8858649121677

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº »ÃСѹÏ

·Õè ȸ. ¨Ð»ÃСÒÈÃÒ¡Òú¹àÇçºä«µ µÑé§áµ‹ Á. ¤. ’55 ໚¹µŒ¹ä»

ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู สุขศึกษาและพลศึกษา

รายวิชา

สุขศึกษา

ู ร ค หรับ

สํา

ชั้นมัธยมศึกษาปที่

เอกสารหลักสูตรแกนกลางฯ ’51 ประกอบดวย ● ● ● ● ●

คําแนะนําการใชคูมือครู แถบสี/สัญลักษณที่ใชสื่อความหมายในคูมือครู ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง คําอธิบายรายวิชา ตารางวิเคราะหเนื้อหากับมาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัด

ตารางแสดงความแตกตางระหวาง “ คูมือครู ” กับ “ หนังสือเรียน * ” ความแตกตาง

ขนาดตัวอักษร ปกดานหลัง ระบบการจัดพิมพ สวนเสริมดานหนา

คูมือครู ยอลงจากปกติ 20%

พิมพ 4 สี มี เอกสารหลักสูตร คําอธิบายรายวิชา มี กิจกรรมแบบ 5E ความรูเสริมสําหรับครู พิมพสอดแทรกไวตลอดทั้งเลม ●

หนังสือเรียน ขนาดปกติ 100% : ตัวอักษรใหญกวา ที่พิมพในคูมือครูนี้ มีใบอนุญาต/ใบประกันคุณภาพ พิมพ 4 สี

-

เนื้อหาในเลม

● ●

* ที่ ศธ. อนุญาตใหโรงเรียนใชได

มีเฉพาะเนื้อหาสาระตามที่ ศธ. อนุญาตฯ/สนพ.ประกันคุณภาพ

6


คําแนะนําการใชคูมือครู

: การจัดการเรียนรูสูหองเรียนคุณภาพ

คูมือครู สุขศึกษา ม.6 จัดทําขึ้นเพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการวางแผนและเตรียมการสอน โดยใชหนังสือเรียน สุขศึกษา ม.6 ของบริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด เปนสื่อหลัก (Core Material) เสร�ม ประกอบการออกแบบกิจกรรมการเรียนรูใ หสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั กลุม สาระการเรียนรู สุขศึกษา 2 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 โดยจัดทําตามหลักการสําคัญ ดังนี้

1. ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน คูมือครู รายวิชา สุขศึกษา ม.6 จัดทําเปนหนวยการเรียนรูตามลําดับสาระการเรียนรูที่ระบุไวใน มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด แตละหนวยจะกําหนดเปาหมายการสอนและจุดประสงคการเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทางการประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชัดเจน ครูผูสอนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดที่เปน เปาหมายการเรียนรูของแตละหนวยการเรียนรู (ตามแผนภูมิ) และสามารถบันทึกผลการจัดการเรียนการสอนได อยางมั่นใจ สภ

าพ

ผู

จุดป

ระส

เรีย

งค

รู รียน เ ร า

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชั้นป

ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน

แผนภูมิแสดงองคประกอบของการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผูเรียนเปนสําคัญ

2. การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ แนวคิดในการจัดการเรียนการสอนที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ พัฒนามาจากปรัชญาและทฤษฎีการเรียนรู Constructivism ที่เชื่อวาการเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสราง ความรูโดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดพบเห็นกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู คูม อื ครู


ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา นักเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีความรูความเขาใจสิ่งตางๆ ติดตัวมากอนที่จะเขาสู หองเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากบริบทและสิง่ แวดลอมรอบตัวนักเรียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกระบวนการเรียนรู เสร�ม ในแตละบทเรียน ผูสอนจะตองคํานึงถึง 1) ความรูเดิมของนักเรียน การสอนที่ดีจึงตองเริ่มตนจากจุดที่วา นักเรียนมีความรูอะไรมาบาง แลวจึงให ความรูห รือประสบการณใหมเพือ่ ตอยอด จากความรูเดิม

2) ความรูเ ดิมของนักเรียนถูกตอง หรือไม ผูสอนตองปรับเปลี่ยนความรู ความเขาใจเดิมของนักเรียนใหถูกตอง และเปนพฤติกรรมการเรียนรูใหมที่มี คุณคาตอนักเรียน เพื่อสรางเจตคติหรือ ทัศนคติที่ดีตอการเรียน

3

3) นั ก เรี ย นสร า งความหมาย สําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมให นักเรียนนําขอมูลความรูที่ไดไปลงมือ ปฏิ บั ติ และประยุ ก ต ใ ช ค วามรู  อ ย า ง ถู ก ต อ ง ในบริ บ ทที่ เ ป น จริ ง ของชี วิ ต นักเรียน เพื่อขยายความรูใหลึกซึ้งและ มีคุณคาตอตัวนักเรียนมากที่สุด

แนวคิด Constructivism เนนใหผเู รียนสรางความรูโ ดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูข องตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศการเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความ ขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณความรูใ หม ผูเ รียนจะพยายามปรับขอมูลใหม กับประสบการณที่มีอยูเดิม แลวสรางเปนความรูใหมหรือแนวคิดใหมๆ ไดดวยตนเอง

3. การบูรณาการกระบวนการคิด การเรียนรูข องนักเรียนแตละคนจะเกิดขึน้ ทีส่ มองซึง่ ทําหนาทีร่ คู ดิ ภายใตสภาพแวดลอมทีเ่ อือ้ อํานวย และได รับการกระตนุ จูงใจอยางเหมาะสมสอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของนักเรียน การจัดกระบวนการเรียนรู และสาระการเรียนรูท มี่ คี วามหมายตอผูเ รียนนัน้ จะชวยกระตนุ ใหสมองรับรูแ ละสามารถเรียนรูไ ดอยางมีประสิทธิภาพ ตามขั้นตอนการทํางานของสมอง ดังนี้ 1) สมองจะเรียนรูและสืบคนโดย 2) สมองจะแยกแยะคุ ณค าของ การสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง สิง่ ตางๆ โดยการลงมติ ตัดสินใจ วิพากษ ปฏิบัติ จนคนพบความรูความเขาใจได วิจารณ แสดงความคิดเห็น ยอมรับหรือ อยางรวดเร็ว ตอตานตามอารมณความรูสึกที่เกิดขึ้น ในขณะที่เรียนรู

3) สมองจะประมวลเนื้ อ หาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสาน กับความรู หรือประสบการณเดิมที่ถูก จัดเก็บอยูในสมอง ผานการกลั่นกรอง เพื่อสังเคราะหเปนความรูความเขาใจ ใหมๆ หรือเปนเหตุผลทัศนคติใหมที่จะ ฝงแนนในสมองของผูเรียน

คูม อื ครู


เสร�ม

การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะ เกิดขึ้นเมื่อสมองรูคิดและตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมอง โดยเริ่มตนจาก

4

1) ระดับการคิดขั้นพื้นฐาน ไดแก 2) ระดั บ ลั ก ษณะการคิ ด ได แ ก 3) ระดั บ กระบวนการคิ ด ได แ ก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดหลากหลาย กระบวนการคิ ด อย า งมี วิ จ ารณญาณ การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล คิดไกล คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล กระบวนการแกปญหา กระบวนการคิด การสรุปผล เปนตน เปนตน สรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะห วิจัย เปนตน

4. การบูรณาการกระบวนการเรียนรูพื้นฐานอาชีพ กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายสงเสริมการเรียนพืน้ ฐานอาชีพในระดับการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน เพือ่ เสริมสรางทักษะที่ จําเปนสําหรับการประกอบอาชีพ และดํารงชีวติ ในสังคมทองถิน่ ของผูเ รียนอยางมีความสุข และเปนการเตรียมความพรอม ดานกําลังคนใหมที กั ษะพืน้ ฐานและศักยภาพในการทํางาน เพือ่ การแขงขันและกาวสูป ระชาคมอาเซียนหรือประชาคมโลก ตอไป 4.1 ทักษะพื้นฐานเพื่อการประกอบอาชีพ การจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผูเรียนในรายวิชาพื้นฐาน ทุกกลุมสาระการเรียนรูและทุกระดับชั้นเรียน ผูสอนควรบูรณาการประสบการณการเรียนรูพื้นฐานอาชีพควบคู ไปกั บ การเรี ย นการสอนด า นวิ ช าการ โดยฝ ก ทั ก ษะสํ า คั ญ ตามที่ สํ า นั ก วิ ช าการและมาตรฐานการศึ ก ษา (สวก.) สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) เสนอแนะไว ดังนี้ 1. ฝกทักษะกระบวนการคิด มีการวางแผนตลอดแนว เพื่อศึกษาขอมูลอาชีพ 2. ฝกการตัดสินใจอยางเปนระบบ โดยใชขอมูลจากการศึกษา คนควาแหลงเรียนรูในชุมชน เพื่อลดความ เสี่ยงในการลงทุนและเพิ่มความมั่นใจเรื่องการตลาด 3. ฝกกระบวนการวางแผน การผลิต และการจัดจําหนาย โดยนักเรียนคิดตนทุน กําไรดวยตนเอง 4. ฝกการเรียนรูเรื่องคุณธรรม จริยธรรม ดานการประกอบอาชีพ และการทํางานกลุม โดยมีจิตอาสาเพื่อ สวนรวม 5. ฝกการทํางานอยางมีประสิทธิภาพ มีการประเมินผล ปรับปรุง พัฒนา และสรางสรรคตอยอดผลผลิต 6. ฝกการเสริม สรา งความเชื่อ มั่น ความเพียรพยายาม เห็นคุณคาและภาคภูมิใ จในตนเอง (Self Esteem) ในการประกอบอาชีพ และเจตคติในพื้นฐานทางอาชีพ การจัดการเรียนการสอนที่ใหผูเรียนไดลงมือปฏิบัติทักษะดังกลาว จะชวยใหผูเรียนไดรับประสบการณจริง มีทักษะ ความสามารถ และความชํานาญในการทํางานที่จะใชในการประกอบอาชีพและเปนแรงงานที่มีคุณภาพเขาสู ตลาดแรงงานในอนาคต คูม อื ครู


4.2 การจัดกระบวนการเรียนรูพื้นฐานอาชีพ การจัดกระบวนการเรียนรูมีความสําคัญอยางยิ่งที่จะชวยให นั ก เรี ย นมี ก ารพั ฒ นาทั้ ง ด า นความรู  ทั ก ษะ และคุ ณ ลั ก ษณะตามเป า หมายของหลั ก สู ต ร การพั ฒ นาผู  เ รี ย น ดานทักษะพื้นฐานอาชีพตองอาศัยกระบวนการเรียนรูที่หลากหลายเปนเครื่องมือที่จะนําไปสูคุณภาพที่ตองการ เสร�ม 5 เทคนิควิธีการตางๆ ที่ผูสอนจะตองพิจารณาใหเหมาะสมกับเนื้อหาวิชาและวัยของผูเรียน โดยใหความสําคัญกับ การฝ ก ปฏิ บั ติ แ ละเน น การวั ด ประเมิ น ผลจากการปฏิ บั ติ ต ามสภาพจริ ง ด ว ยวิ ธี ก ารที่ จั ด กิ จ กรรมการบู ร ณาการ ให เ หมาะสมกั บ วั ย และระดั บ ชั้ น ของผู  เ รี ย น สอดคล อ งกั บ มาตรฐานการเรี ย นรู  แ ละตั ว ชี้ วั ด ของกลุ ม สาระต า งๆ ที่กําหนดไวในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 การวิเคราะหมาตรฐานและตัวชี้วัดที่จะนําไป จัดเนื้อหาความรูและทักษะ เพื่อพัฒนาผูเรียนดานพื้นฐานอาชีพ ดังตัวอยางตอไปนี้ 1. กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยมุงเนนการพัฒนาใหผูเรียนมีความรูความสามารถในการใชภาษาไทย เพื่ อ การสื่ อ สาร เป น เครื่ อ งมื อ ในการเรี ย นรู  การแสวงหาความรู  และประสบการณ ต  า งๆ เพื่ อ พั ฒ นาความรู  กระบวนการคิดวิเคราะห วิจารณ และสรางสรรค ใหทันตอการเปลี่ยนแปลงของสังคมและความกาวหนาทาง วิทยาศาสตร เทคโนโลยี จึงเปนกลุมสาระการเรียนรูที่เปนทักษะพื้นฐานการประกอบอาชีพทุกอาชีพ ตัวชี้วัดที่ สามารถนํามาพัฒนาทักษะอาชีพ เชน

ท 2.1 ม.1/8 ท 1.1 ม.4-6/8

เขียนรายงานการศึกษาคนควาและโครงงาน สังเคราะหความรูจากการอานสื่อสิ่งพิมพ สื่ออิเล็กทรอนิกส และแหลงเรียนรู ตางๆ มาพัฒนาตน พัฒนาการเรียน และพัฒนาความรูทางอาชีพ ท 2.1 ม.4-6/4 ผลิตงานเขียนของตนเองในรูปแบบตางๆ ท 2.1 ม.4-6/5 ประเมินงานเขียนของผูอื่น แลวนํามาพัฒนางานเขียนของตนเอง การจัดการเรียนการสอนตามตัวชี้วัดดังกลาวขางตน จะเปนทักษะพื้นฐานของการนําไปสูอาชีพ ทุก อาชีพ และเปนการปูทางไปสูอ าชีพเฉพาะเกีย่ วกับการเขียน เชน นักเขียน นักประพันธ นักหนังสือพิมพ นักวิจารณ เปนตน 2. กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา เปนการศึกษาเพื่อการดํารงสุขภาพ การเสริมสราง สุขภาพ และการพัฒนาคุณภาพชีวิต มุงใหผูเรียนพัฒนาพฤติกรรมดานความรู เจตคติ คุณธรรม คานิยม และ การปฏิบัติเกี่ยวกับสุขภาพ และการใชกิจกรรมเคลื่อนไหว การออกกําลังกาย การเลนเกมและกีฬา เปนเครื่องมือ พัฒนาทั้งดานรางกาย จิตใจ อารมณ สังคม สติปญญา รวมทั้งสมรรถภาพเพื่อสุขภาพและกีฬา โดยมีมาตรฐาน และตัวชี้วัดที่เปนพื้นฐานของการประกอบอาชีพตางๆ เชน คูม อื ครู


พ 3.2 ม.1/2

ออกกําลังกายและเลือกเขาเลนกีฬาตามความถนัด ความสนใจ อยางเต็ม ความสามารถ พรอมทั้งมีการประเมินการเลนของตนและผูอื่น เสร�ม พ 3.2 ม.4-6/1 ออกกําลังกายและเลนกีฬาที่เหมาะสมกับตนเองอยางสมํ่าเสมอและใชความ 6 สามารถของตนเองเพิ่ ม ศั ก ยภาพของที ม ลดความเป น ตั ว ตน คํ า นึ ง ถึ ง ผล ที่เกิดตอสังคม การจัดการเรียนการสอนตามตัวชี้วัดดังกลาวนอกจากจะเปนการสรางทักษะพื้นฐานในอาชีพดาน การกีฬา เชน นักฟุตบอล นักวอลเลยบอล นักมวย นักเทนนิส นักลีลาศ ฯลฯ ยังชวยเสริมสรางปลูกฝงทักษะ และเจตคติในการทํางานเปนทีมและทํางานกับผูอื่น ซึ่งเปนสิ่งสําคัญในการประกอบอาชีพทุกประเภทอีกดวย 3. กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมมุงเนนการพัฒนาใหผูเรียนมีความรูความ เขาใจเกี่ยวกับการดํารงชีวิตของมนุษย การอยูรวมกันในสังคมที่มีความเชื่อมโยงสัมพันธกัน มีความแตกตางกัน อยางหลากหลาย สามารถจัดการทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัด และเขาใจการเปลี่ยนแปลง เพื่อชวยใหสามารถปรับ ตนเองกับบริบทและสภาพแวดลอม เปนพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ มีความรู ทักษะ คุณธรรม และคานิยมที่ เหมาะสม มีมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดที่เปนพื้นฐานของการประกอบอาชีพตางๆ เชน ส 4.3 ม.1/3 วิเคราะหอิทธิพลของวัฒนธรรมและภูมิปญญาไทยสมัยสุโขทัยและสังคมไทยใน ปจจุบัน ส 4.3 ม.2/3 ระบุภมู ปิ ญ ญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี และอิทธิพลของภูมปิ ญ ญา ดังกลาวตอการพัฒนาชาติไทยในยุคตอมา ส 4.3 ม.3/3 วิเคราะหภมู ปิ ญ ญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร และอิทธิพลตอการพัฒนา ชาติไทย ส 4.3 ม.4-6/3 วางแผนกําหนดแนวทางและการมีสวนรวมในการอนุรักษภูมิปญญาไทยและ วัฒนธรรมไทย การจัดการเรียนการสอนตามตัวชี้วัดดังกลาวขางตนจะเปนทักษะพื้นฐานและสรางเจตคติตออาชีพ เกีย่ วกับภูมปิ ญ ญาไทยในทองถิน่ เชน นักโบราณคดี นักประวัตศิ าสตร แพทยแผนโบราณ นวดแผนไทย ชางทอผา จักสาน นักดนตรีไทย การทําขนมหรืออาหารไทย เปนตน และเปนรากฐานของการศึกษาเพือ่ พัฒนาตอยอดอาชีพ ที่มีฐานของภูมิปญญาไทย

