8858649121493

Page 1

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹

·ÑȹÈÔÅ»Š

¡ÅØ‹ÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒÈÔŻРµÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾. È. ๒๕๕๑

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº »ÃСѹÏ

·Õè ȸ. ¨Ð»ÃСÒÈÃÒ¡Òú¹àÇçºä«µ µÑé§áµ‹ Á. ¤. ’55 ໚¹µŒ¹ä»

ÂÁÈÖ¡ÉÒ»Õ·Õè ¹ éªÑ ÁѸ

Á.

(จะซื้อภาพจริง เมื่อผานการอนุมัติแลวคะ) ÊØªÒµÔ à¶Ò·Í§ ¸ÓçÈÑ¡´Ôì ¸ÓçàÅÔÈÄ·¸Ôì

Êѧ¤Á ·Í§ÁÕ Ãͧ ·Í§´Ò´ÒÉ


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ

รายวิชา

ู ร ค หรับ

ทัศนศิลป

สํา

ชั้นมัธยมศึกษาปที่ เอกสารหลักสูตรแกนกลางฯ ’51 ประกอบดวย ● ● ● ● ●

คําแนะนําการใชคูมือครู แถบสี/สัญลักษณที่ใชสื่อความหมายในคูมือครู ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง คําอธิบายรายวิชา ตารางวิเคราะหเนื้อหากับมาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัด

ตารางแสดงความแตกตางระหวาง “ คูมือครู ” กับ “ หนังสือเรียน * ” ความแตกตาง

ขนาดตัวอักษร ปกดานหลัง ระบบการจัดพิมพ สวนเสริมดานหนา

คูมือครู ยอลงจากปกติ 30%

พิมพ 4 สี มี เอกสารหลักสูตร คําอธิบายรายวิชา มี กิจกรรมแบบ 5E ความรูเสริมสําหรับครู พิมพสอดแทรกไวตลอดทั้งเลม ●

หนังสือเรียน ขนาดปกติ 100% : ตัวอักษรใหญกวา ที่พิมพในคูมือครูนี้ มีใบอนุญาต/ใบประกันคุณภาพ พิมพ 4 สี

-

เนือ้ หาในเลม

● ●

* ที่ ศธ. อนุญาตใหโรงเรียนใชได

มีเฉพาะเนื้อหาสาระตามที่ ศธ. อนุญาตฯ/สนพ.ประกันคุณภาพ

3


คําแนะนําการใชคูมือครู

: การจัดการเรียนรูสูหองเรียนคุณภาพ

คูมือครู ทัศนศิลป ม.3 จัดทําขึ้นเพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการวางแผนและเตรียมการสอน โดยใชหนังสือเรียน ทัศนศิลป ม.3 ของบริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด เปนสื่อหลัก (Core Material) เสร�ม ประกอบการออกแบบกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดกลุมสาระการเรียนรู 2 ศิลปะ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 โดยจัดทําตามหลักการสําคัญ ดังนี้

1. ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน คูมือครู รายวิชา ทัศนศิลป ม.3 จัดทําเปนหนวยการเรียนรูตามลําดับสาระการเรียนรูที่ระบุไวใน มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด แตละหนวยจะกําหนดเปาหมายการสอนและจุดประสงคการเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทางการประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชัดเจน ครูผูสอนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดที่เปน เปาหมายการเรียนรูของแตละหนวยการเรียนรู (ตามแผนภูมิ) และสามารถบันทึกผลการจัดการเรียนการสอนได อยางมั่นใจ สภ

าพ

ผู

จุดป

ระส

เรีย

งค

รู รียน เ ร า

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชั้นป

ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน

แผนภูมิแสดงองคประกอบของการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผูเรียนเปนสําคัญ

2. การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ แนวคิดในการจัดการเรียนการสอนที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ พัฒนามาจากปรัชญาและทฤษฎีการเรียนรู Constructivism ที่เชื่อวาการเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสราง ความรูโดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดพบเห็นกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู คูม อื ครู


ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา นักเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีความรูความเขาใจสิ่งตางๆ ติดตัวมากอนที่จะเขาสู หองเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากบริบทและสิง่ แวดลอมรอบตัวนักเรียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกระบวนการเรียนรู เสร�ม ในแตละบทเรียน ผูสอนจะตองคํานึงถึง

3

1) ความรูเดิมของนักเรียน การสอนที่ดีจึงตองเริ่มตนจากจุดที่วา นักเรียนมีความรูอะไรมาบาง แลวจึงให ความรูห รือประสบการณใหมเพือ่ ตอยอด จากความรูเดิม

2) ความรูเ ดิมของนักเรียนถูกตอง หรือไม ผูสอนตองปรับเปลี่ยนความรู ความเขาใจเดิมของนักเรียนใหถูกตอง และเปนพฤติกรรมการเรียนรูใหมที่มี คุณคาตอนักเรียน เพื่อสรางเจตคติหรือ ทัศนคติที่ดีตอการเรียน

3) นั ก เรี ย นสร า งความหมาย สําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมให นักเรียนนําขอมูลความรูที่ไดไปลงมือ ปฏิ บั ติ และประยุ ก ต ใ ช ค วามรู  อ ย า ง ถู ก ต อ ง ในบริ บ ทที่ เ ป น จริ ง ของชี วิ ต นักเรียน เพื่อขยายความรูใหลึกซึ้งและ มีคุณคาตอตัวนักเรียนมากที่สุด

แนวคิด Constructivism เนนใหผเู รียนสรางความรูโ ดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูข องตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศการเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความ ขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณความรูใ หม ผูเ รียนจะพยายามปรับขอมูลใหม กับประสบการณที่มีอยูเดิม แลวสรางเปนความรูใหมหรือแนวคิดใหม ให ๆ ไดดวยตนเอง

3. การบูรณาการกระบวนการคิด การเรียนรูข องนักเรียนแตละคนจะเกิดขึน้ ทีส่ มอง ซึง่ ทําหนาทีร่ คู ดิ ภายใตสภาพแวดลอมทีเ่ อือ้ อํานวยและได รับการกระตนุ จูงใจอยางเหมาะสมสอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของนักเรียน การจัดกระบวนการเรียนรู และสาระการเรียนรูท มี่ คี วามหมายตอผูเ รียน จะชวยกระตนุ ใหสมองรับรูแ ละสามารถเรียนรูไ ดอยางมีประสิทธิภาพ ตามขั้นตอนการทํางานของสมอง ดังนี้ 1) สมองจะเรียนรูและสืบคนโดย 2) สมองจะแยกแยะคุ ณค าของ การสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง สิง่ ตางๆ โดยการลงมติ ตัดสินใจ วิพากษ ปฏิบัติ จนคนพบความรูความเขาใจได วิจารณ แสดงความคิดเห็น ยอมรับหรือ อยางรวดเร็ว ตอตานตามอารมณความรูสึกที่เกิดขึ้น ในขณะที่เรียนรู

3) สมองจะประมวลเนื้อหาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสาน กับความรูหรือประสบการณเดิมที่ถูกจัด เก็บอยูในสมอง ผานการกลั่นกรองเพื่อ สังเคราะหเปนความรูความเขาใจใหมๆ หรือเปนเหตุผลทัศนคติใหมที่จะฝงแนน ในสมองของผูเรียน คูม อื ครู


เสร�ม

การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะ เกิดขึ้นเมื่อสมองรูคิด และตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมองผูเรียน โดยเริ่มตนจาก

4

1) ระดับการคิดขั้นพื้นฐาน ไดแก 2) ระดับลักษณะการคิด ไดแก 3) ระดับกระบวนการคิด ไดแก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดหลากหลาย กระบวนการคิ ด อย า งมี วิ จ ารณญาณ การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล คิดไกล คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล กระบวนการแกปญหา กระบวนการคิด การสรุปผล เปนตน เปนตน สรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะห วิจัย เปนตน

4. การบูรณาการกระบวนการเรียนรูพื้นฐานอาชีพ กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายสงเสริมการเรียนพื้นฐานอาชีพในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อเสริมสราง ทักษะที่จําเปนสําหรับการประกอบอาชีพ และดํารงชีวิตในสังคมทองถิ่นของผูเรียนอยางมีความสุข และเปนการ เตรียมความพรอมดานกําลังคนใหมีทักษะพื้นฐาน และศักยภาพในการทํางานเพื่อการแขงขันและกาวสูประชาคม อาเซียนหรือประชาคมโลกตอไป 4.1 ทักษะพืน้ ฐานเพือ่ การประกอบอาชีพ การจัดการเรียนการสอนเพือ่ พัฒนาผูเ รียนในรายวิชาพืน้ ฐานทุกกลมุ สาระการเรียนรูและทุกระดับชั้นเรียน ผูสอนควรบูรณาการประสบการณ เรียนรูพื้นฐานอาชีพควบคูไปกับการ เรียนการสอนดานวิชาการ โดยฝกทักษะสําคัญตามที่สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา (สวก.) สํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) เสนอแนะไว ดังนี้ 1. ฝกทักษะกระบวนการคิด มีการวางแผนตลอดแนว เพื่อศึกษาขอมูลอาชีพ 2. ฝกการตัดสินใจอยางเปนระบบ โดยใชขอมูลจากการศึกษา คนควา แหลงเรียนรูในชุมชน เพื่อลด ความเสี่ยงในการลงทุน และเพิ่มความมั่นใจเรื่องการตลาด 3. ฝกกระบวนการวางแผน การผลิตและการจัดจําหนายโดยนักเรียนคิดตนทุน กําไร ดวยตนเอง 4. ฝกการเรียนรูเ รือ่ งคุณธรรม จริยธรรม ดานการประกอบอาชีพ และการทํางานกลมุ โดยมีจติ อาสาเพือ่ สวนรวม 5. ฝกการทํางานอยางมีประสิทธิภาพ มีการประเมินผล ปรับปรุง พัฒนา และสรางสรรคตอยอดผลผลิต 6. ฝกการเสริมสรางความเชือ่ มัน่ ความเพียรพยายาม เห็นคุณคาและภาคภูมใิ จในตนเอง (Self Esteem) ในการประกอบอาชีพ และเจตคติในพื้นฐานทางอาชีพ การจัดการเรียนการสอนที่ใหผูเรียนไดลงมือปฏิบัติทักษะดังกลาว จะชวยใหผูเรียนไดรับประสบการณจริง มีทักษะ ความสามารถ และความชํานาญในการทํางานที่จะใชในการประกอบอาชีพและเปนแรงงานที่มีคุณภาพ เขาสูตลาดแรงงานในอนาคต คูม อื ครู


4.2 การจัดกระบวนการเรียนรูพื้นฐานอาชีพ การจัดกระบวนการเรียนรูมีความสําคัญอยางยิ่งที่จะชวยใหนักเรียนมีการพัฒนาทั้งดานความรู ทักษะ และคุณลักษณะตามเปาหมายของหลักสูตร การพัฒนาผูเ รียนดานทักษะพืน้ ฐานอาชีพตองอาศัยกระบวนการเรียนรู เสร�ม ทีห่ ลากหลายเปนเครือ่ งมือทีจ่ ะนําไปสูค ณ ุ ภาพทีต่ อ งการ เทคนิควิธกี ารตางๆ ทีผ่ สู อนจะตองพิจารณาใหเหมาะสม 5 กับเนื้อหาวิชาและวัยของผูเรียน โดยใหความสําคัญกับการฝกปฏิบัติ และเนนการวัดประเมินผลจากการปฎิบัติ ตามสภาพจริง ดวยวิธีการที่จัดกิจกรรมการบูรณาการใหเหมาะสมกับวัยและระดับชั้นของผูเรียน สอดคลองกับ มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดของกลุมสาระตางๆ ที่กําหนดไวในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขึ้นพื้นฐาน 2551 การวิเคราะหมาตรฐานและตัวชี้วัดที่จะนําไปจัดเนื้อหาความรูและทักษะ เพื่อพัฒนาผูเรียนดานพื้นฐานอาชีพ ดังตัวอยางตอไปนี้ 1. กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย กลมุ สาระการเรียนรูภ าษาไทยมุง เนนการพัฒนาใหผเู รียนมีความรูค วามสามารถในการใชภาษาไทย เพื่อการสื่อสาร เปนเครื่องมือในการเรียนรู การแสวงหาความรูและประสบการณตางๆ เพื่อพัฒนาความรู กระบวนการคิดวิเคราะห วิจารณ และสรางสรรคใหทันตอการเปลี่ยนแปลงของสังคม และความกาวหนาทาง วิทยาศาสตร เทคโนโลยี จึงเปนกลุมสาระการเรียนรูที่เปนทักษะพื้นฐานการประกอบอาชีพทุกอาชีพ ตัวชี้วัดที่ สามารถนํามาพัฒนาทักษะอาชีพ เชน ท 2.1 ม.1/8 เขียนรายงานการศึกษาคนควาและโครงงาน ท 1.1 ม.4-6/8 สังเคราะหความรูจากการอานสื่อสิ่งพิมพ สื่ออิเล็กทรอนิกส และแหลงเรียนรู ตางๆ มาพัฒนาตน พัฒนาการเรียน และพัฒนาความรูทางอาชีพ ท 2.1 ม.4-6/4 ผลิตงานเขียนของตนเองในรูปแบบตางๆ ท 2.1 ม.4-6/5 ประเมินงานเขียนของผูอื่น แลวนํามาพัฒนางานเขียนของตนเอง การจัดการเรียนการสอนตามตัวชี้วัดดังกลาวขางตน จะเปนทักษะพื้นฐานของการนําไปสูอาชีพ ทุกอาชีพ และเปนการปูทางไปสูอาชีพเฉพาะเกี่ยวกับการเขียน เชน นักเขียน นักประพันธ นักหนังสือพิมพ นัก วิจารณ เปนตน 2. กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรมุงเนนการพัฒนาผูเรียนในการเชื่อมโยงความรูกับกระบวนการ มีทักษะสําคัญในการคนควาและสรางองคความรู พัฒนาวิธีการคิด ทั้งความคิดที่เปนเหตุเปนผล คิดสรางสรรค คิดวิเคราะห วิจารณ โดยใชกระบวนการในการสืบเสาะหาความรู การแกปญหาที่หลากหลาย เพื่อใหมีความรู ความเขาใจในธรรมชาติและเทคโนโลยี นําความรูไปใชอยางมีเหตุผล มีคุณธรรม และอยูในสังคมแหงการเรียนรู ไดอยางเหมาะสม โดยมีมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดที่เปนพื้นฐานของการประกอบอาชีพตางๆ มากมาย เชน คูม อื ครู


ว 1.1 ม.1/13 เสร�ม

6

อธิบายหลักการและผลของการใชเทคโนโลยีชวี ภาพในการขยายพันธุ ปรับปรุงพันธุ และเพิ่มผลผลิตของพืช และนําความรูไปใชประโยชน

ว 1.1 ม.2/4

อธิบายหลักการและผลของการใชเทคโนโลยีชวี ภาพในการขยายพันธุ ปรับปรุงพันธุ และเพิ่มผลผลิตของสัตว และนําความรูไปใชประโยชน ว 1.2 ม.4-6/3 สืบคนขอมูลและอภิปรายผลของเทคโนโลยีชีวภาพที่มีตอมนุษย และสิ่งแวดลอม และนําความรูไปใชประโยชน การจัดการเรียนการสอนตามตัวชี้วัดดังกลาวขางตนจะเปนทักษะพื้นฐานของการนําไปสูอาชีพที่ เกี่ยวกับเกษตรกร วิทยาศาสตร การเกษตร นักวิจัย เปนตน 3. กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมมุงเนนการพัฒนาใหผูเรียนมีความรูความ เขาใจเกี่ยวกับการดํารงชีวิตของมนุษย การอยูรวมกันในสังคมที่มีความเชื่อมโยงสัมพันธกัน มีความแตกตางกัน อยางหลากหลาย สามารถจัดการทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัด และเขาใจการเปลี่ยนแปลง เพื่อชวยใหสามารถปรับ ตนเองกับบริบท และสภาพแวดลอม เปนพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ มีความรู ทักษะ คุณธรรม และคานิยมที่ เหมาะสม มีมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดที่เปนพื้นฐานของการประกอบอาชี ฐานของการประ พตางๆ เชน ส 4.3 ม.1/3 วิเคราะหอิทธิพลของวัฒนธรรมและภูมิปญญาไทยสมัยสุโขทัยและสังคมไทยใน ปจจุบัน ส 4.3 ม.2/3 ระบุภมู ปิ ญ ญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี และอิทธิพลของภูมปิ ญ ญา ดังกลาว ตอการพัฒนาชาติไทยในยุคตอมา ส 4.3 ม.3/3 วิเคราะหภมู ปิ ญ ญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร และอิทธิพลตอการพัฒนา ชาติไทย ส 4.3 ม.4-6/3 วางแผนกําหนดแนวทางและการมีสวนรวมในการอนุรักษภูมิปญญาไทยและ วัฒนธรรมไทย การจัดการเรียนการสอนตามตัวชี้วัดดังกลาวขางตนจะเปนทักษะพื้นฐาน และสรางเจตคติตออาชีพ เกีย่ วกับภูมปิ ญ ญาไทยในทองถิน่ เชน นักโบราณคดี นักประวัตศิ าสตร แพทยแผนโบราณ นวดแผนไทย ชางทอผา จักสาน นักดนตรีไทย การทําขนมหรืออาหารไทย ฯลฯ และเปนรากฐานของการศึกษาเพื่อพัฒนาตอยอดอาชีพ ที่มีฐานของภูมิปญญาไทย

