8858649122360

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº Í- .

ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน

กระบวนการสอนแบบ 5 Es ชวยสรางทักษะการเรียนรู กิจกรรมมุงพัฒนาทักษะการคิด คำถาม + แนวขอสอบเพื่อยกผลสัมฤทธิ์ O-NET กิจกรรมบูรณาการเตรียมพรอมสู ASEAN 2558


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย

ภาษาไทย

วรรณคดีและวรรณกรรม ชั้นประถมศึกษาปที่

1

สําหรับครู

คูมือครู Version ใหม

ลักษณะเดน

ขยายพื้นที่รูปเลมใหญขึ้นกวาเดิม จัดแบงพื้นที่ออกเปนโซน เพื่อคนหาขอมูลไดงาย สะดวก รวดเร็ว และดูเปนระเบียบ กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล

กระตุน ความสนใจ

Evaluate

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

เปาหมายการเรียนรู สมรรถนะของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค

หน า

โซน 1 กระตุน ความสนใจ

Engage

สํารวจคนหา

Explore

อธิบายความรู

Explain

ขยายความเขาใจ

Expand

ตรวจสอบผล

หน า

หนั ง สื อ เรี ย น

โซน 1

หนั ง สื อ เรี ย น

Evaluate

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ขอสอบ

โซน 2

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

เกร็ดแนะครู

O-NET

บูรณาการเชื่อมสาระ

โซน 3

กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย

นักเรียนควรรู

โซน 3

โซน 2 บูรณาการอาเซียน มุม IT

No.

คูมือครู

คูมือครู

No.

โซน 1 ขั้นตอนการสอนแบบ 5Es

โซน 2 ชวยครูเตรียมสอน

โซน 3 ชวยครูเตรียมนักเรียน

เพื่อใหครูเตรียมจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยแนะนําขั้นตอนการสอนและ การจัดกิจกรรมแบบ 5Es อยางละเอียด เพื่อใหนักเรียนบรรลุตามตัวชี้วัด

เพื่อชวยลดภาระครูผูสอน โดยแนะนํา เกร็ดความรูสําหรับครู ความรูเสริมสําหรับ นักเรียน รวมทั้งบูรณาการความรูสูอาเซียน และมุม IT

เพือ่ ใหครูสะดวกตอการจัดกิจกรรม โดยแนะนํา กิจกรรมบูรณาการเชื่อมระหวางกลุมสาระ วิชา กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย รวมถึงเนือ้ หา ทีเ่ คยออกขอสอบ NT/O-NET เก็งขอสอบ NT/O-NET และแนวขอสอบเนนการคิด พรอมคําอธิบาย และเฉลยอยางละเอียด


ที่ใชในคูมือครู

แถบสีและสัญลักษณ

แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5Es เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

1. แถบสี 5Es สีแดง

สีเขียว

กระตุน ความสนใจ

เสร�ม

สํารวจคนหา

Engage

2

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุน ความสนใจ เพื่อโยง เขาสูบทเรียน

สีสม

อธิบายความรู

Explore

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนสํารวจ ปญหา และศึกษา ขอมูล

สีฟา

Explain

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนคนหา คําตอบ จนเกิดความรู เชิงประจักษ

สีมวง

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนนําความรู ไปคิดคนตอๆ ไป

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

2. สัญลักษณ สัญลักษณ

วัตถุประสงค

• เปาหมายการเรียนรู

• หลักฐานแสดง ผลการเรียนรู

• เกร็ดแนะครู

• นักเรียนควรรู

• บูรณาการอาเซียน

• มุม IT

คูม อื ครู

แสดงเปาหมายการเรียนรูที่นักเรียน ตองบรรลุตามตัวชี้วัด ตลอดจนสมรรถนะ ที่จะตองมี และคุณลักษณะที่พึงเกิดขึ้น กับนักเรียน แสดงรองรอยหลักฐานตามภาระงาน ที่ครูมอบหมาย เพื่อแสดงผลการเรียนรู ตามตัวชี้วัด แทรกความรูเสริมสําหรับครู ขอเสนอแนะ ขอควรระวัง ขอสังเกต แนวทางการจัด กิจกรรมและอืน่ ๆ เพื่อประโยชนในการ จัดการเรียนการสอน ขยายความรูเพิ่มเติมจากเนื้อหา เพื่อให ครูนําไปใชอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียน ไดมีความรูมากขึ้น ความรูห รือกิจกรรมเสริม ใหครูนาํ ไปใช เตรียมความพรอมใหกบั นักเรียนกอนเขาสู ประชาคมอาเซียนใน พ.ศ. 2558 โดย บูรณาการกับวิชาทีก่ าํ ลังเรียน แนะนําแหลงคนควาจากเว็บไซต เพื่อให ครูและนักเรียนไดเขาถึงขอมูลความรู ที่หลากหลาย ทั้งไทยและตางประเทศ

สัญลักษณ

ขอสอบ

วัตถุประสงค

O-NET

(เฉพาะวิ เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ O-NET O-NET)

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T (เฉพาะวิ เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ NT เพือ่ เตรียมพรอมสอบ O-NET)

ขอสอบเนน การคิด แนว NT (เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ NT)

บูรณาการเชื่อมสาระ กิจกรรมสรางเสริม

• ชีแ้ นะเนือ้ หาทีเ่ คยออกขอสอบ

O-NET โดยยกตัวอยางขอสอบ พรอมวิเคราะหคาํ ตอบ อยางละเอียด

• เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน

การคิด และเปนแนวขอสอบ NT/O-NET ในระดับประถมศึกษา มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลย อยางละเอียด

• แนวขอสอบ NT ในระดับ

ประถมศึกษา มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด โดยเนน - การอานออกเขียนได - การคิดเลข - ความสามารถดานการคิด และการใหเหตุผล

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม

เชือ่ มกับสาระหรือกลุม สาระ การเรียนรู ระดับชัน้ หรือวิชาอืน่ ทีเ่ กีย่ วของ

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ซอมเสริมสําหรับนักเรียนทีค่ วร ไดรบั การพัฒนาการเรียนรู

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม กิจกรรมทาทาย

ตอยอดสําหรับนักเรียนทีเ่ รียนรู ไดอยางรวดเร็ว และตองการ ทาทายความสามารถในระดับ ทีส่ งู ขึน้


คําแนะนําการใชคูมือครู การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน คูมือครู รายวิชา ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ป.1 จัดทําขึ้นเพื่อใหครูผูสอนนําไปใชเปนแนวทางวางแผน การสอนเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และประกันคุณภาพผูเรียน ตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) โดยใชหนังสือเรียน ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ป.1 ของบริษัท อักษรเจริญทัศน เสร�ม อจท. จํากัด เปนสื่อหลัก (Core Material) ประกอบการสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับมาตรฐาน 3 การเรียนรูและตัวชี้วัดของกลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 โดยออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักการสําคัญ ดังนี้ 1 ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน คูมือครู รายวิชา ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ป.1 วางแผนการสอนโดยแบงเปนหนวยการเรียนรู ตามลําดับสาระ (Standard) และหมายเลขขอของมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด แตละหนวยจะกําหนดเปาหมาย การสอนและจุดประสงคการเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทาง การประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชัดเจน ครูผูสอนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุม มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด สมรรถนะ และคุณลักษณะอันพึงประสงคที่เปนเปาหมายการเรียนรูตามที่กําหนดไวในสาระ แกนกลาง (ตามแผนภูม)ิ และสามารถบันทึกผลสัมฤทธิท์ างการเรียนของผูเ รียนแตละคนลงในเอกสาร ปพ.5 ไดอยางมัน่ ใจ แผนภูมิแสดงองคประกอบของการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผูเรียนเปนสําคัญ

พผ

ูเ

จุดปร

ะสง

ค ก

ส ภา

รี ย น

รู ีเรยน

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชั้นป

ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน คูม อื ครู


2 การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ แนวคิ ด ในการจั ด การเรี ย นการสอนที่ ยึ ด ผู  เ รี ย นเป น สํ า คั ญ พั ฒ นามาจากปรั ช ญาและทฤษฎี ก ารเรี ย นรู  Constructivism ที่เชื่อวาการเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสรางความรู โดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดเรียนรูจากบทเรียนใหมกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา ผูเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีการสั่งสมความรูความเขาใจเกี่ยวกับสิ่งตางๆ ติดตัวมากอน ทีจ่ ะเขาสูห อ งเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากประสบการณและสิง่ แวดลอมรอบตัวผูเ รียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกิจกรรม เสร�ม การเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ผูสอนจะตองคํานึงถึง

4

1. ความรูเดิมของผูเรียน วิธีการสอนที่ดีจะตองเริ่มตนจากจุดที่วา ผูเ รียนมีความรูอ ะไรมาบาง แลวจึงใหความรู หรือประสบการณใหม เพื่อตอยอดจาก ความรูเดิม นําไปสูการสรางความรู ความเขาใจใหม

2. ความรูเดิมของผูเรียนถูกตองหรือไม ผูส อนตองปรับเปลีย่ นความรูค วามเขาใจเดิม ของผูเรียนใหถูกตอง และเปนพฤติกรรม การเรียนรูใ หมทมี่ คี ณุ คาตอผูเรียน เพื่อสราง เจตคติหรือทัศนคติที่ดีตอการเรียนรู สิ่งเหลานั้น

3. ผูเรียนสรางความหมายสําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมใหผูเรียนนําความรู ความเขาใจที่เกิดขึ้นไปลงมือปฏิบัติ เพื่อขยายความรูใหลึกซึ้งและมีคุณคา ตอตัวผูเรียนมากที่สุด

