8858649121585

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº »ÃСѹÏ

ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน

กระบวนการสอนแบบ 5 Es ชวยสรางทักษะการเรียนรู กิจกรรมมุงพัฒนาทักษะการคิด คำถาม + แนวขอสอบเพื่อยกผลสัมฤทธิ์ O-NET กิจกรรมบูรณาการเตรียมพรอมสู ASEAN 2558


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู การงานอาชีพและเทคโนโลยี

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4

สําหรับครู

คูมือครู Version ใหม

ลักษณะเดน

ขยายพื้นที่รูปเลมใหญขึ้นกวาเดิม จัดแบงพื้นที่ออกเปนโซน เพื่อคนหาขอมูลไดงาย สะดวก รวดเร็ว และดูเปนระเบียบ กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล

กระตุน ความสนใจ

Evaluate

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

เปาหมายการเรียนรู สมรรถนะของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค

หน า

โซน 1 กระตุน ความสนใจ

Engage

สํารวจคนหา

Explore

อธิบายความรู

Explain

ขยายความเขาใจ

Expand

ตรวจสอบผล

หน า

หนั ง สื อ เรี ย น

โซน 1

หนั ง สื อ เรี ย น

Evaluate

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

O-NET บูรณาการเชื่อมสาระ

เกร็ดแนะครู

ขอสอบ

โซน 2

โซน 3

กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย

นักเรียนควรรู

โซน 3

โซน 2 บูรณาการอาเซียน มุม IT

No.

คูมือครู

คูมือครู

No.

โซน 1 ขั้นตอนการสอนแบบ 5Es

โซน 2 ชวยครูเตรียมสอน

โซน 3 ชวยครูเตรียมนักเรียน

เพื่อใหครูเตรียมจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยแนะนําขั้นตอนการสอนและ การจัดกิจกรรมแบบ 5Es อยางละเอียด เพื่อใหนักเรียนบรรลุตามตัวชี้วัด

เพื่อชวยลดภาระครูผูสอน โดยแนะนํา เกร็ดความรูสําหรับครู ความรูเสริมสําหรับ นักเรียน รวมทั้งบูรณาการความรูสูอาเซียน และมุม IT

เพื่อใหครูสะดวกตอการจัดกิจกรรม โดย แนะนํากิจกรรมบูรณาการเชือ่ มระหวางสาระหรือ กลุมสาระการเรียนรู วิชา กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย รวมถึงเนื้อหาที่เคยออกขอสอบ O-NET แนวขอสอบ NT/O-NET ทีเ่ นนการคิด พรอมเฉลยและคําอธิบายอยางละเอียด


ที่ใชในคูมือครู

แถบสีและสัญลักษณ

แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5Es เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

1. แถบสี 5Es สีแดง

สีเขียว

กระตุน ความสนใจ

เสร�ม

สํารวจคนหา

Engage

2

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุน ความสนใจ เพื่อโยง เขาสูบทเรียน

สีสม

อธิบายความรู

Explore

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนสํารวจ ปญหา และศึกษา ขอมูล

สีฟา

Explain

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนคนหา คําตอบ จนเกิดความรู เชิงประจักษ

สีมวง

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนนําความรู ไปคิดคนตอๆ ไป

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

2. สัญลักษณ สัญลักษณ

วัตถุประสงค

• เปาหมายการเรียนรู

• หลักฐานแสดง ผลการเรียนรู

• เกร็ดแนะครู

แทรกความรูเสริมสําหรับครู ขอเสนอแนะ ขอควรระวัง ขอสังเกต แนวทางการจัด กิจกรรมและอืน่ ๆ เพื่อประโยชนในการ จัดการเรียนการสอน ขยายความรูเพิ่มเติมจากเนื้อหา เพื่อให ครูนําไปใชอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียน ไดมีความรูมากขึ้น

ความรูห รือกิจกรรมเสริม ใหครูนาํ ไปใช เตรียมความพรอมใหกบั นักเรียนกอนเขาสู ประชาคมอาเซียนใน พ.ศ. 2558 โดย บูรณาการกับวิชาทีก่ าํ ลังเรียน

บูรณาการอาเซียน

คูม อื ครู

แสดงรองรอยหลักฐานตามภาระงาน ที่ครูมอบหมาย เพื่อแสดงผลการเรียนรู ตามตัวชี้วัด

• นักเรียนควรรู

มุม IT

แสดงเปาหมายการเรียนรูที่นักเรียน ตองบรรลุตามตัวชี้วัด ตลอดจนสมรรถนะ ที่จะตองมี และคุณลักษณะที่พึงเกิดขึ้น กับนักเรียน

แนะนําแหลงคนควาจากเว็บไซต เพื่อให ครูและนักเรียนไดเขาถึงขอมูลความรู ที่หลากหลาย ทั้งไทยและตางประเทศ

สัญลักษณ

ขอสอบ

วัตถุประสงค

O-NET

(เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ O-NET O-NET)

• ชีแ้ นะเนือ้ หาทีเ่ คยออกขอสอบ

O-NET โดยยกตัวอยางขอสอบ พรอมวิเคราะหคาํ ตอบ อยางละเอียด

• เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน แนว  NT  O-NE T (เฉพาะระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนตน)

แนว

O-NET

(เฉพาะระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย)

บูรณาการเชื่อมสาระ

กิจกรรมสรางเสริม

กิจกรรมทาทาย

การคิดและเปนแนวขอสอบ NT/O-NET ในระดับมัธยมศึกษา ตอนตน มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

• เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน

การคิดและเปนแนวขอสอบ O-NET ในระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม

เชือ่ มกับสาระหรือกลุม สาระ การเรียนรู ระดับชัน้ หรือวิชาอืน่ ทีเ่ กีย่ วของ

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ซอมเสริมสําหรับนักเรียนทีค่ วร ไดรบั การพัฒนาการเรียนรู

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ตอยอดสําหรับนักเรียนทีเ่ รียนรู ไดอยางรวดเร็ว และตองการ ทาทายความสามารถในระดับ ทีส่ งู ขึน้


คําแนะนําการใชคูมือครู การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน คูมือครู รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ม.4 จัดทําขึ้นเพื่อใหครูผูสอนนําไปใชเปนแนวทางวางแผน การสอนเพือ่ พัฒนาผลสัมฤทธิท์ างการเรียน และประกันคุณภาพผูเ รียน ตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขัน้ พืน้ ฐาน (สพฐ.) โดยใชหนังสือเรียน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร ม.4 ของบริษทั อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด เสร�ม เปนสื่อหลัก (Core Material) ประกอบการสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรู 3 และตัวชี้วัดกลุมสาระการเรียนรู การงานอาชีพและเทคโนโลยี ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 โดยออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักการสําคัญ ดังนี้ 1 ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน คูม อื ครู รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร ม.4 วางแผนการสอนโดยแบงเปนหนวยการเรียนรูต ามลําดับ สาระ (Strand) และหมายเลขขอของมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด แตละหนวยจะกําหนดเปาหมายการเรียนรูและจุด ประสงคการเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทางการประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชดั เจน ครูผสู อนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู ตัวชีว้ ดั สมรรถนะ และคุณลักษณะอันพึงประสงคที่เปนเปาหมายการเรียนรูตามที่กําหนดไวในสาระแกนกลาง (ตามแผนภูมิ) และสามารถ บันทึกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนแตละคนลงในเอกสาร ปพ.5 ไดอยางมั่นใจ แผนภูมิแสดงความสัมพันธขององคประกอบการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผูเรียนเปนสําคัญ

พผ

ูเ

จุ ด ป ร

ะสง

คก า

ส ภา

รี ย น

รู ีเรยน

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชวงชั้น

ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน คูม อื ครู


2 การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ แนวคิ ด ในการจั ด การเรี ย นการสอนที่ ยึ ด ผู  เ รี ย นเป น สํ า คั ญ พั ฒ นามาจากปรั ช ญาและทฤษฎี ก ารเรี ย นรู  Constructivism ที่เชื่อวา การเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสรางความรู โดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดเรียนรูจากบทเรียนใหมกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา ผูเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีการสั่งสมความรูความเขาใจเกี่ยวกับสิ่งตางๆ ติดตัวมากอน ทีจ่ ะเขาสูห อ งเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากประสบการณและสิง่ แวดลอมรอบตัวผูเ รียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกิจกรรม เสร�ม การเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ผูสอนจะตองคํานึงถึง

4

1. ความรูเดิมของผูเรียน วิธีการสอนที่ดีจะตองเริ่มตนจากจุดที่วา ผูเ รียนมีความรูอ ะไรมาบาง แลวจึงใหความรู หรือประสบการณใหม เพื่อตอยอดจาก ความรูเดิม นําไปสูการสรางความรู ความเขาใจใหม

2. ความรูเดิมของผูเรียนถูกตองหรือไม ผูส อนตองปรับเปลีย่ นความรูค วามเขาใจเดิม ของผูเรียนใหถูกตอง และเปนพฤติกรรม การเรียนรูใ หมทมี่ คี ณุ คาตอผูเรียน เพื่อสราง เจตคติหรือทัศนคติที่ดีตอการเรียนรู สิ่งเหลานั้น

3. ผูเรียนสรางความหมายสําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมใหผูเรียนนําความรู ความเขาใจที่เกิดขึ้นไปลงมือปฏิบัติ เพื่อขยายความรูใหลึกซึ้งและมีคุณคา ตอตัวผูเรียนมากที่สุด

แนวคิด Constructivism เนนใหผูเรียนสรางความรูโดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูของตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศ

การเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณ ความรูใ หม เพือ่ กระตนุ ใหผเู รียนเชือ่ มโยงความรู ความคิด กับประสบการณทมี่ อี ยูเ ดิม แลวสังเคราะหเปนความรูห รือแนวคิดใหมๆ ไดดว ยตนเอง

3 การบูรณาการกระบวนการคิด การเรียนรูของผูเรียนแตละคนจะเกิดขึ้นที่สมอง ซึ่งเปนอวัยวะที่ทําหนาที่รูคิดภายใตสภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวย และไดรบั การกระตนุ จูงใจอยางเหมาะสม สอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของผูเ รียนแตละคน การจัดกิจกรรม การเรียนรูและสาระการเรียนรูที่สอดคลองกับความสนใจและมีความหมายตอผูเรียน จะชวยกระตุนใหสมองของผูเรียน สามารถรับรูและเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพตามขั้นตอนการทํางานของสมอง ดังนี้ 1. สมองจะเรียนรูและสืบคน โดยการสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง ปฏิบัติ จนทําใหคนพบความรูความเขาใจ ไดอยางรวดเร็ว

2. สมองจะแยกแยะคุณคาของสิ่งตางๆ โดยการตัดสินใจวิพากษวิจารณ แสดง ความคิดเห็น ยอมรับหรือตอตานตาม อารมณความรูสึกที่เกิดขึ้นในขณะที่เรียนรู

3. สมองจะประมวลเนื้อหาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสานกับ ความรูห รือประสบการณเดิมทีถ่ กู จัดเก็บอยูใ น สมอง ผานการกลัน่ กรองเพือ่ สังเคราะหเปน ความรูค วามเขาใจใหมๆ หรือเปนทัศนคติใหม ที่จะเก็บบรรจุไวในสมองของผูเรียน

การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะเกิดขึ้น เมื่อสมองรูคิด และตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมองผูเรียน โดยเริ่มตนจาก 1. ระดับการคิดพื้นฐาน ไดแก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล การสรุปผล เปนตน

คูม อื ครู

2. ระดับลักษณะการคิด ไดแก การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดไกล คิดหลากหลาย คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล เปนตน

3. ระดับกระบวนการคิด ไดแก กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ กระบวนการแกปญหา กระบวนการ คิดสรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะห เปนตน


5Es การจัดกิจกรรมตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ขั้นตอนการสอนที่สัมพันธกับขั้นตอนการคิดและการทํางานทางสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย คือ วัฏจักรการเรียนรู 5Es ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแตละหนวย ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1

กระตุนความสนใจ

(Engage)

เสร�ม

5

เปนขั้นที่ผูสอนนําเขาสูบทเรียน เพื่อกระตุนความสนใจของผูเรียนดวยเรื่องราวหรือเหตุการณที่นาสนใจโดยใชเทคนิควิธีการ และคําถามทบทวนความรูหรือประสบการณเดิมของผูเรียน เพื่อเชื่อมโยงผูเรียนเขาสูความรูของบทเรียนใหม ชวยใหผูเรียนสามารถ สรุปความสําคัญหัวขอและสาระการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอนการสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอมและสราง แรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน

ขั้นที่ 2

สํารวจคนหา

(Explore)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนเปดโอกาสใหผเู รียนลงมือศึกษา สังเกต หรือรวมมือกันสํารวจ เพือ่ ใหเห็นขอบขายของประเด็นหรือปญหา รวมถึง วิธีการศึกษาคนควา การรวบรวมขอมูลความรูที่จะนําไปสูการสรางความเขาใจประเด็นหรือปญหานั้นๆ เมื่อผูเรียนทําความเขาใจใน ประเด็นหรือปญหาที่จะศึกษาคนควาอยางถองแทแลว ก็ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธีการตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูที่เกี่ยวของกับประเด็นหรือปญหาที่ศึกษา

ขั้นที่ 3

อธิบายความรู

(Explain)

เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา ตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนคนหาคําตอบ และนําขอมูล ความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห สรุปผล และนําเสนอผลที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ ผังมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน ในขั้นตอนนี้ฝกใหผูเรียนใชสมองคิดวิเคราะหและสังเคราะห อยางเปนระบบ

ขั้นที่ 4

ขยายความเขาใจ

(Expand)

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใชเทคนิควิธีสอนตางๆ ที่สงเสริมใหผูเรียนนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนสืบคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะ การเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน ผูเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยง กับประสบการณเดิมโดยนําขอสรุปทีไ่ ดไปใชอธิบายเหตุการณตา งๆ หรือนําไปปฏิบตั ใิ นสถานการณใหมๆ ทีเ่ กีย่ วของกับชีวติ ประจําวัน ของตนเอง เพื่อขยายความรูความเขาใจใหกวางขวางยิ่งขึ้น ในขั้นตอนนี้ฝกสมองของผูเรียนใหสามารถคิดริเริ่มสรางสรรคอยางมี คุณภาพ เสริมสรางวิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป

ขั้นที่ 5

ตรวจสอบผล

(Evaluate)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนประเมินมโนทัศนของผูเ รียน โดยตรวจสอบจากความคิดทีเ่ ปลีย่ นไปและความคิดรวบยอดทีเ่ กิดขึน้ ใหม ตรวจสอบ ทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด หรือการเคารพความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพื่อการ สรางสรรคความรูร ว มกัน ผูเ รียนสามารถประเมินผลการเรียนรูข องตนเอง เพือ่ สรุปผลวามีความรูอ ะไรเพิม่ ขึน้ มาบาง เกิดความเขาใจ มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ หรือในชีวิตประจําวันไดอยางไร ผูเรียนจะเกิดเจตคติ และเห็นคุณคาของตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง

การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนนผูเรียน เปนสําคัญอยางแทจริง เพราะสงเสริมใหผูเรียนไดเรียนรูตามขั้นตอนของกระบวนการสรางความรูดวยตนเอง และ ฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและกระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะชีวิต ทักษะการทํางาน และทักษะการ เรียนรูที่มีประสิทธิภาพ สงผลตอการยกระดับผลสัมฤทธิ์ของผูเรียน ตามเปาหมายของการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คูม อื ครู


O-NET การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ O-NET

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ในแตละหนวยการเรียนรู ทางผูจัดทํา จะเสนอแนะวิธีสอน รูปแบบกิจกรรมการเรียนรู พรอมทั้งออกแบบเครื่องมือวัดและประเมินผลที่สอดคลองกับตัวชี้วัด และสาระการเรียนรูแกนกลางไวทุกขั้นตอน โดยยึดหลักสําคัญ คือ หลักของการวัดและประเมินผล เสร�ม

6

1. การวัดและประเมินผลทุกครั้ง ควรนําผลมาปรับปรุงพัฒนาผูเรียน เปนรายบุคคล

2. การวัดและประเมินผลมี เปาหมาย เพื่อพัฒนาการเรียนรู ของผูเรียนจนเต็มศักยภาพ

3. การนําผลการวัดและประเมินผล ทุกครั้งมาวางแผนปรับปรุงกิจกรรม การเรียนการสอน การเลือกเทคนิค วิธีสอน และสื่อการเรียนรูให เหมาะสมกับสภาพจริงของผูเรียน

การทดสอบผูเรียน 1. การใชขอสอบอัตนัย เนนการอาน การคิดวิเคราะห และการเขียนเพิ่มมากขึ้น 2. การใชคําถามกระตุนการคิดควบคูกับการทําขอสอบที่เนนการคิดอยางตอเนื่องตามลําดับกิจกรรมการเรียนรู และตัวชี้วัด 3. การทดสอบตองดําเนินการทั้งกอนเรียน ระหวางเรียน และหลังเรียน การทดสอบควรใชขอสอบทั้งชนิดปรนัยและ อัตนัย และเปนการทดสอบเพื่อประเมินผลการเรียนของผูเรียนแตละคน เพื่อการสอนซอมเสริมใหบรรลุตัวชี้วัด ไดครบถวน 4. การสอบกลางภาค (ถามี) ควรนําแบบฝกหัดหรือขอสอบทีน่ กั เรียนสวนใหญไมสามารถตอบไดหรือไมครบถวนชัดเจน มา สรางเปนแบบทดสอบอีกครัง้ เพือ่ ตรวจสอบความรูค วามเขาใจทีถ่ กู ตอง และประเมินความกาวหนาของผูเ รียนแตละคน 5. การสอบปลายภาคเรียนเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามตัวชี้วัดที่สําคัญ ควรออกขอสอบใหมีลักษณะเดียวกับ ขอสอบ O-NET โดยเนนการคิดวิเคราะห สังเคราะห เชื่อมโยงประยุกตใช เพื่อสรางความคุนเคย และฝกฝน วิธีการทําขอสอบดวยความมั่นใจ 6. การนําผลการทดสอบของผูเรียนมาวิเคราะห โดยผลการสอบกอนการเรียนตองสามารถพยากรณผลการสอบ กลางภาค และผลการสอบกลางภาคตองทํานายผลการสอบปลายภาคของผูเ รียนแตละคน เพือ่ ประเมินพัฒนาการ ความกาวหนาของผูเรียนเปนรายบุคคล 7. ผลการทดสอบปลายป ปลายภาค ตองมีคาเฉลี่ยสอดคลองกับคาเฉลี่ยของการสอบ NT ที่เขตพื้นที่การศึกษา จัดสอบ รวมทั้งคาเฉลี่ยของการสอบ O-NET ชวงชั้นที่สอดคลองครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดสําคัญ เพือ่ สะทอนประสิทธิภาพของครูผสู อนในการออกแบบการเรียนรูแ ละประกันคุณภาพผูเ รียนทีต่ รวจสอบผลไดชดั เจน การจัดการเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ตองใหผูเรียนไดสั่งสมความรู ความเขาใจตามลําดับขั้นตอน ของกิจกรรมในวัฏจักรการเรียนรู 5Es เพื่อใหผูเรียนไดเติมเต็มองคความรูอยางตอเนื่อง จนสามารถปฏิบัติชิ้นงานหรือ ภาระงานรวบยอดของแตละหนวย ผานเกณฑประกันคุณภาพในระดับที่นาพึงพอใจ เพื่อรองรับการประเมินภายนอกจาก สมศ. ตลอดเวลา คูม อื ครู


ASEAN การเรียนรูสูประชาคมอาเซียน เพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรูบูรณาการอาเซียนศึกษา ผูจัดทําไดวิเคราะห มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดที่มีสาระการเรียนรูสอดคลองกับองคความรูเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนในแงมุมตางๆ ครอบคลุมทัง้ ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน เพื่อสงเสริมการเรียนรูใหผูเรียนเกิดความตระหนัก มีความรูความเขาใจเหมาะสมกับระดับชั้นและกลุมสาระ การเรียนรู โดยเสนอแนะวิธีการจัดกิจกรรมบูรณาการเนื้อหาสาระตางๆ ที่เปนประโยชนตอผูเรียนและเปนการชวย เตรียมความพรอมผูเ รียนทุกคนทีจ่ ะกาวเขาสูก ารเปนสมาชิกของประชาคมอาเซียนไดอยางมัน่ ใจตามขอตกลงปฏิญญา เสร�ม ชะอํา-หัวหิน วาดวยความรวมมือดานการศึกษาเพือ่ บรรลุเปาหมายประชาคมอาเซียนทีเ่ อือ้ อาทรและแบงปน จึงกําหนด 7 เปนนโยบายใหกระทรวงศึกษาธิการจัดการเรียนรูเตรียมความพรอมผูเรียนเขาสูประชาคมอาเซียนภายในป พ.ศ. 2558 ตามแนวปฏิบัติที่สําคัญ ดังนี้

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน 1. การสรางความรูความเขาใจ และตระหนักถึงความสําคัญของ กฎบัตรอาเซียน และความรวมมือ ของ 3 เสาหลัก ซึง่ กฎบัตรอาเซียน ในขณะนี้มีสถานะเปนกฎหมายที่ ประเทศสมาชิกจะตองปฏิบัติตาม หลักการที่กําหนดไวเพื่อใหบรรลุ เปาหมายของกฎบัตรมาตราตางๆ

2. การสงเสริมหลักการ ประชาธิปไตยและการสราง สิ่งแวดลอมประชาธิปไตย เพื่อการอยูรวมกันอยางกลมกลืน ภายใตวิถีชีวิตอาเซียนที่มีความ หลากหลายดานสังคมและ วัฒนธรรม

4. การตระหนักในคุณคาของ สายสัมพันธทางประวัติศาสตร และมรดกทางวัฒนธรรมที่มี พัฒนาการรวมกัน เพื่อเชื่อม อัตลักษณและสรางจิตสํานึก ในการเปนประชากรของประชาคม อาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการศึกษาดาน สิทธิมนุษยชน เพื่อสรางประชาคม อาเซียนใหเปนประชาคมเพื่อ ประชาชนอยางแทจริง สามารถ อยูรวมกันไดบนพื้นฐานการเคารพ ในคุณคาของศักดิ์ศรีแหงความ เปนมนุษยเทาเทียมกัน

5. การสงเสริมสันติภาพ ความ มั่นคง และความปรองดองในสังคม ทั้งระดับประเทศและภูมิภาคของ อาเซียนบนพื้นฐานสันติวิธีและการ อยูรวมกันดวยขันติธรรม

คูม อื ครู


การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

เสร�ม

8

1. การพัฒนาทักษะการทํางาน เพื่อเสริมสรางผูเรียนใหมีทักษะ วิชาชีพที่จําเปนสอดคลองกับ ความตองการของตลาดแรงงาน และสถานประกอบการในอาเซียน สามารถเทียบโอนผลการเรียน และการทํางานตามมาตรฐานฝมือ แรงงานในภูมิภาคอาเซียน

2. การเสริมสรางวินัย ความรับผิดชอบ และเจตคติรักการทํางาน สามารถพึ่งพาตนเอง มีทักษะชีวิต ดํารงชีวิตอยางมีความสุข เห็นคุณคา และภูมิใจในตนเอง ในฐานะที่เปนพลเมืองไทยและ อาเซียน

3. การเรียนรูเพื่อพัฒนาตนเอง อยางตอเนื่องตลอดชีวิต ใหมี ทักษะการทํางานตามมาตรฐาน อาชีพ และคุณวุฒิของวิชาชีพสาขา ตางๆ เพื่อรองรับการเตรียมเคลื่อน ยายแรงงานมีฝมือและการเปน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่ เขมแข็ง เพื่อสรางขีดความสามารถ ในการแขงขันในเวทีโลก

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 1. การเสริมสรางความรวมมือ ในลักษณะสังคมที่เอื้ออาทร ของประชากรอาเซียน โดยยึด หลักการสําคัญ คือ ความงดงาม ของประชาคมอาเซียนมาจาก ความแตกตางและหลากหลายทาง วัฒนธรรมที่ลวนแตมีคุณคาตอ มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน ซึ่งประชาชนทุกคนตองอนุรักษ สืบสานใหยั่งยืน

2. การเสริมสรางคุณลักษณะ ของผูเรียนใหเปนพลเมืองอาเซียน ที่มีศักยภาพในการกาวเขาสู ประชาคมอาเซียนอยางมั่นใจ เปนผูที่มีสุขภาพสมบูรณแข็งแรง มีทักษะการสื่อสาร ทักษะการ ทํางาน ทักษะทางสังคม สามารถ ทํางานรวมกับผูอื่นไดอยาง สรางสรรค และมีองคความรู เกี่ยวกับอาเซียนที่จําเปนตอการ ดํารงชีวิตอยางมีคุณภาพ

4. การสงเสริมการเรียนรูดาน ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี วิถชี วี ติ ความเปนอยูข องเพือ่ นบาน ในอาเซียน เพื่อสรางจิตสํานึกของ ความเปนประชาคมอาเซียนและ ตระหนักถึงหนาที่ของการเปน พลเมืองอาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการเรียนรูภาษา อังกฤษเพื่อการสื่อสารและการ ทํางานตามมาตรฐานอาชีพที่ กําหนดและสนับสนุนการเรียนรู ภาษาอาเซียนและภาษาเพื่อนบาน เพื่อชวยเสริมสรางสัมพันธภาพทาง สังคม และการอยูรวมกันอยางสันติ ทามกลางความหลากหลายทาง วัฒนธรรม

5. การสรางความรูและความ ตระหนักเกี่ยวกับดานสิ่งแวดลอม ปญหาและผลกระทบตอคุณภาพ ชีวิตของประชากรในภูมิภาค รวมทั้งแนวทางการพัฒนาอยาง ยั่งยืน ใหเปนมรดกสืบทอดแก พลเมืองอาเซียนในรุนหลังตอๆ ไป

กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศนโยบายการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) เพื่อเรงพัฒนาเด็ก และเยาวชนไทยใหเปนทรัพยากรมนุษยของชาติที่มีทักษะและความชํานาญ พรอมเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงและ การแขงขันทั้งในภูมิภาคอาเซียนและภูมิภาคอื่นๆ ของสังคมโลก ทั้งนี้ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และผูปกครอง ควรรวมมือกันอยางใกลชิดในการดูแลชวยเหลือผูเรียนและจัดประสบการณการเรียนรูเพื่อพัฒนาผูเรียนจนเต็มศักยภาพ เพื่อกาวเขาสูการเปนพลเมืองอาเซียนอยางมีเกียรติภูมิและศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของตน คณะผูจัดทํา คูม อื ครู


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 3

เทคโนโลยีสารสนเทศฯ (เฉพาะชั้น ม.4)*

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

มาตรฐาน ง 3.1 เขาใจ เห็นคุณคา และใชกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบคืนขอมูล การเรียนรู การสื่อสาร การแกปญหา การทํางาน และอาชีพอยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีคุณธรรม ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

1. อธิบายองค • องคประกอบของระบบสารสนเทศ ประกอบของระบบ ไดแก ฮารดแวร ซอฟตแวร ขอมูล สารสนเทศ บุคลากร และขั้นตอนการปฏิบัติงาน

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน ชั้น ม.4

ชั้น ม.5

ชั้น ม.6

-

• หนวยการเรียนรูท ี่ 1 ระบบสารสนเทศและ เทคโนโลยีสารสนเทศ เพือ่ การตัดสินใจ

-

-

-

2. อธิบายองค • การทํางานของคอมพิวเตอรประกอบ • หนวยการเรียนรูท ี่ 1 ประกอบและหลัก ดวยหนวยสําคัญ 5 หนวย ไดแก หลักการทํางาน การทํางานของ หนวยรับเขา หนวยประมวลผลกลาง และการเลือกใช คอมพิวเตอร หนวยความจําหลัก หนวยความจํา คอมพิวเตอร รอง และหนวยสงออก - หนวยประมวลผลกลาง ประกอบ ดวยหนวยควบคุม และหนวย คํานวณและตรรกะ - การรับสงขอมูลระหวางหนวย ตางๆ จะผานระบบทางขนสง ขอมูลหรือบัส 3. อธิบายระบบ สื่อสารขอมูล สําหรับเครือขาย คอมพิวเตอร

• ระบบสื่อสารขอมูล ประกอบ • หนวยการเรียนรูท ี่ 3 ดวย ขาวสาร ผูสง ผูรับ สื่อกลาง การสือ่ สารขอมูล โพรโตคอล ผานเครือขาย • เครือขายคอมพิวเตอรจะสื่อสารและ คอมพิวเตอร รับ-สงขอมูลกันไดตองใชโพรโตคอล ชนิดเดียวกัน • วิธีการถายโอนขอมูลแบบขนานและ แบบอนุกรม

4. บอกคุณลักษณะ • คุณลักษณะ (Specification) ของ • หนวยการเรียนรูท ี่ 1 ของคอมพิวเตอร อุปกรณคอมพิวเตอร และอุปกรณ หลักการทํางาน และอุปกรณ ตอพวง เชน ความเร็วและความจุ และการเลือกใช ตอพวง ของฮารดดิสก คอมพิวเตอร 5. แกปญหาดวย • แกปญหาโดยใชขั้นตอนดังนี้ กระบวนการ - การวิเคราะหและกําหนด เทคโนโลยี รายละเอียดของปญหา สารสนเทศอยางมี - การเลือกเครือ่ งมือ และออกแบบ ประสิทธิภาพ ขั้นตอนวิธี - การดําเนินการแกปญหา - การตรวจสอบและการปรับปรุง • การถายทอดความคิดในการ แกปญหาอยางมีขั้นตอน

เสร�ม

-

• หนวยการเรียนรูท ี่ 2 เครือขาย คอมพิวเตอรและ อินเทอรเน็ต

-

• หนวยการเรียนรูท ี่ 3 การแกปญ หา ดวยกระบวนการ เทคโนโลยี สารสนเทศ

9

-

-

-

_________________________________ * สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี. (กรุงเทพมหานคร : ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 42-46.

คูม อื ครู


ตัวชี้วัด

ชั้น ม.4

ชั้น ม.5

ชั้น ม.6

6. เขียนโปรแกรม ภาษา

• ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม มี 5 ขั้นตอน ไดแก การวิเคราะหปญหา การออกแบบโปรแกรม การเขียน โปรแกรม การทดสอบโปรแกรม และการจัดทําเอกสารประกอบ • การเขียนโปรแกรม เชน ซี จาวา ปาสคาลวิชวลเบสิก ซีชารป • การเขียนโปรแกรมในงานดาน ตางๆ เชน การจัดการขอมูล การวิเคราะหขอมูลการแกปญหาใน วิชาคณิตศาสตร และวิทยาศาสตร การสรางชิ้นงาน

-

• หนวยการเรียนรูท ี่ 4 การเขียนโปรแกรม ภาษา

7. พัฒนาโครงงาน คอมพิวเตอร

• โครงงานคอมพิวเตอรแบงตาม วัตถุประสงคของการใชงาน ดังนี้ - การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา - การพัฒนาเครื่องมือ - การทดลองทฤษฎี - การประยุกตใชงาน - การพัฒนาโปรแกรมประยุกต • พัฒนาโครงงานคอมพิวเตอรตาม ขั้นตอนตอไปนี้ - คัดเลือกหัวขอที่สนใจ - ศึกษาคนควาเอกสาร - จัดทําขอเสนอโครงงาน - พัฒนาโครงงาน - จัดทํารายงาน - นําเสนอและเผยแพร

-

• หนวยการเรียนรูท ี่ 5 • หนวยการเรียนรูท ี่ 2 การพัฒนาโครงงาน การพัฒนาโครงงาน คอมพิวเตอร คอมพิวเตอรประยุกต ทางดานธุรกิจ

8. ใชฮารดแวรและ ซอฟตแวร ใหเหมาะสม กับงาน

• การเลือกคุณลักษณะของฮารดแวร • หนวยการเรียนรูท ี่ 1 และซอฟตแวรใหเหมาะสมกับงาน หลักการทํางาน เชน คอมพิวเตอรที่ใชในงานสื่อ และการเลือกใช ประสม ควรเปนเครื่องที่มีสมรรถนะ คอมพิวเตอร สูง และใชซอฟตแวรที่เหมาะสม • หนวยการเรียนรูท ี่ 2 ซอฟตแวร คอมพิวเตอรและ การเลือกใชให เหมาะสมกับงาน

เสร�ม

10

คูม อื ครู

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

-

9. ติดตอสื่อสาร • ปฏิบัติการติดตอสื่อสาร คนหาขอมูล คนหาขอมูลผาน ผานอินเทอรเน็ต อินเทอรเน็ต • คุณธรรมและจริยธรรมในการใช อินเทอรเน็ต

-

• หนวยการเรียนรูท ี่ 2 เครือ่ ขาย คอมพิวเตอร และอินเทอรเน็ต

10. ใชคอมพิวเตอร • ใชเทคโนโลยีสารสนเทศชวยในการ ในการประมวลผล ตัดสินใจของบุคคล กลุม องคกร ขอมูลใหเปน ในงานตางๆ สารสนเทศ เพื่อประกอบการ ตัดสินใจ

-

• หนวยการเรียนรูท ี่ 1 ระบบเทคโนโลยี สารสนเทศและ เทคโนโลยีสารสนเทศ เพือ่ การตัดสินใจ

• หนวยการเรียนรูท ี่ 3 การเขียนโปรแกรม ภาษาซีชารป (C#)

• หนวยการเรียนรูท ี่ 2 การพัฒนาโครงงาน คอมพิวเตอรประยุกต ทางดานธุรกิจ

• หนวยการเรียนรูท ี่ 1 การคนหาขอมูล สารสนเทศ -


ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน ชั้น ม.5

ชั้น ม.6

11. ใชเทคโนโลยี • ใชเทคโนโลยีสารสนเทศนําเสนองาน • หนวยการเรียนรูท ี่ 2 สารสนเทศ ในรูปแบบโดยพิจารณาวัตถุประสงค ซอฟตแวร นําเสนองานใน ของงาน คอมพิวเตอรและ รูปแบบทีเ่ หมาะสม การเลือกใชให ตรงตาม เหมาะสมกับงาน วัตถุประสงค ของงาน

-

-

12. ใชคอมพิวเตอร • ใชคอมพิวเตอรชวยสรางชิ้นงานหรือ ชวยสรางชิ้นงาน โครงงาน ตามหลักการทําโครงงาน หรือโครงงานอยาง • ศึกษาผลกระทบดานสังคมและ มีจิตสํานึกและ สิ่งแวดลอมที่เกิดจากงานที่สรางขึ้น ความรับผิดชอบ เพื่อหาแนวทางปรับปรุงและพัฒนา

-

-

• หนวยการเรียนรูท ี่ 2 การพัฒนาโครงงาน คอมพิวเตอรประยุกต ดานธุรกิจ

13. บอกขอควร ปฏิบัติสําหรับ ผูใชเทคโนโลยี สารสนเทศ

-

-

• หนวยการเรียนรูท ี่ 4 อาชญากรรม คอมพิวเตอรและ กฎหมายทีเ่ กีย่ วของ

• ขอปฏิบัติสําหรับผูใชเทคโนโลยี สารสนเทศ เชน สื่อสารและปฏิบัติ ตอผูอื่นอยางสุภาพ ปฏิบัติตาม ระเบียบขอบังคับของระบบที่ใชงาน ไมทําผิดกฎหมายและศีลธรรม แบงปนความสุขใหกับผูอื่น

ชั้น ม.4

เสร�ม

11

คูม อื ครู


คําอธิบายรายวิชา รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 รหัสวิชา ง…………………………………

กลุมสาระการเรียนรู การงานอาชีพและเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 1-2 เวลา 20 ชั่วโมง/ป

ศึกษาและทําความเขาใจระบบการทํางานและองคประกอบของคอมพิวเตอร เพื่อจะไดเลือกใช เสร�ม คอมพิวเตอร อุปกรณตอพวง ฮารดแวร ซอฟแวรไดเหมาะสมกับงานและใชงานไดอยางมีประสิทธิภาพ 12 สามารถติดตอสื่อสาร ถายโอน คนหาขอมูลผานทางเครือขายคอมพิวเตอรและอินเทอรเน็ตไดอยาง มีจิตสํานึกและมีความรับผิดชอบตอสังคม โดยใช ก ระบวนการทํ า งาน กระบวนการปฏิ บั ติ กระบวนการคิ ด วิ เ คราะห เพื่ อ ให เ กิ ด ความรู  ความคิด ความเขาใจ และเห็นคุณคาของเทคโนโลยี สามารถใชเทคโนโลยีสารสนเทศไดเหมาะสมและเกิด ประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด ง 3.1

ม.4-6/2

ม.4-6/3

ม.4-6/4

ม.4-6/8

ม.4-6/11

รวม 5 ตัวชี้วัด

ตาราง

วิเคราะหมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศฯ ม.4

คําชี้แจง : ใหผูสอนใชตารางนี้ตรวจสอบความสอดคลองของเนื้อหาสาระการเรียนรูในหนวยการเรียนรูกับมาตรฐาน การเรียนรูและตัวชี้วัดชวงชั้น สาระที่ 3 มาตรฐาน ง 3.1

มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัด หนวยการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 1 : หลักการทํางานและการเลือกใช คอมพิวเตอร

ตัวชี้วัด 1

2

3

หนวยการเรียนรูที่ 2 : ซอฟตแวรคอมพิวเตอรและการ เลือกใชใหเหมาะสมกับงาน หนวยการเรียนรูที่ 3 : การสื่อสารขอมูลสําหรับ เครือขายคอมพิวเตอร

4

5

6

7

8

10

11

หมายเหตุ ✓ เฉพาะที่สอดคลองกับตัวชี้วัด ม.4 เทานั้น ตัวชี้วัดที่เหลือจะจัดการเรียนการสอนในชั้น ม.5 และ ม.6

คูม อื ครู

9

12

13


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹

เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร ม.4 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4

กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

ผูเรียบเรียง

รศ. ดร. พิมลพรรณ ประเสริฐวงษ เรพเพอร นางสาวอารียา ศรีประเสริฐ นางสาวสายสุนีย เจริญสุข นางสาวสุปราณี วงษแสงจันทร

ผูตรวจ

ผศ. ดร. พรฤดี เนติโสภากุล นายเอนก สุวรรณวงศ นายจารุวัส หนูทอง

บรรณาธิการ

นายมนตรี สมไรขิง นายสมเกียรติ ภูระหงษ พิมพครั้งที่ 6

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ ISBN : 978-616-203-083-3 รหัสสินคา 3417006

¤Œ¹¤ÇÒÁÃÙŒ¢ÂÒ¤ÇÒÁ¤Ô´¨Ò¡

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè 1 ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ 3447006

EB GUIDE

ที่พิมพกํากับหัวขอสําคัญในหนังสือเรียนหลักสูตรแกนกลางฯ ผาน www.aksorn.com ไปยังแหลงความรูทั่วไทย-ทั่วโลก

( ดูผงั มโนทัศนฯ ไดทปี่ กหลังดานใน)

