8858649122438

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº »ÃСѹÏ

ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน

กระบวนการสอนแบบ 5 Es ชวยสรางทักษะการเรียนรู กิจกรรมมุงพัฒนาทักษะการคิด คำถาม + แนวขอสอบเพื่อยกผลสัมฤทธิ์ O-NET กิจกรรมบูรณาการเตรียมพรอมสู ASEAN 2558


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู สุขศึกษาและพลศึกษา

สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปที่

2

สําหรับครู

คูมือครู Version ใหม

ลักษณะเดน

ขยายพื้นที่รูปเลมใหญขึ้นกวาเดิม จัดแบงพื้นที่ออกเปนโซน เพื่อคนหาขอมูลไดงาย สะดวก รวดเร็ว และดูเปนระเบียบ กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

เปาหมายการเรียนรู สมรรถนะของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค

หน า

โซน 1 กระตุน ความสนใจ

Engage

สํารวจคนหา

Explore

อธิบายความรู

Explain

ขยายความเขาใจ

Expand

ตรวจสอบผล

หน า

หนั ง สื อ เรี ย น

โซน 1

หนั ง สื อ เรี ย น

Evaluate

ขอสอบเนน การคิด ขอสอบเนน การคิด แนว NT แนว O-NET ขอสอบ

โซน 2

เกร็ดแนะครู

O-NET

บูรณาการเชื่อมสาระ

โซน 3

กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย

นักเรียนควรรู

โซน 3

โซน 2 บูรณาการอาเซียน มุม IT

No.

คูมือครู

คูมือครู

No.

โซน 1 ขั้นตอนการสอนแบบ 5Es

โซน 2 ชวยครูเตรียมสอน

โซน 3 ชวยครูเตรียมนักเรียน

เพื่อใหครูเตรียมจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยแนะนําขั้นตอนการสอนและ การจัดกิจกรรมแบบ 5Es อยางละเอียด เพื่อใหนักเรียนบรรลุตามตัวชี้วัด

เพื่อชวยลดภาระครูผูสอน โดยแนะนํา เกร็ดความรูสําหรับครู ความรูเสริมสําหรับ นักเรียน รวมทั้งบูรณาการความรูสูอาเซียน และมุม IT

เพือ่ ใหครูสะดวกตอการจัดกิจกรรม โดยแนะนํา กิจกรรมบูรณาการเชื่อมระหวางกลุมสาระ วิชา กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย รวมถึงเนือ้ หา ที่เคยออกขอสอบ O-NET เก็งขอสอบ O-NET และแนวขอสอบเนนการคิด พรอมคําอธิบาย และเฉลยอยางละเอียด


ที่ใชในคูมือครู

แถบสีและสัญลักษณ

แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5Es เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

1. แถบสี 5Es สีแดง

สีเขียว

กระตุน ความสนใจ

เสร�ม

สํารวจคนหา

Engage

2

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุน ความสนใจ เพื่อโยง เขาสูบทเรียน

สีสม

อธิบายความรู

Explore

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนสํารวจ ปญหา และศึกษา ขอมูล

สีฟา

Explain

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนคนหา คําตอบ จนเกิดความรู เชิงประจักษ

สีมวง

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนนําความรู ไปคิดคนตอๆ ไป

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

2. สัญลักษณ สัญลักษณ

วัตถุประสงค

• เปาหมายการเรียนรู

O-NET

(เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ O-NET O-NET)

• ชีแ้ นะเนือ้ หาทีเ่ คยออกขอสอบ

O-NET โดยยกตัวอยางขอสอบ พรอมวิเคราะหคาํ ตอบ อยางละเอียด

• เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน

การคิดใหครูนาํ ไปใชไดจริง รวมถึงเปนการเก็งขอสอบ O-NET ทีจ่ ะออก มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

แสดงรองรอยหลักฐานตามภาระงาน ที่ครูมอบหมาย เพื่อแสดงผลการเรียนรู ตามตัวชี้วัด

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

แทรกความรูเสริมสําหรับครู ขอเสนอแนะ ขอควรระวัง ขอสังเกต แนวทางการจัด กิจกรรมและอืน่ ๆ เพื่อประโยชนในการ จัดการเรียนการสอน

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

ขยายความรูเพิ่มเติมจากเนื้อหา เพื่อใหครู นําไปใชอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียน ไดมีความรูมากขึ้น

บูรณาการเชื่อมสาระ

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม

ความรูห รือกิจกรรมเสริม ใหครูนาํ ไปใช เตรียมความพรอมใหกบั นักเรียนกอนเขาสู ประชาคมอาเซียน 2558 โดยบูรณาการ กับวิชาทีก่ าํ ลังเรียน

กิจกรรมสรางเสริม

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม

เกร็ดแนะครู

นักเรียนควรรู

บูรณาการอาเซียน

คูม อื ครู

ขอสอบ

วัตถุประสงค

• หลักฐานแสดงผล การเรียนรู

มุม IT

แสดงเปาหมายการเรียนรูที่นักเรียน ตองบรรลุตามตัวชี้วัด ตลอดจนสมรรถนะ ที่จะตองมี และคุณลักษณะที่พึงเกิดขึ้น กับนักเรียน

สัญลักษณ

แนะนําแหลงคนควาจากเว็บไซต เพื่อใหครู และนักเรียนไดเขาถึงขอมูลความรู ที่หลากหลาย ทั้งไทยและตางประเทศ

• แนวขอสอบ NT ในระดับ

ประถมศึกษา มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

(เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ NT)

กิจกรรมทาทาย

เชือ่ มกับกลุม สาระ ชัน้ หรือวิชาอืน่ ทีเ่ กีย่ วของ

ซอมเสริมสําหรับนักเรียน ทีย่ งั ไมเขาใจเนือ้ หา

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ตอยอดสําหรับนักเรียนทีเ่ รียนรู เนือ้ หาไดอยางรวดเร็ว และ ตองการทาทายความสามารถ ในระดับทีส่ งู ขึน้


คําแนะนําการใชคูมือครู การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน คูมือครู รายวิชา สุขศึกษาฯ ป.2 จัดทําขึ้นเพื่อใหครูผูสอนนําไปใชเปนแนวทางวางแผนการสอนเพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน และประกันคุณภาพผูเ รียน ตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน (สพฐ.) โดยใชหนังสือเรียน สุขศึกษาฯ ป.2 ของบริษทั อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด เปนสือ่ หลัก (Core Material) ประกอบการสอน เสร�ม และการจัดกิจกรรมการเรียนรูใ หสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั กลุม สาระการเรียนรู สุขศึกษาและพลศึกษา 3 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พ.ศ. 2551 โดยออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักการสําคัญ ดังนี้ 1 ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน คูมือครู รายวิชา สุขศึกษาฯ ป.2 วางแผนการสอนโดยแบงเปนหนวยการเรียนรูตามลําดับสาระ (Standard) และ หมายเลขขอของมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั แตละหนวยจะกําหนดเปาหมายการสอนและจุดประสงคการเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทางการประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชัดเจน ครูผูสอนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด สมรรถนะ และคุณลักษณะ อันพึงประสงคที่เปนเปาหมายการเรียนรูตามที่กําหนดไวในสาระแกนกลาง (ตามแผนภูมิ) และสามารถบันทึกผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของผูเรียนแตละคนลงในเอกสาร ปพ.5 ไดอยางมั่นใจ แผนภูมิแสดงองคประกอบของการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผูเรียนเปนสําคัญ

คก า

ส ภา

พผ

ูเ

จุ ด ป ร

ะสง

รู

รียน

น เรีย

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชั้นป

ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน

คูม อื ครู


2 การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ แนวคิ ด ในการจั ด การเรี ย นการสอนที่ ยึ ด ผู  เ รี ย นเป น สํ า คั ญ พั ฒ นามาจากปรั ช ญาและทฤษฎี ก ารเรี ย นรู  Constructivism ที่เชื่อวาการเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสรางความรู โดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดเรียนรูจากบทเรียนใหมกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา ผูเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีการสั่งสมความรูความเขาใจเกี่ยวกับสิ่งตางๆ ติดตัวมากอน ทีจ่ ะเขาสูห อ งเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากประสบการณและสิง่ แวดลอมรอบตัวผูเ รียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกิจกรรม เสร�ม การเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ผูสอนจะตองคํานึงถึง

4

1. ความรูเดิมของผูเรียน วิธีการสอนที่ดีจะตองเริ่มตนจากจุดที่วา ผูเ รียนมีความรูอ ะไรมาบาง แลวจึงใหความรู หรือประสบการณใหม เพื่อตอยอดจาก ความรูเดิม นําไปสูการสรางความรู ความเขาใจใหม

2. ความรูเดิมของผูเรียนถูกตองหรือไม ผูส อนตองปรับเปลีย่ นความรูค วามเขาใจเดิม ของผูเรียนใหถูกตอง และเปนพฤติกรรม การเรียนรูใ หมทมี่ คี ณุ คาตอผูเรียน เพื่อสราง เจตคติหรือทัศนคติที่ดีตอการเรียนรู สิ่งเหลานั้น

3. ผูเรียนสรางความหมายสําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมใหผูเรียนนําความรู ความเขาใจที่เกิดขึ้นไปลงมือปฏิบัติ เพื่อขยายความรูใหลึกซึ้งและมีคุณคา ตอตัวผูเรียนมากที่สุด

แนวคิด Constructivism เนนใหผูเรียนสรางความรูโดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูของตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศ

การเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณ ความรูใ หม เพือ่ กระตนุ ใหผเู รียนเชือ่ มโยงความรู ความคิด กับประสบการณทมี่ อี ยูเ ดิม แลวสังเคราะหเปนความรูห รือแนวคิดใหมๆ ไดดว ยตนเอง

3 การบูรณาการกระบวนการคิด การเรียนรูของผูเรียนแตละคนจะเกิดขึ้นที่สมอง ซึ่งเปนอวัยวะที่ทําหนาที่รูคิดภายใตสภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวย และไดรบั การกระตนุ จูงใจอยางเหมาะสม สอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของผูเ รียนแตละคน การจัดกิจกรรม การเรียนรูและสาระการเรียนรูที่สอดคลองกับความสนใจและมีความหมายตอผูเรียน จะชวยกระตุนใหสมองของผูเรียน สามารถรับรูและเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพตามขั้นตอนการทํางานของสมอง ดังนี้ 1. สมองจะเรียนรูและสืบคน โดยการสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง ปฏิบัติ จนทําใหคนพบความรูความเขาใจ ไดอยางรวดเร็ว

2. สมองจะแยกแยะคุณคาของสิ่งตางๆ โดยการตัดสินใจวิพากษวิจารณ แสดง ความคิดเห็น ยอมรับหรือตอตานตาม อารมณความรูสึกที่เกิดขึ้นในขณะที่เรียนรู

3. สมองจะประมวลเนื้อหาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสานกับ ความรูห รือประสบการณเดิมทีถ่ กู จัดเก็บอยูใ น สมอง ผานการกลัน่ กรองเพือ่ สังเคราะหเปน ความรูค วามเขาใจใหมๆ หรือเปนทัศนคติใหม ที่จะเก็บบรรจุไวในสมองของผูเรียน

การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะเกิดขึ้น เมื่อสมองรูคิด และตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมองผูเรียน โดยเริ่มตนจาก 1. ระดับการคิดพื้นฐาน ไดแก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล การสรุปผล เปนตน

คูม อื ครู

2. ระดับลักษณะการคิด ไดแก การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดไกล คิดหลากหลาย คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล เปนตน

3. ระดับกระบวนการคิด ไดแก กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ กระบวนการแกปญหา กระบวนการ คิดสรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะหวิจัย เปนตน


5Es การจัดกิจกรรมตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ขั้นตอนการสอนที่สัมพันธกับขั้นตอนการคิดและการทํางานทางสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย คือ วัฏจักรการเรียนรู 5Es ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแตละหนวย ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1

กระตุนความสนใจ

(Engage)

เสร�ม

5

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนนําเขาสูบ ทเรียน เพือ่ กระตุน ความสนใจของผูเ รียนดวยเรือ่ งราวหรือเหตุการณทนี่ า สนใจโดยใชเทคนิควิธกี ารสอน และคําถามทบทวนความรูหรือประสบการณเดิมของผูเรียน เพื่อเชื่อมโยงผูเรียนเขาสูความรูของบทเรียนใหม ชวยใหผูเรียนสามารถ สรุปประเด็นสําคัญที่เปนหัวขอและสาระการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอนการสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอม และสรางแรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน

ขั้นที่ 2

สํารวจคนหา

(Explore)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนเปดโอกาสใหผเู รียนลงมือศึกษา สังเกต หรือรวมมือกันสํารวจ เพือ่ ใหเห็นขอบขายของปญหา รวมถึงวิธกี ารศึกษา คนควา การรวบรวมขอมูลความรูที่จะนําไปสูการสรางความเขาใจประเด็นปญหานั้นๆ เมื่อผูเรียนทําความเขาใจในประเด็นหัวขอที่จะ ศึกษาคนควาอยางถองแทแลว ก็ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธีการตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูตามที่ตั้งประเด็นศึกษาไว

ขั้นที่ 3

อธิบายความรู

(Explain)

เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา ตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนคนหาคําตอบ และนําขอมูล ความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห สรุปผล และนําเสนอผลที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ แผนผังแสดงมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน ในขั้นตอนนี้ฝกใหผูเรียนใชสมองคิดวิเคราะหและ สังเคราะหอยางเปนระบบ

ขั้นที่ 4

ขยายความเขาใจ

(Expand)

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใชเทคนิควิธีการสอนตางๆ ที่สงเสริมใหผูเรียนนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนสืบคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะ การเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน ผูเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยง กับประสบการณเดิมโดยนําขอสรุปทีไ่ ดไปใชอธิบายเหตุการณตา งๆ หรือนําไปปฏิบตั ใิ นสถานการณใหมๆ ทีเ่ กีย่ วของกับชีวติ ประจําวัน ของตนเอง เพื่อขยายความรูความเขาใจใหกวางขวางยิ่งขึ้น ในขั้นตอนนี้ฝกสมองของผูเรียนใหสามารถคิดริเริ่มสรางสรรคอยางมี คุณภาพ เสริมสรางวิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป

ขั้นที่ 5

ตรวจสอบผล

(Evaluate)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนประเมินมโนทัศนของผูเ รียน โดยตรวจสอบจากความคิดทีเ่ ปลีย่ นไปและความคิดรวบยอดทีเ่ กิดขึน้ ใหม ตรวจสอบ ทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด และการเคารพความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพื่อการ สรางสรรคความรูร ว มกัน ผูเ รียนสามารถประเมินผลการเรียนรูข องตนเอง เพือ่ สรุปผลวามีความรูอ ะไรเพิม่ ขึน้ มาบาง เกิดความเขาใจ มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ ไดอยางไร ผูเรียนจะเกิดเจตคติและเห็นคุณคาของ ตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง

การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามขั้นตอนวัฏจักรการสรางความรูแบบ 5Es จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนน ผูเ รียนเปนสําคัญอยางแทจริง เพราะสงเสริมใหผเู รียนไดลงมือปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนของกระบวนการสรางความรูด ว ยตนเอง และฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและกระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะชีวิต ทักษะการทํางานและทักษะการ เรียนรูท มี่ ปี ระสิทธิภาพ สงผลตอการยกระดับผลสัมฤทธิข์ องผูเ รียน ตามเปาหมายของการปฏิรปู การศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คูม อื ครู


O-NET การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ O-NET

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ในแตละหนวยการเรียนรู ทางผูจัดทํา จะเสนอแนะวิธีสอนรูปแบบกิจกรรมการเรียนรู พรอมทั้งออกแบบเครื่องมือวัดผลประเมินผลที่สอดคลองกับตัวชี้วัด และสาระการเรียนรูแกนกลางไวทุกขั้นตอน โดยยึดหลักสําคัญ คือ เปาหมายของการวัดผลประเมินผล เสร�ม

6

1. การวัดผลทุกครั้งตองนําผล การวัดมาปรับปรุงพัฒนาผูเรียน เปนรายบุคคล

2. การประเมินผลมีเปาหมาย เพื่อพัฒนาการเรียนรูของผูเรียน จนเต็มศักยภาพ

3. การนําผลการวัดและประเมิน ทุกครั้งมาวางแผนปรับปรุงกิจกรรม การเรียนการสอน การเลือกเทคนิค วิธีการสอน และสื่อการเรียนรูให เหมาะสมกับสภาพจริงของผูเรียน

การทดสอบผูเรียน 1. การใชขอสอบอัตนัย เนนการอาน การคิดวิเคราะห และเขียนสรุปเพิ่มมากขึ้น 2. การใชคําถามกระตุนการคิด ควบคูกับการทําขอสอบที่เนนการคิดตลอดตอเนื่องตามลําดับกิจกรรมการเรียนรูและ ตัวชี้วัด 3. การทดสอบตองดําเนินการทั้งกอนเรียน ระหวางเรียน และเมื่อสิ้นสุดการเรียน การทดสอบระหวางเรียน ต อ งใช ข  อ สอบทั้ ง ชนิ ด ปรนั ย และอั ต นั ย และเป น การทดสอบเพื่ อ วิ นิ จ ฉั ย ผลการเรี ย นของผู  เ รี ย นแต ล ะคน เพื่อวัดการสอนซอมเสริมใหบรรลุตัวชี้วัดทุกตัว 4. การสอบกลางภาค (ถามี) ควรนําขอสอบหรือแบบฝกหัดที่นักเรียนสวนใหญทําผิดบอยๆ มาสรางเปนแบบทดสอบ อีกครัง้ เพือ่ ตรวจสอบความรูค วามเขาใจทีถ่ กู ตอง และประเมินความกาวหนาของผูเรียนแตละคน 5. การสอบปลายภาคเรียนเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามตัวชี้วัดที่สําคัญ ควรออกขอสอบใหมีลักษณะเดียวกับ ขอสอบ O-NET โดยเนนการคิดวิเคราะห สังเคราะห เชื่อมโยงประยุกตใช เพื่อสรางความคุนเคย และฝกฝน วิธีการทําขอสอบดวยความมั่นใจ 6. การนําผลการทดสอบของผูเรียนมาวิเคราะห โดยผลการสอบกอนการเรียนตองสามารถพยากรณผลการสอบ กลางภาค และผลการสอบกลางภาคตองทํานายผลการสอบปลายภาคของผูเ รียนแตละคน เพือ่ ประเมินพัฒนาการ ความกาวหนาของผูเรียนเปนรายบุคคล 7. ผลการทดสอบปลายป ปลายภาค ตองมีคาเฉลี่ยสอดคลองกับคาเฉลี่ยของการสอบ NT ที่เขตพื้นที่การศึกษา จัดสอบ รวมทั้งคาเฉลี่ยของการสอบ O-NET ชวงชั้นที่สอดคลองครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดสําคัญ เพือ่ สะทอนประสิทธิภาพของครูผสู อนในการออกแบบการเรียนรูแ ละประกันคุณภาพผูเ รียนทีต่ รวจสอบผลไดชดั เจน การจัดการเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ตองใหผูเรียนไดสั่งสมความรู สะสมความเขาใจไปทีละเล็ก ละนอยตามลําดับขัน้ ตอนของกิจกรรมการเรียนรู 5Es เพือ่ ใหผเู รียนไดเติมเต็มองคความรูอ ยางตอเนือ่ ง จนสามารถปฏิบตั ิ ชิ้นงานหรือภาระงานรวบยอดของแตละหนวยผานเกณฑประกันคุณภาพในระดับที่นาพึงพอใจ เพื่อรองรับการประเมิน ภายนอกจาก สมศ. ตลอดเวลา คูม อื ครู


ASEAN การเรียนรูสูประชาคมอาเซียน เพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรูบูรณาการอาเซียนศึกษา ผูจัดทําไดวิเคราะห มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดที่มีสาระการเรียนรูสอดคลองกับองคความรูเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนในแงมุมตางๆ ครอบคลุมทัง้ ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน เพื่อสงเสริมการเรียนรูใหผูเรียนเกิดความตระหนัก มีความรูความเขาใจเหมาะสมกับระดับชั้นและกลุมสาระ การเรียนรู โดยเสนอแนะวิธีการจัดกิจกรรมบูรณาการเนื้อหาสาระตางๆ ที่เปนประโยชนตอผูเรียนและเปนการชวย เตรียมความพรอมผูเ รียนทุกคนทีจ่ ะกาวเขาสูก ารเปนสมาชิกของประชาคมอาเซียนไดอยางมัน่ ใจตามขอตกลงปฏิญญา เสร�ม ชะอํา-หัวหิน วาดวยความรวมมือดานการศึกษาเพือ่ บรรลุเปาหมายประชาคมอาเซียนทีเ่ อือ้ อาทรและแบงปน จึงกําหนด 7 เปนนโยบายใหกระทรวงศึกษาธิการจัดการเรียนรูเตรียมความพรอมผูเรียนเขาสูประชาคมอาเซียนภายในป พ.ศ. 2558 ตามแนวปฏิบัติที่สําคัญ ดังนี้

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน 1. การสรางความรูความเขาใจ และตระหนักถึงความสําคัญของ กฎบัตรอาเซียน และความรวมมือ ของ 3 เสาหลัก ซึง่ กฎบัตรอาเซียน ในขณะนี้มีสถานะเปนกฎหมายที่ ประเทศสมาชิกจะตองปฏิบัติตาม หลักการที่กําหนดไวเพื่อใหบรรลุ เปาหมายของกฎบัตรมาตราตางๆ

2. การสงเสริมหลักการ ประชาธิปไตยและการสราง สิ่งแวดลอมประชาธิปไตย เพื่อการอยูรวมกันอยางกลมกลืน ภายใตวิถีชีวิตอาเซียนที่มีความ หลากหลายดานสังคมและ วัฒนธรรม

4. การตระหนักในคุณคาของ สายสัมพันธทางประวัติศาสตร และมรดกทางวัฒนธรรมที่มี พัฒนาการรวมกัน เพื่อเชื่อม อัตลักษณและสรางจิตสํานึก ในการเปนประชากรของประชาคม อาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการศึกษาดาน สิทธิมนุษยชน เพื่อสรางประชาคม อาเซียนใหเปนประชาคมเพื่อ ประชาชนอยางแทจริง สามารถ อยูรวมกันไดบนพื้นฐานการเคารพ ในคุณคาของศักดิ์ศรีแหงความ เปนมนุษยเทาเทียมกัน

5. การสงเสริมสันติภาพ ความ มั่นคง และความปรองดองในสังคม ทั้งระดับประเทศและภูมิภาคของ อาเซียนบนพื้นฐานสันติวิธีและการ อยูรวมกันดวยขันติธรรม

คูม อื ครู


การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

เสร�ม

8

1. การพัฒนาทักษะการทํางาน เพื่อเสริมสรางผูเรียนใหมีทักษะ วิชาชีพที่จําเปนสอดคลองกับ ความตองการของตลาดแรงงาน และสถานประกอบการในอาเซียน สามารถเทียบโอนผลการเรียน และการทํางานตามมาตรฐานฝมือ แรงงานในภูมิภาคอาเซียน

2. การเสริมสรางวินัย ความรับผิดชอบ และเจตคติรักการทํางาน สามารถพึ่งพาตนเอง มีทักษะชีวิต ดํารงชีวิตอยางมีความสุข เห็นคุณคา และภูมิใจในตนเอง ในฐานะที่เปนพลเมืองไทยและ อาเซียน

3. การเรียนรูเพื่อพัฒนาตนเอง อยางตอเนื่องตลอดชีวิต ใหมี ทักษะการทํางานตามมาตรฐาน อาชีพ และคุณวุฒิของวิชาชีพสาขา ตางๆ เพื่อรองรับการเตรียมเคลื่อน ยายแรงงานมีฝมือและการเปน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่ เขมแข็ง เพื่อสรางขีดความสามารถ ในการแขงขันในเวทีโลก

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 1. การเสริมสรางความรวมมือ ในลักษณะสังคมที่เอื้ออาทร ของประชากรอาเซียน โดยยึด หลักการสําคัญ คือ ความงดงาม ของประชาคมอาเซียนมาจาก ความแตกตางและหลากหลายทาง วัฒนธรรมที่ลวนแตมีคุณคาตอ มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน ซึ่งประชาชนทุกคนตองอนุรักษ สืบสานใหยั่งยืน

2. การเสริมสรางคุณลักษณะ ของผูเรียนใหเปนพลเมืองอาเซียน ที่มีศักยภาพในการกาวเขาสู ประชาคมอาเซียนอยางมั่นใจ เปนผูที่มีสุขภาพสมบูรณแข็งแรง มีทักษะการสื่อสาร ทักษะการ ทํางาน ทักษะทางสังคม สามารถ ทํางานรวมกับผูอื่นไดอยาง สรางสรรค และมีองคความรู เกี่ยวกับอาเซียนที่จําเปนตอการ ดํารงชีวิตอยางมีคุณภาพ

4. การสงเสริมการเรียนรูดาน ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี วิถชี วี ติ ความเปนอยูข องเพือ่ นบาน ในอาเซียน เพื่อสรางจิตสํานึกของ ความเปนประชาคมอาเซียนและ ตระหนักถึงหนาที่ของการเปน พลเมืองอาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการเรียนรูภาษา อังกฤษเพื่อการสื่อสารและการ ทํางานตามมาตรฐานอาชีพที่ กําหนดและสนับสนุนการเรียนรู ภาษาอาเซียนและภาษาเพื่อนบาน เพื่อชวยเสริมสรางสัมพันธภาพทาง สังคม และการอยูรวมกันอยางสันติ ทามกลางความหลากหลายทาง วัฒนธรรม

5. การสรางความรูและความ ตระหนักเกี่ยวกับดานสิ่งแวดลอม ปญหาและผลกระทบตอคุณภาพ ชีวิตของประชากรในภูมิภาค รวมทั้งแนวทางการพัฒนาอยาง ยั่งยืน ใหเปนมรดกสืบทอดแก พลเมืองอาเซียนในรุนหลังตอๆ ไป

กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศนโยบายการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) เพื่อเรงพัฒนาเด็ก และเยาวชนไทยใหเปนทรัพยากรมนุษยของชาติที่มีทักษะและความชํานาญ พรอมเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงและ การแขงขันทั้งในภูมิภาคอาเซียนและภูมิภาคอื่นๆ ของสังคมโลก ทั้งนี้ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และผูปกครอง ควรรวมมือกันอยางใกลชิดในการดูแลชวยเหลือผูเรียนและจัดประสบการณการเรียนรูเพื่อพัฒนาผูเรียนจนเต็มศักยภาพ เพื่อกาวเขาสูการเปนพลเมืองอาเซียนอยางมีเกียรติภูมิและศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของตน คณะผูจัดทํา คูม อื ครู


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 1

สุขศึกษา (เฉพาะชั้น ป.2)*

การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย

มาตรฐาน พ 1.1 เขาใจธรรมชาติของการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

เสร�ม

ป.2 1. อธิบายลักษณะและ • ลักษณะและหนาที่ของอวัยวะภายในที่มีการ • หนวยการเรียนรูที่ 1 หนาที่ของอวัยวะ เจริญเติบโตและพัฒนาการไปตามวัย (สมอง ตัวเรา ภายใน หัวใจ ตับ ไต ปอด กระเพาะอาหาร ลําไส ฯลฯ) บทที่ 1 อวัยวะภายใน 2. อธิบายวิธีดูแลรักษา • การดูแลรักษาอวัยวะภายใน อวัยวะภายใน - การระมัดระวังการกระแทก - การออกกําลังกาย - การกินอาหาร 3. อธิบายธรรมชาติ • ธรรมชาติของชีวิตมนุษยตั้งแตเกิดจนตาย • หนวยการเรียนรูที่ 2 ของชีวิตมนุษย ตัวเรา บทที่ 2 ธรรมชาติของ มนุษย

สาระที่ 2

9

ชีวิตและครอบครัว

มาตรฐาน พ 2.1 เขาใจและเห็นคุณคาตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทักษะในการดําเนินชีวิต ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ป.2 1. ระบุบทบาทหนาที่ • บทบาทหนาที่ของสมาชิกในครอบครัว ของตนเองและ - ตนเอง - พอ แม สมาชิกในครอบครัว - พี่ นอง - ญาติ 2. บอกความสําคัญของ • ความสําคัญของเพื่อน (เชน พูดคุย ปรึกษา เพื่อน เลน ฯลฯ) 3. ระบุพฤติกรรมที่ เหมาะสมกับเพศ 4. อธิบายความภาคภูมิใจในความเปน เพศหญิงหรือ เพศชาย

• พฤติกรรมที่เหมาะสมกับเพศ - ความเปนสุภาพบุรุษ - ความเปนสุภาพสตรี • ความภาคภูมิใจในเพศหญิงหรือเพศชาย

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• หนวยการเรียนรูที่ 2 ครอบครัว ตัวฉัน และคนรอบขาง บทที่ 1 ครอบครัวอบอุน • หนวยการเรียนรูที่ 2 ครอบครัว ตัวฉัน และคนรอบขาง บทที่ 2 หนึ่งมิตรชิดใกล • หนวยการเรียนรูที่ 2 ครอบครัว ตัวฉัน และคนรอบขาง บทที่ 3 เขาใจตนเอง

_________________________________ * สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน, สาระการเรียนรูแ กนกลาง กลุม สาระการเรียนรูส ขุ ศึกษาและพลศึกษา. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 7-42.

