8858649122414

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº Í- .

».

ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน

กระบวนการสอนแบบ 5 Es ชวยสรางทักษะการเรียนรู กิจกรรมมุงพัฒนาทักษะการคิด คำถาม + แนวขอสอบเพื่อยกผลสัมฤทธิ์ O-NET กิจกรรมบูรณาการเตรียมพรอมสู ASEAN 2558


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

ประวัติศาสตร ชั้นประถมศึกษาปที่

1

สําหรับครู

คูมือครู Version ใหม

ลักษณะเดน

ขยายพื้นที่รูปเลมใหญขึ้นกวาเดิม จัดแบงพื้นที่ออกเปนโซน เพื่อคนหาขอมูลไดงาย สะดวก รวดเร็ว และดูเปนระเบียบ กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

เปาหมายการเรียนรู สมรรถนะของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค

หน า

โซน 1 กระตุน ความสนใจ

Engage

สํารวจคนหา

Explore

อธิบายความรู

Explain

ขยายความเขาใจ

Expand

ตรวจสอบผล

หน า

หนั ง สื อ เรี ย น

โซน 1

หนั ง สื อ เรี ย น

Evaluate

ขอสอบเนน การคิด ขอสอบเนน การคิด แนว NT แนว O-NET ขอสอบ

โซน 2

เกร็ดแนะครู

O-NET

บูรณาการเชื่อมสาระ

โซน 3

กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย

นักเรียนควรรู

โซน 3

โซน 2 บูรณาการอาเซียน มุม IT

No.

คูมือครู

คูมือครู

No.

โซน 1 ขั้นตอนการสอนแบบ 5Es

โซน 2 ชวยครูเตรียมสอน

โซน 3 ชวยครูเตรียมนักเรียน

เพื่อใหครูเตรียมจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยแนะนําขั้นตอนการสอนและ การจัดกิจกรรมแบบ 5Es อยางละเอียด เพื่อใหนักเรียนบรรลุตามตัวชี้วัด

เพื่อชวยลดภาระครูผูสอน โดยแนะนํา เกร็ดความรูสําหรับครู ความรูเสริมสําหรับ นักเรียน รวมทั้งบูรณาการความรูสูอาเซียน และมุม IT

เพือ่ ใหครูสะดวกตอการจัดกิจกรรม โดยแนะนํา กิจกรรมบูรณาการเชื่อมระหวางกลุมสาระ วิชา กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย รวมถึงเนือ้ หา ที่เคยออกขอสอบ O-NET เก็งขอสอบ O-NET และแนวขอสอบเนนการคิด พรอมคําอธิบาย และเฉลยอยางละเอียด


ที่ใชในคูมือครู

แถบสีและสัญลักษณ

แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5Es เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

1. แถบสี 5Es สีแดง

สีเขียว

กระตุน ความสนใจ

เสร�ม

สํารวจคนหา

Engage

2

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุน ความสนใจ เพื่อโยง เขาสูบทเรียน

สีสม

อธิบายความรู

Explore

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนสํารวจ ปญหา และศึกษา ขอมูล

สีฟา

Explain

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนคนหา คําตอบ จนเกิดความรู เชิงประจักษ

สีมวง

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนนําความรู ไปคิดคนตอๆ ไป

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

2. สัญลักษณ สัญลักษณ

วัตถุประสงค

• เปาหมายการเรียนรู

O-NET

(เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ O-NET O-NET)

• ชีแ้ นะเนือ้ หาทีเ่ คยออกขอสอบ

O-NET โดยยกตัวอยางขอสอบ พรอมวิเคราะหคาํ ตอบ อยางละเอียด

• เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน

การคิดใหครูนาํ ไปใชไดจริง รวมถึงเปนการเก็งขอสอบ O-NET ทีจ่ ะออก มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

แสดงรองรอยหลักฐานตามภาระงาน ที่ครูมอบหมาย เพื่อแสดงผลการเรียนรู ตามตัวชี้วัด

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

แทรกความรูเสริมสําหรับครู ขอเสนอแนะ ขอควรระวัง ขอสังเกต แนวทางการจัด กิจกรรมและอืน่ ๆ เพื่อประโยชนในการ จัดการเรียนการสอน

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

ขยายความรูเพิ่มเติมจากเนื้อหา เพื่อใหครู นําไปใชอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียน ไดมีความรูมากขึ้น

บูรณาการเชื่อมสาระ

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม

ความรูห รือกิจกรรมเสริม ใหครูนาํ ไปใช เตรียมความพรอมใหกบั นักเรียนกอนเขาสู ประชาคมอาเซียน 2558 โดยบูรณาการ กับวิชาทีก่ าํ ลังเรียน

กิจกรรมสรางเสริม

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม

เกร็ดแนะครู

นักเรียนควรรู

บูรณาการอาเซียน

คูม อื ครู

ขอสอบ

วัตถุประสงค

• หลักฐานแสดงผล การเรียนรู

มุม IT

แสดงเปาหมายการเรียนรูที่นักเรียน ตองบรรลุตามตัวชี้วัด ตลอดจนสมรรถนะ ที่จะตองมี และคุณลักษณะที่พึงเกิดขึ้น กับนักเรียน

สัญลักษณ

แนะนําแหลงคนควาจากเว็บไซต เพื่อใหครู และนักเรียนไดเขาถึงขอมูลความรู ที่หลากหลาย ทั้งไทยและตางประเทศ

• แนวขอสอบ NT ในระดับ

ประถมศึกษา มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

(เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ NT)

กิจกรรมทาทาย

เชือ่ มกับกลุม สาระ ชัน้ หรือวิชาอืน่ ทีเ่ กีย่ วของ

ซอมเสริมสําหรับนักเรียน ทีย่ งั ไมเขาใจเนือ้ หา

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ตอยอดสําหรับนักเรียนทีเ่ รียนรู เนือ้ หาไดอยางรวดเร็ว และ ตองการทาทายความสามารถ ในระดับทีส่ งู ขึน้


คําแนะนําการใชคูมือครู การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน คูมือครู รายวิชา ประวัติศาสตร ป.1 จัดทําขึ้นเพื่อใหครูผูสอนนําไปใชเปนแนวทางวางแผนการสอนเพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน และประกันคุณภาพผูเ รียน ตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน (สพฐ.) โดยใชหนังสือเรียน ประวัติศาสตร ป.1 ของบริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด เปนสื่อหลัก (Core Material) ประกอบ เสร�ม การสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดกลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา 3 ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 โดยออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน ตามหลักการสําคัญ ดังนี้ 1 ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน คูม อื ครู รายวิชา ประวัตศิ าสตร ป.1 วางแผนการสอนโดยแบงเปนหนวยการเรียนรูต ามลําดับสาระ (standard) และ หมายเลขขอของมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั แตละหนวยจะกําหนดเปาหมายการสอนและจุดประสงคการเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทางการประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชัดเจน ครูผูสอนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด สมรรถนะ และคุณลักษณะ อันพึงประสงคที่เปนเปาหมายการเรียนรูตามที่กําหนดไวในสาระแกนกลาง (ตามแผนภูมิ) และสามารถบันทึกผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของผูเรียนแตละคนลงในเอกสาร ปพ.5 ไดอยางมั่นใจ แผนภูมิแสดงองคประกอบของการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผูเรียนเปนสําคัญ

พผ

ูเ

จุดปร

ะสง

ค ก

ส ภา

รี ย น

รู ีเรยน

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชั้นป

ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน คูม อื ครู


2 การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ แนวคิ ด ในการจั ด การเรี ย นการสอนที่ ยึ ด ผู  เ รี ย นเป น สํ า คั ญ พั ฒ นามาจากปรั ช ญาและทฤษฎี ก ารเรี ย นรู  Constructivism ที่เชื่อวาการเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสรางความรู โดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดเรียนรูจากบทเรียนใหมกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา ผูเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีการสั่งสมความรูความเขาใจเกี่ยวกับสิ่งตางๆ ติดตัวมากอน เสร�ม ทีจ่ ะเขาสูห อ งเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากประสบการณและสิง่ แวดลอมรอบตัวผูเ รียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกิจกรรม 4 การเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ผูสอนจะตองคํานึงถึง 1. ความรูเดิมของผูเรียน วิธีการสอนที่ดีจะตองเริ่มตนจากจุดที่วา ผูเ รียนมีความรูอ ะไรมาบาง แลวจึงใหความรู หรือประสบการณใหม เพื่อตอยอดจาก ความรูเดิม นําไปสูการสรางความรูความ เขาใจใหม

2. ความรูเดิมของผูเรียนถูกตองหรือไม ผูส อนตองปรับเปลีย่ นความรูความเขาใจ เดิ ม ของผู  เ รี ย นให ถู ก ต อ ง และเป น พฤติ ก รรมการเรียนรูใหมที่มีคุณคาตอ ผูเ รียน เพือ่ สรางเจตคติหรือทัศนคติทดี่ ตี อ การเรียนรูสิ่งเหลานั้น

3. ผูเรียนสรางความหมายสําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมใหผูเรียนนําความรูความ เขาใจที่เกิดขึ้นไปลงมือปฏิบัติ เพื่อขยาย ความรูใหลึกซึ้งและมีคุณคาตอตัวผูเรียน มากที่สุด

แนวคิด Constructivism เนนใหผูเรียนสรางความรูโดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูของตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศ

การเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณ ความรูใ หม เพือ่ กระตนุ ใหผเู รียนเชือ่ มโยงความรู ความคิด กับประสบการณทมี่ อี ยูเ ดิม แลวสังเคราะหเปนความรูห รือแนวคิดใหมๆ ไดดว ยตนเอง

3 การบูรณาการกระบวนการคิด การเรียนรูข องผูเ รียนแตละคนจะเกิดขึน้ ทีส่ มอง ซึง่ เปนอวัยวะทีท่ าํ หนาทีร่ คู ดิ ภายใตสภาพแวดลอมทีเ่ อือ้ อํานวย และไดรบั การกระตนุ จูงใจอยางเหมาะสม สอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของผูเ รียนแตละคน การจัดกิจกรรม การเรียนรูและสาระการเรียนรูที่สอดคลองกับความสนใจและมีความหมายตอผูเรียน จะชวยกระตุนใหสมองของผูเรียน สามารถรับรูและเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพตามขั้นตอนการทํางานของสมอง ดังนี้ 1. สมองจะเรียนรูและสืบคน โดยการสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง ปฏิบัติ จนทําใหคนพบความรูความเขาใจ ไดอยางรวดเร็ว

2. สมองจะแยกแยะคุณคาของสิ่งตางๆ โดยการตัดสินใจวิพากษวิจารณ แสดง ความคิดเห็น ยอมรับหรือตอตานตาม อารมณความรูสึกที่เกิดขึ้นในขณะที่เรียนรู

3. สมองจะประมวลเนื้อหาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสานกับ ความรูห รือประสบการณเดิมทีถ่ กู จัดเก็บอยูใ น สมอง ผานการกลัน่ กรองเพือ่ สังเคราะหเปน ความรูค วามเขาใจใหมๆ หรือเปนทัศนคติใหม ที่จะเก็บบรรจุไวในสมองของผูเรียน

การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะเกิดขึ้น เมื่อสมองรูคิด และตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมองผูเรียน โดยเริ่มตนจาก

คูม อื ครู

1. ระดับการคิดพื้นฐาน

2. ระดับลักษณะการคิด

3. ระดับกระบวนการคิด

ไดแก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล การสรุปผล เปนตน

ไดแก การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดไกล คิดหลากหลาย คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล เปนตน

ไดแก กระบวนการคิดอยางมี วิจารณญาณ กระบวนการแกปญหา กระบวนการคิดสรางสรรค กระบวนการ คิดสังเคราะหวิจัย เปนตน


5Es การจัดกิจกรรมตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ขั้นตอนการสอนที่สัมพันธกับขั้นตอนการคิดและการทํางานทางสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย คือ วัฏจักรการเรียนรู 5Es ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแตละหนวย ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1

กระตุนความสนใจ

(Engage)

เสร�ม

5

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนนําเขาสูบ ทเรียน เพือ่ กระตุน ความสนใจของผูเ รียนดวยเรือ่ งราวหรือเหตุการณทนี่ า สนใจโดยใชเทคนิควิธกี ารสอน และคําถามทบทวนความรูหรือประสบการณเดิมของผูเรียน เพื่อเชื่อมโยงผูเรียนเขาสูความรูของบทเรียนใหม ชวยใหผูเรียนสามารถ สรุปประเด็นสําคัญที่เปนหัวขอและสาระการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอนการสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอม และสรางแรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน

ขั้นที่ 2

สํารวจคนหา

(Explore)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนเปดโอกาสใหผเู รียนลงมือศึกษา สังเกต หรือรวมมือกันสํารวจ เพือ่ ใหเห็นขอบขายของปญหา รวมถึงวิธกี ารศึกษา คนควา การรวบรวมขอมูลความรูที่จะนําไปสูการสรางความเขาใจประเด็นปญหานั้นๆ เมื่อผูเรียนทําความเขาใจในประเด็นหัวขอที่จะ ศึกษาคนควาอยางถองแทแลว ก็ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธีการตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูตามที่ตั้งประเด็นศึกษาไว

ขั้นที่ 3

อธิบายความรู

(Explain)

เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา ตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนคนหาคําตอบ และนําขอมูล ความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห สรุปผล และนําเสนอผลที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ แผนผังแสดงมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน ในขั้นตอนนี้ฝกใหผูเรียนใชสมองคิดวิเคราะหและ สังเคราะหอยางเปนระบบ

ขั้นที่ 4

ขยายความเขาใจ

(Expand)

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใชเทคนิควิธีการสอนตางๆ ที่สงเสริมใหผูเรียนนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนสืบคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะ การเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน ผูเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยง กับประสบการณเดิมโดยนําขอสรุปทีไ่ ดไปใชอธิบายเหตุการณตา งๆ หรือนําไปปฏิบตั ใิ นสถานการณใหมๆ ทีเ่ กีย่ วของกับชีวติ ประจําวัน ของตนเอง เพื่อขยายความรูความเขาใจใหกวางขวางยิ่งขึ้น ในขั้นตอนนี้ฝกสมองของผูเรียนใหสามารถคิดริเริ่มสรางสรรคอยางมี คุณภาพ เสริมสรางวิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป

