8858649122353

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº Í- .

ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน

กระบวนการสอนแบบ 5 Es ชวยสรางทักษะการเรียนรู กิจกรรมมุงพัฒนาทักษะการคิด คำถาม + แนวขอสอบเพื่อยกผลสัมฤทธิ์ O-NET กิจกรรมบูรณาการเตรียมพรอมสู ASEAN 2558


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย

ภาษาไทย

หลักภาษาและการใชภาษา ชั้นประถมศึกษาปที่

1

สําหรับครู

คูมือครู Version ใหม

ลักษณะเดน

ขยายพื้นที่รูปเลมใหญขึ้นกวาเดิม จัดแบงพื้นที่ออกเปนโซน เพื่อคนหาขอมูลไดงาย สะดวก รวดเร็ว และดูเปนระเบียบ กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล

กระตุน ความสนใจ

Evaluate

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

เปาหมายการเรียนรู สมรรถนะของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค

หน า

โซน 1 กระตุน ความสนใจ

Engage

สํารวจคนหา

Explore

อธิบายความรู

Explain

ขยายความเขาใจ

Expand

ตรวจสอบผล

หน า

หนั ง สื อ เรี ย น

โซน 1

หนั ง สื อ เรี ย น

Evaluate

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ขอสอบ

โซน 2

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

เกร็ดแนะครู

O-NET

บูรณาการเชื่อมสาระ

โซน 3

กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย

นักเรียนควรรู

โซน 3

โซน 2 บูรณาการอาเซียน มุม IT

No.

คูมือครู

คูมือครู

No.

โซน 1 ขั้นตอนการสอนแบบ 5Es

โซน 2 ชวยครูเตรียมสอน

โซน 3 ชวยครูเตรียมนักเรียน

เพื่อใหครูเตรียมจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยแนะนําขั้นตอนการสอนและ การจัดกิจกรรมแบบ 5Es อยางละเอียด เพื่อใหนักเรียนบรรลุตามตัวชี้วัด

เพื่อชวยลดภาระครูผูสอน โดยแนะนํา เกร็ดความรูสําหรับครู ความรูเสริมสําหรับ นักเรียน รวมทั้งบูรณาการความรูสูอาเซียน และมุม IT

เพือ่ ใหครูสะดวกตอการจัดกิจกรรม โดยแนะนํา กิจกรรมบูรณาการเชื่อมระหวางกลุมสาระ วิชา กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย รวมถึงเนือ้ หา ทีเ่ คยออกขอสอบ NT/O-NET เก็งขอสอบ NT/O-NET และแนวขอสอบเนนการคิด พรอมคําอธิบาย และเฉลยอยางละเอียด


ที่ใชในคูมือครู

แถบสีและสัญลักษณ

แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5Es เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

1. แถบสี 5Es สีแดง

สีเขียว

กระตุน ความสนใจ

เสร�ม

สํารวจคนหา

Engage

2

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุน ความสนใจ เพื่อโยง เขาสูบทเรียน

สีสม

อธิบายความรู

Explore

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนสํารวจ ปญหา และศึกษา ขอมูล

สีฟา

Explain

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนคนหา คําตอบ จนเกิดความรู เชิงประจักษ

สีมวง

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนนําความรู ไปคิดคนตอๆ ไป

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

2. สัญลักษณ สัญลักษณ

วัตถุประสงค

• เปาหมายการเรียนรู

• หลักฐานแสดง ผลการเรียนรู

• เกร็ดแนะครู

• นักเรียนควรรู

• บูรณาการอาเซียน

• มุม IT

คูม อื ครู

แสดงเปาหมายการเรียนรูที่นักเรียน ตองบรรลุตามตัวชี้วัด ตลอดจนสมรรถนะ ที่จะตองมี และคุณลักษณะที่พึงเกิดขึ้น กับนักเรียน แสดงรองรอยหลักฐานตามภาระงาน ที่ครูมอบหมาย เพื่อแสดงผลการเรียนรู ตามตัวชี้วัด แทรกความรูเสริมสําหรับครู ขอเสนอแนะ ขอควรระวัง ขอสังเกต แนวทางการจัด กิจกรรมและอืน่ ๆ เพื่อประโยชนในการ จัดการเรียนการสอน ขยายความรูเพิ่มเติมจากเนื้อหา เพื่อให ครูนําไปใชอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียน ไดมีความรูมากขึ้น ความรูห รือกิจกรรมเสริม ใหครูนาํ ไปใช เตรียมความพรอมใหกบั นักเรียนกอนเขาสู ประชาคมอาเซียนใน พ.ศ. 2558 โดย บูรณาการกับวิชาทีก่ าํ ลังเรียน แนะนําแหลงคนควาจากเว็บไซต เพื่อให ครูและนักเรียนไดเขาถึงขอมูลความรู ที่หลากหลาย ทั้งไทยและตางประเทศ

สัญลักษณ

ขอสอบ

วัตถุประสงค

O-NET

(เฉพาะวิ เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ O-NET O-NET)

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T (เฉพาะวิ เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ NT เพือ่ เตรียมพรอมสอบ O-NET)

ขอสอบเนน การคิด แนว NT (เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ NT)

บูรณาการเชื่อมสาระ กิจกรรมสรางเสริม

• ชีแ้ นะเนือ้ หาทีเ่ คยออกขอสอบ

O-NET โดยยกตัวอยางขอสอบ พรอมวิเคราะหคาํ ตอบ อยางละเอียด

• เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน

การคิด และเปนแนวขอสอบ NT/O-NET ในระดับประถมศึกษา มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลย อยางละเอียด

• แนวขอสอบ NT ในระดับ

ประถมศึกษา มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด โดยเนน - การอานออกเขียนได - การคิดเลข - ความสามารถดานการคิด และการใหเหตุผล

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม

เชือ่ มกับสาระหรือกลุม สาระ การเรียนรู ระดับชัน้ หรือวิชาอืน่ ทีเ่ กีย่ วของ

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ซอมเสริมสําหรับนักเรียนทีค่ วร ไดรบั การพัฒนาการเรียนรู

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม กิจกรรมทาทาย

ตอยอดสําหรับนักเรียนทีเ่ รียนรู ไดอยางรวดเร็ว และตองการ ทาทายความสามารถในระดับ ทีส่ งู ขึน้


คําแนะนําการใชคูมือครู การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน คูม อื ครู รายวิชา ภาษาไทย หลักภาษาและการใชภาษา ป.1 จัดทําขึน้ เพือ่ ใหครูผสู อนนําไปใชเปนแนวทางวางแผน การสอนเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และประกันคุณภาพผูเรียน ตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) โดยใชหนังสือเรียน ภาษาไทย หลักภาษาและการใชภาษา ป.1 ของบริษัท อักษรเจริญทัศน เสร�ม อจท. จํากัด เปนสื่อหลัก (Core Material) ประกอบการสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับมาตรฐาน 3 การเรียนรูและตัวชี้วัดของกลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 โดยออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักการสําคัญ ดังนี้ 1 ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน คูมือครู รายวิชา ภาษาไทย หลักภาษาและการใชภาษา ป.1 วางแผนการสอนโดยแบงเปนหนวยการเรียนรู ตามลําดับสาระ (Standard) และหมายเลขขอของมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด แตละหนวยจะกําหนดเปาหมาย การสอนและจุดประสงคการเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทาง การประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชัดเจน ครูผูสอนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุม มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด สมรรถนะ และคุณลักษณะอันพึงประสงคที่เปนเปาหมายการเรียนรูตามที่กําหนดไวในสาระ แกนกลาง (ตามแผนภูม)ิ และสามารถบันทึกผลสัมฤทธิท์ างการเรียนของผูเ รียนแตละคนลงในเอกสาร ปพ.5 ไดอยางมัน่ ใจ แผนภูมิแสดงองคประกอบของการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผูเรียนเปนสําคัญ

พผ

ูเ

จุดปร

ะสง

ค ก

ส ภา

รี ย น

รู ีเรยน

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชั้นป

ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน คูม อื ครู


2 การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ แนวคิ ด ในการจั ด การเรี ย นการสอนที่ ยึ ด ผู  เ รี ย นเป น สํ า คั ญ พั ฒ นามาจากปรั ช ญาและทฤษฎี ก ารเรี ย นรู  Constructivism ที่เชื่อวาการเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสรางความรู โดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดเรียนรูจากบทเรียนใหมกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา ผูเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีการสั่งสมความรูความเขาใจเกี่ยวกับสิ่งตางๆ ติดตัวมากอน ทีจ่ ะเขาสูห อ งเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากประสบการณและสิง่ แวดลอมรอบตัวผูเ รียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกิจกรรม เสร�ม การเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ผูสอนจะตองคํานึงถึง

4

1. ความรูเดิมของผูเรียน วิธีการสอนที่ดีจะตองเริ่มตนจากจุดที่วา ผูเ รียนมีความรูอ ะไรมาบาง แลวจึงใหความรู หรือประสบการณใหม เพื่อตอยอดจาก ความรูเดิม นําไปสูการสรางความรู ความเขาใจใหม

2. ความรูเดิมของผูเรียนถูกตองหรือไม ผูส อนตองปรับเปลีย่ นความรูค วามเขาใจเดิม ของผูเรียนใหถูกตอง และเปนพฤติกรรม การเรียนรูใ หมทมี่ คี ณุ คาตอผูเรียน เพื่อสราง เจตคติหรือทัศนคติที่ดีตอการเรียนรู สิ่งเหลานั้น

3. ผูเรียนสรางความหมายสําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมใหผูเรียนนําความรู ความเขาใจที่เกิดขึ้นไปลงมือปฏิบัติ เพื่อขยายความรูใหลึกซึ้งและมีคุณคา ตอตัวผูเรียนมากที่สุด

แนวคิด Constructivism เนนใหผูเรียนสรางความรูโดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูของตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศ

การเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณ ความรูใ หม เพือ่ กระตนุ ใหผเู รียนเชือ่ มโยงความรู ความคิด กับประสบการณทมี่ อี ยูเ ดิม แลวสังเคราะหเปนความรูห รือแนวคิดใหมๆ ไดดว ยตนเอง

3 การบูรณาการกระบวนการคิด การเรียนรูของผูเรียนแตละคนจะเกิดขึ้นที่สมอง ซึ่งเปนอวัยวะที่ทําหนาที่รูคิดภายใตสภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวย และไดรบั การกระตนุ จูงใจอยางเหมาะสม สอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของผูเ รียนแตละคน การจัดกิจกรรม การเรียนรูและสาระการเรียนรูที่สอดคลองกับความสนใจและมีความหมายตอผูเรียน จะชวยกระตุนใหสมองของผูเรียน สามารถรับรูและเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพตามขั้นตอนการทํางานของสมอง ดังนี้ 1. สมองจะเรียนรูและสืบคน โดยการสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง ปฏิบัติ จนทําใหคนพบความรูความเขาใจ ไดอยางรวดเร็ว

2. สมองจะแยกแยะคุณคาของสิ่งตางๆ โดยการตัดสินใจวิพากษวิจารณ แสดง ความคิดเห็น ยอมรับหรือตอตานตาม อารมณความรูสึกที่เกิดขึ้นในขณะที่เรียนรู

3. สมองจะประมวลเนื้อหาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสานกับ ความรูห รือประสบการณเดิมทีถ่ กู จัดเก็บอยูใ น สมอง ผานการกลัน่ กรองเพือ่ สังเคราะหเปน ความรูค วามเขาใจใหมๆ หรือเปนทัศนคติใหม ที่จะเก็บบรรจุไวในสมองของผูเรียน

การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะเกิดขึ้น เมื่อสมองรูคิด และตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมองผูเรียน โดยเริ่มตนจาก 1. ระดับการคิดพื้นฐาน ไดแก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล การสรุปผล เปนตน

คูม อื ครู

2. ระดับลักษณะการคิด ไดแก การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดไกล คิดหลากหลาย คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล เปนตน

3. ระดับกระบวนการคิด ไดแก กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ กระบวนการแกปญหา กระบวนการ คิดสรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะหวิจัย เปนตน


5Es การจัดกิจกรรมตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ขั้นตอนการสอนที่สัมพันธกับขั้นตอนการคิดและการทํางานทางสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย คือ วัฏจักรการเรียนรู 5Es ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแตละหนวย ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1

กระตุนความสนใจ

(Engage)

เสร�ม

5

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนนําเขาสูบ ทเรียน เพือ่ กระตุน ความสนใจของผูเ รียนดวยเรือ่ งราวหรือเหตุการณทนี่ า สนใจโดยใชเทคนิควิธกี ารสอน และคําถามทบทวนความรูหรือประสบการณเดิมของผูเรียน เพื่อเชื่อมโยงผูเรียนเขาสูความรูของบทเรียนใหม ชวยใหผูเรียนสามารถ สรุปประเด็นสําคัญที่เปนหัวขอและสาระการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอนการสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอม และสรางแรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน

ขั้นที่ 2

สํารวจคนหา

(Explore)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนเปดโอกาสใหผเู รียนลงมือศึกษา สังเกต หรือรวมมือกันสํารวจ เพือ่ ใหเห็นขอบขายของปญหา รวมถึงวิธกี ารศึกษา คนควา การรวบรวมขอมูลความรูที่จะนําไปสูการสรางความเขาใจประเด็นปญหานั้นๆ เมื่อผูเรียนทําความเขาใจในประเด็นหัวขอที่จะ ศึกษาคนควาอยางถองแทแลว ก็ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธีการตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูตามที่ตั้งประเด็นศึกษาไว