คูม อื ครู


4. กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีมุงพัฒนาใหผูเรียนมีฐานความรูความสามารถ และทักษะที่จําเปนสําหรับนําไปปรับใชในการประกอบอาชีพและการศึกษาตอในสาขาอาชีพตางๆ ไดอยาง เสร�ม หลากหลาย รวมทั้งใหเห็นแนวทางในการประกอบอาชีพและการศึกษาตอตามความรู ความถนัดและความสนใจ 7 มาตรฐานและตัวชีว้ ดั ของกลมุ สาระการเรียนรูก ารงานอาชีพและเทคโนโลยีสว นใหญมลี กั ษณะเปนทักษะกระบวนการ ทํางาน ซึ่งผูสอนสามารถจัดเนื้อหาและกิจกรรมการสอนใหสอดคลองกับความตองการของผูเรียนและทองถิ่นได เพื่อพัฒนาไปสูการประกอบอาชีพตางๆ เชน ง 1.1 ม.4-6/2 สรางผลงานอยางมีความคิดสรางสรรค และมีทักษะการทํางานรวมกัน ง 1.1 ม.4-6/7 ใชพลังงาน ทรัพยากรในการทํางานอยางคุมคาและยั่งยืน เพื่อการอนุรักษ สิ่งแวดลอม ง 4.1 ม.2/3 มีทักษะพื้นฐานที่จําเปนสําหรับการประกอบอาชีพที่สนใจ ง 4.1 ม.3/3 ประเมินทางเลือกในการประกอบอาชีพที่สอดคลองกับความรู ความถนัด และ ความสนใจของตนเอง ง 4.1 ม.4-6/2 เลือกและใชเทคโนโลยีอยางเหมาะสมกับอาชีพ ง 4.1 ม.4-6/3 มีประสบการณในอาชีพที่ถนัดและสนใจ การจัดรายวิชาพื้นฐานในกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีจึงสามารถดําเนินการ ไดอยางหลากหลาย ทัง้ อาชีพในกลมุ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิดสรางสรรค และการบริหาร จัดการและการบริการ ตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ และสอดคลองกับบริบทของทองถิ่น ความพรอม ของสถานศึกษา และความตองการของผูเรียนเปนสําคัญ เพื่อเปนแนวทางการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนใหสนองตามนโยบายการจัดการเรียนการ สอนพื้นฐานอาชีพในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการ ผูจัดทําจึงวิเคราะหมาตรฐาน การเรียนรูและตัวชี้วัดในรายวิชา ทัศนศิลป ที่สอดคลองกับทักษะปฏิบัติเพื่อเตรียมความพรอมดานพื้นฐานอาชีพ โดยเสนอแนะกิจกรรมการเรียนรูไวเปนแนวทางในการจัดการเรียนการสอนบูรณาการประสบการณการทํางานแก ผูเรียน ใหบรรลุเจตนารมยของ พ.ร.บ. การศึกษาฯ พ.ศ. 2542 มาตรา 7 ที่ระบุใหการจัดการศึกษาตองปลูกฝง ใหเยาวชนมีความรูอันเปนสากล มีจิตสํานึกในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ตลอดจนมีความ สามารถในการประกอบอาชีพ รูจักพึ่งตนเอง และมีความคิดสรางสรรค เพื่อการดํารงชีวิต การศึกษาตอและการ ประกอบอาชีพอยางมีคุณภาพของผูเรียนตอไปในอนาคต

คูม อื ครู


5. การใชวัฏจักรการเรียนรู 5E รูปแบบการสอนที่สัมพันธกับกระบวนการคิดและการทํางานของสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย เสร�ม คือ วัฏจักรการเรียนรู 5E ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในคูมือครู 8 ฉบับนี้ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1 กระตุนความสนใจ (Engage) เปนขัน้ ทีผ่ สู อนนําเขาสูบ ทเรียน เพือ่ กระตุน ความสนใจของนักเรียนดวยเรือ่ งราว หรือเหตุการณทนี่ า สนใจ โดยใชเทคนิควิธกี ารสอนและคําถามทบทวนความรูห รือประสบการณเดิมของผูเ รียน เพือ่ เชือ่ มโยงผูเ รียนเขาสู บทเรียนใหม ชวยใหนักเรียนสามารถสรุปประเด็นสําคัญที่เปนหัวขอการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอน การสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอมและสรางแรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน ขั้นที่ 2 สํารวจคนหา (Explore) เปนขั้นที่ผูสอนเปดโอกาสใหผูเรียนสังเกต และรวมมือกันสํารวจ เพื่อใหเห็นปญหา รวมถึงวิธีการศึกษา คนควาขอมูลความรูที่จะนําไปสูความเขาใจประเด็นปญหานั้นๆ เมื่อนักเรียนทําความเขาใจในประเด็นหัวขอที่จะศึกษาคนควาอยางถองแทแลว ก็ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บ รวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธกี ารตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูตามที่ตั้งประเด็นศึกษาไว ขั้นที่ 3 อธิบายความรู (Explain) เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา ตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนไดคนหา คําตอบ และนําขอมูลความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห แปลผล สรุปผล และนําเสนอผล ที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ แผนผังแสดงมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน สมองของผูเรียนจะทําหนาที่คิดวิเคราะห สังเคราะหอยางเปนระบบ ขั้นที่ 4 ขยายความเขาใจ (Expand) เปนขั้นที่ผูสอนไดใชเทคนิควิธีการสอนที่ชวยพัฒนาผูเรียนใหนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน นักเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยงกับประสบการณเดิมโดยนําขอสรุปที่ไดไปอธิบาย ในเหตุการณตางๆ หรือนําไปปฏิบัติในสถานการณใหมๆ ที่เกี่ยวของกับชีวิตประจําวันของตนเอง เพื่อขยาย ความรูค วามเขาใจใหกวางขวางยิง่ ขึน้ สมองของผูเ รียนทําหนาทีค่ ดิ ริเริม่ สรางสรรคอยางมีคณ ุ ภาพ เสริมสราง วิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป คูม อื ครู


ขั้นที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate) เปนขั้นที่ผูสอนประเมินมโนทัศนของผูเรียน โดยตรวจสอบจากความคิดที่เปลี่ยนไปและความคิดรวบยอด ที่เกิดขึ้นใหม ตรวจสอบทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด และการเคารพ ความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่นเพื่อการสรางสรรคความรูรวมกัน นักเรียนสามารถประเมินผลการเรียนรูของตนเอง เพื่อสรุปผลวานักเรียนมีความรูอะไรเพิ่มขึ้นมาบาง มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ ไดอยางไร นักเรียนจะเกิด เจตคติและเห็นคุณคาของตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง

เสร�ม

9

การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามวัฏจักรการสรางความรูแบบ 5E จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนน ผูเรียนเปนสําคัญ โดยสงเสริมใหผูเรียนใชกระบวนการสรางความรูดวยตนเอง และฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและ กระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะการเรียนรูและทักษะชีวิตที่มีคุณภาพ ตามเปาหมายของการปฏิรูป การศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คณะผูจัดทํา

คูม อื ครู


แถบสี และสัญลักษณ ที่ใชสื่อความหมายในคูมือครู 1. แถบสี

แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5E เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

เสร�ม

10

สีแดง

สีเขียว

สีสม

กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุนความ สนใจ เพื่อโยงเขาสู บทเรียน

Explore

เปนขั้นที่ผูสอนให ผูเรียนสํารวจปญหา และศึกษาขอมูล

Explain

เปนขั้นที่ผูสอนให ผูเรียนคนหาคําตอบ จนเกิดความรูเชิง ประจักษ

สีฟา

สีมวง

ขยายความเขาใจ Expand

เปนขั้นที่ผูสอนให ผูเรียนนําความรูไป คิดคนตอๆ ไป

ตรวจสอบผล Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

สัญลักษณ

2. สัญลักษณ

วัตถุประสงค

เปาหมาย การเรียนรู

คูม อื ครู

• แสดงเปาหมาย การเรียนรูที่ นักเรียนตอง บรรลุตาม ตัวชี้วัด

หลักฐาน เกร็ดแนะครู แสดงผล การเรียนรู • แสดงรองรอย หลักฐานที่ แสดงผล การเรียนรู ตามตัวชี้วัด

นักเรียน ควรรู

B

@

NET

B

มุม IT

ขอสอบ

พื้นฐาน อาชีพ

• แทรกความรู • ขยายความรู • แนะนําแหลง • วิเคราะหแนว • กิจกรรม เสริมสําหรับครู เพิ่มเติมจาก คนควาจาก ขอสอบ O-NET สําหรับครู ขอเสนอแนะ เนื้อหา เพื่อให เว็บไซต เพื่อให เพือ่ ใหครู เพือ่ ใชเปน ขอควรระวัง นักเรียนไดมี ครูและนักเรียน เนนยํ้าเนื้อหา แนวทางใน ขอสังเกต ความรูม ากขึ้น ไดเขาถึงขอมูล ที่มักออก การชวยพัฒนา แนวทางการ ความรูที่ ขอสอบ O-NET อาชีพใหกับ จัดกิจกรรม หลากหลาย • ขอสอบ O-NET นักเรียน และอื่นๆ พิจารณาออก เพื่อประโยชน ขอสอบจาก ในการจัดการ เนื้อหา ม.1, 2 เรียนการสอน และ 3


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง (เฉพาะชั้น ม.3)* สาระที่ 1 ทัศนศิลป

มาตรฐาน ศ 1.1 สรางสรรคงานทัศนศิลปตามจินตนาการ และความคิดสรางสรรค วิเคราะห วิพากษ วิจารณ คุณคางานทัศนศิลป ถายทอดความรูสึก ความคิดตองานศิลปะอยางอิสระ ชื่นชมและประยุกต เสร�ม ใชในชีวิตประจําวัน

11

ชั้น

ตัวชี้วัด

ม.3 1. บรรยายสิ่งแวดลอม และงานทัศนศิลปที่เลือกมา โดยใชความรูเรื่องทัศนธาตุ และหลักการออกแบบ 2. ระบุ และบรรยายเทคนิค วิธีการของศิลปนในการ สรางงานทัศนศิลป

สาระการเรียนรูแกนกลาง

• ทัศนธาตุ หลักการออกแบบในสิ่งแวดลอมและงานทัศนศิลป

• เทคนิควิธีการของศิลปนในการสรางงานทัศนศิลป

3. วิเคราะห และบรรยายวิธกี ารใช • วิธีการใชทัศนธาตุและหลักการออกแบบในการสรางงาน ทัศนธาตุ และหลักการออกแบบ ทัศนศิลป ในการสรางงานทัศนศิลปของ ตนเองใหมคี ณุ ภาพ 4. มีทกั ษะในการสรางงาน ทัศนศิลปอยางนอย 3 ประเภท

• การสรางงานทัศนศิลปทั้งไทยและสากล

5. มีทกั ษะในการผสมผสานวัสดุ • การใชหลักการออกแบบในการสรางงานสื่อผสม ตางๆ ในการสรางงานทัศนศิลปโดยใชหลักการออกแบบ 6. สรางงานทัศนศิลป ทัง้ 2 มิติ • สรางงานทัศนศิลป ทั้ง 2 มิติ และ 3 มิติ เพื่อถายทอด ประสบการณและจินตนาการ และ 3 มิติ เพือ่ ถายทอด ประสบการณและจินตนาการ 7. สรางสรรคงานทัศนศิลป สือ่ ความหมายเปนเรือ่ งราว โดยประยุกตใชทศั นธาตุ และหลักการออกแบบ

• การประยุกตใชทัศนธาตุและหลักการออกแบบสรางงาน ทัศนศิลป

คูม อื ครู


ชั้น

เสร�ม

12

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

8. วิเคราะหและอภิปราย • การวิเคราะหรูปแบบ เนื้อหาและคุณคาในงานทัศนศิลป รูปแบบ เนือ้ หาและคุณคาใน งานทัศนศิลปของตนเองและ ผูอ นื่ หรือของศิลปน 9. สรางสรรคงานทัศนศิลป • การใชเทคนิควิธีการที่หลากหลายสรางงานทัศนศิลป เพือ่ บรรยายเหตุการณตา งๆ เพื่อสื่อความหมาย โดยใชเทคนิคทีห่ ลากหลาย 10. ระบุอาชีพทีเ่ กีย่ วของกับงาน • การประกอบอาชีพทางทัศนศิลป ทัศนศิลปและทักษะทีจ่ าํ เปน ในการประกอบอาชีพนัน้ ๆ 11. เลือกงานทัศนศิลปโดยใช เกณฑทกี่ าํ หนดขึน้ อยาง เหมาะสมและนําไป จัดนิทรรศการ

คูม อื ครู

• การจัดนิทรรศการ


มาตรฐาน ศ 1.2 เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคางานทัศนศิลปที่ เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทย และสากล ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

เสร�ม

13

ม.3 1. ศึกษาและอภิปรายเกี่ยวกับ • งานทัศนศิลปกับการสะทอนคุณคาของวัฒนธรรม งานทัศนศิลปที่สะทอนคุณคา ของวัฒนธรรม 2. เปรียบเทียบความแตกตาง ของงานทัศนศิลปในแตละ ยุคสมัยของวัฒนธรรมไทย และสากล

• ความแตกตางของงานทัศนศิลปในแตละยุคสมัยของ วัฒนธรรมไทยและสากล

*สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน,กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชีว้ ดั และสาระการเรียนรูแ กนกลางกลุม สาระการเรียนรู ศิลปะ. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 7 - 19. คูม อื ครู


คําอธิบายรายวิชา รายวิชา ทัศนศิลป ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 เสร�ม รหัสวิชา ศ……………………………….

