8858649121516

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº »ÃСѹÏ

·Õè ȸ. ¨Ð»ÃСÒÈÃÒ¡Òú¹àÇçºä«µ µÑé§áµ‹ Á. ¤. ’55 ໚¹µŒ¹ä»

ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู การงานอาชีพและเทคโนโลยี

รายวิชา

การงานอาชีพ และเทคโนโลยี

ู ร ค หรับ

สํา

ชั้นมัธยมศึกษาปที่ เอกสารหลักสูตรแกนกลางฯ ’51 ประกอบดวย ● ● ● ● ●

คําแนะนําการใชคูมือครู แถบสี/สัญลักษณที่ใชสื่อความหมายในคูมือครู ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง คําอธิบายรายวิชา ตารางวิเคราะหเนื้อหากับมาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัด

ตารางแสดงความแตกตางระหวาง “ คูมือครู ” กับ “ หนังสือเรียน * ” ความแตกตาง

ขนาดตัวอักษร ปกดานหลัง ระบบการจัดพิมพ สวนเสริมดานหนา

คูมือครู ยอลงจากปกติ 20%

พิมพ 4 สี มี เอกสารหลักสูตร คําอธิบายรายวิชา มี กิจกรรมแบบ 5E ความรูเสริมสําหรับครู พิมพสอดแทรกไวตลอดทั้งเลม ●

หนังสือเรียน ขนาดปกติ 100% : ตัวอักษรใหญกวา ที่พิมพในคูมือครูนี้ มีใบอนุญาต/ใบประกันคุณภาพ พิมพ 4 สี

-

เนื้อหาในเลม

● ●

* ที่ ศธ. อนุญาตใหโรงเรียนใชได

มีเฉพาะเนื้อหาสาระตามที่ ศธ. อนุญาตฯ/สนพ.ประกันคุณภาพ

3


คําแนะนําการใชคูมือครู : การจัดการเรียนรูสูหองเรียนคุณภาพ คูมือครู การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.3 จัดทําขึ้นเพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการวางแผน และเตรียมการสอนโดยใชหนังสือเรียน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.3 ของบริษทั อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด เสร�ม เปนสื่อหลัก (Core Material) ประกอบการออกแบบกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรู 2 และตัวชี้วัดกลุมสาระการเรียนรู การงานอาชีพและเทคโนโลยี ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 โดยจัดทําตามหลักการสําคัญ ดังนี้

1. ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน คูมือครู รายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.3 จัดทําเปนหนวยการเรียนรูตามลําดับสาระการเรียนรู ที่ระบุไวในมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด แตละหนวยจะกําหนดเปาหมายการสอนและจุดประสงคการเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทางการประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชัดเจน ครูผูสอนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดที่เปนเปาหมายการเรียนรูของแตละหนวยการเรียนรู (ตามแผนภูมิ) และสามารถบันทึกผลการจัดการ เรียนการสอนไดอยางมั่นใจ

นรู

สภ

าพ

ผู

จุดป

ระส

เรีย

งค

รีย า รเ

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชั้นป

ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน

แผนภูมิแสดงองคประกอบของการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผูเรียนเปนสําคัญ

2. การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ

แนวคิดในการจัดการเรียนการสอนที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ พัฒนามาจากปรัชญาและทฤษฎีการเรียนรู Constructivism ที่เชื่อวาการเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสราง ความรูโดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดพบเห็นกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา นักเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีความรูความเขาใจสิ่งตางๆ ติดตัวมากอนที่จะเขาสู หองเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากบริบทและสิง่ แวดลอมรอบตัวนักเรียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกระบวนการเรียนรู ในแตละบทเรียน ผูสอนจะตองคํานึงถึง คูม อื ครู


1) ความรูเดิมของนักเรียน การสอนที่ดีจึงตองเริ่มตนจากจุดที่วา นักเรียนมีความรูอ ะไรมาบาง แลวจึงให ความรูห รือประสบการณใหมเพือ่ ตอยอด จากความรูเ ดิม

2) ความรูเดิมของนักเรียนถูกตอง หรือไม ผูสอนตองปรับเปลี่ยนความรู ความเขาใจเดิมของนักเรียนใหถูกตอง และเปนพฤติกรรมการเรียนรูใหมที่มี คุณคาตอนักเรียน เพื่อสรางเจตคติหรือ ทัศนคติที่ดีตอการเรียน

3) นักเรียนสรางความหมายสําหรับ ตนเอง ผูสอนตองสงเสริมใหนักเรียน นํ า ข อ มู ล ความรู  ที่ ไ ด ไ ปลงมื อ ปฏิ บั ติ และประยุ ก ต ใ ช ค วามรู  อ ย า งถู ก ต อ ง ในบริ บ ทที่ เ ป น จริ ง ของชี วิ ต นั ก เรี ย น เพื่อขยายความรูใหลึกซึ้งและมีคุณคา ตอตัวนักเรียนมากที่สุด

เสร�ม

3

แนวคิด Constructivism เนนใหผูเรียนสรางความรูโดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูของตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศการเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความ ขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณความรูใหม ผูเรียนจะพยายามปรับขอมูลใหม กับประสบการณที่มีอยูเดิม แลวสรางเปนความรูใหมหรือแนวคิดใหมๆ ไดดวยตนเอง

3. การบูรณาการกระบวนการคิด

การเรียนรูของนักเรียนแตละคนจะเกิดขึ้นที่สมองซึ่งทําหนาที่รูคิด ภายใตสภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวย และ ไดรับการกระตุนจูงใจอยางเหมาะสมสอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของนักเรียน การจัดกระบวนการ เรียนรูและสาระการเรียนรูที่มีความหมายตอผูเรียนนั้น จะชวยกระตุนใหสมองรับรูและสามารถเรียนรูไดอยางมี ประสิทธิภาพตามขั้นตอนการทํางานของสมอง ดังนี้ 1) สมองจะเรี ย นรู  แ ละสื บ ค น โดย 2) สมองจะแยกแยะคุ ณ ค า ของ การสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง สิง่ ตางๆ โดยการลงมติ ตัดสินใจ วิพากษ ปฏิบัติ จนคนพบความรูความเขาใจได วิจารณ แสดงความคิดเห็น ยอมรับหรือ อยางรวดเร็ว ตอตานตามอารมณความรูสึกที่เกิดขึ้น ในขณะที่เรียนรู

3) สมองจะประมวลเนื้ อ หาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรือ่ งราวทีไ่ ดเรียนรูใ หมนาํ ไปผสมผสาน กับความรู หรือประสบการณเดิมที่ถูก จัดเก็บอยูในสมอง ผานการกลั่นกรอง เพื่อสังเคราะหเปนความรูความเขาใจ ใหมๆ หรือเปนเหตุผลทัศนคติใหมที่จะ ฝงแนนในสมองของผูเรียน

การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะ เกิดขึ้นเมื่อสมองรูคิดและตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมอง โดยเริ่มตนจาก 1) ระดับการคิดขั้นพื้นฐาน ไดแก 2) ระดั บ ลั ก ษณะการคิ ด ได แ ก 3) ระดั บ กระบวนการคิ ด ได แ ก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดหลากหลาย กระบวนการคิ ด อย า งมี วิ จ ารณญาณ การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล คิดไกล คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล กระบวนการแกปญหา กระบวนการคิด การสรุปผล เปนตน เปนตน สรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะห วิจัย เปนตน

คูม อื ครู


4. การบูรณาการกระบวนการเรียนรูพื้นฐานอาชีพ

กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายสงเสริมการเรียนพื้นฐานอาชีพในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อเสริมสราง ทักษะที่จําเปนสําหรับการประกอบอาชีพ และดํารงชีวิตในสังคมทองถิ่นของผูเรียนอยางมีความสุข และเปนการ เสร�ม เตรียมความพรอมดานกําลังคนใหมีทักษะพื้นฐานและศักยภาพในการทํางาน เพื่อการแขงขันและกาวสูประชาคม 4 อาเซียนหรือประชาคมโลกตอไป 4.1 ทักษะพื้นฐานเพื่อการประกอบอาชีพ การจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผูเรียนในรายวิชาพื้นฐาน ทุกกลุมสาระการเรียนรูและทุกระดับชั้นเรียน ผูสอนควรบูรณาการประสบการณการเรียนรูพื้นฐานอาชีพควบคู ไปกับการเรียนการสอนดานวิชาการ โดยฝกทักษะสําคัญตามที่สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา (สวก.) สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) เสนอแนะไว ดังนี้ 1. ฝกทักษะกระบวนการคิด มีการวางแผนตลอดแนว เพื่อศึกษาขอมูลอาชีพ 2. ฝกการตัดสินใจอยางเปนระบบ โดยใชขอมูลจากการศึกษา คนควาแหลงเรียนรูในชุมชน เพื่อลด ความเสี่ยงในการลงทุนและเพิ่มความมั่นใจเรื่องการตลาด 3. ฝกกระบวนการวางแผน การผลิต และการจัดจําหนาย โดยนักเรียนคิดตนทุน กําไรดวยตนเอง 4. ฝกการเรียนรูเรื่องคุณธรรม จริยธรรม ดานการประกอบอาชีพ และการทํางานกลุม โดยมีจิตอาสา เพื่อสวนรวม 5. ฝกการทํางานอยางมีประสิทธิภาพ มีการประเมินผล ปรับปรุง พัฒนา และสรางสรรคตอ ยอดผลผลิต 6. ฝกการเสริมสรางความเชื่อมั่น ความเพียรพยายาม เห็นคุณคาและภาคภูมิใจในตนเอง (Self Esteem) ในการประกอบอาชีพ และเจตคติในพื้นฐานทางอาชีพ การจัดการเรียนการสอนที่ใหผูเรียนไดลงมือปฏิบัติทักษะดังกลาว จะชวยใหผูเรียนไดรับประสบการณจริง มีทักษะ ความสามารถ และความชํานาญในการทํางานที่จะใชในการประกอบอาชีพและเปนแรงงานที่มีคุณภาพ เขาสูตลาดแรงงานในอนาคต 4.2 การจัดกระบวนการเรียนรูพื้นฐานอาชีพ การจัดกระบวนการเรียนรูมีความสําคัญอยางยิ่งที่จะชวยให นักเรียนมีการพัฒนาทั้งดานความรู ทักษะ และคุณลักษณะตามเปาหมายของหลักสูตร การพัฒนาผูเรียน ดานทักษะพื้นฐานอาชีพตองอาศัยกระบวนการเรียนรูที่หลากหลายเปนเครื่องมือที่จะนําไปสูคุณภาพที่ตองการ เทคนิควิธีการตางๆ ที่ผูสอนจะตองพิจารณาใหเหมาะสมกับเนื้อหาวิชาและวัยของผูเรียน โดยใหความสําคัญกับ การฝกปฏิบัติและเนนการวัดประเมินผลจากการปฏิบัติตามสภาพจริง ดวยวิธีการที่จัดกิจกรรมการบูรณาการ ใหเหมาะสมกับวัยและระดับชั้นของผูเรียน สอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดของกลุมสาระตางๆ ที่กําหนดไวในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 การวิเคราะหมาตรฐานและตัวชี้วัดที่จะนําไป จัดเนื้อหาความรูและทักษะ เพื่อพัฒนาผูเรียนดานพื้นฐานอาชีพ ดังตัวอยางตอไปนี้ 1. กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย กลมุ สาระการเรียนรูภ าษาไทยมุง เนนการพัฒนาใหผเู รียนมีความรูค วามสามารถในการใชภาษาไทย เพื่อการสื่อสาร เปนเครื่องมือในการเรียนรู การแสวงหาความรู และประสบการณตางๆ เพื่อพัฒนาความรู กระบวนการคิดวิเคราะห วิจารณ และสรางสรรค ใหทันตอการเปลี่ยนแปลงของสังคมและความกาวหนาทาง วิทยาศาสตร เทคโนโลยี จึงเปนกลุมสาระการเรียนรูที่เปนทักษะพื้นฐานการประกอบอาชีพทุกอาชีพ ตัวชี้วัดที่ สามารถนํามาพัฒนาทักษะอาชีพ เชน คูม อื ครู


