8858649121868

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº Í- .

ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน

กระบวนการสอนแบบ 5 Es ชวยสรางทักษะการเรียนรู กิจกรรมมุงพัฒนาทักษะการคิด คำถาม + แนวขอสอบเพื่อยกผลสัมฤทธิ์ O-NET กิจกรรมบูรณาการเตรียมพรอมสู ASEAN 2558


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

หนาที่พลเมือง

วัฒนธรรม และการดําเนินชีวิตในสังคม ชั้นมัธยมศึกษาปที่

2

สําหรับครู

คูมือครู Version ใหม

ลักษณะเดน

ขยายพื้นที่รูปเลมใหญขึ้นกวาเดิม จัดแบงพื้นที่ออกเปนโซน เพื่อคนหาขอมูลไดงาย สะดวก รวดเร็ว และดูเปนระเบียบ กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล

กระตุน ความสนใจ

Evaluate

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

เปาหมายการเรียนรู สมรรถนะของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค

หน า

โซน 1 กระตุน ความสนใจ

Engage

สํารวจคนหา

Explore

อธิบายความรู

Explain

ขยายความเขาใจ

Expand

ตรวจสอบผล

หน า

หนั ง สื อ เรี ย น

โซน 1

หนั ง สื อ เรี ย น

Evaluate

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NET

ขอสอบ

โซน 2

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

เกร็ดแนะครู

O-NET

บูรณาการเชื่อมสาระ

โซน 3

กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย

นักเรียนควรรู

โซน 3

โซน 2 บูรณาการอาเซียน มุม IT

No.

คูมือครู

คูมือครู

No.

โซน 1 ขั้นตอนการสอนแบบ 5Es

โซน 2 ชวยครูเตรียมสอน

โซน 3 ชวยครูเตรียมนักเรียน

เพื่อใหครูเตรียมจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยแนะนําขั้นตอนการสอนและ การจัดกิจกรรมแบบ 5Es อยางละเอียด เพื่อใหนักเรียนบรรลุตามตัวชี้วัด

เพื่อชวยลดภาระครูผูสอน โดยแนะนํา เกร็ดความรูสําหรับครู ความรูเสริมสําหรับ นักเรียน รวมทั้งบูรณาการความรูสูอาเซียน และมุม IT

เพื่อใหครูสะดวกตอการจัดกิจกรรม โดย แนะนํากิจกรรมบูรณาการเชือ่ มระหวางสาระหรือ กลุมสาระการเรียนรู วิชา กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย รวมถึงเนื้อหาที่เคยออกขอสอบ O-NET แนวขอสอบ NT/O-NET ทีเ่ นนการคิด พรอมเฉลยและคําอธิบายอยางละเอียด


ที่ใชในคูมือครู

แถบสีและสัญลักษณ

แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5Es เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

1. แถบสี 5Es สีแดง

สีเขียว

กระตุน ความสนใจ

เสร�ม

สํารวจคนหา

Engage

2

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุน ความสนใจ เพื่อโยง เขาสูบทเรียน

สีสม

อธิบายความรู

Explore

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนสํารวจ ปญหา และศึกษา ขอมูล

สีฟา

Explain

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนคนหา คําตอบ จนเกิดความรู เชิงประจักษ

สีมวง

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนนําความรู ไปคิดคนตอๆ ไป

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

2. สัญลักษณ สัญลักษณ

วัตถุประสงค

• เปาหมายการเรียนรู

• หลักฐานแสดง ผลการเรียนรู

• เกร็ดแนะครู

แทรกความรูเสริมสําหรับครู ขอเสนอแนะ ขอควรระวัง ขอสังเกต แนวทางการจัด กิจกรรมและอืน่ ๆ เพื่อประโยชนในการ จัดการเรียนการสอน ขยายความรูเพิ่มเติมจากเนื้อหา เพื่อให ครูนําไปใชอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียน ไดมีความรูมากขึ้น

ความรูห รือกิจกรรมเสริม ใหครูนาํ ไปใช เตรียมความพรอมใหกบั นักเรียนกอนเขาสู ประชาคมอาเซียนใน พ.ศ. 2558 โดย บูรณาการกับวิชาทีก่ าํ ลังเรียน

บูรณาการอาเซียน

คูม อื ครู

แสดงรองรอยหลักฐานตามภาระงาน ที่ครูมอบหมาย เพื่อแสดงผลการเรียนรู ตามตัวชี้วัด

• นักเรียนควรรู

มุม IT

แสดงเปาหมายการเรียนรูที่นักเรียน ตองบรรลุตามตัวชี้วัด ตลอดจนสมรรถนะ ที่จะตองมี และคุณลักษณะที่พึงเกิดขึ้น กับนักเรียน

แนะนําแหลงคนควาจากเว็บไซต เพื่อให ครูและนักเรียนไดเขาถึงขอมูลความรู ที่หลากหลาย ทั้งไทยและตางประเทศ

สัญลักษณ

ขอสอบ

วัตถุประสงค

O-NET

(เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ O-NET O-NET)

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T (เฉพาะระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนตน)

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET (เฉพาะระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย)

บูรณาการเชื่อมสาระ

กิจกรรมสรางเสริม

กิจกรรมทาทาย

• ชีแ้ นะเนือ้ หาทีเ่ คยออกขอสอบ

O-NET โดยยกตัวอยางขอสอบ พรอมวิเคราะหคาํ ตอบ อยางละเอียด

• เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน

การคิดและเปนแนวขอสอบ NT/O-NET ในระดับมัธยมศึกษา ตอนตน มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

• เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน

การคิดและเปนแนวขอสอบ O-NET ในระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม

เชือ่ มกับสาระหรือกลุม สาระ การเรียนรู ระดับชัน้ หรือวิชาอืน่ ทีเ่ กีย่ วของ

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ซอมเสริมสําหรับนักเรียนทีค่ วร ไดรบั การพัฒนาการเรียนรู

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ตอยอดสําหรับนักเรียนทีเ่ รียนรู ไดอยางรวดเร็ว และตองการ ทาทายความสามารถในระดับ ทีส่ งู ขึน้


คําแนะนําการใชคูมือครู การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน คูมือครู รายวิชา หนาที่พลเมืองฯ ม.2 จัดทําขึ้นเพื่อใหครูผูสอนนําไปใชเปนแนวทางวางแผนการสอนเพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน และประกันคุณภาพผูเ รียน ตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน (สพฐ.) โดยใชหนังสือเรียน หนาที่พลเมืองฯ ม.2 ของบริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด เปนสื่อหลัก (Core Material) ประกอบ เสร�ม การสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดกลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา 3 ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 โดยออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน ตามหลักการสําคัญ ดังนี้ 1 ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน คูม อื ครู รายวิชา หนาทีพ่ ลเมืองฯ ม.2 วางแผนการสอนโดยแบงเปนหนวยการเรียนรูต ามลําดับสาระ (strand) และ หมายเลขขอของมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั แตละหนวยจะกําหนดเปาหมายการเรียนรูแ ละจุดประสงคการเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทางการประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชัดเจน ครูผูสอนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด สมรรถนะ และคุณลักษณะ อันพึงประสงคที่เปนเปาหมายการเรียนรูตามที่กําหนดไวในสาระแกนกลาง (ตามแผนภูมิ) และสามารถบันทึกผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของผูเรียนแตละคนลงในเอกสาร ปพ.5 ไดอยางมั่นใจ แผนภูมิแสดงความสัมพันธขององคประกอบการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผูเรียนเปนสําคัญ

พผ

ูเ

จุดปร

ะสง

คก า

ส ภา

รียน

รู ีเรยน

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชั้นป

ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน คูม อื ครู


2 การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ แนวคิ ด ในการจั ด การเรี ย นการสอนที่ ยึ ด ผู  เ รี ย นเป น สํ า คั ญ พั ฒ นามาจากปรั ช ญาและทฤษฎี ก ารเรี ย นรู  Constructivism ที่เชื่อวา การเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสรางความรู โดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดเรียนรูจากบทเรียนใหมกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา ผูเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีการสั่งสมความรูความเขาใจเกี่ยวกับสิ่งตางๆ ติดตัวมากอน ทีจ่ ะเขาสูห อ งเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากประสบการณและสิง่ แวดลอมรอบตัวผูเ รียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกิจกรรม เสร�ม การเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ผูสอนจะตองคํานึงถึง

4

1. ความรูเดิมของผูเรียน วิธีการสอนที่ดีจะตองเริ่มตนจากจุดที่วา ผูเ รียนมีความรูอ ะไรมาบาง แลวจึงใหความรู หรือประสบการณใหม เพื่อตอยอดจาก ความรูเดิม นําไปสูการสรางความรู ความเขาใจใหม

2. ความรูเดิมของผูเรียนถูกตองหรือไม ผูส อนตองปรับเปลีย่ นความรูค วามเขาใจเดิม ของผูเรียนใหถูกตอง และเปนพฤติกรรม การเรียนรูใ หมทมี่ คี ณุ คาตอผูเรียน เพื่อสราง เจตคติหรือทัศนคติที่ดีตอการเรียนรู สิ่งเหลานั้น

3. ผูเรียนสรางความหมายสําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมใหผูเรียนนําความรู ความเขาใจที่เกิดขึ้นไปลงมือปฏิบัติ เพื่อขยายความรูใหลึกซึ้งและมีคุณคา ตอตัวผูเรียนมากที่สุด

แนวคิด Constructivism เนนใหผูเรียนสรางความรูโดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูของตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศ

การเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณ ความรูใ หม เพือ่ กระตนุ ใหผเู รียนเชือ่ มโยงความรู ความคิด กับประสบการณทมี่ อี ยูเ ดิม แลวสังเคราะหเปนความรูห รือแนวคิดใหมๆ ไดดว ยตนเอง

3 การบูรณาการกระบวนการคิด การเรียนรูของผูเรียนแตละคนจะเกิดขึ้นที่สมอง ซึ่งเปนอวัยวะที่ทําหนาที่รูคิดภายใตสภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวย และไดรบั การกระตนุ จูงใจอยางเหมาะสม สอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของผูเ รียนแตละคน การจัดกิจกรรม การเรียนรูและสาระการเรียนรูที่สอดคลองกับความสนใจและมีความหมายตอผูเรียน จะชวยกระตุนใหสมองของผูเรียน สามารถรับรูและเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพตามขั้นตอนการทํางานของสมอง ดังนี้ 1. สมองจะเรียนรูและสืบคน โดยการสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง ปฏิบัติ จนทําใหคนพบความรูความเขาใจ ไดอยางรวดเร็ว

2. สมองจะแยกแยะคุณคาของสิ่งตางๆ โดยการตัดสินใจวิพากษวิจารณ แสดง ความคิดเห็น ยอมรับหรือตอตานตาม อารมณความรูสึกที่เกิดขึ้นในขณะที่เรียนรู

3. สมองจะประมวลเนื้อหาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสานกับ ความรูห รือประสบการณเดิมทีถ่ กู จัดเก็บอยูใ น สมอง ผานการกลัน่ กรองเพือ่ สังเคราะหเปน ความรูค วามเขาใจใหมๆ หรือเปนทัศนคติใหม ที่จะเก็บบรรจุไวในสมองของผูเรียน

การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะเกิดขึ้น เมื่อสมองรูคิด และตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมองผูเรียน โดยเริ่มตนจาก 1. ระดับการคิดพื้นฐาน ไดแก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล การสรุปผล เปนตน

คูม อื ครู

2. ระดับลักษณะการคิด ไดแก การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดไกล คิดหลากหลาย คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล เปนตน

3. ระดับกระบวนการคิด ไดแก กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ กระบวนการแกปญหา กระบวนการ คิดสรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะห เปนตน


5Es การจัดกิจกรรมตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ขั้นตอนการสอนที่สัมพันธกับขั้นตอนการคิดและการทํางานทางสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย คือ วัฏจักรการเรียนรู 5Es ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแตละหนวย ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1

กระตุนความสนใจ

(Engage)

เสร�ม

5

เปนขั้นที่ผูสอนนําเขาสูบทเรียน เพื่อกระตุนความสนใจของผูเรียนดวยเรื่องราวหรือเหตุการณที่นาสนใจโดยใชเทคนิควิธีการ และคําถามทบทวนความรูหรือประสบการณเดิมของผูเรียน เพื่อเชื่อมโยงผูเรียนเขาสูความรูของบทเรียนใหม ชวยใหผูเรียนสามารถ สรุปความสําคัญหัวขอและสาระการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอนการสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอมและสราง แรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน

ขั้นที่ 2

สํารวจคนหา

(Explore)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนเปดโอกาสใหผเู รียนลงมือศึกษา สังเกต หรือรวมมือกันสํารวจ เพือ่ ใหเห็นขอบขายของประเด็นหรือปญหา รวมถึง วิธีการศึกษาคนควา การรวบรวมขอมูลความรูที่จะนําไปสูการสรางความเขาใจประเด็นหรือปญหานั้นๆ เมื่อผูเรียนทําความเขาใจใน ประเด็นหรือปญหาที่จะศึกษาคนควาอยางถองแทแลว ก็ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธีการตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูที่เกี่ยวของกับประเด็นหรือปญหาที่ศึกษา

ขั้นที่ 3

อธิบายความรู

(Explain)

เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา ตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนคนหาคําตอบ และนําขอมูล ความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห สรุปผล และนําเสนอผลที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ ผังมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน ในขั้นตอนนี้ฝกใหผูเรียนใชสมองคิดวิเคราะหและสังเคราะห อยางเปนระบบ

ขั้นที่ 4

ขยายความเขาใจ

(Expand)

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใชเทคนิควิธีสอนตางๆ ที่สงเสริมใหผูเรียนนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนสืบคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะ การเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน ผูเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยง กับประสบการณเดิมโดยนําขอสรุปทีไ่ ดไปใชอธิบายเหตุการณตา งๆ หรือนําไปปฏิบตั ใิ นสถานการณใหมๆ ทีเ่ กีย่ วของกับชีวติ ประจําวัน ของตนเอง เพื่อขยายความรูความเขาใจใหกวางขวางยิ่งขึ้น ในขั้นตอนนี้ฝกสมองของผูเรียนใหสามารถคิดริเริ่มสรางสรรคอยางมี คุณภาพ เสริมสรางวิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป

ขั้นที่ 5

ตรวจสอบผล

(Evaluate)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนประเมินมโนทัศนของผูเ รียน โดยตรวจสอบจากความคิดทีเ่ ปลีย่ นไปและความคิดรวบยอดทีเ่ กิดขึน้ ใหม ตรวจสอบ ทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด หรือการเคารพความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพื่อการ สรางสรรคความรูร ว มกัน ผูเ รียนสามารถประเมินผลการเรียนรูข องตนเอง เพือ่ สรุปผลวามีความรูอ ะไรเพิม่ ขึน้ มาบาง เกิดความเขาใจ มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ หรือในชีวิตประจําวันไดอยางไร ผูเรียนจะเกิดเจตคติ และเห็นคุณคาของตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง

การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนนผูเรียน เปนสําคัญอยางแทจริง เพราะสงเสริมใหผูเรียนไดเรียนรูตามขั้นตอนของกระบวนการสรางความรูดวยตนเอง และ ฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและกระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะชีวิต ทักษะการทํางาน และทักษะการ เรียนรูที่มีประสิทธิภาพ สงผลตอการยกระดับผลสัมฤทธิ์ของผูเรียน ตามเปาหมายของการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คูม อื ครู


O-NET การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ O-NET

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ในแตละหนวยการเรียนรู ทางผูจัดทํา จะเสนอแนะวิธีสอน รูปแบบกิจกรรมการเรียนรู พรอมทั้งออกแบบเครื่องมือวัดและประเมินผลที่สอดคลองกับตัวชี้วัด และสาระการเรียนรูแกนกลางไวทุกขั้นตอน โดยยึดหลักสําคัญ คือ หลักของการวัดและประเมินผล เสร�ม

6

1. การวัดและประเมินผลทุกครั้ง ควรนําผลมาปรับปรุงพัฒนาผูเรียน เปนรายบุคคล

2. การวัดและประเมินผลมี เปาหมาย เพื่อพัฒนาการเรียนรู ของผูเรียนจนเต็มศักยภาพ

3. การนําผลการวัดและประเมินผล ทุกครั้งมาวางแผนปรับปรุงกิจกรรม การเรียนการสอน การเลือกเทคนิค วิธีสอน และสื่อการเรียนรูให เหมาะสมกับสภาพจริงของผูเรียน

การทดสอบผูเรียน 1. การใชขอสอบอัตนัย เนนการอาน การคิดวิเคราะห และการเขียนเพิ่มมากขึ้น 2. การใชคําถามกระตุนการคิดควบคูกับการทําขอสอบที่เนนการคิดอยางตอเนื่องตามลําดับกิจกรรมการเรียนรู และตัวชี้วัด 3. การทดสอบตองดําเนินการทั้งกอนเรียน ระหวางเรียน และหลังเรียน การทดสอบควรใชขอสอบทั้งชนิดปรนัยและ อัตนัย และเปนการทดสอบเพื่อประเมินผลการเรียนของผูเรียนแตละคน เพื่อการสอนซอมเสริมใหบรรลุตัวชี้วัด ไดครบถวน 4. การสอบกลางภาค (ถามี) ควรนําแบบฝกหัดหรือขอสอบทีน่ กั เรียนสวนใหญไมสามารถตอบไดหรือไมครบถวนชัดเจน มา สรางเปนแบบทดสอบอีกครัง้ เพือ่ ตรวจสอบความรูค วามเขาใจทีถ่ กู ตอง และประเมินความกาวหนาของผูเ รียนแตละคน 5. การสอบปลายภาคเรียนเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามตัวชี้วัดที่สําคัญ ควรออกขอสอบใหมีลักษณะเดียวกับ ขอสอบ O-NET โดยเนนการคิดวิเคราะห สังเคราะห เชื่อมโยงประยุกตใช เพื่อสรางความคุนเคย และฝกฝน วิธีการทําขอสอบดวยความมั่นใจ 6. การนําผลการทดสอบของผูเรียนมาวิเคราะห โดยผลการสอบกอนการเรียนตองสามารถพยากรณผลการสอบ กลางภาค และผลการสอบกลางภาคตองทํานายผลการสอบปลายภาคของผูเ รียนแตละคน เพือ่ ประเมินพัฒนาการ ความกาวหนาของผูเรียนเปนรายบุคคล 7. ผลการทดสอบปลายป ปลายภาค ตองมีคาเฉลี่ยสอดคลองกับคาเฉลี่ยของการสอบ NT ที่เขตพื้นที่การศึกษา จัดสอบ รวมทั้งคาเฉลี่ยของการสอบ O-NET ชวงชั้นที่สอดคลองครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดสําคัญ เพือ่ สะทอนประสิทธิภาพของครูผสู อนในการออกแบบการเรียนรูแ ละประกันคุณภาพผูเ รียนทีต่ รวจสอบผลไดชดั เจน การจัดการเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ตองใหผูเรียนไดสั่งสมความรู ความเขาใจตามลําดับขั้นตอน ของกิจกรรมในวัฏจักรการเรียนรู 5Es เพื่อใหผูเรียนไดเติมเต็มองคความรูอยางตอเนื่อง จนสามารถปฏิบัติชิ้นงานหรือ ภาระงานรวบยอดของแตละหนวย ผานเกณฑประกันคุณภาพในระดับที่นาพึงพอใจ เพื่อรองรับการประเมินภายนอกจาก สมศ. ตลอดเวลา คูม อื ครู


ASEAN การเรียนรูสูประชาคมอาเซียน เพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรูบูรณาการอาเซียนศึกษา ผูจัดทําไดวิเคราะห มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดที่มีสาระการเรียนรูสอดคลองกับองคความรูเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนในแงมุมตางๆ ครอบคลุมทัง้ ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน เพื่อสงเสริมการเรียนรูใหผูเรียนเกิดความตระหนัก มีความรูความเขาใจเหมาะสมกับระดับชั้นและกลุมสาระ การเรียนรู โดยเสนอแนะวิธีการจัดกิจกรรมบูรณาการเนื้อหาสาระตางๆ ที่เปนประโยชนตอผูเรียนและเปนการชวย เตรียมความพรอมผูเ รียนทุกคนทีจ่ ะกาวเขาสูก ารเปนสมาชิกของประชาคมอาเซียนไดอยางมัน่ ใจตามขอตกลงปฏิญญา เสร�ม ชะอํา-หัวหิน วาดวยความรวมมือดานการศึกษาเพือ่ บรรลุเปาหมายประชาคมอาเซียนทีเ่ อือ้ อาทรและแบงปน จึงกําหนด 7 เปนนโยบายใหกระทรวงศึกษาธิการจัดการเรียนรูเตรียมความพรอมผูเรียนเขาสูประชาคมอาเซียนภายในป พ.ศ. 2558 ตามแนวปฏิบัติที่สําคัญ ดังนี้

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน 1. การสรางความรูความเขาใจ และตระหนักถึงความสําคัญของ กฎบัตรอาเซียน และความรวมมือ ของ 3 เสาหลัก ซึง่ กฎบัตรอาเซียน ในขณะนี้มีสถานะเปนกฎหมายที่ ประเทศสมาชิกจะตองปฏิบัติตาม หลักการที่กําหนดไวเพื่อใหบรรลุ เปาหมายของกฎบัตรมาตราตางๆ

2. การสงเสริมหลักการ ประชาธิปไตยและการสราง สิ่งแวดลอมประชาธิปไตย เพื่อการอยูรวมกันอยางกลมกลืน ภายใตวิถีชีวิตอาเซียนที่มีความ หลากหลายดานสังคมและ วัฒนธรรม

4. การตระหนักในคุณคาของ สายสัมพันธทางประวัติศาสตร และมรดกทางวัฒนธรรมที่มี พัฒนาการรวมกัน เพื่อเชื่อม อัตลักษณและสรางจิตสํานึก ในการเปนประชากรของประชาคม อาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการศึกษาดาน สิทธิมนุษยชน เพื่อสรางประชาคม อาเซียนใหเปนประชาคมเพื่อ ประชาชนอยางแทจริง สามารถ อยูรวมกันไดบนพื้นฐานการเคารพ ในคุณคาของศักดิ์ศรีแหงความ เปนมนุษยเทาเทียมกัน

5. การสงเสริมสันติภาพ ความ มั่นคง และความปรองดองในสังคม ทั้งระดับประเทศและภูมิภาคของ อาเซียนบนพื้นฐานสันติวิธีและการ อยูรวมกันดวยขันติธรรม

คูม อื ครู


การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

เสร�ม

8

1. การพัฒนาทักษะการทํางาน เพื่อเสริมสรางผูเรียนใหมีทักษะ วิชาชีพที่จําเปนสอดคลองกับ ความตองการของตลาดแรงงาน และสถานประกอบการในอาเซียน สามารถเทียบโอนผลการเรียน และการทํางานตามมาตรฐานฝมือ แรงงานในภูมิภาคอาเซียน

2. การเสริมสรางวินัย ความรับผิดชอบ และเจตคติรักการทํางาน สามารถพึ่งพาตนเอง มีทักษะชีวิต ดํารงชีวิตอยางมีความสุข เห็นคุณคา และภูมิใจในตนเอง ในฐานะที่เปนพลเมืองไทยและ อาเซียน

3. การเรียนรูเพื่อพัฒนาตนเอง อยางตอเนื่องตลอดชีวิต ใหมี ทักษะการทํางานตามมาตรฐาน อาชีพ และคุณวุฒิของวิชาชีพสาขา ตางๆ เพื่อรองรับการเตรียมเคลื่อน ยายแรงงานมีฝมือและการเปน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่ เขมแข็ง เพื่อสรางขีดความสามารถ ในการแขงขันในเวทีโลก

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 1. การเสริมสรางความรวมมือ ในลักษณะสังคมที่เอื้ออาทร ของประชากรอาเซียน โดยยึด หลักการสําคัญ คือ ความงดงาม ของประชาคมอาเซียนมาจาก ความแตกตางและหลากหลายทาง วัฒนธรรมที่ลวนแตมีคุณคาตอ มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน ซึ่งประชาชนทุกคนตองอนุรักษ สืบสานใหยั่งยืน

2. การเสริมสรางคุณลักษณะ ของผูเรียนใหเปนพลเมืองอาเซียน ที่มีศักยภาพในการกาวเขาสู ประชาคมอาเซียนอยางมั่นใจ เปนผูที่มีสุขภาพสมบูรณแข็งแรง มีทักษะการสื่อสาร ทักษะการ ทํางาน ทักษะทางสังคม สามารถ ทํางานรวมกับผูอื่นไดอยาง สรางสรรค และมีองคความรู เกี่ยวกับอาเซียนที่จําเปนตอการ ดํารงชีวิตอยางมีคุณภาพ

4. การสงเสริมการเรียนรูดาน ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี วิถชี วี ติ ความเปนอยูข องเพือ่ นบาน ในอาเซียน เพื่อสรางจิตสํานึกของ ความเปนประชาคมอาเซียนและ ตระหนักถึงหนาที่ของการเปน พลเมืองอาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการเรียนรูภาษา อังกฤษเพื่อการสื่อสารและการ ทํางานตามมาตรฐานอาชีพที่ กําหนดและสนับสนุนการเรียนรู ภาษาอาเซียนและภาษาเพื่อนบาน เพื่อชวยเสริมสรางสัมพันธภาพทาง สังคม และการอยูรวมกันอยางสันติ ทามกลางความหลากหลายทาง วัฒนธรรม

