8858649121608

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº ÍÞ.

ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน

กระบวนการสอนแบบ 5 Es ชวยสรางทักษะการเรียนรู กิจกรรมมุงพัฒนาทักษะการคิด คำถาม + แนวขอสอบเพื่อยกผลสัมฤทธิ์ O-NET กิจกรรมบูรณาการเตรียมพรอมสู ASEAN 2558


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

ภูมิศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่

4-6

สําหรับครู

คูมือครู Version ใหม

ลักษณะเดน

ขยายพื้นที่รูปเลมใหญขึ้นกวาเดิม จัดแบงพื้นที่ออกเปนโซน เพื่อคนหาขอมูลไดงาย สะดวก รวดเร็ว และดูเปนระเบียบ กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล

กระตุน ความสนใจ

Evaluate

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

เปาหมายการเรียนรู สมรรถนะของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค

หน า

โซน 1 กระตุน ความสนใจ

Engage

สํารวจคนหา

Explore

อธิบายความรู

Explain

ขยายความเขาใจ

Expand

ตรวจสอบผล

หน า

หนั ง สื อ เรี ย น

โซน 1

หนั ง สื อ เรี ย น

Evaluate

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NET

ขอสอบ

โซน 2

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

เกร็ดแนะครู

O-NET

บูรณาการเชื่อมสาระ

โซน 3

กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย

นักเรียนควรรู

โซน 3

โซน 2 บูรณาการอาเซียน มุม IT

No.

คูมือครู

คูมือครู

No.

โซน 1 ขั้นตอนการสอนแบบ 5Es

โซน 2 ชวยครูเตรียมสอน

โซน 3 ชวยครูเตรียมนักเรียน

เพื่อใหครูเตรียมจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยแนะนําขั้นตอนการสอนและ การจัดกิจกรรมแบบ 5Es อยางละเอียด เพื่อใหนักเรียนบรรลุตามตัวชี้วัด

เพื่อชวยลดภาระครูผูสอน โดยแนะนํา เกร็ดความรูสําหรับครู ความรูเสริมสําหรับ นักเรียน รวมทั้งบูรณาการความรูสูอาเซียน และมุม IT

เพื่อใหครูสะดวกตอการจัดกิจกรรม โดย แนะนํากิจกรรมบูรณาการเชือ่ มระหวางสาระหรือ กลุมสาระการเรียนรู วิชา กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย รวมถึงเนื้อหาที่เคยออกขอสอบ O-NET แนวขอสอบ NT/O-NET ทีเ่ นนการคิด พรอมเฉลยและคําอธิบายอยางละเอียด


ที่ใชในคูมือครู

แถบสีและสัญลักษณ

แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5Es เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

1. แถบสี 5Es สีแดง

สีเขียว

กระตุน ความสนใจ

เสร�ม

สํารวจคนหา

Engage

2

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุน ความสนใจ เพื่อโยง เขาสูบทเรียน

สีสม

อธิบายความรู

Explore

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนสํารวจ ปญหา และศึกษา ขอมูล

สีฟา

Explain

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนคนหา คําตอบ จนเกิดความรู เชิงประจักษ

สีมวง

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนนําความรู ไปคิดคนตอๆ ไป

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

2. สัญลักษณ สัญลักษณ

วัตถุประสงค

• เปาหมายการเรียนรู

• หลักฐานแสดง ผลการเรียนรู

• เกร็ดแนะครู

แทรกความรูเสริมสําหรับครู ขอเสนอแนะ ขอควรระวัง ขอสังเกต แนวทางการจัด กิจกรรมและอืน่ ๆ เพื่อประโยชนในการ จัดการเรียนการสอน ขยายความรูเพิ่มเติมจากเนื้อหา เพื่อให ครูนําไปใชอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียน ไดมีความรูมากขึ้น

ความรูห รือกิจกรรมเสริม ใหครูนาํ ไปใช เตรียมความพรอมใหกบั นักเรียนกอนเขาสู ประชาคมอาเซียนใน พ.ศ. 2558 โดย บูรณาการกับวิชาทีก่ าํ ลังเรียน

บูรณาการอาเซียน

คูม อื ครู

แสดงรองรอยหลักฐานตามภาระงาน ที่ครูมอบหมาย เพื่อแสดงผลการเรียนรู ตามตัวชี้วัด

• นักเรียนควรรู

มุม IT

แสดงเปาหมายการเรียนรูที่นักเรียน ตองบรรลุตามตัวชี้วัด ตลอดจนสมรรถนะ ที่จะตองมี และคุณลักษณะที่พึงเกิดขึ้น กับนักเรียน

แนะนําแหลงคนควาจากเว็บไซต เพื่อให ครูและนักเรียนไดเขาถึงขอมูลความรู ที่หลากหลาย ทั้งไทยและตางประเทศ

สัญลักษณ

ขอสอบ

วัตถุประสงค

O-NET

(เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ O-NET O-NET)

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T (เฉพาะระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนตอนตน)

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET (เฉพาะระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย)

บูรณาการเชื่อมสาระ

กิจกรรมสรางเสริม

กิจกรรมทาทาย

• ชีแ้ นะเนือ้ หาทีเ่ คยออกขอสอบ

O-NET โดยยกตัวอยางขอสอบ พรอมวิเคราะหคาํ ตอบ อยางละเอียด

• เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน

การคิดและเปนแนวขอสอบ NT/O-NET ในระดับมัธยมศึกษา ตอนตน มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

• เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน

การคิดและเปนแนวขอสอบ O-NET ในระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม

เชือ่ มกับสาระหรือกลุม สาระ การเรียนรู ระดับชัน้ หรือวิชาอืน่ ทีเ่ กีย่ วของ

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ซอมเสริมสําหรับนักเรียนทีค่ วร ไดรบั การพัฒนาการเรียนรู

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ตอยอดสําหรับนักเรียนทีเ่ รียนรู ไดอยางรวดเร็ว และตองการ ทาทายความสามารถในระดับ ทีส่ งู ขึน้


คําแนะนําการใชคูมือครู การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน คูมือครู รายวิชา ภูมิศาสตร ม. 4-ม. 6 จัดทําขึ้นเพื่อใหครูผูสอนนําไปใชเปนแนวทางวางแผนการสอนเพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน และประกันคุณภาพผูเ รียน ตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน (สพฐ.) โดยใชหนังสือเรียน ภูมิศาสตร ม. 4-ม. 6 ของบริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด เปนสื่อหลัก (Core Material) ประกอบ เสร�ม การสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดกลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา 3 ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 โดยออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน ตามหลักการสําคัญ ดังนี้ 1 ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน คูม อื ครู รายวิชา ภูมศิ าสตร ม. 4-ม. 6 วางแผนการสอนโดยแบงเปนหนวยการเรียนรูต ามลําดับสาระ (strand) และ หมายเลขขอของมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั แตละหนวยจะกําหนดเปาหมายการเรียนรูแ ละจุดประสงคการเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทางการประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชัดเจน ครูผูสอนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด สมรรถนะ และคุณลักษณะ อันพึงประสงคที่เปนเปาหมายการเรียนรูตามที่กําหนดไวในสาระแกนกลาง (ตามแผนภูมิ) และสามารถบันทึกผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของผูเรียนแตละคนลงในเอกสาร ปพ.5 ไดอยางมั่นใจ แผนภูมิแสดงความสัมพันธขององคประกอบการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผูเรียนเปนสําคัญ

พผ

ูเ

จุดปร

ะสง

คก า

ส ภา

รียน

รู ีเรยน

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชวงชั้น

ทักษะการคิด การวัดและประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน คูม อื ครู


2 การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ แนวคิ ด ในการจั ด การเรี ย นการสอนที่ ยึ ด ผู  เ รี ย นเป น สํ า คั ญ พั ฒ นามาจากปรั ช ญาและทฤษฎี ก ารเรี ย นรู  Constructivism ที่เชื่อวา การเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสรางความรู โดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดเรียนรูจากบทเรียนใหมกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา ผูเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีการสั่งสมความรูความเขาใจเกี่ยวกับสิ่งตางๆ ติดตัวมากอน ทีจ่ ะเขาสูห อ งเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากประสบการณและสิง่ แวดลอมรอบตัวผูเ รียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกิจกรรม เสร�ม การเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ผูสอนจะตองคํานึงถึง

4

1. ความรูเดิมของผูเรียน วิธีการสอนที่ดีจะตองเริ่มตนจากจุดที่วา ผูเ รียนมีความรูอ ะไรมาบาง แลวจึงใหความรู หรือประสบการณใหม เพื่อตอยอดจาก ความรูเดิม นําไปสูการสรางความรู ความเขาใจใหม

2. ความรูเดิมของผูเรียนถูกตองหรือไม ผูส อนตองปรับเปลีย่ นความรูค วามเขาใจเดิม ของผูเรียนใหถูกตอง และเปนพฤติกรรม การเรียนรูใ หมทมี่ คี ณุ คาตอผูเรียน เพื่อสราง เจตคติหรือทัศนคติที่ดีตอการเรียนรู สิ่งเหลานั้น

3. ผูเรียนสรางความหมายสําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมใหผูเรียนนําความรู ความเขาใจที่เกิดขึ้นไปลงมือปฏิบัติ เพื่อขยายความรูใหลึกซึ้งและมีคุณคา ตอตัวผูเรียนมากที่สุด

แนวคิด Constructivism เนนใหผูเรียนสรางความรูโดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูของตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศ

การเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณ ความรูใ หม เพือ่ กระตนุ ใหผเู รียนเชือ่ มโยงความรู ความคิด กับประสบการณทมี่ อี ยูเ ดิม แลวสังเคราะหเปนความรูห รือแนวคิดใหมๆ ไดดว ยตนเอง

3 การบูรณาการกระบวนการคิด การเรียนรูของผูเรียนแตละคนจะเกิดขึ้นที่สมอง ซึ่งเปนอวัยวะที่ทําหนาที่รูคิดภายใตสภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวย และไดรบั การกระตนุ จูงใจอยางเหมาะสม สอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของผูเ รียนแตละคน การจัดกิจกรรม การเรียนรูและสาระการเรียนรูที่สอดคลองกับความสนใจและมีความหมายตอผูเรียน จะชวยกระตุนใหสมองของผูเรียน สามารถรับรูและเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพตามขั้นตอนการทํางานของสมอง ดังนี้ 1. สมองจะเรียนรูและสืบคน โดยการสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง ปฏิบัติ จนทําใหคนพบความรูความเขาใจ ไดอยางรวดเร็ว

2. สมองจะแยกแยะคุณคาของสิ่งตางๆ โดยการตัดสินใจวิพากษวิจารณ แสดง ความคิดเห็น ยอมรับหรือตอตานตาม อารมณความรูสึกที่เกิดขึ้นในขณะที่เรียนรู

3. สมองจะประมวลเนื้อหาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสานกับ ความรูห รือประสบการณเดิมทีถ่ กู จัดเก็บอยูใ น สมอง ผานการกลัน่ กรองเพือ่ สังเคราะหเปน ความรูค วามเขาใจใหมๆ หรือเปนทัศนคติใหม ที่จะเก็บบรรจุไวในสมองของผูเรียน

การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะเกิดขึ้น เมื่อสมองรูคิด และตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมองผูเรียน โดยเริ่มตนจาก 1. ระดับการคิดพื้นฐาน ไดแก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล การสรุปผล เปนตน

คูม อื ครู

2. ระดับลักษณะการคิด ไดแก การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดไกล คิดหลากหลาย คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล เปนตน

3. ระดับกระบวนการคิด ไดแก กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ กระบวนการแกปญหา กระบวนการ คิดสรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะห เปนตน


5Es การจัดกิจกรรมตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ขั้นตอนการสอนที่สัมพันธกับขั้นตอนการคิดและการทํางานทางสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย คือ วัฏจักรการเรียนรู 5Es ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแตละหนวย ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1

กระตุนความสนใจ

(Engage)

เสร�ม

5

เปนขั้นที่ผูสอนนําเขาสูบทเรียน เพื่อกระตุนความสนใจของผูเรียนดวยเรื่องราวหรือเหตุการณที่นาสนใจโดยใชเทคนิควิธีการ และคําถามทบทวนความรูหรือประสบการณเดิมของผูเรียน เพื่อเชื่อมโยงผูเรียนเขาสูความรูของบทเรียนใหม ชวยใหผูเรียนสามารถ สรุปความสําคัญหัวขอและสาระการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอนการสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอมและสราง แรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน

ขั้นที่ 2

สํารวจคนหา

(Explore)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนเปดโอกาสใหผเู รียนลงมือศึกษา สังเกต หรือรวมมือกันสํารวจ เพือ่ ใหเห็นขอบขายของประเด็นหรือปญหา รวมถึง วิธีการศึกษาคนควา การรวบรวมขอมูลความรูที่จะนําไปสูการสรางความเขาใจประเด็นหรือปญหานั้นๆ เมื่อผูเรียนทําความเขาใจใน ประเด็นหรือปญหาที่จะศึกษาคนควาอยางถองแทแลว ก็ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธีการตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูที่เกี่ยวของกับประเด็นหรือปญหาที่ศึกษา

ขั้นที่ 3

อธิบายความรู

(Explain)

เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา ตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนคนหาคําตอบ และนําขอมูล ความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห สรุปผล และนําเสนอผลที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ ผังมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน ในขั้นตอนนี้ฝกใหผูเรียนใชสมองคิดวิเคราะหและสังเคราะห อยางเปนระบบ

ขั้นที่ 4

ขยายความเขาใจ

(Expand)

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใชเทคนิควิธีสอนตางๆ ที่สงเสริมใหผูเรียนนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนสืบคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะ การเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน ผูเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยง กับประสบการณเดิมโดยนําขอสรุปทีไ่ ดไปใชอธิบายเหตุการณตา งๆ หรือนําไปปฏิบตั ใิ นสถานการณใหมๆ ทีเ่ กีย่ วของกับชีวติ ประจําวัน ของตนเอง เพื่อขยายความรูความเขาใจใหกวางขวางยิ่งขึ้น ในขั้นตอนนี้ฝกสมองของผูเรียนใหสามารถคิดริเริ่มสรางสรรคอยางมี คุณภาพ เสริมสรางวิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป

ขั้นที่ 5

ตรวจสอบผล

(Evaluate)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนประเมินมโนทัศนของผูเ รียน โดยตรวจสอบจากความคิดทีเ่ ปลีย่ นไปและความคิดรวบยอดทีเ่ กิดขึน้ ใหม ตรวจสอบ ทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด หรือการเคารพความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพื่อการ สรางสรรคความรูร ว มกัน ผูเ รียนสามารถประเมินผลการเรียนรูข องตนเอง เพือ่ สรุปผลวามีความรูอ ะไรเพิม่ ขึน้ มาบาง เกิดความเขาใจ มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ หรือในชีวิตประจําวันไดอยางไร ผูเรียนจะเกิดเจตคติ และเห็นคุณคาของตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง

การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนนผูเรียน เปนสําคัญอยางแทจริง เพราะสงเสริมใหผูเรียนไดเรียนรูตามขั้นตอนของกระบวนการสรางความรูดวยตนเอง และ ฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและกระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะชีวิต ทักษะการทํางาน และทักษะการ เรียนรูที่มีประสิทธิภาพ สงผลตอการยกระดับผลสัมฤทธิ์ของผูเรียน ตามเปาหมายของการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คูม อื ครู


O-NET การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ O-NET

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ในแตละหนวยการเรียนรู ทางผูจัดทํา จะเสนอแนะวิธีสอน รูปแบบกิจกรรมการเรียนรู พรอมทั้งออกแบบเครื่องมือวัดและประเมินผลที่สอดคลองกับตัวชี้วัด และสาระการเรียนรูแกนกลางไวทุกขั้นตอน โดยยึดหลักสําคัญ คือ หลักของการวัดและประเมินผล เสร�ม

6

1. การวัดและประเมินผลทุกครั้ง ควรนําผลมาปรับปรุงพัฒนาผูเรียน เปนรายบุคคล

2. การวัดและประเมินผลมี เปาหมาย เพื่อพัฒนาการเรียนรู ของผูเรียนจนเต็มศักยภาพ

3. การนําผลการวัดและประเมินผล ทุกครั้งมาวางแผนปรับปรุงกิจกรรม การเรียนการสอน การเลือกเทคนิค วิธีสอน และสื่อการเรียนรูให เหมาะสมกับสภาพจริงของผูเรียน

การทดสอบผูเรียน 1. การใชขอสอบอัตนัย เนนการอาน การคิดวิเคราะห และการเขียนเพิ่มมากขึ้น 2. การใชคําถามกระตุนการคิดควบคูกับการทําขอสอบที่เนนการคิดอยางตอเนื่องตามลําดับกิจกรรมการเรียนรู และตัวชี้วัด 3. การทดสอบตองดําเนินการทั้งกอนเรียน ระหวางเรียน และหลังเรียน การทดสอบควรใชขอสอบทั้งชนิดปรนัยและ อัตนัย และเปนการทดสอบเพื่อประเมินผลการเรียนของผูเรียนแตละคน เพื่อการสอนซอมเสริมใหบรรลุตัวชี้วัด ไดครบถวน 4. การสอบกลางภาค (ถามี) ควรนําแบบฝกหัดหรือขอสอบทีน่ กั เรียนสวนใหญไมสามารถตอบไดหรือไมครบถวนชัดเจน มา สรางเปนแบบทดสอบอีกครัง้ เพือ่ ตรวจสอบความรูค วามเขาใจทีถ่ กู ตอง และประเมินความกาวหนาของผูเ รียนแตละคน 5. การสอบปลายภาคเรียนเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามตัวชี้วัดที่สําคัญ ควรออกขอสอบใหมีลักษณะเดียวกับ ขอสอบ O-NET โดยเนนการคิดวิเคราะห สังเคราะห เชื่อมโยงประยุกตใช เพื่อสรางความคุนเคย และฝกฝน วิธีการทําขอสอบดวยความมั่นใจ 6. การนําผลการทดสอบของผูเรียนมาวิเคราะห โดยผลการสอบกอนการเรียนตองสามารถพยากรณผลการสอบ กลางภาค และผลการสอบกลางภาคตองทํานายผลการสอบปลายภาคของผูเ รียนแตละคน เพือ่ ประเมินพัฒนาการ ความกาวหนาของผูเรียนเปนรายบุคคล 7. ผลการทดสอบปลายป ปลายภาค ตองมีคาเฉลี่ยสอดคลองกับคาเฉลี่ยของการสอบ NT ที่เขตพื้นที่การศึกษา จัดสอบ รวมทั้งคาเฉลี่ยของการสอบ O-NET ชวงชั้นที่สอดคลองครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดสําคัญ เพือ่ สะทอนประสิทธิภาพของครูผสู อนในการออกแบบการเรียนรูแ ละประกันคุณภาพผูเ รียนทีต่ รวจสอบผลไดชดั เจน การจัดการเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ตองใหผูเรียนไดสั่งสมความรู ความเขาใจตามลําดับขั้นตอน ของกิจกรรมในวัฏจักรการเรียนรู 5Es เพื่อใหผูเรียนไดเติมเต็มองคความรูอยางตอเนื่อง จนสามารถปฏิบัติชิ้นงานหรือ ภาระงานรวบยอดของแตละหนวย ผานเกณฑประกันคุณภาพในระดับที่นาพึงพอใจ เพื่อรองรับการประเมินภายนอกจาก สมศ. ตลอดเวลา คูม อื ครู


ASEAN การเรียนรูสูประชาคมอาเซียน เพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรูบูรณาการอาเซียนศึกษา ผูจัดทําไดวิเคราะห มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดที่มีสาระการเรียนรูสอดคลองกับองคความรูเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนในแงมุมตางๆ ครอบคลุมทัง้ ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน เพื่อสงเสริมการเรียนรูใหผูเรียนเกิดความตระหนัก มีความรูความเขาใจเหมาะสมกับระดับชั้นและกลุมสาระ การเรียนรู โดยเสนอแนะวิธีการจัดกิจกรรมบูรณาการเนื้อหาสาระตางๆ ที่เปนประโยชนตอผูเรียนและเปนการชวย เตรียมความพรอมผูเ รียนทุกคนทีจ่ ะกาวเขาสูก ารเปนสมาชิกของประชาคมอาเซียนไดอยางมัน่ ใจตามขอตกลงปฏิญญา เสร�ม ชะอํา-หัวหิน วาดวยความรวมมือดานการศึกษาเพือ่ บรรลุเปาหมายประชาคมอาเซียนทีเ่ อือ้ อาทรและแบงปน จึงกําหนด 7 เปนนโยบายใหกระทรวงศึกษาธิการจัดการเรียนรูเตรียมความพรอมผูเรียนเขาสูประชาคมอาเซียนภายในป พ.ศ. 2558 ตามแนวปฏิบัติที่สําคัญ ดังนี้

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน 1. การสรางความรูความเขาใจ และตระหนักถึงความสําคัญของ กฎบัตรอาเซียน และความรวมมือ ของ 3 เสาหลัก ซึง่ กฎบัตรอาเซียน ในขณะนี้มีสถานะเปนกฎหมายที่ ประเทศสมาชิกจะตองปฏิบัติตาม หลักการที่กําหนดไวเพื่อใหบรรลุ เปาหมายของกฎบัตรมาตราตางๆ

2. การสงเสริมหลักการ ประชาธิปไตยและการสราง สิ่งแวดลอมประชาธิปไตย เพื่อการอยูรวมกันอยางกลมกลืน ภายใตวิถีชีวิตอาเซียนที่มีความ หลากหลายดานสังคมและ วัฒนธรรม

4. การตระหนักในคุณคาของ สายสัมพันธทางประวัติศาสตร และมรดกทางวัฒนธรรมที่มี พัฒนาการรวมกัน เพื่อเชื่อม อัตลักษณและสรางจิตสํานึก ในการเปนประชากรของประชาคม อาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการศึกษาดาน สิทธิมนุษยชน เพื่อสรางประชาคม อาเซียนใหเปนประชาคมเพื่อ ประชาชนอยางแทจริง สามารถ อยูรวมกันไดบนพื้นฐานการเคารพ ในคุณคาของศักดิ์ศรีแหงความ เปนมนุษยเทาเทียมกัน

5. การสงเสริมสันติภาพ ความ มั่นคง และความปรองดองในสังคม ทั้งระดับประเทศและภูมิภาคของ อาเซียนบนพื้นฐานสันติวิธีและการ อยูรวมกันดวยขันติธรรม

คูม อื ครู


การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

เสร�ม

8

1. การพัฒนาทักษะการทํางาน เพื่อเสริมสรางผูเรียนใหมีทักษะ วิชาชีพที่จําเปนสอดคลองกับ ความตองการของตลาดแรงงาน และสถานประกอบการในอาเซียน สามารถเทียบโอนผลการเรียน และการทํางานตามมาตรฐานฝมือ แรงงานในภูมิภาคอาเซียน

2. การเสริมสรางวินัย ความรับผิดชอบ และเจตคติรักการทํางาน สามารถพึ่งพาตนเอง มีทักษะชีวิต ดํารงชีวิตอยางมีความสุข เห็นคุณคา และภูมิใจในตนเอง ในฐานะที่เปนพลเมืองไทยและ อาเซียน

3. การเรียนรูเพื่อพัฒนาตนเอง อยางตอเนื่องตลอดชีวิต ใหมี ทักษะการทํางานตามมาตรฐาน อาชีพ และคุณวุฒิของวิชาชีพสาขา ตางๆ เพื่อรองรับการเตรียมเคลื่อน ยายแรงงานมีฝมือและการเปน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่ เขมแข็ง เพื่อสรางขีดความสามารถ ในการแขงขันในเวทีโลก

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 1. การเสริมสรางความรวมมือ ในลักษณะสังคมที่เอื้ออาทร ของประชากรอาเซียน โดยยึด หลักการสําคัญ คือ ความงดงาม ของประชาคมอาเซียนมาจาก ความแตกตางและหลากหลายทาง วัฒนธรรมที่ลวนแตมีคุณคาตอ มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน ซึ่งประชาชนทุกคนตองอนุรักษ สืบสานใหยั่งยืน

2. การเสริมสรางคุณลักษณะ ของผูเรียนใหเปนพลเมืองอาเซียน ที่มีศักยภาพในการกาวเขาสู ประชาคมอาเซียนอยางมั่นใจ เปนผูที่มีสุขภาพสมบูรณแข็งแรง มีทักษะการสื่อสาร ทักษะการ ทํางาน ทักษะทางสังคม สามารถ ทํางานรวมกับผูอื่นไดอยาง สรางสรรค และมีองคความรู เกี่ยวกับอาเซียนที่จําเปนตอการ ดํารงชีวิตอยางมีคุณภาพ

4. การสงเสริมการเรียนรูดาน ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี วิถชี วี ติ ความเปนอยูข องเพือ่ นบาน ในอาเซียน เพื่อสรางจิตสํานึกของ ความเปนประชาคมอาเซียนและ ตระหนักถึงหนาที่ของการเปน พลเมืองอาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการเรียนรูภาษา อังกฤษเพื่อการสื่อสารและการ ทํางานตามมาตรฐานอาชีพที่ กําหนดและสนับสนุนการเรียนรู ภาษาอาเซียนและภาษาเพื่อนบาน เพื่อชวยเสริมสรางสัมพันธภาพทาง สังคม และการอยูรวมกันอยางสันติ ทามกลางความหลากหลายทาง วัฒนธรรม

5. การสรางความรูและความ ตระหนักเกี่ยวกับดานสิ่งแวดลอม ปญหาและผลกระทบตอคุณภาพ ชีวิตของประชากรในภูมิภาค รวมทั้งแนวทางการพัฒนาอยาง ยั่งยืน ใหเปนมรดกสืบทอดแก พลเมืองอาเซียนในรุนหลังตอๆ ไป

กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศนโยบายการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) เพื่อเรงพัฒนาเด็ก และเยาวชนไทยใหเปนทรัพยากรมนุษยของชาติที่มีทักษะและความชํานาญ พรอมเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงและ การแขงขันทั้งในภูมิภาคอาเซียนและภูมิภาคอื่นๆ ของสังคมโลก ทั้งนี้ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และผูปกครอง ควรรวมมือกันอยางใกลชิดในการดูแลชวยเหลือผูเรียนและจัดประสบการณการเรียนรูเพื่อพัฒนาผูเรียนจนเต็มศักยภาพ เพื่อกาวเขาสูการเปนพลเมืองอาเซียนอยางมีเกียรติภูมิและศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของตน คณะผูจัดทํา คูม อื ครู


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 5

ภูมิศาสตร (เฉพาะชั้น ม. 4-ม. 6)*

ภูมิศาสตร

มาตรฐาน ส 5.1 เขาใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธของสรรพสิ่งซึ่งมีผลตอกันและกันในระบบของ ธรรมชาติ ใชแผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตรในการคนหา วิเคราะห สรุป และใชขอมูลภูมิสารสนเทศ อยางมีประสิทธิภาพ เสร�ม ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

9

ม.4-6 1. ใชเครื่องมือทางภูมิศาสตรใน • เครื่องมือทางภูมิศาสตรใหขอมูลและ • หนวยการเรียนรูท ี่ 1 การรวบรวม วิเคราะห และ ขาวสารภูมิลักษณ ภูมิอากาศและ เครื่องมือทางภูมิศาสตรและ นําเสนอขอมูลภูมิสารสนเทศ ภูมิสังคมของไทยและภูมิภาคตางๆ ภูมิสารสนเทศศาสตร อยางมีประสิทธิภาพ ทั่วโลก 2. วิเคราะหอิทธิพลของสภาพ • ปญหาทางกายภาพหรือภัยพิบัติทาง • หนวยการเรียนรูท ี่ 3 ภูมิศาสตรซึ่งทําใหเกิดปญหา ธรรมชาติในประเทศไทยและภูมิภาค ภัยพิบัติทางธรรมชาติ ทางกายภาพหรือภัยพิบัติทาง ตางๆ ของโลก และการเปลี่ยนแปลงทาง ธรรมชาติในประเทศไทยและ • การเปลี่ยนแปลงลักษณะทางกายภาพ ธรรมชาติในโลก ในสวนตางๆ ของโลก ภูมิภาคตางๆ ของโลก • การเกิดภูมิสังคมใหมของโลก 3. วิเคราะหการเปลี่ยนแปลง ของพื้นที่ซึ่งไดรับอิทธิพล จากปจจัยทางภูมิศาสตรใน ประเทศไทยและทวีปตางๆ

• การเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ซึ่งไดรับ • หนวยการเรียนรูท ี่ 2 อิทธิพลจากปจจัยทางภูมิศาสตรใน ปฏิสมั พันธเชิงภูมศิ าสตร ประเทศไทยและทวีปตางๆ เชน การ เคลื่อนตัวของแผนเปลือกโลก

• การเปลี่ยนแปลงธรรมชาติในโลก เชน • หนวยการเรียนรูท ี่ 3 4. ประเมินการเปลี่ยนแปลง ธรรมชาติในโลกวาเปนผลมา ภาวะโลกรอน ความแหงแลง สภาพ ภัยพิบัติทางธรรมชาติ และการเปลี่ยนแปลงทาง จากการกระทําของมนุษยและ อากาศแปรปรวน ธรรมชาติในโลก หรือธรรมชาติ

_________________________________ * สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม. (กรุงเทพมหานคร : ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 119-130.

