8858649122445

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº »ÃСѹÏ

หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน

ทัศนศิลป ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒

กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ องอาจ มากสิน ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน

กระบวนการสอนแบบ 5 Es ชวยสรางทักษะการเรียนรู กิจกรรมมุงพัฒนาทักษะการคิด คำถาม + แนวขอสอบเพื่อยกผลสัมฤทธิ์ O - NET กิจกรรมบูรณาการเตรียมพรอมสู ASEAN 2558


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ

ทัศนศิลป ชั้นประถมศึกษาปที่

2

สําหรับครู

คูมือครู Version ใหม

ลักษณะเดน

ขยายพื้นที่รูปเลมใหญขึ้นกวาเดิม จัดแบงพื้นที่ออกเปนโซน เพื่อคนหาขอมูลไดงาย สะดวก รวดเร็ว และดูเปนระเบียบ กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

เปาหมายการเรียนรู สมรรถนะของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค

หน า

โซน 1 กระตุน ความสนใจ

Engage

สํารวจคนหา

Explore

อธิบายความรู

Explain

ขยายความเขาใจ

Expand

ตรวจสอบผล

หน า

หนั ง สื อ เรี ย น

โซน 1

หนั ง สื อ เรี ย น

Evaluate

ขอสอบเนน การคิด ขอสอบเนน การคิด แนว NT แนว O-NET

O-NET บูรณาการเชื่อมสาระ

เกร็ดแนะครู

ขอสอบ

โซน 2

โซน 3

กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย

นักเรียนควรรู

โซน 3

โซน 2 บูรณาการอาเซียน มุม IT

No.

คูมือครู

คูมือครู

No.

โซน 1 ขั้นตอนการสอนแบบ 5Es

โซน 2 ชวยครูเตรียมสอน

โซน 3 ชวยครูเตรียมนักเรียน

เพื่อใหครูเตรียมจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยแนะนําขั้นตอนการสอนและ การจัดกิจกรรมแบบ 5Es อยางละเอียด เพื่อใหนักเรียนบรรลุตามตัวชี้วัด

เพื่อชวยลดภาระครูผูสอน โดยแนะนํา เกร็ดความรูสําหรับครู ความรูเสริมสําหรับ นักเรียน รวมทั้งบูรณาการความรูสูอาเซียน และมุม IT

เพือ่ ใหครูสะดวกตอการจัดกิจกรรม โดยแนะนํา กิจกรรมบูรณาการเชื่อมระหวางกลุมสาระ วิชา กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย รวมถึงเนือ้ หา ที่เคยออกขอสอบ O-NET เก็งขอสอบ O-NET และแนวขอสอบเนนการคิด พรอมคําอธิบาย และเฉลยอยางละเอียด


ที่ใชในคูมือครู

แถบสีและสัญลักษณ

แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5Es เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

1. แถบสี 5Es สีแดง

สีเขียว

กระตุน ความสนใจ

เสร�ม

สํารวจคนหา

Engage

2

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุน ความสนใจ เพื่อโยง เขาสูบทเรียน

สีสม

อธิบายความรู

Explore

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนสํารวจ ปญหา และศึกษา ขอมูล

สีฟา

Explain

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนคนหา คําตอบ จนเกิดความรู เชิงประจักษ

สีมวง

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนนําความรู ไปคิดคนตอๆ ไป

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

2. สัญลักษณ สัญลักษณ

วัตถุประสงค

• เปาหมายการเรียนรู

O-NET

(เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ O-NET O-NET)

• ชีแ้ นะเนือ้ หาทีเ่ คยออกขอสอบ

O-NET โดยยกตัวอยางขอสอบ พรอมวิเคราะหคาํ ตอบ อยางละเอียด

• เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน

การคิดใหครูนาํ ไปใชไดจริง รวมถึงเปนการเก็งขอสอบ O-NET ทีจ่ ะออก มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

แสดงรองรอยหลักฐานตามภาระงาน ที่ครูมอบหมาย เพื่อแสดงผลการเรียนรู ตามตัวชี้วัด

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

แทรกความรูเสริมสําหรับครู ขอเสนอแนะ ขอควรระวัง ขอสังเกต แนวทางการจัด กิจกรรมและอืน่ ๆ เพื่อประโยชนในการ จัดการเรียนการสอน

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

ขยายความรูเพิ่มเติมจากเนื้อหา เพื่อใหครู นําไปใชอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียน ไดมีความรูมากขึ้น

บูรณาการเชื่อมสาระ

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม

ความรูห รือกิจกรรมเสริม ใหครูนาํ ไปใช เตรียมความพรอมใหกบั นักเรียนกอนเขาสู ประชาคมอาเซียน 2558 โดยบูรณาการ กับวิชาทีก่ าํ ลังเรียน

กิจกรรมสรางเสริม

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม

เกร็ดแนะครู

นักเรียนควรรู

บูรณาการอาเซียน

คูม อื ครู

ขอสอบ

วัตถุประสงค

• หลักฐานแสดงผล การเรียนรู

มุม IT

แสดงเปาหมายการเรียนรูที่นักเรียน ตองบรรลุตามตัวชี้วัด ตลอดจนสมรรถนะ ที่จะตองมี และคุณลักษณะที่พึงเกิดขึ้น กับนักเรียน

สัญลักษณ

แนะนําแหลงคนควาจากเว็บไซต เพื่อใหครู และนักเรียนไดเขาถึงขอมูลความรู ที่หลากหลาย ทั้งไทยและตางประเทศ

• แนวขอสอบ NT ในระดับ

ประถมศึกษา มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

(เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ NT)

กิจกรรมทาทาย

เชือ่ มกับกลุม สาระ ชัน้ หรือวิชาอืน่ ทีเ่ กีย่ วของ

ซอมเสริมสําหรับนักเรียน ทีย่ งั ไมเขาใจเนือ้ หา

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ตอยอดสําหรับนักเรียนทีเ่ รียนรู เนือ้ หาไดอยางรวดเร็ว และ ตองการทาทายความสามารถ ในระดับทีส่ งู ขึน้


คําแนะนําการใชคูมือครู การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน คูม อื ครู รายวิชา ทัศนศิลป ป.2 จัดทําขึน้ เพือ่ ใหครูผสู อนนําไปใชเปนแนวทางวางแผนการสอนเพือ่ พัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน และประกันคุณภาพผูเรียน ตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) โดยใช หนังสือเรียน ทัศนศิลป ป.2 ของบริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด เปนสื่อหลัก (Core Material) ประกอบการสอน และการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดกลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 โดยออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักการสําคัญ ดังนี้

เสร�ม

3

1 ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน คูมือครู รายวิชา ทัศนศิลป ป.2 วางแผนการสอนโดยแบงเปนหนวยการเรียนรูตามลําดับสาระ (Standard) และ หมายเลขขอของมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั แตละหนวยจะกําหนดเปาหมายการสอนและจุดประสงคการเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทางการประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชัดเจน ครูผูสอนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด สมรรถนะ และคุณลักษณะ อันพึงประสงคที่เปนเปาหมายการเรียนรูตามที่กําหนดไวในสาระแ นสาระแกนกลาง (ตามแผนภูมิ) และสามารถบันทึกผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของผูเรียนแตละคนลงในเอกสาร ปพ.5 ไดอยางมั่นใจ แผนภูมิแสดงองคประกอบของการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผผูเรียนเปนสําคัญ

พผ

ูเ

จุดปร

ะสง

ค ก

ส ภา

รียน

รู ีเรยน

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชั้นป

ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน

คูม อื ครู


2 การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ แนวคิ ด ในการจั ด การเรี ย นการสอนที่ ยึ ด ผู  เ รี ย นเป น สํ า คั ญ พั ฒ นามาจากปรั ช ญาและทฤษฎี ก ารเรี ย นรู  Constructivism ที่เชื่อวาการเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสรางความรู โดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดเรียนรูจากบทเรียนใหมกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา ผูเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีการสั่งสมความรูความเขาใจเกี่ยวกับสิ่งตางๆ ติดตัวมากอน ทีจ่ ะเขาสูห อ งเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากประสบการณและสิง่ แวดลอมรอบตัวผูเ รียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกิจกรรม เสร�ม การเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ผูสอนจะตองคํานึงถึง

4

1. ความรูเดิมของผูเรียน วิธีการสอนที่ดีจะตองเริ่มตนจากจุดที่วา ผูเ รียนมีความรูอ ะไรมาบาง แลวจึงใหความรู หรือประสบการณใหม เพื่อตอยอดจาก ความรูเดิม นําไปสูการสรางความรู ความเขาใจใหม

2. ความรูเดิมของผูเรียนถูกตองหรือไม ผูส อนตองปรับเปลีย่ นความรูค วามเขาใจเดิม ของผูเรียนใหถูกตอง และเปนพฤติกรรม การเรียนรูใ หมทมี่ คี ณุ คาตอผูเรียน เพื่อสราง เจตคติหรือทัศนคติที่ดีตอการเรียนรู สิ่งเหลานั้น

3. ผูเรียนสรางความหมายสําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมใหผูเรียนนําความรู ความเขาใจที่เกิดขึ้นไปลงมือปฏิบัติ เพื่อขยายความรูใหลึกซึ้งและมีคุณคา ตอตัวผูเรียนมากที่สุด

แนวคิด Constructivism เนนใหผูเรียนสรางความรูโดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูของตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศ

การเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณ ความรูใ หม เพือ่ กระตนุ ใหผเู รียนเชือ่ มโยงความรู ความคิด กับประสบการณทมี่ อี ยูเ ดิม แลวสังเคราะหเปนความรูห รือแนวคิดใหมๆ ไดดว ยตนเอง

3 การบูรณาการกระบวนการคิด การเรียนรูของผูเรียนแตละคนจะเกิดขึ้นที่สมอง ซึ่งเปนอวัยวะที่ทําหนาที่รูคิดภายใตสภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวย และไดรบั การกระตนุ จูงใจอยางเหมาะสม สอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของผูเ รียนแตละคน การจัดกิจกรรม การเรียนรูและสาระการเรียนรูที่สอดคลองกับความสนใจและมีความหมายตอผูเรียน จะชวยกระตุนใหสมองของผูเรียน สามารถรับรูและเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพตามขั้นตอนการทํางงานของสมอง ดังนี้ 1. สมองจะเรียนรูและสืบคน โดยการสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง ปฏิบัติ จนทําใหคนพบความรูความเขาใจ ไดอยางรวดเร็ว

2. สมองจะแยกแยะคุณคาของสิ่งตางๆ โดยการตัดสินใจวิพากษวิจารณ แสดง ความคิดเห็น ยอมรับหรือตอตานตาม อารมณความรูสึกที่เกิดขึ้นในขณะที่เรียนรู

3. สมองจะประมวลเนื้อหาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสานกับ ความรูห รือประสบการณเดิมทีถ่ กู จัดเก็บอยูใ น สมอง ผานการกลัน่ กรองเพือ่ สังเคราะหเปน ความรูค วามเขาใจใหมๆ หรือเปนทัศนคติใหม ที่จะเก็บบรรจุไวในสมองของผูเรียน

การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะเกิดขึ้น เมื่อสมองรูคิด และตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมองผูเรียน โดยเริ่มตนจาก 1. ระดับการคิดพื้นฐาน ไดแก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล การสรุปผล เปนตน

คูม อื ครู

2. ระดับลักษณะการคิด ไดแก การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดไกล คิดหลากหลาย คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล เปนตน

3. ระดับกระบวนการคิด ไดแก กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ กระบวนการแกปญหา กระบวนการ คิดสรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะหวิจัย เปนตน


5Es การจัดกิจกรรมตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ขั้นตอนการสอนที่สัมพันธกับขั้นตอนการคิดและการทํางานทางสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย คือ วัฏจักรการเรียนรู 5Es ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแตละหนวย ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1

กระตุนความสนใจ

(Engage)

เสร�ม

5

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนนําเขาสูบ ทเรียน เพือ่ กระตุน ความสนใจของผูเ รียนดวยเรือ่ งราวหรือเหตุการณทนี่ า สนใจโดยใชเทคนิควิธกี ารสอน และคําถามทบทวนความรูหรือประสบการณเดิมของผูเรียน เพื่อเชื่อมโยงผูเรียนเขาสูความรูของบทเรียนใหม ชวยใหผูเรียนสามารถ สรุปประเด็นสําคัญที่เปนหัวขอและสาระการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอนการสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอม และสรางแรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน

ขั้นที่ 2

สํารวจคนหา

(Explore)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนเปดโอกาสใหผเู รียนลงมือศึกษา สังเกต หรือรวมมือกันสํารวจ เพือ่ ใหเห็นขอบขายของปญหา รวมถึงวิธกี ารศึกษา คนควา การรวบรวมขอมูลความรูที่จะนําไปสูการสรางความเขาใจประเด็นปญหานั้นๆ เมื่อผูเรียนทําความเขาใจในประเด็นหัวขอที่จะ ศึกษาคนควาอยางถองแทแลว ก็ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธีการตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูตามที่ตั้งประเด็นศึกษาไว

ขั้นที่ 3

อธิบายความรู

(Explain)

เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา ตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนคนหาคําตอบ และนําขอมูล ความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห สรุปผล และนําเสนอผลที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ แผนผังแสดงมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน ในขั้นตอนนี้ฝกใหผูเรียนใชสมองคิดวิเคราะหและ สังเคราะหอยางเปนระบบ

ขั้นที่ 4

ขยายความเขาใจ

(Expand)

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใชเทคนิควิธีการสอนตางๆ ที่สงเสริมใหผูเรียนนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนสืบคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะ การเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน ผูเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยง กับประสบการณเดิมโดยนําขอสรุปทีไ่ ดไปใชอธิบายเหตุการณตา งๆ หรือนําไปปฏิบตั ใิ นสถานการณใหมๆ ทีเ่ กีย่ วของกับชีวติ ประจําวัน ของตนเอง เพื่อขยายความรูความเขาใจใหกวางขวางยิ่งขึ้น ในขั้นตอนนี้ฝกสมองของผูเรียนใหสามารถคิดริเริ่มสรางสรรคอยางมี คุณภาพ เสริมสรางวิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป

ขั้นที่ 5

ตรวจสอบผล

(Evaluate)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนประเมินมโนทัศนของผูเ รียน โดยตรวจสอบจากความคิดทีเ่ ปลีย่ นไปและความคิดรวบยอดทีเ่ กิดขึน้ ใหม ตรวจสอบ ทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด และการเคารพความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพื่อการ สรางสรรคความรูร ว มกัน ผูเ รียนสามารถประเมินผลการเรียนรูข องตนเอง เพือ่ สรุปผลวามีความรูอ ะไรเพิม่ ขึน้ มาบาง เกิดความเขาใจ มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ ไดอยางไร ผูเรียนจะเกิดเจตคติและเห็นคุณคาของ ตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง

การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามขั้นตอนวัฏจักรการสรางความรูแบบ 5Es จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนน ผูเ รียนเปนสําคัญอยางแทจริง เพราะสงเสริมใหผเู รียนไดลงมือปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนของกระบวนการสรางความรูด ว ยตนเอง และฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและกระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะชีวิต ทักษะการทํางานและทักษะการ เรียนรูที่มีประสิทธิภาพ สงผลตอการยกระดับผลสัมฤทธิ์ของผูเรียน ตามเปาหมายของการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คูม อื ครู


O-NET การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ O-NET

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ในแตละหนวยการเรียนรู ทางผูจัดทํา จะเสนอแนะวิธีสอนรูปแบบกิจกรรมการเรียนรู พรอมทั้งออกแบบเครื่องมือวัดผลประเมินผลที่สอดคลองกับตัวชี้วัด และสาระการเรียนรูแกนกลางไวทุกขั้นตอน โดยยึดหลักสําคัญ คือ เปาหมายของการวัดผลประเมินผล เสร�ม

6

1. การวัดผลทุกครั้งตองนําผล การวัดมาปรับปรุงพัฒนาผูเรียน เปนรายบุคคล

2. การประเมินผลมีเปาหมาย เพื่อพัฒนาการเรียนรูของผูเรียน จนเต็มศักยภาพ

3. การนําผลการวัดและประเมิน ทุกครั้งมาวางแผนปรับปรุงกิจกรรม การเรียนการสอน การเลือกเทคนิค วิธีการสอน และสื่อการเรียนรูให เหมาะสมกับสภาพจริงของผูเรียน

การทดสอบผูเรียน 1. การใชขอสอบอัตนัย เนนการอาน การคิดวิเคราะห และเขียนสรุปเพิ่มมากขึ้น 2. การใชคําถามกระตุนการคิด ควบคูกับการทําขอสอบที่เนนการคิดตลอดตอเนื่องตามลําดับกิจกรรมการเรียนรูและ ตัวชี้วัด 3. การทดสอบตองดําเนินการทั้งกอนเรียน ระหวางเรียน และเมื่อสิ้นสุดการเรียน การทดสอบระหวางเรียน ต อ งใช ข  อ สอบทั้ ง ชนิ ด ปรนั ย และอั ต นั ย และเป น การทดสอบเพื่ อ วิ นิ จ ฉั ย ผลการเรี ย นของผู  เ รี ย นแต ล ะคน เพื่อวัดการสอนซอมเสริมใหบรรลุตัวชี้วัดทุกตัว 4. การสอบกลางภาค (ถามี) ควรนําขอสอบหรือแบบฝกหัดที่นักเรียนสวนใหญทําผิดบอยๆ มาสรางเปนแบบทดสอบ อีกครัง้ เพือ่ ตรวจสอบความรูค วามเขาใจทีถ่ กู ตอง และประเมินความกาวหนาของผูเรียนแตละคน 5. การสอบปลายภาคเรียนเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามตัวชี้วัดที่สําคัญ ควรออกขอสอบใหมีลักษณะเดียวกับ ขอสอบ O-NET โดยเนนการคิดวิเคราะห สังเคราะห เชื่อมโยงประยุกตใช เพื่อสรางความคุนเคย และฝกฝน วิธีการทําขอสอบดวยความมั่นใจ 6. การนําผลการทดสอบของผูเรียนมาวิเคราะห โดยผลการสอบกอนการเรียนตองสามารถพยากรณผลการสอบ กลางภาค และผลการสอบกลางภาคตองทํานายผลการสอบปลายภาคของผูเ รียนแตละคน เพือ่ ประเมินพัฒนาการ ความกาวหนาของผูเรียนเปนรายบุคคล 7. ผลการทดสอบปลายป ปลายภาค ตองมีคาเฉลี่ยสอดคลองกับคาเฉลี่ยของการสอบ NT ที่เขตพื้นที่การศึกษา จัดสอบ รวมทั้งคาเฉลี่ยของการสอบ O-NET ชวงชั้นที่สอดคลองครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดสําคัญ เพือ่ สะทอนประสิทธิภาพของครูผสู อนในการออกแบบการเรียนรูแ ละประกันคุณภาพผูเ รียนทีต่ รวจสอบผลไดชดั เจน การจัดการเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ตองใหผูเรียนไดสั่งสมความรู สะสมความเขาใจไปทีละเล็ก ละนอยตามลําดับขัน้ ตอนของกิจกรรมการเรียนรู 5Es เพือ่ ใหผเู รียนไดเติมเต็มองคความรูอ ยางตอเนือ่ ง จนสามารถปฏิบตั ิ ชิ้นงานหรือภาระงานรวบยอดของแตละหนวยผานเกณฑประกันคุณภาพในระดับที่นาพึงพอใจ เพื่อรองรับการประเมิน ภายนอกจาก สมศ. ตลอดเวลา คูม อื ครู


ASEAN การเรียนรูสูประชาคมอาเซียน เพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรูบูรณาการอาเซียนศึกษา ผูจัดทําไดวิเคราะห มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดที่มีสาระการเรียนรูสอดคลองกับองคความรูเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนในแงมุมตางๆ ครอบคลุมทัง้ ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน เพื่อสงเสริมการเรียนรูใหผูเรียนเกิดความตระหนัก มีความรูความเขาใจเหมาะสมกับระดับชั้นและกลุมสาระ การเรียนรู โดยเสนอแนะวิธีการจัดกิจกรรมบูรณาการเนื้อหาสาระตางๆ ที่เปนประโยชนตอผูเรียนและเปนการชวย เตรียมความพรอมผูเ รียนทุกคนทีจ่ ะกาวเขาสูก ารเปนสมาชิกของประชาคมอาเซียนไดอยางมัน่ ใจตามขอตกลงปฏิญญา เสร�ม ชะอํา-หัวหิน วาดวยความรวมมือดานการศึกษาเพือ่ บรรลุเปาหมายประชาคมอาเซียนทีเ่ อือ้ อาทรและแบงปน จึงกําหนด 7 เปนนโยบายใหกระทรวงศึกษาธิการจัดการเรียนรูเตรียมความพรอมผูเรียนเขาสูประชาคมอาเซียนภายในป พ.ศ. 2558 ตามแนวปฏิบัติที่สําคัญ ดังนี้

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน 1. การสรางความรูความเขาใจ และตระหนักถึงความสําคัญของ กฎบัตรอาเซียน และความรวมมือ ของ 3 เสาหลัก ซึง่ กฎบัตรอาเซียน ในขณะนี้มีสถานะเปนกฎหมายที่ ประเทศสมาชิกจะตองปฏิบัติตาม หลักการที่กําหนดไวเพื่อใหบรรลุ เปาหมายของกฎบัตรมาตราตางๆ