ขั้นที่ 5

ตรวจสอบผล

(Evaluate)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนประเมินมโนทัศนของผูเ รียน โดยตรวจสอบจากความคิดทีเ่ ปลีย่ นไปและความคิดรวบยอดทีเ่ กิดขึน้ ใหม ตรวจสอบ ทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด และการเคารพความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพื่อการ สรางสรรคความรูร ว มกัน ผูเ รียนสามารถประเมินผลการเรียนรูข องตนเอง เพือ่ สรุปผลวามีความรูอ ะไรเพิม่ ขึน้ มาบาง เกิดความเขาใจ มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ ไดอยางไร ผูเรียนจะเกิดเจตคติและเห็นคุณคาของ ตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง

การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามขั้นตอนวัฏจักรการสรางความรูแบบ 5Es จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนน ผูเ รียนเปนสําคัญอยางแทจริง เพราะสงเสริมใหผเู รียนไดลงมือปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนของกระบวนการสรางความรูด ว ยตนเอง และฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและกระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะชีวิต ทักษะการทํางานและทักษะการ เรียนรูท มี่ ปี ระสิทธิภาพ สงผลตอการยกระดับผลสัมฤทธิข์ องผูเ รียน ตามเปาหมายของการปฏิรปู การศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คูม อื ครู


O-NET การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ O-NET

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามขัน้ ตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ในแตละหนวยการเรียนรู ทางผูจ ดั ทํา จะเสนอแนะวิธสี อนรูปแบบกิจกรรมการเรียนรู พรอมทัง้ ออกแบบเครือ่ งมือวัดผลประเมินผลทีส่ อดคลองกับตัวชีว้ ดั และสาระการเรียนรูแกนกลางไวทุกขั้นตอน โดยยึดหลักสําคัญ คือ เปาหมายของการวัดผลประเมินผล เสร�ม

6

1. การวัดผลทุกครั้งตองนําผล การวัดมาปรับปรุงพัฒนาผูเรียน เปนรายบุคคล

2. การประเมินผลมีเปาหมาย เพื่อพัฒนาการเรียนรูของผูเรียน จนเต็มศักยภาพ

3. การนําผลการวัดและประเมิน ทุกครั้งมาวางแผนปรับปรุงกิจกรรม การเรียนการสอน การเลือกเทคนิค วิธีการสอน และสื่อการเรียนรูให เหมาะสมกับสภาพจริงของผูเรียน

การทดสอบผูเรียน 1. การใชขอสอบอัตนัย เนนการอาน การคิดวิเคราะห และเขียนสรุปเพิ่มมากขึ้น 2. การใชคําถามกระตุนการคิด ควบคูกับการทําขอสอบที่เนนการคิดตลอดตอเนื่องตามลําดับกิจกรรมการเรียนรูและ ตัวชี้วัด 3. การทดสอบตองดําเนินการทั้งกอนเรียน ระหวางเรียน และเมื่อสิ้นสุดการเรียน การทดสอบระหวางเรียน ต อ งใช ข  อ สอบทั้ ง ชนิ ด ปรนั ย และอั ต นั ย และเป น การทดสอบเพื่ อ วิ นิ จ ฉั ย ผลการเรี ย นของผู  เ รี ย นแต ล ะคน เพื่อวัดการสอนซอมเสริมใหบรรลุตัวชี้วัดทุกตัว 4. การสอบกลางภาค (ถามี) ควรนําขอสอบหรือแบบฝกหัดที่นักเรียนสวนใหญทําผิดบอยๆ มาสรางเปนแบบทดสอบ อีกครัง้ เพือ่ ตรวจสอบความรูค วามเขาใจทีถ่ กู ตอง และประเมินความกาวหนาของผูเรียนแตละคน 5. การสอบปลายภาคเรียนเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามตัวชี้วัดที่สําคัญ ควรออกขอสอบใหมีลักษณะเดียวกับ ขอสอบ O-NET โดยเนนการคิดวิเคราะห สังเคราะห เชื่อมโยงประยุกตใช เพื่อสรางความคุนเคย และฝกฝน วิธีการทําขอสอบดวยความมั่นใจ 6. การนําผลการทดสอบของผูเรียนมาวิเคราะห โดยผลการสอบกอนการเรียนตองสามารถพยากรณผลการสอบ กลางภาค และผลการสอบกลางภาคตองทํานายผลการสอบปลายภาคของผูเ รียนแตละคน เพือ่ ประเมินพัฒนาการ ความกาวหนาของผูเรียนเปนรายบุคคล 7. ผลการทดสอบปลายป ปลายภาค ตองมีคาเฉลี่ยสอดคลองกับคาเฉลี่ยของการสอบ NT ที่เขตพื้นที่การศึกษา จัดสอบ รวมทั้งคาเฉลี่ยของการสอบ O-NET ชวงชั้นที่สอดคลองครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดสําคัญ เพือ่ สะทอนประสิทธิภาพของครูผสู อนในการออกแบบการเรียนรูแ ละประกันคุณภาพผูเ รียนทีต่ รวจสอบผลไดชดั เจน การจัดการเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ตองใหผูเรียนไดสั่งสมความรู สะสมความเขาใจไปทีละเล็ก ละนอยตามลําดับขัน้ ตอนของกิจกรรมการเรียนรู 5Es เพือ่ ใหผเู รียนไดเติมเต็มองคความรูอ ยางตอเนือ่ ง จนสามารถปฏิบตั ิ ชิ้นงานหรือภาระงานรวบยอดของแตละหนวยผานเกณฑประกันคุณภาพในระดับที่นาพึงพอใจ เพื่อรองรับการประเมิน ภายนอกจาก สมศ. ตลอดเวลา คูม อื ครู


ASEAN การเรียนรูสูประชาคมอาเซียน เพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรูบูรณาการอาเซียนศึกษา ผูจัดทําไดวิเคราะห มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดที่มีสาระการเรียนรูสอดคลองกับองคความรูเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนในแงมุมตางๆ ครอบคลุมทัง้ ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน เพื่อสงเสริมการเรียนรูใหผูเรียนเกิดความตระหนัก มีความรูความเขาใจเหมาะสมกับระดับชั้นและกลุมสาระ การเรียนรู โดยเสนอแนะวิธีการจัดกิจกรรมบูรณาการเนื้อหาสาระตางๆ ที่เปนประโยชนตอผูเรียนและเปนการชวย เตรียมความพรอมผูเ รียนทุกคนทีจ่ ะกาวเขาสูก ารเปนสมาชิกของประชาคมอาเซียนไดอยางมัน่ ใจตามขอตกลงปฏิญญา ชะอํา-หัวหิน วาดวยความรวมมือดานการศึกษาเพือ่ บรรลุเปาหมายประชาคมอาเซียนทีเ่ อือ้ อาทรและแบงปน จึงกําหนด เปนนโยบายใหกระทรวงศึกษาธิการจัดการเรียนรูเตรียมความพรอมผูเรียนเขาสูประชาคมอาเซียนภายในป พ.ศ. 2558 ตามแนวปฏิบัติที่สําคัญ ดังนี้

เสร�ม

7

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน 1. การสรางความรูความเขาใจ และตระหนักถึงความสําคัญของ กฎบัตรอาเซียน และความรวมมือ ของ 3 เสาหลัก ซึง่ กฎบัตรอาเซียน ในขณะนี้มีสถานะเปนกฎหมายที่ ประเทศสมาชิกจะตองปฏิบัติตาม หลักการที่กําหนดไวเพื่อใหบรรลุ เปาหมายของกฎบัตรมาตราตางๆ

2. การสงเสริมหลักการ ประชาธิปไตยและการสราง สิ่งแวดลอมประชาธิปไตย เพื่อการอยูรวมกันอยางกลมกลืน ภายใตวิถีชีวิตอาเซียนที่มีความ หลากหลายดานสังคมและ วัฒนธรรม

4. การตระหนักในคุณคาของ สายสัมพันธทางประวัติศาสตร และมรดกทางวัฒนธรรมที่มี พัฒนาการรวมกัน เพื่อเชื่อม อัตลักษณและสรางจิตสํานึก ในการเปนประชากรของประชาคม อาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการศึกษาดาน สิทธิมนุษยชน เพื่อสรางประชาคม อาเซียนใหเปนประชาคมเพื่อ ประชาชนอยางแทจริง สามารถ อยูรวมกันไดบนพื้นฐานการเคารพ ในคุณคาของศักดิ์ศรีแหงความ เปนมนุษยเทาเทียมกัน

5. การสงเสริมสันติภาพ ความ มั่นคง และความปรองดองในสังคม ทั้งระดับประเทศและภูมิภาคของ อาเซียนบนพื้นฐานสันติวิธีและการ อยูรวมกันดวยขันติธรรม

คูม อื ครู


การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

เสร�ม

8

1. การพัฒนาทักษะการทํางาน เพื่อเสริมสรางผูเรียนใหมีทักษะ วิชาชีพที่จําเปนสอดคลองกับ ความตองการของตลาดแรงงาน และสถานประกอบการในอาเซียน สามารถเทียบโอนผลการเรียน และการทํางานตามมาตรฐานฝมือ แรงงานในภูมิภาคอาเซียน

2. การเสริมสรางวินัย ความรับผิดชอบ และเจตคติรักการทํางาน สามารถพึ่งพาตนเอง มีทักษะชีวิต ดํารงชีวิตอยางมีความสุข เห็นคุณคา และภูมิใจในตนเอง ในฐานะที่เปนพลเมืองไทยและ อาเซียน

3. การเรียนรูเพื่อพัฒนาตนเอง อยางตอเนื่องตลอดชีวิต ใหมี ทักษะการทํางานตามมาตรฐาน อาชีพ และคุณวุฒิของวิชาชีพสาขา ตางๆ เพื่อรองรับการเตรียมเคลื่อน ยายแรงงานมีฝมือและการเปน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่ เขมแข็ง เพื่อสรางขีดความสามารถ ในการแขงขันในเวทีโลก

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 1. การเสริมสรางความรวมมือ ในลักษณะสังคมที่เอื้ออาทร ของประชากรอาเซียน โดยยึด หลักการสําคัญ คือ ความงดงาม ของประชาคมอาเซียนมาจาก ความแตกตางและหลากหลายทาง วัฒนธรรมที่ลวนแตมีคุณคาตอ มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน ซึ่งประชาชนทุกคนตองอนุรักษ สืบสานใหยั่งยืน

2. การเสริมสรางคุณลักษณะ ของผูเรียนใหเปนพลเมืองอาเซียน ที่มีศักยภาพในการกาวเขาสู ประชาคมอาเซียนอยางมั่นใจ เปนผูที่มีสุขภาพสมบูรณแข็งแรง มีทักษะการสื่อสาร ทักษะการ ทํางาน ทักษะทางสังคม สามารถ ทํางานรวมกับผูอื่นไดอยาง สรางสรรค และมีองคความรู เกี่ยวกับอาเซียนที่จําเปนตอการ ดํารงชีวิตอยางมีคุณภาพ

4. การสงเสริมการเรียนรูดาน ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี วิถชี วี ติ ความเปนอยูข องเพือ่ นบาน ในอาเซียน เพื่อสรางจิตสํานึกของ ความเปนประชาคมอาเซียนและ ตระหนักถึงหนาที่ของการเปน พลเมืองอาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการเรียนรูภาษา อังกฤษเพื่อการสื่อสารและการ ทํางานตามมาตรฐานอาชีพที่ กําหนดและสนับสนุนการเรียนรู ภาษาอาเซียนและภาษาเพื่อนบาน เพื่อชวยเสริมสรางสัมพันธภาพทาง สังคม และการอยูรวมกันอยางสันติ ทามกลางความหลากหลายทาง วัฒนธรรม

5. การสรางความรูและความ ตระหนักเกี่ยวกับดานสิ่งแวดลอม ปญหาและผลกระทบตอคุณภาพ ชีวิตของประชากรในภูมิภาค รวมทั้งแนวทางการพัฒนาอยาง ยั่งยืน ใหเปนมรดกสืบทอดแก พลเมืองอาเซียนในรุนหลังตอๆ ไป

กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศนโยบายการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) เพื่อเรงพัฒนาเด็ก และเยาวชนไทยใหเปนทรัพยากรมนุษยของชาติที่มีทักษะและความชํานาญ พรอมเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงและ การแขงขันทั้งในภูมิภาคอาเซียนและภูมิภาคอื่นๆ ของสังคมโลก ทั้งนี้ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และผูปกครอง ควรรวมมือกันอยางใกลชดิ ในการดูแลชวยเหลือผูเ รียนและจัดประสบการณการเรียนรูเ พือ่ พัฒนาผูเ รียนจนเต็มศักยภาพ เพื่อกาวเขาสูการเปนพลเมืองอาเซียนอยางมีเกียรติภูมิและศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของตน คูม อื ครู

คณะผูจัดทํา


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 4

ประวัติศาสตร (เฉพาะชั้น ป.1)*

ประวัติศาสตร

มาตรฐาน ส 4.1 เขาใจความหมาย ความสําคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร สามารถใชวิธีการ ทางประวัติศาสตรมาวิเคราะหเหตุการณตางๆ อยางเปนระบบ ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

ป.1 1. บอกวัน เดือน ป • ชื่อ วัน เดือน ป ตามระบบสุริยคติที่ปรากฏ • หนวยการเรียนรูท ี่ 1 และการนับชวงเวลา ในปฏิทิน วัน เวลา และเรือ่ งราว ตามปฏิทินที่ใช • ชื่อ วัน เดือน ป ตามระบบจันทรคติในปฏิทิน ทางประวัตศิ าสตร ในชีวิตประจําวัน • ชวงเวลาที่ใชในชีวิตประจําวัน เชน ตอนเชา บทที่ 1 การใชปฏิทิน วันนี้ ตอนเย็น ในชีวติ ประจําวัน 2. เรียงลําดับเหตุการณ • เหตุการณที่เกิดขึ้นในชีวิตประจําวันของนักเรียน • หนวยการเรียนรูท ี่ 1 ในชีวิตประจําวัน เชน ตื่นนอน เขานอน เรียนหนังสือ เลนกีฬา วัน เวลา และเรือ่ งราว ตามวันเวลาที่เกิดขึ้น รับประทานอาหาร ฯลฯ ทางประวัตศิ าสตร • ใชคําบอกชวงเวลา แสดงลําดับเหตุการณ บทที่ 1 การใชปฏิทิน ที่เกิดขึ้นได ในชีวิตประจําวัน 3. บอกประวัติความ • วิธีการสืบคนประวัติความเปนมาของตนเอง • หนวยการเรียนรูท ี่ 1 และครอบครัวอยางงายๆ วัน เวลา และเรือ่ งราว เปนมาของตนเอง และครอบครัวโดย • การบอกเลาประวัติความเปนมาของตนเองและ ทางประวัตศิ าสตร สอบถามผูเกี่ยวของ ครอบครัว บทที่ 2 ความเปนมาของเรา

เสร�ม

9

มาตรฐาน ส 4.2 เขาใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปจจุบันในดานความสัมพันธและการเปลี่ยนแปลง ของเหตุการณอยางตอเนื่อง ตระหนักถึงความสําคัญและสามารถวิเคราะหผลกระทบที่เกิดขึ้น ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

ป.1 1. บอกความ • ความเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอม สิ่งของ • หนวยการเรียนรูท ี่ 2 เปลี่ยนแปลงของ เครื่องใช หรือการดําเนินชีวิตของอดีตกับ การดําเนินชีวติ สภาพแวดลอม ปจจุบันที่เปนรูปธรรมและใกลตัวเด็ก เชน บทที่ 1 ชีวิตที่เปลี่ยนแปลง สิ่งของเครื่องใช การใชควายไถนา รถไถนา เตารีด ถนน เกวียน หรือการดําเนินชีวิต รถอีแตน ของตนเองกับสมัย • สาเหตุและผลของการเปลี่ยนแปลงของสิ่งตางๆ ของพอแม ปูยา ตามกาลเวลา ตายาย 2. บอกเหตุการณ • เหตุการณสําคัญที่เกิดขึ้นในครอบครัว เชน • หนวยการเรียนรูท ี่ 2 ที่เกิดขึ้นในอดีตที่มี การยายบาน การยายโรงเรียน การสูญเสีย การดําเนินชีวติ ผลกระทบตอตนเอง บุคคลในครอบครัว บทที่ 2 เหตุการณ ในอดีต ในปจจุบัน ที่มีผลกับปจจุบัน _________________________________ * สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 92-118.

