8858649121707

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº »ÃСѹÏ

·Õè ȸ. ¨Ð»ÃСÒÈÃÒ¡Òú¹àÇçºä«µ µÑé§áµ‹ Á. ¤. ’55 ໚¹µŒ¹ä»

ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ

รายวิชา

นาฏศิลป

ู ร ค หรับ

สํา

ชั้นมัธยมศึกษาปที่

เอกสารหลักสูตรแกนกลางฯ ’51 ประกอบดวย ● ● ● ● ●

คําแนะนําการใชคูมือครู แถบสี/สัญลักษณที่ใชสื่อความหมายในคูมือครู ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง คําอธิบายรายวิชา ตารางวิเคราะหเนื้อหากับมาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัด

ตารางแสดงความแตกตางระหวาง “ คูมือครู ” กับ “ หนังสือเรียน * ” ความแตกตาง

ขนาดตัวอักษร ปกดานหลัง ระบบการจัดพิมพ สวนเสริมดานหนา

คูมือครู ยอลงจากปกติ 20%

พิมพ 4 สี มี เอกสารหลักสูตร คําอธิบายรายวิชา มี กิจกรรมแบบ 5E ความรูเสริมสําหรับครู พิมพสอดแทรกไวตลอดทั้งเลม ●

หนังสือเรียน ขนาดปกติ 100% : ตัวอักษรใหญกวา ที่พิมพในคูมือครูนี้ มีใบอนุญาต/ใบประกันคุณภาพ พิมพ 4 สี

-

เนื้อหาในเลม

● ●

* ที่ ศธ. อนุญาตใหโรงเรียนใชได

มีเฉพาะเนื้อหาสาระตามที่ ศธ. อนุญาตฯ/สนพ.ประกันคุณภาพ

6


คําแนะนําการใชคูมือครู : การจัดการเรียนรูสูหองเรียนคุณภาพ คูมือครู นาฏศิลป ม.6 จัดทําขึ้นเพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการวางแผนและเตรียมการสอน โดยใชหนังสือเรียน นาฏศิลป ม.6 ของบริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด เปนสื่อหลัก (Core Material) เสร�ม ประกอบการออกแบบกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดกลุมสาระการเรียนรู 2 ศิลปะตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 โดยจัดทําตามหลักการสําคัญ ดังนี้

1. ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน

คูมือครู รายวิชา นาฏศิลป ม.6 จัดทําเปนหนวยการเรียนรูตามลําดับสาระการเรียนรูที่ระบุไวในมาตรฐาน การเรียนรูและตัวชี้วัด แตละหนวยจะกําหนดเปาหมายการสอนและจุดประสงคการเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทางการประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชัดเจน ครูผูสอนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดที่เปนเปาหมาย การเรียนรูของแตละหนวยการเรียนรู (ตามแผนภูมิ) และสามารถบันทึกผลการจัดการเรียนการสอนไดอยางมั่นใจ

สภ

าพ

ผู

จุดป

ระส

เรีย

งค

ู

ียนร

ร า รเ

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชั้นป

ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน

แผนภูมิแสดงองคประกอบของการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผูเรียนเปนสําคัญ

2. การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ

แนวคิดในการจัดการเรียนการสอนที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ พัฒนามาจากปรัชญาและทฤษฎีการเรียนรู Constructivism ที่เชื่อวาการเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสราง ความรูโดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดพบเห็นกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา นักเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีความรูความเขาใจสิ่งตางๆ ติดตัวมากอนที่จะเขาสู หองเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากบริบทและสิง่ แวดลอมรอบตัวนักเรียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกระบวนการเรียนรู ในแตละบทเรียน ผูสอนจะตองคํานึงถึง คูม อื ครู


1) ความรูเดิมของนักเรียน การสอนที่ดีจึงตองเริ่มตนจากจุดที่วา นักเรียนมีความรูอ ะไรมาบาง แลวจึงให ความรูห รือประสบการณใหมเพือ่ ตอยอด จากความรูเ ดิม

2) ความรูเดิมของนักเรียนถูกตอง หรือไม ผูสอนตองปรับเปลี่ยนความรู ความเขาใจเดิมของนักเรียนใหถูกตอง และเปนพฤติกรรมการเรียนรูใหมที่มี คุณคาตอนักเรียน เพื่อสรางเจตคติหรือ ทัศนคติที่ดีตอการเรียน

3) นักเรียนสรางความหมายสําหรับ ตนเอง ผูสอนตองสงเสริมใหนักเรียน นํ า ข อ มู ล ความรู  ที่ ไ ด ไ ปลงมื อ ปฏิ บั ติ และประยุ ก ต ใ ช ค วามรู  อ ย า งถู ก ต อ ง ในบริ บ ทที่ เ ป น จริ ง ของชี วิ ต นั ก เรี ย น เพื่อขยายความรูใหลึกซึ้งและมีคุณคา ตอตัวนักเรียนมากที่สุด

เสร�ม

3

แนวคิด Constructivism เนนใหผูเรียนสรางความรูโดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูของตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศการเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความ ขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณความรูใหม ผูเรียนจะพยายามปรับขอมูลใหม กับประสบการณที่มีอยูเดิม แลวสรางเปนความรูใหมหรือแนวคิดใหมๆ ไดดวยตนเอง

3. การบูรณาการกระบวนการคิด

การเรียนรูของนักเรียนแตละคนจะเกิดขึ้นที่สมองซึ่งทําหนาที่รูคิด ภายใตสภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวย และ ไดรับการกระตุนจูงใจอยางเหมาะสมสอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของนักเรียน การจัดกระบวนการ เรียนรูและสาระการเรียนรูที่มีความหมายตอผูเรียนนั้น จะชวยกระตุนใหสมองรับรูและสามารถเรียนรูไดอยางมี ประสิทธิภาพตามขั้นตอนการทํางานของสมอง ดังนี้ 1) สมองจะเรี ย นรู  แ ละสื บ ค น โดย 2) สมองจะแยกแยะคุ ณ ค า ของ การสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง สิง่ ตางๆ โดยการลงมติ ตัดสินใจ วิพากษ ปฏิบัติ จนคนพบความรูความเขาใจได วิจารณ แสดงความคิดเห็น ยอมรับหรือ อยางรวดเร็ว ตอตานตามอารมณความรูสึกที่เกิดขึ้น ในขณะที่เรียนรู

3) สมองจะประมวลเนื้ อ หาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรือ่ งราวทีไ่ ดเรียนรูใ หมนาํ ไปผสมผสาน กับความรู หรือประสบการณเดิมที่ถูก จัดเก็บอยูในสมอง ผานการกลั่นกรอง เพื่อสังเคราะหเปนความรูความเขาใจ ใหมๆ หรือเปนเหตุผลทัศนคติใหมที่จะ ฝงแนนในสมองของผูเรียน

การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะ เกิดขึ้นเมื่อสมองรูคิดและตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมอง โดยเริ่มตนจาก 1) ระดับการคิดขั้นพื้นฐาน ไดแก 2) ระดั บ ลั ก ษณะการคิ ด ได แ ก 3) ระดั บ กระบวนการคิ ด ได แ ก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดหลากหลาย กระบวนการคิ ด อย า งมี วิ จ ารณญาณ การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล คิดไกล คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล กระบวนการแกปญหา กระบวนการคิด การสรุปผล เปนตน เปนตน สรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะห วิจัย เปนตน

คูม อื ครู


4. การบูรณาการกระบวนการเรียนรูพื้นฐานอาชีพ

กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายสงเสริมการเรียนพื้นฐานอาชีพในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อเสริมสราง ทักษะที่จําเปนสําหรับการประกอบอาชีพ และดํารงชีวิตในสังคมทองถิ่นของผูเรียนอยางมีความสุข และเปนการ เสร�ม เตรียมความพรอมดานกําลังคนใหมีทักษะพื้นฐานและศักยภาพในการทํางาน เพื่อการแขงขันและกาวสูประชาคม 4 อาเซียนหรือประชาคมโลกตอไป 4.1 ทักษะพื้นฐานเพื่อการประกอบอาชีพ การจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผูเรียนในรายวิชาพื้นฐาน ทุกกลุมสาระการเรียนรูและทุกระดับชั้นเรียน ผูสอนควรบูรณาการประสบการณการเรียนรูพื้นฐานอาชีพควบคู ไปกับการเรียนการสอนดานวิชาการ โดยฝกทักษะสําคัญตามที่สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา (สวก.) สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) เสนอแนะไว ดังนี้ 1. ฝกทักษะกระบวนการคิด มีการวางแผนตลอดแนว เพื่อศึกษาขอมูลอาชีพ 2. ฝกการตัดสินใจอยางเปนระบบ โดยใชขอมูลจากการศึกษา คนควาแหลงเรียนรูในชุมชน เพื่อลด ความเสี่ยงในการลงทุนและเพิ่มความมั่นใจเรื่องการตลาด 3. ฝกกระบวนการวางแผน การผลิต และการจัดจําหนาย โดยนักเรียนคิดตนทุน กําไรดวยตนเอง 4. ฝกการเรียนรูเรื่องคุณธรรม จริยธรรม ดานการประกอบอาชีพ และการทํางานกลุม โดยมีจิตอาสา เพื่อสวนรวม 5. ฝกการทํางานอยางมีประสิทธิภาพ มีการประเมินผล ปรับปรุง พัฒนา และสรางสรรคตอ ยอดผลผลิต 6. ฝกการเสริมสรางความเชื่อมั่น ความเพียรพยายาม เห็นคุณคาและภาคภูมิใจในตนเอง (Self Esteem) ในการประกอบอาชีพ และเจตคติในพื้นฐานทางอาชีพ การจัดการเรียนการสอนที่ใหผูเรียนไดลงมือปฏิบัติทักษะดังกลาว จะชวยใหผูเรียนไดรับประสบการณจริง มีทักษะ ความสามารถ และความชํานาญในการทํางานที่จะใชในการประกอบอาชีพและเปนแรงงานที่มีคุณภาพ เขาสูตลาดแรงงานในอนาคต 4.2 การจัดกระบวนการเรียนรูพื้นฐานอาชีพ การจัดกระบวนการเรียนรูมีความสําคัญอยางยิ่งที่จะชวยให นักเรียนมีการพัฒนาทั้งดานความรู ทักษะ และคุณลักษณะตามเปาหมายของหลักสูตร การพัฒนาผูเรียน ดานทักษะพื้นฐานอาชีพตองอาศัยกระบวนการเรียนรูที่หลากหลายเปนเครื่องมือที่จะนําไปสูคุณภาพที่ตองการ เทคนิควิธีการตางๆ ที่ผูสอนจะตองพิจารณาใหเหมาะสมกับเนื้อหาวิชาและวัยของผูเรียน โดยใหความสําคัญกับ การฝกปฏิบัติและเนนการวัดประเมินผลจากการปฏิบัติตามสภาพจริง ดวยวิธีการที่จัดกิจกรรมการบูรณาการ ใหเหมาะสมกับวัยและระดับชั้นของผูเรียน สอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดของกลุมสาระตางๆ ที่กําหนดไวในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 การวิเคราะหมาตรฐานและตัวชี้วัดที่จะนําไป จัดเนื้อหาความรูและทักษะ เพื่อพัฒนาผูเรียนดานพื้นฐานอาชีพ ดังตัวอยางตอไปนี้ 1. กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ เปนกลุมสาระการเรียนรูที่ชวยพัฒนาใหผูเรียนมีความคิดสรางสรรค มี จินตนาการทางศิลปะ ชื่นชมความงาม มีสุนทรียภาพ ซึ่งมีผลตอคุณภาพชีวิตมนุษย พัฒนาใหผูเรียนเกิดความรู ความเขาใจ มีทกั ษะวิธกี ารทางศิลปะ เกิดความซาบซึง้ ในคุณคาของศิลปะ เปดโอกาสใหผเู รียนแสดงออกอยางอิสระ โดยมีตัวอยางมาตรฐานและตัวชี้วัดที่เปนพื้นฐานของการประกอบอาชีพตางๆ มากมาย เชน คูม อื ครู


ทัศนศิลป ศ 1.1 ม.1/5 ศ 1.1 ม.2/3 ศ 1.1 ม.3/7

ออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ หรือกราฟกอืน่ ๆ ในการนําเสนอความคิดและขอมูล วาดภาพดวยเทคนิคที่หลากหลายในการสื่อความหมายและเรื่องราวตางๆ สรางสรรคงานทัศนศิลปสอื่ ความหมายเปนเรือ่ งราวโดยประยุกตใชทศั นธาตุและ เสร�ม หลักการออกแบบ 5 ศ 1.1 ม.4 - 6/10 สรางสรรคงานทัศนศิลปไทย สากลโดยศึกษาจากแนวคิดและวิธีการสรางงาน ของศิลปนที่ตนชื่นชอบ การจัดการเรียนการสอนตามตัวชีว้ ดั ดังกลาวจะเปนทักษะพืน้ ฐานในการพัฒนาไปสูอ าชีพทีแ่ สดงออก ทางศิลปะและการสรางสรรค เชน จิตรกร นักออกแบบเสื้อผา เครื่องแตงกายและเครื่องใช สถาปนิก มัณฑนากร เปนตน ดนตรี ศ 2.1 ม.1/3 รองเพลงและใชเครื่องดนตรีบรรเลงประกอบการรองเพลงดวยบทเพลง ที่หลากหลาย ศ 2.1 ม.2/3 รองเพลงและเลนดนตรีเดี่ยวและรวมวง ศ 2.1 ม.3/3 รองเพลง เลนดนตรีเดี่ยวและรวมวง โดยเนนเทคนิคการรอง การเลน การแสดงออกและคุณภาพเสียง ศ 2.1 ม.4 - 6/4 อาน เขียน โนตดนตรีไทยและสากลในอัตราจังหวะตางๆ การจัดการเรียนการสอนตามตัวชีว้ ดั ดังกลาวจะเปนทักษะพืน้ ฐานในการพัฒนาไปสูอ าชีพทางดนตรี เชน นักรอง นักดนตรี นักแตงเพลง เปนตน นาฏศิลป ศ 3.1 ม.1/3 แสดงนาฏศิลปและละครในรูปแบบงายๆ ศ 3.1 ม.2/2 สรางสรรคการแสดงโดยใชองคประกอบนาฏศิลปและการละคร ศ 3.1 ม.3/6 รวมจัดงานการแสดงในบทบาทหนาที่ตางๆ ศ 3.1 ม.4 - 6/2 สรางสรรคละครสั้นในรูปแบบที่ชื่นชอบ การจัดการเรียนการสอนตามตัวชี้วัดดังกลาวจะเปนทักษะพื้นฐานในการพัฒนาไปสูอาชีพทาง นาฏศิลปหรือการแสดง เชน นาฏลีลา นักแสดง นักจัดการแสดง ผูกํากับการแสดง นักแตงบทละคร เปนตน 2. กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีมุงพัฒนาใหผูเรียนมีฐานความรูความสามารถ และทักษะที่จําเปนสําหรับนําไปปรับใชในการประกอบอาชีพและการศึกษาตอในสาขาอาชีพตางๆ ไดอยาง หลากหลาย รวมทัง้ ใหเห็นแนวทางในการประกอบอาชีพและการศึกษาตอตามความรู ความถนัด และความสนใจ มาตรฐานและตัวชี้วัดของกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีสวนใหญมีลักษณะเปนทักษะ กระบวนการทํางาน ซึ่งผูสอนสามารถจัดเนื้อหาและกิจกรรมการสอนใหสอดคลองกับความตองการของผูเรียน และทองถิ่นได เพื่อพัฒนาไปสูการประกอบอาชีพตางๆ เชน คูม อื ครู


ง 4.1 ม.2/3 ง 4.1 ม.3/3

มีทักษะพื้นฐานที่จําเปนสําหรับการประกอบอาชีพที่สนใจ ประเมินทางเลือกในการประกอบอาชีพที่สอดคลองกับความรู ความถนัด และ ความสนใจของตนเอง ง 4.1 ม.4 - 6/2 เลือกและใชเทคโนโลยีอยางเหมาะสมกับอาชีพ เสร�ม 6 ง 4.1 ม.4 - 6/3 มีประสบการณในอาชีพที่ถนัดและสนใจ การจัดรายวิชาพื้นฐานในกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีจึงสามารถดําเนินการ ไดอยางหลากหลาย ทั้งอาชีพในกลุมเกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิดสรางสรรค การบริหาร จัดการ และการบริการ ตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ และสอดคลองกับบริบทของทองถิ่น ความพรอม ของสถานศึกษา และความตองการของผูเรียนเปนสําคัญ เพื่อเปนแนวทางการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนใหสนองนโยบายการจัดการเรียนการสอน พื้นฐานอาชีพในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการ ผูจัดทําจึงวิเคราะหมาตรฐาน การเรียนรูและตัวชี้วัดในรายวิชา ประวัติศาสตร ที่สอดคลองกับทักษะปฏิบัติเพื่อเตรียมความพรอมดานพื้นฐาน อาชีพ โดยเสนอแนะกิจกรรมการเรียนรูไวเพื่อเปนแนวทางในการจัดการเรียนการสอนบูรณาการประสบการณ การทํางานแกผูเรียน ใหบรรลุเจตนารมณของพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 7 ที่ระบุให การจัดการศึกษาตองปลูกฝงใหเยาวชนมีความรูอันเปนสากล มีจิตสํานึกในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม ตลอดจนมีความสามารถในการประกอบอาชีพ รูจักพึ่งตนเอง และมีความคิดสรางสรรค เพื่อ การดํารงชีวิต การศึกษาตอและการประกอบอาชีพอยางมีคุณภาพของผูเรียนตอไปในอนาคต 5. การใชวัฏจักรการเรียนรู 5E รูปแบบการสอนที่สัมพันธกับกระบวนการคิดและการทํางานของสมอง งานของสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย คือ วัฏจักรการเรียนรู 5E ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในคูมือครู ฉบับนี้ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1 กระตุนความสนใจ (Engage) เปนขัน้ ทีผ่ สู อนนําเขาสูบ ทเรียน เพือ่ กระตุน ความสนใจของนักเรียนดวยเรือ่ งราวหรือเหตุการณทนี่ า สนใจ โดยใชเทคนิควิธกี ารสอนและคําถามทบทวนความรูห รือประสบการณเดิมของผูเ รียน เพือ่ เชือ่ มโยงผูเ รียนเขาสู บทเรียนใหม ชวยใหนักเรียนสามารถสรุปประเด็นสําคัญที่เปนหัวขอการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอน การสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอมและสรางแรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน

คูม อื ครู


ขั้นที่ 2 สํารวจคนหา (Explore) เปนขัน้ ทีผ่ สู อนเปดโอกาสใหผเู รียนไดสงั เกตและรวมมือกันสํารวจ เพือ่ ใหเห็นปญหา รวมถึงวิธกี ารศึกษา คนควาขอมูลความรูที่จะนําไปสูความเขาใจประเด็นปญหานั้นๆ เมื่อนักเรียนทําความเขาใจในประเด็นหัวขอที่จะศึกษาคนควาอยางถองแทแลวก็ลงมือปฏิบัติ เพื่อเก็บ รวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธกี ารตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูตามที่ตั้งประเด็นศึกษาไว