2. การสงเสริมหลักการ ประชาธิปไตยและการสราง สิ่งแวดลอมประชาธิปไตย เพื่อการอยูรวมกันอยางกลมกลืน ภายใตวิถีชีวิตอาเซียนที่มีความ หลากหลายดานสังคมและ วัฒนธรรม

4. การตระหนักในคุณคาของ สายสัมพันธทางประวัติศาสตร และมรดกทางวัฒนธรรมที่มี พัฒนาการรวมกัน เพื่อเชื่อม อัตลักษณและสรางจิตสํานึก ในการเปนประชากรของประชาคม อาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการศึกษาดาน สิทธิมนุษยชน เพื่อสรางประชาคม อาเซียนใหเปนประชาคมเพื่อ ประชาชนอยางแทจริง สามารถ อยูรวมกันไดบนพื้นฐานการเคารพ ในคุณคาของศักดิ์ศรีแหงความ เปนมนุษยเทาเทียมกัน

5. การสงเสริมสันติภาพ ความ มั่นคง และความปรองดองในสังคม ทั้งระดับประเทศและภูมิภาคของ อาเซียนบนพื้นฐานสันติวิธีและการ อยูรวมกันดวยขันติธรรม

คูม อื ครู


การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

เสร�ม

8

1. การพัฒนาทักษะการทํางาน เพื่อเสริมสรางผูเรียนใหมีทักษะ วิชาชีพที่จําเปนสอดคลองกับ ความตองการของตลาดแรงงาน และสถานประกอบการในอาเซียน สามารถเทียบโอนผลการเรียน และการทํางานตามมาตรฐานฝมือ แรงงานในภูมิภาคอาเซียน

2. การเสริมสรางวินัย ความรับผิดชอบ และเจตคติรักการทํางาน สามารถพึ่งพาตนเอง มีทักษะชีวิต ดํารงชีวิตอยางมีความสุข เห็นคุณคา และภูมิใจในตนเอง ในฐานะที่เปนพลเมืองไทยและ อาเซียน

3. การเรียนรูเพื่อพัฒนาตนเอง อยางตอเนื่องตลอดชีวิต ใหมี ทักษะการทํางานตามมาตรฐาน อาชีพ และคุณวุฒิของวิชาชีพสาขา ตางๆ เพื่อรองรับการเตรียมเคลื่อน ยายแรงงานมีฝมือและการเปน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่ เขมแข็ง เพื่อสรางขีดความสามารถ ในการแขงขันในเวทีโลก

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 1. การเสริมสรางความรวมมือ ในลักษณะสังคมที่เอื้ออาทร ของประชากรอาเซียน โดยยึด หลักการสําคัญ คือ ความงดงาม ของประชาคมอาเซียนมาจาก ความแตกตางและหลากหลายทาง วัฒนธรรมที่ลวนแตมีคุณคาตอ มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน ซึ่งประชาชนทุกคนตองอนุรักษ สืบสานใหยั่งยืน

2. การเสริมสรางคุณลักษณะ ของผูเรียนใหเปนพลเมืองอาเซียน ที่มีศักยภาพในการกาวเขาสู ประชาคมอาเซียนอยางมั่นใจ เปนผูที่มีสุขภาพสมบูรณแข็งแรง มีทักษะการสื่อสาร ทักษะการ ทํางาน ทักษะทางสังคม สามารถ ทํางานรวมกับผูอื่นไดอยาง สรางสรรค และมีองคความรู เกี่ยวกับอาเซียนที่จําเปนตอการ ดํารงชีวิตอยางมีคุณภาพ

4. การสงเสริมการเรียนรูดาน ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี วิถชี วี ติ ความเปนอยูข องเพือ่ นบาน ในอาเซียน เพื่อสรางจิตสํานึกของ ความเปนประชาคมอาเซียนและ ตระหนักถึงหนาที่ของการเปน พลเมืองอาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการเรียนรูภาษา อังกฤษเพื่อการสื่อสารและการ ทํางานตามมาตรฐานอาชีพที่ กําหนดและสนับสนุนการเรียนรู ภาษาอาเซียนและภาษาเพื่อนบาน เพื่อชวยเสริมสรางสัมพันธภาพทาง สังคม และการอยูรวมกันอยางสันติ ทามกลางความหลากหลายทาง วัฒนธรรม

5. การสรางความรูและความ ตระหนักเกี่ยวกับดานสิ่งแวดลอม ปญหาและผลกระทบตอคุณภาพ ชีวิตของประชากรในภูมิภาค รวมทั้งแนวทางการพัฒนาอยาง ยั่งยืน ใหเปนมรดกสืบทอดแก พลเมืองอาเซียนในรุนหลังตอๆ ไป

กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศนโยบายการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) เพื่อเรงพัฒนาเด็ก และเยาวชนไทยใหเปนทรัพยากรมนุษยของชาติที่มีทักษะและความชํานาญ พรอมเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงและ การแขงขันทั้งในภูมิภาคอาเซียนและภูมิภาคอื่นๆ ของสังคมโลก ทั้งนี้ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และผูปกครอง ควรรวมมือกันอยางใกลชิดในการดูแลชวยเหลือผูเรียนและจัดประสบการณการเรียนรูเพื่อพัฒนาผูเรียนจนเต็มศักยภาพ เพื่อกาวเขาสูการเปนพลเมืองอาเซียนอยางมีเกียรติภูมิและศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของตน คณะผูจัดทํา คูม อื ครู


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 1

ทัศนศิลป (เฉพาะชั้น ป.2)*

ทัศนศิลป

มาตรฐาน ศ 1.1 สรางสรรคงานทัศนศิลปตามจินตนาการ และความคิดสรางสรรค วิเคราะห วิพากษ วิจารณ คุณคา ของงานทัศนศิลป ถายทอดความรูสึก ความคิดตองานศิลปะอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใชในชีวิต ประจําวัน ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• รูปราง รูปทรง ในธรรมชาติและสิง่ แวดลอม • หนวยการเรียนรูท ี่ 1 เชน รูปกลม รี สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม และ ศิลปะขัน้ พืน้ ฐาน บทที่ 1 รูปราง รูปทรงในธรรมชาติ กระบอก และสิ่งแวดลอม • หนวยการเรียนรูท ี่ 1 2. ระบุทศั นธาตุทอี่ ยูในสิง่ แวดลอม • เสน สี รูปราง รูปทรง ในสิ่งแวดลอม ศิลปะขัน้ พืน้ ฐาน และงานทัศนศิลป โดยเนนเรื่อง และงานทัศนศิลปประเภทตางๆ เชน บทที่ 2 ทัศนธาตุในงานทัศนศิลป งานวาด งานปน และงานพิมพภาพ เสน สี รูปราง และรูปทรง • เสน รูปราง ในงานทัศนศิลปประเภทตางๆ • หนวยการเรียนรูท ี่ 1 3. สรางงานทัศนศิลปตางๆ เชน งานวาด งานปน และงานพิมพภาพ ศิลปะขัน้ พืน้ ฐาน โดยใชทัศนธาตุที่เนนเสน บทที่ 2 ทัศนธาตุในงานทัศนศิลป รูปราง 4. มีทักษะพื้นฐานในการใชวัสดุ • การใชวัสดุ อุปกรณ สรางงานทัศนศิลป • หนวยการเรียนรูท ี่ 2 3 มิติ ศิลปะขัน้ พืน้ ฐาน อุปกรณ สรางงานทัศนศิลป บทที่ 3 งานโครงสรางเคลื่อนไหว 3 มิติ 5. สรางภาพปะติด โดยการตัด • ภาพปะติดจากกระดาษ • หนวยการเรียนรูท ี่ 2 หรือฉีกกระดาษ ศิลปะพาเพลิน บทที่ 2 งานศิลปะภาพปะติด จากกระดาษ • การวาดภาพเพื่อถายทอดเรื่องราว • หนวยการเรียนรูท ี่ 2 6. วาดภาพเพื่อถายทอด ศิลปะพาเพลิน เรื่องราวเกี่ยวกับครอบครัว บทที่ 1 ภาพวาดจากประสบการณ ของตนเอง และเพื่อนบาน • เนื้อหาเรื่องราวในงานทัศนศิลป • หนวยการเรียนรูท ี่ 2 7. เลือกงานทัศนศิลป และ ศิลปะพาเพลิน บรรยายถึงสิ่งที่มองเห็น บทที่ 1 ภาพวาดจากประสบการณ รวมถึงเนื้อหาเรื่องราว • งานโครงสรางเคลื่อนไหว • หนวยการเรียนรูท ี่ 2 8. สรางสรรคงานทัศนศิลป ศิลปะพาเพลิน เปนรูปแบบงานโครงสราง บทที่ 3 งานโครงสรางเคลื่อนไหว เคลื่อนไหว