ขั้นที่ 3

อธิบายความรู

(Explain)

เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา ตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนคนหาคําตอบ และนําขอมูล ความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห สรุปผล และนําเสนอผลที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ แผนผังแสดงมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน ในขั้นตอนนี้ฝกใหผูเรียนใชสมองคิดวิเคราะหและ สังเคราะหอยางเปนระบบ

ขั้นที่ 4

ขยายความเขาใจ

(Expand)

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใชเทคนิควิธีการสอนตางๆ ที่สงเสริมใหผูเรียนนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนสืบคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะ การเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน ผูเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยง กับประสบการณเดิมโดยนําขอสรุปทีไ่ ดไปใชอธิบายเหตุการณตา งๆ หรือนําไปปฏิบตั ใิ นสถานการณใหมๆ ทีเ่ กีย่ วของกับชีวติ ประจําวัน ของตนเอง เพื่อขยายความรูความเขาใจใหกวางขวางยิ่งขึ้น ในขั้นตอนนี้ฝกสมองของผูเรียนใหสามารถคิดริเริ่มสรางสรรคอยางมี คุณภาพ เสริมสรางวิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป

ขั้นที่ 5

ตรวจสอบผล

(Evaluate)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนประเมินมโนทัศนของผูเ รียน โดยตรวจสอบจากความคิดทีเ่ ปลีย่ นไปและความคิดรวบยอดทีเ่ กิดขึน้ ใหม ตรวจสอบ ทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด และการเคารพความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพื่อการ สรางสรรคความรูร ว มกัน ผูเ รียนสามารถประเมินผลการเรียนรูข องตนเอง เพือ่ สรุปผลวามีความรูอ ะไรเพิม่ ขึน้ มาบาง เกิดความเขาใจ มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ ไดอยางไร ผูเรียนจะเกิดเจตคติและเห็นคุณคาของ ตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง

การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามขั้นตอนวัฏจักรการสรางความรูแบบ 5Es จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนน ผูเ รียนเปนสําคัญอยางแทจริง เพราะสงเสริมใหผเู รียนไดลงมือปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนของกระบวนการสรางความรูด ว ยตนเอง และฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและกระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะชีวิต ทักษะการทํางานและทักษะการ เรียนรูที่มีประสิทธิภาพ สงผลตอการยกระดับผลสัมฤทธิ์ของผูเรียน ตามเปาหมายของการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คูม อื ครู


O-NET การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ O-NET

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ในแตละหนวยการเรียนรู ทางผูจัดทํา จะเสนอแนะวิธีสอนรูปแบบกิจกรรมการเรียนรู พรอมทั้งออกแบบเครื่องมือวัดผลประเมินผลที่สอดคลองกับตัวชี้วัด และสาระการเรียนรูแกนกลางไวทุกขั้นตอน โดยยึดหลักสําคัญ คือ เปาหมายของการวัดผลประเมินผล เสร�ม

6

1. การวัดผลทุกครั้งตองนําผล การวัดมาปรับปรุงพัฒนาผูเรียน เปนรายบุคคล

2. การประเมินผลมีเปาหมาย เพื่อพัฒนาการเรียนรูของผูเรียน จนเต็มศักยภาพ

3. การนําผลการวัดและประเมิน ทุกครั้งมาวางแผนปรับปรุงกิจกรรม การเรียนการสอน การเลือกเทคนิค วิธีการสอน และสื่อการเรียนรูให เหมาะสมกับสภาพจริงของผูเรียน

การทดสอบผูเรียน 1. การใชขอสอบอัตนัย เนนการอาน การคิดวิเคราะห และเขียนสรุปเพิ่มมากขึ้น 2. การใชคําถามกระตุนการคิด ควบคูกับการทําขอสอบที่เนนการคิดตลอดตอเนื่องตามลําดับกิจกรรมการเรียนรูและ ตัวชี้วัด 3. การทดสอบตองดําเนินการทั้งกอนเรียน ระหวางเรียน และเมื่อสิ้นสุดการเรียน การทดสอบระหวางเรียน ต อ งใช ข  อ สอบทั้ ง ชนิ ด ปรนั ย และอั ต นั ย และเป น การทดสอบเพื่ อ วิ นิ จ ฉั ย ผลการเรี ย นของผู  เ รี ย นแต ล ะคน เพื่อวัดการสอนซอมเสริมใหบรรลุตัวชี้วัดทุกตัว 4. การสอบกลางภาค (ถามี) ควรนําขอสอบหรือแบบฝกหัดที่นักเรียนสวนใหญทําผิดบอยๆ มาสรางเปนแบบทดสอบ อีกครัง้ เพือ่ ตรวจสอบความรูค วามเขาใจทีถ่ กู ตอง และประเมินความกาวหนาของผูเรียนแตละคน 5. การสอบปลายภาคเรียนเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามตัวชี้วัดที่สําคัญ ควรออกขอสอบใหมีลักษณะเดียวกับ ขอสอบ O-NET โดยเนนการคิดวิเคราะห สังเคราะห เชื่อมโยงประยุกตใช เพื่อสรางความคุนเคย และฝกฝน วิธีการทําขอสอบดวยความมั่นใจ 6. การนําผลการทดสอบของผูเรียนมาวิเคราะห โดยผลการสอบกอนการเรียนตองสามารถพยากรณผลการสอบ กลางภาค และผลการสอบกลางภาคตองทํานายผลการสอบปลายภาคของผูเ รียนแตละคน เพือ่ ประเมินพัฒนาการ ความกาวหนาของผูเรียนเปนรายบุคคล 7. ผลการทดสอบปลายป ปลายภาค ตองมีคาเฉลี่ยสอดคลองกับคาเฉลี่ยของการสอบ NT ที่เขตพื้นที่การศึกษา จัดสอบ รวมทั้งคาเฉลี่ยของการสอบ O-NET ชวงชั้นที่สอดคลองครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดสําคัญ เพือ่ สะทอนประสิทธิภาพของครูผสู อนในการออกแบบการเรียนรูแ ละประกันคุณภาพผูเ รียนทีต่ รวจสอบผลไดชดั เจน การจัดการเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ตองใหผูเรียนไดสั่งสมความรู สะสมความเขาใจไปทีละเล็ก ละนอยตามลําดับขัน้ ตอนของกิจกรรมการเรียนรู 5Es เพือ่ ใหผเู รียนไดเติมเต็มองคความรูอ ยางตอเนือ่ ง จนสามารถปฏิบตั ิ ชิ้นงานหรือภาระงานรวบยอดของแตละหนวยผานเกณฑประกันคุณภาพในระดับที่นาพึงพอใจ เพื่อรองรับการประเมิน ภายนอกจาก สมศ. ตลอดเวลา คูม อื ครู


ASEAN การเรียนรูสูประชาคมอาเซียน เพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรูบูรณาการอาเซียนศึกษา ผูจัดทําไดวิเคราะห มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดที่มีสาระการเรียนรูสอดคลองกับองคความรูเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนในแงมุมตางๆ ครอบคลุมทัง้ ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน เพื่อสงเสริมการเรียนรูใหผูเรียนเกิดความตระหนัก มีความรูความเขาใจเหมาะสมกับระดับชั้นและกลุมสาระ การเรียนรู โดยเสนอแนะวิธีการจัดกิจกรรมบูรณาการเนื้อหาสาระตางๆ ที่เปนประโยชนตอผูเรียนและเปนการชวย เตรียมความพรอมผูเ รียนทุกคนทีจ่ ะกาวเขาสูก ารเปนสมาชิกของประชาคมอาเซียนไดอยางมัน่ ใจตามขอตกลงปฏิญญา เสร�ม ชะอํา-หัวหิน วาดวยความรวมมือดานการศึกษาเพือ่ บรรลุเปาหมายประชาคมอาเซียนทีเ่ อือ้ อาทรและแบงปน จึงกําหนด 7 เปนนโยบายใหกระทรวงศึกษาธิการจัดการเรียนรูเตรียมความพรอมผูเรียนเขาสูประชาคมอาเซียนภายในป พ.ศ. 2558 ตามแนวปฏิบัติที่สําคัญ ดังนี้

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน 1. การสรางความรูความเขาใจ และตระหนักถึงความสําคัญของ กฎบัตรอาเซียน และความรวมมือ ของ 3 เสาหลัก ซึง่ กฎบัตรอาเซียน ในขณะนี้มีสถานะเปนกฎหมายที่ ประเทศสมาชิกจะตองปฏิบัติตาม หลักการที่กําหนดไวเพื่อใหบรรลุ เปาหมายของกฎบัตรมาตราตางๆ

2. การสงเสริมหลักการ ประชาธิปไตยและการสราง สิ่งแวดลอมประชาธิปไตย เพื่อการอยูรวมกันอยางกลมกลืน ภายใตวิถีชีวิตอาเซียนที่มีความ หลากหลายดานสังคมและ วัฒนธรรม

4. การตระหนักในคุณคาของ สายสัมพันธทางประวัติศาสตร และมรดกทางวัฒนธรรมที่มี พัฒนาการรวมกัน เพื่อเชื่อม อัตลักษณและสรางจิตสํานึก ในการเปนประชากรของประชาคม อาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการศึกษาดาน สิทธิมนุษยชน เพื่อสรางประชาคม อาเซียนใหเปนประชาคมเพื่อ ประชาชนอยางแทจริง สามารถ อยูรวมกันไดบนพื้นฐานการเคารพ ในคุณคาของศักดิ์ศรีแหงความ เปนมนุษยเทาเทียมกัน

5. การสงเสริมสันติภาพ ความ มั่นคง และความปรองดองในสังคม ทั้งระดับประเทศและภูมิภาคของ อาเซียนบนพื้นฐานสันติวิธีและการ อยูรวมกันดวยขันติธรรม

คูม อื ครู


การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

เสร�ม

8

1. การพัฒนาทักษะการทํางาน เพื่อเสริมสรางผูเรียนใหมีทักษะ วิชาชีพที่จําเปนสอดคลองกับ ความตองการของตลาดแรงงาน และสถานประกอบการในอาเซียน สามารถเทียบโอนผลการเรียน และการทํางานตามมาตรฐานฝมือ แรงงานในภูมิภาคอาเซียน

2. การเสริมสรางวินัย ความรับผิดชอบ และเจตคติรักการทํางาน สามารถพึ่งพาตนเอง มีทักษะชีวิต ดํารงชีวิตอยางมีความสุข เห็นคุณคา และภูมิใจในตนเอง ในฐานะที่เปนพลเมืองไทยและ อาเซียน

3. การเรียนรูเพื่อพัฒนาตนเอง อยางตอเนื่องตลอดชีวิต ใหมี ทักษะการทํางานตามมาตรฐาน อาชีพ และคุณวุฒิของวิชาชีพสาขา ตางๆ เพื่อรองรับการเตรียมเคลื่อน ยายแรงงานมีฝมือและการเปน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่ เขมแข็ง เพื่อสรางขีดความสามารถ ในการแขงขันในเวทีโลก

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 1. การเสริมสรางความรวมมือ ในลักษณะสังคมที่เอื้ออาทร ของประชากรอาเซียน โดยยึด หลักการสําคัญ คือ ความงดงาม ของประชาคมอาเซียนมาจาก ความแตกตางและหลากหลายทาง วัฒนธรรมที่ลวนแตมีคุณคาตอ มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน ซึ่งประชาชนทุกคนตองอนุรักษ สืบสานใหยั่งยืน

2. การเสริมสรางคุณลักษณะ ของผูเรียนใหเปนพลเมืองอาเซียน ที่มีศักยภาพในการกาวเขาสู ประชาคมอาเซียนอยางมั่นใจ เปนผูที่มีสุขภาพสมบูรณแข็งแรง มีทักษะการสื่อสาร ทักษะการ ทํางาน ทักษะทางสังคม สามารถ ทํางานรวมกับผูอื่นไดอยาง สรางสรรค และมีองคความรู เกี่ยวกับอาเซียนที่จําเปนตอการ ดํารงชีวิตอยางมีคุณภาพ

4. การสงเสริมการเรียนรูดาน ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี วิถชี วี ติ ความเปนอยูข องเพือ่ นบาน ในอาเซียน เพื่อสรางจิตสํานึกของ ความเปนประชาคมอาเซียนและ ตระหนักถึงหนาที่ของการเปน พลเมืองอาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการเรียนรูภาษา อังกฤษเพื่อการสื่อสารและการ ทํางานตามมาตรฐานอาชีพที่ กําหนดและสนับสนุนการเรียนรู ภาษาอาเซียนและภาษาเพื่อนบาน เพื่อชวยเสริมสรางสัมพันธภาพทาง สังคม และการอยูรวมกันอยางสันติ ทามกลางความหลากหลายทาง วัฒนธรรม

5. การสรางความรูและความ ตระหนักเกี่ยวกับดานสิ่งแวดลอม ปญหาและผลกระทบตอคุณภาพ ชีวิตของประชากรในภูมิภาค รวมทั้งแนวทางการพัฒนาอยาง ยั่งยืน ใหเปนมรดกสืบทอดแก พลเมืองอาเซียนในรุนหลังตอๆ ไป

กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศนโยบายการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) เพื่อเรงพัฒนาเด็ก และเยาวชนไทยใหเปนทรัพยากรมนุษยของชาติที่มีทักษะและความชํานาญ พรอมเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงและ การแขงขันทั้งในภูมิภาคอาเซียนและภูมิภาคอื่นๆ ของสังคมโลก ทั้งนี้ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และผูปกครอง ควรรวมมือกันอยางใกลชิดในการดูแลชวยเหลือผูเรียนและจัดประสบการณการเรียนรูเพื่อพัฒนาผูเรียนจนเต็มศักยภาพ เพื่อกาวเขาสูการเปนพลเมืองอาเซียนอยางมีเกียรติภูมิและศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของตน คณะผูจัดทํา คูม อื ครู