คูม อื ครู


มาตรฐาน ส 4.3 เข า ใจความเป นมาของชาติ ไ ทย วั ฒ นธรรม ภู มิ ป  ญ ญาไทย มี ความรั ก ความภู มิ ใ จ และธํ า รง ความเปนไทย ชั้น

เสร�ม

10

คูม อื ครู

ตัวชี้วัด

ป.1 1. อธิบายความหมาย และความสําคัญของ สัญลักษณสําคัญของ ชาติไทย และปฏิบัติ ตนไดถูกตอง

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• ความหมายและความสําคัญของสัญลักษณ • หนวยการเรียนรูท ี่ 3 ที่สําคัญของชาติไทยที่เปนความภาคภูมิใจ บทที่ 1 สัญลักษณ และการมีสวนรวมที่จะอนุรักษ ไว ไดแก ชาติ ของชาติไทย ศาสนา พระมหากษัตริย (ธงชาติ เพลงชาติ พระพุทธรูป พระบรมฉายาลักษณ ภาษาไทย อักษรไทย) • การเคารพธงชาติ การรองเพลงชาติ และ เพลงสรรเสริญพระบารมี การเคารพพระบรมฉายาลักษณ เคารพศาสนวัตถุ ศาสนสถาน • เอกลักษณอื่นๆ เชน ศาสนา การแตงกาย วัฒนธรรม ประเพณีไทย เงินตรา แผนที่ประเทศไทย อาหารไทย (อาหารทีต่ า งชาติยกยอง เชน ตมยํากงุ ผัดไทย) 2. บอกสถานที่สําคัญ • ตัวอยางของแหลงวัฒนธรรมในชุมชน • หนวยการเรียนรูท ี่ 3 ซึ่งเปนแหลง ที่ใกลตัวนักเรียน เชน วัด ตลาด พิพิธภัณฑ บทที่ 1 สัญลักษณ วัฒนธรรมในชุมชน มัสยิด โบสถคริสต โบราณสถาน โบราณวัตถุ ของชาติไทย • คุณคาและความสําคัญของแหลงวัฒธรรมใน ชุมชนในดานตางๆ เชน เปนแหลงทองเที่ยว เปนแหลงเรียนรู • ตัวอยางสิ่งที่เปนความภาคภูมิใจในทองถิ่น เชน • หนวยการเรียนรูท ี่ 3 3. ระบุสิ่งที่ตนรัก สิ่งของ สถานที่ ภาษาถิ่น วัฒนธรรมประเพณี และภาคภูมิใจ บทที่ 1 สัญลักษณ ทีเ่ ปนสิง่ ที่ใกลตวั นักเรียนและเปนรูปธรรมชัดเจน ของชาติไทย ในทองถิ่น • คุณคาและประโยชนของสิ่งตางๆ เหลานั้น


คําอธิบายรายวิชา รายวิชา ประวัติศาสตร ชั้นประถมศึกษาปที่ 1 รหัสวิชา …………………………………

กลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ภาคเรียนที่ 1-2 เวลา 40 ชั่วโมง/ป

ศึกษา วิเคราะห บอกชื่อวัน เดือน ป และการนับชวงเวลาตามปฏิทินที่ใชในชีวิตประจําวัน เรียงลําดับ เสร�ม เหตุการณในชีวิตประจําวันตามวันเวลาที่เกิดขึ้น ประวัติความเปนมาของตนเองและครอบครัว โดยสอบถาม 11 ผูเกี่ยวของ ความเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอม สิ่งของ เครื่องใช หรือการดําเนินชีวิตของตนเองกับ สมัยของพอแม ปูยา ตายาย เหตุการณที่เกิดขึ้นในอดีตที่มีผลกระทบตอตนเองในปจจุบัน ความหมายและ ความสําคัญของสัญลักษณสําคัญของชาติไทย สถานที่สําคัญซึ่งเปนแหลงวัฒนธรรมในชุมชน สิ่งที่ตนรัก และภาคภูมิใจในทองถิ่น โดยใช ก ระบวนการคิ ด กระบวนการสื บ ค น ข อ มู ล กระบวนการปฏิ บั ติ กระบวนการทางสั ง คม กระบวนการกลุม กระบวนการเผชิญสถานการณและแกปญหา เพือ่ ใหเกิดความรู ความเขาใจ สามารถนําไปปฏิบตั ใิ นการดําเนินชีวติ มีคณุ ธรรม จริยธรรม มีคณุ ลักษณะ อันพึงประสงคในดานรักชาติ ศาสน กษัตริย ซื่อสัตยสุจริต มีวินัย ใฝเรียนรู รักความเปนไทย มีจิตสาธารณะ สามารถดําเนินชีวิตอยางสันติสุขในสังคมไทยและสังคมโลก ตัวชี้วัด ส 4.1 ส 4.2 ส 4.3

ป.1/1 ป.1/1 ป.1/1

ป.1/2 ป.1/2 ป.1/2

ป.1/3 ป.1/3 รวม 8 ตัวชี้วัด

คูม อื ครู


จุดเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน* การขับเคลื่อนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 และการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษ ที่สอง (พ.ศ. 2552-2561) ใหประสบผลสําเร็จตามจุดเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน โดยใหทุกภาคสวน รวมกันดําเนินการ กระทรวงศึกษาธิการไดกําหนดจุดเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน ดังนี้ เสร�ม

12

ทักษะ ความสามารถ

คุณลักษณะ จุดเนนตามชวงวัย

ม. 4-6

แสวงหาความรู เพื่อแกปญหา ใชเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู ใชภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) มีทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

ม. 1-3

แสวงหาความรูดวยตนเอง ใชเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู มีทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

• อยูอยางพอเพียง

ป. 4-6

อานคลอง เขียนคลอง คิดเลขคลอง ทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

• ใฝเรียนรู

ป. 1-3

อานออก เขียนได คิดเลขเปน มีทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

• ใฝดี

• มุงมั่นในการศึกษา และการทํางาน

คุณลักษณะตามหลักสูตร

• รักชาติ ศาสน กษัตริย • ซื่อสัตยสุจริต • มีวินัย • ใฝเรียนรู • อยูอยางพอเพียง • มุงมั่นในการทํางาน • รักความเปนไทย • มีจิตสาธารณะ

* สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. แนวทางการนําจุดเนนการพัฒนาผูเรียน สูการปฏิบัติ. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2553), หนา 3-10.

คูม อื ครู


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹

»ÃÐÇѵÔÈÒʵà ».ñ ªÑé¹»ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè ñ

¡ÅØ‹ÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ Êѧ¤ÁÈÖ¡ÉÒ ÈÒÊ¹Ò áÅÐÇѲ¹¸ÃÃÁ µÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ

¼ÙŒàÃÕºàÃÕ§ ÃÈ. ÇزԪÑ ÁÙÅÈÔÅ»Š ¼ÙŒµÃǨ

´Ã. ¡Ñ³°Ô¡Ò ÈÃÕÍØ´Á ¼È. ´Ã. Çþà ÀÙ‹¾§È ¾Ñ¹¸Ø ¹Ò§ÊØÃÕ ¾Ñ¹¸Ø ÊØ¢ÊÒ¸Ø

ºÃóҸԡÒà ¼È. ÈÔÃԾà ´Òºà¾ªÃ

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè ññ

ʧǹÅÔ¢ÊÔ·¸ÔìµÒÁ¾ÃÐÃÒªºÑ- - ÑµÔ ISBN : 978-616-203-050-5 ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ ñññóðõð

¤Œ¹¤ÇÒÁÃÙŒ¢ÂÒ¤ÇÒÁ¤Ô´¨Ò¡

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè ñ ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ ññôóðôó

EB GUIDE

ทีที่พ่พิมิมพพกกําํากักับบหัหัววขขออสํสําาคัคัญ ญในหนั ในหนังงสืสืออเรี เรียยนหลั นหลักกสูสูตตรใหม รใหม ชัชั้น้น ป.๔ ป.๔ ขึขึ้น้นไป ไป ผผาานน www.aksorn.com ไปยั ไปยังงแหล แหลงงความรู ความรูททั่วั่วไทย-ทั ไทย-ทั่ว่วโลก โลก


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

¤íÒ¹íÒ ´ŒÇ¡ÃзÃǧÈÖ¡ÉÒ¸Ô¡ÒÃä´ŒÁÕ¤íÒÊÑè§ãˌ㪌ËÅÑ¡ÊٵáÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõôô ã¹âçàÃÕ¹·ÑÇè ä»·Õ¨è ´Ñ ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñ¹é ¾×¹é °Ò¹ã¹»‚¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõôö áÅШҡ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒÇÔ¨ÂÑ áÅеԴµÒÁ ¼Å¡ÒÃ㪌ËÅÑ¡ÊٵáÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñ¹é ¾×¹é °Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõôô ¨Ö§¹íÒä»Ê‹¡Ù ÒþѲ¹ÒËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§ ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñ¹é ¾×¹é °Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ «Ö§è ÁÕ¤ÇÒÁàËÁÒÐÊÁáÅЪѴਹ à¾×Íè ãˌʶҹÈÖ¡ÉÒä´Œ¹Òí ä» ãªŒà»š¹¡Ãͺ·Ôȷҧ㹡ÒèѴËÅÑ¡ÊÙµÃʶҹÈÖ¡ÉÒáÅШѴ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹à¾×Íè ¾Ñ²¹Òà´ç¡áÅÐàÂÒǪ¹ ·Ø¡¤¹ã¹ÃдѺ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñ¹é ¾×¹é °Ò¹ãËŒÁ¤Õ ³ Ø ÀÒ¾´ŒÒ¹¤ÇÒÁÃÙŒ áÅзѡÉзըè Òí ໚¹ÊíÒËÃѺ¡ÒôíÒçªÕÇµÔ ã¹Êѧ¤Á·ÕèÁÕ¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§ áÅÐáÊǧËÒ¤ÇÒÁÃÙŒà¾×è;Ѳ¹Òµ¹àͧÍ‹ҧµ‹Íà¹×èͧµÅÍ´ªÕÇÔµ ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ »ÃÐÇѵÔÈÒʵà ».ñ àÅ‹Á¹Õé¨Ñ´·íÒ¢Öé¹ÊíÒËÃѺ㪌»ÃСͺ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ ªÑé¹»ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè ñ â´Â´íÒà¹Ô¹¡ÒèѴ·íÒãËŒÊÍ´¤ÅŒÍ§µÒÁ¡Ãͺ¢Í§ËÅÑ¡Êٵ÷ء»ÃСÒà ʋ§àÊÃÔÁ ¡Ãкǹ¡ÒäԴ ¡ÒÃÊ׺àÊÒÐËÒ¤ÇÒÁÃÙŒ ¡ÒÃá¡Œ»˜ÞËÒ ¤ÇÒÁÊÒÁÒö㹡ÒÃÊ×èÍÊÒà ¡ÒõѴÊԹ㨠¡ÒùíÒä»ãªŒã¹ªÕÇÔµ ÃÇÁ·Ñé§Ê‹§àÊÃÔÁãËŒ¼ÙŒàÃÕ¹ÁÕ ¤Ø³¸ÃÃÁ ¨ÃÔ¸ÃÃÁ áÅФ‹Ò¹ÔÂÁ·Õè¶Ù¡µŒÍ§àËÁÒÐÊÁ ¡Ñº¡ÒôíÒçªÕÇÔµã¹Êѧ¤Áä·Â ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ »ÃÐÇѵÔÈÒʵà ».ñ àÅ‹Á¹Õé ÁÕ ó ˹‹Ç ã¹áµ‹ÅÐ˹‹ÇÂẋ§à»š¹º·Â‹ÍÂæ «Ö觻ÃСͺ´ŒÇ ñ. ໇ÒËÁÒ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ»ÃШíÒ˹‹Ç ¡íÒ˹´ÃдѺ¤ÇÒÁÃÙŒ ¤ÇÒÁÊÒÁÒö¢Í§¼ÙŒàÃÕ¹ Ç‹ÒàÁ×èÍàÃÕ¹¨ºã¹áµ‹ÅÐ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ µŒÍ§ºÃÃÅØÁҵðҹµÑǪÕéÇÑ´·Õè¡Òí ˹´äÇŒã¹ËÅÑ¡ÊٵâŒÍã´ºŒÒ§ ò. á¹Ç¤Ô´ÊíÒ¤ÑÞ á¡‹¹¤ÇÒÁÃÙŒ·Õè໚¹¤ÇÒÁÃÙŒ¤ÇÒÁࢌÒ㨤§·¹µÔ´µÑǼٌàÃÕ¹ ó. à¹×éÍËÒ ¤ÃºµÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§ ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾.È. òõõñ ¹íÒàÊ¹Í àËÁÒÐÊÁ¡Ñº¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ã¹áµ‹ÅÐÃдѺªÑé¹ ô. ¡Ô¨¡ÃÃÁ ÁÕËÅÒ¡ËÅÒÂÃٻẺãËŒ¹Ñ¡àÃÕ¹»¯ÔºÑµÔ ẋ§à»š¹ (ñ) ¡Ô¨¡ÃÃÁ¹íÒÊ‹Ù¡ÒÃàÃÕ¹ ¹íÒࢌÒÊ‹Ùº·àÃÕ¹à¾×èÍ¡Ãе،¹¤ÇÒÁʹã¨á¡‹¼ÙŒàÃÕ¹ (ò) ¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ãËŒ¼ÙŒàÃÕ¹½ƒ¡»¯ÔºÑµÔà¾×è;Ѳ¹Ò¤ÇÒÁÃÙŒáÅзѡÉлÃШíÒ Ë¹‹Ç (ó) ¡Ô¨¡ÃÃÁÃǺÂÍ´ ãËŒ¼ÙŒàÃÕ¹»¯ÔºÑµÔà¾×èÍáÊ´§¾ÄµÔ¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒÃǺÂÍ´ áÅÐ »ÃÐàÁÔ¹¼Å¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒµÒÁÁҵðҹµÑǪÕéÇÑ´»ÃШíÒ˹‹Ç ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ »ÃÐÇѵÔÈÒʵà ».ñ àÅ‹Á¹Õé ¹íÒàʹ͡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒãËŒàËÁÒÐÊÁ¡ÑºÇÑ¢ͧ ¼ÙŒàÃÕ¹㹪Ñé¹»ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè ñ «Öè§à»š¹¡ÒÃÈÖ¡ÉÒÊÔ觷Õè¼ÙŒàÃÕ¹à¡ÕèÂÇ¢ŒÍ§ã¹¡ÒôíÒà¹Ô¹ªÕÇÔµ»ÃШíÒÇѹ â´Â㪌ÀÒ¾ á¼¹ÀÙÁÔ µÒÃÒ§¢ŒÍÁÙÅ ª‹ÇÂ㹡ÒùíÒàʹÍÊÒÃе‹Ò§æ «Ö觨Ъ‹ÇÂãËŒ¼ÙŒàÃÕ¹ÊÒÁÒöàÃÕ¹ÃÙŒ ä´Œ§‹Ò¢Öé¹ ¤³Ð¼ÙŒ¨Ñ´·íÒ¨Ö§ËÇѧ໚¹Í‹ҧÂÔè§Ç‹Ò ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ »ÃÐÇѵÔÈÒʵà ».ñ àÅ‹Á¹Õé ¨Ð໚¹ Ê×èÍ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹·ÕèÍíҹǻÃÐ⪹ µ‹Í¡ÒÃàÃÕ¹»ÃÐÇѵÔÈÒʵà à¾×èÍãËŒÊÑÁÄ·¸Ô¼ÅµÒÁÁҵðҹ µÑǪÕéÇÑ´·Õè¡íÒ˹´äÇŒã¹ËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾.È. òõõñ ·Ø¡»ÃСÒà ¤³Ð¼ÙŒ¨Ñ´·íÒ


