8858649121684

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº »ÃСѹÏ

·Õè ȸ. ¨Ð»ÃСÒÈÃÒ¡Òú¹àÇçºä«µ µÑé§áµ‹ Á. ¤. ’55 ໚¹µŒ¹ä»

ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ รายวิชา

ทัศนศิลป

ู ร ค หรับ

สํา

ชั้นมัธยมศึกษาปที่

เอกสารหลักสูตรแกนกลางฯ ’51 ประกอบดวย ● ● ● ● ●

คําแนะนําการใชคูมือครู แถบสี/สัญลักษณที่ใชสื่อความหมายในคูมือครู ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง คําอธิบายรายวิชา ตารางวิเคราะหเนื้อหากับมาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัด

ตารางแสดงความแตกตางระหวาง “ คูมือครู ” กับ “ หนังสือเรียน * ” ความแตกตาง

ขนาดตัวอักษร ปกดานหลัง ระบบการจัดพิมพ สวนเสริมดานหนา

คูมือครู ยอลงจากปกติ 20%

พิมพ 4 สี มี เอกสารหลักสูตร คําอธิบายรายวิชา มี กิจกรรมแบบ 5E ความรูเสริมสําหรับครู พิมพสอดแทรกไวตลอดทั้งเลม ●

หนังสือเรียน ขนาดปกติ 100% : ตัวอักษรใหญกวา ที่พิมพในคูมือครูนี้ มีใบอนุญาต/ใบประกันคุณภาพ พิมพ 4 สี

-

เนื้อหาในเลม

● ●

* ที่ ศธ. อนุญาตใหโรงเรียนใชได

มีเฉพาะเนื้อหาสาระตามที่ ศธ. อนุญาตฯ/สนพ.ประกันคุณภาพ

6


คําแนะนําการใชคูมือครู

: การจัดการเรียนรูสูหองเรียนคุณภาพ

คูมือครู ทัศนศิลป ม.6 จัดทําขึ้นเพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการวางแผนและเตรียมการสอนโดยใช หนังสือเรียน ทัศนศิลป ม.6 ของบริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด เปนสื่อหลัก (Core Material) ประกอบ เสร�ม การออกแบบกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดกลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ ตาม 2 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 โดยจัดทําตามหลักการสําคัญ ดังนี้

1. ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน

คูม อื ครู ทัศนศิลป ม.6 จัดทําเปนหนวยการเรียนรูต ามลําดับสาระการเรียนรูท รี่ ะบุไวในมาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัด แตละหนวยจะกําหนดเปาหมายการสอนและจุดประสงคการเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรม การเรียนรู (Learning Activities) และแนวทางการประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชดั เจน ครูผสู อน สามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั ทีเ่ ปนเปาหมายการเรียนรูข องแตละหนวย การเรียนรู (ตามแผนภูมิ) และสามารถบันทึกผลการจัดการเรียนการสอนไดอยางมั่นใจ

นรู

สภ

าพ

ผู

จุดป

ระส

เรีย

งค

รีย า รเ

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชั้นป

ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน

แผนภูมิแสดงองคประกอบของการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผูเรียนเปนสําคัญ

2. การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ

แนวคิดในการจัดการเรียนการสอนที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ พัฒนามาจากปรัชญาและทฤษฎีการเรียนรู Constructivism ที่เชื่อวาการเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสราง ความรูโดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดพบเห็นกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู

คูม อื ครู


ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา นักเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีความรูความเขาใจสิ่งตางๆ ติดตัวมากอนที่จะเขาสู หองเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากบริบทและสิง่ แวดลอมรอบตัวนักเรียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกระบวนการเรียนรู เสร�ม ในแตละบทเรียน ผูสอนจะตองคํานึงถึง

3

1) ความรูเดิมของนักเรียน การสอนที่ดีจึงตองเริ่มตนจากจุดที่วา นักเรียนมีความรูอะไรมาบาง แลวจึงให ความรูห รือประสบการณใหมเพือ่ ตอยอด จากความรูเดิม

2) ความรูเ ดิมของนักเรียนถูกตอง หรือไม ผูสอนตองปรับเปลี่ยนความรู ความเขาใจเดิมของนักเรียนใหถูกตอง และเปนพฤติกรรมการเรียนรูใหมที่มี คุณคาตอนักเรียน เพื่อสรางเจตคติหรือ ทัศนคติที่ดีตอการเรียน

3) นั ก เรี ย นสร า งความหมาย สําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมให นักเรียนนําขอมูลความรูที่ไดไปลงมือ ปฏิ บั ติ และประยุ ก ต ใ ช ค วามรู  อ ย า ง ถู ก ต อ ง ในบริ บ ทที่ เ ป น จริ ง ของชี วิ ต นักเรียน เพื่อขยายความรูใหลึกซึ้งและ มีคุณคาตอตัวนักเรียนมากที่สุด

แนวคิด Constructivism เนนใหผูเรียนสรางความรูโดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูของตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศการเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความ ขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณความรูใหม ผูเรียนจะพยายามปรับขอมูลใหม กับประสบการณที่มีอยูเดิม แลวสรางเปนความรูใหมหรือแนวคิดใหม ให ๆ ไดดวยตนเอง

3. การบูรณาการกระบวนการคิด

การเรียนรูข องนักเรียนแตละคนจะเกิดขึน้ ทีส่ มองซึง่ ทําหนาทีร่ คู ดิ ภายใตสภาพแวดลอมทีเ่ อือ้ อํานวยและได รับการกระตนุ จูงใจอยางเหมาะสมสอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของนักเรียน การจัดกระบวนการเรียนรู และสาระการเรียนรูท มี่ คี วามหมายตอผูเ รียน จะชวยกระตนุ ใหสมองรับรูแ ละสามารถเรียนรูไ ดอยางมีประสิทธิภาพ ตามขั้นตอนการทํางานของสมอง ดังนี้ 1) สมองจะเรียนรูและสืบคนโดย 2) สมองจะแยกแยะคุ ณค าของ การสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง สิง่ ตางๆ โดยการลงมติ ตัดสินใจ วิพากษ ปฏิบัติ จนคนพบความรูความเขาใจได วิจารณ แสดงความคิดเห็น ยอมรับหรือ อยางรวดเร็ว ตอตานตามอารมณความรูสึกที่เกิดขึ้น ในขณะที่เรียนรู

3) สมองจะประมวลเนื้อหาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสาน กับความรูหรือประสบการณเดิมที่ถูก จัดเก็บอยูในสมอง ผานการกลั่นกรอง เพื่อสังเคราะหเปนความรูความเขาใจ ใหมๆ หรือเปนเหตุผลทัศนคติใหมที่จะ ฝงแนนในสมองของผูเรียน

คูม อื ครู


การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะ เกิดขึ้นเมื่อสมองรูคิดและตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมองผูเรียน โดยเริ่มตนจาก เสร�ม

4

1) ระดับการคิดขั้นพื้นฐาน ไดแก 2) ระดับลักษณะการคิด ไดแก 3) ระดับกระบวนการคิด ไดแก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดหลากหลาย กระบวนการคิ ด อย า งมี วิ จ ารณญาณ การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล คิดไกล คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล กระบวนการแกปญหา กระบวนการคิด การสรุปผล เปนตน เปนตน สรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะห วิจัย เปนตน

4. การบูรณาการกระบวนการเรียนรูพื้นฐานอาชีพ

กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายสงเสริมการเรียนพื้นฐานอาชีพในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อเสริมสราง ทักษะที่จําเปนสําหรับการประกอบอาชีพ และดํารงชีวิตในสังคมทองถิ่นของผูเรียนอยางมีความสุข และเปนการ เตรียมความพรอมดานกําลังคนใหมีทักษะพื้นฐานและศักยภาพในการทํางงาน เพื่อการแขงขันและกาวสูประชาคม อาเซียนหรือประชาคมโลกตอไป 4.1 ทักษะพื้นฐานเพื่อการประกอบอาชีพ การจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผูเรียนในรายวิชาพื้นฐาน ทุกกลุมสาระการเรียนรูและทุกระดับชั้นเรียน ผูสอนควรบูรณาการประสบการณการเรียนรูพื้นฐานอาชีพควบคู ไปกับการเรียนการสอนดานวิชาการ โดยฝกทักษะสําคัญตามที่สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา (สวก.) สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) เสนอแนะไว ดังนี้ 1. ฝกทักษะกระบวนการคิด มีการวางแผนตลอดแนว เพื่อศึกษาขอมูลอาชีพ 2. ฝกการตัดสินใจอยางเปนระบบ โดยใชขอมูลจากการศึกษา คนควา แหลงเรียนรูในชุมชน เพื่อลด ความเสี่ยงในการลงทุนและเพิ่มความมั่นใจเรื่องการตลาด 3. ฝกกระบวนการวางแผน การผลิต และการจัดจําหนาย โดยนักเรียนคิดตนทุน กําไร ดวยตนเอง 4. ฝกการเรียนรูเรื่องคุณธรรม จริยธรรม ดานการประกอบอาชีพ และการทํางานกลุม โดยมีจิตอาสา เพื่อสวนรวม 5. ฝกการทํางานอยางมีประสิทธิภาพ มีการประเมินผล ปรับปรุง พัฒนา และสรางสรรคตอ ยอดผลผลิต 6. ฝกการเสริมสรางความเชื่อมั่น ความเพียรพยายาม เห็นคุณคาและภาคภูมิใจในตนเอง (Self Esteem) ในการประกอบอาชีพ และเจตคติในพื้นฐานทางอาชีพ การจัดการเรียนการสอนทีใ่ หผเู รียนไดลงมือปฏิบตั ทิ กั ษะดังกลาว จะชวยใหผเู รียนไดรบั ประสบการณจริง มีทักษะ ความสามารถ และความชํานาญในการทํางานที่จะใชในการประกอบอาชีพและเปนแรงงานที่มีคุณภาพ เขาสูตลาดแรงงานในอนาคต

คูม อื ครู


4.2 การจัดกระบวนการเรียนรูพื้นฐานอาชีพ การจัดกระบวนการเรียนรูมีความสําคัญอยางยิ่งที่จะชวยให นักเรียนมีการพัฒนาทั้งดานความรู ทักษะ และคุณลักษณะตามเปาหมายของหลักสูตร การพัฒนาผูเรียน ดานทักษะพื้นฐานอาชีพตองอาศัยกระบวนการเรียนรูที่หลากหลายเปนเครื่องมือที่จะนําไปสูคุณภาพที่ตองการ เสร�ม เทคนิควิธีการตางๆ ที่ผูสอนจะตองพิจารณาใหเหมาะสมกับเนื้อหาวิชาและวัยของผูเรียน โดยใหความสําคัญกับ 5 การฝกปฏิบัติและเนนการวัดประเมินผลจากการปฏิบัติตามสภาพจริง ดวยวิธีการที่จัดกิจกรรมการบูรณาการ ใหเหมาะสมกับวัยและระดับชั้นของผูเรียน สอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดของกลุมสาระตางๆ ที่กําหนดไวในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 การวิเคราะหมาตรฐานและตัวชี้วัดที่จะนําไป จัดเนื้อหาความรูและทักษะ เพื่อพัฒนาผูเรียนดานพื้นฐานอาชีพ ดังตัวอยางตอไปนี้ 1. กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม มุงเนนการพัฒนาใหผูเรียนมีความรู ความเขาใจเกีย่ วกับการดํารงชีวติ ของมนุษย การอยูร ว มกันในสังคมทีม่ คี วามเชือ่ มโยงสัมพันธกนั มีความแตกตาง กันอยางหลากหลาย สามารถจัดการทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัด และเขาใจการเปลี่ยนแปลง เพื่อชวยใหสามารถ ปรับตนเองกับบริบท และสภาพแวดลอม เปนพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ มีความรู ทักษะ คุณธรรม และคานิยม ที่เหมาะสม มีมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดที่เปนพื้นฐานของการ ฐานของการประกอบอาชีพตางๆ เชน ส 4.3 ม.1/3 วิเคราะหอิทธิพลของวัฒนธรรมและภูมิปญญาไทยสมัยสุโขทัยและสังคมไทย ในปจจุบัน ส 4.3 ม.2/3 ระบุภมู ปิ ญ ญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี และอิทธิพลของภูมปิ ญ ญา ดังกลาวตอการพัฒนาชาติไทยในยุคตอมา ส 4.3 ม.3/3 วิเคราะหภมู ปิ ญ ญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร และอิทธิพลตอการพัฒนา ชาติไทย ส 4.3 ม.4-6/3 วางแผนกําหนดแนวทางและการมีสวนรวมในการอนุรักษภูมิปญญาไทยและ วัฒนธรรมไทย การจัดการเรียนการสอนตามตัวชีว้ ดั ดังกลาวขางตนจะเปนทักษะพืน้ ฐาน และสรางเจตคติตอ อาชีพ เกีย่ วกับภูมปิ ญ ญาไทยในทองถิน่ เชน นักโบราณคดี นักประวัตศิ าสตร แพทยแผนโบราณ นวดแผนไทย ชางทอผา จักสาน นักดนตรีไทย การทําขนมหรืออาหารไทย เปนตน และเปนรากฐานของการศึกษาเพือ่ พัฒนาตอยอดอาชีพ ที่มีฐานของภูมิปญญาไทย 2. กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย กลุม สาระการเรียนรูภ าษาไทยมุง เนนการพัฒนาใหผเู รียนมีความรูค วามสามารถในการใชภาษาไทย เพื่อการสื่อสาร เปนเครื่องมือในการเรียนรู การแสวงหาความรูและประสบการณตางๆ เพื่อพัฒนาความรู กระบวนการคิดวิเคราะห วิจารณ และสรางสรรคใหทันตอการเปลี่ยนแปลงของสังคม และความกาวหนาทาง วิทยาศาสตร เทคโนโลยี จึงเปนกลุมสาระการเรียนรูที่เปนทักษะพื้นฐานการประกอบอาชีพทุกอาชีพ ตัวชี้วัดที่ สามารถนํามาพัฒนาทักษะอาชีพ เชน คูม อื ครู


ท 2.1 ม.1/8 เขียนรายงานการศึกษาคนควาและโครงงาน ท 1.1 ม.4-6/8 สังเคราะหความรูจ ากการอานสือ่ สิง่ พิมพ สือ่ อิเล็กทรอนิกส และแหลงเรียนรูต า งๆ มาพัฒนาตน พัฒนาการเรียน และพัฒนาความรูทางอาชีพ เสร�ม 6 ท 2.1 ม.4-6/4 ผลิตงานเขียนของตนเองในรูปแบบตางๆ ท 2.1 ม.4-6/5 ประเมินงานเขียนของผูอื่น แลวนํามาพัฒนางานเขียนของตนเอง การจัดการเรียนการสอนตามตัวชี้วัดดังกลาวขางตน จะเปนทักษะพื้นฐานของการนําไปสูอาชีพ ทุกอาชีพ และเปนการปูทางไปสูอาชีพเฉพาะเกี่ยวกับการเขียน เชน นักเขียน นักประพันธ นักหนังสือพิมพ นักวิจารณ เปนตน 3. กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตรมุงเนนการพัฒนาผูเรียนในการเชื่อมโยงความรูกับกระบวนการ มีทักษะสําคัญในการคนควาและสรางองคความรู พัฒนาวิธีการคิด ทั้งความคิดที่เปนเหตุเปนผล คิดสรางสรรค คิดวิเคราะห วิจารณ โดยใชกระบวนการในการสืบเสาะความรู การแกปญหาที่หลากหลาย เพื่อใหมีความรูความ เขาใจในธรรมชาติและเทคโนโลยี นําความรูไปใชอยางมีเหตุผล มีคุณธรรม และอยูในสังคมแหงการเรียนรูได อยางเหมาะสม โดยมีมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดที่เปนพื้นฐฐานของการประกอบอาชี านของการประกอบอาชีพตางๆ มากมาย เชน ว 1.1 ม.1/13 อธิบายหลักการและผลของการใชเทคโนโลยีชวี ภาพในการขยายพันธุ ปรับปรุงพันธุ และเพิ่มผลผลิตของพืช และนําความรูไปใชประโยชน ว 1.1 ม.2/4 อธิบายหลักการและผลของการใชเทคโนโลยีชวี ภาพในการขยายพันธุ ปรับปรุงพันธุ และเพิ่มผลผลิตของสัตว และนําความรูไปใชประโยชน ว 1.2 ม.4-6/3 สืบคนขอมูลและอภิปรายผลของเทคโนโลยีชวี ภาพทีม่ ตี อ มนุษย และสิง่ แวดลอม และนําความรูไปใชประโยชน การจัดการเรียนการสอนตามตัวชี้วัดดังกลาวขางตนจะเปนทักษะพื้นฐานของการนําไปสูอาชีพที่ เกี่ยวกับเกษตรกร วิทยาศาสตร การเกษตร นักวิจัย เปนตน 4. กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ เปนกลุมสาระการเรียนรูที่ชวยพัฒนาใหผูเรียนมีความคิดสรางสรรค มีจนิ ตนาการทางศิลปะ ชืน่ ชมความงาม มีสนุ ทรียภาพ ซึง่ มีผลตอคุณภาพชีวติ มนุษย พัฒนาใหผเู รียนเกิดความรู ความเขาใจ มีทกั ษะวิธกี ารทางศิลปะ เกิดความซาบซึง้ ในคุณคาของศิลปะ เปดโอกาสใหผเู รียนแสดงออกอยางอิสระ โดยมีตัวอยางมาตรฐานและตัวชี้วัดที่เปนพื้นฐานของการประกอบอาชีพตางๆ มากมาย เชน ทัศนศิลป ศ 1.1 ม.1/5 ออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ หรือกราฟกอืน่ ๆ ในการนําเสนอความคิดและขอมูล ศ 1.1 ม.2/3 วาดภาพดวยเทคนิคที่หลากหลายในการสื่อความหมายและเรื่องราวตางๆ ศ 1.1 ม.3/7 สรางสรรคงานทัศนศิลปสอื่ ความหมายเปนเรือ่ งราวโดยประยุกตใชทศั นธาตุและ หลักการออกแบบ คูม อื ครู


