8858649121639

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº Í- .

ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน

กระบวนการสอนแบบ 5 Es ชวยสรางทักษะการเรียนรู กิจกรรมมุงพัฒนาทักษะการคิด คำถาม + แนวขอสอบเพื่อยกผลสัมฤทธิ์ O-NET กิจกรรมบูรณาการเตรียมพรอมสู ASEAN 2558


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

พระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปที่

5

สําหรับครู

คูมือครู Version ใหม

ลักษณะเดน

ขยายพื้นที่รูปเลมใหญขึ้นกวาเดิม จัดแบงพื้นที่ออกเปนโซน เพื่อคนหาขอมูลไดงาย สะดวก รวดเร็ว และดูเปนระเบียบ กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล

กระตุน ความสนใจ

Evaluate

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

เปาหมายการเรียนรู สมรรถนะของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค

หน า

โซน 1 กระตุน ความสนใจ

Engage

สํารวจคนหา

Explore

อธิบายความรู

Explain

ขยายความเขาใจ

Expand

ตรวจสอบผล

หน า

หนั ง สื อ เรี ย น

โซน 1

หนั ง สื อ เรี ย น

Evaluate

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NET

ขอสอบ

โซน 2

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

เกร็ดแนะครู

O-NET

บูรณาการเชื่อมสาระ

โซน 3

กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย

นักเรียนควรรู

โซน 3

โซน 2 บูรณาการอาเซียน มุม IT

No.

คูมือครู

คูมือครู

No.

โซน 1 ขั้นตอนการสอนแบบ 5Es

โซน 2 ชวยครูเตรียมสอน

โซน 3 ชวยครูเตรียมนักเรียน

เพื่อใหครูเตรียมจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยแนะนําขั้นตอนการสอนและ การจัดกิจกรรมแบบ 5Es อยางละเอียด เพื่อใหนักเรียนบรรลุตามตัวชี้วัด

เพื่อชวยลดภาระครูผูสอน โดยแนะนํา เกร็ดความรูสําหรับครู ความรูเสริมสําหรับ นักเรียน รวมทั้งบูรณาการความรูสูอาเซียน และมุม IT

เพื่อใหครูสะดวกตอการจัดกิจกรรม โดย แนะนํากิจกรรมบูรณาการเชือ่ มระหวางสาระหรือ กลุมสาระการเรียนรู วิชา กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย รวมถึงเนื้อหาที่เคยออกขอสอบ O-NET แนวขอสอบ NT/O-NET ทีเ่ นนการคิด พรอมเฉลยและคําอธิบายอยางละเอียด


ที่ใชในคูมือครู

แถบสีและสัญลักษณ

แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5Es เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

1. แถบสี 5Es สีแดง

สีเขียว

กระตุน ความสนใจ

เสร�ม

สํารวจคนหา

Engage

2

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุน ความสนใจ เพื่อโยง เขาสูบทเรียน

สีสม

อธิบายความรู

Explore

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนสํารวจ ปญหา และศึกษา ขอมูล

สีฟา

Explain

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนคนหา คําตอบ จนเกิดความรู เชิงประจักษ

สีมวง

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนนําความรู ไปคิดคนตอๆ ไป

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

2. สัญลักษณ สัญลักษณ

วัตถุประสงค

• เปาหมายการเรียนรู

• หลักฐานแสดง ผลการเรียนรู

• เกร็ดแนะครู

แทรกความรูเสริมสําหรับครู ขอเสนอแนะ ขอควรระวัง ขอสังเกต แนวทางการจัด กิจกรรมและอืน่ ๆ เพื่อประโยชนในการ จัดการเรียนการสอน ขยายความรูเพิ่มเติมจากเนื้อหา เพื่อให ครูนําไปใชอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียน ไดมีความรูมากขึ้น

ความรูห รือกิจกรรมเสริม ใหครูนาํ ไปใช เตรียมความพรอมใหกบั นักเรียนกอนเขาสู ประชาคมอาเซียนใน พ.ศ. 2558 โดย บูรณาการกับวิชาทีก่ าํ ลังเรียน

บูรณาการอาเซียน

คูม อื ครู

แสดงรองรอยหลักฐานตามภาระงาน ที่ครูมอบหมาย เพื่อแสดงผลการเรียนรู ตามตัวชี้วัด

• นักเรียนควรรู

มุม IT

แสดงเปาหมายการเรียนรูที่นักเรียน ตองบรรลุตามตัวชี้วัด ตลอดจนสมรรถนะ ที่จะตองมี และคุณลักษณะที่พึงเกิดขึ้น กับนักเรียน

แนะนําแหลงคนควาจากเว็บไซต เพื่อให ครูและนักเรียนไดเขาถึงขอมูลความรู ที่หลากหลาย ทั้งไทยและตางประเทศ

สัญลักษณ

ขอสอบ

วัตถุประสงค

O-NET

(เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ O-NET)

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T (เฉพาะระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนตน)

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET (เฉพาะระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย)

บูรณาการเชื่อมสาระ

กิจกรรมสรางเสริม

กิจกรรมทาทาย

• ชีแ้ นะเนือ้ หาทีเ่ คยออกขอสอบ

O-NET โดยยกตัวอยางขอสอบ พรอมวิเคราะหคาํ ตอบ อยางละเอียด

• เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน

การคิดและเปนแนวขอสอบ NT/O-NET ในระดับมัธยมศึกษา ตอนตน มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

• เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน

การคิดและเปนแนวขอสอบ O-NET ในระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม

เชือ่ มกับสาระหรือกลุม สาระ การเรียนรู ระดับชัน้ หรือวิชาอืน่ ทีเ่ กีย่ วของ

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ซอมเสริมสําหรับนักเรียนทีค่ วร ไดรบั การพัฒนาการเรียนรู

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ตอยอดสําหรับนักเรียนทีเ่ รียนรู ไดอยางรวดเร็ว และตองการ ทาทายความสามารถในระดับ ทีส่ งู ขึน้


คําแนะนําการใชคูมือครู การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน คูมือครู รายวิชา พระพุทธศาสนา ม. 5 จัดทําขึ้นเพื่อใหครูผูสอนนําไปใชเปนแนวทางวางแผนการสอนเพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน และประกันคุณภาพผูเ รียน ตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน (สพฐ.) โดยใชหนังสือเรียน พระพุทธศาสนา ม. 5 ของบริษทั อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด เปนสือ่ หลัก (Core Material) ประกอบ เสร�ม การสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดกลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา 3 ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 โดยออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน ตามหลักการสําคัญ ดังนี้ 1 ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน คูม อื ครู รายวิชา พระพุทธศาสนา ม. 5 วางแผนการสอนโดยแบงเปนหนวยการเรียนรูต ามลําดับสาระ (strand) และ หมายเลขขอของมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั แตละหนวยจะกําหนดเปาหมายการเรียนรูแ ละจุดประสงคการเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทางการประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชัดเจน ครูผูสอนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด สมรรถนะ และคุณลักษณะ อันพึงประสงคที่เปนเปาหมายการเรียนรูตามที่กําหนดไวในสาระแกนกลาง (ตามแผนภูมิ) และสามารถบันทึกผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของผูเรียนแตละคนลงในเอกสาร ปพ.5 ไดอยางมั่นใจ แผนภูมิแสดงความสัมพันธขององคประกอบการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผูเรียนเปนสําคัญ

พผ

ูเ

จุดปร

ะสง

คก า

ส ภา

รียน

รู ีเรยน

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชวงชั้น

ทักษะการคิด การวัดและประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน คูม อื ครู


2 การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ แนวคิ ด ในการจั ด การเรี ย นการสอนที่ ยึ ด ผู  เ รี ย นเป น สํ า คั ญ พั ฒ นามาจากปรั ช ญาและทฤษฎี ก ารเรี ย นรู  Constructivism ที่เชื่อวา การเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสรางความรู โดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดเรียนรูจากบทเรียนใหมกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา ผูเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีการสั่งสมความรูความเขาใจเกี่ยวกับสิ่งตางๆ ติดตัวมากอน ทีจ่ ะเขาสูห อ งเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากประสบการณและสิง่ แวดลอมรอบตัวผูเ รียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกิจกรรม เสร�ม การเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ผูสอนจะตองคํานึงถึง

4

1. ความรูเดิมของผูเรียน วิธีการสอนที่ดีจะตองเริ่มตนจากจุดที่วา ผูเ รียนมีความรูอ ะไรมาบาง แลวจึงใหความรู หรือประสบการณใหม เพื่อตอยอดจาก ความรูเดิม นําไปสูการสรางความรู ความเขาใจใหม

2. ความรูเดิมของผูเรียนถูกตองหรือไม ผูส อนตองปรับเปลีย่ นความรูค วามเขาใจเดิม ของผูเรียนใหถูกตอง และเปนพฤติกรรม การเรียนรูใ หมทมี่ คี ณุ คาตอผูเรียน เพื่อสราง เจตคติหรือทัศนคติที่ดีตอการเรียนรู สิ่งเหลานั้น

3. ผูเรียนสรางความหมายสําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมใหผูเรียนนําความรู ความเขาใจที่เกิดขึ้นไปลงมือปฏิบัติ เพื่อขยายความรูใหลึกซึ้งและมีคุณคา ตอตัวผูเรียนมากที่สุด

แนวคิด Constructivism เนนใหผูเรียนสรางความรูโดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูของตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศ

การเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณ ความรูใ หม เพือ่ กระตนุ ใหผเู รียนเชือ่ มโยงความรู ความคิด กับประสบการณทมี่ อี ยูเ ดิม แลวสังเคราะหเปนความรูห รือแนวคิดใหมๆ ไดดว ยตนเอง

3 การบูรณาการกระบวนการคิด การเรียนรูของผูเรียนแตละคนจะเกิดขึ้นที่สมอง ซึ่งเปนอวัยวะที่ทําหนาที่รูคิดภายใตสภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวย และไดรบั การกระตนุ จูงใจอยางเหมาะสม สอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของผูเ รียนแตละคน การจัดกิจกรรม การเรียนรูและสาระการเรียนรูที่สอดคลองกับความสนใจและมีความหมายตอผูเรียน จะชวยกระตุนใหสมองของผูเรียน สามารถรับรูและเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพตามขั้นตอนการทํางานของสมอง ดังนี้ 1. สมองจะเรียนรูและสืบคน โดยการสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง ปฏิบัติ จนทําใหคนพบความรูความเขาใจ ไดอยางรวดเร็ว

2. สมองจะแยกแยะคุณคาของสิ่งตางๆ โดยการตัดสินใจวิพากษวิจารณ แสดง ความคิดเห็น ยอมรับหรือตอตานตาม อารมณความรูสึกที่เกิดขึ้นในขณะที่เรียนรู

3. สมองจะประมวลเนื้อหาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสานกับ ความรูห รือประสบการณเดิมทีถ่ กู จัดเก็บอยูใ น สมอง ผานการกลัน่ กรองเพือ่ สังเคราะหเปน ความรูค วามเขาใจใหมๆ หรือเปนทัศนคติใหม ที่จะเก็บบรรจุไวในสมองของผูเรียน

การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะเกิดขึ้น เมื่อสมองรูคิด และตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมองผูเรียน โดยเริ่มตนจาก 1. ระดับการคิดพื้นฐาน ไดแก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล การสรุปผล เปนตน

คูม อื ครู

2. ระดับลักษณะการคิด ไดแก การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดไกล คิดหลากหลาย คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล เปนตน

3. ระดับกระบวนการคิด ไดแก กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ กระบวนการแกปญหา กระบวนการ คิดสรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะห เปนตน


5Es การจัดกิจกรรมตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ขั้นตอนการสอนที่สัมพันธกับขั้นตอนการคิดและการทํางานทางสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย คือ วัฏจักรการเรียนรู 5Es ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแตละหนวย ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1

กระตุนความสนใจ

(Engage)

เสร�ม

5

เปนขั้นที่ผูสอนนําเขาสูบทเรียน เพื่อกระตุนความสนใจของผูเรียนดวยเรื่องราวหรือเหตุการณที่นาสนใจโดยใชเทคนิควิธีการ และคําถามทบทวนความรูหรือประสบการณเดิมของผูเรียน เพื่อเชื่อมโยงผูเรียนเขาสูความรูของบทเรียนใหม ชวยใหผูเรียนสามารถ สรุปความสําคัญหัวขอและสาระการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอนการสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอมและสราง แรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน

ขั้นที่ 2

สํารวจคนหา

(Explore)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนเปดโอกาสใหผเู รียนลงมือศึกษา สังเกต หรือรวมมือกันสํารวจ เพือ่ ใหเห็นขอบขายของประเด็นหรือปญหา รวมถึง วิธีการศึกษาคนควา การรวบรวมขอมูลความรูที่จะนําไปสูการสรางความเขาใจประเด็นหรือปญหานั้นๆ เมื่อผูเรียนทําความเขาใจใน ประเด็นหรือปญหาที่จะศึกษาคนควาอยางถองแทแลว ก็ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธีการตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูที่เกี่ยวของกับประเด็นหรือปญหาที่ศึกษา

ขั้นที่ 3

อธิบายความรู

(Explain)

เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา ตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนคนหาคําตอบ และนําขอมูล ความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห สรุปผล และนําเสนอผลที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ ผังมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน ในขั้นตอนนี้ฝกใหผูเรียนใชสมองคิดวิเคราะหและสังเคราะห อยางเปนระบบ

ขั้นที่ 4

ขยายความเขาใจ

(Expand)

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใชเทคนิควิธีสอนตางๆ ที่สงเสริมใหผูเรียนนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนสืบคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะ การเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน ผูเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยง กับประสบการณเดิมโดยนําขอสรุปทีไ่ ดไปใชอธิบายเหตุการณตา งๆ หรือนําไปปฏิบตั ใิ นสถานการณใหมๆ ทีเ่ กีย่ วของกับชีวติ ประจําวัน ของตนเอง เพื่อขยายความรูความเขาใจใหกวางขวางยิ่งขึ้น ในขั้นตอนนี้ฝกสมองของผูเรียนใหสามารถคิดริเริ่มสรางสรรคอยางมี คุณภาพ เสริมสรางวิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป

ขั้นที่ 5

ตรวจสอบผล

(Evaluate)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนประเมินมโนทัศนของผูเ รียน โดยตรวจสอบจากความคิดทีเ่ ปลีย่ นไปและความคิดรวบยอดทีเ่ กิดขึน้ ใหม ตรวจสอบ ทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด หรือการเคารพความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพื่อการ สรางสรรคความรูร ว มกัน ผูเ รียนสามารถประเมินผลการเรียนรูข องตนเอง เพือ่ สรุปผลวามีความรูอ ะไรเพิม่ ขึน้ มาบาง เกิดความเขาใจ มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ หรือในชีวิตประจําวันไดอยางไร ผูเรียนจะเกิดเจตคติ และเห็นคุณคาของตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง

การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนนผูเรียน เปนสําคัญอยางแทจริง เพราะสงเสริมใหผูเรียนไดเรียนรูตามขั้นตอนของกระบวนการสรางความรูดวยตนเอง และ ฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและกระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะชีวิต ทักษะการทํางาน และทักษะการ เรียนรูที่มีประสิทธิภาพ สงผลตอการยกระดับผลสัมฤทธิ์ของผูเรียน ตามเปาหมายของการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คูม อื ครู


O-NET การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ O-NET

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ในแตละหนวยการเรียนรู ทางผูจัดทํา จะเสนอแนะวิธีสอน รูปแบบกิจกรรมการเรียนรู พรอมทั้งออกแบบเครื่องมือวัดและประเมินผลที่สอดคลองกับตัวชี้วัด และสาระการเรียนรูแกนกลางไวทุกขั้นตอน โดยยึดหลักสําคัญ คือ หลักของการวัดและประเมินผล เสร�ม

6

1. การวัดและประเมินผลทุกครั้ง ควรนําผลมาปรับปรุงพัฒนาผูเรียน เปนรายบุคคล

2. การวัดและประเมินผลมี เปาหมาย เพื่อพัฒนาการเรียนรู ของผูเรียนจนเต็มศักยภาพ

3. การนําผลการวัดและประเมินผล ทุกครั้งมาวางแผนปรับปรุงกิจกรรม การเรียนการสอน การเลือกเทคนิค วิธีสอน และสื่อการเรียนรูให เหมาะสมกับสภาพจริงของผูเรียน

การทดสอบผูเรียน 1. การใชขอสอบอัตนัย เนนการอาน การคิดวิเคราะห และการเขียนเพิ่มมากขึ้น 2. การใชคําถามกระตุนการคิดควบคูกับการทําขอสอบที่เนนการคิดอยางตอเนื่องตามลําดับกิจกรรมการเรียนรู และตัวชี้วัด 3. การทดสอบตองดําเนินการทั้งกอนเรียน ระหวางเรียน และหลังเรียน การทดสอบควรใชขอสอบทั้งชนิดปรนัยและ อัตนัย และเปนการทดสอบเพื่อประเมินผลการเรียนของผูเรียนแตละคน เพื่อการสอนซอมเสริมใหบรรลุตัวชี้วัด ไดครบถวน 4. การสอบกลางภาค (ถามี) ควรนําแบบฝกหัดหรือขอสอบทีน่ กั เรียนสวนใหญไมสามารถตอบไดหรือไมครบถวนชัดเจน มา สรางเปนแบบทดสอบอีกครัง้ เพือ่ ตรวจสอบความรูค วามเขาใจทีถ่ กู ตอง และประเมินความกาวหนาของผูเ รียนแตละคน 5. การสอบปลายภาคเรียนเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามตัวชี้วัดที่สําคัญ ควรออกขอสอบใหมีลักษณะเดียวกับ ขอสอบ O-NET โดยเนนการคิดวิเคราะห สังเคราะห เชื่อมโยงประยุกตใช เพื่อสรางความคุนเคย และฝกฝน วิธีการทําขอสอบดวยความมั่นใจ 6. การนําผลการทดสอบของผูเรียนมาวิเคราะห โดยผลการสอบกอนการเรียนตองสามารถพยากรณผลการสอบ กลางภาค และผลการสอบกลางภาคตองทํานายผลการสอบปลายภาคของผูเ รียนแตละคน เพือ่ ประเมินพัฒนาการ ความกาวหนาของผูเรียนเปนรายบุคคล 7. ผลการทดสอบปลายป ปลายภาค ตองมีคาเฉลี่ยสอดคลองกับคาเฉลี่ยของการสอบ NT ที่เขตพื้นที่การศึกษา จัดสอบ รวมทั้งคาเฉลี่ยของการสอบ O-NET ชวงชั้นที่สอดคลองครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดสําคัญ เพือ่ สะทอนประสิทธิภาพของครูผสู อนในการออกแบบการเรียนรูแ ละประกันคุณภาพผูเ รียนทีต่ รวจสอบผลไดชดั เจน การจัดการเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ตองใหผูเรียนไดสั่งสมความรู ความเขาใจตามลําดับขั้นตอน ของกิจกรรมในวัฏจักรการเรียนรู 5Es เพื่อใหผูเรียนไดเติมเต็มองคความรูอยางตอเนื่อง จนสามารถปฏิบัติชิ้นงานหรือ ภาระงานรวบยอดของแตละหนวย ผานเกณฑประกันคุณภาพในระดับที่นาพึงพอใจ เพื่อรองรับการประเมินภายนอกจาก สมศ. ตลอดเวลา คูม อื ครู


ASEAN การเรียนรูสูประชาคมอาเซียน เพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรูบูรณาการอาเซียนศึกษา ผูจัดทําไดวิเคราะห มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดที่มีสาระการเรียนรูสอดคลองกับองคความรูเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนในแงมุมตางๆ ครอบคลุมทัง้ ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน เพื่อสงเสริมการเรียนรูใหผูเรียนเกิดความตระหนัก มีความรูความเขาใจเหมาะสมกับระดับชั้นและกลุมสาระ การเรียนรู โดยเสนอแนะวิธีการจัดกิจกรรมบูรณาการเนื้อหาสาระตางๆ ที่เปนประโยชนตอผูเรียนและเปนการชวย เตรียมความพรอมผูเ รียนทุกคนทีจ่ ะกาวเขาสูก ารเปนสมาชิกของประชาคมอาเซียนไดอยางมัน่ ใจตามขอตกลงปฏิญญา เสร�ม ชะอํา-หัวหิน วาดวยความรวมมือดานการศึกษาเพือ่ บรรลุเปาหมายประชาคมอาเซียนทีเ่ อือ้ อาทรและแบงปน จึงกําหนด 7 เปนนโยบายใหกระทรวงศึกษาธิการจัดการเรียนรูเตรียมความพรอมผูเรียนเขาสูประชาคมอาเซียนภายในป พ.ศ. 2558 ตามแนวปฏิบัติที่สําคัญ ดังนี้

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน 1. การสรางความรูความเขาใจ และตระหนักถึงความสําคัญของ กฎบัตรอาเซียน และความรวมมือ ของ 3 เสาหลัก ซึง่ กฎบัตรอาเซียน ในขณะนี้มีสถานะเปนกฎหมายที่ ประเทศสมาชิกจะตองปฏิบัติตาม หลักการที่กําหนดไวเพื่อใหบรรลุ เปาหมายของกฎบัตรมาตราตางๆ

2. การสงเสริมหลักการ ประชาธิปไตยและการสราง สิ่งแวดลอมประชาธิปไตย เพื่อการอยูรวมกันอยางกลมกลืน ภายใตวิถีชีวิตอาเซียนที่มีความ หลากหลายดานสังคมและ วัฒนธรรม

4. การตระหนักในคุณคาของ สายสัมพันธทางประวัติศาสตร และมรดกทางวัฒนธรรมที่มี พัฒนาการรวมกัน เพื่อเชื่อม อัตลักษณและสรางจิตสํานึก ในการเปนประชากรของประชาคม อาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการศึกษาดาน สิทธิมนุษยชน เพื่อสรางประชาคม อาเซียนใหเปนประชาคมเพื่อ ประชาชนอยางแทจริง สามารถ อยูรวมกันไดบนพื้นฐานการเคารพ ในคุณคาของศักดิ์ศรีแหงความ เปนมนุษยเทาเทียมกัน

5. การสงเสริมสันติภาพ ความ มั่นคง และความปรองดองในสังคม ทั้งระดับประเทศและภูมิภาคของ อาเซียนบนพื้นฐานสันติวิธีและการ อยูรวมกันดวยขันติธรรม

คูม อื ครู


การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

เสร�ม

8

1. การพัฒนาทักษะการทํางาน เพื่อเสริมสรางผูเรียนใหมีทักษะ วิชาชีพที่จําเปนสอดคลองกับ ความตองการของตลาดแรงงาน และสถานประกอบการในอาเซียน สามารถเทียบโอนผลการเรียน และการทํางานตามมาตรฐานฝมือ แรงงานในภูมิภาคอาเซียน

2. การเสริมสรางวินัย ความรับผิดชอบ และเจตคติรักการทํางาน สามารถพึ่งพาตนเอง มีทักษะชีวิต ดํารงชีวิตอยางมีความสุข เห็นคุณคา และภูมิใจในตนเอง ในฐานะที่เปนพลเมืองไทยและ อาเซียน

3. การเรียนรูเพื่อพัฒนาตนเอง อยางตอเนื่องตลอดชีวิต ใหมี ทักษะการทํางานตามมาตรฐาน อาชีพ และคุณวุฒิของวิชาชีพสาขา ตางๆ เพื่อรองรับการเตรียมเคลื่อน ยายแรงงานมีฝมือและการเปน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่ เขมแข็ง เพื่อสรางขีดความสามารถ ในการแขงขันในเวทีโลก

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 1. การเสริมสรางความรวมมือ ในลักษณะสังคมที่เอื้ออาทร ของประชากรอาเซียน โดยยึด หลักการสําคัญ คือ ความงดงาม ของประชาคมอาเซียนมาจาก ความแตกตางและหลากหลายทาง วัฒนธรรมที่ลวนแตมีคุณคาตอ มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน ซึ่งประชาชนทุกคนตองอนุรักษ สืบสานใหยั่งยืน