ท 2.1 ม.1/8 เขียนรายงานการศึกษาคนควาและโครงงาน ท 1.1 ม.4 - 6/8 สังเคราะหความรูจากการอานสื่อสิ่งพิมพ สื่ออิเล็กทรอนิกส และแหลงเรียนรู ตางๆ มาพัฒนาตน พัฒนาการเรียน และพัฒนาความรูทางอาชีพ ท 2.1 ม.4 - 6/4 ผลิตงานเขียนของตนเองในรูปแบบตางๆ ท 2.1 ม.4 - 6/5 ประเมินงานเขียนของผูอื่น แลวนํามาพัฒนางานเขียนของตนเอง การจัดการเรียนการสอนตามตัวชี้วัดดังกลาวขางตน จะเปนทักษะพื้นฐานของการนําไปสูอาชีพ ทุกอาชีพ และเปนการปูทางไปสูอาชีพเฉพาะเกี่ยวกับการเขียน เชน นักเขียน นักประพันธ นักหนังสือพิมพ นักวิจารณ เปนตน 2. กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลมุ สาระการเรียนรูส งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมมุง เนนการพัฒนาใหผเู รียนมีความรูค วาม เขาใจเกีย่ วกับการดํารงชีวติ ของมนุษย การอยูร ว มกันในสังคมทีม่ คี วามเชือ่ มโยงสัมพันธกนั มีความแตกตางกัน อยางหลากหลาย สามารถจัดการทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัด และเขาใจการเปลี่ยนแปลง เพื่อชวยใหสามารถ ปรับตนเองกับบริบทและสภาพแวดลอม เปนพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ มีความรู ทักษะ คุณธรรม และ คานิยมที่เหมาะสม มีมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดที่เปนพื้นฐานของการประกอบอาชีพตางๆ เชน ส 4.3 ม.1/3 วิเคราะหอิทธิพลของวัฒนธรรมและภูมิปญญาไทยสมัยสุโขทัยและสังคมไทย ในปจจุบัน ส 4.3 ม.2/3 ระบุภูมิปญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี และอิทธิพลของ ภูมิปญญาดังกลาวตอการพัฒนาชาติไทยในยุคตอมา ส 4.3 ม.3/3 วิเคราะหภูมิปญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร และอิทธิพลตอการ พัฒนาชาติไทย ส 4.3 ม.4 - 6/3 วางแผนกําหนดแนวทางและการมีสวนรวมในการอนุรักษภูมิปญญาไทยและ วัฒนธรรมไทย การจัดการเรียนการสอนตามตัวชีว้ ดั ดังกลาวขางตนจะเปนทักษะพืน้ ฐานและสรางเจตคติตอ อาชีพ เกีย่ วกับภูมปิ ญ ญาไทยในทองถิน่ เชน นักโบราณคดี นักประวัตศิ าสตร แพทยแผนโบราณ นวดแผนไทย ชางทอผา จักสาน นักดนตรีไทย การทําขนมหรืออาหารไทย เปนตน และเปนรากฐานของการศึกษาเพื่อพัฒนาตอยอด อาชีพที่มีฐานของภูมิปญญาไทย 3. กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีมุงพัฒนาใหผูเรียนมีฐานความรูความสามารถ และทักษะที่จําเปนสําหรับนําไปปรับใชในการประกอบอาชีพและการศึกษาตอในสาขาอาชีพตางๆ ไดอยาง หลากหลาย รวมทัง้ ใหเห็นแนวทางในการประกอบอาชีพและการศึกษาตอตามความรู ความถนัด และความสนใจ มาตรฐานและตัวชี้วัดของกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีสวนใหญมีลักษณะเปนทักษะ กระบวนการทํางาน ซึ่งผูสอนสามารถจัดเนื้อหาและกิจกรรมการสอนใหสอดคลองกับความตองการของผูเรียน และทองถิ่นได เพื่อพัฒนาไปสูการประกอบอาชีพตางๆ เชน ง 1.1 ม.4 - 6/2 สรางผลงานอยางมีความคิดสรางสรรคและมีทักษะการทํางานรวมกัน ง 1.1 ม.4 - 6/7 ใชพลังงาน ทรัพยากรในการทํางานอยางคุมคาและยั่งยืน เพื่อการอนุรักษ สิ่งแวดลอม

เสร�ม

5

คูม อื ครู


ง 4.1 ม.2/3 ง 4.1 ม.3/3

มีทักษะพื้นฐานที่จําเปนสําหรับการประกอบอาชีพที่สนใจ ประเมินทางเลือกในการประกอบอาชีพที่สอดคลองกับความรู ความถนัด และ ความสนใจของตนเอง ง 4.1 ม.4 - 6/2 เลือกและใชเทคโนโลยีอยางเหมาะสมกับอาชีพ เสร�ม ง 4.1 ม.4 - 6/3 มีประสบการณในอาชีพที่ถนัดและสนใจ 6 การจัดรายวิชาพื้นฐานในกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีจึงสามารถดําเนินการ ไดอยางหลากหลาย ทั้งอาชีพในกลุมเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิดสรางสรรค การบริหาร จัดการ และการบริการ ตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ และสอดคลองกับบริบทของทองถิ่น ความพรอม ของสถานศึกษา และความตองการของผูเรียนเปนสําคัญ เพื่อเปนแนวทางการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนใหสนองนโยบายการจัดการเรียนการสอน พื้นฐานอาชีพในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการ ผูจัดทําจึงวิเคราะหมาตรฐาน การเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั ในรายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี ทีส่ อดคลองกับทักษะปฏิบตั เิ พือ่ เตรียมความพรอม ดานพื้นฐานอาชีพ โดยเสนอแนะกิจกรรมการเรียนรูไวเพื่อเปนแนวทางในการจัดการเรียนการสอนบูรณาการ ประสบการณการทํางานแกผูเรียน ใหบรรลุเจตนารมณของพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 7 ที่ระบุใหการจัดการศึกษาตองปลูกฝงใหเยาวชนมีความรูอันเปนสากล มีจิตสํานึกในการอนุรักษ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ตลอดจนมีความสามารถในการประกอบอาชีพ รูจักพึ่งตนเอง และมีความคิด สรางสรรค เพื่อการดํารงชีวิต การศึกษาตอและการประกอบอาชีพอยางมีคุณภาพของผูเรียนตอไปในอนาคต

5. การใชวัฏจักรการเรียนรู 5E

รูปแบบการสอนที่สัมพันธกับกระบวนการคิดและการทํางานของสมองของผู งานของสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย คือ วัฏจักรการเรียนรู 5E ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในคูมือครู ฉบับนี้ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1 กระตุนความสนใจ (Engage) เปนขัน้ ทีผ่ สู อนนําเขาสูบ ทเรียน เพือ่ กระตุน ความสนใจของนักเรียนดวยเรือ่ งราวหรือเหตุการณทนี่ า สนใจ โดยใชเทคนิควิธกี ารสอนและคําถามทบทวนความรูห รือประสบการณเดิมของผูเ รียน เพือ่ เชือ่ มโยงผูเ รียนเขาสู บทเรียนใหม ชวยใหนักเรียนสามารถสรุปประเด็นสําคัญที่เปนหัวขอการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอน การสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอมและสรางแรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน ขั้นที่ 2 สํารวจคนหา (Explore) เปนขัน้ ทีผ่ สู อนเปดโอกาสใหผเู รียนไดสงั เกตและรวมมือกันสํารวจ เพือ่ ใหเห็นปญหา รวมถึงวิธกี ารศึกษา คนควาขอมูลความรูที่จะนําไปสูความเขาใจประเด็นปญหานั้นๆ เมื่อนักเรียนทําความเขาใจในประเด็นหัวขอที่จะศึกษาคนควาอยางถองแทแลวก็ลงมือปฏิบัติ เพื่อเก็บ รวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธกี ารตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูตามที่ตั้งประเด็นศึกษาไว คูม อื ครู


ขั้นที่ 3 อธิบายความรู (Explain) เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา หรือตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนได คนหาคําตอบ และนําขอมูลความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห แปลผล สรุปผล และนําเสนอ ผลที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ แผนผังแสดงมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน สมองของผูเรียนจะทําหนาที่คิดวิเคราะห สังเคราะหอยางเปนระบบ

เสร�ม

7

ขั้นที่ 4 ขยายความเขาใจ (Expand) เปนขั้นที่ผูสอนไดใชเทคนิควิธีการสอนที่จะชวยพัฒนาผูเรียนใหนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน นักเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยงกับประสบการณเดิม โดยนําขอสรุปที่ไดไปอธิบาย ในเหตุการณตางๆ หรือนําไปปฏิบัติในสถานการณใหมๆ ที่เกี่ยวของกับชีวิตประจําวันของตนเอง เพื่อขยาย ความรูค วามเขาใจใหกวางขวางยิง่ ขึน้ สมองของผูเ รียนทําหนาทีค่ ดิ ริเริม่ สรางสรรคอยางมีคณ ุ ภาพ เสริมสราง วิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป ขั้นที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate) เปนขั้นที่ผูสอนใชประเมินมโนทัศนของผูเรียน โดยตรวจสอบจากความคิดที่เปลี่ยนไปและความคิด รวบยอดที่เกิดขึ้นใหม ตรวจสอบทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด และ การเคารพความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพื่อการสรางสรรคความรูรวมกัน นักเรียนสามารถประเมินผลการเรียนรูของตนเอง เพื่อสรุปผลวานักเรียนมีความรูอะไรเพิ่มขึ้นมาบาง มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเ หลานัน้ ไปประยุกตใชในการเรียนรูเ รือ่ งอืน่ ๆ ไดอยางไร นักเรียนจะเกิดเจตคติ และเห็นคุณคาของตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามวัฏจักรการสรางความรูแบบ 5E จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนน ผูเรียนเปนสําคัญ โดยสงเสริมใหผูเรียนใชกระบวนการสรางความรูดวยตนเอง ฝกฝนใหใชกระบวนการคิด และ กระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะการเรียนรูและทักษะชีวิตที่มีคุณภาพ ตามเปาหมายของการปฏิรูป การศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คณะผูจัดทํา

คูม อื ครู


แถบสีและสัญลักษณ ที่ใชสื่อความหมายในคูมือครู 1. แถบสี

แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5E เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

เสร�ม

8

สีแดง

สีเขียว

สีสม

กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุนความ สนใจ เพื่อโยงเขาสู บทเรียน

Explore

เปนขั้นที่ผูสอนให ผูเรียนสํารวจปญหา และศึกษาขอมูล

Explain

เปนขั้นที่ผูสอนให ผูเรียนคนหาคําตอบ จนเกิดความรูเชิง ประจักษ

สีฟา

สีมวง

ขยายความเขาใจ Expand

เปนขั้นที่ผูสอนให ผูเรียนนําความรูไป คิดคนตอๆ ไป

ตรวจสอบผล Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

สัญลักษณ

2. สัญลักษณ

วัตถุประสงค

เปาหมาย การเรียนรู

คูม อื ครู

• แสดงเปาหมาย การเรียนรูที่ นักเรียนตอง บรรลุตาม ตัวชี้วัด

หลักฐาน เกร็ดแนะครู แสดงผล การเรียนรู • แสดงรองรอย หลักฐานที่ แสดงผล การเรียนรู ตามตัวชี้วัด

นักเรียน ควรรู

B

@

NET

B

มุม IT

ขอสอบ

พื้นฐาน อาชีพ

• แทรกความรู • ขยายความรู • แนะนําแหลง • วิเคราะหแนว • กิจกรรม เสริมสําหรับครู เพิ่มเติมจาก คนควาจาก ขอสอบ O-NET สําหรับครู ขอเสนอแนะ เนื้อหา เพื่อให เว็บไซต เพื่อให เพือ่ ใหครู เพือ่ ใชเปน ขอควรระวัง นักเรียนไดมี ครูและนักเรียน เนนยํ้าเนื้อหา แนวทางใน ขอสังเกต ความรูม ากขึ้น ไดเขาถึงขอมูล ที่มักออก การชวยพัฒนา แนวทางการ ความรูที่ ขอสอบ O-NET อาชีพใหกับ จัดกิจกรรม หลากหลาย • ขอสอบ O-NET นักเรียน และอื่นๆ พิจารณาออก เพื่อประโยชน ขอสอบจาก ในการจัดการ เนื้อหา ม.1, 2 เรียนการสอน และ 3


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง (เฉพาะชั้น ม.3)* สาระที่ 1 การดํารงชีวิตและครอบครัว

มาตรฐาน ง 1.1 เขาใจการทํางาน มีความคิดสรางสรรค มีทักษะกระบวนการทํางาน ทักษะการจัดการ ทักษะ กระบวนการแกปญหา ทักษะการทํางานรวมกัน และทักษะการแสวงหาความรู มีคุณธรรม เสร�ม และลักษณะนิสัยในการทํางาน มีจิตสํานึกในการใชพลังงาน ทรัพยากร และสิ่งแวดลอม 9 เพื่อการดํารงชีิวิตและครอบครัว ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ม.3 1. อธิบายขั้นตอนการทํางาน ที่มีประสิทธิภาพ