ศ 1.1 ม.4-6/10 สรางสรรคงานทัศนศิลปไทย สากลโดยศึกษาจากแนวคิดและวิธีการสรางงาน ของศิลปนที่ตนชื่นชอบ การจัดการเรียนการสอนตามตัวชีว้ ดั ดังกลาวจะเปนทักษะพืน้ ฐานในการพัฒนาไปสูอ าชีพทีแ่ สดงออก เสร�ม ทางศิลปะและการสรางสรรค เชน จิตรกร นักออกแบบเสื้อผา เครื่องแตงกายและเครื่องใช สถาปนิก มัณฑนากร 7 เปนตน ดนตรี ศ 2.1 ม.1/3 รองเพลงและใชเครื่องดนตรีบรรเลงประกอบการรองเพลงดวยบทเพลง ที่หลากหลาย ศ 2.1 ม.2/3 รองเพลงและเลนดนตรีเดี่ยวและรวมวง ศ 2.1 ม.3/3 รองเพลง เลนดนตรีเดี่ยวและรวมวง โดยเนนเทคนิคการรอง การเลน การแสดงออกและคุณภาพเสียง ศ 2.1 ม.4-6/4 อาน เขียน โนตดนตรีไทยและสากลในอัตราจังหวะตางๆ การจัดการเรียนการสอนตามตัวชีว้ ดั ดังกลาวจะเปนทักษะพืน้ ฐานในการพัฒนาไปสูอ าชีพทางดนตรี เชน นักรอง นักดนตรี นักแตงเพลง เปนตน นาฏศิลป ศ 3.1 ม.1/3 แสดงนาฏศิลปและละครในรูปแบบงายๆ ศ 3.1 ม.2/2 สรางสรรคการแสดงโดยใชองคประกอบนาฏศิลปและการละคร ศ 3.1 ม.3/6 รวมจัดงานการแสดงในบทบาทหนาที่ตางๆ ศ 3.1 ม.4-6/2 สรางสรรคละครสั้นในรูปแบบที่ชื่นชอบ การจัดการเรียนการสอนตามตัวชี้วัดดังกลาวจะเปนทักษะพื้นฐานในการพัฒนาไปสูอาชีพทาง นาฏศิลปหรือการแสดง เชน นาฏลีลา นักแสดง นักจัดการแสดง ผูกํากับการแสดง นักแตงบทละคร เปนตน 5. กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี มุงพัฒนาใหผูเรียนมีฐานความรูความสามารถ และทักษะทีจ่ าํ เปนสําหรับนําไปปรับใชในการประกอบอาชีพและการศึกษาตอในสาขาอาชีพตางๆ ไดอยางหลากหลาย รวมทั้งใหเห็นแนวทางในการประกอบอาชีพและการศึกษาตอตามความรู ความถนัด และความสนใจ มาตรฐาน และตัวชี้วัดของกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีสวนใหญมีลักษณะเปนทักษะกระบวนการทํางาน ซึง่ ผูส อนสามารถจัดเนือ้ หาและกิจกรรมการสอนใหสอดคลองกับความตองการของผูเ รียนและทองถิน่ ได เพือ่ พัฒนา ไปสูการประกอบอาชีพตางๆ เชน ง 1.1 ม.4-6/2 สรางผลงานอยางมีความคิดสรางสรรคและมีทักษะการทํางานรวมกัน ง 1.1 ม.4-6/7 ใชพลังงาน ทรัพยากรในการทํางานอยางคุมคาและยั่งยืน เพื่อการอนุรักษ สิ่งแวดลอม คูม อื ครู


ง 4.1 ม.2/3 ง 4.1 ม.3/3

มีทักษะพื้นฐานที่จําเปนสําหรับการประกอบอาชีพที่สนใจ ประเมินทางเลือกในการประกอบอาชีพที่สอดคลองกับความรู ความถนัด และ ความสนใจของตนเอง เสร�ม 8 ง 4.1 ม.4-6/2 เลือกและใชเทคโนโลยีอยางเหมาะสมกับอาชีพ ง 4.1 ม.4-6/3 มีประสบการณในอาชีพที่ถนัดและสนใจ การจัดรายวิชาพื้นฐานในกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีจึงสามารถดําเนินการ ไดอยางหลากหลาย ทัง้ อาชีพในกลมุ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิดสรางสรรค และการบริหาร จัดการและการบริการ ตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ และสอดคลองกับบริบทของทองถิ่น ความพรอม ของสถานศึกษา และความตองการของผูเรียนเปนสําคัญ เพือ่ เปนแนวทางการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนใหสนองตามนโยบายการจัดการเรียนการสอน พื้นฐานอาชีพในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการ ผูจัดทําจึงวิเคราะหมาตรฐาน การเรียนรูและตัวชี้วัดในรายวิชา ทัศนศิลป ที่สอดคลองกับทักษะปฏิบัติ เพื่อเตรียมความพรอมดานพื้นฐานอาชีพ โดยเสนอแนะกิจกรรมการเรียนรูไวเปนแนวทางในการจัดการเรียนการสอนบูรณาการประสบการณการทํางานแก ผูเรียน ใหบรรลุเจตนารมณของพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 7 ที่ระบุใหการจัดการศึกษา ตองปลูกฝงใหเยาวชนมีความรูอันเปนสากล มีจิตสํานึกในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ตลอดจนมีความสามารถในการประกอบอาชีพ รูจักพึ่งตนเอง และมีความคิดสรางสรรค เพื่อการดํารงชีวิต การศึกษาตอ และการประกอบอาชีพอยางมีคุณภาพของผูเรียนตอไปในอนาคต ไปใ

คูม อื ครู


5. การใชวัฏจักรการเรียนรู 5E

รูปแบบการสอนที่สัมพันธกับกระบวนการคิดและการทํางานของสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย คือ วัฏจักรการเรียนรู 5E ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในคูมือครู เสร�ม 9 ฉบับนี้ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1 กระตุนความสนใจ (Engage) เปนขัน้ ทีผ่ สู อนนําเขาสูบ ทเรียน เพือ่ กระตุน ความสนใจของนักเรียนดวยเรือ่ งราว หรือเหตุการณทนี่ า สนใจ โดยใชเทคนิควิธกี ารสอนและคําถามทบทวนความรูห รือประสบการณเดิมของผูเ รียน เพือ่ เชือ่ มโยงผูเ รียนเขาสู บทเรียนใหม ชวยใหนักเรียนสามารถสรุปประเด็นสําคัญที่เปนหัวขอการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอน การสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอมและสรางแรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน ขั้นที่ 2 สํารวจคนหา (Explore) เปนขั้นที่ผูสอนเปดโอกาสใหผูเรียนสังเกตและรวมมือกันสํารวจ เพื่อใหเห็นปญหา รวมถึงวิธีการศึกษา คนควาขอมูลความรูที่จะนําไปสูความเขาใจประเด็นปญหานั้นๆ เมื่อนักเรียนทําความเขาใจในประเด็นหัวขอที่จะศึกษาคนควาอยางถองแทแลวก็ลงมือปฏิบัติ เพื่อเก็บ รวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธกี ารตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูตามที่ตั้งประเด็นศึกษาไว ขั้นที่ 3 อธิบายความรู (Explain) เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา ตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนไดคนหา คําตอบ และนําขอมูลความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห แปลผล สรุปผล และนําเสนอผล ที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ แผนผังแสดงมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน สมองของผูเรียนจะทําหนาที่คิดวิเคราะห สังเคราะหอยางเปนระบบ ขั้นที่ 4 ขยายความเขาใจ (Expand) เปนขั้นที่ผูสอนไดใชเทคนิควิธีการสอนที่ชวยพัฒนาผูเรียนใหนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน นักเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยงกับประสบการณเดิม โดยนําขอสรุปที่ไดไปอธิบาย ในเหตุการณตางๆ หรือนําไปปฏิบัติในสถานการณใหมๆ ที่เกี่ยวของกับชีวิตประจําวันของตนเอง เพื่อขยาย ความรูค วามเขาใจใหกวางขวางยิง่ ขึน้ สมองของผูเ รียนทําหนาทีค่ ดิ ริเริม่ สรางสรรคอยางมีคณ ุ ภาพ เสริมสราง วิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป คูม อื ครู


เสร�ม

10

ขั้นที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate) เปนขัน้ ทีผ่ สู อนประเมินมโนทัศนของผูเ รียน โดยตรวจสอบจากความคิดทีเ่ ปลีย่ นไปและความคิดรวบยอด ที่เกิดขึ้นใหม ตรวจสอบทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด และการเคารพ ความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพื่อการสรางสรรคความรูรวมกัน นักเรียนสามารถประเมินผลการเรียนรูของตนเอง เพื่อสรุปผลวานักเรียนมีความรูอะไรเพิ่มขึ้นมาบาง มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ ไดอยางไร นักเรียนจะเกิด เจตคติและเห็นคุณคาของตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามวัฏจักรการสรางความรูแบบ 5E จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนน ผูเรียนเปนสําคัญ โดยสงเสริมใหผูเรียนใชกระบวนการสรางความรูดวยตนเอง ฝกฝนใหใชกระบวนการคิด และกระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะการเรียนรูและทักษะชีวิตที่มีคุณภาพ ตามเปาหมายของ การปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คณะผูจัดทํา

คูม อื ครู


แถบสีและสัญลักษณ ที่ใชสื่อความหมายในคูมือครู 1. แถบสี

แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5E เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด เสร�ม สีแดง

สีเขียว

สีสม

กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุนความ สนใจ เพื่อโยงเขาสู บทเรียน

Explore

เปนขั้นที่ผูสอนให ผูเรียนสํารวจปญหา และศึกษาขอมูล

Explain

เปนขั้นที่ผูสอนให ผูเรียนคนหาคําตอบ จนเกิดความรูเชิง ประจักษ

สีฟา

สีมวง

ขยายความเขาใจ Expand

11

เปนขั้นที่ผูสอนให ผูเรียนนําความรูไป คิดคนตอๆ ไป

ตรวจสอบผล Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

สัญลักษณ

2. สัญลักษณ

วัตถุประสงค

เปาหมาย การเรียนรู • แสดงเปาหมาย การเรียนรูที่ นักเรียนตอง บรรลุตาม ตัวชี้วัด

หลักฐาน เกร็ดแนะครู แสดงผล การเรียนรู • แสดงรองรอย หลักฐานที่ แสดงผล การเรียนรู ตามตัวชี้วัด

นักเรียน ควรรู

B

@

NET

B

มุม IT

ขอสอบ

พื้นฐาน อาชีพ

• แทรกความรู • ขยายความรู • แนะนําแหลง • วิเคราะหแนว • กิจกรรม เสริมสําหรับครู เพิ่มเติมจาก คนควาจาก ขอสอบ O-NET สําหรับครู ขอเสนอแนะ เนื้อหา เพื่อให เว็บไซต เพื่อให เพือ่ ใหครู เพือ่ ใชเปน ขอควรระวัง นักเรียนไดมี ครูและนักเรียน เนนยํ้าเนื้อหา แนวทางใน ขอสังเกต ความรูม ากขึ้น ไดเขาถึงขอมูล ที่มักออก การชวยพัฒนา แนวทางการ ความรูที่ ขอสอบ O-NET อาชีพใหกับ จัดกิจกรรม หลากหลาย • ขอสอบ O-NET นักเรียน และอื่นๆ พิจารณาออก เพื่อประโยชน ขอสอบจาก ในการจัดการ เนื้อหา ม.4, 5 เรียนการสอน และ 6

คูม อื ครู


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง (คัดมาเฉพาะที่ใชกับชั้น ม.4-6)* สาระที่ 1 ทัศนศิลป เสร�ม

12

มาตรฐาน ศ 1.1 สรางสรรคงานทัศนศิลปตามจินตนาการ และความคิดสรางสรรค วิเคราะห วิพากษ วิจารณ คุณคางานทัศนศิลป ถายทอดความรูสึก ความคิดตองานศิลปะอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกต ใชในชีวิตประจําวัน ชั้น

ม.4-6

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

1. วิเคราะหการใชทัศนธาตุและ • ทัศนธาตุและหลักการออกแบบ หลักการออกแบบในการ สื่อความหมายในรูปแบบตางๆ 2. บรรยายจุดประสงคและเนื้อหา • ศัพททางทัศนศิลป ของงานทัศนศิลป โดยใชศัพท ทางทัศนศิลป 3. วิเคราะหการเลือกใชวัสดุ • วัสดุ อุปกรณ และเทคนิคของศิลปนในการแสดงออก อุปกรณ และเทคนิคของศิลปน ทางทัศนศิลป ในการแสดงออกทางทัศนศิลป 4. มีทักษะและเทคนิคในการใช • เทคนิค วัสดุ อุปกรณ กระบวนการในการสรางงาน วัสดุ อุปกรณ และกระบวนการที่ ทัศนศิลป สูงขึ้นในการสรางงานทัศนศิลป 5. สรางสรรคงานทัศนศิลปดวย เทคโนโลยีตางๆ โดยเนนหลัก การออกแบบและการจัด องคประกอบศิลป

• หลักการออกแบบและการจัดองคประกอบศิลปดวย เทคโนโลยี

6. ออกแบบงานทัศนศิลปได เหมาะกับโอกาสและสถานที่

• การออกแบบงานทัศนศิลป

* สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 8-21.