แนวคิด Constructivism เนนใหผูเรียนสรางความรูโดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูของตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศ

การเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณ ความรูใ หม เพือ่ กระตนุ ใหผเู รียนเชือ่ มโยงความรู ความคิด กับประสบการณทมี่ อี ยูเ ดิม แลวสังเคราะหเปนความรูห รือแนวคิดใหมๆ ไดดว ยตนเอง

3 การบูรณาการกระบวนการคิด การเรียนรูของผูเรียนแตละคนจะเกิดขึ้นที่สมอง ซึ่งเปนอวัยวะที่ทําหนาที่รูคิดภายใตสภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวย และไดรบั การกระตนุ จูงใจอยางเหมาะสม สอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของผูเ รียนแตละคน การจัดกิจกรรม การเรียนรูและสาระการเรียนรูที่สอดคลองกับความสนใจและมีความหมายตอผูเรียน จะชวยกระตุนใหสมองของผูเรียน สามารถรับรูและเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพตามขั้นตอนการทํางานของสมอง ดังนี้ 1. สมองจะเรียนรูและสืบคน โดยการสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง ปฏิบัติ จนทําใหคนพบความรูความเขาใจ ไดอยางรวดเร็ว

2. สมองจะแยกแยะคุณคาของสิ่งตางๆ โดยการตัดสินใจวิพากษวิจารณ แสดง ความคิดเห็น ยอมรับหรือตอตานตาม อารมณความรูสึกที่เกิดขึ้นในขณะที่เรียนรู

3. สมองจะประมวลเนื้อหาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสานกับ ความรูห รือประสบการณเดิมทีถ่ กู จัดเก็บอยูใ น สมอง ผานการกลัน่ กรองเพือ่ สังเคราะหเปน ความรูค วามเขาใจใหมๆ หรือเปนทัศนคติใหม ที่จะเก็บบรรจุไวในสมองของผูเรียน

การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะเกิดขึ้น เมื่อสมองรูคิด และตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมองผูเรียน โดยเริ่มตนจาก 1. ระดับการคิดพื้นฐาน ไดแก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล การสรุปผล เปนตน

คูม อื ครู

2. ระดับลักษณะการคิด ไดแก การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดไกล คิดหลากหลาย คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล เปนตน

3. ระดับกระบวนการคิด ไดแก กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ กระบวนการแกปญหา กระบวนการ คิดสรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะหวิจัย เปนตน


5Es การจัดกิจกรรมตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ขั้นตอนการสอนที่สัมพันธกับขั้นตอนการคิดและการทํางานทางสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย คือ วัฏจักรการเรียนรู 5Es ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแตละหนวย ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1

กระตุนความสนใจ

(Engage)

เสร�ม

5

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนนําเขาสูบ ทเรียน เพือ่ กระตุน ความสนใจของผูเ รียนดวยเรือ่ งราวหรือเหตุการณทนี่ า สนใจโดยใชเทคนิควิธกี ารสอน และคําถามทบทวนความรูหรือประสบการณเดิมของผูเรียน เพื่อเชื่อมโยงผูเรียนเขาสูความรูของบทเรียนใหม ชวยใหผูเรียนสามารถ สรุปประเด็นสําคัญที่เปนหัวขอและสาระการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอนการสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอม และสรางแรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน

ขั้นที่ 2

สํารวจคนหา

(Explore)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนเปดโอกาสใหผเู รียนลงมือศึกษา สังเกต หรือรวมมือกันสํารวจ เพือ่ ใหเห็นขอบขายของปญหา รวมถึงวิธกี ารศึกษา คนควา การรวบรวมขอมูลความรูที่จะนําไปสูการสรางความเขาใจประเด็นปญหานั้นๆ เมื่อผูเรียนทําความเขาใจในประเด็นหัวขอที่จะ ศึกษาคนควาอยางถองแทแลว ก็ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธีการตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูตามที่ตั้งประเด็นศึกษาไว

ขั้นที่ 3

อธิบายความรู

(Explain)

เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา ตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนคนหาคําตอบ และนําขอมูล ความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห สรุปผล และนําเสนอผลที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ แผนผังแสดงมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน ในขั้นตอนนี้ฝกใหผูเรียนใชสมองคิดวิเคราะหและ สังเคราะหอยางเปนระบบ

ขั้นที่ 4

ขยายความเขาใจ

(Expand)

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใชเทคนิควิธีการสอนตางๆ ที่สงเสริมใหผูเรียนนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนสืบคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะ การเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน ผูเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยง กับประสบการณเดิมโดยนําขอสรุปทีไ่ ดไปใชอธิบายเหตุการณตา งๆ หรือนําไปปฏิบตั ใิ นสถานการณใหมๆ ทีเ่ กีย่ วของกับชีวติ ประจําวัน ของตนเอง เพื่อขยายความรูความเขาใจใหกวางขวางยิ่งขึ้น ในขั้นตอนนี้ฝกสมองของผูเรียนใหสามารถคิดริเริ่มสรางสรรคอยางมี คุณภาพ เสริมสรางวิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป

ขั้นที่ 5

ตรวจสอบผล

(Evaluate)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนประเมินมโนทัศนของผูเ รียน โดยตรวจสอบจากความคิดทีเ่ ปลีย่ นไปและความคิดรวบยอดทีเ่ กิดขึน้ ใหม ตรวจสอบ ทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด และการเคารพความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพื่อการ สรางสรรคความรูร ว มกัน ผูเ รียนสามารถประเมินผลการเรียนรูข องตนเอง เพือ่ สรุปผลวามีความรูอ ะไรเพิม่ ขึน้ มาบาง เกิดความเขาใจ มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ ไดอยางไร ผูเรียนจะเกิดเจตคติและเห็นคุณคาของ ตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง

การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามขั้นตอนวัฏจักรการสรางความรูแบบ 5Es จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนน ผูเ รียนเปนสําคัญอยางแทจริง เพราะสงเสริมใหผเู รียนไดลงมือปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนของกระบวนการสรางความรูด ว ยตนเอง และฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและกระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะชีวิต ทักษะการทํางานและทักษะการ เรียนรูที่มีประสิทธิภาพ สงผลตอการยกระดับผลสัมฤทธิ์ของผูเรียน ตามเปาหมายของการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คูม อื ครู


O-NET การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ O-NET

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ในแตละหนวยการเรียนรู ทางผูจัดทํา จะเสนอแนะวิธีสอนรูปแบบกิจกรรมการเรียนรู พรอมทั้งออกแบบเครื่องมือวัดผลประเมินผลที่สอดคลองกับตัวชี้วัด และสาระการเรียนรูแกนกลางไวทุกขั้นตอน โดยยึดหลักสําคัญ คือ เปาหมายของการวัดผลประเมินผล เสร�ม

6

1. การวัดผลทุกครั้งตองนําผล การวัดมาปรับปรุงพัฒนาผูเรียน เปนรายบุคคล

2. การประเมินผลมีเปาหมาย เพื่อพัฒนาการเรียนรูของผูเรียน จนเต็มศักยภาพ

3. การนําผลการวัดและประเมิน ทุกครั้งมาวางแผนปรับปรุงกิจกรรม การเรียนการสอน การเลือกเทคนิค วิธีการสอน และสื่อการเรียนรูให เหมาะสมกับสภาพจริงของผูเรียน

การทดสอบผูเรียน 1. การใชขอสอบอัตนัย เนนการอาน การคิดวิเคราะห และเขียนสรุปเพิ่มมากขึ้น 2. การใชคําถามกระตุนการคิด ควบคูกับการทําขอสอบที่เนนการคิดตลอดตอเนื่องตามลําดับกิจกรรมการเรียนรูและ ตัวชี้วัด 3. การทดสอบตองดําเนินการทั้งกอนเรียน ระหวางเรียน และเมื่อสิ้นสุดการเรียน การทดสอบระหวางเรียน ต อ งใช ข  อ สอบทั้ ง ชนิ ด ปรนั ย และอั ต นั ย และเป น การทดสอบเพื่ อ วิ นิ จ ฉั ย ผลการเรี ย นของผู  เ รี ย นแต ล ะคน เพื่อวัดการสอนซอมเสริมใหบรรลุตัวชี้วัดทุกตัว 4. การสอบกลางภาค (ถามี) ควรนําขอสอบหรือแบบฝกหัดที่นักเรียนสวนใหญทําผิดบอยๆ มาสรางเปนแบบทดสอบ อีกครัง้ เพือ่ ตรวจสอบความรูค วามเขาใจทีถ่ กู ตอง และประเมินความกาวหนาของผูเรียนแตละคน 5. การสอบปลายภาคเรียนเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามตัวชี้วัดที่สําคัญ ควรออกขอสอบใหมีลักษณะเดียวกับ ขอสอบ O-NET โดยเนนการคิดวิเคราะห สังเคราะห เชื่อมโยงประยุกตใช เพื่อสรางความคุนเคย และฝกฝน วิธีการทําขอสอบดวยความมั่นใจ 6. การนําผลการทดสอบของผูเรียนมาวิเคราะห โดยผลการสอบกอนการเรียนตองสามารถพยากรณผลการสอบ กลางภาค และผลการสอบกลางภาคตองทํานายผลการสอบปลายภาคของผูเ รียนแตละคน เพือ่ ประเมินพัฒนาการ ความกาวหนาของผูเรียนเปนรายบุคคล 7. ผลการทดสอบปลายป ปลายภาค ตองมีคาเฉลี่ยสอดคลองกับคาเฉลี่ยของการสอบ NT ที่เขตพื้นที่การศึกษา จัดสอบ รวมทั้งคาเฉลี่ยของการสอบ O-NET ชวงชั้นที่สอดคลองครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดสําคัญ เพือ่ สะทอนประสิทธิภาพของครูผสู อนในการออกแบบการเรียนรูแ ละประกันคุณภาพผูเ รียนทีต่ รวจสอบผลไดชดั เจน การจัดการเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ตองใหผูเรียนไดสั่งสมความรู สะสมความเขาใจไปทีละเล็ก ละนอยตามลําดับขัน้ ตอนของกิจกรรมการเรียนรู 5Es เพือ่ ใหผเู รียนไดเติมเต็มองคความรูอ ยางตอเนือ่ ง จนสามารถปฏิบตั ิ ชิ้นงานหรือภาระงานรวบยอดของแตละหนวยผานเกณฑประกันคุณภาพในระดับที่นาพึงพอใจ เพื่อรองรับการประเมิน ภายนอกจาก สมศ. ตลอดเวลา คูม อื ครู


