8858649121622

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº Í- .

ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน

กระบวนการสอนแบบ 5 Es ชวยสรางทักษะการเรียนรู กิจกรรมมุงพัฒนาทักษะการคิด คำถาม + แนวขอสอบเพื่อยกผลสัมฤทธิ์ O-NET กิจกรรมบูรณาการเตรียมพรอมสู ASEAN 2558


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย

ภาษาไทย

วรรณคดีและวรรณกรรม ชั้นมัธยมศึกษาปที่

5

สําหรับครู

คูมือครู Version ใหม

ลักษณะเดน

ขยายพื้นที่รูปเลมใหญขึ้นกวาเดิม จัดแบงพื้นที่ออกเปนโซน เพื่อคนหาขอมูลไดงาย สะดวก รวดเร็ว และดูเปนระเบียบ V

กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล

กระตุน ความสนใจ

Evaluate

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

เปาหมายการเรียนรู สมรรถนะของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค

หน า

โซน 1 กระตุน ความสนใจ

Engage

สํารวจคนหา

Explore

อธิบายความรู

Explain

ขยายความเขาใจ

Expand

ตรวจสอบผล

หน า

หนั ง สื อ เรี ย น

โซน 1

หนั ง สื อ เรี ย น

Evaluate

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ขอสอบ

โซน 2

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

เกร็ดแนะครู

O-NET

บูรณาการเชื่อมสาระ

โซน 3

กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย

นักเรียนควรรู

โซน 3

โซน 2 บูรณาการอาเซียน มุม IT

No.

คูมือครู

คูมือครู

No.

โซน 1 ขั้นตอนการสอนแบบ 5Es

โซน 2 ชวยครูเตรียมสอน

โซน 3 ชวยครูเตรียมนักเรียน

เพื่อใหครูเตรียมจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยแนะนําขั้นตอนการสอนและ การจัดกิจกรรมแบบ 5Es อยางละเอียด เพื่อใหนักเรียนบรรลุตามตัวชี้วัด

เพื่อชวยลดภาระครูผูสอน โดยแนะนํา เกร็ดความรูสําหรับครู ความรูเสริมสําหรับ นักเรียน รวมทั้งบูรณาการความรูสูอาเซียน และมุม IT

เพื่อใหครูสะดวกตอการจัดกิจกรรม โดย แนะนํากิจกรรมบูรณาการเชือ่ มระหวางสาระหรือ กลุมสาระการเรียนรู วิชา กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย รวมถึงเนื้อหาที่เคยออกขอสอบ O-NET แนวขอสอบ NT/O-NET ทีเ่ นนการคิด พรอมเฉลยและคําอธิบายอยางละเอียด


ที่ใชในคูมือครู

แถบสีและสัญลักษณ

แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5Es เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

1. แถบสี 5Es สีแดง

สีเขียว

กระตุน ความสนใจ

เสร�ม

สํารวจคนหา

Engage

2

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุน ความสนใจ เพื่อโยง เขาสูบทเรียน

สีสม

อธิบายความรู

Explore

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนสํารวจ ปญหา และศึกษา ขอมูล

สีฟา

Explain

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนคนหา คําตอบ จนเกิดความรู เชิงประจักษ

สีมวง

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนนําความรู ไปคิดคนตอๆ ไป

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

2. สัญลักษณ สัญลักษณ

วัตถุประสงค

• เปาหมายการเรียนรู

• หลักฐานแสดง ผลการเรียนรู

• เกร็ดแนะครู

แทรกความรูเสริมสําหรับครู ขอเสนอแนะ ขอควรระวัง ขอสังเกต แนวทางการจัด กิจกรรมและอืน่ ๆ เพื่อประโยชนในการ จัดการเรียนการสอน ขยายความรูเพิ่มเติมจากเนื้อหา เพื่อให ครูนําไปใชอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียน ไดมีความรูมากขึ้น

ความรูห รือกิจกรรมเสริม ใหครูนาํ ไปใช เตรียมความพรอมใหกบั นักเรียนกอนเขาสู ประชาคมอาเซียนใน พ.ศ. 2558 โดย บูรณาการกับวิชาทีก่ าํ ลังเรียน

บูรณาการอาเซียน

คูม อื ครู

แสดงรองรอยหลักฐานตามภาระงาน ที่ครูมอบหมาย เพื่อแสดงผลการเรียนรู ตามตัวชี้วัด

• นักเรียนควรรู

มุม IT

แสดงเปาหมายการเรียนรูที่นักเรียน ตองบรรลุตามตัวชี้วัด ตลอดจนสมรรถนะ ที่จะตองมี และคุณลักษณะที่พึงเกิดขึ้น กับนักเรียน

แนะนําแหลงคนควาจากเว็บไซต เพื่อให ครูและนักเรียนไดเขาถึงขอมูลความรู ที่หลากหลาย ทั้งไทยและตางประเทศ

สัญลักษณ

ขอสอบ

วัตถุประสงค

O-NET

(เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ O-NET O-NET)

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T (เฉพาะระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนตอนตน)

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET (เฉพาะระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย)

บูรณาการเชื่อมสาระ

กิจกรรมสรางเสริม

กิจกรรมทาทาย

• ชีแ้ นะเนือ้ หาทีเ่ คยออกขอสอบ

O-NET โดยยกตัวอยางขอสอบ พรอมวิเคราะหคาํ ตอบ อยางละเอียด

• เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน

การคิดและเปนแนวขอสอบ NT/O-NET ในระดับมัธยมศึกษา ตอนตน มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

• เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน

การคิดและเปนแนวขอสอบ O-NET ในระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม

เชือ่ มกับสาระหรือกลุม สาระ การเรียนรู ระดับชัน้ หรือวิชาอืน่ ทีเ่ กีย่ วของ

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ซอมเสริมสําหรับนักเรียนทีค่ วร ไดรบั การพัฒนาการเรียนรู

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ตอยอดสําหรับนักเรียนทีเ่ รียนรู ไดอยางรวดเร็ว และตองการ ทาทายความสามารถในระดับ ทีส่ งู ขึน้


คําแนะนําการใชคูมือครู การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน คูมือครู รายวิชา ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ม.5 จัดทําขึ้นเพื่อใหครูผูสอนนําไปใชเปนแนวทางวางแผน การสอนเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และประกันคุณภาพผูเรียน ตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการการ ศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) โดยใชหนังสือเรียน ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ม.5 ของบริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. เสร�ม จํากัด เปนสื่อหลัก (Core Material) ประกอบการสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรู 3 และตัวชีว้ ดั กลุม สาระการเรียนรู ภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พ.ศ. 2551 โดยออกแบบกิจกรรม การเรียนการสอนตามหลักการสําคัญ ดังนี้ 1 ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน คูมือครู รายวิชา ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ม.5 วางแผนการสอนโดยแบงเปนหนวยการเรียนรูตาม ลําดับสาระ (Strand) และหมายเลขขอของมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั แตละหนวยจะกําหนดเปาหมายการเรียนรูแ ละ จุดประสงคการเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทางการประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชดั เจน ครูผสู อนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู ตัวชีว้ ดั สมรรถนะ และคุณลักษณะอันพึงประสงคที่เปนเปาหมายการเรียนรูตามที่กําหนดไวในสาระแกนกลาง (ตามแผนภูมิ) และสามารถ บันทึกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนแตละคนลงในเอกสาร ปพ.5 ไดอยางมั่นใจ แผนภูมิแสดงความสัมพันธขององคประกอบการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผูเรียนเปนสําคัญ

พผ

ูเ

จุดปร

ะสง

คก า

ส ภา

รียน

รู ีเรยน

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชั้นป

ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน คูม อื ครู


2 การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ แนวคิ ด ในการจั ด การเรี ย นการสอนที่ ยึ ด ผู  เ รี ย นเป น สํ า คั ญ พั ฒ นามาจากปรั ช ญาและทฤษฎี ก ารเรี ย นรู  Constructivism ที่เชื่อวา การเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสรางความรู โดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดเรียนรูจากบทเรียนใหมกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา ผูเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีการสั่งสมความรูความเขาใจเกี่ยวกับสิ่งตางๆ ติดตัวมากอน ทีจ่ ะเขาสูห อ งเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากประสบการณและสิง่ แวดลอมรอบตัวผูเ รียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกิจกรรม เสร�ม การเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ผูสอนจะตองคํานึงถึง

4

1. ความรูเดิมของผูเรียน วิธีการสอนที่ดีจะตองเริ่มตนจากจุดที่วา ผูเ รียนมีความรูอ ะไรมาบาง แลวจึงใหความรู หรือประสบการณใหม เพื่อตอยอดจาก ความรูเดิม นําไปสูการสรางความรู ความเขาใจใหม

2. ความรูเดิมของผูเรียนถูกตองหรือไม ผูส อนตองปรับเปลีย่ นความรูค วามเขาใจเดิม ของผูเรียนใหถูกตอง และเปนพฤติกรรม การเรียนรูใ หมทมี่ คี ณุ คาตอผูเรียน เพื่อสราง เจตคติหรือทัศนคติที่ดีตอการเรียนรู สิ่งเหลานั้น

3. ผูเรียนสรางความหมายสําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมใหผูเรียนนําความรู ความเขาใจที่เกิดขึ้นไปลงมือปฏิบัติ เพื่อขยายความรูใหลึกซึ้งและมีคุณคา ตอตัวผูเรียนมากที่สุด

แนวคิด Constructivism เนนใหผูเรียนสรางความรูโดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูของตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศ

การเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณ ความรูใ หม เพือ่ กระตนุ ใหผเู รียนเชือ่ มโยงความรู ความคิด กับประสบการณทมี่ อี ยูเ ดิม แลวสังเคราะหเปนความรูห รือแนวคิดใหมๆ ไดดว ยตนเอง

3 การบูรณาการกระบวนการคิด การเรียนรูของผูเรียนแตละคนจะเกิดขึ้นที่สมอง ซึ่งเปนอวัยวะที่ทําหนาที่รูคิดภายใตสภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวย และไดรบั การกระตนุ จูงใจอยางเหมาะสม สอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของผูเ รียนแตละคน การจัดกิจกรรม การเรียนรูและสาระการเรียนรูที่สอดคลองกับความสนใจและมีความหมายตอผูเรียน จะชวยกระตุนใหสมองของผูเรียน สามารถรับรูและเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพตามขั้นตอนการทํางานของสมอง ดังนี้ 1. สมองจะเรียนรูและสืบคน โดยการสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง ปฏิบัติ จนทําใหคนพบความรูความเขาใจ ไดอยางรวดเร็ว

2. สมองจะแยกแยะคุณคาของสิ่งตางๆ โดยการตัดสินใจวิพากษวิจารณ แสดง ความคิดเห็น ยอมรับหรือตอตานตาม อารมณความรูสึกที่เกิดขึ้นในขณะที่เรียนรู

3. สมองจะประมวลเนื้อหาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสานกับ ความรูห รือประสบการณเดิมทีถ่ กู จัดเก็บอยูใ น สมอง ผานการกลัน่ กรองเพือ่ สังเคราะหเปน ความรูค วามเขาใจใหมๆ หรือเปนทัศนคติใหม ที่จะเก็บบรรจุไวในสมองของผูเรียน

การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะเกิดขึ้น เมื่อสมองรูคิด และตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมองผูเรียน โดยเริ่มตนจาก 1. ระดับการคิดพื้นฐาน ไดแก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล การสรุปผล เปนตน

คูม อื ครู

2. ระดับลักษณะการคิด ไดแก การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดไกล คิดหลากหลาย คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล เปนตน

3. ระดับกระบวนการคิด ไดแก กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ กระบวนการแกปญหา กระบวนการ คิดสรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะห เปนตน


5Es การจัดกิจกรรมตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ขั้นตอนการสอนที่สัมพันธกับขั้นตอนการคิดและการทํางานทางสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย คือ วัฏจักรการเรียนรู 5Es ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแตละหนวย ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1

กระตุนความสนใจ

(Engage)

เสร�ม

5

เปนขั้นที่ผูสอนนําเขาสูบทเรียน เพื่อกระตุนความสนใจของผูเรียนดวยเรื่องราวหรือเหตุการณที่นาสนใจโดยใชเทคนิควิธีการ และคําถามทบทวนความรูหรือประสบการณเดิมของผูเรียน เพื่อเชื่อมโยงผูเรียนเขาสูความรูของบทเรียนใหม ชวยใหผูเรียนสามารถ สรุปความสําคัญหัวขอและสาระการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอนการสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอมและสราง แรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน

ขั้นที่ 2

สํารวจคนหา

(Explore)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนเปดโอกาสใหผเู รียนลงมือศึกษา สังเกต หรือรวมมือกันสํารวจ เพือ่ ใหเห็นขอบขายของประเด็นหรือปญหา รวมถึง วิธีการศึกษาคนควา การรวบรวมขอมูลความรูที่จะนําไปสูการสรางความเขาใจประเด็นหรือปญหานั้นๆ เมื่อผูเรียนทําความเขาใจใน ประเด็นหรือปญหาที่จะศึกษาคนควาอยางถองแทแลว ก็ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธีการตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูที่เกี่ยวของกับประเด็นหรือปญหาที่ศึกษา

ขั้นที่ 3

อธิบายความรู

(Explain)

เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา ตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนคนหาคําตอบ และนําขอมูล ความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห สรุปผล และนําเสนอผลที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ ผังมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน ในขั้นตอนนี้ฝกใหผูเรียนใชสมองคิดวิเคราะหและสังเคราะห อยางเปนระบบ

ขั้นที่ 4

ขยายความเขาใจ

(Expand)

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใชเทคนิควิธีสอนตางๆ ที่สงเสริมใหผูเรียนนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนสืบคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะ การเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน ผูเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยง กับประสบการณเดิมโดยนําขอสรุปทีไ่ ดไปใชอธิบายเหตุการณตา งๆ หรือนําไปปฏิบตั ใิ นสถานการณใหมๆ ทีเ่ กีย่ วของกับชีวติ ประจําวัน ของตนเอง เพื่อขยายความรูความเขาใจใหกวางขวางยิ่งขึ้น ในขั้นตอนนี้ฝกสมองของผูเรียนใหสามารถคิดริเริ่มสรางสรรคอยางมี คุณภาพ เสริมสรางวิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป

ขั้นที่ 5

ตรวจสอบผล

(Evaluate)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนประเมินมโนทัศนของผูเ รียน โดยตรวจสอบจากความคิดทีเ่ ปลีย่ นไปและความคิดรวบยอดทีเ่ กิดขึน้ ใหม ตรวจสอบ ทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด หรือการเคารพความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพื่อการ สรางสรรคความรูร ว มกัน ผูเ รียนสามารถประเมินผลการเรียนรูข องตนเอง เพือ่ สรุปผลวามีความรูอ ะไรเพิม่ ขึน้ มาบาง เกิดความเขาใจ มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ หรือในชีวิตประจําวันไดอยางไร ผูเรียนจะเกิดเจตคติ และเห็นคุณคาของตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง

การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนนผูเรียน เปนสําคัญอยางแทจริง เพราะสงเสริมใหผูเรียนไดเรียนรูตามขั้นตอนของกระบวนการสรางความรูดวยตนเอง และ ฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและกระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะชีวิต ทักษะการทํางาน และทักษะการ เรียนรูที่มีประสิทธิภาพ สงผลตอการยกระดับผลสัมฤทธิ์ของผูเรียน ตามเปาหมายของการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คูม อื ครู


O-NET การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ O-NET

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ในแตละหนวยการเรียนรู ทางผูจัดทํา จะเสนอแนะวิธีสอน รูปแบบกิจกรรมการเรียนรู พรอมทั้งออกแบบเครื่องมือวัดและประเมินผลที่สอดคลองกับตัวชี้วัด และสาระการเรียนรูแกนกลางไวทุกขั้นตอน โดยยึดหลักสําคัญ คือ หลักของการวัดและประเมินผล เสร�ม

6

1. การวัดและประเมินผลทุกครั้ง ควรนําผลมาปรับปรุงพัฒนาผูเรียน เปนรายบุคคล

2. การวัดและประเมินผลมี เปาหมาย เพื่อพัฒนาการเรียนรู ของผูเรียนจนเต็มศักยภาพ

3. การนําผลการวัดและประเมินผล ทุกครั้งมาวางแผนปรับปรุงกิจกรรม การเรียนการสอน การเลือกเทคนิค วิธีสอน และสื่อการเรียนรูให เหมาะสมกับสภาพจริงของผูเรียน

การทดสอบผูเรียน 1. การใชขอสอบอัตนัย เนนการอาน การคิดวิเคราะห และการเขียนเพิ่มมากขึ้น 2. การใชคําถามกระตุนการคิดควบคูกับการทําขอสอบที่เนนการคิดอยางตอเนื่องตามลําดับกิจกรรมการเรียนรู และตัวชี้วัด 3. การทดสอบตองดําเนินการทั้งกอนเรียน ระหวางเรียน และหลังเรียน การทดสอบควรใชขอสอบทั้งชนิดปรนัยและ อัตนัย และเปนการทดสอบเพื่อประเมินผลการเรียนของผูเรียนแตละคน เพื่อการสอนซอมเสริมใหบรรลุตัวชี้วัด ไดครบถวน 4. การสอบกลางภาค (ถามี) ควรนําแบบฝกหัดหรือขอสอบทีน่ กั เรียนสวนใหญไมสามารถตอบไดหรือไมครบถวนชัดเจน มา สรางเปนแบบทดสอบอีกครัง้ เพือ่ ตรวจสอบความรูค วามเขาใจทีถ่ กู ตอง และประเมินความกาวหนาของผูเ รียนแตละคน 5. การสอบปลายภาคเรียนเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามตัวชี้วัดที่สําคัญ ควรออกขอสอบใหมีลักษณะเดียวกับ ขอสอบ O-NET โดยเนนการคิดวิเคราะห สังเคราะห เชื่อมโยงประยุกตใช เพื่อสรางความคุนเคย และฝกฝน วิธีการทําขอสอบดวยความมั่นใจ 6. การนําผลการทดสอบของผูเรียนมาวิเคราะห โดยผลการสอบกอนการเรียนตองสามารถพยากรณผลการสอบ กลางภาค และผลการสอบกลางภาคตองทํานายผลการสอบปลายภาคของผูเ รียนแตละคน เพือ่ ประเมินพัฒนาการ ความกาวหนาของผูเรียนเปนรายบุคคล 7. ผลการทดสอบปลายป ปลายภาค ตองมีคาเฉลี่ยสอดคลองกับคาเฉลี่ยของการสอบ NT ที่เขตพื้นที่การศึกษา จัดสอบ รวมทั้งคาเฉลี่ยของการสอบ O-NET ชวงชั้นที่สอดคลองครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดสําคัญ เพือ่ สะทอนประสิทธิภาพของครูผสู อนในการออกแบบการเรียนรูแ ละประกันคุณภาพผูเ รียนทีต่ รวจสอบผลไดชดั เจน การจัดการเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ตองใหผูเรียนไดสั่งสมความรู ความเขาใจตามลําดับขั้นตอน ของกิจกรรมในวัฏจักรการเรียนรู 5Es เพื่อใหผูเรียนไดเติมเต็มองคความรูอยางตอเนื่อง จนสามารถปฏิบัติชิ้นงานหรือ ภาระงานรวบยอดของแตละหนวย ผานเกณฑประกันคุณภาพในระดับที่นาพึงพอใจ เพื่อรองรับการประเมินภายนอกจาก สมศ. ตลอดเวลา คูม อื ครู


ASEAN การเรียนรูสูประชาคมอาเซียน เพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรูบูรณาการอาเซียนศึกษา ผูจัดทําไดวิเคราะห มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดที่มีสาระการเรียนรูสอดคลองกับองคความรูเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนในแงมุมตางๆ ครอบคลุมทัง้ ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน เพื่อสงเสริมการเรียนรูใหผูเรียนเกิดความตระหนัก มีความรูความเขาใจเหมาะสมกับระดับชั้นและกลุมสาระ การเรียนรู โดยเสนอแนะวิธีการจัดกิจกรรมบูรณาการเนื้อหาสาระตางๆ ที่เปนประโยชนตอผูเรียนและเปนการชวย เตรียมความพรอมผูเ รียนทุกคนทีจ่ ะกาวเขาสูก ารเปนสมาชิกของประชาคมอาเซียนไดอยางมัน่ ใจตามขอตกลงปฏิญญา เสร�ม ชะอํา-หัวหิน วาดวยความรวมมือดานการศึกษาเพือ่ บรรลุเปาหมายประชาคมอาเซียนทีเ่ อือ้ อาทรและแบงปน จึงกําหนด 7 เปนนโยบายใหกระทรวงศึกษาธิการจัดการเรียนรูเตรียมความพรอมผูเรียนเขาสูประชาคมอาเซียนภายในป พ.ศ. 2558 ตามแนวปฏิบัติที่สําคัญ ดังนี้

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน 1. การสรางความรูความเขาใจ และตระหนักถึงความสําคัญของ กฎบัตรอาเซียน และความรวมมือ ของ 3 เสาหลัก ซึง่ กฎบัตรอาเซียน ในขณะนี้มีสถานะเปนกฎหมายที่ ประเทศสมาชิกจะตองปฏิบัติตาม หลักการที่กําหนดไวเพื่อใหบรรลุ เปาหมายของกฎบัตรมาตราตางๆ

2. การสงเสริมหลักการ ประชาธิปไตยและการสราง สิ่งแวดลอมประชาธิปไตย เพื่อการอยูรวมกันอยางกลมกลืน ภายใตวิถีชีวิตอาเซียนที่มีความ หลากหลายดานสังคมและ วัฒนธรรม

4. การตระหนักในคุณคาของ สายสัมพันธทางประวัติศาสตร และมรดกทางวัฒนธรรมที่มี พัฒนาการรวมกัน เพื่อเชื่อม อัตลักษณและสรางจิตสํานึก ในการเปนประชากรของประชาคม อาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการศึกษาดาน สิทธิมนุษยชน เพื่อสรางประชาคม อาเซียนใหเปนประชาคมเพื่อ ประชาชนอยางแทจริง สามารถ อยูรวมกันไดบนพื้นฐานการเคารพ ในคุณคาของศักดิ์ศรีแหงความ เปนมนุษยเทาเทียมกัน

5. การสงเสริมสันติภาพ ความ มั่นคง และความปรองดองในสังคม ทั้งระดับประเทศและภูมิภาคของ อาเซียนบนพื้นฐานสันติวิธีและการ อยูรวมกันดวยขันติธรรม

คูม อื ครู


การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

เสร�ม

8

1. การพัฒนาทักษะการทํางาน เพื่อเสริมสรางผูเรียนใหมีทักษะ วิชาชีพที่จําเปนสอดคลองกับ ความตองการของตลาดแรงงาน และสถานประกอบการในอาเซียน สามารถเทียบโอนผลการเรียน และการทํางานตามมาตรฐานฝมือ แรงงานในภูมิภาคอาเซียน

2. การเสริมสรางวินัย ความรับผิดชอบ และเจตคติรักการทํางาน สามารถพึ่งพาตนเอง มีทักษะชีวิต ดํารงชีวิตอยางมีความสุข เห็นคุณคา และภูมิใจในตนเอง ในฐานะที่เปนพลเมืองไทยและ อาเซียน

3. การเรียนรูเพื่อพัฒนาตนเอง อยางตอเนื่องตลอดชีวิต ใหมี ทักษะการทํางานตามมาตรฐาน อาชีพ และคุณวุฒิของวิชาชีพสาขา ตางๆ เพื่อรองรับการเตรียมเคลื่อน ยายแรงงานมีฝมือและการเปน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่ เขมแข็ง เพื่อสรางขีดความสามารถ ในการแขงขันในเวทีโลก

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 1. การเสริมสรางความรวมมือ ในลักษณะสังคมที่เอื้ออาทร ของประชากรอาเซียน โดยยึด หลักการสําคัญ คือ ความงดงาม ของประชาคมอาเซียนมาจาก ความแตกตางและหลากหลายทาง วัฒนธรรมที่ลวนแตมีคุณคาตอ มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน ซึ่งประชาชนทุกคนตองอนุรักษ สืบสานใหยั่งยืน

2. การเสริมสรางคุณลักษณะ ของผูเรียนใหเปนพลเมืองอาเซียน ที่มีศักยภาพในการกาวเขาสู ประชาคมอาเซียนอยางมั่นใจ เปนผูที่มีสุขภาพสมบูรณแข็งแรง มีทักษะการสื่อสาร ทักษะการ ทํางาน ทักษะทางสังคม สามารถ ทํางานรวมกับผูอื่นไดอยาง สรางสรรค และมีองคความรู เกี่ยวกับอาเซียนที่จําเปนตอการ ดํารงชีวิตอยางมีคุณภาพ

4. การสงเสริมการเรียนรูดาน ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี วิถชี วี ติ ความเปนอยูข องเพือ่ นบาน ในอาเซียน เพื่อสรางจิตสํานึกของ ความเปนประชาคมอาเซียนและ ตระหนักถึงหนาที่ของการเปน พลเมืองอาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการเรียนรูภาษา อังกฤษเพื่อการสื่อสารและการ ทํางานตามมาตรฐานอาชีพที่ กําหนดและสนับสนุนการเรียนรู ภาษาอาเซียนและภาษาเพื่อนบาน เพื่อชวยเสริมสรางสัมพันธภาพทาง สังคม และการอยูรวมกันอยางสันติ ทามกลางความหลากหลายทาง วัฒนธรรม

5. การสรางความรูและความ ตระหนักเกี่ยวกับดานสิ่งแวดลอม ปญหาและผลกระทบตอคุณภาพ ชีวิตของประชากรในภูมิภาค รวมทั้งแนวทางการพัฒนาอยาง ยั่งยืน ใหเปนมรดกสืบทอดแก พลเมืองอาเซียนในรุนหลังตอๆ ไป

กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศนโยบายการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) เพื่อเรงพัฒนาเด็ก และเยาวชนไทยใหเปนทรัพยากรมนุษยของชาติที่มีทักษะและความชํานาญ พรอมเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงและ การแขงขันทั้งในภูมิภาคอาเซียนและภูมิภาคอื่นๆ ของสังคมโลก ทั้งนี้ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และผูปกครอง ควรรวมมือกันอยางใกลชดิ ในการดูแลชวยเหลือผูเ รียนและจัดประสบการณการเรียนรูเ พือ่ พัฒนาผูเ รียนจนเต็มศักยภาพ เพื่อกาวเขาสูการเปนพลเมืองอาเซียนอยางมีเกียรติภูมิและศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของตน คูม อื ครู

คณะผูจัดทํา


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 5

ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม (ชั้น ม.4-6)*

วรรณคดีและวรรณกรรม

มาตรฐาน ท 5.1 เขาใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยางเห็นคุณคาและนํามาประยุกต ใชในชีวิตจริง ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ม.4

ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4-6 ม.5

ม.6

1. วิเคราะหและ • หลักการวิเคราะหและ วิจารณวรรณคดีและ วิจารณวรรณคดีและ วรรณกรรมตามหลัก วรรณกรรมเบื้องตน การวิจารณเบื้องตน - จุดมุงหมายการแตง วรรณคดีและวรรณกรรม - การพิจารณารูปแบบของ วรรณคดีและวรรณกรรม - การพิจารณาเนื้อหาและ กลวิธีในวรรณคดีและ วรรณกรรม - การวิเคราะหและการ วิจารณวรรณคดีและ วรรณกรรม

• หนวยการเรียนรูที่ 1 คํานมัสการคุณานุคุณ • หนวยการเรียนรูที่ 2 อิเหนา ตอน ศึกกะหมังกุหนิง • หนวยการเรียนรูที่ 3 นิทานเวตาล เรือ่ งที่ 10 • หนวยการเรียนรูที่ 4 นิราศนรินทรคําโคลง • หนวยการเรียนรูที่ 5 หัวใจชายหนุม • หนวยการเรียนรูที่ 6 ทุกขของชาวนาในบท กวี • หนวยการเรียนรูที่ 7 มงคลสูตรคําฉันท • หนวยการเรียนรูที่ 8 มหาชาติหรือมหา เวสสันดรชาดก

• หนวยการเรียนรูที่ 1 มหาเวสสันดร กัณฑมัทรี • หนวยการเรียนรูที่ 2 บทละครพูดคําฉันท เรื่อง มัทนะพาธา • หนวยการเรียนรูที่ 3 ลิลิตตะเลงพาย • หนวยการเรียนรูที่ 4 คัมภีรฉันทศาสตร แพทยศาสตรสงเคราะห • หนวยการเรียนรูที่ 5 โคลนติดลอ ตอน ความนิยมเปนเสมียน

• หนวยการเรียนรูที่ 1 เสภาเรื่องขุนชาง ขุนแผน ตอน ขุนชาง ถวายฎีกา • หนวยการเรียนรูที่ 2 สามกก ตอน กวนอูไป รับราชการกับโจโฉ • หนวยการเรียนรูที่ 3 กาพยเหเรือ • หนวยการเรียนรูที่ 4 สามัคคีเภทคําฉันท • หนวยการเรียนรูที่ 5 ไตรภูมิพระรวง ตอน มนุสสภูมิ

2. วิเคราะหลักษณะ เดนของวรรณคดี เชื่อมโยงกับการ เรียนรูทาง ประวัติศาสตรและ วิถีชีวิตของสังคม ในอดีต

• หนวยการเรียนรูที่ 2 อิเหนา ตอน ศึกกะหมังกุหนิง • หนวยการเรียนรูที่ 4 นิราศนรินทรคําโคลง • หนวยการเรียนรูที่ 5 หัวใจชายหนุม • หนวยการเรียนรูที่ 7 มงคลสูตรคําฉันท • หนวยการเรียนรูที่ 8 มหาชาติหรือ มหาเวสสันดรชาดก

• หนวยการเรียนรูที่ 1 มหาเวสสันดร กัณฑมัทรี • หนวยการเรียนรูที่ 3 ลิลิตตะเลงพาย • หนวยการเรียนรูที่ 4 คัมภีรฉันทศาสตร แพทยศาสตรสงเคราะห • หนวยการเรียนรูที่ 5 โคลนติดลอ ตอน ความนิยมเปนเสมียน

• หนวยการเรียนรูที่ 1 เสภาเรื่องขุนชาง ขุนแผน ตอน ขุนชางถวายฎีกา • หนวยการเรียนรูที่ 2 สามกก ตอน กวนอูไป รับราชการกับโจโฉ • หนวยการเรียนรูที่ 3 กาพยเหเรือ • หนวยการเรียนรูที่ 4 สามัคคีเภทคําฉันท • หนวยการเรียนรูที่ 5 ไตรภูมิพระรวง ตอน มนุสสภูมิ

• การวิเคราะหลักษณะ เดนของวรรณคดีและ วรรณกรรมเกี่ยวกับ เหตุการณประวัติศาสตร และวิถีชีวิตของสังคมใน อดีต

เสร�ม

9

_________________________________ * สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย. (กรุงเทพมหานคร : ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 53-59.

หมายเหตุ : สําหรับสาระที่ 1 (การอาน) สาระที่ 2 (การเขียน) สาระที่ 3 (การฟง การดู และการพูด) และสาระที่ 4 (หลักการใชภาษาไทย) จะอยูใ นหนังสือเรียนภาษาไทย หลักภาษาและการใชภาษา ชั้น ม.5 ของ อจท. ซึ่งเปนหนังสือที่จัดทําควบคูกับหนังสือเรียนภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม เลมนี้

คูม อื ครู


ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4-6 ม.5

ม.6

3. วิเคราะหและประเมิน • การวิเคราะหและประเมิน • หนวยการเรียนรูที่ 1 คุณคาดานวรรณศิลป คุณคาวรรณคดีและ คํานมัสการคุณานุคุณ ของวรรณคดีและ วรรณกรรม • หนวยการเรียนรูที่ 2 วรรณกรรมในฐานะ - ดานวรรณศิลป อิเหนา ตอน ที่เปนมรดกทาง - ดานสังคมและวัฒนธรรม ศึกกะหมังกุหนิง วัฒนธรรมของชาติ • หนวยการเรียนรูท ี่ 3 นิทานเวตาล เรือ่ งที่ 10 • หนวยการเรียนรูที่ 4 นิราศนรินทรคําโคลง • หนวยการเรียนรูที่ 5 หัวใจชายหนุม • หนวยการเรียนรูที่ 6 ทุกขของชาวนาในบทกวี • หนวยการเรียนรูที่ 7 มงคลสูตรคําฉันท • หนวยการเรียนรูที่ 8 มหาชาติหรือ มหาเวสสันดรชาดก

• หนวยการเรียนรูที่ 1 มหาเวสสันดร กัณฑมัทรี • หนวยการเรียนรูที่ 2 บทละครพูดคําฉันท เรื่อง มัทนะพาธา • หนวยการเรียนรูที่ 3 ลิลิตตะเลงพาย • หนวยการเรียนรูที่ 4 คัมภีรฉันทศาสตร แพทยศาสตรสงเคราะห • หนวยการเรียนรูที่ 5 โคลนติดลอ ตอน ความนิยมเปนเสมียน

• หนวยการเรียนรูที่ 1 เสภาเรื่องขุนชาง ขุนแผน ตอน ขุนชางถวายฎีกา • หนวยการเรียนรูที่ 2 สามกก ตอน กวนอูไป รับราชการกับโจโฉ • หนวยการเรียนรูที่ 3 กาพยเหเรือ • หนวยการเรียนรูที่ 4 สามัคคีเภทคําฉันท • หนวยการเรียนรูที่ 5 ไตรภูมิพระรวง ตอน มนุสสภูมิ

4. สังเคราะหขอคิด • การสังเคราะหวรรณคดีและ • หนวยการเรียนรูที่ 1 จากวรรณคดีและ วรรณกรรม คํานมัสการคุณานุคุณ วรรณกรรม เพื่อนํา • หนวยการเรียนรูที่ 2 ไปประยุกตใชในชีวิต อิเหนา ตอน จริง ศึกกะหมังกุหนิง • หนวยการเรียนรูที่ 3 นิทานเวตาล เรือ่ งที่ 10 • หนวยการเรียนรูที่ 5 หัวใจชายหนุม • หนวยการเรียนรูที่ 6 ทุกขของชาวนาในบทกวี • หนวยการเรียนรูที่ 7 มงคลสูตรคําฉันท • หนวยการเรียนรูที่ 8 มหาชาติหรือ มหาเวสสันดรชาดก

• หนวยการเรียนรูที่ 1 มหาเวสสันดร กัณฑมัทรี • หนวยการเรียนรูที่ 2 บทละครพูดคําฉันท เรื่อง มัทนะพาธา • หนวยการเรียนรูที่ 3 ลิลิตตะเลงพาย • หนวยการเรียนรูที่ 4 คัมภีรฉันทศาสตร แพทยศาสตรสงเคราะห • หนวยการเรียนรูที่ 5 โคลนติดลอ ตอน ความนิยมเปนเสมียน

• หนวยการเรียนรูที่ 1 เสภาเรื่องขุนชาง ขุนแผน ตอน ขุนชางถวายฎีกา • หนวยการเรียนรูที่ 2 สามกก ตอน กวนอูไป รับราชการกับโจโฉ • หนวยการเรียนรูที่ 3 กาพยเหเรือ • หนวยการเรียนรูที่ 4 สามัคคีเภทคําฉันท • หนวยการเรียนรูที่ 5 ไตรภูมิพระรวง ตอน มนุสสภูมิ

ตัวชี้วัด

เสร�ม

10

คูม อื ครู

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ม.4

5. รวบรวมวรรณกรรม • วรรณกรรมพื้นบานที่ พื้นบานและอธิบาย แสดงถึง ภูมิปญญาทางภาษา - ภาษากับวัฒนธรรม - ภาษาถิ่น

• หนวยการเรียนรูที่ 8 มหาชาติหรือ มหาเวสสันดรชาดก

6. ทองจําและบอกคุณคา • บทอาขยานและบทรอย บทอาขยานตามที่ กรองที่มีคุณคา กําหนดและบทรอย - บทอาขยานตามที่ กรองที่มีคุณคาตาม กําหนด ความสนใจและนําไป - บทรอยกรองตามความ ใชอางอิง สนใจ

• หนวยการเรียนรูที่ 1 คํานมัสการคุณานุคุณ

• หนวยการเรียนรูที่ 1 เสภาเรื่องขุนชาง ขุนแผน ตอน ขุนชางถวายฎีกา • หนวยการเรียนรูที่ 3 กาพยเหเรือ • หนวยการเรียนรูที่ 1 • หนวยการเรียนรูที่ 1 มหาเวสสันดร เสภาเรื่องขุนชาง กัณฑมัทรี ขุนแผน ตอน • หนวยการเรียนรูที่ 2 ขุนชางถวายฎีกา บทละครพูดคําฉันท • หนวยการเรียนรูท ี่ 3 เรื่อง มัทนะพาธา กาพยเหเรือ • หนวยการเรียนรูที่ 4 คัมภีรฉันทศาสตร แพทยศาสตรสงเคราะห


คําอธิบายรายวิชา รายวิชา วรรณคดีและวรรณกรรม ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 รหัสวิชา ท…………………………………

กลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย ภาคเรียนที่ 1-2 เวลา 60 ชั่วโมง/ป

ฝกทักษะการอาน การเขียน การฟง การดูและการพูด การวิเคราะหและประเมินคาวรรณคดีและวรรณกรรม เสร�ม โดยฝกทักษะเกีย่ วกับการอานออกเสียง ตีความ แปลความ และขยายความ คาดคะเนเหตุการณเรือ่ งทีอ่ า น วิเคราะห 11 วิจารณ แสดงความคิดเห็นโตแยงเกี่ยวกับเรื่องที่อาน และเสนอความคิดใหมอยางมีเหตุผล ฝกทักษะการเขียน บรรยาย เขียนพรรณนา เขียนโนมนาว เขียนโครงการและรายงานการดําเนินโครงการ เขียนรายงานการประชุม ประเมินคุณคางานเขียนในดานตางๆ ฝกทักษะการพูดสรุปแนวคิดและแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่ฟงและดู ประเมินเรื่องที่ฟงและดู และศึกษาเกี่ยวกับระดับของภาษา วิเคราะหวิถีไทย ประเมินคา ความรูและขอคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรม ทองจําบทอาขยานที่กําหนด และบทรอยกรองที่มีคุณคาตามความสนใจ โดยใชกระบวนการอานเพื่อสรางความรูความคิดนําไปใชตัดสินใจ แกปญหาในการดําเนินชีวิต กระบวนการเขียน เขียนสื่อสารอยางมีประสิทธิภาพ กระบวนการฟง การดู และ การพูด สามารถเลือกฟงและดู และพูดแสดงความรูความคิดอยางมีวิจารณญาณและสรางสรรค เพื่อใหเขาใจ ธรรมชาติภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาภูมิปญญาทางภาษา วิเคราะหวิจารณวรรณคดี และวรรณกรรมอยางเห็นคุณคาและนํามาประยุกตใชในชีวติ จริง รักษาภาษาไทยไวเปนสมบัตขิ องชาติ และมีนสิ ยั รักการอาน การเขียน มีมารยาทในการอาน การเขียน การฟงการดู และการพู และก ด ตัวชี้วัด ท 5.1

ม.4-6/1

ม.4-6/2

ม.4-6/3

ม.4-6/4 ม.4-6/5 รวม 6 ตัวชี้วัด

ม.4-6/6

คูม อื ครู


ตาราง

วิเคราะหมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด รายวิชา ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ม.5

คําชี้แจง : ใหผูสอนใชตารางนี้ตรวจสอบความสอดคลองของเนื้อหาสาระการเรียนรูในหนวยการเรียนรูกับมาตรฐาน การเรียนรูและตัวชี้วัดชั้นป

หนวยการเรียนรู

1

สาระที่ 5 มาตรฐาน ท 5.1 ตัวชี้วัด 2 3 4 5

หนวยการเรียนรูที่ 1 : มหาเวสสันดรชาดก กัณฑมัทรี

หนวยการเรียนรูที่ 2 : บทละครพูดคําฉันท เรื่อง มัทธะพาธา

หนวยการเรียนรูที่ 3 : ลิลิตตะเลงพาย

หนวยการเรียนรูที่ 4 : คัมภีรฉันทศาสตร แพทยศาสตรสงเคราะห

หนวยการเรียนรูที่ 5 : โคลนติดลอ ตอน ความนิยมเปนเสมียน

มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด

เสร�ม

12

คูม อื ครู

6


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹

ภาษาไทย

วรรณคดีและวรรณกรรม ม.๕ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๕

กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

ผูเรียบเรียง

นายภาสกร เกิดออน นางสาวระวีวรรณ อินทรประพันธ นางฟองจันทร สุขยิ่ง นางกัลยา สหชาติโกสีย

ผูตรวจ

นางเกื้อกมล พฤกษประมูล นางสาวโสภิต พิทักษ นายศักดิ์ แวววิริยะ

บรรณาธิการ

นายเอกรินทร สี่มหาศาล พิมพครั้งที่ ๖

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ ISBN : 978-616-203-138-0 รหัสสินคา ๓๕๑๑๐๐๔

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè 1 ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ 3541010

คณะผูจัดทําคูมือครู

ประนอม พงษเผือก พิมพรรณ เพ็ญศิริ สมปอง ประทีปชวง


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

¤íÒá¹Ð¹íÒ㹡ÒÃ㪌 ¤íÒ˹í¹ÑÒ §Ê×ÍàÃÕ¹

หนังสือเรียน วรรณคดีและวรรณกรรมเลมนี้ เปนสื่อสําหรับใชประกอบการเรียนการสอนรายวิชา กสูตชัรแกนกลางการศึ พื้นฐาน กลุมสาระการเรียนรูตามหลั ภาษาไทย ้นมัธยมศึกษาปทกี่ ๕ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ไดกําหนดให ภาษาไทย ซึ่งเปนภาษาประจํ าชาติ เป้นนพืรายวิ ชาพือ้นาฐานที ่ผูเรียนทุากใจง คนต เพื่อพัฒแนา เนื้อหาตรงตามสาระการเรี ยนรูแกนกลางขั ้นฐาน นทําความเข ายองเรี ใหทยนั้งความรู ละ ศักยภาพของผู เรียวนให ภาษาไทยได งถูวกยการเรี ตองตามหลั ภาษาไทยางรายวิ และเกิชดา ชวยพัฒนาผูเรียนตามหลั กสูตรและตั ชี้วัดสามารถใช เนื้อหาสาระแบ งออกเปอยนาหน ยนรูตกามโครงสร สะดวกแกการจัดการเรี ผลประเมิ นผล พรอมเสริมองคประกอบอื่นๆ ที่จะชวยทําให ความรูยนการสอนและการวั ความเขาใจในเอกลักดษณ ทางภาษาของชาติ ผูเรียนไดรับความรูอยางมีประสิ ทธิภาพ นเอกลักษณของชาติ เปนสมบัติทางวัฒนธรรมอันทําใหเกิดเอกภาพ ภาษาไทยเป และเปนเครื่องมือที่ใชในการติดตอสื่อสารเพื่อสรางความเข าใจและความสัมพันธอันดี »¡Ô³¡Ð ໚¹¤ÇÒÁÃÙŒà¾ÔèÁàµÔÁ¨Ò¡à¹×éÍËÒâ´ÂÁÕ Design ˹ŒÒẺãËÁ‹ ÊǧÒÁ ¾ÔÁ¾ ô ÊÕ ÃÐÂÐæ µÅÍ´·Ñé§àÅ‹Á นอกจากนี ้ ภาษาไทยยั งเปนÒã¨ä´Œ เครื§‹Ò่อÂงมือสําคัญá·Ã¡à»š ที่ชว¹ยในการแสวงหาความรู  µÅÍ´àÅ‹ Á ª‹ÇÂãˌ͋ҹ·íÒ¤ÇÒÁࢌ ทั้งจากหนังสือและแหลงขอมูลสารสนเทศตางๆ ทั้งนี้ ผูเรียนจะตองมีความรูความเขาใจ และเลือกสรรใชภาษาไทยที่ถูกตอง เพื่อธํารงไวซึ่งเอกภาพของชาติไทยและสามารถนําไป ใชพัฒนาทักษะอาชีพตางๆ เพื่อประโยชนของตนเองและสังคม

¨Ñ´¡ÅØ‹Áà¹×éÍËÒ໚¹Ë¹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ µÒÁµÑǪÕéÇÑ´ áÅÐÊÒÃСÒÃàÃÕÂของคนในชาติ ¹Ãٌ᡹¡ÅÒ§ Êдǡᡋ¡ÒèѴ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ

๒. ประวัติผู้แต่ง

ปกิณกะ

อ เจ้าพระยา ผูแ้ ต่งเรือ่ งมหาเวสสนั ดรชาดก กณั ฑ์มทั รี คื กรมท่า เดิม พระคลัง นามเดิมว่า หน เป็นเสนาบดีจตุสดมภ์ คราม ราชการสง น เนิ า � พระราชด จ ด็ เป็นหลวงสรวิชิต เคยตามเส ทู่ กี่ รุงธนบุรี ในสมัยรัชกาลที ่ ๑ เมือ่ ครัง้ หลวงสรวิชติ รับราชการอย ยงหนังสือ บเรี ย ในการเรี ื อ ม พาะฝี าก โดยเฉ วามชอบม ค มีความดี รัชกาลที่ ๑ จึงโปรดให้ตั้งเป็นพระยาพิพัฒโกษา รัชกาลที่ ๑ ต่อมา ต�าแหน่งเจ้าพระยาพระคลังว่างลง นเจ้าพระยาจึงโปรดเกล้าฯ แต่งตั้งพระยาพิพัฒโกษาขึ้นเป็ นตกวี และอีก พระคลัง (หน) มีบุตรชาย ๒ คน คนหนึ่งเป็นจิ าช ผลงานเรื่องหนึ่ง เจ้าจอมมารดาา ราชาธิารพระยาพระคล ัง (หน) คนหนึง่ เป็นครูพณิ พาทย์ ส่วนบุตรหญิงคนหนึง่ คืคือ ของเจ้ ธอ กรมพระยา เป็นเจ้าจอมมารดาสมเด็จพระบรมวงศ์เธอ นิ่ม เป็ เดชาดิศร ในรัชกาลที่ ๒ ๒๓๔๘ ในสมัยรัชกาลที่ ๑ พ.ศ. ๒๓๔๘ กรรม เมื่อปีฉลู พ.ศ. เจ้าพระยาพระคลัง (หน) ถึถึงแก่อสัญกรรม ดรชาดก ได้แก่ มหาชาติกลอนเทศน์หรือเวสสันดรชาดก แต่ง่ ที่สา� คัญ ได้ หนังสือที่เจ้าพระยาพระคลัง (หน) แต ับได้ว่าแต่งได้ดีเยี่ยมไม่มีส�านวนของผู้ใดสู้ได้ กัณฑ์กุมารและกัณฑ์มัทรี โดยทั้งสองกัณฑ์นี้น ังก็ยังเว้นกัณฑ์ทั้งสองนี้ ในภายหล ง ่ นวนหนึ า ส� ก อี น ้ ึ ข นธ์ พ รงนิ ท แม้กรมพระปรมานุชิตชิโนรสจะได้ เพราะของเดิมดีเยี่ยมอยู่แล้ว

การเทศน์มหาชาติ จากพระนิพนธ์เรื่องพระมาลัยค�า หลวง ของเจ้าฟ้าธรรมาธิเบศร พระศรีอาริยเมตไตรยได้ให้ พระมาลัยมาบอกแก่ชาวโลกว่า “ให้ท�ามหาชาติเนืองนันต์ เครื่อ งสิ่งละพัน จงบูชาให้จบทิวานั้น ตั้งประทีปพันบูชาดอกปทุม ถ้วนพัน...” ท�าให้เกิดความเชื่อว่า การฟังเทศน์ มหาชาติให้จบในวันเดียวจะได้บ ในยุคของพระศรีอาริยเมตไตรย ุญมาก และจะได้ไปเกิด การเทศน์มหาชาตินิยมท�ากันหลั งออกพรรษา เลยหน้ากฐินไปแล้ เดือนอ้าย ว ระหว่างเดือน ๑๒ ถึง การเทศน์มหาชาติมีอยู่ทั้งหมด ๑๓ กัณฑ์ เป็นเรื่องราวเกี่ยวกั พระชาติสุดท้ายของพระโพธิสัต บพระเวสสันดร อันเป็น ว์ก่อนที่จะมาประสูติเป็นเจ้าชายสิ ทธัตถะ และตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ในการเทศน์มหาชาติ จึงนิยมจัดตกแต่งสถานที่บริเวณพิ ธีให้มีบรรยากาศคล้ายอยู่ในป่า ตามท้องเรื่องเวสสันดรชาดก อุ บาสกอุบาสิกามักจะรับเป็นเจ้าของกั ณ ฑ์ เ ทศน์คนละ ๑ กัณฑ์ และจัด ชุดเครื่องบูชาตามจ�านวนพระคาถาใน กัณฑ์นั้นๆ ดังนี้ ๑. กัณฑ์ทศพร ศพร ๑๙ พระคาถา ๘. กัณฑ์กุมาร ๑๐๑ พระคาถา ๒. กัณฑ์หิมพานต์ ๑๓๔ พ ๑๓๔ พระคาถ ระคาถาา ๙. กัณฑ์มัทรี ๙๐ พระคาถา ๓. ทานกัณฑ์ ๒๐๙ พ ๒๐๙ พระคาถ ระคาถาา ๑๐. กัณฑ์สักกบรรพ ๔๓ พระคาถา ๔. กัณฑ์วนประเวศศ ๕๗ พ ๕๗ พระคาถ ระคาถาา ๑๑. กัณฑ์มหาราช ๖ หาราช ๙ พระคาถา ๕. กัณฑ์ชูชกก ๗๙ พ ๗๙ พระคาถ ระคาถาา ๑๒. กัณฑ์ฉกษัตริย์ ๓๖ พระคาถา ๖. กัณฑ์จุลพน พน ๓๕ ๓๕ พระคา พระคาถถา า ๑๓. นครกัณฑ์ ๔๘ พระคาถา ๗. กัณฑ์มหาพน หาพน ๘ ๘๐๐ พระค พระคาถ าถาา

สํ า หรั บ หนั ง สื อ เรี ย น รายวิ ช าพื้ น ฐาน ภาษาไทย ชั้ น มั ธ ยมศึ ก ษาป ที่ ๕ นี้ ทางคณะผูเรียบเรียงไดแบงเนื้อหาออกเปน ๒ เลม ไดแก หลักภาษาและการใชภาษา ๑ เลม บทละครพด ู ค�ำฉันท์ เรือ ่ ง มัทนะพำธำ ๒ และวรรณคดีและวรรณกรรม ๑ เลม

หนวยการเรียนรูที่ ตัวชี้วัด

ท ๕.๑ ม.๔-๖/๑, ๓, ๔, ๖

มัทนะพาธา เป็นบทพระรำชนพิ นธ์ในพระบำท สมเด็จพระมงกุฎเกล้ำเจ้ำอยู่หัว แสดงให้เห็นถึ ง พระปรีชำสำมำรถของพระองคใ์ นด้ำนอักษรศำสตร์ ซึ่งบทละครเรื่องนี้ได้รับกำรยกย่องจำกวรรณคดี สโมสรว่ำเป็นยอดของบทละครพูดค�ำฉันท์ ด้ว ย ควำมไพเรำะของกำรเลือกใช้ถ้อยค�ำที่สื่ออำรมณ์ ควำมรู้สึกของตัวละครได้อย่ำงดีเยี่ยม ตลอดจนมี กำรวำงโครงเรื่องที่ชวนให้ติดตำม ทั้งยังสอดแทรก คติสอนใจในเรื่องควำมรักได้อย่ำงซำบซึ้งกิน ใจ อีกด้วย

ลักษณะคำ�ประพันธ์ ๓. ลั ๓.

หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรมนี้ มีเนื้อหา มุง เนนใหผเู รียนไดศกึ ษาวรรณคดีและวรรณกรรม ซึง่ ถือเปนสมบัตอิ นั ลํา้ คาทางภาษาของไทย ดวยหวังเปนอยางยิ่งวา คุณคาดานตางๆ ในวรรณคดีและวรรณกรรม จะชวยสงเสริม และกระตุ ¤Ãº¶ŒÇ¹´ŒÇÂà¹×Íé ËÒ áÅÐá¹Ç·Ò§¡ÒÃÇÔ à¤ÃÒÐË นใหผูเรียนรูจักใชกระบวนการคิดวิเคราะห การวิจารณ และเขาถึงครรลองแหง ÇÃó¤´Õ à¾×Íè ໚¹á¹Ç·Ò§ã¹¡ÒÃÇÔà¤ÃÒÐË áÅÐ รสวรรณคดีและวรรณกรรม สามารถสังเคราะหแนวคิดของกวี เรียนรูวิถีไทยและนําไป »ÃÐàÁÔ¹¤‹ÒÇÃó¤´ÕáÅÐÇÃó¡ÃÃÁ ¤íÒ¶ÒÁ»ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒáÅСԨ¡ÃÃÁÊÌҧÊÃä ประยุกตใชในชีวิตประจําวันไดเปนอยางดี ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙàŒ ¾×Íè ¾Ñ²¹Ò¼ÙàŒ ÃÕ¹ãËŒÁ¤Õ ³ Ø ÀÒ¾µÒÁµÑǪÕÇé ´Ñ สาระการเรียนรู้แกนกลาง

• กำรวิ เ ครำะห์ แ ละประเมิ น คุ ณ ค่ ำ วรรณคดี แ ละ วรรณกรรม บทละครพูดคําฉันท เรื่อง มัทนะพำธำ

์ มีลักษณะค�าประพันธ์เป็นร่ายยาวที่มี มหาเวสสันดรชาดกที่เป็นมหาชาติกลอนเทศน คาถาบาลีน�า และแต่ล่ ะวรรค ไป และแต วรรคขึ้นึ ไป อตั้งแต่ ๕๕ วรรคข มคื ย ิ น ่ ี ท แต่ ร่ายยาว บทหนึ่งไม่จา� กัดจ�านวนวรรค แต่ ซึ่งค�าสุดท้ายของวรรคหน้าจะส่งสัมผัสไป ๕ ค�าา ซึ แต่ไม่ควรน้อยกว่า ๕ ค� ก็ไม่จา� กัดจ�านวนค�าเช่นกัน แต่ ฉะนี้ เช่น ฉะนี าสร้อยย เช่ ย” (ค� ย”  (ค� อ สร้ า “ค� ย ย “ค� ว บลงด้ และอาจจ ยของวรรค า ท้ วรรคหลังค�าใดก็ได้ แต่เว้นค�าสุด แล ด้วยประการฉะนี้ เป็นต้น)) แล แล้วแล ด้ ดังนี้ นั้นเกิด นันั้นแล แล้ ยยาว า งร่ า แผนผังและตัวอย่ (คาถา)

๗.๑ คุณค่าด้านเนื้อหา

๑) รูปแบบ ลิลิตตะเลงพ่ายแต่งเป็นลิลิตสุภาพ ประกอบด้

๒) องค์ประกอบของเรื่อง

กียรติสมเด็จ๒.๑) สาระ แก่นส�าคัญของลิลิตตะเลงพ่าย คือ การยอพระเ ธหัตถีกับ �าสงครามยุท พระนเรศวรมหาราชในด้านพระปรีชาสามารถทางการรบ โดยการกระท ปรีชาสามารถทาง นอกจากพระ พระมหาอุปราชาแห่งกรุงหงสาวดีและได้รับชัยชนะอย่างงดงาม งและพระจริยวัตรอันกอปรด้วย การรบแล้ว ผู้แต่งยังได้เน้นพระปรีชาสามารถในด้านการปกครอ ๑๒ ประการ กรวรรดิ ทศพิธราชธรรม ๑๐ ประการ สังคหวัตถุ ๕ ประการ และพระจั มเด็จพระนเรศวร๒.๒) โครงเรือ่ ง ลิลติ ตะเลงพ่ายเป็นวรรณคดีเฉลิมพระเกียรติส ามาจากประวัติศาสตร์ ซึ่ง มหาราช ซึ่งสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรสทรงน�เพื่อมิให้เนื้อเรื่องแห้งแล้ง แต่ ถี ต ธหั ท สงครามยุ า งการท� อ ่ งเรื ย พี เ หาไว้ อ ้ มีขอบเขตก�าหนดเนื เนื้อหาที่ส�าคัญเป็นหลักของเรื่อง ขาดชีวิตชีวาจึงทรงเพิ่มเติมเรื่องที่ไม่ใช่การสงครามเข้าไป ได้แก่ การท�าสงคราม การต่อสู้ “ตะเลงพ่าย” คือการด�าเนินความตามเค้าเรื่องในพงศาวดาร าราพิชัยสงครามและโบราณ ไปตามต� น เป็ ง ่ ซึ งๆ า ดต่ ย ี และรายละเอ พ ทั ด การจั ถี ต ธหั ท แบบยุ มเรื่อง คือ บทประพันธ์ที่เป็น นเสริ ว ส่ ม เติ ม ่ นเพิ ว ส่ น ป็ เ ่ หาที อ ้ ราชประเพณีทุกอย่าง ส�าหรับเนื งนางผูเ้ ป็นทีร่ กั โดยผ่านบทบาท ลักษณะนิราศ ซึง่ พรรณนาเกีย่ วกับการเดินทางและการคร�า่ ครวญถึ ของพระมหาอุปราชา ๒.๓) ตัวละคร สมเด็จพระนเรศวร นักปกครอง (๑) มีควำมเป็นนักปกครองที่ดี สมเด็จพระนเรศวรทรงเป็น จะมีพระทัยฝักใฝ่ในการสู้รบ ที่ฟังความคิดเห็นจากเหล่าขุนนาง ไม่เผด็จการ ถึงแม้ว่าพระองค์ ่อแก้แค้นเขมรที่มักมาตี ขมรเพื เ จะไปตี า ่ ทรงปรารภว ๆ ดังเช่นตอนที่เสด็จขึ้นครองราชย์ใหม่ ก็ทรงหารือกับเหล่าขุนนางว่าควรจะ ซ�้าเติมไทย ได้สั่งให้เตรียมทัพ แต่พอรู้ข่าวศึกมอญ พระองค์ นางด้วย ดังบทประพันธ์ตอ่ ไปนี ้ สูศ้ กึ ในเมืองหรือนอกเมือง ทรงรับฟังความคิดเห็นของเหล่าขุน http://www.aksorn.com/LC/Thai_Lit/M5/07

การจัดบรรยากาศให้เหมือนป่าในการเท

ศน์มหาชาติ

กวิมานมาศ ท้าวเธอก็ชื่นบานบริสุทธิ์ด้วยปิยบุตรมิ่งมกุฎทานอันพิเศษ ฝ่ายฝูงอมรเทเวศทุ การสรรเสริญเจริญ มนเทียรทุกหมู่ไม้ ก็ยิ้มแย้มพระโอษฐ์ตบพระหัตถ์อยู่ฉาดฉาน ร้องสาธุ พย าโปรยปรายทิ ม ก็ วรรค์ ส ส์ ง ทานบารมี ทั้งสมเด็จอมรินทร์เจ้าฟ้าสุราลัย อันเป็นใหญ่ในดาวดึ การบูชา แก่สมเด็จนาง บุปผากรอง ทั้งพวงแก้วและพวงทองก็โรยร่วงจากกลีบเมฆกระทําสัก ป็น เ ้ ู ผ ดรราชฤๅษี น พระเวสสั ง แห่ ส รสฺ ต นฺ ส เวสฺ พระยามัทรี ท้าวเธอทรงกระทําอนุโมทนาทาน พระภัสดา อิติ เมาะ อิมินา ปกาเรน ด้วยประการดังนี้แล้วแล

คณะผูเรียบเรียงจึงมีความมั่นใจวา สถานศึกษาที่เลือกใชหนังสือเรียนชุดนี้ จะพัฒนาคุณภาพและคุณลักษณะที่พึงประสงคของผูเรียนไดตามมาตรฐานการเรียนรูของ หลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔-๖ ทุกประการ

วยร่ายสุภาพและโคลง าพสลับกันตามความเหมาะสมของ สุภาพ ได้แก่ โคลงสองสุภาพ โคลงสามสุภาพและโคลงสี่สุภ นวรรณกรรมเฉลิมพระเกียรติที่ เนื้อหา ลิลิตตะเลงพ่ายเป็นวรรณคดีแนวประวัติศาสตร์และเป็ ประพันธ์ประเภทร่ายสุภาพ อกใช้คา� มุง่ สดุดวี รี กรรมของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช การทผี่ แู้ ต่งเลื เพราะค�าประพันธ์ทั้งสองประเภทนี้ และโคลงสุภาพในงานประพันธ์ จึงนับว่าเหมาะสมอย่างยิ่ง นิยมใช้ในการพรรณนาเรื่องราวที่สูงส่ง ศักดิ์สิทธิ์

โยม

40

16

๗. บทวิเคร�ะห์

พระสงฆ์รับประเคนจตุปัจจัยจากญาติ

(นั้นแล)

EB GUIDE

Web Guide á¹Ð¹íÒáËÅ‹§¤Œ¹¤ÇŒÒ¢ŒÍÁÙÅ à¾ÔèÁàµÔÁ¼‹Ò¹Ãкº Online

123

มทฺทิปพฺพํ นิฏฺิตํ ประดับด้วยพระคาถา ๙๐ พระคาถา

สรรพ์สาระ

ค�าถามประจ�าหน่วยการเรียนรู้

๑. บทความเรื่อง โคลนติดล้อ ตอน ความนิยมเป็นเสมียน มีแนวคิดส�าคัญอย่างไร ๒. ความส�าคัญของเกษตรกรส�าหรับประเทศเกษตรกรรมอย่างประเทศไทยมีอะไรบ้าง จงอธิบาย ๓. ข้อคิดใดจากบทความเรื่อง โคลนติดล้อ ตอน ความนิยมเป็นเสมียน ที่นักเรียน สามารถน�าไปเป็นข้อเตือนใจในการใช้ชีวิตได้ จงอธิบาย - ด�ารงชีวิต - ด�าเนินชีวิต - ประกอบอาชีพ หลังจากจบการศึกษาแล้ว

ประเภทของชาดก

ชาดกมี ๒ ประเภท คือ ๑. นิบาตชาดก เป็นชาดกที่มาจากพุทธวัจนะ มีปรากฏในพระไตรปิฎก ๕๔๗ เรื่อง คนทั่วไปนิยม เรียกว่า พระเจ้า ๕๐๐ ชาติ พระพุทธเจ้าจะทรงเล่า นิบาตชาดกก็ต่อเมื่อมีผู้อาราธนา คือมีผู้มาขอร้องให้ทรง เล่านั่นเอง ทศชาติหรือสิบชาติสดุ ท้ายของพระโพธิสตั ว์ ก่อนจะประสูติเป็นพระพุทธเจ้า ซึ่งรวมถึงมหาเวสสันดร ภาพจิตรกรรมฝาผนัง ในวัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร ชาดกทีน่ บั เป็นนิบาตชาดกด้วย เพราะพระสาวกทัง้ หลาย ซึ่งเป็นนิบาตชาดกเรื่องหนึ่ง เป็นผูอ้ าราธนาให้พระพุทธเจ้าทรงเล่า เมือ่ ครัง้ ทีฝ่ นโบกขร เรื่องมโหสถชาดก พรรษตกด้วยพุทธบารมีที่วัดนิโครธาราม ่มาจากพุทธวจนะ ๒. ปัญญาสชาดก เป็นชาดกที่ไม่ได้ปรากฏในพระไตรปิฎก ไม่ใช่ชาดกที ตหรือนิทานอิงธรรมะที่เล่า แต่เป็นชาดกที่แต่งขึ้นโดยภิกษุชาวเชียงใหม่ ซึ่งน�าเรื่องมาจากนิทานสุภาษิ ต่อกันมา รวบรวมแต่งไว้เพื่อเป็นข้อคิดสอนใจผู้คน

กิจกรรมสร้างสรรค์พัฒนาการเรียนรู้

ผูเรียบเรียง

๑. เขียนบทความแสดงความคิดเห็นเกีย่ วกับค่านิยมในยุคปัจจุบนั ทีน่ กั เรียนคิดว่าเป็น อุปสรรคต่อการพัฒนาประเทศ พร้อมทั้งเสนอแนะแนวทางแก้ไข ๒. เลือกบทความในตอนอื่นๆ ของเรื่อง โคลนติดล้อ อธิบายว่า เรื่องเหล่านั้นเป็น การสะท้อนข้อคิดอย่างไร และข้อคิดเหล่านั้นยังมีอยู่ในปัจจุบันหรือไม่ ๓. อภิปรายหน้าชั้นเรียนในหัวข้อ “เกษตรกรช่วยชาติ” ๔. ให้นักเรียนเขียน Mind Mapping แสดงข้อคิดจาก “โคลนติดล้อ” ๕. ให้นักเรียนเสนอมุมมองผ่านกระบวนการคิดเกี่ยวกับ “โคลนติดล้อ”

30

ÊÃþ ÊÒÃÐ ÊÒÃÐà¾ÔèÁàµÔÁ¨Ò¡à¹×éÍËÒ

167


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ÊÒúÑÞ หนา บทนํา การอานวรรณคดี หนวยการเรียนรูที่

มหาเวสสันดรชาดก กัณฑมัทรี หนวยการเรียนรูที่

๑ - ๑๓ ๑๔ - ๔๑

บทละครพูดคําฉันท เรื่อง มัทนะพาธา ๔๒ - ๗๓ หนวยการเรียนรูที่

ลิลิตตะเลงพาย หนวยการเรียนรูที่

๓ ๔

คัมภีรฉันทศาสตร แพทยศาสตรสงเคราะห หนวยการเรียนรูที่

๗๔ - ๑๓๗

๑๓๘ - ๑๕๗

โคลนติดลอ ตอน ความนิยมเปนเสมียน

๑๕๘ - ๑๖๗

บทเสริม บทอาขยาน บรรณานุกรม

๑๖๘ - ๑๗๑ ๑๗๒

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate


กระตุน ความสนใจ Engage

กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

Engage

นักเรียนรวมกันพิจารณาภาพหนาตอน จากนั้น ครูสนทนาซักถามกระตุนความสนใจ ดังตอไปนี้ • นักเรียนคิดวา ภาพหนาตอนที่ปรากฏเปน ภาพจากวรรณคดีเรื่องใดบาง (แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น ไดอยางหลากหลายขึ้นอยูกับเหตุผลของ นักเรียน โดยกลาวถึงที่มาของภาพที่ปรากฏ ในหนาตอนวา มาจากวรรณคดีเรื่องตางๆ ดังตอไปนี้ • มหาชาติหรือมหาเวสสันดรชาดก • บทละครพูดคําฉันทเรื่องมัทนะพาธา • ลิลิตตะเลงพาย • คัมภีรฉันทศาสตรแพทยศาสตรสงเคราะห • โคลนติดลอ ตอน ความนิยมเปนเสมียน) • เหตุใดนักเรียนจึงคิดวาภาพที่ปรากฏใน หนาตอนมีที่มาจากวรรณคดีเรื่องดังกลาว นักเรียนมีวิธีการสังเกตอยางไร (แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น ไดอยางหลากหลายขึ้นอยูกับเหตุผล ของนักเรียน) • จากภาพหนาตอน นักเรียนคิดวา วรรณคดีไทย สะทอนสภาพสังคมและวัฒนธรรมไทย หรือไม อยางไร (แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น ไดอยางหลากหลายขึ้นอยูกับเหตุผลของ นักเรียน เปนตนวา สะทอนความเปลี่ยนแปลง ของยุคสมัย โดยวรรณคดีทําหนาที่บันทึก ความเปลี่ยนแปลง)

เกร็ดแนะครู ในการเรียนการสอนวรรณคดีและวรรณกรรมนั้น ครูควรเนนทบทวนความรูเดิม ของนักเรียนเปนหลัก และรวบรวมประเด็นเกี่ยวกับความสนใจของนักเรียนตอการ ศึกษาวรรณคดี เพื่อใหนักเรียนรวมกันแลกเปลี่ยนประสบการณความรูเดิม ครูสามารถนําขอมูลหรือองคความรูดังกลาวของนักเรียนมาใชในการจัดการเรียน การสอน เพื่อตอบสนองความตองการหรือปรับเปลี่ยนทัศนคติของนักเรียนที่มี ตอการศึกษาวรรณคดีไดอยางเหมาะสม เพื่อใหนักเรียนไดเกิดการนําองคความรู จากการเรียนการสอนวรรณคดีไปตอยอดในการศึกษาวรรณคดีเรื่องอื่นๆ รวมถึง เปนการสรางพื้นฐานความเขาใจสภาพสังคมและวัฒนธรรมไทยในอดีต นอกจากนี้ ครูควรพยายามกระตุน ใหนกั เรียนระดมความคิดเกีย่ วกับภาพสะทอน ทางสังคมและวัฒนธรรมไทยที่ปรากฏในวรรณคดี เพื่อใหนักเรียนตระหนักในคุณคา และความสําคัญของวรรณคดีและวรรณกรรมทีเ่ สมือนกระจกสะทอนความเปลีย่ นแปลง ทางสังคมและวัฒนธรรม

ตอนที่ ๕

ÇÃó¤´ÕáÅÐÇÃó¡ÃÃÁ


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

เปาหมายการเรียนรู

1. กระตุนใหนักเรียนรูจักคิดวิเคราะหและวิจารณ วรรณคดีและวรรณกรรมตามหลักการวิจารณ เบื้องตน 2. เขาใจหลักการวิเคราะหลักษณะเดน ของวรรณคดีเชื่อมโยงกับการเรียนรูทาง ประวัติศาสตรและวิถีชีวิตของสังคมในอดีต 3. เขาใจหลักการวิเคราะหและประเมินคุณคา ดานวรรณศิลปของวรรณคดีในฐานะที่เปน มรดกทางวัฒนธรรม 4. เขาใจหลักการสังเคราะหขอคิดจากวรรณคดี และวรรณกรรม เพือ่ นําไปประยุกตใชในชีวติ จริง

บทนํา

¡ÒÃÍ‹Ò¹ÇÃó¤´Õ

0-1

สมรรถนะของผูเรียน 1. 2. 3. 4.

ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแกปญหา ความสามารถในการใชทักษะชีวิต

คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. มีวินัย 2. ใฝเรียนรู 3. มุงมัน่ ในการทํางาน

การอานวรรณคดี เพื่อใหไดรับความรูและความเพลิดเพลินนั้น ผูอานจะตองอาน

อยางพิจารณาไตรตรองอยางถองแท เพือ่ จะไดเขาใจเรือ่ งราวและไดอรรถรสของบทประพันธนนั้ โดยการพิจารณาวาวรรณคดีเรื่องนั้นมีคุณคาและมีความไพเราะงดงามอยางไร การอาน ในลักษณะนี้คือการวิจักษวรรณคดี นอกจากการวิจักษแลว ผูอานวรรณคดีควรนําความรูใน การวิจักษไปตอยอด ใหสามารถวิเคราะหและวิจารณวรรณคดีอยางมีคุณคาได

กระตุน ความสนใจ

Engage

ครูสนทนาซักถามกระตุน ความสนใจ ดังตอไปนี้ • นักเรียนคิดวา การอานวรรณคดีมคี วามเหมือน และความแตกตางจากหนังสือทั่วไปหรือไม อยางไร • จากที่นักเรียนไดศึกษาวรรณคดีในชั้นเรียน ที่ผานมา นักเรียนมีวิธีการอานวรรณคดี อยางไร

เกร็ดแนะครู ครูควรเนนการทบทวนความรูเดิมของนักเรียนเปนหลัก และรวบรวมประเด็น เกี่ยวกับความสนใจของนักเรียนตอการศึกษาวรรณคดี ซึ่งเปนการสรางความเขาใจ พื้นฐานที่มีตอการศึกษาวรรณคดี ครูสามารถจัดการเรียนการสอน เพื่อตอบสนอง ความตองการหรือเพื่อปรับเปลี่ยนทัศนคติของนักเรียนที่มีตอการศึกษาวรรณคดีอยาง เหมาะสม สามารถตอยอดองคความรูแ ละทําความเขาใจวรรณคดีเรือ่ งตางๆ ทีน่ กั เรียน จะไดศึกษาในบทตอไปไดอยางลึกซึ้ง กอใหเกิดความซาบซึ้งและเห็นคุณคาของ วรรณคดีในฐานะมรดกทางวัฒนธรรม รวมถึงเขาใจสภาพสังคมและความนึกคิด ของผูคนและวิถีชีวิตในอดีต ตลอดจนสามารถสังเคราะหขอคิดที่ไดนําไปประยุกต ในการดําเนินชีวิตไดเปนอยางดี การอานวรรณคดีนอกจากจะเปนการทําความเขาใจบทประพันธที่นักเรียนได ศึกษาอยางลึกซึ้งไดแลว นักเรียนยังสามารถนําแนวทางการอานวรรณคดีไปปรับใช ในการศึกษาวิชาอืน่ ๆ รวมถึงความรูค วามเขาใจทีเ่ กิดจากการศึกษาวรรณคดียัง สามารถประยุกตใชในการทําความเขาใจสภาพสังคมและวัฒนธรรมไทยไดอีกดวย คูมือครู

1


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

กระตุน ความสนใจ

Explore

Explore

นักเรียนศึกษาเนื้อหาการอานวรรณคดีจาก แหลงเรียนรูตางๆ

อธิบายความรู

Explain

Explain

นักเรียนรวมกันแสดงความคิดในประเด็นตอไปนี้ • นักเรียนคิดวา วรรณคดีมคี วามสําคัญอยางไร (แนวตอบ วรรณคดีมีความสําคัญในฐานะ ที่เปนมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ สะทอน แนวคิด วิถชี วี ติ สังคม และวัฒนธรรมของชาติ เปนเครื่องเชิดชูอารยธรรม เปนหลักฐาน ทางโบราณคดี ชวยในการรับรูอดีต สงเสริม สุนทรียภาพใหเกิดขึ้นในใจผูอาน เมื่ออาน แลวเกิดความรูสึกรวม ประทับใจ ตลอดจน เสริมสรางความเขาใจโลกและชีวิตใหเกิดขึ้น ในใจของผูอาน) • นักเรียนคิดวา การอานวรรณคดีมจี ดุ มุง หมาย ใดเปนสําคัญ (แนวตอบ นอกจากจะสามารถอานวรรณคดี เพื่อความบันเทิงแลว ยังตองทําความเขาใจ เนื้อหา แสดงความคิดเห็น วิจารณ หรือ ประเมินคาเรื่องที่อาน เขาใจสุนทรียภาพของ วรรณคดีอันเกิดจากความรูสึกรวมที่มีความ เปนสากลขามพนทั้งพื้นที่และเวลา โดยยังคง คุณคาไวไดเปนอยางดี)

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

๑. ความสําคัญของวรรณคดี วรรณคดีเปนมรดกที่ตกทอดมาจากบรรพบุรุษ สามารถสะทอนสภาพชีวิตความเปนอยู ของคนในสมัยนั้นๆ ภายในเนื้อเรื่องผูประพันธมักสอดแทรกแนวคิด คติสอนใจ และปรัชญาชีวิต ของกวีไว ทําใหผูอานเกิดความรู ความประทับใจ มีความรูสึกรวมไปกับกวี ดังนั้น วรรณคดีจึงมี คุณคาทัง้ ในดานประวัตศิ าสตร สังคม อารมณ และคติสอนใจ รวมทัง้ มีคณ ุ คาในดานวรรณศิลปดว ย นอกจากวรรณคดีจะเปนมรดกทางปญญาของคนในชาติแลว วรรณคดียังเปนเครื่องเชิดชู อารยธรรมของชาติและยังมีคุณคาเปนหลักฐานทางโบราณคดี ทําใหคนในชาติสามารถรับรู เรื่องราวในอดีต การอานวรรณคดีจึงเปนการสงเสริมใหผูอานมีอารมณสุนทรียและเขาใจ ความจริงของโลกมากยิ่งขึ้น วรรณคดีเปนกระจกเงาสะทอนภาพสังคมและวัฒนธรรม ผูอานจึงควรอานวรรณคดี เพือ่ ศึกษาเรียนรูเ รือ่ งราว ความเปนมา ความคิด และคานิยมของคนในสังคมแตละสมัย การวิจกั ษ และวิจารณวรรณคดีจะทําใหนักเรียนไดฝกคิด วิเคราะห รูจักสังเกต ไดความรู และประสบการณ จากวรรณคดี วรรณคดีจึงมีความสําคัญทั้งในดานเนื้อหาที่ใหขอคิด คติเตือนใจ และดานสังคมที่ ใหความรูเกี่ยวกับขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรม รวมทั้งเปนบันทึกทางประวัติศาสตร ที่สําคัญอีกประการหนึ่งดวย

๒. จุดประสงคในการอานวรรณคดี การอานวรรณคดีนั้นมีจุดประสงคเพื่อความรูและความบันเทิงโดยอานใหไดความไพเราะ ของภาษาหรือทราบแนวคิดของกวี การอานวรรณคดีใหไดรับประโยชนมีแนวทางการอาน ดังนี้ ๑) ไมอา นวรรณคดีเพือ่ ความเพลิดเพลินเพียงอยางเดียว ผูอ า นจะตองอานอยางวิเคราะห เพื่อใหทราบแนวคิดของผูแตงและเหตุการณตางๆ ในเรื่องได ๒) ควรวิจักษวรรณคดีเรื่องที่อานดวย เมื่ออานวรรณคดีจบ ผูอานจะตองสามารถแสดง ความคิดเห็น วิจารณ หรือประเมินคาวรรณคดีเรื่องนั้นได ๓) เลือกอานวรรณคดีทมี่ คี ณ ุ คา โดยการเลือกวรรณคดีทไี่ ดรบั การยกยอง เพราะวรรณคดี เรือ่ งนัน้ จะตองไดรบั การคัดเลือกและกลัน่ กรองมาแลว วรรณคดีเรือ่ งนัน้ จะมีความอมตะ เนือ้ เรือ่ ง มีขอคิดที่สามารถใชกับชีวิตในปจจุบันไดและมีความไพเราะงดงาม ถึงแมจะผานเวลามานานแลว ก็ตาม ๒

เกร็ดแนะครู ครูควรเนนใหนักเรียนปฏิบัติกิจกรรมที่ชวยสรางปฏิสัมพันธและรวมกันระดม ความคิด เพื่อใหนักเรียนมีสวนรวมในการปฏิบัติกิจกรรมในการพัฒนาสติปญญา และสรางความสัมพันธอันดีระหวางกันกับเพื่อนรวมชั้นเรียน โดยในการปฏิบัติ กิจกรรมนั้น นักเรียนควรชวยกันอานและพิจารณาประเด็นตางๆ ดวยการตั้งคําถาม และคนหาคําตอบ เพื่อทบทวนความรูความเขาใจของนักเรียนใหมีความเดนชัด มากยิ่งขึ้น จากนั้นนักเรียนรวมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นจากคําตอบที่นักเรียน คนพบ หรือการแบงกลุมรวมกันตั้งสมมติฐาน เพื่อคาดเดาความหมายหรือแนวคิด ตางๆ ที่ใชในการพิจารณาวรรณคดี รวมถึงการยกตัวอยางที่หลากหลายโดยเฉพาะ ตัวอยางที่นักเรียนเคยเรียนมา เพื่อใหนักเรียนไดทบทวนความรูเดิม เชื่อมโยงกับ ความรูใหมที่นักเรียนไดศึกษาจากหนังสือที่อาน จากนั้นนักเรียนจึงรวมกันอภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็น

2

ขยายความเขาใจ

Engage

ครูสนทนาซักถามกระตุน ความสนใจ ดังตอไปนี้ • นักเรียนเคยเรียนวรรณคดีเรื่องใดบาง และ วรรณคดีที่นักเรียนเคยเรียนมา นักเรียนมี ความประทับใจวรรณคดีเรื่องใดมากที่สุด

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ขอใดกลาวไดถูกตอง 1. ผูประพันธสะทอนเฉพาะความดีงามในสมัยที่แตงบทประพันธ 2. ผูประพันธจะแทรกแนวคิด คติสอนใจ และปรัชญาชีวิตไวใน วรรณคดี 3. ผูอานวรรณคดีตองเขาใจวาเรื่องที่อานไมสามารถเกิดขึ้นได ในชีวิตจริง 4. ผูอานควรเนนในการทําความเขาใจคุณคาทางวรรณศิลป จากบทประพันธเทานั้น วิเคราะหคําตอบ ผูประพันธจะแทรกแนวคิด คติสอนใจ และ ปรัชญาชีวิตไวในวรรณคดีนั้นกลาวไดถูกตอง เนื่องจากวรรณคดี ทําหนาที่เปนกระจกสะทอนภาพสังคมและวัฒนธรรมในยุคสมัย ที่แตงวรรณคดี ผูแตงจึงไดนําประสบการณตางๆ ในชีวิตมาใช ในการแตงวรรณคดี เพื่อสื่อสารเนื้อหาสูตัวผูอานไดอยางสมจริง

ตอบขอ 2.

คูมือครู


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

นักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นตอไปนี้ • จากคํากลาวที่วา “วรรณคดีเปนกระจกเงา สะทอนสังคมและวัฒนธรรม” นักเรียนเห็น ดวยกับคํากลาวขางตนหรือไม และนักเรียน คิดวา วรรณคดีสะทอนคุณคาในดานใดบาง อยางไร (แนวตอบ เห็นดวย เนื่องจากวรรณคดีเกิด จากผูแตงซึ่งเปนบุคคลในยุคสมัยตางๆ ยอมนําความคิดในยุคสมัยของตนมาใช เปนวัตถุดิบในการแตงวรรณคดีแตละเรื่อง สะทอนคุณคาดานตางๆ ดังนี้ คุณคาทาง ประวัติศาสตร คุณคาทางสังคม คุณคาดาน อารมณความรูสึก คุณคาดานคติสอนใจ และคุณคาทางดานวรรณศิลป) • นักเรียนมีหลักการในการอานและพิจารณา วรรณคดีอยางไร เพื่อใหนักเรียนเขาใจ คุณคาดานตางๆ ของวรรณคดี (แนวตอบ นักเรียนควรฝกฝนการอาน วรรณคดีดวยการมุงพิจารณาเหตุการณใน การดําเนินเรื่อง โดยอานเนื้อหาใหเขาใจ อยางลึกซึ้ง และเขาถึงอารมณตางๆ ที่ ถายทอดผานบทประพันธ จากนั้นนักเรียน วิเคราะหแนวคิดจากเรื่อง พรอมวิจารณ แสดงความคิดเห็น และประเมินคาวรรณคดี เรื่องที่อานวา มีคุณคาในดานใดบาง อยางไร จากนั้นนักเรียนนําคุณคาทางดานเนื้อหา หรือขอคิดที่ไดจากการอานมาปรับใช ในการดําเนินชีวิต เพื่อใหนักเรียนสามารถ ดําเนินชีวิตไดอยางมีคุณคาและเขาใจความ เปนไปของโลก ตลอดจนธรรมชาติของ มนุษยจากบทประพันธไดดียิ่งขึ้น)

๓. การวิจักษวรรณคดี คํ า ว า วรรณคดี หมายถึ ง หนั ง สื อ ที่ ไ ด รั บ การยกย อ งว า1แต ง ดี มี คุ ณ ค า ซึ่ ง คํ า ว า วรรณคดีไดปรากฏอยูในพระราชกฤษฎีกาการตั้งวรรณคดีสโมสรใน พ.ศ. ๒๔๕๗ รัชสมัย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ทั้งนี้หนังสือที่จัดวาเปนวรรณคดี ไดแก กวีนิพนธ 2 3 ละครไทย นิทาน ละครพูด และพงศาวดาร การวิจักษ หมายถึง ที่รูแจง ที่เห็นแจง ฉลาด มีสติปญญา เชี่ยวชาญ เขาใจแจมแจง และประจักษในคุณคา การวิจักษวรรณคดี หมายถึง การพิจารณาวาหนังสือนั้นๆ แตงดีอยางไร ใชถอยคําไพเราะ ลึกซึ้งกินใจหรือมีความงามอยางไร มีคุณคา ใหความรู ขอคิดคติสอนใจ หรือชี้ใหเห็นสภาพชีวิต ความคิด ความเชื่อของคนในสังคมอยางไร

๔. หลักการวิจักษวรรณคดี ๑) อานอยางพินิจพิจารณา คือ อานโดยใชการวิเคราะห อานตั้งแตชื่อเรื่อง ผูแตง คํานํา คํานิยม สารบัญ ไปจนถึงเนือ้ หา และบรรณานุกรม รวมถึงประวัตขิ องผูเ ขียน ซึง่ จะทําใหเราเขาใจ เนื้อหา มูลเหตุของการแตง แรงบันดาลใจในการแตง และสิ่งแฝงเรนภายในหนังสือ ๒) คนหาความหมายพื้นฐาน ความหมายพื้นฐานหรือความหมายตามตัวอักษร ผูอาน สามารถคนหาไดจากขอความที่ผูแตงไดแฝงเรนเอาไว โดยแลกเปลี่ยนความรูกับเพื่อนๆ แลวจัด ลําดับใจความสําคัญของเรื่องวา ใคร ทําอะไร ที่ไหน ผลเปนอยางไร ๓) รับรูอารมณของบทประพันธ พยายามรับรูความรูสึก อารมณของผูเขียนที่สอดแทรก ลงไปในบทประพันธนั้น ถาผูอานรับรูอารมณ ความรูสึกตรงตามเจตนาของผูสงสาร เมื่ออาน ออกเสียงหรือทํานองเสนาะ จะทําใหบทประพันธนั้นๆ มีความไพเราะยิ่งขึ้น ๔) คนหาความหมายของบทประพันธ หลักการคนหาความหมายของบทประพันธ มีดงั นี้ ๔.๑) คนหาความหมายตามตัวหนังสือ คือ คําใดที่ไมเขาใจความหมายใหคนหาใน คําอธิบายศัพทพจนานุกรม หรืออภิธานศัพท เชน ผจญคนมักโกรธดวย ผจญหมูทรชนดี ผจญคนจิตตโลภมี ผจญอสัตยใหยั้ง

Explain

ไมตรี ตอตั้ง ทรัพยเผื่อ แผนา หยุดดวยสัตยาฯ (โคลงโลกนิติ)

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ขอใดเปนคุณคาของวรรณคดีไดชัดเจนที่สุด 1. คุณคาดานสังคม 2. คุณคาดานอารมณ 3. คุณคาดานวรรณศิลป 4. คุณคาดานประวัติศาสตร

วิเคราะหคําตอบ คุณคาดานวรรณศิลปถือเปนคุณคาที่สําคัญ ทีส่ ดุ ของวรรณคดี เนือ่ งจากคุณคาของวรรณคดีขนึ้ อยูก บั ความงาม ดานภาษาที่มีความสอดคลองกับคุณคาดานเนื้อหาและรูปแบบ สวนคุณคาดานอื่นๆ เปนคุณคาที่แฝงอยูในตัวบทวรรณคดี ไมเดนชัดเทาคุณคาทางวรรณศิลป ตอบขอ 3.

นักเรียนควรรู 1 วรรณคดีสโมสร รัชกาลที่ 6 ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นในวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2457 เพื่อสงเสริมการแตงหนังสือ คณะ กรรมการจะตรวจคัดเลือกหนังสือที่แตง เพื่อใหเปนยอดของหนังสือประเภทนั้นๆ อาทิ ลิลิตพระลอ เปนยอดแหงกลอนลิลิต เพื่อรับพระบรมราชานุญาตใหประทับ ตราพระราชลัญจกรรูปพระคเณศไวขางหนาหนังสือ 2 ละครไทย สมัยสุโขทัยมีการรับเอาวัฒนธรรมดานการละครของอินเดียเขามา สมัยอยุธยามีการจัดระเบียบละครไทยเปนละครชาตรี ละครนอก ละครใน โขน และเริ่มผสมผสานวัฒนธรรมละครไทยกับละครตางชาติ สมัยธนบุรีไดฟนฟู การละครที่ซบเซาไปเนื่องจากสงคราม สมัยรัตนโกสินทรการละครไทยก็เริ่ม เฟองฟูขึ้นจากการทํานุบํารุงของพระมหากษัตริย 3 ละครพูด ละครแบบหนึ่งรับอิทธิพลมาจากละครแบบยุโรป ตัวละครพูดบท ของตน ในการดําเนินเรื่อง อาจพูดเปนถอยคําธรรมดา คํากลอน คําฉันท มีการจัด ฉากและการแตงกายตามสมัยที่ปรากฏในเรื่อง คูมือครู

3


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

จากทีน่ กั เรียนศึกษาการอานวรรณคดี ใหนกั เรียน รวมกันตอบคําถามตอไปนี้ • นักเรียนคิดวา การอานวรรณคดีดวยวิธีการ วิจักษวรรณคดี นักเรียนตองพิจารณา บทประพันธในดานใดบาง อยางไร (แนวตอบ นักเรียนควรอานอยางพินิจพิจารณา ตั้งแตชื่อเรื่อง และองคประกอบตางๆ ในการ สรางสรรควรรณคดี รวมถึงการทําความเขาใจ ประวัติผูแตง เพื่อทําความเขาใจจุดมุงหมาย ในการแตงวรรณคดีแตละเรื่องดวย นอกจาก การคนหาเรื่องราวหรือเหตุการณตางๆ ซึ่ง เปนความหมายแฝงของบทประพันธแลว นักเรียนควรทําความเขาใจอารมณความรูสึก ของบทประพันธ เพื่อใหนักเรียนเกิดความ ซาบซึ้ง และสามารถถายทอดอารมณความ รูสึกอันเกิดจากรสวรรณคดีผานการอาน ทํานองเสนาะไดอยางไพเราะมากยิ่งขึ้น) • นักเรียนคิดวา ในการศึกษาวรรณคดีแตละ เรื่อง นักเรียนตองพยายามคนหาความหมาย ของบทประพันธในประเด็นใดบาง อยางไร (แนวตอบ ในการศึกษาความหมายของตัวบท นักเรียนควรทําความเขาใจความหมายใน 3 ระดับ ไดแก 1. ความหมายตรงตัว เปนความหมายตามตัวอักษร 2. ความหมาย แฝง เปนความหมายที่ตองตีความ ทั้งสอง สวนขางตนเปนความหมายในระดับคํา และ 3. ขอคิดอันเปนประโยชนจากวรรณคดี ซึ่งเกิดจากการพิจารณาเนื้อหาโดยรวมจาก บทประพันธ)

ศัพททนี่ กั เรียนอาจตองคนหาจากโคลง คือ ผจญ = พยายามตอสู พยายามเอาชนะ มัก = ชอบ ทรชน = คนชั่ว บทประพันธนี้ หมายความวา พยายามเอาชนะผูที่มีอารมณโกรธดวย การผูกไมตรี เอาชนะคนชั่วดวยการทําความดีตอบ เอาชนะผูที่มีิจิตเห็นแกตัวเห็นแกไดดวยการ เผื่อแผทรัพยให และเอาชนะความไมซื่อสัตยดวยความซื่อสัตยอยูเสมอ 1๔.๒) คนหาความหมายแฝง คือ ความหมายที่ตองตีความ ซึ่งผูแตงอาจใชคําที่เปน สัญลักษณ เพื่อเสนอสารอันเปนความคิดหลักของผูแตง เชน 2 ภพ ้มิใชหลา ภพนี กาก็เจาของครอง 3 เมาสมมุติจองหอง แลงนํ้ามิตรโลกมวย

หงสทอง เดียวเอย รวมดวย 4 หีนชาติ หมดสิ้นสุขศานต

(อังคาร กัลยาณพงศ)

ความหมายของโคลงนี้ตองการเสนอสารวา โลกนี้มิใชแตเปนเพียงที่อยูของคน ชั้นสูงเทานั้น โดยใช “หงส” เปนสัญลักษณแทนชนชั้นสูง สวน “กา” แทนคนชั้นลาง ซึ่งรวมอาศัย อยูบนโลกดวยเชนกัน ดังนั้น ถายึดติดการแบงระดับชนชั้น โดยไมมีความเมตตาอาทรใหแกกัน โลกก็จะขาดสันติสุข ๔.๓) ค น หาข อ คิ ด อั น เป น ประโยชน ใ นตั ว บทของวรรณคดี กล า วคื อ การค น หา ความรูสึกของผูแตง ซึ่งไมจําเปนตองตรงกับความรูสึกของผูอาน แตผูอานรูสึกเชนนั้นเพราะมี เหตุผลอยางไร มีหลักฐานอะไร และมีคําใดที่บงชี้ใหผูอานรูสึกอยางนั้น เชน เรื่องขุนชางขุนแผน เปนเรื่องความรัก ความหลงของชายสองหญิงหนึ่งและชีวิตที่วุนวายเพราะความเห็นแกตัว ชีวิตที่ มากชูหลายคูครองยอมไมมีความสงบสุข เปนตน ๕) พิจารณาวาผูแตงใชกลวิธีใดในการแตงคําประพันธ สามารถค น หาได จ ากวิ ธี สรางสรรคในกวีนิพนธ ดังนี้ ๕.๑) การใชบรรยายโวหาร คือ การใชคําอธิบายเลาเรื่องราวรายละเอียดใหเขาใจ ตามลําดับเหตุการณ เชน ... ดวยขาพระพุทธเจากลับมาเวลาคํา่ ทัง้ นีเ้ พราะเปนกระลีขนึ้ ในไพรวัน พฤกษาทุกสิง่ สารพันก็แปรปรวนทุกประการ ทัง้ พืน้ ปาพระหิมพานตกผ็ ดั ผันหวัน่ ไหวอยูว งิ เวียงเปลีย่ นเปน พยับมืดไมเห็นหน ขาพระบาทนีร่ อ นรนไมหยุดหยอนแตสกั อยาง แตเดินมาก็บงั เกิดประหลาด ลางขึน้ ในกลางพนาลี พบพญาราชสีหส องเสือทัง้ สามสัตวสกัดหนาไมมาได ตอสิน้ แสงอโณทัย จึ่งไดคลาเคลื่อน ใชจะเปนเหมือนพระองคดํารินั้นก็หามิได พระพุทธเจาขา (มหาเวสสันดรชาดก : กัณฑมัทรี)

นักเรียนควรรู 1 สัญลักษณ สิ่งที่นิยมกําหนดขึ้นเพื่อใชสื่อความถึงอีกสิ่งหนึ่ง เชน หงส แทนชนชั้นสูงมีฐานะ นกพิราบ แทนอิสรภาพเสรีภาพ เปนตน เมื่อนํามาใชใน บทประพันธ ผูอานจึงตองใชประสบการณในการตีความหมายรวมถึงพื้นฐาน ความรู ความคิดเกี่ยวกับเรื่องที่อาน โดยเฉพาะการทําความเขาใจสิ่งที่กวีตองการ สื่อความหมาย 2 ภพ โลก แผนดิน วัฏสงสาร 3 สมมุติ อานวา สมมุด หมายถึง รูส กึ นึกเอาวา เชน สมมติใหตกุ ตาเปนนอง เปนตน หรือหมายถึง ตางวา ถือเอาวา เชน สมมุติวาไดมรดกสิบลาน จะบริจาค ชวยคนยากจน เปนตน คําวิเศษณ หมายถึง ที่ยอมรับ ตกลงกันเองโดยปริยาย โดยไมคํานึงถึงสภาพที่แทจริง เชน สมมติเทพ เปนตน 4 หีนชาติ หรือหินชาติ อานวา หิน - นะ - ชาด หมายถึง มีกําเนิดตํ่า

4

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ภพนี้มิใชหลา หงสทอง เดียวเอย กาก็เจาของครอง รวมดวย เมาสมมุติจองหอง หีนชาติ แลงนํ้ามิตรโลกมวย หมดสิ้นสุขศานต ความหมายแฝงของคําวา “หงสทอง” คือขอใด 1. นกชนิดหนึ่ง 2. คนที่เยอหยิ่ง 3. หงสที่ทําดวยทอง 4. คนที่รํ่ารวยและทําตัวสูงสง วิเคราะหคําตอบ ความหมายแฝงเปนความหมายที่ตองตีความ คําวา “หงสทอง” มีความหมายแฝงวา คนที่รํ่ารวยและทําตัว สูงสง ซึ่งมีความหมายตรงขามกับคําวา “กา” ตอบขอ 4.


