8858649121509

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº »ÃСѹÏ

·Õè ȸ. ¨Ð»ÃСÒÈÃÒ¡Òú¹àÇçºä«µ µÑé§áµ‹ Á. ¤. ’55 ໚¹µŒ¹ä»

ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ รายวิชา

ดนตรี - นาฏศิลป

ู ร ค หรับ

สํา

ชั้นมัธยมศึกษาปที่

เอกสารหลักสูตรแกนกลางฯ ’51 ประกอบดวย ● ● ● ● ●

คําแนะนําการใชคูมือครู แถบสี/สัญลักษณที่ใชสื่อความหมายในคูมือครู ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง คําอธิบายรายวิชา ตารางวิเคราะหเนื้อหากับมาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัด

ตารางแสดงความแตกตางระหวาง “ คูมือครู ” กับ “ หนังสือเรียน * ” ความแตกตาง

ขนาดตัวอักษร ปกดานหลัง ระบบการจัดพิมพ สวนเสริมดานหนา

คูมือครู ยอลงจากปกติ 20%

พิมพ 4 สี มี เอกสารหลักสูตร คําอธิบายรายวิชา มี กิจกรรมแบบ 5E ความรูเสริมสําหรับครู พิมพสอดแทรกไวตลอดทั้งเลม ●

หนังสือเรียน ขนาดปกติ 100% : ตัวอักษรใหญกวา ที่พิมพในคูมือครูนี้ มีใบอนุญาต/ใบประกันคุณภาพ พิมพ 4 สี

-

เนื้อหาในเลม

● ●

* ที่ ศธ. อนุญาตใหโรงเรียนใชได

มีเฉพาะเนื้อหาสาระตามที่ ศธ. อนุญาตฯ/สนพ.ประกันคุณภาพ

3


คําแนะนําการใชคูมือครู

: การจัดการเรียนรูสูหองเรียนคุณภาพ

คูมือครู ดนตรี-นาฏศิลป ม.3 จัดทําขึ้นเพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการวางแผนและเตรียม การสอนโดยใชหนังสือเรียน ดนตรี-นาฏศิลป ม.3 ของบริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด เปนสื่อหลัก (Core เสร�ม Material) ประกอบการออกแบบกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดกลุมสาระ 2 การเรียนรู ศิลปะ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 โดยจัดทําตามหลักการสําคัญ ดังนี้

1. ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน

คูมือครู ดนตรี-นาฏศิลป ม.3 จัดทําเปนหนวยการเรียนรูตามลําดับสาระการเรียนรูที่ระบุไวในมาตรฐาน การเรียนรูและตัวชี้วัด แตละหนวยจะกําหนดเปาหมายการสอนและจุดประสงคการเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทางการประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไว ชัดเจน ครูผสู อนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั ทีเ่ ปนเปาหมายการเรียนรู ของแตละหนวยการเรียนรู (ตามแผนภูมิ) และสามารถบันทึกผลการจัดการเรียนการสอนไดอยางมั่นใจ

นรู

สภ

าพ

ผู

จุดป

ระส

เรีย

งค

รีย า รเ

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชั้นป

ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน

แผนภูมิแสดงองคประกอบของการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผูเรียนเปนสําคัญ

2. การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ

แนวคิดในการจัดการเรียนการสอนที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ พัฒนามาจากปรัชญาและทฤษฎีการเรียนรู Constructivism ที่เชื่อวาการเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสราง ความรูโดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดพบเห็นกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู

คูม อื ครู


ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา นักเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีความรูความเขาใจสิ่งตางๆ ติดตัวมากอนที่จะเขาสู หองเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากบริบทและสิง่ แวดลอมรอบตัวนักเรียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกระบวนการเรียนรู เสร�ม ในแตละบทเรียน ผูสอนจะตองคํานึงถึง

3

1) ความรูเดิมของนักเรียน การสอนที่ดีจึงตองเริ่มตนจากจุดที่วา นักเรียนมีความรูอะไรมาบาง แลวจึงให ความรูห รือประสบการณใหมเพือ่ ตอยอด จากความรูเดิม

2) ความรูเ ดิมของนักเรียนถูกตอง หรือไม ผูสอนตองปรับเปลี่ยนความรู ความเขาใจเดิมของนักเรียนใหถูกตอง และเปนพฤติกรรมการเรียนรูใหมที่มี คุณคาตอนักเรียน เพื่อสรางเจตคติหรือ ทัศนคติที่ดีตอการเรียน

3) นั ก เรี ย นสร า งความหมาย สําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมให นักเรียนนําขอมูลความรูที่ไดไปลงมือ ปฏิ บั ติ และประยุ ก ต ใ ช ค วามรู  อ ย า ง ถู ก ต อ ง ในบริ บ ทที่ เ ป น จริ ง ของชี วิ ต นักเรียน เพื่อขยายความรูใหลึกซึ้งและ มีคุณคาตอตัวนักเรียนมากที่สุด

แนวคิด Constructivism เนนใหผูเรียนสรางความรูโดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูของตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศการเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความ ขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณความรูใหม ผูเรียนจะพยายามปรับขอมูลใหม กับประสบการณที่มีอยูเดิม แลวสรางเปนความรูใหมหรือแนวคิดใหม ให ๆ ไดดวยตนเอง

3. การบูรณาการกระบวนการคิด

การเรียนรูข องนักเรียนแตละคนจะเกิดขึน้ ทีส่ มองซึง่ ทําหนาทีร่ คู ดิ ภายใตสภาพแวดลอมทีเ่ อือ้ อํานวยและได รับการกระตนุ จูงใจอยางเหมาะสมสอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของนักเรียน การจัดกระบวนการเรียนรู และสาระการเรียนรูท มี่ คี วามหมายตอผูเ รียน จะชวยกระตนุ ใหสมองรับรูแ ละสามารถเรียนรูไ ดอยางมีประสิทธิภาพ ตามขั้นตอนการทํางานของสมอง ดังนี้ 1) สมองจะเรียนรูและสืบคนโดย 2) สมองจะแยกแยะคุ ณค าของ การสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง สิง่ ตางๆ โดยการลงมติ ตัดสินใจ วิพากษ ปฏิบัติ จนคนพบความรูความเขาใจได วิจารณ แสดงความคิดเห็น ยอมรับหรือ อยางรวดเร็ว ตอตานตามอารมณความรูสึกที่เกิดขึ้น ในขณะที่เรียนรู

3) สมองจะประมวลเนื้อหาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสาน กับความรูหรือประสบการณเดิมที่ถูก จัดเก็บอยูในสมอง ผานการกลั่นกรอง เพื่อสังเคราะหเปนความรูความเขาใจ ใหมๆ หรือเปนเหตุผลทัศนคติใหมที่จะ ฝงแนนในสมองของผูเรียน

คูม อื ครู


การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะ เกิดขึ้นเมื่อสมองรูคิดและตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมองผูเรียน โดยเริ่มตนจาก เสร�ม

4

1) ระดับการคิดขั้นพื้นฐาน ไดแก 2) ระดับลักษณะการคิด ไดแก 3) ระดับกระบวนการคิด ไดแก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดหลากหลาย กระบวนการคิ ด อย า งมี วิ จ ารณญาณ การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล คิดไกล คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล กระบวนการแกปญหา กระบวนการคิด การสรุปผล เปนตน เปนตน สรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะห วิจัย เปนตน

4. การบูรณาการกระบวนการเรียนรูพื้นฐานอาชีพ

กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายสงเสริมการเรียนพื้นฐานอาชีพในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อเสริมสราง ทักษะที่จําเปนสําหรับการประกอบอาชีพ และดํารงชีวิตในสังคมทองถิ่นของผูเรียนอยางมีความสุข และเปนการ เตรียมความพรอมดานกําลังคนใหมีทักษะพื้นฐานและศักยภาพในการทํางงาน เพื่อการแขงขันและกาวสูประชาคม อาเซียนหรือประชาคมโลกตอไป 4.1 ทักษะพื้นฐานเพื่อการประกอบอาชีพ การจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผูเรียนในรายวิชาพื้นฐาน ทุกกลุมสาระการเรียนรูและทุกระดับชั้นเรียน ผูสอนควรบูรณาการประสบการณการเรียนรูพื้นฐานอาชีพควบคู ไปกับการเรียนการสอนดานวิชาการ โดยฝกทักษะสําคัญตามที่สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา (สวก.) สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) เสนอแนะไว ดังนี้ 1. ฝกทักษะกระบวนการคิด มีการวางแผนตลอดแนว เพื่อศึกษาขอมูลอาชีพ 2. ฝกการตัดสินใจอยางเปนระบบ โดยใชขอมูลจากการศึกษา คนควา แหลงเรียนรูในชุมชน เพื่อลด ความเสี่ยงในการลงทุนและเพิ่มความมั่นใจเรื่องการตลาด 3. ฝกกระบวนการวางแผน การผลิต และการจัดจําหนาย โดยนักเรียนคิดตนทุน กําไร ดวยตนเอง 4. ฝกการเรียนรูเรื่องคุณธรรม จริยธรรม ดานการประกอบอาชีพ และการทํางานกลุม โดยมีจิตอาสา เพื่อสวนรวม 5. ฝกการทํางานอยางมีประสิทธิภาพ มีการประเมินผล ปรับปรุง พัฒนา และสรางสรรคตอ ยอดผลผลิต 6. ฝกการเสริมสรางความเชื่อมั่น ความเพียรพยายาม เห็นคุณคาและภาคภูมิใจในตนเอง (Self Esteem) ในการประกอบอาชีพ และเจตคติในพื้นฐานทางอาชีพ การจัดการเรียนการสอนทีใ่ หผเู รียนไดลงมือปฏิบตั ทิ กั ษะดังกลาว จะชวยใหผเู รียนไดรบั ประสบการณจริง มีทักษะ ความสามารถ และความชํานาญในการทํางานที่จะใชในการประกอบอาชีพและเปนแรงงานที่มีคุณภาพ เขาสูตลาดแรงงานในอนาคต

คูม อื ครู


4.2 การจัดกระบวนการเรียนรูพื้นฐานอาชีพ การจัดกระบวนการเรียนรูมีความสําคัญอยางยิ่งที่จะชวยให นักเรียนมีการพัฒนาทั้งดานความรู ทักษะ และคุณลักษณะตามเปาหมายของหลักสูตร การพัฒนาผูเรียน ดานทักษะพื้นฐานอาชีพตองอาศัยกระบวนการเรียนรูที่หลากหลายเปนเครื่องมือที่จะนําไปสูคุณภาพที่ตองการ เสร�ม เทคนิควิธีการตางๆ ที่ผูสอนจะตองพิจารณาใหเหมาะสมกับเนื้อหาวิชาและวัยของผูเรียน โดยใหความสําคัญกับ 5 การฝกปฏิบัติและเนนการวัดประเมินผลจากการปฏิบัติตามสภาพจริง ดวยวิธีการที่จัดกิจกรรมการบูรณาการ ใหเหมาะสมกับวัยและระดับชั้นของผูเรียน สอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดของกลุมสาระตางๆ ที่กําหนดไวในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 การวิเคราะหมาตรฐานและตัวชี้วัดที่จะนําไป จัดเนื้อหาความรูและทักษะ เพื่อพัฒนาผูเรียนดานพื้นฐานอาชีพ ดังตัวอยางตอไปนี้ 1. กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม มุงเนนการพัฒนาใหผูเรียนมีความรู ความเขาใจเกีย่ วกับการดํารงชีวติ ของมนุษย การอยูร ว มกันในสังคมทีม่ คี วามเชือ่ มโยงสัมพันธกนั มีความแตกตาง กันอยางหลากหลาย สามารถจัดการทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัด และเขาใจการเปลี่ยนแปลง เพื่อชวยใหสามารถ ปรับตนเองกับบริบท และสภาพแวดลอม เปนพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ มีความรู ทักษะ คุณธรรม และคานิยม ที่เหมาะสม มีมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดที่เปนพื้นฐานของการ ฐานของการประกอบอาชีพตางๆ เชน ส 4.3 ม.1/3 วิเคราะหอิทธิพลของวัฒนธรรมและภูมิปญญาไทยสมัยสุโขทัยและสังคมไทย ในปจจุบัน ส 4.3 ม.2/3 ระบุภมู ปิ ญ ญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี และอิทธิพลของภูมปิ ญ ญา ดังกลาวตอการพัฒนาชาติไทยในยุคตอมา ส 4.3 ม.3/3 วิเคราะหภมู ปิ ญ ญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร และอิทธิพลตอการพัฒนา ชาติไทย ส 4.3 ม.4-6/3 วางแผนกําหนดแนวทางและการมีสวนรวมในการอนุรักษภูมิปญญาไทยและ วัฒนธรรมไทย การจัดการเรียนการสอนตามตัวชีว้ ดั ดังกลาวขางตนจะเปนทักษะพืน้ ฐาน และสรางเจตคติตอ อาชีพ เกีย่ วกับภูมปิ ญ ญาไทยในทองถิน่ เชน นักโบราณคดี นักประวัตศิ าสตร แพทยแผนโบราณ นวดแผนไทย ชางทอผา จักสาน นักดนตรีไทย การทําขนมหรืออาหารไทย เปนตน และเปนรากฐานของการศึกษาเพือ่ พัฒนาตอยอดอาชีพ ที่มีฐานของภูมิปญญาไทย 2. กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ เปนกลุมสาระการเรียนรูที่ชวยพัฒนาใหผูเรียนมีความคิดสรางสรรค มี จินตนาการทางศิลปะ ชื่นชมความงาม มีสุนทรียภาพ ซึ่งมีผลตอคุณภาพชีวิตมนุษย พัฒนาใหผูเรียนเกิดความรู ความเขาใจ มีทกั ษะวิธกี ารทางศิลปะ เกิดความซาบซึง้ ในคุณคาของศิลปะ เปดโอกาสใหผเู รียนแสดงออกอยางอิสระ โดยมีตัวอยางมาตรฐานและตัวชี้วัดที่เปนพื้นฐานของการประกอบอาชีพตางๆ มากมาย เชน คูม อื ครู