ASEAN การเรียนรูสูประชาคมอาเซียน เพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรูบูรณาการอาเซียนศึกษา ผูจัดทําไดวิเคราะห มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดที่มีสาระการเรียนรูสอดคลองกับองคความรูเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนในแงมุมตางๆ ครอบคลุมทัง้ ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน เพื่อสงเสริมการเรียนรูใหผูเรียนเกิดความตระหนัก มีความรูความเขาใจเหมาะสมกับระดับชั้นและกลุมสาระ การเรียนรู โดยเสนอแนะวิธีการจัดกิจกรรมบูรณาการเนื้อหาสาระตางๆ ที่เปนประโยชนตอผูเรียนและเปนการชวย เตรียมความพรอมผูเ รียนทุกคนทีจ่ ะกาวเขาสูก ารเปนสมาชิกของประชาคมอาเซียนไดอยางมัน่ ใจตามขอตกลงปฏิญญา เสร�ม ชะอํา-หัวหิน วาดวยความรวมมือดานการศึกษาเพือ่ บรรลุเปาหมายประชาคมอาเซียนทีเ่ อือ้ อาทรและแบงปน จึงกําหนด 7 เปนนโยบายใหกระทรวงศึกษาธิการจัดการเรียนรูเตรียมความพรอมผูเรียนเขาสูประชาคมอาเซียนภายในป พ.ศ. 2558 ตามแนวปฏิบัติที่สําคัญ ดังนี้

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน 1. การสรางความรูความเขาใจ และตระหนักถึงความสําคัญของ กฎบัตรอาเซียน และความรวมมือ ของ 3 เสาหลัก ซึง่ กฎบัตรอาเซียน ในขณะนี้มีสถานะเปนกฎหมายที่ ประเทศสมาชิกจะตองปฏิบัติตาม หลักการที่กําหนดไวเพื่อใหบรรลุ เปาหมายของกฎบัตรมาตราตางๆ

2. การสงเสริมหลักการ ประชาธิปไตยและการสราง สิ่งแวดลอมประชาธิปไตย เพื่อการอยูรวมกันอยางกลมกลืน ภายใตวิถีชีวิตอาเซียนที่มีความ หลากหลายดานสังคมและ วัฒนธรรม

4. การตระหนักในคุณคาของ สายสัมพันธทางประวัติศาสตร และมรดกทางวัฒนธรรมที่มี พัฒนาการรวมกัน เพื่อเชื่อม อัตลักษณและสรางจิตสํานึก ในการเปนประชากรของประชาคม อาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการศึกษาดาน สิทธิมนุษยชน เพื่อสรางประชาคม อาเซียนใหเปนประชาคมเพื่อ ประชาชนอยางแทจริง สามารถ อยูรวมกันไดบนพื้นฐานการเคารพ ในคุณคาของศักดิ์ศรีแหงความ เปนมนุษยเทาเทียมกัน

5. การสงเสริมสันติภาพ ความ มั่นคง และความปรองดองในสังคม ทั้งระดับประเทศและภูมิภาคของ อาเซียนบนพื้นฐานสันติวิธีและการ อยูรวมกันดวยขันติธรรม

คูม อื ครู


การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

เสร�ม

8

1. การพัฒนาทักษะการทํางาน เพื่อเสริมสรางผูเรียนใหมีทักษะ วิชาชีพที่จําเปนสอดคลองกับ ความตองการของตลาดแรงงาน และสถานประกอบการในอาเซียน สามารถเทียบโอนผลการเรียน และการทํางานตามมาตรฐานฝมือ แรงงานในภูมิภาคอาเซียน

2. การเสริมสรางวินัย ความรับผิดชอบ และเจตคติรักการทํางาน สามารถพึ่งพาตนเอง มีทักษะชีวิต ดํารงชีวิตอยางมีความสุข เห็นคุณคา และภูมิใจในตนเอง ในฐานะที่เปนพลเมืองไทยและ อาเซียน

3. การเรียนรูเพื่อพัฒนาตนเอง อยางตอเนื่องตลอดชีวิต ใหมี ทักษะการทํางานตามมาตรฐาน อาชีพ และคุณวุฒิของวิชาชีพสาขา ตางๆ เพื่อรองรับการเตรียมเคลื่อน ยายแรงงานมีฝมือและการเปน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่ เขมแข็ง เพื่อสรางขีดความสามารถ ในการแขงขันในเวทีโลก

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 1. การเสริมสรางความรวมมือ ในลักษณะสังคมที่เอื้ออาทร ของประชากรอาเซียน โดยยึด หลักการสําคัญ คือ ความงดงาม ของประชาคมอาเซียนมาจาก ความแตกตางและหลากหลายทาง วัฒนธรรมที่ลวนแตมีคุณคาตอ มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน ซึ่งประชาชนทุกคนตองอนุรักษ สืบสานใหยั่งยืน

2. การเสริมสรางคุณลักษณะ ของผูเรียนใหเปนพลเมืองอาเซียน ที่มีศักยภาพในการกาวเขาสู ประชาคมอาเซียนอยางมั่นใจ เปนผูที่มีสุขภาพสมบูรณแข็งแรง มีทักษะการสื่อสาร ทักษะการ ทํางาน ทักษะทางสังคม สามารถ ทํางานรวมกับผูอื่นไดอยาง สรางสรรค และมีองคความรู เกี่ยวกับอาเซียนที่จําเปนตอการ ดํารงชีวิตอยางมีคุณภาพ

4. การสงเสริมการเรียนรูดาน ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี วิถชี วี ติ ความเปนอยูข องเพือ่ นบาน ในอาเซียน เพื่อสรางจิตสํานึกของ ความเปนประชาคมอาเซียนและ ตระหนักถึงหนาที่ของการเปน พลเมืองอาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการเรียนรูภาษา อังกฤษเพื่อการสื่อสารและการ ทํางานตามมาตรฐานอาชีพที่ กําหนดและสนับสนุนการเรียนรู ภาษาอาเซียนและภาษาเพื่อนบาน เพื่อชวยเสริมสรางสัมพันธภาพทาง สังคม และการอยูรวมกันอยางสันติ ทามกลางความหลากหลายทาง วัฒนธรรม

5. การสรางความรูและความ ตระหนักเกี่ยวกับดานสิ่งแวดลอม ปญหาและผลกระทบตอคุณภาพ ชีวิตของประชากรในภูมิภาค รวมทั้งแนวทางการพัฒนาอยาง ยั่งยืน ใหเปนมรดกสืบทอดแก พลเมืองอาเซียนในรุนหลังตอๆ ไป

กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศนโยบายการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) เพื่อเรงพัฒนาเด็ก และเยาวชนไทยใหเปนทรัพยากรมนุษยของชาติที่มีทักษะและความชํานาญ พรอมเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงและ การแขงขันทั้งในภูมิภาคอาเซียนและภูมิภาคอื่นๆ ของสังคมโลก ทั้งนี้ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และผูปกครอง ควรรวมมือกันอยางใกลชิดในการดูแลชวยเหลือผูเรียนและจัดประสบการณการเรียนรูเพื่อพัฒนาผูเรียนจนเต็มศักยภาพ เพื่อกาวเขาสูการเปนพลเมืองอาเซียนอยางมีเกียรติภูมิและศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของตน คณะผูจัดทํา คูม อื ครู


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 1

ภาษาไทย (เฉพาะชั้น ป.1)*

การอาน

มาตรฐาน ท 1.1 ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิด เพื่อนําไปใชตัดสินใจแกปญหาในการดําเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอาน ชั้น ป.1

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

1. อานออกเสียงคํา คําคลองจอง และขอความสั้นๆ 2. บอกความหมายของคํา และขอความที่อาน

• การอานออกเสียงและบอกความหมายของคํา

3. ตอบคําถามเกี่ยวกับเรื่อง ที่อาน 4. เลาเรื่องยอจากเรื่องที่อาน 5. คาดคะเนเหตุการณจาก เรื่องที่อาน

• การอานจับใจความจากสื่อตางๆ เชน - นิทาน - เรื่องสั้น - บทรองเลนและบทเพลง - เรื่องราวจากบทเรียนในกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย และกลุมสาระการเรียนรูอื่น ฯลฯ

6. อานหนังสือตามความสนใจ อยางสมํ่าเสมอและนําเสนอ เรื่องที่อาน

• การอานหนังสือตามความสนใจ เชน - หนังสือที่นักเรียนสนใจและเหมาะสมกับวัย - หนังสือที่ครูและนักเรียนกําหนดรวมกัน ฯลฯ

7. บอกความหมายของ เครื่องหมายหรือ สัญลักษณสําคัญที่มักพบเห็น ในชีวิตประจําวัน

• การอานเครือ่ งหมายหรือสัญลักษณ ประกอบดวย - เครื่องหมายสัญลักษณตางๆ ที่พบเห็นในชีวิตประจําวัน - เครื่องหมายแสดงความปลอดภัยและแสดงอันตราย

8. มีมารยาทในการอาน

• มารยาทในการอาน เชน - ไมอานเสียงดังรบกวนผูอื่น - ไมเลนกันขณะที่อาน - ไมทําลายหนังสือ ฯลฯ

หนวยการเรียนรู ในหนังสือเรียน

เสร�ม

9

คําคลองจอง และขอความที่ประกอบดวยคําพื้นฐาน คือ คําที่ใชในชีวิตประจําวัน ไมนอยกวา 600 คํา รวมทั้งคําที่ ใชเรียนรูในกลุมสาระการเรียนรูอื่นประกอบดวย - คําที่มีรูปวรรณยุกตและไมมีรูปวรรณยุกต - คําที่มีตัวสะกดตรงตามมาตราและไมตรงตามมาตรา - คําที่มีพยัญชนะควบกลํ้า - คําที่มีอักษรนํา สาระที่ 1 ตัวชี้วัดขอ 1-8 นี้ จะปรากฏใน หนังสือเรียนภาษาไทย หลักภาษาและการใช ภาษา ป.1

_________________________________ * สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. สาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 7-59.