ป.1 1. บรรยายรูปราง รูปทรงที่พบ ในธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

เสร�ม

9

มาตรฐาน ศ 1.2 เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคางานทัศนศิลปที่เปน มรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทยและสากล ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

• ความสําคัญของงานทัศนศิลป ป.1 1. บอกความสําคัญของ ในชีวิตประจําวัน งานทัศนศิลปที่พบเห็น ในชีวิตประจําวัน 2. อภิปรายเกี่ยวกับงานทัศนศิลป • งานทัศนศิลปในทองถิ่น ประเภทตางๆ ในทองถิน่ โดยเนน ถึงวิธีการสรางงาน และวัสดุ อุปกรณที่ใช

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน • หนวยการเรียนรูท ี่ 3 ศิลปะกับชุมชน บทที่ 1 งานศิลปะในชีวิตประจําวัน • หนวยการเรียนรูท ี่ 3 ศิลปะกับชุมชน บทที่ 1 งานศิลปะในชีวิตประจําวัน

_________________________________ * สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. สาระการเรียนรูแ กนกลาง กลุม สาระการเรียนรู ศิลปะ. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 9, 19 คูม อื ครู


คําอธิบายรายวิชา รายวิชา ทัศนศิลป ชั้นประถมศึกษาปที่ 2 รหัสวิชา ศ…………………………………

เสร�ม

10

กลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ ภาคเรียนที่ 1-2 เวลา 30 ชั่วโมง/ป

บรรยายรูปราง รูปทรง ที่พบในธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ระบุทัศนธาตุที่อยูในสิ่งแวดลอมและ งานทัศนศิลป โดยเนนเรื่อง เสน สี รูปราง และรูปทรง และสรางงานทัศนศิลปตางๆ โดยใชทัศนธาตุที่เนน เสน รูปราง มีทักษะพื้นฐานในการใชวัสดุ อุปกรณ สรางงานทัศนศิลป 3 มิติ สรางภาพปะติดโดยการตัด หรือฉีกกระดาษ วาดภาพเพื่อถายทอดเรื่องราวเกี่ยวกับครอบครัวของตนเอง และเพื่อนบาน โดยเลือก งานทัศนศิลป และบรรยายถึงสิ่งที่มองเห็น รวมถึงเนื้อหา เรื่องราว สรางสรรคงานทัศนศิลป เปนรูปแบบงาน โครงสรางเคลื่อนไหว อภิปรายความสําคัญของงานทัศนศิลปที่พบเห็นในชีวิตประจําวัน และงานทัศนศิลป ประเภทตางๆ ในทองถิ่น โดยเนนการสรางงาน และวัสดุ อุปกรณที่ใช โดยใชทักษะกระบวนการทางทัศนศิลป ในการสรางและนําเสนอผลงานทัศนศิลป การเลือกใชวัสดุ อุปกรณที่เหมาะสม การวิเคราะห การวิพากษวิจารณคุณคางานทัศนศ นศิลป เพื่อใหเห็นคุณคางานทัศนศิลป เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม นําความรูไปประยุกตใชในชีวิตประจําวันใหเกิดประโยชน มีจริยธรรม ธ คุณธรรม และคานิยมที่เหมาะสม ตัวชี้วัด ศ 1.1 ศ 1.2

ป.2/1 ป.2/1

ป.2/2 ป.2/2

ป.2/3

ป.2/4

ป.2/5

รวม 10 ตัวชี้วัด

คูม อื ครู

ป.2/6

ป.2/7

ป.2/8


จุดเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน* การขับเคลื่อนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 และการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษ ที่สอง (พ.ศ. 2552-2561) ใหประสบผลสําเร็จตามจุดเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน โดยใหทุกภาคสวน รวมกันดําเนินการ กระทรวงศึกษาธิการไดกําหนดจุดเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน ดังนี้ เสร�ม

ทักษะ ความสามารถ

คุณลักษณะ จุดเนนตามชวงวัย

ม. 4-6

แสวงหาความรู เพื่อแกปญหา ใชเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู ใชภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) มีทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

ม. 1-3

แสวงหาความรูดวยตนเอง ใชเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู มีทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

• อยูอยางพอเพียง

ป. 4-6

อานคลอง เขียนคลอง คิดเลขคลอง ทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

• ใฝเรียนรู

ป. 1-3

อานออก เขียนได คิดเลขเปน มีทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

• ใฝดี

• มุงมั่นในการศึกษา และการทํางาน

11

คุณลักษณะตามหลักสูตร

• รักชาติ ศาสน กษัตริย • ซื่อสัตยสุจริต • มีวินัย • ใฝเรียนรู • อยูอยางพอเพียง • มุงมั่นในการทํางาน • รักความเปนไทย • มีจิตสาธารณะ

* สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. แนวทางการนําจุดเนนการพัฒนาผูเรียน สูการปฏิบัติ. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2553), หนา 3-10.

คูม อื ครู


คําอธิบายจุดเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน ทักษะการคิด ม.4-6

เสร�ม

12

ทักษะการคิดขั้นสูง

ม.3 ม.2

ทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน

ม.1 ป.6 ป.5 ป.4 ป.3 ป.2 ป.1

คูม อื ครู

ทักษะการคิดแกปญหาอยางสรางสรรค ทักษะกระบวนการคิดอยางมีวจิ ารณญาณ ทักษะกระบวนการคิดสรางสรรค ทักษะการสังเคราะห ทักษะการประยุกตใชความรู ทักษะการวิเคราะห ทักษะการประเมิน ทักษะการสรุป ลงความเห็น ทักษะการสรุปอางอิง ทักษะการนําความรูไปใช

ทักษะการแปลความ ทักษะการตีความ ทักษะการตั้งคําถาม ทักษะการใหเหตุผล ทักษะการรวบรวมขอมูล ทักษะการเชื่อมโยง ทักษะการเปรียบเทียบ ทักษะการจําแนกประเภท ทักษะการสังเกต ทักษะการจัดกลุม