คูม อื ครู


ชั้น

ม.4-6

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

7. วิเคราะหและอธิบายจุดมงุ หมาย • จุดมุงหมายของศิลปนในการเลือกใชวัสดุ อุปกรณ เทคนิค ของศิลปนในการเลือกใชวัสดุ และเนื้อหาในการสรางงานทัศนศิลป อุปกรณ เทคนิค และเนื้อหา เพื่อสรางสรรคงานทัศนศิลป 8. ประเมินและวิจารณงาน ทัศนศิลปโดยใชทฤษฎี การวิจารณศิลปะ

เสร�ม

13

• ทฤษฎีการวิจารณศิลปะ

9. จัดกลุม งานทัศนศิลปเพือ่ สะทอน • การจัดทําแฟมสะสมงานทัศนศิลป พัฒนาการและความกาวหนา ของตนเอง 10. สรางสรรคงานทัศนศิลปไทย สากล โดยศึกษาจากแนวคิด และวิธีการสรางงานของศิลปน ที่ตนชื่นชอบ

• การสรางงานทัศนศิลปจากแนวความคิดและวิธีการ ของศิลปน

11. วาดภาพระบายสีเปนภาพ • การวาดภาพลอเลียนหรือภาพการตูน ลอเลียน หรือภาพการตูน เพื่อแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ สภาพสังคมในปจจุบัน

คูม อื ครู


เสร�ม

มาตรฐาน ศ 1.2 เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคางานทัศนศิลป ที่เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทยและสากล

14

คูม อื ครู

ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ม.4-6

1. วิเคราะหและเปรียบเทียบงาน ทัศนศิลปในรูปแบบตะวันออก และรูปแบบตะวันตก

• งานทัศนศิลปรูปแบบตะวันออกและตะวันตก

2. ระบุงานทัศนศิลปของศิลปน ที่มีชื่อเสียงและบรรยาย ผลตอบรับของสังคม

• งานทัศนศิลปของศิลปนทีม่ ชี อื่ เสียง

3. อภิปรายเกี่ยวกับอิทธิพลของ วัฒนธรรมระหวางประเทศที่มี ผลตองานทัศนศิลปในสังคม

• อิทธิพลของวัฒนธรรมระหวางประเทศที่มีผลตอ งานทัศนศิลป


คําอธิบายรายวิชา รายวิชา ทัศนศิลป ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 รหัสวิชา ศ…………………………………

กลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ เสร�ม ภาคเรียนที่ …….. 15 เวลา 40 ชั่วโมง/ป

ศึกษาใหมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการใชศัพททางทัศนศิลปในการบรรยายจุดประสงคและเนื้อหาของงาน ทัศนศิลป การวิเคราะหจุดมุงหมายของศิลปนในการเลือกใชวัสดุ อุปกรณ เทคนิคและเนื้อหาในการสรางสรรคงาน เพื่อการแสดงออกทางทัศนศิลป การเปรียบเทียบงานทัศนศิลปในรูปแบบตะวันออกและรูปแบบตะวันตก ตลอดจน มีความรูเกี่ยวกับอิทธิพลของวัฒนธรรมระหวางประเทศที่มีผลตองานทัศนศิลปในสังคม มีทักษะและเทคนิคในการใชวัสดุ อุปกรณและกระบวนการที่สูงขึ้นในการสรางงานทัศนศิลป มีความชื่นชมกับผลงานทัศนศิลปของตนเองและของศิลปนทั้งศิลปนไทยและศิลปนสากล เห็นคุณคาของ วัฒนธรรมระหวางประเทศที่มีอิทธิพลตองานทัศนศิลปทั้งรูปแบบตะวันอออกและรูปแบบตะวันตก ตัวชี้วัด ศ 1.1 ม.4-6/2 ศ 1.2 ม.4-6/1

ม.4-6/3 ม.4-6/3

ม.4-6/4

ม.4-6/7

รวม 6 ตัวชี้วัด

คูม อื ครู


คูม อื ครู

ÇÔà¤ÃÒÐË Áҵðҹ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙጠÅеÑǪÕÇé ´Ñ ÃÒÂÇÔªÒ ·ÑȹÈÔÅ»Š Á.6

หมายเหตุ

✓เฉพาะที่สอดคลองกับตัวชี้วัด

2

3

4

ม.6 เทานั้น ตัวชี้วัดที่เหลือจัดการเรียนการสอนในชั้น ม.4 และ ม.5

หนวยการเรียนรูที่ 4 : การสรางสรรคผลงานทัศนศิลป

หนวยการเรียนรูที่ 3 : การแสดงออกทางทัศนศิลป

หนวยการเรียนรูที่ 2 : งานทัศนศิลปและอิทธิพลจากวัฒนธรรม

1

5

6

7

8

สาระที่ 1 มาตรฐาน ศ 1.1 ตัวชี้วัด 9

10

11

16

หนวยการเรียนรูที่ 1 : การบรรยายผลงานทัศนศิลป

หนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด

คําชี้แจง : ใหผูสอนใชตารางน�้ตรวจสอบความสอดคลองของเน�้อหาสาระการเรียนรูในหนวยการเรียนรูกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดชั้นป

ตาราง

1

2

3

มาตรฐาน ศ 1.2 ตัวชี้วัด

เสร�ม


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Expand

Evaluate

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹

ทัศนศิลป ม.๖ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖

กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

ผูเรียบเรียง

ศ. สุชาติ เถาทอง นายสังคม ทองมี นายธํารงศักดิ์ ธํารงเลิศฤทธิ์

ผูตรวจ

รศ. จารุพรรณ ทรัพยปรุง นางสาววัชรินทร ฐิติอดิศัย นายชัยยศ วนิชวัฒนานุวัติ

บรรณาธิการ

ศ. ปรีชา เถาทอง นายสมเกียรติ ภูระหงษ

ผูจัดทําคูมือครู

ธํารงศักดิ์ ธํารงเลิศฤทธิ์ สังคม ทองมี ดร. เกษมรัสมิ์ วิวิตรกุลเกษม รหัสสินคา ๓๖๑๕๐๐๑ รหัสสินคา ๓๖๔๕๐๐๑

¤Œ¹¤ÇÒÁÃÙŒ¢ÂÒ¤ÇÒÁ¤Ô´¨Ò¡

EB GUIDE

ที่พิมพกํากับหัวขอสําคัญในหนังสือเรียนหลักสูตรแกนกลางฯ ผาน www.aksorn.com ไปยังแหลงความรูทั่วไทย-ทั่วโลก


กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา Explore Engage

อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Explain

Expand

Evaluate

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹

ทัศนศิลป ม.๖ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖

กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

ศ. สุชาติ เถาทอง นายสังคม ทองมี นายธํารงศักดิ์ ธํารงเลิศฤทธิ์

คําเ

ตือน

หนังสือเลมนี้ไดรับการคุมครองตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ หามมิใหผูใด ทําซ้ํา คัดลอก เลียนแบบ ทําสําเนา จําลองงานจากตนฉบับหรือแปลงเปนรูปแบบอื่น ในวิธีตางๆ ทุกวิธี ไมวาทั้งหมดหรือบางสวน โดยมิไดรับอนุญาตจากเจาของลิขสิทธิ์ถือเปนการละเมิด ผูกระทําจะตองรับผิดทั้งทางแพงและทางอาญา

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè ñ

ʧǹÅÔ¢ÊÔ·¸ÔìµÒÁ¾ÃÐÃÒªºÑ- - ѵÔ


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Expand

Evaluate

¤íÒá¹Ð¹íÒ¡ÒÃ㪌˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ หนังสือเรียน ทัศนศิลปเลมนี้ ใชประกอบการเรียนการสอนรายวิชาพื้นฐาน กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖ เนื้อหาตรงตามสาระการเรียนรูแกนกลางขั้นพื้นฐาน อานทําความเขาใจงาย ใหทั้งความรูและชวยพัฒนาผูเรียน ตามหลักสูตรและตัวชี้วัด เนื้อหาสาระแบงออกเปนหนวยการเรียนรูตามโครงสรางรายวิชา สะดวกแกการจัดการเรียน การสอนและการวัดผลประเมินผล พรอมเสริมองคประกอบอื่นๆ ที่จะชวยทําใหผูเรียนไดรับความรูอยางมีประสิทธิภาพ ¨Ñ´¡ÅØ‹Áà¹×éÍËÒ໚¹Ë¹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ Êдǡᡋ¡ÒèѴ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹

à¹×éÍËҵçµÒÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹Ãٌ᡹¡ÅÒ§ ãËŒ¤ÇÒÁÃÙŒáÅÐàÍ×é͵‹Í¡ÒùíÒä»ãªŒÊ͹à¾×èÍ ãËŒºÃÃÅصÑǪÕéÇÑ´ áÅÐÊÌҧ¤Ø³ÅѡɳРÍѹ¾Ö§»ÃÐʧ¤

à¡ÃÔ¹è ¹íÒà¾×Íè ãˌࢌÒ㨶֧ÊÒÃÐÊíÒ¤ÑÞ ã¹Ë¹‹Ç·Õè¨ÐàÃÕ¹

à¡Ãç´ÈÔÅ»Šà¾ÔèÁàµÔÁ¨Ò¡à¹×éÍËÒ ÁÕá·Ã¡à»š¹ÃÐÂÐæ ๔.๓ เทคนิคแมพิมพราบ (Plan

ographic printing)

การพิมพแบบนี้ไมตองแกะแมพ ิมพใหเปนรองลึกอยาง ๒ วิธีแรก มีลักษณะเปนพื้นราบ ดังนั้นจึงเรี เนื่องจากแมพิมพ ยกวา ภาพพิมพ วิธีการพิมพราบที่สําคัญ คือกรรมวิ ราบ (Surface printing or Planer printing) ธีที่เรียกวา ภาพพิมพหิน หรือ Lithogra ภาษากรีกวา “lithos” ที่แปลวา phy มาจาก หิน กับคําวา “grapho” ที่แปลวา เขียน à¡Ãç´ÈÔÅ»Š เทคนิควิธกี ารพิมพภาพ จะใช กาวอารบิก (Gum Arabic) สวนผสมของไข นํามาเขียนภาพบ วสั ดุทมี่ ี นแผนหิน ภาษาไทยเรียกวา กาวกระถิน เป ผิวหนาเรียบ ขั้นตอนนี้อาศัยวิ นสารประกอบ ธีการทางเคมี ธรรมชาตชิ นิดหนึง่ มาจากนํา้ ยางทีไ่ หลออกมา เข า ร ว มด ว ย โดยใช ก าวอารบ เปลือกของลําตนของพืชในกลุมอะคาเซี จากผิว ิ ก และนํ ย (Acacia) ดินประสิว เปนตน เพือ่ ชวยใหมไี ขเหลื ้ า กรด โดยนํ้ายางจะไหลเกาะกันเปนกอน เมื่อกระทบคว อติดอยูก บั รอนจากแสงแดดจะแห าม แมพมิ พตามทีต่ อ งการ เวลาพิมพ ง แข็งตัวเกาะอยูต ามกิง่ กานและ กใ็ ชนาํ้ เคลือบ ลําตน มีสีสันแตกตางกันไปตั้ง แตขาวใสจนถึงเหลือง ผิวหนาของแผนหินแลวกลิ้งหมึ ก หมึกจะติด อําพัน เฉพาะสวนไขที่เขียนเปนลวดลาย นํ้ายางจากพืชกลุมนี้ถูกรวบรวมนํา สวนบริเวณ มาจํ า หน เชิงพาณิ มานานกวา ๔,๐๐๐ ป โดยในระย ายใน อืน่ ๆ หมึกจะไมตดิ เพราะมนี าํ้ เคลื ะแรกไดนาํ อบไว จากนัน้ มาใชในรูชปยแบบของก จึงทําการพิมพดวยเครื่องรีดพิมพ าวเพื่อผสมสีส หิน และรูปภาพตามความเชือ่ ของชาวอี ําหรับเขียนอักขระ

สมัยใหม ๑. ศิลปนดานสื่อผสมภาษาอ เปนศิลปกรรมแหงศตวรรษ ังกฤษวา Mixed media นับ

ัสดุและ สื่อผสมหรือที่เรียกเปน อวาดเสนที่มีการผสมผสานว ประติมากรรม ภาพพิมพหรื ปะ ดไดโดยเฉพาะ เนื่องจากศิล ที่ ๒๐ ซึ่งมีทั้งงานจิตรกรรม อาจจัดใหเปนทัศนศิลปประเภทใ มพ กลวิธีตางๆ เขาดวยกัน จนไม งจิตรกรรมกบั ประติมากรรม จิตรกรรมกบั ภาพพิมพ ภาพพิ า ระหว น นกั การผสา สือ่ ผสมอาจเปน นงมา ปะมากกวาสองแข กับประติมากรรมก็ได ศนศิลปที่มีการนําสื่อหรือศิล สื่อผสมจึงหมายถึง ผลงานทางทั าจุดเดนของแตละสื่อมาใชรวมกัน เชน การสราง วกัน โดยนิยมนํ า (Sacro สรางสรรคเปนงานในชิ้นเดีย เวณภูเขาศักดิ์สิทธิ์แหงออรต ฟรานซิสแหงอาซิซิ” ณ บริ ิกที่ประกอบดวยศิลปะ คาทอล น ผลงานชุด “ชีวิตของนักบุญ ายโรมั ก ิ น ต ถานของศาสนาคริส สมผสานวิธีการสรางสรรคทั้ง Monte di Orta) ซึ่งเปนศาสนส และบาโรก (Baroque) ดวยการผ rism) นาสนใจ (Manne ปลกตา ม ส ยงามแ นเนอริ แบบแม ลปทมี่ คี วามสว อ ใหเกิดเปนผลงานทางทัศนศิ จิตรกรรมและประตมิ ากรรมก

ó

หนวยการเรียนรู

ตัวชี้วัด

การแสดงออกทา

วิเคราะหการเลือ กใชวัส ในการแสดงออกทาง ดุ อุปกรณ และเทคนิคของศิลปน ทั วิเคราะหและอธิบ ศนศิลป (ศ ๑.๑ ม. ๔-๖/๓) ายจุดมุงหมายของศิ ลปนในการเลือกใช อุปกรณ เทคนิค และเน วัสดุ (ศ ๑.๑ ม. ๔-๖/๗ ื้อหาเพื่อสรางสรรคงานทัศนศิลป )

งทัศนศิลปของ

ของพืชกลุม นีม้ หี ลายชนิด แตชนิดทียปิ ตโบราณ นํา้ ยาง ใ่ หนาํ้ ยางคุณภาพ ดีที่สุดคือ อะคาเซีย เซเนกัล (Acacia เจริญเติบโตไดดีในพื้นที่ตอนกลางข Senegal) ที่ องประเทศซูดาน ในทวีปแอฟริกา จึงมีชื่อเรียกและเป นที่รูจักกันวา กัมซูดาน (Sudan Gum) ในทางทัศนศิลป กาวอารบิก ผงสี (Binder) ที่มีอยูในหลอดสี ใชเปนตัวประสาน เพื่อใหสียึดติดกับพื้นผิวที่จะ ระบาย ใชผสมกับสีนํ้าและ สีโปสเตอร หากเติมลงใน สีนํ้ามากๆ จะทําใหสีขึ้น เงา โปรงแสง แหงชา และ ลดการซึมเขาหากันของสี

ผลง านก ารแ ศิลปนแตละทานจะมสดง ทาง ทั ศ นศิ ล ป ข อง การศกึ ษาผลงาน เี อกลกั ษณทแี่ ตกตา งกัน ศิลปน จะชวยเพิทัศนศิลปทหี่ ลากหลายของ ซึ่ ง เราส ามา รถน่มพูนความรูประสบการณ สรางสรรคและพ ํ า ไปป ระยุ ก ต ใ ช ใ นกา ร ัฒนาผลงานของต นเองได

สาระการเรียนรู

ศิลปน

แกนกลาง วัสดุ อุปกรณ และเท คนิคของศิลปนในการ ทางทัศนศิลป แสดงออก จุดมุงหมายของศิ ลปนในการเลือกใช วัสดุ อุปกรณ เทคนิ และเนื้อหาในการสร ค างงานทัศนศิลป

ส วประวัติของนักบุญฟรานซิ มากรรมและจิตรกรรม ถายทอดชี การผสมผสานระหวางประติ แกตั้งแตชวงคริสตศตวรรษที่ ๑-๖ า ในรูปแบบสื่อผสมที่มีความเก

๔๒

µÑǪÕÇé ´Ñ áÅÐÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙጠ¡¹¡ÅÒ§ µÒÁ·ÕËè ÅÑ¡Êٵà ¡íÒ˹´ à¾×èÍãËŒ·ÃÒº¶Ö§à»‡ÒËÁÒÂ㹡ÒÃÈÖ¡ÉÒ

จิตรกรรมแบบ ปูนเป

ยก

ดามณี ๑.๒ วิโชค มุก

างของรูปทรงแ ผลงาน “โครงสร โชค มุกดามณี สิ่งแวดลอม” ของวิ

Q& A

¤Ó¶ÒÁ»ÃШÓ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ

เสริมสาระ

๑. เพราะเหตุใดการบรรยายผลงานศิลปะ จึงตองใชศัพทที่อยูในแวดวงทางดานทัศนศิลป ๒. ศัพททางทัศนศิลปมีประโยชนอยางไรตอการเรียนรูและการบรรยายผลงานทัศนศิลป ๓. การบรรยายผลงานทัศนศลิ ปดา นภาพพิมพและดานสถาปตยกรรมมีความคลายคลึงหรือแตกตางกัน อยางไร ๔. นักเรียนคิดวาเนื้อหาของการบรรยายผลงานทัศนศิลปมีความคลายคลึงหรือแตกตางกับการวิจารณ ผลงานทางทัศนศิลปแขนงตางๆ อยางไร จงอธิบาย ๕. กอนจะบรรยายผลงานทัศนศิลป ผูบรรยายจะตองปฏิบัติอยางไร

¡Ô¨¡ÃÃÁ ÊÌҧÊÃä ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ

จิตรกรรมแบบป ูนเป (Carlo Rigoli) จิ ยกที่บานนนทิ ฝมือของคารโล ตรกรชาวอิตาลี ริโกลี

วน ธีระพิจิตร

ายเลข ๑” ของท

๔๔

¤íÒ¶ÒÁ»ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒáÅСԨ¡ÃÃÁ ÊÌҧÊÃä ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒà¾×èÍãËŒ¼ÙŒàÃÕ¹ ÁդسÀÒ¾ºÃÃÅØÁҵðҹáÅеÑǪÕéÇÑ´