5. การสรางความรูและความ ตระหนักเกี่ยวกับดานสิ่งแวดลอม ปญหาและผลกระทบตอคุณภาพ ชีวิตของประชากรในภูมิภาค รวมทั้งแนวทางการพัฒนาอยาง ยั่งยืน ใหเปนมรดกสืบทอดแก พลเมืองอาเซียนในรุนหลังตอๆ ไป

กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศนโยบายการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) เพื่อเรงพัฒนาเด็ก และเยาวชนไทยใหเปนทรัพยากรมนุษยของชาติที่มีทักษะและความชํานาญ พรอมเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงและ การแขงขันทั้งในภูมิภาคอาเซียนและภูมิภาคอื่นๆ ของสังคมโลก ทั้งนี้ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และผูปกครอง ควรรวมมือกันอยางใกลชิดในการดูแลชวยเหลือผูเรียนและจัดประสบการณการเรียนรูเพื่อพัฒนาผูเรียนจนเต็มศักยภาพ เพื่อกาวเขาสูการเปนพลเมืองอาเซียนอยางมีเกียรติภูมิและศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของตน คณะผูจัดทํา คูม อื ครู


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 2

หนาที่พลเมืองฯ (เฉพาะชั้น ม.2)*

หนาที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดําเนินชีวิตในสังคม

มาตรฐาน ส 2.1 เขาใจและปฏิบัติตนตามหนาที่ของการเปนพลเมืองดี มีคานิยมที่ดีงามและธํารงรักษาประเพณี และวัฒนธรรมไทย ดํารงชีวิตอยูรวมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอยางสันติสุข ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ม. 2 1. อธิบายและปฏิบัติ • กฎหมายที่เกี่ยวของกับตนเอง ครอบครัว เชน ตนตามกฎหมายที่ - กฎหมายเกี่ยวกับความสามารถของผูเยาว เกี่ยวของกับตนเอง - กฎหมายบัตรประจําตัวประชาชน ครอบครัว ชุมชน - กฎหมายแพงเกี่ยวกับครอบครัว เชน และประเทศ การหมั้น การสมรส การรับรองบุตร การรับบุตรบุญธรรม • กฎหมายที่เกี่ยวกับชุมชนและประเทศ โดย สังเขป - กฎหมายเกี่ยวกับการอนุรักษธรรมชาติ - กฎหมายเกี่ยวกับภาษีอากร และเนนการ กรอกแบบแสดงรายการภาษีเงินไดบุคคล ธรรมดา - กฎหมายแรงงาน - กฎหมายปกครอง 2. เห็นคุณคาในการ • สถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ หนาที่ ปฏิบัติตนตาม ในฐานะพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย สถานภาพ บทบาท • แนวทางสงเสริมใหปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีตาม สิทธิ เสรีภาพ วิถีประชาธิปไตย หนาที่ในฐานะ พลเมืองดีตามวิถี ประชาธิปไตย 3. วิเคราะหบทบาท • บทบาท ความสําคัญและความสัมพันธของ ความสําคัญ และ สถาบันทางสังคม เชน สถาบันครอบครัว ความสัมพันธของ สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา สถาบัน สถาบันทางสังคม เศรษฐกิจ สถาบันทางการเมืองการปกครอง • ความคลายคลึงและความแตกตางของ 4. อธิบายความ คลายคลึงและความ วัฒนธรรมไทย และวัฒนธรรมของประเทศ แตกตางของวัฒนธรรม ในภูมิภาคเอเชียวัฒนธรรมที่เปนปจจัยสําคัญ ไทย และวัฒนธรรม ในการสรางความเขาใจอันดีระหวางกัน ของประเทศในภูมิภาค เอเชีย เพื่อนําไปสูความ เขาใจอันดีระหวางกัน

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

เสร�ม

9

• หนวยการเรียนรูที่ 2 กฎหมายกับการดําเนินชีวิต ประจําวัน

• หนวยการเรียนรูที่ 1 พลเมืองดีตามวิถี ประชาธิปไตย

• หนวยการเรียนรูที่ 4 สถาบันทางสังคม • หนวยการเรียนรูที่ 5 วัฒนธรรมของไทยและ วัฒนธรรมของประเทศ ในภูมิภาคเอเชีย

_________________________________ * สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม. (กรุงเทพมหานคร : ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 52-70.

คูม อื ครู


มาตรฐาน ส 2.2 เขาใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา และธํารงรักษาไวซึ่งการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ชั้น

เสร�ม

10

คูม อื ครู

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• หนวยการเรียนรูท ี่ 2 ม.2 1. อธิบายกระบวนการ • กระบวนการในการตรากฎหมาย ในการตรากฎหมาย - ผูมีสิทธิเสนอรางกฎหมาย กฎหมายกับการดําเนินชีวิต - ขั้นตอนการตรากฎหมาย ประจําวัน - การมีสวนรวมของประชาชนในกระบวนการ ตรากฎหมาย • เหตุการณ และการเปลี่ยนแปลงสําคัญของ • หนวยการเรียนรูท ี่ 3 2. วิเคราะหขอมูล ขาวสารทางการ ระบอบการปกครองของไทย เหตุการณและการ เมืองการปกครองที่ • หลักการเลือกขอมูล ขาวสาร เพื่อนํามา เปลี่ยนแปลงสําคัญของ มีผลกระทบตอสังคม วิเคราะห ระบอบการปกครองไทย ไทยสมัยปจจุบัน


คําอธิบายรายวิชา รายวิชา หนาที่พลเมืองฯ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 รหัสวิชา ส…………………………………

กลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ภาคเรียนที่ 1-2 เวลา 20 ชั่วโมง/ป

ศึกษาวิเคราะหบทบาท ความสําคัญและความสัมพันธของสถาบันทางสังคม ความคลายคลึง เสร�ม และความแตกตางของวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมของประเทศในภูมิภาคเอเชีย เพื่อนําไปสูความเขาใจอัน 11 ดีระหวางกัน ขอมูลขาวสารทางการเมืองการปกครองที่มีผลกระทบตอสังคมไทยปจจุบัน กระบวนการในการ ตรากฎหมาย การปกปองคุมครองผูอื่นตามหลักสิทธิมนุษยชน การปฏิบัติตนตามสถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ และหนาที่ในฐานะพลเมืองดี โดยใชกระบวนการคิด กระบวนการสืบคนขอมูล กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชิญสถานการณ และแกปญหา กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการกลุม เพื่อใหเกิดความรูความเขาใจและปฏิบัติตนตามหนาที่ของการเปนพลเมืองดี ดํารงชีวิตรวมกัน ในสังคมไทยและสังคมโลกอยางสันติสุข มีคุณธรรมจริยธรรม และมีคุณลักษณะอันพึงประสงคในดานความ รักชาติ ศาสน กษัตริย ซื่อสัตยสุจริต มีวินัย ใฝเรียนรู มุงมั่นในการทํางาน มีจิตสาธารณะ รักความเปนไทย ตัวชี้วัด ส 2.1 ส 2.2

ม.2/1 ม.2/1

ม.2/2 ม.2/2

ม.2/3

ม.2/4 รวม 6 ตัวชี้วัด

คูม อื ครู


ตาราง

วิเคราะหมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด รายวิชา หนาทีพ ่ ลเมืองฯ ม.2

คําชี้แจง : ใหผูสอนใชตารางนี้ตรวจสอบความสอดคลองของเนื้อหาสาระการเรียนรูในหนวยการเรียนรูกับมาตรฐาน การเรียนรูและตัวชี้วัดชั้นป สาระที่ 2

มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด

เสร�ม

มาตรฐาน ส 2.1

12

หนวยการเรียนรู

1

หนวยการเรียนรูที่ 1 : พลเมืองดีตามวิถปี ระชาธิปไตย

หนวยการเรียนรูที่ 2 : กฎหมายกับการดําเนินชีวิต ประจําวัน

ตัวชี้วัด 2 3

4

หนวยการเรียนรูที่ 3 : เหตุ หตุการณและการเปลีย่ นแปลง สําคัญของระบอบการปกครอง ไทย

หนวยการเรียนรูที่ 4 : สถาบันทางสังคม

หนวยการเรียนรูที่ 5 : วัฒนธรรมของไทยและ วัฒนธรรมของประเทศใน ภูมิภาคเอเชีย

คูม อื ครู

มาตรฐาน ส 2.2 ตัวชี้วัด 1 2


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹

˹ŒÒ·Õ¾è ÅàÁ×ͧ ÇѲ¹¸ÃÃÁ áÅСÒôíÒà¹Ô¹ªÕÇµÔ ã¹Êѧ¤Á Á.ò ªÑ¹é ÁѸÂÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè ò

¡ÅØ‹ÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒÊѧ¤ÁÈÖ¡ÉÒ ÈÒÊ¹Ò áÅÐÇѲ¹¸ÃÃÁ µÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ

¼ÙŒàÃÕºàÃÕ§

È.´Ã. ¡ÃÐÁÅ ·Í§¸ÃÃÁªÒµÔ ÃÈ. ´Ã. ´íÒç¤ °Ò¹´Õ ¼È. ÇԪѠÀÙ‹â¸Թ ¹Ò§Êؤ¹¸ ÊÔ¹¸¾Ò¹¹·

¼ÙŒµÃǨ

¼È. ¨ÒÃØÇÃó ¢íÒྪà ¼È. ÀÒÇÔ¹Õ ÁÕ¼´Ø§ ¹ÒÂä¾ÈÒÅ Àً侺ÙÅÂ

ºÃóҸԡÒÃ

¹ÒÂÊÁà¡ÕÂÃµÔ ÀÙ‹ÃÐ˧É

พิมพครั้งที่ ๗

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ

ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ òòñóð÷ñ

¤Œ¹¤ÇÒÁÃÙŒ¢ÂÒ¤ÇÒÁ¤Ô´¨Ò¡

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè 1 ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ 2243128

EB GUIDE

ที่พิมพกํากับหัวขอสําคัญในหนังสือเรียนหลักสูตรแกนกลางฯ ผาน www.aksorn.com ไปยังแหลงความรูทั่วไทย-ทั่วโลก

คณะผูจัดทําคูมือครู

ระวิวรรณ ตั้งตรงขันติ อังคณา ตติรัตน


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

¤íÒ¹íÒ

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

¡ÒÃÈÖ¡ÉÒàÃÕ¹ÃÙŒ¡ÅØ‹ÁÊÒÃÐÊѧ¤ÁÈÖ¡ÉÒ ÈÒÊ¹Ò áÅÐÇѲ¹¸ÃÃÁ ÁըشÁØ‹§ËÁÒÂà¾×èÍãËŒ ¼ÙàŒ ÃÕ¹ÁÕ¤ÇÒÁࢌÒ㨡ÒôíÒçªÕÇµÔ ¢Í§Á¹ØÉ ·Ñ§é 㹰ҹл˜¨à¨¡ºØ¤¤ÅáÅСÒÃÍÂÙË Ç‹ Á¡Ñ¹ã¹Êѧ¤Á ¡ÒûÃѺµÑǵÒÁÊÀÒ¾áÇ´ÅŒÍÁ ¡ÒèѴ¡Ò÷ÃѾÂҡ÷ÕèÁÕÍÂÙ‹Í‹ҧ¨íÒ¡Ñ´ ࢌÒ㨶֧¡ÒþѲ¹Ò à»ÅÕè¹á»Å§µÒÁÂؤÊÁÑ ¡ÒÅàÇÅÒ µÒÁà˵ػ˜¨¨Ñµ‹Ò§æ à¡Ô´¤ÇÒÁࢌÒã¨ã¹µ¹àͧáÅмٌÍ×è¹ ÁÕ¤ÇÒÁÍ´·¹ Í´¡ÅÑé¹ ÂÍÁÃѺ㹤ÇÒÁᵡµ‹Ò§ áÅÐÁդس¸ÃÃÁ ÊÒÁÒö¹íÒ¤ÇÒÁÃٌ任ÃѺ㪌 㹡ÒôíÒà¹Ô¹ªÕÇÔµ ໚¹¾ÅàÁ×ͧ´Õ¢Í§»ÃÐà·ÈªÒµÔáÅÐÊѧ¤ÁâÅ¡ ·Ñ§é ¹ÕÊé ÒÃзռè àŒÙ ÃÕ¹µŒÍ§ÈÖ¡ÉÒã¹ÃдѺªÑ¹é ÁѸÂÁÈÖ¡ÉÒ ÁÕÍÂÙ´‹ ÇŒ ¡ѹ õ ÊÒÃÐ »ÃСͺ´ŒÇ ÊÒÃÐÈÒÊ¹Ò ÈÕŸÃÃÁ ¨ÃÔ¸ÃÃÁ ˹ŒÒ·Õè¾ÅàÁ×ͧ ÇѲ¹¸ÃÃÁ áÅСÒôíÒà¹Ô¹ªÕÇÔµã¹Êѧ¤Á àÈÃÉ°ÈÒʵà »ÃÐÇѵÔÈÒʵà ÀÙÁÔÈÒʵà «Öè§ã¹¡ÒèѴ·íÒ˹ѧÊ×ͨШѴá¡໚¹ÊÒÃÐ ÊÒÃÐÅÐ ñ àÅ‹Á à¾×èÍãËŒà¡Ô´¤ÇÒÁÊдǡ á¡‹¡ÒèѴ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ ÊíÒËÃѺÊÒÃÐ˹ŒÒ·Õè¾ÅàÁ×ͧ ÇѲ¹¸ÃÃÁ áÅСÒôíÒà¹Ô¹ªÕÇԵ㹠Êѧ¤Á ªÑé¹ÁѸÂÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè ò àÅ‹Á¹Õé ä´Œ¨Ñ´·íÒãËŒÊÍ´¤ÅŒÍ§¡ÑºÊÒÃСÒÃàÃÕ¹Ãٌ᡹¡ÅÒ§áÅÐ µÑǪÕÇé ´Ñ µÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñ¹é ¾×¹é °Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ â´Âà¹×Íé ËÒÊÒÃШÐÇ‹Ò ´ŒÇ¡®ËÁÒ·Õèà¡ÕèÂÇ¢ŒÍ§¡Ñºµ¹àͧ ¤Ãͺ¤ÃÑÇ ªØÁª¹ áÅлÃÐà·ÈªÒµÔâ´ÂÊѧࢻ ʶҹÀÒ¾ º·ºÒ· ÊÔ·¸Ô àÊÃÕÀÒ¾ ˹ŒÒ·Õè 㹰ҹоÅàÁ×ͧ´ÕµÒÁÇÔ¶Õ»ÃЪҸԻäµÂ á¹Ç·Ò§Ê‹§àÊÃÔÁãËŒ »¯ÔºÑµÔµ¹à»š¹¾ÅàÁ×ͧ´ÕµÒÁÇÔ¶Õ»ÃЪҸԻäµÂ º·ºÒ· ¤ÇÒÁÊíÒ¤ÑÞ áÅФÇÒÁÊÑÁ¾Ñѹ¸ ¢Í§ ʶҺѹ·Ò§Êѧ¤Á ¤ÇÒÁ¤ÅŒÒ¤ÅÖ§áÅФÇÒÁᵡµ‹Ò§¢Í§ÇѲ¹¸ÃÃÁä·Â áÅÐÇѲ¹¸ÃÃÁ¢Í§ »ÃÐà·Èã¹ÀÙÁÔÀÒ¤àÍàªÕ ÇѲ¹¸ÃÃÁ·Õè໚¹»˜¨¨ÑÂÊíÒ¤ÑÞ㹡ÒÃÊÌҧ¤ÇÒÁࢌÒã¨Íѹ´ÕÃÐËÇ‹Ò§¡Ñ¹ ¡Ãкǹ¡ÒÃ㹡ÒõÃÒ¡®ËÁÒ à˵ءÒó áÅСÒÃà»ÅÕÂè ¹á»Å§ÊíÒ¤ÑޢͧÃкͺ¡Òû¡¤Ãͧ ¢Í§ä·Â áÅÐËÅÑ¡¡ÒÃàÅ×Í¡¢ŒÍÁÙÅ ¢‹ÒÇÊÒà à¾×è͹íÒÁÒÇÔà¤ÃÒÐË ËÇѧ໚¹Í‹ҧÂÔ§è Ç‹Ò˹ѧÊ×ÍàÅ‹Á¹Õé ¨Ð໚¹Ê×Íè ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙ·Œ ªÕè Ç‹ ÂÍíҹǤÇÒÁÊдǡᡋ¤ÃÙáÅÐ ¼ÙŒàÃÕ¹ à¾×èͪ‹Ç¾Ѳ¹ÒÈÑ¡ÂÀÒ¾¢Í§¼ÙŒàÃÕ¹ãËŒºÃÃÅصÇÑ ªÕéÇÑ´áÅÐÁҵðҹµÒÁ·ÕèËÅÑ¡ÊٵáíÒ˹´ äÇŒ·Ø¡»ÃСÒà ¤³Ð¼ÙŒàÃÕºàÃÕ§


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

¤íÒá¹Ð¹íÒ㹡ÒÃ㪌˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹

หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หนาที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดําเนินชีวิตในสังคมเลมนี้ ใชประกอบการเรียนการสอนรายวิชาพื้นฐาน กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๒ เนื้อหาตรงตามสาระการเรียนรูแกนกลางขั้นพื้นฐาน อานทําความเขาใจงาย ใหทั้งความรูและ ชวยพัฒนาผูเรียนตามหลักสูตรและตัวชี้วัด เนื้อหาสาระแบงออกเปนหนวยการเรียนรูตามโครงสรางรายวิชา สะดวกแกการจัดการเรียนการสอนและการวัดผลประเมินผล พรอมเสริมองคประกอบอื่นๆ ที่จะชวยทําให ผูเรียนไดรับความรูอยางมีประสิทธิภาพ ¨Ñ´¡ÅØ‹Áà¹×éÍËÒ໚¹Ë¹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ Êдǡᡋ¡ÒèѴ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ หน่วยการเรียนรู้ที่

ยนื ตน ในกรณีปา สงวน ๓. การขออนุญาตบํารุงปา ปลูกสรางสวนปาหรือไม ํานาจอนุญาตเปนหนังสือใหบุคคลหนึ่งบุคคลใด แหงชาติมีสภาพเปนปาเสื่อมโทรม ใหอธิบดีมีอ ในเขตปาเสื่อมโทรมไดภายในระยะเวลาและ น ต น ื ย ไม อ หรื า งสวนป า สร ก ปลู อ หรื า ป ง รุ า ทําการบํ น ๒,๐๐๐ ไร ตองไดรับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี ตามเงื่อนไขที่กําหนดในหนังสืออนุญาต แตถาเกิ ตามพระราชบัญญัตนิ ี้ คือ พนักงาน สําหรับผูท มี่ อี าํ นาจจับกุมปราบปรามผูก ระทําผิด แตงตั้ง เจาหนาที่ที่รัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ า พ.ศ. ๒๕๓๕ ไดมีบทบัญญัติ ป ว ต ครองสั ม  ุ งวนและค ส ิ ต ญั ญ ั ๒) พระราชบ วปาสงวนหรือสัตวปาคุมครอง หามยิงสัตวปา เกี่ยวกับการหามมิใหผูใดลาหรือพยายามลาสัต งของสัตวปาสงวนหรือซากของสัตวปาคุมครอง หามเก็บ ทําอันตราย หรือมีไวครอบครองซึ่งรั ครอง ซากของสัตวปา สงวนหรือซากของสัตวปา หามมีไวในครอบครองซึง่ สัตวปา สงวน สัตวปา คุม าตตามบทบัญญัติของกฎหมาย รวมทั้งหามมิให คุมครอง เวนแตจะไดรับการยกเวน หรือรับอนุญ าสงวน ซากของสัตวปาคุมครอง หรือผลิตภัณฑ ผูใดคาสัตวปาสงวน สัตวปาคุมครอง ซากสัตวป นตามบทบัญญัติของกฎหมายในสัตวปา ที่ทําจากซากของสัตวปาดังกลาว เวนแตไดรับการยกเว คุมครองบางชนิด

วัฒนธรรมของไทยและ วัฒนธรรมของประเทศ ในภูมิภาคเอเชีย

ตัวชี้วัด

อธิบายความคล้ายคลึงและความแตกต่างของวั ฒนธรรมไทย และวัฒนธรรมของประเทศในภูมภิ าคเอเชี ย เพือ่ น�าไปสูค่ วาม เข้าใจอันดีระหว่างกัน (ส ๒.๑ ม.๒/๔) ■

สาระการเรียนรู้แกนกลาง ■

à¹×éÍËҵçµÒÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹Ãٌ᡹¡ÅÒ§ ãËŒ¤ÇÒÁÃÙŒáÅÐàÍ×é͵‹Í¡ÒùíÒä»ãªŒÊ͹à¾×èÍ ãËŒºÃÃÅصÑǪÕéÇÑ´ áÅÐÊÌҧ¤Ø³ÅѡɳРÍѹ¾Ö§»ÃÐʧ¤

à¡ÃÔè¹¹íÒà¾×èÍãˌࢌÒ㨶֧ÊÒÃÐÊíÒ¤ÑÞ ã¹Ë¹‹Ç·Õè¨ÐàÃÕ¹

ความคล้ายคลึงและความแตกต่างของวัฒนธรรมไทย วัฒนธรรมของประเทศในภูมภิ าคเอเชีย วัฒนธรรมที และ เ่ ป็นปัจจัย ส�าคัญในการสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างกัน

เมื่อผู้คนมาอาศัยอยู่ร่วมกันเป็นสังคม สมาชิกทุกคนในสังคมต่างร่วมกันสรรค์ สร้าง วัฒนธรรมขึ้น เพื่อตอบสนองการด�ารงชี วิตอยู่ ในสังคมนั้นๆ วัฒนธรรมจึงกลายเป็นสิ่งส� าคัญ ยิง่ ต่อมนุษย์ตงั้ แต่เกิดจนตาย และ และเป็ เป็นแบบแผน การด�าเนินชีวิตที่แต่ละชนชาติได้สร้างสรรค์ ขึ้น ประเทศไทยและประเทศในภูมิภาคเอเชีย ล้วนมีประเพณีและวัฒนธรรมของตนเอง ตนเอง ซึ่ง ประเพณีและวัฒนธรรมเหลา่ นี ้ มีทงั้ ทีค่ ล้า ยคลึง และแตกต่างกันออกไป อั ออกไป อันเป็นผลมาจากปัจจัย ต่างๆ งๆ ซึ่งก่อให้เกิดเป็นวัฒนธรรมเฉพาะของ แต่ละชนชาติขึ้น ด้วยเหตุนี้เราจึงควรเรี ยนรู้ วัฒนธรรมในสังคมของตนเองและสังคมของ ประเทศในภูมิภาคเอเชีย เพื เพื่อประโยชน์ในการน�า วัฒนธรรมไปเสริมสร้างความเข้าใจอันดีระหว่ าง กันได้

พะยูน

วณวัฒนธรรมที่มีลักษณะเดนเฉพาะ จากนั้นไดแพรกระจายไปยังเกาหลีและญี่ปุน กอเกิดเปนบริเ ย และเกิดการสรางวัฒนธรรม ขึน้ วัฒนธรรมจีนผานการปรับปรุงเปลีย่ นแปลงมาหลายยุคหลายสมั ที่โดดเดนมากมาย ดังนี้ วามเชื่อที่เนนหลักความ ๑. ดานศาสนาและลัทธิความเชื่อ ลัทธิขงจื๊อของจีนเปนลัทธิค ยมนับถือจาก ุ ธรรม เปนลัทธิความเชือ่ ทีเ่ กิดขึน้ ในประเทศจีน ซึง่ ไดรบั ความนิ รูค คู ณ าคัญของคานิยมใน ผูคนทั่วไปในภูมิภาคเอเชียตะวันออก และกลายเปนรากฐานสํ ภูมิภาคเอเชีย

วัดขงจื๊อแหงไถหนาน บนเกาะ ไตหวัน ไดรับอิทธิพลจากลัทธิขงจื้อ

ีน ซึ่งรวม ๒. ดานอาหาร อาหารจีนเปนอาหารที่ประกอบขึ้นตามวัฒนธรรมของชาวจ องถิ่น ดตามแตละท ทั้งจีนแผนดินใหญ ไตหวัน และฮองกง จึงมีหลากหลายชนิ นหลัก นอกจากใน โดยทั่วไปชาวจีนนิยมรับประทานอาหารจานผักและธัญพืชเป ่วไป เชน กวยเตี๋ยว ราชสํานักที่จะมีอาหารประเภทเนื้อ อาหารจีนที่รูจักกันทั น คือ ตะเกียบ ติ�มซํา เปนอาหารจีนที่รูจักกันทั�วไป ติ่มซํา หูฉลาม กระเพาะปลา โดยอุปกรณการกินหลักของชาวจี แตชดุ ประจํา ๓. ดานการแตงกาย ชาวจีนตางชาติพนั ธุต า งมีเครือ่ งแตงกายของตนเอง และการ ซึ่งมีสีสัน ชาติที่เปนเอกลักษณที่คนทั่วโลกรูจัก ไดแก “ชุดกี่เพา (ฉีผาว)” น ลักษณะเหมือนเสื้อ ตัดเย็บสวยงาม ชุดกี่เพาเปนเครื่องแตงกายสําหรับสตรีชาวจี อ่ ใหกา วขาไดสะดวก มีชายยาวปกคลุมทอนขา ขนาดพอดีตวั ดานขางมีตะเข็บผาเพื

