8858649121714

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº »ÃСѹÏ

·Õè ȸ. ¨Ð»ÃСÒÈÃÒ¡Òú¹àÇçºä«µ µÑé§áµ‹ Á. ¤. ’55 ໚¹µŒ¹ä»

ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู การงานอาชีพและเทคโนโลยี

รายวิชา

ู ร ค หรับ

การงานอาชีพและเทคโนโลยี

สํา

ชั้นมัธยมศึกษาปที่

เอกสารหลักสูตรแกนกลางฯ ’51 ประกอบดวย ● ● ● ● ●

คําแนะนําการใชคูมือครู แถบสี/สัญลักษณที่ใชสื่อความหมายในคูมือครู ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง คําอธิบายรายวิชา ตารางวิเคราะหเนื้อหากับมาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัด

ตารางแสดงความแตกตางระหวาง “ คูมือครู ” กับ “ หนังสือเรียน * ” ความแตกตาง

ขนาดตัวอักษร ปกดานหลัง ระบบการจัดพิมพ สวนเสริมดานหนา

คูมือครู ยอลงจากปกติ 20%

พิมพ 4 สี มี เอกสารหลักสูตร คําอธิบายรายวิชา มี กิจกรรมแบบ 5E ความรูเสริมสําหรับครู พิมพสอดแทรกไวตลอดทั้งเลม ●

หนังสือเรียน ขนาดปกติ 100% : ตัวอักษรใหญกวา ที่พิมพในคูมือครูนี้ มีใบอนุญาต/ใบประกันคุณภาพ พิมพ 4 สี

-

เนื้อหาในเลม

● ●

* ที่ ศธ. อนุญาตใหโรงเรียนใชได

มีเฉพาะเนื้อหาสาระตามที่ ศธ. อนุญาตฯ/สนพ.ประกันคุณภาพ

6


คําแนะนําการใชคูมือครู

: การจัดการเรียนรูสูหองเรียนคุณภาพ

คูมือครู การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.6 จัดทําขึ้นเพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการวางแผน และเตรียมการสอนโดยใชหนังสือเรียน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.6 ของบริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด เสร�ม เปนสื่อหลัก (Core Material) ประกอบการออกแบบกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและ 2 ตัวชีว้ ดั กลุม สาระการเรียนรู การงานอาชีพและเทคโนโลยี ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พ.ศ. 2551 โดยจัดทําตามหลักการสําคัญ ดังนี้

1. ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน

คูมือครู รายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.6 จัดทําเปนหนวยการเรียนรูตามลําดับสาระการเรียนรู ที่ระบุไวในมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด แตละหนวยจะกําหนดเปาหมายการสอนและจุดประสงคการเรียนรู (Objective- Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทางการประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชัดเจน ครูผูสอนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูและ ตัวชีว้ ดั ทีเ่ ปนเปาหมายการเรียนรูข องแตละหนวยการเรียนรู (ตามแผนภูม)ิ และสามารถบันทึกผลการจัดการเรียน การสอนไดอยางมั่นใจ

นรู

สภ

าพ

ผู

จุดป

ระส

เรีย

งค

รีย า รเ

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชั้นป

ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน

แผนภูมิแสดงองคประกอบของการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผูเรียนเปนสําคัญ

2. การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ

แนวคิดในการจัดการเรียนการสอนที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ พัฒนามาจากปรัชญาและทฤษฎีการเรียนรู Constructivism ที่เชื่อวาการเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสราง ความรูโดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดพบเห็นกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา นักเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีความรูความเขาใจสิ่งตางๆ ติดตัวมากอนที่จะเขาสู หองเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากบริบทและสิง่ แวดลอมรอบตัวนักเรียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกระบวนการเรียนรู ในแตละบทเรียน ผูสอนจะตองคํานึงถึง คูม อื ครู


1) ความรูเดิมของนักเรียนการสอน ที่ดีจึงตองเริ่มตนจากจุดที่วา นักเรียน มีความรูอะไรมาบาง แลวจึงใหความรู หรือประสบการณใหมเพื่อตอยอดจาก ความรูเดิม

2) ความรูเดิมของนักเรียนถูกตอง หรือไม ผูสอนตองปรับเปลี่ยนความรู ความเขาใจเดิมของนักเรียนใหถูกตอง และเปนพฤติกรรมการเรียนรูใหมที่มี คุณคาตอนักเรียน เพื่อสรางเจตคติหรือ ทัศนคติที่ดีตอการเรียน

3) นักเรียนสรางความหมายสําหรับ ตนเอง ผูสอนตองสงเสริมใหนักเรียน นําขอมูลความรูท ไี่ ดไปลงมือปฏิบตั ิ และ ประยุกตใชความรูอ ยางถูกตอง ในบริบท ที่เปนจริงของชีวิตนักเรียน เพื่อขยาย ความรูใ หลกึ ซึง้ และมีคณุ คาตอตัวนักเรียน มากที่สุด

เสร�ม

3

แนวคิด Constructivism เนนใหผูเรียนสรางความรูโดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูของตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศการเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความ ขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณความรูใหม ผูเรียนจะพยายามปรับขอมูลใหม กับประสบการณที่มีอยูเดิม แลวสรางเปนความรูใหมหรือแนวคิดใหมๆ ไดดวยตนเอง

3. การบูรณาการกระบวนการคิด

การเรียนรูของนักเรียนแตละคนจะเกิดขึ้นที่สมองซึ่งทําหนาที่รูคิด ภายใตสภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวยและ ไดรับการกระตุนจูงใจอยางเหมาะสมสอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของนักเรียน การจัดกระบวนการ เรียนรูและสาระการเรียนรูที่มีความหมายตอผูเรียนนั้น จะชวยกระตุนใหสมองรับรูและสามารถเรียนรูไดอยางมี ประสิทธิภาพตามขั้นตอนการทํางานของสมอง ดังนี้ 1) สมองจะเรี ย นรู  แ ละสื บ ค น โดย 2) สมองจะแยกแยะคุณคาของสิ่ง การสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง ตางๆ โดยการลงมติ ตัดสินใจ วิพากษ ปฏิบัติ จนคนพบความรูความเขาใจได วิจารณ แสดงความคิดเห็น ยอมรับหรือ อยางรวดเร็ว ตอตานตามอารมณความรูสึกที่เกิดขึ้น ในขณะที่เรียนรู

3) สมองจะประมวลเนื้ อ หาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสาน กับความรู หรือประสบการณเดิมที่ถูก จัดเก็บอยูในสมอง ผานการกลั่นกรอง เพื่อสังเคราะหเปนความรูความเขาใจ ใหมๆ หรือเปนเหตุผลทัศนคติใหมที่จะ ฝงแนนในสมองของผูเรียน

การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะ เกิดขึ้นเมื่อสมองรูคิดและตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมอง โดยเริ่มตนจาก 1) ระดับการคิดขั้นพื้นฐาน ไดแก 2) ระดั บ ลั ก ษณะการคิ ด ได แ ก 3) ระดั บ กระบวนการคิ ด ได แ ก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดหลากหลาย กระบวนการคิ ด อย า งมี วิ จ ารณญาณ การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล คิดไกล คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล กระบวนการแกปญหา กระบวนการคิด การสรุปผล เปนตน เปนตน สรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะห วิจัย เปนตน คูม อื ครู


4. การบูรณาการกระบวนการเรียนรูพื้นฐานอาชีพ

กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบายสงเสริมการเรียนพื้นฐานอาชีพในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อเสริมสราง ทักษะที่จําเปนสําหรับการประกอบอาชีพ และดํารงชีวิตในสังคมทองถิ่นของผูเรียนอยางมีความสุข และเปนการ เสร�ม เตรียมความพรอมดานกําลังคนใหมีทักษะพื้นฐานและศักยภาพในการทํางาน เพื่อการแขงขันและกาวสูประชาคม 4 อาเซียนหรือประชาคมโลกตอไป 4.1 ทักษะพืน้ ฐานเพือ่ การประกอบอาชีพ การจัดการเรียนการสอนเพือ่ พัฒนาผูเ รียนในรายวิชาพืน้ ฐานทุกกลมุ สาระการเรียนรูและทุกระดับชั้นเรียน ผูสอนควรบูรณาการประสบการณการเรียนรูพื้นฐานอาชีพควบคูไปกับการ เรียนการสอนดานวิชาการ โดยฝกทักษะสําคัญตามที่สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา (สวก.) สํานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) เสนอแนะไว ดังนี้ 1. ฝกทักษะกระบวนการคิด มีการวางแผนตลอดแนว เพื่อศึกษาขอมูลอาชีพ 2. ฝกการตัดสินใจอยางเปนระบบ โดยใชขอมูลจากการศึกษา คนควาแหลงเรียนรูในชุมชน เพื่อลด ความเสี่ยงในการลงทุนและเพิ่มความมั่นใจเรื่องการตลาด 3. ฝกกระบวนการวางแผน การผลิต และการจัดจําหนาย โดยนักเรียนคิดตนทุน กําไร ดวยตนเอง 4. ฝกการเรียนรูเรื่องคุณธรรม จริยธรรม ดานการประกอบอาชีพ และการทํางานกลุม โดยมีจิตอาสา เพื่อสวนรวม 5. ฝกการทํางานอยางมีประสิทธิภาพ มีการประเมินผล ปรับปรุง พัฒนา และสรางสรรคตอ ยอดผลผลิต 6. ฝกการเสริมสรางความเชือ่ มัน่ ความเพียรพยายาม เห็นคุณคาและภาคภูมใิ จในตนเอง (Self Esteem) ในการประกอบอาชีพ และเจตคติในพื้นฐานทางอาชีพ การจัดการเรียนการสอนทีใ่ หผเู รียนไดลงมือปฏิบตั ทิ กั ษะดังกลาว จะชวยใหผเู รียนไดรบั ประสบการณจริง มีทักษะ ความสามารถ และความชํานาญในการทํางานที่จะใชในการประกอบอาชีพและเปนแรงงานที่มีคุณภาพ เขาสูตลาดแรงงานในอนาคต 4.2 การจัดกระบวนการเรียนรูพื้นฐานอาชีพ การจัดกระบวนการเรียนรูมีความสําคัญอยางยิ่งที่จะชวยให นักเรียนมีการพัฒนาทั้งดานความรู ทักษะ และคุณลักษณะตามเปาหมายของหลักสูตร การพัฒนาผูเรียน ดานทักษะพื้นฐานอาชีพตองอาศัยกระบวนการเรียนรูที่หลากหลายเปนเครื่องมือที่จะนําไปสูคุณภาพที่ตองการ เทคนิควิธีการตางๆ ที่ผูสอนจะตองพิจารณาใหเหมาะสมกับเนื้อหาวิชาและวัยของผูเรียน โดยใหความสําคัญกับ การฝกปฏิบัติและเนนการวัดประเมินผลจากการปฏิบัติตามสภาพจริง ดวยวิธีการที่จัดกิจกรรมการบูรณาการ ใหเหมาะสมกับวัยและระดับชั้นของผูเรียน สอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดของกลุมสาระตางๆ ที่กําหนดไวในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 การวิเคราะหมาตรฐานและตัวชี้วัดที่จะนําไป จัดเนื้อหาความรูและทักษะ เพื่อพัฒนาผูเรียนดานพื้นฐานอาชีพ ดังตัวอยางตอไปนี้ 1. กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย กลมุ สาระการเรียนรูภ าษาไทยมุง เนนการพัฒนาใหผเู รียนมีความรูค วามสามารถในการใชภาษาไทย เพื่อการสื่อสาร เปนเครื่องมือในการเรียนรู การแสวงหาความรู และประสบการณตางๆ เพื่อพัฒนาความรู กระบวนการคิดวิเคราะห วิจารณ และสรางสรรค ใหทันตอการเปลี่ยนแปลงของสังคมและความกาวหนาทาง วิทยาศาสตร เทคโนโลยี จึงเปนกลุมสาระการเรียนรูที่เปนทักษะพื้นฐานการประกอบอาชีพทุกอาชีพ ตัวชี้วัดที่ สามารถนํามาพัฒนาทักษะอาชีพ เชน คูม อื ครู


ท 2.1 ม.1/8 เขียนรายงานการศึกษาคนควาและโครงงาน ท 1.1 ม.4-6/8 สังเคราะหความรูจากการอานสื่อสิ่งพิมพ สื่ออิเล็กทรอนิกส และแหลงเรียนรู ตางๆ มาพัฒนาตน พัฒนาการเรียน และพัฒนาความรูทางอาชีพ ท 2.1 ม.4-6/4 ผลิตงานเขียนของตนเองในรูปแบบตางๆ เสร�ม ท 2.1 ม.4-6/5 ประเมินงานเขียนของผูอื่น แลวนํามาพัฒนางานเขียนของตนเอง 5 การจัดการเรียนการสอนตามตัวชี้วัดดังกลาวขางตน จะเปนทักษะพื้นฐานของการนําไปสูอาชีพ ทุกอาชีพ และเปนการปูทางไปสูอาชีพเฉพาะเกี่ยวกับการเขียน เชน นักเขียน นักประพันธ นักหนังสือพิมพ นักวิจารณ เปนตน 2. กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมมุงเนนการพัฒนาใหผูเรียนมีความรู ความเขาใจเกีย่ วกับการดํารงชีวติ ของมนุษย การอยูร ว มกันในสังคมทีม่ คี วามเชือ่ มโยงสัมพันธกนั มีความแตกตางกัน อยางหลากหลาย สามารถจัดการทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัด และเขาใจการเปลี่ยนแปลง เพื่อชวยใหสามารถปรับ ตนเองกับบริบทและสภาพแวดลอม เปนพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ มีความรู ทักษะ คุณธรรม และคานิยมที่ เหมาะสม มีมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดที่เปนพื้นฐานของการประกอบอาชีพตางๆ เชน ส 4.3 ม.1/3 วิเคราะหอิทธิพลของวัฒนธรรมและภูมิปญญาไทยสมัยสุโขทัยและสังคมไทย ในปจจุบัน ส 4.3 ม.2/3 ระบุภูมิปญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี และอิทธิพลของ ภูมิปญญาดังกลาวตอการพัฒนาชาติไทยในยุคตอมา ส 4.3 ม.3/3 วิเคราะหภูมิปญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร และอิทธิพลตอการ พัฒนาชาติไทย ส 4.3 ม.4-6/3 วางแผนกําหนดแนวทางและการมีสวนรวมในการอนุรักษภูมิปญญาไทยและ วัฒนธรรมไทย การจัดการเรียนการสอนตามตัวชี้วัดดังกลาวขางตนจะเปนทักษะพื้นฐานและสรางเจตคติตออาชีพ เกีย่ วกับภูมปิ ญ ญาไทยในทองถิน่ เชน นักโบราณคดี นักประวัตศิ าสตร แพทยแผนโบราณ นวดแผนไทย ชางทอผา จักสาน นักดนตรีไทย การทําขนมหรืออาหารไทย เปนตน และเปนรากฐานของการศึกษาเพือ่ พัฒนาตอยอดอาชีพ ที่มีฐานของภูมิปญญาไทย 3. กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีมุงพัฒนาใหผูเรียนมีฐานความรูความสามารถ และทักษะทีจ่ าํ เปนสําหรับนําไปปรับใชในการประกอบอาชีพและการศึกษาตอในสาขาอาชีพตางๆ ไดอยางหลากหลาย รวมทั้งใหเห็นแนวทางในการประกอบอาชีพและการศึกษาตอตามความรู ความถนัดและ ความสนใจ มาตรฐาน และตัวชี้วัดของกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีสวนใหญมีลักษณะเปนทักษะกระบวนการทํางาน ซึง่ ผูส อนสามารถจัดเนือ้ หาและกิจกรรมการสอนใหสอดคลองกับความตองการของผูเ รียนและทองถิน่ ได เพือ่ พัฒนา ไปสูการประกอบอาชีพตางๆ เชน ง 1.1 ม.4-6/2 สรางผลงานอยางมีความคิดสรางสรรคและมีทักษะการทํางานรวมกัน ง 1.1 ม.4-6/7 ใชพลังงาน ทรัพยากรในการทํางานอยางคุมคาและยั่งยืน เพื่อการอนุรักษ สิ่งแวดลอม คูม อื ครู