เสร�ม

7

ขั้นที่ 3 อธิบายความรู (Explain) เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา หรือตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนได คนหาคําตอบ และนําขอมูลความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห แปลผล สรุปผล และนําเสนอ ผลที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ แผนผังแสดงมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน สมองของผูเรียนจะทําหนาที่คิดวิเคราะห สังเคราะหอยางเปนระบบ ขั้นที่ 4 ขยายความเขาใจ (Expand) เปนขั้นที่ผูสอนไดใชเทคนิควิธีการสอนที่จะชวยพัฒนาผูเรียนใหนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน นักเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยงกับประสบการณเดิม โดยนําขอสรุปที่ไดไปอธิบาย ในเหตุการณตางๆ หรือนําไปปฏิบัติในสถานการณใหมๆ ที่เกี่ยวของกับชีวิตประจําวันของตนเอง เพื่อขยาย ความรูค วามเขาใจใหกวางขวางยิง่ ขึน้ สมองของผูเ รียนทําหนาทีค่ ดิ ริเริม่ สรางสรรคอยางมีคณ ุ ภาพ เสริมสราง วิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป ขั้นที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate) เปนขั้นที่ผูสอนใชประเมินมโนทัศนของผูเรียน โดยตรวจสอบจากความคิดที่เปลี่ยนไปและความคิด รวบยอดที่เกิดขึ้นใหม ตรวจสอบทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด และ การเคารพความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพื่อการสรางสรรคความรูรวมกัน นักเรียนสามารถประเมินผลการเรียนรูของตนเอง เพื่อสรุปผลวานักเรียนมีความรูอะไรเพิ่มขึ้นมาบาง มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเ หลานัน้ ไปประยุกตใชในการเรียนรูเ รือ่ งอืน่ ๆ ไดอยางไร นักเรียนจะเกิดเจตคติ และเห็นคุณคาของตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามวัฏจักรการสรางความรูแบบ 5E จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนน ผูเรียนเปนสําคัญ โดยสงเสริมใหผูเรียนใชกระบวนการสรางความรูดวยตนเอง ฝกฝนใหใชกระบวนการคิด และ กระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะการเรียนรูและทักษะชีวิตที่มีคุณภาพ ตามเปาหมายของการปฏิรูป การศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คณะผูจัดทํา คูม อื ครู


แถบสี และสัญลักษณ ที่ใชสื่อความหมายในคูมือครู 1. แถบสี

แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5E เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

เสร�ม

8

สีแดง

สีเขียว

สีสม

กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุนความ สนใจ เพื่อโยงเขาสู บทเรียน

Explore

เปนขั้นที่ผูสอนให ผูเรียนสํารวจปญหา และศึกษาขอมูล

Explain

เปนขั้นที่ผูสอนให ผูเรียนคนหาคําตอบ จนเกิดความรูเชิง ประจักษ

สีฟา

สีมวง

ขยายความเขาใจ Expand

เปนขั้นที่ผูสอนให ผูเรียนนําความรูไป คิดคนตอๆ ไป

ตรวจสอบผล Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

สัญลักษณ

2. สัญลักษณ

วัตถุประสงค

เปาหมาย การเรียนรู

คูม อื ครู

• แสดงเปาหมาย การเรียนรูที่ นักเรียนตอง บรรลุตาม ตัวชี้วัด

หลักฐาน เกร็ดแนะครู แสดงผล การเรียนรู • แสดงรองรอย หลักฐานที่ แสดงผล การเรียนรู ตามตัวชี้วัด

นักเรียน ควรรู

B

@

NET

B

มุม IT

ขอสอบ

พื้นฐาน อาชีพ

• แทรกความรู • ขยายความรู • แนะนําแหลง • วิเคราะหแนว • กิจกรรม เสริมสําหรับครู เพิ่มเติมจาก คนควาจาก ขอสอบ O-NET สําหรับครู ขอเสนอแนะ เนื้อหา เพื่อให เว็บไซต เพื่อให เพือ่ ใหครู เพือ่ ใชเปน ขอควรระวัง นักเรียนไดมี ครูและนักเรียน เนนยํ้าเนื้อหา แนวทางใน ขอสังเกต ความรูม ากขึ้น ไดเขาถึงขอมูล ที่มักออก การชวยพัฒนา แนวทางการ ความรูที่ ขอสอบ O-NET อาชีพใหกับ จัดกิจกรรม หลากหลาย • ขอสอบ O-NET นักเรียน และอื่นๆ พิจารณาออก เพื่อประโยชน ขอสอบจาก ในการจัดการ เนื้อหา ม.4, 5 เรียนการสอน และ 6


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง (คัดเอาเฉพาะที่ใชกับชั้น ม.4 - 6)* สาระที่ 3 นาฏศิลป

มาตรฐาน ศ 3.1 เขาใจและแสดงออกทางนาฏศิลปอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวิจารณคุณคานาฏศิลป ถายทอดความรูสึก ความคิดอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน เสร�ม ชั้น

ตัวชี้วัด

ม.4 - 6 1. มีทักษะในการแสดงหลากหลาย รูปแบบ

2. สรางสรรคละครสั้นในรูปแบบ ที่ชื่นชอบ

สาระการเรียนรูแกนกลาง

9

• รูปแบบของการแสดง - ระบํา รํา ฟอน - การแสดงพื้นเมืองภาคตางๆ - การละครไทย - การละครสากล • ละครสรางสรรค - ความเปนมา - องคประกอบของละครสรางสรรค - ละครพูด ✰ ละครโศกนาฏกรรม ✰ ละครสุขนาฏกรรม ✰ ละครแนวเหมือนจริง ✰ ละครแนวไมเหมือนจริง

3. ใชความคิดริเริ่มในการแสดงนาฏศิลป • การประดิษฐทารําที่เปนคูและหมู - ความหมาย เปนคูและหมู - ประวัติความเปนมา - ทาทางที่ใชในการประดิษฐทารํา - เพลงที่ใช 4. วิจารณการแสดงตามหลักนาฏศิลป และการละคร

• หลักการสรางสรรคและการวิจารณ • หลักการชมการแสดงนาฏศิลปและละคร

5. วิเคราะหแกนของการแสดงนาฏศิลป • ประวัติความเปนมาของนาฏศิลปและการละคร และการละครที่ตองการสื่อความหมาย - วิวัฒนาการ - ความงามและคุณคา ในการแสดง

* สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชีว้ ดั และสาระการเรียนรูแ กนกลาง กลุม สาระ การเรียนรู ศิลปะ. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 92 - 118. คูม อื ครู


ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ม.4 - 6 6. บรรยายและวิเคราะหอิทธิพลของ เครื่องแตงกาย แสง สี เสียง ฉาก (ตอ) อุปกรณ และสถานที่ที่มีผลตอการ แสดง

เสร�ม

10

• เทคนิคการจัดการแสดง - แสง สี เสียง - ฉาก - อุปกรณ - สถานที่ - เครื่องแตงกาย

7. พัฒนาและใชเกณฑการประเมินใน การประเมินการแสดง

• การประเมินคุณภาพของการแสดง - คุณภาพดานการแสดง - คุณภาพองคประกอบการแสดง

8. วิเคราะหทาทาง และการเคลื่อนไหว ของผูคนในชีวิตประจําวันและนํามา ประยุกตใชในการแสดง

• การสรางสรรคผลงาน - การจัดการแสดงในวันสําคัญของโรงเรียน - ชุดการแสดงประจําโรงเรียน

สาระที่ 3 นาฏศิลป

มาตรฐาน ศ 3.2 เขาใจความสัมพันธระหวางนาฏศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคาของนาฏศิลป ที่เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทยและสากล ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ม.4 - 6 1. เปรียบเทียบการนําการแสดง • การแสดงนาฏศิลปในโอกาสตางๆ ไปใชในโอกาสตางๆ 2. อภิปรายบทบาทของบุคคล • บุคคลสําคัญในวงการนาฏศิลปและการละครของไทย สําคัญในวงการนาฏศิลปและ ในยุคสมัยตางๆ การละครของประเทศไทย ในยุคสมัยตางๆ 3. บรรยายวิวัฒนาการของ นาฏศิลปและการละครไทย ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน

• วิวัฒนาการของนาฏศิลปและการละครไทย ตั้งแตอดีต จนถึงปจจุบัน

4. นําเสนอแนวคิดในการอนุรักษ • การอนุรักษนาฏศิลป ภูมิปญญาทองถิ่น นาฏศิลปไทย

คูม อื ครู


คําอธิบายรายวิชา รายวิชา นาฏศิลป ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 รหัสวิชา ศ…………………………………

กลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ ภาคเรียนที่ …….. เวลา 40 ชั่วโมง/ป เสร�ม

11

มีทกั ษะในการแแสดงหลากหลายรูปแบบ ใชความคิดริเริม่ ในการแสดงนาฏศิลปเปนคูแ ละหมู วิจารณการแสดง ตามหลักนาฏศิลปและการละคร วิเคราะหแกนของการแสดงนาฏศิลปและการละครที่ตองการสื่อความหมายในการ แสดง บรรยาย วิเคราะห และวิจารณการแสดงนาฏศิลปและละคร บรรยายและวิเคราะหอิทธิพลของเครื่องแตงกาย แสง สี เสียง ฉาก อุปกรณและสถานที่ที่มีผลตอการแสดง พัฒนาและใชเกณฑการประเมินในการแสดง วิเคราะหทาทาง และการเคลื่อนไหวของผูคนในชีวิตประจําวัน เพื่อนํามาประยุกตใชในการสรางสรรคผลงานการแสดง ฝกทักษะโดยใชกระบวนการปฏิบัติ กระบวนการสังเกต กระบวนการคิดสรางสรรค กระบวนการกลุม อภิปรายบทบาทของบุคคลสําคัญในวงการนาฏศิลปและการละครของ ประเทศไทย ในยุคสมัยตางๆ บรรยายวิวัฒนาการของนาฏศิลปและการละครไทยตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน เพือ่ ใหเห็นคุณคา และภาคภูมใิ จในการแสดงนาฏศิลปไทยในฐานะทีเ่ ปนมรดกทางวัฒนธรรม มีแนวทางปฏิบตั ิ ที่เหมาะสมในการนําเสนอแนวคิดในการอนุรักษและสืบทอดวัฒนธรรมทางดานนาฏศิลปที่เปนภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทยใหคงอยูสืบไป ตัวชี้วัด ศ 3.1 ม.4 - 6/1 ม.4 - 6/2 ม.4 - 6/3 ม.4 - 6/4 ม.4 - 6/5 ม.4 - 6/6 ม.4 - 6/7 ม.4 - 6/8 ศ 3.2 ม.4 - 6/2 ม.4 - 6/3 รวม 10 ตัวชี้วัด

คูม อื ครู


ตาราง

ÇÔà¤ÃÒÐË Áҵðҹ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒáÅеÑǪÕéÇÑ´ ÃÒÂÇÔªÒ ¹Ò¯ÈÔÅ»Š Á.6

คําชี้แจง : ใหผสู อนใชตารางน�ต้ รวจสอบความสอดคลองของเน�อ้ หาสาระการเรียนรูใ นหนวยการเรียนรูก บั มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดชั้นป

เสร�ม

12

สาระที่ 3

มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด

หนวยการเรียนรู

1

2

3

มาตรฐาน ศ 3.1

มาตรฐาน ศ 3.2

ตัวชี้วัด

ตัวชี้วัด

4

5

6

7

8

หนวยการเรียนรูที่ 1 : การละครไทย

หนวยการเรียนรูที่ 2 : การแสดงละครรํา

หนวยการเรียนรูที่ 3 : การแสดงละคร ที่ไมใชทารํา

หนวยการเรียนรูที่ 4 : การสรางสรรค ละครสั้น

หมายเหตุ ✓ เฉพาะที่สอดคลองกับตัวชี้วัด ม.๖ เทานั้น ตัวชี้วัดที่เหลือจัดการเรียนการสอนในชั้น ม.๔ และ ม.๕

คูม อื ครู

1

2

3

4


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Expand

Evaluate

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹

นาฏศิลป ม.๖ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖

กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

ผูเรียบเรียง

รศ. สุมนมาลย นิ่มเนติพันธ ดร. สุมนรตี นิ่มเนติพันธ

ผูตรวจ

นางสาวเรวดี สายาคม ผศ. กฤษณา บัวสรวง ผศ. คํารณ สุนทรานนท

บรรณาธิการ

รศ. อมรา กลํ่าเจริญ นางอัมไพวรรณ เดชะชาติ นายสมเกียรติ ภูระหงษ

ผูจัดทําคูมือครู

รศ. สุมนมาลย นิ่มเนติพันธ ดร. สุมนรตี นิ่มเนติพันธ รหัสสินคา ๓๖๑๕๐๐๓ รหัสสินคา ๓๖๔๕๐๐๓

¤Œ¹¤ÇÒÁÃÙŒ¢ÂÒ¤ÇÒÁ¤Ô´¨Ò¡

EB GUIDE

ที่พิมพกํากับหัวขอสําคัญในหนังสือเรียนหลักสูตรแกนกลางฯ ผาน www.aksorn.com ไปยังแหลงความรูทั่วไทย-ทั่วโลก


กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา Explore Engage

อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Explain

Expand

Evaluate

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×¹é °Ò¹

นาฏศิลป ม.๖ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖

กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

คํา

เตือ

รศ. สุมนมาลย นิ่มเนติพันธ ดร. สุมนรตี นิ่มเนติพันธ

หนังสือเลมนีไ้ ดรบั การคุม ครองตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธิ์ หามมิใหผใู ด ทําซํา้ คัดลอก เลียนแบบ ทําสําเนา จําลองงานจากตนฉบับหรือแปลงเปนรูปแบบอืน่ ในวิธตี า งๆ ทุกวิธี ไมวา ทัง้ หมดหรือบางสวน โดยมิไดรบั อนุญาตจากเจาของลิขสิทธิถ์ อื เปนการละเมิด ผูก ระทําจะตองรับผิดทัง้ ทางแพงและทางอาญา

พิมพครั้งที่ ๑

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Expand

Evaluate

¤íÒá¹Ð¹íÒ㹡ÒÃ㪌˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ หนังสือเรียน นาฏศิลป ม.๖ เลมนี้ ใชประกอบการเรียนการสอนรายวิชาพื้นฐาน กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖ เนื้อหาตรงตามสาระการเรียนรูแกนกลางขั้นพื้นฐาน อานทําความเขาใจงาย ใหทั้งความรูและชวยพัฒนาผูเรียน ตามหลักสูตรและตัวชี้วัด เนื้อหาสาระแบงออกเปนหนวยการเรียนรูตามโครงสรางรายวิชา สะดวกแกการจัดการเรียน การสอนและการวัดผลประเมินผล พรอมเสริมองคประกอบอื่นๆ ที่จะชวยทําใหผูเรียนไดรับความรูอยางมีประสิทธิภาพ ¨Ñ´¡ÅØ‹Áà¹×éÍËÒ໚¹Ë¹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ Êдǡᡋ¡ÒèѴ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹

à¹×Íé ËҵçµÒÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙጠ¡¹¡ÅÒ§ ãËŒ¤ÇÒÁÃÙጠÅÐàÍ×Íé µ‹Í¡ÒùíÒä»ãªŒÊ͹à¾×Íè ãËŒºÃÃÅصÑǪÕéÇÑ´ áÅÐÊÌҧ¤Ø³ÅѡɳРÍѹ¾Ö§»ÃÐʧ¤

à¡ÃÔè¹¹íÒà¾×èÍãˌࢌÒ㨶֧ÊÒÃÐÊíÒ¤ÑÞ ã¹Ë¹‹Ç·Õè¨ÐàÃÕ¹

ÁØÁ¹Ò¯ÈÔÅ»Šà¾ÔÁè àµÔÁ¨Ò¡à¹×Íé ËÒ ÁÕá·Ã¡à»š¹ÃÐÂÐæ ๑. ประวัติความเปนมา

๓. องคประกอบของการแสด

นั้น นอกจากลีลาทารําที่เปน ามเปนที่ประทับใจของผูชมได ะคร ละครรําจะแสดงไดอยางสวยง ก็มีสวนชวยเสริมเติมแตงใหล แสดงแลว องคประกอบอื่นๆ การ ความสามารถเฉพาะตัวของผู ละคร ไดแก เพลงที่ใชประกอบ รแสดง ของกา ญ คั า ํ ส ่ ที ระกอบ ป ดงอืน่ ๆ ทีจ่ ะทําให การแส มีความสมบูรณยิ่งขึ้นดวย องค ระกอบ ป กรณ ป ะอุ ฉากแล แสง สี เสียง นี้ ง ดั มได ภาพรว น เป เ น ห็ เ แสดง เครือ่ งแตงกายของตัวละคร ายให บ องคประกอบตางๆ สามารถอธิ การแสดงเกิดความสมจริง ซึ่ง แสดง ๓.๑ เพลงที่ใชประกอบการ บรองและบรรเลง ก เพลงขบั รองและบรรเลง ซึง่ การขั แ ได า รรํ ดงละค การแส ระกอบ เพลงทใี่ ชป ความแตกตางกันออกไป ประกอบการแสดงแตละชนิดมี

ละครโนราชาตรี

ñ การละครไทย ตัวชี้วัด

อภิปรายบทบาทของบุคคลสําคัญ ในวงการนาฏศิลปและการละคร ของประเทศไทยในยุคสมัยตางๆ (ศ ๓.๒ ม.๔-๖/๒) บรรยายวิวัฒนาการของนาฏศิล ปและการละครไทยตั้งแตอดีต จนถึงปจจุบัน (ศ ๓.๒ ม.๔-๖/๓)

บุคคลสําคัญในวงการนาฏศิลปแ ละการละครไทยในยุคสมัยตางๆ วิวัฒนาการของนาฏศิลปและการละครไทย ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน

๓๐ EB GUIDE

Design ˹ŒÒẺãËÁ‹ ÊǧÒÁ ¾ÔÁ¾ ô ÊÕ µÅÍ´àÅ‹Á ª‹ÇÂãˌ͋ҹ ࢌÒ㨧‹ÒÂ

ะครไทย

ลวดลายในการสรางเครื่องแต

นิสัยตัวละคร และ ๔ ประการ คือ เรื่อง เนื้อหาสรุป องคประกอบของการแสดงละครไทยมี ยดดังตอไปนี้ บรรยากาศ ในแตละหัวขอมีรายละเอี ทย ดงละครไ องคประกอบของการแส งตาม

งกายละครรํา

ของตัวละคร บตัวละครจะตองกลมกลืนกับการแสดง การสรางบรรยากาศรอบๆ ที่เกี่ยวกั คลอยตามไปกับเรื่องได สิ่งที่ชวยสรางบรรยากาศใน บรรยากาศจะชวยใหผูชมมีความรูสึก งกาย ฉาก แสง สี เสียง การแสดงละครประกอบดวย เครื่องแต

เนื้อหาสรุป (Subject) หมายถึง เนื้ อ หาสรุ ป เกี่ ย วกั บ ความ ตองการนัน้ ๆ หรือแนวคิดทีก่ อ ให (Story) ง เรื่อ เกิดสติปญญา สอนคติธรรม ผูชมจะรูเรื่องของละครได แนวคิดตามเหตุการณ โดยการฟงจากบทเจรจาของตัว ละคร บทเจรจาควรถูกตองตาม ภาษาพูดของชุมชนและฐานะของ ตัวละคร

นิสัยตัวละคร (Characterization) นิสัยตัวละครจะตองตรงกับ เนือ้ สรุป บุคลิกลักษณะ กิรยิ าทาทาง องตรงกับลักษณะ ละครต ของตัว นิสัยของตัวละครในเรื่อง

เสริมสาระ

เครื่องนุงหมของการแตง คือ สวนที่เปนผาที่ไมมีการป ยืนเครื่อง ทั้งฝายพระ ฝายนาง ฝายยักษและฝายลิ ง มีขอ กําหนดในการวางลายส ก ซึ่งไดแก “ผานุง” และสวนที่เปน “ผาปก” ซึ่ง แบงออกเปน ๒ สวน มีอยูหลายชิ้น แตละชิ้น าํ การเรียกชื่อตัวลายและกรรม หรับปก ซึง่ สวนใหญจ ะเปน “ลายไทย” โดยมี วิธีในการปกเครื่องโขน ละครโ ดังนี้ ดยเฉพาะ ลายห นุ น หรื อ ลายดิ้ น แบบหนึ่งที่ทําใหลายนูนขึ เป น ชื่ อ ที่ ใ ช เ รี ย กกรร มวิ ธี ใ นการ ป ก ้น เครื่องโขนละครประเภทนี้ การเขียน “ลายไทย” สําหรับการปก คื ไมตอเชื่อมกันตลอดตัวลาย อ การเขียนตัวลายใหแบงออกเปนสวนๆ “หนุน” ใหตัวลายนูนขึ้นเล็ เพื่อใหงายตอการปก ซึ่งเปนการปกแบบ กนอย วัสดุที่นํามาใชในการป ดิ้นขอ ดายฟอก ดิ้นโปร ง ดิ้นมันหรือดิ้นดาน แล กลายหนุน ไดแก วแตความเหมาะสม กับลวดลายที่จะใช สวนตั วลายที ลายหนาสิงห ลายกนกเปลว ่นิยมนํามาปก ไดแก ลายพุมขาวบิณฑ ลายดอก ลายเถา