14

กลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ ภาคเรียนที่ ……. เวลา 60 ชั่วโมง/ป

มีความรูความเขาใจในเรื่องทัศนธาตุ หลักการออกแบบและเทคนิควิธีการที่หลากหลายในการสรางงาน ทัศนศิลปแบบ 2 มิติ 3 มิตแิ ละงานสือ่ ผสม เพือ่ ถายทอดประสบการณและจินตนาการ มีความรูเ กีย่ วกับทักษะทีจ่ าํ เปน ในการประกอบอาชีพทางทัศนศิลป ตลอดจนประยุกตใชความรูในการจัดนิทรรศการงานทัศนศิลป หลักการวิเคราะห รูปแบบ เนื้อหาและคุณคาในงานทัศนศิลป เปรียบเทียบความแตกตางของงานทัศนศิลปในแตละยุคสมัยของ วัฒนธรรมไทยและสากล การสรางงานทัศนศิลปทั้งไทยและสากลที่สะทอนคุณคาทางวัฒนธรรม มีทักษะในการสรางงานทัศนศิลปดวยเทคนิควิธีการที่หลากหลาย โดยใชความรูเรื่องทัศนธาตุและหลักการ ออกแบบดวยการปฏิบตั จิ ริงและใชกระบวนการคิดในการวิเคราะหความแตกตางของงานทัศนศิลปของวัฒนธรรมไทย และสากลในแตละยุคสมัย เพือ่ ใหเกิดความชืน่ ชมและเห็นคุณคาของงานทัศนศิลปทสี่ รางสรรคขนึ้ ในแตละยุคสมัยทัง้ ในวัฒนธรรมของไทย และสากล ตัวชี้วัด ศ 1.1 ม.3/1 ม.3/9 ศ 1.2 ม.3/1 รวม 13 ตัวชี้วัด

คูม อื ครู

ม.3/2 ม.3/10 ม.3/2

ม.3/3 ม.3/11

ม.3/4

ม.3/5

ม.3/6

ม.3/7

ม.3/8


ÇÔà¤ÃÒÐË Áҵðҹ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙጠÅеÑǪÕÇé ´Ñ ÃÒÂÇÔªÒ ·ÑȹÈÔÅ»Š Á.3

หนวยการเรียนรูที่ 3 : การสรางสรรคผลงาน ทัศนศิลป

หนวยการเรียนรูที่ 2 : เทคนิควิธีการในการสราง งานทัศนศิลป

หนวยการเรียนรูที่ 1 : รูปแบบทัศนธาตุและ แนวคิดในงานทัศนศิลป

ทัศนศิลป ม.3

หนวยการเรียนรู

มาตรฐาน การเรียนรูและ ตัวชี้วัด

1

2

3

4

5

7

8

9

10

11

1

ตัวชี้วัด

ตัวชี้วัด 6

มาตรฐาน ศ 1.2

มาตรฐาน ศ 1.1

สาระที่ 1

คําชี้แจง : ใหผูสอนใชตารางน�้ตรวจสอบวา เน�้อหาสาระการเรียนรูในหนวยการเรียนรูสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดชั้นปในขอใดบาง

ตาราง

2

เสร�ม

15

คูม อื ครู


คูม อื ครู

หนวยการเรียนรูที่ 7 : ทัศนศิลปกับวัฒนธรรม

หนวยการเรียนรูที่ 6 : การจัดนิทรรศการ ทางทัศนศิลป

หนวยการเรียนรูที่ 5 : ทัศนศิลปกับ การประกอบอาชีพ

หนวยการเรียนรูที่ 4 : การวิเคราะหผลงาน ทัศนศิลป

ทัศนศิลป ม.3

หนวยการเรียนรู 1

2

3

4

5

7

8

9

10

11

1

ตัวชี้วัด

ตัวชี้วัด 6

มาตรฐาน ศ 1.2

2

16

มาตรฐาน ศ 1.1

สาระที่ 1

เสร�ม


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Expand

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹

ทัศนศิลป ม.๓ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓

กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

ผูเรียบเรียง

ศ. สุชาติ เถาทอง นายสังคม ทองมี นายธํารงศักดิ์ ธํารงเลิศฤทธิ์ นายรอง ทองดาดาษ

ผูตรวจ

รศ. จารุพรรณ ทรัพยปรุง นางสาววัชรินทร ฐิติอดิศัย นายชัยยศ วนิชวัฒนานุวัติ

บรรณาธิการ

ศ. ปรีชา เถาทอง นายสมเกียรติ ภูระหงษ

คณะผูจัดทําคูมือครู

ธํารงศักดิ์ ธํารงเลิศฤทธิ์ สังคม ทองมี สุชา กุลกิติเกษ พิมพครั้งที่ ๑

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ ISBN : 978-616-203-133-5 รหัสสินคา ๒๓๑๕๐๐๓ รหัสสินคา ๒๓๔๕๐๐๓

¤Œ¹¤ÇÒÁÃÙŒ¢ÂÒ¤ÇÒÁ¤Ô´¨Ò¡

EB GUIDE

ที่พิมพกํากับหัวขอสําคัญในหนังสือเรียนหลักสูตรแกนกลางฯ ผาน www.aksorn.com ไปยังแหลงความรูทั่วไทย-ทั่วโลก

Evaluate


กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา Explore Engage

อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Expand

Explain

Evaluate

¤íÒá¹Ð¹íÒ㹡ÒÃ㪌˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ หนังสือเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน ทัศนศิลป เลมนี้ สรางขึน้ เพือ่ ใหเปนสือ่ สําหรับใชประกอบการเรียนการสอนในรายวิชา พืน้ ฐาน กลุม สาระการเรียนรูศ ลิ ปะ ชัน้ มัธยมศึกษาปที่ ๓ โดยเนื้อหาตรงตามสาระการเรียนรูแกนกลางขั้นพื้นฐาน อานทําความเขาใจงาย ใหทั้งความรูและชวยพัฒนาผูเรียน ตามหลักสูตรและตัวชีว้ ดั เนือ้ หาสาระแบงออกเปนหนวยการเรียนรูต ามโครงสรางรายวิชา สะดวกแกการจัดการเรียนการสอนและ การวัดผลประเมินผล พรอมเสริมองคประกอบอืน่ ๆ ทีจ่ ะชวยทําใหผเู รียนไดรบั ความรูอ ยางมีประสิทธิภาพ à¡ÃÔè¹¹íÒà¾×èÍãˌࢌÒ㨶֧ÊÒÃÐÊíÒ¤ÑÞ ã¹Ë¹‹Ç·Õè¨ÐàÃÕ¹

¨Ñ´¡ÅØ‹Áà¹×éÍËÒ໚¹Ë¹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ Êдǡᡋ¡ÒèѴ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹

à¹×éÍËҵçµÒÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹Ãٌ᡹¡ÅÒ§ ãËŒ¤ÇÒÁÃÙŒáÅÐàÍ×é͵‹Í¡ÒùíÒä»ãªŒÊ͹à¾×èÍ ãËŒºÃÃÅصÑǪÕéÇÑ´ áÅÐÊÌҧ¤Ø³ÅѡɳРÍѹ¾Ö§»ÃÐʧ¤

à¡Ãç´ÈÔÅ»Šà¾ÔèÁàµÔÁ¨Ò¡à¹×éÍËÒ â´ÂÁÕá·Ã¡à»š¹ÃÐÂÐæ

เกร็ดศิลป

๑.๒ การออกแบบ

้นตอน วิธีการ การเลือกใชวัสดุ เพื่อ การออกแบบ (Design) หมายถึง การวางแผน การกําหนดขั นผลงานที่ผูอื่นสามารถมองเห็น รับรู หรือสัมผัสได สรางสรรคถายทอดความคิด จินตนาการของตนใหออกมาเป ี่ดีจะตองคํานึงถึงหลักการสําคัญ ๓ ประการ ไดแก เพื่อใหเกิดความเขาใจตอผลงานรวมกัน ซึ่งการออกแบบท

หน่วยที่

าพแลว นภาพแล ฒนธรรมที่ปรากฏอยูในภ Aertsen) ศิลปนชาวดัตช นอกจากเนื้อหาสาระและวั ผลงาน “ฉากในตลาด” ของปเอเตอร แอรทเซน (Pieter ความสมดุลุ และความกลมกลืน นเอกภาพ ความสมด การออกแบบยังมีการจัดวางไดอยางลงตัวทั้งความเป

หลักการออก

ตัวชี้วัด

บรรยายสิ่ง แวดล เรื่องทัศนธาต ้อมและงานทัศนศิลป์ที่เลื อกมา ุและหลักการออ กแบบ (ศ ๑.๑ โดยใช้ความรู้ ■ วิเคราะห์และบรร ม.๓/๑) ในการสร้างงานท ยายวิธีการใช้ทัศนธาตุ และห (ศ ๑.๑ ม.๓/๓ ัศนศิลป์ของตนเองให้มีค ลักการออกแบบ ุณภาพ ) ■

สาระการเรียนรู

้แกนกลาง

■ ทัศนธาตุ หลั และงานทั กการออกแบบในสิ่งแวดล ศนศิลป์ ้อม วิธีการใช้ทัศ ในการสร้ นธาตุและหลักการออกแบบ างงานทัศนศิล ป์ ■

สําหรับสิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นเองตาม ธรรมชาติ ในทางศิลปะถือวามีความสําคัญเพราะ เปนตนแบบใหมนุษยไดนํามาใชสรางสรรคผลงาน ทางทัศนศิลปใหเกิดสุนทรียภาพ โดยมักจะไดยิน านใหมี คํากลาวที่วา “ธรรมชาติเปนครู” เพราะธรรมชาติ ๒ ความกลมกลืน เปนการจัดองคประกอบของผลง อเขากัน ความรูสึกสอดคลอง มีความสัมพันธตอกัน หรื ใหกําเนิดทุกสรรพสิ่งทั้งที่มชี ีวิตและไมมีชีวิต ซึ่งมี ไดดี รูปราง รูปทรง สีสันที่แตกตางกัน มีความสัมพันธ ี ม งานให ระกอบของผล ป องค ด การจั ตอกันอยางกลมกลืนเปนระบบหรืออาจขัดแยงกัน ๓ ความสมดุล เปน านซาย ด ง ้ งทั ว และแรงถ ก หนั า ้ ํ น มี น เสมอกั น กั า ความเท แต ก็ ส ามารถดํ า รงอยู  ร  ว มกั น ได อ ย า งสมดุ ล และดานขวาของผลงานเทากัน มีเอกภาพ และงดงาม ถในการบรรยายใหผอู นื่ รับรูเ กีย่ วกับสิง่ แวดลอม ษะความสามาร ก ทั ด นเกิ ย รี ู  เ ผ ให  ง มุ ้ ยนี ว การศึกษาศิลปะในหน ศนธาตุรวมทัง้ หลักการออกแบบทางทัศนศิลปมาวิเคราะห และงานทัศนศิลป โดยในการบรรยายจะตองใชความรูเ รือ่ งทั ัฒนาผลงานทัศนศิลปของตนใหมีคุณภาพขึ้นอีกดวย สิ่งที่จะบรรยาย รวมทั้งความรูที่ไดรับยังสามารถนําไปใชพ หลักการออกแบบ

ทัศนธาตุและ

แบบในสิ่งแว

สิ่

ระกอบของ ๑ ความเปนเอกภาพ เปนการจัดระเบียบองคป ทัศนธาตุใหเกิดรูปทรงที่รวมกลุมกัน ไมแตกแยก

ดล้อมและงา

นทัศนศิลป์

งแวดล้อมที ่เกิดขึ้นเองต สร้างขึ้น เมื่อ ามธรรมชาต พิจารณาลง ิหรือที่มนุษย์ ไปในรายละเอ การผสมผสา ียด จะพบว่ นกันขององค าเกิดจาก ์ประกอบต่างๆ การออกแบบ ของทัศนธาตุ จัดวางอย่า งลงตัว จึงท� โดยมี ซึ่ ง สาม ารถ าให้เกิดควา อธิ บ ายบ รรย มงดงามขึ้น ายใ ห้ ผู ้ อื่ น เข้ โดยใช้ความ า ใจถึ ง ควา มงด รู้เรื่องทัศนธา งาม ตุและหลักการ ความเข้าใจใน ออกแบบ การ นี้ ไ ด้ เรือ่ งนีจ้ ะช่วยให มีความรู้ ส้ ามารถพฒ ให้มีคุณภาพ ั นาผลงานทั ยิ่งขึ้นได้ ศนศิลป์ของต น

1

ò. ÈÔÅ» ¹·ÑȹÈÔÅ»ŠÊÒ¢Ò»ÃеÔÁÒ¡ÃÃÁ

ส่ ามารถมองเห็นไดดว ยสายตาแต ศิลปนสาขาประติมากรรมสรางสรรคผลงานศิลปะโดยผานภาษาภาพที (ความลึก) มีการใชเทคนิควิธีการแตกตางกัน นําเสนอผานรูปแบบ ๓ มิติ คือ ความกวาง ความยาว และความหนา งเกตและทําความเขาใจเทคนิควิธีการของศิลปน ไปตามความถนัด ความสนใจของศิลปนแตละทาน ซึ่งสามารถสั ตัวอยางบางทานได ดังนี้

๓.๕ สมัยใหม เปนการแสดงออกทางศิลปะที่ไมม แนนอนตายตัว ลักษณะเดนจะสือ่ ถึงอารมณ ีรูปแบบ ความรูส กึ ของ ศิลปนออกมาเฉพาะคน เฉพาะกลุม ซึ่งมีมากมายหลาย กลุม แตละกลุมจะมีแนวคิด เทคนิ ค วิธีการที่แตกตาง กันออกไป เชน สะทอนสภาพสัง คม แสดงภาวะทาง จิตใจของศิลปน แสดงความประทับ ใจในความงามของ ธรรมชาติ ตลอดจนแสดงผลงานออกมา ในลักษณะเปน นามธรรม ศิลปนในสมัยใหมมีทัศนะวา การแสดง ออก ทางผลงานทัศนศิลปไมควรมีกรอบ การสร างงานทีส่ ะทอน เหตุการณความเปนไปในปจจุบันก็ม ีคุณคาเชน การสะทอนเรื่องราวในอดีตหรือเรื่องราวทางศ เดียวกับ าสนา

ศิลปะบนพื้นถนน (Street Art) ซึ

่งวาดเปนภาพลวงตาแบบ ๓ มิติ

๑๑๙

http://www.aksorn.com/LC/Va/M3/01

Web Guide á¹Ð¹íÒáËÅ‹§¤Œ¹¤ÇŒÒ¢ŒÍÁÙÅ à¾ÔèÁàµÔÁ¼‹Ò¹Ãкº Online

µÑǪÕéÇÑ´áÅÐÊÒÃСÒÃàÃÕ¹Ãٌ᡹¡ÅÒ§ µÒÁ·ÕèËÅÑ¡Êٵà ¡íÒ˹´ à¾×èÍãËŒ·ÃÒº¶Ö§à»‡ÒËÁÒÂ㹡ÒÃÈÖ¡ÉÒ

Design ˹ŒÒẺãËÁ‹ ÊǧÒÁ ¾ÔÁ¾ ô ÊÕ µÅÍ´àÅ‹Á ª‹ÇÂãˌ͋ҹ·íÒ¤ÇÒÁࢌÒã¨ä´Œ§‹ÒÂ

EB GUIDE

พิพิธภัณฑศิลปะสมัยใหม พิพิธภัณฑศิลปะสมัยใหม (Museum of Modearn Art) หรือที่เรียกชื่อ ยอๆ วาโมมา (MoMA) เปนสถานที ศิลปะสมัยใหม รวมทั้งเปนที่เก็ ่แสดงนิทรรศการ บสะสมผลงานศิลปะสมัยใหมดา นจิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิ ยังมีภาพยนตร หนังสือ วารสาร มพ สื่อผสม นอกจากนี้ก็ หรือไฟลเกี่ยวกับประวัติและผลงานข องศิลปนสะสมไว โมมาสวนใหญ แตละประเทศก็จะมีโมมาหลายแ ดําเนินงานโดยเอกชน หง โมมาที่สําคัญๆ ของโลก เช น โมมากรุงปารีส ฝรั่งเศส โมมาเมื แซนแฟรนซิสโก สหรัฐอเมริกา โมมาที องนิวยอรก โมมาเมือง ่กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ เปนตน

àÊÃÔÁÊÒÃШҡà¹×éÍËҹ͡à˹×ͨҡ·ÕèÁÕã¹ÊÒÃСÒà àÃÕ¹ÃÙጠ¡¹¡ÅÒ§ à¾×Íè à¾ÔÁè ¾Ù¹áÅТÂÒ¾ÃÁá´¹¤ÇÒÁÃÙŒ ãËŒ¡ÇŒÒ§¢ÇÒ§ÍÍ¡ä»