ง 4.1 ม.2/3 ง 4.1 ม.3/3

มีทักษะพื้นฐานที่จําเปนสําหรับการประกอบอาชีพที่สนใจ ประเมินทางเลือกในการประกอบอาชีพที่สอดคลองกับความรู ความถนัด และ ความสนใจของตนเอง ง 4.1 ม.4-6/2 เลือกและใชเทคโนโลยีอยางเหมาะสมกับอาชีพ เสร�ม ง 4.1 ม.4-6/3 มีประสบการณในอาชีพที่ถนัดและสนใจ 6 การจัดรายวิชาพื้นฐานในกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีจึงสามารถดําเนินการ ไดอยางหลากหลาย ทัง้ อาชีพในกลมุ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม พาณิชยกรรม ความคิดสรางสรรค การบริหารจัดการ และการบริการ ตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ และสอดคลองกับบริบทของทองถิ่น ความพรอมของ สถานศึกษาและความตองการของผูเรียนเปนสําคัญ เพื่อเปนแนวทางการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนใหสนองนโยบายการจัดการเรียนการสอน พื้นฐานอาชีพในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานของรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการ ผูจัดทําจึงวิเคราะหมาตรฐาน การเรียนรูและตัวชี้วัดในรายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี ที่สอดคลองกับทักษะปฏิบัติเพื่อเตรียมความพรอม ดานพื้นฐานอาชีพ โดยเสนอแนะกิจกรรมการเรียนรูไวเพื่อเปนแนวทางในการจัดการเรียนการสอนบูรณาการ ประสบการณการทํางานแกผูเรียน ใหบรรลุเจตนารมณของ พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 7 ที่ระบุใหการจัดการศึกษาตองปลูกฝงใหเยาวชนมีความรูอันเปนสากล มีจิตสํานึกในการอนุรักษ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ตลอดจนมีความสามารถในการประกอบอาชีพ รูจักพึ่งตนเอง และมีความคิด สรางสรรค เพื่อการดํารงชีวิต การศึกษาตอ และการประกอบอาชีพอยางมีคุณภาพของผูเรียนตอไปในอนาคต

5. การใชวัฏจักรการเรียนรู 5E รูปแบบการสอนที่สัมพันธกับกระบวนการคิดและการทํางานของสมองของผู งานของสมอง เรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย คือ วัฏจักรการเรียนรู 5E ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนใน คูมือครูฉบับนี้ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1 กระตุนความสนใจ (Engage) เปนขั้นที่ผูสอนนําเขาสูบทเรียน เพื่อกระตุนความสนใจของนักเรียนดวยเรื่องราวหรือเหตุการณที่ นาสนใจ โดยใชเทคนิควิธีการสอนและคําถามทบทวนความรูหรือประสบการณเดิมของผูเรียน เพื่อเชื่อมโยง ผูเรียนเขาสูบทเรียนใหม ชวยใหนักเรียนสามารถสรุปประเด็นสําคัญที่เปนหัวขอการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอนการสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอมและสรางแรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน ขั้นที่ 2 สํารวจคนหา (Explore) เปนขัน้ ทีผ่ สู อนเปดโอกาสใหผเู รียนไดสงั เกตและรวมมือกันสํารวจ เพือ่ ใหเห็นปญหา รวมถึงวิธกี ารศึกษา คนควาขอมูลความรูที่จะนําไปสูความเขาใจประเด็นปญหานั้นๆ เมื่อนักเรียนทําความเขาใจในประเด็นหัวขอที่จะศึกษาคนควาอยางถองแทแลวก็ลงมือปฏิบัติ เพื่อเก็บ รวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธกี ารตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูตามที่ตั้งประเด็นศึกษาไว คูม อื ครู


ขั้นที่ 3 อธิบายความรู (Explain) เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา หรือตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนได คนหาคําตอบ และนําขอมูลความรูจ ากการศึกษาคนควาในขัน้ ที่ 2 มาวิเคราะห แปลผล สรุปผล และนําเสนอผล ที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ แผนผังแสดงมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน สมองของผูเรียนจะทําหนาที่คิดวิเคราะห สังเคราะหอยางเปนระบบ

เสร�ม

7

ขั้นที่ 4 ขยายความเขาใจ (Expand) เปนขั้นที่ผูสอนไดใชเทคนิควิธีการสอนที่จะชวยพัฒนาผูเรียนใหนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน นักเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยงกับประสบการณเดิม โดยนําขอสรุปที่ไดไปอธิบาย ในเหตุการณตางๆ หรือนําไปปฏิบัติในสถานการณใหมๆ ที่เกี่ยวของกับชีวิตประจําวันของตนเอง เพื่อขยาย ความรูค วามเขาใจใหกวางขวางยิง่ ขึน้ สมองของผูเ รียนทําหนาทีค่ ดิ ริเริม่ สรางสรรคอยางมีคณ ุ ภาพ เสริมสราง วิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป ขั้นที่ 5 ตรวจสอบผล (Evaluate) เปนขัน้ ทีผ่ สู อนใชประเมินมโนทัศนของผูเ รียน โดยตรวจสอบจากความคิดทีเ่ ปลีย่ นไปและความคิดรวบยอด ที่เกิดขึ้นใหม ตรวจสอบทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด และการเคารพ ความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพื่อการสรางสรรคความรูรวมกัน นักเรียนสามารถประเมินผลการเรียนรูของตนเอง เพื่อสรุปผลวานักเรียนมีความรูอะไรเพิ่มขึ้นมาบาง มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ ไดอยางไร นักเรียนจะเกิด เจตคติและเห็นคุณคาของตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามวัฏจักรการสรางความรูแบบ 5E จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนน ผูเรียนเปนสําคัญ โดยสงเสริมใหผูเรียนใชกระบวนการสรางความรูดวยตนเอง ฝกฝนใหใชกระบวนการคิด และ กระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะการเรียนรูและทักษะชีวิตที่มีคุณภาพ ตามเปาหมายของการปฏิรูป การศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คณะผูจัดทํา

คูม อื ครู


แถบสีและสัญลักษณ ที่ใชสื่อความหมายในคูมือครู 1. แถบสี

แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5E เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

เสร�ม

8

สีแดง

สีเขียว

สีสม

กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุนความ สนใจ เพื่อโยงเขาสู บทเรียน

Explore

เปนขั้นที่ผูสอนให ผูเรียนสํารวจปญหา และศึกษาขอมูล

Explain

เปนขั้นที่ผูสอนให ผูเรียนคนหาคําตอบ จนเกิดความรูเชิง ประจักษ

สีฟา

สีมวง

ขยายความเขาใจ Expand

เปนขั้นที่ผูสอนให ผูเรียนนําความรูไป คิดคนตอๆ ไป

ตรวจสอบผล Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

สัญลักษณ

2. สัญลักษณ

วัตถุประสงค

เปาหมาย การเรียนรู

คูม อื ครู

• แสดงเปาหมาย การเรียนรูที่ นักเรียนตอง บรรลุตาม ตัวชี้วัด

หลักฐาน เกร็ดแนะครู แสดงผล การเรียนรู • แสดงรองรอย หลักฐานที่ แสดงผล การเรียนรู ตามตัวชี้วัด

นักเรียน ควรรู

B

@

NET

B

มุม IT

ขอสอบ

พื้นฐาน อาชีพ

• แทรกความรู • ขยายความรู • แนะนําแหลง • วิเคราะหแนว • กิจกรรม เสริมสําหรับครู เพิ่มเติมจาก คนควาจาก ขอสอบ O-NET สําหรับครู ขอเสนอแนะ เนื้อหา เพื่อให เว็บไซต เพื่อให เพือ่ ใหครู เพือ่ ใชเปน ขอควรระวัง นักเรียนไดมี ครูและนักเรียน เนนยํ้าเนื้อหา แนวทางใน ขอสังเกต ความรูม ากขึ้น ไดเขาถึงขอมูล ที่มักออก การชวยพัฒนา แนวทางการ ความรูที่ ขอสอบ O-NET อาชีพใหกับ จัดกิจกรรม หลากหลาย • ขอสอบ O-NET นักเรียน และอื่นๆ พิจารณาออก เพื่อประโยชน ขอสอบจาก ในการจัดการ เนื้อหา ม.4, 5 เรียนการสอน และ 6


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง (เฉพาะชั้น ม.6)* สาระที่ 1 การดํารงชีวิตและครอบครัว

มาตรฐาน ส 1.1 เขาใจการทํางาน มีความคิดสรางสรรค มีทักษะกระบวนการทํางาน ทักษะการจัดการ ทักษะ เสร�ม กระบวนการแกปญหา ทักษะการทํางานรวมกัน และทักษะการแสวงหาความรู มีคุณธรรม และ 9 ลักษณะนิสัยในการทํางาน มีจิตสํานึกในการใชพลังงาน ทรัพยากร และสิ่งแวดลอม เพื่อการ ดํารงชีวิตและครอบครัว ชั้น

ตัวชี้วัด

ม.4-6 1. อธิบายวิธีการทํางานเพื่อการ ดํารงชีวิต 2. สรางผลงานอยางมีความคิด สรางสรรค และมีทักษะการทํางาน รวมกัน 3. มีทักษะการจัดการในการทํางาน 4. มีทกั ษะกระบวนการแกปญ หา ในการทํางาน 5. มีทักษะในการแสวงหาความรู เพื่อการดํารงชีวิต 6. มีคุณธรรมและลักษณะนิสัยใน การทํางาน 7. ใชพลังงาน ทรัพยากร ในการ ทํางานอยางคุมคาและยั่งยืน เพื่อการอนุรักษ

สาระการเรียนรูแกนกลาง • วิธกี ารทํางานเพือ่ การดํารงชีวติ เปนการทํางานทีจ่ าํ เปนเกีย่ วกับ ความเปนอยูในชีวิตประจําวัน เชน - การเลือกใช ดูแลรักษาเสื้อผา และเครื่องแตงกาย ความคิดสรางสรรค มี 4 ลักษณะ ประกอบดวย ความคิดริเริ่ม ความคลองในการคิด ความยืดหยุนในการคิด และความคิดละเอียดลออ ทั ก • ษะการทํางานรวมกัน เปนการทํางานกลุมทํางานรวมกับผูอ นื่ ไดอยางมี ความสุข ทํางานอยางมีกระบวนการ ตามขัน้ ตอน และฝกหลักการทํางานกลุม เชน - การประดิษฐของใชที่เปนเอกลักษณไทย - หนาที่และบทบาทของตนเองที่มีตอสมาชิกในครอบครัว โรงเรียน และชุมชน • ทักษะการจัดการ เปนการจัดระบบงานและระบบคน เพื่อใหการทํางาน สําเร็จตามเปาหมายอยางมีประสิทธิภาพ เชน - การดูแลรักษา ทําความสะอาด จัดตกแตงบานและโรงเรียน - การปลูกพืช ขยายพันธุพืช หรือเลี้ยงสัตว - การบํารุง เก็บรักษา เครื่องใชไฟฟา และอุปกรณอํานวยความสะดวก ในชีวิตประจําวัน - การดําเนินการทางธุรกิจ • ทักษะกระบวนการแกปญหาในการทํางาน มีขั้นตอน คือ การสังเกต วิเคราะห สรางทางเลือก และประเมินทางเลือก เชน - การตัดเย็บและดัดแปลงเสื้อผา - การเก็บ ถนอม และแปรรูปอาหาร - การติดตั้ง ประกอบ ซอมแซมอุปกรณ เครื่องมือ เครื่องใช สิ่งอํานวย ความสะดวกในบานและโรงเรียน • ทักษะการแสวงหาความรูเพื่อการดํารงชีวิต ประกอบดวย การศึกษา คนควา รวบรวม สังเกต สํารวจ และบันทึก เชน - การดูแลรักษาบาน - การเลี้ยงสัตว • คุณธรรมและลักษณะนิสัยในการทํางานเปนการสรางคุณงามความดี และควรฝกใหผูเรียนมีคุณภาพที่สําคัญๆ เชน ขยัน อดทน รับผิดชอบ และซื่อสัตย • การใชพลังงาน ทรัพยากรอยางคุม คาและยัง่ ยืน เปนคุณธรรม ในการทํางาน

*สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรู การงานอาชีพและเทคโนโลยี. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 6 - 27. คูม อื ครู


สาระที่ 2 การออกแบบและเทคโนโลยี เสร�ม

10

มาตรฐาน ส 2.1 เขาใจเทคโนโลยีและกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสรางสิ่งของเครื่องใช หรือวิธีการตาม กระบวนการเทคโนโลยีอยางมีความคิดสรางสรรค เลือกใชเทคโนโลยีในทางสรางสรรคตอชีวิต สังคม สิ่งแวดลอม และมีสวนรวมในการจัดการเทคโนโลยีที่ยั่งยืน ชั้น

ตัวชี้วัด

ม.4-6 1. อธิบายและเชื่อมโยงความสัมพันธ ระหวางเทคโนโลยีกับศาสตรอื่นๆ 2. วิเคราะหระบบเทคโนโลยี 3. สรางและพัฒนาสิ่งของเครื่องใชหรือ วิธีการตามกระบวนการเทคโนโลยี อยางปลอดภัย โดยถายทอดความคิด เปนภาพฉายและแบบจําลองเพื่อนํา ไปสูการสรางชิ้นงาน หรือถายทอด ความคิดของวิธีการเปนแบบจําลอง ความคิดและการรายงานผลโดยใช ซอฟตแวรชวยในการออกแบบหรือ นําเสนอผลงาน 4. มีความคิดสรางสรรคในการแกปญหา หรือสนองความตองการในงานที่ ผลิตเอง หรือการพัฒนาผลิตภัณฑ ที่ผูอื่นผลิต 5. วิเคราะหและเลือกใชเทคโนโลยี ที่เหมาะสมกับชีวิตประจําวันอยาง สรางสรรคตอชีวิต สังคม และ สิ่งแวดลอม และมีการจัดการ เทคโนโลยีที่ยั่งยืนดวยวิธีการของ เทคโนโลยีสะอาด

คูม อื ครู

สาระการเรียนรูแกนกลาง • เทคโนโลยีมีความสัมพันธกับศาสตรอื่นๆโดยเฉพาะวิทยาศาสตร • ระบบเทคโนโลยี ประกอบดวย ตัวปอน (Input) กระบวนการ (Process) ผลลัพธ (Output) ทรัพยากรทางเทคโนโลยี (Resources) ปจจัยที่เอื้อ หรือขัดขวางตอเทคโนโลยี (Consideration) • การวิเคราะหระบบเทคโนโลยีทําใหทราบเกี่ยวกับปจจัยในดานตางๆ ที่มี ผลตอการแกปญหาหรือสนองความตองการ • การสรางสิ่งของเครื่องใชหรือวิธีการตามกระบวนการเทคโนโลยี ทําให ผูเรียนทํางานอยางเปนระบบ สามารถยอนกลับมาแกไขไดงาย • การสรางและพัฒนาสิ่งของเครื่องใชหรือวิธีการที่ตองอาศัยความรูที่ เกี่ยวของอื่นอีก เชน กลไกและการควบคุมไฟฟา - อิเล็กทรอนิกส • การใชซอฟตแวรชวยในการออกแบบหรือนําเสนอผลงาน มีประโยชน ในการชวยรางภาพ ทําภาพ 2 มิติ และ 2 มิติ • การพัฒนาสิ่งของเครื่องใช ตองคํานึงถึงหลักการวิเคราะหผลิตภัณฑ เบื้องตน • หลักการวิเคราะหผลิตภัณฑเบื้องตน เปนการวิเคราะหจุดมุงหมายของ การออกแบบประกอบดวย ชิ้นงานนี้ใชทําอะไร ทําไมถึงตองมีชิ้นงานนี้ ใครเปนผูใช ใชที่ไหน เมื่อไรจึงใช วิธีการที่ทําใหชิ้นงานนี้ทํางานไดตาม วัตถุประสงคที่กําหนดไว • ภาพฉาย เปนภาพแสดงรายละเอียดของชิ้นงาน ประกอบดวย ภาพดานหนา ดานขาง ดานบน แสดงขนาด และหนวยวัด เพื่อนําไป สรางชิ้นงาน • ความคิดสรางสรรคมี 4 ลักษณะ ประกอบดวย ความคิดริเริ่ม ความคลอง ในการคิด ความยืดหยุนในการคิด และความคิดละเอียดลออ • ความคิดริเริม่ จะเปนลักษณะความคิดทีแ่ ปลกใหม แตกตางจากความคิดเดิม • ความคิดแปลกใหมที่ได ตองไมละเมิดความคิดผูอื่น • ความคิดแปลกใหมเปนการสรางนวัตกรรมที่เปนสวนหนึ่งของทรัพยสิน ทางปญญา • การวิเคราะหผลดี ผลเสีย การประเมิน และการตัดสินใจเพื่อเลือกใช เทคโนโลยีที่เหมาะสม • การเลือกใชสิ่งของเครื่องใชอยางสรางสรรค โดยการเลือกสิ่งของ เครื่องใชที่เปนมิตรกับชีวิต สังคม สิ่งแวดลอม • เทคโนโลยีสะอาดเปนเครื่องมือที่ใชในการจัดการใชเทคโนโลยีเพื่อมุงสูการ พัฒนาอยางยั่งยืนชนิดหนึ่ง