รจาของตัวละคร บทเจรจาควรถูกตออ้ เรือ่ ง อ่ ง เนื ผูชมจะรูเรื่องของละครไดโดยการฟงจากบทเจ ซึง่ จะตองมีความสําคัญตอการดําเนินเรื เรื่อง บแบบแผน ภาษาพูดของชุมชนและฐานะของตัวละคร ตนจนจบเรื่องตองดําเนินอยางมีระเบีย Story ของละครตองชัดเจน เหตุการณตั้งแต ใหเกิดสติปญญา สอนคติธรรม อ  ก ่ ที ด แนวคิ อ หรื ๆ น ้ งการนั อ เนื้อหาสรุปเกี่ยวกับความต ื่อง ใหตัวละครฟนฝาอุปสรรคจาก ่องจะทําหนาที่เปนจุดศูนยกลางของเร ปเปนองคประกอบ ซึ่งละครบางเรื่อง เนื้อหาสรุป แนวคิดของเรื งตองมีเนื้อหาสรุ สถานการณที่สรางขึ้น ละครแตละเรื่อตามเหตุการณ Subject อาจปลอยใหผูชมสรุปเนื้อหา แนวคิด องตรงกับ บุคลิกลักษณะ กิริยาทาทางของตัวละครต นิสัยตัวละครจะตองตรงกับเนื้อสรุป นิสัยตัวละคร ลักษณะนิสัยของตัวละครในเรื่อง

บรรยากาศ

๕๒

/M6/02

http://www.aksorn.com/LC/Pa

àÊÃÔÁÊÒÃШҡà¹×éÍËҹ͡à˹×ͨҡ·ÕèÁÕã¹ ÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙጠ¡¹¡ÅÒ§ à¾×Íè à¾ÔÁè ¾Ù¹áÅÐ ¢ÂÒ¾ÃÁá´¹¤ÇÒÁÃÙŒãËŒ¡ÇŒÒ§¢ÇÒ§ÍÍ¡ä»

๓. องคประกอบของการแสดงล

Atmosphere

ลายเลื่อมหรือลายปา ปกลูกโซ หรือปกทึบ โดยใช เปนชื่อที่ใชเรียกกรรมวิธีในการปกเดินเสน ล ใบไมอยูในลวดลาย วัสดุท วดลายประเภท “ลายเครือเถา” ที่มีดอกไม ี่นํา ไหมสี ปกแมลงทับ ลูกปด มาใชในการปกลายเลื่อม ไดแก ดิ้น เลื่อม เพชร ตั้งแตการวางลวดลาย การเล พลอย การปกลายเลื่อมมีความสําคัญ ือกใชวัสดุในการปกและฝ ใหงามเหมือนงานเขียน มือในการปก ในการปกเครื่องโขนละครข องชางโบราณอาจใช และลายเลื่อมผสมผสานกั นไป เพื่อไมใหลวดลายมี ทั้งลายหนุน ล ั ก เกินไปหรือมีลักษณะแข็ง ษณะบางเบา กระด แตงกายยืนเครือ่ งในปจจุบ างเกินงาม สําหรับการปกเครื่อง นั โดยเฉ พระลักษมณ นิยมปกลายห พาะตัวเอกของโขน คือ พระราม นุ ตางเมือง นิยมปกลายเลื่อ น สวนตัวสิบแปดมงกุฎหรือยักษ ม

บรรยากาศ (Atmosphere) หมายถึง การสรางบรรยากาศ รอบๆ ที่เกี่ยวกับตัวละครจะตอง กลมกลืนกับการแสดงของตัวละคร

๑๗

ÁØÁ¹Ò¯ÈÔÅ»Š

ละครอุปรากรหรือโอเปรา (Opera)

ละครอุปรากรหรือโอเปราเปนศิลปะการแ สดง บนเวทีชนิดหนึ่ง โดยมีลักษณะเปนละครที ่ดําเนินเรื่อง โดยใชดนตรีเปนหลักหรือทั้งหมด โอเปรานั้นจะมี ความใกลเคียงกับละครเวทีชนิดอื่นๆ ในเรื่องของฉาก การแสดง และเครื่องแตงกาย แต สิ่งสําคัญที่แยก โอเปราออกจากละครเวทีทั่วไป คือ ความสําคั เพลง ดนตรีที่ประกอบการรอง ซึ่งอาจเป ญของ นไดต ดนตรีขนาดเล็กจนไปถึงวงออรเคสตราขน ั้งแตวง าดเต็ม โอเปรามีกําเนิดขึ้นในชวงทายของคริ สตศ ที่ ๑๖ ที่ประเทศอิตาลี ผูประพันธเพลงซึ ตวรรษ ่งไดประพันธ และพัฒนารูปแบบโอเปรา คือ จาโคโป เพรี (Jacopo Peri) ตอมาในตนศตวรรษที่ ๑๗ เคลาดิ โอ มอนเตเวรดี (Claudio Monteverdi) ไดปรับปรุ งรูปแบบโอเปรา ใหสมบูรณขึ้น ทําใหโอเปรามีรูปแบบคล ายกับที่เปน อยูในปจจุบัน

Web Guide á¹Ð¹íÒáËÅ‹§¤Œ¹¤ÇŒÒ ¢ŒÍÁÙÅà¾ÔèÁàµÔÁ¼‹Ò¹Ãкº Online

µÑǪÕÇé ´Ñ áÅÐÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙጠ¡¹¡ÅÒ§Ï µÒÁ·ÕËè ÅÑ¡Êٵà ¡íÒ˹´ à¾×èÍãËŒ·ÃÒº¶Ö§à»‡ÒËÁÒÂ㹡ÒÃÈÖ¡ÉÒ

Characterization

สาระการเรียนรูแกนกลาง ● ●

๑.๑ ละครรอง

ละครรองเปนศิลปะการแสดงแบบใหม กําเนิดขึน้ ในตอนปลายรัชสมัยพระบาท ทถี่ อื สมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว โดยได รับอิทธิพล จากละครตางประเทศแลวนํามาปรับ ปรุงขึน้ ละครร  อ งมี ต  น กํ า เนิ ด มาจาก การแส ใหม ดงของ ชาวมลายู เรียกวา “บังสาวัน” (Malay Opera) ไดเคยเลนถวายรัชกาลที่ ๕ ที่เมือ งไทรบุร ตอมาละครบังสาวันไดเขามาแสดงในกรุ ีและ งเทพฯ โดยพร ะเจ า บรมวง ศ เ ธอ กรมพร ะนราธิ ป ประพันธพงศ ทรงแกไขปรับปรุ งเปนละคร รองและจัดแสดงที่โรงละครปรีดาลั ย ผูคนจึง นิยมเรียกวา “ละครปรีดาลัย” แต ภายหลังได เปลี่ยนเรียกชื่อวา “ละครหลวงนฤม ิตร” นอกจากนี้ ไดเกิดละครรองขึน้ อีกแบบหน งึ่ โดยสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ าฟามหาวชิ ร าวุ ธ สยามม กุ ฎ ราชกุ ม ารทรงด ั ด แปลง ละครของตะวันตกจากละครอุปรากรที ่เรียกวา “โอเปอเรติก ลิเบรตโต” (Operatic Libretto) มาเปนละครในภาษาไทย จึงทําใหเ กิดละครรอง แบบใหมขึ้นและไดรับความนิยมเช นกัน โดย ละครรองแบงออกเปน ๒ ประเภท ไดแก

การบรรเลงประกอบละครโนรา นายโรง หรือชาตรี เมื่อโหมโรงจบแลว ตัว ง จะออกมารองไหวครู ปพาทยจะบรรเล ะรอง ละครจ ว ตั บ ั ก  อยู น ้ ไปขึ น กั บ ั สอดสล ๑๒ ทา อยางไร เชน รองบรรยายทารํา บเรื่องก็ ปพาทยจะบรรเลงตาม พอเขาจั รยิ าบถ บรรเลงเพลงรัว เพลงเชดิ ประกอบอิ ของตัวละคร สวนการขับรองประกอบการแสดง ผูที่ ละครโนราหรือชาตรี สมัยโบราณ  ู ก คู จะร อ งมี ทั้ ง ตั ว ละครต  น เสี ย งและล บ สําหรับเพลงรองไหวครูนั้นมีหลายแบ กนอย แตละคณะจะแตกตางกันไปบางเล็ อง ะต จ  คู ก ู งและล ย เสี น ต น ป เ ่ ี ตัวละครท างที รองเพลงดังกลาวใหแมนยํา เพราะบ อ่ เพลง ผูบ อกบทจะบอกแตกลอน ไมบอกชื รงตาม คนรองจะตองบรรจุเพลงทีร่ อ งใหต อารมณของตัวละครในตอนนั้นๆ

ละครไทยเปนศิลปวัฒนธรรมท ต อ กั น มาตั้ ง แต ส มั ย สุ โ ขทั ย จนถึ ี่สืบทอด โดยผานปรมาจารยทานตางๆ ง ป จ จุ บั น ตางลวนมีคุณูปการที่ชวยทําให ซึ่งแตละทาน เจริญรุงเรืองและสืบตอมาจนถึ นาฏศิลปไทย งปจจุบัน

หนวยการเรียนรู

ละครที่ไมใชทารํา หมายถึง ละครที ่ดํา เรื่องโดยไมใชทารํา มีแตบทรองและบท เนิน พู การดําเนินเรือ่ ง ตัวละครใชท า ทางตาม ดใน ธรรมชาติ ประกอบการแสดง ซึ่งไดแก ละครร อง ละคร สังคีต และละครพูด โดยประวัติค วามเปนมา ของละครที่ใมใชทารํา มีดังตอไปนี ้

๓๘

¤íÒ¶ÒÁ»ÃШíÒ˹‹ÇÂà¾×Íè ãËŒ¹¡Ñ àÃÕ¹䴌½¡ƒ ¤Ô´áÅзº·Ç¹ ¤ÇÒÁÃÙŒ áÅСԨ¡ÃÃÁÊÌҧÊÃä ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ à¾×èÍ ª‹Ç¾Ѳ¹Ò¼ÙŒàÃÕ¹ãËŒºÃÃÅؼÅÊÑÁÄ·¸ÔìµÒÁµÑǪÕéÇÑ´ Q& A

¤íÒ¶ÒÁ»ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ๑ การแสดงละครสั้นตองฝกฝนอะไรบางและผูแสดงสามารถนําสิ่งที่ตนฝกฝนมาใชประโยชนในชีวิต ประจําวันไดอยางไร ๒ การจัดฉาก แสง สี เสียงมีอิทธิพลตอการแสดงละครสั้นอยางไร ๓ ลักษณะเดนของละครสั้นมีอะไรบาง จงอธิบาย ๔ คุณสมบัติในการเปน “คนชางสังเกต” มีความจําเปนตอผูแสดงละครสั้นอยางไร ๕ เพราะเหตุใดจึงตองมีการวิจารณและประเมินคุณภาพของการแสดง

¡Ô¨¡ÃÃÁ ÊÌҧÊÃä ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ กิจกรรมที่

กิจกรรมที่

ให นั ก เรี ย นนํ า ตั ว อย า งการแสดงละครสั้ น จากสื่ อ ต า งๆ เช น ซี ดี ห รื อ อินเทอรเน็ตมาชมรวมกันในชั้นเรียน จากนั้นใหรวมกันวิจารณและประเมิน คุณภาพของการแสดงตามหลักการที่ถูกตอง ใหนกั เรียนแบงกลุม กลุม ละ ๑๐ - ๑๕ คน จากนัน้ ใหแตละกลุม ชวยกันจัดการ แสดงละครสั้นขึ้นมากลุมละ ๑ เรื่อง โดยใชเวลาเรื่องละไมเกิน ๑๕ นาทีและ ใหนักเรียนเลือกวิจารณและประเมินคุณภาพการแสดงของละครสั้นที่เพื่อน แสดงคนละ ๑ เรื่อง แลวนําผลงานสงครูผูสอน

หอยหนาตัวพระ เขียนด วยลายประจํายาม แตง ดวย ลายกนก เขียนประกอบกั นเปนลายกนกเทศหางโต

๙๑


กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา Explore Engage

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

ñ ò

¡ÒÃÅФÃä·Â ● ● ●

● ● ●

ó

● ● ●

ô

»ÃÐÇѵԤÇÒÁ໚¹ÁÒ ·‹ÒÃíÒ·Õè㪌»ÃСͺ¡ÒÃáÊ´§ ͧ¤ »ÃСͺ¢Í§¡ÒÃáÊ´§ ¤ÇÒÁ§ÒÁáÅФس¤‹Ò ¡ÒÃÇÔ¨Òó áÅлÃÐàÁÔ¹¤Ø³ÀÒ¾¡ÒÃáÊ´§ µÑÇÍ‹ҧ¡ÒÃáÊ´§ÅФÃã¹àÃ×èͧÍÔàË¹Ò µÍ¹ÅÁËͺ

¡ÒÃáÊ´§ÅФ÷ÕèäÁ‹ãªŒ·‹ÒÃíÒ

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

ÇÔÇѲ¹Ò¡Òâͧ¡ÒÃÅФÃä·ÂµÑé§áµ‹Í´Õµ¨¹¶Ö§»˜¨¨ØºÑ¹ »ÃÐàÀ·¢Í§ÅФÃä·Â ͧ¤ »ÃСͺ¢Í§¡ÒÃáÊ´§ÅФÃä·Â »ÃÐÇѵԺؤ¤ÅÊíÒ¤ÑÞã¹Ç§¡ÒÃÅФÃä·Â

¡ÒÃáÊ´§ÅФÃÃíÒ

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

Expand

Explain

Evaluate

ÊÒúÑ●

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล

»ÃÐÇѵԤÇÒÁ໚¹ÁÒ º·ÃŒÍ§-º·¾Ù´·Õè㪌»ÃСͺ¡ÒÃáÊ´§ ͧ¤ »ÃСͺ¢Í§¡ÒÃáÊ´§ ¤ÇÒÁ§ÒÁáÅФس¤‹Ò ¡ÒÃÇÔ¨Òó áÅлÃÐàÁÔ¹¤Ø³ÀÒ¾¡ÒÃáÊ´§ µÑÇÍ‹ҧ¡ÒÃáÊ´§ÅФþٴ¤íҩѹ· àÃ×èͧÁÑ·¹Ð¾Ò¸Ò

¡ÒÃÊÌҧÊÃä ÅФÃÊÑé¹ ● ● ● ● ● ●

ËÅÑ¡¡ÒÃÊÌҧÊÃä ÅФÃÊÑé¹ Í§¤ »ÃСͺ¢Í§ÅФÃÊÑé¹ ¡Òýƒ¡ËÑ´¡ÒÃáÊ´§ ¤ÇÒÁ§ÒÁáÅФس¤‹Ò ¡ÒÃÇÔ¨Òó áÅлÃÐàÁÔ¹¤Ø³ÀÒ¾¡ÒÃáÊ´§ µÑÇÍ‹ҧ¡ÒÃáÊ´§ÅФÃÊÑé¹ àÃ×èͧ਌ҪÒÂÊÔ·¸Ñµ¶Ð

ºÃóҹءÃÁ

ñ - òò ò ññ ñ÷ ñø

òó-õð òô òõ óð óù ôñ ôò

õñ-÷ô õò õö õø öð öò öö

÷õ-ùñ ÷ö ÷ø øð øó øô øõ

ùò


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล Evaluate

Expand

เปาหมายการเรียนรู 1. บรรยายวิวัฒนาการของนาฏศิลป และการละครไทยตั้งแตอดีตจนถึง ปจจุบัน 2. อภิปรายบทบาทของบุคคลสําคัญ ในวงการนาฏศิลปและการละคร ไทยในยุคสมัยตางๆ

กระตุนความสนใจ

ñ การละครไทย

หนวยการเรียนรู

ตัวชี้วัด ●

อภิปรายบทบาทของบุคคลสําคัญในวงการนาฏศิลปและการละคร ของประเทศไทยในยุคสมัยตางๆ (ศ ๓.๒ ม.๔-๖/๒) บรรยายวิวัฒนาการของนาฏศิลปและการละครไทยตั้งแตอดีต จนถึงปจจุบัน (ศ ๓.๒ ม.๔-๖/๓)

ละครไทยเปนศิลปวัฒนธรรมที่สืบทอด ต อ กั น มาตั้ ง แต ส มั ย สุ โ ขทั ย จนถึ ง ป จ จุ บั น โดยผานปรมาจารยทานตางๆ ซึ่งแตละทาน ตางลวนมีคุณูปการที่ชวยทําใหนาฏศิลปไทย เจริญรุงเรืองและสืบตอมาจนถึงปจจุบัน

ครูใหนักเรียนดูภาพประกอบ หนาหนวย และตั้งคําถามวา • เมื่อดูภาพหนาหนวยนี้แลวรูสึก อยางไร • นักเรียนคิดวาตัวละครที่ปรากฏ ในภาพนี้เปนตัวละครใด และมี วิธีการสังเกตอยางไร (แนวตอบ ในเบื้องตนนักเรียน อาจตอบไดอยางหลากหลาย ครูควรสนับสนุนใหนักเรียนได รวมกันแสดงความคิดเห็นและ ชี้แนะคําตอบที่ถูกตอง ตัวละคร ที่ปรากฏคือ ทศกัณฐ โดยการ สังเกตจากหัวโขน)

เกร็ดแนะครู สาระการเรียนรูแกนกลาง ● ●

บุคคลสําคัญในวงการนาฏศิลปและการละครไทยในยุคสมัยตางๆ วิวัฒนาการของนาฏศิลปและการละครไทยตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน

ครูควรเพิ่มเติมความรูให นักเรียนดวยการเปดซีดี หรือสื่อทางอินเทอรเน็ตเกี่ยวกับ การละครไทยในสมัยสุโขทัย สมัยอยุธยา สมัยธนบุรีหรือ สมัยรัตนโกสินทร ใหนักเรียนดู หรืออาจจะพานักเรียนไปชม การแสดงในสถานที่ตางๆ ตามความเหมาะสม

คูมือครู

1


กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา Explore

Engage

อธิบายความรู Explain

กระตุนความสนใจ ครูถามนักเรียนวา • นักเรียนคิดวาละครไทยมีความ สําคัญอยางไร (แนวตอบ ละครไทยเปนศิลปะ การแสดงที่เปนเอกลักษณ ประจําชาติ แสดงถึงการ สืบทอดวัฒนธรรมอันยาวนาน ของชาติไทย)

Evaluate

สันนิษฐานกันวาการแสดงละครเรือ่ งแรกของไทย คือเรือ่ ง “นามาโนหรา” โดยเลาตอๆ กันมา วาเปนการแสดงของชาวไต ซึง่ เปนชนกลุม นอยทีอ่ าศัยอยูท างตอนใตของประเทศจีน แตเนือ่ งจาก ในอดีตการตั้งถิ่นฐานยังไมเปนปกแผน ทําใหการแสดงละครขาดหายไป ครั้นตอมาในสมัยสุโขทัย จึงไดเริ่มมีการฟนฟูการแสดงละครไทยใหมีระเบียบแบบแผนมากยิ่งขึ้น