จิตรกรรมฝาผ ที่ปาดไวบางๆ บนผนังแบบปูนเปยก (Buon fresco) เปน วิธีการใชสีผสมนํ้าแล นัง โดยไมจําเปนตอ ติดปูน โดยสีจะซึมลงไป ววาดล งทาเ ในเนื้อปูนที่ยังชื้น เมื คลือบ เพราะปูนปลาสเตอรจะมีปฏิก งบนปูนปลาสเตอร ิร ่อปูนแหงสีจะติดผนั งอยางสวยงาม ิยาเคมีกับสี ทําใหสี จิตรกรรมฝาผนังแบบป ูนเปยก สันนิษฐานก ันวาปรากฏเปนแหง แรกของโลกที่เกาะค ประเทศกรีซ เปนภาพก รีต (Crete) ใน เมือ่ ๑,๕๐๐ ปกอ นคริ ีฬาการตอสูวัวกระทิงที่วาดขึ้น สตกาล และทมี่ ชี อื่ เสี จิตรกรรมฝาผนังแบบป ยงนาจะไดแ ก Chapel) จากฝมือ ูนเปยกที่โบสถซิสติน (Sistine เฉพาะภาพ “The Creaจิตรกรในยุคเรอเนสซองส โดย จิตรกร สถาปนิก และปtion of Adam” ของมเี กลันเจโล ระติมากรชื่อดังชาวอ ิตาลี

อ.ประพันธ ศรีสุตา

ที่โดดเดนของวัสดุ ศิลปนผูนําคุณลักษณะ งทัศนศิลป เชน นทา าสราง มาสรางสรรคเปนผลงา ่อการอุตสาหกรรมม มดวย เพื ต ลิ ผ ่ ี ท ดุ ส ั ว ช การใ ละลวดลายแบบให ผลงานที่มีรูปทรงแ คอันหลากหลาย ทั้งการ งสรร า รสร ในกา ค ิ นดวย เทคน งดวยตาไกโลหะ พ เจาะรู มัดเชือก ตรึ องนําผลงานขนาดใหญ สีสเปรย ทั้งยังทดล ้นที่กวางภายในหรือภาย ในพื ง ้ ตั ด ไปติ น ้ นั เหลา ลางแจง โดยมีลักษณะ นอกอาคารหรือบริเวณก น ความชัดเจนเกยี่ วกับ ้น เดนของผลงานเปนการเน ดลอมที่มนุษยสรางขึ น การสะทอนสภาพแว ละสัญลักษณใ

๖๓

àÊÃÔÁÊÒÃШҡà¹×éÍËҹ͡à˹×ͨҡ·ÕèÁÕã¹ ÊÒÃСÒÃàÃÕ¹Ãٌ᡹¡ÅÒ§ à¾×Íè à¾ÔÁè ¾Ù¹áÅÐ ¢ÂÒ¾ÃÁá´¹¤ÇÒÁÃÙŒãËŒ¡ÇŒÒ§¢ÇÒ§ÍÍ¡ä»

จิตร ๑.๑ ทวน ธีระพิ

ผลงาน “สังขารหม

The Scream ผลงานภาพพิ มพห (Edvard Munch) ศิลปนชาวนอร ินของเอดวารด มุงก เวย ซึ่งสรางสรรคขึ้น เมื่อ ค.ศ. ๑๘๙๕

M6/05 http://www.aksorn.com/LC/Va/

Web Guide á¹Ð¹íÒáËÅ‹§¤Œ¹¤ÇŒÒ¢ŒÍÁÙÅ à¾ÔèÁàµÔÁ¼‹Ò¹Ãкº Online

Design ˹ŒÒẺãËÁ‹ ÊǧÒÁ ¾ÔÁ¾ ô ÊÕ µÅÍ´àÅ‹Á ª‹ÇÂãˌ͋ҹ·íÒ¤ÇÒÁࢌÒã¨ä´Œ§‹ÒÂ

๒ มิติ ทีห่ ันมาสนใจ ศิลปนภาพพมิ พแบบ ว ยวั ส ดุ ธ รรมช าติ ที่ ด การส ร า งสรร ค ผ ลงานงดวยสีหรือการแปรสภาพ ปราศจากการเสริมแต หวัสดุแตละชนิดไดแสดง วัสดุเปนอยางอื่น โดยใวและรูปทรงอยางตรงไป คุณสมบัติของสี ผิําหนังงูเหลือม หนังสัตวและ ตรงมา เชน การน สรางเปนผลงานที่ชื่อวา เชือก มาผสมผสาน นอกจากนี้ ทวนยังนําวัสดุ “สังขารหมายเลข ๑”มาประกอบสรางเปนผลงาน อื่นๆ อีกหลายชนิด โดยเฉพาะวัสดุที่เก็บสะสม สื่อผสมที่นาสนใจ ชนบท เชน เครื่องมือ เชือ่ ระหวางเดินทางไปตาม อ่ สือ่ ถึงจิตวิญญาณความ เครือ่ งใชพนื้ บาน เพื ี่ แ ฝงอ ยู  ใ นวิ ถี ชี วิ ต ของ และ ควา มศรั ท ธาท ชาวชนบท

EB GUIDE

ป

นับเปนเทคนิคทางทัศนศิล

สํ า หรั บ ประเ ทศไ ปูนเปยกเริ่มไดรับความทยจิ ต รกรร มฝา ผนั ง แบบ ชัดเจนมาตั้งแตสมั สนใจและมีหลักฐานอยาง อิตาลีเดินทางเขามารัยรัชกาลที่ ๕ เมื่อจิตรกรชาว ปรากฏตามสถานที บราชการ จึงมีผลงานภาพ ่สําคัญหลายแหง เช อนันตสมาคม พระท น พระที่นั่ง บรมพิมาน พระราชวั ี่นั่งอัมพรสถาน พระที่นั่ง บานนรสิงหของเจ งพญาไท วังบางขุนพรหม าพระยารามราฆพ ของเจาพระยาธรรมาธิ บานนนทิ กรณาธิบดี เปนตน

กิจกรรมที่

กิจกรรมที่

กิจกรรมที่

จิตรกรรมแบบปูน เป เซซาเร แฟรโร (Cesaยกที่พระที่นั่งอัมพรสถาน ฝมือ re Ferro) จิตรกรชา วอิตาลี

๓๘ ๑๖

นักเรียนนําตัวอยางเอกสารเกี่ยวกับการบรรยายผลงานทัศนศิลป มาอภิปราย รวมกันวา จากตัวอยางเอกสารมีคาํ ศัพทอะไรทางดานทัศนศิลปปรากฏอยูบ า ง แลวคําศัพทนั้นมีความหมายวาอยางไร ครูเชิญวิทยากรในทองถิ่นมาสาธิตการบรรยายผลงานทัศนศิลปประเภทภาพ พิมพและประเภทสถาปตยกรรม ใหนักเรียนสรุปสาระที่ไดจากการฟงบรรยาย แลวสรุปคําศัพท พรอมความหมายของคําศัพท สงครูผูสอน นักเรียนจัดกลุม ๓ คน ใหแตละกลุมหาภาพผลงานทัศนศิลปประเภทภาพ พิมพหรือสถาปตยกรรมมากุลม ละ ๑ ผลงาน (ควรเปนภาพขนาดใหญ) แลวสง ตัวแทนออกมาบรรยายผลงานทัศนศิลปดังกลาวที่หนาชั้นเรียน โดยใชศัพท ทางทัศนศิลปในการบรรยาย


อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล

กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา Explore Engage

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

ñ

Explain

ò

¡ÒúÃúÒ¼ŧҹ·ÑȹÈÔÅ»Š ● ●

● ●

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

¤ÇÒÁÊíÒ¤Ñޢͧ¡ÒúÃÃÂÒ¼ŧҹ·ÑȹÈÔÅ»Š ¤íÒÈѾ· ·Õè㪌ºÃÃÂÒ¼ŧҹ·ÑȹÈÔÅ»Š ¡ÒúÃÃÂÒ¼ŧҹ·ÑȹÈÔÅ»Š

§Ò¹·ÑȹÈÔÅ»ŠáÅÐÍÔ·¸Ô¾Å¨Ò¡ÇѲ¹¸ÃÃÁ

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

Evaluate

ÊÒúÑÞ ●

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

Expand

§Ò¹·ÑȹÈÔÅ»Š¢Í§ä·ÂÊÁÑ¡‹Í¹»ÃÐÇѵÔÈÒʵà §Ò¹·ÑȹÈÔÅ»Š¢Í§ä·ÂÊÁÑ»ÃÐÇѵÔÈÒʵà ¡‹Í¹ÊØ⢷Ñ §Ò¹·ÑȹÈÔÅ»Š¢Í§ä·ÂÊÁÑÂÊØ⢷Ѩ¹¶Ö§»˜¨¨ØºÑ¹ ÍÔ·¸Ô¾Å¢Í§ÇѲ¹¸ÃÃÁÃÐËÇ‹Ò§»ÃÐà·È·ÕèÁÕµ‹Í§Ò¹·ÑȹÈÔÅ»Šä·Â

ó

¡ÒÃáÊ´§ÍÍ¡·Ò§·ÑȹÈÔÅ»Š¢Í§ÈÔÅ» ¹

ô

¡ÒÃÊÌҧÊÃä ¼Å§Ò¹·ÑȹÈÔÅ»Š

● ●

● ● ● ● ●

ÈÔÅ» ¹´ŒÒ¹Ê×èͼÊÁÊÁÑÂãËÁ‹ ÈÔÅ» ¹´ŒÒ¹ÀÒ¾¾ÔÁ¾ ÊÁÑÂãËÁ‹

¤ÇÒÁËÁÒÂáÅФÇÒÁ໚¹ÁÒà¡ÕèÂǡѺÀÒ¾¾ÔÁ¾ ¤ÇÒÁÃÙŒ¾×é¹°Ò¹à¡ÕèÂǡѺÀÒ¾¾ÔÁ¾ ¡ÒÃÍ͡ẺÊíÒËÃѺ¡ÒþÔÁ¾ ÀÒ¾àº×éͧµŒ¹ à·¤¹Ô¤¡ÒþÔÁ¾ ÀÒ¾àº×éͧµŒ¹ ¡ÒþÔÁ¾ ÀÒ¾¨Ò¡áÁ‹¾ÔÁ¾ Ẻµ‹Ò§æ

ºÃóҹءÃÁ

ñ-ñö ò ó ÷

ñ÷-ôð ñø òð òô óð

ôñ-õô ôò ôù

õõ-÷ô õö õø õø öñ öõ

÷õ


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

เปาหมายการเรียนรู 1. รูจักและเขาใจศัพททางทัศนศิลป 2. บรรยายจุดประสงคและเนื้อหา ของงานทัศนศิลปโดยใชคําศัพท ทางทัศนศิลป

กระตุนความสนใจ ครูนําผลงานทัศนศิลป ประเภทจิตรกรรม ประติมากรรม สถาปตยกรรม มาใหนักเรียนดู 1 ภาพ กระตุนถามวา • นักเรียนคนใดรูจักผลงาน ในภาพนี้บาง • ผลงานในภาพนี้มีลักษณะเดน อยางไร

เกร็ดแนะครู การบรรยายผลงานทัศนศิลปเปนการ อธิ บ ายให ผู  ช มเกิ ด ความเข า ใจในผลงาน ทัศนศิลป ซึง่ ผูบ รรยายตองศึกษารายละเอียด ของผลงานทัศนศิลปใหเขาใจและตองศึกษา ศัพททางทัศนศิลปดวย เพื่อที่จะไดถายทอด คุณคาของผลงานไดอยางเหมาะสม

ñ การบรรยายผลงานทัศนศิลป

หนวยการเรียนรู

ตัวชี้วัด บรรยายจุดประสงคและเนื้อหาของงานทัศนศิลป โดยใชศัพททางทัศนศิลป (ศ ๑.๑ ม. ๔-๖/๒) ●

การจัดการเรียนการสอนในหนวย การเรี ย นรู  นี้ ค รู ค วรให นั ก เรี ย นได สัมผัสการบรรยายงานทัศนศิลปใน พื้นที่จริง โดยอาจพานักเรียนไปชม นิทรรศการตางๆ หรือดูจากวิดีโอเพื่อ เสริมความเขาใจ

สาระการเรียนรูแกนกลาง ศัพททางทัศนศิลป ●

คูมือครู

1


กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

กระตุนความสนใจ ครูใหดูภาพหรือชมวิดีโอเกี่ยวกับ การบรรยายผลงานทัศนศิลป กระตุนถามนักเรียนวา นักเรียนเคย ไดยินหรือเห็นการบรรยายผลงาน ทัศนศิลปหรือไม จากที่ใด (แนวตอบ นักเรียนตอบไดอิสระ เชน เคยไดยินจากเพื่อนเลาใหฟง ไดเห็น จากการชมการบรรยายผลงานที่ หอศิลป เปนตน)

สํารวจคนหา ครูใหนักเรียนแตละคนสํารวจ ขอมูลเกี่ยวกับการบรรยายผลงาน ทัศนศิลปวามีความสําคัญอยางไร และมีลักษณะอยางไร

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

(หนาพิมพและตัวอักษรในกรอบนี้มีขนาดเล็กกวาฉบับนักเรียน 20%)

๑. ความสําคัญของการบรรยายผลงานทัศนศิลป การบรรยายผลงานทัศนศิลป ไมวา จะใชถอ ยคําหรือเปนขอเขียนก็ตาม ลวนมีสว นในการ สรางเสริมเติมเต็มความรูความเขาใจทางศิลปะใหแกตนเองและยังแสดงใหเห็นถึงความสามารถ ในการคิดวิเคราะห เนื่องจากการแสดงออกดวยการบรรยายยอมตองผานกระบวนการพิจารณา สังเกตและคิดวิเคราะหสงิ่ ทีเ่ ห็นกลัน่ กรองออกมาอยางเปนระบบ ในระดับชัน้ นีจ้ ะเนนใหผเู รียนรูจ กั บรรยายจุดประสงคและเนื้อหาของงานทัศนศิลปโดยใชคําศัพททางดานทัศนศิลป ผลงานทัศนศิลปจะประกอบไปดวยผลงานประเภทจิตรกรรม งานประติมากรรม งาน สถาปตยกรรมและงานภาพพิมพ ซึง่ ทุกประเภทตางก็สรางสรรคขนึ้ ดวยการออกแบบตามหลักการ ทางศิลปะ โดยมีวัตถุประสงคหลักเพื่อใหเกิดคุณคาทางสุนทรียภาพหรือเพื่อประโยชนใชสอย แต ไมวาจะเปนผลงานทัศนศิลปประเภทใด เราก็สามารถใชศัพททางทัศนศิลปคําเดียวกันบรรยาย งานนั้นได เนื่องจากทุกชิ้นงานเมื่อจําแนกแยกแยะลึกลงไป เราจะพบวาตางลวนประกอบไปดวย องคประกอบของทัศนธาตุและหลักการจัดองคประกอบศิลปดวยกันทั้งสิ้น อาจมีความแตกตาง มาเฉพาะตามโครงสรางของงานนั้น ๆ เทานั้น อยูบางก็เปนเพียงบางสวนที่ตองใชศัพทบัญญัติขึ้นมาเฉพาะตามโ

อธิบายความรู ครูสมุ นักเรียน 3-4 คน ใหมาอธิบาย ความสําคัญของการบรรยายผลงาน ทัศนศิลปและลักษณะของการบรรยาย ผลงานทัศนศิลป

เกร็ดแนะครู ครูอธิบายเพิ่มเติมวา การบรรยาย ผลงานทัศนศิลปทําใหผูชมผลงาน มีความเขาใจถึงจุดประสงคและ เนื้อหาของผลงานที่ศิลปนตองการ สื่อ และเปนการฝกใหผูบรรยายได คิดวิเคราะหเกี่ยวกับผลงานอีกดวย

ผูบรรยายควรศึกษาขอมูลของผลงานทัศนศิลปอยางละเอียดเพื่อจะไดถายทอดขอมูลและตอบขอสงสัยของผูชมได

2

คูมือครู


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

Engage

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

สํารวจคนหา การใชศพั ททางทัศนศิลปในการบรรยายจุดประสงคและเนือ้ หาของงานทัศนศิลป เปนการ ฝกใหผูเรียนสามารถคนหาสิ่งสําคัญในผลงาน แลวอธิบายใหผูอื่นรับรู แตยังไมถึงขั้นการวิพากษ วิจารณและประเมินคุณคา เปนแคเพียงการวางพื้นฐานของการใชความคิดวิเคราะห จําแนก แยกแยะสิ่งที่เห็นแลวนําเสนอดวยการบรรยายเทานั้น