คูม อื ครู


4. กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีมุงพัฒนาใหผูเรียนมีฐานความรูความสามารถ และทักษะที่จําเปนสําหรับนําไปปรับใชในการประกอบอาชีพและการศึกษาตอในสาขาอาชีพตางๆ ไดอยาง เสร�ม หลากหลาย รวมทั้งใหเห็นแนวทางในการประกอบอาชีพและการศึกษาตอตามความรู ความถนัด และความสนใจ 7 มาตรฐานและตัวชีว้ ดั ของกลมุ สาระการเรียนรูก ารงานอาชีพและเทคโนโลยีสว นใหญมลี กั ษณะเปนทักษะกระบวนการ ทํางาน ซึ่งผูสอนสามารถจัดเนื้อหาและกิจกรรมการสอนใหสอดคลองกับความตองการของผูเรียนและทองถิ่นได เพื่อพัฒนาไปสูการประกอบอาชีพตางๆ เชน ง 1.1 ม.4-6/2 สรางผลงานอยางมีความคิดสรางสรรค และมีทักษะการทํางานรวมกัน ง 1.1 ม.4-6/7 ใชพลังงาน ทรัพยากรในการทํางานอยางคุมคาและยั่งยืน เพื่อการอนุรักษ สิ่งแวดลอม ง 4.1 ม.2/3 มีทักษะพื้นฐานที่จําเปนสําหรับการประกอบอาชีพที่สนใจ ง 4.1 ม.3/3 ประเมินทางเลือกในการประกอบอาชีพทีส่ อดคลองกับความรู ความถนัด และความ สนใจของตนเอง ง 4.1 ม.4-6/2 เลือกและใชเทคโนโลยีอยางเหมาะสมกับอาชีพ ง 4.1 ม.4-6/3 มีประสบการณในอาชีพที่ถนัดและสนใจ การจัดรายวิชาพื้นฐานในกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีจึงสามารถดําเนินการ ไดอยางหลากหลาย ทั้งอาชีพในกลุมเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิดสรางสรรค การบริหาร จัดการ และการบริการ ตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ และสอดคลองกับบริบทของทองถิ่น ความพรอม ของสถานศึกษา และความตองการของผูเรียนเปนสําคัญ เพือ่ เปนแนวทางการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนใหสนองตามนโยบายการจัดการเรียนการสอน พื้นฐานอาชีพในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการ ผูจัดทําจึงวิเคราะหมาตรฐาน การเรียนรูและตัวชี้วัดในรายวิชา สุขศึกษา ที่สอดคลองกับทักษะปฏิบัติเพื่อเตรียมความพรอมดานพื้นฐาน อาชีพ โดยเสนอแนะกิจกรรมการเรียนรูไวเปนแนวทางในการจัดการเรียนการสอนบูรณาการประสบการณ การทํางานแกผูเรียน ใหบรรลุเจตนารมณของพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 7 ที่ระบุให การจัดการศึกษาตองปลูกฝงใหเยาวชนมีความรูอันเปนสากล มีจิตสํานึกในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม ตลอดจนมีความสามารถในการประกอบอาชีพ รูจักพึ่งตนเอง และมีความคิดสรางสรรค เพื่อ การดํารงชีวิต การศึกษาตอและการประกอบอาชีพอยางมีคุณภาพของผูเรียนตอไปในอนาคต

คูม อื ครู


5. การใชวัฏจักรการเรียนรู 5E

รูปแบบการสอนทีส่ มั พันธกบั กระบวนการคิดและการทํางานของสมองของผูเ รียนทีน่ ยิ มใชอยางแพรหลาย เสร�ม คือ วัฏจักรการเรียนรู 5E ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในคูมือครู 8 ฉบับนี้ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1 กระตุนความสนใจ (Engage) เปนขัน้ ทีผ่ สู อนนําเขาสูบ ทเรียน เพือ่ กระตุน ความสนใจของนักเรียนดวยเรือ่ งราวหรือเหตุการณทนี่ า สนใจ โดยใชเทคนิควิธกี ารสอนและคําถามทบทวนความรูห รือประสบการณเดิมของผูเ รียน เพือ่ เชือ่ มโยงผูเ รียนเขาสู บทเรียนใหม ชวยใหนักเรียนสามารถสรุปประเด็นสําคัญที่เปนหัวขอการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอน การสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอมและสรางแรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน ขั้นที่ 2 สํารวจคนหา (Explore) เปนขัน้ ทีผ่ สู อนเปดโอกาสใหผเู รียนไดสงั เกตและรวมมือกันสํารวจ เพือ่ ใหเห็นปญหา รวมถึงวิธกี ารศึกษา คนควาขอมูลความรูที่จะนําไปสูความเขาใจประเด็นปญหานั้นๆ เมื่อนักเรียนทําความเขาใจในประเด็นหัวขอที่จะศึกษาคนควาอยางถองแทแลวก็ลงมือปฏิบัติ เพื่อเก็บ รวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธกี ารตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูตามที่ตั้งประเด็นศึกษาไว ขั้นที่ 3 อธิบายความรู (Explain) เปนขัน้ ทีผ่ สู อนมีปฏิสมั พันธกบั ผูเ รียน เชน ใหการแนะนํา หรือตัง้ คําถามกระตุน ใหคดิ เพือ่ ใหผเู รียนไดคน หา คําตอบ และนําขอมูลความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห แปลผล สรุปผล และนําเสนอผล ที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ แผนผังแสดงมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน สมองของผูเรียนจะทําหนาที่คิดวิเคราะห สังเคราะหอยางเปนระบบ ขั้นที่ 4 ขยายความเขาใจ (Expand) เปนขั้นที่ผูสอนไดใชเทคนิควิธีการสอนที่จะชวยพัฒนาผูเรียนใหนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน นักเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยงกับประสบการณเดิม โดยนําขอสรุปที่ไดไปอธิบาย ในเหตุการณตางๆ หรือนําไปปฏิบัติในสถานการณใหมๆ ที่เกี่ยวของกับชีวิตประจําวันของตนเอง เพื่อขยาย ความรูค วามเขาใจใหกวางขวางยิง่ ขึน้ สมองของผูเ รียนทําหนาทีค่ ดิ ริเริม่ สรางสรรคอยางมีคณ ุ ภาพ เสริมสราง วิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป คูม อื ครู


ขั้นที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate) เปนขัน้ ทีผ่ สู อนใชประเมินมโนทัศนของผูเ รียน โดยตรวจสอบจากความคิดทีเ่ ปลีย่ นไปและความคิดรวบยอด ที่เกิดขึ้นใหม ตรวจสอบทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด และการเคารพ ความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพื่อการสรางสรรคความรูรวมกัน นักเรียนสามารถประเมินผลการเรียนรูของตนเอง เพื่อสรุปผลวานักเรียนมีความรูอะไรเพิ่มขึ้นมาบาง มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ ไดอยางไร นักเรียนจะเกิด เจตคติและเห็นคุณคาของตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง

เสร�ม

9

การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามวัฏจักรการสรางความรูแบบ 5E จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนน ผูเรียนเปนสําคัญ โดยสงเสริมใหผูเรียนใชกระบวนการสรางความรูดวยตนเอง ฝกฝนใหใชกระบวนการคิด และ กระบวนการกลุม อยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะการเรียนรูแ ละทักษะชีวติ ทีม่ คี ณ ุ ภาพ ตามเปาหมายของการปฏิรปู การศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คณะผูจัดทํา

คูม อื ครู


แถบสี และสัญลักษณ ที่ใชสื่อความหมายในคูมือครู 1. แถบสี

แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5E เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

เสร�ม

10

สีแดง

สีเขียว

สีสม

กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุนความ สนใจ เพื่อโยงเขาสู บทเรียน

Explore

เปนขั้นที่ผูสอนให ผูเรียนสํารวจปญหา และศึกษาขอมูล

Explain

เปนขั้นที่ผูสอนให ผูเรียนคนหาคําตอบ จนเกิดความรูเชิง ประจักษ

สีฟา

สีมวง

ขยายความเขาใจ Expand

เปนขั้นที่ผูสอนให ผูเรียนนําความรูไป คิดคนตอๆ ไป

ตรวจสอบผล Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

สัญลักษณ

2. สัญลักษณ

วัตถุประสงค

เปาหมาย การเรียนรู

คูม อื ครู

• แสดงเปาหมาย การเรียนรูที่ นักเรียนตอง บรรลุตาม ตัวชี้วัด

หลักฐาน เกร็ดแนะครู แสดงผล การเรียนรู • แสดงรองรอย หลักฐานที่ แสดงผล การเรียนรู ตามตัวชี้วัด

นักเรียน ควรรู

B

@

NET

B

มุม IT

ขอสอบ

พื้นฐาน อาชีพ

• แทรกความรู • ขยายความรู • แนะนําแหลง • วิเคราะหแนว • กิจกรรม เสริมสําหรับครู เพิ่มเติมจาก คนควาจาก ขอสอบ O-NET สําหรับครู ขอเสนอแนะ เนื้อหา เพื่อให เว็บไซต เพื่อให เพือ่ ใหครู เพือ่ ใชเปน ขอควรระวัง นักเรียนไดมี ครูและนักเรียน เนนยํ้าเนื้อหา แนวทางใน ขอสังเกต ความรูม ากขึ้น ไดเขาถึงขอมูล ที่มักออก การชวยพัฒนา แนวทางการ ความรูที่ ขอสอบ O-NET อาชีพใหกับ จัดกิจกรรม หลากหลาย • ขอสอบ O-NET นักเรียน และอื่นๆ พิจารณาออก เพื่อประโยชน ขอสอบจาก ในการจัดการ เนื้อหา ม.1, 2 เรียนการสอน และ 3


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง (เฉพาะชั้น ม.4-ม.6)* สาระที่ 1 การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย

มาตรฐาน พ 1.1 เขาใจธรรมชาติของการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ม.4-ม.6 1. อธิบายกระบวนการสราง • กระบวนการสรางเสริมและดํารงประสิทธิภาพการทํางานของ ระบบอวัยวะตาง ๆ เสริมและดํารงประสิทธิภาพ การทํางาน ของระบบอวัยวะ - การทํางานของระบบอวัยวะตางๆ - การสรางเสริมและดํารงประสิทธิภาพของอวัยวะตางๆ (อาหาร ตาง ๆ การออกกําลังกาย นันทนาการ การตรวจสุขภาพ ฯลฯ) 2. วางแผนดูแลสุขภาพตาม ภาวะการเจริญเติบโตและ พัฒนาการของตนเองและ บุคคลในครอบครัว

เสร�ม

11

• การวางแผนดูแลสุขภาพของตนเองและบุคคลในครอบครัว

* สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรู สุขศึกษาและพลศึกษา. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 7 - 47. คูม อื ครู


สาระที่ 2 ชีวิตและครอบครัว

มาตรฐาน พ 2.1 เขาใจและเห็นคุณคาตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทักษะในการดําเนินชีวิต เสร�ม

12

ชั้น

ตัวชี้วัด

ม.4-ม.6 1. วิเคราะหอิทธิพลของ ครอบครัว เพื่อน สังคม และวัฒนธรรมที่มีผลตอ พฤติกรรมทางเพศและการ ดําเนินชีวิต

สาระการเรียนรูแกนกลาง

• อิทธิพลของครอบครัว เพื่อน สังคม และวัฒนธรรมที่มีตอ พฤติกรรมทางเพศ และการดําเนินชีวิต

2. วิเคราะหคานิยมในเรื่องเพศ • คานิยมในเรื่องเพศตามวัฒนธรรมไทย และวัฒนธรรมอื่น ๆ ตามวัฒนธรรมไทยและวัฒน ธรรมอื่นๆ 3. เลือกใชทักษะที่เหมาะสมใน • แนวทางในการเลือกใชทักษะตางๆ ในการปองกัน ลดความขัด การปองกัน ลดความขัดแยง แยง และแกปญหาเรื่องเพศ และครอบครัว - ทักษะการสื่อสารและสรางสัมพันธภาพ และแกปญหาเรื่องเพศและ - ทักษะการตอรอง ครอบครัว - ทักษะการปฏิเสธ - ทักษะการคิดวิเคราะห - ทักษะการตัดสินใจ และแกไขปญหา ฯลฯ 4. วิเคราะหสาเหตุและผลของ • ความขัดแยงที่อาจเกิดขึ้นระหวางนักเรียนหรือเยาวชนใน ชุมชน ความขัดแยงที่อาจเกิดขึ้น ระหวางนักเรียน หรือเยาวชน - สาเหตุของความขัดแยง ในชุมชน และเสนอแนวทาง - ผลกระทบที่เกิดจากความขัดแยงระหวางนักเรียน หรือ เยาวชนในชุมชน แกไขปญหา - แนวทางในการแกปญหาที่อาจเกิดจากความขัดแยงของ นักเรียนหรือเยาวชนในชุมชน

คูม อื ครู


สาระที่ 4 การสรางเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและการปองกันโรค

มาตรฐาน พ 4.1 เห็นคุณคาและมีทักษะในการสรางเสริมสุขภาพ การดํารงสุขภาพ การปองกันโรค และการสราง เสริมสมรรถภาพเพื่อสุขภาพ ชั้น

ตัวชี้วัด

ม.4-ม.6 1. วิเคราะหบทบาทและความ รับผิดชอบของบุคคลที่มีตอ การสรางเสริมสุขภาพและ การปองกันโรคในชุมชน

สาระการเรียนรูแกนกลาง

• บทบาทและความรับผิดชอบของบุคคลที่มีตอการ สรางเสริมสุขภาพและการปองกันโรคในชุมชน

2. วิเคราะห อิทธิพลของสื่อ โฆษณาเกี่ยวกับสุขภาพ เพื่อการเลือกบริโภค

• อิทธิพลของสื่อโฆษณาเกี่ยวกับสุขภาพ • แนวทางการเลือกบริโภคอยางฉลาดและปลอดภัย

3. ปฏิบัติตนตามสิทธิของ ผูบริโภค

• สิทธิพื้นฐานของผูบริโภคและกฎหมายที่เกี่ยวของกับการ คุมครองผูบริโภค

เสร�ม

13

4. วิเคราะหสาเหตุและเสนอ • สาเหตุของการเจ็บปวยและการตายของคนไทย เชน แนวทางการปองกันการเจ็บ โรคจากการประกอบอาชีพ โรคทางพันธุกรรม ปวยและการตายของคนไทย • แนวทางการปองกันการเจ็บปวย 5. วางแผนและปฏิบัติตามแผน • การวางแผนการพัฒนาสุขภาพของตนเอง ครอบครัว การพัฒนาสุขภาพของ ตนเองและครอบครัว 6. มีสวนรวมในการสงเสริมและ • การมีสวนรวมในการสงเสริมและพัฒนาสุขภาพของบุคคล พัฒนาสุขภาพของบุคคลใน ในชุมชน ชุมชน 7. วางแผนและปฏิบัติตามแผน • การวางแผนพัฒนาสมรรถภาพทางกายและสมรรถภาพกลไก การพัฒนาสมรรถภาพกาย และสมรรถภาพกลไก

คูม อื ครู


สาระที่ 5 ความปลอดภัยในชีวิต

มาตรฐาน พ 5.1 ปองกันและหลีกเลีย่ งปจจัยเสีย่ ง พฤติกรรมเสีย่ งตอสุขภาพ อุบตั เิ หตุ การใชยา สารเสพติด และ ความรุนแรง เสร�ม

14

ชั้น

ตัวชี้วัด

ม.4-ม.6 1. มีสวนรวมในการปองกัน ความเสี่ยงตอการใชยา การใชสารเสพติด และ ความรุนแรง เพื่อสุขภาพ ของตนเอง ครอบครัว และสังคม

สาระการเรียนรูแกนกลาง

• การจัดกิจกรรมปองกันความเสี่ยงตอการใชยา สารเสพติด และความรุนแรง

2. วิเคราะหผลกระทบที่เกิดจาก • การวิเคราะหผลกระทบทีเ่ กิดจากการครอบครอง การใชและการ จําหนายสารเสพติด (ตนเอง ครอบครัว เศรษฐกิจ สังคม) การครอบครอง การใชและ การจําหนายสารเสพติด • โทษทางกฎหมายที่เกิดจากการครอบครอง การใชและการ จําหนายสารเสพติด 3. วิเคราะหปจจัยที่มีผลตอ สุขภาพ หรือความรุนแรง ของคนไทยและเสนอ แนวทางปองกัน

• ปจจัยที่มีผลตอสุขภาพของคนไทยและเสนอแนวทางปองกัน

4. วางแผน กําหนดแนวทาง ลดอุบัติเหตุ และสรางเสริม ความปลอดภัยในชุมชน

• การวางแผน กําหนดแนวทางลดอุบัติเหตุ และสรางเสริม ความปลอดภัยในชุมชน

5. มีสวนรวมในการสรางเสริม ความปลอดภัยในชุมชน

• กิจกรรมการสรางเสริมความปลอดภัยในชุมชน

6. ใชทักษะการตัดสินใจแก • ทักษะการตัดสินใจแกปญหาในสถานการณที่เสี่ยงตอสุขภาพ ปญหาในสถานการณที่เสี่ยง ตอสุขภาพและความรุนแรง 7. แสดงวิธีการชวยฟนคืนชีพ อยางถูกวิธี

คูม อื ครู

• วิธีการชวยฟนคืนชีพอยางถูกวิธี


คําอธิบายรายวิชา รายวิชา สุขศึกษา ชั้นประถมศึกษาปที่ 6 รหัสวิชา พ…………………………………

กลุมสาระการเรียนรู สุขศึกษาและพลศึกษา ภาคเรียนที่ 1-2 เวลา 20 ชั่วโมง/ป เสร�ม

ศึกษา วิเคราะห และอธิบายกระบวนการสรางเสริมและดํารงประสิทธิภาพการทํางานของระบบอวัยวะตางๆ วิเคราะหบทบาทและความรับผิดชอบของบุคคลทีม่ ตี อ การสรางเสริมสุขภาพและการปองกันโรคการวางแผน กําหนด แนวทางลดอุบัติเหตุ และสรางเสริมความปลอดภัยในชุมชน กิจกรรมการสรางเสริมความปลอดภัยในชุมชน วิเคราะหผลกระทบที่เกิดจากการครอบครอง การใช และการจําหนายสารเสพติด ศึกษาและวิเคราะหอิทธิพลของสื่อโฆษณาเกี่ยวกับสุขภาพ แนวทางการเลือกบริโภคอยางฉลาดและปลอดภัย รูจักใชสิทธิพื้นฐานของผูบริโภคและกฎหมายที่เกี่ยวของกับการคุมครองผูบริโภคปฏิบัติตนตามสิทธิขั้นพื้นฐานของ ผูบ ริโภค และกฎหมายทีเ่ กีย่ วของกับการคุม ครองผูบ ริโภค เพือ่ ความปลอดภัยและรักษาไวซงึ่ สิทธิทคี่ วรไดรบั โดยใช กระบวนการเรียนรูแบบกลุม กระบวนการสืบคนขอมูล กระบวนการวิเคราะห และกระบวนการอภิปราย เพื่อใหเกิด ความรู ความเขาใจ สามารถนําหลักการ แนวคิดไปปรับปรุงและนําไปปฏิบัติในการดูแลรักษาสุขภาพ และพัฒนา คุณภาพชีวิตของตนเองและครอบครัว

15

ตัวชี้วัด พ 1.1 ม.4-6/1 พ 4.1 ม.4-6/1 ม.4-6/2 ม.4-6/3 พ 5.1 ม.4-6/2 ม.4-6/4 ม.4-6/5 รวม 7 ตัวชี้วัด

คูม อื ครู


คูม อื ครู 2

1

2

3

4

1

3

4

5

6

7

1

2

3

5

✓ ✓

4

ตัวชี้วัด

ตัวชี้วัด

✓ ✓

2

หมายเหตุ : ✓ เฉพาะที่สอดคลองกับตัวชี้วัด ม.6 เทานั้น ตัวชี้วัดที่เหลือไดจัดการเรียนการสอนไปแลวในชั้น ม.4 และ ม.5 สาระที่ 3 เนื้อหาสาระเกี่ยวกับพลศึกษา