คณะผูจัดทําคูมือครู อารียา ศรีประเสริฐ สุธาสินี คําพมัย สิริฤกษ อิ่นแกว


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

หนังสือเรียน

อธิบายความรู Explain

รายวิชาพื้นฐาน

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

¤íÒ¹íÒ

กลุมสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี เปนกลุมสาระที่ชวยพัฒนาให ผูเรียนมีความรู ความเขาใจ มีทักษะพื้นฐานที่จําเปนตอการดํารงชีวิต และรู เทาทันการเปลี่ยนแปลง สามารถนําความรูเกี่ยวกับการดํารงชีวิต การอาชีพ และเทคโนโลยี มาประยุกตใชในการทํางานอยางมีความคิดสรางสรรคและแขงขัน ในสังคมไทยและสากล เห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ รักการทํางาน และ มีเจตคติที่ดีตอการทํางาน สามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมไดอยางพอเพียงและ ชัมีค้นวามสุ มัธยมศึ กษาปที่ 4 ข กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี บหนังสือเรีกยษาขั นที้น่ใชพืป้นฐาน ระกอบการเรี นการสอนสําหรับผูเรียนในระดับ ตามหลักสํสูาตหรั รแกนกลางการศึ พุทธศักราชย2551 ชัอารี้นยมัาธศรียมศึ กษาปที่ 4 (ม.4) กลุมสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี จะจัดทํา ประเสริฐ และคณะ แยกออกเปน 2 เลมดวยกัน กลาวคือ แยกเปนการงานอาชีพและเทคโนโลยี เลมหนึ�ง (ซึ�งจะกลาวถึงสาระที่ 1 การดํารงชีวิตและครอบครัว สาระที่ 2 การ ออกแบบและเทคโนโลยี )ใหใและเทคโนโลยี สยนแบบ ารสนเทศและการสื ่อฉบัสาร อีกเลมแบบอื หนึ�ง่น ับการคุ มครองตามพ.ร.บ. พ.ร.บ.ลิขลิสิขทสิธิท์ ธิห์ าหมมิ ามมิ ดลอกเลียเลีนแบบ าเนาจําจํลองงานจากต าลองงานจากตนนฉบั แปลงเปนนรูรูปปแบบอื หนัหนั งสืองสืเลอมเลนีม้ไนีด้ไรดับรการคุ มครองตาม ผหูใผดูใดทําทํซํา้าซํ้าคัดคัลอก ทําทํสําาสํเนา บบหรืหรืออแปลงเป ในวิธธีตีตาางๆ งๆ ทุทุกกวิวิธธี ี ไม(ซึ ไมวาว�งทัาทั้งเล ้งหมดหรื อบางส โดยมิ ดับรอนุ ับอนุ ญสาระที าตจากเจ า่ ของลิ ขทสิธิ์ถทือธิ์เป ถือนเปการละเมิ นการละเมิ ผูกระทํ ทั้งทางแพ งและทางอาญา ในวิ หมดหรื อบางส โดยมิ ไน ดไรหนั ญกาตจากเจ าของลิ ผูดกระทํ าจะตาจะต องรัอบงรั ผิดบทัผิ้งดทางแพ มหลั งน�วน้จวนะเน 3ขสิเทคโนโลยี สดารสนเทศและการสื ่องและทางอาญา สาร) ทั้งน�้ ครูผูสอนและสถานศึกษาพึงใชควบคูกัน เพื่อประสิทธิภาพในการเรียนการสอน และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีของผูเรียน พิมพครั้งที่ 7 ม เทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร จะเป น สาระเกี่ ย วกั บ สงวนลิขสิโดยเล ทธิ์ตามพระราชบั ญญัติ ISBN : 978-616-203-083-3 กระบวนการเทคโนโลยี สารสนเทศ การติดตอสื่อสาร การคนหาขอมูล การใช ขอมูลและสารสนเทศ การแกปญหาหรือการสรางงาน คุณคาและผลกระทบ ของเทคโนโลยีสารสนเทศ ภายในเลมไดจัดแบงเน�้อหาแยกเปนหนวยการเรียนรู มีเน�้อหาที่สอดคลอง กับสาระการเรียนรูแกนกลาง รวมทั้งมีระดับความยากงายและจํานวนเน�้อหา ทีเ่ หมาะสมกับเวลาเรียน ทัง้ น�ท้ างคณะผูเ รียบเรียงหวังเปนอยางยิง� วา หนังสือเรียน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเลมน�้ จะเปนประโยชนอยางยิ�งตอการ นําไปใชประกอบการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษาทุกแหง ชวยใหผูเรียน ไดรับความรู มีทักษะ มีคุณลักษณะอันพึงประสงค ตลอดจนบรรลุตัวชี้วัดตามที่ หลักสูตรแกนกลาง ฯ ไดกําหนดไวทุกประการ

คคําํา เเตตือ น

เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร ม.4

ผูเรียบเรียง


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Explain

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Ò¹íÒ Ë¹Ñ§Ê×ÍàÃÕ¹ ¤íÒá¹Ð¹íÒ¤í㹡ÒÃ㪌

กลุมสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี เปนกลุมสาระที่ชวยพัฒนาให งสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเลมนี้ สรางขึ้นเพื่อใหเปน ผูเรียนมีคหนั วามรู  ความเขาใจ มีทักษะพื้นฐานที่จําเปนตอการดํารงชีวิต และรู สือ่ สําหรับใชประกอบการเรียนการสอนในรายวิชาพื้นฐาน กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี เทาทันการเปลี่ยนแปลง สามารถนําความรูเกี่ยวกับการดํารงชีวิต การอาชีพ ชัน้ มัธยมศึกษาปที่ 4 และเทคโนโลยี มาประยุกตใชในการทํางานอยางมีความคิดสรางสรรคและแขงขัน โดยเนือ้ หาตรงตามสาระการเรียนรูแ กนกลางขัน้ พืน้ ฐาน อานทําความเขาใจงาย ใหทงั้ ความรูแ ละชวย ในสังคมไทยและสากล เห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ รักการทํางาน และ พัฒนาผูเ รียนตามหลักสูตรและตัวชีว้ ดั เนือ้ หาสาระแบงออกเปนหนวยการเรียนรูต ามโครงสรางรายวิชา สะดวก มีเจตคติที่ดีตอการทํางาน สามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมไดอยางพอเพียงและ แกการจัดการเรียนการสอนและการวัดผลประเมินผล พรอมเสริมองคประกอบอืน่ ๆ ทีจ่ ะชวยทําใหผเู รียนไดรบั มีความสุข ความรูอ ยางมีประสิทธิภาพ à¹×éÍËҵçµÒÁÊÒÃСÒÃàÃÕ สําหรับหนังสือเรียนที่ใชประกอบการเรียนการสอนสํ าหรับผูÂเ¹ÃÙรียŒá¡¹¡ÅÒ§ นในระดับ à¡Ãç´ IT à¾ÔÁè àµÔÁ¨Ò¡à¹×Íé ËÒ ãËŒ¤ÇÒÁÃÙŒáÅÐàÍ×é͵‹Í¡ÒùíÒä»ãªŒÊ͹à¾×èÍ ãËŒºพÃÃÅØ µÑǪÕéÇÑ´ áÅÐÊÌҧ¤Ø³ÅÑ¡จะจั ɳРด ทํ า ÁÕá·Ã¡à»š¹ÃÐÂÐæ à¡ÃÔè¹¹íÒกลุ à¾×èÍãËŒ Ò㨶֧ÊÒÃÐÊíÒ¤ÑÞ ´้ น ¡ÅØมั ‹Áà¹×ธéÍยมศึ ËÒ໚¹Ë¹‹กÇษาป ¡ÒÃàÃÕÂท ¹ÃÙŒ ชั¨ÑÊдǡᡋ มࢌสาระการงานอาชี และเทคโนโลยี Íѹ¾Ö§»ÃÐʧ¤ ã¹Ë¹‹Ç·Õè¨ÐàÃÕ ¹ ¡ÒèѴ¡ÒÃàÃÕ Â¹¡ÒÃÊ͹ี่ 4 (ม.4) แยกออกเปน 2 เลมดวยกัน กลาวคือ แยกเปนการงานอาชีพและเทคโนโลยี เลมหนึ�ง (ซึ�งจะกลาวถึงสาระที่ 1 การดํารงชีวิตและครอบครัว สาระที่ 2 การ ออกแบบและเทคโนโลยี) และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อีกเลมหนึ�ง (ซึ�งเลมหลังน�้จะเนนหนักสาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร) ทั้งน�้ ครูผสู อนและสถานศึกษาพึงใชควบคูก นั เพือ่ ประสิทธิภาพในการเรียนการสอนและ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีของผูเรียน 1 โดยเล ม เทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร จะเป น สาระเกี่ ย วกั บ กระบวนการเทคโนโลยี สารสนเทศ การติดตอสื่อสาร การคนหาขอมูล การใช ขอมูลและสารสนเทศ การแกปญหาหรือการสรางงาน คุณคาและผลกระทบ ของเทคโนโลยีสารสนเทศ Web Guide á¹Ð¹íÒáËÅ‹§¤Œ¹¤ÇŒÒ¢ŒÍÁÙÅ µÑǪÕÇé ´Ñ áÅÐÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙጠ¡¹¡ÅÒ§ µÒÁ·ÕËè ÅÑ¡Êٵà à¾ÔèÁàµÔÁ¼‹Ò¹Ãкº Online ¡íÒ˹´ à¾×èÍãËŒภายในเล ·ÃÒº¶Ö§à»‡ÒËÁÒÂ㹡ÒÃÈÖ ÉÒ งเน�้อหาแยกเปนหนวยการเรียนรู มีเน�้อหาที่สอดคลอง มไดจัด¡แบ ¤íÒ¶ÒÁ»ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒáÅСԨ¡ÃÃÁ ÁØÁà·¤â¹âÅÂÕ¨Ò¡à¹×éÍËҹ͡à˹×ͨҡ·ÕèÁÕ Ë¹ŒÒẺãËÁ‹ÊǧÒÁ ¾ÔÁ¾ ô ÊÕ Ò§ÊÃä ¾Ñ²้ อ¹Ò¡ÒÃàÃÕ ã¹ÊÒÃСÒÃàÃÕ Â¹Ã٠ጠ¡¹¡ÅÒ§ à¾×Íè à¾ÔÁè ¾Ù¹áÅÐ า ยและจํ าÊÃŒนวนเน� กัDesign บ สาระการเรี ย นรู  แ กนกลาง รวมทั ้ ง มี ร ะดั บ ความยากง หา ¹ÃÙŒà¾×èÍãËŒ¼ÙŒàÃÕ¹ µÅÍ´àÅ‹Á ª‹ÇÂãˌ͋ҹ·íÒ¤ÇÒÁࢌÒã¨ä´Œ§‹Ò ÁդسÀÒ¾ºÃÃÅØÁҵðҹáÅеÑǪÕéÇÑ´ ¢ÂÒ¾ÃÁá´¹¤ÇÒÁÃÙ㌠ˌ¡ÇŒÒ§¢ÇÒ§ÍÍ¡ä» ที่ เ หมาะสมกั บ เวลาเรี ย น ทั้ ง น�้ ท างคณะผู เ รี ย บเรี ย งหวั ง เป น อย า งยิ� ง ว า Q หนังสือเรียนเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเลมน�้ จะเปนประโยชนAอยางยิ�ง ตอการนําไปใชประกอบการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษาทุกแหง ชวยให ผูเรียนไดรับความรู มีทักษะ มีคุณลักษณะอันพึงประสงค ตลอดจนบรรลุตัวชี้วัด ตามที่หลักสูตรแกนกลาง ฯ ไดกําหนดไวทุกประการ System) เปนระบบ 2.2) ระบบปฏิบัติการแบบเครือขาย (Network Operating เตอร และชวยให ่อสารระหวางคอมพิว ปฏิบัติการที่ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อจัดการงานดานการสื อุปกรณตางๆ รวมกันได เชน ฮารดดิสก คอมพิวเตอรที่เชื่อมตออยูในเครือขายสามารถใช รับผูใชงานไดหลายคน รวมทั้งมีระบบปองกัน เครื่องพิมพ เครื่องสแกนเนอร เปนตน สามารถรอง เอนทเซิรฟเวอร (Client Server การสูญหายของขอมูลดวย ใชหลักการประมวลผลแบบไคล เครื่องลูกขาย (Client) ไดหลาย บริการแก System) กลาวคือ เครื่องแมขาย (Server) สามารถให มูลจากเครื่องแมขาย สวนประกอบของระบบ เครื่องในเวลาเดียวกันหากเครื่องลูกขายเรียกใชขอ ดการโปรแกรมจะทํางานอยูบ นเครือ่ งแมขา ย ปฏิบตั กิ ารเครือขายสําหรับการเรียกใชขอ มูลและการจั อขายจะทํางานอยูบนเครื่องลูกขาย ไดแก ในขณะที่สวนประกอบอื่นๆ ของระบบปฏิบัติการเครื บตั กิ ารคอมพิวเตอรแบบเครือขาย มีดงั นี้ งระบบปฏิ า อย ว ตั ช  ใ ผู บ กั อ ต ิ ด ผลและการต การประมวล

2.3) ระบบปฏิบัติการแบบฝง (Embed ded Opereting System) เปนระบบปฏ การที่ใชกับเครื่องคอมพิวเตอรพกพา ิบัติ ไดแ ซึ่งระบบปฏิบัติการจะถูกเก็บไวในรอม ก พีดีเอ ปาลม โทรศัพทมือถือ (ROM) ของเครือ่ ง ใชหนวยความจาํ นอย สามารถ ปอน ขอมูลโดยใชสไตลัส (Stylus) ซึง่ เปนแท งพลาสติก ใชเขียนตัวอักษรลงบนจอภาพได ดั งนั้น ระบบ ปฏิบัติการแบบฝงจึงตองมีคุณสมบั ติวิเคราะห ลายมือเขียน (Hand Writing Recogni tion) และ ทําการแปลงเปนตัวอักษรเขาสูระบบได อย ถูกตอง ตัวอยางระบบปฏิบัติการคอมพ าง ระบบปฏิบัติการแบบฝ ง มีรูปแบบการจัดวางหนาตาง ิวเตอร แบบกะทั แบบฝง มีดังตอไปนี้ ดรัด เพื่อใหเหมาะสมกับหนาจอของเคร ื่อง พกพาที ่มีขนาดเล็ก

Server) 1 ระบบปฏิบตั กิ ารวินโดวส เซิรฟ เวอร (Windowsออกแบบมาเ พื่อใชงานกับระบบเครือขาย

หนวยการเรีย

ในอดีต สวนใหญจงึ คอมพิวเตอรถูกสรางขึ สามารถมากใชในงานดานวิทยาศาสต ้นเพื่อชวยในการคํา เปนการนําไปใขึน้ จึงมีการนาํ คอมพิว ร แตปจ จุบนั คอมพิว นวณที่ยุงยากซับซอน ทํางานไดรวดเ ชดา นการแพทย ธุร เตอรมาใชง านในดานต เตอรไดขยายขีดความ ขั้นพื้นฐานที ร็ว และถูกตองแมน ยํกิจ บันเทิง การทหาร ซึางๆ มากมาย ไมวา จะ ่เหมือนกัน ทําใหเราสามา ซึ่งการเรียนรูา คอมพิวเตอรทกุ ประ ง่ คอมพิวเตอรชว ยให เภท หลักการทํา รถใชงานคอมพ งานของ ลวนมีการทาํ งาน นอ กจ ิวเตอ สามารถเลื าก นี้ กา รเรี ย นรู  ห ลั รไดอยางเต็มประสิท คอมพิวเตอร จะชวย อกใชงานค ก กา รเลื อ กค ธิภาพ การเปลี่ยนแป อม ลงของเทคโนโพิวเตอรไดอยางเหมาะอม พิ ว เตอ ร ก็ จ ะช ว ยท สม ประหย ลยีได ํา ัด และรอง ให รับ

นรูที่

ตัวชี้วัด

และซอฟตแวร

ป ม. ใหเหมาะสมกั กรณตอพวง (ง 3.1 ม. 4-6/44-6/2) บงาน (ง 3.1 ) ม. 4-6/8)

สาระการเรี

à¡Ãç´ IT

ยนรูแกนก

• การทํางานขอ

ลาง

งคอม รับเขา หนวยประม พิวเตอรประกอบด วยหนวยสํ วลผลกลาง หนวยสงออก หนวยความ าคัญ 5 หนวย ไดแก จําหลัก หน หน - หนวยประม วยความจํารอง วย วลผลกลาง และ ประกอบดวยหนว และตรรกะ ยควบคุม - การรับ และห

นวยคํานวณ • คุณลักษณะสงขอมูลระหวางหนวยตา งๆ (specificatio n) ของอุปกรณคจะผานระบบขนสงขอมู ความเร็ว ลหรื อมพิวเตอรแ • การเลือกคุและความจุของฮารดดิสก ละอุปกรณต อบัส ณลั อ พวง เชน คอมพิวเตอรท กษณะของฮารดแวรและซอ ซอฟตแวรท ี่ใชในงานสื่อประสม ควรเป ฟตแวรใหเหมาะสมกับ ี่เหมาะสม งาน นเครื่องที่มีส มรรถนะสูง เชน และใช

เป น ระบบป ฏิ บั ติ ก ารที่ ใ ช กั บ เครื คอมพิ ว เตอร แ บบพกพ า ที่ เ รี ย กว า ่ อ ง เครื ปาลม มีรูปแบบการติดตอกับผูใชแบบกราฟ่ อ ง ระบบปฏิ บั ติ ก ารปาล ม และเครื่ อ งปาล ก พัฒนาขึ้นโดยบริษัทปาลมซอรซ (Palm ม ถู ก ซึ่งระบบปฏิบัติการปาลมนี้ ไดรับความนิInc.) ยม อยางแพรหลาย

Palm OS

หลักกา ํา งาน และการรท เลือกใชคอม พิวเตอร

• อธิบายองค • บอกคุณลั ประกอบและหลักการทํา • ใชฮารดแวรกษณะของคอมพิวเตอรและอุงานของคอมพิวเตอร (ง 3.1

1 ระบบปฏบิ ตั กิ ารปาลม (Palm OS)

เปนระบบปฏิบัติการที่พัฒนาโดยบริษัทไมโครซอฟต อ่ งคอมพิวเตอรทเี่ ปนเครือ่ งแมขา ยทีใ่ หบริการ ขององคกรขนาดเล็กและขนาดกลาง นิยมติดตัง้ กับเครื นโดวส เซิรฟเวอรมีการพัฒนาตางๆ อยาง ขอมูลและโปรแกรมกับเครื่องลูกขาย ระบบปฏิบัติการวิ Server 2003 และ Windows Server 2008 ตอเนือ่ ง ไดแก Windows NT, Windows 2000, Windows

ม รควบคุมคอมพิวเตอรในเครือขาย ซึ่งเปนที่นิย มีหนาที่บริหาารควบคุ

ระบบปฏิบัติการวินโดวส เซิรฟเวอร ถูกออกแบบมาให ของหลายองคกร

โอเพนซอรซ โอเพนซอรซ (Open Source) คือ การเปดเผยหลักการ วิธีการออกแบบ โดยเฉพาะซอฟตแวร และพัฒนาสินคาหรือความรู ซอฟตแวรโอเพนซอรซ (Open หรือชุดของคําสัง่ ดวยภาษาคอมพิวเตอรSource Software) คือ ซอฟตแวรที่เขียนรหัสตนฉบับ (Source Code) ทีเ่ ปดโอกาสใหผใู ชรวมถึงผูพ ฒั นานําเอาซอฟต และเผยแพรรหัสตนฉบับภายใตเงื่อนไขทางข แวรนนั้ ไป แกไข ดัดแปลง โปรแกรมเว็บเบราวเซอร ไฟรฟอกซ ระบบปฏิอตกลงทางกฎหมายได ซอฟตแวรโอเพนซอรซที่เปนที่รูจักกันดี เชน ไทยและหนวยงานภาครัฐและเอกชน เริ บัติการลินุกซ เปนตน และดวยเหตุนี้ทําใหผูประกอบการซอฟตแวร ่มหันมาใหความสนใจการพัฒนาซอฟต แวรโอเพนซอรซกันมากขึ้น

EB GUIDE 47

http://www.aksorn.com/LC/Tech/M4/07

49

โลยี

มุมเทคโน

1. ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับซอฟตแวรคอมพิวเตอร

มพิวเตอร ใชส่ังให ซอฟตแวร (Software) หมายถึง ชุดคําสั่งที่เขียนขึ้นดวยภาษาของคอ างานของอุปกรณ มการทํ คอมพิวเตอรทํางานตามความตองการของผูใชคอมพิวเตอร และควบคุ างผูใชคอมพิวเตอร มโยงระหว อ ่ กลางเชื ว ตั น ป เ วร แ ซอฟต คอมพิวเตอรตางๆ กลาวไดวา มผัสไมได แตสามารถรับ กับเครื่องคอมพิวเตอร ซึ่งซอฟตแวรเปนสิ่งที่ผูใชมองไมเห็นและสั ็นและสัมผัสได ซึ่งชุด รูการทํางานได แตกตางจากฮารดแวร (Hardware) ที่สามารถมองเหเตอร ทํ า งานอย า งใด คํ า สั่ ง ที่ สั่ ง ให ค อมพิ ว อยางหนึ่งนั้นเรียกวา โปรแกรม เชน โปรแกรม ไมโครซอฟตเวิรด (Microsoft Word) โปรแกรม อินเทอรเน็ตเอ็กพลอเรอร (Internet Explorer) เปนตน ซอฟตแวรสามารถแบงออกไดเปน 2 ประเภทไดแก ซอฟตแวรระบบ (System Software) เปนโปรแกรมที่ทําหนาที่จัดการ กับระบบคอมพิวเตอร และซอฟตแวรประยุกต (Application Software) เปนโปรแกรมที่ทําให เครื่องคอมพิวเตอรทํางานเฉพาะอยางตาม ตัวอยางซอฟตแวรตางๆ ความตองการของผูใช

ซอฟตแวร ซอฟตแวร ประยุกต

ซอฟตแวร ระบบ

ก ียดสูงมา วามละเอ ม ซึ่งมีค านเรือน เปนตน ดาวเทีย โลกจาก อก ซอกซอย บ ักเรียน ที่จะ องทุกมุม าพถายข เล็ก เชน ถนน ตร ับอาจารย และน ไดทําการ Earth ภ ดู le าร og อร ําหร กรม Go รแกรมที่ใชในก งไปจนถึงวัตถุ เหมาะส เครื่องคอมพิวเต านโปรแ นโป และล นได จึง ื่อ การใชง Earth เป จ สูประเทศ นการเรียนการสอ ใชงานไดตอเม Google จากโลกทั้งใบไป โหลดเสร็ ใ Earth จะ ประยุกต พ ังจากดาวน Google ารนําไป ขยายภา com/ หล สามารถ ยและสะดวกในก ิชาตางๆ โดย .google. op rth า /ea นว ง p:/ นใ skt ี่ htt ซึ่งใชงาน นและการเรีย rth ที่ De rth ไดท Ea Ea le สอ น ้ le og าร นั า og Go ใชในก เน็ตอยูเท ดโปรแกรม Go เสร็จจะมี Icon ้ง อินเทอร เชื่อมตอ ามารถดาวนโหล ม ซึ่งเมื่อติดตั รแกร ผูใชส Earth รติดตั้งโป Google ใหทํากา รแกรม เรียบรอย นของโป จะเห็น งต อ ้ ื เบ าน แกรม การใชง ี่เขาสูโปร หลังจากท เมาส หมุนลูกโลก ี่ ใช ่งสามารถ ื่อไปยังประเทศท ลูกโลก ซึ เพ ที่ลูกโลก ทางตางๆ ไปในทิศ โดยนําเมาสเขาไป  ตองการได ลวเลื่อนเมาส แ  ่ คลิกคางไว งสถานที ได  โ ดย ตําแหน ทํ า การคนหา  น หา สา มา รถ อง กา รค ไป ใน ช งก าร ลง ชื่อเมือง ื อ งที่ ต  อ ใส ใส  ชื่ อ เม cal Search) ถา น (Lo โล กไ ปใ บินไปที่ รแ กร มจ ะห มุ น โป รดูแผนที่ ถู ก ต อ ง โดยอัตโนมัติ ื่องมือในกา นั้น การใชเคร ตําแหนง

่อนมุมมอ

ระบบปฏิบัติการ

38

โปรแกรม อรรถประโยชน

ซอฟตแวรประยุกต เฉพาะงาน

ซอฟตแวรประยุกต ทั่วไป

&

¤Ó¶ÒÁ »ÃШÓ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ

rth

ogle Ea

วกับ Go

กี่ย ความรูเ

ารเลื จะ ใชในก แผนที่ วา ตางๆ ในการมอง ใชปรับองศามกี่องศา มองจากมุ

งไปในทิศ

อก เพื่อดู ภาพเขา-อองการ โดย ่ต ในการซูม ทาง ใช ละเอียดในระดับที ยายใหญ และ ราย ็กลง ่ + ภาพจะข เมื่อคลิกที ่อคลิกที่ - ภาพจะเล ใกลขึ้น เมือกไป และไกลอ

1. 2. 3. 4. 5.

ขั้นตอนการทํางานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอรมีกี่ขั้นตอน อะไรบาง จงอธิบายองคประกอบของระบบคอมพิวเตอรมาอยางสังเขป ประสิทธิภาพในการประมวลผลของคอมพิวเตอรจะเร็วหรือชา ขึ้นอยูกับอะไรบาง ในการเลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอรมาใชงาน จะตองคํานึงถึงปจจัยอะไรบาง จงอธิบาย จงพิจารณาวาอาชีพหรือหนวยงานที่กําหนดให จัดเปนผูใชงานระดับใด เพราะสาเหตุใด นักเรียน นักเขียนโปรแกรม นักออกแบบสื่อโทรทัศน ครู พนักงานธนาคาร เจาหนาที่สถิติ แมคา วิศวกร สํานักพิมพ

• • •

• • •

• • •

¡Ô¨¡ÃÃÁ ÊÌҧÊÃä ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ

กิจกรรมที่

1

กิจกรรมที่

2

กิจกรรมที่

3

เชิญชางเทคนิคที่มีความรูทางดานคอมพิวเตอรมาเปนวิทยากรในการถอด องคประกอบสวนตางๆ ของเครื่องคอมพิวเตอรใหนักเรียนชม พรอมอธิบาย หนาที่และหลักการทํางานขององคประกอบแตละสวน ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 4 - 5 คน ใหจัดทํารายงานเกี่ยวกับลักษณะและ ความสําคัญของอุปกรณที่กําหนดให พรอมทั้งนําเสนอขอมูลหนาชั้นเรียน ซีพียู เมนบอรด ฮารดดิสก การดแสดงผล จอภาพ เครื่องพิมพ หนวยความจําแรม เครือ่ งสแกนเนอร เชิญวิทยากรมาบรรยายใหความรูเกี่ยวกับหลักการเลือกเครื่องคอมพิวเตอร ใหสอดคลองกับการใชงานและคุมคาราคา

ผูเรียบเรียง 33 36


สํารวจคนหา Explore

1

Evaluate

1-3 2 4 26 34

«Í¿µ áÇà ¤ÍÁ¾ÔÇàµÍà áÅСÒÃàÅ×͡㪌ãËŒàËÁÒÐÊÁ¡Ñº§Ò¹

37 - 8

● ● ●

3

ตรวจสอบผล

¡Ò÷íÒ§Ò¹¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹¢Í§¤ÍÁ¾ÔÇàµÍà ͧ¤ »ÃСͺ¢Í§Ãкº¤ÍÁ¾ÔÇàµÍà ËÅÑ¡¡ÒÃàÅ×Í¡¤ÍÁ¾ÔÇàµÍà ª¹Ô´¢Í§¡ÒÃàÅ×Í¡«×éͤÍÁ¾ÔÇàµÍÃ

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

Expand

ËÅÑ¡¡Ò÷íÒ§Ò¹ áÅСÒÃàÅ×͡㪌¤ÍÁ¾ÔÇàµÍà ●

2

ขยายความเขาใจ

ÊÒúÑÞ ●

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

Explain

¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹à¡ÕèÂǡѺ«Í¿µ áÇà ¤ÍÁ¾ÔÇàµÍà «Í¿µ áÇà Ãкº «Í¿µ áÇà »ÃÐÂØ¡µ ¡ÒèѴËÒ«Í¿µ áÇà à¾×èÍÁÒ㪌§Ò¹

¡ÒÃÊ×èÍÊÒâŒÍÁÙÅÊíÒËÃѺà¤Ã×Í¢‹Ò ¤ÍÁ¾ÔÇàµÍà ● ● ● ● ●

38 39 57 65

9

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

อธิบายความรู

9

Engage

9

กระตุน ความสนใจ

¤ÇÒÁÃÙàŒ º×Íé §µŒ¹¢Í§¡ÒÃÊ×Íè ÊÒâŒÍÁÙÅÊíÒËÃѺà¤Ã×Í¢‹Ò¤ÍÁ¾ÔÇàµÍà ¡ÒÃÊ×èÍÊÒâŒÍÁÙÅ ÍØ»¡Ã³ ·ÕèÊíÒ¤ÑÞã¹Ãкºà¤Ã×Í¢‹Ò¤ÍÁ¾ÔÇàµÍà à¤Ã×Í¢‹Ò¤ÍÁ¾ÔÇàµÍà »ÃÐ⪹ ¢Í§à¤Ã×Í¢‹Ò¤ÍÁ¾ÔÇàµÍÃ

ºÃóҹءÃÁ

9 - 90 70 73 83 84 88

91


กระตุน ความสนใจ กระตุEngage นความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

เปาหมายการเรียนรู

1. อธิบายองคประกอบและหลักการทํางานของ คอมพิวเตอรได 2. บอกคุณลักษณะของคอมพิวเตอรและ อุปกรณตอพวงได 3. สามารถใชฮารดแวรและซอฟตแวร ใหเหมาะสมกับงาน

สมรรถนะของผูเรียน 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการแกปญหา 3. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี

คุณลักษณะอันพึงประสงค

1

หนวยการเรียนรูที่

ตัวชี้วัด

ในอดีตคอมพิวเตอรถูกสรางขึ้นเพื่อชวยในการคํานวณที่ยุงยากซับซอน สวนใหญจงึ ใชในงานดานวิทยาศาสตร แตปจ จุบนั คอมพิวเตอรไดขยายขีดความ สามารถมากขึน้ จึงมีการนําคอมพิวเตอรมาใชงานในดานตางๆ มากมาย ไมวา จะ เปนการนําไปใชดา นการแพทย ธุรกิจ บันเทิง การทหาร ซึง่ คอมพิวเตอรชว ยให ทํางานไดรวดเร็ว และถูกตองแมนยํา คอมพิวเตอรทกุ ประเภทลวนมีการทํางาน ขั้นพื้นฐานที่เหมือนกัน ซึ่งการเรียนรูหลักการทํางานของคอมพิวเตอร จะชวย ทําใหเราสามารถใชงานคอมพิวเตอรไดอยางเต็มประสิทธิภาพ นอกจากนี้ การเรี ย นรู  ห ลั ก การเลื อ กคอมพิ ว เตอร ก็ จ ะช ว ยทํ า ให สามารถเลือกใชงานคอมพิวเตอรไดอยางเหมาะสม ประหยัด และรองรับ การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีได

หลักการทํางาน และการเลือกใชคอมพิวเตอร

• อธิบายองคประกอบและหลักการทํางานของคอมพิวเตอร (ง 3.1 ม. 4-6/2) • บอกคุณลักษณะของคอมพิวเตอรและอุปกรณตอพวง (ง 3.1 ม. 4-6/4) • ใชฮารดแวรและซอฟตแวรใหเหมาะสมกับงาน (ง 3.1 ม. 4-6/8)

สาระการเรียนรูแกนกลาง

• การทํางานของคอมพิวเตอรประกอบดวยหนวยสําคัญ 5 หนวย ไดแก หนวย

รับเขา หนวยประมวลผลกลาง หนวยความจําหลัก หนวยความจํารอง และ หนวยสงออก - หนวยประมวลผลกลาง ประกอบดวยหนวยควบคุม และหนวยคํานวณ และตรรกะ - การรับสงขอมูลระหวางหนวยตางๆ จะผานระบบขนสงขอมูลหรือบัส • คุณลักษณะ (specification) ของอุปกรณคอมพิวเตอรและอุปกรณตอ พวง เชน ความเร็ว และความจุของฮารดดิสก • การเลือกคุณลักษณะของฮารดแวรและซอฟตแวรใหเหมาะสมกับงาน เชน คอมพิวเตอรที่ใชในงานสื่อประสม ควรเปนเครื่องที่มีสมรรถนะสูง และใช ซอฟตแวรที่เหมาะสม

1. ใฝเรียนรู 2. มุงมั่นในการทํางาน

กระตุน ความสนใจ

Engage

1. ครูใหนักเรียนสังเกตภาพหนาหนวยการเรียนรู ที่ 1 แลวชวยกันตอบวาในภาพนี้มีอุปกรณ อิเล็กทรอนิกสอะไรบาง 2. ครูตงั้ คําถามวา • นักเรียนคิดวาเครือ่ งคอมพิวเตอรมีหลักการ ทํางานขั้นพื้นฐานอยางไรบาง (แนวตอบ มีหลักการทํางานขัน้ พืน้ ฐาน 4 ขัน้ ตอนคือ รับขอมูล ประมวลผล จัดเก็บ ขอมูล และแสดงผลขอมูล)

เกร็ดแนะครู การเรียนรูเรื่องหลักการทํางานและการเลือกใชคอมพิวเตอร ครูควรเนน ใหนักเรียนเขาใจการทํางานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร และองคประกอบของ คอมพิวเตอรที่ประกอบดวย หนวยรับเขา หนวยประมวลผลกลาง หนวยความ จําหลัก หนวยความจํารอง และหนวยสงออก รวมถึงการเลือกคุณลักษณะของ คอมพิวเตอรเพื่อการใชงานระดับตางๆ ซึ่งครูควรจัดกิจกรรมการเรียนรู โดยให นักเรียนทํากิจกรรมดังตอไปนี้ • ศึกษาคนควาขอมูลเกี่ยวกับหลักการทํางานของคอมพิวเตอร • อภิปรายเกี่ยวกับคุณลักษณะของคอมพิวเตอร • จัดทํารายงานความเขาใจการใชอุปกรณคอมพิวเตอรใหเหมาะสมกับงาน

คูมือครู

1


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

Exploreนหา สํารวจค

Engage

ครูใหนักเรียนดูแผนผังแสดงวงจรการทํางาน ขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอรประกอบคําอธิบาย หนา 2 แลวใหนักเรียนรวมกันบอกขั้นตอนการ ทํางานของคอมพิวเตอรพอสังเขป

คอมพิวเตอรเปนเครื่องอิเล็กทรอนิกสแบบอัตโนมัติ สรางขึ้นเพื่อใชแกปญหาตางๆ ทั้งใน รูปแบบที่งายและซับซอนโดยวิธีทางคณิตศาสตร ซึ่งปฏิบัติตามขั้นตอนของโปรแกรมที่ตั้งไว สําหรับการทํางานของคอมพิวเตอรจะมีขั้นตอนการทํางานพื้นฐาน 4 ขั้นตอน ดังนี้

Explore

แผนผังแสดงวงจรการทํางานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร

ครูใหนักเรียนคนหาและศึกษาขอมูลเกี่ยวกับ การทํางานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอรที่ประกอบ ดวยการรับขอมูล การประมวลผลขอมูล การจัด เก็บขอมูล การแสดงผลขอมูล โดยศึกษาจากแหลง เรียนรูตางๆ เชน หองสมุด อินเทอรเน็ต ผูมีความรู ดานคอมพิวเตอร เปนตน เพื่อนําขอมูลมาอภิปราย แลกเปลี่ยนความรูในหองเรียน

เปนการนําขอมูลหรือคําสั่งเขาสูเครื่องคอมพิวเตอร โดยผาน อุปกรณรับขอมูลตางๆ เชน การพิมพขอความเขาสูเครื่องคอมพิวเตอร โดยใชแปนพิมพ การบันทึกเสียงโดยผานไมโครโฟน เปนตน

ขั้นที่ 2 ประมวลผลขอมูล (Process)

Explain

1. ครูนําสนทนาเรื่องการทํางานขั้นพื้นฐาน ของคอมพิวเตอรวา ขั้นตอนการทํางานของ คอมพิวเตอร มีอะไรบาง จากนั้นตั้งคําถาม • ขั้นที่ 1 รับขอมูล คอมพิวเตอรสามารถรับ ขอมูลอะไรไดบาง และใชอุปกรณใด • ขั้นที่ 2 ประมวลผลขอมูล คอมพิวเตอร สามารถประมวลผลขอมูลได เพราะเหตุใด และมีอุปกรณใดเปนตัวประมวลผลขอมูล • ขั้นที่ 3 จัดเก็บขอมูล อุปกรณใดบางที่ใช ในการจัดเก็บขอมูลของคอมพิวเตอร และ สามารถจัดเก็บไดอยางไร • ขั้นที่ 4 แสดงผลขอมูล คอมพิวเตอรแสดง ผลขอมูลอะไรไดบาง 2. ครูใหนักเรียนเขียนชื่ออุปกรณประเภทตางๆ ไดแก อุปกรณรับขอมูล อุปกรณเก็บขอมูล และอุปกรณแสดงผลขอมูล และใหบอก ลักษณะการทํางานของอุปกรณเหลานั้น ลงในสมุดแลวสงครูผูสอน

สารสนเทศ

เปนการจัดเก็บขอมูลชั่วคราวในขณะที่มีการประมวลผลแรม รวมถึงจัดเก็บข2อมูลที่ผานการประมวลผลลงในอุปกรณเก็บขอมูล เชน ฮารดดิสก (Hard Disk) แฟลชไดรฟ (Flash Drive) เปนตน

ขั้นที่ 4 แสดงผลขอมูล (Output)

ขอมูล

เปนการนําผลลัพธที่ไดจากการประมวลผลมาแสดงผลลัพธ ในรูปแบบที่มนุษยเขาใจ กลาวคือ อยูในรูปแบบของขอความ ตัวอักษษร สัญลักษณ เสียง โดยผานอุปกรณแสดงผลตางๆ เชน จอภาพ เครื่องพิมพ ลําโพง เปนตน 2

1 หนวยประมวลผลกลาง หรือซีพียู (Central Processing Unit) เปนอุปกรณ หลักในการประมวลผล เชน การคํานวณ การเปรียบเทียบ การเรียงลําดับ เปนตน หนวยประมวลผลจึงเปรียบเสมือนสมองของคอมพิวเตอรที่สามารถวิเคราะหเพื่อหา ผลลัพธหรือสารนิเทศที่ตองการได ซึ่งซีพียูของคอมพิวเตอรระดับพีซีจะถูกบรรจุอยู ในชิปที่เรียกวา ไมโครโพรเซสเซอร 2 ฮารดดิสก (Hard Disk) ถูกประดิษฐขึ้นเมื่อวันที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2497 (ค.ศ. 1954) โดยเรยโนลด จอหนสัน (Reynold Johnson) นักประดิษฐยุคบุกเบิก แหงบริษัท IBM (International Business Machines) ชาวอเมริกัน ซึ่งฮารดดิสก ในสมัยนั้นมีเสนผานศูนยกลาง 20 นิ้ว ในตอนแรกใชชื่อวา ฟกสดิสก (Fixed Disk)