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู ๕.๒) การใช พ รรณนาโวหาร คื อ การอธิ บ ายความโดยการสอดแทรกอารมณ ความรูสึก หรือใหรายละเอียดอยางลึกซึ้งของผูแตงลงไปในเรื่องนั้นๆ ทําใหผูอานเกิดอารมณ สะเทือนใจคลอยตามไปกับบทประพันธ เชน 1 2 3 4 บัดมงคลพาหไท แวงเหวี่ยงเบี่ยง เศียรสะบัด อุกคลุกพลุกเงยงัด เบนบายหงายแหงนให

ทวารัติ ตกใต คอคช เศิกแฮ ทวงทอทีถอย (ลิลิตตะเลงพาย)

เชน

๕.๓) การใชเทศนาโวหาร คือ กลวิธที ใี่ ชโวหารในการกลาวสัง่ สอนอยางมีเหตุผลประกอบ ถาทําดีก็จะดีเปนศรีศักดิ์ ความชั่วเราลี้ลับอยากลับตรอง

ถาทําชั่วชั่วจักตามสนอง นอนแลวมองดูผิดในกิจการ (สุภาษิตพระรวง)

๕.๔) การใชสาธกโวหาร คือ การยกตัวอยางหรือเรื่องราวมาประกอบเพื่อเพิ่มราย ละเอียด หรือสิ่งที่นารู นาสนใจลงไปในขอความทําใหเขาใจชัดเจนยิ่งขึ้น เชน 5

พระตรีโลกนาถแผว เฉกพระราชสมภาร 6 เสด็จไรพิริยะราญ เสนอพระยศยินกอง

เผด็จมาร พี่นอง อรินาศ ลงนา เกียรติทาวทุกภาย (ลิลิตตะเลงพาย)

๕.๕) การใชอุปมาโวหาร คือ โวหารที่กลาวเปรียบเทียบ มักใชคูกับอุปไมย อุปมา เปนสิ่งหรือขอความที่ยกมาเปรียบ สวนอุปไมย คือ ขอความที่เปรียบเทียบกับสิ่งอื่นใหเขาใจ แจมแจง เชน

Explain

นักเรียนจับคูแสดงความคิดเห็นตามประเด็น ตอไปนี้ • นักเรียนคิดวา การพิจารณาเกี่ยวกับโวหาร ชนิดตางๆ ชวยใหนักเรียนเขาใจคุณคาทาง วรรณศิลปในบทประพันธอยางไร (แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น ไดอยางหลากหลายขึ้นอยูกับเหตุผลของ นักเรียน เปนตนวา การพิจารณาโวหารชนิด ตางๆ ที่ปรากฏในบทประพันธ ถือเปนการ พิจารณาคุณคาทางวรรณศิลปจากกลวิธี การแตงวา มีความสอดคลองทางดานเนื้อหา ภาษา และรูปแบบของเรื่องอยางไร และ กลวิธีทางวรรณศิลปชวยทําใหเนื้อหาของ วรรณคดีมีความโดดเดนไดหรือไม อยางไร) • นักเรียนคิดวา กลวิธีการประพันธโดยใช โวหารประเภทตางๆ มีลักษณะรวมและ ลักษณะเฉพาะอยางไร (แนวตอบ นักเรียนสามารถพิจารณาคําตอบ ในหนังสือเรียนหนา 4 - 5) • นักเรียนคิดวา การใชโวหารประเภทตางๆ ในการแตงสงผลตอจุดมุงหมายในการ สื่อสารที่มีความแตกตางกันหรือไม อยางไร (แนวตอบ กลวิธีการใชภาษาหรือการใชโวหาร ที่แตกตางกัน ยอมสงผลตอคุณคาทาง วรรณศิลปที่แตกตางกัน และตอบสนอง จุดมุงหมายในการสื่อสารที่แตกตางกันดวย)

หนังสือเหมือนเพื่อนชีวิตเข็มทิศโลก ใหสุขโศกใหปญญาใหหนาที่ จําคิดรูประทีปสองตรองชั่วดี สมศักดิ์ศรีสมคุณคาพัฒนาคน

(จากหนังสือจันทรแสง พ.ศ. ๒๕๓๑)

หนังสือเปนอุปไมย เพื่อนเปนอุปมา

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

“แมเปนบัว ตัวพี่เปนภุมรา” คําประพันธขางตนใชโวหารประเภทใด 1. พรรณนาโวหาร 2. เทศนาโวหาร 3. สาธกโวหาร 4. อุปมาโวหาร

วิเคราะหคําตอบ คําประพันธขางตนใชอปุ มาโวหาร เนือ่ งจาก อุปมาโวหารเปนการกลาวเปรียบเทียบหรือยกขอความขึ้นมา เปรียบเทียบ โดยเปรียบฝายหญิงสาวนั้นเปนดอกบัว สวนฝายชาย เปนแมลงภู ตอบขอ 4.

นักเรียนควรรู 1 บัด เวลา เมื่อ ครั้ง คราว หรือความหมายโดยนัยหมายถึง ทันใด 2 มงคล เหตุที่นํามาซึ่งความเจริญ อาทิ มงคล 38 สิ่งซึ่งถือวาจะนําสิริและ ความเจริญมาสู และปองกันไมใหสิ่งที่เลวรายมากลํ้ากราย หรือใชสําหรับเรียกงาน ทีจ่ ดั ใหมขี นึ้ เพือ่ ความอยูเ ย็นเปนสุข เชน งานทําบุญขึน้ บานใหม งานทําบุญวันเกิดวา งานมงคล เปนตน 3 พาห หรือพาหะ ผูแบก ผูถือ ผูทรงไว ความหมายโดยนัยหมายถึง มา 4 ไท ใชในบทกลอน หมายถึง ผูเปนใหญ 5 พระตรีโลกนาถ ผูเปนใหญในสามโลก มักใชในการยอพระเกียรติของเทพเจา หรือพระมหากษัตริย 6 พิริยะ หรือพิริย หมายถึง ความหมั่น ความกลา คนกลา คนแข็งแรง นักรบ ภาษาบาลีใชวา วิรยิ สวนภาษาสันสกฤตใชวา วีรยฺ วา หมายถึง ความหมัน่ ความกลา คูมือครู

5


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

1. นักเรียนแบงกลุม กลุมละ 4 - 6 คน แตละกลุม อภิปรายตามหัวขอขางลางนี้ • นักเรียนคิดวา การพิจารณาคุณคาของ บทประพันธ ตองพิจารณาคุณคาดานใดบาง และการพิจารณาคุณคาดานตางๆ สงผล ตอการประเมินคาบทประพันธอยางไร (แนวตอบ การพิจารณาคุณคาบทประพันธ แบงออกเปน 3 ประเภท ประกอบดวย 1. คุณคาดานเนือ้ หา 2. คุณคาดานวรรณศิลป 3. คุณคาดานสังคม) • นักเรียนคิดวา การพิจารณารูปแบบในการ ประพันธสงผลตอคุณคาดานเนื้อหาใน บทประพันธอยางไร (แนวตอบ ลักษณะคําประพันธกับเนื้อหาที่มี ความสอดคลองกันยอมสงผลใหบทประพันธ มีคุณคาทางวรรณศิลปมากยิ่งขึ้น อาทิ การใชคําประพันธประเภทโคลงในบทไหวครู ยอมสงผลใหเกิดความรูสึกศักดิ์สิทธิ์สูงสง หรือการใชวสันตดิลกฉันทในการพรรณนา อารมณ ความรูสึกออนไหวของตัวละคร) • การวิเคราะหองคประกอบของวรรณคดี นักเรียนควรพิจารณาประเด็นใดบาง และนักเรียนคิดวา วรรณคดีที่มีคุณคา ทางวรรณศิลป ควรมีองคประกอบอยางไร (แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น ไดอยางหลากหลายขึ้นอยูกับเหตุผลของ นักเรียน) 2. ครูสุมนักเรียน 2 - 3 กลุม สงตัวแทนนําเสนอ หนาชั้นเรียน

๖) พิจารณาความงาม ความไพเราะของภาษา คือ พิจารณาการเลือกใชคํา การสรรคํา

และการจัดวางคําทีเ่ ลือกสรรแลวใหตอ เนือ่ งอยางไพเราะ เหมาะสม ไดจงั หวะ ถูกตองตามโครงสราง ภาษา กอใหเกิดความรูสึก อารมณ และเห็นภาพพจน

๕. การพิจารณาคุณคาบทประพันธ การพิจารณาคุ​ุณคาบทประพันธ แบงออกไดเปน ๓ ประเภท ดังนี้

๕.๑ คุณคาดานเนื้อหา

การพิจารณาคุ 1 ณคาดานเนื้อหา มีแนวทางในการพิจารณาดังตอไปนี้ ๑) รูปแบบ พิจารณาวางานประพันธนั้นใชคําประพันธชนิดใด ลักษณะการแตง ถูกตองตามลักษณะบังคับของคําประพันธนั้นๆ หรือไม ผูแตงเลือกใชคําประพันธแตละชนิดได เหมาะสมกับเนื้อความหรือไม ๒) องคประกอบของเรื่อง มีแนวพิจารณาดังนี้ ๒.๑) สาระ พิจารณาวาสาระที่ผูแตงตองการสื่อมายังผูอานเปนเรื่องอะไร เชน ใหความรู ขอเท็จจริง ความคิดหรือแสดงความรูสึกนึกคิดออกมา ควรจับสาระสําคัญหรือแกน ของเรื่องใหไดวา ผูแตงตองการสื่ออะไร สาระสําคัญหรือแกนของเรื่อง มีลักษณะแปลกใหม นาสนใจอยางไร ๒.๒) โครงเรื่อง พิจารณาวาผูแตงมีวิธีการวางโครงเรื่องไดดีหรือไม การลําดับ ความเปนไปตามลําดับขั้นตอน มีวิธีการวางลําดับเรื่องนาสนใจอยางไร ๒.๓) ตัวละคร พิจารณาวาตัวละครในเรือ่ งมีลกั ษณะนิสยั บุคลิกภาพและบทบาท อยางไร พฤติกรรมที่แสดงออกดีหรือไม เหมือนบุคคลในชีวิตจริงมากนอยเพียงใด ๒.๔) ฉากและบรรยากาศ พิจารณาวาผูแ ตงพรรณนาหรือบรรยายฉากและบรรยากาศ ไดเหมาะสม ถูกตอง ชัดเจน และสอดคลองกับเรื่องไดดีเพียงไร ๒.๕) กลวิธีการแตง พิจารณาวิธีในการเลือกใชถอยคําและการนําเสนอวา ผูแตง นําเสนออยางไร เชน เสนออยางตรงไปตรงมา เสนอโดยใหตคี วามจากสัญลักษณหรือความเปรียบ เสนอโดยใชการสรางภาพพจนใหเหนือความเปนจริงเพือ่ ดึงดูดความสนใจ เปนตน ควรพิจารณาวา วิธีการตางๆ เหลานั้น ชวนใหนาสนใจ นาติดตาม และนาประทับใจไดอยางไร

๕.๒ คุณคาดานวรรณศิลป

อยางงดงาม

การพิจารณาคุณคาดานวรรณศิลปมีแนวทางในการพิจารณา ๒ ประการ ดังนี้ ๑) การสรรคํา คือ การเลือกใชคําใหสื่อความคิดความเขาใจ ความรูสึก อารมณได

เกร็ดแนะครู ครูควรเพิ่มเติมความรูเกี่ยวกับการพิจารณางานประพันธประเภทบันเทิงคดี ทั้งประเภทรอยแกวและรอยกรองวา บันเทิงคดีเปนเรื่องแตงจากจินตนาการ มีจุดมุงหมายสําคัญเพื่อใหเกิดความบันเทิง มีการผูกเรื่องราว ตัวละคร และ เหตุการณ เพื่อมุงประเทืองอารมณ ใหผูอานสะเทือนอารมณไปกับเนื้อเรื่องอยางมี ศิลปะ ในการอานวรรณคดี ผูอานควรพิจารณาองคประกอบตางๆ ของวรรณคดี รวมกัน เพื่อใหผูอานสามารถเขาถึงอารมณความรูสึกของบทประพันธไดอยางลึกซึ้ง และมีความแจมชัด สงผลตออารมณความรูสึกรวมของผูอานไดเปนอยางดี

นักเรียนควรรู 1 รูปแบบ เรียกไดอีกอยางวาฉันทลักษณของบทประพันธ ในการประพันธนั้น กวีตองเลือกใชรูปแบบบทประพันธหรือฉันทลักษณในบทประพันธใหมีความเหมาะสม กับเนื้อความในบทประพันธ อาทิ ลิลิต นิยมใชรายบรรยายฉากการรบ

6

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

เสร็จเสวยศวรรเยศอาง ไอยศูรย สรวงฤๅ เย็นพระยศปูนเดือน เดนฟา เกษมสุขสองสมบูรณ บานทวีป ทุกขทุกธเรศหลา แหลงลวนสรรเสริญ จากบทประพันธขางตนขอใดกลาวไมถูกตอง 1. บทประพันธประเภทโคลงนิยมใชคําที่มีนํ้าหนัก 2. บทประพันธขางตนมีเนื้อหายอพระเกียรติกษัตริย 3. บทประพันธประเภทโคลงนิยมใชคาํ โบราณเพือ่ สือ่ ถึงความศักดิส์ ทิ ธิ์ 4. บทประพันธขางตนเนนการใชคําภาษาบาลีสันสกฤตเพื่อพรรณนา อารมณออนไหว วิเคราะหคําตอบ บทประพันธขางตนเนนการใชคําภาษาบาลี สันสกฤตเพื่อพรรณนาอารมณออนไหว กลาวไมถูกตอง เพราะ ภาษาบาลีสันสกฤตเปนภาษาศักดิ์สิทธิ์เหมาะที่จะใชกับสิ่งที่เปน นามธรรมสื่อความหมายชัดเจน ตอบขอ 4.


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู ๑.๑) การเลือกใชคาํ ใหเหมาะสมกับประเภทของคําประพันธ การพิจารณาคุณคา ดานวรรณศิลปตองพิจารณาตั้งแตการเลือกชนิดคําประพันธวา ผูแตงเลือกชนิดคําประพันธ ได เหมาะสมกับประเภทของงานเขียนหรือไม โดยเฉพาะในบทรอยกรอง ผูแตงจะตองเลือกรูปแบบ คําประพันธ ใหเหมาะสมและตองรูจักเลือกใชคํา เรียบเรียงถอยคําใหไพเราะสละสลวยเหมาะสม กับประเภทของคําประพันธ ดังนี้ 1 (๑) โคลง นิยมใชคาํ ทีม่ นี าํ้ หนัก คําโบราณ ใชพรรณนาเรือ่ งราวทีศ่ กั ดิส์ ทิ ธิ์ สูงสง เชน บทไหวครู บทเทิดพระเกียรติ เปนตน ไพรินทรนาศเพี้ยง พระดั่งองคอวตาร แสนเศิกหอนหาญราญ ดาลตระดกเดชลี้

พลมาร แตกี้ ขอฤทธิ์ พระฤๅ ประลาตหลาแหลงสถาน (ลิลิตตะเลงพาย)

บทประพันธนี้ไดเลือกสรรคําที่มีศักดิ์คําสูงเปนบทเทิดพระเกียรติ 2 (๒) ฉันท นิยมใชคําภาษาบาลี-สันสกฤต เปนคําประพันธที่มีแบบแผน เชน ในบทละครพูดคําฉันทเรื่อง มัทนะพาธา บางตอนตองการเนนอารมณ มีความออนหวาน ใชวสันตดิลกฉันท ๑๔ หรือบางตอนตองการแสดงความสับสน ความคึกคะนอง ความเกรี้ยวกราด นากลัว ใชจิตรปทาฉันท ๘ เปนตน ฟงถอยคําดํารัสมะธุระวอน จักเปนมุสาวะจะนะดวย วันชายประกาศวะระประทาน หญิงควรจะเปรมกะละมะยิ่ง

ดนุนี้ผิเอออวย บมิตรกะความจริง ประดิพัทธะแดหญิง ผิวะจิตตะตอบรัก

(บทละครพูดคําฉันทเรื่องมัทนะพาธา)

บทประพันธนตี้ อ งการเนนอารมณ มีความออนหวาน ผแู ตงใชวสันตดิลกฉันท ๑๔ ในการถายทอดความรูสึก (๓) กาพย นิยมใชคําธรรมดา คําที่เรียบงาย ใชพรรณนาเหตุการณหรือ อารมณสะเทือนใจ

Explain

นักเรียนสงตัวแทนกลุมนําเสนอหนาชั้นเรียน ตามหัวขอตอไปนี้ • นักเรียนคิดวา การพิจารณาคุณคาทาง วรรณศิลปในบทประพันธตองพิจารณาใน ประเด็นใดบาง และคุณคาดังกลาวมีความ สอดคลองกันอยางไร (แนวตอบ พิจารณาดานการสรรคําและการใช โวหาร ตองมีความสอดคลองกันเพื่อใหได อรรถรส ทั้งรสคํา รสความ และจินตภาพ อันเกิดจากกลวิธีทางภาษา) • นักเรียนคิดวา การสรรคํามาใชใน บทประพันธสงผลตอคุณคาทางวรรณศิลป อยางไร (แนวตอบ การสรรคํามีความสําคัญอยางยิ่ง ตอคุณคาทางวรรณศิลปในบทประพันธ เนื่องจากกลวิธีการเลือกใชคําเปนการสื่อ ความคิด อารมณ ความรูสึก ถายทอดผาน เสียงและความหมายจากบทประพันธสู ผูอานได) • นักเรียนคิดวา การเลือกใชคําใหเหมาะกับ ลักษณะคําประพันธสงผลตอคุณคาทาง วรรณศิลปในบทประพันธอยางไร (แนวตอบ การเลือกใชภาษาระดับคําใน บทประพันธนอกจากจะตองคํานึงถึง ความหมายในบทประพันธแลว ยังตองคํานึง ถึงความไพเราะของเสียงที่สอดคลองกับ ลักษณะคําประพันธ เพื่อสรางอารมณ ความรูสึกจากบทประพันธไดอยางลึกซึ้ง)

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

“เรื่อยเรื่อยมาเรียงเรียงนกบินเฉียงไปทั้งหมูตัวเดียวมาพลัดคู เหมือนพี่อยูเพียงเอกา” จากบทประพันธขางตน ถานักเรียนแบงวรรคการอานจัดเปน คําประพันธประเภทใด และมีลักษณะเดนอยางไร 1. ราย / ใชภาษาในการพรรณนาอยางเรียบงาย 2. กาพย / พรรณนาอารมณความรูสึกคิดถึง 3. โคลง / พรรณนาอารมณสะเทือนใจ 4. กลอน / เลนเสียงสัมผัสไพเราะ

วิเคราะหคําตอบ เปนคําประพันธประเภทกาพยโดยพิจารณา จากจํานวนคํา 1 บท มี 2 บาท บาทละ 11 คํา รวม 22 คํา ดังนี้ “เรื่อยเรื่อยมาเรียงเรียง นกบินเฉียงไปทั้งหมู ตัวเดียวมาพลัดคู เหมือนพี่อยูเพียงเอกา” และจะเห็นวาเปนการพรรณนาอารมณความรูสึกวาเหงาคิดถึง นางผูเปนที่รัก ตอบขอ 2.

นักเรียนควรรู 1 โคลง เปนรอยกรองที่มีระเบียบบังคับฉันทลักษณ บังคับคณะ คําเอก คําโท และสัมผัสเปนสําคัญ แบงออกเปน 3 ประเภทใหญๆ คือ 1. โคลงสุภาพ ไดแก โคลงสองสุภาพ โคลงสามสุภาพ และโคลงสี่สุภาพ 2. โคลงดั้น ไดแก โคลงสองดั้น โคลงสามดัน้ และโคลงสีด่ นั้ วิวธิ มาลี 3. โคลงโบราณ ไดแก โคลงหา นอกจากนี้ ยังมี การคิดคนฉันทลักษณประเภทโคลงขึ้นมาใหม เชน โคลงจิตรลดา โคลงวิชชุมมาลี เปนตน งานประพันธประเภทโคลง เชน โคลงโลกนิติ นิราศนรินทรคําโคลง โคลงนิราศสุพรรณ เปนตน 2 ฉันท เปนรอยกรองที่มีบังคับ ครุ ลหุ หรือคําที่มีเสียงหนักเบา บังคับจํานวนคํา และสัมผัสเปนสําคัญ ตัวอยางฉันทประเภทตางๆ ฉันทมีหลายชนิด ซึ่งแตละชนิดมี ลีลาของเสียงที่เหมาะสมในการดําเนินเรื่องหรือเนื้อความของเรื่องแตกตางกัน เชน สัททุลวิกกีฬตฉันท มีลีลาของเสียงสงางามดุจเสือผยอง จึงเหมาะสําหรับใชเปน บทไหวครู บทโศกของเทพและกษัตริย เปนตน ตัวอยางคําประพันธประเภทฉันท เชน วิชชุมมาลีฉันท มาณวกฉันท สาลินีฉันท โตฎกฉันท อีทิสังฉันท เปนตน คูมือครู

7


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

ครูสุมนักเรียน 2-3 คน แสดงความคิดเห็นใน ประเด็นตอไปนี้ • นักเรียนบอกวิธกี ารสรรคําใหมคี วามสอดคลอง กับลักษณะคําประพันธประเภทตางๆ (แนวตอบ การพิจารณาคุณคาดานวรรณศิลป ในบทประพันธ ผูแตงตองพิจารณาเลือกชนิด ของคําประพันธใหมคี วามเหมาะสมกับลักษณะ คําประพันธ เพือ่ ใหเกิดความไพเราะสละสลวย แสดงถึงคุณคาทางวรรณศิลปของบทประพันธ ดังรายละเอียด ตอไปนี้ 1. นิยมใชคําที่มีเสียง หนักหรือคําโบราณ 2. ฉันทนิยมใชคําภาษา บาลีสันสกฤต 3. กาพย นิยมใชคําธรรมดา อานเขาใจงาย สื่อความไดชัดเจน มักใช พรรณนาเหตุการณหรืออารมณสะเทือนใจ 4. กลอน นิยมใชคําธรรมดา เรียบงาย นิยม นําไปขับรองในการละเลนตางๆ 5. ราย นิยมใชคําโบราณและนิยมแตงรวมกับโคลง ไมนิยมแตงรายทั้งเรื่อง มีเพียงรายยาว มหาเวสสันดรชาดกเทานั้นที่แตงรายเพื่อ พรรณนาอารมณความรูสึกและจินตภาพ ทั้งเรื่อง)

ขยายความเขาใจ

อธิบายความรู

จําปาหนาแนนเนื่อง คิดคะนึงถึงนงราม

(กาพยเหเรือเจาฟากุง)

บทประพันธนี้ผูแตงเลือกใชคําอานเขาใจงาย สื่อความไดชัดเจน 1 (๔) กลอน นิยมใชคําธรรมดา คําที่เรียบงาย เปนคําประพันธที่นิยมนําไป ขับรองในการละเลนตางๆ เชน บทสักวา บทละคร บทเสภา เปนตน โอเจาแกวแววตาของพี่เอย ดังนิ่มนองหมองใจไมนําพา

เจาหลับไหลกระไรเลยเปนหนักหนา ฤๅขัดเคืองคิดวาพี่ทอดทิ้ง (เสภาเรื่องขุนชางขุนแผน)

บทประพันธนี้ใชคําธรรมดาเรียบงาย พรรณนาอารมณสะเทือนใจ 2 (๕) ราย นิยมใชคาํ โบราณและนิยมแตงรวมกับโคลง ไมนยิ มแตงรายทัง้ เรือ่ ง นอกจากรายยาวมหาชาติกลอนเทศนเทานั้นที่แตงดวยรายยาวตลอดทั้งเรื่อง สองขัตติยายุรยาตร ยังเกยราชหอทัพ ขุนคชขับชางเทียบ ทวยหาญเพียบแผนภู ดูมหิมาดาดาษ สระพราศพรอมโดยขบวน องคอดิศวรสองกษัตริย คอยนฤขัตรพิชัย 3 4 บัดเดี๋ยวไททฤษฎี พระศรีสารีริกบรมธาตุ ไขโอภาสโศภิต ชวงชวลิตพางผล สมเกลี้ยง กลกุกอง ฟองฟาฝายทักษิณ ผินแวดวงตรงทัพ นับคํารบสามครา เปนทักษิณาวรรตเวียน วายฉวัดเฉวียนอัมพร ผานไปอุดรโดยดาว พลางบพิตรโททาว ทานตั้งสสดุดี อยูนา ฯลฯ

Expand

1. นักเรียนยกตัวอยางบทประพันธที่มีการสรรคํา ใหเหมาะกับประเภทของคําประพันธ คนละ 1 ประเภท 2. ครูสุมนักเรียน 5 - 6 คน ออกมานําเสนอหนา ชั้นเรียน จากนั้นนักเรียนบันทึกความเขาใจ ลงในสมุด

คลี่กลีบเหลืองเรืองอราม ผิวเหลืองกวาจําปาทอง

(ลิลิตตะเลงพาย)

บทประพันธนี้ผูแตงเลือกใชคําโบราณที่เหมาะสมและถูกหลักการประพันธ มักแตงรวมกับโคลง ๑.๒) การเลือกใชคําโดยคํานึงถึงเสียง เกิดจากการที่ผูแตงเลือกใชคําเลียนเสียง ธรรมชาติ คําที่เลนเสียงวรรณยุกต การเลนคํา เสียงหนักเบา การหลากคํา การใชคําพองเสียงและ คําซํ้า การใชลีลาจังหวะของคําซึ่งทําใหเกิดความไพเราะได ดังตัวอยาง (๑) การใชคําเลียนเสียงธรรมชาติ ทําใหเสียงไพเราะเกิดจินตภาพชัดเจน ดังตัวอยาง ๘

นักเรียนควรรู 1 กลอน เปนรอยกรองทีบ่ งั คับคณะ สัมผัส และเสียงวรรณยุกต ไมเครงครัดเรือ่ ง จํานวนคําในวรรค มักใชคาํ ทีเ่ รียบงาย กลอนจึงมักเปนฉันทลักษณทชี่ าวบานนิยมนํา มาประพันธรอ งเลนกัน ซึง่ กลอนสามารถแบงเปนกลุม ใหญได คือ กลอนสุภาพ กลอน ลํานํา และกลอนตลาด นอกจากนี้ ยังสามารถแบงประเภทของกลอนไดจากคําขึน้ ตน และลักษณะการประพันธไดหลายประเภท และมีชอื่ เรียกตางกันออกไป เชน กลอน สุภาพ กลอนสักวา กลอนดอกสรอย กลอนเสภา กลอนบทละคร เปนตน 2 ราย เปนรอยกรองทีม่ บี งั คับคณะ สัมผัส รายบางประเภทบังคับคําเอก คําโทดวย รายแบงออกเปนประเภทตางๆ ดังตอไปนี้ 1. รายสุภาพ 2. รายดัน้ 3. รายยาว 4. รายโบราณ 3 โศภิต งามหรือดี เปนภาษาสันสกฤต สวนในภาษาบาลีใชวา โสภิต 4 ชวลิต รุง เรือง รุง โรจน สวาง

8

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

“ความดีเรานี่ดีใดดีนํ้าใจที่ใหแกคนทั้งปวงอภัยรูแตใหไปไมหวง เจ็บทรวงหวงใยใหรูทน” จากบทประพันธขา งตน หากนักเรียนแบงวรรคการอานจัดเปน คําประพันธประเภทใด และมีจุดมุงหมายในการสื่อสารอยางไร ขอ คําประพันธ จุดมุงหมาย 1. โคลง เพื่อติเตียน 2. ราย เพื่อติชม 3. กาพย เพื่อสั่งสอน 4. กลอน เพื่อแนะนํา

วิเคราะหคําตอบ จัดเปนกลอน จุดมุงหมายเพื่อแนะนําใหทําหรือ ปฏิบัติ ดังนี้ “ความดีเรานี่ดีใด ดีนํ้าใจที่ใหแกคนทั้งปวง อภัยรูแตใหไปไมหวง เจ็บทรวงหวงใยใหรูทน”

ตอบขอ 4.


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

อธิบายความรู เกือบรุงฝูงชางแซ กรวดปามาแกรนแกรน ฮูมฮูมอูมอึงแสน คึกคึกทึกเสทือนสะทาน

นักเรียนรวมกันตอบคําถาม ตอไปนี้ • นักเรียนคิดวา การใชคําเลียนเสียงธรรมชาติ มีลักษณะอยางไร และกลวิธีดังกลาวสงผล ตอคุณคาทางวรรณศิลปอยางไร (แนวตอบ การใชคําที่เกิดจากการเลียนเสียง ธรรมชาติ ชวยใหผอู า นอานแลวเกิดจินตภาพ ทั้งทางดานภาพและบรรยากาศจากความ ไพเราะของเสียง) • นักเรียนคิดวา การเลนเสียงวรรณยุกตมี ลักษณะอยางไร และกลวิธีดังกลาวสงผลตอ คุณคาทางวรรณศิลปอยางไร (แนวตอบ การเลนเสียงสูงๆ ตํ่าๆ คลายการ ผันเสียงวรรณยุกตหลากหลายระดับ เปนการ สรางความไพเราะดานเสียงโดยตรง) • นักเรียนคิดวา การเลนคํามีลักษณะอยางไร และกลวิธีดังกลาวสงผลตอคุณคาทาง วรรณศิลปอยางไร (แนวตอบ การใชคําเดียวกัน แตมีความหมาย แตกตางกันซํ้าหลายแหงในบทประพันธ หนึ่งบท)

แปรนแปรน เกริ่นหยาน สนั่นรอบ ขอบแฮ ถิ่นไมไพรพนม (โคลงนิราศสุพรรณ)

บทประพันธนี้บรรยายลักษณะธรรมชาติของสัตว โดยกวีไดยกตัวอยางคํา ที่เกิดจากการเลียนเสียงธรรมชาติของชาง ไดแก แปรนแปรน แกรนแกรน ฮูมฮูม เมื่อผูอานอาน แลวทําใหเกิดอารมณความรูสึกราวกับไดเห็นชาง อยูใกลชาง เกิดจินตนาการภาพชางที่กําลัง สงเสียงรองตามธรรมชาติของมัน (๒) การเลนเสียงวรรณยุกต คือ การเลนเสียงสูงๆ ตํ่าๆ คลายผันเสียง วรรณยุกต เพื่อสรางความหลากหลายของระดับเสียงสูงตํ่า ซึ่งจะทําใหเกิดความไพเราะดานเสียง โดยตรง ดังตัวอยาง จะจับจองจองจองสิ่งใดนั้น อยาลามลวงลวงลวงดูเลศกล อยาเคลิ้มคลําคลํ่าคลํ้าแตลําโลภ สิ่งใดปองปองปองเปนประธาน จับปลาชอนชอนชอนสองกรถือ เพื่อระแวงแวงแวงพลิกแพลงไป

ดูสําคัญคั่นคั้นอยางันฉงน คอยแคะคนคนคนใหควรการ เที่ยวหวงหวงหวงละโมบละเมอหาญ อยาดวนดานดานดานแตโดยใจ ขางละมือมื่อมื้อจะมั่นไฉน ครั้นจะวางวางวางไวดูลานเลว (กลบทสุภาษิต)

บทประพันธนแี้ สดงใหเห็นถึงความสามารถของผแู ตงทีเ่ ลือกใชคาํ ทีม่ พี ยัญชนะ ตนตัวเดียวกันและมีตัวสะกดตัวเดียวกัน ตางกันที่เสียงวรรณยุกต (๓) การเลนคํา คือ การใชคําเดียวกันซํ้าหลายแหงในบทประพันธหนึ่งบท แตคําที่ซํ้ากันนั้นมีความหมายตางกัน ดังตัวอยาง นวลจันทรเปนนวลจริง คางเบือนเบือนหนามา เพียนทองงามดั่งทอง กระแหแหหางชาย แกมชํ้าชํ้าใครตอง ปลาทุกทุกขอกกรม

เจางามพริ้งยิ่งนวลปลา ไมงามเทาเจาเบือนชาย 1 ไมเหมือนนองหมตาดพราย ดั่งสายสวาทคลาดจากสม อันแกมนองชํ้าเพราะชม เหมือนทุกขพี่ที่จากนาง

Explain

ขยายความเขาใจ

Expand

1. นักเรียนยกตัวอยางบทประพันธทมี่ กี ารเลนเสียง การใชคําเลียนเสียงธรรมชาติ การเลนเสียง วรรณยุกต และการเลนคํา คนละ 1 ประเภท 2. ครูสุมนักเรียน 5 - 6 คน ออกมานําเสนอหนา ชั้นเรียน จากนั้นนักเรียนบันทึกความเขาใจ ลงในสมุด

(กาพยเหเรือเจาฟากุง)

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

“ครืนครืนใชฟารอง เรียมครวญ หึ่งหึ่งใชลมหวน พี่ไห” คําประพันธขางตนมีความโดดเดนทางวรรณศิลปดานใดมากที่สุด 1. การเลนคํา 2. การเลนคําซํ้า 3. การเลนเสียงวรรณยุกต 4. การใชคําเลียนเสียงธรรมชาติ วิเคราะหคําตอบ คําประพันธขา งตนมีการใชคาํ เลียนเสียงธรรมชาติ พิจารณาจากคําวา “ครืนครืน” และ “หึ่งหึ่ง” ตอบขอ 4.

เกร็ดแนะครู ครูควรเพิม่ เติมความรูเ กีย่ วกับการพิจารณาคุณคาทางวรรณศิลปของบทประพันธ ซึ่งถือเปนสวนสําคัญในการพิจารณาคุณคาของบทประพันธ โดยเปนการพิจารณา ศิลปะในการแตงบทประพันธวา มีกลวิธีการใชคําใหเกิดความไพเราะอยางไร โดยเฉพาะอยางยิ่งในการพิจารณาบทรอยกรองมักใหความสําคัญดานความไพเราะ ของบทประพันธ ซึ่งอาจเกิดจากรสคําที่กวีเลือกใช และรสความที่ใหความหมาย ประทับใจผูอาน โดยความไพเราะที่เกิดจากรสคํานั้น เกิดจากการที่กวีเลือกใชคํา ภาษากวี ซึ่งมีลักษณะพิเศษเปนคําที่มีความไพเราะเหมาะสมกับบทประพันธแตละ บททั้งในดานเสียงและความหมาย โดยถือเปนการเนนยํ้าและสื่ออารมณที่มีความ เขมขนชัดเจนในบทประพันธมากยิ่งขึ้น

นักเรียนควรรู 1 ตาด ชื่อผาชนิดหนึ่ง ทอดวยไหมควบกับเงินแลงหรือทองแลงจํานวนเทากัน คูมือครู

9


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

Explain

ครูสมุ นักเรียน 2 - 3 คน อธิบายตามหัวขอตอไปนี้ • นักเรียนคิดวา การซํ้าคําในบทประพันธมี ลักษณะอยางไร และกลวิธีดังกลาวสงผล ตอคุณคาทางวรรณศิลปอยางไร (แนวตอบ การใชคําคําเดียวซํ้าหลายแหงในบท ประพันธหนึ่งบท โดยคําที่ซํ้านั้นมีความหมาย เดียวกัน กลวิธีดังกลาวเปนการเนนยํ้า เนื้อความใหมีนํ้าหนักชัดเจน และสงผลให ผูอานเกิดอารมณสะเทือนใจยิ่งขึ้น) • นักเรียนคิดวา การเลนเสียงสัมผัสในบท ประพันธมลี กั ษณะอยางไร และกลวิธดี งั กลาว สงผลตอคุณคาทางวรรณศิลปอยางไร (แนวตอบ การใชคาํ ใหมเี สียงสัมผัสคลองจองกัน โดยมีสัมผัส 2 ลักษณะ คือ สัมผัสนอกซึ่งเปน สัมผัสตามฉันทลักษณและสัมผัสในสงผลให บทประพันธมีความไพเราะมากยิ่งขึ้น สัมผัส ในมี 2 ลักษณะ คือ สัมผัสพยัญชนะและ สัมผัสสระ)

ขยายความเขาใจ

อธิบายความรู

Expand

1. นักเรียนยกตัวอยางบทประพันธทมี่ กี ารเลนเสียง โดยการซํ้าคํา และการเลนเสียงสัมผัส คนละ 1 ประเภท พรอมอธิบายวา กลวิธีดังกลาว สงผลตอคุณคาทางวรรณศิลปอยางไร 2. ครูสุมนักเรียน 5 - 6 คน ออกมานําเสนอ หนาชั้นเรียน จากนั้นนักเรียนบันทึกความ เขาใจลงในสมุด

กวีเลนคําดวยการนําคําที่มีเสียงพองกัน แตความหมายตางกันมาเรียงรอยเขา ดวยกัน เพื่อสื่อความวาสิ่งนั้นทําใหจิตประหวัดไปถึงนางที่รัก ไดแก เลนคําพองเสียง นวลจันทร เปนชื่อปลานวลจันทร ลักษณะปลานวลจันทรกับผิวของนางผูเปนที่รัก เลนคําวา แกมชํ้า เปนชื่อปลาแกมชํ้ากับอาการชํ้าของนางผูเปนที่รัก เลนคําวา ทุก เปนชื่อปลาทุกกับความทุกขที่ตองจากนางมา (๔) การซํา้ คํา คือ การใชคาํ เดียวกันซํา้ หลายแหงในบทประพันธหนึง่ บท ในความหมายเดียวกัน เพื่อยํ้านํ้าหนักความใหหนักแนนขึ้น ดังตัวอยาง จําใจจําจากเจา จํานิราศแรมสมร เพราะเพื่อจักไปรอน จําทุกขจําเทวษวาง

จําจร แมราง อริราช แลแม สวาทวาหวั่นถวิล (ลิลิตตะเลงพาย)

บทประพันธตอนนีพ้ รรณนาถึงอารมณความรูส กึ ของพระมหาอุปราชทีต่ อ ง ยกทัพมาตีกรุงศรีอยุธยา ขณะเดินทางนัน้ มีความรูส กึ รักและคิดถึงนางผูเ ปนทีร่ กั กวีเลือกใชถอ ยคํา ทีม่ ลี กั ษณะคําซํา้ มาแตงเปนบทกวี ทัง้ นีเ้ พือ่ ใหเกิดความไพเราะ ลึกซึง้ เกิดความอารมณความรูส กึ คลอยตามไปกับบทกวีและตัวละครในเรื่อง เชน จําใจ จําจาก จําจร จํานิราศ จําทุกข และจําเทวษ อันแสดงถึงความรูความสามารถของกวีในการเลือกสรรถอยคํามาใชไดอยางดียิ่ง (๕) การเลนเสียงสัมผัส คือ การใชถอยคําใหมีเสียงสัมผัสคลองจองของ บทรอยกรอง โดยการสัมผัสมี ๒ ชนิด คือ สัมผัสนอกและสัมผัสใน สัมผัสนอกเปนสัมผัสบังคับตาม ลักษณะคําประพันธ สวนสัมผัสในเปนสัมผัสทีไ่ มบงั คับ แตคาํ สัมผัสในทําใหบทประพันธนนั้ ไพเราะ ยิ่งขึ้น มี ๒ ลักษณะ คือ สัมผัสพยัญชนะและสัมผัสสระ เชน ถึงเขาขวางวางเวิ้งชะวากวุง เปนปารอบขอบเขินเนินอรัญ

เขาเรียกทุงสงขลาพนาสัณฑ นกเขาขันคูเรียกกันเพรียกไพร (นิราศเมืองแกลง)

สัมผัสพยัญชนะ เชน เขา-ขวาง วาก-เวิ้ง-วุง ขอบ-เขิน เขา-ขัน เพรียก-ไพร สัมผัสสระ เชน สงขลา-พนา รอบ-ขอบ เขิน-เนิน เรียก-เพรียก ๑๐

เกร็ดแนะครู ครูควรเพิม่ เติมความรูเ กีย่ วกับการพิจารณาคุณคาทางวรรณศิลปของบทประพันธ ซึ่งถือเปนสวนสําคัญในการพิจารณาคุณคาของบทประพันธ โดยเปนการพิจารณา ศิลปะในการแตงบทประพันธตั้งแตภาษาในระดับคํา ซึ่งใหความงดงามทั้งทางดาน รูปและเสียงของคํา นอกจากนี้ ยังแฝงความหมายและอารมณทมี่ คี วามลึกซึง้ อีกดวย โดยครูสามารถยกตัวอยางบทกวีที่มีความไพเราะดานการใชคํา ดังตอไปนี้ “ซอนกลิ่นกลิ่นแกวซอน นาสา เรียมฤๅ ตาดวาตาดพัสตรา หนุมเหนา สลาลิงเลหซองสลา นุชเทียบ ถวายฤๅ สวาทดั่งเรียมสวาทเจา จากแลวหลงครวญ” จากนั้นครูสามารถอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับนักเรียนเกี่ยวกับ ความหมายของคํา และความไพเราะของเสียงจากการใชคํานอกจากความไพเราะ ของเสียงที่เกิดจากการใชคําแลว ยังกอใหเกิดรสความ สงผลตออารมณความรูสึก ที่เขมขนจากการใชคําในบทกวีไดเปนอยางดี

10

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

“ลางลิงลิงลอดไม ลางลิง แลลูกลิงลงชิง ลูกไม” คําประพันธขางตนไมเดนชัดในดานใด 1. การซํ้าคํา 2. การเลนคํา 3. การเลนเสียงสัมผัส 4. การเลนเสียงวรรณยุกต วิเคราะหคําตอบ คําประพันธขางตนไมเดนในการเลนเสียงสัมผัส ในที่นี้ไมมีการเลนเสียงวรรณยุกต ตอบขอ 4.


