8858649122391

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº Í- .

».

ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน

กระบวนการสอนแบบ 5 Es ชวยสรางทักษะการเรียนรู กิจกรรมมุงพัฒนาทักษะการคิด คำถาม + แนวขอสอบเพื่อยกผลสัมฤทธิ์ O-NET กิจกรรมบูรณาการเตรียมพรอมสู ASEAN 2558


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

สังคมศึกษาฯ ชั้นประถมศึกษาปที่

1

สําหรับครู

คูมือครู Version ใหม

ลักษณะเดน

ขยายพื้นที่รูปเลมใหญขึ้นกวาเดิม จัดแบงพื้นที่ออกเปนโซน เพื่อคนหาขอมูลไดงาย สะดวก รวดเร็ว และดูเปนระเบียบ กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

เปาหมายการเรียนรู สมรรถนะของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค

หน า

โซน 1 กระตุน ความสนใจ

Engage

สํารวจคนหา

Explore

อธิบายความรู

Explain

ขยายความเขาใจ

Expand

ตรวจสอบผล

หน า

หนั ง สื อ เรี ย น

โซน 1

หนั ง สื อ เรี ย น

Evaluate

ขอสอบเนน การคิด ขอสอบเนน การคิด แนว NT แนว O-NET ขอสอบ

โซน 2

เกร็ดแนะครู

O-NET

บูรณาการเชื่อมสาระ

โซน 3

กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย

นักเรียนควรรู

โซน 3

โซน 2 บูรณาการอาเซียน มุม IT

No.

คูมือครู

คูมือครู

No.

โซน 1 ขั้นตอนการสอนแบบ 5Es

โซน 2 ชวยครูเตรียมสอน

โซน 3 ชวยครูเตรียมนักเรียน

เพื่อใหครูเตรียมจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยแนะนําขั้นตอนการสอนและ การจัดกิจกรรมแบบ 5Es อยางละเอียด เพื่อใหนักเรียนบรรลุตามตัวชี้วัด

เพื่อชวยลดภาระครูผูสอน โดยแนะนํา เกร็ดความรูสําหรับครู ความรูเสริมสําหรับ นักเรียน รวมทั้งบูรณาการความรูสูอาเซียน และมุม IT

เพือ่ ใหครูสะดวกตอการจัดกิจกรรม โดยแนะนํา กิจกรรมบูรณาการเชื่อมระหวางกลุมสาระ วิชา กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย รวมถึงเนือ้ หา ที่เคยออกขอสอบ O-NET เก็งขอสอบ O-NET และแนวขอสอบเนนการคิด พรอมคําอธิบาย และเฉลยอยางละเอียด


ที่ใชในคูมือครู

แถบสีและสัญลักษณ

แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5Es เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

1. แถบสี 5Es สีแดง

สีเขียว

กระตุน ความสนใจ

เสร�ม

สํารวจคนหา

Engage

2

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุน ความสนใจ เพื่อโยง เขาสูบทเรียน

สีสม

อธิบายความรู

Explore

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนสํารวจ ปญหา และศึกษา ขอมูล

สีฟา

Explain

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนคนหา คําตอบ จนเกิดความรู เชิงประจักษ

สีมวง

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนนําความรู ไปคิดคนตอๆ ไป

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

2. สัญลักษณ สัญลักษณ

วัตถุประสงค

• เปาหมายการเรียนรู

O-NET

(เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ O-NET O-NET)

• ชีแ้ นะเนือ้ หาทีเ่ คยออกขอสอบ

O-NET โดยยกตัวอยางขอสอบ พรอมวิเคราะหคาํ ตอบ อยางละเอียด

• เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน

การคิดใหครูนาํ ไปใชไดจริง รวมถึงเปนการเก็งขอสอบ O-NET ทีจ่ ะออก มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

แสดงรองรอยหลักฐานตามภาระงาน ที่ครูมอบหมาย เพื่อแสดงผลการเรียนรู ตามตัวชี้วัด

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

แทรกความรูเสริมสําหรับครู ขอเสนอแนะ ขอควรระวัง ขอสังเกต แนวทางการจัด กิจกรรมและอืน่ ๆ เพื่อประโยชนในการ จัดการเรียนการสอน

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

ขยายความรูเพิ่มเติมจากเนื้อหา เพื่อใหครู นําไปใชอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียน ไดมีความรูมากขึ้น

บูรณาการเชื่อมสาระ

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม

ความรูห รือกิจกรรมเสริม ใหครูนาํ ไปใช เตรียมความพรอมใหกบั นักเรียนกอนเขาสู ประชาคมอาเซียน 2558 โดยบูรณาการ กับวิชาทีก่ าํ ลังเรียน

กิจกรรมสรางเสริม

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม

เกร็ดแนะครู

นักเรียนควรรู

บูรณาการอาเซียน

คูม อื ครู

ขอสอบ

วัตถุประสงค

• หลักฐานแสดงผล การเรียนรู

มุม IT

แสดงเปาหมายการเรียนรูที่นักเรียน ตองบรรลุตามตัวชี้วัด ตลอดจนสมรรถนะ ที่จะตองมี และคุณลักษณะที่พึงเกิดขึ้น กับนักเรียน

สัญลักษณ

แนะนําแหลงคนควาจากเว็บไซต เพื่อใหครู และนักเรียนไดเขาถึงขอมูลความรู ที่หลากหลาย ทั้งไทยและตางประเทศ

• แนวขอสอบ NT ในระดับ

ประถมศึกษา มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

(เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ NT)

กิจกรรมทาทาย

เชือ่ มกับกลุม สาระ ชัน้ หรือวิชาอืน่ ทีเ่ กีย่ วของ

ซอมเสริมสําหรับนักเรียน ทีย่ งั ไมเขาใจเนือ้ หา

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ตอยอดสําหรับนักเรียนทีเ่ รียนรู เนือ้ หาไดอยางรวดเร็ว และ ตองการทาทายความสามารถ ในระดับทีส่ งู ขึน้


คําแนะนําการใชคูมือครู การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน คูมือครู รายวิชา สังคมศึกษาฯ ป.1 จัดทําขึ้นเพื่อใหครูผูสอนนําไปใชเปนแนวทางวางแผนการสอนเพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน และประกันคุณภาพผูเ รียน ตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน (สพฐ.) โดยใชหนังสือเรียน สังคมศึกษาฯ ป.1 ของบริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด เปนสื่อหลัก (Core Material) ประกอบ เสร�ม การสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดกลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา 3 ศาสนา และวัฒนธรรมตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 โดยออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน ตามหลักการสําคัญ ดังนี้ 1 ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน คูม อื ครู รายวิชา สังคมศึกษาฯ ป.1 วางแผนการสอนโดยแบงเปนหนวยการเรียนรูต ามลําดับสาระ (standard) และ หมายเลขขอของมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั แตละหนวยจะกําหนดเปาหมายการสอนและจุดประสงคการเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทางการประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชัดเจน ครูผูสอนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด สมรรถนะ และคุณลักษณะ อันพึงประสงคที่เปนเปาหมายการเรียนรูตามที่กําหนดไวในสาระแกนกลาง (ตามแผนภูมิ) และสามารถบันทึกผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของผูเรียนแตละคนลงในเอกสาร ปพ.5 ไดอยางมั่นใจ แผนภูมิแสดงองคประกอบของการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผูเรียนเปนสําคัญ

า ค ก

ส ภา

พผ

ูเ

จุ ด ป ร

ะสง

รู

รียน

น เรีย

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชั้นป

ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน คูม อื ครู


2 การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ แนวคิ ด ในการจั ด การเรี ย นการสอนที่ ยึ ด ผู  เ รี ย นเป น สํ า คั ญ พั ฒ นามาจากปรั ช ญาและทฤษฎี ก ารเรี ย นรู  Constructivism ที่เชื่อวาการเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสรางความรู โดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดเรียนรูจากบทเรียนใหมกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา ผูเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีการสั่งสมความรูความเขาใจเกี่ยวกับสิ่งตางๆ ติดตัวมากอน เสร�ม ทีจ่ ะเขาสูห อ งเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากประสบการณและสิง่ แวดลอมรอบตัวผูเ รียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกิจกรรม 4 การเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ผูสอนจะตองคํานึงถึง 1. ความรูเดิมของผูเรียน วิธีการสอนที่ดีจะตองเริ่มตนจากจุดที่วา ผูเ รียนมีความรูอ ะไรมาบาง แลวจึงใหความรู หรือประสบการณใหม เพื่อตอยอดจาก ความรูเดิม นําไปสูการสรางความรูความ เขาใจใหม

2. ความรูเดิมของผูเรียนถูกตองหรือไม ผูส อนตองปรับเปลีย่ นความรูความเขาใจ เดิ ม ของผู  เ รี ย นให ถู ก ต อ ง และเป น พฤติ ก รรมการเรียนรูใหมที่มีคุณคาตอ ผูเ รียน เพือ่ สรางเจตคติหรือทัศนคติทดี่ ตี อ การเรียนรูสิ่งเหลานั้น

3. ผูเรียนสรางความหมายสําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมใหผูเรียนนําความรูความ เขาใจที่เกิดขึ้นไปลงมือปฏิบัติ เพื่อขยาย ความรูใหลึกซึ้งและมีคุณคาตอตัวผูเรียน มากที่สุด

แนวคิด Constructivism เนนใหผูเรียนสรางความรูโดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูของตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศ

การเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณ ความรูใ หม เพือ่ กระตนุ ใหผเู รียนเชือ่ มโยงความรู ความคิด กับประสบการณทมี่ อี ยูเ ดิม แลวสังเคราะหเปนความรูห รือแนวคิดใหมๆ ไดดว ยตนเอง

3 การบูรณาการกระบวนการคิด การเรียนรูข องผูเ รียนแตละคนจะเกิดขึน้ ทีส่ มอง ซึง่ เปนอวัยวะทีท่ าํ หนาทีร่ คู ดิ ภายใตสภาพแวดลอมทีเ่ อือ้ อํานวย และไดรบั การกระตนุ จูงใจอยางเหมาะสม สอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของผูเ รียนแตละคน การจัดกิจกรรม การเรียนรูและสาระการเรียนรูที่สอดคลองกับความสนใจและมีความหมายตอผูเรียน จะชวยกระตุนใหสมองของผูเรียน สามารถรับรูและเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพตามขั้นตอนการทํางานของสมอง ดังนี้ 1. สมองจะเรียนรูและสืบคน โดยการสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง ปฏิบัติ จนทําใหคนพบความรูความเขาใจ ไดอยางรวดเร็ว

2. สมองจะแยกแยะคุณคาของสิ่งตางๆ โดยการตัดสินใจวิพากษวิจารณ แสดง ความคิดเห็น ยอมรับหรือตอตานตาม อารมณความรูสึกที่เกิดขึ้นในขณะที่เรียนรู

3. สมองจะประมวลเนื้อหาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสานกับ ความรูห รือประสบการณเดิมทีถ่ กู จัดเก็บอยูใ น สมอง ผานการกลัน่ กรองเพือ่ สังเคราะหเปน ความรูค วามเขาใจใหมๆ หรือเปนทัศนคติใหม ที่จะเก็บบรรจุไวในสมองของผูเรียน

การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะเกิดขึ้น เมื่อสมองรูคิด และตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมองผูเรียน โดยเริ่มตนจาก

คูม อื ครู

1. ระดับการคิดพื้นฐาน

2. ระดับลักษณะการคิด

3. ระดับกระบวนการคิด

ไดแก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล การสรุปผล เปนตน

ไดแก การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดไกล คิดหลากหลาย คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล เปนตน

ไดแก กระบวนการคิดอยางมี วิจารณญาณ กระบวนการแกปญหา กระบวนการคิดสรางสรรค กระบวนการ คิดสังเคราะหวิจัย เปนตน


5Es การจัดกิจกรรมตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ขั้นตอนการสอนที่สัมพันธกับขั้นตอนการคิดและการทํางานทางสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย คือ วัฏจักรการเรียนรู 5Es ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแตละหนวย ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1

กระตุนความสนใจ

(Engage)

เสร�ม

5

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนนําเขาสูบ ทเรียน เพือ่ กระตุน ความสนใจของผูเ รียนดวยเรือ่ งราวหรือเหตุการณทนี่ า สนใจโดยใชเทคนิควิธกี ารสอน และคําถามทบทวนความรูหรือประสบการณเดิมของผูเรียน เพื่อเชื่อมโยงผูเรียนเขาสูความรูของบทเรียนใหม ชวยใหผูเรียนสามารถ สรุปประเด็นสําคัญที่เปนหัวขอและสาระการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอนการสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอม และสรางแรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน

ขั้นที่ 2

สํารวจคนหา

(Explore)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนเปดโอกาสใหผเู รียนลงมือศึกษา สังเกต หรือรวมมือกันสํารวจ เพือ่ ใหเห็นขอบขายของปญหา รวมถึงวิธกี ารศึกษา คนควา การรวบรวมขอมูลความรูที่จะนําไปสูการสรางความเขาใจประเด็นปญหานั้นๆ เมื่อผูเรียนทําความเขาใจในประเด็นหัวขอที่จะ ศึกษาคนควาอยางถองแทแลว ก็ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธีการตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูตามที่ตั้งประเด็นศึกษาไว

ขั้นที่ 3

อธิบายความรู

(Explain)

เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา ตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนคนหาคําตอบ และนําขอมูล ความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห สรุปผล และนําเสนอผลที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ แผนผังแสดงมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน ในขั้นตอนนี้ฝกใหผูเรียนใชสมองคิดวิเคราะหและ สังเคราะหอยางเปนระบบ

ขั้นที่ 4

ขยายความเขาใจ

(Expand)

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใชเทคนิควิธีการสอนตางๆ ที่สงเสริมใหผูเรียนนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนสืบคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะ การเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน ผูเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยง กับประสบการณเดิมโดยนําขอสรุปทีไ่ ดไปใชอธิบายเหตุการณตา งๆ หรือนําไปปฏิบตั ใิ นสถานการณใหมๆ ทีเ่ กีย่ วของกับชีวติ ประจําวัน ของตนเอง เพื่อขยายความรูความเขาใจใหกวางขวางยิ่งขึ้น ในขั้นตอนนี้ฝกสมองของผูเรียนใหสามารถคิดริเริ่มสรางสรรคอยางมี คุณภาพ เสริมสรางวิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป

ขั้นที่ 5

ตรวจสอบผล

(Evaluate)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนประเมินมโนทัศนของผูเ รียน โดยตรวจสอบจากความคิดทีเ่ ปลีย่ นไปและความคิดรวบยอดทีเ่ กิดขึน้ ใหม ตรวจสอบ ทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด และการเคารพความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพื่อการ สรางสรรคความรูร ว มกัน ผูเ รียนสามารถประเมินผลการเรียนรูข องตนเอง เพือ่ สรุปผลวามีความรูอ ะไรเพิม่ ขึน้ มาบาง เกิดความเขาใจ มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ ไดอยางไร ผูเรียนจะเกิดเจตคติและเห็นคุณคาของ ตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง

การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามขั้นตอนวัฏจักรการสรางความรูแบบ 5Es จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนน ผูเ รียนเปนสําคัญอยางแทจริง เพราะสงเสริมใหผเู รียนไดลงมือปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนของกระบวนการสรางความรูด ว ยตนเอง และฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและกระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะชีวิต ทักษะการทํางานและทักษะการ เรียนรูท มี่ ปี ระสิทธิภาพ สงผลตอการยกระดับผลสัมฤทธิข์ องผูเ รียน ตามเปาหมายของการปฏิรปู การศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คูม อื ครู


O-NET การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ O-NET

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามขัน้ ตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ในแตละหนวยการเรียนรู ทางผูจ ดั ทํา จะเสนอแนะวิธสี อนรูปแบบกิจกรรมการเรียนรู พรอมทัง้ ออกแบบเครือ่ งมือวัดผลประเมินผลทีส่ อดคลองกับตัวชีว้ ดั และสาระการเรียนรูแกนกลางไวทุกขั้นตอน โดยยึดหลักสําคัญ คือ เปาหมายของการวัดผลประเมินผล เสร�ม

6

1. การวัดผลทุกครั้งตองนําผล การวัดมาปรับปรุงพัฒนาผูเรียน เปนรายบุคคล

2. การประเมินผลมีเปาหมาย เพื่อพัฒนาการเรียนรูของผูเรียน จนเต็มศักยภาพ

3. การนําผลการวัดและประเมิน ทุกครั้งมาวางแผนปรับปรุงกิจกรรม การเรียนการสอน การเลือกเทคนิค วิธีการสอน และสื่อการเรียนรูให เหมาะสมกับสภาพจริงของผูเรียน

การทดสอบผูเรียน 1. การใชขอสอบอัตนัย เนนการอาน การคิดวิเคราะห และเขียนสรุปเพิ่มมากขึ้น 2. การใชคําถามกระตุนการคิด ควบคูกับการทําขอสอบที่เนนการคิดตลอดตอเนื่องตามลําดับกิจกรรมการเรียนรูและ ตัวชี้วัด 3. การทดสอบตองดําเนินการทั้งกอนเรียน ระหวางเรียน และเมื่อสิ้นสุดการเรียน การทดสอบระหวางเรียน ต อ งใช ข  อ สอบทั้ ง ชนิ ด ปรนั ย และอั ต นั ย และเป น การทดสอบเพื่ อ วิ นิ จ ฉั ย ผลการเรี ย นของผู  เ รี ย นแต ล ะคน เพื่อวัดการสอนซอมเสริมใหบรรลุตัวชี้วัดทุกตัว 4. การสอบกลางภาค (ถามี) ควรนําขอสอบหรือแบบฝกหัดที่นักเรียนสวนใหญทําผิดบอยๆ มาสรางเปนแบบทดสอบ อีกครัง้ เพือ่ ตรวจสอบความรูค วามเขาใจทีถ่ กู ตอง และประเมินความกาวหนาของผูเรียนแตละคน 5. การสอบปลายภาคเรียนเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามตัวชี้วัดที่สําคัญ ควรออกขอสอบใหมีลักษณะเดียวกับ ขอสอบ O-NET โดยเนนการคิดวิเคราะห สังเคราะห เชื่อมโยงประยุกตใช เพื่อสรางความคุนเคย และฝกฝน วิธีการทําขอสอบดวยความมั่นใจ 6. การนําผลการทดสอบของผูเรียนมาวิเคราะห โดยผลการสอบกอนการเรียนตองสามารถพยากรณผลการสอบ กลางภาค และผลการสอบกลางภาคตองทํานายผลการสอบปลายภาคของผูเ รียนแตละคน เพือ่ ประเมินพัฒนาการ ความกาวหนาของผูเรียนเปนรายบุคคล 7. ผลการทดสอบปลายป ปลายภาค ตองมีคาเฉลี่ยสอดคลองกับคาเฉลี่ยของการสอบ NT ที่เขตพื้นที่การศึกษา จัดสอบ รวมทั้งคาเฉลี่ยของการสอบ O-NET ชวงชั้นที่สอดคลองครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดสําคัญ เพือ่ สะทอนประสิทธิภาพของครูผสู อนในการออกแบบการเรียนรูแ ละประกันคุณภาพผูเ รียนทีต่ รวจสอบผลไดชดั เจน การจัดการเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ตองใหผูเรียนไดสั่งสมความรู สะสมความเขาใจไปทีละเล็ก ละนอยตามลําดับขัน้ ตอนของกิจกรรมการเรียนรู 5Es เพือ่ ใหผเู รียนไดเติมเต็มองคความรูอ ยางตอเนือ่ ง จนสามารถปฏิบตั ิ ชิ้นงานหรือภาระงานรวบยอดของแตละหนวยผานเกณฑประกันคุณภาพในระดับที่นาพึงพอใจ เพื่อรองรับการประเมิน ภายนอกจาก สมศ. ตลอดเวลา คูม อื ครู


ASEAN การเรียนรูสูประชาคมอาเซียน เพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรูบูรณาการอาเซียนศึกษา ผูจัดทําไดวิเคราะห มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดที่มีสาระการเรียนรูสอดคลองกับองคความรูเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนในแงมุมตางๆ ครอบคลุมทัง้ ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน เพื่อสงเสริมการเรียนรูใหผูเรียนเกิดความตระหนัก มีความรูความเขาใจเหมาะสมกับระดับชั้นและกลุมสาระ การเรียนรู โดยเสนอแนะวิธีการจัดกิจกรรมบูรณาการเนื้อหาสาระตางๆ ที่เปนประโยชนตอผูเรียนและเปนการชวย เตรียมความพรอมผูเ รียนทุกคนทีจ่ ะกาวเขาสูก ารเปนสมาชิกของประชาคมอาเซียนไดอยางมัน่ ใจตามขอตกลงปฏิญญา ชะอํา-หัวหิน วาดวยความรวมมือดานการศึกษาเพือ่ บรรลุเปาหมายประชาคมอาเซียนทีเ่ อือ้ อาทรและแบงปน จึงกําหนด เปนนโยบายใหกระทรวงศึกษาธิการจัดการเรียนรูเตรียมความพรอมผูเรียนเขาสูประชาคมอาเซียนภายในป พ.ศ. 2558 ตามแนวปฏิบัติที่สําคัญ ดังนี้

เสร�ม

7

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน 1. การสรางความรูความเขาใจ และตระหนักถึงความสําคัญของ กฎบัตรอาเซียน และความรวมมือ ของ 3 เสาหลัก ซึง่ กฎบัตรอาเซียน ในขณะนี้มีสถานะเปนกฎหมายที่ ประเทศสมาชิกจะตองปฏิบัติตาม หลักการที่กําหนดไวเพื่อใหบรรลุ เปาหมายของกฎบัตรมาตราตางๆ

2. การสงเสริมหลักการ ประชาธิปไตยและการสราง สิ่งแวดลอมประชาธิปไตย เพื่อการอยูรวมกันอยางกลมกลืน ภายใตวิถีชีวิตอาเซียนที่มีความ หลากหลายดานสังคมและ วัฒนธรรม

4. การตระหนักในคุณคาของ สายสัมพันธทางประวัติศาสตร และมรดกทางวัฒนธรรมที่มี พัฒนาการรวมกัน เพื่อเชื่อม อัตลักษณและสรางจิตสํานึก ในการเปนประชากรของประชาคม อาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการศึกษาดาน สิทธิมนุษยชน เพื่อสรางประชาคม อาเซียนใหเปนประชาคมเพื่อ ประชาชนอยางแทจริง สามารถ อยูรวมกันไดบนพื้นฐานการเคารพ ในคุณคาของศักดิ์ศรีแหงความ เปนมนุษยเทาเทียมกัน

5. การสงเสริมสันติภาพ ความ มั่นคง และความปรองดองในสังคม ทั้งระดับประเทศและภูมิภาคของ อาเซียนบนพื้นฐานสันติวิธีและการ อยูรวมกันดวยขันติธรรม

คูม อื ครู


การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

เสร�ม

8

1. การพัฒนาทักษะการทํางาน เพื่อเสริมสรางผูเรียนใหมีทักษะ วิชาชีพที่จําเปนสอดคลองกับ ความตองการของตลาดแรงงาน และสถานประกอบการในอาเซียน สามารถเทียบโอนผลการเรียน และการทํางานตามมาตรฐานฝมือ แรงงานในภูมิภาคอาเซียน

2. การเสริมสรางวินัย ความรับผิดชอบ และเจตคติรักการทํางาน สามารถพึ่งพาตนเอง มีทักษะชีวิต ดํารงชีวิตอยางมีความสุข เห็นคุณคา และภูมิใจในตนเอง ในฐานะที่เปนพลเมืองไทยและ อาเซียน

3. การเรียนรูเพื่อพัฒนาตนเอง อยางตอเนื่องตลอดชีวิต ใหมี ทักษะการทํางานตามมาตรฐาน อาชีพ และคุณวุฒิของวิชาชีพสาขา ตางๆ เพื่อรองรับการเตรียมเคลื่อน ยายแรงงานมีฝมือและการเปน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่ เขมแข็ง เพื่อสรางขีดความสามารถ ในการแขงขันในเวทีโลก

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 1. การเสริมสรางความรวมมือ ในลักษณะสังคมที่เอื้ออาทร ของประชากรอาเซียน โดยยึด หลักการสําคัญ คือ ความงดงาม ของประชาคมอาเซียนมาจาก ความแตกตางและหลากหลายทาง วัฒนธรรมที่ลวนแตมีคุณคาตอ มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน ซึ่งประชาชนทุกคนตองอนุรักษ สืบสานใหยั่งยืน

2. การเสริมสรางคุณลักษณะ ของผูเรียนใหเปนพลเมืองอาเซียน ที่มีศักยภาพในการกาวเขาสู ประชาคมอาเซียนอยางมั่นใจ เปนผูที่มีสุขภาพสมบูรณแข็งแรง มีทักษะการสื่อสาร ทักษะการ ทํางาน ทักษะทางสังคม สามารถ ทํางานรวมกับผูอื่นไดอยาง สรางสรรค และมีองคความรู เกี่ยวกับอาเซียนที่จําเปนตอการ ดํารงชีวิตอยางมีคุณภาพ

4. การสงเสริมการเรียนรูดาน ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี วิถชี วี ติ ความเปนอยูข องเพือ่ นบาน ในอาเซียน เพื่อสรางจิตสํานึกของ ความเปนประชาคมอาเซียนและ ตระหนักถึงหนาที่ของการเปน พลเมืองอาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการเรียนรูภาษา อังกฤษเพื่อการสื่อสารและการ ทํางานตามมาตรฐานอาชีพที่ กําหนดและสนับสนุนการเรียนรู ภาษาอาเซียนและภาษาเพื่อนบาน เพื่อชวยเสริมสรางสัมพันธภาพทาง สังคม และการอยูรวมกันอยางสันติ ทามกลางความหลากหลายทาง วัฒนธรรม