ชุดกี่เพา เปนเครื่องแตงกาย สําหรับสตรีชาวจีน

นแมนดาริน ซึ่งเปนภาษา ๔. ดานภาษาและวรรณกรรม ภาษาประจําชาติของจีน คือ จี ธุ ทัง้ นีจ้ นี ถือไดวา เปน เขียน สวนภาษาพูดจะมีหลากหลายสําเนียงตามกลุม ชาติพนั ภิ าคเอเชียตะวันออก ชาติแรกทีค่ ดิ คนตัวอักษรจีนและกระดาษกอนประเทศอืน่ ในภูม เชน สามกก ไซอิ๋ว จีนเปนชาติแรกในภูมิภาคเอเชียนวนมาก า จํ น เป ต ดี อ แต ง ้ สะสมตั บ ก็ เ ่ ทําใหจีนมีวรรณกรรมที ตะวันออก ที่คิดคนตัวอักษร เปนตน ่องลือไปไกลทั่วโลก งเลื ย เสี อ ่ ื ช ี ม ่ ที ง ่ ประเทศหนึ น เป น จี ยกรรม ต ๕. ดานศิลปะและสถาป กี่ยวของ เ ่ ยกรรมที ต และสถาป คโลก ง ยชามสั ว งถ อ ่ ครื เ ฐ ษ เกี่ยวกับฝมือในการประดิ านสถาปตยกรรมที่มี กับพระพุทธศาสนาและรูปแบบของที่พักอาศัย โดยผลงานด ม พระราชวังฤดูรอน ชื่อเสียงเปนที่รูจัก เชน กําแพงเมืองจีน พระราชวังตองหา พระราชวังตองหามเปนสถาปตยีน หอบูชาสวรรคเทียนถาน จัตุรัสเทียนอันเหมิน เปนตน กรรมที่งดงามของประเทศจ

EB GUIDE

http://www.aksorn.com/LC/Civil/M2/15

ประกาศ ในราชกิจจานุเบกษา

พระมหากษตั ริย ทรงลง พระปรมาภิไธย ทูลเกลาฯ ถวาย

คณะรัฐมนตรี

นายกรัฐมนตรี

เสนอ

สมาชิกสภาผูเ เทนราษฎร เสนอ

ราง พระราชบญ ั ญัติ

เสนอ

ประชาชนผูม สี ทิ ธิเลือกตัง้ (จํานวนไมนอ ยกวา ๑ หมืน่ คน) เสนอ

เห็นชอบ

รัฐสภา

(ประกอบดวย สภาผูเ เทนราษฎร เเละวุฒส ิ ภา)

รางพระราชบัญญัติ (เฉพาะสาระในหมวด ๓ เเละ ๕ ของ รัฐธรรมนญ ู )

เกงหมอ

นกแตวแรวทองดํา

รรมชาติสืบไป ควร รักษใหอยูคูธรรมชาต ะสูญพันธุ เราจึงควรอนุ

µÑǪÕÇé ´Ñ áÅÐÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙጠ¡¹¡ÅÒ§Ï µÒÁ·ÕËè ÅÑ¡Êٵà ¡íÒ˹´ à¾×èÍãËŒ·ÃÒº¶Ö§à»‡ÒËÁÒÂ㹡ÒÃÈÖ¡ÉÒ

ย ๔.๑ ลักษณะวัฒนธรรมของประเทศในภูมิภาคเอเชี มนํ้าฉางเจียง ๑) วัฒนธรรมจีน มีตนกําเนิดอยูที่บริเวณลุมนํ้าหวางเหอและลุ

บังคับใช กฎหมาย

สัตวปาเปนทรัพยากรธรรมชาติที่นับวันใกลจ

EB GUIDE

http://www.aksorn.com/LC/Civil/M2/07

Design ˹ŒÒẺãËÁ‹ ÊǧÒÁ ¾ÔÁ¾ ô ÊÕ µÅÍ´àÅ‹Á ª‹ÇÂãˌ͋ҹ·íÒ¤ÇÒÁࢌÒã¨ä´Œ§‹ÒÂ

แผนผังแสดงการเสนอรางกฎหมาย

ศาลเเละองคกรอิสระ ตามรัฐธรรมนูญ

แมวลายหินออน

¹íÒàʹÍà¹×éÍËÒ´ŒÇ Ἱ¼Ñ§ à¾×èÍÊдǡ 㹡Ò÷íÒ¤ÇÒÁࢌÒã¨

Web Guide á¹Ð¹íÒáËÅ‹§¤Œ¹¤ÇŒÒ¢ŒÍÁÙÅ à¾ÔèÁàµÔÁ¼‹Ò¹Ãкº Online àÊÃÔÁÊÒÃШҡà¹×Íé Ëҹ͡à˹×ͨҡ ·ÕÁè ãÕ ¹ÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙጠ¡¹¡ÅÒ§ à¾×Íè à¾ÔÁè ¾Ù¹áÅТÂÒ¾ÃÁá´¹¤ÇÒÁÃÙ㌠ˌ ¡ÇŒÒ§¢ÇÒ§ÍÍ¡ä» ีย

ิภาคเอเช

ศในภูม

c of Republi (Socialist ย ดินแดน ดนาม” นิยมเวีย คือ ฮานอ ณรัฐสังคม .กม. เมืองหลวง าร าธ “ส ตร งการวา าม ๗,๙๑๒ างเปนทา มเวียดน นื้อที่ ๓๓ มของประเทศ เรียกชื่ออย ออกเฉียงใต มีเ วัฒนธรร รร ปวัฒนธ วียดนาม วัน ประเทศเ ูมิภาคเอเชียตะ านาน ทําใหศิล ตั ว อย า ง เปนเวล ้งอยูในภ จี น ซึ่ ง ตั มา ทศ น m) จี ะเ Vietna กั บ ปร พลของ ยูใตอิทธิ ล า ยค ลึ ง น แหงนี้ตกอ ว นใ หญ มี ค วา มค เชน ดนามเป ส าม หารเวีย เวี ย ดน าม ี่สําคัญของเวียดน น าห าร อา รที่มีผักเป มท วัฒนธรร ฒนธ รร มด านอ ชิด เปนอาหา ง รสชาติ ๑. วั อยางใกล หนักไปทางแป มา ก ั หมอ จ  รู าก น  ย ัน เน รียบป ี่คนไทย ่องแตงกา อาหารท และไมคอยมีไขม ยี๋ วญวน) ขาวเก ะทานในมือ้ เย็น งกับเครื ม ว ยเต ปร คลายคลึ dai) มีลักษณะ เครื่องแกล า งจดื เชน เฝอ (ก นเวียดนามจะรับ o เวียดนาม หรือ อ นข รทคี่ ชาติของ ุดอาวหญาย” (A หา อา งขายาว  น อาหารค ยประจํา ง่ เป “ช ุด กางเก นก ่องแตงกา ชาติของสตรีวา ha ca) ซึ รื แข (C เค อ ื า ก ย ชะ งกา ะจํา ีแขนหร ของ เปนตน นการแต ยมีชื่อเรียกชุดปร ูง คอตั้ง อาจม ี่โดดเดน เทานั้น รรมดา โด าขางส ้นบานท นดินเผา ชุดคลุม ของจีน ๒. วัฒนธ ุมยาว ผ ศิลปะพื เดียวกับ งป เปนชุดคล เปนสีขาวหรือสี ถาปตยกรรม งจักสาน เครื่อ แนน ่อ มัก ะส ูอยางแนบ เชน เครื อย กระโปรง ดานศิลปะแล  น ี ทย งจ งไ ไอขอ ับขอ สวนใหญ ๓. จะมีกลิ่น ะคลายก เวียดนาม จะมีลักษณ นการแสดงตางๆ ถาปตยกรรมของ มที่โดดเดนของ า รร เวียดนาม นส ด า ยก ด ต สวนศิลปะ อกน้าํ เปน ตน างสถาป อัน เปนตน อย ว ั ยต ะบ เปนตน โด อย ิวัติระบบ ที่เมืองฮ สดงหนุ กร งแบบจีน เชน การแ งและการตกแต hai dinh) ตั้งแตกอนการปฏ มเชื่อ มา ควา ไคดิงห (K ูปทร ยังคงมีร น สุสานพระเจา มสัมพันธกับจีน ดํารงชีวิต ลัทธิ อีกทั้ง เช ควา จีน ีการ เวียดนาม ะเทศเวียดนามมี ชื่อ ศิลปะ วิถ วามใกลเคียงกับ มเ ค ี ปร วา รรมม มีค จึงทําให ะเพณีและวัฒนธ ง รอ การปกค อดจนปร ตล ม รร ณี และพิธีก รรมเนียมประเพ กษาขนบธ ่งก็ยังคงรั ศสวนหนึ องประเท ัน พลเมืองข ดมาจนถึงปจจุบ บทอ ดั้งเดิมสื

าระ

เสริมส

งประเท

มเดนขอ

วัฒนธรร

¤íÒ¶ÒÁ»ÃШíÒ˹‹ÇÂà¾×Íè ãËŒ¹¡Ñ àÃÕ¹䴌½¡ƒ ¤Ô´áÅзº·Ç¹ ¤ÇÒÁÃÙŒ áÅСԨ¡ÃÃÁÊÌҧÊÃä ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ à¾×èÍ ª‹Ç¾Ѳ¹Ò¼ÙŒàÃÕ¹ãËŒºÃÃÅؼÅÊÑÁÄ·¸ÔìµÒÁµÑǪÕéÇÑ´ ค ําถามประจ ําหน่วยการเรียนรู้ ๑. สังคมประชาธิปไตยมีลักษณะที่สำาคัญอย่างไร จงอธิบาย ๒. การเป็นพลเมืองดี มีคุณลักษณะอย่างไร ให้อธิบายพร้อมยกตัวอย่างประกอบ ๓. จ งยกตัวอย่างผลที่เกิดจากการปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามสถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ และหน้าที่ที่เกิดในชุมชน และประเทศชาติ ๔. นักเรียนสามารถปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีของชุมชนและประเทศชาติได้อย่างไรบ้าง ๕. จงวิเคราะห์ผลที่ได้รบั จากการปฏิบตั ติ นเป็นพลเมืองดีตอ่ ตนเอง ชุมชน และประเทศชาติ ๖. แ นวทางส่งเสริมให้ปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย สามารถทำาได้อย่างไร จงอธิบาย

กิจกรรมสร้างสรรค์พัฒนาการเรียนรู้ กิจกรรมที่ ๑ ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๕ คน โดยให้แต่ละกลุ่มร่วมกันระบุบทบาท และหน้าทีข่ องพลเมืองดีทมี่ ตี อ่ ชุมชน และประเทศชาติ เป็นแผนผังความคิด ใส่กระดาษรายงาน ส่งครูผู้สอน กิจกรรมที่ ๒ ครูผ้สู อนนำาภาพกิจกรรมการเป็นพลเมืองดีของคนในสังคมมาให้นักเรียนดู แล้วให้นักเรียนแต่ละคนเขียนบรรยายเหตุการณ์ ใต้ภาพ พร้อมร่วมกัน อภิปรายถึง “ผลดีทเี่ กิดจากการปฏิบตั ติ นเป็นพลเมืองดีตามภาพเหตุการณ์” กิจกรรมที่ ๓ ให้นกั เรียนแบ่งกลุม่ กลุม่ ละ ๕ คน ศึกษาวัฒนธรรมของชาติและของท้องถิน่ ด้านใดด้านหนึ่งที่ปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง จากนั้นนำามาอภิปรายแลกเปลี่ยน ร่วมกันหน้าชัน้ เรียน

คูมือครู


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

ÊÒúÑ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

Explore

ñ

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

ò

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

ó

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

ô õ

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ñ ò

¾ÅàÁ×ͧ´ÕµÒÁÇÔ¶Õ»ÃЪҸԻäµÂ ¾ÅàÁ×ͧ´ÕµÒÁÇÔ¶Õ»ÃЪҸԻäµÂ ʶҹÀÒ¾ º·ºÒ· ÊÔ·¸Ô àÊÃÕÀÒ¾ ˹ŒÒ·Õè 㹰ҹоÅàÁ×ͧ´Õ µÒÁÇÔ¶Õ»ÃЪҸԻäµÂ ¼Å¨Ò¡¡Òû¯ÔºÑµÔµ¹à»š¹¾ÅàÁ×ͧ´ÕµÒÁÇÔ¶Õ»ÃЪҸԻäµÂ á¹Ç·Ò§¡ÒÃÊ‹§àÊÃÔÁãËŒ»¯ÔºÑµÔµ¹à»š¹¾ÅàÁ×ͧ´ÕµÒÁÇÔ¶Õ»ÃЪҸԻäµÂ

ø ññ ñô

¡®ËÁÒ¡Ѻ¡ÒôíÒà¹Ô¹ªÕÇÔµ»ÃШíÒÇѹ ¤ÇÒÁËÁÒÂáÅФÇÒÁÊíÒ¤Ñޢͧ¡®ËÁÒ ¡Ãкǹ¡ÒÃ㹡ÒõÃÒ¡®ËÁÒ ¡®ËÁÒ·Õèà¡ÕèÂÇ¢ŒÍ§¡Ñºµ¹àͧáÅФÃͺ¤ÃÑÇ ¡®ËÁÒ·Õèà¡ÕèÂÇ¢ŒÍ§¡ÑºªØÁª¹áÅлÃÐà·ÈªÒµÔ

òñ òò òó òø óô

à˵ءÒó áÅСÒÃà»ÅÕè¹á»Å§ÊíÒ¤ÑޢͧÃкͺ ¡Òû¡¤Ãͧä·Â à˵ءÒó áÅСÒÃà»ÅÕè¹á»Å§ÊíÒ¤ÑޢͧÃкͺ¡ÒÃàÁ×ͧ¡Òû¡¤Ãͧ ¢Í§ä·Â ¡ÒÃàÅ×Í¡ÃѺ¢ŒÍÁÙÅ¢‹ÒÇÊÒÃà¡ÕèÂǡѺ¡ÒÃàÁ×ͧ¡Òû¡¤Ãͧ ¢Í§ä·Âã¹Êѧ¤Á»˜¨¨ØºÑ¹

õ÷ õø ö÷

ʶҺѹ·Ò§Êѧ¤Á ¤ÇÒÁËÁÒÂáÅФÇÒÁÊíÒ¤ÑޢͧʶҺѹ·Ò§Êѧ¤Á º·ºÒ·¢Í§Ê¶ÒºÑ¹·Ò§Êѧ¤Á ¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ ¢Í§Ê¶ÒºÑ¹·Ò§Êѧ¤Á

÷ñ ÷ò ÷õ øð

ÇѲ¹¸ÃÃÁ¢Í§ä·ÂáÅÐÇѲ¹¸ÃÃÁ¢Í§»ÃÐà·Èã¹ÀÙÁÔÀÒ¤àÍàªÕ ¤ÇÒÁÃÙŒà¡ÕèÂǡѺÇѲ¹¸ÃÃÁ ·ÕèÁҢͧÇѲ¹¸ÃÃÁ ÅѡɳТͧÇѲ¹¸ÃÃÁä·Â ¤ÇÒÁ¤ÅŒÒ¤ÅÖ§áÅФÇÒÁᵡµ‹Ò§ÃÐËÇ‹Ò§ÇѲ¹¸ÃÃÁä·Â¡Ñº ÇѲ¹¸ÃÃÁ¢Í§»ÃÐà·Èã¹ÀÙÁÔÀÒ¤àÍàªÕÂ

øó øô øõ ø÷

ºÃóҹءÃÁ

ùô ñð÷


กระตุน้ ความสนใจ Engage

หนวยการเรียนรูที่

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expore

Explain

Expand

Evaluate

1. บอกความสําคัญและคุณลักษณะของ พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย 2. ปฏิบัติตนตามสถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ และหนาที่ของประชาชนชาวไทย ในฐานะพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย 3. บอกแนวทางสงเสริมการปฏิบัติตนเปน พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย

พลเมืองดีตามวิถี ประชาธิปไตย ตัวชี้วัด ■

สมรรถนะของผูเรียน

เห็นคุณคาในการปฏิบัติตนตามสถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ หนาที่ในฐานะพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย (ส ๒.๑ ม.๒/๒)

1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการใชทกั ษะชีวิต

สาระการเรียนรูแกนกลาง ■

สถานภาพ บทบาท สิทธิเสรีภาพ หนาที่ในฐานะพลเมืองดี ตามวิถีประชาธิปไตย แนวทางสงเสริมใหปฏิบตั ติ นเปนพลเมืองดีตามวิถปี ระชาธิปไตย

เปาหมายการเรียนรู

การอยู  ร  ว มกั น ในสั ง คมประชาธิ ป ไตย สมาชิกทุกคนจะตองรูจักบทบาทหนาที่ของตน ในฐานะพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย คือ ตอง เปนบุคคลที่มีคุณธรรม และจริยธรรมเปนหลัก ในการดําเนินชีวิต รูจักการทํางานรวมกัน มี สวนรวมรับผิดชอบในกิจกรรมทางสังคม เคารพ กติ ก าของสั ง คมประชาธิ ป ไตยด ว ยการเข า ไป มีสวนรวมในกิจกรรมทางการเมือง เศรษฐกิจ และสั ง คมของประเทศด ว ยความรั บ ผิ ด ชอบ และมี จิ ต สํ า นึ ก ที่ ดี ซึ่ ง ถ า ทุ ก คนตระหนั ก ถึ ง ความสําคัญและปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีตาม วิถีประชาธิปไตยได ยอมสงผลตอการพัฒนา ประเทศใหเจริญกาวหนา และจะชวยใหการอยู รวมกันในสังคมดําเนินไปไดอยางสงบสุข รวมทัง้ จรรโลงให ก ารปกครองระบอบประชาธิ ป ไตย มีความมั่นคง

คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. 2. 3. 4.

รักชาติ ศาสน กษัตริย ซื่อสัตย สุจริต มีวินัย มีจิตสาธารณะ

กระตุน้ ความสนใจ

Engage

ครูใหนักเรียนอานขอความในบัตรคําที่กลาววา “ประชาธิปไตยคือการปกครองของประชาชน โดย ประชาชน และเพื่อประชาชน” จากนั้นใหนักเรียน รวมกันอภิปรายวา ขอความดังกลาวสะทอนถึง ความหมายของประชาธิปไตยอยางไร (แนวตอบ ประชาธิปไตยเปนการปกครอง ที่ถือวาประชาชนทุกกลุม ทุกเพศ ทุกวัย ทุกอาชีพ มีสิทธิ หนาที่ และความรับผิดชอบ ตอบานเมืองเทาเทียมกัน ทัง้ ในดาน การปกครองและการดําเนินชีวิตของตนเอง)

เกร็ดแนะครู การเรียนเรื่องพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย มุงใหนักเรียนตระหนักถึงความ สําคัญในการปฏิบัติตนตามสถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ และหนาที่ ในฐานะ พลเมืองดีตามวิถปี ระชาธิปไตย รวมถึงทราบแนวทางทีช่ ว ยสงเสริมการการปฏิบตั ติ น เปนพลเมืองดีไดอยางเหมาะสมและสามารถปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีของสังคมซึ่งครู ควรจัดการเรียนรูโดยใหนักเรียนทํากิจกรรมตอไปนี้ • สํารวจคนควาขอมูลเกี่ยวกับสถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ หนาที่ และ แนวทางปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย • อธิบายสถานภาพ บทบาทของตัวเอง รวมถึงสิทธิ เสรีภาพ และหนาที่ ของตนเอง • เขียนบรรยายการปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยของตนเอง พรอมทั้งบอกผลดีที่เกิดจากการปฏิบัติ

คู่มือครู

1


กระตุน้ ความสนใจ Engage

ส�ารวจค้นหา

กระตุน้ ความสนใจ

Expore

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Elaborate

Evaluate

Engage

ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับคุณลักษณะของ พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย แลวตั้งคําถาม กระตุนความสนใจ • ในการดําเนินชีวิตประจําวัน นักเรียนสามารถ ปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ไดอยางไร (แนวตอบ เคารพสิทธิ เสรีภาพของกันและกัน ยอมรับความคิดเห็นของผูอื่น และใชเหตุผล เปนหลักในการแกใขปญหาตางๆ) • การปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีตามวิถี ประชาธิปไตย มีความสําคัญตอประเทศชาติ อยางไร (แนวตอบ มีความสําคัญ เพราะเปนแนวทาง พื้นฐานในการปฏิบัติตนตอผูอื่น ซึ่งจะทําให สมาชิกในสังคมสามารถอยูรวมกันไดอยาง มีความสุข และสามารถพัฒนาประเทศชาติให กาวหนาไปไดอยางมั่นคง มีความเปนระเบียบ เรียบรอย)

ส�ารวจค้นหา

ñ. ¾ÅàÁ×ͧ´ÕµÒÁÇÔ¶Õ»ÃЪҸԻäµÂ การปกครองระบอบประชาธิปไตยเปนการปกครองที่ประชาชนมีส่วนร่วมในการปกครอง เปนการสนองความตองการพื้นฐานทางธรรมชาติของมนุษย ที่มีความตองการเสรีภาพ ความ เสมอภาค และการเคารพในศักดิ์ศรีของความเปนมนุษย การดําเนินชีวิตในสังคมประชาธิปไตยนั้นจะตองปฏิบัติตนใหสอดคลองกับหลักการและ อุดมคติของประชาธิปไตย กล่าวคือ ตองยอมรับว่าทุกคนเสมอภาคกัน เคารพสิทธิเสรีภาพของกัน และกัน รวมทั้งจะตองปฏิบัติหนาที่และรับผิดชอบต่อครอบครัว สังคม และประเทศชาติอย่าง เคร่งครัด 1 อดีตประธานาธิบดีเอบราแฮม ลิงคอลน แห่งสหรัฐอเมริกา ไดแสดงวาทะเกี่ยวกับคําว่า “ประชาธิปไตย” ไวว่า “ประชาธิปไตยคือการปกครองของประชาชน โดยประชาชน และเพื่อ ประชาชน” จากวาทะดังกล่าว สามารถช่วยสะทอนความหมายของประชาธิปไตยไดวา่ “เปนการปกครอง ที่ถือวาประชาชนทุกกลุม ทุกเพศ ทุกฐานะ และทุกอาชีพ มีสิทธิ หนาที่ และความรับผิดชอบตอ บานเมืองเทาเทียมกัน ทั้งในดานการปกครองและการดําเนินชีวิตของตนเอง” ซึ่งสามารถแยก อธิบายเปนสองความหมายได ดังนี้ ๑. ประชาธิปไตยในดานการปกครอง หมายถึง ระบอบการปกครองที่เปดโอกาสให ประชาชนมีสิทธิที่จะปกครองตนเองหรือเลือกผูแทนเขาไปทําหนาที่ปกครองประเทศแทนตน ๒. ประชาธิปไตยในดานการดําเนินชีวติ หมายถึง การดําเนินชีวติ ของประชาชนตาม วิถีทางประชาธิปไตย อันไดแก่ การเคารพสิทธิเสรีภาพของกันและกัน การยอมรับความคิดเห็น ของผูอื่น และการใชเหตุผลเปนหลักในการพิจารณาปญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นในสังคม โดยใชเสียง ขางมากเปนแนวทางในการแกไขปญหานั้นๆ อย่างสันติวิธี การปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยมีความสําคัญต่อประเทศในทุกดาน เช่น ทําใหสงั คมและประเทศชาติมกี ารพัฒนาไปไดอย่างมัน่ คง และมีความเปนระเบียบเรียบรอย เพราะ เมื่อสมาชิกทุกคนในสังคมปฏิบัติตนตามบทบาทหนาที่ดวยความรับผิดชอบ เสียสละประโยชน ส่วนตนเพื่อประโยชนส่วนรวม ปฏิบัติตนตามกฎระเบียบ กติกาของสังคม ไม่ละเมิดสิทธิของผูอื่น มีความเอื้อเฟอเผื่อแผ่และมีนํ้าใจต่อกัน โดยยึดหลักธรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ เปนพื้นฐานใน การปฏิบัติต่อผูอื่น ก็ย่อมจะทําใหสมาชิกในสังคมสามารถอยู่ร่วมกันไดอย่างมีความสุข เกิดความ สัมพันธที่ดีระหว่างสมาชิกในสังคม และย่อมจะทําใหการดําเนินงานตามนโยบายต่างๆ เพื่อสราง ความเจริญกาวหนาใหกับประเทศชาติใหเปนไปตามที่แถลงไวในรัฐสภา รวมทั้งประเทศไทยก็จะ เจริญกาวหนาทัดเทียมกับนานาอารยประเทศได

Explore

ครูใหนักเรียนศึกษาคนควาเกี่ยวกับลักษณะ สําคัญของสังคมประชาธิปไตย และคุณลักษณะของ พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย จากหนังสือเรียน หนา 3-6 หรือจากแหลงการเรียนรูตางๆ เชน หองสมุด หนังสือกฎหมาย เปนตน ศึกษาวิเคราะห ขอมูลแลวนํามาอภิปรายรวมกันในชัน้ เรียน