• ขั้ น ตอนการทํ า งานที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ เป น การปฏิ บั ติ ต าม กระบวนการทํางาน โดยการทําตามลําดับขั้นตอน มีความ สามารถทํางานสําเร็จตามเปาหมายที่วางไว เชน - การซัก ตาก พับ เก็บ เสื้อผาที่ตองดูแลอยางประณีต - การสรางชิ้นงานหรือผลงาน 2. ใชทักษะในการทํางานรวมกัน • ทักษะการทํางานรวมกัน เปนการสรางใหผเู รียนสามารถทํางาน อยางมีคุณธรรม และอยูรวมกันไดอยางมีความสุข และมีคุณธรรม เชน - การเตรียม ประกอบอาหารประเภทสํารับ - การประดิษฐบรรจุภัณฑจากวัสดุธรรมชาติ 3. อภิปรายการทํางานโดยใช • ทักษะการจัดการ เปนการจัดระบบงานและระบบคน เพื่อให ทักษะการจัดการเพื่อการ ทํางานสําเร็จตามเปาหมายอยางมีประสิทธิภาพ เชน ประหยัดพลังงาน ทรัพยากร - ธุรกิจประเภทตางๆ และสิ่งแวดลอม - การขยายพันธุพืช - การติดตั้ง / ประกอบผลิตภัณฑ

สาระที่ 2 การออกแบบและเทคโนโลยี

มาตรฐาน ง 2.1 เขาใจเทคโนโลยีและกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสรางสิ่งของเครื่องใช หรือวิธีการ ตามกระบวนการเทคโนโลยีอยางมีความคิดสรางสรรค เลือกใชเทคโนโลยีในทางสรางสรรค ตอชีวิต สังคม สิ่งแวดลอม และมีสวนรวมในการจัดการเทคโนโลยีที่ยั่งยืน ชั้น

ตัวชี้วัด

ม.3 1. อธิบายระดับของเทคโนโลยี 2. สรางสิง่ ของเครือ่ งใชหรือวิธกี าร ตามกระบวนการเทคโนโลยี อยางปลอดภัย ออกแบบโดย ถายทอดความคิดเปนภาพฉาย เพื่อนําไปสูการสรางตนแบบ และแบบจํ า ลองของสิ่ ง ของ เครือ่ งใช หรือถายทอดความคิด ของวิ ธี ก ารเป น แบบจํ า ลอง ความคิดและการรายงานผล

สาระการเรียนรูแกนกลาง

• ระดับของเทคโนโลยี แบงตามความรูที่ใชเปน 3 ระดับ คือ ระดับพื้นบานหรือพื้นฐาน ระดับกลางและระดับสูง • การสรางสิง่ ของเครือ่ งใชหรือวิธกี ารตามกระบวนการเทคโนโลยี เพือ่ ใหผเู รียนทํางานอยางเปนระบบ สามารถยอนกลับมาแกไข ไดงาย • ภาพฉาย เปนภาพแสดงรายละเอียดของชิ้นงาน ประกอบดวย ภาพดานหนา ดานขาง ดานบน แสดงขนาดและหนวยวัด เพื่อนําไปสรางชิ้นงาน • การสร า งสิ่ ง ของเครื่ อ งใช หรื อ วิ ธี ก ารต อ งอาศั ย ความรูที่ เกีย่ วของอืน่ อีก เชน กลไกและการควบคุมไฟฟา - อิเล็กทรอนิกส

สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรู การงานอาชีพและเทคโนโลยี. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 6 - 27 และหนา 47 - 50.

คูม อื ครู


สาระที่ 4 การอาชีพ

มาตรฐาน ง 4.1 เขาใจ มีทักษะที่จําเปน มีประสบการณ เห็นแนวทางในงานอาชีพ ใชเทคโนโลยี เพื่อพัฒนา อาชีพ มีคุณธรรม และมีเจตคติที่ดีตออาชีพ เสร�ม

10

คูม อื ครู

ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ม.3 1. อภิปรายการหางานดวยวิธีที่ • การหางานหรือตําแหนงที่วาง หลากหลาย - สื่อสิ่งพิมพ 2. วิเคราะหแนวทางเขาสูอาชีพ - สื่ออิเล็กทรอนิกส 3. ประเมินทางเลือกในการประกอบ • แนวทางเขาสูอาชีพ อาชีพที่สอดคลองกับความรู - คุณสมบัติที่จําเปน ความถนัด และความสนใจ - ความมัน่ คง ของตนเอง - การประเมินทางเลือก • การประเมินทางเลือกอาชีพ - แนวทางการประเมิน - รูปแบบการประเมิน - เกณฑการประเมิน


คําอธิบายรายวิชา รายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 รหัสวิชา ง…………………………………

กลุมสาระการเรียนรู การงานอาชีพและเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 1-2 เวลา 40 ชั่วโมง/ป เสร�ม

ศึกษา และเรียนรูทักษะการทํางานรวมกัน โดยคํานึงถึงการใชทรัพยากรอยางประหยัดและคุมคา ตัดเย็บ ซอมแซม ดูแลรักษาเสื้อผาอยางถูกวิธี โดยใชทักษะกระบวนการแกปญหาในการทํางาน จัดเตรียมอาหาร ประเภทสํารับ และจัดตกแตงอยางสวยงาม มีความรอบรูการขยายพันธุพืช งานชาง การประดิษฐบรรจุภัณฑ จากวัสดุธรรมชาติ มีจิตสํานึก และใชทรัพยากรอยางประหยัดและคุมคา มีธรรมในการทํางาน อธิบายระดับเทคโนโลยี และสรางสิ่งของเครื่องใชหรือวิธีการตามกระบวนการเทคโนโลยีเพื่อนําไปสู การสรางตนแบบและแบบจําลองของสิ่งของเครื่องใช หรือถายทอดความคิดของวิธีการเปนแบบจําลองความคิด และการรายงานผล อภิปรายการหางานดวยวิธีที่หลากหลาย วิเคราะหแนวทางเขาสูอาชีพ และสามารถประเมินทางเลือก ในการประกอบอาชีพที่สอดคลองกับความรู ความถนัด และความสนใจของตนเอง เพื่อการเสริมสรางประสบการณ อาชีพ การเตรียมตัวเขาสูอาชีพ และมีเจตคติที่ดีตออาชีพ เพื่อใหเกิดความตระหนัก และเห็นคุณคาของการทํางาน สามารถนําความรูไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน มีความสามารถในการตัดสินใจ มีจริยธรรม คุณธรรม และคานิยมที่เหมาะสม และมีจิตสํานึกในการใชพลังงาน ทรัพยากร และสิ่งแวดลอม

11

ตัวชี้วัด ง 1.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ง 2.1 ม.3/1 ม.3/2 ง 4.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 รวม 8 ตัวชี้วัด

คูม อื ครู


ตาราง

ÇÔà¤ÃÒÐË Áҵðҹ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙጠÅеÑǪÕÇé ´Ñ ÃÒÂÇÔªÒ ¡ÒçҹÍÒªÕ¾áÅÐà·¤â¹âÅÂÕ Á.3

คําชี้แจง : ใหผูสอนใชตารางน�้ตรวจสอบความสอดคลองของเน�้อหาสาระการเรียนรูในหนวยการเรียนรูกับมาตรฐานการเรียนรู

เสร�ม

และตัวชี้วัดชั้นป

12

สาระที่ 1

สาระที่ 2

สาระที่ 4

มาตรฐาน ง 1.1 ตัวชี้วัด

มาตรฐาน ง 2.1 ตัวชี้วัด

มาตรฐาน ง 4.1 ตัวชี้วัด

มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด

หนวยการเรียนรู

1

2

3

หนวยการเรียนรูที่ 1 : การทํางานเพื่อการดํารงชีพ

หนวยการเรียนรูที่ 2 : ผาและการตัดเย็บ

หนวยการเรียนรูที่ 3 : อาหารประเภทสํารับ

หนวยการเรียนรูที่ 4 : งานชางในบาน

หนวยการเรียนรูที่ 5 : การประดิษฐบรรจุภัณฑ จากวัสดุธรรมชาติ

หนวยการเรียนรูที่ 6 : การขยายพันธุพืช

หนวยการเรียนรูที่ 9 : งานอาชีพ

คูม อื ครู

2

1

2

3

หนวยการเรียนรูที่ 7 : การออกแบบเทคโนโลยี หนวยการเรียนรูที่ 8 : งานธุรกิจ

1


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Expand

Evaluate

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹

¡ÒçҹÍÒªÕ¾ áÅÐà·¤â¹âÅÂÕ Á.ó ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓

กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

ผูเรียบเรียง

ผศ. เพ็ญพร ประมวลสุข นางวรรณี วงศพานิชย นายมนตรี สมไรขิง นางศิริรัตน ฉัตรศิขรินทร

ผูตรวจ

รศ. สมทรง สีตลายัน ผศ. โสภาพรรณ อมตะเดชะ นายบุญชู เจนคุณาวัฒน

บรรณาธิการ

นายปญญา สังขภิรมย นายสมเกียรติ ภูระหงษ

ผูจัดทําคูมือครู

ปญญา สังขภิรมย สุวัฏ สอนจันทร วรรณี วงศพานิชย ระวิวรรณ ตั้งตรงขันติ สิทธิญา รัสสัยการ พิมพครั้งที่ ๑

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ รหัสสินคา ๒๓๑๗๑๔๓ รหัสสินคา ๒๓๔๗๐๐๖

¤Œ¹¤ÇÒÁÃÙŒ¢ÂÒ¤ÇÒÁ¤Ô´¨Ò¡

EB GUIDE

ที่พิมพกํากับหัวขอสําคัญในหนังสือเรียนหลักสูตรแกนกลางฯ ผาน www.aksorn.com ไปยังแหลงความรูทั่วไทย-ทั่วโลก


อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล

กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา Explore Engage

Expand

Explain

Evaluate

¤íÒá¹Ð¹íÒ㹡ÒÃ㪌˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹

หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี เลมนี้ ใชประกอบการเรียน การสอน รายวิชาพื้นฐาน กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๓ เนื้อหาตรงตามสาระการเรียนรูแกนกลางขั้นพื้นฐาน อานทําความเขาใจงาย ใหทั้งความรูและชวย พัฒนาผูเรียนตามหลักสูตรและตัวชี้วัด เนื้อหาสาระแบงออกเปนหนวยการเรียนรู สะดวกแกการ จัดการเรียนการสอนและการวัดผลประเมินผล พรอมเสริมองคประกอบอื่นๆ ที่ชวยทําใหผูเรียน ไดรับความรูอยางมีประสิทธิภาพ à¹×Íé ËҵçµÒÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙጠ¡¹¡ÅÒ§Ï ãËŒ¤ÇÒÁÃÙŒáÅÐàÍ×é͵‹Í¡ÒùíÒä»ãªŒÊ͹à¾×èÍ ãËŒºÃÃÅصÑǪÕéÇÑ´ áÅÐÊÌҧ¤Ø³ÅѡɳРÍѹ¾Ö§»ÃÐʧ¤

¨Ñ´¡ÅØ‹Áà¹×éÍËÒ໚¹Ë¹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ Êдǡᡋ¡ÒèѴ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹

àÊÃÔÁÊÒÃШҡà¹×éÍËҹ͡à˹×ͨҡ ·Õè ÁÕ ã ¹ÊÒÃСÒÃàÃÕ Â ¹ÃÙŒ á ¡¹¡ÅÒ§Ï à¾×èÍà¾ÔèÁ¾Ù¹áÅТÂÒ¾ÃÁá´¹¤ÇÒÁÃÙŒ ãËŒ¡ÇŒÒ§¢ÇÒ§ÍÍ¡ä»

à¡ÃÔè¹¹íÒà¾×èÍãˌࢌÒ㨶֧ÊÒÃÐÊíÒ¤ÑÞ ã¹Ë¹‹Ç·Õè¨ÐàÃÕ¹

เสริมสาระ

๑.๒ วิธีการดูแลรักษาเสื้อผา ของมนุษย เสื้อผาแตละประเภทหากไดรับ เสื้อผาเปนหนึ่งในปจจัยสี่ที่สําคัญในการดํารงชีวิต มและสามารถใชงานไดอยางคุม คา การดูแล การดูแลรักษาอยางถูกวิธี จะทําใหยงั คงมีสภาพสวยงา รักษาเสื้อผาที่สําคัญ มีดังนี้ อ นเฉพาะที่ใหสะอาดกอนการซัก ๑) การขจัดรอยเปอ น เปนการทําผาทีส่ กปรกหรือเป ชนิ ด ใด เป น ผ า ขาวหรื อ ผ า สี ้ อ ผ า นั้ น เป น ผ า สํ า หรั บ การลบรอ ยเป  อ นควรพิ จารณาว า เสื ดจากอะไร และควรเลือกใชวิธี นเกิ อ  รอยเป ) กได ต ี ส ให า (สารบางชนิดที่ใชขจัดรอยเปอนอาจทํ อ นทีพ่ บเห็นไดบอ ยครัง้ ในชีวติ ประจําวัน มีดงั นี้ การใดในการขจัดรอยเปอ นนัน้ ๆ วิธกี ารขจัดรอยเป รอยเปอนไอศกรีม ้ามัน ใชวิธีเดียวกับรอยเปอนเนย ครีม และนํ ลเฟต หรือตมในนํา้ ผสมสารละลายโซเดียมไทโอซั หรือนําไปซักในนํา้ อุน ผสมดวยผงซักฟอก