สมัยสุโขทัย ตั้งแตกอนสมัยสุโขทัยมาจนถึงสมัยสุโขทัย ประเทศไทยไดมีความสัมพันธทางดานการคา กับประเทศอินเดีย ตลอดจนไดรับวัฒนธรรมตางๆ ของอินเดียเขามาในประเทศ ซึ่งวัฒนธรรม ดานการแสดงก็เปนวัฒนธรรมหนึ่งที่ไทยรับมาจากอินเดียและไดนํามาปรับปรุงเปนการแสดง ของไทยใหเปนเรือ่ งราว และบัญญัตศิ พั ทเพือ่ เรียกศิลปะการแสดงของไทยเหลานีว้ า “โขน ละคร ฟอนรํา” สมัยสุโขทัยมีการแสดงละครเปนเรือ่ งราว คือ เรือ่ ง “มโนหรา” มีการฟอนรําทีไ่ มมเี รือ่ งราว เชน รํากลองยาว รําสีนวล รําแมศรี ซึ่งเปนการแสดงที่ตองการอวดลวดลายของศิลปะ การร า ยรํ า และอี ก ประเภทหนึ่ ง เป น การแสดงที่ ตั ด ตอนมาแสดงเป น ชุ ด เอกเทศ ได แ ก ชุดการแสดงในชุดพระลอตามไก และพระรามตามกวาง

อธิบายความรู

คูมือครู

Expand

๑. วิวัฒนาการของการละครไทยตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน

ใหนักเรียนสืบคน “วิวัฒนาการ ของการละครสมัยสุโขทัยถึงสมัย ธนบุรี” จากแหลงเรียนรูตางๆ เชน หองสมุด หนังสือเรียน สารคดี อินเทอรเน็ต เปนตน

2

ตรวจสอบผล

(หนาพิมพและตัวอักษรในกรอบนี้มีขนาดเล็กกวาฉบับนักเรียน 20%)

สํารวจคนหา

ครูขออาสาสมัครนักเรียน 2 - 3 คน มานําเสนอเรื่อง “วิวัฒนาการละคร ไทยสมัยสุโขทัย” หนาชั้นเรียน จากนั้นครูเปดโอกาสใหนักเรียน ไดแลกเปลี่ยนประสบการณกัน และครูถามนักเรียนวา • ในสมัยสุโขทัยมีการรําใดบาง ที่แสดงถึงศิลปะการรายรํา ยกตัวอยางประกอบ (แนวตอบ การรายรําที่ตองการ อวดลีลาการรายรํา เชน การรํากลองยาว รําสีนวล รําแมศรี เปนตน การแสดง ที่ตัดตอนมาแสดงเปนชุด เอกเทศ เชน การแสดงในชุด พระลอตามไก พระรามตาม กวาง เปนตน) • การละครในสมัยสุโขทัยไดรับ วัฒนธรรมมาจากประเทศใด และสงผลตอการแสดงละคร อยางไร (แนวตอบ ไดรับวัฒนธรรมจาก อินเดีย ทําใหมีการปรับปรุง การแสดงใหเปนเรื่องราว)

ขยายความเขาใจ

รําสีนวลเปนการ แสดงที่เกิดในสมัย สุโขทัย ซึ่งเปนการ แสดงที่ตองการอวด ความงามของลีลา ทารําโดยเฉพาะ


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

สมัยอยุสมั ธยายอยุธยา สมัยอยุธยาการละครมีววิ ฒ ั นาการขึน้ อยาง เปนระเบียบแบบแผน มีการกําหนดตั้งชื่อชนิด ของการแสดงตามจารีต ขนบนิยมและที่มาใน การแสดง เชน ละครชาตรี ละครนอก ละครใน เปนตน แต เ ดิ ม ละครที่ เ ล น กั น อยู  มี ลั ก ษณะเป น ละครเร การแสดงไมประณีต แสดงตามพืน้ ทีว่ า ง ไมตองอาศัยโรงละคร เรียกวา “ละครชาตรี” ตอมาไดดดั แปลงการแสดงละครใหมวี วิ ฒ ั นาการ ขึ้นเปนละครรํา เรียกชื่อวา “ละครใน” และ “ละครนอก” โดยปรับปรุงจากละครชาตรี ให มีการแตงตัวที่ประณีตขึ้น มีดนตรีและบทรอง มีโรงแสดง โดยละครในจะแสดงในพระราชวัง นักแสดง จะใชผูหญิงลวน โดยมีพระราชกําหนดหามมิ ใหชาวบานเลน เรื่องที่แสดงมีเพียง ๓ เรื่อง คือ อิเหนา รามเกียรติ์ และอุณรุท สวนละคร นอกเปนละครที่ชาวบานจัดแสดงนอกเขตพระ ราชฐาน ผูแสดงจะเปนชายลวน ดําเนินเรื่อง รวดเร็ว มีบทตลกเปนพื้น ในสมัยสมเด็จพระเจาอยูหัวบรมโกศบาน เมืองปราศจากศึกสงครามจึงเปนสมัยที่ศิลปะ โขน ละครเจริญรุงเรืองมาก มีแบบแผนการ แสดงอยางเครงครัด บทละครในสมัยอยุธยามี เรื่องใหญๆ อยู ๔ เรื่องคือ อิเหนา รามเกียรติ์ อุณรุท และดาหลัง

สมัยธนบุสมัรยี ธนบุรี หลั ง จากเสี ย กรุ ง แก พ ม า ตั ว ละครและ บทละครเมือ่ สมัยอยุธยาสูญหายไปมาก สมเด็จ พระเจากรุงธนบุรีทรงพยายามรวบรวมศิลปนที่ กระจัดกระจายใหเขามาในราชธานี ซึ่งละครใน เหลื อ อยู  น  อ ยมาก แต แ บบแผนละครในยั ง ไมสูญไป เพราะไดเจาฟาพินทุวดี พระราชธิดา ของพระเจาอยูหัวบรมโกศที่มีความรูในเรื่อง ละครในเปนผูสืบทอดทารําละครในจากสมัย อยุ ธ ยาไว และยั ง ได ค ณะละครผู  ห ญิ ง ของ เจานครศรีธรรมราชมาเปนครูฝกหัดละครใน ของหลวง บทละครทีเ่ หลือมาจากกรุงศรีอยุธยา มีจํานวนนอย พระเจากรุงธนบุรีจึงทรงพระราช นิพนธบทละครใน เรื่องรามเกียรติ์ขึ้นอีก ๕ ตอน ไดแก ตอนหนุมานเกีย้ วนางวานริน ตอนทาวมาลีวราชวาความ ตอนทศกัณฐ ตั้งพิธีทรายกรด ตอน พระลักษมณถูก หอกกบิลพัท ตอนปลอยมา อุปการ ■

ครูสุมนักเรียนใหมานําเสนอ เรื่อง “วิวัฒนาการละครไทย สมัยอยุธยาและธนบุรี” หนาชั้นเรียน ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายวา เพราะเหตุใด ในสมัยธนบุรี การละครไทยจึงไมรุงเรืองมากนัก (แนวตอบ เนื่องจากในสมัยนั้น สถานการณบานเมืองไมสงบ บรรดา ศิลปนดานนาฏศิลปและการละคร กระจัดกระจายอยูทั่วไป ทําให การละครทั้งละครนอกและละครใน ลดนอยลง พระเจากรุงธนบุรี ทรงรวบรวมเหลาศิลปนตางๆ ที่กระจายไปใหกลับเขามา ในราชธานี เพื่อใหผูรูถายทอด ศิลปะทารายรําตอไปไมใหสูญหาย นอกจากนี้ พระองคไดพระราชนิพนธบทละครในเรื่องรามเกียรติ์ เพิ่มอีก 5 ตอน)

การแสดงโขน เรื่อง รามเกียรติ์ ซึ่งใน สมัยธนบุรีไดมี การประพันธ บทละครเรื่อง รามเกียรติ์เพิ่มขึ้น อีก ๕ ตอน

นักเรียนควรรู ดาหลัง หรืออิเหนาใหญ สมัย อยุธยาในรัชกาลสมเด็จพระเจาอยูห วั บรมโกศ มีพระราชธิดาทรงพระนาม วา เจาฟาหญิงกุณฑลและเจาฟาหญิง มงกุฎ เจาฟาหญิงทั้งสองมีขาหลวง เปนหญิงมลายู ชื่อ “ยะโว” ไดเลา นิทานเรื่องอิเหนาถวาย เจาฟาหญิง ทั้งสองทรงพอพระทัยมาก จึงทรง พระราชนิพนธเปนละครขึ้น เจาฟา หญิงกุณฑลทรงพระราชนิพนธ เรื่องดาหลัง เจาฟาหญิงมงกุฎทรง พระราชนิพนธเรื่องอิเหนา วรรณคดี ทั้งสองเรื่องนี้ คือ นิทานปนหยี ซึ่งเปนวรรณคดีสําคัญของชวา

คูมือครู

3


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

อธิบายความรู 1. ใหนักเรียนรวมกันอภิปราย “การละครไทยในสมัยสุโขทัย ถึงสมัยธนบุรีมีลักษณะอยางไร” 2. ครูและนักเรียนรวมกันสรุป ประเด็นสําคัญในแตละสมัย

การละครไทย

ในสมัยสุโขทัยถึงสมัยธนบุรี สมัยสุโขทัย ในสมัยสุโขทัยประเทศไทยไดรับวัฒนธรรมดาน การแสดงละครจากอินเดียและนํามาปรับปรุงเปน การแสดงของไทยและบัญญัติศัพทที่เรียกศิลปะ การแสดงของไทยวา “โขน ละคร ฟอนรํา” ใน สมัยสุโขทัยมีการแสดงเปนเรือ่ งแลว คือ มโนหรา สวนการรําแบบไมมีเรื่องราว เชน รํากลองยาว รําสีนวล อีกประเภทหนึ่งคือการรําที่มีเรื่องราว ประกอบการแสดง ไดแก พระลอตามไก และ พระรามตามกวาง

เกร็ดแนะครู ครูควรเนนยํ้าใหนักเรียน เห็นความสําคัญของการศึกษา วิวัฒนาการของการละครไทยตั้งแต สมัยสุโขทัยถึงสมัยธนบุรี เพราะ จะทําใหนักเรียนทราบวาการละคร ไทยมีตนกําเนิดมาจากอะไรและ มีวิวัฒนาการอยางไร ซึ่งจะทําให นักเรียนมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับ การละครไทยยิ่งขึ้น

สมัยอยุธยา ในสมัยอยุธยาการละครมีระเบียบแบบแผนขึ้น มีการกําหนดชื่อชนิดของ การแสดง เชน ละครชาตรี ละครนอก ละครใน เปนตน ละครชาตรี มีลักษณะเปนละครเรและตอมาไดปรับปรุงมาเปนละครในและละครนอก ซึ่งละครในจะจัดแสดงในพระราชวังเทานั้น หามมิใหชาวบานเลน สวน ละครนอกจะเป น ละครที่ ช าวบ า นจั ด แสดงนอกเขตราชฐาน บทละครใน สมัยอยุธยามีเรื่องใหญๆ อยู ๔ เรื่อง คือ อิเหนา รามเกียรติ์ อุณรุท และดาหลัง

นักเรียนควรรู บทละครในเรื่องรามเกียรติ์ พระเจากรุงธนบุรีทรงพระราชนิพนธ เรื่องรามเกียรติ์ขึ้นเปนบทละคร เพื่อ ใชแสดงปลุกใจประชาชนใหรกั เกียรติ รักชาติบานเมือง เพราะเรื่องราวของ รามเกียรติ์เกี่ยวกับการสูรบเพื่อรักษา ศักดิ์ศรีและเกียรติยศ

สมัยธนบุรี ในสมัยธนบุรีละครในเหลืออยูคอนขางนอยแตยังไมสูญเสีย แบบแผนไปเนื่องจากยังมีผูสืบทอดทารําละครในจากสมัย อยุธยา นอกจากนี้ พระเจากรุงธนบุรีไดทรงพระราชนิพนธ บทละครในเรือ่ งรามเกียรติเ์ พิม่ ขึน้ อีก ๕ ตอน ไดแก ตอนหนุมาน เกีย้ วนางวานริน ตอนทาวมาลีวราชวาความ ตอนทศกัณฐตงั้ พิธี ทรายกรด (เผารูปเทวดา) ตอนพระลักษมณถูกหอกกบิลพัท ตอนปลอยมาอุปการ

4

คูมือครู


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

Engage

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

สํารวจคนหา หลังจากที่สมเด็จพระเจากรุงธนบุรีทรงพยายามกอบกูศิลปวัฒนธรรมอันเปนสัญลักษณ และรากฐานของประเทศที่ถูกยํ่ายีไปเมื่อสมัยอยุธยา จึงทําใหแบบแผนการแสดงละครของไทย ไมสูญหายและสืบทอดตอมาจนถึงสมัยรัตนโกสินทร โดยวิวัฒนาการการละครของไทยในสมัย รัตนโกสินทรมีรายละเอียดดังตอไปนี้

สมัยรัตนโกสินทร สมัยรัชกาลที่ ๑ สมัยรัชกาลที่ ๒ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย สมั ย รั ช กาลที่ ๑ พระบาทสมเด็ จ สมั ย รั ช กาลที่ ๒ พระบาทสมเด็ จ พระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ทรง พระพุทธเลิศหลานภาลัย เปนสมัยที่วรรณคดี พัฒนาโขนโดยนําละครในเขามาผสมผสาน ในการดําเนินเรื่อง ไดเพิ่มบทรอง ปรับปรุง เครื่ อ งแต ง ตั ว และศิ ร าภรณ โ ดยให ผู  แ สดง เปดหนาและสวมมงกุฎหรือชฎาเหมือน ละครใน ทรงพระราชนิพนธบทละคร เรื่องรามเกียรติ์ ตอนนารายณ ปราบนนทก บทละครเรื่อง อุ ณ รุ ท และบทละครเรื่ อ ง ดาหลังสําหรับแสดงละครใน และต อ มาภายหลั ง นํ า มา แสดงละครนอก ในตอนปลายรัชกาลที่ ๑ พระเจ า กรุ ง กั ม พู ช าได ใ ห ค รู ละครไทยไปฝกหัดละครหลวง ในราชสํานักกัมพูชา ซึ่งนับวา เปนเกียรติประวัตขิ องละครไทย ที่ประชาชนชาวไทยควร ภาคภูมิใจเปนอยางยิ่ง

และการละครเจริญรุงเรืองถึงขีดสุด พระองคทรง พัฒนาละครนอกโดยใหละครผูหญิงของหลวงฝก ทารําใหประณีตงดงามขึ้น และเปลี่ยนแปลงการ แตงกายเปนการแตงยืนเครื่องแบบละครใน พระองคทรงพระราชนิพนธบทละครเรือ่ ง อิเหนา ซึ่งเปนบทละครที่ไดรับการยกยอง จากวรรณคดีสโมสรวาเปนยอดของบทละครรํา คือ แสดงละครไดครบองคหาของละครดี ไดแก ตัวละครงามรํางาม รองเพราะ พิณพาทยเพราะ กลอนเพราะใน แผ น ดิ น ของพระองค นั บ ว า เป น ยุคทองแหงวรรณคดีและการละคร ฟอนรํา โดยเมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๑ องคการศึกษาวิทยาศาสตรและ วัฒนธรรมแหงสหประชาชาติ (ยู เ นสโก) จึ ง ถวายพระเกี ย รติ คุ ณ แด พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย ในฐานะบุคคลสําคัญที่มีผลงานดีเดนทาง วัฒนธรรมระดับโลก ในสมัยรัชกาลที่ ๒ ไดเปลี่ยนแปลง การแตงกายเปนแบบยืนเครื่อง

ครูใหนักเรียนศึกษา วิวัฒนาการ ของการละครไทยสมัยรัตนโกสินทร จากแหลงเรียนรูตางๆ เชน หองสมุด อินเทอรเน็ต เปนตน

อธิบายความรู ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายวา เพราะเหตุใดการละครในสมัยรัชกาล ที่ 2 แหงกรุงรัตนโกสินทรจึงเจริญ รุงเรือง (แนวตอบ เพราะพระบาทสมเด็จ พระพุทธเลิศหลานภาลัยทรง สนพระทัยการละครอยางแทจริง พระองคทรงพระราชนิพนธบทละคร หลายเรื่องและทรงพัฒนารูปแบบ ของการแสดงใหมีความประณีต และงดงามมากขึ้น)

เกร็ดแนะครู ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับการ ละครในสมัยรัชกาลที่ 2 วา การละคร ในสมัยนี้มีการฝกหัดและพัฒนาทั้ง ละครนอก ละครใน โขน ลีลาทารํา จึงมีการฝกปฏิบัติครบถวนของตัว ละครรํา คือ พระ นาง ยักษ ลิง ซึ่งมีลีลาที่งดงามมาก เพราะมี การฝกทารําเบื้องตนตั้งแตเด็กและ ถือเปนแบบแผนในการฝกทักษะ เบื้องตนในการแสดงละครรํา มาจนถึงปจจุบัน

นักเรียนควรรู ศิราภรณ คือ เครื่องประดับศีรษะ เชน ชฎา มงกุฎ แมกระทั่งหัวโขนก็จัดเปนศิราภรณเชนกัน

คูมือครู

5


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

อธิบายความรู ครูสุมนักเรียน 2 คนใหอธิบาย เหตุการณสําคัญที่เกี่ยวกับการละคร ไทยที่เกิดขึ้นในชวงรัชกาลที่ 3 - 4 (แนวตอบ รัชกาลที่ 3 ทรงใหเลิก เลนละครหลวง จึงมีการลักลอบฝกหัด ละครขึน้ และเกิดคณะละครเอกชนขึน้ หลายคณะ สวนในรัชกาลที่ 4 มีการ ฟนฟูละครหลวงและใหราษฎรฝกหัด ละครผูหญิงได ทําใหการละครแพร หลายไปสูประชาชนมากขึ้น จึงมี การบัญญัติขอหามเกี่ยวกับการแสดง ที่ไมใชละครหลวงขึ้น)

นักเรียนควรรู ลงยา หมายถึง การใชสารเคมีใส ลงในพื้นที่เปนรองระหวางลวดลาย ในเครื่องเงิน แลวใชความรอนอบ ใหนํ้ายาติดและใหพื้นเปนสีตางๆ เรียกเต็มๆ วา ลงถมยาสี

นักเรียนควรรู

สมัยรัตสมั นโกสิ ยรัตนนโกสิ ทร นทร สมัยรัชกาลที สมัยรั่ ช๓กาลที่ ๓ สมัยรัชกาลที สมัยรั่ ช๔กาลที่ ๔ พระบาทสมเด็ พระบาทสมเด็ จพระนั่งจเกล พระนั าเจ่งาเกล อยูหาเจัว าอยูหัว พระบาทสมเด็ พระบาทสมเด็ จพระจอมเกล จพระจอมเกล าเจาอยูหาเจัว าอยูหัว สมั ย รั ช กาลที่ ๔ พระบาทสมเด็ จ สมั ย รั ช กาลที่ ๓ พระบาทสมเด็ จ พระนั่งเกลาเจาอยูหัว โปรดใหเลิกละครหลวง พระจอมเกลาเจาอยูห วั โปรดใหฟน ฟูละครหลวง พระบรมวงศานุวงศเกรงวาจะขาดผูสืบทอดมรดก ของชาติ จึงพากันฝกหัดโขน ละคร และบรรดาครู ละครของหลวงตางออกไปเปนครูฝกหัดโขนละคร ตามวังเจานาย บานขุนนาง ตลอดจนเกิดที่ฝกหัด ละครผูห ญิงขึน้ โดยมิไดรบั พระบรมราชานุญาตก็มี คณะละครที่มีแบบแผนในเชิงการฝกหัดและ การแสดงที่ศิลปนทางโขนละครถือเปนแบบแผน ในการปฏิบัติสืบตอมาจนถึงปจจุบัน ไดแก ๑. ละครของพระองคเจาลักขณานุคุณ ๒. ละครคณะกรมพระพิพธิ โภคภูเบนทร ๓. ละครกรมหลวงรักษรณเรศ ๔. ละครกรมพระพิทักษ เทเวศร ๕. ละครกรมหลวง ภูวเนตรนรินทรฤทธิ์ ๖. ละคร เจาพระยาบดินทร เดชา ๗. ละครของ เจาจอมมารดาอัมพวา ๘. ละครเจากรม