คูม อื ครู


สาระที่ 2

การเขียน

มาตรฐาน ท 2.1 ใชกระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบตางๆ เขียนรายงานขอมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคนควาอยางมีประสิทธิภาพ ชั้น

เสร�ม

10

ป.1

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

1. คัดลายมือตัวบรรจง เต็มบรรทัด

• การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดตามรูปแบบ การเขียนตัวอักษรไทย

2. เขียนสื่อสารดวยคํา และประโยคงายๆ

• การเขียนสื่อสาร - คําที่ใชในชีวิตประจําวัน - คําพื้นฐานในบทเรียน

3. มีมารยาทในการเขียน

• มารยาทในการเขียน เชน - เขียนใหอานงาย สะอาด ไมขีดฆา - ไมขีดเขียนในที่สาธารณะ - ใชภาษาเขียนเหมาะสมกับเวลา สถานที่ และบุคคล ฯลฯ

สาระที่ 3

- คําคลองจอง - ประโยคงายๆ

หนวยการเรียนรู ในหนังสือเรียน สาระที่ 2 ตัวชี้วัดขอ 1-3 นี้ จะปรากฏใน หนังสือเรียนภาษาไทย หลักภาษาและการใช ภาษา ป.1

การฟง การดู และการพูด

มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ความคิด และความรูสึกในโอกาสตางๆ อยางมีวิจารณญาณและสรางสรรค ชั้น ป.1

ตัวชี้วัด 1. ฟงคําแนะนํา คําสั่งงายๆ และปฏิบัติตาม

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูใน หนังสือเรียน

• การฟงและปฏิบัติตามคําแนะนํา คําสั่งงายๆ

2. ตอบคําถามและเลาเรื่องที่ฟง • การจับใจความและพูดแสดงความคิดเห็น ความรูสึกจาก และดูทงั้ ทีเ่ ปนความรู และความ เรื่องที่ฟงและดู ทั้งที่เปนความรูและความบันเทิง เชน บันเทิง - เรื่องเลาและสารคดีสําหรับเด็ก - การตูน 3. พูดแสดงความคิดเห็น และ - นิทาน - เรื่องขบขัน ฯลฯ ความรูสึกจากเรื่องที่ฟงและดู 4. พูดสื่อสารไดตามวัตถุประสงค

5. มีมารยาทในการฟง การดู และการพูด

คูม อื ครู

• มารยาทในการเขียน เชน - เขียนใหอานงาย สะอาด ไมขีดฆา - ไมขีดเขียนในที่สาธารณะ - ใชภาษาเขียนเหมาะสมกับเวลา สถานที่ และบุคคล ฯลฯ • มารยาทในการฟง เชน - ตั้งใจฟง ตามองผูพูด - ไมรบกวนผูอื่นขณะที่ฟง - ไมควรนําอาหารหรือเครื่องดื่มไปรับประทานขณะที่ฟง - ใหเกียรติผูพูดดวยการปรบมือ - ไมพูดสอดแทรกขณะที่ฟง ฯลฯ • มารยาทในการดู เชน - ตั้งใจดู - ไมสงเสียงดังหรือแสดงอาการรบกวนสมาธิของผูอื่น ฯลฯ • มารยาทในการพูด เชน - ใชถอยคําและกิริยาที่สุภาพ เหมาะสมกับกาลเทศะ - ใชนํ้าเสียงนุมนวล - ไมพูดสอดแทรกในขณะที่ผูอื่นพูด ฯลฯ

สาระที่ 3 ตัวชี้วัดขอ 1-5 นี้ จะปรากฏใน หนังสือเรียนภาษาไทย หลักภาษาและการใช ภาษา ป.1


สาระที่ 4

หลักการใชภาษาไทย

มาตรฐาน ท 4.1 เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ ชั้น ป.1

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

1. บอกและเขียนพยัญชนะ สระ • พยัญชนะ สระ และวรรณยุกต วรรณยุกต และเลขไทย • เลขไทย 2. เขียนสะกดคําและบอก ความหมายของคํา

• • • •

3. เรียบเรียงคําเปนประโยคงายๆ

• การแตงประโยค

4. ตอคําคลองจองงายๆ

• คําคลองจอง

สาระที่ 5

การสะกดคํา การแจกลูก และการอานเปนคํา มาตราตัวสะกดที่ตรงตามมาตรา และไมตรงตามมาตรา การผันคํา ความหมายของคํา

หนวยการเรียนรู ในหนังสือเรียน สาระที่ 4 ตัวชี้วัดขอ 1-4 นี้ จะปรากฏใน หนังสือเรียนภาษาไทย หลักภาษาและการใช ภาษา ป.1

เสร�ม

11

วรรณคดีและวรรณกรรม

มาตรฐาน ท 5.1 เขาใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยางเห็นคุณคา และนํามาประยุกต ใชในชีวิตจริง ชั้น ป.1

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรู ในหนังสือเรียน

1. บอกขอคิดที่ไดจากการอาน หรือการฟงวรรณกรรม รอยแกวและรอยกรอง สําหรับเด็ก

• วรรณกรรมรอยแกวและรอยกรองสําหรับเด็ก เชน - นิทาน - เรื่องสั้นงายๆ - ปริศนาคําทาย - บทรองเลน - บทอาขยาน - บทรอยกรอง - วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียน ฯลฯ

• บทที่ 1 • บทที่ 2 • บทที่ 3 • บทที่ 4 • บทที่ 5 • บทที่ 6

เธอและฉัน บานแสนสุข โรงเรียนสีรุง ออมกอด แหงรัก พอของแผนดิน นิทาน กอนนอน

2. ทองจําบทอาขยานตาม ที่กําหนดและบทรอยกรอง ตามความสนใจ

• บทอาขยานและบทรอยกรอง - บทอาขยานตามที่กําหนด - บทรอยกรองตามความสนใจ

• บทที่ 4 • บทที่ 5

ออมกอด แหงรัก พอของแผนดิน

คูม อื ครู


คําอธิบายรายวิชา รายวิชา ภาษาไทย (วรรณคดีและวรรณกรรม) ชั้นประถมศึกษาปที่ 1 รหัสวิชา ท…………………………………

เสร�ม

12

กลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย ภาคเรียนที่ 1 เวลา 200 ชั่วโมง/ป

ศึกษาการอานและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต ตัวเลขไทย การสะกดคํา การอานแบบแจกลูก และการอานเปนคํา การอานและการเขียนตัวสะกดที่ตรงตามมาตราและไมตรงตามมาตรา การผันวรรณยุกต และความหมายของคํา ขอความ และประโยค คําทีม่ รี ปู วรรณยุกตและไมมรี ปู วรรณยุกต เรือ่ งสัน้ วิธอี า นรอยแกว และบทอาขยาน มารยาทในการพูดสื่อสารในชีวิตประจําวัน การฟงคําแนะนํา คําสั่ง และการปฏิบัติ อยางมีมารยาท การพูดแสดงความคิดเห็นตามความเปนจริง และใชถอยคําอยางสุภาพตอสิ่งที่ฟง อาน หรือดู ศึกษาการคิดวิเคราะห จากการอานหรือฟงวรรณกรรม มารยาทในการอานและทองจําบทอาขยาน ตามที่กําหนดให การเขียนเรื่องจากภาพ และบอกขอคิดของวรรณกรรมรอยแกวและรอยกรอง โดยใช การฝกทักษะกระบวนการทางภาษาไทย ไดแก การฟง การพูด การอาน และการเขียน เพื่อใหเกิดเจตคติ ที่ดีตอการเรียนวิชาภาษาไทย ตั้งใจเรียนและมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียน คนควาหาความรูจากแหลง การเรียนรูตางๆ อยางสมํ่าเสมอ กลาซักถามเพื่อหาขอมูล มีความรอบคอบในการทํางาน ใชภาษาไทย ไดอยางถูกตอง เหมาะสม มีมารยาทในการพูดและฟง ตัวชี้วัด ท 1.1 ท 2.1 ท 3.1 ท 4.1 ท 5.1

