8858649121578.pdf

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº »ÃСѹÏ

ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน

กระบวนการสอนแบบ 5 Es ชวยสรางทักษะการเรียนรู กิจกรรมมุงพัฒนาทักษะการคิด คำถาม + แนวขอสอบเพื่อยกผลสัมฤทธิ์ O-NET กิจกรรมบูรณาการเตรียมพรอมสู ASEAN 2558


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู การงานอาชีพและเทคโนโลยี

การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปที่

4

สําหรับครู

คูมือครู Version ใหม

ลักษณะเดน

ขยายพื้นที่รูปเลมใหญขึ้นกวาเดิม จัดแบงพื้นที่ออกเปนโซน เพื่อคนหาขอมูลไดงาย สะดวก รวดเร็ว และดูเปนระเบียบ กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล

กระตุน ความสนใจ

Evaluate

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

เปาหมายการเรียนรู สมรรถนะของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค

หน า

โซน 1

หน า

หนั ง สื อ เรี ย น

กระตุน ความสนใจ

Engage

สํารวจคนหา

Explore

อธิบายความรู

Explain

ขยายความเขาใจ

Expand

ตรวจสอบผล

Evaluate

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

เกร็ดแนะครู

ขอสอบ O-NET

โซน 2

โซน 1

หนั ง สื อ เรี ย น

บูรณาการเชื่อมสาระ

โซน 3

กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย

นักเรียนควรรู

โซน 3

โซน 2 บูรณาการอาเซียน มุม IT

No.

คูมือครู

คูมือครู

No.

โซน 1 ขั้นตอนการสอนแบบ 5Es

โซน 2 ชวยครูเตรียมสอน

โซน 3 ชวยครูเตรียมนักเรียน

เพื่อใหครูเตรียมจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยแนะนําขั้นตอนการสอนและ การจัดกิจกรรมแบบ 5Es อยางละเอียด เพื่อใหนักเรียนบรรลุตามตัวชี้วัด

เพื่อชวยลดภาระครูผูสอน โดยแนะนํา เกร็ดความรูสําหรับครู ความรูเสริมสําหรับ นักเรียน รวมทั้งบูรณาการความรูสูอาเซียน และมุม IT

เพื่อใหครูสะดวกตอการจัดกิจกรรม โดย แนะนํากิจกรรมบูรณาการเชือ่ มระหวางสาระหรือ กลุมสาระการเรียนรู วิชา กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย รวมถึงเนื้อหาที่เคยออกขอสอบ O-NET แนวขอสอบ NT/O-NET ทีเ่ นนการคิด พรอมเฉลยและคําอธิบายอยางละเอียด


แถบสีและสัญลักษณ

ที่ใชในคูมือครู แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5Es เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

1. แถบสี 5Es สีแดง

สีเขียว

สีสม

สีฟา

สีมวง

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

• เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช • เปนขั้นที่ผูสอน

• เปนขั้นที่ผูสอน

• เปนขั้นที่ผูสอน

• เปนขั้นที่ผูสอน

กระตุน ความสนใจ

เสร�ม

Engage

2

เทคนิคกระตุน ความสนใจ เพื่อโยง เขาสูบทเรียน

Explore

ใหผูเรียนสํารวจ ปญหา และศึกษา ขอมูล

Explain

ใหผูเรียนคนหา คําตอบ จนเกิดความรู เชิงประจักษ

Expand

Evaluate

ใหผูเรียนนําความรู ไปคิดคนตอๆ ไป

ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

2. สัญลักษณ สัญลักษณ

วัตถุประสงค

• แสดงเปาหมายการเรียนรูที่นักเรียน เปาหมายการเรียนรู

ตองบรรลุตามตัวชี้วัด ตลอดจนสมรรถนะ ที่จะตองมี และคุณลักษณะที่พึงเกิดขึ้น กับนักเรียน

• แสดงรองรอยหลักฐานตามภาระงาน หลักฐานแสดง ผลการเรียนรู

ที่ครูมอบหมาย เพื่อแสดงผลการเรียนรู ตามตัวชี้วัด

• แทรกความรูเสริมสําหรับครู ขอเสนอแนะ เกร็ดแนะครู

ขอควรระวัง ขอสังเกต แนวทางการจัด กิจกรรมและอืน่ ๆ เพื่อประโยชนในการ จัดการเรียนการสอน

• ขยายความรูเพิ่มเติมจากเนื้อหา เพื่อให นักเรียนควรรู

ครูนําไปใชอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียน ไดมีความรูมากขึ้น

• ความรูห รือกิจกรรมเสริม ใหครูนาํ ไปใช บูรณาการอาเซียน

เตรียมความพรอมใหกบั นักเรียนกอนเขาสู ประชาคมอาเซียนใน พ.ศ. 2558 โดย บูรณาการกับวิชาทีก่ าํ ลังเรียน

• แนะนําแหลงคนควาจากเว็บไซต เพื่อให มุม IT

คูม อื ครู

ครูและนักเรียนไดเขาถึงขอมูลความรู ที่หลากหลาย ทั้งไทยและตางประเทศ

สัญลักษณ

วัตถุประสงค

ขอสอบ O-NET (เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ O-NET O-NET)

• ชีแ้ นะเนือ้ หาทีเ่ คยออกขอสอบ

O-NET โดยยกตัวอยางขอสอบ พรอมวิเคราะหคาํ ตอบ อยางละเอียด

• เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน แนว  NT  O-NE T (เฉพาะระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนตน)

แนว

O-NET

(เฉพาะระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย)

บูรณาการเชื่อมสาระ

กิจกรรมสรางเสริม

กิจกรรมทาทาย

การคิดและเปนแนวขอสอบ NT/O-NET ในระดับมัธยมศึกษา ตอนตน มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

• เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน

การคิดและเปนแนวขอสอบ O-NET ในระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม

เชือ่ มกับสาระหรือกลุม สาระ การเรียนรู ระดับชัน้ หรือวิชาอืน่ ทีเ่ กีย่ วของ

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ซอมเสริมสําหรับนักเรียนทีค่ วร ไดรบั การพัฒนาการเรียนรู

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ตอยอดสําหรับนักเรียนทีเ่ รียนรู ไดอยางรวดเร็ว และตองการ ทาทายความสามารถในระดับ ทีส่ งู ขึน้


คําแนะนําการใชคูมือครู การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน คูมือครู รายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.4 จัดทําขึ้นเพื่อใหครูผูสอนนําไปใชเปนแนวทางวางแผนการ สอนเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และประกันคุณภาพผูเรียน ตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) โดยใชหนังสือเรียน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.4 ของบริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด เสร�ม เปนสื่อหลัก (Core Material) ประกอบการสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรู 3 และตัวชี้วัดกลุมสาระการเรียนรู การงานอาชีพและเทคโนโลยี ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 โดยออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักการสําคัญ ดังนี้ 1 ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน คูม อื ครู รายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.4 วางแผนการสอนโดยแบงเปนหนวยการเรียนรูต ามลําดับสาระ (Strand) และหมายเลขขอของมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั แตละหนวยจะกําหนดเปาหมายการเรียนรูแ ละจุดประสงค การเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทางการประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชดั เจน ครูผสู อนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู ตัวชีว้ ดั สมรรถนะ และคุณลักษณะอันพึงประสงคที่เปนเปาหมายการเรียนรูตามที่กําหนดไวในสาระแกนกลาง (ตามแผนภูมิ) และสามารถ บันทึกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนแตละคนลงในเอกสาร ปพ.5 ไดอยางมั่นใจ แผนภูมิแสดงความสัมพันธขององคประกอบการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผูเรียนเปนสําคัญ

พผ

ูเ

จุ ด ป ร

ะสง

คก า

ส ภา

รี ย น

รเ

รู ีรยน

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชวงชั้น

ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน คูม อื ครู


2 การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ แนวคิ ด ในการจั ด การเรี ย นการสอนที่ ยึ ด ผู  เ รี ย นเป น สํ า คั ญ พั ฒ นามาจากปรั ช ญาและทฤษฎี ก ารเรี ย นรู  Constructivism ที่เชื่อวา การเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสรางความรู โดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดเรียนรูจากบทเรียนใหมกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา ผูเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีการสั่งสมความรูความเขาใจเกี่ยวกับสิ่งตางๆ ติดตัวมากอน ทีจ่ ะเขาสูห อ งเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากประสบการณและสิง่ แวดลอมรอบตัวผูเ รียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกิจกรรม เสร�ม การเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ผูสอนจะตองคํานึงถึง

4

1. ความรูเดิมของผูเรียน วิธีการสอนที่ดีจะตองเริ่มตนจากจุดที่วา ผูเ รียนมีความรูอ ะไรมาบาง แลวจึงใหความรู หรือประสบการณใหม เพื่อตอยอดจาก ความรูเดิม นําไปสูการสรางความรู ความเขาใจใหม

2. ความรูเดิมของผูเรียนถูกตองหรือไม ผูส อนตองปรับเปลีย่ นความรูค วามเขาใจเดิม ของผูเรียนใหถูกตอง และเปนพฤติกรรม การเรียนรูใ หมทมี่ คี ณุ คาตอผูเรียน เพื่อสราง เจตคติหรือทัศนคติที่ดีตอการเรียนรู สิ่งเหลานั้น

3. ผูเรียนสรางความหมายสําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมใหผูเรียนนําความรู ความเขาใจที่เกิดขึ้นไปลงมือปฏิบัติ เพื่อขยายความรูใหลึกซึ้งและมีคุณคา ตอตัวผูเรียนมากที่สุด

แนวคิด Constructivism เนนใหผูเรียนสรางความรูโดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูของตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศ

การเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณ ความรูใ หม เพือ่ กระตนุ ใหผเู รียนเชือ่ มโยงความรู ความคิด กับประสบการณทมี่ อี ยูเ ดิม แลวสังเคราะหเปนความรูห รือแนวคิดใหมๆ ไดดว ยตนเอง

3 การบูรณาการกระบวนการคิด การเรียนรูของผูเรียนแตละคนจะเกิดขึ้นที่สมอง ซึ่งเปนอวัยวะที่ทําหนาที่รูคิดภายใตสภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวย และไดรบั การกระตนุ จูงใจอยางเหมาะสม สอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของผูเ รียนแตละคน การจัดกิจกรรม การเรียนรูและสาระการเรียนรูที่สอดคลองกับความสนใจและมีความหมายตอผูเรียน จะชวยกระตุนใหสมองของผูเรียน สามารถรับรูและเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพตามขั้นตอนการทํางานของสมอง ดังนี้ 1. สมองจะเรียนรูและสืบคน โดยการสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง ปฏิบัติ จนทําใหคนพบความรูความเขาใจ ไดอยางรวดเร็ว

2. สมองจะแยกแยะคุณคาของสิ่งตางๆ โดยการตัดสินใจวิพากษวิจารณ แสดง ความคิดเห็น ยอมรับหรือตอตานตาม อารมณความรูสึกที่เกิดขึ้นในขณะที่เรียนรู

3. สมองจะประมวลเนื้อหาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสานกับ ความรูห รือประสบการณเดิมทีถ่ กู จัดเก็บอยูใ น สมอง ผานการกลัน่ กรองเพือ่ สังเคราะหเปน ความรูค วามเขาใจใหมๆ หรือเปนทัศนคติใหม ที่จะเก็บบรรจุไวในสมองของผูเรียน

การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะเกิดขึ้น เมื่อสมองรูคิด และตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมองผูเรียน โดยเริ่มตนจาก 1. ระดับการคิดพื้นฐาน ไดแก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล การสรุปผล เปนตน

คูม อื ครู

2. ระดับลักษณะการคิด ไดแก การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดไกล คิดหลากหลาย คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล เปนตน

3. ระดับกระบวนการคิด ไดแก กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ กระบวนการแกปญหา กระบวนการ คิดสรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะห เปนตน


5Es การจัดกิจกรรมตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ขั้นตอนการสอนที่สัมพันธกับขั้นตอนการคิดและการทํางานทางสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย คือ วัฏจักรการเรียนรู 5Es ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแตละหนวย ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1

กระตุนความสนใจ

(Engage)

เสร�ม

5

เปนขั้นที่ผูสอนนําเขาสูบทเรียน เพื่อกระตุนความสนใจของผูเรียนดวยเรื่องราวหรือเหตุการณที่นาสนใจโดยใชเทคนิควิธีการ และคําถามทบทวนความรูหรือประสบการณเดิมของผูเรียน เพื่อเชื่อมโยงผูเรียนเขาสูความรูของบทเรียนใหม ชวยใหผูเรียนสามารถ สรุปความสําคัญหัวขอและสาระการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอนการสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอมและสราง แรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน

ขั้นที่ 2

สํารวจคนหา

(Explore)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนเปดโอกาสใหผเู รียนลงมือศึกษา สังเกต หรือรวมมือกันสํารวจ เพือ่ ใหเห็นขอบขายของประเด็นหรือปญหา รวมถึง วิธีการศึกษาคนควา การรวบรวมขอมูลความรูที่จะนําไปสูการสรางความเขาใจประเด็นหรือปญหานั้นๆ เมื่อผูเรียนทําความเขาใจใน ประเด็นหรือปญหาที่จะศึกษาคนควาอยางถองแทแลว ก็ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธีการตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูที่เกี่ยวของกับประเด็นหรือปญหาที่ศึกษา

ขั้นที่ 3

อธิบายความรู

(Explain)

เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา ตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนคนหาคําตอบ และนําขอมูล ความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห สรุปผล และนําเสนอผลที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ ผังมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน ในขั้นตอนนี้ฝกใหผูเรียนใชสมองคิดวิเคราะหและสังเคราะห อยางเปนระบบ

ขั้นที่ 4

ขยายความเขาใจ

(Expand)

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใชเทคนิควิธีสอนตางๆ ที่สงเสริมใหผูเรียนนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนสืบคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะ การเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน ผูเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยง กับประสบการณเดิมโดยนําขอสรุปทีไ่ ดไปใชอธิบายเหตุการณตา งๆ หรือนําไปปฏิบตั ใิ นสถานการณใหมๆ ทีเ่ กีย่ วของกับชีวติ ประจําวัน ของตนเอง เพื่อขยายความรูความเขาใจใหกวางขวางยิ่งขึ้น ในขั้นตอนนี้ฝกสมองของผูเรียนใหสามารถคิดริเริ่มสรางสรรคอยางมี คุณภาพ เสริมสรางวิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป

ขั้นที่ 5

ตรวจสอบผล

(Evaluate)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนประเมินมโนทัศนของผูเ รียน โดยตรวจสอบจากความคิดทีเ่ ปลีย่ นไปและความคิดรวบยอดทีเ่ กิดขึน้ ใหม ตรวจสอบ ทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด หรือการเคารพความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพื่อการ สรางสรรคความรูร ว มกัน ผูเ รียนสามารถประเมินผลการเรียนรูข องตนเอง เพือ่ สรุปผลวามีความรูอ ะไรเพิม่ ขึน้ มาบาง เกิดความเขาใจ มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ หรือในชีวิตประจําวันไดอยางไร ผูเรียนจะเกิดเจตคติ และเห็นคุณคาของตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง

การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนนผูเรียน เปนสําคัญอยางแทจริง เพราะสงเสริมใหผูเรียนไดเรียนรูตามขั้นตอนของกระบวนการสรางความรูดวยตนเอง และ ฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและกระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะชีวิต ทักษะการทํางาน และทักษะการ เรียนรูที่มีประสิทธิภาพ สงผลตอการยกระดับผลสัมฤทธิ์ของผูเรียน ตามเปาหมายของการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คูม อื ครู


O-NET การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ O-NET

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ในแตละหนวยการเรียนรู ทางผูจัดทํา จะเสนอแนะวิธีสอน รูปแบบกิจกรรมการเรียนรู พรอมทั้งออกแบบเครื่องมือวัดและประเมินผลที่สอดคลองกับตัวชี้วัด และสาระการเรียนรูแกนกลางไวทุกขั้นตอน โดยยึดหลักสําคัญ คือ หลักของการวัดและประเมินผล เสร�ม