ชางเอราวัณ เปนพาหนะประจํา องคของพระอินทร มีลักษณะเปน ชางเผือกขนาดสูงใหญ มี 33 เศียร แตละเศียรมีงา 7 งา งาแตละงามี สระบัว 7 สระ แตละสระมีดอกบัว 7 ดอก แตละดอกมีกลีบ 7 กลีบ มี 7 เกสร แตละเกสรมีปราสาทอยู 7 หลัง ปราสาทแตละหลังมี 7 ชั้น แตละ ชั้นมี 7 หอง แตละหองมี 7 บัลลังก แตละบัลลังกมีเทพธิดาสถิต 7 องค ๖ เทพธิดาแตละองคมีบริวาร องคละ 7 นาง เทพธิดาบริวารแตละนางมี นางทาสีนางละ 7 ทาสี รวมทั้งนาง เทพอัปสรทั้งหมดประมาณ 190,248,433 นาง เทพธิดา บริวารรวมกันทั้งหมดประมาณ 13,331,669,031 นาง เศียรทั้ง 33 ของชางเอราวัณมีอุเปนทเทพยดาสถิตเศียรละ 1 องค โดยปกติศิลปนไทยมักจะทําชางเอราวัณเปนชาง 3 เศียร

6

คูมือครู

ขึน้ ใหม พระราชทานพระบรมราชานุญาตใหราษฎร ฝกหัดละครในได ซึ่งแตเดิมละครในจะแสดงไดแต เฉพาะในวังเทานั้น ดวยเหตุที่ละครแพรหลายไป สูประชาชนมากขึ้นจึงมีการบัญญัติขอหามในการ แสดงละครที่มิใชละครหลวง ดังนี้ ๑. หามฉุดบุตรชาย - หญิงผูอื่นมาฝกหัด ละคร ๒. หามใชรัดเกลายอดเปน เครื่องประดับศีรษะ ๓. หามใชเครื่องประกอบ การแสดงที่เปน พานทองหีบทอง ๔. หามใชเครื่องประดับ ลงยา ๕. หามเปาแตรสังข ๖. หัวชางที่เปน อุปกรณในการ แสดงหามใช สีเผือกยกเวน ชางเอราวัณ ในสมัยรัชกาลที่ ๔ ไดมีพระบรมราชานุญาต ใหบุคคลทั่วไปไดฝก ละครในได ซึ่งแตเดิม จํากัดอยูเฉพาะในวัง


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

Engage

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

สํารวจคนหา

สมัยรัตสมั นโกสิ ยรัตนนโกสิ ทร นทร สมัยรัชกาลที สมัยรั่ ช๕กาลที่ ๕ สมัยรัชกาลที สมัยรั่ ช๖กาลที่ ๖ พระบาทสมเด็ พระบาทสมเด็ จพระจุลจจอมเกล พระจุลจอมเกล าเจาอยูหาเจัว าอยูหัว พระบาทสมเด็ พระบาทสมเด็ จพระมงกุจพระมงกุ ฎเกลาเจฎาเกล อยูหาเจัว าอยูหัว สมั ย รั ช กาลที่ ๕ พระบาทสมเด็ จ สมั ย รั ช กาลที่ ๖ พระบาทสมเด็ จ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว สภาพบานเมือง พระมงกุฎเกลาเจาอยูห วั เปนสมัยทีโ่ ขน ละคร มีความเจริญกาวหนาและขยายตัวอยางรวดเร็ว วิถีชีวิตของคนไทยเปลี่ยนไปจากเดิม เพราะไดรับ วัฒนธรรมจากตะวันตกทําใหศลิ ปะการแสดงละคร ไดมวี วิ ฒ ั นาการขึน้ อีกรูปแบบหนึง่ ละครของหลวง ที่เคยแสดงในราชสํานักเปลี่ยนแปลงมาเปนการ จัดการแสดงในรูปแบบของคณะที่เปนของเอกชน มากขึ้น เชน คณะละครของพระองคเจาสิงหนาท ราชดุรงคฤทธิ์ แสดงละครนอกเรื่อง พระอภัยมณี นอกจากนี้ ยังกําเนิด ละครดึกดําบรรพ ละครพันทาง ละครรอง ละครพูด ละครเสภา นอกจากพระองคจะทรงสงเสริม ใหเอกชนตั้งละครอยางแพรหลาย แลว ละครคณะใดทีม่ ชี อื่ เสียงแสดง ไดดี พระองคยังทรงเสด็จมา ทอดพระเนตรและโปรดเกลาฯ ใหแสดงในพระราชฐานเพื่อ เปนการตอนรับแขกบาน แขกเมืองดวย

ดนตรี ปพาทยเจริญถึงขีดสุด พระองคทรงเปน ราชาแหงศิลปน แมวาพระองคจะมีประสบการณ ดานละครพูดแบบตะวันตก แตพระองคก็ทรงมี พระราชปณิธานอันแรงกลาที่จะทรง “ความเปน ไทย” พระองคไดโปรดเกลาฯ ใหตั้งโรงเรียนฝกหัด โขน ละคร ดนตรี ปพาทยและตั้งกรมมหรสพ ดูแลกิจการ โขน ละครและดนตรีปพาทย ทั้งยัง ทรงพระราชทานบรรดาศั ก ดิ์ แ ก ศิ ล ป น โขนที่ มี ฝ มื อ ให เ ป น ขุ น นาง เช น พระยานั ฏ กานุ รั ก ษ (ทองดี สุ ว รรณภารต) พระยาพรหมาภิ บ าล (ทองใบ สุวรรณภารต) เปนตน ในสมัยนี้ไดเกิด “โขนบรรดาศักดิ์” ซึ่ง เปนโขนสมัครเลน สวนโขนที่ประชาชนแสดง ทั่วไป เรียกวา “โขนเชลยศักดิ์” โปรดเกลาฯ ใหจัดพิมพตําราฟอนรํา ซึ่งนับวาเปนตํารา ฟอนรําเลมแรกที่สมบูรณ มีภาพแทรก นับเปนการสืบทอดมรดกของแผนดินและ ไดแพรหลายไปยังนานาประเทศ เมื่อ พระองคเสด็จสวรรคต ศิลปนโขนก็เขาสู ภาวะตกตํา่ ในปเดียวกันนัน้ เองทีป่ ระชุม เสนาบดีก็มีมติใหยุบกรมมหรสพ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวได พระราชนิพนธบทพากยโขนเรื่องรามเกียรติ์ ตอนศึ ก พรหมมาสตร ซึ่ ง เป น ตอนหนึ่ ง ที่นิยมนํามาจัดแสดง

อธิบายความรู ครูใหนักเรียนอธิบายวา พระบาท สมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูห วั ทรงมี พระราชปณิธานอันแรงกลาที่จะทรง “ความเปนไทย” อยางไร (แนวตอบ พระองคทรงอุปถัมภ การละครไทยโปรดใหตั้งโรงเรียน ฝกหัดโขน ละคร ดนตรีปพาทย ทั้งตั้งกรมมหรสพดูแลกิจการโขน ละคร ดนตรี ปพาทย เพื่อเปนการ อนุรักษการละครไทยใหคงอยูตอไป)

เกร็ดแนะครู ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับตํารา ฟอนรําวามีการเรียบเรียงเปน 3 ตอน คือ ตอนที่ 1 วาดวยตํานานการฟอนรํา ตอนที่ 2 วาดวยการฟอนรําของไทย ปรับปรุงตําราฟอนรําที่จัด พิมพขึ้นในครั้งรัชกาลที่ 1 ตอนที่ 3 วาดวยเพลงรําของละคร

นักเรียนควรรู ๗

นักเรียนควรรู

ครูใหนักเรียนสืบคนขอมูลเกี่ยวกับ การละครไทยวา พระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ทรงมี พระราชปณิธานอันแรงกลาที่จะทรง “ความเปนไทย” อยางไร

สุวรรณภารต เปนนามสกุล พระราชทานจากพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว โดย พระราชทานใหแกนายทองใบ และนายทองดี ซึ่งทานทั้งสอง เปนครูโขนในกรมมหรสพ

คณะละครของพระองคเจาสิงหนาทราชดุรงคฤทธิ์ เปนคณะละครที่ไดรับเชิญใหแสดงในงาน หลวงมากกวาคณะละครอื่น คูมือครู

7


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

อธิบายความรู ครูใหนักเรียนอธิบายความรูใน ประเด็นตอไปนี้ • ในชวงรัชกาลที่ 7 - 8 มี เหตุการณสําคัญที่เกี่ยวของกับ การละครไทยอะไรเกิดขึ้นบาง (แนวตอบ รัชกาลที่ 7 มีการ โอนงานชางกองวังนอกและ กองมหรสพไปอยูในสังกัด กรมศิลปากร ทําใหมีโขน กรมศิลปากรเกิดขึ้น สวน รัชกาลที่ 8 มีการจัดตั้ง โรงเรียนนาฏดุริยางคศาสตร เพื่อยกระดับศิลปนใหทัดเทียม นานาประเทศ เกิดละคร หลวงวิจิตรวาทการและ รําวงมาตรฐาน) • โขนกรมศิลปากรมีการพัฒนา จากโขนของกรมมหรสพอยางไร (แนวตอบ โขนกรมศิลปากรเริม่ ใช ผูหญิงเปนตัวนาง ซึ่งแตเดิมจะ ใชผูชายลวน อีกทั้งยังมีการเลน โขนผสมกับละคร เรียกวา โขน โรงในจึงทําใหศิลปะการแสดง โขนกลายเขาหาละครมากขึ้น)

สมัยรัตสมั นโกสิ ยรัตนนโกสิ ทร นทร สมัยรัชกาลที สมัยรั่ ช๗กาลที่ ๗ สมัยรัชกาลที สมัยรั่ ช๘กาลที่ ๘ พระบาทสมเด็ พระบาทสมเด็ จพระปกเกล จพระปกเกล าเจาอยูหาเจัว าอยูหัว พระบาทสมเด็ พระบาทสมเด็ จพระเจจาอยู พระเจ หัวอานั าอยูนหทมหิ ัวอานัดนลทมหิดล สมั ย รั ช กาลที่ ๗ พระบาทสมเด็ จ สมั ย รั ช กาลที่ ๘ พระบาทสมเด็ จ พระปกเกลาเจาอยูหัว ในรัชสมัยของพระบาท พระเจาอยูห วั อานันทมหิดล ในสมัยรัชกาลที่ ๘

สมเด็จพระปกเกลาเจาอยูห วั ประสบภาวะเศรษฐกิจ ตกตํา่ มีการปรับปรุงระบบบริหารราชการกระทรวงวัง ครัง้ ใหญ ใหโอนงานชางกองวังนอกและกองมหรสพ ไปอยูใ นสังกัดกรมศิลปากร ขาราชการทีเ่ ปนศิลปน ทั้งโขน ละคร ดนตรี ปพาทยและการชางจึงยาย มาอยูในสังกัดกรมศิลปากร ตั้งแตเดือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๗๘ โขนของกรมมหรสพ กระทรวงวังจึง เปน “โขนกองศิลปากร” มาแตครัง้ นัน้

การแสดงนาฏศิลป โขน ละคร อยูในการกํากับ ดูแลของกรมศิลปากร หลวงวิจิตรวาทการ อธิบดี คนแรกของกรมศิลปากรไดฟนฟูเปลี่ยนแปลง การแสดงโขน ละครในรูปแบบใหม โดยจัดตั้ง โรงเรียนนาฏดุริยางคศาสตรใหการศึกษาทั้งดาน ศิลปะและสามัญ เพื่อยกระดับศิลปนใหทัดเทียม กับนานาประเทศ ในสมัยนี้ไดเกิดละครแบบใหม เรียกกันวา “ละครหลวงวิจิตรวาทการ” มีแนวคิด การปลุกใจใหรักชาติ ลักษณะการแสดงบางเรื่อง เปนละครรํา บางเรื่องเปนละครพูดและกําเนิด คณะละครของเอกชน ซึง่ เปนละครเพลงทีน่ าํ เพลง ไทยที่มีทํานองเอื้อนมาเปนเพลงไทยสากลไมมี ทํานองเอือ้ น เรือ่ งทีม่ ชี อื่ เสียงโดงดัง คือเรือ่ งจันทร เจาขา นอกจากนี้ ยังกําเนิดรําวงมาตรฐานซึ่งใน พ.ศ. ๒๔๘๗ ประชาชนนิยมเลนรําโทน รัฐบาล สมัยจอมพล ป.พิบูลสงครามไดมอบหมายใหกรม ศิลปากรปรับปรุงรําโทนขึน้ ใหมเปนรําวงมาตรฐาน

เกร็ดแนะครู ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับรําโทน วารําโทนเกิดขึ้นในชวงสงครามโลก ครั้งที่ 2 ผูคนตองอพยพหนีภัยไปยัง ที่ตางๆ และรัฐบาลหามกระทําการ หลายอยางจึงทําใหประชาชนเหงา และเครียด จึงมีการคิดเลนรําโทนขึ้น เพื่อความสนุกสนาน

รําวงมาตรฐานเกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๘ โดยมีการปรับปรุงรูปแบบมาจากรําโทน

นักเรียนควรรู ละครหลวงวิจิตรวาทการ เปนละครที่นําเนื้อเรื่องมาจากประวัติศาสตร โดยมี จุดมุงหมายเพื่อปลุกใจใหประชาชนรักชาติมีความสามัคคี ดําเนินเรื่องดวยวิธีรํา พูด ดนตรีประกอบมีทั้งดนตรีไทยสากล การแตงกาย แตงยืนเครื่องและแตงแบบ สากล ผูแสดงเปนชายจริงหญิงแท ฉากสุดทายผูแสดงทุกคนตองปรากฏตัวบนเวที

8

คูมือครู

@

มุม IT

ศึกษาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับละครหลวงวิจิตรวาทการ ไดจาก http://www.thaidances.com/data/=10.asp


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

สมัยรัตสมั นโกสิ ยรัตนนโกสิ ทร นทร

สมัยรัชกาลที สมัยรั่ ช๙กาลที่ ๙ พระบาทสมเด็ พระบาทสมเด็ จพระเจจาอยู พระเจ หัวภูามอยูิพลอดุ หัวภูลมยเดชมหาราช ิพลอดุลยเดชมหาราช สมัยรัชกาลที่ ๙ พระบาทสมเด็จ พระเจ า อยู  หั ว ภู มิ พ ลอดุ ล ยเดชมหาราช

โปรดเกลาฯ ใหบันทึกภาพยนตรสีสวนพระองค บันทึกทารําหนาพาทยองคพระพิราพ ทารําเพลง หนาพาทยของพระ นาง ยักษ ลิง และโปรดเกลาฯ ใหจัดพิธีไหวครู มอบทารําองคพระพิราพใหแก ศิลปนกรมศิลปากร ศิลปะการแสดงละครไทยได มีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาไปสูระบบวิชาการ มากขึ้น มีการจัดการเรียนการสอนทั้งแนวอนุรักษ และการแสดงละครสมัยใหมไวในระดับการศึกษา ทุกระดับ มีสถาบันทีเ่ ปดสอนวิชาการละครมากขึน้ ทั้งของรัฐและเอกชน มีรูปแบบในการแสดงละคร ไทยที่ ห ลากหลายให เ ลื อ กชม เช น ละครเวที ละครพูด ละครรอง ละครรํา และละครที่เปนที่ นิยมสูงสุดในสมัยนี้คือละครโทรทัศน นอกจากนี้ ยั ง ได รั บ การสนั บ สนุ น จากรั ฐ บาลให จั ด สร า ง โรงละครแห ง ชาติ แ ละศู น ย วั ฒ นธรรมแห ง ประเทศไทย ส ง เสริม ใหมีการจัด กิจกรรมการ แสดงการสาธิต การสัมมนารูปแบบตางๆ เกีย่ วกับ การแสดงละครของทั้งรัฐและเอกชน สงเสริมให มี ก ารแลกเปลี่ ย นวั ฒ นธรรมในการแสดงละคร ของนานาชาติ แ ละเชิ ด ชู เ กี ย รติ ผู  เ ป น ศิ ล ป น ที่ บําเพ็ญประโยชน อนุรักษ สืบทอดมรดกของชาติ ใหเปนศิลปนแหงชาติ โดยกําหนดใหมกี ารประกาศ เกียรติคุณในวันที่ ๒๔ กุมภาพันธของทุกป

นักเรียนรวมกันอธิบายความรู วา ในรัชกาลที่ 9 การละครไทย มีวิวัฒนาการอยางไรบาง (แนวตอบ รัชกาลที่ 9 การละครไทย พัฒนาเขาสูระบบวิชาการมากขึ้น มีรูปแบบการละครไทยที่หลากหลาย ใหเลือกชม สวนละครที่ไดรับ ความนิยมสูงสุด คือ ละครโทรทัศน นอกจากนี้ รัฐบาลยังใหการสนับสนุน การละครไทยในดานตางๆ อีกดวย)

ÁØÁ¹Ò¯ÈÔÅ»Š รางวัลศิลปนแหงชาติ

ศิลปนแหงชาติของประเทศไทย หมายถึง ศิลปน ผูมีความสามารถ มีผลงานสรางสรรคและพัฒนาที่ เปนประโยชนตอสังคมและเปนที่ยอมรับของวงการ สํานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติไดจัดทํา โครงการศิลปนแหงชาติมาตั้งแต พ.ศ. ๒๕๒๗ สาขาของศิลปนแหงชาติมหี ลักเกณฑการคัดเลือก จําแนกศิลปนแหงชาติออกเปน ๔ สาขา คือ ๑. สาขาทัศนศิลป หมายถึง ศิลปะที่มองเห็นได ดวยตาจะเปนศิลปะสองมิติหรือสามมิติ ๒. สาขาศิลปะสถาปตยกรรม หมายถึง งาน ออกแบบหรืองานกอสรางอาคารที่สวยงาม มีคุณคา ทางศิลปะและมีวิทยาการ ซึ่งแสดงภูมิปญญาของ ผูออกแบบอยางโดดเดน ๓. สาขาศิ ล ปะการแสดง หมายถึ ง ศิ ล ปะที่ เกี่ยวของกับการแสดง ซึ่งเปนไดทั้งแบบดั้งเดิมหรือ พัฒนาขึน้ ใหม เชน ผูผ ลิตเครือ่ งดนตรี ผูม ผี ลงานดาน การละคร นักประพันธเพลง ๔. สาขาวรรณศิลป หมายถึง บทประพันธที่ ปลุกมโนคติของผูอาน ทําใหเกิดจินตนาการความ เพลิดเพลินและเกิดอารมณตางๆ ตามเจตนารมณ ของผูประพันธ ไดแก กวีนิพนธ เรื่องสั้น นวนิยาย บันเทิงคดี สําหรับเด็กและเยาวชนที่ไดรับการตีพิมพ อยางแพรหลาย

นักเรียนควรรู รําหนาพาทยองคพระพิราพ เปนหนาพาทยสูงสุด ผูที่จะไดรับ ถายทอดจะตองมีฝมือทางนาฏศิลป ขั้นดีเยี่ยม เปนเพศชายที่บวชเรียน แลว การถายทอดทารําตองทําในวัง หรือวัด

นักเรียนควรรู

พิธีไหวครู มักจัดขึ้นในวัน พฤหัสบดี ซึ่งจัดขึ้นเพื่อเปนการ อุทิศสวนกุศล ดวยการถวายเครื่อง สักการะ พลีกรรมแกปรมาจารย ทั้งหลายทั้งปวงและเปนการขอขมา ในสิ่งที่ศิษยไดกระทําผิดพลาด อีกทั้งยังเปนการทําใหผูเรียนเกิด ความมั่นใจในการเรียนนาฏศิลป เปนอยางดี เมื่อไดผานพิธีกรรม มาแลว @

นักเรียนควรรู กวีนิพนธ คือรูปแบบทางศิลปะที่มนุษยใชภาษา เพื่อคุณประโยชนดานสุนทรียะ ซึ่งเพิ่มเติม จากเนื้อหาทางความหมายนับเปนสวนหนึ่งของวรรณกรรม โดยเปนคําประพันธที่กวีแตงเปน งานเขียนที่มีวรรณศิลป เราใหสะเทือนอารมณได

มุม IT

ศึกษาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ ศิลปนแหงชาติ ไดจาก http://art. culture.go.th/index.php คูมือครู

9


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Explain

Expand

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

อธิบายความรู ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 4 - 5 คน จากนั้นใหแตละกลุมรวมกัน วิเคราะห “ละครไทยมีความสําคัญ ตอชาติอยางไร” จากนั้นใหแตละ กลุมออกมานําเสนอหนาชั้นเรียน