2. การเสริมสรางคุณลักษณะ ของผูเรียนใหเปนพลเมืองอาเซียน ที่มีศักยภาพในการกาวเขาสู ประชาคมอาเซียนอยางมั่นใจ เปนผูที่มีสุขภาพสมบูรณแข็งแรง มีทักษะการสื่อสาร ทักษะการ ทํางาน ทักษะทางสังคม สามารถ ทํางานรวมกับผูอื่นไดอยาง สรางสรรค และมีองคความรู เกี่ยวกับอาเซียนที่จําเปนตอการ ดํารงชีวิตอยางมีคุณภาพ

4. การสงเสริมการเรียนรูดาน ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี วิถชี วี ติ ความเปนอยูข องเพือ่ นบาน ในอาเซียน เพื่อสรางจิตสํานึกของ ความเปนประชาคมอาเซียนและ ตระหนักถึงหนาที่ของการเปน พลเมืองอาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการเรียนรูภาษา อังกฤษเพื่อการสื่อสารและการ ทํางานตามมาตรฐานอาชีพที่ กําหนดและสนับสนุนการเรียนรู ภาษาอาเซียนและภาษาเพื่อนบาน เพื่อชวยเสริมสรางสัมพันธภาพทาง สังคม และการอยูรวมกันอยางสันติ ทามกลางความหลากหลายทาง วัฒนธรรม

5. การสรางความรูและความ ตระหนักเกี่ยวกับดานสิ่งแวดลอม ปญหาและผลกระทบตอคุณภาพ ชีวิตของประชากรในภูมิภาค รวมทั้งแนวทางการพัฒนาอยาง ยั่งยืน ใหเปนมรดกสืบทอดแก พลเมืองอาเซียนในรุนหลังตอๆ ไป

กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศนโยบายการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) เพื่อเรงพัฒนาเด็ก และเยาวชนไทยใหเปนทรัพยากรมนุษยของชาติที่มีทักษะและความชํานาญ พรอมเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงและ การแขงขันทั้งในภูมิภาคอาเซียนและภูมิภาคอื่นๆ ของสังคมโลก ทั้งนี้ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และผูปกครอง ควรรวมมือกันอยางใกลชิดในการดูแลชวยเหลือผูเรียนและจัดประสบการณการเรียนรูเพื่อพัฒนาผูเรียนจนเต็มศักยภาพ เพื่อกาวเขาสูการเปนพลเมืองอาเซียนอยางมีเกียรติภูมิและศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของตน คณะผูจัดทํา คูม อื ครู


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 1

พระพุทธศาสนา (เฉพาะชั้น ม. 5)*

ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม

มาตรฐาน ส 1.1 รูและเขาใจประวัติ ความสําคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือและ ศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกตอง ยึดมั่นและปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยูรวมกันอยางสันติสุข ตัวชี้วัด 1. วิเคราะหสังคมชมพู ทวีป และคติความ เชื่อทางศาสนาสมัย กอนพระพุทธเจา หรือสังคมสมัยของ ศาสดาที่ตนนับถือ 2. วิเคราะห พระพุทธเจาใน ฐานะเปนมนุษยผู ฝกตนไดอยางสูงสุด ในการตรัสรู การ กอตั้ง วิธีการสอน และการเผยแผ พระพุทธศาสนา หรือวิเคราะหประวัติ ศาสดาที่ตนนับถือ ตามที่กําหนด 3. วิเคราะหพุทธประวัติ ดานการบริหาร และการธํารงรักษา ศาสนา หรือ วิเคราะหประวัติ ศาสดาที่ตนนับถือ ตามที่กําหนด 4. วิเคราะหขอปฏิบัติ ทางสายกลางใน พระพุทธศาสนา หรือแนวคิดของ ศาสนาที่ตนนับถือ ตามที่กําหนด 5. วิเคราะหการพัฒนา ศรัทธาและปญญาที่ ถูกตองในพระพุทธศาสนา หรือแนวคิด ของศาสนาที่ตน นับถือตามที่กําหนด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ชั้น ม.4

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน ชั้น ม.5

• ลักษณะของสังคมชมพูทวีป • หนวยการเรียนรูที่ 1 และคติความเชื่อทางศาสนา ประวัติและความสําคัญ สมัยกอนพระพุทธเจา ของพระพุทธศาสนา

-

ชั้น ม.6 -

เสร�ม

9

• พระพุทธเจาในฐานะเปน • หนวยการเรียนรูที่ 2 • หนวยการเรียนรูที่ 2 • หนวยการเรียนรูที่ 2 มนุษย ผูฝกตนไดอยางสูงสุด พุทธประวัติ พระสาวก พุทธประวัติ พระสาวก พุทธประวัติ พระสาวก (การตรัสรู) ศาสนิกชนตัวอยาง ศาสนิกชนตัวอยาง ศาสนิกชนตัวอยาง • การกอตั้งพระพุทธศาสนา และชาดก และชาดก และชาดก วิธีการสอน และการเผยแผ พระพุทธศาสนาตามแนว พุทธจริยา

-

• หนวยการเรียนรูที่ 2 พุทธประวัติ พระสาวก ศาสนิกชนตัวอยาง และชาดก

• พระพุทธศาสนามีทฤษฎีและ • หนวยการเรียนรูที่ 1 วิธีการที่เปนสากลและมีขอ ประวัติและความสําคัญ ปฏิบัติที่ยึดทางสายกลาง ของพระพุทธศาสนา

-

-

• หนวยการเรียนรูที่ 1 ประวัติและความสําคัญ ของพระพุทธศาสนา

-

-

• พุทธประวัติดานการบริหาร และการธํารงรักษาพระพุทธศาสนา

• พระพุทธศาสนาเนนการ พัฒนาศรัทธาและปญญาที่ ถูกตอง

-

หมายเหตุ : สําหรับสาระที่ 2 - 5 จะอยูในหนังสือเรียนหนาที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดําเนินชีวิตในสังคม เศรษฐศาสตร ประวัติศาสตรไทย ประวัติศาสตรสากล และภูมิศาสตร ม.4 - ม.6 ของ อจท. _________________________________

* สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง

กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม. (กรุงเทพมหานคร : ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 29-44.

คูม อื ครู


ตัวชี้วัด

เสร�ม

10

คูม อื ครู

6. วิเคราะหลักษณะ ประชาธิปไตยใน พระพุทธศาสนา หรือแนวคิดของ ศาสนาที่ตนนับถือ ตามที่กําหนด 7. วิเคราะหหลักการ ของพระพุทธศาสนา กับหลักวิทยาศาสตร หรือแนวคิดของ ศาสนาที่ตนนับถือ ตามที่กําหนด 8. วิเคราะหการฝกฝน และพัฒนาตนเอง การพึ่งตนเอง และ การมุงอิสรภาพใน พระพุทธศาสนา หรือแนวคิดของ ศาสนาที่ตนนับถือ ตามที่กําหนด 9. วิเคราะหพระพุทธศาสนาวา เปน ศาสตรแหงการ ศึกษาซึ่งเนนความ สัมพันธของเหตุ ปจจัยกับวิธีการแก ปญหา หรือแนวคิด ของศาสนาที่ตน นับถือตามที่กําหนด 10. วิเคราะหพระพุทธศาสนาในการฝก ตนไมใหประมาท มุงประโยชนและ สันติภาพบุคคล สังคมและโลก หรือ แนวคิดของศาสนา ที่ตนนับถือตามที่ กําหนด 11. วิเคราะหพระพุทธศาสนากับปรัชญา ของเศรษฐกิจพอ เพียงและการพัฒนา ประเทศแบบยั่งยืน หรือแนวคิดของ ศาสนาที่ตนนับถือ ตามที่กําหนด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ชั้น ม.4

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน ชั้น ม.5

ชั้น ม.6

• ลักษณะประชาธิปไตยใน พระพุทธศาสนา

-

• หนวยการเรียนรูที่ 1 ประวัติและความสําคัญ ของพระพุทธศาสนา

-

• หลักการของพระพุทธศาสนา กับหลักวิทยาศาสตร • การคิดตามนัยแหงพระพุทธศาสนาและการคิดแบบ วิทยาศาสตร

-

• หนวยการเรียนรูที่ 1 ประวัติและความสําคัญ ของพระพุทธศาสนา

-

• พระพุทธศาสนาเนนการ ฝกหัดอบรมตน การพึ่ง ตนเอง และการมุงอิสรภาพ

-

• หนวยการเรียนรูที่ 1 ประวัติและความสําคัญ ของพระพุทธศาสนา

-

• พระพุทธศาสนาเปนศาสตร แหงการศึกษา • พระพุทธศาสนาเนนความ สัมพันธ ของเหตุปจจัยและ วิธีการแกปญหา

-

-

• หนวยการเรียนรูที่ 1 ประวัติและความสําคัญ ของพระพุทธศาสนา

• พระพุทธศาสนาฝกตนไมให ประมาท • พระพุทธศาสนามุงประโยชน สุขและสันติภาพแกบุคคล สังคมและโลก

-

-

• หนวยการเรียนรูที่ 1 ประวัติและความสําคัญ ของพระพุทธศาสนา

• พระพุทธศาสนากับปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงและ การพัฒนาแบบยั่งยืน

-

-

• หนวยการเรียนรูที่ 8 พระพุทธศาสนากับ การแกปญหาและ การพัฒนา


ตัวชี้วัด 12. วิเคราะหความสําคัญ ของพระพุทธศาสนา เกี่ยวกับการศึกษาที่ สมบูรณ การเมือง และสันติภาพ หรือ แนวคิดของศาสนา ที่ตนนับถือตามที่ กําหนด 13. วิเคราะหหลักธรรม ในกรอบ อริยสัจ 4 หรือหลักคําสอนของ ศาสนา ที่ตนนับถือ พระรัตนตรัย

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ชั้น ม.4

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน ชั้น ม.5

ชั้น ม.6

• ความสําคัญของพระพุทธศาสนากับการศึกษาที่ สมบูรณ • ความสําคัญของพระพุทธศาสนากับการเมือง • ความสําคัญของพระพุทธศาสนากับสันติภาพ

• หนวยการเรียนรูที่ 8 พระพุทธศาสนากับ การแกปญหาและการ พัฒนา

พระรัตนตรัย • วิเคราะหความหมายและ คุณคาของพุทธะ ธรรมะ สังฆะ อริยสัจ 4 • ทุกข (ธรรมที่ควรรู) - ขันธ 5 นามรูป โลกธรรม 8 จิต, เจตสิก • สมุทัย (ธรรมที่ควรละ) - หลักกรรม นิยาม 5 กรรมนิยาม (กรรม 12) ธรรมนิยาม (ปฏิจจสมุปบาท) - วิตก 3 - มิจฉาวณิชชา 5 - นิวรณ 5 - อุปาทาน 4 • นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ) - ภาวนา 4 - วิมุตติ 5 - นิพพาน • มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ) - พระสัทธรรม 3 - ปญญาวุฒิธรรม 4 - พละ 5 - อุบาสกธรรม 5 - อปริหานิยธรรม 7 - ปาปณิกธรรม 3 - ทิฏฐธัมมิกัตถสังวัตตนิกธรรม 4 - โภคอาทิยะ 5 - อริยวัฑฒิ 5 - อธิปไตย 3 - สาราณียธรรม 6 - ทศพิธราชธรรม 10

• หนวยการเรียนรูที่ 3 • หนวยการเรียนรูที่ 3 • หนวยการเรียนรูที่ 3 หลักธรรมทาง หลักธรรมทาง หลักธรรมทาง พระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนา • หนวยการเรียนรูที่ 4 • หนวยการเรียนรูที่ 4 • หนวยการเรียนรูที่ 4 พุทธศาสนสุภาษิตและ พระไตรปฎกและพุทธ พุทธศาสนสุภาษิต พระไตรปฎก ศาสนสุภาษิต คําศัพททางพระพุทธศาสนา และพระไตรปฎก

-

-

เสร�ม

11

คูม อื ครู


ตัวชี้วัด

เสร�ม

12

คูม อื ครู

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ชั้น ม.4

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน ชั้น ม.5

ชั้น ม.6

- วิปสสนาญาณ 9 • หนวยการเรียนรูที่ 3 • หนวยการเรียนรูที่ 3 • หนวยการเรียนรูที่ 3 - มงคล 38 หลักธรรมทาง หลักธรรมทาง หลักธรรมทาง สงเคราะหบุตร พระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนา สงเคราะหภรรยา • หนวยการเรียนรูที่ 4 • หนวยการเรียนรูที่ 4 • หนวยการเรียนรูที่ 4 สันโดษ พุทธศาสนสุภาษิตและ พุทธศาสนสุภาษิตและ พุทธศาสนสุภาษิต ถูกโลกธรรม พระไตรปฎก พระไตรปฎก คําศัพททางพระพุทธจิตไมหวั่นไหว ศาสนา และพระไตรปฎก จิตไมเศราโศก จิตไมมัวหมอง จิตเกษม ความเพียรเผากิเลส ประพฤติพรหมจรรย เห็นอริยสัจ บรรลุนิพพาน พุทธศาสนสุภาษิต • จิตฺตํ ทนฺตํ สุขาวหํ จิตที่ฝกดีแลวนําสุขมาให • นอุจจฺ าวจํ ปณฺฑติ า ทสฺสยนฺติ บัณฑิตยอมไมแสดงอาการ ขึ้นๆ ลงๆ • นตฺถิ โลเก อนินฺทิโต คนที่ไมถูกนินทา ไมมีในโลก • โกธํ ฆตฺวา สุขํ เสติ ฆาความโกรธไดยอ มอยูเ ปนสุข • ปฏิรูปการี ธุรวา อุฎฐาตา วินฺทเต ธนํ คนขยันเอาการเอางาน กระทําเหมาะสม ยอมหา ทรัพยได • วายเมถว ปุริโส ยาว อตฺถสฺส นิปฺปทา เกิดเปนคนควรจะพยายาม จนกวาจะประสบความสําเร็จ • สนฺตฎฐี ปรมํ ธนํ ความสันโดษเปนทรัพยอยางยิง่ • อิณาทานํ ทุกฺขํ โลเก การเปนหนี้เปนทุกขในโลก • ราชา มุขํ มนุสฺสานํ พระราชาเปนประมุขของ ประชาชน • สติ โลกสฺมิ ชาคโร สติเปนเครื่องตื่นในโลก • นตฺถิ สนฺติปรํ สุขํ สุขอื่นยิ่งกวาความสงบไมมี • นิพฺพานํ ปรมํ สุขํ นิพพานเปนสุข อยางยิ่ง


ตัวชี้วัด 14. วิเคราะหขอคิดและ แบบอยางการดําเนิน ชีวิตจากประวัติสาวก ชาดก เรื่องเลา และ ศาสนิกชนตัวอยาง ตามที่กําหนด

15. วิเคราะหคุณคา และความสําคัญ ของการสังคายนา พระไตรปฎก หรือ คัมภีรของศาสนาที่ ตนนับถือ และการ เผยแผ

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ชั้น ม.4

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน ชั้น ม.5

ชั้น ม.6

พุทธสาวก พุทธสาวิกา • หนวยการเรียนรูที่ 2 • หนวยการเรียนรูที่ 2 • หนวยการเรียนรูที่ 2 • พระอัสสชิ พุทธประวัติ พระสาวก พุทธประวัติ พระสาวก พุทธประวัติ พระสาวก • พระกีสาโคตรมีเถรี ศาสนิกชนตัวอยาง ศาสนิกชนตัวอยาง ศาสนิกชนตัวอยาง • พระนางมัลลิกา และชาดก และชาดก และชาดก • หมอชีวกโกมารภัจ • พระอนุรุทธะ • พระองคุลิมาล • พระธัมมทินนาเถรี • จิตตคหบดี • พระอานนท • พระปฏาจาราเถรี • จูฬสุภัททา • สุมนมาลาการ ชาดก • เวสสันดรชาดก • มโหสธชาดก • มหาชนกชาดก ชาวพุทธตัวอยาง • พระนาคเสน - พระยามิลนิ ท • สมเด็จพระวันรัต (เฮง เขมจารี) • พระอาจารยมั่น ภูริทตฺโต • สุชีพ ปุญญานุภาพ • สมเด็จพระนารายณมหาราช • พระธรรมโกศาจารย (พุทธทาสภิกขุ) • พระพรหมมังคลาจารย (ปญญานันทภิกขุ) • ดร.เอ็มเบดการ • พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว • พระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท) • พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ. ปยุตโต) • อนาคาริก ธรรมปาละ • วิธีการศึกษาและคนควา • หนวยการเรียนรูที่ 4 • หนวยการเรียนรูที่ 4 • หนวยการเรียนรูที่ 4 พระไตรปฎก และคัมภีรของ พุทธศาสนสุภาษิตและ พระไตรปฎกและ พุทธศาสนสุภาษิต ศาสนาอื่นๆ การสังคายนา พระไตรปฎก พุทธศาสนสุภาษิต คําศัพททางพระพุทธและการเผยแผพระไตรปฎก ศาสนา และพระไตรปฎก • ความสําคัญและคุณคาของ พระไตรปฎก

เสร�ม

13

คูม อื ครู


เสร�ม

14

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

16. เชื่อมั่นตอผลของ การทําความดี ความชั่ว สามารถ วิเคราะหสถานการณ ที่ตองเผชิญ และ ตัดสินใจเลือกดําเนิน การหรือปฏิบัติตน ไดอยางมีเหตุผลถูก ตองตามหลักธรรม จริยธรรม และ กําหนดเปาหมาย บทบาทการดําเนิน ชีวิตเพื่อการอยูรวม กันอยางสันติสุข และอยูรวมกันเปน ชาติอยางสมานฉันท 17. อธิบายประวัติศาสดา ของศาสนาอื่นๆ โดยสังเขป

• ตัวอยางผลที่เกิดจากการ ทําความดี ความชั่ว • โยนิโสมนสิการดวยวิธีคิด แบบอริยสัจ • หลักธรรมตามสาระการเรียน รูขอ 13

ชั้น ม.4 -

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน ชั้น ม.5 • หนวยการเรียนรูที่ 3 หลักธรรมทาง พระพุทธศาสนา

ชั้น ม.6

• หนวยการเรียนรูที่ 3 หลักธรรมทาง พระพุทธศาสนา

• ประวัติพระพุทธเจา มุฮัมมัด • หนวยการเรียนรูพิเศษ • หนวยการเรียนรูที่ 2 พระเยซู ศาสนาสําคัญใน พุทธประวัติ พระสาวก ประเทศไทย ศาสนิกชนตัวอยาง และชาดก 18. ตระหนักในคุณคา • คุณคาและความสําคัญของ • หนวยการเรียนรูที่ 9 และความสําคัญของ คานิยมและจริยธรรม หลักธรรมทางศาสนา คานิยม จริยธรรมที่ • การขจัดความขัดแยงเพื่ออยู กับการอยูรวมกันอยาง เปนตัวกําหนดความ รวมกันอยางสันติสุข สันติสุข เชื่อและพฤติกรรม ที่แตกตางกันของ ศาสนิกชนศาสนา ตาง ๆ เพื่อขจัด ความขัดแยงและ อยูรวมกันในสังคม อยางสันติสุข 19. เห็นคุณคา เชื่อมั่น • พัฒนาการเรียนรูดวยวิธีคิด • หนวยการเรียนรูที่ 7 • หนวยการเรียนรูที่ 7 • หนวยการเรียนรูที่ 7 และมุงมั่นพัฒนา แบบโยนิโสมนสิการ 10 วิธี การบริหารจิตและ การบริหารจิตและ การบริหารจิตและ ชีวิตดวยการพัฒนา (เนนวิธีคิดแบบแยกแยะ การเจริญปญญา การเจริญปญญา การเจริญปญญา จิตและพัฒนาการ สวนประกอบ แบบสามัญญเรียนรูดวยวิธีคิด ลักษณะ แบบเปนอยูในขณะ แบบโยนิโสมนสิการ ปจจุบัน และแบบวิภัชชวาท) หรือการพัฒนาจิต - วิธีคิดแบบสืบสาวเหตุ ตามแนวทางของ ปจจัย ศาสนาที่ตนนับถือ - วิธีคิดแบบแยกแยะสวน ประกอบ - วิธีคิดแบบสามัญลักษณะ - วิธีคิดแบบอริยสัจ - วิธีคิดแบบอรรถธรรม สัมพันธ

คูม อื ครู


ตัวชี้วัด

20. สวดมนต แผเมตตา และบริหารจิตและ เจริญปญญาตาม หลักสติปฏฐาน หรือ ตามแนวทางของ ศาสนาที่ตนนับถือ

21. วิเคราะหหลักธรรม สําคัญในการอยูรวม กันอยางสันติสุขของ ศาสนาอื่นๆ และ ชักชวน สงเสริม สนับสนุนใหบุคคล อื่นเห็นความสําคัญ ของการทําความดี ตอกัน

22. เสนอแนวทางการจัด กิจกรรม ความรวม มือของทุกศาสนาใน การแกปญหาและ พัฒนาสังคม

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ชั้น ม.4

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน ชั้น ม.5

- วิธีคิดแบบคุณคาแท• หนวยการเรียนรูที่ 7 คุณคาเทียม การบริหารจิตและ - วิธีคิดแบบคุณ-โทษ และ การเจริญปญญา ทางออก - วิธีคิดแบบอุบาย ปลุกเรา คุณธรรม - วิธีคิดแบบเปนอยูในขณะ ปจจุบัน - วิธีคิดแบบวิภัชชวาท สวดมนตแปลและแผเมตตา • หนวยการเรียนรูที่ 7 รูและเขาใจวิธีปฏิบัติและ การบริหารจิตและ ประโยชนของการบริหารจิตและ การเจริญปญญา เจริญปญญา • ฝกการบริหารจิตและเจริญ ปญญาตามหลักสติปฏฐาน • นําวิธีการบริหารจิตและเจริญ ปญญาไปใชในการพัฒนาการ เรียนรู คุณภาพชีวิตและ สังคม • หลักธรรมสําคัญในการอยู รวมกันอยางสันติสุข - หลักธรรมในพระพุทธศาสนา เชน สาราณียธรรม 6 อธิปไตย 3 มิจฉาวณิชชา 5 อริยวัฑฆิ 5 โภคอาทิยะ 5 • คริสตศาสนา ไดแก บัญญัติ 10 ประการ (เฉพาะที่ เกี่ยวของ) • ศาสนาอิสลาม ไดแก หลัก จริยธรรม (เฉพาะที่เกี่ยวของ) • สภาพปญหาในชุมชน และ สังคม

• หนวยการเรียนรูที่ 7 การบริหารจิตและ การเจริญปญญา

ชั้น ม.6

• หนวยการเรียนรูที่ 7 การบริหารจิตและ การเจริญปญญา

เสร�ม

15

• หนวยการเรียนรูที่ 7 การบริหารจิตและ การเจริญปญญา

• หนวยการเรียนรูพิเศษ หลักธรรมทางศาสนา ในการอยูรวมกันอยาง สันติสุข

-

• หนวยการเรียนรูที่ 7 การบริหารจิตและ การเจริญปญญา

-

• หนวยการเรียนรูที่ 8 พระพุทธศาสนากับ การแกปญหาและ การพัฒนา

คูม อื ครู


มาตรฐาน ส 1.2 เขาใจ ตระหนักและปฏิบตั ติ นเปนศาสนิกชนทีด่ ี และธํารงรักษาพระพุทธศาสนา หรือศาสนาทีต่ นนับถือ ตัวชี้วัด

เสร�ม

16

คูม อื ครู

1. ปฏิบัติตนเปน ศาสนิกชนที่ดีตอ สาวก สมาชิกใน ครอบครัว และคน รอบขาง

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ชั้น ม.4

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน ชั้น ม.5

• หนวยการเรียนรูที่ 5 หนาที่ชาวพุทธและ • การเขาใจในกิจของพระภิกษุ มารยาทชาวพุทธ ปฏิบัติตนเปนชาวพุทธที่ดีตอ พระภิกษุ