คําอธิบายรายวิชา รายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 รหัสวิชา ง…………………………………

กลุมสาระการเรียนรู การงานอาชีพและเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 1-2 เวลา 20 ชั่วโมง/ป เสร�ม

ศึกษา วิเคราะห วิธีการทํางานเพื่อการดํารงชีวิต หลักการทํางานใหประสบความสําเร็จ ทักษะในการทํางาน คุณธรรม จริยธรรม เจตคติ และลักษณะนิสัยที่ดีในการทํางาน การใชพลังงานและทรัพยากรอยางคุมคาและยั่งยืน การใชทักษะในการทํางานรวมกันอยางมีความคิดสรางสรรคเกี่ยวกับ งานประดิษฐเอกลักษณไทย งานชาง การใชทกั ษะการจัดการผลผลิตทางการเกษตร การเลีย้ งสัตว การใชทกั ษะกระบวนการแกปญ หาเกีย่ วกับการออกแบบ ผลิตภัณฑ โดยใชกระบวนการเทคโนโลยี งานธุรกิจ โดยใชทักษะกระบวนการทํางานรวมกัน ทักษะการจัดการในการทํางาน ทักษะกระบวนการแกปญหาในการ ทํางาน ทักษะในการแสวงหาความรูเพื่อการดํารงชีวิต ทักษะการคิดอยางสรางสรรค เพื่อใหเกิดความรู ความเขาใจในวิธีการทํางานและสรางสรรคผลงาน สามารถนําความรูไปประยุกตใช ในชีวิตประจําวัน มีประสบการณในอาชีพที่ถนัดและสนใจ มีคุณธรรม จริยธรรม และลักษณะนิสัยที่ดีในการทํางาน และมีจิตสํานึกในการใชพลังงาน ใชทรัพยากรในการทํางานอยางคุมคาและยั่งยืนดวยวิธีการเทคโนโลยีสะอาด เพื่อการอนุรักษสิ่งแวดลอม ตัวชี้วัด ง 1.1 ม.4-6/1 ม.4-6/2 ง 2.1 ม.4-6/4 ม.4-6/5

ม.4-6/3

ม.4-6/4

ม.4-6/5

ม.4-6/6

11

ม.4-6/7

รวม 9 ตัวชี้วัด

คูม อื ครู


ตาราง

ÇÔà¤ÃÒÐË Áҵðҹ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙጠÅеÑǪÕÇé ´Ñ ÃÒÂÇÔªÒ ¡ÒçҹÍÒªÕ¾áÅÐà·¤â¹âÅÂÕ Á.6

คําชี้แจง : ใหผูสอนใชตารางน�้ตรวจสอบความสอดคลองของเน�้อหาสาระการเรียนรูในหนวยการเรียนรูกับมาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดชั้นป

เสร�ม

12

สาระที่ 1

สาระที่ 2

มาตรฐาน ง 1.1

มาตรฐาน ง 2.1

ตัวชี้วัด

ตัวชี้วัด

มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด

หนวยการเรียนรู

หนวยการเรียนรูที่ 1 : การทํางานเพื่อ การดํารงชีวิต หนวยการเรียนรูที่ 2 : งานประดิษฐ เอกลักษณไทย

1

2

3

4

5

6

7

หนวยการเรียนรูที่ 3 : งานชาง

หนวยการเรียนรูที่ 4 : การจัดการผลผลิต ทางการเกษตร

หนวยการเรียนรูที่ 5 : การเลี้ยงสัตว

1

2

หมายเหตุ ✓ เฉพาะที่สอดคลองกับตัวชี้วัดชั้น ม.6 เทานั้น ตัวชี้วัดที่เหลือจัดการเรียนการสอนในชั้น ม.4 และ ม.5

คูม อื ครู

4

5

หนวยการเรียนรูที่ 6 : การออกแบบ เทคโนโลยี หนวยการเรียนรูที่ 7 : งานธุรกิจ

3


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Expand

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹

การงานอาชีพ และเทคโนโลยี ม.๖ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖

กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

ผูเรียบเรียง

นายมนตรี สมไรขิง ผศ. เพ็ญพร ประมวลสุข นายปญญา สังขภิรมย นางวรรณี วงศพานิชย นายสุวัฏ สอนจันทร นางศิริรัตน ฉัตรศิขรินทร

ผูตรวจ

รศ. สมทรง สีตลายัน ผศ. โสภาพรรณ อมตะเดชะ นายบุญชู เจนคุณาวัฒน

บรรณาธิการ

นายสมเกียรติ ภูระหงษ

ผูจัดทําคูมือครู

ปญญา สังขภิรมย วรรณี วงศพานิชย สุวัฏ สอนจันทร ระวิวรรณ ตั้งตรงขันติ พิมพครั้งที่ ๑

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ ISBN : 978-616-203-295-0 รหัสสินคา ๓๖๑๗๐๐๑ รหัสสินคา ๓๖๔๗๐๐๑

¤Œ¹¤ÇÒÁÃÙŒ¢ÂÒ¤ÇÒÁ¤Ô´¨Ò¡

EB GUIDE

ที่พิมพกํากับหัวขอสําคัญในหนังสือเรียนหลักสูตรแกนกลางฯ ผาน www.aksorn.com ไปยังแหลงความรูทั่วไทย-ทั่วโลก

Evaluate


อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล

กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา Engage

Explore

Expand

Explain

Evaluate

¤íÒá¹Ð¹íÒ㹡ÒÃ㪌˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยี เลมนี้ ใชประกอบการเรียนการสอน รายวิ ช าพื้ น ฐาน กลุมสาระการเรียนรูก ารงานอาชี พ และเทคโนโลยี ชั้ นมั ธยมศึ ก ษาป ที่ ๖ เนื้ อ หาตรงตาม สาระการเรียนรูแกนกลางขั้นพื้นฐาน อานทําความเขาใจงาย ใหทั้งความรูและชวยพัฒนาผูเรียนตามหลักสูตร และตัวชี้วัด เนื้อหาสาระแบงออกเปนหนวยการเรียนรู สะดวกแกการจัดการเรียนการสอน และการวัดผล ประเมินผล พรอมเสริมองคประกอบอื่นๆ ที่ชวยทําใหผูเรียนไดรับความรูอยางมีประสิทธิภาพ ¨Ñ´¡ÅØ‹Áà¹×éÍËÒ໚¹Ë¹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ Êдǡᡋ¡ÒèѴ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹

à¡ÃÔè¹¹íÒà¾×èÍãˌࢌÒ㨶֧ÊÒÃÐÊíÒ¤ÑÞ ã¹Ë¹‹Ç·Õè¨ÐàÃÕ¹

àÊÃÔÁÊÒÃШҡà¹×éÍËҹ͡à˹×ͨҡ·ÕèÁÕã¹ ÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙጠ¡¹¡ÅÒ§Ï à¾×Íè à¾ÔÁè ¾Ù¹áÅÐ ¢ÂÒ¤ÇÒÁÃÙ㌠ˌ¡ÇŒÒ§¢ÇÒ§ÍÍ¡ä» ๓.๓ การฝกแกะสลักผัก

เสริมสาระ

การแกะสลักผัก ดอกกุหลาบจากมะเขื อเทศ

วิธีการเลือกซื้อพัดลม ประหยยัดั พลังงาน ให้ประห

๑) วัสดุ อุปกรณ ๑. มะเขือเทศหาม ๑ ผลตอ ๑ ดอก ๒. มีดแกะสลัก ๓. อางใสนํ้า ใชสําหรับใสนํ้าเพื่อแชมะเขื อเทศ ๔. ถาดหรือกระจาด ใชสําหรับรองเศษม ะเขือเทศ ๕. ผาขาวบางชุบนํ้าบิดพอหมาด ใชส ําหรับคลุ ๖. กลองพลาสติกมีฝาปดหรือถุงพลาสติ มมะเขือเทศที่แกะสลักแลว ก สําหรับใสผักที่แกะสลักแลวเขาตูเย็น ๒) ขั้นตอนการทํา

เป็น พัดลมเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทหนึ่งที่ถูกใช้ เครือ่ งอ�านวยความสะดวกในการระบายอากาศภายใน บ้าน แบ่งเป็น ๔ ประเภท ได้แก่ พัดลมตั้งโตะ ่งพัดลมแต่ละ พัดลมตั้งพื้น พัดลมติดผนัง และพัดลมเพดาน ซึ ประเภทจะมีหลักการท�างานคล้ายคลึงกัน ซ้ อื้ หรือผูบ้ ริโภค ส�าหรับวิธกี ารเลือกซือ้ พัดลมให้ประหยัดพลังงาน ผู ควรปฏิบัติตาม ดังนี้

ขัน้ ตอนที่ ๑ เลือกมะเขือเทศทีห่ า มๆ และลางใหสะอาด ผึ่งใหสะเด็ดนํ้า

ะรุ่น โดยพัดลมที่เป็น ระบบธรรมดาจะประหยัดไฟกว่าพัดลมระบบที ขนาดมอเตอร์และก�าลังไฟต�า่ กว่า พัดลมตัง้ พืน้ และใช้พลังงานไฟฟ้าต�า่ กว่า ทัง้ นี ้ เพราะมี

องพัดลมในแต่ล ๑. ศึกษาหลักการท�างานเพื่อเปรียบเทียบสมรรถนะข ่มีรีโมทคอนโทรล หรือพัดลมตั้งโตะจะมีราคาต�่ากว่า

งานประ มรดกทางว ดิษฐที่เปนเอกลักษณ ขั้นตอนและฝัฒนธรรมของไทยที่ต ไทย เปน เพื่อใหไดผลงากปฏิบัติใหเกิดความเชองเรียนรู และถือเปน นที่มีความประณีต ี่ยวชาญ คุณคายิ่ง การอนุรักษความเปนไทยสวยงาม ที่ทรง

ò งานประดิษฐเอก หนวยการเรีย

นรู

ตัวชี้วัด

สรางผลงานอย (ง ๑.๑ ม.๔-๖ างมีความคิดสรางสรรค  และมีทักษะการ /๒) มีทักษะการจั ทํางานรวมกั ดการในการทํา น มีทักษะกระบวนก งาน (ง ๑.๑ มีทักษะในการแส ารแกปญหาในการทํา ม.๔-๖/๓) งาน (ง ๑.๑ วงหาความรูเ ม.๔-๖/๔) มีคุณธรรมแ พื่อการดํา ละลักษณะน ิสัยในการทํา รงชีวิต (ง ๑.๑ ม.๔-๖/๕) ใชพลังงาน งาน ทรั สิ่งแวดลอม พยากรในการทํางานอย (ง ๑.๑ ม.๔-๖/๖) (ง ๑.๑ ม.๔-๖ างคุมคาและยั่ง /๗) ยืน เพื่อการอน ุรักษ ■

ยนรูแกนกลาง

ทักษะการทํา งานรวมกัน อยางมีความส เปนการท หลักการทํางานกุข ทํางานอยางมีก ํางานกลุม ทํางานรวมกั บผูอื่นได คุณธรรมและล ลุม เชน การประดิ ระบวนการตามขั้นตอนแ และควรฝกให ักษณะนิสัยในการทํา ษฐของใชที่เปนเอกลักษณ ละฝก และซื่อสัตย ผูเรียนมีคุณภาพที่สําคังานเปนการสรางคุณงามคไทย ญๆ เชน ขยัน การใชพลังงาน อดทน รับผิดวามดี ทรัพยากรอย ชอบ ทํางาน างคุมคาและย ั่งยืน เปนคุณ ธรรมในการ ■

ลักษณ ไทย

สาระการเรี

อุตสาหกรรม มีความคงทนแข็งแรง ได้รบั เครือ่ งหมายรับรองคุณภาพมาตรฐาน

ขั้นตอนที่ ๒ ใชมีดแกะสลักเฉือ มะเขือเทศที่ขั้ว แลวเฉือนวนไปตามลู น มะเขือเทศ ใหมะเขือเทศดานปลายมี ก มีความบาง และดานดามมีดมีความหนาด จนหมดทั้งผล

หมาะสมกับขนาดพื้นที่ใช้สอย ๖. เลือกพัดลมที่มีขนาดใบพัดและก�าลังไฟฟ้าให้ยเงคนเดี ยวหรือไม่เกิน ๒ คน และจ�านวนคนในครอบครัว เช่น ถ้าต้องการใช้เพี ดไฟกว่าพัดลมประเภทอืน่ ๆ งประหยั ควรใช้พดั ลมตัง้ โตะ เพราะความแรงของลมเพียงพอและยั เป็นต้น

ขั้นตอนที่ ๓ จับมะเขือเทศดานปลาย มวนใหแนน โดยใหดานที่มีความบางเป ดานบน ดานทีห่ นากวาอยูด า นลางตรงขั น รองรับกลีบดอกกุหลาบพอดี และจัดกลี ว้ ผล บให เขาที่สวยงาม

Design ˹ŒÒẺãËÁ‹ ÊǧÒÁ ¾ÔÁ¾ ô ÊÕ µÅÍ´àÅ‹Á áÅйíÒàʹÍà¹×éÍËÒ์¹·Ñ¡ÉÐ ¡Ãкǹ¡Ò÷íҧҹ͋ҧ໚¹¢Ñ鹵͹ à¾×èÍ¡ÒùíÒä»ãªŒã¹ªÕÇÔµ»ÃШíÒÇѹ

EB G

http://www.aksorn.com/LC/Car/M6/06

๓๐ 4๙

µÑǪÕÇé ´Ñ áÅÐÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙጠ¡¹¡ÅÒ§Ï µÒÁ·ÕËè ÅÑ¡Êٵà ¡íÒ˹´ à¾×èÍãËŒ·ÃÒº¶Ö§à»‡ÒËÁÒÂ㹡ÒÃÈÖ¡ÉÒ à¡Ãç´¹‹ÒÃÙàŒ ¾ÔÁè àµÔÁ¨Ò¡à¹×Íé ËÒ ÁÕá·Ã¡à»š¹ÃÐÂÐæ

๒. การซอมแซมอุปกรณ์ เครื่องใช้ภายในบ้าน ในการตรวจซ่อมแซมอุปกรณ์ เครื่องใช้ ภายในบ้านนั้นจ�าเป็นต้องอาศัยความรู้ ความ เข้ า ใจ และความละ เอี ย ดในการหาส าเหตุ ข้อขัดข้องต่างๆ ของเครื่องใช้ เพราะถ้าท�าการ ตรวจซ่ อ มด้ ว ยความไม่ ร อบคอบ อาจเป็ น ผลเสียและเป็นเหตุให้เกิดอันตรายต่อทรัพย์สิน และชีวิตได้ การซ่อมแซมอุปกรณ์ เครื่องใช้ ภายในบ้าน นอกจากจะท�าให้สามารถน�ากลับ มาใช้ได้อีกครั้งแล้ว ยังช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย ของครอบครัวด้วย

๑. ซ่อมแซมทันทีที่พบร่องรอยการช� ไม่ปล่อยทิ้งไว้จนซ่อมแซมไม่ได้ ๒. ส�ารวจชนิดของวัสดุที่ใช้ท�าอุปกรณ์ เครือ่ งใช้ และลักษณะการช�ารุดของอุปกรณ์และ เครื่องใช้ภายในบ้าน ๓. ศึ ก ษาวิ ธี ก ารซ่ อ มแซมอุ ป กรณ์ แ ละ เครื่องใช้ภายในบ้าน ๔. ตรวจสอบวงจรให้แน่ใจว่าได้ตัดไฟฟ้า ออกจากวงจรก่อนท�าการซ่อมแล้ว ้ละเอียดก่อนการใช้งานจริง ๕. หลังการซ่อมแซมควรตรวจสอบความถูกต้องของวงจรให ทุกครั้ง เกิดความปลอดภัยสูงสุด ๖. ในการปฏิบัติงานทุกครั้งจะต้องมีความรอบคอบเพื่อให้

ãºÁͺËÁÒ§ҹ ª‹ÇÂãËŒ¼ÙŒàÃÕ¹䴌½ƒ¡·Ñ¡ÉСÒäԴ áÅл¯ÔºÑµÔ à¾×èÍãËŒÁդسÀÒ¾µÒÁµÑǪÕéÇÑ´

à¹×éÍËҵçµÒÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹Ãٌ᡹¡ÅÒ§Ï ãËŒ¤ÇÒÁÃÙŒáÅÐàÍ×é͵‹Í¡ÒùíÒä»ãªŒÊ͹à¾×èÍ ãËŒºÃÃÅصÑǪÕéÇÑ´ áÅÐÊÌҧ¤Ø³ÅѡɳРÍѹ¾Ö§»ÃÐʧ¤ ัดกร กัน การจ