¡Ô¨¡ÃÃÁÈÔÅ»Š»¯ÔºÑµÔ à¾×èÍãËŒ¼ÙŒàÃÕ¹ÁդسÀÒ¾ ºÃÃÅØÁҵðҹáÅеÑǪÕéÇÑ´

28/06/10 2011 10:14 AM er 29 Octob ม.3 N6 089-102 ิลป์ นร. ทัศนศ

กิจกรรม กิจกรรมที่ ๑

่องราว อกเล่าเรื ) ของ น อกจากจะบ ภาพที่น บวนแบบ (Style กได้ ์ของศิลปิ เป็นภาษา กระ เอกลักษณ ิลป์ถือว่า รูปแบบ ซึ่งเป็น สามารถจะบ่งบอ รือ ์ห งานทัศนศ ีการ ทำาให้ ผล กถึงเทคนิค วิธ ีลักษณะเฉพาะ นนี้จะมีเอกลักษณ า ท่ งบอ นม น บ่ ง ปิ ลงา ล ยั ผ ว ้ ศิ ี้ แล รือ าให้ ่างต่อไปน ่ละคน ทำ นท่านใดห ศิลปินแต ้นเป็นของศิลปิ ็นแบบใด ดังตัวอย ขาคณิต นั ร้ ปู ทรงเร ร่าง กใช ว่า ผลงาน ในการสร้างงานเป อ เลื ่น งาน จะ ่อแทนรูป น่ ของผล ลักษณะเด แทรกเพื ง้ จะระบาย ลักษณะเด อน การบัง การ หม ่ รวมทั ปีกสั โซ ปาโบล วยการต่อ การซ้ เ้ กิดรูปลักษณใ์ บกัน ด้ หุน่ นิง่ ให มาประกอ รรมชาต ิ เช่น คน กัน ทรงที่มา าน มธ ูปร่าง รูป รูปทรงตา ละขรุขระผสมผส ตัดทอนร ม การระบายสี ยบแ ผลงาน จะ สีเข้ สีแบบเรี ะเด่นของ ขอบรูปด้วยเส้น เพื่อสื่ออารมณ์ กง ลักษณ บ ตัด ฉาด ง ปอล โกแ ีลักษณะแบนเรีย ้ ภาพจะใช้สีฉูด ะเป็นเรื่องราวขอ าติจนม เด่นๆ จ ปรงเอาไว จากธรรมช ม่มีการทิ้งรอยฝีแ ธรรมชาติ ผลงาน าม างไ จะลงสีบ ใช่ลอกเลียนสีต ใส ้สีสว่างสด ึกไม่ ชอบใช ค ความรู้ส ทะเลใต้ งาน เทค ผล ว นิ ะเด่นของ ย่างแวววา ั่ว ชาวหมู่เกาะ อฟ ลักษณ ดประกายสีแสงอ ่น กระจายไปท อาฟริม ้เกิ แน เลโอนิด เป็นสิ่งสะท้อนให ับกันอย่างหนา ้ผืนน้ำา บบซ้อนท อ และนิยมใช ี จะปาดป้ายสีแ ทีน่ าำ เสน ายส เขียนภาพ ะภาพ การระบ จะ าน ของผลง ร ลกั ษณ ยด ทั้งภาพ ษณะเดน่ ะแบบจนิ ตนากา กฤต ลกั รายละเอี ธุ์ โปษย ะทเี่ หมอื นจริงแล าคัญกับการเก็บ จักรพนั สำ ษณ วาม ก ้ ค ลั บไทยใน สวยงาม ให ีต เรือ่ งราวแบ อ่อนชอ้ ย มสี สี นั ะณ งเรอื่ งราว ส้น พอย่างปร าพทีแ่ สด จะมลี ายเ กแต่งภา จะเขียนภ ์ ซึ่งภาพจะแสดง ละการต ีย ของผลงาน ของภาพแ ษณะเดน่ นังโบสถ์ วิหาร เจด ที่เป็นเงาจะให้ ทอง ลกั เวณ นผ ปรชี า เถา อย่างชัดเจนผ่า ระทบ ส่วนบริ าที่ตัดกัน ส่วนที่แสงตกก แบนราบ ของแสงเง ะใน เข้ม มชาติของ ยดเฉพา ายเป็นสี น รายละเอี ็กน้อยหรือระบ นิยมนำาธรร ผลงาน ีชีวิตของผู้คน เช่ ยดเล ะเด่นของ วิถ รายละเอี ดำา ลักษณ นกฮูก และภาพ กะไม้ที่แสดงริ้วรอย ด พงษ์ ประหยั ตุ๊กแก ไก่ แมว คนิคภาพพิมพ์แ ้สีที่เรียบง่าย ะใช ้วยเท ตว์ เช่น าเสนอด เอียดงดงาม แล นำ มา สิงสาราสั น ้อย่างละ ง เป็นต้ เด็ก ผู้หญิ กิดจากการแกะไม ที่เ ลวดลาย

ระ

เสริมสา

มีเกลันเจโล บูโอนารโรตี (Michelangelo Buonarroti)

“ป เ อตา” เป น ผลงานประติ ม ากรรมที่ ถายทอดเหตุการณสําคัญของศาสนาคริสต ซึ่ ง มี เ กลั น เจโลสร า งสรรค อ อกมาเป น รู ป พระแมมารีประทับบนแผนหิน กําลังประคอง มากร รางพระเยซูไวบนตัก หลังจากนําพระองคลงมา มีเกลันเจโล บูโอนารโรตี (ค.ศ. ๑๔๗๕ - ๑๕๖๔) ประติ นประติมา จากไมกางเขนดวยทาทางเศราสรอย แหงเมืองฟลอเรนซ ประเทศอิตาลี เขาถือวาตนเองเป อยางไรก็ตาม กรเพราะรักและถนัดงานแกะสลักหินยิง่ กวาสิง่ อืน่ ใด รบั การยกยอง งานทางดานจิตรกรรมและสถาปตยกรรมของเขาก็ได อยางสูงเชนกัน เชน ภาพวาดบนเพดานโบสถซสิ ทีน และงานออกแบบ น ต น เป น ั โดมของมหาวิหารเซนตปเตอร นครรัฐวาติก ิ้น เชน มีเกลันเจโล เปนประติมากรที่มีชื่อเสียงโดงดังจากผลงานหลายช โมเสส (Moses) มีชีวิตเติบโต รูปสลักเดวิด (Devid) รูปสลักปเอตา (Pieta) รูปสลัก ด มีของเลนชิ้นแรกในชีวิตเปน อยูทามกลางแหลงหินออนพรอมกับคอนและสิ่วสกั ยหลอหลอมความสนใจและสราง เครื่องมือตัดหิน สิ่งแวดลอมรอบตัวเหลานี้มีสวนชว อัจฉริยภาพทางการแกะสลักหินออนใหแกเขา เทคนิคและวิธีการในการสรางสรรคผลงาน มีเกลันเจโลนําหินออนเนื้อขาวบริสุทธิ์มา แกะสลัก โดยมีการออกแบบจัดวางองคประกอบ ตางๆ ไวลวงหนาอยางลงตัว นําเสนอเรื่องราว ผานรูปทรงที่ซับซอน การแกะสลักใชทักษะ และความสามารถเฉพาะตัว ความงามอยูที่ การแสดงลักษณะทางกายวิภาคไดอยางถูกตอง ตามสัดสวน มีการเก็บรายละเอียดของกลามเนือ้ เสนเอ็น รวมทั้งองคประกอบอื่นๆ เชน รอย ยับยนของผืนผาและพระพักตรที่สื่ออารมณ ความรูสึกไดอยางสมจริง ทําใหผูชมผลงาน เกิดอารมณความรูสึกคลอยตามอยางที่ศิลปน

กิจกรรมที่ ๒ กิจกรรมที่ ๓

ารศึกษาเรียนรูในทางทัศนศิลป นอกจากจะเรียนทักษะปฏิบัติที่จะตองนําไปใชสรางสรรคผลงาน แลว ความรูที่จําเปนอีกประการหนึ่ง คือ การรูจักคิดวิเคราะหผลงานทัศนศิลป โดยตองใหมีความรูที่สามารถ จะบรรยายไดวาผลงานทัศนศิลปนั้นๆ มีรูปแบบใด เนื้อหาสาระของงานเปนเชนใด และมีคุณคาอยางไร ซึ่งความรูที่ไดนี้สามารถจะนําไปใชวิเคราะหทั้งผลงานของตนเอง ผลงานที่ผูอื่นสรางสรรค และผลงานของ ศิลปนทานอื่นๆ อันจะเปนประโยชนตอการเกิดความรู ความเขาใจ และนําไปใชพัฒนาผลงานทัศนศิลป ของตนใหมีคุณภาพมากยิ่งขึ้นได

ตองการ

๗๒

๒๒ 100

ศิลปปฏิบัติ ๔.๒ เชิญผูรูมาบรรยายและสาธิตการวิเคราะหผลงานทัศนศิลปใหนักเรียนไดศึกษาหรือหาตัวอยาง การวิเคราะหผลงานทางศิลปะจากแหลงเรียนรูตางๆ มาใหนักเรียนไดศึกษาเพิ่มเติม นักเรียนจับคูกัน ๒ คน ทําการวิเคราะหรูปแบบ เนื้อหาและคุณคาในผลงานทัศนศิลปจํานวน ๒ ชิ้น โดยวิเคราะหผลงานทัศนศิลปของตนเอง ๑ ชิ้น และผลงานที่ผูอื่นหรือที่ศิลปนสรางสรรค ๑ ชิ้น แลวนําผลงานการวิเคราะหสงครูผูสอน ตอบคําถามตอไปนี้ ๑. เพราะเหตุใด เราจึงตองรูจักวิเคราะหผลงานทัศนศิลป ๒. เน�้อหาที่ปรากฏอยูในผลงานทัศนศิลป ถานํามาจัดหมวดหมู จะแยกไดเปนกี่ประการ อะไรบาง ๓. จงวิเคราะหถึงความสัมพันธระหวางรูปแบบ เน�้อหาและคุณคาที่อยู ในงานทัศนศิลป วามี ความเชื่อมโยงกันอยางไร


กระตุน ความสนใจ Engage

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

ñ

ó

● ●

● ●

ô

● ●

õ

Expand

·Ñȹ¸ÒµØáÅÐËÅÑ¡¡ÒÃÍ͡Ẻ ¡ÒÃÇÔà¤ÃÒÐË ·Ñȹ¸ÒµØáÅСÒÃÍ͡Ẻã¹ÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ ¡ÒÃÇÔà¤ÃÒÐË ·Ñȹ¸ÒµØáÅСÒÃÍ͡Ẻ㹧ҹ·ÑȹÈÔÅ»Š

ÈÔÅ» ¹·ÑȹÈÔÅ»ŠÊҢҨԵáÃÃÁ ÈÔÅ» ¹·ÑȹÈÔÅ»ŠÊÒ¢Ò»ÃеÔÁÒ¡ÃÃÁ ÈÔÅ» ¹·ÑȹÈÔÅ»ŠÊÒ¢ÒÊ×èͼÊÁ

¡ÒÃÊÌҧÊÃä ¼Å§Ò¹·ÑȹÈÔÅ»ŠáººÊ×èͼÊÁ ¡ÒÃÊÌҧÊÃä ¼Å§Ò¹·ÑȹÈÔÅ»Šáºº ò ÁÔµÔ áÅÐ ó ÁÔµÔ ¡ÒÃÊÌҧÊÃä ¼Å§Ò¹·ÑȹÈÔÅ»Šá¹Ç¨ÔµÃ¡ÃÃÁä·Â ¡ÒÃÊÌҧÊÃä ¼Å§Ò¹·ÑȹÈÔÅ»Šà¾×èÍÊ×èͤÇÒÁËÁÒÂáÅÐà˵ءÒó

¡ÒÃÇÔà¤ÃÒÐË ¼Å§Ò¹·ÑȹÈÔÅ»Š ●

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล

¡ÒÃÊÌҧÊÃä ¼Å§Ò¹·ÑȹÈÔÅ»Š ●

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

Explain

à·¤¹Ô¤ÇÔ¸Õ¡ÒÃ㹡ÒÃÊÌҧ§Ò¹·ÑȹÈÔÅ»Š¢Í§ÈÔÅ» ¹ ●

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

อธิบายความรู

·Ñȹ¸ÒµØáÅÐËÅÑ¡¡ÒÃÍ͡Ẻã¹ÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁáÅÐ §Ò¹·ÑȹÈÔÅ»Š ●

ò

Explore

Evaluate

ÊÒúÑÞ ●

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

สํารวจคนหา

¡ÒÃÇÔà¤ÃÒÐË ¼Å§Ò¹·ÑȹÈÔÅ»Š ÃٻẺ¢Í§¼Å§Ò¹·ÑȹÈÔÅ»Š à¹×éÍËҢͧ¼Å§Ò¹·ÑȹÈÔÅ»Š ¤Ø³¤‹Ò¢Í§¼Å§Ò¹·ÑȹÈÔÅ»Š

·ÑȹÈÔÅ»Š¡Ñº¡ÒûÃСͺÍÒªÕ¾ ● ●

·ÑȹÈÔÅ»Š¡ÑºªÕÇÔµ»ÃШíÒÇѹ ·ÑȹÈÔÅ»Š¡Ñº¡ÒûÃСͺÍÒªÕ¾

ñ-ñô ò ö ù

ñõ-óð ñö òò òõ

óñ-õö óò óø ôõ õð

õ÷-÷ò õø öð öò öø

÷ó-øø ÷ô ÷ö


กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา Explore Engage ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

ö

÷

Explain

Expand

Evaluate

¡ÒèѴ¹Ô·ÃÃÈ¡Ò÷ҧ·ÑȹÈÔÅ»Š ● ● ●

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล

¤ÇÒÁÊíÒ¤Ñޢͧ¹Ô·ÃÃÈ¡Ò÷ҧ·ÑȹÈÔÅ»Š ¢Ñ鹵͹¡ÒèѴ¹Ô·ÃÃÈ¡Ò÷ҧ·ÑȹÈÔÅ»Š ࡳ± ¡ÒäѴàÅ×Í¡¼Å§Ò¹·ÑȹÈÔÅ»Šà¾×èͨѴ¹Ô·ÃÃÈ¡ÒÃ

·ÑȹÈÔÅ»Š¡ÑºÇѲ¹¸ÃÃÁ ● ● ●

·ÑȹÈÔÅ»Š¡Ñº¡ÒÃÊзŒÍ¹¤Ø³¤‹Ò·Ò§ÇѲ¹¸ÃÃÁ ¤ÇÒÁᵡµ‹Ò§¢Í§§Ò¹·ÑȹÈÔÅ»Šã¹áµ‹ÅÐÂؤÊÁÑ¢ͧÇѲ¹¸ÃÃÁä·Â ¤ÇÒÁᵡµ‹Ò§¢Í§§Ò¹·ÑȹÈÔÅ»Šã¹áµ‹ÅÐÂؤÊÁÑ¢ͧÇѲ¹¸ÃÃÁÊÒ¡Å

ºÃóҹءÃÁ

øù-ñðò ùð ùñ ù÷

ñðó-ñòò ñðô ñð÷ ññó

ñòó


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Elaborate

Evaluate

เปาหมายการเรียนรู 1. บรรยายการใชทัศนธาตุและ การออกแบบในงานทัศนศิลป 2. วิเคราะหการใชทัศนธาตุและ การออกแบบในงานทัศนศิลป 3. อธิบายความสําคัญของสิง่ แวดลอม ที่มีผลกับการสรางสรรคงานศิลปะ 4. สรุปความรูความเขาใจเกี่ยวกับ ทัศนธาตุและหลักการออกแบบใน สิ่งแวดลอม และนําไปใชในชีวิต ประจําวันได

กระตุนความสนใจ

หนวยที่

ñ

ทัศนธาตุและหลักการออกแบบในสิ่งแวดลอมและงานทัศนศิลป ตัวชี้วัด ■

บรรยายสิ่งแวดลอมและงานทัศนศิลปที่เลือกมา โดยใชความรู เรื่องทัศนธาตุและหลักการออกแบบ (ศ ๑.๑ ม.๓/๑) วิเคราะหและบรรยายวิธีการใชทัศนธาตุ และหลักการออกแบบ ในการสรางงานทัศนศิลปของตนเองใหมีคุณภาพ (ศ ๑.๑ ม.๓/๓)

สาระการเรียนรูแกนกลาง ■

ทัศนธาตุ หลักการออกแบบในสิ่งแวดลอม และงานทัศนศิลป วิธีการใชทัศนธาตุและหลักการออกแบบ ในการสรางงานทัศนศิลป

สิ่งแวดล งแวดลอมที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติหรือที่มนุษย

สรางขึ้น เมื่อพิจารณาลงไปในรายละเอียด จะพบวาเกิดจาก การผสมผสานกันขององคประกอบตางๆ ของทัศนธาตุ โดยมี การออกแบบจัดวางอยางลงตัว จึงทําใหเกิดความงดงามขึ้น ซึ่ ง สามารถอธิ บ ายบรรยายให ผู  อื่ น เข า ใจถึ ง ความงดงามนี้ ไ ด โดยใชความรูเรื่องทัศนธาตุและหลักการออกแบบ การมีความรู ความเขาใจในเรือ่ งนีจ้ ะชวยใหสามารถพัฒนาผลงานทัศนศิลปของตน ใหมีคุณภาพยิ่งขึ้นได

ครูพานักเรียนชมสวนหยอมหรือ สวนสาธารณะบริเวณโรงเรียนหรือ ภายในชุมชน แลวใหนักเรียนชวยกัน จําแนกสิ่งแวดลอมรอบๆ ตัวที่มี ความงดงามวามีอะไรบาง จากนั้น ครูตั้งคําถามกับนักเรียนวา • “ธรรมชาติคูกับศิลปะ” จริงหรือไม • ถาสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติ เปลี่ยนแปลงไป จะสงผลตอ งานศิลปะหรือไม • สิ่งแวดลอมทางธรรมชาติมี ความสําคัญตอการสรางสรรค ผลงานศิลปะอยางไร

เกร็ดแนะครู ครู ค วรพานั ก เรี ย นออกไปนอก หองเรียน เพื่อใหนักเรียนรูจักสังเกต สิ่งแวดลอมรอบตัวและรูจักพิจารณา ความงดงามจากสิ่งแวดลอมที่ตนได พบเห็น

คูมือครู

1


กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Explore

Engage

Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Elaborate

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 30%)