คูม อื ครู


สาระที่ 3

การเคลื่อนไหว การออกกําลังกาย การเลนเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล

มาตรฐาน พ 3.1 เขาใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเลนเกม และกีฬา ชั้น

เสร�ม

10

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ป.2 1. ควบคุมการ • ลักษณะและวิธีการของการเคลื่อนไหวรางกาย เคลื่อนไหวรางกาย แบบอยูกับที่ เชน กระโดด บิดตัว ดึง ผลัก ขณะอยูกับที่ แบบเคลือ่ นที่ เชน กระโดดเขยง กาวชิดกาว เคลื่อนที่ และใช วิ่งตามทิศทางที่กําหนด และแบบใชอุปกรณ อุปกรณประกอบ ประกอบ เชน คีบ ขวาง ตี 2. เลนเกมเบ็ดเตล็ด • การเลนเกมเบ็ดเตล็ดและเขารวมกิจกรรม และเขารวมกิจกรรม ทางกายที่วิธีเลนอาศัยการเคลื่อนไหวเบื้องตน ทางกายที่วิธีเลน ทั้งแบบอยูก ับที่ เคลื่อนที่ และใชอุปกรณ อาศัยการเคลื่อนไหว ประกอบ เบื้องตนทั้งแบบอยู กับที่ เคลื่อนที่ และ ใชอุปกรณประกอบ

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• หนวยการเรียนรูที่ 6 กิจกรรมหรรษา บทที่ 1 เตรียมความพรอม บทที่ 2 ขยับรางกาย บทที่ 3 เคลื่อนที่รางกาย บทที่ 4 สนุกกับอุปกรณ • หนวยการเรียนรูที่ 6 กิจกรรมหรรษา บทที่ 5 เกมแสนสนุก

มาตรฐาน พ 3.2 รักการออกกําลังกาย การเลนเกม และการเลนกีฬา ปฏิบตั เิ ปนประจําอยางสมํา่ เสมอ มีวนิ ยั เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีนํ้าใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแขงขัน และชื่นชมในสุนทรียภาพของการกีฬา ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

ป.2 1. ออกกําลังกายและ • การออกกําลั​ังกายและเลนเกมเบ็ดเตล็ด • หนวยการเรียนรูที่ 6 เลนเกมไดดว ยตนเอง • ประโยชนของการออกกําลังกายและการเลนเกม กิจกรรมหรรษา อยางสนุกสนาน บทที่ 1 เตรียมความพรอม บทที่ 2 ขยับรางกาย 2. ปฏิบัติตามกฎ กติกา • กฎ กติกา ขอตกลงในการเลนเกมเปนกลุม บทที่ 3 เคลื่อนที่รางกาย และขอตกลงในการ บทที่ 4 สนุกกับอุปกรณ เลนเกมเปนกลุม บทที่ 5 เกมแสนสนุก

สาระที่ 4

การสรางเสริมสุขภาพ สมรรถภาพ และการปองกันโรค

มาตรฐาน พ 4.1 เห็นคุณคาและมีทักษะในการสรางเสริมสุขภาพ การดํารงสุขภาพ การปองกันโรค และการสรางเสริม สมรรถภาพเพื่อสุขภาพ ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ป.2 1. บอกลักษณะของการ • ลักษณะของการมีสุขภาพดี มีสุขภาพดี - รางกายแข็งแรง - จิตใจราเริง แจมใส - มีความสุข - มีความปลอดภัย 2. เลือกกินอาหารที่มี • อาหารที่มีประโยชนและไมมีประโยชน ประโยชน

คูม อื ครู

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• หนวยการเรียนรูที่ 3 รักสุขภาพ บทที่ 1 สุขภาพของเรา • หนวยการเรียนรูที่ 3 รักสุขภาพ บทที่ 2 อาหารดีมีประโยชน


ชั้น

ตัวชี้วัด

ป.2 3. ระบุของใชและ ของเลนที่มีผลเสีย ตอสุขภาพ 4. อธิบายอาการและวิธี ปองกันการเจ็บปวย การบาดเจ็บที่อาจ เกิดขึ้น 5. ปฎิบัติตามคําแนะนํา เมื่อมีอาการเจ็บปวย และบาดเจ็บ

สาระที่ 5

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• หนวยการเรียนรูที่ 3 รักสุขภาพ บทที่ 3 ของใชและของเลน • อาการและวิธีปองกันการเจ็บปวย • หนวยการเรียนรูที่ 3 - ตาแดง ทองเสีย ฯลฯ รักสุขภาพ • อาการและวิธีปองกันการบาดเจ็บ บทที่ 4 การบาดเจ็บ - ถูกของมีคม แมลงสัตวกัดตอย หกลม ฯลฯ และเจ็บปวย • วิธีปฏิบัติตนเมื่อเจ็บปวยและบาดเจ็บ • ของใชและของเลนที่มีผลเสียตอสุขภาพ

เสร�ม

11

ความปลอดภัยในชีวิต

มาตรฐาน พ 5.1 ปองกันและหลีกเลี่ยงปจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงตอสุขภาพ อุบัติเหตุ การใชยา สารเสพติด และความรุนแรง ชั้น

ตัวชี้วัด

ป.2 1. ปฏิบัติตนในการ ปองกันอุบัติเหตุที่ อาจเกิดขึ้นทางนํ้า และทางบก 2. บอกชื่อยาสามัญ ประจําบานและใชยา ตามคําแนะนํา 3. ระบุโทษของ สารเสพติด สารอันตรายใกลตัว และวิธีการปองกัน 4. ปฎิบัติตนตาม สัญลักษณและ ปายเตือนของ สิ่งของหรือสถานที่ ที่เปนอันตราย 5. อธิบายสาเหตุ อันตราย วิธีปองกัน อัคคีภัย และแสดง การหนีไฟ

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• หนวยการเรียนรูที่ 4 ชีวิตปลอดภัย บทที่ 1 อุบัติเหตุและการ ปองกัน • ยาสามัญประจําบาน • หนวยการเรียนรูที่ 5 - ชื่อยาสามัญประจําบาน ยาและสารเสพติด - การใชยาตามความจําเปนและลักษณะอาการ บทที่ 1 ยานารู • สารเสพติดและสารอันตรายใกลตัว • หนวยการเรียนรูที่ 5 - โทษของสารเสพติดและสารอันตรายใกลตัว ยาและสารเสพติด - วิธีปองกัน บทที่ 2 ภัยรายทําลายชีวิต • อุบัติเหตุทางนํ้าและทางบก - สาเหตุของอุบัติเหตุทางนํ้าและทางบก - วิธีการปองกันอุบัติเหตุทางนํ้าและทางบก

• สัญลักษณและปายเตือนของสิ่งของหรือสถานที่ • หนวยการเรียนรูที่ 4 ที่เปนอันตราย ชีวิตปลอดภัย - ความหมายของสัญลักษณและปายเตือน บทที่ 2 สัญลักษณ และปายเตือน • อัคคีภัย - สาเหตุของการเกิดอัคคีภัย - อันตรายซึ่งไดรับจากการเกิดอัคคีภัย - การปองกันอัคคีภัย และการหนีไฟ

• หนวยการเรียนรูที่ 4 ชีวิตปลอดภัย บทที่ 3 อัคคีภัย

คูม อื ครู


คําอธิบายรายวิชา รายวิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปที่ 2 รหัสวิชา พ…………………………………

เสร�ม

12

ศึกษา วิเคราะห ลักษณะ หนาที่ และวิธีการดูแลรักษาของอวัยวะภายในที่มีการเจริญเติบโตและ พัฒนาการไปตามวัย รูจัก เขาใจ และดูแลตนเองและสมาชิกในครอบครัว รูและปฏิบัติตามบทบาทหนาที่ ของสมาชิกในครอบครัว บทบาทของเพือ่ น และความภาคภูมใิ จในตนเอง พรอมปฏิบตั พิ ฤติกรรมทีเ่ หมาะสม กับเพศ ปฏิบตั ติ นใหเปนผูม สี ขุ ภาพทีด่ ี เลือกกินอาหารทีม่ ปี ระโยชน รูจ กั การเลือกของใชและของเลนทีเ่ หมาะสม และไมเกิดอันตราย เมือ่ มีอาการเจ็บปวยสามารถบอกลักษณะอาการ สาเหตุ และการรักษาเบือ้ งตนทีเ่ หมาะสม ปฏิบัติตนในการปองกันอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นทางนํ้า ทางบก และอัคคีภัย การปฏิบัติตามคําแนะนําในการใชยา อยางเหมาะสม และระบุโทษของสารเสพติด สารอันตรายใกลตัวและวิธีการปองกันที่เหมาะสม มีทกั ษะในการปฏิบตั กิ จิ กรรมการเคลือ่ นไหวรางกายแบบอยูก บั ที่ แบบเคลือ่ นที่ แบบใชอปุ กรณประกอบ การเลนเกมเบ็ดเตล็ด ตามกฎ กติกา ขอตกลงในการเลนเกมตามคําแนะนํา เพื่อใหเกิดความสนุกสนานและ ปลอดภัย โดยใชทกั ษะกระบวนการคิดวิเคราะห กระบวนการปฏิบตั ิ ทักษะการเคลือ่ นไหวรางกาย การสืบคนขอมูล การแกปญหา การระดมสมอง และการอภิปราย เพื่อใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ มีทักษะสื่อสารสิ่งที่เรียนรู สามารถตัดสินใจ และนําความรู ไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน มีการพัฒนาทางดานรางกาย จิตใจ อารมณ สังคม และมีจริยธรรม คุณธรรม และคานิยมที่เหมาะสม ตัวชี้วัด พ 1.1 พ 2.1 พ 3.1 พ 3.2 พ 4.1 พ 5.1

คูม อื ครู

กลุมสาระการเรียนรู สุขศึกษาและพลศึกษา ภาคเรียนที่ 1-2 เวลา 80 ชั่วโมง/ป

ป.2/1 ป.2/1 ป.2/1 ป.2/1 ป.2/1 ป.2/1

ป.2/2 ป.2/2 ป.2/2 ป.2/2 ป.2/2 ป.2/2

ป.2/3 ป.2/3

ป.2/3 ป.2/3

ป.2/4

ป.2/4 ป.2/5 ป.2/4 ป.2/5 รวม 21 ตัวชี้วัด


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹

ÊØ¢ÈÖ¡ÉÒáÅоÅÈÖ¡ÉÒ ».ò

ªÑé¹»ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè ò

¡ÅØ‹ÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ÊØ¢ÈÖ¡ÉÒáÅоÅÈÖ¡ÉÒ µÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ ¼ÙŒàÃÕºàÃÕ§ ¹ÒÂªÙªÒµÔ ÃÍ´¶ÒÇà ¹ÒÂÀÒÊ¡Ã ºØÞ¹ÔÂÁ ¼ÙŒµÃǨ

¹Ò§ÊØÁÒÅÕ ¢ÍÁã¨à¾çªÃ ¹Ò§ªÞÒ´Ò ÊØ¢àÊÃÔÁ ¹Ò¾ԹԨ 褃 ÀÙ‹

ºÃóҸԡÒà ¹ÒºÑÞªÒ ªŒÒ§¾§É

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè ù

ʧǹÅÔ¢ÊÔ·¸ÔìµÒÁ¾ÃÐÃÒªºÑÞÞÑµÔ ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ ñòñôððò

¤Œ¹¤ÇÒÁÃÙŒ¢ÂÒ¤ÇÒÁ¤Ô´¨Ò¡

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè ñ ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ ñòôôðññ

EB GUIDE

ที่พิมพกํากับหัวขอสําคัญในหนังสือเรียนหลักสูตรใหม ชั้น ป.๔ ขึ้นไป ผาน www.aksorn.com ไปยังแหลงความรูทั่วไทย-ทั่วโลก


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Explore

ขยายความเขาใจ

Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

คําชี้แจงในการใชสื่อ ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÊØ¢ÈÖ¡ÉÒáÅоÅÈÖ¡ÉÒ ». ò àÅ‹Á¹Õé ÀÒÂã¹àÅ‹Á¹íÒàʹ͡ÒèѴ ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹໚¹Ë¹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ¤Ãº¶ŒÇ¹µÒÁÁҵðҹµÑǪÕéÇÑ´ªÑé¹»‚ áÅÐÊÒÃÐ ¡ÒÃàÃÕ¹Ãٌ᡹¡ÅÒ§ â´Â์¹¡ÒÃÍ͡Ẻ¡Ô¨¡ÃÃÁãËŒÊÑÁ¾Ñ¹¸ ¡Ñº¸ÃÃÁªÒµÔ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ¢Í§áµ‹ÅСÅØ‹ÁÊÒÃÐ áÅФÇÒÁʹ㨢ͧ¼ÙŒàÃÕ¹ᵋÅФ¹ เปาหมายการเรียนรู

สาระสําคัญ

กําหนดระดับความรูความสามารถ ของผูเรียนเมื่อเรียนจบหนวย

แกนความรูที่เปนความเขาใจคงทน ติดตัวผูเรียน

ñ ตัวเรา

หนวยการเรียนรูที่

บทที่

อวัยวะภายใน

เปาหมายการเรียนรูประจําหนวยที่ ๑

อวัยวะภายในมีความสําคัญตอระบบการทํางานของรางกาย ดังนัน้ เราจึงควรดูแลรักษาอวัยวะภายในอยางถูกวิธี เพือ่ ให ทํางานไดอยางเปนปกติ

¡Ô¨¡ÃÃÁ¹Ò ¨¡ÃÃÁ¹ÒÊÙ‹¡ÒÃàÃÕ¹

เมื่อเรียนจบหนวยน�้ ผูเรียนจะมีความรูความสามารถตอไปน�้ ๑. อธิบายลักษณะและหนาที่ของอวัยวะภายใน (มฐ. พ ๑.๑ ป.๒/๑) ๒. อธิบายวิธีดูแลรักษาอวัยวะภายใน (มฐ. พ ๑.๑ ป.๒/๒) ๓. อธิบายธรรมชาติของชีวิตมนุษย (มฐ. พ ๑.๑ ป.๒/๓)

ñ

สาระสําคัญ

? ñ. ÍÇÑÂÇе‹Ò§æ ·ÕèàËç¹ã¹ÀÒ¾ ÁÕª×èÍàÃÕÂ¡Ç‹Ò ÍÐäúŒÒ§ ò. ÍÇÑÂÇÐàËÅ‹Ò¹ÕéÁÕ¤ÇÒÁÊíÒ¤ÑÞÍ‹ҧäúŒÒ§

¡Ô¨¡ÃÃÁ¹ÓÊÙ‹¡ÒÃàÃÕ¹ นําเขาสูบทเรียนใชกระตุนความสนใจ และวัดประเมินผลกอนเรียน


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ครบตามหลักสูตรแกนกลางฯ พ.ศ. ๒๕๕๑ นําเสนอเหมาะสมกับการเรียนการสอนใน แตละระดับชั้น