5. การสรางความรูและความ ตระหนักเกี่ยวกับดานสิ่งแวดลอม ปญหาและผลกระทบตอคุณภาพ ชีวิตของประชากรในภูมิภาค รวมทั้งแนวทางการพัฒนาอยาง ยั่งยืน ใหเปนมรดกสืบทอดแก พลเมืองอาเซียนในรุนหลังตอๆ ไป

กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศนโยบายการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) เพื่อเรงพัฒนาเด็ก และเยาวชนไทยใหเปนทรัพยากรมนุษยของชาติที่มีทักษะและความชํานาญ พรอมเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงและ การแขงขันทั้งในภูมิภาคอาเซียนและภูมิภาคอื่นๆ ของสังคมโลก ทั้งนี้ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และผูปกครอง ควรรวมมือกันอยางใกลชดิ ในการดูแลชวยเหลือผูเ รียนและจัดประสบการณการเรียนรูเ พือ่ พัฒนาผูเ รียนจนเต็มศักยภาพ เพื่อกาวเขาสูการเปนพลเมืองอาเซียนอยางมีเกียรติภูมิและศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของตน คูม อื ครู

คณะผูจัดทํา


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 1

สังคมศึกษาฯ (เฉพาะชั้น ป.1)*

ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม

มาตรฐาน ส 1.1 รู และเขาใจประวัติ ความสําคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ และศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกตอง ยึดมั่นและปฏิบัติตามหลักธรรมเพื่ออยูรวมกันอยางสันติสุข ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

ป.1 1. บอกพุทธประวัติ หรือ ประวัติของศาสดาที่ตน นับถือโดยสังเขป

• หนวยการเรียนรูท ี่ 1 ➤ พุทธประวัติ • ประสูติ ศาสนาของเรา • ตรัสรู บทที่ 1 พระพุทธศาสนา • ปรินิพพาน และศาสนาอื่นๆ 2. ชื่นชมและบอกแบบ • สามเณรบัณฑิต • หนวยการเรียนรูท ่ี 1 อยางการดําเนินชีวิต • วัณณุปถชาดก ศาสนาของเรา และขอคิดจากประวัติ • สุวรรณสามชาดก บทที่ 2 แบบอยางทีด่ ี สาวก ชาดก/เรื่องเลา • พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช และศาสนิกชนตัวอยาง • เจาพระยาสุธรรมมนตรี (หนูพรอม) ตามที่กําหนด • หนวยการเรียนรูท ี่ 1 3. บอกความหมาย ความ ➤ พระรัตนตรัย ศาสนาของเรา สําคัญ และเคารพพระ- • ศรัทธา พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ บทที่ 3 หลักธรรมนําความสุข รัตนตรัย ปฏิบัติตาม ➤ โอวาท 3 หลักธรรมโอวาท ๓ ใน • ไมทําชั่ว • เบญจศีล พระพุทธศาสนา หรือ หลักธรรมของศาสนาที่ • ทําความดี • เบญจธรรม • สังคหวัตถุ 4 ตนนับถือตามที่กําหนด • กตัญูกตเวทีตอพอแมและครอบครัว • มงคล 38 - ทําตัวดี - วางาย - รับใชพอแม • ทําจิตใหบริสุทธิ์ (บริหารจิตและเจริญปญญา) ➤ พุทธศาสนสุภาษิต • อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ ตนแลเปนที่พึ่งของตน • มาตา มิตตฺ ํ สเก ฆเร มารดาเปนมิตรในเรือนของตน 4. เห็นคุณคาและสวด- ➤ ฝกสวดมนตและแผเมตตา มนต แผเมตตา มีสติที่ • รูความหมายและประโยชนของสติ • ฟงเพลงและรองเพลงอยางมีสติ เปนพื้นฐานของสมาธิ • เลนและทํางานอยางมีสติ ในพระพุทธศาสนา • ฝกใหมีสติในการฟง การอาน การคิด การถาม หรือการพัฒนาจิต และการเขียน ตามแนวทางของ ศาสนาที่ตนนับถือ ตามที่กําหนด

เสร�ม

9

มาตรฐาน ส 1.2 เขาใจ ตระหนักและปฏิบตั ติ นเปนศาสนิกชนทีด่ ี และธํารงรักษาพระพุทธศาสนา หรือศาสนาทีต่ นนับถือ ชั้น

ตัวชี้วัด

ป.1 1. บําเพ็ญประโยชนตอวัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

การบําเพ็ญประโยชนตอวัด หรือศาสนสถาน • การพัฒนาทําความสะอาด • การบริจาค • การรวมกิจกรรมทางศาสนา 2. แสดงตนเปน ➤ การแสดงตนเปนพุทธมามกะ พุทธมามกะ หรือแสดง • ขั้นเตรียมการ • ขั้นพิธีการ ตนเปนศาสนิกชนของ ศาสนาที่ตนนับถือ หรือศาสนสถานของ ศาสนาที่ตนนับถือ

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• หนวยการเรียนรูท ี่ 1 ศาสนาของเรา บทที่ 4 ชาวพุทธที่ดี

_________________________________ * สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 6-130.

คูม อื ครู


ชั้น

ตัวชี้วัด

ป.1 3. ปฏิบัติตนในศาสนพิธี

เสร�ม

10

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ประวัติโดยสังเขปของวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา พิธีกรรม และวันสําคัญ • วันมาฆบูชา ทางศาสนา ตามที่ • วันวิสาขบูชา กําหนดไดถูกตอง • วันอาสาฬหบูชา • วันอัฏฐมีบูชา ➤ การบูชาพระรัตนตรัย

สาระที่ 2

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• หนวยการเรียนรูท ี่ 1 ศาสนาของเรา บทที่ 4 ชาวพุทธที่ดี

หนาที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดําเนินชีวิตในสังคม

มาตรฐาน ส 2.1 เขาใจและปฏิบัติตนตามหนาที่ของการเปนพลเมืองดี มีคานิยมที่ดีงามและธํารงรักษาประเพณีและ วัฒนธรรมไทย ดํารงชีวิตอยูรวมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอยางสันติสุข ชั้น

ตัวชี้วัด

ป.1 1. บอกประโยชนและ

ปฏิบัติตนเปนสมาชิก ที่ดีของครอบครัว และโรงเรียน

2. ยกตัวอยางความ สามารถและความดี ของตนเอง ผูอื่น และบอกผลจาก การกระทํานั้น

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• การเปนสมาชิกที่ดีของครอบครัวและโรงเรียน เชน • หนวยการเรียนรูท ี่ 2 • กตัญูกตเวทีและเคารพรับฟงคําแนะนําของพอ หนาทีพ่ ลเมือง แม ญาติผูใหญ ครู และผูมีพระคุณ บทที่ 2 สมาชิกที่ดีของครอบครัว • รูจักกลาวคําขอบคุณ ขอโทษ การไหวผูใหญ และโรงเรียน • ปฏิบัติตาม ขอตกลง กติกา กฎ ระเบียบ ของ ครอบครัวและโรงเรียน • มีสวนรวมในกิจกรรมของครอบครัวและโรงเรียน • มีเหตุผลและยอมรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น • มีระเบียบวินัย มีนํ้าใจ • ประโยชนของการปฏิบัติตนเปนสมาชิกที่ดีของ ครอบครัวและโรงเรียน • ลักษณะความสามารถและลักษณะความดีของตนเอง • หนวยการเรียนรูท ี่ 2 และผูอื่น เชน หนาทีพ่ ลเมือง • ความกตัญูกตเวที • ความมีระเบียบวินัย บทที่ 3 การทําความดี • ความขยัน อดทนอดกลัน้ • ความรับผิดชอบ • การเอื้อเฟอเผื่อแผและชวยเหลือผูอื่น • ความซื่อสัตยสุจริต • ความเมตตากรุณา • ผลของการกระทําความดี เชน • ภาคภูมิใจ • มีความสุข • ไดรับการชื่นชม ยกยอง

มาตรฐาน ส 2.2 เขาใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธาและธํารงรักษาไวซึ่งการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ชั้น

ตัวชี้วัด

ป.1 1. บอกโครงสราง

บทบาทและหนาที่ของ สมาชิกในครอบครัว และโรงเรียน 2. ระบุบทบาท สิทธิ หนาที่ของตนเองใน ครอบครัวและโรงเรียน 3. มีสวนรวมในการตัดสิน ใจและทํากิจกรรมใน ครอบครัวและโรงเรียน ตามกระบวนการ ประชาธิปไตย

คูม อื ครู

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• โครงสรางของครอบครัวและความสัมพันธของ • หนวยการเรียนรูท ี่ 2 บทบาท หนาที่ของสมาชิกในครอบครัว หนาทีพ่ ลเมือง • โครงสรางของโรงเรียน ความสัมพันธของบทบาท บทที่ 1 ความสัมพันธของสมาชิก หนาที่ของสมาชิกในโรงเรียน ในครอบครัวและโรงเรียน • ความหมายและความแตกตางของอํานาจตาม บทบาท สิทธิ หนาที่ในครอบครัวและโรงเรียน • การใชอํานาจในครอบครัวตามบทบาท สิทธิ หนาที่ • กิจกรรมตามกระบวนการประชาธิปไตยใน • หนวยการเรียนรูท ี่ 2 ครอบครัว เชน การแบงหนาที่ความรับผิดชอบ หนาทีพ่ ลเมือง ในครอบครัว การรับฟงและแสดงความคิดเห็น บทที่ 4 ประชาธิปไตยใน • กิจกรรมตามกระบวนการประชาธิปไตยในโรงเรียน ครอบครัวและโรงเรียน เชน เลือกหัวหนาหอง ประธานชุมนุม ประธาน นักเรียน


สาระที่ 3

เศรษฐศาสตร

มาตรฐาน ส 3.1 เขาใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใชทรัพยากร ทีม่ อี ยูจ าํ กัด ไดอยางมีประสิทธิภาพและคุม คา รวมทัง้ เขาใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการดํารงชีวิต อยางมีดุลยภาพ ชั้น

ตัวชี้วัด

ป.1 1. ระบุสินคาและบริการ ที่ใชประโยชนในชีวิต ประจําวัน

2. ยกตัวอยางการใชจาย เงินในชีวิตประจําวัน ที่ไมเกินตัวและเห็น ประโยชนของการออม 3. ยกตัวอยางการใช ทรัพยากรในชีวิต ประจําวันอยาง ประหยัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• สินคาและบริการที่ใชอยูในชีวิตประจําวัน เชน • หนวยการเรียนรูท ี่ 3 ดินสอ ปากกา กระดาษ ยาสีฟน เศรษฐศาสตรนา รู • สินคาและบริการที่ไดมาโดยไมใชเงิน เชน มีผูให บทที่ 1 สินคาและการบริการ หรือการใชของแลกของ ในชีวิตประจําวันของเรา • สินคาและบริการที่ไดมาจากการใชเงินซื้อ เชน ซื้ออาหาร จายคาบริการโทรศัพท • วิธีการใชประโยชนจากสินคาและบริการใหคุมคา • การใชจายเงินในชีวิตประจําวันเพื่อซื้อสินคา • หนวยการเรียนรูท ี่ 3 และบริการ เศรษฐศาสตรนา รู • ประโยชนของการใชจายเงินที่ไมเกินตัว บทที่ 2 จายเปน ออมได • ประโยชนของการออม ไมขัดสน • โทษของการใชจายเงินเกินตัว • วางแผนการใชจาย • ทรัพยากรทีใ่ ชในชีวติ ประจําวัน เชน ดินสอ กระดาษ • หนวยการเรียนรูท ี่ 3 เสื้อผา อาหาร ไฟฟา นํ้า เศรษฐศาสตรนา รู • ทรัพยากรสวนรวม เชน โตะ เกาอี้นักเรียน บทที่ 1 สินคาและการบริการ สาธารณูปโภคตางๆ ในชีวิตประจําวันของเรา • วิธีการใชทรัพยากรทั้งของสวนตัวและสวนรวม อยางถูกตอง และประหยัดและคุมคา

เสร�ม

11

มาตรฐาน ส 3.2 เขาใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจตางๆ ความสัมพันธทางเศรษฐกิจและความจําเปนของ การรวมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก ชั้น

ตัวชี้วัด

ป.1 1. อธิบายเหตุผล

ความจําเปนที่คนตอง ทํางานอยางสุจริต

สาระที่ 5

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• ความหมาย ประเภทและความสําคัญของการทํางาน • หนวยการเรียนรูท ี่ 3 • เหตุผลของการทํางาน เศรษฐศาสตรนา รู • ผลของการทํางานประเภทตางๆ ที่มีตอครอบครัว บทที่ 3 ทํางานดีมีความสุข และสังคม • การทํางานอยางสุจริตทําใหสังคมสงบสุข