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 1

ภาษาไทย (เฉพาะชั้น ป.1)*

การอาน

มาตรฐาน ท 1.1 ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิด เพื่อนําไปใชตัดสินใจแกปญหาในการดําเนินชีวิต และ มีนิสัยรักการอาน ชั้น

ตัวชี้วัด

ป.1 1. อานออกเสียงคํา คําคลองจอง และขอความสั้นๆ 2. บอกความหมาย ของคํา และขอความ ที่อาน

สาระการเรียนรูแกนกลาง • การอานออกเสียงและบอกความหมาย ของคํา คําคลองจอง และขอความที่ ประกอบดวยคําพื้นฐาน คือ คําที่ใชใน ชีวิตประจําวัน ไมนอยกวา 600 คํา รวมทั้งคําที่ใชเรียนรูในกลุมสาระ การเรียนรูอื่น ประกอบดวย - คําที่มีรูปวรรณยุกตและไมมีรูป วรรณยุกต - คําที่มีตัวสะกดตรงตามมาตราและ ไมตรงตามมาตรา - คําที่มีพยัญชนะควบกลํ้า - คําที่มีอักษรนํา

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน • หนวยการเรียนรูที่ 1 • หนวยการเรียนรูท ี่ 2 • หนวยการเรียนรูที่ 3 • หนวยการเรียนรูที่ 4 • หนวยการเรียนรูที่ 5 • หนวยการเรียนรูที่ 6

ฉันและเธอ เรื่อง นี่คือตัวฉัน ครอบครัวของฉัน เรือ่ ง ครอบครัวของฉัน มาโรงเรียน เรื่อง โรงเรียนของเรา ทองไปในโลกกวาง เรื่อง เที่ยวสวนสัตว ตนไมแสนรัก เรื่อง เพื่อนพฤกษา เมืองหลวงของไทย เรื่อง ไปเที่ยว เมืองหลวง • หนวยการเรียนรูที่ 7 ของดีฝมือคนไทย เรื่อง คนไทยนี้ทั้งดี ทั้งเกง • หนวยการเรียนรูที่ 8 แดนมหัศจรรย เรื่อง มาเตนรํากัน • หนวยการเรียนรูที่ 9 ศูนยรวมใจ เรื่อง ดวงใจไทยทั้งชาติ • หนวยการเรียนรูที่ 10 โลกแหงความรัก เรื่อง ซึ้งใจเพื่อนรัก

3. ตอบคําถามเกี่ยวกับ • การอานจับใจความจากสื่อตางๆ เชน เรื่องที่อาน - นิทาน - เรื่องสั้น 4. เลาเรือ่ งยอจากเรือ่ งที่ - บทรองเลนและบทเพลง อาน - เรื่องราวจากบทเรียนในกลุมสาระการ เรียนรูภาษาไทย และกลุมสาระการ 5. คาดคะเนเหตุ ก ารณ เรียนรูอื่น ฯลฯ จากเรื่องที่อาน

• หนวยการเรียนรูที่ 6 เมืองหลวงของไทย เรื่อง การตั้งคําถาม และตอบคําถาม

6. อานหนังสือตามความ • การอานหนังสือตามความสนใจ เชน สนใจ อยางสมํา่ เสมอ - หนังสือที่นักเรียนสนใจและเหมาะสม และนํ า เสนอเรื่ อ งที่ กับวัย อาน - หนังสือที่ครูและนักเรียนกําหนดรวม กัน ฯลฯ

• หนวยการเรียนรูที่ 9 ศูนยรวมใจ เรื่อง การเลือกอานหนังสือ

7. บอกความหมายของ • การอานเครือ่ งหมายหรือสัญลักษณ เครื่องหมายหรือ ประกอบดวย สัญลักษณสาํ คัญทีม่ กั - เครื่องหมายสัญลักษณตางๆ ที่พบเห็น พบเห็นในชีวิต ในชีวิตประจําวัน ประจําวัน - เครื่องหมายแสดงความปลอดภัยและ แสดงอันตราย

• หนวยการเรียนรูที่ 9 ศูนยรวมใจ เรื่อง สัญลักษณตางๆ

8. มีมารยาทในการอาน

• หนวยการเรียนรูที่ 7 ของดีฝมือคนไทย เรื่อง การเลาเรื่องยอ จากเรื่องที่อาน

• มารยาทในการอาน เชน - ไมอานเสียงดังรบกวนผูอื่น - ไมเลนกันขณะที่อาน - ไมทําลายหนังสือ ฯลฯ

เสร�ม

9

• หนวยการเรียนรูที่ 7 ของดีฝมือคนไทย เรื่อง การเลาเรื่องยอ จากเรื่องที่อาน • หนวยการเรียนรูที่ 5 ตนไมแสนรัก เรื่อง การคาดคะเน เรื่องราวและเหตุการณ

_________________________________ * สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. สาระการเรียนรูแกนกลาง ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลางฯ กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 7-59.

คูม อื ครู


สาระที่ 2

การเขียน

มาตรฐาน ท 2.1 ใชกระบวนการเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบตางๆ เขียนรายงานขอมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคนควาอยางมีประสิทธิภาพ ชั้น

เสร�ม

10

ตัวชี้วัด

ป.1 1. คัดลายมือตัวบรรจง เต็มบรรทัด 2. เขียนสื่อสารดวยคํา และประโยคงายๆ

3. มีมารยาท ในการเขียน

สาระที่ 3

สาระการเรียนรูแกนกลาง • การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด ตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย • การเขียนสื่อสาร - คําที่ใชในชีวิตประจําวัน - คําพื้นฐานในบทเรียน - คําคลองจอง - ประโยคงายๆ • มารยาทในการเขียน เชน - เขียนใหอานงาย สะอาด ไมขีดฆา - ไมขีดเขียนในที่สาธารณะ - ใชภาษาเขียนเหมาะสมกับเวลา สถานที่ และบุคคล ฯลฯ

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน • หนวยการเรียนรูท ี่ 2 ครอบครัวของฉัน เรือ่ ง การคัดลายมือ • หนวยการเรียนรูที่ 10 โลกแหงความรัก เรื่อง การเขียนเรื่อง จากภาพ

• หนวยการเรียนรูที่ 10 โลกแหงความรัก เรื่อง การเขียนเรื่อง จากภาพ

การฟง การดู และการพูด

มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ความคิด และความรูสึก ในโอกาสตางๆ อยางมีวิจารณญาณและสรางสรรค ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ป.1 1. ฟงคําแนะนํา คําสั่ง • การฟงและปฏิบัติตามคําแนะนํา งายๆ และปฏิบตั ติ าม คําสั่งงายๆ 2. ตอบคําถามและ • การจับใจความและพูดแสดงความคิดเห็น เลาเรื่องที่ฟงและดู ความรูสกึ จากเรื่องที่ฟงและดู ทั้งที่เปน ทั้งที่เปนความรู ความรูและความบันเทิง เชน และความบันเทิง - เรื่องเลาและสารคดีสําหรับเด็ก - นิทาน 3. พูดแสดงความคิดเห็น - การตูน และความรูสึกจาก - เรื่องขบขัน ฯลฯ เรื่องที่ฟงและดู 4. พูดสื่อสารไดตาม • การพูดสื่อสารในชีวิตประจําวัน เชน วัตถุประสงค - การแนะนําตนเอง - การขอความชวยเหลือ - การกลาวคําขอบคุณ - การกลาวคําขอโทษ 5. มีมารยาทในการฟง • มารยาทในการฟง เชน การดู และการพูด - ตั้งใจฟง ตามองผูพูด - ไมรบกวนผูอื่นขณะที่ฟง - ไมควรนําอาหารหรือเครื่องดื่ม ไปรับประทานขณะที่ฟง - ใหเกียรติผูพูดดวยการปรบมือ - ไมพูดสอดแทรกขณะที่ฟง ฯลฯ • มารยาทในการดู เชน - ตั้งใจดู - ไมสงเสียงดังหรือแสดงอาการรบกวน สมาธิของผูอื่น ฯลฯ

คูม อื ครู

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน • หนวยการเรียนรูที่ 3 มาโรงเรียน เรื่อง การฟงคําสั่งตางๆ • หนวยการเรียนรูที่ 6 เมืองหลวงของไทย เรื่อง การตั้งคําถาม และตอบคําถาม

• หนวยการเรียนรูที่ 4 ทองไปในโลกกวาง เรื่อง การพูดแสดง ความคิดเห็น • หนวยการเรียนรูที่ 1 ฉันและเธอ เรื่อง การพูดในโอกาสตางๆ

• หนวยการเรียนรูที่ 1 ฉันและเธอ เรื่อง การพูดโอกาสตางๆ • หนวยการเรียนรูที่ 3 มาโรงเรียน เรื่อง การฟงคําสั่งตางๆ


ชั้น

ตัวชี้วัด

ป.1

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูใน หนังสือเรียน

• มารยาทในการพูด เชน - ใชถอยคําและกิริยาที่สุภาพ เหมาะสม กับกาลเทศะ - ใชนํ้าเสียงนุมนวล - ไมพูดสอดแทรกในขณะที่ผูอื่นพูด ฯลฯ

สาระที่ 4

เสร�ม

หลักการใชภาษาไทย

มาตรฐาน ท 4.1 เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ ชั้น

ตัวชี้วัด

ป.1 1. บอกและเขียน พยัญชนะ สระ วรรณยุกต และ เลขไทย 2. เขียนสะกดคําและ บอกความหมาย ของคํา

3. เรียบเรียงคําเปน ประโยคงายๆ 4. ตอคําคลองจองงายๆ

สาระที่ 5

สาระการเรียนรูแกนกลาง

11

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• พยัญชนะ สระ และวรรณยุกต • เลขไทย

• หนวยการเรียนรูที่ 1 ฉันและเธอ เรื่อง อักษรไทย

• การสะกดคํา การแจกลูก และการอาน เปนคํา

• หนวยการเรียนรูท ี่ 2 ครอบครัวของฉัน เรือ่ ง การแจกลูกคํา และการประสมคํา

• มาตราตัวสะกดที่ตรงตามมาตรา และไมตรงตามมาตรา • การผันคํา • ความหมายของคํา • การแตงประโยค

• หนวยการเรียนรูที่ 4 ทองไปในโลกกวาง เรื่อง การอานสะกด คําที่มีตัวสะกด

• คําคลองจอง

• หนวยการเรียนรูที่ 10 โลกแหงความรัก เรื่อง คําคลองจอง

• หนวยการเรียนรูที่ 5 ตนไมแสนรัก เรื่อง การผันวรรณยุกต • หนวยการเรียนรูที่ 10 โลกแหงความรัก เรื่อง ประโยคและ การแตงประโยค

วรรณคดีและวรรณกรรม

มาตรฐาน ท 5.1 เขาใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยางเห็นคุณคา และนํามาประยุกต ใชในชีวิตจริง ชั้น

ตัวชี้วัด

ป.1 1. บอกขอคิดที่ไดจาก การอาน หรือการฟง วรรณกรรมรอยแกว และรอยกรอง สําหรับเด็ก

2. ทองจําบทอาขยาน ตามที่กําหนด และบทรอยกรอง ตามความสนใจ

สาระการเรียนรูแกนกลาง • วรรณกรรมรอยแกวและรอยกรองสําหรับ เด็ก เชน - นิทาน - เรื่องสั้นงายๆ - ปริศนาคําทาย - บทรองเลน - บทอาขยาน - บทรอยกรอง - วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียน ฯลฯ • บทอาขยานและบทรอยกรอง - บทอาขยานตามที่กําหนด - บทรอยกรองตามความสนใจ

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

สาระที่ 5 นี้ จะปรากฏในหนังสือเรียน ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ป.1

คูม อื ครู


คําอธิบายรายวิชา รายวิชา ภาษาไทย (หลักภาษาและการใชภาษา) ชั้นประถมศึกษาปที่ 1 รหัสวิชา ท…………………………………

เสร�ม

12

ศึกษาการอานและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต ตัวเลขไทย การสะกดคํา การอานแบบแจกลูก และการอานเปนคํา การอานและการเขียนตัวสะกดที่ตรงตามมาตราและไมตรงตามมาตรา การผันวรรณยุกต และความหมายของคํา ขอความ และประโยค คําทีม่ รี ปู วรรณยุกตและไมมรี ปู วรรณยุกต เรือ่ งสัน้ วิธอี า นรอยแกว และบทอาขยาน มารยาทในการพูดสื่อสารในชีวิตประจําวัน การฟงคําแนะนํา คําสั่ง และการปฏิบัติ อยางมีมารยาท การพูดแสดงความคิดเห็นตามความเปนจริง และใชถอยคําอยางสุภาพตอสิ่งที่ฟง อาน หรือดู ศึกษาการคิดวิเคราะห จากการอานหรือฟงวรรณกรรม มารยาทในการอานและทองจําบทอาขยาน ตามที่กําหนดให การเขียนเรื่องจากภาพ และบอกขอคิดของวรรณกรรมรอยแกวและรอยกรอง โดยใช การฝกทักษะกระบวนการทางภาษาไทย ไดแก การฟง การพูด การอาน และการเขียน เพื่อใหเกิดเจตคติ ที่ดีตอการเรียนวิชาภาษาไทย ตั้งใจเรียนและมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียน คนควาหาความรูจากแหลง การเรียนรูตางๆ อยางสมํ่าเสมอ กลาซักถามเพื่อหาขอมูล มีความรอบคอบในการทํางาน ใชภาษาไทย ไดอยางถูกตอง เหมาะสม มีมารยาทในการพูดและฟง ตัวชี้วัด ท 1.1 ท 2.1 ท 3.1 ท 4.1