๒. คําศัพทที่ใชบรรยายผลงานทัศนศิลป

การบรรยายถึงจุดประสงคและเนื้อหาของผลงานทัศนศิลป เปนการอธิบายใหผูชมเกิด ความเขาใจวา ผลงานชิ้นนั้นๆ ศิลปนมีจุดประสงคอยางไรในการสรางงาน มีเนื้อหาสาระอะไรที่ สอดแทรกอยูในผลงานบาง เพื่อจะไดเขาใจสารที่ศิลปนตองการจะสื่อและเขาใจถึงอารมณความ รูสึกของศิลปนในชวงที่สรางผลงานชิ้นนั้น ขณะเดียวกันการบรรยายโดยใชศัพททางทัศนศิลป จะทําใหเกิดความเขาใจไดตรงกันและอยูใ นกรอบแวดวงทางดานศิลปะ เปนการบรรยายทีม่ ลี กั ษณะ ที่ใหความรูในเชิงวิชาการผสมผสานอยูดวย ศัพททางทัศนศิลปมจี าํ นวนคําศัพทมาก สวนใหญมรี ากฐานมาจากภาษาอังกฤษ บางคํา มีการบัญญัติศัพทเปนภาษาไทยโดยราชบัณฑิตยสถานและบางคําศิลปนไทยก็เปนผูกําหนด ขึ้นเองและใชเฉพาะกลุม ตอไปนี้เปนตัวอยางของคําศัพททัศนศิลปที่เกี่ยวกับงานภาพพิมพและ งานสถาปตยกรรม ซึ่งเลือกมานําเสนอเปนบางคํา ดังนี้ ความหมาย การพิมพ เทคนิคการพิมพที่ใชแมพิมพแกะไม เปนเทคนิคการพิมพจากสวนนูน ดวยการลงหมึกพิมพบน เทคนิค ผิวหนาตรงสวนนูนของแมพิมพที่เปนรูปภาพ ภาพที่ออกมาจะปรากฏหมึกดําตรงตามสวนนูนของ แกะไม แมพิมพ (กรณีการพิมพหลายสีจะใชแมพิมพไมหลายแผน แตละแผนจะแกะลวดลายและใชสี (Wood cut) แตกตางกัน แลวนํามาพิมพซอนทับลงไปบนกระดาษแผนเดียวกัน) ตัวอยางเชน ภาพ ภาพคลื่นยักษ นอกฝงคะนะงะวะ (The Great Wave off Kanagawa) เปนภาพพิมพแกะไมหนึ่งในผลงานชุด “ทัทั ศ นี ย ภาพ ๓๖ มุ ม ของภู เ ขาฟุ จิ ” (Fugaku Sanjurokkei) ของคะสึชิกะ โฮะกุไซ (Katsushika Hokusai) ศิลปน ชาวญี่ปุน เปนภาพของคลื่นขนาดใหญ ทีซ่ ดั ใสเรือประมงในจังหวัดคะนะงะวะ มีฉากหลังเปนภูเขาไฟฟุจิ ภาพนี้มักมี ผูเขาใจผิดบอยครั้งวาเปนภาพของ คลื่นสึนามิ แตแทจริงแลวศิลปนอาจ สื่อถึงคลื่นขนาดใหญเทานั้นเอง http://www.aksorn.com/LC/Va/M6/01

EB GUIDE๓

ใหนักเรียนสืบคนวา ศัพททาง ทัศนศิลปมีความสําคัญตอการ บรรยายผลงานทัศนศิลปอยางไร

อธิบายความรู 1. ครูขออาสาสมัครนักเรียน 2-3 คน นําเสนอขอมูลที่สืบคนมา หนาชั้นเรียนวา ศัพททางทัศนศิลป มีความสําคัญตอการบรรยาย ผลงานทัศนศิลปอยางไร (แนวตอบ การบรรยายผลงาน ทัศนศิลปซึ่งเปนศาสตรเฉพาะทาง จําเปนตองใชศัพทเฉพาะดาน ประกอบการบรรยาย เพื่อชวยให ผูฟงหรือผูชมเขาใจผลงานไดดี ยิ่งขึ้น) 2. ครูใหนักเรียนจับคูยกตัวอยาง ศัพททางทัศนศิลป คูละ 1 คํา เขียนบนกระดานดํา และใหนกั เรียน รวบรวมคําศัพททางทัศนศิลป จดลงสมุด

เกร็ดแนะครู ครูใหนักเรียนพิจารณา ภาพคลื่นยักษนอกฝงคะนะงะวะ ในหนา 3 โดยครูชี้แนะวา • มีองคประกอบศิลป ไดแก จุด เสน รูปราง รูปทรง สี แสงเงา ชองวาง พื้นผิว • มีหลักการออกแบบที่มี ความเปนเอกภาพ ความสมดุล ความกลมกลืนและโครงสราง ทางศิลปะ ทิศทาง การซํา้ จังหวะ การตัดกัน ความกลมกลืน นํ้าหนัก

นักเรียนควรรู ทัศนียภาพ 36 มุมของภูเขาฟุจิ เปนภาพชุดอุกิโยะ (Ukiyo-e) ภาพพิมพแกะไม โดยจิตรกร ชาวญี่ปุน คะสึชิกะ โฮะกุไซ (Katsushika Hokusai) เปนภาพภูเขาฟุจิในฤดูตางๆ ชุดแรกมี 36 ภาพที่รวมเปนเลมและตีพิมพ เมื่อเปนที่แพรหลายและนิยมกันเปนอันมาก ก็ไดมีการเพิ่มภาพ อีกสิบภาพในหนังสือรวมภาพฉบับตอมา

คูมือครู

3


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Engage

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

สํารวจคนหา ครูแจกตัวอยางบทความที่มี การบรรยายผลงานทัศนศิลปมา 1 ตัวอยาง จากนั้นใหนักเรียน คนหาคําศัพททางทัศนศิลป

อธิบายความรู ครูสุมนักเรียนอธิบายความหมาย คําศัพทเหลานั้น หนาชั้นเรียน จากนั้นครูถามนักเรียนวา ศัพท ทางทัศนศิลปกับผลงานทัศนศิลป เกี่ยวของกันอยางไร (แนวตอบ การบรรยายผลงานทัศนศิลปซงึ่ เปนศาสตรเฉพาะทางทีม่ ศี พั ท ทางทั ศ นศิ ล ป ที่ ต  อ งอธิ บ ายและ บรรยายเพื่อชวยใหผูเรียนหรือผูฟง เข า ใจในชิ้ น งานตามหลั ก การการ สรางงานทัศนศิลปและยังใหความ รูสึกอยูในบรรยากาศของการเรียนรู ดานศิลปะ)

ความหมาย การพิมพ เทคนิคการพิมพทใี่ ชแมพมิ พแกะโลหะ เปนภาพพิมพนนู ชนิดหนึง่ ทีแ่ กะแมพมิ พบนแผนทองแดง เทคนิค หรือโลหะชนิดอื่นๆ โดยมีวิธีการพิมพเชนเดียวกับการพิมพเทคนิคแกะไม แกะโลหะ (Metal cut) เครื่องพิมพ เครื่องใชอัดภาพพิมพ ประกอบดวยแทนพิมพที่มีลูกกลิ้งเหล็กหรือยางวางอยูดานบน เวลาพิมพ จะนําแมพิมพมาวางบนแทน แลววางกระดาษพิมพบนแมพิมพ ทาหมึกหรือสีที่ตองการบน แมพิมพใหทั่ว เลื่อนลูกกลิ้งใหเลื่อนไปมา นํ้าหนักจากลูกกลิ้งจะกดหมึกจากแมพิมพใหติดลง บนกระดาษเกิดเปนภาพขึ้นมา

ลูกกลิ้งยาง ใชกลิ้งหมึกหรือกลิ้งสีพิมพ เปนลูกกลิ้ง

ยางเจาะรูตรงกลาง มีเหล็กหรือลวด ร อ ย มี ที่ จั บ สํ า หรั บ กลิ้ ง หมึ ก พิ ม พ ใ ห เรียบหรือนํามากลิง้ บนแมพมิ พทจี่ ะพิมพ เปนภาพตางๆ

ภาพพิมพนูน ภาพพิมพที่พิมพจากผิวหนาของวัตถุ เชน ภาพพิมพแกะไม ภาพพิมพแกะกระดาษ ภาพพิมพ แกะโลหะ เปนตน

ภาพพิมพ รองลึก

การสรางแมพิมพโดยใชสวนที่เปนรองของแมพิมพเปนตัวพิมพ ไดแก ภาพพิมพโลหะ โดยการ เคลือบผิวโลหะดวยขีผ้ งึ้ แลวขูด ขีด เซาะใหเปนรอยบนโลหะดวยของแหลม จากนัน้ นําไปแชกรด ใหกัดเปนรอง แลวใชหมึกพิมพอัดลงในรองที่ขูดขีด

ครูควรนําตัวอยางผลงานทัศนศิลป ในรูปแบบตางๆ มาใหนักเรียนดู เพื่อ ใหนักเรียนเขาใจรูปแบบทัศนศิลปใน ลักษณะตางๆ ไดดียิ่งขึ้น

ภาพพิมพ พื้นราบ

ไดแก ภาพพิมพหิน โดยแมพิมพทําดวยหินหนาเรียบ ใชไขเขียนลงบนหิน แลวผานกระบวนการ ทางเคมีเพื่อใหไขติดกับหินไดทน หมึกจะติดเฉพาะสวนที่เปนไขที่เขียนเปนลวดลาย พิมพดวย เครื่องรีดพิมพหิน

รูปแบบ ทัศนศิลป

แบบหรือลักษณะที่รับรูไดดวยการเห็น เปนลักษณะของผลงานทัศนศิลปที่ศิลปนเลือกใชเปนสื่อ ในการถายทอดแนวคิดหรือจุดประสงคของตน แบงได ๓ ลักษณะคือ ศิลปะรูปลักษณ ศิลปะ ไรรูปลักษณ และศิลปะกึ่งไรรูปลักษณ

นักเรียนควรรู

จังหวะ

ความสัมพันธของทัศนธาตุ เชน เสน สี รูปราง รูปทรง นํ้าหนัก เปนตน ในลักษณะของการ ซํา้ กันสลับไปมาหรือลักษณะลืน่ ไหลเคลือ่ นไหวไมขาดระยะ จังหวะทีม่ คี วามสัมพันธตอ เนือ่ งกัน จะชวยเนนใหเกิดความเดนมากขึ้น

เกร็ดแนะครู

ศิ ล ปะรู ป ลั ก ษณ ห รื อ ศิ ล ปะแบบ รูปธรรม เปนศิลปะที่แสดงลักษณะ ของรูปราง รูปทรง อยางชัดเจน ๔ ศิลปะไรรูปลักษณหรือศิลปะแบบ นามธรรมเปนศิลปะที่แสดงออกทาง สุ น ทรี ย ภาพ ไม เ น น ความจริ ง ของ รูปราง รูปทรงตามธรรมชาติ เนนที่อารมณความรูสึก ศิลปะกึ่งไรรูปลักษณหรือศิลปะแบบกึ่งนามธรรมเปนศิลปะที่มีการตัดทอนหรือ ดัดแปลงรูปราง รูปทรงใหแตกตางไปจากความเปนจริง นับวาเปนงานศิลปะที่อยู ระหวางรูปธรรมและนามธรรม

4

คูมือครู


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ Expand

Explain

Engage

ตรวจสอบผล Evaluate

สํารวจคนหา ครูใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 3-5 คน จากนั้นใหแตละกลุมชวยกัน คนหาคําศัพททางทัศนศิลป พรอมความหมายมากลุมละ 10 คํา

ความหมาย ทัศนธาตุ

สิ่งที่เปนปจจัยของการมองเห็น เปนสวนตางๆ ที่ประกอบกันเปนภาพ ไดแก จุด เสน นํ้าหนัก ที่วาง รูปราง รูปทรง สีและลักษณะพื้นผิว

เสน

จุดจํานวนมากทีน่ าํ มาเรียงติดตอเชือ่ มโยงกันบนพืน้ ระนาบของทิศทาง จนสามารถแสดงใหเห็น ไดวาเปนเสน รวมถึงบงบอกวามีลักษณะอยางไร เชน เปนเสนตรง เสนโคง เสนตั้ง เสนนอน เสนคด เสนหยัก เปนตน

พื้นผิว

ลักษณะของบริเวณผิวของสิ่งตางๆ ที่รับรูไดดวยการสัมผัสจับตองหรือเมื่อไดเห็นแลวรูสึกไดวา หยาบ ละเอียด มัน เปนริ้วรอย เปนปุมขรุขระ

รูปทรง

โครงสรางทั้งหมดของวัตถุที่ปรากฏใหเห็นในลักษณะ ๓ มิติ คือมีทั้งสวนกวาง สวนยาว สวนลึกหรือหนา

อธิบายความรู 1. ครูสุมนักเรียน 4-5 กลุม ออกมา อธิบายคําศัพททางทัศนศิลป ที่แตละกลุมรวมกันคนควา 2. ใหแตละกลุมรวบรวมคําศัพท พรอมความหมายบันทึกลงกระดาษ รายงาน แลวสงครูผูสอน

องคประกอบ วิชาหรือทฤษฎีที่เกี่ยวกับการสรางรูปทรงในงานทัศนศิลป ศิลป เอกภาพ สภาพทีเ่ ปนอันหนึง่ อันเดียวกัน ความสอดคลองกลมกลืนกัน การประสานกันหรือการจัดระเบียบ

@

ของสวนตางๆ เพื่อสรางผลรวมอันเปนอันหนึ่งอันเดียวกันที่ไมอาจแยกออกจากกั าจแยกออกจากกันได

ศึกษาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ ตํานานครุฑยุดนาคไดจาก http:// www.snr.ac.th/wita/Story/Thai_ logo.htm

ความกลมกลืน ความประสานกันอยางลงตัว นาพอใจของทัศนธาตุ เชน เสน รูปทรง สี ขนาด ลักษณะ พื้นผิว เปนตน

ความสมดุล สภาพของการถวงดุลกันของนํ้าหนักทัศนธาตุที่ประกอบกันในงานทัศนศิลปชิ้นหนึ่งๆ ความซํ้า

มุม IT

การทําอีกครั้ง เชน การซํ้าของรูปทรง การซํ้าของจังหวะ เปนตน ตัวอยางเชน ครุฑยุดนาค ปูนปนปดทองประดับกระจกที่พระอุโบสถ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม เปนตัวอยางของความซํ้า ทางทัศนศิลปที่เรียกวา ซํ้าเหมือนกันทุกประการ (Exact Repetition) ซึ่งเปนการซํ้าใหมีความ เทากัน ไมวาจะเปนรูปราง ขนาด สี ผิวสัมผัส ทิศทาง ตําแหนงและทีว่ า งทีเ่ พิม่ ความงดงามใหแก สถาปตยกรรมไทยไดเปนอยางดี

การแสดงออก การแสดงความคิด อารมณ ความรูส กึ ความหมาย ใหปรากฏเปนรูปแบบดวยถอยคํา สัญลักษณ หรือผลงานทางทัศนศิลป

คูมือครู

5


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู ขยายความเขาใจ Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

อธิบายความรู 1. ครูใหนกั เรียนแตละกลุม เขียน คําศัพททางทัศนศิลป 5 คํา นําใส รวมในกลอง 2. ใหนกั เรียนจับสลากคําศัพท 1 คํา จากนัน้ ครูสมุ เรียกชือ่ นักเรียน อธิบายคําศัพททจี่ บั สลากได 3. ครูอธิบายเพิม่ เติมคําศัพททาง ทัศนศิลปทมี่ คี วามสําคัญตอการ บรรยายผลงานทัศนศิลป

ความหมาย พื้นที่วางหรือ ที่วางระหวางรูปทรง ระหวางลายหรือตัวอักษร ชองไฟ ความบันดาลใจ การกระตุนหรือผลักดันที่เกิดขึ้นในใจ ทําใหเกิดความคิดหรือการกระทําเชิงสรางสรรค อาจเกิด ขึ้นจากการกระตุนจากภายนอกหรือภายในใจเองก็ได

เนื้อหา

การเนนใหเดน การทําเสน สี ปริมาตรหรือคุณคาอยางอื่นในสวนใดสวนหนึ่งของงานทัศนศิลปใหเห็นเดนชัด

ขยายความเขาใจ

มากขึ้น เชน รูปปนที่มีผิวพื้นราบเสมอกันไปหมดจะดูไมสวยเทาที่ควร เพราะที่ผิวขาดคุณคา ของแสงและเงา จึงตองเพิ่มความตางของผิวเพื่อเนนใหเดนขึ้น

ครูใหนักเรียนใหแตละกลุมนํา ผลงานทัศนศิลปมากลุมละ 1 ชิ้น จากนั้นใหฝกบรรยายชิ้นงานโดยใช คําศัพททางทัศนศิลป แลวสงตัวแทน มานําเสนอหนาชั้นเรียน