คูม อื ครู


มาตรฐาน ส 5.2 เขาใจปฏิสัมพันธระหวางมนุษยกับสภาพแวดลอมทางกายภาพที่กอใหเกิดการสรางสรรควัฒนธรรม มีจิตสํานึกและมีสวนรวมในการอนุรักษทรัพยากรและสิ่งแวดลอม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ชั้น

เสร�ม

10

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

• การเปลี่ยนแปลงลักษณะทางกายภาพ • หนวยการเรียนรูท ี่ 4 ม.4-6 1. วิเคราะหสถานการณ ในสวนตางๆ ของ โลก และวิกฤตการณดาน สถานการณดาน ทรัพยากรธรรมชาติและ ทรัพยากรธรรมชาติและ • การเกิดภูมิสังคมใหมๆ ในโลก สิ่งแวดลอมของประเทศไทย • วิกฤตการณดานทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอม และโลก และสิ่งแวดลอมของประเทศไทยและ โลก 2. ระบุมาตรการปองกันและ แกไขปญหา บทบาทของ องคการและการประสานความ รวมมือทั้งในประเทศและนอก ประเทศเกี่ยวกับกฎหมาย สิ่งแวดลอม การจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม

• หนวยการเรียนรูท ี่ 5 • มาตรการปองกันและแกไขปญหา บทบาทขององคการและการประสาน การจัดการ ความรวมมือทั้งในประเทศและนอก ทรัพยากรธรรมชาติและ ประเทศ กฎหมายสิ่งแวดลอม สิ่งแวดลอม การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม

3. ระบุแนวทางการอนุรักษ ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมในภูมิภาคตางๆ ของโลกๆ

• การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและ • หนวยการเรียนรูท ี่ 5 สิ่งแวดลอมในภูมิภาคตางๆ ของโลก การจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม

4. อธิบายการใชประโยชนจาก • การใชประโยชนจากสิ่งแวดลอม สิ่งแวดลอมในการสรางสรรค ในการสรางสรรควัฒนธรรม วัฒนธรรม อันเปนเอกลักษณ อันเปนเอกลักษณของทองถิ่น ของทองถิ่นทั้งในประเทศไทย ทั้งในประเทศไทยและโลก และโลก 5. มีสวนรวมในการแกปญหา และการดําเนินชีวิตตาม แนวทางการอนุรักษ ทรัพยากรและสิ่งแวดลอม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

คูม อื ครู

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• หนวยการเรียนรูท ี่ 5 การจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม

• การแกปญหาและการดําเนินชีวิตตาม • หนวยการเรียนรูท ี่ 5 การจัดการ แนวทางการอนุรักษทรัพยากรและ ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน สิ่งแวดลอม


คําอธิบายรายวิชา รายวิชา ภูมิศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4-6 รหัสวิชา ส…………………………………

กลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ภาคเรียนที่ 1-2 เวลา 40 ชั่วโมง/ป

ศึกษา วิเคราะห ประเมินการเปลี่ยนแปลงสภาพทางภูมิศาสตร ปญหาทางกายภาพหรือภัยพิบัติทาง ธรรมชาติ สถานการณและวิกฤตการณดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในประเทศไทยและภูมิภาค เสร�ม ตาง ๆ ของโลกจากกระบวนการทางธรรมชาติและการกระทําของมนุษย และการใชประโยชนจากสิ่งแวดลอม 11 ในการสรางสรรควฒ ั นธรรม รวมถึงการใชเครือ่ งมือทางภูมศิ าสตร ตลอดจนมาตรการปองกันและแกไขปญหา บทบาทขององคการและการประสานความรวมมือทัง้ ในประเทศและนอกประเทศเกีย่ วกับกฎหมายสิง่ แวดลอม การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เพื่อใหสามารถวิเคราะหและประเมินอิทธิพลของสภาพภูมิศาสตรซึ่งทําใหเกิดปญหาทางกายภาพหรือ ภัยพิบัติทางธรรมชาติ สถานการณและวิกฤตการณดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมในประเทศไทย และภูมิภาคตาง ๆ ของโลกจากกระบวนการทางธรรมชาติและการกระทําของมนุษย อธิบายการใชประโยชน จากสิ่งแวดลอมในการสรางสรรควัฒนธรรมอันเปนเอกลักษณของทองถิ่น รวมถึงใชเครื่องมือทางภูมิศาสตร ในการรวบรวม วิเคราะห ประเมิน และนําเสนอขอมูลภูมิสารสนเทศไดอยางมีประสิทธิภาพ ตลอดจนระบุ มาตรการปองกันและแกไขปญหา บทบาทขององคการและการประสานความรวมมือทั้งในประเทศและนอก ประเทศเกีย่ วกับกฎหมายสิง่ แวดลอม และแนวทางการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม และมีสว น รวมในการแกปญหาและการดําเนินชีวิตตามแนวทางการอนุรักษทรัพยากรและสิ่งแวดลอมเพื่อการพัฒนา ที่ยั่งยืน ตัวชี้วัด ส 5.1 ส 5.2

ม.4-6/1 ม.4-6/1

ม.4-6/2 ม.4-6/2

ม.4-6/3 ม.4-6/3

ม.4-6/4 ม.4-6/4 ม.4-6/5 รวม 9 ตัวชี้วัด

คูม อื ครู


ตาราง

วิเคราะหมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั รายวิชา ภูมศิ าสตร ม.4-ม.6

คําชี้แจง : ใหผูสอนใชตารางนี้ตรวจสอบความสอดคลองของเนื้อหาสาระการเรียนรูในหนวยการเรียนรูกับมาตรฐาน การเรียนรูและตัวชี้วัดชั้นป

12

หนวยการเรียนรู

1

หนวยการเรียนรูที่ 1 : เครื่องมือทางภูมิศาสตรและ ภูมิสารสนเทศศาสตร

หนวยการเรียนรูที่ 2 : ปฏิสัมพันธเชิงภูมิศาสตร

หนวยการเรียนรูที่ 3 : ภัยพิบัติทางธรรมชาติ และการเปลี่ยนแปลงทาง ธรรมชาติในโลก

หนวยการเรียนรูที่ 4 : สถานการณดาน ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ�งแวดลอม หนวยการเรียนรูที่ 5 : การจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ�งแวดลอม

คูม อื ครู

สาระที่ 5

มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด

เสร�ม

มาตรฐาน ส 5.1

มาตรฐาน ส 5.2

ตัวชี้วัด 2 3

ตัวชี้วัด 2 3 4

5

4

1


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹

ÀÙÁÈÔ Òʵà Á.4 - Á.6 ªÑ¹é ÁѸÂÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè 4 - 6

¡ÅØ‹ÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒÊѧ¤ÁÈÖ¡ÉÒ ÈÒÊ¹Ò áÅÐÇѲ¹¸ÃÃÁ µÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª 2551

¼ÙŒàÃÕºàÃÕ§

¼ÙŒµÃǨ

ºÃóҸԡÒÃ

ÃÈ. ´Ã. ÇԹѠÇÕÃÐÇѲ¹Ò¹¹· ÃÈ. ´Ã. ÍÀÔÊÔ·¸Ôì àÍÕèÂÁ˹‹Í ¼È. ÇÔâè¹ àÍÕèÂÁà¨ÃÔÞ ¹ÒÂÁ¹µÃÕ ¾ÔÁ¾ 㨠¹Ò¤ªÃѵ¹ À٦ѧ

ÃÈ. ´Ã. ÊҡŠʶԵÇÔ·Âҹѹ· ¼È. ÃÐÀվà ÊÒÁÒö ¹Ò§ÊÒÇÄ´ÕÇÃó ÁÒ´Õ¡ØÅ

¹ÒÂÊÁà¡ÕÂÃµÔ ÀÙ‹ÃÐ˧É

พิมพครั้งที่ 8

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ ISBN : 978-616-203-140-3 รหัสสินคา 3013006

¤Œ¹¤ÇÒÁÃÙŒ¢ÂÒ¤ÇÒÁ¤Ô´¨Ò¡ ¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè 1 ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ 3043029

EB GUIDE

ที่พิมพกํากับหัวขอสําคัญในหนังสือเรียนหลักสูตรแกนกลางฯ ผาน www.aksorn.com ไปยังแหลงความรูทั่วไทย-ทั่วโลก

คณะผูจัดทําคูมือครู

ระวิวรรณ ตั้งตรงขันติ นราธิป แกวทอง วิทยา ยุวภูษิตานนท


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

อธิบายความรู

Explore

ขยายความเขาใจ

Explain

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

¤íÒá¹Ð¹íÒ㹡ÒÃ㪌˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹

หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภูมิศาสตรเลมนี้ ใชประกอบการเรียนการสอนรายวิชาพื้นฐาน กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4-6 เนื้อหาตรงตามสาระการเรียนรูแกนกลางขั้นพื้นฐาน อานทําความเขาใจงาย ใหทั้งความรูและ ชวยพัฒนาผูเรียนตามหลักสูตรและตัวชี้วัด เนื้อหาสาระแบงออกเปนหนวยการเรียนรูตามโครงสรางรายวิชา สะดวกแกการจัดการเรียนการสอนและการวัดผลประเมินผล พรอมเสริมองคประกอบอื่นๆ ที่จะชวยทําให ผูเรียนไดรับความรูอยางมีประสิทธิภาพ à¹×éÍËҵçµÒÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹Ãٌ᡹¡ÅÒ§ ãËŒ¤ÇÒÁÃÙŒáÅÐàÍ×é͵‹Í¡ÒùíÒä»ãªŒÊ͹à¾×èÍ ãËŒºÃÃÅصÑǪÕéÇÑ´ áÅÐÊÌҧ¤Ø³ÅѡɳРÍѹ¾Ö§»ÃÐʧ¤

à¡ÃÔè¹¹íÒà¾×èÍãˌࢌÒ㨶֧ÊÒÃÐÊíÒ¤ÑÞ ã¹Ë¹‹Ç·Õè¨ÐàÃÕ¹

¨Ñ´¡ÅØ‹Áà¹×éÍËÒ໚¹Ë¹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ Êдǡᡋ¡ÒèѴ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹

สวนผใู ชเครือ่ งรับสัญญาณหรือเครือ่ งระบบกาํ หนดตําแหนงบนพืน้ โลกจะต จุดพิกดั ภาคพืน้ ดินทีต่ นอยวู า จัดอย อ งตรวจสอบ ใู นโซนใดของโลกกอนใชทกุ ครัง้ เพือ่ เปรียบเทียบและปรับแกไข และเนือ่ งจากเครือ่ งรับสัญญาณหรือ เครือ่ งระบบ กําหนดตําแหนงบนพื้นโลกจะรับสั ญญาณจาก ดาวเทียม ผูใชเครื่องจึงควรอยูในที ่โลงแจง ไม ควรอยูในอาคารหรือปาไมที่แนนทึ บมาก ซึ่ง อาจจะทําใหรับสัญญาณไดไมดี

1. à¤Ã×èͧÁ×Í·Ò§ÀÙÁÔÈÒʵÃ

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

างๆ ทีน่ าํ มาใชเปนสือ่ เพือ่ การศึกษา เครือ่ งมือทางภูมศิ าสตร คือ วัสดุ อุปกรณ ในรูปแบบต ขอมูล ตลอดจนใชเปนสื่อในการเผยแพร การสํารวจ การเก็บรวบรวม การบันทึก การวิเคราะห ขอมูลทางภูมิศาสตร งานได 2 ประเภท ดังนี้ เครื่องมือทางภูมิศาสตรจําแนกตามหนาที่หลักของการใช มิศาสตร สื่อความรูทางภูมิศาสตร ประเภทที่ 1 เครื่องมือที่ทําหนาที่เปนสื่อความรูทางภู ทีเ่ ผยแพรใหความรู สําหรับการศึกษาเรียนรู หมายถึง วัสดุ อุปกรณ หรือเทคโนโลยีตา งๆ ทีท่ าํ หนา มิ แบบจําลอง สือ่ ดิจทิ ลั เสียง และภาพ ทางภูมศิ าสตร อาจอยูใ นรูปของตัวหนังสือ รูปภาพ แผนภู ราเรียนภูมิศาสตร เว็บไซตที่เผยแพรความรู เคลื่อนไหวตางๆ ตัวอยางเครื่องมือเหลานี้ เชน ตํา ภูมิประเทศจําลอง รูปถายทางอากาศ ภาพ ทางภูมิศาสตร แผนที่ประเภทตางๆ ลูกโลกจําลอง จากดาวเทียม เปนตน อมูลทางภูมิศาสตร สื่อเก็บรวบรวม ประเภทที่ 2 เครื่องมือที่ทําหนาที่เปนสื่อเก็บรวบรวมข ตางๆ ที่ทําหนาทีเ่ พือ่ สํารวจ ตรวจวัด ขอมูลทางภูมิศาสตร หมายถึง วัสดุ อุปกรณ หรือเทคโนโลยี อ่ งมือเหลานี้ เชน สมุดจดบันทึก อยางเครื ว ตั าสตร ิ ศ ม ทางภู ล มู  อ ข คราะห เ และวิ รวบรวม บ เก็ ก บันทึ pe) เทอรโมมิเตอร (Thermometer) ระบบ เข็มทิศ เทปวัดระยะทาง กลองสามมิติ (Stereosco System : GPS) ระบบสารสนเทศ กําหนดตําแหนงบนพื้นโลก หรือจีพีเอส (Global Positioning System : GIS) ขอมูลจากการรับรูระยะไกล ภูมิศาสตร หรือจีไอเอส (Geographic Information น ต น (Remote Sensing : RS) เป

2 »¯ÔÊÑÁ

¾Ñ¹¸ àªÔ§ÀÙÁÔÈÒʵÃ

ÀÙÁÔÈÒʵà ໚¹¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¶Ö§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ ÃÐËÇ‹Ò§ÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ·Ò§¸ÃÃÁª ҵԡѺ·Ò§Êѧ¤Á·Õ »ÃÒ¡¯ÍÂÙ‹ã¹¾×é¹·Õèµ‹Ò§æ ¢Í§âÅ¡ «Öè§à¡ÕèÂÇ¢ŒÍ §¡Ñº»ÃÒ¡¯¡Òó µ‹Ò§æ º¹âÅ¡ ¤×Í »ÃÒ¡¯¡Òó è ¨Ò¡ ºÃÃÂÒ¡ÒÈ ¸Ã³ÕÀÒ¤ ÍØ·¡ÀÒ¤ áÅЪÕÇÀÒ¤ ÊÀÒ¾·Ò§ÀÙÁÔÈÒʵà ໚¹»˜¨¨ÑÂÊíÒ¤ÑÞ·Õè¡íÒ˹´ÃÙ »áºº ÇÔ¶ÕªÕÇÔµ¢Í§Á¹ØÉ ã¹áµ‹Åо×é¹·Õè àÁ×èÍÊÀÒ¾ÀÙÁ ÔÈÒʵà à¡Ô´¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§ä» ·Ñ駨ҡ¡Ãкǹ ¡Ò÷ҧ ¸ÃÃÁªÒµÔËÃ×ͨҡ¡ÒáÃзíҢͧÁ¹ØÉ ‹ÍÁÊ‹ §¼ÅãËŒÇ¶Ô ªÕ ÇÕ µÔ ¢Í§Á¹ØÉ à»ÅÕÂè ¹á»Å§ä»´ŒÇ ¨Ö§¨íÒ໚¹ µŒÍ§ÈÖ¡ÉÒËÒ¤ÇÒÁÃÙŒà¡ÕèÂǡѺÊÀÒ¾ÀÙÁÔÈÒʵà áÅСÒÃà»ÅÕè¹á»Å§µ‹Ò§æ à¾×èÍ»ÃѺÇÔ¶Õ¡Òôí Òà¹Ô¹ªÕÇÔµ ãËŒÊÍ´¤ÅŒÍ§¡ÑºÊÀÒÇÐã¹¢³Ð¹Ñé¹ä´Œ ตัวชี้วัด ■

ใชเครื่องมือทางภูมิศาสตรในการรวบรวมวิเคราะห และนําเสนอ ขอมูลภูมิสารสนเทศอยางมีประสิทธิภาพ (ส 5.1 ม.4-6/1) วิเคราะหการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ซึ่งไดรับ อิทธิพลจากปจจัย ทางภูมิศาสตรในประเทศไทยและทวีปตางๆ ของโลก (ส 5.1 ม.4-6/3)

เครื่ อ งมื อ ทางภู มิ ศ าสตร ที่ ใ ห ข อ มู ล และข า วสารภู มิ ลั ก ษณ ภูมิอากาศและภูมิสังคมของไทย และภูมิภาคต างๆ ของโลก การเปลี่ ย นแปลงของพื้ น ที่ ซึ่ ง ได รั บ อิ ท ธิ พ ลจากป จ จั ย ทาง ภูมิศาสตรในประเทศไทยและทวีปตางๆ เช น การเคลื่อนตัว ของแผนเปลือกโลก

22

àÃ×èͧ¹‹ÒÃÙŒà¾ÔèÁàµÔÁ¨Ò¡à¹×éÍËÒ ÁÕ¡ÒÃá·Ã¡à»š¹ÃÐÂÐæ ¤íÒ¶ÒÁ»ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒà¾×èÍãËŒ¹Ñ¡àÃÕ¹䴌½ƒ¡¤Ô´ áÅзº·Ç¹¤ÇÒÁÃÙŒ áÅСԨ¡ÃÃÁÊÌҧÊÃä ¾Ñ²¹Ò ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒà¾×èͪ‹Ç¾Ѳ¹Ò¼ŒÙàÃÕ¹ãËŒºÃÃÅØؼÅÊÑÁÄ·¸Ôì µÒÁµÑǪÕéÇÑ´ คาถาม ประจ�ำหน่วยกำรเรียนรู้

ลาง หาศูนยก เวียนเขา ที่เกิดขึ้นใน น กาศหมุน พ ระแสอา โลกใต พายุหมุ อน เรียกวา àÊÃÔÁÊÒÃÐ ศตํ่าที่มีก อ ีก กดอากา เข็มนาฬกาในซ รอนเมื่อมีกําลัง เลอาหรับ าม คว ิเวณ าม เขต ีย ทะ ือ และต ยุที่เกิดบร ยุหมุนใน นทเี่ กิด มุทรอินเด ) เปนพา ฬกาในซีกโลกเหน (depression) พา แรงจัดในมหาส ” (typhoon) สว (cyclone ฝนุ นา ําลัง ัน” พายุหมุน ํ่าในทางทวนเข็ม ันวา “ดีเปรสช ซนรอน” ถามีก เรียกวา “พายไุ ต ว ุโ ีความเร็ มักเรียกก า “พาย ตะวันตก อากาศต หมุนที่ม อชั่วโมง ยุ พา น  ความกด างหรือละติจูดสูง านกลาง เรียกว าสมุทรแปซฟิ ก วิลลี เป 18 กิโลเมตรต งป มห ายุวิลลีละติจูดกล ” ถามีกําลังแร ายไุ ซโคลน” ใน (hurricane) ด และพ กลางตั้งแต 61-1 ัน าโ ” “พ น  สช  า คน อร เ ปร เ ี ย กว ริ ท ย ยุ “ด ศูน ุเฮอ งกอล เรี เคน พา า “พาย ีความเร็ว และอา วเบ ื่นๆ มักเรียกว คลน พายุเฮอริ วนพายุหมุนที่ม นอ ส ในเขตรอ ยุไตฝุน พายุไซโ มตรตอชั่วโมง นยกลาง พา 8 กิโลเ วามเร็วศู ัน” ากกวา 11 และถา พายุมคี สช งม ปร ลา เ ี ก น” ศูนย กวา “ด เนื่องจาก ายโุ ซนรอ โมง เรีย เรียกวา “พ กิโลเมตรตอชั่ว ีความรุนแรงนั้น เซ ลเ ซี ย ส ่ม ตํ่ากวา 61 รเกิดพายุหมุนที ยู  เ กิ น 26 อง ศา ตํ่ า เมื่ อ กา าศ มอ หภู มิ ส ะส อ มค วา มก ดอ าก าศที่สูงกวา ณ ุ อ มี นํ้ า ทะ เล เ วณ นั้ น มี ห ย มความกดอาก จึงทําให ริ อ ้น ทํ า ให  บ บริเวณที่มีหย างรวดเร็ว ดังนั แล ะฝ น ตุลาคม ย าก ลม ื่อวันที่ 20 อากาศจ าหาศูนยกลางอ คว าม แร งข อง เสียหาย ีนใต เม าม ี่เข ิเวณทะเลจ เคลื่อนท มุ น ที่ รุ น แร งขึ้ น จนกอใหเกิดคว โภค และ ุนเมกี บร ห ูป ัย พายุไตฝ เกิ ด พา ยุ าใหเกิดอุทกภ ระบบสาธารณ 53 25 น พล กทํ พ.ศ. ี่ไดรับอิทธิ ที่ตกหนั ัพยสิน บานเรือ ประเทศท ทร ลก แกชีวิต ษตรถูกทําลาย ไทย ุน ําคัญของโ กัมพูชา เก ยุหมุนที่ส าม ลาว เกาหลีใต และญี่ป พื้นที่การ นส เวียดน งแหลงพา �อ

ญของโลก

มาตราสวน บอก อัตราสวนระยะทาง ที่ยอสวนลงมาใน แผนที่กับระยะทาง จริงในภูมิประเทศ เสนโครงแผนที่ เสนเมริเดียนและ เสนขนานใชถายทอด ลักษณะทรงกลมของ โลกลงบนที่ราบ ละติจูด จุดหนึ่งบนเสนขนาน

บันทึก คําอธิบาย ขอมูลตางๆ

http://www.aksorn.com/LC/Geo/M4-6/01

ที่สําคั ายุหมุน

ชือ่ แผนที่ บอกวาแผนทีน่ นั้ แสดงขอมูลอะไร

แผนที่ภูมิประเทศ ภาคตะวันออก มาตราสวน 1 : 3,000,000

EB GUIDE

àÊÃÔÁÊÒÃШҡà¹×Íé Ëҹ͡à˹×ͨҡ ·Õè ÁÕ ã ¹ÊÒÃСÒÃàÃÕ Â ¹ÃÙŒ á ¡¹¡ÅÒ§ à¾×Íè à¾ÔÁè ¾Ù¹áÅТÂÒ¾ÃÁá´¹¤ÇÒÁÃÙŒ ãËŒ¡ÇŒÒ§¢ÇÒ§ÍÍ¡ä»

งนี้ 3) องคประกอบแผนที่ แผนที่โดยทั่วไปมีองคประกอบที่สําคัญ ดั

ขอบระวาง ขอบเขตของ พื้นที่ มักแสดง ดวยเสนขนาน และเสนเมริเดียน จะมีตัวเลขบอก คาพิกัดภูมิศาสตร

สถานีภาคพื้นดินที่ีควบคุมระบบก ําหนดตําแหนงบนพื้นโลก การทํางานของระบบกําหนดตําแหน งบนพื้นโลกนั้นตองอาศัยการติด 24 ดวง โดยมีสถานีควบคุมหลัก ตอกับดาวเทียมที่โคจรอยูรอบโลกท อยูท เี่ มืองโคโลราโดสปริงส รัฐโคโลราโ ั้ง ด ประเทศสหรัฐอเมริกา และมีส ดาวเทียมตั้งกระจายอยู 5 แหงทั ถานีตดิ ตาม ่วโลก ดังนี้ 1. สถานีติดตามที่เมืองโคโลราโดสปริ งส สหรัฐอเมริกา 2. สถานีติดตามที่หมูเกาะฮาวา ย ในมหาสมุทรแปซิฟก 1 3. สถานีติดตามที่เกาะอัสเซนชั น ในมหาสมุทรแอตแลนติก 4. สถานีติดตามที่เกาะดีเอโกการ 5 2 4 เซีย ในมหาสมุทรอินเดีย 3 5. สถานีติดตามที่หมูเกาะควาจ าเลน ในประเทศฟลิปปนส

บารอมิเตอร (barometer) เครื่องมือ วัดความกดอากาศ

Web Guide á¹Ð¹íÒáËÅ‹§¤Œ¹¤ÇŒÒ¢ŒÍÁÙÅ à¾ÔèÁàµÔÁ¼‹Ò¹Ãкº Online

¹íÒàʹÍà¹×éÍËÒã¹ÃٻẺἹ·Õè à¾×èÍÊдǡ 㹡ÒÃàÃÕ¹ áÅзíÒ¤ÇÒÁࢌÒã¨

เครือ่ งมือวัดระยะทางในแผนที่ (map measurer) เครื่องมือที่ใชวดั ระยะทาง ทีค่ ดเคีย้ วไปมา

เข็มทิศ (compass) เครื่องมือสําหรับ ใชในการหาทิศทาง

µÑǪÕÇé ´Ñ áÅÐÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙጠ¡¹¡ÅÒ§ µÒÁ·ÕËè ÅÑ¡Êٵà ¡íÒ˹´ à¾×èÍãËŒ·ÃÒº¶Ö§à»‡ÒËÁÒÂ㹡ÒÃÈÖ¡ÉÒ

ลองจิจูด จุดหนึ่งบนเสนเมริเดียน

2.1) ใชในกิจกรรมทางทหาร โดยเฉพาะในชวงการทําสงคราม เนือ่ งจากระบบ กําหนดตําแหนงบนพืน้ โลกพัฒนาโดยก ระทรวง ตัวอยางเครื่องมือระบบกําหนดตํ าแหนงบนพื้นโลกที่ใช กลาโหมของสหรัฐอเมริกา เพื่อกิ ในการสํารวจทิศทาง จกรรมดาน ทหารโดยเฉพาะ แตในปจจุบนั ไดมกี ใหมีการใชในกลุมประชาชนทั่วไปในระ ารเผยแ พร ดับหนึ่ง เชน ใชในการศึกษาทางดา นภูมิศาสตร ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม การเดิน ทางไปยังเปาหมายที่ตองการ เปนตต น 2.2) ใชในการกําหนดจุดพิกัดผิวโลก เพื่องานดานระบบสารสนเทศภูมิศ หรือขอมูลดาวเทียมและรังวัดที่ดิน าสตร เพื่อแสดงชนิดของขอมูลลงในสนาม เชน ถนน บอนํ้า นาขาว àÃ×èͧ¹‹ÒÃÙŒ

สาระการเรียนรูแกนกลาง ■

2

ทิศ ปกติกําหนดใหดาน บนขอบระวางแผนที่เปน ทิศเหนือเสมอ

2) ประโยชนของระบบกํา ตําแหนงบนพื้นโลก มีดังตอไปนี้ หนด

ตารางแสด

คําอธิบายสัญลักษณ อธิบายความสูงตํ่าดวยสี แทนลักษณะภูมิประเทศ

ลงกําเนิด

พายุ : แห

n) (Typhoo พายุไตฝุนเนิด : ทะเลจีนใต แหลงกํา e) น (Cyclon พายุไซโคล : อาวเบงกอล ิด ) แหลงกําเน (Hurricaneิบเบียน คน เ ริ พายุเฮอ เนิด : ทะเลแคร แหลงกํา rnado) นาโด (To ก พายุทอร เนิด : อาวเม็กซิโ า แหลงกํ illy - Willy) -วิลลี (W พายุวิลลี : ทะเลติมอร ิด แหลงกําเน

ที่มา : กรมแผนที่ทหาร กระทรวงกลาโหม.