กระตุนความสนใจ ครูนําสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับ สิ่งแวดลอมบริเวณโรงเรียนที่นักเรียน ไดพบเห็นมาแลว เชน สนามหญา สวนหย อ ม บ อ นํ้ า ตนไม ผลงาน ประติมากรรม เปนตน จากนั้นให นักเรียนชวยกันจําแนกวา • อะไรเปนสิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้น เองตามธรรมชาติ • อะไรเปนสิ่งแวดลอมที่มนุษย สรางขึ้น

ñ. ·Ñȹ¸ÒµØáÅÐËÅÑ¡¡ÒÃÍ͡Ẻ สิ่งแวดลอม (Environment) คือ ปรากฏการณตางๆ หรือสรรพสิ่งทั้งหลายที่ลอมรอบตัวเรา ซึ่งแบงออก เปน ๒ ประเภท ไดแก สิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เชน ปาไม ภูเขา หาดทราย ทะเล ดอกไม นํ้าตก เมฆ หมอก เปนตน สิ่งแวดลอมที่มนุษยสรางขึ้น เชน อาคารบานเรือน ถนน ไฟฟา สวนสาธารณะ โบราณสถาน เปนตน ซึ่งไมวาจะเปนสิ่งแวดลอมประเภทใด ถาพิจารณาอยางถี่ถวน จะพบวาสิ่งแวดลอมดังกลาวลวนมี ทัศนธาตุปรากฏอยูทั้งสิ้น แตมีลักษณะแตกตางกัน เชน ถนนที่ทอดยาวออกไปสุดสายตาจนเห็นเปนจุดเล็กๆ ขอบฟาบริเวณชายทะเลที่เห็นเปนเสนโคง สีเขียวขจีของตนหญา ผิวขรุขระของกอนหิน เงาของตนไม เปนตน ซึง่ ศิลปนไดแบบอยางจากธรรมชาติมาสรางสรรคเปนผลงานทัศนศิลป โดยใชองคประกอบของทัศนธาตุนาํ มาออกแบบ ผสมผสานในลักษณะตางๆ

สํารวจคนหา ใหนักเรียนชวยกันสืบคนวา สิ่งแวดลอมทางธรรมชาติ และ สิ่งแวดลอมที่มนุษยสรางขึ้น มีองคประกอบทางทัศนธาตุอะไร ที่เหมือนกันบาง

เกร็ดศิลป ภาพที่เราเห็นในสิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและในผลงานทัศนศิลป ลวนมีทัศนธาตุปรากฏอยูดวยกันทั้งสิ้น หากแตทัศนธาตุในภาพทั้ง ๒ ประเภทมีความแตกตางกัน ซึ่งสามารถจะเ สามารถจะเปรียบเทียบได ดังนี้

ทัศนธาตุในสิ่งแวดลอม

อธิบายความรู

๑. ๒. ๓. ๔.

ครูใหนักเรียนชวยกันเปรียบเทียบ ลักษณะของทัศนธาตุในสิ่งแวดลอม ทางธรรมชาติกับทัศนธาตุใน สิ่งแวดลอมที่มนุษยสรางขึ้นวามี ความเหมือนหรือแตกตางกันอยางไร ทั้งนี้ครูอาจหาภาพถายสิ่งแวดลอมที่ เปนภาพทิวทัศนกบั ภาพผลงานทัศนศิลป มาใหนักเรียนดู เพื่อใหงายตอ การเปรียบเทียบและทําความเขาใจ โดยให นั ก เรี ย นสรุ ป และจดบั น ทึ ก สาระสําคัญ สงครูผูสอน

นักเรียนควรรู เสน เปนองคประกอบหนึ่งในทัศนธาตุ ซึ่งลักษณะของเสนแตละแบบ จะทําใหเกิดอารมณความรูสึกในการ มองแตกตางกันออกไป เชน เสนโคง จะสื่ อ ถึ ง การเคลื่ อ นไหวอย า งช า ๆ หรือสื่อถึงการลื่นไหล ความตอเนื่อง ความสุ ภ าพ ความอ อ นโยน ความ นุมนวล เปนตน

2

คูมือครู

เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ รูปทรงที่ปรากฏจะเปนไปอยางอิสระ รูปทรงมีการเปลี่ยนแปลงไปตามธรรมชาติ รูปลักษณะและความงามจะปรากฏตามกฎของ ธรรมชาติ

ทัศนธาตุในงานทัศนศิลป ๑. เกิดขึ้นจากการสรางสรรคของมนุษย ๒. รูปทรงเปนไปตามจินตนาการและแนวคิดของผูสราง ๓. รูปทรงจะมีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลาตามแนวคิด ของผูสรางสรรค ๔. รูปทรงและคามงามมีปรากฏอยูไดทุกเวลา ทุกพื้นที่ ตามแนวคิดในการสรางสรรค

นักเรียนควรรู รูปทรงที่ปรากฏจะเปนไปอยางอิสระ หมายความวา ไมมีรูปแบบที่แนนอนตายตัว ไม ส ามารถคาดเดา หรื อ กํ า หนดให เ ป น อยางนั้น อยางนี้ไดตามที่ตองการ เชน สีของ ดวงอาทิตยในแตละวัน เปนตน

นักเรียนควรรู การเปลี่ยนแปลงไปตามธรรมชาติ จะขึ้นอยู กับปจจัยตางๆ ที่ธรรมชาติเปนตัวกําหนด ซึ่งอยู นอกเหนือการควบคุมของมนุษย เชน การผลัด เปลี่ยนสีของใบไมในแตละฤดูกาลที่จะมีลักษณะ แตกตางกัน เปนตน


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา Explore

ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล

อธิบายความรู Explain

Evaluate

Expand

Engage

สํารวจคนหา ให นั ก เรี ย นหาภาพทั ศ นศิ ล ป ม า คนละ 1 ภาพ ติดบนกระดาษรายงาน พรอมทั้งใหนักเรียนวิเคราะหวา ภาพ นั้นประกอบดวยทัศนธาตุอะไรบาง และมีการใชทัศนธาตุอะไรที่โดดเดน แล ว นํ า ส ง ครู ผู  ส อน จากนั้ น ครู สุ  ม ตั ว อย า งคั ด เลื อ กผลงาน 2 - 3 ชิ้ น ให เ จ า ของผลงานมาสรุ ป ผลการ วิเคราะหใหเพือ่ นฟง แลวรวมกันแสดง ความคิดเห็น

๑.๑ ทัศนธาตุ ทัศนธาตุ (Visual element) หมายถึง สวนประกอบของการมองเห็น ซึง่ ประกอบไปดวย จุด เสน รูปราง รูปทรง นํ้าหนักออน-แก พื้นที่วาง พื้นผิว และสี ในการสรางสรรคผลงานศิลปะแขนงใด ก็ตาม ลวนแตตองใชองคประกอบตางๆ ดั งกลา วของทัศนธาตุนํามาออกแบบ จั ด วางให ผ สมผสานกั น ตามหลั ก การ ออกแบบดวยกันทั้งสิ้น องคประกอบของทัศนธาตุ

อธิบายความรู

๑ จุด เปนสวนที่เล็กที่สุดในผลงาน เปนตนกําเนิดของเสน รูปราง รูปทรง แสง เงา พื้นผิว ถานําจุด มาวางเรียงตอกัน และทําซํ้าๆ จะเกิดเปนเสน หรือถานําจุดมาวางรวมกลุมกันใหเหมาะสม ก็จะ เกิดเปนรูปราง รูปทรง พื้นผิว แสงเงาได

ครูใหนักเรียนดูภาพประกอบจาก หนังสือเรียนหนา 3 แลวพิจารณาวา ภาพดั ง กล า วมี อ งค ป ระกอบของ ทัศนธาตุอะไรบาง และนักเรียนสังเกต จากอะไร ( แนวตอบ ภาพนี้ มี อ งค ป ระกอบ ของทัศนธาตุทั้ง 7 อยาง ไดแก จุด เสน รูปราง รูปทรง นํ้าหนักออน - แก พื้นที่วาง พื้นผิวและสี สวนการสังเกต ให พิ จ ารณาจากการให เ หตุ ผ ลของ นักเรียนประกอบการอธิบาย)

๒ เสน มีผลตอการรับรูและกระตุนใหเกิดอารมณความรูสึก เสนเปนพื้นฐานสําคัญของการ สร า งสรรค ง านทั ศ นศิ ล ป ทุ ก แขนง โดยเฉพาะใช ร  า งภาพเพื่ อ ถ า ยทอดสิ่ ง ที่ เ ราเห็ น หรื อ สิ่ ง ที่ จินตนาการสื่อออกมาเปนภาพ ๓ รูปราง รูปทรง เกิดจากการนําเอาเสนลักษณะตางๆ มาประกอบใหเปนเรื่องราว ทั้งนี้รูปราง จะเปนเสนโครงของวัตถุสิ่งของ มีลักษณะ ๒ มิติ คือ กวาง และยาว สวนรูปทรง เปนเสนโครง ของวัตถุสิ่งของ มีลักษณะ ๓ มิติ คือ กวาง ยาว และลึก (หนา) ๔ นํ้าหนักออน-แก คือ จํานวนความเขม ความออนของสีและแสงเงาตามที่ประสาทตารับรู เมือ่ เทียบกับนํา้ หนักของสีขาว-ดํา เมือ่ ใชนาํ้ หนักทีต่ า งกันของสีและแสงเงา จะทําใหเกิดรูปลักษณะ ตาง ๆ ๕ พื้นที่วาง คือ บริเวณที่เปนความวาง ไมใชสวนที่เปนรูปทรงหรือเนื้อหา การกําหนดพื้นที่ที่ เหมาะสม จะชวยทําใหผลงานดูแลวสบายตา ไมอึดอัดหรืออางวางโดดเดี งโดดเ ่ยว

ขยายความเขาใจ

๖ พื้นผิว คือ พื้นผิวของวัตถุตางๆ ที่เกิดจากธรรมชาติและที่มนุษยสรางสรรคขึ้น พื้นผิวของวัตถุ ที่มีคุณสมบัติแตกตางกัน ยอมใหอารมณความรูสึกที่ไดจากการมองแตกตางกันดวย ๗ สี คือ ปรากฏการณของแสงทีต่ กกระทบกับวัตถุแลวสะทอนเขาสูต าของมนุษย จึงทําใหมองเห็นเปน สีตางๆ ซึ่งสีจะปรากฏจะอยูในทุกสรรพสิ่งและมีอิทธิพลตออารมณความรูสึก เปนสวนประกอบ สําคัญที่สงผลใหผลงานมีความงดงาม

๓ ตรวจสอบผล ครู พิ จ ารณาจากชิ้ น งาน การ วิ เ คราะห อ งค ป ระกอบทั ศ นธาตุ ใ น ผลงานทัศนศิลป

ครูตั้งคําถามใหนักเรียนรวมกัน แสดงความคิ ด เห็ น ว า ในภาพวาด หนึ่ ง ๆ จํ า เป น ต อ งมี อ งค ป ระกอบ ทัศนธาตุครบถวนหรือไม และถาขาด องคประกอบของทัศนธาตุอยางใด อยางหนึ่งไปจะเกิดผลอยางไร (แนวตอบ ภาพวาดแตละภาพ ไมจําเปนจะตองมีองคประกอบของ ทัศนธาตุครบถวน ภาพนั้นก็สามารถ เสร็จสมบูรณ มีความงดงามขึ้นมาได ดังนั้น หากขาดทัศนธาตุอยางใด อยางหนึ่งไป อาจไมมีผลกระทบตอ ผลงาน ขึ้นอยูกับแนวคิดและวิธีการ ออกแบบของศิลปนผูสรางสรรค)

คูมือครู

3


กระตุน ความสนใจ Engage

อธิบายความรู ขยายความเขาใจ

สํารวจคนหา Explore

Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

กระตุนความสนใจ ใหนักเรียนดูและสังเกตภาพหนา 4 ครูกระตุนดวยคําถามวา • ภาพนี้ ส อดคล อ งกั บ หลั ก การ ออกแบบหรือไม เพราะเหตุใด ( แนวตอบ ภาพนี้ เ ป น ตั ว อย า ง ผลงานที่ มี ก ารออกแบบได ดี การให สี เรื่ อ งราวในภาพและ บรรยากาศมีความเปนเอกภาพ ความกลมกลื น ไม มี ส  ว นใด ขัดแยงกัน การจัดวางนํ้าหนัก และแรงถ ว งทั้ ง ด า นซ า ยและ ดานขวามีความสมดุลกัน) • ถาผลงานทัศนศิลปไมคํานึงถึง หลักการออกแบบ ผลงานนั้นจะ เกิดความงดงามขึ้นไดหรือไม (แนวตอบ ไมงดงาม เพราะผลงาน ที่ดูแลวจะเกิดสุนทรียภาพ เกิด ความงดงาม ดู แ ล ว สบายตา ให ค วามรู  สึ ก ที่ ดี การจั ด วาง องค ป ระกอบต า งๆ จะต อ งมี ความลงตัว นั่นคือ มีความเปน เอกภาพ มีความกลมกลืน และ มีความสมดุล)

๑.๒ การออกแบบ การออกแบบ (Design) หมายถึง การวางแผน การกําหนดขั้นตอน วิธีการ การเลือกใชวัสดุ เพื่อ สรางสรรคถายทอดความคิด จินตนาการของตนใหออกมาเปนผลงานที่ผูอื่นสามารถมองเห็น รับรู หรือสัมผัสได เพื่อใหเกิดความเขาใจตอผลงานรวมกัน ซึ่งการออกแบบที่ดีจะตองคํานึงถึงหลักการสําคัญ ๓ ประการ ไดแก

ผลงาน “ฉากในตลาด” ของปเอเตอร แอรทเซน (Pieter Aertsen) ศิลปนชาวดัตช นอกจากเนื้อหาสาระและวัฒนธรรมที่ปรากฏอยูในภาพแลว การออกแบบยังมีการจัดวางไดอยางลงตัวทั้งความเปนเอกภาพ ความสมด ความสมดุล และความกลมกลืน

หลักการออกแบบ

สําหรับสิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นเองตาม ๑ ความเปนเอกภาพ เปนการจัดระเบียบองคประกอบของ ธรรมชาติ ในทางศิลปะถือวามีความสําคัญเพราะ ทัศนธาตุใหเกิดรูปทรงที่รวมกลุมกัน ไมแตกแยก เปนตนแบบใหมนุษยไดนํามาใชสรางสรรคผลงาน ทางทัศนศิลปใหเกิดสุนทรียภาพ โดยมักจะไดยิน ๒ ความกลมกลืน เปนการจัดองคประกอบของผลงานใหมี คํากลาวที่วา “ธรรมชาติเปนครู” เพราะธรรมชาติ ความรูสึกสอดคลอง มีความสัมพันธตอกัน หรือเขากัน ใหกําเนิดทุกสรรพสิ่งทั้งที่มชี ีวิตและไมมีชีวิต ซึ่งมี ไดดี รูปราง รูปทรง สีสันที่แตกตางกัน มีความสัมพันธ ๓ ความสมดุล เปนการจัดองคประกอบของผลงานใหมี ตอกันอยางกลมกลืนเปนระบบหรืออาจขัดแยงกัน ความเทากัน เสมอกัน มีนํ้าหนักและแรงถวงทั้งดานซาย แต ก็ ส ามารถดํ า รงอยู  ร  ว มกั น ได อ ย า งสมดุ ล และดานขวาของผลงานเทากัน มีเอกภาพ และงดงาม การศึกษาศิลปะในหนวยนี้ มุง ใหผเู รียนเกิดทักษะความสามารถในการบรรยายใหผอู นื่ รับรูเ กีย่ วกับสิง่ แวดลอม และงานทัศนศิลป โดยในการบรรยายจะตองใชความรูเ รือ่ งทัศนธาตุรวมทัง้ หลักการออกแบบทางทัศนศิลปมาวิเคราะห สิ่งที่จะบรรยาย รวมทั้งความรูที่ไดรับยังสามารถนําไปใชพัฒนาผลงานทัศนศิลปของตนใหมีคุณภาพขึ้นอีกดวย

อธิบายความรู ใหนกั เรียนรวมกันอภิปรายเกีย่ วกับ ความสําคัญของการออกแบบ และ ลักษณะของความเปนเอกภาพ ความ กลมกลืน และความสมดุล โดยครูควร ยํา้ ใหนกั เรียนเห็นวาองคประกอบทัง้ 3 ประการ นักเรียนจะตองยึดถือเปนหลัก ในการสรางสรรคผลงาน

ขยายความเขาใจ ให นั ก เรี ย นแต ล ะคนหาตั ว อย า ง ภาพผลงานที่ มี ก ารออกแบบกั บ ผลงานที่ไมมีการออกแบบ แลวนํามา เปรียบเทียบกัน พรอมเขียนบรรยาย อารมณความรูสึกจากการพิจารณา ภาพทัง้ 2 แบบ วาเหมือนหรือแตกตาง กั น อย า งไร หรื อ ดู แ ล ว ให อ ารมณ อยางไร ติดลงบนกระดาษรายงาน แลวนําสงครูผูสอน