หนวยการเรียนรูที่ 5 : การสรางเสริมความ ปลอดภัยในชุมชน

หนวยการเรียนรูที่ 4 : สือ่ โฆษณากับสุขภาพ

หนวยการเรียนรูที่ 3 : สารเสพติด

1

มาตรฐาน พ 5.1

สาระที่ 5

มาตรฐาน พ 4.1

สาระที่ 4

6

7

16

หนวยการเรียนรูที่ 2 : การสรางเสริมสุขภาพ และการปองกันโรค ในชุมชน

สาระที่ 2

มาตรฐาน มาตรฐาน พ 2.1 พ 1.1 ตัวชี้วัด ตัวชี้วดั

สาระที่ 1

เสร�ม

หนวยการเรียนรูที่ 1 : ระบบประสาท ระบบ สื บ พั น ธุ และระบบ ตอมไรทอ

หนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด

ตาราง ÇÔà¤ÃÒÐË Áҵðҹ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙጠÅеÑǪÕÇé ´Ñ ÃÒÂÇÔªÒ ÊØ¢ÈÖ¡ÉÒ Á.6

คําชี้แจง : ใหผูสอนใชตารางน�้ตรวจสอบความสอดคลองของเน�้อหาสาระการเรียนรูในหนวยการเรียนรูกับมาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดชั้นป


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Expand

Evaluate

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹

สุขศึกษา ม.๖ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖

กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

ผูเรียบเรียง

รศ. ดร. พรสุข หุนนิรันดร รศ. ดร. ประภาเพ็ญ สุวรรณ ผศ. ดร. สุรียพันธุ วรพงศธร ดร. อนันต มาลารัตน

ผูตรวจ

ผศ. ดร. ทรงพล ตอนี ผศ. รัตนา เจริญสาธิต นางสาวกัญจนณัฏฐ ตะเภาพงษ

บรรณาธิการ

รศ. ดร. จุฬาภรณ โสตะ นายสมเกียรติ ภูระหงษ

ผูจัดทําคูมือครู กรรัก ศรีเมือง ปนัดดา จูเภา พิมพครั้งที่ ๒

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ รหัสสินคา ๓๖๑๔๐๐๓ รหัสสินคา ๓๖๔๔๐๐๓

¤Œ¹¤ÇÒÁÃÙŒ¢ÂÒ¤ÇÒÁ¤Ô´¨Ò¡

EB GUIDE

ที่พิมพกํากับหัวขอสําคัญในหนังสือเรียนหลักสูตรแกนกลางฯ ผาน www.aksorn.com ไปยังแหลงความรูทั่วไทย-ทั่วโลก


กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา Explore Engage

อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Expand

Explain

Evaluate

¤íÒá¹Ð¹íÒ㹡ÒÃ㪌˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน สุขศึกษาเลมนี้ ใชประกอบการเรียนการสอนรายวิชาพื้นฐาน กลุม สาระการเรียนรูส ขุ ศึกษาและพลศึกษา ชัน้ มัธยมศึกษาปที่ ๖ เนื้อหาตรงตามสาระการเรียนรูแกนกลางขั้นพื้นฐาน อานทําความเขาใจงาย ใหทั้งความรูและ ชวยพัฒนาผูเรียนตามหลักสูตรและตัวชี้วัด เนื้อหาสาระแบงออกเปนหนวยการเรียนรูตามโครงสรางรายวิชา สะดวกแกการจัดการเรียนการสอนและการวัดผลประเมินผล พรอมเสริมองคประกอบอื่นๆ ที่จะชวยทําให ผูเ รียนไดรบั ความรูอ ยางมีประสิทธิภาพ à¹×éÍËҵçµÒÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹Ãٌ᡹¡ÅÒ§ ¨Ñ´¡ÅØ‹Áà¹×éÍËÒ໚¹Ë¹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ µÑǪÕÇé ´Ñ áÅÐÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙጠ¡¹¡ÅÒ§Ï µÒÁ·ÕËè ÅÑ¡Êٵà Êдǡᡋ¡ÒèѴ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ ¡íÒ˹´ à¾×èÍãËŒ·ÃÒº¶Ö§à»‡ÒËÁÒÂ㹡ÒÃÈÖ¡ÉÒ

ãËŒ¤ÇÒÁÃÙŒáÅÐàÍ×é͵‹Í¡ÒùíÒä»ãªŒÊ͹à¾×èÍ ãËŒºÃÃÅصÑǪÕéÇÑ´ áÅÐÊÌҧ¤Ø³ÅѡɳРÍѹ¾Ö§»ÃÐʧ¤

๓.๓ กระบวนการรวมคิดรวมทํ าของประชาชนในชุมชนเพื่อสุ ขภาพ ชุมชน

๓. ระบบตอมไรทอ (Endocrine system)างกาย อันมีผลตอการเจริญเติบโต

กระบวนการนีเ้ ปนการจัดกิจกรรมอย างเปน ขัน้ ตอนใหประชาชนในชุมชนกับแกนนํ าสุขภาพ หรือแนวรวมในการแกปญหาสุขภาพชุ มชนได ชวยกันคิดและอภิปราย โดยใชขอ มูล ตางๆ ทีไ่ ด รวบรวมมาผนวกกับความรูดานสุ ขภาพของ ทุกคน เพื่อหาขอสรุปรวมกันวาอะไรคื อปญหา สุขภาพที่แทจริงของชุมชน และอะไร คือปญหา ทีช่ มุ ชนตองการแกไขเพือ่ มุง ไปสูก ารมี สขุ ภาพดี เนื่องจากทรัพยากรดานทุนและเวล ามีจํากัด จึงตองจัดลําดับกอนหลังคอยๆ ดํา เนินการไป ทีละปญหา ทีละขัน้ ตอน จนบรรลเุ ป าหมายของ การมีสุขภาพดีถวนหนาทั้งชุมชน ซึ่งอาจตอง ใชเวลานานพอสมควร โดยรูปแบบกิจกรรมอาจมีหลากหลา ยตาม ความสนใจ ความถนดั และทรัพยากรของ ชุมชน แตควรเปนกิจกรรมทีเ่ ปดโอกาสใหป ระชาชนใน ชุมชนเขามามีสวนรวมไดมากและสะ ดวก เชน จัดสนทนากลุม ยอยหลายๆ ครัง้ หลายๆ กลุม เพือ่ ถกอภิปรายวาจากขอมูลชุมชนทีม่ อี ยูบ ง บอกว “อะไรคือปญหา” “มีขนาดของปญหามากน า เพียงใด” โดยพิจารณาจากจํานวนคนท อย ี่ไดรับ ผลกระทบจากปญหา “ปญหาใดมีค วามรุนแรง สรางความเสยี หายจากการปวย ตาย หรือพิการ อยางไร” “ปญหานัน้ ประชาชนในชุม ชนสามารถ ชวยกันแกไขไดเองหรือตองขอควา มชวยเหลือ จากหนวยงานใดบาง” “ปญหานั้นมี สาเหตุ วิธีการปองกันแกไขไดดวยวิธีอะไรได และ บาง”

ระบบตอมไรทอ เปนระบบทีส่ าํ คัญตอการเปลีย่ นแปลงของร า นอารมณอกี ดวย ทัง้ นีย้ งั ทําหนาทีผ่ ลิต การใชพลังงาน การสืบพันธุ ตลอดจนการตอบสนองทางด เปนอยางมาก โดยฮอรโมนเหลานี้จะเขาสู ฮอรโมน (Hormone) ซึ่งมีความสําคัญตอการดํารงชีวิต ปกติ ามปกติ างานไดตาม ระบบไหลเวียนโลหิตไปยังสวนตางๆ ของรางกายใหสามารถทํ

อ

๓.๑ โครงสรางและหนาที่ของระบบตอมไรท

ย่ วกับกระบวนการ ระบบตอมไรทอ เปนระบบซึง่ มีอทิ ธิพลตออวัยวะตางๆ เกี างๆ ภายในรางกาย เมแทบอลิซึมในรางกาย ทั้งนี้เพื่อใหอวัยวะเปาหมายต าที่เฉพาะอยาง สามารถทํางานไดตามปกติ โดยระบบนี้จะมีโครงสรางและหน ที่แตกตางกันออกไป

ระบบตอมไรทอ (Endocrine system) ตอมเพศ (Gonads)

ñ

ตัวชี้วัด ■

นรู

๒. ตอมเพศในเพศชาย คือ อัณฑะ (Testis)

ระบบประส าท ระบบสื บพันธุ และร ะบบตอ มไร สาระการเรี ทอ ยนรูแกนก ลาง กระบวนกา

อธิบายกระบวน ของระบบอว การสรางเสริมและด ัยวะตางๆ (พ ๑.๑ ม.๔-๖/๑)ํารงประสิทธิภาพการทํ างาน

โมน มีหนาที่สรางอสุจิซึ่งเปนเซลลสืบพันธุเพศชาย และฮอร เกิด เพศชาย คือ เทสโทสเทอโรน (Testosterone) ทําใหว มี การเปลี่ยนแปลงของเพศชายในวัยรุน เชน มีเสียงหา และ หนวดเครา กลามเนื้อเปนมัด มีขนขึ้นตามแขน ขา รักแร อวัยวะเพศ ตลอดจนมีความรูสึกทางเพศ เปนตน

รสรางเสริม

อวัยวะตางๆ และดํารงปร ะสิทธิภาพกา รทํางานของระ - การทํางานข บบ องระบ - การสรางเสริม บอวัยวะตางๆ การออกกําลั และดํารงประสิทธิภาพขอ งกาย นันทนาก งอวั าร การตรวจสุข ยวะตางๆ (อาหาร ภาพ ฯลฯ)

๑๔

à¡ÃÔè¹¹íÒà¾×èÍãˌࢌÒ㨶֧ÊÒÃÐÊíÒ¤ÑÞ ã¹Ë¹‹Ç·Õè¨ÐàÃÕ¹

Design ˹ŒÒẺãËÁ‹ ÊǧÒÁ ¾ÔÁ¾ ô ÊÕ µÅÍ´àÅ‹Á ª‹ÇÂãˌ͋ҹࢌÒã¨ä´Œ§‹ÒÂ

๑. ตอมเพศในเพศหญิง คือ รังไข (Ovary)

มีหนาที่สรางไขซึ่งเปนเซลลสืบพันธุของเพศหญิง และสร า งฮอร โ มนเพศหญิ ง คื อ เอสโทรเจน (Estrogen) และโพรเจสเทอโรน (Progesterone) ซึ่งทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงที่แสดงถึงลักษณะ ของเพศหญิงเมื่อเขาสูวัยรุน เชน เตานมเจริญเติบโต สะโพกผาย มีขนขึ้นบริเวณรักแรและอวัยวะเพศ มีประจําเดือน และมีความรูสึกทางเพศ เปนตน

ระบบอว การดํารงชวี ยั วะตา งๆ ลวนมีความ ประสิทธิภาพติ ทัง้ สิน้ การสรางเสริ สําคัญตอ มและ การทํางาน จึงเปนกระบวน ของระบ ดํารง อวัยวะตางๆ การทีค่ วรศกึ ษา เพื บอวัยวะ อ่ จะไ ใหสามารถท ํางานไดอยา ดดแู ล งปกติ

หนวยการเรีย

EB GUIDE

๓๒

http://www.aksorn.com/LC/He/M6/02

Web Guide á¹Ð¹íÒáËÅ‹§¤Œ¹¤ÇŒÒ¢ŒÍÁÙÅ à¾ÔèÁàµÔÁ¼‹Ò¹Ãкº Online àÊÃÔÁÊÒÃШҡà¹×Íé Ëҹ͡à˹×ͨҡ ·ÕÁè ãÕ ¹ÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙጠ¡¹¡ÅÒ§ à¾×Íè à¾ÔÁè ¾Ù¹áÅТÂÒ¾ÃÁá´¹¤ÇÒÁÃÙ㌠ˌ ¡ÇŒÒ§¢ÇÒ§ÍÍ¡ä»

(Female reproductive system)

นธ์กนั ระบบสืบพันธุข์ องเพศหญิงประกอบไปด้วยอวัยวะต่างๆ ทีท่ า� งานสัมพั ง ทัง้ อวัยวะทีอ่ ยูใ่ กล้กนั และบางส่วนทีอ่ ยูไ่ กลออกไป ระบบสืบพันธุเ์ พศหญิ เปรียบเสมือนถนนที่น�าพาอสุจิของฝ่ายชายไปพบกับไข่ที่ท่อน�าไข่ และพาตัวอ่อนที่ปฏิสนธิแล้วกลับมาฝังตัวในโพรงมดลูก

เต้านม (Breast)

มี ๒ ข้าง โดยบริเวณเต้านมของ แต่ละข้างจะมีหลอดเลือดและจะมี เส้นประสาทไปเลี้ยงอยู่มาก จึงมี ความไวต่อการสัมผัส ตรงกลาง ของเต้านมที่ยื่นออกมา เรียกว่า หัวนม โดยรอบๆ หัวนมจะล้อมรอบด้วยผิวสีคล�้า เต้านม จะท�าหน้าที่ผลิตน�้านมส�าหรับทารก

เร็งปากมดลูก

คิดให้ถูก รู้ให้ทัน มะ

ล้ว

กลุ่มหญิงที่แต่งงานแ

เซลล์สืบพันธุ์เพศหญิงหรือไข่ สร้างโดยรังไข่ ซึ่งรังไข่แต่ละข้างจะผลิต ไข่สลับกันข้างละประมาณ ๒๘-๓๐ วัน โดยผลิต ครั้งละ ๑ ใบ เมื่อไข่สุกก็จะหลุดออกจากรังไข่มายังท่อน�าไข่ ้น ในระยะนี้ ผ นั ง มดลู ก จะมี เ ลื อ ดมาหล่ อ เลี้ ย งเยื่ อ บุ ม ดลู ก มากขึับการผสมจาก เพื่อเตรียมรอรับการฝังตัวของไข่ที่จะได้รับการผสม เมื่อไข่ได้ร อไป แต่ถ้าไข่ อสุจิแล้ว ก็จะมาฝังตัวที่เยื่อบุมดลูก และเจริญเติบโตเป็นทารกต่ก ไหลออกมา ไม่ได้รับการผสมจากตัวอสุจิ ไข่ก็จะสลายพร้อมกับเยื่อบุมดลูมีการฝังตัวอยู่) พร้อมกับเลือด (ซึ่งเป็นเลือดที่มาจากผนังบุมดลูกบริเวณที่ไข่ เรียกว่า “ประจ�ำเดือน”

ปากมดลูก (Cervix)

เป็นกล้ามเนื้อที่บีบตัวเข้าหากันเป็นจังหวะ แต่จะเปิดอ้าออกเล็กน้อย เพื่อให้ตัวอสุจิผ่าน เข้าไปได้ และจะยืดตัวอย่างเต็มที่ เพือ่ ให้ทารก เคลื่อนตัวผ่านออกไปในระหว่างการคลอด

1๐

วง

กลุ่มที่มีลูกสาวอยู่ในช่ เด็ก-วัยรุ่น

กลุ่มหญิงวัยท�างาน ที่ยังไม่ได้แต่งงาน

¤íÒ¶ÒÁ»ÃШíÒ˹‹Ç à¾×èÍãËŒ¹Ñ¡àÃÕ¹䴌½ƒ¡¤Ô´áÅÐ ·º·Ç¹¤ÇÒÁÃÙŒ áÅСԨ¡ÃÃÁÊÌҧÊÃä ¾Ñ²¹Ò¡Òà àÃÕ¹ÃÙŒ à¾×èͪ‹Ç¾Ѳ¹Ò¼ŒÙàÃÕ¹ãËŒºÃÃÅؼÅÊÑÁÄ·¸Ôì µÒÁµÑǪÕéÇÑ´ ¤íÒ¶ÒÁ»ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ๑ จงอธิบายขั้นตอนการทํางานของระบบประสาท ระบบสืบพันธุ และระบบตอมไรทอ มาพอสังเขป ๒ ระบบตอมไรทอมีความสัมพันธกับระบบประสาทอยางไร จงอธิบายพรอมยกตัวอยางมาพอเขาใจ ๓ ถาระบบใดระบบหนึ่งทํางานผิดปกติ จะสงผลกระทบตอภาวะสุขภาพของเราอยางไรบาง จงอธิบาย พรอมยกตัวอยางประกอบ ๔ หากตองการใหระบบประสาท ระบบสืบพันธุ และระบบตอมไรทอ ทํางานอยางมีประสิทธิภาพ นักเรียน มีวิธีการสรางเสริมและดํารงประสิทธิภาพของระบบตางๆ ดังกลาวอยางไร ๕ เพราะเหตุใด การออกกําลังกายและการบริโภค จึงถือวาเปนปจจัยสําคัญในการชวยสรางเสริมและ ดํารงประสิทธิภาพของระบบตางๆ ในรางกาย

ูก

เซลล์มะเร็งปำกมดล

กับ ้อยที่ยังท�าใจยอมรับเจ็บ มีผู้หญิงจ�านวนไม่น ว ปัจจุบันจะเห็นได้ว่า ่องจากบางคนก็เขินอาย บางคนก็กลั x) of cervi ได้ เนื การตรวจภายในไม่ ว่ ยเป็นโรคมะเร็งปากมดลูก (Cancer ยะท้ายๆ ในระ ไทยป ง ญิ จพบ ห ให้ า ่จะตรว ส่งผลท� ๐๐ ราย โดยส่วนใหญ พุ่งสูงราวปีละ ๑๐,๐ สามารถจะรักษาได้ และรับวัคซีน ซึ่งมะเร็งลุกลามจนไม่ได้ดีที่สุด คือ การเร่งตรวจคัดกรอง ัดกรอง คือ าเนินการค วิธีที่จะป้องกัน กลุ่มเสี่ยงหลักที่ต้องด� ๓ โดย ี ว ี เอชพ อ ้ ป้องกันเชื

การสร้างเซลล์สืบพันธุ์ เพศหญิง

à¡Ãç´¹‹ÒÃÙŒ

ภูมิปญญาไทยเพื่อสรางเสริมสุขภาพและป นโยบายของรัฐบาลดานสาธารณสุ องกันโรค แผนพัฒนาสาธารณสุข ฉบับที่ ๕ ว ขไดกําหนดใน การรักษาพยาบาลแบบพื้นบานเขากับ า “จะผนึกวิธี ในโครงการงานสาธารณสุขมูลฐาน เพืระบบการรักษา พึ่งพาตนเองได ทั้งในยามปกติและฉุก ่อใหสามารถ นโยบายดังกลาว กระทรวงสาธารณสุเฉิน” เพื่อสนอง ขไดมีโครงการ สมุนไพรกับการสาธารณสุขมูลฐานโดยม สมุนไพรเพื่อสงเสริมสุขภาพ และบําบั ีการพัฒนา เจ็บปวย ๑๓ อาการ จํานวน ๖๓ ชนิ ดรักษาอาการ ด ใหเจาหนาที่สาธารณสุข รวมถึงประชาชนปและสงเสริม นอกจากนี้ยังทําการศึกษาวิจัยสมุนไพร ลูกและใช ๕ ชนิ วานหางจระเข รักษาแผลไฟไหมนํ้ารอด ดังนี้ นลวก ชุมเห็ดเทศ แกทองผูกและกลากเกลื ้อน ขมิ้นชัน รักษาอาการทองอืด ท ฟาทะลายโจร รักษาอาการเจ็บคอ องเฟอ และแก ทองเสีย เสลดพังพอนตัวเมีย (พญายอ) รักษาอาการ อักเสบจากแมลงสัตวกัดตอย