à¡Ãç´¹‹ÒÃÙŒ

การใช้และดูแลอุปกรณ์ เครือ่ งใช้ไฟฟาภายในบ้าน ในการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าทุกประเภท หากผู้ใช้รู้จัก ใช้อย่างถูกต้อง จะเป็นการช่วยรักษาประสิทธิภาพของ เครือ่ งใช้ไฟฟ้าไว้ ทัง้ ยังช่วยประหยัดพลังงานและท�าให้ การใช้งานทุกครัง้ มีความปลอดภัยมากขึน้ ดังตัวอย่าง ต่อไปนี้ ๑. การใช้หม้อหุงข้าว ควรเลือกขนาดให้เหมาะสม กับสมาชิกในครอบครัว แล้วดึงปลั๊กออกเมื่อข้าวสุก หมั่นคอยตรวจดูแท่นความร้อนของหม้อ อย่าให้มี สิ่งแปลกปลอมหรือผงติดอยู่ เพราะอาจท�าให้เกิด ไฟฟ้าลัดวงจรและหมัน่ ตรวจดูกน้ หม้อ อย่าให้มรี อยยุบ ๒.๑ หลักการซอมแซมอุปกรณ์ เพราะจะท�าให้เปลืองไฟ ๒. การใช้เตารีด ควรตรวจสอบสภาพสายไฟและ เครื่องใช้ภายในบ้าน ตัวเครื่องเตารีดทุกครั้งก่อนใช้งาน หลังจากนั้นควรตั้ง ในการซ่อมแซมอุปกรณ์ เครื่องใช้ภายใน ปุมปรับความร้อนให้เหมาะกับชนิดของผ้า เริ่มรีดผ้า บ้านให้ถูกต้องและปลอดภัย จะต้องปฏิบัติตาม บางๆ ก่อนแล้วจึงรีดผ้าทีใ่ ช้ความร้อนสูง และควรเหลือ ผ้าที่ต้องการความร้อนน้อยไว้ส่วนหนึ่งส�าหรับรีดหลัง หลักการ ดังนี้ ารุด จากถอดปลัก๊ ก่อนเสร็จสิน้ การรีด ประมาณ ๓-๔ นาที

5๐

Web Guide á¹Ð¹íÒáËÅ‹§¤Œ¹¤ÇŒÒ¢ŒÍÁÙÅ à¾ÔèÁàµÔÁ¼‹Ò¹Ãкº Online

ะเชา ม

ใบมอบหมายงานที่

ัดแจ มดอกไ อ การจ ไม้สด จัดเปนซุ จัดดอก ไปมีทั้งการจัดแบบชบยุคสมัย จึงมีการ พณตี า งๆ เปน ตน ั่ว ะเ แบบการ ากั 4.๓ รูป การจัดดอกไม โดยทเปลี่ยนรูปแบบใหเขรถบุปผชาตใิ นงานปร ับ ดั

อง ดังนี้ รูปแบบข ปจจุบันไดมีการปร นรบั ปรญิ ญา การจ พื้นฐาน น งา นี้ ใน จัดที่เปน นอกจาก เชน งานแตงงา แบบการ งๆ กัน มีรูป ในงานตา มแบบแจ กไ ดอ ด ั รจ ่ว สําหรับกา มเทา ลี่ยมหนาจั ลี่ยมดานไ ทรงสามเห ทรงสามเห ๑ ดอกไมรูป ๑ ดอกไมรูป ๑ การจัด ๒ การจัด ๑

ตอนที่ ๑ ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมเป็นรายบุคคล เพื่อตอบค�าถามต่อไปนี้ ๑. ในการประกอบและติดตั้งอุปกรณ์ เครื่องใช้ภายในบ้านให้ถูกต้องและปลอดภัยจะต้องมีหลัก ปฏิบัติอย่างไรบ้าง ๒. ในการติดตั้งอุปกรณ์ เครื่องใช้ภายในบ้านต้องค�านึงถึงสิ่งใดบ้าง ๓. การประกอบและติดตั้งเฟอร์นิเจอร์แต่ละประเภทต้องค�านึงถึงอะไรบ้าง ๔. การติดตั้งอุปกรณ์ เครื่องใช้ไฟฟ้า เพื่อความปลอดภัยควรปฏิบัติอย่างไร ๕. การศึกษาคูม่ อื ทีม่ าพร้อมกับอุปกรณ์เครือ่ งใช้มคี วามจ�าเป็นอย่างไรในการประกอบและติดตัง้

๕ ๓

๓.๑

เรื่อง การประกอบและติดตั้งอุปกรณ์ เครื่องใช้ภายในบ้าน

ตอนที่ ๒ ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมเป็นกลุ่มเพื่อท�าการติดตั้งอุปกรณ์ เครื่องใช้ภายในบ้าน

งกลม

กไมรูปทร

การจัดดอ ๕

๑ ๔

๔ การจ

● ● ●

๕ ๒

๑. ใช้ทักษะกระบวนการท�างานอย่างเป็นขั้นตอนในการประกอบและติดตั้งอุปกรณ์ เครื่องใช้ ภายในบ้าน อันได้แก่ สังเกต วิเคราะห์ สร้างทางเลือก ประเมินทางเลือก ๒. เลือกปฏิบัติงานประกอบและติดตั้งอุปกรณ์ เครื่องใช้ภายในบ้าน เช่น ตู้ โต๊ะ ชั้นวางของ ทั้งแบบติดผนังและแบบลอยตัว พัดลมประเภทต่างๆ เป็นต้น ๓. บันทึกการท�างานทุกขั้นตอน ๔. บอกประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติงาน ๕. น�าเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน ●

นวนอน

ูปทรงแ ดั ดอกไมร ๗

๑ ๕

57

๓๖


กระตุน ความสนใจ Engage

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

ñ

● ●

ò

Explain

ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Expand

Evaluate

ñ-ñô

ËÅÑ¡¡Ò÷íÒ§Ò¹à¾×èÍ¡ÒôíÒçªÕÇÔµ ËÅÑ¡¡Ò÷íÒ§Ò¹ãËŒ»ÃÐʺ¤ÇÒÁÊíÒàÃç¨ ·Ñ¡ÉÐ㹡Ò÷íÒ§Ò¹ ¤Ø³¸ÃÃÁ ¨ÃÔ¸ÃÃÁ ਵ¤µÔ áÅÐÅѡɳйÔÊÑ·Õè´Õ㹡Ò÷íÒ§Ò¹ ¡ÒÃ㪌¾Åѧ§Ò¹áÅзÃѾÂÒ¡ÃÍ‹ҧ¤ØŒÁ¤‹ÒáÅÐÂÑè§Â×¹

§Ò¹»ÃдÔÉ° àÍ¡Åѡɳ ä·Â ● ● ● ●

ó

ô

● ●

ñõ-ôò ñö ñø òø óô

ôó-õø

¡ÒûÃСͺáÅеԴµÑé§ÍØ»¡Ã³ à¤Ã×èͧ㪌ÀÒÂ㹺ŒÒ¹ ¡Òë‹ÍÁá«ÁÍØ»¡Ã³ à¤Ã×èͧ㪌ÀÒÂ㹺ŒÒ¹

¡ÒèѴ¡ÒüżÅÔµ·Ò§¡ÒÃà¡ÉµÃ ●

ò ó õ ññ ñó

¤ÇÒÁËÁÒÂáÅФس¤‹Ò¢Í§§Ò¹»ÃдÔÉ° ·Õè໚¹àÍ¡Åѡɳ ä·Â §Ò¹ãºµÍ§ §Ò¹á¡ÐÊÅÑ¡¼Ñ¡áÅмÅäÁŒ §Ò¹´Í¡äÁŒÊ´

§Ò¹ª‹Ò§ ●

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

อธิบายความรู

¡Ò÷íÒ§Ò¹à¾×èÍ¡ÒôíÒçªÕÔÇÔµ

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

Explore

ÊÒúÑÞ ●

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

สํารวจคนหา

ôô õð

õù-÷ø

ÇÔ·ÂÒ¡ÒÃËÅѧ¡ÒÃà¡çºà¡ÕèÂǼżÅÔµ¾×ª ¡ÒÃ㪌෤â¹âÅÂÕáÅÐÀÙÁÔ»˜ÞÞÒ·ŒÍ§¶Ôè¹à¾×èÍ¡ÒÃ͹ØÃÑ¡É ÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ ¡ÒÃá»ÃÃÙ»¼Å¼ÅÔµ¾×ª

öð öó ÷ñ


อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล

กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา Engage

Explore

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

Explain

õ ö

÷ù-ùð

¤ÇÒÁÊíÒ¤Ñޢͧ¡ÒÃàÅÕé§ÊÑµÇ µÑÇÍ‹ҧ¡ÒÃàÅÕé§ÊѵÇ

øð øñ

¡ÒÃÍ͡Ẻ෤â¹âÅÂÕ

ùñ-ññø

● ● ●

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

Evaluate

¡ÒÃàÅÕé§ÊÑµÇ ●

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

Expand

÷

¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹à¡ÕèÂǡѺ¡ÒÃÍ͡Ẻ¼ÅÔµÀѳ± ËÅÑ¡¡ÒÃ㹡ÒÃÍ͡Ẻ¼ÅÔµÀѳ± µÑÇÍ‹ҧ¡ÒÃÍ͡Ẻ¼ÅÔµÀѳ±

§Ò¹¸ØáԨ ● ● ● ● ●

¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹à¡ÕèÂǡѺ¡ÒôíÒà¹Ô¹¡Ò÷ҧ¸ØáԨ ¡Ãкǹ¡Òâͧ§Ò¹¸ØáԨ ¡ÒúÃÔËÒÃà§Ô¹§º»ÃÐÁÒ³ ¡ÒúÑÞªÕ ¡ÒèѴ¡ÒøØáԨ¢¹Ò´¡ÅÒ§áÅТ¹Ò´Â‹ÍÁ (SMEs)

ºÃóҹءÃÁ

ùò ùô ù÷

ññù-ñóø ñòð ñò÷ ñòø ñóð ñóó

ñóù-ñôð


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

เปาหมายการเรียนรู 1. เขาใจหลักการทํางานเพื่อ การดํารงชีวิต 2. มีทักษะกระบวนการแกปญหา ในการทํางาน 3. มีทักษะในการแสวงหาความรู เพื่อการดํารงชีวิต 4. ตระหนักถึงการใชพลังงาน และทรัพยากรในการทํางาน อยางคุมคา

กระตุนความสนใจ ใหนักเรียนดูภาพหนาหนวย จากนั้นสนทนาถึงความสําคัญ ของการทํางาน

เกร็ดแนะครู การทํ า งานเพื่ อ การดํ า รงชี วิ ต จํ า เป น ตองมีทักษะกระบวนการทํางานที่ดี และมี จริยธรรม คุณธรรมในการทํางาน เพือ่ นําไปสู ความสําเร็จในการทํางานที่มีประสิทธิภาพ

ñ การทํางานเพื่อการดํารงชีวิต

หน่วยการเรียนรู้

ตัวชี้วัด ■ ■

■ ■ ■ ■ ■

อธิบายวิธีการทํางานเพื่อการดํารงชีวิต (ง ๑.๑ ม.๔-๖/๑) สรางผลงานอยางมีความคิดสรางสรรค และมีทักษะการทํางานรวมกัน (ง ๑.๑ ม.๔-๖/๒) มีทักษะการจัดการในการทํางาน (ง ๑.๑ ม.๔-๖/๓) มีทักษะกระบวนการแกปญหาในการทํางาน (ง ๑.๑ ม.๔-๖/๔) มีทักษะในการแสวงหาความรูเพื่อการดํารงชีวิต (ง ๑.๑ ม.๔-๖/๕) มีคุณธรรมและลักษณะนิสัยในการทํางาน (ง ๑.๑ ม.๔-๖/๖) ใชพลังงาน ทรัพยากรในการทํางานอยางคุมคา และยั่งยืน เพื่อการอนุรักษ สิ่งแวดลอม (ง ๑.๑ ม.๔-๖/๗)

สาระการเรียนรู้แกนกลาง ■ ■ ■ ■ ■

วิธีการทํางานเพื่อการดํารงชีวิต ทักษะการทํางานรวมกัน ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการแกปญหาในการทํางาน ทักษะการแสวงหาความรูเพื่อการดํารงชีวิต ฯลฯ

ครูควรจัดการเรียนรูโดยอธิบาย ใหนักเรียนเขาใจเกี่ยวกับหลักการ ทํางานเพื่อการดํารงชีวิต และจัด กิจกรรมใหนักเรียนไดเรียนรู ถึงทักษะกระบวนการตางๆ ที่จําเปน ในการทํางานใหมีประสิทธิภาพ ดังนี้ • ทักษะการจัดการในการทํางาน • ทักษะกระบวนการแกปญหาใน การทํางาน • ทักษะในการแสวงหาความรู เพื่อการดํารงชีวิต • ทักษะการทํางานอยางมี คุณธรรมและใชพลังงาน ทรัพยากรในการทํางาน อยางคุมคา เพื่อการอนุรักษ สิ่งแวดลอม

คูมือครู

1


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู ขยายความเขาใจ Explain

Evaluate

(หนาพิมพและตัวอักษรในกรอบนี้มีขนาดเล็กกวาฉบับนักเรียน 20%)

กระตุนความสนใจ ครูนําเทปรายการโทรทัศน เชน รายการ The Idol คนบันดาลใจ มา ใหนักเรียนดูชีวิตของบุคคลที่ประสบ ความสําเร็จในการทํางาน เพื่อสราง แรงบันดาลใจใหกับการทํางานใน อนาคต

๑. หลักการทํางานเพื่อการดํารงชีวิต การท�างานในชีวติ ประจ�าวันล้วนประกอบไปด้วยบุคคลทีม่ คี วามสามารถหลากหลาย จึงจ�าเป็น ต้องอาศัยหลักการท�างาน 6P เข้ามาประยุกต์ใช้เพื่อให้งานบรรลุผลส�าเร็จ หลักการท�างาน 6P มีดังต่อไปนี้

6P

อธิบายความรู

2

คูมือครู

ีทัศนคติ​ิเปน ก าร ม v e T h บว ก

o s i ti

การมีจิตใจที่สงบ

i n ki n

eaceful Mind

กำรมองโลกในแง่ดอี ยูเ่ สมอ ต้องคิดไว้ว่ำ “ทุกๆ ปัญหำ มีวิธีแก้ไขได้” เพื่อให้งำนที่ท�ำ ประสบควำมส�ำเร็จหรือ บรรลุเป้ำหมำย

เมื่อพบปัญหำ ในกำรท�ำงำน ต้องมีจิตใจ ที่สงบ คิดหำวิธีแก้ปัญหำ ให้ดีที่สุด

การตรงต่อเวลา

u n ctu al การมีความอดทน

a ti e n t

กำรเป็นคนตรงต่อเวลำ และมีวินัย ก็จะได้รับควำม ไว้วำงใจให้ท�ำงำน

กำรมีควำมอดทน อดกลั้น ระงับอำรมณ์ และควำมรู้สึก ที่ไม่ดีต่ำงๆ ค วา ม

เปนมืออาชีพในก

ro fe s

sio n al

า รท

การเปนคนสุภาพ

o lit e

กำรเป็นคนสุภำพ อ่อนน้อมถ่อมตน ย่อมเป็น ที่รักใคร่ของผู้อื่นและ น่ำคบค้ำสมำคมด้วย

�า

งา น

ครูใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวา นักเรียนสามารถนําหลักการ 6P มา ประยุกตใชกับการเรียนไดอยางไร (แนวตอบ เชน การเปนคนตรงตอ เวลา มีวนิ ยั ในการสงการบานตรงตาม เวลาที่ครูกําหนด ซึ่งจะทําให นักเรียนไดคะแนนดี อีกทั้งไดรับ ความไววางใจในการทํากิจกรรม ตางๆ ที่สําคัญในโรงเรียน)

หลักกำรท�ำงำนเพื่อกำรด�ำรงชีวิต

g

ครูตงั้ คําถามใหนกั เรียนแสดง ความคิดเห็นวา นักเรียนสามารถนํา หลักการ 6P มาใชในการทํางานได อยางไร (แนวตอบ 1. การมีทัศนคติเปนบวก ทําใหเรามองวิกฤตปญหาตางๆ เปน โอกาสในการฝกฝนความสามารถ 2. การมีจิตใจที่สงบ ไมวาจะใน สถานการณยํ่าแยมากแคไหน การมีสติ สมาธิจะทําใหเกิดปญญา 3. การมีความอดทน ระงับอารมณ ความรูสึกที่ไมดี ทําใหไมเกิด ความเดือดรอนกับผูอื่น 4. การเปนคนตรงตอเวลา ทําให ไดรับความไววางใจในการทํางาน สําคัญตางๆ 5. การเปนคนสุภาพ ทําใหเปนที่ รักใครของผูอื่น และไดรับ ความชวยเหลือจากผูอื่นเสมอ 6. ความเปนมืออาชีพในการทํางาน โดยใชความรูความสามารถในการ ทํางานอยางเต็มที่ เพื่อใหได ผลงานที่มีคุณภาพ)