รอยเปอนหมึกหยด ้ในนํ้าผสม ใหรีบขจัดรอยหมึกอยาทิ้งไวนาน โดยการขยี ชกรดออกซาลิก สารซักฟอก ถายังมีรอยเปอ นตกคาง ใหใ วนทีเ่ ปอ น ผสมนํา้ หรือไฮโดรเจนเปอรอ อกไซดแชเฉพาะส แลวจึงนําไปซักนํ้าสารซักฟอกตามปกติ

หนวยที่

รอยเปอนลิปสติก แชนํ้าผสมสารซักฟอก ๑๐ - ๑๕ นาที ถายังมีรอยเปอนตกคางอยู ใหเช็ด ดวยโซเดียมไฮโดรซัลไฟด แลว เช็ ด ด ว ยเปอร ค ลอโรเอทิ ลี น แลวนําไปซักตามปกติ

ö

การขยายพันธุพืช

ตัวชี้วัด ■ ■ ■

อภิปรายขัน้ ตอนการทํางานทีม่ ปี ระสิทธิภาพ (ง ๑.๑ ม.๓/๑) ใชทกั ษะในการทํางานรวมกันอยางมีคณ ุ ธรรม (ง ๑.๑ ม.๓/๒)

อภิปรายการทํางานโดยใชทกั ษะการจัดการเพื พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดลอม (ง ๑.๑ อ่ การประหยัด ม.๓/๓)

สาระการเรียนรูแกนกลาง ■

ขั้นตอนการทํางานที่มีประสิทธิภาพ เปนการปฏิ บัติ ตามกระบวนการทํางาน โดยการทําตามลําดั มีความสามารถทํางานสําเร็จตามเปาหมายที บขั้นตอน ่วางไว • การสรางชิ้นงานหรือผลงาน ทักษะการจัดการ เปนการจัดระบบงานและระ เพือ่ ใหทาํ งานสําเร็จตามเปาหมายอยางมีประสิ บบคน ท ธิ ภ าพ • การขยายพันธุพืช

ารขยายพั น ธุ  พื ช เป น งานพื้ น ฐานที่ สํ า คั ญ ของการเก ษตร เพื่ อ เพิ่ ม ปริ ม าณ พืชพรรณใหมีมากขึ้นและมีความหลากห ลาย การขยาย พั น ธุ  พื ช ให ป ระสบควา มสํ า เร็ จ ผู  ป ฏิ บั ติ ง านจะต อ งมี ค วามรู  เ กี่ ย วกั บ พั น ธุ  พื ช หลักการขยายพันธุพืชและวิธีการขยายพั นธุพืช แตละชนิด เพื่อใหการขยายพันธุพืชมีประสิ ทธิภาพ ไดพนั ธุพ  ชื มากขึน้ และหลากหลาย และสามารถสร าง เปนอาชีพได

รอยเปอนคราบโคลน ปลอยใหโคลนแหง แลวใชแปรงปด ออก ซักดวยนํ้าเย็นหลายๆ ครั้ง จนไมมีนํ้าโคลนออกมา แลวซัก ดวยสารซักฟอกปกติ

รอยเปอนเลือด ถาเปนผาฝายหรือลินินให แช นํ้ า และใช แ อมโมเนี ย เจือจางเช็ด แลวนําไปซัก หรือใชแปงมันผสมนํ้าให เข ม เหมื อ นแป ง เป ย กทา ตรงสวนรอยเปอน ทิ้งไว ประมาณ ๒ - ๓ ชั่วโมง แป ง มั น จะดู ด ซั บ รอย เปอ น แลวนําไปซักดวย สารซักฟอก

รอยเปอนนมและครีม เช็ดออกดวยสารฟอกขาว ไฮเปอรคลอไรด แลวซักใน นํา้ อุน ผสมสารซักฟอก

รอยเปอนยางผลไม ใหใชสารสมถูบริเวณรอย เปอ น และนําไปซักดวย สารซักฟอก

รอยเปอ นหมากฝรัง่ ใชนํ้าแข็งถูให หมากฝรั่งจับตัว แลวใชสันมีดขูด ออก และเช็ดดวย สารละลายเปอรคลอโรเอทิลีน หรือคารบอนเตตระคลอไรด

รอยเปอนชาและกาแฟ ใหรีบขจัดรอยหมึกอยาทิ้งไวนาน โดยการ อน ขยี้ในนํ้าผสมสารซักฟอก ถายังมีรอยเป อ ตกค า งให ใ ช ก รดออกซาลิ ก ผสมนํ้ า หรื อ น ไฮโดรเจนเปอรอ อกไซดแชเฉพาะสวนทีเ่ ป แลวซักนํา้ สารซักฟอกตามปกติ

รอยเปอนเนย ครีม และนํ้ามัน คลอไรด กําจัดรอยเปอนดวยสารฟอกขาวไฮเปอร รอน ้า หรือไฮโดรเจนเปอรออกไซด หรือแชในนํ แลวซักดวยสารซักฟอกตามปกติ

µÑǪÕÇé ´Ñ áÅÐÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙጠ¡¹¡ÅÒ§Ï µÒÁ·ÕËè ÅÑ¡Êٵà ¡íÒ˹´ à¾×èÍãËŒ·ÃÒº¶Ö§à»‡ÒËÁÒÂ㹡ÒÃÈÖ¡ÉÒ

บรรจุภัณฑจากชานออย บรรจุภัณฑจากชานออย เปนนวั ตกรรมที่เกิดจากการนําชานออยที ่เหลือทิ้งจากโรงงานน้ําตาล นํามา เปลี่ยนเปนเยื่อกระดาษเพื่อผลิต เปนบรรจุภัณฑบรรจุอาหารหลา กหลายประเภท ทั้งจาน ชาม และกลองใสอาหารแทนการใชโฟมและพ ถวย แกว ลาสติกทีย่ อ ยสลายยาก อันเปนสาเหตุ โลกรอน อีกทั้งยังมีสารปนเปอนที สาํ คัญทีก่ อ ใหเกิดปญหาภาวะ ่ทําใหเกิดโรคมะเร็ง คุณสมบัติพิเศษของบรรจุภัณฑจ ากชานออย คือ สามารถยอยสลายได เมื่อถูกฝงลงดิน และหากฝงกลบพร ตามธรรมชาติภายใน ๔๕ วัน อมกับเศษอาหารที่เหลือติดอยูจ ะใชเวลายอยสลายเพียง ๓๑ วัน ซึ่งแตกตางจากพลาสติกหรือโฟมที เทานั้น ่ใชเวลายอยสลายนานถึง ๑,๐๐๐ ป นอกจากนี้บรรจุภัณฑจากชานอ ยังไมมสี ารพิษปนเปอ น เพราะใช อย เยือ่ กระดาษทไี่ มมคี ลอรีนในการฟอ กสี สามารถบรรจุอาหารไดทงั้ ชนิ และเย็น โดยสามารถใชใสนํ้าและอาหา ดรอน รตั้งแตอุณหภูมิเย็นจัด -๔๐ องศาเซล ๒๕๐ องศาเซลเซียส อีกทั้งยังนํ เซียส ไปจนถึงอุณหภูมิรอนจัด าเขาไมโครเวฟไดอีกดวย โดยไม ตองกลัววาจะมีสารปนเปอนที่ก โรคมะเร็ง และสามารถเก็บไวได อใหเกิด นานถึง ๑๐ ป บรรจุภณ ั ฑจากชานออยจึงเปนนวัตกรรมสี เขียวทีเ่ ปนมิตรกับสิง่ แวดลอม ตัง้ แต ประหยัดพลังงานกวาการผลิตพลาสติ กระบวนการผลิตทีเ่ รียบงาย ก ไมใชเยือ่ จากไมยนื ตน การใชเ ทคโนโลยใี นการผลิตโดยไมใชค ในการฟอกสีเยื่อกระดาษ และผ ลอรีน านการฆาเชื้อดวยแสงยูวี (UV) อี ก ครั้งกอนถึงมือผูบริโภค จึงทําให กระดาษที่สะอาดและปลอดภัย ไดเยื่อ การเลือกใชบรรจุภัณฑจากชานอ อยมีประโยชนนานัปประการ เช น ชวยลดปญหาสิ่งแวดลอม ชวยเพิ มูลคาใหกับชานออยซึ่งเปนวัสดุ ่ม เหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมผลิตนํ ้าตาล และลดคาใชจายในการร มะเร็งที่มีสาเหตุมาจากสารพิษปนเป ักษาผูปวย อนในภาชนะที่ทําจากโฟมหรือพลาสติ กดวย

๑๑

๗๓

¡Ô¨¡ÃÃÁÊÌҧÊÃä ¾² Ñ ¹Ò»ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ãËŒ¼ÙŒàÃÕ¹½ƒ¡»¯ÔºÑµÔËÅѧ¨Ò¡ÈÖ¡ÉÒà¹×éÍËÒᵋÅР˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ

Design ˹ŒÒẺãËÁ‹ ÊǧÒÁ ¾ÔÁ¾ ô ÊÕ µÅÍ´àÅ‹Á ª‹ÇÂãËŒ ͋ҹࢌÒ㨧‹ÒÂ

มายงาน

๒.๒ อาหารหวาน

ด และมีผลไมใหบริโภค เมืองไทยอุดมสมบูรณ ไปดวยพืชพรรณธัญญาหารนานาชนิ ผลตางๆ ตลอดทั้งป นอกจากนี้คนไทยยังมีความสามารถในการนําพืช งหวาน มาคิดสรางสรรคเปนอาหารหลากหลายนารับประทาน โดยเฉพาะขอ ง หรือขนมหวาน ซึ่งมีอยูมากมายหลายประเภท ในที่นี้จะกลาวถึ ลักษณะของขนมหวานที่แบงตามสวนผสม ทองหยิบ ขนมหมอแกง ขนมเรไร

ประเภทที่ ทําจาก

ขนมขี้หนู

ขนมเปยกปูน

ฝอยทอง

ไข

ประเภทที่ ทําจาก

แปงขาวเจา

อาหาร

ประเภทที่ ทําจาก

ถั่วแปบ

แปง ขาวเหนียว

ประเภทที่ ทําจาก

หวาน

ผลไม

กิจกรรม

สร้างส

ขนมบัวลอย

ขาวเหนียวมะมวง

๓๘

Web Guide á¹Ð¹íÒáËÅ‹§¤Œ¹¤ÇŒÒ¢ŒÍÁÙÅ à¾ÔèÁàµÔÁ¼‹Ò¹Ãкº Online

วัสดุธรรมชาติ ที่นํามาประดิษฐ

ับ

รสำาหร ารอาหา

บรรจุภัณฑ

ใบบัว นิยมนํามา หออาหาร อยางเชน ขาวหอใบบัว

ไม

ไมไผ ทําเปนตะกรา เพื่อใสสิ่งของตางๆ

เยื่อไม และ กระดาษ

ใบพืช

ใบตอง มักจะนํามา ใชหออาหาร เพื่อใหดู นารับประทาน

ใบลําเจียกหรือเตยปาหนัน นิยมนํามาหอขาวตม ลูกโยน หรือ อาหารอื่นๆ

ใบมะพราว มักจะนํามาทําตะกราใส ผลไมเปนของฝาก

ใบองุน สามารถนํามา ประกอบอาหารและ ใชหออาหารได กาบหมาก นํามาเปนวัสดุหอขาว หอขนมพื้นเมือง