ทัศนศิลป ศ 1.1 ม.1/5 ศ 1.1 ม.2/3 ศ 1.1 ม.3/7

ออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ หรือกราฟกอืน่ ๆ ในการนําเสนอความคิดและขอมูล วาดภาพดวยเทคนิคที่หลากหลายในการสื่อความหมายและเรื่องราวตางๆ เสร�ม 6 สรางสรรคงานทัศนศิลปสอื่ ความหมายเปนเรือ่ งราวโดยประยุกตใชทศั นธาตุและ หลักการออกแบบ ศ 1.1 ม.4-6/10 สรางสรรคงานทัศนศิลปไทย สากลโดยศึกษาจากแนวคิดและวิธีการสรางงาน ของศิลปนที่ตนชื่นชอบ การจัดการเรียนการสอนตามตัวชีว้ ดั ดังกลาวจะเปนทักษะพืน้ ฐานในการพัฒนาไปสูอ าชีพทีแ่ สดงออก ทางศิลปะและการสรางสรรค เชน จิตรกร นักออกแบบเสื้อผา เครื่องแตงกายและเครื่องใช สถาปนิก มัณฑนากร เปนตน ดนตรี ศ 2.1 ม.1/3 รองเพลงและใชเครื่องดนตรีบรรเลงประกอบการรองเพลงดวยบทเพลง ที่หลากหลาย ศ 2.1 ม.2/3 รองเพลงและเลนดนตรีเดี่ยวและรวมวง ศ 2.1 ม.3/3 รองเพลง เลนดนตรีเดี่ยวและรวมวง โดยเนนเทคนิคการรอง การเลน การแสดงออกและคุณภาพเสียง ศ 2.1 ม.4-6/4 อาน เขียน โนตดนตรีไทยและสากลในอัตราจังหวะตางๆ การจัดการเรียนการสอนตามตัวชีว้ ดั ดังกลาวจะเปนทักษะพืน้ ฐานในการพัฒนาไปสูอ าชีพทางดนตรี เชน นักรอง นักดนตรี นักแตงเพลง เปนตน นาฏศิลป ศ 3.1 ม.1/3 แสดงนาฏศิลปและละครในรูปแบบงายๆ ศ 3.1 ม.2/2 สรางสรรคการแสดงโดยใชองคประกอบนาฏศิลปและการละคร ศ 3.1 ม.3/6 รวมจัดงานการแสดงในบทบาทหนาที่ตางๆ ศ 3.1 ม.4-6/2 สรางสรรคละครสั้นในรูปแบบที่ชื่นชอบ การจัดการเรียนการสอนตามตัวชี้วัดดังกลาวจะเปนทักษะพื้นฐานในการพัฒนาไปสูอาชีพทาง นาฏศิลปหรือการแสดง เชน นาฏลีลา นักแสดง นักจัดการแสดง ผูกํากับการแสดง นักแตงบทละคร เปนตน 3. กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี มุงพัฒนาใหผูเรียนมีฐานความรูความสามารถ และทักษะทีจ่ าํ เปนสําหรับนําไปปรับใชในการประกอบอาชีพและการศึกษาตอในสาขาอาชีพตางๆ ไดอยางหลากหลาย รวมทั้งใหเห็นแนวทางในการประกอบอาชีพและการศึกษาตอตามความรู ความถนัด และความสนใจ มาตรฐาน และตัวชี้วัดของกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีสวนใหญมีลักษณะเปนทักษะกระบวนการทํางาน คูม อื ครู


ซึง่ ผูส อนสามารถจัดเนือ้ หาและกิจกรรมการสอนใหสอดคลองกับความตองการของผูเ รียนและทองถิน่ ได เพือ่ พัฒนา ไปสูการประกอบอาชีพตางๆ เชน ง 1.1 ม.4-6/2 สรางผลงานอยางมีความคิดสรางสรรคและมีทักษะการทํางานรวมกัน เสร�ม ง 1.1 ม.4-6/7 ใชพลังงาน ทรัพยากรในการทํางานอยางคุมคาและยั่งยืน เพื่อการอนุรักษ 7 สิ่งแวดลอม ง 4.1 ม.2/3 มีทักษะพื้นฐานที่จําเปนสําหรับการประกอบอาชีพที่สนใจ ง 4.1 ม.3/3 ประเมินทางเลือกในการประกอบอาชีพที่สอดคลองกับความรู ความถนัด และ ความสนใจของตนเอง ง 4.1 ม.4-6/2 เลือกและใชเทคโนโลยีอยางเหมาะสมกับอาชีพ ง 4.1 ม.4-6/3 มีประสบการณในอาชีพที่ถนัดและสนใจ การจัดรายวิชาพื้นฐานในกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีจึงสามารถดําเนินการ ไดอยางหลากหลาย ทัง้ อาชีพในกลมุ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิดสรางสรรค และการบริหาร จัดการและการบริการ ตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ และสอดคลองกับบริบทของทองถิ่น ความพรอม ของสถานศึกษา และความตองการของผูเรียนเปนสําคัญ เพือ่ เปนแนวทางการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนใหสนองตามนโยบายการจัดการเรียนการสอน พื้นฐานอาชีพในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการ ผูจัดทําจึงวิเคราะหมาตรฐาน การเรียนรูและตัวชี้วัดในรายวิชา ดนตรี-นาฏศิลป ที่สอดคลองกับทักษะปฏิบัติ เพื่อเตรียมความพรอมดาน พื้นฐานอาชีพ โดยเสนอแนะกิจกรรมการเรียนรูไวเปนแนวทางในการจัดการเรียนการสอนบูรณาการประสบการณ การทํางานแกผูเรียน ใหบรรลุเจตนารมณของพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 7 ที่ระบุให การจัดการศึกษาตองปลูกฝงใหเยาวชนมีความรูอันเปนสากล มีจิตสํานึกในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดลอม ตลอดจนมีความสามารถในการประกอบอาชีพ รูจ กั พึง่ ตนเอง และมีความคิดสรางสรรค เพือ่ การดํารง ชีวิต การศึกษาตอ และการประกอบอาชีพอยางมีคุณภาพของผูเรียนตอไปในอนาคต

คูม อื ครู


5. การใชวัฏจักรการเรียนรู 5E

รูปแบบการสอนที่สัมพันธกับกระบวนการคิดและการทํางานของสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย เสร�ม คือ วัฏจักรการเรียนรู 5E ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในคูมือครู 8 ฉบับนี้ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1 กระตุนความสนใจ (Engage) เปนขัน้ ทีผ่ สู อนนําเขาสูบ ทเรียน เพือ่ กระตุน ความสนใจของนักเรียนดวยเรือ่ งราว หรือเหตุการณทนี่ า สนใจ โดยใชเทคนิควิธกี ารสอนและคําถามทบทวนความรูห รือประสบการณเดิมของผูเ รียน เพือ่ เชือ่ มโยงผูเ รียนเขาสู บทเรียนใหม ชวยใหนักเรียนสามารถสรุปประเด็นสําคัญที่เปนหัวขอการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอน การสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอมและสรางแรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน ขั้นที่ 2 สํารวจคนหา (Explore) เปนขั้นที่ผูสอนเปดโอกาสใหผูเรียนสังเกตและรวมมือกันสํารวจ เพื่อใหเห็นปญหา รวมถึงวิธีการศึกษา คนควาขอมูลความรูที่จะนําไปสูความเขาใจประเด็นปญหานั้นๆ เมื่อนักเรียนทําความเขาใจในประเด็นหัวขอที่จะศึกษาคนควาอยางถองแทแลวก็ลงมือปฏิบัติ เพื่อเก็บ รวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธกี ารตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูตามที่ตั้งประเด็นศึกษาไว ขั้นที่ 3 อธิบายความรู (Explain) เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา ตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนไดคนหา คําตอบ และนําขอมูลความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห แปลผล สรุปผล และนําเสนอผล ที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ แผนผังแสดงมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน สมองของผูเรียนจะทําหนาที่คิดวิเคราะห สังเคราะหอยางเปนระบบ ขั้นที่ 4 ขยายความเขาใจ (Expand) เปนขั้นที่ผูสอนไดใชเทคนิควิธีการสอนที่ชวยพัฒนาผูเรียนใหนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน นักเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยงกับประสบการณเดิม โดยนําขอสรุปที่ไดไปอธิบาย ในเหตุการณตางๆ หรือนําไปปฏิบัติในสถานการณใหมๆ ที่เกี่ยวของกับชีวิตประจําวันของตนเอง เพื่อขยาย ความรูค วามเขาใจใหกวางขวางยิง่ ขึน้ สมองของผูเ รียนทําหนาทีค่ ดิ ริเริม่ สรางสรรคอยางมีคณ ุ ภาพ เสริมสราง วิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป คูม อื ครู


ขั้นที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate) เปนขัน้ ทีผ่ สู อนประเมินมโนทัศนของผูเ รียน โดยตรวจสอบจากความคิดทีเ่ ปลีย่ นไปและความคิดรวบยอด ที่เกิดขึ้นใหม ตรวจสอบทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด และการเคารพ ความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพื่อการสรางสรรคความรูรวมกัน นักเรียนสามารถประเมินผลการเรียนรูของตนเอง เพื่อสรุปผลวานักเรียนมีความรูอะไรเพิ่มขึ้นมาบาง มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ ไดอยางไร นักเรียนจะเกิด เจตคติและเห็นคุณคาของตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง

เสร�ม

9

การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามวัฏจักรการสรางความรูแบบ 5E จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนน ผูเรียนเปนสําคัญ โดยสงเสริมใหผูเรียนใชกระบวนการสรางความรูดวยตนเอง ฝกฝนใหใชกระบวนการคิด และกระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะการเรียนรูและทักษะชีวิตที่มีคุณภาพ ตามเปาหมายของ การปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คณะผูจัดทํา

คูม อื ครู


แถบสีและสัญลักษณ ที่ใชสื่อความหมายในคูมือครู 1. แถบสี

แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5E เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

เสร�ม

10

สีแดง

สีเขียว

สีสม

กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุนความ สนใจ เพื่อโยงเขาสู บทเรียน

Explore

เปนขั้นที่ผูสอนให ผูเรียนสํารวจปญหา และศึกษาขอมูล

Explain

เปนขั้นที่ผูสอนให ผูเรียนคนหาคําตอบ จนเกิดความรูเชิง ประจักษ

สีฟา

สีมวง

ขยายความเขาใจ Expand

เปนขั้นที่ผูสอนให ผูเรียนนําความรูไป คิดคนตอๆ ไป

ตรวจสอบผล Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

สัญลักษณ

2. สัญลักษณ

วัตถุประสงค

เปาหมาย การเรียนรู

คูม อื ครู

• แสดงเปาหมาย การเรียนรูที่ นักเรียนตอง บรรลุตาม ตัวชี้วัด

หลักฐาน เกร็ดแนะครู แสดงผล การเรียนรู • แสดงรองรอย หลักฐานที่ แสดงผล การเรียนรู ตามตัวชี้วัด

นักเรียน ควรรู

B

@

NET

B

มุม IT

ขอสอบ

พื้นฐาน อาชีพ

• แทรกความรู • ขยายความรู • แนะนําแหลง • วิเคราะหแนว • กิจกรรม เสริมสําหรับครู เพิ่มเติมจาก คนควาจาก ขอสอบ O-NET สําหรับครู ขอเสนอแนะ เนื้อหา เพื่อให เว็บไซต เพื่อให เพือ่ ใหครู เพือ่ ใชเปน ขอควรระวัง นักเรียนไดมี ครูและนักเรียน เนนยํ้าเนื้อหา แนวทางใน ขอสังเกต ความรูม ากขึ้น ไดเขาถึงขอมูล ที่มักออก การชวยพัฒนา แนวทางการ ความรูที่ ขอสอบ O-NET อาชีพใหกับ จัดกิจกรรม หลากหลาย • ขอสอบ O-NET นักเรียน และอื่นๆ พิจารณาออก เพื่อประโยชน ขอสอบจาก ในการจัดการ เนื้อหา ม.1, 2 เรียนการสอน และ 3


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง (เฉพาะชั้น ม.3)* สาระที่ 2 ดนตรี

มาตรฐาน ศ 2.1 เขาใจและแสดงออกทางดนตรีอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวิจารณคุณคาดนตรี ถายทอด เสร�ม ความรูสึก ความคิดตอดนตรีอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

11

ม.3 1. เปรียบเทียบองคประกอบที่ใช • การเปรียบเทียบองคประกอบในงานศิลปะ ในงานดนตรีและงานศิลปะอื่น - การใชองคประกอบในการสรางสรรคงานดนตรีและศิลปะ แขนงอื่น - เทคนิคที่ใชในการสรางสรรคงานดนตรีและศิลปะแขนงอื่น 2. รองเพลง เลนดนตรีเดี่ยว และรวมวง โดยเนนเทคนิค การรอง การแสดงออก การเลน และคุณภาพเสียง

• เทคนิคและการแสดงออกในการขับรองและบรรเลงดนตรีเดีย่ ว และรวมวง

3. แตงเพลงสัน้ ๆ จังหวะงายๆ

• อัตราจังหวะ 24 และ 44 • การประพันธเพลงในอัตราจังหวะ 24 และ 44 • การเลือกใชองคประกอบในการสรางสรรคบทเพลง - การเลือกจังหวะเพื่อสรางสรรคบทเพลง - การเรียบเรียงทํานองเพลง

4. อธิบายเหตุผลในการเลือก ใชองคประกอบดนตรีในการ สรางสรรคงานดนตรีของ ตนเอง

5. เปรียบเทียบความแตกตาง • การเปรียบเทียบความแตกตางของบทเพลง ระหวางงานดนตรีของตนเอง - สําเนียง - อัตราจังหวะ และผูอื่น - รูปแบบบทเพลง - การประสานเสียง - เครื่องดนตรีที่บรรเลง

* สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 19 - 50. คูม อื ครู


ชั้น

ตัวชี้วัด

ม.3 6. อธิบายเกี่ยวกับอิทธิพลของ ดนตรีที่มีตอบุคคลและสังคม

เสร�ม

12

7. นําเสนอหรือจัดการแสดง ดนตรีที่เหมาะสมโดยการ บูรณาการกับสาระการเรียนรู อื่นในกลุมศิลปะ

สาระการเรียนรูแกนกลาง

• อิทธิพลของดนตรี - อิทธิพลของดนตรีตอบุคคล - อิทธิพลของดนตรีตอสังคม • การจัดการแสดงดนตรีในวาระตางๆ - การเลือกวงดนตรี - การเลือกบทเพลง - การเลือกและจัดเตรียมสถานที่ - การเตรียมบุคลากร - การเตรียมอุปกรณเครื่องมือ - การจัดรายการแสดง