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

กำรเป็นผูน้ ำ� และผูต้ ำม ทีด่ ี หมัน่ แสวงหำควำมรูใ้ หม่ๆ และหมัน่ ฝึกทักษะในกำร ท�ำงำนอยูเ่ สมอ เพือ่ ให้งำน ออกมำดีทสี่ ดุ

หลักกำรท�ำงำนข้ำงต้นนั้น หำกเรำ สำมำรถน� ำ ไปปฏิ บั ติ ไ ด้ จ นเป็ น นิ สั ย นับเป็นวิธีกำรหนึ่งที่จะท�ำให้เรำประสบ ควำมส� ำ เร็ จ ในกำรท� ำ งำนได้ อ ย่ ำ งมี ประสิทธิภำพและประสิทธิผล

นักเรียนควรรู ทัศนคติ (Attitude) หมายถึง ความรูสึกนึกคิด ความรู ความเขาใจที่เกิดจากการเรียนรูผาน ประสบการณ ซึ่งสามารถแยกองคประกอบ ได 3 ประการ ไดแก องคประกอบดานความรู องคประกอบดานความรูสึก และองคประกอบดานพฤติกรรม


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ Expand

Explain

ตรวจสอบผล Evaluate

กระตุนความสนใจ

๒. หลักการทํางานใหประสบความสําเร็จ ในการท�างานให้ประสบความส�าเร็จนั้น เราจ�าเป็นต้องมีการปรับปรุงและพัฒนาวิธีการ ท�างานอยู่เสมอ โดยอาศัยกระบวนการ PDCA ๔ ขั้นตอน ได้แก P (Plan) D (Do) C (Check) A (Act) (ดังได้กล่าวมาแล้วในชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๕) และหลักการ “D-E-V-E-L-O-P” ซึ่งมีดังนี้

D E V E L O P

D E V E L

evelopment

ไม่หยุดยั้งกำรพัฒนำ

ndurance

หลักกำรท�ำงำนให้ประสบควำมส�ำเร็จ

โดยจะต้องตรวจสอบว่ำเรำมีจุดแข็งและจุดบกพร่องในด้ำนใดบ้ำงและพยำยำมที่จะหำทำงพัฒนำ จุดแข็งและปรับปรุงจุดบกพร่องในกำรท�ำงำนแต่ละขั้นตอนให้ดีขึ้น

มุ่งเน้นควำมอดทน

โดยอดทนต่อควำมเครียด แรงกดดัน จำกสภำวะกำรท�ำงำน ตลอดจนไม่ย่อท้อต่ออุปสรรคต่ำงๆ เพื่อให้กำรท�ำงำนบรรลุเป้ำหมำย

ersatile

โดยในกำรท�ำงำนร่วมกันเป็นกลุ่มนั้น จ�ำเป็นที่จะต้องอำศัยคนที่มีควำมรู้ควำมสำมำรถที่หลำกหลำย มำกกว่ำคนอื่น

nergetic

ove

รักงำนที่ท�ำ

O

โดยจะต้องมีควำมกระตือรือร้นและตื่นตัวที่จะแสวงหำควำมรู้ใหม่ๆ จำกแหล่งกำรเรียนรู้ต่ำงๆ เช่น หนังสือ วำรสำร เว็บไซต์ พร้อมทั้งมีควำมมุ่งมั่นที่จะแก้ไขปัญหำแ หำและอุ ละอุปสรรคให้ประสบผลส�ำเร็จ โดยในกำรท�ำงำนนั้น กำรมีควำมรู้สึกรักงำน ที่ท�ำ จะท�ำให้เรำมีควำมสุขกับกำรท�ำงำน และ พยำยำมหำวิธีกำรต่ำงๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภำพ ของงำนที่ท�ำ ซึ่งจะส่งผลให้เรำรู้จักวำงแผนชีวิต และเป้ำหมำยควำมส�ำเร็จในกำรท�ำงำนในอนำคต

rganizing

โดยรู้ว่ำควรจัดกำรอะไรก่อนและหลัง มีกำร วำงแผนกำรท�ำงำนอย่ำงเป็นระบบ เป็นขั้นตอน สำมำรถจัดสรรเวลำและทรัพยำกรต่ำงๆ ให้ เหมำะสมกับลักษณะงำนที่ท�ำ

ositive thinking

โดยเริม่ ต้นจำกกำรมองโลกในแง่ดี จะท�ำให้เรำมี ก�ำลังใจที่จะท�ำงำนต่ำงๆ ที่ได้รับมอบหมำยให้ ประสบผลส�ำเร็จ

จัดกำรเป็นเลิศ

P

คิ​ิดแต่ทำงบวก

สํารวจคนหา ใหนักเรียนสัมภาษณบุคคลใน ครอบครัวที่อยูในวัยทํางานถึงวิธีการ ทํางานที่นําไปสูความสําเร็จ

อธิบายความรู

หลำกหลำยควำมสำมำรถ เพื่อช่วยกันท�ำงำน ปรับปรุงและพัฒนำกำรท�ำงำนให้ดีขึ้น ไม่ควรหลีกเลี่ยงงำน หรือกลัวจะต้องท�ำงำน

กระตือรือร้นอยู่เสมอ

ครูตั้งคําถามวา เปาหมายสูงสุด ในการทํางานคืออะไร และให นักเรียนแสดงความคิดเห็นรวมกัน

ดังนั้น หำกเรำต้องกำรที่จะประสบ ควำมส�ำเร็จในกำรท�ำงำน ควรประยุกต์ ใช้หลักกำร D-E-V-E-L-O-P (ไม่หยุดยัง้ กำรพัฒนำ มุง่ เน้นควำมอดทน หลำกหลำย ควำมสำมำรถ กระตือรือร้นอยู่เสมอ รักงำนที่ท�ำ จัดกำรเป็นเลิศ และคิดแต่ ทำงบวก) กล่ำวโดยรวมก็คือ ต้องหมั่น พัฒนำตนเองอยูเ่ สมอทัง้ ในด้ำนควำมคิด ควำมรู้ จิตใจ และกำรกระท�ำ ซึ่งจะ ส่งผลให้หน้ำที่กำรงำนมีควำมก้ำวหน้ำ และประสบผลส�ำเร็จอย่ำงที่ตั้งใจและ มุ่งหวังไว้

ครูใหนักเรียนนําขอมูลที่ไดจาก การสัมภาษณมาอภิปรายรวมกัน ในชั้นเรียน และวิเคราะหวา วิธีการ ทํางานของบุคคลดังกลาวสัมพันธ กับหลักการ D-E-V-E-L-O-P หรือไม อยางไร (แนวตอบ อาชีพคาขาย มีวิธีการ ทํางานที่สัมพันธกับหลักการ D-E-V-E-L-O-P คือ Development พัฒนาสินคา ของตนเองอยูเสมอ พยายามหา ขอบกพรองที่ลูกคาไมพอใจแลวนํา มาปรับปรุง Endurance อดทนตอคําตําหนิ ของลูกคา Versatile ยอมรับความคิดเห็น ที่หลากหลายของผูอื่น เพื่อนํามา พัฒนาสินคาใหดีขึ้น Energetic กระตือรือรนที่จะหา สินคาตัวใหมมาตอบสนองความ ตองการของลูกคาอยางรวดเร็ว Love รักในงานบริการและมี ความสุขกับการคาขายสินคา Organizing มีการวางแผนและ ประเมินผลหลังการขาย Positive thinking ใหกําลังใจ ตนเองเสมอ และมองหาชองทาง การจําหนายแหงใหมเพื่อเพิ่ม ยอดขายของสินคา)

คูมือครู

3


กระตุนความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู ขยายความเขาใจ Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

อธิบายความรู ครูตั้งประเด็นอภิปรายวา การบริหารเวลาในชีวิตประจําวัน ไดอยางมีประสิทธิภาพ กอใหเกิด ประโยชนอยางไรบาง (แนวตอบ การบริหารเวลาไดอยาง มีประสิทธิภาพ กอใหเกิดประโยชน ทั้งตอตนเองและคนรอบขาง เพราะ เปนการจัดกิจกรรมตางๆ ของ แตละวันใหเปนระบบมากขึ้น สราง ระเบียบวินัย ความรับผิดชอบใหกับ การใชชีวิต จึงทําใหมีเวลาทุมเทให กับงาน มีเวลาพักผอน และมีเวลา ใหครอบครัวมากขึ้น อีกทั้งชวยลด ความเครียด ความวิตกกังวลในชีวิต อันเปนสาเหตุใหเกิดโรคภัยไขเจ็บ อีกดวย)

เสริมสาระ

เทคนิคการบริหารเวลา อย่ำงมีประสิทธิภาพ เวลำเป็นสิ่งอันมีค่ำที่ใช้แล้วหมดไป ไม่สำมำรถหำซื้อมำได้ มีหลำยคนที่มักบ่นว่ำ เวลำมีน้อย หรือมีเวลำไม่พอในกำรท�ำงำน ไม่ว่ำจะเกิดจำกสำเหตุใดก็ตำม เช่น เกิดจำกกำรขำดกำรวำงแผน จัดกำรที่ดี เกิดจำกกำรผัดวันประกันพรุ่ง เกิดจำกกำรใช้เวลำไปท�ำ สิ่งที่ไม่มีประโยชน์ เป็นต้น ดังนั้น กำรบริหำรเวลำจึงเป็นสิ่งส�ำคัญ และจ�ำเป็นทีเ่ รำต้องเรียนรู้ เพือ่ ทีจ่ ะได้จดั กำรสิง่ ต่ำงๆ ในเวลำทีม่ อี ยูใ่ ห้ ส�ำเร็จลุล่วง โดยใช้เวลำน้อยที่สุดแต่มีประสิทธิภำพมำกที่สุด รวมทั้งยัง มีเวลำส่วนตัวเพื่อพักผ่อนได้ตำมต้องกำร ส�ำหรับเทคนิคกำรบริหำรเวลำ อย่ำงมีประสิทธิภำพสำมำรถสรุปได้ ดังนี้

๑. ตั้งเปาหมายให้ชัดเจน

ขยายความเขาใจ

๒. วางแผนงานประจ�าวัน

ใหนักเรียนเขียนบันทึกประจําวัน เพื่อแสดงใหเห็นวา นักเรียนสามารถ แบงเวลาใหกับกิจกรรมตางๆ ได เหมาะสมเพียงใด โดยเขียนในระยะ เวลา 15 วัน เพื่อฝกฝนการบริหาร เวลาที่ดีใหกับการดํารงชีวิต

๓. จัดโตะท�างานให้เปน ระเบียบ

๔. ส�ารวจสิ่งที่ต้องท�าใน แต่ละวัน

๕. มีความรับผิดชอบ ๖. เพิ่มเวลา

4

คูมือครู

ทัง้ เรือ่ งส่วนตัว เรือ่ งงำน ซึง่ จะช่วยก�ำหนดทิศทำงกำรใช้เวลำในแต่ละวัน แต่ละสัปดำห์ แต่ละเดือน รวมถึงแต่ละป โดยจัดล�ำดับควำมส�ำคัญของงำนหรือกิจกรรมที่จะท�ำให้ชัดเจน ควร เลือกท�ำงำนที่ส�ำคัญและเร่งด่วนก่อน และควรแบ่งงำนชิ้นใหญ่ออกเป็น ชิ้นย่อยๆ เมื่อวำงแผนเสร็จแล้วก็ต้องรีบตัดสินใจลงมือท�ำงำนทันที อย่ำมัวรีรอหรือผัดผ่อน โดยรักษำควำมสะอำด จัดเตรียมอุปกรณ์ทจี่ ำ� เป็นไว้ใกล้มอื เช่น สมุดโน้ต ปำกกำ ดินสอ ยำงลบ กรรไกร เป็นต้น เพื่อจะได้สะดวกในกำรหยิบใช้ ไม่เสียเวลำในกำรค้นหำ ด้วยกำรค�ำนวณดูว่ำใช้เวลำไปกับเรื่องต่ำงๆ เช่น กำรกิน กำรท�ำงำน กำรนอน กำรออกก�ำลังกำย กำรสังสรรค์ กำรอยู่กับครอบครัวได้สมดุล หรือไม่ และเสียเวลำไปกับเรื่องที่ไม่เป็นเรื่องมำกน้อยเพียงใด เพื่อที่จะ ได้ปรับปรุงเวลำในเรื่องหนึ่งเรื่องใดให้มำกขึ้นหรือน้อยลง ต้องมีวินัยในตัวเอง มีควำมมุ่งมั่นต่องำนที่ปฏิบัติ โดยใช้เวลำตำมที่ ก�ำหนดไว้ หำกเรำบริหำรเวลำอย่ำงเต็มที่แล้วก็ยังรู้สึกว่ำงำนเยอะ ท�ำงำนไม่ทัน ก็ต้องหำเวลำมำเพิ่ม เช่น ตื่นให้เช้ำขึ้น หรือย้ำยมำพักใกล้ๆ ที่ท�ำงำน เพื่อประหยัดเวลำในกำรเดินทำง เป็นต้น รวมทั้งปรึกษำผู้ที่บริหำรเวลำ ได้อย่ำงมีประสิทธิภำพ แล้วน�ำมำปรับใช้ในกำรท�ำงำน ก็อำจช่วยให้เรำ ท�ำงำนได้อย่ำงมีประสิทธิภำพมำกขึ้น


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

กระตุนความสนใจ

๓.ทักษะในการทํางาน การท�างานเพื่อการด�ารงชีวิตเป็นการท�างานแบบบูรณาการงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ ด�ารงชีิวิตเข้าด้วยกัน เช่น งานติดตั้งและซ่อมแซมอุปกรณ์เครื่องใช้ภายในบ้าน ซึ่งเราจ�าเป็น จะต้องใช้ทักษะกระบวนการต่างๆ มาประกอบในการท�างาน เพื่อให้การท�างานประสบความส�าเร็จ การท�างานให้มีประสิทธิภาพจ�าเป็นต้องมีทักษะที่ส�าคัญ ดังนี้

๓.1 ทักษะความคิดสร้างสรรค ความคิดสร้างสรรค์เป็นความคิดที่เกิดจากพื้นฐานความรู้เดิมที่ได้มีการสั่งสมประสบการณ์ จนสามารถน�ามาต่อยอดจนเกิดเป็นความคิดใหม่ ซึง่ เราสามารถพัฒนาความคิดสร้างสรรค์จนเกิด เป็นทักษะได้ด้วยการหมั่นสังเกต เรียนรู้และฝึกฝนอยู่เสมอ ทั้งนี้ เพื่อที่จะสามารถน�ามาประยุกต์ ใช้ในการท�างานให้งานออกมามีคุณภาพที่ดี ส�าหรับความคิดสร้างสรรค์จะประกอบด้วยลักษณะ ๔ ประการ ดังนี้

ครูนําภาพคนทํางานมาใหนักเรียน ดู แลวตั้งคําถามวา ในการทํางานนั้น จําเปนตองใชทกั ษะอะไรบาง จากนัน้ เปดโอกาสใหนักเรียนแสดงความ คิดเห็นรวมกัน

สํารวจคนหา ใหนักเรียนสํารวจวา มีอาชีพใด บางที่จําเปนตองอาศัยความคิด สรางสรรคเปนพื้นฐานสําคัญใน การทํางาน

อธิบายความรู ครูตั้งคําถามใหนักเรียน รวมกันตอบ • ทักษะความคิดสรางสรรค ประกอบดวยกีล่ กั ษณะ อะไรบาง (แนวตอบ 4 ลักษณะ ไดแก ความคิดริเริ่ม ความคลองใน การคิด ความยืดหยุน ในการคิด และความคิดละเอียดลออ)

๑ ความคิดริเริ่ม คือ ควำมคิดที่แปลกใหม่ ซึ่งแตกต่ำงจำกควำมคิดเดิม สำมำรถ

น�ำมำประยุกต์ใช้ให้เกิดสิ่งใหม่ๆ ที่ไม่ซ�้ำกับของเดิม

๒ ความคล่องในการคิด คือ ควำมสำมำรถในกำรคิดหำค�ำตอบได้อย่ำงคล่องแคล่ว

รวดเร็ว และมีปริมำณมำกภำยในเวลำจ�ำกัด เช่น กำรออกแบบผลิตภัณฑ์หรือชิ้นงำน ได้หลำกหลำยอย่ำงมีคุณภำพภำยในเวลำที่ก�ำหนด เป็นต้น