6

1. การวัดและประเมินผลทุกครั้ง ควรนําผลมาปรับปรุงพัฒนาผูเรียน เปนรายบุคคล

2. การวัดและประเมินผลมี เปาหมาย เพื่อพัฒนาการเรียนรู ของผูเรียนจนเต็มศักยภาพ

3. การนําผลการวัดและประเมินผล ทุกครั้งมาวางแผนปรับปรุงกิจกรรม การเรียนการสอน การเลือกเทคนิค วิธีสอน และสื่อการเรียนรูให เหมาะสมกับสภาพจริงของผูเรียน

การทดสอบผูเรียน 1. การใชขอสอบอัตนัย เนนการอาน การคิดวิเคราะห และการเขียนเพิ่มมากขึ้น 2. การใชคําถามกระตุนการคิดควบคูกับการทําขอสอบที่เนนการคิดอยางตอเนื่องตามลําดับกิจกรรมการเรียนรู และตัวชี้วัด 3. การทดสอบตองดําเนินการทั้งกอนเรียน ระหวางเรียน และหลังเรียน การทดสอบควรใชขอสอบทั้งชนิดปรนัยและ อัตนัย และเปนการทดสอบเพื่อประเมินผลการเรียนของผูเรียนแตละคน เพื่อการสอนซอมเสริมใหบรรลุตัวชี้วัด ไดครบถวน 4. การสอบกลางภาค (ถามี) ควรนําแบบฝกหัดหรือขอสอบทีน่ กั เรียนสวนใหญไมสามารถตอบไดหรือไมครบถวนชัดเจน มา สรางเปนแบบทดสอบอีกครัง้ เพือ่ ตรวจสอบความรูค วามเขาใจทีถ่ กู ตอง และประเมินความกาวหนาของผูเ รียนแตละคน 5. การสอบปลายภาคเรียนเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามตัวชี้วัดที่สําคัญ ควรออกขอสอบใหมีลักษณะเดียวกับ ขอสอบ O-NET โดยเนนการคิดวิเคราะห สังเคราะห เชื่อมโยงประยุกตใช เพื่อสรางความคุนเคย และฝกฝน วิธีการทําขอสอบดวยความมั่นใจ 6. การนําผลการทดสอบของผูเรียนมาวิเคราะห โดยผลการสอบกอนการเรียนตองสามารถพยากรณผลการสอบ กลางภาค และผลการสอบกลางภาคตองทํานายผลการสอบปลายภาคของผูเ รียนแตละคน เพือ่ ประเมินพัฒนาการ ความกาวหนาของผูเรียนเปนรายบุคคล 7. ผลการทดสอบปลายป ปลายภาค ตองมีคาเฉลี่ยสอดคลองกับคาเฉลี่ยของการสอบ NT ที่เขตพื้นที่การศึกษา จัดสอบ รวมทั้งคาเฉลี่ยของการสอบ O-NET ชวงชั้นที่สอดคลองครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดสําคัญ เพือ่ สะทอนประสิทธิภาพของครูผสู อนในการออกแบบการเรียนรูแ ละประกันคุณภาพผูเ รียนทีต่ รวจสอบผลไดชดั เจน การจัดการเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ตองใหผูเรียนไดสั่งสมความรู ความเขาใจตามลําดับขั้นตอน ของกิจกรรมในวัฏจักรการเรียนรู 5Es เพื่อใหผูเรียนไดเติมเต็มองคความรูอยางตอเนื่อง จนสามารถปฏิบัติชิ้นงานหรือ ภาระงานรวบยอดของแตละหนวย ผานเกณฑประกันคุณภาพในระดับที่นาพึงพอใจ เพื่อรองรับการประเมินภายนอกจาก สมศ. ตลอดเวลา คูม อื ครู


ASEAN การเรียนรูสูประชาคมอาเซียน เพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรูบูรณาการอาเซียนศึกษา ผูจัดทําไดวิเคราะห มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดที่มีสาระการเรียนรูสอดคลองกับองคความรูเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนในแงมุมตางๆ ครอบคลุมทัง้ ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน เพื่อสงเสริมการเรียนรูใหผูเรียนเกิดความตระหนัก มีความรูความเขาใจเหมาะสมกับระดับชั้นและกลุมสาระ การเรียนรู โดยเสนอแนะวิธีการจัดกิจกรรมบูรณาการเนื้อหาสาระตางๆ ที่เปนประโยชนตอผูเรียนและเปนการชวย เตรียมความพรอมผูเ รียนทุกคนทีจ่ ะกาวเขาสูก ารเปนสมาชิกของประชาคมอาเซียนไดอยางมัน่ ใจตามขอตกลงปฏิญญา เสร�ม ชะอํา-หัวหิน วาดวยความรวมมือดานการศึกษาเพือ่ บรรลุเปาหมายประชาคมอาเซียนทีเ่ อือ้ อาทรและแบงปน จึงกําหนด 7 เปนนโยบายใหกระทรวงศึกษาธิการจัดการเรียนรูเตรียมความพรอมผูเรียนเขาสูประชาคมอาเซียนภายในป พ.ศ. 2558 ตามแนวปฏิบัติที่สําคัญ ดังนี้

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน 1. การสรางความรูความเขาใจ และตระหนักถึงความสําคัญของ กฎบัตรอาเซียน และความรวมมือ ของ 3 เสาหลัก ซึง่ กฎบัตรอาเซียน ในขณะนี้มีสถานะเปนกฎหมายที่ ประเทศสมาชิกจะตองปฏิบัติตาม หลักการที่กําหนดไวเพื่อใหบรรลุ เปาหมายของกฎบัตรมาตราตางๆ

2. การสงเสริมหลักการ ประชาธิปไตยและการสราง สิ่งแวดลอมประชาธิปไตย เพื่อการอยูรวมกันอยางกลมกลืน ภายใตวิถีชีวิตอาเซียนที่มีความ หลากหลายดานสังคมและ วัฒนธรรม

4. การตระหนักในคุณคาของ สายสัมพันธทางประวัติศาสตร และมรดกทางวัฒนธรรมที่มี พัฒนาการรวมกัน เพื่อเชื่อม อัตลักษณและสรางจิตสํานึก ในการเปนประชากรของประชาคม อาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการศึกษาดาน สิทธิมนุษยชน เพื่อสรางประชาคม อาเซียนใหเปนประชาคมเพื่อ ประชาชนอยางแทจริง สามารถ อยูรวมกันไดบนพื้นฐานการเคารพ ในคุณคาของศักดิ์ศรีแหงความ เปนมนุษยเทาเทียมกัน

5. การสงเสริมสันติภาพ ความ มั่นคง และความปรองดองในสังคม ทั้งระดับประเทศและภูมิภาคของ อาเซียนบนพื้นฐานสันติวิธีและการ อยูรวมกันดวยขันติธรรม

คูม อื ครู


การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

เสร�ม

8

1. การพัฒนาทักษะการทํางาน เพื่อเสริมสรางผูเรียนใหมีทักษะ วิชาชีพที่จําเปนสอดคลองกับ ความตองการของตลาดแรงงาน และสถานประกอบการในอาเซียน สามารถเทียบโอนผลการเรียน และการทํางานตามมาตรฐานฝมือ แรงงานในภูมิภาคอาเซียน

2. การเสริมสรางวินัย ความรับผิดชอบ และเจตคติรักการทํางาน สามารถพึ่งพาตนเอง มีทักษะชีวิต ดํารงชีวิตอยางมีความสุข เห็นคุณคา และภูมิใจในตนเอง ในฐานะที่เปนพลเมืองไทยและ อาเซียน

3. การเรียนรูเพื่อพัฒนาตนเอง อยางตอเนื่องตลอดชีวิต ใหมี ทักษะการทํางานตามมาตรฐาน อาชีพ และคุณวุฒิของวิชาชีพสาขา ตางๆ เพื่อรองรับการเตรียมเคลื่อน ยายแรงงานมีฝมือและการเปน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่ เขมแข็ง เพื่อสรางขีดความสามารถ ในการแขงขันในเวทีโลก

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 1. การเสริมสรางความรวมมือ ในลักษณะสังคมที่เอื้ออาทร ของประชากรอาเซียน โดยยึด หลักการสําคัญ คือ ความงดงาม ของประชาคมอาเซียนมาจาก ความแตกตางและหลากหลายทาง วัฒนธรรมที่ลวนแตมีคุณคาตอ มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน ซึ่งประชาชนทุกคนตองอนุรักษ สืบสานใหยั่งยืน

2. การเสริมสรางคุณลักษณะ ของผูเรียนใหเปนพลเมืองอาเซียน ที่มีศักยภาพในการกาวเขาสู ประชาคมอาเซียนอยางมั่นใจ เปนผูที่มีสุขภาพสมบูรณแข็งแรง มีทักษะการสื่อสาร ทักษะการ ทํางาน ทักษะทางสังคม สามารถ ทํางานรวมกับผูอื่นไดอยาง สรางสรรค และมีองคความรู เกี่ยวกับอาเซียนที่จําเปนตอการ ดํารงชีวิตอยางมีคุณภาพ

4. การสงเสริมการเรียนรูดาน ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี วิถชี วี ติ ความเปนอยูข องเพือ่ นบาน ในอาเซียน เพื่อสรางจิตสํานึกของ ความเปนประชาคมอาเซียนและ ตระหนักถึงหนาที่ของการเปน พลเมืองอาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการเรียนรูภาษา อังกฤษเพื่อการสื่อสารและการ ทํางานตามมาตรฐานอาชีพที่ กําหนดและสนับสนุนการเรียนรู ภาษาอาเซียนและภาษาเพื่อนบาน เพื่อชวยเสริมสรางสัมพันธภาพทาง สังคม และการอยูรวมกันอยางสันติ ทามกลางความหลากหลายทาง วัฒนธรรม

5. การสรางความรูและความ ตระหนักเกี่ยวกับดานสิ่งแวดลอม ปญหาและผลกระทบตอคุณภาพ ชีวิตของประชากรในภูมิภาค รวมทั้งแนวทางการพัฒนาอยาง ยั่งยืน ใหเปนมรดกสืบทอดแก พลเมืองอาเซียนในรุนหลังตอๆ ไป

กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศนโยบายการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) เพื่อเรงพัฒนาเด็ก และเยาวชนไทยใหเปนทรัพยากรมนุษยของชาติที่มีทักษะและความชํานาญ พรอมเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงและ การแขงขันทั้งในภูมิภาคอาเซียนและภูมิภาคอื่นๆ ของสังคมโลก ทั้งนี้ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และผูปกครอง ควรรวมมือกันอยางใกลชิดในการดูแลชวยเหลือผูเรียนและจัดประสบการณการเรียนรูเพื่อพัฒนาผูเรียนจนเต็มศักยภาพ เพื่อกาวเขาสูการเปนพลเมืองอาเซียนอยางมีเกียรติภูมิและศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของตน คณะผูจัดทํา คูม อื ครู


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 1

การงานอาชีพและเทคโนโลยี (เฉพาะชั้น ม.4)*

การดํารงชีวิตและครอบครัว

มาตรฐาน ง 1.1 เขาใจการทํางาน มีความคิดสรางสรรค มีทกั ษะกระบวนการทํางาน ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการ แกปญหา ทักษะการทํางานรวมกัน และทักษะการแสวงหาความรู มีคุณธรรมและลักษณะนิสัยในการ ทํางาน มีจิตสํานึกในการใชพลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดลอม เพื่อการดํารงชีวิตและครอบครัว ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ม.4-6 1. อธิบายวิธีการทํางานเพื่อการ • วิธีการทํางานเพื่อการดํารงชีวิต เปนการทํางานที่ ดํารงชีวิต จําเปนเกี่ยวกับความเปนอยูในชีวิตประจําวัน เชน 2. สรางผลงานอยางมีความคิด การเลือกใช ดูแลรักษาเสื้อผาและเครื่องแตงกาย สรางสรรค และมีทักษะการ • ความคิดสรางสรรคมี 4 ลักษณะ ประกอบดวย ทํางานรวมกัน ความคิดริเริม่ ความคลองในการคิด ความยืดหยุนใน 3. มีทักษะการจัดการในการทํางาน การคิด และความคิดละเอียดลออ 4. มีทักษะกระบวนการแกปญหาใน • ทักษะการทํางานรวมกัน เปนการทํางานกลุม การทํางาน ทํางานรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข ทํางานอยาง 5. มีทักษะในการแสวงหาความรูเพื่อ มีกระบวนการตามขั้นตอนและฝกหลักการทํางาน การดํารงชีวิต กลุม เชน การประดิษฐของใชทเี่ ปนเอกลักษณไทย 6. มีคุณธรรมและลักษณะนิสัยในการ หนาที่และบทบาทของตนเองที่มีตอสมาชิกใน ทํางาน ครอบครัว โรงเรียน และชุมชน 7. ใชพลังงาน ทรัพยากร ในการ • ทักษะการจัดการ เปนการจัดระบบงานและระบบ ทํางานอยางคุมคาและยั่งยืน เพื่อ คน เพื่อใหการทํางานสําเร็จตามเปาหมายอยางมี การอนุรักษสิ่งแวดลอม ประสิทธิภาพ เชน การดูแลรักษา ทําความสะอาด จัดตกแตงบานและโรงเรียน การปลูกพืช ขยาย พันธุพืช หรือเลี้ยงสัตว การบํารุง เก็บรักษาเครื่อง ใชไฟฟา และอุปกรณอํานวยความสะดวกในชีวิต ประจําวัน การดําเนินการทางธุรกิจ • ทักษะกระบวนการแกปญ หาในการทํางาน มีขนั้ ตอน คือ การสังเกต วิเคราะห สรางทางเลือก และ ประเมินทางเลือก เชน การตัดเย็บ และดัดแปลง เสือ้ ผา การเก็บ ถนอม และแปรรูปอาหาร การติดตัง้ ประกอบ ซอมแซมอุปกรณ เครื่องมือ เครื่องใช สิ่งอํานวยความสะดวกในบานและโรงเรียน • ทักษะการแสวงหาความรูเพื่อการดํารงชีวิต ประกอบดวย การศึกษาคนควา รวบรวม สังเกต สํารวจ และบันทึก เชน การดูแลรักษาบาน การเลี้ยงสัตว • คุณธรรมและลักษณะนิสัยในการทํางานเปนการ สรางคุณงามความดี และควรฝกใหผเู รียนมีคณุ ภาพ ที่สําคัญๆ เชน ขยัน อดทน รับผิดชอบ และ ซื่อสัตย • การใชพลังงาน ทรัพยากรอยางคุมคาและยั่งยืน เปนคุณธรรมในการทํางาน

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

เสร�ม

9

• หนวยการเรียนรูที่ 1 หลักการทํางานเพือ่ การดํารง ชีวติ • หนวยการเรียนรูที่ 2 การจัดการในบาน • หนวยการเรียนรูที่ 3 อาหารและโภชนาการ • หนวยการเรียนรูที่ 4 การเพาะปลูกพืช

_________________________________ * สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี. (กรุงเทพมหานคร : ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 6-27.