รูปทรงอิสระ รูปรางใดๆ ทั้งทีเ่ กิดโดยการสรางสรรคและเกิดจากสิ่งที่เปนธรรมชาติ ซึ่งมีลกั ษณะบิดเบี้ยว คด โคงและไมใชทรงเรขาคณิต

สมมาตร

นักเรียนควรรู ทัชมาฮาล สถาปนิกตั้งใจออกแบบ ใหสถาปตยกรรมมีลักษณะที่ 2 ดาน เหมือนกันหรือมีความสมดุลเทากัน ขณะเดียวกันจากมุมมองของสายตา สมมติวามีการลากเสนตรงไปยังจุด กึ่งกลางอาคาร พื้นที่ระหวางทางเดิน สองดานของสระนํา้ รวมทัง้ แนวพมุ ไม สองขางทางและหอคอยขนาบขาง ก็ จัดวางตําแหนงเปนคูขนานในระดับ เสมอกันเปนจังหวะที่ลงตัวที่จะชวย นําสายตามุงสูโดมใหญ ทั้งนี้การที่ ทัชมาฮาลสรางดวยหินออนใชเสนโคง พรอมลวดลายในชองกรอบ และสวน อื่นๆ ที่เห็นไดอยางชัดเจน จึงทําให ผลงานดูแลวไมแข็ง แตกลับทําใหดู รูสึกออนชอย นุมนวล

สิ่งที่แสดงออกในงานศิลปะ หมายความถึง สาระที่ผลงานสื่อออกมา

ลักษณะขององคประกอบศิลปะทีจ่ ดั ในลักษณะแสดงสวนประกอบตางๆ เชน รูปทรง สี แสง เงา เปนตน ทั้งขางซายและขางขวาของแกนกลางใหเหมือนกัน ตัวอยางเชน มัสยิดกลาง ที่จังหวัด ปตตานี ประเทศไทย และทัชมาฮาล ที่เมืองอัครา ประเทศอินเดีย สถานที่ที่ไดรับการออกแบบ ใหมีสมมาตร คือเมื่อแบงครึ่งแลว ทั้งดานซายและขวาจะมีลักษณะเหมือนกัน นับเปน สถาปตยกรรมที่มีความงดงามอยางมาก

@

มุม IT

ศึกษาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับมัสยิดกลาง ไดที่ http://www.pattani.go.th/ saratourpai/satanteesamkan/tuarid_madsayidklang.htm

6

คูมือครู


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

กระตุนความสนใจ ครูใหนักเรียนดูภาพหรือวิดีโอ เกี่ยวกับผลงานภาพพิมพ กระตุน ถามวา • ผลงานภาพนี้เปนงานทัศนศิลป ประเภทใด • นักเรียนเคยเห็นผลงาน ในลักษณะนี้ที่ใดบาง

๓. การบรรยายผลงานทัศนศิลป การศึกษาทําความเขาใจในชัน้ นี้ จะเนนทีก่ ารบรรยายผลงานทัศนศิลปประเภทภาพพิมพ และประเภทสถาปตยกรรม เปนการตอยอดความรูเ พิม่ เติมจากชัน้ ทีผ่ า นมา ซึง่ เคยบรรยายเกีย่ วกับ ผลงานประเภทจิตรกรรมไปแลว

๓.๑ การบรรยายผลงานภาพพิมพ ภาพพิมพเปนผลงานที่ศิลปนสรางสรรคขึ้นมาในลักษณะที่เรียกวา “ภาพพิมพ วิจิตรศิลป” งานทัศนศิลปประเภทนี้ตนแบบ (original) จะมีหลายภาพ เพราะเปนการพิมพ ซํ้าๆ ออกมาจากแมพิมพอันเดียวกัน ถึงแมวา จะพิมพออกมาจํานวนมาก ทุกภาพก็จะถือวา เป น ต น แบบด ว ยกั น ทั้ ง สิ้ น ซึ่ ง แตกต า งจาก ผลงานทัศนศิลปประเภทอื่นๆ ที่งานตนแบบจะ มีเพียงชิ้นเดียว ในการบรรยายผลงานศิลปะภาพพิมพ จะเนนไปที่ใหเขาใจจุดประสงคในการสรางงาน ของศิลปนและเนื้อหาที่อยูในงาน สิ่งแรกที่ควร พิจารณากอน ก็คอื เทคนิควิธกี ารทีศ่ ลิ ปนนํามา ใช เพราะเปนสิ่งที่เห็นไดชัดเจนที่สุดเมื่อมองดู ที่ผลงาน เมื่อทราบถึงเทคนิคที่ศิลปนใชแลว ก็เชือ่ มโยงไปถึงรูปแบบของผลงานวา มีรปู แบบ อยางไร เปนศิลปะรูปลักษณ ศิลปะไรรูปลักษณ หรือศิลปะกึ่งไรรูปลักษณ ถ า เป น ศิ ล ปะรู ป ลั ก ษณ ห รื อ ภาพ เหมือนจริง ก็จะไมตอ งตีความมากและจะทราบ เนือ้ หาทีศ่ ลิ ปนตองการนําเสนอไดโดยไมยากนัก ทั้งนี้ควรบันทึกสิ่งที่ปรากฏเห็นไดชัดไวกอน สวนคําศัพทที่ใชในการบรรยาย ตองใชคําที่สื่อ ความหมายชัดเจน ไมทําใหเกิดการตีความใน ภาษา

@

à¡Ãç´ÈÔÅ»Š ศิลปนแหงชาติ ถือเปนทรัพยากรบุคคลที่สําคัญ ทางดานศิลปะ ซึ่งแตละทานไดมีบทบาทชวยสืบสาน งานศิลปะของชาติในแขนงตาง ๆ ใหเชือ่ มโยงจากอดีต มาสูป จ จุบนั เปนการชวยรักษาและถายทอดภูมปิ ญ ญา ไทยจากอดีตใหมคี วามรุง โรจนสบื ไปยังอนาคตขางหนา โครงการศิลปนแหงชาติไดเริ่มมีมาตั้งแต พ.ศ. ๒๕๒๗ เพื่อสรรหา สงเสริม ยกยอง สนับสนุนและ ชวยเหลือศิลปนผูส รางสรรคผลงานศิลปะอันทรงคุณคา ของแผนดินใหเปนศิลปนแหงชาติ โดยมีสํานักงาน คณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติเปนผูพิจารณา ทั้งนี้ จะแบงการเชิดชูเกียรติออกเปน ๔ สาขา ไดแก สาขา ทัศนศิลป (Visual Art) สาขาศิลปะสถาปตยกรรม (Architecture) สาขาวรรณศิลป (Literature) สาขา ศิลปะการแสดง (Performing Art) คุณสมบัติของบุคคลที่จะไดรับการเชิดชูเกียรติ ใหเปนศิลปนแหงชาติ

สํารวจคนหา ครูใหนักเรียนคนหาผลงาน ภาพพิมพมาคนละ 1 ภาพ พรอมทั้ง ศึกษารายละเอียดของภาพนั้น

อธิบายความรู ครูสุมนักเรียน 2-3 คน มาอธิบาย วาผลงานภาพพิมพทตี่ นไดศกึ ษาเปน ผลงานของใคร ภาพอะไร เห็นที่ไหน และมี ค วามรู  สึ ก อย า งไรต อ ผลงาน ดังกลาว

๑. เปนผูมีสัญชาติไทยและยังมีชีวิตอยูในวันตัดสิน ๒. เปนผูที่มีความสามารถ มีความเชี่ยวชาญ และ มีผลงานดีเดน เปนที่ยอมรับของวงการศิลปน แขนงนั้น ๓. เปนผูสรางสรรคและพัฒนาศิลปะแขนงนั้น จนถึงปจจุบัน ๔. เปนผูผดุงและถายทอดศิลปะแขนงนั้น ๕. เปนผูปฏิบัติงานศิลปะแขนงนั้นอยูในปจจุบัน ๖. เปนผูมีคุณธรรมและมีความรักในวิชาชีพของตน ๗. เปนผูมีผลงานที่ยังประโยชนตอสังคมและ มนุษยชาติ

มุม IT

คนควาเพิ่มเติมเกี่ยวกับศิลปนแหงชาติสาขาตางๆ ไดที่ http://www.art.culture.go.th/index.php

ขยายความเขาใจ ครูคัดเลือกผลงานภาพพิมพของ นักเรียน 3 ภาพ และสุมเลือกนักเรียน 3 คน เพื่ อ บรรยายผลงานดั ง กล า ว และใหเพื่อนๆ รวมบรรยายเพิ่มเติม ครูเสริมเพิม่ เติมเกีย่ วกับการใชคาํ ศัพท ในการบรรยายผลงานทัศนศิลป

เกร็ดแนะครู ๗

ครูควรอธิบายเพิม่ เติมเกีย่ วกับคําวา “วิจิตรศิลป” (Fine Art) เปนศิลปะ ประเภทหนึง่ ทีอ่ าํ นวยประโยชนทางใจ มุง เนนความงดงามและความพึงพอใจ มากกวาประโยชนใชสอย แบงออกเปน 6 แขนงคือ จิตรกรรม ประติมากรรม สถาปตยกรรม วรรณกรรม ดนตรีนาฏศิลปและการพิมพภาพ คูมือครู

7


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

Engage

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

สํารวจคนหา ครู ใ ห นั ก เรี ย นศึ ก ษารายละเอี ย ด ของภาพพิมพแกะไม “Explosion 3” ผลงานของ Daniel Allegrucci

สวนการบรรยายผลงานศิลปะภาพ พิ ม พ รู ป แบบกึ่ ง ไร รู ป ลั ก ษณ ห รื อ รู ป แบบกึ่ ง นามธรรม บางสวนสามารถจะตีความไดไมยาก เพราะศิลปนมักจะใชความเปนจริงที่พบเห็น ไดในชีวิตประจํา วัน หรือใชธ รรมชาติมาเปน สัญลักษณเพือ่ สือ่ เนือ้ หา แตบางสวนก็ตอ งอาศัย การตีความวาศิลปนตองการจะสื่ออะไร สําหรับศิลปะภาพพิมพที่เปนรูปแบบ ไรรูปลักษณหรือนามธรรมนั้น แมบางภาพชื่อ ผูบรรยายควรใชภาษาที่สื่อความหมายไดอยางชัดเจน อาจจะชัดเจนพอจะใชเปนแนวในการทําความ เพื่อใหผูชมสามารถเขาใจเนื้อหาของผลงานได เขาใจไดบางก็ตาม แตก็ยังเปนเรื่องที่คอนขาง ยาก ซึ่งจําเปนตองใชความคิดจินตนาการชวยเสริมอยูมาก ในประเด็นนี้ผูบรรยายไมตองกังวล วาจะตีความหมายไมสอดคลองกับแนวคิดของศิลปน เนื่องจากศิลปะไรรูปลักษณหรือศิลปะ นามธรรมนั้น มีเปาหมายอยางหนึ่งก็คือ ตองการใหผูชมไดมีสวนรวมในการคิดฝน ซึ่งแตละคน อาจจินตนาการตรงกันหรือแตกตางไปคนละทิศทางเลยก็ได ทัง้ นีใ้ นการบรรยายผลงานทีเ่ ปนศิลปะ ไรรูปลักษณ ขอมูลสวนหนึ่งที่สามารถจะบรรยายได ก็พิจารณาจากสิ่งที่เห็นอยูในภาพ โดยเฉพาะ องคประกอบของทัศนธาตุ ไมวาจะเปนรูปราง รูปทรง สีสัน พื้นผิวและอื่นๆ ตลอดจนเทคนิคที่ใช และความสอดคลองกับการออกแบบตามหลักการจัดองคประกอบศิลป

อธิบายความรู ครูใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวา ภาพดังกลาวเปนผลงานทัศนศิลป ในรูปแบบใด โดยสังเกตจากอะไร (แนวตอบ ภาพดังกลาวเปนผลงาน ทัศนศิลปแบบไรรปู ลักษณ โดยสังเกต จากรู ป ร า ง-รู ป ทรงที่ มี ลั ก ษณะเป น นามธรรม ซึ่งผูชมตองใชจินตนาการ ในการมอง เพื่ อ ตี ค วามหมายของ ภาพ)

เกร็ดแนะครู ครู ห าตั ว อย า งภาพพิ ม พ ที่ ไ ร รู ป ลักษณหรือเปนนามธรรมมา 1 ภาพ มาใหนักเรียนดู แลวใหนักเรียนแสดง ความคิดเห็นเกี่ยวกับความหมายของ ภาพดังกลาว ซึ่งนักเรียนจะมีความ เห็นที่แตกตางกันออกไปตามมุมมอง จากนั้นใหครูสรุปวา ลักษณะผลงาน ที่เปนนามธรรมจะเปดโอกาสใหผูชม ไดใชจินตนาการในการชมอยางมาก ซึ่งผูชมสามารถแสดงความคิดเห็นได ตางๆ นานาไมเนนถูกหรือผิด

ภาพพิมพแกะไม “Explosion 3” ผลงานของ แดเนียล อัลเลกรุซซี (Daniel Allegrucci)

8

คูมือครู


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

Engage

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

สํารวจคนหา ตัวอยางการบรรยายผลงานภาพพิมพที่ ๑ อาบนํ้าใหเจาทุย

ครูใหนักเรียนรวมกันพิจารณา ผลงานภาพพิมพในหนา 9 ดาน องคประกอบ หลักการออกแบบ และเนื้อหาของผลงาน

เกิด

๑๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๘๒ จังหวัดลําพูน

ภาพพิมพแกะไม ผลงานของประพันธ ศรีสุตา ได สรางสรรคแมพิมพดวยการแกะนูนลงบนไม แลวนําไป พิมพในลักษณะภาพพิมพผิวนูน โดยเลือกใชสีขาว ดํา เพื่อเนนใหผลงานมีความโดดเดนแตดูเรียบงาย

การศึกษา

อ.ประพันธ ศรีสุตา

จุดประสงคของศิลปน ตองการแสดงความผูกพันระหวางชาวนากับควาย ศิลปน ไดรับแรงบันดาลใจจากชีวิตที่เรียบงายในชนบท จึงใชควายกับเด็กเลี้ยงควายมาเปน สื่อ รูปแบบของผลงานทัศนศิลป เปนศิลปะรูปลักษณที่สื่อความหมายโดยตรง

- ศิลปบัณฑิต (จิตรกรรม) คณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ มหาวิทยาลัย ศิลปากร - Werkkunstschule, Hannover Germany - Berlin Hochschule fur Bildende Kunste, Germany - B.F.A. and M.F.A., Cranbrook Academy of Arts, Michigan U.S.A.