เชน การศึกษา การปฏิบัติ ธรรม และการเปนนักบวชที่ดี • คุณสมบัติทายกและปฏิคาหก • หนาที่และบทบาทของ พระภิกษุในฐานะพระนักเทศน พระธรรมทูต พระธรรมจาริก พระวิทยากร พระวิปส สนาจารย และพระนักพัฒนา • การปกปองคุมครองพระพุทธศาสนาของพุทธบริษัทใน สังคมไทย • การปฏิบัติตนตอพระภิกษุทาง กาย วาจา และใจ ที่ประกอบ ดวยเมตตา • การปฏิสันถารที่เหมาะสมตอ พระภิกษุในโอกาสตาง ๆ ปฏิบัติตนเปนสมาชิกที่ดีของ ครอบครัวและสังคม • การรักษาศีล 8 • การเขารวมกิจกรรมและเปน สมาชิกขององคกรชาวพุทธ • การเปนชาวพุทธที่ดี ตามหลัก ทิศเบื้องบนในทิศ 6 • การปฏิบัติตนที่เหมาะสมใน ฐานะผูปกครองและผูอยูใน ปกครอง ตามหลักทิศเบื้อง ลาง ในทิศ 6 • การปฏิสันถารตามหลัก ปฏิสันถาร 2 • หนาที่และบทบาทของอุบาสก อุบาสิกาที่มีตอสังคมไทยใน ปจจุบัน • การปฏิบัติตนเปนสมาชิกที่ดี ของครอบครัว ตามหลักทิศ เบื้องหลัง ในทิศ 6 • การบําเพ็ญตนใหเปน ประโยชนตอครอบครัว ชุมชน ประเทศชาติ และโลก

• หนวยการเรียนรูที่ 5 หนาที่ชาวพุทธและ มารยาทชาวพุทธ

ชั้น ม.6

• หนวยการเรียนรูที่ 5 หนาที่ชาวพุทธและ มารยาทชาวพุทธ


ตัวชี้วัด 2. ปฏิบัติตนถูกตอง ตามศาสนพิธี พิธีกรรมตามหลัก ศาสนาที่ตนนับถือ

3. แสดงตนเปน พุทธมามกะ หรือ แสดงตนเปน ศาสนิกชนของ ศาสนาที่ตนนับถือ 4. วิเคราะหหลักธรรม คติธรรมที่เกี่ยวเนื่อง กับวันสําคัญทาง ศาสนา และเทศกาล ที่สําคัญของศาสนา ที่ตนนับถือ และ ปฏิบัติตนไดถูกตอง 5. สัมมนาและเสนอ แนะแนวทางในการ ธํารงรักษาศาสนา ที่ตนนับถือ อันสง ผลถึงการพัฒนาตน พัฒนาชาติและโลก

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ชั้น ม.4

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน ชั้น ม.5

ชั้น ม.6

ประเภทของศาสนพิธีใน • หนวยการเรียนรูที่ 6 • หนวยการเรียนรูที่ 6 • หนวยการเรียนรูที่ 6 พระพุทธศาสนา วันสําคัญทางพระพุทธ- วันสําคัญทางพระพุทธ- วันสําคัญทางพระพุทธ• ศาสนพิธีเนื่องดวยพุทธศาสนาและศาสนพิธี ศาสนาและศาสนพิธี ศาสนาและศาสนพิธี บัญญัติ เชน พิธีแสดงตน เปนพุทธมามกะ พิธีเวียน เทียน ถวายสังฆทาน ถวาย ผาอาบนํ้าฝน พิธีทอดกฐิน พิธีปวารณา เปนตน • ศาสนพิธที นี่ าํ พระพุทธศาสนา เขาไปเกี่ยวเนื่อง เชน การทําบุญเลี้ยงพระในโอกาส ตางๆ ความหมาย ความสําคัญ คติธรรมในพิธีกรรม บทสวด มนตของนักเรียน งานพิธี คุณคาและประโยชน พิธีบรรพชาอุปสมบท คุณสมบัติของผูขอบรรพชา อุปสมบท เครื่องอัฏฐบริขาร ประโยชนของการบรรพชา อุปสมบท บุญพิธี ทานพิธี กุศลพิธี คุณคาและประโยชนของศาสนพิธี การแสดงตนเปนพุทธมามกะ • หนวยการเรียนรูที่ 5 • ขั้นเตรียมการ หนาที่ชาวพุทธและ • ขั้นพิธีการ มารยาทชาวพุทธ

เสร�ม

17

• หลักธรรม/คติธรรมที่เกี่ยว • หนวยการเรียนรูที่ 6 • หนวยการเรียนรูที่ 6 • หนวยการเรียนรูที่ 6 เนือ่ งกับวันสําคัญและเทศกาล วันสําคัญทางพระพุทธ- วันสําคัญทางพระพุทธ- วันสําคัญทางพระพุทธที่สําคัญในพระพุทธศาสนา ศาสนาและศาสนพิธี ศาสนาและศาสนพิธี ศาสนาและศาสนพิธี หรือศาสนาอื่น • การปฏิบัติตนที่ถูกตองในวัน สําคัญและเทศกาลที่สําคัญใน พระพุทธศาสนา หรือศาสนาอืน่ • การปกปอง คุมครอง ธํารง • หนวยการเรียนรูที่ 8 • หนวยการเรียนรูที่ 8 • หนวยการเรียนรูที่ 5 รักษาพระพุทธศาสนาของ พระพุทธศาสนากับ พระพุทธศาสนากับ หนาที่ชาวพุทธและ พุทธบริษัทในสังคมไทย การแกปญ หาและ การแกปญ หาและ มารยาทชาวพุทธ • การปลูกจิตสํานึก และการมี การพัฒนา การพัฒนา สวนรวมในสังคมพุทธ

คูม อื ครู


คําอธิบายรายวิชา รายวิชา พระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 รหัสวิชา ส…………………………………

กลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ภาคเรียนที่ 1-2 เวลา 40 ชั่วโมง/ป

ศึกษา วิเคราะห ลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา หลักการของพระพุทธศาสนากับหลักวิทยาศาสตร เสร�ม การฝกฝนและพัฒนาตนเอง การพึ่งตนเอง และการมุงอิสรภาพในพระพุทธศาสนา พระพุทธเจาในฐานะเปนมนุษย 18 ผูฝกตนไดอยางสูงสุดในการตรัสรู การกอตั้ง วิธีการสอน และการเผยแผพระพุทธศาสนา ประวัติพุทธสาวก พุทธสาวิกา (พระอนุรุทธเถระ พระองคุลิมาลเถระ พระธัมมทินนาเถรี จิตตคหบดี) ศาสนิกชนตัวอยาง (สมเด็จพระนารายณ มหาราช พระธรรมโกศาจารย (พุทธทาสภิกขุ) พระพรหมมังคลาจารย (ปญญานันทภิกขุ)) ชาดก (มโหสถชาดก) วิเคราะหและปฏิบัติตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา พระรัตนตรัย หลักธรรมในกรอบอริยสัจ 4 ประกอบดวย ทุกข (ขันธ 5-โลกธรรม 8) สมุทัย (กรรมนิยาม-กรรม 12 มิจฉาวณิชชา 5) นิโรธ (วิมุตติ 5) มรรค (อปริหานิยธรรม 7 ปาปณิกธรรม 4 ทิฏฐธัมมิกัตถสังวัตตนิกธรรม 4 โภคอาทิยะ 5 อริยวัฑฒิ 5 มงคล 38 (ถูกโลกธรรมจิตไมหวั่นไหว จิตไมเศราโศก จิตไมมัวหมอง จิตเกษม) พุทธศาสนสุภาษิต (คนขยันเอาการเอางาน กระทําเหมาะสม ยอมหาทรัพย ได เกิดเปนคนควรจะพยายามจนกวาจะประสบความสําเร็จ ความสันโดษเปนทรัพยอยางยิ่ง การเปนหนี้เปนทุกขในโลก) การสังคายนาพระไตรปฎก ปฏิบตั ติ นเปนศาสนิกชนทีด่ ตี อ สมาชิกในครอบครัวและสังคม ปฏิบตั ติ นตามศาสนพิธี พิธกี รรม ของพระพุทธศาสนา (พิธีบรรพชาอุปสมบท บุญพิธี ทานพิธี กุศลพิธี) สวดมนตแปลและแผเมตตา และบริหารจิตและ เจริญปญญาภาวนาตามหลักสติปฏฐาน การพัฒนาการเรียนรูดวยวิธีคิดแบบแยกแยะองคประกอบ วิธีคิดแบบวิภัชชวาท การสัมมนาและเสนอแนวทางในการธํารงรักษาพระพุทธศาสนา และศาสนาทีต่ นนับถือ อันสงผลถึงการพัฒนาตน พัฒนา ชาติ และโลก หลักธรรมทางศาสนาในการอยูรวมกันอยางสันติสุข โดยใชกระบวนการคิด กระบวนการสืบคนขอมูล กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชิญสถานการณ และแกปญหา กระบวนการปฏิบัติและกระบวนการกลุม เพื่อใหเกิดความรู ความเขาใจ สามารถนําไปปฏิบัติในการดําเนินชีวิต นําไปแกปญหาและพัฒนาตนเอง และครอบครัว มีคุณลักษณะอันพึงประสงคในดานรักชาติ ศาสน กษัตริย ซื่อสัตยสุจริต มีวินัย ใฝเรียนรู มุงมั่นใน การทํางาน รักความเปนไทย มีจิตสาธารณะ สามารถดําเนินชีวิตอยูรวมกันไดอยางสันติสุข

ตัวชี้วัด ส 1.1 ม.4/6, 7, 8 ม.4/2,14,17 ม.4/13 ส 1.2 ม.4/1 ม.4/2,4 ม.4/5

ม.4/13,15 ม.4/19, 20 ม.4/22 รวม 16 ตัวชี้วัด

คูม อื ครู

ม.4/21


4

5

7

8

✓ ✓ ✓

6

_________________________________ หมายเหตุ ✓ เฉพาะที่สอดคลองกับตัวชี้วัด ม.5 เทานั้น ตัวชี้วัดที่เหลือจะจัดการเรียนการสอนในชั้น ม.4 และ ม.6

หนวยการเรียนรูที่ 5 : หนาที่ชาวพุทธและมารยาทชาวพุทธ

9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 1

3

หนวยการเรียนรูที่ 4 : พระไตรปฎกและพุทธศาสนสุภาษิต

2

1

มาตรฐาน ส 1.1 ตัวชี้วัด

สาระที่ 1

หนวยการเรียนรูที่ 3 : หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา

หนวยการเรียนรูที่ 2 : พุทธประวัติ พระสาวก ศาสนิกชนตัวอยาง และชาดก

หนวยการเรียนรูที่ 1 : ประวัตแิ ละความสําคัญของพระพุทธศาสนา

หนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด

2

3

4

มาตรฐาน ส 1.2 ตัวชี้วัด 5

ตาราง วิเคราะหมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั รายวิชา พระพุทธศาสนา ม.5

คําชี้แจง : ใหผูสอนใชตารางนี้ตรวจสอบความสอดคลองของเนื้อหาสาระการเรียนรูในหนวยการเรียนรูกับมาตรฐาน การเรียนรูและตัวชี้วัด เสร�ม

19

คูม อื ครู


คูม อื ครู

หนวยการเรียนรูพ เิ ศษ : หลักธรรมทางศาสนาในการอยูรวมกัน อยางสันติสุข

หนวยการเรียนรูที่ 8 : พระพุทธศาสนากับการแกปญหา และการพัฒนา

หนวยการเรียนรูที่ 7 : การบริหารจิตและการเจริญปญญา

1

2

3

4

5

6

7

8

✓ ✓

9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 1

มาตรฐาน ส 1.1 ตัวชี้วัด

สาระที่ 1

20

หนวยการเรียนรูที่ 6 : วันสําคัญทางพระพุทธศาสนา

หนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด

เสร�ม ✓

2

3

4

มาตรฐาน ส 1.2 ตัวชี้วัด

5


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹

¾Ãоط¸ÈÒÊ¹Ò Á.õ ªÑ¹é ÁѸÂÁÈÖ¡ÉÒ»‚·èÕ õ

¡ÅØ‹ÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒÊѧ¤ÁÈÖ¡ÉÒ ÈÒÊ¹Ò áÅÐÇѲ¹¸ÃÃÁ µÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ

¼ÙŒàÃÕºàÃÕ§

¼ÙŒµÃǨ

ºÃóҸԡÒÃ

È. ´Ã. ÇÔ·Â ÇÔÈ·àÇ·Â È. ¾ÔàÈÉ àÊ°ÕÂþ§É ÇÃó»¡

È. ¾ÔàÈÉ ¨íÒ¹§¤ ·Í§»ÃÐàÊÃÔ° ÃÈ. ªÙÈÑ¡´Ôì ·Ô¾Â à¡Éà ¹ÒÂÊíÒÃÇ ÊÒÃѵ¶

¹ÒÂÊÁà¡ÕÂÃµÔ ÀÙ‹ÃÐ褃 พิมพครั้งที่ ๑

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ รหัสสินคา ๓๕๑๓๐๐๓

¤Œ¹¤ÇÒÁÃÙŒ¢ÂÒ¤ÇÒÁ¤Ô´¨Ò¡

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè 1 ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ 3543007

EB GUIDE

ที่พิมพกํากับหัวขอสําคัญในหนังสือเรียนหลักสูตรแกนกลางฯ ผาน www.aksorn.com ไปยังแหลงความรูทั่วไทย-ทั่วโลก

คณะผูจัดทําคูมือครู

ระวิวรรณ ตั้งตรงขันติ


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

อธิบายความรู

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

¤íÒ¹íÒ Ë¹Ñ§Ê×ÍàÃÕ¹ ¤íÒá¹Ð¹íÒ㹡ÒÃ㪌 หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน พระพุทธศาสนาเลมนี้ ใชประกอบการเรียนการสอนรายวิชาพื้นฐาน กลุม สาระการเรียนรูส งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน้ มัธยมศึกษาปท่ี ๕ เนื้อหาตรงตามสาระการเรียนรูแกนกลางขั้นพื้นฐาน อานทําความเขาใจงาย ใหท้ังความรูและ ชวยพัฒนาผูเรียนตามหลักสูตรและตัวชี้วัด เนื้อหาสาระแบงออกเปนหนวยการเรียนรูตามโครงสรางรายวิชา สะดวกแกการจัดการเรียนการสอนและการวัดผลประเมินผล พรอมเสริมองคประกอบอื่นๆ ที่จะชวยทําให ผูเ รียนไดรบั ความรูอ ยางมีประสิทธิภาพ à¹×éÍËҵçµÒÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹Ãٌ᡹¡ÅÒ§ Design ˹ŒÒẺãËÁ‹ ÊǧÒÁ à¡ÃÔè¹¹íÒà¾×èÍãˌࢌÒ㨶֧ÊÒÃÐÊíÒ¤ÑÞ ãËŒ¤ÇÒÁÃÙŒáÅÐàÍ×é͵‹Í¡ÒùíÒä»ãªŒÊ͹à¾×èÍ ãËŒºÃÃÅصÑǪÕéÇÑ´ áÅÐÊÌҧ¤Ø³ÅѡɳРã¹Ë¹‹Ç·Õè¨ÐàÃÕ¹ Íѹ¾Ö§»ÃÐʧ¤

¨Ñ´¡ÅØ‹Áà¹×éÍËÒ໚¹Ë¹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ Êдǡᡋ¡ÒèѴ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹

ทุกข ๑. อยาเพิ่งปลงใจเชื่อเพียงเพราะการฟงตามกันมา มา ๒. อยาเพิ่งปลงใจเชื่อเพียงเพราะการถือสืบๆ กัน ๓. อยาเพิ่งปลงใจเชื่อเพียงเพราะการเลาลือ ๔. อยาเพิ่งปลงใจเชื่อเพียงเพราะการอางคัมภีร ๕. อยาเพิ่งปลงใจเชื่อเพียงเพราะนึกคิดเอาเอง ๖. อยาเพิ่งปลงใจเชื่อเพียงเพราะการคาดคะเนเอา ๗. อยาเพิ่งปลงใจเชื่อเพียงเพราะการตรึกตรอง ของตน ๘. อยาเพิง่ ปลงใจเชือ่ เพียงเพราะตรงกบั ความเห็น ่อ ๙. อยาเพิ่งปลงใจเชื่อเพียงเพราะรูปลักษณะนาเชื ๑๐. อยาเพิ่งปลงใจเชื่อเพียงเพราะทานเปนครูของเรา

˹‹Ç¡ÒÃàÃ

Õ¹ÃÙŒ·Õè

ÇÑ

¸ÈÒʹÒáÇÅѹÊíÒ¤ÑÞ ÐÈÒʹ¾Ô¸ Õ

·Ò§¾Ãоط

²¹¸ ªÒǾط¸ã¹ ÃÃÁ·Ò§ÈÒʹҷÕèÊíÒ¤ÑÞ àÁ×Í ä´Œ ᵋËÅÑ¡»¯Ôº §ä·Â¡ÑºªÒǾط¸ã¹·ÕèÍ á¡‹ ÈÒʹ¾Ô¸Õ áÅÐÇÑ ¹ÊíÒ¤ÑÞ·Ò§ ѵ ×è¹æ ¨Ðàª×èÍã¹Ë ¾Ãоط¸ÈÒʹ Ê׺à¹×Íè §ÁÒ¨Ò¡ ÔÇѲ¹¸ÃÃÁ·Ò§¾Ãоط ÅÑ¡¸ÃÃÁ¤ Ñ ¹¸ÃÃÁä·Âà ¸ÈÒʹҢͧªÒÇä·Â¡ç íÒÊ͹¢Í§¾Ãоط¸à¨ŒÒ Ò áÁŒ ¢Í§ÈÒʹÒàËÁ× ¡Ò÷ÕÁè ÇÕ ² ÁÕÅ àËÁ ¢ŒÒ仼ÊÁÍÂÙ ´‹ ÇŒ Â Ñ ¹¸Ã ѡɳÐ੾ÒÐáÅÐ໚¹ ×͹¡Ñ¹ Íѹ໚¹Ê‹Ç¹Êí ͹ÈÒʹ¸ÃÃÁ ᵋ¡Áç ÊÕ Ç‹ àÍ¡ÅÑ¡ ¹âͺÍØÁŒ ãËŒÈ áÁŒÇ² ÃÁ·Ò§¾Ãо Ò¤ÑÞÂÔ觷Õè·íÒ Òʹ ãËŒ · Ø ¸ÈÒʹҨÐÁ ɳ ¼ÙŒ·Õ辺àËç¹¹Œ ¸ÃÃÁà˹ç ä´Œ ´Ñ§¹Ñé¹ àÃÒ Í ãÔ ÈÒʹ¾Ô¸ÕãËŒ¶ ¤ÇÃÈÖ¡ÉÒÇѲ¹¸ÃÃÁ· Á¹íÒä»ã¹¡ÒûÃоĵԻ §Ò‹ ÂáÅÐ໹š ·Õ»è ÃШ¡Ñ É á¡‹ ª‹á¡‹¹ ¯Ô Ù¡µŒÍ§àËÁÒÐ ÊÒÂµÒ Ò§¾ º µ Ñ ã Ô Ãо ¹È Òʹ Ø · ¸ÈÒ ÊÁ «Ö觶×Í໚¹ ¸Ãà ตัวชี้วัด Áô¡·ÕèÁÕ¤‹Ò Ê¹Ò à¡ÕèÂǡѺ¡Òû¯Ôº Áä´Œ§‹Ò¢Öé¹ ÂÔ觢ͧªÒµÔãËŒ ѵ ■ สวดม ´íÒçÍÂÙ‹¤Ù‹¡Ñº Ôµ¹ã¹ÇѹÊíÒ¤ÑÞáÅÐ นตแปลและแผ ¤¹ä·ÂµÅÍ´ä» เมตตา และบ สติปฏฐาน หรื สาระการเรียนรู ริหารจิตและเ อตามแนวท จริญป แ กนก

http://www.aksorn.com/LC/Rel/M5/02

คือ ความทุกข สภาพทีท่ บกพรอง ขาดแกนสาร และความนไดเทียาก สภาวะที่บีบคั้น ขัดแยง ่ยงแท

๑ ๒

อริยสัจ ๔

ความจริงอันประเสรฐิ ๔ ประการ

๓ มรรค

สมุทัย คือ เหตุเกิดแหงทุกข สาเหตุ ตัณหา ๓ คือ กามตัณหา ภวตัณหาใหเกิดทุกข ไดแก และวิภวตัณหา

นิโรธ

คือ ความดับทุกข ไดแก ่ตัณหาดับสิ้นไป ภาวะที่เขาถึงเมื่อกําจัดอวิชชา สํภาวะที ารอกตัณหาสิ้นแลว

คือ ทางที่นําไปสูความดั ความดับทุกข ไดแก มัชฌิมาปฏิบปแหทางทุกข ขอปฏิบัติใหถึง

ยปญญาทดสอบดวยตนเองแลว และพระองคทรงสอนตอไปวา เมื่อใดที่เราอาศั แลวจึงคอยเชื่อ ทรงสอนมิใหเชื่ออยางงมงาย เห็นวาคําสอนใดเปนคําสอนที่ดีมีคุณประโยชน บัติแลวจึงเชื่อ ลทางปฏิ ผ  ทดสอบได อ ่ เมื ิ ต ั บ ิ และการปฏ แตเนนการทดสอบ ศรัทธามิใชวิธีสุดทายที่จะตัดสิน พระพุทธศาสนาสอนเรื่องศรัทธาเหมือนกัน แต นเพียงเครื่องชักจูงใหคนเขาไปทดสอบความ วาความจริงคืออะไร ศรัทธาในพระพุทธศาสนาเป องค ๘ อันเปนหนทางที่จะพา มรรคมี ง อ ่ สอนเรื า ในคํ ญา” ญ “ป อ คื ง จริงแตตัวที่ตัดสินความจริ มนุษยไปสูน พิ พานซึง่ เปนความจริงอันสูงสุดนัน้ ก หลั ในการสอน ย ว  ด  ธาอยู ท รั ศ มี า ไมปรากฏว ธรรมตางๆ เพือ่ เปนแนวทางในการปฏิบตั ติ นนัน้ หากในหลักธรรมใดมีศรัทธาอยูจะตองมีปญญา กํากับอยูเสมอ เชน พละ ๕ มีศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปญญา ในหลักอริยทรัพยมีศรัทธา ศีล หิริ โอตตัปปะ พาหุสัจจะ จาคะ ปญญา เปนตน ๒) ดานความรู ทัง้ วิทยาศาสตร และพระพุทธศาสนาตางก็ยอมรับความรูที่ได นสัญลักษณทแี่ สดงถึงหลักธรรมอันประเสริฐ จากประสบการณ “ประสบการณ” หมายถึง การ ธรรมจักทรเปธองค ทรงคนพบ ที่พระพุ ที่ตา หู จมูก ลิ้น กาย ไดประสบกับความรูสึก

(ส ๑.๑ ม.๔ญญาตามหล างของศาสนาท ลาง กั ■ สวดม ๖/๒๐) ี่ตนนับถือ ปฏิบตั ติ นถูก นตแปลและแผ ต ■ ประเ (ส ๑.๒ ม.๔- องตามศาสนพิธี พิธกี รรมต ภทของศาสนพ เมตตา ๖/๒) ามหลกั ศาสน วิเคราะหหลั าทีต่ นนับถือ ■ ความหมาย ความ ิธีในพระพุทธศาสนา กธรม คติธรรมท นักเรียน งานพ สําคัญ คติธรรมในพิ เทศกาลที่สํา เี่ กีย่ วเนือ่ งกั ธีกรรม บทส ิธ คั (ส ๑.๑ ม.๔- ญของศาสนาที่ตนนับถือ บวันสําคัญทางศาสนาและ ■ พิธีบรรพชาอุป ี คุณคาและประโยชน วดมนตของ สมบ และปฏิบัติต ๖/๒, ๔) อัฐบริขาร ประโ ท คุณสมบัติของผู นไดถูกตอง ขอบรร ยชน ■ บุญ พิธี ทานพิธี ของการบรรพชาอุปสมบ พชาอุปสมบท เครื่อง กุ ท ■ คุณ คาและประโย ศลพิธี ชนของศาสนพ ิธี