นักเรียนควรรู 1 เอบราแฮม ลิงคอลน ประธานาธิบดีคนที่ 16 ของสหรัฐอเมริกา ดํารงตําแหนง ระหวาง ค.ศ. 1861-1865 เปนผูที่ดําเนินการประกาศยกเลิกระบบทาสใน สหรัฐอเมริกาไดสําเร็จ และเปนบุคคลที่ประสบความสําเร็จในการบริหารประเทศ ตามแนวทางประชาธิปไตย เอบราแฮม ลิงคอลน ถูกลอบสังหารเมื่อ ค.ศ. 1865

บูรณาการอาเซียน ครูเพิ่มเติมความรูวา การปฏิบัติตนตามวิถีประชาธิปไตยไดอยางถูกตอง จะเปนประโยชนตอ การเขาสูป ระชาคมอาเซียน เนือ่ งจากในเสาหลักแรกของอาเซียน หรือประชาคมการเมืองและความมัน่ คงของอาเซียน (ASEAN Political Security Community - APSC) มีจุดมุงหมายสําคัญเพื่อสงเสริมสันติภาพใหประเทศ สมาชิกอาเซียนอยูรวมกันไดอยางสันติ และมีคานิยมรวมกันในการสงเสริมระบอบ ประชาธิปไตย

2

คู่มือครู

บูรณาการเชื่อมสาระ

ครูสามารถนําหัวขอพลเมืองดีตามวิถปี ระชาธิปไตย ไปบูรณาการเชือ่ มโยง กับสาระการเรียนรู ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม (พระพุทธศาสนา) ในหัวขอ การปฏิบัติตนเพื่อการอยูรวมกันอยางสันติสุข ซึ่งจะมีหลักธรรม ที่ชวยแกปญหาความรุนแรง เชน การใชพรหมวิหาร 4 กับสันติสุข หรือ อธิปไตย 3 กับสันติสุข เปนตน โดยหลักธรรมเหลานี้มีความสอดคลองกับ แนวประชาธิปไตยซึ่งคนในสังคมประชาธิปไตยควรนําไปปฏิบัติอยางยิ่ง


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู้ Explain

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู้

1. ครูสุมนักเรียนใหออกมาอธิบายเกี่ยวกับ ลักษณะสําคัญของสังคมประชาธิปไตย และ ครูตั้งคําถามใหนักเรียนชวยกันตอบ เชน • เหตุใดในสังคมประชาธิปไตยจึงถือวา อํานาจอธิปไตยเปนของประชาชน (แนวตอบ เพราะระบอบประชาธิปไตยมี เปาหมายสําคัญใหประชาชนเขามามีสว นรวม ในการคิดและตัดสินใจทางการเมืองการ ปกครองอยางเทาเทียมกัน) 2. ครูใหนักเรียนยกตัวอยางการปฏิบัติตนที่แสดง ใหเห็นถึงการเปนสังคมทีย่ ดึ หลักความเสมอภาค (แนวตอบ เชน นักเรียนทุกคนในชั้นเรียนมีสิทธิ ในการแสดงความคิดเห็น มีสิทธิในการลง คะแนนเลือกตั้งประธานนักเรียน เปนตน) 3. ครูยกตัวอยางการมีเสรีภาพในการนับถือ ศาสนาในประเทศไทย ใหนักเรียนชวยกัน แสดงความคิดเห็นและตัง้ ประเด็นอภิปรายวา การที่ประชาชนมีเสรีภาพในการนับถือ ศาสนา สะทอนถึงลักษณะสําคัญของสังคม ประชาธิปไตยอยางไร (แนวตอบ การปกครองระบอบประชาธิปไตย จะตองยึดหลักนิติธรรม กลาวคือ ประชาชน มีสิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐานภายใตการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมีรัฐธรรมนูญเปนหลัก ประกันทางกฎหมาย)

๑.๑ ลักษณะสําคัญของสังคมประชาธิปไตย

โดยทั่วไปลักษณะที่เรียกไดว่าเปน “สังคมประชาธิปไตย” คือ สังคมที่ผูคนส่วนใหญ่ของ ประเทศมีวฒ ั นธรรมทางการเมืองแบบประชาธิปไตย ยอมรับ และเชือ่ มัน่ หลักการทางการปกครอง แบบประชาธิปไตย สังคมประชาธิปไตยมีลักษณะที่สําคัญ ดังนี้ ๑) อํานาจอธิปไตยเปนของปวงชน หมายถึง ประชาชนผูเปนพลเมืองของรัฐ 1 เปนเจาของอํานาจสูงสุดหรืออํานาจอธิปไตยในการปกครองประเทศ ประเทศที่ปกครองระบอบ ประชาธิปไตยตองมีรัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศหรือเปนแม่บทของ กฎกติกาของสังคม เพื่อใชกาํ หนดแนวทางสําหรับฝายปกครอง ในบางประเทศรัฐธรรมนูญอาจไม่ ไดจัดทําเปนลายลักษณอักษรก็ได ดังนัน้ ลักษณะสําคัญประการหนึง่ ของสังคมประชาธิปไตย ก็คอื ประเทศตองเปดโอกาส ใหประชาชนปกครองตนเองหรือเลือกผูแ ทนไปปกครองแทนตน ตามทีร่ ฐั ธรรมนูญอันเปนกฎหมาย สูงสุดในการปกครองประเทศกําหนดไว ซึ่งหากประเทศใดที่ปกครองระบอบประชาธิปไตย แต่ไม่ เปดโอกาสใหประชาชนมีส่วนร่วมในกระบวนการปกครองประเทศตามที่รัฐธรรมนูญกําหนด เช่น ไม่อนุญาตใหประชาชนแสดงความคิดเห็น หรือวิพากษวจิ ารณการทํางานของรัฐบาลและขาราชการ ก็ไม่อาจถือไดว่าประเทศนั้นเปนประชาธิปไตยอย่างสมบูรณได เปนตน ๒) เปนสังคมที่ยึดหลักความเสมอภาค สังคมประชาธิปไตยจะยึดหลักการว่า พลเมืองทุกคนมีความเท่าเทียมกันตามกฎหมายในฐานะพลเมืองของรัฐ ไม่ว่าเชื้อชาติใด ศาสนา ใด ภาษาใด ถิน่ กําเนิดใด หรือเพศใด เช่น ประชาชนทุกคนมีสทิ ธิออกเสียงลงคะแนนเลือกตัง้ คนละ หนึง่ เสียงโดยเท่าเทียมกัน และไดรบั การบริการ จากรัฐอย่างเท่าเทียมกัน เปนตน

๓) เป2 น สั ง คมที่ ค นในสั ง คม ยึดหลักนิติธรรม เปนหลักในการปกครอง

ประเทศและในการดําเนินชีวิต หมายความว่า ประเทศทีป่ กครองดวยระบอบประชาธิปไตยตอง มี รั ฐ ธรรมนู ญ ที่ ใ ห ห ลั ก ประกั น ทางกฎหมาย เกี่ยวกับสิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐานของประชาชน เอาไว ซึ่งรัฐบาลจะละเมิดมิได เช่น สิทธิใน ทรัพยสิน เสรีภาพในการนับถือศาสนา เปนตน

Explain

การเป ด โอกาสให ป ระชาชนมี ส  ว นร ว มในการปกครอง ประเทศด ว ยการไปใช สิ ท ธิ เ ลื อ กตั้ ง เป น ลั ก ษณะสํ า คั ญ ประการหนึ่งของสังคมประชาธิปไตย

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ลักษณะในขอใดที่แสดงถึงการเปนสังคมประชาธิปไตย 1. มีผูนําทางการเมืองที่มาจากการแตงตั้ง 2. ประชาชนยอมรับความแตกตางทางความคิด 3. เมื่อเกิดความขัดแยงมักใชความรุนแรงในการแกปญหา 4. รัฐบาลมีอํานาจในการแทรกแซงการเผยแพรขาวสารของสื่อมวลชน

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 2. เพราะในสังคมประชาธิปไตย ประชาชน ทุกคนมีสิทธิเสรีภาพเทาเทียมกัน ทุกคนมีสิทธิที่แสดงออกซึ่งความเปน ประชาธิปไตยโดยอยูภายใตกฎหมาย เมื่อสังคมมีความคิดเห็นที่แตกตางกัน จะตองใชหลักเหตุและผลในการตัดสินปญหาและขอขัดแยงเพื่อการอยูรวม กันอยางสงบสุข

นักเรียนควรรู 1 อํานาจอธิปไตย อํานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ อันไดแก • อํานาจนิติบัญญัติ (รัฐสภา) คือ อํานาจในการออกกฎหมาย • อํานาจบริหาร (คณะรัฐมนตรี) คือ อํานาจในการบริหารประเทศ โดยการนํา กฎหมายมาบังคับใช • อํานาจตุลาการ (ศาล) คือ อํานาจในการดําเนินคดีตามกฎหมาย โดยอํานาจทั้งสามจะเปนอิสระจากกัน มีการคานอํานาจซึ่งกันและกัน เพือ่ ปองกันไมใหอาํ นาจใดอํานาจหนึง่ มีอาํ นาจมากกวากัน เพือ่ ปดกัน้ การใชไปในทาง ที่ผิดแลวสรางความเดือดรอนใหกับประชาชน 2 หลักนิติธรรม เปนหลักกฎหมาย ซึ่งในการปกครองระบอบประชาธิปไตย หมายถึง การปกครองที่ทุกคนมีความเสมอภาคกันตามกฎหมาย ไมมีผูใดอยูเหนือ กฎหมาย หรือมีอภิสิทธิ์ใดๆ ทั้งสิ้น สิทธิเสรีภาพของมนุษยตองไดรับการยอมรับ และนับถือ บุคคลจะมีความผิดเมื่อมีกฎหมายบัญญัติวาเปนความผิด บุคคลจะถูก ลงโทษ ตองกระทําโดยการพิจารณาพิพากษาของศาลยุติธรรมที่มีอํานาจอิสระและ เด็ดขาดตามกฎหมายของรัฐ คู่มือครู 3


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Elaborate

Evaluate

Explain

1. ครูใหนักเรียนดูภาพการลงคะแนนเลือกตั้งใน หนังสือเรียนหนา 4 แลวตั้งคําถามใหนักเรียน รวมกันอภิปรายวา จากภาพสะทอนใหเห็นถึง ลักษณะของสังคมประชาธิปไตยอยางไร (แนวตอบ คนในสังคมมีสทิ ธิเสรีภาพในการเลือก ตัวแทนเขาไปทําหนาที่แทนตนเองในกิจการ สวนรวม เพื่อสรางประโยชนแกสวนรวม) 2. ใหนกั เรียนเขียนบันทึกประสบการณการเขารวม กิจกรรมประชาธิปไตย เชน การเลือกตั้ง ประธานนักเรียน การเลือกตั้งประธานชมรม เปนตน แลวอธิบายวาประสบการณนี้สอนให เปนพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยอยางไร 3. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมที่ 1.7 จากแบบวัด หนาที่พลเมืองฯ ม.2

๔) เปนสังคมที่ยึดหลักการประนีประนอม สมาชิกในสังคมประชาธิปไตยจะตอง

รูจักยอมรับความคิดเห็นของผูอื่น ไมดึงดันแตความคิดของตนเปนสําคัญ พยายามที่จะประสาน ความคิดของตนใหสอดคลอง หรือประสานประโยชนกบั ทรรศนะของคนอืน่ ใหได เพือ่ ปองกันความ ขัดแยง ไมยึดมั่นในความคิดของตนอยางไมยอมผอนปรนแกไข และตองใชเหตุผลใหมากที่สุด ในการตัดสินปญหาตางๆ 1 หลักการประนีประนอม คือ การยอมรับการแกไขปญหาความขัดแยงโดยสันติวิธี ดวยการยอมผอนปรนใหแกกัน ผูที่มีจิตใจเปนประชาธิปไตยตองไมนิยมการแกไขปญหาดวยวิธี รุนแรง เพราะ “ปรัชญาประชาธิปไตยโดยพื้นฐานไมปรารถนาใหมีการใชกําลัง และการลมลาง ดวยวิธีการรุนแรง เพราะถามีการใชกําลังและความรุนแรงแลว ก็แสดงใหเห็นวามนุษยไมมีหรือ ไมใชเหตุผล ซึ่งจะขัดกับหลักความเชื่อขั้นมูลฐานของประชาธิปไตยที่ถือวามนุษยมีเหตุผล” ๕) การยอมรับการตัดสินใจของฝายขางมาก โดยฝายขางมากก็จะตองเคารพ ความคิดเห็นที่แตกตางของฝายขางนอย หมายความวา ในประเทศประชาธิปไตยนั้น ประชาชน2 แตละกลุม ทีม่ ผี ลประโยชนและอาชีพแตกตางกัน ยอมจะมีความคิดเห็นแตกตางกันหรือขัดแยงกัน เกีย่ วกับแนวทางการแกปญ หาของสังคมหรือประเทศ แตเมือ่ องคกรทีม่ อี าํ นาจตัดสินชีข้ าดปญหา นัน้ เชน สภาผูแ ทนราษฎร หรือคณะรัฐมนตรี ไดตดั สินเรือ่ งทีเ่ ปนปญหานัน้ ดวยเสียงขางมากแลว

✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ หนาที่พลเมืองฯ ม.2 กิจกรรมที่ 1.7 หนวยที่ 1 พลเมืองดีตามวิถีประชิธิปไตย กิจกรรมที่ ๑.๗ ให นั ก เรี ย นบั น ทึ ก การปฏิ บั ติ ต นเป น พลเมื อ งดี ต ามวิ ถี ประชาธิปไตยในระยะเวลา ๑๐ วัน โดยเขียนลงในตารางที่ กําหนดใหครบถวน (ส ๒.๑ ม.๒/๒)

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได

ñð

วัน เดือน ป

สิ่งที่ปฏิบัติ

เกิดประโยชน

ผูสังเกตการณ

๑ มีนาคม ๒๕๕๔

ไปโรงเรียนแตเชา แตงกายถูก …………………………………………………..

ทําใหเราเปนคนมีระเบียบวินยั และ …………………………………………………..

คุณแม ……………………………..

ระเบียบ และตัง้ ใจศึกษาหาความรู …………………………………………………..

มีความรูท จี่ าํ เปนตอการดําเนินชีวติ …………………………………………………..

ครูประจําชัน้ ……………………………..

เขารวมกิจกรรมเลือกตั้งประธาน ………………………………………………….. เป น การส ง เสริ ม แนวทางตาม …………………………….. ครูประจําชัน้ ๒ มีนาคม ๒๕๕๔ ………………………………………………….. นักเรียน …………………………………………………..

กระบวนการประชาธิปไตย …………………………………………………..

……………………………..

แสดงความคิดเห็นในหองเรียน ………………………………………………….. ทําใหมีการเปดกวางทางความคิด …………………………….. สุดา ๓ มีนาคม ๒๕๕๔ ………………………………………………….. และรับฟงความเห็นของผูอ นื่ …………………………………………………..

อยางมีเหตุผล …………………………………………………..

……………………………..

เขารวมกิจกรรมทําความสะอาด ………………………………………………….. เปนการชวยกันรักษา ประธานหมูบ า น ๔ มีนาคม ๒๕๕๔ ………………………………………………….. ……………………………..

๕ มีนาคม ๒๕๕๔ ๖ มีนาคม ๒๕๕๔ ๗ มีนาคม ๒๕๕๔ ๘ มีนาคม ๒๕๕๔ ๙ มีนาคม ๒๕๕๔ ๑๐ มีนาคม ๒๕๕๔

ถนนในชุมชน …………………………………………………..

สาธารณประโยชน …………………………………………………..

……………………………..

…………………………………………………..

…………………………………………………..

……………………………..

…………………………………………………..

…………………………………………………..

……………………………..

…………………………………………………..

…………………………………………………..

……………………………..

…………………………………………………..

…………………………………………………..

……………………………..

…………………………………………………..

…………………………………………………..

……………………………..

…………………………………………………..

…………………………………………………..

……………………………..

…………………………………………………..

…………………………………………………..

……………………………..

…………………………………………………..

…………………………………………………..

……………………………..

…………………………………………………..

…………………………………………………..

……………………………..

…………………………………………………..

…………………………………………………..

……………………………..

…………………………………………………..

…………………………………………………..

……………………………..

…………………………………………………..

…………………………………………………..

……………………………..

ฉบับ

เฉลย

การลงคะแนนเสียงเลือกตั้งนับเปนตัวอยางหนึ่งของการสอนใหรูจักการใชเสียงขางมากในการเลือกบุคคลที่จะมาเปน ตัวแทนของนักเรียน

(พิจารณาจากสิง่ ทีน่ กั เรียนปฏิบตั ิ โดยใหอยูใ นดุลยพินจิ ของครูผสู อน)

๑๑

นักเรียนควรรู 1 หลักการประนีประนอม คือ การไมถือเอาความคิดหรือความเชื่อของ ตนเองถูกตองเพียงฝายเดียว จะตองรับฟงความคิดเห็นของผูอื่นดวยความจริงใจ เพื่อนํามาปรับปรุงความคิดของตนเองใหถูกตอง ไมวากลาวหาผูอื่นอยางไรเหตุผล โดยใหคดิ เสมอวาความจริงในเรือ่ งเดียวกันอาจแสดงออกไดหลายรูปแบบหลายแงมมุ แมวาจะมีจุดยืนเปนของตนเอง แตก็ตองเคารพจุดยืนของผูอื่นดวยเชนกัน เพื่อสรางความเขาใจอันดีตอกันในระยะยาว 2 ความคิดเห็นแตกตางกันหรือขัดแยงกัน ในสังคมประชาธิปไตยทุกคนมีสิทธิ เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น แสดงเหตุผล จึงอาจทําใหมีความคิดเห็นที่ แตกตางและขัดแยงกันได ดังนั้น จึงตองใชหลักเหตุผลในการพูดคุยแกปญหา เพื่อลดความขัดแยงดังกลาว ทั้งนี้โดยไมใชความรุนแรง

4

คูมือครู

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’ 52 ออกเกี่ยวกับปจจัยสําคัญที่ชวยเกื้อหนุนใหการเมือง การปกครองไทยประสบความสําเร็จ ความสําเร็จในดานการเมืองการปกครองของไทย จําเปนตองมีสิ่งใด เกื้อหนุน 1. จารีตประเพณี 2. วัฒนธรรมประชาธิปไตย 3. คานิยม “เดินตามหลังผูใหญหมาไมกัด” 4. คานิยม “เปนผูนอยคอยกมประนมกร” วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 2. เพราะประเทศไทยมีการปกครองใน ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท รงเปนประมุข การปกครองไทยจะ ประสบความสําเร็จไดประชาชนจะตองมีวฒ ั นธรรมประชาธิปไตย เชน การเคารพในสิทธิเสรีภาพ การใชเหตุผลในการแกปญ  หา การยอมรับเสียง ขางมาก การเคารพในกฎหมายและกติกาของสังคม แกปญ  หาดวยสันติวธิ ี การ มีสว นรวมในกิจกรรมของสวนรวมและสังคม เปนตน โดยคนไทยทัง้ ประเทศจะ ตองมีความเขาใจในหลักการของประชาธิปไตย ตระหนักในสิทธิเสรีภาพของ ตนเองไดถกู ตองเหมาะสม โดยสถาบันการศึกษาบทบาทสําคัญในการใหความรู และจัดใหนกั เรียนไดทาํ กิจกรรมทางดานประชาธิปไตยอยางตอเนือ่ ง


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู้ Explain

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู้

1. ครูใหนักเรียนอภิปรายรวมกันถึงความ สําคัญของหลักการใชเหตุผลในสังคม ประชาธิปไตย แลวตั้งคําถาม • นักเรียนใชเหตุผลเปนเครื่องมือในการ กําหนดการกระทําสิ่งตางๆ ในชีวิต ประจําวันอยางไร (แนวตอบ ในการกระทําสิ่งตางๆ เราจะตอง อาศัยเหตุผลเปนเครื่องมือในการพิจารณา ไตรตรองเพื่อตัดสินใจเลือกกระทํา เชน การใชเหตุผลเพื่อพิจารณาขาว เหตุการณ ปจจุบันจากสื่อตางๆ การใชเหตุผลเพื่อ แสดงความคิดเห็นในชั้นเรียนและใน แหลงชุมชน เปนตน) • หากจะตองทํางานรวมกับบุคคลทีม่ อี าวุโส มากกวา นักเรียนจะปฏิบัติตนอยางไร ในฐานะพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย (แนวตอบ ในสังคมประชาธิปไตยจะตอง เคารพเหตุผลมากกวาบุคคล กลาวคือ ในการทํางานรวมกัน ทุกคนจะตองรูจัก รับฟงความคิดเห็นของทุกฝาย โดยใชเหตุผล ในการพิจารณาไตรตรองและโตแยงเพื่อ แสวงหาความจริง โดยจะตองเคารพใน ศักดิ์ศรีซึ่งกันและกัน) 2. ใหนักเรียนบอกแนวทางการปฏิบัติตนเพื่อ รักษาสมบัติของสวนรวมหรือสมบัติสาธารณะ (แนวตอบ เชน การดูแลแหลงนํ้าภายในชุมชน โดยไมทิ้งขยะลงแหลงนํ้า ไมทําลายสัตวนํ้า มีการวางแผนเพื่อใชนํ้าใหไดประโยชนสูงสุด เปนตน)

ปญหาความขัดแยงนั้นก็ควรจะตองยุติ หรือตัวอย่างในโรงเรียน ถานักเรียนส่วนมากในโรงเรียน เห็นว่านักเรียนควรช่วยกันพัฒนาโรงเรียนวันละครึ่งชั่วโมง แต่ขณะเดียวกันก็มีนักเรียนส่วนนอย ที่ไม่เห็นดวย นักเรียนฝายขางมากก็ไม่ควรจะใชกําลังบังคับนักเรียนฝายขางนอยที่ไม่เห็นดวยให ปฏิบตั ติ าม แต่ควรใชเหตุผลโนมนาว จูงใจใหนกั เรียนฝายขางนอยยินดีปฏิบตั ติ ามดวยความเต็มใจ ความขัดแยงก็จะไม่เกิดขึ้น เปนตน

๖) เป น สั ง คมที่ ยึ ด หลั ก การ เคารพเหตุผล คนในสังคมประชาธิปไตยจะตอง

เปนผูที่เคารพเหตุผลมากกว่าบุคคล ไม่ศรัทธา บุคคลใดถึงขั้นปูชนียบุคคล โดยไม่ว่าคนๆ นั้น จะคิดอ่านหรือมีทรรศนะอย่างไร ก็เห็นดีเห็นงาม ว่าถูกตองไปเสียทัง้ หมด จะตองยอมรับว่าทุกคน มีสติปญญาและเหตุผลในวงจํากัด โดยอาจมี ทรรศนะทีถ่ กู ตองในเรือ่ งหนึง่ และอาจไม่ถกู ตอง ในอีกเรื่องหนึ่งได ประชาธิปไตยจะดําเนินไปได การรูจักรับฟงความคิดเห็นของผูอื่นถือเปนการปฏิบัติตน ดวยดีก็ต่อเมื่อมีการรับฟงความคิดเห็นของ ตามแนวทางประชาธิปไตย ทุกฝาย เพื่อคนหาเหตุผลและความถูกตองที่ แทจริงนั่นเอง เพราะเหตุผลเท่านั้นที่จะจรรโลงใหประชาธิปไตยดําเนินไปได ๗) ประชาชนทุกคนมีความรับผิดชอบตอสวนรวม ความรับผิดชอบต่อส่วนรวม จะเกิดขึ้นจากความรูสึกของคนในสังคมว่าตนเปนเจาของประเทศ และประเทศเปนของคนทุกคน ซึ่งการประพฤติปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีที่มีความรับผิดชอบ เช่น การช่วยกันรักษาสมบัติของ ส่วนรวมหรือสมบัติสาธารณะ เช่น ปาไม แหล่งนํ้า เปนตน

๑.๒ คุณลักษณะพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย

ในสังคมประชาธิปไตยนั้น ประชาชนทุกคนมีสิทธิเสรีภาพอย่างเท่าเทียมกัน และทุกคนจะ ตองปฏิบัติตามบทบัญญัติของกฎหมายอย่างเคร่งครัด สังคมประชาธิปไตยจึงจะสามารถพัฒนา กาวหนาและอํานวยความผาสุกใหแก่สมาชิกในสังคมได ทั้งนี้ สมาชิกของสังคมควรมีคุณลักษณะ ที่สอดคลองกับหลักการของระบอบประชาธิปไตย โดยคุณลักษณะที่สําคัญของพลเมืองดีตามวิถี ประชาธิปไตย มีดังนี้ ๑) ตองเปนบุคคลที่เคารพในเหตุผล พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยตองเปนผูมี คุณลักษณะทีเ่ คารพในเหตุผลของผูอ นื่ ขอเท็จจริงทีเ่ ปนทีป่ ระจักษ รับฟงความคิดเห็นของทุกฝาย เพื่อคนหาเหตุผลและความถูกตองที่แทจริง

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

หากนักเรียนสนทนากับเพื่อนแลวมีความคิดเห็นไมตรงกัน นักเรียนควรทําอยางไรจึงถือไดวาเปนการปฏิบัติตามวิถีประชาธิปไตย 1. ตอวาเพื่อนอยางรุนแรง 2. ไมสนทนากับเพื่อนคนนั้นอีก 3. รับฟงความคิดเห็นของเพื่อน 4. เลิกคบหาสมาคมกับเพื่อนคนนี้