คูมือครู

ขอมูล

ขั้นที่ 3 จัดเก็บขอมูล (Storage)

นักเรียนควรรู

2

ขอมูล

เปนการนําขอมูลมาประมวลผลตามชุดคําสั่งหรือโปรแกรม เพือ่ ใหไดผลลัพธหรือสารสนเทศ เชน การนําขอมูลทีร่ บั เขามาหาผลรวม เปรียบเทียบ คํานวณเกรดเฉลีย่ เปนต1น ซึง่ อุปกรณสาํ หรับประมวลผล ที่สําคัญ คือ หนวยประมวลผลกลาง ขอมูล

อธิบายความรู

ขั้นที่ 1 รับขอมูล (Input)

สารสนเทศ

สํารวจคนหา

1. การทํางานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร

สารสนเทศ

กระตุน ความสนใจ

ขอมูล

กระตุEngage นความสนใจ

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ในขณะที่นักเรียนกําลังพิมพตัวอักษร คอมพิวเตอรจะมีกระบวนการ ทํางานอยางไร แนวตอบ เมื่อผูใ ชทาํ การกดแปนพิมพ เพือ่ พิมพตวั อักษรทีต่ อ งการใน ขัน้ ตอนการรับขอมูล หนวยประมวลผลกลางหรือซีพยี ู ทําการประมวลผล ขอมูล แลวแสดงผลลัพธออกทางหนาจอแสดงผลในขัน้ แสดงผลขอมูล


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบExplain ายความรู

Expand าใจ ขยายความเข

Evaluate ตรวจสอบผล

อธิบายความรู

ครูนําสนทนาเกี่ยวกับขั้นตอนพื้นฐานของ คอมพิวเตอร แลวตั้งคําถาม • นักเรียนคิดวานอกจากเครื่องคอมพิวเตอร ตั้งโตะ ยังอุปกรณใดบางที่มีหลักการทํางาน 4 ขั้นตอนเหมือนคอมพิวเตอร (แนวตอบ เชน เครื่อง ATM เครื่องถาย เอกสาร เครื่องซักผา เครื่องเอกซเรย เปนตน) • เครื่อง ATM ถือวาเปนเครื่องคอมพิวเตอร ประเภทหนึ่ง เพราะเหตุใด (แนวตอบ เพราะมีการทํางาน 4 ขั้นตอน คือ 1. การรับขอมูลผานทางผูใชบัตร ATM และ ปอนขอมูลรหัส ATM จากนั้นผูใชเลือก คําสั่งการถอนเงิน 2. คําสั่งจะถูกนําไปประมวลผล โดยการ อานยอดเงินในบัญชีและหักเงินที่ถอน ในบัญชี 3. เครื่อง ATM จะเก็บขอมูลการถอนเงิน 4. เครื่อง ATM จะแสดงผลยอดเงิน คงเหลือไวในบัญชีธนาคาร)

จากขั้นตอนการท�างานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ทั้ง 4 ขั้นตอน จะมีการท�างานประสานกัน โดยเริม่ จากการรับข้อมูลและค�าสัง่ เข้าสูเ่ ครือ่ งคอมพิวเตอร์ จากนัน้ ข้อมูลและค�าสัง่ ซึง่ อยูใ่ นรูปแบบ ที่มนุษย์เข้าใจ จะถูกแปลงให้อยู่ในรูปแบบที่คอมพิวเตอร์เข้าใจและส่งไปจัดเก็บข้อมูลไว้ชั่วคราว จากนั้นเมื่อมีค�าสั่งให้ประมวลผล ข้อมูลที่ถูกจัดเก็บชั่วคราวจะถูกส่งไปประมวลผล เป็นผลลัพธ์ หรือสารสนเทศ ซึง่ ผลลัพธ์หรือสารสนเทศจะถูกส่งไปแสดงผลลัพธ์ตามทีผ่ ใู้ ช้ตอ้ งการ โดยผลลัพธ์ จากการประมวลผลจะถูกแปลงให้อยู่ในรูปแบบที่มนุษย์เข้าใจได้ และหากต้องการเก็บผลลัพธ์ ไว้ใช้ในภายหลัง ผลลัพธ์จะถูกน�าไปจัดเก็บ ส�าหรับการเรียกใช้ได้อย่างถาวร ซึ่งการท�างาน 1 วงจรกำรท�ำงำนขั้นพื้นฐำนของคอมพิวเตอร์ (IPOS cycle) ทั้ง 4 ขั้นตอนดังกล่าว เรียกว่า วงจรกำรท� ปจจุบนั อุปกรณ์ทมี่ กี ารท�างานพืน้ ฐานทัง้ 4 ขัน้ ตอน เรียกว่า คอมพิวเตอร์ ดังนัน้ คอมพิวเตอร์ จึงมีรูปร่างอย่างไรก็ได้ ตัวอย่างเช่น การท�างานของเครื่องรับจ่ายเงินอัตโนมัติ (Automatic Teller Machine : ATM) ซึ่งเครื่องเอทีเอ็ม ถือเป็นคอมพิวเตอร์ประเภทหนึ่ง เนื่องจากมีการท�างาน 4 ขัน้ ตอน คือ การรับข้อมูลเข้าโดยผูใ้ ช้ใส่บตั รเอทีเอ็มและปอนข้อมูลรหัสเอทีเอ็ม จากนัน้ ผูใ้ ช้เลือก ค�าสัง่ การถอนเงิน ข้อมูลรหัสเอทีเอ็มและค�าสัง่ ถอนเงินจะถูกส่งไปประมวลผล คือ การอ่านยอดเงิน ในบัญชีและการหักเงินที่ถอนในบัญชีธนาคาร จากนั้นเครื่องเอทีเอ็มจะแสดงผลยอดเงินคงเหลือ ในบัญชีให้ผู้ใช้ทราบ และสุดท้ายเก็บข้อมูลการถอนและยอดเงินคงเหลือไว้ในบัญชีธนาคาร 2

การทํางานพื้นฐานของเครื่องเอทีเอ็ม

1

Explain

การรับขอมูลเขา - การป้อนบัตรเอทีเอ็มลงในเครื่องเอทีเอ็ม - การกดรหัสบัตรเอทีเอ็ม - เลือกรายการที่ต้องการ เช่น การขอดูยอดเงิน การถอนเงิน การฝากเงิน การโอนเงิน เป็นต้น

ขยายความเขาใจ

Expand

ครูใหนักเรียนเลือกอุปกรณใดก็ไดที่มี การทํางานขั้นพื้นฐาน 4 ขั้นตอน คนละ 1 อุปกรณ แลวจัดทําเปนผังความคิดแสดงขั้นตอน การทํางาน

2

การประมวลผล - เครื่องเอทีเอ็มจะอ่านรหัสบัตรและประมวลผลตามรายการที่ผู้ใช้เลลือื ก

3

การแสดงผล - ผู้ใช้จะได้ทราบยอดเงินคงเหลือและได้รับบัตรการทํารายการ - ถ้าเลือกถอนเงิน ผู้ใช้จะได้รับเงินตามที่ถอน

ตรวจสอบผล

การเก็บขอมูล - จากการทํารายการต่างๆ ข้อมูลจะถูกส่งไปเก็บไว้ทบี่ ญั ชีธนาคารของท่าน

ครูตรวจผังความคิดวงจรการทํางานขัน้ พืน้ ฐาน ของคอมพิวเตอรทั้ง 4 ขั้นตอน

4

Evaluate

3

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

การใชงานคอมพิวเตอรในขอใด อยูในขั้นจัดเก็บขอมูล 1. กุง ใชแปนพิมพไรสายพิมพรายงาน 2. สาว สั่งใหเครื่องคอมพิวเตอรหาคาเฉลี่ยเลขคณิต 3. ตอย ใชเครื่องพิมพฉีดหมึกพิมพภาพสีลงในกระดาษ A4 4. นํ้าหวาน บันทึกงานวิจัยเชิงปริมาณลงในแผน DVD-R

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 4. เพราะ การบันทึกงานลงใน แผน DVD-R ก็คือการจัดเก็บขอมูลในรูปแบบหนึ่ง สวนขอ 1. อยูในขั้นรับขอมูล ขอ 2. อยูในขั้นประมวลผลขอมูล และขอ 3. อยูในขั้นแสดงผลขอมูล

นักเรียนควรรู 1 IPOS มีความหมาย ดังนี้ I คือ รับขอมูล (Input), P คือ ประมวลผล (Processing), O คือ แสดงผล (Output) และ S คือ เก็บขอมูล (Storage) 2 เครื่องเอทีเอ็ม หรือเครื่องถอนฝากเงินอัตโนมัติ ซึ่งธนาคารที่ใชเครื่อง ATM เปนแหงแรกของโลก คือ ธนาคารซิตี้แบงกในเมืองนิวยอรก สหรัฐอเมริกา เมื่อ พ.ศ. 2520 สวนธนาคารที่ใชเครื่อง ATM แหงแรกในประเทศไทย คือ ธนาคารไทยพาณิชย เมื่อ พ.ศ. 2526 เครื่อง ATM สามารถใชในการฝาก ถอน โอน ชําระคาสาธารณูปโภค หรือแกไขขอมูลบัญชีที่ผูกอยูกับบัตร ATM

มุม IT ศึกษาคนควาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับประวัติความเปนมาของคอมพิวเตอร ไดที่ http://www.bcom.net/hardware/comhistor.asp คูมือครู

3


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุEngage นความสนใจ

Exploreนหา สํารวจค

กระตุน ความสนใจ

Engage

ครูใหนักเรียนดูภาพหนา 4 และ หนา 5 จากนั้น ถามนักเรียนวา อุปกรณของคอมพิวเตอร หรือฮารดแวรมีอะไรบาง

สํารวจคนหา

Explore

1. ครูใหนักเรียนคนหาขอมูลเกี่ยวกับองคประกอบ ของคอมพิวเตอรทั้ง 5 หนวย ไดแก หนวย รับเขา หนวยประมวลผลกลาง หนวยความ จําหลัก หนวยความจํารอง หนวยสงออก จาก แหลงเรียนรูตางๆ เชน หองสมุด อินเทอรเน็ต ผูเชี่ยวชาญดานคอมพิวเตอร เปนตน เพื่อนํามา อภิปรายและแลกเปลี่ยนความรูในชั้น 2. ครูใหนักเรียนศึกษาองคประกอบของระบบ คอมพิวเตอรในหนังสือเรียน หนา 4-14

อธิบายความรู

2. องคประกอบของระบบคอมพิวเตอร

1 จากหลักการท�างานขั้นพื้นฐานของระบบคอมพิวเตอร์ ท�าให้มีการพัฒนาองค์ประกอบของ ระบบคอมพิวเตอร์ขึ้นมา องค์ประกอบดังกล่าว คือ อุปกรณ์ที่ท�าหน้าที่รองรับการท�างานแต่ละ ขัน้ ตอน ดังนัน้ คอมพิวเตอร์จงึ มีอปุ กรณ์ทสี่ า� คัญหลายอย่าง ซึง่ ท�างานสัมพันธ์กนั และมีกระบวนการ ท�างานเป็นขั้นตอนตามที่โปรแกรมก�าหนดไว้ ไม่ว่าจะเป็นคอมพิวเตอร์ประเภทใด ยี่ห้อใด รุ่นใด ต่างก็มหี ลักการท�างานในลักษณะเดียวกัน คอมพิวเตอร์จะท�างานได้อย่างเป็นระบบนัน้ จะต้องอาศัย องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ที่ส�าคัญ ดังนี้

การทํางานของคอมพิวเตอรจะเปนไปตามที่โปรแกรมกําหนดไว ซึ่งจะมีกระบวนการทํางานที่เปนขั้นตอน 2 หน่วยประมวลผลกลำง (Central Processing Unit : CPU)

Explain

1. ครูกลาวถึงองคประกอบของระบบคอมพิวเตอร วา การทํางานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอรตอง อาศัยองคประกอบตางๆ ซึ่งเปนอุปกรณในการ ทํางานแตละขั้นตอน และตั้งคําถามวา • องคประกอบของระบบคอมพิวเตอรทั้ง 5 หนวย มีหนวยใดบางที่อยูใกลตัวนักเรียน มากที่สุด เพราะเหตุใด (แนวตอบ หนวยรับเขา หนวยความจํารอง และหนวยสงออก เพราะเปนหนวยที่สามารถ สัมผัสและเห็นอยางใกลชิด) 2. ครูใหนักเรียนยกตัวอยางวา นอกจากแปนพิมพ คอมพิวเตอรแลวนักเรียนเคยเห็นอุปกรณใน หนวยรับเขาแบบกดอะไรอีกบาง (แนวตอบ เชน ปุมกดในลิฟต ปุมโทรศัพทมือถือ ปุมรีโมตคอนโทรล ปุมหนาจอแบบสัมผัสบน แท็บเล็ต เปนตน)

1

หน่วยรับเข้ำ ( (I (Input Unit) nput

เป็นอุปกรณทใี่ ช้ในการรับข้อมูลจาก อุปกรณต่างๆ ส่งเข้าเครื่องคอมพิวเตอร เพื่อนําไปทําตามคําสั่งที่ต้องการ อุปกรณ หน่วยรับเข้าที่มีในปจจุบัน เช่น เมาส แป้นพิมพ เครื่องสแกนเนอร อุปกรณ จับภาพ อุปกรณรับเสียง เป็นต้น

4

เกร็ดแนะครู ครูแนะนํานักเรียนเกีย่ วกับคอมพิวเตอรสว นบุคคล (Personal Computer : PC) วามีหลายประเภท เชน คอมพิวเตอรขนาดตั้งโตะ คอมพิวเตอรโนตบุก ที่มีขนาดพอๆ กับหนังสือ คอมพิวเตอรปาลมท็อป ที่มีขนาดประมาณเทากับฝามือ คอมพิวเตอรเน็ตบุก มีขนาดเล็กกวาโนตบุก โดยครูอาจนําภาพคอมพิวเตอร แบบตางๆ มาใหนักเรียนดู เพื่อสรางความคุนเคยและกระตุนความใฝรูของนักเรียน

นักเรียนควรรู 1 คอมพิวเตอร เครื่องแรกถูกพัฒนาขึ้นในชวง พ.ศ. 2483-2488 ในสมัยนั้น คอมพิวเตอรมีขนาดใหญ แตในปจจุบันไดถูกพัฒนาใหมีขนาดเล็กลง ประหยัด พลังงาน และมีประสิทธิภาพสูง โดยคอมพิวเตอรแบงออกเปน 4 ประเภท ไดแก ซูเปอรคอมพิวเตอร เมนเฟรมคอมพิวเตอร มินคิ อมพิวเตอร และไมโครคอมพิวเตอร

4

คูมือครู

ซีพยี เู ป็นอุปกรณทสี่ าํ คัญ ของเครือ่ งคอมพิวเตอร ควบคุม การทํ า งานและประมวลผล ข้อมูลทีไ่ ด้รบั จากอุปกรณตา่ งๆ ให้ได้ผลลัพธตามที่ต้องการ

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

องคประกอบของระบบคอมพิวเตอรสอดคลองกับการทํางาน ขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอรอยางไร ยกตัวอยางประกอบคําอธิบาย แนวตอบ องคประกอบของระบบคอมพิวเตอรมอี ปุ กรณทรี่ องรับการ ทํางานในแตละขัน้ ตอน เชน เมาส และแปนพิมพ เปนการรับขอมูล ซีพยี ู เปนการประมวลผลขอมูล ฮารดดิสก และแฟลชไดรฟ เปนการจัดเก็บ ขอมูล จอภาพ และเครือ่ งพิมพ เปนการแสดงผลขอมูล เปนตน


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

3

1. ครูสมุ ใหนกั เรียนออกมาอธิบายวาองคประกอบ ของระบบคอมพิวเตอรสัมพันธกับหนาที่การ ทํางานพื้นฐานอยางไร และใหนักเรียนเขียน บันทึกความสัมพันธของทั้งสอง 2. ครูนําสนทนากับนักเรียนและตั้งคําถามวา องคประกอบของระบบคอมพิวเตอรนั้น หากขาดสวนใดสวนหนึ่งไปจะมีผลกระทบตอ การทํางานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอรอยางไร 3. ครูใหนักเรียนอธิบายเปรียบเทียบวา องคประกอบทั้ง 5 หนวย ของคอมพิวเตอร เปรียบไดกับอวัยวะของมนุษยในสวนใดบาง เพราะเหตุใด ใหนักเรียนเขียนอธิบายประกอบ แผนผัง 4. ครูใหนักเรียนอธิบายถึงหนวยความจําหลัก และหนวยความจํารองวามีหลักการทํางาน ที่แตกตางกันอยางไร 5. ครูใหนักเรียนเขียนผังมโนทัศนองคประกอบ ของระบบคอมพิวเตอร พรอมอุปกรณในแตละ หนวยลงในกระดาษ A4 ตกแตงใหสวยงาม

หน่วยควำมจ�ำหลัก (Main Memory) 1

เป็นอุปกรณที่ใช้จัดเก็บข้อมูลและโปรแกรมคําสั่งต่างๆ ในขณะที่เครื่องคอมพิวเตอรเปดใช้งานอยู่เท่านั้น หากปดเครื่อง คอมพิ ว เตอร จ ะทํ า ให้ ข ้ อ มู ล นั้ น หายไป หน่ ว ยความจํ า หลั ก ทํางานควบคู่ไปกับหน่วยประมวลผลกลาง (CPU) ช่วยให้เครื่อง คอมพิวเตอรทํางานได้เร็วขึ้นซึ่งแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ หน่วยความจําแรม และหน่วยความจํารอม

4

หน่วยควำมจ�ำรอง (Secondary Storage)

5

หน่วยส่งออก (Output Unit)

Explain

เป็นอุปกรณสําหรับจัดเก็บข้อมูลและโปรแกรมที่ใช้ในระบบ คอมพิวเตอรอย่างถาวร ผู้ใช้สามารถเรียกข้อมูลและโปรแกรมมา ใช้ในภายหลังได้ แม้จะปดเครื่องคอมพิวเตอรข้อมูล แต่โปรแกรม ทีเ่ ก็บไว้จะไม่สญู หาย อุปกรณหน่วยความจํารองทีม่ ใี นปจจุบนั เช่น 2 ฮารดดิสก ออปติคัลดิสก เป็นต้น

เป็นอุปกรณที่ใช้แสดงผลข้อมูลที่ผ่านการประมวลผลที่ผู้ใช้ สามารถเข้าใจได้ง่าย เป็นทั้งภาพ เสียง สี แสง ตัวอักษร รูปภาพ อุ ป กรณ ห น่ ว ยแสดงผลที่ มี ใ นป จ จุ บั น เช่ น จอภาพ ลํ า โพง เครื่องพิมพ เป็นต้น

การท�างานของระบบคอมพิวเตอร์ จะมีองค์ประกอบที่ท�าหน้าที่รองรับการท�างาน พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ในแต่ละขั้นตอน ซึ่งสามารถสรุปได้ดังตาราง

หนาที่การทํางานพื้นฐาน

องคประกอบของระบบคอมพิวเตอร

รับข้อมูลเข้า (Input)

หน่วยรับเข้า (Input Unit)

ประมวลผลข้อมูล (Processing)

หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit)

จัดเก็บข้อมูล (Storage)

หน่วยความจําหลัก (Main Memory) หน่วยความจํารอง (Secondary Storage)

แสดงผลข้อมูล (Output)

หน่วยส่งออก (Output Unit) 5

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ขอใดไมมี ระบบการทํางานพื้นฐานแบบคอมพิวเตอร 1. เครื่องคิดเลข 2. นาฬการะบบดิจิทัล 3. เครื่องฝาก-ถอนเงินอัตโนมัติ 4. เครื่องคํานวณในรานสะดวกซื้อ

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 2. เพราะนาฬการะบบดิจิทัลไมมีหนวย ความจําหลัก สวนขอ 3. และขอ 4. ถูกออกแบบมาเพื่อใชเปนเครื่อง คํานวณหรือเครื่องคิดเลขมาแตเดิม ซึ่งเปนระบบอัตโนมัติที่มีองค ประกอบครบตามระบบการทํางานพื้นฐานของคอมพิวเตอร

นักเรียนควรรู 1 โปรแกรม เปนชุดคําสั่งที่สั่งงานคอมพิวเตอรใหทํางานไดตามที่ผูใชตองการ ซึ่งโปรแกรมที่จะใชสั่งงานคอมพิวเตอรไดนั้น จะตองเขียนดวยภาษา ที่ใชสําหรับสื่อสารกับคอมพิวเตอรและสั่งใหคอมพิวเตอรทํางาน แบงไดเปน 2 ประเภท คือ ภาษาที่มนุษยอานออก (Human-Readable) และภาษาที่มนุษยอาน ไมออก (Non-Human-Readable) เพราะมีรหัสบางสวนที่มนุษยไมสามารถอาน ใหเขาใจได 2 ออปติคัลดิสก หรือสื่อแสง คือ สื่อที่บันทึกและอานขอมูลดวยแสงเลเซอร ตัวอยางของสื่อแสงที่สามารถเห็นไดทั่วไป เชน แผนเพลง แผน CD-ROM แผน DVD เปนตน

คูมือครู

5


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

ครูนําสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับหนวย รับเขาวา นักเรียนรับขอมูลซึ่งไดแก รูป รส กลิ่น และเสียงผานทางอวัยวะของรางกายสวนใดบาง แลวนํามาเปรียบเทียบกับหนวยรับเขาของ คอมพิวเตอร จากนั้นครูตั้งคําถาม • นักเรียนสามารถปอนขอมูลใดบางผานทาง หนวยรับเขาของคอมพิวเตอร และปอน ขอมูลไดอยางไร (แนวตอบ สามารถปอนขอมูลตัวอักษร ตัวเลข สัญลักษณ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว เสียง โดยปอนผานทางอุปกรณตางๆ เชน เมาส แปนพิมพ จอยสติ๊ก เปนตน เพื่อสงผาน ขอมูลใหเครื่องคอมพิวเตอรประมวลผลได) • แปนพิมพทงั้ 4 ประเภท มีลกั ษณะทีแ่ ตกตาง กันอยางไรบาง (แนวตอบ แปนพิมพทั้ง 4 ประเภท มีลักษณะ ที่แตกตางกัน ดังนี้ • แปนพิมพไรสาย ออกแบบเพื่อสงผาน ขอมูลดวยเทคโนโลยีไรสาย ทํางานโดย พลังงานแบตเตอรี่ • แปนพิมพที่ออกแบบตามหลักการยศาสตร ออกแบบโดยคํานึงถึงความเสี่ยงในการได รับบาดเจ็บจากการใชเปนเวลานาน • แปนพิมพพกพา ออกแบบเพื่อใชกับเครื่อง พีดีเอ เนื่องจากการพิมพบนเครื่อง พีดีเอไมสะดวก • แปนพิมพเสมือน ออกแบบเพื่อใชงาน กับเครื่องพีดีเอเชนกัน แตตางกันคือมี การจําลองภาพแปนพิมพ โดยอาศัยการ ทํางานของแสงเลเซอรยิงลงไปบนโตะหรือ อุปกรณรองรับสัญญาณที่เปนพื้นผิวเรียบ)

2.1 หนวยรับเขา หน่วยรับเข้ำ (Input Unit) เป็นอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่ท�าหน้าที่รับข้อมูลจากผู้ใช้เข้าสู่ หน่วยความจ�าหลักของคอมพิวเตอร์ และแปลงข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบของสัญญาณไฟฟา ที่คอมพิวเตอร์สามารถประมวลผลได้ ข้อมูลเข้ำ (Input) ประกอบด้วยข้อมูล (Data) และค�าสั่ง (Program) โดยข้อมูลอาจ อยู่ในรูปแบบของตัวอักษร ตัวเลข สัญลักษณ์ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว และเสียง ซึ่งข้อมูล จะถูกน�าเข้าเมื่อผู้ใช้เปดโปรแกรม เช่น เมื่อ ผู้ใช้เปดโปรแกรม Microsoft Office Word ผู ้ ใ ช้ ต ้ อ งป อ นข้ อ มู ล ในรู ป แบบของตั ว อั ก ษร และสัญลักษณ์ รวมทั้งรับค�าสั่งเพื่อการจัดเก็บ (Save) ข้อมูล เป็นต้น หน่วยรับเข้าจึงมีอปุ กรณ์ การพิมพตวั อักษร และตัวเลข โดยใชแปนพิมพ ถือเปนวิธี มากมายที่มีความสามารถในการรับข้อมูลเข้า หนึ่งในการนําขอมูลเขาสูเครื่องคอมพิวเตอร ที่มีรูปแบบแตกต่างกัน อุปกรณ์หน่วยรับเข้าที่นิยมใช้ในปจจุบัน แบ่งออกได้เป็น 7 กลุ่ม ดังนี้ 1) อุปกรณ์แบบกด (Keyed Device) เป็นอุปกรณ์ที่ประกอบไปด้วยปุมส�าหรับ กด เพื่อปอนข้อมูลในรูปแบบตัวอักษร ตัวเลข และสัญลักษณ์พิเศษเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์แบบกดทีไ่ ด้รบั ความนิยมมากทีส่ ดุ ได้แก่ แปนพิมพ์ ซึง่ แปนพิมพ์ประกอบด้วยปุม ส�าหรับ การพิมพ์อักขระ พิมพ์ตัวเลข การเรียกใช้ฟงก์ชันของซอฟต์แวร์ และการควบคุมการท�างาน ร่วมกับปุมอื่นๆ ปจจุบันแปนพิมพ์ที่วางจ�าหน่ายมีการพัฒนาระบบต่างๆ เพิ่มขึ้นมากมาย ทั้งนี้ เพื่ออ�านวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ ได้แก่ ระบบการเชื่อมต่อแบบมีสายและไร้สาย การออกแบบ 1 ตัวแปนและปุมควบคุมการใช้งานมัลติมีเดีย แปนพิมพ์จึงมีหลากหลายชนิดส�าหรับสนับสนุน การท�างานของเครื่องคอมพิวเตอร์ ดังนี้

1 แปนพิมพ์ไร้สำย (Cordless Keyboard) แป้นพิมพที่ออกแบบเพื่อส่งผ่านข้อมูลโดย2 เทคโนโลยีไร้สาย และทํางานโดยพลังงานแบตเตอรี่ ทําให้เกิดความสะดวกในการเคลื่อนย้าย 6

นักเรียนควรรู 1 มัลติมีเดีย คือ การนําเสนอขอมูลหลากหลายรูปแบบ เชน ภาพนิง่ ภาพ เคลือ่ นไหว เสียง ขอความ เปนตน ในปจจุบันไดมีเทคโนโลยีสําหรับมัลติมีเดีย มากขึ้น จากการพัฒนาคอมพิวเตอรในดานสมรรถนะของซีพียู ประสิทธิภาพของ อุปกรณฮารดแวรและซอฟตแวร เพื่อรองรับการคํานวณดานคอมพิวเตอรกราฟก ที่มีความซับซอนมากขึ้น 2 แบตเตอรี่ (Battery) ถูกคิดคนโดยอเลสซานโดร โวลตา (Alessandro Volta) นักฟสิกสชาวอิตาลี ใน พ.ศ. 2343 (ค.ศ. 1800) เปนอุปกรณอยางหนึ่งที่ใช เก็บพลังงานในรูปของไฟฟา ซึ่งประกอบดวยเซลลไฟฟาเคมี (Electrochemical Cell) เชน เซลลกัลวานิก เซลลเชื้อเพลิง เปนตน นอกจากนี้แบตเตอรี่ยังแบงออก เปนเซลลปฐมภูมิที่ใชครั้งเดียวแลวทิ้ง และเซลลทุติยภูมิที่สามารถเก็บประจุไฟฟา ใหมได

6

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

อุปกรณในขอใดจัดเปนอุปกรณหนวยรับขอมูล 1. แปนพิมพ, ซีพียู 2. แผนซีดี, จอภาพ 3. สแกนเนอร, ไมโครโฟน 4. เมาส, แฟลชไดรฟ วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 3. สแกนเนอรเปนหนวยรับเขาโดยใชแสง สองผานขอความ ภาพ หรือสัญลักษณตา งๆ และไมโครโฟนเปนอุปกรณรบั ขอมูลเสียง


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

Explain

1. ครูนาํ สนทนาเกีย่ วกับแปนพิมพวา เพราะเหตุใด แปนพิมพจึงแบงออกเปนหลายประเภท และตั้งคําถามวา • แปนพิมพทั้ง 4 ประเภท เหมาะสมกับงาน ในลักษณะใดบาง (แนวตอบ หากตองการพิมพงานจํานวนมาก และใชเปนเวลานาน ควรเลือกใชแปนพิมพ ตามหลักการยศาสตร หากมีการเคลื่อนยาย แปนพิมพบอย ควรเลือกใชแปนพิมพไรสาย หากเนนเลนเกม ควรเลือกใชแปนพิมพที่มี ความทนทาน รองรับการกระแทกได หากใชเครื่องพีดีเอโดยใหพิมพงานไดสะดวก และรวดเร็ว ควรเลือกใชแปนพิมพพกพา และแปนพิมพเสมือน) • นักเรียนจะมีวิธีเลือกใชแปนพิมพอยางไร ใหเหมาะสมกับตัวนักเรียน (แนวตอบ ตองพิจารณาลักษณะการใชงาน ของเรากอนวามีลักษณะอยางไร จากนั้น เลือกแปนพิมพใหเหมาะสมกับลักษณะการ ใชงาน โดยเลือกอุปกรณที่มีคุณภาพ มีการ รับประกัน และระบุชื่อผูผลิตอยางชัดเจน) 2. ครูใหนักเรียนออกมาสาธิตการนั่งเพื่อใชงาน คอมพิวเตอรและใชแปนพิมพที่ถูกตองตาม หนังสือเรียนหนา 7

1

2 แปนพิมพ์ที่ออกแบบตำมหลักกำรยศำสตร์ (Ergonomics Keyboard) เป็นแป้นพิมพที่มีการออกแบบโดย คํานึงถึงความเสี่ยงกับการได้รับบาดเจ็บ ของผู้ใช้จากการใช้เครื่องคอมพิวเตอร เป็นเวลานาน

3 แปนพิมพ์พกพำ (Portable Keyboard) เป็นแป้นพิมพที่ออกแบบสําหรับเครื่อง พีดีเอ มีทั้งแบบพับและแบบที่ทําจากยาง ซึ่งสามารถม้วนเก็บได้ ทําให้ ใช้งานได้สะดวก

4 แปนพิมพ์เสมือน (Virtual Keyboard)

เป็นแป้นพิมพที่ออกแบบสําหรับใช้ร่วมกับเครื่องพีดีเอ ซึ่งใช้เลเซอร ในการจําลองภาพให้เสมือนแป้นพิมพจริง

à¡Ãç´ IT การใชแปนพิมพที่ถูกตอง การใช้แป้นพิมพที่ถูกต้อง เพื่อหลีกเลี่ยงอาการปวดเมื่อยหรืออาการบาดเจ็บของมือ ข้อมือ และแขน มีดังนี้ 1. วางแป้นพิมพให้อยู่ตรงกลางด้านหน้าและวางในระดับข้อศอกของผู้ใช้ 2. ผู้ใช้ควรวางมือและข้อมือให้ลอยเหนือแป้นพิมพ ปล่อยแขนทั้งสองข้างไว้ขนานกับลําตัว ไม่ต้องเกร็ง 3. ขณะพิมพผู้ใช้ควรรักษาระดับข้อมือให้ตรง และกดปุมบนแป้นพิมพเบาๆ 4. หลีกเลี่ยงการพักฝามือหรือข้อมือบนพื้นใดๆ ในขณะพิมพ หากต้องการพักฝามือให้หยุดพิมพก่อน แล้ว วางมือบนที่พักฝามือ 7

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ในการเลือกซื้อแปนพิมพเพื่อการใชงาน ควรพิจารณาจากสิ่งใด เปนสําคัญ 1. ราคาถูก 2. มีความสวยงาม 3. มีขนาดเล็กกะทัดรัด 4. มีคุณสมบัติเหมาะสมกับการใชงาน วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 4. เพราะในเบื้องตน เราควรพิจารณาวา เรามีการทํางานลักษณะใด จึงจะสามารถเลือกแปนพิมพไดเหมาะสมกับ งาน เชน หากตองการใชงานโดยเคลื่อนยายที่บอยๆ ก็ควรเลือกใชแปน พิมพไรสาย หรือตองใชสําหรับการเดินทางก็เลือกใชแปนพิมพพกพา เปนตน

เกร็ดแนะครู ครูอธิบายกับนักเรียนเพิ่มเติมวา แปนพิมพเปนแหลงรวมสิ่งสกปรกจํานวนมาก จึงควรทําความสะอาดดวยการเช็ดอยางสมํ่าเสมอ โดยใชสําลีพันชุบแอลกอฮอล เช็ดคราบสกปรกบนแปนพิมพ และไมควรนําอาหารมารับประทานระหวางการใช งานคอมพิวเตอร เพราะสิ่งสกปรกบนแปนพิมพจะเขาสูรางกายผูใชงาน นอกจากนี้ ตองระวังไมใหนํ้าหยดใสแปนพิมพ เนื่องจากแปนพิมพมีแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส อยูภายใน จึงอาจทําใหเกิดไฟฟาลัดวงจรเสียหายได

นักเรียนควรรู 1 การยศาสตร (Ergonomics) เปนคําทีม่ าจากภาษากรีก คือ ergon หมายถึง งาน และคําวา nomos หมายถึง กฎตามธรรมชาติ เมื่อนํามารวมกันจึงกลายเปน คําวา Ergonomics หรือ Laws of Work ที่แปลไดวากฎของงาน ซึ่งเปนศาสตร หรือวิชาการที่เปนการปรับเปลี่ยนสภาพงานใหเหมาะสมกับผูปฏิบัติงานหรือ เปนการปรับปรุงสภาพการทํางานอยางเปนระบบ คูมือครู 7


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูใหนักเรียนใชงานปุมตางๆ บนแปนพิมพ ตามตารางหนา 8 โดยครูอธิบายเพิ่มเติมเพื่อ การใชงานอยางถูกตอง 2. ครูใหนักเรียนบันทึกความแตกตางของปุม Caps Lock, Num Lock และ Scroll Lock วามีการทํางานอยางไรบาง และปุมเหลานี้มี ประโยชนอยางไร 3. ครูใหนักเรียนศึกษาการใชปุม Alternate เพื่อใชควบคูกับปุมอื่นๆ ในการทํางานอยางใด อยางหนึ่งใหมากที่สุด จากนั้นรวมกันอภิปราย ในชั้นและเขียนบันทึกลงในสมุด 4. ครูใหนักเรียนบอกวิธีการใชปุมตระกูล F (Function) บนแปนพิมพ ซึ่งเรียงอยูแถวบนสุด ตั้งแต F1 ไปจนถึง F12 โดยสุมถามใหนักเรียน ชวยกันตอบหรือเขียนบนกระดาษ เพื่อนํามา แลกเปลี่ยนความรูกับเพื่อนในชั้นเรียน 5. ครูนําสนทนาเกี่ยวกับปุมตางๆ บนแปนพิมพ แลวตั้งคําถามวา • การรูจักปุมลัดหรือเขาใจการทํางานของปุม ตางๆ บนแปนพิมพชวยอํานวยความสะดวก ในการทํางานของนักเรียนอยางไรบาง (แนวตอบ ชวยใหการพิมพงาน การใชงาน โปรแกรมตางๆ ของระบบคอมพิวเตอร รวดเร็วขึ้น เพราะไมตองใชเมาสในการกดปุม จากรายการตางๆ ของโปรแกรม เนื่องจาก ปุมลัดบนแปนพิมพสามารถใชเปนคําสั่ง คอมพิวเตอรในการกระทําอยางใดอยางหนึ่ง ไดอยางครบถวน)

มุมเทคโนโลยี ความรูเกี่ยวกับแปนพิมพ แปนพิมพ เปนอุปกรณหนวยรับเขาขั้นพื้นฐานที่ตองมีในคอมพิวเตอรทุกเครื่อง ซึ่งจะรับขอมูลจากการกดแปน แลวทําการเปลี่ยนเปนรหัสเพื่อสงเขาไปในเครื่องคอมพิวเตอร แปนพิมพที่ใชปอนขอมูลจะมีประมาณ 101 - 104 แปน สามารถแบงกลุมแปนพิมพคอมพิวเตอรออกไดเปน 3 กลุม ดังนี้ 1. กลุม แปนพิมพทใี่ ชพมิ พตวั อักษร หรือเรียกวา แปนตัวอักษร ใชพิมพตัวอักษร A - Z และตัวอักษร ก - ฮ รวมทั้งสระและวรรณยุกตตางๆ ในภาษาไทยดวย 2. กลุม แปนพิมพทใี่ ชแสดงหนาทีพ ่ เิ ศษ หรืออาจเรียกวาเปนกลุม function key มีตัวอักษร F1 - F12 กํากับ สําหรับเปนแปนทางลัดเพื่อเรียกใชคําสั่งของโปรแกรมที่กําลังทํางาน ซึ่งอาจแตกตางกันไปในแตละโปรแกรม เชน F1 คือ คําสั่งชวยเหลือ (help) ของโปรแกรม เปนตน 3. กลุมแปนพิมพที่ใชพิมพตัวเลข หรือเรียกวา numeric key ใชพิมพตัวเลข และตัวดําเนินการทาง คณิตศาสตร ไดแก บวก ลบ คูณ และหาร นอกจากนี้ยังมีปุมที่ทําหนาที่เสมือนแปนพิมพคําสั่งเพื่อใหเครื่องคอมพิวเตอรทํางาน ดังตาราง

ปุมกด

การทํางาน

Escape (Esc) 1 Print Screen Caps Lock Shift

กดเพื่อยกเลิกการทํางานเดิมหรือจบการเลนเกม และยอนกลับไปที่คําสั่งกอนหนา กดเพื่อพิมพขอความที่เห็นบนจอภาพออกทางเครื่องพิมพ สําหรับยกแครคางไวเพื่อพิมพอักษรแบบตัวพิมพใหญ แปนยกแคร ถาเปนภาษาไทย กดคางไวเพื่อพิมพตัวอักษรตัวบน ถาเปนภาษาอังกฤษ กดคางไวเพื่อพิมพอักษรตัวพิมพใหญ Control (Ctrl) กดคางไวแลวกดอักษรตัวอื่นเพื่อใหเกิดการทํางานอยางใดอยางหน งหนึ่ง เชน Ctrl + Alt + Delete เปนการรีเซ็ตเครื่องใหม Ctrl + B เพื่อทําตัวอักษรหนา เปนตน Alternate (Alt) กดคูก บั แปนอืน่ ๆ เพือ่ ทํางานอยางใดอยางหนึง่ เชน Alt + F4 เพือ่ ปดโปรแกรม เปนตน Backspace () แปนเลื่อนถอยหลัง กดเพื่อลบตัวอักษรทางซาย Space Bar กดเพื่อเวนวรรค Enter กดเพื่อใหคอมพิวเตอรรับคําสั่งไปปฏิบัติตามที่ตองการ และเพื่อขึ้นบรรทัดใหม กดเพื่อใชแปนตัวเลขทางขวา Num Lock Scroll Lock กดเพือ่ ล็อกบรรทัดทีก่ าํ ลังพิมพงานไมใหเลือ่ นบรรทัด ถึงแมจะกดแปน Enter ก็ไมมผี ล ที่มา : http://www.chandra.ac.th/office/ict/document/it/it01/c http://www.chandra.ac.th/office/ict/document/it/it01/com_08.htm