ป.1/1 ป.1/1 ป.1/1 ป.1/1 ป.1/1

ป.1/2 ป.1/2 ป.1/2 ป.1/2 ป.1/2

ป.1/3 ป.1/3 ป.1/3 ป.1/3

ป.1/4

ป.1/5

ป.1/4 ป.1/4

ป.1/5

รวม 22 ตัวชี้วัด

คูม อื ครู

ป.1/6

ป.1/7

ป.1/8


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹

ÀÒÉÒä·Â

ÇÃó¤´ÕáÅÐÇÃó¡ÃÃÁ ».ñ ªÑé¹»ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè ñ

¡ÅØ‹ÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ÀÒÉÒä·Â µÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ

¼ÙŒàÃÕºàÃÕ§ ¹ÒÂÁÒ¹¾ Ê͹ÈÔÃÔ ÃÈ. ´Ã. ÊÔÃԾѪà à¨É®ÒÇÔâè¹ ¹Ò§à©ÅÒ ÍÃسÃѵ¹ ¼ÙŒµÃǨ

¹Ò§ÊÒǾþԵà ¾¨¹ÍÒÃÕ ¹Ò§ÊÒǨÔÃÀѷà ͹Øâè¹ ÇÒ³Ôª ¹Ò§ÍØ·ÑÂÇÃó ÀÑ··¡Ç§È

ºÃóҸԡÒà ¹ÒÂàÍ¡ÃÔ¹·Ã ÊÕèÁËÒÈÒÅ

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè õ

ʧǹÅÔ¢ÊÔ·¸ÔìµÒÁ¾ÃÐÃÒªºÑ- - ѵÔ

ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ ñññññððó

¤Œ¹¤ÇÒÁÃÙŒ¢ÂÒ¤ÇÒÁ¤Ô´¨Ò¡

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè ñ ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ ññôñðóò

EB GUIDE

ที่พิมพกํากับหัวขอสําคัญในหนังสือเรียนหลักสูตรใหม ชั้น ป.๔ ขึ้นไป ผาน www.aksorn.com ไปยังแหลงความรูทั่วไทย-ทั่วโลก


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

¤íÒ¹íÒ ´ŒÇ¡ÃзÃǧÈÖ¡ÉÒ¸Ô¡ÒÃä´ŒÁÕ¤íÒÊÑè§ãˌ㪌ËÅÑ¡ÊٵáÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõôô ã¹âçàÃÕ¹·ÑÇè ä»·Õ¨è ´Ñ ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñ¹é ¾×¹é °Ò¹ã¹»‚¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõôö áÅШҡ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒÇÔ¨ÂÑ áÅеԴµÒÁ ¼Å¡ÒÃ㪌ËÅÑ¡ÊٵáÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñ¹é ¾×¹é °Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõôô ¨Ö§¹íÒä»Ê‹¡Ù ÒþѲ¹ÒËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§ ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñ¹é ¾×¹é °Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ «Ö§è ÁÕ¤ÇÒÁàËÁÒÐÊÁáÅЪѴਹ à¾×Íè ãˌʶҹÈÖ¡ÉÒä´Œ¹Òí ä» ãªŒà»š¹¡Ãͺ·Ôȷҧ㹡ÒèѴËÅÑ¡ÊÙµÃʶҹÈÖ¡ÉÒáÅШѴ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹à¾×Íè ¾Ñ²¹Òà´ç¡áÅÐàÂÒǪ¹ ·Ø¡¤¹ã¹ÃдѺ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñ¹é ¾×¹é °Ò¹ãËŒÁ¤Õ ³ Ø ÀÒ¾´ŒÒ¹¤ÇÒÁÃÙŒ áÅзѡÉзըè Òí ໚¹ÊíÒËÃѺ¡ÒôíÒçªÕÇµÔ ã¹Êѧ¤Á·ÕèÁÕ¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§ áÅÐáÊǧËÒ¤ÇÒÁÃÙŒà¾×è;Ѳ¹Òµ¹àͧÍ‹ҧµ‹Íà¹×èͧµÅÍ´ªÕÇÔµ ÊíÒËÃѺ¡Å‹ØÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒÀÒÉÒä·Â »ÃСͺ´ŒÇ õ ÊÒÃЋ͠¤×Í ÊÒÃзÕè ñ ¡ÒÃÍ‹Ò¹ ÊÒÃзÕè ò ¡ÒÃà¢Õ¹ ÊÒÃзÕè ó ¡Òÿ˜§ ¡Òô٠áÅСÒþٴ ÊÒÃзÕè ô ËÅÑ¡¡ÒÃ㪌ÀÒÉÒä·Â ÊÒÃзÕè õ ÇÃó¤´ÕáÅÐÇÃó¡ÃÃÁ ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÀÒÉÒä·Â ÇÃó¤´ÕáÅÐÇÃó¡ÃÃÁ ».ñ àÅ‹Á¹Õé¨Ñ´·íÒ¢Öé¹ÊíÒËÃѺ㪌 »ÃСͺ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ÇÃó¤´ÕáÅÐÇÃó¡ÃÃÁ¢Í§¹Ñ¡àÃÕ¹ÃдѺªÑé¹»ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè ñ â´Â ´íÒà¹Ô¹¡ÒèѴ·íÒãËŒÊÍ´¤ÅŒÍ§µÒÁ¡Ãͺ¢Í§ËÅÑ¡Êٵ÷ء»ÃСÒà à¾×èÍÊ‹§àÊÃÔÁ¤ÇÒÁÃÙŒ´ŒÒ¹ÇÃó¤´Õ áÅÐÇÃó¡ÃÃÁµ‹Ò§æ ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÀÒÉÒä·Â ÇÃó¤´ÕáÅÐÇÃó¡ÃÃÁ ».ñ àÅ‹Á¹Õé ÁÕ ö º· ᵋÅк· »ÃСͺ´ŒÇ ñ. ໇ÒËÁÒ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ»ÃШíÒº· ¡íÒ˹´ÃдѺ¤ÇÒÁÃÙŒ ¤ÇÒÁÊÒÁÒö¢Í§¼ÙŒàÃÕÂ¹Ç‹Ò àÁ×èÍàÃÕ¹¨ºã¹áµ‹Åк· µŒÍ§ºÃÃÅØÁҵðҹµÑǪÕéÇÑ´·Õè¡íÒ˹´äÇŒã¹ËÅÑ¡ÊٵâŒÍã´ºŒÒ§ ò. à¹×éÍËÒ ¤ÃºµÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ ¹íÒàÊ¹Í àËÁÒÐÊÁ¡Ñº¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ã¹áµ‹ÅÐÃдѺªÑé¹ ó. ¡Ô¨¡ÃÃÁ ÁÕËÅÒ¡ËÅÒÂÃٻẺãËŒ¹Ñ¡àÃÕ¹»¯ÔºÑµÔ ẋ§à»š¹ (ñ) ¡Ô¨¡ÃÃÁÍ‹Ò¹ ´Ù áÅÐËÇÁ¡Ñ¹ºÍ¡ à¾×è͹íÒࢌÒÊ‹Ùº·àÃÕ¹ áÅСÃе،¹¤ÇÒÁʹã¨á¡‹ ¼ÙŒàÃÕ¹ (ò) ¡Ô¨¡ÃÃÁªÇ¹¡Ñ¹·íÒ ãËŒ¼ÙŒàÃÕ¹»¯ÔºÑµÔà¾×èÍáÊ´§¾ÄµÔ¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒÃǺÂÍ´ áÅÐ »ÃÐàÁÔ¹¼Å¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒµÒÁÁҵðҹµÑǪÕéÇÑ´»ÃШíÒº· ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÀÒÉÒä·Â ÇÃó¤´ÕáÅÐÇÃó¡ÃÃÁ ».ñ àÅ‹Á¹Õé ¹íÒàʹ͡Òà àÃÕ¹ÃÙŒãËŒàËÁÒÐÊÁ¡ÑºÇÑ¢ͧ¼ÙŒàÃÕ¹㹪Ñé¹»ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè ñ «Öè§à»š¹¡ÒÃÈÖ¡ÉÒÊÔ觷Õèà¡ÕèÂÇ¢ŒÍ§ã¹¡Òà ´íÒà¹Ô¹ªÕÇÔµ»ÃШíÒÇѹ¢Í§¼ÙŒàÃÕ¹ â´Â㪌ÀÒ¾ª‹Ç¹íÒàʹÍà¹×éÍËÒµ‹Ò§æ «Ö觨Ъ‹ÇÂãËŒ¼ÙŒàÃÕ¹ÊÒÁÒö àÃÕ¹Ãٌ䴌§‹Ò¢Öé¹ ¤³Ð¼Ù¨Œ ´Ñ ·íÒ¨Ö§ËÇѧ໚¹Í‹ҧÂÔ§è Ç‹Ò Ë¹Ñ§Ê×ÍàÃÕ¹ ÀÒÉÒä·Â ÇÃó¤´ÕáÅÐÇÃó¡ÃÃÁ ».ñ àÅ‹Á¹Õé ¨Ð໚¹Ê×èÍ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹·ÕèÍíҹǻÃÐ⪹ µ‹Í¡ÒÃàÃÕ¹ÀÒÉÒä·Â à¾×èÍãËŒÊÑÁÄ·¸Ô¼Å µÒÁÁҵðҹµÑǪÕÇé ´Ñ ·Õ¡è Òí ˹´äÇŒã¹ËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñ¹é ¾×¹é °Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ ·Ø¡ »ÃСÒà ¤³Ð¼ÙŒ¨Ñ´·íÒ