คูม อื ครู

กลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย ภาคเรียนที่ 1-2 เวลา 140 ชั่วโมง/ป

ป.1/1 ป.1/1 ป.1/1 ป.1/1

ป.1/2 ป.1/2 ป.1/2 ป.1/2

ป.1/3 ป.1/3 ป.1/3 ป.1/3

ป.1/4

ป.1/5

ป.1/4 ป.1/5 ป.1/4 รวม 20 ตัวชี้วัด

ป.1/6

ป.1/7

ป.1/8


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹

ÀÒÉÒä·Â

ËÅÑ¡ÀÒÉÒáÅСÒÃ㪌ÀÒÉÒ ».ñ ªÑé¹»ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè ñ

¡ÅØ‹ÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ÀÒÉÒä·Â µÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ

¼ÙŒàÃÕºàÃÕ§ ¹ÒÂÁÒ¹¾ Ê͹ÈÔÃÔ ÃÈ. ´Ã. ÊÔÃԾѪà à¨É®ÒÇÔâè¹ ¹Ò§à©ÅÒ ÍÃسÃѵ¹ ¼ÙŒµÃǨ

¹Ò§ÊÒǾþԵà ¾¨¹ÍÒÃÕ ¹Ò§ÊÒǨÔÃÀѷà ͹Øâè¹ ÇÒ³Ôª ¹Ò§ÍØ·ÑÂÇÃó ÀÑ··¡Ç§È

ºÃóҸԡÒà ¹ÒÂàÍ¡ÃÔ¹·Ã ÊÕèÁËÒÈÒÅ

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè ö

ʧǹÅÔ¢ÊÔ·¸ÔìµÒÁ¾ÃÐÃÒªºÑ- - ÑµÔ ISBN : 978-616-203-030-7 ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ ññññððò

¤Œ¹¤ÇÒÁÃÙŒ¢ÂÒ¤ÇÒÁ¤Ô´¨Ò¡

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè ñ ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ ññôñðóñ

EB GUIDE

ที่พิมพกํากับหัวขอสําคัญในหนังสือเรียนหลักสูตรใหม ชั้น ป.๔ ขึ้นไป ผาน www.aksorn.com ไปยังแหลงความรูทั่วไทย-ทั่วโลก


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

¤íÒ¹íÒ ´ŒÇ¡ÃзÃǧÈÖ¡ÉÒ¸Ô¡ÒÃä´ŒÁÕ¤íÒÊÑè§ãˌ㪌ËÅÑ¡ÊٵáÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõôô ã¹âçàÃÕ¹·ÑÇè ä»·Õ¨è ´Ñ ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñ¹é ¾×¹é °Ò¹ã¹»‚¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõôö áÅШҡ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒÇÔ¨ÂÑ áÅеԴµÒÁ ¼Å¡ÒÃ㪌ËÅÑ¡ÊٵáÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñ¹é ¾×¹é °Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõôô ¨Ö§¹íÒä»Ê‹¡Ù ÒþѲ¹ÒËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§ ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñ¹é ¾×¹é °Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ «Ö§è ÁÕ¤ÇÒÁàËÁÒÐÊÁáÅЪѴਹ à¾×Íè ãˌʶҹÈÖ¡ÉÒä´Œ¹Òí ä» ãªŒà»š¹¡Ãͺ·Ôȷҧ㹡ÒèѴËÅÑ¡ÊÙµÃʶҹÈÖ¡ÉÒáÅШѴ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹à¾×Íè ¾Ñ²¹Òà´ç¡áÅÐàÂÒǪ¹ ·Ø¡¤¹ã¹ÃдѺ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñ¹é ¾×¹é °Ò¹ãËŒÁ¤Õ ³ Ø ÀÒ¾´ŒÒ¹¤ÇÒÁÃÙŒ áÅзѡÉзըè Òí ໚¹ÊíÒËÃѺ¡ÒôíÒçªÕÇµÔ ã¹Êѧ¤Á·ÕèÁÕ¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§ áÅÐáÊǧËÒ¤ÇÒÁÃÙŒà¾×è;Ѳ¹Òµ¹àͧÍ‹ҧµ‹Íà¹×èͧµÅÍ´ªÕÇÔµ ÊíÒËÃѺ¡Å‹ØÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒÀÒÉÒä·Â »ÃСͺ´ŒÇ õ ÊÒÃЋ͠¤×Í ÊÒÃзÕè ñ ¡ÒÃÍ‹Ò¹ ÊÒÃзÕè ò ¡ÒÃà¢Õ¹ ÊÒÃзÕè ó ¡Òÿ˜§ ¡Òô٠áÅСÒþٴ ÊÒÃзÕè ô ËÅÑ¡¡ÒÃ㪌ÀÒÉÒä·Â ÊÒÃзÕè õ ÇÃó¤´ÕáÅÐÇÃó¡ÃÃÁ ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÀÒÉÒä·Â ËÅÑ¡ÀÒÉÒáÅСÒÃ㪌ÀÒÉÒ ».ñ àÅ‹Á¹Õé¨Ñ´·íÒ¢Öé¹ÊíÒËÃѺ㪌 »ÃСͺ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ªÑé¹»ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè ñ â´Â´íÒà¹Ô¹¡ÒèѴ·íÒãËŒÊÍ´¤ÅŒÍ§µÒÁ¡Ãͺ¢Í§ ËÅÑ¡Êٵ÷ء»ÃСÒà ʋ§àÊÃÔÁ¤ÇÒÁÃÙŒ´ŒÒ¹ËÅÑ¡ÀÒÉÒä·Â à¾×èÍãˌ㪌ÀÒÉÒä·Âä´Œ¶Ù¡µŒÍ§ áÅÐÁÕ·Ñ¡ÉÐ ¡ÒÃ㪌ÀÒÉÒÊ×èÍÊÒÃÍ‹ҧ¶Ù¡µŒÍ§áÅÐÁÕ»ÃÐÊÔ·¸ÔÀÒ¾ ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÀÒÉÒä·Â ËÅÑ¡ÀÒÉÒáÅСÒÃ㪌ÀÒÉÒ ».ñ àÅ‹Á¹Õé ÁÕ ñð ˹‹Ç ã¹áµ‹ÅÐ˹‹Ç»ÃСͺ´ŒÇ ñ. ໇ÒËÁÒ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ»ÃШíÒ˹‹Ç ¡íÒ˹´ÃдѺ¤ÇÒÁÃÙŒ ¤ÇÒÁÊÒÁÒö¢Í§¼ÙŒàÃÕ¹ Ç‹ÒàÁ×èÍàÃÕ¹¨ºã¹áµ‹ÅÐ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ µŒÍ§ºÃÃÅØÁҵðҹµÑǪÕéÇÑ´·Õè¡Òí ˹´äÇŒã¹ËÅÑ¡ÊٵâŒÍã´ºŒÒ§ ò. á¹Ç¤Ô´ÊíÒ¤ÑÞ á¡‹¹¤ÇÒÁÃÙŒ·Õè໚¹¤ÇÒÁÃÙŒ¤ÇÒÁࢌÒ㨤§·¹µÔ´µÑǼٌàÃÕ¹ ó. à¹×éÍËÒ ¤ÃºµÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ ¹íÒàÊ¹Í àËÁÒÐÊÁ¡Ñº¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ã¹áµ‹ÅÐÃдѺªÑé¹ ô. ¡Ô¨¡ÃÃÁ ÁÕËÅÒ¡ËÅÒÂÃٻẺãËŒ¹Ñ¡àÃÕ¹»¯ÔºÑµÔ ẋ§à»š¹ (ñ) ¡Ô¨¡ÃÃÁ¹íÒÊ‹Ù¡ÒÃàÃÕ¹ ¹íÒࢌÒÊ‹Ùº·àÃÕ¹ à¾×èÍ¡Ãе،¹¤ÇÒÁʹã¨á¡‹¼ÙŒàÃÕ¹ (ò) ¡Ô¨¡ÃÃÁÃǺÂÍ´ ãËŒ¼ÙŒàÃÕ¹»¯ÔºÑµÔà¾×èÍáÊ´§¾ÄµÔ¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒÃǺÂÍ´ áÅÐ »ÃÐàÁÔ¹¼Å¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒµÒÁÁҵðҹµÑǪÕéÇÑ´»ÃШíÒ˹‹Ç ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÀÒÉÒä·Â ËÅÑ¡ÀÒÉÒáÅСÒÃ㪌ÀÒÉÒ ».ñ àÅ‹Á¹Õé ¹íÒàʹ͡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ãËŒàËÁÒÐÊÁ¡ÑºÇÑ¢ͧ¼ÙŒàÃÕ¹㹪Ñé¹»ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè ñ «Öè§à»š¹¡ÒÃÈÖ¡ÉÒÊÔ觷Õè¼ÙŒàÃÕ¹à¡ÕèÂÇ¢ŒÍ§ã¹¡Òà ´íÒà¹Ô¹ªÕÇÔµ»ÃШíÒÇѹ â´Â㪌ÀÒ¾ á¼¹ÀÙÁÔ µÒÃÒ§¢ŒÍÁÙÅ ª‹Ç¹íÒàʹÍÊÒÃе‹Ò§æ «Ö觨Ъ‹ÇÂãËŒ ¼ÙŒàÃÕ¹ÊÒÁÒöàÃÕ¹Ãٌ䴌§‹Ò¢Öé¹ ¤³Ð¼Ù¨Œ ´Ñ ·íÒ¨Ö§ËÇѧ໚¹Í‹ҧÂÔ§è Ç‹Ò Ë¹Ñ§Ê×ÍàÃÕ¹ ÀÒÉÒä·Â ËÅÑ¡ÀÒÉÒáÅСÒÃ㪌ÀÒÉÒ ».ñ àÅ‹Á¹Õé ¨Ð໚¹Ê×èÍ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹·ÕèÍíҹǻÃÐ⪹ µ‹Í¡ÒÃàÃÕ¹ÀÒÉÒä·Â à¾×èÍãËŒÊÑÁÄ·¸Ôì¼Å µÒÁÁҵðҹµÑǪÕéÇÑ´·Õè¡íÒ˹´äÇŒã¹ËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ ·Ø¡»ÃСÒà ¤³Ð¼ÙŒ¨Ñ´·íÒ


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

อธิบายความรู

Explore

ขยายความเขาใจ

Explain

Expand

ตรวจสอบผล

คําชี้แจงในการใชสื่อ ñ Í

หนว ยการเรยี นรูท ี่

©Ñ¹áÅÐภÊÇÑÊ´Õ¤ÃѺ ¼Áª×èÍ...

ÊÇÑÊ´Õ¤‹Ð ©Ñ¹ª×èÍ...

กขส ง จ

-ี โ- -ู -า เ-

เปาหมายการเรียนรู กําหนดระดับความรู ความสามารถของผูเรียน เมื่อเรียนจบหนวย

-่ - ้ - ๊ -็

ยที่ ๑ ียนรูประจําหนว เปาหมายการเร ยนจะมีความรูความสามารถตอไปนี้

มาตรฐานตัวชี้วัด ระบุตัวชี้วัดที่กําหนดไว ในแตละหนวย

เรี เมื่อเรียนจบหนวยนี้ ผู อความสั้นๆ ไดถูกตอง (มฐ. ท ๑.๑ ป.๑/๑) ป.๑/๑) ข ๑. อานออกเสียงคํา และ สระ วรรณยุกต และเลขไทยได (มฐ. ท ๔.๑ ชนะ ด ๒. บอกและเขียนพยัญ ถุประสงคที่ตองการอยางมีมารยาทในการพู ต ั ามว ๓. พูดสื่อสารไดตรงต ) (มฐ. ท ๓.๑ ป.๑/๔-๕

แนวคิดสําคัญ แกนความรูที่เปนความเขาใจ คงทนติดตัวผูเรียน

แนวคิดสําคัญ   

ฝกอานออกเสียงสะกดคําให ถูกตอง และคลองแคลว ฝกเขียนอักษรไทย พยัญชนะ สระ วรรณยุกต และตัวเลข ไทย ฝกพูดเพื่อการสื่อสาร เชน พูดทักทาย พูดแนะนําตัว พู ดคุยสนทนา ซึ่งเราควร พูดใหเหมาะสมกับโอกาส และ พูดอยางมีมารยาทดวย

กิจกรรมนําสูการเรีย

¿˜§¤Ø³¤ÃÙÍ‹Ò¹º·ÃŒÍ¡Ãͧ áÅŒÇºÍ¡Ç‹Ò Ã‹Ò§¡Ò¢ͧàÃÒÁÕÍÇÑÂÇÐÍÐäú ŒÒ§

กิจกรรมนําสูการเรียน นําเขาสูบทเรียนโดยใชกระตุน ความสนใจและวัดประเมินผล กอนเรียน

รางกายของเรา

รางกายของเรา จมูก ปาก และขา ฟงเสียงดวยหู ปากไวพูดกัน สองเทากาวขยับ อวัยวะทุกชิ้น ๒

มือ เทา หู ตา ตางหนาที่กัน ตาดูสีสัน จมูกนั้นดมกลิ่น มือจับของกิน สําคัญทั้งสิ้น…ตองดูแล