คูม อื ครู


สาระที่ 2

การออกแบบและเทคโนโลยี

มาตรฐาน ง 2.1 เขาใจเทคโนโลยีและกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสรางสิ่งของเครื่องใช หรือวิธีการตาม กระบวนการเทคโนโลยีอยางมีความคิดสรางสรรค เลือกใชเทคโนโลยีในทางสรางสรรคตอชีวิต สังคม สิ่งแวดลอม และมีสวนรวมในการจัดการเทคโนโลยีที่ยั่งยืน ชั้น

เสร�ม

10

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ม.4-6 1. อธิบายและเชื่อมโยงความ สัมพันธระหวางเทคโนโลยีกับ ศาสตรอื่นๆ

• เทคโนโลยีมีความสัมพันธกับศาสตรอื่นๆ โดย เฉพาะวิทยาศาสตร

2. วิเคราะหระบบเทคโนโลยี

• ระบบเทคโนโลยี ประกอบดวย ตัวปอน (Input) กระบวนการ (Process) ผลลัพธ (Output) ทรัพยากรทางเทคโนโลยี (Resources) ปจจัยที่เอื้อ หรือขัดขวางตอเทคโนโลยี (Consideration) • การวิเคราะหระบบเทคโนโลยีทําใหทราบเกี่ยวกับ ปจจัยในดานตางๆ ที่มีผลตอการแกปญหาหรือ สนองความตองการ

3. สรางและพัฒนาสิ่งของเครื่องใช • การสรางสิง่ ของเครือ่ งใชหรือวิธกี ารตามกระบวนการ หรือวิธีการตามกระบวนการ เทคโนโลยี ทําใหผูเรียนทํางานอยางเปนระบบ เทคโนโลยีอยางปลอดภัย โดย สามารถยอนกลับมาแกไขไดงาย ถายทอดความคิดเปนภาพฉาย • การสรางและพัฒนาสิ่งของเครื่องใชหรือวิธีการตอง และแบบจําลองเพื่อนําไปสูการ อาศัยความรูที่เกี่ยวของอื่นอีก เชน กลไกและการ สรางชิ้นงาน หรือถายทอดความ ควบคุมไฟฟา-อิเล็กทรอนิกส คิดของวิธีการเปนแบบจําลอง • การใชซอฟตแวรชวยในการออกแบบหรือนําเสนอ ความคิดและการรายงานผลโดย ผลงาน มีประโยชนในการชวยรางภาพ ทําภาพ ใชซอฟตแวรชวยในการออกแบบ 2 มิติ และ 3 มิติ หรือนําเสนอผลงาน • การพัฒนาสิ่งของเครื่องใช ตองคํานึงถึงหลักการ วิเคราะหผลิตภัณฑเบื้องตน • หลักการวิเคราะหผลิตภัณฑเบื้องตน เปนการ วิเคราะหจุดมุงหมายของการออกแบบ ประกอบ ดวย ชิ้นงานนี้ใชทําอะไร ทําไมถึงตองมีชิ้นงานนี้ ใครเปนผูใช ใชที่ไหน เมื่อไหรจึงใช วิธีการที่ทําให ชิ้นงานนี้ทํางานไดตามวัตถุประสงคที่กําหนดไว • ภาพฉาย เปนภาพแสดงรายละเอียดของชิ้นงาน ประกอบดวย ภาพดานหนา ดานขาง ดานบน แสดงขนาดและหนวยวัด เพื่อนําไปสรางชิ้นงาน 4. มีความคิดสรางสรรคในการแก • ความคิดสรางสรรค มี 4 ลักษณะ ประกอบดวย ความคิดริเริ่ม ความคลองในการคิด ความยืดหยุน ปญหาหรือสนองความตองการ ในงานที่ผลิตเอง หรือการพัฒนา ในการคิด และความคิดละเอียดลออ ผลิตภัณฑที่ผูอื่นผลิต • ความคิดริเริ่ม จะเปนลักษณะความคิดที่แปลกใหม แตกตางจากความคิดเดิม • ความคิดแปลกใหมที่ได ตองไมละเมิดความคิดผูอ นื่ • ความคิดแปลกใหมเปนการสรางนวัตกรรมที่เปน สวนหนึ่งของทรัพยสินทางปญญา 5. วิเคราะหและเลือกใชเทคโนโลยีที่ • การวิเคราะหผลดี ผลเสีย การประเมิน และการ เหมาะสมกับชีวิตประจําวันอยาง ตัดสินใจเพื่อเลือกใชเทคโนโลยีที่เหมาะสม สรางสรรคตอชีวิต สังคม และ • การเลือกใชสิ่งของเครื่องใชอยางสรางสรรค โดย สิ่งแวดลอม และมีการจัดการ การเลือกสิ่งของเครื่องใชที่เปนมิตรกับชีวิต สังคม เทคโนโลยีที่ยั่งยืนดวยวิธีการของ สิ่งแวดลอม เทคโนโลยีสะอาด • เทคโนโลยีสะอาดเปนเครื่องมือที่ใชในการจัดการใช เทคโนโลยีเพื่อมุงสูการพัฒนาอยางยั่งยืนชนิดหนึ่ง

คูม อื ครู

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• หนวยการเรียนรูที่ 5 ระบบเทคโนโลยี

• หนวยการเรียนรูที่ 6 การสรางสิง่ ของเครือ่ งใช ตามกระบวนการเทคโนโลยี


คําอธิบายรายวิชา รายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 รหัสวิชา ง…………………………………

กลุมสาระการเรียนรู การงานอาชีพและเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 1-2 เวลา 20 ชั่วโมง/ป

ศึกษา วิเคราะหวิธีการทํางานเพื่อการดํารงชีวิต เรียนรูกระบวนการทํางานรวมกันเพื่อสรางผลงาน อยางมีความคิดสรางสรรค มีทักษะการทํางานและกระบวนการแกปญหาที่ดีในการทํางานรวมกัน ทักษะ เสร�ม การจัดการ และทักษะการแสวงหาความรู เพื่อการดํารงชีวิตอยางมีคุณภาพ มีคุณธรรมและลักษณะนิสัยที่ดี 11 ในการทํางาน ศึกษา วิเคราะหระบบเทคโนโลยีเชื่อมโยงความสัมพันธระหวางเทคโนโลยีกับศาสตรอื่นๆ สรางและ พัฒนาสิ่งของเครื่องใชตามกระบวนการเทคโนโลยีอยางปลอดภัย ถายทอดความคิดเปนภาพฉายและแบบ จําลอง เพื่อนําไปสูการสรางสรรคชิ้นงานและใชซอฟตแวรในการนําเสนอผลงาน โดยใชกระบวนการปฏิบัติ กระบวนการแกปญหา และทักษะการทํางานรวมกัน เพื่อใหเกิดความตระหนัก และเห็นคุณคาของการทํางาน สามารถนําความรูไปประยุกตใชในชีวิต ประจําวัน มีความสามารถในการตัดสินใจ มีจิตสํานึกในการใชพลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดลอม ตัวชี้วัด ง 1.1 ง 2.1

ม.4-6/1

ม.4-6/2

ม.4-6/3

ม.4-6/4

ม.4-6/5

ม.4-6/1

ม.4-6/2

ม.4-6/3

ม.4-6/4

ม.4-6/5

ม.4-6/6

ม.4-6/7

รวม 12 ตัวชี้วัด

คูม อื ครู


ตาราง

วิเคราะหมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั รายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.4

คําชี้แจง : ใหผูสอนใชตารางนี้ตรวจสอบความสอดคลองของเนื้อหาสาระการเรียนรูในหนวยการเรียนรูกับมาตรฐาน การเรียนรูและตัวชี้วัดชวงชั้น เสร�ม

12

มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัด

สาระที่ 2 มาตรฐาน ง 2.1

ตัวชี้วัด

ตัวชี้วัด

หนวยการเรียนรู

1

2

3

4

5

6

7

หนวยการเรียนรูที่ 1 : หลักการทํางานเพื่อการดํารงชีวิต

หนวยการเรียนรูที่ 2 : การจัดการในบาน

หนวยการเรียนรูที่ 3 : อาหารและโภชนาการ

หนวยการเรียนรูที่ 4 : การเพาะปลูกพืช

หนวยการเรียนรูที่ 5 : ระบบเทคโนโลยี หนวยการเรียนรูที่ 6 : การสรางสิ�งของเครื่องใช ตามกระบวนการเทคโนโลยี

คูม อื ครู

สาระที่ 1 มาตรฐาน ง 1.1 1

2

3

4

5


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹

การงานอาชีพ และเทคโนโลยี ม.๔ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔

กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

ผูเรียบเรียง

นายมนตรี สมไรขิง ผศ. เพ็ญพร ประมวลสุข นายปญญา สังขภิรมย นางวรรณี วงศพานิชย นายสุวัฏ สอนจันทร นางศิริรัตน ฉัตรศิขรินทร

ผูตรวจ

รศ. สมทรง สีตลายัน ผศ. โสภาพรรณ อมตะเดชะ นายบุญชู เจนคุณาวัฒน

บรรณาธิการ

นายสมเกียรติ ภูระหงษ พิมพครั้งที่ ๗

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ ISBN : 978-616-203-091-8 รหัสสินคา ๓๔๑๗๐๐๕

¤Œ¹¤ÇÒÁÃÙŒ¢ÂÒ¤ÇÒÁ¤Ô´¨Ò¡

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè 1 ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ 3447005

EB GUIDE

ที่พิมพกํากับหัวขอสําคัญในหนังสือเรียนหลักสูตรแกนกลางฯ ผาน www.aksorn.com ไปยังแหลงความรูทั่วไทย-ทั่วโลก

( ดูผงั มโนทัศนไดทปี่ กหลังดานใน)

คณะผูจัดทําคูมือครู วรรณี วงศพานิชย สุวัฏ สอนจันทร


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Explain

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

¤íÒá¹Ð¹íÒ㹡ÒÃ㪌¤íËÒ¹í¹ÑÒ§Ê×ÍàÃÕ¹

หนั ง สื อ เรี ย น รายวิ ช าพื้ น ฐาน การงานอาชี พ และเทคโนโลยี เ ล ม นี้ สร า งขึ้ น เพื่ อ ให เ ป น สื่ อ มสาระการเรียนรู พและเทคโนโลยี เปนกลุพและเทคโนโลยี มสาระที่ชวย สําหรับใชประกอบการเรีกลุ ยนการสอนในรายวิ ชาพืก้นารงานอาชี ฐาน กลุมสาระการเรี ยนรูการงานอาชี ชัน้ มัธยมศึกษาปที่พั๔ฒนาใหผูเรียนมีความรู ความเขาใจ มีทักษะพื้นฐานที่จําเปนตอการดํารงชีวิต เ ทาทันการเปลีย่ ยนแปลง สามารถนํ าความรู วกับการดํ การอาชี โดยเนือ้ และรู หาตรงตามสาระการเรี นรูแ กนกลางขั น้ พืน้ ฐาน อานทํเ กีาย่ ความเข าใจงาายรงชีใหวทติ งั้ ความรู แ ละพ และเทคโนโลยี ใชในการทํงาออกเป งานอยนาหนงมีวคยการเรี วามคิยดนรูสรตาามโครงสร งสรรคและแข งขัชนา ชวยพัฒนาผูเรียนตามหลั กสูตรและตัมาประยุ วชี้วัด เนืกต้อหาสาระแบ างรายวิ ในสัยงนการสอนและการวั คมไทยและสากลดผลประเมิ เห็นแนวทางในการประกอบอาชี างาน สะดวกแกการจัดการเรี นผล พรอมเสริมองคประกอบอืพน่ ๆรักทีการทํ จ่ ะชวยทํ าใหผเูและ รียน จตคติ ี่ดีตอการทํางาน สามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมไดอยางพอเพียงและ ไดรบั ความรูอ ยางมีมีปเระสิ ทธิภทาพ à¹×éÍËҵçµÒÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹Ãٌ᡹¡ÅÒ§

à¡Ãç´¹‹ÒÃÙŒà¾ÔèÁàµÔÁ¨Ò¡à¹×éÍËÒ ŒáÅÐàÍ×é͵‹Í¡ÒùíÒä»ãªŒÊ͹à¾×èÍ มีความสุà¡ÃÔขè¹¹íÒà¾×èÍãˌࢌÒ㨶֧ÊÒÃÐÊíÒ¤ÑÞ ãËŒãËŒ¤ºÇÒÁÃÙ ÁÕá·Ã¡à»š¹ÃÐÂÐæ ÃÃÅصÑǪÕéÇÑ´ áÅÐÊÌҧ¤Ø³ÅѡɳРÍѹ¾Ö§»ÃÐʧ¤ ã¹Ë¹‹ Ç Â·Õ ¨ è ÐàÃÕ Â ¹ สําหรับหนังสือเรียนที่ใชประกอบการเรียนการสอนสําหรับผูเ รียนในระดับชัน้ มัธยมศึกษาปที่ ๔ (ม.๔) กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี จะจัด ทําแยกออกเปน ๒ เลมดวยกัน กลาวคือ แยกเปนการงานอาชีพและเทคโนโลยี เลมหนึ�ง (ซึ�งจะกลาวถึงสาระที่ ๑ การดํารงชีวิตและครอบครัว สาระที่ ๒ การออกแบบและเทคโนโลยี) และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารอีกเลมหนึง� (ซึ�งเลมหลังน�้จะเนนหนักสาระที่ ๓ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร) ทั้งน�้ ครูผูสอนและสถานศึกษาพึงใชควบคูกัน เพื่อประสิทธิภาพในการเรียนการสอน ñ หลักการทํางาน และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีของผูเรียน เพื่อการดํา รงชีวิต โดยเลมการงานอาชีพและเทคโนโลยี จะเปนสาระเกี่ยวกับกระบวนการ ทํ า งานในชี วิ ต ประจํ า วั น เพื่ อ ช ว ยเหลื อ ตนเอง ครอบครั ว และสั ง คมได ใ น µÑǪÕÇé ´Ñ áÅÐÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙጠ¡¹¡ÅÒ§ µÒÁ·ÕËè ÅÑ¡Êٵà สภาพเศรษฐกิ จที่พอเพียง ไมทําลายสิ�งแวดลอม เนนการปฏิบัติจริง จนเกิด ¡íÒ˹´ à¾×èÍãËŒ·ÃÒº¶Ö§à»‡ÒËÁÒÂ㹡ÒÃÈÖ¡ÉÒ ความมัน� ใจและภูมิใàÊÃÔจในผลสํ าเร็จของงาน เพื่อใหคน พบความสามารถ ความถนัด Design ˹ŒÒẺãËÁ‹ ÊǧÒÁ ¾ÔÁ¾ ô ÊÕ ÁÊÒÃШҡà¹×éÍËҹ͡à˹×ͨҡ µÅÍ´àÅ‹Á ª‹ÇÂãˌ͋ҹ·íÒ¤ÇÒÁࢌÒความสนใจตนเอง 㨧‹Ò ·ÕèÁÕã¹ÊÒÃСÒÃàÃÕ Â¹Ãٌ᡹¡ÅÒ§ à¾×Íè ¡Ô¨¡ÃÃÁÊÌҧÊÃä ¹ÃÙŒ างสรรค และการนํ าการออกแบบและเทคโนโลยี มาใช¾Ñ²ไ¹Ò¡ÒÃàÃÕ ดอยาÂงสร à¾ÔèÁ¾Ù¹áÅТÂÒ¾ÃÁá´¹¤ÇÒÁÃÙŒãËŒ à¾×è;Ѳ¹Ò¼ÙŒàÃÕ¹ãËŒÁդسÀÒ¾µÒÁµÑǪÕéÇÑ´ ¡ÇŒÒ§¢ÇÒ§ÍÍ¡ä» ในการสรางสิ�งของเครื ่องใช เพื่อเพิ�มประสิทธิภาพในการดํารงชีวิต ภายในเลมไดจัดแบงเน�้อหาแยกเปนหนวยการเรียนรู มีเน�้อหาที่สอดคลอง อาหาร กับสาระการเรียนรูแกนกลาง รวมทั้งมีระดับความยากงายและจํานวนเน�้อหาที่ เหมาะสมกับเวลาเรียน ทั้งน�้ทางคณะผูเรียบเรียงหวังเปนอยางยิ�งวาหนังสือเรียน การงานอาชีพและเทคโนโลยีเลมน�้ จะเปนประโยชนอยางยิ�งตอการนําไปใช ประกอบการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษาทุกแหง ชวยใหผูเรียนไดรับ ความรู มีทักษะ และคุณลักษณะอันพึงประสงค ตลอดจนบรรลุตัวชี้วัดตามที่ หลักสูตรแกนกลางฯ ไดกําหนดไวทุกประการ ¨Ñ´¡ÅØ‹Áà¹×éÍËÒ໚¹Ë¹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ Êдǡᡋ¡ÒèѴ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹

๔) การถนอมอาหารโดยการ

ใชอุณหภูมิตํ่า ชวยปองกันไมใหอาหารเสี แชแข็ง การแชแข็งเปนการถนอมอาหารโดยการ ย โดยการควบคุมจุลินทรียและแบคท ีเรีย เจริญเติบโตได นิยมใชกับอาหารสด อาหารที่ปรุงสุกแลว และบรรจุภัณฑ ไมใหสามารถ พรอมจําหนาย ซึ่ง ผูบ ริโภคซือ้ แลวสามารถนาํ ไปอุน กอนรั บประทาน จะมีราคาสูง เพราะชวยประหยัดเวลาและ ในปจจุบนั เปนทีน่ ยิ มกันอยางแพรหลายถึงแมวา แรงงานในการประกอบอาหาร นอกจาก แชแข็งจะสดและมีรสชาติดีกวาอาหารบ นี้ อาหาร รรจุกระปอง ๕) การถนอมอาหารโดยใชสารปรุง แตงอาหาร การใชสารปรุงแตงอาหารเป การถนอมอาหารเพื่อหยุดยั้งการเปลี น ่ยนแปลงการทํางานของเอนไซมหรือ ปฏิ กิริยาทางเคมี ทําให เก็บรักษาอาหารไดนานขึ้น หรือเพื่อ ตกแตงอาหาร สําหรับสารปรุงแตงที ่นิยมใสในอาหาร มีดังนี้

การแปรรูปอาหารมีความสําคัญ ดังนี้

๑ ชวยประหยัดงบประมาณในการจัดซื้ออาหารใหม

ปใหม

๒ ชวยประหยัดทรัพยากร ไมทิ้งของเหลือโดยนํามาแปรรู

ใหม ทําใหผูรับประทานอาหาร

๓ ทําใหไดอาหารที่มีลักษณะแตกตางไปจากเดิม ไดรสชาติ ไมเบื่อ

ตวหรือผักสด

๔ ไดคุณคาทางโภชนาการเพิ่มขึ้นจากการเพิ่มเติมเนื้อสั

การถนอมอาหารโดยใชความเย็

ใหไดอาหารชนิดใหม

๕ ทําใหเกิดความคิดสรางสรรคในการแปรรูปอาหารเพื่อ

การใหความเย็น (Refrigeration) หมายถึ ง กรรมวิธีการกําจัด ความรอนออกจากสิ่งของหรือพื้นที่ที่ตอ งการทํ ใหมีอุณหภูมิลดลง ซึ่งสามารถทําไดหลายวิ าใหเย็น หรือตองการ ธี ดังนี ๑. การใชนํ้าแข็ง จะทําใหอุณหภูมิข ้ รวดเร็ว เหมาะสําหรับการแชอาหารทะเล องอาหารลดลงอยาง สามารถเก ็บไวไดนาน ประมาณ ๑ สัปดาห

กาล เปนตน

๖ ชวยถนอมอาหารบางประเภท เชน ผัก ผลไม ที่มีมากตามฤดู

อง เปนตน

๗ ชวยเพิ่มมูลคาและรายได เชน การทํากลวยกวน สับปะรดกระป

การทํา ทํางานที่จํา งานเพื่อการดํารงชีว ประจําวัน มี เปนเกี่ยวกับความเปน ิตเปนการ ตนเอง ชวยเหทงั้ งานทีท่ าํ เพือ่ เปนการอยูในชีวิต ทีท่ าํ เปนอาช ลือผูอ นื่ ชวยเหลือสังคมชวยเหลือ ทั้งในครอบ พี สําหรับการทํางานของ และงาน ตองใชความ ครัวและในโรงเรียน นักเรียน กระบวนการรู ความสามารถ วิธีก จําเปนจะ ผลสําเร็จและทํางานตางๆ เพื่อให าร ทักษะ งานบรรลุ มีคุณภาพ

หนวยการเรีย

นรู

ตัวชี้วัด

อธิบายวิธีการทํ สรางผลงานอย างานเพื่อการดํารงชีวิต (ง (ง ๑.๑ ม.๔-๖ างมีความคิดสรางสรรค ๑.๑ ม.๔-๖/๑) และมีทักษะการ /๒) มีทักษะการจั ทํางานรวมกั ดการในการทํา น มีทักษะกระบวนก งาน (ง ๑.๑ มีทักษะการแสวงหารแกปญหาในการทํา ม.๔-๖/๓) งาน (ง ๑.๑ าความรู มีคุณธรรมแ ม.๔-๖/๔) ละลักษณะน เพื่อการดํารงชีวิต (ง ๑.๑ ิสัยในการทํา ใชพลังงาน งาน (ง ๑.๑ ม.๔-๖/๕) ทรัพยากรในการท ม.๔-๖ สิ่งแวดลอม (ง ๑.๑ ม.๔-๖ ํางานอยางคุมคาและยั่ง /๖) /๗) ยืน เพื่อการอน ุรักษ

สาระการเรี

างๆ ดังนี้

ในการแปรรูปอาหาร จําเปนตองคํานึงถึงหลักการต

๒. การใชสารผสมแชแข็ง โดยการใช เกลือแกงหรือเกลืออนินทรียอื่นๆ เหมาะสํนํ้าแข็งผสมกับ รักษาปลาสด อาหารแชแข็งที่บรรจุในภาชนะสาหรับการเก็บ ําหรั ๓. การใชนํ้าแข็งแหง นํ้าแข็งแหง คือ บขนสง ออกไซดที่เย็นจนแข็ง เหมาะสําหรับการเก็ คารบอนไดบรักษาอาหาร ที่ผานการแชแข็งมาแลว ๔. การใชไนโตรเจนเหลว ไนโตรเจนเหลวจะทํ าให อาหารเย็นลงไดอยางรวดเร็ว เพราะเป นแกส อันตรายตออาหารและผูบริโภค เหมาะสํ เฉื่อยที่ไมเปน าหรั อาหารกึ่งสําเร็จรูปและอาหารสําเร็จรูปแทบทุ บการแชแข็ง กชนิด ๕. การใชเครื่องทําความเย็น ไดแก ทั่วไปตามบานเรือน ซึ่งจะมีชองทําความเย็ ตูเย็นที่ใชกัน นแยกสวนกัน โดยมีชองเก็บอาหาร ชองเก็บผักสด

๑ อาหารทีน่ าํ มาใชแปรรูปตองอยูใ นสภาพดี

๒ เมื่อแปรรูปแลวจะไดอาหารใหมที่มี

รสชาติ ลักษณะแตกตางไปจากอาหารเดิม มองดูนารับประทาน

๓ คุณคาทางโภชนาการของอาหารทแี่ ปรรูป ตองไมสูญเสียมาก

๔.๒ หลักการแปรรูปอาหาร

ยนรูแกนก

๔ ตองไมนาํ สารปรุงแตงอาหารทีใ่ หโทษ

ลาง ความสําคัญ ของกา หลักการทํางานเพ รทํางาน ื่อการดํารงชี วิต

มาใชในการแปรรูป

à¡Ãç´¹‹ÒÃÙŒ

ผลไมแปรรูปสามารถเก็บไวรับประทานไดนานโดย ยังคงคุณคาทางอาหาร

๕ สามารถนําไปรับประทาน จัดเลี้ยง หรือจําหนายได

๖๔

๕๗

๒. วิธีการเลือกซื้ออาหารประเภทตางๆ

แก อาหารสด อาหารแหง โดยทัว่ ไปอาหารทีใ่ ชในครอบครัวสามารถแบงออกเปน ๔ ประเภท ได อกซื้อใหถูกตอง ดังนี้ อาหารสําเร็จรูป และอาหารกระปองหรืออาหารบรรจุขวด ซึ่งควรเลื การรับรอง ๑) การเลือกซื้อเนื้อสัตว ควรเลือกซื้อจากรานที่ผานการตรวจและไดรับ เชื้อมาสู อโรคที่สามารถแพร จากสัตวแพทยที่ตรวจสอบสัตวนั้นกอนฆาวาไมเปนโรคติดตอ หรื าตรฐาน ม ด ไ ม ไ ่ ดที แผงลอยในตลา อ งถนนหรื า นข า ตามร อ ้ ผูบริโภคได ไมควรเลือกซื ้อสัตวจําหนาย ปจจุบันหางสรรพสินคาหรือรานคาบางแหงจะแลสวนตางๆ ของเนื บริโภค ซึ่งวิธีการนี้ เพื่อใหเกิดความสะดวกในการนําไปประกอบอาหารตามความตองการของผู หากเนื้อสัตวนั้นไมถูกสุขลักษณะ จะทําใหเกิดอันตรายตอผูบริโภคได การเลือกซื้อเนื้อสัตวประเภทตางๆ ควรเลือก ดังนี้ ประเภทของเนื้อสัตว

เนื้อหมู

เนื้อควาย เนื้อวัว ปลา ไก

หอย กุง

http://www.aksorn.com/LC/Car/M4/08

วิธีการพิจารณาเลือกซื้อ

มีสีชมพู มันสีขาว ถาเปนสามชั้น มันระหวางหนังกับเนื้อ จะตองไมหนามาก มีสีแดงสด มันสีขาว เสนเนื้อหยาบ ราคาถูกกวาเนื้อวัว

มีสีแดง มันสีเหลือง เสนเนื้อเล็กละเอียด นุมกวาเนื้อควาย ตาใส เหงือกแดง เนื้อไมเละ ถาเปนปลาชนิดมีเกล็ด เกล็ดตองติดแนน ไมมีรอยเขียวชํ้าตามคอ หรือทอง และบริเวณอื่นๆ

เสริมสาระ

ãºÁͺËÁÒ§ҹ·Õè

ò.ñ

เรื่อง การดูแลรักษาบาน

่ผูบริโภค ษา ่องสําคัญทีาเสียเร็ว รนับเปนเรื เน พของอาหาูกวิธี จะทําใหอาหารนตรายตอ ษาคุณภา ถ อั การเก็บรักราะหากเก็บรักษาไม เสียก็จะกอใหเกิด ตละประเภท า รแ ี่เน งเพ ควรคํานึงถึ บประทานอาหารท ับการเก็บรักษาอาหา และการรั ผูบริโภคได สําหร ไปนี้ สุขภาพของ แตกตางกัน ดังตอ บ จะมีวิธีการ ชิ้นเล็กๆ เก็

คําชี้แจง ใหนักเรียนปฏิบัติกิจกรรมเปนรายบุคคลโดยเขียนตอบและปฏิบัติงานตามที่กําหนด

การเก็บรัก

าที่บาน หั่นเปน แลวนํามา บไวในตูเย็น แตถ รสด เชน ผักชี เก็ กษาอาหา าดทั้งกอน ดวยก นไวในที่ที่มีอ แลวลางนํ้าให ํ้าในกะละมัง กั หากจะเกบ็ น ขว ติกหรือหอ ใสถุงพลาส ก็ใหนําเนื้อสัตวไปแอกผักสวนที่เนาทิ้ง ใหเอาโคนผักแช ม ลี มโกรกแรงมากนางดวยนํ้าสะอาด ไมมีตูเย็น กและผลไม ใหเลื น สวนผักที่ไมมีรากก วางไวในทรี่ ม และไม งเล็กนอย แลวล วนําถุงผักไปเก็บ ผั ในนํ้าเย็ ไว พรมนาํ้ พอเปย อาดผสมเกลือแก อากาศถายเท แล สะ แชรากผัก ห ั น ผักบุง ให หมาดคลมุ ยอดผกี่เนาทิ้ง แชผักในนํ้า ุงพลาสติกที่เจาะรูใ เปลือกกอ มที่ตองปอก ชุบนํา้ บิดพอ ใหเลือกผักสวนท ็ดนํ้า เก็บผักใสในถ อกจากผลไ ไวในตูเย็น กนั้นทิ้งผักใหสะเด ทั้งเปลือกอ ับประทาน อีกครั้ง จา ็บผักในตูเย็น บผลไมที่ร วามชื้น เก็ ยก งเก แ  อ  ที่ ไวในช หรับผลไม ให นที่เย็นและมีค ในภาชนะ สํา บไวใ แลวเก็บไว และควรเก็ นครั้งคราว รับประทาน ากแดดเป าหาร ง นะออกมาต ะถาหากอ ายเท แล ย ใหนําไปทิ้ง ษาอาหารแหาวที่บรรจุอยูในภาช ถ ก รั าศ บ ็ าก รเก อ ี ะม าเสี ๒. กา ขาวสาร ใหนําข งและแมลง งแดด แล ่อไมให ะปองอาจเน นละออ ไวในที่แหง ไมถูกแส วาอาหารขางในกร ที่มีอากาศถายเทเพืม หอม ง ่อปองกันฝุ ็บ ย ปดสนิทเพื รกระปอง ควรเก ือกระปองบวม แสดง ง ใหเก็บไวในที่โปร ฝาปด สวนกระเที อาหา กุนเชีย สนิม หร ที่แหง มี รั่ว แตก มี ปลาเค็ม ปลาสลิด ง ใหเก็บไวในขวด อย ร ี งม อ  กระป ง กุงแห ง เชน อาหารแห นพริกไทย พริกแห ีอากาศถายเท ถาเป และม เกิดเชื้อรา นที่แหง ไมเปยกชื้น ใหเก็บไวใ

๑. ในการวางแผนการทํางานบานควรมีขนั้ ตอนในการทํางานอยางไร จงสรุปเปนขอๆ ตามความเขาใจ ๒. ใหนักเรียนสํารวจงานที่ตนเองรับผิดชอบและงานกิจวัตรสวนตัว แลวนํามาจัด ตารางการทํางานประจําวันอยางครบถวนทั้ง ๗ วัน ๓. ใหนักเรียนวางแผนปฏิบัติงานทําความสะอาดบานของตนเอง โดยเลือกเครื่องมือ อุปกรณ ใหเหมาะสมกับงาน ตามรายการทําความสะอาดตอไปนี้ เพดาน หองนอน หองนํ​ํ้า ทําความสะอาดเครื่องใชในบานของตนเอง ๔. เขียนรายงานการปฏิบัติงานตามแบบแผนที่กําหนด ๕. ใหบันทึกภาพขณะทํางานเพื่อเปนหลักฐานหรือขอความรวมมือจากผูปกครอง และใหลงชื่อในแบบรายงาน เพื่อรับรองการทํางาน

ะอ าง ักที่มีราก ดวก กนั้นนําไป ๑. การเกเนื็บ้อรัสัตว ควรลางใหสระด าษไข จา ากาศถายเทสะ สะอาด โดยผ แลวใชผาขาวบ

● ● ●

เลือกที่ยังไมตาย เปลือกหอยจะอาหุบเองได

หัวติดกับลําตัว เปลือกสีเขียวแกมนํ้าเงิน หางไมแดง หรือ มีรอยคลํ้า ไมมีกลิ่นเหม็น

EB GUIDE ๔๕

Web Guide á¹Ð¹íÒáËÅ‹§¤Œ¹¤ÇŒÒ¢ŒÍÁÙÅ à¾ÔèÁàµÔÁ¼‹Ò¹Ãкº Online

๔๗

๔๑

คณะผูเรียบเรียง


กระตุน ความสนใจ Engage

หน่วยการเรียนรู้ที่

หน่วยการเรียนรู้ที่

หน่วยการเรียนรู้ที่

หน่วยการเรียนรู้ที่

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ÊÒúÑÞ

ñ

ËÅÑ¡¡Ò÷íÒ§Ò¹à¾×èÍ¡ÒôíÒçªÕÇÔµ

๑-ø

ความส�าคัญของการท�างานเพื่อการด�ารงชีวิต หลักการท�างานเพื่อการด�ารงชีวิต

๒ ๔

ò

¡ÒèѴ¡ÒÃ㹺ŒÒ¹

ó

ÍÒËÒÃáÅÐâÀª¹Ò¡ÒÃ

ô

● ●

๙-๔ò

การจัดการด้านการวางแผนการท�างานและการใชัทรัพยากรในบ้าน ๑๐ อุปกร³์ เครื่องมือเครื่องใช้ในการท�าความสะอาดบ้าน ๑๖ ● การท�าความสะอาดบ้าน ๒๓ ● ความปลอดภัยในการท�างานบ้าน ๓๑ ● การจัดตกแต่งบ้านและบริเว³บ้าน ๓๔ ● ●