4

คูมือครู

EB GUIDE

http://www.aksorn.com/LC/Va/M3/01

NET ขอสอบป 53 ขอสอบออกเกี่ยวกับหลักการจัดองคประกอบศิลป ซึ่งจะเห็นวามีลักษณะบางประการเหมือนกับ หลักการออกแบบ โดยโจทยถามวา ขอใดไมใชหลักการจัดองคประกอบศิลป 1. เอกภาพ 2. จินตนาการ 3. ความสมดุล 4. จุดสนใจ (วิเคราะหคําตอบ ขอ 2. การจัดองคประกอบศิลป จะประกอบดวยเอกภาพ ความสมดุล จังหวะและ จุดสนใจ ความกลมกลืนและความขัดแยงและสัดสวน ดังนั้น จินตนาการจึงเปนคําตอบที่ไมถูกตอง)


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ขยายความเขาใจ ครูใหนักเรียนยกตัวอยางผลงาน การปรับ ปรุงสิ่งแวดลอมในทองถิ่น หรือจังหวัดวามีลกั ษณะสอดคลองกับ หลักการออกแบบอยางไร โดยจําแนก ใหเห็นองคประกอบการออกแบบใน แตละดาน ทัง้ นีค้ วรมีภาพประกอบให ดูดวย เพื่อสรางความเขาใจที่ชัดเจน

เสริมสาระ การออกแบบกับสิ่งแวดลอม ธรรมชาติไดออกแบบสิง่ แวดลอมทีม่ คี วามสลับซับซอน งดงามไดอยางนาอัศจรรย ซึง่ ศิลปนไดนาํ แรงบันดาลใจนีม้ าเลียนแบบสรางเปน ผลงานทัศนศิลปขึ้นในรูปแบบตางๆ แตสิ่งแวดลอมก็มิไดมีความสมบูรณไปเสียทั้งหมด บางสวนก็ยังมีความไมงามผสมผสานอยู หรือไมเอื้อ ประโยชนในการใชสอย มนุษยจึงทําการออกแบบปรับปรุงสิ่งแวดลอมที่อยูรอบๆ ตัวดวยวิธีการตางๆ เพื่อประโยชน ดังนี้ ๑. เพือ่ ความสวยงาม เปนการสรางบรรยากาศจากสิง่ ทีไ่ มงามให มีความงาม หรืองามอยูแลวใหงามมากขึ้น เชน การจัดสวนดอกไม การนําผลงานทัศนศิลปมาเสริมแตง การตัดแตงพันธุไมเปนรูปราง ตางๆ การสรางสระน้ํา ทําน้ําพุ น้ําตก เปนตน

เกร็ดแนะครู ครูควรอธิบายเกี่ยวกับการปรับปรุง สภาพภูมิทัศนในบริเวณตางๆ ของ ทองถิ่นหรือภายในจังหวัด วามีการ ออกแบบทําใหเกิดความงดงามขึ้นได อยางไร เชน การสรางสวนสาธารณะ การปลูกตนไมบริเวณเกาะกลางถนน หรือริมถนน การทําแนวเขื่อนริมตลิ่ง เพื่อปองกันการกัดเซาะของนํ้า ทั้งนี้ ถ า หาภาพประกอบมาเปรี ย บเที ย บ บริเวณกอนที่จะจัดทํากับหลังจัดทํา มาใหนักเรียนดูดวยก็จะเปนการดี

๒. เพื่อประโยชนใชสอย มีการสรางสรรคสิ่งใหมๆ ซึ่งโดย มากมักจะเปนผลงานทางสถาปตยกรรม เพื่อใชประโยชนใชสอย ในดานที่เปนประโยชนตอการดํารงชีวิต เชน การสรางสะพาน เชื่อมสองฝงของทะเลสาบเพื่อความสะดวกในการสัญจร การสราง ประภาคารเพื่อติดตั้งสัญญาณไฟสําหรับเรือ เปนตน

นักเรียนควรรู

๓. เพื่อรักษาสิ่งแวดลอม สิ่งแวดลอมบางบริเวณอาจเกิด ความเสียหายดวยปจจัยจากธรรมชาติเอง มนุษยจึงไดหาวิธีการ แกไขปญหาดวยการออกแบบปรับปรุงสิ่งแวดลอมในบริเวณนั้นๆ เชน การปลูกแนวตนไมเพื่อปองกันการรุกคืบของทะเลทราย การ ทําแนวเขื่อนชายฝงเพื่อปองกันการกัดเซาะจากคลื่น เปนตน ทั้งนี้ การออกแบบที่ดีจะตองผสมกลมกลืนเขากันไดดีกับ สิ่งแวดลอม ไมกอใหเกิดผลกระทบตางๆ ตามมา และควรมีสวน ชวยทําใหสิ่งแวดลอมในบริเวณนั้นมีความสวยงาม มีความโดดเดน ดวย

ความงาม ในผลงานทัศนศิลป สามารถแบงไดเปน 2 ลักษณะ คือ ความงามทางกายภาพ เกิดจาก รูปแบบและรูปทรงที่สื่อถึงเรื่องราว หรือเกิดจากองคประกอบของ ทัศนธาตุที่ประสานกันไดอยางเปน เอกภาพ กลมกลืนและสมดุล ความงามทางใจ เปนความรูสึก ทางอารมณที่มีตองานทัศนศิลป ดูแลวเกิดความประทับใจ มีอารมณรวม ซึ่งแตละคนก็จะมี ความประทับใจแตกตางกันออกไป

คูมือครู

5


กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Explore

Engage

Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Elaborate

Evaluate

กระตุนความสนใจ ใหนกั เรียนดูและพิจารณาภาพจาก หนังสือเรียน หนา 6 ครูตั้งคําถามเชิง กระตุนวา • นักเรียนดูภาพนี้แลวมีความรูสึก อยางไร ( แนวตอบ ขึ้ น อยู  กั บ การอธิ บ าย เหตุผลของนักเรียน ทัง้ นี้ อาจสุม ถามนักเรียน 4 - 5 คน ซึ่งจะได คํ า ตอบที่ ห ลากหลาย ครู ส รุ ป ใหนักเรียนเขาใจวา ความงาม ความประทับใจตอผลงานทัศนศิลป แตละคนอาจจะมีมุมมอง มีทัศนะที่แตกตางกัน ไมมีอะไร ถูก - ผิด) • ภาพนี้ มี อ งค ป ระกอบทั ศ นธาตุ อะไรบาง (แนวตอบ มีองคประกอบตางๆ ทางทัศนธาตุครบถวน ทัง้ จุด เสน รูปราง รูปทรง นํ้าหนักออน - แก พื้นที่วาง พื้นผิว และสี)

ò. ¡ÒÃÇÔà¤ÃÒÐË ·Ñȹ¸ÒµØáÅСÒÃÍ͡Ẻã¹ÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ การวิเคราะหทัศนธาตุในสิ่งแวดลอม หมายถึง การพิจารณาแยกแยะลักษณะตางๆ ที่พบเห็นใน สิ่งแวดลอมวา สวนใดเปนจุด เปนเสน พื้นผิวเปนเงามัน ขรุขระ หรือเปนรูปทรง สีสันมีนํ้าหนักออนแกอยางไร รวมทั้งการปลอยพื้นที่วางในผลงานมีมากนอยเพียงใด ซึ่งความสามารถในการจําแนกแยกแยะและสื่อสารใหผูอื่น เขาใจไดนนั้ จําเปนตองใชความรูเ รือ่ งทัศนธาตุซงึ่ เปนความรูเ ฉพาะทางดานทัศนศิลปเปนหลักในการอธิบาย รวมถึง ลักษณะในการออกแบบวามีความเปนเอกภาพ ความกลมกลืน และความสมดุลมากนอยอยางไร ซึ่งสามารถแบง การวิเคราะหไดเปน ๒ ประเภท คือ ทัศนธาตุและการออกแบบในสิง่ แวดลอมทีเ่ กิดขึน้ เองตามธรรมชาติ กับทัศนธาตุ และการออกแบบในสิ่งแวดลอมที่มนุษยสรางขึ้น

๒.๑ ทัศนธาตุและการออกแบบในสิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ สิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ไมวาจะเปนทองฟา ดอกไม ผีเสื้อ รุง นํ้าตก ดวงดาว ทะเล ปาไม ภูเขา และอืน่ ๆ อีกมากมาย ลวนมีความงดงามผสมผสานอยู ซึง่ สามารถคัดเลือกมาวิเคราะหเพือ่ ใหเห็นถึงทัศนธาตุ และหลักการออกแบบได เพือ่ ใหสะดวกแกการทําความเขาใจจะใชภาพถายจริงมาเปนตัวอยางประกอบการวิเคราะห ดังตอไปนี้ ตัวอยางที่ ๑ กอนหินกํามะหยี่

สํารวจคนหา ใหนักเรียนสํารวจสิ่งแวดลอมทาง ธรรมชาติ ที่ อ ยู  ใ นบริ เ วณโรงเรี ย น วามีทัศนธาตุอะไรปรากฏอยูบาง

อธิบายความรู ครูสุมนักเรียน 2 - 3 คนใหนําเสนอ ข อ มู ล ที่ ไ ปสํ า รวจค น หามาที่ ห น า ชั้ น เรี ย น โดยให บ รรยายถึ ง ความ งดงามของทั ศ นธาตุ ที่ ป รากฏใน สิ่งแวดลอมทางธรรมชาติ อาจเปน รูปราง รูปทรง สี แสงเงา พื้นผิวก็ได

เกร็ดแนะครู ครูควรสรุปใหนักเรียนฟงวา สิ่งแวดลอมรอบๆ ตัวเรา ลวนมีความงามซึ่งเกิดจากทัศนธาตุและการออกแบบที่ ลงตัวซอนอยูท งั้ สิน้ ถาเราเปดใจใหกวางก็จะเห็นความงาม นั้น แมสิ่งที่โดยปกติเราอาจจะมองขามไป เชน แสงที่สอง รอดเขามาทางรอยแตกของขางฝาผนัง รอยขรุขระของผิว เปลือกตนไม เปนตน

6

คูมือครู

นักเรียนควรรู ภาพถายจริง เหตุผลที่ตองใชภาพถายสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติมาทําการ วิเคราะห ก็เพื่อสะดวกแกการศึกษาทําความเขาใจจะไดทราบวา ผูวิเคราะห เลือกมุมมองแบบไหน และเลือกพื้นที่บริเวณใดมาวิเคราะห ทั้งนี้ในการเลือก ภาพมาทําการวิเคราะห ควรเปนภาพทีม่ กี ารปรุงแตงนอยทีส่ ดุ เพือ่ จะไดเขาใจ ถึงความงามของธรรมชาติจริงๆ


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

อธิบายความรู ให นั ก เรี ย นศึ ก ษาตั ว อย า งการ วิ เ คราะห ทั ศ นธาตุ แ ละหลั ก การ ออกแบบในสิ่งแวดลอมที่เกิดขึ้นเอง ตามธรรมชาติ จากหนังสือเรียนหนา 7 เปนเวลา 5 - 10 นาที จากนั้นครู สุมใหนักเรียน 3 - 5 คน ออกมาแสดง ความคิดเห็นเพิ่มเติมจากตัวอยาง

ภาพถายนี้เปนการเลือกบางมุมของธรรมชาติมาทําการวิเคราะห เพื่อสื่อใหเห็นวา ธรรมชาติทุกแหงมีแงมุม ที่เปนความงามซอนอยูมากมาย พื้นที่บางแหงแมไมมีสรรพสิ่งปรากฏอยูมาก ไมมีสีสันสะดุดตา แตถาเลือกมุมมองให ดีก็จะเห็นความงามที่ซอนอยู โดยเฉพาะความงามที่เปนศิลปะไมวาจะเปนกอนหิน สายนํ้า ขณะเดียวกันมุมมองนั้นก็ สามารถบงบอกเนื้อหาสาระบางประการ ไดเชนกัน

ทัศนธาตุที่ปรากฏ จะสังเกตไดวาภาพที่ถายจากธรรมชาติทุกภาพ เมื่อพิจารณาจะเห็นภาพรวมของรูปทรง สี แสงเงาที่ปรากฏอยางเดนชัด แตใน การวิเคราะหจะแยกแยะเปนสวนตางๆ เพือ่ ดูวา มีองคประกอบใดของทัศนธาตุ ปรากฏอยู ซึง่ ภาพนีม้ คี วามเดนชัดทีร่ ปู ราง รูปทรงของกอนหินทีเ่ ปนรูปทรง อิสระตามธรรมชาติ แสงที่ตกกระทบวัตถุมีความสวางออนๆ ชวยเพิ่มมิติให กับกอนหินมีความลึก ตื้น แสงสองสวางลงมาจากดานบนเปนหลัก พื้นผิว ที่ขรุขระของกอนหินเมื่อมีตนหญา มอสส ตะไครนํ้า และพืชชนิดอื่นๆ ที่มี สีเขียวผสมผสานกับสีเหลืองขึ้นปกคลุม ความหยาบขรุขระของกอนหินไดถูก แปรเปลี่ยนเปนความรูสึกออนนุมดุจมีผากํามะหยี่สีเขียววางคลุมไว แมจํานวน สีหลักในภาพจะปรากฏไมมาก แตนํ้าหนักออนแกของสีไดชวยทําใหเกิดความรูสึก นุม นวล ขณะเดียวกันเสนสายของนํา้ ตกสีขาวก็นาํ สายตาของผูช มจากดานบนลงสูด า นลางตัดกับพืน้ ผิว สีเขียวยังไดชวยทําใหภาพมีความสมบูรณยิ่งขึ้น รวมถึงการเลือกมุมมองของภาพยังให ความรูสึกที่ไมแนนหรืออึดอัด ปลอยพื้นที่วางใหมีความเหมาะสมลงตัว ซึ่งภาพนี้ เปนสีวรรณะเย็น เมื่อดูแลวจะใหความรูสึกที่สดชื่น เยือกเย็น สื่อถึงความอุดม สมบูรณของธรรมชาติไดชัดเจน

ขยายความเขาใจ ครูใหนักเรียนปฏิบัติกิจกรรม ดังนี้ 1. ถายภาพสิง่ แวดลอมทีเ่ กิดขึน้ เอง ทางธรรมชาติ ใ นบริ เ วณรอบๆ โรงเรียน จํานวน 1 ภาพ แลวนํา มาติดลงบนกระดาษรายงาน 2. วิเคราะหและบรรยายภาพที่ เลือกมาใหเห็นถึงทัศนธาตุและ หลักการออกแบบที่มีอยูในภาพ ดังกลาว ใหอานแลวเขาใจได อยางชัดเจน เสร็จแลวนําสงครูผูสอน เพื่อให ครูคัดเลือกผลงานที่จัดทําไดดี จํานวน 5 ผลงาน นําไปติดที่ปาย นิเทศ

การออกแบบ การวิเคราะหหลักการออกแบบในสิ่งแวดลอมที่ เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติเปนเรื่องที่วิเคราะหหรือประเมินไดยาก เพราะโดย ขอเท็จจริงธรรมชาติยอมสรางความสมดุลขึ้นเองไดอยางนาอัศจรรย มีความ เปนเอกภาพ ความสมดุล และกลมกลืนที่หลอมรวมกันเปนระบบ การวิเคราะหหลักการออกแบบในสิ่งแวดลอมตามธรรมชาติในที่นี้ สามารถกระทําไดเมื่อกําหนดกรอบหรือ ขอบเขตการมองโดยใชกรอบสี่เหลี่ยมเปนเครื่องมือเพื่อเลือกเฉพาะบางมุมมองหรือถายเปนภาพออกมา ดังนั้นการ ออกแบบจึงเปนเรือ่ งของผูส รางสรรคทเี่ ลือกมุมมองในการถายภาพไมเกีย่ วของกับธรรมชาติ เพราะแมเปนภาพทีถ่ า ย จากมุมเดียวกันเวลาเดียวกัน แตถา คนทีถ่ า ยไมใชคนเดียวกัน ภาพทีป่ รากฏออกมายอมมีมมุ มองทีแ่ ตกตางกัน เมือ่ เปน เชนนีก้ ารวิเคราะหหลักการออกแบบในสิง่ แวดลอมตามธรรมชาติ จึงเปนการวิเคราะหในสวนของการจัดภาพหรือการ เลือกมุมมองของผูถายภาพวาสามารถถายภาพออกมาไดสมบูรณเพียงใด