เกียรติประวัติ

- รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๓ เหรียญทองแดง ประเภท ภาพพิมพ - การแสดงศิลปกรรมแหงชาติ ครั้งที่ ๑๒ และครั้งที่ ๑๓ - รางวัลที่ ๑ (ภาพพิมพ) การประกวดศิลปะของ วังสวนผักกาด ครั้งที่ ๑ ฯลฯ

เนื้อหาของผลงาน เปนรูปเด็กที่บุตรหลานของชาวนากําลังอาบนํ้าใหเจาทุย ซึ่งเปนสัตวที่มีความสําคัญตอ วิถีชีวิตของชาวนา แสดงความผูกพันระหวางคนกับควาย รวมทั้งสะทอนวิถีชีวิตชนบทไทยดวย รูปทรงและทาทางการเคลือ่ นไหวมีความเปนธรรมชาติ เสนมีความคมชัด ศิลปนเลือกใชสขี าวและดํามาแสดง ในผลงาน เพื่อสะทอนบรรยากาศของความปกติเรียบงายเขากับเรื่องราวที่ตองการสื่อ สวนที่เปนเรื่องราวของภาพ จะแสดงดวยสีดาํ พืน้ จะปลอยเปนพืน้ ทีว่ า งสีขาวไวมาก แตกท็ งิ้ รองรอยการแกะไว ไมใหเรียบไปทัง้ หมด ทัง้ นีศ้ ลิ ปน จะใชความออนแกของสีขาว เทา ดํา อันเกิดจากเสนที่แกะถักทอประสานกัน ทําใหภาพดูมีมิติ รวมทั้งภาพ ก็แสดงสัดสวนสมจริงตามระยะใกล ไกลอยางถูกตอง เปนธรรมชาติ การออกแบบผลงาน มีทั้งดานความเปนเอกภาพ ความกลมกลืนและความสมดุล กลาวคือ เรื่องราวและ สวนประกอบในภาพ เขากันไดอยางมีเอกภาพ อิริยาบถของเด็กทั้งสามที่ตางหันหนาและมุงหมายไปยังกลุมของ เจาทุย ทําใหทศิ ทางไมกระจายออก เรือ่ งราวทีป่ รากฏจะอยูต รงกลางคอนไปทางดานขวาของภาพ ศิลปนจึงถวงดุล ดวยภาพของเด็กทางดานซายและลอมฟางดานบน ทําใหภาพมีความสมดุลขึ้น

ครูสุมนักเรียน 2-3 คน มาอธิบาย ในหัวขอตอไป • องคประกอบศิลปและหลักการ ออกแบบเปนอยางไร (แนวตอบ มีองคประกอบศิลป ที่สื่อความไดชัดเจนทั้งยังมี เอกภาพ ความกลมกลืนและ ความสมดุลเหมาะสม) • เนื้อหาของผลงานนี้คืออะไร (แนวตอบ นักเรียนตอบไดอยาง อิสระ ครูเนนใหเห็นถึงการ สะทอนวิถีชีวิตของคนชนบท และความผูกพันระหวางคนกับ ควาย ซึ่งควายนับเปนสัตวที่มี ความสําคัญตอวิถีชีวิตชาวนา มายาวนาน)

นักเรียนควรรู

@

อธิบายความรู

ภาพพิมพผิวนูน คือ ภาพพิมพที่ เกิดจากการพิมพโดยใหสีติดอยูบน ผิวหนาที่ทําใหนูนขึ้นมาของแมพิมพ ภาพที่ไดเกิดจากสีที่ติดอยูในสวนบน นั้น แมพิมพนูนเปนแมพิมพที่ทําขึ้น มาเปนประเภทแรก ภาพพิมพชนิดนี้ ไดแ ก ภาพพิม พแกะไม ภาพพิมพ แกะยาง เปนตน

มุม IT

ศึกษาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับชีวประวัติและผลงานของประพันธ ศรีสุตา ไดที่ http://www.thammadee.com/People_Praphan.html คูมือครู

9


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Explain

Expand

Evaluate

Engage

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

สํารวจคนหา ครูใหนักเรียนศึกษารูปแบบการ บรรยายผลงานภาพพิมพ “ความรัก ของแม” ของประหยัด พงษดํา

อธิบายความรู ครูขออาสาสมัครนักเรียน 2-3 คน มาอธิบายความรูที่ไดจากการศึกษา รูปแบบการบรรยายผลงานภาพพิมพ

ขยายความเขาใจ ครูใหนักเรียนแตละคนคัดเลือก ผลงานภาพพิมพมา 1 ภาพ จากนั้น ใหนักเรียนบรรยายผลงานภาพพิมพ โดยใชศัพททางทัศนศิลปประกอบ การบรรยาย จัดทําเปนรายงาน สงครูผูสอน

ตรวจสอบผล ครูตรวจสอบผลงานการบรรยาย ผลงานภาพพิมพ

ตัวอยางการบรรยายผลงานภาพพิมพที่ ๒ ความรักของแม

10

คูมือครู

๒๘ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๗๗ จังหวัดสิงหบุรี

ภาพพิมพแกะไมผลงานของประหยัด พงษดาํ ใชเทคนิค ดวยการแกะนูนลงบนไม แลวนําไปพิมพเปนภาพพิมพ ผิวนูนโดยใชสีหลายสี ลักษณะของผลงานมีความเปน เอกลักษณ มีการจัดวางองคประกอบของภาพทีเ่ รียบงาย แตดูโดดเดน

การศึกษา

ศ.ประหยัด พงษดํา

จุดประสงคของศิลปน ตองการสื่อถึงความรัก ความผูกพันระหวางแมกับลูก เป น เรื่ อ งราวที่ อ ยู  ใ กล ตั ว มนุ ษ ย รู ป แบบทางทั ศ นศิ ล ป เ ป น ศิ ล ปะรู ป ลั ก ษณ คื อ ใชรูปทรงที่เหมือนจริงตามธรรมชาติมาเปนสื่อ เนื้ อ หาของผลงาน เป น รู ป แมและลูกกําลังโอบกอดเปน หนึ่ ง เดี ย วกั น โดยศิ ล ป น เลื อ กใช ภ าพเด็ ก วั ย เยาว แทนเด็ ก ทารก การจั ด วาง องคประกอบภาพ เนนภาพแม และเด็กเปนจุดเนนและปลอย พืน้ ทีว่ า งรอบๆ เปนบรรยากาศ ที่ชวยเสริมใหรูปกับพื้นตัดกัน รูปรางของภาพจะใชเสนหนา เนนความงามเชิงเสน โดยไม ตองมีรายละเอียด บางสวน ของภาพก็จะใชจุดแทน ทําให ดูเดนขึ้น นอกจากนี้ การเลือก ใชสีก็ดูเรียบงาย ไมซับซอน มีการปลอยพืน้ ทีว่ า งลงในภาพ ทําใหดูแลวไมอึดอัด การออกแบบผลงาน เรื่องราวและองคประกอบตางๆ รูปราง รูปทรง ถูกจัดวาง อยางเปนเอกภาพ เขากันไดดีและสมดุล โดยจุดสนใจจะอยูตําแหนงกึ่งกลางของภาพ พอดี และทิศทางของภาพแมและลูกที่หันหนาเขาหากันเปนการถวงนํ้าหนักใหสมดุล การเลือกใชสีในภาพนอกจากใหกลมกลืนแลว ยังเนนรูปทรงใหเดนชัดขึ้นอีกดวย

NET ขอสอบ ป 53 โจทยถามวา ภาพ “ยามเชา” ผลงาน ของศาสตราจารยประหยัด พงษดํา เปนการสรางสรรคดวยเทคนิค และ อุปกรณชนิดใด 1. เทคนิคภาพพิมพ (แมพิมพแกะไม) 2. เทคนิคภาพพิมพ (แมพิมพกระดาษ) ๑๐ 3. เทคนิคภาพพิมพ (แมพิมพหิน) 4. เทคนิคจิตรกรรมสีนํ้ามัน (วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 2 ภาพยามเชาผลงานของศาสตราจารยประหยัด พงษดํา เปนการ สรางสรรคดวยเทคนิคภาพพิมพดวยแมพิมพแกะไม ซึ่งผลงานนี้ ไดรับรางวัลเกียรตินิยมอันดับ 1 เหรียญทองประเภทภาพพิมพ การแสดงศิลปกรรมแหงชาติ ครั้งที่ 27 พ.ศ. 2524)

@

เกิด

- ศิลปบัณฑิต (จิตรกรรม) คณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ มหาวิทยาลัย ศิลปากร - Diploma of Fine Arts, Academia Di Beelle Arti Di Rome, Rome Italy

เกียรติประวัติ - รางวัลภาพจิตรกรรม จาก -

-

-

แควนบาซาโน แควนกูบิโอ ประเทศอิตาลี ศิลปนเกียรติยศ สาขาภาพพิมพ สถาบันศิลปะ เมืองฟลอเรนซ ประเทศอิตาลี อดีตคณบดี คณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร ศิลปนชัน้ เยีย่ มในการประกวด ศิลปกรรมแหงชาติใน ประเทศไทยหลายครั้ง ผูมีผลงานดีเดนดาน วัฒนธรรม สาขาทัศนศิลป สํานักงานคณะกรรมการ วัฒนธรรมแหงชาติ ศิลปนแหงชาติ สาขาทัศนศิลป (ภาพพิมพ) พ.ศ. ๒๕๔๑ ฯลฯ

มุม IT

ศึกษาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับประวัติและผลงานของประหยัด พงษดํา ไดที่ http://osknetwork.com/modules.php?name=News&file=read_ article&sid=678&mode=&order=0&thold=0


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

กระตุนความสนใจ

๓.๒ การบรรยายผลงานสถาปตยกรรม สถาปตยกรรมจัดเปนงานทัศนศิลปประเภทหนึง่ เปนงานออกแบบสิง่ กอสรางหรืออาคาร ตางๆ ซึ่งลักษณะของสถาปตยกรรมในปจจุบันไดแปรเปลี่ยนรูปลักษณจากความเปนแบบศิลปะ แหงแวนแควนหรือวัฒนธรรมทองถิ่นอยางในอดีตมาเปนการผสมผสานแบบอยางศิลปะหลาย แบบ มีการใชวัสดุใหมๆ ตามวิทยาการที่ทันสมัย โดยเฉพาะการนําคอนกรีตเสริมเหล็กมาใชเปน โครงสรางหลักที่ซอนอยูภายในรูปทรง เพื่อใหผลงานสถาปตยกรรมมีความมั่นคง ทั้งนี้ถาเรามอง งานสถาปตยกรรมจะเห็นเปนภาพของรูปทรงตางๆ เชน รูปทรงกลม รูปทรงเหลี่ยม รูปโดมและ อื่นๆ ที่มองเห็นภายนอก แตภายในสิ่งกอสรางจะเปนพื้นที่วาง ซึ่งสถาปนิกออกแบบไวเพื่อการ ใชสอย การบรรยายผลงานสถาปตยกรรมในที่นี้จะวิเคราะหถึง จุดประสงคของศิลปนในการออกแบบรวมถึงเนื้อหาของผลงาน ซึ่งจะขอกลาวเปนภาพรวมเพื่อใหเขาใจแนวคิด จินตนาการของ ศิลปนผูสรางสรรค สําหรับศัพททางทัศนศิลปดานสถาปตยกรรม จะใช เฉพาะดานสุนทรียภาพของงานออกแบบ มองในดาน ลักษณะที่คนดูเห็น แรงบันดาลใจที่ใชในการ ออกแบบ การบรรยายจะหลีกเลี่ยงศัพท เฉพาะที่ใชในทางวิศวกรรม ไมวา จะเปน ตัวโครงสราง การรับนํ้าหนักหรือ วัสดุที่ใช

ครูนําภาพผลงานสถาปตยกรรม เชน ภาพมหาวิหารเซนตเบซิล ภาพ วัดรองขุน เปนตน มาใหนักเรียนดู 1 ภาพ แลวสนทนาถามวา • ผลงานภาพนี้ใครรูจักหรือ เคยเห็นบาง • เมื่อดูภาพนี้แลว นักเรียนคิดวา มีลักษณะเดนอยางไร

สํารวจคนหา ครูใหนักเรียนศึกษาการบรรยาย ผลงานทางสถาปตยกรรมมา 1 ตัวอยาง จากแหลงการเรียนรูตางๆ เชน หองสมุด อินเทอรเน็ต เปนตน

อธิบายความรู ครูสุมนักเรียน 2-3 คน มาอธิบาย ความรูเกี่ยวกับการบรรยายผลงาน ทางสถาปตยกรรมที่ไดศึกษามา

นักเรียนควรรู มหาวิ ห ารเซนต เ บซิ ล (Saint Basil’s Cathedal) ผลงานการออกแบบของโปสตนิค ยาคอฟเลฟ (Postnik Yakovlev) ตั้งอยูที่กรุงมอสโก ประเทศรัสเซีย เปนมหาวิหารที่มีรูปแบบไมเหมือน มหาวิหารอื่น คือ มีโดมลอมรอบโดม ที่ ๙ ที่อยูตรงกลาง ทําใหอาคาร มีรูปทรงแปดเหลี่ยม

มหาวิหารเซนตเบซิล สรางขึ้นเมื่อ ป ค.ศ. 1555 เปนมหาวิหารที่มีรูปทรง ที่ ไ ม เ หมื อ นมหาวิ ห ารอื่ น คื อ มี โ ดม 8 โดม ล อ มรอบโดมที่ 9 ที่ อ ยู  ต รง กลาง ทําใหอาคารมีรปู ทรงแปดเหลีย่ ม เป น หอคอยสู ง รู ป แท ง เที ย นกํ า ลั ง ลุกไหมบนปลายลําเทียนสงความโชติ ชวงชัชวาลยเปนเครื่องบูชาเทพเจา บนสวรรค @

มุม IT

คนหาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ มหาวิหารเซนตเบซิล ไดที่ http://www.moscowcity. comlattractions/basilcathedral. htm คูมือครู

11


กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา Explore

Engage

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

กระตุนความสนใจ ครูใหนักเรียนชมวีดิทัศนเรื่อง “เฉลิมชัยที่วัดรองขุน” (จาก http:// www.youtube.com/watch?v=XM ptVsvwUlk&feature=related) หรือ ดูภาพวัดรองขุน ครูตั้งคําถามวา • ภาพนี้เปนผลงานทัศนศิลป ประเภทใด • ภาพนี้มีลักษณะเดนอยางไร

ตัวอยางการบรรยายผลงานสถาปตยกรรมที่ ๑ วัดรองขุน

จุดประสงคของศิลปน ตองการที่จะสรางสรรคผลงานพุทธศิลปที่ยิ่งใหญ มีเอกลักษณเฉพาะตัวของศิลปน เพื่อตอบแทนคุณพระพุทธศาสนา เพื่อเปนงานศิลปะ ประจํารัชกาล และแสดงความงามของศิลปะไทยสูมวลมนุษยชาติทั้งโลก จึงออกแบบ วัดรองขุนใหมีความงดงาม มีรูปลักษณแปลกตาตางจากที่เคยสรางกันมา ผสมผสาน ระหวางศิลปะไทยกับศิลปะลานนา

อธิบายความรู ครูขออาสาสมัคร 4-5 คน มาบรรยายขอมูลที่สืบคนมา หนาชั้นเรียน จากนั้นครูถามวา • นักเรียนคิดวาวัดรองขุนเปน ผลงานทัศนศิลปประเภทใด (แนวตอบ วัดรองขุน เปนงานทัศนศิลปประเภทสถาปตยกรรม) • วัดรองขุนมีลักษณะเดนอยางไร (แนวตอบ วัดรองขุนเปนผลงาน สถาปตยกรรมที่มีความงดงาม ออนชอยแบบศิลปะไทย รวมทั้งมีการเลือกใชสีที่ สอดแทรกคติธรรมดวย)

ศึกษาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ ประวัติและผลงานของเฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน ไดที่ http://www. myfirstbrain.com/main_view. aspx?ID=55977

คูมือครู

- ศิลปบัณฑิต (จิตรกรรม) คณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ มหาวิทยาลัย ศิลปากร

เกียรติประวัติ

- รางวัลที่ ๑ เหรียญทอง จากการประกวดจิตรกรรม บัวหลวง ครั้งที่ ๓ - รางวัลเกียรตินิยมอันดับ ๓ การแสดงศิลปกรรมแหงชาติ ครั้งที่ ๒๕ - บุคคลตัวอยางผูสรางเสริม งานวัฒนธรรมดานจิตรกรรม สํานักงานคณะกรรมการ วัฒนธรรมแหงชาติ - โลเชิดชูเกียรติ “เพชรสยาม” (สาขาจิตรกรรม) จาก สถาบันราชภัฏจันทรเกษม ฯลฯ

เนื้อหาของผลงาน เปนงานสถาปตยกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับศาสนา โดยออกแบบสรางวัดใหเหมือนเมืองสวรรค ตามคตินิยม เปนวิมานบนดินที่มนุษยสามารถสัมผัสได ตัวพระอุโบสถและสวนประกอบตางๆ ในบริเวณ ออกแบบ ใหมีลักษณะเสนและลวดลายแบบศิลปะไทย รวมทั้งการเลือกใชสีและชนิดของวัสดุก็มีคติธรรมแทรกอยู ลักษณะเดนของผลงาน เมื่อมองดูโดยรวมจะเห็นความงดงามออนชอยของลวดลายที่ประดับอยูบนรูปทรง ของสิ่งตางๆ และสีขาวของพระอุโบสถที่ดูเสมือนเกร็ดเพชรสองประกายทําใหเห็นเปนพื้นผิวระยิบระยับเมื่อตอง แสงอาทิตยตัดกับฉากหลังที่เปนสีฟาของบรรยากาศโดยรอบ การออกแบบผลงาน จะเห็นไดอยางเดนชัด ทั้งดานความเปนเอกภาพ ความสมดุลและความกลมกลืน มีทั้งเอกลักษณซึ่งแตกตางจากวัดอื่นและมีความงดงามดูแลวเกิดสุนทรียภาพและความศรัทธา

มุม IT

12

การศึกษา

อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน

ใหนักเรียนสืบคนประวัติความเปน มาของวัดรองขุน จากหนังสือ บทความ หรืออินเทอรเน็ต

@

๑๕ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๔๙๘ จังหวัดเชียงราย

วัดรองขุน จังหวัดเชียงรายเปนผลงานการออกแบบและ ดูแลการกอสรางโดยเฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน ศิลปน ที่มีชื่อเสียงจากการสรางผลงานจิตรกรรมไทยประยุกต ที่มีเอกลักษณเฉพาะของตนเอง ไดทําการบูรณะวัด รองขุน ทีเ่ ดิมมีสภาพชํารุดทรุดโทรมเปลีย่ นสภาพมาเปน วัดใหมที่มีความงดงามดวยผลงานทัศนศิลป