วิเคราะหคาํ ตอบ ตอบขอ 3. หลักการสําคัญขอหนึง่ ตามวิถปี ระชาธิปไตย คือ การเคารพในความคิดเห็นทีแ่ ตกตางของผูอ นื่ ซึง่ การรับฟงความคิดเห็น ของผูอื่นและแสดงความคิดเห็นของตนเองอยางมีเหตุผล จะชวยลดความ ขัดแยงและสรางความเขาใจอันดีตอกัน

Explain

เกร็ดแนะครู ครูอาจใหนักเรียนทํากิจกรรมรวมกัน เพื่อสงเสริมคุณลักษณะของพลเมืองดี ตามวิถีประชาธิปไตย เชน จัดการเสวนารวมกันหาแนวทางรักษาความสะอาด บริเวณโรงเรียน หรือใหรวมกันแสดงความคิดเห็นในการรักษาภูมิทัศนของโรงเรียน เปนตน ซึ่งจะเปนการปลูกฝงใหนักเรียนรูจักการแสดงความคิดเห็น การรับฟงความ คิดเห็นผูอื่น และการมีสวนรวมในกิจกรรมที่เปนประโยชนตอสวนรวมตามแนวทาง ประชาธิปไตย

มุม IT ศึกษาคนควาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับพลเมืองดีในสังคมประชาธิปไตย ไดที่ http://km.ru.ac.th/hrd/Journal/vol_1No1/chalida_2.pdf

คู่มือครู

5


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู้

อธิบายความรู้ Explain

Elaborate

Evaluate

๒) ตองเคารพศักดิศ์ รีความเปนมนุษย พลเมืองดีตามวิถปี ระชาธิปไตยตองเคารพ

ศักดิ์ศรีของความเปนมนุษยที่เท่าเทียมกัน โดยไม่มีการเลือกปฏิบัติที่ไม่เปนธรรมหรือดูหมิ่น เหยียดหยามกัน ยึดหลักความเท่1าเทียมกันในสิทธิ เสรีภาพ การมีส่วนร่วมทางการเมือง ทาง เศรษฐกิจ และใหโอกาสทางสังคม 2 ๓) ต อ งเป น บุ ค คลที่ มี จิ ต สาธารณะ คือ มีสํานึกในการมีส่วนร่วมรับรู สิทธิ เสรีภาพ และหนาทีข่ องตน และของบุคคล อื่นที่อยู่ร่วมเปนสังคมเดียวกัน ตลอดจนเขาไป มีสว่ นร่วมในกิจกรรมทางสังคมดวยความเต็มใจ ดังนั้น พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยตองมี ความรับผิดชอบต่อหนาที่ที่ตนมีต่อครอบครัว โรงเรียน ชุมชน และประเทศชาติ มีความ กระตือรือรนเขามามีสว่ นร่วมในการแกไขปญหา ของชุมชนหรือองคกรที่สังกัดอยู่ เช่น ร่วมมือ พลเมื อ งดี ต ามวิ ถี ป ระชาธิ ป ไตยนั้ น ต อ งเป น บุ ค คลที่ มี กันแกไขปญหาและพัฒนาสภาพแวดลอมของ จิตสาธารณะ ชวยเหลือกันเมื่อพบผูประสบภัย โรงเรียนและชุมชนใหดีขึ้น เปนตน ดังนั้น กล่าวไดว่า จิตสาธารณะเปนองคประกอบที่สําคัญของวิถีประชาธิปไตย ๔) ตองเปนบุคคลที่เคารพกฎหมาย พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยตองเคารพ กฎหมายและปฏิบัติตามกฎหมายของบานเมืองอย่างเคร่งครัด เนื่องจากกฎหมายเปนเครื่องมือ ทีป่ ระสงคใหเกิดความเปนระเบียบ เกิดความสงบสุขในสังคม รวมทัง้ เพือ่ คุม ครองผลประโยชนของ ประชาชนโดยรวม ดังนั้น พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยจึงตองเคารพกฎหมายและช่วยกันทําให กฎหมายบานเมืองมีความศักดิ์สิทธิ์ เช่น การรับราชการทหารตามที่กฎหมายบัญญัติ ไม่บุกรุกที่ สาธารณะ ไม่ขับรถผิดกฎหมาย เปนตน ๕) ตองเปนบุคคลทีม่ คี ณ ุ ธรรม จริยธรรมในการดําเนินชีวติ ประจําวัน พลเมืองดี ตามวิถีประชาธิปไตยตองเปนบุคคลที่มีคุณธรรมและจริยธรรมในการดําเนินชีวิตประจําวันใหเปน ไปตามหลักศาสนา วัฒนธรรมของชาติและชุมชนทีต่ นอาศัยอยู่ อันเปนคุณต่อคนทีย่ ดึ ถือและปฏิบตั ิ ในการดําเนินชีวิต ซึ่งจะช่วยทําใหสงั คมประชาธิปไตยเปนสังคมที่มคี วามสงบสุขและเจริญรุ่งเรือง คุณธรรมและจริยธรรมทีส่ าํ คัญ เช่น ความละอายและเกรงกลัวในการกระทําชัว่ การมีความซือ่ สัตย สุจริต เปนตน ๖

EB GUIDE

นักเรียนควรรู 1 โอกาสทางสังคม การเปดโอกาสใหทุกคนในสังคมไดรับบริการจากรัฐและ หนวยงานตางๆ อยางเทาเทียมกัน เชน การเปดโอกาสใหคนพิการไดเขารับการ ศึกษาและการชวยเหลือจากรัฐ ใหแสดงความสามารถตางๆ รับเขาทํางาน การให ผูที่พนโทษเขารับการศึกษา ฝกอาชีพ และเขาทํางาน เปนตน 2 จิตสาธารณะ หรือจิตอาสา คือ จิตทีค่ ดิ สรางสรรค เปนกุศล และมุง ทําความดี เปนประโยชนตอสวนรวม มีความคิดในทางที่ดี ไมทําลายบุคคล วัฒนธรรม ประเทศชาติ และสิ่งแวดลอม เชน การชวยเหลือกิจกรรมตางๆ ในชุมชน ดังนั้น จึงควรปลูกฝงใหคนในชาติไดเห็นความสําคัญถึงการเขารวมกิจกรรมเพื่อสวนรวม

คู่มือครู

ตรวจสอบผล

Explain

1. ครูใหนกั เรียนรวมกันสัมมนากลุม ยอยเกีย่ วกับ คุณลักษณะสําคัญของพลเมืองดีตามวิถี ประชาธิปไตย แลวสงตัวแทนกลุมออกมา รายงานหนาชั้น 2. ครูใหนักเรียนแตละกลุมรวมกันคิดกิจกรรม จิตอาสาเพื่อพัฒนาโรงเรียนหรือชุมชน แลว เขียนรางแผนงาน นําไปปฎิบัติและบันทึกผล การปฏิบัติ ลงในกระดาษ A4 สงครูผูสอน 3. ใหนักเรียนเขียนเรียงความเกี่ยวกับการดําเนิน ชีวิตภายใตความสัมพันธของกฎหมายและ กฎทางศีลธรรม สงครูผูสอน ครูคัดเลือก เรียงความทีม่ กี ารแสดงทัศนคติทนี่ า สนใจออกมา อานใหเพือ่ นฟง หลังจากนัน้ ครูสรุปเนื้อหา เกีย่ วกับลักษณะสําคัญของสังคมประชาธิปไตย และคุณลักษณะพลเมืองดีตามวิถปี ระชาธิปไตย

6

ขยายความเข้าใจ

http://www.aksorn.com/LC/Civil/M2/01

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’ 53 ออกเกี่ยวกับการพัฒนาประชาธิปไตยในชุมชน พืน้ ฐานสําคัญในการพัฒนาวัฒนธรรมประชาธิปไตยในชุมชนคือขอใด 1. การใหการศึกษาอยางตอเนื่อง 2. การเพิ่มรายไดแกครัวเรือน 3. การจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู 4. การตั้งองคกรเอกชนที่เปนอิสระ วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 3. เพราะกิจกรรมแลกเปลี่ยนความรู เปนการเปดโอกาสใหคนภายในชุมชนไดเขามามีสวนรวมในการคิด ตัดสินใจ รวมถึงการเสนอความคิดเห็นและการรับฟงความคิดของผูอื่น ซึ่งเปนลักษณะสําคัญของการปฏิบัติตามวิถีประชาธิปไตย


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

Engaae

Expore

Explain

ขยายความเข้าใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ขยายความเข้าใจ

Expand

1. ครูใหนกั เรียนจัดทําผังความคิดอธิบายแนวทาง การปฏิบตั ติ นเปนพลเมืองดีตามวิถปี ระชาธิปไตย 2. ครูกําหนดหัวขอความสําคัญของพลเมืองดี 3 ประการ อันไดแก ดานสังคม ดานเศรษฐกิจ และดานการเมืองการปกครอง แลวแบงกลุม นักเรียนออกเปน 3 กลุม ใหตัวแทนกลุม จับฉลากเลือกหัวขอ เพื่อนําไปจัดปายนิเทศ ตามหัวขอของแตละกลุม

เสริมสาระ ความสําคัญของพลเมืองดี พลเมืองดีมีความสําคัญตอประเทศชาติอยางมาก ซึ่งความสําคัญของการเปนพลเมืองดีสามารถจําแนกได ๓ ประการ ดังนี้ ๑. ดานสังคม การเปนพลเมืองดีจะทําใหการอยูรวมกันในสังคมเปนไป อยางสันติสุข เพราะคนในสังคมจะชวยกันรักษาความสงบเรียบรอย และรวมกัน พัฒนาสังคมใหเจริญกาวหนา หลีกเลี่ยงความขัดแยงในสังคม พลเมืองที่ดีจะปฏิบัติ ตนใหเปนตัวอยางแกพลเมืองทีป่ ระพฤติไมดี ในดานการเสียสละตางๆ เพือ่ ประโยชน ของสวนรวมและประเทศชาติ

ตรวจสอบผล

Evaluate

1. ครูตรวจสอบความสมบูรณของผังความคิด แนวทางการปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีตามวิถี ประชาธิปไตย 2. ครูตรวจสอบความสวยงามของปายนิเทศ ทั้ง 3 กลุม

๒. ดานเศรษฐกิจ พลเมื 1 องดีจะตองประกอบสัมมาอาชีพ โดยดํารงชีวิต ตามหลักการเศรษฐกิจพอเพียง ประหยัด และมีการออมทรัพยไวใชในยามจําเปน

๓. ดานการเมืองการปกครอง พลเมืองดีจะเปนผูที่เคารพกฎหมาย รูจัก สิทธิและหนาที่ของตน รวมทั้งไมละเมิดสิทธิของผูอื่น พลเมืองดีนั้นจะรูจักใชสิทธิ และหนาทีข่ องตนเองตามกฎหมาย ตลอดจนมีสว นรวมในกระบวนการทางการเมือง การปกครอง

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’ 52 ออกเกี่ยวกับการเปนพลเมืองดีในสังคมไทย นักเรียนคนใดตอไปนี้ เมื่อเติบโตขึ้นจะเปนพลเมืองดีในสังคมไทย 1. ในการเลือกตั้งประธานนักเรียน มุกตัดสินใจเลือกพลอยเพราะพลอย เปนคนมีความรับผิดชอบ ทั้งๆ ที่ไมไดเปนเพื่อนกลุมเดียวกันกับตน 2. หลังจากปดกิจกรรมกีฬาสี นิลนําเพื่อนไปกินเลี้ยงเพราะตนมีฐานะดี 3. ทุกคนมักจะรักแกว เพราะแกวมักจะเกรงใจผูอื่น 4. แมจะมีเรื่องราวใดๆ เกิดขึ้น มรกตก็ไมรูสึกทุกขรอน วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 1. การกระทําของมุกแสดงถึงการใชเหตุผล ในการตัดสินใจตามวิถีประชาธิปไตย อันเปนลักษณะสําคัญอยางหนึ่งของ การเปนพลเมืองดีในสังคมไทย

เกร็ดแนะครู ครูควรสงเสริมใหนกั เรียนทํากิจกรรมทีป่ ลูกฝงการเปนพลเมืองดี โดยใหฝก ปฏิบิ ตั ิ ภายในโรงเรียน เชน ใหนักเรียนชวยกันประหยัดไฟ ประหยัดนํ้าของโรงเรียน ให นักเรียนชวยกันทําความสะอาดหองเรียน และรวมกันเสนอแนวทางที่จะพัฒนา โรงเรียน เปนตน

นักเรียนควรรู 1 เศรษฐกิจพอเพียง (Suffficieney Economy) เปนปรัชญาที่ชี้แนะแนวทาง ในการดํารงชีวติ อยางมีความสุข เอาตัวรอดได โดยทีต่ นเองและครอบครัวไมเดือดรอน ซึง่ นักเรียนสามารถนําหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใชในชีวติ ประจําวันได เชน การใชจายอยางประหยัด รูจักเก็บออม ไมอยากไดในสิ่งของที่เกินกวาฐานะ ของตน หรือหากอยากไดสิ่งของบางอยาง ก็ตองรูจักเก็บเงินซื้อเองเพื่อชวยแบงเบา ภาระของพอแม เปนตน คู่มือครู

7


กระตุน้ ความสนใจ Engage

ส�ารวจค้นหา

กระตุน้ ความสนใจ

Expore

อธิบายความรู้ Explain

๒.๑ ความหมายและความสํ า คั ญ ของสถานภาพ บทบาท สิ ท ธิ เสรีภาพ และหนาที่ของประชาชนชาวไทย ๑) สถานภาพ หมายถึง ตําแหน่งทางสังคมที่บุคคลไดรับจากการเปนสมาชิกของ

สังคม สถานภาพแบ่งออกไดเปน ๒ ประเภท คือ สถานภาพที่ติดตัวมาแต่กําเนิด เช่น เปนพ่อ เปนแม่ เปนลูก เปนหลาน เปนคนไทย เปนตน และสถานภาพที่ไดมาดวยการใชความรูความ สามารถของบุคคล เช่น เปนครู เปนนักเรียน เปนแพทย เปนตน ๒) บทบาท หมายถึง การปฏิบตั ติ นตามสถานภาพของบุคคลตามกฎหมาย บทบาท ของชนชาวไทยมีอยูอ่ ย่างหลากหลาย เช่น บทบาทของนายดํารงเดชในสถานภาพของนักการเมือง ก็ตองปฏิบัติตามบทบาทของนักการเมือง โดยการดูแลทุกขสุขของประชาชน แต่ในสถานภาพ ของสมาชิกในครอบครัวและของประชาชนนายดํารงเดชก็ตองทําหนาที่ใหสมบทบาทของตน เปนตน และเนื่องจากแต่ละบุคคลมีหลายสถานภาพ ฉะนั้น บทบาทของบุคคลจึงตองปฏิบัติตาม สถานภาพในสถานการณนั้นๆ ๓) สิทธิ หมายถึง ประโยชนของ บุคคลทีก่ ฎหมายใหการรับรองและความคุม ครอง ไว โดยตองไม่ละเมิดสิทธิของบุคคลอื่น หรือไม่ ขัดต่อศีลธรรม เช่น บุคคลผูมีสัญชาติไทยมี สิทธิไดรับการส่งเสริม สนับสนุน และไดรับการ ช่วยเหลือจากรัฐ ตามบทบัญญัตแิ ห่งรัฐธรรมนูญ เช่น สิทธิในการศึกษาเล่าเรียน สิทธิที่จ1ะไดรับ การไดรบั ตําแหนงตางๆ ทีส่ งู ขึน้ นับเปนสถานภาพทีไ่ ดมา บริการสาธารณสุขและสวัสดิการจากรัฐ สิทธิ ดวยการใชความรูความสามารถของบุคคล ในกระบวนการยุติธรรม เปนตน

Explain

นักเรียนควรรู 1 สวัสดิการจากรัฐ การทีร่ ฐั ใหหลักประกันแกประชาชนทุกคนอยางเทาเทียมกัน ในดานปจจัยพื้นฐานที่จําเปนสําหรับการมีคุณภาพชีวิตที่ดี โดยรัฐจัดใหมีบริการ พื้นฐานที่สําคัญ เชน หลักประกันดานสุขภาพ ดานการศึกษา การมีงานทํา ดาน สาธารณูปโภคพื้นฐาน เปนตน

มุม IT ศึกษาคนควาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ไดที่ http://web.krisdika.go.th/ สํานักงานคณะกรรมการ กฤษฎีกา

คู่มือครู

Evaluate

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ไดบัญญัติสาระสําคัญอันเปน เจตนารมณ โดยการยึดถือระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข เปนวิถีทาง ในการปกครองประเทศและคุมครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน โดยกําหนด “บทบาท” ของ ประชาชน และการมีส่วนร่วมในทางการเมืองการปกครองของผูที่มี “สถานภาพ” เปนชนชาวไทย พรอมดวยการกําหนด “หนาที่” ของชนชาวไทยที่พึงปฏิบัติควบคู่ไปกับสิทธิตามบทบัญญัติของ รัฐธรรมนูญ

Explore

ครูสุมใหนักเรียนจับฉลากบัตรคําที่มีขอความ ตอไปนี้ • วรเจตนกลาวแสดงความคิดเห็นทางการ เมืองบนเวทีสาธารณะ • ณัฐพงษเดินทางไปลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง สมาชิกสภาผูแทนราษฎร • คุณครูพิพัฒนตั้งใจสอนหนังสือใหกับ นักเรียนในโรงเรียนแถบชายแดน • ทรงยศไดรับการแตงตั้งใหเปนพนักงาน ขาราชการในกระทรวงมหาดไทย • พรพิศไปอุดฟนที่โรงพยาบาลโดยใชสิทธิ ประกันสังคมในการจายคารักษาพยาบาล จากนั้นใหนักเรียนพิจารณาขอความที่จับ ฉลากได แลวอธิบายวาเปนขอความที่แสดงถึง สถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ หรือหนาที่ พรอมบอกเหตุผล

8

Elaborate

ò. ʶҹÀÒ¾ º·ºÒ· ÊÔ·¸Ô àÊÃÕÀÒ¾ ˹ŒÒ·Õè 㹰ҹоÅàÁ×ͧ´Õ µÒÁÇÔ¶Õ»ÃЪҸԻäµÂ

ครูใหนักเรียนศึกษาคนควาเกี่ยวกับสถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ หนาที่ ในฐานะพลเมืองดี ตามวิถีประชาธิปไตย จากหนังสือเรียน หนา 8 -11 และจากแหลงการเรียนรูตางๆ เชน รัฐธรรมแหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 แลวนํามา อภิปรายในชั้นเรียน

อธิบายความรู้

ตรวจสอบผล

Engage

ครูนําภาพประชาชนลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง ภาพประชาชนขามถนนตรงทางมาลาย ภาพประชาชนทําความสะอาดชุมชนมาใหนกั เรียนดู แลวครูตั้งคําถามกระตุนความสนใจ เชน • นักเรียนเคยปฏิบตั ติ นตามภาพเหลานีห้ รือไม เมื่อปฏิบัติแลวรูสึกอยางไร • นักเรียนคิดวาการปฏิบัติตนตามภาพเหลานี้ สงผลดีตอการอยูรวมกันในสังคมอยางไร

ส�ารวจค้นหา

ขยายความเข้าใจ

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’ 52 ออกเกี่ยวกับบทบาททางสังคมตามสถานภาพ ขอใด มิใช บทบาททางสังคมตามสถานภาพ 1. ลูกเสือชั้น ม.ตน แตงเครื่องแบบในวันหยุดเพื่อไปรับเสด็จ 2. ผูอํานวยการโรงเรียนประชุมทั้งครูและผูปกครองพรอมกัน 3. แพทยประจําตําบลแนะนําวิธีปองกันโรคไขหวัดใหญสายพันธุใหม 4. นักเรียนติดตอเชารถตูรับสงตามเสนทางตางๆ วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 4. เพราะสถานภาพ คือ ตําแหนงทางสังคม ที่บุคคลไดรับจากการเปนสมาชิกของสังคม สวนบทบาท คือ การปฏิบัติ หนาที่ตามสถานภาพของแตละบุคคล ซึง่ ในขอ 1-3 เปนการปฏิบตั ติ าม บทบาททีเ่ หมาะสมกับสถานภาพ แตในขอ 4. นัน้ บทบาทของนักเรียน คือ ตั้งใจเรียน ไมทําตัวเกเร เชื่อฟงคําสั่งสอนของครูและพอแม การติดตอเชา รถตูจึงไมใชบทบาทตามสถานภาพของนักเรียนและเปนการกระทํา ที่เกินตัวสําหรับนักเรียน


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู้ Explain

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู้

1. ครูใหนักเรียนหาขาวเกี่ยวกับการใชเสรีภาพ ของประชาชนตามวิถีประชาธิปไตย แลว อธิบายวาเปนการใชสิทธิเสรีภาพตามหลัก ประชาธิปไตยอยางไร โดยใหเขียนลงใน กระดาษ A4 แลวนําสงครูผูสอน 2. ครูใหนักเรียนบอกวาตามสถานภาพของ นักเรียน มีบทบาท สิทธิ เสรีภาพ และหนาที่ ในฐานะพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย อยางไร และนักเรียนมีวิธีการในปฏิบัติอยางไร โดยใหนักเรียนออกมาอธิบายหนาชั้น 3. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมที่ 1.4 จากแบบวัดฯ หนาที่พลเมืองฯ ม.2

๔) เสรีภาพ หมายถึง ความมีอิสระในการกระทําของบุคคลที่อยู่ในขอบเขตของ

กฎหมาย เช่น เสรีภาพในการพูด การเขียน เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น เปนตน สิทธิเสรีภาพเปนสิ่งที่รัฐธรรมนูญ ใหการรับรองและคุมครองไวอย่างหลากหลาย ตราบเท่าทีไ่ ม่ละเมิดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล อื่น หรือไม่ขัดต่อศีลธรรมอันดีของประชาชน รวมทั้งตองไม่เปนปฏิปกษต่อรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ๕) หนาที่ หมายถึง ภาระหรือ ความรับผิดชอบของบุคคลที่จะตองปฏิบัติ เช่น หนาทีข่ องบิดาทีม่ ตี อ่ บุตร หนาทีข่ องชนชาวไทย ที่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญ เช่น บุคคลมีหนาที่ รักษาไวซึ่งชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย บุคคล มีหนาที่ไปใชสิทธิเลือกตั้ง เมื่อมีอายุครบ ๑๘ พลเมืองดีมีหนาที่พิทักษ ปกปอง และรวมกันสืบสาน ปบริบูรณ บุคคลมีหนาที่พิทักษ ปกปอง และ ศิลปวัฒนธรรมของชาติใหคงอยูสืบไป ร่วมสืบสานศิลปวัฒนธรรมของชาติ เปนตน

✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ หนาที่พลเมืองฯ ม.2 กิจกรรมที่ 1.4 หนวยที่ 1 พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย กิจกรรมที่ ๑.๔ ใหนักเรียนบันทึกผลการปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีตาม สถานภาพ บทบาท สิทธิ และหนาที่ โดยทําเครือ่ งหมาย ✓ ในชองที่กําหนดให (ส ๒.๑ ม.๒/๒)

๒.๒ การปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีตามสถานภาพ บทบาท สิท ธิ เสรีภาพ และหนาที่

การปฏิบัติตน

ขอที่ ๑

ในฐานะพลเมืองดีจะตองช่วยกันพัฒนา บานเมือง เพื่อใหประเทศไทยน่าอยู่อาศัย โดย การปฏิ บั ติ ต นเป น พลเมื อ งดี ต ามสถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ และหนาที่ของตนอย่าง เหมาะสม สามารถกระทําได ดังนี้ 1

ฉบับ

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได

ñð

ประเมินผลการปฏิบัติ ดี

พอใช ปรับปรุง

เชือ่ ฟงคําสัง่ สอนของพอแม ครูอาจารย และปฏิบตั ติ น ✓ เปนที่รักของคนทั่วไป

๒ ชวยพอแมทํางานบานอยางขยันขันแข็งและทําดวย ✓ ความเต็มใจ ๓ ขยันทําการบาน ไมปลอยใหคั่งคางกลายเปนดินพอก หางหมูและสงการบานตามที่ครูกําหนด ๔ เมื่ออยูในหองเรียนมีความตั้งใจเรียน ไมพูดคุยหยอก ลอกับเพื่อน ปฏิบัติตนเปนสมาชิกที่ดีของครอบครัว โรงเรียน ✓ และมิตรสหาย ๖ เมือ่ มีกจิ กรรมภายในโรงเรียนก็จะเขารวมหรือใหความ รวมมือทุกครั้ง ๗ มีจิตสํานึกในการชวยอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและ รักษาสิ่งแวดลอม ๘ มีจติ สาธารณะ เสียสละประโยชนสว นตัวเพือ่ ประโยชน สวนรวม ๙ รูจักประหยัดอดออม ดําเนินชีวิตดวยความเรียบงาย ✓ ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ๑๐ ปฏิบัติตนอยูในระเบียบวินัย ขอตกลงของบานและ ✓ โรงเรียน

หมายเหตุ

การศึ ก ษาอบรมเป น การพั ฒ นาคนให มี ค วามสมบู ร ณ ทั้งทางรางกาย จิตใจ และสติปญญา และมีสวนสําคัญใน การพัฒนาสังคมใหเจริญกาวหนาตอไปได