■ ■

¾ÔÁ¾ ô ÊÕ µÅÍ´àÅ‹Á ª‹ÇÂãËŒÍÒ‹ ¹ ·íÒ¤ÇÒÁࢌÒã¨ä´Œ§‹ÒÂ

๓) วันอัฏฐมีบูชา วันอัฏฐมีบูชา ตรงกับ วันแรม ๘ คํ่า เดือน ๖ หรือเดือน ๗ ถัดจากวันวิสาขบูชาไป ๗ วัน เปนวั นับ นคลายวันถวายพระเพลิงพุทธสรีระ พุทธศาสนิกชน พึงรําลึก

พระพุทธรูปปางถวายพระเพลิ

งที่วัดพระนอน จังหวัดสุพรรณบุร ี เปนพระพุทธรูปปางแสดงเหตุการณ ๕ พระพุทธสรีระ ในวันอัฏฐมีบูชา ตอนถวายพระเพลิง

EB GUIDE

๑๑๘

Web Guide á¹Ð¹íÒáËÅ‹§¤Œ¹¤ÇŒÒ¢ŒÍÁÙÅ à¾ÔèÁàµÔÁ¼‹Ò¹Ãкº Online

µÑǪÕÇé ´Ñ áÅÐÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙጠ¡¹¡ÅÒ§ µÒÁ·ÕËè ÅÑ¡Êٵà ¡íÒ˹´ à¾×èÍãËŒ·ÃÒº¶Ö§à»‡ÒËÁÒÂ㹡ÒÃÈÖ¡ÉÒ

àÊÃÔÁÊÒÃШҡà¹×Íé Ëҹ͡à˹×ͨҡ ·ÕÁè ãÕ ¹ÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙጠ¡¹¡ÅÒ§ à¾×Íè à¾ÔÁè ¾Ù¹áÅТÂÒ¾ÃÁá´¹¤ÇÒÁÃÙ㌠ˌ ¡ÇŒÒ§¢ÇÒ§ÍÍ¡ä»

àÃ×Íè §¹‹ÒÃÙàŒ ¾ÔÁè àµÔÁ¨Ò¡à¹×Íé ËÒ ÁÕá·Ã¡à»š¹ÃÐÂÐæ นธปรินิพพาน ดังนั้น หลักธรรมที่ วา แมแตพระพุทธเจาผูทรงเพียบพรอมทุกอยางยังเสด็จดับขั ประมาท ดังปจฉิมพุทธโอวาทวา เกี่ยวเนื่องกับวันอัฏฐมีบูชานาจะไดแก “อัปปมาทะ” ความไม “เธอทั้งหลายพึงยังประโยชน ตน และประโยชนทานใหถึงพรอมดวยความไม ประมาทเถิด” ความไมประมาท คือ ความ เปน ผูมีสติ รูสึกตัวอยูเสมอวากําลังทําอะไร กําลัง พูดอะไร และกําลังคิดอะไร ไมเผลอไมปลอย ใจใหลองลอยไปตามเรื่องราว รูจักระวังในสิ่ง ทีค่ วรระวัง มีความรอบคอบ เตรียมตัวเตรียมใจ ไวเผชิญเหตุการณที่จะเกิดในอนาคต คนที่ ไมประมาท คือ คนที่มีสติ มีความระมัดระวัง ผอบบรรจุพระบรมสารีรกิ ธาตุหลังจากการถวายพระเพลิง พระพุทธสรีระในวันอัฏฐมีบชู าทีพ่ บในกรุปรางคประธาน ในกิจการทุกชนิด

àÊÃÔÁÊÒÃÐ าสนาครสิ ต ศาสดาของศ

àÃ×èͧ¹‹ÒÃÙŒ การแบงพระบรมสารีริกธาตุ

มมาสัมพุทธเจา หลังจากถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระของสมเด็จพระสั าอชาตศัตรู แหง แลว กษัตริ​ิยและเจาเมืองตางๆ ทั้ง ๗ คือ ๑. พระเจ งไพศาลี แควนวัชชี เมืองราชคฤห แควนมคธ ๒. กษัตริยลิจฉวี แหงเมือ ลลกัปปนคร อั ง แห  ย ริ ต ษั ก ี ล ถู ๔.  ดุ ส พั ล งกบิ อ เมื ง แห ากยะ ศ  ย ริ ๓. กษัต งเวฏฐทีปกนคร ๕. โกลิยกษัตริย แหงรามคาม ๖. มหาพราหมณ แห ญ พระราชสาสน  ๗. มั ล ลกษั ต ริ ย  แห ง เมื อ งปาวา ได ส  ง ราชทู ต อั ญ เชิ ริกธาตุไปบูชา มายังมัลลกษัตริย แหงเมืองกุสินารา ขอแบงพระบรมสารี มมาสัมพุทธเจา พระสั า ว ื อ ถ ให ง ยังพระนครของตน ฝายมัลลกษัตริยไ มยอมแบ อ มเปนสมบัตขิ องตน เสด็จมาปรินพิ พาน ณ เมืองกุสนิ ารา พระบรมสารีรกิ ธาตุย โทณพราหมณ เมื่อสงครามแยงชิงพระบรมสารีริกธาตุกําลังจะอุบัติขึ้น ั้งหลายมิใหทําสงครามกัน ไดปรากฏตัวขึ้น และกลาวสุนทรพจนเตือนสติกษัตริยท ใหกษัตริยทั้งหลายอัญเชิญไปบูชา ณ พระนครแหงตน จึงไดแบงพระบรมสารีริกธาตุออกเปน ๗ สวนเทาๆ กัน

๑๑๙

๔๖

¤Ò¶ÒÁ »ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ

สลาม และศาสนาอิ าสนาครสิ ต ดขึ้น ทรงถือกําเนิ อี า ศาสดาของศ ชาวยิว โดย เยซู ซึ่งเปน ลสไตน มารดาชอ่ื มาร ิสตคือ พระ ปาเ

นิ แดน าสนาคร ศาสดาของศ ธเลเฮม แควน ยูดาห ในด วาม และเปนผูมีค ณ หมบู า นเบ รื่องศาสนธรรมสด็จไปประทับที่ปา เมือ่ ค.ศ. ๑ ผูท่สี นใจในเ ดเ หรือมาเรีย ัยเยาวพระเยซูคริสตเปน า ๓๐ ป พระองคไ ๔๐ วั น โดย มิ ไ ด ในว ุยางเข าถึ ง อาย เวล า ไปสู น พอ นํ อ ่ เป ง ่ น ั ้ ชาช น เพื ปนอยางยิ ู ณ ที่ น เฉลียวฉลาดเ ่ึ ง แล ะนั่ ง ภา วน าอย ออก เทศ นาส่ัง สอน ประ ลายเรื่องผิดไปจาก ห หน ริ่ม เปล่ี ย วแห ง ั ง จาก นั้น พร ะอง ค ก็เ ซึ่งคําสอนของพระองค กั น อยู ทํ า ให ค นท่ี หล อ ง เสว ยอะ ไร และสูสันติสุขอันแทจริ าวยิ ว ใน สมั ย นั้ น นั บ ถื จน พร ะอง ค ถู ก จั บ น ร ่ี ช ความหลุดพ ม ของ ศาส นา ยู ด ายท ะฟ อ งร อ งต อ ทา งกา นั้น ซึ่ง พรรษาเทา าแล ้ั ง เดิ ต ผูทรงเปน คํ า สอ นด ยกั บ พร ะอง ค จึ ง กล า วห เ มื่ือ พระ ชน มายุไ ด ๓๓ องคย อมแมกระทง่ั พระเยซูคริส าสนาครสิ ต พระชนม ษุ ย โดยพระ ไม เ ห็ น ด ว พระเยซูส้ิน ศาสดาของศ ระเยซูมตี อ มน งไมกางเขน มรักความเมตตาทีพ่ ตรึ การ แสดงถึงควา หารชีวิตโดย และถูกประ เหตกุ ารณค รัง้ นีเ้ ปนการ ติ กําเนิด วา ยชา ชาวอาหรับ ๑๓) ชาวคริสตถอื อ่ ไถบาปใหแกมวลมนุษ ุฮัมมัด เปน เพื อ ทานนบีม อ ค.ศ. ๕๗๐ (พ.ศ. ๑๑ ็อยชฺ เสียสละชีวติ ่ าอิสลาม คื ร าสนาอิสลาม ดาของศาสน ีอาระเบียในปจจุบัน เมื ีนะฮเปนชนในเผากุ วาม องศ ศาส ดาข ุด อาม ศาส ในค มารดาช่ือ ฺ ประเทศซาอ ึงตองไปอยู ที่เมืองมักกะฮ าสดาชื่อ อับดุลเลาะฮฺ ยาววัย ในเวลาตอมาจ าขาย และทํางาน เ ค นศ บิดาของทา ฮัมมัดเปนกําพราตั้งแต ชวยลุงเลี้ยงปศุสัตว ะฮฺ เศรษฐีนหี มาย ี ญ โดย ามุ คอด ง ลุ าสด น นาง ป บ นศ เ ู กั า ผ ท ง ซึ่งใน เทศใกลเคีย งอาบูฏอลิบ านไดไ ปทาํ งาน อุปการะขอ ครัว เมือ่ โตเปนหนมุ ท นสินคาไปขายยังประ อืน่ ๆ ในครอบ าที่ควบคุมกองคาราวา ดาดวยกัน ๖ คน สื่อมโทรม หน รธิ ในสภาพท่เี โดยทานทํา ก็ไดแตงงานกันมีบตุ ดนั้น สังคมอาหรับอยู านพบเห็นอยูเสมอ ่ที ง้ั สอง เนิ เวลาตอมาท มัยที่ทานศาสดาถือกํา แกไขปญหาในสังคมท ริ อฮฺ เทวทูตญิทาง ภูเขาฮ ฮฺ ในส ายามหาหน เิ วกในถ้าํ บน นา มอั ล ลอ ภา พอั ก ษร งสุดในศาสนา มาก โดยทานศาสดาพย า นหลบไปหาความสงบว สู ว ยความยาก ขณะทีท่ พระเปนเจา งแรกเตม็ ไปด อรูปเคารพ น ระทง่ั วันหนง่ึ ว  า ท นช ก จนก นาใ านแ ศาส ระท นับถื อิสลาม ะอัลลอฮ)ฺ มาป รกทเ่ี ขารับการประกาศ ทัง้ ทําใหคนทว่ั ไปซง่ึ คนแ พระเจา (พร  รวม าํ โองการของ ดจึงเริม่ ประกาศศาสนา ทิ ธิพลเสยี ผลประโยชน น ด ไ กกะฮฺ ก็ ล อี บรอ ผมู อี ฮมั มั องชาวเมอื งมั ทานศาสดามุ าะศาสนาอิสลามทําให ตามลางผลาญของมักกะฮไฺ วได โดย ล ภ้ี ยั จากการ ดึ เมื กตอตาน เพร สดากับสาวกได วบรวมผคู นกลบั ไปย ไดสงทูตเขามาขอรับ ลําบากและถู ียงก็ ง  ๑๓ ป ทานศา ามารถร ตางๆ ขัดเคือ จากทีป่ ระกาศศาสนาได . ๖๓๐ ทานศาสดาก็ส ตางๆ และประเทศขางเคกาตอนเหนือ อินเดีย และ หลัง ระทง่ั ถึง ค.ศ ายหลังชนอาหรับเผา นั ออกกลาง ทางแอฟริ ฮ.ศ. ๑๑ ดีนะฮ จนก ตะว อมาภ กับ ไปอยูท เ่ี มืองมะ รบใหเสียเลือดเน้อื ต แพรขยายไปทว่ั ดินแดน ๑๑๗๕) ตรง ๖๓๒ (พ.ศ. รสู งได ปราศจากกา สิ ลาม ศาสนาอสิ ลามจึ มัดถึงแกกรรมเมือ่ ค.ศ. มั นับถือศาสนาอ บดั นัน้ ทานศาสดามุฮ งั แต ทีอ่ น่ื ๆ นับต้

วัดมหาธาตุ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

¤íÒ¶ÒÁ»ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒáÅСԨ¡ÃÃÁ ÊÌҧÊÃä ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒà¾×èÍãËŒ¼ÙŒàÃÕ¹ ÁդسÀÒ¾ºÃÃÅØÁҵðҹáÅеÑǪÕéÇÑ´

๑. พระพุทธศาสนามีลักษณะของประชาธิปไตยอยางไรบาง ยกตัวอยางอยางนอย ๓ ตัวอยาง ๒. ป จ จุ บั น นี้ นั ก เรี ย นมี การฝ ก ฝนตนเองตามหลั ก “สิ ก ขา” อย า งไรบ า ง ยกตั ว อย า ง ประกอบ ๓. การคิดแบบอริยสัจ มีความสอดคลองกับการคิดแบบวิทยาศาสตรอยางไร ใหเหตุผล ประกอบ ๔. นักเรียนมีขั้นตอนในการฝกหัด อบรม และพึ่งตนเองตามหลักการของพระพุทธศาสนา อยางไรบาง ๕. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนามีความสอดคลองกับหลักการประชาธิปไตยอยางไร และ นักเรียนสามารถนําไปปรับใชในชีวิตประจําวันไดอยางไรบาง

¡Ô¨ÊÃŒ¡ÃÃÁ Ò§ÊÃä ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ กิจกรรมที่ ๑ นั ก เรี ย นหาภาพการมี ส  ว นร ว มของบุ ค คลในการสร า งสรรค สั ง คม แล ว วิเคราะหวามีความสอดคลองกับหลักการใดของพระพุทธศาสนา กิจกรรมที่ ๒ นักเรียนชวยกันตั้งประเด็นปญหาที่นาสนใจ แลวชวยกันคิดวิเคราะหตาม นัยแหงพระพุทธศาสนา และการคิดแบบวิทยาศาสตร นําเสนอผลงานโดย การอภิปรายรวมกัน กิจกรรมที่ ๓ เชิญวิทยากรมาบรรยายใหความรูในหัวขอ “พระพุทธศาสนากับหลักการ ประชาธิปไตย”

๑๔


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ÊÒúÑ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

ñ

»ÃÐÇѵÔáÅФÇÒÁÊíÒ¤Ñޢͧ¾Ãоط¸ÈÒÊ¹Ò ● ● ●

● ●

ÅѡɳлÃЪҸԻäµÂã¹¾Ãоط¸ÈÒÊ¹Ò ò ËÅÑ¡¡Òâͧ¾Ãоط¸ÈÒʹҡѺËÅÑ¡ÇÔ·ÂÒÈÒʵà ô ¡ÒäԴµÒÁ¹ÑÂáË‹§¾Ãоط¸ÈÒʹÒáÅÐ ¡ÒäԴẺÇÔ·ÂÒÈÒʵà ø ¾Ãоط¸ÈÒʹÒ์¹¡Òýƒ¡ËѴͺÃÁµ¹ áÅСÒþÖ觾ҵ¹àͧ ññ ¾Ãоط¸ÈÒʹÒÁ‹Ø§ÍÔÊÃÀÒ¾ ñò

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

ò

¾Ø·¸»ÃÐÇÑµÔ ¾ÃÐÊÒÇ¡ ÈÒʹԡª¹µÑÇÍ‹ҧ áÅЪҴ¡ ● ● ● ●

¾Ø·¸»ÃÐÇÑµÔ »ÃÐÇѵԾط¸ÊÒÇ¡ ¾Ø·¸ÊÒÇÔ¡Ò ÈÒʹԡª¹µÑÇÍ‹ҧ ªÒ´¡

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

ó

ËÅÑ¡¸ÃÃÁ·Ò§¾Ãоط¸ÈÒÊ¹Ò ● ●

¾ÃÐÃѵ¹µÃÑ ÍÃÔÂÊѨ ô

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

ñõ ñö òó óó ôö

õñ õò õõ

ô

¾ÃÐäµÃ» ®¡áÅоط¸ÈÒʹÊØÀÒÉÔµ ●

ñ

¾ÃÐäµÃ» ®¡ ¾Ø·¸ÈÒʹÊØÀÒÉÔµ

÷ù øð øù


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Explain

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

õ

˹ŒÒ·ÕèªÒǾط¸áÅÐÁÒÃÂÒ·ªÒǾط¸ ● ●

˹ŒÒ·ÕèªÒǾط¸ ÁÒÃÂÒ·ªÒǾط¸

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

ö

ÇѹÊíÒ¤ÑÞ·Ò§¾Ãоط¸ÈÒʹÒáÅÐÈÒʹ¾Ô¸Õ ● ●

ÇѹÊíÒ¤ÑÞ·Ò§¾Ãоط¸ÈÒÊ¹Ò ÈÒʹ¾Ô¸Õ

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

÷

¡ÒúÃÔËÒèԵáÅСÒÃà¨ÃÔÞ»˜ÞÞÒ ● ●

¡ÒúÃÔËÒèԵ ¡ÒÃà¨ÃÔÞ»˜ÞÞÒµÒÁËÅÑ¡â¹ÔâÊÁ¹ÊÔ¡ÒÃ

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

ø

¾Ãоط¸ÈÒʹҡѺ¡ÒÃá¡Œ»˜ÞËÒáÅСÒþѲ¹Ò ● ● ● ●

ÊÀÒ¾»˜ÞËÒ㹪ØÁª¹áÅÐÊѧ¤Áä·Â ¸ÃÃÁСѺ¡ÒÃá¡Œ»˜ÞËÒ á¹Ç·Ò§¡ÒèѴ¡Ô¨¡ÃÃÁà¾×èÍá¡Œ»˜ÞËÒáÅоѲ¹ÒÊѧ¤Á ¡ÒÃÊÑÁÁ¹ÒáÅÐàʹÍá¹Ç·Ò§ã¹¡ÒøíÒçÃÑ¡ÉÒ ¾Ãоط¸ÈÒÊ¹Ò ¡Òû¡»‡Í§¤ØŒÁ¤Ãͧ¾Ãоط¸ÈÒʹҢͧ¾Ø·¸ºÃÔÉÑ· ã¹Êѧ¤Áä·Â ¡ÒûÅÙ¡¨ÔµÊíÒ¹Ö¡áÅСÒÃÁÕʋǹËÇÁã¹Êѧ¤Á¾Ø·¸

ùù

ñðð ñðø

ññó ññô ñò÷

ñóù ñôð ñôö

ñõñ ñõò ñõö ñöñ ñöö ñö÷ ñöø

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ¾ÔàÈÉ

ËÅÑ¡¸ÃÃÁ·Ò§ÈÒʹÒ㹡ÒÃÍÂًËÇÁ¡Ñ¹ Í‹ҧÊѹµÔÊØ¢ ● ● ● ● ●

¤ÇÒÁÊíÒ¤Ñޢͧ¡ÒÃÍÂًËÇÁ¡Ñ¹Í‹ҧÊѹµÔÊØ¢ ËÅÑ¡¸ÃÃÁ㹡ÒÃÍÂًËÇÁ¡Ñ¹¢Í§ÈÒʹҤÃÔʵ ËÅÑ¡¸ÃÃÁ㹡ÒÃÍÂًËÇÁ¡Ñ¹¢Í§ÈÒʹÒÍÔÊÅÒÁ ËÅÑ¡¸ÃÃÁ㹡ÒÃÍÂًËÇÁ¡Ñ¹¢Í§ÈÒʹҾÃÒËÁ³ -ÎÔ¹´Ù ËÅÑ¡¸ÃÃÁ㹡ÒÃÍÂًËÇÁ¡Ñ¹¢Í§ÈÒʹÒÊÔ¢

ºÃóҹءÃÁ

ñ÷ó ñ÷ô ñ÷õ ñ÷ù ñøó ñøô

ñø÷


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

เปาหมายการเรียนรู

1. วิเคราะหลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนาได 2. วิเคราะหหลักการของพระพุทธศาสนากับ หลักการวิทยาศาสตรได 3. อธิบายวิธีการคิดตามนัยแหงพระพุทธศาสนา และการคิดแบบวิทยาศาสตรได 4. อธิบายคุณคาของการฝกหัดอบรมตนและ การพึ่งพาตนเอง รวมทั้งการมุงสูอิสรภาพใน ทางพระพุทธศาสนาได

สมรรถนะของผูเรียน

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการใชทกั ษะชีวิต

๑»ÃÐÇѵÔáÅФÇÒÁÊíÒ¤ÑÞ ¢Í§¾Ãоط¸ÈÒʹÒ

ËÅÑ¡¸ÃÃÁ¤íÒÊ͹¢Í§¾Ãоط¸à¨ŒÒ·Õè¾ÃÐͧ¤ ä´ŒÁͺãˌᡋªÒÇâÅ¡¹Ñ鹶×ÍÇ‹ÒÁÕ¤ÇÒÁÊíÒ¤ÑÞ à»š¹Í‹ҧÂÔè§ à¾ÃÒж×Í໚¹ÊѨ¸ÃÃÁÍѹÂÔè§ãËÞ‹ ໚¹ËÅÑ¡¤ÇÒÁ¨Ãԧ᷌ṋ¹Í¹ ·Ñé§ÂѧÁÕÅѡɳÐ໚¹ »ÃЪҸԻäµÂ «Ö觷íÒãËŒÊѧ¤ÁªÒǾط¸à»š¹Êѧ¤Á·ÕèÂÍÁÃѺ¤ÇÒÁ¤Ô´àË繢ͧ¤¹Ê‹Ç¹ãËÞ‹ ·íÒãËŒà¡Ô´¡Òà »ÃйջÃйÍÁ Êѧ¤Á¨Ö§Ê§ºÊØ¢ ¾Ãоط¸ÈÒʹÒÁÕËÅÑ¡¸ÃÃÁ¤íÒÊ͹·Õ¶è Í× Ç‹Ò໚¹ËÅÑ¡ÊÒ¡Å ÁÕ¤ÇÒÁÊÍ´¤ÅŒÍ§¡ÑºËÅÑ¡ÇÔ·ÂÒÈÒʵà ÊÒÁÒö¾ÔÊÙ¨¹ ÊÔ觵‹Ò§æ ´ŒÇÂà˵ؼŠ´ŒÇ¡ÒÃ㪌ʵԻ˜ÞÞÒ ·íÒãËŒºØ¤¤Å·ÕèÂÖ´¶×ÍËÅÑ¡¸ÃÃÁ¤íÒÊ͹ ´íÒà¹Ô¹ªÕÇµÔ Í‹ҧÁÕ¡®à¡³± â´ÂÍÒÈÑ»˜ÞÞÒ໚¹á¹Ç·Ò§ã¹¡ÒÃá¡Œ»Þ ˜ ËÒ «Ö§è ໚¹ËÅÑ¡¡ÒÃÊíÒ¤ÑÞ·Ò§ ¾Ãоط¸ÈÒÊ¹Ò ÃÇÁ·Ñ§é Ê‹§àÊÃÔÁãËŒ·¡Ø ¤¹¸íÒçÁѹè ã¹ÈÕŸÃÃÁÍѹ´Õ สาระการเรียนรูแกนกลาง

ตัวชี้วัด ■

วิเคราะหลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา หรือแนวคิด ของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กําหนด (ส ๑.๑ ม.๔-๖/๖) วิเคราะหหลักการของพระพุทธศาสนากับหลักวิทยาศาสตรหรือ แนวคิดของศาสนาทีต่ นนับถือตามทีก่ าํ หนด (ส ๑.๑ ม.๔-๖/๗) วิเคราะหการฝกฝนและพัฒนาตนเอง การพึง่ ตนเอง และการมงุ อิสรภาพในทางพระพุทธศาสนาหรือแนวคิดของศาสนาทีต่ นนับถือ ตามทีก่ าํ หนด (ส ๑.๑ ม.๔-๖/๘)

■ ■ ■ ■ ■

ลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา หลักการของพระพุทธศาสนากับหลักวิทยาศาสตร การคิดตามนัยแหงพระพุทธศาสนาและการคิดแบบวิทยาศาสตร พระพุทธศาสนาเนนการฝกหัดอบรมตน และการพึง่ พาตนเอง พระพุทธศาสนามงุ อิสรภาพ

คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. 2. 3. 4.

