8858649121615

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº Í- .

ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน

กระบวนการสอนแบบ 5 Es ชวยสรางทักษะการเรียนรู กิจกรรมมุงพัฒนาทักษะการคิด คำถาม + แนวขอสอบเพื่อยกผลสัมฤทธิ์ O-NET กิจกรรมบูรณาการเตรียมพรอมสู ASEAN 2558


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย

ภาษาไทย

หลักภาษาและการใชภาษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่

5

สําหรับครู

คูมือครู Version ใหม

ลักษณะเดน

ขยายพื้นที่รูปเลมใหญขึ้นกวาเดิม จัดแบงพื้นที่ออกเปนโซน เพื่อคนหาขอมูลไดงาย สะดวก รวดเร็ว และดูเปนระเบียบ กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล

กระตุน ความสนใจ

Evaluate

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

เปาหมายการเรียนรู สมรรถนะของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค

หน า

โซน 1 กระตุน ความสนใจ

Engage

สํารวจคนหา

Explore

อธิบายความรู

Explain

ขยายความเขาใจ

Expand

ตรวจสอบผล

หน า

หนั ง สื อ เรี ย น

โซน 1

หนั ง สื อ เรี ย น

Evaluate

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NET

ขอสอบ

โซน 2

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

เกร็ดแนะครู

O-NET

บูรณาการเชื่อมสาระ

โซน 3

กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย

นักเรียนควรรู

โซน 3

โซน 2 บูรณาการอาเซียน มุม IT

No.

คูมือครู

คูมือครู

No.

โซน 1 ขั้นตอนการสอนแบบ 5Es

โซน 2 ชวยครูเตรียมสอน

โซน 3 ชวยครูเตรียมนักเรียน

เพื่อใหครูเตรียมจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยแนะนําขั้นตอนการสอนและ การจัดกิจกรรมแบบ 5Es อยางละเอียด เพื่อใหนักเรียนบรรลุตามตัวชี้วัด

เพื่อชวยลดภาระครูผูสอน โดยแนะนํา เกร็ดความรูสําหรับครู ความรูเสริมสําหรับ นักเรียน รวมทั้งบูรณาการความรูสูอาเซียน และมุม IT

เพื่อใหครูสะดวกตอการจัดกิจกรรม โดย แนะนํากิจกรรมบูรณาการเชือ่ มระหวางสาระหรือ กลุมสาระการเรียนรู วิชา กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย รวมถึงเนื้อหาที่เคยออกขอสอบ O-NET แนวขอสอบ NT/O-NET ทีเ่ นนการคิด พรอมเฉลยและคําอธิบายอยางละเอียด


ที่ใชในคูมือครู

แถบสีและสัญลักษณ

แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5Es เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

1. แถบสี 5Es สีแดง

สีเขียว

กระตุน ความสนใจ

เสร�ม

สํารวจคนหา

Engage

2

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุน ความสนใจ เพื่อโยง เขาสูบทเรียน

สีสม

อธิบายความรู

Explore

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนสํารวจ ปญหา และศึกษา ขอมูล

สีฟา

Explain

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนคนหา คําตอบ จนเกิดความรู เชิงประจักษ

สีมวง

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนนําความรู ไปคิดคนตอๆ ไป

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

2. สัญลักษณ สัญลักษณ

วัตถุประสงค

• เปาหมายการเรียนรู

• หลักฐานแสดง ผลการเรียนรู

• เกร็ดแนะครู

แทรกความรูเสริมสําหรับครู ขอเสนอแนะ ขอควรระวัง ขอสังเกต แนวทางการจัด กิจกรรมและอืน่ ๆ เพื่อประโยชนในการ จัดการเรียนการสอน ขยายความรูเพิ่มเติมจากเนื้อหา เพื่อให ครูนําไปใชอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียน ไดมีความรูมากขึ้น

ความรูห รือกิจกรรมเสริม ใหครูนาํ ไปใช เตรียมความพรอมใหกบั นักเรียนกอนเขาสู ประชาคมอาเซียนใน พ.ศ. 2558 โดย บูรณาการกับวิชาทีก่ าํ ลังเรียน

บูรณาการอาเซียน

คูม อื ครู

แสดงรองรอยหลักฐานตามภาระงาน ที่ครูมอบหมาย เพื่อแสดงผลการเรียนรู ตามตัวชี้วัด

• นักเรียนควรรู

มุม IT

แสดงเปาหมายการเรียนรูที่นักเรียน ตองบรรลุตามตัวชี้วัด ตลอดจนสมรรถนะ ที่จะตองมี และคุณลักษณะที่พึงเกิดขึ้น กับนักเรียน

แนะนําแหลงคนควาจากเว็บไซต เพื่อให ครูและนักเรียนไดเขาถึงขอมูลความรู ที่หลากหลาย ทั้งไทยและตางประเทศ

สัญลักษณ

ขอสอบ

วัตถุประสงค

O-NET

(เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ O-NET O-NET)

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T (เฉพาะระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนตอนตน)

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET (เฉพาะระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย)

บูรณาการเชื่อมสาระ

กิจกรรมสรางเสริม

กิจกรรมทาทาย

• ชีแ้ นะเนือ้ หาทีเ่ คยออกขอสอบ

O-NET โดยยกตัวอยางขอสอบ พรอมวิเคราะหคาํ ตอบ อยางละเอียด

• เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน

การคิดและเปนแนวขอสอบ NT/O-NET ในระดับมัธยมศึกษา ตอนตน มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

• เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน

การคิดและเปนแนวขอสอบ O-NET ในระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม

เชือ่ มกับสาระหรือกลุม สาระ การเรียนรู ระดับชัน้ หรือวิชาอืน่ ทีเ่ กีย่ วของ

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ซอมเสริมสําหรับนักเรียนทีค่ วร ไดรบั การพัฒนาการเรียนรู

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ตอยอดสําหรับนักเรียนทีเ่ รียนรู ไดอยางรวดเร็ว และตองการ ทาทายความสามารถในระดับ ทีส่ งู ขึน้


คําแนะนําการใชคูมือครู การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน คูม อื ครู รายวิชา ภาษาไทย หลักภาษาและการใชภาษา ม.5 จัดทําขึน้ เพือ่ ใหครูผสู อนนําไปใชเปนแนวทางวางแผน การสอนเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และประกันคุณภาพผูเรียน ตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) โดยใชหนังสือเรียน ภาษาไทย หลักภาษาและการใชภาษา ม.5 ของบริษัท อักษรเจริญทัศน เสร�ม อจท. จํากัด เปนสื่อหลัก (Core Material) ประกอบการสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับมาตรฐาน 3 การเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั กลุม สาระการเรียนรู ภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พ.ศ. 2551 โดยออกแบบ กิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักการสําคัญ ดังนี้ 1 ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน คูมือครู รายวิชา ภาษาไทย หลักภาษาและการใชภาษา ม.5 วางแผนการสอนโดยแบงเปนหนวยการเรียนรู ตามลําดับสาระ (strand) และหมายเลขขอของมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด แตละหนวยจะกําหนดเปาหมาย การเรียนรูและจุดประสงคการเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทาง การประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชัดเจน ครูผูสอนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐาน การเรียนรู ตัวชี้วัด สมรรถนะ และคุณลักษณะอันพึงประสงคที่เปนเปาหมายการเรียนรูตามที่กําหนดไวในสาระแกนกลาง (ตามแผนภูมิ) และสามารถบันทึกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนแตละคนลงในเอกสาร ปพ.5 ไดอยางมั่นใจ แผนภูมิแสดงความสัมพันธขององคประกอบการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผูเรียนเปนสําคัญ

พผ

ูเ

จุดปร

ะสง

คก า

ส ภา

รียน

รู ีเรยน

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชั้นป

ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน คูม อื ครู


2 การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ แนวคิ ด ในการจั ด การเรี ย นการสอนที่ ยึ ด ผู  เ รี ย นเป น สํ า คั ญ พั ฒ นามาจากปรั ช ญาและทฤษฎี ก ารเรี ย นรู  Constructivism ที่เชื่อวา การเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสรางความรู โดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดเรียนรูจากบทเรียนใหมกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา ผูเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีการสั่งสมความรูความเขาใจเกี่ยวกับสิ่งตางๆ ติดตัวมากอน ทีจ่ ะเขาสูห อ งเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากประสบการณและสิง่ แวดลอมรอบตัวผูเ รียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกิจกรรม เสร�ม การเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ผูสอนจะตองคํานึงถึง

4

1. ความรูเดิมของผูเรียน วิธีการสอนที่ดีจะตองเริ่มตนจากจุดที่วา ผูเ รียนมีความรูอ ะไรมาบาง แลวจึงใหความรู หรือประสบการณใหม เพื่อตอยอดจาก ความรูเดิม นําไปสูการสรางความรู ความเขาใจใหม

2. ความรูเดิมของผูเรียนถูกตองหรือไม ผูส อนตองปรับเปลีย่ นความรูค วามเขาใจเดิม ของผูเรียนใหถูกตอง และเปนพฤติกรรม การเรียนรูใ หมทมี่ คี ณุ คาตอผูเรียน เพื่อสราง เจตคติหรือทัศนคติที่ดีตอการเรียนรู สิ่งเหลานั้น

3. ผูเรียนสรางความหมายสําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมใหผูเรียนนําความรู ความเขาใจที่เกิดขึ้นไปลงมือปฏิบัติ เพื่อขยายความรูใหลึกซึ้งและมีคุณคา ตอตัวผูเรียนมากที่สุด

แนวคิด Constructivism เนนใหผูเรียนสรางความรูโดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูของตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศ

การเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณ ความรูใ หม เพือ่ กระตนุ ใหผเู รียนเชือ่ มโยงความรู ความคิด กับประสบการณทมี่ อี ยูเ ดิม แลวสังเคราะหเปนความรูห รือแนวคิดใหมๆ ไดดว ยตนเอง

3 การบูรณาการกระบวนการคิด การเรียนรูของผูเรียนแตละคนจะเกิดขึ้นที่สมอง ซึ่งเปนอวัยวะที่ทําหนาที่รูคิดภายใตสภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวย และไดรบั การกระตนุ จูงใจอยางเหมาะสม สอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของผูเ รียนแตละคน การจัดกิจกรรม การเรียนรูและสาระการเรียนรูที่สอดคลองกับความสนใจและมีความหมายตอผูเรียน จะชวยกระตุนใหสมองของผูเรียน สามารถรับรูและเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพตามขั้นตอนการทํางานของสมอง ดังนี้ 1. สมองจะเรียนรูและสืบคน โดยการสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง ปฏิบัติ จนทําใหคนพบความรูความเขาใจ ไดอยางรวดเร็ว

2. สมองจะแยกแยะคุณคาของสิ่งตางๆ โดยการตัดสินใจวิพากษวิจารณ แสดง ความคิดเห็น ยอมรับหรือตอตานตาม อารมณความรูสึกที่เกิดขึ้นในขณะที่เรียนรู

3. สมองจะประมวลเนื้อหาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสานกับ ความรูห รือประสบการณเดิมทีถ่ กู จัดเก็บอยูใ น สมอง ผานการกลัน่ กรองเพือ่ สังเคราะหเปน ความรูค วามเขาใจใหมๆ หรือเปนทัศนคติใหม ที่จะเก็บบรรจุไวในสมองของผูเรียน

การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะเกิดขึ้น เมื่อสมองรูคิด และตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมองผูเรียน โดยเริ่มตนจาก 1. ระดับการคิดพื้นฐาน ไดแก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล การสรุปผล เปนตน

คูม อื ครู

2. ระดับลักษณะการคิด ไดแก การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดไกล คิดหลากหลาย คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล เปนตน

3. ระดับกระบวนการคิด ไดแก กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ กระบวนการแกปญหา กระบวนการ คิดสรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะห เปนตน


5Es การจัดกิจกรรมตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ขั้นตอนการสอนที่สัมพันธกับขั้นตอนการคิดและการทํางานทางสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย คือ วัฏจักรการเรียนรู 5Es ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแตละหนวย ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1

กระตุนความสนใจ

(Engage)

เสร�ม

5

เปนขั้นที่ผูสอนนําเขาสูบทเรียน เพื่อกระตุนความสนใจของผูเรียนดวยเรื่องราวหรือเหตุการณที่นาสนใจโดยใชเทคนิควิธีการ และคําถามทบทวนความรูหรือประสบการณเดิมของผูเรียน เพื่อเชื่อมโยงผูเรียนเขาสูความรูของบทเรียนใหม ชวยใหผูเรียนสามารถ สรุปความสําคัญหัวขอและสาระการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอนการสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอมและสราง แรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน

ขั้นที่ 2

สํารวจคนหา

(Explore)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนเปดโอกาสใหผเู รียนลงมือศึกษา สังเกต หรือรวมมือกันสํารวจ เพือ่ ใหเห็นขอบขายของประเด็นหรือปญหา รวมถึง วิธีการศึกษาคนควา การรวบรวมขอมูลความรูที่จะนําไปสูการสรางความเขาใจประเด็นหรือปญหานั้นๆ เมื่อผูเรียนทําความเขาใจใน ประเด็นหรือปญหาที่จะศึกษาคนควาอยางถองแทแลว ก็ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธีการตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูที่เกี่ยวของกับประเด็นหรือปญหาที่ศึกษา

ขั้นที่ 3

อธิบายความรู

(Explain)

เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา ตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนคนหาคําตอบ และนําขอมูล ความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห สรุปผล และนําเสนอผลที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ ผังมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน ในขั้นตอนนี้ฝกใหผูเรียนใชสมองคิดวิเคราะหและสังเคราะห อยางเปนระบบ

ขั้นที่ 4

ขยายความเขาใจ

(Expand)

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใชเทคนิควิธีสอนตางๆ ที่สงเสริมใหผูเรียนนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนสืบคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะ การเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน ผูเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยง กับประสบการณเดิมโดยนําขอสรุปทีไ่ ดไปใชอธิบายเหตุการณตา งๆ หรือนําไปปฏิบตั ใิ นสถานการณใหมๆ ทีเ่ กีย่ วของกับชีวติ ประจําวัน ของตนเอง เพื่อขยายความรูความเขาใจใหกวางขวางยิ่งขึ้น ในขั้นตอนนี้ฝกสมองของผูเรียนใหสามารถคิดริเริ่มสรางสรรคอยางมี คุณภาพ เสริมสรางวิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป

ขั้นที่ 5

ตรวจสอบผล

(Evaluate)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนประเมินมโนทัศนของผูเ รียน โดยตรวจสอบจากความคิดทีเ่ ปลีย่ นไปและความคิดรวบยอดทีเ่ กิดขึน้ ใหม ตรวจสอบ ทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด หรือการเคารพความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพื่อการ สรางสรรคความรูร ว มกัน ผูเ รียนสามารถประเมินผลการเรียนรูข องตนเอง เพือ่ สรุปผลวามีความรูอ ะไรเพิม่ ขึน้ มาบาง เกิดความเขาใจ มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ หรือในชีวิตประจําวันไดอยางไร ผูเรียนจะเกิดเจตคติ และเห็นคุณคาของตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง

การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนนผูเรียน เปนสําคัญอยางแทจริง เพราะสงเสริมใหผูเรียนไดเรียนรูตามขั้นตอนของกระบวนการสรางความรูดวยตนเอง และ ฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและกระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะชีวิต ทักษะการทํางาน และทักษะการ เรียนรูที่มีประสิทธิภาพ สงผลตอการยกระดับผลสัมฤทธิ์ของผูเรียน ตามเปาหมายของการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คูม อื ครู


O-NET การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ O-NET

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ในแตละหนวยการเรียนรู ทางผูจัดทํา จะเสนอแนะวิธีสอน รูปแบบกิจกรรมการเรียนรู พรอมทั้งออกแบบเครื่องมือวัดและประเมินผลที่สอดคลองกับตัวชี้วัด และสาระการเรียนรูแกนกลางไวทุกขั้นตอน โดยยึดหลักสําคัญ คือ หลักของการวัดและประเมินผล เสร�ม

6

1. การวัดและประเมินผลทุกครั้ง ควรนําผลมาปรับปรุงพัฒนาผูเรียน เปนรายบุคคล

2. การวัดและประเมินผลมี เปาหมาย เพื่อพัฒนาการเรียนรู ของผูเรียนจนเต็มศักยภาพ

3. การนําผลการวัดและประเมินผล ทุกครั้งมาวางแผนปรับปรุงกิจกรรม การเรียนการสอน การเลือกเทคนิค วิธีสอน และสื่อการเรียนรูให เหมาะสมกับสภาพจริงของผูเรียน

การทดสอบผูเรียน 1. การใชขอสอบอัตนัย เนนการอาน การคิดวิเคราะห และการเขียนเพิ่มมากขึ้น 2. การใชคําถามกระตุนการคิดควบคูกับการทําขอสอบที่เนนการคิดอยางตอเนื่องตามลําดับกิจกรรมการเรียนรู และตัวชี้วัด 3. การทดสอบตองดําเนินการทั้งกอนเรียน ระหวางเรียน และหลังเรียน การทดสอบควรใชขอสอบทั้งชนิดปรนัยและ อัตนัย และเปนการทดสอบเพื่อประเมินผลการเรียนของผูเรียนแตละคน เพื่อการสอนซอมเสริมใหบรรลุตัวชี้วัด ไดครบถวน 4. การสอบกลางภาค (ถามี) ควรนําแบบฝกหัดหรือขอสอบทีน่ กั เรียนสวนใหญไมสามารถตอบไดหรือไมครบถวนชัดเจน มา สรางเปนแบบทดสอบอีกครัง้ เพือ่ ตรวจสอบความรูค วามเขาใจทีถ่ กู ตอง และประเมินความกาวหนาของผูเ รียนแตละคน 5. การสอบปลายภาคเรียนเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามตัวชี้วัดที่สําคัญ ควรออกขอสอบใหมีลักษณะเดียวกับ ขอสอบ O-NET โดยเนนการคิดวิเคราะห สังเคราะห เชื่อมโยงประยุกตใช เพื่อสรางความคุนเคย และฝกฝน วิธีการทําขอสอบดวยความมั่นใจ 6. การนําผลการทดสอบของผูเรียนมาวิเคราะห โดยผลการสอบกอนการเรียนตองสามารถพยากรณผลการสอบ กลางภาค และผลการสอบกลางภาคตองทํานายผลการสอบปลายภาคของผูเ รียนแตละคน เพือ่ ประเมินพัฒนาการ ความกาวหนาของผูเรียนเปนรายบุคคล 7. ผลการทดสอบปลายป ปลายภาค ตองมีคาเฉลี่ยสอดคลองกับคาเฉลี่ยของการสอบ NT ที่เขตพื้นที่การศึกษา จัดสอบ รวมทั้งคาเฉลี่ยของการสอบ O-NET ชวงชั้นที่สอดคลองครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดสําคัญ เพือ่ สะทอนประสิทธิภาพของครูผสู อนในการออกแบบการเรียนรูแ ละประกันคุณภาพผูเ รียนทีต่ รวจสอบผลไดชดั เจน การจัดการเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ตองใหผูเรียนไดสั่งสมความรู ความเขาใจตามลําดับขั้นตอน ของกิจกรรมในวัฏจักรการเรียนรู 5Es เพื่อใหผูเรียนไดเติมเต็มองคความรูอยางตอเนื่อง จนสามารถปฏิบัติชิ้นงานหรือ ภาระงานรวบยอดของแตละหนวย ผานเกณฑประกันคุณภาพในระดับที่นาพึงพอใจ เพื่อรองรับการประเมินภายนอกจาก สมศ. ตลอดเวลา คูม อื ครู


ASEAN การเรียนรูสูประชาคมอาเซียน เพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรูบูรณาการอาเซียนศึกษา ผูจัดทําไดวิเคราะห มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดที่มีสาระการเรียนรูสอดคลองกับองคความรูเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนในแงมุมตางๆ ครอบคลุมทัง้ ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน เพื่อสงเสริมการเรียนรูใหผูเรียนเกิดความตระหนัก มีความรูความเขาใจเหมาะสมกับระดับชั้นและกลุมสาระ การเรียนรู โดยเสนอแนะวิธีการจัดกิจกรรมบูรณาการเนื้อหาสาระตางๆ ที่เปนประโยชนตอผูเรียนและเปนการชวย เตรียมความพรอมผูเ รียนทุกคนทีจ่ ะกาวเขาสูก ารเปนสมาชิกของประชาคมอาเซียนไดอยางมัน่ ใจตามขอตกลงปฏิญญา เสร�ม ชะอํา-หัวหิน วาดวยความรวมมือดานการศึกษาเพือ่ บรรลุเปาหมายประชาคมอาเซียนทีเ่ อือ้ อาทรและแบงปน จึงกําหนด 7 เปนนโยบายใหกระทรวงศึกษาธิการจัดการเรียนรูเตรียมความพรอมผูเรียนเขาสูประชาคมอาเซียนภายในป พ.ศ. 2558 ตามแนวปฏิบัติที่สําคัญ ดังนี้

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน 1. การสรางความรูความเขาใจ และตระหนักถึงความสําคัญของ กฎบัตรอาเซียน และความรวมมือ ของ 3 เสาหลัก ซึง่ กฎบัตรอาเซียน ในขณะนี้มีสถานะเปนกฎหมายที่ ประเทศสมาชิกจะตองปฏิบัติตาม หลักการที่กําหนดไวเพื่อใหบรรลุ เปาหมายของกฎบัตรมาตราตางๆ

2. การสงเสริมหลักการ ประชาธิปไตยและการสราง สิ่งแวดลอมประชาธิปไตย เพื่อการอยูรวมกันอยางกลมกลืน ภายใตวิถีชีวิตอาเซียนที่มีความ หลากหลายดานสังคมและ วัฒนธรรม

4. การตระหนักในคุณคาของ สายสัมพันธทางประวัติศาสตร และมรดกทางวัฒนธรรมที่มี พัฒนาการรวมกัน เพื่อเชื่อม อัตลักษณและสรางจิตสํานึก ในการเปนประชากรของประชาคม อาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการศึกษาดาน สิทธิมนุษยชน เพื่อสรางประชาคม อาเซียนใหเปนประชาคมเพื่อ ประชาชนอยางแทจริง สามารถ อยูรวมกันไดบนพื้นฐานการเคารพ ในคุณคาของศักดิ์ศรีแหงความ เปนมนุษยเทาเทียมกัน

5. การสงเสริมสันติภาพ ความ มั่นคง และความปรองดองในสังคม ทั้งระดับประเทศและภูมิภาคของ อาเซียนบนพื้นฐานสันติวิธีและการ อยูรวมกันดวยขันติธรรม

คูม อื ครู


การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

เสร�ม

8

1. การพัฒนาทักษะการทํางาน เพื่อเสริมสรางผูเรียนใหมีทักษะ วิชาชีพที่จําเปนสอดคลองกับ ความตองการของตลาดแรงงาน และสถานประกอบการในอาเซียน สามารถเทียบโอนผลการเรียน และการทํางานตามมาตรฐานฝมือ แรงงานในภูมิภาคอาเซียน

2. การเสริมสรางวินัย ความรับผิดชอบ และเจตคติรักการทํางาน สามารถพึ่งพาตนเอง มีทักษะชีวิต ดํารงชีวิตอยางมีความสุข เห็นคุณคา และภูมิใจในตนเอง ในฐานะที่เปนพลเมืองไทยและ อาเซียน

3. การเรียนรูเพื่อพัฒนาตนเอง อยางตอเนื่องตลอดชีวิต ใหมี ทักษะการทํางานตามมาตรฐาน อาชีพ และคุณวุฒิของวิชาชีพสาขา ตางๆ เพื่อรองรับการเตรียมเคลื่อน ยายแรงงานมีฝมือและการเปน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่ เขมแข็ง เพื่อสรางขีดความสามารถ ในการแขงขันในเวทีโลก

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 1. การเสริมสรางความรวมมือ ในลักษณะสังคมที่เอื้ออาทร ของประชากรอาเซียน โดยยึด หลักการสําคัญ คือ ความงดงาม ของประชาคมอาเซียนมาจาก ความแตกตางและหลากหลายทาง วัฒนธรรมที่ลวนแตมีคุณคาตอ มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน ซึ่งประชาชนทุกคนตองอนุรักษ สืบสานใหยั่งยืน

2. การเสริมสรางคุณลักษณะ ของผูเรียนใหเปนพลเมืองอาเซียน ที่มีศักยภาพในการกาวเขาสู ประชาคมอาเซียนอยางมั่นใจ เปนผูที่มีสุขภาพสมบูรณแข็งแรง มีทักษะการสื่อสาร ทักษะการ ทํางาน ทักษะทางสังคม สามารถ ทํางานรวมกับผูอื่นไดอยาง สรางสรรค และมีองคความรู เกี่ยวกับอาเซียนที่จําเปนตอการ ดํารงชีวิตอยางมีคุณภาพ

4. การสงเสริมการเรียนรูดาน ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี วิถชี วี ติ ความเปนอยูข องเพือ่ นบาน ในอาเซียน เพื่อสรางจิตสํานึกของ ความเปนประชาคมอาเซียนและ ตระหนักถึงหนาที่ของการเปน พลเมืองอาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการเรียนรูภาษา อังกฤษเพื่อการสื่อสารและการ ทํางานตามมาตรฐานอาชีพที่ กําหนดและสนับสนุนการเรียนรู ภาษาอาเซียนและภาษาเพื่อนบาน เพื่อชวยเสริมสรางสัมพันธภาพทาง สังคม และการอยูรวมกันอยางสันติ ทามกลางความหลากหลายทาง วัฒนธรรม

5. การสรางความรูและความ ตระหนักเกี่ยวกับดานสิ่งแวดลอม ปญหาและผลกระทบตอคุณภาพ ชีวิตของประชากรในภูมิภาค รวมทั้งแนวทางการพัฒนาอยาง ยั่งยืน ใหเปนมรดกสืบทอดแก พลเมืองอาเซียนในรุนหลังตอๆ ไป

กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศนโยบายการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) เพื่อเรงพัฒนาเด็ก และเยาวชนไทยใหเปนทรัพยากรมนุษยของชาติที่มีทักษะและความชํานาญ พรอมเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงและ การแขงขันทั้งในภูมิภาคอาเซียนและภูมิภาคอื่นๆ ของสังคมโลก ทั้งนี้ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และผูปกครอง ควรรวมมือกันอยางใกลชิดในการดูแลชวยเหลือผูเรียนและจัดประสบการณการเรียนรูเพื่อพัฒนาผูเรียนจนเต็มศักยภาพ เพื่อกาวเขาสูการเปนพลเมืองอาเซียนอยางมีเกียรติภูมิและศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของตน คณะผูจัดทํา คูม อื ครู


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 1

ภาษาไทย หลักภาษาและการใชภาษา (เฉพาะชัน้ ม.5)*

การอาน

มาตรฐาน ท 1.1 ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพื่อนําไปใชตัดสินใจ แกปญหาในการดําเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอาน ชั้น

ตัวชี้วัด

ม.4-6 1. อานออกเสียง บทรอยแกวและ บทรอยกรองไดอยาง ถูกตอง ไพเราะ และ เหมาะสมกับเรื่อง ที่อาน 2. ตีความ แปลความ และขยายความเรื่อง ที่อาน 3. วิเคราะหและ วิจารณเรื่องที่อาน ในทุกๆ ดานอยางมี เหตุผล 4. คาดคะเนเหตุการณ จากเรื่องที่อาน และ ประเมินคาเพื่อนํา ความรู ความคิดไป ใชตัดสินใจแกปญหา ในการดําเนินชีวิต

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• การอานออกเสียงประกอบดวย • ตอนที่ 1 หนวยการเรียนรูท ี่ 1 - บทรอยแกวประเภทตางๆ เชน บทความ นวนิยาย และความเรียง - บทรอยกรอง เชน โคลง ฉันท กาพย กลอน ราย และลิลิต

เสร�ม

9

• การอานจับใจความจากสื่อตางๆ เชน - ขาวสารจากสื่อสิ่งพิมพ สื่ออิเล็กทรอนิกสและ แหลงเรียนรูตางๆ ในชุมชน - บทความ • ตอนที่ 1 หนวยการเรียนรูท ี่ 2 - นิทาน - เรื่องสั้น - นวนิยาย - วรรณกรรมพื้นบาน - วรรณคดีในบทเรียน - บทโฆษณา - สารคดี - บันเทิงคดี - ปาฐกถา - พระบรมราโชวาท - เทศนา 5. วิเคราะห วิจารณ • ตอนที่ 1 หนวยการเรียนรูท ี่ 2 แสดงความคิดเห็น - คําบรรยาย โตแยงกับเรื่องที่อาน - คําสอน - บทรอยกรองรวมสมัย และเสนอความคิด - บทเพลง ใหมอยางมีเหตุผล 6. ตอบคําถามจากการ อานประเภทตางๆ ภายในเวลาที่กําหนด

_________________________________ *สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย. (กรุงเทพมหานคร : ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 21-52. หมายเหตุ : สําหรับสาระที่ 5 (วรรณคดีและวรรณกรรม) จะอยูในหนังสือเรียนภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ม.5 ของ อจท. ซึ่งเปนหนังสือที่จัดทํา ควบคุูกับหนังสือเรียนภาษาไทย หลักภาษาและการใชภาษา เลมนี้

คูม อื ครู


ชั้น

เสร�ม

10

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

ม.4-6 7. อานเรื่องตางๆ แลว - บทอาเศียรวาท (ตอ) เขียนกรอบแนวคิด - คําขวัญ ผังความคิด บันทึก ยอความ และ รายงาน 8. สังเคราะหความรูจ าก การอาน สื่อสิ่งพิมพ สือ่ อิเล็กทรอนิกส และ แหลงเรียนรูต า งๆ มา พัฒนาตน พัฒนาการ เรี ย น และพั ฒ นา ความรูทางอาชีพ 9. มีมารยาทในการอาน • มารยาทในการอาน

สาระที่ 2

การเขี​ียน

มาตรฐาน ท 2.1 ใชกระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบตางๆ เขียนรายงานขอมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคนควาอยางมีประสิทธิภาพ ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง • การเขียนสื่อสารในรูปแบบตางๆ เชน ม.4-6 1. เขียนสื่อสารใน รูปแบบตางๆ ได - อธิบาย ตรงตามวัตถุประสงค - บรรยาย โดยใชภาษาเรียบ - พรรณนา เรียงถูกตอง มีขอมูล - แสดงทรรศนะ และสาระสําคัญ - โตแยง ชัดเจน - โนมนาว - เชิญชวน - ประกาศ - จดหมายกิจธุระ - โครงการและรายงานการดําเนินโครงการ - รายงานการประชุม - การกรอกแบบรายการตางๆ

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

2. เขียนเรียงความ • การเขียนเรียงความ • ตอนที่ 2 หนวยการเรียนรูท ี่ 1 3. เขียนยอความจาก • การเขียนยอความจากสื่อตางๆ เชน สื่อที่มี รูปแบบ และ - กวีนิพนธ และวรรณคดี เนื้อหาหลากหลาย - เรื่องสั้น สารคดี นวนิยาย บทความทางวิชาการ และวรรณกรรมพื้นบาน

คูม อื ครู


ชั้น ตัวชี้วัด ม.4-6 4. ผลิตงานเขียนของ (ตอ) ตนเองในรูปแบบ

ตางๆ

5. ประเมินงานเขียน ของผูอื่น แลวนํามา พัฒนางานเขียนของ ตนเอง

สาระการเรียนรูแกนกลาง

• การเขียนในรูปแบบตางๆ เชน - สารคดี - บันเทิงคดี

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• ตอนที่ 2 หนวยการเรียนรูท ี่ 3

• การประเมินคุณคางานเขียนในดานตางๆ เชน • ตอนที่ 2 หนวยการเรียนรูท ี่ 4 - แนวคิดของผูเขียน - การใชถอยคํา - การเรียบเรียง - สํานวนโวหาร - กลวิธีในการเขียน

6. เขี ย นรายงานการ • การเขียนรายงานเชิงวิชาการ ศึ ก ษาค น คว า เรื่ อ ง • การเขียนอางอิงขอมูลสารสนเทศ ที่สนใจตามหลักการ เขียนเชิงวิชาการ และ ใชขอมูลสารสนเทศ อางอิงอยางถูกตอง

• ตอนที่ 2 หนวยการเรียนรูท ี่ 2

7. บันทึกการศึกษา • การเขียนบันทึกความรูจากแหลงเรียนรูที่ คนควาเพื่อนําไป หลากหลาย พัฒนาตนเองอยาง สมํ่าเสมอ

• ตอนที่ 2 หนวยการเรียนรูท ี่ 2

8. มีมารยาทในการ เขียน

• ตอนที่ 2 หนวยการเรียนรูท ี่ 2

สาระที่ 3

• มารยาทในการเขียน

เสร�ม

11

การฟง การดู และการพูด

มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ความคิด และความรูสึกในโอกาสตางๆ อยางมีวิจารณญาณและสรางสรรค ชั้น

ตัวชี้วัด

ม.4-6 1. สรุปแนวคิด และ

แสดงความคิดเห็น จากเรื่องที่ฟงและดู

2. วิเคราะห แนวคิด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• การพูดสรุปแนวคิด และการแสดงความคิดเห็น จากเรื่องที่ฟงและดู

• การวิเคราะหแนวคิด การใชภาษา และความ

การใชภาษา และ นาเชื่อถือจากเรื่องที่ฟงและดู ความนาเชื่อถือจาก เรื่องที่ฟงและดูอยางมี เหตุผล

คูม อื ครู


ชั้น

ตัวชี้วัด ม.4-6 3. ประเมินเรื่องที่ฟง (ตอ) และดู แลวกําหนด แนวทางนําไป ประยุกตใชในการ ดําเนินชีวิต

เสร�ม

12

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• การเลือกเรื่องที่ฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ

• การประเมินเรื่องที่ฟงและดูเพื่อกําหนดแนวทาง นําไปประยุกตใช

4. มีวิจารณญาณในการ

• ตอนที่ 3 หนวยการเรียนรูท ี่ 1

5. พูดในโอกาสตางๆ พูด • การพูดในโอกาสตางๆ เชน

• ตอนที่ 3 หนวยการเรียนรูท ี่ 2

6. มีมารยาทในการฟง • มารยาทในการฟง การดู และการพูด การดู และการพูด

• ตอนที่ 3 หนวยการเรียนรูท ี่ 1 • ตอนที่ 3 หนวยการเรียนรูท ี่ 2

เลือกเรื่องที่ฟงและดู

แสดงทรรศนะ โตแยง โนมนาวใจ และเสนอ แนวคิดใหมดวยภาษา ถูกตองเหมาะสม

สาระที่ 4

- การพูดตอที่ประชุมชน - การพูดอภิปราย - การพูดแสดงทรรศนะ - การพูดโนมนาวใจ

หลักการใชภาษาไทย

มาตรฐาน ท 4.1 เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปญญา ทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ม.4-6 1. อธิบายธรรมชาติ • ธรรมชาติของภาษา ของภาษา พลังของ • พลังของภาษา ภาษา และลักษณะ • ลักษณะของภาษา ของภาษา - เสียงในภาษา - สวนประกอบของภาษา - องคประกอบของพยางคและคํา 2. ใชคําและกลุมคํา • การใชคําและกลุมคําสรางประโยค สรางประโยคตรงตาม วัตถุประสงค