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุEngage นความสนใจ

สํารวจค Exploreนหา

อธิบExplain ายความรู

Expand าใจ ขยายความเข

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹

·ÑȹÈÔÅ»Š ».ò ªÑé¹»ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè ò

¡ÅØ‹ÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ÈÔŻРµÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ

¼ÙŒàÃÕºàÃÕ§ ¹ÒÂͧÍÒ¨ ÁÒ¡ÊÔ¹ ¼ÙŒµÃǨ

¹ÒÂʶԵ ǧÉÒÇ´Õ ¹Ò§ÊÒdzÃÔÈÃÒ ¾Ä¡ÉÐÇѹ ¹Ò»ÃÐÊÔ·¸Ôì àÍÁ·ÔÁ

ºÃóҸԡÒà ¹ÒÂÇÔÊٵà ⾸Ôìà§Ô¹

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè ø

ʧǹÅÔ¢ÊÔ·¸ÔìµÒÁ¾ÃÐÃÒªºÑ- - ÑµÔ ISBN : 978-616-203-153-3 ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ ñòñõðòô

¤Œ¹¤ÇÒÁÃÙŒ¢ÂÒ¤ÇÒÁ¤Ô´¨Ò¡ ¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè ñ ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ ñòôõðóù

EB GUIDE

ที่พิมพกํากับหัวขอสําคัญในหนังสือเรียนหลักสูตรใหม ชั้น ป.๔ ขึ้นไป ผาน www.aksorn.com ไปยังแหลงความรูทั่วไทย-ทั่วโลก

( ดูแผนผังความคิดฯ ไดทปี่ กหลังดานใน)

Evaluate ตรวจสอบผล


กระตุน้ ความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุEngage ้นความสนใจ

Exploreนหา ส�ารวจค้

อธิบExplain ายความรู้

Expand าใจ ขยายความเข้

Evaluate ตรวจสอบผล

คํานํา ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ·ÑȹÈÔÅ»Š ».ò àÅ‹Á¹Õé ¨Ñ´·íÒ¢Öé¹ÊíÒËÃѺ㪌»ÃСͺ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ ªÑé¹»ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè ò â´Â´íÒà¹Ô¹¡ÒèѴ·íÒãËŒÊÍ´¤ÅŒÍ§µÒÁ¡Ãͺ¢Í§ËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§ ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñ¹é ¾×¹é °Ò¹ ¾.È. òõõñ ·Ø¡»ÃСÒà ʋ§àÊÃÔÁãËŒ¼àŒÙ ÃÕ¹ÁÕ¤ÇÒÁ¤Ô´ÊÌҧÊÃä ÁÕ¨¹Ô µ¹Ò¡Òà ·Ò§ÈÔŻР«Ö§è ¨Ðª‹Ç¾Ѳ¹Ò¼ÙàŒ ÃÕ¹·Ñ§é ´ŒÒ¹Ã‹Ò§¡Ò ¨Ôµã¨ ÊµÔ»Þ ˜ ÞÒ ÍÒÃÁ³ Êѧ¤Á ¹Í¡¨Ò¡¹Õé Âѧª‹ÇÂãËŒ¼àŒÙ ÃÕ¹à¡Ô´¤ÇÒÁÃÙàŒ ¢ŒÒ㨠ÁÕ·¡Ñ ÉÐÇÔ¸¡Õ Ò÷ҧÈÔŻРáÅÐà¡Ô´¤ÇÒÁ«Òº«Ö§é 㹤س¤‹Ò¢Í§ §Ò¹ÈÔÅ»Ðᢹ§µ‹Ò§æ ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ·ÑȹÈÔÅ»Š ».ò àÅ‹Á¹Õé ÁÕ ó ˹‹Ç ã¹áµ‹ÅÐ˹‹ÇÂẋ§à»š¹º·Â‹ÍÂæ «Ö觻ÃСͺ´ŒÇ ñ. ໇ÒËÁÒ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙ»Œ ÃШíÒ˹‹Ç ¡íÒ˹´ÃдѺ¤ÇÒÁÃÙŒ ¤ÇÒÁÊÒÁÒö¢Í§¼ÙàŒ ÃÕ¹ Ç‹ÒàÁ×èÍàÃÕ¹¨ºã¹áµ‹ÅÐ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ µŒÍ§ºÃÃÅØÁҵðҹµÑǪÕéÇÑ´·Õè¡íÒ˹´äÇŒã¹ËÅÑ¡Êٵà ¢ŒÍã´ºŒÒ§ ò. ÊÒÃÐÊíÒ¤ÑÞ á¡‹¹¤ÇÒÁÃÙŒ·Õè໚¹¤ÇÒÁÃÙŒ¤ÇÒÁࢌÒ㨤§·¹µÔ´µÑǼٌàÃÕ¹ ó. à¹×Íé ËÒ ¤ÃºµÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñ¹é ¾×¹é °Ò¹ ¾.È. òõõñ ¹íÒàʹÍàËÁÒÐÊÁ ¡Ñº¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ã¹áµ‹ÅÐÃдѺªÑé¹ ô. ¡Ô¨¡ÃÃÁ ÁÕËÅÒ¡ËÅÒÂÃٻẺãËŒ¹Ñ¡àÃÕ¹»¯ÔºÑµÔ ẋ§à»š¹ (ñ) ¡Ô¨¡ÃÃÁ¹íÒÊ‹Ù¡ÒÃàÃÕ¹ ¹íÒࢌÒÊ‹Ùº·àÃÕ¹à¾×èÍ¡Ãе،¹¤ÇÒÁʹã¨á¡‹¼ÙŒàÃÕ¹ (ò) ¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ÁͺËÁÒÂãËŒ¼ÙŒàÃÕ¹½ƒ¡»¯ÔºÑµÔà¾×è;Ѳ¹Ò¤ÇÒÁÃÙŒáÅзѡÉÐ »ÃШíÒ˹‹Ç ¤³Ð¼ÙŒ¨Ñ´·íÒ¨Ö§ËÇѧ໚¹Í‹ҧÂÔè§Ç‹Ò ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ·ÑȹÈÔÅ»Š ».ò àÅ‹Á¹Õé ¨Ð໚¹Ê×èÍ ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹·ÕèÍíҹǻÃÐ⪹ µ‹Í¡ÒÃàÃÕ¹·ÑȹÈÔÅ»Š à¾×èÍãËŒÊÑÁÄ·¸Ô¼ÅµÒÁÁҵðҹ µÑǪÕéÇÑ´·Õè¡íÒ˹´äÇŒã¹ËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾.È. òõõñ ·Ø¡»ÃСÒà ¤³Ð¼ÙŒ¨Ñ´·íÒ


กระตุน้ ความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุEngage ้นความสนใจ

ส�ารวจค้ Exploreนหา

อธิบExplain ายความรู้

Expand าใจ ขยายความเข้

Evaluate ตรวจสอบผล

คําชี้แจงในการใชสื่อ ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ·ÑȹÈÔÅ»Š ».ò àÅ‹Á¹Õé ÀÒÂã¹àÅ‹Á¹íÒàʹ͡ÒèѴ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹໚¹ ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ¤Ãº¶ŒÇ¹µÒÁÁҵðҹµÑǪÕéÇÑ´ªÑé¹»‚ áÅÐÊÒÃСÒÃàÃÕ¹Ãٌ᡹¡ÅÒ§ â´Â์¹ ¡ÒÃÍ͡Ẻ¡Ô¨¡ÃÃÁãËŒÊÑÁ¾Ñ¹¸ ¡Ñº¸ÃÃÁªÒµÔ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ¢Í§áµ‹ÅСÅØ‹ÁÊÒÃÐ áÅФÇÒÁʹ㨠¢Í§¼ÙŒàÃÕ¹ᵋÅФ¹