ผูรับรอง คุณแม คุณแม

ครูประจําชัน้

สิตา

เฉลย ๕

๑) การเขารับการศึกษาอบรม

การศึกษาเปนการพัฒนาคนใหมีความสมบูรณ ทั้งร่างกาย จิตใจ และสติปญญา เพื่อนําความรู ไปใชในการดําเนินชีวติ อย่างมีความสุข และเปน พื้นฐานในการประกอบอาชีพที่มั่นคง รวมทั้ง นําความรูท ไี่ ดรบั มาพัฒนาประเทศชาติใหเจริญ กาวหนาต่อไปได

Explain

คุณแม

สิตา

สิตา

สิตา คุณแม คุณแม

เกณฑการประเมิน ปฏิบัติบอยครั้ง หมายถึง ดี ปฏิบัติเปนบางครั้ง หมายถึง พอใช ปฏิบัตินอยกวา ๒ ครั้งหรือไมเคยปฏิบัติ หมายถึง ปรับปรุง

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ขอใดเปนการปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีตามสถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ และหนาที่ของพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย 1. การนอนหลับทับสิทธิ์ 2. การเขารับการเกณฑทหาร 3. การหลบเลี่ยงการเสียภาษีอากร 4. การใชไฟฟาและนํ้าอยางฟุมเฟอย

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 2. เพราะการเขารับการเกณฑทหารถือเปน หนาที่อยางหนึ่งของชนชาวไทยตามที่รัฐธรรมนูญบัญญัติไว นอกจากนี้ ยังมีหนาที่อื่นๆ ที่รัฐธรรมนูญกําหนดไว เชน หนาที่ในการเสียภาษีอากร หนาที่ในการไปใชสิทธิเลือกตั้ง หนาที่ในการรักษาไวซึ่งชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย เปนตน

นักเรียนควรรู 1 การเขารับการศึกษา ประชากรไทยมีสิทธิเสมอกันในการเขารับการศึกษา ไมนอยกวา 12 ป ซึ่งรัฐจะตองจัดใหอยางทั่วถึงและมีคุณภาพ โดยรัฐจะอุดหนุน คาใชจาย สวนผูยากไร ผูพิการหรือทุพพลภาพ และผูที่อยูในสภาวะยากลําบากใน การศึกษาก็ตองไดรับสิทธิทางการศึกษาโดยทัดเทียมกับบุคคลอื่น

มุม IT ศึกษาคนควาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับสิทธิเสรีภาพขั้นพื้นฐานตามกรอบ รัฐธรรมนูญในบริบทของสังคมไทย ไดที่ http://www.peace.mahidol.ac.th/th/

คู่มือครู

9


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู้

อธิบายความรู้ Explain

Elaborate

Evaluate

๒) การปฏิบตั ติ นตามกฎหมาย เมือ่ ทุกคนปฏิบตั ติ ามกฎหมายอย่างเคร่งครัดย่อม

สรางความเปนระเบียบเรียบรอยแก่สังคม

๓) การนับถือศาสนาและปฏิบตั ติ ามพิธกี รรมทางศาสนาทีต่ นนับถือ เช่น การ

เขาร่วมพิธีกรรมทางศาสนา ปฏิบัติตนตามหลักธรรมทางศาสนา ถาพลเมืองทุกคนปฏิบัติตนเปน ศาสนิกชนที่ดีต่อศาสนาแลว ย่อมก่อใหเกิดความสงบสุข มีความมั่นคงทางจิตใจ สามารถเผชิญ ปญหาต่างๆ ทีเ่ ขามาในชีวติ สามารถจัดระเบียบ ชีวติ ในสังคม และสามารถควบคุมความประพฤติ ตนเองในสังคมได

๔) การสืบ1สานศิลปวัฒนธรรม และภูมิปญญาทองถิ่น เพื่อนํามาปรับใชใน

การดําเนินชีวิตและถ่ายทอดไปยังสังคมอื่นๆ เช่น ประเพณีวันสงกรานต ซึ่งมีการสรงนํ้าพระ และรดนํ้าดําหัวผูใหญ่ เปนการแสดงออกถึง ศิลปวัฒนธรรมอันดีงามของไทยอาจสูญหายไป ถาหาก ความมีสัมมาคารวะ ความกตัญูต่อศาสนา และผูอาวุโส เปนวันรวมญาติพี่นองที่แสดงถึง เยาวชนของชาติไมรวมกันสืบสาน ความสามัคคีปรองดอง และในวันสงกรานตนี้ เปนช่วงอากาศรอนก็แสดงใหเห็นถึงภูมปิ ญ ญาไทยทีส่ ามารถเลือกประเพณีทมี่ กี ารสาดนํา้ เล่นนํา้ กัน เพื่อบรรเทาความรอน และเพื่อความสนุกสนานอีกดวย เปนตน นอกจากนี้ ยังเปนการเผยแพร่ วัฒนธรรมประเพณีแก่ชาวต่างชาติ ดึงดูดให ชาวต่างชาติเขามาท่องเที่ยวในประเทศไทย และทําใหเปนฤดูกาลท่องเที่ยวนํารายไดเขาสู่ ประเทศไดอีกทางหนึ่ง

✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ หนาที่พลเมืองฯ ม.2 กิจกรรมที่ 1.6 หนวยที่ 1 พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย กิจกรรมที่ ๑.๖ ใหนักเรียนพิจารณาขอความตอไปนี้วามีความสัมพันธ กับหัวขอใดในกรอบดานลาง จากนั้นนําอักษรในแตละ หัวขอมาเขียนดานลางขอความใหถูกตอง (ส ๒.๑ ม.๒/๒)

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได

õ

ถือเปนการสรางรายไดใหกับ ตนเองและประเทศชาติ สงผล ใหเกิดสภาพคลองทางการเงิน และมีความเปนอยูที่ดี

เมื่อมีอายุครบ ๑๘ ปบริบูรณ เรามีหนาที่ ไปใชสิทธิเลือกตั้ง ทุกครัง้ เพือ่ เลือกคนดีเขาไปเปน ตัวแทนในการบริหารบานเมือง

……………

……………

ง.

ช.

การใชทรัพยากรใหเกิดคุณคา มากที่สุด ลดการใชทรัพยากร ที่ ห าได ย ากและหาสิ่ ง อื่ น มา ทดแทน

ค.

……………

ฉบับ

ตรวจสอบผล

Explain

1. ครูใหนักเรียนยกตัวอยางบุคคลในสังคมที่เปน แบบอยางในดานการสืบสานศิลปวัฒนธรรม และภูมิปญญาทองถิ่น แลวอภิปรายถึง ลักษณะการดําเนินชีวิตของบุคคลดังกลาว ตลอดจนประโยชนที่ประเทศชาติจะไดรับจาก การสืบสานวัฒนธรรมและภูมปิ ญ  ญาทองถิน่ 2. ครูใหนักเรียนจับคูกันคิดคนสิ่งประดิษฐหรือวิธี เพื่อลดการใชทรัพยากรธรรมชาติโดยการหา สิ่งอื่นมาทดแทน จากนั้นออกมานําเสนอหนา ชั้นเรียน 3. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมที่ 1.6 จากแบบวัดฯ หนาที่พลเมือง ม.2

เฉลย

ขยายความเข้าใจ

การศึกษาเปนการพัฒนาคนใหมี ความสมบูรณทั้งรางกาย จิตใจ และสติปญ ญา เพือ่ นําความรูไ ป ใชในการดําเนินชีวิต

ประชาชนทุกคนควรมีสวนรวม ในการสอดสอง ดูแล และเฝา ระวัง เพื่อปองกันมิ ใ หผูที่ ไม หวังดีคิดทําลายประเทศ

……………

……………

ก. การปองกันประเทศ ข. การสืบสานศิลปวัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถิ่น ค. การรวมมือในการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ ง. การประกอบอาชีพสุจริต จ. การปฏิบัติตามกฎหมาย ฉ. การประหยัดและอดออม

๕) การรวมมือในการอนุรักษ ทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดลอมทาง ธรรมชาติ โดยการใชทรัพยากรใหเกิดคุณค่า

ก.

ซ.

ช. การไปใชสิทธิเลือกตั้ง ซ. การเขารับการศึกษาอบรม ฌ. การปฏิบัติตนตามคานิยมที่ดีงาม ญ. การนับถือศาสนาและปฏิบัติตาม พิธีกรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ

การปลูกปาชายเลนเปนการชวยอนุรกั ษทรัพยากรธรรมชาติ ของประเทศไดอีกทางหนึ่ง

๑๐

มากที่สุด ลดการใชทรัพยากรธรรมชาติที่หาได ยาก โดยการหาสิ่งอื่นมาทดแทน เช่น การใช แกสธรรมชาติแทนนํ้ามันเชื้อเพลิง การปลูกปา ชายเลน เปนตน

๑๐

เกร็ดแนะครู ครูอาจจัดกิจกรรมเพิม่ เติมโดยใหนกั เรียนไปสํารวจตัวอยางการสืบสานศิลปวัฒนธรรม และภูมิปญญาทองถิ่นจากแหลงตางๆ เชน หนังสือ รายการสารคดี หรือเขาไป ในชุมชนจริง เปนตน แลวนํามาอธิบายถึงที่มาและรายละเอียดของแนวทางการ สืบสานศิลปวัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถิ่น หรืออาจจัดกิจกรรมเพื่อการอนุรักษ ทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ

นักเรียนควรรู 1 ภูมิปญญาทองถิ่น เปนความรูของชาวบานในทองถิ่น ซึ่งไดมาจาก ประสบการณและความคิดสรางสรรค รวมทั้งความรูที่สั่งสมมาตั้งแตบรรพบุรุษ สืบทอดจากคนรุนหนึ่งสูคนอีกรุนหนึ่ง มีการปรับเปลี่ยนประยุกตจนเกิดเปนความรู ใหมตามสภาพทางสังคม วัฒนธรรม และสิ่งแวดลอม เชน ภูมิปญญาเกี่ยวกับ การทํามาหากิน การจับปลา การทอผา การสานภาชนะดวยไมไผ เปนตน

10

คู่มือครู

กิจกรรมสรางเสริม ใหนักเรียนยกตัวอยางบุคคลที่ปฏิบัติตนเปนพลเมืองดี ตามสถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ และหนาที่ อาจเปนบุคคลที่นักเรียนรูจักหรือบุคคล มีชื่อเสียงก็ได โดยใหออกมาเลาใหเพื่อนฟงหนาชั้น

กิจกรรมทาทาย ใหนักเรียนสํารวจตนเองวานักเรียนไดปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีตาม สถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ และหนาที่อยางไรบาง แลวจากการ ปฏิบัตินั้นสงผลดีอยางไร โดยใหเขียนบันทึกลงในสมุดแลวนํามาเลาให เพื่อนในชั้นเรียนฟง


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู้ Explain

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู้

Explain

1. ครูสรุปสาระสําคัญเกี่ยวกับการปฏิบัติตน เปนพลเมืองดีตามสถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ และหนาที่ และสุมตัวแทนนักเรียน เพื่อตอบคําถาม • นักเรียนคิดวา การประหยัดและรูจัก วางแผนการใชเงินสงผลดีตอ ตนเอง ครอบครัว และประเทศชาติอยางไร (แนวตอบ การประหยัดและอดออมเปนการ สรางภูมิคุมกันทางดานการใชจายเงินใน ปจจุบัน อนาคต หรือในยามฉุกเฉิน เปนการ วางแผนการใชจายเงินอยางคุมคา สราง ความมั่นคงใหกับชีวิตครอบครัว ทั้งนี้ การ ออมยังเปนปจจัยสําคัญตอการขยายตัว ทางเศรษฐกิจ และสงเสริมเสถียรภาพทาง เศรษฐกิจใหกับประเทศชาติ) 2. ครูใหนักเรียนเขียนเรียงความในหัวขอ “คานิยมที่ดีตามวิถีประชาธิปไตย” สงครู หลังจากนั้น ครูเลือกเรียงความที่มีเนื้อหา นาสนใจนํามาอภิปรายในชั้นเรียน

1

๖) การปฏิบัติตนตามคานิยมที่ดีงาม เช่น มีความรับผิดชอบ ขยันหมั่นเพียร

มีความรักและภูมิใจในความเปนไทย เปนตน ๗) การไปใชสิทธิเลือกตั้ง เมื่อมีอายุครบ ๑๘ ปบริบูรณก็ตองไปใชสิทธิเลือกตั้ง เพื่อเลือกคนดีเขาไปเปนตัวแทนบริหารบานเมือง ทั้งในระดับทองถิ่นและระดับประเทศ ๘) การปองกันประเทศ การที่ ประเทศชาติ จ ะมี ค วามมั่ น คงปลอดภั ย นั้ น ประชาชนทุกคนจะตองมีสว่ นร่วมมือกันปองกัน ประเทศ มิใช่มอบความไววางใจใหเฉพาะบุคคล ผูเปนทหารเท่านั้น ประชาชนทั่วไปสามารถ สอดส่องดูแลเพือ่ ปองกันผูค ดิ ทําลายประเทศได เช่นกัน

๙) การประกอบอาชีพที่สุจริต ดวยความขยันหมั่นเพียร ถือเปนการสราง

รายไดใหกับตนเองและประเทศชาติ ส่งผลให การประกอบอาชีพทีส่ จุ ริตดวยความขยันหมัน่ เพียร เปนการ เกิดสภาพคล่องทางการเงิน ทําใหมีความเปน สรางรายไดใหกับตนเองและประเทศชาติ อยู่ที่ดี 2 ๑๐) การประหยัดและอดออม รูจักวางแผนการใชจ่ายเงินเพื่อใหไดสิ่งของที่คุมค่า ทําใหฐานะทางเศรษฐกิจมัน่ คง พลเมืองทีด่ ที กุ คนควรมีวนิ ยั ในการใชจา่ ย รูจ กั ประหยัด ไม่สรุ ยุ่ สุรา่ ย ซึ่งจะเปนผลดีต่อตนเอง ครอบครัว และประเทศชาติ

ó. ¼Å¨Ò¡¡Òû¯ÔºÑµÔµ¹à»š¹¾ÅàÁ×ͧ´ÕµÒÁÇÔ¶Õ»ÃЪҸԻäµÂ การปฏิบตั ติ นเปนพลเมืองดีตามวิถปี ระชาธิปไตยนัน้ มีความสําคัญอย่างมากต่อตนเอง สังคม และประเทศชาติ ดังนี้ ๑. ทําใหสังคมและประเทศชาติมีการพัฒนาไปไดอย่างมั่นคง เมื่อสมาชิกทุกคน ปฏิบัติตนตามบทบาทหนาที่ของตนดวยความรับผิดชอบ รูจักการเสียสละประโยชนส่วนตนเพื่อ ผลประโยชนส่วนรวม มีความเอื้อเฟอเผื่อแผ่และมีนํ้าใจต่อกัน โดยยึดหลักศีลธรรมเปนพื้นฐาน ในการปฏิบัติต่อกัน ก็ย่อมทําใหการดําเนินงานตามโครงการหรือตามนโยบายของประเทศเปนไป ตามเปาหมายทีก่ าํ หนดไว เช่น พ่อแม่เลีย้ งดูลกู ใหไดเรียนหนังสือตามศักยภาพของตนเอง เปนตน ๒. ทําใหเกิดความรักและความสามัคคีในสังคม เมื่อสมาชิกทุกคนในสังคมรูจัก เสียสละ ร่วมมือร่วมใจกันทํากิจกรรมต่างๆ เพื่อส่วนรวม เช่น การร่วมกันอนุรักษสภาพแวดลอม ๑๑

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’ 51 ออกเกี่ยวกับบทบาทหนาที่ของประชาชนในการปกครอง ระบอบประชาธิปไตย บทบาทสําคัญที่สุดของประชาชนในการมีสวนรวมในการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยตามที่รัฐธรรมนูญกําหนด คือขอใด 1. รวมตัวกันจัดตั้งพรรคการเมือง 2. จัดตั้งกลุมผลประโยชนเพื่อตอรองกับนโยบายของรัฐ 3. แสดงความคิดเห็นของตนตามสื่อตางๆ 4. ไปใชสิทธิทางการเมืองของตนเองในการเลือกตั้งทุกครั้ง วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 4. เพราะการไปใชสิทธิเลือกตั้งถือเปนการ มีสวนรวมทางการเมืองการปกครองที่พึงปฏิบัติ และยังถือเปนหนาที่ของ ชาวไทยตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย

นักเรียนควรรู 1 คานิยม คือ แนวความคิด ความเชื่อ อุดมการณที่คนในสังคมยอมรับวาเปน สิ่งดีงาม มีคุณคา ควรแกการนําไปเปนแนวทางปฏิบัติ เพื่อประโยชนสุขของตนเอง และสวนรวม คานิยมที่ดีของสังคมไทย เชน การยกยองคนมีคุณธรรมศีลธรรม มีเมตตากรุณาตอกัน มีนํ้าใจ ชวยเหลือซึ่งกันและกัน เปนตน 2 วางแผนการใชจา ยเงิน โดยการทําบัญชีครัวเรือน คือ การทําบัญชีรายรับ-รายจาย ในแตละวันของครอบครัว เพื่อนําขอมูลมาวางแผนการใชจายเงินในแตละเดือนได อยางเหมาะสม และสามารถวางแผนการออมได

คู่มือครู

11


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

Engaae

Expore

Explain

ขยายความเข้าใจ

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

Expand

1. ครูใหนักเรียนจัดทําผังความคิดเกี่ยวกับ ประโยชนของการปฏิบัติตนเปนพลเมืองดี ตามวิถีประชาธิปไตยตอตนเอง สังคม และ ประเทศชาติ 2. ครูใหนกั เรียนแตละคนเขียนบันทึกการปฏิบตั ติ น เปนพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยเปนเวลา 2 สัปดาห 3. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมที่ 1.5 จากแบบวัดฯ หนาที่พลเมืองฯ ม.2

ในทองถิน่ ของตน ไม่ใหมกี ารบุกรุกทําลายปา การร่วมบําเพ็ญสาธารณประโยชนในวันสําคัญต่างๆ เช่น ร่วมกันปลูกปาในวันเขาพรรษา เปนตน ซึง่ การทํางานร่วมกันนัน้ ย่อมจะเปนการสรางความ สัมพันธที่ดีระหว่างกัน ตลอดจนเปนการฝกตนเองใหมีวิถีชีวิตในการอยู่ร่วมกันอย่างเหมาะสม ๓. ทําใหสงั คมมีความเปนระเบียบ เรียบรอย เพราะทุกคนมีความรับผิดชอบต่อ ตนเองและส่วนรวม รูจักการปฏิบัติตนตามกฎ ระเบียบ กติกาของสังคม เช่น การขามถนนบน 1 ทางมาลาย การไปใชสทิ ธิออกเสียงเลือกตัง้ เมือ่ มีอายุครบ ๑๘ ปบริบูรณ เปนตน ๔. ทําใหสมาชิกในสังคมอยู่อย่าง สันติสุข ถาสมาชิกในสังคมอยู่ร่วมกันอย่างมี ความสุข ย่อมส่งผลใหมีสุขภาพจิตที่ดี เพราะ เมื่อสมาชิกทุกคนปฏิบัติตนเปนพลเมืองดี โดย พลเมืองดีควรรวมมือกันประกอบกิจกรรมเพื่อประโยชน เริ่ ม ตั้ ง แต่ ก ารเป น สมาชิ ก ที่ ดี ข องครอบครั ว รวมกันของสังคมในวันสําคัญทางศาสนา เชน รวมกัน โรงเรียน ชุมชน จะทําใหเกิดความสัมพันธที่ดี ทําความสะอาดศาสนสถาน ระหว่างกันของทุกๆ คน ไม่เกิดช่องว่างที่ทําให เกิดความแตกแยกหรือความไม่ไววางใจกัน เช่น การช่วยเหลือกันในชุมชน การร่วมกันทําความ สะอาดชุมชนที่ตนอาศัยอยู่ โดยชุมชนไม่แบ่งเชื้อชาติ ศาสนา แบ่งสี แบ่งกลุ่ม เปนตน การปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีเปนหนาที่ ของสมาชิกทุกคนในสังคม ไม่ว่าจะอยู่ในสังคม ขนาดเล็กหรือขนาดใหญ่ เพราะการเปนพลเมือง ดีจะทําใหการอยู่ร่วมกันในสังคมเปนไปอย่าง สันติสขุ และพัฒนาสังคมใหเจริญกาวหนาต่อไป โดยสมาชิกทุกคนจะตองมีหลักการหรือแนวทาง ในการปฏิบตั ติ นอย่างเหมาะสม นักเรียนควรได พัฒนาตนเองใหเปนสมาชิกที่ดีของครอบครัว โรงเรียน ชุมชน และเปนพลเมืองดีของสังคม การที่ ส มาชิ กในสั งคมรู  จั กเสี ย สละร ว มมื อ ร ว มใจกั น ทํ า และประเทศชาติตามวิถีประชาธิปไตย

✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ หนาที่พลเมืองฯ ม.2 กิจกรรมที่ 1.5 หนวยที่ 1 พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย กิจกรรมที่ ๑.๕ ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้ (ส ๒.๑ ม.๒/๒)

ขยายความเข้าใจ

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได

ñð

๑. ในฐานะพลเมืองเราสามารถเขาไปมีสวนรวมในการทํากิจกรรมรวมกันในกระบวนการทาง ประชาธิปไตยไดอยางไรบาง

เมื ่อชุมชนมีปญหา เชน ปญหาดานสิ่งแวดลอม สมาชิกในชุมชนรวมมือกันเพื่อหาแนวทางตางๆ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ที……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ่เหมาะสมในการแกปญหา หรือเมื่อจะมีการเลือกตั้ง คนในชุมชนก็รวมกันออกมารณรงคหรือ ประชาสั มพันธใหคนออกไปใชสิทธิลงคะแนนเลือกคนดี มีความรูความสามารถไปเปนผูแทนของตน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

๒. รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ไดบัญญัติรับรองสิทธิ เสรีภาพของ ประชาชนชาวไทยไวอยางไรบาง

-……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. มีเสรีภาพในการชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธ -……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. มีเสรีภาพในการรวมกันจัดตั้งเปนพรรคการเมือง -……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. มีเสรีภาพในการรวมตัวกันเปนสมาคม -……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. มีสวนรวมในการตรวจสอบการใชอํานาจรัฐ

๓. กิจกรรมทางสังคมที่มีความสําคัญตอการพัฒนาสังคมประชาธิปไตยมีอะไรบาง

ฉบับ การพั ฒนาเด็กและเยาวชนใหเจริญเติบโตเปนพลเมืองดี การรวมมือกันปองกันและแกไขปญหาสังคม เฉลย ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. เช……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. น ปญหายาเสพติด ปญหาอาชญากรรม เปนตน การรวมมือกันรักษาความสามัคคีและปองกัน ความขั ดแยงระหวางสมาชิกในสังคม การรวมกันสงเคราะหคนพิการหรือทุพพลภาพใหไดรับ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. สิ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ่งอํานวยความสะดวกตางๆ การรวมมือกันปองกันสาธารณภัยตางๆ

๔. เราสามารถชวยกันดูแลรักษาสาธารณประโยชนรวมถึงสิ่งแวดลอมของชุมชนและประเทศได อยางไรบาง ช……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. วยกันดูแลรักษาถนนหนทางใหอยูในสภาพดี คอยสอดสองดูแลไมใหผูใดทําลายสาธารณสถาน ช……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. วยรักษาสิง่ แวดลอม ใชทรัพยากรธรรมชาติอยางรูค ณ ุ คา รวมถึงปองกันไมใหเกิดมลพิษซึง่ จะสงผล กระทบต อสุขภาพและคุณภาพชีวิตของคนในสังคม ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

๕. หากคนในสังคมไทยไมรจู กั ทํากิจกรรมรวมกันตามกระบวนการทางประชาธิปไตยจะสงผลอยางไร

จะส ง ผลให ป ระเทศมี ก ารพั ฒ นาช า ป ญ หาต า งๆ ภายในประเทศก็ จ ะทวี ค วามรุ น แรง สั ง คม ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ไร ระเบียบ คนในสังคมอยูรวมกันดวยความขัดแยง อีกทั้งไมใชเหตุผลในการแกปญหา สงผล ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ต……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. อความสงบเรียบรอยภายในประเทศ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

กิจกรรมตางๆ เพื่อสวนรวม จะทําใหสังคมมีแตความรัก และความสามัคคีกัน

๑๒

EB GUIDE

http://www.aksorn.com/LC/Civil/M2/02

นักเรียนควรรู 1 สิทธิออกเสียงเลือกตั้ง รัฐธรรมนูญไทยกําหนดใหประชาชนอายุไมตํ่ากวา 18 ปบริบูรณในวันที่ 1 มกราคมของปที่มีการเลือกตั้ง และมีชื่ออยูในทะเบียนบาน ในเขตเลือกตัง้ มาแลวไมนอ ยกวา 90 วัน นับถึงวันเลือกตัง้ จะมีสทิ ธิในการเลือกตัง้ ได หากผูใดไมไปใชสิทธิเลือกตั้ง จะเสียสิทธิ 3 ประการ ไดแก 1. สิทธิยื่นคํารอง คัดคานการเลือกตัง้ ส.ส. ส.ว. 2. สิทธิสมัครรับเลือกตัง้ ส.ส. ส.ว. และ 3. สิทธิสมัคร รับเลือกเปน กํานันผูใหญบาน

มุม IT ศึกษาคนควาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการลดความขัดแยงเพื่อการอยูรวมกันอยาง สันติตามวิถีประชาธิปไตย ไดที่ http://www.kpi.ac.th/wiki/index.php