คูม อื ครู

- คําและสํานวน - การรอยเรียงประโยค - การเพิ่มคํา - การใชคํา - การเขียนสะกดคํา

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• ตอนที่ 4 หนวยการเรียนรูท ี่ 1 • ตอนที่ 4 หนวยการเรียนรูท ี่ 2

• ตอนที่ 4 หนวยการเรียนรูท ี่ 1


ชั้น

ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ม.4-6 3. ใชภาษาเหมาะสมแก • ระดับของภาษา (ตอ) โอกาส กาลเทศะ และ • คําราชาศัพท บุคคล รวมทั้ง คําราชาศัพทอยาง เหมาะสม

4. แตงบทรอยกรอง

• กาพย โคลง ราย และฉันท

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

เสร�ม • ตอนที่ 4 หนวยการเรียนรูท ี่ 3

5. วิเคราะหอิทธิพลของ • อิทธิพลของภาษาตางประเทศและภาษาถิ่น

• ตอนที่ 4 หนวยการเรียนรูท ี่ 2

6. อธิบายและวิเคราะห • หลักการสรางคําในภาษาไทย

• ตอนที่ 4 หนวยการเรียนรูท ี่ 1

ภาษาตางประเทศและ ภาษาถิ่น หลักการสรางคําใน ภาษาไทย

13

7. วิเคราะหและประเมิน • การประเมินการใชภาษาจากสื่อสิ่งพิมพและสื่อ การใชภาษาจาก สื่อสิ่งพิมพและสื่อ อิเล็กทรอนิกส

อิเล็กทรอนิกส

คูม อื ครู


คําอธิบายรายวิชา รายวิชา ภาษาไทย หลักภาษาและการใชภาษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 รหัสวิชา ท…………………………………

กลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย ภาคเรียนที่ 1-2 เวลา 60 ชั่วโมง/ป

ฝกทักษะการอาน การเขียน การฟง การดู และการพูด การวิเคราะหและประเมินคาวรรณคดีและ เสร�ม วรรณกรรมโดยฝกทักษะเกี่ยวกับการอานออกเสียง ตีความ แปลความ และขยายความ คาดคะเนเหตุการณ 14 เรื่องที่อาน วิเคราะหวิจารณ แสดงความคิดเห็น โตแยงเกี่ยวกับเรื่องที่อาน และเสนอความคิดใหมอยางมี เหตุผล ฝกทักษะการเขียนบรรยาย เขียนพรรณนา เขียนเรียงความ เขียนรายงานเชิงวิชาการ ประเมินคุณคา งานเขียนในดานตางๆ ฝกทักษะการพูดสรุปแนวคิดและแสดงความคิดเห็นจากเรือ่ งทีฟ่ ง และดู การพูดโนมนาวใจ ประเมินเรื่องที่ฟงและดู และศึกษาเกี่ยวกับลักษณะของภาษาไทย พลังของภาษา ธรรมชาติของภาษา แตงบทรอยกรอง ประเภทราย และฉันท วิเคราะหวถิ ไี ทย ประเมินคา ความรูแ ละขอคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรม ทองจําบทอาขยานทีก่ าํ หนด และบทรอยกรองที่มีคุณคาตามความสนใจ โดยใชกระบวนการอานเพื่อสรางความรูความคิดนําไปใชตัดสินใจ แกปญหาในการดําเนินชีวิต กระบวนการเขียน เขียนสื่อสารอยางมีประสิทธิภาพ กระบวนการฟง การดู และการพูด สามารถเลือกฟง ดู และพูดแสดงความรูค วามคิดอยางมีวจิ ารณญาณและสรางสรรค เพือ่ ใหเขาใจ ธรรมชาติภาษาและหลักภาษาไทย การเปลีย่ นแปลงของภาษา ภูมปิ ญ ญาทางภาษา วิเคราะหวจิ ารณวรรณคดี และวรรณกรรมอยางเห็นคุณคาและนํามาประยุกตใชในชีวิต รักษาภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติและมีนิสัย รักการอาน การเขียน มีมารยาทในการอาน การเขียน การฟง การดู และการพูด ตัวชี้วัด ท 1.1 ท 2.1 ท 3.1 ท 4.1

คูม อื ครู

ม.4-6/1 ม.4-6/2 ม.4-6/4 ม.4-6/1

ม.4-6/3 ม.4-6/4 ม.4-6/5 ม.4-6/2

ม.4-6/5 ม.4-6/5 ม.4-6/6 ม.4-6/7 ม.4-6/8 ม.4-6/6 ม.4-6/4 ม.4-6/5 ม.4-6/6 รวม 17 ตัวชี้วัด


วิเคราะหมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั รายวิชา ภาษาไทย หลักภาษาและการใชภาษา ม. 5

มาตรฐาน ท 2.1 ตัวชี้วัด

มาตรฐาน ท 1.1 ตัวชี้วัด

ตัวชี้วัด

มาตรฐาน ท 3.1

สาระที่ 3

ตัวชี้วัด

มาตรฐาน ท 4.1

สาระที่ 4

✓ ✓

✓ ✓

✓ ✓ ✓

1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5 6 7

สาระที่ 2

สาระที่ 1

หมายเหตุ ✓ เฉพาะที่สอดคลองกับตัวชี้วัดชั้น ม.5 เทานั้น ตัวชี้วัดที่เหลือจะจัดการเรียนการสอนในชั้น ม.4 และ ม.6

หนวยการเรียนรูที่ 4 : การประเมินคุณคางานเขียน

หนวยการเรียนรูที่ 3 : การเขียนสารคดี

หนวยการเรียนรูที่ 2 : การเขียนเชิงวิชาการ

ตอนที่ 2 : การเขียน หนวยการเรียนรูที่ 1 : การเขียนเรียงความ

หนวยการเรียนรูที่ 2 : การอานเพือ่ วิเคราะหวจิ ารณ

ตอนที่ 1 : การอาน หนวยการเรียนรูที่ 1 : การอานออกเสียง

หนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด

คําชี้แจง : ใหผูสอนใชตารางน�้ตรวจสอบวา เน�้อหาสาระการเรียนรูในหนวยการเรียนรูสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดชั้นปในขอใดบาง

ตาราง

เสร�ม

15

คูม อื ครู


คูม อื ครู

หนวยการเรียนรูที่ 3 : การแตงคําประพันธ ประเภทราย และฉันท

หนวยการเรียนรูที่ 2 : วัฒนธรรมกับภาษา

ตอนที่ 4 : หลักการใชภาษา หนวยการเรียนรูที่ 1 : ลักษณะของภาษา

หนวยการเรียนรูที่ 2 : การพูดโนมนาวใจ

มาตรฐาน ท 2.1 ตัวชี้วัด

มาตรฐาน ท 1.1 ตัวชี้วัด

ตัวชี้วัด

มาตรฐาน ท 3.1

สาระที่ 3 ตัวชี้วัด

มาตรฐาน ท 4.1

สาระที่ 4

✓ ✓

✓ ✓

1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 3 4 5 6 7 8 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5 6 7

สาระที่ 2

สาระที่ 1

16

ตอนที่ 3 : การฟง การดู และการพูด หนวยการเรียนรูที่ 1 : การฟงและ ดูอยางมีวจิ ารณญาณ

หนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด

เสร�ม


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹

ÀÒÉÒä·Â

ËÅÑ¡ÀÒÉÒáÅСÒÃ㪌ÀÒÉÒ Á.õ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๕

กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

ผูเรียบเรียง

นายภาสกร เกิดออน นางสาวระวีวรรณ อินทรประพันธ นางฟองจันทร สุขยิ่ง นางกัลยา สหชาติโกสีย

ผูตรวจ

นางเกื้อกมล พฤกษประมูล นางสาวโสภิต พิทักษ นายศักดิ์ แวววิริยะ

บรรณาธิการ

นายเอกรินทร สี่มหาศาล

พิมพครั้งที่ ๖

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ ISBN : 978-616-203-137-3 รหัสสินคา ๓๕๑๑๐๐๓

¤Œ¹¤ÇÒÁÃÙŒ¢ÂÒ¤ÇÒÁ¤Ô´¨Ò¡

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè 1 ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ 3541009

EB GUIDE

ที่พิมพกํากับหัวขอสําคัญในหนังสือเรียนหลักสูตรแกนกลางฯ ผาน www.aksorn.com ไปยังแหลงความรูทั่วไทย-ทั่วโลก

คณะผูจัดทําคูมือครู ประนอม พงษเผือก นงลักษณ เจนนาวี สมปอง ประทีปชวง


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

¤íÒá¹Ð¹íÒ㹡ÒÃ㪌˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ หนังสือเรียน หลักภาษาและการใชภาษาเลมนี้ เปนสือ่ สําหรับใชประกอบการเรียนการสอนรายวิชา พื้นฐาน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๕ เนื้อหาตรงตามสาระการเรียนรูแกนกลางขั้นพื้นฐาน อานทําความเขาใจงาย ใหทั้งความรูและ ชวยพัฒนาผูเรียนตามหลักสูตรและตัวชี้วัด เนื้อหาสาระแบงออกเปนหนวยการเรียนรูตามโครงสรางรายวิชา สะดวกแกการจัดการเรียนการสอนและการวัดผลประเมินผล พรอมเสริมองคประกอบอื่นๆ ที่จะชวยทําให ผูเรียนไดรับความรูอยางมีประสิทธิภาพ ¨Ñ´¡ÅØ‹Áà¹×éÍËÒ໚¹Ë¹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ µÒÁµÑǪÕéÇÑ´ áÅÐÊÒÃСÒÃàÃÕ¹Ãٌ᡹¡ÅÒ§ Êдǡᡋ¡ÒèѴ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ

Design ˹ŒÒẺãËÁ‹ ÊǧÒÁ ¾ÔÁ¾ ô ÊÕ µÅÍ´àÅ‹Á ª‹ÇÂãˌ͋ҹ·íÒ¤ÇÒÁࢌÒã¨ä´Œ§‹ÒÂ

ตอนที่ ๒

ก็ควรรออยู่ที่นี่

้น ขณะนี้เธอควรจะกลับบ้านได้แล้ว หรือไม่เช่นนั

ตัวอย่าง

สันธานวลี

+

ประโยค ๑

ÊÃþ ÊÒÃР໚¹àÃ×èͧ¹‹ÒÃÙŒà¾ÔèÁàµÔÁª‹ÇÂãËŒÁÕ ¤ÇÒÁÃÙŒ·ÑèÇ仡njҧ¢ÇÒ§¢Öé¹ ÁÕá·Ã¡à»š¹ÃÐÂÐ

+

สรรพ์สาระ

ประโยค ๒

ธีรภาพ โลหิตกุล

ธีรภาพ โลหิตกุล นักเขียนสารค ดีที่มีคอลัมน์ใน หนังสือพิมพ์และนิตยสารหลายฉบั บ สารคดีของเขาเน้น ความมีชีวิต เขียนสารคดีให้เป็ นบันเทิงคดี เรียงร้อย เรื่องราวอย่างมีศิลปะ ทำาให้ผู้อ ่านได้รับทั้งความรู้และ ความเพลิดเพลินในเวลาเดียวกั น ผลงานทั้งหมดของ ธีรภาพ โลหิตกุล มีจำานวนมากและม ีความหลากหลาย ของเรื่ อ งราวที่ นำ า เสนอ สารคด ธีรภาพ โลหิตกุล นักเขียนสารคดี ี ที่ นำ า มารวม เล่ ม เป็ น ที่มีชื่อเสียง หนังสือ ได้แก่ สายน้าำ และความทรงจำ า สายน้าำ ตะวันออก บันทึกผู้มาเยือน สายน้ำาภูหนาว เงาอดีตและแรงดลใจ ซึ่งผลงาน ของเขาได้รับคัดเลือกจาก สมาพันธ์ขององค์กรเพือ่ พัฒนาหนั งสือและการอ่าน ให้เป็น ๑ ใน ๕๐๐ เล่ม หนังสือดีสาำ หรับ เด็กและเยาวชน นับว่า ธีรภาพ โลหิ ตกุล เป็นนักเขียนสารคดีทมี่ คี ณ ุ ภาพคนหนึง่ ของเมืองไทย

ธานวลีแล้วมีเนือ้ ความเป็นเหตุเป็นผลกัน ๔) ประโยคทเี่ ชือ่ มความด้วยสันธานหรือสัน

เช่น จึง เพราะ เพราะฉะนั้น เป็นต้น ตัวอย่าง เขาเป็นไข้หวัด

เพราะ

เดินตากฝน

ประโยค ๑ + ค�าสันธาน + ประโยค ๒

สันธานวลีแล้วแสดงความเกี่ยวข้องกัน ๕) ประโยคที่เชื่อมความด้วยค�าสันธานหรือ ทางเวลา เช่น แล้ว ต่อจากนั้น เป็นต้น

ตัวอย่าง

ประโยค ๑

¡ÒÃà¢Õ¹àÃÕ§¤ÇÒÁ หนวยการเรียนรูที่ ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

การเขียนเรียงความ

+

ก็เข้านอน

ค�าสันธาน + ประโยค ๒

อสันธานวลี แสดงความเกี่ยวข้องกัน ๖) ประโยคที่เชื่อมความด้วยค�าสันธานหรื หากว่า เป็นต้น ในด้านที่เป็นเงื่อนไข เช่น หากว่า ถ้าหาก ถ้า

เขียนเรียงความ (ท ๒.๑ ม.๔-๖/๒)

แล้ว

เขาอ่านหนังสือเสร็จ

¡ÒÃà¢Õ¹àÃÕ§¤ÇÒÁ ໚¹§Ò¹à¢Õ¹ÌÍÂá¡ŒÇ ·Õè¼ÙŒà¢Õ¹䴌¶‹Ò·ʹ¤ÇÒÁÃÙŒ ¤ÇÒÁ¤Ô´»ÃÐʺ¡Òó ¢Í§µ¹àͧãËŒ¼ÍÙŒ Ò‹ ¹ä´ŒÃºÑ ÃÙàŒ Ã×Íè §ÃÒÇàËŋҹѹé â´Â㪌 ¡Ãкǹ¡ÒäԴ·Õàè »š¹Ãкº áŌǶ‹Ò·ʹ¼‹Ò¹ÀÒÉÒ ·ÕèÃŒÍÂàÃէ͋ҧ»Ãгյ ¡Òýƒ¡à¢Õ¹àÃÕ§¤ÇÒÁ¨Ö § ໚¹¡Òýƒ¡·Ñ¡Éзѧé ã¹´ŒÒ¹¡ÒäԴáÅСÒÃ㪌 ÀÒÉÒ Íѹ໚¹¾×é¹°Ò¹¢Í§¡ÒÃà¢Õ¹㹢Ñé¹ÊÙ§µ‹Íä»

ตัวอย่าง

งการให้ผู้อื่นปฏิบัติดีด้วย เธอควรจะปฏิบัติดีต่อผู้อื่น หากว่า ต้อ ประโยค ๑

+

สันธานวลี

+

ประโยค ๒

๕.๒ การซ�า้ ค�าหรือวลี ๕.๒

งบุคคล สิ่งของ เหตุการณ์ การกระท�า ถ้าประโยค ๒ ประโยคมีการซ�า้ ค�าหรือวลีที่กล่าวถึ มีความเกี่ยวข้องกัน เช่น หรือสภาพเดียวกัน แสดงว่าประโยค ๒ ประโยค

การเขียนสารคดีเป็นการเขียนความ เรียงประเภทหนึ่ง เช่นเดียวกับ การเขียนเรียงความ รูปแบบของสารคดีจึงเหมือนกับ การเขียนเรียงความ คืคือ มีชื่อ เรื่อง บทน�า เนื้อหาและสรุป แต่ การเขียนสารคดีเป็นการเขียนที ่สนองความต้องการ งการ ความสนใจของผู้เขียนและม ข้อเท็จจริง ให้ ุ่งให้ความรู้ ให้ข้อคิดเตือนใจที่เป็นประโยช น์ต่อสังคม คม อา อาจแท จแทรก รกควา ความส มสนุนุกสนานเพลิดเพลินใจ บ้างก็ได้ โดยเป็นงานเขียนที ่พัฒนาขึ้นจากการเขียนเรียงความ ผู้ที่ฝึกเขียนอย่างสม�่าเสมอ เป็นนักอ่านและรู้จักเลือกอ่านหนั งสือที่มีคุณค่าหลากหลาย ลาย จะเกิดความคิดกว้างไกล สามารถน�าความคิดและประสบกา งไกล ลึกซึ้ง รณ์จากการอ่านและเขียนไปเป ็นแนวทางพัฒนางานเขียน ของตนเองต่อไปได้

คนต่างรักท่านมาก เป็นคนดีมีเมตตาต่อลูกน้องทุกคน ลูกน้องทุก ท่านเป็

à¹×éÍËҤú¶ŒÇ¹µÒÁµÑǪÕéÇÑ´áÅÐÊÒÃÐ ¡ÒÃàÃÕ¹Ãٌ᡹¡ÅÒ§

»¡Ô³¡Ð¤ÇÒÁÃÙàŒ ¾ÔÁè àµÔÁáÅÐÁÕ¤ÇÒÁà¡ÕÂè Ç¢ŒÍ§ ¡Ñºà¹×éÍËÒ·ÕèàÃÕ¹ ปกิณกะ

๑. การอานออกเสียงรอยแกว

ะ เหมาะเจาะดวย รอยแกว ตามพจนานุกรมมีความหมายวา “ความเรียงทีส่ ละสลวยไพเรา แมตา งๆ เชน มขี อ บังคับหรือขอ เสียงและความหมาย” หรือหมายถึง “ถอยคําทีเ่ รียบเรียงขึน้ โดยไม งดงาม ประหนึ่ง ไพเราะ สละสลวย งเกลา ย ้ กลี เ ่ งที ย ความเรี น เป ฯลฯ คณะ สัมผัส เอก โท ครุ ลหุ ไดบังคับวาตองใชคําที่สัมผัสกัน การรอยดวงแกวที่แสนงามเขาดวยกัน” ถึงแมวารอยแกวจะไม งการเรียบเรียงรอยแกวนั้น แตบางครั้งรอยแกวที่มีสัมผัส ก็ทําใหเกิดความไพเราะ และแสดงถึ เอาจกอบในไพรลูทาง ว เจาเมืองบ อยางพิถีพิถัน เชน “…กรุงสุโขทัยนี้ดี ในนํ้ามีปลาในนามีขา ที่ ๑ ของพอขุนรามคําแหงมหาราช เพือ่ นจูงวัวไปคาขีม่ า ไปขาย…” เปนขอความในศิลาจารึกหลัก ที่ใชคําคลองจองทําใหเกิดความไพเราะ ชวนอาน

๑.๑ รูปแบบของรอยแกว

รูปแบบของรอยแกวแบงไดเปน ๒ ประเภท คือ มีความมุงหมายใหผูอานไดรับ ๑) บันเทิงคดี คือ งานเขียนที่แตงขึ้นโดยใชจินตนาการ คติ และแงคิดตางๆ ดวย งานเขียน ความบันเทิงเปนสําคัญ แตก็อาจใหความรู ความจรรโลงใจ งพงศาวดาร ตํานาน เปนตน ประเภทนี้ ไดแก นิทาน เรื่องสั้น นวนิยาย บทละครพูด นิยายอิ จจริงเปนสําคัญ เชน สารคดี ๒) สารคดี คือ งานเขียนที่มุงใหสาระความรูที่เปนขอเท็ ยง บทความ ตําราวิชาการตางๆ เชิงทองเที่ยว สารคดีเชิงชีวประวัติ รายงานการประชุม ความเรี องศาสนา เปนตน ข  ร ภี ม พระคั ถเลขา ต พระราชหั จดหมายเหตุ พงศาวดาร กฎหมาย

๑.๒ หลักการอานรอยแกว

http://www.aksorn.com/LC/Thai_Gra/M5/01

งานเขียนประเภทรอยแกวเปนงานที่สามารถอานไดทุกเพศ ยนที่ ทุกวัย ตามความสนใจของแตละบุคคลและยังเปนงานเขี สามารถหาอานไดงายในชีวิตประจําวัน

การอานออกเสียงรอยแกวเปนการอาน ออกเสียงเหมือนเสียงพูดตามธรรมดา เพื่อรับ สารจากเรื่องที่อาน โดยมีหลักในการอาน ดังนี้ ๑. ศึกษาเรื่องที่จะอานใหเขาใจเพื่อให ทราบถึงสาระสําคัญของเรือ่ ง อารมณและความ รูส กึ ทีผ่ เู ขียนตัง้ ใจจะสือ่ ใหผอู า นทราบ แลวแบง วรรคตอนการอานใหเหมาะสมวาตอนใดควร เวนวรรคนอย ตอนใดควรเวนวรรคมาก ๒. ผูอ า นตองรูห ลักการอานคําในภาษา ไทยใหถูกตองตามอักขรวิธี การอานคําที่ยืมมา จากภาษาตางประเทศ ตองอานใหถูกตองโดย ยึดหลักตามพจนานุกรม

EB GUIDE

Web Guide á¹Ð¹íÒáËÅ‹§¤Œ¹¤ÇŒÒ¢ŒÍÁÙÅ à¾ÔèÁàµÔÁ¼‹Ò¹Ãкº Online

¤íÒ¶ÒÁ»ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒáÅСԨ¡ÃÃÁÊÌҧÊÃä ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙàŒ ¾×Íè ¾Ñ²¹Ò¼ÙàŒ ÃÕ¹ãËŒÁ¤Õ ³ Ø ÀÒ¾µÒÁµÑǪÕÇé ´Ñ

µíÒÃҩѹ· ÇÃó¾ÄµÔ ÁÒµÃҾĵÔ

¤Ñ Á ÀÕ Ã ÇØ µ âµ·Ñ Â ¢Í§ÍÔ ¹ à´Õ  ÁÕ ¡ ÒÃẋ § »ÃÐàÀ·¢Í§©Ñ¹· Í͡໚¹ ò »ÃÐàÀ· 䴌ᡋ ©Ñ¹· ÇÃó¾ÄµÔ áÅЩѹ· ÁÒµÃÒ¾ÄµÔ ¡ÇÕä·Â ¡çä´Œ¹Òí µíÒÃҩѹ· ÇÃó¾ÄµÔ áÅÐÁÒµÃÒ¾ÄµÔ ÁÒ໚¹µŒ¹áººã¹¡ÒÃᵋ§ ᵋ¡Áç ¡Õ ÒÃà¾ÔÁè ÊÑÁ¼ÑÊ à¾×èͤÇÒÁä¾àÃÒÐẺÌÍ¡Ãͧ¢Í§ä·Â ã¹ÃѪÊÁѾÃкҷÊÁà´ç¨¾ÃйÑè§à¡ÅŒÒ਌ÒÍÂÙË‹ ÇÑ ¾ÃÐͧ¤ â»Ã´à¡ÅŒÒÏ ãËŒÁ¡Õ ÒúÙóР¤Òí Ê͹ »¯Ô椄 ¢Ã³ Ç´Ñ ¾ÃÐવؾ¹ÇÔÁÅÁѧ¤ÅÒÃÒÁ áÅÐãËŒÁ¡Õ ÒèÒÃÖ¡µíÒÃÒáÅÐÇÃó¤´Õ ÍÂÙ‹ËÑǷç äÇŒ·ÕèàÊÒÃÐàºÕ§ÇÑ´¾ÃÐવؾ¹Ï 㹤ÃÑ駹Ñé¹¾ÃкҷÊÁà´ç¨¾ÃйÑè§à¡ÅŒÒà¨ŒÒ µÒí ÃÒ ¹¸ ¾ ç¾ÃÐ¹Ô · ãËŒ ¹ÃÊ â ªÔ Ô µ ª ÍÒÃÒ¸¹ÒÊÁà´ç¨¾ÃÐÁËÒÊÁ³à¨ÒŒ ¡ÃÁ¾ÃлÃÁÒ¹Ø ÉÒÇÔ¸Õ¡Òà ©Ñ¹· ÇÃó¾ÄµÔáÅеíÒÃҩѹ· ÁÒµÃÒ¾ÄµÔ à¾×èͨÒÃÖ¡äÇŒãËŒ»ÃЪҪ¹ä´ŒÈÖ¡ ᵋ§©Ñ¹· µ‹Íä» ©Ñ¹· ÇÃó¾ÄµÔ ¤×Í ©Ñ¹· »ÃÐàÀ·ºÑ§¤Ñº¾ÂÒ§¤ ¹Í¡¨Ò¡¨ÐÁÕ¤ÇÒÁä¾àÃÒÐ໚¹ Êè §Ñè Ê͹ àÅÔÈáÅŒÇ Âѧ¶×Í໚¹µŒ¹áºº¢Í§¡ÒÃᵋ§©Ñ¹· ÁÕà¹×Íé ËÒà¡ÕÂè ǡѺ¾Ãоط¸âÍÇÒ··Õ ãËŒ¾Ø·¸ÈÒʹԡª¹ ËÅÕ¡àÅÕè§ÊÒà˵آͧ¡ÒûÃоĵÔã¹·Ò§àÊ×èÍÁ ઋ¹ â·É¢Í§¡Òà ҷÑ駴ŒÒ¹ ´×èÁÊØÃÒ ¡ÒÃà·ÕèÂÇ¡ÅÒ§¤×¹ ໚¹µŒ¹ ¡Å‹ÒÇä´ŒÇ‹Ò §Ò¹¾ÃйԾ¹¸ àÅ‹Á¹ÕéÁդس¤‹ à¹×éÍËÒáÅÐÇÃóÈÔÅ»Š ©Ñ¹· ÁÒµÃÒ¾ÄµÔ ¤×Í ©Ñ¹· »ÃÐàÀ·ºÑ§¤ÑºÁÒµÃÒ áº‹§Í͡໚¹ ô »ÃÐàÀ· µíÒÃÒàÅ‹Á ¤×Í ÍÃÔªҵԩѹ· ¤ÕµÔªÒµÔ©Ñ¹· àǵÒÅÕªҵԩѹ· ÁѵµÒÊÁ¡ªÒµÔ©Ñ¹· «Öè§ ¹Õé¶×Í໚¹ËÅÑ¡¢Í§¡ÇÕ¹Ô¾¹¸ ©ÃÔÂÀÒ¾ Ñ ¨ Õ Í Ù Œ Á ¼ ¡ÇÕ ¹ ·Ã§à»š ¹ÃÊ â ªÔ Ô µ ª ¡ÃÁ¾ÃлÃÁÒ¹Ø Ò ÊÁà´ç¨¾ÃÐÁËÒÊÁ³à¨Œ  ÊÁطþÃйԾ¹¸ ËÅÒÂàÃ×Íè § ઋ¹ µíÒÃҩѹ· ÇÃó¾ÄµÔ ÁÒµÃÒ¾ÄµÔ ÅÔÅµÔ µÐàŧ¾‹Ò §Ç§¡Òà àÍ¡áË‹ Ò é à¾ªÃ¹í ¹ ¹à»š Ç ÅŒ · ¹ ©Ñ Ò §¤í Í ¡ÄɳÒÊ͹¹Œ (µÍ¹»ÅÒÂ) · ¹ ©Ñ Ò â¦É¤í ¡¶Ò ÇÃó¡ÃÃÁä·Â ÊíÒËÃѺÇÃó¡ÃÃÁÈÒʹÒä´Œ·Ã§¾ÃйԾ¹¸ àÃ×Íè § ¾Ãл°ÁÊÁâ¾¸Ô ¸ÈÒÊ¹Ò áÅÐËÒÂÂÒÇÁËÒàÇÊÊѹ´ÃªÒ´¡ «Ö觹Ѻ໚¹ÇÃó¡ÃÃÁªÔé¹àÍ¡·Ò§¾Ãоط

คำาถามประจำาหน่วยการเรียนรู้

๑. การเขียนสารคดีมอี งค์ประกอบสำาคัญอะไรบ้าง แต่ละองค์ประกอบมีลกั ษณะสำาคัญ อย่างไร ๒. การเขียนสารคดีควรเขียนบทนำา เนื้อเรื่องและสรุปอย่างไร ๓. นักเขียนสารคดีที่ดีควรมีคุณสมบัติอย่างไร ๔. ลักษณะของสารคดีที่ดีเป็นอย่างไร ๕. ถ้านักเรียนจะเขียนสารคดีทอ่ งเทีย่ วเกีย่ วกับท้องถิน่ ของตนเอง นักเรียนจะกำาหนด โครงเรื่องอย่างไร จงอธิบาย

กิจกรรมสร้างสรรค์พัฒนาการเรียนรู้

92

๑. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๔-๕ คน เลือกอ่านสารคดีจากนิตยสาร กลุ่มละ ๑ เรื่อง แล้วร่วมกันอภิปราย พิจารณาองค์ประกอบของสารคดี แล้วนำาเสนอผลการ อภิปรายหน้าชั้นเรียน ๒. ให้นกั เรียนเขียนสารคดีทอ่ งเทีย่ วเกีย่ วกับท้องถิน่ ของนักเรียน หรือสารคดีเกีย่ วกับ สัตว์ ความยาว ๑-๒ หน้า


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Explain

Expand

ÊÒúÑÞ ๑

ตอนที่ การอาน หนวยการเรียนรูที่ ๑ การอานออกเสียง หนวยการเรียนรูที่ ๒ การอานเพื่อวิเคราะหวิจารณ ตอนที่ การเขียน หนวยการเรียนรูที่ ๑ การเขียนเรียงความ หนวยการเรียนรูที่ ๒ การเขียนเชิงวิชาการ หนวยการเรียนรูที่ ๓ การเขียนสารคดี หนวยการเรียนรูที่ ๔ การประเมินคุณคางานเขียน

หนา ๑ - ๔๒ ๒ -๒๘ ๒๙ - ๔๒ ๔๓ - ๑๑๐ ๔๔-๕๕ ๕๖-๗๖ ๗๗-๙๒ ๙๓- ๑๑๐

ตรวจสอบผล Evaluate


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ตอนที่ การฟง การดู และการพูด หนวยการเรียนรูที่ ๑ การฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ หนวยการเรียนรูที่ ๒ การพูดโนมนาวใจ ตอนที่ หลักการใชภาษา หนวยการเรียนรูที่ ๑ ลักษณะของภาษา หนวยการเรียนรูที่ ๒ วัฒนธรรมกับภาษา หนวยการเรียนรูที่ ๓ การแตงคําประพันธประเภทรายและฉันท บรรณานุกรม

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

หนา ๑๑๑ - ๑๓๒ ๑๑๒ - ๑๒๑ ๑๒๒ - ๑๓๒ ๑๓๓ - ๑๗๘ ค ง จ

๑๓๔ - ๑๕๐ ๑๕๑ - ๑๖๔ ๑๖๕ - ๑๗๘ ๑๗๙ - ๑๘๐


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุน ความสนใจ

ตอนที่ ๑

¡ÒÃÍ‹Ò¹

การอานเปนทักษะทางภาษาที่สําคัญ เพราะเปนพื้นฐานในการ

ศึกษาหาความรูท  กุ แขนงวิชา ทัง้ ยังเปนวิธกี ารรับสารทีใ่ ชมากในชีวติ ประจําวัน การฝกทักษะกระบวนการอานใหมีประสิทธิภาพจึงเปนการพัฒนาตนเอง เพื่อใหการศึกษาคนควาตางๆ สัมฤทธิผลและบรรลุผลตามความมุงหมาย สามารถใชวิจารณญาณในการไตรตรอง วิเคราะหและวิจารณ แยกแยะ ขอเท็จจริงและขอคิดเห็นไดอยางเหมาะสม ตลอดจนการอานออกเสียงบท รอยแกวและบทรอยกรองไดอยางถูกตองตามอักขรวิธี เพือ่ ใชทกั ษะการอาน ไปพัฒนาทักษะทางภาษาดานอื่นๆ ใหสามารถใชภาษาไดอยางผูที่เปนนาย ของภาษาตอไป

Engage

ครูชวนนักเรียนสนทนาเกี่ยวกับทักษะการ สื่อสารของมนุษย ซึ่งประกอบดวย ทักษะการอาน ทักษะการฟง การดู ทักษะการเขียน และทักษะ การพูด หากจัดกลุมของทักษะการสื่อสารแบงได 2 ชองทาง คือ ทักษะการรับสาร ประกอบดวย การอาน การฟง และดู สวนทักษะการสงสาร ประกอบดวย การเขียน และการพูด โดยการอาน เปนทักษะการรับสารที่มีความสําคัญตอชีวิต ประจําวันของมนุษย การอานเปนแหลงวัตถุดิบ ชั้นดีสําหรับการสงสารดวยวิธีการตางๆ จากนั้น ครูตั้งคําถามวา • ทักษะการอานสําคัญตอชีวิตประจําวัน ของมนุษยอยางไร (แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น ไดอยางหลากหลาย เชน มีความสําคัญ ตอการศึกษา การพัฒนาอาชีพ การอาน เปนการแสวงหาความรูตลอดชีวิต โดย สามารถเกิดขึ้นไดทุกเวลา และสถานที่) • นักเรียนชอบอานหนังสือประเภทใด เพราะเหตุใด (แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น ไดอยางอิสระ ขึน้ อยูก บั ประสบการณสว นตน) • นักเรียนเคยมีประสบการณตรงเกี่ยวกับ การนําความรู ความเขาใจ หรือขอคิดที่ ไดรับจากการอานมาใชแกปญหาในชีวิต ประจําวันบางหรือไม อยางไร (แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น ไดอยางอิสระ ครูควรกระตุนใหยกตัวอยาง ประกอบ) • นักเรียนมีแนวทางการอานเพื่อใหเกิด ประโยชนสูงสุด อยางไร (แนวตอบ ตั้งจุดมุงหมายที่ชัดเจน มีสมาธิ จดจออยูก บั เรือ่ งทีอ่ า น เพือ่ ใหจบั สาระสําคัญ ของเรื่องได)

เกร็ดแนะครู การเรียนการสอนในตอนที่ 1 การอาน เปาหมายสําคัญคือ นักเรียนมีความรู ความเขาใจเกีย่ วกับหลักปฏิบตั กิ ารอาน เพือ่ นําไปปรับใชกบั การอานในชีวติ ประจําวัน ของตนเองใหมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล เพิ่มบุคลิกภาพทางภาษา การจะบรรลุเปาหมายดังกลาว ครูควรสรางเจตคติที่ดีตอการอานใหแกนักเรียน ทําใหเห็นวาการอานเปนเรื่องใกลตัว สามารถเกิดขึ้นไดทุกสถานที่ และทุกเวลา การอานเปนการลงทุนที่คุมคา เมื่อนักเรียนมีทัศนคติที่ดีตอการอาน จึงออกแบบ การเรียนการสอนโดยใหนักเรียนเปนผูคนควาหลักปฏิบัติการอานดวยตนเอง นําขอมูลมาอธิบาย อภิปราย ซักถาม โตตอบกัน เพื่อใหเกิดกระบวนการเรียนรู รวมกัน และไดองคความรูที่ถูกตอง ครอบคลุม รวมถึงจัดกิจกรรมเพื่อใหนักเรียน มีโอกาสนําความรูไปเผยแพรแกผูอื่น เพื่อใหเกิดความภาคภูมิใจในตนเอง

คูมือครู

1


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expore

Explain

Elaborate

Evaluate

เปาหมายการเรียนรู

1. อานออกเสียงรอยแกวประเภทบันเทิงคดี สารคดีไดถูกตองตามอักขรวิธี วรรคตอน การออกเสียงคําควบกลํ้า พยัญชนะ ร ล การใชนํ้าเสียง และบุคลิกภาพ 2. อานออกเสียงบทรอยกรองประเภท ราย โคลง และฉันท ไดถูกตองตามฉันทลักษณ วรรคตอน การออกเสียงคําควบกลํ้า พยัญชนะ ร ล การใช นํา้ เสียงเพือ่ สือ่ อารมณ รวมถึงการวางบุคลิกภาพ ทาทาง สีหนา แววตา สอดคลอง เหมาะสมกับ บทอาน

ตอนที่ ๑

สมรรถนะของผูเรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด

คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. 2. 3. 4.