EB GUIDE http://www.aksorn.com/LC/He/M6/04

เสริมสาระ

ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง

à¡Ãç´¹‹ÒÃÙŒà¾ÔèÁàµÔÁ¨Ò¡à¹×éÍËÒ ÁÕá·Ã¡à»š¹ÃÐÂÐæ

ียวโดยไม่มี พันธ์กับคนรักเพียงคนเด พบว่าแม้จะมีเพศสัมหรือเปลี่ยนคู่นอนบ่อยก็ตาม แต่ใน พฤติกรรมส�าส่อน ้อมอื่นๆ ก็เอื้อต่อการติดเชื้อได้ เช่น บางครั้งสภาพแวดล้องน�้าสาธารณะ รถประจ�าทาง การได้รับเชื้อจากห อกเล็บ เป็นต้น โดยทั้งหมดนี้ สิ่งสกปรกที่ติดตามซ ดเชื้อเอชพีวีทั้งสิ้น สามารถน�าไปสู่การติ ากนัก �าคัญในการป้องกันโรคม กลุ่มที่สามารถ ซึ่งพ่อแม่จะไม่ให้ความส น้อยอยู่ ทั้งๆ ที่เป็น เพราะเห็นว่าอายุยัง่งในต่างประเทศมีการฉีดวัคซีนป้องกัน ป้องกันได้ดีที่สุด ซึ แต่ ๑๑ ขวบ จากข้อมูลทางการแพทย์ ง ้ ตั ก ดลู ม เพศสั พันธ์ มะเร็งปากม ในวัยเด็กก่อนการมี พบว่า การฉีดวัคซีนงกันการติดเชื้อสูงถึงร้อยละ ๘๐ ครั้งแรกสามารถป้อ ได้นานถึง ๙ ปี และสามารถป้องกัน ่ใช่กลุ่มเสี่ยง ัวเองสูง คิดว่าตนไม มักมีความมั่นใจในต ้ถุงยางอนามัยจะป้องกันโรคนี้ได้ ันธุ์ กอาจเกิดจากกรรมพดเชื้อ อีกทั้งยังเข้าใจว่า การใช ติ ไปว่า มะเร็งปากมดลู บางคนยังเข้าใจผิด ีประวัติการป่วย ตนเองก็จะไม่มีโอกาส หากญาติพี่น้องไม่ม ้าใจผิดอย่างมาก แน่นอน ซึ่งถือเป็นการเข

¡Ô¨¡ÃÃÁ ÊÌҧÊÃä ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ กิจกรรมที่

กิจกรรมที่

กิจกรรมที่

13

๒๐

ครูทําสลากระบบอวัยวะทั้ง ๓ ระบบ โดยใหนักเรียนแบงกลุม ๓ กลุม แลว สงตัวแทนออกมาจับสลาก จากนัน้ ใหนกั เรียนทํารายงานเกีย่ วกับระบบอวัยวะ ที่จับสลากได โดยมีภาพประกอบสงครูผูสอน ครูเชิญบุคลากรสาธารณสุขในทองถิ่น มาบรรยายใหความรูเกี่ยวกับปญหาที่ เกิดขึ้นกับระบบประสาท ระบบสืบพันธุ และระบบตอมไรทอ ตลอดจน แนวทางในการสรางเสริมและดํารงประสิทธิภาพการทํางานของระบบตางๆ ทั้ง ๓ ระบบ โดยใหนักเรียนสรุปสาระสําคัญจัดทําเปนปายนิเทศ ใหนกั เรียนแตละคน ทําบันทึกรายงานพฤติกรรมการดูแลตนเอง เพือ่ สรางเสริม และดํารงประสิทธิภาพการทํางานอยางนอย ๑ ระบบของหนวยการเรียนรูนี้ เปนระยะเวลา ๑ เดือน แลวสรุปเปนขอมูลสงครูผูสอน


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Expand

Evaluate

ÊÒúÑÞ Ë¹‹Ç·Õè

ñ

Ãкº»ÃÐÊÒ· ÃкºÊ׺¾Ñ¹¸Ø áÅÐÃкºµ‹ÍÁäÃŒ·‹Í ● ● ●

˹‹Ç·Õè

ò

● ●

˹‹Ç·Õè

ó

Ãкº»ÃÐÊÒ· ÃкºÊ׺¾Ñ¹¸Ø Ãкºµ‹ÍÁäÃŒ·‹Í

¡ÒÃÊÌҧàÊÃÔÁÊØ¢ÀÒ¾áÅСÒû‡Í§¡Ñ¹âä ●

ò ø ñô

òñ-ôð

á¹Ç¤Ô´¡ÒÃÊÌҧàÊÃÔÁÊØ¢ÀÒ¾áÅСÒû‡Í§¡Ñ¹âä㹪ØÁª¹ º·ºÒ·áÅФÇÒÁÃѺ¼Ô´ªÍº¢Í§ºØ¤¤Å·ÕèÁÕµ‹Í¡ÒÃÊÌҧàÊÃÔÁÊØ¢ÀÒ¾ áÅСÒû‡Í§¡Ñ¹âä㹪ØÁª¹ ¡ÒÃÁÕʋǹËÇÁ㹡ÒÃÊÌҧàÊÃÔÁáÅоѲ¹ÒÊØ¢ÀÒ¾¢Í§ºØ¤¤Å㹪ØÁª¹ à¤Ã×Í¢‹ÒÂÊØ¢ÀÒ¾¡Ñº¡ÒÃÊÌҧàÊÃÔÁÊØ¢ÀÒ¾áÅСÒû‡Í§¡Ñ¹âä

ÊÒÃàʾµÔ´ ●

ñ - òð

ʶҹ¡Òó ÊÒÃàʾµÔ´ã¹»˜¨¨ØºÑ¹ ¼Å¡Ãзº·Õèà¡Ô´¨Ò¡¡ÒäÃͺ¤Ãͧ ¡ÒÃ㪌 áÅСÒèíÒ˹‹ÒÂÊÒÃàʾµÔ´ ¡®ËÁÒÂÊÒÃàʾµÔ´

òò òô ò÷ óô

ôñ-õø ôò ô÷ õó


อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล

กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา Explore Engage

˹‹Ç·Õè

ô

Explain

ºÃóҹءÃÁ

õù-÷ò

ÅѡɳТͧÊ×èÍâ¦É³Òà¡ÕèÂǡѺÊØ¢ÀÒ¾ ÍÔ·¸Ô¾Å¢Í§Ê×èÍâ¦É³Òà¡ÕèÂǡѺÊØ¢ÀÒ¾ á¹Ç·Ò§¡ÒÃàÅ×Í¡ºÃÔâÀ¤Í‹ҧ©ÅÒ´áÅлÅÍ´ÀÑ ¡Ã³ÕÈÖ¡ÉÒà¡ÕèÂǡѺ¡®ËÁÒ¤،Á¤Ãͧ¼ÙŒºÃÔâÀ¤

öð öò öó ö÷

¡ÒÃàÊÃÔÁÊÌҧ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑÂ㹪ØÁª¹

÷ó-øù

● ●

õ

Evaluate

Ê×èÍâ¦É³Ò¡ÑºÊØ¢ÀÒ¾

˹‹Ç·Õè

Expand

● ●

¡ÒÃà¡Ô´ÍغѵÔà˵Ø㹪ØÁª¹ ¤ÇÒÁ»ÅÍ´ÀÑÂ㹪ØÁª¹

÷ô øñ

ùð


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

เปาหมายการเรียนรู 1. อธิบ ายความสําคัญและหลักการ ของกระบวนการสร า งเสริ ม และ ดํารงประสิทธิภาพการทํางานของ ระบบประสาท ระบบสืบพันธุ และ ระบบตอมไรทอในรางกายได 2. อธิบายองคประกอบและการทํางาน ของระบบประสาท ระบบสืบพันธุ และระบบตอมไรทอในรางกายได 3. อธิบายและเสนอแนะแนวทางใน กระบวนการสรางเสริมและดํารง ประสิทธิภาพการทํางานของ ระบบประสาท ระบบสืบพันธุ และ ระบบตอมไรทอในรางกายได

กระตุนความสนใจ

ñ

ระบบอวัยวะตางๆ ลวนมีความสําคัญตอ การดํารงชีวติ ทัง้ สิน้ การสรางเสริมและดํารง ประสิทธิภาพการทํางานของระบบอวัยวะ จึงเปนกระบวนการทีค่ วรศึกษา เพือ่ จะไดดแู ล อวัยวะตางๆ ใหสามารถทํางานไดอยางปกติ

หนวยการเรียนรู

ระบบประสาท ระบบสืบพันธุ และระบบตอมไรทอ

ตัวชี้วัด ■

อธิบายกระบวนการสรางเสริ ม และดํ ารงประสิ ทธิ ภ าพการทํ างาน ของระบบอวัยวะตางๆ (พ ๑.๑ ม.๔-๖/๑)

ครูใหนักเรียนดูภาพ แลวตั้ง คําถามเพื่อกระตุนการเรียนรู • จากภาพ นักเรียนคิดวาบุคคล ในภาพสามารถทราบถึงแรงกด ของนิ้วไดหรือไม อยางไร • ขณะที่รับรูถึงแรงกดดังกลาว จะ สามารถรับรูถ งึ สิง่ ใดๆ ไดอกี บาง • ครูใหนักเรียนพิจารณารางกาย ของตนเองในแตละสวนวา เชื่อมโยงกันอยางไรบาง

สาระการเรียนรูแกนกลาง ■

กระบวนการสรางเสริมและดํารงประสิทธิภาพการทํางานของระบบ อวัยวะตางๆ - การทํางานของระบบอวัยวะตางๆ - การสรางเสริมและดํารงประสิทธิภาพของอวัยวะตางๆ (อาหาร การออกกําลังกาย นันทนาการ การตรวจสุขภาพ ฯลฯ)

คูมือครู

1


กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา Explore

Engage

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

กระตุนความสนใจ

(หนาพิมพและตัวอักษรในกรอบนี้มีขนาดเล็กกวาฉบับนักเรียน 20%)

ครูใหนักเรียนจับคูกัน โดยที่ คนหนึ่งหลับตาและใหอีกคนหยิก แขนซายและขวาเบาๆ สลับกัน แลวจึงเปลี่ยนใหอีกคนหนึ่งหลับตา และอีกคนเปนคนหยิก จากนั้นครูตั้ง คําถามเพื่อกระตุนการเรียนรู • นักเรียนทราบหรือไมวา แขน ขางใดที่โดนหยิก และทราบได อยางไร (แนวตอบ ทราบไดหรือรูส กึ ไดจาก การสัมผัส และไดรับความรูสึก ทันทีที่โดนหยิก) ครูใหนักเรียนดูภาพสมอง ในหนา 2-3 แลวถามคําถามเพื่อกระตุน การเรียนรู • นักเรียนคิดวาสมองมีความ สําคัญอยางไร (แนวตอบ มีความสําคัญมาก เพราะเปนศูนยกลางของ ระบบประสาท) • ถาไมมีสมองจะเกิดอะไรขึ้น (แนวตอบ ไมมีการรับรูความรูสึก หรือไมสามารถที่จะควบคุม การทํางานใดๆ ของรางกาย และอาจเสียชีวิตได) • หากสมองไดรับการกระทบ กระเทือนจะสงผลตอรางกาย อยางไร (แนวตอบ อาจมีผลทางดาน ความจํา และการตอบสนอง ทางดานตางๆ)

2

คูมือครู

สมองสมอง

ระบบประสาทเป น ระบบที่ ค อยควบคุ ม การทํางานของอวัยวะสวนตางๆ ภายในรางกาย ใหประสานและสัมพันธกัน อีกทั้งยังมีหนาที่ รั บ ความรู  สึ ก และตอบสนองต อ สิ่ ง เร า ต า งๆ เพื่อใหรางกายสามารถปรับตัวตอสิ่งแวดลอม ทั้ ง ภายในและภายนอกร า งกายได อ ย า งมี ประสิทธิภาพ

สมองสวนหนา (Forebrain)

(Nervous system)

๑.๑ โครงสรางและหนาที่ของ ระบบประสาท ระบบประสาทสามารถแบงสวนสําคัญใหญๆ ๒ สวน ไดแก ระบบประสาทสวนกลาง และ ระบบประสาทสวนปลาย

๑) ระบบประสาทส ว นกลาง

(Central nervous system) ประกอบดวย สมอง (Brain) และไขสันหลัง (Spinal card) ซึ่ ง ประกอบด ว ยเซลล ป ระสาท (Neuron) จํานวนมากมาย โดยระบบประสาทสวนกลาง จะคอยทํ า หน า ที่ เ ป น ศู น ย ก ลางควบคุ ม และ ประสานการทํางานของอวัยวะตางๆ ในรางกาย ใหทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ ๑.๑) สมอง (Brain) เปนอวัยวะ ที่สําคัญและสลับซับซอนมาก มีขนาดใหญกวา สวนอื่นๆ ของระบบประสาทสวนกลาง และ ศูนยกลางควบคุมระบบประสาททัง้ หมด ซึง่ สมอง จะแบงออกเปน ๓ สวน โดยแตละสวนมีหนาที่ แตกตางกัน ดังแผนภาพ

สํารวจคนหา ใหนักเรียนทําการศึกษาเรื่อง ระบบประสาท จากหนังสือเรียน ในประเด็นตางๆ ดังนี้ • โครงสรางและหนาที่ของ ระบบประสาท • การสรางเสริมและดํารง ประสิทธิภาพการทํางานของ ระบบประสาท

๑. ระบบประสาท

นักเรียนควรรู เซลลประสาท ทําหนาที่รับสงกระแสประสาท ระหวางอวัยวะสวนตางๆ ในรางกาย กับระบบประสาทสวนกลาง

(Brain) (Brain)

เซรีบรัม (Cerebrum)

เปนสวนที่ใหญที่สุดของสมอง อยูบ ริเวณดานหนา แบงออก เปนสมองซีกซายและ สมองซีกขวา โดยมีรอ งลึกอยูต รงกลาง ทําหนาทีเ่ กีย่ วกับความจํา ไหวพริบ ความรูสึกนึกคิด และความรูสึก ผิดชอบ นอกจากนีย้ งั เปนศูนยกลาง ควบคุมการทํางานของสวนตางๆ ของรางกายที่อยูใตอํานาจจิตใจ เชน ควบคุมการทํางานของกลามเนื้อ การ รับสัมผัส การพูด การมองเห็น เปนตน

ไฮโพทาลามัส (Hypothalamus)

อยู  ที่ ด  า นหน า ตอนล า งของสมอง ทํ า หน า ที่ เ ป น ศู น ย ก ลางควบคุ ม กระบวนการและพฤติกรรมบางอยาง ของรางกาย เชน ควบคุมอุณหภูมิของรางกาย การเตนของหัวใจ การนอนหลับ ความดันโลหิต ความหิว ความอิ่ม เปนตน นอกจากนี้ยังเปน ศูนยกลางควบคุมอารมณและความรูสึกตางๆ เชน อารมณเศราโศก เสียใจ อารมณดีใจ เปนตน

ทาลามัส (Thalamus)

อยูเ หนือไฮโพทาลามัส ทําหนาทีเ่ ปน สถานีถายทอดกระแสประสาทที่รับ ความรูสึก กอนที่จะสงไปยังสมอง สวนที่เกี่ยวของกับกระแสประสาทนั้น


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู ครูสมุ นักเรียน 2-3 คน ออกมาอธิบาย ลักษณะและหนาทีข่ องสมองสวนตางๆ โดยครูชวยอธิบายเพิ่มเติมรวมกับ นักเรียนในหอง

สมองสวนทาย (Hindbrain)

นักเรียนควรรู

พอนส (Pons)

ระบบประสาทอัตโนมัติ เปน การทํางานของระบบประสาท ที่อยูนอกเหนืออํานาจจิตใจ

สวนของกานสมองที่อยูดานหนาเซรีเบลลัม ติดกับสมองสวนกลาง และมีหนาที่ควบคุม การทํางานกิจกรรมบางอยาง เชน การเคี้ยวอาหาร การเคลื่อนไหวของกลามเนื้อตรงบริเวณใบหนา การหายใจ การฟง เปนตน

นักเรียนควรรู

เซรีเบลลัม (Cerebellum)

หรือสมองนอย จะอยูสวนลาง ของเซรีบรัม คอยทําหนาที่เปน สวนสําคัญในการควบคุมการทรงตัวของรางกาย โดยดูแลการทํางานของสวนตางๆ ของรางกาย และระบบกลามเนื้อตางๆ ใหประสานสัมพันธกัน อยางเหมาะสมและราบรื่น อีกทั้งยังเปนตัวที่คอยรับ กระแสประสาทจากอวัยวะควบคุมการทรงตัว ซึ่งอยูใน หูชั้นใน ขอตอ และกลามเนื้อตางๆ ดวย

สมองสวนกลาง (Midbrain) เปนสวนเชื่อมตอระหวางสมองสวนหนา กับสมองสวนหลัง ทําหนาทีร่ บั ความรูส กึ จากไขสันหลัง และสวนตางๆ ของสมอง และมีหนาที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของ ลูกตาและมานตา เชน ทําใหลูกตากลอกไปมาได ปด เปดมานตาขณะที่มีแสงเขามามากหรือนอยได เปนตน

เมดัลลา ออบลองกาตา (Medulla oblongata)

เปนสมองสวนทายที่มีความสําคัญที่สุด ซึ่ง ตอนปลายของสมองสวนนีจ้ ะตอกับไขสันหลัง จึงเปนทางผานของกระแสประสาทระหวางสมองกับไขสันหลัง ทําหนาทีเ่ ปนศูนยกลางควบคุมการทํางานของอวัยวะทีส่ าํ คัญ ตอชีวติ เปนศูนยควบคุมกิจกรรมของระบบประสาทอัตโนมัติ เชน การเตนของหัวใจ การหายใจ การหมุนเวียนของโลหิต การกลืน การไอ การจาม เปนตน

หมายเหตุ : รวมเรียกสมองสวนกลาง พอนส และเมดัลลา ออบลองกาตา ทั้ง ๓ สวนวา

กานสมอง (Brain stem)

การเตนของหัวใจ ในผูใหญอัตรา การเตนของหัวใจปกติเฉลี่ยประมาณ 72 ครั้งตอนาที ซึ่งถาเกินกวาปกติ ตองระวังการเกิดโรคตางๆ เชน โรคหัวใจ โรคไทรอยดเปนพิษ เปนตน @

มุม IT

นักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับ ระบบประสาท ไดจาก http://www. med.cmu.ac.th/dept/vascular/ humam/lesson/lesson5.php

เกร็ดแนะครู ครูอาจนําโมเดลสมองมาประกอบ การอธิบาย เพือ่ ใหนกั เรียนเห็นภาพได ชัดเจน และเกิดความเขาใจมากยิง่ ขึน้