มาตรฐาน ศ 2.2 เขาใจความสัมพันธระหวางดนตรี ประวัตศิ าสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคาของดนตรีทเี่ ปนมรดก ทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทยและสากล ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ม.3 1. บรรยายวิวัฒนาการของดนตรี • ประวัติดนตรีไทยยุคสมัยตางๆ แตละยุคสมัย • ประวัติดนตรีตะวันตกยุคสมัยตางๆ 2. อภิปรายลักษณะเดนที่ทําให • ปจจัยที่ทําใหงานดนตรีไดรับการยอมรับ งานดนตรีนั้นไดรับการยอมรับ

สาระที่ 3 นาฏศิลป

มาตรฐาน ศ 3.1 เขาใจและแสดงออกทางนาฏศิลปอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวิจารณคุณคานาฏศิลป ถายทอดความรูสึก ความคิดอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน ชั้น

ตัวชี้วัด

ม.3 1. ระบุโครงสรางของบทละคร โดยใชศัพททางการละคร

คูม อื ครู

สาระการเรียนรูแกนกลาง

• องคประกอบของบทละคร - โครงเรื่อง - ตัวละครและการวางลักษณะนิสัยของตัวละคร - ความคิดหรือแกนของเรื่อง - บทสนทนา


ชั้น

ตัวชี้วัด

ม.3 2. ใชนาฏยศัพทหรือศัพท ทางการละครที่เหมาะสม บรรยายเปรียบเทียบการ แสดงอากัปกิริยาของผูคน ในชีวิตประจําวันและ ในการแสดง 3. มีทักษะในการใชความคิดใน การพัฒนารูปแบบการแสดง

สาระการเรียนรูแกนกลาง

• ภาษาทาหรือภาษาทางนาฏศิลป - ภาษาทาทีม่ าจากธรรมชาติ - ภาษาทาทีม่ าจากการประดิษฐ - รําวงมาตรฐาน

เสร�ม

13

• รูปแบบการแสดง - การแสดงเปนหมู - การแสดงเดี่ยว - การแสดงละคร - การแสดงเปนชุดเปนตอน

4. มีทักษะในการแปลความและ • การประดิษฐทารําและทาทางประกอบการแสดง การสื่อสารผานการแสดง - ความหมาย - ความเปนมา - ทาทางที่ใชในการประดิษฐทารํา 5. วิจารณเปรียบเทียบงาน • องคประกอบนาฏศิลป นาฏศิลปทมี่ คี วามแตกตางกัน - จังหวะทํานอง โดยใชความรูเ รือ่ งองคประกอบ - การเคลื่อนไหว นาฏศิลป - อารมณและความรูสึก - ภาษาทา นาฏยศัพท - รูปแบบของการแสดง - การแตงกาย 6. รวมจัดงานการแสดงใน บทบาทหนาที่ตางๆ

• วิธีการเลือกการแสดง - ประเภทของงาน - ขั้นตอน - ประโยชนและคุณคาของการแสดง

7. นําเสนอแนวคิดจากเนื้อเรื่อง • ละครกับชีวิต ของการแสดงที่สามารถนําไป ปรับใชในชีวิตประจําวัน คูม อื ครู


มาตรฐาน ศ 3.2 เขาใจความสัมพันธระหวางนาฏศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคาของนาฏศิลป ที่เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทยและสากล เสร�ม

14

คูม อื ครู

ชั้น

ตัวชี้วัด

ม.3 1. ออกแบบ และสรางสรรค อุปกรณและเครื่องแตงกาย เพื่อแสดงนาฏศิลปและละคร ที่มาจากวัฒนธรรมตางๆ

สาระการเรียนรูแกนกลาง

• การออกแบบ และสรางสรรคอุปกรณและเครื่องแตงกาย เพื่อการแสดงนาฏศิลป

2. อธิบายความสําคัญและ บทบาทของนาฏศิลปและ การละครในชีวิตประจําวัน

• ความสําคัญและบทบาทของนาฏศิลปและการละครในชีวิต ประจําวัน

3. แสดงความคิดเห็นในการ อนุรักษ

• การอนุรักษนาฏศิลป


คําอธิบายรายวิชา รายวิชา ดนตรี-นาฏศิลป ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 รหัสวิชา ศ…………………………………

กลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ ภาคเรียนที่ …….. เวลา 40 ชั่วโมง/ป เสร�ม

ศึกษาเปรียบเทียบองคประกอบและเทคนิคที่ใชในงานดนตรีและงานศิลปะอื่นๆ รองเพลง เลนดนตรีเดี่ยว และรวมวง โดยเนนเทคนิคการรอง การเลน การแสดงออกและคุณภาพเสียง ประพันธเพลงสั้นๆ ในอัตราจังหวะ 2 และ 4 อธิบายเหตุผลในการเลือกใชองคประกอบดนตรีในการสรางสรรคงานดนตรีของตนเอง เปรียบเทียบ 4 4 ความแตกตางระหวางงานดนตรีของตนเองและผูอื่น อธิบายเกี่ยวกับอิทธิพลของดนตรีที่มีตอบุคคลและสังคม ตลอดจนนําเสนอหรือจัดการแสดงดนตรีในวาระตางๆ โดยการบูรณาการกับสาระการเรียนรูอื่นในกลุมศิลปะ บรรยายวิวัฒนาการของดนตรีแตละยุคสมัยทั้งดนตรีไทยและดนตรีสากล รวมทั้งสามารถบอกลักษณะเดนที่ทําให งานดนตรีนั้นไดรับการยอมรับจากสังคมได ระบุโครงสรางของบทละครโดยใชศัพททางการละคร ใชนาฏยศัพทหรือ ศัพททางการละครที่เหมาะสมบรรยายเปรียบเทียบการแสดงอากัปกิริยาของผูคนในชีวิตประจําวันและในการแสดง มีทักษะในการใชความคิดในการพัฒนารูปแบบการแสดง มีทักษะในการแปลความและการสื่อสารผานการแสดง วิจารณเปรียบเทียบงานนาฏศิลปที่มีความแตกตางกันโดยใชความรู รวมจัดงานการแสดงในบทบาทหนาที่ตางๆ นําเสนอแนวคิดจากเนื้อเรื่องของการแสดงที่สามารถนําไปปรับใชในชีวิตประจําวัน ออกแบบและสรางสรรคอุปกรณ และเครื่องแตงกาย เพื่อแสดงนาฏศิลปและละครที่มาจากวัฒนธรรมตางๆ อธิบายความสําคัญและบทบาทของ นาฏศิลปและการละครในชีวิตประจําวัน พรอมทั้งแสดงความคิดเห็นในการอนุ ในกา รักษนาฏศิลปและการละครไทย โดยใชทักษะกระบวนการทางดนตรีและนาฏศิลป กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการกลุม ในการแสดงออกทาง ดนตรีและนาฏศิลปอยางสรางสรรค เพื่อใหเกิดความรูความเขาใจความสัมพันธระหวางดนตรี-นาฏศิลป เทคนิคการสรางสรรคการแสดงออกทาง ดนตรีและนาฏศิลป รวมถึงเห็นคุณคาของงานดนตรีและนาฏศิลปที่เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทยและสากล ตัวชี้วัด ศ 2.1 ม.3/1 ศ 2.2 ม.3/1 ศ 3.1 ม.3/1 ศ 3.2 ม.3/1

15

ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6 ม.3/7 ม.3/2 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6 ม.3/7 ม.3/2 ม.3/3

รวม 19 ตัวชี้วัด

คูม อื ครู


คูม อื ครู

ÇÔà¤ÃÒÐË Áҵðҹ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙጠÅеÑǪÕÇé ´Ñ ÃÒÂÇÔªÒ ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÔÅ»Š Á.3

6

7

1 ✓

2

1

2

หนวยการเรียนรูที่ 8 : เทคนิคพื้นฐานในการ จัดการแสดงละคร

5

หนวยการเรียนรูที่ 7 : ทักษะทางการละคร

4

3

ตัวชี้วัด

มาตรฐาน ศ 2.2 ตัวชี้วัด

หนวยการเรียนรูที่ 6 : ทักษะในการฝกหัด นาฏศิลปไทย

หนวยการเรียนรูที่ 5 : ทักษะทางนาฏศิลปไทย

หนวยการเรียนรูที่ 4 : นาฏศิลปและการละคร กับชีวิตมนุษย

หนวยการเรียนรูที่ 3 : ทักษะดนตรีสากล

2

1

หนวยการเรียนรูที่ 2 : ทักษะดนตรีไทย

หนวยการเรียนรูที่ 1 : ดนตรีกับสังคม และวัฒนธรรม

หนวยการเรียนรู

มาตรฐาน ศ 2.1

สาระที่ 2

3

4

ตัวชี้วัด

5

มาตรฐาน ศ 3.1

6

สาระที่ 3

7

16

มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด

คําชี้แจง : ใหผูสอนใชตารางน�้ตรวจสอบความสอดคลองของเน�้อหาสาระการเรียนรูในหนวยการเรียนรูกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดชั้นป

ตาราง

เสร�ม ✓

1

2

ตัวชี้วัด

3

มาตรฐาน ศ 3.2


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Expand

Evaluate

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹

´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÔÅ»Š Á.ó ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓

กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

ผูเรียบเรียง

รศ. สุมนมาลย นิ่มเนติพันธ รศ. สําเร็จ คําโมง นายสุดใจ ทศพร รศ. ณรงคชัย ปฎกรัชต ผศ.ดร. รจนา สุนทรานนท ผศ. มณฑา กิมทอง นายชนินทร พุมศิริ ผศ. อนรรฆ จรัณยานนท

ผูตรวจ

ผศ. กฤษณา บัวสรวง ผศ. เดชน คงอิ่ม นายโฆษิต มั่นคงหัตถ

บรรณาธิการ

ดร. มนัส แกวบูชา นางอัมไพวรรณ เดชะชาติ นายสมเกียรติ ภูระหงษ

ผูจัดทําคูมือครู

รศ. สุมนมาลย นิ่มเนติพันธ ผศ. มณฑา กิมทอง สุนิสา รังสิพุฒิกุล พิมพครั้งที่ ๑

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ รหัสสินคา ๒๓๑๕๐๐๔ รหัสสินคา ๒๓๔๕๐๐๔

¤Œ¹¤ÇÒÁÃÙŒ¢ÂÒ¤ÇÒÁ¤Ô´¨Ò¡

EB GUIDE

ที่พิมพกํากับหัวขอสําคัญในหนังสือเรียนหลักสูตรแกนกลางฯ ผาน www.aksorn.com ไปยังแหลงความรูทั่วไทย-ทั่วโลก


อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล

กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา Explore Engage

Expand

Explain

Evaluate

¤íÒá¹Ð¹íÒ¡ÒÃ㪌˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ หนังสือเรียน ดนตรี-นาฏศิลป ม. ๓ เลมนี้ ใชประกอบการเรียนการสอนในรายวิชาพื้นฐาน กลุมสาระ การเรียนรูศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ เนื้อหาตรงตามสาระการเรียนรูแกนกลางขั้นพื้นฐาน อานทําความเขาใจงาย ใหทั้งความรูและชวยพัฒนาผูเรียน ตามหลักสูตรและตัวชี้วัด เนื้อหาสาระแบงออกเปนหนวยการเรียนรูตามโครงสรางรายวิชา สะดวกแกการจัดการเรียน การสอนและการวัดผลประเมินผล พรอมเสริมองคประกอบอื่นๆ ที่จะชวยทําใหผูเรียนไดรับความรูอยางมีประสิทธิภาพ ¨Ñ´¡ÅØ‹Áà¹×éÍËÒ໚¹Ë¹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ Êдǡᡋ¡ÒèѴ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹

à¹×éÍËҵçµÒÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹Ãٌ᡹¡ÅÒ§ ãËŒ¤ÇÒÁÃÙŒáÅÐàÍ×é͵‹Í¡ÒùíÒä»ãªŒÊ͹à¾×èÍ ãËŒºÃÃÅصÑǪÕéÇÑ´ áÅÐÊÌҧ¤Ø³ÅѡɳРÍѹ¾Ö§»ÃÐʧ¤

à¡ÃÔ¹è ¹íÒà¾×Íè ãˌࢌÒ㨶֧ÊÒÃÐÊíÒ¤ÑÞ ã¹Ë¹‹Ç·Õè¨ÐàÃÕ¹

à¡Ãç´ÈÔÅ»Šà¾ÔèÁàµÔÁ¨Ò¡à¹×éÍËÒ ÁÕá·Ã¡à»š¹ÃÐÂÐæ

ระบบการสืบทอดดนตรีไทยที อยางกวางขวาง มีตําราเรียนดนตรี ่กลาวมา สงผลใหนักเรียนมีโอกาสเรียนดนตรีไทยกันได เครื่องดนตรีและสื่อการเรียนการสอ ใหนักเรียนไดศึกษาหาความรู ซึ่ง ถือเปนปจจัยสําคัญที่ทําใหวิชาการดน นที่ทันสมัย เอื้ออํานวย ตรีไทยดํารงอยูคูกับสังคม และวัฒนธรรมไทยตอไป

เปนการใชทาทาง ่แสดงอารมณความรูสึกภายใน 3) ภาษาทาหรือภาษาทารําทีของมนษุ ย เชน รัก โกรธ ดีใจ เสียใจ รองไห ยิม้ เปนตน

รูส กึ ภายใน ธรรมชาติสอื่ อารมณแ ละความ นตนาการอารมณแ ลวตีความออกมาเปนกิรยิ าทาทางและแสดง ะจิ การสือ่ อารมณค วามรูส กึ ภายในจ มายใหผูชมเขาใจ เชน ทารัรัก ทาโกรธ ทาดีใจ เปนตน ่อความห สีหนาบงบอกความรูสึกเพื่อสื สึกภายใน ตัวอยาง

เกร็ดศิลป

ทาโกรธ ้น ใชนิ้วฟาดตวัดขึ้น ปฏิบัติโดยการตั้งขอมือขึ มือ หรือใชฝามือซาย แลวเก็บนิ้วชี้งอเขาหาฝา ถูไปถูมาแลวกระชากลง ถูบริเวณคางใตใบหูซาย

ö

หนวยที่ ทักษะในการฝก

ตัวชี้วัด ■

■ ■

ใชนาฏยศัพทหรื อศั อากัปกิริยาของผูค พททางการละครที่เหมาะสม บรรยาย นในชี มีทักษะในการแปลค วิตประจําวันและในการแสดง เปรียบเทียบการแสดง (ศ ออกแบบและสรา วามและการสื่อสารผานการแสดง ๓.๑ ม.๓/๒) งสรรคอุปกรณและเครื (ศ ๓.๑ ม.๓/๔) และละครที่มาจากวั ฒนธรรมตางๆ (ศ ่องแตงกายเพื่อแสดงนาฏศิลป ๓.๒ ม.๓/๑)