สํารวจคนหา

เกิด

๑๒


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

Engage

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

สํารวจคนหา ตัวอยางการบรรยายผลงานสถาปตยกรรมที่ ๒ โบสถ นอเทรอดาม ดูโอต

เกิด

๖ ตุลาคม ค.ศ. ๑๘๘๗ ประเทศสวิตเซอรแลนด (ภายหลังโอนสัญชาติเปนฝรัง่ เศส)

โบสถ นอเทรอดาม ดูโอต (Notre Dame du Haut ) ตั้งอยูที่เมืองรงชองป (Ronchamp) ประเทศฝรั่งเศส เปนผลงานสถาปตยกรรมทางศาสนาที่ติด ๑ ใน ๑๐ โบสถของศาสนาคริสตที่มีเอกลักษณโดดเดนและมี ความสวยงามของโลก ออกแบบโดยสถาปนิกชื่อ ชารล เอดูอาร ชองเนอเร (เลอ กอรบูซีเย (Le Corbusier))

การศึกษา

ชารล เอดูอาร ชองเนอเร

จุดประสงคของศิลปน เปนอาคารที่สรางขึ้นเพื่อใชเปนศาสนสถานและเพื่อ ประกอบพิธกี รรมทางศาสนา โดยมีแนวคิดทีผ่ สมผสานระหวางสถาปตยกรรมสมัยใหม กับลักษณะของโบสถในศาสนาคริสต เลอ กอรบูซีเยจึงออกแบบตัวโบสถใหสื่อถึง จิตวิญญาณของความเปนคริสต ขณะเดียวกันก็ใหมีรูปทรงที่ตัดดวยเสนขอบฟาที่ สามารถมองเห็นไดจากทั้งสี่ดานของเนินเขา

ไดรับการศึกษาทางศิลปะจาก โรงเรียนในสวิตเซอรแลนด กอนที่ จะไปศึกษาตอทางดานจิตรกรรม ที่กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส รวมทั้งไดมีโอกาสทํางานสราง ประสบการณกับสถาปนิกที่มี ชื่อเสียงของฝรั่งเศสหลายคน

เกียรติประวัติ

- ออกแบบผังเมืองแนวใหมที่ สัมพันธกับสภาพแวดลอมและ มีการแบงแยกการใชประโยชน ในแตละโซนไมใหปะปนกัน - คิดคนระบบการออกแบบอาคาร ที่สัมพันธกับสัดสวนของมนุษย - สรางแนวคิดการออกแบบ อาคารที่ใหทั้งความงามทาง ศิลปะ มีจินตนาการ แตก็มี ประโยชนใชสอยไดเต็มที่ ฯลฯ

ครูใหนักเรียนสืบคนผลงาน สถาปตยกรรมโบสถนอเทรอดาม ดูโอต ของเลอ กอรบูซีเย จากแหลง เรียนรูตางๆ เชน หนังสือเรียน อินเทอรเน็ต เปนตน

อธิบายความรู ครูสุมนักเรียน 4-5 คน ใหบรรยาย ผลงานที่สืบคนมา ครูอธิบายเพิ่มเติม เกี่ยวกับการใชคําศัพททางทัศนศิลป ในการบรรยายผลงาน

นักเรียนควรรู นอเทรอดาม (Notre Dame) เปน ภาษาฝรั่งเศส แปลวา “คุณผูหญิง ของพวกเรา” ซึ่งหมายถึงพระแมมารี

นักเรียนควรรู เลอ กอรบูซีเย (Le Corbusier) เปนนามแฝงของชารล เอดูอาร ชองเนอเร (Charles-Edouard Jeanneret) สถาปนิก นักผังเมือง มัณฑนากร จิตรกรและนักเขียน ชาวสวิตเซอรแลนด

เนื้อหาของผลงาน สถาปตยกรรมชิ้นนี้ไดนําเอาลักษณะรูปทรงของสิ่งมีชีวิต (organic) มาใช โดยใหความ สําคัญกับเสนโคงอันลดเลีย้ ว แสดงออกถึงความคิดดานการจัดวางทีใ่ หคณุ คารูปทรงของสิง่ มีชวี ติ โดยใชกระบวนการ ของการสกัด ลด ตัดทอนรูปทรงของสิ่งมีชีวิตที่มีลักษณะรูปธรรมมาสูรูปทรงแบบนามธรรม โดยเฉพาะหลังคา ของอาคารที่มีลักษณะโคงมนและลักษณะพื้นผิวที่สื่อถึงลักษณะที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ นอกจากนี้ ยังมีการเปดผิวของผนังโบสถเปนชองหนาตางลึก หลายชอง หลายขนาด ทําใหผนังดูแปลกตา เกิดมิติ ชวยใหแสงที่สาดสองเขาไปในอาคาร เปนแสงที่นุมนวลดูอบอุน การออกแบบ เนนการออกแบบรูปทรงที่มีความเปนเอกภาพ โดยเฉพาะการใชเสนโคงนําสายตา ตัวโบสถ กลมกลืนเขากันไดดีกับสิ่งแวดลอมที่อยูลอมรอบ รวมทั้งจะปลอยพื้นที่วางๆ รอบตัวโบสถไมใหมีสิ่งใดมาบดบัง ความงดงาม ทําใหโบสถมีความโดดเดน การเขาไปประกอบพิธีกรรมในโบสถแหงนี้จึงนาจะเปนประสบการณ ที่ตรึงใจของศาสนิกชนอยางที่ผูออกแบบคาดหวังไว ๑๓

คูมือครู

13


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

@

มุม IT

ศึกษาคนควาขอมูลเพิ่มเติม เกี่ยวกับโบสถนอเทรอดาม ดูโอต ไดที่ http://www.galinsky.com/ buildings/ronchamp/

เสริมสาระ

โบสถ นอเทรอดาม ดูโอต โบสถที่ไดรับการยกยองใหเปนหนึ่งในผลงานที่ดีที่สุดของเลอ กอรบูซีเย และยังเปนหนึ่งในผลงาน ที่สําคัญของสถาปตยกรรมทางศาสนาในศตวรรษที่ ๒๐ ดวย โบสถ แ ห ง นี้ ตั้ ง อยู  บ นเนิ น เขาใกล เ มื อ งเบลฟอร (Belfort) ซึ่ ง เคยมี โ บสถ ที่ ส ร า งอุ ทิ ศ ให แ ก พระแมมารี แตไดถูกทําลายลงในชวงสงครามโลกครั้งที่สอง หลังจากนั้นจึงมีการฟนฟูดวยการสรางโบสถ หลังใหมขนึ้ บนพืน้ ทีเ่ ดิม โดยมีแนวคิดทีจ่ ะผสมผสานระหวางศิลปะและสถาปตยกรรมสมัยใหมกบั ลักษณะ ของโบสถในศาสนาคริสต โดยเลอ กอรบูซีเยไดรับมอบหมายใหเปนสถาปนิกในการออกแบบผลงานชิ้น สําคัญนี้

นักเรียนควรรู เสนขอบฟา (Horizon) คือ แนวเสน สมมติเมื่อมองออกไปยังพื้นที่โลงไกล จะเห็นเปนแนวเสนที่แบงพื้นผิวโลก หรือภูมิประเทศกับทองฟา ลักษณะ เสนขอบฟาเกิดจากความโคงของโลก ที่เมื่อมองไปไกลๆ ความโคงของโลก จะบังพืน้ ทีอ่ กี สวนไว ทําใหเห็นเฉพาะ สวนที่เปนทองฟา ซึ่งเมื่อเราเคลื่อน เขาใกลเสนขอบฟาก็จะขยับหางออก ไปอีก

ทัศนียภาพภายนอกจากมุมสูง ทําใหเห็นสวนของหอคอย ซึ่งเปนลักษณะเดนของโบสถในศาสนาคริสต

14

คูมือครู

เลอ กอรบูซีเย ไดออกแบบตัวโบสถ ใหมีรูปทรงที่ตัดดวยเสนขอบฟาสามารถ มองเห็นไดจากเนินเขาทัง้ สีด่ า น โครงสราง สวนใหญของโบสถเปนกําแพงคอนกรีตทีม่ ี ความหนา โดยโครงสรางหลักประกอบไป ดวยชิ้นสวนคอนกรีตสองชิ้นที่มีชองวาง คั่นกลาง ทําใหเกิดเปนรูปทรงคลายกับ เปลือกหอย รูปทรงของหลังคามีลกั ษณะ หงายขึ้นและรองรับนํ้าหนักดวยเสาที่ ฝงอยูในกําแพง ดูคลายกับเรือใบที่โต คลื่นอยูในสายลมบนยอดเขา จึงมีการเปรียบวาโบสถ แหงนี้เปนเสมือนเรือของพระผูเปนเจาที่นําพาความ ปลอดภัยและความชวยเหลือมาสูคริสตศาสนิกชน

ผนังของโบสถไดรบั การตกแตงดวยชองหนาตางทีเ่ ปดรับแสงจากภายนอก ซึง่ เมือ่ กระทบกับผนังปูน สีขาว ทําใหแสงภายในมีความละมุนละไม ชวยสรางมนตขลังและความรูสึกศักดิ์สิทธิ์ใหกับโบสถเปน อยางมาก การตกแตง ภายในดวย องคประกอบ สมัยใหม

นักเรียนควรรู หอคอย เปนอาคารสูงที่สรางขึ้น โดยมนุษย สําหรับคอยระวังเหตุและ สังเกตการณ หอคอยมักสรางขึ้นใน ลักษณะทรงสูงและสามารถยืนอยูด ว ย โครงสรางของตัวเอง

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

ขยายความเขาใจ ครูใหนกั เรียนคัดเลือกผลงาน สถาปตยกรรมมา 1 ภาพ จากนั้น ใหนักเรียนบรรยายผลงาน สถาปตยกรรม โดยใชศัพททาง ทัศนศิลปประกอบการบรรยาย แลวจัดทํารายงาน สงครูผูสอน

ตรวจสอบผล

๑๔


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engage

Explore

Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ตรวจสอบผล ครูตรวจสอบผลงานการบรรยาย ผลงานสถาปตยกรรมของนักเรียน พรอมคัดเลือกผลงานมา 2-3 ชิ้น แลวใหเจาของผลงานออกมานําเสนอ ผลงานของตนเองหนาชั้นเรียน

สรุป ผลงานทัศนศิลปที่เราเห็นวามีคุณคา มีความงาม นาประทับใจ ตลอดจนมีสาระเรื่องราวตางๆ สอดแทรกผสมผสานอยูนั้น เรา สามารถจะทําใหผูอื่นดูแลวเกิดความเขาใจ มีอารมณสุนทรียะเชน เดียวกันกับเราได โดยใชการบรรยายเขามาชวย แตการบรรยายที่ ถูกตองตามหลักการและสอดคลองกับหลักวิชาศิลปะนั้น จะตองใช ศัพททางทัศนศิลป การศึกษาเกี่ยวกับการบรรยายผลงานทัศนศิลป จะทําใหเกิดประสบการณการดูผลงานทัศนศิลปอยางพินิจพิเคราะห อันจะเปนพื้นฐานนําไปสูการวิเคราะห ตีความและประเมินคุณคา ของผลงานในลําดับตอๆ ไป

เกร็ดแนะครู ครูควรอธิบายเพิ่มเกี่ยวกับภาพ ในหนา 15 วาคือ ภาพพิพธิ ภัณฑลฟู วร (Musée du Louvre) หรือในชื่อ ทางการวา The Grand Louvre เปนพิพิธภัณฑทางศิลปะตั้งอยู ในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส ออกแบบโดย ไอ.เอ็ม.เป (I.M.Pei) สถาปนิกชาวจีน-อเมริกัน เปนพิพธิ ภัณฑทมี่ ชี อื่ เสียงทีส่ ดุ เกาแก ที่สุดและใหญที่สุดแหงหนึ่งของโลก ตัวอาคารเดิมเคยเปนพระราชวังหลวง ซึ่งปจจุบันเปนสถานที่ที่จัดแสดงและ เก็บรักษาผลงานทางศิลปะที่ทรง คุณคาระดับโลกไวเปนจํานวนมาก อยางเชน ภาพเขียนโมนาลิซา ภาพวีนัสเดอมิโล

๑๕

คูมือครู

15


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

Q& A

เกร็ดแนะครู (แนวตอบ คําถามประจําหนวย การเรียนรู 1. การบรรยายผลงานศิลปะ ตองใช คําศัพทที่อยูในแวดวงทางดาน ทัศนศิลป เพราะจะทําใหเกิด ความเขาใจตรงกันและอยูใน กรอบแวดวงทางดานศิลปะ 2. การใชศัพททางทัศนศิลป เปนการฝกใหผูเรียนสามารถ คนหาสิ่งสําคัญในผลงาน แลว อธิบายใหผูอื่นรับรู เพื่อใหเกิด ความเขาใจถึงสาระที่ศิลปน ตองการจะสื่อ 3. การบรรยายผลงานทางทัศนศิลป ทั้ง 2 ประเภท มีความคลายคลึงกัน เพราะในการบรรยายผลงานทัศนศิลปทั้ง 2 ประเภทจะพิจารณาถึง จุ ด ประสงค ใ นการสร า งงานของ ศิลปนและเนื้อหาที่อยูในงาน 4. นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น ไดอยางอิสระ แตครูควรชี้แนะ ใหนักเรียนเขาใจวาการบรรยาย ผลงานทัศนศิลปเปนเพียงการคนหา สิ่งสําคัญในผลงาน แลวอธิบายให ผูอื่นรับรู แตยังไมใชการวิพากษ วิจารณและประเมินคุณคา เปนเพียงแคการวางพื้นฐานของ การใชความคิดวิเคราะห จําแนก แยกแยะสิ่งที่เห็น แลวนําเสนอดวย การบรรยายเทานั้น 5. กอนจะบรรยายผลงานทัศนศิลป ผูบรรยายจะตองทําความเขาใจ และศึกษารายละเอียดของผลงาน ทัศนศิลปเพื่อที่จะถายทอดความรู และตอบขอสงสัยของผูชมไดอยาง ถูกตองชัดเจน)

ตรวจสอบผล

¤Ó¶ÒÁ»ÃШÓ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ๑. เพราะเหตุใดการบรรยายผลงานศิลปะ จึงตองใชศัพทที่อยูในแวดวงทางดานทัศนศิลป ๒. ศัพททางทัศนศิลปมีประโยชนอยางไรตอการเรียนรูและการบรรยายผลงานทัศนศิลป ๓. การบรรยายผลงานทัศนศลิ ปดา นภาพพิมพและดานสถาปตยกรรมมีความคลายคลึงหรือแตกตางกัน อยางไร ๔. นักเรียนคิดวาเนื้อหาของการบรรยายผลงานทัศนศิลปมีความคลายคลึงหรือแตกตางกับการวิจารณ ผลงานทางทัศนศิลปแขนงตางๆ อยางไร จงอธิบาย ๕. กอนจะบรรยายผลงานทัศนศิลป ผูบรรยายจะตองปฏิบัติอยางไร

¡Ô¨¡ÃÃÁ

ÊÌҧÊÃä ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ กิจกรรมที่

กิจกรรมที่

กิจกรรมที่

นักเรียนนําตัวอยางเอกสารเกี่ยวกับการบรรยายผลงานทัศนศิลป มาอภิปราย รวมกันวา จากตัวอยางเอกสารมีคาํ ศัพทอะไรทางดานทัศนศิลปปรากฏอยูบ า ง แลวคําศัพทนั้นมีความหมายวาอยางไร ครูเชิญวิทยากรในทองถิ่นมาสาธิตการบรรยายผลงานทัศนศิลปประเภทภาพ พิมพและประเภทสถาปตยกรรม ใหนักเรียนสรุปสาระที่ไดจากการฟงบรรยาย แลวสรุปคําศัพท พรอมความหมายของคําศัพท สงครูผูสอน นักเรียนจัดกลุม ๓ คน ใหแตละกลุมหาภาพผลงานทัศนศิลปประเภทภาพ พิมพหรือสถาปตยกรรมมากุลม ละ ๑ ผลงาน (ควรเปนภาพขนาดใหญ) แลวสง ตัวแทนออกมาบรรยายผลงานทัศนศิลปดังกลาวที่หนาชั้นเรียน โดยใชศัพท ทางทัศนศิลปในการบรรยาย

๑๖

หลักฐาน แสดงผลการเรียนรู • การบรรยายผลงานสถาปตยกรรมโดยใชศัพททางทัศนศิลป • การบรรยายผลงานภาพพิมพโดยใชศัพททางทัศนศิลป

16

คูมือครู


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.