Evaluate


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

หลักภาษาไทย

อธิบายความรู Explain

©Ñ¹¤×ÍÇÃóÂØ¡µ

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

มฐ. ท ๔.๑ ป.๑/๑

อักษรไทย อักษรไทย หมายถึง ตัวหนังสือที่ใชในภาษาไทย มี ๔ ชนิด คือ ๑. พยัญชนะไทย มี ๔๔ ตัว ๒. สระ มี ๓๒ เสียง ๓. วรรณยุกต มี ๔ รูป ๕ เสียง ๔. ตัวเลขไทย มี ๑๐ ตัว การนําพยัญชนะ สระ และวรรณยุกต มาประสมกัน ฉบับ ผูสอน จะทําใหเกิดเปนคําตางๆ มากมาย ©Ñ¹¤×;ÂÑÞª¹Ð

ขยายความเขาใจ

©Ñ¹¤×ÍÊÃÐ

เน�้อหา ครบตามหลักสูตรแกนกลางฯ ’๕๑ นําเสนอโดยใชแผนภาพ แผนภูมิ ตาราง เหมาะสมกับการเรียนการสอน

©Ñ¹¤×͵ÑÇàÅ¢ä·Â

กิจกรรมรวบยอด

ชวนกันอาน ชวยกันคิด ๑. รวมกันอานออกเสียงบทอานตามคุณครู แลวฝกอานเอง ๒. บอกความเหมือน และความแตกตางขอ ง ตนเองและเพื่อน ชวนกันคิด และวาด คิด และวาดรูป ใชตัวอักษรไทยที่เรียนมาประกอบ จากนั ตางๆ โดย ้นระบายสี ใหสวยงาม 

กิจกรรมรวบยอด ใหผูเรียนฝกปฏิบัติเพื่อแสดง พฤติกรรมการเรียนรูรวบยอด และประเมินผลการเรียนรูตาม มาตรฐานตัวชี้วัดประจําหนวย

๑ ๒ ชวนกันปฏิบตั ิ จับคูก บั เพือ่ น แลวผลัดกันฝกพู ด ในลักษณะตางๆ เชน พูดทักทาย พูดแนะนํา ตั ว เอง หรื อ พูดคุยสนทนากันอยางมีมารยาท 

๑๕


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

สารบัญ

● ตารางวิเคราะหมาตรฐานการเรียนรู

หนวยการเรียนรูที่ หนวยการเรียนรูที่ หนวยการเรียนรูที่ หนวยการเรียนรูที่ หนวยการเรียนรูที่ หนวยการเรียนรูที่ หนวยการเรียนรูที่ หนวยการเรียนรูที่ หนวยการเรียนรูที่ หนวยการเรียนรูที่ ● บรรณานุกรม

๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐

ฉันและเธอ ครอบครัวของฉัน มาโรงเรียน ทองไปในโลกกวาง ตนไมแสนรัก เมืองหลวงของไทย ของดีฝมือคนไทย แดนมหัศจรรย ศูนยรวมใจ โลกแหงความรัก

ขยายความเขาใจ Expand

๑ ๑๖ ๓๐ ๔๑ ๕๖

๗๐ ๙๑ ๑๐๒ ๑๑๕ ๑๒๖ ๑๓๘

ตรวจสอบผล Evaluate


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

ตารางวิเคราะห

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Áҵðҹ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙጠÅеÑǪÕÇé ´Ñ ÃÒÂÇÔªÒ ÀÒÉÒä·Â ».๑

คําชี้แจง : ใหผูสอนใชตารางน�้ตรวจสอบวา เน�้อหาสาระการเรียนรูในหนวยการเรียนรูสอดคลองกับมาตรฐาน การเรียนรูและตัวชี้วัดชั้นปในขอใดบาง

หนวยที่

สาระการเรียนรู

มาตรฐาน การเรียนรู

ตัวชี้วัด ชั้น ป.๑

๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐

สาระที่ ๑ การอาน

มฐ. ท ๑.๑

มฐ. ท ๒.๑

✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ อานออกเสียงคํา คําคลองจอง และขอความสั้นๆ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ บอกความหมายของคํา และขอความที่อาน ✓ ตอบคําถามเกี่ยวกับเรื่องที่อาน ✓ ✓ เลาเรื่องยอจากเรื่องที่อาน ✓ คาดคะเนเหตุการณจากเรื่องที่อาน ✓ อานหนังสือตามความสนใจอยางสมํ่าเสมอ ✓ บอกความหมายของเครือ่ งหมาย หรือสัญลักษณสาํ คัญ ที่มักพบเห็นในชีวิตประจําวัน ✓ ๘. มีมารยาทในการอาน ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗.

สาระที่ ๒ การเขียน

๑. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด ๒. เขียนสื่อสารดวยคําและประโยคงายๆ ๓. มีมารยาทในการเขียน

✓ ✓

สาระที่ ๓ การฟง การดู และการพูด

มฐ. ท ๓.๑

๑. ฟงคําแนะนํา คําสั่งงายๆ และปฏิบัติตาม ๒. ตอบคําถามและเลาเรื่องที่ฟงและดูทั้งที่เปนความรู และความบันเทิง ๓. พูดแสดงความคิดเห็นและความรูส กึ จากเรือ่ งทีฟ่ ง และดู ✓ ๔. พูดสื่อสารไดตามวัตถุประสงค ✓ ๕. มีมารยาทในการฟง การดู และการพูด

✓ ✓

✓ ✓

สาระที่ ๔ หลักการใชภาษาไทย

มฐ. ท ๔.๑ มฐ. ท ๕.๑ ก

๑. ๒. ๓. ๔.

บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต และเลขไทย ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ เขียนสะกดคําและบอกความหมายของคํา ✓ เรียบเรียงคําเปนประโยคงายๆ ✓ ตอคําคลองจองงายๆ

สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม ๑. บอกขอคิดที่ไดจากการอาน หรือการฟงวรรณกรรม รอยแกว และรอยกรองสําหรับเด็ก ๒. ทองจําบทอาขยานตามที่กําหนดและบทรอยกรอง ตามความสนใจ

สาระที่ ๕ นี้ จะปรากฏในหนังสือเรียน ภาษาไทย วรรณคดี และวรรณกรรม ป.๑ ✓ ✓


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

ñ ©Ñ¹áÅÐà¸Í

1. อานออกเสียงคํา และขอความสั้นๆ ได 2. บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต และเลขไทยได 3. พูดสื่อสารไดตรงตามวัตถุประสงคที่ตองการ อยางมีมารยาทในการพูด

หนวยการเรียนรูท ี่

สมรรถนะของผูเรียน

ÊÇÑÊ´Õ¤ÃѺ ¼Áª×èÍ...

1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด

คุณลักษณะอันพึงประสงค

ÊÇÑÊ´Õ¤‹Ð ©Ñ¹ª×èÍ...

กข ส ง จ

โ- -ู --ี เ- า

เปาหมายการเรียนรูประจําหนวยที่ ๑

เปาหมายการเรียนรู

1. ใฝเรียนรู 2. มุงมั่นในการทํางาน

กระตุน ความสนใจ

-่ - ๊ -้ ็

เมื่อเรียนจบหนวยนี้ ผูเรียนจะมีความรูความสามารถตอไปนี้ ๑. อานออกเสียงคํา และขอความสั้นๆ ไดถูกตอง (มฐ. ท ๑.๑ ป.๑/๑) ๒. บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต และเลขไทยได (มฐ. ท ๔.๑ ป.๑/๑) ๓. พูดสื่อสารไดตรงตามวัตถุประสงคที่ตองการอยางมีมารยาทในการพูด (มฐ. ท ๓.๑ ป.๑/๔, ป.๑/๕)

Engage

1. ใหนักเรียนดูภาพในหนังสือ หนา 1 แลว รวมกันบอกวา นักเรียนคิดวาจะไดเรียนรู เรื่องอะไรในหนวยการเรียนรูนี้บาง 2. ครูบอกใหนักเรียนทราบวา ในหนวยที่ 1 นี้ จะไดเรียนรูเรื่องอะไรบาง 3. ใหนักเรียนรวมกันตอบคําถามวา • เด็กที่ถือลูกฟุตบอล และเด็กที่ถือตุกตา ในหนังสือ หนา 1 แตกตางกันอยางไร (แนวตอบ เด็กที่ถือลูกฟุตบอลเปนเด็กผูชาย สวนเด็กที่ถือตุกตาเปนเด็กผูหญิง โดยดูการ แตงกาย คือ เด็กผูหญิงสวมกระโปรง สวนเด็กผูชายสวมกางเกง)

เกร็ดแนะครู ครูจัดกระบวนการเรียนรูโดยการใหนักเรียนปฏิบัติ ดังนี้ • ฝกอานออกเสียงสะกดคํา • ฝกอานคํา ขอความ หรือประโยคในบทเรียน • ศึกษาการเขียนพยัญชนะไทย สระ วรรณยุกต และตัวเลขไทย • ฝกทักษะการพูดแนะนําตัว และพูดคุยสนทนา • อภิปรายเกี่ยวกับมารยาทในการพูดสื่อสาร

คูมือครู

1


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุน ความสนใจ

Engage

1. ครูอานบทรอยกรอง รางกายของเรา ในหนังสือ หนา 2 ใหนักเรียนฟง 1 เที่ยว ใหนักเรียนฝกอาน ตามทีละวรรค 2. ใหนักเรียนอานออกเสียงบทรอยกรอง รางกาย ของเรา พรอมๆ กัน 3. ใหนักเรียนรวมกันบอกวา • จากบทรอยกรอง กลาวถึงอวัยวะอะไรบาง และอวัยวะเหลานั้นมีหนาที่อะไร (ตอบ หู ใชฟงเสียง ตา ใชมองดูสิ่งตางๆ ปาก ใชพูดและใชรับประทานอาหาร จมูก ใชดมกลิ่น ขาและเทา ใชเดิน มือ ใชจับสิ่งของตางๆ) 4. ครูสอนนักเรียนรองเพลง สวนตางๆ ของรางกาย พรอมทําทาทางประกอบ ตามจินตนาการ

แนวคิดส�ำคัญ ฝึกอ่านออกเสียงสะกดค�าให้ถูกต้อง และคล่องแคล่ว  ฝึกเขียนอักษรไทย พยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ และตัวเลขไทย  ฝึกพูดเพื่อการสื่อสาร เช่น พูดทักทาย พูดแนะน�าตัว พูดคุยสนทนา ซึ่งเราควร พูดให้เหมาะสมกับโอกาส และพูดอย่างมีมารยาทด้วย 

กิจกรรมน�ำสู่กำรเรียน ¿˜§¤Ø³¤ÃÙÍ‹Ò¹º·ÃŒÍ¡Ãͧ1 áÅŒÇºÍ¡Ç‹Ò Ã‹Ò§¡Ò¢ͧàÃÒÁÕÍÇÑÂÇÐÍÐäúŒÒ§

ร่ำงกำยของเรำ

เพลงสวนตางๆ ของรางกาย นี่คือผม นี่คือหนาผาก นี่คือปาก นี่คือลูกตา นี่คือขา นี่คือหัวไหล ที่แบนๆ เขาเรียกสะโพก เอาไวโยก แซมบาๆ

ร่างกายของเรา จมูก ปำก และขำ และ ฟังเสียงด้วยหู ปากไว้พูดกัน สองเท้าก้าวขยับ อวัยวะทุกชิ้น

มือ เทำ หู ตำ ตำ ต่างหน้าที่กัน ตาดูสีสัน จมูกนั้นดมกลิ่น มือจับของกิน ส�าคัญทั้งสิ้น…ต้องดูแล

2

นักเรียนควรรู 1 อวัยวะ ที่เราสามารถมองเห็นไดดวยตาเปลา เรียกวา อวัยวะภายนอก สวนอวัยวะที่อยูในรางกาย เราไมสามารถมองเห็นได เรียกวา อวัยวะภายใน

2

คูมือครู

บูรณาการเชื่อมสาระ

ครูบูรณาการความรูในสาระภาษาไทย กับสาระศิลปะ วิชา ดนตรีนาฏศิลป เรื่อง การเคลื่อนไหวประกอบเพลง โดยใหนักเรียนทําทาทาง ประกอบเพลง สวนตางๆ ของรางกาย ตามจินตนาการ เพื่อพัฒนา การเคลื่อนไหวรางกายใหดียิ่งขึ้น และเพื่อเพิ่มความสนุกสนานในการเรียน


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Engage

สํารวจคนหา

Explore

ใหนักเรียนจับคูกับเพื่อน จากนั้นผลัดกันชี้ที่ อวัยวะตางๆ ของเพื่อน พรอมพูดชื่ออวัยวะนั้นๆ ใหถูกตอง

นี่คือตัวฉัน

ฉันมี…

อธิบายความรู

ผม

ตา

1. ใหนักเรียนดูภาพและอานชื่ออวัยวะตางๆ ในหนังสือ หนา 3 2. ครูสังเกตวานักเรียนสวนใหญอานออกเสียง ชื่ออวัยวะไดถูกตอง 3. ใหนักเรียนชวยกันบอกหนาที่ของอวัยวะตางๆ ในหนังสือ หนา 3 ไดแก ตา ใชมองดูสิ่งตางๆ หู ใชฟงเสียงตางๆ คอ ใชเปนที่ตั้งและเคลื่อนไหวศีรษะ มือ ใชหยิบจับสิ่งของตางๆ ขา ใชเดินไปยังสถานที่ตางๆ นิ้วเทา ใชในการทรงตัว เทา ใชรับนํ้าหนักตัว นิ้วมือ ใชหยิบจับสิ่งของตางๆ แขน ใชในการเคลือ่ นไหวมือ เพือ่ ทําสิง่ ตางๆ ปาก ใชพูดและรับประทานอาหาร จมูก ใชหายใจและดมกลิ่น ผม ใชปกคลุมศีรษะ