8

เกร็ดแนะครู ครูเสริมความรูเกี่ยวกับปุมตางๆ บนแปนพิมพเพิ่มเติม เชน ปุม Home, End, Page Up, Page Down, F1-F12 โดยใหนกั เรียนเขียนอธิบายปุม ตางๆ บนแปนพิมพ ทุกปุม และใหบอกประโยชนการใชใหเหมาะสมกับงาน

นักเรียนควรรู 1 Print Screen มีวิธีการใช คือ เปดหนาตางที่ตองการจับภาพหนาจอ กดปุม Print Screen จากนั้นเปดโปรแกรม ที่ตองการนําภาพไปวาง เชน Microsoft Word, Microsoft PowerPoint เปนตน กดปุม Ctrl + V เพื่อวางภาพ ที่ Print Screen ไวแลว และสามารถนําภาพใดๆ ก็ได ที่ตองการบันทึกลงเปน ไฟลภาพ

8

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ขอใดเปนการใชแปนพิมพที่ ไม ถูกตอง 1. วางแปนพิมพในที่มีอากาศถายเทสะดวก 2. ระมัดระวังมีใหแปนพิมพไดรับการกระแทก 3. ใชแปรงขนออนนุมปดฝุนทําความสะอาดเสมอ 4. เมื่อเกิดคราบบนแปนพิมพ ใชผาชุบนํ้าเช็ดออกทันที วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 4. เพราะการใชผา ชุบนํา้ เช็ดทําความสะอาด อาจทําใหวงจรไฟฟาเกิดความเสียหายได การทําความสะอาดแปนพิมพที่ ถูกตองควรใชนาํ้ ยาหรือครีมสําหรับการขจัดคราบอุปกรณคอมพิวเตอร โดยเฉพาะจึงจะชวยรักษาสภาพและยึดอายุการใชงานได)


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

2) อุปกรณ์ชี้ต�ำแหน่ง (Pointing Device) หรือเมำส์ (Mouse) อุปกรณ์

ชี้ต�าแหน่ง เป็นอุปกรณ์ส�าหรับเลื่อนตัวชี้ต�าแหน่งบนจอภาพไปยังต�าแหน่งที่ต้องการ ท�าให้มีการ โต้ตอบระหว่างผูใ้ ช้กบั เครือ่ งคอมพิวเตอร์รวดเร็วกว่าแปนพิมพ์ อุปกรณ์ชตี้ า� แหน่งจะรับข้อมูลจาก การชี้ คลิก ดับเบิลคลิก ลากและวาง (Drag) จากนั้นข้อมูลจะถูกแปลงเป็นสัญญาณทางไฟฟา ที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ ปกติตัวชี้ต�าแหน่งของเมาส์จะเป็นรูปลูกศร และมีกลไก ภายในเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่สามารถจับได้ว่าเมาส์เลื่อนต�าแหน่งไปมากน้อยแค่ไหนและเลื่อนไป ในทิศทางใด อุปกรณ์ชี้ต�าแหน่งที่นิยมใช้ มีดังนี้

1 เมำส์แบบทั่วไป (Mechanical Mouse)

เมาสที่ได้รับการออกแบบให้ใช้ลูกบอลเป็นตัวจับทิศทาง ที่เมาสเลื่อนไป

2 เมำส์แบบแสง (Optical Mouse)

เมาสที่ออกแบบโดยใช้แสงส่องไปกระทบพื้นผิวด้าน ล่าง โดยวงจรภายในเมาสจะวิเคราะหแสงสะท้อน ที่เปลี่ยนไปเมื่อเลื่อนเมาส และแปลงทิศทางเป็นการ ชี้ตําแหน่ง

3 เมำส์แบบไร้สำย (Wireless Mouse) 1 Wireless Mouse) 2

เมาสที่ใช้คลื่นวิทยุหรือแสงอินฟราเรดในการติดต่อ กับเครื่องคอมพิวเตอร ทําให้มีการเคลื่อนไหวที่สะดวก นอกจากนี้ยังมีอุปกรณ์สมัยใหม่ที่ใช้หลักการท�างานของอุปกรณ์ชี้ต�าแหน่งที่อ�านวย ความสะดวกในการใช้งานมากมาย ได้แก่ ลูกกลมควบคุม (Track Ball) อุปกรณที่มีลูกบอลขนาดเล็กวางอยู่ด้านบน ผู้ใช้สามารถหมุน ลูกบอลเพื่อเลื่อนตําแหน่งของตัวชี้ตําแหน่งบนจอภาพ

ลูกกลิ้งควบคุม

9

กิจกรรมสรางเสริม ครูใหนักเรียนเขียนคุณลักษณะของเมาสทั้ง 3 ชนิด ไดแก เมาสแบบ ทั่วไป เมาสแบบแสง และเมาสแบบไรสาย จากนั้นใหนักเรียนเลือกเมาส 1 ชนิดที่นักเรียนตองการ และใหระบุวานักเรียนเลือกเมาสชนิดนี้ เพราะเหตุใด โดยบันทึกลงในสมุดและสงครูผูสอน

กิจกรรมทาทาย

Explain

1. ครูนําสนทนาเกี่ยวกับอุปกรณชี้ตําแหนงหรือ เมาส พรอมกับถามนักเรียนวา • เมาสทั้ง 3 ประเภท มีหลักการทํางาน ที่แตกตางกันอยางไรบาง (แนวตอบ เมาสแบงเปน 3 ประเภท ไดแก เมาสแบบทั่วไป ออกแบบเพื่อใหใชลูกบอล เปนตัวจับทิศทาง เมาสแบบแสง ออกแบบ โดยใชแสงสองกระทบไปยังพื้นผิวดานลาง และวิเคราะหแสงสะทอนเมื่อเลื่อนเมาส และเมาสแบบไรสาย ออกแบบโดยใช คลื่นวิทยุหรือแสงอินฟราเรดในการติดตอ กับเครื่องคอมพิวเตอร) • เมาสแบบตางๆ มีขอดีและขอเสียอะไรบาง (แนวตอบ เมาสแบบทั่วไป หรือเมาสลูกกลิ้ง มีขอดี คือ เมาสถูกออกแบบมาใหมี โครงสรางทีง่ า ย มีรปู แบบทีพ่ อเหมาะกับมือ และใชงานไดสะดวก มีขอเสีย คือ ลูกบอล จะกลิ้งผานและเก็บเอาฝุนละอองเขาไป สงผลใหกลิ้งไดยากและกลไกลการทํางาน ผิดเพี้ยน เมาสแบบแสง มีขอดี คือ เคลื่อนที่ได งาย ลื่นไหล และสะดวกกวาเมาสแบบทั่วไป แตมีขอเสียคือ หากใชงานในพื้นผิวที่ทะลุ แสงได เมาสจะไมสามารถใชงานได เมาสแบบไรสาย มีขอดี คือ มีการ เคลื่อนที่สะดวก เพราะเมาสไมมีสายที่คอย จํากัดการเคลื่อนที่ของเมาส แตขอ เสียคือ ใชแบตเตอรีใ่ นการทํางานและใชในระยะหางที่ ไมไกลจากตัวรับสัญญาณ) 2. ครูใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวาปุมซายและ ปุมขวาของเมาส รวมถึงปุมลอที่หมุน (Scroll) ของเมาสใชสําหรับทํางานอะไรบาง 3. ครูใหนักเรียนเขียนหลักการทํางานของเมาส ประเภทตางๆ และใหระบุวาจะเลือกใชเมาส ประเภทใดใหเหมาะสมกับงาน เพราะเหตุใด

นักเรียนควรรู 1 คลื่นวิทยุ เปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาชนิดหนึ่ง ที่เกิดขึ้นในชวงความถี่บนเสน สเปกตรัมแมเหล็กไฟฟา ถูกคนพบครั้งแรกระหวางการตรวจสอบทางคณิตศาสตร โดยเจมส เคลิรก แมกซเวล (Jame Clerk Maxwell) นักฟสิกส ชาวอังกฤษ ใน พ.ศ. 2408 (ค.ศ. 1865) 2 แสงอินฟราเรด คลื่นแมเหล็กไฟฟา ที่มีความยาวคลื่นระหวาง 700 นาโนเมตร ถึง 1 มิลลิเมตร มนุษยไมสามารถมองเห็นรังสีอินฟราเรด แตสามารถรูสึก ถึงความรอนได

ครูใหนักเรียนศึกษาการทํางานขั้นพื้นฐานของเมาสแตละชนิดเพิ่มเติมวา เมาสแบบแสงและเมาสแบบไรสาย มีหลักการทํางานอยางไร และแสงที่สอง จากตัวเมาสไปกระทบพื้นผิวดานลาง ทําใหตัวชี้ตําแหนงเคลื่อนที่ไดอยางไร ใหนักเรียนวิเคราะหผลสรุปที่ไดลงในสมุด และนําสงครูผูสอน คูมือครู

9


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูใหนักเรียนยกตัวอยางอุปกรณชี้ตําแหนง ประเภทอื่นๆ หรืออุปกรณที่ทํางานคลายเมาส โดยเขียนตอบบนกระดานหรือรวมกันอภิปราย ในชั้นเรียน 2. ครูใหนักเรียนระดมสมองและแลกเปลี่ยน ความรูเ พือ่ อธิบายเกีย่ วกับ อุปกรณชี้ตําแหนง อื่นๆ ไดแก ลูกกลมควบคุม แทงชีค้ วบคุม แผนรองสัมผัส จอยสติก๊ เมาสที่ควบคุม ดวยเทา เมาสที่ควบคุมดวยตา ไจโรสโคปก เมาส จากนั้นใหนักเรียนแตละกลุมสงตัวแทน มาอธิบายหลักการทํางานของอุปกรณดังกลาว สวนเพื่อนคนอื่นๆ รวมกันอภิปรายพรอมกับ บันทึกความรูลงในสมุดและสงครูผูสอน 3. ครูใหนักเรียนอภิปรายเพิ่มเติมวาอุปกรณ ชี้ตําแหนงทั้ง 7 ประเภท เหมาะกับการใชงาน ในลักษณะใดบาง (แนวตอบ ลูกกลมควบคุม เหมาะกับเครื่อง โนตบุก โดยมีการชี้ตําแหนงบนจอภาพ แทงชี้ควบคุม เหมาะกับการควบคุมโดยใชนิ้ว หัวแมมือกดและเลื่อน เพื่อควบคุมตัวชี้ตําแหนง บนจอภาพ แผนรองสัมผัส เหมาะกับการใชงาน โนตบุก ที่สามารถใชนิ้ววาดเพื่อเลื่อนตําแหนง บนจอภาพ จอยสติ๊ก เหมาะกับการเลนเกม คอมพิวเตอรหรือควบคุมหุนยนต โดยใชกาน สําหรับโยกและมีแปนกดสําหรับสั่งงานพิเศษ เมาสที่ควบคุมดวยเทา เหมาะสําหรับผูที่ไม สามารถใชมือในการควบคุมเมาสได เมาสที่ ควบคุมดวยตา เหมาะกับการชี้ตําแหนงดวย สายตา และไจโรสโคปก เมาส เหมาะสําหรับ ผูที่ไมมีเมาส หรือตองปอนคําสั่งจากที่หางไกล คลายกับการใชรีโมตของโทรทัศน)

แทงชีค้ วบคุม (Track Point) แทงพลาสติกเล็กๆ อยูตรงกลางแปนพิมพ ผูใชสามารถ เลื่อนตําแหนงตัวชี้บนจอภาพไดโดยใชนิ้วหัวแมมือกดและเลื่อน แทงชี้ควบคุม

แผนรองสัมผัส (Touch Pad) แผนสีเ่ หลีย่ มทีว่ างอยูห นาแปนพิมพของโนตบุก คอมพิวเตอร ผูใ ชสามารถใชนวิ้ มือเคลือ่ นทีผ่ า นไปยังตําแหนงตางๆ เพือ่ เลือ่ น ตําแหนงของตัวชี้ตําแหนงบนจอภาพ แผนรองสัมผัส

จอยสติก๊ (Joystick) ก า นสํ า หรั บ ใช โ ยกไปตามทิ ศ ทางที่ ต  อ งการ เพื่ อ ย า ย ตัวชี้ตําแหนงบนจอภาพ และมีแปนกดสําหรับสั่งงานพิเศษ นิยมใชกับการเลนเกมคอมพิวเตอร 1 เมาสทคี่ วบคุมดวยเทา (Foot Mouse) เมาสที่ออกแบบมาสําหรับผูที่ไมสามารถใชมือในการ ควบคุมเมาสแบบปกติได โดยเมาสชนิดนีจ้ ะเลือ่ นตัวชีต้ าํ แหนง และคลิกไดดวยเทา 2 เมาสทคี่ วบคุมดวยตา (Eye Tracking) เมาสที่ออกแบบมาสําหรับการควบคุมตัวชี้ตําแหนงดวย สายตาหรือเรตินา 3 ไจโรสโคปก เมาส (Gyroscopic Mouse) เมาสที่ควบคุมตัวชี้ตําแหนง โดยไมตองใชพื้นผิวสัมผัส ผูใ ชสามารถเคลือ่ นไหวเมาสในอากาศ เพือ่ ควบคุมตัวชีต้ าํ แหนง บนจอภาพไดทันที

จอยสติ๊ก

เมาสที่ควบคุมดวยเทา

เมาสที่ควบคุมดวยตา

ไจโรสโคปก เมาส

10

นักเรียนควรรู 1 เมาสที่ควบคุมดวยเทา ใชหลักการทํางานเดียวกันกับเมาสแบบปกติ คือ มีปุมคลิกขวา คลิกซาย และเลื่อนเคลื่อนที่เพื่อขยับเมาสไปในทิศทางที่ตองการ แตตางกันตรงที่การคลิกเมาสตองใชนิ้วหัวแมเทา และนิ้วชี้เทาในการคลิกเมาส แลวเลื่อนเมาสแทน มักใชกับผูที่เปนโรคปวดมือและแขน ซึ่งสงผลกระทบตอ กลามเนื้อ เสนเอ็น และเสนประสาท หรือผูพิการมือหรือแขน 2 เมาสที่ควบคุมดวยตา วิธกี ารใชงาน คือ ผูใ ชมองจุดทีต่ อ งการและกะพริบตา โดยสามารถสั่งการหรือบังคับคําสั่งตางๆ เชนเดียวกับเมาสหรือจอยสติ๊ก โดยจะใช กลอง 2 ตัวคอยบันทึกการเคลื่อนไหวของดวงตาและสงคําสั่งไปยังซอฟตแวร เพื่อ สั่งการแทนการกดปุมดวยนิ้วมือ หรือใชพิมพดวยการมองคียบอรดบนจอภาพ 3 ไจโรสโคปก เมาส คือ อุปกรณที่สามารถใชคําสั่งผานทางอากาศ เมื่อผูใช ไมสามารถใชเมาสทั่วไปหรือตองใชคําสั่งในขณะที่ลุกขึ้นยืน เครื่องคอมพิวเตอร แล็ปท็อปบางประเภทมีไจโรสโคปก เมาส ซึ่งทํางานคลายกับรีโมตโทรทัศน

10

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ถาภูผาตองการอุปกรณที่ชวยในการเลนเกมไดสะดวกกวาเมาส นักเรียนจะแนะนําใหภูผาซื้ออุปกรณใดแทนเมาส เพราะเหตุใด 1. จอยสติ๊ก 2. แทงชี้ควบคุม 3. ลูกกลมควบคุม 4. ไจโรสโคปก เมาส วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 1. เพราะจอยสติ๊กเปนอุปกรณที่ทํางาน คลายเมาส ซึ่งมีกานสําหรับใชโยกขึ้นลง ซายขวา และมีแปนกดสําหรับ สั่งงานเปนพิเศษ เพื่อยายตัวชี้ตําแหนงบนจอภาพ โดยนิยมใชกับการเลน เกมคอมพิวเตอรหรือควบคุมหุนยนต


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

3) จอภำพระบบไวต่อกำรสัมผัส (Touch Sensitive Screen) เป็นหน้าจอที่

รองรับการท�างานแบบสัมผัส ไม่วา่ จะเป็นการสัมผัสด้วยนิว้ มือหรือปากกาแสง ท�างานได้เพียงแค่ ผู้ใช้สัมผัสนิ้วมือหรือปากกาลงบนจอภาพในต�าแหน่งที่โปรแกรมก�าหนดไว้ โปรแกรมจะท�าการ รับข้อมูลและท�างานตามค�าสัง่ ทีผ่ ใู้ ช้เลือก การใช้งานลักษณะนีน้ ยิ มใช้กบั ผูท้ ใี่ ช้เครือ่ งคอมพิวเตอร์ ไม่คล่อง ซึ่งช่วยให้ใช้งานได้อย่างรวดเร็ว ปจจุบันมีจอภาพระบบไวต่อการสัมผัส ที่สามารถรับข้อมูลจากการสัมผัสได้ 1 หลายจุดพร้อมๆ กัน เรียกว่า มัลติทัช (Multi - Touch) ส่วนใหญ่ประยุกต์ใช้ในงานธุรกิจบริการ เช่น ร้านอาหารโรงแรม ธนาคาร เป็นต้น 4) ระบบปำกกำ (Pen-Based System) ระบบปากกาเป็นการใช้อุปกรณ์ที่มี ลักษณะคล้ายปากกา ปอนข้อมูลที่เป็นทั้งลายมือเขียนและภาพวาดลงบนจอภาพระบบไวต่อ 2 การสัมผัส ซึ่งอุปกรณ์ที่ใช้ปากกาปอนข้อมูลต้องมีระบบรู้ลายมือ (Hand Writing Recognition) เพือ่ วิเคราะห์ลายมือเขียนให้เป็นตัวอักษรได้ ซึง่ อุปกรณ์ดงั กล่าวมักเกิดปญหาเกีย่ วกับการตีความ ตัวอักษรที่เขียนโดยผู้ใช้แต่ละบุคคล ระบบปากกาที่นิยมใช้ มีดังนี้

1 สไตลัส (Stylus)

มีลกั ษณะเป็นปากกาหัวเล็กแหลม ใช้สาํ หรับ ป้อนข้อมูลลงบนจอภาพระบบไวต่อการสัมผัส3 ซึง่ นิยมใช้กบั เครือ่ งอ่านพิกดั (Tablet) เครือ่ งพีดเี อ และสมารตโฟน

สไตลัส สามารถปอนขอมูลเขาสู เครื่องคอมพิวเตอรไดโดยใชปากกา ปลายเล็กแหลมปอนขอมูลแทนเมาส

2 ปำกกำแสง (Light Pen) Light Pen)

ปากกาแสง สามารถเขียนเปนภาพหรือขอความได โดยยิงลําแสงไปยังหนาจอ

ขอสอบ

เป็นอุปกรณที่มีหลักการทํางาน เช่นเดียวกับสไตลัส แต่ปลายปากกา จะมีความไวต่อแสง มีสายทีใ่ ช้เชือ่ มต่อ กับเครือ่ งคอมพิวเตอร การใช้งานทําได้ โดยการแตะปากกาแสงไปบนจอภาพ ตามตําแหน่งที่ต้องการ นิยมใช้กับ คอมพิวเตอรสําหรับงานด้านกราฟก เช่น การออกแบบ (Computer Aided Design : CAD) การวาดภาพ เป็นต้น 11

O-NET

ขอสอบป ’ 51 ออกเกี่ยวกับฮารดแวรคอมพิวเตอร อุปกรณคอมพิวเตอรใดตอไปนี้จัดเปนหนวยรับเขาและสงออก 1. เมาส (Mouse) 2. ฮารดดิสก (Hard Disk) 3. จอภาพแบบสัมผัส (Touch Screen) 4. เครื่องบันทึกแผนซีดี (CD-Writer) วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 3. เพราะจอภาพแบบสัมผัส สามารถรับ คําสั่งโดยใชนิ้วหรือสไตลัสสัมผัสลงบนจอภาพ จากนั้นเครื่องคอมพิวเตอร จะประมวลผล และสงออกโดยแสดงผลที่จอภาพเชนกัน

Explain

1. ครูนําเครื่องคอมพิวเตอรแบบพกพาหรือ อุปกรณที่มีจอภาพระบบไวตอการสัมผัส มาแสดงใหนักเรียนดู และตั้งคําถาม • อุปกรณที่มีจอภาพระบบไวตอการสัมผัส สามารถปอนขอมูลโดยใชปากกาปลายเล็ก ไดอยางไร (แนวตอบ จอภาพระบบไวตอการสัมผัส มีคุณสมบัติในการวิเคราะหลายมือเขียนและ ทําการแปลงเปนตัวอักษรเขาสูระบบไดอยาง ถูกตอง โดยสามารถใชปากกาหรือสไตลัส เพื่อเขียนตัวอักษรลงบนจอภาพได) 2. ครูนําสนทนาเกี่ยวกับระบบปากกาวานักเรียน เคยใชปากกาสไตลัสหรือปากกาแสงหรือไม และถามนักเรียนวา • สไตลัสและปากกาแสง นิยมใชในลักษณะ งานที่แตกตางกันอยางไร (แนวตอบ สไตลัส นิยมใชกับเครื่องอานพิกัด เครื่องพีดีเอ และสมารตโฟน สวนปากกา แสง นิยมใชกับคอมพิวเตอรสําหรับงาน ดานกราฟก) • ระบบปากกาที่ใชปอนขอมูลสูเครื่อง คอมพิวเตอรมีขอดีและขอเสียอยางไร (แนวตอบ ระบบปากกาสามารถปอนขอมูล เขาสูคอมพิวเตอรแทนเมาส และมีระบบรู ลายมือ ซึ่งสามารถใชลายมือเขียนหรือวาด ภาพใหคอมพิวเตอรสามารถนําไปประมวล ได แตบางครั้งระบบปากกามักเกิดปญหา ดานการตีความที่ไมถูกตอง การปอนขอมูล ไมติด และอาจทําใหจอภาพเปนรอยได) 3. ครูใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวา ระบบปากกา มีความจําเปนในการปอนขอมูลหรือไม เพราะ เหตุใด จากนั้นเขียนสรุปความรูเกี่ยวกับระบบ ปากกาลงในสมุดเรียน

นักเรียนควรรู 1 มัลติทัช เปนการตอยอดมาจากหนาจอสัมผัสทั่วไป โดยปกติหนาจอสัมผัส ธรรมดาจะรับคําสั่งไดทีละจุด ทีละคําสั่ง คลายๆ กับการเลนเกมจับผิดภาพหรือ การใชโทรศัพทมือถือหรือเครื่องพีดีเอ แตวามัลติทัชจะแตกตางออกไป เพราะ สามารถรองรับการสัมผัสไดทีละหลายๆ จุด ทําใหเกิดรูปแบบการสั่งงานที่คลอง ตัวมากขึ้นและมีการควบคุมที่สะดวกกวา 2 ระบบรูลายมือ โปรแกรมที่สรางขึ้นเพื่อชวยใหคอมพิวเตอรรับขอมูลตัว อักษรภาษาไทย จากอุปกรณจําพวกปากกาแสงแทนการพิมพจากแปนพิมพ และ ประยุกตใชงานกับเครื่องคอมพิวเตอรโนตบุกหรือเครื่องปาลม 3 เครื่องพีดีเอ (PDA: Personal Digital Assistant) เปนอุปกรณที่สามารถ พกพานําติดตัวได โดยเริม่ พัฒนามาจากเครือ่ งออแกไนเซอรมากอน ซึง่ เครือ่ งพีดเี อ แบงออกเปนสองกลุม คือ ปาลมและพ็อกเก็ตพีซี ในเครื่องที่ใชระบบปฏิบัติการ วินโดวส โมเบิล (Windows Mobile) มักถูกเรียกวาพ็อคเก็ตพีซี คูมือครู

11


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูใหนักเรียนแบงกลุมออกเปน 6 กลุม จากนั้น จับฉลากเลือกหัวขอ ไดแก สแกนเนอร เครื่อง อานรหัสบารโคด เครื่องอานอักขระดวยแสง เครื่องอานสัญลักษณดวยแสง กลองบันทึกภาพ ดิจิทัล และกลองบันทึกวิดีโอดิจิทัล แลวให สมาชิกแตละกลุมอภิปรายเกี่ยวกับการใชงาน อุปกรณกราดขอมูลแตละประเภทหนาชั้น 2. นักเรียนกลุมที่ 1 ออกมาอธิบายเกี่ยวกับองคประกอบและหลักการทํางานของสแกนเนอร 3. ใหนกั เรียนทดลองใชงานสแกนเนอร สแกนภาพ และจัดเก็บเปนไฟลนามสกุล .jpg และ .pdf จากนั้นใหอธิบายวาไฟลนามสกุลทั้งสองแบบวา แตกตางกันอยางไร 4. ครูทําการสนทนาโตตอบกับกลุมที่ 1 เพื่อ พูดคุยในรายละเอียดของสแกนเนอร และ ตั้งคําถามวา • เครื่องสแกนเนอรทั้ง 3 ประเภท มีการใชงาน ที่แตกตางกันอยางไร (แนวตอบ สแกนเนอรมือถือ ใชโดยการถือตัว สแกนเนอรเลื่อนผานบนภาพตนฉบับที่เรา ตองการ สแกนเนอรแบบสอดกระดาษ ใชโดย สอดภาพหรือเอกสารเขาไปยังชองสําหรับอาน ขอมูล และสแกนเนอรแบบแทน ใชโดยการ วางกระดาษเอกสารตนฉบับที่ตองการ) • สแกนเนอรสามารถจับภาพและอานภาพลง ในเครื่องคอมพิวเตอรไดอยางไร (แนวตอบ สแกนเนอรทาํ การอานภาพ โดยอาศัย การสะทอนแสงกับภาพตนฉบับใหตกกระทบ กับแถบอุปกรณไวแสง โดยอุปกรณไวแสงจะ รับแสงดังกลาวเขาไปเก็บไวในเสนเล็กของเซล และจะแปลงคลื่นแสงแตละเซลเล็กๆ ใหเปน คลื่นความตางศักย ตัวแปลงคลื่นจะเปลี่ยน รูปแบบของแอนาล็อกเปนดิจิทัล เพื่อบันทึก และแสดงผลในเครื่องคอมพิวเตอร)

5) อุปกรณ์กรำดข้อมูล (Data Scanning Device) เป็นอุปกรณ์ที่รับข้อมูล เข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์โดยการใช้แสงส่องผ่านข้อความ ภาพ หรือสัญลักษณ์ต่างๆ เพื่อช่วย อ�านวยความสะดวกให้กับผู้ใช้งาน อุปกรณ์กราดข้อมูลที่นิยมใช้งาน มีดังนี้ 5.1) สแกนเนอร์ (Scanner) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้หลักการส่องแสงไปยังข้อความ สัญลักษณ์ หรือ1ภาพที่ต้องการเพื่อท�า2ส�าเนาภาพ จากนั้นข้อมูลที่สแกนเนอร์อ่านจะถูกแปลงเป็น สัญญาณไฟฟา และเก็บเป็นไฟล์ภาพ สแกนเนอร์แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้ สแกนเนอร์มอื ถือ (Handheld Scanner) สแกนเนอรทมี่ ขี นาดเล็ก สามารถถือและพกพา ติดตัวได้สะดวก การใช้สแกนเนอรมือถือนี้ ผู้ใช้ ต้องถือตัวสแกนเนอรเลื่อนผ่านบนภาพหรือเอกสาร ต้นฉบับที่ต้องการ สแกนเนอร์แบบสอดกระดำษ (Sheet Scanner) สแกนเนอรที่ผู้ใช้ต้องสอดภาพ หรือเอกสารเข้าไปยัง ช่องสําหรับอ่านข้อมูล เครื่องสแกนเนอรชนิดนี้เหมาะสําหรับ การอ่านเอกสารทีเ่ ป็นแผ่นกระดาษ แต่ไม่สามารถอ่านเอกสาร ที่เย็บเป็นเล่มได้

สแกนเนอร์แบบแท่น (Flatbed Scanner) สแกนเนอรทนี่ ยิ มใช้กนั ในปจจุบนั มีขนั้ ตอนการทํางาน โดยการวางกระดาษเอกสารต้นฉบับที่ต้องการไปบนเครื่อง สแกนเนอร ทําให้ใช้งานได้ง่าย

EB GUIDE

12

นักเรียนควรรู 1 สัญญาณไฟฟา คือ คาของกระแสไฟฟา หรือพลังงานไฟฟาที่ไหลอยูในวงจร นั้นๆ แบงออกเปน 2 แบบตามลักษณะสัญญาณที่วัดได คือ สัญญาณแอนาล็อก มักใชในวิทยุสื่อสาร เชน ระบบ A.M. และ F.M. เปนตน และสัญญาณดิจิทัล เชน โทรศัพทมือถือสมารตโฟน เครื่องคอมพิวเตอร เปนตน 2 ไฟลภาพ ที่นิยมใชกัน คือ ไฟลภาพ gif. และ .jpg มีความแตกตางกันคือ นามสกุล .gif นั้นมีจํานวนสีที่แสดงเพียง 256 สี ในขณะที่ .jpg แสดงสีได ถึง 16 ลานสี ซึ่งมีความแตกตางกันอยางมหาศาล ดังนั้นภาพการตูนหรือภาพ ที่ไมตองการความละเอียดมากนัก จะถูกเก็บไวดวยนามสกุล .gif สวนภาพที่ ตองการความละเอียดสูง มักจะเซฟไวดวยนามสกุล .jpg

12

คูมือครู

http://www.aksorn.com/LC/Tech/M4/01

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

อุปกรณรับขอมูลใดที่สามารถจัดเก็บขอมูลเปนไฟลภาพ 1. แปนพิมพ 2. สแกนเนอร 3. ปากกาสไตลัส 4. จอภาพแบบไวตอการสัมผัส

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 2. เนือ่ งจากสแกนเนอรรบั ขอมูลภาพในลักษณะ ของสัญญาณไฟฟาและจัดเก็บขอมูลเปนไฟลภาพ


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู 1 5.2) เครื่องอ่ำนรหัสบำร์โค้ด (ฺBarcode Reader) รหัสบาร์โค้ดเป็นสัญลักษณ์ รหัสแท่ง ใช้แถบสีขาวสลับสีด�า แถบมีขนาด ความหนาบางที่แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับตัวเลข ที่ก�ากับอยู่ด้านล่างของรหัสบาร์โค้ด ส่วนใหญ่ นิยมใช้แทนการพิมพ์รหัสสินค้าในระบบการ ขายสินค้า การน�าเข้าข้อมูลจากรหัสบาร์โค้ด เป็นวิธที รี่ วดเร็ว และลดความผิดพลาดจากการ พิมพ์ข้อมูล รวมทั้งให้ความสะดวกแก่ผู้ใช้งาน เครื่องอานรหัสบารโคด ได้เป็นอย่างดี การอ่านรหัสบาร์โค้ดต้องอาศัยเครื่องอ่านรหัสบาร์โค้ด ซึ่งมีหลักการท�างาน โดยการสะท้อนแสง เพื่ออ่านข้อมูลสินค้าจากฐานข้อมูลโดยไม่ต้องผ่านการกดปุมที่แปนพิมพ์ โดยจะมีการแสดงรายละเอียดสินค้า ได้แก่ ชื่อสินค้า ราคาสินค้า จ�านวนที่เหลืออยู่ในคลังสินค้า แล้วจึงท�าการประมวลผลข้อมูลรายการนั้น ระบบนี้เป็นมาตรฐานสากลที่นิยมใช้กันทั่วโลก 5.3) เครื่ อ งอ่ ำ นอั ก ขระด้ ว ยแสง (Optical Character Reader : OCR) เป็นอุปกรณ์ที่แปลงข้อมูลจากภาพของตัวอักขระลายมือเขียน หรือตัวอักษร (Text) ที่แก้ไข ได้ด้วยโปรแกรมประมวลผลค�า เช่น Microsoft Office Word, Adobe PageMaker เป็นต้น เครื่องอ่านอักขระด้วยแสงมี 2 ลักษณะ คือ ฮาร์ดแวร์หรืออุปกรณ์เฉพาะส�าหรับแปลงเอกสาร เข้าสู่คอมพิวเตอร์ และซอฟต์แวร์ส�าหรับวิเคราะห์ตัวอักษรจากภาพท ษรจากภาพที่ไี ด้จากสแกนเนอร์ 5.4) เครือ่ งอ่ำนสัญลักษณ์ดว้ ยแสง (Optical Mark Reader : OMR) เครื่อ งอ่ าน สัญลักษณ์ด้วยแสง เป็นอุปกรณ์ที่ใช้หลักการอ่าน สัญลักษณ์หรือเครื่องหมายที่มีการระบายหรือฝน บนเอกสารหรื อ แบบฟอร์ ม ส่ ว นใหญ่ จ ะใช้ กั บ การตรวจกระดาษค�าตอบที่มีก ารระบายหรือฝน สัญลักษณ์วงกลมด้วยดินสอ 2B เครื่องโอเอ็มอาร์ จะอ่ า นข้ อ มู ล ตามเครื่ อ งหมายวงกลมที่ ร ะบาย ด้วยดินสอด�าบนกระดาษค�าตอบ แล้วเปรียบเทียบ ต� า แหน่ ง ของค�าตอบที่ถูก ต้อง ช่วยให้ป ระมวล เครื่องอานสัญลักษณดวยแสง ผลคะแนนได้อย่างรวดเร็ว 13

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’ 53 ออกเกี่ยวกับระบบการยืมหนังสือ หองสมุดแหงหนึ่งตองการพัฒนาระบบการยืมหนังสือโดยสามารถบันทึก ขอมูลการยืมหนังสือลงบนบัตรอิเล็กทรอนิกสโดยไมตอ งเขียนดวยมือ ระบบนี้ ควรใชเทคโนโลยีในขอใด 1. Smart Card 2. Fingerprint 3. Barcode 4. Wi-Fi วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 3. เพราะระบบการยืมหนังสือจะนิยมใช บัตรสมาชิก บัตรนักเรียน บัตรนักศึกษา หรือบัตรหองสมุด ในการสแกน บารโคดที่ตัวบัตร เพื่อนําขอมูลของบัตรลงในสารสนเทศของหองสมุด และเพื่อบันทึกการยืมและคืนหนังสือไดอยางสะดวกรวดเร็ว

Explain

1. นักเรียนกลุมที่ 2 ออกมาอธิบายเกี่ยวกับ องคประกอบและหลักการทํางานของเครื่อง อานรหัสบารโคด 2. ครูใหนักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับรหัส บารโคดวามีลักษณะและขอสังเกตอยางไรบาง 3. ครูนําสนทนาวา นักเรียนสังเกตเห็นเครื่อง อานรหัสบารโคดจากสถานที่ใดบาง และครูตั้ง คําถามวา • เครื่องอานรหัสบารโคดสามารถอาน บารโคดไดอยางไร (แนวตอบ สามารถทํางานไดโดยการ สะทอนแสงเพื่ออานขอมูลสินคาจากฐาน ขอมูล โดยไมตอ งผานการกดปุม ทีแ่ ปนพิมพ) • การใชเครื่องอานรหัสบารโคด นิยมใช ในงานประเภทใด และมีประโยชนอยางไร (แนวตอบ เครื่องอานรหัสบารโคด นิยมใช แทนการพิมพรหัสสินคาในระบบการขาย สินคา ซึ่งเปนการนําเขาขอมูลที่สะดวก รวดเร็ว และปองกันความผิดพลาดจาก การพิมพขอมูล) 4. ครูใหนักเรียนกลุมที่ 3 ออกมาอธิบาย องคประกอบและหลักการทํางานของเครื่อง อานอักขระดวยแสง กลุมที่ 4 เครื่องอาน สัญลักษณดวยแสง และรวมกันอภิปรายวา เครื่องอานทั้ง 2 นี้ มีหลักการทํางานที่ แตกตางกันอยางไรบาง และนักเรียนกลุม อืน่ ๆ บันทึกความรูที่ไดจากการอภิปรายในชั้น 5. ครูใหนักเรียนหาสินคาที่มีรหัสบารโคด ในลักษณะตางๆ และศึกษาวารหัสบารโคด เหลานั้น ใชแทนการพิมพตัวเลขหรือรหัส สินคาอะไร โดยใหดูจากแถบขนาดและความ หนาบางที่แตกตางกัน จากนั้นใหเขียนหลัก การทํางานของเครื่องอานรหัสบารโคดวา สามารถอานรหัสสินคาไดอยางไร

เกร็ดแนะครู ครูแนะนําวาในปจจุบันมีบารโคดสองมิติ หรือรหัสคิวอาร (QR Code) ทีป่ ระกอบดวยโมดูล (Module) สีดาํ เรียงตัวกัน โดยมีสณ ั ฐานสีเ่ หลีย่ มและมีพนื้ หลัง สีขาว ที่สามารถอานไดดวยเครื่องสแกนคิวอารในโทรศัพทมือถือที่มีกลอง และ สมารตโฟน โดยนักเรียนสามารถใชรหัสคิวอารในการเชื่อมโยงระบบขอมูลจาก แหลงตางๆ ได

นักเรียนควรรู 1 บารโคด หรือรหัสแทง ประกอบดวย 3 สวน คือ สวนลายเสนซึ่งเปนลาย เสนสีขาว (โปรงใส) และสีดํา มีขนาดความกวางของลายเสนตามมาตรฐานแตละ ชนิดของบารโคด สวนขอมูลตัวอักษรแสดงความหมายของขอมูลลายเสนเพื่อให อานเขาใจได และสวนสุดทายแถบวาง (Quiet Zone) เปนสวนทีเ่ ครือ่ งอานบารโคด ใชกําหนดขอบเขตของบารโคดและกําหนดคาใหกับสีขาว คูมือครู