5

36

1. เครื่องมือทางภูมิศาสตร์มีประโยชน์ในการด�าเนินชีวิตประจ�าวันอย่างไร 2. องค์ประกอบที่ส�าคัญของแผนที่มีอะไรบ้าง และมีความส�าคัญอย่างไร 3. รูปถ่ายทางอากาศและภาพจากดาวเทียมแตกต่างกันอย่างไรและน�ามาใช้ประโยชน์ ทางภูมิศาสตร์ได้อย่างไร 4. ภูมิสารสนเทศศาสตร์มีประโยชน์ต่อการศึกษาภูมิศาสตร์อย่างไร 5. เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศสามารถช่วยในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้ อย่างไร

กิจสร้กรรม างสรรค์พัฒนาการเรียนรู้ กิจกรรมที่ 1

ฟลิปป วัน เกาหลีเหน จีน ไตห พมา ไทย ศ อินเดีย บังกลาเท โก กา เม็กซิ ินิกัน จาเม โดม ิ คิวบา เฮต คิวบา เม็กซิโก า ก ริ สหรัฐอเม

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่ 3

ีย

ออสเตรเล

24

ให้นักเรียนแต่ละคนเลือกแผนที่ที่นักเรียนสนใจมา 1 ชนิด แล้วศึกษาถึง องค์ประกอบของแผนที่ว่ามีอะไรบ้าง และมีความส�าคัญอย่างไร โดยจัดท�า เป็นใบงาน แล้วน�าส่งครูผู้สอน แบ่งนักเรียนออกเป็น 4 กลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มเลือกเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ มา 1 ชนิด แล้วสาธิตการใช้ และบันทึกผล ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเกีย่ วกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบนั ทั้งในประเทศและภูมิภาคต่างๆ ทั่วโลก


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ÊÒúÑÞ Ë¹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

1

à¤Ã×èͧÁ×Í·Ò§ÀÙÁÔÈÒʵà áÅÐÀÙÁÔÊÒÃʹà·ÈÈÒʵà ● ●

à¤Ã×èͧÁ×Í·Ò§ÀÙÁÔÈÒʵà ÀÙÁÔÊÒÃʹà·ÈÈÒʵÃ

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

2

»¯ÔÊÑÁ¾Ñ¹¸ àªÔ§ÀÙÁÔÈÒʵà ● ● ●

¤ÇÒÁÃÙŒ·ÑèÇä»à¡ÕèÂǡѺâÅ¡ »¯ÔÊÑÁ¾Ñ¹¸ àªÔ§ÀÙÁÔÈÒʵà ¢Í§âÅ¡ »¯ÔÊÑÁ¾Ñ¹¸ àªÔ§ÀÙÁÔÈÒʵà 㹻ÃÐà·Èä·Â

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

3

1 2 15

25 26 30 55

ÀѾԺѵԷҧ¸ÃÃÁªÒµÔáÅСÒÃà»ÅÕè¹á»Å§ ·Ò§¸ÃÃÁªÒµÔã¹âÅ¡

69

ÀѾԺѵԷҧ¸ÃÃÁªÒµÔ ¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§·Ò§¸ÃÃÁªÒµÔã¹âÅ¡

70 98

● ●

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

4

ʶҹ¡Òó ´ŒÒ¹·ÃѾÂҡøÃÃÁªÒµÔ áÅÐÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ ●

ʶҹ¡Òó ´ŒÒ¹·ÃѾÂҡøÃÃÁªÒµÔáÅÐÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ ã¹»ÃÐà·Èä·Â Çԡĵ¡Òó ´ŒÒ¹·ÃѾÂҡøÃÃÁªÒµÔáÅÐÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ ã¹»ÃÐà·Èä·Â ʶҹ¡Òó ´ŒÒ¹·ÃѾÂҡøÃÃÁªÒµÔáÅÐÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ ã¹ÀÙÁÔÀÒ¤µ‹Ò§æ ¢Í§âÅ¡ Çԡĵ¡Òó ´ŒÒ¹·ÃѾÂҡøÃÃÁªÒµÔáÅÐÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ ã¹ÀÙÁÔÀÒ¤µ‹Ò§æ ¢Í§âÅ¡ ¼Å¢Í§¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§Åѡɳзҧ¡ÒÂÀÒ¾ µ‹Í¡ÒÃà¡Ô´ÀÙÁÔÊѧ¤ÁãËÁ‹¢Í§ä·ÂáÅТͧâÅ¡

107 108 117 124 129 132


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

5

¡ÒèѴ¡Ò÷ÃѾÂҡøÃÃÁªÒµÔáÅÐÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ

135

¡ÒèѴ¡Ò÷ÃѾÂҡøÃÃÁªÒµÔáÅÐÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ ˹‹Ç§ҹáÅÐͧ¤ ¡Ã·Ò§ÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ ¡®ËÁÒÂà¡ÕèÂǡѺ¡ÒÃ͹ØÃÑ¡É ·ÃѾÂҡøÃÃÁªÒµÔ áÅÐÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ¢Í§ä·Â ¡ÒûÃÐÊÒ¹¤ÇÒÁËÇÁÁ×Í·Ò§´ŒÒ¹ÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ ÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È ¡ÒÃ͹ØÃÑ¡É ·ÃѾÂҡøÃÃÁªÒµÔáÅÐÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ ¡ÒÃ㪌»ÃÐ⪹ ¨Ò¡ÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ㹡ÒÃÊÌҧÊÃä ÇѲ¹¸ÃÃÁ ¡ÒþѲ¹Ò·ÃѾÂҡøÃÃÁªÒµÔáÅÐÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ·ÕèÂÑè§Â×¹

136 143

● ● ●

● ●

ºÃóҹءÃÁ

149 154 156 160 163

171


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

เปาหมายการเรียนรู

1. ใชเครื่องมือทางภูมิศาสตรในการรวบรวม ขอมูลภูมิสารสนเทศได 2. นําเสนอขอมูลภูมิสารสนเทศได

สมรรถนะของผูเรียน 1. 2. 3. 4.

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

1

คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. ใฝเรียนรู 2. มุงมั่นในการทํางาน 3. มีจิตสาธารณะ

à¤Ã×èͧÁ×Í·Ò§ÀÙÁÔÈÒʵÃ

áÅÐÀÙÁÔÊÒÃʹà·ÈÈÒʵÃ

ÀÙÁÔÁÔÈÒʵà ໚¹ÇÔªÒ·ÕèÇ‹Ò´ŒÇ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒà¡ÕèÂǡѺÊÔ觵‹Ò§æ ·Õè»ÃÒ¡¯º¹¾×é¹¼ÔÇâÅ¡ µÅÍ´¨¹ ÈÖ¡ÉÒ¶Ö§¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ µ‹ÍÃкºÊѧ¤ÁÁ¹ØÉ â´Â㪌à¤Ã×èͧÁ×Í·Ò§ÀÙÁÔÈÒʵà 㹡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¶Ö§ÅѡɳРÀÙÁÔ»ÃÐà·È ÀÙÁÔÍÒ¡ÒÈ ·ÃѾÂҡøÃÃÁªÒµÔáÅÐÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ ·ÕèÍÂÙ‹ÍÒÈÑ µÅÍ´¨¹¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒôíÒç ªÕÇÔµ¢Í§Á¹ØÉ 㹡ÒÃÈÖ¡ÉÒ·Ò§ÀÙÁÔÈÒʵà ¹Ñé¹ Áբͺ¢‹Ò¡njҧ¢ÇÒ§¤Ãͺ¤ÅØÁ¾×é¹·Õè·Ñé§âÅ¡ ·íÒãËŒ ¡Ãкǹ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ·Ò§ÀÙÁÈÔ Òʵà Á¤Õ ÇÒÁ«Ñº«ŒÍ¹ÁÒ¡¢Ö¹é ´Ñ§¹Ñ¹é ¨Ö§ÁÕ¡ÒþѲ¹Òà¤Ã×Íè §Á×Í·Ò§ÀÙÁÈÔ Òʵà áÅÐÀÙÁÔÊÒÃʹà·ÈÈÒʵà ¢Öé¹ à¾×èÍãËŒ¡Ãкǹ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ໚¹ä»Í‹ҧÁÕ»ÃÐÊÔ·¸ÔÀÒ¾áÅÐÁÕ»ÃÐÊÔ·¸Ô¼Å ÊÙ§ÊØ´ ตัวชี้วัด ■

ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการใชทักษะชีวิต ความสามารถในการใชเทคโนโลยี

ใช เ ครื่ อ งมื อ ทางภู มิ ศ าสตร ใ นการรวบรวม วิ เ คราะห และ นํ า เสนอข อ มู ล ภู มิ ส ารสนเทศอย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ (ส 5.1 ม.4-6/1)

สาระการเรียนรูแกนกลาง ■

เครื่ อ งมื อ ทางภู มิ ศ าสตร ที่ ใ ห ข อ มู ล และข า วสารภู มิ ลั ก ษณ ภูมิอากาศและภูมิสังคมของไทย และภูมิภาคตางๆ ทั่วโลก

กระตุน ความสนใจ

Engage

ครูนําภาพและขอมูลตัวอยางการใชประโยชน เครื่องมือทางภูมิศาสตรและภูมิสารสนเทศศาสตร ในดานตางๆ มาใหนักเรียนพิจารณารวมกัน เชน การใชภาพจากดาวเทียมแสดงพื้นที่ประสบอุทกภัย หรือแสดงลักษณะของพื้นที่กอนและหลังประสบภัย สึนามิ และการใชระบบสารสนเทศภูมิศาสตรใน การวางแผนปองกันอุทกภัย จากนั้นตั้งคําถาม เกี่ยวกับความสําคัญของเครื่องมือทางภูมิศาสตร และภูมิสารสนเทศศาสตรใหนักเรียนชวยกันตอบ เชน • เครื่องมือทางภูมิศาสตรและภูมิสารสนเทศศาสตรมีประโยชนตอการดํารงชีวิตของ มนุษยและการพัฒนาสังคมอยางไรบาง อธิบายพรอมยกตัวอยางประกอบพอสังเขป

เกร็ดแนะครู ครูควรจัดกิจกรรมการเรียนรูเพื่อใหนักเรียนสามารถใชเครื่องมือทางภูมิศาสตร ในการรวบรวม วิเคราะห และนําเสนอขอมูลภูมิสารสนเทศอยางมีประสิทธิภาพ โดยเนนทักษะกระบวนการที่สําคัญ เชน ทักษะการฝกปฏิบัติ กระบวนการกลุม และกระบวนการสืบสอบ ดังตัวอยางตอไปนี้ • ครูแบงนักเรียนออกเปนกลุมเพื่อใหชวยกันศึกษาเกี่ยวกับเครื่องมือทาง ภูมิศาสตรจากหนังสือเรียนและแหลงการเรียนรูอื่นๆ แลวสุมตัวแทน นักเรียนในแตละกลุมใหอธิบายความรู จากนั้นใหชวยกันรวบรวมขอมูลทาง ภูมิศาสตรในชุมชน แลวจัดทําเปนบันทึกการศึกษาขอมูลทางภูมิศาสตรใน ชุมชนพรอมทั้งสงตัวแทนนําเสนอผลงานที่หนาชั้นเรียน

คูมือครู

1


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

กระตุน ความสนใจ

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Engage

ครูตั้งคําถามเกี่ยวกับเครื่องมือและเทคโนโลยี ทางภูมิศาสตร โดยเชื่อมโยงจากประสบการณและ ความรูเดิมของนักเรียนใหนักเรียนชวยกันตอบ เชน • นักเรียนรูจักเครื่องมือและเทคโนโลยีทาง ภูมิศาสตรใดบาง และเครื่องมือเหลานั้น มีวิธีการใชงานอยางไร (แนวตอบ เครื่องรับระบบกําหนดตําแหนงบน พื้นโลก ซึ่งรับขอมูลจากดาวเทียมนํามาติดตั้ง ในรถยนตชวยในการเดินทาง การคนหา สถานที่ การใหขอมูลการจราจร)

สํารวจคนหา

1. à¤Ã×èͧÁ×Í·Ò§ÀÙÁÔÈÒʵÃ

เครือ่ งมือทางภูมศิ าสตร คือ วัสดุ อุปกรณ ในรูปแบบตางๆ ทีน่ าํ มาใชเปนสือ่ เพือ่ การศึกษา การสํารวจ การเก็บรวบรวม การบันทึก การวิเคราะหขอมูล ตลอดจนใชเปนสื่อในการเผยแพร ขอมูลทางภูมิศาสตร เครื่องมือทางภูมิศาสตรจําแนกตามหนาที่หลักของการใชงานได 2 ประเภท ดังนี้ ประเภทที่ 1 เครื่องมือที่ทําหนาที่เปนสื่อความรูทางภูมิศาสตร สื่อความรูทางภูมิศาสตร หมายถึง วัสดุ อุปกรณ หรือเทคโนโลยีตา งๆ ทีท่ าํ หนาทีเ่ ผยแพรใหความรู สําหรับการศึกษาเรียนรู ทางภูมศิ าสตร อาจอยูใ นรูปของตัวหนังสือ รูปภาพ แผนภูมิ แบบจําลอง สือ่ ดิจทิ ลั เสียง และภาพ เคลื่อนไหวตางๆ ตัวอยางเครื่องมือเหลานี้ เชน ตําราเรียนภูมิศาสตร เว็บไซตที่เผยแพรความรู ทางภูมิศาสตร แผนที่ประเภทตางๆ ลูกโลกจําลอง ภูมิประเทศจําลอง รูปถายทางอากาศ ภาพ จากดาวเทียม เปนตน ประเภทที่ 2 เครื่องมือที่ทําหนาที่เปนสื่อเก็บรวบรวมขอมูลทางภูมิศาสตร สื่อเก็บรวบรวม ขอมูลทางภูมิศาสตร หมายถึง วัสดุ อุปกรณ หรือเทคโนโลยีตางๆ ที่ทําหนาทีเ่ พือ่ สํารวจ ตรวจวัด บันทึก เก็บรวบรวม และวิเคราะหขอ มูลทางภูมศิ าสตร ตัวอยางเครือ่ งมือเหลานี้ เชน สมุดจดบันทึก เข็มทิศ เทปวัดระยะทาง กลองสามมิติ (Stereoscope) เทอรโมมิเตอร (Thermometer) ระบบ กําหนดตําแหนงบนพื้นโลก หรือจีพีเอส (Global Positioning System : GPS) ระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร หรือจีไอเอส (Geographic Information System : GIS) ขอมูลจากการรับรูระยะไกล (Remote Sensing : RS) เปนตน

Explore

ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับเครื่องมือทาง ภูมิศาสตรและภูมิสารสนเทศศาสตรตางๆ ในดาน ลักษณะของเครื่องมือ ประโยชนและความสําคัญ ระบบการทํางานหรือการใชงาน แลวแบงนักเรียน ออกเปนกลุม กลุมละ 4 คน เรียกวา กลุมบาน เพื่อใหชวยกันศึกษาเกี่ยวกับเครื่องมือทางภูมิศาสตร คนละ 1 ชนิด โดยใหนักเรียนแตละกลุมกําหนด หมายเลข 1-4 แกสมาชิกกลุม ซึ่งนักเรียนแตละ หมายเลขมีหนาที่รับผิดชอบศึกษาเครื่องมือทาง ภูมิศาสตรแตกตางกัน ดังนี้ หมายเลข 1 ศึกษาแผนที่ หมายเลข 2 ศึกษาลูกโลกจําลอง หมายเลข 3 ศึกษารูปถายทางอากาศ หมายเลข 4 ศึกษาภาพจากดาวเทียม จากนั้นนักเรียนแตละหมายเลขในกลุมบาน แยกยายไปศึกษาเครื่องมือทางภูมิศาสตรที่ตนมี หนาที่รับผิดชอบที่กลุมผูเชี่ยวชาญ ซึ่งครูจัดเตรียม สื่อการเรียนรูตางๆ ไวลวงหนา เชน ขอมูลจาก หนังสือเรียน หนา 2-15 ขอมูลจากเว็บไซต รวมถึง เครื่องมือทางภูมิศาสตรนั้น (ถามี) เมื่อศึกษาเสร็จ แลวนักเรียนกลับไปถายทอดความรูแกเพื่อนสมาชิก ในกลุมบานเดิมของตนจนมีความเขาใจตรงกัน

เข็มทิศ (compass) เครื่องมือสําหรับ ใชในการหาทิศทาง

2

EB GUIDE

เกร็ดแนะครู ครูควรเตรียมเครื่องมือทางภูมิศาสตรหรือสาธิตวิธีการใชงานเครื่องมือทาง ภูมิศาสตรตามความเหมาะสม เชน แผนที่ เครื่องรับระบบกําหนดตําแหนงบน พื้นโลก เพื่อใชในการจัดกิจกรรมการเรียนรูในขั้นตอนที่เหมาะสม เชน ขั้นนํา ขั้นกิจกรรมการเรียนรู ตลอดจนขั้นการวัดและประเมินผล เพื่อกระตุนใหนักเรียน เกิดความสนใจหรือมีความรูความเขาใจหลักการทํางาน วิธีการใชงานและประโยชน ของเครื่องมือทางภูมิศาสตรไดดียิ่งขึ้น

นักเรียนควรรู 1 ภูมิศาสตร วิชาที่ศึกษาถึงความสัมพันธระหวางสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติ กับสังคมที่ปรากฏในดินแดนตางๆ ของโลก โดยใชเครื่องมือตางๆ ในการสํารวจ รวบรวม รวมถึงนําเสนอขอมูลเหลานั้นไดอยางสอดคลองกับวัตถุประสงคของ ผูจัดทําและความตองการของผูใชงาน

2

คูมือครู

1

เครือ่ งมือวัดระยะทางในแผนที่ (map measurer) เครื่องมือที่ใชวดั ระยะทาง ทีค่ ดเคีย้ วไปมา

บารอมิเตอร (barometer) เครื่องมือ วัดความกดอากาศ

http://www.aksorn.com/LC/Geo/M4-6/01

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ขอใดคือการจําแนกประเภทของเครื่องมือทางภูมิศาสตรตามหนาที่การ ใชงานที่ถูกตอง 1. รวบรวมขอมูล ใหขอมูล 2. ใหขอมูล วิเคราะหขอมูล 3. วิเคราะหขอมูล สังเคราะหขอมูล 4. สังเคราะหขอมูล รวบรวมขอมูล วิเคราะหคําตอบ เครื่องมือทางภูมิศาสตรสามารถแบงประเภทออกไดตาม หนาที่หลักของการใชงานเปน 2 ประเภท ไดแก ประเภทรวบรวมขอมูล เชน เข็มทิศ ระบบกําหนดตําแหนงบนพื้นโลก ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร และ ประเภทที่ใหขอมูลหรือเปนสื่อความรูทางภูมิศาสตร เชน แผนที่ ลูกโลก จําลอง ภาพจากดาวเทียม เปนตน ดังนั้นคําตอบคือ ขอ 1.


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู 1.1 แผนที่

Explain

1. ครูสุมตัวแทนนักเรียนจากกลุมตางๆ ใหออก มาอธิบายประเภทของเครื่องมือทางภูมิศาสตร จําแนกตามหนาที่หลักของการใชงาน แลว เขียนรายละเอียดลงในตารางที่กระดานหนา ชั้นเรียน 2. ครูใหนักเรียนแตละกลุมอธิบายความรูเกี่ยวกับ แผนที่โดยใชคําถาม เชน • นิยามความหมายแผนที่ของนักเรียนคืออะไร (แนวตอบ แผนที่เปนสื่อรูปแบบหนึ่งที่ ถายทอดขอมูลของโลกทั้งสิ่งที่เกิดขึ้นเอง ตามธรรมชาติและสิ่งที่มนุษยสรางขึ้นใน รูปกราฟก โดยการยอสวนใหเล็กลงดวย มาตราสวน เสนโครงแผนที่และสัญลักษณ แบบตางๆ เพื่อใหผูอานเขาใจตรงตาม วัตถุประสงค) • การแบงชนิดของแผนที่ในหนังสือเรียนใช เกณฑใด และแผนที่แตละชนิดนั้นมีลักษณะ เฉพาะอยางไร (แนวตอบ การแบงชนิดของแผนที่มีหลาย ลักษณะขึ้นอยูกับเกณฑในการแบง โดยใน หนังสือเรียน หนา 3 นั้น ใชรายละเอียดหรือ ขอมูลในแผนที่เปนเกณฑ จึงแบงออกเปน แผนที่ภูมิประเทศ เปนแผนที่แสดงขอมูลของ ผิวโลกทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและที่ มนุษยสรางขึ้นโดยทั่วไป และแผนที่เฉพาะ เรื่อง เปนแผนที่ใหรายละเอียดเฉพาะเรื่องใด เรื่องหนึ่ง เชน แผนที่ประชากร แผนที่ ทองเที่ยว จึงตองปรับขอมูลใหทันสมัย อยูเสมอ)

1

แผนที่ เปนเครือ่ งมือทางภูมศิ าสตรทมี่ คี วามสําคัญตอการเรียนวิชาภูมศิ าสตรเปนอยางมาก เนื่องจากการเรียนวิชานี้ตองกลาวถึงสถานที่ที่มีขนาดตางกัน ทั้งที่เปนธรรมชาติและสิ่งที่มนุษย สรางขึ้น ตลอดจนปรากฏการณตางๆ ที่เกิดขึ้นบนพื้นผิวโลก และสิ่งที่จะสามารถนํามาใชอธิบาย สภาพพื้นที่ สถานที่ไดดีที่สุด คือ แผนที่ 1) ความหมายของแผนที่ พจนานุกรมศัพทภูมิศาสตร ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ไดใหความหมายของแผนที่ไววา “แผนที่ หมายถึง สื่อรูปแบบหนึ่งที่ถายทอดขอมูลของโลกในรูป กราฟก โดยการยอสวนใหเล็กลงดวยมาตราสวนขนาดตางๆ และเสนโครงแผนทีแบบต ่ างๆ ใหเขาใจ ตรงตามวัตถุประสงคดวยการใชสัญลักษณ” ดังนั้น จึงกลาวไดวา แผนที่เปนสิ่งที่มนุษยสรางขึ้น เพื่อแสดงลักษณะของพื้นผิวโลก และสิ่งที่ปรากฏอยูบนพื้นผิวโลก ทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และสิง่ ทีม่ นุษยสรางขึน้ ดวยการยอสวนใหมขี นาดเล็กลงตามอัตราสวนทีต่ อ งการและใชสญั ลักษณ แทนสิ่งตางๆ ที่มีอยูจริงบนผิวโลก ทั้งนี้จะคงความเหมือนจริงทั้งขนาด รูปราง ทิศทาง และ ตําแหนงที่ตั้งไว 2) ชนิดของแผนที่ แผนทีส่ ามารถแบงออกไดหลายชนิดหลายลักษณะ ขึน้ อยูก บั วา ใชอะไรเปนเกณฑในการแบง ทั้งนี้โดยทั่วไปนิยมแบงเปน 2 ชนิด คือ 2.1) แผนที่ภูมิประเทศ (Topographic Map) เปนแผนที่แสดงขอมูลรายละเอียด ของผิวโลกที่เกี่ยวกับภูมิลักษณแบบตางๆ ทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เชน ภูเขา ที่ราบสูง ทีร่ าบ แมนาํ้ ทะเล ทะเลสาบ เปนตน และสิง่ ทีม่ นุษยสรางขึน้ เชน เมือง หมูบ า น พืน้ ทีเ่ กษตรกรรม อางเก็บนํ้า ถนน ทางรถไฟ เปนตน แผนที่ภูมิประเทศแสดงความสูงตํ่าของผิวโลกดวยเสนชั้นความสูง (contour line) และหมุดระดับ (bench mark) จัดทําโดยกรมแผนที่ทหาร แผนที่ภูมิประเทศที่ใชกันมาก มี 2 มาตราสวน ไดแก แผนทีม่ าตราสวนเล็ก คือ มาตราสวน 1 : 250,000 และแผนทีม่ าตราสวนใหญ คื อ มาตราส ว น 1 : 50,000 เนื่ อ งจากแผนที่ ภู มิ ป ระเทศทั้งสองมาตราสวนจัดทําขึ้น จาก ขอมูลที่ไดมาจากรูปถายทางอากาศและภาพจากดาวเทียม จึงไดขอมูลที่ปรากฏอยูบนพื้นผิวโลก ทีถ่ กู ตองและทันสมัย มีจดุ พิกดั ภูมศิ าสตรอางอิงได จึงเปนแผนทีท่ มี่ คี วามนิยมใชในงานสาขาอืน่ ๆ เชน การสรางถนน การสรางเขื่อน การสรางเมืองใหม การปองกันอุทกภัย เปนตน 2.2) แผนที่เฉพาะเรื่อง (Thematic Map) เปนแผนที่ที่จัดทําขึ้นเพื่อแสดงขอมูล หลักเฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เชน แผนที่ประชากร แผนที่อากาศ แผนที่ปาไม แผนที่ทองเที่ยว แผนที่เหลานี้จะมีการสํารวจเพิ่มเติมหรือปรับแกไขขอมูลใหทันสมัยเปนระยะๆ ไป 3

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’ 51 ออกเกี่ยวกับแผนที่เฉพาะเรื่อง ขอใดไมใชแผนที่เฉพาะเรื่อง 1. แผนที่การใชที่ดิน 2. แผนที่แสดงความลาดชัน 3. แผนที่แสดงชั้นบรรยากาศ 4. แผนที่ภูมิประเทศ วิเคราะหคําตอบ การแบงประเภทของแผนที่นิยมแบงออกเปน 2 ชนิด คือ แผนที่ภูมิประเทศ และแผนที่เฉพาะเรื่อง ดังนั้นคําตอบคือ ขอ 4.