หลักการเลือก«ื้ออาหาร วิธีการเลือก«ื้ออาหารประเภทต่างๆ ● การเตรียมและการปรุงอาหาร ● การแปรรูปอาหาร ● การ¶นอมอาหาร ● ●

¡ÒÃà¾ÒлÅÙ¡¾×ª ป˜จจัยที่เกี่ยวข้องกับการปลูกพืช ป˜จจัยที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตของพืช ´Ô¹ น�้า อุ³หภูมิ แสงสว่าง อากาศ ธาตุอาหาร ● การเตรียมเครื่องมือและอุปกร³์ในการปลูกพืช ● การเตรียมพันธุ์พืช ● การเตรียมดินปลูกพืช ● ●

๔๓-÷๐ ๔๔ ๔๕ ๔๘ ๕๖ ๕๙

÷๑-๙ø ÷๒ ÷๓ ÷๓ ๗๖ ๗๗ ๗๘ ๘๑ ๘๒ ๘๓ ๘๖ ๙๑


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ระบบเทคโนโลยี

Explore

หน่วยการเรียนรู้ที่

หน่วยการเรียนรู้ที่

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยี ความเป็นมาของเทคโนโลยี ความหมายของเทคโนโลยี ความส�าคัญของเทคโนโลยี จุดมุ่งหมายของการใช้เทคโนโลยี ● ประโยชน์ที่ได้รับจากการใช้เทคโนโลยี ● ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่นๆ ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับวิทยาศาสตร์ ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับการงานอาชีพ ● การวิเคราะห์ระบบเทคโนโลยี ความหมายของการวิเคราะห์ระบบเทคโนโลยี ความส�าคัญของการวิเคราะห์ระบบเทคโนโลยี องค์ประกอบของระบบเทคโนโลยี ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิเคราะห์ระบบเทคโนโลยี ●

Evaluate

๙๙-๑๑๔ ๑๐๐ ๑๐๐ ๑๐๑ ๑๐๒ ๑๐๒ ๑๐๓ ๑๐๔ ๑๐๕ ๑๐๖ ๑๐๘ ๑๐๘ ๑๐๙ ๑๑๐ ๑๑๓

การสร้างสิ่งของเครื่องใช้ตามกระบวนการ เทคโนโลยี ๑๑๕-๑๓๙ กระบวนการเทคโนโลยี ความหมายและความส�าคัญของกระบวนการเทคโนโลยี ประโยชน์ของกระบวนการเทคโนโลยี การวิเคราะห์ขั้นตอนกระบวนการเทคโนโลยี ● การออกแบบเทคโนโลยี ความหมายและความส�าคัญของการออกแบบเทคโนโลยี ประโยชน์ที่ได้รับจากการออกแบบเทคโนโลยี หลักการเขียนภาพ ๓ มิติ ● การสร้างหุ่นจ�าลอง ความหมายและประเภทของหุ่นจ�าลอง ความส�าคัญและหลักการในการสร้างหุ่นจ�าลอง ประโยชน์ที่ได้รับจากการสร้างหุ่นจ�าลอง ● การสร้างชิ้นงานจากหุ่นจ�าลอง ● การน�าเสนอผลงานด้วยโปรแกรม Microsoft PowerPoint

๑๑๖ ๑๑๖ ๑๑๗ ๑๑๗ ๑๒๑ ๑๒๒ ๑๒๓ ๑๒๔ ๑๓๒ ๑๓๓ ๑๓๔ ๑๓๔ ๑๓๔ ๑๓๖

บรรณานุกรม

๑๔๐


กระตุน ความสนใจ กระตุEngage นความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

เปาหมายการเรียนรู

1. อธิบายความสําคัญของการทํางานเพื่อ การดํารงชีวิตได และมีทักษะกระบวนการ แกปญหาในการทํางานได 2. อธิบายหลักการทํางานเพื่อการดํารงชีวิตได 3. ใชทักษะกระบวนการตางๆในการทํางาน ไดอยางเหมาะสม เชน ทักษะการแสวงหา ความรู ทักษะการทํางานรวมกัน ทักษะ การแกปญ  หา ทักษะการจัดการงาน เปนตน 4. ใชทรัพยากรในการทํางานอยางมีคุณคาและ ยั่งยืนเพื่ออนุรักษสิ่งแวดลอม

สมรรถนะของผูเรียน 1. ความสามารถในการแกปญหา 2. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต 3. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี การท�างานเพื่อการด�ารงชีวิตเป็นการ ท�างานที่จ�าเป็นเกี่ยวกับความเป็นอยู่ในชีวิต ประจ�าวัน มีทงั้ งานทีท่ า� เพือ่ เป็นการช่วยเหลือ ตนเอง ช่วยเหลือผูอ้ นื่ ช่วยเหลือสังคม และงาน ทีท่ า� เป็นอาชีพ ส�าหรับการท�างานของนักเรียน ทั้งในครอบครัวและในโรงเรียน จ�าเป็นจะ ต้องใช้ความรู้ ความสามารถ วิธีการ ทักษะ กระบวนการท�างานต่างๆ เพื่อให้งานบรรลุ ผลส�าเร็จและมีคุณภาพ

ñ หลักการทํางานเพื่อการดํารงชีวิต

หน่วยการเรียนรู้

ตัวชี้วัด

■ ■

■ ■ ■ ■ ■

อธิบายวิธีการท�างานเพื่อการด�ารงชีวิต (ง ๑.๑ ม.๔-๖/๑) สร้างผลงานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์และมีทักษะการท�างานร่วมกัน (ง ๑.๑ ม.๔-๖/๒) มีทักษะการจัดการในการท�างาน (ง ๑.๑ ม.๔-๖/๓) มีทักษะกระบวนการแก้ปญหาในการท�างาน (ง ๑.๑ ม.๔-๖/๔) มีทักษะการแสวงหาความรู้เพื่อการด�ารงชีวิต (ง ๑.๑ ม.๔-๖/๕) มีคุณธรรมและลักษณะนิสัยในการท�างาน (ง ๑.๑ ม.๔-๖/๖) ใช้พลังงาน ทรัพยากรในการท�างานอย่างคุ้มค่าและยั่งยืน เพื่อการอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม (ง ๑.๑ ม.๔-๖/๗)

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

■ ■

ความส�าคัญของการท�างาน หลักการท�างานเพื่อการด�ารงชีวิต

คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. ซื่อสัตยสุจริต 2. มีวินัย 3. มุงมันในการทํางาน 4. มีจิตสาธารณะ

กระตุน ความสนใจ

Engage

ครูสนทนากับนักเรียนถึงความสําคัญของการ ทํางานเพื่อการดํารงชีวิต และวิธีการทํางานให ประสบความสําเร็จครูใหนักเรียนดูภาพหนาหนวย จากนั้นครูถามคําถาม • นักเรียนมีวิธีการทํางานอยางไร เพื่อให งานนั้นประสบความสําเร็จ

เกร็ดแนะครู ครูควรจัดการเรียนรูเพื่อใหนักเรียนมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับวิธีการทํางาน เพื่อการดํารงชีวิต มีทักษะการจัดการในการทํางาน รูจักวิธีการแกไขปญหาที่เกิด จากการทํางาน แสวงหาความรูเพิ่มเติมจากแหลงตางๆ เพื่อใหเกิดประสบการณ มีคุณธรรมตอการทํางาน และใชทรัพยากรพลังงานในการทํางานอยางคุมคาและ ยั่งยืน และมีจิตสํานึกถึงสิ่งแวดลอม โดยครูใชกระบวนการ ดังตอไปนี้ • ใหนักเรียนตอบคําถาม เพื่อใหนักเรียนเกิดความรูความเขาใจถึงหลักการ ทํางาน และทักษะในการทํางานเพื่อการดํารงชีวิต • ใหนักเรียนทํางานกลุม เพื่อใหนักเรียนฝกลักษณะนิสัยที่ดีในการทํางานรวม กับผูอื่น และรูจักแกปญหาในการทํางานอยางเปนขั้นตอน • ใหนักเรียนวิเคราะหปญหาจากการทํางาน เพื่อใหนักเรียนคนหาแนวทาง ในการแกไขปญหาอยางถูกวิธี

คูมือครู

1


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา Exploreนหา สํารวจค

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุEngage นความสนใจ

กระตุน ความสนใจ

Engage

ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับการทํางาน โดยการตั้งคําถามกระตุนความสนใจ • ในแตละวันนักเรียนทํางานอะไรบาง (แนวตอบ ทํางานที่บาน เชน วันจันทร-ศุกร กวาดบาน ถูบาน ซักผา หุงขาว ทําอาหาร ทํางานพิเศษ เปนตน สวนวันเสาร-อาทิตย ทําการบาน) • จากการทํางานในแตละวันดังที่กลาวมาแลว นักเรียนคิดวามีประโยชนตอนักเรียนอยางไร (แนวตอบ ชวยแบงเบาภาระของพอแม ฝกนิสัย รักการทํางานของนักเรียน ฝกใหรูจักมีความ รับผิดชอบ มีวินัย มีความอดทน และทําใหเกิดความภาคภูมิใจ เปนตน)

สํารวจคนหา

๑. ความสําคัญของการทํางานเพื่อการดํารงชีวิต งานที่นักเรียนจําเปนตองศึกษาในชั้นนี้มิใชงานอาชีพที่พบเห็นกันอยูทั่วไปหรือมิใชงาน ที่ปฏิบัติเพื่อมุงเนนหารายได แตเปนงานที่ เกี่ยวของกับการดําเนินชีวิตประจําวันของเรา เพือ่ เปาหมายในการชวยเหลือตนเอง ครอบครัว หรือสังคม เชน การทําความสะอาดบาน หองเรียน การซักรีดเสื้อผา การประดับตกแตงอาคาร สถานที่ งานซอมแซมวัสดุอปุ กรณตา งๆ การเก็บ ถนอมอาหาร งานประดิษฐ การนําเทคโนโลยี มาออกแบบชิ้นงาน เปนตน การปฏิบัติงานประเภทที่กลาวมาขางตนนี้ การซั ก รี ด เสื้ อ ผ า เป น การทํ า งานในชี วิ ต ประจํ า วั น ที่ นักเรียนสามารถทําไดเพื่อชวยเหลือตนเอง ไมตองเปน ถือวามีความสําคัญในแงที่จะชวยฝกใหเรารูจัก ภาระของผูอื่น การชวยเหลือตนเอง ครอบครัว และสังคม ขณะเดียวกันก็จะไดเกิดความภาคภูมใิ จในผลงานของตน เปนการฝกฝนทักษะกระบวนการทํางาน คนพบความสามารถ ความถนัดของตนเอง ซึ่งจะเปนความรูและทักษะที่ติดตัว นําไปใชประโยชน ในการดํารงชีวติ ได นักเรียนบางคนครอบครัวมีฐานะดี มีคนทํางานแทน จึงอาจมองไมเห็นคุณคา และความสําคัญของงานเหลานี้ แตพงึ ระลึกไวเสมอวา ไมมผี ใู ดจะสามารถพึง่ พาคนอืน่ ไดทกุ เวลา หรือตลอดชีวิต ด1วยเหตุนี้จึงมีคํากลาวเตือนสติคนเราไววา ตนเปนที่พึ่งแหงตน หรือ คาของคน อยูที่ผลของงาน ดังนั้น เราจึงควรใหความสนใจและเอาใจใสตอการเรียนรูและปฏิบัติงานใน ลักษณะนี้ไมนอยกวาวิชาความรูในศาสตรอื่นๆ ความสําคัญของการทํางานเพื่อการดํารงชีวิต สามารถสรุปไดดังนี้

Explore

ครูใหนักเรียนศึกษาคนควาเกี่ยวกับความสําคัญ ของการทํางานเพื่อการดํารงชีวิตจากหนังสือเรียน หนา 2-3 หรือจากแหลงการเรียนรูตางๆ เพิ่มเติม เชน หนังสือในหองสมุด ขอมูลทางอินเทอรเน็ต หรืออาจสอบถามจากผูมีประสบการณในการทํางาน เปนตน เพื่อนําขอมูลที่ไดจากการศึกษามาอภิปราย รวมกันในชั้นเรียน

๑ ทําใหเกิดความภาคภูมิใจในตนเอง เพราะเปนงานที่เกิดจากฝมือเราเอง เปนการลงมือ

ปฏิบัติจริง งานใดก็ตามถาเราลงมือปฏิบัติเอง เราก็จะเห็นคุณคาในสิ่งที่ไดทําไปและยัง เปนการสอนใหรูจักใชเวลาใหเปนประโยชนอีกดวย 2 ๒ ชวยสรางประสบการณ ซึ่งจะเปนประสบการณตรงที่จะติดตัวเราตลอดไป อันจะเปน ประโยชนตอการดํารงชีวิตของเราตอไปในภายหนา ไมวาจะเปนการทําความสะอาดบาน ซักรีดเสื้อผา ทําอาหาร ดังจะเห็นไดจากนักเรียนที่ตองไปใชชีวิตในการศึกษาตอ ไมไดอยูกับ ครอบครัว ตองอยูหอพัก ก็จะตองชวยเหลือตัวเองในการซักผา รีดผา ทํางานบานตางๆ ดูแล เรื่องอาหารดวยตัวเอง สิ่งเหลานี้จะตองพึ่งพาประสบการณเปนหลัก

นักเรียนควรรู 1 คาของคนอยูที่ผลของงาน เปนคําเปรียบเปรยที่มีความหมายวา ผลจาก การทํางานทีอ่ อกมายอมแสดงใหเห็นถึงความตัง้ ใจ ความรู และความสามารถของ บุคคลนั้น หรือในอีกความหมายหนึ่งก็คือ ผลงานเปนสิ่งที่ใชวัดระดับคุณคาของ บุคคลนั้นๆ ซึ่งผลงานของคนแตละคนลวนแตกตางกันออกไป ซึ่งถาหากบุคคลใด ผลงานออกมาดีก็จะไดรับคําชื่นชม แตถาหากบุคคลใดผลงานออกมาไมดีก็จะถูก ติเตียน เปนตน 2 ประสบการณ เปนความรู ความสามารถ และทักษะ ที่เกิดจากการทํางาน ทําใหเกิดกระบวนการทํางานและการพัฒนา ซึ่งประสบการณเราสามารถแสวงหา ไดดวยตนเองทั้งจากการศึกษาเรียนรูจากแหลงขอมูลตางๆ การมีประสบการณ ชวยใหมีความเชี่ยวชาญในดานนั้นๆ มากขึ้น สงผลใหการทํางานสะดวกสบาย มากขึ้น เนื่องจากเคยผานประสบการณหรือปญหาจากการทํางานดานนั้นมาแลว

2

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

เพราะเหตุใด มนุษยทุกคนจึงตองเรียนรูหลักการทํางาน แนวตอบ เนื่องจากมนุษยทุกคนเกิดมาจะตองมีการดําเนินชีวิตตอไป ในแตละวัน ซึ่งจะตองพบเจอกับอุปสรรค ความยากลําบากและปญหา ตางๆ มากมาย หลักการทํางานก็เปรียบเสมือนหลักการดําเนินชีวิต เนื่องจากการทํางานเปนสวนหนึ่งของการดํารงชีวิต และการเรียนรูหลัก การทํางานก็เปนสิ่งที่ชวยฝกฝนทักษะ กระบวนการตางๆ หรือเปนการ ฝกประสบการณใหเราเจอกับปญหาและสามารถแกไขปญหาใหผา นไปได ดวยดี ซึ่งทําใหเราสามารถคนพบความสามารถของตนเอง อันจะเปน ทักษะที่จะติดตัวเพื่อนําไปใชในการดําเนินชีวิตในวันขางหนาตอไปได


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบExplain ายความรู

Expand าใจ ขยายความเข

Evaluate ตรวจสอบผล

อธิบายความรู ๓ ไดชวยเหลือผูอื่น ซึ่งอาจเปนครอบครัวของเราหรือบุคคลทั่วไป ผลงานบางอยางที่เรา

ลงมือกระทําไป เชน การปลูกไมดอก ไมประดับตกแตงอาคารสถานที่ นอกจากจะทําใหเราเกิด ความภาคภูมใิ จ หายเหนือ่ ยเมือ่ เห็นดอกไมทเี่ ราปลูกผลิดอกงามตา ทําใหสภาพแวดลอมมีสสี นั สวยงามขึ้นแลว ความสวยงามนี้ก็ยังชวยสรางความสุขใหกับผูอื่นที่ไดพบเห็นดวย