มีวินัย ใฝเรียนรู ซื่อสัตยสุจริต มุงมั่นในการทํางาน

กระตุน ความสนใจ

Engage

ครูใหนักเรียนดูภาพหนาหนวย แลวใหชวยกัน บอกวาเปนภาพอะไร และมีความสําคัญตอ พระพุทธศาสนาอยางไร

เกร็ดแนะครู ครูควรจัดกิจกรรมการเรียนรู เพื่อใหนักเรียนสามารถวิเคราะหลักษณะ ประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา หลักการของพระพุทธศาสนากับวิทยาศาสตร อธิบายวิธีการคิดตามนัยแหงพระพุทธศาสนาและวิทยาศาสตร ตลอดจนอธิบาย คุณคาของการฝกหัดอบรมตนและการพึ่งพาตนเอง รวมทั้งการมุงสูอิสรภาพในทาง พระพุทธศาสนาได โดยเนนการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดวิเคราะห กระบวนการ สืบสอบ และกระบวนการกลุม โดยการจัดกิจกรรม ดังนี้ • ใหนักเรียนศึกษาลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา แลวเขียน เปรียบเทียบลักษณะประชาธิปไตยแบบนครรัฐกรีกกับลักษณะประชาธิปไตย ในพระพุทธศาสนา • ใหนักเรียนศึกษาหลักการของพระพุทธศาสนากับหลักการวิทยาศาสตร แลวแบงกลุมอภิปราย และเขียนแผนผังเปรียบเทียบ • ใหนักเรียนศึกษาการคิดตามนัยแหงพระพุทธศาสนาและวิทยาศาสตร แลวเขียนวิเคราะหการนําไปใชในชีวิตประจําวัน คูมือครู

1


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

กระตุน ความสนใจ

อธิบายความรู Explain

Explain

นักเรียนควรรู 1 เอบราแฮม ลิงคอลน เปนประธานาธิบดีคนที่ 16 ของสหรัฐอเมริกา ดํารง ตําแหนงระหวาง ค.ศ. 1861-1865 เปนบุคคลที่มีบทบาทสําคัญในการประกาศ เลิกทาส ใน ค.ศ. 1863 และยังเปนผูกลาววาทะเกี่ยวกับประชาธิปไตยไววา “การปกครองในระบอบประชาธิปไตยเปนการปกครองของประชาชน โดยประชาชน และเพื่อประชาชน” อันเปนนิยามของระบอบประชาธิปไตยที่กระชับและให ความหมายชัดเจนที่สุด 2 นครรัฐกรีก ปจจุบนั คือ ประเทศกรีซ ตัง้ อยูท างทิศตะวันออกเฉียงใตปลายสุด ของทวีปยุโรป เปนตําแหนงที่ทวีปยุโรป เอเชีย และแอฟริกามาบรรจบกัน 3 รัฐธรรมนูญ คือ กฎหมายสูงสุดที่จัดระเบียบการปกครองประเทศ โดย กําหนดรูปแบบของรัฐวาเปนรัฐเดี่ยวหรือรัฐรวม ระบอบการปกครองของรัฐ รวมทั้ง สถาบันและองคกร การใชอํานาจอธิปไตยในการปกครองรัฐ

คูมือครู

Evaluate

1 ประธานาธิบดีเอบราแฮม ลิงคอลน (Abraham Lincoln) แหงสหรัฐอเมริกา ไดแสดงวาทะ เกีย่ วกับคําวาประชาธิปไตยไววา “เปนการปกครองของประชาชน โดยประชาชน และเพือ่ ประชาชน” จากวาทะดังกลาว เราอาจสรุปความหมายของประชาธิปไตยไดอยางกวางๆ วา เปนการ ปกครองที่ถือวาบุคคลทุกกลุม ทุกเพศ ทุกฐานะและทุกอาชีพ มีเสรีภาพ สิทธิ หนาที่และ ความรับผิดชอบตอสังคมและบานเมืองเทาเทียมกัน ไมวาจะเปนทางดานการปกครอง และการ ดําเนินชีวิต 2 โดยทั่วไปถือวา นครรัฐกรีกเปนตนกําเนิดการปกครองในระบอบประชาธิ ปไตย ซึ่งเริ่มตน 3 จากที่ไซโลมอน (๕๙๔ ปกอน ค.ศ.) ไดแกไขรัฐธรรมนูญจัดตั้งศาลประชาชนขึ้น ตอมา แอนติส เธเนส (Antis Thenes) (๕๐๙ ปกอน ค.ศ.) ไดแกไขรัฐธรรมนูญของนครรัฐกรีกอีก โดยใหสทิ ธิเสรีภาพแกประชาชนมากขึน้ และในยุคตอมาเมือ่ ๔๖๑ ปกอ น ค.ศ. เปริเคลิส (Pericalis) ไดแกไขลักษณะการเมืองการปกครองของนครรัฐใหมีความเปนประชาธิปไตยมากยิ่งขึ้นกวาเดิม เชน ชาวกรีกทุกคนสามารถวิจารณการบริหารงานของผูป กครองนครรัฐไดโดยไมถอื เปนความผิด การตัดสินใจกระทําการใดใชวิธีลงมติแลวทําตามเสียงขางมาก ราชการนครรัฐถือเปนเรื่อง สําคัญที่ชาวเมืองสนใจและกระทํากอนเรื่องสวนตัว บุคคลทุกคนไมวาจะมีตําแหนงฐานะสูงสง เพียงไร ก็สามารถออกเสียงไดเพียง ๑ เสียง เทาเทียมกับสามัญชนทั่วไป เปนตน วิ ถี ท างแบบประชาธิ ป ไตยอย า งที่ ป ฏิ บั ติ กั น ในนครรั ฐ กรี ก นั้ น ถ า พิ จ ารณากั น อย า ง ถองแท โดยเอาพระพุทธศาสนาเขามาเปรียบ เทียบ ก็จะเห็นไดชัดเจนวา แทจริงแลวแนวคิด หรือวิธปี ฏิบตั ดิ งั กลาวมาขางตน ไดกอ ตัง้ ขึน้ ใน พระพุทธศาสนากอนประชาธิปไตยของกรีกนับ เปนเวลาหลายสิบป โดยพระพุทธเจาพระบรม ศาสดาของชาวพุทธไดทรงวางแนวทางเอาไว เพือ่ เปนแนวประพฤติปฏิบตั ขิ องพุทธศาสนิกชน ดังคํากลาวของอาจารยสุชีพ ปุญญานุภาพ นักปราชญทางพระพุทธศาสนาวา “พระพุทธศาสนาเปนตัวอยางแหงลัทธิประชาธิปไตยที่ ประเทศกรีซหรือนครรัฐกรีกในอดีต ไดชื่อวาเปนที่ให เกาแกที่สุดของโลก มีหลักการและวิธีการอัน กําเนิดการปกครองในระบอบประชาธิปไตยแหงแรก ของโลก ทันสมัยมาจนทุกวันนี้”

Explore

ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับลักษณะ ประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา แลวครูตั้งประเด็น คําถามใหนักเรียนชวยกันตอบ เชน • การปกครองในระบอบประชาธิปไตยมีตน กําเนิดจากที่ใด และมีลักษณะสําคัญอยางไร (แนวตอบ นครรัฐเอเธนส ประเทศกรีซ ประชาธิปไตยเปนระบอบการปกครองตนเอง ของประชาชน ทุกคนมีสิทธิเสรีภาพเทาเทียม กันภายใตกรอบของกฎหมาย) • ใครเปนผูแสดงวาทะที่วา “การปกครองใน ระบอบประชาธิปไตยเปนการปกครองของ ประชาชน โดยประชาชน และเพื่อประชาชน” และวาทะนี้มีความหมายวาอยางไร (แนวตอบ ประธานาธิบดีเอบราแฮม ลิงคอลน แหงสหรัฐอเมริกา วาทะดังกลาวหมายถึง การปกครองที่ถือวาบุคคลทุกกลุม ทุกเพศ ทุกฐานะ และทุกอาชีพ มีเสรีภาพ สิทธิ หนาที่ และความรับผิดชอบตอสังคมและบานเมือง เทาเทียมกัน ไมวาจะเปนทางดานการปกครอง และการดําเนินชีวิต)

2

Expand

ñ. ÅѡɳлÃЪҸԻäµÂã¹¾Ãоط¸ÈÒʹÒ

ครูใหนักเรียนศึกษาคนควาเกี่ยวกับลักษณะ ประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนาจากหนังสือเรียน หนา 2-4 เพื่อนําขอมูลมาอภิปรายรวมกันในชั้นเรียน

อธิบายความรู

ตรวจสอบผล

Engage

ครูและนักเรียนรวมกันสรางบรรยากาศ สิ่งแวดลอมในการเรียนรูพระพุทธศาสนา เพื่อใหเกิด ศรัทธาในพระรัตนตรัย โดยการใหผูเรียนนั่งสมาธิ 3-5 นาที พรอมระลึกถึงคุณของพระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ

สํารวจคนหา

ขยายความเขาใจ

บูรณาการเชื่อมสาระ

ครูสามารถนําเรื่องการปกครองระบอบประชาธิปไตยของ นครรัฐกรีก ไปบูรณาการเชื่อมโยงกับวิชาประวัติศาสตรสากล โดยครูอธิบายวา การปกครองระบอบประชาธิปไตยของนครรัฐกรีก มีความแตกตางจากระบอบประชาธิปไตยในปจจุบัน คือ 1. เปนระบอบประชาธิปไตยโดยตรง พลเมืองแตละคนมีสวน รวมกับกระบวนการทางการเมืองไดโดยตรง ไมตองเลือก ผูแทนเขาไปทําหนาที่แทนตน 2. ความเปนพลเมืองของชาวเอเธนส หมายถึง เฉพาะผูชาย ทุกคนที่บรรลุนิติภาวะแลว สวนสตรี ทาส และชาวตางชาติ ไมถือเปนพลเมือง


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

อธิบายความรู

ครูและนักเรียนอภิปรายเกี่ยวกับลักษณะ ประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา จากนั้นครูตั้ง คําถามใหนักเรียนชวยกันตอบ • เพราะเหตุใด การประชุมทําอุโบสถสังฆกรรม พระภิกษุทุกรูปจะตองเขาประชุม (แนวตอบ เปนการตรวจสอบทบทวนการ ประพฤติปฏิบัติตามพระธรรมวินัย ภิกษุ ทุกรูปจึงตองเขาประชุมพรอมเพรียงกัน) • ลักษณะใดบางที่แสดงใหเห็นวา พระภิกษุ มีสิทธิเสรีภาพตามหลักประชาธิปไตย (แนวตอบ ภิกษุทุกรูปมีสิทธิในการเขาประชุม และมีสิทธิแสดงความคิดเห็น ทั้งในทาง คัดคานและในทางเห็นดวย • ขณะประชุม ถาภิกษุรูปใดรูปหนึ่งมีธุระดวน จะลุกออกจากที่ประชุม ตองทําอยางไร เพราะเหตุใด (แนวตอบ ตองใหฉันทะ คือ อนุญาตใหสงฆ ดําเนินการตอไปไดโดยความยินยอมของตน เพื่อไมใหมีการพูดขึ้นภายหลังวา สงฆทําการบางอยางลงไปโดยภิกษุรูปนั้น รูปนี้ไมเห็นดวย)

ลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา สามารถวิเคราะหไดดังนี้ ลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา ๑. พระพุทธเจาประทานความเปนใหญแกสงฆ เมื่อมีผูมาขอบวชเพิ่มจํานวนมากขึ้น พระพุทธเจาทรงเลิก การประทานอุปสมบทดวยพระองคเอง ทรงประทานความเปนใหญใหพระสงฆดําเนินการอุปสมบทเอง โดยพระสงฆเปนผูคัดเลือกและตรวจสอบคุณสมบัติผูมาขอบวชกันเอง ในการทําพิธีอุปสมบทนั้นพระสงฆ ทั้งปวงตองมีมติเห็นชอบดวยเปนเอกฉันท ถามีการคัดคานแมเพียงหนึ่งเสียงถือวาการอุปสมบทเปนโมฆะ ๒. พระพุทธเจาเองก็ทรงเคารพพระสงฆ เมื่อประทานความเปนใหญหรือความเปนอธิปไตยใหแกพระสงฆแลว พระองคเองก็มิไดทรงถือวาเปนพระศาสดาผูคอยชี้ขาดบงการ ตรงกันขามพระองคกลับเคารพมติสงฆ โดยเฉพาะในที่ประชุมสงฆ คือ ทรงรับฟงความคิดเห็นของพระสงฆอยูเปนปกติ ลักษณะเชนนี้ชี้ชัดถึง คุณลักษณะที่เปนประชาธิปไตยของพระพุทธศาสนา ๓. พระสงฆโดยภาพรวมมี ความสําคัญยิง่ กวาคณะบุคคลใดทัง้ หมด พระสงฆมคี วามสําคัญกวาพระศาสดาในฐานะ 1 ปจเจกชน จะเห็นไดจากการตรัสแนะนํานางปชาบดีโคตมีผนู าํ อาหารมาถวายพระองค 2 ใหถวายพระสงฆแทนที่ จะถวายแดพระองค (ม.อุ. ๑๔/๗๐๗/๔๕๗) และตรัสไวในที่อื่นวา “การถวายทานแกพระพุทธเจามีผลสูการ ถวายแกพระสงฆไมได” (องฺ. นวก. ๒๓/๒๒๔/๔๐๗) ๔. กิ จ กรรมของสงฆ ภิ ก ษุ ทุ ก รู ป จะต อ งถื อ เป น เรื่ อ3งสํ า คั ญ กิ จ กรรมที่ สํ า คั ญ ในพระพุ ท ธศาสนาของ พระภิกษุสงฆ เชน การประชุมทําอุโบสถสังฆกรรม (ประชุมฟงสวดปาฏิโมกข หรือสิกขาบท ๒๒๗ ขอ) ทุกกึ่งเดือน เพื่อตรวจสอบทบทวนการประพฤติปฏิบัติตามพระธรรมวินัย ภิกษุผูเปนสมาชิกทุกรูปจะตองเขา ประชุมพรอมเพรียงกัน แมผูที่เปนพระอรหันตแลว (ซึ่งตามความจริงแลว ไมจําเปนจะตองมาฟงก็ได เพราะพระอรหันตสิ้นกิเลสโดยสิ้นเชิงแลว ไมจําเปนตองทบทวนศีลของตนก็ได) ก็ตองเขาประชุม ทั้งนี้ เพราะสังฆอาณา (อํานาจของสงฆ) เปนเรื่องสําคัญที่ตองเคารพ ๕. การตั ด สิ น ป ญ หาที่ มี ค วามคิ ด เห็ น แตกออกเป น ๒ ฝ า ย การตัด สินปญ หาในที่ป ระชุม สงฆที่มีค วาม คิดเห็นแตกแยกออกเปนสองฝายจะตองมีการลงคะแนนเพื่อดูวาเสียงขางมากไปทางไหน ใหตัดสินโดย ถือเอาเสียงขางมากนั้นเปนขอยุติ วิธีนี้เรียกวา “เยภุยยสิกา” ๖. ภิกษุทุกรูปมีสิทธิในการเขาประชุม ภิกษุทุกรูปมีสิทธิในการแสดงความคิดเห็นทั้งในทางคัดคานและ ในทางเห็นดวย ๗. ภิกษุทุกรูปจะตองเขาประชุม ภิกษุทุกรูปจําเปนที่จะตองเขารวมประชุม ถาเขาประชุมไมได เชน อาพาธ จะตองมอบฉันทะไปประกาศแกสงฆวา ผูนั้นผูนี้มาประชุมไมได ขอมอบฉันทะ คือ อนุมัติใหสงฆทําการ ประชุมไดโดยความยินยอมของตน 4 ๘. กิจของพระภิกษุขณะประชุม ถาภิกษุรูปใดรูปหนึ่งมีธุระดวน เชน สรีรกิจ (ขอไปถายอุจจาระหรือปสสาวะ) จะลุกออกจากที่ประชุม ตองใหฉันทะ คือ อนุญาตใหสงฆดําเนินการตอไปไดโดยความยินยอมของตน ทั้งนี้เพื่อไมใหมีการพูดขึ้นภายหลังวา สงฆทําการบางอยางลงไปโดยภิกษุรูปนั้นรูปนี้ไมเห็นดวย

http://www.aksorn.com/LC/Rel/M5/01

ขยายความเขาใจ

พระพุทธเจาประทานความเปนใหญใหแกสงฆในการประกอบ ศาสนพิธีใด

แนวตอบ ดังจะเห็นไดจากการอุปสมบท เมื่อมีผูมาขอบวชเพิ่ม จํานวนมากขึ้น พระพุทธเจาทรงเลิกการประทานอุปสมบทดวย พระองคเอง ทรงประทานความเปนใหญใหพระสงฆดําเนินการ อุปสมบทเอง โดยพระสงฆเปนผูคัดเลือกและตรวจสอบคุณสมบัติ ผูมาขอบวชกันเอง ในการทําพิธีอุปสมบทนั้นพระสงฆทั้งปวงตองมี มติเห็นชอบดวยเปนเอกฉันท ถามีการคัดคานแมเพียงหนึ่งเสียง ถือวาการอุปสมบทเปนโมฆะ

Expand

ครูใหนักเรียนเขียนเปรียบเทียบลักษณะ ประชาธิปไตยแบบนครรัฐกรีกกับลักษณะ ประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนาวา มีความเหมือน หรือแตกตางกันอยางไร พรอมยกตัวอยางประกอบ บันทึกลงกระดาษ A4 นําสงครูผูสอน

ตรวจสอบผล

EB GUIDE

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

Explain

Evaluate

ตรวจสอบจากการเขียนเปรียบเทียบลักษณะ ประชาธิปไตยแบบนครรัฐกรีกกับลักษณะ ประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา

นักเรียนควรรู 1 ปจเจกชน (Individual) หมายถึง แตละบุคคล แตละราย ในที่นี้หมายความวา พระสงฆมีความสําคัญ เพราะประกอบดวยพระสาวกจํานวนมาก เปนพลังขับเคลื่อน สําคัญของพระพุทธศาสนา 2 การถวายทาน ในที่นี้จะตองเปนสังฆทาน คือ ไมเจาะจงผูรับ ไมเลือกวาเปน พระสงฆองคใด ซึ่งถือวาไดอานิสงสมาก 3 สังฆกรรม กิจกรรมทางพระวินัยที่พระภิกษุจํานวน 4 รูปขึ้นไป กระทํารวมกัน ซึ่งถือวาเปนสังฆสามัคคี โดยที่สงฆจะตองกระทําพรอมเพรียงกัน ตองกระทําใน เขตสีมาที่เรียกวา อุโบสถหรือโบสถ และตองนั่งใหหัตถบาส (นั่งหางกันไมเกิน 1 ศอก) อยูในที่ประชุมตลอดเวลาที่กระทํา 4 สรีรกิจ เปนคําสุภาพที่ใชในกรณีที่พระภิกษุมีความจําเปนเรงดวนในดาน รางกายที่จะตองปฏิบัติ เชน อุจจาระ ปสสาวะ เปนตน ทําใหผูฟงไมรูสึกรังเกียจ คูมือครู

3


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

กระตุน ความสนใจ

อธิบายความรู Explain

ò. ËÅÑ¡¡Òâͧ¾Ãоط¸ÈÒʹҡѺËÅÑ¡ÇÔ·ÂÒÈÒʵÃ

หลักการของพระพุทธศาสนากับหลักวิทยาศาสตร มีทั้งสวนที่สอดคลองกันและสวนที่ แตกตางกัน ดังตอไปนี้

๒.๑ ความสอดคลองกัน หลักการของพระพุทธศาสนา เปนหลักคําสอนที่เปนความจริง มีเหตุมีผล โดยเฉพาะ การสอนใหรูจริงโดยการพิสูจนดวยตนเอง ซึ่งมีความสอดคลองกับหลักวิทยาศาสตรที่เปน หลักการสากล จะเห็นไดจากการยอมรับของคนทั่วไป ซึ่งไมเชื่อการดลบันดาลของสิ่งศักดิ์สิทธิ์ แตอาศัยสติปญญาเปนตัวตัดสินความจริง ๑) ดานความเชื่อ วิทยาศาสตรถือหลักวากอนจะเชื่ออะไรนั้นจะตองมีการพิสูจน ใหเห็นจริงไดเสียกอน วิทยาศาสตรเชื่อในเหตุผล ไมเชื่ออะไรลอยๆ และตองมีหลักฐานมายืนยัน และทุกอยางจะตองดําเนินไปอยางมีกฎเกณฑและมีเหตุผลเปนตัวตัดสินโดยอาศัยปญญาในการ พิจารณา วิทยาศาสตรไมอาศัยศรัทธา แตอาศัย เหตุผล เชือ่ การทดลองวาใหความจริงแกเราได แตไมเชือ่ การดลบันดาลของสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ เพราะ ทุกอยางดําเนินไปอยางมีกฎเกณฑ มีเหตุผล และวิทยาศาสตรอาศัยปญญา และเหตุผลเปน ตัวตัดสินความจริง พระพุทธศาสนาก็มหี ลักความเชือ่ เชนเดียวกับวิทยาศาสตร ดังหลักคําสอนที่ 2 ปรากฏในกาลามสูตร พระพุทธเจาทรงสอนไววา การจะเชื่ออะไรแคไหนนั้นจะตองพิสูจนดวย หลักการของวิทยาศาสตรเปนหลักความจริงที่สามารถ ตนเองโดยอาศัยสติปญญาและเหตุผล แตอยา พิ สู จ น ไ ด ด  ว ยตนเอง ซึ่ ง สอดคล อ งกั บ หลั ก การของ พระพุทธศาสนา เชือ่ โดยวิธีดังตอไปนี้

Explain

นักเรียนควรรู 1 ธรรมาธิปไตย หมายถึง การยึดถือหลักการ หลักเหตุผล หลักความจริง ความถูกตอง ความเปนธรรม เปนประมาณในการบริหารจัดการตางๆ คือ จะทํา อะไรก็ยึดถือธรรมเปนหลัก ละเวนการยึดถือตนและกระแสเสียงคนสวนใหญ ที่ไมถูกตอง ไมเปนธรรม 2 กาลามสูตร ชื่อเต็มของพระสูตรนี้ คือ กาลามสูตรกังขานิยฐาน 10 เปนหลักความเชื่อทางพระพุทธศาสนาที่มีความสําคัญ และทําใหพระพุทธศาสนา มีคุณลักษณะพิเศษ ดังนี้ 1. กาลามสูตรใหวิธีการเชื่อมิใชเพียงเนื้อหาของความเชื่อ 2. กาลามสูตรเนนการทดสอบและปฏิบัติ 3. กาลามสูตรสอนใหเปนคนใจกวาง

คูมือครู

Evaluate

ของสวนรวมเปนที่ตั้งบนพื้นฐานของธรรมาธิปไตยและถือความถูกตองยุติธรรมเปนหลัก พระพุทธเจา มิไดใชอํานาจในฐานะพระศาสดาเขามาแทรกแซงหรือชี้นําแตประการใด

Explore

1. ครูขออาสาสมัครนักเรียนออกมาอธิบายหลักการ ของพระพุทธศาสนากับหลักวิทยาศาสตร ในประเด็นตอไปนี้ • วิทยาศาสตรเชื่อในเหตุผล • พระพุทธศาสนาเชื่อในหลักกาลามสูตร 2. ครูตั้งคําถามใหนักเรียนชวยกันตอบ เพื่อฝกทักษะ การคิดวิเคราะห • เพราะเหตุใดวิทยาศาสตรจึงเชื่อวาการทดลอง ใหความจริงแกเราได แตไมเชื่อการดลบันดาล ของสิ่งศักดิ์สิทธิ์ (แนวตอบ เพราะทุกอยางดําเนินไปอยางมี กฎเกณฑ มีเหตุผล และวิทยาศาสตรอาศัย ปญญาและเหตุผลเปนตัวชวยตัดสินความจริง) • พระพุทธเจาทรงสอนเกี่ยวกับความเชื่อไววา อยางไร (แนวตอบ ทรงสอนไววา การจะเชื่ออะไร แคไหนนั้น จะตองพิสูจนดวยตนเอง โดยอาศัย สติปญญาและเหตุผล)

4

Expand

ลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา ๙. ในการกระทําสังฆกรรมตางๆ พระสงฆยึดถือประโยชน 1 สุขของสวนรวมเปนที่ตั้ง การยึดถือประโยชน

ครูใหนักเรียนศึกษาคนควาหลักการของ พระพุทธศาสนากับหลักวิทยาศาสตร จากหนังสือ เรียนหนา 4-8 แลวแบงกลุมเพื่ออภิปรายรวมกัน ในชั้นเรียน ในประเด็นความสอดคลองและความ แตกตางของหลักการของพระพุทธศาสนากับหลัก วิทยาศาสตร

อธิบายความรู

ตรวจสอบผล

Engage

ครูใหนักเรียนดูภาพในหนังสือเรียนหนา 4 แลวรวมกันแสดงความคิดเห็นกับคํากลาวที่วา “หลักการของวิทยาศาสตรเปนหลักความจริงที่ สามารถพิสูจนไดดวยตนเอง ซึ่งสอดคลองกับหลัก การของพระพุทธศาสนา”

สํารวจคนหา

ขยายความเขาใจ

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

พระพุทธศาสนากับวิทยาศาสตรมีความสอดคลองในดานความ เชื่ออยางไร แนวตอบ วิทยาศาสตรจะเชื่อในสิ่งที่สามารถพิสูจนได เชื่อในสิ่งที่ มีเหตุผล เชื่อในสิ่งที่มีหลักฐานยืนยัน วิทยาศาสตรไมเชื่อในอํานาจ ของสิ่งลี้ลับ เพราะทุกอยางตองดําเนินไปอยางมีเหตุผล มีกฎเกณฑ วิทยาศาสตรอาศัยปญญาและเหตุผลเปนตัวตัดสินความจริง ซึ่ง พระพุทธศาสตรก็มีหลักความเชื่อเหมือนวิทยาศาสตร พระพุทธเจา ทรงสอนวา กอนจะเชื่ออะไรตองใชสติปญญาและเหตุผลไตรตรอง ใหรอบคอบเสียกอน อยาเชื่ออยางงมงาย แตใหทดสอบหรือพิสูจน ใหแนชัด แลวจึงคอยเชื่อ


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐.