นักเรียนควรรู 1 แผนที่ จากหลักฐานทางประวัติศาสตรพบวา มนุษยไดสรางสรรคแผนที่ขึ้นใน หลายแหลงอารยธรรมของโลกตั้งแตยุคโบราณ เชน อารยธรรมเมโสโปเตเมีย เมื่อ ประมาณ 2,500 กอนพุทธศักราช มีการประดิษฐแผนที่จากแผนดินเหนียวเพื่อกําหนด กรรมสิทธิ์ในที่ดิน และอารยธรรมกรีก มีการศึกษาเกี่ยวกับโลกและประดิษฐแผนที่โลก ขึ้นหลายฉบับ ที่สําคัญไดแก แผนที่ของปโตเลมี ซึ่งประดิษฐขึ้นในราวพุทธศตวรรษที่ 6-7 มีรายละเอียดอาณาเขตของทวีป มหาสมุทร ทะเล และภูมิประเทศอื่นๆ ของทวีป ยุโรป รวมถึงทวีปเอเชียและแอฟริกาในบางสวน โดยมีรายละเอียดสวนใหญใกลเคียง กับแผนที่โลกในปจจุบัน

มุม IT ศึกษาความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับแผนที่ไดที่ http://www.rtsd.mi.th/school/ index.php?option=com_content&view=article&id=23&Itemid=5 เว็บไซต โรงเรียนแผนที่ กรมแผนที่ทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย คูมือครู 3


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

ครูใหนักเรียนแตละกลุมอธิบายความรูเกี่ยวกับ แผนที่โดยใชคําถาม เชน • มาตราสวนเล็กและมาตราสวนใหญมีผลตอ การแสดงรายละเอียดของแผนที่อยางไร (แนวตอบ มาตราสวนเล็ก ไดแก มาตราสวน เล็กกวา 1 : 1,000,000 หรือ 1 : 500,000 มัก ใชในแผนที่เฉพาะเรื่องที่มีรายละเอียดไมมาก นัก สวนมาตราสวนใหญ เชน 1 : 100,000 หรือ 1 : 50,000 มักใชในแผนที่เฉพาะเรื่องที่ เปนเชิงวิชาการ เชน แผนที่การใชประโยชน ที่ดิน แผนที่ธรณีวิทยาและแหลงแร ตลอดจน แผนที่ทรัพยากรในหมูบาน การใชมาตราสวน จึงขึ้นอยูกับรายละเอียดที่ตองการแสดงใน แผนที่มากกวาขนาดพื้นที่) • ขอมูลจากดาวเทียมมีความสําคัญตอการจัด ทําแผนที่เฉพาะเรื่องลักษณะใด (แนวตอบ ขอมูลจากดาวเทียมถูกนํามาใชใน การจัดทําแผนที่มากขึ้นในปจจุบัน เนื่องจาก มีความถูกตองแมนยําและประหยัดเวลาใน การสํารวจพื้นที่ โดยเฉพาะแผนที่ที่ขอมูลมี การเปลี่ยนแปลงคอนขางเร็ว เชน แผนที่การ ใชที่ดิน ที่แสดงรายละเอียดการใชประโยชน ที่ดินทางการเกษตรและอื่น ๆ เนื่องจากการ ใชประโยชนที่ดินมีการเปลี่ยนแปลงอยาง รวดเร็ว การจัดทําแผนที่การใชที่ดินจึงมัก ใชขอมูลจากดาวเทียมทําใหมีความสะดวก รวดเร็วยิ่งขึ้น)

1 มาตราส ว น ของแผนที่ เ ฉพาะเรื่ อ งมี ค วามหลากหลายตามลั ก ษณะข อ มู ล ที่ ตองการแสดง แตสวนมากจะเปนมาตราสวนเล็ก เชน มาตราสวนเล็กกวา 1 : 1,000,000 1 : 500,000 หรือ 1 : 250,000 เปนตน สวนแผนที่เฉพาะเรื่องที่มีลักษณะเชิงวิชาการ เชน แผนที่ ชุดดิน แผนที่การใชประโยชนที่ดิน แผนที่ธรณีวิทยาและแหลงแร อาจทําเปนแผนที่มาตราสวน 1 : 100,000 หรือ 1 : 50,000 แตแผนทีเ่ ฉพาะเรือ่ งบางชนิดทีต่ อ งการแสดงเฉพาะพืน้ ทีข่ นาดเล็ก เชน ทรัพยากรธรรมชาติในตําบลหรือหมูบานอาจจะมีการจัดทําแผนที่มาตราสวนใหญได เนื่องจากแผนที่เฉพาะเรื่องมีความหลากหลายชนิดมาก จึงไดนําเสนอตัวอยาง เพียงบางชนิด ดังนี้ (1) แผนที่ทองเที่ยว มีการจัดทําทั้งในระดับประเทศ ระดับภาค และระดับ จังหวัด โดยเนนขอมูลดานการเดินทาง ไดแก ถนน ทางรถไฟ ที่ตั้งจังหวัด อําเภอ สถานที่ ทองเที่ยว สถานที่พัก รานอาหาร แผนที่ทองเที่ยวมีรูปแบบที่เขาใจงาย ดังนั้นจึงมักจัดพิมพ มาตราสวนเล็ก เชน 1 : 1,000,000 หรือ 1 : 2,000,000 หรือเล็กกวา เปนตน (2) แผนที่แสดงเสนทางคมนาคม แผนที่นี้จัดทําโดยกรมทางหลวง เพื่อ แสดงรายละเอียดของเสนทางคมนาคม ไดแก ถนน ทางรถไฟ สนามบิน เปนหลัก แผนที่ แสดงเสนทางคมนาคมมีประโยชนเพื่อใชกําหนดเสนทาง ระยะทางโดยประมาณ และการ หลีกเลีย่ งเสนทางทีม่ ปี ญ หา เนือ่ งจากมีขอ มูลไมมากนัก แผนทีท่ พี่ มิ พออกมาจึงมีมาตราสวนเล็ก เชน 1 : 1,000,000 หรือเล็กกวา เปนตน (3) แผนทีธ่ รณีวทิ ยา เปนแผนทีท่ แี่ สดงอายุของหิน หนวยหิน ชนิดหินและ โครงสรางทางธรณีวทิ ยา นอกจากนีย้ งั แสดงขอมูลประกอบอืน่ ๆ เชน ทางหลวงสายสําคัญ ทีต่ งั้ ของ จังหวัด เปนตน โดยขอมูลประกอบจะแตกตางกันไปตามมาตราสวน แผนทีธ่ รณีวทิ ยามาตราสวน 1 : 1,000,000 1 : 250,000 และ 1 : 50,000 จะมีการนํามาใชงานมาก ซึ่งแผนที่นี้จัดทําโดย กรมทรัพยากรธรณี (4) แผนที่การใชที่ดิน แผนที่นี้แสดงการใชประโยชนที่ดิน โดยเฉพาะ ดานการเกษตร มาตราสวนที่จัดทํา เชน 1 : 1,000,000 และ 1 : 250,000 และ 1 : 50,000 และ เนื่องจากการใชประโยชนที่ดินมีการเปลี่ยนแปลงมากและรวดเร็ว แผนที่การใชที่ดินจึงตองมีการ ปรับปรุงใหทันสมัยตลอดเวลา ซึ่งเปนงานที่ละเอียดและตองใชเวลามาก แตในปจจุบันมีการใช ขอมูลจากดาวเทียมเพื มเพื่อจัดทําแผนที่การใชที่ดินทําใหการทํางานรวดเร็วมากขึ้น แผนที่นี้จัดทํา โดยกรมพัฒนาที่ดินหรือสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร 4

เกร็ดแนะครู ครูควรอธิบายนักเรียนเพิ่มเติมเกี่ยวกับมาตราสวนแผนที่วา มาตราสวนแผนที่ หมายถึง อัตราสวนระหวางระยะทางในแผนที่กับระยะทางจริงในภูมิประเทศ เชน 1 : 100,000 แปลวา ระยะทางในแผนที่ 1 เซนติเมตร เทากับระยะทางจริงใน ภูมิประเทศ 100,000 เซนติเมตร หรือ 1 กิโลเมตรนั่นเอง ซึ่งนอกจากมาตราสวน ที่เปนแบบเศษสวนขางตนแลว อาจพบมาตราสวนแบบคําพูด เชน 1 เซนติเมตร ตอ 5 กิโลเมตร และมาตราสวนแบบบรรทัดหรือแบบกราฟกไดดวย

นักเรียนควรรู 1 มาตราสวน การคํานวณมาตราสวนแผนที่กับระยะทางในภูมิประเทศจริง สามารถทําไดหลายวิธีตั้งแตการสังเกตและประมาณดวยสายตา และการใชดายหรือ วัสดุอื่นที่คลายคลึงกันทาบวัดระยะทางที่ปรากฏในแผนที่ แลวนําความยาวของดาย หรือวัสดุนั้นทาบวัดกับไมบรรทัด จากนั้นคํานวณระยะทางเปนเมตรหรือกิโลเมตร

4

คูมือครู

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’ 52 ออกเกี่ยวกับมาตราสวนแผนที่ แผนที่ภูมิประเทศมาตราสวนใดของประเทศไทยที่ครอบคลุมพื้นที่ ทั้งจังหวัด 1. 1 : 10,000 2. 1 : 50,000 3. 1 : 100,000 4. 1 : 250,000 วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 4. 1 : 250,000 เปนมาตราสวนที่ใชในการ จัดทําแผนที่รายจังหวัดของกรมแผนที่ทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

ครูใหนักเรียนแตละกลุมอธิบายความรูเกี่ยวกับ แผนที่โดยใชคําถาม เชน • แผนที่มีองคประกอบที่สําคัญใดบาง และแตละองคประกอบใหขอมูลใด (แนวตอบ องคประกอบที่สําคัญของแผนที่ ไดแก ชื่อแผนที่ บอกใหผูใชทราบวาแผนที่นั้น แสดงขอมูลของพื้นที่ใด ทิศ บอกทิศทางของแผนที่ซึ่งโดยปกติจะ กําหนดใหดานบนของขอบระวางแผนที่เปน ทิศเหนือ มาตราสวน บอกอัตราสวนระหวางระยะทาง ในแผนที่กับระยะทางในภูมิประเทศจริง คําอธิบายสัญลักษณ บอกความหมายของ สัญลักษณ เชน สี เสน จุด ที่ปรากฏใน แผนที่วาหมายถึงสิ่งใดในภูมิประเทศจริง ขอบระวางและเสนโครงแผนที่ บอกขอบเขต ที่ตั้งของสถานที่หรือพื้นที่ในแผนที่ดวยคา พิกัดทางภูมิศาสตร)

3) องคประกอบแผนที่ แผนที่โดยทั่วไปมีองคประกอบที่สําคัญ ดังนี้ ลองจิจูด จุดหนึ่งบนเสนเมริเดียน

ทิศ ปกติกําหนดใหดาน บนขอบระวางแผนที่เปน ทิศเหนือเสมอ น

ขอบระวาง ขอบเขตของ พื้นที่ มักแสดง ดวยเสนขนาน และเสนเมริเดียน จะมีตัวเลขบอก คาพิกัดภูมิศาสตร

ชือ่ แผนที่ บอกวาแผนทีน่ นั้ แสดงขอมูลอะไร

แผนที่ภูมิประเทศ ภาคตะวันออก มาตราสวน 1 : 3,000,000

มาตราสวน บอก อัตราสวนระยะทาง ที่ยอสวนลงมาใน แผนที่กับระยะทาง จริงในภูมิประเทศ เสนโครงแผนที่ เสนเมริเดียนและ เสนขนานใชถายทอด ลักษณะทรงกลมของ โลกลงบนที่ราบ

1

ละติจูด จุดหนึ่งบนเสนขนาน บันทึก คําอธิบาย ขอมูลตางๆ

Explain

คําอธิบายสัญลักษณ อธิบายความสูงตํ่าดวยสี แทนลักษณะภูมิประเทศ

2

ที่มา : กรมแผนที่ทหาร กระทรวงกลาโหม.

5

กิจกรรมสรางเสริม ครูอาจใหนักเรียนอธิบายองคประกอบแผนที่ภูมิประเทศจังหวัดของ ตนเอง หรือแผนที่ประเทศไทย แลวบันทึกลงในสมุด

กิจกรรมทาทาย ครูอาจใหนักเรียนสืบคนแผนที่ภูมิประเทศของประเทศในเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต แลวอธิบายองคประกอบที่ปรากฏในแผนที่นั้น บันทึกลง ในสมุด

นักเรียนควรรู 1 คาพิกัดภูมิศาสตร หมายถึง จุดที่เสนเมริเดียนและเสนขนานตัดกัน มีคาเปน องศาลองจิจูดและละติจูด ใชในการบอกตําแหนงหรือขอบเขตของสิ่งที่ปรากฏบน พื้นผิวโลก เชน ที่ตั้งของสถานที่สําคัญ ขอบเขตของจังหวัด เปนตน 2 กรมแผนที่ทหาร มีหนาที่สํารวจทางพื้นดินและอากาศ เพื่อนําขอมูลมาจัดทํา แผนที่ สําหรับใชในการรักษาความมั่นคงและการพัฒนาประเทศ ตลอดจนการ ดําเนินการฝกเหลาทหารแผนที่ แผนที่ซึ่งจัดทําโดยกรมแผนที่ทหารจึงมีขอมูล ที่นาเชื่อถือ นิยมใชในการศึกษาภูมิศาสตรโดยทั่วไป

คูมือครู

5


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

ครูใหนักเรียนแตละกลุมอธิบายความรูเกี่ยวกับ แผนที่โดยใชคําถาม เชน • ผูที่อานแผนที่ไดถูกตองและรวดเร็วเกิดจาก คุณลักษณะเชนไร (แนวตอบ การอานแผนที่ไดอยางถูกตอง รวดเร็ว เกิดจากความรูความเขาใจใน องคประกอบตางๆ ของแผนที่ ไดแก ชื่อ แผนที่ ขอบระวาง เสนโครงแผนที่ ละติจูด และลองจิจูด ทิศ มาตราสวน คําอธิบาย สัญลักษณ บันทึกอื่นๆ และที่สําคัญ คือ การฝกอานแผนที่อยางสมํ่าเสมอ จึงสามารถ นําขอมูลความรูในแผนที่ไปใชประโยชนได ตามวัตถุประสงค)

4) การอานแผนที่ แผนที่เปนเครื่องมือทางภูมิศาสตรที่มีความสําคัญตอ

การดําเนินชีวิตหลายประการ เชน ใชแผนที่ในการเดินทาง การวางแผนการทองเที่ยว การศึกษา สภาพของพืน้ ทีเ่ พือ่ การปองกันและแกปญ หาภัยพิบตั ติ างๆ เปนตน ดังนัน้ ผูใ ชหรือผูศ กึ ษาแผนทีจึ่ ง ควรมีความรูและความเขาใจองคประกอบตางๆ ของแผนที่ และฝกฝนการอานแผนที่อยูเสมอ จึง จะสามารถอานแผนทีไ่ ดอยางถูกตอง รวดเร็ว และนําขอมูลทีต่ อ งการจากแผนทีไ่ ปใชประโยชนได ตามวัตถุประสงค 1 ตัวอยางแผนที่ภูมิประเทศบริเวณเขาพนมรุง มาตราสวนเดิม 1 : 50,000

4

6

3 1 8

5

9 7

2

ที่มา : กรมแผนที่ทหาร กระทรวงกลาโหม.

6

เกร็ดแนะครู ครูควรฝกทักษะการอานแผนที่ของนักเรียนโดยอธิบายถึงวิธีการและสาธิตการ อานแผนที่ประเภทตางๆ แลวมอบหมายใหนักเรียนฝกอานแผนที่ภูมิประเทศและ แผนที่เฉพาะเรื่องตางๆ จากนั้นบันทึกผลการฝกปฏิบัติสงครูผูสอน เพื่อใหนักเรียน มีความรูความเขาใจในประโยชนและความสําคัญของแผนที่จากการฝกปฏิบัติ สงเสริมใหเกิดการเรียนรูที่มีความหมาย

นักเรียนควรรู 1 เขาพนมรุง เปนภูเขาไฟที่ดับสนิทอยูในเขตอําเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัด บุรีรัมย มีพื้นที่ประมาณ 18 ตารางกิโลเมตร บริเวณเนินภูเขาไฟมีความสูงประมาณ 380 เมตร ยอดเขาเปนปากปลองซึ่งขอบปลองทางทิศใตเปนที่ตั้งของปราสาทหิน พนมรุง นอกจากนี้ยังเปนแหลงตนนํ้าลําธารเล็กๆ หลายสายของทองถิ่นอีกดวย

6

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

บุคคลในขอใดนาจะเปนผูที่ใชแผนที่ไดอยางชํานาญที่สุด 1. โปงมีความรูเรื่องแผนที่เปนอยางดี 2. กลางรวบรวมแผนที่เฉพาะเรื่องไวอยางหลากหลาย 3. นางสอบไดคะแนนสูงสุดในเรื่องแผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร 4. กอยใชแผนที่ในการดําเนินชีวิตและการศึกษาขอมูลตางๆ เพื่อประโยชน ในการเรียนอยูเสมอ วิเคราะหคําตอบ ผูที่ใชแผนที่ไดอยางชํานาญควรเปนผูที่มีความรูความ เขาใจเกี่ยวกับแผนที่และหมั่นฝกฝนอานแผนที่อยางสมํ่าเสมอ เพราะฉะนั้น กอยจึงนาจะเปนผูที่ใชแผนที่ไดอยางชํานาญที่สุด ดังนั้นคําตอบคือ ขอ 4.


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

ครูใหนักเรียนแตละกลุมอธิบายความรูเกี่ยวกับ แผนที่โดยใชคําถาม เชน • จากสัญลักษณที่ปรากฏในแผนที่ภูมิประเทศ บริเวณเขาพนมรุง นักเรียนสามารถจัดแบง สัญลักษณไดเปนกี่ประเภทและใชหลักเกณฑ ใดในการแบง อธิบายและยกตัวอยาง ประกอบพอสังเขป (แนวตอบ จากสัญลักษณที่ปรากฏในแผนที่ ภูมิประเทศบริเวณเขาพนมรุงสามารถแบง ออกไดเปน 3 ประเภท ตามรูปรางลักษณะ ของสัญลักษณ ไดแก สัญลักษณแบบจุดหรือ รูปขนาดเล็ก เชน สัญลักษณของวัดปราสาท พนมรุงและปราสาทหินพนมรุง สัญลักษณ แบบเสน เชน สัญลักษณของทางหลวง ชนบทเขาหมูบานและเขาพนมรุง และ สัญลักษณแบบพื้นที่ เชน สัญลักษณของ บานและหมูบานที่ใชพื้นหลังสีเขียวออนทับ ดวยจุดสี่เหลี่ยมเล็กสีดํา สัญลักษณของ อางเก็บนํ้าที่ใชเสนสีฟา เปนตน)

จากแผนทีภ่ มู ปิ ระเทศบริเวณเขาพนมรุง มาตราสวนเดิม 1 : 50,000 ของกรมแผนที่ ทหาร มีขอ มูลและขาวสารดานภูมลิ กั ษณ ทัง้ สิง่ ทีเ่ กิดขึน้ เองตามธรรมชาติและสิง่ ทีม่ นุษยสรางขึน้ แสดงดวยสัญลักษณแผนที่ ดังตัวอยาง ตอไปนี้ สัญลักษณแผนที่

ความหมาย

1

เขาพนมรุง เปนเขาโดดสูงอยูท า มกลางทีร่ าบทีอ่ ยูโ ดยรอบเขา ลักษณะของเสนชัน้ ความ สูงชิดติดกันมาก แสดงวาเขาพนมรุง มีความชั 1 นมาก จุดระดับสูงทีส่ ดุ ของเขาพนมรุง สูงถึง 385 เมตร จากระดับทะเลปานกลาง

2

เสนธารนํา้ ไหลไมตลอดป ลักษณะธารนํา้ ไหลออกจากสวนทีส่ งู สุด โดยระบายออกเปน รัศมีโดยรอบลงสูลําหวย คลอง และอางเก็บนํ้าบริเวณพื้นที่ราบ

3

บานและหมูบานที่อยูบริเวณโดยรอบเขาพนมรุงจะอยูรวมกันเปนกลุมๆ โดยมีถนน เปนเสนทางคมนาคมหลัก

4

2221

ทางหลวงชนบทเขาหมูบานและเขาพนมรุง คือ ทางหลวงหมายเลข 2117 และ 2221 สภาพถนนเปนพื้นถนนแข็งกวางตั้งแตสองทางวิ่งขึ้นไป

5

อางเก็บนํ้า บริเวณเชิงเขาพนมรุงมีการสรางอางเก็บนํ้าหลายแหง เชน อางเก็บนํ้า หนองบัวลาย อางเก็บนํ้าหวยลาด อางเก็บนํ้าคูขาด อางเก็บนํ้าปราสาททอง อางเก็บ นํ้าราษฎรบันเทิง เปนตน

6

พื้นที่โดยรอบเขาพนมรุงมีการทํานาเปนอาชีพหลัก

7

วัดปราสาทพนมรุง ตั้งอยูทางทิศใตของปลองภูเขาไฟ

8

ปราสาทหินพนมรุง ตั้งอยูบนขอบดานทิศใตของปลองภูเขาไฟ ระดับความสูง 384 เมตร

9

ปลองภูเขาไฟ บริเวณเขาพนมรุงมีปลองภูเขาไฟ ซึ่งเปนสวนที่พื้นที่ของปลองทรุด ตํ่าลง ปจจุบันอยูที่ระดับความสูง 371 เมตร มีสระนํ้าอยูตรงกลางปลอง

Explain

7

บูรณาการเชื่อมสาระ

ครูสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรูบูรณาการกลุมสาระการเรียนรูการงาน อาชีพและเทคโนโลยี วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เรื่องกระบวน การเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยใหนักเรียนรวมกลุมกันปรับปรุงแผนที่ฉบับ ตางๆ ที่ครูกําหนด ใหมีขอมูลที่ถูกตอง ครบถวน ทันสมัย และนาสนใจ ยิ่งขึ้น โดยใชขอมูลจากแหลงการเรียนรูเทคโนโลยีสารสนเทศ เชน http:// www.nso.go.th/ เว็บไซตสํานักงานสถิติแหงชาติ จากนั้นสงตัวแทนของ กลุมออกมานําเสนอผลงานที่หนาชั้นเรียน

นักเรียนควรรู 1 ระดับทะเลปานกลาง (Mean Sea Level) หมายถึง ความสูงของพื้นดินเหนือ คาเฉลี่ยของระดับนํ้าทะเล ซึ่งคาเฉลี่ยของนํ้าทะเลคํานวณไดจากผลของการตรวจ ระดับนํ้าขึ้นและนํ้าลงในที่ใดที่หนึ่งติดตอกันเปนเวลานาน ในประเทศไทยมีการหา คาเฉลี่ยของระดับนํ้าทะเลจากผลการบันทึกระดับนํ้าขึ้นและนํ้าลงที่เกาะหลัก เกาะขนาดเล็กในอาวไทย บริเวณชายฝงจังหวัดประจวบคีรีขันธ

บูรณาการอาเซียน ครูสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรูบูรณาการอาเซียนโดยใหนักเรียนศึกษาคนควา แผนที่เฉพาะเรื่องของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต แลวใหนักเรียนอาน และสรุปสาระสําคัญของแผนที่นั้น เชน ลักษณะภูมิประเทศที่สําคัญ บริเวณชุมชน เมือง ที่ตั้งของสถานที่สําคัญ และหมูเกาะขนาดตางๆ โดยจัดทําเปนบันทึก การศึกษาคนควาและนําเสนอตอชั้นเรียน คูมือครู

7


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูใหนักเรียนแตละกลุมอธิบายความรูเกี่ยวกับ แผนที่โดยใชคําถาม เชน • แผนที่มีประโยชนในการดําเนินชีวิตของ บุคคลทั่วไปและการพัฒนาสังคมประเทศชาติ อยางไร (แนวตอบ ประโยชนของแผนที่ตอบุคคลทั่วไป ในการดําเนินชีวิตมีหลายดาน เชน การ เดินทาง การคนหาที่ตั้งของสถานที่ และการ ศึกษาวิชาภูมิศาสตร สวนประโยชนในระดับ การพัฒนาสังคมประเทศชาตินั้น คือ การใช เปนขอมูลพื้นฐานในการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคม เชน การวางแผนสรางระบบ สาธารณูปโภค การปกปนเขตแดนระหวาง ประเทศ และการทหาร เปนตน) 2. ครูใหนักเรียนแตละกลุมอธิบายความรูเกี่ยวกับ ลูกโลกจําลองโดยใชคําถาม เชน • เพราะเหตุใด ลูกโลกจําลองจึงใชประโยชน ในการเรียนการสอนเกี่ยวกับลักษณะทาง กายภาพของโลกไดเปนอยางดี (แนวตอบ ลูกโลกจําลองสามารถใชในการเรียน การสอนเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพของโลก ไดเปนอยางดี เนื่องจากสรางขึ้นคลายคลึง กับรูปทรงสัณฐานของโลก กลาวคือ มีรูปทรง กลม และแสดงที่ตั้งและอาณาเขตของทวีป มหาสมุทร สภาพภูมิประเทศที่สําคัญตางๆ รวมถึงการมีแกนหมุนเอียงและสามารถหมุน รอบตัวเองไดคลายแกนและการหมุนรอบตัว เองของโลกที่กอใหเกิดกลางวัน กลางคืน และฤดูกาลตางๆ)

5) ประโยชนของแผนที่ แผนที่เปนเครื่องมือทางภูมิศาสตรที่มีความจําเปนสําหรับ

การศึกษาสภาพแวดลอมทางภูมศิ าสตร และเปนประโยชนในการดําเนินกิจกรรมตางๆ ของมนุษย ดังนี้ 1. ใชในชีวิตประจําวัน เชน ใชแสดงเสนทางคมนาคมในการเดินทาง เปนตน 2. ใชในการสงเสริมการทองเที่ยว แผนที่มีประโยชนในการเดินทางไปยังสถานที่ ทองเที่ยว การวางแผนการทองเที่ยว รวมถึงการตัดสินใจเลือกสถานที่ทองเที่ยวของนักทองเที่ยว 3. ใชในการรายงานปรากฏการณธรรมชาติ เชน แผนที่แสดงอุณหภูมิ แผนที่ แสดงการเคลื่อนที่ของพายุ ซึ่งทําใหเขาใจไดงายขึ้น เปนตน 4. ใชเปนขอมูลในการวางแผนสรางระบบสาธารณูปโภค เชน วางแผนการตัดถนน วางระบบโทรคมนาคม วางสายไฟฟา วางทอประปา การสรางเขื่อน เปนตน 5. ใชเปนขอมูลพื้นฐานในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม เชน แผนที่แสดง ความหนาแนนของประชากร แผนทีแ่ สดงแหลงปลูกพืชเศรษฐกิจ ซึง่ ชวยทําใหทราบขอมูลพืน้ ฐาน เพื่อนําไปวางแผนการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมตอไป เปนตน 6. ใชในกิจการทางทหาร โดยนําไปเปนขอมูลในการวางแผนทางยุทธศาสตร เชน การเลือกที่ตั้งคายทหาร การทิ้งระเบิดโจมตีทางอากาศ เปนตน 7. ใชในดานความสัมพันธระหวางประเทศ เชน ใชเปนขอมูลในการสํารวจและ ปกปนเขตแดน เปนตน 8. ใชศึกษาวิจัยเกี่ยวกับพื้นที่ เชน ศึกษาชนิด คุณภาพ และการกระจายดิน ธรณีวิทยา ปาไม เปนตน 1