๔ ชวยใหคนพบความถนัด ความสามารถของตนเอง งานตางๆ ที่นักเรียนลงมือปฏิบัติไป

จะชวยทําใหนักเรียนสามารถประเมินตนเองไดวาชอบอะไรมากที่สุด หรือถนัดที่จะทําอะไร ทําใหสามารถวางแผนเลือกอาชีพตอไปไดสอดคลองกับตนเองมากขึ้น ซึ่งเราจะเห็นไดวา หลายคนเมือ่ จบการศึกษาชัน้ สูงและไปทํางานแลวก็เกิดความเครียด ทายทีส่ ดุ แลวตองกลับมา เลือกอาชีพที่ตนเองชอบหรือเคยใฝฝนไว ทําใหตองเสียเวลาในการเริ่มตนใหม

๕ ชวยพัฒนาความคิดสรางสรรค การทํางานจะชวยทําใหสมองของเราไมหยุดการพัฒนา

ตองใชความคิดอยูตลอดเวลาเพื่อใหการทํางานเกิดประสิทธิภาพและประสบความสําเร็จ เกิดความชํานาญ จนเห็นชองทางที่จะพัฒนางานตอไป บุคคลที่ทํางานบอยๆ ยอมจะเกิด ความคิดสรางสรรคที่นําไปใชปฏิบัติไดจริงมากกวาคนที่ไมเคยทํางาน

๖ เปนพื้นฐานในการประกอบอาชีพในอนาคต งานเพื่อการดํารงชีวิตหลายงานนักเรียน

สามารถจะนําไปตอยอดเปนอาชี1พในภายหนาไดถาเกิดความชอบและรั 2 กที่จะทํา เชน งาน ประดิษฐของตกแตง ของชํารวย งานเกษตร งานถนอมอาหาร ซึ่งการเรียนรูประสบการณ ตั้งแตเยาววัยจะทําใหนักเรียนมีพื้นฐานที่ดี สามารถวางแผนอาชีพที่จะทําได เปนตน

Explain

ครูตั้งคําถามใหนักเรียนแสดงความคิดเห็น ในประเด็นเกี่ยวกับความสําคัญของการทํางาน เพื่อการดํารงชีวิต • เมื่อนักเรียนชวยคุณพอคุณแมทํางานบาน ดวยตนเอง นักเรียนมีความรูสึกเชนไร (แนวตอบ มีความรูสึกภาคภูมิใจที่ไดชวย แบงเบาภาระของครอบครัวได เพราะการ ทํางานเปนการพิสูจนใหเห็นวาตนเองเปน บุคคลที่มีคุณคา สามารถชวยเหลือได ทั้งตนเอง ครอบครัว และสังคม นอกจากนี้ การทํางานยังเปนการใชเวลาวางใหเปน ประโยชน ไมใชเวลาไปทําในสิ่งที่ไรสาระ หรือไมเปนประโยชน) • นักเรียนคิดวาการมีประสบการณในการ ทํางานกอใหเกิดประโยชนอยางไร (แนวตอบ มีประโยชนหลายอยาง เชน ในอนาคตสามารถชวยเหลือตนเองได ทั้งยังชวยฝกความอดทนอดกลั้น เนื่องจาก เคยผานการทํางานมาแลว นอกจากนี้ การ สั่งสมประสบการณจนเกิดความเชี่ยวชาญ ยังสามารถนําไปใชในการแกปญหาใหสําเร็จ ลุลวงไดอีกดวย เปนตน)

ขยายความเขาใจ

Expand

ครูใหนักเรียนเขียนผังมโนทัศนเกี่ยวกับความ สําคัญของการทํางานเพื่อการดํารงชีวิต และ ตกแตงใหสวยงาม เสร็จแลวนําสงครูผูสอน การเรียนวิชาการงานอาชีพเปนการฝกทักษะกระบวนการทํางานของนักเรียน เพื่อเปนพื้นฐานในการประกอบอาชีพ ตอไปในอนาคต

http://www.aksorn.com/LC/Car/M4/01

EB GUIDE ๓

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

นายสมชาย เปนคนขยัน รักการเรียนรู ชอบทํางาน นอกจากนี้ยังนํา ทักษะกระบวนการทํางานไปหารายไดระหวางเรียนกับเพือ่ นๆ การปฏิบตั ติ น แบบนายสมชายจะสงผลตอการใชชีวิตในระยะยาวอยางไร 1. มีความรูมาก 2. เปนคนนาเชื่อถือ 3. เปนที่พึ่งใหตนเอง 4. มีรายไดระหวางเรียน วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 3. การปฏิบัติตนแบบนายสมชายสงผลตอ การดํารงชีวิตในวันขางหนาไดในระยะยาว คือ จะเปนผูที่พึ่งพาตนเองได เนื่องจากนายสมชายเปนบุคคลที่รักการทํางาน รักการเรียนรู และลงมือ ปฏิบัติจริง ทําใหเปนผูที่มีประสบการณในการทํางาน ผานอุปสรรคและ ปญหาจากการทํางานตางๆ มาได

ตรวจสอบผล

Evaluate

1. ครูตรวจผังมโนทัศนเกี่ยวกับความสําคัญของ การทํางานเพื่อการดํารงชีวิต 2. ครูสังเกตพฤติกรรมในการตอบคําถามและ การมีสวนรวมแสดงความคิดเห็นของนักเรียน

นักเรียนควรรู 1 ของชํารวย เปนสัญลักษณแทนบุคคล หรือเรื่องราว ที่ออกแบบสรางสรรค เพื่อกระตุนเตือนถึงความทรงจํา ของชํารวยใชในงานตางๆ เชน งานแตง ซึ่งมี หลากหลายประเภท เชน ประเภทที่มีเชือกผูก แสดงถึงความรักความผูกพันของ คูบาวสาวที่มีตอกันอยางแนนแฟน ประเภทที่เปนสมุด หนังสือ ปากกา แสดงถึง การมองเห็นคุณคาในสิ่งของ หรือการมองเห็นคนรักคือสิ่งสําคัญที่สุด ประเภทที่ เปนของแหลม ของมีคม หรือแทง แสดงถึงความรักที่เกิดขึ้นอยางรวดเร็ว คบหา ดูใจกันไมนานจึงตกลงแตงงานกัน เปนตน จากขอมูลเหลานี้นักเรียนสามารถ นําไปประยุกตใชในการดําเนินชีวิตโดยการประดิษฐของชํารวยขายเพื่อสรางรายได พิเศษใหแกครอบครัวได 2 ถนอมอาหาร เปนวิธีการยับยั้งการเจริญเติบโตและการทํางานของเชื้อโรค และจุลินทรียตางๆ ในอาหาร ซึ่งมีผลทําใหอาหารเนาเสีย สามารถใชความรอน ความเย็น การทําใหแหง การฉายรังสี การลดคา pH การใชสารเคมี ในการถนอม อาหารได คูมือครู

3


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุEngage นความสนใจ

Exploreนหา สํารวจค

กระตุน ความสนใจ

Engage

ครูนําภาพบุคคลที่ประกอบอาชีพตางๆ เชน นักแสดง นักรอง นักธุรกิจที่ประสบความสําเร็จใน การทํางานมาใหนักเรียนดู แลวสนทนากับนักเรียน ถึงวิธีการทํางานของบุคคลนั้น เพื่อใหประสบความ สําเร็จในชีวิต

สํารวจคนหา

๒. หลักการทํางานเพื่อการดํารงชีวิต ในการทํางานเพื่อการดํารงชีวิต เราจําเปนตองใชทักษะหลายๆ อยางประกอบกัน ซึ่งบุคคล ที่สามารถประยุกตใชทักษะไดหลากหลายอยางมีประสิทธิภาพ ยอมมีโอกาสสูงที่จะประสบ ความสําเร็จ หลักการทํางานที่จะกลาวตอไปนี้เปนหลักการกวางๆ ที่ทุกงานตองนําไปประยุกตใช แตการนําไปใชของแตละบุคคลก็จะแตกตางกันออกไป ขึ้นอยูกับลักษณะงาน สถานที่ และบุคคล ที่เราเขาไปเกี่ยวของดวย

Explore

1. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับหลักการทํางานที่ จําเปนตอการประกอบอาชีพในอนาคต จากนัน้ ใหนักเรียนสํารวจวา ในชีวิตประจําวันของ นักเรียน ไดใชทกั ษะกระบวนการอะไรบาง ในการทํางานทั้งที่บานและที่โรงเรียน และ นักเรียนคิดวาตนเองยังขาดทักษะอะไรที่จําเปน ตอการทํางาน และจะสรางทักษะที่ขาดนั้นได อยางไร 2. ครูใหนักเรียนศึกษาเกี่ยวกับหลักการทํางาน เพื่อการดํารงชีวิตจากหนังสือเรียน หนา 4-6 และจากแหลงการเรียนรูตางๆ เพิ่มเติม เชน หนังสือในหองสมุด ขอมูลทางอินเทอรเน็ต เปนตน แลวอภิปรายรวมกันถึงสาระสําคัญ

อธิบายความรู

๒.๑ มีทักษะในการทํางาน ในการทํางานตางๆ เราตองใชทักษะที่สําคัญ ดังนี้

๑ ทักษะการทํางานรวมกัน การทํางานหลายอยางเราไมสามารถจะปฏิบัติเพียงลําพัง คนเดียวได จําเปนตองเขาไปสัมพันธกับคนอื่น ที่เรียกวา การทํางานกลุม ซึ่งในชีวิตจริง เราจะพบวาหลายคนมีความรูความสามารถสูง แตไมสามารถทํางานรวมกับผูอื่นได ทําใหไมมี ความสุขกับการทํางาน และงานไมประสบความสําเร็จ ทั้งนี้ การทํางานกลุมนอกจากจะตอง ประชุมปรึกษาหารือ วางแผนการทํางาน มีการมอบหมายงาน มีการติดตามประเมินผล เปนระยะๆ แลว จะตองมีการจดบันทึก มีการสรุปการประชุม และนําเสนอรายงานผลการ ปฏิบัติงานในตอนทายดวย ซึ่งในการทํางาน เราอาจตองอาศัยแนวคิดหรือคติจากผูที่มีประสบการณมาถายทอด ความรู ประสบการณในการทํางานใหเราไดศึกษาเรียนรูและนําไปปฏิบัติ

à¡Ãç´¹‹ÒÃÙŒ

Explain

แนวทางในการทํางานกลุมใหประสบความสําเร็จ

๑. มีการพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน มีการชวยเหลือกันเพื่อมุงสูความสําเร็จ สมาชิกในกลุมจะตอง ตระหนักวาความสําเร็จของสมาชิกแตละคน คือ ความสําเร็จของกลุม ๒. มีความรับผิดชอบเปนรายบุคคล ทุกๆ คนในกลุมจะตองมีบทบาทหนาที่ความรับผิดชอบในการ ทํางาน และตองมีผลงานตามที่กลุมไดรับมอบหมายใหทํา ๓. มีสวนรวมเท1าเทียมกัน ทุกๆ คนตองมีสวนรวมในการทํางาน มีสวนรวมในการแกปญหา ๔. มีปฏิสัมพันธไปพรอมๆ กัน คือ สมาชิกทุกคนจะทํางาน คิด อาน ฟง พูด ไปพรอมๆ กัน ๕. มีกระบวนการในการทํางาน หมายถึง รูจักทํางานอยางมืออาชีพ ใชกระบวนการทํางานอยาง มีขั้นตอน ๖. มีทกั ษะการฟง - พูด ในการทํางานย 2 อมเกิดปญหาและมีการปรึกษาหารือกันเพือ่ แกปญ หา สมาชิกทุกคน จึงตองมีทกั ษะการพูดและทักษะการฟงทีด่ ี จะไดปอ งกันการโตเถียงหรือการใชวาจาทีจ่ ะนําไปสูค วามบาดหมางกัน

ครูใหนักเรียนอภิปรายรวมกันถึงความสําคัญ ของทักษะในการทํางานรวมกับผูอ นื่ วามีความสําคัญ อยางไร และมีแนวทางเชนไรที่จะทําใหการทํางาน กลุมประสบความสําเร็จ โดยยกตัวอยางไมใหซํ้ากับ ในหนังสือเรียน หนา 4

นักเรียนควรรู 1 ปฏิสมั พันธ เปนรูปแบบการสรางความสัมพันธระหวางบุคคล ที่ทํางานรวมกัน มากกวา 2 คนขึ้นไป หรือการมีสวนรวมในการทํากิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่งที่ไดรับ มอบหมายใหทําเปนกลุม ซึ่งในการทํางานกลุมควรมีปฏิสัมพันธกับบุคคลอื่น เชน การเปนผูฟงที่ดี การเปดเผยตัวเองเพื่อใหผูอื่นรูจักตัวตนของเรา การรูจักเห็นอก เห็นใจ ใหอภัยซึ่งกันและกัน ยอมรับขอบกพรองของอีกฝายหนึ่ง เคารพสิทธิหนาที่ ของผูอื่น มีนํ้าใจ มีอารมณดี รักษาคําพูดและรูจักชื่นชมคนอื่น ไมวิพากษวิจารณ หรือติฉินนินทาผูอื่น เปนตน 2 การฟงที่ดี มารยาทในการฟง เชน ผูฟงที่ดีไมควรมีจิตใจเหมอลอย ไมสนใจ การพูดของผูอื่น หรือพูดแทรกในขณะที่ผูอื่นกําลังพูดอยู ดังนั้นควรฝกหัดใหตนเอง เปนผูฟงที่มีการกระตือรื้อรนในการพูดของบุคคลตางๆ จะทําใหไดรับขอมูลที่มี ประสิทธิภาพครบถวน ที่สําคัญในการฟงควรรูจักจับประเด็นสําคัญของขอมูล และสามารถตั้งคําถามหลังจากผูพูดเปดโอกาสใหถาม เพื่อตอยอดองคความรู ซึ่งชวยฝกทักษะกระบวนการคิดได

4

คูมือครู

กิจกรรมสรางเสริม ครูใหนักเรียนวิเคราะหแนวทางในการทํางานใหประสบความสําเร็จ จะตองมีสิ่งใดบาง มาคนละ 5 ขอ พรอมอธิบายเหตุผลและยกตัวอยาง ประกอบ

กิจกรรมทาทาย ครูใหนักเรียนสืบคนขอมูลบุคคลที่ประสบความสําเร็จจากการทํางาน มา 1 ทาน โดยประกอบไปดวยขอมูลตอไปนี้ 1. ประวัติสวนตัว 2. ทักษะการทํางาน 3. วิเคราะหแนวทางในการทํางาน


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

1. ครูใหนกั เรียนระดมความคิดรวมกัน โดยสมมติ ใหนักเรียนแบงกลุมรวมกันทําชิ้นงาน 1 ชิ้น นักเรียนคิดวาจะตองใชทักษะการทํางานอะไร บาง จึงจะทําใหงานประสบผลสําเร็จ (แนวตอบ ในการทํางาน 1 ชิ้นจะตองอาศัย ทักษะการแสวงหาความรู เพราะการทํางาน จะตองคนควาขอมูลเพื่อนํามารวบรวม แยกแยะขอมูล จากนั้นจึงศึกษา วิเคราะห และสรุปผล จึงจะทําใหงานที่ทําออกมาประสบ ผลสําเร็จและมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ทักษะการ ทํางานรวมกับผูอื่น มีความสําคัญอยางมาก ตอการทํางานเพื่อใหงานนั้นสําเร็จลุลวง ไปไดดวยดี โดยเฉพาะการใชทักษะนี้ในการ ทํางานกลุม เชน มีความรับผิดชอบตอหนาที่ ของตนเอง ตองรูจ กั พึง่ พาอาศัยซึง่ กันและกัน นอกจากนี้ยังตองมีทักษะในการแกปญหา เพราะการทํางานทุกอยาง ยอมจะตองประสบ กับปญหา ซึ่งนักเรียนจะตองพิจารณาวาในการ ทํางานเกิดปญหาอะไร แลวจึงชวยกันวางแผน เพือ่ จะไดลงมือแกปญ  หา สุดทายตรวจสอบวา แผนทีว่ างไวนนั้ สามารถแกปญ  หาไดดมี ากนอย แคใด และควรพัฒนาปรับปรุงจุดใดบาง เปนตน) 2. ครูตั้งประเด็นวาในการทํางานที่บานหรือ ที่โรงเรียน นักเรียนเคยประสบกับปญหาใน การทํางานอะไรบาง และนักเรียนมีวิธีการใน แกไขปญหาอยางไร (แนวตอบ ปญหาที่พบจากการทํางาน เชน การไมทําการบานที่ครูมอบหมายให ซึ่งสาเหตุ เกิดจากนิสัยเกียจคราน หรือการใชเวลาในการ เลนอินเทอรเน็ตมากเกินไป จึงไมมีเวลาทําการ บาน ดังนั้น จึงควรแกไขปญหาโดยการจัด ตารางการทํางานของตนเองใหเปนเวลา หรือ ฝกนิสยั ตนเองใหมเมือ่ กลับถึงบานก็ทาํ การบาน ใหเสร็จกอน แลวจึงเลนอินเทอรเน็ต เปนตน)