¡ÒÃÍ‹Ò¹ÍÍ¡àÊÕ§

มีวินัย ใฝเรียนรู รักความเปนไทย มุงมั่นในการทํางาน

กระตุน ความสนใจ

หนวยการเรียนรูที่ ตัวชี้วัด

• Engage

ครูเปดคลิปวีดทิ ศั นการรายงานขาว เพือ่ ใหนกั เรียน ไดฝกทักษะการฟงและดู จากนั้นตั้งคําถามวา • การอานออกเสียงใหมีประสิทธิภาพ ในความคิดเห็นของนักเรียนมีลักษณะ อยางไร (แนวตอบ นักเรียนตอบคําถามโดยใชความรูเ ดิม เชน การออกเสียงคําควบกลํ้าใหชัดเจน การแบงวรรคตอน)

อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรองไดอยาง ถูกตอง ไพเราะและเหมาะสมกับเรื่องที่อาน (ท ๑.๑ ม.๔-๖/๑)

สาระการเรียนรูแกนกลาง

การออกเสียง ประกอบดวย - บทรอยแกวประเภทตางๆ เชน บทความ นวนิยาย และความเรียง - บทรอยกรอง เชน โคลง ฉันท กาพย กลอน ราย และลิลิต

เกร็ดแนะครู การเรียนการสอนในหนวยการเรียนรู การอานออกเสียง เปาหมายสําคัญคือ นักเรียนสามารถอานออกเสียงรอยแกวประเภทบันเทิงคดี สารคดี รวมถึงบทรอยกรอง ประเภทราย โคลง และฉันท ไดถูกตองตามหลักปฏิบัติ คํานึงถึงความแตกตาง ดานรูปแบบ จังหวะ ทวงทํานอง ลีลา การใชนํ้าเสียงเพื่อถายทอดอารมณที่ปรากฏ ในบทอาน การจะบรรลุเปาหมายดังกลาว ครูควรออกแบบการเรียนการสอนโดยให นักเรียนเปนผูสืบคนองคความรูเกี่ยวกับหลักปฏิบัติการอานออกเสียงดวยตนเอง โดยวิธีการสังเกตจากตัวอยางที่ครูนํามา อธิบาย อภิปราย ซักถามโตตอบกันภายใน ชั้นเรียนเพื่อใหเกิดองคความรูที่ถูกตอง ฝกฝนปฏิบัติภายใตคําแนะนําของครู จน เกิดความชํานาญปฏิบัติไดดวยตนเอง รวมถึงรวมกันกําหนดเกณฑเพื่อใชประเมิน การอาน และเปนแนวทางสําหรับการปรับปรุง แกไขในการฝกปฏิบัติครั้งตอไป การเรียนการสอนในลักษณะนี้จะชวยฝกทักษะที่จําเปนใหแกนักเรียน เปนตนวา ทักษะการนําความรูไปใช ทักษะการประเมิน

2

คูมือครู

¡ÒÃÍ‹Ò¹ÍÍ¡àÊÕ§ ໚¹¡ÒÃÍ‹Ò¹ãËŒ¼ÍŒÙ ¹è× ¿˜§à¾×Íè ãˌࢌÒã¨àÃ×èͧÃÒÇáÅÐä´ŒÃѺÍÃöÃÊ à¡Ô´ÍÒÃÁ³ áÅШԹµ¹Ò¡ÒÃ仵ÒÁà¹×éÍàÃ×èͧ ¼ÙŒ·èÍÕ ‹Ò¹ÍÍ¡àÊÕ§ ¨Ö§µŒÍ§ÁÕ¹Òíé àÊÕ§ãÊä¾àÃÒÐ Í‹Ò¹àÇŒ¹ÇÃäµÍ¹áÅÐ Í‹Ò¹ÊС´¡ÒÃѹµ ä´Œ¶Ù¡µŒÍ§ â´Â੾ÒÐÍ‹ҧÂÔè§ ¡ÒÃ͋ҹÌÍ¡Ãͧ ¼ÙŒÍ‹Ò¹µŒÍ§ÃÙŒ¨Ñ¡©Ñ¹·Åѡɳ áÅÐ ·‹ Ç §·í Ò ¹Í§¡ÒÃÍ‹ Ò ¹¤í Ò »ÃÐ¾Ñ ¹ ¸ á µ‹ ŠЪ¹Ô ´ ´Œ Ç Â ´Ñ§¹Ñé¹ ¼ÙŒàÃÕ¹¨Ö§¤Çýƒ¡½¹¡ÒÃÍ‹Ò¹ÍÍ¡àÊÕ§ãËŒ ªíÒ¹ÒÞ仵ÒÁ¤ÇÒÁÊÒÁÒö¢Í§µ¹º¹ËÅÑ¡¡Ò÷Õè ¶Ù¡µŒÍ§ «Ö§è ໚¹»ÃÐ⪹ µÍ‹ µ¹àͧáÅмÙÍŒ ¹è× ÍÕ¡·Ñ§é Âѧ໚¹¡ÒÃ͹ØÃ¡Ñ É Ç² Ñ ¹¸ÃÃÁ·Ò§ÀÒÉÒÇÔ¸ËÕ ¹Ö§è ´ŒÇÂ


สํารวจคนหา

กระตุนความสนใจ

อธิบายความรู

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Engaae

สํารวจคนหา

๑. การอานออกเสียงรอยแกว รอยแกว ตามพจนานุกรมมีความหมายวา “ความเรียงทีส่ ละสลวยไพเราะ เหมาะเจาะดวย เสียงและความหมาย” หรือหมายถึง “ถอยคําทีเ่ รียบเรียงขึน้ โดยไมมขี อ บังคับหรือขอแมตา งๆ เชน สัมผัส เอก โท ครุ ลหุ คณะ ฯลฯ เปนความเรียงที่เกลี้ยงเกลา สละสลวย ไพเราะ งดงาม ประหนึ่ง การรอยดวงแกวที่แสนงามเขาดวยกัน” ถึงแมวารอยแกวจะไมไดบังคับวาตองใชคําที่สัมผัสกัน แตบางครั้งรอยแกวที่มีสัมผัส ก็ทําใหเกิดความไพเราะ และแสดงถึงการเรียบเรียงรอยแกวนั้น อยางพิถีพิถัน เชน “…กรุงสุโขทัยนี้ดี ในนํ้ามีปลาในนามีขาว เจาเมืองบเอาจกอบในไพรลูทาง เพือ่ นจูงวัวไปคาขีม่ า ไปขาย…” เปนขอความในศิลาจารึกหลักที่ ๑ ของพอขุนรามคําแหงมหาราช ที่ใชคําคลองจองทําใหเกิดความไพเราะ ชวนอาน

๑.๑ รูปแบบของรอยแกว

รูปแบบของรอยแกวแบงไดเปน ๒ ประเภท คือ ๑) บันเทิงคดี คือ งานเขียนที่แตงขึ้นโดยใชจินตนาการ มีความมุงหมายใหผูอานไดรับ ความบันเทิงเปนสําคัญ 1แตก็อาจใหความรู ความจรรโลงใจ คติ และแงคิดตางๆ ดวย งานเขียน ประเภทนี้ ไดแก นิทาน เรื่องสั้น นวนิยาย บทละครพูด นิยายอิงพงศาวดาร ตํานาน เปนตน ๒) สารคดี คือ งานเขียนที่มุงใหสาระความรูที่เปนขอเท็จจริงเปนสําคัญ เชน สารคดี เชิงทองเที่ย2ว สารคดีเชิงชีวประวัติ รายงานการประชุม ความเรียง บทความ ตําราวิชาการตางๆ พงศาวดาร กฎหมาย จดหมายเหตุ พระราชหัตถเลขา พระคัมภีรของศาสนา เปนตน

๑.๒ หลักการอานรอยแกว

งานเขียนประเภทรอยแกวเปนงานที่สามารถอานไดทุกเพศ ทุกวัย ตามความสนใจของแตละบุคคลและยังเปนงานเขียนที่ สามารถหาอานไดงายในชีวิตประจําวัน

การอานออกเสียงรอยแกวเปนการอาน ออกเสียงเหมือนเสียงพูดตามธรรมดา เพื่อรับ สารจากเรื่องที่อาน โดยมีหลักในการอาน ดังนี้ ๑. ศึกษาเรื่องที่จะอานใหเขาใจเพื่อให ทราบถึงสาระสําคัญของเรือ่ ง อารมณและความ รูส กึ ทีผ่ เู ขียนตัง้ ใจจะสือ่ ใหผอู า นทราบ แลวแบง วรรคตอนการอานใหเหมาะสมวาตอนใดควร เวนวรรคนอย ตอนใดควรเวนวรรคมาก ๒. ผูอ า นตองรูห ลักการอานคําในภาษา ไทยใหถูกตองตามอักขรวิธี การอานคําที่ยืมมา จากภาษาตางประเทศ ตองอานใหถูกตองโดย ยึดหลักตามพจนานุกรม http://www.aksorn.com/LC/Thai_Gra/M5/01

EB GUIDE

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

นักเรียนแสดงความคิดเห็นเกีย่ วกับคํากลาวทีว่ า “ผูท อี่ า นทํานอง เสนาะไดไพเราะ จะตองเปนผูที่มีแกวเสียงดี นํ้าเสียงแจมใส”

แนวตอบ ผูที่มีแกวเสียงดี นํ้าเสียงแจมใส เมื่ออานทํานองเสนาะ ยอมเกิดความไพเราะกวาผูที่มีนํ้าเสียงแหบพรา หรือออกเสียงอูอี้ ไมชัดเจน เมื่อไดรับการฝกฝนอยางสมํ่าเสมอ ยอมเกิดทักษะ ความ ชํานาญ แตผูที่มีแกวเสียงไมเอื้อตอการออกเสียง หากหมั่นฝกฝน ตามหลักปฏิบตั ทิ ถี่ กู ตอง ก็สามารถอานออกเสียงแลวทําใหผฟู ง ไดรบั อรรถรสในการฟงไดเชนกัน ดังนั้นการมีแกวเสียงดีจึงเปนเพียงการ มีตนทุน แตถาผูมีตนทุนที่ดีไมลงมือฝกฝนปฏิบัติ ตนทุนนั้นก็จะไม เกิดผลงอกเงย กลาวคือ นอกจากมีแกวเสียงที่ดีแลว ยังตองหมั่น ฝกฝนตามหลักปฏิบัติ แสวงหาความรูใหแกตนเองดวยการสังเกต จังหวะ ทวงทํานอง ลีลา การอานของบุคคลตนแบบที่มคี วามรู ความสามารถ ดานการอานออกเสียง เพือ่ นํามาปรับใชกบั ตนเอง

Explore

นักเรียนจับคูกับเพื่อนรวมชั้นเรียน ตามความ สมัครใจ รวมกันสืบคนเพือ่ สรางความรู ความเขาใจ ทีถ่ กู ตองเกีย่ วกับความแตกตางระหวางรอยแกว ประเภทบันเทิงคดี และสารคดี โดยสามารถสืบคน ไดจากแหลงขอมูลทีเ่ ขาถึงได และมีความนาเชือ่ ถือ

อธิบายความรู

Explain

นักเรียนรวมกันอธิบายความรูเกี่ยวกับการใช นํ้าเสียงเพื่อการอานออกเสียงรอยแกวที่มีเนื้อหา สาระตางกัน (แนวตอบ งานเขียนรอยแกวประเภทบันเทิงคดี มีเนื้อหาสาระมุงใหความบันเทิง เพลิดเพลินใจ แกผูอานเปนหลัก ดังนั้นนอกจากผูอานจะตอง อานใหถูกตองตามอักขรวิธี การเวนวรรคตอน ออกเสียงคําควบกลํ้า พยัญชนะ ร ล ใหถูกตอง ชัดเจนแลว ควรคํานึงถึงความไพเราะของเสียง ใชนํ้าเสียงใหมีความสัมพันธกับบรรยากาศ ของเรื่อง หากอานเรื่องที่มีตัวละคร จะตองเขาใจ เขาถึงตัวละครนั้น เพื่อใหสามารถใชนํ้าเสียงได เหมาะสมสอดคลองกับอารมณความรูสึกของ ตัวละคร การใชนํ้าเสียงสําคัญมากตอการอาน ออกเสียงงานเขียนประเภทบันเทิงคดี สวน งานเขียนประเภทสารคดีดวยมีเนื้อหามุงใหขอมูล ความรู ที่เปนขอเท็จจริง ผูอานจึงไมจําเปนตองให ความสําคัญกับการใชนํ้าเสียงมากนัก ควรอานให ถูกตองตามอักขรวิธี การเวนวรรคตอน ออกเสียง คําควบกลํ้า พยัญชนะ ร ล ใหชัดเจน ไมอานเร็ว หรือชาจนเกินไป หรือใชกระแสเสียงเดียวตั้งแต ตนจนจบ ควรอานในชวงจังหวะที่เหมาะสม พอที่ ผูฟงจะลําดับความเขาใจของตนเองไปพรอมๆ กับเนื้อหาสาระที่ฟงได)

นักเรียนควรรู 1 นิทาน หมายถึง เรื่องที่เลาสืบตอกันมา เปนวรรณกรรมมุขปาฐะ ถายทอด จากปากสูป าก กอนทีจ่ ะมีการบันทึกเปนลายลักษณอกั ษร ภาษาทีใ่ ชในนิทาน จึงเปนถอยคําธรรมดาทีเ่ ขาใจไดงา ย ลักษณะเดนของนิทาน คือ เปนเรือ่ งเลาจาก จินตนาการ มีตัวละครหลากหลายดําเนินเรื่อง ไมวาจะเปนมนุษย อมนุษย วัตถุ สิ่งของ สัตวปา ซึ่งทุกตัวสามารถแสดงบทบาทไดเชนเดียวกับมนุษย มีอารมณ ความรูสึก ความคิด แมวานิทานจะเปนเรื่องเลาที่เกิดขึ้นจากจินตนาการ เปนโลกสมมติ แตนิทาน ไดสอดแทรกแงคิด คติธรรมตางๆ ซึ่งผูอาน หรือผูฟงสามารถนําสิ่งที่ไดรับจาก การอานไปปรับใชกับการดําเนินชีวิตประจําวันในโลกแหงความเปนจริงได 2 พงศาวดาร หมายถึง เรื่องราวของเหตุการณที่เกี่ยวกับประเทศชาติ หรือพระมหากษัตริย เปนการบันทึกเหตุการณสาํ คัญทางประวัตศิ าสตรทเี่ กิดขึน้ ในชวงเวลาหนึง่ ๆ คูมือครู

3


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engaae

Expore

Explain

ขยายความเขาใจ

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

Expand

1. นักเรียนคัดเลือกรอยแกวประเภทบันเทิงคดี เชน นิทาน เรือ่ งสัน้ นวนิยาย ทีม่ ขี นาดความยาว ไมเกิน 15 นาที ฝกซอมเพื่อนํามาอานออกเสียง หนาชั้นเรียน 2. นักเรียนคัดเลือกงานเขียนประเภทสารคดี ที่มีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับประเพณี วัฒนธรรม ประวัติศาสตร และโบราณคดี ขนาดความยาว ไมเกิน 10 นาที ฝกซอมเพือ่ นํามาอานออกเสียง หนาชั้นเรียน 3. นักเรียนรวมกันกําหนดเกณฑเพื่อใชประเมิน การอานออกเสียงรอยแกวประเภทบันเทิงคดี สารคดี และใชเปนแนวทางปรับปรุงแกไข ในครั้งตอไป (แนวตอบ การอานออกเสียงรอยแกวประเภท บันเทิงคดี และสารคดี ควรครอบคลุม ดังตอไปนี้ • อานไดถูกตองตามอักขรวิธี • ออกเสียงคําควบกลํ้า พยัญชนะ ร ล ถูกตอง ชัดเจน • อานไมเกินคํา ไมขาดคํา และไมตูคํา • แบงวรรคตอนในการอานไดถูกตอง เหมาะสม กอใหเกิดชวงจังหวะที่ไพเราะ • ใชนํ้าเสียงไดเหมาะสม สอดคลองกับอารมณ ความรูสึกของตัวละคร หรือบรรยากาศ ภายในเรื่อง • การวางบุคลิกภาพทาทาง เหมาะสม สอดคลอง สงเสริมเรื่องที่เลือกอาน)

๓. ผูอานตองมีสมาธิในการอาน มีความมั่นใจ ไมอานผิด อานตก หรืออานผิดบรรทัด ตองควบคุมสายตาจากซายไปขวา และยอนกลับลงมาอีกบรรทัดหนึ่งอยางวองไวและแมนยํา ๔. อานดวยเสียงที่เปนธรรมชาติหรืออานใหเปนเสียงพูด ไมดัดเสียงหรือใชเสียงแหลม เกินไป การเนนเสียงหนัก เบา สูง ตํ่า ใหเปนไปตามธรรมชาติโดยสอดคลองกับเรื่องที่อาน ๕. อานออกเสียงใหดังพอประมาณ ไมตะโกนหรือแผวเกินไป หากอานออกเสียงผาน ไมโครโฟน ควรใหปากหางจากไมโครโฟนตามความเหมาะสม ระมัดระวังอยาใหเสียงหายใจเขา ไมโครโฟน เพราะเสียงจะพรา ไมนาฟง ๖. อานเวนวรรคตอนใหถกู ตองและกําหนดจังหวะความเร็วในการอานใหเหมาะสม ไมอา น เร็วหรือชาเกินไป ตองอานใหจบคําและไดใจความ ถาเปนคํายาวหรือคําหลายพยางค ไมควรหยุด กลางคําหรือตัดประโยคจนเสียความ ๗. อานอยางมีลีลาและอารมณตามเนื้อเรื่องที่อาน คือ เนนคําที่สําคัญและคําที่ตองการ เพื่อใหเกิดภาพพจนหรือจินตภาพ การเนนควรเนนเฉพาะคํา ไมใชเนนทั้งวรรคหรือทั้งประโยค เชน แม คือ ผูที่ใหกําเนิดและเปนผูที่มีพระคุณแกเรา เปนตน ๘. อานเครื่องหมายวรรคตอนใหถูกตอง คําที่ใชคํายอตองอานใหเต็มคํา เชน “คณะ กรรมการสมาคมแมบาน ทบ. ทูลเกลาฯ ถวายรายไดจากการจัดแขงขันกอลฟการกุศล แดสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ เพือ่ ใชจา ยตามพระราชอัธยาศัย” โดยคําวา สมาคมแมบา น ทบ. ทูลเกลาฯ ตองอานวา สมาคมแมบานกองทัพบกทูลเกลาทูลกระหมอม สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ตอง อานวา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เปนตน ๙. เมือ่ อานจบยอหนาหนึง่ ๆ ควรผอนลมหายใจเล็กนอย เมือ่ อานยอหนาใหมจงึ เนนเสียง หรือทอดเสียง เพื่อดึงความสนใจจากผูฟง จากนั้นจึงออกเสียงปกติตามเนื้อหาที่อาน ๑๐. การจับหนังสือ ควรวางหนังสือหรือบทอานบนฝามือซาย ยกหนังสือขึน้ ใหไดระดับตาม ความเหมาะสม มือขวาคอยพลิกหนังสือหนาถัดไป ไมควรใชนิ้วมือชี้ตามตัวหนังสือ

๒. การอานออกเสียงรอยกรอง การอานรอยกรองหรือทีเ่ รียกวา การอานทํานองเสนาะ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ ใหความหมายไววา “วิธีการอานออกเสียงอยางไพเราะตามลีลาของบท รอยกรอง ประเภทโคลง ฉันท กาพย กลอน” ดังนั้นการอานทํานองตางๆ ตามลักษณะของ ฉันทลักษณจึงเกิดขึ้น เพราะฉันทลักษณของบทรอยกรองแตละประเภทมีการกําหนดทํานองให แตกตางกันออกไป บทรอยกรองบางชนิดผูอานสามารถอานไดหลายทํานอง เชน กาพยยานี ๑๑ สามารถอานไดหลายทํานอง โดยจะอานเปนทํานองกาพยยานีหรือทํานองสรภัญญะหรือทํานอง โอเอวิหารราย เปนตน ซึ่งการอานรอยกรองแตละประเภทนั้นสามารถอานไดหลายวิธี ดังนี้ ๔

เกร็ดแนะครู ครูควรชี้แนะเพิ่มเติมใหแกนักเรียนเกี่ยวกับการวางบุคลิกภาพสําหรับการอาน ออกเสียง ประการแรกสิ่งที่ผูฟงจะสังเกตเห็น คือ การแตงกาย ผูอานออกเสียงควร แตงกายใหถูกตองตามกาลเทศะ สะอาด เรียบรอย ตั้งแตศีรษะจรดปลายเทา เมื่อเริ่มอานออกเสียงการจับหนังสือถือเปนสิ่งที่ผูอานควรปฏิบัติใหถูกตอง และ เรียนรูทั้ง 2 วิธี ไมวาจะเปนการยืนอานหรือนั่งอาน ครูควรออกแบบการเรียนการสอนเพื่อใหนักเรียนมีสวนรวม โดยสุมเรียกชื่อ นักเรียนแสดงทาทางการจับหนังสือในขณะอานออกเสียงใหถูกตอง หากพบวาผูใด ทําถูกตองใหเรียกมาหนาชัน้ เรียน แตหากพบวาไมมผี ทู ที่ าํ ถูกตอง ครูควรขออาสาสมัคร จํานวน 2 คน ออกมาหนาชั้นเรียน แลวครูอธิบายวิธีการจับหนังสือทั้งแบบการ นั่งอาน และยืนอานเพื่อใหอาสาสมัครปฏิบัติตาม นักเรียนในชั้นเรียนรวมกันแสดง ทาทางที่ถูกตอง แลวบันทึกความรู ลงสมุด

4

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

“ในชั้นเรียนหนึ่ง ครูใหนางสาวพรสวรรคอานออกเสียงบทรอยกรองนี้ เขากวาดตอนขูเข็ญมาเปนขา สิ้นชีวาไปแลวก็มากหลาย ที่เหลืออยูสุดสูลําบากกาย ตองถูกหวายเฆี่ยนซํ้าใหทํางาน” หลังจากอานจบไดรับคําชมจากครู แสดงวาพรสวรรค ปฏิบัติตาม หลักการอานออกเสียงในขอใด 1. อานดวยเสียงที่ชัดเจน 2. ออกเสียงคําควบกลํ้าชัดเจน 3. วางบุคลิกภาพ ไดเหมาะสม 4. แบงวรรคถูกตอง เนนเสียงหนักเบา วิเคราะหคําตอบ บทรอยกรองที่พรสวรรคไดรับมอบหมายใหอาน เปนบทรอยกรองซึง่ ใชคาํ ทีม่ เี สียงหนัก เบา เพือ่ แสดงอารมณความรูส กึ จึงควรแบงวรรคตอนใหถกู ตอง เปลงเสียงหนัก เบา ใหเหมาะสม เพื่อถายทอดอารมณของบทอาน ดังนั้นจึงตอบขอ 4.


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุน ความสนใจ 1 ๑. การขับ ไดแก การขับเสภา การขับลํานําสูขวัญ ขับลํานํากลอมชาง ๒. การรอง ไดแก การรองเพลงทํานองตางๆ เชน เพลงไทย เพลงไทยสากลหรือเพลง ทํานองตางๆ ตามทองถิ่น 2 ๓. การกลอม ไดแก การกลอมเด็ก เหกลอมพระบรรทม ๔. การเห ไดแก การเหเรือ เหชมสิ่งตางๆ ๕. การแหล ไดแก การแหลเทศน แหลเพลงในลักษณะตางๆ ๖. การสวด ไดแก การสวดคําฉันท สวดสรภัญญะ สวดโอเอวิหารราย ๗. การพากย ไดแก การพากยโขน หรือทํานองพากยในบทพากยตางๆ ๘. การวา ไดแก การวาเพลงพื้นเมือง หรือเพลงปฏิพากยตางๆ การอานวรรณคดีเปนทํานองเสนาะมีคุณคา คือ ทําใหผูเรียนสามารถจดจําเนื้อเรื่องได และเกิดอารมณตางๆ เชน สนุกสนาน เจ็บแคน เศราโศก ตามเนื้อเรื่อง ไดเห็นภาพ ไดยินเสียง เกิดความประทับใจในรสวรรณคดีและจดจําบทกวีไดเองโดยไมตองทองจํา นอกจากผูอานจะไดรับ รสไพเราะจากการอานแลว ผูฟงก็ไดรับรสไพเราะเชนเดียวกัน ทํานองเสนาะของรอยกรองแตละชนิดมีทํานองและใหอารมณแตกตางกัน เหมือนกับการ รองเพลงหรือขับลํานําตามทวงทํานองเพลงแตละประเภท การอานทํานองเสนาะจึงเปนเอกลักษณ ของคนไทย ดังนัน้ นักเรียนจึงควรฝกอานทํานองเสนาะในวรรณคดีเพือ่ สืบทอดดวยความภาคภูมิใจ

๒.๑ กลวิธีการอานรอยกรอง ๑) ผูอานทํานองเสนาะไดไพเราะตองเปนผูที่มีแกวเสียงดี นํ้าเสียงแจมใส คื อ

เสียงใส ดังกังวาน ไมแหบแหงหรือแตกพรา เนื่องจากการอานเปนเรื่องของการใชเสียง เมื่อจะ คัดเลือกผูเขาแขงขันการประกวดอานทํานองเสนาะ ผูที่มีนํ้าเสียงดียอมสามารถใชนํ้าเสียงอานได ไพเราะจับใจกวาผูที่มีเสียงแหบแหง สําหรับผูที่มีนํ้าเสียงไมแจมใส ถาฝกหัดออกเสียงใหถูกตอง จดจําทํานองลีลาและ ลักษณะฉันทลักษณของคําประพันธแตละประเภทไดก็สามารถอานออกเสียงใหนาฟงได แมจะไม ไพเราะเทากับคนที่เสียงดี แตคนที่อานไดถูกทํานองก็ยังนับวาเปนเสนหอยางหนึ่ง จะเห็นไดวาครู ที่อาจจะนํ้าเสียงไมดี แตก็สามารถสอนใหผูเรียนสนุกสนานในการเรียนและสามารถสอนใหเขา ประกวดหรือแขงขันจนไดรับชัยชนะก็มีเปนจํานวนมาก หรือฝกใหผูเรียนเปนผูอานคําประพันธ ในโอกาสสําคัญตางๆ ได เพราะฉะนั้นนอกจากนํ้าเสียงดีแลว การหมั่นฝกฝนก็จะทําใหมีทักษะ ในการอานมากขึ้น ๕

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ขอความใดผูอานควรใชเสียงเนนหนัก เพื่อใหเห็นความสําคัญ ของเนื้อหา ทําใหเกิดความไพเราะ ชวนใหติดตามอยางตอเนื่อง 1. เรื่องวัดพระเชตุพนฯ นี้ นาจะไขความไวที่ตรงนี้ไดอีกหนอย ผูอานจะไดเขาใจ 2. ทานพระครูไมยอมใหแกไขในบริเวณโบสถที่ทานเคยลงไปอยู เมื่อตอสูกับพวกโจร 3. กรุงสุโขทัยนี้ดี ในนํ้ามีปลา ในนามีขาว เจาเมืองบเอาจกอบ ในไพรลูทาง เพื่อนจูงวัวไปคา ขี่มาไปขาย ใครใครคามาคา ใครใครคาชางคา 4. แมมเิ คยไดเคืองแคนเหมือนครัง้ นี้ เมือ่ จากบุรที เุ รศมาก็พรอมหนา ทั้งลูกผัวเปนเพื่อนทุกข สําคัญวาจะเปนสุขประสายาก วิเคราะหคําตอบ ขอ 1. และ 2. ควรใชนํ้าเสียงปกติ สวนขอ 4. ควรอานดวยลีลาเนิบชา เพื่อแสดงอารมณเศราตัดพอ นอยใจ สวนขอ 3. ควรเนนเสียงในคําที่เปนคําสําคัญ เพื่อสรางจินตภาพ

ดังนั้นจึงตอบขอ 3.

Engage

ครูเปดคลิปการประกวดอานออกเสียง บทรอยกรอง ใหนักเรียนฟง ชี้แนะใหบันทึกขอมูล ความรู ขอสังเกตที่ไดจากการฟง เพื่อใชเปนขอมูล เบื้องตนสําหรับตอบคําถาม • “อรรถรส” ที่ไดรับจากการฟงบทรอยกรอง เกิดขึ้นเพราะสาเหตุใด (แนวตอบ อรรถรสที่ไดรับจากการฟง บทรอยกรอง เกิดจากการที่ผูอานสามารถใช นํ้าเสียงใหมีความเหมาะสม สอดคลองกับ บรรยากาศของเรื่องไดครบถวน พอเหมาะ พอดี ไมขาดไมเกิน สงผลใหผูฟงเกิดอารมณ ความรูสึกรวม สะเทือนใจ คลอยตามไปกับ เนื้อหาสาระของบทรอยกรองไดโดยงาย) • การใชนาํ้ เสียงใหมคี วามเหมาะสม สอดคลอง กับอารมณความรูสึกของตัวละคร หรือ บรรยากาศภายในเรื่อง ผูอานควรเตรียมตัว อยางไร (แนวตอบ ควรอานทําความเขาใจ ตีความ เนื้อหาสาระของบทอานมาลวงหนา สังเกตบรรยากาศโดยรวมของเรื่องวา เปนไปในทิศทางใด ใสใจในทุกรายละเอียด ทุกความรูสึกของตัวละคร จินตนาการวา ถาสถานการณนั้นเกิดขึ้นกับตนเอง จะใช นํ้าเสียงอยางไร) • งานเขียนประเภทรอยแกว และบทรอยกรอง มีความแตกตางกันชัดเจนในประเด็นใด (แนวตอบ รอยแกวไมมีการบังคับฉันทลักษณ เหมือนกับบทรอยกรอง กลาวคือ การแตงบท รอยกรองบทหนึ่งๆ ในเบื้องตนผูแตงตองมี ความรูเกี่ยวกับฉันทลักษณของบทรอยกรอง ทราบวาใน 1 บท มีการบังคับจํานวนวรรค จํานวนคํา ตําแหนงสัมผัสกี่ตําแหนง และ อยางไร ลักษณะพิเศษ ขอควรระวัง หรือขอ อนุโลม ยกเวน เพื่อใหบทรอยกรองที่แตงขึ้น นั้นถูกตองตามฉันทลักษณ)

นักเรียนควรรู 1 กลอมชาง วรรณกรรมประเภทกลอมชาง ฉบับเกาแกที่สุดของไทย คือ ฉันทดษุ ฎีสงั เวยกลอมชาง แตงโดย ขุนเทพกวี ดวยภาษากัมพุช สําหรับการขับลํานํา กลอมชางนัน้ เปนประเพณีโบราณ มีจดุ มุง หมายเพือ่ ใหชา งปาทีค่ ลองมาไดหมดความ อาลัยในถิ่นที่อยูเดิมของตน ละความดื้อรั้น เตรียมความพรอมเพื่อที่จะเปนชางทรง ขององคพระมหากษัตริย ตัวอยางบางวรรคของฉันทดษุ ฎีสงั เวยกลอมชาง “พระพนมครมโดม นุบพิตรศอยจี สดับศัพทปกษี บิบาํ เรอหสบไถง” 2 กลอมเด็ก เปนบทลํานําทีใ่ ชขบั รองใหเด็กฟง หรือกลอมเด็ก โดยมีจดุ มุง หมาย เพื่อใหเด็กเกิดความเพลิดเพลิน คลายความหวาดกลัว หรือวาเหวเนื่องจากได ยินเสียงของผูกลอม เพลงกลอมเด็กหรือบทกลอมเด็กมีลักษณะเปนกลอนสั้นๆ จดจําไดงาย ใชถอยคําสามัญมาผูกใหมีความคลองจอง มีสัมผัสนอก เนื้อรอง สามารถแปลความไดงาย แสดงถึงความรัก ความเอื้ออาทรของมารดาที่มีตอบุตร คูมือครู

5


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

Engaae

สํารวจคนหา

Evaluate

บทที่จะอานเปนวสันตดิลกฉันท ก็ตองอานครุ ลหุ ใหตรงกับขอบังคับนั้น บางคนไมรูลักษณะ ขอบังคับก็อาจจะอานผิดได เชน ฉันทลักษณของวสันตดิลก ๑๔ โบราณกาลบรมขัต ทาวทรงพระนามอภิไธ-

ติยรัชเกรียงไกร ยอชาตศัตรู 1 2 (สามัคคีเภทคําฉันท : ชิต บุรทัต)

ขอบังคับครุ ลหุวสันตดิลก ๑๔

ุ ุ ุ ุ ั ั ั ั ุ ุ ุ ุ ั ั ั ุ ุ ุั ุ ั ุ ั ุ ัุ ุ ั ั ั ั ั อานตามขอบังคับของฉันทที่ถูกตอง คือ โบ - ราน - นะ - กาน - บะ - ระ - มะ - ขัด ทาว - ทรง - พระ - นาม - มะ - อะ - ภิ - ไท ถาไมเขาใจขอบังคับ อาจจะอานผิดวา โบ - ราน - กาน - บรม - ขัด ทาว - ทรง - พระ - นาม - อะ - ภิ - ไท

ุ ุ ุ ุ

ุ ุ

ั ั

ุ ุ ั ุ ั ั ุ ุ ั ุ ั ั ั ั ั ติ - ยะ - รัด - ชะ - เกรียง - ไกร ยะ - อะ - ชาด - ตะ - สัด - ตรู ติ - ยะ - รัด - ชะ - เกรียง - ไกร ยะ - อะ - ชาด - สัด - ตรู