13


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูใหนักเรียนกลุมที่ 5 ออกมาอธิบายความรู เกี่ยวกับองคประกอบและหลักการทํางานของ กลองบันทึกภาพดิจิทัล 2. ครูทําการสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับ นักเรียน และตั้งคําถามวา • กลองบันทึกภาพดิจิทัล มีหลักการทํางาน แตกตางจากกลองบันทึกภาพแบบฟลม อยางไร (แนวตอบ เชน กลองบันทึกภาพดิจิทัล สามารถบันทึกไดทั้งภาพนิ่งและภาพ เคลื่อนไหว โดยผูถายภาพสามารถดูและ แกไขภาพไดทนั ที ซึง่ ภาพจะถูกบันทึกเปนไฟล ในหนวยความจําของกลอง แตกตางจาก กลองบันทึกภาพแบบฟลมที่ภาพจะถูกเก็บไว โดยฟลมในกลองและไมสามารถดูภาพได จนกวาจะถายภาพเสร็จสิ้น และนําฟลมมา ผานกระบวนการอัดเปนภาพ เปนตน) 3. ครูใหนักเรียนกลุมที่ 6 ออกมาอภิปรายเกี่ยวกับ องคประกอบและหลักการทํางานของกลอง บันทึกวิดีโอดิจิทัล 4. ครูนําสนทนาเกี่ยวกับกลองบันทึกวิดีโอดิจิทัล และตั้งคําถามวา • การถายภาพเคลื่อนไหวสามารถถายไดทั้ง กลองบันทึกภาพดิจิทัลและกลองบันทึกวิดีโอ ดิจิทัล แลวกลองทั้ง 2 นี้มีหลักการทํางานที่ แตกตางกันอยางไร (แนวตอบ ภาพเคลื่อนไหวที่บันทึกจากกลอง บันทึกภาพดิจทิ ลั และกลองบันทึกวิดโี อดิจทิ ลั มีหลักการทํางานที่คลายคลึงกัน แตกลอง บันทึกวิดีโอดิจิทัลเปนกลองเฉพาะในการ บันทึกภาพเคลื่อนไหว ซึ่งนิยมใชในการ ประชุมทางไกลผานวิดีโอ)

กลองบันทึกภาพดิจิทัล

5.6) กลองบันทึกวิดีโอ ดิ จิ ทั ล (Digital Video Camera) เป น อุ ป กรณ ที่ ใ ช สํ า หรั บ บั น ทึ ก ภาพ เคลื่อนไหวและบันทึกเปนขอมูลแบบ ดิจิทัล ซึ่งผูใชสามารถดูภาพจากกลอง ไดทันที นิยมใชในการประชุมทางไกล ผานวิดีโอ ซึ่งเปนการประชุมแบบกลุม ผานเครือขายคอมพิวเตอร

ของมนุษยซงึ่ เปนสัญญาณแอนาล็อกและแปลงใหอยูใ นรูปแบบของสัญญาณดิจทิ ลั เพือ่ เก็บเปนไฟล ขอมูลเสีย3งในเครื่องคอมพิวเตอร ซึ่งมีอุปกรณรับขอมูลเสียงที่สําคัญ ไดแก ไมโครโฟน และแผน วงจรเสียง (Sound Card) 7) อุปกรณรบั ขอมูลผานรางกายมนุษย (Haptic Device) อุปกรณรบั ขอมูลผาน รางกายมนุษยถูกออกแบบมาเพื่ออํานวยความสะดวกในการแลกเปลี่ยนขอมูลระหวางมนุษยกับ เครื่องคอมพิวเตอร หรือบางครั้งออกแบบเพื่อใชกับผูพิการในการควบคุมอุปกรณหรือเครื่องจักร ตางๆ โดยอุปกรณรับขอมูลผานรางกายมนุษย จะใชหลักการสัมผัสทางกายภาพที่เปนธรรมชาติ ของมนุษย อุปกรณรบั ขอมูลผานรางกายมนุษยทมี่ ใี ชในปจบุ นั เชน เสือ้ ผา ถุงมือ รองเทา เปนตน อุปกรณเหลานี้นิยมนํามาประยุกตใชกับความเปนจริงเสมือน (Virtual Reality : VR) ซึ่งเปน การใชคอมพิวเตอรกราฟกกับอุปกรณรบั ขอมูลผานรางกายมนุษย ทีจ่ ะทําใหผใู ชรสู กึ เหมือนเขาไป อยูใ นสิง่ แวดลอมสามมิตทิ ถี่ กู สรางดวยคอมพิวเตอรใหผใู ชไดเห็นหรือไดยนิ ตัวอยางงานทีใ่ ชระบบ ความเปนจริงเสมือน เชน การฝกเครือ่ งบินจําลอง การจําลองการทํางาน เกมคอมพิวเตอร เปนตน 14

1 สัญญาณแอนาล็อก (Analog Signal) เปนสัญญาณไฟฟาทีม่ ลี กั ษณะตอเนือ่ ง หรือสัญญาณขอมูลแบบตอเนื่อง (Continuous Data) มีขนาดของสัญญาณที่ ไมคงที่ คลายคลื่นเชือกที่สะบัดขึ้นลง และมีการเปลี่ยนแปลงที่คอยเปนคอยไป 2 สัญญาณดิจิทัล (Digital Signal) เปนสัญญาณไฟฟาที่มีลักษณะไมตอเนื่อง หรือสัญญาณขอมูลแบบไมตอเนื่อง (Discrete Data) มีขนาดของสัญญาณคงที่ คลายขั้นบันได และมีการเปลี่ยนแปลงขนาดของสัญญาณแบบทันทีทันใด 3 แผนวงจรเสียง หรือการดเสียง ใชสําหรับเปลี่ยนสัญญาณจากเครื่อง คอมพิวเตอรเปนสัญญาณเสียง หรือเปลี่ยนจากเสียงเปนสัญญาณที่เครื่อง คอมพิวเตอรทําการประมวลผลได

คูมือครู

กลองบันทึกวิดีโอดิจิทกล ัล องบันทึกวิดีโอดิจิทัล

6) อุปกรณรบั ขอมูลเสี1 ยง (Audio Input) เปนอุปกรณทที่ าํ หนาที2ร่ บั สัญญาณเสียง

นักเรียนควรรู

14

5.5) กลองบันทึกภาพดิจทิ ลั (Digital Camera) กลองบันทึกภาพดิจิทัลมีรูปรางและการ ทํางานคลายกลองถายภาพ สามารถถายภาพไดทั้ง ภาพเคลื่อนไหว และภาพนิ่ง โดยภาพที่ถายไดจาก กลองดิจิทัล จะบันทึกเปนไฟลในหนวยความจําของ กลองแทนฟลม ซึ่งผูใชสามารถดูภาพจากกลองได ทันที ทําใหเกิดความสะดวก และงายตอการถายภาพ

กิจกรรมสรางเสริม ครูใหนักเรียนทดลองใชกลองบันทึกภาพดิจิทัล โดยเรียนรูวิธีการใชและ หลักการทํางาน จากนั้นนําความรูมาอภิปรายในชั้นเพื่อแลกเปลี่ยนระหวาง เพื่อนนักเรียน

กิจกรรมทาทาย ครูใหนักเรียนนําเสนอหลักการทํางานและการเลือกใชฮารดแวรและ ซอฟตแวรใหเหมาะสมกับงาน โดยใหอธิบายถึงความตองการใชงาน คอมพิวเตอร เชน เลนเกม พิมพงาน ใชสื่อมัลติมีเดีย ใชอินเทอรเน็ต เปนตน และใหระบุวาการใชงานเหลานั้นควรจะใชฮารดแวรและซอฟตแวร อะไรบาง เพื่อใหเหมาะสมกับงานที่นักเรียนตองการ โดยบันทึกคําอธิบาย และยกตัวอยางการทํางานเหลานั้นเปนไฟลวิดีโอและสงครูผูสอน


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุEngage นความสนใจ

สํารวจค Exploreนหา

กระตุน ความสนใจ

ครูตั้งคําถามกระตุนนักเรียนวา • ซีพียูมีหลักการทํางานคลายกับอวัยวะใด ของมนุษย (แนวตอบ ซีพยี ู เปนอุปกรณในการประมวลผล เชน การคํานวณ การเปรียบเทียบ การจัด กลุม การเรียงลําดับ เปนตน ซึ่งคลายกับ สมองของมนุษยที่ใชในการคิดแยกแยะ และวิเคราะหเหตุการณตางๆ ที่เกิดขึ้น ซีพียูจึงเปนหลักสําคัญในการทํางานของ คอมพิวเตอร)

2.2 หนวยประมวลผลกลาง หน่วยประมวลผลกลำง (Central Processing Unit) เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ซีพียู (CPU) เป็นอุปกรณ์หลักในการประมวลผล เพื่อหาผลลัพธ์หรือสารสนเทศตามที่ผู้ใช้ต้องการ เช่น การค�านวณ การเปรียบเทียบ การเรียงล�าดับ การจัดกลุ่ม การจัดท�ารายงาน เป็นต้น ดังนั้น การประมวลผลของเครือ่ งคอมพิวเตอร์จงึ เปรียบเสมือนสมอง ของมนุ ษ ย์ ที่ ส ามารถคิ ด วิ เ คราะห์ เ พื่ อ หาผลลั พ ธ์ ห รื อ สารสนเทศที่ต้องการได้ ซีพียูของเครื่องคอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคลจะถูกบรรจุในชิปทีเ่ รียกว่า ไมโครโพรเซสเซอร์ (Microprocesser) ซีพียูท�าหน้าที่ควบคุมการท�างานและประมวลผลข้อมูล ที่ได้จากอุปกรณ์ข้อมูลน�าเข้า (Input Device) ตามค�าสั่งต่างๆ ในโปรแกรมทีเ่ ตรียมไว้ และส่งต่อไปยังส่วนการแสดงผลข้อมูล ซีพียู ทําหนาที่ควบคุมการประมวล (Output Device) เพื่อให้สามารถเก็บหรืออ่านผลลัพธ์ได้ ถ้า ผลขอมูลของเครื่องคอมพิวเตอร ที่ไดขอมูลมาจากอุปกรณตางๆ ซีพียูมีความเร็วมาก การประมวลผลก็จะท�าได้เร็วขึ้น 1 ความเร็วของซีพียูจะถูกควบคุมโดยสัญญาณนาฬกา (Clock Signal) ซึ่งเป็นตัวให้จังหวะ การท�างานเหมือนกับจังหวะของการเล่นดนตรี หน่วยวัดความเร็วของสัญญาณนาฬกาดังกล่าว 2 เฮิรต์ ซ (Hertz หรือ Hz) ซึ Hz) ซึง่ เทียบเท่ากับ 1 ครัง้ ต่อวินาที โดยปกติแล้วซีพยี จู ะมีการท�างาน เรียกว่า เฮิ ที่เร็วมาก ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับรุ่นของซีพียูและสถาปตยกรรมที่ออกแบบมาส�าหรับแต่ละรุ่น หน่วยวัด ความเร็วของซีพียูที่พบเห็นในปจจุบัน ตัวอย่างเช่น

1,000,000 ครั้งต่อวินาที หรือ 1 Megahertz 1,000,000,000 ครั้งต่อวินาที หรือ 1 Gigahertz

Engage

สํารวจคนหา

Explore

ครูใหนักเรียนคนหาขอมูลเกี่ยวกับหนวย ประมวลผลกลางหรือซีพียู หนวยความจําหลัก และหนวยความจํารอง จากแหลงเรียนรู เชน หองสมุด อินเทอรเน็ต ผูรูดานคอมพิวเตอร เปนตน เพื่อใหนักเรียนนําความรูมาอภิปรายในชั้น

อธิบายความรู

Explain

1. ครูใหนักเรียนศึกษาวาซีพียูในคอมพิวเตอร ของนักเรียนหรือของที่โรงเรียนมีชื่อยี่หออะไร และมีความเร็วกี่ครั้งตอวินาที โดยกดคลิกขวา ที่ My Computer และกดที่ Properties 2. ครูใหนักเรียนศึกษายี่หอและรายละเอียด การประมวลผลของซีพียูคอมพิวเตอร เชน Intel, AMD, Cyrix เปนตน และบันทึกลงใน สมุดเรียน 3. ครูใหนักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับหลัก การทํางานของซีพียูหรือหนวยประมวลผล กลาง และบันทึกคําตอบลงในสมุดเรียน

(1 MHz) (1 GHz)

หน่วยประมวลผลกลางแบ่งออกได้เป็น 2 หน่วย คือ หน่วยควบคุม และหน่วยค�านวณและตรรกะ

1. หน่วยควบคุม (Control Unit)

ทําหน้าที่ควบคุมการปฏิบัติงานของหน่วยอื่นๆ ของระบบคอมพิวเตอร ให้ทําตามชุดคําสั่ง ที่ป้อนเข้าสู่คอมพิวเตอร

2. หน่วยค�ำนวณและตรรกะ (Arithmetic Logic Unit) ทําหน้าที่เปรียบเทียบ คํานวณและปฏิบัติการทางตรรกะ

15

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ซีพียูหรือหนวยประมวลผลกลาง มีหนาที่และหลักการทํางานอยางไร

แนวตอบ ซีพียู มีหนาที่ควบคุมการทํางานและประมวลผลตามชุดของ คําสั่งเครื่อง เชน เมาส แปนพิมพ เปนตน มีหลักการทํางาน คือ อานชุด คําสั่ง ตีความ ประมวลผล อานหนวยความจํา เมื่อประมวลผลแลวจะ สงขอมูลไปยังหนวยแสดงผล เชน จอภาพ ลําโพง เครื่องพิมพ เปนตน

นักเรียนควรรู 1 สัญญาณนาฬกา (Clock Signal) จังหวะชวงเวลาที่นาฬกาเดิน ซึ่งจะ เปนชวงที่แนนอนสมํ่าเสมอ ในแตละชวงเดินของนาฬกาที่เรียกวา “ติ๊ก” นั้น คอมพิวเตอรจะทํางานตามคําสั่ง และจะหยุดทํางานในชวงวางระหวางติ๊ก ยิ่งชวง ติ๊กนี้ถี่เทาใด ก็ยิ่งแปลวาคอมพิวเตอรทํางานเร็วเทานั้น 2 เฮิรตซ มาจากชื่อนักฟสิกสเยอรมัน ไฮนริช เฮิรตซ (Heinrich Hertz) ผูคนพบทฤษฎีแมเหล็กไฟฟา โดยความเร็วของสัญญาณนาฬกาวัดเปนหนวย เฮิรตซ โดย 1 เมกะเฮิรตซ (Megahertz) จะเทากับ 1 ลานติ๊กของนาฬกาตอ 1 วินาที คอมพิวเตอรสวนบุคคลหรือพีซีในยุคปจจุบัน มีหนวยความจําที่ทํางาน ดวยความเร็วประมาณ 33 - 66 เมกะเฮิรตซ

คูมือครู

15


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูนําสนทนาเกี่ยวหนวยประมวลผลเพิ่มเติม ใหนักเรียนชวยกันตอบคําถามวา • หลักการทํางานของซีพียูคลายกับหลักการ ทํางานของสมองมนุษยอยางไร (แนวตอบ หลักการทํางาน มีหนาที่เปนหนวย รับขอมูลเหมือนสมองของมนุษยที่รับขอมูล ผานทางตา หู จมูก ปาก ลิ้น สัมผัส เมื่อ ไดรับขอมูลแลวสมองจึงนําไปประมวลผล บางอยางถูกจดจําไวในสมองเหมือนหนวย ความจําหลัก และบางอยางแสดงผลออกมา ทางรางกาย ความรูสึก จิตใจ คําพูด การแสดงออก เปนตน) 2. ครูใหนักเรียนศึกษาไมโครโพรเซสเซอร และ เขียนแผนผังเกี่ยวกับองคประกอบและหนวย ตางๆ ของหนวยประมวลผลกลางพรอม คําอธิบาย นํามาอภิปราย 3. ครูอภิปรายรวมกับนักเรียนเกี่ยวกับหลักการ ทํางานของหนวยความจําหลักหรือหนวยเก็บ ขอมูลหลัก โดยตั้งคําถามวา • เพราะเหตุใด หนวยความจําหลักจึงทํางาน ควบคูไปกับซีพียู (แนวตอบ ซีพียูจะนําคําสั่งจากหนวยความ จําหลักมาแปลงความหมายและประมวลผล จากนั้นก็จะนําผลลัพธมาเก็บไวในหนวย ความจําหลัก ซึ่งหนวยความจําหลักจะถูกเก็บ เปนขอมูลและคําสั่งในระหวางการทํางานของ ซีพียู เปนตน)

นอกจากนี้ ซีพียูยังมีองค์ประกอบส�าคัญ 2 องค์ประกอบ คือ เรจิสเตอร์ และบัส 1 (Register) เป็นหน่วยจัดเก็บข้อมูลความเร็วสูง ท�าหน้าที่จัดเก็บข้อมูลหรือ เรจิสเตอร์ (Register) ชุดค�าสั่งไว้ชั่วคราวในระหว่างการประมวลผลของซีพียู เรจิสเตอร์ในซีพียูมีหน้าที่การท�างานที่ แตกต่างกันไป เช่น ตัวนับระบุต�าแหน่งค�าสั่ง (Program Counter : PC) เก็บต�าแหน่งที่อยู่ของ ค�าสั่งถัดไปที่จะน�ามาประมวลผล (Instruction Register : IR) เก็บค�าสั่งก่อนการกระท�าการ ประมวลผลค�าสั่ง (Execute) และเก็บข้อมูลชั่วคราว (Accumulator) เป็นต้น 2 บัส (Bus) (Bus) คือ เส้นทางการรับส่งข้อมูลระหว่างหน่วยต่างๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์

2.3 หนวยความจ�าหลัก หน่วยควำมจ�ำหลัก (Main Memory) เป็นอุปกรณ์ที่ท�าหน้าที่ในการเก็บข้อมูลและค�าสั่ง ทีไ่ ด้รบั จากหน่วยรับข้อมูลและเก็บผลลัพธ์ทผี่ า่ นการประมวลผลแล้ว ขณะทีเ่ ปดเครือ่ งคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้งาน บางครั้งอาจเรียกว่า หน่วยเก็บข้อมูลหลัก (Primary Storage) หน่วยความจ�าหลักท�างานควบคู่ไปกับซีพียูและช่วยให้การท�างานของซีพียูมีประสิทธิภาพ ที่ดีขึ้น ซึ่งซีพียูจะท�าหน้าที่น�าค�าสั่งจากหน่วยความจ�าหลักมาแปลงความหมายแล้วกระท�าตาม เมื่อท�าเสร็จก็จะน�าผลลัพธ์มาเก็บไว้ในหน่วยความจ�าหลัก โดยซีพียูจะกระท�าตามขั้นตอนเช่นนี้ เป็นวงรอบเรื่อยไปอย่างรวดเร็ว เรียกการท�างานลักษณะนี้ว่า วงรอบค�ำสั่ง (Execution Cycle) โดยวงรอบการท�างานของซีพียูนั้นท�างานเร็วมาก หากไม่มีที่เก็บหรือพักข้อมูลและความเร็วใน การเข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล ที่ มี ข นาดเพี ย งพอ จะท� า ให้ ก ารประมวลผลช้ า ลงตามไปด้ ว ย โดยทั่ ว ไป หน่วยความจ�าหลัก แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ดังต่อไปนี้

à¡Ãç´ IT สถาปตยกรรมของหนวยประมวลผลกลาง ปจจุบันสถาปตยกรรมของหน่วยประมวลผลกลางที่นิยมมี 2 ชนิด คือ CISC และ RISC CISC หรือ Complex Instruction Set Computing เป็นสถาปตยกรรมที่ประกอบด้วยชุดคําสั่งพื้นฐาน และชุดคําสัง่ ทีซ่ บั ซ้อนจํานวนมาก ทําให้โปรแกรมต่างๆ ทีอ่ อกแบบสําหรับซีพยี นู ี้ จะสามารถใช้คาํ สัง่ ทีบ่ รรจุภายใน ซีพียูได้ทันที ซีพียูที่ใช้สถาปตยกรรมนี้ ได้แก่ ยี่ห้อ Intel, AMD และ Cyrix ซึ่งใช้กับเครื่องคอมพิวเตอรส่วนบุคคล ทั่วไป RISC หรือ Reduced Instruction Set Computing เป็นสถาปตยกรรมที่บรรจุชุดคําสั่งภายในซีพียู จํานวนน้อย เป็นคําสั่งพื้นฐานที่ถูกใช้งานประจํา คําสั่งซับซ้อนจะเป็นหน้าที่ของระบบปฏิบัติการที่นําคําสั่งพื้นฐาน มาประกอบกัน ซีพียูที่ใช้สถาปตยกรรมนี้ ได้แก่ ยี่ห้อ PowerPC, SilS icon Graphic และ DEC Alpha ●

16

นักเรียนควรรู 1 เรจิสเตอร ในสถาปตยกรรมของคอมพิวเตอรหรือการออกแบบนัน้ เรจิสเตอร คือ หนวยจัดเก็บขอมูลขนาดเล็กที่เปนสวนหนึ่งของซีพียู โดยสามารถใชในการ คํานวณทางคณิตศาสตร (Arithmetic) จัดดําเนินการ (Manipulated) หรือ ทดสอบ (Tested) ผานทางภาษาเครื่อง (Machine Language) ที่ออกแบบขึ้น เพื่อสื่อสารชุดคําสั่งแกเครื่องจักร เพราะเปนภาษาเดียวที่ไมโครโพรเซสเซอร สามารถเขาใจ โดยเฉพาะในการคํานวณเปนตัวเลขลวนๆ และมักใชเลขฐาน 2 เปนหลัก ซึ่งในโครงสรางของซีพียูจะมีการออกแบบจํานวนเรจิสเตอรที่จําเปน และแบงตามจํานวนบิตที่บรรจุได 2 บัส ในสถาปตยกรรมคอมพิวเตอร บัส คือ ระบบรองระบบหนึง่ (Sub-system) ซึ่งสงผานขอมูลระหวางสวนประกอบภายในคอมพิวเตอรหรือระหวางคอมพิวเตอร และเปนเสนทางติดตอสื่อสารระหวางอุปกรณคอมพิวเตอรที่เสียบเขากับชองเสียบ (Slot) ตางๆ บนเมนบอรดของเครื่องคอมพิวเตอร เชน ฮารดดิสก ซีดีรอม แฟลชไดรฟ การดเสียง เปนตน

16

คูมือครู

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’ 52 ออกเกี่ยวกับหนวยประมวลผลกลาง การตอหนวยประมวลผลกลาง (CPU) เขากับคอมพิวเตอรนั้น ตองตอกับอุปกรณใดเขากับ สวนไหนของ Main Board 1. 2 + 3 → 10 2. 2 + 4 → 8 3. 4 → 8 4. 3 → 10 วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 2. ภาพที่ 2 คือ หนวยประมวลผล กลางหรือซีพียูจะตองเชื่อมตอกับภาพที่ 4 คือ Sink CPU ซึ่งมีหนาที่ระบาย ความรอนใหกับซีพียู จากนั้นจึงตอกับชองหมายเลข 8 ซึ่งเปนชองที่รองรับ ซีพียู


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

1. ครูใหนักเรียนตรวจสอบวาเครื่องคอมพิวเตอร ของนักเรียนหรือที่โรงเรียนมีหนวยความจํา แรมเทาไร และหนวยความจํานั้นเทียบเทากับ ตัวอักษรกี่ตัว 2. ครูรวมอภิปรายกับนักเรียนเกี่ยวกับหนวย ความจําแรม โดยตั้งคําถามวา • หนวยความจําแรมเปนหนวยความจํา แบบลบเลือนได เพราะเหตุใด (แนวตอบ เพราะขอมูลในแรมเปนโปรแกรม ที่กําลังทํางาน หรือขอมูลที่ใชในการ ประมวลผลของซีพียู แตขอมูลในแรมจะหาย ไปทันที เมื่อระบบคอมพิวเตอรถูกปดลง เนื่องจากหนวยความจําชนิดนี้จะเก็บขอมูล ไดเฉพาะเวลาที่มีกระแสไฟฟาหลอเลี้ยง เทานั้น) • นักเรียนมีวิธีการดูแลรักษาหนวยความจํา แรมหรือไม และมีวิธีการอยางไร (แนวตอบ เชน ถอดหนวยความจําแรมออก มาทําความสะอาด โดยการปดฝุนดวยแปรง ที่มีขนนุม และหลังจากนั้นนํายางลบสีขาว ถูตรงขาของแรมทั้งสองขาง เพื่อลบคราบ ตางๆ ที่ติดอยู และควรระวังไมใหขาของ แรมตกหลนหรือเปยกนํ้า ทั้งนี้การดูแลรักษา ตองอาศัยความชํานาญ หากไมมีความ ชํานาญควรใหชางคอมพิวเตอรเปน ผูดําเนินการ เปนตน) 3. ครูใหนักเรียนอธิบายการเลือกซื้อหนวยความ จําแรม โดยสุมถามนักเรียนและรวมกัน อภิปรายในชั้น จากนั้นบันทึกการเลือกซื้อลง ในสมุด นํามาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในชั้น เรียน

1) หน่วยควำมจ�ำหลักแบบแก้ไขได้ (Random Access Memory : RAM)

เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า แรม เป็นหน่วยความจ�าที่จัดเก็บข้อมูลในขณะที่ซีพียูก�าลังประมวลผล หรือ เมื่อเปดเครื่องคอมพิวเตอร์ ดังนั้น หน่วยความจ�าประเภทนี้ต้อง อาศัยกระแสไฟฟาในการท�างานเพือ่ ไม่ให้ขอ้ มูล สูญหาย ซึ่งอาจเรียกว่า หน่วยควำมจ�ำแบบ หากเกิดกระแส ลบเลือนได้ (Volatile Memory) หากเกิ 1 ไฟฟาดับ หรือปดเครื่องคอมพิวเตอร์ ข้อมูลที่อยู่ใหน่วยความจ�าจะถูกลบไป แรมสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด แรม เปนหนวยความจําหลักที่จัดเก็บขอมูลในขณะที่ซีพียู ดังนี้ กําลังประมวลผลอยู

1 แรมหลัก (Main RAM)

ใช้เก็บข้อมูลและคําสั่ง หรือโปรแกรมในระหว่างการทํางานของซีพียู โดยซีพียูสามารถ เข้าถึงข้อมูลและคําสั่งในแรมอย่างรวดเร็ว ซึ่งหากผู้ใช้ต้องการใช้ข้อมูลในภายหลัง ผู้ใช้ ต้องย้ายข้อมูลจากแรมไปเก็บไว้ที่หน่วยความจํารอง เช่น ฮารดดิสก แฟลชไดรฟ เป็นต้น โดยการสั่งคําสั่งบันทึกจากโปรแกรมที่ใช้งาน

2 แรมวีดิทัศน์ (Video RAM)

ใช้เก็บข้อมูลสําหรับจอภาพ ทําให้สามารถส่งภาพไปที่จอได้เร็วขึ้น นิยมใช้กับการเล่น เกมและงานด้านกราฟก เพื่อช่วยให้ภาพปรากฏที่หน้าจออย่างรวดเร็ว โดยปกติแล้วการวัด ขนาดของหน่วยความจํา นิยมวัดโดยใช้หน่วยเป็นไบต (Byte) ซึง่ อาจเทียบได้เท่ากับตัวอักษร 1 ตัว โดยคอมพิวเตอรที่มีขนาดหน่วยความจําที่ใหญ่มาก จะทํางานได้เร็วมากขึ้น ซึ่งหน่วย วัดที่มีขนาดใหญ่ขึ้น มีดังนี้ 1 Byte (ไบต) 1 KB (กิโลไบต) 1 MB (เมกะไบต) 1 GB (กิกะไบต)

= 1 = 1,024 = 1,048,576 = 1,073,741,824

ตัวอักษร ตัวอักษร ตัวอักษร ตัวอักษร

Explain

(ประมาณ 1 พันตัวอักษร) (ประมาณ 1 ล้านตัวอักษร) (ประมาณ 1 พันล้านตัวอักษร)

ปจจุบนั ขนาดหน่วยความจ�าหลักของเครือ่ งคอมพิวเตอร์สว่ นบุคคลมีขนาดตัง้ แต่ 256 MB 512 MB, 1 GB, 2 GB, 4 GB เป็นต้น 17

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’ 51 ออกเกี่ยวกับการทํางานของคอมพิวเตอร กระบวนการในขอใดเกิดขึ้นเปนสิ่งแรกเมื่อเปดเครื่องคอมพิวเตอร 1. เช็คสถานะของฮารดแวร 2. โหลดระบบปฏิบัติการเขาสูหนวยความจําหลัก 3. หนวยประมวลผลกลางประมวลชุดคําสั่งในหนวยความจําหลักแบบ แกไขได (RAM) 4. หนวยประมวลผลกลางประมวลชุดคําสั่งในหนวยความจําหลักแบบ อานไดอยางเดียว (ROM) วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 4. เพราะเมื่อเปดคอมพิวเตอร กระบวนการ แรกจะมีการโหลดระบบปฏิบัติการเขาสูหนวยความจําหลักของคอมพิวเตอร โดยโปรแกรม BIOS (Basic Input/Output System) ที่อยูบนหนวย ความจํารอมจะทําหนาที่ในการตรวจอุปกรณที่ตอไว และทําการโหลดระบบ ปฏิบัติการ หลังจากนั้นจะทําหนาที่ไหลขอมูลของระบบปฏิบัติการเชื่อมตอ กับหนวยรับเขาและหนวยสงออก

เกร็ดแนะครู ครูแนะนํานักเรียนวา หนวยความจําแรมเปนหนวยความจําแบบลบเลือนได ซึ่งไมสามารถใชงานไดเมื่อกระแสไฟฟาดับ เพราะฉะนั้นนักเรียนควรบันทึกขอมูล ที่สําคัญตางๆ ลงในหนวยความจํารอง เพื่อเก็บขอมูลไวใชในภายหลัง รวมถึง เปนการสํารองขอมูลและปองกันไมใหขอมูลสูญหาย

นักเรียนควรรู 1 กระแสไฟฟา (Electric Current) การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนหรือการไหล ของอิเล็กตรอนในตัวนํา เชน โลหะ สายไฟ เปนตน ซึ่งปริมาณประจุไฟฟาที่เลื่อน ไหลในวงจรไฟฟาตอวินาที หรือที่เรียกวา ปริมาณกระแสไฟฟาไหล มีหนวยวัด กระแสไฟฟาเรียกวา แอมแปร (Ampere: A) ซึ่งตั้งชื่อตาม อ็องเดร-มารี อ็องแปร (Andreé-Marie Ampère) นักฟสิกสชาวฝรั่งเศส ผูคนพบทฤษฎีแมเหล็กไฟฟา คูมือครู

17


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูนําสนทนาเกี่ยวกับหนวยความจํารอม และ ใหนักเรียนชวยกันตอบคําถาม • หนวยความจําแรมและหนวยความจํารอม แตกตางกันอยางไร (แนวตอบ หนวยความจําแรม เปนหนวยความจํา ที่ใชไดเมื่อคอมพิวเตอรเปดอยูหรือซีพียูกําลัง ประมวลผล โดยสามารถเขียนและอานขอมูล ไดอยางอิสระ แตหนวยความจํารอม เปน หนวยความจําที่ติดตั้งชุดคําสั่งโดยผูใช ซึ่งไม สามารถเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลงชุดคําสั่งได อยางไรก็ตาม หนวยความจํารอมสามารถเก็บ ขอมูลได โดยไมตองมีไฟฟาหลอเลี้ยง) 2. ครูใหนักเรียนศึกษาและหาภาพหนวยความ จําแรมและหนวยความจํารอมประเภทตางๆ แลวออกมาอภิปรายถึงคุณสมบัติและหลักการ ทํางานหนาชั้นเรียน 3. ครูใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยางหนวยความจํา รองแบบตางๆ โดยเขียนบนกระดานหนาชั้น 4. ครูนํานักเรียนสนทนาเกี่ยวกับฮารดดิสก แลว ตั้งคําถามวา • ฮารดดิสกมีหลักการทํางานอยางไร (แนวตอบ ฮารดดิสกมีหลักการทํางาน คือ ใชสารแมเหล็กในการบันทึกขอมูล ซึ่งหมุน อยางรวดเร็วในขณะทํางานและสามารถลบ หรือเขียนไดใหมอยูตลอดเวลา โดยมีการเก็บ ขอมูลในรูปแบบแทร็กและเซกเตอร ซึ่งแทร็ก จะเปนลักษณะวงกลมซอนกันหลายชั้น สวน เซกเตอรจะเปนสวนแบงสวนหนึ่งของวงแทร็ก หนึ่งแทร็ก ดังนั้นในหนึ่งแทร็กจะมีหลาย เซกเตอร)

2) หน่วยควำมจ�ำหลักแบบอ่ำนได้อย่ำงเดียว (Read Only Memory : ROM)

เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า รอม เป็นหน่วยความจ�าที่บริษัทผู้ผลิตติดตั้งชุดค�าสั่งที่ใช้ในการเริ่มต้น การท�างานหรือชุดค�าสั่งที่ส�าคัญของระบบคอมพิวเตอร์ โดยรอมมีคุณสมบัติในการเก็บข้อมูล ไว้ตลอดโดยไม่ต้องใช้ไฟฟาเลี้ยง นั่นคือ เมื่อปดเครื่องไปแล้ว และเปดเครื่องใหม่ข้อมูลในรอม ก็ ยั ง อยู ่ เ หมื อ นเดิ ม แต่ ผู ้ ใ ช้ จ ะไม่ ส ามารถ เปลี่ยนแปลงหรือเพิ่มเติมชุดค�าสั่งในรอมได้ ชุดค�าสั่งที่ติดตั้งในรอมอย่างถาวรมาตั้งแต่การ ผลิตของบริษัท เรียกว่า เฟร์มแวร์ (Firmware) ปจจุบันรอมมีอยู่หลายชนิด บางชนิดมีความ สามารถเพิม่ เติมชุดค�าสัง่ ด้วยโปรแกรมพิเศษได้ รอม เปนหนวยความจําหลักที่สามารถเก็บขอมูลไวได ชนิ ด ของรอมที่ นิ ย มใช้ ใ นป จ จุ บั น ได้ แ ก่ 1 แมในขณะที่ปดเครื่องคอมพิวเตอรแลว Mark ROM, PROM, EPROM และ EEPROM

2.4 หนวยความจ�ารอง หน่วยควำมจ�ำรอง (Secondary Storage) เป็นหน่วยเก็บข้อมูลถาวรที่ผู้ใช้สามารถ ย้ายข้อมูลและค�าสั่งที่อยู่ในแรมขณะที่เครื่องคอมพิวเตอร์ท�างาน มาจัดเก็บไว้ได้ด้วยค�าสั่งบันทึก ของโปรแกรมต่างๆ ท�าให้ผใู้ ช้สามารถเรียกข้อมูลและค�าสัง่ มาใช้ภายหลังได้ ซึง่ หน่วยความจ�ารอง มีความจุข้อมูลได้มากกว่าหน่วยความจ�าหลักและมีราคาถูกกว่า แต่เข้าถึงข้อมูลได้ช้ากว่าหน่วย ความจ�าหลัก อุปกรณ์หน่วยความจ�ารองที่นิยมใช้ในปจจุบัน มีดังนี้ 1) ฮำร์ ด ดิ ส ก์ (Hard Disk) ใช้ ห ลั ก การของการเข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล แบบสุ ่ ม (Random-access) กล่าวคือ ถ้าต้องการข้อมูลล�าดับที่ 21 หัวอ่านก็จะตรงไปที่ข้อมูลนั้นและ อ่านข้อมูลนัน้ ขึน้ มาได้ทนั ที หัวอ่านของฮาร์ดดิสก์ เรียกว่า หั วอ่ำนและบันทึก (Read/Write Head) 2 โดยฮาร์ดดิสก์ท�ามาจากแผ่นจานแม่เหล็กเรียง ซ้อนกันหลายๆ แผ่น ซึ่งสามารถบันทึกข้อมูล ได้ทั้งสองหน้าของผิวจานแม่เหล็ก ยกเว้น แผ่ น สุ ด ท้ า ยที่ ติ ด กั บ กล่ อ งจะบั น ทึ ก ข้ อ มู ล ได้เพียงหน้าเดียว โดยที่ทุกแทร็ก (Track) และ เซกเตอร์ (Sector) ที่ต�าแหน่งตรงกันของ ฮาร์ดดิสก์ชุดหนึ่งๆ จะถูกเรียกว่า ไซลินเดอร์ ฮารดดิสก เปนอุปกรณหนวยความจํารองที่สามารถ (Cylinder) เก็บขอมูลไดปริมาณมาก 18

นักเรียนควรรู 1 EEPROM ยอมาจาก Electronically Erasable Programmable ReadOnly-Memory เปนหนวยความจําแบบอานอยางเดียวชนิดลงโปรแกรมและลบดวย กระแสไฟฟา 2 แผนจานแมเหล็ก (Magnetic Disk) มีลักษณะเปนแผนวัสดุทรงกลม สวนใหญเปนแผนพลาสติกฉาบดวยไอออนออกไซด จึงสามารถเหนี่ยวนําใหเปน แมเหล็กไฟฟาได โดยจุดที่เหนี่ยวนํามีสถานะเปนแมเหล็ก จะใสรหัสเปน 1 ถาไมมี อํานาจแมเหล็กจะใสรหัสเปนศูนย ซึ่งรหัสฐานสองนี้สามารถจะนําเอามาผสมกัน เปนรหัสขอมูลชนิดตางๆ ได

18

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

อุปกรณในขอใดจัดเก็บขอมูลไดในระหวางการทํางานของซีพียูหรือใน ขณะที่มีกระแสไฟฟาเลี้ยง 1. รอม 2. แรม 3. ฮารดดิสก 4. เทปแมเหล็ก วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 2. แรม เพราะเก็บขอมูลและคําสั่งใน ระหวางการทํางานของซีพียู


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

Explain

1. ครูใหนักเรียนหาภาพเทปแมเหล็ก และเขียน คําอธิบายหลักการทํางานของเทปแมเหล็ก และความเหมาะสมกับการใชงาน พอสังเขป จากนั้นครูสุมนักเรียนออกมาอธิบายหนาชั้น 2. ครูใหนักเรียนยกตัวอยางออปติคัลดิสกหรือ แผนซีดีประเภทตางๆ ที่นักเรียนรูจัก โดยชวย กันตอบคําถามในชั้นเรียน 3. ครูอภิปรายเกี่ยวกับออปติคัลดิสกประเภท ตางๆ และตั้งคําถามวา • ออปติคัลดิสกมีประเภทอะไรบาง และมี หลักการทํางานอยางไร (แนวตอบ ออปติคัลดิสกแบงเปน 4 ประเภท คือ ซีดีรอม ซีดีอาร ซีดีอารดับบลิว และดีวีดี มีหลักการทํางาน คือ ใชเทคโนโลยีแสง เลเซอร ทําใหสามารถเก็บขอมูลไดจํานวน มากในราคาไมแพงนัก) 4. ครูใหนักเรียนเขียนคุณลักษณะของออปติคัล ดิสกประเภทตางๆ พรอมระบุวาเหมาะสมกับ การใชงานอยางไรบาง ลงในสมุดและสงครู ผูสอน