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล

คําชี้แจงในการใชสื่อ บทที่

เธอและฉนั

ตัวฉันแสนดี พ่อ แม่ ครู เตือน

เปาหมายการเรียนรู กําหนดระดับความรู ความสามารถของผูเรียน เมื่อเรียนจบบท

มีเธอเป็นเพื่อน รักเพื่อนน เพื่อนรัก

มาตรฐานตัวชี้วัด ระบุตัวชี้วัดที่กําหนดไว ในแตละบท

่๑ ยนรู้ประจ�าบทที

เป้าหมายการเรี

(มฐฐ.. ท ๕.๑ ป.๑/๑) งๆ ได้ (ม งวรรณกรรมต่างๆ

ารอ่านหรือฟั บอกข้อคิดที่ได้จากก

Í‹Ò¹ ´Ù áÅŒÇËÇÁ¡Ñ¹ºÍ¡

มฐ. ท ๕.๑ ป.๑/๑

ตัวฉันและเธอเหมือนกันหร

ือเปลา

ฉันมี… ตา ๒ ตา

กิจกรรมนําสูการเรียน นําเขาสูบทเรียนโดยใชกระตุน ความสนใจและวัดประเมินผล กอนเรียน

ฉบับ

ผูสอน

หู ๒ หู แขน ๒ แขน ขา ๒ ขา

ปาก ๑ ปาก มือ ๒ มือ เทา ๒ เทา

Evaluate


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ชวนเพื่อนอ่านร่วมกัน

เธอและฉันกับเพื่อนของเรา ภูผา ฟ้าใส

เน�้อหา ครบตามหลักสูตรแกนกลางฯ ’๕๑ นําเสนอโดยใชภาพ และเน�้อหา เหมาะสมกับ การเรียนการสอน

ภูผา และ ฟ้าใส ภูผา มี นาฬิกา ฟ้าใส มี ก�าไล ฟ้าใส ดีใจ พ่อ ให้ ก�าไล ฟ้าใส ภูผา ดีใจ แม่ ให้ นาฬิกา ภูผา ฟ้าใส ดู นาฬิกา ภูผา ภูผา ดู ก�าไล ฟ้าใส ฟ้าใส ดีใจ ภูผา ก็ ดีใจ พ่อ ฟ้าใส ใจดี แม่ ภูผา ก็ ใจดี ฟ้าใส พอใจ ที่ มี พ่อ ใจดี ภูผา พอใจ ที่ มี แม่ ใจดี

3

ชวนกันทํา

๑. ชวนกันวาด สองกระจกแลววาดรูปเหม ือน ตนเองลงในสมุด จากนั้นแลกเปลี่ยนกันดูกับ เพื่อนวา เหมือนตัวจริงหรือไม ๒. ชวนกันอาน แลวชวยกันบอกความหมาย ใจดี ดีใจ ใจบุญ ใจหนักแนน ใจเสีย เสียใจ ใจออน ใจแข็ง พอใจ รูใจ ใจหาย ใจลอย นํ้าใจ นํ้าใจไมตรี มีนํ้าใจ คนดีมีนํ้าใจ ๓. ชวยกันคิดกับเพือ่ นวา “คนใจด”ี เปนอยา งไร และเพื่อนแบบใดที่เราควรคบ ๔. ชวนกันเขียนชือ่ ตนเองและชอื่ เพือ่ นลงในส มุด

กิจกรรมชวนกันทํา ใหผูเรียนฝกปฏิบัติเพื่อแสดง พฤติกรรมการเรียนรูรวบยอด และประเมินผลการเรียนรูตาม มาตรฐานตัวชี้วัดประจําบท


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

สารบัญ ● ตารางวิเคราะหมาตรฐานการเรียนรู

บทที่

๑ เธอและฉัน ๑

บทที่

๒ บานแสนสุข

บทที่

๓ โรงเรียนสีรุง

๒๐

บทที่

๔ ออมกอดแหงรัก

๓๒

บทที่

๕ พอของแผนดิน

๔๗

บทที่

๖ นิทานกอนนอน

๖๕

บรรณานุกรม

๙๐

ตรวจสอบผล Evaluate


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

ตารางวิเคราะห

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Áҵðҹ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙጠÅеÑǪÕÇé ´Ñ ÃÒÂÇÔªÒ ÀÒÉÒä·Â ».๑

คําชี้แจง : ใหผสู อนใชตารางน�ต้ รวจสอบวา เน�อ้ หาสาระการเรียนรูใ นบทเรียนสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดชั้นปในขอใดบาง

บทที่

สาระการเรียนรู

มาตรฐาน การเรียนรู

ตัวชี้วัด ชั้น ป.๑

สาระที่ ๑ การอาน

มฐ. ท ๑.๑

มฐ. ท ๒.๑

๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗.

อานออกเสียงคํา คําคลองจอง และขอความสั้นๆ บอกความหมายของคํา และขอความที่อาน ตอบคําถามเกี่ยวกับเรื่องที่อาน เลาเรื่องยอจากเรื่องที่อาน คาดคะเนเหตุการณจากเรื่องที่อาน อานหนังสือตามความสนใจอยางสมํ่าเสมอ บอกความหมายของเครือ่ งหมาย หรือสัญลักษณสาํ คัญ ที่มักพบเห็นในชีวิตประจําวัน ๘. มีมารยาทในการอาน

สาระที่ ๒ การเขียน ๑. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด ๒. เขียนสื่อสารดวยคําและประโยคงายๆ ๓. มีมารยาทในการเขียน

สาระที่ ๓ การฟง การดู และการพูด

มฐ. ท ๓.๑

สาระที่ ๑ - ๔ นี้ จะปรากฏ ในหนั ง สื อ เรี ย น ภาษาไทย หลักภาษาและการใชภาษา ป.๑

๑. ฟงคําแนะนํา คําสั่งงายๆ และปฏิบัติตาม ๒. ตอบคําถามและเลาเรื่องที่ฟงและดูทั้งที่เปนความรู และความบันเทิง ๓. พูดแสดงความคิดเห็นและความรูส กึ จากเรือ่ งทีฟ่ ง และดู ๔. พูดสื่อสารไดตามวัตถุประสงค ๕. มีมารยาทในการฟง การดู และการพูด

สาระที่ ๔ หลักการใชภาษาไทย

มฐ. ท ๔.๑ มฐ. ท ๕.๑ ก

๑. ๒. ๓. ๔.

บอกและเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต และเลขไทย เขียนสะกดคําและบอกความหมายของคํา เรียบเรียงคําเปนประโยคงายๆ ตอคําคลองจองงายๆ

สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม

๑. บอกขอคิดที่ไดจากการอาน หรือการฟงวรรณกรรม ✓ รอยแกว และรอยกรองสําหรับเด็ก ๒. ทองจําบทอาขยานตามที่กําหนดและบทรอยกรอง ตามความสนใจ


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

บทที่

à¸ÍáÅЩѹ

ñ

เปาหมายการเรียนรู

1. อานออกเสียงคํา ประโยค ขอความงายๆ และเรื่องสั้นๆ ได 2. บอกขอคิดที่ไดจากการอานเรื่องสั้นๆ ได

สมรรถนะของผูเรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด

คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. ใฝเรียนรู 2. มุงมั่นในการทํางาน 3. ซื่อสัตยสุจริต

กระตุน ความสนใจ

ตัวฉันแสนดี พอ แม ครู เตือน

มีเธอเปนเพื่อน รักเพื่อน เพื่อนรัก

เปาหมายการเรียนรูประจําบทที่ ๑ บอกขอคิดที่ไดจากการอานหรือฟงวรรณกรรมตางๆ ได (มฐ. ท ๕.๑ ป.๑/๑)

Engage

1. ใหนักเรียนดูภาพในหนังสือ หนา 1 แลวรวมกันบอกวา เด็กในภาพกําลังทําอะไร 2. ครูถามคําถาม แลวใหนักเรียนแสดง ความคิดเห็นอยางอิสระ • เราควรปฏิบัติตนอยางไรจึงจะมีเพื่อน (แนวตอบ ยิ้มแยมแจมใส พูดจาไพเราะ มีนํ้าใจ) 3. ครูอานบทรอยกรองในหนังสือ หนา 1 ใหนักเรียนฟง 1 เที่ยว ใหนักเรียนฝก อานตามทีละวรรค 4. ใหนักเรียนรวมกันอานออกเสียงบทรอยกรอง พรอมๆ กัน 5. ใหนักเรียนรวมกันบอกวา • จากบทรอยกรอง กลาวถึงใครบาง (ตอบ ตัวฉัน เธอ พอ แม ครู) • เมือ่ พอ แม ครู ตักเตือน เราควรปฏิบตั อิ ยางไร (แนวตอบ ฟงคําตักเตือนและปฏิบัติตาม)

เกร็ดแนะครู ครูจัดกระบวนการเรียนรูโดยการใหนักเรียนปฏิบัติ ดังนี้ • อภิปรายเกี่ยวกับเนื้อหาของวรรณกรรมที่อาน • อานออกเสียงคํา ขอความ และเรื่องสั้นๆ ที่กําหนด • วิเคราะห และสรุปความรูที่ไดจากวรรณกรรม จนไดขอคิดที่สามารถ นําไปปรับใชในชีวิตประจําวันได

คูมือครู

1


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

กระตุน ความสนใจ

Explore

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Engage

ใหนักเรียนจับคูกับเพื่อน จากนั้นผลัดกันชี้ ที่อวัยวะตางๆ ของเพื่อน พรอมบอกชื่ออวัยวะนั้นๆ ใหถูกตอง