ตรวจสอบผล

มอบหมายผูเรียนฝกปฏิบัติ เพื่อ พัฒนาความรู ความคิด และทักษะประจําหนวย

๒. หัวใจ หัวใจ เปนอวัยวะที่สําคัญที่สุดในระบบไหลเวียนโลหิต ตําแหนง

ตั้งอยูในทรวงอก ระหวางปอดทั้ง ๒ ขาง มีขนาดประมาณเทากับ กําปนของเจาของ

พักผอนใหเพียงพอ

ลักษณะ

คลายดอกบัวตูม แบง ออกเปน ๔ หอง คือ - หัวใจหองบนซาย - หัวใจหองลางซาย - หัวใจหองบนขวา - หัวใจหองลางขวา

กินอาหารที่มีประโยชน และหลีกเลี่ยง อาหารที่มีไขมันสูง

ออกกําลังกายอยางสมํ่าเสมอ และเหมาะสมกับวัย

สูบฉีดโลหิตไปเลี้ยง สวนตางๆ ของรางกาย

ทําจิตใจใหราเริงแจมใสอยูเสมอ ไมเครียด

¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ตอนที่ ๑ คําถามชวนคิด เขียนตอบคําถามตอไปนี้ลงในสมุด ๑) อวัยวะภายนอกและอวัยวะภายในมีความแตกตางกันอยางไร ๒) อวัยวะภายในชนิดใดมีความสําคัญที่สุด เพราะเหตุใด ๓) ถาอวัยวะภายในอวัยวะใดอวัยวะหนึง่ ทําหนาทีบ่ กพรอง จะเกิดผลอยางไร ๔) เพราะเหตุใดการพักผอนใหเพียงพอจึงทําใหอวัยวะทํางานไดดี ตอนที่ ๒ ชวนคิด ชวนทํา ๑. ดูภาพ แลวบอกชื่ออวัยวะ และเขียนอธิบายหนาที่ของอวัยวะตางๆ เหลานี้ ลงในสมุด ๑) ๒) ๓) ๔) ๕) ๖)

วิธีดูแลรักษาหัวใจ

เลือดแดง ปอด เลือดดํา จากรางกาย

หัวใจซีกขวา รับเลือดจากสวนตางๆ ของ รางกาย เพื่อสงไปฟอกที่ปอด

ÊØ¢ÀÒ¾¹‹ÒÃÙŒ

Expand

¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ

เนือ้ หา

หนาที่

ขยายความเขาใจ

หัวใจซีกซาย รับเลือดจากปอดเพื่อสงไปยัง สวนตางๆ ของรางกาย การทํางานประสานกันของหัวใจทั้ง ๔ หอง ทําใหหัวใจสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงรางกายไดเปนปกติ

หัวใจหองบนขวาจะรั จะรับเลือดที่มีแกสออกซิเจนนอยจากทุกสวนของรางกาย เพื่อสงตอไป ใหหวั ใจหองลางขวาสสงเลือดไปฟอกทีป่ อด หัวใจหองบนซายรัรับเลือดทีม่ แี กสออกซิเจนมากจาก ปอดสงตอใหหัวใจหองลางซาย เพื่อสงไปเลี้ยงสวนตางๆ ของรางกาย

๒. อานขอความ และบอกวามีผลตออวัยวะใด ๑) วิ่งเลนแลวศีรษะกระแทกกับเพื่อน ๒) รับประทานอาหารรสจัด เชน หวานจัด เค็มจัด เผ็ดจัด ๓) อยูในที่ที่มีฝุนละอองและมลพิษมาก ๔) ดื่มสุราเปนประจําทุกวัน ๕) ชอบรับประทานอาหารที่มีไขมันมากๆ ๓. เขียนวิธีการดูแลอวัยวะภายในลงในสมุดมา ๑๐ ขอ พรอมทั้งบอกวา เปนวิธีการดูแลอวัยวะใด ตอนที่ ๓ ผลงานสรางสรรค แบงกลุม ใหแตละกลุมรวมกันจัดทําแผนภาพอวัยวะภายใน โดยใหดานหนา ของแผนภาพเปนภาพอวัยวะภายใน และใหดา นหลังของแผนภาพเปนรายละเอียด (ชื่อ ตําแหนง ลักษณะ หนาที่ การดูแลรักษา) ๑๑

ÊØ¢ÀÒ¾¹‹ÒÃÙŒ เปนเกร็ดความรูเ พิม่ เติมทีเ่ ปน ประโยชนตอ ผูเ รียน

Evaluate


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

สารบั ญ

ห น ว ย การเรียนรูที่

ตัวเรา

ครอบครัว ตัวฉัน และคนรอบขาง

๑๖

๑ ๒ ๓ ๔

รักสุขภาพ

สุขภาพของเรา อาหารดีมีประโยชน ของใชและของเลน การบาดเจ็บและเจ็บปวย

๓๐

ชีวิตปลอดภัย

๕๓

ยาและสารเสพติด

๗๐

กิจกรรมหรรษา

๘๒

บทที่ ๑ อวัยวะภายใน บทที่ ๒ ธรรมชาติของมนุษย

ห น ว ย การเรียนรูที่

บทที่ ๑ ครอบครัวอบอุน บทที่ ๒ หนึ�งมิตรชิดใกล บทที่ ๓ เขาใจตนเอง

ห น ว ย การเรียนรูที่

บทที่ บทที่ บทที่ บทที่

ห น ว ย การเรียนรูที่

บทที่ ๑ อุบัติเหตุและการปองกัน บทที่ ๒ สัญลักษณและปายเตือน บทที่ ๓ อัคคีภัย

ห น ว ย การเรียนรูที่

บทที่ ๑ ยานารู บทที่ ๒ ภัยรายทําลายชีวิต

ห น ว ย การเรียนรูที่

บทที่ บทที่ บทที่ บทที่ บทที่

๑ ๒ ๓ ๔ ๕

บรรณานุกรม

เตรียมความพรอม ขยับรางกาย เคลื่อนที่รางกาย สนุกกับอุปกรณ เกมแสนสนุก

๒ ๑๒ ๑๗ ๒๒ ๒๖ ๓๑ ๓๕ ๔๐ ๔๖

๕๔ ๖๑ ๖๕ ๗๑ ๗๖

๘๓ ๘๘ ๙๓ ๙๘ ๑๐๓

๑๐๘


กระตุน ความสนใจ กระตุEngage นความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

ñ ตัวเรา

กระตุน ความสนใจ

Engage

1. ครูสอนนักเรียนรองเพลง “นี่คืออะไร” 1 - 2 ครั้ง จากนั้นใหนักเรียนรวมกันรองเพลง พรอมกับแสดงทาทางประกอบเพลง 2. ใหนักเรียนชวยกันบอกวา เนื้อเพลง กลาวถึงอวัยวะใดบาง 3. ครูสนทนากับนักเรียนวาอวัยวะที่กลาวถึง ในเนื้อเพลงนี้ เรียกวา อวัยวะภายนอกแลว ภายในรางกายของคนเราก็มีอวัยวะ ซึ่งนักเรียนจะไดเรียนตอไปในหนวยนี้

หน่วยการเรียนรู้ที่

เป้าหมายการเรียนรู้ประจ�าหน่วยที่ ๑ เมื่อเรียนจบหน่วยน�้ ผู้เรียนจะมีความรู้ความสามารถต่อไปน�้ ๑. อธิบายลักษณะและหน้าที่ของอวัยวะภายใน (มฐ. พ ๑.๑ ป.๒/๑) ๒. อธิบายวิธีดูแลรักษาอวัยวะภายใน (มฐ. พ ๑.๑ ป.๒/๒) ๓. อธิบายธรรมชาติของชีวิตมนุษย์ (มฐ. พ ๑.๑ ป.๒/๓)

เกร็ดแนะครู ครูรองเพลง “นี่คืออะไร” โดยใชทํานองงายๆ ใหนักเรียนฟงกอน 1 รอบ แลวใหนักเรียนฝกรองตาม พรอมกับทําทาประกอบ เพลง นี่คืออะไร นี่คือผม นี่คือหนาผาก นี่คือปาก นี่คือลูกตา นี่คือขา นี่คือหัวไหล ยืดออกไปเขาเรียกวาแขน อันแบนๆ เขาเรียกสะโพก เอาไวโยก แซมบา แซมบา

มุม IT ครูดูแนวทางการจัดกิจกรรมเรื่อง อวัยวะภายใน ไดจาก www.thaiteachers. tv/vdo2.php?id=692 แลวเลือก “สุขศึกษา ขาแดนซ” คูมือครู

1


กระตุน ความสนใจ กระตุEngage นความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

เปาหมายการเรียนรู บทที่

1. อธิบายลักษณะและหนาที่ของอวัยวะภายใน (พ 1.1 ป.2/1) 2. อธิบายวิธีดูแลรักษาอวัยวะภายใน (พ 1.1 ป.2/2)

อวัยวะภายใน

สมรรถนะของผูเรียน

สาระส�าคัญ อวัยวะภายในมีความส�าคัญต่อระบบการท�างานของร่างกาย ดังนัน้ เราจึงควรดูแลรักษาอวัยวะภายในอย่างถูกวิธ ี เพือ่ ให้ ท�างานได้อย่างเป็นปกติ

¡Ô¨¡ÃÃÁ¹ÒÊÙ‹¡ÒÃàÃÕ¹

• ความสามารถในการสื่อสาร

ñ

คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. ใฝเรียนรู 2. มุงมั่นในการทํางาน

กระตุน ความสนใจ

Engage

1. ครูทบทวนเรื่องอวัยวะภายนอก โดยใหนักเรียน รวมกันบอกชื่ออวัยวะภายนอก แลวครูเขียนลง บนกระดาน 2. ใหนักเรียนผลัดกันอธิบายลักษณะ หนาที่ และ วิธีดูแลรักษาอวัยวะภายนอกทีละอวัยวะ 3. ใหนักเรียนดูภาพในหนังสือเรียน หนา 2 แลว ชวยกันบอกชื่ออวัยวะในภาพ จากนั้นครูถามวา อวัยวะเหลานั้นอยูตรงสวนใดของรางกาย ใหนักเรียนชี้ตําแหนงอวัยวะนั้นๆ

? ñ. ÍÇÑÂÇе‹Ò§æ ·ÕèàËç¹ã¹ÀÒ¾ ÁÕª×èÍàÃÕÂ¡Ç‹Ò ÍÐäúŒÒ§ ò. อÇัÂÇÐเËÅ่ÒนÕéมÕคÇÒมÊíÒคัÞอÂ่Ò§ไรบŒÒ§

2

เกร็ดแนะครู ครูจัดกระบวนการเรียนรูโดยการใหนักเรียนปฏิบัติ ดังนี้ • ศึกษาขอมูลอวัยวะภายในและการดูแลรักษา • อธิบายขอมูลอวัยวะภายในและการดูแลรักษา จนเกิดเปนความรูความเขาใจวา อวัยวะภายในเปนอวัยวะที่อยูในรางกาย และมีความสําคัญตอการดํารงชีวิต การดูแลอวัยวะภายในอยางถูกตอง จะทําให อวัยวะของรางกายทํางานตามปกติ เฉลย กิจกรรมนําสูการเรียน 1. ปอด มีหนาที่สําคัญ คือ รับแกสออกซิเจนเขาสูรางกาย และขับแกส คารบอนไดออกไซดออกจากรางกาย 2. หัวใจ มีหนาที่สําคัญ คือ สูบฉีดเลือดไปเลี้ยงสวนตางๆ ของรางกาย 3 กระเพาะอาหาร มีหนาที่สําคัญ คือ ยอยอาหาร 4. ลําไสเล็ก มีหนาที่สําคัญ คือ ยอยอาหารและดูดซึมสารอาหารเขาสูรางกาย

2

คูมือครู


กระตุนความสนใจ Engage

สํารวจคนหา สํารวจค Exploreนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

สํารวจคนหา

1. ครูติดบัตรคําอวัยวะภายใน ไดแก สมอง หัวใจ ตับ ไต ปอด กระเพาะอาหาร และลําไส บนกระดาน แลวใหนักเรียนสังเกตเพื่อนๆ วา นักเรียนมองเห็นอวัยวะเหลานี้ของเพื่อนๆ หรือไม 2. นักเรียนและครูรวมกันบอกวา อวัยวะเหลานี้ เราไมสามารถมองเห็นได เพราะเปนอวัยวะที่ อยูภายในรางกายเรียกวา อวัยวะภายใน 3. ใหนักเรียนแบงกลุมออกเปน 7 กลุม แลวให แตละกลุมจับฉลากชื่ออวัยวะภายในตาม บัตรคําบนกระดาน กลุมละ 1 ชื่อ จากนั้น ใหแตละกลุมศึกษาขอมูลเกี่ยวกับอวัยวะที่ จับฉลากไดตามหัวขอ ดังนี้ • ลักษณะ • หนาที่ • การดูแลรักษา โดยการศึกษาจากหนังสือเรียน หนา 4 - 10

1

อวัยวะภายใน ร่างกายของเราประกอบ ไปด้วยอวัยวะชนิดต่างๆ ซึ่งรวม เรียกว่า อวัยวะภายในและอวัยวะ ภายนอก อวั ย วะภายนอก เป็ น อวัยวะที่เราสามารถมองเห็นได้ เพราะอยู่ภายนอกร่างกาย เช่น ตา หู จมูก ปาก เป็นต้น

Explore

อวัยวะภายนอกมองเห็นด้วยตาเปล่าได้

อวัยวะภายใน เป็นอวัยวะ ที่อยู่ภายในร่างกายของเรา ซึ่ง เราไม่สามารถมองเห็นได้ เช่น สมอง หัวใจ ตับ ไต ปอด เป็นต้น 㹪Ñé¹àÃÕ¹¹Õé ¹Ñ¡àÃÕ¹¨Ðä´Œ เรÕÂนรÙŒเ¡ÕèÂÇ¡ับอÇัÂÇÐÀÒÂãนทÕèÊíÒคัÞ µ‹Í仹Õé อวัยวะภายในท�างานกันอย่างเป็นระบบ

3

ขอใดตางจากพวก ก. ตา คอ ข. หู จมูก ค. มือ เทา ง. ปาก ลําไส

ขอสอบเนนการคิด

วิเคราะหคําตอบ ตา คอ หู จมูก มือ เทา และปาก เปนอวัยวะที่เรา มองเห็น แตลําไสเปนอวัยวะที่อยูภายในรางกาย เราไมสามารถมองเห็นได ดังนั้น ขอ ง. เปนคําตอบที่ถูก

นักเรียนควรรู 1 อวัยวะ คือ กลุมของเนื้อเยื่อที่อยูรวมกัน ซึ่งแตละอวัยวะมีความสําคัญ แตกตางกันไปตามหนาที่ของแตละอวัยวะ

มุม IT ครูอาจใหนักเรียนดูวิดีทัศนเพลง “รางกายของฉัน” ไดจากเว็บไซต http://www.youtube.com/watchMv=gnCId5vDZ08 เพื่อสรางความสนใจ