๓ ความยืดหยุ่นในการคิด คือ ควำมสำมำรถในกำรคิดหำค�ำตอบได้หลำยประเภท

และหลำยทิศทำง ดัดแปลงสิ่งหนึ่งไปเป็นหลำยสิ่งได้ เช่น กำรน�ำขวดน�้ำพลำสติก ที่เหลือใช้ไปประดิษฐ์เป็นแจกันใส่ดอกไม้ เป็นต้น

ขยายความเขาใจ นักเรียนอภิปรายในประเด็น จริงหรือไมที่ความคิดสรางสรรคเกิด จากพรสวรรคมิไดเกิดจากการเรียนรู แลวสรุปสาระสําคัญรวมกัน โดยครูชวยแนะนําเพิ่มเติม

๔ ความคิดละเอียดลออ คือ ควำมคิดในรำยละเอียดเพื่อตกแต่ง หรือขยำยควำมคิด

หลักให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น ซึ่งควำมละเอียดลออในกำรคิดขึ้นอยู่กับเพศ อำยุ ประสบกำรณ์ และควำมสำมำรถด้วย

นักเรียนควรรู

ความคิดสรางสรรค มีปจจัยที่ เสริมสรางใหเกิดขึ้น ดังตอไปนี้ 1. สภาพแวดลอมและบรรยากาศในการเรียนรู ควรเปนบรรยากาศที่ใหความรูสึกปลอดภัยและมีอิสระ ทางความคิด มีความรูสึกวา ตนเองมีคุณคาและไดรับการยอมรับ รวมทั้งมีเสรีภาพในการคิดและ การแสดงออก 2. ลักษณะนิสัยของแตละบุคคล ผูที่จะมีความคิดสรางสรรคควรมีจนิ ตนาการ มีความสามารถในการ เชื่อมโยงความสัมพันธ ชางสังเกต มีความใฝรู และมีทัศนคติในการมองโลกในแงดี คูมือครู

5


กระตุนความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

สํารวจคนหา ใหนักเรียนสืบคนวา การจัดการ งานที่ดี กอใหเกิดประโยชนแก นักเรียนอยางไร จากนั้นใหนักเรียน แสดงความคิดเห็นรวมกันในชั้นเรียน

อธิบายความรู ครูสุมถามนักเรียนใหอธิบายถึง ทักษะการจัดการงานมีอะไรบาง และหากมีการฝกฝนทักษะดังกลาว จะกอใหเกิดประโยชนอยางไร (แนวตอบ ทักษะการจัดการงานมี 8 ประการ ไดแก 1. การมอบหมายงานใหตรงกับ ความสามารถของแตละบุคคล ทําใหไดงานที่มีคุณภาพ 2. ใหคําแนะนํางานที่มอบหมาย เปนการปองกันมิใหเกิดปญหา ในการทํางาน 3. ติดตามผลงาน ทําใหสามารถ แกไข ปรับปรุง พัฒนางานใหดีขึ้น 4. ใหการชมเชย เปนการสราง กําลังใจในการทํางาน 5. การแกไขปญหาที่ดี ทําให กระบวนการทํางานเปนไป อยางรวดเร็ว 6. การชี้แนะตักเตือน ทําใหผูถูก ตักเตือนมีการเปลี่ยนแปลงไป สูสิ่งที่ดีขึ้น 7. การใหความชวยเหลือซึ่งกันและ กัน ชวยเสริมสรางความสามัคคี ใหกับองคกร 8. การรายงานผล เปนการติดตาม งานเพื่อปรับปรุงไปสูสิ่งที่ดีขึ้น)

6

คูมือครู

๓.๒ ทักษะการจัดการงาน ในองค์กรท�างานจะประกอบด้วยปัจจัยต่างๆ ได้แก่ คน เงิน วัตถุดิบ อุปกรณ์ เครื่องจักร ซึ่งจ�าเป็นต้องมีการวางแผนจัดการงาน โดยการบริหารปัจจัยต่างๆ เหล่านี้ให้ดี อย่างเป็นระบบ ซึ่งจะช่วยให้การด�าเนินงานเป็นไปอย่างราบรื่น มีประสิทธิภาพและประหยัด ทักษะการจัดการงานที่ดีนั้นมีทั้งหมด ๘ ประการ ดังนี้

๑ การมอบหมายงาน ควรค�ำนึงถึงลักษณะของงำนให้เหมำะสมกับควำมสำมำรถ

ของบุคคลผู้รับผิดชอบ โดยอธิบำยถึงรำยละเอียดของงำน คุณภำพของงำนที่ต้องกำร ปริมำณของงำนที่ต้องกำร และก�ำหนดระยะเวลำในกำรส่งงำนอย่ำงสมเหตุสมผล เพื่อ ให้ได้งำนที่มีคุณภำพ ตรงตำมวัตถุประสงค์ที่ต้องกำรและตรงต่อเวลำที่ก�ำหนด

๒ การให้คา� แนะน�าต่องานทีม่ อบหมาย ควรอธิบำยถึงวิธกี ำรใช้อปุ กรณ์และเครือ่ งมือ

ทีใ่ ช้ในกำรท�ำงำน วัตถุดบิ และแหล่งทีม่ ำของวัตถุดบิ ต่ำงๆ ตลอดจนแนะน�ำให้รจู้ กั บุคคล ทีเ่ กีย่ วข้องในระบบงำน เพือ่ ให้กำรท�ำงำนเป็นไปอย่ำงสะดวก และรำบรืน่

๓ การติดตามผลงาน ควรมีกำรติดตำมงำนทีม่ อบหมำยเป็นระยะๆ โดยเปรียบเทียบ

ผลงำนที่ท�ำได้จริงกับผลงำนที่ก�ำหนดไว้ในแผนงำน เพื่อที่จะสำมำรถแก้ไขปัญหำและ ปรับปรุงพัฒนำงำนให้บรรลุเป้ำหมำยได้ดยี งิ่ ขึน้ ทัง้ นี้ กำรติดตำมงำนยังเป็นกำรกระตุน้ หนดไว้ในทำงอ้อมด้วย ให้ผู้ปฏิบัติมีควำมกระตือรือร้นในกำรท�ำงำนให้ส�ำเร็จตำมที่ก�ำหน

๔ การให้ค�าชมเชย ควรให้ค�ำชมเชยกับบุคคลที่ท�ำงำนดี เช่น กำรกล่ำวชมเชย

กำรตบไหล่ กำรพยักหน้ำ เป็นต้น อันเป็นสัญลักษณ์ของกำรยอมรับในควำมสำมำรถ หรือควำมคิดเห็นของบุคคล ซึ่งจะเป็นกำรสร้ำงก�ำลังใจให้กับบุคคลในกำรท�ำงำนที่จะ ได้มอบหมำยในครั้งต่อไป

๕ การแก้ปญั หาทีด่ ี ควรเริม่ ต้นจำกวิเครำะห์สำเหตุของปัญหำทีเ่ กิดขึน้ ในกำรท�ำงำน

รวบรวมข้อมูลต่ำงๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อน�ำไปด�ำเนินกำรแก้ไขให้ส�ำเร็จลุล่วง พร้อมกับ ประเมินผลหลังจำกแก้ไขปัญหำเสมอ เพื่อน�ำไปแก้ไขปรับปรุงวิธีกำรแก้ปัญหำให้ดี ยิ่งขึ้น http://www.aksorn.com/LC/Car/M6/01 ๖ EB GUIDE


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Explain

Expand

Engage

ตรวจสอบผล Evaluate

สํารวจคนหา ครูตั้งประเด็นคําถามวา หาก ตองการสืบคนขอมูลเรื่องใดเรื่องหนึ่ง นักเรียนจะมีวิธีการแสวงหาความรู นั้นอยางไร แลวใหนักเรียน ไปสืบคนขอมูล จากนั้นออกมา นําเสนอหนาชั้นเรียน

๖ การชี้แนะตักเตือน ควรเลือกค�ำพูดที่ใช้ในกำรชี้แนะตักเตือนให้เหมำะสม เพื่อ

แสดงให้เห็นถึงควำมปรำรถนำดีทจี่ ริงใจ อันจะน�ำไปสูก่ ำรพัฒนำ เปลีย่ นแปลงสิง่ ต่ำงๆ ไปสู่สิ่งที่ถูกต้องและดีงำม ไม่ใช้ค�ำพูดหยำบคำย หรือรุนแรงจนท�ำให้ผู้ถูกตักเตือน เกิดควำมโกรธเคือง และเสียก�ำลังใจ

อธิบายความรู

๗ การให้ความช่วยเหลือ ควรให้ควำมร่วมมือในกำรท�ำงำนกับทุกฝำย ทัง้ ให้คำ� แนะน�ำ

ให้กำรสนับสนุน และช่วยประนีประนอมระหว่ำง ๒ ฝำยที่มีปัญหำขัดแย้งกัน เพื่อให้ เกิดควำมสำมัคคีในทีมงำน ๘ การรายงานผล ควรมีกำรส่งผ่ำนข้อมูล รำยงำนผลของงำนไปยังฝำยต่ำงๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง ในองค์กร โดยรำยงำนผลข้อมูลอย่ำงตรงไปตรงมำ เพื่อให้มีกำรประสำนงำนร่วมกัน และท�ำงำนไปในทิศทำงเดียวกัน

๓.๓ ทักษะการแสวงหาความรู้ การแสวงหาความรู้เกิดจากการพยายามศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งการเรียนรู้ ประเภทต่างๆ เพื่อน�ามาใช้พัฒนาตนเอง ทั้งในด้านวิธีการคิดให้มีเหตุผล และด้านความสามารถ ในการท�างานและการด�ารงชีวิตให้มีประสิทธิภาพ ทักษะการแสวงหาความรู้ประกอบด้วยขั้นตอน ดังนี้

ทักษะการแสวงหาความรู้

ขั้นตอนกำรแสวงหำควำมรู้

การวางแผน โดยวิเครำะห์สถำนกำรณ์ 5W1H ไว้ล่วงหน้ำ ได้แก่

ขั้นตอนที่

W W W W W H

Who ใครเป็นผูส้ บื ค้นหำควำมรู้ What จะสืบค้นเรื่องอะไร Where จะสืบค้นที่ไหน When จะสืบค้นเมื่อไร

ขยายความเขาใจ

Why จะสืบค้นเพรำะเหตุใด How มีวิธีกำรอย่ำงไร

1. นักเรียนรวมกันบอกวิธีการ แสวงหาความรูของตนเอง (แนวตอบ เชน อานจากตํารา ดู และฟงจากโทรทัศน คนหาจาก อินเทอรเน็ต สอบถามจากผูรู เปนตน) 2. ครูตั้งคําถามวา จากการศึกษา ทักษะการแสวงหาความรู นักเรียน สามารถนํามาปรับใชในการเรียน ไดอยางไร (แนวตอบ เชน หากตองการคนควา เรื่อง การอบแหงลําไย ควรเริ่มตน ดวยการวางแผนการคนควาขอมูล การอบแหงลําไยจากอินเทอรเน็ต เพราะเปนแหลงการเรียนรูที่มี ขอมูลจํานวนมาก สามารถสืบคน ไดรวดเร็วและทันสมัย หลังจากนัน้ รวบรวมขอมูล แลวคัดเลือกขอมูล ทีน่ า เชือ่ ถือและตรงตามจุดประสงค ที่เราตองการสืบคนมากที่สุดมา เรียบเรียงใหเปนระบบ)

ใหนักเรียนแบงกลุม เพื่อโตวาทีใน หัวขอ แหลงการเรียนรูประเภทใด เปนแหลงการเรียนรูที่ดีที่สุดใน ยุคโลกาภิวัตน ระหวางอินเทอรเน็ต กับหนังสือ หลังจากนั้นรวบรวม ขอมูลทั้งหมดเรียบเรียงสงครูผูสอน กลุมละ 1 ชิ้น

คูมือครู

7


กระตุนความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

สํารวจคนหา ใหนกั เรียนศึกษาทักษะกระบวนการ ทํางานจากหนังสือเรียนหนา 8 เพื่อ สรุปสาระสําคัญรวมกัน

๒ ขั้นตอนที่ ๓ ขั้นตอนที่ ๔ ขั้นตอนที่ ๕ ขั้นตอนที่

การด�าเนินการสืบค้น ด�ำเนินกำรสืบค้นตำมแผนงำนทีก่ ำ� หนดไว้ โดยเลือกสืบค้นจำกแหล่งกำรเรียนรูต้ ำ่ งๆ ทีม่ ขี อ้ มูลถูกต้องและน่ำเชือ่ ถือ เช่น หนังสือที่เขียนโดยผู้เชี่ยวชำญ เว็บไซต์ขององค์กรที่น่ำเชื่อถือ เป็นต้น การรวบรวมข้อมูล รวบรวมข้อมูลทั้งหมดที่ได้จำกแหล่งกำรเรียนรู้หลำยๆ แห่ง น�ำมำจัดเก็บให้เป็นระบบ เพื่อสะดวกในกำรสืบค้น และสำมำรถเลือกใช้ข้อมูลให้เหมำะสมกับงำนได้สะดวก รวดเร็ว การตรวจสอบข้อมูล ตรวจสอบข้อมูลกับแหล่งข้อมูลที่สำมำรถอ้ำงอิงได้ พร้อมทั้งตรวจสอบควำมทันสมัยของข้อมูลต่ำงๆ ให้น่ำเชื่อถือ มำกที่สุด การบันทึกจัดเก็บข้อมูล บันทึกจัดเก็บข้อมูลที่ถูกต้องให้เป็นระบบ โดยอำจจัดเก็บในรูปแบบของสมุดบันทึก แฟ้มเอกสำร แผ่นซีดี แผ่นดีวีดี เป็นต้น เพื่อป้องกันกำรสูญหำยของข้อมูล อีกทั้งจะสำมำรถปรับปรุงข้อมูลและน�ำไปใช้งำนได้อย่ำงสะดวก

อธิบายความรู 1. ครูและนักเรียนสนทนาเกี่ยวกับ ทักษะกระบวนการทํางาน 4 ขัน้ ตอน โดยครูยกตัวอยางการทํางาน 1 อยาง เชน การนําวัสดุใน ทองถิ่นมาประดิษฐเปนของใช ในบาน แลวใหนักเรียนรวมกัน นําทักษะกระบวนการทํางาน 4 ขั้นตอนมาใช 2. ครูตั้งประเด็นใหนักเรียนแสดง ความคิดเห็น นักเรียนคิดวา ประสบการณกับความรูมีความ สัมพันธกันอยางไร ในการนํามา ใชในการทํางาน (แนวตอบ ในการทํางาน ความรู ถือเปนพื้นฐานที่ทําใหบุคคลมี วิธีการคิดที่มีเหตุผล สวน ประสบการณนั้นเกิดจากการฝก ปฏิบัติจนเกิดความเชี่ยวชาญ ดังนั้น การนําประสบการณและ ความรูมาประยุกตใชรว มกันใน การทํางาน จึงชวยสงเสริมให คุณภาพงานดีขึ้น ลดความ ผิดพลาดตางๆ ใหนอยลงได)

๓.๔ ทักษะกระบวนการท�างาน ทักษะกระบวนการท�างานทีด่ เี กิดจากการฝึกปฏิบตั งิ านอย่างเป็นขัน้ ตอน ตอน โดยมุง่ เน้นให้ลงมือ ปฏิบตั ดิ ว้ ยตนเอง เพือ่ ให้เกิดประสบการณ์การเรียนรูจ้ นเกิดเป็นความช�านาญและความเชีย่ วชาญ ยตนเอง เพื ในการท�างานนั้นๆ งาน มีมีขั้นตอนการด�าเนินการ การ ดัดังนี้ ทักษะกระบวนการท�างาน

ทักษะกระบวนการท�างาน

๑ ขั้นตอนที่ ๒ ขั้นตอนที่ ๓ ขั้นตอนที่ ๔

ขั้นตอนกระบวนก ตอนกระบวนกำรท�ำงำน

ขั้นตอนที่

การวิเคราะห์งาน สำมำรถแจกแจงงำนที รถแจกแจงงำนที รถแจกแจงง นทีจ่ ะท�ำว่ำเป็นงงำนประเภทใด นประเภทใด ต้องใช้เครือ่ งมือและอุปกรณ์อะไรบ้ำง มีขนั้ ตอนกำรปฏิบตั อิ ย่ำงไร รฝึกมองภ ำพรวมของง พรวมของงำนให้ออก กล่ำวคือ เป็นกำรฝึ มองภำพรวมของงำนให้ การวางแผนในการท�างาน สำ ำรถวำงแผนว่ งแผนว่ำจะใช้ก�ำลังคนในกำรท� คนในก รท�ำงำนเท่ ง ำใด จะแบ่งหน้ำที่กันอย่ำงไร ต้องใช้วัสดุอุปกรณ์อะไรบ้ำงหรือ สำมำรถวำงแผนว่ ต้องใช้เงินในกำรลงทุนมำกน้อยอย่ำงไร ตลอดจนสำมำรถก�ำหนดวิธีกำรท�ำงำนให้เป็นขั้นตอนจนงำนส�ำเร็จ การปฏิบัติงาน สำมำรถท�ำงำนตำมล�ำดับขั้นตอนที่วำงแผนไว้ ฝึกให้มีลักษณะนิสัยที่ดีในกำรท�ำงำน เช่น พูดจำสุภำพเหมำะสม มีน�้ำใจเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ขยัน อดทน ซื่อสัตย์ เป็นต้น การประเมินผลการท�างาน สำมำรถประเมินผลกำรท�ำงำน ทัง้ ก่อนและหลังปฏิบตั งิ ำน โดยประเมินผลจำกผลทีอ่ อกมำว่ำเป็นไปตำมจุดมุง่ หมำย หรือไม่ รวมทั้งพิจำรณำถึงข้อดี ข้อเสีย เพื่อจะได้แก้ไขและปรับปรุงผลงำนให้ดียิ่งขึ้น 8