1. ครูตั้งคําถามใหนักเรียนชวยกันตอบ เชน • พระพุทธเจาทรงสอนใหนําปญญามาใช ในดานความเชื่ออยางไร (แนวตอบ ทรงสอนวา เมื่อใดที่เราอาศัย ปญญาทดสอบดวยตนเอง แลวเห็นวา คําสอนใดเปนคําสอนที่ดี มีคุณประโยชน แลวจึงคอยเชื่อ ทรงสอนไมใหเชื่อยางงมงาย ใหเนนการทดสอบและการปฏิบัติ เมื่อ ทดสอบไดผลแลวจึงเชื่อ) 2. ครูใหนักเรียนยกตัวอยางหลักคําสอนของ พระพุทธเจาที่เกี่ยวกับความเชื่อวา อยาเชื่อ โดยวิธีใดบาง (แนวตอบ อยาเชื่อโดยวิธี ดังนี้ อยาปลงใจเชื่อ เพราะการฟงตามกันมา การถือสืบๆ กันมา การเลาลือ การอางคัมภีร การนึกคิดเอาเอง การคาดคะเนเอา การตรึกตรอง การตรงกับ ความเห็นของตน รูปลักษณะนาเชื่อ และทาน เปนครูของเรา) 3. เพราะเหตุใด ความศรัทธาจึงตองมีปญญา กํากับเสมอ (แนวตอบ ศรัทธา คือ ความเชื่อ ในทาง พระพุทธศาสนา ศรัทธาจะตองเปนความเชื่อ ที่ประกอบดวยเหตุผล แมพระพุทธเจาจะทรง สอนใหคนมีศรัทธา แตศรัทธานั้นก็ตองผาน การพิจารณาไตรตรองดวยปญญาใหรอบคอบ เสียกอน หรือรูจักคิดวิเคราะห ทดสอบ ทดลอง พิจารณาถึงที่มาของหลักการ ทฤษฎี คําสอน ตางๆ จนเกิดความมั่นใจวาเปนสิ่งที่ถูกตอง อยางแทจริง นั่นก็คือ ศรัทธาตองมีปญญา กํากับดวยเสมอ มิฉะนั้นจะเปนศรัทธาที่งมงาย)

อยาปลงใจเชื่อเพียงเพราะการฟงตามกันมา อยาปลงใจเชื่อเพียงเพราะการถือสืบๆ กันมา อยาปลงใจเชื่อเพียงเพราะการเลาลือ อยาปลงใจเชื่อเพียงเพราะการอางคัมภีร อยาปลงใจเชื่อเพียงเพราะนึกคิดเอาเอง อยาปลงใจเชื่อเพียงเพราะการคาดคะเนเอา อยาปลงใจเชื่อเพียงเพราะการตรึกตรอง อยาปลงใจเชื่อเพียงเพราะตรงกับความเห็นของตน อยาปลงใจเชื่อเพียงเพราะรูปลักษณะนาเชื่อ อยาปลงใจเชื่อเพียงเพราะทานเปนครูของเรา ที่มา : พจนานุกรมศัพทพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม ของพระพรหมคุณาภรณ (ป.อ. ปยุตฺโต)

พระองคทรงสอนตอไปวา เมื่อใดที่เราอาศัยปญญาทดสอบดวยตนเองแลว1 เห็นวา คําสอนใดเปนคําสอนที่ดีมีคุณประโยชนแลวจึงคอยเชื่อ ทรงสอนมิใหเชื่ออยางงมงาย แตเนน การทดสอบและการปฏิบัติ เมื่อทดสอบไดผลทางปฏิบัติแลวจึงเชื่อ พระพุทธศาสนาสอนเรื่องศรัทธาเหมือนกัน แตศรัทธามิใชวิธีสุดทายที่จะตัดสิน วาความจริงคืออะไร ศรัทธาในพระพุทธศาสนาเปนเพียงเครื่องชักจูงใหคนเขาไปทดสอบความ จริ ง แต ตั ว ที่ ตั ด สิ น ความจริ ง คื อ “ป ญ ญา” ในคํ า สอนเรื่อง มรรคมีองค ๘ อันเปนหนทางที่จะพามนุษยไปสูนิพพาน ซึ่งเปนความจริงอันสูงสุดนั้น ไมปรากฏวามีศรัทธา อยูดวย ในการสอนหลักธรรมตางๆ เพื่อเปนแนวทาง ในการปฏิบัติตนนั้น หากในหลักธรรมใดมีศ2รัทธาอยู จะตองมีปญญากํากับอยูเสมอ เชน พละ ๕ มีศรัทธา วิริยะ สติ สมาธิ ปญญา ในหลักอริยทรัพยมีศรัทธา ศีล หิริ โอตตัปปะ พาหุสัจจะ จาคะ ปญญา เปนตน ๒) ดานความรู ทั้งวิทยาศาสตร และพระพุทธศาสนาตางก็ยอมรับความรูที่ไดจาก 3 ประสบการณ “ประสบการณ” หมายถึง การ ธรรมจักรเปนสัญลักษณทแี่ สดงถึงหลักธรรมอันประเสริฐ ที่ตา หู จมูก ลิ้น กาย ไดประสบกับความรูสึก ที่พระพุทธองคทรงคนพบ http://www.aksorn.com/LC/Rel/M5/02

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

หลักกาลามสูตรของพระพุทธศาสนาสามารถนํามาใชประโยชน ในชีวิตประจําวันไดอยางไร

แนวตอบ กาลามสูตรเปนหลักธรรมที่สอนใหมนุษยใชสติปญญา และเหตุผลคิดพิจารณาไตรตรองใหรอบคอบกอนจะเชื่อสิ่งใดๆ เนนใหมนุษยทดลอง พิสูจนใหเขาใจอยางแจมแจงแลวจึงเชื่อ ซึ่ง สามารถนําไปใชประโยชนในชีวิตประจําวันได เชน การรับขาวสาร ขอมูลไมวาจะเปนขาวทางโทรทัศน ขาวทางหนังสือพิมพ ขาวทาง อินเทอรเน็ต เปนตน เราจะตองพิจารณาใหรอบคอบกอน โดยเฉพาะอยางยิ่งในยุคปจจุบันที่การสื่อสารโทรคมนาคมเปนไป อยางรวดเร็ว เราจึงควรนําหลักกาลามสูตรมาใชพินิจพิเคราะหให มากยิ่งขึ้น เพื่อมิใหเกิดความเชื่อที่ผิด ความเชื่อที่งมงาย หรือความ เขาใจผิดๆ สังคมจะไดไมวุนวาย ปนปวน สับสน

Explain

EB GUIDE

นักเรียนควรรู 1 งมงาย หมายถึง หลงเชื่อโดยไมมีเหตุผล หรือโดยไมยอมรับฟงความคิดเห็น หรือเหตุผลของผูอื่น 2 พละ 5 แปลวา กําลัง หมายถึง พลธรรม คือ ธรรมอันเปนกําลังหนุนให กาวหนาไปสูความสําเร็จ 3 ธรรมจักร มีลักษณะเปนรูปวงกลม ลักษณะคลายลอเกวียน ประกอบดวยซี่ลอ และดุมเกวียน นิยมสลักจากหินเปนประติมากรรมลอยตัว เปนสัญลักษณแทน พระธรรมคําสั่งสอนของพระพุทธเจา ซึ่งถามีธรรมจักรอยูรวมกับกวางหมอบ จะแสดงถึงเหตุการณสําคัญทางพระพุทธศาสนาเกี่ยวกับการปฐมเทศนาที่ ปาอิสิปตนมฤคทายวัน ปจจุบันธรรมจักรนอกจากจะใชแทนพระธรรมแลว ยังใชสื่อแทนพระพุทธศาสนาโดยภาพรวมดวย

คูมือครู

5


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูตั้งคําถามเพื่อใหนักเรียนชวยกันแสดงความ คิดเห็น เชน • พระพุทธศาสนากับวิทยาศาสตรมีความ แตกตางกันในดานความรูอยางไร (แนวตอบ พระพุทธศาสนาเนนความสนใจ เกี่ยวกับเรื่องราวหรือการรับรูที่เกิดจาก ประสบการณทางจิตใจ สวนวิทยาศาสตรเนน ความสนใจเกี่ยวกับเรื่องราวหรือการรับรูที่เกิด จากประสบการณดานประสาทสัมผัส คือ ตา หู จมูก ลิ้น และกาย) 2. ครูใหนักเรียนอธิบายวา หลักวิทยาศาสตร มุงเขาใจปรากฏการณทางธรรมชาติอยางไร และแตกตางกับหลักการของพระพุทธศาสนา อยางไร (แนวตอบ วิทยาศาสตรมุงที่จะเขาใจปรากฏการณ ตางๆ ที่เกิดขึ้น ตองการรูวาอะไรเปนสาเหตุ อะไรเปนผลที่ตามมา เชน เมื่อเกิดโรคระบาด อะไรเปนสาเหตุที่ทําใหเกิดโรคระบาด เปนเพราะเชื้อโรค สภาวะแวดลอม อากาศรอน หรือเกิดจากสาเหตุใด และผลที่เกิดตามมาคือ อะไร มีคนเสียชีวิตจํานวนมาก โรคจะระบาด มากขึ้น หรือจะมีผลอื่นใดตามมา เปนตน สวน หลักการของพระพุทธศาสนามุงเนนเกี่ยวกับวิถี ชีวิตของมนุษยมากกวากฎเกี่ยวกับสิ่งที่ไรชีวิต มุงเนนใหมนุษยมีความสุขทางใจ ไมรอนรุมดวย อํานาจกิเลสตัณหา เปนคนดีมีศีลธรรม ไมทําความชั่ว ดํารงตนเปนประโยชนตอสังคม อยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข)

นึกคิดบางอยาง เชน รูสึกดีใจ รูสึกอยากได เปนตน วิทยาศาสตรเริ่มตนจากประสบการณ คือ จากการที่ไดพบเห็นสิ่งตางๆ แลวเกิดความอยากรูอยากเห็นก็แสวงหาคําอธิบาย วิทยาศาสตร จะไมเชื่อหรือยึดถืออะไรลวงหนาอยางตายตัว แตจะอาศัยการทดสอบดวยประสบการณสืบสาวไป เรื่อยๆ จะไมอางอิงถึงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ใดๆ ที่อยูนอกเหนือประสบการณและการทดลอง พระพุทธองคก็ทรงเริ่มคิดจากประสบการณ คือ ประสบการณที่ไดเห็นความเจ็บ ความแก ความตาย และที่สําคัญที่สุดคือ ความทุกข พระองคมีพระประสงคที่จะคนหาสาเหตุ ของทุกข ในการคนหานี้พระองคมิไดเชื่ออะไรลวงหนาอยางตายตัว ไมทรงเชื่อวามีพระผูเปนเจา หรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ใดๆ ที่จะใหคําตอบได แตไดทรงทดลองโดยอาศัยประสบการณของพระองคเอง ดังเปนที่ทราบกันดีอยูแลว พระพุ ท ธศาสนากั บ วิ ท ยาศาสตร มี ส  ว นที่ ต  า งกั น เพี ย งเล็ ก น อ ยในเรื่ อ งนี้ คื อ วิทยาศาสตรเนนความสนใจกับเรื่องราวหรือการรับรูที่เกิดจากประสบการณดานประสาทสัมผัส (ตา หู จมูก ลิ้น กาย) สวนพระพุทธศาสนาเนนความสนใจเกี่ยวกับเรื่องราวหรือการรับรูที่เกิดจาก ประสบการณทางจิตใจ

๒.๒ ความแตกตาง แมวา หลักการของพระพุทธศาสนาจะมีความสอดคลองกับหลักวิทยาศาสตร แตหลัก วิทยาศาสตรกับหลักการของพระพุทธศาสนาก็มีความแตกตางกัน ดังนี้ ๑) มุงเขาใจปรากฏการณทางธรรมชาติ วิทยาศาสตรมุงที่จะเขาใจปรากฏการณตางๆ ที่เกิดขึ้น ตองการรูวาอะไรเปนสาเหตุ อะไรเปนผลที่ตามมา เชน เมื่อเกิดฟาผาขึ้น ตองรูวาอะไรคือสาเหตุของฟาผาและผลที่ตามมาหลังจากฟาผาแลวจะเปนอยางไร พระพุทธศาสนาก็มุงเขาใจปรากฏการณตางๆ เชนเดียวกัน แตตางกันตรงที่ พระพุทธศาสนาเนนเปนพิเศษเกีย่ วกับวิถชี วี ติ ของมนุษยมากกวากฎเกีย่ วกับสิง่ ทีไ่ รชวี ติ จุดหมาย ปลายทางของพระพุทธศาสนาคือสอนใหคนเปนคนดีขึ้น หรือเปนคนโดยสมบูรณยิ่งขึ้น àÃ×èͧ¹‹ÒÃÙŒ 1

ทวาร ๖

ทวาร ๖ ตามหลักพระพุทธศาสนา หมายถึง ทางรับรูอารมณทั้ง ๖ หรือเรียกวา อายตนะภายใน ๖ ทาง ซึ่งไดแก จักขุทวาร คือ ประสาทสัมผัสทางตา โสตทวาร คือ ประสาทสัมผัสทางหู ฆานทวาร คือ ประสาทสัมผัส ทางจมูก ชิ​ิวหาทวาร คือ ประสาทสัมผัสทางลิ้น กายทวาร คือ ประสาทสัมผัสทางกาย และมโนทวาร คือ ประสาทสัมผัสทางจิตใจ

นักเรียนควรรู 1 ทวาร หมายถึง ทางรับรูอารมณคลายประตูเปดไปสูการรับรูสิ่งตางๆ จะเรียกอายตนะก็ได ซึ่งหมายถึงสื่อการรับรู

มุม IT ศึกษาคนควาเพิ่มเติมเกี่ยวกับหลักการของพระพุทธศาสนากับหลักวิทยาศาสตร ไดที่ http://www.cybervanaram.net เว็บไซตไซเบอรวนาราม และ http://www.buddhadasa.com เว็บไซตพุทธทาส

6

คูมือครู

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’ 53 ออกเกี่ยวกับแนวคิดของพระพุทธศาสนา ขอใด ไมใช แนวคิดของศาสนาพุทธ 1. สอนใหอุทิศตนแกสิ่งศักดิ์สิทธิ์ 2. สอนใหพิสูจนคําบอกเลาแลวจึงเชื่อ 3. เชื่อวากรรมเปนตัวกําหนดสรรพสิ่ง 4. หลักศีลธรรมเกิดจากการศึกษาของผูรู วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 1. พระพุทธศาสนาเชื่อมั่นใน ศักยภาพของมนุษย สอนใหมนุษยพึ่งพาตนเอง สติปญญาและ ความเพียร รวมถึงลิขิตชีวิตของตนดวยการกระทําของตนเองตาม กฎแหงกรรม มิไดสอนใหมนุษยออนวอน รองขอหรืออุทิศตนตอ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ภายนอก


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

อธิบายความรู

1. ครูใหนักเรียนรวมกันวิเคราะหคํากลาวที่วา “วิทยาศาสตรมุงปรับธรรมชาติ แตพระพุทธศาสนามุงปรับจิตใจคน” วามีความหมาย อยางไร 2. ครูตั้งประเด็นคําถามเพื่อใหนักเรียนอธิบายและ แสดงความคิดเห็น ดังนี้ • เพราะเหตุใด วิทยาศาสตรจึงยอมรับโลกแหง สสารที่รับรูไดดวยประสาทสัมผัสทั้ง 5 (แนวตอบ เนื่องจากวิทยาศาสตรเชื่อวา ประสาทสัมผัสทั้ง 5 เปนเครื่องมือสุดทาย ที่จะตัดสินความจริง) • สัจธรรมสูงสุดของพระพุทธศาสนาคืออะไร (แนวตอบ นิพพาน คือ สภาพที่ดับกิเลสและ กองทุกขทั้งปวง ซึ่งเปนสภาวะที่ประสาท สัมผัสของมนุษยปุถุชนที่เต็มไปดวยกิเลส ตัณหาไมสามารถรับรูได) • ทําไมวิทยาศาสตรจึงยอมรับวา สังขตธรรม นั้นมีจริงแตไมยอมรับอสังขตธรรม (แนวตอบ เนื่องจากสังขตธรรมนั้นเปนสภาวะ ที่ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ของมนุษยรับรูได สวนอสังขตธรรมนั้นอยูเหนือการรับรูของ วิทยาศาสตร)

๒) ตองการรูก ฎธรรมชาติ วิทยาศาสตรตอ งการเรียนรูก ฎธรรมชาติและหาทาง

ควบคุมธรรมชาติหรือเอาชนะธรรมชาติ พูดอีกนัยหนึ่ง วิทยาศาสตรเนนการควบคุมธรรมชาติ ภายนอก แตพระพุทธศาสนาสอนใหคนควบคุมภายในจิตใจตัวเอง ลําพังแตความสามารถทีค่ วบคุม ธรรมชาติได ไมอาจทําใหความสงบสุขเกิดขึน้ ในโลกมนุษย มนุษยตอ งรูจ กั ควบคุมตัวเองใหมจี ติ ใจ ดีงามดวย สันติสุขที่แทจริงจึงจะเกิดขึ้นได วิทยาศาสตรมุงปรับธรรมชาติ แตพระพุทธศาสนา มุงปรับจิตใจคน ๓) ยอมรับโลกแหงสสาร วิทยาศาสตรยอมรับโลกแหงสสารทีร่ บั รูไ ดดว ยประสาท สัมผัสทั้ง ๕ วามีจริง โลกที่อยูพนจากนั้นวิทยาศาสตรไมยอมรับ (ซึ่งความจริงวิทยาศาสตรมิได ปฏิเสธ เพียงแตยังไมยอมรับ เพราะวิทยาศาสตรเชื่อวาประสาทสัมผัสเปนเครื่องมือสุดทายที่จะ ตัดสินความจริง) 1 สวนพระพุทธศาสนาชี้วามีสัจธรรมสูงสุด (นิพพาน) ซึ่งเปนสภาวะที่ประสาทสัมผัส ของมนุษยปุถุชนที่เต็มไปดวยกิเลสตัณหาไมสามารถจะรับรูได พระพุทธศาสนาแบงสิ่งที่มีอยู 2 3 จริงเปนสองพวกใหญๆ คือ “สังขตธรรม” (สิ่งที่ปจจัยปรุงแตง) และ “อสังขตธรรม” (สิ่งที่ปจจัย มิไดปรุงแตง คือ นิพพาน) วิทยาศาสตรยอมรับวาสังขตธรรมนั้นมีจริง แตอสังขตธรรมอยูเหนือ การรับรูของวิทยาศาสตร สวนสัจธรรมในพระพุทธศาสนา นั้ น มี ทั้ ง ที่ ส ามารถแสดงให ป ระจั ก ษ เ ป น สาธารณะไดและไมสามารถแสดงใหประจักษ เปนสาธารณะ แตแสดงโดยการประจักษใจ ตนเองได (หมายถึ ง มี ทั้ ง ที่ เ ราสามารถรั บ รู  ได ด  ว ยตาและรั บ รู  ด  ว ยใจ) ความจริ ง ระดั บ ตนๆ และระดับกลาง ใครๆ ก็อาจเขาใจและ เห็นจริงได เชน คนที่โลภมาก อิจฉาริษยา เขามาก ไมมีความสงบสุขแหงจิตใจอยางไร บ า ง คนที่ มี เ มตตาไม ป รารถนาร า ยต อ ใคร เป น คนมี ค วามสุ ข ไม มี เ วรไม มี ภั ย กั บ ใคร การคนพบวิทยาการตางๆ ทางวิทยาศาสตรบางประเภท มิไดสนใจเรื่องศีลธรรม แตมุงทําลายลางเพื่อเอาชนะ อยางไรบาง ความจริงเหลานี้ลวนสามารถ ซึ่งกันและกัน ซึ่งเปนภัยที่สําคัญตอโลก

ขยายความเขาใจ

คํากลาวที่วา “ทําดีไดดี ทําชั่วไดชั่ว” นั้น สามารถนํามาอธิบาย ตามหลักวิทยาศาสตรไดอยางไร แนวตอบ สามารถอธิบายตามหลักวิทยาศาสตรที่เปนเหตุและผล ได เชน หากเราตองการปลูกพืชใหไดผลผลิตที่ดี ก็จะตองมี ขั้นตอนการปลูกที่ดีตั้งแตการคัดเลือกเมล็ดพันธุดี การใหนํ้าใหปุย อยางเหมาะสม การควบคุมอุณหภูมิ ก็จะทําใหผลผลิตที่ออกมา มีปริมาณและคุณภาพมาก ในทางกลับกัน หากเราปลูกพืชแลวไม ดูแลเอาใจใส ไมรดนํ้าพรวนดิน พืชที่ปลูกก็อาจตายหรือใหผลผลิต ที่มีคุณภาพตํ่า เปรียบไดกับคํากลาวที่วา ทําดีไดดี ทําชั่วไดชั่ว

Expand

ครูใหนักเรียนเขียนแผนผังเปรียบเทียบความ สอดคลองและความแตกตางกันของพระพุทธศาสนากับวิทยาศาสตร พรอมทั้งยกตัวอยาง ประกอบใหเห็นเดนชัด ความยาว 1 หนากระดาษ A4 แลวนําสงครูผูสอน

ตรวจสอบผล ๗

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

Explain

Evaluate

ตรวจสอบความถูกตองของการเขียนแผนผัง เปรียบเทียบความสอดคลองและความแตกตางกัน ของพระพุทธศาสนากับวิทยาศาสตร

นักเรียนควรรู 1 นิพพาน สภาพที่ดับกิเลสและหมดทุกขแลว ภาวะที่เปนสุขสูงสุด เพราะไรทุกข เปนอิสรภาพสมบูรณ ซึ่งการดับกิเลสในทางพระพุทธศาสนา มี 2 ประเภท ไดแก • สอุปาทิเสสนิพพาน (สะ-อุ-ปา-ทิ-เสด-นิบ-พาน) หมายถึง การดับกิเสสยังมี เบญจขันธเหลืออยู หมายถึง นิพพานของพระอรหันตผูยังเสวยอารมณที่นา ชอบใจและไมชอบใจทางอินทรีย 5 รับรูสุขทุกขยอย • อนุปาทิเสสนิพพาน (อะ-นุ-ปา-ทิ-เสด-นิบ-พาน) หมายถึง การดับกิเลสที่ไมมี เบญจขันธเหลืออยู คือ นิพพานของพระอรหันตผูปราศจากอาสวะกิเลส 2 สังขตธรรม ธรรมที่ยังมีอะไรปรุงแตง ไดแก จิตที่ยังไมถึงพระนิพพาน ซึ่งยังถูกปรุงแตงดวยบุญและบาปทั้งปวง และสิ่งที่ยังอยูในชั้นโลกียทุกอยาง 3 อสังขตธรรม ธรรมที่ไมมีปจจัยปรุงแตง หมายถึง นิพพาน ซึ่งเปนสภาพที่เที่ยง เพราะปราศจากความแปรปรวน เปลี่ยนแปลง เปนสุข เพราะไมเกิด ไมดับ ทนอยูใน สภาพเดิมได และเปนอนัตตา เพราะเปนสภาพธรรมที่ไมอยูในอํานาจบังคับบัญชา ของใคร คูมือครู

7


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

กระตุน ความสนใจ

อธิบายความรู Explain

Expand

Evaluate

1 แสดงใหประจักษไดและชี้ใหดูตัวอยางได แตปรมัตถธรรมอันสูงสุดนั้น ผูที่ไดพบแลวยากที่จะ อธิบายใหคนอื่นเขาใจได เปนสภาวะที่ผูรูเองเห็นเองจะพึงประจักษเฉพาะตัว ๔) มุงเอาความจริงมาตีแผ วิทยาศาสตรนั้นมิไดสนใจเรื่องศีลธรรม เรื่อง ความดี ความชัว่ สนใจเพียงคนเอาความจริงมาตีแผใหประจักษเพียงอยางเดียว เชน วิทยาศาสตร คนพบเรื่องการระเบิด แตควรระเบิดอะไร ไมควรระเบิดอะไร ไมอยูในขอบขายของวิทยาศาสตร การคนพบทางวิทยาศาสตรจึงมีทั้งคุณอนันตและโทษมหันต สวนคําสอนของพระพุทธศาสนานั้นเนนเรื่องศีลธรรม ความดีความชั่ว มุงใหมนุษย มีความสุขเปนลําดับขึ้นเรื่อยๆ จนถึงความสงบสุขอันสูงสุดคือนิพพาน

Explore

ครูใหนักเรียนศึกษาคนควาการคิดตามนัยแหง พระพุทธศาสนาและการคิดแบบวิทยาศาสตร จากหนังสือเรียนหนา 8-11 และแหลงการเรียนรูอื่นๆ เชน อินเทอรเน็ต หองสมุด เปนตน เพื่อนําขอมูลมา อภิปรายในชั้นเรียน

อธิบายความรู

ตรวจสอบผล

Engage

ครูใหนักเรียนดูภาพในหนังสือเรียนหนา 8 และ รวมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับขอความที่วา กระบวนการคิดแบบวิทยาศาสตรมีลักษณะสอดคลอง กับวิธีคิดแบบอริยสัจของพระพุทธเจาที่เนนการ แกปญหาดวยเหตุผล

สํารวจคนหา

ขยายความเขาใจ

ó. ¡ÒäԴµÒÁ¹ÑÂáË‹§¾Ãоط¸ÈÒʹÒáÅСÒäԴ ẺÇÔ·ÂÒÈÒʵà กระบวนการคิดแบบวิทยาศาสตร สามารถแยกไดเปน ๖ ขั้นตอน ดังนี้

Explain

๑. ๒. ๓. ๔. ๕.