คูมือครู

3


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. ใหแตละกลุมผลัดกันออกมานําเสนอผลการ ศึกษาตามที่ไดรับมอบหมายโดยนําเสนอใน รูปแบบที่กลุมของตนเองคิดขึ้น เชน รายงาน แสดงบทบาทสมมุติ รองเพลง เปนตน 2. เมื่อแตละกลุมรายงานจบแลว ใหเพื่อน ตางกลุมและครูรวมกันซักถามขอสงสัย 3. ครูตั้งคําถามเกี่ยวกับลักษณะและหนาที่ของ อวัยวะภายใน แลวใหนักเรียนผลัดกันตอบ เชน • อวัยวะใดมีรูปรางคลายดอกบัวตูม (ตอบ หัวใจ) • ปอดมีรูปรางลักษณะอยางไร (ตอบ ปอดมีรูปรางคลายกรวยควํ่า มีลักษณะคลายฟองนํ้า ยืดหยุนได) • อวัยวะใดมีรูปรางคลายตัวเจ (J) และ มีหนาที่อะไร (ตอบ กระเพาะอาหาร ทําหนาที่ยอยอาหาร) • ตับมีรูปรางอยางไร และมีหนาที่อะไร (ตอบ ตับมีรูปรางคลายลิ่ม มี 2 กลีบ คือ กลีบซายและขวา โดยกลีบซายจะมีขนาด เล็กกวากลีบขวา ตับมีหนาที่ขับสารพิษออกจากรางกาย และผลิตนํ้าดีซึ่งมีความสําคัญในการยอย อาหาร)

๑ . สมอง สมอง เป็นอวัยวะส�าคัญในระบบประสาท ต�าแหน่ง

อยู่ภายในกะโหลก ศีรษะ

ลักษณะ

เป็นก้อนเนื้อนุ่มๆ หยุน่ ๆ เป็นลอนคลืน่ สมองแบ่งออกเป็น ๓ ส่วน คือ - สมองส่วนหน้า - สมองส่วนกลาง - สมองส่วนหลัง

วิธีดูแลรักษาสมอง

๑ ๒ ๓

พักผ่อนให้เพียงพอ

ระมัดระวังไม่ให้ของแข็งมากระแทก ศีรษะ

ออกก�าลังกายอย่างสม�่าเสมอและ เหมาะสมกับวัย

หน้าที่

ควบคุมการท�างาน ของร่างกาย

กินอาหารที่มีประโยชน์ ไม่ดื่มสุรา ไม่เสพสารเสพติด ไม่สูบ บุหรี่

สมองส่วนหน้า

สมองส่วนกลาง

ท�าหน้าที ควบคุ ่ ควบคุมการเคลื่อนไหว ความคิด ความจ�า สติปัญญา ความรู้สึก การได้ยิน การมองเห็น การดมกลิ�น การสัมผัส การพูด และการรับรส

ท�าหน้าที่ เป็นสถาน�รับ-ส่งประสาทระหว่าง สมองส่วนหน้ากับส่วนท้ายเกี่ยวกับการ มองเห็นและการได้ยิน

สมองส่วนหลัง ท�าหน้าที ่ ควบคุมกล้ามเน�้อ บริเวณใบหน้า การท�างานเหน�อ อ�านาจจิตใจ การท�างานของ ระบบกล้ามเน�้อและการทรงตัว

ก้านสมอง

สมองแต่ละส่วนจะท�าหน้าที่แตกต่างกัน

4

เกร็ดแนะครู ครูอธิบายใหนักเรียนฟงเพิ่มเติมวา การกระทําบางอยางถากระทําติดตอกันเปนประจําจะสงผลเสียตอสมอง เชน 1. 2. 3. 4. 5. 6.

การกระทําที่สงผลเสียตอสมอง การไมกินอาหารเชา การกินอาหารมากเกินไป การไมคอยพูดและไมใชความคิด การสูดดมอากาศที่เปนพิษ การอดนอนเปนเวลานาน การนอนคลุมโปง

7. การทํางานหรือเรียนขณะที่ปวย

4

คูมือครู

เหตุผล จะทําใหระดับนํ้าตาลในเลือดตํ่า ซึ่งทําใหมีสารอาหารไปเลี้ยงสมองไมเพียงพอ จะทําใหหลอดเลือดในสมองแข็งตัว ซึ่งจะสงผลทําใหเกิดโรคความจําสั้น จะทําใหสมองฝอ เพราะการพูดและการคิดเปนวิธีที่ดีที่สุดในการฝกสมอง จะทําใหแกสออกซิเจนในสมองมีนอย ทําใหประสิทธิภาพการทํางานของสมองลดลง จะทําใหเซลลสมองตาย เพราะการนอนคลุมโปงเปนการกักเก็บอากาศที่อยูบริเวณนั้นไว แลวเมื่อเราหายใจเอา แกสคารบอนไดออกไซดออกมา ทําใหบริเวณที่คลุมโปงมีแกสคารบอนไดออกไซดเพิ่มขึ้น แลวทําใหผูนอนหลับตองหายใจเอาแกสคารบอนไดออกไซดเขาไปอีก จะทําใหประสิทธิภาพการทํางานของสมองลดลง


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

1. ใหนักเรียนทํากิจกรรม ชวนคิด ชวนทํา ขอ 1 หนา 11 โดยเขียนอธิบายลักษณะและหนาที่ ของอวัยวะในภาพ 2. ใหนักเรียนทําแบบฝกกิจกรรมที่ 1 เรื่อง อวัยวะภายใน ขอ 1 จากแบบวัดฯ สุขศึกษาฯ ป.2

๒. หัวใจ หัวใจ เป็นอวัยวะที่ส�าคัญที่สุดในระบบไหลเวียนโลหิต ต�าแหน่ง

ลักษณะ หน้าที่

ตั้งอยู่ในทรวงอก ระหว่างปอดทั้ง ๒ ข้าง มีขนาดประมาณเท่ากับ ก�าปั้นของเจ้าของ

วิธีดูแลรักษาหัวใจ

คล้ายดอกบัวตูม แบ่ง ออกเป็น ๔ ห้อง คือ - หัวใจห้องบนซ้าย - หัวใจห้องล่างซ้าย - หัวใจห้องบนขวา - หัวใจห้องล่างขวา 1 สูบฉีดโลหิตไปเลี้ยง ส่วนต่างๆ ของร่างกาย

✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ สุขศึกษาฯ ป.2 แบบฝกกิจกรรมที่ 1 เร�่อง อวัยวะภายใน

พักผ่อนให้เพียงพอ

กินอาหารที่มีประโยชน์ และหลีกเลี่ยง อาหารที่มีไขมันสูง 2 ออกก�าลังกายอย่างสม�่าเสมอ และเหมาะสมกับวัย

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

บทที่

ท�าจิตใจให้ร่าเริงแจ่มใสอยู่เสมอ ไม่เครียด

ÊØ¢ÀÒ¾¹‹ÒÃÙŒ

๑ อวัยวะภายใน

๑ โยงเสนจับคูภาพกับขอความที่สัมพันธกัน

๑)

๒)

๓)

หัวใจซีกซ้าย รับเลือดจากปอดเพื่อส่งไปยัง ส่วนต่างๆ ของร่างกาย

รับเลือดจากส่วนต่างๆ ของ ร่างกาย เพื่อส่งไปฟอกที่ปอด

ñ

อวัยวะภายใน

แบบฝกกิจกรรมที่

ปอด

หัวใจซีกขวา

µÑÇàÃÒ

คําชี้แจง : การเรียนรูชื่อ ลักษณะ หนาที่ของอวัยวะภายใน ทําใหเขาใจ การทํางานของรางกาย

เลือดแดง เลือดดํา จากร่างกาย

Explain

๔)

ไต ตัง้ อยูด า นลางของชองทางดาน ซายและดานขวา ใกลกับกระดูก สันหลัง ยึดติดอยูกับกะบังลม

ฉบับ

เฉลย

ลําไส เปนทอกลวงยาว ขดไปมา อยูในชองทองตอนบน หัวใจ ตั้งอยู ในทรวงอกระหวาง ปอดทั้ง ๒ ขาง มีขนาดเทากําปน ของเจาของ ตับ ตัง้ อยูด า นขวาบนของชองทอง อยู ใกลกะบังลม และมีบางสวน วางอยูบนกระเพาะอาหาร

การท�างานประสานกันของหัวใจทั้ง ๔ ห้อง ท�าให้หัวใจสูบฉีดเลือดไปเลี้ยงร่างกายได้เป็นปกติ

หัวใจห้องบนขวาจะรั จะรับเลือดที่มีแก๊สออกซิเจนน้อยจากทุกส่วนของร่างกาย เพื่อส่งต่อไป ให้หวั ใจห้องล่างขวาส่ส่งเลือดไปฟอกทีป่ อด หัหัวใจห้องบนซ้ายรั ยรับเลือดทีม่ แี ก๊สออกซิเจนมากจาก ปอดส่งต่อให้หัวใจห้องล่างซ้าย เพื่อส่งไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ของร่างกาย

5

ขอสอบเนนการคิด

ใครดูแลรักษาหัวใจไดถูกตอง ก. จิ๋วกินแตอาหารที่เปนผักและผลไมเทานั้น ข. พลอยไปพบแพทยเพื่อตรวจเช็กหัวใจทุกสัปดาห ค. แกวไมยอมออกกําลังกายเพราะกลัวหัวใจทํางานหนัก ง. อารมฝกตนเองใหเขานอนและตื่นนอนเปนเวลาทุกวัน

วิเคราะหคําตอบ การดูแลรักษาหัวใจใหแข็งแรง ทําไดโดยการกินอาหาร ใหหลากหลายและครบถวน เขานอนใหเปนเวลาเพื่อใหรางกายไดพักผอน อยางเพียงพอ ทําจิตใจใหแจมใส และออกกําลังกายอยางสมํ่าเสมอ สวนการพบแพทยเพื่อตรวจเช็กหัวใจทุกสัปดาหเปนการปฏิบัติที่มากเกินไป เพราะนอกจากทําใหเสียเวลาแลว ยังทําใหเกิดการกังวล จนทําใหเครียดได ดังนั้น ขอ ง. เปนคําตอบที่ถูก

นักเรียนควรรู 1 สูบฉีดโลหิต หัวใจจะสูบฉีดโลหิตหรือเลือดไปเลี้ยงสวนตางๆ ของรางกาย เมื่อหัวใจบีบตัวจะดันเลือดออกไป และรับเลือดเขาสูหัวใจดวยการคลายตัว การบีบและคลายตัวของหัวใจ เรียกวา การเตนของหัวใจ ซึ่งอัตราการเตนของ หัวใจในคนวัยหนุมสาวปกติจะมีอัตราการเตนของหัวใจ ประมาณ 70 - 80 ครั้ง ตอนาที และจะเพิ่มขึ้นหรือลดลงขึ้นอยูกับกิจกรรมที่ทํา เพศ และวัย 2 ออกกําลังกายอยางสมํ่าเสมอ จะมีผลดีตอหัวใจ คือ ทําใหกลามเนื้อหัวใจ แข็งแรงขึ้น ทําใหแรงบีบตัวของหัวใจดีขึ้น สามารถสูบฉีดเลือดออกจากหัวใจ ไดครั้งละมากขึ้น มีการกระจายของหลอดเลือดฝอยมากขึ้นในกลามเนื้อหัวใจ ทําใหกลามเนื้อหัวใจไดรับเลือดหลอเลี้ยงเพียงพอ ไมเกิดการขาดเลือดไดงาย

คูมือครู

5


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

ครูตั้งคําถามเกี่ยวกับการดูแลรักษาอวัยวะ ภายใน แลวใหนักเรียนชวยกันตอบ เชน • การนอนหลับใหเพียงพอ จะชวยใหหัวใจ มีสุขภาพดีไดอยางไร (แนวตอบ หัวใจเปนอวัยวะที่ทํางานอยูตลอด เวลา แมในชวงที่เรานอนหลับ หัวใจก็ยัง ทํางานอยูเปนปกติ แตจะทํางานนอยลง ดังนั้นการพักผอนใหเพียงพอ จะชวยทําให หัวใจไมตองทํางานหนักเกินไป) • ถานักเรียนปวดปสสาวะขณะเรียน ควรทํา อยางไร (แนวตอบ ขออนุญาตครูไปหองนํ้าทันที) • การกินอาหารไมตรงเวลาจะเกิดผลเสียตอ กระเพาะอาหารอยางไร (แนวตอบ เมื่อถึงเวลากินอาหาร กระเพาะ อาหารจะผลิตนํ้ายอย ซึ่งมีฤทธิ์เปนกรด ออกมาเพื่อชวยยอยอาหาร ซึ่งถาไมมีอาหาร เขาสูกระเพาะอาหาร นํ้ายอยก็จะกัด ผนังกระเพาะอาหารใหเปนแผล)

๓. ตับ ตับ เป็นอวัยวะส�าคัญอวัยวะหนึ่งในระบบย่อยอาหาร ต�าแหน่ง

ลักษณะ

หน้าที่

ตั้งอยู่ด้านขวาบนของ ช่องท้อง และอยู่ใกล้ กะบังลม และมี บางส่วนของตับวาง อยู่บนกระเพาะอาหาร รูปร่างคล้ายลิ่ม มีสีน�้าตาลแดง มีลักษณะเป็น ๒ กลีบ ขนาดไม่เท่ากัน ขับสารพิษออกจาก 1 ร่างกาย และผลิตน�้าดี ซึง่ มีความส�าคัญส�าหรับ ใช้ในกระบวนการย่อย อาหาร

วิธีดูแลรักษาตับ

๑ ๒ ๓

พักผ่อนให้เพียงพอ

ไม่ดื่มสุราและเครื่องดื่มที่มี แอลกอฮอล์

๕ ๖

ออกก�าลังกายอย่างสม�่าเสมอ

2 ไม่กินอาหารดิบหรือสุกๆ ดิบๆ ไม่กินยาเกินความจ�าเป็น เพราะสาร เคมีในยาอาจมีฤทธิ์ท�าลายตับ

กินอาหารที่สะอาดและดื่มน�้าต้มสุก เสมอ

ตับกลีบขวา มีขนาดใหญ่เป็น ๖ เท่า ของกลีบด้านซ้าย

ตับกลีบซ้าย มีขนาดเล็ก และแบนกว่า ด้านขวา นอกจากขับสารพิษออกจากร่างกายแล้ว ตับยังเป็นแหล่งสะสมของวิตามินต่างๆ เช่น วิตามินเอ วิตามินดี วิตามินบี ๑๒ เป็นต้น

6

นักเรียนควรรู 1 นํ้าดี เปนสารสําคัญที่สรางมาจากตับ มีลักษณะเปนของเหลวสีเหลืองหรือ สีเขียว ถูกเก็บไวที่ถุงนํ้าดี โดยนํ้าดีมีหนาที่ยอยอาหารประเภทไขมัน 2 อาหารดิบหรือสุกๆ ดิบๆ ประเภทนํ้าจืด เชน ปลานํ้าจืด หอยนํ้าจืด เปนตน อาจมีตัวออนของพยาธิใบไมตับปนเปอนอยู ซึ่งถาคนกินอาหารที่ปรุงไมสุกและ มีพยาธิปนอยูเขาไป จะทําใหตัวออนของพยาธิเขาไปฝงอยูในรางกาย แลวทําให เกิดโรคพยาธิใบไมตับ