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

อธิบายความรู

นักเรียนรวมกันตอบคําถาม ตอไปนี้ • นักเรียนคิดวา โวหารภาพพจนมีความหมาย วาอยางไร และมีจุดมุงหมายในการสื่อสาร อยางไร (แนวตอบ โวหารภาพพจนเปนการพลิกแพลง ภาษาโดยไมกลาวอยางตรงไปตรงมา เพื่อให ผูอานมีสวนรวมในการคิดและการตีความ ผูอ า นเกิดอารมณความรูส กึ รวมกับบทประพันธ อยางมีชนั้ เชิง สามารถสือ่ ความเขาใจสูผ อู า น ไดอยางแยบยลและคมคาย) • นักเรียนบอกลักษณะการใชโวหารภาพพจน ประเภทตางๆ พรอมระบุวา โวหารภาพพจน แตละชนิดสงผลตอกลวิธีทางวรรณศิลป อยางไร (แนวตอบ นักเรียนสามารถกลาวถึงกลวิธีการ ใชโวหารภาพพจนไดอยางหลากหลาย ซึ่ง โวหารภาพพจนแตละชนิดยอมสงผลตอ กลวิธีการสื่อสารและสงผลตออารมณความ รูสึกของผูอานที่มีความแตกตางกัน นักเรียน สามารถกลาวถึงภาพพจนประเภทอุปมา อุปลักษณ ปฏิพากย บุคลวัต อติพจน อวพจน และการใชคําภาษากวีจาก หนา 11 - 12)

สวนคําฉันทมีเสียงหนักเบาที่เรียกวา ครุ ลหุ ทําใหเกิดจังหวะในการอาน บางจังหวะ ทําใหเกิดอารมณเศรา บางจังหวะจะเกิดอารมณสนุกสนาน คึกคัก โดยเฉพาะการอานทีเ่ นนอารมณ ตามเนื้อหา จะทําใหบทประพันธนั้นไพเราะยิ่งขึ้น เชน อาเพศก็เพศนุชอนงค ควรแตผดุงสิริสะอาง

อรองคก็บอบบาง ศุภลักษณประโลมใจ (ฉันทยอเกียรติชาวนครราชสีมา)

๒) การใชโวหาร คือ การพลิกแพลงภาษาที่ใชพูดหรือเขียนที่ทําใหผูอานเห็นภาพ

ไดอารมณ ไดความรูสึก ไดขอคิด การใชโวหารมีหลายลักษณะ ดังนี้ (๑) การเปรียบเทียบของสองสิ่งที่มีลักษณะคลายกัน โดยใชคําเชื่อมวา เหมือน ดุจ ดัง เฉก เชน ราว ประหนึ่ง กล เปนตัวกลางแสดงการเปรียบเทียบอยูดวยเสมอ เรียกวา อุปมา เชน พี่หมายนองดุจปองปาริกชาติ

มณฑาไทเทวราชในสวนสวรรค

สิ้นแผนดินสิ้นรสสุคนธา

วาสนาเราก็สนิ้ เหมือนกลิน่ สุคนธ

(เพลงยาวนายนรินทรธิเบศร) (นิราศภูเขาทอง)

(๒) การเปรียบเทียบโดยโยงความคิดอยางหนึ่งไปสูความคิดอีกอยางหนึ่ง มักมี คําวา เปน คือ อยูดวย เรียกวา อุปลักษณ เชน ลูกเปนดวงใจของพอแม ชีวิตคือการตอสู ศัตรูคือยากําลัง

(๓) การเปรียบเทียบโดยใชคําตัดกันหรือคําตรงกันขาม เรียกวา ปฏิพากย

ขยายความเขาใจ

ตัวเปนไทใจเปนทาส, เธอหัวเราะทั้งนํ้าตา, ถึงตัวไปใจอยูเปนคูนอง

(๔) การเปรียบเทียบโดยการสมมติสิ่งตางๆ ใหมีอากัปกิริยาอาการหมือนมนุษย มีอารมณและมีความรูสึก เรียกวา บุคคลวัตหรือบุคลาธิษฐาน เชน ฟารองไห, ทะเลครวญ, ดวงตะวันแยมยิ้ม ๑๑

กิจกรรมสรางเสริม นักเรียนสังเกตคําที่ใชภาพพจนแบบตางๆ พรอมพิจารณา ความหมายทีน่ าํ มาเปรียบเทียบวามีความสอดคลองกันหรือไม พรอมพิจารณาสาระสําคัญทีก่ วีตอ งการสือ่ นักเรียนบันทึกความเขาใจ ลงในสมุด

กิจกรรมทาทาย นักเรียนพิจารณาความเปรียบที่มีเนื้อหาสอดคลองกัน เชน ความเปรียบที่วาดวยความเศราเสียใจหรือความรัก พรอมพิจารณา วา บทประพันธที่ยกมาดังกลาวมีการใชสื่อเปรียบเทียบ หรือสิ่งที่ นํามาเปรียบเทียบแตกตางกันหรือไม อยางไร นักเรียนบันทึก ความเขาใจลงในสมุด

Explain

Expand

1. นักเรียนยกตัวอยางบทประพันธที่มีการใช โวหารภาพพจนประเภทตางๆ ประกอบดวย ภาพพจนอุปมา อุปลักษณ ปฏิพากย บุคคลวัต อติพจน อวพจน และการใชคําภาษากวีคนละ 1 ประเภท พรอมอธิบายวา กลวิธดี งั กลาว สงผลตอคุณคาทางวรรณศิลปอยางไร 2. ครูสุมนักเรียน 5 - 6 คน นําเสนอหนาชั้นเรียน จากนั้นนักเรียนบันทึกความเขาใจลงในสมุด

เกร็ดแนะครู ครูควรเพิ่มเติมความรูเกี่ยวกับโวหารภาพพจนวา การใชโวหารภาพพจนเปนการ พลิกแพลงภาษาใหแปลกออกไปจากที่ใชโดยทั่วไป กอใหเกิดจินตภาพ สรางอารมณ หรือรสของความสะเทือนใจ ดวยวิธีการสื่อความหมายโดยนัย ครูสามารถเพิ่มเติมความรูความเขาใจเกี่ยวกับโวหารภาพพจนดวยการอาน บทประพันธที่มีโวหารภาพพจนแตกตางกันใหนักเรียนฟง จากนั้นใหนักเรียนบอกวา โวหารภาพพจนในแตละขอมีความแตกตางกันอยางไร เพื่อใหนักเรียนสามารถตั้ง สมมติฐานเบื้องตน เพื่อสรางความรูความเขาใจพื้นฐานจากเรื่องที่นักเรียนไดฟง และสรางความเขาใจพื้นฐานไดดวยตนเอง ชวยใหนักเรียนสามารถนําความรู ความเขาใจของตนเองไปประยุกตใชในการศึกษาวรรณคดีเรื่องอื่นได และเกิด ความคิดรวบยอดจากการปฏิบัติกิจกรรมดวยตนเอง

คูมือครู

11


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Explain

Expand

Evaluate

(๕) การเปรียบเทียบโดยกลาวใหผิดไปจากที่เปนจริง ถากลาวเกินจริง เรียกวา อติพจน กลาวนอยกวาความจริงเรียกวา อวพจน เชน อติพจน = เหนื่อยสายตัวแทบขาด อวพจน = มีทองเทาหนวดกุง

(๖) การใชคําภาษากวี ภาษากวีเปนกลุมคําพิเศษที่กวีไดเลือกสรรหรือดัดแปลง สําหรับคําประพันธโดยเฉพาะ ซึ่งไมใชในภาษาสามัญ การใชคําพิเศษนี้มีสวนสําคัญที่ทําให คําประพันธสูงสง สงางาม มีพลังหรือมีความหมายลึกซึ้งตามที่กวีรูสึก ทําใหคําประพันธบทนั้นๆ งดงามดวยรสของคํา ดังตัวอยาง พระฝนทุกขเทวษกลํ้า ขับคชบทจรจวน บรรลุพนมทวน เหตุอนาถหนักเอ

Expand เปนตน

บทประพันธนี้ผูแตงเลือกใชคําเฉพาะในบทรอยกรอง เชน เทวษ บทจร พนม คช

๕.๓ คุณคาดานสังคม

การพิจารณาบทประพันธวา ผูแตงมีจุดประสงคอยางไรในการจรรโลงสังคม ซึ่ง พิจารณาจากทรรศนะ แนวคิด การใหคติเตือนใจ การแสดงใหเห็นถึงวิถีชีวิต ความเชื่อ คานิยม วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี โดยผูแตงสอดแทรกไวในบทประพันธอยางแนบเนียน ดังตัวอยาง ใดใดในโลกลวน คงแตบาปบุญยัง คือเงาติดตัวตรัง ตามแตบุญบาปแล

อนิจจัง เที่ยงแท ตรึงแนน กอเกื้อรักษา (ลิลิตพระลอ)

๑๒

เกร็ดแนะครู ครูควรเพิ่มเติมความรูเกี่ยวกับคุณคาทางสังคมและวัฒนธรรมในแตละยุคสมัย การศึกษาคนควาคุณคาทางสังคมและวัฒนธรรมในยุคสมัยทีม่ กี ารสรางสรรควรรณคดี ถือเปนการเตรียมความพรอมในการเรียนวรรณคดี นักเรียนสามารถนําองคความรู ดังกลาวไปปรับประยุกตใชในการวิจารณวรรณคดีไดอยางกวางขวางและมีความลึกซึง้ มากยิง่ ขึน้ โดยครูควรชีแ้ นะหรือใหนกั เรียนคนควาเกีย่ วกับคานิยม ประเพณี วิถชี วี ติ นักเรียนเกิดความเขาใจและสามารถนําองคความรูด งั กลาวไปปรับใชในการพัฒนา ความคิดและการตีความบทประพันธไดลกึ ซึ้งยิ่งขึ้น เพื่อใหนักเรียนมีเจตคติที่ดีใน การศึกษาวรรณคดีและศึกษาวรรณคดีโดยไมยึดติดกับความคิดของตนเองเปนหลัก ครูเนนใหนักเรียนไดเปดกวางทางความคิดและนําเสนอมุมมองความเขาใจของ นักเรียนจากบทประพันธ การตีความวรรณคดีดวยความคิดเห็นใหมๆ ยอมสงผลให วรรณคดีมีคุณคารวมยุคสมัยปจจุบันได และเปนวิธีการสืบทอดคุณคาของวรรณคดี ไดเปนอยางดี คูมือครู

แกลครวญ จักเพล เถื่อนที่ นั้นนา อาจใหชนเห็น (ลิลิตตะเลงพาย)

นักเรียนยกตัวอยางบทประพันธที่สะทอนคุณคา ทางสังคมและวัฒนธรรม พรอมอธิบายวา บทประพันธดังกลาวสะทอนคุณคาทางสังคม และวัฒนธรรมอยางไร (แนวตอบ นักเรียนสามารถยกตัวอยางไดอยาง หลากหลายขึ้นอยูกับเหตุผลของนักเรียน เปนตนวา “เพียรเผากิเลสลาง มละโทษะยายี อีกหนึ่งประพฤติดี ดุจะพรหมพิสุทธิ์สรรพ เห็นแจง ณ สี่องค อรียสัจอัน อาจนํามนุษยผัน ติระขามทะเลวน เนื้อหากลาวถึงการกําจัดกิเลส เพื่อขามพน ความทุกข สะทอนความเชือ่ ทางพระพุทธศาสนา ในสังคมไทย)

12

ตรวจสอบผล

Explain

นักเรียนรวมกันตอบคําถาม ตอไปนี้ • นักเรียนคิดวา ในการพิจารณาคุณคาทาง ดานสังคมจากบทประพันธ นักเรียนควร พิจารณาในดานใดบาง อยางไร (แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น ไดอยางหลากหลายขึน้ อยูก บั เหตุผลของนักเรียน เปนตนวา พิจารณาจุดมุงหมายในการแตงวา กวีตองการสื่อสารเรื่องใดตอสังคม หรืออาจ ศึกษาวา บทกวีเรื่องดังกลาวมีเนื้อหาในการ จรรโลงสังคมอยางไร นอกจากนี้ นักเรียน อาจพิจารณาทรรศนะ แนวคิด คติเตือนใจ ซึ่งสะทอนคุณคาของวิถีชีวิต ความเชื่อ คานิยม วัฒนธรรม และขนบธรรมเนียมที่ สอดแทรกไวในบทประพันธวรรณคดีเรื่อง ตางๆ อยางแนบเนียน)

ขยายความเขาใจ

อธิบายความรู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

คําประพันธในขอใดมีจดุ มุง หมายในการแนะนําสัง่ สอน 1. หามเพลิงไวอยาให มีควัน 2. หามสุรยิ ะแสงจันทร สองไซร 3. หามอายุใหหนั คืนเลา 4. หามดัง่ นีไ้ วได จึง่ หามนินทา วิเคราะหคําตอบ จากคําประพันธ “หามดั่งนี้ไวได จึ่งหามนินทา” สาระสําคัญของบทประพันธนี้ คือ การนินทาเปนเรื่องธรรมดา ของโลก คนเราไมสามารถหามผูอื่นไมใหนินทาได ตอบขอ 4.


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engage

Explore

Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ตรวจสอบผล ผูแตงแสดงแนวคิดเรื่องบาปบุญวาติดตามตัวเราเหมือนเงาตามตัว ใครทํากรรมไว เชนใด ยอมไดรับผลกรรมนั้น ซึ่งเปนความเชื่อในพระพุทธศาสนาที่มีอิทธิพลตอการดําเนินชีวิต ของผูคนในสังคมไทย ¡ÒÃÇÔ¨Ñ¡É ÇÃó¤´Õ ·íÒãËŒ¼ÙŒÍ‹Ò¹ÁͧàË繤س¤‹Ò·Õè¼ÙŒáµ‹§µÑé§ã¨ÊÍ´á·Ã¡àÍÒäÇŒ ãËŒàË繤ÇÒÁ§ÒÁ ¤ÇÒÁä¾àÃÒТͧÇÃó¤´Õ ·íÒãˌ͋ҹ§Ò¹»Ãоѹ¸ ¹Ñé¹Í‹ҧʹءʹҹ à¾ÅÔ´à¾ÅÔ¹áÅÐä´ŒÃѺÃÊä¾àÃÒÐÍ‹ҧÍÔèÁàÍÁ㨠«Òº«Öé§áÅÐà¡Ô´¤ÇÒÁµÃÐ˹ѡ㹤س¤‹Ò¢Í§ §Ò¹»Ãоѹ¸ áÅÐà¡Ô´¤ÇÒÁÀÙÁÔã¨ã¹°Ò¹Ð·Õè໚¹Áô¡¢Í§ªÒµÔ «Ö觤Çä‹Òá¡‹¡ÒÃ͹ØÃÑ¡É áÅÐ Ê׺·Í´µ‹Íä»

Evaluate

1. นักเรียนสรุปสาระสําคัญเกี่ยวกับความหมาย และความสําคัญของวรรณคดี จุดมุงหมาย ในการอานวรรณคดี คุณคาของวรรณคดี และวิธีพิจารณาคุณคาวรรณคดี 2. นักเรียนสามารถยกตัวอยางบทประพันธที่มี การสรรคําใหเหมาะกับประเภทของคําประพันธ 3. นักเรียนสามารถยกตัวอยางบทประพันธที่มี การเลนเสียง โดยการใชคําเลียนเสียงธรรมชาติ การเลนเสียงวรรณยุกต การซํ้าคํา การเลนเสียง สัมผัส และการเลนคํา 4. นักเรียนสามารถยกตัวอยางบทประพันธที่มี การใชโวหารภาพพจนประเภทตางๆ และ การใชคําภาษากวี 5. นักเรียนสามารถยกตัวอยางบทประพันธที่ สะทอนคุณคาทางสังคมและวัฒนธรรม พรอมความเรียงสรุปสาระสําคัญ

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู

๑๓

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

เถลิงการกุศลสืบสราง เบญจางค ศีลเฮย เนืองนิวัทธวาง วางเวน บําเทิงหฤทัยทาง บุญเบื่อ บาปนา แสวงสัคมัคโมกขเรน รอดรื้อสงสาร บทประพันธขางตนมีเนื้อหาสอดคลองกับคําสอนทาง พระพุทธศาสนาในขอใด 1. การทําทาน 2. การรักษาศีล 3. การใชขันติธรรม 4. การบริจาคทรัพยทําบุญ

วิเคราะหคําตอบ การรักษาศีล สอดคลองกับสาระสําคัญของเรื่อง ซึ่งกลาวถึงการบําเพ็ญบุญรักษาศีล เพื่อบรรลุธรรม ตอบขอ 2.

1. ความเรียงสรุปสาระสําคัญเกี่ยวกับความหมาย และความสําคัญของวรรณคดี จุดมุงหมาย ในการอานวรรณคดี คุณคาของวรรณคดี และวิธีพิจารณาคุณคา 2. ตัวอยางบทประพันธที่มีการสรรคําใหเหมาะกับ ประเภทของคําประพันธ 3. ตัวอยางบทประพันธที่มีการเลนเสียง โดย การใชคําเลียนเสียงธรรมชาติ การเลนเสียง วรรณยุกต การซํ้าคํา การเลนเสียงสัมผัส และการเลนคํา 4. ตัวอยางบทประพันธที่มีการใชโวหารภาพพจน ประเภทตางๆ และการใชคําภาษากวี 5. ตัวอยางบทประพันธที่สะทอนคุณคาทางสังคม และวัฒนธรรม พรอมความเรียงสรุปสาระสําคัญ

เกร็ดแนะครู ครูควรตรวจสอบความรูความเขาใจของนักเรียนจากหลักฐานแสดงผลการเรียนรู เพือ่ ใหครูทราบพืน้ ฐานความรูค วามเขาใจของนักเรียนแตละคน ครูสามารถนําความรู ความเขาใจดังกลาวมาใชเปนพื้นฐานสําหรับการออกแบบการเรียนการสอน และครู สามารถเพิ่มเติมเนื้อหาหรือเนนยํ้าประเด็นที่นักเรียนไมเขาใจใหนักเรียนเกิดความรู ความเขาใจไดชัดเจนมากยิ่งขึ้น นักเรียนสามารถนําองคความรูที่ไดจากการจัดการเรียนการสอนไปประยุกตใช ในการวิเคราะหวิจารณวรรณคดีไทยเรื่องอื่นๆ ทั้งในบทเรียนนี้ รวมถึงการอาน วรรณคดีและวรรณกรรมประเภทตางๆ ไดอยางหลากหลาย เปนการตอยอด องคความรูและสรางเสริมความเขาใจของนักเรียนไดเปนอยางดี นอกจากความรู ความเขาใจของนักเรียนที่เกิดจากการประยุกตความรูที่ไดเรียนมาใชในการพิจารณา บทประพันธแลว การทําความเขาใจบทประพันธประเภทตางๆ ยังสงผลดีตอตัว นักเรียน ใหนักเรียนสามารถพัฒนาความคิดใหมีความลึกซึ้งไดมากยิ่งขึ้น คูมือครู

13


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

เปาหมายการเรียนรู

1. วิเคราะหวจิ ารณวรรณคดีเรือ่ งมหาเวสสันดรชาดก กัณฑมัทรี ตามหลักการวิจารณเบื้องตน 2. วิเคราะหลักษณะเดนของวรรณคดีเรื่องมหา เวสสันดรชาดก กัณฑมัทรี เชื่อมโยงกับการ เรียนรูทางประวัติศาสตรและวิถีชีวิตของสังคม ในอดีต 3. วิเคราะหและประเมินคุณคาวรรณคดีเรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑมัทรี • ดานเนื้อหา • ดานวรรณศิลป • ดานสังคม 4. สังเคราะหขอ คิดจากวรรณคดีเรือ่ งมหาเวสสันดร ชาดก กัณฑมทั รี เพือ่ นําไปประยุกตใชในชีวติ จริง

สมรรถนะของผูเรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการใชทกั ษะชีวิต

ÁËÒàÇÊÊѹ´ÃªÒ´¡ ¡Ñ³± Á· Ñ ÃÕ หนวยการเรียนรูที่

คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. 2. 3. 4. 5.

ตัวชี้วัด

มีวินัย ใฝเรียนรู ซื่อสัตยสุจริต มุงมั่นในการทํางาน รักความเปนไทย

กระตุน ความสนใจ

ท ๕.๑ ม.๔-๖/๑, ๒, ๓, ๔, ๖

สาระการเรียนรูแกนกลาง

• การวิ เ คราะห แ ละประเมิ น คุ ณ ค า วรรณคดี แ ละ วรรณกรรม เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑมัทรี

Engage

ครูถามนักเรียนเกีย่ วกับมหาเวสสันดรชาดกวา • นักเรียนเคยเรียนมหาเวสสันดรหรือไม ถาเคยเรียนนักเรียนเรียนกัณฑใด

เกร็ดแนะครู ครูใหความรูนักเรียนเกี่ยวกับเรื่องมหาชาติวาแบงเปน 13 กัณฑ กัณฑที่นักเรียน กําลังศึกษาอยูนี้เปนกัณฑมัทรี ครูใหนักเรียนทบทวนความรูกอนเริ่มเรียน โดยให นักเรียนสืบคนเรื่องยอกัณฑกุมารซึ่งเปนกัณฑกอนกัณฑมัทรี แลวนํามาชวยกันเลา เรื่องยอ ฝกทักษะการเลาเรื่อง และการทํากิจกรรมรวมกัน แลกเปลี่ยนเชื่อมผสาน ความรูของนักเรียนแตละคน ครูกระตุนใหนักเรียนมีปฏิสัมพันธซึ่งกันและกันใหทุกคน เปนสวนหนึ่งของการทํากิจกรรมรวมกัน ครูนํานักเรียนสนทนาเกี่ยวกับการแตงวรรณคดีศาสนา ซึ่งตางจากพระธรรม คําสอนในพระพุทธศาสนา เพราะกวีไดถือเอาความงามทางอรรถรสเปนสําคัญ จะบรรยายความงดงามทางธรรมชาติและเหตุการณตางๆ ดวยถอยคําที่กอใหเกิด อารมณลึกซึ้งกินใจ และกวีจะนําขอคิดในหลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาสอดแทรก ใหเห็นถึงแกนแทของชีวิต ซึ่งผูอานจะไดรับขอคิดความรูที่จะนําไปใชในชีวิตจริง

14

คูมือครู

กัณฑมัทรี เปนกัณฑที่ ๙ ในมหาเวสสันดร ชาดก สํานวนของเจาพระยาพระคลัง (หน) ซึ่ง เปนกัณฑที่แสดงถึงความโศกเศราอาลัยรักที่แม มีตอลูกไดอยางลึกซึ้ง โดยใชถอยคําที่ประทับใจ ให เ กิ ด ความโศกเศร า ร ว มไปกั บ พระนางมั ท รี กั ณ ฑ มั ท รี จึ ง มี ค วามดี เ ด น ทั้ ง ในด า นเนื้ อ เรื่ อ ง และการใชถอยคําใหกระทบอารมณไดอยางดีเยี่ยม อีกทั้งยังสอดแทรกเรื่องราวความรักที่แมมีตอลูก อันเปนแบบอยางและขอคิดที่มีประโยชนอยางยิ่ง


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

กระตุน ความสนใจ

๑. ความเปนมา เรื่องมหาเวสสันดรชาดกเปนวรรณคดีเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา มีเคาโครงเรื่องมาจากที่ พระพุทธเจาทรงเทศนา ณ วัดนิโครธาราม เมืองกบิลพัสดุ หลังจากที่ทรงตรัสรูเปนพระพุทธเจา มาแลว ๒ ป ซึ่งในขณะนั้นมีพระชนมายุ ๓๗ พรรษา (กอนพุทธศักราช ๔๓ ป) เหตุที่พระองค เสด็จกรุงกบิลพัสดุ เพราะจะเสด็จไปทรงเยี่ยมพระเจาสุทโธทนะพระราชบิดา พระองคเสด็จ ไปพรอมดวยพระอรหันตสาวก ๒๐,๐๐๐ รูป ขณะทีป่ ระทับอยูท วี่ ดั นิโครธาราม เมืองกบิลพัสดุ บรรดาพระประยูรญาติไดมาเขาเฝาแตกม็ ใี จ กระดางถือตนไมยอมนอมไหว พระพุทธองค1จึงทําใหบรรดาพระประยูรญาติสิ้นความมานะ ถือตนดวยพุพุทธบารมีใหบังเกิดฝนโบกขรพรรษตกลงมาจากทองฟา ฝนนี้มีลักษณะพิเศษ คือ มีสีแดงใสบริสุทธิ์ เมื่อตกถูกผูใดผูนั้นปรารถนาใหเปยกก็เปยก ไมปรารถนาใหเปยกก็ไมเปยก ภิกษุทั้งหลายเมื่อเห็นเหตุอัศจรรยดังนั้นก็ทูลถามขึ้น พระองคจึงตรัสวาฝนโบกขรพรรษที่ตกมานี้ ไมอศั จรรยอะไรเลย เพราะในชาติกอ นเมือ่ ครัง้ ทีพ่ ระองคยงั ทรงเปนพระโพธิสตั วเสวยพระชาติเปน พระเวสสันดรนั้น ฝนชนิดนี้ก็เคยตกมาแลวครั้งหนึ่ง พระสาวกทั้งหลายจึงกราบทูลอาราธนา ใหทรงเลาเรื่องนี้ พระองคจึงทรงเทศนเรื่องพระมหาเวสสันดรชาดก เพราะฉะนั้น อาจกลาวไดวา ฝนโบกขรพรรษเปนสาเหตุที่ทําใหพระพุทธเจาทรงเทศนเรื่องมหาเวสสันดรชาดกซึ่งเปนหนึ่งใน สิบพระชาติสุดทายกอนบรรลุธรรมวิเศษ ซึ่งแตละพระชาติทรงบําเพ็ญบารมีแตกตางกัน ดังนี้ พระชาติที่ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐

ชื่อชาดก

พระโพธิสัตวเสวยพระชาติ​ิเปน

เตมิยชาดก มหาชนกชาดก สุวัณณสามชาดก เนมิราชชาดก มโหสถชาดก ภูริทัตชาดก จันทกุมารชาดก พรหมนารทชาดก วิธุรชาดก เวสสันดรชาดก

(เต) (ชะ) (สุ) (เน) (มะ) (ภู) (จะ) (นา) (วิ) (เว)

พระเตมียกุมารบําเพ็ญเนกขัมบารมี (การออกบวช) พระชนกกุมารบําเพ็ญวิริยะบารมี พระสุวรรณสามบําเพ็ญเมตตาบารมี พระเนมิราชกุมารบําเพ็ญอธิษฐานบารมี มโหสถกุมารบําเพ็ญปญญาบารมี พญานาคชื่อภูริทัตบําเพ็ญศีลบารมี พระจันทกุมารบําเพ็ญขันติบารมี พระพรหมนารทกุมารบํบําเพ็ญอุเบกขาบารมี พระวิธุรบัณฑิตบําเพ็ญสัจจะบารมี พระเวสสันดรบําเพ็ญทานบารมี

Engage

ครูกระตุนความสนใจของนักเรียน โดยให นักเรียนเลาเรื่องเกี่ยวกับมหาเวสสันดรชาดก จากประสบการณของนักเรียน เชน เคยเห็นจาก ภาพจิตรกรรมฝาผนังที่วัด โบสถ หรืองานเทศน มหาชาติประจําทองถิ่น เปนตน

สํารวจคนหา

Explore

1. นักเรียนคนควาความเปนมา และรวบรวม รายชื่อกัณฑตางๆ ของมหาเวสสันดรชาดก 2. นักเรียนศึกษาเนื้อเรื่องมหาเวสสันดรชาดก กัณฑมัทรี 3. นักเรียนศึกษาลักษณะคําประพันธประเภท รายยาวที่มีคาถาบาลีขึ้นตน

อธิบายความรู

Explain

นักเรียนอานความเปนมาของเรื่อง มหาเวสสันดรในหนา 15 แลวตอบคําถาม ดังนี้ • เรื่องมหาเวสสันดรมีความสัมพันธกับ พระพุทธศาสนาอยางไร (แนวตอบ มหาเวสสันดรชาดกเปนเรื่องราว พระชาติสุดทายของพระโพธิสัตวกอนจะ เสวยพระชาติเปนพระพุทธเจา ซึ่งแสดง ใหเห็นความมานะอุตสาหะ ความเพียร พยายามในการบําเพ็ญทานบารมี การ ประสบกับความยากลําบากกอนการบรรลุ นิพพาน และเปนผูถายทอดเผยแผพระธรรม คําสอนในกาลตอมา)

๑๕

บูรณาการเชื่อมสาระ

ครูบูรณาการความรูเรื่องความสัมพันธระหวางทํานองกับลักษณะ ภาษาในมหาเวสสันดรชาดก กัณฑมัทรี โดยเชื่อมกับกลุมสาระการ เรียนรูศิลปะ วิชาดนตรี ซึง่ สามารถอธิบายไดโดยใชหลักการทางดนตรี โดยครูแนะเรื่องลักษณะการเปลี่ยนแปลงทางภาษาจากการเคลื่อน ทํานองเทศนวา เปลี่ยนเสียงนอกเขาสูเสียงในในลักษณะการเทศน เสียงที่สูงขึ้น 1 ชวงบันไดเสียง (Octave) เกิดเสียงนาสิก(Nasal) เพิม่ ขึน้ กอนทีเ่ ปลีย่ นระดับเสียงใหสงู ขึน้ ในแตละชวง ลักษณะการเพิม่ ของเสียงนาสิกมี 2 ลักษณะ ดังนี้ • การเพิ่มเสียงนาสิก ในระดับเสียงเดียวกันกอนที่จะเปลี่ยน ระดับเสียงใหสูงขึ้น • การเพิม่ เสียงนาสิกในระดับทีต่ าํ่ กวาระดับหนึง่ เสียง กอนทีจ่ ะ เปลีย่ นระดับเสียงใหสูงขึ้น ครูใหนักเรียนแบงกลุมฝกขับรองทํานองดังกลาว

บูรณาการอาเซียน ความเชื่อเกี่ยวกับเนื้อเรื่องมหาชาติที่ปรากฏเปนความเชื่อทางพุทธศาสนา เปนสิ่งสําคัญตอการสรางสรรคทางศิลปกรรมทั้งมวล ซึ่งเปนไปตามลักษณะสังคม ทองถิ่น ครูใหนักเรียนศึกษาเรื่องพระเวสสันดรของประเทศสมาชิกอาเซียนอื่นๆ ที่นับถือพระพุทธศาสนา ไดแก พมา ลาว วามีความเหมือนหรือความแตกตางจาก ของไทยอยางไร

นักเรียนควรรู 1 โบกขรพรรษ อานวา โบก-ขอ-ระ-พัด เปนฝนที่มีลักษณะพิเศษ ดังนี้ • มีสีแดงดุจทับทิม • ผูไมประสงคจะใหเปยกก็จะไมเปยก • เมื่อตกลงสูพื้น จะซึมหายไปไมขังนอง • ภาชนะไมสามารถรองรับได • เม็ดฝนไมติดรางกาย คูมือครู

15


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

1. ใหนักเรียนแบงกลุม แตละกลุมชวยกันอธิบาย เกี่ยวกับลักษณะเดนทางวรรณศิลปในเรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑมัทรี สํานวนของ เจาพระยาพระคลัง (หน) (แนวตอบ กัณฑมัทรีของเจาพระยาพระคลัง (หน) ไดรับยกยองวาดีที่สุดในเชิงพรรณนา โวหารครํ่าครวญ ลีลากลอนรายยาววรรคทุก ตอนแพรวพราวดวยการเลนคําสัมผัส เลนเสียง สํานวนเปรียบเทียบทําใหผูอานเพลิดเพลินได อรรถรส หรือฟงเทศนไดประทับใจ เนื้อหา เนนไปในเชิงบรรยายภาพของพระนางมัทรี ตามหาลูกทีย่ งั เยาวมากยังไมอดนม ความหวงหา อาทรของแมมปี รากฏ ในการใชคาํ พรรณนาโวหาร การรําพึงรําพันและครํา่ ครวญถึงลูกอยางเศราโศก ผูอานหรือฟงกัณฑนี้จะรูสึกเศราใจเปนอยางมาก ผูแตงเนนใหผูอานเกิดความซาบซึ้งในการ พรรณนาความรักของแมที่มีตอลูกในเชิง การใชโวหารทางวรรณศิลปเดนชัดที่สุด และ รสวรรณคดีพิโรธวาทังโดยการแสรงแสดงวา หึงหวง ทําใหโกรธเพื่อดับความเศราโศกเกินไป จนอาจเสียสติ และมีรสวรรณคดีสัลลาปงคพิชัย ใชถอยคําใหเกิดความรูสึกสะเทือนใจโดยการ บรรยายผานตัวละครที่แสดงใหเห็นความเปนแม ในชีวิตจริงทุกยุคทุกสมัย) 2. อธิบายลักษณะคําประพันธรา ยยาวมหาเวสสันดร (แนวตอบ รายยาวมหาเวสสันดรเปนรายยาว สําหรับเทศน จะมีคําบาลีขึ้นกอนแลวแปลเปน ภาษาไทย แลวจึงมีรายตาม ในระหวางเนื้อเรื่อง จะมีคําบาลีคั่นเปนระยะๆ คําบาลีนั้นเกี่ยวเนื่อง กับขอความที่ตามมา)

๒. ประวัติผูแตง ผูแ ตงเรือ่ งมหาเวสสันดรชาดก กัณฑมทั รี คือ เจาพระยาพระคลัง นามเดิมวา หน เปนเสนาบดีจตุสดมภกรมทา เดิม เปนหลวงสรวิชิต เคยตามเสด็จพระราชดําเนินราชการสงคราม ในสมัยรัชกาลที่ ๑ เมือ่ ครัง้ หลวงสรวิชติ รับราชการอยูท กี่ รุงธนบุรี มีความดีความชอบมาก โดยเฉพาะฝมอื ในการเรียบเรียงหนังสือ รัชกาลที่ ๑ จึงโปรดใหตั้งเปนพระยาพิพัฒโกษา ตอมา ตําแหนงเจาพระยาพระคลังวางลง รัชกาลที่ ๑ จึงโปรดเกลาฯ แตงตั้งพระยาพิพัฒโกษาขึ้นเปนเจาพระยาพระคลัง (หน) มีบุตรชาย ๒ คน คนหนึ่งเปนจินตกวี และอีก คนหนึง่ เปนครูพณิ พาทย สวนบุตรหญิงคนหนึง่ คือเจาจอมมารดา ราชาธิราช ผลงานเรื่องหนึ่ง ของเจาพระยาพระคลัง (หน) นิ่ม เปนเจาจอมมารดาสมเด็จพระบรมวงศเธอ กรมพระยา เดชาดิศร ในรัชกาลที่ ๒ เจาพระยาพระคลัง (หน) ถึงแกอสัญกรรม เมื่อปฉลู พ.ศ. ๒๓๔๘ ในสมัยรัชกาลที่ ๑ หนังสือที่เจาพระยาพระคลัง (หน) แตงที่สําคัญ ไดแก มหาชาติกลอนเทศนหรือเวสสันดรชาดก กัณฑกุมารและกัณฑมัทรี โดยทั 1 ้งสองกัณฑนี้นับไดวาแตงไดดีเยี่ยมไมมีสํานวนของผูใดสูได แมกรมพระปรมานุชิตชิโนรสจะไดทรงนิพนธขึ้นอีกสํานวนหนึ่งในภายหลังก็ยังเวนกัณฑทั้งสองนี้ เพราะของเดิมดีเยี่ยมอยูแลว

๓. ลักษณะคําประพันธ มหาเวสสันดรชาดกที่เปนมหาชาติกลอนเทศน มีลักษณะคําประพันธเปนรายยาวที่มี คาถาบาลีนํา รายยาว บทหนึ่งไมจํากัดจํานวนวรรค แตที่นิยมคือตั้งแต ๕ วรรคขึ้นไป และแตละวรรค ก็ไมจํากัดจํานวนคําเชนกัน แตไมควรนอยกวา ๕ คํา ซึ่งคําสุดทายของวรรคหนาจะสงสัมผัสไป วรรคหลังคําใดก็ได แตเวนคําสุดทายของวรรคและอาจจบลงดวย “คําสรอย” (คําสรอย เชน ฉะนี้ ดังนี้ นั้นเกิด นั้นแล แลวแล ดวยประการฉะนี้ เปนตน) แผนผังและตัวอยางรายยาว (คาถา) (นั้นแล) ๑๖

เกร็ดแนะครู ครูแนะความรูเ รือ่ งการอานออกเสียงคําประพันธประเภทรายวา นิยมอานหลบ เสียงสูงใหตาํ่ ลงในระดับของเสียงทีใ่ ชอยู สวนเสียงตรีทหี่ ลบตํา่ ลงนัน้ อาจเพีย้ นไปบาง เชน นอยนอย เปน นอยนอย เปนตน แตคาํ ทีม่ เี สียงจัตวา แมจะหลบเสียงตํา่ ลงมักจะ ไมเพีย้ น ครูใหนกั เรียนฝกอานออกเสียง โดยสังเกตตามหลักการขางตน

นักเรียนควรรู 1 กรมพระปรมานุชิตชิโนรส พระนามเดิมวา พระองคเจาวาสุกรี ทรงเปนพระ โอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราชกับเจาจอมมารดาจุย มี ความเชี่ยวชาญทางดานอักษรศาสตร ทรงพระราชนิพนธวรรณคดีไวหลายเรื่อง เชน กฤษณาสอนนองคําฉันท รายยาวมหาเวสสันดรชาดก เปนตน

16

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

กัณฑมัทรีสะทอนใหเห็นเรื่องใดชัดเจนที่สุด 1. ความยากลําบากในการใชชีวิตอยูในปา 2. ความทุกขที่เกิดจากการไมรูความจริง 3. ความจงรักภักดีของภรรยาที่มีตอสามี 4. รักใครเลาจะเทารักอันยิ่งใหญของแม วิเคราะหคําตอบ กัณฑมัทรี เปนกัณฑที่ตอจากทานกัณฑที่ พระเวสสันดรทรงบริจาคทานกุมารทั้งสองใหแกพราหมณชูชก เมื่อพระนางมัทรีรูเรื่องก็ทรงครํ่าครวญเศราโศกที่พรากจากลูก ทั้งสอง แสดงใหเห็นความรักของแม ซึง่ ตรงกับขอ 2. รักใครเทารัก อันยิ่งใหญของแม ตอบขอ 4.


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

อธิบายความรู

1. นักเรียนสรุปความจากเรื่องยอมหาเวสสันดรชาดก กัณฑมัทรีเปนภาษาสํานวนของนักเรียน 2. ครูสุมนักเรียน 2 - 3 คนมานําเสนอหนาชั้นเรียน

สา มทฺ ที ส ว นสมเด็ จ พระมั ท รี ศ รี สุ น ทรบวรราชธิ ด ามหาสมมุ ติ ว งศ วิ สุ ท ธิ สืบสันดานมา วราโรหา ทรงพระพักตรผิวผองดุจเนื้อทองไมเทียมสี ยสสฺสินี มีพระเกียรติยศ อั น โอฬารลํ้ า เลิ ศ วิ ไ ลลั ก ษณ ย อดกษั ต ริ ย  อั น ทรงพระศรั ท ธาโสมนั ส นบนิ้ ว ประนมน อ ม พระเศียรเคารพทาน ทาวเธอก็ชื่นบานบริสุทธิ์ดวยปยบุตรมิ่งมกุฎทานอันพิเศษ ฝายฝูง อมรเทเวศทุกวิมานมาศมนเทียรทุกหมูไม ก็ยิ้มแยมพระโอษฐตบพระหัตถอยูฉาดฉาน รอง 1 สาธุการสรรเสริญเจริญทานบารมี ทั้งสมเด็จอมรินทรเจาฟาสุราลัย อันเปนใหญในดาวดึงส สวรรค ก็มาโปรยปรายทิพยบุปผากรอง ทัง้ พวงแกวและพวงทองก็โรยรวงจากกลีบเมฆกระทํา สักการบูชา แกสมเด็จนางพระยามัทรี ทาวเธอทรงกระทําอนุโมทนาทาน เวสฺสนฺตรสฺส แหง 2 พระเวสสันดรราชฤๅษีผูเปนพระภัสดา อิติ เมาะ อิมินา ปกาเรน ดวยประการดังนี้แลวแล

ขยายความเขาใจ

มัทรีเปนชื่อกัณฑที่ ๙ แหงมหาเวสสันดรชาดก เริ่มตั้งแตเทวบุตร ๓ องค นิรมิตกาย เปนสัตวรายขวางทางพระนางมัทรี เกิดลางแกพระนางมัทรี พระนางจึงวิงวอนขอหนทาง ต อ สั ต ว ร  า ยทั้ ง สาม เมื่ อ เดิ น ทางถึ ง อาศรม พระนางทู ล ถามพระเวสสั น ดรถึ ง กุ ม ารทั้ ง สอง พระเวสสันดรจึงตัดพอตอวาถึงการที่กลับมาผิดเวลา พระนางมัทรีเฝารําพึงรําพันถึงสองกุมาร พลางเที่ยวเดินตามหาจนสลบไป ครั้นพอพระนางมัทรีฟนคืนสติแลว พระเวสสันดรจึงตรัสบอก ความจริงวาไดยกสองกุมารเปนทานแกชูชก พระนางมัทรีจึงอนุโมทนาบุตรทานบารมี

สรรพสาระ

http://www.aksorn.com/LC/Thai_Lit/M5/01

EB GUIDE

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

“พระนางมัทรีเฝารําพึงรําพันถึงสองกุมาร พลางเที่ยวเดินตามหา จนสลบไป” ขอใดสอดคลองกับขอความขางตน 1. หวงใดเลาจะเทาพอแมหวง 2. หวงใดเลาจะเทาพอแมหวง 3. หาใดเลาจะเทาพอแมหา 4. ใหใดเลาจะเทาพอแมให วิเคราะหคําตอบ ขอที่สอดคลองกับขอความขางตน คือ ขอ 1. หวงใดเลาจะเทาพอแมหวง ซึ่งพิจารณาไดวา เพราะความเปน หวงลูก พระนางมัทรีจึงรําพึงรําพันและตามหาสองกุมารจนตัวเอง สลบไป แสดงใหเห็นวาพระนางมัทรีมีความวิตกกังวลเปนหวงลูก อยางมาก ตอบขอ 1.