เกร็ดแนะครู

ภาพนีม้ กี ารออกแบบทีไ่ มสลับซับซอน โดยเลือกธรรมชาติเฉพาะบางมุมมานําเสนอ แตทาํ ใหเขาใจงาย ใหความ รูส กึ สดชืน่ สือ่ ความหมายไดชดั เจน การเลือกสัดสวนของกอนหินและแสงเงาในการสรางมิตคิ วามตืน้ ลึกทําไดกลมกลืน มีความเปนเอกภาพกับสวนอื่นๆ ของภาพ การจัดวางมีความสมดุลทั้งซายขวา จุดสนใจของภาพไมเนนไปที่บริเวณใด โดยเฉพาะ แตมองเปนภาพรวมทั้งหมด ซึ่งเนนการนําเสนอไปที่กอนหินที่มีสีเขียวของหญาขึ้นปกคลุม ขณะเดียวกัน นํา้ ตกสีขาวเปนเสนบริเวณตอนกลางและดานซายมือของภาพ ชวยทําใหเกิดจังหวะทีส่ อื่ ถึงสายนํา้ ทีไ่ หลตอเนือ่ งลงมา จากดานบน ภาพนีจ้ งึ มีความกลมกลืนทัง้ เนือ้ หาสาระและการออกแบบโดยไมมสี ว นใดทีข่ ดั แยงกัน ชวยทําใหภาพมีทงั้ ความงามและความนาสนใจ

เกร็ดแนะครู

ครูชวยชี้แนะวา ตัวอยางในหนังสือ เรียนเปนการนําภาพถายสิง่ แวดลอมที่ เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติมาวิเคราะห โดยแยกออกเป น วิ เ คราะห เ กี่ ย ว กับองคประกอบทางทัศนธาตุ และ วิเคราะหความสอดคลองกับหลักการ ออกแบบ ซึ่งในการเขียนบรรยายจะ ต อ งใช คํ า ศั พ ท ท างทั ศ นศิ ล ป และ บรรยายดวยภาษาที่ทําใหผูอื่นเขาใจ งาย

ครูแนะนําใหนักเรียนเขาใจวา การเลือกมุมถายภาพมีความสําคัญกวา บริเวณที่จะถาย ทั้งนี้ควรเลือกโฟกัสไปที่จุดใดจุดหนึ่ง เชน ภาพหยาดนํ้าคาง บนยอดหญา ภาพผีเสื้อที่มาตอมดอกไมในสนาม เปนตน โดยไมควรถายภาพ ในบริเวณที่กวางมาก เพราะจะนํามาเขียนวิเคราะหไดยาก คูมือครู

7


กระตุนความสนใจ Engage

อธิบายความรู

สํารวจคนหา Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Elaborate

Evaluate

อธิบายความรู ใหนักเรียนพิจารณาภาพตัวอยาง จากหนังสือหนา 8 วามีทัศนธาตุอะไร ปรากฏอยู  ใ นภาพบ า ง และอยู  ต รง สวนใดของภาพ จากนั้นใหนักเรียน รวมกันอธิบายเหตุผลดวยวาพิจารณา ทัศนธาตุในภาพจากอะไร

๒.๒ ทัศนธาตุและการออกแบบในสิ่งแวดลอมที่มนุษยสรางขึ้น มนุษยไดสรางสรรคสิ่งตางๆ ขึ้นมาเพื่อตอบสนองความตองการทางดานรางกายและจิตใจ ไมวาจะเปน อาคารสถานที่ สวนดอกไม สะพาน บานเมือง สนามเด็กเลน สถานีรถไฟฟา และอื่นๆ ซึ่งถาวิเคราะหสิ่งแวดลอม ที่มนุษยสรางขึ้นมานั้น จะเห็นถึงการนําทัศนธาตุตางๆ มาออกแบบใหสอดคลองกับหลักการจัดองคประกอบศิลป ดังตัวอยางตอไปนี้ ตัวอยางที่ ๒ เมืองจําลองเนเธอรแลนด

เกร็ดแนะครู ครู ค วรสรุ ป ให นั ก เรี ย นเข า ใจว า สิ่ ง แวดล อ มที่ ม นุ ษ ย ส ร า งขึ้ น ก็ มี ทัศนธาตุปรากฏอยู เชน สี แสงเงา รูปราง รูปทรง เปนตน รวมทั้งตองมี การจัดวางที่สอดคลองกับหลักการ ออกแบบดวยจึงจะมีความงาม หรือ อาจเพิ่มกิจกรรม โดยเลือกมุมใดมุม หนึ่งของหองเรียนที่เปนสิ่งแวดลอมที่ มนุษยสรางขึน้ แลวใหนกั เรียนชวยกัน อธิบายวา มีทัศนธาตุอะไรปรากฏอยู บาง และมีการออกแบบที่สอดคลอง กับหลักการออกแบบหรือไม อยางไร

เมืองจําลองแหงนี้มีชื่อวา มาดูโดรัม (Madudoram) ตั้งอยูที่กรุงเฮก ประเทศเนเธอรแลนด เปดใหเขาชม ตั้งแต ค.ศ. ๑๙๕๒ โดยจําลองสภาพบานเมือง สถานที่สําคัญ สิ่งที่นาสนใจตางๆ ตลอดจนวิถีชีวิตของผูคนในประเทศ เนเธอรแลนด นํามารวมไวอยูภายในพื้นที่เดียวกัน โดยสิ่งที่นํามาจําลองไวจะมีลักษณะเหมือนหรือคลายคลึงกับของ จริงมาก โดยยอลงมาในสัดสวน ๑ : ๒๕ บางคนเรียกวาสถานที่แหงนี้วา เมืองตุกตา

นักเรียนควรรู

ทัศนธาตุที่ปรากฏ จุดเดนของสถานที่แหงนี้ คือ การจําลองของจริงใหมาอยูภายในพื้นที่เดียวกัน และมีขนาดเล็กกวาผูคน ทําใหสามารถมองดูไดอยางทั่วถึง ทัศนธาตุที่ปรากฏในสถานที่นี้มีอยูมากมาย ซึ่งขึ้นอยู กับวาจะเนนพิจารณาบริเวณใดเปนหลัก ไมวาจะเปนเสนโคงที่มีลักษณะสลับไปมาของหลังคาสีขาวที่ดูเหมือน ลูกคลื่นหรือเสนตรงแนวตั้งของสถาปตยกรรมที่อยูดานหนา แตที่เห็นไดเดนชัดคือ รูปราง รูปทรง สีสัน พื้นผิว ของสิ่งตางๆ ที่เหมือนกับไดชมของจริง การเวนพื้นที่วางและเปดโลงชวยทําใหผูคนเดินเขาไปชมไดอยางใกลชิด ตลอดจนการเพิ่มสีสันของตนไมและดอกไมที่มีขนาดเล็กเขาไป ชวยทําใหดูสบายตายิ่งขึ้น สรางความรูสึกเหมือนได เขาไปอยูในเมืองตุกตา

การจําลองของจริง เปนการ ถอดแบบจากสถานที่หรือวัตถุจริง แลวนํามายอใหไดขนาดตามสัดสวน ที่ถูกตองเหมาะสม เมื่อเปรียบเทียบ ของจริง เพื่อใหผลงานที่แลวเสร็จ ออกมามีความสมบูรณใกลเคียงของ จริงมากที่สุด

8

คูมือครู


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

อธิบายความรู จากภาพตัวอยางหนา 8 และหนา 9 ใหนักเรียนอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับ การออกแบบวา นอกจากที่หนังสือ เรี ย นได บ รรยายไว แ ล ว นั ก เรี ย นมี มุมมองความคิดอะไรเพิ่มเติมอีกบาง จากนั้นครูขออาสาสมัคร 2 - 3 คน ให มาอธิบายแสดงความคิดเห็น

การออกแบบ การจั ด สถานที่ ใ ห ค วามสํ า คั ญ ในเรื่ อ งของสั ด ส ว นเป น อยางมาก การยอขนาดลงมาไดอยางถูกตอง ชวยสรางความรูสึกเหมือนไดชมของจริง จังหวะและจุดสนใจตองมองแบบองครวมจะเห็นถึงความโดดเดน ทั้งนี้การออกแบบ ที่ เ ป ด ให มี พื้ น ที่ โ ล ง กว า งทํ า ให ผ ลงานดู แ ล ว ไม เ กิ ด ความอึ ด อั ด การจัดองคประกอบตางๆ มีความเปนเอกภาพสอดคลองกัน ทั้งหมด ตั้งแตเสนทางเดิน ตนไม ดอกไม ลวนไดออกแบบ ใหกลมกลืนเขากันไดดีกับสิ่งของจําลองที่นํามาจัดแสดง และการจัดวางสิ่งจําลองตางๆ กระจายครอบคลุมทั่วพื้นที่ จึงทําใหเกิดความสมดุลในผลงาน

กิจกรรม กิจกรรมที่ ๑

กิจกรรมที่ ๒

ขยายความเขาใจ ใหนักเรียนเลือกภาพถาย สภาพแวดลอมที่มนุษยสรางขึ้น ซึง่ อยูใ นทองถิน่ จํานวน 1 ภาพ แลวให เขี ย นบรรยายว า สถานที่ แ ห ง นั้ น มี องคประกอบของทัศนธาตุอะไรบาง และมีการออกแบบอยางไร เสร็จแลว นําสงครูผูสอน เพื่อตรวจพิจารณา

ศิลปปฏิบัติ ๑.๑ ใหนกั เรียนเลือกภาพถายเกีย่ วกับสิง่ แวดลอมตามธรรมชาติมา ๑ ภาพ แลวเขียนบรรยายถึงทัศนธาตุ และการออกแบบทีป่ รากฏอยูภ ายในภาพ แลวนําสงครูผสู อน เพือ่ คัดเลือกผลงานทีเ่ ขียนบรรยายไดดี ๕ ชิ้นนําไปติดที่ปายนิเทศ เลือกภาพถายสถานที่สําคัญในทองถิ่น ซึ่งจะเปนสภาพแวดลอมที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติหรือ สภาพแวดลอมที่มนุษยสรางขึ้นก็ได แลวใหนักเรียนเขียนบรรยายสถานที่แหงนั้นวามีทัศนธาตุ อะไรบาง และมีการออกแบบอยางไร

นักเรียนควรรู

ó. ¡ÒÃÇÔà¤ÃÒÐË ·Ñȹ¸ÒµØáÅСÒÃÍ͡Ẻ㹧ҹ·ÑȹÈÔÅ»Š ทัศนศิลป หมายถึง ผลงานศิลปะที่เกิดจากการแสดงออกทางการสรางสรรคของมนุษยเพื่อประโยชน ในดานตางๆ ซึ่งสามารถจัดจําแนกผลงานตามรูปแบบไดเปน ๔ ประเภท คือ งานจิตรกรรม งานประติมากรรม งานสถาปตยกรรม และงานภาพพิมพ โดยผูสรางสรรคหรือศิลปนแตละทานจะเปนผูนําเอาองคประกอบตางๆ ทาง ทัศนธาตุมาออกแบบตามหลักการจัดองคประกอบศิลป ใหเกิดเปนผลงานขึ้นมาตามแนวคิดหรือจินตนาการของตน ซึ่งการเลือกใชทัศนธาตุอาจเกิดทั้งดวยความตั้งใจและไมตั้งใจ ดังนั้น ในผลงานทัศนศิลปทุกชิ้นจึงมีทัศนธาตุ ปรากฏอยู ในที่นี้จะขอยกตัวอยางการวิเคราะหทัศนธาตุและหลักการออกแบบในงานทัศนศิลปมาเปนกรณีศึกษา ๒ ผลงาน ดังนี้

ผูสรางสรรค ผลงานทัศนศิลปไดดี ควรมีคุณสมบัติ ดังนี้ • มีความคิดริเริ่มสรางสรรค ชอบ ทําสิ่งแปลกใหม • ยอมรับฟงความคิดเห็นใหมๆ เพื่อนํามาปรับความคิดของตน • สั่งสมความรูอยูเสมอ ชอบ ศึกษาคนหาความจริง • พยายามจดบันทึกความนึกคิดที่ เกิดขึ้นทันที • รูจักวางแผนเปนลําดับ และคิด อยางละเอียดรอบคอบ • พยายามหมั่นไปดูผลงานของ ศิลปน เพื่อจะไดเห็นแบบอยาง ที่ดี • มีความมานะ อดทน ไมยอทอ ตอปญหาและอุปสรรคตางๆ โดยงาย

คูมือครู

9


กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Explore

Engage

Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Elaborate

Evaluate

กระตุนความสนใจ ใหนักเรียนดูภาพตัวอยางในหนา ๑๐ แลวครูตั้งคําถามเชิงกระตุนวา ภาพนี้มีทัศนธาตุอะไรที่โดดเดนเปน พิเศษบาง เพราะอะไรนักเรียนจึงคิด เชนนั้น (แนวตอบ ภาพนีม้ คี วามโดดเดนของ นํ้าหนักออน - แก และรูปราง รูปทรง ซึง่ เปนองคประกอบหนึง่ ของทัศนธาตุ ที่ทําใหเกิดแสงเงาปรากฏลงบนวัตถุ ทํ า ให วั ต ถุ ซึ่ ง เป น ชิ้ น เดี ย วกั น มี มิ ติ แตกตางกันออกไป โดยภาพนีต้ อ งการ สื่ อ ถึ ง ความงามของแสง ซึ่ ง ศิ ล ป น ผูวาดมีความเชี่ยวชาญและโดดเดน ในเทคนิคและกรรมวิธีเชนนี้)

ตัวอยางที่ ๓ รูปทรงของแสงบนพื้นที่ของเงา ผลงานชิ้ น นี้ เ ป น งานจิ ต รกรรมของ อ.ปรีชา เถาทอง ศิลปนแหงชาติ มีชอื่ วา “รูปทรง ของแสงบนพื้นที่ของเงา” วาดโดยใชสีอะคริลิก และสีนํ้ามันบนผืนผาใบ มีขนาด ๑๗๒ x ๑๔๒.๕ เซนติเมตร วาดขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๑ ซึ่งศิลปน มี ผ ลงานหลายชิ้ น ที่ ไ ด จ ากการศึ ก ษาค น คว า เกีย่ วกับผลของแสงทีต่ กกระทบกับรูปทรงตางๆ นําไปเปนแนวคิดสรางสรรคเปนผลงานศิลปะ ขึ้นมา

ทั ศ นธาตุ ที่ ป รากฏ องค ป ระกอบ ของทั ศ นธาตุ ที่ ศิ ล ป น นํ า มาใช คื อ เส น ซึ่ ง ประกอบไปด ว ยเส น ตรงแนวดิ่ ง แนวนอน เส น หยั ก ด า นล า งของภาพเป น เส น โค ง แบบ ไทยประเพณีที่แสดงลวดลายตางๆ และใชผนัง ของพระอุโบสถมานําเสนอ โดยใหความสําคัญ เกี่ ย วกั บ เรื่ อ งแสงที่ มี ต  อ บรรยากาศทั้ ง หมด ของภาพ จึงจํากัดขอบเขตของแสงโดยเนนให สองตกกระทบผนังพระอุโบสถเฉพาะเปนบาง บริ เ วณ ทํ า ให เ กิ ด รู ป ทรงเรขาคณิ ต ระหว า ง รูปทรงของแสงและพื้นที่ของเงา โดยสวนที่เปน แสงจะเปนรูปทรงที่มีสัดสวนนอยกวาสวนที่เปนพื้นที่ของเงา สวนที่มืดดูลึกลงไป เปนการแสดงระยะใกล-ไกล การใชสีวรรณะเย็นที่มีลักษณะออนใสตัดกับพื้น สีเขม ชวยทําใหเห็นรายละเอียดของภาพไดชัดเจนและสรางความรูสึกสงบ รมเย็น ศรัทธา

สํารวจคนหา ใหนักเรียนคัดเลือกภาพจิตรกรรม 1 ภาพ แลวใหนักเรียนพิจารณาวา ภาพดังกลาวประกอบไปดวยทัศนธาตุ อะไรบ า ง และมี ห ลั ก การออกแบบ อยางไร

การออกแบบ ผลงานจิตรกรรมชิน้ นีม้ กี ารจัดวางภาพทีม่ ชี วี ติ ชีวา แมวาสวนที่เปนรูปสวนใหญจะวางอยูทางดานซาย แตมีการถวงนํ้าหนัก ดวยสวนที่มืดทางดานขวา ทําใหภาพมีความสมดุล ลวดลายบริเวณผนังที่ ตอเนื่องเต็มทั้งภาพ กําหนดเปนจังหวะไดอยางงดงามลงตัวชวยลดพื้นที่วาง รูปทรงของแสงและลวดลายบนผนังของพระอุโบสถในเงามืดมีความสัมพันธ ตอเนื่องเปนเนื้อหาเดียวไมแตกกระจาย แสดงถึงความเปนเอกภาพของรูปทรงที่ กลมกลืนกันไปทั้งสีและแสงที่ตกกระทบเปนรูปทรงเรขาคณิต รวมทั้งสัดสวนของสิ่งตางๆ สอดคลองกับความเปนจริง และจัดวางไดอยางลงตัว ทําใหผลงานมีความงดงาม