จมูก

หู คอ

ปาก

มือ

แขน

ขา

นิ้วมือ1

Explain

เทา

นิ้วเทา

ขอใดไมใชอวัยวะภายนอก ก. ผม ข. ปอด

ขอสอบเนน การคิด แนว NT ค. ขา

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ ข. เพราะอวัยวะภายนอกคืออวัยวะที่เรา มองเห็นไดดวยตาเปลา สวนปอดเปนอวัยวะที่เราไมสามารถมองเห็นดวย ตาเปลาได เพราะอยูภายในรางกายของเรา ปอดจึงเปนอวัยวะภายใน

นักเรียนควรรู 1 นิ้วมือ นิ้วของคนปกติ จะมีนิ้วมือขางละ 5 นิ้ว ไดแก นิ้วโปง นิ้วชี้ นิ้วกลาง นิ้วนาง และนิ้วกอย กอย

นาง กลาง ชี้

ชี้ กลาง นาง กอย โปง โปง

บูรณาการเชื่อมสาระ

ครูบูรณาการความรูในสาระภาษาไทย กับสาระศิลปะ วิชา ทัศนศิลป เรื่อง การวาดรูปรูปรางอิสระ โดยใหนักเรียนวาดรูปตนเองพรอมระบายสี ใหสวยงาม แลวเขียนบอกอวัยวะตางๆ โยงกับภาพใหถูกตอง

คูมือครู

3


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูอานออกเสียงบทอานในหนังสือ หนา 4 แลวใหนักเรียนอานตาม 2. ใหนักเรียนดูภาพและอานขอความในหนังสือ หนา 4 พรอมๆ กัน 3. ใหนักเรียนรวมกันบอกวา • นักเรียนมีวธิ ดี แู ลตนเองทีเ่ หมือนหรือแตกตาง จากในหนังสือหรือไม อยางไร (แนวตอบ ตอบไดหลากหลาย เชน • นอนพักผอนใหเพียงพอ • ดื่มนํ้าสะอาดอยางนอยวันละ 8 แกว • ลางมือใหสะอาดเพื่อปองกันเชื้อโรค เปนตน) 4. ครูอธิบายเพิ่มเติมขอมูลที่นักเรียนควรรู 5. ใหนักเรียนทําแบบฝกหัด ภาษาไทย ป.1

ฉันดูแลตัวเองโดย…

แปรงฟน อาบนํ้า

✓ แบบฝกฯ ใบงาน แบบวัดฯ ภาษาไทย ป.1 ประเมินตัวช�้วัด มฐ. ท 1.1 ป.1/1 ๔. ขีด ✓ ลงใน

ใหถูกตอง

๑) อวัยวะที่ใชพูด และกินอาหาร

สระผม

✓ ๒) อวัยวะที่ใชหายใจ เฉลย

๓) อวัยวะที่ใชเดิน

ออกกําลังกาย ๓

1 อาหารที่มีประโยชน หมายถึง อาหารหลัก 5 หมู ไดแก หมูที่ 1 เนื้อสัตวตางๆ นม ไข ถั่ว ใหสารอาหารประเภทโปรตีน ซึ่งชวยให รางกายเจริญเติบโตและแข็งแรง หมูที่ 2 ขาว แปง นํ้าตาล เผือก มัน ใหสารอาหารประเภทคารโบไฮเดรต ซึ่งใหพลังงานแกรางกาย หมูที่ 3 ผักตางๆ ใหสารอาหารประเภทวิตามินและเกลือแร ซึ่งชวยควบคุม การทํางานของรางกายใหเปนปกติ และชวยตานทานโรค หมูที่ 4 ผลไมตางๆ ใหสารอาหารประเภทวิตามินและเกลือแร ซึ่งชวย ควบคุมการทํางานของรางกายใหเปนปกติ และชวยตานทานโรค หมูที่ 5 ไขมันที่ไดจากพืชและสัตว ใหสารอาหารประเภทไขมัน ซึ่งชวยให รางกายอบอุน

คูมือครู

1

นักเรียนควรรู

4

กินอาหารที่มีประโยชน

บูรณาการเชื่อมสาระ

ครูบูรณาการความรูในสาระภาษาไทย กับสาระสุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง อวัยวะในรางกาย โดยใหนักเรียนรวมกันบอกวิธีดูแลรักษาอวัยวะ แตละสวนใหถูกตอง โดยครูเนนความสําคัญของการดูแลรักษาอวัยวะวา จะทําใหตัวเรามีสุขภาพดีและดําเนินชีวิตประจําวันไดเปนปกติ


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ขยายความเขาใจ

1. ครูอานออกเสียงคําศัพทในหนังสือ หนา 5 ใหนักเรียนฟงและอานตามทีละคํา 2. ครูอธิบายความหมายของคําศัพทในหนังสือ จากนั้นครูยกตัวอยางประโยคงายๆ ที่ใช คําศัพทนั้นๆ ประกอบ เชน ฉันแปรงฟน เธอมีความสุข เปนตน เพื่อใหนักเรียนเขาใจ และนําคําไปใชในการสื่อสารได

ค�ำศัพท์

กลิ่น จมูก เท้า เพื่อน หน้าที่ อวัยวะ

ขยับ ฉัน เธอ มือ หู อาบน�้า

ขา ความสุข ดม ตา ปาก แปรงฟัน ร่างกาย สระผม ออกก�าลังกาย

ตรวจสอบผล

อ่ำนว่ำ

ควำมหม ควำมหมำย มหม ย มหมำย

๑) ขยับ ๒) ความสุข ๓) เพื่อน ๔) ส�าคัญ ๕) อวัยวะ

ขะ-หยับ ความ-สุก เพื่อน ส�า-คัน อะ-ไว-ยะ-วะ

เคลื่อนไหว ความสบายใจ คนที่รักใคร่ชอบพอกัน เป็นพิเศษกว่าธรรมดา งๆ ของร่ ส่วนต่างๆ ของร่างกาย

Evaluate

1. ครูตรวจสอบการอานออกเสียงบทอานของ นักเรียน โดยพิจารณาจากการออกเสียงคําได ถูกตอง ชัดเจน 2. ครูตรวจสอบการทําแบบฝกหัดของนักเรียน โดยพิจารณาจากความถูกตองในการเลือก ภาพอวัยวะ 3. ครูตรวจสอบการเขียนตามคําบอกของนักเรียน โดยพิจารณาจากการเขียนคําศัพทตามคําบอก ไดถูกตอง

ค�ำอ่ำนและควำมหมำยของค�ำ ค�ำ

Expand

5

กิจกรรมเขียนตามคําบอก

ครูจัดกิจกรรมเขียนตามคําบอก โดยเลือกคําศัพทใหมจากบทเรียนมา 10 คํา แลวใหนักเรียนเขียนคําศัพทตามที่ครูบอกทีละคํา เพื่อฝกทักษะ การฟง และการเขียนสะกดคําของนักเรียน

มุม IT ครูคนหาความหมายของคําศัพทคําอื่นๆ ไดที่ http://rirs3.royin.go.th/ dictionary.asp ซึ่งเปนเว็บไซตของราชบัณฑิตยสถาน

คูมือครู

5


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Engage

สํารวจคนหา

Explore

1. ครูแจกบัตรพยัญชนะ บัตรสระ บัตรวรรณยุกต และบัตรตัวเลขไทยใหนักเรียนคนละ 1 ใบ 2. ใหนักเรียนจับกลุมตามบัตรที่ไดรับใหถูกตอง 3. ใหนกั เรียนรวมกันบอกพยัญชนะ สระ วรรณยุกต และตัวเลขไทยตัวอื่นๆ นอกเหนือจากในบัตร ที่ครูแจก 4. ครูสังเกตวานักเรียนสวนใหญบอกพยัญชนะ สระ วรรณยุกต และตัวเลขไทยไดถูกตอง

อธิบายความรู

หลักภำษำไทย

อักษรไทย อักษรไทย หมายถึง ตัวหนังสือที่ใช้ในภาษาไทย มี ๔ ชนิด คือ ๑. พยัญชนะไทย มี ๔๔ ตัว ๒. สระ มี ๓๒ เสียง 2 ๓. วรรณยุกต์ มี ๔ รูป ๕ เสียง ๔. ตัวเลขไทย มี ๑๐ ตัว การน�าพยัญชนะ สระ และวรรณยุกต์ มาประสมกัน จะท�าให้เกิดเป็นค�าต่างๆ มากมาย 1

Explain

1. ใหนกั เรียนรวมกันบอกชนิดของอักษรไทย แลวครู อธิบายเพิ่มเติมเรื่องอักษรไทย และชนิดของ อักษรไทยใหนักเรียนฟง โดยใหนักเรียนดูขอมูล ในหนังสือ หนา 6 ประกอบ 2. ครูอธิบายเพิ่มเติมขอมูลที่นักเรียนควรรู

©Ñ¹¤×;ÂÑÞª¹Ð

©Ñ¹¤×ÍÊÃÐ

©Ñ¹¤×͵ÑÇàÅ¢ä·Â

©Ñ¹¤×ÍÇÃóÂØ¡µ 6

นักเรียนควรรู 1 อักษรไทย พอขุนรามคําแหงมหาราชทรงคิดประดิษฐอักษรไทย หรือที่เรียกวา ลายสือไทย ขึ้นมาใชเปนครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. 1826 และไดมีการพัฒนาเรื่อยมาจนมี รูปแบบเปนตัวอักษรไทยที่เราใชอยูในปจจุบัน 2 รูป หมายถึง ตัวอักษรที่ใชแทนวรรณยุกต ไดแก ่ ้ ๊ ๋ และรูปยังเปนลักษณนาม (คํานามที่บอกลักษณะ) ที่อยูหลังจํานวนนับดวย เชน พระสงฆ 4 รูป เปนตน

บูรณาการอาเซียน ครูอธิบายใหนกั เรียนเขาใจวา พยัญชนะไทยบางตัวมีรปู รางคลายกับพยัญชนะลาว เนือ่ งจากทัง้ ตัวอักษรไทยและตัวอักษรลาวมีทมี่ าจากอักษรมอญและอักษรขอมเหมือนกัน เชน พยัญชนะไทย พยัญชนะลาว

ครูอธิบายใหนักเรียนเขาใจวา การเรียนรูถึงความแตกตางดานภาษาของประเทศตางๆ ในอาเซียน จะทําใหนักเรียนเขาใจถึงความแตกตาง และรูจักยอมรับในสิ่งที่ ผูอื่นเปน ซึ่งจะทําใหดํารงชีวิตไดอยางสันติสุขในฐานะพลเมืองไทย และพลเมืองอาเซียน

6

คูมือครู


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

อธิบายความรู

๑. พยัญชนะไทย มี ๔๔ ตัว แต่ละตัวอ่านออกเสียง เหมือนประสมกับสระ -อ และบางตัวออกเสียงซ�้ากัน ดังนี้

Explain

1. ใหนักเรียนรวมกันทอง ก-ฮ พรอมๆ กัน 2. ครูสังเกตวานักเรียนสวนใหญทอง ก-ฮ ไดถูกตอง 3. ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจเรื่อง การอานออกเสียงพยัญชนะแตละตัว โดยให นักเรียนดูขอมูลในหนังสือ หนา 7 ประกอบ 4. ครูสุมพูดพยัญชนะตางๆ แลวใหนักเรียน รวมกันบอกพยัญชนะตัวหนา และพยัญชนะ ตัวที่อยูหลังพยัญชนะที่ครูพูดใหถูกตอง เชน ครูพูดวา ช พยัญชนะตัวหนา ช คือ ฉ พยัญชนะตัวหลัง ช คือ ซ เปนตน

ขยายความเขาใจ

Expand

ใหนักเรียนคิดและวาดรูปตางๆ โดย ใหมีพยัญชนะไทยประกอบเปนสวนหนึ่งของรูป ที่วาด แลวระบายสีใหสวยงาม จากนั้นนําเสนอ ผลงานที่หนาชั้นเรียน

ตรวจสอบผล

Evaluate

ครูตรวจสอบการวาดรูป โดยพิจารณาจาก ความสวยงาม และความสะอาดเรียบรอยของรูป ที่นักเรียนวาด

แทน อ่านว่า 7

พยัญชนะในขอใด ออกเสียงเหมือนกันทุกตัว ก. ข ฃ ค ข. ห ฬ ฮ ค. ศ ษ ส

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ ค. เพราะ ศ ษ ส ออกเสียงวา สอ เหมือน กันทุกตัว สวน ขอ ก. ข ฃ อานวา ขอ ค อานวา คอ ขอ ข. ห อานวา หอ ฬ อานวา ลอ ฮ อานวา ฮอ

เกร็ดแนะครู ครูอธิบายเพิ่มเติมวา ในปจจุบัน คําในภาษาไทยไมใช “ฃ” และ “ฅ” แลว โดยมีสาเหตุ ดังนี้ 1. เครื่องพิมพดีดภาษาไทยในยุคแรกๆ ในสมัยรัชกาลที่ 5 ไมมีแปนอักษร ฃ และ ฅ เพราะไมมีพื้นที่จะใสแปน และคําที่ใช ฃ หรือ ฅ มีนอย จึงตัดออก 2. การออกเสียง ฃ และ ฅ ในอดีต จะออกเสียงยากกวาเสียง ข และ ค จึงคอยๆ เลิกใช ฃ และ ฅ แลวเปลี่ยนมาใช ข และ ค แทน