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Í‹Ò¹ ´Ù áÅŒÇËÇÁ¡Ñ¹ºÍ¡

ตัวฉันและเธอเหมือนกันหรือเปลา

Explore

1. ใหนักเรียนดูภาพและอานชื่ออวัยวะตางๆ ในหนังสือ หนา 2 2. ครูสังเกตวานักเรียนสวนใหญอานออกเสียง ชื่ออวัยวะไดถูกตอง 3. ใหนักเรียนสํารวจตนเองและเพื่อน วามีอวัยวะ อะไรที่นอกเหนือจากที่บอกในหนังสือ หนา 2 บาง 4. ใหนักเรียนรวมกันบอกวิธีดูแลรักษาอวัยวะ ตางๆ โดยครูเนนความสําคัญของการดูแล รักษาอวัยวะตางๆ วา จะทําใหตัวเรามีสุขภาพ ที่ดีและดําเนินชีวิตประจําวันไดอยางเปนปกติ

ฉันมี…

ตา ๒ ตา

หู ๒ หู

ปาก ๑ ปาก

แขน ๒ แขน

มือ ๒ มือ

ขา ๒ ขา

เทา ๒ เทา

เกร็ดแนะครู ครูแจกกระดาษใหนักเรียนคนละ 1 แผน ใหนักเรียนปฏิบัติ ดังนี้ 1. นักเรียนแตละคนวาดภาพเหมือนของตนเองแลวระบายสีใหสวยงาม 2. นักเรียนสงภาพใหครู จากนั้นครูแจกภาพใหนักเรียนทุกคน (ไมใชภาพ ของตนเอง) 3. ใหนักเรียนดูภาพที่ได แลวตามหาคนในภาพใหถูกตอง เพื่อใหนักเรียนรูจักตนเองวามีจุดเดนจุดดอยอยางไร และยอมรับความแตกตาง ของผูอื่นไดดี แลวอยูรวมกันในสังคมไดอยางมีความสุข

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

อวัยวะในขอใด ไมใชอวัยวะภายนอก ก. ปอด ข. ตา

ค. แขน

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ ก. อวัยวะภายนอกคืออวัยวะที่มองเห็นได ภายนอกรางกาย ซึ่งปอดอยูภายในรางกาย มองไมเห็นจากภายนอก จึงไมเปนอวัยวะภายนอก

บูรณาการเชื่อมสาระ

ครูบูรณาการความรูในสาระภาษาไทย กับสาระศิลปะ วิชา ทัศนศิลป เรื่อง การวาดรูปรางอิสระ โดยใหนักเรียนวาดรูปตนเองพรอมกับระบายสี ใหสวยงาม แลวเขียนชื่ออวัยวะตางๆ โยงกับภาพใหถูกตอง

2

คูมือครู


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

Explain

1. ครูอานออกเสียงบทอานเรื่อง ภูผา ฟาใส ในหนังสือ หนา 3-4 ทีละประโยค แลวให นักเรียนอานตาม 2. ใหนักเรียนฝกอานออกเสียงบทอานเรื่อง ภูผาฟาใส พรอมๆ กัน 3. ใหนักเรียนดูภาพในหนังสือ หนา 3 แลว ชวยกันบอกวา • เด็กในภาพคนใดคือภูผา หรือฟาใส และ เด็กทั้งคูมีความรูสึกอยางไร (ตอบ เด็กผูชายที่สวมนาฬกา คือ ภูผา สวนเด็กผูหญิงที่สวมกําไล คือ ฟาใส เด็กทั้งคูรูสึกดีใจที่มีพอแมใจดี) • หากนักเรียนไดรับของจากพอแมเหมือน ภูผา และฟาใส ควรปฏิบัติอยางไร (แนวตอบ กลาวขอบคุณพอหรือแม และ ใชของนั้นอยางทะนุถนอม)

ªÇ¹à¾×è͹͋ҹËÇÁ¡Ñ¹

เธอและฉันกับเพื่อนของเรา ภูผา ฟาใส

ภูผา และ ฟาใส ภูผา มี นาฬกา ฟาใส มี กําไล ฟาใส ดีใจ พอ ให กําไล ฟาใส ภูผา ดีใจ แม ให นาฬกา ภูผา ฟาใส ดู นาฬกา ภูผา ภูผา ดู กําไล ฟาใส ฟาใส ดีใจ ภูผา ก็ ดีใจ พอ ฟาใส ใจดี แม ภูผา ก็ ใจดี ฟาใส พอใจ ที่ มี พอ ใจดี ภูผา พอใจ ที่ มี แม ใจดี

กิจกรรมสรางเสริม ใหนักเรียนอภิปรายแสดงความคิดเห็นวา • “คนใจดี” มีลักษณะเปนอยางไร • เพื่อนแบบใดที่เราควรคบหา จากนั้นรวมกันสรุปผลการอภิปรายเพื่อพัฒนาทักษะดานการพูด และการคิดวิเคราะห

เกร็ดแนะครู ในการสอนเกี่ยวกับวรรณกรรม ครูอาจใชวิธีการสอนแบบแลกเปลี่ยนบทบาท คือ ใหนักเรียนเปนศูนยกลางในการจัดการเรียนการสอนแทนครู ซึ่งมีลักษณะ สําคัญ คือ จัดการเรียนรูใหนักเรียน โดยใช 1. วิธีการตั้งคําถาม 2. สรุปยอ 3. อธิบายความหมายของคํา 4. คาดเดาเหตุการณ

คูมือครู

3


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

ใหนักเรียนดูภาพในหนังสือ หนา 4 แลวรวมกัน อภิปรายวา • การเลนกับเพื่อน ควรปฏิบัติอยางไร (แนวตอบ ตอบไดหลากหลาย เชน แบงปน ของเลนใหกับเพื่อน พูดกับเพื่อนดวยถอยคํา ที่สุภาพ ไมเลนรุนแรง เปนตน) • การเปนเด็กดี สามารถปฏิบัติไดอยางไรบาง (แนวตอบ ตอบไดหลากหลาย เชน เชื่อฟง พอ แม ครู หรือญาติผูใหญ ตั้งใจเรียน ชวยพอแมทํางานบาน ไมดื้อ วานอนสอนงาย ไมรังแกเพื่อน เปนตน)

ฟาใส เปน เพื่อน กับ ภูผา ฟาใส เปน ผูหญิง ภูผา เปน ผูชาย ฟาใส มี มือ ๒ มือ มี ขา ๒ ขา ภูผา ก็ มี มือ ๒ มือ มี ขา ๒ ขา ฟาใส มี ตา มี หู มี จมูก และ มี ปาก ภูผา ก็ มี ตา มี หู มี จมูก และ มี ปาก ฟาใส เปน เด็กดี ภูผา ก็ เปน เด็กดี พอ แม ฟาใส ดีใจ ที่ ฟาใส เปน เด็กดี พอ แม ภูผา ก็ ดีใจ ที่ ภูผา เปน เด็กดี

เกร็ดแนะครู ครูอธิบายใหนักเรียนเขาใจวา คนเราแบงไดเปน 2 เพศ คือ เพศชายและ เพศหญิง ซึ่งแตละเพศจะมีลักษณะแตกตางกันออกไป นักเรียนจึงควรปฏิบัติตน ใหเหมาะสมกับเพศของตนเอง เชน • เพศหญิงสวมกระโปรงและกางเกง แตเพศชายควรสวมกางเกงเทานั้น • เพศหญิงใชคําลงทายวา คะ, คะ สวนเพศชายใชคําลงทายวา ครับ เปนตน

4

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

หากเราเปนเด็กดี พอแมจะรูสึกอยางไร ก. ดีใจ พอใจ ข. ใจบุญ ใจออน ค. รูใจ ใจลอย วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ ก. ดีใจ หมายถึง ยินดี ชอบใจ พอใจ สวนพอใจ หมายถึง สมใจ ชอบใจ ดังนั้น หากเราเปนเด็กดี พอ แม ยอมรูสึกดีใจ และพอใจ สวนขอ ข. ใจบุญ หมายถึง มีใจฝกใฝในการทําบุญ ใจออน หมายถึง ยอมงาย สงสารงาย และขอ ค. รูใจ หมายถึง รูอัธยาศัยใจคอวาเปนอยางไร ใจลอย หมายถึง เผลอสติ เคลิบเคลิ้ม


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ขยายความเขาใจ

เธอและฉัน เราตางกัน 1 กากับหงส

กาตัวหนึ่ง เมื่อพบกับหงสมันถึงกับอาปากคาง ดวยความตะลึง แลวจึงพูดวา “เธอชางงามเสียนีก่ ระไร ฉันอยากจะมีขนสีขาวอยางเธอจัง ฉันไมชอบสีดําที่ ฉันมีอยูนี้เลย” มันสังเกตเห็นหงสอยูแตในนํ้าเสมอ มันวา “ถาฉันลงไปอยูในนํา้ ฉันก็อาจกลายเปนกาขาว ไดเชนกัน” ดังนั้นมันจึงลงไปลอยคออยูในนํ้า แตเมื่อ มันกลับขึ้นมา ขนของมันก็ยังคงเปนสีดําอยูเชนเดิม

Expand

1. ครูอานออกเสียงนิทานเรื่อง กากับหงส ในหนังสือ หนา 5-6 ทีละประโยค แลวให นักเรียนอานตาม 2. ใหนักเรียนฝกอานออกเสียงนิทานเรื่อง กากับหงส พรอมๆ กัน 3. ใหนักเรียนดูภาพในหนังสือ หนา 5 แลว ชวยกันบอกวา • กากับหงสตางกันอยางไร (ตอบ กามีสีดํา หงสมีสีขาว กาอยูบนตนไม สวนหงสอยูในนํ้า) • นักเรียนคิดวา หากนักเรียนและเพื่อน มีรูปรางหนาตาไมเหมือนกัน ควรปฏิบัติ อยางไร (แนวตอบ ยอมรับในความแตกตางของ เพื่อน และปฏิบัติตอเพื่อนดวยดี)