กลวยบวชชี

orn.com/LC/Car/M3/03 EB GUIDE http://www.aks

เภทสำารับ

หารประ การจัดอา

ใบมอบห

รายก วยกันคิด ๘ คน ช่ ุ่มละ ๗ ่างไรบ้าง ็นกลุ่ม กล วั น มดุลกันอย มีความส อา หา รมื้ อ กลาง บัติงานเป งนี้ ห้ ฏิ วใ า นป ข้ ย บ อาหาร ให้นักเรี โดยมีขั้นตอน ดั ี ควรจัดกั าร ให้ มี ใ นสำ า รั บ ด ่ ๑ ่ ี ที ทย นท รไ ื่ม ให้มีสาร ตอ น ารับอาหา กา รอาห าร ที่ ต้ อ งก ง ผลไม้ เครื่องด มื้อกลางวั สำ า ว่ ด คิ าย รว่า ความ ๑. ระดม ี ย นร่ ว มกั น เขี ย นร หารหวาน อาหา มานำาเสนอ อา เร ่เตรียมไว้ ร ๒. ให้ นั ก ไปด้วย อาหารคาว รอาหารที บและวิธีทำาอาหา จากรายกา กอ ประกอบ ๕ หมู่ ๑ อย่าง มทั้งบอกส่วนประ ง ้ ั าร นท าห ว ้ อ ้ ครบถ ลุ่มเลือกอ กับกลุ่มอื่น พร ะก ล ต่ นแ า ำ ้ เรีย ห้ซ วยกนั ๓. ให้นัก ั้นเรียน โดยไม่ใ ประทานด้ เพื่อนในช น เพอื่ รับ มือ้ กลางวั ้วย เภทสาำ รับ มื้อ ดังกล่าวด อาหารประ ้ ้อาหาร ๑ ด จั ได าร จะ ิ ก ว ้ ั ต ฝึกปฏบิ ิงาน ดังนี ง ซึ่งเมื่อรวมกันแล ื่ม นกล่มุ เดมิ งด ารปฏิบัต ไม้ เครื่อ รื่องดื่ม ใหน้ กั เรีย น โดยมีขั้นตอนก มาคนละ ๑ อย่า เค ผล ว ้ ๒ ่ ี ง า ่ แก นท าร วั าร ตอ หารว ในมื้อกลาง กในกลุ่มเตรียมอาห อาหารหวาน อา โต๊ะ ภาชนะใส่อาห ชิ าว าปู ๑. ให้สมา ด้วย ข้าว อาหารค หาร เช่น โต๊ะ ผ้ ม ประกอบ กรณ์ในการจัดอา รให้สวยงา ุป ่งโต๊ะอาหา มอ แต ย รี ตก เต รและ ต้น ๒. จัด กไม้ เป็น ัติการจัดสำารับอาหา แจกันดอ ิบ ปฏ อ ื งม เรียนล ๓. ให้นัก

เรื่อง

สละลอยแกว ขนมตมแดง

เรียนรู้

นาการ รรค์พัฒ

ไมเบญจพรรณ สวนใหญ นํามาทําเปนลัง เพื่อขนสงสินคา

ซองกระดาษ นิยม นํามาใชบรรจุยาเม็ด เมล็ดพืช อาหาร และจดหมาย ถุงกระดาษ นิยมนํามา ใสแปงหรืออาหาร กระปองกระดาษ ชิ้นเล็กที่มีนํ้าหนักเบา นิยมใชบรรจุ ของแหงประเภท ขนมขบเคี้ยว กลอง

กระดาษแข็ง สามารถขึ้นรูปได มีความหนา

กลอง ใชบรรจุสินคาตางๆ กระดาษลูกฟูก เชน รองเทา นํามาบรรจุผลิตภัณฑ ประเภทอุปกรณ เครื่องใชในบานเพื่อ งายตอการขนสง เยื่อกระดาษขึ้นรูป ใชบรรจุสินคาที่บอบบาง แตกหักงาย เชน ไข ถังกระดาษ ผลไม มักใชเพื่อการขนสง ผลิตภัณฑจําพวก สารเคมี เม็ดพลาสติก

๖๗

48


กระตุน ความสนใจ Engage

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ● ● ● ●

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ● ● ●

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ● ● ● ●

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ● ● ● ● ● ●

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ● ● ● ● ●

ñ

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Expand

ÊÒúÑÞ ¡Ò÷íÒ§Ò¹à¾×èÍ¡ÒôíÒçªÕ¾

·Ñ¡ÉСÒ÷íҧҹËÇÁ¡Ñ¹Í‹ҧÁÕ»ÃÐÊÔ·¸ÔÀÒ¾ ·Ñ¡ÉСÒèѴ¡Òà ¤Ø³¸ÃÃÁáÅШÃÔ¸ÃÃÁ㹡Ò÷íÒ§Ò¹ ¡ÒÃ㪌·ÃѾÂÒ¡Ã㹡Òû¯ÔºÑµÔ§Ò¹

ò

Evaluate

¼ŒÒáÅСÒõѴàÂçº

¡ÒôÙáÅÃÑ¡ÉÒàÊ×éͼŒÒ ¡Òë‹ÍÁá«Á µ¡áµ‹§áÅдѴá»Å§àÊ×éͼŒÒ ¡ÒõѴàÂçºàÊ×éͼŒÒ

ñ-ø ò ô õ ÷

ù - óð ñð ñõ òô

ó

ÍÒËÒûÃÐàÀ·ÊíÒÃѺ

ô

§Ò¹ª‹Ò§ã¹ºŒÒ¹

õ

¡ÒûÃдÔÉ° ºÃèØÀ³ Ñ ± ¨Ò¡ÇÑʴظÃÃÁªÒµÔ öó - ÷ø

¤ÇÒÁËÁÒÂáÅФÇÒÁÊíÒ¤ÑޢͧÍÒËÒûÃÐàÀ·ÊíÒÃѺ ª¹Ô´¢Í§ÍÒËÒûÃÐàÀ·ÊíÒÃѺ ¡ÒÃàµÃÕÂÁáÅСÒûÃСͺÍÒËÒÃÍÒËÒûÃÐàÀ·ÊíÒÃѺ ¡ÒèѴáÅе¡áµ‹§ÍÒËÒûÃÐàÀ·ÊíÒÃѺ

¤ÇÒÁËÁÒÂáÅФÇÒÁÊíÒ¤Ñޢͧ§Ò¹ª‹Ò§ã¹ºŒÒ¹ »ÃÐ⪹ ¨Ò¡¡Òû¯ÔºÑµÔ§Ò¹ª‹Ò§ã¹ºŒÒ¹ á¹Ç·Ò§¡Ò÷íÒ§Ò¹ª‹Ò§ã¹ºŒÒ¹Í‹ҧÁÕ»ÃÐÊÔ·¸ÔÀÒ¾áÅлÃÐÊÔ·¸Ô¼Å ¡Ãкǹ¡Ò÷íÒ§Ò¹ª‹Ò§ã¹ºŒÒ¹ ¡Òû¯ÔºÑµÔ§Ò¹ª‹Ò§ã¹ºŒÒ¹ µÑÇÍ‹ҧ¡ÒõԴµÑé§áÅлÃСͺ¼ÅÔµÀѳ± 㹺ŒÒ¹

¤ÇÒÁÊíÒ¤ÑޢͧºÃèØÀѳ± ËÅÑ¡¡ÒÃàÅ×Í¡ºÃèØÀѳ± »ÃÐàÀ·áÅФسÊÁºÑµÔ¢Í§ºÃèØÀѳ± ¨Ò¡ÇÑʴظÃÃÁªÒµÔ ÇÑʴظÃÃÁªÒµÔ·Õè¹íÒÁÒ»ÃдÔÉ° ºÃèØÀѳ± µÑÇÍ‹ҧ¡ÒûÃдÔÉ° ºÃèØÀѳ± ´ŒÇ¡ÃдÒÉÊÒ

óñ - ôø óò óó ôñ ôö

ôù - öò õð õñ õó õô õõ õö

öô öõ öö öø ÷ô


กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา Explore Engage

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ● ● ● ● ●

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ● ● ● ● ●

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ● ● ● ● ● ● ●

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ● ● ● ●

ºÃóҹءÃÁ

อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Explain

Expand

ö

¡ÒâÂÒ¾ѹ¸Ø ¾×ª

÷

¡ÒÃÍ͡Ẻ෤â¹âÅÂÕ

ø

§Ò¹¸ØáԨ

ù

§Ò¹ÍÒªÕ¾

Evaluate

¤ÇÒÁËÁÒÂáÅФÇÒÁÊíÒ¤Ñޢͧ¡ÒâÂÒ¾ѹ¸Ø ¾×ª ¤Ø³ÊÁºÑµÔ¢Í§¼ÙŒ¢ÂÒ¾ѹ¸Ø ¾×ª »ÃÐàÀ·áÅÐÇÔ¸Õ¡ÒâÂÒ¾ѹ¸Ø ¾×ª ¡Ãкǹ¡ÒèѴ¡Òçҹ¢ÂÒ¾ѹ¸Ø ¾×ª µÑÇÍ‹ҧ¡ÒâÂÒ¾ѹ¸Ø ¾×ª

¤ÇÒÁËÁÒÂáÅлÃÐ⪹ ¢Í§à·¤â¹âÅÂÕ ÃдѺ¢Í§à·¤â¹âÅÂÕ ¡ÒÃàÅ×͡㪌෤â¹âÅÂÕÍ‹ҧªÒÞ©ÅÒ´ ¡ÒÃÊÌҧÊÔ觢ͧà¤Ã×èͧ㪌´ŒÇ¡Ãкǹ¡ÒÃà·¤â¹âÅÂÕ µÑÇÍ‹ҧ¡ÒÃÊÌҧÊÔ觢ͧà¤Ã×èͧ㪌´ŒÇ¡Ãкǹ¡ÒÃà·¤â¹âÅÂÕ

¤ÇÒÁËÁÒÂáÅФÇÒÁÊíÒ¤Ñޢͧ¸ØáԨ Çѵ¶Ø»ÃÐʧ¤ ¢Í§¸ØáԨ »˜¨¨Ñ¾×é¹°Ò¹¢Í§¡ÒôíÒà¹Ô¹¸ØáԨ ¡Ãкǹ¡Òâͧ§Ò¹¸ØáԨ »ÃÐàÀ·¢Í§¡ÒûÃСͺ¸ØáԨ ¤ÇÒÁÊíÒàÃç¨áÅФÇÒÁÅŒÁàËÅǢͧ¸ØáԨ µÑÇÍ‹ҧ¡ÒÃÇҧἹ¸ØáԨ

¡ÒÃËÒ§Ò¹ËÃ×͵íÒá˹‹§·ÕèÇ‹Ò§ á¹Ç·Ò§à¢ŒÒÊÙ‹ÍÒªÕ¾ ¡ÒûÃÐàÁÔ¹·Ò§àÅ×Í¡ÍÒªÕ¾ ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒµ‹Íà¾×èÍࢌÒÊÙ‹ÍÒªÕ¾·Õèʹã¨

÷ù - ùø øð øñ øò ùô ùõ

ùù - ññô ñðð ñðò ñðó ñðó ññð

ññõ - ñòø ññö ññö ññ÷ ññø ññù ñòô ñòõ

ñòù - ñóù ñóð ñóó ñóõ ñó÷

ñôð


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

เปาหมายการเรียนรู 1. ใช ทั ก ษะในการทํ า งานและอยู  รวมกันไดอยางมีความสุขและมี คุณธรรม 2. อภิปรายการทํางานโดยใชทกั ษะ การจัดการ ระบบงาน ระบบคน ที่คํานึงถึงการประหยัดพลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม เพื่ อ ให ก ารทํ า งานสํ า เร็ จ ตาม เปาหมายอยางมีประสิทธิภาพ

กระตุนความสนใจ

หนวยที่

ñ

การทํางานเพื่อการดํารงชีพ ตัวชี้วัด ■

ใชทักษะในการทํางานรวมกันอยางมีคุณธรรม (ง ๑.๑ ม.๓/๑) อภิปรายการทํางานโดยใชทกั ษะการจัดการเพือ่ การประหยัด พลังงาน ทรัพยากร และสิ่งแวดลอม (ง ๑.๑ ม.๓/๓)

สาระการเรียนรูแกนกลาง ■

ทักษะการทํางานรวมกัน เปนการสรางใหผเู รียนสามารถ ทํางานและอยูร ว มกันไดอยางมีความสุขและมีคณ ุ ธรรม ทักษะการจัดการ เปนการจัดระบบงานและระบบคน เพือ่ ใหทาํ งานสําเร็จตามเปาหมายอยางมีประสิทธิภาพ

ครูสนทนากับนักเรียนเกีย่ วกับคําวา “งานคือเงิน เงินคืองาน บันดาลสุข” นักเรียนตางรวมแสดงความคิดเห็น ครูใชคําถามกระตุน • นักเรียนคิดวา มนุษยที่เกิดมา ทุกคนตองทํางานเพื่ออะไร • ถานักเรียนมีความสามารถทํางาน ไดเงินมา จะใชเงินอยางไร จึงเรียกวา บันดาลสุข

การทํางานในชีวติ ประจําวัน ทัง้ การทํางาน

บ า นหรื อ การทํ า งานเพื่ อ ประกอบอาชี พ ต อ งใช ทั ก ษะการทํ า งานอย า งเป น ขั้ น ตอน และใชทักษะในการจัดการงานอยางมีระบบ เพื่อใหงานนั้นประสบความสําเร็จ การเรียนรู ทั ก ษะการทํ า งานและการจั ด การงานช ว ยให สามารถทํ า งานได อ ย า งถู ก ต อ ง รวดเร็ ว ลดการใชเครื่องมือ วัสดุอุปกรณ และลดการ ใชพลังงาน