การละครไทย

ในสมัยรัตนโกสินทร

สมัยรัชกาลที่ ๑

ขยายความเขาใจ

สมัยรัชกาลที่ ๒

ใหนักเรียนแตละกลุมรวมกัน ทํารายงานเกี่ยวกับวิวัฒนาการ การละครไทยแตละสมัย โดยจัดทํา เปนรูปเลม แลวนําสงครูผูสอน

สมัยรัชกาลที่ ๓

ตรวจสอบผล ครูใหตัวแทนแตละกลุมมาสรุป วิวัฒนาการการละครไทยหนาชั้น เรียน จากนั้นครูเสริมขอมูลเพิ่มเติม

สมัยรัชกาลที่ ๔

สมัยรัชกาลที่ ๕

เกร็ดแนะครู

เปนยุคที่วรรณคดีและการละครเจริญรุงเรืองถึงขีดสุด มีการพัฒนาละครนอกและ ไดพระราชนิพนธบทละครนอกหลายเรื่อง โดยบทพระราชนิพนธเรื่องอิเหนาไดรับ ยกยองจากวรรณคดีสโมสรวาเปนยอดของละครรํา

โปรดใหเลิกละครหลวง พระบรมวงศานุวงศจึงพากันฝกหัดโขนละคร บรรดาครูของหลวงตางออกไป เปนครูฝกหัดโขนละครในสมัยนี้จึงเกิดคณะละครตางๆ ขึ้น

ไดมีการฟนฟูละครหลวง พระราชทานพระบรมราชานุญาตใหราษฎรฝกหัดละครผูหญิงและไดมีการบัญญัติขอหาม ในการแสดงที่ไมใชละครหลวงทั้งหมด ๖ ขอ เนื่องจากละครไดแพรหลายสูประชาชนมากขึ้น

การละครไทยไดมีวิวัฒนาการขึ้นอีกรูปแบบหนึ่ง เนื่องจากอิทธิพลของชาติตะวันตก ละครหลวงเปลี่ยนแปลงมาจัดแสดง แบบละครเอกชนมากขึ้น มีการกําเนิดละครดึกดําบรรพ ละครพันทาง ละครรอง ละครพูด ละครเสภา

สมัยรัชกาลที่ ๖

ครูควรอธิบายเพิ่มเติมวา การ แสดงโขนในรัชกาลที่ 6 จะใหโขน ตัวพระเปดหนาจริงตามแบบอยาง โขนตัวนาง แตโขนตัวพระและ โขนตัวนางก็มีขอจํากัดที่จะตอง วางสีหนาใหเรียบเฉยประดุจหุน ที่ครอบศีรษะอยู

ไดมกี ารพัฒนาโขนโดยการนําละครในเขามาผสมในการ ดําเนินเรือ่ งและมีการสงครูละครไทยไปฝกหัดละครหลวง ในราชสํานักกัมพูชา

เปนสมัยที่โขนละครดนตรีปพาทยเจริญรุงเรืองถึงขีดสุด พระองคไดโปรดเกลาฯ ใหตั้งโรงเรียนฝกหัดโขน ละคร ดนตรี ปพาทยและกรมมหรสพดูแลกิจการโขนละคร ในสมัยนี้ไดเกิดโขนบรรดาศักดิ์และโขนเชลยศักดิ์ขึ้น นอกจากนี้ ยังมี การจัดพิมพตําราฟอนรําขึ้นดวย

สมัยรัชกาลที่ ๗

มีการจัดตั้งกรมศิลปากรโดยโอนงานชางกองวังนอกและกองมหรสพไปอยูในสังกัดกรมศิลปากร โขนของ กรมมหรสพ กระทรวงวัง จึงเปน “โขนกรมศิ โขนกรมศิลปากร ปากร”” มาตั้งแตครั้งนั้น

สมัยรัชกาลที่ ๘

ไดจดั ตัง้ โรงเรียนนาฏดุรยิ างคศาสตรใหการศึกษาทัง้ ทางดานศิลปะและสามัญ ไดเกิดละครแบบใหมขนึ้ เรียกวา ละครหลวงวิจติ รวาทการ กําเนิดคณะละครของเอกชนซึง่ เปนละครเพลงทีใ่ ชเพลงไทยสากลไมมที าํ นองเอือ้ น และรัฐบาลสมัยจอมพล ป. พิบลู สงครามไดมอบหมายใหกรมศิลปากรปรับปรุงรําโทนเปนรําวงมาตรฐาน

สมัยรัชกาลที่ ๙

๑๐

10

คูมือครู

ไดโปรดเกลาฯ ใหบันทึกภาพยนตรสีสวนพระองค การละครไทยไดมีการเปลี่ยนแปลงสูระบบ วิชาการ มีสถาบันเปดสอนการละครมากขึ้น การแสดงละครไทยมีรูปแบบที่หลากหลาย ละครที่เปนที่นิยมสูงสุดคือ ละครโทรทัศน มีการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมการละครจาก นานาชาติ มีการมอบรางวัลศิลปนแหงชาติใหแกศิลปนที่บําเพ็ญประโยชน


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

กระตุนความสนใจ

๒. ประเภทของละครไทย ในอดี ต ละครไทยหมายถึ ง ละครรํ า แต ตอมาภายหลังไดเกิดละครรองและละครพูดขึ้น ปลายรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจาอยูหัว (รัชกาลที่ ๕) จึงไดมีการบัญญัติคํา ขึ้นเพื่อใชแบงประเภทของละครไทย โดยยึด หลักในการแสดงเปนสําคัญ ซึ่งแบงออกเปน ๓ ประเภทใหญๆ ไดแก ละครรํา ละครรองและ ละครพูด

๒.๑ ละครรํา ละครรํา หมายถึง ละครที่ใชศิลปะการราย รํา มีบทรองและบทเจรจาที่นิยมแตงเปนกลอน ดําเนินเรื่อง มี ๒ ประเภท ไดแก ๑. ละครรําแบบดัง้ เดิม คือ ละครทีใ่ ชศลิ ปะ การรายรําในการดําเนินเรื่อง ๒. ละครรําที่ปรับปรุงขึ้น คือ ละครที่นํา แบบแผนของละครชาตรี ละครนอก ละครใน มาเป น พื้ น ฐานในการปรั บ ปรุ ง เปลี่ ย นแปลง พัฒนาขึ้น ละครรําแตละประเภทมีแบบแผนใน การแสดงกําหนดไวชัดเจน ทัง้ นีร้ ายละเอียดของละครรําแตละประเภท มีรายละเอียด ดังตอไปนี้

ครูเปดซีดีการแสดงละครไทย เชน พระลอตามไก พระรามตามกวาง เปนตน แลวถามนักเรียนวา • นักเรียนดูละครไทยแลวรูสึก อยางไร • นักเรียนคิดวา ละครไทยมีการ จัดแสดงเพื่อวัตถุประสงคใด

ÁØÁ¹Ò¯ÈÔÅ»Š วิธีเลือกเด็กผูหญิงเขาเปนละครหลวง

การเลื อ กเด็ ก ผู  ห ญิ ง ที่ จ ะเข า มาหั ด ละครหลวง ในขัน้ แรกครูผใู หญจะตรวจดูใบหนา เด็กคนนัน้ จะตอง มีใบหนารูปไข คิ้วโกงและดกพอประมาณ จมูกโดง นัยนตาไมพิการ ปากรูปกระจับ คางยาวรับกับใบหนา หูตอ งไมกางและไมบดิ เบีย้ วหรือหงิกงอ ใบหนาทัว่ ๆ ไป จะตองเรียบ ไมมีตําหนิ ขั้นตอมาครูจะตรวจดูที่ลําคอ คือจะตองมีชวง คอยาวพอสมควร หัวไหลผึ่ง อกไมแอนเกินไป ลําตัว กลมสมสวน แขนตองไมสนั้ หรือไมยาวเกินไป นิว้ ทัง้ 5 ไมหงิกงอ กลมคลายลําเทียน ขาทั้งสองขาง ไมโกงเก รูปรางไมสูงหรือเตี้ยจนเกินไป สวนเนื้อผิวนั้นไมจํากัด วาจะดําหรือขาวก็ได เมื่อเด็กผูหญิงไดรับเลือกเขาหัดละครหลวงแลว ในขั้นตอมาครูผูใหญก็จะคัดเลือกจากเด็กพวกที่รับ ไวแลวแบงเปนสองพวก คือพวกพระและพวกนาง ตามทีต่ อ งการ

สํารวจคนหา ใหนักเรียนสืบคน “ลักษณะ การแสดงละครรํา” จากแหลงเรียน รูตางๆ เชน หองสมุด หนังสือ อินเทอรเน็ต เปนตน

เกร็ดแนะครู ครูแนะนําใหนักเรียนศึกษา เพิ่มเติมเกี่ยวกับวิธีเลือกเด็กผูหญิง เขาเปนละครหลวง วิธีเลือกตัวพระ วิธีเลือกตัวนางไดจาก หนังสือ ครูจําเรียง พุธประดับ ศิลปน แหงชาติ รูปแบบความเปนครู ผูถายทอดนาฏศิลปไทยแบบโบราณ สํานักการสังคีต กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม พ.ศ. 2546

๑๑

คูมือครู

11


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู ขยายความเขาใจ Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

อธิบายความรู 1. ครูสุมนักเรียนออกมานําเสนอ ขอมูลที่สืบคนมาหนาชั้นเรียน 2. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปราย “ลักษณะการแสดงของละครชาตรี ละครนอกและละครใน”

ขยายความเขาใจ ใหนักเรียนเปรียบเทียบการแสดง ละครชาตรี ละครนอกและละครใน วาเหมือนหรือแตกตางกันอยางไร และจัดทําผังมโนทัศนลงกระดาษ รายงานสงครูผูสอน

นักเรียนควรรู หางหงส คือ ชายผานุงที่จีบโจง แลวไปเหน็บไวขางหลัง ปลอยให จีบคลี่ หอยจากเอวเบื้องหลัง ลงมาถึงหวางขาอยางตัวพระ แตงในละครรํา

นักเรียนควรรู

ชนิดละคร

ละครชาตรีเปนละครแบบแรกของ ไทย สันนิษฐานวาเกิดขึ้นในสมัย อยุธยาไดรับอิทธิพลจากอินเดีย

ละครนอกเป เปนรูปแบบละครรําที่ พัฒนามาจากการละเลนพื้นเมือง

ละครในเกิ เกิดในแผนดินพระเจา อยูหัวบรมโกศ สมัยอยุธยา

วงปพาทย เปนวงดนตรีเกิดจาก การประสมวงระหวางเครื่องดนตรี ประเภทเครื่องเปา และเครื่อง ประเภทเครื่องตีเปนหลัก โขนกลางแปลงเปนการแสดงกลาง สนาม ใชธรรมชาติเปนฉาก

๑๒

12

คูมือครู

ลักษณะการแสดง

ดนตรีประกอบการแสดง

การแตงกาย

กอนเริ่มแสดงตองโหมโรง ดวยการตีกลองตุกเปนการ เรียกคนดู การแสดงทุกครั้ง ตองรําซัดไหวครู เรือ่ งทีน่ าํ มา แสดงจะเปนเรือ่ งจักรๆ วงศๆ การดําเนินเรื่องมีผูบอกบท นําผูแสดง ผูแสดงจะรองเอง ๑ วรรค แลวมีลูกคูรับ

ใชวงปพาทยชาตรีประกอบ ดวยปพ าทย กลองชาตรี ๑ คู ฆองและฉิ่ง บางแหงมีกลอง แขกวง จะใชบรรเลงประกอบ บทร อ ง บรรเลงสลั บ กั บ บทรอง บทเจรจา

ผูแสดงชาย : ผูแสดงชายตัว ยื น เครื่ อ งนุ  ง สนั บ เพลาเชิ ง กรอมถึงขอเทา นุง ผายกจีนโจง ไวหางหงส ไมสวมเสือ้ สวม เครือ่ งอาภรณ ศีรษะสวมเทริด ผูหญิง (ตัวนาง) : ใชผาพาด หลัง

มี จุ ด มุ  ง หมายเพื่ อ ดํ า เนิ น เนื้อเรื่องใหความบันเทิงเปน หลัก ใชผูชายในการแสดง ดําเนินเรื่องรวดเร็ว แสดงได ทุกเรื่องยกเวนเรื่องอิเหนา รามเกียรติ์ อุณรุท แสดงได ทุกโอกาส สําหรับประชาชน ทั่วไป

เดิมใชเครื่องดนตรีเพียงไม กี่ชิ้น เชน ป ตะโพน กรับ ระนาด ตอมาไดพัฒนาเปน วงปพาทยเครื่องหา เครื่องคู และเครื่องใหญ เพลงรองใช รายดําเนินเรื่อง

แต ง กายอย า งคนธรรมดา สามัญ ถาแสดงเปนตัวนาง ใช ผ  า ขาวม า ห ม สไบเฉี ย ง ถาแสดงบทยักษจะเขียนหนา หรือใสหนากาก

มุงที่จะแสดงความประณีต ในการรํา เพลงที่ขับรองจะมี ลีลานุม นวลไพเราะนาฟง ใช ผูหญิงในการแสดง ดําเนิน เรื่องอยางเชื่องชา ประณีต แสดงเพี ย ง ๓ เรื่ อ ง คื อ รามเกี ย รติ์ อิ เ หนา และ อุ ณ รุ ท แสดงเฉพาะในงาน พระราชพิธี

ใชวงปพาทยประกอบการ แสดง

แตงยืนเครือ่ ง ดังคํากลาวทีว่ า “แตงองคทรงเครื่อง”

ดําเนินเรื่องดวยการพากย และเจรจา ไมมีการขับรอง เนื้ อ เรื่ อ งที่ แ สดงจะตั ด มา เฉพาะตอนรบในเรื่อง รามเกียรติ์

ใชวงปพาทยเครื่องหา ๒ วง ผลัดเปลี่ยนกันบรรเลง


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

Engage

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Elaborate

Evaluate

สํารวจคนหา ชนิดละคร

โขนนั่งราวหรือโขนโรงนอกเปน การแสดงโขนในโรงที่มีราวพาด สําหรับตัวโขนนั่ง

โขนหนาจอเปนการแสดงโขนตรง หนาจอมีประตูออก ๒ ขาง เรียกวา “จอแหวะ”

ลักษณะการแสดง

ดนตรีประกอบการแสดง

เปนการแสดงโขนบนโรงมี หลังคา มีราวพาดสําหรับ ตัวโขนนั่ง มีชองใหตัวละคร เดินไดรอบราว เมือ่ โขนแสดง ไดจบตามบทบาทแลวจะมา นัง่ อยูบ นราวตามเดิม ดําเนิน เรื่ อ งโดยใช ก ารพากย แ ละ การเจรจา

ใชวงปพาทยเครื่องหา ๒ วง ดนตรีจะบรรเลงเฉพาะเพลง หนาพาทย

เป น การแสดงโขนบนเวที หนาจอผาขาว ซึ่งแตเดิม เปนจอแสดงหนังใหญ เพียง แตเจาะชองทั้งสองขางทํา เปนประตูสําหรับตัวโขนเขา ออก ดํ า เนิ น เรื่ อ งโดยการ พากย เจรจา ตอมาเพิ่มการ ขับรองตามศิลปะการแสดง โขนโรงใน

ใชวงปพาทยเครื่องคูหรือ วงปพาทยเครื่องใหญ

เปนการแสดงโขนทีน่ าํ ตนเสียง และลูกคูท รี่ อ งในละครในและ การแสดงระบําและฟอนมา แสดงในการแสดงโขน โดยมี การพากยและเจรจา

เพิ่มขึ้นจากวงปพาทย เครื่องหาเปนวงปพาทย เครื่องใหญ

เป น การแสดงบนโรงหรื อ เวที มีการจัดฉากใหเปลี่ยน ไปตามเนื้อเรื่องที่แสดง แต มี วิ ธี แ สดงแบบโขนโรงใน มีบทรอง มีกระบวนทารํา ทาเตน ดนตรีบรรเลงเพลง หนาพาทยตามแบบละครใน

ใชวงปพาทยในการบรรเลง ดนตรีประกอบการแสดง

การแตงกาย โขนทุกประเภทจะแตงกาย แบบยืนเครือ่ งเหมือนละครใน โดยเลียนแบบมาจากเครือ่ งตน ของกษัตริยตามลักษณะของ ตัวละคร ซึง่ แยกเปนประเภท ใหญๆ ไดแก พระ นาง ยักษ ลิง ตัวประกอบ นอกจากนี้ ผูแ สดง โขนจะตองสวม “หัวโขน” ซึง่ ปรมาจารยทางนาฏศิลปได กําหนดลักษณะและสีไวอยาง เปนแบบแผนและกําหนดใหใช เฉพาะกับตัวละคร เชน พระราม กายสีเขียว พระลักษมณกาย สีเหลือง ทศกัณฐกายสีเขียว เปนตน

โขนโรงในเปนการแสดงโขนปน ละครใน

โขนฉากมีการแสดงเปนชุดเปน ตอน จัดฉากตามทองเรื่อง

เกร็ดแนะครู ครูแนะนําวาการแสดงโขนเปนศิลปะที่ครบทุกแขนง ไดแก ความไพเราะของบทกลอน ดนตรีและการขับรอง ลีลาทารําของผูแสดงครบทั้งพระ นาง ยักษ ลิง ความงามของ เครื่องแตงกายและองคประกอบอื่นๆ ไดแก ฉาก แสง สี เรื่อง ความไพเราะของผูพากย แตเดิมแสดงเฉพาะในงานพระราชพิธีที่สําคัญเพราะเปนมหรสพหลวง

ครูใหนักเรียนศึกษาขอมูลเพิ่มเติม เกี่ยวกับการแสดงโขน จากแหลง การเรียนรูตางๆ เชน หองสมุด อินเทอรเน็ต เปนตน

อธิบายความรู ใหนักเรียนอภิปรายในหัวขอ ทําไม โขนจึงแสดงเฉพาะเรื่อง รามเกียรติ์ เพียงเรื่องเดียว (แนวตอบ เนื่องจากในอดีตโขน เปนศิลปะการแสดงของหลวง สวน รามเกียรติเ์ ปนวรรณคดีที่แสดง ความยิ่งใหญของสถาบันกษัตริย จึงมีการแสดงโขนเรื่องรามเกียรติ์ เปนเรื่องแรก ตอมามีการนําเรื่องอื่น มาจัดแสดง แตไมไดรับความนิยม การแสดงโขนที่ไดรับความนิยม และสืบทอดตอกันมาจึงมีเพียง เรื่องรามเกียรติ์เทานั้น)

NET ขอสอบ ป 50 ขอสอบออกเกี่ยวกับโขนซึ่งเปน แหลงรวมศิลปะหลายแขนง โดย เฉพาะศิลปะแขนงวิจิตรศิลป โดย โจทยถามวา ขอใดเปนองคประกอบ ทางนาฏศิลปทางดานจิตรกรรม 1. การออกแบบอุปกรณการแสดง โขน 2. การสรางฉากการแสดงตามยุค สมัย 3. การสรางศีรษะโขน 4. การเขียนลวดลายไทยบนศีรษะ ๑๓ โขน (วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 4 การ เขียนลวดลายไทยบนศีรษะโขนตอง อาศัยศิลปะแขนงวิจิตรศิลปดานจิตรกรรมในการเขียน ลวดลายลงบนศีรษะโขน เครื่องแตงกายและใบหนา ของผูแสดง สวนการออกแบบอุปกรณประกอบการ แสดง การสรางฉากและการสรางศีรษะโขนจะใชศิลปะ แขนงวิจิตรศิลป ดานสถาปตยกรรมและประติมากรรม เปนสวนใหญ) คูมือครู 13


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู ขยายความเขาใจ Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