6

คูมือครู

ขอสอบเนนการคิด

พฤติกรรมใดตอไปนี้ที่สงผลเสียตอตับ ก. ดื่มสุราเปนประจํา ข. กินลาบหมูที่ทําสุกแลว ค. ออกกําลังกายเปนประจําทุกสัปดาห ง. ดื่มนํ้าสะอาดที่บรรจุในภาชนะที่มิดชิด วิเคราะหคําตอบ การดื่มสุราและเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล จะทําใหตับ ทํางานหนักมากขึ้น หากตับทํางานหนักมากก็อาจจะเสื่อมสภาพลง และ เปนสาเหตุใหเกิดโรคตางๆ เชน ตับแข็ง หรือไวรัสตับอักเสบ เปนตน ดังนั้น ขอ ก. เปนคําตอบที่ถูก


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

1. ใหนักเรียนทํากิจกรรม ชวนคิด ชวนทํา ขอ 2 หนา 11 โดยอานขอความที่กําหนดให แลวบอกวามีผลตออวัยวะใด 2. ใหนักเรียนทํากิจกรรม ชวนคิด ชวนทํา ขอ 3 หนา 11 โดยเขียนวิธีดูแลรักษาอวัยวะภายใน ลงในสมุด จากนั้นใหนักเรียนแลกกันตรวจ คําตอบกับเพื่อน 3. ครูเขียนตาราง 4 ชอง บนกระดานโดยให แตละชองเปนชื่ออวัยวะภายใน ลักษณะ หนาที่ และวิธีดูแลรักษา จากนั้นสุมเรียก นักเรียนออกมาเติมขอมูลในแตละชองให ถูกตอง

๔. ไต ไต เป็นอวัยวะที่ส�าคัญที่สุดในระบบขับถ่ายปัสสาวะ

ต�าแหน่ง ลักษณะ

หน้าที่

ตั้งอยู่ทางด้านล่างของ ช่องท้องทางด้านซ้าย และด้านขวาใกล้กระดูก สันหลัง ยึดติดอยู่กับ กะบังลม คล้ายเมล็ดถั่วแดง มีขนาดเท่าก�ามือ มีสีน�้าตาลแกมแดง กรองของเสียออกจาก เลือด และขับออกมา พร้อมกับน�้าในรูปของ “ปัสสาวะ” และช่วย รักษาสมดุลของน�้าและ เกลือแร่ในร่างกาย ไตข้างขวา

วิธีดูแลรักษาไต

๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖

ไม่ดื่มสุรา ชา กาแฟ 1 ไม่กินอาหารที่มีรสจัดเกินไป กินผักและผลไม้เป็นประจ�า ดื่มน�้าสะอาดมากๆ ไม่ควรกลั้นปัสสาวะนานๆ

Explain

2

หลีกเลี่ยงการกินยาที่เป็นพิษต่อไต เช่น ยาซัลฟา เป็นต้น

ชื่อ

ลักษณะ

หนาที่

...............................

...............................

...............................

...............................

...............................

...............................

...............................

...............................

...............................

...............................

...............................

...............................

ตัวอย

...............................

...............................

...............................

...............................

...............................

...............................

...............................

...............................

ราง างตา

วิธดี แู ลรักษา

ไตข้างซ้าย

ไต ไตมี ๒ ข้าง คือ ไตข้างขวาและ ไตข้างซ้าย ไตข้างขวาจะอยู่ ต�่ากว่าข้างซ้าย เพราะมีตับ ทับซ้อนอยู่

หลอดไต ท�าหน้าที่ล�าเลียงน�้าปัสสาวะ ไปสู่กระเพาะปัสสาวะ กระเพาะปสสาวะ

ไตเป็นอวัยวะที่ส�าคัญ เพราะถ้าไตพิการจะท�าให้ไม่สามารถดูดซึมสารอาหารและออกซิเจนจากโลหิตได้

7

ขอใดตอไปนี้กลาวถึงอวัยวะภายใน ก. มีหนาที่มองดูสิ่งตางๆ ข. มีรูปรางคลายเมล็ดถั่วแดง ค. มี 2 ขาง ใชหยิบจับสิ่งของ ง. มีหนาที่บดเคี้ยวอาหารใหละเอียด

ขอสอบเนนการคิด

วิเคราะหคําตอบ ข. เพราะอวัยวะที่มีรูปรางคลายเมล็ดถั่วแดง คือ ไต ซึ่งเปนอวัยวะภายใน สวน ก. อวัยวะที่มีหนาที่ดูสิ่งตางๆ คือ ดวงตา ค. อวัยวะที่มี 2 ขาง ใชหยิบจับสิ่งของ คือ มือ ง. อวัยวะที่มีหนาที่บดเคี้ยวอาหารใหละเอียด คือ ฟน ดังนั้น ขอ ข. เปนคําตอบที่ถูก

นักเรียนควรรู 1 ไมกินอาหารที่มีรสจัดเกินไป โดยเฉพาะรสเค็มจัด เพราะจะทําใหไตทํางาน หนักมากกวาปกติ ซึ่งไตตองรีบขับโซเดียมออกทางปสสาวะเพื่อควบคุมปริมาณ โซเดียมในรางกายใหเกิดความสมดุล 2 ไมควรกลั้นปสสาวะนานๆ การปสสาวะอยางสมํ่าเสมอทุกครั้ง จะเปนการ ลางเอาเชื้อโรคที่พลัดหลงเขาสูกระเพาะปสสาวะทิ้งสูภายนอก แตถากลั้นปสสาวะ นานๆ อาจจะทําใหมีการติดเชื้อที่ทอปสสาวะได ซึ่งมีผลทําใหกระเพาะปสสาวะ และไตอักเสบ

คูมือครู

7


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

Evaluate

ต�าแหน่ง ลักษณะ

คล้ายฟองน�้าขนาดใหญ่ ยืดหยุ่นได้

ประจําหนวยที่ ๑ บทที่ ๑

แบบประเมินตัวชี้วัด พ ๑.๑ ป.๒/๑

หน้าที่

• อธิบายลักษณะและหนาที่ของอวัยวะภายใน ชุดที่ ๑ ๒๕ คะแนน ดูภาพ แลวเขียนชื่อ ตําแหนง ลักษณะ และหนาที่ของอวัยวะในภาพใหถูกตอง

ฉบับ

Expand

บรรจุอยู่ภายในโพรง ของทรวงอก โดยแยก เป็นปอดข้างซ้ายและ ปอดข้างขวา

กิจกรรมรวบยอดที่ ๑.๑

เฉลย

ตรวจสอบผล

๕. ปอด ปอด เป็นอวัยวะที่ส�าคัญที่สุดในระบบหายใจ

✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ สุขศึกษาฯ ป.2 กิจกรรมรวบยอดที่ 1.1 แบบประเมินตัวช�้วัด พ 1.1 ป.2/1

๑)

Expand าใจ ขยายความเข

Expand

1. ครูนําภาพโครงสรางรางกายมาติดบนกระดาน จากนัน้ ใหนกั เรียนออกมาวาดภาพอวัยวะภายใน ใหถูกตําแหนงตามที่เรียนมา 2. ใหนักเรียนทํากิจกรรมรวบยอดที่ 1.1 จาก แบบวัดฯ สุขศึกษาฯ ป.2 โดยเขียนชื่อ ตําแหนง ลักษณะ และหนาที่ของอวัยวะในภาพ ใหถูกตอง

แบบประเมินผลการเรียนรูตามตัวชี้วัด

ขยายความเขาใจ

ปอด ชื่ออวัยวะ............................................................................................................. อยูในทรวงอก แยกเปนปอดขางซายและขางขวา ตําแหนง................................................................................................................ คลายฟองนํ้าขนาดใหญ ยืดหยุนได ลักษณะ .................................................................................................................. ..........................................................................................................................................

ฟอกเลือด โดยแลกเปลี่ยนแกสออกซิเจนกับ หนาที่ .......................................................................................................................

แกสคารบอนไดออกไซด ..........................................................................................................................................

วิธีดูแลรักษาปอด

ฟอกเลือดโดยรับเลือด ที่มีออกซิเจนน้อยจาก หัวใจห้องล่างขวา เพื่อ เปลี่ยนให้เป็นเลือดที่มี ออกซิเจนมาก ภายใน ปอดจะมีถุงลมเล็กๆ เป็นจ�านวนมาก เรียกว่า ถุงลมปอด จะมีหน้าที่ แลกเปลี่ยนแก๊สออกซิเจน กับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์

1

๑ ๒ ๓

ไม่สูบบุหรี่

หลีกเลี่ยงการกระทบกระแทกที่ บริเวณทรวงอก

ใช้ผ้าปิดปากปิดจมูก เมื่ออยู่ในบริเวณ ที่มีฝุ่นควันมาก

ออกก�าลังกายอย่างสม�่าเสมอ ไม่คลุกคลีกบั ผูท้ ปี่ ว่ ยเป็นโรคเกีย่ วกับ ระบบหายใจ

อยู่ในบริเวณที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ เพราะมีปริมาณแก๊สออกซิเจนมาก

..........................................................................................................................................

๒)

ปอด

กระเพาะอาหาร ชื่ออวัยวะ............................................................................................................. ตั้งอยูบริเวณชองทอง มีสวนปลายงอลงไปทางขวา ตําแหนง................................................................................................................ เปนถุงกลามเนื้อใหญ มีความเหนียวและสามารถ ลักษณะ ..................................................................................................................

ปอดข้างขวามี ขนาดใหญ่กว่า ปอดข้างซ้าย

ยืดตัวออกได ..........................................................................................................................................

(๑) เปนที่เก็บอาหาร หนาที่ .......................................................................................................................

(๒) ยอยอาหารและคลุกเคลาอาหารกับนํ้ายอยกอนที่อาหาร ..........................................................................................................................................

ปอดข้างขวา

หลอดลม ปอดข้างซ้าย

หลอดลม

จะเคลื่อนที่ไปสวนอื่นๆ ..........................................................................................................................................

หัวใจ

ท�าหน้าที่เป็นทางผ่านของ อากาศลงสู่ปอด

อากาศจะไหลผ่านเข้าสู่ปอดโดยผ่านทางหลอดลม

8

นักเรียนควรรู 1 ไมสูบบุหรี่ ในควันบุหรี่มีสารชนิดหนึ่งที่เรียกวา ทาร ซึ่งเมื่อควันบุหรี่เขาสู รางกาย ทารจะเขาไปจับอยูที่ปอด ทําใหเซลลของปอดไมสามารถเคลื่อนไหว ไดตามปกติ เมื่อรวมตัวกับฝุนที่สูดเขาไปจะเกาะอยูในถุงลมปอด ทําใหเกิด การระคายเคือง เปนสาเหตุของการไอเรื้อรัง กอใหเกิดโรคมะเร็งปอด และถุงลมโปงพอง

มุม IT ครูศึกษาขอมูลการฝกหายใจเพื่อสุขอนามัยที่ดีของปอดไดจาก www.thaipedlung.org/topic/full/quice_look_3_140954.pdf

8

คูมือครู

ขอสอบเนนการคิด

ขอใดเปนวิธีดูแลอวัยวะในระบบหายใจ ก. กินผักและผลไมใหมาก ข. ออกกําลังกายอยางสมํ่าเสมอ ค. ไมกินอาหารที่มีไขมันมาก ง. ทําจิตใจใหราเริงแจมใสอยูเสมอ วิเคราะหคําตอบ ข. ออกกําลังกายอยางสมํ่าเสมอ เพราะจะชวย เสริมสรางปอดซึ่งเปนอวัยวะสําคัญในระบบหายใจใหแข็งแรง สวน ก. กินผักและผลไมใหมาก จะทําใหลําไสใหญขับถายอุจจาระไดงาย ค. ไมกินอาหารที่มีไขมันมาก ทําใหไมมีไขมันสวนเกินไปอุดตันการไหล ของเลือด ง. ทําจิตใจใหราเริงแจมใส ทําใหสมอง หัวใจ กระเพาะอาหาร ทํางาน เปนปกติ ดังนั้น ขอ ข. เปนคําตอบที่ถูก


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand าใจ ขยายความเข

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

ขยายความเขาใจ

1. ใหนักเรียนยกตัวอยางพฤติกรรมที่เคยปฏิบัติ ในชีวิตประจําวัน จากนั้นบอกวาพฤติกรรมนั้น มีผลดีหรือผลเสียตออวัยวะภายในชนิดใดบาง และอยางไร เชน • เคี้ยวอาหารใหละเอียดกอนกลืน เปนพฤติกรรมที่มีผลดีตอกระเพาะอาหาร เพราะกระเพาะอาหารไมตองทํางานหนัก ในการยอยอาหาร • ไมสวมหมวกนิรภัยขณะโดยสาร รถจักรยานยนต เปนพฤติกรรมที่มีผลเสีย ตอสมอง เพราะถาเกิดอุบัติเหตุ อาจทําให สมองถูกกระทบกระแทกไดงาย 2. ใหนักเรียนทํากิจกรรมรวบยอดที่ 1.2 จาก แบบวัดฯ สุขศึกษา ป.2 โดยอานขอความและ ตอบคําถาม

๖. กระเพาะอาหาร กระเพาะอาหาร เป็นอวัยวะส�าคัญในระบบย่อยอาหาร ต�าแหน่ง

ตั้งอยู่บริเวณช่องท้อง และมีส่วนปลายงอลง ไปทางขวา

ลักษณะ

เป็นถุงกล้ามเนื้อใหญ่ มีความเหนียวและ สามารถยืดตัวออก เพื่อรับอาหารจ�านวน มากได้

หน้าที่

เป็นที่เก็บอาหาร และ ผลิตน�้าย่อยออกมา ย่อยอาหาร ก่อนที่ อาหารจะเคลื่อนที่ ไปยังล�าไส้เล็ก

วิธีดูแลรักษากระเพาะอาหาร

๑ ๒ ๓

๔ ๕ ๖

Expand

1 เคี้ยวอาหารให้ละเอียดก่อนกลืน

กินอาหารในแต่ละมื้อให้ตรงตามเวลา ไม่กินอาหารในปริมาณที่มากหรือ น้อยเกินไป

ไม่กินอาหารที่มีรสจัดหรือของ หมักดอง ไม่สูบบุหรี่ และไม่ดื่มสุรา 2 ท�าใจให้สบาย ไม่เครียด เพราะ ความเครียดอาจเป็นสาเหตุท�าให้เกิด โรคกระเพาะอาหารอักเสบ

✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ สุขศึกษาฯ ป.2 กิจกรรมรวบยอดที่ 1.2 แบบประเมินตัวช�้วัด พ 1.1 ป.2/2

หลอดอาหาร

กิจกรรมรวบยอดที่ ๑.๒ แบบประเมินตัวชี้วัด พ ๑.๑ ป.๒/๒ • อธิบายวิธีดูแลรักษาอวัยวะภายใน ชุดที่ ๑ ๑๕ คะแนน

กระเพาะอาหาร

อานสถานการณที่กําหนดให แลวตอบคําถาม

เป็นอวัยวะที่เชื่อมต่อ จากหลอดอาหาร

๑) นุมชอบกินอาหารที่มัน โดยเฉพาะขาวขาหมู เธอจะตองกินทุกวัน หัวใจ พฤติกรรมของนุนเปนผลเสียตออวัยวะ ....................................................................................... นุนไมควรกินอาหารที่มีไขมันสูง นุนควรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ดังนี้...................................................................................................