1.2 ลูกโลกจําลอง

ลูกโลกจําลอง เปนสิ่งที่มนุษยสรางขึ้นเพื่อจําลองลักษณะของโลก แสดงที่ตั้งอาณาเขต พรมแดนของประเทศตางๆ และลูกโลกจําลองยังสามารถใชเปนสื่อในการเรียนการสอนเกี่ยวกับ โลกไดเปนอยางดี ลูกโลกจําลองแสดงสิ่งตอไปนี้ 1) รูปทรงของโลก โลกมีรูปทรงกลมคลายผลสม คือ ตรงบริเวณขั้วโลกทั้งสอง ยุบราบลงเล็กนอยและปองตรงบริเวณศูนยสตู ร โลกมีเสนผานศูนยกลางทีเ่ สนศูนยสตู ร ยาว 12,756 กิโลเมตร และมีเสนผานศูนยกลางจากขั้วโลกเหนือถึงขั้วโลกใตยาว 12,714 กิโลเมตร จึงเห็น ไดวารูปรางของโลกไมเปนทรงกลมอยางแทจริง บนผิวโลกจะมีองคประกอบหลัก 2 สวน คือ สวนที่เปนพื้นนํ้า ไดแก ทะเล มหาสมุทรตางๆ มีเนื้อที่รวมกัน 375 ลานตารางกิโลเมตร และ สวนทีเ่ ปนแผนดิน ไดแก ทวีปและเกาะตางๆ มีเนือ้ ทีร่ วมกัน 150 ลานตารางกิโลเมตร เมือ่ รวมทัง้ พื้นนํ้าและแผนดินแลว โลกจะมีเนื้อที่รวมประมาณ 525 ลานตารางกิโลเมตร โดยคิดสัดสวน บริเวณผิวของเปลือกโลกจะเปนพื้นนํ้า 2 ใน 3 สวน และสวนที่เปนแผนดิน 1 ใน 3 สวน 8

เกร็ดแนะครู ครูอาจใหนักเรียนที่มีประสบการณใชแผนที่หรือเครื่องมือทางภูมิศาสตรอื่นๆ ออกมาเลาประสบการณการใชแผนที่หรือเครื่องมือทางภูมิศาสตรของตนที่หนา ชั้นเรียน แลวใหชวยกันสรุปประโยชนของเครื่องมือทางภูมิศาสตรเปนผังความคิด ที่กระดานหนาชั้นเรียน จากนั้นนักเรียนบันทึกความรูลงในสมุด

นักเรียนควรรู 1 ลูกโลกจําลอง แนวคิดเกี่ยวกับรูปทรงสัณฐานของโลกอันเปนที่มาของการประดิษฐ ลูกโลกจําลองมีในหลายแหลงอารยธรรมโบราณของโลก เชน กรีก โรมัน และเปอรเซีย อยางไรก็ตามลูกโลกจําลองที่เกาแกที่สุดเทาที่มีการคนพบสรางขึ้นโดยมารติน บีไฮม (Martin Behaim) นักดาราศาสตรชาวเยอรมันในราว ค.ศ.1492 โดยมีรายละเอียด ของแผนดินทวีปเอเชียและทวีปยุโรป แตไมมีรายละเอียดของทะเลและมหาสมุทรที่อยู ระหวางทวีปทั้งสอง รวมถึงแผนดินทวีปอเมริกา เนื่องจากชาวยุโรปยังไมคนพบ

8

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ขอใดกลาวไดถูกตองเกี่ยวกับรูปทรงของโลก 1. มีสัณฐานกลม 2. มีสัณฐานกลมคอนขางแบน 3. มีเสนรอบวงเทากันในทุกดาน 4. มีเสนผานศูนยกลางแนวขั้วโลกเทากับแนวเสนศูนยสูตร วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 2. มีสัณฐานกลมคอนขางแบน เนื่องจากมีเสน ผานศูนยกลางเสนศูนยสูตรยาวกวาเสนผานศูนยกลางขั้วโลกทั้งสองเล็กนอย


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

Explain

1. ครูใหนักเรียนแตละกลุมอธิบายความรูเกี่ยวกับ แผนที่โดยใชคําถาม เชน • ขอมูลที่แสดงบนลูกโลกจําลองประกอบดวย อะไรบาง ยกตัวอยางประกอบพอสังเขป (แนวตอบ ขอมูลที่แสดงบนลูกโลกจําลอง ไดแก ขอมูลลักษณะของผิวโลก คือ บริเวณ ผืนนํ้าที่เปนทะเลและมหาสมุทร แทนดวย สีนํ้าเงินหรือฟาออน และบริเวณผืนดินที่เปน ทวีปและประเทศตางๆ มักแทนดวยสีนํ้าตาล และจะใชสีเขมขึ้นตามระดับความสูงของ พื้นที่ และขอมูลของสวนที่สมมติขึ้น คือ เสนเมริเดียนที่ลากเชื่อมระหวางขั้วโลกเหนือ และขั้วโลกใต และเสนขนานที่ลากขนานกับ เสนศูนยสูตรขึ้นไปทางซีกโลกเหนือและลงไป ทางซีกโลกใต เพื่อบอกพิกัดภูมิศาสตรของ ตําแหนงตางๆ บนพื้นโลกเปนคาละติจูดและ ลองจิจูด) 2. ครูใหนักเรียนแตละกลุมอธิบายความรูเกี่ยวกับ รูปถายทางอากาศโดยใชคําถาม เชน • รูปถายทางอากาศใหขอมูลของสิ่งที่ปรากฏ บนพื้นผิวโลกคอนขางละเอียดเพราะเหตุใด (แนวตอบ รูปถายทางอากาศไดจากการถาย รูปทางอากาศยาน เชน บัลลูน เครื่องบิน และยานอวกาศ โดยขอมูลที่ไดเปนรูปหรือ ขอมูลเชิงเลข ในสวนของกลองถายรูปทาง อากาศมีลักษณะคลายกับกลองถายรูปทั่วไป ในอดีตแตมีขนาดใหญกวา เลนสยาวกวา และใชฟลมขนาดใหญ จึงทําใหขอมูลที่ คอนขางละเอียดสามารถนํามาซอนทับกัน เปนภาพสามมิติของพื้นที่นั้นได)

ดังนั้น การสร รสรางลูกโลกจําลองจึงตองเปน ไปตามสั ด ส ว นของโลก แต เ นื่ อ งจากเมื่ อ มี ก าร ยอสวนเปนลูกโลกจําลองแลว จะพบวาคาความ ยาวของเสนผานศูนยกลางที่เสนศูนยสูตร และ จากขั้วโลกเหนือไปยังขั้วโลกใต จะมีคาไมตาง กันมากนัก จึงเห็นไดวา รูปลูกโลกจําลองมีลกั ษณะ ทรงกลม เพราะมีความแตกตางกันเพียงเล็กนอย เมื่อเปรียบเทียบกับขนาดจริงของโลก 1

2) ขอมูลที่แสดงบนลู สดงบนลูกโลกจําลอง

ลูกโลกจําลองมีหลายแบบตามวัตถุประสงคของ การแสดง ซึ่งอาจแบงไดเปน 2 แบบ ดังนี้ 2.1) ลู ก โลกแสดงลั ก ษณะ าลองเปนหุนจําลองของโลก เพื่อใชแสดงแทน ผิวโลก โดยแบงผิวโลกออกเปน 2 สวนอยาง ลูสัณกโลกจํ ฐานของโลกซึ่งมีลักษณะกลม สามารถแสดงการหมุน ชัดเจน คือ สวนที่เปนพื้นนํ้า ซึ่งไดแก นํ้าทะเล รอบตัวเองของโลกเพือ่ ประกอบการอธิบายการเกิดกลางวัน มหาสมุทรเปนสวนใหญจะแสดงดวยสีนาํ้ เงินออน กลางคืน และอื่นๆ ไดเปนอยางดี และสวนทีเ่ ปนแผนดิน ซึง่ ไดแก รายละเอียดของทวีป ประเทศ ทีต่ งั้ ของเมืองหลวงและเมืองสําคัญ 2.2) สวนทีส่ มมติขนึ้ ลูกโลกจําลองจะแสดงเสนเมริเดียนทีล่ ากจากขัว้ โลกเหนือสู ขัว้ โลกใตและเสนขนานทีล่ ากรอบโลกขนานกับเสนศูนยสตู ร เสนทัง้ สองมีไวเพือ่ บอกพิกดั ภูมศิ าสตร เปนคาของละติจูดและลองจิจูดของตําแหนงตางๆ ที่อยูบนพื้นผิวโลก

1.3 รูปถายทางอากาศ

รูปถายทางอากาศ คือ รูปที่ไดจากการถายทางอากาศ โดยผานเลนสกลองและฟลม หรือ ขอมูลเชิงเลข ซึ่งถายดวยกลองที่นําไปในอากาศยาน อันไดแก บัลลูน เครื่องบิน เปนตน ในสมัย ปจจุบนั มีการถายรูปทางอากาศจากยานอวกาศไดดว ย ปกติการถายรูปทางอากาศจะถายจากเครือ่ ง บินทีม่ กี ารวางแผนการบิน และกําหนดมาตราสวนของแผนทีม่ าแลวเปนอยางดี กลองถายรูปทาง อากาศคลายกับกลองถายรูปทัว่ ไปในอดีตแตมขี นาดใหญกวา เลนสยาวกวา และใชฟล ม ขนาดใหญ ซึ่งปกติจะมีขนาดประมาณ 24 x 24 เซนติเมตร รูปถายทางอากาศจะใหขอมูลที่คอนขางละเอียด นอกจากนี้ รูปถายทางอากาศมีการถายรูปซอนทับพืน้ ทีบ่ นรูปทีต่ อ เนือ่ งกัน จึงสามารถดูเปนภาพ สามมิติหรือทรวดทรงของผิวโลกได ซึ่งเปนปจจัยสําคัญในดานภูมิศาสตร 9

กิจกรรมสรางเสริม ครูอาจใหนักเรียนคนควาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับลูกโลกจําลองในดาน ประวัติความเปนมา ลักษณะและองคประกอบ หรือประโยชนในการศึกษา ภูมิศาสตร คนละ 1 ดาน จากนั้นบันทึกการศึกษาคนควาลงในสมุด

กิจกรรมทาทาย ครูอาจใหนักเรียนคนควาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับลูกโลกจําลองในดาน ประวัติความเปนมา ลักษณะและองคประกอบ วิธีการใชงานตางๆ และ ประโยชนในการศึกษาภูมิศาสตร จากนั้นบันทึกการศึกษาคนควาลงในสมุด

เกร็ดแนะครู ครูควรอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจถึงเทคโนโลยีที่เจริญกาวหนาในปจจุบัน กับความเปลี่ยนแปลงของเครื่องมือทางภูมิศาสตรตาง ๆ ตัวอยางเชน บทบาทของ ลูกโลกจําลองที่สวนใหญใชในการศึกษาวิชาภูมิศาสตร และอุปกรณบันทึกรูปถาย ทางอากาศแบบดิจิทัล ซึ่งมีความสะดวกรวดเร็วและประหยัดกวาการใชอุปกรณ บันทึกแบบฟลมในอดีต

นักเรียนควรรู 1 ขอมูลที่แสดงบนลูกโลกจําลอง นอกจากลักษณะทางภูมิศาสตรโดยทั่วไป และสวนที่มนุษยสมมติขึ้นแลว ลูกโลกจําลองยังสามารถใหขอมูลในดานอื่นๆ เชน วงกลมใหญ คือ ระยะทางที่ใกลที่สุดระหวางสถานที่สองแหง ซึ่งมีประโยชนอยางยิ่ง ในการคมนาคมขนสงทางอากาศ อยางไรก็ตามจากเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารที่เจริญกาวหนา ทําใหบทบาทของลูกโลกจําลองจํากัดอยูในดานการเปนสื่อ การเรียนรูวิชาภูมิศาสตร คูมือครู 9


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

ครูใหนักเรียนแตละกลุมอธิบายความรูเกี่ยวกับ แผนที่โดยใชคําถาม เชน • รูปถายทางอากาศสามารถแบงออกไดเปน กี่ประเภท อะไรบาง (แนวตอบ รูปถายทางอากาศสามารถแบงออก ไดเปน 2 ประเภทใหญๆ คือ รูปถายทาง อากาศแนวดิ่ง และรูปถายทางอากาศแนวเฉียง โดยรูปถายทางอากาศแนวดิ่ง เปนรูปถาย ในแนวที่ตั้งฉากกับพื้นที่นั้นจะไมเห็นแนว ขอบฟา สวนรูปถายทางอากาศแนวเฉียง เปนรูปถายที่เกิดจากการกําหนดแกนกลองใน ลักษณะเฉียง อาจแบงออกไดเปนอีก 2 ชนิด คือ รูปถายทางอากาศแนวเฉียงสูงที่จะเห็น แนวขอบฟา และรูปถายทางอากาศแนวเฉียง ตํ่าที่จะไมปรากฏเสนขอบฟา)

1) ประเภทของรูปถายทางอากาศ รูปถายทางอากาศ มี 2 ประเภทใหญๆ

ิต วิภา วดีร ังส องถ นน

คลองถนน

ถนน

แจงว

ัฒนะ

ถนน พหล โยธิน

คล

คลอ

งเปร มป ร ะชาก ร

ตามลักษณะการถายรูป ดังนี้

ถ นน

อธิบายความรู

อธิบายความรู

อนุสาวรียพิทักษรัฐธรรมนูญ ถนน

รามอ

ินทร

รูปถายทางอากาศ บริเวณอนุสาวรียพ ทิ กั ษรฐั ธรรมนูญ กรุงเทพมหานคร ที่มา : กรมแผนที่ทหาร กระทรวงกลาโหม

1.1) รูปถายทางอากาศแนวดิ่ง เปนรูปถายทางอากาศทีถ่ า ยรูป1ในแนวตัง้ ฉากกับ ผิวโลกและไมเห็นแนวขอบฟา 1.2) รูปถายทางอากาศแนวเฉียง เปนรูปถายที่เกิดจากการกําหนดแกนของกลอง ในลักษณะเฉียง แบงออกเปน 2 ชนิด คือ (1) รูปถายทางอากาศแนว เฉียงสูง ลักษณะรูปถายจะเห็นแนวขอบฟาเปน แนวกวางใหญ (2) รูปถายทางอากาศแนว เฉียงตํ่า เปนรูปถายทางอากาศที่ไมปรากฏเสน ขอบฟาในภาพ

รู ป ถ า ยทางอากาศแนวเฉี ย งสู ง และแนวเฉี ย งตํ่ า ใช แ สดงภาพรวมของพื้ น ที่ แตมีมาตราสวนบนรูปถายทางอากาศแตกตางกัน รูปถายทางอากาศแนวดิ่งมีมาตราสวนในรูป คอนขางคงที่ จึงเปนที่นิยมนํามาใชทําแผนที่

รูปถายทางอากาศแนวเฉียงสูง บริเวณรัฐแคลิฟอรเนีย สหรัฐอเมริกา

รู ป ถ า ยทางอากาศแนวเฉี ย งตํ่ า บริ เ วณรั ฐ อาร คั น ซอ สหรัฐอเมริกา

10

นักเรียนควรรู 1 แนวขอบฟา หรือเสนขอบฟา (horizon) หมายถึง เสนที่แบงระหวางพื้นผิวโลก กับทองฟา หรือเสนที่เปนจุดตัดระหวางสวนที่มองเห็นบนพื้นผิวโลกกับอีกดานหนึ่ง ซึ่งมองไมเห็น อยางไรก็ตามแนวขอบฟาที่แทจริงอาจถูกบดบังหรือบิดเบือนจากสิ่งที่ อยูบนพื้นผิวโลกและปรากฏการณตางๆ ดังนั้นอาจเรียกไดวาเปนเพียงแนวขอบฟาที่ มองเห็นเทานั้น

มุม IT ศึกษาคนควาเพิ่มเติมเกี่ยวกับรูปถายทางอากาศไดที่ http://www.lddservices. org/services/home.php เว็บไซตกลุมบริการแผนที่และภาพถายออรโธสี สํานัก เทคโนโลยีการสํารวจและทําแผนที่ กรมพัฒนาที่ดิน สืบคนขอมูลเกี่ยวกับรูปถายทางอากาศเพิ่มเติมไดที่ http://www.map.dol. go.th/photomap/ เว็บไซตระบบเผยแพรขอมูลรูปถายทางอากาศ กรมที่ดิน

10

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ปจจัยสําคัญที่ทําใหนิยมใชรูปถายทางอากาศแนวดิ่งมาจัดทําแผนที่คืออะไร 1. ความชัดเจน 2. ความสวยงาม 3. มาตราสวนคงที่ 4. สีและรูปรางตางๆ วิเคราะหคําตอบ ในปจจุบันมีการนํารูปถายทางอากาศมาใชในการจัดทํา แผนที่มากขึ้น เพื่อใหไดแผนที่ขอมูลถูกตอง แมนยํา และประหยัดเวลาและ แรงงานในการสํารวจพื้นที่ โดยรูปถายทางอากาศที่จะสามารถนํามาใชในการ จัดทําแผนที่ไดนั้น คือ รูปถายทางอากาศแนวดิ่ง เพราะมีมาตราสวนคอนขาง คงที่ ตางจากรูปถายทางอากาศในแนวเฉียงที่แสดงภาพรวมของพื้นที่เทานั้น ดังนั้นคําตอบคือ ขอ 3.


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

Explain

ครูใหนักเรียนแตละกลุมอธิบายความรูเกี่ยวกับ แผนที่โดยใชคําถาม เชน • หลักการแปลความหมายรูปถายทางอากาศ ที่สําคัญมีอะไรบาง อธิบายพรอมยกตัวอยาง ประกอบพอสังเขป (แนวตอบ หลักการแปลความหมายรูปถาย ทางอากาศที่สําคัญไดแก สี คือ ความ แตกตางของสี เนื่องจากวัตถุตางชนิดกันจะ มีการสะทอนคลื่นแสงตางกัน เชน พื้นที่ที่ ไมมีตนไมปกคลุมจะสะทอนแสงไดมากจึง มีสีออน สวนพื้นที่ปาไมหนาแนนจะสะทอน แสงไดนอยจึงมีสีเขม ขนาดและรูปราง คือ ลักษณะของขนาดและรูปราง เชน สนาม กีฬามีพื้นที่รูปวงรีขนาดใหญ และตําแหนง และความสัมพันธ คือ ตําแหนงของสิ่งตางๆ ที่ปรากฏบนพื้นผิวโลกใหขอมูลจากการแสดง ความสัมพันธซึ่งกันและกัน เชน เรือบริเวณ ชายฝงกับเรือที่อยูกลางทะเล เปนตน) • ประโยชนหลักของรูปถายทางอากาศคืออะไร (แนวตอบ การสํารวจ ติดตาม และวางแผน จัดการพื้นที่ เชน การทําแผนที่ การอนุรักษ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และการ วางผังเมือง เปนตน)

2) หลักการแปลความหมายจากรูปถายทางอากาศ มีหลักการ ดังนี้

2.1) ความแตกตางของความเขมของสี วัตถุตา งชนิดกันจะมีการสะทอนคลืน่ แสง ตางกัน เชน ดินแหงทีไ่ มมตี น ไมปกคลุมจะสะทอนคลืน่ แสงมาก จึงมีสขี าว นํา้ ดูดซับคลืน่ แสงมาก จะสะทอนคลื่นแสงนอย จึงมีสีดํา บอนํ้าตื้นหรือมีตะกอนมากจะสะทอนคลื่นแสงไดดีกวาบอนํ้าลึก หรือเปนนํ้าใส ปาไมแนนทึบจะสะทอนคลื่นแสงนอยกวาปาไมถูกทําลาย ดังนั้น ปาไมแนนทึบจึง มีสีเขมกวาปาถูกทําลาย เปนตน 2.2) ขนาดและรูปราง เชน สนามฟุตบอลรูปสี่เหลี่ยมผืนผาขนาดใหญ เปนตน 2.3) เนือ้ ภาพและรูปแบบ เชน ปาไมธรรมชาติจะมีเรือนยอดเปนจุดเล็กบางใหญบา ง มีระดับสูงตํ่า และเรียงไมเปนระเบียบ สวนปาปลูกจะมีเรือนยอดสูงใกลเคียงกันและเรียงเปน ระเบียบ เปนตน 2.4) ความสูงและเงา ในกรณีที่วัตถุมีความสูง เชน ตนไมสูง ตึกสูง เปนตน เมื่อถายรูปทางอากาศในระดับไมสูงมาก และเปนชวงเวลาเชา หรือเวลาบายจะมีเงา ทําใหชวย ในการแปลความหมายไดดี 2.5) ตําแหนงและความสัมพันธ เชน เรือในแมนํ้า เรือในทะเล รถยนตบนถนน ตางแสดงตําแหนงความสัมพันธซึ่งกันและกัน เปนตน 2.6) ขอมูลประกอบ เชน ใชแผนที่การใชที่ดิน แผนที่ปาไมประกอบการแปล ความหมายดานการใชที่ดินและปาไม เปนตน 2.7) การตรวจสอบขอมูล ผูแ ปลจะตองมีความรูท จี่ ะนําองคประกอบมาผสมผสาน กัน การตรวจสอบขอมูลภาคสนามจะชวยใหการแปลความหมายถูกตองแมนยํามาก แตรูปถาย ทางอากาศที่ถายในชวงปที่แตกตางกันจะชวยทําใหเห็นลักษณะการใชที่ดินที่มีการเปลี่ยนแปลง ตลอดเวลา ทั้งโดยกิจกรรมของมนุษยและตามสภาพธรรมชาติ 3) ประโยชนของรูปถายทางอากาศ มีดังนี้ 1. การสํารวจและทําแผนที่ภูมิประเทศ 2. การใชในกิจการทหารและความมั่นคงของประเทศ 3. การสํารวจและติดตามการเปลี่ยนแปลงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 4. การสํารวจและติดตามการเปลี่ยนแปลงพื้นที​ี่การใชที่ดิน 5. การวางผังเมืองและการสํารวจแหลงโบราณคดี 1 6. การสํสํารวจและการติดตามดานยุทธศาสตรและความมั่นคงของชาติ 11

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’ 52 ออกเกี่ยวกับขอมูลทางภูมิศาสตร ขอใดไมใชขอมูลทุติยภูมิ 1. แผนที่ 2. ผลงานวิจัย 3. ภาพจากดาวเทียม 4. ภาพถายทางอากาศ วิเคราะหคําตอบ ขอมูลทุติยภูมิ คือ ขอมูลที่ไดจากการแปลความ ตีความ วิเคราะหหรือรวบรวมจากขอมูลปฐมภูมิ ภาพถายทางอากาศที่ ถายดวยกลองที่ติดตั้งบนอากาศยานจึงเปนขอมูลปฐมภูมิ ดังนั้นคําตอบ

คือ ขอ 4.