12

คู่มือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

การกระทําของผูใดตอไปนี้ถือเปนการปฏิบัติตนเปนพลเมืองดี ตามวิถีประชาธิปไตย 1. แกว ใชชีวิตอยางสันโดษไมยุงเกี่ยวกับชาวบาน 2. แดง เลือกคบเฉพาะเพื่อนที่มีฐานะทางการเงินดี 3. นอย เขารวมกับเพื่อนบานทําความสะอาดทางเดินของชุมชน 4. ตอม ทะเลาะกับเพื่อนบานเพราะมีความเห็นทางการเมืองไมตรงกัน

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 3. เพราะเปนลักษณะของการมีจิตสาธารณะ ของคนในชุมชน ซึ่งรวมแรงรวมใจกันทํากิจกรรมอันเปนประโยชนตอ ชุมชนของตนเอง อันเปนรากฐานสําคัญของสังคมประชาธิปไตย


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

Engaae

Expore

Explain

ขยายความเข้าใจ Expand

ขยายความเข้าใจ

เสริมสาระ

1

สิทธิเสรีภาพของประชาชน ไดรับการคุมครองโดยรัฐธรรมนูญ

ตรวจสอบผล

หลักการสําคัญ ของประชาธิปไตย

ประชาชนจะมีโอกาสที่เท่ากันในทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และการศึกษา

Evaluate

Expand

ครูใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5-6 คน เพื่อ จัดทําปายนิเทศ สรุปแนวทางการปฏิบัติตนเปน พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยตอตนเอง สังคม และประเทศชาติ

หลักการสําคัญของประชาธิปไตย

ยึดกฎหมายเปนหลัก ในการปกครองประเทศ

ตรวจสอบผล

Evaluate

1. ครูตรวจสอบจากความถูกตองในการเขียน ผังความคิด สรุปผลดีที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติ ตนเปนพลเมืองดีตอตนเอง สังคม และ ประเทศชาติ 2. ครูตรวจสอบความสมบูรณของบันทึกสรุปการ ปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีของนักเรียน 3. ครูตรวจสอบการจัดปายนิเทศสรุปแนวทางการ ปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย

อํานาจอธิปไตย เปนของประชาชน

การปกครองในระบอบประชาธิปไตยจําเปน ตองอาศัยหลักการเสียงขางมากเปนเกณฑ เเผนผังหลักการของประชาธิปไตย

๑. อํานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ ซึ่งเรียกกันวา “อํานาจอธิปไตย” เปนอํานาจที่มาจากปวงชนของ ประเทศ แบงการใชอํานาจเปน ฝายนิติบัญญัติ ฝายบริหาร และฝายตุลาการ ๒. ความเสมอภาคภายใตระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยถือวาทุกคนเสมอภาคเทากัน โดยความ เสมอภาคในระบอบประชาธิปไตยจะใหความสําคัญกับความเสมอภาคทางโอกาสในทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และการศึกษา ๓. สิทธิและเสรีภาพของประชาชน จะไดรบั การคมุ ครองโดยรัฐธรรมนูญ เชน สิทธิในทรัพยสนิ สิทธิทางการ เมือง เปนตน นอกจากนี้ ประชาชนมีเสรีภาพที่จะพูด เขียน และวิพากษวิจารณไดภายในกรอบของกฎหมาย รวมทั้ง มีหนาที่ที่จะตองปฏิบัติตามที่กําหนดไวในรัฐธรรมนูญอีกดวย เชน หนาที่ในการไปใชสิทธิเลือกตั้ง หนาที่ในการ เสียภาษีอากร หนาที่ในการรักษาไวซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตย เปนตน ๔. การยึดถือกฎหมายเปนหลักในการปกครอง ซึ่งหมายความวาประชาชนทุกคนมีหนาที่ที่จะตองเคารพ กฎหมาย สวนรัฐบาลมีหนาที่ที่จะตองบังคับใชกฎหมายตอประชาชนทุกคนทุกกลุมอยางเทาเทียมกัน เสมอภาคกัน ๕. การปกครองในระบอบประชาธิปไตยเปนการปกครองของประชาชน โดยประชาชน และเพื่อประชาชน จึงมีความจําเปนตองอาศัยหลักการเสียงขางมาก เพราะเสียงเอกฉันทคงจะเปนไปไดนอย จึงกําหนดใหใชเสียง ขางมากเปนเกณฑ ที่มา : สํานักงานเลขาธิการสภาผูแทนราษฎร สํานักนายกรัฐมนตรี

๑๓

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’ 52 ออกเกี่ยวกับหลักการสําคัญของระบอบการเมือง การปกครอง หลักการที่ดีที่สุดในทุกระบอบคืออะไร 1. รัฐบาลจัดตั้งขึ้นตามแนวนโยบายแหงรัฐ 2. มีกฎหมาย มีศีลธรรม และมีความยุติธรรม 3. รัฐบาลแถลงนโยบายและวาระแหงชาติชัดเจน 4. ประชาชนมีความเขาใจและเคารพกฎหมาย วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 2. เพราะระบอบการเมืองการปกครอง ที่ดีจะตองมีหลักสําคัญที่ประกอบดวย กฎหมาย ศีลธรรม และความ ยุติธรรม ซึ่งหากการปกครองในประเทศใดประกอบดวยหลักการสําคัญ 3 ประการณ ก็ยอ มสงผลใหการบริหารประเทศอยูบ นพืน้ ฐานความถูกตอง โปรงใส ประเทศชาติสามารถพัฒนาไดอยางเต็มที่และประชาชนมีความ อยูดีกินดี

เกร็ดแนะครู ครูอาจเชิญวิทยากรผูมีความรูความสามารถ เกี่ยวกับแนวทางการปฏิบัติตนเปน พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย มาบรรยายใหความรู เพื่อปลูกฝงการเปนพลเมืองดี ใหแกนักเรียน

นักเรียนควรรู 1 หลักการสําคัญของประชาธิปไตย คือ การยอมรับนับถือและใหความสําคัญ ในศักดิศ์ รีความเปนมนุษยของบุคคล ความเสมอภาค และเสรีภาพในการดําเนินชีวติ

มุม IT ศึกษาคนควาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการหลักการสําคัญของประชาธิปไตย ไดที่ http://www.kasetyaso.ac.th/politic/02.pdf คู่มือครู 13


กระตุน้ ความสนใจ Engage

ส�ารวจค้นหา

กระตุน้ ความสนใจ

Expore

อธิบายความรู้ Explain

Elaborate

Evaluate

ô. á¹Ç·Ò§¡ÒÃÊ‹ § àÊÃÔ Á ãËŒ » ¯Ô ºÑ µÔ µ ¹à»š ¹ ¾ÅàÁ× Í §´Õ µ ÒÁÇÔ ¶Õ »ÃЪҸԻäµÂ ในสังคมที่เปนประชาธิปไตย การปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีเปนปจจัยสําคัญที่จะทําใหสังคม ประชาธิปไตยเปนสังคมที่มีความสงบสุขและช่วยพัฒนาประเทศชาติใหมีความเจริญกาวหนาหรือ อาจกล่าวไดว่า ถาชาวไทยทุกคนปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ประเทศไทยก็จะ เจริญกาวหนาทัดเทียมกับนานาอารยประเทศและจะอยู่ร่วมกันไดอย่างสงบสุข แนวทางการปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตยที่สําคัญ มีดังนี้ 1

๔.๑ การทํากิจกรรมรวมกันในกระบวนการทางประชาธิปไตย

Explore

แมว่ากระบวนการทางประชาธิปไตยเปนกระบวนการที่ใหความสําคัญกับความเสมอภาค สิทธิ เสรีภาพ และหนาที่ของบุคคลเปนอย่างมาก เช่น ใหชาวไทยทุกคน ทุกเพศ ทุกฐานะที่มี อายุครบ ๑๘ ปบริบูรณ มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งผูแทนในระดับประเทศและระดับทองถิ่นในเขต เลือกตั้งของตนได ๑ เสียงเท่าเทียมกัน เปนตน แต่ถาชาวไทยไม่รูจักการทํากิจกรรมร่วมกันเพื่อ พัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองของประเทศใหเจริญกาวหนา ทําอะไรตามใจชอบ ไม่รว่ มมือ กันแกไขปญหาเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ทีป่ ระเทศกําลังเผชิญอยู่ ปญหาต่างๆ ก็จะทวีความ รุนแรงขึ้นเรื่อยๆ กระบวนการทางประชาธิปไตยก็จะหย่อนหรือขาดประสิทธิภาพ เช่น ถาโรงเรียน หรือชุมชนที่โรงเรียนตั้งอยู่เผชิญกับปญหาสิ่งแวดลอมเปนพิษ นักเรียนและสมาชิกของชุมชน ทุกคนจะตองร่วมมือกันเรียกรองใหโรงงานอุตสาหกรรมหรือหน่วยงานที่มีส่วนทําใหสิ่งแวดลอม เปนพิษ หรือส่วนราชการที่เกี่ยวของหาทางแกไขปญหาที่เกิดขึ้นโดยเร่งด่วน ซึ่งการเรียกรองเปน หมูค่ ณะจะใหผลสําเร็จเร็วกว่าการทีน่ กั เรียนหรือพ่อแม่ของนักเรียนแต่ละคนจะดําเนินการเรียกรอง ดวยตนเองเพียงลําพัง เปนตน จากทีไ่ ดกล่าวมาขางตน จะเห็นไดวา่ การ ทํากิจกรรมร่วมกันในกระบวนการประชาธิปไตย นัน้ มีผลต่อการแกปญ หาและมีผลต่อการพัฒนา เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ซึ่งรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ได บัญญัติรับรองสิทธิ เสรีภาพของชนชาวไทยไว เพื่อนําไปใชเปนแนวทางการทํางานร่วมกันใน การชวยกันรณรงคใหประชาชนออกมาใชสิทธิเลือกตั้ง กระบวนการประชาธิปไตยหลายประการดวยกัน ทั้งในระดับทองถิ่นและระดับชาติ เปนการทํากิจกรรม ดังนี้ รวมกันเพื่อพัฒนาประเทศใหเจริญกาวหนา

ครูใหนักเรียนศึกษาคนควาเกี่ยวกับแนวทาง การสงเสริมใหปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีตามวิถี ประชาธิปไตย จากหนังสือเรียน หนา 14-19 หรือ จากแหลงการเรียนรูตางๆ จดบันทึก เพื่อนําขอมูล มาอภิปรายในชั้นเรียน

อธิบายความรู้

ตรวจสอบผล

Engage

ครูใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยางกิจกรรมใน กระบวนการทางประชาธิปไตย เชน รวมกิจกรรม เพื่อพัฒนาสิ่งแวดลอมในชุมชน เปนตน แลวตอบคําถามตอไปนี้ • นักเรียนเคยเขารวมกิจกรรมใดบาง เมื่อเขารวมแลวรูสึกอยางไร • กิจกรรมในกระบวนการทางประชาธิปไตย ดังกลาว มีวัตถุประสงคเพื่ออะไร

ส�ารวจค้นหา

ขยายความเข้าใจ

Explain

ครูยกตัวอยางกิจกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม หรือการเมืองในสังคมไทย เพื่ออธิบาย ความสําคัญของการเขารวมกิจกรรม เชน กิจกรรมรณรงคใหประชาชนไปใชสิทธิเลือกตั้ง เปนตน จากนั้นครูใหนักเรียนอภิปรายถึงความสําคัญ ที่ประชาชนทุกคนควรมีสวนรวมในกิจกรรมตาม กระบวนการทางประชาธิปไตย

๑๔

นักเรียนควรรู 1 การทํากิจกรรมรวมกันในกระบวนการทางประชาธิปไตย สํานักงานคณะ กรรมการการเลือกตั้งและกระทรวงศึกษาธิการ ไดรวมกันจัดทํา “คูมือการจัด กิจกรรมการเรียนรูป ระชาธิปไตย สําหรับครู-อาจารย” ขึน้ เพือ่ พัฒนาการเรียนการสอน เกี่ยวกับประชาธิปไตย การเลือกตั้ง และการออกเสียงประชามติในสังคมไทย ใหเปนพื้นฐานในการดําเนินชีวิตแบบประชาธิปไตยอยางแทจริง

มุม IT ศึกษาคนควาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับคูมือการจัดกิจกรรมการเรียนรูประชาธิปไตย ไดที่ http://www.ect.go.th/newweb/th/service/

14

คู่มือครู

กิจกรรมสรางเสริม ใหนักเรียนวางแผนการปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ของนักเรียน วานักเรียนคิดจะปฏิบัติตนอยางไรบางโดยเขียนแผนการ ปฏิบัติลงในสมุดบันทึก จากนั้นใหนักเรียนปฏิบัติตนตามแผนที่วางไว แลวทําการสรุปผลวาจากการปฏิบัติตนนั้น ทําใหเกิดผลดีอยางไรบาง

กิจกรรมทาทาย ใหนกั เรียนคิดหาแนวทางทีจ่ ะชวยสงเสริมการปฏิบตั ติ นเปนพลเมืองดีตาม วิถีประชาธิปไตย แลวเขียนอธิบายลงในกระดาษ A4 วามีแนวทางใดบาง และมีวิธีใดที่จะชักชวนใหคนรอบขางปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีตามแนวทางที่ นักเรียนวางไว แลวนําสงครูผูสอน


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู้ Explain

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู้

1. ครูใหนักเรียนหาขาวที่แสดงถึงสิทธิเสรีภาพ ของประชาชนชาวไทยตามบทบัญญัติของ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย อันไดแก การชุมนุมอยางสงบ การจัดตั้งพรรคการเมือง การรวมกันเปนสมาคม และการตรวจสอบการ ใชอํานาจรัฐ โดยนําขาวมาติดลงในกระดาษ A4 แลวเขียนอธิบายสรุปการใชสิทธิเสรีภาพ ตามขาว 2. ครูใหนักเรียนนําหลักเสรีภาพของชนชาวไทย ตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญมาปรับใช ภายในโรงเรียนของตนเอง โดยใหนักเรียน นําเสนอแนวทางการใชสิทธิเสรีภาพใน โรงเรียนอยางเหมาะสม และบอกถึงผลดีทจี่ ะ เกิดขึน้ จากนั้นใหนักเรียนออกมานําเสนอโดย ใชโปรแกรม PowerPoint

๑) ชาวไทยมีเสรีภาพในการชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธ ทั้งนี้เพื่อ

แสดงความคิดเห็นต่อการทํางานของหน่วยงานของรัฐหรือรัฐบาลในการแกปญหาต่างๆ ที่อาจมี ผลกระทบมาถึงประชาชน หากหน่วยงานของรัฐโดยเฉพาะรัฐบาลไม่ทําตามคําเรียกรองของ ผูชุมนุม โดยไม่มีเหตุผลสมควร รัฐบาลหรือพรรคการเมืองที่สนับสนุนรัฐบาลนั้น ก็จะเสียความ นิยมในหมู่ประชาชนที่ร่วมชุมนุม และพวกพองของผูร่วมชุมนุม

๒) ชาวไทยมีเสรีภ1าพในการ รวมกันจัดตั้งเปนพรรคการเมือง เพื่อสราง

เจตนารมณทางการเมืองของกลุ่มตน และเพื่อ ดําเนินกิจการในทางการเมืองใหเปนไปตาม เจตนารมณนั้นตามวิถีทางการปกครองระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปน ประมุข ทัง้ นีพ้ รรคการเมืองนัน้ จะตองจัดองคกร เพื่ อ ดํ า เนิ น กิ จ การและกํ า หนดข อ บั ง คั บ ของ พรรคใหสอดคลองกับหลักการพืน้ ฐานของการ ปกครองระบอบประชาธิปไตยดวย

Explain

ประชาชนไมวาจะอยูในสถานภาพใด ก็มีเสรีภาพในการ ชุมนุมโดยสงบ และปราศจากอาวุธ เพื่อแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับการทํางานของรัฐบาล หรือเรียกรองสิทธิของตน ตามกฎหมาย

๓) ชาวไทยมีเสรีภาพในการรวมกันเปนสมาคม สหภาพ สหพันธ สหกรณ

กลุ่มเกษตรกร องคการเอกชน หรือหมู่คณะอื่นๆ ทั้งนี้เพื่อจะไดร่วมมือในการรักษาและเพิ่มพูน ผลประโยชนร่วมกัน เช่น นักเรียนหรือศิษยเก่าของโรงเรียนต่างๆ นิยมจัดตั้งเปนกลุ่มหรือสมาคม นักเรียนหรือศิษยเก่า เพื่อผนึกกําลังทางดานความคิดหรือการเงินในการช่วยพัฒนาโรงเรียนเก่า ของตนใหมีเครื่องมือและอุปกรณช่วยในการ เรี ย นการสอนและการค น คว า อั น จะทํ า ให โรงเรียนของตนมีคุณภาพสูงขึ้น นอกจากนี้ ยังมีกลุ่มอาชีพต่างๆ เช่น ผูม อี าชีพเพาะปลูกทีต่ อ งเผชิญปญหาราคา พืชผลทางการเกษตรตกตํ่าและราคาปุยแพงก็ มักจะรวมตัวกันเปนกลุ่มเกษตรกรหรือสหกรณ การเกษตรเพือ่ ช่วยเหลือซึง่ กันและกัน และผนึก การรวมตัวกันของกลุม เกษตรกรเพือ่ ชวยเหลือซึง่ กันและกัน กําลังกันต่อรองกับพ่อคาคนกลาง หรือใหรฐั บาล ในเรื่องตางๆ เปนเสรีภาพที่ประชาชนชาวไทยสามารถ 2 ช่วยพยุงราคาสินคาเกษตรมิใหตกตํ่า เปนตน กระทําได ๑๕

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’51 ออกเกีย่ วกับปจจัยทีช่ ว ยสงเสริมใหเกิดสังคมทางการเมืองทีด่ ี สังคมทางการเมืองที่ดีจะทําใหเรามีชีวิตที่มั่นคงปลอดภัย มีความเปน อยูที่ดี และมีความสุข ทั้งนี้ตองอาศัยปจจัยขอใด 1. มีพรรคการเมืองที่เขมแข็งเพียงพรรคเดียว 2. มีผูนําประเทศที่อยูในอํานาจติดตอกันหลายวาระ 3. มีประชาชนที่รูจักใชสิทธิหนาที่ของตนเองตามกฎหมาย 4. มีประชาชนที่เรียกรองสิทธิและปกปองผลประโยชนของตนเอง วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 3. เพราะการที่ประชาชนรูจักใชสิทธิหนาที่ ของตนตามรัฐธรรมนูญ ยอมหมายถึงทุกคนจะปฎิบัติหนาที่ของตนอยาง เต็มที่ เชน ตั้งใจเรียน ขยันทํางาน มีความซื่อสัตยสุจริต ก็จะชวยให ประเทศมีความเจริญ รวมถึงการปฏิบัติตามกฎหมายก็จะทําใหสังคม มีความเปนระเบียบเรียบรอย และอยูรวมกันไดอยางสันติสุข

นักเรียนควรรู 1 การรวมกันจัดตั้งเปนพรรคการเมือง จะตองเปนบุคคลที่มีคุณสมบัติตางๆ ตามทีก่ ฎหมายกําหนด เชน มีสญ ั ชาติไทยโดยกําเนิด อายุไมตาํ่ กวา 20 ปบริบรู ณ ไมมีลักษณะตองหามมิใหใชสิทธิเลือกตั้งตามรัฐธรรมนูญ ไมใชผูซึ่งเคยดํารง ตําแหนงกรรมการบริหารพรรคการเมืองที่ตองยุบไปเพราะทําผิดกฎหมายเลือกตั้ง และพรรคการเมืองหนึ่งๆ ตองมีจํานวนคนตั้งแต 50 คนขึ้นไป 2 พยุงราคาสินคาเกษตร เปนการชวยเหลือเกษตรกรวิธีหนึ่งโดยรัฐบาล ดําเนินการรับซื้อผลผลิตเฉพาะในบางทองที่ เพื่อกระตุนใหราคาตลาดสูงขึ้น ซึ่งสวนใหญเปนสินคาเกษตร เชน ขาว ขาวโพด มันสําปะหลัง เปนตน เพื่อบรรเทาความเดือดรอนจากราคาผลผลิตที่ตกตํ่า

มุม IT ศึกษาคนควาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการจัดตั้งพรรคการเมือง ไดที่ http://www.ect.go.th/thai/party/ คู่มือครู

15


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู้

อธิบายความรู้ Explain

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Elaborate

Evaluate

Explain

1. ครูใหนักเรียนอธิบายการมีสวนรวมและ รับผิดชอบในกิจกรรมทางสังคม พรอมกับ ยกตัวอยางกิจกรรมทางสังคมที่มีบทบาท สําคัญในการพัฒนาสังคมประชาธิปไตย โดยเขียนอธิบายลงในสมุดบันทึกแลว นําสงครูผูสอน 2. ครูใหนักเรียนหาขาวที่เกี่ยวกับการมีสวนรวม และรับผิดชอบในกิจกรรมทางสังคมดานตางๆ จากนั้นใหนักเรียนทําการวิเคราะหแลวสรุป เนื้อหาขาว วามีลักษณะของการมีสวนรวม และรับผิดชอบในกิจกรรมทางสังคมอยางไร และจากกิจกรรมดังกลาวกอใหเกิดประโยชน ตอสวนรวมอยางไร จากนั้นใหนักเรียนออกมา สรุปขาวหนาชั้นเรียน 3. ครูใหนักเรียนเสนอกิจกรรมทางสังคมที่ นักเรียนสนใจอยากเขาไปมีสวนรวมคนละ 1 กิจกรรม โดยใหนักเรียนเขียนลักษณะ ของกิจกรรม วิธีปฏิบัติในการเขารวม และ ประโยชนของกิจกรรมที่มีตอสังคม

ในทํานองเดียวกั 1 น ผูที่ทํางานในโรงงาน หรือบริษัทต่างๆ ก็นิยมรวมตัวกันตั้งเปน สมาคมและสหภาพแรงงาน เพื่อต่อรองกับนายจางหรือสมาคมนายจาง เพื่อเพิ่มสวัสดิการหรือ ค่าจางใหกับกลุ่มแรงงานของตน ๔) ประชาชนสามารถมีสว นรวมในการตรวจสอบการใชอาํ นาจรัฐ รัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ไดสง่ เสริมและสนับสนุนใหประชาชนมีสว่ นร่วมในการ ตรวจสอบการใชอาํ นาจรัฐทุกระดับ เพือ่ ใหผใู ชอาํ นาจรัฐปฏิบตั งิ านดวยความสุจริตและเทีย่ งธรรม เช่น ใหสิทธิประชาชนผูมีสิทธิเลือกตั้งจํานวนไม่นอยกว่า ๒๐,๐๐๐ คน เขาชื่อรองขอใหถอดถอน ผูดํารงตําแหน่งระดับสูงที่มีพฤติการณรํ่ารวยผิดปกติส่อไปในทางทุจริตต่อหนาที่ เปนตน

๔.๒ การมีสวนรวมและรับผิดชอบในกิจกรรมทางสังคม

พลเมืองดีในสังคมประชาธิปไตยจะตองมีสว่ นร่วมและรับผิดชอบในกิจกรรมทางสังคมอย่าง ต่อเนื่อง จึงจะทําใหสมาชิกในสังคมประชาธิปไตยอยู่ร่วมกันดวยความรักและสามัคคี และพัฒนา สังคมใหเจริญกาวหนามากขึ้นเรื่อยๆ กิจกรรมทางสังคมที่มีความสําคัญต่อการพัฒนาสังคม ประชาธิปไตยที่พลเมืองดีจะตองมีส่วนร่วมและรับผิดชอบในการปฏิบัติใหเปนผลสําเร็จ มีดังนี้ ๑. การร่วมมือกันพัฒนาเด็กและเยาวชนใหเจริญเติบโตเปนพลเมืองดี ๒. การร่วมมือกันปองกันและแกไขปญหาที่สังคมกําลังเผชิญอยู่ตามหลักการ และ เปนไปบนพืน้ ฐานของคุณธรรมจริยธรรม ซึง่ สมาชิกในสังคมตองตระหนักถึงความสําคัญของปญหา ดังกล่าว ว่ามีผลต่อการดําเนินชีวิตของมนุษยและมีความพรอมที่จะปองกันและแกไข เช่น ปญหา สิ่งเสพติด ปญหาอาชญากรรม เปนตน ๓. การร่วมมือกันรักษาความสามัคคีในสังคม และปองกันมิใหความขัดแยงระหว่าง สมาชิกในสังคมขยายวงจนกลายเปนความแตกแยกในสังคม เช่น ควรปองกันการแย่งแหล่งนํ้า ระหว่างสมาชิกในสังคมมิใหกลายเปนความขัด แยงหรือการเผชิญหนากันแบบศัตรู เปนตน ๔. การร่วมมือกันสงเคราะหคน พิการหรือทุพพลภาพ ใหไดรับสิ่งอํานวยความ สะดวกต่างๆ และมีคุณภาพชีวิตที่ดีตามสมควร ๕. การร่วมมือกันในการปองกัน สาธารณภัยต่างๆ มิใหเกิดขึ้นกับชุมชนของตน เช่น ตองไม่ตัดไมทําลายปา อันเปนสาเหตุ ภาครัฐและเอกชนควรเขามามีสวนชวยสงเสริม ปองกัน สําคัญที่ทําใหเกิดอุทกภัย เปนตน และแกไขปญหายาเสพติด ๑๖