เปาหมายการเรียนรู

สาระสําคัญ

กําหนดระดับความรูความสามารถ ของผูเรียนเมื่อเรียนจบหนวย

แกนความรูที่เปนความเขาใจคงทน ติดตัวผูเรียน

ñ ศิลปะขั้นพื้นฐาน ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

เปาหมายการเรียนรูประจําหนวยที่ ๑

º··Õè

รูปราง รูปทรง

ในธรรมชาติและสิง่ แวดลอม

เมื่อเรียนจบหนวยนี้ ผูเรียนจะมีความรูความสามารถตอไปนี้ ๑. บรรยายรูปราง รูปทรงที่พบในธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (มฐ. ศ ๑.๑ ป.๒/๑) ๒. ระบุทัศนธาตุที่อยู ในสิ่งแวดลอมและงานทัศนศิลป โดย เนนเรื่องเสน สี รูปราง และรูปทรง (มฐ. ศ ๑.๑ ป.๒/๒) ๓. สรางงานทัศนศิลปตางๆ โดยใชทัศนธาตุที่เนนเสน รูปราง (มฐ. ศ ๑.๑ ป.๒/๓)

ñ

สาระสําคัญ สิ่งที่อยูในธรรมชาติและสิ่งแวดลอม อาจมีรูปรางและ รูปทรง ที่เหมือนหรือแตกตางกันไปขึ้นอยูกับลักษณะ และประเภทของสิ่งนั้นๆ

¡Ô¨¡ÃÃÁ¹ÒÊÙ ¨¡ÃÃÁ¹ÒÊÙ‹¡ÒÃàÃÕ¹

? ÀÒ¾·ÕèàËç¹¹Õé ÀÒ¾ã´à»š¹ÃٻËҧ áÅÐÀҾ㴠໚¹ÃÙ»·Ã§ Êѧࡵ䴌¨Ò¡ÊÔè§ã´

ภาพหนาหนวยการเรียนรู เปนภาพประกอบขนาดใหญ ชวยกระตุนความสนใจของผูเรียน

¡Ô¨¡ÃÃÁ¹ÓÊÙ‹¡ÒÃàÃÕ¹ นําเขาสูบทเรียนใชกระตุนความสนใจ และวัดประเมินผลกอนเรียน 


กระตุน้ ความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุEngage ้นความสนใจ

Exploreนหา ส�ารวจค้

อธิบExplain ายความรู้

Expand าใจ ขยายความเข้

Evaluate ตรวจสอบผล

¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ

เนือ้ หา ครบตามหลักสูตรแกนกลางฯ พ.ศ. ๒๕๕๑ นําเสนอ เหมาะสมกับการเรียนการสอนในแตละระดับชั้น

มอบหมายนักเรียนฝกปฏิบัติ เพื่อพัฒนาความรูและทักษะประจําหนวย ¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ

๓) งานโครงสราง สรางสรรคจากเศษวัสดุที่หลากหลาย โดยการนํา มาประกอบเขาดวยกันจนเกิดเปนรูปทรงขึ้น ซึ่งมีทั้งงานโครงสรางที่ไมมีการ เคลื่อนไหว และงานโครงสรางที่เคลื่อนไหวได อุปกรณที่นํามาสรางผลงาน สวนใหญเปนเศษวัสดุ เชน กลอง กระดาษแบบตางๆ กาว คัตเตอร กรรไกร เปนตน ตัวอยาง

๑. รูปรางและรูปทรงตอไปนี้ มีลักษณะเหมือนกับสิ่งตางๆ ที่พบเห็นในชีวิตประจําวัน อะไรบาง และสิ่งตางๆ ที่พบเห็นมีความเหมือนหรือแตกตางกันอยางไร

งานโครงสราง

๒. วาดภาพสิ่งของเครื่องใชภายในบาน ที่มีลักษณะเปนรูปรางมา ๑ อยาง และรูปทรง ๑ อยาง ลงในสมุด พรอมทั้งระบายสีใหสวยงาม ๓. ยกตัวอยางสิ่งที่มนุษยสรางขึ้น และสิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ที่มีรูปราง รูปทรง เหมือนกันใหไดมากที่สุด ลงในสมุด ¢ÂÒ¤ÇÒÁÃÙŒ ÊÙ¡¡ÒÃ¤Ô ‹ ÒäԴ

 ʹ·¹ÒÀÒÉÒÈÔÅ»Š ในงานปน นอกจากจะใชดนิ เหนียว และดินนํา้ มันแลว ยังมีวสั ดุใดอีกบางที่ สามารถนํามาสรางผลงานไดอกี

ความแตกตางระหวางรูปรางและรูปทรง ที่ปรากฏใหเห็นไดอยางชัดเจนคืออะไร และในบริเวณหองเรียนมีรูปราง รูปทรงอะไรบาง

๓๔

â¤Ã§§Ò¹................๗

¢ÂÒ¤ÇÒÁÃÙŒ ÊÙ¡ÒÃ¤Ô ¡‹ ÒäԴ

ภาพประกอบเนือ้ หา

ÈÔÅ»Ð

â¤Ã§§Ò¹ : ¢Í§ãªŒ¨Ò¡àÈÉÇÑÊ´Ø

คําถามกระตุ นเพื่อใหผูเรียน ใชทักษะ : ประเภทพัฒนาหรือประดิษฐ : ๑ - ๒ สัปดาห การคิด วิเคราะห ตอยอดความรูที่ไดในบทเรียน วิธีทํา ประเภทของโครงงาน ระยะเวลาในการทําโครงงาน

เปนภาพประกอบ ๔ สี แทรกอยูตลอดเลม ชวยเสริมสรางความเขาใจ

๑. สํารวจเศษวัสดุที่สามารถนํามาทําเปนของใชได จากนั้นรวบรวมและคัดแยกออกเปน ประเภทตางๆ ๒. คิดและออกแบบของใชทจี่ ะประดิษฐจากเศษวัสดุทรี่ วบรวมมาได โดยคํานึงถึงประโยชน ใชสอย ๓. สรางสรรคผลงานของใชจากเศษวัสดุ พรอมกับตกแตงใหสวยงามและนาใช ๔. นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน แลวบันทึกขอมูล

¨¡ÃÃÁ.............. ºÙáԳҡÒÃàÈÃÉ°¡Ô ¨¾Íà¾Õ§

ÊÒÃÐÊÒ¤ÑÞ ¨´¨ÒäÇŒ

หมายเหตุ : โครงงานที่กําหนดขึ้นนี้ เปนเพียงโครงงานเสนอแนะเทานั้น นักเรียนอาจคิดหัวขอโครงงานตามที่ตนสนใจขึ้นเองก็ได

เพื่อสรุปสาระสําคัญประจําหนวยที่ควร จดจําและเปนประโยชนตอผูเรียน

¡Ô¨¡ÃÃÁ.............. ºÙóҡÒÃàÈÃÉ°¡Ô óҡÒÃàÈÃÉ°¡Ô¨¾Íà¾Õ§

ÊÒÃÐÊÒ¤ÑÞ ¨´¨ÒäÇŒ

กิจกรรม : ถุงใสของจากเศษผา จุดประสงค : นํ า วั ส ดุ ใ นท อ งถิ่ น มาใช ใ ห เ กิ ด ประโยชน และลดการใช วั ส ดุ ป ระเภท