8

คูมือครู


กระตุนความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

สํารวจคนหา ใหนักเรียนแบงกลุมศึกษาเรื่อง ทักษะการทํางานรวมกันเพิ่มเติม จากหนังสือเรียน เพื่อแสดงบทบาท สมมติหนาชั้นเรียน โดยกําหนด สถานการณในการทํางานใหมีทั้ง บทบาทการเปนผูนําและผูตามที่ดี

๓.๕ ทักษะการท�างานร่วมกัน การท� า งานร่ ว มกั น ต้ อ งอาศั ย บุ ค คลที่ มี ค วามสามารถหลากหลายระดมก� า ลั ง ความคิ ด และก�าลังกายร่วมกันเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลของงาน ดังนั้น การท�างานเป็นทีม จึงมีความส�าคัญอย่างยิ่งที่จะน�าไปสู่ความส�าเร็จของงานได้ง่ายขึ้น การท�างานร่วมกันให้ประสบความส�าเร็จจะต้องประกอบด้วยปัจจัย ดังต่อไปนี้

อธิบายความรู

๑ บรรยากาศของการท�างาน ควรมีควำมเป็นกันเอง อบอุน่ มีควำมกระตือรือร้น และ

ใหนักเรียนแตละกลุมออกมา แสดงบทบาทสมมติหนาชั้นเรียน เปดโอกาสใหเพื่อนกลุมอื่นเสนอแนะ เพิ่มเติม แลวสรุปสาระสําคัญและ แงคิดที่ไดจากการแสดงนี้

สร้ำงสรรค์ ทุกคนช่วยกันท�ำงำนอย่ำงจริงจังและจริงใจ ไม่มีร่องรอยที่แสดงให้เห็นถึง ควำมเบื่อหน่ำย

๒ ความไว้วางใจ เป็นหัวใจส�ำคัญของกำรท�ำงำนร่วมกัน สมำชิกทุกคนในทีมควร

ไว้วำงใจซึ่งกันและกัน ซื่อสัตย์ต่อกัน สื่อสำรกันอย่ำงเปิดเผย ไม่มีลับลมคมใน

ขยายความเขาใจ

๓ การมอบหมายงานอย่างชัดเจน สมำชิกภำยในกลุ ยในกลุ่มต้องเข้ำใจวัตถุประสงค์

ครูใหนกั เรียนวิเคราะหเปรียบเทียบ วิธีการทํางานรายกลุมกับรายบุคคล (แนวตอบ การทํางานรายกลุมเกิด จากการรวมกลุมของบุคคลตั้งแต 2 คนขึ้นไป โดยอาศัยทักษะความ สามารถที่แตกตางกันรวมกันทํางาน เพื่อบรรลุวัตถุประสงคเดียวกัน ซึ่ง ผูรวมงานทุกคนจะตองปฏิบัติงาน ตามขอตกลงของกลุม เพื่อใหได ผลงานที่มีประสิทธิภาพสูง สวนการ ทํางานรายบุคคลเกิดจากการใช ความรู ความสามารถของบุคคล เพียงคนเดียว และสรางสรรคงาน ที่มีระดับความยากนอยกวา)

รกิจหลักของกลุ่ม เป้ำหมำย และยอมรับภำรกิ

๔ บทบาทของสมาชิกในกลุ่ม สมำชิ สม ชิกแต่ละคนต้องเข้ำใจและปฏิบัติตำมบทบำท ำมบทบ มบทบำท

ใจในบทบำทของผู ทของผู้อื่น รวมทั้งบทบ บทบำทในกำรช่ ทในก รช่วยรักษษำควำมเป็ ษำคว ควำมเป็น ของตน และเรียนรู้เข้ำใจในบทบ รประนีประนอม กำรอ� รอ�ำนวยควำมสะดวก นวยคว มสะดวก กกำรให้ รให้ก�ำลังใจ กลุ่มงำนให้มั่นคง เช่น กำรประนี ซึ่งกันและกัน เป็นต้น

๕ วิธีการท�างาน เป็นสิ่งส�ำคัญที่ทุกคนในกลุ่มควรพิจำำรณำำ ได้แก่

นร่วมกันต้องอำศั งอ ศัยบรรยำกำศ บรรย ำศศ กำรสื บรรยำ ก รสือ่ ควำมที คว มทีช่ ดั เจนและ ๑. กำรสือ่ ควำม กำรท�ำงำนร่ เหมำะสม ซึ่งจะท�ำให้ทุกคนกล้ำที่จะเปิดใจ แลกเปลี่ยนควำมคิดเห็น และเรียนรู้ซึ่งกัน และกัน จนเกิดควำมเข้ำใจและน�ำไปสู่กำรท�ำงำนที่มีประสิทธิภำพยิ่งขึ้น รมีภำวะผู้น�ำ กกำรท�ำงำนร่วมกันเป็นกลุ่ม ควรส่งเสริมให้สมำชิกทุกคนได้มี ๒. กำรมี โอกำสแสดงควำมเป็นผูน้ ำ� เพือ่ ให้ทกุ คนเกิดควำมรูส้ กึ ว่ำได้รบั กำรยอมรับ และปรำรถนำ ที่จะท�ำงำนร่วมกันอีก 9

นักเรียนควรรู ภาวะผูนํา เปนคุณสมบัติสําคัญของบุคคลที่ทําหนาที่เปนหัวหนาในการบริหารงานใหประสบ ความสําเร็จ โดยจะตองมีความรู ความสามารถในการบริหารและจัดการงานไดดี มีความเชื่อมั่น ในตนเอง เด็ดเดี่ยวในการตัดสินใจ ขณะเดียวกันตองยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอื่นดวย คูมือครู

9


กระตุน ความสนใจ สํารวจคนหา Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

กระตุนความสนใจ ครูตั้งคําถามวา ในการเรียนหรือ การทํางาน นักเรียนมีปญ  หาอะไรบาง และมีวิธีแกปญหาเหลานั้นอยางไร

๓. กำรตัดสินใจ กำรท�ำงำนร่วมกันจะต้องใช้กำรตัดสินใจร่วมกัน เมื่อเปิดโอกำส ให้สมำชิกในกลุม่ แสดงควำมคิดเห็นและร่วมตัดสินใจแล้ว สมำชิกย่อมเกิดควำมผูกพัน ที่จะท�ำในสิ่งที่ตนเองได้มีส่วนร่วมตั้งแต่ต้น ๔. กำรก�ำหนดกติกำหรือกฎเกณฑ์ต่ำงๆ กำรท�ำงำนร่วมกันให้บรรลุเป้ำหมำยนั้น ควรเปิดโอกำสให้สมำชิกได้มีส่วนร่วมในกำรก�ำหนดกติกำ หรือกฎเกณฑ์ที่จะน�ำมำใช้ ร่วมกัน ๕. กำรมีส่วนร่วมในกำรประเมินผลกำรท�ำงำนของกลุ่ม กำรท�ำงำนร่วมกันควรมี กำรประเมินผลกำรท�ำงำนเป็นระยะ โดยสมำชิกทุกคนจะต้องมีสว่ นร่วมในกำรประเมิน ผลงำน เพื่อให้สมำชิกได้ทรำบควำมก้ำวหน้ำของงำน ปัญหำหรืออุปสรรคที่เกิดขึ้น รวมทั้งพัฒนำกระบวนกำรท�ำงำน หรือกำรปรับปรุงแก้ไขร่วมกัน

สํารวจคนหา ใหนักเรียนศึกษาคนควาเกี่ยวกับ ทักษะกระบวนการแกปญหาจาก หนังสือเรียน หนา 10

อธิบายความรู ครูใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 3-5 คน รวบรวมปญหาในการเรียน หรือการทํางาน แลวนํามาวิเคราะห หาทางแกไขโดยใชทกั ษะกระบวนการ แกปญ  หา ในหนา 10 -11 มาปรับใช แลวนําเสนอหนาชั้นเรียน โดยใช โปรแกรม PowerPoint

๓.๖ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ในการท�างานทุ างานทุกอย่างง ย่ย่อมประสบกับปัญหาไม่มากก็นอ้ ยแตกต่างกันไปตามลักษณะงานทีท่ า� ดังนัน้ ทัทักษะกระบวนการแก้ปญั หาจึงมีความส�าคัญ ซึง่ เราจะต้องน�าหลักการแก้ปญั หามาประยุกต์ ใช้ให้เหมาะสมกับลักษณะงาน ษณะงาน เพื่อปรับปรุงหรือพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มากขึ้นกว่าเดิม ตอน ดัดังนี้ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหาประกอบด้วยย ๗ ขั ๗ ขั้นตอน

ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา

เกร็ดแนะครู

ขั้นตอนที่

ขั้นตอนที่

ก�าหนดปัญหาให้ถูกต้องและชัดเจน โดยใช้วิธีกำรเล่ำเรื่องหรือกำรเขียนบรรยำยสภำพปัญหำด้วยถ้อยค�ำสั้นๆ ที่สื่อสำรอย่ำงตรงประเด็น ได้ใจควำม จำกนั้นจึงระบุเป้ำหมำยของสภำพกำรณ์ที่เรำอยำกให้เกิดขึ้นภำยหลังจำกที่ได้แก้ไขปัญหำนั้นไปแล้ว วิเคราะห์สาเหตุส�าคัญ โดยใช้วธิ กี ำรต่ำงๆ ประกอบไปด้วย กำรตรวจหำสำเหตุ กำรวิเครำะห์ปญั หำ กำรเลือกสำเหตุสำ� คัญทีน่ ำ� ไปสูป่ ญั หำนัน้ และกำรระบุสำเหตุที่แท้จริงของปัญหำ 10

คูมือครู

ท�าความเข้าใจสถานการณ์ โดยอำศัศัยข้อมูลต่ำงๆ เกีย่ วกับเหตุกำรณ์ รณ์ทเี่ กิดขึน้ มีกำรรวบรวม จัดระเบียบ หำควำมสัมพันธ์ เพือ่ ให้เกิดควำมเข้ำใจ ที่ถูกต้อง ซึ่งจะเป็นประโยชน์อย่ำงยิ่งในก ในกำรด�ำเนินงำนแก้ปัญหำขั้นตอนต่อไป

ครูสามารถจัดการเรียนรูโดยใช เทคนิคกลุมสืบคน (GI : Group Investigation) เพื่อใหนักเรียน เรียนรูแบบรวมมือกัน ดวยวิธีการ สืบคนความรู หรือการวางแผน สืบสวน หาคําตอบในการแกปญหา ในประเด็นดังกลาว โดยกอนการ ดําเนินกิจกรรม ครูควรฝกทักษะ การสื่อสาร ทักษะการคิด ตลอดจน ทักษะทางสังคมใหแกนักเรียนกอน

10

ขั้นตอนที่

ขั้นตอนกระบวนก ตอนกระบวนกำรแก้ปัญหำ


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ Expand

Explain

ตรวจสอบผล Evaluate

กระตุนความสนใจ ขั้นตอนที่

ครูสนทนากับนักเรียนวา คุณธรรม จริยธรรมมีความจําเปนในการทํางาน อยางไร

หาวิธีการแก้ไขปัญหาที่เปนไปได้ โดยใช้ควำมคิดสร้ำงสรรค์ในกำรแก้ไขปัญหำให้ได้มำกทีส่ ดุ จำกนัน้ จึงวิเครำะห์ควำมเป็นไปได้และลดจ�ำนวนวิธกี ำร แก้ไขปัญหำจนคำดว่ำจะเหลือวิธที เี่ กิดประสิทธิผลมำกทีส่ ดุ เทคนิควิธที ใี่ ช้ในกำรแก้ไขปัญหำทีไ่ ด้ผลดีนนั้ มีหลำยวิธี เช่น กำรท�ำแผนผังควำมคิด (Mind Mapping) กำรระดมสมอง (Brain Storming)

สํารวจคนหา

๕ ขั้นตอนที่ ๖ ขั้นตอนที่

เลือกวิธีการแก้ไขปัญหาที่ดีที่สุด โดยท�ำกำรเปรียบเทียบทำงเลือกของกำรแก้ไขปัญหำทัง้ หมด หำข้อดีและข้อเสียของแนวทำงหรือวิธกี ำรแต่ละรูปแบบ เพื่อให้เกิดผลกระทบต่อกระบวนกำรท�ำงำนน้อยที่สุด

ใหนักเรียนศึกษาคุณธรรม จริยธรรม เจตคติ และลักษณะที่ดีใน การทํางานเพิ่มเติมจากหนังสือเรียน

วางแผนการปฏิบัติ โดยก�ำหนดไว้ก่อนว่ำจะต้องท�ำอะไรบ้ำงเป็นขั้นตอน ใครจะเป็นผู้ที่รับผิดชอบงำนใดหรือกระบวนกำรท�ำงำนใด แต่ละขั้นตอนมีกระบวนกำรในกำรท�ำงำน มีค่ำใช้จ่ำยอย่ำงไรบ้ำง เป็นจ�ำนวนเท่ำใด รวมทั้งผลที่คำดว่ำจะได้รับ หลังจำกใช้กระบวนกำรแก้ปัญหำ

อธิบายความรู

๔. คุณธรรม จริยธรรม เจตคติ และลักษณะนิสยั ทีด่ ใี นการทํางาน

1. ครูนําสนทนาดวยการยกกรณี ตัวอยางผูท ขี่ าดคุณธรรมในการ ทํางาน จนสงผลกระทบตอ หนวยงานและสังคม เชน การทุจริต ในหนาที่ แลวนักเรียนรวมกันแสดง ความคิดเห็น วิเคราะหผลกระทบ เสนอแนะแนวทางการแกปญหา 2. ครูใหนกั เรียนชวยกันยกตัวอยาง คุณธรรมพื้นฐานในการทํางาน (แนวตอบ เชน ขยัน ประหยัด ซื่อสัตย มีวินัย สุภาพ สะอาด สามัคคี มีนํ้าใจ เปนตน)

ในการท�างานเพื่อการด�ารงชีวิตทุกสาขาวิชาชีพ นอกจากการมีทักษะกระบวนการในการ ท�างานแล้ว สิง่ ส�าคัญทีท่ กุ คนจะต้องมีควบคูก่ บั ทักษะการท�างาน คือ คุณธรรม จริยธรรม มีเจตคติ และมีคุณลักษณะที่ดีเป็นองค์ประกอบ เพื่อที่จะให้การท�างงานนั านนั้นๆ ประสบความส�าเร็จด้วยดี

นักเรียนควรรู

ขั้นตอนที่

ติดตามประเมินผล โดยตรวจสอบควำมคืบหน้ำของกำรท�ำงำนที่ได้วำงแผนและ ปฏิบัติงำนไปตำมนั้นอยู่อย่ำงสม�่ำเสมอ เพื่อที่จะได้ทรำบว่ำมี ปัญหำและอุปสรรคใดทีเ่ กิดขึน้ จำกกำรท�ำงำนหรือไม่ งำนส�ำเร็จ ลงได้ตำมเป้ำหมำยที่วำงแผนไว้หรือไม่ รวมทั้งกำรทบทวนว่ำ ปัญหำนัน้ แก้ไขไปได้โดยสิน้ เชิงแล้วหรือยัง อำจจะย้อนกลับมำอีก หรือไม่

๔.1 คุณธรรม จริยธรรม คุณธรรม จริยธรรม คือ การกระท�าของกายและใจทีถ่ กู ต้อง ดีงาม อยูภ่ ายใต้กรอบของศีลธรรม ทั้งยังก่อให้เกิดประโยชน์ต่อตนเองและส่วนรวม อันจะเป็นพื้นฐานของกระบวนการเรียนรู้ การ ท�างานและการด�าเนินชีวิตที่ดี มีความสุข ซึ่งบุคคลควรยึดหลักคุณธรรมพื้นฐาน ๘ ประการ ดังนี้ 11