การทํางานของหัวอานและบันทึกจะไมสัมผัสกับผิวของแผนจานแมเหล็ก ดังนั้น หากมีฝุนไปกีดขวางหัวอานและบันทึก อาจทําใหหัวอานและบันทึกกระแทกกับผิวของแผนจาน แมเหล็ก ทําใหแผนเกิดความเสียหาย และเกิดความผิดพลาดในการเรียกใชขอมูลได ความจุของฮารดดิสกมีหนวยตั้งแตไบต เมกะไบต กิกะไบต ซึ่งเครื่องคอมพิวเตอร ที่มีความจุของฮารดดิสกมากสามารถจะเก็บขอมูลไดมาก 2) เทปแมเหล็ก (Magnetic Tape) เปนหนวยเก็บขอมูลที่ไดรับความนิยมนอยลง ใชสําหรับการเก็บสํารองขอมูล (ฺBackup) เพื่อปองกันการสูญหายของขอมูล ใชหลักการของ การเขาถึงแบบลําดับ (Sequential Access) ขอดีของเทปแมเหล็ก คือ ราคาถูกและเก็บขอมูลไดมาก เทปแมเหล็กมีหลักการทํางานคลายเทปบันทึกเสียง แตเปลี่ยนจากการเลน (Play) และบันทึก (Record) เปนการอาน (Read) และเขียน (Write) 3) ออปติคลั ดิสก (Optical Disk) เปนหนวยความจํารองทีใ่ ชเทคโนโลยีแสงเลเซอร ในการบันทึกขอมูล ทําใหสามารถเก็บขอมูลไดจํานวนมากและราคาไมแพง ออปติคัลดิสกที่นิยม ใชในปจจุบัน มีดังนี้ 3.1) ซีดีรอม (CD-ROM : Compact Disk-Read-only Memory) คือ หนวย ความจํารองทีบ่ นั ทึกไดเพียงครัง้ เดียว หลังจากนัน้ จะไมสามารถเปลีย่ นแปลงขอมูลเหลานัน้ ไดอกี 3.2) ซีดีอาร (CD-R : Compact Disk-Recordable) คือ หนวยความจํารอง ที่สามารถเขียนขอมูลลงแผนแลวขอมูลเหลานั้นจะไมสามารถเปลี่ยนแปลงได แตผูใชสามารถ บันทึกขอมูลตางๆ เพิ่มเติมลงแผนเดิมไดจนกวาขอมูลจะเต็มแผน 3.3) ซีดีอารดับบลิว (CD-RW : Compact Disk-Rewritable) คือ หนวยความจํา ที่สามารถเขียนขอมูลลงแผน และ สามารถเขียนขอมูลใหมทบั ลงในแผน เดิมได หรือผูใ ชสามารถเปลีย่ นเนือ้ หา ตางๆ ภายในแผนซีดีอารดับบลิวได 3.4) ดีวีดี (DVD : Digital Video Disk) เปนเทคโนโลยี ทีก่ าํ ลังไดรบั ความนิยมมากขึน้ มีการ ใชเทคโนโลยีการบีบอัดขอมูลมากขึ้น ดีวีดีหนึ่งแผนสามารถเก็บขอมูลได ตั้งแต 4.7 กิกะไบต ถึง 17 กิกะไบต ออปติคัลดิสกที่นิยมใชในปจจุบัน ดีวีดีแบงออกเปน 3 ชนิด ดังนี้ 19

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’ 51 ออกเกี่ยวกับฮารดแวรคอมพิวเตอร อุปกรณชนิดใดใชเทคโนโลยีจานแสง (Optical Technology) 1. เครื่องเลนเทป (Tape Player) 2. หนวยขับซีดีรอม (CD-ROM drive) 3. หนวยความจําแบบแฟลช (Flash memory) 4. อุปกรณรับเขาแบบจอสัมผัส (Touch screen) วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 2. เพราะหนวยขับซีดีรอมใชคลื่นแสงเลเซอร หรือสเปกตรัมแมเหล็กไฟฟาในการอานหรือการเขียนขอมูลที่อยูในซีดีรอม สวนเครื่องเลนเทปใชในการเลนหรือบันทึกคาสเส็ต หนวยความจําแบบ แฟลช มีชิปที่ใชสําหรับเก็บขอมูลคอมพิวเตอร และอุปกรณรับเขาแบบจอ สัมผัสเปนหนวยรับเขา โดยการสัมผัสดวยนิ้วหรือปากกาแสง

เกร็ดแนะครู ครูควรแนะนํานักเรียนวา DVD-R และ DVD-RW ยังสามารถแบงออกเปน -, + ดังตอไปนี้ DVD-R ไมสามารถเขียนเพิ่มไดและไมสามารถลบได, DVD+R สามารถเขียนเพิ่มได แตไมสามารถลบได, DVD-RW ไมสามารถเขียนเพิ่มได แตสามารถลบได, DVD+RW สามารถเขียนเพิ่มไดและสามารถลบได โดยครูใหนักเรียนสังเกตวา + คือ เขียนเพิ่มขอมูลได แต - ไมสามารถเขียน เพิ่มได สวน R ไมสามารถลบขอมูลได แต RW สามารถลบได ซึ่งอันที่จริงประเภท ของ DVD ในปจจุบันมีมากกวานี้ โดยใหนักเรียนคนควาขอมูลเพิ่มเติมในหนังสือ หรืออินเทอรเน็ต เชน DVD-R DL, HD DVD เปนตน

คูมือครู

19


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

Expand

1. ครูใหนักเรียนเขียนแผนผังหลักการทํางานของ หนวยประมวลผลกลางหรือซีพียู 2. ครูใหนักเรียนเขียนสรุปความแตกตางระหวาง หนวยความจําแรมและหนวยความจํารอม พรอมยกตัวอยางลงในกระดาษ A4 สงครูผูสอน

ตรวจสอบผล

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบExplain ายความรู

Evaluate

1. ครูตรวจแผนผังหลักการทํางานของหนวย ประมวลผลกลางหรือซีพียู 2. ครูตรวจการเขียนสรุปความแตกตางระหวาง หนวยความจําแรมและหนวยความจํารอม

EB GUIDE

เกร็ดแนะครู ครูแนะนําการใชแฟลชไดรฟวาจะตองมีการตรวจสอบหรือการสแกนไวรัสกอน การใชงานทุกครั้ง และหลังจากใชงานแลวใหกด Safely Remove Hardware ที่แถบ Taskbar และกด Stop USB เพื่อปองกันไมใหขอมูลในแฟลชไดรฟไดรับ ความเสียหาย สวนเรื่องแผงวงจรหลักหรือเมนบอรด ครูควรนําภาพมาใหนักเรียนดู เพื่อชี้ใหเห็นถึงสวนประกอบตางๆ ของแผงวงจรหลักวามีอะไรบาง และมีหลักการ ใชงานอยางไร

นักเรียนควรรู 1 แผงวงจรหลัก (Main Board) เปนแผงวงจรขนาดใหญทรี่ วมเอาสวนประกอบ ที่สําคัญของคอมพิวเตอรไวดวยกัน ซึ่งเต็มไปดวยวงจรอิเล็กทรอนิกสที่ซับซอน แผงวงจรหลักจึงเปนเสมือนศูนยกลางในการทํางานและเชื่อมตอกับอุปกรณตอพวง คูมือครู

Evaluate ตรวจสอบผล

(1) ดีวีดีรอม (DVD-ROM) สวนมากใชกับการเก็บภาพยนตรที่มีความยาว เกินกวาสองชั่วโมงได (2) ดีวีดี-อาร (DVD-R) ใชในการเก็บขอมูลที่มีปริมาณมาก ซึ่งมีราคาสูง กวาดีวีดีรอม หลังจากที่มีการบันทึกขอมูลลงบนแผนดีวีดีอารแลว ผูใชจะไมสามารถเปลี่ยนแปลง ขอมูลได (3) ดีวีดี-อารดับบลิว (DVD-RW) เปนเทคโนโลยีแบบแสง มีเครื่องอาน ที่ใหผูใชบันทึก ลบ และบันทึกขอมูลซํ้าลงบนแผนเดิมได 3.5 บลูเรยดิสก (Blue Ray Disk) เปนเทคโนโลยีแบบแสงลาสุดที่สามารถบันทึก ขอมูลความละเอียดสูงไดถึง 100 กิกะไบต ใหภาพและเสียงที่คมชัด มักนํามาใชในการบันทึก ภาพยนตร 4) หนวยความจําแบบแฟลช (Flash Memory Device) มีชื่อเรียกหลายอยาง ไดแก แฟลชไดรฟ (Flash Drive) ธัมไดรฟ (Thumb Drive) หรือแฮนดีไดรฟ (Handy Drive) เปน หนวยความจํารองชนิดอีอีพร็อม (Electrically Erasable Programmable Read - Only Memory : EEPROM) ซึ่งเปนเทคโนโลยีใหมที่สามารถเก็บขอมูล เขียน และลบขอมูลไดตามตองการ หนวยความจําชนิดนี้มีขนาดเล็ก นํ้าหนักเบา และพกพาไดสะดวก ปจจุบันหนวยความจําแบบแฟลชสามารถเก็บขอมูลตั้งแต 128 MB, 256 MB, 512 MB, 1 GB, 2 GB จนถึง 16 GB และนับวันจะยิ่งมีความจุเพิ่มขึ้นอีก นอกจากหนวยสําคัญของคอมพิวเตอรที่กลาวมาแลว ยังมีอุปกรณสําคัญของ 1 เครื่องคอมพิวเตอร คือ แผงวงจรไฟฟาขนาดใหญที่เรียกวา แผงวงจรหลัก (Main Board) ซึ่ง ประกอบดวยซีพยี ู หนวยความจํา ชิปประมวลผลเสริม (Coprocessor) และมีชอ งสําหรับตออุปกรณ ปอนขอมูลและแสดงผล รวมทั้งมีชองเสียบขยาย (Expansion Slot) ซึ่งออกแบบมาเพื่อใหสํารองไวใชกับการดเพิ่มเติม (Expansion Card) หรือตัวปรับตอ (Adapter) อื่นๆ ปจจุบันอุปกรณคอมพิวเตอรที่เห็น และจับตองไดทกี่ ลาวมาแลวนัน้ เรียกวา ฮารดแวร (Hardware) ซึ่ ง ได พั ฒ นาทั้ ง ด า นความเร็ ว เพื่ออํานวยความสะดวกใหกับผูใชหลากหลาย รูปแบบ มีราคาถูกลงและเทคโนโลยีทางดาน นี้ก็มีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วมาก มีการ หนวยความจําแบบแฟลช คิดคนนวัตกรรมใหมๆ ออกมาเรื่อยๆ 20

20

Expand าใจ ขยายความเข

Explain

1. ครูใหนักเรียนยกตัวอยางและบันทึกชื่อหนวย ความจําแบบแฟลชที่นักเรียนรูจักใหมากที่สุด และใหนักเรียนชวยกันสันนิษฐานวาหนวย ความจําแบบแฟลชมีชื่อเรียกอยางนั้น เพราะเหตุใด 2. ครูอภิปรายกับนักเรียนเกี่ยวกับหนวยความจํา แฟลช และถามนักเรียนวา • อุปกรณหนวยความจําแบบแฟลช มีหลักการ ทํางานอยางไร (แนวตอบ อุปกรณหนวยความจําแบบแฟลช หรือที่รูจักกันโดยทั่วไปวา แฟลชไดรฟ คือ เครื่องมือเก็บขอมูลประเภทหนึ่ง ภายใน แฟลชไดรฟมีหนวยความจําแฟลช หรือชิป สําหรับเก็บขอมูลคอมพิวเตอร ซึ่งสามารถลบ ยาย และเพิ่มขอมูลใหม แตจะตองมีพื้นที่วาง พอที่จะเพิ่มขอมูลใหมลงไป)

ขยายความเขาใจ

อธิบายความรู

http://www.aksorn.com/LC/Tech/M4/02

กิจกรรมสรางเสริม ครูใหนักเรียนศึกษาองคประกอบตางๆ ของเมนบอรดวามีอะไรบาง และมีความสําคัญอยางไรตอคอมพิวเตอร จากนัน้ ใหนกั เรียนระดมความคิด และรวมกันอภิปรายความสําคัญของเมนบอรด

กิจกรรมทาทาย ครูใหนักเรียนสังเกตที่เครื่องคอมพิวเตอรวา มีชองสําหรับเสียบขยาย หรืออุปกรณตอพวงอะไรบาง และมีหลักการทํางานอยางไร บันทึกสาระ สําคัญนํามาอภิปรายในชั้นเรียน


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

1. ครูนําสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับจอภาพ และ ตั้งคําถามวา • จอภาพสําหรับคอมพิวเตอรมีประเภท หลักๆ อะไรบาง และแตละประเภทมีหลัก การทํางานอยางไร (แนวตอบ จอภาพแบงเปนประเภทหลักๆ ไดแก จอซีอารที จอแอลซีดี จอพลาสมา จอแอลอีดี จอภาพ คือ อุปกรณที่ใชในการ แสดงผลในรูปของตัวอักษร ภาพนิ่งและภาพ เคลื่อนไหว) 2. ครูใหนักเรียนสังเกตเครื่องคอมพิวเตอรหรือ โทรทัศนที่บานของนักเรียนและที่โรงเรียนวา เปนจอภาพประเภทใด มีประสิทธิภาพในการ แสดงผลอยางไร 3. ครูใหนักเรียนหาภาพหรือสํารวจที่รานขาย จอภาพ โดยสัมภาษณผูรูดานจอภาพหรือ ศึกษาจากแหลงเรียนรูเพิ่มเติมวา จอภาพแบบ แอกทีฟเมทริกซ และจอภาพพาสซีพเมทริกซ แตกตางกันอยางไร และมีคุณลักษณะอยางไร

2.5 หนวยสงออก หน่วยส่งออก (Output Unit) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการแสดงผลลัพธ์หรือสารสนเทศที่ผ่าน การประมวลผลแล้ว โดยจะแปลงข้อมูลในรูปแบบของสัญญาณไฟฟาที่เครื่องคอมพิวเตอร์เข้าใจ ให้กลายเป็นผลลัพธ์ในรูปแบบต่างๆ ที่มนุษย์เข้าใจ ซึ่งอาจอยู่ในรูปแบบของตัวอักษร ตัวเลข สัญลักษณ์พิเศษ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว และเสียง หน่วยส่งออกที่นิยมใช้ในปจจุบัน แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1) หน่วยส่งออกชั่วครำว (Soft Copy) เป็นอุปกรณ์แสดงผลที่ให้ผู้ใช้ได้ทราบ ผลลัพธ์ในขณะนั้น แต่เมื่อเลิกการท�างานหรือเลิกใช้แล้วผลลัพธ์นั้นก็จะหายไป หน่วยส่งออก ชั่วคราวที่นิยมใช้ มีดังนี้ 1.1) จอภำพ (Monitor) เป็นอุปกรณ์ทใี่ ช้ในการแสดงผลลัพธ์ได้ทงั้ ตัวอักษร ตัวเลข ภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว จอภาพในปจจุบันมีหลายชนิด ดังนี้

1 จอภำพซีอำร์ท ี (Cathode Ray Tube Monitor : CRT) จอภาพมีรูปร่าง ขนาด และเทคโนโลยีเดียวกับโทรทัศน กล่าวคือ เป็นเทคโนโลยีที่ใช้หลักการทํางานโดยการยิงแสง อิเล็กตรอนไปยังผิวด้านในของจอภาพ ซึง่ ผิวของจอภาพจะฉาบ ด้วยสารฟอสฟอรัส เมือ่ ตําแหน่งทีม่ อี เิ ล็กตรอนวิง่ มาชนจอภาพ จะเกิดแสงสว่างขึน้ แสงสว่างแต่ละจุดทําให้เห็1นเป็นภาพ และมี หลอดแก้วแสดงผล เรียกว่า หลอดรังสีแคโทด (Cathode Ray Tube) ซึ่งจอภาพซีอารที จะส่งแสงสะท้อนมายังนัยนตาของ ผู้ใช้ค่อนข้างมาก

Explain

ลักษณะจอภาพแบบจอซีอารที

2 จอภำพแอลซีด ี (Liquid Crystal Display Monitor : LCD) Display Monitor : LCD) Display Monitor : LCD) เป็นจอภาพแบบแบน และใช้เทคโนโลยีการเรืองแสงของ ผลึกเหลว (Liquid Crystal) จึงใช้พลังงานไฟฟ้าน้อยและมีแสง ทีส่ อ่ งมายังตาผูใ้ ช้นอ้ ย ทําให้ถนอมสายตาได้มากกว่าจอซีอารที จอภาพแอลซี 2 ดีมีอยู่ 2 ประเภท คือ จอภาพแบบแอกทีฟ เมทริกซ (Active Matrix) เป็นจอภาพที่มีความละเอี ยด สว่าง 3 และชัดเจนมาก และจอภาพพาสซีพเมทริกซ (Passive Matrix) เป็นจอภาพที่ให้ความสว่างและความคมชัดน้อยกว่าจอภาพ แบบแอกทีฟเมทริกซ

ลักษณะจอภาพแบบจอแอลซีดี

21

ขอสอบ ขอสอบป ’ 52 ออกเกี่ยวกับหัวเชื่อมตอคอมพิวเตอร รูปนี้เปนหัวเชื่อมตอประเภทใด และใชสําหรับงานประเภทใด

O-NET

1. VGA ใชตอคอมพิวเตอรเขากับจอแสดงผล 2. DVI ใชตอคอมพิวเตอรเขากับจอแสดงผล 3. USB ใชตอคอมพิวเตอรเขากับอุปกรณเสริม 4. FireWire ใชตอคอมพิวเตอรเขากับอุปกรณเสริม วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 1. เพราะหัวเชื่อมตอในภาพนี้ ซึ่งเปนหัวสีฟา คือ VGA หรือ Video Graphics Array ที่ใชตอเครื่องคอมพิวเตอรเขากับ จอแสดงผล ขอ 2. DVI หรือ Digital Video Interface ใชเชื่อมตออุปกรณ สําหรับจอรุนใหมๆ ขอ 3. USB หรือ Universal Serial Bus คือ ชองทางใน การเชื่อมตอระหวางคอมพิวเตอรกับอุปกรณอื่นๆ และขอ 4. FireWire เปน อุปกรณในการเชื่อมตอบัสการสื่อสารแบบอนุกรมของคอมพิวเตอรสวน บุคคล ที่มีอัตราการสงขอมูลสูง

นักเรียนควรรู 1 หลอดรังสีแคโทด คือ หลอดไฟสุญญากาศที่ประกอบไปดวยปนอิเล็กตรอน ซึ่งอาจมีจํานวนมากกวาหนึ่งอันและเครื่องฉายฟลูออเรสเซนซ โดยลําแสง อิเล็กตรอนจะปลอยจากโลหะที่รอน แลวเรงไปทางดานที่มีประจุบวกในทอ ซึ่ง หลอดรังสีแคโทดจะใชเพื่อสรางภาพในรูปของแสงที่ปลอยออกมาจากเครื่องฉาย ฟลูออเรสเซนซ 2 จอภาพแบบแอกทีฟเมทริกซ มักใชในโนตบุกคอมพิวเตอร เครื่องพีดีเอ และกลองบันทึกภาพดิจิทัล 3 จอภาพพาสซีพเมทริกซ มักใชเปนจอของโทรศัพทมือถือทั่วไป เครื่องปาลมท็อป และคอมพิวเตอรสีขาวดํา

คูมือครู

21


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูใหนักเรียนเขียนผังมโนทัศนและคําอธิบาย วา กอนที่ขอมูลตางๆ จะแสดงผลในจอภาพ มีกระบวนการทํางานขัน้ พืน้ ฐานของคอมพิวเตอร อยางไรบาง โดยเขียนตามความเขาใจของ นักเรียนลงในกระดาษ A4 2. ครูใหนักเรียนเขียนสรุปความแตกตางและบอก คุณลักษณะของจอภาพทั้ง 3 ประเภท ไดแก จอภาพซีอารที จอภาพแอลซีดี จอพลาสมา 3. ครูอภิปรายกับนักเรียนเกีย่ วกับอุปกรณฉายภาพ และตั้งคําถามวา • อุปกรณฉายภาพมีเทคโนโลยีแบบใดบาง มีหลักการทํางานอยางไร (แนวตอบ อุปกรณฉายภาพใชเทคโนโลยีหลักๆ 2 รูปแบบ คือ เทคโนโลยีแบบแอลซีดี (LCD) และเทคโนโลยีแบบดีแอลพี (DLP) อุปกรณ ฉายภาพ คือ อุปกรณที่ฉายภาพผานทาง ระบบเลนสไปยังฉากรับภาพ โดยใชไฟที่ สวางจาในการฉายภาพ) 4. ครูใหนักเรียนศึกษาอุปกรณฉายภาพภายใน โรงเรียน มหาวิทยาลัย หรือสถานที่ที่ใชงาน อุปกรณนี้วา เปนอุปกรณฉายภาพในเทคโนโลยี รูปแบบใด และมีคุณลักษณะการฉายภาพ อยางไรบาง 5. ครูใหนักเรียนทดลองและเรียนรูการใชงาน อุปกรณฉายภาพ และใหนักเรียนเขียนขั้นตอน และหลักการใชงานลงในสมุด

3 จอภำพพลำสมำ (Plasma Monitor) มีลักษณะแบนและบาง โดยจอภาพประกอบขึ้นจากแผ่น แก้วสองชุดวางชิดกัน ช่องว่างนี้จะถูกแบ่งออกเป็ 1 นเซลลแสง2 แต่ละเซลลจะบรรจุแกสผสมระหว่างแกสซีนอนและแกสเฉื่อย อืน่ ๆ หลักการทํางานของจอพลาสมา คือเมือ่ แกสในเซลลเหล่านี้ ถูกกระตุ้นด้วยพลังงานไฟฟ้า แกสจะแตกตัวออกเป็นประจุและ 3 ปล่อยแสงอัลตราไวโอเลตออกมา สารเรืองแสงที่เคลือบไว้ที่จอ จะดูดซับแสงอัลตราไวโอเลต และสร้างสีที่มองเห็นได้ด้วยตา ทําให้ผู้ใช้มองเห็นเป็นภาพที่มีความสว่างและคมชัดมากกว่า จอแอลซีดี รวมทั้งแสดงภาพเคลื่อนไหวเร็วๆ ได้ดี เหมาะกับ การใช้รับชมภาพยนตรเป็นอย่างมาก

ลักษณะจอภาพแบบจอพลาสมา

1.2) อุปกรณ์ฉำยภำพ (Projector) ท�าหน้าที่ รั บ สั ญ ญาณจากเครื่ อ งคอมพิ ว เตอร์ และขยายภาพให้ มี ขนาดใหญ่ไปยังพื้นผิวเรียบหรือจอภาพขนาดใหญ่ นิยมใช้ใน การเรียนการสอน การประชุม รวมถึงรองรับการฉายภาพยนตร์ จอขนาดใหญ่ในบ้าน (Home Theater) เนื่องจากสามารถ น�าเสนอข้อมูลให้ผู้ชมจ�านวนมากเห็นพร้อมๆ กันได้ เทคโนโลยีของอุปกรณ์ฉายภาพทีน่ ยิ มใช้ในปจจุบนั อุปกรณฉายภาพ ได้แก่ เทคโนโลยีแบบแอลซีด ี (Liquid Crystal Display : LCD) และเทคโนโลยีแบบดีแอลพี (Digital Light Processing : DLP)เทคโนโลยีแบบดีแอลพี ขนาดของ อุปกรณ์จะเล็กกว่าแต่มีความสว่างรวมทั้งความคมชัดของภาพสูงกว่าแบบ แบบแอลซีดี

à¡Ãç´ IT ความรูเกี่ยวกับ HDTV 4 HDTV เป็นโทรทัศนความละเอียดสูง ทีร่ องรับเทคโนโลยีทใี่ ช้ในการถ่ายทอดสัญญาณโทรทัศน (Broadcasters) มีความละเอียดมากกว่าการถ่ายทอดสัญญาณในปจจุบัน กล่าวคือ การส่งสัญญาณจะเป็นระบบ Digital และ จอภาพจะเป็นจอแอลซีดี ทําให้ผู้ชมรับชมภาพได้คมชัด ได้ฟงเสียงที งท่มีคุณภาพ

22

นักเรียนควรรู 1 แกสซีนอน คือ ธาตุเคมีที่มีหมายเลขอะตอม 54 และสัญลักษณคือ Xe ซีนอนเปนหนึ่งในธาตุของแกส มีสถานนะเปนแกสเฉื่อย ไมมีสี ไมมีกลิ่น นํ้าหนักมาก และพบเพียงเล็กนอยในชั้นบรรยากาศโลก 2 แกสเฉื่อย หรือแกสมีตระกูล (Noble Gases) ธาตุที่อยูในหมู 8 ของ ตารางธาตุ มีสถานะเปนแกส ไมไวตอปฏิกิริยาเคมี ไดแก ฮีเลียม นีออน อารกอน คริปทอน ซีนอน และเรดอน 3 แสงอัลตราไวโอเลต คลื่นแมเหล็กไฟฟาที่มีความถี่สูงกวาแสง มีความถี่ใน ชวง 1015 ถึง 1018 เฮิรตซ มีชื่อเรียกอีกชื่อวารังสีเหนือมวง สวนใหญเกิดจาก การแผรังสีของดวงอาทิตย 4 HDTV ยอมาจาก High-definition Television หรือโทรทัศนความละเอียดสูง เปนการถายทอดสัญญาณในโทรทัศนระบบดิจิทัล (Digital Television) ซึ่งออก อากาศครั้งแรกของโลกเมื่อ พ.ศ. 2533 ที่สถานีโทรทัศน NBC สหรัฐอเมริกา

22

คูมือครู

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’ 53 ออกเกี่ยวกับจอภาพ ปจจุบันเครื่องรับโทรทัศนที่ใชเทคโนโลยีใหมโดยมีขนาดบางและความ คมชัดสูง ซึ่งเลือกใชจอแสดงภาพชนิดใด 1. CRT 2. LCD 3. LED 4. PLASMA วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 3. จอภาพ LED (Light Emitting Diode) หรือไดโอดเปลงแสง ใชหลอดไฟ LED หรือผลึกแข็งกึ่งเหลว 3 สีทั้งแดง เขียว และนํ้าเงิน ทําใหภาพมีความสวางและสีสันสดกวาจอภาพชนิดอื่นๆ รวมถึงมีขนาดจอภาพที่บางกวา และใชพลังงานนอยกวา


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู 1.3) ล�ำโพง (Speaker) เป็นอุปกรณ์ที่แสดงผลลัพธ์ในรูปแบบเสียง ซึ่งส่วนใหญ่ จะมีมาพร้อมกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ล�าโพงมี 2 ชนิด ดังนี้

1 ล�ำโพงแบบขยำยเสียงในตัว จะมีปมุ สําหรับปรับเสียงต่างๆ เช่น ปุม Volume สําหรับปรับความดังของเสี1ยง ปุม Base สําหรับปรับ ระดับความดังของเสียงทุ้ม และปุ2ม Treble สําหรับ ปรับระดับความดังของเสียงแหลม เป็นต้น

2 ล�ำโพงแบบไม่มวี งจรขยำยเสียง จะมีกรวยของลําโพงทีใ่ ช้ภายในตัวลําโพง ลําโพง ชนิดนี้ต้องใช้การดเสียงที่มีวงจรขยายเสียงสําหรับ ขยายเสียงออกลําโพง

ลําโพงแบบขยายเสียงในตัว

2) หน่วยส่งออกถำวร (Hard Copy) เป็นอุปกรณ์แสดงผลทีใ่ ห้ผใู้ ช้ได้ทราบผลลัพธ์

ในรูปแบบกระดาษและสามารถน�าผลลัพธ์ไปใช้ได้ในภายหลัง หน่วยแสดงผลถาวรทีน่ ยิ มใช้ มีดงั นี้ 2.1) เครื่องพิมพ์ (Printer) เป็นอุปกรณ์ที่แสดงผลลัพธ์ได้ทั้งตัวอักษร ตัวเลข ภาพนิ่ง ลงบนกระดาษ เครื่องพิมพ์แบ่งเป็น 2 ประเภท ดังนี้

1 เครือ่ งพิมพ์แบบกระทบ (Impact Printer) เป็นเครื่องพิมพที่ใช้หลักการพิมพโดยการกระแทกหัวพิมพกับแถบผ้าหมึก ทําให้เกิดอักขระ บนกระดาษ เครื่องพิมพแบบกระทบที่นิยมใช้ ได้แก่ เครื่องพิมพแบบจุด (Dot-Matrix Printer) เป็นเครื่องพิมพที่ใช้หลักการทํางานโดยการสร้างจุดลงบนกระดาษ โดยหัวพิมพจะมีลักษณะเป็น หัวเข็มที่มีรูปทรงต่างๆ เมื่อเครื่องทําการพิมพ หัวเข็มที่อยู่ในตําแหน่งต่างๆ จะยื่นออกมา และ กระแทกกั บ ผ้ า หมึ ก ลงบนกระดาษที่ ใ ช้ พิ ม พ ทําให้เกิดจุดมากมายประกอบกันเป็นตัวอักษร หรือรูปขึ้นมาเครื่องพิมพประเภทนี้นิยมใช้กับ การพิ ม พ เ อกสารที 3 ่ มี สํ า เนา โดยสามารถใช้ กระดาษคารบอนคัน่ ระหว่างกระดาษแรงกระแทก จะทําให้เกิดสําเนาเอกสารได้หลายสําเนา ข้อเสีย ของเครือ่ งพิมพชนิดนี้ คือ มีเสียงดังในขณะพิมพ เครื่องพิมพแบบจุด ตัวอักษรไม่คมชัดมาก 23

บูรณาการเชื่อมสาระ

ครูสามารถบูรณาการความรู เรื่องการทํางานของไมโครโฟนและลําโพงกับ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร วิชาแรง พลังงาน และการเคลื่อนที่ โดยให นักเรียนสืบคนและศึกษาเกี่ยวกับไมโครโฟนและลําโพงวา ใชเทคโนโลยีใดบาง ในการแปลงสัญญาณเสียง และขยายเสียงออกสูลําโพงไดอยางไรในทางฟสิกส โดยบันทึกคําตอบลงในสมุด และนําสงครูผูสอน

Explain

1. ครูนําสนทนาดวยการตั้งคําถามเกี่ยวกับ ลําโพงวา • ลําโพงมีกี่ประเภท อะไรบาง และมีหลักการ ทํางานอยางไร (แนวตอบ ลําโพงมี 2 ชนิดหลักๆ คือ ลําโพง แบบขยายเสียงในตัวและลําโพงแบบไมมี วงจรขยายเสียง ลําโพง คือ อุปกรณไฟฟาซึ่ง ทําหนาที่แสดงผลผานหนวยรับขอมูล เชน ไมโครโฟน อุปกรณรับเสียง เปนตน โดยแปลงสัญญาณไฟฟาใหเปนความถี่ของ คลื่นเสียงใหมีเสียงสูงตํ่าแตกตางกันออกไป) 2. ครูใหนักเรียนบอกวิธีการปรับเสียงลําโพง ในเครื่องคอมพิวเตอร โดยกดที่ Control Panel และกดที่ Sounds and Audio Devices วามีปุมอะไรบาง และมีวิธีการปรับ เสียงอยางไร โดยใหนักเรียนชวยกันตอบและ เขียนวิธีการใชลงในสมุดบันทึก 3. ครูใหนักเรียนหาภาพลําโพงแบบขยายเสียง ในตัวและลําโพงแบบไมมีวงจรขยายเสียง จากนั้นใหเขียนบอกคุณลักษณะและการใชให เหมาะสมกับงานของลําโพงแตละชนิด นํามา อภิปรายในชั้นเรียน 4. ครูกลาวถึงหนวยสงออกถาวร ไดแก เครื่องพิมพประเภทตางๆ และตั้งคําถามวา • เครื่องพิมพแบบจุดมีคุณลักษณะและ หลักการทํางานอยางไร (แนวตอบ เครื่องพิมพแบบจุดมีหัวพิมพที่มี ลักษณะเปนหัวเข็มแบบ 3 เข็ม 24 เข็ม และ 32 เข็ม หลักการทํางาน คือ การ สรางจุดลงบนกระดาษ เมื่อตองการพิมพ รูปทรงหรือรูปภาพใดก็ตาม หัวเข็มที่อยู ในตําแหนงตรงตามรูปประกอบนั้น จะยื่น ออกมามากกวาหัวอื่นๆ และกระแทกกับผา หมึกลงในกระดาษที่ใชพิมพ ซึ่งจะทําใหเกิด จุดมากมายและประกอบกันเปนรูปหรือตัว อักษร)

นักเรียนควรรู 1 เสียงทุม (Base) เสียงที่มีระดับตํ่า ซึ่งเปนเสียงที่มีความถี่หรือคลื่นเสียงนอย 2 เสียงแหลม (Treble) เสียงที่มีระดับสูง ซึ่งเปนเสียงที่มีความถี่หรือคลื่น เสียงมาก 3 กระดาษคารบอน (Carbon Paper) กระดาษที่เคลือบดานหนึ่งดวยชั้น ของหมึกแหงที่หุมอยางหลวมๆ หรือการเคลือบยอมสี โดยปกติเคลือบดวยแวกซ กระดาษคารบอนใชสําหรับการสรางสําเนาหนึ่งหนาหรือมากกวาในเวลาเดียวกัน

คูมือครู

23


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูนํานักเรียนอภิปรายเพิ่มเติมถึงเครื่องพิมพ แบบตางๆ และตั้งคําถามวา • เครื่องพิมพแบบกระทบและเครื่องแบบ ไมกระทบ มีหลักการทํางานแตกตางกันอยางไร (แนวตอบ เครื่องพิมพแบบกระทบ ใชหลักการ พิมพโดยการกดหรือตอกหัวพิมพกับแถบผา หมึก ทําใหเกิดตัวอักษรบนกระดาษ สวน เครื่องพิมพแบบไมกระทบ ใชเทคนิคการพิมพ จากวิธีการทางเคมีและความรอนในการทําให สีพิมพติดกระดาษ ซึ่งสามารถพิมพไดเร็วและ คมชัดกวาเครื่องพิมพแบบกระทบ โดยพิมพ ไดทั้งตัวอักษรและภาพกราฟก) 2. ครูใหนักเรียนศึกษาวาเครื่องพิมพที่นักเรียน เคยใชพิมพงานเปนเครื่องพิมพประเภทใด มีคุณลักษณะอยางไร และนักเรียนใช เครื่องพิมพนี้เหมาะสมกับงานของนักเรียนแลว หรือไม อยางไร โดยใหเขียนอธิบายและยก ตัวอยางประกอบ 3. ครูนํานิตยสาร วารสาร หรือหนังสือที่พิมพดวย เครือ่ งพิมพประเภทตางๆ มาใหนกั เรียนดู จากนัน้ ใหนักเรียนระดมความคิดวาหนังสือเหลานี้ พิมพดวยเครื่องพิมพประเภท เพราะเหตุใด และรวมกันอภิปรายในชั้นเรียน 4. ครูใหนักเรียนทดลองใชเครื่องพิมพแบบตางๆ เครื่องพิมพฉีดหมึก เครื่องพิมพเลเซอร โดยใหบันทึกผลที่ไดจากการพิมพและระบุวา เครื่องพิมพแตละประเภทเหมาะสมกับ งานชนิดไหน เพราะเหตุใด

2 เครือ่ งพิมพแบบไมกระทบ (Nonimpact Printer)

เปนเครื่องพิมพที่ใชหลักการพิมพโดยวิธีการทางเคมีและใชความรอนในการทําใหสีพิมพติด กระดาษ เครื่องพิมพแบบไมกระทบที่นิยมใชในปจจุบัน มีดังนี้ เครือ่ งพิมพฉดี หมึก (Ink Jet Printer) เปนเครื่องพิมพที่ใชหลักการพิมพโดยวิธีพนหยดหมึกเล็กๆ ใหติดกับกระดาษ หมึกพิมพ แบบสีจะตองใชแมสีสามสี ซึ่งการใชงานปกติหมึกพิมพจะหมดไมพรอมกัน ดังนั้น ในกรณี ที่ใชตลับหมึกที่มีสามสีอยูในตลับเดียวกัน หากมีสีใดสีหนึ่งหมดกอนตลับนั้นจะใชไมไดอีก ดั ง นั้ น บางบริ ษั ท จึ ง แยกหมึ ก พิ ม พ แ ต ล ะสี ออกจากกัน เพื่อใหเปนอิสระในการเปลี่ยนสี ได ทั้งนี้เพื่อความประหยัด สวนใหญหมึกพิมพ แบบฉีดหมึกจะมีตนทุนการพิมพตอแผนสูง แตตัวเครื่องมีราคาไมแพง และใหผลงานที่มี ความสวยงาม คมชั ด เครื่ อ งพิ ม พ ช นิ ด นี้ นิ ย มใช กั บ งานพิ ม พ ที่ มี ก ารพิ ม พ เ อกสาร ปริมาณไมมาก เชน การพิมพรายงานที่บาน การพิมพเอกสารจํานวนไมมากของหนวยงาน เครื่องพิมพแบบฉีดหมึก เหมาะกับงานที่ตองการ ความประณีต สวยงาม ตางๆ เปนตน เครือ่ งพิมพเลเซอร (Laser Printer) 1 2 เปนเครือ่ งพิมพทใี่ ชแสงเลเซอรสรางประจุไฟฟาบวกบนแผนกระดาษทีเ่ คลือ่ นผาน ซึง่ ผงหมึก ที่มีประจุลบจะถูกดูดกับประจุบวก และลูกกลิ้งรอนจะชวยใหหมึกตติดบนกระดาษ เครื่ อ งพิ ม พ เ ลเซอร มี ค วามเร็ ว ในการ พิมพสูง และมีตนทุนการพิมพตอแผนถูกกวา เครื่องพิมพฉีดหมึก แตตัวเครื่องมีราคาสูง เครื่องพิมพเลเซอรเหมาะกับงานที่ตองพิมพ ปริ ม าณมาก เช น งานในสํ า นั ก งานร า น ถ า ยเอกสาร ร า นออกแบบจั ด พิ ม พ รู ป เล ม งานออกแบบสิ่งพิมพ สื่อโฆษณา เปนตน เครื่องพิมพเลเซอร เหมาะกับงานพิมพที่มีปริมาณมาก

24

EB GUIDE

นักเรียนควรรู 1 แสงเลเซอร (LASER: Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation) มีลักษณะพิเศษ คือ เปนคลื่นแสงที่มีความถี่คาเดียว (Monochromatic Light) และมีความเปนระเบียบสูง 2 ประจุไฟฟา (Electric Charge) คือ ตัวการที่ทําใหเกิดอํานาจไฟฟาหรือ แรงดึงดูดตอวัตถุตางๆ ซึ่งสาเหตุที่ทําใหวัตถุเกิดประจุไฟฟา คือ การขัดสีกัน ระหวางวัตถุที่เหมาะสมกัน 2 ชนิด การเหนี่ยวนํา และการสัมผัส โดยประจุไฟฟา ในสสารมี 2 ชนิด คือ ประจุบวก และประจุลบ โดยประจุชนิดเดียวกันจะผลักกัน และประจุตางชนิดกันจะดึงดูดกัน ซึ่งผูที่แยกชนิดของประจุไฟฟาไดเปนคนแรก คือ เบนจามิน แฟรงคลิน (Benjamin Franklin)

24

คูมือครู

http://www.aksorn.com/LC/Tech/M4/03

บูรณาการเชื่อมสาระ

ครูสามารถบูรณาการความรูเกี่ยวกับการทํางานของเครื่องพิมพเลเซอรกับ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร วิชาแรง พลังงาน และการเคลื่อนที่ หัวขอ ไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส โดยใหนักเรียนสืบคนและศึกษาวาประจุไฟฟาเกิดขึ้น ไดอยางไร วัตถุที่เปนตัวนําไฟฟาและฉนวนไฟฟามีอะไรบาง และประจุไฟฟา ในเครื่องพิมพเลเซอรทําใหหมึกติดบนกระดาษไดอยางไร โดยบันทึกคําตอบ ลงในสมุด