ตั้งปญหาใหชัดเจน คือ ดูวาปญหาคืออะไรแน ตั้งคําตอบชั่วคราวขึ้นเพื่อทดสอบ รวบรวมขอมูลที่คิดวาเกี่ยวของ วิเคราะหขอมูลเพื่อทดสอบคําตอบชั่วคราววาผิดหรือถูก ถาปรากฏวาคําตอบชั่วคราวนั้นถูก ก็รับเปนคําอธิบาย หรือเปนทฤษฎีไวจนกวาจะมีขอมูลใหมมาหักลาง ถา เกิดคําตอบชั่วคราวนั้นผิดก็ตองปรับปรุงหาคําตอบใหม ๖. นําคําอธิบายในขอ ๕ ไปประยุกตใชในการแกปญหา

1. ครูใหนักเรียนอธิบายวา กระบวนการคิดแบบ วิทยาศาสตรคืออะไร สามารถจําแนกไดเปน กี่ขั้นตอน อะไรบาง (แนวตอบ กระบวนการคิดแบบวิทยาศาสตร คือ วิธีการและขั้นตอนที่ใชดําเนินการคนควา หาความรูทางวิทยาศาสตร จําแนกได 6 ขั้นตอน ดังนี้ 1) ตั้งปญหาใหชัดเจน 2) ตั้งคําตอบเพื่อทดสอบ 3) รวบรวมขอมูลที่คิดวาเกี่ยวของ 4) วิเคราะหขอมูลเพื่อทดสอบ 5) ถาถูกก็รับเปนทฤษฎี ถาผิดก็หาคําตอบใหม 6) นําไปประยุกตใชในการแกปญหา 2. ครูใหนักเรียนชวยกันคิดวา เราสามารถนํา ทักษะกระบวนการคิดแบบวิทยาศาสตรมา ใชประโยชนในชีวิตประจําวันไดอยางไร

2

กระบวนการคิดแบบวิทยาศาสตรมีลักษณะสอดคลองกับวิธีคิดแบบอริยสัจของพระพุทธศาสนาที่เนนการแกปญหา ดวยเหตุและผล

นักเรียนควรรู 1 ปรมัตถธรรม ในพระพุทธศาสนาแบงปรมัตถธรรมออกเปน 4 อยาง คือ จิตปรมัตถ (ธรรมชาติที่รูอารมณ) เจตสิกปรมัตถ (ธรรมชาติที่ประกอบกับจิต) รูปปรมัตถ (ธรรมชาติที่เสื่อมเปนนิจ) และนิพพานปรมัตถ (ธรรมชาติที่พนจากกิเลส และขันธ 5) 2 อริยสัจ ความจริงอันประเสริฐหรือความจริงของพระอริยบุคคล มี 4 อยาง คือ ทุกข สมุทัย (ทุกขสมุทัย) นิโรธ (ทุกขนิโรธ) และมรรค (ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา)

มุม IT ศึกษาคนควาเพิ่มเติมเกี่ยวกับหลักคําสอนของพระพุทธศาสนา ไดที่ http://www.wfb-hg.org เว็บไซตองคการพุทธศาสนิกสัมพันธแหงโลก และ http://www.mahamakuta.inct.co.th เว็บไซตมูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย

8

คูมือครู

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’ 52 ออกเกี่ยวกับหลักธรรมคําสอนที่ถือวาเปนสากล พระพุทธศาสนาสอนหลักความเปนจริงที่เปนสากลในเรื่องใด 1. ตนเปนทีพ่ งึ่ แหงตน 2. การทําลายชีวติ เปนบาป 3. ทุกชีวิตตองเผชิญปญหาดวยความไมประมาท 4. มนุษยใชปญญาหาสาเหตุเพื่อแกปญหาได วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 4. ความจริงที่เปนสากลของ พระพุทธศาสนา คือ คําสอนเปนความจริงทีส่ ามารถพิสจู นได เปนกลาง และไมขัดตอคําสอนของศาสนาใดๆ ซึ่งในทาง พระพุทธศาสนา สามารถพิสูจนไดดวยหลักธรรม อริยสัจ 4 อันเปนหลักธรรมแหงการแกปญหาชีวิตดวยปญญา


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู ยกตัวอยางเชน ■ ปญหาเกิดขึ้น คือ ตนมะมวงที่บานเราใบแหงโกรน ไมออกผล ■ ตั้งคําตอบชั่วคราวเพื่อทดสอบขึ้นวา “ทั้งนี้เปนเพราะไมฉีดยาฆาแมลง” ■ รวบรวมข อ มู ล คื อ ถามเพื่ อ นบ า นที่ ป ลู ก มะม ว งพั น ธุ  เ ดี ย วกั บ เราหลายต น วาเขาบํารุงตนมะมวงอยางไรจึงออกผล ซึ่งจะไดคําตอบวาเขารดนํ้า ใสปุย และฉีดยาฆาแมลง ■ วิเคราะหขอมูลแลวเห็นวา นํ้าเราก็รด ปุยเราก็ใส แตเรามิไดฉีดยาฆาแมลง จึงคิดวาสาเหตุอยูนี่ แลวก็ลองฉีดยาฆาแมลงอยางเขา ■ ปรากฏวาปตอ  มามะมวงออกผลดีเหมือนของเพือ่ นบาน แสดงวาคําตอบชัว่ คราวถูก ■ ถือคําตอบนี้เปนหลักปฏิบัติตอไป ในทํ า นองเดี ย วกั น หากเราศึ ก ษาพุ ท ธประวั ติ จ ะพบว า กระบวนการคิ ด ของ พระพุทธเจาตั้งแตออกผนวชจนกระทั่งตรัสรู ก็มีวิธีการเหมือนกัน คือ ๑. ทรงเห็นวาความทุกขเปนปญหา จะตองหาคําตอบเพื่อแกปญหา ๒. ทรงตั้งคําตอบชั่วคราว คือ ทรงเห็นวาเจาลัทธิสํานักตางๆ อาจใหคําตอบได และเมื่อใหคําตอบไมไดก็ทรงเห็นวาการทรมานกายอาจใหคําตอบได ๓. ทรงรวบรวมขอมูล คือ เสด็จไปตามสํานักตางๆ ที่เขาวาเกง ลองทรมานกาย ดูลองอดอาหารดูเพื่อดูวาจะไดคําตอบหรือไม ๔. ในกรณีของพระพุทธองค การรวบรวมขอมูลกับการวิเคราะหขอมูลเกือบจะ เปนสิ่งเดียวกัน เชน การบําเพ็ญเพียรทางกาย นัน้ เปนทัง้ การรวบรวมขอมูลและการวิเคราะห ขอมูล เพราะพระองคทรงใชพระวรกายของ พระองคเองเก็บขอมูล จึงเปนการวิเคราะห และทดสอบขอมูลไปในตัว สวนคําสอนของ สํานักตางๆ ที่ทรงศึกษานั้นพระองคลองนํามา วิ เ คราะห แ ล ว เห็ น ว า มิ ใ ช คํ า ตอบที่ ถู ก ต อ ง จึ ง ทรงเลิ ก แล ว หั น มาเสวยพระกระยาหาร ตามเดิม ทําใหปญจวัคคียเสื่อมศรัทธาพากัน หนี ไป เป น ผลดี แ ก พ ระสิ ท ธั ต ถะ เพราะได การบําเพ็ญทุกกรกิรยิ า โดยใชพระวรกายของพระองคเปน เครื่องทดลอง และเก็บขอมูลดวยพระองคเองเพื่อใหได สร า งบรรยากาศอั น เงี ย บสงั ด เอื้ อ ต อ การ ขอมูลเชิงประจักษ แสดงใหเห็นวาแนวคิดของพระพุทธศาสนาสอดคลองกับกระบวนการทางวิทยาศาสตร บําเพ็ญเพียรทางจิตอยางยิ่ง ๙

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ขอใดคือการบําเพ็ญทุกกรกิริยาขั้นตอนสุดทายกอนการตัดสิน พระทัยเลิกทรมานพระวรกายของเจาชายสิทธัตถะ 1. กัดฟน 2. อดอาหาร 3. กลั้นลมหายใจ 4. นั่งบนหนามแหลมคม

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 2. เจาชายสิทธัตถะทรงบําเพ็ญ ทุกกรกิริยา ซึ่งเปนการกระทําที่ทําไดยากยิ่งและเปนสุดยอดตบะวิธี มี 3 ขั้นตอนตามลําดับ ดังนี้ กัดฟน กลั้นลมหายใจ และอดอาหาร เปนขั้นตอนสุดทายกอนการตัดสินพระทัยเลิกทรมานพระวรกาย หลังจากนั้นพระองคจึงหันมาเสวยพระกระยาหารตามปกติ และทรงเริ่มบําเพ็ญเพียรทางจิตจนตรัสรูเปนสมเด็จ พระสัมมาสัมพุทธเจาในวันขึ้น 15 คํ่า เดือน 6

Explain

1. ครูใหนักเรียนจับคูกันแลวใหยกตัวอยาง เหตุการณที่แกไขปญหาได โดยใชกระบวนการ คิดแบบวิทยาศาสตร แลวใหออกมานําเสนอ หนาชั้นเรียน 2. ครูเปดประเด็นใหนักเรียนอภิปรายแสดง ความคิดเห็นถึงการบําเพ็ญเพียรทางกายของ พระพุทธเจาวา มีกระบวนการคิดเหมือนหรือ แตกตางจากการคิดแบบวิทยาศาสตรอยางไร จากนั้นขออาสาสมัครนักเรียนออกมาอธิบาย ใหเพื่อนฟงหนาชั้นเรียน (แนวตอบ การบําเพ็ญเพียรทางกายของ พระพุทธเจาตั้งแตออกผนวชจนกระทั่งตรัสรู มีวิธีการเหมือนกระบวนการคิดแบบ วิทยาศาสตร กลาวคือ 1. เจาชายสิทธัตถะทอดพระเนตรเห็นเทวทูต ทั้ง 4 คือ คนแก คนเจ็บ คนตาย และ สมณะ ทรงเห็นวาชีวิตมีความทุกข ซึ่งเปน ปญหาที่ตองหาหนทางแกไข 2. ทรงตั้งสมมุติฐานถึงคําตอบที่อาจเปนไปได โดยทรงคิดวาเจาลัทธิสํานักตางๆ อาจให คําตอบได เมื่อใหคําตอบไมไดก็ทรงคิดวา การทรมานกายอาจใหคําตอบได 3. ทรงรวบรวมขอมูล โดยเสด็จไปศึกษาใน สํานักของเจาลัทธิ และทดลองทรมานกาย 4. ทรงวิเคราะหขอมูล โดยทรงนําคําสอนของ เจาสํานักตางๆ มาวิเคราะห แลวเห็นวา ไมถูกตอง สวนการบําเพ็ญทุกกรกิริยา ก็ไมใชคําตอบที่ถูกตองเชนกัน จึงทรงเลิก แลวหันมาเสวยพระกระยาหารตามปกติ 5. พระองคทรงพิจารณาแลววาสมมติฐาน ที่ตั้งไวผิด ก็ทรงเลิก และเปลี่ยนมาบําเพ็ญ เพียรทางจิตจนตรัสรูเปนพระสัมมาสัมพุทธเจา ไดทรงทราบคําตอบอันเปนวิธกี ารดับทุกข 6. ทรงนําคําตอบที่คนพบไปเผยแผแกชาวโลก เพื่อแกปญหาความทุกขแกมวลมนุษย

เกร็ดแนะครู ครูควรอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับกระบวนในการคิดกอนการตรัสรูของพระพุทธเจา วา ขณะที่ทรงบําเพ็ญเพียรอยูที่เชิงภูเขาดงคสิริใกลแมนํ้าเนรัญชรา ตําบลอุรุเวลาเสนานิคม แควนมคธ พระองคทรงเริ่มตนปฏิบัติทุกกรกิริยาตามลําดับขั้นตอน ดังนี้ 1. ทรงกดพระทนตดวยพระทนต กดพระตาลุ (เพดาน) ดวยพระชิวหา คือ ใช ลิ้นดันเพดานไวใหแนนจนพระเสโท (เหงื่อ) ไหลออกจากพระกัจฉะ (รักแร) จนเกิดความทุกขเวทนาอยางแสนสาหัส 2. ทรงกลั้นลมหายใจเขาออก เมื่อลมทางชองพระนาสิก (จมูก) และพระโอษฐ (ปาก) เดินไมสะดวก ก็เกิดเสียงอูทางชองพระกรรณ (หู) ทําใหปวดพระเศียร เลือดในพระอุทรรอนไปทั่วพระวรกาย 3. ทรงอดพระกระยาหาร โดยผอนเสวยวันละนอยๆ บาง เสวยอาหารที่ละเอียด บาง จนพระวรกายเหือดแหงทรุดโทรมลง พระฉวีวรรณเศราหมอง พระอัฐิ ปรากฏไปทั่วพระวรกาย พระกําลังก็ลดนอยถอยลงตามลําดับ

คูมือครู

9


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู

Expand

Evaluate

1. ตรวจสอบจากความถูกตองในการอภิปรายและ การตอบคําถาม 2. ตรวจสอบจากการเขียนวิเคราะหการนํา กระบวนการคิดตามนัยแหงพระพุทธศาสนาไป ใชแกปญหาและนําไปปรับใชในชีวิตประจําวัน

๑๐

EB GUIDE

ครูแนะนําใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิธีคิดแบบคุณคาแทคุณคาเทียม ไดในหนังสือ “พุทธวิธีแกปญหา เพื่อศตวรรษที่ 21” และ “ธรรมนูญชีวิต พุทธจริยธรรมเพื่อชีิวิตที่ดีงาม” ของพระพรหมคุณาภรณ (ป.อ.ปยุตฺโต)

นักเรียนควรรู 1 ตนพระศรีมหาโพธิ์ เปนตนไมสําคัญในพระพุทธศาสนา เพราะเปน ที่ประทับและตรัสรูอนุตตรสัมโพธิญาณของพระพุทธเจา ดังปรากฏในคัมภีรทาง พระพุทธศาสนาวา ตนโพธิ์เปรียบไดกับพุทธอุเทสิกเจดียอยางหนึ่ง ทําให ตนโพธิ์กลายเปนพันธุไมที่เปนที่เคารพนับถือของชาวพุทธเสมอมานับตั้งแตสมัย พุทธกาล ตนโพธิ์ที่สําคัญในพุทธประวัติมี 2 ตน คือ ตนพระศรีมหาโพธิ์ ณ พุทธคยา สถานที่ตรัสรู และตนอานันทโพธิ์ ณ วัดเชตวันมหาวิหาร ซึ่งอานันทโพธิ์ยังคงยืนตน มาจนถึงปจจุบัน คูมือครู

Evaluate

http://www.aksorn.com/LC/Rel/M5/03

เกร็ดแนะครู

10

ตรวจสอบผล

๕. เมื่อพระองคทรงเห็นวาคําตอบชั่วคราวทีต่ งั้ ไวนนั้ ผิด จึงทรงเปลีย่ นแปลงวิธีการ โดยหันมาทดลองการบําเพ็ญเพียรทางจิตแทน ก็ปรากฏวาทรงประสบความสําเร็จ ไดตรัสรู ความจริง อันเปนคําตอบที่ถูกตองเกี่ยวกับ ปญหาเรื่องความทุกข ๖. ทรงนําคําตอบที่ไดไปเผยแผ แก ช าวโลก เพื่ อ แก ป  ญ หาเรื่ อ งความทุ ก ข ใหแกมวลมนุษย จะเห็นไดวากระบวนการคิดตาม นัยในพระพุทธศาสนาก็คลายคลึงกับกระบวน การคิดแบบวิทยาศาสตร แตพึงทราบวา วิธี การคิ ด แบบนี้ ท างพระพุ ท ธศาสนาเรี ย กว า พระสิทธัตถะ ไดตรัสรูอริยสัจเปนสมเด็1จพระสัมมาคิ ด แบบเหตุ ผ ลหรื อ คิ ด แบบอริ ย สั จ ซึ่ ง เป น สัมพุทธเจา ณ โคนตนพระศรีมหาโพธิ์ เมื่อวันเพ็ญขึ้น ๑๕ คํ่า เดือน ๖ เวลาใกลรุง กอนพุทธศักราช ๔๕ ป เพียงวิธีหนึ่งใน ๑๐ วิธี ดังนี้ ๑. วิธีคิดแบบสาวหาเหตุปจจัย คือ สืบคนจากผล สืบสาวหาสาเหตุที่แทจริง ๒. วิธีคิดแบบแยกแยะองคประกอบ คือ แยกยอยออกเปนสวนๆ เพื่อหาความ สอดคลองสัมพันธ ๓. วิธีคิดแบบรูเทาทันธรรมดา คือ คิดและรูความเปนไปตามธรรมดาของสรรพสิ่ง ตามความเปนจริง ๔. วิธีคิดแบบอริยสัจ คือ คิดตามเหตุผล สืบสาวหาสาเหตุแลวแกปญหาที่ตนเหตุ ๕. วิธคี ดิ เชือ่ มโยงหลักการและความมุง หมายใหสมั พันธกนั คือ คิดถึงหลักการของ เรื่องหรือสิ่งนั้นวาคืออะไร ความมุงหมายเพื่ออะไร การกระทํานั้นๆ ตรงตามหลักการและความ มุงหมายหรือไม ๖. วิธีคิดแบบคุณ โทษ และทางออก คือ คิดทั้งในแงบวก แงลบ และคิดเสนอ แนวทางแกไข ๗. วิธีคิดแบบคุณคาแท คุณคาเทียม คือ คิดวิเคราะหถึงประโยชนที่แทจริงหรือ ประโยชนเทียมของสิ่งนั้นๆ วาคืออะไร เพื่อจะไดรูจักเสพรูจักใชสิ่งทั้งหลายเพื่อคุณที่แทจริง

ครูใหนักเรียนแตละคนตั้งประเด็นปญหา แลวนํากระบวนการคิดตามนัยแหงพระพุทธศาสนา มาใชในการแกปญหาและการนําไปปรับใชในชีวิต ประจําวัน บันทึกลงกระดาษ A4 นําสงครูผูสอน

ตรวจสอบผล

Expand

Explain

ครูตั้งประเด็นปญหาที่นาสนใจ แลวใหนักเรียน ชวยกันคิดวิเคราะหวิธีแกปญหาตามนัยแหงพระพุทธศาสนา จากนั้นใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยางประเด็น ปญหาเพิ่มเติม แลวอภิปรายรวมกันในชั้นเรียน

ขยายความเขาใจ

ขยายความเขาใจ

Explain

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

บุคคลใดตอไปนี้มีวิธีการคิดแบบอริยสัจ 4 1. นงคราญเลือกซื้อเสื้อผาที่ราคาไมแพงนัก เพราะคิดวาคุณคาของ เสื้อผาคือการใสเพื่อปกปดรางกาย ไมใชการโออวด 2. เยาวเรศคิดวาคนเราเกิดมาตองตายทุกคน สมควรทําความดี ไวมากๆ จึงมักไปอานหนังสือใหเด็กตาบอดฟงเสมอ 3. กัญญารูสึกทุกขใจ เพราะสอบตกวิชาคณิตศาสตร จึงหมั่นขยัน ทําโจทยใหมากขึ้น ในที่สุดก็สอบผาน เธอมีความสุขมาก 4. ดรุณีแมจะเห็นขาวพระสงฆประพฤติผิดพระวินัยออกตามสื่อ ตางๆ แตก็ไมคิดเหมารวมวาพระสงฆจะตองเปนเชนนั้นทุกรูป วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 3. อริยสัจ 4 เปนหลักคําสอนที่สอน ใหมนุษยใชปญญาวิเคราะหปญหาใหรูแจง สอนใหสืบสาวหา สาเหตุของปญหาแลวแกที่ตนเหตุ กลาวคือ เมื่อเกิดปญหาที่ทําให เปนทุกข ตองคนหาสาเหตุใหพบ แลวตองพยายามหาวิธีการแกไข ปญหาที่ดีที่สุด


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

กระตุน ความสนใจ

ครูใหนักเรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ คํากลาวที่วา “มาอัศดร มาอาชาไนย มาสินธพ พญากุญชร ที่ฝกดีแลวนับวาเปนสัตวประเสริฐ แตมนุษยที่ฝกตนไดดีแลวประเสริฐกวานั้น”

๘. วิธีคิดแบบปลุกเราคุณธรรม คือ คิดเพื่อใหเกิดกําลังใจสรางสรรคสิ่งที่ดีงาม เพื่อตนและสังคม ๙. วิธีคิดแบบเปนอยูในปจจุบัน คือ คิดแบบมีสติ รูเทาทันปจจุบัน ไมฟุงซาน ๑๐. วิธคี ดิ แบบจําแนกประเด็นและแงมมุ ตางๆ หรือพยายามมองหลายมุม เพือ่ ใหได คําตอบหรือความเขาใจที่ถูกตองสมบูรณ