ตรวจสอบผล

Evaluate

1. นักเรียนอธิบายการใชสํานวนโวหารในการ ประพันธเรื่องมหาเวสสันดร กัณฑมัทรีของ เจาพระยาพระคลัง (หน) 2. นักเรียนเขียนแผนผังลําดับความคิดจากเรือ่ งยอ มหาเวสสันดรชาดก กัณฑมทั รี

ªÒ´¡

คําวา ชาดก มาจากคําวา ชาตก ชาต แปลวา เกิด ก (ปจจัย) แปลวา ผู , หมวด ชาตกหรือชาดก แปลวา ผูเกิดแลว ๑๐ ชาติ เรียกวา ทศชาดก หรือทศชาติ ในที่นี้คือพระพุทธเจา กอนจะตรัสรูเปน พระพุทธเจา พระองคทรงเสวยพระชาติ ๑๐ พระชาติ ไดแก ๑. เตมิยชาดก ๖. ภูริทัตชาดก ๒. มหาชนกชาดก ๗. จันทกุมารชาดก ๓. สุวัณณสามชาดก ๘. พรหมนารทชาดก ๔. เนมิราชชาดก ๙. วิธุรชาดก ๕. มโหสถชาดก ๑๐. มหาเวสสันดรชาดก

Expand

นักเรียนเขียนแผนผังลําดับความคิดจากเรือ่ งยอ (แนวตอบ ตัวอยางแผนผังลําดับเหตุการณ ดังนี้ • เทวดาขวางทางพระนางมัทรี • พระนางมัทรีทูลถามพระเวสสันดรถึงกุมาร ทั้งสอง • พระเวสสันดรแสรงตอวาพระนางมัทรีที่กลับ ผิดเวลา • พระนางมัทรีตัดพอพระเวสสันดร • พระนางมัทรีครํ่าครวญตามหาสองกุมาร • พระเวสสันดรบอกความจริงวาทรงบริจาค ทานสองกุมารใหพราหมณชูชก • พระนางมัทรีคิดไดอนุโมทนาทานดวย)

ที่มา : มหาเวสสันดรชาดก ฉบับ ๑๓ กัณฑ

๔. เรื่องยอ

Explain

๑๗

นักเรียนควรรู 1 ดาวดึงส ชื่อสวรรคชนั้ ที่ 2 แหงสวรรค 6 ชัน้ ไดแก จาตุมหาราชิกา ดาวดึงส ยามะ ดุสิต นิมมานรดี และปรนิมมิตวสวัตตี ดาวดึงสอยูบนเขาพระสุเมรุ เปน เมืองใหญที่สรางอยางงดงาม มีเสียงดนตรีบรรเลงอยูอยางไพเราะ มีพระอินทร เปนผูครอง 2 พระภัสดา หมายถึง สามี มักใชกับชนชั้นสูง และนํามาแตงคําประพันธใน วรรณคดี

มุม IT ศึกษาเกี่ยวกับเนื้อเรื่องเทศนมหาชาติกัณฑตางๆ เพิ่มเติม ไดที่ http://www.thaigoodview.com/library/teachershow/poonsak/mahachat/ chadok_09.html คูมือครู

17


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

กระตุน ความสนใจ

Explore

1. นักเรียนรวบรวมคาถาบาลีจากเนื้อเรื่อง กัณฑมัทรี แลวจดบันทึกลงสมุด 2. นักเรียนอานเนื้อเรื่องมหาเวสสันดรชาดก กัณฑมัทรี 3. นักเรียนศึกษาลักษณะนิสัยของตัวละครในเรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑมัทรี โดยคนควาจาก แหลงเรียนรูตางๆ

อธิบายความรู

Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Engage

ครูเปดวีซีดีรายยาวมหาชาติชาดก กัณฑมัทรี ใหนกั เรียนฟง แลวใหนกั เรียนอานออกเสียงเนือ้ เรือ่ ง พรอมกันตามทวงทํานองจังหวะรายยาวทีฟ่ ง จากวีซดี ี

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Explain

นักเรียนอานเนื้อเรื่องมหาเวสสันดรชาดก กัณฑมัทรี ในหนา 18 แลวตอบคําถามตอไปนี้ • เพราะเหตุใดพระอินทรจึงสั่งเทพบริวารให แปลงกายไปขวางสกัดกั้นพระนางมัทรีไว เพื่อไมใหรีบกลับไปยังอาศรม (แนวตอบ บรรดาเทพยดาตางปริวิตกวา พระนางทรงทุกขโศกหากกลับออกจากปาและ ทราบเรื่องจะทรงติดตามไปทวงพระกุมาร ทั้งสองคืนจากชูชกจะทําใหพระเวสสันดร ทรงบําเพ็ญทานบารมีไมสําเร็จ) • เทพสามองคที่ตองแปลงกายไปขวาง พระนางมัทรี แปลงกายเปนอะไรบาง (แนวตอบ เทพองคหนึง่ แปลงกายเปนพญาไกรสร อีกสององคเปนพยัคฆพญาเสือโครงและ เสือเหลือง)

๕. เนื้อเรื่อง ยํ ปน รฺ า มหาปวึ อุนฺนาเทตฺวา พฺราหฺมณสฺส ปยปุตฺเตสุ ทินฺเนสุ ยาว พฺรหมฺโลกา เอกโกลา หลํ ชาตํ, เตนาป ภิชฺชิตหทยา วิย หิมวนฺตวาสิโน เทวตาโย เตสํ พฺราหฺมเณน นียมานานํ ตํ วิลาป สุตฺวา, มนฺตยึสุ, สเจ มทฺที สกาลสฺเสว อสฺสมํ อาคมิสฺสติ, สา ตตฺถ ปุตฺเต อทิสฺวา, เวสฺสนฺตรํ ปุจฺฉิตฺวา, พฺราหฺมณสฺส ทินฺนภาวํ สุตฺวา, พลวสิเนเหน ปทานุปทํ ธาวิตฺวา, มหนฺตํ ทุกฺขํ อนุภเวยฺยาติ

ยํ โกลาหลํ อันวาโกลาหลอันใดเปนวิสัยแสนกัมปนาท รฺ า เมาะ เวสฺสนฺตเรน อันพระมหาบุรุษราชชาติอาชาไนยเชื้อชินวงศ ทรงบําเพ็ญเพิ่มโพธิสมภาร ดวยเดชอํานวยทาน โพธิสัตว เปนปจฉิมปรมัตถบารมีอันหมายมั่น ตํ โกลาหลํ ก็บังเกิดมหัศจรรยในไตรภพ จบจน พรหเมศ ทินฺเนสุ ปางเมื่อทาวเธอยกสองดรุณเยาวเรศผูยอดรัก ราวกะวาจะแขวะควักซึ่ง ดวงเนตรทั้งสองขางวางไวในมือพราหมณ เฒาก็พาสองกุมารพะงางามไปทางกันดาร ควรจะ สงสารแสนอนาถอนาถา ดวยพระลูกเจาเปนกําพรา พรากพระชนนีแตนอยๆ ยังไมวายนม พราหมณยิ่งขูขมเขนเขี้ยวคํารามตีตอนใหดวนเดิน ตามปารกระหกระเหินหอบหิวแลวไหโหย มี แตเสียงเธอโอดโอยสะอืน้ รองรําพันสัง่ ทุกเสนหญา ก็หวัน่ ๆ วังเวงวิเวกปาพระหิมพานต เตสํ ลาลปตํ สุตฺวา ฝายฝูงเทพทุกสถานพิมานไมไศลเกริ่นเนินแนวพนาวาส ไดสลับคําประกาศสองกุมาร ทรงพระกันแสงสั่งศาสนจนสุดเสียง ดั่งทิพยพิมานจะเอนเอียงออนลงชอยชด เทพเจาก็เศราสลด พิลาปเหลียวมาแลดูดูมิได ภิชฺชิตหทยา วิย ปมประหนึ่งวาดวงหทัยจะปะทุทะลุลั่นละเอียดออก ทุกอกองค ดวยทรงพระอาลัยนั้นใหญหลวง ก็พากันกุมกรขอนทรวงทรงพระกันแสงโศกอยู ซบเซา จึ่งปรารภวา ชาวเราเอยจะคิดไฉนดี ถาแมนสมเด็จพระมัทรีเธอกลับเขามาแตกาลยังวัน มิทนั เย็น อทิสวฺ า เมือ่ ทาวเธอมิไดเห็นพระเจาลูกเธอก็จะทูลถาม ครั้นแจงความวาพราหมณพาไป นางก็จะอาลัยโลดแลนไปตามติดไมคิดตาย มหนฺตํ ทุกฺขํ คิดไปคิดไปแลวใจหายเห็นนานํ้าตาตก วาโอโออกมัทรีเอย จะเสวยพระทุกขแทบถึงชีวิตจะปลิดปลง ดวยพระลูกรักทั้งสองพระองคนี้ แลวแล ภิกฺขเว ดูกรสงฆผูทรงศีลสังวรญาณ เทวสงฺฆาโย ฝายฝูงเทพทุกสถานพิมานไมไพรพนม มีอารมณอนั รอนเรา สวนเทพยเจาจอมสากล จึง่ มีเทวยุบลบังคับ แกเทพอันดับทัง้ สามองค อันทรง มหิทธิฤทธิศักดาวา ทานเอยจงนิรมิตบิดเบือนกายกลายอินทรีย เปนพยัคฆราชสีหสองเสือ สามสัตวสกัดหนานางพระยามัทรีไว ตอทิพากรคลาไคลคลอยเย็นเห็นดวงพระจันทรขึ้นมา อยูรางๆ ทานจึงลุกหลีกหนทางใหแกนางงาม ตโย เทวปุตฺตา สวนเทพยเจาทั้งสามก็อําลา ลีลาศผาดแผลง จําแลงเป1นพญาไกรสรราชผาดแผดเสียงสนัน่ ดัง่ สายอสนีลนั่ ตลอดปา องคหนึง่ เปนพยัคฆพญาเสือโครงคํารนรอง องคหนึ่งเปนเสือเหลืองเนื่องคะนองยองหยัดสะบัดบาท ๑๘

เกร็ดแนะครู ครูใหนักเรียนฝกการอานเนื้อเรื่องที่เปนคําบาลี พรอมทั้งคําประพันธที่เปนราย ควบคูกัน หากนักเรียนมีขอสงสัยหรือติดขัด ครูใหนักเรียนศึกษาหลักการอาน คําบาลีเพิ่มเติม และครูแนะนําวาควรอานอยางไรใหถูกตองตามลักษณะคําประพันธ จากนั้นครูทบทวนความเขาใจของนักเรียน โดยจัดกิจกรรมใหนักเรียนรวมกันเลา เรื่องยอตามความเขาใจของตนเอง

นักเรียนควรรู 1 เสือโครง เสือที่มีขนาดใหญที่สุดในประเทศไทย ลําตัวมีสีเหลืองและลายสีดํา พาดตามขวาง ลักษณะนิสยั ชอบเลนนํา้ มากกวาเสือชนิดอืน่ มักอยูล าํ พังเพียงตัวเดียว ยกเวนในฤดูผสมพันธุ

18

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ขอใดไมใช ภาพพจน 1. จะเอาแตยูงยางในปาหิมพานตมาตางฉัตรเงินและฉัตรทอง 2. ยกเศียรพระมัทรีขนึ้ ใสตกั วักเอาวารีมาโสรจสรงลงทีอ่ รุ ะพระมัทรี 3. ทั้งจักจั่นพรรณลองไนเรไรรองอยูหริ่งๆ ระเรื่อยโรยโหยสําเนียง ดั่งเสียงสังคีตขับประโคมไพร 4. เสด็จดวนดะดุมเดินเมินมุงละเมาะไม แลวมองหมอบแตยาง เหยียบเกรียบกรอบก็เหลียวหลัง วิเคราะหคําตอบ ขอ 1. ใชภาพพจนอุปมา มีคําวา “มาตาง” คือ เปรียบวายูงยางในปาหิมพานตหรือจะมาแทนฉัตรเงินฉัตรทองได ขอ 2. กลาวถึงวาพระเวสสันดรยกพระเศียรของพระนางขึ้นวาง บนตักและเอานํ้ามาพรมที่อกใหพระนางฟน ขอ 3. และขอ 4. ใช ภาพพจนสัทพจนเลียนเสียงธรรมชาติ “ลองไนเรไรรองอยูหริ่งๆ” และ เสียงเดิน “ยางเหยียบเกรียบกรอบ” ขอที่ไมใชภาพพจน

ตอบขอ 2.


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู ต า งองค ก็ ก ระทํ า สี ห นาทน า พิ ลึ ก แสยงขน ก็ พ ากั น จรดลไปนอนคอยที่ ช  อ งแคบขวางมรคา ที่พระนางเธอจะเสด็จมา สูพระบรรณศาลา นั้นแล สา มทฺที ปางนัน้ สวนสมเด็จพระมัทรีศรีสนุ ทรเทพกัญญา จําเดิมแตพระนางเธอลีลาลวงลับ พระอาวาส พระทัยนางใหหวั่นหวาดพะวงหลัง ตั้งพระทัยเปนทุกขถึงพระเจาลูกมิลืมเลย เดินพลางทางเสวยพระโศกพลาง พระนัยนเนตรทั้งสองขางไมขาดสายพระอัสสุชล พลางพิศดู ผลาผลในกลางไพร ที่นางเคยไดอาศัยทรงสอยอยูเปนนิตยผิดสังเกต1 เหตุไฉนไมที่มีผลเป2นพุมพวง ก็กลายกลั3 บเปนดอกดวงเดียรดาษอนาถเนตร แถวโนนก็แกวเกดพิกุลแกมกับกาหลง ถัดนั่นก็ สายหยุดประยงคและยมโดย พระพายพัดก็รวงโรยรายดอกลงมูนมอง แมยังไดเก็บเอาดอกมา รอยกรองไปฝากลูกเมือ่ วันวาน ก็เพี้ยนผิดพิสดารเปนพวงผล ผิดวิกลแตกอนมา สพฺพา มุยฺหนฺติ เม ทิสา ทั้งแปดทิศก็มืดมิดมัวมนทุกหนแหง ทั้งขอบฟาก็ดาดแดงเปนสายเลือด ไมเวนวาย หายเหือดเปนลางรายไปรอบขาง ทกฺขณ ิ กฺขิ พระนัยนเนตรก็พรางๆ อยูพรายพร 4 อย ในจิตใจ ของแม ยั ง น อ ยอยู  นิ ด เดี ย ว ทั้ ง อิ น ทรี ย  ก็ เ สี ย วๆ สั่ น ระรั ว ริ ก แสรกคานบั น ดาลพลิ ก พลั ด ลงจากพระอังสา ทั้งขอนอยในหัตถาที่เคยถือ ก็เลื่อนหลุดลงจากมือไมเคยเปนเห็นอนาถ เอะประหลาดหลากแลวไมเคยเลย โออกเอยมหัศจรรยจริง ยิ่งคิดก็ยิ่งกริ่งๆ กรอมพระทัย เปนทุกขถึงพระลูกรักทั้งสองคน เดินพลางนางก็รีบเก็บผลาผลแตตามได ใสกระเชาสาวพระบาท บทจรดุมเดินมาโดยดวน พอประจวบจวนพญาพาฬมฤคราช สะดุงพระทัยไหวหวาดวะหวีด วิ่งวนแวะเขาขางทาง พระทรวงนางสั่นระรัวริกเตนดั่งตีปลา ทรงพระกันแสงโศกาไหพิไรรํ่า วา กรรมเอยกรรม กรรมของมัทรี โอเวลาปานฉะนี้พระลูกนอยจะคอยหา อนึ่งมรคาก็ชองแคบ หวางคีรี เปนตรอกนอยรอยวิถีที่เฉพาะจร ทั้งสามสัตวก็มาเนื่องนอนสกัดหนา ครั้นจะลีลา หลีกลัดตัดเดาไปทางใดก็เหลือเดิน ทั้งสองขางเปนโขดเขินขอบคันขึ้นกั้นไว นีเจ โวลมฺพเก สุริเย ทัง้ เวลาก็เย็นลงเย็นลงไรๆ จะคํา่ แลว ยังไมเห็นหนาพระลูกแกวของแมเลย อกเอยจะทําไฉนดี จึง่ จะ ไดวิถีทางที่จะครรไล พระนางจึ่งปลงหาบคอนลงวอนไหวแลวอภิวาทน ขาแตพญาพาฬมฤคราช อันเรืองเดช ทานก็เปนพญาสัตวในหิมเวศวนาสณฑ จงผินพักตรปริมณฑลทั้งสามรา มารับ วันทนานอมไปดวยทศนัขเบญจางค เม เมาะ มยา แหงนองนางนามชื่อวามัทรี ราชปุตฺตี นองก็เปนกัลยาณีหนอกษัตริยมัททราชสุริยวงศ อนึ่งนองเปนเอกองคอัครบริจาริกากร แหง พระเวสสันดรราชฤๅษี อันจําจากพระบุรีมาอยูไพร นองนี้ก็ตั้งใจสุจริตติดตามมาดวยกตเวที อนึ่งพระสุริยศรีก็ยํ่าสนธยาสายัณหแลว เปนเวลาพระลูกแกวจะอยากนมกําหนดเสวย พระพี่เจา ของนองเอยทั้งสามรา ขอเชิญกลับไปยังรัตนคูหาหองแกว แลวจะไดเชยชมซึ่งลูกรักและเมียขวัญ อนึ่งนองนี้จะแบงปนผลไมใหสักกึ่ง ครึ่งหนึ่งนั้นนองจะขอไปฝากพระหลานนอยๆ ทั้งสองรา มคฺคํ เม เทถ ยาจิตา พระพี่เจาทั้งสามของนองเอย จงมีจิตคิดกรุณาสังเวชบาง ขอเชิญลวงครรไล ใหหนทางพนาวันอันสัญจร แกนองที่วิงวอนอยูนี้เถิด ๑๙

บูรณาการเชื่อมสาระ

จากกิจกรรมการเขียนคําอานคาถาบาลี ครูบูรณาการเชื่อมโยง ความรูเ ขากับกลมุ สาระการเรียนรูส งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม วิชาพระพุทธศาสนาทีม่ หี นวยการเรียนรูพ ทุ ธศาสนสุภาษิต เพือ่ ให นักเรียนฝกภาษาคําบาลีสนั สกฤต ซึง่ เปนลักษณะคําประพันธสว นหนึง่ ของเนือ้ เรือ่ ง การฝกอานพุทธศาสนสุภาษิตสอนใจในวิชาพระพุทธศาสนา จะชวยใหนักเรียนสามารถอานเนื้อเรื่องมหาเวสสันดรที่มี ลักษณะคําประพันธเปนคาถาบาลีไดถูกตอง คลอง ชัดเจนยิ่งขึ้น

Explain

1. นักเรียนสรุปหลักการเขียนคําอานภาษาบาลี (แนวตอบ หลักการเขียนคําอานภาษาบาลี สรุปได ดังนี้ • พยัญชนะทีไ่ มปรากฏสระใดประกอบใหเขาใจ วามีเสียงสระ อะ อยูดวย ใหอานออกเสียง เหมือนมีสระ อะ ประกอบ ไมตองอาน ออกเสียง อะ เต็มเสียงนัก เพราะ อะ เปน สระเสียงสั้น (รัสสะ) และเปนเสียงเบา (ลหุ) เชน สรณํ อานออกเสียงวา สะ-ระ-ณัง • พยัญชนะที่มีจุด (พินทุ) อยูขางลาง แสดงวา พยัญชนะตัวนั้นเปนตัวสะกด หามออกเสียง • ถาพยัญชนะที่อยูขางหนาพยัญชนะที่มีจุด ไมประกอบดวยสระใดๆ ใหอานออกเสียงดุจ ไมหันอากาศในภาษาไทย • พยัญชนะตัว ย ร ล ว ถาอยูหลังพยัญชนะ ตัวอื่น ใหออกเสียงผสมกับพยัญชนะตัวหนา โดยออกเสียงควบกลํ้ากับตัว • นิคหิต (อํ) จัดเปนพยัญชนะตัวหนึ่งในภาษา บาลี ประกอบกับสระ อะ อิ อุ • พยัญชนะ ส มีเสียงคลายตัว s ในภาษา อังกฤษ และแมเปนตัวสะกดก็ใหออกเสียงได เล็กนอย • พยัญชนะ ย ที่ซอนหนาตัวเอง ในคําวา อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ใหอา นออกเสียงคลาย อัยยะ หามออกเสียงเปน เอยยะ • คําที่ลงทายดวย ตวา ตวาน ใหออกเสียงตัว ต สะกด และออกเสียงตัว ต นั้นอีกกึ่งเสียง เชน ปริเทวิตวา อานวา ปะ-ริ-เท-วิต-ตะ-วา เปนตน) 2. ใหนักเรียนเขียนคําอานคาถาบาลีที่นักเรียน รวบรวมไดลงสมุด

นักเรียนควรรู 1 เกด ไมตนขนาดใหญ ผลสุกมีรสหวาน รับประทานได ชาวประมง นิยมนําไมเกดมาทําเรือโดยใชวิธีสลักเขาลิ่มแทนตะปู เพื่อยึดไมกระดาน เขากับโครงของเรือ เพราะถาใชตะปูจะเกิดสนิม นอกจากนี้ดอกเกด ยังเปนดอกไม ประจําจังหวัดประจวบคีรีขันธ 2 กาหลง ไมพุมชนิดหนึ่ง สวนปลายใบหยักเวาลึก ดอกใหญ สีขาว ออกดอก เปนชอสั้นตามงามใบ มีชื่อพื้นเมือง เชน กาแจะกูโด (มลายู-นราธิวาส) สมเสี้ยว (ภาคกลาง) เสี้ยวนอย (เชียงใหม) และยังเปนดอกไมประจําจังหวัดสตูล 3 สายหยุด ชื่อไมเถาเนื้อแข็ง ดอกสีเหลือง กลิ่นหอม จะหมดไปในตอนสาย มีชื่อเรียกอื่นอีก เชน กลวยเครือ เครือเขาแกลบ เสลาเพชร เปนตน 4 แสรกคาน เครื่องใสของสําหรับหิ้วหรือหาบ ทําดวยหวาย มี 4 สาย สวนบน ทําเปนหูสําหรับสอดไมคาน สวนลางสานขัดกันเปนสี่เหลี่ยมสําหรับวางกระจาด คูมือครู

19


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

1. นักเรียนอธิบายลักษณะคําประพันธรายยาว ที่ขึ้นตนบทดวยภาษาบาลี (แนวตอบ รายยาวเปนคําประพันธรอยกรองที่ใช ภาษาบาลี บทหนึ่งมี 4 บาท เรียกวา 1 คาถา บาทของคาถากําหนดดวยการวาง ครุ ลหุ ตามบัญญัติแหงฉันทลักษณของฉันทแตละชนิด กลาวคือ ในวรรณคดีและวรรณกรรมไทยที่ เกีย่ วเนือ่ งกับพระพุทธศาสนา มหาเวสสันดรชาดก จะระบุจํานวนคาถาของแตละกัณฑไวดวย เชน กัณฑกุมารมี 101 คาถา กัณฑมัทรีมี 90 คาถา เปนตน) 2. นักเรียนคัดลอกคําประพันธที่เปนคาถาบาลี ลงสมุด 4 - 6 บท จากนัน้ เขียนคําอานใหถกู ตอง ตามหลักการอานภาษาบาลี นําสมุดสงครู

ตมตฺถํ ปกาเสนฺโต สตฺถา อาห ตสฺสา ลาลปฺปมานาย สุตฺวา เนลปตึ วาจํ อิมมฺหิ นํ ปเทสมฺหิ ปจฺจุคฺคตา มํ ติฏนฺติ อิมมฺหิ นํ ปเทสมฺหิ ปจฺจุคฺคตา มํ ติฏนฺติ อิมมฺหิ นํ ปเทสมฺหิ ปจฺจุคฺคตา มํ ติฏนฺติ เต มิคา วิย อุกฺกณฺณา อานนฺทิโน ปมุทิตา ตฺยชฺช ปุตฺเต น ปสฺสามิ ฉคิลีว มิคี ฉาป

พหุการุฺสฺ หิตํ พาฬา ปนฺถา อปกฺกมุนฺติ ปุตฺตกา ปสุกุณฺิตา วจฺฉา พาลาว มาตรํ ปุตฺตกา ปสุกุณฺิตา หํสาวูปริปลฺลเล ปุตฺตกา ปสุกุณฺิตา อสฺสมสฺสาวิทูรโต สมนฺตามภิธาวิโน วตฺตมานาว กมฺปเร ชาลึ กณฺหาชินา จุโภ ปกฺขี มุตฺตาว ปฺ ชรา ฯลฯ

ตโย เทวปุตฺตา สวนเทพเจาทั้งสามองคไดทรงฟงพระเสาวนีย พระมัทรีเธอไหววอน ขอหนทาง พระพักตรนางนองไปดวยนํ้าพระเนตร เทพเจาก็สังเวชในวิญญาณ ก็พากันอุฏฐาการ คลาไคลใหมรคาแกนางพระยามัทรี พอแจมแจงแสงสีศศิธร นางก็ยกหาบคอนขึน้ ใสบา เปลือ้ งเอา พระภูษามาคาดพระถันใหมนั่ คง วิง่ พลางนางทรงกันแสงพลาง ยะเหยาะเหยาทุกฝยา งไมหยอนหยุด พักหนึ่งก็ถึงที่สุดบริเวณพระอาวาส ที่พระลูกเจาเคยประพาสแลนเลน ประหลาดแลวแลไมเห็น ก็ใจหาย ดั่งวาชีวิตนางจะวางวายลงทันที จึ่งตรัสเรียกวา แกวกัณหาพอชาลีของแมเอย แมมา ถึงแลวเหตุไฉนไยพระลูกแกวจึ่งมิมาเลาหลากแกใจ แตกอนแตไรสิพรอมเพรียง เจาเคยวิ่งระรี่ เรียงเคียงแขงกันมาคอยรับพระมารดา ทรงพระสรวลสํารวลราระรืน่ เริงรีบรับเอาขอคาน แลวก็พา กันกราบกรานพระชนนี พอชาลีเจาเลือกเอาผลไม แมกัณหาฉะออนวอนไหววาจะเสวยนม ผทมเหนือพระเพลาพลางฉอเลาะแมนตี้ า งๆ ตามประสาทารกเจริญใจ วจฺฉา พาลาว มาตรํ มีอปุ ไมย เสมือนหนึ่งลูกทรายทรามคะนอง ปองที่วาจะชมแมเมื่อสายัณห โอพระจอมขวัญของแมเอย เจามิเคยไดความยากยางเทาลงเหยียบดิน ริ้นก็มิไดไตไรก็มิไดตอม เจาเคยฟงแตเสียงพี่เลี้ยงเขา ขับกลอมบําเรอดวยดุริยางค ยามบรรทมธุลีลมก็มิไดพัดมาแผวพาน แมสูพยาบาลบํารุงเจาแต เยาวมา เจามิไดหางพระมารดาสักหายใจ โอความเข็ญใจในครั้งนี้นี่เหลือขนาด สิ้นสมบัติพลัด ญาติยังแตตัว ตองไปหามาเลี้ยงลูกและเลี้ยงผัวทุกเวลา แม1มาสละเจาไวเปนกําพราทั้งสององค หํสาว เสมือนหนึ่งลูกหงสเหมราชปกษินปราศจากมุจลินทไปตกคลุกในโคลนหนอง สิ้นสีทอง ๒๐

เกร็ดแนะครู ครูแนะความรูเรื่องเครื่องกัณฑเทศนในเรื่อง “ประเพณีการเทศนมหาชาติ” ของ กรมพระนราธิปประพันธพงศ มีความตอนหนึ่งวา “เครือ่ งกัณฑมกั มีเครือ่ งสรรพาหาร ผลไมกบั วัตถุปจ จัยคือเงินตราเรานีด่ ๆี และผาไตร อันนี้เปนธรรมเนียมไมใครขาด ที่มีเครื่องบริขารอื่นตางๆ เพิ่มเติมอีกดวยก็มีมากบริขารสําหรับมหาชาติที่ถือวา ถูกแบบแผนนั้น มักจัดเปนจตุปจจัย คือ 1. ผาไตรนั้น อนุโลมเปนตัวจีวรปจจัย 2. สรรพาหาร ผลไมอนุโลมเปนบิณฑบาตปจจัย 3. เสื่อ สาด อาสนะ ไมกวาด เลื่อย สิ่ว ขวาน อนุโลมในเสนาสนะปจจัย 4. ยาและเครื่องยาตางๆ นํ้าผึ้ง นํ้าตาล อนุโลมคิลานปจจัยบริขาร”

นักเรียนควรรู 1 มุจลินท เปนสระใหญในปาหิมพานต บริเวณขอบสระจะมีตนจิกขึ้นโดยรอบ

20

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

“ครั้นคลาดแคลวเคลื่อนคลอยเขาสูดงปานประหนึ่งวาจะหลงลืม ลูกสละผัว ตอมืดมัวจึ่งกลับมาทําเปนบีบนํ้าตาตีอกวาลูกหาย ใครจะไมรูแยบคายความคิดหญิง ถาแมนเจาอาลัยอยูดวยลูกจริง เหมือนวาจา ก็จะรีบกลับมาแตตะวันไมทันรอน” ผูกลาวขอความขางตนมีจุดประสงคใด 1. ตองการใหคลายความเศราโศกโดยการทําใหโกรธแทน 2. ตองการใหสํานึกผิดและหยุดการตัดพอตอวาผูพูด 3. ตองการใหปรับปรุงตัวกลับใหตรงเวลา 4. ตองการใหรูวาผูพูดรูทันความคิด วิเคราะหคําตอบ ขอความขางตนเปนตอนที่พระเวสสันดรตัดพอ ตอวาพระนางมัทรีที่กลับมาถึงอาศรมมืดคํ่า โดยมีจุดประสงค เพื่อที่จะคลายความเศราโศกของพระนางมัทรีที่หาลูกไมพบ จึงแสรงตอวาพระนาง ตอบขอ 1.


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู อันผองแผว แมกลับเขามาถึงแลวไดเชยชมชื่นสบาย ที่เหนื่อยยากก็เสื่อมหายคลายทุกขทุเลาลง ลืมสมบัติทั้งวงศาในวังเวียง โอ แตกอนเอย แมเคยไดยินเสียงเจาเจรจาแจวๆ อยูตรงนี้ อิทํ ปทวลฺ ชํ นั่นก็รอยเทาพอชาลี นี่ก็บทศรีแมกัณหาพระมารดายังแลเห็น โนนก็กรวดทรายเจา ยั ง รายเล น เป น กองๆ สิ่ ง ของทั้ ง หลายเป น เครื่ อ งเล น ยั ง เห็ น อยู  น ทิ สฺ ส เร แต ลู ก รั ก ทั้ ง คู  ไปอยูไ หนไมเห็นเลย อยํ โส อสฺสโม โอ พระอาศรมเจาเอยนาอัศจรรย1ใจ แต2 กอ นดูนสี่ กุ ใสดวยสีทอง เสียงเนือ้ นกนีร่ าํ่ รองสําราญรังเรียกคูค ขู ยับขัน ทัง้ จักจัน่ พรรณลองไนเรไรรองอยูห ริง่ ๆ ระเรือ่ ยโรย โหยสําเนียงดั่งเสียงสังคีตขับประโคมไพร โอ เหตุไฉนเหงาเงียบเมื่อยามนี้ ทั้งอาศรมก็หมองศรี เสมือนหนึ่งวาจะเศราโศก เออชะรอยวาพระเจาลูกจะวิโยคพลัดพรากไปจากอกพระมารดา เสียจริงแลวกระมังในครั้งนี้ นางก็กลับเขาไปทูลพระราชสามีดวยสงสัยวา พระพุทธเจาขา ประหลาดใจกระหมอมฉัน อันสองกุมารไปอยูไหนไมแจงเหตุ หรือพากันไปเที่ยวลับพระเนตร นอกตําแหนง สิงหสัตวที่รายแรงคะนองฤทธิ์ มาพานพบขบกัดตัดชีวิตพระลูกขาพาไปกินเปน อาหาร ถึงกระนั้นก็จะพบพานซึ่งกเลวระราง มิเลือดก็เนื้อจะเหลืออยูบางสักสิ่งอัน แตพอแมไดรู สําคัญวาเปนหรือตาย สุดที่แมจะมุงหมายสุดประมาณแลว จึ่งตรัสวาโอเจาแวนแกวสองสวาง อกของแมเอย แมเคยไดรับขวัญเจาทุกเวลา เปนไรเลาเจาจึ่งไมมาเหมือนทุกวัน มตา หรือวา พระลูกเจาอาสัญศูนยสิ้นพระชนมาน อยูในปาพระหิมพานตนี้แลวแล อิทํ ตโต ทุกฺขตรํ สลฺลวิทฺโธ ยถา วโณ ตฺยชฺช ปุตฺเต น ปสฺสามิ ชาลึ กณฺหาชินํ จุโภ อิทํป ทุติยํ สลฺลํ กมฺเปติ หทยํ มม ยฺ จ ปุตฺเต น ปสฺสามิ ตฺวฺ จ มํ นาภิภาสสิ อชฺช เจ เม อิมํ รตฺตึ ราชปุตฺต น สํสสิ มฺ เ โอกฺกนฺตสตฺตํ มํ ปาโต ทกฺขสิ โน มตํ นนุ มทฺที วราโรหา ราชปุตฺตี ยสสฺสินี ปาโต คตาสิ อุจฺฉาย กิมิทํ สายมาคตา นนุ ตฺวํ สทฺทมสุโสสิ เย สรํ ปาตุมาคตา สีหสฺส วินทนฺตสฺส พฺยคฺฆสฺส จ นิกูชิตํ อาหุ ปุพฺพนิมิตฺตํ เม วิจรนฺตฺยา พฺรหาวเน ขณิตฺโต เม หตฺถา ปติโต อุคฺคีวฺ จาป อํสโต ตทาหํ พฺยตฺถิตา ภีตา ปุถํ กตฺวาน อฺ ชลึ สพฺพา ทิสา นมสฺสิสฺสํ อป โสตฺถิ อิโต สิยา มา เหว โน ราชปุตฺโต หโต สิเหน ทีปนา ทารกา วา ปรามฏา อจฺฉโกกตรจฺฉิภิ ๒๑

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

“ขาพระบาทก็จํานงจิตมิไดคิดเปนใจสอง หวังวาจะเปนเกือกทอง ฉลองพระบาทยุคลพระทูนหัวไปกวาจะสิ้นบุญตัวตายไปเมืองผี” จากขอความขางตนมีลักษณะเดนทางวรรณศิลปอยางไร แนวตอบ ลักษณะเดนทางวรรณศิลปของขอความขางตน คือ มีการใชโวหารภาพพจนอุปลักษณ ซึ่งเปนการเปรียบเทียบสิ่งหนึ่ง เปนอีกสิ่งหนึ่ง โดยพระนางมัทรีเปรียบตนเองเปนเกือกทองฉลอง พระบาทของพระเวสสันดร

Explain

ครูสุมนักเรียน 2 - 3 คน ชวยกันอภิปรายตาม หัวขอตอไปนี้ • นักเรียนคิดวาความโศกเศราเสียใจของ พระนางมัทรีที่หาลูกไมพบแสดงใหเห็นอะไร และนักเรียนรับรูความรูสึกของพระนางมัทรี ไปดวยหรือไม อยางไร (แนวตอบ เมื่อพระนางมัทรีหาลูกไมพบแลว เกิดความประหวั่นพรั่นพรึง แสดงใหเห็นถึง ความเปนแมที่หวงใยลูกโดยทั่วไป แมวา พระนางมัทรีจะเปนตัวละครสําคัญที่ชวย สนับสนุนใหพระเวสสันดรบรรลุธรรมในชาติ สุดทายนี้ กอนจะเสวยพระชาติเปนพระสัมมาสัมพุทธเจา ก็ตองฝาฟนอุปสรรคทางใจ การขมกลั้นความรูสึกอยางมนุษยปุถุชน ทั่วไปที่มีความรูสึกหวงหาอาทรลูก การที่ พระนางมัทรีเกิดความทุกขใจ ทําใหเห็น พัฒนาการทางดานจิตใจของตัวละคร ที่มีความเปลี่ยนแปลงจากมนุษยสูการเปน ตัวละครในอุดมคติ กวีสามารถพรรณนา อารมณความรูสึกของตัวละครไดดีเยี่ยม ทําใหรับรูไดถึงความวิตกกังวลของพระนาง มัทรีที่มีความหวั่นเกรงอยูตลอดเวลาวาจะ เกิดเรื่องรายขึ้นกับลูก ตามที่ไดประสบกับ ลางราย ดังทีเ่ กิดปรากฏการณแปลกประหลาด ดอกไมที่เคยเก็บไดรวงหลนจากตน ทองฟา เกิดอับแสงขมุกขมัวทั่วทุกทิศ) • พระนางมัทรีเปนพระมารดาที่เลี้ยงดู พระโอรสพระธิดาอยางใกลชิด นักเรียน เห็นดวยหรือไมอยางไร (แนวตอบ เห็นดวย ดังความวา “โอ แตกอ นเอย แมเคยไดยินแตเสียงเจาเจรจาแจวๆ อยูตรง นี้ นั่นก็รอยเทาพอชาลี นี่ก็บทศรีแมกัณหา พระมารดายังแลเห็น โนนก็กรวดทรายเจา ยังรายเลนเปนกองๆ สิ่งของทั้งหลายเปน เครื่องเลนยังเห็นอยู”)

เกร็ดแนะครู ครูแนะเรื่องสถานที่ที่จะมีการเทศนมหาชาติวา ชาวบานจะชวยกันตกแตง ประดับประดาดวยตนกลวย ตนออยใหดูเปนปาสมมติ เหมือนกับวาเปนนิโครธาราม สถานที่ที่พระพุทธเจาประทานเทศนาเรื่องมหาเวสสันดรชาดก นอกจากนั้นก็ประดับ ประดาดวยราชวัตรฉัตรธงอีกดวย เวลาคํ่าก็จุดประทีปโคมไฟ สวนนํ้าที่ตั้งในบริเวณ ปริมณฑลที่มีการเทศนมหาชาติ ถือกันวาเปนนํ้ามนตปดเสนียดจัญไร ครูใหนักเรียน ชวยกันอธิบายการจัดสถานที่ที่มีการเทศนจากประสบการณของนักเรียนเพิ่มเติม

นักเรียนควรรู 1 ลองไน หรือแมมายลองไน คือ จักจั่นขนาดใหญ ลําตัวและปกมีสีฉูดฉาด มีอวัยวะทําเสียง เสียงจักจั่นประเภทนี้จะหาวกองกังวานไดยินไปไกล 2 เรไร เปนจักจั่นสีนํ้าตาลขนาดใหญ ตัวผูมีอวัยวะพิเศษ ทําใหเกิดเสียงสูง ตํ่า มีกังวาน คูมือครู 21


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

นักเรียนรวมกันอภิปรายตอบคําถามตอไปนี้ • การที่พระเวสสันดรเงียบไมพูดจาสงผลตอ พระนางมัทรีอยางไร (แนวตอบ เมื่อพระนางมัทรีกลับมาถึงที่พักและ ไมพบลูกทั้งสองก็กระวนกระวายใจ เพราะ กอนนี้มีลางบอกเหตุไมดี คือ เทวดาแปลง กายมาขวางทางกลับจากปา เมื่อทูลถามพระ เวสสันดรแทนที่จะไดคําตอบที่จะทําใหคลาย ความกังวล กลับกลายเปนวาพระเวสสันดร ทรงเงียบไมพูดจาดวยแตอยางใด ก็ยิ่งทําให พระนางรูสึกเศราและเปนกังวลมากกวาเดิม และเริ่มตัดพอถึงความหลังเมื่อครั้งที่พระนาง ไดเสด็จติดตามพระเวสสันดรมาอยูในปา) • เหตุใดพระนางมัทรีจึงกลาวเปรียบเทียบ ตัวพระนางวา “อุปมาเสมือนหนึ่งพฤกษา ลดาวัลยยอมจะอาสัญลงเพราะลูกเปน แทเที่ยง” นักเรียนเขาใจวาอยางไร (แนวตอบ เพราะพระนางมัทรีมีความรัก พระโอรสทั้งสองพระองคมากทรงเลี้ยงดูอยาง ใกลชิด ถาไมมีพระโอรสทั้งสองพระองคแลว ก็ไมสามารถมีชีวิตอยูได จะเห็นไดจาก คําประพันธวาพระนางหมดกําลังตามหา และสิ้นสติไป)

สีโห พฺยคฺโฆ จ ทีป จ ตโย พาฬา วเน มิคา เต มํ ปริยาวรุํ มคฺคํ เตน สายมฺหิ อาคตา อหํ ปติฺจ ปุตฺเต จ อาจริยมิว มาณโว อนุฏิตา ทิวารตฺตึ ชฏินี พฺรหฺมจารินี อชินานิ ปริทหิตฺวา วนมูลผลหาริยา วิจรามิ ทิวารตฺตึ ตุมฺหํ กามา หิปุตฺตกา อิทํ สุวณฺณหาลิทฺทํ อาภตํ ปณฺฑุเวฬุวํ รุกฺขปกฺกานิ จาหาสึ อิเม โว ปุตฺตกีฬนา อิทํ มูฬาลิวตฺตกํ สาลุกํ ชิฺชโรทฺกํ ภุฺช ขุทฺเทน สํยุตฺตํ สห ปุตฺเตหิ ขตฺติย ปทุมํ ชาลิโน เทหิ กุมุทํ ปน กุมาริยา มาลิเน ปสฺส นจฺจนฺเต สิวิปุตฺตานิ อวฺหย ตโต กณฺหาชินา ยาติ นิสาเมหิ รเถสภ มฺ ชุสฺสราย วคคุยา อสฺสมํ อุปคจฺฉนฺติยา สมานสุขทุกฺขมฺหา รฏา ปพฺพาชิตา อุโภ อป สิวิปุตฺเต ปสฺเสสิ ชาลึ กณฺหาชินํ จุโภ สมเณ พฺราหฺมเณ นูน พฺรหฺมจริยปรายเน อหํ โลเก อภิสสึ สีลวนฺเต พหุสฺสุเต ตฺยชฺช ปุตฺเต น ปสฺสามิ ชาลึ กณฺหาชินํ จุโภติ เมื่อสมเด็จพระมัทรี เธอกราบทูลพระราชสามี 1 สักเทาใดๆ ทาวเธอมิไดตรัสปราศรัย จํานรรจา นางยิ่งกลุมกลัดขัดอุราผะผาวรอน ขอนพระทรวงทรงพระกั นแสง วาเจาแมเอย 2 แมมิเคยไดเคืองแคนเหมือนหนึ่งครั้งนี้ เมื่อจากบุรีทุเรศมา ก็พรอมหนาทั้งลูกผัวเปนเพื่อนทุกข สําคัญวาจะเปนสุขประสายากเมื่อยามจน ครั้นลูกหายทั้งสองคนก็สิ้นคิด บังคมทูลพระสามีก็มิได ตรัสปรานีแตสักนิดสักหนอยหนึ่งทาวเธอก็ขังขึงตึงพระองค ดูเหมือนทรงพระขัดเคืองเต็มเดือด ดวยอันใด นางก็เศราสรอยสลดพระทัย ดัง่ เอาเหล็กแดงมาแทงใจใหเจ็บจิตนีเ่ หลือทน อุปมาเหมือน คนไขหนักแลวมิหนํา ยังแพทยเอายาพิ 3 ษมาวางซํ้าใหเวทนา เห็นชีวานี้คงจะไมรอดไปสัก4กี่วัน พระคุณเอยเมื่อแรกจากไอศวรรยมาอยูดงก็ปลงจิตมิไดคิดเปนจิตสอง หวังวาจะเปนเกือกทอง ฉลองบาทยุคลทั้งคูแหงพระคุณผัว กวาจะสิ้นบุญตัวตายตามไปเมืองผี อนิจจาเอยวาสนามัทรี ไมสมคะเนแลว พระทูลกระหมอมแกวจึ่งชิงชังไมพูดจา 5ทั้งลูกรักดังแกวตาก็หายไป อกเอยจะอยู ไปไยใหทนเวทนา อุปมาเสมือนหนึ่งพฤกษาลดาวัลยยอมจะอาสัญลงเพราะลูกเปนแทเที่ยง ๒๒

นักเรียนควรรู 1 ขอน คําแสดงกิริยา อาการ หมายถึง ตีหรือทุบ เชน “ขอนพระทรวงทรง พระกันแสง” หมายถึง ทุบอกแลวรองไห 2 ทุเรศ ไมไดหมายความวา นาเกลียด แตหมายความวา ไกล มาจากคําวา ทรุ+อีศ 3 ไอศวรรย หมายถึง ความเปนเจาเปนใหญ ความเปนพระเจาแผนดิน อํานาจ สมบัติแหงพระราชาธิบดี หรือใชวา ไอศุริย หรือ ไอศูรย ก็มี 4 เกือก หมายถึง รองเทา ลักษณนามวา คู หรือขาง ราชาศัพทใชวา รองพระบาท หรือ ฉลองพระบาท 5 พฤกษาลดาวัลย ชื่อไมเถาชนิดหนึ่ง ดอกสีขาว ออกเปนชอ กลิ่นหอมเย็น แตในความวา “อุปมาเสมือนหนึ่งพฤกษาลดาวัลยจะอาสัญลงเพราะลูกเปนเที่ยงแท” หมายถึง ไมผล ซึ่งเปรียบวา ไมผลที่ตายเพราะถูกตัดผล

22

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

“เจามิเคยไดรับความยากยางเทาลงเหยียบดิน ริ้นก็มิไดไตไร ก็มิไดตอม” ขอใดเปนลักษณะเดนของขอความขางตน 1. เปนสํานวน 2. มีการอางถึง 3. ใชความเปรียบ 4. เลนเสียงสัมผัสสระ วิเคราะหคําตอบ จากขอความขางตนเปนที่มาของการใชสํานวน วา “ริ้นไมใหไตไรมิใหตอม” หมายความวา เลี้ยงดูอยางดี แสดงใหเห็นถึงการประคบประหงมลูกดวยความรักความอบอุน เปนสํานวนที่ยังคงมีใชในปจจุบัน ดังนั้นจึงตอบขอ 1.