คูมือครู

3


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

อธิบายความรู ครูสุมนักเรียน 2-3 คน (ที่ไมใช คนเดิม) ออกมาอธิบายลักษณะและ หนาที่ของไขสันหลัง จากนั้นครูสุม นักเรียนอีก 2-3 คน (ที่ไมใชคนเดิม) ออกมาเชื่อมโยงใหเห็นความสัมพันธ ระหวางสมองและไขสันหลัง โดยครู ชวยอธิบายเพิ่มเติม

เกร็ดแนะครู ในการอธิบายความสัมพันธระหวาง สมองและไขสันหลัง ครูอาจยกตัวอยาง เรือ่ งปฏิกริ ยิ ารีเฟล็กซมาประกอบการ อธิบาย โดยอาจสุมนักเรียนออกมา 1 คน จากนั้นใหนักเรียนปดตาแลว ครูสงดอกกุหลาบที่มีหนามให หรือ อาจใชอยางอืน่ แทนก็ได ทัง้ นีข้ นึ้ อยกู บั การพิจารณาถึงความเหมาะสมของครู

นักเรียนควรรู นํ้าเลี้ยงสมองและไขสันหลัง สราง มาจากเสนเลือดฝอยบริเวณโพรงสมอง และไหลติดตอกับระบบหมุนเวียนโลหิต ทําหนาที่ในการหลอเลี้ยงสมองและ ไขสันหลังใหชุมชื้นอยูเสมอ อีกทั้งยัง คอยใหอาหาร และแกสออกซิเจนแก เซลลประสาท ในขณะเดียวกัน ก็ทําหนาที่ถายเทของเสียออกจาก เซลลประสาท

นักเรียนควรรู พยาธิสภาพ คือ สภาวะที่กอใหเกิด อาการของโรค

4

คูมือครู

๑.๒) ไขสันหลัง (Spinal cord) เปนสวนหนึง่ ของระบบประสาทสวนกลาง โดยเปนสวนทีต่ อ จากสมอง ลงไปตามแนวชองของกระดูกสันหลัง ซึ่งเริ่มจาก กระดูกสันหลังขอแรกไปจนถึงกระดูกบัน้ เอวขอที่ ๒ มีเสนประสาทแตกออกจากขอสันหลังมากมาย ไขสันหลังจะมีเยือ่ หุม ๓ ชัน้ และมีของเหลวบรรจุ อยูใ นเยือ่ หุม ทีเ่ รียกวา นํา้ เลีย้ งไขสันหลัง เมือ่ มีการ เจาะนํ้าเลี้ยงสมองและไขสันหลังหรือมีการฉีดยาเขา เสนสันหลัง แพทยจะเจาะหรือฉีดบริเวณตํา่ กวากระดูกบัน้ เอวขอที่ ๒ ลงไป เพราะบริเวณนี้จะเปนมัดของเสนประสาทไขสันหลัง ซึ่ ง ไม มี ไ ขสั น หลั ง ปรากฏอยู  โ อกาสที่ จ ะเกิ ด อั น ตรายกั บ ไขสันหลังจึงมีนอ ยกวาการฉีดเขาไปบริเวณอืน่ นอกจากนีห้ าก เจาะหรือฉีดบริเวณอืน่ อาจมีเชือ้ แบคทีเรียหรือเชือ้ ไวรัสหลุด เขาไปในเยื่อหุมไขสันหลัง ซึ่งเชื้อโรคจะกระจายไดอยาง รวดเร็ว ทําใหเกิดการอักเสบของไขสันหลังอยางรุนแรงได ไขสันหลังจะทําหนาที่ถายทอดกระแส ประสาทระหวางสมองและสวนตางๆ ของรางกาย นอกจากนีย้ งั ควบคุมปฏิกริ ยิ ารีเฟล็กซ (Reflex action) หรือปฏิกิริยาตอบสนองตอสิ่งเราอยางกะทันหัน เชน เมื่อมือบังเอิญถูกไฟหรือของรอนจะรีบกระตุกมือหนี ทันที เปนตน ปฏิ กิ ริ ย ารี เ ฟล็ ก ซ นี้ ถื อ เป น สั ญ ญาณ ที่แสดงใหเห็นถึงพยาธิสภาพของรางกายเกี่ยวกับ ระบบประสาท ซึง่ แพทยจะสามารถนํามาวินจิ ฉัยโรค บางชนิดได โครงสรางไขสันหลัง ซึง่ เปนสวนหนึง่ ของระบบประสาทสวนกลาง ประกอบดวยสมอง ไขสันหลัง และเสนประสาท

EB GUIDE http://www.aksorn.com/LC/He/M6/01

สมอง ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕

กระดูกสันหลังสวนคอ

ไขสันหลัง กระดูกสันหลังสวนอก

เสนประสาท

กระดูกสันหลังสวนบั้นเอว

กระดูกสันหลังสวน กระเบนเหน็บ


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

๒) ระบบประสาทสวนปลาย (Peripheral nervous system) เปนระบบประสาทที่

เชื่อมตอจากสวนตางๆ ของสมองและไขสันหลังไปยังสวนตางๆ ของรางกาย ซึ่งประกอบไปดวย เสนประสาทสมอง เสนประสาทไขสันหลัง และ ระบบประสาทอัตโนมัติ ๒.๑) เสนประสาทสมอง (Cranial nerves) มีอยู ๑๒ คู โดยจะทอด ออกมาจากสมองแลวผานไปยังรูตางๆ ของ กะโหลกศี ร ษะ ไปเลี้ ย งบริ เ วณ ศีรษะและลําคอ ซึ่งจะประกอบ ไปดวยเสนประสาทรับความรูส กึ เสนประสาทที่ทําหนาที่เกี่ยวกับ การเคลื่อนไหว และเสนประสาทที่ คอยทําหนาที่รวม คือทั้งรับความรูสึกและ เกี่ยวกับการเคลื่อนไหว ๒.๒) เสนประสาทไขสันหลัง (Spinal nerves) เปนเสนประสาทที่ออกจาก ไขสันหลังเปนชวงๆ ผานรูระหวางกระดูกสันหลัง การทีเ่ ราสามารถแสดงอิรยิ าบถตางๆ ไดนนั้ เปนผลมาจาก ไปสูรางกาย มีอยู ๓๑ คู ทุกคูจะทําหนาที่รวม ใยประสาทสั่งการ ซึ่งนําคําสั่งไปยังกลามเนื้อลายตางๆ ที่ คือทั้งรับความรูสึกและเกี่ยวกับการเคลื่อนไหว ยึดติดกับกระดูกใหทํางาน โดยปกติแลวเสนประสาทสมอง และเสนประสาทไขสันหลังจะประกอบไปดวย ใยประสาท ๒ จําพวก ไดแก ใยประสาทรับความรูสึก ซึ่งจะนําสัญญาณจากหนวยรับความรูสึก ไปยังสมองหรือไขสันหลัง และอีกพวกหนึง่ คือ ใยประสาทสัง่ การ นําคําสัง่ จากระบบประสาทสวนกลาง ไปยังกลามเนื้อลายตางๆ ที่ยึดติดกับกระดูกใหทํางาน ซึ่งจะชวยใหคนเราสามารถแสดงอิริยาบถ ในการเคลื่อนไหวตางๆ ได ๒.๓) ระบบประสาทอัตโนมัติ (Autonomic nervous system) เปนศูนยกลางการ ควบคุมของระบบประสาทซึง่ อยูใ นกานสมอง และสวนทีล่ กึ ลงไปในสมอง เรียกวา ไฮโพทาลามัส ซึ่งระบบประสาทอัตโนมัติจะทํางานที่ประสานกันอยางใกลชิดกับฮอรโมนจากระบบตอมไรทอ เปนอิสระอยูนอกอํานาจจิตใจ ทําหนาที่ควบคุมการทํางานของอวัยวะภายในของรางกายใหอยูใน สภาพปกติ เชน ควบคุมการไหลเวียนของโลหิต การยอยอาหาร การหายใจ การกําจัดของเสีย ออกจากรางกาย เปนตน แบงออกไดเปน ๒ สวน คือ ๕

ครูสุมใหนักเรียนออกมาอภิปราย เรือ่ งระบบประสาทสวนปลาย จากนัน้ ครูตั้งคําถามเพื่อชวยอธิบายเพิ่มเติม • เสนประสาทสมองและเสนประสาท ไขสันหลังมีกี่คู (แนวตอบ เสนประสาทสมอง มี 12 คู และเสนประสาท ไขสันหลัง มี 31 คู) • ระบบประสาทอัตโนมัตจิ ะทํางาน ทีป่ ระสานกันอยางใกลชดิ กับอะไร (แนวตอบ ฮอรโมนจาก ระบบตอมไรทอ)

นักเรียนควรรู นอกอํานาจจิตใจ หมายถึง ไมสามารถควบคุมไดดวยความ รูสึกนึกคิด เชน ไมสามารถหาม การยอยของกระเพาะอาหาร หรือ หามการเตนของหัวใจได

นักเรียนควรรู การกําจัดของเสียออกจากรางกาย เกิดขึ้นไดหลายทาง เชน ทางไต ทางผิวหนัง ทางปอด ทางลําไสใหญ เปนตน โดยไตจะทําหนาที่กําจัด ของเสียในรูปของปสสาวะ ผิวหนัง จะทําหนาที่กําจัดของเสียในรูปของ เหงื่อ ลําไสใหญจะทําหนาที่กําจัด ของเสียในรูปของอุจจาระ และปอด จะทําหนาที่กําจัดของเสียในรูปของ ลมหายใจ

คูมือครู

5


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

เกร็ดแนะครู หลังจากการอธิบายความรู ครูอาจ เสนอแนะแนวทางการสรางเสริมและ ดํารงประสิทธิภาพการทํางานของ ระบบประสาท โดยอาจใหนักเรียน หลับตาแลวกลอกกลิ้งลูกตาไปมา ทางซาย-ขวา บน-ลาง ประมาณ 2 รอบ หรืออาจใหนักเรียนหันศีรษะ ไปทางซาย-ขวา บน-ลาง เพื่อ ผอนคลาย

Evaluate

๑.๒ การสรางเสริมและดํารงประสิทธิภาพการทํางานของ ระบบประสาท ระบบประสาทเปนระบบที่มีความสําคัญตอการทํางานของอวัยวะตางๆ ใหสามารถดํารงชีวิต ไดอยางมีประสิทธิภาพ การสรางเสริมและดํารง ประสิทธิภาพการทํางานของระบบประสาทจึงมี ความสําคัญอยางยิ่ง ขอควรปฏิบตั เิ พือ่ สรางเสริมและดํารง ประสิทธิภาพการทํางานของระบบประสาท มีดงั นี้ ๑. หมั่ น สํ า รวจและดู แ ลสุ ข ภาพ ตนเองอยางสมํา่ เสมอ โดยการตรวจสมรรถภาพ รับความรูสึกของระบบประสาท เชน ตรวจ สายตา ตรวจการไดยิน เปนตน ๒. ระมัดระวังการกระทบกระเทือน การตรวจสมรรถภาพการมองเห็นโดยการตรวจสายตา บริเวณศีรษะ เพราะอาจทําใหความจําเสื่อม เปนสิ่งที่บุคคลควรใหความสําคัญ โดยไปตรวจเปนประจํา หรืออาจทําใหเปนอัมพาตได อยางนอยทุกๆ ๒ ป

อัมพาต (Paralysis) หมายถึง อาการ ออนแรงของแขนขาหรืออวัยวะอื่นๆ เชน ใบหนา ตา ปาก เปนตน ทําให รางกายสวนนั้นเคลื่อนไหวไมได โดย มีสาเหตุแบงออกเปน 3 ประการใหญๆ คือ หลอดเลือดในสมองตีบตัน หลอดเลือดในสมองมีลิ่มเลือดอุดตัน และหลอดเลือดในสมองแตก ๖

คูมือครู

Expand

(๑) ระบบประสาทซิมพาเทติก (Sympathetic nervous system) เปนระบบ ประสาทของการทํางานสําหรับผูใชพลังงาน โดยเฉพาะงานที่เกิดขึ้นทันทีทันใด หรือขณะตื่นเตน ภาวะฉุกเฉิน ระยะเจ็บปวย สงผลทําใหหวั ใจเตนเร็ว มานตาขยาย เพื่อเปนการเตรียมความพรอม ของรางกายจากสถานการณนั้นๆ ซึ่งมีศูนยกลางอยูที่ไขสันหลัง และมีเสนใยประสาทออกมาจาก ไขสันหลังสวนอกและเอว มีลักษณะเปนเสนสั้นๆ โดยมีกลุมของเซลลประสาทและเสนใยประสาท ตอเชื่อมโยงกันเปนลูกโซอยูดานหนาเยื้องไปทางดานขางตลอดความยาวของไขสันหลัง (๒) ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก (Parasympathetic nervous system) เปนระบบประสาทที่มีเสนใยประสาทมาจากสมองสวนกลาง เมดัลลาออบลองกาตา และบริเวณ ไขสันหลังสวนกระเบนเหน็บและกนกบ ทําหนาที่ควบคุมการทํางานของอวัยวะภายใน เสนเลือด และตอมตางๆ ใหอยูในสภาพที่พรอมทํางาน เชน ทําใหหัวใจเตนชาลง เสนเลือดคลายตัว เปนตน ทั้งนี้เพื่อไมใหอวัยวะตางๆ ทํางานมากเกินไป จะเห็นไดวา ระบบประสาททัง้ สองระบบนีจ้ ะทําหนาทีใ่ นทางตรงขามกัน เชน ระบบประสาทซิมพาเทติกจะกระตุนใหหัวใจเตนเร็ว แตระบบประสาทพาราซิมพาเทติก จะทําให หัวใจเตนชาลง เพื่อเปนการรักษาความสมดุลของรางกายใหสามารถดํารงชีวิตไดอยางปกติ

นักเรียนควรรู

6

ตรวจสอบผล (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

อธิบายความรู ครูใหนักเรียนแบงกลุม โดยให แตละกลุมสงตัวแทนออกมา รวมพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ถึงกระบวนการในการทํางานของ ระบบประสาท และเสนอแนะแนวทาง การสรางเสริมและดํารงประสิทธิภาพ การทํางานของระบบประสาทรวมกัน โดยครูชวยอธิบายเพิ่มเติม

ขยายความเขาใจ


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Expand

Evaluate

ขยายความเขาใจ ๓. ระมัดระวังปองกันไมใหเกิดโรคทางสมอง โดยใชวธิ กี ารตางๆ เชน ฉีดวัคซีนปองกัน โรคไขสมองอักเสบในเด็กตามที่แพทยกําหนด หรือรีบใหแพทยตรวจสอบเมื่อเกิดความผิดปกติ ที่เกี่ยวกับสมองหรือประสาทสวนตางๆ เปนตน เพือ่ ปรึกษาและหาทางแกไข ซึง่ จะทําใหสามารถ ดําเนินการรักษาไดอยางทันทวงที ๔. ออกกําลังกายอยางสมํ่าเสมอ เพื่อชวยใหรางกายแข็งแรง โดยเลือกกิจกรรม ใหเหมาะสมกับวัยและความสามารถของตนเอง ๕. เลื อ กรั บ ประทานอาหารที่ มี ประโยชนตอรางกาย โดยเฉพาะอาหารที่ให วิตามินบี ๑ สูง เชน อาหารจําพวกขาวกลอง ขาวซอมมือ ถั่วลิสง เครื่องในสัตว ผักผลไม เมล็ดทานตะวัน เปนตน เพราะวิตามินบี ๑ จะ บถือเปนการพักผอน เพื่อใหระบบประสาท ชวยทําใหระบบประสาท แขน และขา ทํางาน การนอนหลั ไดเกิดการผอนคลายอยางดีที่สุด ไดเปนปกติ อีกทั้งยังชวยปองกันโรคเหน็บชา ปองกันอาการเหนื่อยงาย และบํารุงสายตา ๖. หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารประเภทที่มีไขมันสูง หรืออาหารทอด ตลอดจน อาหารจานดวน (Fast food) รวมถึงเครื่องดื่มประเภทนํ้าอัดลม เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล ยาชนิดตางๆ ที่มีผลตอสมอง รวมทั้งสารเสพติด ซึ่งอาจสงผลใหเกิดอุบัติเหตุและอวัยวะตางๆ เกิดอันตรายได ๗. ถนอมและบํารุงอวัยวะตางๆ ที่เกี่ยวของกับระบบประสาท เชน การใชสายตากับ แสงที่เพียงพอ หลีกเลี่ยงการใชเครื่องคอมพิวเตอรเปนเวลานาน การแคะหูหรือจมูก การเจาะลิ้น ใสหมุดตามแฟชั่น เปนตน เพราะอาจเกิดอันตรายหรือเกิดโรคติดเชื้อตางๆ ตามมา ๘. หาเวลาพักผอนอยางเพียงพอ ตลอดจนหากิจกรรมเพื่อผอนคลายความเครียดใน กิจวัตรประจําวัน เนือ่ งจากหากปลอยใหความเครียดสะสมเปนเวลานาน จะกอใหเกิดผลเสียทัง้ ตอ รางกายและจิตใจ ดังนั้นจึงควรผอนคลายดวยวิธีการตางๆ เชน การออกกําลังกาย การนั่งสมาธิ การทองเที่ยว การสังสรรคกับเพื่อนฝูง การทําจิตใจใหราเริงแจมใส การพักผอนอยางเพียงพอ โดยเฉพาะการนอนหลับ เพราะเปนการพักผอนสมองและรางกายอยางดีทสี่ ดุ โดยขณะทีน่ อนหลับ ประสาททุกสวนที่อยูในอํานาจของจิตใจจะไดรับการพักผอนอยางเต็มที่ และระบบประสาทที่อยู นอกอํานาจจิตใจก็จะทํางานนอยลงดวย ๗

ใหนักเรียนเขียนสรุปกระบวนการ ทํางานของระบบประสาทและเสนอแนะ แนวทางการสรางเสริมและดํารง ประสิทธิภาพการทํางานของ ระบบประสาทในรูปของผังความคิด

ตรวจสอบผล การเขียนสรุปกระบวนการทํางาน ของระบบประสาทและเสนอแนะ แนวทางการสรางเสริมและดํารง ประสิทธิภาพการทํางานของ ระบบประสาทในรูปของผังความคิด

เกร็ดแนะครู ครูเปดโอกาสใหนักเรียนถาม ขอสงสัยในประเด็นตางๆ พรอมทั้ง ใหนักเรียนเสนอความคิดเห็นและ อธิบายเพิ่มเติม

นักเรียนควรรู วัคซีนปองกันโรคไขสมองอักเสบใน เด็ก (Japanese Encephalitis : JE) ซึง่ จะฉีดเขาใตผวิ หนัง (Subcutaneous) โดยเข็มแรก (JE1) จะเริ่มฉีดเมื่ออายุ ครบ 1 ป จากนั้นจะฉีดเข็มที่ 2 (JE2) หางกัน 1-4 สัปดาห เข็มที่ 3 (JE3) อายุ 2 ป 6 เดือน และเข็มที่ 4 ฉีดกระตุน หางจากเข็ม 3 อยางนอย 4-5 ป ซึ่ง หลังจากการฉีดวัคซีนนี้ เด็กอาจ มีอาการปวดเฉพาะที่ หรืออาจมีไข ปวดศีรษะ คลื่นไส อาเจียน และอาจ มีผื่นขึ้นตามตัวได