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Explain

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

คําชี้แจงในการใชสื่อ เปาหมายการเรียนรู กําหนดระดับความรูความสามารถ ของผูเรียนเมื่อเรียนจบหนวย

ภาพหนาหนวยการเรียนรู เปนภาพประกอบขนาดใหญ ชวยกระตุนความสนใจของผูเรียน

กิจกรรมนําสูการเรียน นําเขาสูบทเรียนโดยใชกระตุน ความสนใจและวัดประเมินผล กอนเรียน

¡ÒÃ㪌»¯Ô·Ô¹ã¹ªÕÇÔµ»ÃШíÒÇѹ

º··Õè

หนวยการเรียนรูท ี่

ñ

ñ

Çѹ àÇÅÒ áÅÐàÃ×èͧÃÒÇ·Ò§»ÃÐÇѵÔÈÒʵÃ

กิจกรรมนําสูการเรียน

เมษายน ๒๕๕๖ อาทิตย Sunday

เปาหมายการเรียนรูประจําหนวยที่ ๑

เมื่อเรียนจบหนวยนี้ ผูเรียนจะมีความรูความสามารถตอไปนี้ ๑. บอกวัน เดือน ป และการนับชวงเวลาตามปฏิทินที่ใชในชีวิตประจําวัน [มฐ. ส ๔.๑ ป.๑/๑] ๒. เรียงลําดับเหตุการณในชีวิตประจําวันตามวันเวลาที่เกิดขึ้น [มฐ. ส ๔.๑ ป.๑/๒] ๓. บอกประวัติความเปนมาของตนเองและครอบครัวโดยสอบถามผูเกี่ยวของ [มฐ. ส ๔.๑ ป.๑/๓]

จันทร Monday

อังคาร Tuesday

วันหยุดชดเชย วันจักรี

วันสงกรานต

วันหยุดชดเชย วันสงกรานต

วันสงกรานต

4

พุธ Wednesday

April 2013

พฤหัสบดี Thursday

ศุกร Friday

เสาร Saturday

แรม ๘ ค่ำ เดือน ๔

วันจักรี

แรม ๑๕ ค่ำ เดือน ๔

วันสงกรานต

ขึน้ ๘ ค่ำ เดือน ๕

ä»àÂÕÂè Á¤Ø³ÂÒÂ

Çѹà¡Ô ´¤Ø³¾‹Í ขึน้ ๑๕ ค่ำ เดือน ๕

มาตรฐานตัวชี้วัด ระบุตัวชี้วัดตามที่หลักสูตรกําหนด

เพื่อนๆ ดูภาพปฏิทิน แลวชวยกันบอกวารูขอมูลอะไรบางคะ

แนวคิดสําคัญ ●

Çѹ àÇÅÒ ÁÕ¤ÇÒÁà¡ÕèÂÇ¢ŒÍ§¡ÑºªÕÇÔµ»ÃШíÒÇѹ¢Í§àÃÒ ¤íҺ͡Çѹ àÇÅÒ ÁÕËÅÒÂẺ ઋ¹ àÁ×èÍÇÒ¹¹Õé Çѹ¹Õé ¾ÃØ‹§¹Õé àªŒÒ ÊÒ º‹Ò àÂç¹ ¤íҺ͡àÇÅÒ·Õ赋ҧ¡Ñ¹ ·íÒãËŒàÃÒÃÙŒÅíҴѺ¡‹Í¹ËÅѧ¢Í§àÃ×èͧÃÒǵ‹Ò§æ à¤Ã×èͧÁ×Í·Õè㪌ºÍ¡Çѹ à´×͹ »‚ àÃÕÂ¡Ç‹Ò »¯Ô·Ô¹ ¡ÒÃà¢Õ¹àÃ×èͧÃÒÇÊíÒ¤ÑޢͧàÃÒäÇŒº¹»¯Ô·Ô¹ ª‹ÇÂãËŒàÃÒ¨´¨íÒàÃ×èͧµ‹Ò§æ ä´Œ »¯Ô·Ô¹ª‹ÇÂãËŒàÃÒÅíҴѺàÃ×èͧÃÒÇ·Õèà¡Ô´¢Öé¹ä´Œ

2

แนวคิดสําคัญ แกนความรูที่จะเปนความเขาใจ คงทนติดตัวผูเรียน


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

เน�้อหา ครบตามหลักสูตรแกนกลางฯ ’๕๑ นําเสนอโดยใชแผนภาพ แผนภูมิ ตาราง เหมาะสมกับการเรียนการสอน

Evaluate

ภาพประกอบเน�้อหา เปนภาพประกอบ ๔ สี แทรกอยูตลอดเลม ชวยเสริมสรางความเขาใจ

ชีวิตประจ�าวันของคนเรามีเรื่องราวต่างๆ เกิดขึ้นมากมาย จนท� า ให้ ใ นบางครั้ ง เราอาจลื ม เรื่ อ งราวที่ ผ ่ า นมานานแล้ ว บางครัง้ เราต้องนัดหมายหรือวางแผนเพือ่ จะท�าสิง่ ต่าง ๆ ในวัน ข้างหน้า ดังนั้น การจดบันทึกวัน เดือน ป เกี่ยวกับเรื่องราว ต่างๆ ทีเ่ กิดในอดีต ปัจจุบนั และในอนาคตจะช่วยเตือนความจ�า ว่าต้องท�าสิ่งใดในวันใด เครื่องมือที่ช่วยให้รู้ วัน เดือน ป และ เตือนความจ�าเราได้อย่างดี เรียกว่า ปฏิทิน

กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู ใหผูเรียนฝกปฏิบัติเพื่อพัฒนา ความรูและทักษะประจําหนวย

ข้างขึน้ หมายถึง วันทีเ่ รา เห็นพระจันทร์คอ่ ยๆ สว่างขึน้ เริม่ จากวันขึน้ ๑ ค�า่ ถึงวันขึน้ ๑๕ ค�่า เช่น

▲ วันวิสาขบูชา ตรงกับวันขึ้น ๑๕ ค�่า เดือน ๖

▲ วันเข้าพรรษา ตรงกับวันแรม ๑ ค�่า เดือน ๘

วันพุธที่ ๒๒ พ.ค. ๒๕๕๖

3

▲ วันลอยกระทง ตรงกับวันขึ้น ๑๕ ค�่า เดือน ๑๒

ใน ๑ วัน แบงเปน กลางวันและกลางคืน เชน คําที่ใชบอกเวลาชวงกลางวัน เชน เชา เที่ยง เย็น คําที่ใชบอกเวลาชวงกลางคืน เชน หัวคํ่า ดึก เวลาเชา พระอาทิตยขนึ้ ทางทิศตะวันออก เวลาเที่ยง พระอาทิตยอยูตรงศีรษะ เวลาเย็น พระอาทิตยตกทางทิศ ตะวันตก ▲

วันขึ้น ๑๕ ค�า่ เดือน ๖ เป็นวันวิสาขบูชา วันขึน้ ๑๕ ค�า่ เดือน ๑๒ เป็นวันลอยกระทง ข้างแรม งแรม หมายถึง วันที่ เราเห็นพระจันทร์ค่อยๆ มืด ลง เริ่มจากวันแรม ๑ ค�่า ถึง วันแรม ๑๕ ค�่า เช่น วันแรม ๑ ค�่ า เดื อ น ๘ เป็ นวั น เข้ า พรรษา ระหว่างนี้พระสงฆ์จะ จ�าพรรษาที่วัดตลอด ๓ เดือน

กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ที่ ๔

ดู ป ฏิ ทิ น ของเดื อ นนี้ แล้ ว เขี ย นวั น ทางจั น ทรคติ ที่ ป รากฏ บนปฏิทินลงในสมุด 8

เวลาเที่ยง พระอาทิตยอยูตรงศีรษะ

กิจกรรมพัฒนาการเรียนรูที่ ๗

เขียนบันทึกวาในวันนีน้ กั เรียนทํากิจกรรมใดบาง โดยใชคาํ บอก ชวงเวลา กิจกรรมรวบยอด

๑. สอบถามสมาชิกในบานเกีย่ วกับวัน เดือน ปเกิดของทุกคน แลวนํามาเทียบกับปจจุบันวาตรงกับวันใด โดยบันทึกลงในสมุด ๒. สํารวจวันสําคัญทางพระพุทธศาสนาจากปฏิทนิ ปปจ จุบนั วา ตรงกับวันใดทั้งทางสุริยคติและทางจันทรคติ แลวบันทึกลงในสมุด ๓. เขี ย นบั น ทึ ก เหตุ ก ารณ ป ระจํ า วั น ของตนเองเป น เวลา ๑ สัปดาห จากนั้นนํามาเลาใหเพื่อนฟงที่หนาชั้น ๑๔

กิจกรรมรวบยอด ใหผูเรียนฝกปฏิบัติเพื่อแสดง พฤติกรรมการเรียนรูรวบยอด และประเมินผลการเรียนรูตาม มาตรฐานตัวชี้วัดประจําหนวย


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

สารบัญ ● ตารางวิเคราะหมาตรฐานการเรียนรู

หนวยการเรียนรูที่

๑ วัน เวลา และเรื่องราวทางประวัติศาสตร

บทที่ ๑ การใชปฏิทินในชีวิตประจําวัน บทที่ ๒ ความเปนมาของเรา หนวยการเรียนรูที่

๒ ๑๕

๒ การดําเนินชีวิต

๒๐

๓ ชาติไทย

๓๗

บทที่ ๑ ชีวิตที่เปลี่ยนแปลง บทที่ ๒ เหตุการณในอดีตที่มีผลกับปจจุบัน หนวยการเรียนรูที่

บทที่ ๑ สัญลักษณของไทย ● คําสําคัญ ● บรรณานุกรม ● ดรรชนีภาพประวัติศาสตร

๒๑ ๓๒

๓๘ ๕๐ ๕๐

พิเศษ


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Explore

ตารางวิเคราะห

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

Áҵðҹ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙጠÅеÑǪÕÇé ´Ñ ÃÒÂÇÔªÒ »ÃÐÇѵÈÔ Òʵà ».๑

คําชี้แจง : ใหผูสอนใชตารางน�้ตรวจสอบวา เน�้อหาสาระการเรียนรูในหนวยการเรียนรูสอดคลองกับมาตรฐาน การเรียนรูและตัวชี้วัดชั้นปในขอใดบาง

มาตรฐาน การเรียนรู

สาระการเรียนรู หนวยที่ ๑ หนวยที่ ๒ หนวยที่ ๓ ตัวชี้วัด ชั้น ป.๑

บทที่ ๑ ๒

บทที่ ๑ ๒

บทที่ ๑

สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร

มฐ. ส ๔.๑

มฐ. ส ๔.๒

มฐ. ส ๔.๓

๑. บอกวัน เดือน ป และการนับชวงเวลาตาม ✓ ปฏิทินที่ใชในชีวิตประจําวัน ๒. เรียงลําดับเหตุการณในชีวิตประจําวันตามวัน ✓ เวลาที่เกิดขึ้น ๓. บอกประวัติความเปนมาของตนเองและ ✓ ครอบครัวโดยสอบถามผูเกี่ยวของ ๑. บอกความเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอม สิ�งของ เครื่องใช หรือการดําเนินชีวิตของ ✓ ตนเองกับสมัยของพอแม ปูยา ตายาย ๒. บอกเหตุการณที่เกิดขึ้นในอดีตที่มีผลกระทบ ✓ ตอตนเองในปจจุบัน ๑. อธิ บ ายความหมายและความสํ า คั ญ ของ สัญลักษณสําคัญของชาติไทยและปฏิบัติได ถูกตอง ๒. บอกสถานที่สําคัญซึ�งเปนแหลงวัฒนธรรมใน ชุมชน ๓. ระบุสิ�งที่ตนรักและภาคภูมิใจในทองถิ�น