ขอสอบเนน การคิด แนว NT กาดําเลียนแบบหงสขาวโดยการไปแชนํ้า เพราะหวังวา ตัวจะขาวเหมือนหงส จากขอความนี้ ใหขอคิดอยางไร ก. เราควรหาขอแตกตางของตัวเองกับเพื่อน ข. เราควรทําตัวเหมือนคนอื่น ค. เราควรเปนตัวของตัวเอง

นักเรียนควรรู 1 หงส เปนสัตวจําพวกนกนํ้า มีขนาดใหญ คอยาว มีรูปรางสงางาม มีเสียงรอง ที่ไพเราะ ในนิทานจึงมักใชหงสเปนสัญลักษณของสัตวที่สวยงาม ดูดี เชน นิทาน เรื่อง กากับหงส นิทานเรื่อง ลูกเปดขี้เหร ซึ่งจริงๆ แลวคือหงสที่สวยงามในตอนโต เปนตน

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ ค. จากขอความนี้ใหขอคิด คือ เราควรเปน ตัวของตัวเอง เพราะหากเราเลียนแบบผูอื่น อาจทําใหเราเดือดรอนและ ไมมีความสุขได

คูมือครู

5


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

Expand

1. ใหนักเรียนรวมกันบอกใจความสําคัญของ นิทานเรื่อง กากับหงส โดยครูแนะใหนักเรียน บอกเปนประเด็นวาใคร ทําอะไร ที่ไหน อยางไร จากนั้นจึงรวมกันเรียบเรียงใจความสําคัญ อีกครั้ง • กาตัวหนึ่งอยากมีขนสีขาวเหมือนกับหงส จึงเลียนแบบหงสโดยลงไปลอยคออยูในนํ้า แตมันก็ยังคงมีสีดําเหมือนเดิม 2. ใหนักเรียนรวมกันบอกขอคิดที่ไดจากนิทาน เรื่อง กากับหงส • นิทานเรื่อง กากับหงส ใหขอคิดวา เราควร พอใจในสิ่งที่ตนเองมีและเปนอยู 3. ใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นวานักเรียน และเพื่อน มีรูปรางหนาตาหรือลักษณะนิสัย เหมือนหรือแตกตางกันอยางไรบาง

กอนหนาที่กาจะลงไปลอยคออยูในนํ้านั้น มัน สามารถบินออกไปหาอาหารได และมันก็พบของกิน อยูเสมอ แตพอมันแชนํ้า มันไมสามารถจะหาอะไร ในนํ้ากินไดเลย เหตุนี้ มันจึงทนอยูในนํ้านานๆ ไมได และขนสีดําของมันก็ไมเปนสีขาวดวย วารี อัมไพวรรณ

คิดใหดีเสียกอนที่เธอ จะเลียนแบบคนอื่นเขา

นักเรียนและเพื่อน เหมือนหรือแตกตางกันอยางไร ลองพูดคุยแลกเปลี่ยนกัน แลวบอกใหเพื่อนและครูฟง ๖

เกร็ดแนะครู ครูเนนยํ้าใหนักเรียนยอมรับในความแตกตางของผูอื่น ไมวาจะเปนเรื่องรูปราง หนาตา นิสัย การนับถือศาสนา และการใชชีวิต เพื่อใหอยูรวมกันในสังคมไดอยาง มีความสุข

6

คูมือครู

กิจกรรมทาทาย ใหนักเรียนแตงนิทานสั้นๆ ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับการพอใจในสิ่งที่ตนเองมี และวาดภาพประกอบ โดยจัดทําเปนรูปแบบหนังสือเลมใหญ (big book) เพื่อพัฒนาทักษะการเขียน และการสื่อสารใหดียิ่งขึ้น


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ขยายความเขาใจ

1. ใหนักเรียนดูภาพในหนังสือ หนา 7 แลว รวมกันบอกวา • หากนักเรียนเก็บสิ่งของของผูอื่นได ควรปฏิบัติอยางไร (แนวตอบ บอกใหผูปกครองหรือครูทราบ เพื่อจะไดประกาศหาเจาของตอไป) 2. ครูสอนนักเรียนรองเพลง นี่ของของฉัน โดยใหนักเรียนรองตามครูทีละวรรค 3. ใหนักเรียนรวมกันรองเพลง นี่ของของฉัน พรอมๆ กัน พรอมกับแสดงทาทาง ประกอบเพลงตามจินตนาการ 4. ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา คนเรา ควรซื่อสัตยและมีนํ้าใจตอผูอื่น เพื่อจะได อยูรวมกันในสังคมไดอยางมีความสุข

ªÇ¹¡Ñ¹ÃŒÍ§à¾Å§

นี่ของของฉัน คํารอง : ฉันท ขําวิไล

นี่ของของเธอ มันสับเปลี่ยนกัน นี่ของของเธอ ฉันนี้เก็บได

Expand

นั่นของของฉัน ฉันคืนใหเธอ ที่ทําตกไว นํามาใหเธอ

เราควรซื่อสัตย และมีนํ้าใจตอเพื่อนของเรา ๗

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

การเก็บของไดและนําไปคืนเจาของ จัดวามีคุณธรรมใด ก. อดทน ข. มีวินัย ค. ซื่อสัตย

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ ค. การเก็บของไดและนําไปคืนเจาของ จัดวามีความซื่อสัตยสุจริต

บูรณาการเชื่อมสาระ

ครูบูรณาการความรูในสาระภาษาไทย กับสาระศิลปะ วิชา ดนตรีนาฏศิลป เรื่อง การเคลื่อนไหวประกอบเพลง โดยใหนักเรียนเคลื่อนไหว รางกายใหเขากับจังหวะของเพลง นี่ของของฉัน เพื่อใหนักเรียน เคลื่อนไหวรางกายไดสอดคลองกับจังหวะเพลง และฝกใชจินตนาการ

เกร็ดแนะครู ครูเนนยํ้าใหนักเรียนปฏิบัติตนอยางมีคุณธรรม เพื่อใหอยูรวมกับผูอื่นไดอยาง มีความสุข ไดแก 1. รักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย 2. ซื่อสัตยสุจริต 3. มีวินัย รับผิดชอบ 4. ใฝเรียนรู 5. อยูอยางพอเพียง 6. มุงมั่นในการทํางาน 7. รักความเปนไทย 8. มีจิตสาธารณะ

คูมือครู

7


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

Evaluate

ครูตรวจสอบการอานออกเสียง และบอกขอคิด จากเรื่องที่อาน โดยพิจารณาวาอานออกเสียงได ถูกตอง ชัดเจน และบอกขอคิดที่ไดจากเรื่องที่ อานได

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู 1. แบบประเมินการอานออกเสียง 2. การบอกขอคิดจากเรื่องที่อาน

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

Expand

1. ใหนักเรียนสองกระจก แลววาดรูปเหมือน ตนเองลงในสมุด จากนั้นแลกเปลี่ยนกันดู กับเพื่อน วาเหมือนตัวจริงหรือไม 2. ใหนักเรียนอานออกเสียงคําที่กําหนดในหนังสือ หนา 8 แลวรวมกันบอกความหมาย ตามความเขาใจของนักเรียน

ตรวจสอบผล

ขยายความเขาใจ

ชวนกันทํา

๑. ชวนกันวาด สองกระจกแลววาดรูปเหมือน ตนเองลงในสมุด จากนั้นแลกเปลี่ยนกันดูกับเพื่อนวา เหมือนตัวจริงหรือไม ๒. ชวนกันอาน แลวชวยกันบอกความหมาย ใจดี ดีใจ ใจบุญ ใจหนักแนน ใจเสีย เสียใจ ใจออน ใจแข็ง พอใจ รูใจ ใจหาย ใจลอย นํ้าใจ นํ้าใจไมตรี มีนํ้าใจ คนดีมีนํ้าใจ ๓. ชวยกันคิดกับเพือ่ นวา “คนใจดี” เปนอยางไร และเพื่อนแบบใดที่เราควรคบ ลงในสมุด ๔. ชวนกันเขียนชือ่ ตนเองและชือ่ เพือ่ นลงในสมุ

เฉลย กิจกรรมชวนกันทํา 2. ใจดี หมายถึง มีใจเมตตากรุณา ไมโกรธงาย ดีใจ หมายถึง ยินดี ชอบใจ พอใจ ใจบุญ หมายถึง มีใจฝกใฝในการบุญ ใจหนักแนน หมายถึง มีใจมั่นคง ไมทอถอย ไมโกรธใครงายๆ ใจเสีย หมายถึง มีใจไมดีเพราะกลัวหรือวิตกกังวล หมดกําลังใจ เสียใจ หมายถึง ไมสบายใจเพราะมีเรื่องไมสมประสงคหรือผิดประสงค ใจออน หมายถึง ยอมงาย สงสารงาย ใจแข็ง หมายถึง ไมยอมงาย ไมรูสึกสงสาร อดกลั้นความเจ็บปวดหรือทุกขโศก ไวได พอใจ หมายถึง สมใจ ชอบใจ รูใจ หมายถึง รูอัธยาศัยใจคอวาเปนอยางไร หรือชอบอะไร ไมชอบอะไร

8

คูมือครู

ใจหาย หมายถึง อาการที่ตกใจเสียใจขึ้นทันที ใจลอย หมายถึง เผลอสติ เคลิบเคลิ้ม นํ้าใจ หมายถึง ใจแทๆ ใจจริง ความจริงใจ นํ้าใจไมตรี หมายถึง ความจริงใจ ที่เพื่อนมีตอกัน ความหวังดีตอกันของเพื่อน มีนํ้าใจ หมายถึง มีความจริงใจ คนดีมีนํ้าใจ หมายถึง คนที่มีคุณความดี มีความจริงใจ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.