สาระการเรียนรูแกนกล

■ ■ ■

าง

ภาษาทาหรือภาษาท การประดิษฐทารํ างนาฏศิลป าและท การออกแบบและสร าทางประกอบการแสดง เพื่อการแสดงนาฏศ างสรรคอุปกรณและเครื่องแตงกาย ิลป

กิจกรรม ศิลปปฏิบัติ ๑.๑

ทารัก

หัดนาฏศิลปไทย

กิจกรรมที่ ๑

ลําแขน ใชฝามือ ปฏิบัติโดยการประสาน วณฐานไหลหรือ ทั้งสองขางวางทาบบริเ บริเวณอก

าฏศิลปไทย เปน วิชาที่วาดวยศิล การละครและกา ปะ รรา ตางๆ ของรางกาย ยรํา โดยใชสรีระสวน ในการแสดงออก ความคิดจินตนา เพื่อสื่อ การใ และ เข า ใจใน การแ หผูชมเกิดอารมณรวม สดง สํ า หรั บ ผู นอกจากตองเรี  ฝ  ก ปฏิ บั ติ ยนรู คลองแลว ยังต ภาษานาฏศิลปและปฏิบัติได องมีความสามาร ถที่จะบรรยาย เปรียบเทียบกา รแสด ประจําวันและในการ งอากัปกิริยาของผูคนในชีวิต แสดงโดยใชนาฏยศ ัพทไดดวย

สุนทรียะของดนตรี

สุนทรียะของดนตรี แปลตามพ ยัญชนะมีใจความวา “ความงามของดนตรี” แตคนสามั ญทั่วไปมักจะใชใจความ วา “ความไพเราะของดนตรี” แทน เนื่องจากเขาใจวาอะไรที ่ งามยอมมองเห็นไดดวยตาเทา นั้น สวนเสียงดนตรีนั้นสัมผัส รูดวยหู ไมอาจมองเห็นภาพได จึงใชคําวา “ไพเราะ” แทนที่ คําวา “งาม” แตแทที่จริงนั้นบุ คคลสามารถสัมผัสรูความงาม ของสรรพสิ่งไดดวยประสาทสั มผัสตางๆ ถึง ๖ อยาง คือ ตาสั ม ผั ส รู ค วามงามข องรู ป หู สั ม ผั ส รู ค วามงามข องเสี ย ง จมูกสัมผัสรูความงามของกลิ่น ลิ้นสัมผัสรูความงามของรส กายสัมผัสรูความงามของสิ่งที ่มากระทบกาย และใจสัมผัสรู  ความงามของอารมณที่เกิดกับ ใจ

วามรู

ารําที่แสดงอารมณค

ภาษาทาหรือภาษาท

กิจกรรมที่ ๒

ทาดีใจ นิ้ว ปฏิบัติโดยใชมือซายกรีด แลวจีบมาไวระดับปาก

ใหนักเรียนเขียนอธิบายเกี่ยวกับอิ ทธิพลของดนตรีที่มีตอบุคคลและสั งคมไทย ลงกระดาษรายงาน สงครูผูสอน ใหนักเรียนแบงกลุมเปน ๔ กลุม ตามปจจัยที่ทําใหงานดนตรีไดรับ การยอมรับจาก สังคม ดังนี้ ๑. ปจจัยดานความเจริญทางวัฒ นธรรม ๒. ปจจัยดานความเจริญกาวหน าทางเทคโนโลยี ๓. ปจจัยดานคานิยมและการปรั บเปลี่ยนใหเขากับยุคสมัย ๔. ปจจัยดานการสืบทอดดนตรีไ ทยของศิลปน แลวใหแตละกลุมรวมกันอภิปรายว าปจจัยดังกลาวมีผลใหงานดนตร ีไดรับการ ยอมรับจากสังคมอยางไร แลวจดบั นทึกสาระสําคัญไว

http://www.aksorn.com/LC/Mu&Pa/

M3/01 EB GUIDE

๑๑๙

µÑǪÕÇé ´Ñ áÅÐÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙጠ¡¹¡ÅÒ§ µÒÁ·ÕËè ÅÑ¡Êٵà ¡íÒ˹´ à¾×èÍãËŒ·ÃÒº¶Ö§à»‡ÒËÁÒÂ㹡ÒÃÈÖ¡ÉÒ

Web Guide á¹Ð¹íÒáËÅ‹§¤Œ¹¤ÇŒÒ¢ŒÍÁÙÅ à¾ÔèÁàµÔÁ¼‹Ò¹Ãкº Online

Design ˹ŒÒẺãËÁ‹ ÊǧÒÁ ¾ÔÁ¾ ô ÊÕ µÅÍ´àÅ‹Á ª‹ÇÂãˌ͋ҹ·íÒ¤ÇÒÁࢌÒã¨ä´Œ§‹ÒÂ

ครื่องดนตรีไทย

๓. การฝกปฏิบัติเ

แกมขิม

อ ยู  ด  า นบน แผ น ไม ชิ้ น ที่ ง ด า นซ า ย ของ ตั ว ขิ ม ทั้ ษณะ แบน และ ขวามี ลั ก ก ยึ ด สาย สํ า หรั บ ป ก หลั บรอย กสําหรั หลั น และเป ปรับเสียงที่ สายเวลาหมุน บสาย” เรียกวา “เทีย

¡Ô¨¡ÃÃÁÈÔÅ»Š»¯ÔºÑµÔãËŒ¼ÙŒàÃÕ¹䴌½ƒ¡»¯ÔºÑµÔ à¾×èÍãËŒÁդسÀÒ¾ºÃÃÅØÁҵðҹáÅеÑǪÕéÇÑ´

ฐานนมและน

้ สว นทีต่ งั้ ขึน ฐานนม คือ ไม มนี้เมื่อ รองรับนม ฐานน บร อ ย เรี ย ติ ด นมด  า นบน ายกําแพง จะมีลกั ษณะคล วัสดุที่ คือ เมือง สวนนม รองรับสาย ตั้งขึ้นสําหรับ แตละชุด

กิจกรรม ศิลปปฏิบัติ ๖.๑

สิ่งที่ควรคํานึงถึ งในการประดิษ ฐทารําประกอบก การรายรําในนาฏศิ ารแสดง ลปไทยทุกประเภท ๒ สวน คือ มีลักษณะวิธีการใน การเคลื่อนไหวอวั ยวะสําคัญของรา อวัยวะชวงบน ซึ่ง งกายอยู ประกอบดวย แขน นิ้ว รวมเรียกวา “วง” ขอมือ นิ้ว ลําตัว คอ และใบหนา โดยเฉพาะสวนของ อวัยวะชวงลาง ได แขน ขอมือ แก เขา ขา และเ ทา รวมเรียกวา “เหล การเคลื่อนไหวมี ี่ยม” รายละเอียดตางๆ จึงจะทําใหเกิดความ ที่จะตองผสมผสาน กลมกลืนกัน ทั้งนี หมายทําใหผูชมเข ้รวมถึงอารมณของผู าใจและคลองตาม ขณะเดียวกัน การเ อารมณนั้นๆ ซึ่งผู แ คลื่อนไหวบางอย แสดงเรียกวา “ภาษ สดงดวย างของผูแสดงเปน แตไมมคี วามหมายเ าทา” แตใน เพียงทว รียกวา “ทาเชือ่ ม” แตอยางไรกต็ ามกร งที การเคลื่อนไหวเพื่อความงดงา ที่งดงาม เปนเอกล ม ะบวนทาทางการเคล ักษณของนาฏศิล ปไทย อื่ นไหวก็เปนศิลปะ กระบ วนท า รํ า จึ ง มี ค วามห มายอ ย า งยิ ่ ง ต อ การคิ ด ประด แตละทามีความห ิ ษ ฐ ชุ ด การแ สดง มายในตัวเอง ท ท า รํ า ารําบางทามีกฎระเ ทายิ้ม ใชไดเฉพาะ บียบเฉพาะ เชน มือซายเทานั้น ทาตัวเราใชมือซ แต ถ า จํ า เป น ต อ ายจีบเข งใช มื อ ขวาใ ห ใช นิ้ ว ชี้ ห รื อ นิ้ ว หั ว แม าอก เปนตน มื อ แทน นอกจากนี้ การแปรแถ วเปนจุดสําคัญอย ของการประดิษฐ างหนึง่ ระบําในนาฏศิลป ไทย ซึ่งมีรูปแบบ การแปรแถวอยู มากมาย เชน แถวปากพนัง แถวตอน แถวเฉีย ง แถวหนากระดาน เปนตน

ชนิดอื่น

ตางไปจากเครื่องตี

ขิม หรือเปนเครื เปนตน ง ตะโพน กลองทัด จะทําดวยไมหรือโลหะ ของไทยที่สวนใหญ ระนาดเอกเหล็ก ระนาดทุมเหล็ก โหม วนดวยกัน คือ ตัวขิม ฝาขิมและ ส ม นประกอบหลัก ๓ นมและการวางหยองเทานั้น ทั้งนี้ ระนาดเอก ระนาดทุ ว ยส ว ด ะกอบ ขิมทุกชนิดจะปร จะตางกันเพียงขนาด จํานวน ้ นี ง ด ิ ดั ขิมแตละชน ิมในภาพรวม อุปกรณสวนควบ ะกอบตางๆ ของข หลักยึดสาย งจะกลาวถึงสวนปร ร า ง เพื่อใหเขาใจงายจึ ี่ ก ลึ ง เป น รู ป ลื อ งหรื อ เส น ลวดท องเห กยึดติด ี่ าํ มาผู สเตนเลสทน  า นซ า ย กั บ หลั ก ขิ ม ทางด หรับใช สํา ของผูบรรเลง ให เ กิ ด ไม ตี ก ระทบ ลงไป เสียงตางๆ

àÊÃÔÁÊÒÃШҡà¹×éÍËҹ͡à˹×ͨҡ·ÕèÁÕã¹ ÊÒÃСÒÃàÃÕ¹Ãٌ᡹¡ÅÒ§ à¾×Íè à¾ÔÁè ¾Ù¹áÅÐ ¢ÂÒ¾ÃÁá´¹¤ÇÒÁÃÙŒãËŒ¡ÇŒÒ§¢ÇÒ§ÍÍ¡ä»

เสริมสาระ

: ขิม

งขิม าย แตก ๓.๑ ลักษณะขอ ตรีประเภทเครื่องตีชนิดเดียวที่ใชส ี่ขึงดวยหนัง เชน กรับชนิดตางๆ ่องดนตรีท เปนเครื่องดน

สายขิม

วั ส ดุ ท กที่อยูดาน คลายตะปู หลั สํ า หรั บ ยึ ด ซ า ยเป น หลั ก า นขวา ั ก ด สาย ส ว นหล ายเพื่อ ใสส เจาะรูสําหรับ ูง-ตํ่า หส หมุนปรับสายใ

กิจกรรมที่ ๑ กิจกรรมที่ ๒

กิจกรรมที่ ๓

ทั

ไมตีขิม

แผนหนาขิม

ขิม ี่ ด ดานบนตัว แผนไมทป อกัน เปน มีความบางเสม นออก มผา ชองใหเสียงขิ องเสียง” มาเรียกวา “ช

ตีกระทบ ไม ๒ อัน ที่ใช ลงบนสายขิม

๒๑ ๑๓๘

๑๓๓

ใหนักเรียนแบงกลุม กลุม ๕ คน รวบรวมภาษาทาที่ใชสื่อความหมายแทนคําพูด โดยอธิบายหลักการและวิธีปฏิบัติ จัดทําเปนรายงานสงครูผูสอน ใหนกั เรียนฝกปฏิบตั กิ ริ ยิ าทาทางพืน้ ฐานที่ใชในการประดิษฐทา รําประกอบการแสดง เชน ยืน เดิน นั่ง นอน รัก โกรธ ดีใจ เสียใจ และกิริยาทาทางอื่นๆ ตามที่ครูผูสอน แนะนํา โดยฝกเดี่ยวและฝกรวมกลุมกับเพื่อน ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้ ๑. ภาษาทารําที่มาจากธรรมชาติมีความแตกตางกับภาษาทารําที่ประดิษฐขึ้น อยางไร ๒. บทเพลงทีใ่ ชในการรําวงมาตรฐานมีจาํ นวนกีเ่ พลง แตละเพลงใชทา รําใดประกอบ การแสดง จงอธิบาย ๓. อุปกรณประกอบการแสดงมีความสําคัญตอการแสดงนาฏศิลปไทยอยางไร

กษะพื้นฐานในการฝกหัดนาฏศิลปไทย มีความจําเปนอยางยิ่งที่จะตองฝกหัด ผูเ รียนตัง้ แตนาฏยศัพท จากนัน้ จึงนําไปสูก ารประดิษฐสรางสรรคทา รํา ซึง่ เปนการนําความคิด จินตนาการออกมาในรูปแบบของการฟอนรําดวยวิธีการที่หลากหลาย เชน ใชวิธีการ เคลือ่ นไหวรางกายประกอบเพลง ใชภาษาทาทางเพือ่ สือ่ ความหมาย และใชภาษา แทนคําพูด วิธีการดังกลาวจะใชในโอกาสที่แตกตางกัน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับวุฒิภาวะ ของผูเรียน ธรรมชาติของสาระและรูปแบบวิธีการแสดง ดังนั้น ไมจําเปนวา จะตองใชทั้ง ๓ วิธีในการนํามาประดิษฐทารําในชุดหนึ่ง แตอาจจะเลือก ใชวิธีใดวิธีหนึ่งหรือจะเลือกใชทั้ง ๓ วิธีการก็ได ทั้งนี้ขึ้นอยูกับความ จําเปนในการนํามาใช นอกจากนี้ การประดิษฐอุปกรณเพื่อใชประกอบการแสดงก็นับ วามีความสําคัญ ในการประดิษฐอุปกรณผูเรียนจะตองคํานึงถึงความ ประหยัด เปนวัสดุที่หาไดงายภายในทองถิ่น ราคาถูก ดูสวยงาม ใน การประดิ ษ ฐ อุ ป กรณ เ พื่ อ การแสดงนี้ ส ามารถใช บู ร ณาการกั บ กลุ  ม สาระเดี ย วกั น ได เช น กลุ  ม ศิ ล ปะในสาระการเรี ย นรู  ทั ศ นศิ ล ป โดย ที่ผูเรียนสามารถออกแบบอุปกรณตางๆ ไดดวยตนเอง โดยนําความรู ทางดานทัศนศิลปมาใช หรือจะบูรณาการรวมกับกลุมสาระอื่นๆ เพื่อ กอใหเกิดประโยชนสูงสุดในการเรียนการสอนก็ได