✓ ✓ ✓


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุน ความสนใจ

Engage

1. ครูเตรียมปฏิทินหลากหลายแบบมาให นักเรี​ียนดู แลวชวนนักเรียนสนทนา เชน • ปฏิทินที่ครูนํามาใหดู มีลักษณะอยางไร (แนวตอบ เปนปฏิทินแบบตั้งโตะ ปฏิทิน แบบแขวน) • นักเรียนชอบปฏิทินแบบไหน เพราะอะไร (แนวตอบ คําตอบมีหลากหลายขึ้นอยูกับ คําตอบของนักเรียนแตละคน เชน ชอบปฏิทินแบบตั้งโตะ เพราะดูงาย และสะดวกในการใชงาน) 2. ใหนักเรียนชวยกันสังเกตวา ในปฏิทิน แตละแบบบอกขอมูลอะไรบาง 3. ใหนักเรียนแสดงความคิดเห็นวา ปฏิทิน มีความจําเปนตอนักเรียนหรือไม อยางไร

หนวยการเรียนรูท ี่

ñ

Çѹ àÇÅÒ áÅÐàÃ×èͧÃÒÇ·Ò§»ÃÐÇѵÔÈÒʵà เปาหมายการเรียนรูประจําหนวยที่ ๑

เมื่อเรียนจบหนวยนี้ ผูเรียนจะมีความรูความสามารถตอไปนี้ ๑. บอกวัน เดือน ป และการนับชวงเวลาตามปฏิทินที่ใชในชีวิตประจําวัน [มฐ. ส ๔.๑ ป.๑/๑] ๒. เรียงลําดับเหตุการณในชีวิตประจําวันตามวันเวลาที่เกิดขึ้น [มฐ. ส ๔.๑ ป.๑/๒] ๓. บอกประวัติความเปนมาของตนเองและครอบครัวโดยสอบถามผูเกี่ยวของ [มฐ. ส ๔.๑ ป.๑/๓]

เกร็ดแนะครู ครูอาจนําตัวอยางปฏิทินหลากหลายแบบมาใหนักเรียนดู หรือถาไมมีตัวอยางปฏิทินอาจอธิบายลักษณะปฏิทินใหนักเรียนฟง หรือใหดูตัวอยางภาพก็ได เชน

ปฏิทินแบบตั้งโตะ

ปฏิทินแบบแขวน

ปฏิทินแบบฉีก คูมือครู

1


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

เปาหมายการเรียนรู

1. บอกวัน เดือน ป และการนับชวงเวลา ตามปฏิทินที่ใชในชีวิตประจําวัน (ส 4.1 ป.1/1) 2. เรียงลําดับเหตุการณในชีวิตประจําวัน ตามวันเวลาที่เกิดขึ้น (ส 4.1 ป.1/2)

¡ÒÃ㪌»¯Ô·Ô¹ã¹ªÕÇÔµ»ÃШíÒÇѹ

º··Õè

ñ

กิจกรรมนําสูการเรียน

สมรรถนะของผูเรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการใชทกั ษะชีวิต

เมษายน ๒๕๕๖ อาทิตย Sunday

จันทร Monday

อังคาร Tuesday

คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. มีวินัย รับผิดชอบ 2. ใฝเรียนรู 3. มุงมัน่ ในการทํางาน

วันหยุดชดเชย วันจักรี

วันสงกรานต

วันหยุดชดเชย วันสงกรานต

วันสงกรานต

4

พุธ Wednesday

April 2013

พฤหัสบดี Thursday

ศุกร Friday

เสาร Saturday

แรม ๘ ค่ำ เดือน ๔

วันจักรี

แรม ๑๕ ค่ำ เดือน ๔

วันสงกรานต

ขึน้ ๘ ค่ำ เดือน ๕

ä»àÂÕÂè Á¤Ø³ÂÒÂ

Çѹà¡Ô ´¤Ø³¾‹Í ขึน้ ๑๕ ค่ำ เดือน ๕

กระตุน ความสนใจ

Engage

ใหนักเรียนดูภาพ หนา 2 และชวยกันบอกวา • ปฏิทินนี้บอกขอมูลอะไรบาง (แนวตอบ ขอมูลชือ่ เดือน ป พ.ศ. และป ค.ศ. ชื่อวัน จํานวนวันในเดือนนี้ วันสําคัญใน เดือนนี้ ขอมูลที่เตือนความจํา) • การจดเรื่องราวหรือเหตุการณสําคัญตางๆ ลงบนปฏิทิน มีประโยชนอยางไร (แนวตอบ เพื่อชวยเตือนความจํา) • นักเรียนเคยจดบันทึกเหตุการณอะไรลงบน ปฏิทินบาง (แนวตอบ คําตอบมีหลากหลาย ขึ้นอยูกับ คําตอบของนักเรียนแตละคน เชน วันเกิด คุณพอ วันเกิดคุณแม กําหนดวันที่ตอง สงงานครู เปนตน)

เพื่อนๆ ดูภาพปฏิทิน แลวชวยกันบอกวารูขอมูลอะไรบางคะ

แนวคิดสําคัญ ●

เกร็ดแนะครู ครูจัดกระบวนการเรียนรูโดยการใหนักเรียนปฏิบัติ ดังนี้ • สังเกต และเปรียบเทียบขอมูลในปฏิทินแบบตางๆ • แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการใชปฏิทิน • อธิบายเกี่ยวกับปฏิทินและการแบงชวงเวลา • ตอบคําถามเกี่ยวกับปฏิทินและการแบงชวงเวลา จนเกิดเปนความรูความเขาใจวา ปฏิทินเปนเครื่องมือที่ใชบอกวัน เวลา และชวยใหลําดับเรื่องราวที่เกิดขึ้นได

2

คูมือครู

Çѹ àÇÅÒ ÁÕ¤ÇÒÁà¡ÕèÂÇ¢ŒÍ§¡ÑºªÕÇÔµ»ÃШíÒÇѹ¢Í§àÃÒ ¤íҺ͡Çѹ àÇÅÒ ÁÕËÅÒÂẺ ઋ¹ àÁ×èÍÇÒ¹¹Õé Çѹ¹Õé ¾ÃØ‹§¹Õé àªŒÒ ÊÒ º‹Ò àÂç¹ ¤íҺ͡àÇÅÒ·Õ赋ҧ¡Ñ¹ ·íÒãËŒàÃÒÃÙŒÅíҴѺ¡‹Í¹ËÅѧ¢Í§àÃ×èͧÃÒǵ‹Ò§æ à¤Ã×èͧÁ×Í·Õè㪌ºÍ¡Çѹ à´×͹ »‚ àÃÕÂ¡Ç‹Ò »¯Ô·Ô¹ ¡ÒÃà¢Õ¹àÃ×èͧÃÒÇÊíÒ¤ÑޢͧàÃÒäÇŒº¹»¯Ô·Ô¹ ª‹ÇÂãËŒàÃÒ¨´¨íÒàÃ×èͧµ‹Ò§æ ä´Œ »¯Ô·Ô¹ª‹ÇÂãËŒàÃÒÅíҴѺàÃ×èͧÃÒÇ·Õèà¡Ô´¢Öé¹ä´Œ


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา Explore

Engage

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

สํารวจคนหา

ชีวิตประจําวันของคนเรามีเรื่องราวตางๆ เกิดขึ้นมากมาย จนทํ า ให ใ นบางครั้ ง เราอาจลื ม เรื่ อ งราวที่ ผ  า นมานานแล ว บางครัง้ เราตองนัดหมายหรือวางแผนเพือ่ จะทําสิง่ ตาง ๆ ในวัน ขางหนา ดังนั้น การจดบันทึกวัน เดือน ป เกี่ยวกับเรื่องราว ตางๆ ทีเ่ กิดในอดีต ปจจุบนั และในอนาคตจะชวยเตือนความจํา วาตองทําสิ่งใดในวันใด เครื่องมือที่ชวยใหรู วัน เดือน ป และ เตือนความจําเราไดอยางดี เรียกวา ปฏิทิน1

Ô

Explore

1. ใหนักเรียนดูภาพ หนา 3 และบอกวา • เด็กที่เขียนหนังสือกําลังนึกถึงเรื่องอะไร (ตอบ ไปโรงเรียน ไปทัศนศึกษาที่สวนสัตว) • นักเรียนมีวิธีใดที่จะทําใหเด็กคนนี้จดจํา เรื่องราวตางๆ ที่ผานไปแลวได (แนวตอบ การบันทึกเรื่องราวเอาไว ทําไดดวย การเขียนบันทึก การถายภาพ หรือ การถายเปนวิดีโอ) 2. ครูซกั ถามนักเรียนวา เคยใชประโยชนจากปฏิทนิ หรือไม อยางไร 3. ใหนักเรียนที่เคยใชประโยชนจากปฏิทินบอกวา เคยใชทําอะไรบาง 4. ครูนาํ ปฏิทนิ แบบตางๆ ทัง้ แบบทีม่ คี รบ 12 เดือน ในแผนเดียว และแบบที่แยกเปนรายเดือน มาใหนักเรียนดู และสังเกตวาในปฏิทิน บอกรายละเอียดอะไรบาง 5. ใหนักเรียนศึกษาขอมูลในหนังสือ • หัวขอที่ 1 รูจักปฏิทิน หนา 4-9 • หัวขอที่ 2 ความสําคัญของปฏิทิน หนา 10-12

วนั พธุ ที่ ๒๒ พ.ค. ๒๕๕๖

ขอสอบเนนการคิด

การจดบันทึกเกี่ยวกับเรื่องราวตางๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจําวัน มีผลดี ตอผูบันทึกอยางไร แนวตอบ ทําใหรูวามีเหตุการณอะไรเกิดขึ้นบางในอดีตที่ผานมา และ ทําใหรูวาในอนาคตควรจะทําสิ่งใดบาง

เกร็ดแนะครู ครูควรใหนักเรียนนําปฏิทินแบบตางๆ มาคนละ 1 ชิ้น จากนั้นใหนักเรียนชวยกัน เลือกปฏิทินที่เหมาะสมกับการจดบันทึก ทั้งนี้ครูอาจเสนอรูปแบบปฏิทินอิเล็กทรอนิกส อยางเชน ปฏิทินที่อยูใน Tablet หรือเครื่องคอมพิวเตอรใหนักเรียนรูจักและสังเกตความแตกตางดวย

นักเรียนควรรู 1 ปฏิทิน ปฏิทินสากลหรือปฏิทินแบบสุริยคติ เริ่มมีใชในประเทศไทย สมัยรัชกาลที่ 5 โดยเดือนแรกของปในปฏิทิน คือ เดือนเมษายน และเดือนสุดทาย ของปในปฏิทิน คือ เดือนมีนาคม ตอมาสมัยจอมพล ป. พิบูลสงครามไดมีการ ปรับเปลี่ยนการนับเดือนแรกของปฏิทินตามแบบสากล โดยเดือนแรกของป ในปฏิทิน คือ เดือนมกราคม และเดือนสุดทายของปในปฏิทิน คือ เดือนธันวาคม และใชเชนนี้มาจนถึงปจจุบัน คูมือครู

3


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

1. ใหนักเรียนรวมกันอธิบายเกี่ยวกับสิ่งที่ สังเกตเห็นในปฏิทิน 2. ใหนักเรียนเขียนสรุปสิ่งที่สังเกตเห็นจากปฏิทิน ลงในสมุด 3. ใหนักเรียนชวยกันบอกวา ปฏิทินมีความสําคัญ อยางไรบาง (แนวตอบ เชน บอกวันสําคัญ ชวยเตือนความจํา เปนตน) 4. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปขอมูลที่บอกไวใน ปฏิทินและประโยชนของปฏิ​ิทิน 5. ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนฟงวา • ใน 1 ป มี 365 วัน หรือ 366 วัน • ถาปใดเดือนกุมภาพันธมี 28 วัน ในปนั้น จะมี 365 วัน • ถาปใดเดือนกุมภาพันธมี 29 วัน ในปนั้น จะมี 366 วัน ซึ่งจะเกิดขึ้นทุกๆ 4 ป

๑. รูจักปฏิทิน

ปฏิทิน เปนเครื่องมือที่บอกวัน เดือน ป ในปฏิทินจึงมีวัน เดือน ป และวันสําคัญตางๆ ในชวงเวลา ๑ ป บอกไว ดังนั้น หากเราตองการรูวัน เดือน ป และวันสําคัญตางๆ ที่ถูกตอง จึงควรดูปฏิทิน บอกป พ.ศ. และป ค.ศ. บอกเดือน บอกวัน บอกวันที่ ตามแบบ สุริยคติ

บอกวันสําคัญ ในแตละป

บอกวันที่และเดือน ตามแบบจันทรคติ

วันแรก แรกของป ของปในปฏิทิน คือ วันที่ ๑ เดือน มกราคม วันสุดทายของป ยของปในปฏิทิน คือ วันที่ ๓๑ เดือน ธันวาคม ๔

บูรณาการอาเซียน ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนฟงวา ประเทศสมาชิกในกลุมอาเซียนใชปฏิทินแบบสากลเปนเครื่องมือในการบอกวัน เดือน ป เชนเดียวกันกับประเทศไทย อาจแตกตางกันบางตามรายละเอียดปลีกยอย เชน ปฏิทินของไทยจะมีการบอกวันแบบจันทรคติ เพิ่มขึ้นมา เปนตน นอกจากนี้ ปฏิทินยังเปนเครื่องมือที่ใชบอกวันสําคัญของแตละประเทศดวย เชน วันชาติ วันสําคัญทางศาสนา วันหยุด เปนตน ตัวอยางวันหยุดซึ่งเปนวันชาติของประเทศสมาชิกอาเซียนที่ปรากฏบนปฏิทิน ไดแก

4

ประเทศ บรูไน

วันชาติ 23 กุมภาพันธ

ประเทศ พมา

วันชาติ 4 มกราคม

กัมพูชา

9 พฤศจิกายน

ฟลิปปนส

12 มิถุนายน

อินโดนีเซีย

17 สิงหาคม

สิงคโปร

9 สิงหาคม

ลาว

2 ธันวาคม

ไทย

5 ธันวาคม

มาเลเซีย

31 สิงหาคม

เวียดนาม

2 กันยายน

คูมือครู


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

ในปฏิทิน จะบอกวันเวลา ๒ แบบ ๑) แบบสุริยคติ 1 วันตามแบบสุริยคติ มี ๗ วัน นับเปน ๑ สัปดาห หรือ ๑ อาทิตย วันทั้ง ๗ มีชื่อเรียก ดังนี้ วันอาทิตย อานวา วัน - อา - ทิด วันจันทร