อธิบายความรู 1. ครูจับสลากเลือกนักเรียนมา อธิบายความรูเกี่ยวกับ “ละคร ดึกดําบรรพ ละครพันทางหรือ ละครเสภา” ที่สืบคนมา 2. ใหนักเรียนแสดงความคิด เกี่ยวกับ “ลักษณะการแสดง ละครดึกดําบรรพ ละครพันทาง ละครเสภาวามีความงามอยางไร” 3. จากนั้นครูอธิบายเพิ่มเติม เกี่ยวกับละครทั้ง 3 ประเภท แลวใหนักเรียนจดบันทึก สาระสําคัญไว

ชนิดละคร

ละครดึกดําบรรพนาํ แบบอยางของ การแสดงละครตะวันตกเขามา ผสม แตยังยึดหลักละครใน

ขยายความเขาใจ แบงนักเรียนเปน 3 กลุม ครูให แตละกลุมดูภาพหรือซีดีเกี่ยวกับ “การแสดงละครดึกดําบรรพ ละครพันทาง และละครเสภา” พรอมบรรยายลักษณะการแสดง ดนตรีประกอบและการแตงกาย ประกอบ

นักเรียนควรรู แบบสุภาพ เสภาแบบสุภาพเปนเสภา

ที่ขับไปตามบทรอยกรองขึ้นอยางเครงครัด ผูรําก็รําอยางงดงามตามแบบแผน บท เสภาที่ใชขับนั้นมีอยูหลายสํานวน เพราะ นอกจากจะประกวดในดานการขับแลว ยังประกวดในดานถอยคําสํานวนดวย ซึ่งนักแตงกลอนเสภามีอยูเปนจํานวนมาก ดังนั้นบทเสภาในตอนเดียวกันจึงมีได หลายสํานวน

ละครพันทางเป เปนละครที่ดัดแปลง มาจากการแสดงละครพงศาวดาร ของชาติตางๆ

ละครเสภาเกิ ละครเสภา เกิ ด ขึ้ น รั ช กาลที่ ๕ เสภารํามีทั้งแบบสุภาพและแบบ ตลก

ลักษณะการแสดง

ดนตรีประกอบการแสดง

การแตงกาย

มีการแบงฉากเปนตอนๆ ไมมี การบรรยายเรือ่ ง ผูแ สดงตอง รองและรําเอง เรื่องที่แสดง เปนเรื่องเดียวกับละครนอก การแสดงมีลักษณะประณีต แตดาํ เนินเรือ่ งกระชับรวดเร็ว

ใช ว งป  พ าทย ดึ ก ดํ า บรรพ ประกอบด ว ยระนาดเอก (ไมนวม) ระนาดทุม ระนาด ทุม เหล็ก ฆองวงใหญ ฆองหุย ซออู ขลุยเพียงออ ตะโพน กลองแขก ฉิง่

ผูแสดงแตงกายยืนเครื่อง พระ - นาง

เปนละครผสม โดยมีทารํา ดนตรี สํ า เนี ย งภาษาและ แตงกายตามลักษณะเชือ้ ชาติ ตางๆ ผสมผสานกับการแสดง ละครนอก แตยงั คงยึดรูปแบบ ทารําของไทย

ใชวงปพาทยแตเพิ่มเครื่อง ดนตรีที่เปนเอกลักษณของ ชาตินั้นๆ เชน ฝรั่งใชกลอง สองหนา พมาใชกลองยาว และเปงมางคอก เขมรใชโทน

แตงกายตามลักษณะเชื้อชาติ เชน เนือ้ เรือ่ งทีเ่ กีย่ วกับมอญก็ แตงกายแบบมอญ เปนตน

ละครเสภาดําเนินเรื่องดวย การขั บ เสภา โดยการใช กรับขยับประกอบบทเสภา และบทร อง มี ตั ว ละครรํ า ประกอบ เรือ่ งทีน่ ยิ มแสดงคือ เรื่องขุนชางขุนแผน ไกรทอง ในวรรคตนของบทกลอน จะ ขึ้นตนดวยคําวา “ปางนั ปางนั้น” หรือ “ครานั้น”

ใช ว งป  พ าทย เ ช น เดี ย วกั บ ละครนอก แตการดําเนิน เรื่ อ งใช ก ารขั บ เสภาแทน เพลงราย

แตงกายตามลักษณะเชื้อชาติ เชนเดียวกับละครพันทาง

๒.๒ ละครรอง ละครรองเปนละครแบบใหมที่ไดรับอิทธิพลมาจากตะวันตก กําเนิดขึ้นในสมัยของพระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว เปนละครประเภทหนึ่งที่ใชศิลปะในการรองดําเนินเรื่อง ละครรองแบงออก ๒ ประเภท ไดแก ๑๔

นักเรียนควรรู แบบตลก เสภาแบบตลกเปนการแสดงเสภาโดยใชถอยคําในบทที่ทําใหเกิดความสนุกสนานขบขัน มีการลําเอียง

เขาขางตัวนายโรง แกลงตัวตลก และบางทีก็เกี้ยวพาราสีตัวนาง ถอยคําที่ทําใหเกิดความขบขันนั้น มักใชถอยคํา สองแงสองงาม

14

คูมือครู


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

Engage

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

สํารวจคนหา ครูใหนักเรียนสืบคนขอมูลเกี่ยวกับ ลักษณะการแสดง ดนตรีประกอบ และการแตงกายของละครรองจาก แหลงการเรียนรูตางๆ เชน หองสมุด อินเทอรเน็ต เปนตน

๑. ละครรองลวนๆ คือ ละครที่ดําเนินเรื่องดวยการรองไมมีบทพูด ๒. ละครรองสลับพูด คือ ละครที่มีทั้งการรองและการพูดในการดําเนินเรื่อง ซึ่งละครรองแตละประเภทมีรายละเอียดดังตอไปนี้ ชนิดละคร

ลักษณะการแสดง

ละครร อ งล ว นๆ เป น ละครที่ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา เจาอยูหัวเปนผูใหกําเนิด

ตัวละครขับรองโตตอบกัน และเลาเรื่องเปนทํานองแทน การพูดจึงดําเนินเรือ่ งโดยการ รองเพลง ไมมีคําพูดแทรก ตัวละครแสดงทาทางอยาง สามัญชนหรืออาจมีการรํา แทรกบาง ใชลูกคูประกอบ การแสดง มีการเปลี่ยนฉาก ตามทองเรือ่ ง

ดนตรีประกอบการแสดง ใชวงปพาทยไมนวม

การแตงกาย แตงกายตามเชื้อชาติ

อธิบายความรู 1. ครูสุมนักเรียนนําเสนอขอมูล เกี่ยวกับ “ละครรอง” หนาชั้นเรียน 2. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปราย เกี่ยวกับ “ละครรองมีลักษณะเดน อยางไร” 3. ครูและนักเรียนสรุปประเด็นสําคัญ

นักเรียนควรรู

ละครรองสลับพูดมักรูจักกันใน ชื่อวา “ละครกรมพระนรา” หรือ “ละครปรีดาลัย”

เปนละครที่แสดงบนเวที ใช กิริยาทาทางอยางสามัญชน ใช เ พลงร อ งที่ ป ระดิ ษ ฐ ขึ้ น ใหมเปนการดําเนินเรือ่ ง ไมมี บทพูดใชเพลงไทยบาง ใน บางครั้งพูดทบทวนบทรอง หรือแทรกใหตลกขบขัน

ใชวงปพาทยไมนวม

แตงกายแบบสามัญชน

๒.๓ ละครพูด ละครพูดเปนละครที่ใชศิลปะการพูดในการดําเนินเรื่อง เริ่มขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว โดยดัดแปลงมาจากละครรํา ตอมาสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจาฟามหาวชิราวุธ สยามมกุฎราชกุมารทรงสําเร็จการศึกษาและเสด็จนิวัตประเทศไทย ทรงตั้ง ทวีปญญาสโมสรและสามัคยาจารยสโมสรเปนที่แสดงละครพูด เมื่อแสดงละครพูดครั้งแรกๆ เรียกวา “ละครทวีปญญา” หมายความวาเปนละครของสโมสรทวีปญญา ละครพูดแบงออกเปน ๓ ประเภท ไดแก http://www.aksorn.com/LC/Pa/M6/01

เพลงไทย เปนเพลงที่ประพันธ ตามหลักของดนตรีไทย มีลีลา การขับรองและการบรรเลงเปน แบบไทย เพลงไทยนับเปนศิลปะ และวัฒนธรรมของชาติไทยที่มี มาแตโบราณ ตอมาไดพัฒนา รูปแบบอยางตอเนื่อง นอกจากนี้ การประพันธเพลงไทยยังใหมี ลีลาและสําเนียงเลียนเสียง ภาษาชนชาติตางๆ เชน ลาว เขมร มอญ จีน เปนตน เพลงที่ ประพันธเลียนสําเนียงภาษาอื่น สวนใหญมีชื่อเรียกนําหนาเพลง ตามสําเนียงภาษาที่เลียนเสียง เชน เพลงลาวดวงเดือน เขมรไทรโยค จีนขิมเล็ก เปนตน

EB GUIDE ๑๕

คูมือครู

15


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

Engage

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Elaborate

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

สํารวจคนหา ครูใหนักเรียนศึกษาขอมูลเพิ่มเติม เกี่ยวกับการแสดงละครพูด จาก แหลงการเรียนรูตางๆ เชน หองสมุด อินเทอรเน็ต เปนตน

อธิบายความรู 1. ครูสุมนักเรียนมาอธิบายความรู เกี่ยวกับการแสดงละครพูด 2. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวา การจัดการแสดงละครรองและ ละครพูดใหมีความนาสนใจ และไดรับความนิยมจากผูชม สามารถทําไดอยางไร (แนวตอบ นักเรียนสามารถตอบได อยางอิสระ เชน การใชเทคโนโลยี เขามาผสมในการจัดฉาก แสง สี เสียง เพื่อสรางบรรยากาศให สมจริง ตื่นเตน นาชมหรือแตง เรื่องที่แสดงขึ้นใหมใหเหมาะสม กับวัยของผูชมและสอดคลองกับ ยุคสมัย เปนตน)

๑. ละครพูดลวนๆ คือ ละครที่ดําเนินเรื่องดวยบทพูดเทานั้น ๒. ละครพูดสลับลํา คือ ละครที่ยึดการพูดเปนหลักและมีบทรองเปนสวนประกอบ ๓. ละครพูดคําฉันท คือ ละครที่เรียกชื่อตามคําประพันธของบทละคร ซึ่งละครพูดแตละประเภทมีรายละเอียดดังตอไปนี้ ชนิดละคร

ละครพูดลวนๆ เปนละครที่แสดง แบบสามัญชนและไดรบั ความนิยม มาจนถึงปจจุบัน

ละครพูดสลับลําหรือละครพูดสลับ ลํานํา มีลักษณะเหมือนละครพูด ลวนๆ

นักเรียนควรรู ละครพูดคําฉันท เรื่องมัทนะพาธา พระราชนิพนธในพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกลาเจาอยูห วั เปนละครพูด ที่พระองคตั้งพระทัย ใหเปนหนังสือ อาน เชน กวีนิพนธหรือบทรอยกรอง ทั่วไปเพื่อความสนุกสนานในดาน เนื้อหา แสดงใหเห็นถึงอานุภาพแหง ความรักที่ไมไดมีแตความสุขสมหวัง เทานั้น แตความรักสามารถสราง ความทุกขได

16

คูมือครู

ลักษณะการแสดง

ดนตรีประกอบการแสดง

ดํ า เนิ น เรื่ อ งด ว ยวิ ธี พู ด ตั ว ละครแสดงท า ทางตาม ธรรมชาติประกอบบทบาท ไปตามเนื้อเรื่อง การแสดง ละครพู ด ในสมั ย แรกๆ ผูแสดงจะเปนชายลวนแต ตอมาไดเปลี่ยนมาเปนชาย จริงหญิงแท

ไมมีดนตรีหรือการรองเพลง

เปนละครพูดที่มีทั้งการพูด และรองเพลงแตยึดการพูด เปนสําคัญ สวนบทรองเปน เพียงสวนประกอบ เพือ่ เสริม หรือยํ้าความ ถาตัดบทรอง ออกก็ จ ะไม เ สี ย ความแต อยางใด

ไมมีดนตรี

เปนละครพูดที่เรียกชื่อตาม ลั ก ษณะของบทละครที่ มี คําประพันธเปนบทรอยกรอง ในลักษณะคําฉันท

ไมมีดนตรี

ละครพูดคําฉันท มีเพียงเรือ่ งเดียว คือ ละครพูดคําฉันท เรื่องมัทนะพาธา

๑๖ EB GUIDE http://www.aksorn.com/LC/Pa/M6/02

การแตงกาย แตงกายตามฐานะของ ตัวละคร


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Engage

สํารวจคนหา ครูใหนักเรียนศึกษาขอมูลเกี่ยวกับ องคประกอบของการแสดงละครไทย จากแหลงการเรียนรูตางๆ เชน หองสมุด อินเทอรเน็ต เปนตน

๓. องคประกอบของการแสดงละครไทย องคประกอบของการแสดงละครไทยมี ๔ ประการ คือ เรื่อง เนื้อหาสรุป นิสัยตัวละคร และ บรรยากาศ ในแตละหัวขอมีรายละเอียดดังตอไปนี้ องคประกอบของการแสดงละครไทย

เรื่อง

ผูชมจะรูเรื่องของละครไดโดยการฟงจากบทเจรจาของตัวละคร บทเจรจาควรถูกตองตาม ภาษาพูดของชุมชนและฐานะของตัวละคร ซึง่ จะตองมีความสําคัญตอการดําเนินเรือ่ ง เนือ้ เรือ่ ง ของละครตองชัดเจน เหตุการณตั้งแตตนจนจบเรื่องตองดําเนินอยางมีระเบียบแบบแผน

เนื้อหาสรุป

เนื้อหาสรุปเกี่ยวกับความตองการนั้นๆ หรือแนวคิดที่กอใหเกิดสติปญญา สอนคติธรรม แนวคิดของเรื่องจะทําหนาที่เปนจุดศูนยกลางของเรื่อง ใหตัวละครฟนฝาอุปสรรคจาก สถานการณที่สรางขึ้น ละครแตละเรื่องตองมีเนื้อหาสรุปเปนองคประกอบ ซึ่งละครบางเรื่อง อาจปลอยใหผูชมสรุปเนื้อหา แนวคิดตามเหตุการณ

Story

Subject

อธิบายความรู

นิสัยตัวละครจะตองตรงกับเนื้อสรุป บุคลิกลักษณะ กิริยาทาทางของตัวละครตองตรงกับ Characterization ลักษณะนิสัยของตัวละครในเรื่อง

นิสัยตัวละคร บรรยากาศ

Atmosphere

การสรางบรรยากาศรอบๆ ที่เกี่ยวกับตัวละครจะตองกลมกลืนกับการแสดงของตัวละคร บรรยากาศจะชวยใหผูชมมีความรูสึกคลอยตามไปกับเรื่องได สิ่งที่ชวยสรางบรรยากาศใน การแสดงละครประกอบดวย เครื่องแตงกาย ฉาก แสง สี เสียง

เนื้อหาสรุป (Subject) หมายถึง เนื้ อ หาสรุ ป เกี่ ย วกั บ ความ ตองการนัน้ ๆ หรือแนวคิดทีก่ อ ให เรื่อง (Story) เกิดสติปญญา สอนคติธรรม ผูชมจะรูเรื่องของละครได แนวคิดตามเหตุการณ โดยการฟงจากบทเจรจาของตัว ละคร บทเจรจาควรถูกตองตาม ภาษาพูดของชุมชนและฐานะของ ตัวละคร

นิสัยตัวละคร (Characterization) นิสัยตัวละครจะตองตรงกับ เนือ้ สรุป บุคลิกลักษณะ กิรยิ าทาทาง ของตัวละครตองตรงกับลักษณะ นิสัยของตัวละครในเรื่อง

บรรยากาศ (Atmosphere) หมายถึง การสรางบรรยากาศ รอบๆ ที่เกี่ยวกับตัวละครจะตอง กลมกลืนกับการแสดงของตัวละคร

ครูสุมนักเรียน 2 - 3 คน แลวตอบ คําถามวา • องคประกอบของละครไทย มีอะไรบาง (แนวตอบ องคประกอบของ ละครไทย ประกอบดวย เรื่อง เนื้อหาสรุป นิสัยตัวละครและ บรรยากาศ) • ในการจัดการแสดงละคร ถาขาดองคประกอบใดไป ขอหนึ่งจะสงผลอยางไร ตอการแสดงละคร (แนวตอบ จะทําใหการแสดง ขาดคุณภาพและจะทําให ผูชมมีความรูสึกวาเสียเวลา ไมไดอรรถรสในการชม อาจ มีผลทําใหไมอยากมาชมการ แสดงเรื่องอื่นๆ ดังนั้น ถาหาก มีองคประกอบไมครบ จึงไมควร จัดการแสดงขึ้น)

นักเรียนควรรู

๑๗

ตัวละคร การสรางบุคลิกลักษณะ ของตัวละครสามารถสรางได 2 แบบ คือ 1. ตัวละครแบบมีมิติ (round character) สรางขึ้นมาให มีหลากหลายคุณสมบัตแิ ละ อารมณ มีความซับซอนและตอง เปลี่ยนแปลงไปตามเหตุการณ ตางๆ ในเรื่อง 2. ตัวละครแบบแบน (flffllat character) มักเปนตัวประกอบที่ไมสําคัญ บุคลิก ไมซับซอน อาจมีเพียงมิติเดียว คูมือครู

17


กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

กระตุนความสนใจ ครูใหนักเรียนดูภาพบุคคลสําคัญ ในวงการละครไทยทัง้ 3 ทาน จากนัน้ ครูตั้งคําถามเพื่อใหนักเรียนรวมกัน แสดงความคิดเห็นวา • นักเรียนคิดวาบุคคลที่จะเปน บุคคลสําคัญในวงการละครไทย ควรมีคุณลักษณะอยางไร (แนวตอบ นักเรียนสามารถตอบ ไดอยางหลากหลาย ครูผูสอน ควรสนับสนุนใหนักเรียนไดมี สวนรวมในการแสดงความคิด เห็น คําตอบขึ้นอยูกับดุลยพินิจ ของครูผูสอน)

๔. ประวัติบุคคลสําคัญในวงการละครไทย

ละครไทยเปนศิลปวัฒนธรรมที่สืบตอกันมาชานาน ซึ่งไดรับการสืบทอดและพัฒนามาอยาง ตอเนื่อง เพราะมีบุคคลสําคัญเปนผูถายทอดแบบแผนลีลาทารําสูคนรุนหลัง

สํารวจคนหา ครูใหนักเรียนศึกษาประวัติ • ครูจําเรียง พุธประดับ • ครูศิริวัฒน ดิษยนันทน • ครูสัมพันธ พันธุมณี จากแหลงการเรียนรูตางๆ เชน หองสมุด อินเทอรเน็ต เปนตน

อธิบายความรู ครูสุมนักเรียน 2 - 3 คน ใหออกมาอธิบายประวัติของ ครูจําเรียง พุธประดับ และ บทบาทสําคัญที่มีตอวงการ ละครไทย (แนวตอบ ครูจําเรียง พุธประดับ เขารับราชการถวายตัวเปนละคร หลวงสมัยรัชกาลที่ 7 ตอมาไดยาย มาเปนขาราชการของกรมศิลปากร เปนศิลปนคนแรกของกรมศิลปากร ๑๘ ที่ไดรับชั้นพิเศษเปนผูบริหารและเปน ผูเชี่ยวชาญการสอนนาฏศิลปไทย ระดับปริญญา บทบาทที่สําคัญตอ วงการละครไทย คือ เปนผูสืบทอดศิลปะการแสดงจาก รุนหนึ่งไปสูอีกรุนหนึ่ง เชน รําฉุยฉายเบญกายแปลง รําวิยะดาทรงเครื่อง เปนตน และยังไดสรางสรรคผลงาน อันทรงคุณคาอีกหลายผลงาน เชน ระบําวิชนี ระบํามิตรไมตรีญี่ปุน - ไทย)