๓) จําทํานองเสนาะของรอยกรองแตละชนิดไดอยางแมนยํา ไมหลงทํานอง บางคน

อานกลอนจบ แลวตอดวยกาพย แตกลับหลงอานเปนทํานองเดียวกับกลอน ฉะนั้นผูอานจะตอง จําทํานองและฉันทลักษณใหได มีสติพิจารณากอนอาน ๔) มีสมาธิ ไมอา นตกหลน อานผิด หรืออานขาม บางคนอานขามบรรทัด ทําใหขอ ความ ไมเชื่อมโยงตอเนื่องกัน ๕) รักการอานทํานองเสนาะ หมั่นฝกฝนและเชื่อมั่นในตัวเอง กลาแสดงออก ๖) เปนผูร กั ษาสุขภาพดี รักษาแกวเสียงและนํา้ เสียง ไมนอนดึกเกินไป ดืม่ นํา้ อุน เสมอ ไมดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล ชา หรือกาแฟ ไมตะโกนหรือกรีดรองเสียงดัง เปนตน ๖

นักเรียนควรรู 1 สามัคคีเภทคําฉันท แตงขึ้นใน พ.ศ. 2457 โดย นายชิต บุรทัต เปนเรื่องราว ของกษัตริยลิจฉวี กรุงเวสาลี แหงแควนวัชชี ไดถูกวัสสการพราหมณ มหาอํามาตย ของพระเจาอชาตศัตรู กรุงราชคฤห แหงแควนมคธ เขาไปบอนทําลายความสามัคคี จนกระทัง่ เสียกรุงใหแกพระเจาอชาตศัตรู ซึง่ เรือ่ งราวนีม้ ปี รากฏในมหาปรินพิ พานสูตร และอรรถกถามังคลวิลาสินี ซึ่งผูแตงไดนํามาเปนตนเคาของเรื่อง 2 ชิต บุรทัต เปนกวีที่มีชื่อเสียงในรัชกาลของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา เจาอยูห วั เริม่ เขียนผลงานตัง้ แตครัง้ บวชเปนสามเณร โดยใชนามปากกาวา “เอกชน” ในขณะที่บวชไดรับอาราธนาจากองคสภานายกหอพระสมุดวชิรญาณใหรวมแตง ฉันทสมโภชพระมหาเศวตฉัตรในงานพระราชพิธีฉัตรมงคลรัชกาลที่ 6 พ.ศ. 2454

คูมือครู

Elaborate

๒) ตองมีความรูเรื่องฉันทลักษณของบทรอยกรองที่จะอาน ตัวอยางเชน ถารูวาฉันท

Explain

นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกัน อธิบายความรูแบบโตตอบรอบวงเกี่ยวกับกลวิธี การอานออกเสียงบทรอยกรอง เพื่อใหผูฟงไดรับ รสไพเราะ หรืออรรถรสในการฟง โดยใชความรู ความเขาใจ ที่ไดรับจากการสืบคนรวมกับคูของ ตนเอง เปนขอมูลเบื้องตนสําหรับตอบคําถาม • การอานออกเสียงบทรอยกรองใหผฟู ง ไดรบั รส ไพเราะ ผูอานควรมีคุณสมบัติใดบาง (แนวตอบ ควรมีคุณสมบัติ ดังตอไปนี้ • มีนํ้าเสียงที่ไพเราะ ดังกังวาน แจมใส • มีสุขภาพรางกายจิตใจแข็งแรง สมบูรณ • มีสติ สัมปชัญญะ ใจจดจออยูกับสิ่งที่ ปฏิบัติ สามารถแกไขปญหาเฉพาะหนาได • มีความรู ความเขาใจ และความจํา ที่แมนยําเกี่ยวกับฉันทลักษณ รวมถึง ทวงทํานองเฉพาะของบทรอยกรอง • มีความสามารถในการแปลความ ตีความ เนื้อหาสาระของบทอาน • มีบุคลิกภาพที่เหมาะสม นาเชื่อถือ • เปนผูแสวงหาความรูใหแกตนเองอยาง สมํ่าเสมอ • มีความสามารถใชนํ้าเสียงใหเหมาะสมกับ อารมณของตัวละคร บรรยากาศภายใน เรื่อง การใชนํ้าเสียงอยางหลากหลาย)

6

ตรวจสอบผล

Explore

นักเรียนจับคูกับเพื่อนรวมชั้นเรียน ตามความ สมัครใจ รวมกันสืบคนความรูในประเด็น “กลวิธี การอานออกเสียงบทรอยกรอง เพื่อใหผูฟงไดรับ รสไพเราะขณะฟง” โดยสามารถสืบคนไดจาก แหลงขอมูลตางๆ ที่เขาถึงได และมีความนาเชื่อถือ บันทึกขอมูล ความรู ที่เปนประโยชนนํามาอภิปราย ซักถาม โตตอบกันภายในชั้นเรียน

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ขอใดผูอานควรใชนํ้าเสียงเพื่อถายทอดอารมณตางจากขออื่น 1. เห็นทหารไมเชื่อก็เหลือกลั้น ชักดาบไลฟนทั้งซายขวา ใครขมเหงคนไทยไมเมตตา ชีวาจะดับดวยมือเรา 2. พิศดูสาวนอยนวลหงส รูปทรงงามเลิศเฉิดเฉลา อยากจะชวยทุกขภยั ใหบรรเทา จึงเขาใกลนางแลวพลางทัก 3. อยามัวพูดเสียเวลาฆาฉันเถิด ขอใหเกิดเปนชายไดสักหน จะรบสูกับพมากลาประจญ ไมยอยนขามกลัวพวกตัวราย 4. ในชาตินี้มิสมัครรักพมา เชิญทานฆาใหดับลับชีพหาย ไปชาติหนาขอกําเนิดเกิดเปนชาย แลวเชิญกรายมาลองฝมือกัน วิเคราะหคําตอบ ขอ 1., 3. และ 4. ผูอานควรใชนํ้าเสียงเพื่อแสดง อารมณโกรธ เคียดแคน เยอหยิง่ ในศักดิศ์ รี สวนขอ 2. ควรใชนาํ้ เสียง ที่เนิบชา ออนหวาน ดังนั้นจึงตอบขอ 2.


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

๗) เปนผูมีบุคลิกดี แตงตัวสุภาพเหมาะสมกับโอกาส เดินหรือนั่งตัวตรง ไมนั่งหลังคอม หรือเดินหอตัว ยืนยืดอกอยางสงาผาเผย จับหนังสือหรือบทอานใหมั่นคง โดยใชแขนซายและ มือซายจับประคองหนังสือ มือขวาคอยชวยพลิกเปลีย่ นหนาหนังสือ ใหหนังสือหางจากระดับสายตา ประมาณ ๑ ฟุต หากสายตาสั้นตองสวมแวนสายตา ไมควรสวมแวนตาดําเพราะไมสุภาพ ๘) เมื่อไดรับบทอานออกเสียงรอยกรอง ผูอานจะตองพิจารณาบทอานกอนวาเปนบท รอยกรองประเภทใด จําขอบังคับ ครุ ลหุ และลีลาการอานใหแมนยํา ลองฝกอานในใจเพือ่ จับใจความ และอารมณของเรื่อง แลวแบงวรรคตอน แบงชวงการอานใหถูกตอง เมื่ออานตองใหไดอารมณ ตามเนื้อเรื่อง ๙) ระมัดระวังการออกเสียงอักขระใหชัดเจน อยาอานออกเสียงโดยเลียนแบบภาษา ตางประเทศ ออกเสียง ร ล และคําควบกลํ้าใหชัดเจน อานตามทํานองและตองพิจารณาดวยวา ทายเสียงชวงใดควรใชเสียงสูง ชวงใดควรหลบเสียงลงตํ่า ๑๐) มีศิลปะในการใชเสียง ผูอานตองรูจักการผอนเสียง ทอดเสียง หลบเสียง เอื้อนเสียง ครั่นเสียง ครวญเสียง กระแทกเสียง ดังนี้ ๑. การใชไมโครโฟน ไมใหปากจอชิดไมโครโฟนจนเกินไป มิฉะนั้นเสียงจะไมไพเราะ และมีเสียงหายใจเขาไมโครโฟน ทําใหผูฟงเกิดความรํ1าคาญ ๒. การใชเสียง ควรออกเสียงใหพอเหมาะ ไมตะโกนใหกอ งจนเกินไป หรือดัดเสียงจน ไมเปนธรรมชาติ รูจักใชจังหวะในการอานใหเหมาะสมกับอารมณของเรื่องที่อาน เชน เมื่ออานถึง การปลอบโยน ตองอานชาๆ เนิบๆ เมื่อแสดงอารมณโกรธตองอานเร็ว กระแทกกระทั้น เมื่อเกิด อารมณออนหวาน วิงวอนงอนงอ ตองอานใหชาพอดี นํ้าเสียงละมุนละไม ๓. การทอดเสียง เมื่ออานใกล จะจบตองอานทอดเสียง ผอนจังหวะใหชา ลง ๔. การหลบเสี ย ง คื อ การ เปลี่ยนเสียงหรือหักเสียง หลบจากเสียงสูง ไปตํา่ เมือ่ ไมสามารถออกเสียงทีส่ งู เกินไปได ๕. การเอื้อนเสียง คือ การลาก เสียงชาๆ และไวหางเสียง เพื่อใหเขาจังหวะ และไพเราะ ๖. การครั่นเสียง คือ การทํา การอานรอยกรองจะตองอานถูกอักขระ ถูกฉันทลักษณ เพือ่ สือ่ ให เสียงใหสะดุด เมื่ออานถึงตอนที่สะเทือน ผูฟงไดรับอรรถรสจากบทรอยกรอง อารมณ ๗

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ขอใดใชนํ้าเสียงเพื่อถายทอดอารมณที่ปรากฏในบทอาน แตกตางจากขออื่น 1. มึงนี้มาแกลงกลาวกลลวงลอเลนเจรจามุสา โก เต ตํ ทานมทฺนา เออคือตัวตนบุคคลใดในโลกนี้จะมายอยกบุตรกับ อกออกเปนทาน 2. แมนเจาครามเคราะหกาจ จงอยายาตรยุทธนา เอาพัสตรา สตรี สวมอินทรียสรางเคราะห 3. นีน่ ะ เห็นเพราะเปนอํามาตยกระทํา พระราชการมาฉนํา สมัยนาน 4. พระพายเจาเอยเคยมาพัดตองกลีบอุบล พากลิ่นสุคนธขจรรส มารวยรื่น เปนจึงเสื่อมหอมหายชื่น วิเคราะหคาํ ตอบ ตัวเลือกขอ 1., 2. และ 3. ผูอานควรใชนํ้าเสียง หนักแนน กระชับ สัน้ หวน สวนขอ 4. ควรใชเสียงใหเบาลง สัน่ เครือ จังหวะการอานเนิบชากวาปกติ เพือ่ แสดงอารมณโศกเศรา

ดังนั้นจึงตอบขอ 4.

Explain

นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกัน อธิบายความรูแบบโตตอบรอบวง ผานขอคําถาม ของครู • การมีความรู ความเขาใจ ความแมนยําใน ฉันทลักษณ และทวงทํานองเฉพาะของ บทรอยกรองแตละประเภท มีความสําคัญ ตอการอานออกเสียงอยางไร (แนวตอบ บทรอยกรองแตละประเภท ถูกกําหนดดวยฉันทลักษณ คือ กําหนดวา ตองมีจํานวนวรรค จํานวนคํา ตําแหนง สัมผัสกีต่ าํ แหนง และอยางไร จึงจะเรียกวา โคลง ฉันท กาพย กลอน ราย หรือลิลิต และดวยความตางของฉันทลักษณ จึงทําให บทรอยกรองแตละประเภทมีทวงทํานองที่ เปนลักษณะเดนเฉพาะ ใชบรรยายเนื้อหา ทีแ่ ตกตางกัน ดังนัน้ การมีความรู ความเขาใจ ความแมนยําในฉันทลักษณและทวงทํานอง จะทําใหผูอานสามารถใชนํ้าเสียงในการอาน ไดเหมาะสม) • การทอดเสียง การหลบเสียง การเอื้อนเสียง การครั่นเสียง การครวญเสียง และการ กระแทกเสียง มีวิธีการแตกตางกันอยางไร (แนวตอบ “การทอดเสียง การหลบเสียง การเอื้อนเสียง” เปนกลวิธีการใชเสียงเพื่อ ใหบทรอยกรองที่อานมีความไพเราะ เกิด ทวงทํานอง ชวงจังหวะที่เหมาะสม พอดี “การครั่นเสียง การครวญเสียง และการ กระแทกเสียง” เปนศิลปะการใชเสียง เพื่อใหผูฟงไดรับอรรถรสครบถวนขณะฟง ศิลปะการใชเสียงขางตน จะใชสําหรับการ ถายทอดอารมณ ความรูสึก บรรยากาศ เปนตนวา การครั่นเสียง เปนวิธีการทําให เสียงสะดุด เพื่อถายทอดอารมณความรูสึก สะเทือนใจ)

เกร็ดแนะครู นอกจากการเรียนการสอนเกี่ยวกับหลักปฏิบัติการอานออกเสียงรอยแกว และ บทรอยกรองแลว ครูควรใหความรูเพิ่มเติมแกนักเรียนเกี่ยวกับการออกกําลังกาย คือ การวายนํา้ เพราะชวยทําใหปอดมีความแข็งแรง จังหวะผอนลมหายใจมีชว งยาวขึน้ สงผลดีตอ การอานออกเสียงบทรอยกรอง โดยเฉพาะอยางยิง่ การอานราย ซึง่ บางครัง้ ในวรรคหนึ่งๆ จะมีจํานวนคํายาวเกินกวาชวงจังหวะหายใจของผูออกเสียง ดังนั้น หากผูออกเสียงมีปอดที่แข็งแรง จะทําใหสามารถอานใหจบไดภายใน 1 วรรค ตอชวงจังหวะการหายใจ ทําใหการออกเสียงไมชะงัก หรือสะดุด เสียอรรถรสในการฟง

นักเรียนควรรู 1 ออกเสียงใหพอเหมาะ การอานออกเสียงใหประสบความสําเร็จ ผูอานที่ดี ควรสังเกตสถานที่ และจํานวนของผูฟง หากสถานที่ที่อาน มีความกวาง หรือผูฟง มีเปนจํานวนมาก ผูอานควรออกเสียงใหดังกวาการอานออกเสียงในสถานที่ ที่มีขนาดไมกวางมากนัก และผูฟงมีจํานวนนอย คูมือครู 7


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

Engaae

สํารวจคนหา

Explain

กอนตัวแทนของกลุมที่จับสลากไดหมายเลข 1 ออกมาอธิบายความรู ครูปฏิบัติ - นําภาพพระเวสสันดรจูงสองกุมารมาให นักเรียนชม จากนั้นตั้งคําถาม • นักเรียนทราบหรือไมวา ภาพดังกลาวมีที่มา จากวรรณคดีเรื่องใด แตงดวยบทรอยกรอง ชนิดใด (แนวตอบ ภาพดังกลาว มีที่มาจากวรรณคดี เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก ซึ่งแตงดวย บทรอยกรองประเภทราย) - เปดคลิปเสียงการอานออกเสียงบทรอยกรอง ประเภทรายใหนักเรียนฟง หากเปนไปไดควร คัดเลือกกัณฑมัทรี ชี้แนะใหตั้งขอสังเกต จดบันทึกขณะฟง เพือ่ นําขอมูลมาใชสาํ หรับ ตอบคําถาม

Evaluate

๒.๒ การอานรอยกรองประเภทตางๆ รอยกรองมีหลายประเภท เชน โคลง ฉันท กาพย กลอน ราย และลิลิต แตละประเภทยัง จําแนกประเภทยอยๆ ลงไปอีกหลายชนิด การอานทํานองเสนาะของรอยกรองแตละชนิดมีทาํ นอง และใหอารมณแตกตางกัน เหมือนกับการรองเพลงหรือขับลํานําตามทวงทํานองเพลงแตละประเภท การอานทํานองเสนาะจึงเปนเอกลักษณของคนไทย ดังนั้นนักเรียนจึงควรฝกอานทํานองเสนาะ ในวรรณคดีระดับชัน้ มัธยมศึกษาปที่ ๕ ซึง่ ไดแกคาํ ประพันธประเภทราย โคลง และฉันท คําประพันธ แตละประเภทจะมีวิธีการอานที่แตกตางกันตามลักษณะของคําประพันธ ดังนี้ ๑) การอานราย รายเปนคําประพันธทมี่ เี สนห มีความเรียบงาย การใชคาํ พืน้ ๆ ไมตอ งแปล กวีนิยมใชในการบรรยายชวงที่เปนเนื้อหามากกวาความคิดและนิยมแตงรายรวมกับโคลง เรียกวา ลิลิต เชน ลิลิตตะเลงพาย ยกเวนรายยาวที่แตงตามลําพัง เชน รายยาวมหาเวสสันดรชาดก การอานคําประพันธประเภทราย นิยมอานหลบเสียงสูงใหตํ่าลงในระดับของเสียง ที่ใชอยู ไมมีใครยืนยันวาการอานรายอยางไรถูกอยางไรผิด หนังสืออานเพิม่ เติมวิชาภาษาไทย อานอยางไรใหไดรส ระดับชัน้ มัธยมศึกษาของกรม วิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ ไดใหขอเสนอแนะในการอานรายใหเสนาะ สรุปไดดังนี้ ๑.๑) กอนการอานคําประพันธ ควรรําลึกพระคุณของครูบาอาจารย เพื่อทําใหเกิด ความเปนสิริมงคลแกตนเองและทําใหมีสติ ซึ่งจะสงผลใหมีสมาธิในการอาน ๑.๒) กลวิธีในการอานราย การอานรายทุกชนิดทั้งรายโบราณ รายสุภาพ รายดั้น รายยาว หรือรายพิเศษของเกา จะมีทํานองเหมือนกัน คือ ทํานองสูงอานดวยเสียงระดับเดียวกัน และลงจังหวะที่ทายวรรคทุกวรรค สําหรับลีลาในการอานจะเนิบชาหรืออานเร็วเพียงใดขึ้นอยูกับ อารมณที่ปรากฏตามเนื้อความ แตเมื่ออานพบคําที่มีเสียงสูง จะนิยมอานหลบเสียงลงตํ่าใหอยูใน ระดับเสียงอานปกติและตองทอดเสียงทายวรรคทุกวรรคและถาหากเปนรายสุภาพ ชวงที่จบดวย โคลงสองสุภาพ จะอานชาลงกวาเดิมและทอดเสี 1 ยงมากกวา 2 รายมี ๕ ชนิด คือ รายโบราณ รายสุภาพ รายดั้น รายยาว และรายพิเศษของเกา แตในระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๕ จะขอเสนอรายสุภาพและรายยาว ดังนี้ ๘

1 รายโบราณ บทหนึ่งจะมีกี่วรรคก็ได แตมักมีตั้งแต 5 วรรคขึ้นไป วรรคหนึ่งมี 5 คํา หรืออาจมากกวา ทุกวรรคสงสัมผัสกัน โดยคําสุดทายของวรรคหนา สงสัมผัส ไปยังคําที่ 1 หรือ 2 หรือ 3 ของวรรคถัดไป หากสงสัมผัสดวยรูปวรรณยุกตใด ตองรับสัมผัสดวยรูปวรรณยุกตนั้น โดยอาจมีคําสรอยเติมทายบาทไดอีก 2 คํา 2 รายดั้น บทหนึ่งมีตั้งแต 5 วรรคขึ้นไป วรรคหนึ่งมี 3-8 คํา และเมื่อจะจบ ตองจบดวยบาทที่ 3 และ 4 ของโคลงดัน้ วิวธิ มาลี ทุกวรรคสงสัมผัสกันโดยคําสุดทาย ของวรรคหนา สงสัมผัสไปยังคําที่ 1 หรือ 2 หรือ 3 ของวรรคถัดไป หากสงสัมผัส ดวยรูปวรรณยุกตใด ตองรับสัมผัสดวยรูปวรรณยุกตนั้น โดยอาจมีคําสรอยเติม ทายบทไดอีก 2 คํา

คูมือครู

Elaborate

๗. การครวญเสียง คือ การเอือ้ นเสียงใหเกิดความรูส กึ ตามอารมณของการครํา่ ครวญ รําพัน วิงวอน หรือโศกเศรา ๘. การกระแทกเสียง คือ การลงเสียงใหหนักเปนพิเศษเมื่อตองแสดงอารมณโกรธ แสดงความเขมแข็ง

นักเรียนควรรู

8

ตรวจสอบผล

Explore

ครูแบงนักเรียนออกเปน 3 กลุม โดยแตละกลุม มีสมาชิกในจํานวนเทาๆ กัน หรือเฉลี่ยตามความ เหมาะสม ครูทาํ สลากจํานวน 3 ใบ โดยระบุหมายเลข 1, 2 และ 3 พรอมขอความ จากนั้นแตละกลุม สงตัวแทนออกมาจับสลากประเด็นสําหรับการสืบคน ความรูรวมกัน ดังนี้ หมายเลข 1 บทรอยกรองประเภทราย หมายเลข 2 บทรอยกรองประเภทโคลง หมายเลข 3 บทรอยกรองประเภทฉันท สมาชิกกลุมรวมกันสืบคนความรูใหมีความ ครอบคลุมในประเด็น ดังนี้ • ประเภทและฉันทลักษณ • ทวงทํานองเฉพาะ • ลักษณะนิยมการบรรจุเนื้อความ • กลวิธีการอานออกเสียง บันทึกขอมูลเพื่อนํามาอธิบาย อภิปราย ซักถาม โตตอบกันภายในชั้นเรียน

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

EB GUIDE

http://www.aksorn.com/LC/Thai_Gra/M5/02

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

นักเรียนพิจารณาบทรอยกรองที่กําหนดให แลววิเคราะหวา แตงดวยบทรอยกรองประเภทใด เพราะเหตุใด “กรุงเทพมหานคร บวรรัตนโกสินทร มหินทรายุธยามหาดิลก ภพนพรัตนราชธานี บุรรี มย อุดมราชนิเวศนมหาสถาน อมรพิมานอวตารสถิต ศักรทัตติย วิษณุกรรมประสิทธิ์” แนวตอบ เปนบทรอยกรองประเภทรายยาว ซึ่งเปนรายที่มักแตง เปนบทสวดเรื่องตางๆ เพื่อใชรอง ใชสวด ใชอานเลาสูกันฟง รายยาวเปนบทรอยกรองทีม่ ลี กั ษณะสําคัญ คือ การใชสมั ผัสอักษร ถอยคําทีเ่ หมาะสม บทหนึง่ คือความตอนหนึง่ จะแตงกีว่ รรคก็ได แตละวรรคไมควรใชคาํ เกินชวงจังหวะหายใจ คําสุดทายของวรรค หนาจะสงสัมผัสไปยังคําในตําแหนงที่เหมาะสมของวรรคถัดไป


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู (๑) รายสุภาพ คือ รายที่กําหนดคําในวรรคและการสัมผัสเหมือนรายดั้น ทุกประการ สวนการจบบท จบดวยโคลงสองสุภาพ นิยมมีคาํ สรอยปดทายหรืออาจแตงใหมคี าํ สรอย สลับวรรคก็ได ดังแผนภูมิ ● ● ● ● ●

● ● ● ● ●

● ● ● ● ● ●

่ ้

● ● ● ● ●

● ● ● ● ●

● ● ● ● ●

● ● ● ● ● ●

่ ้

( )

● ● ● ● ● ●

ตัวอยาง “มีพระยาหนึ่งใหญ ธไซรทรงนามกร พิมพิสาครราช พระบาทเจาเมืองสรวง สมบัติหลวง สองราชา มีมหิมาเสมอกัน ทิศตะวันตกไททาว อะคราวครอบครองยศ ทาวธมีเอารสราชฦๅ ไกร ชื่อทาวพิไชยพิษณุกร ครั้นลูกภูธรธใหญไซร ธก็ใหไปกลาวไปถาม นางนามทาวนามพระยา ชื่อเจาดาราวดี นางมีศรีโสภา เปนนางพระยาแกลูกไท ลูกทาวธไดเมียรัก ลํานักเนตรเสนหา อยูนานมามีบุตร สุดสวาทกษัตริยสององค ทรงโฉมจันทรงามเงื่อน ชื่อทาวเพื่อนทาวแพง จักแถลงโฉมเลิศลวน งามถี่พิศงามถวน แหงตองติดใจ บารนี”

1

(ลิลิตพระลอ)

(๒) รายยาว คือ รายที่ไมกําหนดจํานวนคําในวรรคหนึ่งๆ แตละวรรคจึงอาจมี คํานอยมากแตกตางกันไป การสัมผัสคําสุดทายของวรรคหนาสัมผัสกับคําหนึ่งคําใดในวรรคถัดไป จะแตงสั้นยาวเทาไรเมื่อจบนิยมลงทายดวยคําวา แลวแล นั้นแล นี้เถิด โนนเถิด ฉะนี้ ฉะนั้น เปนตน ดังแผนภูมิ ● ● ● ● ● ● ● ● ● ● ● ● ●

● ● ● ● ● ● ●

● ● ● ● ● ●

● ● ● ● ● ● ●

● ● ● ● ● ●● ● ● ●

ตัวอยาง “โภ เวสฺสนฺดร ดูกรมหาเวสสันดร อยาอาวรณโวเวทาํ เนาเขา ขากับเจาเขาจะตีกนั ไมตอ งการ ใหลูกเปนทานแลว ยังมาสอดแคลวเมื่อภายหลัง ทาวเธอจึ่งตั้งพระสมาธิระงับดับพระวิโยค กลั้น พระโศกสงบแลว พระพักตรก็ผองแผวแจมใส ดุจทองอุ 2 ไรทั้งแทง อันบุคคลจะแกลงหลอแลวมา วางในพระอาศรม ตั้งแตจะเชยชมพระปยบุตรทานบารมี แหงหนอพระชินศรีเจา นั้นแล” 3 (มหาเวสสันดรชาดก)

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

นักเรียนพิจารณาบทรอยกรองที่กําหนดใหมีที่มาจากวรรณคดี เรื่องใด หากไดรับมอบหมายใหอานออกเสียงหนาชั้นเรียน จะมีวิธี การใชนํ้าเสียงอยางไร “...ถึงปราสาทสองศรี ภัควดีออนละลวย ระทวยดุจวัลยทองทาว นํ้าตาคลาวหลั่งหลาม ชูคานหามธขึ้น ถึงพางพื้นเรือนรัตนเห็นสามกษัตริยสิ้นชนม ก็ทอดตนตีอก ผกกลิ้งเกลือกไปมา แมมาหาแกวแม เคียดใดแกแมนา เจามิ เจรจาดวยแม มิแตงแงใหแมชม มิหวีผมใหแมเชย มิเงยใหแม จูบ มิลูบนํ้าดอกไมไลพระองค มิทรงกระแจะจรุงชะมด มิเสวยรส ขาวปลา...” แนวตอบ บทรอยกรองขางตนมีที่มาจากเรื่อง ลิลิตพระลอ อารมณที่ปรากฏในบทแสดงความปวดราว เศราสะเทือนใจของ พระนางดาราวดีพระชนนีของพระเพื่อนพระแพง จึงควรใช นํ้าเสียงใหเบาลงกวาปกติ สั่นเครือ ครั่นเสียง ใหเกิดสะอื้น เพื่อแสดงความเศราโศกอยางที่สุด

Explain

1. นักเรียนกลุมที่จับสลากไดหมายเลข 1 สงตัวแทน 3-4 คน ออกมาอธิบายความรู ในประเด็นที่กลุมของตนเองไดรับมอบหมาย พรอมระบุแหลงที่มาของขอมูล 2. นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกัน อธิบายความรูแบบโตตอบรอบวงเกี่ยวกับ ฉันทลักษณของบทรอยกรองประเภทราย โดยใชความรู ความเขาใจ ที่ไดรับจากการฟง บรรยาย รวมถึงขอสังเกตที่บันทึกไดจาก การฟงคลิปเสียง เปนขอมูลเบื้องตนสําหรับ ตอบคําถาม • รายสุภาพมีลักษณะสําคัญของฉันทลักษณ อยางไร (แนวตอบ รายสุภาพ บทหนึ่งมีตั้งแต 5 วรรค ขึ้นไป โดยจะมีกี่วรรคก็ได แตละวรรคมี จํานวนคํา 5 คํา เมื่อจะจบบทตองจบดวย โคลงสองสุภาพ ทุกวรรคจะสงสัมผัสไปยัง วรรคตอไป โดยคําสุดทายของวรรคหนาจะ สงสัมผัสไปยังคําที่ 1, 2 หรือ 3 ของวรรค ถัดไป หากสงสัมผัสดวยรูปวรรณยุกตใด จะรับสัมผัสดวยรูปวรรณยุกตนั้น โดยอาจมี คําสรอยเติมทายบทไดอีก 2 คํา) • รายยาวมีลักษณะสําคัญของฉันทลักษณ อยางไร (แนวตอบ รายยาวบทหนึง่ หรือความตอนหนึง่ จะแตงกี่วรรคก็ได โดยที่แตละวรรคไมควร ใชคําเกินกวาชวงระยะหายใจครั้งหนึ่งๆ ของผูอ า นออกเสียง แตไมควรนอยกวา 5 คํา ซึ่งการสงสัมผัสนั้นคําสุดทายของวรรคหนา จะสงสัมผัสไปยังคําในตําแหนงที่เหมาะสม เชน ถาวรรคถัดไปมีจํานวนคํา 5 คํา ควร สงสัมผัสไมเกินคําที่ 3 แตถาวรรคถัดไปมี จํานวนคํา 8 คํา ก็ไมควรสงสัมผัสเกินคําที่ 5)

นักเรียนควรรู 1 ลิลิตพระลอ เปนวรรณคดีที่ไดรับการยกยองจากวรรณคดีสโมสรใหเปน ยอดของกลอนนิทานประเภทลิลิต 2 ปยบุตรทาน ปยบุตร หมายถึง ลูกผูเปนที่รัก ทาน หมายถึง การให ปยบุตรทาน จึงหมายถึง การใหลกู อันเปนทีร่ กั แกผเู อยขอ ซึง่ ในเรือ่ งมหาเวสสันดรชาดกผูเอยขอคือ ชูชก 3 มหาเวสสันดรชาดก ชาดก หมายถึง เรื่องราวของพระโพธิสัตวที่บําเพ็ญ บารมีเพือ่ จะไปเสวยชาติเปนพระพุทธเจา ซึง่ พระพุทธองคตรัสเลาไวในสุตตันตปฎก ขุททกนิกาย มีทั้งสิ้น 547 เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก เปนชาดกครัง้ เมือ่ พระพุทธองคถอื กําเนิดเปนพระเวสสันดร เพื่อบําเพ็ญทานบารมี จนถึงขั้นสูงสุด คือปรมัตถบารมี ดวยการประทานชายา พระโอรสธิดาใหเปนทาน ซึง่ เปนการใหทกี่ ระทําไดอยางยิง่ ยกเวนเสียแตพระโพธิสตั ว ผูตั้งปณิธานเพื่อตรัสรูเปนพระพุทธเจา คูมือครู

9


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

Elaborate

Evaluate

๑.๓) การใชนํ้าเสียงในการอาน ใชนํ้าเสียงใหเหมาะสมกับอารมณและเนื้อความ กอนอานทํานองเสนาะ ควรกวาดสายตาดูเนือ้ ความในแตละชวงหรือแตละตอนวาอยูใ นอารมณใดบาง แลวนํามาเปรียบเทียบกับสภาพความจริงของอารมณนนั้ ๆ เพือ่ จะไดใชนาํ้ เสียงใหเหมาะสมสัมพันธ กับอารมณของเนื้อความและกระทบใจผูฟง ดังนี้ ๑. เนื้อความแสดงอารมณเศรา นํ้าเสียงควรเบาลง สั่นเครือ จังหวะการอาน ชาลงกวาปกติ ๒. เนื้อความแสดงอารมณโกรธ นํ้าเสียงควรหนักแนน เนนเสียงดังกวาเดิม อานกระชับ สั้น หวน ๓. เนือ้ ความแสดงอารมณขบขัน ผูอ า นตองควบคุมตนเองไมใหหวั เราะในขณะ ที่อาน แตนํ้าเสียงแสดงถึงความขบขัน ๔. เนือ้ ความบรรยายหรือพรรณนา ตองอานใหไดอารมณของคําหรือของความ เชน ความงาม ใชนํ้าเสียงใส ไมเบาหรือไมดังเกินไป เปนตน ๕. เนื้อความศักดิ์สิทธิ์หรือแสดงความยิ่งใหญ ใชนํ้าเสียงหนักแนน แตไมหวน ๖. เนือ้ ความสัง่ สอน นํา้ เสียงปานกลาง ไมเบาหรือไมดงั เกินไป เนนเสียงทีค่ าํ สอน แตไมหวน ๗. เนื้อความบรรยายการตอสู ใชนํ้าเสียงดัง หนักแนน หวนกระชับ ๘. เนือ้ ความแสดงอาการตกใจกลัว นํา้ เสียงหนักเบาหรือเสียงสัน่ ตามเนือ้ ความ ที่ปรากฏ ๙. เนื้อความตัดพอตอวา นํ้าเสียงตํ่า เนนบาง สะบัดเสียงบาง ตัวอยางตอไปนีเ้ ปนตัวอยางรายบางสวนทีช่ ว ยในการฝกอานได นํา1มาจากเรือ่ ง ลิลติ ตะเลงพาย พระราชนิพนธของสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชติ ชิโนรส (รายสุภาพ) และรายยาวมหาเวสสันดรชาดก (รายยาว) ของเจาพระยาพระคลัง (หน) ตัวอยาง เนือ้ ความแสดงอารมณเศรา จากเรื่อง รายยาวมหาเวสสันดรชาดก กัณฑมัทรี เนื้อความตอนที่พระนางมัทรีเสด็จ กลับออกจากปาแลวไมพบพระชาลี พระกัณหา จึงทรงตามหา “แตแมเทีย่ วเซซังเสาะแสวงทุกแหงหองหิมเวศ ทัว่ ประเทศทุกราวปา สุดสายนัยนาทีแ่ มจะ ตามไปเล็งแล สุดโสตแลวที่แมจะซับทราบฟงสําเนียง สุดสุรเสียงที่แมจะรํ่าเรียกพิไรรอง สุดฝเทา ทีแ่ มเยือ้ งยองยกยางลงเหยียบดิน ก็สดุ สิน้ สุดปญญาสุดหาสุดคนเห็นสุดคิด จะไดพานพบประสบ รอยพระลูกนอยแตสักนิดไมมีเลย” ๑๐

เกร็ดแนะครู ครูควรใหความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับการทําทานเพื่อสรางทักษะชีวิตใหแก นักเรียนวา การทําทาน คือ การสละทรัพยสิน สิ่งของ ที่เปนของตนเองใหแกผูอื่น โดยมุงหวังใหผูอื่นไดรับประโยชน ความสุข ดวยเมตตาจิตของผูให ซึ่งการทําทาน จะไดผลมากหรือนอยนัน้ ขึน้ อยูก บั องคประกอบสําคัญ 3 ประการ ไดแก 1) วัตถุทาน ตองบริสทุ ธิ์ เปนทรัพยสนิ ของผูใ หอยางแทจริง และไดมาดวยความสุจริต 2) เจตนา ในการใหตองบริสุทธิ์ ทั้งกอนให เมื่อให และหลังให 3) เนื้อนาบุญ ตองบริสทุ ธิ์ เปนองคประกอบทีส่ าํ คัญทีส่ ดุ หากผูร บั ทานเปนคนไมดี ทานทีท่ าํ ไปจะไมเกิดผล

นักเรียนควรรู 1 สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระปรมานุชิตชิโนรส องคการยูเนสได ประกาศยกยองใหเปนบุคคลผูมีผลงานดีเดนดานวัฒนธรรมระดับโลก คูมือครู

ตรวจสอบผล

Explain

1. ครูขออาสาสมัครออกมายืนกลางวงกลม เพือ่ อาน ออกเสียงรายยาวมหาเวสสันดรชาดก กัณฑ มหาพน ที่ตัดตอนมานี้ ดวยสําเนียงปกติ “...ครัน้ แสงพระสุรยิ สองระดมก็ดเู ดนดังดวงดาว แวววะวาบๆ ที่เวิ้งวุง วิจิตรจํารัสจํารูญรุงเปน สีรุงพุงพนเพียงคัคนัมพรพื้นนภากาศ บางก็ กอเกิดกอนประหลาดศิลาลายแลละเลือ่ มๆ ที่งอกงํ้าเปนแงเงื้อมก็ชะงัดชะโงกชะงอนผา...” จากนั้นตั้งคําถามวา • จากบทอานขางตน สามารถสังเกตเกี่ยวกับ ลักษณะสําคัญของรายยาวไดอยางไร (แนวตอบ การใชสัมผัสอักษร เพื่อกระทบ อารมณความรูสึก สรางจินตภาพที่แจมชัด) 2. ครูเปดคลิปเสียงการอานออกเสียงรายที่ปรากฏ อารมณในเนื้อความ โดยเลือกใหหลากหลาย จากนั้นตั้งคําถามวา • จากคลิปเสียงที่ไดฟง นักเรียนสามารถ วิเคราะหไดหรือไมวา การใสทวงทํานอง เพื่ออานออกเสียงบทรอยกรองประเภทราย มีแนวทางปฏิบัติอยางไร (แนวตอบ สามารถสรุปได กลาวคือ การอาน ออกเสียงรายทุกชนิด จะใสทวงทํานอง เชนเดียวกัน คือ อานดวยทํานองสูง โดยลง จังหวะที่คําทายวรรคทุกวรรค) • ลีลาการอานออกเสียงบทรอยกรองประเภท รายมีความแตกตางกัน เปนตนวา เนิบชา รวดเร็ว วิเคราะหไดหรือไมวา สิ่งใดเปน ตัวกําหนดลีลาในการอาน (แนวตอบ อารมณที่ปรากฏในเนื้อความ) • ขอระวังในการอานออกเสียงบทรอยกรอง ประเภทราย หากพบคําทีม่ เี สียงสูงเกินกวาเสียง ของตนควรมีวิธีการอานอยางไร (แนวตอบ โดยทั่วไปจะนิยมอานหลบเสียงตํ่า ใหอยูในระดับปกติ)

10

ขยายความเขาใจ

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ขอใดเปนขอควรระวังสําหรับการอานออกเสียงบทรอยกรอง ประเภทราย 1. เมื่ออานถึงวรรคสุดทาย ควรใชเสียงใหสั้นกระชับ 2. การอานวรรคที่มีจํานวนคําเกิน 5 คํา ตองอานใหจบวรรค 3. การอานวรรคทีม่ ี 5 คํา ใหแบงชวงจังหวะการอานเปน 2/3 หรือ 3/2 4. การอานวรรคที่จํานวนคํายาวเกินไป ควรแบงวรรคตอนในการ อานโดยคํานึงถึงเนื้อความเปนสําคัญ วิเคราะหคําตอบ การอานออกเสียงบทรอยกรองประเภทราย ผูอานควรอานจํานวนคําภายในแตละวรรคใหจบในหนึ่งชวงจังหวะ หายใจ ไมวาวรรคนั้นๆ จะมีจํานวนคําเทาใดก็ตาม หากเกินชวง หายใจควรลักหายใจตรงกับคําที่รับสัมผัสจากวรรคหนา เมื่ออานมา ถึงวรรคสุดทายควรทอดเสียงใหยาวกวาวรรคอื่นๆ ดังนั้นจึง

ตอบขอ 2.