คูมือครู

7


กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา Explore

Engage

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

กระตุนความสนใจ ครูใหนักเรียนดูภาพ ในหนา 8-9 แลวตั้งคําถามเพื่อกระตุนการเรียนรู • นักเรียนคิดวาสิ่งมีชีวิตที่มี ระบบสืบพันธุแบบไมอาศัยเพศ มีอะไรบาง (แนวตอบ เชน ไฮดรา อะมีบา ดาวทะเล เพลี้ย เปนตน) • ถามนุษยเรามีระบบสืบพันธุ แบบไมอาศัยเพศ โลกนี้จะเปน อยางไร (แนวตอบ ขึ้นอยูกับความคิดเห็น ของนักเรียน)

๒. ระบบสืบพันธุ (Reproductive system) การสืบพันธุของมนุษยเปนระบบการสืบพันธุแบบอาศัยเพศ (Sexual Reproductive System) ซึ่งเกี่ยวของกับการสืบทอดและดํารงเผาพันธุ ของมนุษยใหมีจํานวนมากขึ้นตามธรรมชาติ

๒.๑ โครงสรางและหนาที่ของระบบสืบพันธุ ระบบสืบพันธุจะมีลักษณะโครงสรางและหนาที่ซึ่งมีลักษณะที่ แตกตางกันระหวางระบบสืบพันธุเพศชายและเพศหญิง ดังนี้

ระบบสืบพันธุเพศชาย

(Male reproductive system) เปนระบบทีม่ คี วามเกีย่ วพันกันกับระบบขับถายปสสาวะของรางกาย ทัง้ นีเ้ นือ่ งจาก ถุงเก็บตัวอสุจกิ บั กระเพาะปสสาวะจะอยูใ นตําแหนงทีใ่ กลเคียงกันมาก และตัวอสุจกิ บั นํ้าปสสาวะก็จะเคลื่อนออกมาทางทอปสสาวะเชนเดียวกัน

สํารวจคนหา ใหนกั เรียนแบงกลุม กลุม ละ 5-6 คน รวมศึกษาเรื่องระบบสืบพันธุจาก หนังสือเรียนในประเด็นตางๆ ตอไปนี้ • ระบบสืบพันธุเพศชาย • ระบบสืบพันธุเพศหญิง • การสรางเสริมและดํารง ประสิทธิภาพการทํางานของ ระบบสืบพันธุ

นักเรียนควรรู การสืบพันธุ (Reproduction) หมายถึง กระบวนการที่ทําใหเกิด สิ่งมีชีวิตตัวใหมขึ้นมาจากสิ่งมีชีวิต ชนิดเดียวกัน โดยสิ่งมีชีวิตรุนใหมที่ เกิดขึ้นนี้จะทดแทนสิ่งมีชีวิตรุนเกา ที่ตายไป ทําใหสิ่งมีชีวิตชนิดนั้นๆ เหลือรอดอยูไดโดยไมสูญพันธุ

การสรางเซลลสืบพันธุเพศชาย เมือ่ เริม่ เขาสูว ยั รุน เพศชายจะเริม่ สรางเซลลสบื พันธุท เี่ รียกวา ตัวอสุจิ (Sperm) โดย ตัวอสุจจิ ะถูกสรางขึน้ ในทอผลิตตัวอสุจขิ องลูกอัณฑะ มีลกั ษณะคลายลูกออด ประกอบดวย สวนสําคัญ ๓ สวน คือ สวนหัวที่มีขนาดโต ซึ่งเปนสวนที่มีนิวเคลียสอยู และถือวาเปนสวน ที่สําคัญที่สุดในการสืบพันธุ สวนคอมีลักษณะเปนทรงกระบอกยาว และสวนหางยาวเรียว ซึ่งเปนสวนที่ใชในการเคลื่อนที่ ภายหลังจาก ทีต่ วั อสุจถิ กู สรางขึน้ แลวก็จะเคลือ่ นตัวไปยังหลอดเก็บอสุจจิ นกวา จะเจริญเต็มที่ จากนัน้ จะเคลือ่ นไปยังหลอดนําอสุจิ โดยในระยะนี้ ตอมลูกหมากและตอมอื่นๆ จะชวยกันผลิตและสงของเหลวมา เลี้ยงตัวอสุจิ เมื่อตัวอสุจิออกสูภายนอกจะมีชีวิตอยูไดเพียง ๒-๓ ชั่วโมง แตถาอยูในมดลูกของเพศหญิงก็จะอยูได นานประมาณ ๒๔-๔๘ ชั่วโมง สวนหัว สวนคอ

๘ @

สวนหาง

มุม IT

ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับอสุจิและ ระบบสืบพันธุเพศชาย ไดจาก http://school.obec.go.th/padad/ scien32101/BODY/8BODY.html

8

คูมือครู

นักเรียนควรรู อสุจิ โดยปกติเพศชายจะเริ่มสรางตัวอสุจิไดเมื่ออายุประมาณ 12-13 ป ซึ่งการหลั่งนํ้าอสุจิในแตละครัง้ จะมีของเหลวเฉลีย่ ประมาณ 3-4 ลูกบาศกเซนติเมตร และมีตวั อสุจเิ ฉลี่ยประมาณ 350 - 500 ลานตัว


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

ตอสรางนํ้าเลี้ยงอสุจิ (Seminal vesicle)

มีลักษณะคลายถุงยาวๆ ๒ ถุง ทําหนาทีส่ รางของเหลวสีเหลืองออน ที่ประกอบดวยเมือก กรดอะมิโน และนํ้าตาลฟรักโทส ซึ่งเปนแหลง พลังงานของตัวอสุจิ

ครูใหนักเรียนแตละกลุมออกมา ตอบคําถามและอธิบายความเขาใจ ตามผลการศึกษาโดยถามคําถามใน ประเด็นตางๆ ตอไปนี้ • เซลลสืบพันธุของเพศชายคือ อะไร ผลิตจากสวนใด (แนวตอบ อสุจิ ผลิตจากถุงอัณฑะ) • โครงสรางของระบบสืบพันธุ เพศชายประกอบดวยอะไรบาง (แนวตอบ สามารถหาคําตอบได จากเนื้อหา หนา 9) • ตอมตางๆ ในระบบสืบพันธุม กี าร ทํางานอยางไรบาง ( แนวตอบ ศึ ก ษาได จ ากเนื้ อ หา หนา 8-9)

ตอมลูกหมาก (Prostate gland)

ทําหนาที่สรางนํ้าเมือกสีขาวขนเหลว ที่มีฤทธิ์เปนดางออนๆ เพื่อทําให ชองคลอดของเพศหญิงซึ่งมีสภาพ เปนกรด เปลีย่ นสภาพเปนกลาง ทําให อสุจิมีชีวิตรอดเมื่อเขาสูชองคลอด

ตอมขับเมือก (Cowper’s gland)

ทําหนาทีส่ รางนํา้ หลอลืน่ เปนเมือกใสๆ โดย จะเกิดในชวงแรกของการมีเพศสัมพันธ เพื่อ ชําระลางกรดของนํา้ ปสสาวะทีเ่ คลือบทอปสสาวะ ชวยให ตัวอสุจิยังมีชีวิตอยูในขณะเคลื่อนที่ออกมา

หลอดนําอสุจิ (Vas deferens)

มี ๒ หลอดทําหนาทีเ่ ปนชองทางใหอสุจเิ คลือ่ นทีผ่ า นตอมสราง นํ้าเลี้ยงอสุจิและตอมลูกหมาก แลวมีปลายเปด เขาสูทอปสสาวะ

ลูกอัณฑะ (Testis)

มีลกั ษณะคลายรูปไขอยู ภายในถุงหุมอัณฑะ ซึ่งจะทําหนาที่ผลิต ฮอรโมนเพศชาย เทสโทสเทอโรน และตัวอสุจิ (Sperm)

นักเรียนควรรู นํ้าเมือกสีขาวขนเหลวที่มีฤทธิ์ เปนดางออนๆ ชวยลดความเปนกรด ในทอปสสาวะซึง่ เปนทอนําอสุจิ ทําให ตัวอสุจิไมไดรับอันตราย

หลอดเก็บอสุจิหรือกานอัณฑะ (Epididymis) เปนหลอดหรือทอเล็กๆ ที่ขดไปมา ซึ่งมีลักษณะคลายลูกนํ้าตัวเต็มวัย ทําหนาที่เปนที่พักชั่วคราวของอสุจิ ทีเ่ จริญเต็มที่ กอนทีจ่ ะสงผานไปยัง หลอดนําอสุจิ

นักเรียนควรรู เทสโทสเทอโรน (Testosterone) มีหนาที่สําคัญในการกระตุนใหเกิด ลักษณะเฉพาะของความเปนชาย เชน การมีเสียงแหบหาว มีกลามเนื้อ ที่ใหญขึ้นมีรูปรางทรวดทรงเปนชาย การหลั่งนํ้าอสุจิ มีความตองการ ทางเพศ เปนตน

องคชาตหรือลึงค (Penis)

มีลักษณะยื่นออกเปนหลอดกลวง เมื่ อ มี ค วามรู  สึ ก ทางเพศ องคชาต จะแข็งตัวและขยายขนาดเพิ่มขึ้น ทําหนาที่เปนทางผาน ของนํ้ า อสุ จิ เ พื่ อ เข า ไปผสมพั น ธุ  กั น กั บ ไข ข องเพศหญิ ง ขณะมีเพศสัมพันธ

๙ @

มุม IT

นักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับ ภาวะฮอรโมนเพศตํา่ ของผูช าย ไดจาก www.bumrungrad.com/menhealth-center/th/hypogonadism. aspx โรงพยาบาลบํารุงราษฎร คูมือครู

9


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

อธิบายความรู ครูใหนักเรียนแตละกลุมสงตัวแทน ออกมาสรุปถึงกระบวนการสรางเซลล สืบพันธุเพศหญิง โดยใชแผนภาพ ในหนา 10 - 11 หรืออาจใชโมเดลที่ครู เตรียมมาประกอบ จากนั้นครูชวย อธิบายเพิ่มเติม

ระบบสืบพันธุเพศหญิง

(Female reproductive system) ระบบสืบพันธุข องเพศหญิงประกอบไปดวยอวัยวะตางๆ ทีท่ าํ งานสัมพันธกนั ทัง้ อวัยวะทีอ่ ยูใ กลกนั และบางสวนทีอ่ ยูไ กลออกไป ระบบสืบพันธุเ พศหญิง เปรียบเสมือนถนนที่นําพาอสุจิของฝายชายไปพบกับไขที่ทอนําไข และพาตัวออนที่ปฏิสนธิแลวกลับมาฝงตัวในโพรงมดลูก

เกร็ดแนะครู

เตานม (Breast)

มี ๒ ขาง โดยบริเวณเตานมของ แตละขางจะมีหลอดเลือดและจะมี เสนประสาทไปเลี้ยงอยูมาก จึงมี ความไวตอการสัมผัส ตรงกลาง ของเตานมที่ยื่นออกมา เรียกวา หัวนม โดยรอบๆ หัวนมจะลอมรอบดวยผิวสีคลํ้า เตานม จะทําหนาที่ผลิตนํ้านมสําหรับทารก

ครูควรสอดแทรกเรือ่ งมะเร็งเตานม ซึง่ อาจพบไดทงั้ ในเพศชายและเพศหญิง และสอนวิธีการตรวจมะเร็งเตานม ดวยตนเองใหนักเรียนทราบ ซึง่ ครู ควรสาธิตวิธีการตรวจใหถูกตอง

นักเรียนควรรู

การสรางเซลลสืบพันธุ เพศหญิง

ฝงตัวที่เยื่อบุมดลูก โดยปกติแลว ไขจะไดรับการผสมกับอสุจิที่บริเวณ ทอนําไข แลวจึงฝงตัวทีบ่ ริเวณผนัง มดลูก แตในบางครั้งก็อาจมีการ ฝงตัวที่บริเวณทอนําไขได เรียกวา เปนการทองนอกมดลูก ซึ่งถือวาเปน อันตรายอยางมาก เพราะไมใชบริเวณ ที่มีความเหมาะสมตอการฝงตัว

เซลลสืบพันธุเพศหญิงหรือไข สรางโดยรังไข ซึ่งรังไขแตละขางจะผลิต ไขสลับกันขางละประมาณ ๒๘-๓๐ วัน โดยผลิต ครั้งละ ๑ ใบ เมื่อไขสุกก็จะหลุดออกจากรังไขมายังทอนําไข ในระยะนี้ ผ นั ง มดลู ก จะมี เ ลื อ ดมาหล อ เลี้ ย งเยื่ อ บุ ม ดลู ก มากขึ้ น เพื่อเตรียมรอรับการฝงตัวของไขที่จะไดรับการผสม เมื่อไขไดรับการผสมจาก อสุจิแลว ก็จะมาฝงตัวที่เยื่อบุมดลูก และเจริญเติบโตเปนทารกตอไป แตถาไข ไมไดรับการผสมจากตัวอสุจิ ไขก็จะสลายพรอมกับเยื่อบุมดลูก ไหลออกมา พรอมกับเลือด (ซึ่งเปนเลือดที่มาจากผนังบุมดลูกบริเวณที่ไขมีการฝงตัวอยู) เรียกวา “ประจําเดือน”

ปากมดลูก (Cervix)

เปนกลามเนื้อที่บีบตัวเปนจังหวะ ซึ่งจะเปด อาออกเล็กนอย เพือ่ ใหตวั อสุจผิ า นเขาไปไดใน ขณะที่มีเพศสัมพันธุ และจะยืดตัวอยางเต็มที่ เพื่อใหทารกเคลื่อนตัวผานออกไปในระหวาง การคลอด ๑๐

10

คูมือครู


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

อธิบายความรู ครูใหนักเรียนรวมอภิปรายผล การศึกษาคนควาในประเด็นตางๆ ตอไปนี้ • การสรางเซลลสืบพันธุเพศหญิง • ตอมตางๆ ในระบบสืบพันธุที่มี ผลตอการทํางานของรางกาย

มดลูก (Uterus)

มีรูปรางคลายลูกชมพู อยูในบริเวณอุงกระดูกเชิงกราน ระหวางกระเพาะปสสาวะกับทวารหนัก ภายในเปนโพรง ผนังเปนกลามเนื้อเรียบหนา ซึ่งยืดหดไดมากเปนพิเศษ มีทางติดตอกับชองคลอดและทอนําไข ทําหนาที่เปนที่ ฝงตัวของไขที่ไดรับการผสมแลว และเปนที่เจริญเติบโต ของทารกในครรภ

ขยายความเขาใจ ครูใหนักเรียนเชื่อมโยงผลของ ฮอรโมนเพศตออารมณและรางกาย เชน ในชวงที่มีประจําเดือน เปนตน โดยใหนักเรียนเขียนสรุปลงใน กระดาษรายงาน

ทอนําไข (Oviduct)

หรื อ ป ก มดลู ก (Fallopian tube) เปนทอที่เชื่อมระหวาง รั ง ไข ทั้ ง สองข า งกั บ มดลู ก ทําหนาที่เปนทางผานของ ไขจากรังไขไปยังมดลูก

นักเรียนควรรู ฮอรโมนเอสโทรเจน (Estrogen) ทําหนาทีก่ ระตนุ ใหเกิดลักษณะเฉพาะ ของความเปนหญิง เชน มีเสียงแหลม ใบหนาที่เปลงปลั่ง เอวคอด มีหนาอก สะโพกผาย เปนตน

รังไข (Ovary)

อยูบริเวณปกมดลูกแตละขาง โดยดานในยึดติดกับมดลูก สวนดานนอกยึดติด กับผนังลําตัว ทําหนาทีผ่ ลิตไข (Ovum) มาเดือนละ ๑ ใบ และผลิตฮอรโมนเพศหญิง คือ ฮอรโมนเอสโทรเจน และ ฮอรโมนโพรเจสเทอโรน

นักเรียนควรรู ฮอรโมนโพรเจสเทอโรน (Progesterone) ทําหนาที่กระตุนการสราง มดลูกใหหนาขึ้นเพื่อรองรับการฝงตัว ของไขที่ปฏิสนธิแลว รวมถึงปองกัน การบีบรัดตัวของมดลูกระหวาง ตั้งครรภ และกระตุนการผลิตนํ้านม เมื่อมีทารก

ชองคลอด (Vagina)

ทําหนาทีเ่ ปนทางผานของตัวอสุจเิ ขาสูม ดลูก เปนทางออก ของทารกเมื่อครบกําหนดคลอด และยังเปนชองสําหรับ การไหลออกของประจําเดือน โดยภายในชองคลอดจะ มีฤทธิ์เปนกรดออนๆ เพื่อตอตานเชื้อโรค

๑๑ @

มุม IT

ศึกษาเรื่องฮอรโมนเพศชายและ ฮอรโมนเพศหญิง ไดจาก www. il.mahidahac.th/e-media/ hormone/chapter5/what_ is-sex-harmone.htm คูมือครู

11


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Explain

ขยายความเขาใจ ใหนกั เรียนนําแนวทางการสรางเสริม และดํารงประสิทธิภาพการทํางานของ ระบบสืบพันธุไ ปแนะนําใหแกบคุ คลใน ครอบครัว เพื่อใชเปนแนวทางปฏิบัติ ใหนักเรียนเขียนสรุปกระบวนการ ทํางานและการสรางเสริมและดํารง ประสิทธิภาพการทํางานของ ระบบสืบพันธุเปนผังความคิด