อานวา วัน - จัน

วันอังคาร

อานวา วัน - อัง - คาน

วันพุธ

อานวา วัน - พุด

วันพฤหัสบดี อานวา วัน - พะ - รึ - หัด - สะ - บอ - ดี วันศุกร

อานวา วัน - สุก

วันเสาร

อานวา วัน - เสา

กิจกรรมพัฒนาการเรียนรูที่ ๑

(ผลการปฏิบัติกิจกรรมขึ้นอยูกับดุลยพินิจของครูผูสอน)

Explain

1. ใหนกั เรียนชวยกันบอกวัน เดือน ป ของวันนี้ 2. ครูอธิบายเพิม่ เติมใหนกั เรียนเขาใจวา การบอก วัน เดือน ป แบบที่นักเรียนตอบ ขอ 1 เปนการบอกแบบสุริยคติ 3. ครูนําปฏิทินมาใหนักเรียนดู และใหนักเรียน สังเกตวาใน 1 แถว (แนวนอน) มีกี่วัน มีวัน อะไรบาง 4. ใหนักเรียนฝกอานออกเสียงชื่อวันบนปฏิทิน ใหถูกตอง โดยครูคอยชวยแนะนํา 5. ครูอธิบายเพิ่มเติมวา การบอกวันตามแบบ สุริยคติมีทั้งหมด 7 วัน นับเปน 1 สัปดาห 6. ใหนักเรียนชวยกันตอบคําถาม • วันเริ่มตนของสัปดาห คือวันอะไร (ตอบ วันอาทิตย) • วันสุดทายของสัปดาห คือวันอะไร (ตอบ วันเสาร) • วันที่อยูกอนวันพุธ คือวันอะไร (ตอบ วันอังคาร) • วันที่อยูหลังวันศุกร คือวันอะไร (ตอบ วันเสาร) • วันใดที่เราหยุดเรียน (ตอบ วันเสาร วันอาทิตย และวันอื่นๆ ที่เปน วันหยุดราชการ) 7. ใหนักเรียนจัดกลุมเพื่อนที่เกิดวันเดียวกัน กับตนเอง จากนั้นคิดสัญลักษณแทนวันเกิด ของกลุมตนเอง แลวนําเสนอหนาชั้น

สํารวจนักเรียนในหองวา ใครเกิดวันอะไรบาง จากนั้นจัดกลุม นักเรียนตามวันที่เกิด แลวใหนักเรียนคิดหาสัญลักษณแทนวันเกิด ๕

ขอสอบเนนการคิด

“นุนเกิดวันอาทิตยที่ 7 เดือนกันยายน แตงเกิดวันที่ 18 กันยายน ปเดียวกัน” แสดงวาแตงเกิดวันใด และเดือนที่นุนและแตงเกิดมีกี่วัน ก. วันพฤหัสบดี และเดือนที่เกิดมี 30 วัน ข. วันอังคาร และเดือนที่เกิดมี 31 วัน ค. วันเสาร และเดือนที่เกิดมี 30 วัน ง. วันพุธ และเดือนที่เกิดมี 31 วัน

แนวตอบ ถาวันที่ 7 ตรงกับวันอาทิตย วันที่ 18 ตรงกับวันพฤหัสบดี และเดือนกันยายนมี 30 วัน ดังนั้น ขอ ก. จึงเปนคําตอบที่ถูก

เกร็ดแนะครู ครูควรสอนใหนักเรียนจดจําชื่อวัน ควบคูกับการเรียงลําดับวันและสีประจําวัน และใหนักเรียนฝกทองเปนจังหวะ เพื่อใหจดจําไดงายขึ้น ดังนี้ 1) วันอาทิตย สีแดง 2) วันจันทร สีเหลือง 3) วันอังคาร สีชมพู 4) วันพุธ สีเขียว 5) วันพฤหัสบดี สีแสด (สีสม) 6) วันศุกร สีฟา 7) วันเสาร สีมวง ครูควรอธิบายเพิม่ เติมใหนกั เรียนฟงวา ปฏิทนิ แบบสุรยิ คติกค็ อื ปฏิทนิ แบบสากล ซึ่งใน 1 ป มี 365 วัน หรือ 366 วัน นั่นเอง

นักเรียนควรรู 1 สุริยคติ คือ วิธีนับวันและเดือนแบบสากล โดยถือกําหนดตําแหนงดวงอาทิตย เปนหลัก คูมือครู

5


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

Expand

Evaluate

เดือนตามแบบสุริยคติ มี ๑๒ เดือน มีชื่อดังนี้ ๑ ๒ ๓ 1 มกราคม กุมภาพันธ มีนาคม (มะ-กะ-รา-คม)

(กุม-พา-พัน)

เมษายน

(เม-สา-ยน)

ตุลาคม

(ตุ-ลา-คม)

พฤษภาคม ๘

กรกฎาคม

๑๐

(มี-นา-คม)

(พรึด-สะ-พา-คม)

(กะ-ระ-กะ-ดา-คม)

สิงหาคม

(สิง-หา-คม)

๑๑

(พรึด-สะ-จิ-กา-ยน)

กันยายน

(กัน-ยา-ยน)

๑๒

พฤศจิกายน

มิถุนายน

(มิ-ถุ-นา-ยน)

ธันวาคม

(ทัน-วา-คม)

เดือนที่ลงทายดวยคําวา ““คม” มี ๓๑ วัน “ยน” มี ๓๐ วัน เดือนที่ลงทายดวยคําวา ““ยน เดือนกุกุมภาพันธ มี ๒๘ หรือ ๒๙ วัน กิจกรรมพัฒนาการเรียนรูที่ ๒

(ผลการปฏิบัติกิจกรรมขึ้นอยูกับดุลยพินิจของครูผูสอน)

สํารวจนักเรียนในหองวา ใครเกิดเดือนอะไรบาง แลวจัดกลุม ตามเดือนที่เกิด จากนั้นใหแตละกลุมเขาแถวเรียงตามลําดับเดือน ที่เกิด ๖

เกร็ดแนะครู ครูควรอธิบายเพิ่มเติมวา การที่ทุกๆ 4 ป จะมีวันเพิ่มขึ้น 1 วัน ทําใหเดือน กุมภาพันธในปนั้นมี 29 วัน และปนั้นมี 366 วัน เนื่องมาจากหลักการที่วา โลกโคจร รอบดวงอาทิตย 1 รอบ ใชเวลา 365 วัน กับอีก 1 ใน 4 ของวัน แตในการนับป เราใช 365 วัน = 1 ป ทําใหเวลาขาดหายไป 1 ใน 4 ของวัน ดังนั้นจึงตองทดเอาไว เมื่อครบรอบ 4 ป ก็จะไดเทากับ 1 วันพอดี จึงทําใหตองเพิ่ม 1 วัน ในทุกๆ 4 ป ในป พ.ศ. 2555 เปนปอธิกสุรทิน ดังนั้น ปอธิกสุรทินครั้งตอไปเปนป พ.ศ. 2559 (ค.ศ. 2016)

นักเรียนควรรู 1 กุมภาพันธ ในปที่เดือนกุมภาพันธมี 29 วัน หรือปนั้นมี 366 วัน เรียกวา ปอธิกสุรทิน (อะ-ทิ-กะ-สุ-ระ-ทิน) ซึ่งจะเกิดขึ้นทุกๆ 4 ป คูมือครู

ตรวจสอบผล

Explain

1. ใหนักเรียนดูปฏิทินอีกครั้งจากปฏิทินอันเดิม ที่ครูนํามาใหดู และชวยกันนับจํานวนเดือน ในปฏิทินวามีทั้งหมดกี่เดือน จากนั้นใหนักเรียน ชวยกันตอบคําถาม • ใน 1 ป มีกี่เดือน (ตอบ 12 เดือน) • เดือนแรกของป คือเดือนอะไร (ตอบ มกราคม) • เดือนสุดทายของป คือเดือนอะไร (ตอบ ธันวาคม) 2. ใหนักเรียนฝกอานชื่อเดือน โดยดูคําอาน จากหนังสือเรียน หนา 6 3. ใหนักเรียนดูปฏิทิน แลวชวยกันบอกวา • เดือนใดบางที่มี 30 วัน (ตอบ เมษายน มิถุนายน กันยายน และพฤศจิกายน) • เดือนใดบางที่มี 31 วัน (ตอบ มกราคม มีนาคม พฤษภาคม กรกฎาคม สิงหาคม ตุลาคม และธันวาคม) • เดือนใดบางที่มีจํานวนวันนอยกวา 30 วัน (ตอบ กุมภาพันธ) 4. ใหนักเรียนดูชื่อเดือนในหนังสือเรียน หนา 6 แลววงชื่อเดือนที่ลงทายวา “ยน” และชวยกัน บอกวาเดือนที่ลงทายดวย “ยน” มีกี่วัน จากนั้น ใหนักเรียนขีด ✓ ทับชื่อเดือนที่ลงทาย ดวย “คม” แลวชวยกันบอกวาเดือนที่ลงทาย ดวย “คม” มีกี่วัน 5. ใหนักเรียนรวมกันสรุปใหไดวา เดือนที่ลงทาย ดวย “ยน” มี 30 วัน เดือนที่ลงทายดวย “คม” มี 31 วัน สวนเดือนกุมภาพันธมี 28 หรือ 29 วัน จากนั้นรวมกันนับจํานวนเดือนในหนึ่งป ที่ลงทายดวย “ยน” และ “คม”

6

ขยายความเขาใจ

ขอสอบเนนการคิด

เดือนในขอใดจัดอยูในจําพวกเดียวกัน ก. มีนาคม เมษายน ข. สิงหาคม กันยายน ค. มกราคม กุมภาพันธ ง. มิถุนายน พฤศจิกายน วิเคราะหคําตอบ หากสังเกตจากชื่อเดือนจะเห็นวา เดือนมิถุนายน และเดือนพฤศจิกายน เปนเดือนที่ลงทายดวย “ยน” เหมือนกัน จึงมี จํานวนวันเทากัน คือ 30 วัน ดังนั้น ขอ ง. จึงเปนคําตอบที่ถูก


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

1. ใหนักเรียนจัดกลุมตามเดือนเกิด และให เขาแถวเรียงลําดับตามเดือนเกิด จากนั้นครู และนักเรียนรวมกันสรุปชื่อเดือนตามแบบ สุริยคติอีกครั้ง 2. ใหนักเรียนฝกอานและเขียนวัน เดือน ป ตามแบบสุริยคติ โดยจับคูกับเพื่อน แลวให ฝายหนึ่งชี้ที่วันใดก็ไดในปฏิทิน แลวใหคู ของตนเขียน วัน เดือน ป ลงในกระดาษ และอานใหคูของตนฟง 3. ใหนักเรียนเขียนวัน เดือน ป ของวันเกิด ของตนเอง และวัน เดือน ป ของวันนี้ ลงในสมุด พรอมกับเขียนคําอาน 4. ใหนักเรียนดูภาพดวงจันทร หนา 7 และให นักเรียนชวยกันบอกวาเปนภาพเกี่ยวกับอะไร 5. ใหนักเรียนชวยกันตอบคําถาม • การมองเห็นดวงจันทรมีรูปรางแตกตาง กันไปในแตละคืนเกี่ยวกับปรากฏการณใด (ตอบ ขางขึ้น ขางแรม)

ตัวอยาง การเรียก วัน เดือน ป แบบสุริยคติ มิถุนายน / 2556 อา

จ อ พ พฤ ศ ส

วันพุธที่ ๕ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๖ อานวา วัน - พุด - ที่ - หา - มิ - ถุ - นา - ยน พอ - สอ - สอง - พัน - หา - รอย - หา สิบ - หก

กิจกรรมพัฒนาการเรียนรูที่ ๓

Explain

(ผลการปฏิบัติกิจกรรมขึ้นอยูกับดุลยพินิจของครูผูสอน)

เขียนวัน เดือน ป ของวันเกิดของตนเอง และวัน เดือน ป ของวันนี้ลงในสมุด พรอมทั้งเขียนคําอาน

๒) แบบจันทรคติ 1 วันตามแบบจันทรคติ เรียกวา วันขางขึ้น วันขางแรม วันแรม ๘ คํ่า วันแรม ๑๕ คํ่า

วันแรม ๓ คํ่า

วันขึ้น ๑๕ คํ่า

วันขึ้น ๓ คํ่า วันขึ้น ๘ คํ่า

ขอสอบเนนการคิด

เกร็ดแนะครู

“หนูนาไปทําบุญวันมาฆบูชากับคุณแมที่วัด” จากขอความนี้แสดงวา หนูนาไปทําบุญในวันใด และเปนการบอกวันเวลาแบบใด ตารางกลุมคําตอบ กลุมคําตอบที่ 1 กลุมคําตอบที่ 2 1) วันขึ้น 8 คํ่า A สุริยคติ 2) วันขึ้น 15 คํ่า B จันทรคติ 3) วันแรม 15 คํ่า C อธิกสุรทิน

ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนฟงวา • วันแรม 15 คํ่า เปนวันที่มองไมเห็นดวงจันทร โดยจะเรียกวา คืนเดือนดับ • วันขึ้น 15 คํ่า เปนวันที่มองเห็นดวงจันทรสวางเต็มดวง โดยจะเรียกวา คืนเดือนเพ็ญ

วิเคราะหคําตอบ วันมาฆบูชาตรงกับวันขึ้น 15 คํ่า เดือน 3 ซึ่งเปนการ บอกวันเวลาตามแบบจันทรคติ ดังนั้น ขอ 2), B จึงเปนคําตอบที่ถูก

1 จันทรคติ เปนวิธีนับวันและเดือนโดยถือเอาการโคจรของดวงจันทรเปนหลัก

นักเรียนควรรู

มุม IT ครูคนควาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับปฏิทินทางจันทรคติไดจาก www.myhora.com/ปฏิทิน-จันทรคติไทย.aspx คูมือครู

7


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

1. ใหนกั เรียนอธิบายความหมายของขางขึน้ ขางแรม ตามความเขาใจจากปฏิทิน 2. ใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นวา วันแบบจันทรคติวันใดบาง ที่มีการจัดกิจกรรม และนักเรียนเคยเขารวมกิจกรรมนั้น โดยสังเกต จากปฏิทินที่ครูนํามาใหดู 3. ครูอธิบายเพิม่ เติมใหนกั เรียนเขาใจวา • ระยะเวลาขางขึ้นมี 15 วัน ตั้งแตวันขึ้น 1 คํ่า ถึงวันขึ้น 15 คํ่า • ระยะเวลาขางแรมมี 15 วัน ตั้งแตวันแรม 1 คํ่า ถึงวันแรม 15 คํ่า ซึ่งเมื่อรวมกันแลวจะเปน 1 เดือน 4. ใหนักเรียนดูปฏิทินของเดือนนี้ และเขียนวัน ทางจันทรคติที่ปรากฏอยูบนปฏิทิน และบันทึก ลงในสมุด