18

คูมือครู

ครูจําเรียง พุธประดับ (ศิลปนแหงชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นาฏศิลป) พ.ศ. ๒๕๓๑) ครูจําเรียง พุธประดับ เกิดเมื่อวันที่ ๓๑ มกราคม พ.ศ. ๒๔๕๙ บิดาชื่อ นายเปยม มารดาชื่อนางเจิมเปนชาวจังหวัดเพชรบุรี เริ่มเขา รับราชการถวายตัวเปนละครหลวงสมัยรัชกาลที่ ๗ ไดรับการ ฝกหัดนาฏศิลปทวี่ งั สวนกุหลาบเปนเวลา ๓ ป เมือ่ พ.ศ. ๒๔๗๘ ไดโอนกองมหรสพ กระทรวงวังมายังกรมศิลปากร ครูจําเรียง พุธประดับ จึงไดยายมาเปนขาราชการกรมศิลปากรและเปน ศิลปนคนแรกของกรมศิลปากรที่ไดรับชั้นพิเศษเปนผูบริหารและ เปนผูเชี่ยวชาญการสอนนาฏศิลปไทยระดับปริญญา

ผลงานสืบทอดนาฏศิลปไทย ผลงานที่ทานนํามาถายทอดใหแกศิษยนับวาทรงคุณคาทางดาน ศิลปะการแสดงเปนอยางยิ่งเปนการอนุรักษสืบสานภูมิปญญาไทย จากรุน หนึง่ ไปสูอ กี รุน หนึง่ ไดแก รําเชิดฉิง่ เมขลา เปนการรําเดีย่ ว และรําคู เมขลา - รามสูร รําฉุยฉายเบญกายแปลง รจนาเสี่ยง พวงมาลัย รําวิยะดาทรงเครื่อง ฉุ​ุยฉายวันทองแปลง นางจันทร แตงตัว นางจันทนตรวจพล เชิดฉิ่ง สีดาลุยไฟ พราหมณ เกศสุริยง พระสุวรรณหงสชมถํ้า ฉุยฉาย ยอพระกลิ่น ลําหับ แตงตัว นางพญาคําปนขอฝน ไกแกว ฯลฯ

ผลงานดานสรางสรรค ผลงานที่ครูจําเรียงสรางสรรคหรือรวมพัฒนาขึ้น ไดแก ระบําวิชนี ฟอนดวงดอกไม ระบํานกสามหมู ระบํากรับ ระบําพัดรัตนโกสินทร รําประทีปสุโขทัย รําเพลงเตาเห เซิ้งกะหยัง ระบําเทพอัปสร ระบํามิตรไมตรีญี่ปุน - ไทย ฉุยฉายนาฏศิลป รําราชสดุดีจักรีวงศ รําโคมบัว ระบําธรรมจักร ฟอนแคน ฟอนชมสวน ระบําไตรรัตน รําเพลงตับนางมณีเมขลา ฟอนพายัพ เซิ้งอีสานออนซอน ฯลฯ ภาพครู จํ า เรี ย ง พุ ธ ประดั บ แต ง ยื น เครื่ อ งนาง ครู ส  อ งชาติ ชื่ น สิ ริ แตงยืนเครื่องพระ


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู ครูสุมนักเรียน 2 - 3 คน ออกมา อธิบายถึงวิธีสอนแบบโบราณของ ครูศริ วิ ฒ ั น วามีประโยชนตอ การเรียน การสอนนาฏศิลปอยางไร (แนวตอบ วิธีการสอนแบบโบราณนี้ จะทําใหศิษยสามารถจดจําทารําได อยางแมนยําและรําไดอยางถูกตอง งดงาม เพราะมีครูเปนผูจัดทารําให)

ครูศิริวัฒน ดิษยนันทน (ศิลปนแหงชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นาฏศิลป) พ.ศ. ๒๕๔๑) ครูศิริวัฒน ดิษยนันทน เดิมชื่อ นิทรา แสงสวาง เปนบุตรของนายทรัพย และนางนอม เกิดเมือ่ วันที่ ๒๔ กุมภาพันธ พ.ศ. ๒๔๗๔ ปมะแม เมือ่ อายุได ๑๐ ป เขาศึกษาที่โรงเรียนนาฏดุริยางคศาสตร เมื่อจบการศึกษาไดรับราชการที่ กรมศิลปากร ครูศิริวัฒน ดิษยนันทนไดถายทอดกระบวนทารําแบบโบราณ ใหกับศิษยไวเปนจํานวนมาก ในการถายทอดความรู ทานไดใชวิธีสอนแบบโบราณ คือ สอนตัวตอตัว ครูรํานําใหศิษยรําตาม เมื่อศิษยจําทารําได ครูจะจัดทารําใหถูกตองงดงาม ถึงแมวาปจจุบันจะมีสื่ออิเล็กทรอนิกสเกิดขึ้น แตก็เปนเพียงสวนชวยใน การจดจําทารํา ไมสามารถทําหนาที่แทนครูไดสมบูรณ เพราะการเรียน การสอนนาฏศิลปไทยตองอาศัยความประณีต ละเอียดออนทุกขั้นตอน ผูเรียนตองชางสังเกต อดทน หมั่นฝกซอม จึงจะเกิดความซาบซึ้งในการเรียน ศิลปะแขนงนี้

เกร็ดแนะครู ครูอธิบายความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับ หุนกระบอกวา หุนกระบอกเริ่มขึ้น ครัง้ แรกราว พ.ศ. 2435 ทีเ่ มืองสุโขทัย โดยนายเหนง สุโขทัย ซึ่งเปนตนคิด จําแบบอยางมาจากหุนไหหลํา นํามาดัดแปลงเปนหุนแตง อยางไทย สวนที่กรุงเทพฯ ไดเกิด คณะหุนกระบอกของหมอมราชวงศ เถาะ พยัคฑเสนา มหาดเล็กใน สมเด็จพระบรมวงศเธอ กรมพระยา ดํารงราชานุภาพ เมื่อ พ.ศ. 2436 ความคิดริเริ่มกอตั้งคณะหุนของ หมอมราชวงศเถาะ กอใหเกิด ยุคทองของการเลนหุนชนิดนี้ขึ้น

ผลงานสืบทอดนาฏศิลปไทย ครูศิริวัฒน ดิษยนันทน ไดสืบทอดนาฏศิลปไวเปนจํานวนมาก ซึ่งถือวา เปนผลงานที่ทรงคุณคาตอวงการนาฏศิลปไทยอยางยิ่ง ไดแก รํากริชสุหรานากง ลงสรงโทน (ปนหยี) อิเหนาชมดง รําพระลอคลั่ง พระลอตามไก พระลอชมสวน รถเสนจับมา รถเสนชนไก พระอภัยมณีหนีนางผีเสือ้ สมุทร ฯลฯ ประเภทระบํามาตรฐาน ไดแก ระบําสี่บท ระบําดาวดึงส ระบํายองหงิด ระบําเทพบันเทิง ระบํากฤดาภินหิ าร ระบําพรหมมาสตร ประเภทรํา ฟอน เซิง้ ไดแก รําเพลงหนาพาทย รํากริช ตระบองกัน ตระเชิญ ชํานาญ ฟอนรัก ฟอนลาวดวงเดือน เซิ้งกระติบขาว ฯลฯ

ครูศิริวัฒน ดิษยนันทน ไดเผยแพร วั ฒ นธรรมไทย โดยการเชิ ด หุ  น กระบอก เมือ่ ครัง้ ไปแสดงทีส่ หภาพ โซเวียต เมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๒

นักเรียนควรรู

ผลงานสรางสรรค ผลงานสรางสรรค ไดแก รําชุดทศพิธทิศทศ ระบํารํากริช รําชุดระบําโลหะปราสาท นอกจาก ผลงานสรางสรรคดังกลาวแลว ครูศิริวัฒนยังได รวมมืิอกับครูพนิดา สิทธิวรรณ อนุรักษการแสดง หุนกระบอกของกรมศิลปากรมาโดยตลอด จนเมื่อ ครูพนิดาเกษียณอายุราชการ ครูศิริวัฒนจึงเปนผูกํากับ ดูแลและถายทอดใหแกศิษยรุนใหม

เซิ้ง คือ การฟอนรําประกอบดนตรี แบบพืน้ เมืองภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีทวงทารวดเร็ว ฉับไว ๑๙

นักเรียนควรรู ฟอน เปนการแสดงนาฏศิลปพื้นเมืองของภาคเหนือที่มีลีลาออนชอยงดงาม ลักษณะลีลา ทาฟอนไมเครงครัด เปนการเลียนแบบการเคลื่อนไหวของมนุษย เชน ฟอนเงี้ยว ฟอนเล็บ เปนตน คูมือครู

19


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู ขยายความเขาใจ อธิบExplain ายความรู

ขยายความเข Expand าใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

อธิบายความรู ครูสุมนักเรียนออกมาอธิบาย ผลงานที่โดดเดนของครูสัมพันธ พันธุมณี ที่มีตอวงการละครไทย (แนวตอบ ครูสัมพันธเปนบุคคล ที่ทําใหนาฏศิลปไทยและละครรํา ไดออกเผยแพรทางโทรทัศน ซึ่ง ถือวาเปนการเผยแพรความรูทาง นาฏศิลปไทยสูเยาวชนของชาติผาน สื่อสมัยใหมเปนการขยายโอกาสให เยาวชนไดรูจักและมีความรูเกี่ยวกับ นาฏศิลปไทยมากขึ้น)

ครูสัมพันธ พันธุมณี

(ศิลปนแหงชาติ สาขาศิลปะการแสดง (นาฏศิลป) พ.ศ. ๒๕๔๒) ครูสัมพันธ พันธุมณี เกิดเมื่อวันที่ ๒๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๗๐ เมื่ออายุ ๘ ป ไดศกึ ษาทีโ่ รงเรียนนาฏดุรยิ างคศาสตร จนสําเร็จการศึกษาชัน้ มัธยมศึกษา ปที่ ๖ เปนศิษยของนางศุภลักษณ ภัทรนาวิก คุณหญิงเทศ นัฏกานุรักษ ครูมัลลี คงประภัศร ครูลมุล ยมะคุปต ครูสัมพันธมีความสามารถในการแสดงละครรําและละครที่ไมใชทารํา โดยเฉพาะละครหลวงวิจิตรวาทการ เมื่อสําเร็จการศึกษาไดเขารวมแสดงละคร กับคณะวิจิตรศิลป ของพลตรีหลวงวิจิตรวาทการซึ่งมีครูลมุล ยมะคุปต เปน ผูถ า ยทอดวิชานาฏศิลป ทําใหครูสมั พันธไดมโี อกาสรับการถายทอดในการแสดง ตางๆ เชน การแสดงละครในเรื่องอิเหนา ตอนบุษบาเสี่ยงเทียน

ผลงานสืบทอดนาฏศิลปไทย

ขยายความเขาใจ

นาฏศิลปไทยและละครรําไดออกเผยแพรทางโทรทัศน ชอง ๔ บางขุนพรหม เพราะครูสมั พันธไดมโี อกาสเขาทํางานทีบ่ ริษทั ไทยโทรทัศนจาํ กัด ใน พ.ศ. ๒๔๙๘ ไดรับตําแหนง หัวหนาแผนกดุริยางค ครูสัมพันธเปนคนแรกของประเทศไทย ทีจ่ ดั รายการ “บทเรียนฟอนรํา” นับวาเปนการเผยแพรความรูด า นนาฏศิลปไทย สูเยาวชนของชาติโดยผานสื่อทางโทรทัศน

1. ใหนักเรียนยกตัวอยางสถาบันหรือ บุคคลที่มีบทบาทในการอนุรักษ และสืบสานนาฏศิลปและการ ละครไทย (แนวตอบ สถานที่ ไดแก กรมศิลปากร สถาบันพัฒนศิลป ศาลาเฉลิมกรุง โรงละครแหงชาติ เปนตน บุคคล ไดแก ทานผูหญิง แผว สนิทวงศเสนี ครูอาคม สายาคม เปนตน) 2. จากนั้นใหนักเรียนคนควาเพิ่มเติม เกี่ยวกับบุคคลหรือสถาบันที่ ยกตัวอยางมา พรอมจัดทํารายงาน สงครูผูสอน

ผลงานการแสดงทางโทรทัศน ครูสัมพันธ พันธุมณี มีผลงานการแสดงทางโทรทัศนหลายผลงาน เชน - การแสดงชุด หยาหรันตามนกยูง (แสดงเปนหยาหรัน) - ละครพันทาง เรื่อง “พระลอ” พระลอ” (แสดงเปน พระลอ) - ละครเสภาเรื่องขุนชางขุนแผน ตอนพลายบัวลักนางแวนแกว (แสดง เปนพลายบัว) - ละครหลวงวิจิตรวาทการ เรื่อง เลือดสุพรรณ (แสดงเปนมังราย) นอกจากนี้ ยังมีผลงานในฐานะเปนผูฝกซอมและจัดการแสดงทาง โทรทัศน ชอง ๔ บางขุนพรหม เชน การแสดงละครนอก เรื่องไกรทอง ตอนจากถํ้า การแสดงละครพันทาง เรื่องราชาธิราช ตอนมะสะลุม กินเลี้ยง ผลงานทั้งดานการแสดงและการฝกซอมจัดการแสดงทั้ง ละครรํา ละครรอง ละครพูดและงิ้ว นับวาครูสัมพันธเปนผูอนุรักษ สืบสาน พัฒนานาฏศิลปและการละครไทยโดยแฝงแนวคิดทีเ่ ปนขนบนิยม ผสมผสานกับศิลปะสมัยใหมไดอยางผสมกลมกลืนเปนทีน่ ยิ มของเยาวชนรุน ใหม ซึ่งจะตองทําหนาที่รักษามรดกทางวัฒนธรรมใหคงอยูคูกับแผนดินไทยสืบไป

นักเรียนควรรู พระลอ เปนวรรณคดีที่แตงดวย ลิลิตสุภาพ มีสํานวนโวหารซาบซึ้ง ที่สื่ออารมณความหมายใหผูอาน สะเทือนอารมณไดอยางลึกซึ้ง วรรณคดีเรื่องนี้ไมปรากฏนามผูแตง และไมทราบวาแตงในสมัยใด แต เมื่อพิจารณาจากถอยคําและลักษณะ ภาษาทําใหอนุมานวา อาจจะอยูใน สมัยอยุธยาก็เปนได

20

คูมือครู

๒๐

ครูสัมพันธ พันธุมณี เปนผูริเริ่มใหมีการแสดงนาฏศิลปผานทางโทรทัศน เพื่อ เปดโอกาสใหประชาชนไดชมนาฏศิลปไทยที่สมบูรณแบบมากขึ้น


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล ขยายความเข Expand าใจ

ตรวจสอบผล Evaluate

Expand

Evaluate

ขยายความเขาใจ ครูใหนักเรียนรวมกันแสดง ความคิดเห็นวาในฐานะที่นักเรียน เปนเยาวชนไทยคนหนึ่งนักเรียน จะสามารถชวยอนุรักษและสืบทอด นาฏศิลปและการละครไทยได อยางไร

ตรวจสอบผล ครูพิจารณาผลงานการจัดทํา รายงานของนักเรียน

สรุป ละครไทยมีวิวัฒนาการจากการละเลนตางๆ ของชาวไทย ตั้งแตสมัยสุโขทัย อยุธยา ธนบุรีและรัตนโกสินทร ละครไทย แบงออกเปนประเภทใหญๆ ได ๓ ประเภท คือ ละครรํา ละครรอง และละครพูด ในการแสดงละครทุกประเภท จะตองมีองคประกอบ คือ เรือ่ งราวของละคร คติแนวคิด บุคลิกลักษณะนิสัยใจคอของ ตั ว ละครและต อ งใช บ รรยากาศช ว ยใน การดึงดูดอารมณผูชมใหคลอยตาม การทีล่ ะครไทยสามารถดํารงอยูไ ด มาจนถึงปจจุบันนั้นก็เพราะมีปรมาจารย ผูมากไปดวยความสามารถชวยอนุรักษและ สืบทอดใหการละครไทยอันเปนมรดกของชาติ สืบตอมาสูอนุชนคนรุนหลัง ซึ่งในการที่เรา ไดศกึ ษาเรือ่ งราวเกีย่ วกับการละครไทย นั้นจะทําใหเราเห็นคุณคาและความ สําคัญของละครไทยมากยิ่งขึ้น

๒๑

คูมือครู

21


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engage

Explore

Explain

Expand

เกร็ดแนะครู

Q& A

ตรวจสอบผล Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

(แนวตอบ คําถามประจํา ¤íÒ¶ÒÁ»ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ หนวยการเรียนรู 1. ละครนอกกับละครใน ๑ ละครนอกกับละครในแตกตางกันอยางไร จงอธิบาย แตกตางกันดังนี้ ๒ ละครไทยมีวิวัฒนาการอยางไร จงอธิบายมาพอสังเขป • ละครในใชผหู ญิงแสดง ๓ ใหนักเรียนเปรียบเทียบความแตกตางของละครรํา ละครรองและละครพูด โดยอธิบายมาพอสังเขป ดําเนินเรื่องเชื่องชา แสดงไดเพียง 3 เรื่อง ๔ นักเรียนคิดวาบุคคลสําคัญทางดานนาฏศิลปมีบทบาทในการสืบทอดนาฏศิลปไทยอยางไร คือ รามเกียรติ์ อิเหนา ๕ นักเรียนเห็นดวยหรือไมที่จะนําสื่อเทคโนโลยีมาพัฒนาละครไทย เพราะเหตุใดจึงคิดเชนนั้น อุณรุท • สวนละครนอกใช ผูชายแสดง ดําเนิน เรื่องกระชับรวดเร็ว แสดงไดทุกเรื่องยกเวน เรื่องรามเกียรติ์ อิเหนา อุณรุท 2. ละครไทยมีวิวัฒนาการ ¡Ô¨¡ÃÃÁ มายาวนานตั้งแต ÊÌҧÊÃä ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ สมัยสุโขทัย จนถึง รัตนโกสินทร ซึ่งยุค ที่การละครไทยเจริญ ใหนักเรียนแบงกลุมออกเปน ๒ กลุม จากนั้นใหแตละกลุมเลือกศึกษาหัวขอ รุง เรืองมากที่สุด ไดแก ตอไปนี้ ยุครัตนโกสินทร ในชวง - ละครรํา กิจกรรมที่ รัชกาลที่ 2 และ - ละครรองและละครพูด ๑ รัชกาลที่ 6 แล วให แตล ะกลุ ม นํา ความรู ที่ไ ด จ ากการศึ กษาในหั วขอ ที่ เลื อกมาจัด 3. ละครรํา ดําเนินเรือ่ งโดย นิทรรศการในชั้นเรียน การรายรํา มีบทรองและ ใหนักเรียนแตละคนจัดทํารายงานในหัวขอบุคคลสําคัญที่มีบทบาทตอวงการ บทเจรจาทีน่ ยิ มแตงเปน กิจกรรมที่ นาฏศิ ล ป แ ละการละครไทยโดยให นั ก เรี ย นเลื อ กปู ช นี ย บุ ค คลที่ นั ก เรี ย น กลอน ละครรอง ดําเนิน ๒ ชื่นชอบ มานําเสนอเพียง ๑ ทาน เรือ่ งโดยใชศลิ ปะในการ รองและแสดงทาทาง อยางสามัญชน ละครพูด ดําเนินเรือ่ งโดยใชบทพูด 4. บุคคลสําคัญทางดาน นาฏศิลปมบี ทบาทในการ ๒๒ สืบทอดนาฏศิลปไทย โดยการถายทอดความรู ทางดานนาฏศิลปจาก รุน หนึง่ สูอ กี รุน หนึง่ หลักฐาน 5. สามารถตอบไดทั้งเห็นดวยและไมเห็นดวย แตครูควรแนะนําเด็กวา แสดงผลการเรียนรู เทคโนโลยีสามารถนํามาใชในการพัฒนาละครไทย ทั้งในดานการจดจํา • รายงาน วิวัฒนาการการละครไทย ทารํา การจัดเทคนิคการแสดงใหมีความวิจิตรงดงาม) ตั้งแตสมัยสุโขทัยจนถึงปจจุบัน • รายงานเกี่ยวกับบุคคลสําคัญที่มีบทบาท ตอวงการนาฏศิลปและการละครไทย 22 คูมือครู


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.