๒ ทักษะการจัดการงาน คนที่จัดการงานได้ดี จะท�าให้งานเสร็จทันตรงตามก�าหนดเวลา

อย่างมีคุณภาพ ซึ่งในการท�างาน ปัญหาหนึ่งที่เราจะต้องจัดการก็คือ คน เพราะคนแต่ละคน ไม่เหมือนกัน จึงต้องใช้เทคนิควิธีในการจัดการอย่างหลากหลาย ในทางพระพุทธศาสนามีหลักธรรมอยู่ข้อหนึ่งที่จะน�ามาช่วยสร้างทักษะในการจัดการงาน ให้ประสบผลส�าเร็จ คือ อิทธิบาท ๔ ซึ่งประกอบด้วย ฉันทะ (มีความพอใจรักใคร่ในงานที่ท�า เต็มใจที่จะท�างานของตนให้ประสบความส�าเร็จ มีความสุขกับงาน) วิริยะ (มีความตั้งใจที่จะ ท�างานด้วยความขยันหมัน่ เพียร มุง่ มัน่ ทีจ่ ะท�างานให้สา� เร็จ) จิตตะ (มีใจจดจ่อ เอาใจใส่ตอ่ งาน ทีท่ า� ด้วยความตัง้ ใจจริง) และ วิมงั สา (มีความพยายามทีจ่ ะปรับปรุงงานทีท่ า� ให้มปี ระสิทธิภาพ)

๓ ทักษะการแก้ปัญหา ในการท�างานทุกอย่าง แม้เราจะวางแผนจัดการอย่างดีแล้วก็ตาม

ก็ยังจะต้องมีปัญหาให้เราต้องแก้ไข ดังนั้น ทักษะที่จ�าเป็นอย่างหนึ่งที่เราจะต้องน�ามาใช้ ในการท�างานก็คือ ทักษะการแก้ปัญหา ประกอบด้วย ทักษะการแก้ปัญหา

๑. พิจารณา ปัญหา

เราจะต้องรูว้ า่ ปัญหางานนัน้ คืออะไร เกิดขึน้ ทีใ่ ด มีความหนักเบามากน้อยแค่ไหน การวิเคราะห์ปัญหาจะต้องมุ่งไปที่ตัวงาน ทั้งนี้ ในการท�างานเราต้องหมั่นสังเกต ตรวจสอบงานอยู่เสมอ เพราะถ้ามีปัญหาจะได้แก้ไขได้ทันท่วงที

๒. วางแผน แก้ปัญหา

เมื่อรู้ปัญหาแล้ว ขั้นต่อไปคือ จะต้องวางแผนว่าจะแก้ปัญหานั้นอย่างไร เมื่อใด ด้วยวิธีการใด โดยพยายามสร้างทางเลือกในการแก้ปัญหาไว้หลายแนวทาง เช่น เมื่องานคืบหน้าไปได้ช้า ไม่ตรงตามแผน สาเหตุเกิดจากก�าลังคนท�างานมีน้อย การสร้างทางเลือกก็คือ แนวทางที่ ๑ หาคนมาช่วยงานเพิ่มขึ้น แนวทางที่ ๒ ลดปริมาณงานลงให้เหมาะสมกับจ�านวนคน แนวทางที่ ๓ เลื่อนระยะเวลาออกไป เป็นต้น

๓. ลงมือ แก้ปัญหา

ด�าเนินการแก้ปัญหา ในการท�างานนั้น การแก้ปัญหาเฉพาะตัวเนื้องานจะไม่ค่อย ยุ่งยากเท่าใดนัก แต่ถ้าปัญหาดังกล่าวมี คน เข้ามาเกี่ยวข้อง การแก้ปัญหาจะ ต้องกระท�าด้วยความรอบคอบ ซึ่งบางครั้งเราอาจต้องขอค�าปรึกษาจากผู้ใหญ่ ที่มีประสบการณ์มากกว่า

๔. ตรวจสอบ ปรับปรุง

การแก้ปัญหาที่ได้กระท�าไปแล้ว เราจ�าเป็นต้องตรวจสอบเป็นระยะๆ เพื่อป้องกัน มิให้ปัญหาเดิมๆ เกิดขึ้นอีก ตลอดจนควรปรับปรุงแนวทาง เทคนิควิธีในการ แก้ปัญหาให้มีความทันสมัย หรือให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นไปอีก 5

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

หลักธรรมอิทธิบาท 4 ชวยในการเสริมสรางทักษะการทํางานใหประสบ ความสําเร็จไดอยางไร 1. จัดการทํางานไดดี งานเสร็จทันเวลา 2. สรางจิตสํานึกในการทํางานดวยตนเอง 3. ความพยายามของบุคคลที่จัดระบบงาน 4. บุคคลที่ขี้เกียจทํางานตองใชกฎเกณฑคอยควบคุม วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 2. หลักธรรมอิทธิบาท 4 ทางที่ดําเนินไปสู ความสําเร็จ เปนการสรางจิตสํานึกในการทํางานของตนเอง ประกอบดวย ฉันทะ มีความพอใจ มีความสุขในการทํางาน ซึ่งจะทําใหเกิด วิริยะ หรือ ความตั้งใจในการทํางานใหสําเร็จ สงผลทําใหมี จิตตะ มีใจจดจออยู กับการทํางาน และ วิมังสา พรอมที่จะปรับปรุงแกไขงานของตนใหดีขึ้น จึงทําใหการทํางานประสบผลสําเร็จและมีประสิทธิภาพ

Explain

บูรณาการอาเซียน ครูเพิม่ เติมขอมูลเพือ่ ใหนกั เรียนเห็นความสําคัญของการทํางานวา ใน พ.ศ. 2558 ซึง่ เปนปทจี่ ะมีการเปนประชาคมอาเซียน ซึง่ มีเปาหมายใหอาเซียนมีตลาด และฐานการผลิตเดียว คือมีการเคลื่อนยายสินคา บริการ การลงทุน เงินทุน และแรงงานมีฝมืออยางเสรี ดวยสาเหตุนี้ทําใหมีการแขงขันทางดานสินคา บริการ และแรงงานสูง และสิ่งสําคัญที่ควรตระหนักถึงคือ การแขงขันทางดาน แรงงานมีฝม อื ซึง่ มีทกั ษะหนึง่ ทีอ่ งคกรตางๆ ตองการใหแรงงานมี คือ ทักษะการ แกปญ  หา มีการจัดการกับปญหาในการทํางานไดดี ทําใหไดงานมีประสิทธิภาพ จึงควรพัฒนาทักษะทางดานนี้เพื่อใหแรงงานไทยเปนแรงงานที่มีประสิทธิภาพและ สามารถแขงขันกับนานาชาติไดอยางดี

มุม IT ศึกษาคนควาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับเทคนิคการแกปญหา ไดที่ http://www.idis.ru.ac.th/report/index. คูมือครู

5


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับขาวสารตางๆ ในปจจุบันที่มีมากมาย ซึ่งจําเปนที่จะตองใช ทักษะการแสวงหาความรูในการสืบคนขอมูลที่ มีอยูจํานวนมากเพื่อที่จะนํามาใชในการทํางาน จากนั้นครูใหนักเรียนชวยกันบอกวาจะมีวิธีการ แสวงหาความรูดวยตนเองเพื่อใหไดมาซึ่งขอมูล ที่ถูกตองและนาเชื่อถือไดอยางไร (แนวตอบ วิธีการแสวงหาความรูดวยตนเองมี หลากหลายวิธีดวยกัน ยกตัวอยาง เชน การหา ขอมูลทางอินเทอรเน็ต ซึ่งเปนวิธีที่เขาถึงขอมูล ไดงายและมีความสะดวกในการคนควาใน ปจจุบัน แตอยางไรก็ตามขอมูลทางอินเทอรเน็ต มีอยูมากมาย ดังนั้นจะตองคัดกรองขอมูลกอน หรือนักเรียนสามารถหาความรูไดจากหนังสือ ในหองสมุด หรือสอบถามขอมูลจากบุคคล ที่มีความรู ความเชี่ยวชาญในเรื่องที่นักเรียน ตองการจะศึกษา เพราะบุคคลเหลานั้นยอมมี ประสบการณในดานนั้นๆ ซึ่งในการสอบถาม ขอมูลจากบุคคล นักเรียนจะตองมีวิจารณญาณ ในการนําขอมูลไปใชประกอบการทํางาน เพราะขอมูลที่ไดจากการสอบถามบุคคลอาจมี ความคลาดเคลื่อนหรือมีการสอดแทรก ความคิดเห็นสวนตัวลงไป เปนตน) 2. ครูใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นวา ทักษะการแสวงหาความรูมีประโยชนตอ นักเรียนอยางไร (แนวตอบ ทักษะการแสวงหาความรูมีประโยชน ตอการศึกษาเลาเรียน เชน ชวยในการทํารายงาน ซึง่ การทํารายงานตองอาศัยทักษะดานนีเ้ ปนหลัก เพื่อใหไดขอมูลตรงตามความตองการ หรือ อาจนํามาปรับใชในการประกอบอาชีพที่นักเรียน สนใจ เพราะการประกอบอาชีพจําเปนที่จะตอง มีความรูความเขาใจเกี่ยวกับอาชีพนั้นๆ จึงตอง มีการคนควา รวบรวมขอมูล การสังเกต การสํารวจ และการจดบันทึก เปนตน)

1

๔ ทักษะการแสวงหาความรู้ ในการท�างานแต่ละอย่าง เราไม่สามารถจะรอบรู้ได้ทั้งหมด

รวมทั้งวิทยาการต่างๆ ก็เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ดังนั้น การแสวงหาความรู้ที่จะน�ามา ใช้ในการท�างานจึงเป็นสิ่งจ�าเป็น เพราะคนที่รอบรู้มากย่อมสามารถวางแผนและจัดการงานได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งการแสวงหาความรู้นั้นสามารถด�าเนินการได้หลายแนวทาง ดังนี้ ทักษะการแสวงหาความรู้

๑. การศึกษา ค้นคว้า

โดยศึกษาค้นคว้าจากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ ที่ส�าคัญ เช่น เว็บไซต์ในเครือข่าย อินเทอร์เน็ต ซึง่ มีผนู้ า� มาเผยแพร่ไว้เป็นจ�านวนมาก โดยเฉพาะขัน้ ตอนในการท�า สิง่ ต่างๆ ให้เราเลือกไปใช้ได้ เช่น การประดิษฐ์สงิ่ ของจากเศษวัสดุ การประกอบ อาหารแต่ละประเภท การประดับตกแต่งห้อง เป็นต้น

๒. การรวบรวม

ท�าการรวบรวมข้อมูลทีไ่ ด้จากการค้นคว้าและจัดเก็บอย่างเป็นระบบ เพือ่ สะดวก ในการสืบค้นและน�ามาใช้ นอกจากนีอ้ าจรวบรวมจากสิง่ ของต่างๆ เช่น รวบรวม พันธุ์ไม้หลายชนิด เป็นต้น

๓. การสังเกต

การสังเกตเป็นวิธกี ารหนึง่ ทีท่ า� ให้เราได้รบั ความรู้ ซึง่ สามารถจะน�าความรูน้ นั้ มา ใช้ในการท�างานได้ ซึ่งแนวทางนี้เป็นสิ่งที่นักวิทยาศาสตร์ใช้อยู่เป็นประจ�า

๔. การส�ารวจ

การส�ารวจเป็นสิง่ จ�าเป็นเพราะจะช่วยสร้างทางเลือกให้แก่เรามากขึน้ เช่น ส�ารวจ หาวัสดุธรรมชาติในท้องถิ่นมาใช้ท�างานประดิษฐ์ การส�ารวจอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้เพื่อเปรียบเทียบราคาก่อนซื้อ เป็นต้น

๕. การบันทึก

การบันทึกเป็นวิธกี ารทีจ่ า� เป็นทีเ่ ราพึงปฏิบตั ใิ ห้เป็นกิจนิสยั เพราะสิง่ ต่างๆ ทีเ่ รา รับรูม้ า นานไปถ้าไม่จดบันทึกก็จะลืม รวมทัง้ การจดบันทึกจะช่วยให้เรามีขอ้ มูล ส�าหรับน�าไปใช้ปรับปรุงงานได้อีกด้วย

๒.๒ มีความคิดสร้างสรรค์ในการท�างาน ความคิดสร้างสรรค์เป็นพื้นฐานส�าคัญที่ท�าให้การท�างานมีความแปลกใหม่ มีคุณภาพ มีประสิทธิภาพ สังคมมนุษย์มคี วามเจริญก้าวหน้ามาได้กเ็ พราะมนุษย์มคี วามคิดสร้างสรรค์นนั่ เอง ซึ่งทุกวงการต่างก็ต้องการได้บุคลากรที่มีความคิดสร้างสรรค์เข้าไปร่วมงานด้วย ส�าหรับความคิด สร้างสรรค์จะมีลักษณะ ดังนี้ 6

นักเรียนควรรู 1 การแสวงหาความรู ปจจุบันมีวิธีการแสวงหาความรูอยูมากมายหลายอยาง ดวยกัน ซึ่งวิธีการตางๆ มักเปลี่ยนไปตามการเปลี่ยนแปลงหรือการพัฒนาของ สังคม ซึ่งวิธีหนึ่งที่นิยมคือ การสืบคนขอมูลทางอินเทอรเน็ต เนื่องจากเปนวิธีที่มี ความสะดวกสบายและรวดเร็ว ยกตัวอยางเว็บไซตทนี่ กั เรียนสามารถสืบคนขอมูลได เชน เว็บไซตของหนวย งานราชการ หรือเว็บไซตของหนวยงานเอกชน เชน www.google.com www.bing.com และ www.yahoo.com เปนตน ถือวาเปนประโยชนอยางยิ่งใน ยุคสมัยปจจุบัน ซึ่งเปนยุคที่มีการติดตอสื่อสารกันอยางไรพรมแดน อยางไรก็ดีการใชขอมูลทางอินเทอรเน็ต ผูคนควาจะตองใชวิจารณญาณ ในการนําขอมูลไปใชงาน เลือกรับขอมูลจากเว็บไซตที่เชื่อถือได เชน จากหนวย งานราชการ เพื่อใหไดขอมูลที่ถูกตองและมีความนาเชื่อถือมากที่สุด

6

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

การใชทักษะในการแสวงหาความรูโดยการสัมภาษณผูเชี่ยวชาญดาน ตางๆ ผูที่มีหนาที่สัมภาษณจะตองมีคุณสมบัติตรงตามขอใดมากที่สุด 1. มีความอดทน 2. มีความรอบคอบ 3. มีมนุษยสัมพันธที่ดี 4. มีความกระตือรือรน วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 3. คุณสมบัติที่สําคัญที่สุดในการทําหนาที่ เปนผูสัมภาษณ บุคคลควรมีมนุษยสัมพันธที่ดีตอผูใหขอมูล เนื่องจาก การมีมนุษยสัมพันธทําใหบุคคลอื่นรูสึกดีตอตนเอง และเปนการลดอาการ เกร็งเวลาทีส่ มั ภาษณ ทําใหไดขอ มูลทีด่ ี มีประโยชนตอ การศึกษาของตนเอง