ขางขึน้ หมายถึง วันทีเ่ รา เห็นพระจันทรคอ ยๆ สวางขึน้ เริม่ จากวันขึน้ ๑ คํา่ ถึงวันขึน้ ๑๕ คํ่า เชน

วันเขาพรรษา ตรงกับวันแรม ๑ คํ่า เดือน ๘

วันลอยกระทง ตรงกับวันขึ้น ๑๕ คํ่า เดือน ๑๒

วันวิสาขบูชา ตรงกับวันขึ้น ๑๕ คํ่า เดือน ๖

วันขึ้น ๑๕ คํา่ เดือน ๖ เปนวันวิสาขบูชา วันขึน้ ๑๕ คํา่ เดือน ๑๒ เปนวันลอยกระทง ขางแรม หมายถึง วันที่ เราเห็นพระจันทรคอยๆ มืด ลง เริ่มจากวันแรม ๑ คํ่า ถึง วันแรม ๑๕ คํ่า เชน วันแรม ๑ คํ่ า เดื อ น ๘ เป นวั น เข า 1 พรรษา ระหวางนี้พระสงฆจะ จําพรรษาที2 ่วัดตลอด ๓ เดือน

กิจกรรมพัฒนาการเรียนรูที่ ๔

(ผลการปฏิบัติกิจกรรมขึ้นอยูกับดุลยพินิจของครูผูสอน)

ดู ป ฏิ ทิ น ของเดื อ นนี้ แล ว เขี ย นวั น ทางจั น ทรคติ ที่ ป รากฏ บนปฏิทินลงในสมุด ๘

นักเรียนควรรู 1 วันเขาพรรษา เปนวันที่พระสงฆอธิษฐานวา จะพักประจําอยู ณ ที่ใดที่หนึ่ง เปนเวลา 3 เดือน เริ่มตั้งแตวันแรม 1 คํ่า เดือน 8 จนถึงวันออกพรรษา ในวันขึน้ 15 คํา่ เดือน 11 2 พรรษา หมายถึง ฤดูฝน จําพรรษา หมายถึง การทีพ่ ระสงฆตอ งอยูป ระจํา ทีว่ ดั เปนเวลา 3 เดือน ในฤดูฝน ซึ่งสาเหตุที่พระพุทธเจาทรงอนุญาตใหพระสงฆ อยูจําพรรษาเปนเวลา 3 เดือน ณ ที่ใดที่หนึ่ง ก็เพื่อใหพระสงฆไดหยุดพักการ เผยแผศาสนา เพราะในชวงฤดูฝนจะเดินทางยากลําบาก และยังเปนการปองกัน ไมใหพระสงฆเดินเหยียบยํ่าขาวกลาหรือพืชผลของชาวบานที่เริ่มลงแปลงปลูก ในฤดูฝน

8

คูมือครู

กิจกรรมสรางเสริม ใหนักเรียนหาภาพเหตุการณที่เกี่ยวของกับขางขึ้น ขางแรม มา 1 ภาพ และเขียนชื่อของเหตุการณนั้น

กิจกรรมทาทาย ใหนักเรียนจัดทําสมุดภาพเหตุการณที่เกี่ยวของกับขางขึ้น ขางแรม (อาจนํารูปภาพมาติดหรือวาดภาพก็ได) จากนั้นเขียนชื่อของเหตุการณนั้น พรอมกับเขียนอธิบายเกี่ยวกับเหตุการณมาสั้นๆ


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

การเรียกชือ่ เดือนแบบจันทรคติ เรียกชือ่ เดือนงายๆ ดังนี้

๑. เดือนอาย (เดือนที่ ๑) ๒. เดือนยี่ (เดือนที่ ๒) ๓. เดือนสาม ๔. เดือนสี่ ๕. เดือนหา ๖. เดือนหก ๗. เดือนเจ็ด ๘. เดือนแปด ๙. เดือนเกา ๑๐. เดือนสิบ ๑๑. เดือนสิบเอ็ด ๑๒. เดือนสิบสอง ปฏิทินที่เราใชทุกวันนี้ จะบอกทั้งวันแบบสุริยคติ และจันทรคติ แบบสุริยคติ

วันจันทรที่ ๒๒ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ เปนวัน อาสาฬหบูชา

กรกฎาคม / 2556 อา

พ พฤ ศ

วันขึ้น ๑๕ คํ่า เดือน ๘ ปนี้ เปนวัน อาสาฬหบูชา1

แรม ๘ ค่ำ เดือน ๗ แรม ๑๔ ค่ำ เดือน ๗ ขึ้น ๘ ค่ำ เดือน ๘

ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๘ แรม ๘ ค่ำ เดือน ๘

กิจกรรมพัฒนาการเรียนรูที่ ๕

แบบจันทรคติ

Explain

1. ใหนักเรียนทบทวนการเรียกชื่อเดือนแบบ สุริยคติวา มีชื่อเดือนอะไรบาง และมีทั้งหมด กี่เดือน 2. ใหนักเรียนชวยกันแสดงความคิดเห็นวา การเรียกชื่อเดือนแบบจันทรคติกับแบบสุริยคติ เหมือนกันหรือแตกตางกันอยางไร (แนวตอบ ตางกัน คือ การเรียกชื่อเดือนแบบ จันทรคติ จะเรียกชื่อเดือนตามลําดับของเดือน เชน เดือนอาย (เดือนที่หนึ่ง) เดือนสาม เดือนแปด เปนตน สวนการเรียกชื่อเดือน แบบสุริยคติจะเรียกตามชื่อของเดือนนั้นๆ เชน มกราคม กุมภาพันธ กันยายน เปนตน) 3. ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับเรียกชื่อเดือน แบบจันทรคติใหนักเรียนเขาใจ 4. ครูและนักเรียนชวยกันเปรียบเทียบการบอก วัน เดือน ป แบบสุริยคติและแบบจันทรคติ 5. ใหนักเรียนดูปฏิทิน และใหนักเรียน อานออกเสียงวันตามแบบจันทรคติ 6. ใหนักเรียนเขียนชื่อวัน เดือน ป ของวันนี้ ตามแบบจันทรคติ และบันทึกลงในสมุด 7. ใหนักเรียนเขียนชื่อวัน เดือน ป ของเดือนนี้ ที่ตรงกับวันพระตามแบบจันทรคติ และบันทึก ลงในสมุด

(ผลการปฏิบัติกิจกรรมขึ้นอยูกับดุลยพินิจของครูผูสอน)

๑. เขียนชือ่ วัน เดือน ป ของวันนีต้ ามแบบจันทรคติลงในสมุด ๒. เขียนชื่อ วัน เดือน ป ของเดือนนี้ที่ตรงกับวันพระตามแบบ จันทรคติลงในสมุด ๙

1. ขางขึ้น ขางแรม 2. วันจันทร 3. เดือนอาย 4. เดือนกุมภาพันธ 5. 1 สัปดาห

ขอสอบเนนการคิด

จากขอมูลที่กําหนด ขอใดสัมพันธกับการบอกวัน เดือน ป ตามแบบจันทรคติ ก. 1 และ 3 ข. 2 และ 4 ค. 3 และ 5 ง. 4 และ 5

นักเรียนควรรู 1 วันอาสาฬหบูชา ตรงกับวันขึ้น 15 คํ่า เดือน 8 เปนวันที่พระพุทธเจา ไดแสดงธรรมโปรดปญจวัคคีย ณ อิสปิ ตนมฤคทายวัน ซึ่งถือเปนการแสดงธรรม ครั้งแรกของพระองค (ปฐมเทศนา) และทําใหเกิดเหตุการณสําคัญ ดังนี้ • เปนวันแรกที่พระพุทธเจาทรงประกาศศาสนาและแสดงธรรม • มีพระสงฆองคแรกเกิดขึ้นในพระพุทธศาสนา • มีพระรัตนตรัยครบองคสาม ไดแก พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ

วิเคราะหคําตอบ หมายเลข 2, 4 และ 5 เปนการบอกวัน เดือน ป ตามแบบสุริยคติ สวนหมายเลข 1 และ 3 เปนการบอกวัน เดือน ป ตามแบบจันทรคติ ดังนั้น ขอ ก. จึงเปนคําตอบที่ถูก

คูมือครู

9


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

Expand

1. ใหนักเรียนชวยกันบอกวา • เราใชประโยชนอะไรจากปฏิทิน (แนวตอบ บอกวัน เดือน ป บอกวันสําคัญ ตางๆ ชวยเตือนความจําวาตองทําอะไร ในวันใดบาง) 2. ใหนักเรียนนําปฏิทินที่บอกวันสําคัญในปนี้ มาใหเพื่อนในชั้นเรียนดู และชวยกันบอกวา ในปฏิทินบอกวันสําคัญใดบาง ตรงกับวันที่ เทาใด 3. ครูอธิบายเพิม่ เติมเรือ่ งความสําคัญของวันสําคัญ ในปฏิทิน และใหนักเรียนเลาเหตุการณ ที่เคยทําใหเพื่อนฟงหนาชั้นเรียน 4. ครูซักถามนักเรียนวา ถามีสิ่งที่จะตองทํา หลายอยางและกลัววาจะจําไมได นักเรียน จะทําอยางไร 5. ใหนักเรียนบันทึกกิจกรรมสําคัญที่ไดทําไปแลว กําลังทํา และจะทําในอนาคตลงในปฏิทิน เดือนนี้ และออกมาเลาใหเพื่อนฟงที่หนาชั้น 6. ใหนักเรียนรวมกันสรุปเกี่ยวกับ • ความสําคัญของปฏิทิน • การบอกวันเวลาตามแบบสุริยคติ และตามแบบจันทรคติ โดยสรุปเปนขอๆ

๒. ความสําคัญของปฏิทนิ

ปฏิทนิ มีความสําคัญ ดังนี้ ๑) ปฏิทนิ บอกความสําคัญ ของวันสําคัญ เชน วันที่ ๑๓ เมษายน เปน วันสงกรานต และวันครอบครัว นักเรียนไปทําบุญทีว่ ดั ไหวปยู า ตายาย รดนํา้ ดําหัวผูใ หญ และ เลนสาดนํา้ กันอยางสนุกสนาน วันที่ ๒๙ กรกฎาคม 1 เปนวันภาษาไทยแหงชาติ ซึ่ง คนไทยทุกคนตองใชภาษาไทย ใหถกู ตอง เพือ่ รักษาภาษาไทย ของเราไวใหคงอยูค กู บั คนไทย ตลอดไป วันที่ ๕ ธันวาคม เปน วันเฉลิมพระชนมพรรษา คือ วันคลายวันพระบรมราชสมภพ (วันเกิด)ของพระบาทสมเด็จ พระเจาอยูหัว และเปนวันพอ แหงชาติ

เมษายน

๑๓

กรกฎาคม

๒๙

ธันวาคม

๑๐

นักเรียนควรรู 1 วันภาษาไทยแหงชาติ ตรงกับวันที่ 29 กรกฎาคม ของทุกป เหตุผลที่ กําหนดใหวันนี้เปนภาษาไทยแหงชาติ เนื่องในวันที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2505 พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ ทรงรวมอภิปรายในหัวขอปญหาการใชคําไทย ที่คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ซึ่งแสดงถึงพระปรีชาสามารถและ ความหวงใยในภาษาไทย ดังนั้นทางราชการจึงไดกําหนดใหวันที่ 29 กรกฎาคม ของทุกป เปนวันภาษาไทยแหงชาติ

10

คูมือครู

บูรณาการเชื่อมสาระ

ครูบูรณาการความรูในสาระสังคมศึกษาฯ วิชาประวัติศาสตรกับสาระ ภาษาไทย เรือ่ งวันสําคัญในปฏิทนิ โดยใหนกั เรียนเขียนเลาเหตุการณทปี่ ระทับใจ ในวันสําคัญที่นักเรียนเคยเขารวม จากนั้นออกมาอานใหเพื่อนฟงที่หนาชั้น เพื่อใหนักเรียนมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับวันสําคัญในปฏิทินเพิ่มมากขึ้น


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

ขยายความเขาใจ มกราคม

พฤษภาคม

๑๗

สิงหาคม

๒) ปฏิ ทิ น ใช ช  ว ยเตื อ น ความจําของเรา ทําใหเรารู วาเรื่องราวใดเกิดขึ้นเมื่อใด ช ว ยให เ ราลํ า ดั บ เรื่ อ งที่ เ กิ ด กับเราไดถูกตอง เชน วันที่ ๑ มกราคม เปน วันขึ้นป ใหม วิชาไปทําบุญ และไปรวมงานเลี้ยงปใหม วันที่ ๑๗ พฤษภาคม วิชาไปโรงเรียนเปนวันแรก วันที่ ๑ สิงหาคม ครูนดุ ี พานักเรียนไปเก็บขยะที่นอก โรงเรียน วันที่ ๒๐ กันยายน วิชา ไปเที่ยวนํ้าตกกับครอบครัว

Expand

ใหนักเรียนทํากิจกรรมรวบยอดที่ 1.1 จากแบบวัดฯ ประวัติศาสตร ป.1 โดยอานขอมูล จากปฏิทิน แลวตอบคําถาม ✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ ประวัติศาสตร ป.1 กิจกรรมรวบยอดที่ 1.1 แบบประเมินตัวชี้วัด ส 4.1 ป.1/1 แบบประเมินผลการเรียนรูตามตัวชี้วัด ประจําหนวยที่ ๑ บทที่ ๑ กิจกรรมรวบยอดที่ ๑.๑ แบบประเมินตัวชี้วัด ส ๔.๑ ป.๑/๑ 