กระตุน ความสนใจ Engage

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

ñ

● ●

ó

● ● ●

ô

ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Expand

ÍÔ·¸Ô¾Å¢Í§´¹µÃաѺºØ¤¤ÅáÅÐÊѧ¤Á »˜¨¨Ñ·Õè·íÒãËŒ§Ò¹´¹µÃÕä´ŒÃѺ¡ÒÃÂÍÁÃѺ¨Ò¡Êѧ¤Á ͧ¤ »ÃСͺ·Õè㪌㹡ÒÃÊÌҧÊÃä §Ò¹´¹µÃÕáÅЧҹÈÔÅ»Ð

ÇÔÇѲ¹Ò¡Òâͧ´¹µÃÕä·Âã¹áµ‹ÅÐÂؤÊÁÑ ·Ñ¡Éо×é¹°Ò¹·Ò§´¹µÃÕä·Â ¡Òýƒ¡»¯ÔºÑµÔà¤Ã×èͧ´¹µÃÕä·Â : ¢ÔÁ ËÅÑ¡¡ÒÃáÅÐÇÔ¸Õ¡ÒèѴáÊ´§´¹µÃÕä·Âã¹ÇÒÃе‹Ò§æ

·Ñ¡Éд¹µÃÕÊÒ¡Å ●

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

Explain

·Ñ¡Éд¹µÃÕä·Â ●

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

อธิบายความรู

´¹µÃÕ¡ºÑ Êѧ¤ÁáÅÐÇѲ¹¸ÃÃÁ

ò

Explore

Evaluate

ÊÒúÑ●

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

สํารวจคนหา

ÇÔÇѲ¹Ò¡Òâͧ´¹µÃÕÊÒ¡Åã¹áµ‹ÅÐÂؤÊÁÑ ·Ñ¡Éо×é¹°Ò¹·Ò§´¹µÃÕÊÒ¡Å ¡ÒúÃÃàŧà¤Ã×èͧ´¹µÃÕÊÒ¡Å : äÇâÍÅÔ¹ á¹Ç·Ò§¡ÒûÃоѹ¸ à¾Å§Í‹ҧ§‹Ò ËÅÑ¡¡ÒÃáÅÐÇÔ¸Õ¡ÒèѴáÊ´§´¹µÃÕÊÒ¡Åã¹ÇÒÃе‹Ò§æ

¹Ò¯ÈÔÅ»ŠáÅСÒÃÅФáѺªÕÇÔµÁ¹ØÉ ● ● ● ●

¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ ¢Í§¹Ò¯ÈÔÅ»ŠáÅСÒÃÅФáѺªÕÇÔµÁ¹ØÉ ¤Ø³¤‹ÒáÅлÃÐ⪹ ¢Í§¹Ò¯ÈÔÅ»ŠáÅСÒÃÅФà º·ºÒ·¢Í§¹Ò¯ÈÔÅ»ŠáÅСÒÃÅФÃ㹪ÕÇÔµ»ÃШíÒÇѹ á¹Ç·Ò§¡ÒÃÊ׺ÊÒ¹áÅÐ͹ØÃÑ¡É ¹Ò¯ÈÔÅ»ŠáÅСÒÃÅФÃ

ñ-ñò ò õ ñð

ñó-óô ñô ñù òñ òø

óõ-÷ø óö ôñ õö öö ÷ô

÷ù-ùð øð øñ øõ ø÷


อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล

กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา Explore Engage

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

õ

Explain

ö

● ●

÷

● ●

ø

¹Ò¯ÂÈѾ· ·Õè㪌㹡ÒÃáÊ´§¹Ò¯ÈÔÅ»Šä·Â ËÅÑ¡¡ÒûÃдÔÉ° ·‹ÒÃíÒáÅз‹Ò·Ò§»ÃСͺ¡ÒÃáÊ´§ ÀÒÉÒ·‹ÒÃíÒ·Õè㪌㹡ÒÃÃíÒǧÁҵðҹ ËÅÑ¡¡ÒûÃдÔÉ° ÍØ»¡Ã³ »ÃСͺ¡ÒÃáÊ´§

·Ñ¡Éзҧ¡ÒÃÅФà ●

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

·Ñ¡Éо×é¹°Ò¹·Ò§¹Ò¯ÈÔÅ»Šä·Â ËÅÑ¡¡ÒÃÇÔ¨Òó à»ÃÕºà·Õº§Ò¹¹Ò¯ÈÔÅ»Šä·Â

·Ñ¡ÉÐ㹡Òýƒ¡ËÑ´¹Ò¯ÈÔÅ»Šä·Â ●

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

Evaluate

·Ñ¡Éзҧ¹Ò¯ÈÔÅ»Šä·Â ●

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

Expand

¡ÒÃáÊ´§ÅФà ·Ñ¡ÉÐ㹡ÒÃáÊ´§ÅФÃÃíÒáÅÐÅФ÷ÕèäÁ‹ãªŒ·‹ÒÃíÒ ·Ñ¡ÉÐ㹡ÒþѲ¹ÒÃٻẺ¡ÒÃáÊ´§ÅФà ¡ÒÃàÅ×Í¡º·ÅФÃ

à·¤¹Ô¤¾×鹰ҹ㹡ÒèѴ¡ÒÃáÊ´§ÅФà ● ●

¡ÒèѴ¡ÒÃáÊ´§ÅФà ¡ÒÃÍ͡ẺáÅÐÊÌҧÊÃä à¤Ã×èͧᵋ§¡Ò áÅÐÍØ»¡Ã³ »ÃСͺ¡ÒÃáÊ´§ ¡ÒÃᵋ§Ë¹ŒÒà¾×èÍ¡ÒÃáÊ´§ÅФÃ

ºÃóҹءÃÁ

ùñ-ññò ùò ññð

ññó-ñóø ññô ñóñ ñóô ñóö

ñóù-ñõö ñôð ñôñ ñôù ñõò

ñõ÷-ñ÷ð ñõø ñöñ ñöö

ñ÷ñ-ñ÷ò


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล Evaluate

Expand

เปาหมายการเรียนรู 1. เปรียบเทียบองคประกอบที่ใชใน การสรางสรรคงานดนตรีและ งานศิลปะ 2. อธิบายเกี่ยวกับอิทธิพลของดนตรี ที่มีตอบุคคลและสังคม 3. อธิบายปจจัยที่ทําใหงานดนตรี ไดรับการยอมรับจากสังคม

กระตุนความสนใจ

หนวยที่

ñ

ดนตรีกับสังคมและวัฒนธรรม ตัวชี้วัด ■ ■ ■

สาระการเรียนรูแกนกลาง ■ ■ ■

การเปรียบเทียบองคประกอบในงานศิลปะ อิทธิพลของดนตรี ปจจัยที่ทําใหงานดนตรีไดรับการยอมรับ

นตรีเปนงานสรางสรรคของมนุษย ที่มีเปาหมายในการนํามาใชเพื่อประกอบ กิจกรรมตางๆ ในชีวิตประจําวัน หรือเพื่อ ความบันเทิงเริงรมย นอกจากนี้ ยังมีคุณคา ตอจิตใจ เปนสื่อเชื่อมระหวางกลุมคนในสังคม ชวยผสานความรักและความสามัคคี ดังนัน้ ดนตรี จึ ง เป น มรดกทางศิ ล ปวั ฒ นธรรมที่ เ ราจะต อ ง สืบทอดและพัฒนาใหอยูคูประเทศชาติสืบไป

เปรียบเทียบองคประกอบที่ใชในงานดนตรีและศิลปะอื่น (ศ ๒.๑ ม.๓/๑) อธิบายเกี่ยวกับอิทธิพลของดนตรีที่มีตอบุคคลและสังคม (ศ ๒.๑ ม.๓/๖) อภิปรายลักษณะเดนที่ทําใหงานดนตรีนั้นไดรับการยอมรับ (ศ ๒.๒ ม.๓/๒)

ใหนกั เรียนอานกลอนบทละครเรือ่ ง เวนิสวานิช พระราชนิพนธในรัชกาล ที่ 6 ตอนที่ ตั ว ละครกล า วถึ ง ความ สําคัญของดนตรีวา “ชนใดไมมีดนตรีกาล ในสันดานเปนคนชอบกลนัก อีกใครฟงดนตรีไมเห็นเพราะ เขานั้นเหมาะคิดกบฏอัปลักษณ ฤๅอุบายมุงรายฉมังนัก มโนหนักมืดมัวเหมือนราตรี แหละดวงใจยอมดําสกปรก ราวนรกที่กลาวมานี่ ไมควรใครไวใจในโลกนี้ เจาจงฟงดนตรีเถิดชื่นใจ” ครูถามนักเรียนวา • สาระสําคัญของกลอนบทละคร ที่ยกตัวอยางมาคืออะไร • นักเรียนคิดวาดนตรีมอี ท ิ ธิพลตอ บุคคลและสังคมหรือไมอยางไร

เกร็ดแนะครู ครูแนะใหนักเรียนเห็นวา ดนตรีทั้ง ไทยและสากล ลวนมีคุณคาตอจิตใจ ของบุคคลและสังคมทั้งสิ้น ปจจุบัน ไดมีการนําดนตรีมาใชเปนสื่อเชื่อม วัฒนธรรมระหวางประเทศ เชน การจัด งานดนตรีนานาชาติเพื่อแลกเปลี่ยน ทางวัฒนธรรม เปนตน

คูมือครู

1


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Explore

Explain

Engage

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

(ยกอกว จากฉบั (หนาพิมพและตัวอักษรในกรอบนี้มีขนาดเล็ าฉบั บนักเรียน 20%)

สํารวจคนหา ใหนกั เรียนแบงกลุม กลุม ละ 5-6 คน สืบคนอิทธิพลของดนตรีในประเด็น ดังตอไปนี้ • ดนตรีกับชีวิตในยามมีความสุข พรอมยกตัวอยางประกอบ • ดนตรีกับชีวิตในยามมีความ ทุกข พรอมยกตัวอยางประกอบ • ดนตรีกับขนบธรรมเนียม ประเพณีของไทย • ตัวอยางวรรณคดีและวรรณกรรม ไทยที่สะทอนอิทธิพลของดนตรี

๑. อิทธิพลของดนตรีกับบุคคลและสังคม

กวีไทยกลาวถึงอิทธิพลของดนตรีกับบุคคลและสังคมไวในบทกวีหลายบท ซึ่งบทเดนที่ งดงามดวยฉันทลักษณและมีเนื้อความกินใจคนไทยอยางแพรหลายมาเนิ่นนาน คือ บทกวีของ สุนทรภูในนิทานคํากลอนเรื่อง “พระอภัยมณี” ตอนที่พระอภัยมณีอธิบายเรื่องอิทธิพลของดนตรี แกสามพราหมณที่พบกันโดยบังเอิญ ซึ่งในเนื้อกลอนกลาววา “...พระฟงความพราหมณนอยสนองถาม อันดนตรีมีคุณทุกอยางไป ถึงมนุษยครุฑาเทวราช แมนปเราเปาไปใหไดยิน ใหใจออนนอนหลับลืมสติ ซึ่งสงสัยไมสิ้นในวิญญา

อธิบายความรู ใหแตละกลุมนําความรูที่ไดสืบคน มาอภิปรายรวมกันในชั้นเรียน จากนั้นสรุปผลการอภิปราย ลงกระดาษรายงาน สงครูผูสอน

ในวิถชี วี ติ ปจจุบนั บุคคลไมอาจหนีรอด จากอิทธิพลของเสียงดนตรีได ไมวาจะทําอะไร อยูที่ไหน เมื่อไหร เสียงดนตรีก็จะแวดลอมอยู เกือบทุกเวลาและทุกสถานที่ ดนตรีถูกสราง ขึ้นมาใชเปนพื้นหลังสนับสนุนการดําเนินชีวิต ของมนุษยมาตั้งแตสมัยโบราณจนถึงปจจุบัน ดนตรีชวยจุดประกายแสงสวางใหแกเหตุการณ สําคัญตางๆ ในชีวิตของบุคคล ทั้งในยามสุข และยามเศรา รังสรรคใหบคุ คลไดถา ยเทอารมณ จากอารมณตึงเครียดเปนอารมณผอนคลาย เสียงดนตรีสามารถเชิญชวนใหบุคคล ลุกขึ้นเตนรํา สามารถดลบันดาลใหบุคคลมี ความภาคภูมิใจในความเปนหมูคณะและความ เปนชาติของตน ถาปราศจากเสียงดนตรีแลว ศิลปะการแสดงตางๆ ก็จะไมเกิดขึ้น

ครูควรเปดเพลงบรรเลงที่ไพเราะ หรือดนตรีบําบัดใหนักเรียนฟง เพื่อ ใหนักเรียนรูสึกผอนคลาย จนเกิด ความสุขและความอิ่มเอมใจ ซึ่งจะ ทําใหนักเรียนรับรูถึงอิทธิพลของ ดนตรีที่มีตอบุคคลไดชัดเจนยิ่งขึ้น

คูมือครู

จึงกลาวความจะแจงแถลงไข ยอมใชไดดั่งจินดาคาบุรินทร จัตุบาทกลางปาพนาสินธุ ก็สุดสิ้นโทโสที่โกรธา อันลัทธิดนตรีดีหนักหนา จงนิทราเถิดจะเปาใหเจาฟง...”