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู ถาแมนพระองคไมทรงเลี้ยงมัทรีไว จะนิ่งมัธยัสถตัดเยื่อใยไมโปรดบาง ก็จะเห็นแตกเลวระราง ซากศพของมัทรี อันโทรมตายกายกลิ้งอยูกลางดง เสียเปนมั่นคงนี้แลวแล อถ มหาสตฺโต สมเด็จพระราชสมภาร เมื่อไดสดับสารพระมัทรีเธอแสนวิโยคโศกศัลย สุดกําลัง ถึงแมนจะมิตรัสแกนางมั่งจะมิเปนการ จําจะเอาโวหารการหึงเขามาหักโศกใหเสื่อมลง จึ่งเอื้อนโองการตรัสประภาษวา นนุ มทฺทิ ดูกรนางนาฏพระนองรัก ภทฺเท เจาผูมีพักตรอัน ผุดผองเสมือนหนึ่งเอานํ้าทองเขามาทาบทับประเทืองผิว ราวกะวาจะลอยลิ่วเลื่อนลงจากฟา ใครไดเห็นเปนขวัญตาเต็มหลงละลายทุกข ปลุกเปลื 1 ้องอารมณชายใหเชยชื่น จะนั่งนอนเดินยืน ก็ตองอยาง วราโรหา พรอมดวยเบญจางคจริตรูปจําเริญโฉมประโลมโลกลอแหลมวิไลลักษณ ราชปุตฺตี ประกอบไปดวยเชื้อศักดิ์สมมุติวงศพงศกษัตรา เออก็เมื่อเชาเจาจะเขาปานาสงสาร ปานประหนึ่งวาจะไปมิได ทํารองไหฝากลูกมิรูแลว ครั้นคลาดแคลวเคลื่อนคลอยเขาสูดง ปานประหนึ่ ง ว า จะหลงลื ม ลู ก สละผั ว ต อ มื ด มั ว จึ่ ง กลั บ มา ทํ า เป น บี บ นํ้ า ตาตี อ กว า ลู ก หาย ใครจะไมรูแยบคายความคิดหญิง ถาแมนเจาอาลัยอยูดวยลูกจริงๆ เหมือนวาจา ก็จะรีบกลับเขา มาแตวี่วันไมทันรอน2 เออนี่เจาเที่ยวพเนจรนอนตามสนุกใจ ชมนกชมไมในไพรวัน สารพันที่จะมี ทั้งฤๅษีสิทธวิทยาธรคนธรรพเทพารักษผูมีพักตรอันเจริญ เห็นแลวก็นาเพลิดเพลินไมเมินได หรือ เจาปะผลไมประหลาดรสสดสุกทรามเสวยไมเคยกิน เจาฉวยชิม3ชอบลิ้นก็หลงฉันอยูจึ่งชา อุปมา เสมือนหนึ่งภุมรินบินวะวอน เที่ยวซับซาบเอาเกสรสุคนธมาเลศ พบดอกไมอันวิเศษตองประสงค หลงเคลาคลึงรสจนลืมรัง เขาเถื่อนเจาลืมพราไดหนาแลวลืมหลังไมแลเหลียว เที่ยวทอดประทับ มากลางทาง อันวาพระยานางสิเปนหนอกษัตริย จะไปไหนก็เคยมีแตกลดกั้น พานจะเกรงแสง พระสุริยันไมคลาเคลื่อน เจารักเดินดวยแสงเดือนชมดาวพลาง ไดนํ้าคางกลางคืนชื่นอารมณ สมคะเน พอมาถึงก็ทําเสขึ้นเสียงเลี่ยงเลี้ยวพาโลวาลูกหาย เออนี่เจามิหมายวาใครๆ ไมรูทัน กระนั้นกระมัง หรือเจาเห็นวาพี่นี้เปนชีอดจิตคิดอนิจจัง ทิ้งพยศอดอารมณเสีย เจาเปนแตเพียง เมียควรหรือมาหมิ่นได ถาแมนพี่อยูในกรุงไกรเหมือนแตกอนเกา หากวาเจาทําเชนนี้ กายของ มัทรีก็จะขาดสะบั้นลงทันตา ดวยพระกรเบื้องขวาของอาตมานี้แลวแล สา มทฺที สวนสมเด็จพระยอดมิง่ เยาวมาลยมทั รี เมือ่ ไดสดับคําพระราชสามีบริภาษณานาง ที่ความโศกก็เสื่อมสรางสงบจิตเพราะเจ็บใจ จึ่งกมพระเศียรลงกราบไหวแลววันทนาพลาง นางจึ่ง ทูลสนองพระราชบัญชาวา พระพุทธเจาขา ควรมิควรสุดแทแตจะทรงพระกรุ 4 ณาโปรด ทีโ่ ทษานุโทษ เปนลนเกลา ดวยขาพระพุทธเจากลับมาเวลาคํ่าทั้งนี้เพราะเปนกระลีขึ้นในไพรวัน พฤกษาทุก สิ่งสารพันก็แปรปรวนทุกประการ ทั้งพื้นปาพระหิมพานตก็ผัดผันหวั่นไหวอยูวิงเวียน เปลี่ยนเปน พยับมืดไมเห็นหน ขาพระบาทนีร่ อ นรนไมหยุดหยอนแตสกั อยาง แตเดินมาก็บงั เกิดประหลาดลาง 5 ขึ้นในกลางพนาลี พบพญาราชสีหสองเสือทั้งสามสัตวสกัดหนาไมมาได ตอสิ้นแสงอโณทัยจึ่งได

Explain

จากทีน่ กั เรียนอานเนือ้ เรือ่ งในหนา 23 นีแ้ ลว ใหนักเรียนแบงเปน 2 กลุม เพื่ออภิปรายตอนที่ พระเวสสันดรทรงแสรงตัดพอตอวาหึงหวง พระนางมัทรี โดยนักเรียนแสดงความคิดเห็น โตแยงกันดวยเหตุผล • กลุม ที่ 1 เห็นดวยกับวิธกี ารของพระเวสสันดร (แนวตอบ เปนวิธีการที่ใชความโกรธมาแทนที่ ความเศรา พระเวสสันดรแสรงบริภาษตอวา ในสิ่งที่ทรงรูดีวาพระนางมัทรีไมไดเปนเชน นั้น เพื่อใหพระนางมัทรีโกรธใหมากที่สุดจน ลืมความกังวลรอนรนที่จะหาลูก ซึ่งเปนหลัก จิตวิทยาทีไ่ ดผล สามารถหันเหความทุกขเศรา ของพระนางมัทรีมาเปนความโกรธเคือง ไมพอใจแทน) • กลุมที่ 2 ไมเห็นดวยกับวิธีการของ พระเวสสันดร (แนวตอบ แมวาทายที่สุดแลววิธีการของ พระเวสสันดรจะไดผล แตการแสรงทําเปน โกรธก็ไดเปนการทํารายจิตใจของพระนาง มัทรีมากเกินไป พระนางมัทรีซงึ่ หวัน่ วิตกจาก ลางบอกเหตุเกี่ยวกับลูกทั้งสองอยูตลอดเวลา ทีไ่ ปเก็บผลไมในปา และเมือ่ กลับมาถึงอาศรม ก็ยังไมพบลูกใหคลายความกังวล กลับตอง มาผจญกับการแสรงหึงหวงของพระเวสสันดร พระนางมัทรียิ่งดูนาสงสาร นาเห็นใจ)

๒๓

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ขอใดใชคําถามเชิงวาทศิลป 1. เออนี่เจามิหมายวาใครๆ ไมรูทันกระนั้นกระมัง 2. แมไมรูเลยวาเจาจะหนีพระมารดาไปสูพาราใดไมรูที่ 3. ทําเปนบีบนํ้าตาตีอกวาลูกหาย ใครจะไมรูแยบคายความคิดหญิง 4. เจาเคยเคียงเรียงหมอนแนบขางทุกราตรี แตนี้แมจะกลอมใคร ใหนิทรา วิเคราะหคําตอบ การใชคําถามเชิงวาทศิลป คือ การถามโดยไม ตองการใหตอบ ทั้งนี้เพราะรูคําตอบดีอยูแลว แตเปนการเนนยํ้าถึง ความรูสึกที่ยากจะยอมรับ จึงใชวิธีถามเพื่อสื่อความคับของใจ ขอ 1. ขอ 2. และขอ 3. เปนประโยคบอกเลา บอกใหทราบความ ในใจ ขอ 4. เปนประโยคคําถาม “แตนี้แมจะกลอมใครใหนิทรา” คําวา “ใคร” ที่แมถามนั้นไมไดตองการใหตอบ แตหมายถึงวา ไมมีใครอีกแลวที่แมจะไดเลี้ยงดูเหมือนลูก ตอบขอ 4.

นักเรียนควรรู 1 เบญจางคจริต หรือเบญจกัลยาณี คือ หญิงที่มีลักษณะงาม 5 ประการ ไดแก ผมงาม เนื้องาม (คือ เหงือกและริมฝปากแดงงาม) ฟนงาม ผิวงาม และวัยงาม 2 วิทยาธร หรือพิทยาธร เปนอมนุษยพวกหนึ่ง มีฐานะตํ่ากวาเทวดา มีวิชา กายสิทธิ์สามารถเหาะเหินเดินอากาศได 3 สุคนธมาเลศ คือ คําวา “สุคนธ-” มีความหมายวา เครื่องหอม และคําวา “มาเลศ” ที่มาจากคําวา “มาลี” มีความหมายวา ดอกไม โดยเขาลิลิต คือ เปลี่ยนจากสระ - ี เปนสระ เ- แลวแลวเติม ศ ขางทาย 4 กระลี เปนคํานาม แปลวา สิ่งราย เหตุราย โทษ คําวิเศษณ แปลวา ราย ประสมกับคําอื่น เชน กระลีชาติ กระลียุค เปนตน 5 อโณทัย กรอนเสียงมาจากคําวา “อรุโณทัย” แปลวา พระอาทิตยเพิ่งขึ้น

คูมือครู

23


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

Explain

จากตอนที่พระนางมัทรีตัดพอเมื่อพระเวสสันดร แสรงหึงหวงตอวา นักเรียนอธิบายประเด็นตอไปนี้ • นักเรียนคิดวาพระนางมัทรีมีอารมณ ความรูสึกอยางไร (แนวตอบ พระนางมัทรีตัดพอตอพระเวสสันดร ดวยความนอยใจ เพราะวาพระนางมัทรี บริสุทธิ์ใจไมไดเปนดังที่พระเวสสันดรตอวา บวกกับกําลังทุกขใจเปนหวงลูก ทําใหพระนาง ตัดพอถึงความซื่อสัตยตอหนาที่ การเปนแม และภรรยา เห็นไดวาพระนางมัทรีตกใจตอ เหตุการณที่พระเวสสันดรแสรงทํา ไมสามารถ รับมือหรือทําใจไดในทันทีจึงระบายความรูสึก เศราเสียใจ ความโกรธเคืองออกมา)

ขยายความเขาใจ

อธิบายความรู

Expand

1. นักเรียนรวมกันอภิปรายในประเด็นตอไปนี้ • นักเรียนคิดวาบทบาทและพฤติกรรมของ พระนางมัทรีเปนเรือ่ งปกติธรรมดาหรือไม ในปจจุบนั (แนวตอบ การเปนแมและภรรยาที่ดี ทําหนาที่ ดวยความซื่อสัตย เต็มใจ และดวยความรัก ความหวังดีเปนสิ่งที่พบเห็นไดในทุกยุคสมัย ไมวาจะเปนอดีต ปจจุบัน หรือแมแตใน อนาคต) 2. ครูขออาสาสมัคร 3 - 4 คน มาแสดงความคิดเห็น ในประเด็นคําถามขางตน

คลาเคลื่อน ใชจะเปนเหมือนพระองคดํารินั้นก็หามิได พระพุทธเจาขา ตั้งแตเกลากระหมอมฉัน ตกมาเปนขานอย พระองคเห็นพิรธุ รองรอยราวรานทีต่ รงไหน ทอดพระเนตรสังเกตไวแตปางกอน จึงเคืองคอนดวยคําหยาบยอกใจเจ็บจิตจนเหลือกําลัง พระคุณเอยจะคิดดูมั่งเปนไรเลา วามัทรีนี้ เปนขาเกาแตกอนมาดั่งเงาตามพระบาทาก็เหมือนกัน นอกกวานั้นที่แนนอนคือนางไหนอันสนิท ชิดใชแตกอนกาล 1 ยังจะติดตามพระราชสมภารมาบางละหรือ ไดแตมัทรีที่แสนดื้อผูเดียวดอก ไมรู จักปลิน้ ปลอกพลิกไพลเอาตัวหนี มัทรีสตั ยาสวามิภกั ดิร์ กั ผัวเพียงบิดาก็วา ได ถึงจะยากเย็นเข็ญใจ ก็ตามกรรม วนมูลผลหาริยา อุตสาหะตระตรากตระตรําเตร็ดเตรหาผลาผลไม ถึงที่ไหนจะ รกเรี้ยวก็ซอกซอนอุตสาหเที่ยวไมถอยหลัง จนเนื้อหนังขวนขาดเปนริ้วรอย โลหิตไหลยอยทุก หยอมหนาม อารามจะใครไดผลาผลไมมาปฏิบตั ลิ กู บํารุงผัว ถึงกระไรจะคมุ ตัวก็ทงยากนาหลากใจ อกของใครจะอาภัพยับพิกลเหมือนอกของมัทรีไมมีเนตร นาที่จะสงสารสังเวชโปรดปรานีวามัทรี นี้เปนเพื่อนยากอยูจริงๆ ชางคอนติงปริภาษณาไดลงคอไมคิดเลย พระคุณเอยถึงพระองคจะ สงสัย ก็นํ้าใจของมัทรีนี้กตเวทีเปนไมเทากาวเขาสูที่ทางทดแทน รามํ สีตาวนุพฺพตา อุปมา เหมือนสีดาอันภักดีตอสามีรามบัณฑิต ปานประหนึ่งวาศิษยกับอาจารย พระคุณเอยเกลา กระหมอมฉานทําผิดแตเพียงนี้ เพราะวาลวงราตรีจึ่งมีโทษ ขอพระองคจงทรงพระกรุณาโปรด ซึ่งโทษานุโทษกระหมอมฉันมัทรี แตครั้งเดียวนี้เถิด อิเม เต ชมฺพุกา รุกฺขา เวทิสา สินฺธุวาริตา วิวิธานิ รุกฺขชาตานิ เต กุมารา น ทิสฺสเร อสฺสตฺถา ปนสา เจเม นิโคฺรธา จ กปตฺถนา วิวิธานิ ผลชาตานิ เต กุมารา น ทิสฺสเร อิเม ติฏนฺติ อารามา อยํ สีตูทกา นที ยตฺถสฺสุ ปุพฺเพ กีฬสุ เต กุมารา น ทิสฺสเร วิวิธานิ ปุปฺผชาตานิ อสฺมึ อุปริ ปพฺพเต ยานสฺสุ ปุพฺเพ ธารึสุ เต กุมารา น ทิสฺสเร วิวิธานิ ผลชาตานิ อสฺมึ อุปริปพฺพเต ยานสฺสุ ปุพฺเพ ภุฺชึสุ เต กุมารา น ทิสฺสเร อิเม โน หตฺถิกา อสฺสา พลิพทฺทา จ โน อิเม เยหิสฺสุ ปุพฺเพ กีฬสุ เต กุมารา น ทิสฺสเร อิเม สามา สโสลูกา พหุกา กทลีมิคา เยหิสฺสุ ปุพฺเพ กีฬสุ เต กุมารา น ทิสฺสเร อิเม หํสา จ โกฺ จา จ มยุรา จิตฺรเปขุณา ๒๔

เกร็ดแนะครู ครูแนะนักเรียนเกีย่ วกับวรรณศิลปในวรรณคดีเรือ่ งมหาเวสสันดรชาดก กัณฑมทั รี ซึง่ มีลกั ษณะเดน คือ มีสมั ผัสภายในวรรคของรายเปนสัมผัสอักษรคลองจองกัน แมวา จะไมใชสัมผัสบังคับ แตหากมีก็จะชวยทําใหรายมีความไพเราะมากขึ้น การเรียงรอย ถอยคํามีจังหวะ เชน “ก็กลายเปนดอกดวงเดียรดาษอนาถเนตร” “สะดุงพระทัย ไหวหวาดวะหวีดวิ่งวนแวะเขาขางทาง พระทรวงนางสั่นระรัวริกเตนดั่งตีนปลา” “พระพายรําเพยพัดมาฉิวเฉื่อย เรไรระรี่เรื่อยรองอยูหริ่งๆ” เปนตน

นักเรียนควรรู 1 ปลิ้นปลอก หรือปลิ้นปลอน หมายถึง ใชอุบายลอลวงเพื่อใหสําเร็จตาม เปาหมายของตน

24

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ขอใดสะทอนเรื่องความเขาใจในธรรมชาติของมนุษย 1. ถึงจะยากเย็นเห็นใจก็ตามกรรม 2. ไมรูจักปลิ้นปลอกพลิกไพลเอาตัวหนี 3. ชางคอนติงบริภาษไดลงคอไมคิดเลย 4. ที่ความโศกก็เสื่อมสรางสงบจิตเพราะเจ็บใจ วิเคราะหคําตอบ ขอ 1. สะทอนเรื่องเวรกรรม ขอ 2. แสดงให เห็นลักษณะนิสัยที่ซื่อตรงไมหลอกลวง เชนเดียวกับขอ 3. การ บริภาษหรือกลาววาซํ้าเติมโดยไมเห็นใจเปนพฤติกรรมอยางหนึ่ง ที่อาจจะจริงหรือไมก็ได ซึ่งไมมีความชัดเจนวาเปนธรรมชาติของ มนุษยหรือไม ในขณะที่ขอ 4. ความเศราโศกของมนุษยนั้นยอม หักลงไดดวยอารมณโกรธและความเจ็บใจ สะทอนใหเห็นวามี ความเขาใจในธรรมชาติของมนุษย ตอบขอ 4.


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

อธิบายความรู เยหิสฺสุ ปุพฺเพ กีฬสุ เต กุมารา น ทิสฺสเร อิมา ตา วนคุมฺพาโย ปุปฺผิตา สพฺพกาลิกา ยตฺถสฺสุ ปุพฺเพ กีฬสุ เต กุมารา น ทิสฺสเร อิมา ตา โปกฺขรณี รมฺมา จกฺกวากูปกูชิตา มณฺฑาลเกหิ สฺ ฉนฺนา ปทุมุปฺปลเกหิ จ ยตฺถสฺสุ ปุพฺเพ กีฬสุ เต กุมารา น ทิสฺสเร น เต กฏานิ ภินฺนานิ น เต อุทกมาภตํ อคฺคิป เต น หาสิโต กินฺนุ มนฺโทว ฌายสิ ปโย ปเยน สงฺคมฺม สโมหํ พฺยปหฺ ติ ตฺยชฺช ปุตฺเต น ปสฺสามิ ชาลึ กณฺหาชินํ จุโภติ น โข โน เทว ปสฺสามิ เยน เต นิหตา มตา กาโกลาป น วสฺสนฺติ มตา เม นูน ทารกา น โข โน เทว ปสฺลามิ เยน เต นิหตา มตา สกุณาป น วสฺสนฺติ มตา เม นูน ทารกาติ ตมตฺถํ ปกาเสนฺโต สตฺถา อาห สา ตตฺถ ปริเทวิตฺวา ปพฺพตานิ วนานิ จ ปุน เทวสฺสมํ คนฺตฺวา สามิกสฺสนฺติ โรทติ น โข โน เทว ปสฺสามิ เยน เย นิหตา มตา กาโกลาป น วสฺสนฺติ มตา เม นูน ทารกา น โข โน เทว ปสฺสามิ เยน เต นิหตา มตา สกุณาป น วสฺสนฺติ มตา เม นูน ทารกา น โข โน เทว ปสฺสามิ เยน เต นิหตา มตา วิจรนฺตี รุกฺขมูเลสุ ปพฺพเตสุ คุหาสุ จ อิติ มทฺที วราโรหา ราชปุตฺตี ยสสฺสินี พาหา ปคฺคยฺห กนฺทิตฺวา ตตฺเถว ปติตา ฉมาติ เมือ่ สมเด็จพระยอดมิง่ เยาวมาลยมทั รี กราบทูลพระราชสามีสกั เทาใดๆ ทาวเธอจะไดปราศรัย ก็ไมมี พระนางยิง่ หมองศรีโศกกําสรดสะอึกสะอืน้ ถวายบังคมคืนออกมาเทีย่ วแสวงหาพระลูกรัก ทุกหนแหง กระจางแจงดว1ยแสงพระจันทรสองสวางพื้นอัมพรประเทศวิถี นางเสด็จจรลีไป หยุดยืน2ในภาคพื้นปริมณฑลใตตนหวา จึ่งตรัสวา อิเม เต ชมฺพุกา รุกฺขา ควรจะสงสารเอยดวย ตนหวาใหญใกลอาราม งามดวยกิ่งกานประกวดกัน ใบชอุมประชุมชอเปนฉัตรชั้นดั่งฉัตรทอง

Explain

นักเรียนอธิบายความรูเกี่ยวกับภาษาบาลีวา • ภาษาบาลีมีอิทธิพลตอวรรณกรรมไทย อยางไร (แนวตอบ ภาษาบาลีเปนภาษาที่ใชถายทอด พระธรรมคําสอนของพระพุทธศาสนา สังคมไทย เปนสังคมทีผ่ คู นนับถือพระพุทธศาสนาเปน สวนใหญการใชภาษาบาลีในวรรณกรรมไทย จึงมีมาก โดยเฉพาะที่ไดรับอิทธิพลหรือ แนวคิดจากพระพุทธศาสนา มักพบการใช ภาษาบาลีสอนแทรกอยูแทบทุกเรื่องของ วรรณคดีและวรรณกรรมไทยสมัยกอน)

ขยายความเขาใจ

Expand

นักเรียนรูจักวรรณกรรมเรื่องใดบางที่มีภาษา บาลี ใหนักเรียนเลาความเปนมาของวรรณคดีและ วรรณกรรมไทยที่นักเรียนพบวามีการใชภาษาบาลี ในการประพันธ และยกตัวอยางบทประพันธใน วรรณคดีเรื่องนั้นประกอบ (แนวตอบ นักเรียนตอบไดหลากหลายขึ้นอยูกับ ประสบการณการอานงานวรรณกรรมของนักเรียน แตละคน ครูพิจารณาคําตอบวามีการใชภาษาบาลี หรือไม อยางไร ตัวอยางเชน ลิลิตตะเลงพาย)

๒๕

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

“หรือเจาเห็นวาพี่นี้ปลงจิตคิดอนิจจังทั้งพยศ เพราะวาเปนดาบส อดอารมณเสีย เจาเปนเพียงเมียหรือมาหมิ่นได ถาแมนพี่อยูใน กรุงไกรเหมือนแตกอนกอนเจาทําเชนนี้ กายของมัทรีก็จะขาดสะบั้น ลงทันตา ดวยพระกรเบื้องขวาของพี่นี้แลวแล” เนื้อความขางตนสะทอนใหเห็นเรื่องใด แนวตอบ สะทอนความรูเกี่ยวกับคานิยมในสมัยโบราณเรื่องสิทธิ ของสตรีวา สตรีเปนเหมือนทรัพยสมบัติของสามี สามีมีสิทธิในการ ลงโทษภรรยาเพราะถือวาเปนเจาของ เปนผูใหความคุมครอง ดังที่คําวา “สามี” มีความหมายวา เจาของ เชน สามีธรรม มีความหมายวา เจาของธรรม ซึ่งหมายถึง พระพุทธเจา เปนตน ซึ่งแตกตางจากปจจุบันที่สตรีมิไดเปนเพียงสมบัติของสามีเทานั้น แตมีบทบาททัดเทียมกับบุรุษในการดูแลชวยเหลือครอบครัว

เกร็ดแนะครู ครูแนะใหนักเรียนศึกษาวรรณคดีเรื่องมหาเวสสันดรชาดกวา มีแนวคิดเรื่องความ กตัญูรูคุณ การประพฤติปฏิบัติตนเจริญรอยตามปฏิปทาของพระโพธิสัตวเวสสันดร นั่นคือบูชาคารวะทานดวยความเสียสละ กําจัดความเห็นแกตัวลดลงทีละนอยๆ ก็จักไดเชื่อวา เปนผูมีสวนชวยใหโลกสันนิวาส คือ สังคมนาอยูอาศัยขึ้น

นักเรียนควรรู 1 พื้นปริมณฑล หมายถึง พื้นที่โดยรอบ ในที่นี้หมายถึง อาณาบริเวณ 2 ตนหวา ไมตนขนาดใหญ ผลสุกมีสีมวงดํา รับประทานได เปนตนไมประจํา จังหวัดเพชรบุรี

คูมือครู

25


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

Explain

จากบทครํ่าครวญหาลูกของพระนางมัทรี “สุดสายนัยนาที่แมจะตามไปเล็งแล สุดโสตแลวที่ แมจะซับทราบฟงสําเนียง สุดสุรเสียงทีแ่ มจะรํา่ เรียก พิไรรอง สุดฝเทาทีแ่ มจะเยือ้ งยองยกยางลงเหยียบดิน ก็สุดสิ้นสุดปญญาสุดหาสุดคนเห็นสุดคิด จะไดพาน พบประสบรอยพระลูกนอยแตสักนิดไมมีเลย” • จากเนื้อความที่ยกมามีความโดดเดนทาง ดานวรรณศิลปอยางไร (แนวตอบ จากเนื้อความที่ยกมามีความโดด เดนในการแทรกคํา คือการใชคําวา “สุด” ซํ้าแทรกไปเปนระยะๆ การใชคําในลักษณะนี้ ชวยเนนความรูสึกใหเห็นอยางเดนชัดเปนการ นําคําคําเดียวกันนั้นมาแทรกไปในชวงที่กวี ตองการแสดงความรูสึกวาเศราอยางที่สุด หรือตองการเนนคํานั้น ซึ่งลักษณะดังกลาวนี้ เรียกวา “การเลนคํา”)

ขยายความเขาใจ

อธิบายความรู

Expand

นักเรียนยกบทประพันธจากมหาเวสสันดร กัณฑอื่น ที่มีลักษณะการเลนคําเหมือนกัณฑมัทรี พรอมอธิบายลักษณะการเลนคําจากบทประพันธนั้น (แนวตอบ จากกัณฑชชู ก ความวา “นางพราหมณี บานนี้นี่มันหนักหนา มันมาเคียงคอยอยูที่ทาทาง จะตักนํ้ากูนี่จะไดไปวาอะไรสักคําหนอยหนึ่งก็ไมมี ใจอะไรเชนนี้นี่มนชางรายเหลือตะละวายักขีนีผีเสื้อ มิเทามันมารุมรํ่าดากูนี่เปลาๆ เขามานี่มากมุง ดั่งวาฝูงกาเขามาเตนตามตอมรุงก็บมิปาน สิ้นทั้ง โคตรปรานมันดาเลน” มีการเลนคําวา “นี่” ซึ่งทําให เห็นการแสดงอารมณไมพอใจไดเดนชัดขึ้น)

แสงพระจันทรดั้นสองตองนํ้าคางที่ขังใหไหลลงหยดยอย เหมือนหนึ่งนํ้าพลอยพรอยๆ อยูพรายๆ ตองกับแสงกรวดทรายที่ใตตนอรามวามวาวดูเปนวนวงแวว 1 ดั่งบุคคลเอาแกวมาระแนงแกลงมา ปรายโปรยโรยรอบปริมณฑลก็เหมือนกัน งามดัง่ ไมปาริชาตในเมืองสวรรคมาปลูกไว ลูกรักเจาแมเอย เจาเคยมาอาศัยนั่งนอน ประทับรอนสําราญรมรื่นๆ สํารวลเลนเย็นสบาย พระพายรําเพยพัดมา ฉิวเฉื่อย เรไรระรี่เรื่อยรองอยูหริ่งๆ แตลูกรักของแมทั้งชายหญิงไปอยูไหนไมเห็นเลย มหานิโคฺรธชาตํ อนิจจาๆ เอยเห็นแตไทรทองถัดกันไป กิง่ กานใบรากหอยยืน่ ระยา เจาเคยมาหอยโหนโยนชิงชา ชวนกันแกวงไกว แลวเลนไลปดตาหาเรนแทบหลังบริเวณพระอาวาส อิมา ตา โปกฺขรณี รมฺมา เจาเคยมาประพาสสรงสนานในสระศรี โบกขรณีตําแหนงนอกพระอาวาส นางเสด็จลีลาศไป เที่ยวเวียนรอบ จึ่งตรัสวานํ้าเอยเคยมาเปยมขอบเปนไรจึ่งขอดขนลงขุนหมอง พระพายเจาเอย เคยมาพัดตองกลีบอุบล พากลิ่นสุคนธขจรรสมารวยรื่น เปนไรจึ่งเสื่อมหอมหายชื่นไมเฉื่อยฉํ่า ฝูงปลาเอยเคยมาผุดคลํ่าดําแฝงฟอง บางก็ขึ้นลองวายอยูลอยเลื่อนชมแสงเดือนอยูพรายๆ เปนไรจึ่งไมวายเวียนวง นกเจาเอยเคยบินลงไลจิกเหยื่อทุกเวลา วันนี้แปลกเปลาตาแมแลไมเห็น พระลูกเอยเจาเคยมาเที่ยวเลนแมแลไมเห็นแลว โอแลเห็นแตสระแกวอยูอางวางวังเวงใจ นางก็เสด็จครรไลลวงตําบล 2เที่ยวคนหาพระลูกตามลําเนาเนินปา ทุกสุมทุมพุมพฤกษาปาสูง ยูงยางใหญไพรระหง พนัสแดนดงเย็นยะเยือกเงียบสงัดเหงา ไดยินแตเสียงดุเหวาละเมอ รองกองพนาเวศ พระกรรณเธอสังเกตวาสองดรุณเยาวเรศเจารองขานอยูแววๆ ใหหวาดวา สําเนียงเสียงพระลูกแกวเจาขานรับพระมารดา นางเสด็จ3ลีลาเขาไปหาดู เห็นหมูสัตวจตุบาท กลาดกลุมเขาสุมนอน นางก็ยิ่งสะทอนถอนพระทัยเทวษครวญเสด็จดวนๆ ดะดุมเดินเมิลมุง ละเมาะไมมองหมอบ แตยางเหยียบเกรียบกรอบก็เหลียวหลัง พระโสตฟงใหหวาดแวววา สําเนียงเสียงพระลูกแกวเจาบนอยูงึมๆ พุมไมครึ้มเปนเงาๆ ชะโงกเงื้อม พระเนตรเธอแลเหลือบ ใหลายเลื่อม เห็นเปนรูปคนตะคุมๆ อยูคลายๆ แลวหายไป สมเด็จอรไทเธอเที่ยวตะโกนกูกูกอง พระพักตรเธอฟูมฟองนองไปดวยนํ้าพระเนตรเธอโศกา จึ่งตรัสวาโอโอเวลาปานฉะนี้เอยจะ มิดึกดื่น จวนจะสิ้นคืนคอนรุงไปเสียแลวหรือกระไรไมรูเลย พระพายรําเพยพัดมารี่เรื่อยอยู เฉื่อยฉิว อกแมนี้ใหออนหิว4สุดละหอย ทั้งดาวเดือนก็เคลื่อนคลอยลงลับไม สุดที่แมจะติดตามเจา ไปในยามนี้ ฝูงลิงคางบางชะนีที่นอนหลับ ก็กลิ้งกลับเกลือกตัวอยูยั้วเยี้ย ทั้งนกหกก็งัวเงียเหงา เงียบทุกรวงรัง แตแมเที่ยวเซซังเสาะแสวงทกแหงหองหิมเวศ ทั่วประเทศทุกราวปา สุดสายนัยนา ที่แมจะตามไปเล็งแล สุดโสตแลวที่แมจะซับทราบฟงสําเนียง สุดสุรเสียงที่แมจะรํ่าเรียกพิไรรอง สุดฝเทาที่แมจะเยื้องยองยกยางลงเหยียบดิน ก็สุดสิ้นสุดปญญาสุดหาสุดคนเห็นสุดคิด จะได พานพบประสบรอยพระลูกนอยแตสักนิดไมมีเลย จึ่งตรัสวาเจาดวงมณฑาทองทั้งคูของแมเอย หรือวาเจาทิ้งขวางวางจิตไปเกิดอื่น เหมือนแมฝนเมื่อคืนนี้แลวแล ๒๖

นักเรียนควรรู 1 ปาริชาต หรือปาริฉัตร เปนตนไมประจําสวรรคชั้นดาวดึงส ในสวนนันทวัน ของพระอินทร 2 พนัส หมายความวา ปา พง ดง (มาจาก พน แตเพิ่มตัว ส เพื่อ ความสะดวก ในการสนธิ) 3 เทวษ การครํ่าครวญ ความลําบาก 4 บาง สัตวเลีย้ งลูกดวยนม รูปรางคลายกระรอกมีหนังเปนพังผืดสองขางของลําตัว ใชกางถลารอน หากินในเวลากลางคืน ในสํานวนไทยมีคํากลาววา “บางชางยุ” ซึ่งมีที่มาจากนิทานสุภาษิตไทย กลาวถึงสัตว 3 ชนิด คือ นก หนู และคางคาว ที่ตองแตกแยกกันเพราะเชื่อคํายุยงของบาง ใชเปรียบเทียบกับคนที่ชอบพูดสอเสียด ยุยงใหคนอื่นแตกแยกกัน

26

คูมือครู

กิจกรรมสรางเสริม ใหนักเรียนอธิบายการเลนคําในวรรณคดีและวรรณกรรมไทยวา มีลักษณะใดบาง ใหนักเรียนยกตัวอยางบทประพันธหรือเนื้อความ ที่มีการการเลนคําลักษณะตางๆ จดบันทึกลงสมุด

กิจกรรมทาทาย ใหนักเรียนพิจารณาเนื้อเรื่องมหาเวสสันดร กัณฑมัทรีที่ปรากฏ แทรกคําวา “เอย” หรือ “เอย” วามีการใชในลักษณะใด โดยยกเนือ้ ความตอนนัน้ ประกอบ จดบันทึกลงสมุด


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

อธิบายความรู ภิกฺขเว ดูกรสงฆผูทรงพรหมจารี เมื่อสมเด็จพระมัทรีทรงกําสรดแสนกัมปนาท เพียง พระสันดานจะขาดจะดับสูญ ปริเทวิตฺวา นางเสวยพระอาดูรพูนเทวษในพระอุรา นํ้าพระ อัสสุชลนาเธอไหลนองคลองพระเนตร ทรงพระกันแสงแสนเทวษพิไรรํ่า ตั้งแตประถมยามคํ่าไม หยอนหยุดแตสักโมงยาม นางเสด็จไตเตาติดตามทุกตําบล ละเมาะไมไพรสณฑศิขริน ทุกหวยธาร ละหานหินเหวหุบหองคูหาวาส ทรงพระพิไรรองกองประกาศเกริ่นสําเนียง พระสุรเสียงเธอ เยือกเย็นระยอทุกอกสัตว พระพายรําเพยพัดทุกกิ่งกาน บุษบงก็ 1 เบิกบานผกากร รัศมีพระจันทร ก็มัวหมองเหมือนหนึ่งจะเศราโศกแสนวิปโยคเมื่อยามปจจุสมัย ทั้งรัศมีพระสุริโยทัยสองอยูรางๆ ขึ้นเรืองฟา เสียงชะนีเหนี่ยวไมไหหาละหอยโหย พระกําลังนางก็อิดโรยพิไรรํ่ารอง พระสุรเสียง เธอกูกองกังวานดง เทพเจาทุกพระองคกอดพระหัตถเงี่ยพระโสตสดับสาร พระเยาวมาลยเธอ เที่ยวหาพระลูก พระนางเธอเสวยทุกขแสนเข็ญ ตั้งแตยามเย็นจนรุงเชาก็สุดสิ้นที่จะเที่ยวคน ทุกตําแหนง2แหงละสามหนเธอเที่ยวหา ปณฺณรสโยชนมคฺคํ ถาจะคลี่คลายขยายมรคาก็ได สิบหาโยชนโดยนิยม นางจึ่งเซซังเขาไปสูพระอาศรมบังคมบาทพระภัสดา ประหนึ่งวาชีวาจะ วางวายทําลายลวง สองพระกรเธอขอนทรวงทรงพระกันแสง ครวญครํ่าแลวรําพันวา โอเจา ดวงสุริยันจันทรทั้งคูของแม 3 เอย แมไมรูเลยวาเจาจะหนีพระมารดาไปสูพาราใดไมรูที่ หรือจะ ขามนทีทะเลวนหิมเวศประเทศทิศแดนใด ถารูแจงประจักษใจแมก็จะตามเจาไปจนสุดแรง นี่ก็เหลือที่แมจะเที่ยวแสวงสืบเสาะหา เมื่อเชาแมจะเขาไปสูปา พอชาลีแมกัณหายังทูลสั่ง แมยังกลับหลังมาโลมลูบจูบกระหมอมจอมเกลาทั้งสองรา กลิ่นยังจับนาสาอยูรวยรื่น โอพระลูก ขานี้จะไมคืนเสียแลวกระมังในครั้งนี้ กัณหาชาลีลูกรักแม นับวันแตวาจะแลลับลวงไปเสียแลว และหนอ ใครจะกอดพระศอเสวยนมผทมดวยแมเลา ยามเมื่อแมจะเขาที่บรรจถรณ เจาเคยเคียง เรียงหมอนนอนแนบขางทุกราตรี แตนี้แมจะกลอมใครใหนิทรา โอแมอุมทองประคองเคียง เลี้ยงเจามาก็หมายมั่น สําคัญวาจะไดอยูเปนเพื่อนยากจะฝากผีพึ่ง4ลูกทั้งสองคน มิรูวาจะกลับ วิบัติพลัดพรากไมเปนผลใหอาเพศผิดประมาณ เจาเอาแตหวงสงสารนี่หรือมาสวมคลอง ใหแมนี้ ติดตองของอยูดวยอาลัย เจาทิ้งชื่อและโฉมไวใหเปลาอกในวิญญาณ เมื่อเชาแมจะเขาไปสูปา ยังไดเห็นหนาเจาอยูห ลัดๆ ควรและหรือมาสลัดแมนไี้ ว เหมือนจะเตือนใหแมนบี้ รรลัยเสียจริงแลว ควรจะสงสารเอยดวยนางแกวกัลยาณี นอมพระเกศีลงทูลถามหวังจะติดตามพระลูกรักทั้งสองรา กราบถวายบังคมลาลุกเลือ่ นเขยือ้ นยกพระบาทเยือ้ งยาง พระกายนางใหเสียวสัน่ หวัน่ ไหวไปทัง้ องค ดุจชายธงอันตองกําลังลมอยูลิ่วๆ สิ้นพระแรงโรยเธอโหยหิวระหวยทรวง พระศอเธอหงุบงวงดวง พระพักตรเธอผิดเผือดใหแปรผัน จะทูลสั่งก็ยังมิทันที่วาจะทูลเลย แตพอตรัสวาพระคุณเจาเอย คําเดียวเทานัน้ ก็หายเสียงเอียงพระกายบายศิโรเพฐน พระเนตรหลับหับพระโอษฐลงทันที วิสฺ ญี หุตฺวา นางก็ถึงวิสัญญีสลบลงตรงหนาฉาน ปานประหนึ่งวาพุมฉัตรทองอันตองสายอัสนีฟาด ขาดระเนนเอนแลวก็ลมลง ตรงหนาพระที่นั่งเจา นั้นแล ๒๗

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ขอใดใชภาพพจนบุคคลวัต 1. ควรและหรือมาสลัดแมนี้ไวเหมือนจะเตือนใหแมนี้บรรลัยเสียจริง แลว 2. จึ่งตรัสวานํ้าเอยเคยมาเปยมขอบเปนไรจึ่งขอดขนลงขุนหมอง 3. จึ่งตรัสวาโอเจาแวนแกวสองสวางอกของแมเอย 4. แตยางเหยียบเกรียบกรอบก็เหลียวหลัง วิเคราะหคําตอบ ภาพพจนบคุ คลวัต คือ การสมมติสงิ่ ตางๆ ใหมี กิริยาอาการและความรูสึกเหมือนมนุษย ขอที่ใชภาพพจนบุคคลวัต คือ ขอ 2. “จึ่งตรัสวานํ้าเอยเคยมาเปยมขอบเปนไรจึ่งขอดขนลง ขุนหมอง” ใหสภาพที่นํ้าแหงขอดมีอารมณความรูสึกเหมือนมนุษย คือ มีอารมณขุนหมอง ตอบขอ 2.

Explain

นักเรียนพิจารณาวิธีการของพระเวสสันดร แลวอภิปรายประเด็นตอไปนี้ • พระเวสสันดรแกไขความทุกขโศกของ พระนางมัทรีไดสําเร็จหรือไม อยางไร (แนวตอบ พระเวสสันดรแกไขไดสําเร็จ จากที่กวีบรรยายวา “ที่ความโศกก็เสื่อมสราง เพราะเจ็บใจ” แตก็คลายโศกเพียงชั่วครู ชั่วคราว เพราะหลังจากนั้นพระนางมัทรี ก็กลับไปตามหาลูกทั้งสองในปาอีกครั้ง กอนจะเปนลมหมดสติไป) • เหตุใดวิธีการของพระเวสสันดรจึงทําให พระนางมัทรีคลายความเศราโศกไดในที่สุด (แนวตอบ พระเวสสันดรรอเวลาที่เหมาะสม ใหพระนางมัทรีเศราโศกจนถึงที่สุด กอนจะ ตัดสินใจบอกความจริงวามอบบุตรทั้งสอง เปนทานใหแกพราหมณชูชกไป ทั้งนี้เพื่อให เปนไปตามความมุงมั่นตั้งใจในทาน พระนางมัทรีจึงอนุโมทนาในทานดวย)

ขยายความเขาใจ

Expand

นักเรียนรวมกันแลกเปลี่ยนความคิดเห็นใน ประเด็นตอไปนี้ • กวีตองการสื่อเรื่อง “ทาน” เปนแนวทาง การยึดถือปฏิบัติของพระเวสสันดร ในหมายความวาอยางไร (แนวตอบ แมวาการทานบุตรจะเปนเรื่องที่ ยากจะเขาใจ แตกวีตองการสื่อใหเห็นวาการ เสียสละทานที่ยิ่งใหญ เพื่อใหบรรลุผล และ นําไปสูประโยชนสุขของคนสวนใหญใน ภายภาคหนา)

นักเรียนควรรู 1 ปจจุสมัย อานวา ปด-จุด-สะ-ไหม แปลวา เวลาเชามืด 2 โยชน อานวา โยด หมายถึง ชื่อมาตราวัดความยาวของไทยในสมัยกอน 400 เสน เปน 1 โยชน หรือเมื่อเทียบมาตรวัดความยาวตามระบบสากลจะเทากับ 16 กิโลเมตร 3 หิมเวศ หมายถึง ปาหิมพานต มาจากคําวา “หิมวา” เติม ศ ซึ่งเปนการเขา ลิลิตเขาไป เปนหิมเวศ 4 หวงสงสาร การเวียนวายตายเกิดไปดวยอํานาจกิเลส วิบาก และกรรม วนเวียน เรื่อยไป หากยังไมสามารถตัดกิเลส วิบาก และกรรมได

คูมือครู

27


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

Expand

จากบทครํ่าครวญของพระเวสสันดรเมื่อเห็น พระนางมัทรีสลบไปมีความไพเราะกินใจอยางยิ่ง • นักเรียนบอกสํานวนเปรียบเทียบวามีอะไรบาง (แนวตอบ มีสํานวนการเปรียบ ดังนี้ กวีใชสาํ นวนการเปรียบ คือ กระทอมมุงใบไม เทียบกับพระเมรุทองเสียงนกรองในปาเทียบกับ เสียงกลองประโคมใน เสียงจักจัน่ เรไรเทียบกับ เสียงแตรสังขและพิณพาทย ทองฟาที่เปดโลง เทียบกับเพดาน นกยูงนกยางในปาเทียบกับ ฉัตรเงินฉัตรทอง แสงพระจันทรเทียบกับ เปลวไฟในโคมแกว)

Evaluate

อถ มหาสตฺโต ปางนั้นสมเด็จพระเวสสันดรอดุลดวงกษัตริย ตรัสทอดพระเนตรเห็น พระอัคเรศถึงวิสญ ั ญีภาคสลบลงวันนัน้ พระทัยทาวเธอสําคัญวาพระนางเธอวางวาย สะดุง พระทัย หายวาโออนิจจามั 1 ทรีเจาพี่เอย บุญพี่นี้นอยแลวนะเจาเพื2่อนยาก เจามาตายจากพี่ไปในวงวัด เจาจะเอาปาชัฏนี่หรือมาเปนปาชา จะเอาพระบรรณศาลานี่หรือเปนบริเวณพระเมรุทอง จะเอา 3 แตเสียงสาลิกาอันรํ่ารองนั่นหรือมาเป4นกลองประโคมใน จะเอาแตเสียงจักจั่นและเรไรอันรํ่ารอง นั่นหรือมาตางแตรสังขและพิณพาทย จะเอาแตเมฆหมอกในอากาศนั่นหรือมากั้นเปนเพดาน จะ เอาแตยูงยางในปาพระหิมพานตมาตางฉัตรเงินและฉัตรทอง จะเอาแตแสงพระจันทรอันผุดผอง มาตางประทีปแกวงามโอภาส อนิจจามัทรีเอย มาตายอเนจอนาถไรญาติที่กลางดง ครั้นทาวเธอ 5 คอยคลายลงที่โศกศัลย จึ่งผันพระพักตรมาพิจารณาก็รูวายังไมอาสัญ จึ่งเขาไปยังพระคันธกุฎี จับเอาคนที่อันเต็มไปดวยนํ้ามาทันใด ตั้งแตพระองคทรงพระผนวชไพรมาไดถึงเจ็ดเดือนปลาย จะไดตองพระกายนางมัทรีหามิได เมื่อความทุกขพนวิสัยมิอาจที่จะกําหนด วาอาตมะนี้เปน ดาบสษี ยกเศียรพระมัทรีขึ้นใสตักวักเอาวารีมาโสรจสรงลงที่อุระพระมัทรี หวังวาจะใหชุมชื่น ฟนสมปฤๅดีคืนมา แหงนางพระยา นั้นแล ตมตฺถํ ปกาเสนฺโต สตฺถา อาห ตมชฺช ปตฺตํ ราชปุตฺตึ อุทเกนาภิสิฺจิถ อสฺสตฺถํ นํ วิทิตฺวาน อถ นํ เอตมพฺรวีติ อาทิเยเนว เต มทฺทิ ทุกฺขํ นกฺขาตุมิจฺฉิสํ ทลิทฺโท ยาจโก วุฑฺโฒ พฺราหฺมโณ ฆรมาคโต ตสฺส ทินฺนา มยา ปุตฺตา มทฺทิ มา ภายิ อสฺสส มํ ปสฺส มทฺทิ มา ปุตฺเต มา พาฬฺหํ ปริเทวยิ ลจฺฉาม ปุตฺเต ชีวนฺตา อโรคา จ ภวามฺหเส ปุตฺเต ปสุฺจ ธฺ ฺ จ ยฺ จ อฺ ํ ฆเร ธนํ ทชฺชา สปฺปุริโส ทานํ ทิสฺวา ยาจกมาคเต อนุโมทาหิ เม มทฺทิ ปุตฺตเก ทานมุตฺตมนฺติ อนุโมทามิ เต เทว ปุตฺตเก ทานมุตฺตมํ ทตฺวา จิตฺตํ ปสาเทหิ ภิยฺโย ทานํ ทโท ภว โย ตฺวํ มจฺเฉรภูเตสุ มนุสฺเสสุ ชนาธิป พฺราหฺมณสฺส อทา ทานํ สีวีนํ รฏวฑฺฒโนติ นินฺนาทิตา เต ปวี สทฺโท เต ติทิวงฺคโต สมนฺตา วิชฺชุตา อาคู คิรีนํว ปฏิสฺสุตาติ ๒๘

นักเรียนควรรู 1 ปาชัฏ หมายถึง ปาที่มีตนไมขึ้นอยูหนาแนน โดยมากเปนไมเลื้อยและไม หนาม 2 พระบรรณศาลา หมายถึง กระทอมที่ปลูกสรางโดยใชใบไมมุงลอม 3 สาลิกา นกวงศเดียวกับนกกิ้งโครง ลําตัวสีนํ้าตาลเขม หัวสีดํา ขอบตาและ ปากสีเหลือง มีแตมขาวที่ปก ปลายหางสีขาว กินแมลงและผลไม พบทั่วทุกภาค ของประเทศไทย 4 พิณพาทย หรือปพาทย ชื่อเรียกวงดนตรีไทยซึ่งประกอบดวยเครื่องเปา คือ ปผสมกับเครื่องตี ไดแก ระนาดและฆองวงชนิดตางๆ เปนหลัก และเครื่องกํากับ จังหวะ เชน ฉิง่ ฉาบ กรับ โหมง ตะโพน กลองทัด กลองแขก และกลองสองหนา 5 พระคันธกุฎี เปนชื่อกุฎีที่ประทับของพระพุทธเจา

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ขอใดไมมี ความเปรียบ 1. วามัทรีนี้เปนขาเกาแตกอนมาดั่งเงาตามพระบาทาก็เหมือนกัน 2. จะเอาพระบรรณศาลานี่หรือเปนบริเวณพระเมรุทอง 3. ปานประหนึ่งพุมฉัตรทองอันตองสายอัสนีฟาด 4. จึ่งตรัสวาเจาดวงมณฑาทองทั้งคูของแมเอย วิเคราะหคําตอบ ขอ 1. เปรียบวาพระนางมัทรีติดตามรับใช พระเวสสันดรเหมือนเงาตามพระบาท ขอ 2. เปรียบกระทอมที่พัก เปนพระเมรุทอง ขอ 3. มีการใชคําแสดงความเปรียบเทียบวา “ปานประหนึ่ง” ขอ 4. ใชคําวา “เจามณฑาทองทั้งคู” แทนลูก ทั้งสอง ขอที่ไมมีความเปรียบคือ “ปานประหนึ่งพุมฉัตรทอง อันตองสายอัสนีฟาด” เพราะไมไดแสดงใหเห็นวากําลังเปรียบเทียบ อะไรกับอะไร กลาวถึงแตเพียงวา เหมือนฉัตรทองที่โดนฟาผา

ตอบขอ 3.