อธิบายความรู ครูขออาสาสมัครนักเรียน 3 - 5 คน ออกมาอธิ บ ายข อ มู ล ที่ ไ ด จ ากการ สํารวจคนหาที่หนาชั้นเรียน

เกร็ดแนะครู ครู ช  ว ยอธิ บ ายเสริ ม ว า ทั ศ นธาตุ และการออกแบบที่ ป รากฏอยู  ใ น สิ่งแวดลอม ศิลปนก็ไดจําลองนําเอา มาใชสรางสรรคเปนผลงานทัศนศิลป ดังนัน้ ผลงานทัศนศิลปประเภทตางๆ โดยเฉพาะภาพเขียน จะเห็นถึงการนํา เอาองคประกอบของทัศนธาตุมาใช ตามหลักการออกแบบไดอยางชัดเจน

10

คูมือครู

๑๐

นักเรียนควรรู จิตรกรรม เปนการสรางสรรคผลงานทัศนศิลปบนพื้นระนาบดวย วิธลี าก การขีดเขียน หรือระบายสีฝนุ สีนาํ้ ลงบนพืน้ ผิววัสดุราบเรียบ เชน กระดาษ ผาใบ ผนัง เปนตน เพื่อใหเกิดเรื่องราวและความงาม ตามความนึกคิดและจินตนาการของผูวาด


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Elaborate

Evaluate

อธิบายความรู ครู แ ละนั ก เรี ย นร ว มกั น อภิ ป ราย ถึงประวัติความเปนมา ความสําคัญ และความโดดเดนของสถาปตยกรรม ทั ช มาฮาลนี้ โดยใช ข  อ มู ล จากการ สืบคน และนําภาพมาประกอบการ อธิบายหรือชมคลิปวิดีโอ

ตัวอยางที่ ๔ ทัชมาฮาล

เกร็ดแนะครู ครูควรเสริม ความเขาใจเกี่ยวกับ ลักษณะของเสนแนวตั้ง วาหมายถึง “การลากเสนดิ่งจากตรงกลางภาพ” กลาวคือ เมื่อเราแบงครึ่งภาพตาม แนวตั้งออกเปน 2 สวน แลววิเคราะห ดูนํ้าหนักโดยประมาณตามความรูสึก จากการมอง จะสามารถชั่งนํ้าหนัก ความสมดุ ล ว า ทั้ ง 2 ส ว นมี ค วาม สมดุ ล กั น หรื อ ไม ซึ่ ง เป น วิ ธีห นึ่ ง ใน การตรวจสอบความสมดุลของการจัด องคประกอบศิลปแบบงายๆ และใช เปนหลักเมื่อเราจะออกแบบผลงาน

ทัชมาฮาล (Taj Mahal) ตั้งอยูที่เมืองอัคระ ประเทศอินเดีย เปนทัศนศิลปประเภทสถาปตยกรรม สรางขึ้นเมื่อ คริสตศตวรรษที่ ๑๗ จากหินออนสีขาวนวล โดยกษัตริยชาหญะฮานสรางไวเปนอนุสรณแหงความรักของพระองคที่ มีตอพระนางมุมตัซ มาฮาล พระมเหสีที่สิ้นพระชนมไป รูปแบบของสถาปตยกรรมเปนรูปโดมแบบเปอรเซีย ซึ่งไดรับ การยกยองวาเปนสิ่งกอสรางดานความรักที่สวยงามที่สุดของโลก

ทัศนธาตุที่ปรากฏ ประกอบไปดวยลักษณะ ของเสนตรงแนวราบของสระนํา้ ทีเ่ ปนจุดนําสายตามุง ไปสู ตัวอาคาร เสาทั้งสองดานเปนเสนแนวตั้งที่ใหความรูสึก มั่นคง แข็งแรง สงางาม กําแพงปรากฏทัศนธาตุที่เปน เสนตรงในแนวนอนหรือเสนระดับ ใหความรูส กึ ราบเรียบ ปลอดภัย ตัวอาคารประกอบไปดวยรูปทรงสี่เหลี่ยมและ รูปโดมทรงกลม มีการนําลักษณะเสนแบบตางๆ ทั้งเสน ตรงแนวตั้ง แนวนอน และเสนโคงมาใชในการออกแบบ สวนตางๆ สงผลใหตวั สถาปตยกรรมมีลกั ษณะเปนรูปทรง เรขาคณิตที่สวยงาม พื้นที่ผิวแมจะเปนหินออนแตก็ใหความรูสึกถึง ความราบเรียบ การใหพนื้ ทีโ่ ดยรอบตัวสถาปตยกรรมเปน พืน้ ทีว่ า งและเมือ่ มีฉากหลังเปนพืน้ ทีส่ เี ขมของทองฟา ก็ยงิ่ เสริมใหสขี าวของตัวอาคารมีความโดดเดนตระหงานอยูใ น ความเวิ้งวางของบรรยากาศ สื่อถึงความยิ่งใหญ รวมทั้ง เงาสะทอนบนพืน้ ผิวนํา้ ก็ชว ยทําใหเกิดมิตทิ สี่ วยงามยิง่ ขึน้

@

มุม IT

ชมคลิปวิดีโอแสดงความงดงาม ของทัชมาฮาลไดที่ http://www. youtube.com/ โดย search คําวา Taj Mahal

๑๑

คูมือครู

11


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู ครูสุมนักเรียนใหออกมาอธิบายวา ภาพทัชมาฮาลมีทัศนธาตุอะไรบาง และมีการออกแบบอยางไรที่ทําให สถาปตยกรรมแหงความรักชิ้นนี้มี ความงดงามระดับโลก (หมายเหตุ การอธิบายควรเนนใหนกั เรียนอธิบาย ตามมุมมองของตน ซึ่งไมจําเปนตอง สอดคลองกับหนังสือเรียน และไมมี การถูก - ผิด แตตองการใหนักเรียน ไดแสดงทัศนะมุมมองทางศิลปะ และตรวจสอบความเขาใจเกี่ยวกับ ทัศนธาตุและหลักการออกแบบ)

B

B

การออกแบบ งานสถาปตยกรรมชิน้ เอกนี้ จะเห็นไดอยางเดนชัดถึงการนําองคประกอบศิลปมาใชในการ ออกแบบไดอยางดีเยี่ยม เมื่อผูชมมองไปที่ดานหนา จะเห็นอาคารสีขาวสะดุดตาขนาดใหญ เห็นไดตั้งแตในระยะไกล ซึ่งมีเอกลักษณเปนรูปโดมแบบเปอรเซีย ที่ไดรับอิทธิพลมาจากวัฒนธรรมอาหรับ สวนประกอบตางๆ ของตัวอาคาร ถูกออกแบบและนํามาจัดวางอยางลงตัวไดสัดสวน มีจังหวะ ตลอดจนเสริมความเดนใหแกกันและกัน ไมมีสวนใดที่ ดูแลวมีความรูสึกวาเปนสวนเกินหรือขัดแยงแปลกแยกไปจากกลุม แมแตสระนํ้า ก็ชวยเพิ่มความงามใหแกทัชมาฮาล ทั้งในดานสะทอนภาพ เปนพื้นที่โลงไมบดบังหรือดึงความสนใจออกไปจากตัวสถาปตยกรรม ในการออกแบบ สถาปนิกตั้งใจใหสถาปตยกรรมมีลักษณะที่ ๒ ดานเหมือนกันหรือมีความสมดุลเทากัน ขณะเดียวกันจากมุมมองของสายตา สมมติวา มีการลากเสนตรงไปยังจุดกึง่ กลางอาคาร พืน้ ทีร่ ะหวางทางเดินสองดาน ของสระนํ้า รวมทั้งแนวไมพุมสองขางทางและหอคอยขนาบขาง ก็จัดวางตําแหนงเปนคูขนานในระดับเสมอกัน เปน จังหวะที่ลงตัว ที่จะชวยนําสายตามุงสูโดมใหญ ทั้งนี้ การที่ทัชมาฮาลสรางดวยหินออน ใชเสนโคงพรอมลวดลายใน ชองกรอบและสวนอื่นๆ ที่เห็นไดอยางชัดเจน จึงทําใหผลงานดูแลวไมแข็ง แตกลับทําใหดูรูสึกออนชอย นุมนวล สถาปตยกรรมแหงนีเ้ มือ่ ดูโดยรวมแลว จะเห็นวาทุกสวนประกอบสะทอนถึงความเปนเอกภาพและกลมกลืน เปนหนึ่งเดียว ทําใหผลงานมีความสวยงามยิ่ง

พื้นฐานอาชีพ

ครูอธิบายใหนกั เรียนเขาใจวา ทัศนธาตุและการออกแบบ ถือเปนหัวใจ สําคัญในการสรางสรรคงานตางๆ ที่ สามารถนําไปใชเปนอาชีพได ไมวา จะ เปนสถาปนิก นักออกแบบผลิตภัณฑ งานตัดเย็บเสื้อผา การตกแตงอาหาร การตกแตงรานคา การจัดสื่อสิ่งพิมพ ปายโฆษณาประชาสัมพันธและอื่นๆ ซึ่ ง จํ า เป น ต อ งนํ า ความรู  เ รื่ อ งนี้ ไ ป ประยุกตใช โดยไมจํากัดเฉพาะการ ผลิตผลงานศิลปะเทานั้น เชน การจัด บริเวณรานคาเพื่อดึงดูดความสนใจก็ ตองพึ่งพาหลักการออกแบบหรือการ เลือกสีของเฟอรนิเจอรเขารานก็ตอง นําความรูเกี่ยวกับสีมาใช เปนตน

๑๒

12

คูมือครู


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ขยายความเขาใจ ใหนกั เรียนแตละคนนําผลงานทัศน ศิลปของตนเองหรือของเพื่อนที่เคย สรางสรรคไว มาวิเคราะห แลวเขียน บรรยายวา ผลงานทัศนศิลปชิ้นนั้นมี องคประกอบของทัศนธาตุอะไรบาง และมีการออกแบบอยางไร แลวนําสง ครูผูสอน

เกร็ดศิลป ความงดงามทางธรรมชาติมีอิทธิพลอยางมากที่ทําใหศิลปนเกิดความประทับใจและถายทอดออกมาเปนผลงานทัศนศิลป โดยเฉพาะศิลปนแนวประทับใจนิยม (Impressionism) ที่จะถายทอดความรูสึกที่มีตอ “สี” และ “แสง” ในสิ่งแวดลอมสรางเปน ผลงานจิตรกรรม ศิลปนคนสําคัญในแนวนี้ เชน เอ็ดการ เดอกาส (Edgar Degas ) ปแยร ออกูสต เรอนัวร (Pierre-Auguste Renoir) โกลด โมเน (Claude Monet) เปนตน

เกร็ดแนะครู

กิจกรรม กิจกรรมที่ ๑ กิจกรรมที่ ๒

กิจกรรมที่ ๓

ศิลปปฏิบัติ ๑.๒ ใหนักเรียนคัดเลือกภาพผลงานทัศนศิลป ๒-๓ ชิ้น แลวนํามาอภิปรายรวมกันวา ผลงานทัศนศิลป นั้น มีทัศนธาตุอะไรบางที่มีความโดดเดน และผลงานมีสอดคลองกับหลักการออกแบบอยางไร ใหนักเรียนนําผลงานทัศนศิลปของตนเองที่เคยสรางสรรคไวในชั้นที่ผานมา จากนั้นพิมพหรือเขียน บรรยายลงในกระดาษรายงาน วาผลงานชิ้นนั้นมีองคประกอบทัศนธาตุอะไรบางในการสรางสรรค งานและการออกแบบมีลักษณะอยางไร จงตอบคําถามตอไปนี้ ๑. ทัศนธาตุคืออะไร มีองคประกอบอะไรบาง ๒. จงวิเคราะหความแตกตางระหวางทัศนธาตุในสิ�งแวดลอมกับทัศนธาตุที่ปรากฏอยูในผลงาน ทัศนศิลป ๓. การออกแบบสรางสรรคผลงานใหมีคุณภาพ จะตองคํานึงหลักการอยางไร

http://www.aksorn.com/LC/Va/M3/02

EB GUIDE

๑๓

(แนวตอบ กิจกรรมศิลปปฏิบัติ 1.2 กิจกรรมที่ 3 1. ทัศนธาตุ คือ สวนประกอบของ การมองเห็นหรือสิ่งที่เปนปจจัยของ การเห็น มีองคประกอบ คือ จุด เสน รูปราง นํา้ หนักออน-แก พืน้ ทีว่ า ง พืน้ ผิว สี 2. ทั ศ น ธ า ตุ ใ น สิ่ ง แ ว ด ล  อ ม มี องคประกอบตางๆ เชนเดียวกับทัศนธาตุในผลงานทัศนศิลป แตทัศนธาตุ ในสิ่งแวดลอมจะเปนสิ่งที่เกิดขึ้นเอง ตามธรรมชาติ รูปทรงทีป่ รากฏจะเปน ไปอยางอิสระ มีการเปลี่ยนแปลงไป ตามปจจัยทางธรรมชาติ ลักษณะและ ความงามจะปรากฏตามธรรมชาติ ซึง่ เปนสิ่งที่มนุษยไมสามารถจะควบคุม ได สวนทัศนธาตุในผลงานทัศนศิลป จะมีลักษณะตรงกันขาม 3. การออกแบบสรางสรรคผลงาน ตองใชหลักการออกแบบเขามาชวย จัดวางองคประกอบทางทัศนศิลปให เกิดความงาม ทั้งนี้ตองคํานึงถึงความ เปนเอกภาพ ความกลมกลืนและความ สมดุล)

นักเรียนควรรู ประทับใจนิยม หรืออิมเพรสชันนิสม เปนลัทธิทางศิลปะทีก่ าํ เนิดขึน้ เมือ่ คริสตศตวรรษที่ 19 ศิลปน ตองการสะทอนความรูส กึ ประทับใจตอสีและแสง ทีท่ าํ ใหเกิดความงดงามขึน้ มา จึงพยายามถายทอด ความรูสึกนั้นออกมาเปนภาพเขียน ลักษณะภาพในแนวนี้ ภาพมักจะมีสีสันสวางสดใส การเขียนจะ ปายสีหนาๆ ซอนทับกันดวยฝแปรงที่ฉับพลัน เพื่อแสดงความรูสึกออกมาตรงๆ ไมนิยมเกลี่ยสีให กลมกลืนเปนเนื้อเดียวกัน

คูมือครู

13


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engage

Explore

Explain

Elaborate

ตรวจสอบผล Evaluate

ตรวจสอบผล การวิเคราะหทัศนธาตุและ การออกแบบ • ในสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติ • ในสิ่งแวดลอมที่มนุษยสรางขึ้น • ในผลงานทัศนศิลป

สิ่

งแวดลอมทีเ่ กิดขึน้ เองตามธรรมชาติและสิง่ แวดลอมทีม่ นุษยสรางขึน้ รวมทัง้ ผลงานทัศนศิลปตา งๆ ลวนเกิดจากทัศนธาตุสว นยอยๆ ทีม่ าผสมผสานกันและมีการออกแบบจัดวางอยางเหมาะสมลงตัว โดยมนุษยได ใชธรรมชาติเปนตนแบบในการสรางสรรคผลงานทัศนศิลปขนึ้ ซึง่ สิง่ ตางๆ ในสิง่ แวดลอม ถาหากพิจารณาจําแนก แยกยอยลงไป ก็สามารถจะวิเคราะหใหเห็นถึงองคประกอบของทัศนธาตุและหลักการออกแบบทีส่ อดคลองกับ หลักการจัดองคประกอบศิลปได แตทั้งนี้จําเปนตองมีพื้นฐานความรูดวย เพื่อวิเคราะหและบรรยายใหผูอื่น เขาใจในความงามของสิ่งแวดลอมอยางถูกตองตามหลักการทางศิลปะ

หลักฐาน แสดงผลการเรียนรู 1. ผลงานการวิเคราะหองคประกอบ ทัศนธาตุในผลงานทัศนศิลป 2. ผลงานการวิเคราะหทัศนธาตุและ การออกแบบในสิ่งแวดลอมทาง ธรรมชาติ 3. ผลงานการวิเคราะหทัศนธาตุ และการออกแบบในสิ่งแวดลอม ที่มนุษยสรางขึ้น 4. ผลงานการวิเคราะหทัศนธาตุและ การออกแบบในงานทัศนศิลป

๑๔

14

คูมือครู


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.