ภูมิศาสตร

มาตรฐาน ส 5.1 เขาใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธของสรรพสิ่งซึ่งมีผลตอกันและกัน ในระบบ ของธรรมชาติ ใชแผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตรในการคนหา วิเคราะห สรุป และใชขอมูล ภูมิสารสนเทศอยางมีประสิทธิภาพ ชั้น

ตัวชี้วัด

ป.1 1. แยกแยะสิ่งตางๆ รอบ

ตัวที่เกิดขึ้นเองตาม ธรรมชาติและที่มนุษย สรางขึ้น 2. ระบุความสัมพันธของ ตําแหนง ระยะ ทิศของ สิ่งตางๆ รอบตัว 3. ระบุทิศหลักและที่ตั้ง ของสิ่งตางๆ

สาระการเรียนรูแกนกลาง

• สิ่งตางๆ รอบตัวที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และที่มนุษยสรางขึ้น

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• หนวยการเรียนรูท ี่ 4 เรียนรูส งิ่ แวดลอม บทที่ 1 สิ่งแวดลอมรอบตัว

• ความสัมพันธของตําแหนง ระยะ ทิศของสิ่งตางๆ • หนวยการเรียนรูท ี่ 4 รอบตัว เชน ที่อยูอาศัย บาน เพื่อนบาน ตนไม เรียนรูส งิ่ แวดลอม ถนน ทุงนา ไร สวน ที่ราบ ภูเขา แหลงนํ้า บทที่ 2 ที่ตั้งและแผนผัง • ทิศหลัก (เหนือ ตะวันออก ใต ตะวันตก) และที่ตั้ง ของสิ่งตางๆ รอบตัว

หมายเหตุ : สาระที่ 4 ประวัติศาสตร แยกเลมอยูใน หนังสือเรียน ประวัติศาสตร ป.1

คูม อื ครู


ชั้น

ตัวชี้วัด

ป.1 4. ใชแผนผังงายๆ ใน

การแสดงตําแหนงของ สิ่งตางๆ ในหองเรียน 5. สังเกตและบอก การเปลี่ยนแปลงของ สภาพอากาศในรอบวัน

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• หนวยการเรียนรูท ี่ 4 เรียนรูส งิ่ แวดลอม บทที่ 2 ที่ตั้งและแผนผัง • การเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศในรอบวัน เชน • หนวยการเรียนรูท ี่ 4 กลางวัน กลางคืน ความรอนของอากาศ ฝน เรียนรูส งิ่ แวดลอม เมฆ - ลม บทที่ 3 สภาพอากาศ • แผนผังแสดงตําแหนงสิ่งตางๆ ในหองเรียน

เสร�ม มาตรฐาน ส 5.2 เขาใจปฏิสัมพันธระหวางมนุษยกับสภาพแวดลอมทางกายภาพที่กอใหเกิดการสรางสรรควัฒนธรรม มีจิตสํานึกและมีสวนรวมในการอนุรักษทรัพยากรและสิ่งแวดลอม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 12 ชั้น

ตัวชี้วัด

ป.1 1. บอกสิ่งตางๆ ที่เกิด

ตามธรรมชาติที่สงผล ตอความเปนอยูของ มนุษย 2. สังเกตและเปรียบเทียบ การเปลี่ยนแปลงของ สภาพแวดลอมที่อยู รอบตัว 3. มีสวนรวมในการจัด ระเบียบสิ่งแวดลอม ที่บาน และชั้นเรียน

สาระการเรียนรูแกนกลาง

• ลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศมีผลตอความเปน อยูของมนุษย เชน ที่อยูอาศัย เครื่องแตงกาย และอาหาร

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• หนวยการเรียนรูท ี่ 4 เรียนรูส งิ่ แวดลอม บทที่ 4 มนุษยกับสภาพแวดลอม

• การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอมที่อยูรอบตัว

• การรูเทาทันสิ่งแวดลอมและปรับตัวเขากับ สิ่งแวดลอม

คําอธิบายรายวิชา รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปที่ 1 ภาคเรียนที่ 1-2 รหัสวิชา ส………………………………… เวลา 50 ชั่วโมง/ป ศึกษา วิเคราะห พุทธประวัติ หรือประวัติของศาสดาที่ตนนับถือ แบบอยางการดําเนินชีวิตและขอคิดจากประวัติสาวก ชาดก/ เรื่องเลาและศาสนิกชนตัวอยางตามที่กําหนด ความหมาย ความสําคัญและเคารพพระรัตนตรัย ปฏิบัติตามหลักธรรม โอวาท 3 ใน พระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ สวดมนตแผเมตตา มีสติ บําเพ็ญประโยชนตอวัด แสดงตนเปนพุทธมามกะหรือศาสนิกชน ของศาสนาที่ตนนับถือ ปฏิบัติในศาสนพิธี พิธีกรรมและวันสําคัญทางศาสนาตามที่กําหนดไดถูกตอง วิเคราะหประโยชนและปฏิบัติตน เปนสมาชิกที่ดีของครอบครัวและโรงเรียน ศึกษาความสามารถและความดีและผลจากการกระทําของตนเอง ผูอื่น โครงสราง บทบาท หนาที่ของสมาชิกในครอบครัว โรงเรียน บทบาท สิทธิ หนาที่ของตนเองในครอบครัวและโรงเรียน มีสวนรวมในการตัดสินใจและทํา กิจกรรมในครอบครัวและโรงเรียนตามกระบวนการประชาธิปไตย สินคาและบริการทีใ่ ชประโยชนในชีวติ ประจําวัน การใชจา ยเงินในชีวติ ประจําวันไมเกินตัวและประโยชนของการออมเงิน การใชทรัพยากรในชีวติ ประจําวันอยางประหยัด ความจําเปนของการทํางานทีส่ จุ ริต แยกแยะสิ่งตางๆ รอบตัวที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และที่มนุษยสรางขึ้น ศึกษาความสัมพันธของตําแหนง ระยะ ทิศของสิ่งตางๆ รอบตัว ทิศหลัก ใชแผนผังงายๆ ในการแสดงตําแหนงของสิง่ ตางๆ ในหองเรียน วิเคราะหการเปลีย่ นแปลงของอากาศในรอบวัน ศึกษา สิ่งตางๆ ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติที่สงผลตอความเปนอยูของมนุษย การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอมที่อยูรอบตัว การจัดระเบียบ สิ่งแวดลอมที่บานและชั้นเรียน โดยใชกระบวนการคิด กระบวนการสืบคนขอมูล กระบวนการปฏิบตั ิ กระบวนการทางสังคม กระบวนการกลุม กระบวนการเผชิญ สถานการณและแกปญหา เพือ่ ใหเกิดความรู ความเขาใจ สามารถนําไปปฏิบตั ใิ นการดําเนินชีวติ มีคณ ุ ธรรม จริยธรรม มีคณ ุ ลักษณะอันพึงประสงคในดาน รักชาติ ศาสน กษัตริย ซื่อสัตยสุจริต มีวินัย ใฝเรียนรู มีความรับผิดชอบ รักความเปนไทย มีจิตสาธารณะ สามารถดําเนินชีวิตอยาง สันติสุขในสังคมไทยและสังคมโลก ตัวชี้วัด ส 1.1 ส 1.2 ส 2.1 ส 2.2 คูม อื ครู

ป.1/1 ป.1/1 ป.1/1 ป.1/1

ป.1/2 ป.1/2 ป.1/2 ป.1/2

ป.1/3 ป.1/3 ป.1/3

ป.1/4

ตัวชี้วัด ส 3.1 ส 3.2 ส 5.1 ส 5.2

ป.1/1 ป.1/1 ป.1/1 ป.1/1

ป.1/2 ป.1/2 ป.1/2

ป.1/3 ป.1/3 ป.1/4 ป.1/3 รวม 24 ตัวชี้วัด

ป.1/5


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹

Êѧ¤ÁÈÖ¡ÉÒ ÈÒÊ¹Ò áÅÐÇѲ¹¸ÃÃÁ ».ñ ªÑé¹»ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè ñ

¡ÅØ‹ÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ Êѧ¤ÁÈÖ¡ÉÒ ÈÒÊ¹Ò áÅÐÇѲ¹¸ÃÃÁ µÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ

¼ÙŒàÃÕºàÃÕ§ ¹Ò§ÊÒÇÇÔÃÔÂÐ ºØÞÂйÔÇÒʹ ¹Ò§Êؾ¹ ·ÔÁÍíèÒ ¹Ò§ÈÃÕÊØÇÃó ºØ- ¢‹Ò ¹Ò§ÊÒÇàÂÒÇÅѡɳ ÍÑ¡Éà ¼ÙŒµÃǨ

¹Ò¨ÔþԾѲ¹ ᨋÁ¹ÔÅ ¹Ò§áʧà´×͹ ¡ÁÅÁÒÅ ¹Ò§ÊÒÇÇÒÃØ³Õ ÊÁºÙó

ºÃóҸԡÒà ¹Ò§ÇÅѾÃó ºØÞÁÕ

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè ñð

ʧǹÅÔ¢ÊÔ·¸ÔìµÒÁ¾ÃÐÃÒªºÑ- - ÑµÔ ISBN : 978-616-203-038-3 ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ ñññóðôø

¤Œ¹¤ÇÒÁÃÙ ¤Œ¹¤ÇÒÁÃÙ Œ¢ÂÒ¤ÇÒÁ¤Ô Œ¢ÂÒ¤ÇÒÁ¤Ô ´¨Ò¡´¨Ò¡ ¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè ñ ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ ññôóðôñ

EB GUIDE

ที่พิมพกํากับหัวขอสําคัญในหนังสือเรียนหลักสูตรใหม ชั้น ป.๔ ขึ้นไป ผาน www.aksorn.com ไปยังแหลงความรูทั่วไทย-ทั่วโลก