๑.๑ อิทธิพลของดนตรีกับบุคคล

เกร็ดแนะครู

2

ขยายความเขาใจ

การฟงดนตรีหรือบทเพลงที่ไพเราะจะชวยใหคนฟงรูสึก ผอนคลาย เกิดความสุขและความอิ่มเอมใจไดเปนอยางดี


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู ครูและนักเรียนรวมกันอภิปราย เกี่ยวกับคุณคาของงานดนตรีตามที่ สุนทรภูกลาวไวในคํากลอนเรื่อง พระอภัยมณีวา “...อันดนตรีมีคุณ ทุกอยางไป ยอมใชไดดั่งจินดา ค า บุ ริ น ทร . ..” จากนั้ น ให นั ก เรี ย น รวมกันแสดงความคิดเห็นวาดนตรีมี อิทธิพลตอสังคมอยางไร ( แนวตอบ นั ก เรี ย นสามารถแสดง ความคิดเห็นไดอยางอิสระ ครูเนนให เห็นวา ดนตรีเปนเครื่องมือสําคัญที่ ชวยจรรโลงสังคม ยกระดับจิตใจของ บุคคลใหสงู ขึน้ ทัง้ นีต้ อ งขึน้ อยูก บั การ เลือกฟงดนตรีดวยวา ผูฟงเลือกฟง ดนตรีในลักษณะใด)

๑.๒ อิทธิพลของดนตรีกับสังคม

เนือ่ งจากบุคคลไมสามารถแยกตนเอง ออกจากสังคมได เพราะโดยธรรมชาตินนั้ มนุษย จะอยูร วมกันเปนสังคม ทํากิจกรรมรวมกัน เชน รวมกันลาสัตว รวมกันประกอบพิธีกรรมตาม ความเชื่อ รวมเฉลิมฉลองในงานประเพณีทาง ศาสนา เปนตน การรวมตัวกันลักษณะนี้ชวยให ทุ ก คนในกลุ  ม มี โ อกาสแสดงตั ว ตนต อ สั ง คม และแสดงอารมณตางๆ ออกมา เพื่อสื่อสาร ความรูส กึ นึกคิดกับบุคคลอืน่ โดยในทุกกิจกรรม จะมีการบรรเลงดนตรีหรือขับรอง เพื่อชวย การตีกลองสะบัดชัยซึ่งเปนดนตรีพื้นเมืองภาคเหนือ สือ่ สารความเขาใจระหวางกันและกันของสมาชิก ในพิธีไหวครูของนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม ในสังคมดวย อนึง่ ดนตรีคอื ศิลปะทีบ่ คุ คลในสังคมสรางสรรคขนึ้ มาใชรว มกัน ในบางครัง้ อาจมีผเู ตนรํา เพิ่มเติมเขามาอีก ซึ่งทุกคนลวนตองมีอารมณรวมกับเสียงดนตรีทั้งสิ้น ดนตรีจึงกลายเปน วัฒนธรรมอีกอยางหนึ่งของสังคมมนุษย และวัฒนธรรมดนตรีของแตละสังคมลวนเปนเครื่องชวย ชีบ้ อกลักษณะของขนบธรรมเนียมประเพณี กิจกรรมและชาติพนั ธุท กี่ ลุม บุคคลในสังคมนัน้ ๆ ปฏิบตั ิ

นักเรียนควรรู พิธีไหวครู เปนพิธีกรรมซึ่งเปน ประเพณีของไทยที่นิยมปฏิบัติมา ตั้งแตสมัยโบราณ แสดงถึงการระลึก ถึงบุญคุณของครู และเปนการแสดง ตนวาขอเปนศิษยของทานโดยตรง การไหวครูมีใชในหลายกิจกรรม เชน การไหวครูในโรงเรียน การไหว ครูมวย การไหวครูกอนการแสดง ศิลปะดนตรี การไหวครูในงาน ประพันธ เปนตน

@

ในทุกสังคมลวนมีวฒ ั นธรรมอันเปนเอกลักษณเฉพาะทีบ่ ง บอกถึงความเปนกลุม ชาติพนั ธุแ ละความเปนอันหนึง่ อันเดียวกัน ซึ่งดนตรีก็เปนศิลปะประเภทหนึ่งที่สะทอนถึงวัฒนธรรมของแตละสังคมได

มุม IT

ศึกษาขอมูลเพิม่ เติมเกีย่ วกับพิธไี หว ครูไดที่ http://www.banramthai. com/html/waikru.htm

คูมือครู

3


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Engage

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

สํารวจคนหา ใหนกั เรียนแบงกลุม กลุม ละ 5-6 คน สืบคนบทเพลงทีใ่ ชแสดงนาฏศิลปไทย มากลุม ละ 1 เพลง จากแหลงการเรียนรู ตางๆ เชน หองสมุด อินเทอรเน็ต เปนตน

เสริมสาระ ความสัมพันธของงานดนตรีกับการแสดงนาฏศิลป การใชเพลงกับการแสดงนาฏศิลปมี ๒ ลักษณะ คือ นําบทเพลงทีส่ งั คีตกวีประพันธไวแลวมาวิเคราะหเพือ่ ตีบทและสรางสรรคลลี าทาทางนาฏศิลปใหแสดงออกไดอยางสอดคลองและกลมกลืนกับเนือ้ หา อารมณและ ไวยากรณของบทเพลง และการแตงเพลงขึน้ มาใหมใหตรงกับจุดประสงคหรือทานาฏศิลปทตี่ อ งการแสดงออก ตัวอยางของการใชเพลงใหสัมพันธกับการแสดงนาฏศิลปทั้ง ๒ ลักษณะที่เห็นไดชัดเจนในการแสดง นาฏศิลปไทย เชน

อธิบายความรู ใหนักเรียนแตละกลุมนําบทเพลง ที่ สื บ ค น มาติ ด ลงกระดาษรายงาน แลวเขียนอธิบายวาบทเพลงดังกลาว นํามาใชประกอบการแสดงนาฏศิลป รูปแบบใด แลวสงครูผูสอน

การแสดงนาฏศิลป การยกทัพ

เพลงกราวนอก ใชสาํ หรับทัพมนุษยและวานร ในการแสดงโขนเรือ่ ง รามเกียรติ์ เรียกวา ฝายพลับพลา เพลงกราวใน ใชสําหรับทัพยักษ เรียกวา ฝายลงกา เพลงกราวกลาง ใชสําหรับทัพมนุษย

การตอสู

เพลงเชิดกลอง ใชในการตอสู เพลงเชิดฉิง่ ใชประกอบการรํากอนออกอาวุธ เชน แผลงศร เปนตน เพลงเชิดนอก ใชสําหรับการตอสูของตัวละครที่เปนสัตว

การแสดงอารมณรัก

มีเพลงใหเลือกใชจาํ นวนมาก เชน เพลงโอโลม เพลงสารถี เพลงแขก สาหราย เพลงคลื่นกระทบฝง เพลงแสนคํานึง เปนตน

การแสดงอารมณเศรา

มีเพลงใหเลือกใชจํานวนมาก เชน เพลงแขกโอด เพลงธรณีกันแสง เพลงใบคลั่ง เพลงลมพัดชายเขา เปนตน

นักเรียนควรรู เพลงกราว เปนเพลงในอัตราจังหวะ สามชั้น หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) ไดประพันธตอจาก อัตราจังหวะสองชั้น สําหรับใชเปน เพลงโหมโรง เมื่อ พ.ศ. 2489

นักเรียนควรรู เพลงเชิ ด ใช ใ นการเดิ น ทางไกล การไลลา การรบ แบงเปน เชิดธรรมดา (ใชกับมนุษยทั่วไป) เชิดนอก (ใชกับ การตอสูข องอมนุษย) เชิดฉาน (ใชกบั มนุษยที่อยูกับสัตว) และเชิดฉิ่ง (ใช ประกอบการแสดงถึงที่ลึกลับ)

4

คูมือครู

เพลงที่ใช


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

กระตุนความสนใจ ครูเปดเพลง “Live and Learn” ของ กมลา สุโกศล แคลป ใหนักเรียนฟง แลวถามนักเรียนวา • สาระสําคัญของเพลงนี้คืออะไร • นักเรียนคิดอยางไรกับคําวา “ดนตรีคือชีวิต” จากนั้นใหนักเรียนทั้งหองรวมกัน รองเพลง “Live and Learn” พรอมๆ กัน ทั้งนี้ครูอาจจะเปดเพลงอื่นๆ ได ตามความเหมาะสม

๒. ปจจัยที่ทําใหงานดนตรีไดรับการยอมรับจากสังคม

ดนตรีเปนมรดกทางศิลปวัฒนธรรมของชาติทเี่ สริมสรางความแข็งแกรงใหกบั คนในสังคม การสรางสรรคงานดนตรีมมี าอยางตอเนือ่ งตัง้ แตอดีตสูป จ จุบนั แมวา บางชวงสมัยดนตรีอาจไดพบ กับสภาวะวิกฤติบาง แตก็ยังสามารถธํารงคุณคาใหอยูคูสังคมในปจจุบันไดอยางสมบูรณ โดยในที่นี้จะกลาวถึงปจจัยสําคัญที่ทําใหงานดนตรีไดรับการยอมรับจากสังคม ดังนี้

๒.๑ ปจจัยดานความเจริญทางวัฒนธรรม

ดนตรีมีความสําคัญและมีคุณคาอยางยิ่งตอวัฒนธรรมของชาติ ในอดีตประเทศไทย มีการนําดนตรีไทยเขาไปเปนสวนหนึ่งของกิจกรรมทางประเพณีตางๆ ทั้งพระราชพิธีและ พิธีกรรมตางๆ ของประชาชน เชน ในอดีตเมื่อสมเด็จพระบรมราชินีทรงมีพระประสูติกาล เปนพระราชโอรสจะมีการบรรเลงวงแตรสังขและวงปพาทย หากทรงมีพระประสูติกาลเปน พระราชธิดาก็จะมีการบรรเลงวงปพาทย เปนตน สําหรับกิจกรรมทางประเพณีของประชาชนจะมีการนําวงดนตรีไปบรรเลงเปนสวนหนึ่ง ของงานนัน้ ๆ เชน งานทําบุญขึน้ บานใหม งานทําขวัญนาค งานมงคลสมรส งานวันเกิด งานสมโภช เฉลิมฉลองตางๆ งานเทศกาลตามประเพณี งานศพ เปนตน ซึ่งไดยึดถือปฏิบัติมาจนถึงปจจุบัน ทําใหคนไทยมีความรัก ความผูกพันกับวิถีชีวิตและประเพณีไทย มีความคิดและมีทัศนคติที่ดีตอ ดนตรีจนเกิดความรูสึกวาดนตรีเปนสวนหนึ่งของชีวิต โดยเฉพาะดนตรีไทยที่ชวยสะทอนใหเห็น ถึงความเจริญรุงเรืองทางวัฒนธรรมของไทยไดเปนอยางดี

สํารวจคนหา ใหนักเรียนศึกษาปจจัยที่ทําให งานดนตรีไดรับการยอมรับจาก สังคม จากหนังสือเรียน เว็บไซตใน อินเทอรเน็ต และจากแหลงเรียนรู ตางๆ

อธิบายความรู ครูและนักเรียนรวมกันอภิปราย เกี่ยวกับปจจัยที่ทําใหงานดนตรี ไดรับการยอมรับจากสังคม แลวใหนกั เรียนสรุปผลการอภิปราย ลงกระดาษรายงาน สงครูผูสอน @

มุม IT

ดูตวั อยางบทเพลง Live and Learn ไดจาก www.youtube.com โดย คนหาจากคําวา Live and Learn ปจจุบนั ไดมกี ารนําวงดนตรีมาบรรเลงประกอบในงานพิธตี า งๆ อยางเชน งานมงคลสมรส เพือ่ ใหงานมีความสมบูรณยงิ่ ขึน้

คูมือครู

5


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

อธิบายความรู ใหนกั เรียนรวมกันอภิปรายเกีย่ วกับ ความกาวหนาทางเทคโนโลยีที่มีผล ทําใหงานดนตรีกลายเปนที่ยอมรับ ของคนในสังคม โดยครูชวยสรุป เพิ่มเติม

นักเรียนควรรู ราชอาคันตุกะ อาคันตุกะ เปน คํานาม มีความหมายวา แขกผูมาหา คําวา แขก ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทั้งที่เปนกษัตริย และเจานายของตางประเทศ หรือ ผูนําประเทศที่เปนสามัญชน เชน ประธานาธิบดี ใชราชาศัพทวา พระราชอาคันตุกะ

พิธีเปดกีฬาเอเชียนเกมส ที่ประเทศจีน เมื่อ พ.ศ. ๒๕๕๓ ประเทศจีนไดจดั การแสดงอยางยิง่ ใหญอลังการ ซึง่ ดนตรี ก็ไดเขามามีบทบาทอยางสําคัญในงานนี้ดวย

๒.๒ ปจจัยดานความเจริญกาวหนาทางเทคโนโลยี

นักเรียนควรรู

ความเจริญกาวหนาทางเทคโนโลยีทําใหงานดนตรีกลายเปนที่ยอมรับของคนในสังคม อยางกวางขวาง ซึ่งเทคโนโลยีตางๆ ที่พัฒนาขึ้นมา เพื่อนํามาใชพัฒนางานดนตรีใหคนใน สังคมเขาถึงดนตรีไดงายมากยิ่งขึ้นนั้น เกิดขึ้น มาตั้งแตเมื่อโทมัส อัลวา เอดิสัน (Thomas Alva Edison) นักวิทยาศาสตรชาวอเมริกัน ไดคิดประดิษฐเครื่องบันทึกเสียงขึ้น เมื่อ พ.ศ. ๒๔๒๐ วงการดนตรีทั้งไทยและสากลก็ไดนํา เครื่องบันทึกเสียงดังกลาวมาสรางสรรคงาน ดนตรี บันทึกเสียงเพลง เสียงขับรอง เสียง ปราศรัยและขอมูลเสียงตางๆ ไวเปนสมบัติให ปจจุบันวงการดนตรีไดพัฒนาอยางมาก โดยเฉพาะ านการบันทึกเสียง ซึ่งมีการสรางหองอัดเสียงและนํา ชนรุนหลัง ซึ่งนักเรียนสามารถนํามาใชศึกษา ดเทคโนโลยี สมัยใหมมาใชพัฒนาคุณภาพเสียงของนักรอง หาความรูไดมาจนถึงปจจุบัน

เทคโนโลยีสมัยใหมที่ใชพัฒนา คุณภาพเสียง โปรแกรม Electronic Piano เปนโปรแกรมที่ใชฝกทักษะ การเลนดนตรีดวยการบรรเลงตัวโนต ผานคียบอรดจําลองของเครื่อง คอมพิวเตอร ซึ่งนักเรียนสามารถ ศึกษาคนควาโปรแกรมนี้เพิ่มเติมไดที่ http://pianoelectronic.com.br/ index-en.html