28

คูมือครู

ตรวจสอบผล

Explain

จากบทครํ่าครวญของพระเวสสันดรเมื่อ ทอดพระเนตรเห็นพระนางมัทรีสลบไป นักเรียน วิเคราะหคุณคาดานวรรณศิลป (แนวตอบ เมื่อพระเวสสันดรเห็นพระนางมัทรีสลบ ไปก็ตกใจนึกวาพระนางมัทรีสิ้นใจ พระเวสสันดรได รําพันดวยความเศราสลดใจ โดยพรรณนาไดอยาง กินใจดวยการใชความเปรียบ ดังความวา “เจาจะ เอาปาชัฏนี่หรือมาเปนปาชา จะเอาพระบรรณศาลา นี่หรือมาเปนบริเวณพระเมรุทอง จะเอาแตเสียง สาลิกาอันรํ่ารองนั่นหรือมาเปนกลองประโคมใน จะเอาแตเสียงจักจั่นและเรไรอันรํ่ารองนั่นหรือมา ตางแตรสังขและพิณพาทย จะเอาแตเมฆหมอกใน อากาศนัน้ หรือมาเปนเพดาน จะเอาแตยงู ยางในปาพระ หิมพานตมาตางฉัตรเงินและฉัตรทอง จะเอาแตเสียง พระจันทรอันผุดผองมาตางประทีปแกวงามโอภาส” กวีใชคาํ วา “มาตาง” แสดงการเปรียบสภาพแวดลอม ที่อยูในปากับความพรั่งพรอมอลังการของวัง และ เลนคําโดยการใชคําซํ้ากันหลายที่ ทั้งคําวา “มาตาง” และคําวา “จะเอาแต” ซึ่งกลาวขึ้นตนความเปรียบ ซํ้าๆ เพื่อแสดงความตํ่าตอยนอยนิดของสิ่งที่เปนอยู เทียบกับสิ่งที่ละทิ้งมา)

ขยายความเขาใจ

อธิบายความรู


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

อธิบายความรู

Explain

นักเรียนชวยกันวิเคราะหประเด็นตอไปนี้ • เหตุใดพระนางมัทรีจึงยอมรับและเขาใจใน การตัดสินใจของพระเวสสันดรที่บริจาคทาน สองกุมารใหแกพราหมณชูชก (แนวตอบ เพราะเมื่อพระนางควบคุมสติ ควบคุมอารมณความรูสึกโศกเศราเสียใจได ก็ทรงเขาใจในการกระทําของพระเวสสันดร ไดในที่สุด)

ตสฺส เต อนุโมทนฺติ อุโภ นารทปพฺพตา อินฺโท จ พฺรหฺมา จ ปชาปตี จ โสโม ยโม เวสฺสวณฺโณ จ ราชา สพฺเพ เทวานุโมทนฺติ ตาวตึสา สอินฺทกา อิติ มทฺที วราโรหา ราชปุตฺตี ยสสฺสินี เวสฺสนฺตรสฺส อนุโมทิ ปุตฺตเก ทานมุตฺตมนฺติ ภิกฺขเว ดูกรภิกษุสงฆผูทรงศีลวิสุทธิสิกขา เมื่อสมเด็จพระมัทรีเธอไดสมปฤๅดีคืนมา นางพระยาเจาละอายแกเทพดานัก ดวยตัวมานอนอยูบนตักพระราชสามีมิบังควร อุฏาย จึ่ง อุฏฐาการโดยดวนเลื่อนพระองคลงจากตักพระราชสามี พระมัทรีจึ่งทูลถามวาพระพุทธเจาขา พระลูกรักทัง้ สองราไปอยูไ หนนะฝาพระบาท ทาวเธอจึง่ ตรัสประภาษวาดูกรเจามัทรี อันสองกุมารนี้ พี่ใหเปนทานแกพราหมณ แตวันวานนี้แลว พระนองแกวเจาอยาโศกศัลย จงตั้งจิตของเจานั้นให โสมนัสศรัทธา ในทางอันกอกฤดาภิหารทานบารมี ลจฺฉาม ปุตฺเต ชีวนฺตา ถาเราทั้งสองนี้ยังมีชีวิต สืบไป อันสองกุมารนี้ไซรก็คงจะไดพบกันเปนมั่นแมน ถึงแสนสัตพิธรัตนเครื่องอลงการซึ่ง พระราชทานไปนั้น เราก็จะไดดวยพระทัยหวัง ทชฺชา สปฺปุริโส ทานํ มัทรีเอย อันอริยสัตบุรุษ เห็นปานดั่งตัวพี่ฉะนี้ ถึงจะมีขาวของสักเทาใดๆ ทิสฺวา ยาจกมาคเต ถาเห็นยาจกเขามาใกล ไหววอนขอไมยอทอในทางทาน จนแตชั้นลูกรักยอดสงสารพี่ยังยกให 2 เปนทานได อันสองกุมารนี้ 1 ไซรเปนแตทานพาหิรกะภายนอกไมอมิ่ หนํา พีจ่ ะใครใหอชั ฌัตกิ ทานอีกนะเจามัทรี ถาแมนมีบคุ คล ผูใดปรารถนาเนื้อหนังมังสังโลหิตดวงหทัยนัยนเนตรทั้งซายขวา พี่ก็จะแหวะผาใหเปนทานไม ยอทอถึงเพียงนี้ มัทรีเอย จงศรัทธาดวยชวยอนุโมทนาทาน ในกาลบ ในกาลบัดนี้เถิด สมเด็จพระมัทรีทูลสนองพระโองการวา พระพุทธเจาขา แตวันวานนี้เหตุไฉนจึ่งไมแจง ยุบลสารใหทราบเกลา ทาวเธอจึ่งตรัสเลาวาพระนองเอย พี่จะเลาใหเจาฟงก็สุดใจ ดวยเจามา แตปาไกลยังเหนื่อยนัก พี่เห็นวาความรอนความรักจะรุกอก ดวยสองดรุณทารกเปนเพื่อนไร เจามัทรีเอย จงผองใสอยาสอดแคลว อันสองพระลูกแกวไปไกลเนตร พระนางจึง่ ตรัสวา พระพุทธเจา ขาอันสองกุมารนี้ เกลากระหมอมฉานไดอุตสาหะถนอม ยอมพยาบาลบํารุงมา3 ขออนุโมทนาดวย ปยบุตรทานบารมี ขอใหนํ้าพระหฤทัยพระองคจงผองแผวอยามีมัจฉริยธรรมอกุศล อยามาปะปน ในนํ้าพระทัยของพระองคเลย ทาวเธอจึ่งตรัสวาพระนองเอย ถาพี่มิไดใหดวยเลื่อมใสศรัทธา แทแลว ที่ไหนเลยแผนดินดานจะกัมปนาทหวาดหวั่นไหวจลาจล ทาวเธอเลานุสนธิ์มหัศจรรย อันมีอยูในกัณฑกุมารบรรพ กลับมาเลาใหพระมัทรีฟงแตในกาลหนหลั​ังนี้แลวแล สา มทฺที สวนสมเด็จพระมัทรีศรีสุนทรบวรราชธิดามหาสมมุติวงศวิสุทธิสืบสันดานมา วราโรหา ทรงพระพักตรผิวผองดุจเนื้อทองไมเทียมสี ยสสฺสินี มีพระเกียรติยศอันโอฬารลํ้าเลิศ วิ ไ ลลั ก ษณ ย อดกษั ต ริ ย  อั น ทรงพระศรั ท ธาโสมนั ส นบนิ้ ว ประนมน อ มพระเศี ย รเคารพทาน

ขยายความเขาใจ

Expand

นักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นในประเด็น ตอไปนี้ • การที่พระนางมัทรีทําใจยอมรับการใหทาน ลูกได สะทอนใหเห็นสิ่งใด (แนวตอบ การที่พระนางมัทรีทําใจยอมรับ การใหทานลูก ซึ่งเปนเรื่องที่ยากเย็นที่สุด ของผูเปนแม สะทอนใหเห็นความแนวแน เขมแข็ง การขมใจเพื่อเปาหมายที่ยิ่งใหญ การตระหนักถึงหนาที่และเปาหมายของตน พระเวสสันดรตรัสขอใหพระนางอนุโมทนา ในการบําเพ็ญทานบารมีของพระองค พระนางก็ทรงทําตามดวยความภักดี ทําให การบริจาคพระชาลีและพระกัณหาเปนทาน แกชูชกไมกอความขุนของหมองใจใหแก ผูใดอีก ผลแหงทานบารมีในครั้งนี้จึงเต็ม เปยมบริบูรณอยางนาปติ นับวานํ้าพระทัย ของพระนางมัทรีมีสวนสําคัญอยางยิ่ง ในการสนับสนุนการบําเพ็ญทานบารมี ของพระเวสสันดร)

๒๙

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ขอใดมีการเลนเสียงสัมผัสอักษรมากที่สุด 1. ขาพระบาทนี่รอนรนไมหยุดหยอนแตสักอยาง 2. สุดฝเทาที่แมจะเยื้องยองยกยางลงเหยียบดิน 3. เจามิเคยไดความยากยางเทาลงเหยียบดิน 4. พระสุรเสียงเยือกเย็นระยอทุกอกสัตว

วิเคราะหคําตอบ ขอที่มีการเลนเสียงสัมผัสอักษรมากที่สุด คือ ขอ 1. “สุดฝเทาที่แมจะเยื้องยองยกยางลงเหยียบดิน” คําวา เยื้อง-ยอง-ยก-ยาง-เหยียบ ขอ 2. รอน-รน, หยุด-หยอน-อยาง ขอ 3. เคย-ความ, ยาก-ยาง-เหยียบ และขอ 4. เยือก-เย็น-ระยอ ดังนั้นตอบขอ 1.

นักเรียนควรรู 1 ทานพาหิรกะ หมายถึง ทานภายนอก 2 อัชฌัติกทาน หมายถึง ทานภายใน คือ การใหทานโดยสละเลือดเนื้อและชีวิต ของตนใหแกผูอื่น 3 มัจฉริยธรรม ในทางพระพุทธศาสนา หมายถึง ความตระหนี่ หรือความหวง 5 ประการ ไดแก อาวาสมัจฉริยะ ตระหนีท่ อี่ ยู กุลมัจฉริยะ ตระหนีส่ กุล ลาภมัจฉริยะ ตระหนี่ลาภ วัณณมัจฉริยะ ตระหนี่วรรณะ และธัมมมัจฉริยะ ตระหนี่ธรรม

มุม IT ศึกษาเกี่ยวกับทานพาหริกะ หรือทานภายนอกเพิ่มเติม ไดที่ http://www.mcu.ac.th/thesis_file/254902.pdf คูมือครู

29


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

Expand

นักเรียนสรุปเนื้อเรื่องมหาเวสสันดรชาดก กัณฑมัทรี โดยเรียงลําดับเหตุการณเปนขอๆ (แนวตอบ สรุปเนื้อเรื่องเรียงลําดับเหตุการณ เปนขอๆ ไดดังนี้ • เทวดาจําแลงมาขวางทางนางมัทรี • นางมัทรีขอหนทาง • นางมัทรีกลับพระอาศรม • นางมัทรีทูลถามพระเวสสันดร • พระเวสสันดรตัดพอนางมัทรี • นางมัทรีทูลตอบพอ • นางมัทรีครวญที่ตนหวา • นางมัทรีสลบ • พระเวสสันดรชวยใหนางมัทรีฟน • นางมัทรีฟน • นางมัทรีอนุโมทนาทาน)

ตรวจสอบผล

ขยายความเขาใจ

ทาวเธอก็ชื่นบานบริสุทธิ์ดวยปยบุตรมิ่งมกุฎทานอันพิเศษ ฝายฝูงอมรเทเวศทุกวิมานมาศ มนเทียรทุกหมูไม ก็ยิ้มแยมพระโอษฐตบพระหัตถอยูฉาดฉาน รองสาธุการสรรเสริญเจริญ ทานบารมี ทั้งสมเด็จอมรินทรเจาฟาสุราลัย อันเปนใหญในดาวดึงสสวรรค ก็มาโปรยปรายทิพย บุปผากรอง ทั้งพวงแกวและพวงทองก็โรยรวงจากกลีบเมฆกระทําสักการบูชา แกสมเด็จนาง พระยามัทรี ทาวเธอทรงกระทําอนุโมทนาทาน เวสฺสนฺตรสฺส แหงพระเวสสันดรราชฤๅษีผูเปน พระภัสดา อิติ เมาะ อิมินา ปกาเรน ดวยประการดังนี้แลวแล มทฺทิปพฺพํ นิฏิตํ ประดับดวยพระคาถา ๙๐ พระคาถา

Evaluate

1. นักเรียนสรุปเรื่องยอพระมหาเวสสันดรชาดก กัณฑมัทรีได 2. นักเรียนยกบทประพันธที่มีลักษณะการเลนคํา จากมหาเวสสันดรกัณฑอื่นได

สรรพสาระ

»ÃÐàÀ·¢Í§ªÒ´¡

ชาดกมี ๒ ประเภท คือ ๑. นิบาตชาดก เปนชาดกที่มาจากพุทธวัจนะ มีปรากฏในพระไตรปฎก ๕๔๗ เรื่อง คนทั่วไปนิยม เรียกวา พระเจา ๕๐๐ ชาติ พระพุทธเจาจะทรงเลา นิบาตชาดกก็ตอเมื่อมีผูอาราธนา คือมีผูมาขอรองใหทรง เลานั่นเอง ทศชาติหรือสิบชาติสดุ ทายของพระโพธิสตั ว กอนจะประสูติเปนพระพุทธเจา ซึ่งรวมถึงมหาเวสสันดร ภาพจิตรกรรมฝาผนัง ชาดกทีน่ บั เปนนิบาตชาดกดวย เพราะพระสาวกทัง้ หลาย ในวัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร เปนผูอ าราธนาใหพระพุทธเจาทรงเลา เมือ่ ครัง้ ทีฝ่ นโบกขร เรื่องมโหสถชาดก ซึ่งเปนนิบาตชาดกเรื่องหนึ่ง พรรษตกดวยพุทธบารมีที่วัดนิโครธาราม ๒. ปญญาสชาดก เปนชาดกที่ไมไดปรากฏในพระไตรปฎก ไมใชชาดกที่มาจากพุทธวจนะ แตเปนชาดกที่แตงขึ้นโดยภิกษุชาวเชียงใหม ซึ่งนําเรื่องมาจากนิทานสุภาษิตหรือนิทานอิงธรรมะที่เลา ตอกันมา รวบรวมแตงไวเพื่อเปนขอคิดสอนใจผูคน

๓๐

เกร็ดแนะครู ครูแนะความรูใหนักเรียนเพิ่มเติมวา การฟงเทศนมหาชาติจะไดอานิสงส ผูใด บูชากัณฑมัทรี เกิดในโลกหนาจะเปนผูมั่งคั่ง สมบูรณดวยทรัพยสมบัติ เปนผูมีอายุ ยืนยาว ทั้งประกอบดวยรูปโฉมงดงามกวาคนทั้งหลายจะไปในที่แหงใด ก็จะมีแต ความสุขความเจริญทุกหนแหง ครูใหนักเรียนระดมความคิดวา นอกจากความเชื่อ ขางตนแลว การฟงเทศนมหาชาติจะชวยในเรือ่ งใดอีกบาง ครูยกตัวอยางเปนแนวทาง ใหนักเรียนฟง เชน ทําใหจิตใจสงบมีสมาธิ เปนตน

มุม IT ศึกษาเกีย่ วกับประเด็นคําถามในกัณฑมทั รี ในกระดานสนทนาราชบัณฑิตยสถาน เพิม่ เติม ไดที่ http://www.royin.go.th/th/webboardnew/answer.php?GroupID= &searchKey=&searchFrom=&searchTo=&PageShow=4&TopView=&QID=11119

30

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ขอใดแสดงใหเห็นภาพเคลื่อนไหว 1. นางจึงเซซังเขาไปสูพระอาศรมบังคมบาทพระภัสดา ประหนึ่งวา ชีวาจะวางวายทําลายลวง 2. พลางพิศดูผลาผลในกลางไพรทั้งนางเคยไดอาศัยทรงสอย อยูเปนนิตยผิดสังเกต 3. รัศมีพระจันทรก็มัวหมองเหมือนหนึ่งจะเศราโศกแสนวิปโยค เมื่อยามปจจุสมัย 4. ทั้งเวลาก็เย็นลงเย็นลงไรๆ จะคํ่าแลวยังไมเห็นหนาลูกแกว ของแมเลย วิเคราะหคําตอบ ขอที่แสดงใหเห็นภาพการเคลื่อนไหว คือ นางจึงเซซังเขาไปสูพระอาศรมบังคมบาทพระภัสดาประหนึ่งวา ชีวาจะวางวายทําลายลวง มีคําที่แสดงกิริยาอาการของการ เคลื่อนไหววา “เซซัง” ตอบขอ 1.


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

อธิบายความรู

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

กระตุน ความสนใจ

ครูยกคําศัพทจากบทเรียนมา 4-5 คํา แลวให นักเรียนอธิบายความหมายของคําศัพทที่ครูยกมา รวมกัน จากนั้นครูสรุปความหมายของศัพทคํานั้น

๖. คําศัพท คําศัพท

Engage

ความหมาย

กฤดาภินิหาร

อภินิหาร บุญอันยิ่งที่ทําไว

สํารวจคนหา

กเลวระ

(กเฬวระ) ซากศพ

กัมปนาท

เสียงบันลือ เสียงสนั่นหวั่นไหว

นักเรียนศึกษาคําศัพทเพิ่มเติม โดยเฉพาะคําที่ เปนภาษาบาลีและคนหาความหมายของคําศัพทนนั้

คนธรรพ

ชาวสวรรคพวกหนึ่ง มีความชํานาญในวิชาขับรอง ดนตรี

อธิบายความรู

ชาติอาชาไนย

มาตระกูลที่ดี กําเนิดดี ผูมีความรูรวดเร็ว

ดรุณเรศ

หญิงสาวรุน

ดาวดึงสสวรรค ไตรภพ

สวรรคชั้นที่ ๒ ซึ่งมีพระอินทรเปนใหญ 1 2 3 ภพสาม ไดแก กามภพ รูปภพ อรูปภพ

ทานพาหิรกะ

การให (ทาน) สิ่งนอกกาย

ทิพากร

ดวงอาทิตย

บรรณศาลา

สํานักของษีหรือผูบําเพ็ญพรต โรงที่มุงดวยใบไม

เบญจางคจริต

กิริยา ๕ ประการ (มักใชในเรื่องไมดี)

1. นักเรียนนําเสนอความรูเกี่ยวกับคําศัพทใน บทเรียนเพิ่มเติม เพื่อใหเกิดความเขาใจใน เนื้อเรื่อง แนวคิด และจุดมุงหมายของเรื่อง โดยคําศัพทที่นักเรียนนําเสนอหนาชั้นควรเปน คําศัพทที่มักปรากฏในวรรณกรรมศาสนา เรื่องอื่น เชน คําวา ไตรภพ คนธรรพ ดาวดึงส สวรรค เปนตน 2. นักเรียนคัดเลือกคําศัพทจากบทเรียนมา อยางนอย 5 คํา ใหนักเรียนบอกความหมาย และระบุที่มาวามาจากวรรณกรรมเรื่องใด

ปรมัตถ

ความจริงอันเปนที่สุด ประโยชนอยางยิ่ง ชื่อพระอภิธรรมปฎก

ปจฉิม

ภายหลัง ที่หลัง ชื่อทิศ (ตะวันตก)

ปาริชาต

(ปาริชาตก) ตนไมในสวนพระอินทรที่สวรรคชั้นดาวดึงส

พรหมเมศร

พระพรหมผูเปนใหญ

พาฬมฤคา

(พาฬ) สัตวราย สัตวที่กินสัตวอื่นเปนอาหาร

พิลาป

รองไห ครํ่าครวญ บนเพอ รํ่าไร รําพัน

Explore

Explain

๓๑

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ขอใดกลาวถึงสิ่งของเครื่องใช 1. ถาจะคลี่คลายขยายมรคาก็ไดสิบหาโยชนโดยนิยม 2. สาแหรกคานบันดาลพลิกพลัดลงจากบา 3. โบกขรณีตําแหนงนอกพระอาวาส 4. บุษบกก็เบิกบานผกากร

วิเคราะหคําตอบ ขอ 1. กลาวถึง ระยะทางที่ไกล 15 โยชน ขอ 2. กลาวถึง สาแหรกที่หลุดลงจากบา ขอ 3. สระโบกขรณีอยู ดานนอกของที่บําเพ็ญบารมีหรือก็คือที่พักของพระเวสสันดร และ ขอ 4. ดอกไมตางก็บาน ขอที่กลาวถึงสิ่งของเครื่องใช คือ ขอ 2. “แสรกคานบันดาลพลิกพลัดลงจากบา” กลาวถึงสาแหรกและคาน “สาแหรก” เปนเครื่องใสของคลายกระจาด ปกติทําจากหวายโยง 4 เสน ตอนบนจับเปนหูสําหรับสอดคานหาบ ตอบขอ 2.

เกร็ดแนะครู จากที่นักเรียนอานเนื้อเรื่องมหาเวสสันดรชาดก ครูจัดกิจกรรมใหนักเรียนได ตอยอดทักษะการใชภาษาจากคําศัพทในบทเรียน โดยใหนักเรียนอานออกเสียงให ถูกตองตามหลักเกณฑการอานคําที่เปนภาษาบาลี นักเรียนฝกแยกคําศัพทที่เปน คําสมาสควบคูไปกับการฝกอาน

นักเรียนควรรู 1 กามภพ หรือกามภูมิ เปนดินแดนของสรรพสัตวที่ยังมีกามตัณหา 2 รูปภพ ภพสําหรับสัตวที่มีจิตเหนือไปจากการมีความสุขในกามและสมาธิที่มี อารมณเปนรูปธรรม พอใจในสมาธิทไี่ มมอี ารมณเปนรูปธรรม 3 อรูปภพ ภพสําหรับสัตวที่มีจิตใจไมเกี่ยวของกับกาม แตยังพอใจในความสุขที่ เกิดจากสมาธิที่มีอารมณเปนรูปธรรม ถือเปนจิตที่สูงกวาจิตที่เกี่ยวของกับกาม คูมือครู

31


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

Expand

นักเรียนสามารถยกตัวอยางการใชคําศัพทใน มหาเวสสันดรชาดก กัณฑมัทรีที่มีการสรางคํา แบบสมาสและแบบสมาสอยางมีสนธิ (แนวตอบ ตัวอยางการสรางคําศัพทแบบสมาส ในเรื่องมหาเวสสันดรชาดก กัณฑมัทรี • การสรางคําโดยวิธีสมาส เชน พูนเทวษ โพธิสมภาร มหาบุรุษ เปนตน • การสรางคําโดยวิธีสมาสอยางมีสนธิ เชน กฤษดาภินิหาร = กฤษดา-อภินิหาร)

ตรวจสอบผล

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

Explain

จากการศึกษาภาษาตางประเทศในภาษาไทย โดยเฉพาะคําบาลีในภาษาไทย นักเรียนอธิบาย อิทธิพลของภาษาบาลีในภาษาไทย (แนวตอบ อิทธิพลของภาษาบาลีในภาษาไทย เกิดจากการเผยแผผานทางพระพุทธศาสนา จึงมี การใชคําศัพทที่มาจากภาษาบาลีในภาษาไทย จํานวนมาก และไทยยืมวิธีสรางคําจากภาษาบาลี การสรางคําดวยวิธีสมาส ซึ่งมีทั้งที่มีและไมมีสนธิ)

ขยายความเขาใจ

อธิบายความรู

Evaluate

1. นักเรียนรวบรวมและบอกความหมายทางคําศัพท ทีม่ ใี นการประพันธเหมือนกับวรรณกรรมเรือ่ งอืน่ พรอมระบุชื่อวรรณกรรรม 2. นักเรียนยกตัวอยางคําศัพทที่เปนคําสมาสได

คําศัพท

ความหมาย

พูนเทวษ

ความเศราโศกที่มากมาย

โพธิสมภาร 1 มหาบุรุษ

บุญบารมีของพระมหากษัตริย

มัจฉริยะ

ความตระหนี่

ลาวัณย

ความงาม ความนารัก

วายนม

(หยานม อดนม) หยุดกินนมแม (ใชกับเด็ก)

วิทยาธร

(พิทยาธร) ผูมีวิชากายสิทธิ์ เทพบุตรพวกหนึ่งมีหนาที่ บรรเลงดนตรี

วิสัญญีภาพ

สลบ หมดความรูสึก สิ้นสติ อาการที่ไมรูสึกตัว

สมปดี

(สม-ปะ-รือ-ดี) ความรูสึกตัว

สุราลัย

ที่อยูของเทวดา สวรรค

เสาวนีย

คําสั่งของนางพระยา ในที่นี้หมายถึง คําพูดของพระนางมัทรี

โสมนัส

ความเบิกบาน ความสุขใจ ความปลาบปลื้ม

อัชฌัติกทาน

การให (ทาน) สิ่งภายในเฉพาะตัว

อัสนี

สายฟา หมายถึง ฟาผา

อาวาส

วัด ผูครอบครอง

อินทรีย

รางกายและจิตใจ

อุฏฐาการ

ลุกขึ้น

บุรุษผูยิ่งใหญ ในที่นี้หมายถึง พระพุทธเจา

๓๒

เกร็ดแนะครู ครูแนะเรือ่ งการเรียนรูร าชาศัพทวา จะชวยใหนกั เรียนเขาถึงรสวรรณคดี เพราะใน วรรณคดีเรื่องมหาเวสสันดร กัณฑมัทรีมีคําราชาศัพทปนอยูมาก เชน เสวย พระชนนี ตรัส พระสรวล พระเศียร พระเสาวนีย พระเพลา พระราชบัญชา พระอัสสุชล เปนตน ทั้งนี้การใชราชาศัพทเพื่อใหเหมาะสมกับเรื่องราวของตัวละครในเรื่องที่เปนกษัตริย นักเรียนหาคําราชาศัพทจากเรื่องนี้เพิ่มเติม จัดแยกเปนหมวดหมู บันทึกลงสมุด

นักเรียนควรรู 1 มหาบุรุษ คือ บุรุษที่สมบูรณดวยลักษณะ 32 ประการ ยอมมีคติ 2 อยาง คือ 1. ถาอยูครองเรือนจะไดเปนพระเจาจักรพรรดิผูทรงธรรมเปนใหญในแผนดิน 2. ถาออกบวชจะไดเปนพระอรหันตสมั มาสัมพุทธเจา ลักษณะมหาบุรษุ 32 ประการ เกิดจากกรรมดีที่พระพุทธองคทรงบําเพ็ญสั่งสมไวในอดีตชาติตางๆ

32

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

“เพียงพระสันดานจะขาดจะดับสูญ” ขอใดคือความหมายของคําที่ขีดเสนใต 1. ชีวิต 2. อุปนิสัย 3. รางกาย 4. นิสัยที่ติดตัวมาแตเกิด วิเคราะหคําตอบ ความหมายของคําวา “พระสันดาน” โดยความ หมายแทจริงแลว หมายถึง นิสัยที่ติดตัวมาตั้งแตเกิดอาจดีหรือ ไมดี แตมักใชไปในทางไมดี แตเมื่อพิจารณาจากบริบทหรือคําที่ แวดลอมของขอความขางตน คํานี้ควรมีความหมายวา “ชีวิต” ซึ่งหมายถึงรางกายและจิตวิญญาณ มีความเหมาะสมที่สุด คือ ชีวิตจะดับสูญหรือตาย ตอบขอ 1.


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

กระตุน ความสนใจ

ครูหรือนักเรียนนําภาพตัวละครในมหาเวสสันดรชาดกมาใหนักเรียนพิจารณารวมกัน และเลาเรื่อง จากภาพใหเชื่อมโยงกับเนื้อเรื่องที่นักเรียนอานมา

๗. บทวิเคราะห ๗.๑ คุณคาดานเนื้อหา

๑) รูปแบบ มหาเวสสันดรชาดก กัณฑมัทรี แตงดวยคําประพันธประเภทรายยาว

นําดวยคาถาบาลีทอนหนึ่ง แลวแตงเปนรายยาวมีคําบาลีแทรก เปนการใชรูปแบบคําประพันธได เหมาะสมกั บเนื้อหาสาระสําคัญของเรื่องที่จะชวยใหนักเรียนมีความซาบซึ้งในความรักของผูเปน 1 แมไดอยางดียิ่ง ๒) องคประกอบของเรื่อง

๒.๑) สาระ เปนการแสดงความรักของแมที่มีตอลูกเปนความรักที่ยิ่งใหญ การพลัดพรากจากลูกยอมนําความทุกขโศกมาสูแมอยางยากจะหาสิ่งใดเปรียบได ๒.๒) โครงเรือ่ ง มีการวางโครงเรือ่ งไดดี โดยการผูกเรือ่ งใหเทพบุตร ๓ องค นิรมิต กายเปนสัตวรายมาขวางทางพระนางมั 2 ทรีมิใหกลับอาศรมไดทันเวลาที่พระเวสสันดรจะบําเพ็ญ บุตรทานบารมีแกพราหมณชูชก เมื่อพระนางกลับมาแลวไมพบสองกุมารก็เศราโศกเสียพระทัย จนสลบไป ตอภายหลังไดทรงทราบวาพระเวสสันดรไดประทานสองกุมารใหแกพราหมณชูชก พระนางมัทรีกค็ ลายความเศราโศกและเต็มพระทัยอนุโมทนาในบุตรทานบารมีทพี่ ระเวสสันดรหวัง บําเพ็ญ ๒.๓) ตัวละคร มหาเวสสันดรชาดก กัณฑมัทรี มีลักษณะตัวละครสําคัญ ดังนี้ พระเวสสันดร (๑) มีคณ ุ ธรรมสูงเหนือมนุษยยากทีม่ นุษยทวั่ ไปจะทําได ไดแก การบริจาค บุตรของตน คือ พระชาลีและพระกัณหา ซึ่งเปรียบเสมือนแกวตาดวงใจของพอแมใหเปนทาน แกชูชก นับเปนการบําเพ็ญทานอันยิ่งใหญประการหนึ่ง ดังขอความในบทประพันธ ดังนี้ “...ทาวเธอจึ่งตรัสประภาษวาดูกรเจามัทรี อันสองกุมารนี้พี่ใหเปนทานแกพราหมณ แตวันวานนี้แลว พระนองแกวเจาอยาโศกศัลย จงตั้งจิตของเจานั้นใหโสมนัสศรัทธา ในทาง อันกอกฤดาภินิหารทานบารมี ลจฺฉาม ปุตฺเต ชีวนฺตา ถาเราทั 3 ้งสองนี้ยังมีชีวิตสืบไป อัน สองกุมารนี้ไซรก็คงจะไดพบกันเปนมั่นแมน ถึงแสนสัตพิธรัตนเครื่องอลงการซึ่งพระราชทาน ไปนั้น เราก็จะไดดวยพระทัยหวัง ทชฺชา สปฺปุริโส ทานํ มัทรีเอย อันอริยสัตบุรุษเห็นปานดั่ง ตัวพี่ฉะนี้ ถึงจะมีขาวของสักเทาใดๆ ทิสฺวา ยาจกมาคเต ถาเห็นยาจกเขามาใกล ไหววอน ขอไมยอทอในทางทาน จนแตชั้นลูกรักยอดสงสารพี่ยังยกใหเปนทานได ทานได...” http://www.aksorn.com/LC/Thai_Lit/M5/02

บูรณาการเชื่อมสาระ

ครูบูรณาการความรูเรื่องการใหทานกับกลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม วิชาพระพุทธศาสนา ซึ่งอธิบาย ความหมายของการให “ทาน” อันเปนแนวคิดหลักของวรรณคดี เรื่องมหาเวสสันดรวา “ทาน” หมายถึง การให การใหธรรมะเปนทาน การแบงปนสิง่ ทีเ่ ปนวัตถุและสิง่ ทีไ่ มใชวตั ถุแกสรรพสัตว เพือ่ อนุเคราะห สงเคราะห ตอบแทนและบูชาคุณ ดวยเจตนาอันบริสุทธิ์โดยไมหวัง สิ่งใดตอบแทนนั่นเอง รวมถึงการใหอภัยดวย ครูใหนักเรียนพิจารณา แนวคิดเรื่องทานตามหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา แลวนํามา อธิบายลักษณะนิสัยและเปาหมายการบริจาคทานของพระเวสสันดร

Engage

EB GUIDE

สํารวจคนหา

Explore

ใหนักเรียนศึกษาคุณคาของวรรณคดีไทย เรื่องมหาเวสสันดรชาดก ทั้งดานเนื้อหา วรรณศิลป และสังคม

อธิบายความรู

Explain

นักเรียนแบงกลุมแลวรวมกันอภิปรายประเด็น ตอไปนี้ • การทําทานอันยิ่งใหญครั้งสําคัญของ พระเวสสันดรประกอบดวยการบริจาค สิ่งใดบาง (แนวตอบ ชางปจจัยนาค ซึ่งเปนชางคูบาน คูเมือง ทานสองกุมาร พระกัณหาและ พระชาลี และพระนางมัทรีซึ่งพระอินทร แปลงเปนพราหมณมาทูลขอพระนางไป) • ทานที่พระเวสสันดรทําเปนการชวยเหลือ ผูอื่นอยางไร (แนวตอบ การใหทานเปนการเสียสละสิ่งของ อันเปนของตนแกผูอื่นดวยเมตตาจิต ใหเกิด ความปติปราโมทยเปนแบบอยางในการ ประพฤติปฏิบัติตาม)

๓๓

นักเรียนควรรู 1 ความรักของผูเ ปนแม เปนแนวคิดของกัณฑมทั รี ความรักทีม่ คี วามเมตตากรุณา และหวงใยลูก เปนความรักที่ประกอบไปดวยความเสียสละปรารถนาใหลูกมีความสุข หวังใหพน ทุกขทงั้ ปวง เชน พระนางมัทรีหว งใยสองกุมารกลัวจะไดรบั อันตราย เปนตน 2 พราหมณชูชก เกิดในตระกูลพราหมณซึ่งถือวาตนมีกําเนิดสูงกวาผูอื่น แตชูชก ก็ยากจนเข็ญใจตองเที่ยวขอทานเลี้ยงชีพ ชูชกอาศัยอยูในหมูบานทุนนวิฐซึ่งอยูติด กับเมืองกลิงคราษฎร ชูชกมีรูปรางหนาตานาเกลียด ประกอบดวยลักษณะของ บุรุษโทษ 18 ประการ และยังมีนิสัยโลภมากตระหนี่ หลงเมียซึ่งก็คือนางอมิตตดา จนยอมเดินทางยากลําบากเพื่อไปทูลขอสองกุมารจากพระเวสสันดรตามความ ตองการของนางอมิตตดา 3 สัตพิธรัตน หมายถึง แกว 7 ประการของพระจักรพรรดิ ไดแก จักรแกว ชางแกว มาแกว มณีแกว นางแกว ขุนคลังแกว และขุนพลแกว

คูมือครู

33


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

1. นักเรียนอธิบายลักษณะเดนของตัวละครในเรื่อง มหาเวสสันดร กัณฑมัทรี • วิเคราะหวาลักษณะเดนนั้นสงผลตอการ ดําเนินเรื่องอยางไร (แนวตอบ ตัวละครในเรื่องมหาเวสสันดรชาดก มีลักษณะเดนที่สงผลตอการดําเนินเรื่อง ดังนี้ • พระเวสสันดรมีคุณธรรมสูงและเขาใจใน ธรรมชาติของมนุษยมีความมุงมั่นพยายาม ที่จะทําใหเปาหมายสําเร็จผล • พระนางมัทรีเปนผูเสียสละและเปนภรรยา ที่ซื่อสัตยตอสามี มีความเปนแมเต็มเปยม เลี้ยงดูลูกอยางดี ความทุกขเศราของ พระนางมัทรีในกัณฑนี้ เพราะความรักลูก สงผลตอการดําเนินเรื่อง คือ เมื่อพระนาง มัทรีหาลูกทัง้ สองไมพบก็เศราสลดวิตกกังวล อยางมาก เปนเหตุใหพระเวสสันดร ใชอุบายเพื่อใหพระนางสงบใจลงได) 2. นักเรียนรวมกันอภิปรายประเด็นคําถามตอไปนี้ • พระมหาเวสสันดรแกไขความทุกขเศราของ พระนางมัทรีที่ติดตามหาลูกอยางไร เพราะ เหตุใด (แนวตอบ เมื่อพระเวสสันดรทรงเห็นพระนาง มัทรีเศราโศกเปนอันมาก จึงหาวิธีตัดความ ทุกขโศกดวยการแกลงกลาวหาพระนางวาคิด นอกใจไปคบหากับชายอื่น จึงไดกลับมาถึง อาศรมในเวลามืดคํ่า)

(๒) มีความเขาใจในธรรมชาติของมนุษย เชน การทําใหพระนางมัทรี 1 ทรงเจ็บพระทัย เพื่อจะไดคลายความโศกเศราที่พระกุมารทั้งสองหายไป เปนการใชจิตวิทยา เพื่อใหพระนางมัทรีบรรเทาความเศราลง มิเชนนั้นพระนางมัทรีจะโศกเศราจนอาจเปนอันตราย ตอพระวรกายได “สวนสมเด็จพระยอดมิ่งเยาวมาลยมัทรี เมื่อไดสดับคําพระราชสามีบริภาษณานาง ที่ความโศกก็เสื่อมสรางสงบจิตเพราะเจ็บใจ...”

พระนางมัทรี (๑) มีความจงรักภักดีตอพระสวามี ปรากฏในขอความ ดังนี้ “...วามัทรีนี้เปนขาเกาแตกอนมาดั่งเงาตามพระบาทาก็เหมือนกัน นอกกวานั้นที่ แนนอนคือนางไหนอันสนิทชิดใชแตกอนกาล ยังจะติดตามพระราชสมภารมาบางละหรือ ไดแตมัทรีที่แสนดื้อผูเดียวดอก ไมรูจักปลิ้นปลอกพลิกไพลเอาตัวหนี มัทรีสัตยาสวามิภักดิ์ รักผัวเพียงบิดาก็วาได ถึงจะยากเย็นเข็ญใจก็ตามกรรม...”

(๒) เปนยอดกุลสตรี ปฏิบัติหนาที่ภรรยาและมารดาไดสมบูรณครบถวน “...โอพระจอมขวัญของแมเอย เจามิเคยไดความยากยางเทาลงเหยียบดิน ริ้นก็ มิไดไตไรก็มิไดตอม เจาเคยฟงแตเสียงพี่เลี้ยงเขาขับกลอมบําเรอดวยดุริยางค ยามบรรทม ธุลีลมก็มไิ ดพัดมาแผวพาน แมสพู ยาบาลบํารุงเจาแตเยาวมา เจามิไดหา งพระมารดาสักหายใจ โอความเข็ญใจในครั้งนี้นี่เหลือขนาด สิ้นสมบัติพลัดญาติยังแตตัวตองไปหามาเลี้ยงลูกและ เลี้ยงผัวทุกเวลา...”

(๓) มีความอดทน ไมยอทอตอความยากลําบาก “...อุตสาหะตระตรากตระตรําเตร็ดเตรหาผลาผลไม ถึงที่ไหนจะรกเรี้ยวก็ซอกซอน อุตสาหเที่ยวไมถอยหลัง จนเนื้อหนังขวนขาดเปนริ้วรอย โลหิตไหลยอยทุกหยอมหนาม อารามจะใครไดผลาผลไมมาปฏิบัติลูกบํารุงผัว ถึงกระไรจะคุมตัวก็ทงยากนาหลากใจ...”

(๔) มีจิตกุศล เชนเดียวกับพระเวสสันดร จึงอนุโมทนากับการบําเพ็ญ ปุตตทานบารมีของพระเวสสันดรเชนกัน ๓๔

เกร็ดแนะครู ตัวละครในเรือ่ งมหาเวสสันดร กัณฑมทั รี คือ พระเวสสันดรมีความเขาในธรรมชาติ ของมนุษยเปนอยางดีทรงใชอบุ ายทีท่ าํ ให “ความโศกเสือ่ มสรางสงบจิตเพราะเจ็บใจ” ครูแนะใหนักเรียนศึกษาแนวทางการวิจารณวรรณกรรมดวยแนวคิดทางจิตวิทยา เพื่ออธิบายการกระทําของพระเวสสันดรที่คลายความโศกดวยความโกรธ นักเรียน เขียนงานวิจารณวรรณกรรมที่แสดงใหเห็นบทบาทความสําคัญของตัวละครที่มี ตอการดําเนินเรื่อง ความยาวอยางนอยครึ่งหนากระดาษ

นักเรียนควรรู 1 จิตวิทยา เปนแนวคิดที่สามารถนํามาศึกษาวรรณคดีและวรรณกรรม โดยศึกษา ลักษณะนิสัยและการกระทําของตัวละครในเรื่อง ทั้งนี้ถือวาความดีเดนของวรรณคดี อยูที่การเปดเผยสิ่งที่ซอนเรนอยูภายในจิตสํานึก

34

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

“เดินพรางนางก็รีบทรงเก็บผลาผลแตตามได ใสกระเชาสาว พระบาทบทจรดุมเดินทางโดยดวน” ขอใดไมอาจอนุมาน ถึงพระนางมัทรีไดจากขอความขางตน 1. ทรงทําหนาที่เปนอยางดี 2. ทรงลําบาก 3. ทรงหุนหัน 4. ทรงเรงรีบ วิเคราะหคําตอบ จากบทประพันธขางตน กลาวถึงพระนางมัทรี ที่รีบเก็บผลไมใสกระเชา ซึ่งแสดงใหเห็นการทําหนาที่ของมารดา และภรรยาที่จะตองดูแลเอาใจใสคนในครอบครัว แตก็ทรงเรงรีบ เดินเทาซึง่ แสดงใหวา ทรงมีความลําบาก แตทไี่ มอาจอุปมานได คือ ทรงหุนหัน ความเรงรีบของพระนางไมอาจสรุปวาพระนางหุนหัน ซึ่งหมายถึงไมยับยั้งใจ ตอบขอ 4.


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

อธิบายความรู

Explain

นักเรียนคิดวามหาเวสสันดรชาดก กัณฑมัทรี ที่นําเสนอดวยคําประพันธประเภทรายมีความ เหมาะสมกับเนื้อหาอยางไร จงอธิบาย (แนวตอบ บทประพันธที่แตงเปนรายโดยมี คาถาบาลีนํา ชวยใหผูอานเกิดความซาบซึ้งใน การพรรณนาอารมณความรูสึกของตัวละคร โดยอารมณที่เห็นไดชัดที่สุด คือ สัลลาปงคพิสัย หรือความเศราโศกเสียใจ และพิโรธวาทัง ซึ่งเปน การแสดงอารมณเกรี้ยวโกรธไมพอใจเปนตอนที่ พระเวสสันดรแสรงตอวาพระนางมัทรี การแตง ดวยรายทําใหการดําเนินเรื่องใสรายละเอียดตางๆ ไดดี ทั้งฉากและบรรยากาศ พฤติกรรมของตัว ละคร ลวนทําใหเห็นภาพชัดเจน)

1

“ส ว นสมเด็ จ พระมั ท รี ศ รี สุ น ทรบวรราชธิ ด ามหาสมมุ ติ ว งศ วิ สุ ท ธิ สื บ สั น ดานมา วราโรหา ทรงพระพักตรผิวผองดุจเนื้อทองไมเทียมสี ยสสฺสินี มีพระเกียรติยศอันโอฬาร ลํ้ า เลิ ศ วิ ไ ลลั ก ษณ ย อดกษั ต ริ ย  อั น ทรงพระศรั ท ธาโสมนั ส นบนิ้ ว ประนมน อ มพระเศี ย ร เคารพทาน ทาวเธอก็ชื่นบานบริสุทธิ์ดวยปยบุตรมิ่งมกุฎทานอันพิเศษ...”

๒.๔) ฉากและบรรยากาศ ฉากเปนปาบริเวณที่ตั้งอาศรมของพระเวสสันดร 2 ผูแตงบรรยายฉากและบรรยากาศไดสมจริงสอดคลองกับเนื้อเรื่อง เชน “...กระจางแจงดวยแสงพระจันทรสองสวางพื้นอัมพรประเทศวิถี นางเสด็จจรลีไป หยุดยืนในภาคพื้นปริมณฑลใตตนหวา จึ่งตรัสวา อิเม เต ชมฺพุกา รุกฺขา ควรจะสงสารเอย ดวยตนหวาใหญใกลอาราม งามดวยกิ่งกานประกวดกัน ใบชอุมประชุมชอเปนฉัตรชั้นดั่ง ฉัตรทอง แสงพระจันทรดั้นสองตองนํ้าคางที่ขังใหไหลลงหยดยอย เหมือนหนึ่งนํ้าพลอย พรอยๆ อยูพรายๆ ตองกับแสงกรวดทรายที่ใตตนอรามวามวาวดูเปนวนวงแวว ดั่งบุคคลเอา แกวมาระแนงแกลงมาโปรยโรยรอบปริมณฑลก็เหมือนกัน งามดั่งไมปาริชาติในเมืองสวรรค มาปลูกไว...”