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

¤íÒ¹íÒ ´ŒÇ¡ÃзÃǧÈÖ¡ÉÒ¸Ô¡ÒÃä´ŒÁÕ¤íÒÊÑè§ãˌ㪌ËÅÑ¡ÊٵáÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõôô ã¹âçàÃÕ¹·ÑÇè ä»·Õ¨è ´Ñ ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñ¹é ¾×¹é °Ò¹ã¹»‚¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõôö áÅШҡ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒÇÔ¨ÂÑ áÅеԴµÒÁ ¼Å¡ÒÃ㪌ËÅÑ¡ÊٵáÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñ¹é ¾×¹é °Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõôô ¨Ö§¹íÒä»Ê‹¡Ù ÒþѲ¹ÒËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§ ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñ¹é ¾×¹é °Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ «Ö§è ÁÕ¤ÇÒÁàËÁÒÐÊÁáÅЪѴਹ à¾×Íè ãˌʶҹÈÖ¡ÉÒä´Œ¹Òí ä» ãªŒà»š¹¡Ãͺ·Ôȷҧ㹡ÒèѴËÅÑ¡ÊÙµÃʶҹÈÖ¡ÉÒáÅШѴ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹à¾×Íè ¾Ñ²¹Òà´ç¡áÅÐàÂÒǪ¹ ·Ø¡¤¹ã¹ÃдѺ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñ¹é ¾×¹é °Ò¹ãËŒÁ¤Õ ³ Ø ÀÒ¾´ŒÒ¹¤ÇÒÁÃÙŒ áÅзѡÉзըè Òí ໚¹ÊíÒËÃѺ¡ÒôíÒçªÕÇµÔ ã¹Êѧ¤Á·ÕèÁÕ¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§ áÅÐáÊǧËÒ¤ÇÒÁÃÙŒà¾×è;Ѳ¹Òµ¹àͧÍ‹ҧµ‹Íà¹×èͧµÅÍ´ªÕÇÔµ ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ Êѧ¤ÁÈÖ¡ÉÒÏ ».ñ àÅ‹Á¹Õé¨Ñ´·íÒ¢Öé¹ÊíÒËÃѺ㪌»ÃСͺ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ ªÑé¹»ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè ñ â´Â´íÒà¹Ô¹¡ÒèѴ·íÒãËŒÊÍ´¤ÅŒÍ§µÒÁ¡Ãͺ¢Í§ËÅÑ¡Êٵ÷ء»ÃСÒà ʋ§àÊÃÔÁ ¡Ãкǹ¡ÒäԴ ¡ÒÃÊ׺àÊÒÐËÒ¤ÇÒÁÃÙŒ ¡ÒÃá¡Œ»˜ÞËÒ ¤ÇÒÁÊÒÁÒö㹡ÒÃÊ×èÍÊÒà ¡ÒõѴÊԹ㨠¡ÒùíÒä»ãªŒã¹ªÕÇÔµ ÃÇÁ·Ñé§Ê‹§àÊÃÔÁãËŒ¼ÙŒàÃÕ¹ÁÕ¤‹Ò¹ÔÂÁ·Õè´Õ§ÒÁ ¾Ñ²¹Òµ¹àͧÍÂÙ‹àÊÁÍ ÃÇÁ·Ñ駺íÒà¾çÞ »ÃÐ⪹ µ‹ÍÊѧ¤ÁáÅÐʋǹÃÇÁ ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ Êѧ¤ÁÈÖ¡ÉÒÏ ».ñ àÅ‹Á¹Õé ÁÕ ô ˹‹Ç ã¹áµ‹ÅÐ˹‹ÇÂẋ§à»š¹º·Â‹ÍÂæ «Ö觻ÃСͺ´ŒÇ ñ. ໇ÒËÁÒ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ»ÃШíÒ˹‹Ç ¡íÒ˹´ÃдѺ¤ÇÒÁÃÙŒ ¤ÇÒÁÊÒÁÒö¢Í§¼ÙŒàÃÕ¹ Ç‹ÒàÁ×èÍàÃÕ¹¨ºã¹áµ‹ÅÐ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ µŒÍ§ºÃÃÅØÁҵðҹµÑǪÕéÇÑ´·Õè¡Òí ˹´äÇŒã¹ËÅÑ¡ÊٵâŒÍã´ºŒÒ§ ò. á¹Ç¤Ô´ÊíÒ¤ÑÞ á¡‹¹¤ÇÒÁÃÙŒ·Õè໚¹¤ÇÒÁÃÙŒ¤ÇÒÁࢌÒ㨤§·¹µÔ´µÑǼٌàÃÕ¹ ó. à¹×Íé ËÒ ¤ÃºµÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§ ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñ¹é ¾×¹é °Ò¹ ¾.È. òõõñ ¹íÒàʹÍàËÁÒÐ àʹÍàËÁÒÐÊÁ ¡Ñº¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ã¹áµ‹ÅÐÃдѺªÑé¹ ô. ¡Ô¨¡ÃÃÁ ÁÕËÅÒ¡ËÅÒÂÃٻẺãËŒ¹Ñ¡àÃÕ¹»¯ÔºÑµÔ ẋ§à»š¹ (ñ) ¡Ô¨¡ÃÃÁ¹íÒÊ‹Ù¡ÒÃàÃÕ¹ ¹íÒࢌÒÊ‹Ùº·àÃÕ¹à¾×èÍ¡Ãе،¹¤ÇÒÁʹã¨á¡‹¼ÙŒàÃÕ¹ (ò) ¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ãËŒ¼àŒÙ ÃÕ¹½ƒ¡»¯ÔºµÑ àÔ ¾×Íè ¾Ñ²¹Ò¤ÇÒÁÃÙጠÅзѡÉлÃШíÒ˹‹Ç (ó) ¡Ô¨¡ÃÃÁÃǺÂÍ´ ãËŒ¼ÙŒàÃÕ¹»¯ÔºÑµÔà¾×èÍáÊ´§¾ÄµÔ¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒÃǺÂÍ´ áÅлÃÐàÁÔ¹¼Å¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒµÒÁÁҵðҹµÑǪÕéÇÑ´»ÃШíÒ˹‹Ç ¤³Ð¼ÙŒ¨Ñ´·íÒ¨Ö§ËÇѧ໚¹Í‹ҧÂÔè§Ç‹Ò ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ Êѧ¤ÁÈÖ¡ÉÒÏ ».ñ àÅ‹Á¹Õé ¨Ð໚¹Ê×èÍ ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹·ÕÍè Òí ¹Ç»ÃÐ⪹ µÍ‹ ¡ÒÃàÃÕ¹Êѧ¤ÁÈÖ¡ÉÒ à¾×Íè ãËŒÊÁÑ Ä·¸Ô¼ÅµÒÁÁҵðҹµÑǪÕÇé ´Ñ ·Õè¡íÒ˹´äÇŒã¹ËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾.È. òõõñ ·Ø¡»ÃСÒà ¤³Ð¼ÙŒ¨Ñ´·íÒ

ค�ำชี้แ


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ชี้แจงในกำรใช้สื่อค�ำชี้แจงในกำรใช้สื่อ

ñ

Evaluate

กิจกรรมน�ำสู่กำรเรียน นำ�เข้�สู่บทเรียนโดยใช้ กระตุ้นคว�มสนใจและ วัดประเมินผลก่อนเรียน

ภำพหน้ำหน่วยกำรเรียนรู้ เป็นภ�พประกอบขน�ดใหญ่ ช่วยกระตุ้นคว�มสนใจ ของผู้เรียน

หน่วยการเรียนรูท้ ี่

ตรวจสอบผล

ºทที่

ñ

พÃÐพØท¸ÈาÊนา áลÐÈาÊนาอื่นæ กิจกรรมน�าสู่การเรียน

ÈาÊนา¢องเÃา

เป้าหมายการเรียนรู้ประจ�าหน่วยที่ ๑ เมื่อเรียนจบหน่วยนี้ ผู้เรียนจะมีความรู้ความสามารถต่อไปนี้ ๑. บอกพุทธประวัติหรือประวัติของศาสดาที่ตนนับถือโดยสังเขป (มฐ. ส ๑.๑ ป.๑/๑) ๒. ชื่นชมและบอกแบบอย่างการด�าเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก เรื่องเล่า และศาสนิกชนตัวอย่าง ตามที่ก�าหนด (มฐ. ส ๑.๑ ป.๑/๒) ๓. บอกความหมาย ความส�าคัญ และเคารพพระรัตนตรัย ปฏิบัติตามหลักธรรมโอวาท ๓ ในพระพุทธศาสนา หรือ หลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือตามที่ก�าหนด (มฐ. ส ๑.๑ ป.๑/๓) ๔. เห็นคุณค่าและสวดมนต์แผ่เมตตา มีสติที่เป็นพื้นฐานของสมาธิในพระพุทธศาสนาหรือการพัฒนาจิตตาม แนวทางของศาสนาที่ตนนับถือตามที่ก�าหนด (มฐ. ส ๑.๑ ป.๑/๔) ๕. บ�าเพ็ญประโยชน์ต่อวัด หรือศาสนสถานของศาสนาที่ตนนับถือ (มฐ. ส ๑.๒ ป.๑/๑) ๖. แสดงตนเป็นพุทธมามกะหรือแสดงตนเป็นศาสนิกชนของศาสนาที่ตนนับถือ (มฐ. ส ๑.๒ ป.๑/๒) ๗. ปฏิบัติตนในศาสนพิธี พิธีกรรม และวันส�าคัญทางศาสนาตามที่ก�าหนดได้ถูกต้อง (มฐ. ส ๑.๒ ป.๑/๓)

มำตรฐำนตัวชี้วัด ระบุตัวชี้วัดที่กำ�หนดไว้ ในแต่ละหน่วย

จากภาพ เพื่อนๆ คิดวา ผูคนในชุมชนนี้นับถือศาสนาใดบาง และสังเกตไดจากสิ่งใด

แนวคิดส�าคัญ

เป้ำหมำยกำรเรียนรู้ มรู้ควว�มส�ม�รถ กำ�หนดระดับคว�มรู ของผู้เรียนเมื่อเรียนจบหน่วย

ÈÒʹҵ‹Ò§æ ŌǹÁÕ»ÃÐÇѵԤÇÒÁ໚¹ÁÒ·Õ蹋Òʹ㨠ÁÕ»ÃÐÇѵÔÈÒÊ´Ò ËÅÑ¡¤íÒÊ͹¢Í§ÈÒʹҷÕèàÃÒ¤ÇÃÂÖ´¶×ÍáÅÐ »¯ÔºÑµÔµÒÁ à¾×èÍãËŒµ¹àͧáÅмٌÍ×è¹ÁÕ¤ÇÒÁÊØ¢ ໚¹¤¹´Õ¢Í§Êѧ¤Á áÅлÃÐà·ÈªÒµÔ

2

เนื้อหำ ห ครบต มหลักสูตรแกนกล�งฯ ครบต�มหลั รแกนกล งฯ ’๕๑ นำ�เสนอโดยใช้ภ�ษ�ทีที่เข้�ใจง่�ย เหม ะสมกับก�รเรี เหม�ะสมกั ก รเรียนก นก�รสอน นก� รสอน

๒) ตรัสรู้ หลังจากเลิก บ�าเพ็ญเพียรด้วยวิธที กุ กรกิรยิ า พระสิทธัตถะทรงบ�าเพ็ญเพียร ด้วยการนัง่ สมาธิ ท�าให้พระองค์ ตรัสรูเ้ ป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ๑๕ ่าา เดื เดือน ๖ น๖ ในวันเพ็ญขึ้น ๑๕ ค� เดื ณ ใต้ ใต้ตน้ พระศรีมหาโพธิท์ ี่ใกล้ ริมฝั่งแม่น�้าเนรัญชรา ชรา ซึ่งใน ใน ขณะนัน้ พระองค์มพี ระชนมายุ ได้ ๓๕ พรรษา ๓) ปรินพิ พาน เมือ่ ตรัสรู้ แล้ว พระองค์ ได้ทรงเผยแผ่ หลักธรรมให้กบั ประชาชนโดย ทัว่ ไปเป็นเวลานานถึง ๔๕ ปี พระองค์ จึ ง ได้ เ สด็ จ ดั บ ขั น ธ์ ปรินพิ พาน ในวันขึน้ ๑๕ ค�า่ เดือน ๖ ที่ใต้ตน้ สาละ ในเมือง กุสินารา ปัจจุบนั อยูใ่ นประเทศ อินเดีย รวมพระชนมายุได้ ๘๐ พรรษา

แนวคิดส�ำคัญ แก่นคว�มรู้ที่เป็นคว�มเข้�ใจ คงทนติดตัวผู้เรียน กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ที่ ๒

ภำพประกอบเนื ำพประกอบเนื้อหหำ เป็นภ�พประกอบ ๔ สี แทรกอยู่ตลอดเล่ม ช่วยเสริมสร้�งคว�มเข้�ใจ

แบ่งกลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มช่วยกันสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับศาสนาที่ ก�าหนดให้ (ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม) จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ เช่น จากหนังสือห้องสมุด ข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต เป็นต้น แล้วสรุป ข้อมูลบันทึกผลลงในสมุดของกลุม่ จากนัน้ ส่งตัวแทนออกมาน�าเสนอ ผลงานหน้าชั้น ศาสนาอิสลาม

ศาสนาคริสต

▲▲ พระพุทธเจ้าตรัสรู้ที่ใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์

ปัจจุบันอยู่ที่พุทธคยา ประเทศอินเดีย

กิจกรรมรวบยอด ▲▲ พระพุทธเจ้าปรินพ ิ พานทีส่ าลวโนทยาน ในเมือง

กุสินารา แคว้นมัลละ

กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ที่ ๑

สืบค้นข้อมูลเกีย่ วกับพุทธประวัตจิ ากแหล่งเรียนรูต้ า่ งๆ แล้วเขียน สรุปตามส�านวนของตนเอง จากนั้นผลัดกันน�าเสนอผลงานหน้าชั้น

กิจกรรมพัฒนำกำรเรียนรู้ ให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติเพื่อพัฒน� คว�มรู้และทักษะประจำ�หน่วย

๑. ส�ารวจเพื่อนๆ ในห้องเรียนว่า มีผู้นับถือศาสนาใดบ้าง จ�านวนกี่คน แล้วบันทึกข้อมูลลงในสมุด ๒. สืบค้นข้อมูลประวัติศาสดาของศาสนาที่ตนนับถือ แล้วเขียน สรุปลงในสมุด จากนั้นน�าเสนอผลงานหน้าชั้น

5

7

กิจกรรมรวบยอด ให้ผู้เรียนฝึกปฏิบัติเพื่อแสดงพฤติกรรมก�รเรียนรู้รวบยอด และประเมินผลก�รเรียนรู้ต�มม�ตรฐ�นตัวชี้วัดประจำ�หน่วย


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

สารบัญ ● ตารางวิเคราะหมาตรฐานการเรียนรู

หนวยการเรียนรูที่

บทที่ ๑ บทที่ ๒ บทที่ ๓ บทที่ ๔ หนวยการเรียนรูที่

บทที่ ๑ บทที่ ๒ บทที่ ๓ บทที่ ๔ หนวยการเรียนรูที่

๑ ศาสนาของเรา

บทที่ ๑ บทที่ ๒ บทที่ ๓ บทที่ ๔ ● คําสําคัญ ● บรรณานุกรม

พระพุทธศ�สน� และศ�สน�อื่นๆ แบบอย่�งที่ดี หลักธรรมนำ�คว�มสุข ช�วพุทธที่ดี

๒ ๘ ๑๗ ๓๔

๒ หนาที่พลเมือง

๔๑

๓ เศรษฐศาสตรนารู

๘๖

คว�มสัมพันธ์ของสม�ชิกในครอบครัวและโรงเรียน สม�ชิกที่ดีของครอบครัวและโรงเรียน ก�รทำ�คว�มดี ประช�ธิปไตยในครอบครัวและโรงเรียน

บทที่ ๑ สินค้�และก�รบริก�รในชีวิตประจำ�วันของเร� บทที่ ๒ จ่�ยเป็น ออมได้ ไม่ขัดสน บทที่ ๓ ทำ�ง�นดี มีคว�มสุข หนวยการเรียนรูที่