ควรกิ นอาหารที่มีประโยชนในปริมาณที่เหมาะสมกับวัย ........................................................................................................................................................................................................

ลําไส้ตอนต้น

๒) ปานปวดปสสาวะขณะเรียน แตเธอก็ไมกลาขออนุญาตครูไปหองนํ้า ฉบับ เฉลย เพราะกลัวถูกครูดุ เธอจึงมักกลั้นปสสาวะเปนประจํา ไต พฤติกรรมของปานเปนผลเสียตออวัยวะ.................................................................................... ปานควรขออนุญาตครูไปเขา ปานควรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ดังนี้ ............................................................................................... ห........................................................................................................................................................................................................ องนํ้าทุกครั้งเมื่อรูสึกปวดปสสาวะ

กระเพาะอาหารมีรูปร่างคล้ายตัว (J) ท�าหน้าที่ผลิตน�้าย่อยและท�าหน้าที่ย่อยอาหารให้เล็กลงด้วย

๓) อั๋นชอบกินอาหารรสเผ็ดจัด เขาตองใหแมคาใสพริกมากๆ เสมอ กระเพาะอาหาร พฤติกรรมของอั๋นเปนผลเสียตออวัยวะ........................................................................................ อั๋นไมควรกินอาหารที่มีรสเผ็ดจัด อั๋นควรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ดังนี้ ................................................................................................... ........................................................................................................................................................................................................

๔) โหนงมักจะเขาไปอยูใกลๆ พอเสมอขณะที่พอสูบบุหรี่ ปอด พฤติกรรมของโหนงเปนผลเสียตออวัยวะ................................................................................. โหนงไมควรเขาใกลพอขณะที่ โหนงควรปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ดังนี้ ............................................................................................

พ........................................................................................................................................................................................................ อสูบบุหรี่ และอาจขอรองใหพอเลิกสูบบุหรี่

ขอสอบเนนการคิด

ความเครียดมีผลตอการทํางานของกระเพาะอาหารอยางไร ก. ทําใหกระเพาะอาหารยอยอาหารไดชาลง ข. กระเพาะอาหารยอยอาหารไดมากขึ้น ค. กระเพาะอาหารดูดซึมอาหารไดดีขึ้น ง. กระเพาะอาหารหลั่งกรดในการยอยอาหารมากขึ้น

วิเคราะหคําตอบ ในขณะทีเ่ ราเครียดระบบประสาทจะสัง่ การใหมฮี อรโมน หลั่งออกมามากกวาปกติ ทําใหรางกายตื่นตัวตลอดเวลา และกระตุนให กระเพาะอาหารหลั่งนํ้ายอยออกมามากกวาปกติ จนเกิดการระคายเคือง ที่กระเพาะอาหาร และทําใหลําไสมีการหดตัว ซึ่งทําใหเกิดความเจ็บปวด และทรมานแกผูที่เปนอยางมาก ดังนั้น ขอ ง. เปนคําตอบที่ถูก

นักเรียนควรรู 1 เคี้ยวอาหารใหละเอียดกอนกลืน นอกจากจะชวยทําใหกลืนอาหารไดสะดวก ยังชวยทําใหกระเพาะอาหารไมตองทํางานหนักในการยอยอาหารใหละเอียดกอน สงอาหารไปยอยตอที่ลําไสเล็ก 2 ไมเครียด ผูที่ไมเครียดจะทําใหมีอารมณแจมใส หนาตาเบิกบาน ซึ่งจะ สงผลใหมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตดี สวนผูที่มีความเครียด จะสงผลตอรางกาย เพราะเมื่อมีอาการเครียดหรือวิตกกังวลจะทําใหมีกรดหลั่งออกมาในกระเพาะอาหารมากผิดปกติ ซึ่งกรดเหลานี้จะไปกัดเยื่อบุของกระเพาะอาหารจนอักเสบ เปนแผลได

คูมือครู

9


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ขยายความเขาใจ

Expand

Evaluate

๗. ล�าไส้ ล�าไส้ เป็นอวัยวะส�าคัญในระบบย่อยอาหาร ต�าแหน่ง

ตัวอยางบัตรภาพ (ดานหนา)

ลักษณะ

หน้าที่

ชื่อ : หัวใจ ลักษณะ : รูปรางคลายดอกบัวตูม ขนาดเทากําปน หนาที่ : สูบฉีดโลหิตไปเลี้ยงสวนตางๆ ทั่วรางกาย วิธีดูแลรักษา : 1. กินอาหารที่มีประโยชน และไมกินอาหารที่มี ไขมันสูง 2. พักผอนใหเพียงพอ 3. ออกกําลังกายอยาง สมํ่าเสมอ

วิธีดูแลรักษาล�าไส้

อยู่ในช่องท้องตอนบน

เป็นท่อกลวงยาว ขดไปขดมา แบ่งเป็น ล�าไส้เล็ก และล�าไส้ใหญ่

ล�าไส้แต่ละส่วน ท�าหน้าที่แตกต่างกัน ดังภาพด้านล่าง

๑ ๒ ๓ ๔ ๕

ไม่กินอาหารที่มีรสจัด กินอาหารให้ถูกสุขลักษณะ 1 กินผักและผลไม้เป็นประจ�า ขับถ่ายให้เป็นเวลา

ไม่กินอาหารที่แข็งและเหนียว มากเกินไป ๖ ระมัดระวังไม่ให้ช่องท้องได้รับการ กระทบกระเทือนอย่างรุนแรง

กระเพาะอาหาร

ล�าไส้ใหญ่

(ดานหลัง)

ท�าหน้าที่ ดูดน�้าและเกลือแร่จาก กากอาหาร และขับอุจจาระให้ เคลื่อนไปยังทวารหนัก

ล�าไส้เล็ก ท�าหน้าที่ ย่อยอาหารในขั้นตอน สุดท้าย และดูดซึมสารอาหาร เข้าสู่กระแสเลือด

ล�าไส้เป็นทางเดินอาหารที่อยู่ระหว่างกระเพาะอาหารและทวารหนัก

10

เกร็ดแนะครู ครูควรแนะนํานักเรียนใหเลือกรับประทานอาหารที่เปนผลดีตอลําไส เชน รับประทานผัก ผลไม อาหารที่มีเสนใย (ไฟเบอร) อาหารที่ยอยงาย อาหารที่ไมมี รสจัด นํ้าสะอาดในปริมาณที่เพียงพอ เพื่อใหการขับถายเปนไปโดยสะดวก

นักเรียนควรรู 1 กินผักและผลไมเปนประจํา ผักและผลไมประกอบไปดวยสารที่เปนกากใย อยูมาก ซึ่งกากใยเปนเสนใยละเอียดเล็กๆ เมื่อกินเขาไป กระเพาะอาหารและ ลําไสจะไมดูดซึมสารเหลานี้ แลวจะถูกขับออกมากับอุจจาระ ซึ่งเสนใยเหลานี้ จะชวยทําใหอุจจาระไมแข็งมาก ทําใหขับถายไดงายและไมเกิดอาการทองผูก

คูมือครู

ตรวจสอบผล

Expand

ใหนักเรียนจัดทําบัตรภาพอวัยวะภายในคนละ 1 ใบ โดยใหดานหนาของบัตรภาพ เปนภาพอวัยวะ ภายใน แลวดานหลังของบัตรภาพเขียนชื่อ ลักษณะ หนาที่ และการดูแลรักษาอวัยวะภายในชนิดนั้น จากนั้นนําผลงานออกมาแสดงที่หนาชั้น

10

Expand าใจ ขยายความเข

กิจกรรมทาทาย ใหนักเรียนจัดทําโปสเตอรรางกายมนุษยแสดงอวัยวะภายในและอวัยวะ ภายนอกที่สําคัญ แลวอธิบายรายละเอียดของอวัยวะแตละสวน ดังนี้ • ลักษณะ • หนาที่ • วิธีดูแล จากนั้นใหนักเรียนนําผลงานออกมานําเสนอที่หนาชั้น แลวนําผลงานไป จัดปายนิเทศ


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engage

Explore

Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate ตรวจสอบผล Evaluate

ตรวจสอบผล

¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ตอนที่ ๑ ค�าถามชวนคิด เขียนตอบค�าถามต่อไปนี้ลงในสมุด ๑) อวัยวะภายนอกและอวัยวะภายในมีความแตกต่างกันอย่างไร ๒) อวัยวะภายในชนิดใดมีความส�าคัญที่สุด เพราะเหตุใด ๓) ถ้าอวัยวะภายในอวัยวะใดอวัยวะหนึง่ ท�าหน้าทีบ่ กพร่อง จะเกิดผลอย่างไร ๔) เพราะเหตุใดการพักผ่อนให้เพียงพอจึงท�าให้อวัยวะท�างานได้ดี ตอนที่ ๒ ชวนคิด ชวนท�า ๑. ดูภาพ แล้วบอกชื่ออวัยวะ และเขียนอธิบายหน้าที่ของอวัยวะต่างๆ เหล่านี้ ลงในสมุด ๑) ๒) ๓) ๔) ๕) ๖)

Evaluate

1. ครูตรวจผลงานการเขียนชื่อ ตําแหนง ลักษณะ และหนาที่ของอวัยวะภายใน 2. ครูตรวจความถูกตองของบัตรภาพอวัยวะ ภายในวา ติดภาพหรือวาดภาพ พรอมกับ เขียนขอมูลไดถูกตองหรือไม

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู 1. กิจกรรมรวบยอดที่ 1.1 จากแบบวัดฯ สุขศึกษาฯ ป.2 2. บัตรภาพอวัยวะภายใน

๒. อ่านข้อความ และบอกว่ามีผลต่ออวัยวะใด ๑) วิ่งเล่นแล้วศีรษะกระแทกกับเพื่อน ๒) รับประทานอาหารรสจัด เช่น หวานจัด เค็มจัด เผ็ดจัด ๓) อยู่ในที่ที่มีฝุ่นละอองและมลพิษมาก ๔) ดื่มสุราเป็นประจ�าทุกวัน ๕) ชอบรับประทานอาหารที่มีไขมันมากๆ ๓. เขี ย นวิ ธี ก ารดู แ ลอวั ย วะภายในลงในสมุ ด มา ๕ ข้ อ พร้ อ มทั้ ง บอกว่ า เปนวิธีการดูแลอวัยวะใด ตอนที่ ๓ ผลงานสร้างสรรค์ แบ่งกลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มร่วมกันจัดท�าแผ่นภาพอวัยวะภายใน โดยให้ด้านหน้า ของแผ่นภาพเปนภาพอวัยวะภายใน และให้ดา้ นหลังของแผ่นภาพเปนรายละเอียด (ชื่อ ตําแหน่ง ลักษณะ หน้าที่ การดูแลรักษา) 11 เฉลย กิจกรรมการเรียนรู ตอนที่ 1 คําถามชวนคิด 1. แนวตอบ 1) อวัยวะภายนอกมองเห็นดวยตาเปลาได สวนอวัยวะภายในมองไมเห็น 3) จะทําใหรางกายเจ็บปวยหรือทํางานผิดปกติ

2) สําคัญเทากัน เพราะอวัยวะแตละชนิดทําหนาที่ตางกันและทํางานสัมพันธกัน 4) เพราะอวัยวะไมตองทํางานหนักเกินไป

ตอนที่ 2 ชวนคิด ชวนทํา 1. แนวตอบ 1) หัวใจ - สูบฉีดโลหิตไปเลี้ยงสวนตางๆ ของรางกาย 2) ไต - กรองของเสียออกจากเลือด และขับออกมากับนํ้าปสสาวะ 3) ปอด - แลกเปลี่ยนแกส 4) สมอง - ควบคุมการทํางานของรางกาย 5) ตับ - ขับสารพิษออกจากรางกาย 6) กระเพาะอาหาร - เก็บอาหารและยอยอาหาร 2. แนวตอบ 1) สมอง 2) กระเพาะอาหาร ลําไส ไต 3) ปอด 4) สมอง ตับ กระเพาะอาหาร 5) หัวใจ 3. แนวตอบ 1) กินอาหารที่มีประโยชน - ดูแลอวัยวะทุกสวนของรางกาย 2) พักผอนใหเพียงพอ - สมอง หัวใจ 3) ไมดื่มสุราและเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล - หัวใจ ตับ 4) ดื่มนํ้าสะอาดมากๆ - ไต 5) ออกกําลังกายสมํ่าเสมอ - หัวใจ ปอด คูมือครู

11


กระตุน ความสนใจ กระตุEngage นความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

เปาหมายการเรียนรู

• อธิบายธรรมชาติของชีวิตมนุษยตั้งแตเกิด จนตาย (พ 1.1 ป.2/3)

บทที่

ธรรมชาติ ของมนุษย

สมรรถนะของผูเรียน • ความสามารถในการสื่อสาร

สาระส�าคัญ การเกิด แก่ เจ็บ ตาย เป็นธรรมชาติของชีวิตมนุษย์ ขณะ ที่มีชีวิตอยู่ควรดูแลร่างกายให้แข็งแรง และรู้จักการด�าเนิน ชีวิตให้มีความสุข

¡Ô¨¡ÃÃÁ¹ÒÊÙ‹¡ÒÃàÃÕ¹

คุณลักษณะอันพึงประสงค • ใฝเรียนรู

ò

1

กระตุน ความสนใจ

Engage

1. ครูสนทนาซักถามนักเรียนเกี่ยวกับชีวิตของ นักเรียนโดยใหนักเรียนตอบอยางอิสระ เชน • ตอนเด็กๆ นักเรียนมีรูปรางลักษณะอยางไร • นักเรียนเคยเห็นเด็กแรกเกิดหรือไม • ในบานของนักเรียนมีคนแกหรือไม • นักเรียนเคยไปงานศพหรือไม 2. ครูซักถามความรูสึกของนักเรียนวา ถาสมาชิก ในบานเจ็บปวยหรือเสียชีวิต นักเรียนจะรูสึก อยางไร

? ¨Ò¡ÀÒ¾ ÊÔè§ã´เ¡Ô´ขÖéนเป็นÅíÒ´ับáร¡ áÅÐÊÔè§เËÅ่ÒนÕé¨Ðเ¡Ô´ขÖéน¡ับทØ¡คนËร×อไม่ เ¾รÒÐเ˵Øã´