คูมือครู

1


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

(ยอกจากฉบั (หนาพิมพและตัวอักษรในกรอบนี้มีขนาดเล็ กวาฉบับนักเรียน 20%)

กระตุนความสนใจ 1. ครูใหนกั เรียนดูภาพจากหนังสือเรียน หน า 2 ให นั ก เรี ย นอภิ ป รายถึ ง หลั ก ในการทํ า งานร ว มกั น อย า ง มีความสุขและมีคุณธรรม 2. ครูตั้งประเด็นคําถามเพื่อกระตุน ความสนใจ • นักเรียนมีวิธีการทํางานรวมกับ ผูอื่นอยางไรบาง • การทํางานรวมกับผูอ นื่ ใหไดผลดี งานสํ า เร็ จ และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ จะตองมีวิธีการอยางไร

สํารวจคนหา 1. ให นั ก เรี ย นสื บ ค น ข อ มู ล เกี่ ย วกั บ หลักธรรมทีส่ ามารถนํามาใชในการ ทํางานรวมกับผูอ นื่ ใหประสบความ สําเร็จ 2. ใหนักเรียนศึกษาทักษะการทํางาน รวมกันอยางมีประสิทธิภาพ จาก หนังสือเรียน หนา 2 - 3 สรุปสาระ สําคัญโดยใชผังมโนทัศน

๑. ทักษะการทํางานรวมกันอยางมีประสิทธิภาพ

ทักษะการทํางานรวมกัน หมายถึง ความสามารถในการทํางานเปนกลุม หรือเปนทีม และทํางาน รวมกับผูอ นื่ ไดอยางมีความสุข จนสามารถทําใหงานบรรลุเปาหมายทีก่ าํ หนดไว ซึง่ ประกอบไปดวย กลุมบุคคล ภาระงาน และการจัดการ ในการทํางานรวมกับผูอื่นใหไดผลดีนั้น จะตองรูจักการวิเคราะหงานและวางแผนการจัดวาง ลําดับขั้นตอนของงานใหสัมพันธกัน ใชทักษะกระบวนการรวมกับเทคนิควิธีการทํางานในแตละ ขัน้ ตอนอยางถูกตองและสรางสรรค จัดคนทํางานใหสอดคลองกับลักษณะงาน ผูร ว มงานตองจริงใจ เปดเผย โปรงใส ซื่อสัตย มีความรับผิดชอบ และไมเอาเปรียบผูรวมงาน

๑.๑ หลักการทํางานรวมกันใหมีประสิทธิภาพ

การทํางานรวมกันใหประสบความสําเร็จไดอยางมีประสิทธิภาพ จะตองมีหลักการทํางาน รวมกัน ดังนี้ หลักการทํางานรวมกัน ๑. มีเปาหมายในงานรวมกัน

ผู  ร  ว มงานต มงานตองมีความรูสึกรักและศรัทธา ในงาน เพื่ อ นร ว มงานมี ค วามไว ว างใจกั น และพรอมที่จะฝาฟนอุปสรรคตางๆ รวมกัน เพื่อใหการทํางานประสบความสําเร็จ

๒. มีการทํางานเปนทีม

อธิบายความรู

ผูรวมงาน มงานมีมีสวนในการเสนอความคิดเห็น อยางมีเหตุผล เพื่อรวมกันกําหนดเปาหมาย วางแผนเพื่อแบงงาน และแบงหนาที่ความ รับผิดชอบ เพือ่ ใหงานบรรลุผลตามเปาหมาย ที่ตั้งไว

1. นักเรียนชวยกันอภิปรายถึงหลักธรรม ที่จะนํามาใชในการทํางานรวมกับ ผูอ นื่ ใหมคี วามสุข พรอมยกตัวอยาง ประกอบ ๓. มีความรับผิดชอบรวมกัน ( แนวตอบ สั ง คหวั ต ถุ 4 หลั ก การ ผูรวมงานรวมกันปฏิบัติงานตามภาระงาน อยูรวมกันอยางสันติ ไดแก ที่ ไ ด มี ก ารวางแผนกั น ไว แ ละตามหน า ที่ ทาน การให การผูกใจ การแสดงออก ความรับผิดชอบ ดวยความใสใจและทุมเท ถึงไมตรีจิต เพื่อใหงานประสบความสําเร็จ ป ย วาจา การมี ถ  อ ยคํ า ที่ ไ พเราะ ออนหวาน นาฟง อัตถจริยา การประพฤติตนใหเปน ประโยชนตอผูอื่น การไมดูดาย ๒ สมานัตตตา การประพฤติตนให เหมาะสมกับบทบาทหนาที่อยาง สมํ่าเสมอ) 2. ครูตั้งคําถามเพื่อการเรียนรู • การทํางานใหบรรลุตามเปาหมายทีต่ งั้ ไว มีหลักการอยางไร (แนวตอบ รักและศรัทธาในงาน เพื่อนรวมงาน มีการทํางานเปนทีม และมีความรับผิดชอบในงานรวมกัน) • ความเอาใจใสและทุมเทเพื่อใหงานประสบความสําเร็จ เกิดจากอะไร (แนวตอบ การรวมมือปฏิบัติงานตามตารางงานที่ไดรับ มีการวางแผนแบงหนาที่ความรับผิดชอบตองานนั้นๆ)

2

คูมือครู


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ขยายความเขาใจ

๑.๒ แนวทางการเสริมสรางทักษะ การทํางานรวมกัน การทํางานเปนกลุม สมาชิกในกลุม จะตองชวยกันสรางกระบวนการทํางานอยางเปน ระบบ และสรางบรรยากาศในการทํางานที่เอื้อ ประโยชนตอการทํางานรวมกันอยางมีความสุข แนวทางการเสริ ม สร า งทั ก ษะการ ทํางานรวมกันอยางมีประสิทธิภาพ มีดังนี้

การทํางานกลุม สมาชิกในกลุมจะตองรวมมือกัน เพื่อใหงาน ประสบความสําเร็จ

แนวทางการเสริมสรางทักษะการทํางานรวมกัน ๑ วิเคราะหเพื่อนรวมงาน เปนการศึกษาเพื่อนรวมงานหรือสมาชิกในกลุม ใหเขาใจถึง ลั ก ษณะนิ สั ย วิ สั ย ทั ศ น ทั ศ นคติ ความสามารถ และความถนั ด ของเพื่ อ นร ว มงาน เพื่อใหสามารถปรับตัวเองและเตรียมความพรอมในการทํางานรวมกันไดเปนอยางดี ๒ รูจักหนาที่ภายในกลุม เปนการรูจักการทํางานรวมกัน รูจักบทบาทหนาที่ของตนเอง ฝกความเปนผูนําและผูตามที่ดี ดวยการหมุนเวียนสับเปลี่ยนบทบาทหนาที่กันไปตาม ความเหมาะสม

1. ใหนักเรียนอภิปราย แสดงความ คิดเห็นรวมกันในประเด็นตอไปนี้ • นักเรียนมีแนวทางการเสริมสราง ทักษะการทํางานรวมกันอยางไร (แนวตอบ การรูจักหนาที่ของ ตนเอง การมีสว นรวมในการฟง การพูด และการแสดงความ คิดเห็นภายในกลุม) • การทํางานจิตอาสา เสียสละ เปนแนวทางในการเสริมสราง ทั ก ษะการทํ า งานร ว มกั น อยางไร (แนวตอบ ครูรวบรวมความคิดเห็น และเหตุผลของนักเรียน โดย ไมจาํ เปนตองสรุป เพราะนักเรียน มี โ อกาสแสดงความคิ ด เห็ น แตกตางกันได) 2. ให นั ก เรี ย นเขี ย นเรี ย งความ เรื่ อ ง “คุ ณ ธรรมในการทํ า งาน รวมกัน” สงครูผูสอน

๓ มีทักษะในการฟง การพูด การแสดงความคิดเห็น และอภิปรายในกลุม เพื่อสราง ความเขาใจในจุดมุงหมายของงานและการดําเนินงานใหเปนไปในทางเดียวกัน และมี สัมพันธภาพที่ดีในการทํางานรวมกัน ๔ มีคุณธรรมในการทํางานรวมกัน เพื่อใหผูปฏิบัติงานสามารถทํางานและอยูรวมกัน ในสั ง คมได อ ย า งมี ค วามสุ ข ไม ก  อ ให เ กิ ด ความขั ด แย ง คุ ณ ธรรมสํ า คั ญ ที่ ค วรฝ ก ฝน เชน ความรับผิดชอบในการทํางาน การไมเอาเปรียบผูอื่น เปนตน ๕ สรุ ป ผลโดยการจั ด ทํ า รายงาน เป น การฝ ก ให รู  จั ก การสรุ ป ผลการปฏิ บั ติ ง านและ ฝกการเขียนรายงานจากการปฏิบัติงาน เพื่อนําเสนอหนาชั้นเรียนหรือสงครูผูสอน ๖

นําเสนอรายงาน เปนการนําเสนอผลการปฏิบัติงานกลุม รายงานหนาชั้นเรียนหรือ จัดแสดงนิทรรศการ เพื่อนําเสนอความสําเร็จของการปฏิบัติงาน

คูมือครู

3


กระตุนความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู ขยายความเขาใจ

Explore

Explain

Expand

ตรวจสอบผล (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

สํารวจคนหา ครู แ บ ง กลุ ม นั ก เรี ย นเพื่ อ ศึ ก ษา ทักษะการจัดการ จากแหลงเรียนรู ตางๆ เชน หองสมุด อินเทอรเน็ต สภาพจริงของรานคา โรงพยาบาล ในทองถิ่น เปนตน แตละกลุมจัดทํา ผังมโนทัศน สงครูผูสอน

๒. ทักษะการจัดการ

การจัดการ หมายถึง กระบวนการจัดระบบงานและจัดระบบคน เพื่อทําใหงานหรือกิจกรรม ตางๆ สําเร็จไดอยางมีประสิทธิภาพ บรรลุตามวัตถุประสงคที่ตั้งไว โดยอาศัยคนและทรัพยากร ที่ใชในการปฏิบัติงาน ทักษะการจัดการ หมายถึง ความสามารถหรือความพยายามในการวางแผนการทํางาน การ จัดองคกร การจัดคน การจัดการทรัพยากรที่ใชในการปฏิบตั งิ านในเชิงอนุรกั ษทรัพยากรธรรมชาติ ทีม่ อี ยูอ ยางมีประสิทธิภาพและคุม คา รวมถึงการควบคุม การติดตามและประเมินผล การบริหารเวลา ซึ่งเปนการจัดระบบงาน ระบบคน และยุทธศาสตรการทํางาน เพื่อใหกระบวนการทํางานสําเร็จ ตามเปาหมายอยางมีประสิทธิภาพ โดยคํานึงถึงการประหยัดพลังงาน ทรัพยากร และสิ่งแวดลอม เปนสําคัญ ทักษะการจัดการมีความสําคัญตอการทํางานเปนอยางยิ่ง เพราะการจัดการที่ดีและถูกตอง ยอมทําใหผปู ฏิบตั งิ านมีความคลองตัวหรือความชํานาญในการปฏิบตั งิ านทุกอยางไดอยางมีระบบ เชน งานบาน งานเกษตร งานชาง งานประดิษฐ งานธุรกิจ และงานอื่นๆ ใหประสบความสําเร็จ ไดอยางราบรื่น และสามารถปรับปรุงแกไขหรือพัฒนางานใหดียิ่งขึ้น

อธิบายความรู จากที่ นั ก เรี ย นได สื บ ค น ข อ มู ล ทักษะการจัดการมาแลว ใหนักเรียน บอกความหมาย และความสํ า คั ญ ของทักษะการจัดการ สรุปองคความรู ลงสมุด

ขยายความเขาใจ ครู ตั้ ง ประเด็ น ให นั ก เรี ย นแสดง ความคิดเห็น เชน • ทักษะการจัดการมีความสําคัญ กับการทํางานอยางไร ( แนวตอบ การจั ด การงานที่ ดี และถูกตอง จะทําใหผปู ฏิบตั งิ าน มี ค วามคล อ งตั ว และมี ค วาม ชํานาญในการปฏิบตั งิ านไดอยาง มีระบบ งานก็จะประสบความ สําเร็จ และสามารถปรับปรุงแกไข หรือพัฒนาใหดีขึ้นได) • หลักการสําคัญของกระบวนการ จัดการ มีอะไรบาง (แนวตอบ การวางแผน การจัด รูปแบบงาน การโนมนาวเพื่อน รวมงาน และการควบคุม) • การโนมนําเพือ่ นรวมงานทําใหงาน ประสบความสําเร็จไดอยางไร (แนวตอบ การโนมนําเพือ่ นรวมงาน เป น การจู ง ใจ โน ม นํ า สมาชิ ก ในกลุม ใหปฏิบัติตามหนาที่ของ ตนเอง มี ก ารติ ด ต อ สื่ อ สาร กันภายในกลุม จะชวยใหการ ทํางานบรรลุเปาหมายไดอยาง มีประสิทธิภาพ)