6

คูมือครู

ปจจุบันทุกประเทศในโลกตางมีงาน ศิลปวัฒนธรรมที่แสดงถึงความเปนเอกลักษณ ของชาติ ดังที่พบเห็นไดเสมอในงานสําคัญ ตางๆ เชน ในการแขงขันกีฬาระหวางประเทศ ประเทศทีเ่ ปนเจาภาพจะแสดงออกอยางชัดเจน ในการนําศิลปวัฒนธรรมของชาติตนมาแสดง ในวันเปดและปดการแขงขัน โดยประเทศเจาภาพ จะนิยมจัดศิลปะดานการแสดงดนตรีที่แสดง ความเปนชาติของตนมาแสดง เพื่ออวดใหชาว โลกไดชื่นชม สะทอนใหเห็นความเจริญรุงเรือง ทางวัฒนธรรม ซึ่งประเทศไทยก็เชนเดียวกัน เมื่อไดรับหนา ที่เ ปน ประเทศเจา ภาพในการ จัดการแขงขันกีฬาระหวางประเทศหรืองาน ตอนรับราชอาคันตุกะจากตางประเทศ รัฐบาล ไทยก็จะนําศิลปะการแสดงประเภทตางๆ และ การบรรเลงเครื่องดนตรีไทยมาจัดแสดง


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู ใหนกั เรียนรวมกันอภิปรายถึงปจจัย ดานคานิยม และการปรับเปลี่ยนให เขากับยุคสมัยของงานดนตรี จากนั้น สรุปประเด็นสําคัญแลวจดบันทึกไว

๒.๓ ปจจัยดานคานิยมและการปรับเปลี่ยนใหเขากับยุคสมัย

คานิยมของสังคมไทยทีม่ ตี อ เรือ่ งตางๆ นัน้ สามารถเปลีย่ นแปลงไปไดตลอดเวลา ซึง่ งาน ดนตรีกเ็ ชนเดียวกัน งานดนตรีสามารถปรับเปลีย่ นใหเขากับยุคสมัยได โดยในอดีต พระมหากษัตริย ไทยทรงถือเปนพระราชกรณียกิจประการหนึง่ ทีท่ รงตองสงเสริมงานดนตรีของชาติใหเจริญรุง เรือง บรรดาพระบรมวงศานุวงศ ขาราชการผูใหญมีคานิยมในการสงเสริมดนตรีไทย มีการพัฒนา วงดนตรีและอุปถัมภนักดนตรี สวนในหมูประชาชนก็ไดมีการจัดตั้งวงดนตรี เมื่อมีงานบุญ งานกุศล งานเฉลิมฉลอง งานอวมงคล ก็จะมีคานิยมการนําดนตรีไทยไปบรรเลงเปนสวนหนึ่งของงานดวย แมปจ จุบนั ระบบสังคมจะเปลีย่ นแปลงไปมาก โครงสรางทางวัฒนธรรมก็เปลีย่ นแปลงไป แตคา นิยมของคนไทยทีม่ ตี อ ดนตรีกย็ งั คงอยู รัฐบาลไทยยังสนับสนุนและทํานุบาํ รุงดนตรีโดยเฉพาะ ดนตรีไทยอยูเสมอ เชน การจัดตั้งสถาบันการศึกษาที่ทําหนาที่เกี่ยวกับการผลิตนักดนตรีไทย มหาวิทยาลัยตางๆ ก็ไดมีเปดการศึกษาวิชาเอกดนตรี ระดับโรงเรียนทั้งระดับประถมศึกษาและ ระดับมัธยมศึกษามีการจัดรายวิชาดนตรีใหนักเรียนไดศึกษาและฝกปฏิบัติดนตรี นักเรียนจึงมี คานิยมที่ดีตอดนตรีไทย ทําใหคนรุนใหมเล็งเห็นความสําคัญในการศึกษา เรียนรูและใชดนตรี เปนสวนหนึ่งของชีวิตไดอยางมีคุณคา ตัวอยางของการปรับเปลี่ยนดนตรีให เขากับยุคสมัยและคานิยมทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป เชน เมื่อวัฒนธรรมดนตรีตะวันตกเขามาแพรหลาย ในสังคมไทยจึงเกิดวงแตรวง โดยมีการนําเพลง ไทยมาบรรเลงดวยวงแตรวงจํานวนมาก เมื่อ สังคมไทยนิยมนําวงปพาทยมอญมาบรรเลง ในกิจกรรมตางๆ ก็เกิดการแตงเพลงมอญขึ้น จํานวนมาก และเมื่อสังคมไทยนิยมฟงเพลงที่ บรรเลงดวยวงดนตรีสากล ศิลปนดนตรีจึงนํา เพลงไทยมาขับรองเนื้อเต็มและบรรเลงดวย วงดนตรีสากลเปนศิลปะผสมผสาน รวมทั้ง ปจจุบันมีการนําเพลงไทยมาขับรองและบรรเลงดวย บางสวนก็ไดพัฒนาไปเปนเพลงลูกทุง เปนตน วงดนตรีสากลเปนเพลงลูกทุงอยางแพรหลาย

เกร็ดแนะครู ครูอาจขยายความรูเพิ่มเติม โดย ใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็น วา เหตุใดดนตรีและคานิยมเกาหลี จึงหลั่งไหลเขามาในสังคมไทยอยาง รวดเร็ว (แนวตอบ เนื่องจากประเทศเกาหลี เผยแพร วั ฒ นธรรมผ า นทางดนตรี และศิลปะการแสดง เชน ละครเกาหลี เพลงเกาหลี ไปสูชาติตางๆ)

นักเรียนควรรู เพลงลูกทุง เปนเพลงที่สะทอน วิถีชีวิต สภาพสังคม อุดมคติและ วัฒนธรรมไทย โดยมีทวงทํานอง คํารอง สําเนียง และลีลาการรอง การบรรเลงที่เปนแบบแผน มีลักษณะ เฉพาะซึ่งใหบรรยากาศความเปน ลูกทุง คําวา “เพลงลูกทุง” อาจารย จํานง รังสิกุล คิดประดิษฐขึ้นใชเมื่อ วันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2507

คูมือครู

7


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

อธิบายความรู ครูใหนักเรียนรวมกันอธิบายวา การไหวครูดนตรีไทยมีสวนชวย สืบทอดดนตรีไดอยางไร (แนวตอบ ใหนักเรียนแสดง ความคิดเห็นอยางอิสระแตครูควร เนนยํ้าวาการที่ใหผูเรียนดนตรีไทย เขารวมพิธีไหวครูดนตรี จะทําใหเกิด ความซาบซึ้งในบุญคุณครูอาจารย ที่ประสิทธิ์ประสาทวิชาดนตรีให ซึ่งอาจทําใหผูเรียนอยากสืบทอด ดนตรีใหคนรุนตอไปได)

นอกจากนี้ ยังไดมีการนําดนตรีไทยและดนตรีสากลมาผสมผสานบรรเลงเขาดวยกัน จนไดรับความนิยมชมชอบจากนักฟง ในขณะเดียวกันก็ยังมีการนําเครื่องดนตรีชาติตางๆ มา บรรเลงประกอบเพลงไทย เชน กูเจิง ซอเออหู เปนตน ดังนั้น ในปจจุบันดนตรีในประเทศไทยจึง มีทั้งดนตรีไทยเดิม ดนตรีสากลและดนตรีไทยสากลในสังคม

๒.๔ ปจจัยดานการสืบทอดดนตรีของศิลปน

ในอดีตการสืบทอดดนตรีของศิลปนดนตรี จะเปนการเรียนรูในสํานักดนตรี มีครูเปน ศูนยกลางของความรู มีสํานักดนตรีที่เจานาย ขาราชการหรือผูมีฐานะทางสังคมและเศรษฐกิจ อุปถัมภ ซึ่งปจจุบันไดเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ครูดนตรีรุนเกาผันตัวเองไปเปนผูเชี่ยวชาญ ผูทรง คุณวุฒิในสถานศึกษาตางๆ การสืบทอดดนตรีไทยไดพัฒนาใหสอดคลองกับการกาวไปของโลก สมัยใหม โดยไดเขาสูระบบการเรียนการสอนในสถาบันการศึกษาแทนที่การศึกษาในวังหรือในวัด เหมือนในอดีต ขณะเดียวกัน นักเรียนทีเ่ รียนในโรงเรียนและกาวเขาสูก ารเรียนดนตรีในระดับปริญญาตรี ปริญญาโทและปริญญาเอก ก็ไดกลับเขามาเปนครูอาจารยรวมกับครูผูทรงคุณวุฒิดานดนตรีไทย และมาเปนครูสอนดนตรีใหแกนักเรียนรุนตอๆ มา

นักเรียนควรรู กูเจิง เปนเครื่องดนตรีประเภท เครื่องสายแบบดั้งเดิมของจีน บรรเลงโดยการใชมือดีด

นักเรียนควรรู ซอเออหู กลาวกันวา ชนเผาที่อยู ทางใตของแมนํ้าเหลือง (หวางเหอ) มักเรียกชนเผาทีอ่ ยูท างตอนเหนือของ แมนํ้าวา “หู” หรือชาวหู เครื่องดนตรี ประเภทนี้ก็มาจากทางเหนือหรือเปน ผลผลิตจากภูมิปญญาของชาวหูจึง เรียก “หูฉิน” หรือ “ซอหู” และคําวา “เออ” หรือ “สอง” ตามความหมาย ในภาษาไทย มาจากที่ ตั ว ซอหู เ ป น เครือ่ งดนตรีประกอบดวยสองชิน้ หลัก คือ ตัวคันชักและตัวซอ จึงเปนที่มา ของเครื่องดนตรีที่เรียกวา “ซอเออหู”

การไหวครูดนตรีไทยเปนพิธกี รรมหนึง่ ทีแ่ สดงใหเห็นถึงการสืบทอดดนตรีของครูดนตรีตอ ศิษย และยังเปนการปลูกฝงให ศิษยมีความเคารพนบนอบตอครูอาจารยที่ประสิทธิ์ประสาทวิชาใหอีกดวย

๘ @

มุม IT

ชมตัวอยางคลิปวิดีโอการไหวครู ดนตรีไทยไดจาก www.youtube. com โดยคนหาจากคําวา ไหวครู ดนตรีไทย

8

คูมือครู


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Expand

Evaluate

ขยายความเขาใจ ใหนักเรียนแตละคนจัดทํารายงาน เกี่ ย วกั บ อิ ท ธิ พ ลของดนตรี ที่ มี ต  อ บุคคลและสังคม พรอมภาพประกอบ แลวนําสงครูผูสอน

ระบบการสืบทอดดนตรีไทยที่กลาวมา สงผลใหนักเรียนมีโอกาสเรียนดนตรีไทยกันได อยางกวางขวาง มีตําราเรียนดนตรี เครื่องดนตรีและสื่อการเรียนการสอนที่ทันสมัย เอื้ออํานวย ใหนักเรียนไดศึกษาหาความรู ซึ่งถือเปนปจจัยสําคัญที่ทําใหวิชาการดนตรีไทยดํารงอยูคูกับสังคม และวัฒนธรรมไทยตอไป

เกร็ดศิลป

ตรวจสอบผล รายงานเกี่ยวกับอิทธิพลของดนตรี ที่มีตอบุคคลและสังคม

สุนทรียะของดนตรี

สุนทรียะของดนตรี แปลตามพยัญชนะมีใจความวา “ความงามของดนตรี” แตคนสามัญทั่วไปมักจะใชใจความ วา “ความไพเราะของดนตรี” แทน เนื่องจากเขาใจวาอะไรที่ งามยอมมองเห็นไดดวยตาเทานั้น สวนเสียงดนตรีนั้นสัมผัส รูดวยหู ไมอาจมองเห็นภาพได จึงใชคําวา “ไพเราะ” แทนที่ คําวา “งาม” แตแทที่จริงนั้นบุคคลสามารถสัมผัสรูความงาม ของสรรพสิ่งไดดวยประสาทสัมผัสตางๆ ถึง ๖ อยาง คือ ตาสั ม ผั ส รู ค วามงามของรู ป หู สั ม ผั ส รู ค วามงามของเสี ย ง จมูกสัมผัสรูความงามของกลิ่น ลิ้นสัมผัสรูความงามของรส กายสัมผัสรูความงามของสิ่งที่มากระทบกาย และใจสัมผัสรู ความงามของอารมณที่เกิดกับใจ

@

มุม IT

ศึกษาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ วิชาการดนตรีไดที่ http://www.kingramamusic.org/

กิจกรรม ศิลปปฏิบัติ ๑.๑ กิจกรรมที่ ๑ กิจกรรมที่ ๒

ใหน ักเรียนเขียนอธิบายเกี่ยวกับอิทธิพลของดนตรีที่มีตอบุคคลและสังคมไทย ลงกระดาษรายงาน สงครูผูสอน ใหนักเรียนแบงกลุมเปน ๔ กลุม ตามปจจัยที่ทําใหงานดนตรีไดรับการยอมรับจาก สังคม ดังนี้ ๑. ปจจัยดานความเจริญทางวัฒนธรรม ๒. ปจจัยดานความเจริญกาวหนาทางเทคโนโลยี ๓. ปจจัยดานคานิยมและการปรับเปลี่ยนใหเขากับยุคสมัย ๔. ปจจัยดานการสืบทอดดนตรีไทยของศิลปน แลวใหแตละกลุมรวมกันอภิปรายวาปจจัยดังกลาวมีผลใหงานดนตรีไดรับการ ยอมรับจากสังคมอยางไร แลวจดบันทึกสาระสําคัญไว

http://www.aksorn.com/LC/Mu&Pa/M3/01

EB GUIDE

คูมือครู

9


กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา Explore

Engage

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

กระตุนความสนใจ ครูเปดเพลงบรรเลงใหนักเรียนฟง พรอมทั้งนําภาพศิลปะมาใหนักเรียน ชม แลวถามนักเรียนวา • ผลงานศิลปะทั้งสองชิ้นนี้มีอะไร ที่เหมือนหรือแตกตางกัน • ความงดงามของบทเพลงรับรู ไดจากอะไร • ความงดงามของภาพเขียนรับรู ไดจากอะไร จากนั้นใหนักเรียนรวมกันแสดง ความคิดเห็นในประเด็นวา “หากโลก นี้ไมมีศิลปะจะเปนอยางไร”

๓. องคประกอบทีใ่ ชในการสรางสรรคงานดนตรีและงานศิลปะ

งานศิลปะทุกดานเปนสิง่ ทีม่ วลมนุษยชาติสรางสรรคขนึ้ โดยงานศิลปะทีง่ ดงามดวยคุณคา มิไดอยูท คี่ วามโดดเดีย่ วเพียงหนึง่ เดียว เพราะงานศิลปะมีฐานขององคประกอบทีร่ ายลอมหลายสวน ทุกสวนไดผสานกันจนนําไปสูงานศิลปะ