@

การระดมสมอง หมายถึง กระบวนการที่กระทําเปนกลุม อันเปนเครื่องมือเพื่อแสวงหา ทางเลือกในการตัดสินใจและใชใน การวางแผนตางๆ โดยสรางความ คิดจากการเชื่อมโยงความคิดของ ผูอื่นในกลุม แลวนํามาขยายความ เพิม่ เติม

มุม IT

ศึกษาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการทํางานอยางไรใหมีความสุขไดที่ http://www.thaihealth.or.th/healthcontent/article/13294 สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ คูมือครู

11


กระตุนความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู ขยายความเขาใจ Expand

Explain

ตรวจสอบผล Evaluate (ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

อธิบายความรู ครูใหนักเรียนวิเคราะหวา การมี คุณธรรม จริยธรรมในการทํางาน กอใหเกิดประโยชนอยางไร (แนวตอบ การมีคุณธรรม จริยธรรม ในการทํางานมีประโยชนทั้งตอ ตนเองและสวนรวม คือ ทําให ผูปฏิบัติมีความสุขในการทํางาน เปนที่รักของเพื่อนรวมงาน สามารถ ทํางานไดอยางราบรื่นและ ประสบความสําเร็จ)

คุณธรรม จริยธรรม

ขยัน ประหยัด ซือ่ สัตย มีวินัย สุภาพ สะอาด สามัคคี มีนํ้าใจ

ขยายความเขาใจ ครูใหนักเรียนรวมกันแสดง ความคิดเห็นวา สังคมไทยในปจจุบัน คุณธรรม จริยธรรมขอใดถูกละเลย ในการนํามาปฏิบัติ และนักเรียนมี แนวทางในการเสริมสรางคุณธรรม จริยธรรมดังกลาว อยางไรบาง (แนวตอบ ตัวอยางเรื่อง ความไม ซือ่ สัตย ซึง่ เห็นไดจากปญหา คอรรปั ชันของนักการเมืองบางคน การทุจริตในการสอบของนักเรียน เปนตน แนวทางในการเสริมสราง ความซื่อสัตย เริ่มตนจากการปลูกฝง จิตสํานึกเรื่องความซื่อสัตยวาเปน สิ่งที่ดีและควรกระทํา พรอมทั้ง ยกยองและใหกําลังใจผูที่มี ความซื่อสัตย)

นักเรียนควรรู คุณธรรม (Virtue) หมายถึง ความรูสึกถูกผิดทางศีลธรรมที่อยูใน จิตสํานึกหรืออุปนิสัยของบุคคล

คุณธรรม จริยธรรมพื้นฐำน ๘ ประกำร

ควำมตั้งใจเพียรพยำยำมท�ำหน้ำที่กำรงำนอย่ำงจริงจังและต่อเนื่องในเรื่องที่ถูกที่ควร ไม่ท้อถอย และกล้ำเผชิญกับอุปสรรค กำรด�ำเนินชีวิตควำมเป็นอยู่อย่ำงเรียบง่ำย รู้จักเก็บออม ถนอมใช้ทรัพย์สินสิ่งของอย่ำงคุ้มค่ำ ไม่ฟุมเฟือย ฟุ้งเฟ้อ รู้จักท�ำบัญชีรำยรับ-รำยจ่ำยของตนเองอยู่เสมอ ควำมประพฤติที่ตรงทั้งต่อเวลำ ต่อหน้ำที่ และต่อวิชำชีพ มีควำมจริงใจ ปรำศจำกควำมรู้สึก ล�ำเอียงหรืออคติ ไม่ใช้เล่ห์คดโกงทั้งทำงตรงและทำงอ้อม กำรปฏิบัติตนในขอบเขต กฎ ระเบียบของสถำนศึกษำ สถำบัน องค์กร และประเทศด้วย ควำมเต็มใจและตั้งใจยึดมั่น รวมถึงกำรมีวินัยทั้งต่อตนเองและสังคม ควำมอ่อนน้อมถ่อมตนตำมสถำนภำพและกำลเทศะ ไม่ก้ำวร้ำว หรือวำงอ�ำนำจข่มเหงผู้อื่น ทั้งโดยวำจำและท่ำทำง กำรรักษำร่ำงกำย ที่อยู่อำศัย และสิ่งแวดล้อมได้อย่ำงถูกต้องตำมสุขลักษณะ ฝึกฝนจิตใจให้ ผ่องใสและร่ำงกำยให้กระฉับกระเฉงอยู่เสมอ กำรเปิดใจกว้ำงรับฟังควำมคิดเห็นของผู้อื่น รู้บทบำท ของตนทั้งในฐำนะผู้น�ำและผู้ตำมที่ดี มีควำมมุ่งมั่นต่อกำร รวมพลัง ช่วยเหลือเกื้อกูลกันเพื่อให้กำรงำนส�ำเร็จลุล่วง กำรช่วยเหลือสังคม รู้จักแบ่งปัน เสียสละควำมสุข ส่วนตนเพื่อท�ำประโยชน์ให้แก่ผู้อื่น เห็นคุณค่ำของ เพื่อนมนุษย์ มีควำมเอื้ออำทรช่วยเหลือสังคมด้วย แรงกำยและสติปัญญำ

1๒

นักเรียนควรรู จริยธรรม (Ethic) หมายถึง ขอปฏิบัติที่กําหนดความถูกผิดทางศีลธรรม จากขอตกลงที่บุคคลในสังคมสวนใหญยอมรับรวมกัน แลวนํามาสรางเปนกฎเกณฑขึ้นในรูปกฎหมาย หรือตีความมาจากศาสนาหรือหลักความเชื่อ

12

คูมือครู


กระตุนความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

อธิบายความรู

๔.๒ เจตคติ เจตคติ คือ การแสดงความคิดเห็นและความรูสึกของบุคคลที่มีตอสิ่งใดสิ่งหนึ่ง โดยอาจ เปลี่ยนแปลงไปในทางบวกหรือทางลบ และเจตคตินี้สามารถสรางและเปลี่ยนแปลงได ถาเรามี เจตคติเชิงบวกก็จะแสดงออกในลักษณะความชอบ ความพึงพอใจ ความสนใจ เห็นดวย อยากทํา อยากปฏิบัติ อยากได และอยากใกลชิดสิ่งนั้น แตหากเรามีเจตคติเชิงลบก็จะแสดงออกในลักษณะ ความเกลียด ไมพึงพอใจ ไมสนใจ ไมเห็นดวย ซึ่งอาจทําใหเราเกิดความเบื่อหนายหรือตองการ หนีหางจากสิ่งเหลานั้น ดังนั้น ในการทํางานทุกประเภทใหมีคุณภาพ บุคคลจึงควรปรับเจตคติของตนใหสอดคลอง กับงาน เริ่มดวยการมีใจรักในงานของตน มองโลกในแงดี มีความสุขในการทํางาน หากพบกับ ปญหาหรืออุปสรรคก็จะสามารถฝาฟนใหบรรลุเปาหมายไดโดยงาย อันจะกอใหเกิดความภาคภูมใิ จ ในตนเองและผลงานตอไป

๔.๓ ลักษณะนิสัยที่ดีในการทํางาน การมีลกั ษณะนิสยั ทีด่ ใี นการทํางานเปนแนวทางปฏิบตั เิ พือ่ นําไปสูค วามสําเร็จ โดยเริม่ จากการ วางแผนการทํางานอยางเปนระบบ ซึง่ อาจยึดหลักการ 5ส ไดแก สะสาง สะดวก สะอาด สุขลักษณะ และสรางนิสัย มาจัดระเบียบสถานที่ทํางาน เพื่อกอใหเกิดความเปนระเบียบเรียบรอย สะอาด ปลอดภัย สะดวกตอการใชสอยเครือ่ งมือ อุปกรณตางๆ และเหมาะสมกับลักษณะงาน เชน การจัด หมวดหมูสิ่งของใหเปนระบบ การใชสัญลักษณสี การทําปายชี้บงให ใหงายตอการใชงาน เปนตน ปจจุบนั ในสังคมทีม่ กี ารแขงขันกันสูงและมุง เอาเปรียบกัน จะพบไดวา แตละภาคสวนมักขาดคน ที่มีคุณธรรม จริยธรรม เจตคติ และลักษณะนิสัยที่ดีตอการทํางานในสาขาวิชาชีพและตนเอง จึงทําใหเกิดปญหาความแตกแยกของคนในสังคม เพราะสาเหตุที่มีแตคนเกง แตขาดคนดี สําหรับสังคมไทยก็มีความตองการคนดีและคนเกงมาทํางานเพื่อพัฒนาประเทศชาติตอไปเชนกัน

๕. การใชพลังงานและทรัพยากรอยางคุมคาและยั่งยืน

ในปจจุบันทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมมีความเสื่อมโทรมมากขึ้น จึงสงผลใหมี การรณรงคใหใชทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางฉลาด โดยคํานึงถึงประโยชนของ การใชงาน ระยะเวลาในการใชงาน และผลกระทบที่มีตอสิ่งแวดลอม ดังนั้น ในการทํางานเพื่อ การดํารงชีวิตนั้น บุคคลจึงตองมีจิตสํานึกตอการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอม และใช พลังงานอยางคุมคา โดยอาศัยหลักการ 5R ดังนี้ http://www.aksorn.com/LC/Car/M6/02

1. ครูใหนักเรียนชวยกันบอกวิธีการ สรางเจตคติที่ดีตอเพื่อนรวมชั้น ตอวิชาที่เรียน และตองานที่ไดรับ มอบหมาย และวิเคราะหถึงความ สําคัญของการสรางเจตคติที่ดี (แนวตอบ ควรสรางเจตคติเชิงบวก ตอสิ่งตางๆ เพราะเจตคติที่ดีมี ความสําคัญในการทํางาน คือ หากบุคคลมีความชอบและมี ความพึงพอใจตองานที่ทํา ก็ยอม มีความตั้งใจและมีความสุขกับ งานนั้นๆ อันจะสงผลใหผลิต ผลงานที่ดี มีคุณภาพ) 2. ครูใหนักเรียนสํารวจตนเองและ หองเรียนวาไดนําหลัก 5ส มาใช งานไดอยางไรบาง และตั้งคําถาม วา การทํางานโดยยึดหลักการ 5ส มีประโยชนอยางไรบาง (แนวตอบ 1. สถานที่ทํางานสะอาด เปนระเบียบเรียบรอย 2. ลดอุบัติเหตุในการทํางาน 3. ลดความสิ้นเปลืองในการจัดซื้อ วัสดุ อุปกรณที่เกินความจําเปน 4. เพิ่มความสะดวก และความ รวดเร็วในการทํางานมากขึ้น 5. สรางบรรยากาศที่ดีในการ ทํางาน เสริมสรางใหบุคลากร เกิดความคิดสรางสรรคในการ ทํางาน)

ขยายความเขาใจ

ครูตั้งประเด็นคําถามใหนักเรียน เขี ย นแสดงความคิดเห็นลงใน ๑๓ กระดาษ A4 วา ระหวางคนดีกับ คนเกง นักเรียนจะเลือกเปนบุคคลใน แบบใด เพราะเหตุใด แลวใหตัวแทน 2-3 คน ออกมานําเสนอผลงานและ อภิปรายรวมกัน (แนวตอบ ครูเปดโอกาสใหนกั เรียนมีอิสระทางความคิดในการอภิปราย โดยอยู บนพื้นฐานของความมีเหตุผล ครูเนนใหนักเรียนเห็นคุณคาของความดีที่จะสราง และพัฒนาสังคมไดอยางยั่งยืน) EB GUIDE

คูมือครู

13


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู ขยายความเขาใจ ตรวจสอบผล Explain

Expand

Evaluate

Engage

(ยอจากฉบับนักเรียน 20%)

สํารวจคนหา ใหนักเรียนคนควา หลักการ 5R คืออะไร เพิม่ เติมจากแหลงการเรียนรู ตางๆ เชน หองสมุดในโรงเรียน อินเทอรเน็ต เปนตน

5R

หลักกำรใช้พลังงำนและทรัพยำกรอย่ำงคุ้มค่ำและยั่งยืน การลดปริมาณขย

educe

อธิบายความรู

14

คูมือครู

รู้จักหมุนเวียน น�ำของที่ ใช้แล้วกลับมำใช้ซ�้ำ เช่น ขวดแก้ว กล่องกระดำษ พลำสติก เป็นต้น

e je ct

e p air

ปรับปรุงแก้ไข สิ่งของต่ำงๆ ให้ สำมำรถใช้งำนต่อได้

่ าง

1. การแสดงความคิดเห็นในกิจกรรมโตวาที 2. การแสดงเหตุผลในการเขียนแสดง ความคิดเห็นในประเด็นคนดีกับคนเกง 3. ตรวจความถูกตองของผังมโนทัศน

euse

การซ่อมแซม

การหลีกเลี่ยงสารเคมีต

ไม่ควรน�ำภำชนะที่เคย บรรจุสำรเคมีกลับมำใช้อีก เพรำะจะก่อให้เกิดมลพิษ

การแปรสภาพกลับมาใ

e c y cle

แปรสภำพ และหมุนเวียนเปลี่ยน กลับมำใช้ได้ใหม่โดย น�ำไปผ่ำนกระบวนกำร ผลิตใหม่อีกครั้ง

ช้

ดังนั้น กำรมีจิตส�ำนึกที่ดีต่อกำรใช้ พลังงำนและทรัพยำกรอย่ำงคุ้มค่ำและ ยั่งยืนนั้น จึงเป็นกำรส่งเสริมกำรท�ำงำน และกำรผลิตทีส่ ะอำด โดยลดกำรใช้วสั ดุ ลดกำรใช้พลังงำน และลดมลพิษ เพื่อ เพิม่ ศักยภำพกำรใช้ทรัพยำกรหมุนเวียน กำรน�ำของเสียกลับมำใช้ประโยชน์ และ กำรออกแบบผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ ห้ มี อ ำยุ ก ำร ใช้งำนยำวนำนมำกขึ้น

สรุป

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

การน�ามาใช้ซ้�า

ลดกำรใช้ผลิตภัณฑ์ ที่มีบรรจุภัณฑ์ สิ้นเปลือง

ครูใหนักเรียนอภิปรายถึงหลักการ 5R และตั้งคําถามวา กิจกรรมภายใน บานที่เปนการใชพลังงาน ทรัพยากร อยางคุมคาและยั่งยืนในแบบ 5R มี อะไรบาง จงยกตัวอยาง (แนวตอบ Reduce เชน ลดการซือ้ ผลิตภัณฑที่มีบรรจุภัณฑหลายชิ้น Reuse เชน นําขวดพลาสติกมาทํา เปนกระถางปลูกตนไม Repair เชน ซอมแซมเครื่องใช ไฟฟาที่ชํารุด เพื่อนํากลับมาใชใหม Reject เชน หลีกเลี่ยงการซื้อ ผลิตภัณฑที่มีบรรจุภัณฑทําจาก พลาสติก Recycle เชน นําขยะที่เปนเศษ อาหารหรือเศษใบไมไปทําปุยชีวภาพ เปนตน)

1. ครูใหนักเรียนอภิปรายวา ถาใน อนาคต นักเรียนไดประกอบ อาชีพอยูในองคกรหนึ่ง นักเรียน จะสามารถนําหลักการ 5R ไป ประยุกตใชไดอยางไร 2. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปราย สรุปหลักการทํางานเพื่อการ ดํารงชีวิต และใหนักเรียนจับคู สรุปสาระสําคัญเปนผังมโนทัศน

1๔

การทํางานเพื่อการดํารงชีวิตเปนภารกิจของทุกคนจะตอง ปฏิบัติเพื่อการดําเนินชีวิตที่ดีขึ้น การทํางานใหประสบความสําเร็จ เราจะตองฝกสังเกต ฝกบันทึก ฝกการนําเสนอ ฝกการซักถาม ฝกการวางแผนกระบวนการทํางาน และสรางองคความรูใหมที่ได มาจากการทํางาน ซึ่งเราสามารถนําไปใชประโยชนตอการทํางาน ในอนาคต และการดําเนินชีวิตประจําวันไดอยางมีความสุขตอไป นอกจากการพัฒนาทักษะในการทํางานแลว เรายังตองมี คุณธรรม จริยธรรม มีเจตคติ และมีลักษณะนิสัยที่ดีในการทํางาน เพื่ อ ให เ ราและผู  อื่ น ทํ า งานและอาศั ย อยู  ร  ว มกั น อย า งมี ค วามสุ ข รวมถึ ง จะต อ งใช ท รั พ ยากรในการทํ า งานอย า งคุ  ม ค า เพื่ อ รั ก ษา สิ่งแวดลอมใหยั่งยืน

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู ผังมโนทัศนสรุปองคความรูเรื่องหลักการและทักษะตางๆ ในการทํางานเพื่อการดํารงชีวิต


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.