4

Evaluate

คูมือครู

๒.๑ กระบวนการจัดการ

กระบวนการจัดการเพื่อใหการทํางานบรรลุเปาหมายของกลุมไดอยางมีประสิทธิภาพ ประกอบดวยกิจกรรมที่สําคัญ ๔ ประการ ดังนี้ กระบวนการจัดการ ๑ การวางแผน เปนกิจกรรมที่เกี่ยวของกับการวิเคราะหงาน การกําหนดเปาหมายและ วางกลยุทธ รวมทั้งแผนปฏิบัติการ เพื่อใหบรรลุเปาหมายของงานหรือกิจกรรม ๒ การจัดรูปแบบงาน เปนการจัดวางโครงสรางของงานหรือแนวทางการทํางาน เพื่อรองรับ การดําเนินงานตามแผนที่วางไว ๓ การจูงใจเพื่อนรวมงาน เปนการจูงใจและโนมนาวสมาชิกในกลุมใหปฏิบัติงานตามบทบาท หนาที่ที่ไดรับมอบหมาย มีการติดตอสื่อสาร และรวมกันแสดงความคิดเห็นเพื่อแกปญหา และพัฒนางานใหประสบความสําเร็จตามเปาหมายที่ไดวางไว ๔ การควบคุม เปนกิจกรรมเกี่ยวกับการติดตามประเมินผลงาน เปรียบเทียบกับเปาหมาย หรือมาตรฐานที่กําหนดไว และทําการแกไขเพื่อใหผลการดําเนินงานเปนไปตามเปาหมาย หรือมาตรฐานที่กําหนดไว

EB GUIDE

http://www.aksorn.com/LC/Car/M3/01


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

สํารวจคนหา

๒.๒ ทักษะการจัดการที่จําเปนในการทํางาน

ในการทํางานใดๆ ใหประสบความสําเร็จตามเปาหมายที่กําหนดได จะตองอาศัย ทักษะการจัดการที่ดีและถูกตองตามกระบวนการทํางานนั้นๆ ผูปฏิบัติงานจําเปนตองมีทักษะ ในการทํางานเพื่อใหงานประสบความสําเร็จและมีประสิทธิภาพ ดังนี้ ๑) ทักษะการจัดการความรู เปน ความสามารถในการคนควาหาความรู การ รวบรวม การวิเคราะห การสังเคราะห จากแหลง ความรูต า งๆ เชน หนังสือและสือ่ ตางๆ เขารับการ อบรม เปนตน และสามารถนําความรูเหลานั้น มาจัดหมวดหมูขอมูลความรูอยางเปนระบบ เพื่อนําความรูเหลานั้นมาวางแผน แกปญหา และพั ฒนางานอยา งเปน ระบบ เพื่อใหงาน ประสบความสําเร็จตามเปาหมายที่วางไว การทํางานใหประสบความสําเร็จ ผูป ฏิบตั งิ านจะตองรูจ กั ศึกษา เรียนรูเกี่ยวกับงานนั้นๆ เปนอยางดี ๒) ทักษะการบริหารเวลา เปน ความสามารถในการจัดการเกีย่ วกับการใชเวลา ใหเกิดประโยชนสูงสุดในการทําสิ่งตางๆ ตามทักษะกระบวนการของงานนั้นๆ ใหสําเร็จไดตาม เปาหมายหรือบรรลุวัตถุประสงคที่ตั้งไวโดยไมปลอยใหเวลาสูญเสียไปโดยไรประโยชน

๓. คุณธรรมและจริยธรรมในการทํางาน

ในการทํางานผูป ฏิบตั งิ านตองมีคณ ุ ธรรมและจริยธรรม เพือ่ ใหสามารถปฏิบตั งิ านรวมกับผูอ นื่ ไดเปนอยางดี และงานประสบความสําเร็จตาม ที่ตั้งเปาหมายไว คุณธรรม เปนหลักของความดี ความงาม ความถูกตองในการแสดงออก ทั้งกาย วาจา ใจ ของแตละบุคคลที่ยึดมั่นไวเปนหลักประจําใจ ในการประพฤติปฏิบตั จิ นเกิดเปนนิสยั ซึง่ สงผล ใหสามารถอยูร ว มกันในสังคมไดอยางมีความสุข จริยธรรม เปนการประพฤติปฏิบตั ขิ องบุคคล ทีแ่ สดงออกถึงความดีงามทัง้ ตอตนเอง ตอผูอ นื่ และตอสังคม เพื่อใหเกิดความสงบสุข ความ ผูปฏิบัติงานที่มีคุณธรรมและจริยธรรม ทําใหสามารถทํางาน เจริญรุงเรือง เปนประโยชนตอสังคมและการ รวมกับผูอื่นไดเปนอยางดี พัฒนาประเทศชาติ

ให นั ก เรี ย นศึ ก ษาลั ก ษณะสํ า คั ญ ของคุ ณ ธรรมและจริ ย ธรรมจาก หนังสือเรียน หนา 5 - 6

อธิบายความรู 1. ครู แ ละนั ก เรี ย นสนทนาถึ ง ทั ก ษะ การจัดการที่จําเปนในการทํางาน และคุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม ในการ ทํ า งาน และร ว มกั น อภิ ป รายว า นั ก เรี ย นมี ค วามคิ ด เห็ น อย า งไร เกีย่ วกับคํากลาวทีว่ า ในการทํางาน ใดๆ จะใหประสบความสําเร็จตาม นโยบายที่กําหนดไดจะตองอาศัย ทักษะการจัดการที่ดีและถูกตอง ตามกระบวนการทํางานนั้นๆ 2. นักเรียนคิดวาผูปฏิบัติงานจําเปน ตองมีทกั ษะในการทํางานใหประสบ ความสําเร็จอยางไรบาง เพราะเหตุใด (แนวตอบ ทักษะที่จําเปน เชน • ทักษะการจัดการเรียนรู เพราะ จะไดนาํ ความรูใ หมๆ มาใชพฒ ั นา งานให เ กิ ด ประโยชน ต  อ สั ง คม และชีวิตประจําวันได • ทั ก ษะการบริ ห ารเวลา เพราะ ในการทํางานทุกอยางตองรูจัก แบงเวลา เพื่อไมใหเสียโอกาส ในการทํางาน ตองใชเวลาที่มีอยู ให ค ุ ม ค า กั บ งานที่ ทํ า จะได บรรลุวัตถุประสงคที่ตั้งไว โดย ไม ป ล อ ยให เ สี ย เวลาไปโดย ไรประโยชน)

ขยายความเขาใจ

ครูสนทนากับนักเรียน โดยถามวา • นั ก เรี ย นมี ค วามสามารถในการ ๕ ทํางานรวมกับบุคคลประเภทไหนได ดีกวากัน ระหวางบุคคลทีม่ คี ณ ุ ธรรม จริ ย ธรรม กั บ บุ ค คลไร คุ ณ ธรรม จริยธรรม เพราะเหตุใด และงาน ที่ทําจะประสบความสําเร็จหรือไม อยางไร (แนวตอบ ครูควรแนะนําวา บุคคลที่มีคุณธรรม จริยธรรมที่ดีงามเหมาะสมที่จะเปนบุคคลที่นักเรียนควรจะรวมทํางานดวย งานจึงจะประสบความสําเร็จ เพราะคนที่มีคุณธรรม จริยธรรมนั้นเปนคนที่มีความดี ทั้งกาย วาจาและใจ ประพฤติตนเปนคนดีทั้งตอตนเอง ตอผูอื่น และตอสังคม กอใหเกิดความ สงบสุข เจริญรุงเรือง เปนประโยชนตอสังคมและการพัฒนาประเทศชาติ) คูมือครู

5


กระตุนความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู ขยายความเขาใจ

Explore

Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

สํารวจคนหา ให นั ก เรี ย นศึ ก ษาหลั ก คุ ณ ธรรม และจริยธรรมในการทํางานรวมกับ ผูอื่นจากหนังสือเรียน อินเทอรเน็ต และจากแหลงเรียนรูตางๆ เพื่อนํามา อภิปรายรวมกันในชั้นเรียน

หลักคุณธรรมและจริยธรรม ที่ควรยึดถือและปฏิบัติเพื่อการทํางานในชีวิตประจําวันรวมกับ ผูอื่นใหประสบความสําเร็จอยางมีความสุข มี ๙ ประการ ดังนี้ หลักคุณธรรมและจริยธรรมในการทํางานรวมกับผูอื่น ๑ ความซือ่ สัตยสจุ ริต มีความประพฤติสจุ ริตตอเพือ่ นรวมงาน ตรงตอเวลา รับผิดชอบหนาที่ มีความจริงใจในการทํางาน ปราศจากอคติ

อธิบายความรู ครู กํ า หนดสถานการณ แ ละตั้ ง คําถามเพื่อการเรียนรู • สมส ว น ชอบช ว ยเหลื อ เกื้ อ กู ล เพื่อนรวมงาน มีเหตุผล ยอมรับ ความแตกต า งทางความคิ ด ปรับตัวอยูรวมกับเพื่อนไดอยาง สันติและสมานฉันท เปนเพราะ เขามี คุ ณ ธรรมและจริ ย ธรรม ดานใด (แนวตอบ ดานความสามัคคี) • บุคคลตอไปนี้ นักเรียนคิดวาใคร เปนผูมีคุณธรรมและจริยธรรม เพราะอะไร สมจิต คุยโทรศัพทสวนตัวเวลา ทํางาน สมใจ เห็นคุณคาในเพื่อนมนุษย มีความเอือ้ อาทร ใสใจคนรอบขาง (แนวตอบ สมใจ เพราะเปนคนดี มีนํ้ า ใจ ช วยเหลือ เพื่ อ นมนุษย รูจักให แบงปน และเสียสละ)

๒ ความขยันอดทน มีความขยันอดทนในการทํางาน มีความเพียรพยายามอยางเต็มที่และ ตอเนื่อง กลาเผชิญอุปสรรค รักงานที่ทําและตั้งใจทําหนาที่อยางจริงจัง ๓ ความรับผิดชอบ มีความรับผิดชอบตองานที่ไดรับมอบหมายอยางเต็มความสามารถ ของตนเอง ยอมรับขอผิดพลาดในการทํางาน และพรอมทีจ่ ะรับฟงคําแนะนําหรือคําตักเตือน จากเพื่อนรวมงาน ๔ มีระเบียบวินัย เปนผูมีระเบียบวินัยในการทํางาน ปฏิบัติตนในขอบเขต กฎระเบียบของ สถานศึกษา สถาบัน องคกร และประเทศ ดวยความเต็มใจ และตัง้ ใจยึดมัน่ ในระเบียบแบบแผน ขอบังคับ และขอปฏิบัติ รวมถึงการมีวินัยทั้งตอตนเองและสังคม ๕ ความสามัคคี เปนผูที่มีความมุงมั่นในการรวมพลัง ชวยเหลือเกื้อกูลเพื่อนรวมงาน เพื่อให การทํางานสําเร็จลุลว ง สามารถแกปญ  หาและขจัดความขัดแยงได เปนผูม เี หตุผล ยอมรับความ แตกตาง หลากหลายทางวัฒนธรรม ความคิด และความเชือ่ พรอมทีจ่ ะปรับตัวเพือ่ อยูร ว มกัน อยางสันติและสมานฉันท ๖

๗ ความสุภาพเรียบรอย เปนผูท มี่ กี ริ ยิ ามารยาทเรียบรอย พูดจาไพเราะและแตงกายเรียบรอย ตามสถานภาพและกาลเทศะ มีความออนนอมถอมตน มีสมั มาคารวะ เรียบรอย เปนผูม มี ารยาท ดีงาม ไมกาวราว หรือวางอํานาจขมผูอื่นทั้งโดยวาจาและทาทาง ๘ ความสะอาด เปนผูรูจักรักษารางกาย ที่อยูอาศัย และสิ่งแวดลอมไดอยางถูกตองตาม สุขลักษณะ เพราะสภาพแวดลอมที่ดีจะทําใหเกิดความสบายใจแกผูพบเห็น รวมทั้งตอง ฝกฝนจิตใหปราศจากความมัวหมองทั้งกายและใจ ๙ ความมีนํ้าใจ รูจักชวยเหลือเพื่อนรวมงาน รูจักใหแบงปน และเสียสละความสุขสวนตน เพื่อทําประโยชนใหแกผูอื่น เห็นคุณคาในเพื่อนมนุษย เห็นอกเห็นใจผูที่มีความเดือดรอน และมีความเอื้ออาทรเอาใจใสคนรอบขาง