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู ตัวอยาง เนือ้ ความแสดงอารมณโกรธ จากเรื่อง ลิลิตตะเลงพาย ตอนที่พระเจาหงสาวดีนันทบุเรงทรงพิโรธพระราชโอรส คือ พระมหาอุปราชา ที่ไมรับคําทันทีทันใดวาจะกรีธาทัพมาอยุธยาตามที่ตรัสใช “ฟงสารราชเอารส ธ ก็ผะชดบัญชา เจาอยุธยามีบตุ ร ลวนยงยุทธเชีย่ วชาญ หาญหักศึกบมิยอ ตอสูศึกบมิหยอน ไปพักวอนวาใช ใหธหวงธหาม แมนเจาครามเคราะหกาจ จงอยายาตรยุทธนา เอาพัสตราสตรี สวมอินทรียสรางเคราะห”

ตัวอยาง เนือ้ ความพรรณนา จากเรื่อง รายยาวมหาเวสสันดรชาดก กัณฑมัทรี ตอนที่พระนางมัทรีเสด็จออกหา ผลไมในปา แลวเกิดเหตุลางราย สภาพธรรมชาติในปาเปลี่ยนแปลงไป 1 “เหตุไ2ฉนไมที่มีผลเป3นพุมพวง ก็กลายกลั 4 บเปน5ดอกดวงเดียรดาษอนาถเนตร แถวโนนก็

แกวเกดพิกุลแกมกับกาหลง ถัดนั่นก็สายหยุดประยงคและยมโดย พระพายพัดก็รวงโรยรายดอก ลงมูนมอง แมยังไดเก็บเอาดอกมารอยกรองไปฝากลูกเมื่อวันวาน ก็เพี้ยนผิดพิสดารเปนพวงผล ผิดวิกลแตกอ นมา (สพฺพา มุยหฺ นฺติ เม ทิสา) ทัง้ แปดทิศก็มดื มิดมัวมนทุกหนแหง ทัง้ ขอบฟาก็ดาด แดงเปนสายเลือด ไมเวนวายหายเหือดเปนลางรายไปรอบขาง”

ตัวอยาง เนือ้ ความศักดิ์สิทธิ์แสดงความยิ่งใหญ จากลิลิตตะเลงพาย ตอนตนเรื่อง การอานตองใชนํ้าเสียงหนักแนน เนน แตไมหวน ราย “ศรีสวัสดิเดชะ ชนะราชอรินทร ยินพระยศเกริกเกรียง เพียงพกแผนฟากฟา หลาลมเลือ่ งชัย เชวง เกรงพระเกียรติระยอ ฝอใจหาวบมิหาญ ลาญใจแกลวบมิกลา บคาอาตมออกรงค บคงอาตม ออกฤทธิ์ ทาวทัว่ ทิศทัว่ เทศ ไททกุ เขตทุกดาว นาวมกุฎมานบ นอมพิภพมานอบ มอบบัวบาทวิบลุ อดุลยานุภาพ ปราบดัสกรแกลนกลัว หัวหั่นหายกลายกลาด ดาษเต็มทงเต็มดอน พมามอญพาย หนี ศรีอโยธยารมเยศ พิเศษสุขบําเทิง สําเริงราชสถาน สําราญราชสถิต พิพิธโภคสมบัติ พิพัฒน โภคสมบูรณ พูนพิภพดับเข็ญ เย็นพิภพดับยุค สนุกสบสีมา สํ่าเสนานอบเกลา สํ่าสนมเฝาฝายใน สํ่าพลไกรเกริกหาญ สํ่าพลสารสินธพ สบศาสตราศรเพลิง เถกิงพระเกียรติฟุงฟา ลือตรลบแหลง หลา โลกลวนสดุดี” ๑๑

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’53 ออกเกีย่ วกับการอานออกเสียงของคําใหถกู ตอง คําทุกคําในขอใดอานออกเสียงจํานวนพยางคเทากับคํา “พันธกรณี” 1. เทวนาครี นิมมานนรดี สัตบริภัณฑ 2. บดีวรดา นิคหกรรม จุตรพิธพร 3. ทาสปญญา นักษัตรบดี ปจจัยนาค 4. ฉกามาพจร ญาณวิทยา สุวรรณภูมิ วิเคราะหคําตอบ จากคําที่กําหนดอานวา “พัน-ทะ-กอ-ระ-นี” มีทั้งสิ้น 5 พยางค ซึ่งคําตอบที่ถูกตองคือ ขอ 1. โดยอานวา “เท-วะ-นา-คะ-รี” “นิม-มาน-นอ-ระ-ดี” และ “สัด-ตะ-บอ-ริ-พัน” สวนขออื่นๆ ปรากฏคําที่อานออกเสียงแลวมี 4 พยางค

ดังนั้นจึงตอบขอ 1.

Explain

1. ครูสุมเรียกชื่อนักเรียนเพื่ออธิบายความรู เกี่ยวกับการอานออกเสียงบทรอยกรอง ประเภทราย ผานขอคําถามของครู • การใชนํ้าเสียงใหสอดคลองกับอารมณที่ ปรากฏในเนื้อความของราย ควรปฏิบัติ อยางไร (แนวตอบ ผูอานควรกวาดสายตาเพื่อให ทราบวาเนื้อความในแตละชวงของบทอาน ถายทอดอารมณใด เมื่อทราบแลวควรคิด เปรียบเทียบกับสถานการณจริง หากตกอยู ในสภาวะอารมณนั้นๆ จะมีนํ้าเสียงอยางไร เพื่อใหใชนํ้าเสียงไดเหมาะสม สัมพันธ อารมณกับเนื้อความและกระทบใจผูฟง) 2. นักเรียนรวมกันอานออกเสียงรายยาวที่กําหนด ดวยสําเนียงปกติเหมือนกับการอานออกเสียง รอยแกว แลววิเคราะหวาจะตองใชนํ้าเสียง ใหสอดคลองกับอารมณที่ปรากฏในเนื้อความ อยางไร “...พระพายเจาเอยเคยมาพัดตองกลีบ อุบล พากลิ่นสุคนธขจรรสมารวยรื่น เปนไรจึง เสื่อมหอมหายชื่นไมเฉื่อยฉํ่า ฝูงปลาเอย เคยมาผุดคลํ่าดําแฝงฟอง ไดยินแตเสียง ดุเหวาละเมอรองกองพนาเวศ พระกรรณเธอ สังเกตวาสองดรุณเยาวเรศเจารองขานอยูแ ววๆ ใหหวาดวาสําเนียงเสียงพระลูกแกวเจาขานรับ พระมารดา นางเสด็จลีลาเขาไปหาดู เห็นหมู สัตวจตุบาทกลาดกลุมเขาสุมนอน นางก็ยิ่ง สะทอนถอนพระทัยเทวษครวญ...” (แนวตอบ เมื่อสังเกตอารมณโดยรวมที่ปรากฏ ในเนื้อความ คือ ความโศกเศราของพระนาง มัทรี ซึ่งกลับมาจากการเขาปาหาอาหาร แลวไมพบสองกุมาร จึงควรอานดวยเสียงที่เบา ลีลาเนิบชา และเปลงเสียงใหสั่นเครือ เพื่อถายทอดอารมณ)

นักเรียนควรรู 1 แกว เปนไมพุม ใบมีสีเขียวเขม ออกดอกเปนชอ ดอกมีสีขาว กลิ่นหอม เมื่อยามออกดอกจะสงกลิ่นหอมไกล กลิ่นมีลักษณะพิเศษ ชวนใหจิตใจสงบ 2 พิกุล เปนไมยืนตนขนาดกลาง หรือใหญ ใบเปนใบเดี่ยว มนรี ปลายแหลม ออกดอกเปนชอตามกิ่ง ซอกใบ มีสีขาวนวล มีกลิ่นเฉพาะคือ กลิ่นหอมเย็น 3 กาหลง เปนไมยืนตน ทรงพุม ออกดอกเปนชอบริเวณสวนยอดของลําตน ชอหนึง่ ประมาณ 5-8 ดอก เมือ่ บานเต็มทีพ่ รอมกันๆ จะดูราวกับผีเสือ้ สีขาวจับเต็มตน 4 สายหยุด เปนไมเลื้อย กึ่งยืนตน ดอกเปนดอกเดี่ยวออกบริเวณโคนใบ มีกลีบ ยาว 5 กลีบ ดอกออนจะมีสีเขียว เมื่อแกจะมีสีเหลือง สงกลิ่นหอมในชวงเชา เมื่อสายกลิ่นจะคอยๆ จางหายไป จะหอมอีกครั้งในตอนพลบคํ่า 5 ประยงค เปนไมพุม ดอกมีขนาดเล็ก มีสีเหลืองสดคลายไขปลา เมื่อบานจะมี เสนผานศูนยกลาง 0.2-0.3 เซนติเมตร มีผลเปนรูปรีขนาดเล็ก เมื่อสุกจะมีสีแดง คูมือครู

11


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู

Explain

Expand

1. นักเรียนรวมกันอภิปรายวา “การอานออกเสียง รายยาวดวยเสียงปกติกอนที่จะอานโดยใส ทวงทํานองมีประโยชนอยางไร” (แนวตอบ ทําใหผูอานไดมีเวลาเตรียมตัว อานได ถูกตองตามอักขรวิธี การเวนวรรคตอน การสํารวจอารมณของตัวละคร และบรรยากาศ ภายในเรื่อง) 2. ครูฝกฝนใหนักเรียนอานออกเสียงรายยาว มหาเวสสันดรชาดก กัณฑมัทรี โดยครูเปน ผูอานนํา แลวนักเรียนอานตาม เพื่อใหเรียนรู จดจําทํานอง เมื่อสังเกตวานักเรียนสามารถ จดจําทวงทํานองได จึงใหอา นโดยพรอมเพรียงกัน ในชวงเวลานี้ครูควรสังเกตวานักเรียนคนใด มีความสามารถที่โดดเดน คัดเลือกออกมา หนาชัน้ เรียน จํานวน 5 คน

คูมือครู

ตรวจสอบผล

ตัวอยาง เนือ้ ความแสดงอาการตกใจกลัว จากเรื่อง รายยาวมหาเวสสันดรชาดก กัณฑมัทรี ตอนที่พระนางมัทรีเสด็จออกหา ผลไมในปา แลวทรงเห็นลางรายที่เกิดจากสภาพธรรมชาติของปาเปลี่ยนแปลงไป จึงทรง รูสึกหวาดกลัว “ในจิตใจของแมยังนอยอยูนิดเดียว ทั้งอินทรียก็เสียวๆ สั่นระรัวริก แสรกคานบันดาล พลิกพลัดลงจากพระอังสา ทั้งของนอยในหัตถาที่เคยถือ ก็หลุดหลนจากมือไมเคยเปนเห็นอนาถ เอะประหลาดหลากแลวไมเคยเลย”

ตัวอยาง เนือ้ ความแสดงการตัดพอตอวา จากเรื่อง รายยาวมหาเวสสันดรชาดก กัณฑมัทรี ตอนที่พระเวสสันดรทรงแสดง ความหึงหวง เพื่อหัก ความเศราโศกของพระนางมัทรี พระเวสสัน ดรทรงเริ่ม โดยชม ความงามและกิริยามารยาทของพระนางมัทรี เพื่อจะตัดพอตอวาพระนางที่ใชความงามและ กิริยานั้นยั่วยวนชายอื่น “เจาผูมีพักตรอันผุดผองเสมือนหนึ่งเอานํ้าทองเขามาทาบทับประเทืองผิว ราวกะวาลอย ลิ่วเลื่อนลงจากฟา ใครไดเห็นเปนขวัญตาเต็มหลงละลายทุกข ปลุกเปลื้องอารมณชายใหเชยชื่น จะนั่งนอนเดินยืนก็ตองอยาง (วราโรหา) พรอมดวยเบญจางคจริตรูปจําเริญโฉมประโลมโลกลอ แหลมวิไลลักษณ (ราชปุตฺตี) ประกอบไปดวยเชื้อศักดิ์สมมุติวงศพงศกษัตรา เออก็เมื่อเชาเจาจะ เขาปานาสงสารปานประหนึ่งวาจะไปมิได ทํารองไหฝากลูกมิรูแลว ครั้นคลาดแคลวเคลื่อนคลอย เขาสูดง ปานประหนึ่งวาจะหลงลืมลูกสละผัว ตอมืดมัวจึ่งกลับมา ทําเปนบีบนํ้าตาตีอกวาลูกหาย ใครจะไมรแู ยบคายความคิดหญิง ถาแมนเจาอาลัยอยูด ว ยลูกจริงๆ เหมือนวาจา ก็จะรีบกลับเขามา แตวี่วันไมทันรอน เออนี่เจาเที่ยวพเนจรนอนตามสนุกใจ ชมนกชมไมในไพรวัน สารพันที่จะมี ทั้งฤๅษีสิทธวิทยาธรคนธรรพเทพารักษผูมีพักตรอันเจริญ เห็นแลวก็นาเพลิดเพลินไมเมินได หรือ เจาปะผลไมประหลาดรสสดสุกทรามเสวยไมเคยกิน เจาฉวยชิมชอบลิ้นก็หลงฉันอยูจึ่งชา”

๑.๔) อานใหจบวรรค รายสวนใหญจะมีวรรคละ ๕ คํา ซึ่งมักไมมีปญหาในการอาน ใหจบวรรคภายใน ๑ ชวงลมหายใจ ยกเวนรายยาว ซึ่งแตละวรรคมักจะมีคําเกินกวา ๕ คํา หรือ เกินกวา ๑ ชวงลมหายใจ ผูอานจึงตองพยายามอานใหจบวรรค จังหวะหลักของการอานรายทุก ชนิดจะอยูที่ปลายวรรคซึ่งเปนคําสงสัมผัส สวนจังหวะเสริมจะอยูที่คํารับสัมผัสในวรรคถัดไปซึ่งผู อานตองเนนเสียงหรือทอดเสียง จึงเสมือนเปนการแบงจังหวะไปดวย ๑๒

ครูควรใหความรูเกี่ยวกับชาดก 10 ชาติ สุดทายของพระพุทธเจา ดังนี้ เตมียชาดก เสวยพระชาติเปนพระเตมียก มุ าร บําเพ็ญเนกขัมบารมี มหาชนกชาดก เสวยพระชาติเปนพระชนกกุมาร บําเพ็ญวิริยะบารมี สุวรรณสามชาดก เสวยพระชาติเปนพระสุวรรณสาม บําเพ็ญเมตตาบารมี เนมิราชชาดก เสวยพระชาติเปนพระเนมิราชกุมาร บําเพ็ญอธิษฐานบารมี มโหสถชาดก เสวยพระชาติเปนมโสหถกุมาร บําเพ็ญปญญาบารมี ภูริทัตชาดก เสวยพระชาติเปนพญานาคชื่อ ภูริทัต บําเพ็ญศีลบารมี จันทกุมารชาดก เสวยพระชาติเปนพระจันทกุมาร บําเพ็ญขันติบารมี นารทชาดก เสวยพระชาติเปนพระพรหมนารท บําเพ็ญอุเบกขาบารมี วิธุรชาดก เสวยพระชาติเปนพระวิธุรบัณฑิต บําเพ็ญสัจจะบารมี เวสสันดรชาดก เสวยพระชาติเปนพระเวสสันดร บําเพ็ญทานบารมี

12

Expand

Evaluate

เกร็ดแนะครู 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

ขยายความเขาใจ

Explain

นักเรียนรวมกันอานออกเสียงตัวอยางรายยาว ทีก่ าํ หนดดวยสําเนียงปกติ แลววิเคราะหวา จะตอง ใชนํ้าเสียงใหสอดคลองกับอารมณที่ปรากฏใน เนื้อความอยางไร “…ออเฒาสั่งสิ่งใดเจาก็ทําไดสิ่ง นั้น ทุกสิ่งสรรพเสร็จสรรพสําหรับจะเดินทาง ทั้ง ลูกเดือยขาวฟางตางๆ ไมอยางเดียว ขาวเหนียว ขาวเจาขาวเมาขาวพองเปนของเดินทาง ถั่วงาสาคู ขาวตู ขาวตากหลากๆ ไมนอย ที่ใสนํ้าออยอรอย ดีลํ้านํ้าผึ้งหวานฉํ่านํ้าตาลหวานเฉื่อย เหนื่อยๆ แกรอ น ผอนลงถุงไถ ยัดใสยา มละวานักหนาซับซอน อายทีไ่ หนกินกอนผอนไวขา งบน ทีไ่ หนเมือ่ จนจะ ไดกินนานๆ จัดลงขางลางตางๆ สารพัด...” (แนวตอบ บทอานพรรณนาใหเห็นภาพของนาง อมิตตดาจัดเตรียมสิ่งของ ใหชูชกกอนเดินทาง ไปขอสองกุมาร ผูอานไมควรอานเสียงดังหรือเบา เกินไป ควรคํานึงถึงคําและความหมายเปนสําคัญ)

ขยายความเขาใจ

อธิบายความรู

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’ 53 ออกเกี่ยวกับการแบงวรรคตอนในการอานออกเสียง ขอใดเวนวรรคตอนถูกตอง 1. บริเวณที่เกิดแผนดินไหวบอยๆ มักอยูในบริเวณแนวรอยตอ ระหวางแผนเปลือกโลก/แนวดังกลาวนีเ้ ปนบริเวณทีไ่ มมนั่ คง 2. บริเวณที่เกิดแผนดินไหวบอยๆ/มักอยูในบริเวณแนวรอยตอ ระหวางแผนเปลือกโลกแนวดังกลาวนี้เปนบริเวณที่ไมมั่นคง 3. บริเวณที่เกิดแผนดินไหวบอยๆ มักอยูในบริเวณแนวรอยตอ ระหวางแผนเปลือกโลกแนวดังกลาวนี/้ เปนบริเวณทีไ่ มมนั่ คง 4. บริเวณที่เกิดแผนดินไหวบอยๆ มักอยูในบริเวณแนวรอยตอ/ ระหวางแผนเปลือกโลกแนวดังกลาวนีเ้ ปนบริเวณทีไ่ มมนั่ คง วิเคราะหคําตอบ การแบงวรรคตอนที่ถูกตอง คือการแบงให สื่อความชัดเจน และพอดีกับชวงจังหวะหายใจของผูอาน

ดังนั้นจึงตอบขอ 1.


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engaae

Expore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ขยายความเขาใจ ตัวอยาง จังหวะหลักและจังหวะเสริมรายยาวมหาเวสสันดรชาดก กัณฑมัทรี “บุญพีน่ นี้ อ ยแลวนะเจาเพือ่ นยาก // เจามาตายจาก / พีไ่ ปในวงวัด // จะเอาปาชัฏ / นีห่ รือ มาเปนปาชา // จะเอาพระบรรณศาลา / นี่หรือเปนบริเวณพระเมรุทอง // จะเอาแตเสียงสาลิกา อันรํ่ารอง / นั่นหรือมาเปนกลองประโคมใน // จะเอาแตเสียงจักจั่นและเรไรอันรํ่ารอง / นั่นหรือ มาตางแตรสังข // และพิณพาทย // จะเอาแตเมฆหมอกในอากาศ / นั่นหรือมากั้นเปนเพดาน // จะเอาแตยูงยางในปาพระหิมพานต / มาตางฉัตรเงินและฉัตรทอง // จะเอาแตแสงพระจันทรอัน ผุดผอง / มาตางประทีปแกวงามโอภาส”

๑.๕) การหายใจตรงรับสัมผัส รายยาวทุกชนิดมักใชจาํ นวนคําวรรคละ ๕ คํา การอาน คํา ๕ คํา ภายใน ๑ ชวงลมหายใจ จึงไมมีปญหา แตหากเปนรายยาวซึ่งจํานวนคําของแตละวรรค อาจมีถึง ๑๗ คํา การอานคําทั้งหมดในวรรคใหเสนาะภายใน ๑ ชวงลมหายใจ โดยเนนคําที่รับ สัมผัสนั้น หรือหากคําที่เหลือในวรรคยังยาวเกินกวาชวงลมหายใจของผูอาน ก็สามารถพิจารณา ความที่พอแบงวรรคไดแลวลักหายใจตรงคําที่แบงวรรคนั้น เมื่อคําทายวรรคตองสงสัมผัสไปยังคําใดคําหนึ่งในวรรคถัดไป ผูอานจึงตองพิจารณา คําที่รับและสงสัมผัสวาควรอานอยางไรจึงจะถูกตองและเหมาะสม 1 ตัวอยาง จากเรือ่ ง ลิลติ ตะเลงพาย เปนการปฏิบตั หิ นาทีข่ องทหารเมืองกาญจนบุรี ซึง่ เปน เมืองหนาดานที่อยูติดกับพมา “ฝายนครกาญจน จัดขุนพลพวกดาน ผานไปสืบเอาเหตุ ในขอบเขตรามัญ เขาก็พากันรีบ รัด ลัดเล็ดลอดเลาะดง ตรงไปทางแมกษัตริย จัดกันซุมเปนกอง มองเอาเหตุเอาผล ยลนิกรรามัญ เดินแนนนันตนองเถื่อน เกลื่อนมาทั่วออกทิศ”

“ขุน-พะ-ละ”

การอานคําสงสัมผัสและคํารับสัมผัสอานได ๒ ลักษณะ คือ อานคําสงสัมผัสวา “กาน-จะ-นะ” และอานคํารับสัมผัสวา “ขุน-พน-ละ” หรือ

อานคําสงสัมผัสวา “กาน-จน” และอานคํารับสัมผัสวา “ขุน-พน” ๑.๖) การอานทอดเสียงตอนจบ การอานคําประพันธทุกชนิด ตอนจบผูอานตอง ทอดเสียงใหยาวนานกวาการทอดเสียงทายในวรรคอื่นๆ เพื่อใหผูฟงทราบวาเรื่องที่ฟงอยูกําลัง จะจบและรูสึกประทับใจ ตองการฟงอีก ๑๓

บูรณาการเชื่อมสาระ

การอานออกเสียงบทรอยกรองประเภทราย สามารถบูรณาการ ไดกับการเรียนการสอนวิชาวรรณคดีและวรรณกรรม รวมถึงวิชา ดนตรี นาฏศิลป ครูควรมอบหมายภาระชิ้นงานใหนักเรียนปฏิบัติ โดยรวมกันแสดงละคร เรือ่ งพระเวสสันดรชาดก กัณฑมทั รี เขากลุม ตามความสามารถ เชน ทีมเขียนบท ทีมนักแสดง ทีมพากย ทีม ฉาก แสง สี เสียง ทีมเสื้อผา เครื่องแตงกายนักแสดง และทีม สวัสดิการ เตรียมการแสดง ฝกซอม เปนเวลา 1 สัปดาห แลวนํา มาแสดงใหครูชมหนาชั้นเรียน โดยมีเงื่อนไขวา ตองมีการบรรยาย เนื้อหารายดวยทํานองเสนาะ หรือครูอาจจัดกิจกรรมขนาดใหญ โดยใหนักเรียนระดับชั้น ม.5 แบงกลุมใหไดจํานวน 13 กลุม แสดง ละครเรื่องพระเวสสันดรชาดก กลุมละ 1 กัณฑ ไมซํ้ากัน ในงาน สัปดาหวิชาการของโรงเรียน เพื่อเปนการเผยแพรความรู ปลูกฝง คติธรรม ความคิด ความเชื่อที่ดีงาม สูพี่ๆ เพื่อนๆ นองๆ รวมโรงเรียน โดยมีวิธีการดําเนินงาน เชนเดียวกับการจัดกิจกรรม ภายในชั้นเรียน

Expand

1. ครูทําสลากเทากับจํานวนนักเรียนที่เหลือ ภายในชั้นเรียน โดยเขียนหมายเลข 1-5 ในจํานวนเทาๆ กัน หรือเฉลีย่ ตามความเหมาะสม จากนัน้ ใหแตละคนออกมาจับสลาก ใครทีจ่ บั ได หมายเลขเหมือนกันใหอยูกลุมเดียวกัน เมื่อ นักเรียนรวมกลุมแลว ครูใหนักเรียน 5 คน ที่คัดเลือกไว ไปประจําตามกลุมตางๆ แตละ กลุมคัดเลือกบทรอยกรองประเภทรายจาก วรรณคดีเรื่องใดก็ได โดยตัดตอนสวนที่โดดเดน ดานอารมณของตัวละคร บรรยากาศของเรื่อง นํามาฝกซอมเตรียมความพรอมสําหรับการอาน หนาชั้นเรียน โดยนักเรียนที่ครูสงไปประจํากลุม ตางๆ จะเปนผูทําหนาที่ชวยเหลือเพื่อนๆ ที่ยัง ขาดความชํานาญในทักษะ เพือ่ ใหเกิดการเรียนรู รวมกัน 2. จากความรู ความเขาใจ ใหนักเรียนสรุป แนวทางการอานออกเสียงบทรอยกรองประเภท รายใหไดรสไพเราะ (แนวตอบ มีแนวทาง ดังตอไปนี้ • อานโดยใชทํานองสูงในระดับเดียวกัน ลงจังหวะที่ทายวรรคทุกวรรค • การใชเสียงใหมีความสัมพันธ สอดคลอง กับอารมณที่ปรากฏในเนื้อความ • พยายามอานใหจบวรรค หากจํานวนคํา ในวรรคนั้นๆ ยาวเกินชวงจังหวะหายใจของ ผูอาน เพื่อไมใหผูฟงเสียอรรถรสในการฟง ผูอานควรหยุดพักหายใจในชวงจังหวะ ที่อานคํา ซึ่งเปนคํารับสัมผัส โดยทอดเสียง เพื่อผอนลมหายใจ และเมื่ออานมาถึงวรรค ที่เปนวรรคจบ ควรทอดเสียงใหยาวนานกวา วรรคอื่นๆ เพื่อใหผูฟงทราบวาเรื่องที่ฟงอยู กําลังจะจบ และสรางความประทับใจ)

นักเรียนควรรู 1 ลิลิตตะเลงพาย วรรณคดีเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนเรศวรมหาราช โดย เริ่มเรื่องตั้งแตสมเด็จพระมหาธรรมราชาเสด็จสวรรคต จนถึงสมเด็จพระนเรศวร ทรงกระทํายุทธหัตถีกับพระมหาอุปราชา และพระมหาอุปราชาสิ้นพระชนม

บูรณาการอาเซียน งานบุญผะเหวด หรืองานบุญเทศนมหาชาติ เปนประเพณีเนือ่ งในพระพุทธศาสนา ที่ไมไดเกิดขึ้นเฉพาะบนดินแดนที่นับถือพระพุทธศาสนาอยางประเทศไทยเทานั้น ยังปรากฏบนดินแดนของเพื่อนบานอาเซียนอยางประเทศลาว ซึ่งงานบุญผะเหวด ไมวาจะเกิดขึ้นที่ใดก็ยังเปนประเพณีที่มีอัตลักษณ และคุณคาทั้งดานวัฒนธรรม คุณธรรม และชุมชน ครูควรมอบหมายชิ้นงานใหนักเรียนรวมกันศึกษาเกี่ยวกับ เอกลักษณ อัตลักษณ และคุณคาของงานบุญผะเหวด แลวจัดการความรูรวมกัน ในลักษณะปายนิเทศประจําชั้นเรียน คูมือครู

13


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

Elaborate

Evaluate

๒) การอานโคลง โคลงเปนรอยกรองทีม่ ลี ลี าและลั 1 กษณะเฉพาะ เปนคําประพันธชนิดเดียวที่

บังคับคําเอก คําโท ยกเวนโคลงโบราณทีช่ อื่ มณฑกคติ และโคลงทีแ่ ตงตามแบบคัมภีรก าพยของบาลี การอานโคลงใหเสนาะ ไดอรรถรสและเกิดอารมณสะเทือนใจนั้น ผูอานจะตองเขาใจ ความหมายของคํา เนื้อหาของโคลง และวิธีการอาน การอานโคลงมี ๒ วิธี คือ วิธีที่ ๑ การอานโคลงทํานองธรรมดา คือ การอานออกเสียง แตมีการแบงชวงเสียง ใหเปนจังหวะตามขอบังคับของโคลงชนิดนัน้ ตลอดจนการใชเสียงหนักเบาตามความหมายของคํา และอารมณ วิธีที่ ๒ การอานโคลงทํานองเสนาะ คือ การอานตามจังหวะและทํานองสูงตํ่าตามที่ โบราณกําหนดไว การอานโคลงไมมผี ใู ดยืนยันไดวา อานอยางไรไพเราะทีส่ ดุ ไดอรรถรสทีส่ ดุ ความนาฟง และความเสนาะในการอานโคลงขึ้นอยูกับความนิยมตามแนวทางที่คนสวนใหญชื่นชอบ การ ฝกฝนการอานโคลงใหเสนาะและไดอรรถรสตามแนวทางของหนังสือ เรื่อง อานอยางไรใหไดรส ของกรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ สรุปไดดังนี้ ๒.๑) จังหวะและทํานอง มีลักษณะสําคัญ คือ (๑) จังหวะ คือ ระยะที่กําหนดไวเปนตอนๆ จังหวะของโคลงมี ๒ ลักษณะ คือ จังหวะหลักของโคลง จะตกตรงคําทายวรรคและทายบท ซึ่งมักเปนคําสงหรือ รับสัมผัส จังหวะเสริมของโคลง คือ จังหวะภายในวรรคซึ่งนอกจากจะเพิ่มความไพเราะ แลว ยังใหประโยชนในการผอนลมหายใจดวย โดยวรรคที่มี ๕ คํา จะแบงจังหวะเปน ๓ และ ๒ หรือ ๒ และ ๓ หรืออื่นๆ ใหพิจารณาจากความหมายของคําเปนคําหลักและหากมีคํารับสัมผัสอยู ในวรรค จังหวะตองตกตรงคํารับสัมผัสเสมอ สวนวรรคที่มี ๔ คํา จะตองแบงจังหวะเปน ๒ และ ๒ และวรรคที่มี ๒ คํา ไมตองแบงจังหวะ อนึ่ง โคลงระบุจํานวนคํา แตมิไดระบุจํานวนพยางค หากมีจํานวนพยางค มากกวาจํานวนคํา ตองพิจารณารวบพยางค ใหจังหวะไปตกตรงพยางคทายของคําที่ตองการ โดยอานรวบคําใหเร็วและเบาอยางอานอักษรนํา (๒) ทํานอง คือ ระเบียบเสียงสูงตํ่าซึ่งมีจังหวะตามแบบอยาง ทํานองของโคลงสองและโคลงสามเหมือนกัน คือ อานดวยเสียงระดับเดียวกัน ทัง้ บทแตบางคําจะขึน้ ลงสูงตํา่ ตามเสียงวรรณยุกต ความนิยมในการอานโคลงสอง คือ อานใหเสียง ตอเนื่องกันจนจบบท ๑๔

เกร็ดแนะครู สําหรับการเรียนการสอนเกี่ยวกับการอานโคลงสี่สุภาพ ครูควรหาตัวอยาง บทรอยกรองจากวรรณคดีเรื่องตางๆ ที่แตงขึ้นดวยโคลงสี่สุภาพ เลือกตัดตอนมา เฉพาะสวนที่เนื้อเรื่องมีความโดดเดนทางดานอารมณ ความรูสึกของตัวละคร หรือ บรรยากาศของเรื่อง เพื่อใหนักเรียนไดฝกทักษะการใชเสียง นอกจากนี้แลวยังควร เลือกเรื่องที่มีประเด็นนาสนใจ ซึ่งครูสามารถชักชวนนักเรียนสนทนา เพื่อฝกทักษะ การคิดวิเคราะห การมีสวนรวมในการเรียนการสอนของนักเรียน และสราง บรรยากาศของหองเรียนที่สนุกสนาน

นักเรียนควรรู 1 มณฑกคติ มีลักษณะสัมผัสที่กระโดดขามวรรคหลัก กระโดดขามบท ไปเรื่อยๆ ลิลิตโองการแชงนํ้า เปนวรรณคดีเพียงเรื่องเดียวที่ประพันธดวยโคลงนี้ คูมือครู

ตรวจสอบผล

Explain

1. กอนตัวแทนของกลุมที่จับสลากไดหมายเลข 2 ออกมาอธิบายความรู ครูนําบทรอยกรองนี้ ใหนักเรียนอานออกเสียงดวยสําเนียงปกติ โดยพรอมเพรียงกัน เสียงฦๅเสียงเลาอาง อันใด พี่เอย เสียงยอมยอยศใคร ทั่วหลา สองเขือพี่หลับใหล ลืมตื่น ฤๅพี่ สองพี่คิดเองอา อยาไดถามเผือ จากนั้นขออาสาสมัครนักเรียนจํานวน 1 คน ออกมาถอดฉันทลักษณของบทรอยกรอง บนกระดาน ครูตั้งคําถามกับนักเรียนวา • บทรอยกรองดังกลาวมีที่มาจากวรรณคดี เรือ่ งอะไร มีเนือ้ หาสาระเปนอยางไร แตงดวย บทรอยกรองประเภทใด (แนวตอบ บทรอยกรองดังกลาวมีที่มาจาก เรื่อง ลิลิตพระลอ ซึ่งเปนเรื่องราวเกี่ยวกับ โศกนาฏกรรมความรัก แตงดวยบทรอยกรอง ประเภทโคลงสี่สุภาพ) • นักเรียนรูจักบทรอยกรองประเภทโคลง ชนิดใดบาง พรอมยกตัวอยางวรรณคดีเรื่องที่ ประพันธดวยบทรอยกรองประเภทดังกลาว (แนวตอบ นักเรียนสามารถตอบไดอยาง หลากหลาย ขึ้นอยูกับพื้นฐานความรูเ ดิม เชน โคลงสีส่ ภุ าพ เรือ่ งโคลงโลกนิติ โคลงสองสุภาพ เรื่องลิลิตตะเลงพาย) • จากความรูเดิมของนักเรียน บทรอยกรอง ประเภทโคลงมีลักษณะสําคัญอยางไร (แนวตอบ เปนบทรอยกรองที่บังคับคําเอก คําโท) 2. นักเรียนกลุมที่จับสลากไดหมายเลข 2 สงตัวแทน 3-4 คน ออกมาอธิบายความรู ในประเด็นที่กลุมของตนเองไดรับมอบหมาย พรอมระบุแหลงที่มาของขอมูล

14

ขยายความเขาใจ

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

หลักปฏิบัติในขอใดถูกตองสําหรับการอานออกเสียง บทรอยกรองประเภทโคลง 1. โคลงสองและโคลงสามใชระดับเสียงขณะอานแตกตางกัน 2. การแบงจังหวะการอานโคลงสี่สุภาพ แบง 3/2 ในทุกๆ วรรค 3. การออกเสียงโคลงสี่สุภาพวรรคแรกในบาทที่ 3 ควรอานเสียง สูงกวาทุกวรรค 4. หากพยางคเกินจากคําที่กําหนด ใหอานโดยใชเสียงหนักเพื่อ ใหรูวาเปนพยางคเกิน วิเคราะหคาํ ตอบ โคลงสองและโคลงสาม มีวธิ กี ารอานเหมือนกัน คือ อานดวยเสียงเดียวกันทั้งบท การแบงจังหวะการอานโคลง สี่สุภาพ วรรคที่มี 5 คํา แบง 3/2 หรือ 2/3 ขึ้นอยูกับเนื้อความ หากมีจาํ นวนพยางคเกินจากทีก่ าํ หนดไวในฉันทลักษณใหอา นรวบคํา

ดังนั้นจึงตอบขอ 3.