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบExplain ายความรู

Expand าใจ ขยายความเข

Evaluate ตรวจสอบผล

อธิบายความรู เครือ่ งพิมพ์แบบใช้ควำมร้อน (Thermal Printer) เป็ น เครื่ อ งพิ ม พ ที่ ใ ช้ ห ลั ก1การพิ ม พ โ ดย การกลิ้งหมึกพิมพที่เคลือบแวกซไปบนกระดาษ แล้ ว เพิ่ ม ความร้ อ นให้ กั บ หมึ ก พิ ม พ จ นแวกซ ละลาย และติดอยู่บนกระดาษ บางชนิดอาจใช้ สี ย ้ อ มแทนแวกซ ทํ า ให้ ส ามารถพิ ม พ ภ าพสี ที่มีคุณภาพการพิมพสูงแต่ราคาเครื่องและค่าใช้ จ่ายในการพิมพสูงมาก 2 เครือ่ งพิมพ์พล็อตเตอร์ (Plotter) เป็ น เครื่ อ งพิ ม พ ที่ ใ ช้ ห ลั ก การการเขี ย น ภาพด้วยหัวปากกา นิยมใช้ในงานออกแบบ ทางสถาปตยกรรมและวิศวกรรมซึ่งภาพเหล่านี้ เป็นภาพทีม่ ขี นาดใหญ่ ดังนัน้ เครือ่ งพิมพชนิดนี้ จึ ง ถู ก ออกแบบให้ ส ามารถพิ ม พ กั บ กระดาษ ขนาดใหญ่ได้ถึง 40 x 80 นิ้ว

1. ครูอภิปรายกับนักเรียนเรื่องการเลือกใช เครื่องพิมพใหเหมาะสมกับงาน และตั้ง คําถามวา • เครื่องพิมพฉีดหมึก เครื่องพิมพเลเซอร เครื่องพิมพใชความรอน และเครื่องพิมพ พล็อตเตอร มีจุดเดนอยางไรบาง (แนวตอบ เครื่องพิมพฉีดหมึกมีจุดเดน คือ ราคาถูก หาซื้องาย ไมเกิดรอยจํ้าบน กระดาษ และครอบคลุมการพิมพทุกรูปแบบ เครื่องพิมพเลเซอรมีจุดเดน คือ พิมพเร็ว และเงียบที่สุด คุณภาพนํ้าหมึกดี รองรับการ ใชงานผานระบบเครือขายได เครื่องพิมพ แบบใชความรอน มีจุดเดน คือ สามารถ พิมพภาพสีที่มีคุณภาพการพิมพสูงมาก เครื่องพิมพพล็อตเตอรมีจุดเดน คือ ถูกออกแบบใหพิมพกับกระดาษขนาดใหญ) 2. ครูตั้งสถานการณในการใชเครื่องพิมพ เชน การพิมพโปสเตอร การทําปายรณรงคตอตาน ยาเสพติด การพิมพรายงาน เปนตน แลวให นักเรียนบันทึกวาจะใชเครื่องพิมพประเภทใด เพราะเหตุใด

เครื่องพิมพแบบใชความรอน

เครื่องพิมพพล็อตเตอร

à¡Ãç´ IT ขนาดแกรมของกระดาษที่ใชพิมพเอกสาร แกรม คือ นํ้าหนักความหนาของกระดาษ มีหน่วยวัดเป็นกรัมต่อกระดาษ 1 ตารางเมตร (Gram Per Squaremetre) เหตุที่ต้องสร้างหน่วยวัดขึ้น เพราะการวัดขนาดกระดาษทําได้ยาก ด้วยกระดาษแต่ละแผ่น บางมาก ดังนั้น แทนที่จะวัดจากความหนาโดยตรงจึงใช้วิธีชั่งนํ้าหน หนักแทน กระดาษแต่ละชนิดมีขนาดแกรมต่างกัน ดังนี้ 1. กระดาษอารต มีเนือ้ แน่น ผิวเรียบ เหมาะกับงานพิมพ 4 สี ราคาค่อนข้างสูง มีหลายแบบ ได้แก่ กระดาษ อารตมัน อารตด้าน มีขนาด 85-160 แกรม และกระดาษอารตการด 2 หน้า้ มีขนาด 190 แกรมขึ้นไป 2. กระดาษปอนด มีเนือ้ เรียบ สีขาว นิยมใช้พมิ พงานสีเดียว หรือ 4 สีกไ็ ด้ เหมาะสําหรับพิมพเนือ้ ในหนังสือ ซึ่งขนาดกระดาษที่นิยมใช้พิมพหนังสืออยู่ที่ 70 -100 แกรม 3. กระดาษปรูฟ เป็นกระดาษเนื้อฟู บาง สีค่อนไปทางเหลือง มีขนาด 48.8 แกรม ไม่ทนความชื้น ฉีกขาดง่าย ราคาถูก เหมาะกับงานพิมพที่มีต้นทุนตํ่า ใช้กับสิ่งพพิ​ิมพทั่วไป เช่น หนังสือพิมพ นิตยสาร เป็นต้น 4. กระดาษแบงค เป็นกระดาษบางๆ มักมีสีชมพู ฟ้า นิยมใช้พิมพบิลต่างๆ มีขนาด 55 แกรมขึ้นไป

ขยายความเขาใจ

ขอใดเปนการเลือกซื้อเครื่องพิมพที่ถูกวิธี 1. เลือกซื้อเครื่องพิมพที่มีราคาถูก 2. เลือกซื้อเครื่องพิมพที่มีรูปทรงทันสมัย 3. เลือกซื้อเครื่องพิมพตามคําบอกเลาของเพื่อน 4. เลือกซื้อเครื่องพิมพตามลักษณะการใชงานและมีการรับประกันคุณภาพ วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 4. เพราะจะชวยใหไดเครือ่ งพิมพทมี่ ปี ระสิทธิ ภาพคุมคากับราคาและสามารถตอบการทํางานตามความตองการได อยางเหมาะสม

Expand

ครูใหนักเรียนจัดทํารายงานเกี่ยวกับหนวย สงออก ไดแก จอภาพ ลําโพง และเครื่องพิมพ โดยใหเขียนสรุปหลักการทํางานและการเลือกใช งานใหเหมาะสมกับนักเรียน

ตรวจสอบผล 25

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

Explain

Evaluate

ครูตรวจสอบความถูกตองของรายงานการสรุป เกี่ยวกับหนวยสงออก

นักเรียนควรรู 1 แวกซ (Wax) เปนระดับของการผสมทางเคมีซึ่งเปลี่ยนแปลงไดในอุณหภูมิ โดยรอบ ซึ่งละลายไดในอุณหภูมิ 45 องศา เพื่อทําใหเกิดของเหลวคอนขางเหนียว โดยไมละลายในนํ้า แตละลายในสารอินทรีย ดังนั้น แวกซจึงมีคุณสมบัติที่ทําให หมึกแตละจุดไมแพรกระจายหรือซึมรวมเขากับหยดหมึกขางเคียง งานสีจึงมี ความชัด สีสันสดใส มันวาว และไมซึมนํ้า 2 พล็อตเตอร เปนเครื่องพิมพคอมพิวเตอรสําหรับการพิมพภาพกราฟก เวกเตอร (Vector Graphics) โดยภาพกราฟกนี้เกิดจากการกําหนดพิกัดและ การคํานวณคาบนระนาบสองมิติ หรือการพิมพเปนภาพ 2 มิติ ซึ่งทําใหไมเหมือน ภาพจริง หรือใกลเคียงกับภาพถายเทานั้น โปรแกรมที่สรางภาพนี้ เชน Adobe Illustrator, Inkscape เปนตน

คูมือครู

25


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูใหนักเรียนเขียนวิธีการเลือกซื้อคอมพิวเตอร ของตนเอง พอสังเขป 2. ครูสุมใหนักเรียนออกมาอธิบายหนาหองวา มีหลักการเลือกใชคอมพิวเตอรอยางไรบาง และรวมกันอภิปรายแลกเปลี่ยนความรู 3. ครูใหนักเรียนดูหนังสือหนา 26-27 และทํา กิจกรรม ดังนี้ • ครูใหนักเรียนวิเคราะหการเลือกซื้อ คอมพิวเตอรของนักเรียนวา ตรงกับหลักการ เลือกคอมพิวเตอรหรือไม อยางไร • ครูใหนักเรียนวิเคราะหตนเองวา เปนผูใช ในระดับใด เพราะเหตุใด 4. ครูใหนักเรียนวิจารณเครื่องคอมพิวเตอร ในปจจุบันวา ควรมีการพัฒนาในสวนใดอีกบาง เพราะเหตุใด

3. หลักการเลือกคอมพิวเตอร ปจจุบนั คอมพิวเตอร์ถอื เป็นส่วนหนึง่ ทีช่ ว่ ยในการท�างานของหลายองค์กร ทัง้ การพิมพ์เอกสาร จั ด เก็ บ ข้ อ มู ล น� า เสนอผลงาน รวมทั้ ง การออกแบบงานต่ า งๆ ซึ่ ง ลั ก ษณะของงานจะมี ความแตกต่ า งกั น ไป เพื่ อ ให้ ไ ด้ ผ ลงานที่ มี ประสิทธิภาพ ตรงตามความต้องการของผู้ใช้ และคุม้ ค่ากับจ�านวนเงินทีจ่ า่ ยไป ผูใ้ ช้ควรศึกษา ถึงหลักการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์ซึ่งถือเป็น สิง่ ส�าคัญทีค่ วรค�านึงถึงและท�าความเข้าใจอย่าง ละเอียดก่อนจะเลือกซื้อคอมพิวเตอร์มาใช้งาน ซึ่งอาจปฏิบัติตามแนวทาง ดังนี้

3.1 การส�ารวจระดับการใช งานคอมพิวเตอร์ ส� า หรั บ การส� า รวจระดั บ การใช้ ง าน คอมพิวเตอร์ที่เหมาะสม จะท�าให้ได้เครื่อง คอมพิวเตอร์ทมี่ คี ณุ ลักษณะตรงกับความต้องการและเหมาะสมกับงานมากทีส่ ดุ ดังนัน้ ผูใ้ ช้ตอ้ งรูร้ ะดับ การใช้งานของตนเอง เพือ่ สามารถก�าหนดคุณลักษณะของเครือ่ งคอมพิวเตอร์ทเี่ หมาะสมได้ตอ่ ไป การ แบ่งระดับการใช้งานคอมพิวเตอร์น์ นั้ อาจแบ่งออกได้เป็นหลายประเภท แต่โดยส่วนใหญ่แล้วมักแบ่ง ตามประเภทของผูใ้ ช้ ซึง่ แบ่งได้ ดังนี้ 1) ระดับผู้ใช้ทั่วไปและผู้ใช้มือใหม่ ผู้ใช้ทั่วไปเป็นผู้ที่ใช้งานคอมพิวเตอร์ส�าหรับ งานด้านเอกสาร รายงาน งานในส�านักงานต่างๆ และเล่นอินเทอร์เน็ตผ่านโปรแกรมส� าเร็จรูป 1 เช่น Microsoft Office เพื่อจัดท�าเอกสาร รายงานเพื่อน�าเสนอ หรืออาจจะใช้โปรแกรม 2 Photoshop แต่งภาพเล็กๆ น้อยๆ เป็นต้น ส่วนผู้ใช้มือใหม่เป็นผู้ที่ยังไม่เคย สัมผัสคอมพิวเตอร์มาก่อน แนะน�าให้ซื้อเครื่อง คอมพิวเตอร์แบบมียี่ห้อจะดีกว่า เพราะจะได้ ไม่ต้องกังวลเวลาที่เครื่องมีปญหา ผู้ใช้ระดับนี้ สําหรับผูใชทั่วไปและผูใชมือใหม ควรเลือกคอมพิวเตอร มั ก จะยั ง ใช้ ง านแบบลองผิ ด ลองถู ก อยู ่ บ ้ า ง ที่มีราคาไมแพงนัก และมียี่หอที่เชื่อถือได อาจท�าให้เครื่องเกิดปญหาได้บ่อยครั้ง จึงไม่ 26 จ�าเป็นต้องเลือกเครือ่ งคอมพิวเตอร์ทมี่ รี าคาแพง การทดลองใชงานคอมพิวเตอรกอนตัดสินใจเลือกซื้อ เปนหลักทีผ่ ใู ชควรยึดเปนแนวทาง

นักเรียนควรรู 1 Microsoft Office เปนชุดโปรแกรมสํานักงานหรือในปจจุบันนิยมเรียกวา ระบบสํานักงาน (Office System) พัฒนาโดยบริษัทไมโครซอฟต ซึ่งใชในระบบ ปฏิบัติการไมโครซอฟต วินโดวส และแอปเปล แมคอินทอช โดยชุดโปรแกรมใน Microsoft Office ประกอบดวยโปรแกรมตางๆ เชน Microsoft Word, Excel, Access, FrontPage, PowerPoint เปนตน 2 Photoshop หรือ Adobe Photoshop คือ โปรแกรมประยุกต (Application Software) ที่มีความสามารถในการจัดการแกไขและตกแตงรูปภาพ (Retouch) แบบภาพกราฟกแรสเตอร (Raster Graphic) ซึ่งเปนภาพจุดสีตางๆ มีขอดี คือ เหมาะกับภาพที่ตองการระบายสีและสรางสี แตขอเสีย คือ เมื่อมีการขยายภาพ จะทําใหภาพมีความละเอียดนอยลง และถาเพิ่มความละเอียดจะทําใหไฟลภาพมี ขนาดใหญและเปลืองพื้นที่ความจํา

26

คูมือครู

บูรณาการเชื่อมสาระ

ครูสามารถบูรณการความรูในหัวขอพฤติกรรมการบริโภคกับกลุมสาระการ เรียนรูวิชาสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม วิชาเศรษฐศาสตร ในหัวขอพฤติกรรมการบริโภค โดยใหนักเรียนศึกษาวาหลักการบริโภคที่ดี และปจจัยที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมการบริโภคมีอะไรบาง และนักเรียนจะมีวิธี การบริโภคอยางไรใหมีประสิทธิภาพสูงสุด โดยใหยกตัวอยางในกรณีการเลือก ซื้อคอมพิวเตอร บันทึกคําตอบที่ไดลงในสมุด และนํามาอภิปรายในชั้นเรียน


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

1. ครูใหนักเรียนแตละคนคนขอมูลคุณลักษณะ ของคอมพิวเตอร และระบบปฏิบัติการทีร่ องรับ โปรแกรม Photoshop Illustrator, CorelDARW และ InDesign จากนั้นใหนักเรียนเขียน บอกคุณลักษณะของคอมพิวเตอรที่รองรับ โปรแกรมดังกลาว 2. ครูใหนักเรียนเขียนระดับการใชงาน คอมพิวเตอรที่นักเรียนตองการใชงาน และให นักเรียนกําหนดคุณลักษณะของคอมพิวเตอร วา ควรจะเลือกใชคอมพิวเตอรอยางไรให เหมาะสมกับระดับผูใชงานนั้น 3. ครูใหนักเรียนแสดงความคิดเห็นวาการเลน เกมใหประโยชนและใหโทษอยางไรบาง พรอมยกตัวอยางประกอบคําอธิบายใหชัดเจน 4. ครูรวมสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับการใช คอมพิวเตอรใหเหมาะสมกับงาน และตั้ง คําถามวา นักเรียนคิดวาจะมีหลักการเลือก คอมพิวเตอร และวิธีใชงานคอมพิวเตอร อยางไรใหเกิดประโยชนสูงสุด และเกิดผลเสีย นอยที่สุด โดยใหนักเรียนเขียนลงในกระดาษ A4 สงครูผูสอน

2) ระดับผูใชงานดานกราฟก (Graphic User) งานดานกราฟก ตัวอยางเชน

งานดานการออกแบบสื่อสิ่งพิมพและสื่อโฆษณาจะตองใชฮารดแวรและโปรแกรมตางๆ ที่มี คุณลักษณะของเครื่องคอมพิวเตอรสูงพอสมควร บางครั้งอาจจะตองใชโปรแกรมพรอมกัน หลายๆ ตั1ว เชน โปรแกรม Photoshop, 2 Illustrator, CorelDraw, InDesign เปนตน ซึ่ ง ราคาเครื่ อ งคอมพิ ว เตอร จั ด อยู  ใ นระดั บ ปานกลางถึงสูง ผูใชระดับนี้จึงควรจะประกอบ เครื่องคอมพิวเตอรใชเอง เพราะจะทําใหไดรับ ความรูมากขึ้น สามารถกําหนดคุณลักษณะ เฉพาะของเครือ่ งไดตามลักษณะเฉพาะของงาน ดานกราฟก และทําใหใชงานโปรแกรมตางๆ ได อยางมีประสิทธิภาพ ผูใชงานดานกราฟกและกราฟกขั้นสูง จําเปนตองใช

3) ระดับผูใชงานดานกราฟก ขั้นสูง (Advanced Graphic User) ซึ่งตอง

เครือ่ งคอมพิวเตอรและโปรแกรมระดับสูง จึงควรเลือกซือ้ ใหเหมาะกับลักษณะของงาน

แสดงผลในรูปแบบสามมิติ หรือ 3D Animation ผูใชระดับนี้จําเปนตองใชเครื่องคอมพิวเตอรที่มี ประสิทธิภาพสูงมากในการคํานวณระดับสูง เชน การสรางภาพในรูปแบบสามมิติ โดยใชโปรแกรม Auto CAD, 3D Studio Max และ Maya เปนตน จึงควรจะเลือกประกอบเครื่องคอมพิวเตอรไว ษณะเฉพาะของเครื​ื่องคอมพิวเตอรได ใชเองเชนกัน ทั้งนี้เพื่อใหสามารถกําหนดคุณลักษณะเฉพาะของเคร 4) ระดับผูเลนเกม (Gamer User) ในปจจุบันมีผูใชงานคอมพิวเตอรสําหรับ เลนเกม ซึ่งดูเหมือนจะเปนเรื่องฟุมเฟอย ที่จะตองใชเงินจํานวนมากซื้อเครื่องคอมพิวเตอรที่มี ประสิทธิภาพสูง เพื่อใหคอมพิวเตอรสามารถ รองรับเกมทีม่ ภี าพกราฟก ภาพเคลือ่ นไหว และ ภาพสามมิติ แตในปจจุบันราคาของอุปกรณ ตางๆ ไมสูงมากจนเกินไป ดังนั้นการประกอบ เครื่องคอมพิวเตอรใชเอง จะเปนตัวเลือกที่ เหมาะสมที่สุดสําหรับผูที่ชื่นชอบการเลนเกม เปนชีวิตจิตใจ แตสําหรับเด็กและเยาวชนซึ่งอยู ในวัยเรียน และยังไมมรี ายไดเปนของตนเอง ไม ควรเลนเกมมากจนกลายเปนคนติดเกม เพราะ การเลนเกมเปนการผอนคลายรูปแบบหนึ่ง แตควรเลน นอกจากจะทําใหเสียการเรียนแลวยังสิ้นเปลือง อยางมีสติ และถูกเวลา จึงจะเกิดประโยชนแกผูใช คาใชจายของผูปกครองอีกดวย

Explain

27

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

สมชายมีอาชีพเปนนักสรางการตูนแอนิเมชั่น ซึ่งโดยสวนใหญจะมีเครื่อง คอมพิวเตอรเปนอุปกรณหลัก เพื่อชวยในการทํางาน สมชายถือเปนผูใช คอมพิวเตอรระดับใด 1. ระดับผูเลนเกม 2. ระดับผูใชงานดานกราฟก 3. ระดับผูใชงานดานกราฟกชั้นสูง 4. ระดับผูใชงานทั่วไปและผูใชงานมือใหม วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 3. เพราะในการสรางการตนู แอนิเมชัน่ จําเปน จะตองมีการสรางภาพในรูปแบบ 3 มิติ รวมถึงตองมีการเคลือ่ นไหว ซึง่ ตอง อาศัยโปรแกรมเฉพาะและเครือ่ งคอมพิวเตอรทมี่ ปี ระสิทธิภาพสูง รวมถึง ผูใ ชกจ็ ะตองมีทกั ษะในการใชคอมพิวเตอรอยางมาก

นักเรียนควรรู 1 Illustrator เปนโปรแกรมที่ใชในการวาดภาพ โดยจะสรางภาพที่มีลักษณะ เปนลายเสนหรือที่เรียกวา Vector Graphic จัดเปนโปรแกรมระดับมืออาชีพที่ใช กันเปนมาตรฐานในการออกแบบระดับสากล ซึ่งสามารถทํางานออกแบบตางๆ ไดหลากหลาย เชน สิ่งพิมพ บรรจุภัณฑ ภาพเคลื่อนไหว การตูน ภาพประกอบ หนังสือ เปนตน 2 InDesign เปนโปรแกรมสําหรับงานดานสิง่ พิมพ งานออกแบบเอกสาร หรือที่ เรียกกันโดยทั่วไปวา โปรแกรมจัดหนากระดาษ ซึ่งจุดเดนของโปรแกรม InDesign คือสามารถทํางานดานการจัดหนากระดาษไดเปนอยางดี ซึ่งคลายๆ กับการนําเอา โปรแกรม Adobe PageMaker มารวมกับโปรแกรม Adobe Illustrator

คูมือครู

27


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูใหนักเรียนศึกษาอุปกรณตางๆ ของ คอมพิวเตอรที่นักเรียนใชงานอยู ไดแก ซีพียู แรม เมนบอรด ฮารดดิสก การดจอ การดเสียง การดเครือขาย ออปติคลั ดิสก เครือ่ งสํารองไฟฟา โดยใหนักเรียนบอกคุณลักษณะของอุปกรณ เหลานั้น 2. ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับอุปกรณคอมพิวเตอร บางชนิดที่นักเรียนอาจไมรูจัก และตั้งคําถาม วา การดจอ การดเสียง การดเครือขาย คือ อะไร มีความสําคัญอยางไรบาง โดยสุมถาม นักเรียนผูรู และนักเรียนคนอื่นๆ จดบันทึก ความรูที่ได 3. ครูใหนักเรียนหาคุณลักษณะของคอมพิวเตอรที่ ตํ่าที่สุดจากโบรชัวรในหางสรรพสินคาหรือจาก อินเทอรเน็ตวามีคุณลักษณะใกลเคียงกับการ ใชนพื้นฐานทั่วไปหรือไม อยางไร และนํามา อภิปรายในชั้นเรียน 4. ครูใหนักเรียนนําขอมูลคุณลักษณะของ คอมพิวเตอรทนี่ กั เรียนศึกษามาแลว เปรียบเทียบ กับตารางขอมูลหนา 28 วามีคุณลักษณะ เหมือนหรือตางกันอยางไรบาง และถาม นักเรียนวาคอมพิวเตอรของนักเรียน ควรจะ เพิ่มหรือเปลี่ยนอุปกรณหรือไม เพราะเหตุใด 5. ครูใหนักเรียนระดมสมองและวิเคราะห คุณลักษณะหนา 28 วาทําไมจึงเหมาะสมกับ คอมพิวเตอรที่เนนการทํางานพื้นฐานทั่วไป

3.2 วิธีการก�าหนดคุณลักษณะคอมพิวเตอร์ เมื่อทราบระดับการใช้งานคอมพิวเตอร์แล้วว่าเป็นผู้ใช้งานในระดับใด ต่อไปเป็นการก�าหนด คุณลักษณะเครื่องคอมพิวเตอร์ที่รองรับการท�างานในแต่ละระดับนั้น ในที่นี้จะกล่าวถึงเครื่อง คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer : PC) ซึ่งแต่ละระดับจะมีรายละเอียดเกี่ยวกับ คุณลักษณะของคอมพิวเตอร์ทเี่ หมาะสมกับผูใ้ ช้งานแตกต่างกันไป โดยมีวธิ กี ารก�าหนดคุณลักษณะ เครื่องคอมพิวเตอร์ ดังต่อไปนี้ 1) ส�ำหรับกำรใช้งำนที่เน้นกำรท�ำงำนพื้นฐำนทั่วไป ส่วนมากจะใช้งานเพื่อ สร้างเอกสาร รายงาน งานในส�านักงานต่างๆ รวมถึงการเล่นอินเทอร์เน็ต ซึ่งไม่เน้นความเร็วและ เทคโนโลยีทสี่ งู นัก ส�าหรับผูใ้ ช้ระดับนีค้ วรเลือกซือ้ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์โดยไม่ตอ้ งเน้นคุณลักษณะ ของเครื่องสูง มีราคาย่อมเยา คุณลักษณะคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสม มีดังนี้

อุปกรณคอมพิวเตอร ซีพียู แรม เมนบอรด ฮารดดดิดิสกก การดจอ/การดแสดงผล การดจอ/การ ดจอ/การดแสดงผล การดดเสีเสียง การดเครื การ ดดเครื เครือข่าย/การ ย/การดแลน ย/การดแลน Optical Storage เครื่องสํ​ํารองไฟฟ้า

คุณลักษณะที่เหมาะสมและรายละเอียดที่แนะนํา

1

รุ่น Intel Celeron D, Pentium 4, Pentium D หรือ AMD Sempron, AMD Athlon 64 x 2 ประเภท DDR2-SDRAM ขนาด 512 MB ขึ้นไป เลือกประเภทที่มีชิปแสดงผล ชิปเสียง และชิปเน็ตเวิร์กมาด้วย เพื่อไม่ต้องซื้อ การ์​์ดมาติดตั้งเพิ่มอีก เนื่องจากติดตั้งมาพร้อมกับเมนบอร์ดแล้ว และเป็​็นการลด ราคาเครื่องโดยรวมลงมาด้วย อิอินเทอร์เฟส Serial ATA ขนาดความจุ 160 GB เป็นต้นไป ซึ่งเพียงพอ สําหรับการใช้งงานในระดั ้ านในระดับพื้นฐาน ใช้เป็นแบบ On Board ใช้เป็นแบบ On Board ใช้เป็นแบบ On Board ที่สนับสนุนอัตราความเร็วคงที่ 10/100 Mbps หรืออาจ สูงถึง 1 Gbps ก็ได้ถ้ามีเครือข่ายรองรับ ไดรฟ์ DVD-RW ซึ่งสามารถอ่านและเขียนแผ่นได้เกือบทุกประเภท ควรสํ ควรสารองไฟฟ้าได้ตั้งแต่ 500 โวลต์แอมป์ (VA) ขึ้นไป (สํ2าหรับตัวเครื่อง จอภาพ และอุปกรณ์อื่นๆ ที่กินไฟ โดยรวมแล้วไม่เกิน 300 วัตต์)

ๆ เช่น จอแสดงผล จอแสดงผล ควรเลื ควรเลอกแบบซีอาร์ที ขนาด 17 นิ้ว ส�าหรั3บอุปกรณ์อื่นๆ และอื่นๆ เลื ๆ เลือกรุ่นที่สามารถใช้งานได้ านไดในราคาปานกลางก็เพียงพอ ไดรฟ์ซีดี ดีวีดี โมเด็ม ล�าโพง และอื 28

นักเรียนควรรู 1 Intel บริษัทผลิตชิปสารกึ่งตัวนําที่ใหญที่สุดในโลกเมื่อวัดจากรายได บริษัทอินเทลเปนผูคิดคนไมโครโพรเซสเซอรตระกูล x86 ออกมาวางจําหนาย ซึ่งเปนไมโครโพรเซสเซอรที่ใชกันมากที่สุดในเครื่องคอมพิวเตอรสวนบุคคล 2 วัตต (Watt) หนวยของพลังงานที่ใชเรียกขนาดของกําลังไฟฟา ซึ่งตั้งชื่อ ตาม เจมส วัตต (James Watt) วิศวกรและนักประดิษฐชาวสกอตแลนด ผูผลิต เครื่องจักรไอนํ้า โดยวัตตเปนหนึ่งในหนวยฐานเอสไอ 3 โมเด็ม (Modem) ยอมาจาก Modulator and Demodulator หรือ ตัวกลํ้าและแยกสัญญาณ เปนอุปกรณที่ทําหนาที่เปลี่ยนสัญญาณแอนาล็อกให เปนสัญญาณดิจิทัล และแปลงกลับในทิศทางตรงขาม จุดประสงคคือ การสราง สัญญาณแอนาล็อกที่งายตอการสงขอมูล และสัญญาณดิจิทัลที่งายตอการ ประมวลผล

28

คูมือครู

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’ 51 ออกเกี่ยวกับการใชงานเครื่องคอมพิวเตอร ถาตองการถนอมอายุการใชงานของเครื่องคอมพิวเตอร ผูใชงานตอง ปฏิบัติขอใด 1. ใชเครื่องสํารองไฟ (UPS) และตรวจสอบสภาพฮารดแวรเปนประจํา 2. รักษาความสะอาดของอุปกรณคอมพิวเตอรอยูเปนประจํา และใช คียบอรดและเมาสไรสาย 3. เชื่อมตอคอมพิวเตอรกับอุปกรณตางๆ ดวยสายคุณภาพสูง และพัก เครื่องโดยการปดเครื่องเปนระยะ 4. ไมวางอุปกรณคอมพิวเตอรในหองที่อุณหภูมิสูงและไมรับประทาน อาหารและเครื่องดื่มใกลเครื่องคอมพิวเตอร วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 1. เนื่องจากระบบไฟฟาอาจเกิดปญหา ไฟฟาตก ไฟฟาเกิน ไฟฟาดับ และไฟกระชาก ดวยเหตุนี้จึงจําเปนตองใช เครื่องสํารองไฟฟา (UPS: Uninterruptible Power Supply) เพื่อปองกัน ความเสียหายแกอุปกรณและขอมูลตางๆ นอกจากนี้การตรวจสอบ ฮารดแวรเปนประจํา ทําใหฮารดแวรไดรับการดูแลอยางสมํ่าเสมอ ซึ่งชวยยืดอายุการใชงานใหยาวนานยิ่งขึ้น


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

1. ครูใหนักเรียน ศึกษาคุณลักษณะของ คอมพิวเตอรและระบบปฏิบัติการที่รองรับ โปรแกรม Photoshop, Illustrator, corelDRAW และ InDesign วามีคุณลักษณะตรง กับตารางในหนา 29 หรือไม อยางไร 2. ครูใหนักเรียนหาภาพของอุปกรณคอมพิวเตอร รุนตางๆ ที่เหมาะสําหรับการใชงานดาน กราฟก และเขียนคุณลักษณะของอุปกรณ เหลานั้น 3. ครูใหนักเรียนนําขอมูลที่ศึกษามาเปรียบเทียบ กับคุณลักษณะที่เนนการทํางานพื้นฐานทั่วไป โดยใหนักเรียนบอกความแตกตางและเหตุผล ในความแตกตางนั้น

2) ส�ำหรับกำรใช้งำนด้ำนกรำฟก ส�าหรับผู้ใช้ที่ชอบเทคโนโลยีใหม่ๆ มีการ

ใช้งานหลากหลาย เช่น การออกแบบสือ่ สิง่ พิมพ์ ตกแต่งภาพ งานกราฟก งานเขียนโปรแกรม เล่นเกม ดูหนัง ฟงเพลง เป็นต้น โดยอาจ มีการลงซอฟต์​์แวร์ใหม่ๆ เพื่อทดลองใช้งาน อีกทั้งยังเหมาะกับผู้ใช้ที่ต้องการความคล่องตัว ในการท�างาน จึงต้องใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มี ประสิ ท ธิ ภ าพค่ อ นข้ า งสู ง และเป็ น เครื่ อ งที่ สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ได้ อย่างรวดเร็วทันใจ ไม่ช้าเกินไป และสามารถ ใช้ ง านโปรแกรมต่ า งๆ ได้ ห ลากหลาย ซึ่ ง คุณลักษณะคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสม มีดังนี้

อุปกรณคอมพิวเตอร

ตัวอยางการใชงานคอมพิวเตอรกบั การสรางงานกราฟก

คุณลักษณะที่เหมาะสมและรายละเอียดที่แนะนํา

ซีพียู

รุ่น Intel Core 2 Duo หรือ AMD Athlon 64x2

แรม

ชนิด DDR2-SDRAM ขนาด 1 GB ขึ้นไป

เมนบอรด

มีสล็อต PCI Express x16 ส่วนอุปกรณ์อื่นๆ อาจเลือกแบบ On Board เช่น ชิปเสียง ชิปเน็ตเวิร์ก เป็นต้น

ฮารดดิสก

อินเทอร์เฟส Serial ATA-II ขนาดความจุ 250 GB ขึ้นไป

การดจอ/การดแสดงผล

ควรเลือกการ์ดแสดงผลมาตรฐาน PCI Express x16 ที่มีคุณภาพแสดงผลค่อนข้าง สูง และขนาดหน่วยความจําบนการ์ด 256 MB ขึ้นไป โดยเลือกชิปแสดงผลเป็น nVidia GeForce FX 6800 ขึ้นไป หรือ ATi Radeon x1300 ขึ้นไป

การดเสียง

ใช้เป็นแบบ On Board

การดเครือข่าย/การดแลน

ใช้เป็นแบบ On Board ที่สนับสนุนอัตราความเร็วคงที่ 10/100 Mbps หรืออาจ สูงถึง 1 Gbps ก็ได้ถ้ามีเครือข่ายรองรับ ไดรฟ์ DVD-RW ซึ่งสามารถอ่านและเขียนแผ่นได้เกือบทุกประเภท ขนาดจอภาพแสดงผลควรเลือกขนาด 19 นิ้ว ควรสํารองไฟฟ้าได้ตั้งแต่ 500 โวลต์แอมป์ (VA) ขึ้นไป (สําหรับตัวเครื่อง จอภาพ และอุปกรณ์อื่นๆ ที่ต้องใช้ไฟมาก โดยรวมแล้วไม่เกิน 300 วัตต์)

Optical Storage จอแสดงผล เครื่องสํารองไฟฟ้า

Explain

29

กิจกรรมสรางเสริม ครูใหนักเรียนสืบคนและศึกษาวาการเลือกซื้อเครื่องสํารองไฟฟา (UPS) จําเปนตองพิจารณาถึงอะไรบาง และเพราะเหตุใดจึงตองใชเครื่องสํารอง ไฟฟาในการใชงานคอมพิวเตอร โดยใหบันทึกลงในสมุดแลวนําสงครูผูสอน

กิจกรรมทาทาย ครูใหนักเรียนหาภาพอุปกรณคอมพิวเตอรประเภทตางๆ ในหนังสือ เรียนหนา 29 ไดแก ซีพียู แรม เมนบอรด ฮารดดิสก การดจอ/การดแสดง ผล การดเสียง การดเครือขาย/การดแลน Optical Storage จอแสดงผล และเครื่องสํารองไฟฟา จากนั้นเขียนอธิบายวาอุปกรณตางๆ เหลานี้ มีความสําคัญตอการใชงานคอมพิวเตอรอยางไรบาง

เกร็ดแนะครู ครูอธิบายเสริมนักเรียนวา On Board คือ อุปกรณที่ติดมากับเมนบอรด (Mainboard) เชน การดจอ การดเสียง รอม เปนตน ซึ่งบรรจุและทํางานรวมกัน กับเมนบอรดไดทันที โดยไมตองจัดหาฮารดแวรมาเพิ่มเติมในเครื่องคอมพิวเตอรอีก เพื่อลดตนทุนและเพิ่มความสะดวก แตฮารดแวรที่บรรจุมานั้น ไมสามารถเปลี่ยน เปนอุปกรณที่มีความสามารถสูงขึ้นไดเพราะติดตั้งมากับเมนบอรด เพราะฉะนั้น ถาผูใชตองการใชงานในดานกราฟกหรือในระดับสูง หรือตองการอุปกรณเสริม ก็ควรซือ้ แบบไม On Board เพียงแตควรมีความรูดานสถาปตยกรรมคอมพิวเตอร อยางไรก็ดี หากใชงานคอมพิวเตอรทวั่ ไป การใชงาน On Board ก็ถอื วาเพียงพอ เพราะผูป ระกอบเครือ่ งคอมพิวเตอรจะเลือกฮารดแวรตา งๆ ทีม่ คี ณ ุ ลักษณะเหมาะสม กับการใชงานขั้นพื้นฐานพอสมควร

คูมือครู

29


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูใหนักเรียนเปรียบเทียบคุณลักษณะของการ ใชงานกราฟกกับการใชงานกราฟกขั้นสูง วามี อุปกรณที่เหมือนและแตกตางกันอยางไร 2. ครูใหนักเรียนศึกษาและหาภาพอุปกรณ คอมพิวเตอรรุนตางๆ ที่เหมาะสําหรับการ ใชงานกราฟกขัน้ สูง จากนัน้ ใหเขียนคุณลักษณะ ของอุปกรณเหลานั้นและวิเคราะหวา ทําไมจึงมี คุณลักษณะที่เหมาะกับการใชงานกราฟกขั้นสูง 3. ครูใหนักเรียนระดมความคิดและวิเคราะหวา อุปกรณในแตละรุนนั้น มีการใชงานที่แตกตาง จากการใชงานกราฟกขั้นปกติ อยางไร

ส�าหรับล�าโพง หูฟง เครือ่ งพิมพ์ เครือ่ งสแกนเนอร์ เครือ่ งส�ารองไฟฟา และอุปกรณ์อนื่ ๆ เพิ่มเติม สามารถเลือกซื้อได้ตามความต้องการ และหากต้องการเก็บข้อมูลปริมาณมาก อาจ เลือกใช้บลูเรย์ดิสแทนดีวีดีก็ได้ 3) ส�ำหรับกำรใช้งำนกรำฟกขัน้ สูง ส�าหรับผูใ้ ช้งานโปรแกรมต่างๆ โดยเฉพาะงาน ที่ต้องแสดงผลในรูปแบบสามมิติ รวมถึงการเล่นเกมสามมิติ ซึ่งต้องใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มี ประสิทธิภาพสูง จึงจ�าเป็นต้องใช้เครือ่ งทีม่ คี ณ ุ ลักษณะสูงเช่นเดียวกัน ซึง่ คุณลักษณะคอมพิวเตอร์ ที่เหมาะสม มีดังนี้

อุปกรณคอมพิวเตอร ซีพียู แรม เมนบอรด ฮารดดิสก การดจอ/การดแสดงผล การดเสียง การดเครือข่าย/การดแลน Optical Storage จอแสดงผล เครื่องสํารองไฟฟ้า