ตรวจสอบผล การเขียนสรุปกระบวนการทํางาน ของระบบสืบพันธุเปนผังความคิด

๒.๒ การสรางเสริมและดํารงประสิทธิภาพการทํางานของ ระบบสืบพันธุ ระบบสืบพันธุท งั้ ในเพศชายและเพศหญิง เปนระบบทีส่ าํ คัญตอการดํารงรักษาเผาพันธุ หากมี การทํางานที่ผิดปกติอาจสงผลตอสุขภาพได ดังนั้นจึงควรมีการสรางเสริมและดํารงประสิทธิภาพ การทํางานของระบบสืบพันธุ เพื่อใหทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ แนวทางการสรางเสริมและดํารงประสิทธิภาพการทํางานของระบบสืบพันธุ มีดังนี้ ๑. รับประทานอาหารใหถูกสัดสวนทั้ง ๕ หมู ลดอาหารจําพวกที่มีไขมันสูง และเพิ่มอาหาร ที่มีกากใยสูง เชน ผัก ผลไม ถั่วเมล็ดแหง เปนตน สําหรับในเพศหญิงซึ่งมีการสูญเสียเลือดจาก การมีประจําเดือน และตองผลิตเลือดใหมในทุกรอบเดือน จึงควรรับประทานอาหารที่ชวยบํารุง เซลลเม็ดเลือด ไดแก อาหารที่มีธาตุเหล็กสูง เชน เนื้อสัตว ตับ ไขแดง ถั่วเมล็ดแหง เปนตน ๒. หมั่นดูแลรักษาทําความสะอาดอวัยวะเพศ เพื่อไมใหเกิดการหมักหมม ๓. สวมเสื้อผาและชุดชั้นในที่สะอาด สวมใสสบาย ไมรัดแนนจนเกินไป และไมใชเสื้อผา ผาเช็ดตัว รวมถึงเครื่องนุงหมรวมกับผูอื่น เพราะอาจทําใหติดเชื้อบางชนิดได ๔. หลีกเลีย่ งการขับถายทีผ่ ดิ สุขลักษณะ เชน การกลัน้ ปสสาวะ การใชสว มทีไ่ มสะอาด เปนตน ๕. งดและหลีกเลีย่ งการมีพฤติกรรมทางเพศทีเ่ สีย่ ง เพราะอาจติดเชือ้ ทางเพศสัมพันธโดยเฉพาะ เชื้อเอดสไดงาย ๖. งดเครือ่ งดืม่ ทีม่ สี ว นผสมของแอลกอฮอล เนือ่ งจากแอลกอฮอลสง ผลตอการเปลีย่ นแปลง ระดับฮอรโมนเพศใหลดลงโดยเฉพาะในเพศชาย ทําใหเสื่อมสมรรถภาพทางเพศได ๗. หลีกเลี่ยงการใชยา สารเสพติด หรือสารเคมีเพื่อกระตุนความรูสึกทางเพศ ๘. ไมควรหมกมุนในเรื่องเพศมากเกินไป ควรทํากิจกรรมตางๆ เชน ออกกําลังกาย เลนกีฬา ทํากิจกรรม นันทนาการ เปนตน เพือ่ เบีย่ งเบนความสนใจของตนเองออกจากเรื่องเพศ ๙. ควรพักผอนใหเพียงพอ ไมเครงเครียด และทําจิตใจใหราเริงแจมใสอยูเสมอ ๑๐. ระวังอยาใหอวัยวะสืบพันธุถ กู กระทบ กระแทกอยางรุนแรง เพราะอาจทําใหเกิดการ บาดเจ็บและเปนอันตรายได และหากมีความ ผิดปกติเกีย่ วกับอวัยวะสืบพันธุห รือสงสัยวาอาจ หญิงมีประจําเดือนควรรับประทานถัว่ เมล็ดแหงเปนประจํา เปนโรคติดตอทางเพศสัมพันธ ควรรีบปรึกษา เพราะมีธาตุเหล็ก ไขมันตํ่า และมีกากใยสูง แพทยทันที

NET ขอสอบ ป 51 ขอใดเปนความเสี่ยงตอการเกิด โรคเอดส 1. สําสอนทางเพศ 2. ใชของรวมกับผูปวย 3. เที่ยวสถานเริงรมย 4. ใชหองนํ้าสาธารณะรวมกับ ๑๒ ผูปวย (วิเคราะหคําตอบ โรคเอดส ADIS เกิดจากเชื้อไวรัส Human Immunodejicienay Virus หรือ HIV ระยะฟกตัว 3-5 ป ซึ่งจะเขาไปทําลาย ระบบภูมคิ มุ กันทางรางกาย จึงมีโอกาสติดเชือ้ โรคไดงา ยบุคคลทีม่ โี อกาสเสีย่ ง ตอการติดเชื้อเอดสไดงาย คือ ผูที่ชอบเที่ยวสําสอนทางเพศ ชายรักรวมเพศ ผูติดสิ่งเสพติด ตอบ ขอ 1.)

12

คูมือครู

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

อธิบายความรู ครูใหนักเรียนแตละกลุมออกมา รวมกันอภิปรายถึง • กระบวนการทํางานของระบบ สืบพันธุ • วิธกี ารสรางเสริมและดํารง ประสิทธิภาพการทํางานของระบบ สืบพันธุ โดยครูชวยอธิบายเพิ่มเติมหลัง การนําเสนอของแตละกลุม

Expand


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุนความสนใจ ครูรวมพูดคุยกับนักเรียนถึงเรื่อง มะเร็งปากมดลูก จากนัน้ ครูตงั้ คําถาม เพื่อกระตุนการเรียนรู • นักเรียนคิดวาหญิงในวัยใดควร ไปรับการตรวจคัดกรองมะเร็ง ปากมดลูก (แนวตอบ ผูหญิงทุกคนนับตั้งแต วัยรุนไปจนกระทั่งถึงวัยสูงอายุ)

เสริมสาระ

คิดใหถูก รูใหทัน มะเร็งปากมดลูก เซลลมะเร็งปากมดลูก ปจจุบันจะเห็นไดวามีผูหญิงจํานวนไมนอยที่ยังทําใจยอมรับกับ การตรวจภายในไมได เนื่องจากบางคนก็เขินอาย บางคนก็กลัวเจ็บ สงผลทําใหหญิงไทยปวยเปนโรคมะเร็งปากมดลูก (Cancer of cervix) พุงสูงราวปละ ๑๐,๐๐๐ ราย โดยสวนใหญจะตรวจพบในระยะทายๆ ซึ่งมะเร็งลุกลามจนไมสามารถจะรักษาได วิธีที่จะปองกันไดดีที่สุด คือ การเรงตรวจคัดกรองและรับวัคซีน ปองกันเชื้อเอชพีวี โดย ๓ กลุมเสี่ยงหลักที่ตองดําเนินการคัดกรอง คือ

กลุมหญิงที่แตงงานแลว

พบวาแมจะมีเพศสัมพันธกับคนรักเพียงคนเดียวโดยไมมี พฤติกรรมสําสอน หรือเปลี่ยนคูนอนบอยก็ตาม แตใน บางครั้งสภาพแวดลอมอื่นๆ ก็เอื้อตอการติดเชื้อได เชน การไดรับเชื้อจากหองนํ้าสาธารณะ รถประจําทาง สิ่งสกปรกที่ติดตามซอกเล็บ เปนตน โดยทั้งหมดนี้ สามารถนําไปสูการติดเชื้อเอชพีวีทั้งสิ้น

กลุมหญิงที่อยูในชวงวัยรุน

ซึ่งพอแมจะไมใหความสําคัญในการปองกันโรคมากนัก เพราะเห็นวาอายุยังนอยอยู ทั้งๆ ที่เปนกลุมที่สามารถ ปองกันไดดีที่สุด ซึ่งในตางประเทศมีการฉีดวัคซีนปองกัน มะเร็งปากมดลูกตั้งแต ๑๑ ขวบ จากขอมูลทางการแพทย พบวา การฉีดวัคซีนในวัยเด็กกอนการมีเพศสัมพันธ ครั้งแรกสามารถปองกันการติดเชื้อสูงถึงรอยละ ๘๐ และสามารถปองกันไดนานถึง ๙ ป

กลุมหญิงวัยทํางาน ที่ยังไมไดแตงงาน

นักเรียนควรรู ตรวจคัดกรอง การตรวจคัดกรอง มะเร็งปากมดลูก (Pap smear) สามารถเขารับการตรวจไดตาม โรงพยาบาลทั่วไป โดยปจจุบันไดมี โครงการเลดี้เช็คเกิดขึ้น เพื่อมาให บริการในการตรวจคัดกรองมะเร็ง ปากมดลูกแกประชาชน ซึ่งสามารถ สอบถามขอมูลไดที่ Call center เลดี้เช็ค โทร. 08-4900-0949 เวลา 12.00 น. - 22.00 น. ทุกวัน หรือ องคการแพธ (Path) โทร. 02-653-7563-65

นักเรียนควรรู

มักมีความมั่นใจในตัวเองสูง คิดวาตนไมใชกลุมเสี่ยง อีกทั้งยังเขาใจวา การใชถุงยางอนามัยจะปองกันโรคนี้ได บางคนยังเขาใจผิดไปวา มะเร็งปากมดลูกอาจเกิดจากกรรมพันธุ หากญาติพี่นองไมมีประวัติการปวย ตนเองก็จะไมมีโอกาสติดเชื้อ แนนอน ซึ่งถือเปนการเขาใจผิดอยางมาก ๑๓

@

เชื้อเอชพีวี (HPV : Human Papillomavirus) เปนเชื้อไวรัส ชนิดหนึ่งที่กอใหเกิดมะเร็ง เชน มะเร็งปากมดลูก มะเร็งในชองคลอด มะเร็งปากชองคลอด เปนตน ซึ่งจะ ติดตอจากการมีเพศสัมพันธเปนหลัก โดยสามารถเกิดไดทั้งจากการมี เพศสัมพันธระหวางชาย-หญิง หรือหญิง-หญิง

มุม IT

ศึกษาเพิม่ เติมเกีย่ วกับมะเร็งปากมดลูก ไดจากรายการพบหมอศิรริ าช ตอน การตรวจคัดกรอง โรคมะเร็งปากมดลูก ไดจาก http://www.youtube.com/watch?v=JEj-7My9CLk คูมือครู

13


กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา Explore

Engage

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

กระตุนความสนใจ ครูใหนักเรียนดูภาพตอมไรทอ แลวตั้งคําถามใหนักเรียนแสดง ความคิดเห็น • ฮอรโมนคืออะไร (แนวตอบ ฮอรโมนเปนสารเคมีที่ รางกายผลิตขึ้นเพื่อกระตุนหรือ ยับยัง้ กระบวนการตางๆ ในเซลล) • ตอมไรทอคืออะไร (แนวตอบ กลุมเซลลหรืออวัยวะที่ มีหนาที่สรางฮอรโมน) • ในภาพมีตอมไรทอใดบางที่ นักเรียนศึกษาผานมาแลว (แนวตอบ สวนใหญจะเคยศึกษา ผานมาแลวตั้งแตชั้น ม.1)

๓. ระบบตอมไรทอ (Endocrine system) ระบบตอมไรทอ เปนระบบทีส่ าํ คัญตอการเปลีย่ นแปลงของรางกาย อันมีผลตอการเจริญเติบโต การใชพลังงาน การสืบพันธุ ตลอดจนการตอบสนองทางดานอารมณอกี ดวย ทัง้ นีย้ งั ทําหนาทีผ่ ลิต ฮอรโมน (Hormone) ซึ่งมีความสําคัญตอการดํารงชีวิตเปนอยางมาก โดยฮอรโมนเหลานี้จะเขาสู ระบบไหลเวียนโลหิตไปยังสวนตางๆ ของรางกายใหสามารถทํางานไดตามปกติ

๓.๑ โครงสรางและหนาที่ของระบบตอมไรทอ ระบบตอมไรทอ เปนระบบซึง่ มีอทิ ธิพลตออวัยวะตางๆ เกีย่ วกับกระบวนการ เมแทบอลิซึมในรางกาย ทั้งนี้เพื่อใหอวัยวะเปาหมายตางๆ ภายในรางกาย สามารถทํางานไดตามปกติ โดยระบบนี้จะมีโครงสรางและหนาที่เฉพาะอยาง ที่แตกตางกันออกไป

ระบบตอมไรทอ (Endocrine system)

สํารวจคนหา

ตอมเพศ (Gonads)

ใหนักเรียนทําการศึกษาเกี่ยวกับ เรือ่ งระบบตอมไรทอ จากหนังสือเรียน และแหลงเรียนรูเพิ่มเติม ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 4-5 คน เขียนผังความคิดเรื่องหลักการ สรางเสริมและดํารงประสิทธิภาพ การทํางานของระบบตอมไรทอ

มีหนาที่สรางไขซึ่งเปนเซลลสืบพันธุของเพศหญิง และสร า งฮอร โ มนเพศหญิ ง คื อ เอสโทรเจน (Estrogen) และโพรเจสเทอโรน (Progesterone) ซึ่งทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงที่แสดงถึงลักษณะ ของเพศหญิงเมื่อเขาสูวัยรุน เชน เตานมเจริญเติบโต สะโพกผาย มีขนขึ้นบริเวณรักแรและอวัยวะเพศ มีประจําเดือน และมีความรูสึกทางเพศ เปนตน

๒. ตอมเพศในเพศชาย คือ อัณฑะ (Testis)

เกร็ดแนะครู

มีหนาที่สรางอสุจิซึ่งเปนเซลลสืบพันธุเพศชาย และฮอรโมน เพศชาย คือ เทสโทสเทอโรน (Testosterone) ทําใหเกิด การเปลี่ยนแปลงของเพศชายในวัยรุน เชน มีเสียงหาว มี หนวดเครา กลามเนื้อเปนมัด มีขนขึ้นตามแขน ขา รักแร และ อวัยวะเพศ ตลอดจนมีความรูสึกทางเพศ เปนตน

ครูอาจนําเขาสูบทเรียนโดย การเชื่อมโยงกับเรื่องที่ผานมา เชน ตอมใตสมอง รังไข หรืออัณฑะ ซึง่ เปน อวัยวะหนึ่งในระบบตอมไรทอ ๑๔

14

คูมือครู

๑. ตอมเพศในเพศหญิง คือ รังไข (Ovary)

EB GUIDE http://www.aksorn.com/LC/He/M6/02


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู ตอมใตสมองหรือตอมพิทูอิทารี (Pituitary gland) แบงเปน ๒ สวน คือ ตอมใตสมองสวนหนา ทําหนาทีผ่ ลิตฮอรโมนควบคุมการเจริญเติบโต ของรางกาย และผลิตฮอรโมนเพศหญิงเพื่อเรงใหไขสุก ตลอดจนกระตุนอัณฑะใหสราง อสุจิและผลิตฮอรโมนเพศชาย และตอมใตสมองสวนหลัง ทําหนาที่ผลิตฮอรโมน คือ ออกซิโทซิน (Oxytocin) ซึ่งมีผลตอการบีบตัวของมดลูก กระตุนการหลั่งนํ้านมขณะ คลอดบุตร และวาโซเพรสซิน (Vasopressin) ซึ่งมีผลตอการทํางานของไต ควบคุมนํ้า ในรางกาย ระบบขับถายปสสาวะ และชวยเพิ่มความดันโลหิต ตอมไพเนียล (Pineal gland) เปนตอมเล็กๆ ทําหนาที่ยับยั้งการเจริญเติบโตของตอมเพศในชวงระยะ กอนเขาสูว ยั รุน แตเมือ่ เขาสูว ยั รุน อาจมีผลตอการตกไขและประจําเดือน ในเพศหญิง หากผลิตฮอรโมนมากเกินไป จะทําใหเปนหนุมสาวชากวา ปกติ แตหากตอมนี้ถูกทําลาย เชน เกิดเนื้องอกในสมอง ก็จะสงผลให เปนหนุมสาวเร็วกวาปกติ เปนตน ตอมไทรอยด (Thyroid gland) เปนตอมไรทอที่ใหญที่สุดของรางกาย ผลิตฮอรโมน ไทรอกซิน (Thyroxin) ซึ่งจะชวยควบคุมการเผาผลาญ และการเจริญเติบโตของอวัยวะตางๆ ในรางกาย หาก มีการผลิตฮอรโมนมากเกินไป จะทําใหเกิดโรคคอพอก หากผลิตนอยเกินไป ก็จะทําใหระบบเผาผลาญและ การเจริญเติบโตในรางกายผิดปกติ ตอมพาราไทรอยด (Parathyroid gland) เปนตอมไรทอที่เล็กที่สุด ผลิตพาราฮอรโมน (Para Hormone)เพื่อควบคุมระดับแคลเซียมและฟอสฟอรัส ในเลือด ซึ่งหากผลิตฮอรโมนมากเกินไป อาจทําใหเกิด นิ่วที่ไต กระดูกพรุน ปวดกระดูกและขอ แตถาหากผลิต ฮอรโมนนอยเกินไป จะมีผลตอระบบกลามเนื้อและ ระบบประสาท เชน เกิดอาการกลามเนือ้ กระตุก เปนตน ตอมไทมัส (Thymus gland) อยูบ ริเวณดานหนาทรวงอก มีขนาดเปลีย่ นแปลงไป ตามอายุ ทารกที่อยูในครรภมารดาตอมนี้จะโตมาก และจะมีขนาดใหญทสี่ ดุ เมือ่ มีอายุ ๖ ป จากนัน้ จะคอยๆ หายไป ตอมนี้ทําหนาที่ควบคุมการทํางานของระบบภูมิคุมกัน ตับออน (Pancreas) เปนไดทั้งตอมมีทอ ซึ่งทําหนาที่สรางนํ้ายอย เพื่อใชยอยอาหาร และตอมไรทอ ทําหนาที่สรางฮอรโมนอินซูลิน (Insulin) และ ฮอรโมนกลูคากอน (Glucagon) เพือ่ ควบคุมระดับนํา้ ตาลในเลือด ตอมหมวกไต (Adrenal gland) แบงเปน ๒ สวน คือ ชัน้ นอก ทําหนาทีส่ รางฮอรโมนกลูโคคอรตคิ อยด (Glucocorticoid) ควบคุมเมแทบอลิซมึ และการเผาผลาญในรางกาย และฮอรโมนมินเนราโลคอรติคอยด (Mineralocorticoid) ควบคุม สมดุลของนํา้ และเกลือแรในรางกาย และชัน้ ใน ทําหนาทีส่ รางฮอรโมน อะดรีนาลิน (Adrenalin) ซึ่งมีผลจากการถูกกระตุน เชน ตกใจ ตื่นเตน เปนตน และสรางฮอรโมนนอรอะดรีนาลิน (Noradrenalin) ซึ่งมีผลทําใหเสนเลือดแดงที่ไปเลี้ยงอวัยวะภายในหดและบีบตัว

ครูใหนักเรียนรวมกันอภิปรายถึง ลักษณะและการทํางานของตอมไรทอ แตละชนิด โดยครูผูสอนและนักเรียน ทุกคนในหองรวมแสดงความคิดเห็น และอธิบายเพิ่มเติม

NET ขอสอบ ป 51 ตอมไรทอใด หากถูกทําลายไปเมื่อ รางกายเจริญเติบโตเต็มที่แลว อาจมี ชีวิตอยูไดระยะหนึ่งเทานั้น 1. ตับออน 2. ตอมหมวกไตสวนใน 3. ตอมไทรอยด 4. ตอมใตสมองสวนหนา (วิเคราะหคําตอบ ตอมใตสมอง สวนหนาทําหนาที่ผลิตฮอรโมนที่ ชวยกระตุนและควบคุมการทํางาน ของตอมไรทออื่นๆ หากถูกทําลาย จะมี ผ ลให มี ชี วิ ต อยู  ไ ด ร ะยะหนึ่ ง เทานั้น ตอบ ขอ 4.)