๓.๑ องคประกอบที่ใชในการสรางสรรคงานดนตรีและศิลปะ

ศิลปนทีส่ รางสรรคผลงานศิลปะทุกดาน ทัง้ ดานดนตรี นาฏศิลป วิจติ รศิลป ประติมากรรม สถาปตยกรรมและอื่นๆ ลวนใช “ธาตุ” ๔ อยาง เปน “องคประกอบ” ของชิ้นงานศิลปะของตน ธาตุทั้งสี่ที่กลาวมานั้น มีดังนี้ องคประกอบที่ใชในการสรางสรรคงานดนตรีและศิลปะ

สํารวจคนหา

ธาตุที่ผูรับสื่อสามารถสัมผัสไดดวยประสาทสัมผัสอยางใดอยางหนึ่งหรือ หลายอยาง จากประสาทสัมผัสทั้ง ๕ อยาง อาจเปนรูปธรรมหรือนามธรรม ก็ได เชน ดนตรีใชเสียงเปนสื่อ นาฏศิลปใชลีลาทาทางเปนสื่อ เปนตน

สื่อ

ใหนกั เรียนแบงกลุม กลุม ละ 5-6 คน สื บ ค น องค ป ระกอบของงานศิ ล ปะ ประเภทจิ ต รกรรม ประติ ม ากรรม สถาป ต ยกรรมและนาฏศิ ล ป จาก แหลงการเรียนรูตางๆ เชน หองสมุด อินเทอรเน็ต เปนตน

เนื้อหา

อธิบายความรู

สุนทรียธาตุ

ใหนักเรียนแตละกลุมนําขอมูล ที่ไดสืบคนมาอภิปรายรวมกันถึง องคประกอบของงานดนตรีและ งานศิลปะอื่นๆ จากนั้นใหสรุปผล การอภิปรายลงกระดาษรายงาน สงครูผูสอน

ศิลปนธาตุ

ธาตุที่บงบอกสาระของชิ้นงานผานสื่อไปใหผูรับสื่อรับรูความหมายของ ชิ้นงานศิลปะนั้นได เชน ดนตรีใชสเกลเสียง หมวดเสียง ไวยากรณเพลงหรือ สังคีตลักษณเปนเนื้อหา นาฏศิลปใชองครวมของภาษาทา นาฏยศัพทและ ขนบนิยมเปนเนื้อหา เปนตน ธาตุที่ทําใหผูรับสื่อเห็นความงามของชิ้นงานศิลปะนั้น สุนทรียธาตุมี ๓ คุณลักษณะ คือ มีความงาม มีความนาเพลิดเพลินเจริญใจ และมีความ เปนเลิศถึงขีดสุด เชน ดนตรีมีสังคีตลักษณ กระบวนแบบ เปนสุนทรียธาตุ นาฏศิลปใชนาฏยศัพท ภาษาทา นาฏยลักษณและขนบนิยมเปนสุนทรียธาตุ เปนตน ธาตุที่แฝงอยูในตัวของศิลปนเอง เชน ภูมิหลัง ประสบการณ ความฉลาด ความรูส กึ นึกคิด ความใฝฝน เปนตน ศิลปนมักนําเอาธาตุเหลานีม้ าสอดแทรก ในชิน้ งานศิลปะของตน เพือ่ สือ่ ใหผอู นื่ รับทราบ เชน นักแตงเพลงนําประสบการณชวี ติ ของตนมาเปนสาระของเนือ้ เพลง นาฏยศิลปนประดิษฐทา รําขึน้ มา จากประสบการณการดําเนินชีวิตของชุมชนที่ตนอาศัยอยู เปนตน

เกร็ดแนะครู ครูควรนําเพลงพระราชนิพนธ อันดับที่ 1 “แสงเทียน” มาเปดให นักเรียนฟง แลวใหนักเรียนฝกรอง ตาม เนื่องจากบทเพลงดังกลาว เปนบทเพลงที่มีความงาม มีความ นาเพลิดเพลินใจ และมีความเปนเลิศ ถึงขีดสุดตามหลักสุนทรียธาตุ

10

คูมือครู

๑๐

EB GUIDE

http://www.aksorn.com/LC/Mu&Pa/M3/02


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู จากการศึกษาเทคนิคที่ใชในการ สรางสรรคงานดนตรีตามหนังสือเรียน ครูตั้งประเด็นวา • เหตุใดเราจึงไมควรวาดมโนภาพ ตามเสียงเพลงบรรเลงทุกบท (แนวตอบ เนื่องจากดนตรีที่มี ความงามเปนเลิศ อาจจะไมมี ภาพหรือเรื่องราวใดๆ แฝงอยู เลย แตบทเพลงจะงามดวย องคประกอบที่เหมาะสมลงตัว ของธาตุตางๆ ของศิลปะดนตรี) • หากสังคมใดไมมดี นตรี สังคมนัน้ จะเปนอยางไร (แนวตอบ นักเรียนสามารถตอบ ไดอยางอิสระ แตครูเนนยํ้าวา ดนตรีแสดงถึงวัฒนธรรม ความเปนชาติ ชวยจรรโลงสังคม หากสังคมขาดดนตรีสังคมนั้นก็ จะไรซึ่งวัฒนธรรม)

๓.๒ เทคนิคที่ใชในการสรางสรรค

การสรางสรรคงานศิลปะมีหลักวิชาทีเ่ รียนรูแ ละถายทอดตอเนือ่ งกันมา ในทีน่ จี้ ะกลาวถึง เทคนิคที่ใชในการสรางสรรคงานดนตรี ซึ่งเทคนิคที่ใชในการสรางสรรคงานดนตรีมิไดจํากัดอยูที่ การแตงทํานองใหปรากฏเปนทํานองเพลงเทานั้น ศิลปนดนตรียังตองแสวงหากลวิธีหรือเทคนิค ในการสรางสรรคสิ่งที่ดีที่สุด เพื่อใหเขาถึงสุนทรียะของดนตรี โดยมีแนวทางในการฝกฝน ดังนี้ เทคนิคที่ใชในการสรางสรรคงานดนตรี ขจัดอคติ

เขาใจเรื่องธาตุที่ เปนองคประกอบ ของดนตรี อยางถองแท

หมั่นศึกษา หาความรู ดานดนตรี ฝกนิสัยการฟง เพลงและดนตรี อยางเอาใจจดจอ อยาพยายาม วาดมโนภาพ ตามเสียงเพลง บรรเลงทุกบท

ออกไปจากความคิดและจิตใจของตนใหไดมากที่สุด คือ อยาชื่นชอบเพลง หรือดนตรีดวยความลําเอียง เพราะรักหรือหลงใหลหรือเกรงใจในตัวศิลปน ตามกระแสการโฆษณา ประชาสัมพันธของบริษัทผูผลิตจําหนาย หรือคิด รังเกียจเพลงหรือดนตรี เพราะความชังอยางไมมีเหตุผลที่มีตอศิลปนผูผลิต ชิ้นงาน การมีอคติเชนวานี้เทากับวาเราปดกั้นตนเอง โดยจะไมมีโอกาสได สัมผัสรูสุนทรียะของเพลงหรือดนตรีของบุคคลอื่นหรือของกระบวนแบบ อื่นเลย เขาใจวาดนตรีใชเสียงเปนสื่อบอกเนื้อหา บอกสุนทรียธาตุและบอกศิลปน ธาตุใหผูรับสื่อรับรู แตเสียงดนตรีไมอาจใหภาพที่ชัดเจนแกผูฟงได ทําให ดนตรีเปนจินตศิลป ผูฟ  ง จําเปนตองสรางจินตนาการตามเสียงนัน้ ดวยตนเอง เสียงดนตรีจึงมีพลังและความคลองตัวในอันที่จะกระตุนอารมณความรูสึก ของผูฟ  ง ไดตา งๆ นานา ขึน้ อยูก บั พืน้ ฐานทางวัฒนธรรม ทางสังคม ทางความ สนใจและความรู ภูมิหลังของบุคคลนั้นๆ

นักเรียนควรรู

ตองมีความรูเรื่องไวยากรณหรือสังคีตลักษณของเพลงและดนตรี ตองมี ความรูเรื่องกระบวนแบบของดนตรี ตองมีความรูเรื่องทฤษฎีดนตรี และ ควรมีความรูเรื่องเทคนิควิธีบรรเลงเครื่องดนตรีเหลานี้อยูบาง

จินตศิลป (Imagination Art) คือ ศิลปะที่รับรูแลวเกิดจินตนาการอยาง ตอเนื่อง ทําใหรับรสสุนทรียไดอยาง สมบูรณ เชน ดนตรี วรรณกรรม ซึ่ง บางครั้งไมตองมองเห็น ไมตองอาน ดวยตนเอง ฟงคนอื่นอานก็ได สุนทรียรสแลว

จะทําใหไดยินหนวยเสียงทุกเสียง สามารถจับธาตุที่เปนองคประกอบของ ศิลปะดนตรีไดครบถวน และสามารถวิเคราะหไวยากรณและทางประสาน เสียงของบทบรรเลงได ซึ่งสิ่งตางๆ เหลานี้จะเปนเครื่องมือทําใหผูฟงเห็น หรือสัมผัสรูสุนทรียะของดนตรีได โดยเฉพาะอยางยิ่งสังคีตนิพนธในกลุมดนตรีที่มีความงามเปนเลิศ หรือ เพลงคลาสสิก ซึ่งจะไมมีภาพหรือเรื่องราวใดๆ แทรกอยูเลย แตจะงามดวย องคประกอบที่เหมาะสมลงตัวของธาตุตางๆ ของศิลปะดนตรี

นักเรียนควรรู ๑๑

ไวยากรณ ห รื อ สั ง คี ต ลั ก ษณ คื อ รูปแบบหรือลักษณะของบทเพลงที่มี ความแตกตางกันโดยขึ้นอยูกับผูแตง วาจะดําเนินไปในลักษณะใด

นักเรียนควรรู ขจัดอคติ หมายถึง การขจัดความลําเอียง ซึ่งมีอยูดวยกัน 4 อยาง คือฉันทาคติ (ลําเอียงเพราะรัก) โทสาคติ (ลําเอียงเพราะโกรธ) ภยาคติ (ลําเอียงเพราะกลัว) และโมหาคติ (ลําเอียงเพราะเขลา) คูมือครู

11


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engage

Explore

Explain

Expand

ผลงานการสรุปสาระสําคัญของ องคประกอบที่ใชในการสรางสรรค งานดนตรีและงานศิลปะอื่นๆ

กิจกรรม ศิลปปฏิบัติ ๑.๒ กิจกรรมที่ ๑

เกร็ดแนะครู (แนวตอบ กิจกรรมศิลปปฏิบัติ 1.2 กิจกรรมที่ 2 1. ดนตรีเปนงานที่มนุษยสรางสรรค ขึ้นเพื่อนํามาใชประกอบกิจกรรม ตางๆ ตั้งแตเกิดจนตาย ดนตรี ชวยยกระดับจิตใจของมนุษย ใหสูงขึ้น 2. ดนตรีเปนมรดกทางวัฒนธรรม ที่เสริมสรางความแข็งแกรงให กับคนในชาติ การสรางสรรค งานดนตรีจึงมีมาอยางตอเนื่อง นอกจากนี้ ความกาวหนาทาง เทคโนโลยี และการปรับเปลี่ยน ดนตรีใหกบั เขายุคสมัยก็เปนปจจัย สําคัญที่ทําใหงานดนตรีไดรับการ ยอมรับจากสังคมมาจนถึงปจจุบัน 3. องคประกอบที่ใชในการสรางสรรค งานดนตรีและงานศิลปะอื่นๆ ไดแก สื่อ เนื้อหา สุนทรียธาตุ และศิลปนธาตุ แตความงาม จะสัมผัสไดดวยประสาทสัมผัส ที่แตกตางกัน โดยดนตรีจะใช ประสาทสัมผัสทางหูในการฟงเพลง ที่ไพเราะ)

1. รายงานเกี่ยวกับอิทธิพลของดนตรี ที่มีตอบุคคลและสังคม 2. ผลงานการสรุปสาระสําคัญของ องคประกอบที่ใชในการสรางสรรค งานดนตรีและงานศิลปะอื่นๆ

12

คูมือครู

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

ตรวจสอบผล

หลักฐาน แสดงผลการเรียนรู

ตรวจสอบผล

กิจกรรมที่ ๒

ใหนกั เรียนแบงกลุม กลุม ละ ๕-๖ คน แลวรวมกันอภิปรายเปรียบเทียบองคประกอบ ที่ใชในการสรางสรรคงานดนตรีและงานศิลปะอื่นๆ วามีความเหมือนหรือแตกตาง กันอยางไร จากนั้นสรุปสาระสําคัญเปนรายงานกลุม ตกแตงรูปเลมใหสวยงาม สงครูผูสอน ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้ ๑. ดนตรีมีอิทธิพลตอบุคคลและสังคมอยางไร จงอธิบาย ๒. เหตุใดงานดนตรีจงึ ไดรบั การยอมรับจากสังคมและอยูค กู บั สังคมมาอยางยาวนาน ๓. องคประกอบที่ใชในการสรางสรรคงานดนตรีมีอะไรบาง แลวแตกตางกับ องคประกอบที่ใชในการสรางสรรคงานศิลปะอื่นๆ อยางไร จงอธิบาย

นตรีเปนมรดกทางศิลปวัฒนธรรมของชาติ เนือ้ หาสาระของดนตรีมคี ณ ุ คาตอความ เปนชาติ เสริมสรางใหกับสังคม ทั้งนี้การฝกฝนตนเองเพื่อใหเขาถึงสุนทรียะของศิลปะชนิดใดๆ นับวาเปนการฝกที่ยาก ซึ่งบุคคลที่มีพื้นฐานความรู ประสบการณดานศิลปะและมีภูมิหลังทางสังคมและวัฒนธรรม ที่แตกตางกันจะเขาถึงสุนทรียะของศิลปะไดไมเทากัน แตนักเรียนก็ สามารถพัฒนาขีดความสามารถได โดยการศึกษาหาความรูและสั่งสม ประสบการณดานศิลปะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ตามคําแนะนําที่กลาวไวใน เนื้อหา เพราะหากบุคคลใดเขาถึงสุนทรียะของศิลปะได บุคคลนั้น ยอมเปนผูมีความสุข อิ่มเอิบใจและรูสึกสงางามในใจอยางที่ใคร มาฉกชิงไปไมได

๑๒


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.