คูมือครู

7


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูเขียนคําที่ประสมสระตางกันแตใชพยัญชนะ ตัวเดียวกันบนกระดาน เชน ปา ป ปู เปนตน 2. ใหนักเรียนรวมกันอานออกเสียงคํา แลวบอกวา คําที่ครูเขียนบนกระดานแตกตางกันอยางไร (ตอบ ประสมสระตางกัน ทําใหคําออกเสียง ตางกัน และมีความหมายตางกัน) 3. ครูอธิบายเพิ่มเติมเรื่องสระในภาษาไทย ใหนักเรียนฟง โดยใหนักเรียนดูขอมูลในหนังสือ หนา 8 ประกอบ 4. ใหนักเรียนรวมกันอานออกเสียงสระในหนังสือ หนา 8 ตามที่ครูสอน 5. ครูเขียนคํางายๆ เชน กา โต ปู ดี เสีย วัว มือ เปนตน บนกระดาน แลวใหนักเรียนรวมกัน บอกวา คําที่ครูเขียน ประสมกับสระอะไร 6. ครูถามนักเรียนวา • ถานักเรียนอานหรือเขียนสระผิด จะเกิดผล อยางไร (แนวตอบ ทําใหความหมายของคําที่อานหรือ เขียนผิดไปจากเดิม ทําใหสื่อสารกับผูอื่น ผิดพลาด) 7. ครูอธิบายเพิ่มเติมขอมูลที่นักเรียนควรรู

๒. สระ มี ๓๒ เสียง แต่ละเสียงอ่านเหมือนประสม ตัว อ ยกเว้น ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ที ฦ ฦๅ1 ่ออกเสียงเป็นตัว ร และ ล ประสมกับสระ -ึ และ สระ -ื ดังนี้

-ะ -ี -ุ เโ-ะ -อ เ-ียะ เ-ือ --�ำ� เ-ำ ฦ

อะ

อี

อุ เอ โอะ ออ

๑๐

๑๓

๑๖

๑๙

เอียะ เอือ ออ�า เอา ลึ

๒๒

๒๕

๒๘

๓๑

-ำ -ึ -ู แ-ะ โเ-อะ เ-ีย -ัวะ ใฤ ฦา

อา อึ อู แอะ โอ เออะ เอีย อัวะ ใอ รึ ลือ

๑๑

๑๔

๑๗

๒๐

๒๓

๒๖

๒๙

๓๒

-ิ -ื เ-ะ แเ-ำะ เ-อ เ-ือะ -ัว ไฤา

อิ อือ เอะ แอ เอาะ เออ เอือะ อัว ไอ รือ

๑๒

๑๕

๑๘

๒๑

๒๔

๒๗

๓๐

แทน อ่านว่า

8

เกร็ดแนะครู ครูจัดกิจกรรมฝกใหนักเรียนเขียนพยัญชนะและสระใหถูกตอง ดังนี้ 1. ครูเขียนสัญลักษณ บนกระดาน 2. นักเรียนแบงกลุม ใหแตละกลุมออกมาเขียนพยัญชนะ และสระ จากสัญลักษณที่ครูเขียน เชน ➭ ม บ ป พ ุ ู เปนตน 3. นักเรียนกลุมที่เขียนพยัญชนะและสระถูกตองมากที่สุด เปนกลุมชนะ

นักเรียนควรรู 1 ฦ ฦๅ เปนรูปสระที่มาจากภาษาสันสกฤต ปจจุบันคําในภาษาไทยไมใช ฦ ฦๅ แลว แตยังคงรูปสระ 2 ตัว นี้ไว

8

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว NT สระขอใด ไมเขาพวก ก. -ํา ข. -า ค. เ-า

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ ข. เพราะ สระ -า เปนสระเสียงยาว สวน สระ -ำ และ สระ เ-า เปนสระเสียงสั้น


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

๓. วรรณยุกต มี ๔ รูป ๕ เสียง ดังนี​ี้ ๑) รูปวรรณยุกต์ มี ๔ รูป คือ (ไม้เอก) (ไม้โท) (ไม้ตรี) (ไม้จัตวา) ใช้เขียนเหนือตัวพยัญชนะ ส�าหรับค�า ที่มีรูปสระอยู่เหนือตัวพยัญชนะอยู่แล้ว รูปวรรณยุกต์ก็จะ อยู่เหนือรูปสระอีกชั้นหนึ่ง ๒) เสียงวรรณยุกต์1 มี ๕ เสียง คือ เสียงสามัญ เสียงเอก เสียงโท เสียงตรี และเสียงจัตวา ตัวอย่ำง ค�ำที่มีรูปวรรณยุกต

ไก่ ค้า เก จา

ต�่า เจ้า จะ เตา

พ่อ ใช้ โตะ โบ

ย่า ป้า บู โอ

Explain

1. ครูเขียนคําที่มีรูปวรรณยุกตบนกระดาน เชน โตะ ปา ไก เตา เปนตน 2. ใหนักเรียนชวยกันบอกวา ตัวอักษรที่อยูเหนือ พยัญชนะจากคําที่ครูเขียน เรียกวาอะไร (ตอบ วรรณยุกต) 3. ครูอธิบายเพิ่มเติมเรื่องวรรณยุกตใหนักเรียน เขาใจ โดยใหนักเรียนดูขอมูลในหนังสือ หนา 9 ประกอบ 4. ใหนักเรียนรวมกันอานออกเสียงตัวอยางคํา ที่มีรูปวรรณยุกตในหนังสือ หนา 9 5. ครูสังเกตวานักเรียนสวนใหญอานออกเสียง คําที่มีรูปวรรณยุกตไดถูกตอง 6. ครูเขียนตัวเลขไทย ๐-๙ บนกระดาน แลวให นักเรียนบอกวาเปนเลขอะไรทีละตัว 7. ครูสอนนักเรียนอานและเขียนตัวเลขไทย ๐-๙ ทีละตัว 8. ครูสุมเรียกใหนักเรียนออกมาเขียนตัวเลขไทย คนละ 1 ตัว บนกระดาน 9. ใหนักเรียนฝกคัดพยัญชนะ สระ และ ตัวเลขไทยลงในสมุด ดวยตัวบรรจง เต็มบรรทัด

๔. ตัวเลขไทย มี มี ๑๐ ตัว ได้แก่

๐ ๔ ๘

ศูนย์ สี่ แปด

๑ ๕ ๙

หนึ�ง ห้า

๒ ๖

สอง หก

๓ ๗

สาม เจ็ด

เก้า 9

ขอสอบเนน การคิด แนว NT จํานวนภาพตรงกับตัวเลขไทยตัวใด ก. ๕ ข. ๗ ค. ๙ วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ ก. เพราะเปนภาพโบ 5 อัน ตรงกับตัวเลขไทย ๕

เกร็ดแนะครู ครูอธิบายเพิม่ เติมวา คําทีป่ ระสมดวยพยัญชนะและสระเดียวกัน ถาใสวรรณยุกต ตางกันก็จะทําใหความหมายตางกันไป เชน ปา หมายถึง ซัดไปดวยอาการยกแขนขึ้นสูงแลวเอี้ยวตัว ปา หมายถึง ที่ที่มีตนไมตางๆ ขึ้นมาก ปา หมายถึง พี่สาวของพอหรือแม เปนตน

นักเรียนควรรู 1 เสียงวรรณยุกต คําบางคําจะอานออกเสียงคําไมตรงกับรูปวรรณยุกต ที่ปรากฏ เชน นา มีรูปวรรณยุกตโท แตมีเสียงวรรณยุกตตรี เปนตน

คูมือครู

9


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูแตงนิทานเกี่ยวกับสระตางๆ ที่เปนสระ ประสม เชน มีบาน 2 หลัง อยูใกลกัน ระหวาง บาน 2 หลัง มีตนไมสูงคั่นอยู บนตนไมมีสระ -ื อาศัยอยู สวนบานหลังแรกมีสระ เ- อยู และบานหลังที่สองมีสระ -อ อาศัยอยู เปนตน 2. ครูวาดภาพประกอบนิทานที่ครูเลาเพื่อให นักเรียนจดจํารูปสระไดดียิ่งขึ้น เชน

3. ใหนักเรียนชวยกันบอกวา จากนิทานที่ครูเลา คือสระอะไร และถานําพยัญชนะตางๆ มา ประสมกับสระนี้จะไดคําวาอะไรบาง 4. ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจเรื่อง การประสมคํา และการอานสะกดคํา โดยให นักเรียนดูขอมูลในหนังสือ หนา 10 5. ใหนักเรียนฝกประสมคํา และอานสะกดคําจาก ตัวอยางในหนังสือ หนา 10 6. ครูสังเกตวานักเรียนสวนใหญประสมคําและ อานสะกดคําไดถูกตอง

กำรประสมค�ำ และกำรอ่ำนสะกดค�ำ กำรประสมค�ำ เป็นการน�าพยัญชนะ และสระต่างๆ มาประสมกัน ท�าให้เกิดเป็นค�า เช่น

ต + -า = ตา ห + -ู = หู ว + -ัว = วัว กำรอ่ำนสะกดค�ำ เริม่ จาก การอ่านออกเสียงพยัญชนะ แล้วอ่านเสียงสระ งสระ จากนั้นอ่านค�าที่ได้จากเสียงพยัญชนะ ประสมกับเสียงสระ เช่ งสระ เช่น

บอ-โอ-โบ บอ-โ บอ-โอ-โ อ- อ-โ อ-โ อ- บ อ-โบ ปอ-อู-ปู 10

เกร็ดแนะครู ในการสอนประสมคํา ครูควรสอนใหนักเรียนออกเสียงพยัญชนะและสระ จนออกเสียงไดถูกตอง จึงคอยสอนประสมคํา ซึ่งควรสอนประสมคําระหวาง พยัญชนะกับสระเสียงยาวกอน เพราะออกเสียงไดงายกวา โดยใหนักเรียนฝกซํ้าๆ จนนักเรียนประสมคําได และอานสะกดคําไดถูกตอง

ขอสอบเนน การคิด แนว NT + เ-า + -่

ตรงกับคําใด

ก. เปา ข. ปเา่ ค. เปา่ วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ ก. จากภาพ ตรงกับพยัญชนะ ป ประสมกับ สระ เ-า และวรรณยุกต -่ ตรงกับคําวา เปา

10

คูมือครู


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ขยายความเขาใจ

ฝกอ่ำนสะกดค�ำ

ค�ำ

พยัญชนะ

สระ

สะกดว่ำ

อ่ำนว่ำ

กา ดู ตัว ป ใบ

ก ด ต ป บ

-า -ู -ัว -ี ใ-

กอ-อา ดอ-อู ตอ-อัว ปอ-อี บอ-ใอ

กา ดู ตัว ป ใบ

ฝกอ่ำนค�ำ

กาด�า มาดู

ท�าดี ปูนา

มีขา ทาสี

Expand

1. ใหนักเรียนฝกอานสะกดคําในหนังสือ หนา 11 โดยครูสังเกตวา นักเรียนสวนใหญสะกดคํา ไดถูกตอง 2. ใหนักเรียนทําแบบฝกหัด ภาษาไทย ป.1 ✓ แบบฝกฯ ใบงาน แบบวัดฯ ภาษาไทย ป.1 ประเมินตัวช�้วัด มฐ. ท 4.1 ป.1/1

กิจกรรมรวบยอด

๑. เขียนพยัญชนะกับสระที่กําหนด แลวเขียนสะกดคํา และอานออกเสียง ท ๔.๑ ป.๑/๑ เชน ๑) ๒) ๓) ๔)

ตาโต ดีใจ

๕) ๖) ๗)

¡ + -Ò º + -ÑÇ ¾ + á« + âÊ + à-Õ ¨ + à-Í µ + -Õ § + -Ù

¡Í-ÍÒ-¡Ò

บอ-อัว-บัว พอ-แอ-แพ ซอ-โอ-โซ สอ-เอีย-เสีย จอ-เออ-เจอ ตอ-อี-ตี งอ-อู-งู

ฝกอ่ำนเพิ่มเติม

กา ตัว ด�า กา ตัว ด�า เจอ วัว วัว ไป ใน นา ใน นา นา มี ปู และ งูงู กา เกาะ เขา วั กา เกาะ เขา วัว กา และ วัว ดู ปู และ งู ใน นา

ตรวจสอบผล

11

กิจกรรมสรางเสริม ใหนักเรียนฝกอานสะกดคําจากคําที่ครูกําหนด ที่นอกเหนือจาก ในบทเรียน และเขียนสะกดคําที่อานดวยตัวบรรจงเต็มบรรทัด

เฉลย

Evaluate

1. ครูตรวจสอบการอานออกเสียงสะกดคําของ นักเรียน โดยพิจารณาจากการออกเสียง สะกดคําไดถูกตอง 2. ครูตรวจสอบการทําแบบฝกหัดของนักเรียน โดยพิจารณาจากการอานและเขียนสะกดคํา ไดถูกตอง

เกร็ดแนะครู ครูนําบัตรคําที่นอกเหนือจากในบทเรียนมาใหนักเรียนฝกอานสะกดคําเพิ่มเติม เพื่อใหนักเรียนอานสะกดคําไดอยางคลองแคลว

กิจกรรมทาทาย ใหนักเรียนวาดภาพ 1 ภาพ แลวเขียนสะกดคําจากภาพ เชน

§§Í - ÍÙ - §Ù

ºÍ - ãÍ - ãº

เพื่อฝกทักษะการสะกดคําของนักเรียน จากนั้นนําผลงานไปติดที่ ปายนิเทศ คูมือครู

11


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

กระตุน ความสนใจ

Explore

Explore

1. ใหนักเรียนสํารวจตนเองวา ในชีวิตประจําวัน เคยพูดในโอกาสใดบาง เชน พูดแนะนําตัวเอง พูดคุยกับเพื่อน เปนตน 2. ใหนักเรียนชวยกันบอกวา • ถานักเรียนตองพูดแนะนําตนเอง ควรปฏิบัติ อยางไรบาง (แนวตอบ พูดโดยใชถอยคําสุภาพ โดยบอก รายละเอียดเกี่ยวกับตนเอง เชน ชื่อจริง ชื่อเลน อายุ ความสนใจ เปนตน)