๔ เรียนรูสิ่งแวดลอม

สิ่งแวดล้อมรอบตัว ที่ตั้งและแผนผัง สภ�พอ�ก�ศ มนุษย์กับสภ�พแวดล้อม

๔๒ ๕๖ ๗๒ ๗๙

๘๗ ๙๔ ๑๐๐

๑๐๕

๑๐๖ ๑๑๓ ๑๒๒ ๑๒๘ ๑๓๘ ๑๓๘


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

ตารางวิเคราะห

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Áҵðҹ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙጠÅеÑǪÕÇé ´Ñ ÃÒÂÇÔªÒ Êѧ¤ÁÈÖ¡ÉÒÏ ».๑

ค�ำชี้แจง : ให้ผู้สอนใช้ต�ร�งน�้ตรวจสอบว่� เน�้อห�ส�ระก�รเรียนรู้ในหน่วยก�รเรียนรู้สอดคล้องกับม�ตรฐ�น ก�รเรียนรู้และตัวชี้วัดชั้นปในข้อใดบ้�ง

มำตรฐำน กำร เรียนรู้

มฐ. ส ๑.๑

มฐ. ส ๑.๒

มฐ. ส ๒.๑

มฐ. ส ๒.๒

สำระกำรเรียนรู้ ตัวชี้วัด ชั้น ป.๑

หน่วยที่ ๑

หน่วยที่ ๒

หน่วยที่ ๓

หน่วยที่ ๔

บทที่

บทที่

บทที่

บทที่

๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๔

สำระที่ ๑ ศำสนำ ศีลธรรม จริยธรรม ๑. บอกพุทธประวัติ หรือประวัติของศ�สด�ที่ตนนับถือ ✓ โดยสังเขป ๒. ชื่นชมและบอกแบบอย่�งก�รดำ�เนินชีวิตและข้อคิดจ�ก ประวัติส�วก ช�ดก/เรื่องเล่� และศ�สนิกชนตัวอย่�ง ✓ ต�มที่กำ�หนด ๓. บอกคว�มหม�ย คว�มสำ�คัญ และเค�รพพระรัตนตรัย ปฏิบัติต�มหลักธรรมโอว�ท ๓ ในพระพุทธศ�สน� หรือ ✓ หลักธรรมของศ�สน�ที่ตนนับถือต�มที่กำ�หนด ๔. เห็นคุณค่�และสวดมนต์ แผ่เมตต� มีสติที่เป็นพื้นฐ�น ของสม�ธิในพระพุทธศ�สน� หรือก�รพัฒน�จิตต�ม ✓ แนวท�งของศ�สน�ที่ตนนับถือต�มที่กำ�หนด ๑. บำ�เพ็ญประโยชน์ตอ่ วัด หรือศ�สนสถ�นของศ�สน�ทีต่ น ✓ นับถือ ๒. แสดงตนเป็นพุทธม�มกะหรือแสดงตนเป็นศ�สนิกชน ✓ ของศ�สน�ที่ตนนับถือ ๓. ปฏิบตั ติ นในศ�สนพิธี พิธกี รรมและวันสำ�คัญท�งศ�สน� ✓ ต�มทีก่ �ำ หนดได้ถกู ต้อง สำระที่ ๒ หน้ำที่พลเมือง วัฒนธรรม และกำรด�ำเนินชีวิต ในสังคม ๑. บอกประโยชน์และปฏิบตั ติ นเป็นสม�ชิกทีด่ ขี องครอบครัว ✓ และโรงเรียน ๒. ยกตัวอย่�งคว�มส�ม�รถและคว�มดีของตนเอง ผูอ้ น่ื ✓ และบอกผลจ�กก�รกระทำ�นัน้ ๑. บอกโครงสร้�ง บทบ�ท และหน้�ที่ของสม�ชิก ✓ ในครอบครัว และโรงเรียน ๒. ระบุบทบ�ท สิทธิ หน้�ที่ของตนเองในครอบครัว ✓ และโรงเรียน ๓. มีส่วนร่วมในก�รตัดสินใจและทำ�กิจกรรมในครอบครัว และโรงเรียนต�มกระบวนก�รประช�ธิปไตย ✓


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

มำตรฐำน กำร มำตรฐำน กำรเรียนรู้ ตัวชี้วัด ชั้น ป.๑ เรียนรู้ ตัวชี้วัด ชั้น ป.๑

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

สำระกำรเรียนรู้ สำระกำรเรียนรู้

๑ สำระที่ ๓ เศรษฐศำสตร์ สำระที ๓ เศรษฐศำสตร์ ๑. ่ ระบุ สนิ ค้� และบริก�รทีใ่ ช้ประโยชน์ในชีวติ ประจำ�วัน ๑. ระบุ ส น ิ ค้ ก�รที ช้ปนระโยชน์ นชีวติ �ประจำ �งก�รใช้ จ�่ ใ่ ยเงิ ในชีวติ ใประจำ วันทีไ่ �ม่วัเนกินตัว มฐ. ๒. ยกตัว�อย่และบริ นประโยชน์ ของก�รออม วอย่�งก�รใช้ จ�่ ยเงิ นในชีวติ ประจำ�วันทีไ่ ม่เกินตัว มฐ.ส ๓.๑ ๒. ยกตัและเห็ ส ๓.๑ และเห็ ของก�รออม ๓. ยกตันประโยชน์ วอย่�งก�รใช้ ทรัพย�กรในชีวิตประจำ�วันอย่�ง ด ทรัพย�กรในชีวิตประจำ�วันอย่�ง ๓. ยกตัประหยั วอย่�งก�รใช้ ด มฐ. ประหยั ๑. อธิบ�ยเหตุผลคว�มจำ�เป็นที่คนต้องทำ�ง�นอย่�งสุจริต มฐ.ส ๓.๒ ๑. อธิบ�ยเหตุผลคว�มจำ�เป็นที่คนต้องทำ�ง�นอย่�งสุจริต สำระที่ ๕ ภูมิศำสตร์ ส ๓.๒ สำระที ๕ ภูมิศำสตร์ ๑. ่ แยกแยะสิ ่งต่�งๆ รอบตัวที่เกิดขึ้นเองต�มธรรมช�ติ และที่ม่งนุต่ษ�งๆ ย์สร้รอบตั �งขึ้นวที่เกิดขึ้นเองต�มธรรมช�ติ ๑. แยกแยะสิ และที ย์สร้ม�งขึ ๒. ระบุ่มนุคษว�มสั พัน้นธ์ของตำ�แหน่ง ระยะ ทิศของสิง่ ของต่�งๆ คว�มสัว มพันธ์ของตำ�แหน่ง ระยะ ทิศของสิง่ ของต่�งๆ มฐ. ๒. ระบุรอบตั ๓. ระบุว ทิศหลักและที่ตั้งของสิ่งต่�งๆ มฐ.ส ๕.๑ รอบตั ส ๕.๑ ๓. ระบุ ของสิ่งต่�งๆ �แหน่งของสิ่งต่�งๆ ๔. ใช้ทิศแหลั ผนผักและที งง่�ยๆ่ตั้งในก�รแสดงตำ ยน ในก�รแสดงตำ ๔. ใช้แในห้ ผนผัองงเรี ง่�ยๆ รแสดงตำ�แหน่งของสิ่งต่�งๆ ในห้ อ งเรี ย น ๕. สังเกตและบอกก�รเปลี่ยนแปลงของสภ�พอ�ก�ศ ในรอบวัน รเปลี่ยนแปลงของสภ�พอ�ก�ศ ๕. สังเกตและบอกก�รเปลี นแปลงของสภ ในรอบวั ๑. บอกสินง่ ต่�งๆ ทีเ่ กิดต�มธรรมช�ติทสี่ ง่ ผลต่อคว�มเป็นอยู่ ของมนุ ๑. บอกสิ ง่ ต่�งๆษย์ทีเ่ กิดต�มธรรมช�ติติทสี่ ง่ ผลต่อคว�มเป็ มเป็นอยู่ ษย์ ๒. สังเกตและเปรี ยบเทียบก�รเปลี่ยนแปลงของ มฐ. ของมนุ สภ�พแวดล้ อ มที ยู่รอบตัว ่ยนแปลงของ มฐ.ส ๕.๒ ๒. สังเกตและเปรียบเทีย่อบก�รเปลี สภ�พแวดล้ มที่อยู่รอบตั ว ยบสิ่งแวดล้อมที่บ้�น ส ๕.๒ ๓. มีพแวดล้ ส่วนร่วอมในก�รจั ดระเบี ้นเรียนรจัดระเบียบสิ่งแวดล้อมที่บ้�น ๓. มีส่วและชั นร่วมในก�รจั และชั้นเรียน

Expand

Evaluate

หน่วยที่ ๑ หน่วยที่ ๑ บทที่

หน่วยที่ หน่วยที่ หน่วยที่ ๒ ๓ ๔ หน่วยที่ หน่วยที่ หน่วยที่ ๒ บทที่ ๓ บทที่ ๔ บทที่ ๑บทที๒่ ๓ ๔ ๑บทที๒่ ๓ ๔ บทที ๑ ่ ๒ ๓ ๑บทที๒่ ๓ ๔ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๔

หมำยเหตุ : ส�ระที่ ๔ ประวัติศ�สตร์ แยกเล่มอยู่ใน หนังสือเรียน ประวัติศ�สตร์ ป.๑ หมำยเหตุ : ส�ระที่ ๔ ประวัติศ�สตร์ แยกเล่มอยู่ใน หนังสือเรียน ประวัติศ�สตร์ ป.๑

ตรวจสอบผล

✓ ✓

✓ ✓ ✓

✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓

✓ ✓

✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓


กระตุน ความสนใจ Engaae

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุน ความสนใจ

หนวยการเรียนรูท ี่

ñ

Engage

ครูถามคําถาม แลวใหนักเรียนรวมกันแสดง ความคิดเห็นอยางอิสระ • จากภาพเกี่ยวของกับศาสนาใด สังเกตได จากอะไร (ตอบ เกี่ยวของกับพระพุทธศาสนา สังเกตไดจากภาพพระสงฆและ ภาพศาสนสถาน คือ วัด) • นักเรียนเคยปฏิบัติเหมือนเด็กในภาพนี้ หรือไม (แนวตอบ ขึ้นอยูกับคําตอบของนักเรียน แตละคน แลวครูใหนักเรียนที่เคยปฏิบัติ ออกมาเลาใหเพื่อนๆ ฟง) • นักเรียนคิดวา พระสงฆมีหนาที่สําคัญ อยางไร (แนวตอบ ศึกษาหลักธรรมคําสอนของ พระพุทธเจา แลวนํามาเผยแผใหเราไดรู และปฏิบัติตาม เพื่อใหเรามีความสุข ในการดําเนินชีวิต)

ÈÒʹҢͧàÃÒ

เปาหมายการเรียนรูประจําหนวยที่ ๑ เมื่อเรียนจบหนวยนี้ ผูเรียนจะมีความรูความสามารถตอไปนี้ ๑. บอกพุทธประวัติหรือประวัติของศาสดาที่ตนนับถือโดยสังเขป (มฐ. ส ๑.๑ ป.๑/๑) ๒. ชื่นชมและบอกแบบอยางการดําเนินชีวิตและขอคิดจากประวัติสาวก ชาดก เรื่องเลา และศาสนิกชนตัวอยาง ตามที่กําหนด (มฐ. ส ๑.๑ ป.๑/๒) ๓. บอกความหมาย ความสําคัญ และเคารพพระรัตนตรัย ปฏิบัติตามหลักธรรมโอวาท ๓ ในพระพุทธศาสนา หรือ หลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กําหนด (มฐ. ส ๑.๑ ป.๑/๓) ๔. เห็นคุณคาและสวดมนตแผเมตตา มีสติที่เปนพื้นฐานของสมาธิในพระพุทธศาสนาหรือการพัฒนาจิตตาม แนวทางของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กําหนด (มฐ. ส ๑.๑ ป.๑/๔) ๕. บําเพ็ญประโยชนตอวัด หรือศาสนสถานของศาสนาที่ตนนับถือ (มฐ. ส ๑.๒ ป.๑/๑) ๖. แสดงตนเปนพุทธมามกะหรือแสดงตนเปนศาสนิกชนของศาสนาที่ตนนับถือ (มฐ. ส ๑.๒ ป.๑/๒) ๗. ปฏิบัติตนในศาสนพิธี พิธีกรรม และวันสําคัญทางศาสนาตามที่กําหนดไดถูกตอง (มฐ. ส ๑.๒ ป.๑/๓)

เกร็ดแนะครู ครูอาจนําเรื่องราวตางๆ ในชีวิตประจําวันที่เกี่ยวกับศาสนา เชน การทําบุญ การใสบาตร การสวดมนตไหวพระ เปนตน มาเลาใหนักเรียนฟงหรือสนทนาซักถาม กับนักเรียน เพื่อเปนการกระตุนความสนใจใหกับนักเรียน ครูอาจดูคลิปวิดีโอ เรื่อง ศาสนา ประถม : ทบทวนตนเอง ซึ่งเปนการใชเรื่อง พุทธประวัติ เพือ่ สอนเด็กเรือ่ งการทบทวนตนเอง แลวนํามาปรับใชในการเรียนการสอน