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู ๑ มีความคิดริเริ่ม (originality) คือ เป็นความคิดแปลกใหม่ที่แตกต่างไปจากความคิดเดิม

สามารถประยุกต์ให้เกิดสิ่งใหม่ขึ้นได้ โดยสิ่งที่เกิดขึ้นไม่ซ�้ากับของเดิม หรือไม่เคยมีการท�าขึ้น มาก่อน

๒ ความคล่องในการคิด (fluency) คือ ความสามารถในการคิดหาค�าตอบได้อย่าง คล่องแคล่ว รวดเร็ว และมีปริมาณที่มากในช่วงเวลาจ�ากัด เช่น สามารถออกแบบชิ้นงานได้ หลากหลายรูปแบบภายในเวลาที่ก�าหนดได้อย่างมีคุณภาพ เป็นต้น ๓ ความยืดหยุ่นในการคิด (flexibility) คือ ความสามารถในการคิดหาค�าตอบได้หลาย ประเภทและหลายทิศทาง สามารถดัดแปลงจากสิ่งหนึ่งไปเป็นหลายสิ่งได้ โดยรู้จักน�าสิ่งของ ที่มีอยู่มาประยุกต์และสร้างสรรค์เป็นผลงานชิ้นใหม่ที่น�าไปใช้ประโยชน์ได้จริง ๔ ความคิดละเอียดลออ (elaboration) คือ ความคิดในรายละเอียดเพื่อตกแต่งหรือขยาย

ความคิดหลักให้สมบูรณ์ยงิ่ ขึน้ เช่น การน�าเก้าอีม้ าตกแต่งให้มคี วามแปลกและน่าสนใจ เป็นต้น

๒.๓ มีคณ ุ ธรรม จริยธรรม เจตคติ และลักษณะนิสยั ทีด่ ใี นการท�างาน ในการท�างานทุกอย่างนอกจากการมีทักษะ มีฝีมือในการท�างานแล้ว สิ่งส�าคัญที่คนเราต้อง มีก็คือ คุณธรรม จริยธรรม มีเจตคติที่ดี และมีลักษณะนิสัยที่ดีในการท�างานด้วย ดังนี้

๑ คุณธรรม จริยธรรม เป็นพื้นฐานที่บุคคลจะต้องมีติดตัว เช่น ความซื่อสัตย์ การมีวินัย

ความอดทน ความเสียสละ ความยุติธรรม ความวิริยะอุตสาหะ ความเมตตากรุณา เป็นต้น คนที่มีคุณธรรม จริยธรรม ท�าให้เป็นคนที่น่าคบค้าสมาคม น่าท�างานด้วย เพราะจะไม่เป็น คนที่สร้างปัญหาให้กับผู้อื่น แต่จะเป็นผู้ที่ช่วยให้การท�างานป งานประสบความส�าเร็จด้วยดี ๒ เจตคติ หมายถึง ท่าทีหรือความรู้สึกของบุคคลต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ซึ่งจะเป็นปัจจัยที่ ก�าหนดพฤติกรรมของเราตามมา เช่น เรามีเจตคติตอ่ งานทีจ่ ะท�าว่าต้องการให้ผลงานออกมา ดีทสี่ ดุ หรือต้องมีความรักในงาน เราก็จะตัง้ ใจท�างานอย่างมุง่ มัน่ เอาใจใส่ จนเกิดความมุมานะ มีความขยันอดทนมากขึ้น ในการท�างานทุกอย่างย่อมพบอุปสรรคปัญหา การมีเจตคติที่ดี ต่องาน จะช่วยท�าให้เราสามารถฟันฝ่าอุปสรรคไปได้โดยไม่ยอ่ ท้อหรือละทิง้ การท�างานกลางคัน ๓ ลักษณะนิสยั ทีด่ ใี นการท�างาน การมีลกั ษณะนิสยั ทีด่ ใี นการท�างานเป็นผลสืบเนือ่ งมาจาก การเป็นผูม้ คี ณุ ธรรม จริยธรรม และมีเจตคติทดี่ ตี อ่ งานทีท่ า� ลักษณะนิสยั ทีด่ ใี นการท�างานมีอยู่ หลายประการ เช่น รูจ้ กั ช่วยเหลือตนเอง ตัง้ ใจท�างานให้บรรลุเป้าหมาย 1 พยายามหาวิธที า� งานให้ ถูกวิธี ถูกขั้นตอน ท�างานเป็นระบบ มีความคิดสร้างสรรค์ มีน�้าใจ รู้จักช่วยเหลือผู้อื่น เป็นต้น EB GUIDE 7

http://www.aksorn.com/LC/Car/M4/02

กิจกรรมสรางเสริม ครูใหนักเรียนวิเคราะหถึงคุณธรรม จริยธรรม เจตคติ และลักษณะนิสัย ที่ดีในการทํางานมาคนละ 5 ขอ และเสนอความคิดเห็นวา ขอใดมีความ สําคัญมากที่สุด พรอมบอกเหตุผลและยกตัวอยางประกอบใหเห็นชัดเจน

กิจกรรมทาทาย ครูใหนักเรียนสืบคนขอมูลบุคคลที่มีคุณธรรมในการทํางานมา 1 ทาน ทั้งประวัติสวนตัว การมีคุณธรรมในการทํางาน และใหนักเรียนวิเคราะหวา สามารถนํามาเปนแบบอยางในการปฏิบัติตนไดอยางไร

Explain

1. ครูเกริ่นนําเกี่ยวกับการมีความคิดสรางสรรค ในการทํางาน แลวใหนักเรียนอธิบายวา ความ คิดสรางสรรคมีลักษณะอยางไร และนักเรียน มีวิธีฝกการมีความคิดสรางสรรคไดอยางไร (แนวตอบ ความคิดสรางสรรคในการทํางาน มีลักษณะเปนงานที่มีความแปลกใหมไมซํ้า รูปแบบงานของผูใด ทําใหงานเกิดจุดเดน สามารถจดจําได หรือเปนงานที่ไดรับการ พัฒนาใหดีขึ้นจากเดิมก็เปนได หากตองการ ฝกฝนใหเกิดความคิดสรางสรรค นักเรียนจะ ตองฝกการคิด รูจ กั แสวงหาความรูใ หมๆ ศึกษา ใหถองแทและฝกปฏิบัติใหเชี่ยวชาญ เมื่อมี ความรูความเขาใจและมีความเชี่ยวชาญแลว ก็จะสามารถพลิกแพลง คิดคนสิ่งใหมๆ ได) 2. ครูถามนักเรียนวา ในการทํางานนอกจากการ มีความรูความสามารถแลว สิ่งสําคัญที่ควรมี อีกหนึ่งสิ่งคืออะไร เพราะเหตุใด (แนวตอบ ในการทํางานนอกจากการมีความ รูความสามารถแลว สิ่งสําคัญที่ควรมี ก็คือ คุณธรรม จริยธรรม เจตคติและลักษณะนิสัย ที่ดีในการทํางาน เพราะบุคคลเหลานี้จะไม ประพฤติตนเพื่อสรางปญหาใหกับผูอื่น องคกร สังคม รวมถึงตนเอง นอกจากนี้จะทําใหเปน ที่รักใครของบุคคลที่อยูรอบขาง แลวยังชวย ใหการทํางานสําเร็จดวยดี) 3. ครูใหนักเรียนชวยกันระดมความคิดวาการมี คุณธรรมในการทํางานจะสงผลอยางไรตอ การดํารงชีวิต (แนวตอบ คุณธรรมในการทํางาน เชน การ เปนคนขยัน อดทน มีนํ้าใจ เปนตน หากเรา ปลูกฝงใหเกิดขึ้นกับตัวเอง ผลที่ไดรับก็คือจะ ทําใหเราเปนบุคคลที่มีคนรักใคร การทํางาน ก็จะราบรื่น เพราะจะมีคนคอยชวยเหลือเมื่อ เรามีปญหา ซึ่งสงผลใหงานประสบความสําเร็จ ตรงตามเวลา)

นักเรียนควรรู 1 มีนํ้าใจ การมีนํ้าใจกับผูอื่นเปนคุณธรรมประการหนึ่งที่มีความสําคัญใน การอยูรวมกันในสังคม การมีนํ้าใจในที่นี้ไมจําเปนตองใชเงินทอง แตอาจแสดง ความมีนํ้าใจไดโดยการใหความเมตตากรุณาตอเพื่อนมนุษย หรือการชวยเหลือ เล็กๆ นอยๆ ซึ่งถือไดวาเปนการแสดงนํ้าใจไดเชนกัน ในการทํางานก็เชนเดียวกัน สมาชิกในกลุมตองมีนํ้าใจไมตรีตอกัน นอกจาก จะสรางปฏิสัมพันธที่ดีกับบุคคลอื่นแลว ยังชวยใหสามารถทํางานไดอยางราบรื่น และมีความสุขดวย

มุม IT ศึกษาคนควาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรมในการทํางานที่ดี เพื่อการนําไปใชในชีวิตประจําวัน ไดที่ http://www.sunti-apairach.com คูมือครู

7


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบExplain ายความรู

ในสังคมปจจุบันจะพบวาเราไมไดขาดแคลนคนเกง แตเราขาดคนที่มีคุณธรรม จริยธรรม เจตคติ และลักษณะนิสัยที่ดีในการทํางาน จึงทําใหการทํางานหลายอยางไมประสบความสําเร็จ เทาที่ควร

๒.๔ ใชพลังงาน ทรัพยากรอยางคุมคาและยั่งยืน ในการทํางานเพื่อการดํ 1 ารงชีวิต สิ่งสําคัญประการหนึ่งที่เราตองคํานึงถึงก็คือ ตอ งมี ความรับผิดชอบตอสังคมรวมถึงตอโลกของเราดวย หลายคนทํางานโดยคํานึงแตความสะดวก เฉพาะหนาเปนที่ตั้ง อยากใหงานเสร็จเร็ว โดยขาดการพิจารณาอยางรอบคอบวาการทํางานของ ตนนั้นกอใหเกิดผลกระทบอะไรตอสังคมบาง เชน ทิ้งสารเคมีที่เหลือใชลงในลําธารสาธารณะ ใชสีที่มีสารตะกั่วผสมอยู ใชสารเคมีเรงการ เจริญเติบโตของพืช ใชนํ้า ไฟฟาอยางฟุมเฟอย เปนตน ดั ง นั้ น การมี จิ ต สํ า นึ ก ที่ ดี ต  อ การใช พลังงานและการใชทรัพยากรจึงเปนสิ่งจําเปน ที่เราควรคํานึง เชน การใชกระดาษก็ไมควร ใชเพียงหนาเดียว หนากระดาษดานที่เหลือ สามารถนํ า ไปใช ป ระโยชน ใ นการขี ด เขี ย น ไดอีก หรือกระดาษที่ใชหมดแลวทั้งสองดาน นํ้ามีความสําคัญตอมนุษยและสิ่งมีชีวิต ดังนั้น ในการ ก็สามารถนําไปใชเปนเศษวัสดุในงานประดิษฐ ทํางานใดก็ตามจะตองชวยกันประหยัดการใชทรัพยากร ไดอีก เปนตน

Expand

ครูใหนกั เรียนสํารวจตนเองภายในเวลา 1 สัปดาห วาทํางานอะไรบางทั้งที่บานและโรงเรียน และเมื่อ นักเรียนประสบกับปญหา นักเรียนใชทักษะใดใน การแกปญ  หาดังกลาว พรอมทัง้ ประสบการณทไี่ ดรบั จากการทํางาน จากนั้นใหนักเรียนบันทึกผล การทํางานสงครูผูสอน

ตรวจสอบผล

สรุป

Evaluate

1. ครูตรวจบันทึกผลการปฏิบัติงานทั้งที่บานและที่ โรงเรียนของนักเรียนภายในเวลา 1 สัปดาห 2. ครูตรวจสอบจากการเขียนเสนอแนะแนวทาง การปองกันและแกปญหาการใชพลังงานและ ทรัพยากรในการทํางาน 3. ครูสังเกตพฤติกรรมในการตอบคําถามและ การมีสวนรวมในการแสดงความคิดเห็นของ นักเรียน

การทํางานถือเปนภารกิจอยางหนึ่งที่บุคคลทุกคนจะตองปฏิบัติ ทั้งเพื่อการดําเนินชีวิต ที่ดีขึ้น หรือเพื่อหารายไดเลี้ยงชีพ งานที่เราเห็นอยูมากมายรอบตัวนั้น ถึงแมหลายอยางจะดู เหมือนงายใครๆ ก็ทําได แตในความเปนจริงบุคคลหลายคนก็ไมประสบความสําเร็จในการทํางาน ดวยเหตุนี้ การเรียนรูห ลักการทํางานเพือ่ การดํารงชีวติ จึงเปนสิง่ จําเปนเพราะเปนความรูแ ละทักษะ ทีจ่ ะติดตัวเราไปตลอดชีวติ ซึง่ เราสามารถนําไปใชประโยชนในการดําเนินชีวติ ประจําวันไดจริงหรือ อาจนําไปประยุกตเปนอาชีพตอไปในอนาคต

นักเรียนควรรู 1 ความรับผิดชอบตอสังคม เปนสิง่ จําเปนทีท่ กุ คน ทุกครอบครัว และทุกองคกร ควรใหความสําคัญ เพราะในการทํากิจกรรมตางๆของมนุษยกอใหเกิดผลเสียตอ พลังงาน และทรัพยากรของประเทศชาติ ดังนั้นทุกคน ทุกครอบครัว และทุกองคกรจะตองมีความรับผิดชอบรวมกัน โดยการใชมาตรการในการใชทรัพยากรอยางถูกวิธี และประหยัดพลังงาน เชน ปดไฟทุกครัง้ เมือ่ ไมไดใชงาน และเปดเฉพาะจุดที่จําเปน กระดาษควรใชทั้ง 2 หนา เปนตน เมื่อสามารถใชพลังงาน และทรัพยากรอยางถูกวิธี ก็จะทําใหมีพลังงานและ ทรัพยากรใชอยางยาวนาน

8

คูมือครู

Evaluate ตรวจสอบผล

Explain

1. ครูเกริ่นนําเกี่ยวกับปญหาสิ่งแวดลอมที่กําลังทวี ความรุนแรงมากขึน้ ในปจจุบนั แลวเชือ่ มโยง กับแนวทางการแกปญหาดังกลาววิธีหนึ่งก็คือ การใชพลังงานและทรัพยากรอยางคุมคาและ ยั่งยืน จากนั้นครูใหนักเรียนสํารวจตนเหตุ ของปญหาการใชพลังงานและทรัพยากรอยาง ฟุมเฟอยภายในบานและโรงเรียน แลวให นักเรียนเสนอแนะแนวทางการแกไขและ การมีสวนรวมในการใชทรัพยากรอยางคุมคา ทั้งที่บานและที่โรงเรียน โดยจัดทําลงใน กระดาษ A4 เสร็จแลวนําสงครูผูสอน 2. ครูและนักเรียนชวยกันสรุปองคความรูเกี่ยวกับ หลักการทํางานเพื่อการดํารงชีวิตเพื่อเปนการ ทบทวนความรูที่ศึกษามาทั้งหมด

ขยายความเขาใจ

Expand าใจ ขยายความเข

บูรณาการเชื่อมสาระ

ครูสามารถนําเนื้อหาเรื่องการใชพลังงาน ทรัพยากรอยางคุมคา และยั่งยืน ไปบูรณาการเชื่อมโยงกับกลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม วิชา ภูมิศาสตร ในหัวขอแนวทางการอนุรักษ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เพื่อใหนักเรียนตระหนักถึงความสําคัญ ของปญหาสิ่งแวดลอม และการมีสวนรวมในการจัดการทรัพยากรอยาง ประหยัดใหเกิดประโยชนสูงสุด เพื่อใหมีใชอยางยั่งยืนยาวนานตลอดไป ในอนาคต


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.