อธิบายความรู

Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Engage

1. ครูยกตัวอยางสถานการณการพูดลักษณะตางๆ ใหนักเรียนฟง เชน การพูดจาไพเราะ นาฟง การพูดคําหยาบ การพูดแทรก และการพูดที่ ไมมีมารยาทในการพูด เปนตน 2. ใหนักเรียนรวมกันบอกวา นักเรียนชอบการพูด ลักษณะใด เพราะอะไร

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Explain

1. ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจเรื่อง การพูดในโอกาสตางๆ โดยใหนักเรียนดูขอมูล ในหนังสือ หนา 12 ประกอบ 2. ครูถามนักเรียนวา • การพูดแนะนําตนเอง จะใชในโอกาสใดบาง (ตอบ ใชแนะนําตนเองกับคนที่รูจักกัน เปนครั้งแรก เชน เพื่อนใหม คุณครูคนใหม เปนตน) • การพูดแนะนําตัว ผูพูดควรปฏิบัติอยางไร (แนวตอบ มีกิริยามารยาทที่สุภาพ หนาตา ยิ้มแยม แจมใส) 3. ใหนักเรียนฝกพูดแนะนําตัวทีละคนจนครบ ทุกคน โดยครูสังเกตวานักเรียนสวนใหญ พูดแนะนําตัวไดถูกตองและเหมาะสม

กำรใชภำษำ

กำรพูดในโอกำสต่ำงๆ กำรพูด เป็นการถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดของผู้พูด ไปสู่ผู้ฟัง โดยใช้ถ้อยค�า น�้าเสียง และกิริยาอาการเป็นสื่อ ในการพูด การพูดในโอกาสต่างๆ ได้แก่ àÃÒÁÒàÃÕ¹ÃÙŒËÅÑ¡¡Òþٴ ๑. การพูดแนะน�าตัว ã¹âÍ¡Òʵ‹Ò§æ ¡Ñ¹¹Ð¤Ð ๒. การพูดคุยสนทนา ๑. การพูดแนะน�าตัว เป็นการบอก เรื่องราวเกี่ยวกับตนเองให้บุคคลอื่น ทีเ่ พิง่ รูจ้ กั กันทราบโดยทุกครัง้ ทีจ่ ะแนะน�าตัว ควรพูดทักทาย ก่อน และใช้ภาษาสุภาพ

ÊÇÑÊ´Õ¤ÃѺ ¼Áª×èÍ ÇÒÂØ ¹ÒÁÊ¡ØÅ ªÙ¸Ò¹Õ ¼ÁÍÒÂØ ÷ »‚ áÅмÁÁÕª×èÍàÅ‹¹Ç‹Ò à¡‹§ ¤ÃѺ

๒. การพูดคุยสนทนา สนทนา เป็นการพูดเพื่อซักถาม พูดคุย ขอร้อง ชักชวน หรือปฏิเสธ ระหว่างบุคคลตั้งแต่ ๒ คน ขึ้นไป โดยมีข้อควรปฏิบัติ ดังนี้ 12

เกร็ดแนะครู ครูอธิบายใหนักเรียนเขาใจวา เด็กผูชาย ควรใชคําแทนตัวเองเวลาพูดแนะนําตัว วา “ผม” และใชคําลงทายวา ครับ สวนเด็กผูหญิง ควรใชคําแทนตัวเองวา “หนู” และใชคําลงทายวา คะ, คะ

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

จากภาพ ควรพูดแนะนําตัวอยางไรจึงจะเหมาะสม ก. สวัสดีจะ ฉันชื่อ ชาย จะ ข. สวัสดีครับ ผมชื่อ ชาย ครับ ค. หวัดดีครับ หนูชื่อ ชาย นะ

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ ข. จากภาพเปนเด็กผูชาย จึงควรใชคําแทน ตัวเองวา ผม และใชคําลงทาย วา ครับ จึงควรพูดวา สวัสดีครับ ผมชื่อชายครับ จึงจะเหมาะสม สวน หวัดดี เปนภาษาปาก ไมควรใช

12

คูมือครู


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

อธิบายความรู

1. ใหนักเรียนดูภาพและอานบทสนทนา ในหนังสือ หนา 13 2. ใหนักเรียนรวมกันสรุปขอควรปฏิบัติในการพูด สนทนาตามความเขาใจของนักเรียน พรอมบอก เหตุผลประกอบ 3. ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับขอควรปฏิบัติ ในการพูดสนทนา โดยใหนักเรียนดูขอมูล ในหนังสือ หนา 13 ประกอบ 4. ครูสอนนักเรียนรองเพลง สวัสดี ขอบคุณ และขอโทษ แลวใหนักเรียนคิดทาทาง ประกอบตามจินตนาการ ดังนี้

๑) พูดในเรื่องที่ควรพูด และพูดแต่สิ่งที่เป็น1จริง ๒) พูดด้วยถ้อยค�าทีส่ ภุ าพ ไม่กระโชกโฮกฮาก ออกเสียง ค�าให้ถูกต้อง ชัดเจน ๓) ไม่พดู แทรกในขณะทีค่ สู่ นทนาก�าลังพูดคุย แต่ควร พูดสนับสนุนหรือโต้แย้งค�าพูดของคู่สนทนาบ้างตามความ เหมาะสม ๔) ไม่ควรพูดอยู่ฝ่ายเดียว ควรเปดโอกาสให้คู่สนทนา พูดบ้าง และควรฟังคู่สนทนาพูดอย่างตั้งใจ เช่น วันนี้พวกเรามาท�า การบ้านที่บ้านฉันไหม

เพลงสวัสดี ขอบคุณ และขอโทษ เมื่อเจอกันเราทักกันสวัสดี สวัสดีครับ/สวัสดีคะ เมื่อผิดพลั้งขออภัยขอโทษที ขอโทษครับ/ขอโทษคะ เมื่อจากกันยกมือไหวสวัสดี สวัสดีครับ/สวัสดีคะ เมื่อใครมีไมตรีขอขอบคุณ ขอบคุณครับ/ขอบคุณคะ

วันนี้ฉันไม่ว่าง ต้องไปธุระกับแม่

งั้นก็แยกกันตรงนี้นะ พรุ่งนี้เจอกัน

ขยายความเขาใจ

ฉันก็ไปไม่ได้นะ

ตรวจสอบผล

Evaluate

ครูตรวจสอบการพูดสนทนาของนักเรียน โดยพิจารณาจากการใชภาษาในการพูดอยาง เหมาะสมกับวัย และพูดโดยใชถอยคําสุภาพ

13

ครูบูรณาการความรูในสาระภาษาไทย กับสาระศิลปะ วิชา ดนตรีนาฏศิลป เรื่อง การเคลื่อนไหวประกอบเพลง โดยใหนักเรียนทําทาทาง ประกอบเพลง สวัสดี ขอบคุณ และขอโทษ ตามจินตนาการ เพื่อพัฒนา การเคลื่อนไหวรางกายใหดียิ่งขึ้น และเพื่อเพิ่มความสนุกสนานในการเรียน

Expand

1. ใหนักเรียนจับคูกับเพื่อนแลวฝกพูดสนทนา โดยคิดสถานการณเอง 2. ครูสังเกตการพูดสนทนาของนักเรียนแตละคู เพื่อแนะนําใหนักเรียนพูดอยางถูกตองและ เหมาะสม

ถ้าอย่างนั้นฉัน กลับบ้านก่อนนะ

บูรณาการเชื่อมสาระ

Explain

นักเรียนควรรู 1 กระโชกโฮกฮาก หมายถึง อาการพูดกระชากเสียงหรือพูดกระแทกเสียง ซึ่งไมนาฟง และอาจทําใหผูฟงเกิดความไมชอบใจ และไมอยากพูดดวย

มุม IT ครูสืบคนเพลง สวัสดี ขอบคุณ และขอโทษ ไดที่ growinggood.org/2010/08/111 เลือกฟงเพลง 12. เพลงสวัสดี ขอบคุณ และ ขอโทษ

คูมือครู

13


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

Explain

1. ใหนักเรียนดูภาพ แลวอานคําพูดของปอกับนิด ในหนังสือ หนา 14 แลวชวยกันบอกวา • ใครพูดอยางมีมารยาท เพราะอะไร (ตอบ ปอ เพราะใชคําพูดที่สุภาพพูดกับแม) 2. ใหนักเรียนรวมกันบอกวา • ในการพูดกับผูอื่น เราควรปฏิบัติตนอยางไร จึงจะจัดวามีมารยาทในการพูด (แนวตอบ เชน • พูดดวยถอยคําสุภาพ • กลาวคําขอโทษเมื่อพูดผิด 3. ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับมารยาทในการพูด ใหนักเรียนเขาใจ โดยใหนักเรียนดูขอมูล ในหนังสือ หนา 14 ประกอบ

ขยายความเขาใจ

อธิบายความรู

ในการพูดทุกครั้ง นอกจากใช้ถ้อยค�าสุภาพ และ ไพเราะแล้ว ควรพูดอย่างมีมารยาทด้วย à¾×èÍ¹æ ´ÙÀÒ¾áÅŒÇÍ‹Ò¹¤íÒ¾Ù´¢Í§»Í¡Ñº¹Ô´ áŌǪ‹Ç¡ѹºÍ¡Ç‹Ò ã¤Ã¾Ù´Í‹ҧÁÕÁÒÃÂÒ·¤Ð ได้จ้ะ แต่ต้องไม่ เถลไถลนะจะ

คุณแม่ครับ ปอขออนุญาต ไปเล่นกับเพื่อนนะครับ

นี่พี่แนน ฉันจะไปเล่นกับ เพื่อนนะ บอกแม่ด้วยล่ะ เข้าใจมั้ยเนี่ย

รู้แล้วน่ะ ไปเหอะไป

ดีมากพี่

Expand

ใหนกั เรียนฝกพูดในโอกาสตางๆ อยางมีมารยาท ที่หนาชั้นเรียนทีละคนจนครบทุกคน

กำรพูดของปอ

กำรพูดของนิด

มารยาทในการพูด ควรปฏิบัติ ดังนี้ ๑. พูดด้วยถ้อยค�าสุภาพ เหมาะแก่วยั ของผูพ้ ดู และ เหมาะแก่ผู้ฟัง ๒. เมื่อพูดผิดควรกล่าวค�าขอโทษ และควรกล่าว ขอบคุณเมื่อได้รับการยกย่องชมเชย ๓. ในกรณีที่พูดต่อหน้าที่ชุมชน ควรกล่าวทักทาย ผู้ฟัง และกล่าวอ�าลาเมื่อพูดจบด้วย 14

เกร็ดแนะครู ครูเนนใหนักเรียนเห็นความสําคัญของการกลาวคํา “ขอโทษ” และคํา “ขอบคุณ” วาเปนมารยาทที่ดีของคนไทยที่ทุกคนควรปฏิบัติ เพราะผูที่ไดรับคําขอโทษจะรูสึก เมตตาและใหอภัยแกผูที่ทําผิด สวนผูที่รับคําขอบคุณก็จะรูสึกรักใครและชื่นชม ผูที่กลาวขอบคุณ

14

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

ใครปฏิบัติตนอยางมีมารยาทในการพูด ก. นิดพูดตะคอกใสเพื่อนเพราะโมโหเพื่อน ข. นุนไมพูดแทรกขณะที่เพื่อนกําลังพูด ค. นอยพูดผิดแลวไมขอโทษผูฟง

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ ข. เพราะการตะคอก หรือพูดผิดแลว ไมขอโทษจัดวาไมมีมารยาทในการพูด สวนการไมพูดแทรกขณะที่เพื่อน กําลังพูดถือวามีมารยาทในการพูด


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engage

Explore

Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ตรวจสอบผล

Evaluate

ครูตรวจสอบการพูดในโอกาสตางๆ ของ นักเรียน โดยพิจารณาจากการพูดไดชัดเจน ใชคําพูดอยางเหมาะสม และมีมารยาทในการพูด

กิจกรรมรวบยอด

ชวนกันอาน ชวยกันคิด ๑. รวมกันอานออกเสียงบทอานตามคุณครู แลวฝกอานเอง ๒. บอกความเหมือน และความแตกตางของ ตนเองและเพื่อน ชวนกันคิด และวาด คิด และวาดรูปตางๆ โดย ใชตัวอักษรไทยที่เรียนมาประกอบ จากนั้นระบายสี ใหสวยงาม 

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู 1. แบบประเมินการอานออกเสียงคํา ประโยค และขอความในบทเรียน 2. ผลงานการวาดรูปโดยใชตัวพยัญชนะไทย ประกอบ 3. ผลการพูดในลักษณะตางๆ 4. ผลการเขียนคําตามคําบอก 5. แบบฝกหัด ภาษาไทย ป.1

๑ ๒ ชวนกันปฏิบตั ิ จับคูก บั เพือ่ น แลวผลัดกันฝกพูด ในลักษณะตางๆ เชน พูดทักทาย พูดแนะนําตัวเอง หรือ พูดคุยสนทนากันอยางมีมารยาท 

๑๕

เกร็ดแนะครู ครูใหนักเรียนทําแบบทดสอบที่ 1 ในแบบฝกหัด ภาษาไทย ป.1 หนา 12 เพื่อ วัดความรูที่ไดเรียนมาในหนวยการเรียนรูที่ 1 หากนักเรียนไดคะแนนในการทําแบบทดสอบไมผานเกณฑ ใหครูสอนซอมเสริม ในเรื่องนั้นๆ จนนักเรียนเขาใจดีขึ้น

คูมือครู

15


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.