เกร็ดแนะครู ครูและนักเรียนอาจรวมกันแปลความหมายรูปถายทางอากาศ โดยใชหลักการ แปลความหมายดวยความแตกตางของความเขมของสี ขนาดและรูปราง เนื้อภาพ และรูปแบบ ความสูงและเงา ตําแหนงและความสัมพันธ ขอมูลประกอบ และการ ตรวจสอบขอมูล จากนั้นนักเรียนสรุปสาระสําคัญลงในสมุด เพื่อเปนแนวทางในการ ศึกษาดวยตนเองตอไป

นักเรียนควรรู 1 ยุทธศาสตรและความมั่นคงของชาติ เปนบทบาทหนาที่หนึ่งที่สําคัญของ เครื่องมือทางภูมิศาสตร โดยเฉพาะรูปถายทางอากาศและภาพจากดาวเทียม ซึ่งสามารถใชในการสํารวจ รวบรวม ตลอดจนสืบคนขอมูลเพื่อใชในการจัด ทํายุทธศาสตรและวางแผนทางการทหารเพื่อความมั่นคงของชาติ สําหรับใน ประเทศไทยหนวยงานภาครัฐที่มีหนาที่รับผิดชอบหลักในสวนนี้ ไดแก กรมแผนที่ ทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย คูมือครู 11


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูใหนักเรียนแตละกลุมอธิบายความรูเกี่ยวกับ ภาพจากดาวเทียมโดยใชคําถาม เชน • ภาพจากดาวเทียมมีที่มาอยางไร (แนวตอบ การรับขอมูลตัวเลขจากดาวเทียม ที่โคจรอยูรอบโลกของสถานีรับสัญญาณ ดาวเทียมตางๆ โดยดาวเทียมนั้นแปลงขอมูล ภาพทรัพยากรธรรมชาติหรือสิ่งที่มนุษยสราง ขึ้นเปนตัวเลข สถานีรับสัญญาณจึงตองแปลง ขอมูลตัวเลขนั้นกลับเปนภาพอีกครั้งหนึ่ง อยางไรก็ตามขอมูลตัวเลขนั้นสามารถนํามา วิเคราะหเชิงสถิติเพื่อจัดกลุมขอมูลใหม ซึ่ง เปนการแปลความหมายอีกรูปแบบหนึ่งได) 2. ครูใหนักเรียนแตละกลุมสงตัวแทนออกมาเขียน รายละเอียดของดาวเทียมชนิดตางๆ ไดแก ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา ดาวเทียมสมุทรศาสตร ดาวเทียมสํารวจแผนดิน ดาวเทียมสื่อสาร ดาวเทียมเพื่อกําหนดตําแหนงบนพื้นโลก และ ดาวเทียมเพื่อกิจการทหาร ลงในตารางบน กระดานหนาชั้นเรียน เพื่ออธิบายความรู

1.4 ภาพจากดาวเทียม

ดาวเทียม คือ วัตถุทมี่ นุษยสรางขึน้ เลียนแบบดาวบริวารของดาวเคราะห เพือ่ ใหโคจรรอบโลก มีอุปกรณสําหรับเก็บรวบรวมขอมูลเกี่ยวกับอวกาศและถายทอดขอมูลนั้นมายังโลก ดาวเทียม ทีโ่ คจรรอบโลกใชเปนอุปกรณโทรคมนาคมดวย เชน ถายทอดคลืน่ วิทยุและโทรทัศนขา มทวีป หรือ ใชในการบันทึกทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งที่มนุษยสรางขึ้นทั้งบนแผนดินและผืนนํ้า ขอมูลจากดาวเทียม เปนสัญญาณตัวเลขทีไ่ ดรบั ณ สถานีรบั สัญญาณดาวเทียมภาคพืน้ ดิน ในประเทศไทยมีสถานีรบั สัญญาณดาวเทียมสํารวจทรัพยากร ตัง้ อยูท อี่ าํ เภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี และที่เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร และมีสถานีรับสัญญาณของกรมอุตุนิยมวิทยากระจาย ตามภูมิภาคของประเทศ เมื่อสถานีรับสัญญาณภาคพื้นดินไดรับขอมูลตัวเลขที่สงมาแลว จึง แปลงตัวเลขออกเปนภาพอีกครัง้ หนึง่ ซึง่ เรียกวาภาพจากดาวเทียม ทีน่ าํ ไปแปลความหมายตอไปได ในระบบคอมพิวเตอรสามารถนําขอมูลตัวเลขมาวิเคราะหเชิงสถิตเิ พือ่ จัดกลมุ ขอมูลใหม ซึง่ เปนการ แปลความหมายอีกรูปแบบหนึ่งได 1) ชนิดของดาวเทียม แบงออกได ดังนี้ 1.1) ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา เปนดาวเทียมที่บันทึกขอมูลดานอุตุนิยมวิทยา ดาวเทียมบางดวงจะโคจรรอบโลกในอัตราเร็วเทากับการหมุนของโลกและอยูในแนวตะวันออกตะวันตกเสมอ เชน ดาวเทียม GMS ดาวเทียม GOES เปนตน ซึ่งจะมีการบันทึกขอมูลภูมอิ ากาศ เกือบตลอดเวลา จึงเปนประโยชนมากในการพยากรณอากาศและการเตือนภัย 1.2) ดาวเทียมสมุทรศาสตร เปนดาวเทียมที่บันทึกขอมูลสมุทรศาสตร เชน 1.2) ดาวเทียม SEASAT จะบันทึกขอมูลดานสมุทรศาสตร และดาวเทียม MOS (Marine Observation Satellite) นอกจากจะใชในการสํารวจดานสมุทรศาสตรแลว ยังนํามาใชในงานสํารวจบนแผนดิน แตไมเปนที่นิยมมากนัก เปนตน 1.3) ดาวเทียมสํารวจแผนดิน เปนดาวเที 2 ยมทีบ่ นั ทึกขอมูลของผิวโลก จึงมีการนํา มาใชประโยชนมากมาย เชน ดาวเทียมธีออส THEOS ดาวเทียมสํารวจทรัพยากรดวงแรกของไทย สวนดาวเทียม LANDSAT ของสหรัฐอเมริกา ดาวเทียม SPOT ของประเทศฝรั่งเศส ดาวเทียม ERS ของกลุมประเทศยุโรป ดาวเทียม RADARSAT ของประเทศแคนาดา เปนตน

ดาวเทียม RADARSAT-1

12

EB GUIDE

นักเรียนควรรู 1 ดาวเทียม ถูกนํามาใชสํารวจทรัพยากรธรรมชาติเปนครั้งแรกโดยองคการนาซา (The National Aeronautics and Space Administration : NASA) สหรัฐอเมริกา ในโครงการ ERTS-1 ซึ่งสามารถสงดาวเทียมสํารวจทรัพยากรดวงแรกของโลก คือ ERTS-1 (Landsat-1) ขึ้นสูวงโคจรไดสําเร็จใน พ.ศ.2515 2 ดาวเทียมธีออส THEOS ดาวเทียมสํารวจทรัพยากรดวงแรกของไทยไดขึ้นสู อวกาศเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2551 โดยจรวดนําสง เนปเปอร (Dnepr) จากฐาน จรวดเมืองยาสนี สหพันธรัฐรัสเซีย เมื่อดาวเทียมขึ้นสูวงโคจรเปนอิสระแลวไดติดตอ กับสถานีรับสัญญาณที่เมืองคิรูนา ประเทศสวีเดน เปนครั้งแรก สวนในประเทศไทย สถานีรับสัญญาณแรก คือ สถานีควบคุมและรับสัญญาณ THEOS ตั้งอยูที่อําเภอ ศรีราชา จังหวัดชลบุรี

12

คูมือครู

1

ดาวเทียม SPOT

ดาวเทียม THEOS

http://www.aksorn.com/LC/Geo/M4-6/02

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ความรูพื้นฐานที่มีสวนชวยใหมนุษยประดิษฐดาวเทียมคืออะไร 1. ดาวหางและอุกกาบาต 2. ดาวบริวารของดาวเคราะห 3. เทหวัตถุฟากฟาประเภทตางๆ 4. ดวงจันทรของดาวเคราะหและดาวฤกษ วิเคราะหคําตอบ ดาวเทียม คือ สิ่งที่มนุษยประดิษฐขึ้นเลียนแบบดาวบริวาร ของดาวเคราะหตางๆ โดยโคจรรอบโลกและมีอุปกรณสําหรับเก็บรวบรวม ขอมูลตามวัตถุประสงคของการสรางดาวเทียมนั้น แลวสงขอมูลกลับสูสถานี รับสัญญาณบนพื้นโลก ดังนั้นคําตอบคือ ขอ 2.


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

Explain

ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับการแปล ความหมายภาพจากดาวเทียมที่นักเรียนศึกษามา แลวใหนักเรียน 2 กลุม ชวยกันอธิบายการแปล ความหมายภาพจากดาวเทียมในกรณีตางๆ ตามลําดับ ดังนี้ • กรณีที่พิมพขอมูลเปนภาพพิมพ • กรณีที่เปนขอมูลตัวเลข แลวครูใหนักเรียนชวยกันสรุปสาระสําคัญ เกี่ยวกับการแปลความหมายภาพจากดาวเทียม

1.4) ดาวเทียมสื่อสาร เปนดาวเทียมเพื่อการติดตอสื่อสารและโทรคมนาคม เชน การรับสงสัญญาณโทรศัพท โทรสาร ขาวสาร ภาพโทรทัศน รายการวิทยุ ขอมูลขาวสาร คอมพิวเตอร เปนตน ดาวเทียมสื่อสารเปนดาวเทียมคางฟาที่อยูคงที่บนฟาของประเทศใด ประเทศหนึ่งตลอดเวลา โดยหลายประเทศจะมี ดาวเทียมสื่อสารภายในประเทศของตนเอง เชน 1 ประเทศไทยมีดาวเทียมไทยคม ประเทศญี่ปุนมีดาวเทียมซากุระ ประเทศฝรั่งเศสมีดาวเทียมยูริ สหรัฐอเมริกามีดาวเทียมเวสดาร แคนาดามีดาวเทียมแอนิค เปนตน 1.5) ดาวเทียมเพื่อกําหนดตําแหนงบนพื้นโลก เปนดาวเทียมที่ใชในการสํารวจ หาตําแหนงของวัตถุบนพื้นโลก ซึ่งสามารถนํามาใชประโยชนไดหลายดาน เชน เปนเครื่องมือ นํารองยานพาหนะตางๆ จากที่หนึ่งไปสูอีกที่หนึ่ง การกําหนดตําแหนงเพื่อวางแผนกอสรางระบบ สาธารณูปโภค การหาตําแหนงของสถานที่ที่ตองการเดินทางไปโดยใชระยะทางที่สั้นที่สุด เปนตน 1.6) ดาวเทียมเพือ่ กิจการทหาร เปนดาวเทียมทีใ่ ชในภารกิจของทหาร การถายภาพ จารกรรมความลับของขาศึก การศึกษาแนวพรมแดน การกําหนดเปาโจมตีทางทหาร ดาวเทียมทหาร มักจะเปนความลับของทุกประเทศ และดาวเทียมทัว่ ไปก็อาจมีการติดตัง้ อุปกรณพเิ ศษเสริมเพือ่ ใช งานทางทหาร เชน การใชดาวเทียมสือ่ สารในการติดตอระหวางกองทัพกับฐานทัพ การใชดาวเทียม อุตุนิยมวิทยาในการสํารวจอากาศที่เหมาะสมสําหรับการปฏิบัติการทางทหารตาง ๆ เปนตน 2) การแปลความหมายภาพจากดาวเทียม สามารถทําได ดังนี้ 2.1) ในกรณีที่พิมพขอมูลเปนภาพพิมพ อาจจะเปนภาพขาว - ดํา หรือภาพสี จะแปลความหมายโดยใชวิธีเดียวกับการแปลความหมายจากรูปถายทางอากาศ 2.2) ในกรณีที่เปนขอมูลตัวเลข ขอมูลตัวเลขที่ไดจากดาวเทียมจะถูกแปลงเปน ภาพอีกครั้งหนึ่ง โดยใชเครื่องคอมพิวเตอรที่มีโปรแกรมเฉพาะในการแปลความหมาย อาจจะให เครื่องคอมพิวเตอรและโปรแกรมชวยจัดกลุมขอมูลตามหลักสถิติ แลวจึงกําหนดกลุมขอมูล ตามวัตถุประสงคตอไป 3) ประโยชนของขอมูลจากดาวเทียม ขอมูลจากดาวเทียมมีประโยชน ดังนี้ 3.1) ดานการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดลอม หลังจากที่ไดมีการศึกษาและ วางแผนอยางมีระบบ และไดมีการดําเนินงานในพื้นที่แลว เชน พื้นที่ที่ควรคืนสภาพปา พื้นที่ที่ อนุญาตใหตดั ไม จําเปนตองมีวธิ กี ารจัดการอยางตอเนือ่ ง เชน การเขาไปสังเกตการณ การตรวจวัด หรือตรวจสอบ แตถาพื้นที่นั้นเปนพื้นที่ที่มีขนาดใหญ การติดตามตรวจสอบทําไดยากและมี คาใชจายสูง จึงมีการนําขอมูลจากดาวเทียมมาใช 13

บูรณาการเชื่อมสาระ

ครูสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรูบูรณาการกลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตร วิชากระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก ดาราศาสตร และอวกาศ เรื่องดาวเทียมและประโยชนของดาวเทียม โดยอธิบายถึงวิวัฒนาการของ ดาวเทียม การสงดาวเทียมดวยวิธีการตางๆ และประโยชนของดาวเทียม ในปจจุบัน จากนั้นใหนักเรียนสืบคนขอมูลของดาวเทียมที่ใหขอมูลทาง ภูมิศาสตรดวงที่ตนสนใจ แลวจัดทําเปนแผนภาพประกอบขอมูล ตกแตงให สวยงาม

นักเรียนควรรู 1 ดาวเทียมไทยคม ชุดของดาวเทียมของไทยที่ใชในการสื่อสารโทรคมนาคม รวมถึงใชในการสื่อสารระหวางเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติที่ระบบสื่อสารตามปกติ เกิดการขัดของ ปจจุบันมีทั้งหมด 4 ดวง นอกจากนี้ใน พ.ศ. 2551 ยังมีการปลอย ดาวเทียมธีออส (THEOS : Thailand Earth Observation Satellite) ขึ้นสูวงโคจร เพื่อใชในการสํารวจทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ซึ่งตอมาใน พ.ศ. 2554 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวพระราชทานชื่อวา ดาวเทียมไทยโชต ซึ่งมีความหมาย ถึง ดาวเทียมที่ชวยสงเสริมใหประเทศไทยเจริญรุงเรือง

มุม IT ศึกษาการใชขอมูลดาวเทียมในการจัดการภัยธรรมชาติตางๆ เพิ่มเติมไดที่ http://www.gistda.or.th/gistda_n/index.php/gallery-events เว็บไซตสํานักงาน พัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องคการมหาชน) คูมือครู

13


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

ครูอภิปรายรวมกันกับนักเรียนถึงประโยชนของ ภาพจากดาวเทียมในแตละดาน ไดแก • ดานการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม • ดานการทําแผนที่ • ดานอุตุนิยมวิทยา จากนั้นใหนักเรียนชวยกันสรุปผลการอภิปราย และบันทึกลงในสมุด

ตัวอยางเชน จากการสํารวจพบวาในป พ.ศ. 2516 ไทยมีพื้นที่ปาไมรอยละ 43.21 ของ พื้นที่ประเทศ แตในป พ.ศ. 2536 ลดเหลือเพียงรอยละ 26.02 ของพื้นที่ประเทศ จากขอมูลนี้จึง ทําใหตองมีการรณรงคเพื่อรักษาพื้นที่ปาไมใหมากขึ้น เปนตน นอกจากนี้ขอมูลจากดาวเทียมยัง ใชในการศึกษาติดตามการเปลีย่ นแปลงพืน้ ทีป่ า ไม โดย เฉพาะปาตนนํา้ ลําธาร สํารวจพืน้ ทีป่ า อุดมสมบูรณและ ปาเสือ่ มโทรมทัว่ ประเทศ ศึกษาไฟปา หาพืน้ ทีท่ เี่ หมาะ สําหรับการปลูกสรางสวนปาแทนบริเวณที่ถูกบุกรุก 3.2) ดานการทําแผนที่ ขอมูลจากดาวเทียม สามารถนํามาสรางเปนแผนที่เฉพาะเรื่อง เชน แผนที่ ธรณีวทิ ยา แผนทีด่ นิ เปนตน ซึง่ จะมีการเปลีย่ นแปลงชา และขอมูลบางชนิดทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงรวดเร็ว เชน การ เคลื่อนยายของสัตวปา การใชที่ดิน เปนตน สําหรับใน ประเทศไทยยังมีการใชประโยชนขอมูลจากดาวเทียม ภาพจากดาวเทียมแสดงพืน้ ทีป่ า ไม (พืน้ ทีส่ แี ดง) คอนขางจํากัดสําหรับการจัดทําแผนที่เฉพาะเรื่อง ในจังหวัดเชียงใหม บทบาทสําคัญของขอมูลดาวเทียมจึงใชในการปรับปรุง แผนที่เดิมที่มีอยูแลว เชน การปรับปรุงแผนที่ภูมิประเทศ การเปลี่ยนแปลงการใชที่ด1ิน เปนตน ขอมูลสวนใหญไดจากดาวเทียมสํารวจทรัพยากรที่สําคัญ เชน ดาวเทียม LANDSAT ดาวเทียม SPOT และ MOS-1 เปนตน

ภาพจากดาวเทียมรายละเอียดสูงแสดงสิ่งกอสรางและเสนทางคมนาคมตางๆ บริเวณกรุงเทพมหานคร เปนขอมูลสําคัญ ในการใชทําแผนที่ตางๆ

14

เกร็ดแนะครู ครูควรนําภาพจากดาวเทียมที่แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ในลักษณะ ตางๆ มาใหนักเรียนพิจารณา เชน บริเวณชายฝงทะเลอันดามันกอนประสบภัย สึนามิและภายหลังประสบภัย การเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ปาสงวน พรอมทั้งอธิบาย ถึงความสําคัญของการใชภาพจากดาวเทียมในการสํารวจติดตามขอมูลการ เปลี่ยนแปลงของทรัพยากรธรรมชาติ รวมถึงการจัดทําแผนที่ เพื่อใหนักเรียน เกิดความรูความเขาใจในประโยชนของภาพจากดาวเทียมไดชัดเจนยิ่งขึ้น

นักเรียนควรรู 1 ดาวเทียม LANDSAT ชุดของดาวเทียมสํารวจทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอมของสหรัฐอเมริกา ที่เริ่มโครงการตั้งแต ค.ศ. 1972 กระทั่งในปจจุบัน ดาวเทียมดวงลาสุดที่สงขึ้นสูวงโคจรใน ค.ศ.1999 ไดแก LANDSAT 7

14

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ภาพจากดาวเทียมมีประโยชนในการจัดการพื้นที่อยางไรบาง อธิบายพรอม ยกตัวอยางประกอบพอสังเขป แนวตอบ ภาพจากดาวเทียมแสดงขอมูลของพื้นที่ซึ่งอาจมีการเปลี่ยนแปลง ในดานตางๆ เชน ความเสื่อมโทรมของพื้นที่ปาไม การขยายตัวของเขตเมือง การกัดเซาะชายฝงของนํ้าทะเล นอกจากนี้ยังใหขอมูลเกี่ยวกับแหลง ทรัพยากรธรรมชาติตางๆ เชน แรธาตุ ทําใหหนวยงานที่เกี่ยวของสามารถ วางแผนในการจัดการพื้นที่ไดอยางมีประสิทธิภาพ


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ขยายความเขาใจ

Expand

ครูมอบหมายใหนักเรียนแตละกลุมใชเครื่องมือ ทางภูมิศาสตรที่ตนไดศึกษามา เพื่อศึกษารวบรวม ขอมูลทางภูมิศาสตรในชุมชนของตน กลุมละ 1 ดาน เชน ลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม การใช ประโยชนที่ดิน และสถานที่ทองเที่ยว เปนตน แลวจัดทําเปนบันทึกการศึกษาขอมูลทางภูมิศาสตร ในชุมชน พรอมทั้งสงตัวแทนกลุมออกมานําเสนอ ผลงานที่หนาชั้นเรียน

3.3) ดานอุตนุ ยิ มวิทยา ขอมูลจากดาวเทียมสามารถนํามาใชในการติดตามลักษณะ อากาศในชวงเวลาตลอด 24 ชัว่ โมง ทําใหการพยากรณอากาศมีความถูกตองแมนยําและทันเหตุการณ

ตรวจสอบผล ภาพจากดาวเทียม MTSAT-2 แสดงพายุไตฝุนเมกี บริเวณทะเลจีนใต เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2553

Evaluate

1. ครูและนักเรียนชวยกันตรวจบันทึกการศึกษา ขอมูลทางภูมิศาสตรในชุมชนของแตละกลุม โดยพิจารณาจากความสมบูรณของขอมูล จากนั้นอภิปรายรวมกันถึงผลงานที่ดีและ แนวทางการปรับปรุงผลงานในอนาคต 2. ครูสังเกตพฤติกรรมการมีสวนรวมในกิจกรรม การเรียนรู เชน การตอบคําถาม การแสดง ความคิดเห็น และการนําเสนอหนาชั้นเรียน เปนตน

ภาพแสดงอุณหภูมิผิวนํ้าทะเล ซึ่งไดจากการวิเคราะห ขอมูลจากดาวเทียม (สีโทนสมแดง คือ บริเวณทีอ่ ณ ุ หภูมสิ งู )

ขอมูลจากดาวเทียมมีประโยชนอยางยิ่งในการปองกันและเตือนภัยพิบัติ ลดความ สูญเสียที่เกิดจากสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลง เชน การเกิดฝนฟาคะนอง การเคลื่อนตัวของพายุ การเกิดนํ้าทวม เปนตน ทําใหสามารถวางแผนการชวยเหลือและฟนฟูไดอยางเหมาะสม ในปจจุบันดาวเทียมมีบทบาทมากขึ้นในหลายดาน ทั้งดานเศรษฐกิจ ดานความ บันเทิง ดานการติดตอสื่อสาร ดานการทหาร ดานธรณีวิทยา ดานอุตุนิยมวิทยา หรือแมแตดาน คมนาคม และดาวเทียมก็ยงั ถูกพัฒนาตอไปอยางไมหยุดยัง้ จนกาวไปสูร ะบบอุตสาหกรรมดาวเทียม

2. ÀÙÁÔÊÒÃʹà·ÈÈÒʵà ภูมิสารสนเทศศาสตร (Geoinformatics) คือ ศาสตรสารสนเทศที่เนนการบูรณาการ เทคโนโลยีทางดานการสํารวจ การทําแผนที่ และการวิเคราะหขอมูลเชิงพื้นที่เขาดวยกัน เพื่อ ศึกษาเกี่ยวกับพื้นที่บนโลก ประกอบดวย ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (GIS) การรับรูจาก ระยะไกล (RS) และระบบกําหนดตําแหนงบนพื้นโลก (GPS) เทคโนโลยีทั้งสามประเภทนี้ สามารถทํางานเปนอิสระตอกัน หรือสามารถนํามาเชื่อมโยงรวมกัน ทําใหประสิทธิภาพเพิ่ม มากขึ้น สามารถนํามาใชประโยชนไดหลายดาน เชน กิจการทหาร การจัดการทรัพยากร ธรรมชาติ การจัดการภัยพิบัติตางๆ การวางผังเมืองและชุมชน หรือแมแตในเชิงธุรกิจก็ไดมี การนําเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศศาสตรมาประยุกตใชและประกอบการวางแผนการตัดสินใจ ในเรื่องตางๆ ไดอยางถูกตอง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ

กิจกรรมสรางเสริม ครูอาจนําภาพจากดาวเทียมจากแหลงขอมูลตางๆ เชน Google Maps มาใหนักเรียนพิจารณา แลวแปลความหมายพอสังเขป

กิจกรรมทาทาย ครูใหนักเรียนศึกษาคนควาภาพจากดาวเทียมจากแหลงขอมูลตางๆ ตามความถนัดและความสนใจ เชน Google Maps เว็บไซตของหนวยงาน ภาครัฐ แลวแปลความหมายภาพจากดาวเทียมนั้น

15

เกร็ดแนะครู ครูอาจเตรียมวีดิทัศนหรือภาพจากดาวเทียมแสดงสภาพอากาศบริเวณประเทศไทย และประเทศเพื่อนบาน จากแหลงขอมูลตางๆ เชน เว็บไซตของกรมอุตุนิยมวิทยา เพื่อนํามาใหนักเรียนพิจารณารวมกัน แลวสอบถามถึงขอมูลดานสภาพอากาศใน ประเทศไทยและประเทศเพื่อนบานที่ปรากฏในภาพจากดาวเทียม ทั้งนี้เพื่อใหนักเรียน เขาใจประโยชนและความสําคัญของภาพจากดาวเทียมในดานการใหขอมูลสภาพ อากาศและการพยากรณอากาศไดชัดเจนยิ่งขึ้น

มุม IT ศึกษาขอมูลดานอุตุนิยมวิทยาจากดาวเทียมเพิ่มเติมไดที่ http://www.satda. tmd.go.th/ เว็บไซตกรมอุตุนิยมวิทยา ศึกษาความรูการใชประโยชนจากดาวเทียมไทยคมเพิ่มเติมไดที่ http://www. thaicom.net/sattel_thaicome5_th_asp เว็บไซตบริษัท ไทยคม จํากัด (มหาชน) คูมือครู

15


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

กระตุน ความสนใจ

อธิบายความรู Explain

Geographic Information System : GIS

Remote Sensing : RS

Global Positioning System: GPS

ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ระบบขอมูลขาวสารที่เชื่อมโยงกับคา พิ กั ด ภู มิ ศ าสตร แ ละรายละเอี ย ดของ วัตถุบนพื้นโลก

การรับรูจากระยะไกล ระบบสํ า รวจเก็ บ ข อ มู ล เกี่ ย วกั บ พื้ น ผิ ว โลกด ว ยเครื่ อ งรั บ รู  ซึ่ ง ติ ด ไปกั บ ดาวเทียมหรือเครื่องบิน

ระบบกําหนดตําแหนงบนพื้นโลก เทคโนโลยีที่ใชกําหนดตําแหนงบนพื้น โลกโดยอาศัยดาวเทียม สถานีภาคพื้น ดิน และเครื่องรับจีพีเอส

ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (Geographic Information System) หรือ จีไอเอส (GIS) หมายถึง ระบบขอมูลทีเ่ ชือ่ มโยงพืน้ ทีก่ บั คาพิกดั ภูมศิ าสตร และรายละเอียดของพืน้ ทีน่ นั้ บนพืน้ โลก โดยใชคอมพิวเตอร 1 ที่ประกอบดวย ฮารดแวรและซอฟตแวรเพื่อการนําเขา จัดเก็บ ปรับแก แปลง วิเคราะหขอ มูล และแสดงผลลัพธในรูปแบบตางๆ เชน แผนที่ ภาพสามมิติ สถิตติ ารางขอมูลรอยละ เพื่อชวยในการวางแผนและตัดสินใจของผูใชใหมีความถูกตองแมนยํา ระบบสารสนเทศภูมิศาสตรเปนระบบที่สามารถบันทึกขอมูลเพื่อที่จะแสดงสภาพพื้นที่จริง จึงมีการจัดเก็บขอมูลประเภทตางๆ เปนชั้นๆ (layer) ซึ่งชั้นขอมูลเหลานี้เมื่อนํามาซอนทับกันจะ แสดงสภาพพื้นที่จริงได 1) องคประกอบของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร องคประกอบที่สําคัญของระบบ สารสนเทศภูมิศาสตร ประกอบดวย 1.1) ขอมูล ประกอบดวย ขอมูลเชิงพื้นที่ เปนขอมูลที่เปนพิกัดทางภูมิศาสตร แสดงคาละติจูดและลองจิจูด ไดแก ขอมูลจุด เชน โรงเรียน ขอมูลเสน เชน ทางรถไฟ ขอมูล รูปปด เชน ขอบเขตจังหวัด เปนตน

Explain

16

EB GUIDE

นักเรียนควรรู 1 วิเคราะหขอมูล ขอมูลของสิ่งตางๆ ที่ปรากฏบนพื้นโลกซึ่งไดจากการสํารวจ และรวบรวมของเครื่องมือทางภูมิศาสตร เมื่อผานการวิเคราะหประมวลผลแลว สามารถจัดทําเปนระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (Management Information System : MIS) เชน รายงานจํานวนประชากรในพื้นที่ ปริมาณนํ้าฝนในแตละพื้นที่ มีประโยชนในการจัดการพื้นที่ขอมูลจึงตองพัฒนาไปตามความเหมาะสมอยูเสมอ อยางไรก็ตามระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการจะแสดงขอมูลเปนภาพเพียงอยางเดียว ไมสามารถเชื่อมโยงขอมูลประเภทตางๆ เขาดวยกันเชนเดียวกับระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตรได

คูมือครู

Evaluate

2.1 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร

Explore

ครูสุมนักเรียนใหออกมาเขียนรายละเอียดของ ภูมิสารสนเทศศาสตรแตละประเภท ไดแก ระบบ สารสนเทศภูมิศาสตร (Geographic Information System : GIS) การรับรูจากระยะไกล (Remote Sensing : RS) และระบบกําหนดตําแหนงบนพื้นโลก (Global Positioning System : GPS) ที่กระดาน หนาชั้นเรียนตามลําดับหัวขอ

16

Expand

องคประกอบภูมิศาสตรสารสนเทศศาสตร

ครูอภิปรายรวมกันกับนักเรียนถึงความหมาย ความสําคัญ และองคประกอบของภูมิสารสนเทศศาสตร จากนั้นใหนักเรียนศึกษาความรูเกี่ยวกับ ภูมิสารสนเทศศาสตรจากหนังสือเรียน หนา 15-23 และแหลงการเรียนรูอื่นๆ เชน หนังสือในหองสมุด เว็บไซตของหนวยงานภาครัฐและเอกชน เปนตน

อธิบายความรู

ตรวจสอบผล

Engage

ครูนําเครื่องมือที่เกี่ยวของกับภูมิสารสนเทศศาสตรมาใหนักเรียนพิจารณารวมกัน เชน รูปถาย ทางอากาศ ภาพจากดาวเทียม เครื่องรับระบบ กําหนดตําแหนงบนพื้นโลก หรือ GPS และ http:// maps.google.co.th/ เว็บไซต Google Maps แลวตั้งคําถามเกี่ยวกับความรูและความสําคัญของ ภูมิสารสนเทศศาสตรใหนักเรียนชวยกันตอบ เชน • นักเรียนมีความรูเกี่ยวกับภูมิสารสนเทศศาสตรที่ครูนํามาใหพิจารณาอยางไร (แนวตอบ เครื่อง GPS รับสัญญาณคลื่นวิทยุ จากดาวเทียมที่โคจรอยูรอบโลกแลวแสดง ภาพบนหนาจอ ใหขอมูลเกี่ยวกับเสนทางการ คมนาคม ตําแหนงที่ตั้งของสถานที่ตางๆ สภาพการจราจร ซึ่งในปจจุบันเครื่อง GPS มีขนาดเล็กลง ใชงานไดงายขึ้น และมีราคา ไมสูงมากนัก บุคคลทั่วไปจึงสามารถนํามาใช ประโยชนในชีวิตประจําวันได)

สํารวจคนหา

ขยายความเขาใจ

http://www.aksorn.com/LC/Geo/M4-6/03

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

การสํารวจขอมูลของภูมิสารสนเทศศาสตรชนิดใดแตกตางจากขออื่น 1. ภาพจากดาวเทียม 2. การรับรูจากระยะไกล 3. ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร 4. ระบบกําหนดตําแหนงบนพื้นโลก วิเคราะหคําตอบ ดาวเทียมเปนเครื่องมือหลักในการสํารวจขอมูล ภูมิสารสนเทศศาสตรชนิดตาง ๆ โดยเฉพาะระบบสารสนเทศภูมิศาสตรและ ระบบกําหนดตําแหนงบนพื้นโลก สวนการรับรูจากระยะไกลมีเครื่องมือเก็บ ขอมูลแบงออกไดเปน 2 สวน คือ ดาวเทียม และอากาศยานตางๆ เชน เครื่องบิน บัลลูน เปนตน ดังนั้นคําตอบคือ ขอ 2.