มุม IT ครูชมคลิปวิดีโอ เรื่อง ศาสนา ประถม : ทบทวนตนเอง ไดจากเว็บไซต www.thaiteacher.tv แลวคลิกเลือกประถมศึกษา สังคมศึกษาฯ จะปรากฎ คลิปวิดีโอใหเลือก

คูมือครู

1


กระตุน ความสนใจ Engaae

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expore

Explain

Elaborate

Evaluate

เปาหมายการเรียนรู บอกพุทธประวัติหรือประวัติของศาสดา ที่ตนนับถือโดยสังเขปได (ส 1.1 ป.1/1)

¾Ãоط¸ÈÒÊ¹Ò áÅÐÈÒʹÒÍ×è¹æ

º··Õè

ñ

สมรรถนะของผูเรียน

กิจกรรมนําสูการเรียน

1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด

คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. รักชาติ ศาสน กษัตริย 2. ใฝเรียนรู 3. มุงมัน่ ในการทํางาน

กระตุน ความสนใจ

Engage

ใหนักเรียนดูภาพ หนา 2 และชวยกันบอกวา • ผูคนในชุมชนนี้นับถือศาสนาใดบาง สังเกตไดจากสิ่งใด (แนวตอบ ผูคนในชุมชนนี้นับถือศาสนาตางๆ เชน - พระพุทธศาสนา สังเกตไดจากศาสนสถาน คือ วัด - ศาสนาคริสต สังเกตไดจากศาสนสถาน คือ โบสถคริสต - ศาสนาอิสลาม สังเกตไดจากศาสนสถาน คือ มัสยิด) • ผูคนในชุมชนของนักเรียนนับถือ ศาสนาใดบาง (แนวตอบ คําตอบขึ้นอยูกับชุมชนที่นักเรียน อาศัยอยู เชน พระพุทธศาสนา ศาสนาคริสต ศาสนาอิสลาม ศาสนาพราหมณ-ฮินดู เปนตน)

จากภาพ เพื่อนๆ คิดวา ผูคนในชุมชนนี้นับถือศาสนาใดบาง และสังเกตไดจากสิ่งใด

แนวคิดสําคัญ ÈÒʹҵ‹Ò§æ ŌǹÁÕ»ÃÐÇѵԤÇÒÁ໚¹ÁÒ·Õ蹋Òʹ㨠ÁÕ»ÃÐÇѵÔÈÒÊ´Ò ËÅÑ¡¤íÒÊ͹¢Í§ÈÒʹҷÕèàÃÒ¤ÇÃÂÖ´¶×ÍáÅÐ »¯ÔºÑµÔµÒÁ à¾×èÍãËŒµ¹àͧáÅмٌÍ×è¹ÁÕ¤ÇÒÁÊØ¢ ໚¹¤¹´Õ¢Í§Êѧ¤Á áÅлÃÐà·ÈªÒµÔ

เกร็ดแนะครู ครูจัดกระบวนการเรียนรูโดยการใหนักเรียนปฏิบัติ ดังนี้ • สืบคนขอมูลเกี่ยวกับพุทธประวัติหรือประวัติศาสดาของศาสนาที่ตนนับถือ • รวบรวมขอมูลเกี่ยวกับพุทธประวัติหรือประวัติศาสดาของศาสนาที่ตนนับถือ • แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประวัติศาสดาของศาสนาตางๆ • วิเคราะหจากประเด็นคําถามและภาพเกี่ยวกับศาสนาตางๆ จนเกิดเปนความรูความเขาใจวา ศาสนาตางๆ มีศาสดาเปนผูเผยแผศาสนา มีหลักคําสอนที่เราควรยึดถือและปฏิบัติตามเพื่อใหตนเองเปนคนดีและมีความสุข ในการดําเนินชีวิต

2

คูมือครู


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Engaae

สํารวจคนหา

Explore

1. ครูสํารวจนักเรียนในหองวา นับถือศาสนา ใดบาง และมีความรูเกี่ยวกับศาสนาที่ตน นับถืออยางไร 2. ใหนักเรียนอานขอความสนทนาระหวางนิด กับคุณแม แลวครูถามวา • พระพุทธเจาคือใคร (ตอบ พระพุทธเจาคือผูกอตั้ง พระพุทธศาสนา) • พระสงฆคือใคร (ตอบ พระสงฆคือนักบวชผูเผยแผ พระพุทธศาสนา) • การสวดมนตกอนนอน มีผลดีอยางไร (แนวตอบ ทําใหจิตใจสงบและเปนการระลึก ถึงพระคุณของพระรัตนตรัย) 3. ครูสนทนากับนักเรียนวา ศาสนาสวนใหญ มีผูกอตั้งศาสนา หรือเรียกอีกอยางวา ศาสดา จากนั้นใหนักเรียนสืบคนขอมูลวา ศาสดาของ พระพุทธศาสนาคือใคร

๑ พระพุทธศาสนา เย็นวันหนึ่ง นิดกับคุณแมกําลังคุยกัน àÃҹѺ¶×;Ãоط¸ÈÒÊ¹Ò µŒÍ§¡ÃÒºäËÇŒ

¤Ø³áÁ‹¤Ð ·íÒäÁàÃÒµŒÍ§ ¾Ãоط¸ÃÙ»«Öè§à»š¹ÊÑÞÅѡɳ ᷹ͧ¤ ¾Ãоط¸à¨ŒÒ ÊÇ´Á¹µ ¡‹Í¹¹Í¹ áÅÐãÊ‹ à¾×èÍÃíÒÅÖ¡¶Ö§¤Ø³¢Í§¾Ãоط¸à¨ŒÒ ºÒµÃ¾Ãе͹ઌҴŒÇ¤РáÅÐà¾×èÍãËŒ¾ÃÐʧ¦ ä´ŒÁÕ¡íÒÅѧ㹡ÒÃÈÖ¡ÉÒ ¾ÃиÃÃÁ áŌǹíÒÁÒ à¼ÂἋÈÒÊ¹Ò àÃÒ¨Ö§¤ÇÃãÊ‹ºÒµÃ ¾ÃÐʧ¦ 㹵͹ઌÒ

พระพุทธเจาทรงเปนศาสดา หรือผูกอตั้งพระพุทธศาสนา พระองคทรงสอนใหทุกคนเปนคนดี ทั้งการคิด การพูด และ การกระทํา ฉะนั้นเราทุกคนควรปฏิบัติตามหลักธรรมคําสอน ของพระพุทธเจา บานเมืองเราก็จะมีความสงบสุขดวย ¾Ãоط¸à¨ŒÒÁÕ»ÃÐÇѵÔÍ‹ҧäà ÁÕà˵ءÒó ÊíÒ¤ÑÞã´ºŒÒ§ ·Õ蹋Òʹ㨠àÃÒä»ÈÖ¡ÉҡѹàŹФÃѺ ๓

ขอสอบเนนการคิด

เพราะเหตุใด ชาวพุทธจึงตองกราบไหวพระพุทธรูป

แนวตอบ เพราะพระพุทธรูปเปนสัญลักษณแทนพระพุทธเจา ดังนั้น การกราบไหวพระพุทธรูปเพื่อเปนการแสดงความเคารพตอพระพุทธเจา ซึ่งมีพระคุณตอชาวพุทธ

เกร็ดแนะครู กอนเริ่มเรียน ครูอาจสอบถามนักเรียนกอนวา ใครเคยใสบาตร และสวดมนต กอนนอนบาง จากนั้นใหนักเรียนบอกตามความเขาใจวา เพราะเหตุใดเราจึงตอง ใสบาตรและสวดมนตกอนนอน

มุม IT ครูศึกษาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับพระรัตนตรัยไดที่ www.panyathai.or.th

คูมือครู

3


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา Explore

Engaae

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Elaborate

Evaluate

Explore

1. ครูสอบถามนักเรียนในหองวา มีใครรูจัก พระพุทธเจาบาง (ใหนักเรียนที่รูจักยกมือ) แลวครูสุมเรียกนักเรียนที่ยกมือออกมาเลา ใหเพื่อนๆ ฟง ที่หนาชั้น 2. ครูสอบถามความคิดเห็นนักเรียนวา เราเรียน พุทธประวัติเพื่ออะไร ใหนักเรียนชวยกันตอบ 3. ใหนกั เรียนอานพุทธประวัตจิ ากหนังสือ หนา 4-5 และอานขอมูลเกี่ยวกับศาสนาคริสต และศาสนาอิสลาม หนา 6 4. ครูแนะนําใหนักเรียนสืบคนขอมูลเกี่ยวกับ พุทธประวัติและประวัติศาสดาของศาสนคริสต และศาสนาอิสลามจากแหลงเรียนรูตางๆ เพิ่มเติม เพื่อเปนขอมูลในการนํามาสนทนา แลกเปลี่ยนความรูระหวางกัน

พุทธประวัติ ๑) ประสูติ พระพุทธเจามีพระนามวา เจาชายสิทธัตถะ ประสูติ ใตตนสาละ ในวันขึ้น ๑๕ คํ่า เดือน ๖ กอนพุทธศักราช ๘๐ ป ที่สวนลุมพินีวัน ปจจุบันอยูในประเทศเนปาล เจาชายสิทธัตถะ เปนพระราชโอรสของพระเจาสุทโธทนะ และพระนางสิรมิ หามายา ซึง่ เปนผูป กครองกรุงกบิลพัสดุ ปจจุบนั อยูในประเทศอินเดีย เมือ่ เจาชายสิทธัตถะประสูตไิ ด ๗ วัน พระมารดาไดสนิ้ พระชนม พระองคจงึ ตองอยูในความดูแลของพระนางปชาบดีโคตมีผเู ปนนา และไดศกึ ษาเลาเรียนวิชาทีเ่ หมาะกับการเปนพระเจาแผนดิน และ ทรงศึกษาไดอยางรวดเร็ว เมื่ อ เจ า ชายสิ ท ธั ต ถะมี พระชนมายุได ๒๙ พรรษา พระองคทรงเบื่อหนายความ ไมยั่งยืนของชีวิต พระองค จึงไดตัดสินพระทัยออกผนวช และได บํ า เพ็ ญ เพี ย รด ว ยวิ ธี 1 ทุกกรกิรยิ า แตกย็ งั ไมสามารถ คนหาแนวทางในการดับทุกข พระพุทธเจาทรงบําเพ็ญเพียรที่เรียกวา ทุกกรกิริยา จนมีพระวรกายซูบผอม ที่แทจริงได ▲

เกร็ดแนะครู ครูควรหาหนังสือหรือวีดิทัศนเกี่ยวกับพุทธประวัติมาเปดใหนักเรียนดู แลวชวนนักเรียนสนทนาซักถามเกี่ยวกับสิ่งที่ไดดู

นักเรียนควรรู 1 บําเพ็ญเพียรดวยวิธีทุกกรกิริยา เปนการบําเพ็ญเพียรโดยการทรมานตนเอง ดวยวิธีตางๆ เชน การกัดฟน การกลั้นลมหายใจเขา-ออก การอดอาหาร เปนตน ซึ่งเปนความเชื่อของเจาสํานักตางๆ ในสมัยพุทธกาลวาจะทําใหพนทุกขได

4

คูมือครู

ขอสอบเนนการคิด

เพราะเหตุใด เจาชายสิทธัตถะจึงตัดสินพระทัยออกผนวช แนวตอบ เพราะพระองคทรงเบื่อหนายความไมยั่งยืนของชีวิต และตองการคนหาแนวทางในการดับทุกข


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

๒) ตรัสรู หลังจากเลิก บําเพ็ญเพียรดวยวิธที กุ กรกิรยิ า พระสิทธัตถะทรงบําเพ็ญเพียร ดวยการนัง่ สมาธิ ทําใหพระองค ตรัสรูเ ปนพระสัมมาสัมพุทธเจา ในวันเพ็ญขึ้น ๑๕ คํ่า เดือน ๖ ณ ใตตน พระศรีมหาโพธิท์ ี่ใกล ริมฝงแมนํ้าเนรัญชรา ซึ่งใน ขณะนัน้ พระองคมพี ระชนมายุ ได ๓๕ พรรษา ๓) ปรินพิ พาน เมือ่ ตรัสรู แลว พระองค ไดทรงเผยแผ หลักธรรมใหกบั ประชาชนโดย ทัว่ ไปเปนเวลานานถึง ๔๕ ป พระองค จึ ง ได เ สด็ จ ดั บ ขั น ธ ปรินพิ พาน ในวันขึน้ 1 ๑๕ คํา่ เดือน ๖ ที่ใตตน สาละ ในเมือง กุสินารา ปจจุบนั อยูใ นประเทศ อินเดีย รวมพระชนมายุได ๘๐ พรรษา