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู ทํานองของโคลงสี่ คือ อานดวยเสียงระดับเดียวกันทั้งบทแตบางคําจะขึ้นลงสู1ง ตํ่าตามเสียงวรรณยุกต ยกเวนวรรคแรกของบาทที่ ๓ จะอานเสียงสูงกวาทุกวรรค ๑ บันไดเสียง อนึ่ง โคลงสุภาพและโคลงดั้น จังหวะและทํานองจะเหมือนกันเพียงแตโคลงดั้น นั้นบาทสุดทายของวรรคหลังมี ๒ คํา และยายคําโทในวรรคหลังไปไวที่วรรคหนา ดังนั้น วรรค หลังของโคลงดัน้ จึงไมตอ งแบงจังหวะ ในทีน่ จี้ ะนําเสนอตัวอยางโคลงสุภาพจากลิลติ ตะเลงพาย ซึง่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๕ จะไดเรียนวรรณคดีดังกลาว ตัวอยางที่ ๑ โคลงสองสุภาพ จําใจจร / จากสรอย / หอนชา / คืนสม / แมแล /

อยูแม / อยาละหอย / (ลิลิตตะเลงพาย)

ตัวอยางที่ ๒ โคลงสามสุภาพ ภูบาล / อื้นอํานวย / จงอยุธย / อยาพน /

อวยพระพร / เลิศลน / แหงเงื้อม / มือเทอญ / พอนา / (ลิลิตตะเลงพาย)

ตัวอยางที่ ๓ โคลงสี่สุภาพ หวังเริ่ม / คุณเกียรติกอง / ยืนพระยศ / อยูคง / สงคราม / กษัตริยทรง / สองราช / รอนฤทธิ์รา /

กลางรงค / คูหลา / ภพแผน /สองฤๅ / เรื่องรู / สรรเสริญ / (ลิลิตตะเลงพาย)

๒.๒) อานใหถูกตองตามฉันทลักษณ การอานใหถูกตองตามฉันทลักษณ เปนการ อานใหถูกตองตามขอบังคับของคําประพันธประเภทโคลง ดังนี้ ๑๕

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

โคลงสี่สุภาพที่กําหนดใหนี้ มีความโดดเดนดานใด “หนึ่งพยุหเศิกไสร สบสถาน เจนจิตวิทยาการ กาจแกลว รูเชิงพิชัยชาญ ชุมคาย ควรนา อาจจักรอนรณแผว แผกแพพังหนี” 1. สัมผัสสระ 2. สัมผัสพยัญชนะ 3. สัมผัสวรรณยุกต 4. ซํ้าคํา ซํ้าความ

วิเคราะหคําตอบ กอนอานออกเสียงทํานองเสนาะบทรอยกรอง ผูอานควรพิจารณาวา บทอานนั้นมีความโดดเดนพิเศษในดานใด เพือ่ ใชนาํ้ เสียงถายทอดใหผฟู ง ไดรบั อรรถรสขณะฟง ซึง่ บทรอยกรอง ขางตนมีความโดดเดนที่สัมผัสพยัญชนะ จากบาทที่ 4 ของโคลง

ดังนั้นจึงตอบขอ 2.

Explain

นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพือ่ รวมกัน อธิบายความรูแบบโตตอบรอบวงเกี่ยวกับ ฉันทลักษณของบทรอยกรองประเภทโคลง โดยใช ความรู ความเขาใจ ที่ไดรับจากการฟงบรรยาย เปนขอมูลเบื้องตนสําหรับตอบคําถาม • จากฉันทลักษณที่กําหนดให สามารถระบุ ไดหรือไมวาเปนบทรอยกรองประเภทใด พรอมอธิบายลักษณะ 0000่0้ 00่000้ 0่0้000 (แนวตอบ เปนฉันทลักษณของบทรอยกรอง ประเภทโคลงสองสุภาพ บทหนึ่งมี 2 บาท บาทที่ 1 มี 1 วรรค 5 คํา บาทที่ 2 มี 2 วรรค โดยวรรคหนา 5 คํา วรรคหลัง 4 คํา อาจเติมคําสรอยทายบาทที่ 2 ไดอีก 2 คํา โคลงสองสุภาพบังคับคําเอก คําโท อยางละ 3 ตําแหนง ดังนี้ คําเอก ไดแก คําที่ 4 ใน บาทที่ 1 คําที่ 2 ของวรรคหนาในบาทที่ 2 และคําที่ 1 ของวรรคหลังในบาทที่ 2 คําโท ไดแก คําที่ 5 ในบาทที่ 1 คําที่ 5 ของวรรค หนา และคําที่ 2 ของวรรคหลังในบาทที่ 2 สวนตําแหนงสัมผัสของโคลงสองสุภาพ กําหนดไวเพียงแหงเดียว คือ คําสุดทายใน บาทที่ 1 สงสัมผัสไปยังคําสุดทายของวรรค หนาในบาทที่ 2) • จากฉันทลักษณที่กําหนดให สามารถระบุ ไดหรือไมวาเปนบทรอยกรองประเภทใด พรอมอธิบายลักษณะ 00000 0000่0้ 00่000้ 0่0้000 (แนวตอบ โคลงสามสุภาพ มีจํานวนคํา การบังคับคําเอก คําโท ตําแหนงสัมผัส เหมือนกับโคลงสองสุภาพ แตไดเพิม่ อีก 1 บาท ลงหนาโคลงสองสุภาพ)

นักเรียนควรรู 1 บันไดเสียง เสียงเกิดขึน้ จากการสัน่ สะเทือนของวัตถุ กลาวคือ เมือ่ วัตถุสนั่ สะเทือน จะทําใหเกิดการอัดตัวและขยายตัวของคลื่นเสียง แลวจะถูกสงไปยังหูโดยผาน ชั้นบรรยากาศ โดยเสียงที่ไดยินจะเปนเสียงสูง เสียงตํ่า เสียงดัง เสียงเบา หรือมี คุณภาพอยางไรนั้นขึ้นอยูกับแหลงกําเนิดเสียง และจํานวนรอบตอวินาทีของการ สั่นสะเทือน เสียงที่ใชสําหรับการอาน หรือการออกเสียงของมนุษยมีแหลงกําเนิด จากปอด เมื่อหายใจนําลมเขาสูปอด จะมีผลทําใหเสนเสียงเกิดการสั่นสะเทือน กอนลมจะถูกปลอยออกมา กระทบกับอวัยวะตางๆ ที่อยูภายในชองปาก จึงเกิดเปน เสียงที่แตกตางกัน ซึ่งในการอานออกเสียงบทรอยกรองจะใชเสียงสูงตํ่าแตกตางกัน หรือที่เรียกวา บันไดเสียง (Scale) หมายถึง โนต 5-12 ตัว ที่เรียงกันตามลําดับจาก ตํ่าไปสูง หรือจากสูงไปตํ่า บันไดเสียงมีหลายชนิด แตละชนิดมีโครงสรางตางกัน

คูมือครู

15


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

Elaborate

Evaluate

(๑) อานใหถกู ตองตามขอบังคับของคําเอกและคําโท เมือ่ อานโคลงชนิดใดก็ตาม ใหคํานึงถึงตําแหนงของคําเอกและคําโท จะชวยใหทราบวาคําในตําแหนงนั้นอานอยางไรจึงจะถูก ฉันทลักษณ เพราะคําเอกสามารถใชคําตายแทนได ตําแหนงของคําเอก คําโท ในโคลงชนิดตางๆ มีดังนี้ โคลงสอง บังคับคําเอก ๓ คํา คําโท ๓ คํา ในตําแหนง ดังนี้ ตัวอยาง การอานโคลงสองสุภาพ ● ● ● ●่ ●้ ● ●่ ● ● ●้ ●่ ●้ ● ● (● ●) สองสุริยพงศผานหลา ขับคเชนทรบายหนา

แขกเจาจอมตะเลง แลนา (ลิลิตตะเลงพาย)

โคลงสาม บังคับคําเอก ๓ คํา คําโท ๓ คํา ในตําแหนง ดังนี้ ตัวอยาง การอานโคลงสามสุภาพ ● ● ● ● ● ● ● ● ●่ ●้ ● ●่ ● ● ●้ ●่ ●้ ● ● (● ●) ภูบาลอื้นอํานวย จงอยุธยอยาพน

อวยพระพรเลิศลน แหงเงื้อมมือเทอญ พอนา

(ลิลิตตะเลงพาย)

โคลงสี่ บังคับคําเอก ๗ คํา คําโท ๔ คํา ในตําแหนง ดังนี้ ตัวอยาง การอานโคลงสี่สุภาพ ● ● ● ●่ ●้ ● ● (● ●) ● ●่ ● ● ● ● ่ ●้ ● ● ●่ ● ● ● ●่ (● ●) ● ●่ ● ● ●้ ● ่ ●้ ● ● มาเดียวเปลี่ยวอกอา สถิตอยูเอองคดู พิศโพนพฤกษพบู พลางคะนึงนุชนอย

อายสู ละหอย บานเบิก ใจนา แนงเนื้อนวลสงวน

(ลิลิตตะเลงพาย)

๑๖

เกร็ดแนะครู การเรียนการสอนเรื่องการอานออกเสียงบทรอยกรองประเภทโคลง ตัวอยางที่ ปรากฏอาจไมเพียงพอตอการฝกทักษะเพื่อใหเกิดความชํานาญ ครูควรหาตัวอยาง เพิ่มเติมเพื่อใหนักเรียนไดฝกทักษะรวมกัน โดยตัวอยางเสริม ควรมีความถึงพรอม ทั้งรสคํา รสความ มีประเด็นที่นาสนใจ ซึ่งสามารถนํามาอภิปรายซักถามภายใน ชั้นเรียนได หรือทําใหเกิดการตอยอดการเรียนรู ทุกๆ ครั้งที่มีการฝกฝนนักเรียน ควรเริ่มจากการใหนักเรียนอานดวยสําเนียง ธรรมดากอน โดยทอดจังหวะใหชา ในขั้นนี้ควรใหสําคัญกับความถูกตองชัดเจน ของคํา ร ล พยัญชนะควบกลํา้ อานตรงตามเสียงวรรณยุกต จากนัน้ จึงฝกทอดเสียง ผอนจังหวะ ลากเสียงใหยาวขึ้น แลวจึงทอดเสียงออกไป เริ่มอานแบบใสทํานอง โดยครูอานนําทีละวรรค แลวนักเรียนอานตาม วรรคละ 2 รอบ จนจดจําทํานองได จากนั้นจึงใหรวมกันอานโดยพรอมเพรียงกัน

คูมือครู

ตรวจสอบผล

Explain

นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกัน อธิบายความรูแบบโตตอบรอบวงเกี่ยวกับการอาน ออกเสียงบทรอยกรองประเภทโคลง โดยใชความรู ความเขาใจ ที่ไดรับจากการฟงบรรยาย เปนขอมูล เบื้องตนสําหรับตอบคําถาม • ปจจัยใดที่จะทําใหผูอานออกเสียง บทรอยกรองประเภทโคลง สามารถทําใหผฟู ง ไดรับรสขณะฟง (แนวตอบ ผูอานจะตองมีความรู ความเขาใจ ในความหมายของคําที่นํามาผูกหรือรอยเรียง เปนโคลง สามารถแปลความ ตีความ เนื้อหา สาระ และมีแนวทางปฏิบัติที่ถูกตองสําหรับ การอาน) • จากความรู ความเขาใจ ที่จะตองมีขางตน นักเรียนคิดวาผูอานออกเสียงควรมีคุณสมบัติ ใดเพิ่มเติมอีกบาง (แนวตอบ ผูอานควรมีความมั่นใจ ซึ่งเปนผล สืบเนื่องจากการที่ผูอานมีความรู และ ประสบการณ ซึ่งประสบการณจะเกิดขึ้น ไดก็ดวยการฝกฝน ผูอานควรฝกฝนอยาง สมํ่าเสมอ ลองผิดลองถูก อานบทที่มีความ ยากงายแตกตางกัน เก็บเกี่ยวความผิดพลาด นั้นมาเรียนรู และแกไข เทากับเปนการสราง ประสบการณในการอานใหแกตนเอง) • จากฉันทลักษณของบทรอยกรองประเภท โคลง ซึ่งกําหนดจํานวนคําภายในวรรคไวที่ 5 คํา 4 คํา หรือ 2 คํา มีวิธีสําหรับการแบง วรรคในการอานอยางไร (แนวตอบ จากฉันทลักษณของโคลง ซึ่งกําหนด จํานวนคําภายในวรรคไวที่ 5 คํา 4 คํา และ 2 คํา ในวรรคที่มี 5 คํา ผูอานควรแบงจังหวะ การอานเปน 3/2 หรือ 2/3 ทั้งนี้ขึ้นอยูกับ เนื้อความเปนสําคัญ วรรคที่มี 4 คํา ผูอาน ควรแบงจังหวะการอานเปน 2/2 สวนวรรค ที่มี 2 คํา ไมตองแบงจังหวะการอาน)

16

ขยายความเขาใจ

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

จากโคลงสี่สุภาพที่กําหนด ใหวิเคราะหวาโคลงบทนี้มีการใช คําเอก คําโท อยางไร “ฝูงอนดนขวนฟุง ดินขจุย รากไผไมรวกผุย กัดแหงน เห็นชองปลองดินขุย ขุดอยู ดินรวงกองทางแหลน ลอดเลี้ยวในโพรง” แนวตอบ คําเอก ไดแก คําที่ 4 ในวรรคหนาของบาทที่ 1 คํา ที่ 2 ในวรรคหนาของบาทที่ 2 คําที่ 1 ในวรรคหลังของบาทที่ 2 คําที่ 3 ในวรรคหนาของบาทที่ 3 คําที่ 2 ในวรรคหลังของบาทที่ 3 คําที่ 2 ในวรรคหนาของบาทที่ 4 และคําที่ 1 ในวรรคหลังของ บาทที่ 4 คําโท ไดแก คําที่ 5 ในวรรคหนาของบาทที่ 1 คําที่ 2 ในวรรคหลังของบาทที่ 2 คําที่ 5 ในวรรคหนาของบาทที่ 4 คําที่ 2 ในวรรคหลังของบาทที่ 4 โดยคําวากัด และ ลอด ซึง่ อยูใ น ตําแหนงคําเอก ไมปรากฏรูปวรรณยุกตเอก เพราะสามารถ ใชคําตายแทนได และคําวา แหงน และ แหลน เปนโทโทษ


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู คําโท ๔ ตําแหนงที่กลาวมามักไมมีปญหาในการอาน เพราะสังเกตเห็น วรรณยุกตโทไดชัดเจน สวนคําเอก ๗ ตําแหนง ซึ่งใชคําตายแทนไดอาจทําใหอานผิดฉันทลักษณ จึงขอใหสังเกตโคลงบทตอไปนี้ บทที่ ๑

สยามรัฐพัฒนแผนพน หนึ่งเขตนเรศรากับทั้งเทพมหา สิทธิสุขสิทธิไชยชี้

สองครา นี้แล ชะนี้ นคร เรานอ เชิดอางปางสอง

1

(โคลงภาพพระราชพงศาวดาร : กรมหลวงพิชิตปรีชากร)

บทที่ ๒

กรุงเทพมหานครนี้ เอาเลือดกรุงธนฯ ทา แผนดินตอแผนดิน เลือดทวมนองทองชาง

นามรบิล ทาบสราง ผานอดีต ชุมเมือง 2

3

(นาฏกรรมบนลานกวาง : คมทวน คันธนู)

คําวา “นคร” ในบทแรกบาทที่ ๓ และในบทที่ ๒ บาทที่ ๑ ลวนอยูในตําแหนง คําเอก หากอานวา “นะ-คอน” คือ อานผิดฉันทลักษณ จึงตองอานวา “นะ-คะ-ระ” ทั้งคู ในบทแรกเนนเสียงที่ “นะ และ ระ” สวน “คะ” ใหรวบเสียง สวนในบทที่ ๒ ใหรวบเสียง “นะ-คะ” ไปเนนเสียงที่ “ระ” บาทที่ ๒ ทายคําวา “รา” ซึ่งเปนตําแหนงที่ลงจังหวะพอดี แตมีคําวา “ชะ” อยูวรรคหลัง วิธีอานจึงทอดจังหวะคําวา “รา” ไดนอยที่สุด เพราะตองรีบอานคําวา “ชะ” เพื่อให ทราบวาคํานี้ คือ “ราชะ” บาทที่ ๓ ทายคําวา “มหา” ซึ่งเปนตําแหนงที่ลงจังหวะพอดี แตมีคําวา “นคร” อยูว รรคหลัง วิธอี า นจึงทอดจังหวะคําวา “มหา” ไดนอ ยทีส่ ดุ เพราะตองรีบอานคําวา “นคร” เพื่อใหทราบวาคํานี้คือ “มหานคร” แมจะออกเสียงวา “มะ-หา-นะ-คะ-ระ” ก็ตาม (๒) อานใหถกู ตองตามขอบังคับของการใชคาํ ยัตภิ งั ค คํายัตภิ งั ค คือ คําเดียวกัน แตเขียนแยกกันไวคนละวรรค ๑๗

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

Explain

ครูเปดคลิปเสียงการอานออกเสียง บทรอยกรองประเภทโคลงสอง โคลงสาม และ โคลงสี่สุภาพใหนักเรียนฟง ประเภทละ 2 รอบ ชีแ้ นะใหนกั เรียนบันทึกขอมูล ขอสงสัย หรือขอสังเกต ที่เกิดขึ้นขณะฟง เพื่อนํามาอธิบาย อภิปราย ซักถาม โตตอบกันภายในชั้นเรียน ผานขอคําถาม ของครู • จากคลิปเสียงที่ไดฟง สามารถอธิบาย ไดหรือไมวา ความไพเราะของโคลง ขึ้นอยูกับสิ่งใด (แนวตอบ ความไพเราะของโคลงขึ้นอยูที่เสียง โดยเฉพาะเสียงทายบาท ซึ่งบางบาทจะ ขึ้นสูง บางบาทจะลงตํ่า ผูอานตองควบคุม ความตางของเสียง มิฉะนัน้ จะอานผิดทํานอง ได รูจักวิธีหลบเสียง หรือการใชเสียงใหอยู ในระดับความสามารถของตน อานให ตรงกับระดับเสียงของคํา เชน คําโทเสียงโท ตองอานใหถึงเสียงโท หากคําโทแตเปนเสียง ตรี ก็ตองอานใหถึงเสียงตรี) • จากคลิปเสียง วิเคราะหทว งทํานองการอาน ออกเสียงบทรอยกรองประเภทโคลงสอง สุภาพ และโคลงสามสุภาพ ไดอยางไร (แนวตอบ ทวงทํานองการอานโคลงสองสุภาพ และโคลงสามสุภาพเหมือนกันคือ อานดวย เสียงในระดับเดียวกันทั้งบท แตบางคําจะ ขึ้นสูง ลงตํ่า ตามวรรณยุกตของคํานั้นๆ) • การอานออกเสียงบทรอยกรองประเภท โคลงสี่สุภาพเพื่อใหไดทวงทํานองที่ไพเราะ ควรปฏิบัติอยางไร (แนวตอบ อานดวยเสียงระดับเดียวกันทั้งบท แตบางคําขึ้นสูง ลงตํ่า ตามเสียงของ วรรณยุกต ควรใหความสําคัญกับการอาน วรรคแรกของบาทที่ 3 โดยอานเสียงสูงกวา ทุกวรรค)

นักเรียนควรรู

พิจารณาโคลงที่กําหนดให วิเคราะหวาควรใชลีลาการอานอยางไร “พระพี่พระผูผาน ภพอุต-ดมเฮย ไปชอบเชษฐยืนหยุด รมไม เชิญราชรวมคชยุทธ เผยอเกียรติ ไวแฮ สืบกวาสองเราไสร สุดสิ้นฤๅมี”

1 กรมหลวงพิชติ ปรีชากร พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูห วั และเจาจอมมารดาพึ่ง พระองคมีผลงานพระนิพนธทั้งรอยแกว และบทรอยกรอง งานพระนิพนธที่สําคัญของพระองค ไดแก โคลงประจําภาพรามเกียรติ์ ลิลิต สรรเสริญพระบารมี และสนุกนิ์นึก

แนวตอบ โคลงบทนี้ เมื่อถอดความแลว เปนบทที่พระนเรศวร มหาราช ทูลเชิญพระมหาอุปราชารวมกระทํายุทธหัตถี ดังนั้น บาทแรกควรใชเสียงและลีลาการอานเปนเชิงทักทาย ไมออนนอม หรือกระดางเกินไป บาทที่สองควรใชเสียงเชิงกระทบกระเทียบ โดยกระแทกเสียงเล็กนอย บาทที่สามควรใชเสียงเขมขึ้น ทรงพลัง เพื่อกระตุนใหพระมหาอุปราชาเกิดขัตติยะมานะ จากนั้นทอดเสียง ในบาทสุดทาย เพื่อชี้ใหเห็นวาการรบครั้งนี้ถือเปนเกียรติยศของ พระมหากษัตริยทั้งสองพระองค

3 คมทวน คันธนู หรือประสาทพร ภูสุศิลปธร เจาของผลงานนาฏกรรม บนลานกวาง เปนนักเขียนที่มีทวงทํานอง ลีลาการเขียนที่เปนแบบฉบับเฉพาะตน มีผลงานมากมาย เชน กําศรวลโกสินทร นายขนมตม คนกลานอกตํานาน พราน ใชนามปากกาในการสรางสรรคผลงานวา โกสุม พิสัย และแสงดาวแหงศรัทธา

2 นาฏกรรมบนลานกวาง วรรณกรรมรางวัลซีไรต ประจําป 2526 เปนวรรณกรรม ประเภทรอยกรอง โดดเดนดวยความหลากหลายของฉันทลักษณ

คูมือครู

17


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

Elaborate

Evaluate

ในวรรณคดีมโี คลงหลายบทที่ใชคาํ ยัตภิ งั คทงั้ ทีป่ รากฏและไมปราฏเครือ่ งหมาย ฉะนั้น ผูอานโคลงจึงตองพิจารณาคําที่ใชในโคลงใหเขาใจ หากพบคําเดียวกันเขียนแยกวรรคกัน เมือ่ ใด จะตองอานคําทีแ่ ยกนัน้ ใหผฟู ง ทราบวาเปนคําใดแน เชน บาทที่ ๒ และบาทที่ ๓ ของโคลง บทที่ ๑ ที่วา บาทที่ ๒ หนึ่งเขตนเรศรา-ชะนี้ บาทที่ ๓ กับทั้งเทพมหา นคร เรานอ ๒.๓) ตองตระหนั 1 กในเรื่องเสียง เสียงในที่นี้ คือ2 นํ้าเสียงของผูอานและเสียงของคําที่ เปลงออกมา เพื่อใหไดรสคําซึ่งจะสงผลไปถึงการไดรสความ ดังนี้ (๑) นํ้าเสียงของผูอาน ผูอานบางคนเสียงสูง บางคนเสียงตํ่า บางคนอานคําที่ ตองยกระดับเสียงใหสงู ถึงทีส่ ดุ ไมได ฉะนัน้ ตองตระหนักในเสียงของตนเองวามีพลังเพียงใด อาน ยกระดับเสียงไดเพียงไหน ถาอานเสียงสูง เชน เสียงจัตวา จะอานไดเต็มเสียงหรือไม ถาหากทําได ไมดี ควรรูจักหาวิธีเลี่ยง เชน การหลบเสียง จึงจะเหมาะสม ความไพเราะของโคลงอยูท เี่ สียง โดยเฉพาะเสียงทายบาทตางๆ บางบาทขึน้ สูง บางบาทลงตํ่า จะตองควบคุมเสียงใหได มิฉะนั้น อาจอานผิดทํานอง จึงตองรูจักหลบเสียงให เขามาอยูในขอบเขตของเสียงตนเองและตองอานใหตรงกับระดับเสียงของคํา เชน คําโทเสียงโท ก็ตองอานใหถึงระดับของเสียงโท หากเปนคําโทเสียงตรี ก็ตองอานใหถึงระดับของเสียงตรี เปนตน (๒) เสียงของคํา ควรสังเกตคําที่กวีใชในลักษณะตางๆ ดังนี้ ๑. เสียงของคําที่กอใหเกิดภาพ ตัวอยาง การอานโคลงสุภาพที่กอใหเกิดภาพ อุรารานราวแยก เอนพระองคลงทบ เหนือคอคชซอนซบ วายชิวาตมสุดสิ้น

ยลสยบ ทาวดิ้น สังเวช สูฟาเสวยสวรรค (ลิลิตตะเลงพาย)

โคลงสุภาพบทนี้เปนการบรรยายภาพการสิ้นพระชนมบนคอชางของพระมหาอุปราชาของพมา กวีใชคําที่ทําใหเกิดภาพไดอยางตอเนื่อง เชน ราน ราว แยก เอน ลง ทบ ซอนซบ เปนถอยคํางายๆ ที่ใหความหมายไดชัดเจน เสียงของคําเหมาะสมกับเนื้อความ จะชวยใหมองเห็นภาพไดเปนอยางดี ๑๘

นักเรียนควรรู 1 รสคํา หมายถึง ความไพเราะของรูปคําที่ปรากฏ ซึ่งกวีเลือกใชเพื่อให บทรอยกรองที่แตงขึ้น มีความไพเราะทางดานเสียง หรือเรียกวาไดเสียงเสนาะ ผูอานออกเสียงที่ดีจะตองใชนํ้าเสียงเพื่อถายทอดรสของคํานั้นๆ ไปสูผูฟง ทําใหไดรับอรรถรสขณะฟง หากผูอานมีความพิถีพิถันใหนํ้าเสียงที่เปลงออกมา เชน คําวา หอม ในการอานผูอานจะตองออกเสียงวรรณยุกตใหถึง เอื้อนเสียงให ผูฟงรูสึกวาหอมมากเทาใด 2 รสความ หมายถึง ถอยคําที่กวีเลือกใชเพื่อสรางจินตภาพใหเกิดขึ้นแกผูอาน ไมวาจะเปนภาพหรือเสียง สงผลใหบทรอยกรองสื่อความครบถวน ผูอานออกเสียง ที่ดีควรใหความสําคัญกับการใชนํ้าเสียงใหสอดคลอง เหมาะสมกับความหมายของ คําเพื่อถายทอดภาพเหลานั้นไปสูผูฟง ควรมีทักษะการใชเสียงที่หลากหลาย เชน เนิบนุม ดังกังวาน ทรงพลัง แจมใส เศราสรอย สั่นเครือ หวาดกลัว เปนตน

คูมือครู

ตรวจสอบผล

Explain

1. ครูสุมเรียกชื่อนักเรียนเพื่ออธิบายความรู เกี่ยวกับการอานออกเสียงบทรอยกรองประเภท โคลง ผานขอคําถามของครู • การเปลงเสียงเพื่อใหไดเสียงเสนาะ และผูฟง ไดรับอรรถรสขณะฟง มีวิธีการอยางไร (แนวตอบ การที่ผูอานจะเปลงเสียงเพื่อใหเกิด เสียงเสนาะ ผูฟงไดรับอรรถรสขณะฟงนั้น ผูอานจะตองเขาใจ เขาถึงคําที่กวีเลือกใช เชน คําเลียนเสียงธรรมชาติ หากผูอาน สามารถจินตนาการไดวา เสียงนัน้ ๆ เปนอยางไร ก็จะชวยทําใหออกเสียงไดใกลเคียงกับ ความเปนจริง ผูอานควรคํานึงถึงความหมาย ของคํา อารมณของคํา ควรออกเสียงให สอดคลองเพื่อเนนใหผูฟงคลอยตาม) 2. ครูฉายบทรอยกรองนี้ใหนักเรียนดู เสีย สินสงวนศักดิ์ไว วงศหงส เสีย ศักดิ์สูประสงค สิ่งรู เสีย รูเรงดํารง ความสัตย ไวนา เสีย สัตยอยาเสียสู ชีพมวยมรณา รวมกันสรุปสาระสําคัญ ขอคิดที่ไดรับ และ แนวทางการนําไปปรับใช ครูตั้งคําถามกับ นักเรียนวา • บทรอยกรองดังกลาว มีที่มาจากวรรณคดี เรื่องใด แตงดวยบทรอยกรองประเภทใด มีลักษณะสําคัญของฉันทลักษณอยางไร (แนวตอบ มีทมี่ าจากวรรณคดีเรือ่ ง โคลงโลกนิติ แตงดวยบทรอยกรองประเภทโคลงกระทู มีลกั ษณะฉันทลักษณเชนเดียวกับบทรอยกรอง ประเภทโคลงสี่สุภาพ แตมีความแตกตางที่ คําหนาวรรคแรกของแตละบาท บางบทจะ เปนคําๆ เดียวกัน เหมือนบทรอยกรอง ตัวอยาง แตบางบทเปนขอความ ใชเปน สวนนําเนื้อความของแตละบาท)

18

ขยายความเขาใจ

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

การอานในขอใดเหมาะกับโคลงสี่สุภาพบทนี้มากที่สุด “อุรารานราวแยก ยลสยบ เอนพระองคลงทบ ทาวดิ้น เหนือคอคชซอนซบ สังเวช วายชีวาตมสุดสิ้น สูฟาเสวยสวรรค” 1. อานโดยใชเสียงที่ดัง ชัดเจน 2. เนนเสียงควบกลํ้าใหชัดเจน ใหผูฟงเกิดจินตนาการ 3. เนนเสียง ผอนเสียงสลับกันเปนชวงๆ เพื่อใหเกิดจังหวะ 4. ใชนาํ้ เสียงเบา เนิบชา เพือ่ ใหเห็นกิรยิ าทีค่ อ ยๆ เอนพระองคลง และสิ้นพระชนม วิเคราะหคําตอบ ควรใชเสียงเบา เนิบชา เพื่อถายทอดกิริยาซึ่ง เปนใจความสําคัญที่กวีตองการถายทอด ดังนั้นจึงตอบขอ 4.