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

Explain

นักเรียนเขียนรายละเอียดของภูมิสารสนเทศศาสตรที่กระดานหนาชั้นเรียน • องคประกอบของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (แนวตอบ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร มีองคประกอบ 5 ดาน ไดแก ขอมูล คือ ขอมูลเชิงพื้นที่มีลักษณะเปนจุด เชน โรงเรียน วัด ขอมูลเสน เชน ถนน แมนํ้า ทางรถไฟ และขอมูลรูปปด เชน ขอบเขต ของอําเภอ จังหวัด และขอมูลคําอธิบาย เปนขอมูลประกอบขอมูลเชิงพื้นที่ สวนชุด คําสั่ง หรือซอฟตแวร คือ โปรแกรม คอมพิวเตอรที่ใชในการจัดการขอมูล สวนเครื่อง หรือฮารดแวร คือ อุปกรณที่ใช กับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร กระบวนการ วิเคราะห คือ การวิเคราะหขอมูลชั้นตางๆ ตามวัตถุประสงค และบุคลากร คือ ผูที่มี ความรูความสามารถดานระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร รวมถึงพัฒนาระบบใหมีคุณภาพ อยูเสมอ)

ขอมูลคําอธิบาย เปนขอมูลประกอบขอมูลเชิงพื้นที่ เชน ขอมูลเกี่ยวกับจํานวน ครูและนักเรียนในโรงเรียน เปนตน 1.2) สวนชุดคําสัง่ หรือซอฟตแวร เปนโปรแกรมคอมพิวเตอรทใี่ ชจดั การขอมูลใน ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร โปรแกรมที่นิยมใช เชน ArcView, MapInfo เปนตน 1.3) สวนเครื่อง หรือฮารดแวร เปนอุปกรณตางๆ ที่ใชกับโปรแกรมระบบ สารสนเทศภูมิศาสตร ประกอบดวย คอมพิวเตอร เครื่ีองอานพิกัดหรือเครื่องกราดภาพ แปนพิมพอักขระ เครื่องพิมพ รวมถึงเครื่องระบบกําหนดตําแหนงบนพื้นโลก 1.4) กระบวนการวิเคราะห เปนการวิเคราะหขอมูลชั้นตางๆ ซึ่งแตละชั้นอาจ ประกอบไปดวยขอมูลจุด ขอมูลเสน และขอมูลรูปปด โดยอาจวิเคราะหขอมูลจากฐานขอมูล เพียงชั้นเดียว หรือวิเคราะหจากขอมูลหลายชั้น 1.5) บุคลากร เปนองคประกอบทีส่ าํ คัญที่สดุ ของระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร โดย บุคลากรควรเปนผูที่มีความรูความเขาใจดานระบบสารสนเทศภูมิศาสตรเปนอยางดี และมีการ พัฒนาโปรแกรม อุปกรณ และขอมูลของระบบสารสนเทศภูมิศาสตรใหมีคุณภาพอยูเสมอ 1 ชั้นขอมูลของเสนแสดงชั้นความสูง ชั้นขอมูลของเสนแบงเขตปกครอง ชั้นขอมูลของเสนทางคมนาคม ชั้นขอมูลดานอุทกวิทยา ชั้นขอมูลการตั้งถิ่นฐาน ชั้นขอมูลการใชที่ดิน

สภาพพื้นที่จริง

ภาพจําลองแสดงการซอนทับของขอมูลในการจัดทําระบบสารสนเทศภูมิศาสตร

17

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ขอใดกลาวไดถูกตองเกี่ยวกับองคประกอบของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร 1. ขอมูลเปนเชิงตัวเลขและการเปลี่ยนแปลงทางสถิติ 2. วิเคราะหขอมูลจากฐานขอมูลเพียงชั้นเดียวหรือหลายชั้น 3. บุคลากรเปนผูวิเคราะหขอมูลดวยสายตาและการคํานวณทางสถิติ 4. สวนเครื่อง คือ เครื่องรับระบบกําหนดตําแหนงบนพื้นโลกและภาพจาก ดาวเทียม

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 2. วิเคราะหขอมูลจากฐานขอมูลเพียงชั้น เดียวหรือหลายชั้น ตามวัตถุประสงคของผูใช เนื่องจากระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร จัดเก็บขอมูลของพื้นที่ในดานตางๆ เชน ลักษณะภูมิประเทศ ทรัพยากรธรรมชาติ การใชพื้นที่ เปนฐานขอมูลชั้นตางๆ การวิเคราะหขอมูล จึงอาจวิเคราะหจากฐานขอมูลเพียงชั้นเดียวหรือหลายชั้นก็ได

เกร็ดแนะครู ครูอาจนําแผนใสที่มีขอมูลดานตางๆ ของทองถิ่นหรือประเทศ เชน ลักษณะ ภูมิประเทศ เสนทางการคมนาคม การตั้งถิ่นฐานและการใชที่ดิน มาวางซอนทับกัน ใหนักเรียนพิจารณา เพื่อใหนักเรียนเขาใจถึงการซอนทับกันของชั้นขอมูลในการ จัดทําระบบสารสนเทศภูมิศาสตรไดชัดเจนขึ้น

นักเรียนควรรู 1 เสนแสดงชั้นความสูง หรือเสนชั้นความสูง (Contour Line) คือ เสนที่แสดง ลักษณะความสูง-ตํ่าของพื้นที่ เปนเสนสมมติที่ไดจากการลากเสนคงที่ผานจุดตางๆ บนพื้นดินที่มีคาระดับความสูงเทากัน เสนชั้นความสูงที่มีคาเปนบวก คือ เสนที่แสดง คาความสูงเหนือระดับทะเลปานกลาง สวนเสนชั้นความสูงที่มีคาเปนลบ คือ เสนที่ แสดงคาความสูงใตระดับทะเลปานกลาง นอกจากนี้ยังแสดงลักษณะความชันของ ภูเขาจากความหาง-ชิดของเสนไดอีกดวย คูมือครู

17


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

นักเรียนเขียนรายละเอียดของภูมิสารสนเทศศาสตรที่กระดานหนาชั้นเรียน • ประโยชนของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (แนวตอบ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตรมี ประโยชนในดานการจัดการพื้นที่เปนหลักจึง ถูกใชมากในหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชน โดยใหขอมูลเพื่อการจัดการดานเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และที่สําคัญ คือ การจัดการภัยธรรมชาติ ในสวนของบุคคลทั่วไประบบสารสนเทศ ภูมิศาสตรก็มีประโยชนในการบอกตําแหนง ของสถานที่ ชื่อสถานที่ พิกัดทางภูมิศาสตร จึงชวยในการวางแผนการเดินทางได) • การทํางานของการรับรูจากระยะไกล (แนวตอบ การรับรูจากระยะไกลเปนการสํารวจ บันทึกขอมูลเกี่ยวกับพื้นผิวโลกดวยเครื่อง รับรู (Sensors) ที่ติดกับยานดาวเทียมหรือ เครื่องบิน โดยเครื่องจะตรวจจับพลังงานที่ สะทอนมาจากวัตถุบนพื้นผิวโลก จากนั้นจะ แปลงขอมูลเชิงตัวเลขเปนภาพและจัดทําเปน แผนที่ ทั้งนี้การรับรูจากระยะไกลมีทั้งระบบ ที่วัดพลังงานธรรมชาติ คือ พลังงานแสง อาทิตย และพลังงานที่สรางจากดาวเทียม เปนพลังงานแมเหล็กไฟฟาหลายชวงคลื่น เชน ชวงคลื่นอินฟราเรด ชวงคลื่นไมโครเวฟ เปนตน)

2) ประโยชนของระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร ในปจจุบนั มีการนําระบบสารสนเทศ

ภูมิศาสตรมาใชงานอยางกวางขวางในหนวยงานตางๆ ในการจัดเก็บขอมูลที่มีอยูอยางมากมาย นอกจากนี้การนําระบบสารสนเทศภูมิศาสตรมาใชรวมกับเทคโนโลยีทางภูมิศาสตรอื่นๆ ยิ่งทําให ขอมูลทีไ่ ดมคี วามถูกตอง ทันสมัย สามารถนําขอมูลไปใชในการวางแผน ติดตาม หรือการจัดการ สิ่งตางๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ ประโยชนของระบบสารสนเทศภูมิศาสตรสามารถสรุปได ดังนี้ 2.1) การดําเนินชีวิตประจําวัน ระบบสารสนเทศภูมิศาสตรสามารถบอกตําแหนง ของสถานที่ ชื่อสถานที่ พิกัดทางภูมิศาสตร ผูใชสามารถนําขอมูลไปใชตัดสินใจในการเดินทางไป ยังสถานที่ตางๆ ได 2.2) การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม สามารถใชขอ มูลสารสนเทศ ภูมิศาสตรในการหาพื้นทีที่ ่เหมาะสมสําหรับการปลูกขาว การจัดระบบนํ้าชลประทาน การปองกัน ความเสียหายของโบราณสถาน หรือสถานที่ทองเที่ยว เปนตน 2.3) การจัดการภัยธรรมชาติ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตรเปนเครื่องมือที่สําคัญ มากในการเตือนภัยในพืน้ ทีเ่ สีย่ งภัย การประเมินพืน้ ทีเ่ สีย่ งภัย ความรุนแรง ความเสียหายทีอ่ าจจะเกิด ขึน้ กับทรัพยสนิ และชีวติ มนุษย ตลอดจนการจัดทําพืน้ ทีห่ ลบภัย และวางแผนการเขาชวยเหลือในพืน้ ที่ ทีไ่ ดรบั ผลกระทบ 2.4) การจั การจดั การดานเศรษฐกิจและสังคม ระบบสารสนเทศภูมิศาสตรทําใหทราบ ขอมูลตางๆ เชน ที่ตั้งของโรงงานประเภทตางๆ ความหนาแนนของประชากร เพศ อายุ เปนตน เพื่อนํามาใชในการวางแผนดานเศรษฐกิจและสังคมได นอกจากนี้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตรยังสามารถใชคาดการณแนวโนมการ เปลีย่ นแปลงพืน้ ทีใ่ นชวงเวลาทีก่ าํ หนดได เชน พืน้ ทีช่ ายฝง ทีถ่ กู นํา้ ทะเลกดั เซาะในอีก 5 ปขา งหนา จะเปนอยางไร หรือพื้นที่ปาไมจะมีความสูญเสียอยางไร เปนตน

2.2 การรับรูจากระยะไกล

การรับรูจากระยะไกล ากระยะไกล (Rem (Remote ote Sensing) หมายถึง ระบบสํารวจบันทึกขอมูลเกี่ยวกับ พื้นผิวโลกดวยเครื่องรับรู (Sensors) ซึ่งติดไปกับยานดาวเทียมหรือเครื่องบิน เครื่องรับรูตรวจจับ คลืน่ พลังงานแมเหล็กไฟฟาทีส่ ะทอนจากวัตถุบนผิวโลก หรือตรวจจับคลืน่ ทีส่ ง ไปและสะทอนกลับ มา หลังจากนั้นมีการแปลงขอมูลเชิงตัวเลขซึ่งนําไปใชแสดงเปนภาพและทําแผนที่ การรับรูจากระยะไกลมีทั้งระบบที่วัดพลังงานธรรมชาติซึ่งมาจากพลังงานแสงอาทิตยและ พลังงานทีส่ รางขึน้ เองจากตัวดาวเทียม ชวงคลืน่ ของพลังงานแมเหล็กไฟฟาทีว่ ดั ดวยระบบการรับรูจ าก ระยะไกลมีหลายชวงคลืน่ เชน ชวงของแสงทีม่ องเห็นได ชวงคลืน่ อินฟราเรด ชวงคลืน่ ไมโครเวฟ เปนตน 18

เกร็ดแนะครู ครูอาจอธิบายนักเรียนเพิ่มเติมวา ในปจจุบันดวยเทคโนโลยีที่เจริญกาวหนาใน การประดิษฐยานพาหนะที่ไมตองใชคนขับและการใชพลังงานแสงอาทิตยจากแผง โซลารเซลล ทําใหอากาศยานสามารถบันทึกขอมูลทางภูมิศาสตรไดอยางตอเนื่อง รวมถึงประหยัดทั้งเวลาและคาใชจาย

มุม IT ศึกษาความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตรกับการจัดการที่ดิน ไดที่ http://www.ldd.go.th/gisweb/ เว็บไซตกรมพัฒนาที่ดิน ศึกษาความรูเกี่ยวกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตรเพิ่มเติมไดที่ http://www. gisthai.org/about-gis/gis.html เว็บไซตศูนยวิจัยภูมิสารสนเทศเพื่อประเทศไทย คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

18

คูมือครู

กิจกรรมสรางเสริม ครูอาจใหนักเรียนสรุปการใชประโยชนระบบสารสนเทศภูมิศาสตรใน การจัดการพื้นที่ดานตางๆ จากแหลงขอมูลระบบสารสนเทศภูมิศาสตร เชน http://www.gisthai.org/research/index.html เว็บไซตศูนยวิจัย ภูมิสารสนเทศเพื่อประเทศไทย คณะวิทยาศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

กิจกรรมทาทาย ครูอาจใหนักเรียนคนควาการใชประโยชนระบบสารสนเทศภูมิศาสตร ในการจัดการพื้นที่ดานตางๆ ไดแก การวางผังเมือง การอนุรักษ ทรัพยากรธรรมชาติ และการจัดการภัยพิบัติทางธรรมชาติ จากแหลงขอมูล ตางๆ แลวบันทึกการศึกษาคนควาสงครูผูสอน


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

นักเรียนเขียนรายละเอียดของภูมิสารสนเทศศาสตรที่กระดานหนาชั้นเรียน • การทํางานของการรับรูจากระยะไกลดวย เครื่องบิน (แนวตอบ การทํางานของการรับรูจากระยะ ไกลดวยเครื่องบิน เรียกวา รูปถายทาง อากาศ นั่นเอง เกิดจากการถายรูปทาง อากาศแลวนําฟลมไปลางและอัดเปนภาพทั้ง สีและขาว-ดํา สามารถขยายไดหลายเทาโดย ไมสูญเสียรายละเอียดของขอมูล เนื่องจาก ใชกลองและฟลมที่มีคุณภาพสูง รูปที่ถาย ทางอากาศนี้สามารถแปลความหมายพื้นที่ ผิวโลกไดดวยสายตา ทั้งนี้การถายรูปทาง อากาศตองมีการวางแผนการบินและกําหนด มาตราสวนของแผนที่ลวงหนาเสียกอน) • การทํางานของการรับรูจากระยะไกลดวย ดาวเทียมที่บันทึกขอมูลแบบพาสซีฟ (แนวตอบ การทํางานของการรับรูจากระยะ ไกลดวยดาวเทียมที่บันทึกขอมูลแบบ พาสซีฟ จะบันทึกขอมูลจากการสะทอนของ คลื่นแสงในเวลากลางวันและคลื่นความรอน ในเวลากลางคืน เปนการทํางานที่อาศัยชวง คลื่นแสงสายตา ไมสามารถทะลุเมฆได จึงไมสามารถบันทึกขอมูลพื้นที่ในชวงที่มี เมฆปกคลุมมากได)

การบันทึกขอมูลหรือรูปภาพของพื้นที่จากเครื่องบินมีลักษณะแตกตางไปจากการใช ดาวเทียม เนื่องจากเครื่องบินจะมีขอจํากัดดานการบินระหวางประเทศ สวนดาวเทียมจะสามารถ บันทึกขอมูลของบริเวณตา1งๆ ของโลกไวไดทั้งหมด เพราะดาวเทียมโคจรรอบโลกอยูในอวกาศ และมีอุปกรณบันทึกขอมูลที่มีประสิทธิภาพ 1) ระบบการทํางานของการรับรูจากระยะไกล การบันทึกขอมูลหรือรูปภาพ ดวยเครื่องบิน เรียกวา รูปถายทางอากาศ สวนดาวเทียมจะเรียกวา ภาพจากดาวเทียม ซึ่งมีระบบ การทํางาน ดังนี้ 1.1) ระบบการทํางานของรูปถายทางอากาศ การถายรูปทางอากาศจะตองมี การวางแผนการบิ น และมาตราส ว นของแผนที่ ล  ว งหน า เมื่ อ ถ า ยรู ป ทางอากาศแล ว จะมี การนําฟลมไปลางและอัดเปนภาพ ทั้งภาพสีหรือภาพขาว-ดํา ขนาดเทาฟลม เนื่องจากกลองและ ฟลม มีคณ ุ ภาพสูงจึงสามารถนําไปขยายไดหลายเทา โดยไมสญู เสียรายละเอียดของขอมูล รูปถาย ทางอากาศสามารถแปลความหมายสภาพพื้นที่ของผิวโลกไดดวยสายตาเปนสวนใหญ นอกจากนี้ การถายรูปทีม่ พี นื้ ทีซ่ อ นกัน (overlap) สามารถนํามาศึกษาแสดงภาพสามมิตไิ ด โดยบริเวณทีเ่ ปน ภูเขาจะสูงขึ้นมา บริเวณหุบเหวจะลึกลงไป เปนตน 1.2) ระบบการทํางานของภาพจากดาวเทียม การบันทึกขอมูลของดาวเทียม แบงออกเปน 2 ประเภท ไดแก (1) การบันทึกขอมูลแบบพาสซีฟ (Passive) เปนระบบทีบ่ นั ทึกขอมูลจากการ สะทอนคลื่นแสงในเวลากลางวัน และคลื่นความรอนจากดวงอาทิตยในเวลากลางคืน การบันทึก

ภาพจากดาวเทียม Landsat แบบพาสซีฟ บริเวณทะเลสาบ พอนชารเทรน ในรัฐลุยเซียนา สหรัฐอเมริกา

Explain

ภาพจากดาวเทียม RADARSAT แบบแอกทีฟ บริเวณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส

19

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

รูปถายทางอากาศสามารถแสดงขอมูลพื้นที่เปนภาพสามมิติไดจากขอใด 1. การถายรูปพื้นที่ซอนกัน 2. การบันทึกขอมูลแบบแอกทีฟ 3. การกําหนดมาตราสวนของแผนที่ 4. การใชฟลมคุณภาพสูงในการบันทึกภาพ

วิเคราะหคําตอบ การถายรูปทางอากาศสามารถแสดงขอมูลพื้นที่เปนภาพ สามมิติไดจากการถายรูปที่มีพื้นที่ซอนกัน (overlap) ดังนั้นคําตอบคือ

ขอ 1.

นักเรียนควรรู 1 อุปกรณบันทึกขอมูล หรือเครื่องมือที่วัดพลังงานคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่นิยมใช คือ กลองถายรูป กลองถายวิดีโอ และเรดาร โดยอุปกรณบันทึกขอมูลจะประกอบ ดวยสวนสําคัญ 3 สวน คือ สวนรับคลื่นแมเหล็กไฟฟา ทําหนาที่รับและขยาย คลื่นแมเหล็กไฟฟาใหมีความเขมขนเพียงพอที่จะทําใหอุปกรณวัดสามารถรับรูได ตัวอยางเชน เลนสของกลอง สวนที่ทําการวัดพลังงานของคลื่นแมเหล็กไฟฟาเปน สวนที่แปลงพลังงานใหอยูในรูปแบบที่เครื่องมือวัดจะเปรียบเทียบคาไดอาจจะตอง ใชปฏิกิริยาเคมี การเปลี่ยนพลังงานเปนสัญญาณไฟฟา และสวนที่ทําการบันทึกคา พลังงานที่วัดได อาจเปนตัวแผนฟลมเองในกรณีการใชแผนฟลมเปนสวนทําการวัด พลังงาน แตถาเปนการวัดโดยการแปลงเปนสัญญาณไฟฟาสวนนี้อาจจะเปนแถบ แมเหล็กหรืออาจจะใชหนวยเก็บความจําอื่น เชน ฮารดดิสก เปนตน

คูมือครู

19


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

Expand

Evaluate

ขอมูลดาวเทียมแบบนี้สวนใหญจะอาศัยชวงคลื่นแสงสายตา คลื่นแสงอินฟราเรด หรือคลื่นแสง ที่ยาวกวาเล็กนอย ซึ่งไมสามารถทะลุเมฆได จึงบันทึกขอมูลพื้นที่ในชวงที่มีเมฆปกคลุมไมได (2) การบันทึกขอมูลแบบแอกทีฟ (Active) เปนระบบทีด่ าวเทียมผลิตพลังงาน เองและสงสัญญาณไปยังพื้นโลกแลวรับสัญญาณที่สะทอนกลับมายังเครื่องรับ การบันทึกขอมูล ของดาวเทียมแบบนี้ไมตองอาศัยพลังงานจากดวงอาทิ1ตยเนื่องจากใชพลังงานที่เกิดขึ้นจาก ตัวดาวเทียมที่เปนชวงคลื่นยาว เชน ชวงคลื่นไมโครเวฟ ซึ่งทะลุเมฆได จึงสามารถสงสัญญาณ คลื่นไปยังพื้นผิวโลกไดตลอดเวลา ขอมูลที่ไดจากดาวเทียมจะมีคุณลักษณะแตกตางกัน เชน ขอมูลเปนตัวเลข (สวนมากมีคา 0 - 255) ตองใชคอมพิวเตอรในการแปลความหมาย ขอมูลเปนภาพพิมพจะใช วิธีแปลความหมายแบบเดียวกับรูปถายทางอากาศ นอกจากนี้การวิเคราะหขอมูลจากดาวเทียม มีองคประกอบหลักในการวิเคราะห 8 ประการ ไดแก ความเขมของสี สี ขนาด รูปราง เนื้อภาพ รูปแบบ ความสูงและเงา ที่ตั้งและความเกี่ยวพัน 2) ประโยชนของการรับรูจากระยะไกล การรับรูจากระยะไกลมีประโยชนใน ดานตางๆ ดังนี้ 2.1) การพยากรณ อ ากาศ กรมอุ ตุ นิ ย มวิ ท ยาใช ข  อ มู ล จากดาวเที ย มเพื่ อ พยากรณปริมาณและการกระจายของฝนในแตละวัน โดยใชขอมูลดาวเทียมที่โคจรรอบโลก ดวยความเร็วเทากับการหมุนของโลกในแนวตะวันออก-ตะวันตก ทําใหคลายกับเปนดาวเทียมคงที่ (Geostationary) เช น ดาวเที ย ม GMS (Geostationary Meteorological Satellite) สวนดาวเทียมโนอา (NOAA) ที่โคจรรอบโลกวันละ 2 ครั้ง ในแนวเหนือ-ใต ทําใหทราบ อัตราความเร็ว ทิศทางและความรุนแรงของพายุที่จะเกิดขึ้นลวงหนาหรือพยากรณความแหงแลง ที่จะเกิดขึ้นได 2.2) สํารวจการใชประโยชนที่ดิน เนื่องจากขอมูลจากดาวเทียมมีรายละเอียด ภาคพื้นดินและชวงเวลาการบันทึกขอมูลที่แตกตางกัน จึงใชประโยชนในการทําแผนที่การใช ประโยชนจากที่ดินและการเปลี่ยนแปลงไดเปนอยางดี เชน พื้นที่ปาไมถูกตัดทําลาย แหลงนํ้า ที่เกิดขึ้นใหม หรือชุมชนที่สรางใหม เปนตน ในบางกรณีขอมูลดาวเทียม ใชจําแนกชนิดปาไม พืชเกษตร ทําใหทราบไดวาพื้นที่ปาไมเปนปาไมแนนทึบ โปรง หรือปาถูกทําลาย พืชเกษตร ก็สามารถแยกเปนประเภทและความสมบูรณของพืชได เชน ขาว มันสําปะหลัง ออย สับปะรด ยางพารา ปาลมนํ้ามัน เปนตน นอกจากนี้ยังสามารถจําแนกการเจริญเติบโตไดอีกดวย 2.3) การสํารวจทรัพยากรดิน ขอมูลจากดาวเทียมและรูปถายทางอากาศเปนอุปกรณ สําคัญในการสํารวจและจําแนกดิน ทําใหทราบถึงชนิด การแพรกระจาย และความอุดมสมบูรณ 20

เกร็ดแนะครู ครูอาจอธิบายเปรียบเทียบหลักการทํางานและประโยชนของขอมูลจากการรับรู จากระยะไกลแบบขอมูล จากรูปถายทางอากาศกับภาพจากดาวเทียม โดยใชผัง กราฟกที่แสดงการเปรียบเทียบหรือจําแนกรายละเอียดขอมูล เชน ตาราง เวนน ไดอะแกรม (Venn diagram) หรือผังมโนทัศน เพื่อใหนักเรียนเกิดความรูความเขาใจ ในการรับรูจากระยะไกลชัดเจนยิ่งขึ้น

นักเรียนควรรู 1 ชวงคลื่นไมโครเวฟ (Microwave Wavelength) เปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่มี ชวงคลื่นยาว 1 มิลลิเมตร ถึง 1 เมตร คลื่นในกลุมนี้จะเรียกหนวยนับเปนความถี่ ที่รูจักกันดีก็คือ ระบบเรดาร (RADAR) ซึ่งจะทําการบันทึกขอมูลในชวงคลื่นความถี่ ระหวาง 3-12.5 กิกะเฮิรตซ คูมือครู

ตรวจสอบผล

Explain

นักเรียนเขียนรายละเอียดของภูมิสารสนเทศศาสตรที่กระดานหนาชั้นเรียน • การทํางานของการรับรูจากระยะไกลดวย ดาวเทียมที่บันทึกขอมูลแบบแอกทีฟ (แนวตอบ การทํางานของการรับรูจากระยะไกล ดวยดาวเทียมที่บันทึกขอมูลแบบแอกทีฟ จะบันทึกขอมูลดวยพลังงานที่ผลิตจาก ดาวเทียมเองและสงสัญญาณไปยังพื้นโลก แลวรับสัญญาณที่สะทอนกลับมายังเครื่องรับ เปนการทํางานที่อาศัยพลังงานที่มีชวงคลื่นยาว ซึ่งทะลุเมฆได จึงสามารถบันทึกขอมูลพื้นที่ ไดตลอดเวลา) • การแปลความหมายและการวิเคราะหขอมูล การรับรูจากระยะไกลดวยดาวเทียม (แนวตอบ ขอมูลที่ไดจากดาวเทียมจะมีลักษณะ แตกตางกัน โดยสวนใหญจะเปนตัวเลขซึ่ง ตองใชคอมพิวเตอรในการแปลความหมาย สวนที่เปนภาพพิมพใชวิธีแปลความหมาย เชนเดียวกับรูปถายทางอากาศ สําหรับการ วิเคราะหขอมูลใชองคประกอบหลัก 8 ประการ เชน สีและขนาด เปนตน) • ประโยชนของการรับรูจากระยะไกล (แนวตอบ การรับรูจากระยะไกลเพื่อพยากรณ อากาศใชขอมูลจากดาวเทียมที่โคจรรอบโลก ดวยความเร็วเทากับการหมุนของโลกในแนว ตะวันออกตะวันตก ทําใหเปนดาวเทียม คงที่เหนือพื้นที่พยากรณนั้น นอกจากนี้ยัง ใชดาวเทียมที่โคจรรอบโลกในแนวเหนือ-ใต วันละ 2 รอบ เพื่อพยากรณอัตราความเร็ว ทิศทาง และความรุนแรงของพายุ ไดประโยชน ในดานอื่นของการรับรูจากระยะไกลที่สําคัญ ไดแก การสํารวจการใชที่ดิน การสํารวจ ทรัพยากรดิน เนื่องจากขอมูลดาวเทียม ครอบคลุมพื้นที่เปนบริเวณกวางและมีหลาย ชวงแสง)

20

ขยายความเขาใจ

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ขอมูลที่ใชในการพยากรณอากาศของพื้นที่หนึ่งๆ มาจากหลักการทํางาน ของดาวเทียมในขอใด 1. ดาวเทียมคงที่ 2. ดาวเทียมพลังงานธรรมชาติ 3. ดาวเทียมพลังงานคลื่นแมเหล็กไฟฟา 4. ดาวเทียมโคจรรอบโลกในแนวเหนือ-ใต วิเคราะหคําตอบ การพยากรณอากาศพื้นที่หนึ่งๆ ดวยขอมูลจากดาวเทียม ดาวเทียมนั้นตองมีหลักการทํางานแบบดาวเทียมคงที่ คือ ดาวเทียมที่โคจร รอบโลกเทากับการหมุนของโลก ซึ่งมีการสํารวจและรวบรวมขอมูลดาน ภูมิอากาศของพื้นที่นั้นๆ ดังนั้นคําตอบคือ ขอ 1.