Explain

1. ใหนักเรียนตอบคําถามวา • พระพุทธเจาทรงมีพระนามเดิมวาอะไร (ตอบ เจาชายสิทธัตถะ) • เพราะเหตุใดเจาชายสิทธัตถะจึงออกผนวช (ตอบ ตองการหาหนทางพนทุกข) • พระสิทธัตถะตรัสรูดวยวิธีการใด (ตอบ บําเพ็ญเพียรโดยการนั่งสมาธิ) • หลังจากตรัสรูแลว พระพุทธเจาทรงปฏิบัติ อยางไร (แนวตอบ เผยแผหลักธรรมใหกับผูอื่น) 2. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความรูที่ไดจาก การเรียนพุทธประวัติ 3. ใหนักเรียนทํากิจกรรมรวบยอดที่ 1.1 ขอ 1 จากแบบวัดฯ สังคมศึกษาฯ ป.1 ▲

พระพุทธเจาตรัสรูที่ใตตนพระศรีมหาโพธิ์ ปจจุบันอยูที่พุทธคยา ประเทศอินเดีย

✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ สังคมศึกษาฯ ป.1 กิจกรรมรวบยอดที่ 1.1 แบบประเมินตัวชี้วัด ส 1.1 ป.1/1 แบบประเมินผลการเรียนรูตามตัวชี้วัด ประจําหนวยที่ ๑ บทที่ ๑ กิจกรรมรวบยอดที่ ๑.๑ แบบประเมินตัวชี้วัด ส ๑.๑ ป.๑/๑ 

บอกพุทธประวัติหรือประวัติของศาสดาที่ตนนับถือโดยสังเขป

ชุดที่ ๑ ๑๕ คะแนน

๑ เลือกภาพเหตุการณพุทธประวัติมา ๑ ภาพ แลวเขียนบรรยายเหตุการณสั้นๆ จากภาพ

๑) ▲

๓)

ฉบับ

พระพุทธเจาปรินพิ พานทีส่ าลวโนทยาน ในเมือง กุสินารา แควนมัลละ

เฉลย

(ตัวอยาง) ๑) เกี่ยวของกับเหตุการณ …………………………………….. ประสูติ ภาพที่เลือก คือ หมายเลข …………… เจาชายสิทธัตถะเปนพระราชโอรสของพระเจา มีเหตุการณเกิดขึ้น ดังนี้ …………………………………………………………………………………………………………………………. สุทโธทนะกับพระนางสิริมหามายา ซึ่งเปนผูปกครองกรุงกบิลพัสดุ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… เจาชายสิทธัตถะประสูติเมื่อวันขึ้น ๑๕ คํ่า เดือน ๖ กอนพุทธศักราช ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๘๐ ป บริเวณใตตนสาละ ในสวนลุมพินีวัน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

กิจกรรมพัฒนาการเรียนรูที่ ๑

สืบคนขอมูลเกีย่ วกับพุทธประวัตจิ ากแหลงเรียนรูต า งๆ แลวเขียน สรุปตามสํานวนของตนเอง จากนั้นผลัดกันนําเสนอผลงานหนาชั้น

๒)

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ตัวชี้วัด ส ๑.๑ ขอ ๑ ไดคะแนน คะแนนเต็ม

õ

คุณธรรมใดที่ทําใหพระพุทธเจาตรัสรู ก. ความเมตตา ข. ความซื่อสัตย ค. ความเพียร ง. ความกตัญู

ขอสอบเนนการคิด

นักเรียนควรรู 1 ตนสาละ เปนไมยืนตนชนิดหนึ่ง เปนตนไมสําคัญที่กลาวถึงในพุทธประวัติ เนื่องจากพระพุทธเจาประสูติและปรินิพานใตตนสาละ

วิเคราะหคาํ ตอบ กวาทีพ่ ระพุทธเจาจะตรัสรูเ ปนพระสัมมาสัมพุทธเจาได พระองคทรงบําเพ็ญทุกกรกิริยาดวยความเพียรพยายามและอดทนนานถึง 6 ป ดังนั้น ขอ ค. เปนคําตอบที่ถูกตอง

มุม IT นักเรียนศึกษาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับพุทธประวัติไดที่ http://www.onab.go.th ของสํานักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติ โดยคลิกเลือกทีแ่ ถบองคความรู (พุทธประวัต)ิ คูมือครู

5


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Elaborate

Evaluate

Explain

1. ใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นและสรุป ขอมูลเกี่ยวกับศาสนาคริสตและศาสนาอิสลาม ที่ไดจากการอานขอมูล หนา 6 2. ครูอานขอความเกี่ยวกับประวัติศาสดาของ ศาสนาคริสตและศาสนาอิสลาม แลวให นักเรียนบอกวาถูกหรือผิด เชน • ศาสดาของศาสนาคริสต คือ พระเยซู (ถูก) • ศาสดาของศาสนาอิสลามคือ อัลเลาะห (ผิด) • พระเยซูประสูติที่แควนยูดาห (ถูก) • ศาสนาอิสลามเกิดขึ้นที่ประเทศ ซาอุดีอาระเบีย (ถูก) 3. ใหนักเรียนทํากิจกรรมรวบยอดที่ 1.1 ขอ 2 จากแบบวัดฯ สังคมศึกษาฯ ป.1

๒ ศาสนาคริสต

พระเยซูสมัยยังเยาวและบิดามารดา

✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ สังคมศึกษา ป.1 กิจกรรมรวบยอดที่ 1.1 แบบประเมินตัวชี้วัด ส 1.1 ป.1/1

๓ ศาสนาอิสลาม

๒ ดูภาพที่กําหนดให แลวบันทึกขอมูลใหถูกตอง

คริสต ๑) ภาพนี้เปนภาพเกี่ยวกับศาสนา ………………………………. มีไมกางเขนและบาทหลวง สังเกตไดจาก …………………………………………………………………………… พระเยซู ศาสดาของศาสนานี้ คือ ……………………………………………….. พระเยซู ประวัติโดยยอของศาสดา มีดังนี้ ………………………….. ประสู ติในหมูบานเบธเลเฮม แควนยูดาห ………………………………………………………………………………………………………………… ประเทศอิสราเอล

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

อิสลาม ๒) ภาพนี้เปนภาพเกี่ยวกับศาสนา ………………………………. การแตงกายของคนในภาพ สังเกตไดจาก …………………………………………………………………………… นบีมุฮัมมัด ศาสดาของศาสนานี้ คือ ……………………………………………….. ฉบับ ประวัติโดยยอของศาสดา มีดังนี้ ………………………….. เฉลย นบี มุฮัมมัดประสูติในนครเมกกะ ………………………………………………………………………………………………………………… ประเทศซาอุดีอาระเบีย

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ตัวชี้วัด ส ๑.๑ ขอ ๑ ไดคะแนน คะแนนเต็ม

ñð

เกณฑประเมินชิ้นงาน

ขอ ๑ (๕ คะแนน) การบันทึกขอมูล (๓ คะแนน)

• บันทึกขอมูลไดถูกตอง ครบถวน ตรงประเด็น • บันทึกขอมูลไดถูกตอง แตยังไมครบถวน • บันทึกขอมูลไมคอยถูกตอง และไมครบถวน

๓ คะแนน ๒ คะแนน ๑ คะแนน

• ผลงานมีความสะอาดเรียบรอย • ผลงานไมคอยสะอาดและไมคอยเรียบรอย

๒ คะแนน ๑ คะแนน

ความสะอาดเรียบรอย (๒ คะแนน)

ขอ ๒ (๑๐ คะแนน มี ๒ ขอ ขอละ ๕ คะแนน) ใชเกณฑการประเมินเหมือนขอ ๑

ศาสนาอิ ส ลามเกิ ด ขึ้ น ที่ ประเทศซาอุดีอาระเบีย ใน นครเมกกะ และศาสดาของ ศาสนาอิสลาม คือ นบีมฮุ มั มัด ศาสนาอิสลามสอนใหคน เชื่อในพระเจาองคเดียว คือ อัลเลาะห สอนใหคนหมั่นทํา ความดี และปฏิบัติตามหลัก ศาสนาอยางเครงครัด

1 การประกอบพิธีฮัจญ ของมุสลิม ณ นครเมกกะ ประเทศซาอุดีอาระเบีย เปนการแสวงบุญตามหลักคําสอนของศาสนาอิสลาม ซึ่งมุสลิมทุกคนจะตองปฏิบัติ อยางนอย 1 ครั้งในชีวิต

มุม IT ครูศึกษาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับศาสนาคริสตและศาสนาอิสลามไดที่ http:// www.religions.mbu.ac.th ของมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย โดยคลิกเลือก ความเปนมาของศาสนาตางๆ

คูมือครู

1

การประกอบพิธีฮัจญของมุสลิม ณ นครเมกกะ ประเทศซาอุดีอาระเบีย

นักเรียนควรรู

6

ศาสนาคริ ส ต เ กิ ด ขึ้ น ที่ ประเทศอิสราเอล ศาสดาของ ศาสนาคริสต คือ พระเยซู พระองคประสูติที่หมูบาน เบธเลเฮม แควนยูดาห ศาสนาคริสตสอนใหคนมี ความรัก ความเมตตาตอกัน และสอนใหมีความเอื้อเฟอ เผื่อแผตอเพื่อนมนุษยดวย

กิจกรรมสรางเสริม ครูใหนักเรียนวาดภาพประวัติศาสดาของศาสนาที่ตนนับถือ แลวเขียน บรรยายเหตุการณที่วาดสั้นๆ จากนั้นนําผลงานมาแสดงที่หนาชั้น

กิจกรรมทาทาย ครูใหนักเรียนสืบคนขอมูลเกี่ยวกับพุทธประวัติ ประวัติของพระเยซู ประวัติของนบีมุฮัมมัด จากนั้นสรุปขอมูลลงในสมุด แลวออกมาเลา ที่หนาชั้น และนําผลงานไปจัดปายนิเทศ


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engaae

Expore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ขยายความเขาใจ กิจกรรมพัฒนาการเรียนรูที่ ๒

(ผลการปฏิบัติกิจกรรมขึ้นอยูกับดุลยพินิจของครูผูสอน)

แบงกลุม ใหแตละกลุมชวยกันสืบคนขอมูลเกี่ยวกับศาสนาที่ กําหนดให (ศาสนาคริสต ศาสนาอิสลาม) จากแหลงเรียนรูตางๆ เชน จากหนังสือหองสมุด ขอมูลจากอินเทอรเน็ต เปนตน แลวสรุป ขอมูลบันทึกผลลงในสมุดของกลุม จากนัน้ สงตัวแทนออกมานําเสนอ ผลงานหนาชั้น ศาสนาอิสลาม

ศาสนาคริสต

Expand

1. ใหนักเรียนสอบถามสมาชิกในครอบครัววา นับถือศาสนาใด เพราะเหตุใดจึงนับถือ ศาสนานั้น 2. ใหนักเรียนสังเกตบุคคลรอบขางที่นับถือ ศาสนาตางๆ วามีพฤติกรรมเหมือนกันหรือ ตางกันอยางไร เชน การรับประทานอาหาร การแตงกาย การประกอบพิธีกรรมทางศาสนา เปนตน 3. ใหนักเรียนรวมกันสรุปวาไดเรียนรูอะไรบาง โดยสรุปเปนขอๆ 4. ใหนักเรียนสรุปประวัติศาสดาของศาสนา ที่ตนนับถือลงในสมุด

ตรวจสอบผล

Evaluate

ครูตรวจสอบความถูกตองของการเขียนสรุป ประวัติศาสดาที่นักเรียนนับถือ

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู กิจกรรมรวบยอด

ผลงานการสรุปประวัติศาสดาของศาสนาที่ตน นับถือ (ผลการปฏิบัติกิจกรรมขึ้นอยูกับดุลยพินิจของครูผูสอน)

๑. สํารวจเพื่อนๆ ในหองเรียนวา มีผูนับถือศาสนาใดบาง จํานวนกี่คน แลวบันทึกขอมูลลงในสมุด ๒. สืบคนขอมูลประวัติศาสดาของศาสนาที่ตนนับถือ แลวเขียน สรุปลงในสมุด จากนั้นนําเสนอผลงานหนาชั้น ๗

ขอสอบเนนการคิด

คําสอนเรือ่ งความรักเปนคําสอนสําคัญของศาสนาใด แสดงออกโดยวิธใี ด และศาสดาผูเปนแบบอยางคุณธรรมนี้คือใคร แนวตอบ ความรักเปนคําสอนสําคัญของศาสนาคริสต แสดงออกโดย มีความเมตตา เอือ้ เฟอ ตอกัน ใหอภัยผูอ นื่ ซึง่ ศาสดาผูเ ปนแบบอยาง คุณธรรมนี้ คือ พระเยซู

บูรณาการอาเซียน ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา ประเทศสมาชิกอาเซียนมีความ หลากหลายทางดานการนับถือศาสนา ดังนี้ • ประเทศสมาชิกอาเซียนที่มีประชากรสวนใหญนับถือพระพุทธศาสนา ไดแก กัมพูชา ลาว พมา ไทย และเวียดนาม • ประเทศสมาชิกอาเซียนที่มีประชากรสวนใหญนับถือศาสนาอิสลาม ไดแก บรูไน อินโดนีเซีย และมาเลเซีย • ประเทศสมาชิกอาเซียนที่มีประชากรสวนใหญนับถือศาสนาคริสต ไดแก ฟลิปปนส

คูมือครู

7


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.