12

เกร็ดแนะครู ครูจัดกระบวนการเรียนรูโดยใหนักเรียนปฏิบัติ ดังนี้ • สังเกตธรรมชาติของชีวิตจากบุคคลตางๆ รอบๆ ตัว • สืบคนขอมูลเกี่ยวกับธรรมชาติของชีวิตจากบุคคลตางๆ รอบๆ ตัว • อธิบายธรรมชาติของชีวิตมนุษย จนเกิดเปนความรูความเขาใจวา การเกิด แก เจ็บ ตาย เปนธรรมชาติของชีวิต ที่มนุษยทุกคนควรยอมรับ และรูจักดูแลสุขภาพรางกายเพื่อใหดําเนินชีวิตอยางมี ความสุข เฉลย กิจกรรมนําสูการเรียน • จากภาพ ภาพที่ 1 เกิดขึ้นเปนลําดับแรก เพราะเปนภาพของวัยทารก • จากภาพ เปนสิ่งที่ตองเกิดขึ้นกับคนทุกคน เพราะการเกิด การแก การเจ็บปวย และการตายเปนธรรมชาติของชีวิตมนุษยที่ไมมีใครสามารถหลีกเลี่ยงได

12

คูมือครู


กระตุนความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

สํารวจค Exploreนหา

สํารวจคนหา

1. ครูนําภาพคนในชวงวัยตางๆ มาใหนักเรียนดู แลวใหนักเรียนรวมกันเรียงลําดับชวงวัยตางๆ ใหถูกตอง 2. ครูซักถามนักเรียนวา สมาชิกในบานของ นักเรียนมีใครบาง และอยูในชวงวัยใด โดยอาจเปรียบเทียบกับภาพที่ครูนํามาแสดง 3. ใหนักเรียนไปพูดคุยกับสมาชิกในบานที่เปน ผูใหญหรือคนแกวา ชีวิตในชวงวัยที่ผานมา เปนอยางไร จากนั้นใหออกมาเลาที่หนาชั้น พรอมแสดงภาพประกอบ

ธรรมชาติของชีวิตมนุษย ในครอบครัวหนึ่ง อาจประกอบด้วยสมาชิกหลายวัย ได้แก่ วัยทารก วัยเด็ก วัยรุ่น วัยผู้ใหญ่ และวัยชรา ซึ่งถ้าเราสังเกตจะพบ ว่าสมาชิกในครอบครัวมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ เช่น น้องที่เคย เป็นทารก แต่ในปัจจุบันเป็นนักเรียนชั้นอนุบาล หรือคุณปู่ คุณย่า ที่เคยแข็งแรง แต่ปัจจุบันได้แก่ชราลงไป เป็นต้น สิ่งที่เกิดขึ้นนี้ล้วน ต้องเกิดขึ้นกับทุกคน ซึ่งเราเรียกว่า ธรรมชาติของชีวิตมนุษย์ ธรรมชาติ ของชีวิตมนุษย์ เริ่มตั้งแต่เราเกิดมาลืมตาดู โลก 1 เจริญเติบโตเป็นเด็ก วัยรุ่น วัยผู้ใหญ่ วัยชรา ตามล�าดับ และใน แต่ละช่วงวัยย่อมที่จะมีโอกาส แก่ เจ็บ และถึงวาระสุดท้ายของชีวิต คือ ความตาย ซึ่งไม่ว่าใครก็ไม่สามารถหลีกเลี่ยงกฎของธรรมชาติ นี้ได้ แผนภาพแสดงธรรมชาติของชีวิตมนุษย์

อธิบายความรู

วัยชรา วัยผู้ใหญ่ วัยรุ่น วัยเด็ก วัยทารก

เกิด

แก่

เจ็บ

ตาย 13

ขอสอบเนนการคิด

“หญิงชราคนหนึ่ง ชื่อดวงพร เธออายุ 80 ป เมื่อตอนเปนเด็ก แมบอกวา เธอเลี้ยงงาย โตมาก็เปนเด็กเรียบรอย เชื่อฟงผูใหญ เมื่อเธอทํางานก็ตั้งใจ ทํางาน ดวงพรแตงงานและมีลูก 3 คน” จากขอความ ขอใดเปนธรรมชาติของชีวิตมนุษย ก. ดวงพรเปนคนแก ข. ดวงพรแตงงานแลว ค. ดวงพรตั้งใจทํางาน ง. ดวงพรเปนเด็กเลี้ยงงาย วิเคราะหคําตอบ ก. เพราะธรรมชาติของชีวิตมนุษย คือ เกิด แก เจ็บ ตาย ซึ่งเกิดกับทุกคน ดังนั้นการที่ดวงพรเปนคนแก จึงเปนธรรมชาติ ของชีวิต ดังนั้น ขอ ก. เปนคําตอบที่ถูก

Explore

Explain

1. ครูตั้งคําถามวา • ผูที่อยูในวัยชราตองผานชวงวัยใดมาบาง (ตอบ วัยเด็ก วัยรุน วัยผูใหญ) • ทุกคนที่เกิดมาจะหลีกเลี่ยงความตายได หรือไม เพราะเหตุใด (ตอบ หลีกเลี่ยงไมได เพราะความตายเปน ธรรมชาติของคนเรา รวมทั้งสิ่งมีชีวิต ชนิดอื่นๆ ดวย) 2. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวา การเจ็บปวย และการตาย จะเกิดขึ้นไดในชวงวัยใดของ คนเรา (แนวตอบ เกิดขึ้นไดในทุกชวงวัยของชีวิต เชน วัยทารกก็เจ็บปวยไดและอาจตายไดเชนเดียว กับวัยอื่นๆ) 3. ใหนักเรียนรวมกันสรุปวา การเจริญเติบโต ตั้งแตเด็กจนเขาสูวัยชรา ซึ่งเมื่อเขาสูวัยชรา สภาพรางกายจะคอยๆ เสื่อมโทรมลง ทําให เกิดการเจ็บปวย และเสียชีวิตในที่สุด ซึ่งสิ่งเหลานี้เกิดขึ้นกับทุกคน จนเรียกวา เปนธรรมชาติของชีวิตมนุษย

นักเรียนควรรู 1 เจริญเติบโต การเจริญเติบโตทางรางกายของคนเราสังเกตไดจาก • นํ้าหนัก • สวนสูง • ความยาวของลําตัว • ความยาวของชวงแขนเมื่อกางเต็มที่ • ความยาวของเสนรอบวงศีรษะ • ความยาวของเสนรอบอก • การงอกขึ้นของฟนแท

คูมือครู

13


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ขยายความเขาใจ Expand าใจ ขยายความเข

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Expand

1. ใหนักเรียนตอบคําถามชวนคิดจากหนังสือ หนา 15 แลวใหแลกเปลี่ยนกันตรวจคําตอบกับเพื่อน 2. ใหนักเรียนสรุปธรรมชาติของชีวิต จากนั้นให นักเรียนทํากิจกรรมรวบยอดที่ 1.3 จาก แบบวัดฯ สุขศึกษาฯ ป.2

หลักการดูแลสุขภาพร่างกาย แม้ว่าเราไม่สามารถหลีกเลี่ยงภาวะการแก่ การเจ็บ และการ ตายได้ แต่เราสามารถดูแลรักษาสุขภาพร่างกายให้สมบูรณ์แข็งแรง ได้ด้วยหลัก ๖ อ. ซึ่งหมายถึง

✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ สุขศึกษา ป.2 กิจกรรมรวบยอดที่ 1.3 แบบประเมินตัวช�้วัด พ 1.1 ป.2/3 แบบประเมินผลการเรียนรูตามตัวชี้วัด ประจําหนวยที่ ๑ บทที่ ๒ กิจกรรมรวบยอดที่ ๑.๓ แบบประเมินตัวชี้วัด พ ๑.๑ ป.๒/๓

อ.๑

• อธิบายธรรมชาติของชีวิตมนุษย ชุดที่ ๑ ๑๐ คะแนน เขียนแผนผังความคิดแสดงธรรมชาติของชีวิตมนุษย พรอมทั้งอธิบายสั้นๆ

ออกก�าลังกาย

ออกก�าลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ ๓ ครั้ง

(ตัวอยาง)

อ.๒ อาหารปลอดภัย

รับประทานอาหารครบ ๕ หมู ่ สะอาดและปลอดภัย

ธรรมชาติของชีวิตมนุษย ฉบับ

เฉลย

เกิด

แก

ตาย

เจ็บ

คนเราทุกคนที่เกิดมา ยอมมีการเจริญเติบโตจากวัยทารก สูวัยเด็ก วัยรุน วัยผูใหญ และวัยชรา (แก) ซึ่งในแตละชวงวัยอาจมีการเจ็บปวย และ เสียชีวิตได แตถาดูแลสุขภาพดีเมื่อถึงวัยชรา สภาพรางกายจะทรุดโทรมลง ........................................................................................................................................................................................................... และทายที่สุดก็จะตาย ........................................................................................................................................................................................................... ...........................................................................................................................................................................................................

อ.๓ อบายมุข 1

...........................................................................................................................................................................................................

หลีกเลี่ยงสารเสพติด การพนั การพนัน

ตัวชี้วัด พ ๑.๑ ขอ ๓ ไดคะแนน คะแนนเต็ม

ñð

๑๐

3. ครูสนทนากับนักเรียนวา ธรรมชาติของชีวิต มนุษยเปนสิ่งที่หลีกเลี่ยงไมได ดังนั้น เราจึง ควรยอมรับและดูแลตนเองใหมีสุขภาพดี เพื่อ ใหใชชีวิตอยางมีความสุข จากนั้นใหนักเรียน รวมกันยกตัวอยางการดูแลตนเองใหมีสุขภาพดี เชน กินอาหารที่มีประโยชน ทําจิตใจใหราเริง แจมใส พักผอนใหเพียงพอ เปนตน

อ.๕ 14

หลีกเลี่ยงปัจจัยที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค

นักเรียนควรรู 1 อบายมุข เปนหนทางที่นําไปสูความเสื่อมโทรมของชีวิต เชน การดื่มสุรา การเลนการพนัน การเที่ยวกลางคืน เปนตน 2 อโรคยา หมายถึง การไมเปนโรค ดวยการดูแลรักษาสุขภาพใหแข็งแรง สมกับคํากลาววา “ความไมมีโรค เปนลาภอันประเสริฐ”

14

คูมือครู

2 อโรคยา

อ.๔ อารมณ์แจ่มใส

รูจ้ กั พักผ่อนคลายความเครียด และท�าจิตใจให้ แจ่มใสอยู่เสมอ

อ.๖

อนามัยสิ่งแวดล้อม

จัดสิง่ แวดล้อมรอบตัวให้สะอาด ถูกสุขลักษณะ

กิจกรรมทาทาย ใหนักเรียนเลือก การเกิด การแก การเจ็บ การตาย มา 1 หัวขอ แลววิเคราะหวา เพราะอะไรสิ่งเหลานี้จึงเปนธรรมชาติของมนุษย ที่ทุกคนหลีกหนีไมพน จากนั้นออกมารายงานหนาชั้น


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engage

Explore

Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate ตรวจสอบผล Evaluate

ตรวจสอบผล

Evaluate

ครูตรวจสอบผลการเขียนแผนผังความคิดและ เขียนอธิบายธรรมชาติของชีวิตมนุษยจากกิจกรรม รวบยอดที่ 1.3 จากแบบวัดฯ สุขศึกษาฯ ป.2

¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู

ตอนที่ ๑ ค�าถามชวนคิด เขียนตอบค�าถามต่อไปนี้ลงในสมุด ๑) ธรรมชาติของชีวิตมนุษย์คืออะไร ๒) คนทุกคนต้องตายใช่หรือไม่ เพราะเหตุใด ๓) นักเรียนตอนอายุ ๘ ป ต่างจากอายุ ๒ ป อย่างไร ๔) ผู้ใหญ่และเด็กมีความแตกต่างกันอย่างไร ๕) นักเรียนสามารถป้องกันการเจ็บป่วยได้หรือไม่ เพราะเหตุใด

• แผนผังความคิดแสดงธรรมชาติของชีวติ มนุษย จากกิจกรรมรวบยอดที่ 1.3 จากแบบวัดฯ สุขศึกษา ป.2

ตอนที่ ๒ ชวนคิด ชวนท�า ๑. ติดภาพเด็กและคนชราลงในสมุด แล้วอธิบายลักษณะที่แตกต่างกัน ๒. อ่านหัวข้อที่ก�าหนดให้ แล้วบันทึกข้อมูลลงในสมุด ๑) นักเรียน เคยเห็น ไม่เคยเห็น ทารกเกิดใหม่ เด็กทารกที่เห็นมีลักษณะอย่างไร ๒) ในครอบครัวของนักเรียน มี ไม่มี คนชรา ถ้ามีชื่ออะไร อายุกี่ป ๓) สมาชิกในครอบครัวของนักเรียน เคย ไม่เคย เจ็บป่วย ถ้าเคย ป่วยเป็นโรคอะไร ๔) นักเรียน เคยไป ไม่เคยไป งานศพ ๕) ถ้านักเรียนต้องการมีชีวิตที่ยืนยาว นักเรียนควรปฏิบัติตนอย่างไร ตอนที่ ๓ ผลงานสร้างสรรค์ เขียนแผนภาพแสดงธรรมชาติของชีวิตมนุษย์ลงในกระดาษวาดเขียน พร้อมกับอธิบายสั้นๆ 15

ขอสอบเนนการคิด

ถามีคนชักชวนใหซื้อยาที่ทําใหไมแก นักเรียนควรซื้อหรือไม เพราะเหตุใด แนวตอบ ไมซื้อ เพราะความแกเปนสิ่งที่ตองเกิดขึ้นกับทุกคนเมื่อเขาสู ชวงวัย ดังนั้นจึงไมมียาที่จะชวยทําใหไมแกได ซึ่งอาจสันนิษฐานไดวา ยาชนิดนี้เปนยาที่โฆษณาเกินจริง และอาจเปนอันตรายตอรางกายได

เฉลย กิจกรรมการเรียนรู ตอนที่ 1 คําถามชวนคิด แนวตอบ 1) สิ่งที่เกิดขึ้นเปนปกติของคนทุกคน ไดแก เกิด แก เจ็บ ตาย 2) ใช เพราะเมื่อถึงคราวที่รางกายเสื่อมสภาพและอวัยวะหยุดทํางาน คนเราทุกคนก็จะตาย 3) รางกายมีการเจริญเติบโตตางกัน เชน นํ้าหนัก สวนสูงตางกัน 4) ผูใหญมีนํ้าหนัก สวนสูง มากกวาเด็ก และมีความสามารถทางดานตางๆ มากกวาเด็ก 5) ได เพราะการเจ็บปวยบางอยางเกิดจากการมีพฤติกรรมที่ไมดี ซึ่งสามารถปรับปรุงแกไขได และการเจ็บปวยบางอยางเกิดจากเชื้อโรค หรือการผิดปกติของอวัยวะ ซึ่งสามารถรักษาใหหายเปนปกติได

คูมือครู

15


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.