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

Explain

นักเรียนเขียนรายละเอียดของภูมิสารสนเทศศาสตรที่กระดานหนาชั้นเรียน • การทํางานของระบบกําหนดตําแหนงบน พื้นโลก (แนวตอบ การกําหนดตําแหนงบนพื้นโลกโดย อาศัยการสื่อสารผานคลื่นวิทยุความเร็วสูง จากดาวเทียมใหแกสถานีรับภาคพื้นดิน และสงไปยังเครื่องรับจีพีเอส โดยเครื่องรับ จีพีเอสจะรับสัญญาณมาคํานวณหาระยะ เสมือนจริง และจะใชขอมูลดังกลาวจาก ดาวเทียมอยางนอย 4 ดวง มาคํานวณหา ตําบลของเครื่องรับ พรอมทั้งแสดงขอมูลให ผูใชทราบบนหนาจอเครื่องเปนคาละติจูด ลองจิจูด และอื่นๆ)

ของดิน จึงใชจัดลําดับความเหมาะสมของดินได เชน ความเหมาะสมสําหรับการปลูกพืชแตละ ชนิด ความเหมาะสมดานวิศวกรรม เปนตน 2.4) การสํารวจดานธรณีวิทยา และธรณีสัณฐานวิทยา เนื่องจากขอมูลดาวเทียม ครอบคลุมพื้นที่กวาง มีรายละเอียดภาคพื้นดินสูงและยังมีหลายชวงคลื่นแสง จึงเปนประโยชน 1 อยางมากที่ใชในการสํารวจและทําแผนที่ธรณีวิทยา ธรณีสัณฐานวิทยา แหลงแร แหลงนํ้ามันและ แกสธรรมชาติ และแหลงนํ้าใตดินไดเปนอยางดี โดยการใชลักษณะโครงสรางทางธรณีวิทยาชวย ทําใหการสํารวจและขุดเจาะเพื่อหาทรัพยากรใตดินเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ และลดคาใชจาย การสํารวจในภาคสนามลงไดเปนอันมาก 2.5) การเตือนภัยจากธรรมชาติ ภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้นบอย ไดแก อุทกภัย แผนดินถลม ภัยแลง วาตภัย ไฟปา ภัยทางทะเล ภัยธรรมชาติตา งๆ เหลานี้ เมือ่ นําเอาขอมูลจาก ดาวเทียมรวมกับระบบสารสนเทศภูมศิ าสตร และระบบกําหนดตําแหนงบนพืน้ โลกจะเปนประโยชน ในการเตือนภัยกอนที่จะเกิดภัย ขณะเกิดภัย และหลังเกิดภัยธรรมชาติ นอกจากที่กลาวมาขางตนแลว ประโยชนของการรับรูจากระยะไกล ยังใชในการ สํารวจดานอื่นๆ อีก เชน ดานสิ่งแวดลอม ดานการจราจร ดานการทหาร ดานสาธารณสุข เปนตน

2.3 ระบบกําหนดตําแหนงบนพื้นโลก ระบบกําหนดตําหนง บนพืน้ โลก (Global Positioning System) หรือ จีพเี อส (GPS) หมายถึง เทคโนโลยีที่ใชกําหนดตําแหนงบนพื้นโลก โดยอาศัยดาวเทียม สถานีภาคพื้นดิน และเครื่องรับ จีพเี อส โดยเครือ่ งรับจีพเี อสจะรับสัญญาณมาคํานวณหาระยะเสมือนจริงแตละระยะ และจะใชขอ มูล ดังกลาวจากดาวเทียมอยางนอย 4 ดวง มาคํานวณหาตําบลที่เครื่องรับ พรอมทั้งแสดงให ผูใ ชทราบบนจอแอลซีดขี องเครือ่ งเปนคาละติจดู ลองจิจดู และคาพิกดั ยูทเี อ็ม รวมทัง้ คาของระดับ ความสูงจากระดับทะเลปานกลางดวย 1) หลักการทํางานของระบบกําหนดตําแหนงบนพื้นโลก การทํางานของระบบ กําหนดตําแหนงบนพืน้ โลกตองอาศัยสัญญาณจากดาวเทียมกําหนดตําแหนงบนพืน้ โลก ซึง่ โคจรอยู รอบโลกประมาณ 24 ดวง แบงออกเปน 6 วงโคจร วงโคจร ละ 4 ดวง และยังมีดาวเทียมสํารองไว หลายดวง ดาวเทียมแตละดวงจะอยูส งู จากผิวโลกประมาณ 20,200 กิโลเมตร และจะโคจรรอบโลก ภายใน 11 ชั่วโมง 50 นาที และมีสถานีควบคุมภาคพื้นดินทําหนาที่คอยตรวจสอบการโคจรของ ดาวเทียมแตละดวง โดยการสือ่ สารผานคลืน่ วิทยุทมี่ คี วามเร็วคลืน่ ประมาณ 186,000 ไมลตอ วินาที

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’ 51 ออกเกี่ยวกับรีโมตเซนซิง ขอใดไมใชประโยชนของรีโมตเซนซิง 1. การพยากรณอากาศ 2. การสํารวจการใชที่ดิน 3. การเตือนภัยจากธรรมชาติ 4. การทําแบบจําลองความสูงเชิงเลข วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 4. การทําแบบจําลองความสูงเชิงเลข เนื่องจากตองใชขอมูลจากภาพถายออรโธสีที่มีลักษณะคลายกับรูปถายทาง อากาศเปนขอมูลพื้นฐานสวนหนึ่งของการจัดทํา

21

นักเรียนควรรู 1 ธรณีวิทยา (Geology) วิชาวาดวยความรูเกี่ยวกับประวัติ โครงสรางและสภาพ ของโลก มุงเนนการศึกษาสสารตางๆ ที่เปนสวนประกอบของโลก รวมถึงแนวทางการ ใชทรัพยากรธรรมชาติใหเกิดประโยชนอยางยั่งยืน

มุม IT ศึกษาความรูเกี่ยวกับการใชประโยชนขอมูลจากดาวเทียมในดานตางๆ ไดที่ http://www.space.mict.go.th/knowledge.php?id=usage เว็บไซตสํานัก กิจการอวกาศแหงชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

คูมือครู

21


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

นักเรียนเขียนรายละเอียดของภูมิสารสนเทศศาสตรที่กระดานหนาชั้นเรียน • ประโยชนของระบบกําหนดตําแหนงบนพื้น โลก (แนวตอบ ระบบกําหนดตําแหนงบนพื้นโลกมี ประโยชนมากในการกําหนดจุดพิกัดผิวโลก โดยแสดงทั้งขอมูลทั่วไป เชน อาคาร บานเรือน ถนน นาขาว ซึ่งอาจใชเปนขอมูล พื้นฐานของระบบสารสนเทศภูมิศาสตรได และขอมูลเฉพาะ เชน ตําแหนงที่เกิดภัย ธรรมชาติ อุบัติเหตุบนทางหลวงหรือกลาง ทะเล และในปจจุบันเครื่องจีพีเอสมี หลากหลายขนาดสามารถพกติดตัวหรือติด ตั้งในรถยนต เพื่อสํารวจทิศทางของจุดหมาย ทําใหสามารถเดินทางไดสะดวกรวดเร็ว)

1 สวนผใู ชเครือ่ งรับสัญญาณหรือเครือ่ งระบบกําหนดตําแหนงบนพืน้ โลกจะตองตรวจสอบ จุดพิกดั ภาคพืน้ ดินทีต่ นอยวู า จัดอยใู นโซนใดของโลกกอนใชทกุ ครัง้ เพือ่ เปรียบเทียบและปรับแกไข และเนือ่ งจากเครือ่ งรับสัญญาณหรือเครือ่ งระบบ กําหนดตําแหนงบนพื้นโลกจะรับสัญญาณจาก ดาวเทียม ผูใชเครื่องจึงควรอยูในที่โลงแจง ไม ควรอยูในอาคารหรือปาไมที่แนนทึบมาก ซึ่ง อาจจะทําใหรับสัญญาณไดไมดี

2) ประโยชนของระบบกําหนด ตําแหนงบนพื้นโลก มีดังตอไปนี้

2.1) ใชในกิจกรรมทางทหาร โดยเฉพาะในชวงการทําสงคราม เนือ่ งจากระบบ กําหนดตําแหนงบนพืน้ โลกพัฒนาโดยกระทรวง กลาโหมของสหรัฐอเมริกา เพื่อกิจกรรมดาน ตัวอยางเครื่องมือระบบกําหนดตําแหนงบนพื้นโลกที่ใช ในการสํารวจทิศทาง ทหารโดยเฉพาะ แตในปจจุบนั ไดมกี ารเผยแพร ใหมีการใชในกลุมประชาชนทั่วไปในระดับหนึ่ง เชน ใชในการศึกษาทางดานภูมิศาสตร ทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม การเดินทางไปยังเปาหมายที่ตองการ เปนตน 2.2) ใชในการกําหนดจุดพิกัดผิวโลก เพื่องานดานระบบสารสนเทศภูมิศาสตร หรือขอมูลดาวเทียมและรังวัดที่ดินเพื่อแสดงชนิดของขอมูลลงในสนาม เชน ถนน บอนํ้า นาขาว àÃ×èͧ¹‹ÒÃÙŒ สถานีภาคพื้นดินที่ีควบคุมระบบกําหนดตําแหนงบนพื้นโลก การทํางานของระบบกําหนดตําแหนงบนพื้นโลกนั้นตองอาศัยการติดตอกับดาวเทียมที่โคจรอยูรอบโลกทั้ง 24 ดวง โดยมีสถานีควบคุมหลักอยูท เี่ มืองโคโลราโดสปริงส รัฐโคโลราโด ประเทศสหรัฐอเมริกา และมีสถานีตดิ ตาม ดาวเทียมตั้งกระจายอยู 5 แหงทั่วโลก ดังนี้ 1. สถานีติดตามที่เมืองโคโลราโดสปริงส สหรัฐอเมริกา 1 2. สถานีติดตามที่หมูเกาะฮาวาย ในมหาสมุทรแปซิฟก 3. สถานีติดตามที่เกาะอัสเซนชัน ในมหาสมุทรแอตแลนติก 3 5 2 4 4. สถานีติดตามที่เกาะดีเอโกการเซีย ในมหาสมุทรอินเดีย 5. สถานีติดตามที่หมูเกาะควาจาเลน ในประเทศฟลิปปนส

22

เกร็ดแนะครู ครูอธิบายนักเรียนเสริมวา เครื่องรับสัญญาณระบบกําหนดตําแหนงบนพื้นโลก ถาไดรับสัญญาณจากดาวเทียมพรอมกันครบทั้งระบบ พิกัดทางภูมิศาสตรของ สถานที่และรายละเอียดอื่นๆ ก็มีความถูกตองแมนยํายิ่งขึ้น

นักเรียนควรรู 1 ระบบกําหนดตําแหนงบนพื้นโลก พัฒนาโดยกระทรวงกลาโหมของสหรัฐอเมริกา โดยนักวิทยาศาสตรชื่อ ดร.ริชารด บี เคิรชเนอร (Dr. Richard B. Kershner) ได ติดตามการสงดาวเทียมสปุตนิกของสหภาพโซเวียต และพบคลื่นวิทยุที่สงกลับมา จากดาวเทียม จึงเกิดแนวคิดอันเปนที่มาของระบบกําหนดตําแหนงบนพื้นโลกวา หากทราบตําแหนงที่แนนอนบนพื้นผิวโลก ก็สามารถระบุตําแหนงของดาวเทียมได จากคลื่นวิทยุ ในทางกลับกันหากทราบตําแหนงที่แนนอนของดาวเทียม ก็สามารถ ระบุตําแหนงบนพื้นโลกได

22

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ระบบกําหนดตําแหนงบนพื้นโลกเกิดจากกิจการดานใด 1. การทหาร 2. การสํารวจทิศทาง 3. การปองกันภัยพิบัติ 4. การชวยเหลือผูประสบภัย

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 1. การทหาร เปนกิจการที่ทําใหเกิดระบบ กําหนดตําแหนงบนพื้นโลกขึ้น โดยกระทรวงกลาโหมของสหรัฐอเมริกา ใชหาตําแหนงและพิกัดทางภูมิศาสตรในระหวางการสงคราม จึงกลาวไดวา ระบบกําหนดตําแหนงบนพื้นโลก เกิดขึ้นจากความขัดแยงและความรุนแรง แตทวาตอมามีประโยชนในการดําเนินชีวิตและสามารถสรางสันติภาพได


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ขยายความเขาใจ

1. ครูใหนักเรียนจัดทําผังกราฟกแสดงขอมูล เกี่ยวกับภูมิสารสนเทศศาสตรทั้ง 3 ประเภท ในรูปแบบที่นักเรียนถนัดและสนใจ เชน ตาราง เวนนไดอะแกรม (Venn diagram) หรือผัง ความคิด โดยมีหัวขอยอยที่สําคัญ คือ หลักการ ทํางาน ประเภท และประโยชนของเครื่องมือ แตละประเภท 2. ครูใหนักเรียนรวมกลุมเพื่อชวยกันสํารวจและ รวบรวมขอมูลทางภูมิศาสตรของชุมชน กลุมละ 1 ดาน เชน สภาพปญหาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมของชุมชน การใชประโยชน ที่ดินของชุมชน และลักษณะทางสังคมและ วัฒนธรรมของชุมชน โดยใชเครื่องมือทาง ภูมิศาสตรและภูมิสารสนเทศศาสตรที่ตนได ศึกษามา จากนั้นจัดทําแผนที่แสดงขอมูลทาง ภูมิศาสตรของชุมชนในดานที่กลุมตนสํารวจ และรวบรวมขอมูล พรอมทั้งสงตัวแทนออกมา นําเสนอที่หนาชั้นเรียน

บานเรือน เปนตน ตําแหนงพิกัดนี้สามารถถายทอดลงในคอมพิวเตอรไดทันที ดังนั้น จึงเปน ประโยชนในการชวยวิเคราะหหรือแปลความหมายจากขอมูลดาวเทียม หรือเปนขอมูลพืน้ ฐานของ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตรตอไป 2.3) ใชในการสํารวจทิศทาง เครื่องมือระบบกําหนดตําแหนงบนพื้นโลกมีขนาด เล็กใหญตามความตองการใชงานและสามารถพกพาติ ดตัวไดเหมือนกับโทรศัพทเคลื่อนที่ 1 หรืออยูในเครื่องโทรศัพทเคลื่อนที่ ดังนั้น เราสามารถใชงานไดสะดวก โดยสามารถใชเพื่อแสดง เสนทางที่สํารวจไดแมจะอยูในรถยนต ซึ่งปจจุบันการใชระบบกําหนดตําแหนงบนพื้นโลกในระบบ ขนสงกําลังเปนทีแ่ พรหลาย ซึง่ ในปจจุบนั ไดมกี ารติดตัง้ ระบบกําหนดตําแหนงบนพืน้ โลกในรถยนต บางแลว ทําใหการเดินทางเปนไปไดสะดวก รวดเร็ว และแมนยํามากขึ้น 2.4) ใชในการสํารวจตําแหนงทีเ่ กิดภัยธรรมชาติ อุบตั เิ หตุบนทางหลวง ตําแหนง เรือในทะเลหรือการหลงปา หากมีระบบกําหนดตําแหนงบนพืน้ โลกจะทําใหการชวยเหลือเปนไปได อยางแมนยําและรวดเร็ว ทําใหลดการสูญเสียชีวิตและทรัพยสิน และสามารถประเมินสถานการณ ความเสียหายที่เกิดขึ้นได 2.5) ใชในกิจการอื่นๆ เชน ดานการบิน ในปจจุบันไดมีการพัฒนาเครื่องรับ สัญญาณระบบกําหนดตําแหนงบนพื้นโลก เพื่อใชกับกิจการพลเรือนเพื่อความแมนยําในขณะนํา เครื่องบินลงจอด เปนตน กล า วโดยสรุ ป การศึ ก ษาภู มิ ศ าสตร เ ป น การศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ การจั ด การพิื้ น ที่ แ ละ สิง่ แวดลอมทีม่ นุษยอาศัยอยู โดยอาศัยวิธกี ารและเครือ่ งมือตางๆ ซึง่ เครือ่ งมือทีม่ กี ารใชอยาง แพรหลายมาก คือ แผนที่ และยังมีเครื่องมืออีกหลายชนิดที่มีการนํามาใชรวบรวม วิเคราะห และนําเสนอขอมูลทางภูมิศาสตร เชน รูปถายทางอากาศ ภาพจากดาวเทียม เปนตน ซึ่งให ขอมูลที่ถูกตองและรวดเร็ว นอกจากนี้ในปจจุบันไดมีการพัฒนาเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ ไดแก การรับรูจากระยะไกล ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร และระบบกําหนดตําแหนงบนพื้นโลก เพือ่ บริหารจัดการขอมูลเชิงพืน้ ที่ ซึง่ หนวยงานตางๆ ทัง้ ภาครัฐและภาคเอกชน ไดนาํ มาพัฒนา และประยุกตใชในหลายดาน เชน การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ การเตือนภัยธรรมชาติ การวางผังเมืองและชุมชน เปนตน และนับวันเทคโนโลยีภมู สิ ารสนเทศจะมีความสําคัญตอชีวติ ประจําวัน และการวางแผนในอนาคตมากยิ่งขึ้น ดังนั้น เราจึงควรศึกษาเกี่ยวกับเครื่องมือทาง ภูมิศาสตรและเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อใหมีความรูและเขาใจวิชาภูมิศาสตรมากขึ้น

ตรวจสอบผล

23

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’ 53 ออกเกี่ยวกับภูมิสารสนเทศศาสตร หากตองการทราบพิกัดภูมิศาสตรของโรงเรียนของทาน ควรใชเครื่องมือใด 1. จีพีเอส 2. อารเอส 3. จีไอเอส 4. แผนที่ประเทศไทย วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 1. จีพีเอส เปนเครื่องรับระบบกําหนดตําแหนง บนพื้นโลกที่สามารถหาพิกัดภูมิศาสตรของสถานที่ตางๆ บนพื้นโลกไดจาก ดาวเทียมที่โคจรอยูรอบโลก

Expand

Evaluate

1. ครูตรวจผังกราฟกแสดงขอมูลเกี่ยวกับ ภูมิสารสนเทศศาสตร โดยพิจารณาจากความ ถูกตองครบถวนของขอมูล ความถูกตองของ การใชผังกราฟกกับขอมูล และความนาสนใจ 2. ครูและนักเรียนชวยกันตรวจแผนที่แสดงขอมูล ทางภูมิศาสตรของชุมชนในดานตางๆ ของ แตละกลุมที่สงตัวแทนออกมานําเสนอผลงาน ที่หนาชั้นเรียน โดยพิจารณาถึงความสมบูรณ ของขอมูล ความถูกตองตามหลักการจัดทํา แผนที่ ความนาสนใจและความสวยงาม รวม ถึงการนําเสนอที่เขาใจงาย จากนั้นจัดแสดง แผนที่แสดงขอมูลทางภูมิศาสตรของชุมชน ของแตละกลุมในบริเวณที่เหมาะสมของ โรงเรียน

เกร็ดแนะครู ครูควรอธิบายถึงวิธีการนําเสนอขอมูลภูมิสารสนเทศรูปแบบตางๆ แกนักเรียน เชน รูปแบบความเรียง ตาราง แผนภูมิ ผังกราฟก แผนผัง และแผนที่ โดยอธิบาย ถึงหลักการนําเสนอ ประเภทของขอมูลที่เหมาะสมตอการนําเสนอและความแตกตาง ของการนําเสนอในแตละรูปแบบ เพื่อใหนักเรียนเขาใจถึงวิธีการนําเสนอขอมูล ภูมิสารสนเทศหลากหลายรูปแบบ และสามารถนําไปใชในการทําความเขาใจความรู ทางภูมิศาสตร รวมถึงนําเสนอขอมูลในกิจกรรมการเรียนรูตอไปได

นักเรียนควรรู 1 โทรศัพทเคลื่อนที่ (Mobile Phone) ในปจจุบันโทรศัพทเคลื่อนที่หลายรุน มีระบบที่ใชในการหาตําแหนงของสถานที่ และรายละเอียดอื่นๆ คลายกับ ภูมิสารสนเทศศาสตรอยางงาย คูมือครู

23


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engage

Explore

Explain

Expand

ตรวจสอบผล

ตรวจสอบผล Evaluate

Evaluate

ครูตรวจสอบความถูกตองในการตอบคําถาม ประจําหนวยการเรียนรู

¤Ò¶ÒÁ »ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู

1. เครื่องมือทางภูมิศาสตรมีประโยชนในการดําเนินชีวิตประจําวันอยางไร 2. องคประกอบที่สําคัญของแผนที่มีอะไรบาง และมีความสําคัญอยางไร 3. รูปถายทางอากาศและภาพจากดาวเทียมแตกตางกันอยางไรและนํามาใชประโยชน ทางภูมิศาสตรไดอยางไร 4. ภูมิสารสนเทศศาสตรมีประโยชนตอการศึกษาภูมิศาสตรอยางไร 5. เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศสามารถชวยในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมได อยางไร

1. บันทึกการศึกษาขอมูลทางภูมิศาสตรของชุมชน ในดานตางๆ 2. ผังกราฟกแสดงขอมูลเกี่ยวกับภูมิสารสนเทศศาสตร 3. แผนที่แสดงขอมูลทางภูมิศาสตรของชุมชนใน ดานตางๆ

¡Ô¨¡ÃÃÁ ¨¡ÃÃÁ ÊÌҧÊÃä ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมที่ 3

ใหนักเรียนแตละคนเลือกแผนที่ที่นักเรียนสนใจมา 1 ชนิด แลวศึกษาถึง องคประกอบของแผนที่วามีอะไรบาง และมีความสําคัญอยางไร โดยจัดทํา เปนใบงาน แลวนําสงครูผูสอน แบงนักเรียนออกเปน 4 กลุม ใหแตละกลุมเลือกเครื่องมือทางภูมิศาสตร มา 1 ชนิด แลวสาธิตการใช และบันทึกผล ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเกีย่ วกับการใชเทคโนโลยีสารสนเทศในปจจุบนั ทั้งในประเทศและภูมิภาคตางๆ ทั่วโลก

24

แนวตอบ คําถามประจําหนวยการเรียนรู 1. เครื่องมือทางภูมิศาสตรมีประโยชนในการดําเนินชีวิตประจําวันโดยทั่วไป เชน การใหขอมูลเกี่ยวกับที่ตั้งและทิศทาง โดยเฉพาะแผนที่และเครื่อง GPS ที่มีขนาดเล็กและ ใชงานไดงายขึ้นในปจจุบัน รวมถึงมีประโยชนในดานการศึกษาวิชาภูมิศาสตรและวิชาอื่นๆ 2. แผนที่มีองคประกอบที่สําคัญ เชน ชื่อแผนที่ บอกวาแผนที่นั้นแสดงขอมูลอะไร มาตราสวน บอกอัตราสวนระหวางระยะทางที่ยอสวนลงมาในแผนที่กับระยะทางใน ภูมิประเทศจริง ทิศ บอกทิศในแผนที่เชื่อมโยงกับสภาพภูมิประเทศจริง สัญลักษณและคําอธิบาย บอกสิ่งที่ปรากฏในภูมิประเทศทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและสิ่งที่ มนุษยสรางขึ้น โดยการใชสัญลักษณและเสนโครงแผนที่ บอกเสนเมริเดียนและเสนขนานแสดงคาเปนละติจูดและลองจิจูดตามลําดับ 3. ความแตกตางระหวางรูปถายทางอากาศกับสภาพจากดาวเทียมที่สําคัญ ไดแก การเก็บขอมูลและการแปลความหมาย โดยรูปถายทางอากาศสวนใหญเก็บขอมูลจากกลอง ที่ติดตั้งอากาศยานตาง ๆ และนําฟลมจากกลองมาลางเปนรูปจึงสามารถแปลความหมายไดดวยสายตา สวนภาพจากดาวเทียมสวนใหญเก็บขอมูลจากดาวเทียมซึ่งสงเปน ขอมูลเชิงตัวเลข ตองนําขอมูลตัวเลขนั้นมาแปลงเปนภาพ 4. ภูมิสารสนเทศศาสตรมีประโยชนในการศึกษาภูมิศาสตรอยางยิ่ง เนื่องจากเปนการบูรณาการเทคโนโลยีทางดานการสํารวจ การทําแผนที่ และการวิเคราะหขอมูลเชิงพื้นที่ เขาดวยกัน ซึ่งประกอบดวย การรับรูจากระยะไกล ระบบกําหนดตําแหนงบนพื้นโลก และระบบสารสนเทศภูมิศาสตร เพื่อการศึกษาเกี่ยวกับพื้นที่บนโลก 5. เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศสามารถสํารวจและรวบรวมขอมูลสภาพทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมไดตลอดเวลาจากดาวเทียมที่โคจรอยูรอบโลก ทําใหทราบถึงการ เปลี่ยนแปลงของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมตางๆ ทําใหเกิดเปนฐานขอมูลที่สามารถนําไปใชประโยชนในการจัดการเพื่ออนุรักษทรัพยากรธรรมชาติได

24

คูมือครู


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.