บอกวัน เดือน ป และการนับชวงเวลาตามปฏิทินที่ใชในชีวิตประจําวัน

ชุดที่ ๑ ๑๐ คะแนน อานขอมูลในปฏิทิน แลวตอบคําถาม

ปเถาะ 8

August 2011 อาทิตย Sunday ฉบับ

เฉลย

จันทร Monday

1 7 8 14 15 21 22 28 29

อังคาร Tuesday

2 9 16 23 30

พุธ Wednesday

3 10 17 24 31

ขึ้น 2 คํ่า เดือน 9

ขึ้น 3 คํ่า เดือน 9

ขึ้น 4 คํ่า เดือน 9

ขึ้น 8 คํ่า เดือน 9

ขึ้น 9 คํ่า เดือน 9

ขึ้น 10 คํ่า เดือน 9

ขึ้น 15 คํ่า เดือน 9

แรม 1 คํ่า เดือน 9

แรม 7 คํ่า เดือน 9

8 สิงหาคม ๒๕๕๔

พฤหัสบดี Thursday

4 11 18 25

ศุกร Friday

5 6 12 13 19 20 26 27

ขึ้น 5 คํ่า เดือน 9

ขึ้น 6 คํ่า เดือน 9

ขึ้น 7 คํ่า เดือน 9

ขึ้น 11 คํ่า เดือน 9

ขึ้น 12 คํ่า เดือน 9

ขึ้น 13 คํ่า เดือน 9

ขึ้น 14 คํ่า เดือน 9

แรม 2 คํ่า เดือน 9

แรม 3 คํ่า เดือน 9

แรม 4 คํ่า เดือน 9

แรม 5 คํ่า เดือน 9

แรม 6 คํ่า เดือน 9

แรม 8 คํ่า เดือน 9

แรม 9 คํ่า เดือน 9

แรม 10 คํ่า เดือน 9 แรม 11 คํ่า เดือน 9

แรม 14 คํ่า เดือน 9 ขึ้น 1 คํ่า เดือน 10

ขึ้น 2 คํ่า เดือน 10

ขึ้น 3 คํ่า เดือน 10

แรม 12 คํ่า เดือน 9 แรม 13 คํ่า เดือน 9

12 วันเฉลิมพระชนมพรรษา สมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ

กันยายน

๒๐

เสาร Saturday

วันพระ

๑๑

กิจกรรมสรางเสริม ครูใหนักเรียนจัดทําปฏิทินของปปจจุบัน เฉพาะเดือนเกิดของตนเอง โดยออกแบบและตกแตงใหสวยงาม

กิจกรรมทาทาย

เกร็ดแนะครู ครูอธิบายใหนักเรียนเขาใจวา เราสามารถใชปฏิทินชวยเตือนความจําได โดยการจดสิ่งที่ตองทําลงบนปฏิทิน นอกจากนี้การจดสิ่งที่ตองทําไวบนปฏิทิน จะทําใหลําดับเหตุการณตางๆ ไดวาเหตุการณใดเกิดขึ้นกอนหรือหลังตามลําดับ เวลา และสามารถยอนกลับมาดูขอมูลที่จดไวได

ครูใหนักเรียนจัดทําปฏิทินของปปจจุบันใหครบทั้ง 12 เดือน และสามารถนํามาใชไดจริง โดยออกแบบและตกแตงใหสวยงาม

คูมือครู

11


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

Expand

1. ใหนักเรียนสอบถามสมาชิกในครอบครัว เกี่ยวกับวัน เดือน ปเกิดของทุกคน แลวนํามา เทียบกับปปจจุบันวาตรงกับวันใด แลวบันทึก ลงในสมุด 2. ใหนักเรียนดูวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา จากปฏิทิน แลวบันทึกลงในสมุด ตามวันเวลา ที่เกิดขึ้น

ตรวจสอบผล

ขยายความเขาใจ

Evaluate

1. ครูตรวจสอบผลการทํากิจกรรมรวบยอดที่ 1.1 จากแบบวัดฯ ประวัติศาสตร ป.1 2. ครูตรวจสอบผลการบันทึกวัน เดือน ปเกิด ของสมาชิกในครอบครัว โดยพิจารณาจาก ความถูกตองสมบูรณของขอมูล และตรงตาม ความเปนจริง

เราบันทึกวันสําคัญของเราไวบนปฏิทิน เชน อาทิตย

จันทร

อังคาร

พุธ

พฤหัสบดี

ศุกร

เสาร

โรงเรียนปด

เรียนวาดรูป

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 โรงเรียนปด

สงงาน คัดลายมือ

วันเกิด คุณแม

วันเกิด คุณพอ

ไปเยี่ยมคุณยาย

โรงเรียนปด

วันพระ

๕ วันเฉลิมฯ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ ๑๐ วันรัฐธรรมนูญ ๓๑ วันสิ้นป

กิจกรรมพัฒนาการเรียนรูที่ ๖

(ผลการปฏิบัติกิจกรรมขึ้นอยูกับดุลยพินิจของครูผูสอน)

ใหนักเรียนนําปฏิทินของเดือนนี้มาดู แลวเขียนกิจกรรมสําคัญ ที่ไดทําไปแลว กําลังจะทํา และจะทําในอนาคตลงในปฏิทิน จากนั้น ออกมาเลาใหเพื่อนฟงที่หนาชั้น ๑๒

มุม IT ครูดูขอมูลเรื่องปฏิทินวันพระไดที่ www.onab.go.th ซึ่งเปนเว็บไซตของ สํานักงานพระพุทธศาสนาแหงชาติ

12

คูมือครู

บูรณาการเชื่อมสาระ

ครูบูรณาการความรูในสาระสังคมศึกษาฯ วิชาประวัติศาสตรกับสาระ ศิลปะ วิชาทัศนศิลป เรื่องวันสําคัญในปฏิทิน โดยใหนักเรียนออกแบบ ตารางบันทึกเพื่อใชบันทึกวันสําคัญ ซึ่งอาจดูตัวอยางจาก หนา 12 และ ตกแตงระบายสีใหสวยงาม เพื่อใหนักเรียนไดฝกการเขียนบันทึกตาม รูปแบบของปฏิทิน


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

กระตุน ความสนใจ

ครูถามคําถามนักเรียน เชน • นักเรียนตื่นนอนตอนไหน (แนวตอบ ตอนเชา) • นักเรียนวิ่งเลนตอนไหน (แนวตอบ ตอนพักกลางวัน ตอนเย็น)

๓. การแบงชวงเวลาใน ๑ วัน

ใน ๑ วัน แบงเปนหลายชวงเวลา คําบอกชวงเวลาทําใหเรา ลําดับเรือ่ งราวไดชดั เจน ไดแก เชา สาย เทีย่ ง บาย เย็น หัวคํา่ ดึก เราตื่นนอน อาบนํ้า ไปโรงเรียนตอนเชา เรารวมรอง เพลงชาติ แ ละเรี ย นหนั ง สื อ ตอนสาย ตอนเที่ ย งเราวิ่ ง เล น เราวาดรูปตอนบาย ตอนเย็นเราเลิกเรียน กลับบาน ทําการบาน ชวยทํางานบาน และกินอาหารเย็น เราเขานอนแตหัวคํ่า เรานอนหลับในตอนดึก เชา

ดึก

Engage

สํารวจคนหา

Explore

1. ครูนําคําตอบของนักเรียนเขียนบนกระดาน และอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา การบอกเวลาคราวๆ ลักษณะนี้ เปนการแบง ชวงเวลาใน 1 วัน 2. ใหนักเรียนชวยกันบอกคําบอกชวงเวลา ที่นักเรียนรูจัก เชน เชา สาย บาย เย็น ดึก 3. ใหนักเรียนชวยกันหาคําบอกชวงเวลาจาก เนื้อหาในหนังสือเรียน หนา 13

อธิบายความรู

สาย

1. ใหนักเรียนชวยกันบอกชวงเวลาของวัน 2. ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา การแบงชวงเวลาใน 1 วันนี้ เพื่อใหบอกลําดับ เหตุการณที่เกิดขึ้นใน 1 วัน ใหชัดเจน 3. ใหนักเรียนเขียนบันทึกวาในวันนี้ไดทํากิจกรรม ใดบาง โดยใชคําบอกชวงเวลา และบันทึก ลงในสมุด 4. ใหนักเรียนยกตัวอยางเหตุการณหรือกิจกรรม ที่ทําในวันนี้มา 1 เหตุการณ โดยระบุชวงเวลา ที่เกิด แลวครูสังเกตวานักเรียนใชคําบอก ชวงเวลาไดถูกตองหรือไม 5. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายสรุปเรื่องราว การแบงชวงเวลาใน 1 วัน

เที่ยง

หัวคา่ํ

วัน เ ย็

บา ย

ขอสอบเนนการคิด

“ปติตื่นนอน หลังจากนั้นก็อาบนํ้า แปรงฟน แตงตัว และไปโรงเรียน ชวงพักกลางวันปติรับประทานอาหารกับเพื่อนๆ เมื่อเลิกเรียนปติกลับบาน และไปชวยแมทํางานบาน” จากขอความนี้ เกี่ยวของกับชวงเวลาใดบาง ก. เชา เย็น ข. เชา เที่ยง เย็น ค. เชา สาย เย็น ดึก ง. เชา เย็น ดึก รุงสาง วิเคราะหคําตอบ จากขอความนี้ปติตื่นนอน อาบนํ้า แปรงฟน แตงตัว และไปโรงเรียนเกี่ยวของกับชวงเวลาเชา ปติรับประทานอาหารกลางวัน เกีย่ วของกับชวงเวลาเทีย่ ง ปตเิ ลิกเรียนและกลับบานไปชวยแมทาํ งานบาน เกี่ยวของกับชวงเวลาเย็น ดังนั้น ขอ ข. จึงเปนคําตอบที่ถูก

Explain

๑๓

เกร็ดแนะครู ครูอาจตั้งคําถามเพื่อใหนักเรียนรวมกันอภิปรายเพิ่มเติมเพื่อเปนการขยาย ความเขาใจของนักเรียน เชน • ทําไมเราตองเรียนเรื่องการแบงชวงเวลา (แนวตอบ เพื่อลําดับเหตุการณตางๆ ที่เกิดขึ้นไดถูกตอง) • นักเรียนจะนําเรื่องการแบงชวงเวลาไปใชในชีวิตประจําวันอยางไร) (แนวตอบ ใชลําดับความสําคัญของเรื่องตางๆ ที่ตองทํากอน-หลัง และใช ในการสื่อสารกับผูอื่นใหเขาใจ)

คูมือครู

13


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

Expand

1. ใหนักเรียนเขียนบันทึกเหตุการณประจําวัน เปนเวลา 1 สัปดาห ลงในสมุด 2. ใหนักเรียนเรียงลําดับเหตุการณ (โดยครูเปนผู กําหนดเหตุการณหรืออาจมีภาพเหตุการณ ใหนักเรียนดูก็ได) และแตงประโยคโดยใช คําบอกชวงเวลา

ตรวจสอบผล

ขยายความเขาใจ

Evaluate

1. ครูประเมินผลการเขียนบันทึกเหตุการณ ประจําวันของนักเรียน โดยพิจารณาจากการ เรียงลําดับเหตุการณในชีวิตประจําวัน ตามชวงเวลาที่เกิดขึ้น 2. ครูตรวจสอบผลการเรียงลําดับเหตุการณ และการแตงประโยคที่ใชคําบอกชวงเวลา โดยพิจารณาจากความถูกตองสมบูรณ ของขอมูลและประโยค

ใน ๑ วัน แบงเปน กลางวันและกลางคืน คําที่ใชบอกเวลาชวงกลางวัน เชน เชา เที่ยง เย็น คําที่ใชบอกเวลาชวงกลางคืน เชน หัวคํ่า ดึก เวลาเชา พระอาทิตยขนึ้ ทางทิศตะวันออก เวลาเที่ยง พระอาทิตยอยูตรงศีรษะ เวลาเย็น พระอาทิตยตกทางทิศ ตะวันตก ▲

กิจกรรมพัฒนาการเรียนรูที่ ๗

เวลาเที่ยง พระอาทิตยอยูตรงศีรษะ

(ผลการปฏิบัติกิจกรรมขึ้นอยูกับดุลยพินิจของครูผูสอน)

เขียนบันทึกวาในวันนีน้ กั เรียนทํากิจกรรมใดบาง โดยใชคาํ บอก ชวงเวลา

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู 1. การบันทึกวัน เดือน ปเกิด ของสมาชิก ในครอบครัว 2. ผลการทํากิจกรรมรวบยอดที่ 1.1 จากแบบวัดฯ ประวัติศาสตร ป.1 3. การเขียนบันทึกเหตุการณประจําวัน 4. การเขียนเรียงลําดับเหตุการณและแตงประโยค โดยใชคําบอกชวงเวลา

กิจกรรมรวบยอด จกรรมรวบยอด

(ผลการปฏิบัติกิจกรรมขึ้นอยูกับดุลยพินิจของครูผูสอน)

๑. สอบถามสมาชิกในบานเกีย่ วกับวัน เดือน ปเกิดของทุกคน แลวนํามาเทียบกับปจจุบันวาตรงกับวันใด โดยบันทึกลงในสมุด ๒. สํารวจวันสําคัญทางพระพุทธศาสนาจากปฏิทนิ ปปจ จุบนั วา ตรงกับวันใดทั้งทางสุริยคติและทางจันทรคติ แลวบันทึกลงในสมุด ๓. เขี ย นบั น ทึ ก เหตุ ก ารณ ป ระจํ า วั น ของตนเองเป น เวลา ๑ สัปดาห จากนั้นนํามาเลาใหเพื่อนฟงที่หนาชั้น ๑๔

เฉลย กิจกรรมพัฒนาการเรียนรูที่ 7 แนวตอบ เชน วันนี้ฉันตื่นนอนตั้งแตเชาตรู จากนั้นอาบนํ้า แปรงฟน แตงตัว และรับประทานอาหารแลวไปโรงเรียนตอนเชา เวลาสายเรียนวิชาประวัติศาสตร คุณครูสอนเรื่องการเลาประวัติความเปนมาของตนเอง ตอนเย็นหลังเลิกเรียน ฉันรีบกลับบานและไปชวยแมทํางานบาน จากนั้นเขานอนตอนหัวคํ่า พอเลานิทาน กอนนอนใหฟง ฉันมีความสุขมาก

14

คูมือครู

ขอสอบเนนการคิด

เพราะเหตุใดจึงตองมีการใชคําบอกชวงเวลา ก. เพราะตองการใหมีการใชคําที่หลากหลาย ข. เพราะตองการใหลําดับเรื่องราวไดชัดเจน ค. เพราะตองการใหเราไปโรงเรียนไดทันเวลา ง. เพราะตองการใหสามารถเขียนบันทึกประจําวันไดถูกตอง วิเคราะหคําตอบ การใชคําบอกชวงเวลาตางๆ เชน เชา สาย บาย คํ่า เปนตน เปนการใชคําที่จะทําใหเราสามารถลําดับเรื่องราวไดชัดเจนวา ทําอะไร เวลาใด ดังนั้น ขอ ข. จึงเปนคําตอบที่ถูก


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.