นักเรียนควรรู

๑๕

เมแทบอลิซึม เปนกระบวนการทาง ปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นในสิ่งมีชีวิตโดย มีเอนไซมเปนตัวเรงปฏิกริ ยิ า แบงออก เปน 2 ประเภท ดังนี้ 1. แอนาบอลิซึม (Anabolism) เปน กระบวนการสรางสารโมเลกุลใหญ จากสารโมเลกุลเล็ก โดยใช พลังงานจากเซลล เชน การสราง โปรตีน ไขมัน คารโบไฮเดรต เปนตน 2. คาแทบอลิซมึ (Catabolism) เปน กระบวนการสลายสารโมเลกุลใหญ ใหเปนสารโมเลกุลเล็ก เชน การ ยอยอาหาร การหายใจ เปนตน

คูมือครู

15


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Explain

นักเรียนแตละกลุมรวมนําเสนอ ผังความคิด พรอมอธิบายหลักการของ การสรางเสริมและดํารงประสิทธิภาพ การทํางานของระบบตอมไรทอ โดย ครูชวยอธิบายเพิ่มเติมเพื่อใหได ขอสรุปที่ถูกตองรวมกัน

๓.๒ การสรางเสริมและดํารงประสิทธิภาพการทํางานของ ระบบตอมไรทอ ระบบตอมไรทอนั้นมีความสําคัญตอการเจริญเติบโตและพัฒนาการตางๆ ของรางกาย หาก ระบบตอมไรทอมีการทํางานบกพรอง ก็จะทําใหเกิดปญหาตอสุขภาพ การเจริญเติบโต และ พัฒนาการดานตางๆ ได ดังนั้นจึงควรมีการสรางเสริมและดํารงประสิทธิภาพการทํางานของ ระบบตอมไรทอใหสามารถทํางานไดอยางเปนปกติ ขอควรปฏิบัติการสรางเสริมและดํารงประสิทธิภาพการทํางานของระบบตอมไรทอ มีดังนี้ ๑. หมัน่ สํารวจและดูแลสุขภาพตนเองอยางสมํา่ เสมอ โดยการตรวจสมรรถภาพทีเ่ กีย่ วของกับ ระบบตอมไรทอ เชน การชั่งนํ้าหนัก วัดสวนสูง เพื่อดูพัฒนาการการเจริญเติบโตใหเปนไปตาม มาตรฐาน เปนตน ๒. ควรเลือกรับประทานอาหารทีม่ ปี ระโยชน และไดสดั สวนทีเ่ หมาะสมอยางเพียงพอ โดยพยายาม หลีกเลีย่ งอาหารทีม่ ไี ขมันและคอเลสเตอรอลสูง รวมถึงอาหารทีม่ รี สจัด เพราะอาจเปนสาเหตุทที่ าํ ให เกิดโรคเบาหวานได ควรรับประทานอาหารทะเลหรือเกลือทีม่ ธี าตุไอโอดีน เพือ่ ปองกันโรคคอพอก ๓. ออกกําลังกายอยางสมํา่ เสมอ เพราะการออกกําลังกายนอกจากจะชวยใหรา งกายแข็งแรง สมบูรณแลว ยังสงผลทําใหมีสุขภาพจิตดี ระบบตอมไรทอและระบบประสาทอัตโนมัติก็สามารถ ทํางานไดอยางสมดุลดวย ๔. ควรดื่มนํ้าสะอาด วันละ ๖-๘ แกว และนํ้าผลไมแทนการดื่มเครื่องดื่มประเภทนํ้าอัดลม เนื่องจากนํ้ามีสวนชวยในการผลิตฮอรโมน ควรลดปริมาณหรือหลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล เพราะมีผลทําใหตอ มไรทอ บางตอมทํางานดอยประสิทธิภาพลง ซึง่ อาจสงผลเสียตอรางกายได ๕. ควรที่จะพักผอนอยางเพียงพอ เชน การนอน การคลายความเครียดดวยกิจกรรม นันทนาการและงานอดิเรกตางๆ เปนตน รวมทัง้ ควรมีความคิดสรางสรรค คิดในเชิงบวกมากๆ ซึ่งทําใหตอมใตสมองหลั่งฮอรโมนที่ดี สงผลให มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดีดวย ๖. หลีกเลี่ยงจากการเขาไปอยูอาศัยใน สภาพแวดลอมที่อาจสงผลตอระบบตอมไรทอ เชน แหลงโรงงานอุตสาหกรรมถลุงแร เปนตน ควรหลีกเลีย่ งอาหารทีม่ ไี ขมันและคอเลสเตอรอลสูง เพราะ ๗. กรณีเกิดความผิดปกติของรางกาย ควร จะมีผลกระทบตอการทํางานของระบบตอมไรทอ รีบไปพบแพทยเพื่อทําการรักษาทันที

ขยายความเขาใจ ใหนักเรียนอธิบายและรวมกัน สรุปแนวทางการสรางเสริมและ ดํารงประสิทธิภาพการทํางานของ ระบบตอมไรทอจากผังความคิด

ตรวจสอบผล การเขียนสรุปองคประกอบและ การทํางานของระบบตอมไรทอ การเขียนผังความคิดเรื่องหลักการ สรางเสริมและดํารงประสิทธิภาพ การทํางานของระบบตอมไรทอ

นักเรียนควรรู อาหารทะเล ถึงแมวาในอาหาร ทะเลจะมีธาตุไอโอดีนสูง แตใน ขณะเดียวกัน พวกกุง หอย ปลาหมึก ปู ก็มีคอเลสเตอรอลสูงเชนกัน ดังนั้น จึงควรเลือกบริโภคแตพอเหมาะหรือ อาจหันมารับประทานอาหารจําพวก ปลาทะเลแทน ๑๖

คูมือครู

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

อธิบายความรู

16

Expand


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ขยายความเขาใจ ใหนักเรียนศึกษาเรื่อง ปลุกสมอง ใหตนื่ ตัว จากเสริมสาระในหนา 17-18 แลวนําแนวทางไปปรับใชใน ชีวิตประจําวัน

เสริมสาระ

ปลุกสมอง ใหตื่นตัว สมอง สมองถือเปนอวัยวะสําคัญที่ตองไดรับการเอาใจใสเปนพิเศษ เนื่องจากมีผลตอการดํารงชีวิตมากที่สุด ไมวาจะเปนการเรียนหรือ การทํางานก็ตาม หากตื่นมาแลวสมองไมพรอมที่จะทํางาน ก็อาจ สงผลกระทบตอการดําเนินชีวิตประจําวันได ดังนั้นไมวาจะปฏิบัติ กิจกรรมอะไรก็ตาม ควรมีการเริม่ ตนวันใหมอยางสดใส สมองปลอดโปรง ดวย ๕ เทคนิคงายๆ ในเวลาจํากัด ดังนี้ นอนหลับใหเพียงพอ

เกร็ดแนะครู ครูควรเชื่อมโยงใหนักเรียนเห็นวา เนือ้ หาในเสริมสาระเรือ่ ง การปลุกสมอง ใหตนื่ ตัว เปนแนวทางหนึง่ ในการ สรางเสริมและดํารงประสิทธิภาพ การทํางานของระบบประสาท

การพักผอนนอยจะทําใหประสิทธิภาพการจําลดลง อีกทัง้ ยังนําไปสูก าร มีนํ้าหนักตัวที่เพิ่มขึ้น โดยผลการศึกษาดานโภชนาการของนักวิจัยใน สหรัฐอเมริกาพบวา ระบบดูดซึมสารอาหารและเผาผลาญพลังงาน ของรางกายจะลดลงเมื่อนอนหลับนอยเกินไป ดังนั้นในแตละวันจึง ควรพักผอนอยางนอย ๗-๘ ชั่วโมง

อาบนํ้าอุนและนํ้าเย็นในเวลา เพือ่ กระตุน การทํางานของตอมตางๆ ในรางกาย ชวยใหระบบไหลเวียนโลหิต เดียวกัน ทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยเริม่ จากนํา้ อุน กอน เพือ่ ปรับอุณหภูมิ รางกาย ผอนคลายกลามเนื้อ จากนั้นจึงปลุกเราประสาทสัมผัส และ ทําใหกลามเนื้อกระชับสดชื่นดวยนํ้าเย็น รับประทานอาหารมื้อเชา เปนประจําทุกวัน

เนื่องจากขณะหลับนั้นรางกายยังคงใชสารอาหารตลอดเวลา ดังนั้น แมจะมีกจิ วัตรรีบเรงจนไมมเี วลารับประทานขาวเชา ก็ไมควรทีจ่ ะละเลย ควรรับประทานอาหารที่มีคุณคาที่ใชเวลาไมมากแทน เชน นม ผลไม เครื่องดื่มธัญญาหาร ขนมปง เปนตน เพียงเทานี้สมองก็ปลอดโปรง และพรอมสําหรับการเรียนหรือปฏิบัติภารกิจตางๆ ของวัน

ดื่มนํ้าผัก-ผลไม

ผัก-ผลไม เปนแหลงสารอาหารซึ่งอุดมไปดวยวิตามินหลายชนิด อีกทั้ง รสหวานจากธรรมชาติยงั ใหพลังงานแกรา งกาย ตลอดจนชวยผอนคลาย ความออนเพลีย กระตุนความสดชื่น และฟนความกระปรี้กระเปรา

นวดเรียกความสดชื่น

ใชนิ้วมือ ๒ นิ้ว นวดชีพจรบริเวณทองแขนประมาณ ๒-๓ นาที จากนั้น ใช ๒ นิ้ว กดลงบนกลางหนาผากทั้ง ๒ ดาน คางไวประมาณ ๒-๓ นาที ชวยบริหารสมอง กระตุนการไหลเวียนโลหิต คลายความตึงเครียดได ๑๗

คูมือครู

17


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ครูอาจใหนักเรียนลองปฏิบัติตาม วิธีในเสริมสาระ แลวถามความรูสึก ของนักเรียนหลังจากปฏิบัติ

๑๘

คูมือครู

Evaluate

สําหรับวัยเรียนที่รูสึกวาตื่นนอนตอนเชาแลวไมสดชื่น ลองเรียกความกระฉับกระเฉงดวยวิธีดังกลาว ขางตน แตถาหากระหวางวันรูสึกวาสมองเริ่มไมปลอดโปรง ตื้อ มึนงง ใหลองปฏิบัติดวยวิธีการ ดังนี้ ประสานงานสมอง

ใหเขียนเลข 8 ในอากาศดวยมือทั้ง ๒ ขาง ขางละ ๕ ครั้ง โดย เริ่มจากดานซายของเลขกอน แลวเขียนวนใหเปนเลข 8 ซึ่งวิธีนี้ จะชวยเพิม่ ประสิทธิภาพดานการอาน และการทําความเขาใจทีด่ ขี นึ้ และทําใหสมองดานซายและดานขวาทํางานประสานกัน

นํ้าเปลาหลอเลี้ยงสมอง

วางขวดนํ้าไวใกลๆ ตัวเปนประจํา และคอยจิบทีละนอย ซึ่งวิธีนี้ จะชวยใหจิตใจและรางกายตื่นตัวตลอดเวลา ทําใหสมองเปดวาง สามารถรับสารหรือขอมูลไดดี เนื่องจากนํ้าจะชวยปรับสารเคมี ที่สําคัญในสมองและระบบประสาท

นวดจุดเชื่อมสมอง

วางมือขางหนึ่งไวบนสะดือ สวนมืออีกขางหนึ่ง ใช นิ้ ว หั ว แม มื อ และนิ้ ว ชี้ ว างบนกระดู ก หน า อก บริเวณใตกระดูกไหปลารา และคอยๆ นวดทั้ง ๒ ตําแหนง ประมาณ ๑๐ นาที วิธีนี้จะชวยลด ความงงหรือสับสน กระตุนพลังงานและชวยใหมี ความคิดแจมใส

นวดใบหูกระตุนความเขาใจ

ทําไดโดยการนั่งพักสบายๆ แตะปลายนิ้วทั้ง ๒ ขาง ที่ใบหู โดยเคลื่อนนิ้วไปยังสวนบนของหู จากนั้น บี บ นวดและคลี่ ร อยพั บ ของใบหู ทั้ ง ๒ ข า งออก คอยๆ เคลื่อนนิ้วลงมานวดบริเวณอื่นๆ ของใบหู ดึงเบาๆ เมื่อถึงติ่งหูดึงลง ทําซํ้ากัน ๒ ครั้ง วิธีนี้ จะชวยกระตุนการไดยิน และทําใหความเขาใจดีขึ้น เพราะจะเป น การคลายเส น ประสาทบริ เ วณใบหู ที่เชื่อมไปยังสมอง

เกร็ดแนะครู

18

ตรวจสอบผล (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

ขยายความเขาใจ เมื่อนักเรียนอานเสริมสาระ ในหนา 17-18 จบแลว ใหนักเรียนเสนอแนะ วิธีที่จะชวยทําใหสมองปลอดโปรงที่ นอกเหนือจากในเสริมสาระ โดยครูสมุ ตัวแทนนักเรียน 5-6 คน ออกมา นําเสนอวิธีการดังกลาว

Expand


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engage

Explore

Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ตรวจสอบผล การทํารายงานเกีย่ วกับกระบวนการ ในการทํางานของระบบประสาท ระบบสืบพันธุ และระบบตอมไรทอ การเขียนสรุปถึงวิธีการสรางเสริม และดํารงประสิทธิภาพการทํางานของ ระบบประสาท ระบบสืบพันธุ และ ระบบตอมไรทอ เปนผังความคิด

สรุป

ระบบประสาท ระบบสืบพันธุ และระบบตอมไรทอ ตางก็มคี วาม สํ า คั ญ ต อ ร า งกายทั้ ง สิ้ น โดยที่ ร ะบบประสาทจะช ว ยควบคุ ม การทํางานและรับความรูสึกของอวัยวะทุกสวน ชวยใหรางกาย สามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ ในขณะที่ระบบสืบพันธุ ชวยในการสืบทอดเผาพันธุ ใหคงอยูตอไป และระบบตอมไรทอก็จะ ทําการผลิตฮอร โมนไปตามกระแสเลือดสูอ วัยวะเปาหมายเพือ่ ทําหนาที่ ควบคุมการทํางานของระบบตางๆ ทัง้ นีท้ กุ ระบบจะตองมีการทํางาน ที่ประสานสัมพันธกัน หากระบบใดระบบหนึ่งบกพรองหรือผิดปกติ ยอมสงผลกระทบตอการทํางานของระบบอื่น จนอาจเปนอันตราย ถึงชีวิตได ดังนั้นจึงควรดูแล สรางเสริม และดํารงประสิทธิภาพ การทํางานของระบบตางๆ ใหเปนไปอยางปกติ

๑๙

คูมือครู

19


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

เกร็ดแนะครู (แนวตอบ คําถามประจําหนวย การเรียนรู 1. ขั้นตอนการทํางาน • ระบบประสาทควบคุมการทํางาน ทุกระบบในรางกายใหสมั พันธกนั โดยมีหนาที่รับความรูสึกและ ตอบสนองตอสิ่งเรา เพื่อให รางกายสามารถปรับตัวตอ สิ่งแวดลอมไดดี • ระบบสืบพันธุประกอบไปดวย ระบบสืบพันธุเพศชาย และ เพศหญิง โดยระบบสืบพันธุ เพศชาย จะสรางเซลลสืบพันธุ ที่เรียกวาตัวอสุจิออกมาผสม กับเซลลสืบพันธุหรือไขของ เพศหญิงเพื่อดํารงเผาพันธุ • ระบบตอมไรทอมีผลตอการ เจริญเติบโต การใชพลังงาน การสืบพันธุ และการตอบสนอง ทางดานอารมณ ทําหนาที่ผลิต ฮอรโมนซึ่งมีความสําคัญตอการ ดําเนินชีวิต 2. มีความสัมพันธกันในการควบคุม การทํางานของระบบอื่นๆ ของ รางกายใหอยูในภาวะสมดุล เชน เมื่อรางกายถูกกระตุนโดยระบบ ประสาท ระบบตอมไรทอก็จะ หลั่งฮอรโมนที่เกี่ยวของออกมา 3. สงผลใหสขุ ภาพโดยรวมเกิดปญหา เชน ตอมไทรอยดมหี นาทีผ่ ลิตฮอรโมน ไทรอกซิน ซึ่งมีความสําคัญยิ่งตอ การทํางานของอวัยวะอื่นๆ ทั่วรางกาย หากทํางานผิดปกติ จะสงผลตอทุกระบบในรางกาย 4. รักษาอนามัยสวนบุคคล บริโภค อาหารใหเหมาะสม ออกกําลังกาย สมํ่าเสมอ ทําจิตใจใหแจมใส และ หมั่นตรวจสุขภาพเปนประจําทุกป 5. ถือเปนปจจัยหลักอันเกิดจาก พฤติกรรมสุขภาพของบุคคล ซึ่ง สามารถสรางเสริมและดํารง ประสิทธิภาพไดงายๆ หากบุคคล มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม)

20

คูมือครู

¤íÒ¶ÒÁ»ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ๑ จงอธิบายขั้นตอนการทํางานของระบบประสาท ระบบสืบพันธุ และระบบตอมไรทอ มาพอสังเขป ๒ ระบบตอมไรทอมีความสัมพันธกับระบบประสาทอยางไร จงอธิบายพรอมยกตัวอยางมาพอเขาใจ ๓ ถาระบบใดระบบหนึ่งทํางานผิดปกติ จะสงผลกระทบตอภาวะสุขภาพของเราอยางไรบาง จงอธิบาย พรอมยกตัวอยางประกอบ ๔ หากตองการใหระบบประสาท ระบบสืบพันธุ และระบบตอมไรทอ ทํางานอยางมีประสิทธิภาพ นักเรียน มีวิธีการสรางเสริมและดํารงประสิทธิภาพของระบบตางๆ ดังกลาวอยางไร ๕ เพราะเหตุใด การออกกําลังกายและการบริโภค จึงถือวาเปนปจจัยสําคัญในการชวยสรางเสริมและ ดํารงประสิทธิภาพของระบบตางๆ ในรางกาย

¡Ô¨¡ÃÃÁ

ÊÌҧÊÃä ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ กิจกรรมที่

กิจกรรมที่

กิจกรรมที่

ครูทําสลากระบบอวัยวะทั้ง ๓ ระบบ โดยใหนักเรียนแบงกลุม ๓ กลุม แลว สงตัวแทนออกมาจับสลาก จากนัน้ ใหนกั เรียนทํารายงานเกีย่ วกับระบบอวัยวะ ที่จับสลากได โดยมีภาพประกอบสงครูผูสอน ครูเชิญบุคลากรสาธารณสุขในทองถิ่น มาบรรยายใหความรูเกี่ยวกับปญหาที่ เกิดขึ้นกับระบบประสาท ระบบสืบพันธุ และระบบตอมไรทอ ตลอดจน แนวทางในการสรางเสริมและดํารงประสิทธิภาพการทํางานของระบบตางๆ ทั้ง ๓ ระบบ โดยใหนักเรียนสรุปสาระสําคัญจัดทําเปนปายนิเทศ ใหนกั เรียนแตละคน ทําบันทึกรายงานพฤติกรรมการดูแลตนเอง เพือ่ สรางเสริม และดํารงประสิทธิภาพการทํางานอยางนอย ๑ ระบบของหนวยการเรียนรูนี้ เปนระยะเวลา ๑ เดือน แลวสรุปเปนขอมูลสงครูผูสอน

๒๐

หลักฐาน แสดงผลการเรียนรู • รายงานเกี่ยวกับกระบวนการทํางานของระบบตางๆ • ผังความคิดสรุปวิธกี ารสรางเสริมและดํารงประสิทธิภาพการทํางานของระบบตางๆ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.