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

อธิบายความรู ๒. เสียงของคําที่กอใหเกิดอารมณและความรูสึก ตัวอยาง การอานโคลงสุภาพที่กอใหเกิดอารมณและความรูสึก สายหยุดหยุดกลิ่นฟุง สายบหยุดเสนหหาย กี่คืนกี่วันวาย ถวิลทุกขวบคํ่าเชา

ยามสาย หางเศรา วางเทวษ ราแม หยุดไดฉันใด (ลิลิตตะเลงพาย)

โคลงบทนี้เปนตอนที่พระมหาอุปราชารําพันถึงนางอันเปนที่รัก โดยใชความ เปรียบเทียบ ดอกสายหยุดซึ่งเปนดอกไมที่มีกลิ่นฟุงกระจาย แตเมื่อเวลาสายกลิ่นหอมนั้นจะจาง หายไป แตความรักความเสนหาของพระองค ไมมีวันหยุดแตอยางใด ซึ่งการใชเสียงของคํา เชน สายหยุด ยามสาย ถวิล ขวบคํ่าเชา ลวนแสดงให1เห็นถึงอารมณและความรูสึกไดอยางชัดเจน ๒.๔) อานใหถูกสําเนียงและอารมณ การอานที่ทําใหเกิดรสความและรสภาพ ผูอาน ตองอานใหถูกสําเนียงและอารมณ การใชนํ้าเสียง ทาทาง สีหนา แววตา ในการอานบทตางๆ ใหไดอารมณ ผูอานตองปรับนํ้าเสียงและอารมณใหเขากับบทประพันธที่มีความหมายและความ ไพเราะไดอยางเหมาะสม เพือ่ ใหผฟู ง คลอยตามบทประพันธ ทําใหเกิดภาพพจนและอารมณรว มได ผูอานจึงตองสามารถปรับเปลี่ยนเสียงใหหนัก ใหเบา ใหดี ใหเร็ว เหมาะสมกับเนื้อหาของโคลง วิธีการอานบทแสดงอารมณตางๆ สามารถศึกษาไดจากตัวอยางบทฝกอานจากเรื่อง ลิลิตตะเลงพาย ดังนี้ (๑) การอานบทรัก บทนิราศ ควรปรับเสียงใหนมุ นวลและเบากวาเสียงตามปกติ และไมสบตาผูฟงคนใดเปนพิเศษ ตัวอยาง การอานโคลงสุภาพบทรัก

สลัดไดใดสลัดนอง เพราะเพื่อมาราญรอน สละสละสมร นึกระกํานามไม

แหนงนอน ไพรฤๅ เศิกไสร เสมอชื่อ ไมนา แมนแมนทรวงเรียม

(๒) การอานบทเศรา บทเมตตาสงสาร ควรครั่นเสียง เครือเสียง อานเนิบชา กวาปกติ รวมทั้งปรับสีหนาใหเศราสรอย

๑๙

โคลงสี่สุภาพที่กําหนดให ควรใชหลักปฏิบัติในขอใดจึงจะอาน ไดไพเราะและสื่ออารมณ “หนาวลมหมผาหอน หายหนาว ฟาพรํ่านํ้าคางพราว พรางฟา เดนเดือนเกลื่อนกลาดดาว ดวงเดน ใจเปลาเศราซบหนา นึกนองหมองใจ” 1. อานเวนจังหวะระยะ คํารับสัมผัส 2. อานเสียงดังฟงชัดเพื่อเนนอารมณ 3. อานเสียงเบาเนิบชาตั้งแตตนจนจบ 4. อานจังหวะเนิบชา ครั่นหรือเครือเสียง วิเคราะหคําตอบ โคลงสี่สุภาพบทขางตน มีเนื้อความที่แสดง อารมณของการถวิลหา ควรอานในจังหวะที่เนิบชา แลวใชกลวิธี การครั่นหรือเครือเสียงเปนลูกสะอื้น ดังนั้นจึงตอบขอ 4.

1. ครูสุมเรียกชื่อนักเรียนเพื่ออธิบายความรู เกีย่ วกับการอานออกเสียงบทรอยกรองประเภท โคลงกระทู ผานขอคําถามของครู • จากโคลงกระทูที่ครูฉายใหดู มีวิธีการอาน อยางไร (แนวตอบ โคลงกระทูขางตน เปนโคลงกระทู 1 ซํ้าคําวา เสีย มีวิธีการอานที่ถูกตอง 2 วิธี ไดแก ผูอานจะตองอานออกเสียงกระทูที่ วางอยูหนาบาทแตละบาท ดวยสําเนียงปกติ โดยอานวา “โคลงกระทู 1 ซํ้าคําวา หาม” จากนั้นจึงอานทํานองเสนาะทั้งโคลง หรือ อานวา “โคลงกระทู 1 เสีย เสีย เสีย เสีย” จากนั้นจึงอานทํานองเสนาะทั้งโคลง) 2. ครูฉายโคลงกระทูบทนี้ใหนักเรียนดู ปาพึ่ง เสือหมูไม มากมูล เรือพึ่ง พายพายูร ยาตรเตา นายพึ่ง บาวบริบูรณ ตามติด มากแฮ เจาพึ่ง ขาคํ่าเชา ชวยเสร็จสิ้นงาน รวมกันสรุปสาระสําคัญ ขอคิดทีไ่ ดรบั จากเรือ่ ง แนวทางการนําไปปรับใช จากนั้นตั้งคําถามวา • โคลงกระทูที่กําหนดใหขางตน มีวิธีการอาน ที่ถูกตองอยางไร (แนวตอบ ตองอานวา “โคลงกระทู 3 ปาพึง่ เสือ เรือพึ่งพาย นายพึ่งบาว เจาพึ่งขา” ดวย สําเนียงปกติ แลวจึงอานทํานองเสนาะทั้ง โคลง)

ขยายความเขาใจ

(ลิลิตตะเลงพาย)

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

Explain

Expand

ครูฝกฝนนักเรียนอานออกเสียงบทรอยกรอง ประเภทโคลง เรื่องลิลิตพระลอ โดยตัดตอนที่มี เนื้อหาโดดเดนดานการใชคําแสดงอารมณ ความ ไพเราะของเสียง ในชวงเวลานี้ครูควรสังเกตวา นักเรียนคนใดมีความสามารถที่โดดเดนคัดเลือก ออกมาหนาชั้นเรียน จํานวน 5 คน

เกร็ดแนะครู ครูควรชี้แนะเกี่ยวกับการอานออกเสียงบทรอยกรอง เพื่อใหถายทอดอารมณ บรรยากาศที่ปรากฏในเรื่องไดครบถวน นักเรียนจะตองแปลความ ตีความ เขาใจ เนื้อหาของบทอานอยางลึกซึ้ง โดยใชจินตนาการของตนเอง

นักเรียนควรรู 1 อานใหถูกสําเนียงและอารมณ อารมณของผูอานจะตองมีความสอดคลองกับ อารมณที่แทจริงของเรื่อง จึงจะทําใหการอานออกเสียงในแตละครั้ง มีสําเนียงที่ ถูกตอง และถายทอดอารมณไดครบถวน ชัดเจน อารมณในการอานจะตองสัมพันธ กับเสียงที่เปลงออกมา ไมอานเนือยๆ ดวยกระแสเสียงเพียงเสียงเดียว ไรอารมณ อานเรื่องเศรา ควรใชนํ้าเสียงใหเบากวาปกติ ทําเสียงเครือใหเหมาะสม

คูมือครู

19


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engaae

Expore

Explain

ขยายความสนใจ

ตรวจสอบผล Evaluate

ตัวอยาง การอานโคลงสุภาพบทเศรา สระเทินสระทกแท ฤๅใครคลายใจจินต คํานึงนฤบดินทร พระเรงลานละหอย

ไทถวิล อยูเฮย จืดสรอย บิตุเรศ พระแฮ เทวษไหโหยหา (ลิลิตตะเลงพาย)

(๓) การอานบทตื่นเตน บทที่มีลักษณะการเคลื่อนไหว ใหใชนํ้าเสียงเราใจได โดยปรับเสียงใหดังหนักเบาตามบทอาน ควรทําสีหนาและแววตาใหดูตื่นเตนดวย ตัวอยาง การอานโคลงสุภาพบทตื่นเตน บัดมงคลพาหไท แวงเหวี่ยงเบี่ยงเศียรสะบัด อุกคลุกพลุกเงยงัด เบนบายหงายแหงนให

ทวารัติ ตกใต คอคช เศิกแฮ ทวงทอทีถอย (ลิลิตตะเลงพาย)

(๔) การอานบทสูรบ บทตอสู ใหอานเร็วกวาปกติ เนนคําที่ควรเนนและอานให กระชับ โดยอานเต็มเสียง ตัวอยาง การอานโคลงสุภาพบทสูรบ สองโจมสองจูจวง สองขัตติยสองขอชู กระลึงกระลอกดู ควาญขับคชแขงคํ้า

บํารู เชิดดํ้า ไววอง นักนา เขนเขี้ยวในสนาม (ลิลิตตะเลงพาย)

๒.๕) อานทอดเสียงตอนจบ การทอดเสียงตอนจบเปนการเปลงเสียงคําตามปกติ แลวผอนเสียงใหแผวลง ซึ่งโดยปกติตําแหนงที่ทอดเสียง คือ คําทายวรรค คําสงหรือรับสัมผัส คําทายบท คําสรอย และคําแบงจังหวะ การทอดเสียงในตอนจบจึงตองใหยาวกวาขณะจบวรรค และเมื่อจบตอนที่อานตองชะลอจังหวะใหชาลงกวาเดิม แลวทอดเสียงยาวกวาทุกครั้งตรงคํารอง สุดทาย และคําสุดทายนั้น เพื่อใหผูฟงทราบวากําลังจะสิ้นกระแสความที่อาน ๒๐

เกร็ดแนะครู ครูควรยกตัวอยางโคลงสี่สุภาพบทนี้ บนกระดาน โดยใหนักเรียนอานออกเสียง ดวยสําเนียงปกติ “ลางลิงลิงลอดไม ลางลิง แลลูกลิงลงชิง ลูกไม ลิงลมไลลมติง ลิงโลด หนีนา แลลูกลิงลางไหล ลอดเลี้ยวลางลิง” จากนัน้ ครูเปดประเด็นสนทนาเกีย่ วกับฉันทลักษณ ศิลปะการประพันธ เนือ้ หา กลวิธี การอานบทรอยกรองที่ยกตัวอยางมานี้ เปนบทตื่นเตนคึกคัก ศิลปะการประพันธ ที่ปรากฏคือ การใชสัมผัสพยัญชนะภายในวรรค แสดงใหเห็นอาการเคลื่อนไหว ดังนั้นจึงตองใชเสียงที่เราใจ ปรับเสียงใหหนัก เบา ยาว สั้น เปนชวงจังหวะ ดึงดูด ความสนใจของผูฟ ง รวมถึงแสดงสีหนา แววตา ทาทาง ใหดตู นื่ เตนสอดคลองกับบทอาน

คูมือครู

Expand

Expand

1. ครูทําสลากเทากับจํานวนนักเรียนที่เหลือ ภายในชั้นเรียน โดยเขียนหมายเลข 1-5 ในจํานวนเทาๆ กัน หรือเฉลีย่ ตามความเหมาะสม จากนั้นใหแตละคนออกมาจับสลาก ใครที่ จับไดหมายเลขเหมือนกันใหอยูกลุมเดียวกัน เมื่อรวมกลุมแลว ครูใหนักเรียน 5 คน ที่คัดเลือกไวไปประจําตามกลุมตางๆ ทําหนาที่ ชวยเหลือเพือ่ นๆ ฝกซอมอานออกเสียงบท รอยกรองประเภทโคลง เรื่องลิลิตตะเลงพาย ตอนที่ 10 ยุทธหัตถี และชัยชนะของไทย ตัง้ แตบาท “นฤบาลบพิตรเผา” จนถึง “ศึกสู เสียสอง” จากหนังสือเรียนวรรณคดีและ วรรณกรรม ชั้น ม.5 เตรียมความพรอมสําหรับ การอานหนาชั้นเรียน โดยจัดทําตารางการ ฝกซอม 1 สัปดาห จากกระดาษแข็งใหมีขนาด เทากับกระดาษ A5 ทุกครั้งที่มาซอม ใหลงชื่อ ดวยลายมือของตนเอง ตารางบันทึกนี้เก็บไว ที่หัวหนากลุม เพื่อใชเปนหลักฐานการปฏิบัติ กิจกรรม 2. จากความรู ความเขาใจ ใหนักเรียนสรุป แนวทางการอานออกเสียงบทรอยกรองประเภท โคลงใหไดรสไพเราะ (แนวตอบ มีแนวทาง ดังตอไปนี้ • อานใหถูกจังหวะและทํานองของโคลงแตละ ประเภท • อานใหถูกตองตามฉันทลักษณ • มีความตระหนักในเรื่องเสียง ออกเสียงใหถึง วรรณยุกตของคํานั้นๆ เปลงเสียงใหเสนาะ ใหความสําคัญกับความหมายของคํา • ใชนํ้าเสียงใหมีความสอดคลองกับอารมณหรือ บรรยากาศของบทอาน • เมื่ออานถึงวรรคที่เปนตอนจบ ควรทอดเสียง ใหยาวกวาปกติ เพื่อสรางความประทับใจให แกผูฟง)

20

ขยายความเขาใจ

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

โคลงสี่สุภาพที่กําหนดให ควรอานเสียงดัง กระชับ หนักเบาเพื่อ ใหเกิดความตื่นเตนและจินตนาการไดถึงความเคลื่อนไหวในวรรคใด “บัดมงคลพาหไท ทวารัติ แวงเหวี่ยงเบี่ยงเศียรสะบัด ตกใต อุกคลุกพลุกเงยงัด คอคช เศิกแฮ เบนบายหงายแหงนให ทวงทอทีถอย” 1. บาทที่ 1 และ บาทที่ 4 2. บาทที่ 1 และ บาทที่ 2 3. บาทที่ 2 และ บาทที่ 4 4. บาทที่ 2 และ บาทที่ 3 วิเคราะหคําตอบ บทรอยกรองแสดงใหเห็นลีลาการเคลื่อนไหว ของการสูรบที่กําลังชวงชิงชัย ซึ่งเนื้อความนี้ปรากฏในบาทที่ 2 และ 3 ของบท เมื่อผูอาน อานถึงบาทนี้ จึงควรปรับเสียงใหหนัก เบา ยาว สั้น ดึงดูดใหผูฟงติดตาม ดังนั้นจึงตอบขอ 4.


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู ตัวอยาง การอานโคลงสุภาพเพื่อทอดเสียงตอนจบ ทรามรักอยารองรํ่า อยูแมอยาเสวยครวญ บนานบหนายนวล เสร็จทัพกลับถนอมสรอย

กําสรวล ละหอย แหนงเสนห นุชนา อยาเศราเสียศรี (ลิลิตตะเลงพาย)

1

2

๓) การอานฉันท ฉันทเปนคําประพันธที่แตงยากที่สุด เพราะมีลักษณะบังคับ คําหนัก-

3 คําเบาหรือคําครุ-ลหุ และกําหนดความหมายทางลีลาคาถาในคัมภีรวุตโตทัย สามารถแบง ออกเปน ๒ ชนิด ดังนี้ ฉันทวรรณพฤติ ซึ่งกําหนดตัวอักษรวางคณะและกําหนดเสียงหนักเบาที่เรียกวา ครุลหุ เปนสําคัญ ฉันทมาตราพฤติ ซึ่งวางจังหวะสั้นยาวของมาตราเสียงเปนสําคัญ คําลหุนับเปน ๑ มาตรา คําครุนับเปน ๒ มาตรา 4 ฉันทที่นิยมแตงในภาษาไทย เปนฉันทวรรณพฤติเพราะแตงงายกวาฉันทมาตรา พฤติ ฉันทที่นํามาแตงในวรรณคดีไทย ไดแก ฉันท ๘ ฉันท ๑๑ ฉันท ๑๒ ฉันท ๑๔ ฉันท ๑๕ ฉันท ๑๖ ฉันท ๑๘ ฉันท ๑๙ ฉันท ๒๐ และฉันท ๒๑ โดยยึดจํานวนคําที่บรรจุลงใน แตละบาทเปนสําคัญ โบราณมักนิยมเขียนตัวเลขไวบนเครือ่ งหมายฟองมัน บทแรกของฉันท เชน ฉันท ๑๑ จึงเขียนวา ๑๑ โดยไมตองเขียนชื่อฉันท แตในปจจุบันนิยมเขียนชื่อฉันทกํากับไวดวย เชน อินทรวิเชียรฉันท ๑๑ เปนตน ตัวอยาง อินทรวิเชียรฉันท ๑๑ ๑๑

ลวนเรื่องนเรนทร พิศพลาง ธ โศกี ใครหนอมาริวาด อานิ่มอนงคนวล

กับอรอัครเทพี กําสรดรํ่ารําจวนครวญ ตํานานอาตมมวล นุชเนาตําแหนงใด (สมุทรโฆษคําฉันท)

๒๑

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

บาทของฉันทที่กําหนดให ถอดคําครุ คําลหุ ไดตรงกับขอใด “บงเนื้อก็เนื้อเตน พิศเสนสรีรรัว” 1.   ุ   ุ ุ  ุ  

กอนตัวแทนของกลุมที่จับสลากไดหมายเลข 3 ออกมาอธิบายความรู ครูฉายฉันทลักษณของ บทรอยกรองนี้ใหนักเรียนชม   ุ   ุ ุ  ุ     ุ   ุ ุ  ุ     ุ   ุ ุ  ุ     ุ   ุ ุ  ุ   จากนั้นตั้งคําถามกับนักเรียนวา • นักเรียนคิดวาฉันทลักษณที่ปรากฏขางตน เปนฉันทลักษณของบทรอยกรอง ประเภทใด เพราะอะไร (แนวตอบ นักเรียนสามารถตอบได อยางหลากหลาย ทัง้ นีข้ นึ้ อยูก บั พืน้ ฐาน ความรูเดิมของแตละคน ครูชี้แนะ คําตอบที่ถูกตองใหนักเรียนไดเขาใจวา ฉันทลักษณที่นํามาแสดง เปนฉันทลักษณ ของบทรอยกรองประเภทฉันท โดยสังเกต จากเครื่องหมาย  และ ุ โดยที่เครื่องหมาย พ ใชแทนคําครุ คําที่ออกเสียงหนักเต็มเสียง ไดแก คําที่มีตัวสะกด และคําที่ประสมดวย สระเสียงยาวในมาตราแม ก กา รวมทั้ง คําที่ประสมดวยสระอํา ใอ ไอ เอา สวนเครื่องหมาย ุ ใชแทนคําลหุ หรือคําที่ ออกเสียงเบา ไดแก คําที่ประสมดวยสระ เสียงสั้นในมาตราแม ก กา คําวา บ บ ก็ ฤ) • มีผูกลาววา “บทรอยกรองประเภทฉันท เปนบทรอยกรองที่นับวาแตงยากที่สุด” นักเรียนคิดวาเปนเพราะเหตุใด (แนวตอบ บทรอยกรองประเภทฉันท เปนบทรอยกรองเพียงประเภทเดียวที่มีการ บังคับคําหนัก-คําเบา หรือที่เรียกวา คําครุ คําลหุ)

นักเรียนควรรู

3. 

4. 

1 การอานฉันท ผูอานตองมีความรูวาฉันทชนิดใด มีจํานวนพยางคในคณะ เทาใด เพื่อที่เวลาอานจะไดออกเสียงคําครุ ลหุ ใหครบถวนตามจํานวนที่บังคับไว

2. 

วิเคราะหคําตอบ ฉันทที่กําหนดให คืออินทรวิเชียรฉันท จํานวน 1 บาท วรรคหนามี 5 คํา วรรคหลังมี 6 คํา มีวิธีการแยก คือ บง-เนื้อ-ก็-เนื้อ-เตน พิ-สะ-เสน-สะ-รี-รัว ดังนั้นจึงตอบขอ 1.

Explain

2 คําประพันธที่แตงยากที่สุด การแตงคําประพันธประเภทฉันท ตองคํานึงถึง ความสอดคลองระหวางชนิดของฉันทกบั เนือ้ หาสาระทีต่ อ งการถายทอด เพราะคําครุ และคําลหุ ที่ใชในฉันทแตละชนิด เมื่ออานออกเสียงแลวจะใหอารมณ ความรูสึกที่ แตกตางกัน หากเลือกชนิดของฉันทที่มีลีลาสอดคลองกับเนื้อความ จะมีสวน ในการสรางจินตภาพ และสุนทรียใหแกผูฟงไดเปนอยางดี 3 คัมภีรว ตุ โตทัย คัมภีรท รี่ วบรวมการแตงฉันทของไทย โดยทานสังฆรักขิตเถระ 4 ฉันทที่นิยมแตงในภาษาไทย ฉันทที่ไทยรับมาจากอินเดียนั้นไดปรับใหมี เสียงสัมผัสระหวางวรรค ซึ่งตนแบบบังคับเพียงคําครุ คําลหุ การมีเสียงสัมผัส ระหวางวรรคทําใหฉันทเปนบทรอยกรองที่มีเสียงหนักเบา และไพเราะมากที่สุด คูมือครู

21


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

Elaborate

Evaluate

ลักษณะของคําครุ-คําลหุหรือคําหนัก-คําเบา คําครุ คือ คําที่ออกเสียงหนักเต็มเสียง ไดแก คําที่มีตัวสะกดและคําที่ประสมดวยสระ เสียงยาวในมาตราแม ก กา รวมทั้งคําที่ประสมดวยสระอํา ใอ ไอ เอา เชน นํ้า ขึ้น ให รีบ ตัก ใชเครื่องหมาย ั คําลหุ คือ คําที่ออกเสียงเบา ไดแก คําที่ประสมดวยสระเสียงสั้นในมาตราแม ก กา รวมทั้งสระอํา และคํา บ บ ก็ ฤ กับพยัญชนะลอยที่ออกเสียงอะประสมอยู เชน อุระ สติ อนุ สรณะ ใชเครื่องหมาย ุ ๓.๑) ลักษณะบังคับของฉันทประเภทตางๆ ตัวอยางฉันทในทีน่ ี้ไดยกมาจากในหนังสือ เรียนวรรณคดีของระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๕ ยกตัวอยางฉันท เรื่อง มัทนะพาธา และสามัคคีเภท คําฉันท มาใหศึกษาพอสังเขป ดังนี้ (๑) วิชชุมมาลาฉันท ๘ วิชชุ แปลวา สายฟา มาลา แปลวา ดอกไมหรือพวง ดอกไมที่รอยอยางเปนระเบียบ มีความหมายรวมวา ระเบียบแหงสายฟา วิชชุมมาลาฉันท ๘ ๑ บท มี ๔ บาท ๑ บาท มี ๒ วรรค วรรคละ ๔ คํา รวมเปน ๘ คํา ทุกบาทเปนคําครุทั้งหมด ใชในการบรรยายหรือพรรณนา ตัวอยาง การอานวิชชุมมาลาฉันท ๘ ั ั ั ั ั ั ั ั ั ั ั ั ั ั ั ั อันเวทอาถรรพ แหงนางมิ่งมิตร จงเคลื่อนคลายฤทธิ์ คลายคลายอยาชา

ั ั ั ั ั ั ั ั ั ั ั ั ั ั ั ั ที่พันธผูกจิต อยูบัดนี้นา จากจิตกัญญา สวัสดีสวาหาย

1

(มัทนะพาธา)

(๒) อินทรวิเชียรฉันท ๑๑ มีความหมายวา เพชรของพระอินทร ใน ๑ บาท มีจํานวนคํา ๑๑ คํา เปนฉันทที่มีความไพเราะใกลเคียงกับวสันตดิลกฉันท มีบังคับครุ ลหุ ดังนี้ ๒๒

นักเรียนควรรู 1 มัทนะพาธา รัชกาลที่ 6 พระราชนิพนธขึ้นโดยมีพระราชประสงคเพื่อใชเปน บทละครพูด ลักษณะบทพระราชนิพนธเปนฉันทและกาพย เนื้อเรื่องแบงออกเปน 2 ภาค ไดแก ภาคสวรรค สุเทษณเทพบุตรหลงรักนางฟามัทนา แตนางไมรักตอบ จึงสาปลงไปเปนดอกกุพชกะ (กุหลาบ) ในปาหิมวัน วันพระจันทรเต็มดวงใหกลับเปน หญิง เมื่อเกิดความรักในชายใดจะไดเปนหญิงตลอดกาล ภาคพืน้ ดิน ฤษีกาละทรรศิน นํากุหลาบมัทนาไปปลูกไวใกลอาศรม ทาวชัยเสน ไดพบนางมัทนาและเกิดความรักตอกัน ทาวชัยเสนพานางมัทนากลับเมือง นางจัณฑีมเหสีเกิดความหึงหวง จึงออกอุบายใหทาวชัยเสนหลงเชื่อวานางมัทนา เปนชูกับทหารเอก จึงสั่งใหนํานางไปประหาร เพชฌฆาตใจออนยอมปลอยนางไป นางวิงวอนใหสุเทษณชวยเหลือ สุเทษณขอความรักจากนางมัทนาอีกครั้งหนึ่ง แต นางปฏิเสธ สุเทษณจึงสาปใหนางมัทนากลายเปนดอกกุหลาบตลอดกาล เมื่อทาว ชัยเสนรูความจริง จึงกลับไปที่อาศรมพบเพียงดอกกุหลาบ จึงขอฤษีนําไปปลูก บทละครพูดเรือ่ งมัทนะพาธาจึงเปนโศกนาฏกรรมความรักทีจ่ บลงดวยความเศรา คูมือครู

ตรวจสอบผล

Explain

1. นักเรียนกลุมที่จับสลากไดหมายเลข 3 สงตัวแทน 3-4 คน ออกมาอธิบายความรู ในประเด็นที่กลุมของตนเองไดรับมอบหมาย พรอมระบุแหลงที่มาของขอมูล 2. นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพือ่ รวมกันอธิบาย ความรูแบบโตตอบรอบวงเกี่ยวกับประเภทและ ฉันทลักษณของบทรอยกรองประเภทฉันท โดย ใชความรู ความเขาใจ ที่ไดรับจากการฟงบรรยายเปนขอมูลเบื้องตน สําหรับตอบคําถาม • จากบทรอยกรองที่กําหนดใหตอไปนี้ สามารถวิเคราะหไดหรือไมวา เปน บทรอยกรองที่แตงดวยคําประพันธ ประเภทใด เพราะเหตุใด บงเนื้อก็เนื้อเตน พิศเสนสรีรรัว ทั่วรางและทั้งตัว ก็ระริกระริวไหว แลหลังละลามโล หิตโอเลอะหลั่งไป เพงผาดอนาถใจ ระกะรอยเพราะรอยหวาย (แนวตอบ แตงดวยอินทรวิเชียรฉันท เพราะ บทหนึ่งมี 2 บาท 1 บาท มี 2 วรรค โดย วรรคแรกมีจํานวนคํา 5 คํา วรรคหลังมี จํานวนคํา 6 คํา และปรากฏคํารับสัมผัสซึ่ง เปนสัมผัสบังคับ ดังนี้ คําทายของวรรคแรก ในบาทที่หนึ่งสัมผัสกับที่สองของวรรคที่สอง ในบาทเดียวกัน คําทายของวรรคหลังใน บาทแรกสงสัมผัสไปยังคําทายของวรรคแรกใน บาทที่ 2 บทรอยกรองขางตนมีจํานวนบท 2 บท จึงตองมีสัมผัสเชื่อมระหวางบท คือ คําทายของวรรคหลังในบาทที่ 2 ของบทแรก สัมผัสกับคําทายของวรรคหลังในบาทที่ 1 ของบทตอไป) 3. ครูขออาสาสมัครออกมาเขียนเคาโครงหรือถอด ฉันทลักษณของอินทรวิเชียรฉันทหนาชั้นเรียน

22

ขยายความเขาใจ

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ฉันทที่กําหนดใหมีลักษณะฉันทลักษณตรงกับขอใด “อันเวทอาถรรพ ที่พันธผูกจิต แหงนางมิ่งมิตร อยูบัดนี้นา จงเคลื่อนคลายฤทธิ์ จากจิตกัญญา คลายคลายอยาชา สวัสดิสวาหาย” 1. วิชชุมมาลาฉันท 2. อินทรวิเชียรฉันท 3. สาลินีฉันท 4. อินทรวงศฉันท วิเคราะหคําตอบ ฉันทที่กําหนดใหขางตน ประพันธดวย วิชชุมมาลาฉันท 8 โดยใน 1 บท มี 4 บาท 1 บาท มี 2 วรรค วรรคละ 4 คํา รวมเปน 8 คํา อินทรวิเชียรฉันท สาลินีฉันท เปนฉันท 11 อินทรวงศฉันท เปนฉันท 12 ดังนั้นจึงตอบขอ 1.


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวม กันอธิบายความรูแบบโตตอบรอบวงเกี่ยวกับ ฉันทลักษณของบทรอยกรองประเภทฉันท โดยใช ความรู ความเขาใจ ที่ไดรับจากการฟงบรรยาย เปนขอมูลเบื้องตนสําหรับตอบคําถาม • สามารถวิเคราะหไดหรือไมวา คําประพันธ บทนี้แตงดวยบทรอยกรองประเภทใด เพราะเหตุใด

ตัวอยาง การอานอินทรวิเชียรฉันท ๑๑ ั ั

ั ั ุ

ุ ุ ุ ั ั ั ุ ุ ุ ั ั ั บมิเคยณกอนกาล ฤดิรักบหักหาย ละก็ยิ่งจะรอนคลาย ณ อุราบลาลด

ั ั

ั ั โอโอกระไรเลย พอเห็นก็ทราบสาน ยิ่งยลวะนิดา เพลิงรุมประชุมภาย

แสงดาววะวาวระกะวะวับ ดุจะดับบเดนดวง แขลับก็กลับพิภพรสรวง มิสรพรึบพะพราวเพรา เคยเห็น ณ เพ็ญพระรศมี รชนีถนัดเนา เหนือนั่นแนะพลันจะสละเงา กลเงินอรามงาม (แนวตอบ วสันตดิลกฉันท เพราะบทหนึ่งมี

(มัทนะพาธา)

1 (๓) อินทรวงศฉันท ๑๒ เปนฉันทที่ ๑ บาท มี ๒ วรรค วรรคหนา ๕ คํา วรรคหลัง ๗ คํา ๒ บาทเปน ๑ บท คลายกับอินทรวิเชียรฉันท และอุเปนทรวิเชียรฉันท ใชสาํ หรับ บรรยายความเรียบๆ มีจํานวนครุ ลหุ ดังนี้

2 บาท 1 บาท มี 2 วรรค โดยที่วรรคแรกมี จํานวนคํา 8 คํา วรรคหลังมีจํานวนคํา 6 คํา และปรากฏคํารับสัมผัสซึ่งเปนสัมผัสบังคับ ดังนี้ คําทายของวรรคแรกในบาทที่ 1 สง สัมผัสไปยังคําที่สามของวรรคหลังในบาท เดียวกัน คําทายของบาทที่ 1 สงสัมผัสไปยังคํา ทายของวรรคแรกในบาทที่ 2 บทรอยกรอง ขางตนมีจํานวน 2 บท จึงตองมีสัมผัส ระหวางบท คือคําทายของวรรคหลังในบาท ที่ 2 ของบทแรก สงสัมผัสไปยังคําทายของ วรรคหลังในบาทที่ 1 ของบทตอไป) • อีทิสังฉันท มีลักษณะฉันทลักษณอยางไร (แนวตอบ อีทิสังฉันท 1 บท มี 1 บาท บาทหนึ่งมี 3 วรรค โดยวรรคแรกมีจํานวนคํา 9 คํา วรรคสองมี 8 คํา และวรรคสามมี 3 คํา กําหนดสัมผัสบังคับ ดังนี้ คําทายของวรรค แรกสงสัมผัสไปยังคําทายของวรรคสอง หากแตงตอนิยมใหคําทายของวรรคสามสง สัมผัสไปยังคําทายของวรรคแรกในบทตอไป)

ตัวอยาง การอานอินทรวงศฉันท ๑๒ ั ั

ั ั ุ

ุ ุ

ั ั

ุ ุ

ั ั อายอดสิเนหา อยาทรงพระโศกี พี่นี้นะรักเจา คูชิดสนิธนอง

ุ ั

ุ ั

ั ั ั มะทะนาวิสุทธิศรี วรพักตรจะหมนจะหมอง และจะเฝาประคับประคอง บมิใหระคางระคาย (มัทนะพาธา)

(๔) วสันตดิลกฉันท ๑๔ ฉันทนี้มีความไพเราะ สดชื่นเหมือนสายฝนอันชื่นใจ เหมาะสําหรับเนื้อหาที่เกี่ยวกับการพรรณนา การชมความงามของอาคารสถานที่ หรือการสดุดีใน ความรัก โดยมีบังคับครุ ลหุ ดังนี้ ตัวอยาง การอานวสันตดิลกฉันท ๑๔ ั ั

ั ั ุ

ุ ุ ุ ั ั ุ ุ ุ ั ั

ุ ุ ุ ั ั ั ุ ุ ุ ั ั ั ๒๓

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ขอใดระบุประเภทและแบงจังหวะการอานฉันทวรรคที่กําหนดให ไดถูกตอง “โขดเขินสิขรเขา ณลําเนาพนาลัย” 1. สาลินีฉันท “โขด-เขิน, สิ-ขอน-เขา นะ-ลํา-เนา, พะ-นา-ไล” 2. อินทรวิเชียรฉันท “โขด-เขิน, สิ-ขอน-เขา นะ-ลํา-เนา, พะนา-ไล” 3. วิชชุมมาลาฉันท “โขด-เขิน-สิ-ขะ-รด-สะ-หลับ-สม นะ-ลําเนา-พะ-นา-ไล” 4. อินทรวิเชียรฉันท “โขด-เขิน, สิ-ขะ-ระ-สะ-หลับ-สม นะ-ลําเนา, พะ-นา-ไล” วิเคราะหคําตอบ บทรอยกรองขางตนคือ อินทรวิเชียรฉันท 11 โดย 1 บท มี 2 บาท 1 บาท มี 2 วรรค วรรคหนามี 5 คํา วรรค หลังมี 6 คํา จึงตองอานวา “โขด-เขิน/ สิ-ขอน-เขา นะ-ลํา-เนา/ พะ-นา-ไล” ดังนั้นจึงตอบขอ 2.