ขยายความเขาใจ 1. ครูใหนักเรียนแตละคนยกตัวอยาง คุณธรรมและจริยธรรมทีต่ วั เองชอบ พรอมทั้งบอกเหตุผลที่ชอบ (แนวตอบ ครูใหนักเรียนแสดงความ คิดเห็นอยางหลากหลาย) 2. ครูแบงนักเรียนเปนกลมุ แตละกลมุ คั ด เลื อ กคุ ณ ธรรมและจริ ย ธรรม ที่สมาชิกในกลุมชอบ รวมกันระดม ความคิด วิเคราะหรายละเอียดของ หลั ก คุ ณ ธรรมและจริ ย ธรรมที่ เลื อ กมา จั ด แสดงบทบาทสมมติ ครูเสนอขอคิดเห็นเพิม่ เติมเกีย่ วกับ การแสดง

6

คูมือครู

ความประหยัด เปนผูท รี่ จู กั เก็บออม ถนอมใชทรัพยสนิ พลังงาน ทรัพยากรหรือสิง่ ของตางๆ โดยใชแตพอประมาณใหเกิดประโยชนคุมคา ไมฟุมเฟอย ไมฟุงเฟอ

หลักคุณธรรมและจริยธรรมในการทํางานรวมกับผูอื่นทั้ง ๙ ประการ หากสามารถฝกฝน ปรับปรุง แกไข และพัฒนาจนเปนลักษณะนิสัยในการทํางานของตนเองได ยอมนํามาซึ่งความ สําเร็จในการทํางานรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข ๖


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

กระตุนความสนใจ ครูยกตัวอยาง การนําทรัพยากรมา ใชอยางมีประสิทธิภาพ หรือการเลือก ใชวิธีที่จะนําทรัพยากรไปใชในการ ผลิตสินคาและบริการที่มีประโยชน ให นั ก เรี ย นฟ ง นั ก เรี ย นร ว มแสดง ความคิดเห็น ครูตั้งคําถามกระตุน • นักเรียนคิดวา ความตองการใน การนําทรัพยากรมาใชของมนุษย มีที่สิ้นสุดหรือไม เพราะอะไร ( แนวตอบ ไม มี ที่ สิ้ น สุ ด เพราะ มนุษยมคี วามตองการใชทรัพยากร เพือ่ ตอบสนองความตองการของ ตนเองที่มีอยางไมสิ้นสุด เพื่อให เกิดความพอใจสูงสุด)

๔. การใชทรัพยากรในการปฏิบัติงาน

ในการปฏิบัติงานตางๆ จําเปนตองใชทรัพยากร เพื่อนํามาผลิตเปนสินคาและบริการ ทรัพยากรที่สําคัญในการปฏิบัติงาน แบงได ๒ ประเภท ดังนี้ ๑. ทรัพยากรบุคคลหรือทรัพยากรมนุษย ซึ่งหมายถึงบุคคลที่มีสวนรวมปฏิบัติงานทุกคน ๒. ทรัพยากรดานวัตถุดิบ เครื่องมือ เทคโนโลยี หรือสิ่งอํานวยความสะดวกและสนับสนุน ใหการทํางานมีประสิทธิภาพ การใชทรัพยากรในการทํางานใหเกิดประโยชนสูงสุด ควรมีแนวทางในการใชทรัพยากร และมีการวางแผนการใชทรัพยากร เพื่อเปนการประหยัดทรัพยากรและใหงานประสบความสําเร็จ ตามเปาหมายที่วางไว

๔.๑ แนวทางการใชทรัพยากร

ทรัพยากรมีความสําคัญตอการดํารงชีวิตของมนุษย แตจากการเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว ของประชากร ทําใหมีความตองการใชทรัพยากรเพิ่มมากขึ้นในรูปแบบตางๆ เชน ใชเปนวัตถุดิบ ใชเปนสถานที่ เปนตน ซึ่งอาจทําใหทรัพยากรหมดไปและสงผลเสียตอสิ่งแวดลอมตามมา ดังนั้น จึงควรมีแนวทางในการอนุรักษและใชทรัพยากรใหเกิดประโยชนสูงสุด โดยการใชหลัก 7R ดังนี้ ๑) การปฏิเสธการใช (R1-Reject) คือ การรูจักปฏิเสธหรือการงดใชสิ่งของที่ ทําใหสิ้นเปลืองทรัพยากร ๒) การนําของใชแลวกลับมาใชใหม (R2-Reuse) คือ การดัดแปลงของที่ใชแลว เพื่อนํากลับมาใชใหม จะชวยลดการใชทรัพยากรไดมาก ๓) การใชใหเกิดประโยชนสูงสุด (R3-Reduce) คือ การใชสิ่งของตางๆ ใหคุมคา จะชวยลดปริมาณความตองการทรัพยากรโดยไมตองจัดหาสิ่งใหมมาใช ๔) การซอมแซมฟนฟู (R4-Repair) คือ การซอมแซมฟนฟูสิ่งของเครื่องใชที่เกา หรือชํารุดใหสามารถใชงานได จะชวยยืดอายุการใชงานและลดอัตราการใชทรัพยากรได ๕) การนําไปผลิตขึน้ ใหม (R2-Recycle) คือ การนําของที่ใชแลวไปผานกระบวนการ ผลิตเปนวัตถุตั้งตนใหม จะชวยประหยัดทรัพยากรได ๖) การถนอมรักษา (R6-Recovery) คือ การเก็บรักษาสิง่ ของเครือ่ งใชสาํ หรับใชใน โอกาสตอไปไดอีก ๗) การเสริมแตงของเกา (R7-Renewal) คือ การเสริมแตงของที่มีอยูหรือของ ที่ใชแลวใหสมบูรณ จะทําใหใชประโยชน ไดมากขึ้น การนําหลัก 7R มาใชในชีวติ ประจําวัน นอกจากจะไมทาํ ใหสนิ้ เปลืองทรัพยากรธรรมชาติ ในการผลิตสินคาใหมแลว ยังเปนการชวยลดภาวะโลกรอนจากการลดการใชพลังงานและการใช ทรัพยากร และชวยประหยัดคาใชจายของตนเองไดอีกดวย

สํารวจคนหา 1. ให นั ก เรี ย นศึ ก ษาประเภทของ ทรัพยากรและการวางแผนการใช ทรัพยากร จากหนังสือเรียนหนา 7-8 2. ให นั ก เรี ย นสื บ ค น ข อ มู ล เกี่ ย วกั บ การนําทรัพยากรมาใชประโยชนวา จะตองคํานึงถึงสิ่งใดบาง

อธิบายความรู 1. ครูนําตัวอยางผลิตภัณฑที่ทําจาก กระดาษเหลือใชมาใหนักเรียนดู แล ว ให นั ก เรี ย นช ว ยกั น บอกว า ผลิตภัณฑนนั้ ทํามาจากอะไร และใช ประโยชนไดอยางไร 2. ครูใหนักเรียนแตละคนยกตัวอยาง แนวทางการใช ท รั พ ยากรให เ กิ ด ประโยชนสูงสุด เพื่อชวยอนุรักษ ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม คนละ 1 ตัวอยาง

๗ @

B

B

พื้นฐานอาชีพ

ครูแนะนําใหนักเรียนประดิษฐสิ่งของเครื่องใชจากวัสดุเหลือใชตางๆ เชน ทําหมวกจาก กระปองนํา้ อัดลม ทําดอกไมจากถุงนองทีใ่ ชแลว เปนตน เพือ่ นําไปใชประโยชนในชีวติ ประจําวัน หรือนําไปจําหนายเพื่อสรางรายไดระหวางเรียน

มุม IT

ศึกษาเพิม่ เติมเกีย่ วกับแนวทางการ ใชทรัพยากรไดที่ • http://www.krumonbs.ob.tc/ html/03.html • http://www.rmuti.ac.th/user/ thanyaphak/Web คูมือครู

7


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Expand

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

ขยายความเขาใจ 1. นักเรียนอภิปรายถึงกระบวนการ จัดการทรัพยากร พรอมบอก วัตถุประสงค การเลือกใช การวางแผน การนําเทคโนโลยี สมัยใหมมาชวยในการผลิต และการหาทรัพยากรมาทดแทน หรือนํากลับมาใชใหม ทั้งนี้ให ยกตัวอยางประกอบการอภิปราย 2. ใหนักเรียนสรุปองคความรู กระบวนการจัดการทรัพยากร โดยใชผังมโนทัศน

๔.๒ การวางแผนการใชทรัพยากร

ทุกวันนี้มนุษยเริ่มตระหนักถึงปญหาของทรัพยากรที่เริ่มจะหมดไปเนื่องจากการใช ทรัพยากรเหลานั้นอยางฟุมเฟอย ไมประหยัด ดังนั้น จึงควรมีการวางแผนการใชทรัพยากรใหเกิด ความคุมคามากที่สุด ดังนี้ การวางแผนการใชทรัพยากร ๑ ใช ท รั พ ยากรให ถู ก วั ต ถุ ป ระสงค แ ละประโยชน ใ ช ส อย ควรคํ า นึ ง ถึ ง วั ต ถุ ป ระสงค และประโยชน เชน นํา้ เพือ่ การเพาะปลูกก็ควรใชในการเพาะปลูก ไมควรนํานํา้ สะอาดทีใ่ ชดมื่ ไปลางภาชนะ ไมใชลํานํ้าสาธารณะเปนทางทิ้งนํ้าเสียจากโรงงาน เปนตน ๒ เลือกใชทรัพยากรใหมีสัดสวนที่เหมาะสม การเลือกใชทรัพยากรประเภทตางๆ ควรใช ในสัดสวนที่เหมาะสมและใชอยางประหยัด เชน การเพาะปลูกตองตัดสินใจในการใชนํ้า และที่ดินอยางประหยัด ไมใชนํ้าเกินความจําเปน ไมทิ้งที่ดินใหวางเปลา เปนตน

ตรวจสอบผล 1. ประเมินจากเรียงความเรื่อง คุณธรรมในการทํางานรวมกัน 2. ตรวจผังมโนทัศนเรื่อง หลักการ ทํางานรวมกัน และกระบวนการ จัดการทรัพยากร 3. ครูประเมินจากการแสดงบทบาท สมมติ และการมีสวนรวมในการ อภิปรายและตอบคําถามของ นักเรียน 4. การรวมอภิปราย แสดงความคิดเห็น และตอบคําถามในชั้นเรียน

๓ วางแผนอยางดีกอนเริ่มการผลิตชิ้นงาน โดยการศึกษาขอมูลตางๆ เชน วัสดุอุปกรณ ที่ใช วิธีการผลิต เงินทุน ปญหาที่อาจจะเกิดขึ้นในการผลิตและแนวทางแกไข เพื่อลด การสูญเสียที่อาจจะเกิดขึ้นในการผลิตชิ้นงานนั้น ๔ นําเทคโนโลยีสมัยใหมมาชวยในการผลิต การนําเทคนิคและเครื่องจักรมาชวยในการ ผลิ ต ชิ้ น งานและทํ า งานต า งๆ จะช ว ยลดการสู ญ เสี ย และสามารถผลิ ต ชิ้ น งานได อ ย า ง มีประสิทธิภาพมากขึ้น ๕ แสวงหาทรัพยากรทดแทนหรือนํากลับมาใชใหม ทรัพยากรที่มีอยูจํากัด จําเปนตองหา ทรัพยากรชนิดเดิมหรือชนิดอื่นมาใชประโยชนทดแทน ถาสามารถนําทรัพยากรที่ใชแลว กลับมาใชใหม เชน การนําโตะ เกาอี้ที่ชํารุดมาซอมแซม เพื่อลดการนําไมมาผลิตเกาอี้ตัวใหม เปนตน จะชวยประหยัดการใชทรัพยากรไดดียิ่ง

การดําเนินชีวิตของมนุษยในแตละวันตองมีการทํางาน เพื่อความอยูรอดของตนเอง

หลักฐาน แสดงผลการเรียนรู

ครอบครัว และสังคมไดอยางมีความสุข โดยจะตองมีการพัฒนาทักษะการทํางาน เพือ่ สรางหรือผลิต ชิ้นงานในรูปแบบตางๆ ใหเกิดประโยชนสูงสุดแกตนเอง สังคม และประเทศชาติ ซึ่งมีความจําเปน ตองใชความรู ทักษะกระบวนการทํางานรวมกัน ทักษะการจัดการ คุณธรรม จริยธรรมในการทํางาน และการใชทรัพยากรธรรมชาติในการปฏิบัติงานอยางประหยัดและไมทําลายสิ่งแวดลอม เพื่อใหงาน ประสบความสําเร็จและสามารถดํารงชีวิตไดอยางมีความสุข

1. เรียงความเรื่อง คุณธรรมในการ ทํางานรวมกัน 2. ผังมโนทัศน เรื่อง หลักการทํางาน รวมกัน และกระบวนการจัดการ ทรัพยากร

8

คูมือครู

Evaluate


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.