สํารวจคนหา

พระพุทธศาสนาเชื่อในหลักการฝกฝนตนหรือพัฒนาตนเพื่อใหกาวหนาดวยคุณความดี ไปเรื่อยๆ จนกระทั่งบรรลุถึงจุดมุงหมายสูงสุด คือ การหลุดพนจากอํานาจของโลภ โกรธ หลง โดยสิ้นเชิง อันนับวาเปนอิสรภาพที่แทจริง ในการฝกฝนนั้นเราเองจะบังคับตัวเอง ควบคุมตัวเอง หรือพูดอีกนัยหนึ่งวาเราตองพึ่งตนเอง คนอื่น เชน บิดามารดา ครูอาจารย เปนเพียง “ผูชวย เหลือ” ในการพึ่งตัวเองของเราใหเปนไปดวยดี และบรรลุผลสําเร็จรวดเร็วขึ้น พระพุ ท ธศาสนาชี้ ว  า มนุ ษ ย ทุ ก คนเป น สั ต ว ที่ ฝ  ก ได มี ศั ก ยภาพที่ จ ะฝ ก ฝนพั ฒ นาได คุณสมบัตินี้มนุษยมีมากกวาสัตว สัตวอื่นๆ ที่นํามาฝกอยางเกงก็ฝกใหพอใชงานได เชน ฝกลิง เพื่อนํามาแสดงละครลิงหรือปนขึ้นตนมะพราว ฝกชางเพื่อใชลากซุง ฝกมาใชขี่ทําศึก แตฝกให สามารถใชงานไดเพียงแคนกี้ น็ บั วาประเสริฐแลว ดังพระบาลีวา “มาอัศดร มาอาชาไนย มาสินธพ พญากุญชร ที่ฝกดีแลวนับวาเปนสัตวประเสริฐ แตมนุษยที่ฝกตนไดดีแลวประเสริฐกวานั้น” การฝ ก ฝนตนเองเป น วิ ธี “เลื่ อ นขั้ น ” หรือ “เลื่อนระดับ” ตนเองใหสูงขึ้นตามลําดับ ความหมายในทางธรรม หมายถึง การพัฒนา 1 ตนเองใหมคี วามรู ความดีงาม ความสุข สันติภาพ และอิสรภาพ หรือฝกใหตนมีความรูคูกับความ 2 ดีงาม โดยนับจากระดับตํ่าไปหาระดับสูง ดังนี้ ผูที่ประกอบอาชีพอยางสุจริตยอมเปนผูที่คิดแบบมีสติ

อธิบายความรู

รูเ ทาทันปจจุบนั ไมคดิ ฟงุ ซาน ซึง่ กอใหเกิดผลดีตอ กิจการ งานตางๆ

๑๑

O-NET

ขอสอบป ’ 52 ออกเกี่ยวกับไตรสิกขา ในแนวทางพระพุทธศาสนา เราสามารถพัฒนาตนเปนมนุษยที่ สมบูรณไดอยางไร 1. รักษาศีลใหครบ 2. ยึดไตรสิกขาในการดําเนินชีวิต 3. ฝกสติปฏฐานจนถึงขั้นสุดทาย 4. มีสวนรวมในกิจกรรมทางศาสนาอยางสมํ่าเสมอ วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 2. ไตรสิกขา หมายถึง ขอปฏิบัติที่ ตองศึกษา 3 อยาง ไดแก ศีล สมาธิ ปญญา ไตรสิกขาเปนกระบวนการศึกษาฝกอบรมที่เนื่องมาจากอริยมรรค เปนระบบที่ใชเปนมาตรฐานของการฝกอบรมมากที่สุดเพื่อชีวิตที่ ดีงาม การปฏิบัติตามหลักไตรสิกขา จะทําใหเราพัฒนาตนเปน มนุษยที่สมบูรณ

Explore

ครูใหนักเรียนศึกษาการฝกหัดอบรมตน การ พึ่งพาตนเอง และการมุงสูอสิรภาพในทางขอมูล พระพุทธศาสนา จากหนังสือเรียนหนา 11-13 และ แหลงการเรียนรูอื่นๆ เชน อินเทอรเน็ต หองสมุด เปนตน เพื่อนําความรูมาอภิปรายรวมกันในชั้นเรียน

ô. ¾Ãоط¸ÈÒʹÒ์¹¡Òýƒ¡ËѴͺÃÁµ¹ áÅСÒþÖè§¾Ò µ¹àͧ

ขอสอบ

Engage

Explain

ครูใหนักเรียนอภิปรายรวมกันถึงหลักการฝกตน หรือพัฒนาตนเพื่อใหกาวหนาดวยคุณความดีจน บรรลุจุดมุงหมายสูงสุด และสามารถพึ่งพาตนเอง ไดอยางมีคุณคาตามหลักพระพุทธศาสนา จากนั้น ครูถามนักเรียนวา • การฝกฝนตนเองตามหลักพระพุทธศาสนา จะตองอาศัยความเพียรพยายามของใคร เปนหลัก (แนวตอบ การฝกฝนตนเองเพื่อใหกาวหนา ดวยคุณความดีจนหลุดพนจากอํานาจของ ความโลภ โกรธ หลง จะตองอาศัยความ เพียรพยายามของตนเองเปนหลักสําคัญ บิดา มารดา ครูอาจารย เปนเพียงผูชวยที่จะ ทําใหเราบรรลุผลสําเร็จไดเร็วขึ้นเทานั้น) • การฝกฝนตนเองในทางธรรมหมายถึงอะไร (แนวตอบ การพัฒนาตนเองใหมีความรู ความดีงาม ความสุข สันติภาพ และอิสรภาพ หรือฝกใหตนมีความรูคูกับ ความดีงาม)

นักเรียนควรรู 1 การพัฒนาตนเอง ดังพระพุทธพจนบทที่วา “ทนฺโต เสฏโฐมนุสฺ เสสุ” มนุษยที่ ฝกฝนอบรมตนเองแลว เปนผูประเสริฐที่สุดในหมูมนุษย 2 สุจริต การปฏิบัติตามหลักสุจริต 3 คือ ความประพฤติดี ความประพฤติงาม หมายถึง ความประพฤติที่เปนเหตุใหบุคคลเปนคนดี เปนคนงามงายตอการปกครอง มีความหมายครอบคลุมถึงพฤติกรรมตางๆ ที่แสดงออกทางกายและทางวาจาในทาง ที่ดี รวมถึงความนึกคิดที่ดี อันเปนเหตุแหงพฤติกรรมตางๆ เหลานั้นดวย

คูมือครู

11


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูและนักเรียนอภิปรายรวมกันถึงการมุงสู อิสรภาพในทางพระพุทธศาสนาในประเด็น ตอไปนี้ • พระพุทธศาสนามีเปาหมายใหมนุษย มีการฝกอบรมตนเพื่ออะไร (แนวตอบ เพื่อการหลุดพนจากการครอบงํา ของโลภ โกรธ หลง) • คําวา “อิสรภาพ” ในทางพระพุทธศาสนา หมายถึงอะไร (แนวตอบ ความเปนใหญในตนเอง ความพึ่ง ตนเองได ความไมตกอยูใตอํานาจของใคร และไมตกอยูในใตอํานาจของความโลภ โกรธ หลง) 2. พระพุทธศาสนาชี้แนะวา มนุษยปุถุชนทั่วไป ควรจัดการกับเปาหมายในชีวิตอยางไร (แนวตอบ พระพุทธศาสนาสอนใหมนุษยปุถุชน ทั่วไป ไมยึดมั่นถือมั่นกับสิ่งทั้งหลายมากจน เกินไป ถามีเปาหมายวาอยากไดหรืออยากเปน อะไร ก็ใหใชความเพียรพยายามที่สุจริตให เต็มที่เพื่อสรางสรรคหรือสรรหาสิ่งที่ตองการ แต อยาทําไมดีหรือทําทุจริตเพื่อสนองความตองการ ของตน อีกทั้งยังไมควรยึดมั่นถือมั่นมากจน เกินไปอยาตกเปนทาสของวัตถุ รูจักการ ปลอยวาง)

1 ๑. ระดับอันธพาลปุถุชน คือ ผูที่ทํา พูด คิด ตามสัญชาตญาณอยางสัตว ไมรูจัก ควบคุมตัวเอง กระทําการตางๆ เปนไปตามอํานาจของโลภ โกรธ หลง ๒. ระดับพาลปุถุชน คือ ผูที่ยังมีโลภ โกรธ หลง เชนเดียวกับบุคคลประเภทแรก แตดีกวาเล็กนอยที่รูจักควบคุมตนไดบางบางครั้ง ๓. ระดับกัลยาณปุถุชน คือ ผูที่ละอายชั่ว กลัวบาป มีศีล มีธรรม คือ มีศีล ๕ ธรรม ๕ เกือบสมบูรณจนถึงขั้นสมบูรณ 2 ๔. ระดับอริยบุคคล คือ 3ผูที่ฝกฝนอบรมตนใหกาวหนาดวยคุณธรรมสูงขึ้นไปตาม ลําดับ ซึ่งมี ๔ ขั้น คือ พระโสดาบัน พระสกทาคามี พระอนาคามี และพระอรหันต สามารถ บรรเทาความโลภ โกรธ หลง ไดครั้งละเล็กละนอย จนกระทั่งหมดไปโดยสิ้นเชิง

õ. ¾Ãоط¸ÈÒʹÒÁØ‹§ÍÔÊÃÀÒ¾ พระพุทธศาสนามุงใหการฝกฝนตนเองของมนุษยมุงสูอิสรภาพ ซึ่งถือเปนเปาหมาย 4 ของการฝกอบรมตนตามหลักพระพุทธศาสนา นั่นคือ “วิมุตติ” (ความหลุดพน) ซึ่งหมายถึง การหลุ ด พ น จากการครอบงํ า ของโลภ โกรธ หลง ซึ่ ง ภาษาสมั ย ใหม เรียกวา “อิสรภาพ” หมายถึง ความเปนใหญในตัวเอง ความพึ่งตนเอง ได และความไม ต กอยู  ใ ต อํ า นาจของใคร แม ว  า อิ ส รภาพจะเป น เปาหมายสูงสุด หรือจุดหมายปลายทางก็จริง แตพระพุทธศาสนา ก็มิไดละเลยเปาหมายระดับรองๆ ลงมา สําหรับปุถุชนทั่วไปที่ยัง เวียนวายอยูใ นกระแสโลก ยังตองศึกษาเลาเรียน ยังตองประกอบอาชีพ เลี้ยงตนเองและครอบครัวอยู มิใชนักบวชผูมุงปฏิบัติเพื่อมรรคผล นิพพาน พระพุทธศาสนาก็ยังชี้แนะใหคอยๆ ลด คอยๆ ละเทาที่ จะทําได โดยสอนวา “ไมควรยึดมั่นถือมั่นสิ่งทั้งหลายมากเกินไป” มิใชสอนไมใหอยากได หรือไมใหอยากมีอยากเปนอะไร ตรงกัน ขามกลับเนนวา อยากไดอะไร อยากมีอะไร ก็ใหสรางสรรคเอา เต็มที่เต็มความสามารถดวยความพากเพียร พระพุ ท ธองค นั บ เป น อริ ย บุ ค คลผู ป ระเสริ ฐ ที่ ห มดสิ้ น และโดยวิ ธี ที่ สุ จ ริ ต อยากเป น อะไรก็ ใ ห เ ป น จากกิเลสทั้งปวงแลว (จากภาพ) พระพุทธรูปปางโปรด พุทธบิดา ประดิษฐานอยูที่ระเบียงคดรอบองคพระปฐม- โดยวิธีการที่ถูกตอง แตไมควรได ไมควรมี เจดีย จังหวัดนครปฐม ไมควรเปนดวยความยึดมั่นถือมั่นเกินกวาเหตุ ๑๒

นักเรียนควรรู 1 สัญชาตญาณ หมายถึง ความรูที่มีมาแตกําเนิดของคนและสัตว ทําใหมี ความรูสึกและสามารถกระทําสิ่งตางๆ ไดเองโดยไมตองมีใครสั่งสอน 2 อริยบุคคล บุคคลผูเปนอริยะ บุคคลผูประเสริฐ ทานผูบรรลุธรรมวิเศษ มีโสดาปตติมรรค เปนตน 3 พระโสดาบัน ผูถึงกระแสที่จะนําไปสูพระนิพพาน 4 วิมุตติ วิมุตติ 2 หมายถึง ความหลุดพน ซึ่งเปนการทําจิตใหหลุดพน จากอาสวะ ถึงความบริสุทธิ์โดยสิ้นเชิง

12

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

เพราะเหตุใดพระพุทธองคจึงไดรับยกยองวาเปนพระอริยบุคคล 1. เปนผูที่เกิดในชาติตระกูลสูงสง 2. เปนผูจารึกแสวงบุญโปรดพุทธบริษัท 3. เปนผูมีจิตใจดีงามโอบออมอารีตอบุคคลทั่วไป 4. เปนผูประเสริฐที่หมดสิ้นจากกิเลสทั้งปวงแลว วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 4. พระพุทธองคนับเปนพระอริยบุคคล ผูประเสริฐ เพราะทรงหลุดพนจากการครอบงําของกิเลสทั้งปวง ไมวาจะเปน โลภ โกรธ หลง


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ขยายความเขาใจ

ครูใหนักเรียนสํารวจตนเองวา ในการดําเนิน ชีวิตประจําวัน นักเรียนมีความยึดมั่นในสิ่งใดบาง และความยึดมั่นถือมั่นนั้นกอใหเกิดผลดีหรือ ผลเสียอยางไร จะมีแนวทางใดแกไขปญหาที่ เกิดขึ้น จากนั้นเขียนบันทึกลงกระดาษ A4 และ สงครูผูสอน

รูจักปลอย รูจักวางบาง อยาใหจิตตกเปนทาสวัตถุเกินไป เทานี้ก็นับวาได “สัมผัส” กับอิสรภาพ ทางจิตไดบาง แมเล็กนอยก็ยังดี 1

พระพุทธศาสนามีความสําคัญตอพุทธศาสนิกชนและมนุษยชาติเปนอยางมาก โดยเฉพาะหลักการของพระพุทธศาสนาที่เนนหลักความเปนประชาธิปไตยมาตั้งแตสมัยพุทธกาล ยังผลใหทุกคนที่หันมานับถือพระพุทธศาสนามีความเทาเทียมกันมากยิ่งขึ้น หลักประชาธิปไตย ที่เห็นชัดเจนที่สุดคือ การลงมติกันในที่ประชุมโดยยึดหลักเสียงขางมากเปนสําคัญ ซึ่งมีความ สอดคลองกับลักษณะการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตยที่ชาวไทยใชปกครองในปจจุบัน หลักการสําคัญของพระพุทธศาสนา นอกจากจะใชหลักการเคารพเสียงขางมาก หรือความเปนประชาธิปไตยแลว ยังมีหลักการที่สอดคลองกับหลักวิทยาศาสตร โดยพระพุทธองค 2 ทรงสอนใหเชื่อสิ่งที่มีเหตุผล ตรึกตรองสิ่งตางๆ ดวยสติปญญาแลวคอยเชื่อ อันเปนผลใหผูที่ ยึดถือปฏิบัติตามอยูในสังคมอยางสงบสุขบนพื้นฐานของความเชื่ออยางมีเหตุผล จึงอาจกลาวไดวา พระพุทธศาสนามีความสําคัญเปนอยางยิ่งตอสังคมในปจจุบัน หากพุทธศาสนิกชนประพฤติ ปฏิบัติตนดวยคุณงามความดีตามหลักธรรมคําสอน จนถึงจุดหมายอันสูงสุดแลว ยอมจะทําให หลุดพนจากความโลภ โกรธ หลง อันจะเปนหนทางที่นําไปสูสันติภาพ และอิสรภาพของมวล มนุษยชาติตอไป

ÊØ¢ÊÚÊ ·ÒµÒ àÁ¸ÒÇÕ ÊØ¢í âÊ Í¸Ô¤¨Ú©µÔ »ÃÒªÞ ¼ÙŒãËŒ¤ÇÒÁÊØ¢ ‹ÍÁä´ŒÃѺ¤ÇÒÁÊØ¢

Expand

ตรวจสอบผล

Evaluate

1. ตรวจสอบจากความถูกตองในการตอบคําถาม และการอภิปราย 2. ตรวจสอบจากการเขียนบันทึกสํารวจตนเอง เรื่องความยึดมั่นถือมั่นที่เกิดขึ้นในการดําเนิน ชีวิตประจําวัน

3

(¾Ø·¸ÈÒʹÊØÀÒÉÔµ)

๑๓

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

บุคคลใดตอไปนี้มี “อิสรภาพ” ตามหลักของพระพุทธศาสนา 1. แพรเปลี่ยนโทรศัพทมือถือบอยครั้ง เพื่อใหทันสมัย 2. ปานเก็บเงินซื้อบานหลังใหญ เพื่อใหทัดเทียมกับเพื่อนๆ 3. ปอใฝฝนอยากเปนแพทยเพื่อชวยชีวิตคน จึงตั้งใจเรียนหนังสือ อยางมาก 4. ฝายเดินทางไปทองเที่ยวตางประเทศบอยครั้ง เพื่อตองการให ผูอื่นรูวาตนเองรํ่ารวย

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 3. พระพุทธศาสนามิไดปฏิเสธความ ตองการอันเปนเปาหมายรองของมนุษยปุถุชนทั่วไป เพียงแตชี้แนะ วา ไมควรยึดมั่นถือมั่นมากเกินไป ถาเราตองการอะไรหรืออยาก เปนอะไร ก็ใหใชความพยายามใหเต็มที่และตองเปนวิธีที่สุจริต แตไมควรอยากไดอยากมีเพราะความยึดมั่นถือมั่น อยาตกเปนทาส ของวัตถุ ก็จะไดสัมผัสกับ “อิสรภาพ” ทางจิตในระดับปุถุชน

นักเรียนควรรู 1 พุทธศาสนิกชน หมายถึง ผูที่ตกลงใจนอมรับนับถือพระพุทธศาสนาเปนศาสนา ประจําตัว ประจําชีวิต ยินดีที่จะปฏิบัติตามหลักคําสอนของพระพุทธศาสนา 2 เชื่อสิ่งที่มีเหตุผล หลักคําสอนที่จัดเปนทฤษฎีและวิธีการที่เปนสากลมีอยู หลายเรื่อง เชน หลักกรรม หลักแหงเหตุผล หลักปจจัยที่อิงอาศัยกันในการเกิด (อิทัปปจจตา) เปนตน 3 สุขสฺส ทาตา เมธาวี สุขํ โส อธิคจฺฉติ อานวา สุ-ขัด-สะ-ทา-ตา-เม-ทา-วี-สุ-ขังโส-อะ-ทิ-คัด-ฉะ-ติ

คูมือครู

13


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engage

Explore

Explain

Expand

ตรวจสอบผล

ตรวจสอบผล Evaluate

Evaluate

ตรวจสอบจากความถูกตองในการตอบคําถาม ประจําหนวยการเรียนรู

¤Ò¶ÒÁ »ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู

๑. พระพุทธศาสนามีลักษณะของประชาธิปไตยอยางไรบาง ยกตัวอยางมาอยางนอย ๓ ตัวอยาง ๒. ป จ จุ บั น นี้ นั ก เรี ย นมี การฝ ก ฝนตนเองตามหลั ก “สิ ก ขา” อย า งไรบ า ง ยกตั ว อย า ง ประกอบ ๓. การคิดแบบอริยสัจ มีความสอดคลองกับการคิดแบบวิทยาศาสตรอยางไร ใหเหตุผล ประกอบ ๔. นักเรียนมีขั้นตอนในการฝกหัด อบรม และพึ่งตนเองตามหลักการของพระพุทธศาสนา อยางไรบาง ๕. หลั ก ธรรมทางพระพุ ท ธศาสนามี ความสอดคล อ งกั บ หลั ก การประชาธิ ป ไตยอย า งไร และนักเรียนสามารถนําไปปรับใชในชีวิตประจําวันไดอยางไรบาง

1. การเขียนเปรียบเทียบลักษณะประชาธิปไตย แบบนครรัฐกรีกกับลักษณะประชาธิปไตยใน พระพุทธศาสนา 2. การเขียนแผนผังเปรียบเทียบความสอดคลอง และความแตกตางกันของพระพุทธศาสนากับ วิทยาศาสตร 3. การเขียนวิเคราะหการนํากระบวนการคิดตาม นัยแหงพระพุทธศาสนาไปใชแกไขปญหาและ นําไปปรับใชในชีวิตประจําวัน 4. การเขียนบันทึกสํารวจตนเอง เรื่องความยึดมั่น ถือมั่นที่เกิดขึ้นในการดําเนินชีวิตประจําวัน

¡Ô¨ÊÃŒ¡ÃÃÁ Ò§ÊÃä ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ กิจกรรมที่ ๑

นั ก เรี ย นหาภาพการมี ส  ว นร ว มของบุ ค คลในการสร า งสรรค สั ง คม แลววิเคราะหวามีความสอดคลองกับหลักการใดของพระพุทธศาสนา กิจกรรมที่ ๒ นักเรียนชวยกันตั้งประเด็นปญหาที่นาสนใจ แลวชวยกันคิดวิเคราะหตาม นัยแหงพระพุทธศาสนา และการคิดแบบวิทยาศาสตร นําเสนอผลงานโดย การอภิปรายรวมกัน กิจกรรมที่ ๓ เชิญวิทยากรมาบรรยายใหความรูในหัวขอ “พระพุทธศาสนากับหลักการ ประชาธิปไตย”

๑๔

แนวตอบ คําถามประจําหนวยการเรียนรู 1. พระพุทธศาสนามีลักษณะของประชาธิปไตย เชน 1) ภิกษุทุกรูปมีสิทธิในการเขาประชุม มีสิทธิในการแสดงความคิดเห็นทั้งในทางคัดคานและในทางเห็นดวย 2) พระพุทธเจาเองทรงเคารพพระสงฆ โดยทรงรับฟงความคิดเห็นของพระสงฆในที่ประชุมสงฆ 3) การตัดสินปญหาในที่ประชุมสงฆ มีการลงคะแนนโดยถือเอาเสียงขางมากเปนขอยุติ 2. การรักษาศีล 5 ซึ่งเปนขอปฏิบัติเพื่อควบคุมกายและวาจาใหตั้งอยูในคุณความดี และศีลมีความจําเปนในการทําสมาธิ เพราะชวยชําระกาย วาจา ใจ ใหบริสุทธิ์กอนทําสมาธิ การฝกสมาธิเปนประจําจะทําใหจิตสงบ ความจําดี สามารถอานหนังสือไดดีขึ้น 3. การคิดแบบอริยสัจเปนการคิดแบบมีเหตุมีผล สอดคลองกับการคิดแบบวิทยาศาสตรที่จะตองมีเหตุจึงจะมีผล เชน สอบตกเพราะไมอานหนังสือ ฟารองหรือฟาผาเกิดจากการถายเทประจุไฟฟาระหวางกอนเมฆ เปนตน 4. ขั้นตอนการฝกหัด อบรม และพึ่งตนเองจากระดับตํ่าไปหาระดับสูง เชน 1) พยายามฝกหัดอบรมตนเองใหพนจากอํานาจของ โลภ โกรธ หลง 2) พยายามฝกหัดอบรมตนเองใหรูจักควบคุมตนเองใหได 3) พยายามฝกฝนอบรมตนใหกาวหนาดวยคุณธรรมชั้นสูงเพื่อละโลภ โกรธ หลง 5. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาสอนใหคนยอมรับฟงความคิดเห็นของคนสวนใหญ ทําใหเกิดการประนีประนอมซึ่งกันและกัน สามารถ นํามาปรับใชในชีวิตประจําวันได โดยการยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น ประพฤติปฏิบัติตนเปนคนดี มีเหตุผล ปฏิบัติตามกฎเกณฑ ของสังคม และใชปญญาในการแกไขปญหาตางๆ 14 คูมือครู


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.