Explain

เกร็ดแนะครู ครูควรยกตัวอยางบทรอยกรองจากวรรณคดีเรื่อง สามัคคีเภทคําฉันท ใหนักเรียนรวมกันฝกอานออกเสียงเพิ่มเติม เชน “จึ่งลิจฉวีรา ชสภาบดีประธาน เริ่มราชโองการ นยปุจฉนียคดี เยียใดไฉนดู กรครู ธ ลวงกลี ขอใหญอะไรมี ทุรเหตุจะเสียจะหาย”

นักเรียนควรรู 1 อินทรวงศฉนั ท 12 ฉันททมี่ สี าํ เนียงไพเราะดังปข องพระอินทร กําหนดให 1 บท มี 2 บาท 1 บาท มี 2 วรรค วรรคหนามี 5 คํา และวรรคหลังมี 7 คํา รวมเปน 12 คํา อินทรวงศฉันทนอกจากใชประพันธวรรณคดีเรื่อง มัทนะพาธา แลวยังใช ประพันธวรรณคดีเรื่อง สามัคคีเภทคําฉันท อีกดวย คูมือครู

23


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Elaborate

Evaluate

Explain

นักเรียนรวมกันอานออกเสียงบทรอยกรอง จากเรื่อง สามัคคีเภทคําฉันท ที่ตัดตอนมานี้ ดวยสําเนียงปกติ จากนั้นใหพิจารณาในประเด็น ตอไปนี้ • แตงขึ้นดวยบทรอยกรองประเภทใด • จากเนือ้ ความทีอ่ า น สามารถอนุมานเบือ้ งตน ไดวาบทรอยกรองประเภทนี้เหมาะสมที่จะ ใชบรรจุเนื้อหา สาระ ที่มีลักษณะอยางไร กูก็เอกอุดมบรมกษัตริย วิจาระถวนบควรจะทัด จะทานคํา นี่นะเห็นเพราะเปนอมาตยกระทํา พระราชการมาฉนํา สมัยนาน ใชกระนั้นละไซรจะใหประหาร ชิวาตมและหัวจะเสียบประจาน ณทันที นาคราภิบาลสภาบดี และราชบุรุษแนะเฮยจะรี จะรอไย ฉุดกระชากกลีอปรียเถอะไป บพักจะตองกรุณอะไร กะคนคด ลงพระราชกรรมกรณบท พระอัยการพิพากษกฎ และโกนผม ไลมิใหสถิตณคามนิคม นครมหาสิมานิยม บุรีไร มันสมัครสวามิภักดิใน อมิตรลิจฉวีก็ไป บหามกัน เสร็จประกาศพระราชธูรสรรพ เสด็จนิวัตสุขาภิมัณฑ มหาคาร (แนวตอบ แตงดวยบทรอยกรองประเภท อีทสิ งั ฉันท สามารถอนุมานไดวา ฉันทประเภท ดังกลาวเหมาะสมที่จะใชบรรจุเนื้อความ ทีแ่ สดงถึงอารมณรนุ แรง โกรธมาก หรือรักมาก)

โอโอละเหี่ยอุระสดับ ออยอิ่งแสดงวรประสงอยากใครสนองพระวรสุนจนใจเพราะผิดคติสุธรรม

วรศัพทะทานทรง คะณตัวกระหมอมฉัน ทรคุณอเนกนั้น สุจริตประติชญา (มัทนะพาธา)

1 (๕) สัททุลวิกกีฬตฉันท ๑๙ มีความหมายวา เสือผยอง หรือเสือคะนอง เหมาะกับเนื้อหาที่ศักดิ์สิทธิ์ เพื่อความขลัง เชน บทไหวครู บทยอพระเกียรติ บทบรรยาย พระราชกรณียกิจและถวายพระพร ตัวอยาง การอานสัททุลวิกกีฬตฉันท ๑๙ ุ ุ

ัุ ั ั ั ั ั ั

ุ ุ ุ

ุ ุ ุ ุ ุ ุ ั ั ั ั ั ั ุ ั ั ั ั ไหวคุณองคพระสุคตอนาวรณญาณ ยอดศาสดาจารย อีกคุณสุนทรธรรมคัมภิรวิธี พุทธพจนประชุมตรี

ุ ั ุ ั มุนี

ปฎก (สามัคคีเภทคําฉันท : ชิต บุรทัต)

(๖) อีทสิ งั ฉันท ๒๐ ฉันทนเี้ ปนฉันทที่ใชกบั เนือ้ หาทีแ่ สดงถึงอารมณรนุ แรง เชน โกรธมาก รักมาก หรือวิตกกังวลมาก มีบังคับครุ ลหุ ดังนี้ ตัวอยาง การอานอิทิสังฉันท ๒๐ ุ ุ

ุ ั

ุ ั

ั ุ

ั ั ั

ุ ุ ุ ุ

ุ ั ุ

ั ั ั

ั ุ

ั ั

ั ุ ั

ั ั ั ั

๒๔

เกร็ดแนะครู ครูควรใหความรูเพิ่มเติมแกนักเรียนเกี่ยวกับ “ฉันท” ซึ่งใชประพันธวรรณคดี เรื่อง สามัคคีเภทคําฉันท ไดแก สัททุลวิกกีฬตฉันท 19 หรือฉันทเสือผยอง วสันตดิลกฉันท 14 อุปชาติฉนั ท 11 อีทสิ งั ฉันท 20 อินทรวิเชียรฉันท 11 วิชชุมมาลา ฉันท 8 อินทรวงศฉันท 12 มาลินีฉันท 15 ภุชงคประยาตฉันท 12 มาณวกฉันท 8 อุเปนทรวิเชียรฉันท 11 สัทธราฉันท 21 สุรางคนางคฉันท 28 โตฎกฉันท 12 กมลฉันท 12 และจิตรปทาฉันท 8 โดยฉันทประเภททีไ่ มไดแสดงฉันทลักษณไว ในหนังสือเรียน ครูควรอธิบายฉันทลักษณเพิ่มเติม

นักเรียนควรรู 1 สัททุลวิกกีฬตฉันท 19 เปนฉันทที่มีลีลาประดุจเสือผยอง จึงมักใชประพันธ เนื้อหาที่เกี่ยวของกับสิ่งศักดิ์สิทธิ์ บทไหวครู บทยอพระเกียรติ และบทโศกเศรา ของตัวละครทีเ่ ปนเทพ หรือกษัตริยท ยี่ งิ่ ใหญ การออกเสียงจึงตองใชนาํ้ เสียงทีก่ งั วาน

24

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

สมฤทัยไดรับมอบหมายจากครูใหแตงบทรอยกรองประเภทฉันท เพื่อใชเปนบทไหวครู สมฤทัยควรจะเลือกใชฉันทประเภทใด 1. อีทิสังฉันท 2. วสันตดิลกฉันท 3. สัททุลวิกกีฬตฉันท 4. อินทรวิเชียรฉันท วิเคราะหคําตอบ อีทสิ งั ฉันท เปนฉันททใี่ ชบรรจุเนือ้ หาทีแ่ สดงถึง อารมณรุนแรง โกรธมาก รักมาก เปนตน วสันตดิลกฉันท เปนฉันท ที่ใชบรรจุเนื้อหาที่เกี่ยวกับการพรรณนา ชมความงามของอาคาร สถานที่ อินทรวิเชียรฉันท เปนฉันทที่ใชบรรจุเนื้อหาสาระใกลเคียง กับวสันตดิลกฉันท สวนสัททุลวิกกีฬตฉันท เปนฉันทที่ใชบรรจุ เนื้อหาที่ศักดิ์สิทธิ์ เขมขลัง เชน บทไหวครู ดังนั้นจึงตอบขอ 3.


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู เอออุเหมนะมึงชิชางกระไร ทุทาสสถุลฉะนี้ไฉน ศึกบถึงและมึงก็ยังมิเห็น จะนอยจะมากจะยากจะเย็น

ก็มาเปน ประการใด (สามัคคีเภทคําฉันท : ชิต บุรทัต)

๓.๒) หลักการอานฉันท การอานฉันทก็เชนเดียวกับการอานคําประพันธประเภทอื่น คือ ตองจําฉันทลักษณของฉันทแตละประเภท ซึ่งกําหนดจํานวนคําครุ ลหุตางกันและทํานองการ อานตางกันจึงตองจําทํานองของฉันทแตละชนิดใหได การอานฉันทจากตําราหลักภาษาไทย ตามหลักของพระยาอุปกิตศิลปสาร มีดังนี้ ๑. ตองรูคําครุ คําลหุ และคณะฉันทเสียกอน จึงจะอานไดถูกตอง ๒. การอานฉันทที่เปนคําลหุหลายพยางค ควรถือเอาคําอานที่เปนสามัญเปนหลักใน การอานเสียกอนแลวจึงอานใหเปนเสียงสั้นๆ (ลหุ) ตามคณะฉันท ๓. การแยกคําครุออกเปนคําลหุ ตามหลักทีถ่ กู ตองใหถอื ตามศัพทเดิม เชน พล (พะ-ละ) กุศล (กุ-สะ-ละ) สุข (สุ-ขะ) ไทยนํามาอานเปน พน กุสน สุก เมื่อนํามาแตงฉันทโดยใหอาน เปนลหุตามศัพทเดิม อานวา พะ-ละ, กุ-ศะ-ละ, สุ-ขะ ๔. ตองอานใหถูกจังหวะวรรคตอน คําใดมีเครื่องหมายยัติภังคคั่น ตองอานคําเต็ม กอนแลวจึงอานตามคณะฉันท ตัวอยาง การอานวสันตดิลกฉันท ๑๔ อานวา อานวา

อานวา อานวา

โอรูปวิไลยะศุภะเลิด โอรูปวิไล-ยะศุภะเลิศ โอรูปวิไลยะมละแรง โอรูปวิไล-ยะมะละแรง หากพี่จะกอดวธุและจุมหากพี่จะ-กอดวธุและจุม ขาบาทจะขัดฤก็มิได ขาบาท-จะขัดฤ-ก็มิได

บมิควรจะใจแขง บอมิควร-จะใจแข็ง ละก็จําจะแขงใจ ละก็จํา-จะแข็งใจ พิตะเจาจะวาไร พิ-ตะเจา-จะวาไร ผิพระองคจะทรงปอง ผิ-พระ-อง-จะซงปอง (มัทนะพาธา)

Explain

1. ครูเปดคลิปเสียงการอานออกเสียง บทรอยกรองประเภทรายใหนักเรียนฟง ชี้แนะใหบันทึกขอมูล ขอสงสัย ขอสังเกต ที่ไดรับจากการฟง นํามาอธิบาย อภิปราย ซักถาม โตตอบกันภายในชั้นเรียน 2. นักเรียนยืนในลักษณะวงกลมเพื่อรวมกัน อธิบายความรูแ บบโตตอบรอบวงเกีย่ วกับการอาน ออกเสียงบทรอยกรองประเภทฉันท โดยใชความรู ความเขาใจ ที่ไดรับจากการฟงบรรยาย เปนขอมูลเบื้องตนสําหรับตอบคําถาม • การอานออกเสียงบทรอยกรองประเภทฉันท ใหถูกตอง ความรูประการแรกที่ผูอานควรมี คืออะไร เพราะเหตุใด (แนวตอบ การอานออกเสียงบทรอยกรอง ประเภทฉันทใหถูกตอง ผูอานควรมีความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับฉันทลักษณของฉันท แตละประเภท จดจําเคาโครงของแผนผัง ตําแหนงคําครุ ลหุ เพื่อใหออกเสียง ไดถูกตอง เพราะรูปคําบางคําเมื่อปรากฏ ในฉันท อาจออกเสียงอีกอยางหนึง่ เปนตนวา กุศล หากอยูในตําแหนงของคําลหุ อาจอาน เปน กุ-สะ-ละ) • การอานฉันทที่เปนคําลหุหลายพยางค ควรอานอยางไร จึงจะถูกตอง (แนวตอบ การอานคําลหุหลายพยางค ควรยึดตามคําอานปกติ หรือคําอาน ที่เปนสามัญ จากนั้นจึงพิจารณาอาน ใหเปนเสียงลหุตามที่ฉันทลักษณของฉันท ประเภทนั้นๆ กําหนด)

๒๕

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ขอใดเปนวิธีการอานออกเสียงบทรอยกรองประเภทฉันทที่ถูกตอง 1. การอานคํารับสัมผัสควรออกเสียงใหสั้น หวน กระชับ 2. การอานคําลหุควรเอื้อนเสียงเพื่อใหเกิดทวงทํานองที่ไพเราะ 3. การอานออกเสียงคําที่บรรจุในแตละวรรคใหอานตามรูปคําที่ ปรากฏ 4. การอานคําลหุใหยึดตามรูปคํากอน แลวจึงออกเสียงสั้นตามคณะ ของฉันท วิเคราะหคําตอบ ควรเนนเสียงใหชัดกวาปกติ หากเปนสัมผัสนอก หรือสัมผัสระหวางวรรคตองทอดเสียงใหยาว การอานคําลหุไมควร เอื้อนเสียงเพราะเปนคําที่มีเสียงสั้นและเบา การออกเสียงคํา ควร พิจารณารูปคํากอน แลวจึงออกเสียงใหตรงกับจํานวนพยางคที่ กําหนดไวในคณะของฉันทแตละประเภท ดังนั้นจึงตอบขอ 4.

เกร็ดแนะครู เกี่ยวกับการอานออกเสียงบทรอยกรองประเภทฉันท ในวรรคที่มีเครื่องหมาย ยัติภังคคั่นระหวางวรรค ครูควรใหความรูแกนักเรียน โดยยกตัวอยางบทรอยกรอง ประเภทฉันททเี่ ปนกรณีศกึ ษา แลวตัง้ คําถามกับนักเรียนเกีย่ วกับวิธกี ารอานทีถ่ กู ตอง กระตุนใหนักเรียนสรางองคความรูดวยตนเอง จากนั้นจึงสรุปวิธีการที่ถูกตองใหอีก ครั้งหนึ่ง เชน “สูงลิ่วละลานนั- ยนพนประมาณหมาย” ควรอานวา “สูง-ลิ่ว/ ละลาน-นัย ยะ-นะ-พน/ ประ-มาน-หมาย” เพราะการอานออกเสียงบทรอยกรอง ประเภทฉันท ผูอานตองอานใหถูกจังหวะวรรคตอน ขอควรระวังคือ ถาพบ เครื่องหมายยัติภังคคั่นระหวางวรรค ผูอานจะตองอานโดยออกเสียงคําเต็มกอน แลวจึงอานตามคณะของฉันท ซึ่งในที่นี้คําเต็มคือคําวา นัยน มีความหมายวา ตา แลวจึงอานพยางคที่เหลือตามคณะของฉันท

คูมือครู

25


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engaae

Expore

Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล Evaluate

๕. คําที่รับสัมผัสกัน ใหอานเนนเสียงกวาปกติ ถาเปนสัมผัสนอกตองทอดเสียงใหมี จังหวะยาวกวาปกติ ตัวอยาง การอานอินทรวงศฉันท ๑๒ อายอดสิเนหา อานวา อา-ยอด- สิ-เน-หา อยาทรงพระโศกี อานวา อยา-ทรง-พระ-โศกี

มะทะนาวิสุทธิศรี มะ-ทะ-นา, วิ-สุด-สี วรพักตรจะหมนจะหมอง วะ-ระ-พัก, จะ-หมน-จะ-หมอง

(มัทนะพาธา)

๖. หามเอื้อนเสียงที่คําลหุ เพราะมีเสียงสั้นและเบา ๗. อานใหถูกทํานองและทอดเสียงคําทายของวรรคใหยาวขึ้นนิดหนึ่ง ๘. อานใหไดอารมณตามเนื้อหาของเรื่อง พยายามไวจังหวะในบทและบาทของฉันท ฉันทที่อานจึงจะไพเราะนาฟง ตัวอยางที่ ๑ วสันตดิลกฉันท ๑๔ ฉันทนมี้ คี วามไพเราะสดชืน่ เหมือนสายฝนอันชืน่ ใจ ดังนัน้ จึงควรอานทอดเสียงใหไพเราะเนิบนาบ ชัดถอย ชัดคํา พี่รักและหวังวธุจะรัก พระรักสมัคณพระหทัย ความรักละเหี่ยอุระระทด ความรักระทดอุระละเหี่ย

(เปนบทเจรจาโตตอบระหวาง สุเทษณกับมัทนา) และบทอดบทิ้งไป ฤจะทอดจะทิ้งเสีย? เพราะมิอาจจะคลอเคลีย ฤจะหายเพราะเคลียคลอ? (มัทนะพาธา)

ตัวอยางที่ ๒ อีทิสังฉันท ๒๐ ฉันทนี้ใชกับเนื้อความที่แสดงอารมณรุนแรง เชน โกรธมาก รักมากหรือวิตกกังวลมาก เมื่อแสดงอารมณโกรธผูอานตองเสียงดัง หวน แสดงอํานาจและ อารมณโกรธ ถาแสดงความรักก็จะใชเสียงออนหวาน ชาเนิบ แสดงอารมณรัก อาอะรุณแอรมระเรื่อรุจิ ประดุจมะโนภิรมระตี แสงอะรุณวิโรจนนะภาประจักษ แฉลมเฉลาและโศภินัก หญิงและชาย ณะ ยามระตีอุทัย สวาง ณ กลางกะมลละไม

ณ แรกรัก ! นะฉันใด ก็ฉันนั้น

(มัทนะพาธา)

๒๖

เกร็ดแนะครู ความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการอานออกเสียงบทรอยกรองประเภทฉันทใหได รับรสไพเราะ และเกิดเปนชวงจังหวะที่เหมาะสมนั้น ผูอานควรใหความสําคัญกับ การอานคํารับสัมผัส ครูควรออกแบบการเรียนการสอนดวยวิธีการตั้งคําถาม เพื่อใหนักเรียนสราง องคความรูที่ถูกตองรวมกัน กระตุนใหใชทักษะการสังเกต การแสดงความคิดเห็น โดยตั้งคําถามกับนักเรียนวา • แนวทางการอานฉันทระบุไววา คําที่รับสัมผัสกัน ตองอานเนนเสียงใหชัด ถาเปนสัมผัสนอกตองทอดเสียงใหยาวกวาปกติ จากบทรอยกรองนี้นักเรียน อธิบายไดหรือไมวา ควรเนนและทอดเสียงที่คําใด “ผาณิตผิชิตมด ฤจะอดบ อาจจะมี” จากคําถามนี้คําตอบที่ถูกตอง อานวา ผา-นิด/ผิ-ชิด-มด รึ-จะ-อด/บอ-อาดจะ-มี โดยเนนและทอดเสียงที่คําวา นิด ชิด มด และอด คูมือครู

Expand

Expand

1. ครูฝกฝนนักเรียนอานออกเสียงบทรอยกรอง ประเภทฉันท เรื่องสามัคคีเภทคําฉันท ความยาวตามดุลยพินจิ ของครู โดยฝกจากบทที่ โดดเดนดานการใชคําแสดงอารมณ ความ ไพเราะของเสียง ในชวงเวลานี้ครูควรสังเกตวา นักเรียนคนใดมีความสามารถที่โดดเดน คัดเลือกออกมาหนาชั้นเรียน จํานวน 5 คน 2. ครูทําสลากเทากับจํานวนนักเรียนที่เหลือ ภายในชั้นเรียน โดยเขียนหมายเลข 1-5 ในจํานวนเทาๆ กัน หรือเฉลีย่ ตามความเหมาะสม จากนั้นใหแตละคนออกมาจับสลาก ใครที่จับ ไดหมายเลขเหมือนกันใหอยูกลุมเดียวกัน เมื่อ นักเรียนรวมกลุมแลว ครูใหนักเรียน 5 คน ที่คัดเลือกไวไปประจําตามกลุมตางๆ แตละกลุมฝกซอมอานออกเสียงบทรอยกรอง ประเภทฉันท เรื่องมัทนะพาธา ตั้งแตวรรค “ดู กอนสุชาตา” จนถึง “ประติบัติ์ระเบียบดี” จาก หนังสือเรียนวรรณคดีและวรรณกรรม ชั้น ม.5 เตรียมความพรอมสําหรับการอานหนาชั้นเรียน โดยนักเรียนที่ครูสงไปประจํากลุมตางๆ จะ ทําหนาทีช่ ว ยเหลือเพือ่ นๆ ทีย่ งั ขาดความชํานาญ ในทักษะ เพื่อใหเกิดการเรียนรูรวมกัน 3. จากความรู ความเขาใจ ใหนกั เรียนสรุปแนวทาง การอานออกเสียงบทรอยกรองประเภทฉันท (แนวตอบ ตองจดจําฉันทลักษณของฉันท แตละ ชนิดเมื่อจะอานคําลหุหลายพยางคใหพิจารณา จากคําอานปกติกอน แลวจึงอานใหมีเสียงสั้น ตามคณะของฉันท อานใหถูกจังหวะวรรคตอน คําใดที่มีเครื่องหมายยัติภังคคั่นควรอานคําเต็ม กอน แลวจึงอานใหมีเสียงเบาตามคณะของฉันท คําที่รับสัมผัสกันจะตองอานเนนเสียงใหชัดกวา ปกติ อานใหถูกทํานอง สอดคลองกับอารมณ และบรรยากาศของเรื่อง ทอดเสียงคําทายวรรค ใหยาว)

26

ขยายความเขาใจ

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ฉันทในขอใดตองอานดวยทํานองสั้น กระชับ รวดเร็ว นํ้าเสียง หนักแนน 1. แสงอะรุณวิโรจนนะภาประจักษ แฉลมเฉลาและโศภินัก นะฉันใด 2. หญิงและชายระยามระตีอุทัย สวาง ณ กลางกะมลละไม ก็ฉันนั้น 3. ศึกบถึงและมึงก็ยังมิเห็น จะนอยจะมากจะยากจะเย็น ประการใด 4. อาอะรุณแอรมระเรื่อรุจี ประดุจมะโนภิรมระตี ณ แรกรัก วิเคราะหคําตอบ อีทิสังฉันทเปนฉันทที่มีคําครุ ลหุ สลับกัน จากตัวเลือกขอ 3. เปนบทอานที่ตองใชเสียงหนักแนน สั้น กระชับ แสดงอารมณโกรธ ดังนั้นจึงตอบขอ 3.


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engaae

Expore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ขยายความเขาใจ แสดงอารมณโกรธ

เอออุเหมนะมึงชิชางกระไร ทุทาสสถุลฉะนี้ไฉน ศึกบถึงและมึงก็ยังมิเห็น จะนอยจะมากจะยากจะเย็น

ก็มาเปน ประการใด (สามัคคีเภทคําฉันท : ชิต บุรทัต)

ตัวอยาง การอานอินทรวิเชียรฉันท ๑๑ ใชในบทพรํ่าพรรณนา แสดงความสมเพชเวทนา สงสาร ควรอานชา ใสอารมณตามถอยคําที่ปรากฏใหเกิดความรูสึกสะเทือนอารมณ โอโอกระไรเลย พอเห็นก็ทราบสาน ยิ่งยลวะนิดา เพลิงรุมประชุมภาย

บมิเคยณกอนกาล ฤดิรักบหักหาย ละก็ยิ่งจะรอนคลาย ณ อุราบลาลด (มัทนะพาธา)

๙. การอานตอนจะจบบทตองเอื้อนเสียงและทอดจังหวะใหชาลงจนกระทั่งจบบท ¡ÒÃÍ‹Ò¹ÍÍ¡àÊÕ§ÌÍ¡ÃͧÍҨ͋ҹ䴌àËÁ×͹¡Òþٴ»¡µÔáÅÐ͋ҹ໚¹·íҹͧàʹÒÐ ¤íÒ»Ãоѹ¸ ºÒ§º·ÍҨ͋ҹ䴌ËÅÒÂÇÔ¸Õ «Ö觼ٌàÃÕ¹¨Ö§¤Çè´¨íÒ·íҹͧµ‹Ò§æ ãˌ䴌 áÅÐÃÐÇѧÍÂ‹Ò Ëŧ͋ҹ¼Ô´·íҹͧáÅзÕèÊíÒ¤ÑÞÍÕ¡»ÃСÒÃ˹Ö觹Ñé¹ ¤×Í Í‹ҴѴàÊÕ§¨¹½„¹¸ÃÃÁªÒµÔ à¾ÃÒШР໚¹·ÕèÃíÒ¤ÒÞÁÒ¡¡Ç‹Ò¤ÇÒÁä¾àÃÒÐ ¡Òýƒ¡Í‹Ò¹·íҹͧàʹÒШзíÒãËŒ¼ÙŒàÃÕ¹ÁÕ¤ÇÒÁÁÑè¹ã¨ ·Ñé§Âѧ ໚¹¡ÒÃ͹ØÃÑ¡É Áô¡·Ò§ÀÒÉÒ«Öè§à»š¹Áô¡¢Í§ªÒµÔ·ÕèàÃÒ¤¹ä·Â¤ÇÃÀÒ¤ÀÙÁÔã¨

1. นักเรียนรวมกันกําหนดเกณฑเพื่อใชประเมิน การอานออกเสียงบทรอยกรอง และใชเปน แนวทางปรับปรุงแกไขในครั้งตอไป (แนวตอบ ควรครอบคลุม ดังตอไปนี้ • อานไดถูกตองตามฉันทลักษณ จังหวะ ทวงทํานองของบทรอยกรองแตละประเภท • ออกเสียงคําควบกลํ้า พยัญชนะ ร ล ถูกตอง ชัดเจน • แบงวรรคตอนถูกตอง เหมาะสม โดยคํานึงถึง เนื้อความภายในวรรคเปนสําคัญ • ใชนํ้าเสียง เหมาะสมสําหรับการถายทอด บรรยากาศของเรื่อง หรืออารมณความรูสึก ของตัวละคร • ความพรอมเพรียงกันของกลุม ในดานตางๆ เชน การเปลงเสียงเสนาะ การแบงจังหวะ เพือ่ หยุดพักหายใจควรหยุดแลวขึน้ วรรคใหม พรอมๆ กัน บุคลิกภาพโดยรวมของกลุม การวางทาทาง ปรับสีหนา แววตา ควรให สอดคลองกับอารมณของบทอาน) 2. จากประเด็นการประเมินที่รวมกันกําหนด นักเรียนสรุปหลักเกณฑในรูปแบบตาราง ประเมิน สงตัวแทนออกมานําเสนอครู หนาชั้นเรียน เมื่อไดรับความเห็นชอบ จึงจัดทําลงในกระดาษขนาด A5 ดังนี้ แบบประเมินการอานออกเสียงกลุมที่... เกณฑการประเมิน 5 4 3 2 1 ความถูกตอง ความชัดเจน การใชนํ้าเสียง การเตรียมความพรอม การวางบุคลิกภาพ Team work รวมคะแนน..................... กลุมที่..............ผูประเมิน

๒๗

บูรณาการเชื่อมสาระ

การเรียนการสอนเกี่ยวกับการอานออกเสียงบทรอยกรอง ประเภทฉันท สามารถบูรณาการไดกับการเรียนการสอนวิชา วรรณคดีและวรรณกรรมรวมถึงวิชาดนตรี นาฏศิลป ครูควรมอบหมาย ภาระชิน้ งานใหนกั เรียนปฏิบตั ิ โดยรวมกันแสดงละคร เรือ่ งมัทนะพาธา ตํานานดอกกุหลาบ เขากลุมตามความสามารถ เชน ทีมเขียนบท ทีมนักแสดง ทีมพากย ทีมฉาก แสง สี เสียง ทีมเสือ้ ผาเครือ่ งแตงกาย นักแสดง และทีมสวัสดิการ เตรียมการแสดง ฝกซอม เปนเวลา 1 สัปดาห แลวนํามาแสดงใหครูชมหนาชัน้ เรียน โดยมีเงือ่ นไขวา ตองมีการบรรยาย เนื้อหาฉันทดวยทํานองเสนาะ การมอบหมายภาระชิ้นงานใหนักเรียนแสดงละครทั้งสองเรื่อง ไดแก เรื่องพระเวสสันดรชาดก และมัทนะพาธา จะชวยฝกทักษะ การทํางานรวมกัน ที่สําคัญยังไดฝกทักษะการอานแปลความ ตีความ วิเคราะห วิจารณ เพื่อเขาใจสาระของเรื่องอยางลึกซึ้ง กระทั่งนํามาถายทอดไดอยางถูกตอง

Expand

เกร็ดแนะครู สําหรับตารางการประเมินที่นักเรียนรวมกันจัดทําขึ้น ครูควรชี้แนะเพิ่มเติม ใหนักเรียนเขาใจวา ควรพิจารณาใหครอบคลุมรายละเอียด ดังนี้ 1. ความถูกตอง ควรตรวจสอบวา กลุมที่อานออกเสียงสามารถออกเสียง ไดถูกตองตรงตามจังหวะ ทวงทํานอง การแบงวรรคของบทรอยกรองแตละ ประเภทหรือไม 2. ความชัดเจน ใหพิจารณาวาออกเสียงคําตางๆ ไดถูกตองชัดเจน หรือไม พยัญชนะ ร ล คําควบกลํ้า เสียงวรรณยุกตตางๆ 3. การใชนํ้าเสียง ใหพิจารณาจากความสอดคลองกับอารมณที่ปรากฏในบทอาน 4. ความพรอม ใหพิจารณารวบยอดจากประเด็นความถูกตอง ความชัดเจน 5. การวางบุคลิกภาพ ใหพิจารณาภาพรวมของกลุม ความสอดคลองกับบทอาน 6. team work ใหพิจารณาภาพรวมของกลุม ทวงทํานองการอาน การเวนชวง จังหวะหายใจเปนชวงเดียวกัน เปนตน คูมือครู

27


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engaae

Expore

Explain

Elaborate

ตรวจสอบผล

ตรวจสอบผล Evaluate

Evaluate

1. ครูสุมเรียกชื่อนักเรียนออกมาอานออกเสียง รอยแกวประเภทบันเทิงคดี และสารคดี โดยสุมเรียกประเภทละไมนอยกวา 10 คน สวนนักเรียนที่ไมไดอานออกเสียงหนาชั้นเรียน ใหหาเวลาไปอานที่หองพักครู เพื่อประเมินผล การอาน 2. นักเรียนแตละกลุมออกมาอานออกเสียง บทรอยกรองประเภทราย โคลง และฉันท ครูควร ใหนกั เรียนทุกกลุม ไดมโี อกาสทดสอบ ซึง่ การเรียน การสอนในหนวยการเรียนรูนี้ ครูอาจใชเวลา ประมาณ 4 คาบ โดย 3 คาบแรก เปนการ เรียนรูในเชิงทฤษฎี มอบหมายงานใหไปปฏิบัติ รวมกัน ฝกซอมจนเกิดความชํานาญ จากนั้น คาบสุดทายจึงเปนคาบของการนําเสนอ หรือ การตรวจสอบผล ความรู ความเขาใจ และ ความสามารถของนักเรียน ในขณะเดียวกัน ยังเปนการฝกทักษะการประเมินอยางมี วิจารณญาณใหแกนักเรียน 3. นักเรียนแตละกลุมสงแบบประเมินการอาน ออกเสียงที่ลงคะแนนใหแกกลุมที่อานออกเสียง ไดดีที่สุด ลงในกลองที่ครูเตรียมไว 4. ครูประเมินการอานออกเสียงของนักเรียน ผนวกเขากับการพิจารณาแบบประเมินของ นักเรียนแตละกลุม 5. นักเรียนตอบคําถามประจําหนวยการเรียนรู

คําถามประจําหนวยการเรียนรู

๑. การอานออกเสียงมีลักษณะการอานอยางไร ๒. การอานรอยแกวและอานรอยกรองมีลักษณะแตกตางกันอยางไร ๓. รอยแกวมีกี่ประเภท อะไรบาง จงยกตัวอยาง ๔. เรามีหลักการอานรอยแกวอยางไร ๕. รอยกรองมีหลักการอานอยางไร

กิจกรรมสรางสรรคพัฒนาการเรียนรู

๑. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ ๗ คน หาบทอานมาอานใหเพื่อนฟงรวมกัน ดังน�้ คนที่ ๑ หาสารคดีที่เปนบทความแสดงความคิดเห็น คนที่ ๒ หาสารคดีที่เปนบทวิเคราะหวิจารณ คนที่ ๓ หาบทสนทนาในนวนิยายที่แสดงอารมณตางๆ คนที่ ๔ หาบทลิลิตตะเลงพายที่แสดงอารมณตางๆ คนที่ ๕ หาบทฉันทที่ใหอารมณหลากหลาย คนที่ ๖ หาบทที่แสดงอารมณตางๆ จากรายยาวมหาเวสสันดรชาดก ๒. ใหจับคูกันอานรายสุภาพ ฉันท และรายยาวมหาเวสสันดรชาดก แลววิเคราะห วิจารณการอานซึ�งกันและกัน ๓. ใหนักเรียนแบงกลุมกันหาบทอานรอยแกว รอยกรองที่หลากหลาย จัดทําเกณฑ การประเมิน และจัดทําบทอานรอยแกว รอยกรอง แลวจัดประกวดแขงขันการอาน รอยแกว รอยกรองระดับชั้นเรียน โดยคณะกรรมการประจําหองเรียนแตละหองมา เปนกรรมการรวมกัน

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู 1. สําเนาบทอานรอยแกวประเภทบันเทิงคดี และ สารคดี ที่แสดงการใชเครื่องหมายวรรคตอน 2. ตารางแสดงการมาฝกซอมของนักเรียนแตละกลุม 3. ตารางประเมินการอานออกเสียงบทรอยกรอง ในลักษณะกลุม

๒๘

แนวตอบ คําถามประจําหนวยการเรียนรู 1. การอานออกเสียง คือ การอานที่ผูอานเปลงเสียงออกมาดังๆ ในขณะที่อาน โดยมีจุดมุงหมายแตกตางกันออกไป เชน เพื่อถายทอดขาวสารตางๆ เพื่อเราอารมณ ความรูสึกของผูฟง เพื่อสรางความสนุกสนาน เพลิดเพลิน เปนตน 2. การอานรอยแกว และบทรอยกรองมีความแตกตางกันในประเด็นของทวงทํานอง และจังหวะในการอาน กลาวคือ งานเขียนประเภทรอยแกว มีลักษณะเปนความเรียง รอยเรียงกันไปตั้งแตตนจนจบ ดังนั้นการอานจึงใหความสําคัญกับการแบงวรรคตอนชัดเจน สื่อความหมายที่ถูกตอง ออกเสียงคําควบกลํ้า พยัญชนะ ร ล และสําเนียง ในการอาน ซึ่งเปนสําเนียงปกติเหมือนการเปลงเสียงพูด ในขณะที่การอานออกเสียงบทรอยกรอง งานเขียนที่กําหนดบังคับฉันทลักษณวาในบทหนึ่งๆ ตองประกอบดวย กี่วรรค กี่คํา สัมผัสอยางไร จึงทําใหบทรอยกรองแตละประเภทมีทวงทํานองที่แตกตางกัน การอานจึงตองใสทวงทํานองหรือที่เรียกวา “อานทํานองเสนาะ” 3. งานเขียนรอยแกว หากแบงเปนประเภทใหญๆ ได 2 ประเภท ไดแก บันเทิงคดีและสารคดี 4. การอานรอยแกว ผูอานควรอานใหถูกตองตามอักขรวิธี มีสมาธิ มั่นใจในขณะที่อาน เปลงเสียงใหเปนเสียงพูด โดยเนนเสียงหนัก เบา ยาว สั้น ใหไดยินทั่วถึงกัน อานใหถูกจังหวะวรรคตอน รูจักเนนคําสําคัญ คําที่ตองการใหเกิดภาพพจน เมื่ออานจบยอหนาหนึ่งควรผอนลมหายใจ และเมื่อขึ้นยอหนาใหมควรเนนเสียง และทอดเสียงใหชาลง เพื่อดึงความสนใจจากผูฟง รวมถึงการใสอารมณ การวางบุคลิกภาพ ทาทางและแววตาใหสอดคลองกับอารมณที่ปรากฏในบทอาน 5. การอานออกเสียงบทรอยกรองผูอานควรอานใหถูกตองตามชวงจังหวะ การแบงวรรค ทวงทํานองของบทรอยกรองแตละประเภท ออกเสียงคําใหชัดเจน ทั้งคําควบกลํ้า พยัญชนะ ร ล ใชนํ้าเสียง เชน การครั่นเสียง การเครือเสียง การเอื้อนเสียง วางบุคลิกภาพ ทาทาง แววตาใหสอดคลองกับอารมณที่ปรากฏในบทอาน

28

คูมือครู


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.