เกร็ดแนะครู ครูควรจัดใหนักเรียนไดมีสวนรวมและรับผิดชอบในกิจกรรมทางสังคม เชน การจัดกีฬาตานภัยยาเสพติดภายในโรงเรียน การเขารวมกิจกรรมปลูกปาชายเลน กิจกรรมอาสาสมัครอานหนังสือใหคนตาบอด เปนตน

นักเรียนควรรู 1 สหภาพแรงงาน เปนองคกรที่เกิดขึ้นจากการรวมตัวกันของลูกจาง เพื่อการแสวงหาและคุมครองผลประโยชนเกี่ยวกับสภาพการจาง และการสงเสริม ความสัมพันธอนั ดีระหวางลูกจางกับนายจาง มีการดําเนินงานอยางถาวร ปลอดจาก การถูกแทรกแซงจากนายจางและรัฐบาล

16

คู่มือครู

กิจกรรมสรางเสริม ใหนักเรียนเขียนเรียงความบอกเลาประสบการณของตนเอง ที่เคยได เขาไปมีสวนรวมและรับผิดชอบในกิจกรรมทางสังคม โดยใหบอกถึงลักษณะ กิจกรรมที่เขารวมและผลดีที่ไดรับจากการทํากิจกรรม จากนั้นนําออกมา เลาใหเพื่อนฟง

กิจกรรมทาทาย ใหนักเรียนคิดโครงการที่มีเปาหมายเพื่อสงเสริมการมีสวนรวมและ รับผิดชอบในกิจกรรมทางสังคม แลวเขียนในรูปแบบการเสนอโครงการ โดยใหมี รายละเอียดตางๆ ไดแก ชื่อโครงการ ผูรับผิดชอบโครงการ หลักการและ เหตุผล วัตถุประสงคและเปาหมาย วิธีการดําเนินงาน แผนปฏิบัติงาน และ ระยะเวลาการดําเนินโครงการ


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู้ Explain

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู้

Explain

1. ครูใหนักเรียนอภิปรายถึงความสําคัญของ สาธารณสถานภายในชุมชน และบอกถึงวิธกี าร ปฏิบตั ติ นเพือ่ ดูแลรักษาสาธารณสถานเหลานัน้ 2. ครูใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5-6 คน เพื่อ ปฏิบัติกิจกรรมดูแลรักษาสาธารณประโยชน ในโรงเรียน บันทึกผลการปฏิบตั ิ โดยระบุปญ  หา ที่พบในการปฏิบัติกิจกรรม แลวนํามาอภิปราย ในชั้นเรียนเพื่อหาแนวทางในการแกไข 3. ครูใหนักเรียนหาขาวการรองเรียนปญหา สาธารณสถาน แลวนํามาอภิปรายในชั้นเรียน เพื่อหาสาเหตุของปญหาและแนวทางการดูแล รักษาสาธารณสถานรวมกัน 4. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมที่ 1.7 จากแบบวัดฯ หนาที่พลเมืองฯ ม.2

๖. การร่วมมือกันทํานุบาํ รุงศาสนสถานใหเปนสถานทีเ่ หมาะแก่การพัฒนาจิตใจของ สมาชิกในสังคม และการประกอบกิจกรรมเพื่อส่วนรวม โดยไม่จําเปนตองเสียค่าใชจ่ายมากมาย ในการก่อสรางและปรับปรุงศาสนสถานเหล่านั้นใหมีความยิ่งใหญ่กว่าศาสนสถานอื่นๆ ใน ประเทศไทยหรือต่างประเทศ ๗. การร่วมมือกันอนุรักษหรือฟนฟูจารีตประเพณี ภูมิปญญาทองถิ่น ศิลปะหรือ วัฒนธรรมอันดีงามของทองถิ่นและของชาติ

๔.๓ การดูแลรักษาสาธารณประโยชนและสิ่งแวดลอมของชุมชน และประเทศ

พลเมืองดีในสังคมประชาธิปไตยจะตองดูแลรักษาสาธารณประโยชนและสิ่งแวดลอม ของชุมชนและประเทศ ทั้งนี้เพราะสาธารณสถานสรางไวเพื่อประโยชนร่วมกันของสังคม และ สิ่งแวดลอมที่ดีเปนปจจัยที่จะช่วยใหสังคมมีความสะดวกสบายและมีคุณภาพชีวิตที่ดี ซึ่งมี แนวทางในการปฏิบัติตนเพื่อวัตถุประสงคดังกล่าวหลายแนวทาง ดังนี้ ๑. ช่วยรักษาและบํารุงถนนหนทางใหอยูใ่ นสภาพดี เพือ่ จะไดใชประโยชนรว่ มกันเปน เวลานาน เช่น ผูใ ชรถบรรทุกไม่ควรบรรทุกนํา้ หนักเกินกว่าทีก่ ฎหมายกําหนด เพราะจะทําใหถนน หนทางชํารุด และเสื่อมสภาพเร็วขึ้น ทําใหสิ้นเปลืองงบประมาณ เปนตน ๒. ป อ งกั น มิ ใ ห บุค คลใดทํ า ลายสาธารณสถานที่ป ระชาชนใชป ระโยชนร่วมกัน เช่น ที่พักริมทางหรือที่พักรอรถประจําทาง สวนสาธารณะ เปนตน

✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ หนาที่พลเมืองฯ ม.2 กิจกรรมที่ 1.7 หนวยที่ 1 พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย กิจกรรมที่ ๑.๗ ให นั ก เรี ย นบั น ทึ ก การปฏิ บั ติ ต นเป น พลเมื อ งดี ต ามวิ ถี ประชาธิปไตยในระยะเวลา ๑๐ วัน โดยเขียนลงในตารางที่ กําหนดใหครบถวน (ส ๒.๑ ม.๒/๒) วัน เดือน ป

สิ่งที่ปฏิบัติ

๑ มีนาคม ๒๕๕๔

ไปโรงเรียนแตเชา แตงกายถูก …………………………………………………..

เกิดประโยชน

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได

ñð

ผูสังเกตการณ

ทําใหเราเปนคนมีระเบียบวินยั และ …………………………….. คุณแม ………………………………………………….. ระเบียบ และตัง้ ใจศึกษาหาความรู ………………………………………………….. มีความรูท จี่ าํ เปนตอการดําเนินชีวติ …………………………….. ครูประจําชัน้ …………………………………………………..

เขารวมกิจกรรมเลือกตั้งประธาน ………………………………………………….. เป น การส ง เสริ ม แนวทางตาม …………………………….. ครูประจําชัน้ ๒ มีนาคม ๒๕๕๔ ………………………………………………….. นักเรียน …………………………………………………..

กระบวนการประชาธิปไตย …………………………………………………..

……………………………..

แสดงความคิดเห็นในหองเรียน ………………………………………………….. ทําใหมีการเปดกวางทางความคิด …………………………….. สุดา ๓ มีนาคม ๒๕๕๔ ………………………………………………….. และรับฟงความเห็นของผูอ นื่ …………………………………………………..

อยางมีเหตุผล …………………………………………………..

……………………………..

เขารวมกิจกรรมทําความสะอาด ………………………………………………….. เปนการชวยกันรักษา ประธานหมูบ า น ๔ มีนาคม ๒๕๕๔ ………………………………………………….. ……………………………..

๕ มีนาคม ๒๕๕๔ ๖ มีนาคม ๒๕๕๔ ๗ มีนาคม ๒๕๕๔ ๘ มีนาคม ๒๕๕๔

การอนุรักษสิ่งแวดลอมและรักษาสาธารณประโยชนของนักศึกษาคณะเศรษฐศาสตร ษาคณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม เปนการสราง ประโยชนใหแกสังคม ถือเปนแนวทางหนึ่งในการปฏิบัติตนเปนพลเมืองดี

๙ มีนาคม ๒๕๕๔ ๑๐ มีนาคม ๒๕๕๔

๑๗

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’53 ออกเกี่ยวกับลักษณะของชุมชนที่เขมแข็งในสังคมไทย ชุมชนที่เขมแข็งในสังคมไทย ควรมีลักษณะหลายประการ ขอใดมีสวน นอยที่สุด 1. ชาวบานมีความพอเพียง พอประมาณ 2. ชาวบานมีลักษณะนํ้าพึ่งเรือ เสือพึ่งปา 3. ชาวบานมีการศึกษา รับรูขาวสารบานเมือง 4. ชาวบานมีนํ้าอดนํ้าทน ยอมรับโชคชะตา วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 4. เพราะการยอมรับโชคชะตาเพียงอยาง เดียวนั้นไมสามารถที่จะแกปญหาได เมื่อชุมชนเกิดปญหาตางๆ สมาชิกใน ชุมชนควรจะใหความสนใจ รวมกันปรึกษาหารือ และแสดงความคิดเห็น เพื่อชวยกันหาแนวทางแกไข ซึ่งเปนลักษณะสําคัญของการเปนพลเมืองดี ตามวิถีประชาธิปไตย

ถนนในชุมชน …………………………………………………..

สาธารณประโยชน …………………………………………………..

……………………………..

…………………………………………………..

…………………………………………………..

……………………………..

…………………………………………………..

…………………………………………………..

……………………………..

…………………………………………………..

…………………………………………………..

……………………………..

…………………………………………………..

…………………………………………………..

……………………………..

…………………………………………………..

…………………………………………………..

……………………………..

…………………………………………………..

…………………………………………………..

……………………………..

…………………………………………………..

…………………………………………………..

……………………………..

…………………………………………………..

…………………………………………………..

……………………………..

…………………………………………………..

…………………………………………………..

……………………………..

…………………………………………………..

…………………………………………………..

……………………………..

…………………………………………………..

…………………………………………………..

……………………………..

…………………………………………………..

…………………………………………………..

……………………………..

ฉบับ

เฉลย

(พิจารณาจากสิง่ ทีน่ กั เรียนปฏิบตั ิ โดยใหอยูใ นดุลยพินจิ ของครูผสู อน)

๑๑

เกร็ดแนะครู ครูอาจนําขาวหรือขอมูลที่นําเสนอถึงชุมชนตัวอยาง ที่สมาชิกของชุมชนตาง มีสวนรวมในกิจกรรมที่เปนประโยชนตอชุมชน เชน การชวยกันรักษาสิ่งแวดลอม รักษาสาธารณสมบัติ สอดสองดูแลปองกันยาเสพติด เปนตน โดยนํามาอธิบาย ใหนักเรียนฟง เพื่อเสริมความรูและเปนแนวทางใหนักเรียนนําไปปฏิบัติภายใน ชุมชนของตนเอง

มุม IT ศึกษาคนควาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับแนวทางการดูแลรักษาสิ่งแวดลอมภายใน ชุมชน ไดที่ http://sahutchaisocialwork.wordpress.com

คู่มือครู

17


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู้

อธิบายความรู้ Explain

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Elaborate

Evaluate

Explain

1. ครูใหนักเรียนดูภาพโปสเตอรโครงการ “กรุงเทพฯ ยิ้มสดใส ไรถุงพลาสติก” จาก หนังสือเรียนหนา 18 แลวอธิบายวา • โครงการดังกลาวจัดขึ้นดวยวัตถุประสงคใด • นักเรียนสามารถเขาไปมีสวนรวมใน โครงการดังกลาวไดอยางไร • นักเรียนสามารถนําโครงการนี้มาปรับใช ภายในโรงเรียนหรือชุมชนของนักเรียน ไดอยางไรบาง ใหนักเรียนเขียนอธิบายลงสมุดบันทึก แลวนําสงครูผูสอน 2. ครูใหนักเรียนจับคู เพื่อชวยกันออกแบบ โครงการรณรงครักษาสิ่งแวดลอมในโรงเรียน หรือในชุมชนของตนเอง โดยออกแบบ โปสเตอร และเขียนแผนโครงการ ระบุถึง วัตถุประสงค การดําเนินงาน และผลที่คาดวา จะไดรับ

โปสเตอรโครงการ “กรุงเทพฯ ยิ้มสดใส ไรถุงพลาสติก” เปนโครงการที่ทางกรุงเทพมหานครไดจัดขึ้นเพื1่อคุมครองสงเสริม และรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอม เนื่องจากถุงพลาสติกถือไดวาเปนสวนหนึ่งที่กอใหเกิดวิกฤตปญหาโลกรอนในปจจุบัน

๓. คุมครองส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดลอมใหคงอยู่ในสภาพดีตลอดไป และ ปองกันมิใหเกิดมลพิษต่อสิ่งแวดลอมซึ่งอาจก่อใหเกิดผลกระทบที่จะเปนอันตรายต่อสุขภาพและ สวัสดิภาพของสมาชิกในสังคม ตลอดจนทรัพยากรธรรมชาติ ๔. ป อ งกั น มิ ใ ห บุ ค คลใดทํ า ให สิง่ แวดลอมเสือ่ มโทรม อันจะทําใหคณ ุ ภาพชีวติ ของสมาชิกในสังคมเสื่อมโทรมลง เช่น จะตอง มีมาตรการในการควบคุมไม่ใหบุคคลใดทิ้งขยะ ลงไปในแม่นํ้าลําคลอง ซึ่งจะทําใหนํ้าเน่าเสีย และทําใหสัตวนํ้าดํารงชีวิตอยู่ไม่ได รวมทั้งตอง ปองกันมิใหผูใดตัดไมทําลายปา ซึ่งจะทําให สภาพแวดลอมธรรมชาติเสียหายและขาดความ การทิง้ ขยะมูลฝอยลงในแมนาํ้ ลําคลอง ถือวาเปนการทําลาย สมดุล อันเปนสาเหตุของอุทกภัยและภัยแลงที่ สิ่งแวดลอม และมีสวนทําใหคุณภาพชีวิตของคนในสังคม เกิดขึน ้ ในหลายๆ พืน้ ทีข่ องประเทศไทย เปนตน เสื่อมโทรมลง

๑๘

EB GUIDE

นักเรียนควรรู 1 วิกฤตปญหาโลกรอน หมายถึง ภาวะทีอ่ ณ ุ หภูมโิ ดยเฉลีย่ ของโลกสูงขึน้ จากผลของภาวะเรือนกระจก ซึ่งมีสาเหตุมาจากการเพิ่มปริมาณ แกสคารบอนไดออกไซดและแกสเรือนกระจกอืน่ ๆ อันเกิดจากการเผาไหมเชือ้ เพลิง ในการนํากิจกรรมตางๆ ของมนุษย เชน การปลอยควันพิษจากรถยนต โรงงาน อุตสาหกรรม เปนตน

มุม IT ศึกษาคนควาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับแนวคิดในการดูแลรักษาสิ่งแวดลอม ไดที่ http://www.environnet.in.th

18

คู่มือครู

http://www.aksorn.com/LC/Civil/M2/03

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ใครมีบทบาทสําคัญที่สุดในการแกไขปญหาสิ่งแวดลอมเสื่อมโทรม ภายในชุมชน 1. สํานักงานเขต 2. กรมควบคุมมลพิษ 3. เจาหนาที่สิ่งแวดลอม 4. สมาชิกภายในชุมชน วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 4. สมาชิกในชุมชนจะตองตระหนักวาเปน ปญหาของสวนรวม และเขามารับรู รับทราบ รวมถึงเขามามีสว นรวมในการ หาแนวทางแกไขปญหา ซึ่งหากชาวบานมีการแสดงความคิดเห็นและ รับฟงกัน ก็จะนําไปสูการรวมมือกันแกปญหาสิ่งแวดลอมไดอยางยั่งยืน แสดงถึงการเปนชุมชนที่สามารถพึ่งพาตนเองได


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

Engaae

Expore

Explain

ขยายความเข้าใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ขยายความเข้าใจ

Expand

1. ครูใหนักเรียนพิจารณาแนวทางสงเสริมการ ปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ดังตอไปนี้ • การทํากิจกรรมรวมกันในกระบวนการทาง ประชาธิปไตย • การมีสวนรวมและรับผิดชอบในกิจกรรม ทางสังคม • การดูแลรักษาสาธารณประโยชนและ สิ่งแวดลอมของชุมชนและประเทศ จากนั้นใหนักเรียนเลือกคนละ 1 หัวขอ นํามาจัดทําเปนสื่อประชาสัมพันธเพื่อใหความรู เรื่องแนวทางการปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีตามวิถี ประชาธิปไตย ตามประเด็นที่นักเรียนเลือก โดย อาจทําเปนสื่อใหความรูในรูปแบบตางๆ เชน สมุดภาพ แผนพับ แผนโปสเตอร PowerPoint หรือรูปแบบอืน่ ๆ ตามความถนัดของนักเรียน 2. ครูใหนักเรียนรวมกันจัดทําปายนิเทศในหัวขอ พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย และนําไปจัด นิทรรศการยอยภายในโรงเรียน 3. ครูใหนักเรียนตอบคําถามประจําหนวย การเรียนรู

๕. ช่วยดูแลรักษาทางนํา้ สาธารณะมิใหมสี งิ่ กีดขวางและตืน้ เขิน และตองไม่รกุ ลํา้ ทาง สาธารณะจนไม่สามารถใชสัญจรไปมาได จากที่กลาวมาขางตนจะเห็นไดวา หากสมาชิกในสังคมทุกคนสามารถพัฒนาตนเองให เปนพลเมืองดีของสังคม คือ เปนคนที่เคารพในเหตุผล ปฏิบัติตนตามสถานภาพ บทบาท สิทธิ หนาที่ เคารพสิทธิเสรีภาพของบุคคลอืน่ มีจติ สาธารณะ เคารพกฎหมาย และมีคณ ุ ธรรม จริยธรรม ตามวิถีประชาธิปไตยได ยอมจะสงผลดีทั้งตอตนเอง สังคม และความสงบสุขของ ประเทศชาติโดยรวม ซึ่งถาคนไทยสวนใหญประพฤติปฏิบัติตนเปนพลเมืองดี ประเทศก็จะเกิด ความสงบสุข ปราศจากความขัดแยง ประเทศชาติก็ยอมพัฒนาเจริญกาวหนาไดอยางรวดเร็ว

ตรวจสอบผล

Evaluate

1. ครูตรวจสอบความถูกตองของสื่อใหความรู เรื่องแนวทางการปฏิบัติตนเปนพลเมืองดี ตามวิถีประชาธิปไตย 2. ครูตรวจสอบความสมบูรณและความสวยงาม ของปายนิเทศ ในหัวขอพลเมืองดีตามวิถี ประชาธิปไตย ๑๙

บูรณาการเชื่อมสาระ

การปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีในเรื่องการดูแลรักษาสิ่งแวดลอมของชุมชน และประเทศ สามารถนําไปเชื่อมโยงกับกลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร วิชาวิทยาศาสตร ในหัวขอภาวะโลกรอน ซึ่งจะชวยใหนักเรียนทราบถึง สาเหตุ ผลกระทบตอสิ่งแวดลอมที่เกิดจากภาวะโลกรอน เชน เกิดอุทกภัย ฝนแลง โรคระบาด เปนตน รวมถึงแนวทางปฏิบัติในการรักษาสิ่งแวดลอม ทีส่ ามารถนําไปใชไดในชุมชนของตนเอง เชน การคิดแยกขยะ การลดการใช ถุงพลาสติก การไมปลอยของเสียลงสูแมนํ้าลําคลอง เปนตน

บูรณาการอาเซียน ครูควรแนะนําใหนักเรียนฝกปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ซึ่งถือเปนการเตรียมความพรอมที่สําคัญดานหนึ่งสูการเปนพลเมืองอาเซียน เพราะ การที่นักเรียนเปนพลเมืองดี ยอมหมายถึงนักเรียนเปนบุคลากรที่มีคุณภาพ เปน กําลังอันสําคัญที่จะชวยพัฒนาชาติใหมีความเจริญกาวหนาในทุกๆ ดาน ไมวาจะ เปนดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม อันเปนจุดมุงหมายสําคัญแหง การเขาสูประชาคมอาเซียน โดยกิจกรรมที่ควรแนะนําใหนักเรียนฝกปฎิบัติ เชน ฝกพูดแสดงความคิดเห็นตางๆ อยางมีเหตุผล ในขณะเดียวกันก็ตองรับฟงความคิด เห็นของผูอื่น รวมถึงการปฏิบัติตอผูอื่นอยางเคารพสิทธิเสรีภาพ

คู่มือครู

19


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

Engaae

Expore

Explain

Elaborate

ตรวจสอบผล

ตรวจสอบผล Evaluate

Evaluate

ครูตรวจสอบความถูกตองจากการตอบคําถาม ประจําหนวยการเรียนรู

¤ íÒ¶ÒÁ»ÃШ íÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ๑. สังคมประชาธิปไตยมีลักษณะที่สําคัญอย่างไร จงอธิบาย ๒. การเปนพลเมืองดี มีคุณลักษณะอย่างไร ใหอธิบายพรอมยกตัวอย่างประกอบ ๓. จงยกตัวอย่างผลที่เกิดจากการปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีตามสถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ และหนาที่ที่เกิดในชุมชน และประเทศชาติ ๔. นักเรียนสามารถปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีของชุมชนและประเทศชาติไดอย่างไรบาง ๕. จงวิเคราะหผลที่ไดรบั จากการปฏิบตั ติ นเปนพลเมืองดีตอ่ ตนเอง ชุมชน และประเทศชาติ ๖. แนวทางส่งเสริมใหปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย สามารถทําไดอย่างไร จงอธิบาย

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู 1. ชิ้นงานสื่อประชาสัมพันธการปฏิบัติตน เปนพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย 2. ปายนิเทศในหัวขอพลเมืองดีตามวิถี ประชาธิปไตย

¡Ô¨¡ÃÃÁÊÌҧÊÃä ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ กิจกรรมที่ ๑

ใหนักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๕ คน โดยใหแต่ละกลุ่มร่วมกันระบุบทบาท และหนาทีข่ องพลเมืองดีทมี่ ตี อ่ ชุมชน และประเทศชาติ เปนแผนผังความคิด ใส่กระดาษรายงาน ส่งครูผูสอน

กิจกรรมที่ ๒

ครูผสู อนนําภาพกิจกรรมการเปนพลเมืองดีของคนในสังคมมาใหนักเรียนดู แลวใหนักเรียนแต่ละคนเขียนบรรยายเหตุการณ ใตภาพ พรอมร่วมกัน อภิปรายถึง “ผลดีทเี่ กิดจากการปฏิบตั ติ นเปนพลเมืองดีตามภาพเหตุการณ”

กิจกรรมที่ ๓

ใหนกั เรียนแบ่งกลุม่ กลุม่ ละ ๕ คน ศึกษาวัฒนธรรมของชาติและของทองถิน� ดานใดดานหนึ�งที่ปฏิบัติอย่างต่อเน��อง จากนั้นนํามาอภิปรายแลกเปลี่ยน ร่วมกันหนาชัน้ เรียน

๒๐

แนวตอบ คําถามประจําหนวยการเรียนรู 1. ลักษณะสําคัญของสังคมประชาธิปไตย เชน เปนสังคมที่ยึดหลักความเสมอภาค ยึดหลักนิติธรรม ยึดหลักการประนีประนอม เคารพในการตัดสินใจของฝายขางมาก ใชเหตุผลในการแกปญหา และประชาชนทุกคนมีความรับผิดชอบตอสวนรวม เปนตน 2. กลุมลักษณะของพลเมือง เชน 1) เปนบุคคลที่เคารพในเหตุผล เชน รับฟงความคิดเห็นของผูอื่น ไมถือเอาเหตุผลของตนเปนใหญ เปนตน 2) เคารพศักดิ์ศรีความเปนมนุษย เชน ไมเลือกปฏิบัติ ไมแสดงการดูหมิ่นตอบุคคลอื่น เปนตน 3) เปนบุคคลที่มีจิตสาธารณะ เชน ชวยชุมชนเก็บเศษขยะภายในชุมชน รวมกันปรึกษาหารือเพื่อปองกันนํ้าทวม เปนตน 4) เปนบุคคลที่เคารพกฎหมาย เชน การขับรถตามกฎจราจร เสียภาษีอากรใหรัฐ เปนตน 5) เปนบุคคลที่มีคุณธรรม จริยธรรมในการดําเนินชีวิตประจําวัน เชน มีความซื่อสัตยสุจริตในหนาที่การงาน มีความเสียสละตอสวนรวม เปนตน 3. ทําใหสมาชิกในสังคมอยูรวมกันอยางสันติสุข สังคมมีความเปนระเบียบเรียบรอย เพราะทุกคนรูจักรับผิดชอบตามบทบาท สิทธิ เสรีภาพ และหนาที่ ทั้งตอตนเอง ชุมชน และประเทศชาติ 4. ดําเนินชีวิตโดยยึดหลักกฎหมายและกฎศีลธรรม เชน การประกอบอาชีพสุจริต การปฏิบัติตามคานิยมที่ดีงาม การรวมกันดูแลรักษาสิ่งแวดลอมในชุมชน เปนตน 5. ทําใหมีชีวิตที่สงบสุข มีความกาวหนาในหนาที่การงาน และมีความมั่นคงในชีวิต อีกทั้งกอใหเกิดความรักและความสามัคคีในสังคมและประเทศชาติ สังคมมีความเปน ระเบียบเรียบรอย สามารถพัฒนาไปไดอยางมั่นคง 6. การทํากิจกรรมรวมกันในกระบวนการทางประชาธิปไตย การมีสวนรวมและรับผิดชอบในกิจกรรมทางสังคม และการดูแลรักษาสาธารณประโยชนของชุมชน เปนตน

20

คู่มือครู


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.