ขยายความเขาใจ

Expand

หากนักเรียนเปนพระเวสสันดร นักเรียนคิดวา มีวธิ กี ารใดนอกจากการแสรงตัดพอหึงหวงทีจ่ ะชวย คลายความทุกขโศกของพระนางมัทรีได ใหนกั เรียน เสนอวิธีการแกไขสถานการณดังกลาว (แนวตอบ เมื่อพระนางมัทรีมาถึงอาศรม พระเวสสันดรอาจจะกลาวทวนถามถึงความตั้งใจ เมื่อแรกเริ่มออกจากเมืองมาอยูปา ยํ้าถึงเปาหมาย ที่พระนางมัทรีเห็นดวยและเลือกที่จะรวมติดตาม ชวยเหลือ สงเสริม พระเวสสันดรกลาวจนแนใจ ในความมุงหมายอยางเดียวกันในเรื่องการใหทาน แลวจึงแจงเรื่องทานลูกทั้งสองแกพราหมณชูชกให พระนางมัทรีรู)

๒.๕) กลวิธกี ารแตง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑมทั รี แตงดวยคําประพันธประเภท รายยาวที่มีคาถาบาลีนํา เปนตอนที่วาดวยพระนางมัทรีเขาปาหาผลไม กลับมาไมพบพระกุมาร ผูเปนลูก จึงออกตามหา ซึ่งในกัณฑมัทรีนี้ ผูแตงเนนใหผูอานเกิดความซาบซึ3้งในการพรรณนา ความรั กของแม 4 ที่ มี ต  อ ลู ก รสวรรณคดี ที่ เ ด น ชั ด ที่ สุ ด คือ สัลลาปงคพิสัย รองลงมา คือ พิโรธวาทัง ซึง่ ปรากฏในตอนทีพ่ ระเวสสันดรทรงเห็นพระนางมัทรีเศราโศกเสียพระทัยมาก จึงทรง คิดหาวิธีตัดความเศราโศกนั้น ดวยการกลาวบริภาษพระนางมัทรีวา คิดนอกใจไปคบกับชายอื่น ทํ า ให พ ระนางมั ท รี ท รงเจ็ บ พระทั ย และตั ด พ อ ต อ ว า พระเวสสั น ดรก อ นจะเสด็ จ ออกตามหา พระโอรส พระธิดา ดวยพระวรกายที่อิดโรยจนสลบไป ตอนนี้เปนชวงที่สะเทือนอารมณและบีบคั้น หัวใจมาก สงผลใหผูอานเกิดความรูสึกสงสารและเห็นใจพระนางมัทรีที่ตองสูญเสียพระโอรส พระธิดาไป แตเมื่อทราบความจริง พระนางมัทรีก็เขาใจ คลายเศราและอนุโมทนาทานบารมีกับ พระเวสสันดรดวย ผูอานก็เกิดความปติใจ นับวาผูแตงใชกลวิธีในการนําเสนอไดนาสนใจและ สรางอารมณสะเทือนใจไดดี

๗.๒ คุณคาดานวรรณศิลป

๑) การสรรคํา ในบทประพันธนี้ กวีไดเลือกใชถอยคําที่สื่อความคิดได ดังนี้ ๓๕

กิจกรรมสรางเสริม นักเรียนอธิบายความรูเกี่ยวกับรสวรรณคดี ซึ่งไดแก เสาวรจนี นารีปราโมทย พิโรธวาทัง สัลลาปงคพิสัย จัดทําเปนใบงานสงครู

กิจกรรมทาทาย

นักเรียนควรรู 1 สืบสันดาน เปนการสืบเชื้อสายมาโดยตรง คําสุภาพใชวา สืบสกุล สืบสาย โลหิต ซึ่งมีความหมายในทิศทางเดียวกัน 2 ฉากและบรรยากาศ การใชถอยคําพรรณนาฉากและภูมิประเทศรอบบริเวณ อาศรม กวีใชถอยคําพรรณนากระทบอารมณผูอาน ใหเกิดความวังเวงหวาดหวั่น ไปกับตัวละครไดดี 3 สัลลาปงคพิสัย บทครํ่าครวญ รําพัน เศราโศก อาลัยอาวรณ

นักเรียนยกเนือ้ ความจากเรือ่ งมหาเวสสันดรชาดก กัณฑมทั รี ทีแ่ สดงใหเห็นรสวรรณคดีแตละรส ซึง่ ไดแก เสาวรจนี นารีปราโมทย พิโรธวาทัง สัลลาปงคพิสัย จัดทําเปนใบงานสงครู

4 พิโรธวาทัง บทแสดงอารมณโกรธ เกรี้ยวกราด

มุม IT ศึกษาเกี่ยวกับบทวิเคราะหคุณคาดานตางๆ ของเรื่องมหาเวสสันดร กัณฑมัทรี เพิ่มเติม ไดที่ http://www.mwit.ac.th/~saktong/learn5/64.pdf คูมือครู 35


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

Explain

เรื่องมหาเวสสันดรชาดกเปนวรรณคดีที่มีความ โดดเดนทางวรรณศิลป กวีมีความสามารถในการ สรรคําชวยในการถายทอดความรูสึกใหเกิดอารมณ สะเทือนใจ นักเรียนจงอธิบายลักษณะการใชถอยคํา ที่ทําใหเกิดความรูสึกดังกลาว (แนวตอบ กวีใชถอยคํารําพึงรําพัน เมื่อครั้งที่ พระนางมัทรีครํ่าครวญหาลูกทั้งสอง การใชถอยคํา สํานวนเชิงตัดพอ ทั้งตอนที่พระเวสสันดรแสรงตอวา พระนางมัทรี และตอนที่พระนางมัทรีกลาวตอบ พระเวสสันดร นอกจากนี้เมื่อพระเวสสันดรแสรง ตัดพอตอวาก็ใชถอยคําแสดงความหึงหวงให พระนางมัทรีเจ็บใจจนลืมเรื่องลูกไปชั่วขณะ การใช คําซํ้าวา “สุด” เพื่อแสดงใหเห็นความทุกขหมดจิต หมดใจของพระนางมัทรี)

ขยายความเขาใจ

อธิบายความรู

Expand

นักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ ความเขาใจทางดานวรรณศิลป • บทตัดพอตอวาเปนตอนที่มีความโดดเดนใน การใชถอยคําอยางไร (แนวตอบ บทตัดพอตอวาเปนบททีม่ คี วามสําคัญ ตอเรื่องมาก เปนบทที่กระตุนใหมีการดําเนิน เรื่องไปสูเหตุการณตางๆ สามารถรับรูและ เขาใจอารมณความรูสึกของตัวละคร รวมไป ถึงเขาใจในพฤติกรรมของตัวละครที่มีความ ทุกขโศกอยางยิ่ง)

๑.๑) การใชถอยคําใหเกิดอารมณสะเทือนใจ การใชถอยคําใหเกิดอารมณ และความรูส กึ ในมหาเวสสันดรชาดก กัณฑมทั รีนนั้ กวีเลือกใชคาํ ไดเหมาะสมกับอารมณทตี่ อ งการ จะถายทอด ดังตัวอยางตอไปนี้ (๑) การใชถอยคํารําพึงรําพัน เปนการรําพัน บรรยายผานตัวละครที่ให อารมณ ความสะเทือนใจและตรงใจผูเปนแมในชีวิตจริงในทุกยุคทุกสมัย เปนการเพิ่มความรัก ความผูกพันใหผูอานและผูฟงที่เปนแมและลูกไดอยางดียิ่ง ดังนี้ “...เมื่อเชาแมจะเขาสูปา พอชาลีแมกัณหายังทูลสั่ง แมยังกลับหลังมาโลมลูบจูบ กระหมอมจอมเกลาทั้งสองรา กลิ่นยังจับนาสาอยูรวยรื่น .....ใครจะกอดพระศอเสวยนมผทม ดวยแมเลา ยามเมื่อแมจะเขาที่บรรจถรณ เจาเคยเคียงเรียงหมอนนอนแนบขางทุกราตรี แตนี้ แมจะกลอมใครใหนิทรา...”

(๒) การใชถอยคําสํานวนเชิงตัดพอ ทําใหเกิดอารมณสงสารเวทนาและ บีบคั้นจิตใจผูอานผูฟงอยางยิ่ง ดังนี้ 1 “...อกของใครจะอาภัพยับพิกลเหมือนอกของมัทรีไมมีเนตร นาที่จะสงสารสังเวช โปรดปรานีวามัทรีนี้เปนเพื่อนยากอยูจริงๆ ชางคอนติงปริภาษณาไดลงคอไมคิดเลย พระคุณ เอยถึงพระองคจะสงสัยก็นํ้าใจของมัทรีนี้กตเวที เปนไมเทากาวเขาสูที่ทางทดแทน รามํ สีตาวนุพพฺ ตา อุปมาเหมือนสีดาอันภักดีตอ สามีรามบัณฑิต ปานประหนึง่ วาศิษยกบั อาจารย พระคุณเอยเกลากระหมอมฉานทําผิดแตเพียงนี้ เพราะวาลวงราตรีจงึ่ มีโทษ ขอพระองคจงทรง พระกรุณาโปรดซึ่งโทษานุโทษกระหมอมฉันมัทรี แตครั้งเดียวนี้เถิด”

(๓) การใชถอยคําแสดงอารมณหึงหวงใหเจ็บแคนเพื่อดับความโศกเศรา ดวยสํานวนกระทบกระแทกอารมณใหปวดราวใจ ดังนี้ “...จําจะเอาโวหารการหึงเขามาหักโศกใหเสื่อมลง จึ่งเอื้อนโองการตรัสประภาษวา นนุ มทฺทิ ดูกรนางนาฏพระนองรัก ภทฺเท เจาผูมีพักตรอันผุดผองเสมือนหนึ่งเอานํ้าทอง เขามาทาบทับประเทืองผิว ราวกะวาจะลอยลิ่วเลื่อนลงจากฟา ใครไดเห็นเปนขวัญตา เต็มหลงละลายทุกข ปลุกเปลื้องอารมณชายใหเชยชื่น จะนั่งนอนเดินยืนก็ตองอยาง วราโรหา พรอมดวยเบญจางคจริ ยเบญจางคจริตรูปจําเริญโฉมประโลมโลกลอแหลมวิไลลักษณ ราชปุตฺตี ประกอบไปดวยเชื้อศักดิ์สมมุติวงศพงศกษัตรา เออก็เมื่อเชาจะเขาปานาสงสารปานประหนึ่ง ๓๖

เกร็ดแนะครู ครูเพิม่ เติมความรูใ หนกั เรียนเกีย่ วกับการเสวยพระชาติของพระพุทธเจาวา เมือ่ ได แสดงอริยสัจธรรมทั้ง 4 คือ ทุกข สมุทัย นิโรธ มรรค พระองคไดตรัสเทาความหลัง ถึงผูมีนามปรากฏในเรื่องมหาเวสสันดรชาดกนั้น เมื่อกลับมาในชาตินี้ คือ • พระเจากรุงสญชัย คือ พระเจาสุทโธทนะ • พระนางผุสดี คือ พระนางสิริมหามายา • พระนางมัทรี คือ พระนางยโสธราพิมพา • พระชาลี คือ พระราหุล • พระกัณหา คือ นางอุบลวรรณาเถรี

นักเรียนควรรู 1 ไมมีเนตร ในที่นี้หมายถึง ไมมีใครเลยจะเห็นไดถึงความทุกขของพระนางมัทรี

36

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

“นอกจากนั้นที่แนนอนคือนางไหนอันสนิทชิดใชแตกอนกาล ยังจะติดตามพระราชสมภารมาบางละหรือ ไดแตมัทรีที่แสนดื้อ ผูเดียวดอก ไมรูจักปลิ้นปลอกพลิกไพลเอาตัวหนี” ขอใดเปนนํ้าเสียงของผูพูด 1. เคียดแคน 2. เอาจริงเอาจัง 3. เห็นอกเห็นใจ 4. ประชดประชัน วิเคราะหคําตอบ จากเนื้อความขางตน ผูพูด คือ พระนาง มัทรีวากลาวตัดพอ โดยมีนํ้าเสียงประชดประชัน เปนการกลาว ตอบโตเพราะเจ็บใจโดยมิไดมีความเคียดแคน เห็นอกเห็นใจ หรือเอาจริงเอาจังในเรื่องที่พูด ตอบขอ 4.


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ขยายความเขาใจ

Expand

1. นักเรียนยกเนือ้ ความตอนทีม่ กี ารใชอปุ มาโวหาร จากนั้นอภิปรายในประเด็นตอไปนี้ • การใชอุปมาโวหารในเนื้อความที่ยกมานั้น ทําใหเกิดจินตภาพหรือไม อยางไร (แนวตอบ ตัวอยางเชน เนื้อความที่วา “นางก็เศราสรอยสลดพระทัยดั่งเอาเหล็ก แดงมาแทงใจใหเจ็บจิตนีเ่ หลือทน อุปมา เหมือนคนไขหนักแลวมิหนํายังแพทยเอายา พิษมาวางซํ้าใหเวทนา เห็นชีวานี้คงจะไม รอดไปสักกี่วัน” จากเนื้อความที่ยกมาทําให เห็นภาพความเจ็บปวดอยางมากของ พระนางมัทรีวา ยากที่จะทนอยูได เจ็บจน จะขาดใจตาย) 2. นักเรียนยกเนื้อความที่แสดงใหเห็นการใช อุปมาโวหารที่แสดงความเศราโศกของ พระนางมัทรี โดยยกใหตางจากตัวอยาง ในหนังสือเรียน (แนวตอบ ตัวอยางเชน “...ที่พระลูกเคยประพาส แลนเลน ประหลาดแลวแลไมเห็นก็ใจหาย ดั่งวาชีวิตนางจะวางวายลงทันที...” เมื่อ พระนางมัทรีมาถึงที่พักแลวไมเห็นสองกุมาร ก็ใจหาย ซึ่งกวีใชโวหารอุปมาวา “ดั่งวาชีวิตนางจะวางวายลงทันที”)

วาจะไปมิได ทํารองไหฝากลูกมิรูแลว ครั้นคลาดแคลวเคลื่อนคลอยเขาสูดง ปานประหนึ่งวา จะหลงลืมลูกสละผัวตอมืดมัวจึ่งกลับมา ทําเปนบีบนํ้าตาตีอกวาลูกหาย ใครจะไมรูแยบคาย ความคิดหญิง ถาแมนเจาอาลัยอยูดวยลูกจริงๆ เหมือนวาจา ก็จะรีบกลับเขามาแตวี่วันไม ทันรอน เออนี่เจาเที่ยวพเนจรนอนตามสนุกใจ ชมนกชมไมในไพรวันสารพันที่จะมี ทั้งษี สิทธวิทยาธรคนธรรพ เทพารักษผูมีพักตรอันเจริญ เห็นแลวก็นาเพลิดเพลินไมเมินได...”

(๔) การใชคําซํ้าและคําเรียบงาย เปนการใชคําที่เขาใจงายซํ้าๆ กัน เพื่อ บรรยายธรรมชาติและบุคคลใหเดนชัดมากขึ้น เชน “...อกแมนี้ใหออนหิวสุดละหอย ทั้งดาวเดือนก็เคลื่อนคลอยลงลับไม สุดที่แมจะ ติดตามเจาไปในยามนี้ ฝูงลิงคางบางชะนีที่นอนหลับ ก็กลิ้งกลับเกลือกตัวอยูยั้วเยี้ย ทั้งนก หกก็งัวเงียเหงาเงียบทุกรวงรัง แตแมเที่ยวเซซังเสาะแสวงทกแหงหองหิมเวศ ทั่วประเทศทุก ราวปา สุดสายนัยนาที่แมจะตามไปเล็งแล สุดโสตแลวที่แมจะซับทราบฟงสําเนียง สุดสุรเสียง ที่แมจะรํ่าเรียกพิไรรอง สุดฝเทาที่แมจะเยื้องยองยกยางลงเหยียบดิน ก็สุดสิ้นสุดปญญา สุดหาสุดคนเห็นสุดคิด จะไดพานพบประสบรอยพระลูกนอยแตสักนิดไมมีเลย...”

๒) การใชโวหาร ในบทประพันธกวีไดเลือกใชสาํ นวนภาษากอใหเกิดจินตภาพ ดังนี้

๒.๑) การใชอุปมาโวหารที่แสดงความเศราโศกของพระนางมัทรีจนสลบไป เปนจุดเดนของกัณฑมทั รีทที่ าํ ใหผอู า นเกิดอารมณสะเทือนใจดวยความสงสาร การใชถอ ยคําแสดง ความสามารถของกวีในดานการประพันธไดอยางเดนชัด ดังนี้ “...ควรจะสงสารเอยดวยนางแกวกัลยาณี นอมพระเกศีลงทูลถาม หวังจะติดตาม พระลูกทั้งสองรา กราบถวายบังคมลาลุกเลื่อนเขยื้อนยกพระบาทเยื้องยาง พระกายนางให เสียวสั่นหวั่นไหวไปทั้งองค ดุจชายธงอันตองกําลังลมอยูลิ่วๆ สิ้นพระแรงโรยเธอโหยหิว ระหวยทรวง พระศอเธอหงุบงวงดวงพระพักตรเธอผิดเผือดใหแปรผัน จะทูลสั่งก็ยังมิทันที่ วาจะทูลเลย แตพอตรัสวาพระคุณเจาเอยคําเดียวเทานั้น ก็หายเสียงเอียงพระกายบาย ศิโรเพฐน พระเนตรหลับหับพระโอษฐลงทันที วิสฺญี หุตฺวา นางก็ถึงวิสัญญีสลบลงตรง หนาฉาน ปานประหนึ่งวาพุมฉัตรทองอันตองสายอสนีฟาดขาดระเนนเอนแลวลมลง ตรงหนาพระที่นั่งเจา นั้นแล”

๒.๒) การใชคําอิงสํานวนสุภาษิต เปนการทําใหเกิดคติแงคิดกับผูอานและผูฟง เทศนไดเปนอยางดี ดังนี้ ๓๗

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ขอความใดมีเจตนาโนมนาว 1. บุญพี่นี้นอยแลวนะเจาเพื่อนยาก เจามาตายจากพี่ไปในวงวัด 2. พระนองแกวเจาอยาโศกศัลย จงตั้งจิตของเจานั้นใหโสมนัส ศรัทธา 3. อนิจจาเอยวาสนามัทรีไมสมคะเนแลว พระทูลกระหมอมแกว จึ่งชิงชังไมพูดจา 4. ถาแมนเจาอาลัยอยูดวยลูกจริงๆ เหมือนวาจา ก็จะรีบกลับเขามา แตวี่วันไมทันรอน วิเคราะหคําตอบ ขอที่มีเจตนาโนมนาว คือ “พระนองแกวเจา อยาโศกศัลย จงตั้งจิตของเจานั้นใหโสมนัสศรัทธา” ผูพูด คือ พระเวสสันดรโนมนาวโดยใชคําวา “จง” ซึ่งคาดหมายใหพระนาง มัทรีเชื่อและปฏิบัติตาม และบอกแนวทางในการปฏิบัติวาตองตั้งใจ ใหมีศรัทธา ตอบขอ 2.

เกร็ดแนะครู ครูชี้ใหนักเรียนเห็นลักษณะเดนทางวรรณศิลปของวรรณคดีเรื่องมหาเวสสันดร ชาดก กัณฑมัทรี ซึ่งมีการใชโวหารดีเยี่ยมเปนวรรณคดีที่เขาถึงอารมณไดดี ทั้งนี้ กวีเลือกใชคําในลักษณะคลอยตามกันเพื่อเพิ่มความรูสึกใหมากขึ้นหรือลดนอยลง การคลอยตามกันนี้จะเขียนในลักษณะสอดคลองกัน เชน สภาพความรูสึกนึกคิด อารมณ หรือสถานการณตางๆ นํามาเปรียบเทียบหรือกลาวในทํานองที่ใหเห็นความ เปนไปอยางเดียวกัน เพิ่มความรูสึกใหมีนํ้าหนักยิ่งขึ้น ครูใหนักเรียนยกบทประพันธ ที่แสดงใหเห็นการใชโวหารดังกลาว

มุม IT ศึกษาเกี่ยวกับคุณคาดานวรรณศิลปของเรื่องมหาเวสสันดร กัณฑมัทรี เพิ่มเติม ไดที่ http://www.bothong.ac.th/Th32101/boottee1.html#r คูมือครู

37


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

Expand

1. นักเรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณคา ดานสังคม • พระเวสสันดรชาดก กัณฑมัทรี สะทอนให เห็นคุณคาดานสังคมเรื่องใดที่เปนเรื่อง ใกลตัวนักเรียนที่สุด (แนวตอบ คุณคาดานสังคมที่ทําใหรับรูไดวา เปนเรื่องใกลตัวที่สุด เปนเรื่องของการสะทอน ใหเห็นธรรมชาติของมนุษย ความรักยอมนํามา ซึ่งความทุกข การพรากจากคนทีร่ กั ของทีร่ กั เปนความทุกขอยางยิ่ง โดยเฉพาะอยางยิ่ง ความรักความหวงใยที่บิดามารดามีตอบุตร เปนสิ่งที่ปรากฏอยูในทุกสังคม) 2. นักเรียนรวบรวมสํานวนในเรื่องมหาเวสสันดรชาดก กัณฑมัทรี พรอมระบุความหมายของ สํานวนนั้น (แนวตอบ สํานวนที่รวบรวมได มีดังนี้ • ริ้นไมใหไตไรไมตอม หมายความวา ดูแล อยางดีไมใหมีแมแตสิ่งเล็กๆ นอยๆ มาทํา อันตรายได • ฝากผีฝากไข หมายความวา ขอยึดเปนที่พึ่ง ในยามเจ็บไขไดปวยและแกชรา • เขาเถื่อนอยาลืมพรา หมายความวา เมื่อจะ ทําการใดใหเตรียมพรอม)

“...โอพระจอมขวัญของแมเอย เจามิเคยไดความยากยางเทาลงเหยียบดิน ริ้นก็มิไดไตไรก็มิไดตอม...” “...อกเอยจะอยูไปไยใหทนเวทนา อุปมาเสมือนหนึ่งพฤกษาลดาวัลย ยอมอาสัญลงเพราะลูกเปนแทเที่ยง...” “...อุปมาเสมือนหนึ่งภุมรินบินวะวอน เที่ยวซับซาบเอาเกสร สุคนธมาเลศ พบดอกไมอันวิเศษตองประสงค หลงเคลาคลึงรสจนลืมรัง เขาเถื่อนเจาลืมพราไดหนาแลวลืมหลังไมแลเหลียว...” “...เจาเอาแตหวงสงสารนี่หรือมาสวมคลองใหแมนี้ติดตองของอยูดวยอาลัย...”

๗.๓ คุณคาดานสังคม

๑) สะทอนคานิยมเกีย่ วกับสังคมไทย ในสมัยโบราณถือวาภรรยาเปนทรัพยสมบัติ

ของสามี สามีมีสิทธิเหนือภรรยาทุกประการ ถาสามีเปนกษัตริย อํานาจนั้นก็จะมากยิ่งขึ้น ดังคําที่ พระเวสสันดรทรงตรัสแกพระนางมัทรีวา “..เจาเปนแตเพียงเมียหรือมาหมิ่นได ถาแมนพี่อยูในกรุงไกรเหมือนแตกอนเกา หากวา เจาทําเชนนี้ กายของมัทรีกจ็ ะขาดสะบัน้ ลงทันตา ดวยพระกรเบือ้ งขวาของอาตมานีแ้ ลวแล...”

นอกจากนี้ผูหญิงจะตองดูแลปรนนิบัติสามี ซื่อสัตยตอสามี สวนลูกนั้นถือเปน สมบัติของพอแม ตองเคารพเชื่อฟง และพอแมสามารถยกลูกของตนใหผูอื่นได ดังเชนที่ พระเวสสันดรยกพระกัณหา พระชาลี ใหแกชูชก ๒) สะทอนใหเห็นธรรมชาติของมนุษย ความรักนํามาซึง่ ความทุกข ความโศกเศรา เสียใจ เชน เมื่อลูกพลัดพรากจากไปพอแมยอมเกิดความทุกขเพราะความรัก ความเปนหวง กังวล โศกเศรา เมื่อคิดวาลูกของตนลมหายตายจากไป แตความโศกเศราเสียใจจะบรรเทาลง ไดเมื่อโกรธ เจ็บใจ หรือเมื่อเกิดความเขาใจในสิ่งที่ผูอื่นทํา ตัวอยางเชน ตอนที่พระเวสสันดร กลาวบริภาษพระนางมัทรี เพื่อใหพระนางมัทรีโกรธจนลืมความโศกเศรา “...สมเด็จพระราชสมภาร เมื่อไดสดับสารพระมัทรีเธอแสนวิโยคโศกศัลยสุดกําลัง ถึงแมนจะมิตรัสแกนางมั่งจะมิเปนการ จําจะเอาโวหารการหึงเขามาหักโศกใหเสื่อมลง จึ่งเอื้อนโองการตรัสประภาษวา...”

๓) สะทอนความเชื่อของสังคมไทย จากขอความตอนที่พระนางมัทรีออกสูปา เพื่อเก็บผลไมใหกัณหา ชาลี และพระเวสสันดรเสวยเปนประจํา ผลไมตางๆ ก็เพี้ยนผิดปกติ ซึ่งถือเปนลางราย จากความในบทประพันธวา ๓๘

เกร็ดแนะครู ครูแนะความรูและใหนักเรียนพิจารณาองคประกอบของชาดก ดังนี้ 1. ปรารภเรื่อง คือ บทนํา เรื่องหรือ อุบัติเหตุ จะกลาวถึงมูลเหตุหรือที่มาของ ชาดกเรื่องนั้น เชน มหาเวสสันดรชาดก 2. อดีตนิทาน หรือ ชาดก หมายถึง เรื่องราวนิทานที่พระพุทธองคตรัสเลา 3. ประชุมชาดก หรือประมวลชาดก เปนเนื้อความสุดทายของชาดกกลาวถึง บุคคลในชาดก คือ ผูใดที่กลับชาติเปนใครบางในปจจุบัน

มุม IT ศึกษาเกี่ยวกับคุณคาดานตางๆ ของเรื่องมหาเวสสันดรชาดก กัณฑมัทรี เพิ่มเติม ไดที่ http://www.mwit.ac.th/~saktong/learn5/64.pdf

38

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

“นางก็เศราสรอยสลดพระทัย ดั่งเอาเหล็กแดงมาแทงใจใหเจ็บ จิตนี่เหลือทนอุปมาเหมือนคนไขหนักแลวมิหนํายังแพทยเอายาพิษ มาวางซํ้าใหเวทนา” จากขอความดังกลาวดีเดนในดานใดมากที่สุด 1. ภาพพจนอุปลักษณ 2. ภาพพจนบุคคลวัต 3. ภาพพจนสัทพจน 4. ภาพพจนอุปมา วิเคราะหคําตอบ กวีใชภาพพจนอุปมาเปรียบความเศราสรอย สลดใจของพระนางมัทรีวา เหมือนกับเอาเหล็กแดงมาแทงใจให เจ็บจิต มินําซํ้าหมอผูรักษายังเอายาพิษมาทาซํ้าใหยิ่งเจ็บปวด ทุรนทุราย เปนการเปรียบเทียบเพือ่ ถายทอดอารมณความรูส กึ ทีเ่ จ็บใจ มากจนไมสามารถเอยออกมาดวยถอยคําธรรมดา ตอบขอ 4.


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ขยายความเขาใจ “...เหตุไฉนไมที่มีผลเปนพุมพวง ก็กลายกลับเปนดอกดวงเดียรดาษอนาถเนตร แถว โนนก็แกวเกดพิกุลแกมกับกาหลง ถัดนั่นก็สายหยุดประยงคและยมโดย พระพายพัดก็รวงโรย รายดอกลงมูนมอง แมยังไดเก็บเอาดอกมารอยกรองไปฝากลูกเมื่อวันวาน ก็เพี้ยนผิดพิสดาร เปนพวงผล ผิดวิกลแตกอนมา สพฺพา มุยฺหนฺติ เม ทิสา ทั้งแปดทิศก็มืดมิดมัวมนทุกหนแหง ทั้งขอบฟาก็ดาดแดงเปนสายเลือด ไมเวนวายหายเหือดเปนลางรายไปรอบขาง (ทกฺขิณกุขิ) พระนัยนเนตรก็พรางๆ อยูพรายพรอย ในจิตใจของแมยังนอยอยูนิดเดียว ทั้งอินทรียก็เสียวๆ สั่นระรัวริก แสรกคานบันดาลพลิกพลัดลงจากพระอังสา ทั้งขอนอยในหัตถาที่เคยถือ ก็เลื่อน หลุดลงจากมือไมเคยเปนเห็นอนาถ...”

แปลความ เปนลางราย ๙ ประการ ไดแก ๑. ไมผลกลับกลายเปนไมดอก ๖. ขอบฟาแดงเปนสายเลือด ๒. ไมดอกกลับกลายเปนไมผล ๗. กายรูสึกเสียวๆ สั่นๆ ๓. มืดมัวไปทั้ง ๘ ทิศ ๘. ขอที่ใชสอยผลไมหลุดมือ ๔. เขมนตาขวา ๙. ไมคานที่หาบสาแหรกพลัดตกจากบา ๕. ใจเหมือนจะขาด ๔) สะทอนเกี่ยวกับขนบธรรมเนียมประเพณี อันเปนประเพณีที่เกี่ยวเนื1่องกับ พระพุทธศาสนา โดยเรื่อง “เวสสันดรชาดก” เปนชาดกที่พุทธศาสนิกชนนิยมนํามาเลาขานจัดเปน เทศนมหาชาติประจําทุกปมาตั้งแตครั้งอดีต โดยจะจัดสถานที่ใหสอดคลองกับเรื่องราว ใหเปนปา ที่อุดมไปดวยไมผล บางแหงก็จัดตกแตงภาชนะใสเครื่องกัณฑเทศนเปนรูปตางๆ ที่สอดคลองกับ เนือ้ เรือ่ งกัณฑนนั้ ๆ เชน ทําเปนรูปเรือสําเภาบูชากัณฑกมุ าร จัดเปนรูปกระจาดใหญใสเสบียงอาหาร และผลไมตา งๆ บูชากัณฑมหาราช บางแหงก็มกี ารตกแตงเครือ่ งกัณฑเทศนกนั อยางใหญโตในเชิง ประกวดประชันกัน มีการบรรเลงดนตรีไทยประกอบกัณฑเพือ่ ชวยสรางอารมณรว มใหกบั ผูฟ ง เทศน ทั้งนี้พระสงฆที่มาเปนผูเทศน จะเปนพระสงฆที่เทศนไดอยางไพเราะ ใชภาษางายๆ เพื่อใหเขาถึง ผูฟงทุกเพศทุกวัย บางครั้งก็มีการเทศนแหลดวย ปจจุบันเทศนมหาชาติจัดเปนงานประจําปของ ทุกทองถิ่นทั่วทุกภาค

Expand

1. นักเรียนจัดกลุม กลุม ละ 5 - 6 คน รวมกันระดม ความคิด แลวเลาเกี่ยวกับ “งานเทศนมหาชาติ ประจําทองถิ่นของตนเอง” หรือที่รูจัก ดังนี้ • เรื่องที่นักเรียนเลามีความเกี่ยวของกับความ เชื่อทางพระพุทธศาสนาและวิถีชีวิตของ คนในสังคมอยางไร (แนวตอบ มหาเวสสันดรเปนเรื่องที่มีความ ใกลชิดกับทองถิ่นไทยทุกที่ที่นับถือ พุทธศาสนา เพราะเปนเรื่องราวเกี่ยวกับที่มา หรือกําเนิดของพระพุทธเจา) 2. นักเรียนแลกเปลีย่ นเรือ่ งเลาภายในกลุม จากนัน้ ชวยกันเขียนเรื่องที่นาสนใจหรือสรุปเรื่องเลา ของเพื่อนๆ ในกลุมลงกระดาษ จัดเปนปาย นิเทศในชั้นเรียน ชวยกันตกแตงใหสวยงาม

ÁËÒàÇÊÊѹ´ÃªÒ´¡ ¡Ñ³± ÁÑ·ÃÕ ¢Í§à¨ŒÒ¾ÃÐÂÒ¾ÃФÅѧ (˹) ä´ŒÃѺ¡ÒÃÂ¡Â‹Í§Ç‹Ò ´Õ·ÕèÊØ´ã¹àªÔ§¾Ãó¹ÒâÇËÒà ÅÕÅÒ¡ÒÃ㪌¶ŒÍ¤íҢͧËÒÂÂÒÇ·Ø¡µÍ¹á¾ÃǾÃÒÇ´ŒÇ¡ÒÃàÅ‹¹ ¤íÒÊÑÁ¼ÑÊ àÅ‹¹àÊÕ§ ÊíҹǹâÇËÒÃà»ÃÕºà·Õº ¹Í¡¨Ò¡¤ÇÒÁ§´§ÒÁ´ŒÒ¹ÇÃóÈÔÅ»ŠáÅŒÇ ã¹ ¡Ñ³± Á·Ñ ÃÕà¹×Íé ËÒÂѧ¡Å‹ÒǶ֧¤ÇÒÁÃÑ¡ ¤ÇÒÁˋǧã¢ͧÁÒôҷÕÁè µÕ Í‹ ºØµÃ áÅÐàË繶֧¡ÒúÃÔ¨Ò¤·Ò¹ ÍѹÂÔè§ãËÞ‹¢Í§¾ÃÐàÇÊÊѹ´Ã «Ö觹͡¨Ò¡¨ÐãËŒÊÒÃФÇÒÁÃÙŒáÅŒÇ ÂѧãËŒ¤µÔÊ͹ã¨áÅÐ᧋¤Ô´á¡‹ ¼ÙŒ¿˜§áÅмٌ͋ҹÍÕ¡´ŒÇ ๓๙

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ขอใดสะทอนใหเห็นวา พระนางมัทรีทรงเลีย้ งกุมารทัง้ สองอยางใกลชดิ 1. ทั้งเวลาก็เย็นลงไรๆ จะคํ่าแลว ยังไมเห็นหนาพระลูกแกวของแม เลยทั้งสองคน 2. ยิ่งคิดก็ยิ่งกริ่งๆ กรอมพระทัยเปนทุกขถึงพระลูกรัก 3. นางเสด็จไตเตาทุกตําบลละเมาะไมไพสณฑ 4. นั่นก็รอยเทาพอชาลี นี่ก็บทศรีแมกัณหา วิเคราะหคําตอบ ขอทีแ่ สดงใหเห็นวาพระนางมัทรีเลีย้ งดูพระกัณหา พระชาลีอยางใกลชิด จนกระทั่งจําไดแมแตรอยเทาของพระกัณหา พระชาลี ทั้งนี้เพราะพระนางคอยเฝาระวังสังเกตดูแลกุมารทั้งสอง อยางใกลชิดไมใหไกลหูไกลตา ตอบขอ 4.

นักเรียนควรรู 1 เรื่อง “เวสสันดรชาดก” เปนชาดกที่พุทธศาสนิกชนนิยมนํามาเลาขาน การที่ชาวพุทธไทยนิยมฟงเทศนมหาชาติกันอยางแพรหลาย นอกจากจะมีความ เพลิดเพลินในการฟงดวยทวงทีลีลาทํานองที่ไพเราะแลว สาเหตุอีกประการหนึ่ง คือ ความเชื่อเรื่องอานิสงสของการฟงเทศนมหาชาติวา หากผูใดฟงเทศนมหาชาติ 13 กัณฑ 1,000 พระคาถา จบภายในวันเดียว จะมีอานิสงสถึง 5 ประการ ดังนี้ 1. จะไดเกิดในศาสนาพระศรีอริยเมตไตรย ซึ่งจะมาอุบัติเปนพุทธเจาในอนาคต 2. จะไดไปสูสุคติโลกสวรรค เสวยทิพยสมบัติอันโอฬาร 3. จะไมไปเกิดในอบายเมื่อตายแลว 4. จะเปนผูมีลาภ ไมตรี มีความสุข 5. จะไดบรรลุมรรคผลนิพพาน เปนพระอริยบุคคลในพระพุทธศาสนา

คูมือครู

39


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

Expand

1. นักเรียนสรุปความรูเกี่ยวกับการฟงเทศน มหาชาติของพุทธศาสนิกชนชาวไทย (แนวตอบ เทศนมหาชาติเรื่องมหาเวสสันดรชาดก เปนเรือ่ งของพระพุทธเจา ตอนเสวยพระชาติเปน พระเวสสันดร ซึ่งเปนชาติสุดทายที่ทรงบําเพ็ญ ทานบารมีอยางยอดยิ่ง คือ บุตรทารทานบารมี ไดแก การบริจาคโอรสธิดาและมเหสีใหเปนทาน จึงถือวาชาดกนี้สําคัญกวาชาดกอื่นๆ จึงเรียกวา “เทศนมหาชาติ” แปลวา ชาติที่ ยิ่งใหญสําคัญ เพราะเปนชาติสุดทายกอน ที่พระองคจะทรงตรัสรูเปนพระพุทธเจา) 2. ครูขออาสาสมัคร 3 - 4 คน มานําเสนอ ประสบการณการอานเรื่องเกี่ยวกับการเทศน มหาชาติ

ปกิณกะ

การเทศนมหาชาติ 1

จากพระนิพนธเรื่องพระมาลัยคําหลวง ของเจาฟาธรรมาธิเบศร พระศรีอาริยเมตไตรยไดให พระมาลัยมาบอกแกชาวโลกวา “ใหทํามหาชาติเนืองนันต เครื่องสิ่งละพัน จงบูชาใหจบทิวานั้น ตั้งประทีปพันบูชาดอกปทุม ถวนพัน...” ทําใหเกิดความเชื่อวา การฟงเทศนมหาชาติใหจบในวันเดียวจะไดบุญมาก และจะไดไปเกิด ในยุคของพระศรีอาริยเมตไตรย การเทศนมหาชาตินิยมทํากันหลังออกพรรษา เลยหนากฐินไปแลว ระหวางเดือน ๑๒ ถึง เดือนอาย การเทศนมหาชาติมีอยูทั้งหมด ๑๓ กัณฑ เปนเรื่องราวเกี่ยวกับพระเวสสันดร อันเปน พระชาติสุดทายของพระโพธิสัตวกอนที่จะมาประสูติเปนเจาชายสิทธัตถะ และตรัสรูเปนพระสัมมาสัมพุทธเจา ในการเทศนมหาชาติจึงนิยมจัดตกแตงสถานที่บริเวณพิธีใหมีบรรยากาศคลายอยูในปา ตามทองเรื่องเวสสันดรชาดก อุบาสกอุบาสิกามักจะรับเปนเจาของกัณฑเทศนคนละ ๑ กัณฑ และจัด ชุดเครื่องบูชาตามจํานวนพระคาถาในกัณฑนั้นๆ ดังนี้ ๑. กัณฑทศพร ๑๙ พระคาถา ๘. กัณฑกุมาร ๑๐๑ พระคาถา ๒. กัณฑหิมพานต ๑๓๔ พระคาถา ๙. กัณฑมัทรี ๙๐ พระคาถา ๓. ทานกัณฑ ๒๐๙ พระคาถา ๑๐. กัณฑสักกบรรพ ๔๓ พระคาถา ๔. กัณฑวนประเวศ ๕๗ พระคาถา ๑๑. กัณฑมหาราช ๖๙ พระคาถา ๕. กัณฑชูชก ๗๙ พระคาถา ๑๒. กัณฑฉกษัตริย ๓๖ พระคาถา ๖. กัณฑจุลพน ๓๕ พระคาถา ๑๓. นครกัณฑ ๔๘ พระคาถา ๗. กัณฑมหาพน ๘๐ พระคาถา

พระสงฆรับประเคนจตุปจจัยจากญาติโยม

การจัดบรรยากาศใหเหมือนปาในการเทศนมหาชาติ

๔๐

นักเรียนควรรู 1 พระศรีอาริยเมตไตรย ในสมัยพระพุทธกาล พระศรีอาริยเมตไตรยทรงเปน พระสงฆสาวกของพระพุทธเจา พระนามวา “พระอชิตเถระ” และไดรับพระพุทธ พยากรณจากพระพุทธเจาวา จะไดเปนพระพุทธเจาพระองคที่ 5 และองคสุดทาย แหงภัทรกัปนี้ พุทธศาสนิกชนเชื่อวาเมื่อศาสนาของพระโคตมพุทธเจาสิ้นสุดไปแลว โลกจะ ลวงเขาสูยุคแหงความเสื่อมถอย อายุขัยของมนุษยลดลงจนเหลือ 10 ป ก็เขาสูยุค มิคสัญญี ผูสลดใจกับความชั่วก็หันมารวมกลุมกันทําความดี จนอายุขัยเพิ่มขึ้นถึง 1 อสงไขยป จากนั้นจึงลดลงอีกจนเหลือ 80,000 ป เชื่อวาในยุคนี้จะมีพระโพธิสัตว พระองคหนึ่งที่บําเพ็ญบารมีครบ 16 อสงไขยแสนมหากัป ลงมาตรัสรูเปน “พระเมตไตรยพุทธเจา”

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

คําประพันธในขอใดแสดงถึงความเชื่อตางจากขออื่น 1. ทั้งแปดทิศก็มืดมิดมัวมนทุกหนแหง ทั้งขอบฟาก็ดาดแดง เปนสายเลือด 2. ทั้งขอนอยในหัตถาที่เคยถือ ก็เลื่อนหลุดลงจากมือไมเคยเปนเห็น อนาถ 3. เทพเจาก็ไดชื่นชมอนุโมทนาในสวนทานบารมีในครั้งนั้นดวย 4. แสรกคานบันดาลพลิกพลัดลงจากพระอังสา วิเคราะหคําตอบ ขอ 1. ขอ 2. และขอ 3. แสดงใหเห็นความเชื่อ เรื่องลางบอกเหตุ ความรูสึกสังหรณใจวาจะเกิดเรื่องไมดีขึ้น เปนปรากฏการณที่แปลกแตกตางไปจากเดิม สวนขอ 3. แตกตางไปจากขออื่น เพราะแสดงใหเห็นความเชื่อเกี่ยวกับเทพเจา

ตอบขอ 3.

40

คูมือครู


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engage

Explore

Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ตรวจสอบผล คําถามประจําหนวยการเรียนรู

๑. เรื่องมหาเวสสันดรชาดก กัณฑมัทรี แสดงบุคลิกลักษณะของพระนางมัทรีอยางไร บาง ๒. “แมมาสละเจาไวเปนกําพราทัง้ สององค เสมือนหนึง่ ลูกหงสเหมราชปกษิน ปราศจาก มุจลินท ไปตกคลุกในโคลนหนอง สิ้นสีทองอันผองแผว” คําประพันธขางตนมี ความหมายวาอยางไร และผูพูดพูดดวยอารมณความรูสึกอยางไร ๓. “กัณฑมทั รีเปนกัณฑทมี่ สี าํ นวนโวหารรําพันนาฟงมาก” นักเรียนเห็นดวยกับคํากลาว นี้หรือไม จงอธิบายและยกตัวอยางประกอบใหเห็นจริง ๔. คุณธรรมทีป่ รากฏในเนือ้ เรือ่ งมหาเวสสันดรชาดก กัณฑมทั รี มีอะไรบาง จงอธิบาย โดยยกตัวอยางประกอบ ๕. นักเรียนคิดวามหาเวสสันดรชาดก กัณฑมัทรี ใหแนวคิดดานใดบาง และนักเรียน สามารถนําไปใชประโยชน ไดอยางไร

กิจกรรมสรางสรรคพัฒนาการเรียนรู

๑. ใหนกั เรียนแตงบทประพันธประเภทรายเทิดพระคุณแม กําหนดความยาวตามความ เหมาะสม ๒. ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ ๕ - ๘ คน แสดงบทบาทสมมติเรื่องมหาเวสสันดร ชาดกตอนที่นักเรียนสนใจ นําเสนอหนาชั้นเรียน ๓. ใหนักเรียนศึกษาเรื่องมหาเวสสันดรชาดกในกัณฑอื่นๆ แลวอภิปรายหนาชั้นเรียน เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับเพื่อนๆ

Evaluate

1. นักเรียนอธิบายลักษณะเดนของตัวละครในเรื่อง มหาเวสสันดร กัณฑมัทรี และวิเคราะหลักษณะ เดนของตัวละครกับการดําเนินเรื่อง 2. นักเรียนยกเนื้อเรื่องตอนที่มีการใชอุปมาโวหาร ที่ทําใหเกิดจินตภาพได 3. นักเรียนระบุสํานวนพรอมความหมายในเรื่อง มหาเวสสันดร กัณฑมัทรีได

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู 1. 2. 3. 4.

บันทึกลําดับเหตุการณของเรื่องยอ ยกบทประพันธที่มีการใชภาพพจนอุปมา บันทึกการเขียนคําอานคําบาลีในเนื้อเรื่อง การแสดงความคิดเห็นโตแยงกันอยางมีเหตุผล ในประเด็นวิธีการขจัดความเศราของ พระนางมัทรี 5. ระบุสํานวนที่ปรากฏในเรื่องมหาเวสสันดร กัณฑมัทรี

๔๑

แนวตอบ คําถามประจําหนวยการเรียนรู 1. พระนางมัทรีเปนแมและภรรยาที่ดีมีความรักความหวงใยตอลูก มีทั้งความซื่อสัตยและอดทนตอสามี 2. บทประพันธที่ยกมา หมายความวา พระนางมัทรีตองทําใหลูกทั้งสอง คือพระกัณหาพระชาลีตองพรากจากแมไมมีใครใครคอยดูแลปกปกรักษา เปรียบเหมือน ลูกหงสที่ขาดผูดูแลตองไปคลุกในโคลนตมลูกทั้งสองก็คงลําบากตรากตรํา พระนางมัทรีพูดดวยความเศราและหวงใยลูก 3. เห็นดวย ที่กัณฑมัทรีเปนกัณฑที่มีสํานวนโวหารนาฟงมาก เห็นไดจากความที่วา “...นางก็ถึงวิสัญญีสลบลงตรงหนาฉาน ปานประหนึ่งวาพุมฉัตรทองอันตอง สายฟาอสนีฟาดขาดระเนนเอนแลวลมลงตรงหนาพระที่นั่งเจา นั้นแล...” กวีใชอุปมาโวหารกลาวเปรียบไดอยางชัดเจน ถอยคําสํานวนสัมผัสคลองจองไพเราะ และใหความหมายดี 4. คุณธรรมจากกัณฑมัทรี ไดแก การบําเพ็ญทานที่ยิ่งใหญเหนือกวาทานใดทั้งปวงของพระเวสสันดร ที่ยอมใหทานลูกแกพราหมณ การขมใจ และความซื่อสัตย อดทนในการปฏิบัติหนาที่อยางดีของพระนางมัทรี 5. แนวคิดที่ไดจากกัณฑมัทรีที่สามารถนําไปใชในชีวิตได เชน การปฏิบัติหนาที่ของตนเองใหดีที่สุด จะนําไปสูความสําเร็จไดตามเปาหมาย การมีความอดทน อดกลั้นในการทําการใดๆ การระลึกถึงพระคุณของบิดามารดา เปนตน

คูมือครู

41


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.