คุณลักษณะที่เหมาะสมและรายละเอียดที่แนะนํา รุ่น Intel Core 2 Duo, Intel Core 2 Quad, i7 หรือ AMD Athlon 64 x 2 ชนิด DDR2-SDRAM ขนาด 2 GB ขึ้นไป หรือใช้ขนาด 1 GB จํานวน 2 แถว เสียบลงในสล็อตแบบ Dual-Channel 1 รองรั บ เทคโนโลยี Dual-Channel ที่ ช ่ ว ยเพิ่ ม แบนด์ วิ ธ ของแรม และ เทคโนโลยี RAID มีสล็อต PCI Express x16 ส่วนอุปกรณ์อื่นๆ อาจเลือกแบบ On Board เช่น ชิปเสียง ชิปเน็ตเวิร์ก เป็นต้น อินเทอร์เฟส Serial ATA-II ขนาดความจุ 320 GB ขึ้นไป ควรเลือกการ์ดแสดงผลมาตรฐาน PCI Express ที่มีขนาดหน่วยความจํา บนการ์ด 512 MB ขึน้ ไป ชิปแสดงผลทีใ่ ช้ควรเลือก nVidia GeForce FX 8600 หรือ 9600 ขึ้นไป หรือ ATi Radeon HD340 ขึ้นไป ใช้เป็นแบบ On Board ใช้เป็นแบบ On Board ที่สนับสนุนอัตราความเร็วคงที่ 10/100 Mbps หรืออาจ สูงถึง 1 Gbps ก็ได้ถ้ามีเครือข่ายรองรับ ไดรฟ์ DVD-RW ซึ่งสามารถอ่านและเขียนแผ่นได้เกือบทุกประเภท ขนาดของจอภาพแสดงผลควรเลือกขนาด 22 นิ้ว ขึ้นไป 2 ควรสํารองไฟฟ้าได้ตั้งแต่ 500 โวลต์แอมป์ (VA) ขึ้นไป

หากใช้งานด้านตัดต่อภาพยนตร์ อาจเพิ่มแรมเป็น 4 GB ฮาร์ดดิสก์ Serial ATA - II ขนาด 600 GB ขึ้นไป การ์ดจอประสิทธิภาพสูง ตัวอย่างเช่น Vidia Quadro การ์ดเสียงและ ล�าโพงคุณภาพสูงแบบ Surround และอาจเลือกใช้บลูเรย์ดิสแทนดีวีดีก็ได้

30

EB GUIDE

นักเรียนควรรู 1 แบนดวิธ (Bandwidth) คือ คาที่ใชวัดความเร็วในการสงขอมูลของ อินเทอรเน็ต โดยวัดความเร็วของการสงขอมูลเปน บิตตอวินาที (bps: bit per second) เชน แบนดวิธของการใชสายโทรศัพทในประเทศไทย เทากับ 14.4 Kbps แบนดวิธของสายสงขอมูลของ KSC ที่ใชในการเชื่อมตอกับอเมริกาเทากับ 2 Mbps เปนตน 2 โวลตแอมป (Volt-ampere) หนวยที่ใชสําหรับวัดกําลังที่ปรากฏของ วงจรไฟฟา

30

คูมือครู

http://www.aksorn.com/LC/Tech/M4/04

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’ 53 ออกเกี่ยวกับการใชงานคอมพิวเตอร ขอใดตอไปนี้ถูกตองที่สุด 1. การบันทึกขอมูลลงแผนดีวีดีใชเทคโนโลยีแบบแมเหล็ก 2. หมายเลขไอพีเปนหมายเลขที่ใชกํากับ Network Interface Card 3. หนวยความจําสํารองเปนหนวยความจําที่มีคุณลักษณะแบบ Volatile 4. รหัส ASCII และ EBCIDIC เปนการวางรหัสตัวอักษรที่ใชขนาด 8 บิต วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 4. เพราะรหัส ASCII และ EBCIDIC มี การกําหนดรหัสแทนอักขระดวยชุดตัวเลข 0 และ 1 หรือตัวเลขในระบบ ฐานสอง ซึ่งแตละหลักของระบบฐานสอง เรียกวา บิต โดยจะใช 8 บิตหรือ 1 ไบต ตอ 1 อักขระที่พิมพลงไป สวนขอ 1. การบันทึกขอมูลลงแผนดีวีดี ใชเทคโนโลยีแบบแสง ถาใชเทคโนโลยีแบบแมเหล็ก คือ ฮารดดิสก ขอ 2. หมายเลขไอพีเปนหมายเลขที่ใชในระบบเครือขายที่ใชโพรโทคอล (Internet Protocol) และขอ 3. หนวยความจําสํารอง เชน แฟลชไดรฟ ออปติคลั ดิสก เปนตน ไมมีคุณลักษณะแบบ Volatile เพราะไมตองใชไฟฟา


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

1. ครูตั้งคําถามวา คอมพิวเตอรที่นักเรียนใชเลน เกม สามารถเลนไดอยางเต็มอรรถรสหรือไม เพราะเหตุใด 2. ครูใหนักเรียนศึกษาคอมพิวเตอรที่นักเรียนใช เลมเกมวา มีอุปกรณคอมพิวเตอรอะไรบาง และมีคุณลักษณะอยางไร 3. ครูใหนักเรียนนําขอมูลเหลานั้น มาเปรียบ เทียบกับตารางขอมูลหนา 31 วาเหมือนหรือ แตกตางกันอยางไรบาง 4. หากอุปกรณคอมพิวเตอรของนักเรียนที่ใช เลนเกมไมเหมือนกับตารางขอมูลหนา 31 นักเรียนตองเปลี่ยนอุปกรณใดบาง และราคา ประมาณเทาไร 5. ครูใหนักเรียนบันทึกความรูที่ไดและใหระบุ การนําไปประยุกตใชของนักเรียน

4) ส�ำหรับเล่นเกมคอมพิวเตอร์ ผู้ที่ต้องการเล่นเกมได้อย่างเต็มอรรถรสและ

ไม่ติดขัด ต้องใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีคุณภาพ ทั้งความเร็ว ความจุ และมาตรฐานต่างๆ อย่างไร ก็ตามการเล่นเกมมากเกินไปจะท�าให้เสียเวลาและเสียโอกาสที่จะท�าประโยชน์อย่างอื่นมากมาย ทั้งต่อตนเองและสังคม ดังนั้น จึงควรรู้จักบริหารเวลาให้เหมาะสม ไม่ควรเล่นเกมมากจนกลาย เป็นคนติดเกม ซึ่งคุณลักษณะคอมพิวเตอร์ที่เหมาะสมส�าหรับใช้เล่นเกม มีดังนี้

อุปกรณคอมพิวเตอร

คุณลักษณะที่เหมาะสมและรายละเอียดที่แนะนํา

ซีพียู

รุ่น Intel Core 2 Duo, Intel Core 2 Quad หรือ AMD Athlon 64 x 2

แรม

ชนิด DDR2-SDRAM ขนาด 4 GB ขึ้นไป หรือใช้ขนาด 2 GB จํานวน 2 แถว เสียบลงในสล็อตแบบ Dual-Channel 1 รองรับเทคโนโลยี Dual-Channel ที่ช่วยเพิ่มแบนด์วิธของแรม และเทคโนโลยี RAID มีสล็อต PCI Express x16 จํานวน 1-2 ช่อง เพื่อรองรับการทํา SLI หรือ CrossFire อินเทอร์เฟส Serial ATA-II ขนาดความจุ 320 GB ขึ้นไป ควรเลือกการ์ดแสดงผลมาตรฐาน PCI Express ที่มีขนาดหน่วยความจําบนการ์ด 512 MB ขึ้นไป ชิปแสดงผลที่ใช้ควรเลือก nVidia GeForce FX 8800 ขึ้นไป หรือ ATI Radeon HD 3800 ขึ้นไป อาจพิจารณาการทํา SLI หรือ CrossFire ด้วย 2 ใช้การ์ดเสียงคุณภาพดีแบบ Multi-Channel ใช้เป็นแบบ On Board ที่สนับสนุนอัตราความเร็วคงที่ 10/100 Mbps หรืออาจ สูงถึง 1 Gbps ก็ได้ ไดรฟ์ DVD-RW ซึ่งสามารถอ่านและเขียนแผ่นได้เกือบทุกประเภท ขนาดของจอภาพแสดงผลควรเลือกขนาด 22 นิ้ว ขึ้นไป ควรสํารองไฟฟ้าได้ตั้งแต่ 600 โวลต์แอมป์ (VA) ขึ้นไป

เมนบอรด ฮารดดิสก การดจอ/การดแสดงผล การดเสียง การดเครือข่าย/การดแลน Optical Storage จอแสดงผล เครื่องสํารองไฟฟ้า

Explain

3.3 การส�ารวจราคา เมื่อผู้ใช้ก�าหนดคุณลักษณะของเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ตรงตามความต้องการแล้ว ผู​ู้ใช้ สามารถหาข้อมูลเกี่ยวกับราคาของเครื่องคอมพิวเตอร์ได้จากร้านขายเครื่องคอมพิวเตอร์หรือ ศูนย์คอมพิวเตอร์ต่างๆ แล้วน�าราคาแต่ละแหล่งมาเปรียบเทียบบ เพื เพ่ือให้ได้ราคาที่เหมาะสม และคุ้มค่ามากที่สุด รวมทั รวมทั้งตรงกับคุณลักษณะของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ต้องการด้วย 31

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

การเลนเกมคอมพิวเตอรอยางเหมาะสมควรทําอยางไร

แนวตอบ ควรเลมเกมคอมพิวเตอรโดยแบงเวลาใหเหมาะสม เพื่อใหมี เวลาไปทําสิ่งอื่นๆ ที่เปนประโยชน ไมควรติดเลนเกมคอมพิวเตอรเพราะ การเลนเกมคอมพิวเตอรมากเกินไปจะสงผลเสียตอสุขภาพ รวมถึงสง ผลกระทบตอการเรียน และความรับผิดชอบตางๆ เราจึงควรกําหนดเวลา เลนเกมคอมพิวเตอรใหชัดเจนวา จะเลนในชวงเวลาเทาใด และควรเลือก เลนเกมที่ฝกทักษะทางดานสมองและใหความเพลิดเพลิน หลีกเลี่ยงการ เลนเกมที่มีความรุนแรงหรือมีภาพไมเหมาะสมแฝงอยู

เกร็ดแนะครู ครูควรใหนักเรียนทําตารางเปรียบเทียบการเลือกเครื่องคอมพิวเตอรแตละ ประเภท เพื่อเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกตาง เพื่อใหสามารถเลือกซื้อ คอมพิวเตอรในการใชงานไดอยางเหมาะสม

นักเรียนควรรู 1 Dual-Channel การใชงานแรม 2 ตัวพรอมกัน โดยแยกเก็บขอมูลลงบน แรมทั้ง 2 ตัว ทําใหการเก็บขอมูลใสแรมและการเรียกขอมูลออกมาใชทําไดเร็วขึ้น เพราะมีชองทางเพิ่มเปน 2 ชอง เปรียบเสมือนการเพิ่มถนนอีก 1 เลนส 2 Multi-Channel ระบบเสียงที่ชวยเพิ่มอรรถรสในการรับชมภาพยนตร หรือ เลนเกมไดอยางสมจริงมากขึ้น ซึ่งเปนระบบเสียงรอบทิศทางที่ทําใหผูใชงานเสมือน อยูในเหตุการณจริง คูมือครู

31


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูนําสนทนาเกี่ยวกับการบริการหลังการขายวา คอมพิวเตอรของนักเรียนมีการใหบริการหลัง การขายใดบาง 2. ครูสุมถามนักเรียนถึงการตรวจสอบสภาพ อุปกรณวา ควรตรวจสอบสภาพอุปกรณกอน ออกจากรานที่ซื้อ เพราะเหตุใด 3. ครูใหนักเรียนหาบริการหลังการขายของ คอมพิวเตอรที่มียี่หอ (Brand) อยางนอย 3 ยี่หอ เปรียบเทียบกัน จากนั้นใหนํามา อภิปรายในชั้นเรียน และรวมกันออกเสียงเลือก บริการหลังการขายที่ดีที่สุด แลวจัดทําบอรด ประชาสัมพันธเผยแพรความรูในโรงเรียน 4. ครูใหนักเรียนออกแบบใบตรวจสอบสภาพ อุปกรณคอมพิวเตอรสําหรับใหลูกคาลงใน กระดาษ A4 นํามาอภิปรายในชั้นเรียน 5. ครูใหนักเรียนบันทึกวิธีการสํารวจบริการหลัง การขายและการตรวจสภาพอุปกรณ และ อภิปรายถึงขอดีของการมีบริการหลังการขาย

3.4 การส�ารวจบริการหลังการขาย โดยดูระยะเวลารับประกันของอุปกรณ์ต่างๆ และการให้บริการหลังการขาย เช่น หาก เครื่องคอมพิวเตอร์มีปญหา ผู้ใช้สามารถติดต่อศูนย์บริการนี้ได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว โดยต้อง มี ผู ้ ใ ห้ ค� า แนะน� า และสามารถติ ด ต่ อ ได้ ต ลอดเวลา เพื่ อ แก้ ป  ญ หาการใช้ ง านเบื้ อ งต้ น ได้ รวมทั้งสามารถบริการไปซ่อมที่บ้าน (On-site Maintenance) ของลูกค้าได้อีกด้วย

3.5 การตรวจสภาพอุปกรณ์ กอนออกจากราน

กอนตัดสินใจซื้อเครื่องคอมพิวเตอร ควรตรวจสอบ อุปกรณและเงื่อนไขตางๆ อยางรอบคอบ

เมื่อได้เครื่องคอมพิวเตอร์ตามที่ต้องการ ตามความเหมาะสมกับประสิทธิภาพและการ ใช้งานเรียบร้อยแล้ว ก่อนทีจ่ ะออกจากร้านก็ตอ้ ง ตรวจสอบอุปกรณ์ทุกชิ้นว่าอยู่ในสภาพดี ไม่มี รอยขีดข่วนหรือมีต�าหนิ มีใบเสร็จรับเงินและ ใบรับประกันอย่างครบถ้วน หากมีปญหาอะไร สามารถกลับมาที่ศูนย์บริการหรือศูนย์ซ่อม อุปกรณ์ต่างๆ ได้

à¡Ãç´ IT การดูแลรักษาโนตบุกคอมพิวเตอร 1 หลังจากได้โน้ตบุกคอมพิวเตอรมาใช้งานแล้ว ก็ควรจะดูแลรักษาโน้ตบุกคอมพิวเตอรให้ใช้งานได้นานๆ ซึ่งมีเคล็ดลับง่ายๆ ดังนี้ การใช้งานโน้ตบุกคอมพิวเตอรในที่ทํางานหรือตามบ้าน จะมีฝุนละอองติดอยู่ตามซอกมุมต่างๆ โดยเฉพาะ ส่วนของแป้นพิมพ ซึ่งมีช่องว่างที่อาจมีเศษผงต่างๆ ตกลงไปและไม่สามารถเช็ดออกได้ จึงต้องระมัดระวังเป็น พิเศษและหมั่นเช็ดทําความสะอาด สําหรับรอบๆ ตัวเครื่อง ให้ใช้ผ้าสะอาดชุบนํ้าเปล่าแล้วบิดให้หมาดๆ เช็ดไป รอบๆ ตัวเครื่อง ไม่ควรใช้สารเคมีมาทําความสะอาด นอกจากจะเป็นนํ้ายาสําหรับทําความสะอาดคอมพิวเตอร โดยเฉพาะ ส่วนที่แป้นพิมพควรใช้เครื่องดูดฝุน ดูดเอาฝุนละอองออ ละอองออกมา ในการใช้งานปกติควรระมัดระวังเรื่องการกระแทกด้วย เพราะโน้ตบุกคอมพิวเตอรปกติจะสามารถทนแรง กระแทกได้ไม่มากนัก หากโดนกระแทกแรงๆ ก็อาจจะไปกระทบกระเทือนอุปกรณภายในได้ และเมื่อต้องการ เคลื่อนย้ายโน้ตบุกคอมพิวเตอร ควรนําใส่กระเปาที่ออกแบบมาใช้กับโน้ตบุกคอมพิวเตอรโดยเฉพาะ ซึ่งนอกจาก จะช่วยลดแรงกระแทกแล้วยังช่วยป้องกันนํ้าได้ในระดับหนึ่งด้วย 32

นักเรียนควรรู 1 โนตบุกคอมพิวเตอร หรือแล็ปท็อป หรือคอมพิวเตอรวางตัก โดยทั่วไป คอมพิวเตอรโนตบุกจะมีประสิทธิภาพพอกับคอมพิวเตอรตั้งโตะแบบปกติ แต มีราคาที่สูงกวา จอภาพจะเปนลักษณะจอแอลซีดี และจะมีแผนรองสัมผัสที่ใช สําหรับควบคุมการทํางานของลูกศรบริเวณหนาจอ

มุม IT ศึกษาคนควาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับคอมพิวเตอรแตละยี่หอ ไดที่ http://ptv.myreadyweb.com/article/topic-2373.html

32

คูมือครู

กิจกรรมสรางเสริม ครูใหนักเรียนสรุปแนวทางการเลือกซื้อคอมพิวเตอรวามีวิธีการปฏิบัติ อยางไรบาง ใหสรุปโดยวาดเปนผังความคิดลงในสมุดบันทึก แลวนํามา แลกเปลี่ยนเรียนรูกันภายในชั้น

กิจกรรมทาทาย ครูใหนักเรียนสํารวจเครื่องคอมพิวเตอรของนักเรียนหรือของโรงเรียน วามีการบริการหลังการขายอะไรบาง มีใบรับประกันสินคาหรือสติ๊กเกอร ติดที่ตัวเครื่อง (Case) คอมพิวเตอรอยางไร และวิเคราะหวาการใหบริการ เหลานี้เหมาะสมและเพียงพอตอความตองการของนักเรียนมากนอยเพียงใด เพราะเหตุใด โดยบันทึกลงในสมุดและสงครูผูสอน


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

มุมเทคโนโลยี ความรูเกี่ยวกับ Google Earth การใชงานโปรแกรม Google Earth Google Earth เปนโปรแกรมที่ใชในการดูภาพถายของทุกมุมโลกจากดาวเทียม ซึ่งมีความละเอียดสูงมาก สามารถขยายภาพ จากโลกทั้งใบไปสูประเทศ และลงไปจนถึงวัตถุเล็ก เชน ถนน ตรอก ซอกซอย บานเรือน เปนตน ซึ่งใชงานงายและสะดวกในการนําไปประยุกตในการเรียนการสอนได จึงเหมาะสําหรับอาจารย และนักเรียน ที่จะ ใชในการสอนและการเรียนในวิชาตางๆ โดย Google Earth จะใชงานไดตอเมื่อเครื่องคอมพิวเตอรไดทําการ เชื่อมตออินเทอรเน็ตอยูเทานั้น ผูใชสามารถดาวนโหลดโปรแกรม Google Earth ไดที่ http://earth.google.com/ หลังจากดาวนโหลดเสร็จ เรียบรอย ใหทําการติดตั้งโปรแกรม ซึ่งเมื่อติดตั้งเสร็จจะมี Icon Google Earth ที่ Desktop การใชงานเบื้องตนของโปรแกรม Google Earth หลังจากที่เขาสูโปรแกรมจะเห็น ลูกโลก ซึ่งสามารถใชเมาส หมุนลูกโลก ไปในทิศทางตางๆ เพื่อไปยังประเทศที่ ตองการได โดยนําเมาสเขาไปที่ลูกโลก คลิกคางไวแลวเลื่อนเมาส การคนหาต�าแหนงสถานที่ การค น หาสามารถทํ า ได โ ดย ใส ชื่ อ เมื อ งที่ ต  อ งการลงไปในช อ ง บินไปที่ (Local Search) ถาใสชื่อเมือง ถู ก ต อ ง โปรแกรมจะหมุ น โลกไปใน ตําแหนงนั้นโดยอัตโนมัติ

การใชเครื่องมือในการดูแผนที่

ใช้ปรับองศาในการมองแผนที่ ว่าจะ ใช้ในการเลื่อนมุมมองไปในทิศทาง ใช้ในการซูมภาพเข้า-ออก เพื่อดู มองจากมุมกี่องศา ต่างๆ รายละเอียดในระดับที่ต้องการ โดย เมื่อคลิกที่ + ภาพจะขยายใหญ่ และ ใกล้ขึ้น เมื่อคลิกที่ - ภาพจะเล็กลง และไกลออกไป 33

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ขอใดเปนการใชงานโปรแกรม Google Earth ไดถูกตองตามวัตถุประสงค 1. ใชโปรแกรม Google Earth คนหาภาพถาย 2. ใชโปรแกรม Google Earth สํารวจถนนเพื่อการเดินทาง 3. ใชโปรแกรม Google Earth สรางภาพกราฟกสามมิติ 4. ใชโปรแกรม Google Earth เพื่อชวยการเรียนการสอนวิชาดาราศาสตร วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 2. เพราะโปรแกรม Google Earth เปน โปรแกรมที่ใชดูภาพถายทางดาวเทียม ซึ่งสามารถดูพื้นผิวโลกไดทุกพื้นที่ โดยขยายภาพใหเห็นไดถึงถนน ตรอก ซอกซอย ตางๆ จึงชวยในการ สํารวจเสนทางเพื่อการคมนาคมได

Explain

1. ครูใหนักเรียนใชงานโปรแกรม Google Earth โดยใหทดลองสืบคนบานของนักเรียนและ โรงเรียน 2. ครูใหนักเรียนชวยกันตอบคําถามวา โปรแกรม Google Earth มีประโยชนอยางไร และ เหมาะสําหรับการใชในดานใด 3. ครูใหสังเกตวาโปรแกรม Google Earth จะ มีแกเลอรีอยูมุมซายลาง ไดแก กรอบและ ปายชื่อ สถานที่ ภาพถาย ถนน อาคาร 3 มิติ Ocean สภาพอากาศ หองแสดงภาพ รักษโลก และเพิ่มเติม แลวใหนักเรียนทดลอง ใชงานเหลานั้น พรอมเขียนลักษณะและ ประโยชนในการใชงานลงในสมุดเรียน 4. ครูถามนักเรียนเกี่ยวกับอาคาร 3 มิติ ในโปรแกรม Google Earth วาใชโปรแกรมใด ในการสรางและมีวิธีการสรางอยางไร 5. ครูใหนักเรียนศึกษาและทดลองเพิ่มชื่อสถานที่ ที่นักเรียนรูจักลงในโปรแกรม Google Earth และบอกวิธีการทําหนาชั้น 6. ครูใหนักเรียนใชงานโปรแกรม Google Earth โดยครูแนะนําวาหากนักเรียนตองการดู สถานทีจ่ ริงในมุมมอง Street View ใหนกั เรียน ลากไอคอนรูปคนสีเหลืองทางดานขวามือ แลววางลงบนถนนที่ตองการเพื่อเขาสู Street View ซึ่งนักเรียนจะสามารถดูภาพถาย จริงไดเกือบทุกถนน ปจจุบันสามารถดูไดบน ถนนสายสําคัญ และหัวเมืองสําคัญๆ ของโลก ซึ่งผูใชงานทุกคนสามารถเห็นสถานที่จริง เพื่อวางแผนการเดินทางไปยังสถานที่นั้นๆ ไดอยางถูกตอง จากนั้นใหนักเรียนบันทึกวา การใชงาน Street View มีประโยชนอยางไร กับนักเรียนบาง โดยบันทึกลงในสมุดเรียน

บูรณาการอาเซียน ครูใหนักเรียนใชงานโปรแกรม Google Earth และเลือกคําวา อาคาร 3 มิติ ในรายการดานขาง จากนั้นใหพิมพชื่อเมืองหลวงของประเทศตางๆ ในอาเซียน และคนหาเพื่อดูแผนที่ของเมือง รวมถึงอาคารตางๆ ในรูปแบบ 3 มิติ เพื่อจะ ไดเห็นทัศนียภาพและสรางความเขาใจเกี่ยวกับเมืองตางๆ ของประเทศสมาชิก อาเซียนไดมากขึ้น

คูมือครู

33


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูใหนักเรียนบอกวิธีการเลือกซื้อคอมพิวเตอร รวมถึงปจจัยตางๆ ที่นักเรียนใชพิจารณาใน การซื้อ เชน แบรนดเนม รานคา เปนตน พอสังเขป 2. ครูตั้งคําถามวา การเลือกซื้อเครื่องมียี่หอ เครื่องสั่งประกอบ และเครื่องประกอบเอง เหมาะสมกับการใชงานลักษณะใดบาง 3. ครูใหนักเรียนศึกษาเครื่องคอมพิวเตอร แบรนดตางๆ โดยยกตัวอยางมาอยางนอย 5 ตัวอยาง และเขียนถึงคุณลักษณะที่แตกตางกัน ของแตละแบรนด 4. ครูใหนักเรียนเขียนวาจะเลือกชนิดของการซื้อ คอมพิวเตอรอยางไร พรอมยกตัวอยางขอดีและ ขอเสียในการซื้อ ลงในสมุดเรียนและสงครู ผูสอน

4. ชนิดของการเลือกซื้อคอมพิวเตอร การเลือกซื้อคอมพิวเตอรในปจจุบันนี้ แบงออกไดเปน 3 กลุม คือ 1. กลุมที่เลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอรแบบมียี่หอ หรือเรียกวาเครื่องแบรนดเนม (Brand 1 Name) ทั้งแบรนดเนมของไทยและของตางประเทศ เชน Laser, Powell, IBM, Acer Atec เปนตน 2. กลุมที่เลือกซื้อเครื่องสั่งประกอบตามรานคอมพิวเตอรที่ตั้งอยูในศูนยการคา เชน ที่พันธุทิพยพลาซา หรือจากรานจําหนายคอมพิวเตอรทั่วไป เปนตน 3. กลุมที่เลือกซื้ออุปกรณมาเปนชิ้นๆ แลวมาประกอบเองที่บาน การเลือกซื้อในแตละกลุม มีขอดีและขอเสียแตกตางกันไป ดังนี้

ชนิดของการเลือกซื้อ เครื่องมียี่หอ

ขอดี    

เครื่องสั่งประกอบ

  

เครื่องประกอบเอง

    

มีคุณภาพไดมาตรฐาน การบริการดี มีการรับประกันดี ในบางที่จะมีการฝกอบรมการใช โปรแกรมสําหรับผูซื้อเครื่องดวย เลือกซื้ออุปกรณหรือปรับเปลี่ยน ไดตามตองการ มีคุณลักษณะและยี่หอตามตองการ ราคาถูก (ขึ้นอยูกับทางราน) การรับประกัน (ขึ้นอยูกับทางราน) เลือกซื้ออุปกรณหรือปรับเปลี่ยน ไดตามตองการ มีคุณลักษณะและยี่หอตามตองการ ไมเสียคาประกอบ ราคาถูก (ขึ้นอยูกับทางราน) การรับประกัน (ขึ้นอยูกับทางราน) การบริการ (ขึ้นอยูกับทางราน)

ขอเสีย  

34

EB GUIDE

นักเรียนควรรู 1 Acer เปนบริษัทขามชาติของไตหวัน ผูผลิตคอมพิวเตอรตั้งโตะ โนตบุก แท็บเล็ต เครื่องแมขาย สมารตโฟน และอุปกรณตอพวง (Peripheral) นอกจากนี้ ยังมีการใหบริการธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส (e-business) กับงานดานธุรกิจ ราชการ และลูกคา โดยบริษัท Acer Inc. เปนบริษัทผูผลิตคอมพิวเตอรสวนบุคคลใหญ เปนอันดับ 4 ของโลก รองจากบริษัท HP (Hewlett-Packard) Lenovo และ Dell ใน พ.ศ. 2554

34

คูมือครู

เครื่องมีราคาสูง ไมสามารถเลือกคุณลักษณะและ ยี่หอของอุปกรณที่ตองการได เวลาสั่งซื้อเครื่อง อาจตองรอเครื่อง เปนเวลานานหลายวัน ถามีความรูเกี่ยวกับอุปกรณไมดีพอ อาจจะไดของที่ไมมีคุณภาพ เวลาเครื่องเสีย หรือมีปญหาตอง ยกเครื่องไปใหชางซอมที่ราน อาจไดสินคาของปลอม ผูใชตองเปนผูที่มีความรูทางดาน ฮารดแวร และซอฟตแวรเปน อยางดี เพราะตองประกอบเครือ่ ง และลงโปรแกรมเอง ถามีความรูเ กีย่ วกับอุปกรณไมดพี อ อาจจะไดของที่ไมมีคุณภาพ เวลาเครื่องเสียหรือมีปญหา ตองยกเครื่องไปใหชางซอมที่ราน อาจไดสินคาปลอม

http://www.aksorn.com/LC/Tech/M4/05

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’ 53 ออกเกี่ยวกับการใชงานคอมพิวเตอร ผูประกอบอาชีพเปนผูพัฒนาเว็บไซตตองเชี่ยวชาญความรูดานใดบาง จากตัวเลือกตอไปนี้ ก. ฮารดแวรคอมพิวเตอร ง. HTML ข. ระบบปฏิบัติการ จ. ระบบฐานขอมูล ค. เว็บเซิรฟเวอร ฉ. ภาษาจาวา (Java) 1. ขอ ก. และ ค. 2. ขอ ข. และ จ. 3. ขอ ค. และ ง. 4. ขอ ค. และ จ. วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 3. เว็บเซิรฟเวอร คือ เครื่องคอมพิวเตอร หรือโปรแกรมที่ใหบริการเว็บไซต โดยผูพัฒนาเว็บไซตจะสรางเว็บเพจ HTML หรือ Hypertext Markup Language เพื่อใหผูใชงานสามารถเรียก ชมผานหนาเว็บไซตได


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Expand าใจ ขยายความเข

Evaluate ตรวจสอบผล

ขยายความเขาใจ

Expand

ครูใหนักเรียนเขียนความตองการใช คอมพิวเตอร เชน พิมพเอกสาร ตกแตงภาพ ทํากราฟก มัลติมีเดีย เปนตน จากนั้นใหนักเรียน อธิบายระบุอุปกรณตางๆ ที่นักเรียนตองการ ให ครบองคประกอบของระบบคอมพิวเตอร และบอก เหตุผล ของการเลือกอุปกรณเหลานั้นใหเหมาะสม กับงานของนักเรียน ลงในกระดาษ A4 และสงครู ผูสอน

การเลือกคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์คอมพิวเตอร์นนั้ ผูใ้ ช้ควรวางแผนและหาข้อมูลในการเลือก ซือ้ ไว้กอ่ นล่วงหน้า ไม่วา่ จะเป็นเครือ่ งคอมพิวเตอร์ทเี่ ราจะประกอบเอง หรือเครือ่ งคอมพิวเตอร์ทมี่ ี ยี่ห้อต่างๆ และควรพิจารณาถึงความต้องการที่จะน�าไปใช้งานเป็นหลัก เพื่อให้เครื่องคอมพิวเตอร์ ที่เราใช้งานนั้น สามารถเอื้ออ�านวยในการท�างานของผู้ใช้ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ซึ่งการเลือก ซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์นั้น ผู้ใช้งานเท่านั้นที่จะสามารถก�าหนดขอบข่ายและคุณลักษณะของ เครื่องคอมพิวเตอร์ได้เหมาะสมที่สุด

ตรวจสอบผล

สรุป

Evaluate

ครูตรวจความสมบูรณของการเขียนความ ตองการใชคอมพิวเตอร และอุปกรณตางๆ เพื่อการใชงานไดอยางเหมาะสม

การท�างานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยการรับข้อมูลเข้า การประมวลผล ข้อมูล การจัดเก็บข้อมูล และการแสดงผลข้อมูล ซึ่งทั้ง 4 ขั้นตอน จะมีการท�างานประสานกัน โดยอาศัยองค์ประกอบของระบบที่ประกอบไปด้วยหน่วยรับเข้า หน่วยประมวลผลกลาง หน่วยความจ�าหลัก หน่วยความจ�ารอง และหน่วยส่งออก ซึ่งในแต่ละหน่วยก็จะมีอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆ ท�าหน้าที่ตามคุณสมบัติที่ก�าหนดไว้ ปัจจุบันคอมพิวเตอร์มีบทบาทอย่างสูงมากทั้งต่อบุคคล หน่วยงาน และองค์กรต่างๆ ดังนั้น การเลือกคอมพิวเตอร์ให้สอดคล้องกับความต้องการจึงมีความจ�าเป็น เพื่อจะได้ คอมพิวเตอร์ที่มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ คุ้มค่ากับเงินที่จ่ายไป

35

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’ 51 ออกเกี่ยวกับการใชอุปกรณคอมพิวเตอรอยางรักษา สิ่งแวดลอม ใชคอมพิวเตอรอยางไรจึงชวยลดภาวะโลกรอน 1. ปดเครื่องเมื่อไมใชงาน และพิมพงานเมื่อจําเปน 2. เลือกใชจอแอลซีดีและปรับปรุงซอฟตแวรใหทันสมัย 3. ใชคอมพิวเตอรวันละ 1 ชม. และรักษาความสะอาดอยูเสมอ 4. ไมเชื่อมตอระบบเครือขายและใชเครื่องพิมพ Inkjet เทานั้น วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 1. เพราะการปดเครื่องเมื่อไมใชงาน หรือใช เมื่อจําเปน เปนการลดการใชพลังงานไฟฟา สวนขออื่นๆ เปนการใชงาน คอมพิวเตอรที่ไมไดมีสวนในการลดภาวะโลกรอน

เกร็ดแนะครู ครูแนะนําเทคนิคการเลือกซื้อคอมพิวเตอรเพื่อใหเหมาะสมกับงานในดานตางๆ เชน งานดานเอกสาร ใหเนนอินเทอรเน็ตกับโปรแกรมไมโครซอฟตเวิรด ซึ่งสามารถ ซื้อรุนไหนก็ไดที่ถูกที่สุด แตควรเพิ่มแรมเปน 1 GB สวนงานดานวิเคราะห เขียนโปรแกรมหรืองานที่ใชการคํานวณมาก ใหเนนซีพียูที่มีความเร็วสูงและหนวย ความจําแรมอยางนอย 2 GB และขนาดฮารดดิสกอยางนอย 250 GB หากเนน เลนเกมและทํางานดานกราฟก ใหใชซีพียูที่มีความเร็วสูงและหนวยความจําแรม อยางนอย 4 GB เมนบอรดกับการดจอตองแยกออกจากกัน และการดจอตองมี คุณภาพสูงพอสมควร เชน มีฟงกชั่น 3D แรม 1 GB รองรับความละเอียดสูงได และการใชงานเซิรฟเวอร ตองใชซีพียูที่มีความเร็วสูงและแรมอยางนอย 4 GB โดย เนนการดแลนที่รองรับการรับ-สงขอมูลจํานวนมาก เปนตน

คูมือครู

35


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engage

Explore

Explain

Expand

ตรวจสอบผล

Evaluate

Q& A

ครูตรวจความถูกตองจากการตอบคําถาม ประจําหนวยการเรียนรู

¤Ó¶ÒÁ 1. 2. 3. 4. 5.

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู 1. ผังความคิดวงจรการทํางานขั้นพื้นฐานของ คอมพิวเตอรทั้ง 4 ขั้นตอน 2. ผังมโนทัศนเกี่ยวกับหนวยรับเขา 3. แผงผังหลักการทํางานของหนวยประมวลผล กลางหรือซีพียู 4. การเขียนสรุปความแตกตางระหวางหนวยความ จําแรมและหนวยความจํารอม 5. รายงานการสรุปเกี่ยวกับหนวยสงออก 6. การเขียนความตองการใชคอมพิวเตอรและ อุปกรณตางๆ ในการใชงานไดอยางเหมาะสม

ตรวจสอบผล Evaluate ตรวจสอบผล Evaluate

»ÃШÓ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ

ขั้นตอนการทํางานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอรมีกี่ขั้นตอน อะไรบาง จงอธิบายองคประกอบของระบบคอมพิวเตอรมาอยางสังเขป ประสิทธิภาพในการประมวลผลของคอมพิวเตอรจะเร็วหรือชา ขึ้นอยูกับอะไรบาง ในการเลือกซื้อเครื่องคอมพิวเตอรมาใชงาน จะตองคํานึงถึงปจจัยอะไรบาง จงอธิบาย จงพิจารณาวาอาชีพหรือหนวยงานที่กําหนดให จัดเปนผูใชงานระดับใด เพราะสาเหตุใด นักเรียน นักเขียนโปรแกรม นักออกแบบสื่อโทรทัศน ครู พนักงานธนาคาร เจาหนาที่สถิติ แมคา วิศวกร สํานักพิมพ

• • •

• • •

• • •

¡Ô¨¡ÃÃÁ

ÊÌҧÊÃä ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ กิจกรรมที่

1

กิจกรรมที่

2

กิจกรรมที่

3

เชิญชางเทคนิคที่มีความรูทางดานคอมพิวเตอรมาเปนวิทยากรในการถอด องคประกอบสวนตางๆ ของเครื่องคอมพิวเตอรใหนักเรียนชม พรอมอธิบาย หนาที่และหลักการทํางานขององคประกอบแตละสวน ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 4 - 5 คน ใหจัดทํารายงานเกี่ยวกับลักษณะและ ความสําคัญของอุปกรณที่กําหนดให พรอมทั้งนําเสนอขอมูลหหนาชั้นเรียน ซีพียู เมนบอรด ฮารดดิสก การดแสดงผล จอภาพ เครื่องพิมพ หนวยความจําแรม เครือ่ งสแกนเนอร เชิญวิทยากรมาบรรยายใหความรูเกี่ยวกับหลักการเลือกเครื่องคอมพิวเตอร ใหสอดคลองกับการใชงานและคุมคาราคา

36

แนวตอบ คําถามประจําหนวยการเรียนรู 1. มี 4 ขั้นตอน ไดแก รับขอมูล ประมวลผลขอมูล จัดเก็บขอมูล และแสดงผลขอมูล 2. ประกอบดวย 5 องคประกอบ ไดแก หนวยรับเขา หนวยประมวลผลกลาง หนวยความจําหลัก และหนวยสงออก 3. ประสิทธิภาพในการประมวลผลขึ้นอยูกับรุนซีพียูและสถาปตยกรรมคอมพิวเตอรที่ออกแบบมาแตละรุน รวมถึงการดูแลรักษาฮารดิสกเปนประจําดวยโปรแกรม Disk Cleanup, Check Disk, Disk Defragmenter ซึ่งจะชวยใหการประมวลผลทําไดอยางรวดเร็วมากขึ้น 4. การเลือกซื้อตองคํานึงถึงความจําเปนในระดับผูใชงานวาตองการใชคอมพิวเตอรในระดับใด รวมถึงความตองการใชงานโปรแกรมตางๆ เพื่อจะไดเลือกความเร็ว ของซีพียูและความจุของหนวยความจําแรม นอกจากนี้ยังมีความเหมาะสมของเนื้อที่ สถานที่ ราคา และคุณภาพของอุปกรณตางๆ 5. ระดับผูใชทั่วไปและผูใชมือใหม ไดแก นักเรียน ครู และแมคา เพราะใชในการจัดทําและพิมพเอกสาร หรือตกแตงภาพเล็กนอย ระดับผูใชงานดานกราฟก เชน นักเขียนโปรแกรม พนักงานธนาคาร เจาหนาที่สถิติ สํานักพิมพ เปนตน เพราะเปนอาชีพที่มีการใชสื่อสิ่งพิมพที่ตองมีโปรแกรมในการออกแบบหรือรวบรวมขอมูล ตางๆ ระดับผูใชงานดานกราฟกขั้นสูง ไดแก วิศวกรและนักออกแบบสื่อโทรทัศน เพราะอาชีพเหลานี้มีการใชงานในการสรางรูปแบบ 3 มิติ

36

คูมือครู


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.