และสิ่งแวดลอม ชาติ

พลาสติก

วดลอม ิและสงิ่ แ

รูปท

ร งใ

รม ช

๑. แบงกลุม ใหแตละกลุมชวยกันรวบรวมเศษผาที่ไมใชแลว ๒. ชวยกันเย็บเศษผาใหไดผาเปนผืนยาวประมาณ ๒๔ นิ้ว กวาง ๑๓ นิ้ว ๓. พับขอบผาดานยาวทบมาประมาณ ๑ นิว้ และเย็บขอบผาเพือ่ ทําเปนรูสาํ หรับรอยลวดเขามา ๔. นําลวดมาสอดรอยเขากับรูผาแลวขดเปนวงกลมหรือวงรี จากนั้นมัดเขาดวยกันและ อาจทําเปนหูสําหรับนําไปแขวนในที่ตางๆ ๕. เย็บขอบผาเพื่อใหเปนถุง ก็จะไดถุงผาสําหรับใสของใช

าติแ

ละสิ่ง

ช าต ธรรม รงใน รปู ท

¢Ñ鹵͹¡Ò÷Ó

แบงออกเปน ๒ ประเภท คือ ๑. รูปรางของสิง่ ทีอ่ ยูในธรรมชาติ เชน ผีเสื้อ ใบไม เปนตน ๒. รูปรางของสิง่ ทีม่ นุษยสรางขึน้ เชน กระดุม โทรศัพท นาฬกา เปนตน

นธร

แวดลอม

า รปู ร

รูปรา

งใ น

รรม

ÈÔŻР¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹

หมายเหตุ : ครูควรดูแลขั้นตอนในการเย็บผาอยางใกลชิด เพราะอาจเปนอันตรายกับเด็ก เนื่องจากเข็มเปนของแหลมคม

แบงออกเปน ๒ ประเภท คือ ๑. รูปทรงของสิง่ ทีอ่ ยูใ นธรรมชาติ เชน กอนหิน ขาวโพด เปนตน ๒. รูปทรงของสิง่ ทีม่ นุษยสรางขึน้ เชน ลอรถ หลอดไฟ เปนตน

¡Ô¨¡ÃÃÁ.............. ºÙóҡÒÃ¨Ô µÍÒÊÒ

µÃǨÊͺµ¹àͧ

ั องท อบข องคประก

ธาต ใุ นง านท ศั นศ ลิ ป

ทัศนธาตุในงานทัศนศิลป

ทศั น ของ ะกอบ องคป ร

กิจกรรม : เลานิทานจากภาพ จุดประสงค : เพือ่ ฝกทักษะการวาดภาพและทักษะการเลานิทาน โดยใชเวลาวางใหเกิด ประโยชน

ศนธ าตใุ น สงิ่ แวด ลอม

¢Ñ鹵͹¡Ò÷íÒ

ประกอบไปดวย เสน สี รูปราง รูปทรง

๑. วาดภาพเกี่ยวกั​ับนิทานเรื่องตางๆ ใหนาสนใจ ๒. นําภาพที่วาดไปเลานิทานใหกับเด็กอนุบาลในชุมชนฟง เพื่อเสริมสรางจินตนาการให กับเด็กเล็ก และทําใหเกิดความสนุกสนานเพลิ​ิดเพลิน ๓. ประเมินผลการเลานิทาน เพื่อแกไขปรับปรุงตอไป

โดยทั่วไปสรางสรรคมาจาก เสน สี รูปราง รูปทรง จนเกิดเปน ผลงานศิลปะขึ้น เชน งานวาด งานปน งานพิมพภาพ เปนตน

ใหนักเรียนสํารวจตนเองวา เมื่อเรียนจบหนวยนี้แลว ปฏิบัติสิ่งตางๆ เหลานี้ไดหรือไม ❏ บรรยายรูปราง รูปทรงของสิ่งของ ที่อยูในธรรมชาติและสิ่งที่มนุษยสรางขึ้นได ❏ จําแนกความแตกตางระหวางรูปรางและรูปทรงได ❏ บอกองคประกอบของทัศนธาตุในสิ่งแวดลอมได ❏ บอกองคประกอบของทัศนธาตุในงานทัศนศิลปได และสามารถนําไปสรางผลงาน ทัศนศิลปแบบตางๆ ได

µÃǨÊͺµ¹àͧ

เพือ่ เสริมสรางพฤติกรรมและปลูกฝงคานิยม ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

๑๕

¡Ô¨¡ÃÃÁ..............

ºÙóҡÒèԵÍÒÊÒ

เพือ่ ใหผเู รียนใชตรวจสอบตนเองวา เมือ่ จบหนวยแลว ไดบรรลุตามเปาหมายการเรียนรูหรือไม

เพื่อปลูกฝงจิตสํานึกในการเสียสละ เพื่อประโยชนสวนรวมจนเปนกิจนิสัย ๕๘

๕๗


กระตุน้ ความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุEngage ้นความสนใจ

ส�ารวจค้ Exploreนหา

อธิบExplain ายความรู้

Expand าใจ ขยายความเข้

Evaluate ตรวจสอบผล

สารบั ญ ตารางวิเคราะหมาตรฐานการเรียนรู

ห น ว ย การเรียนรูที่

ศิลปะขั้นพื้นฐาน

ศิลปะพาเพลิน

๑๗

ศิลปะกับชุมชน

๔๕

บทที่ ๑ รูปราง รูปทรงในธรรมชาติและสิ�งแวดลอม บทที่ ๒ ทัศนธาตุในงานทัศนศิลป

ห น ว ย การเรียนรูที่

บทที่ ๑ ภาพวาดจากประสบการณ บทที่ ๒ งานศิลปะภาพปะติดจากกระดาษ บทที่ ๓ งานโครงสรางเคลื่อนไหว

ห น ว ย การเรียนรูที่

บทที่ ๑ งานศิลปะในชีวิตประจําวัน

โครงงานศิลปะ กิจกรรมบูรณาการเศรษฐกิ เศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมบูรณาการจิจิตอาสา บรรณานุกรม

๒ ๘

๑๘ ๒๓ ๓๑

๔๖

๕๗ ๕๗ ๕๘ ๕๘


กระตุน้ ความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุEngage ้นความสนใจ

Exploreนหา ส�ารวจค้

อธิบExplain ายความรู้

Expand าใจ ขยายความเข้

Evaluate ตรวจสอบผล

ตารางวิเคราะห มาตรฐานการเรียนรูแ  ละตัวชีว้ ดั รายวิชา ทัศนศิลป ป.๒

คําชี้แจง : ใหผูสอนใชตารางน�้ตรวจสอบวา เน�้อหาสาระการเรียนรูในหนวยการเรียนรูสอดคลองกับมาตรฐาน การเรียนรูและตัวชี้วัดชั้นปในขอใดบาง สาระการเรียนรู ตัวชี้วัด ชั้น ป.๒ ๑

หนวยที่ ๑

หนวยที่ ๒

หนวย ที่ ๓

บทที่

บทที่ ๒

บทที่ ๑

มาตรฐาน ศ ๑.๑ ๑. บรรยายรูปราง รูปทรงที่พบในธรรมชาติและสิ�งแวดลอม

๒. ระบุทัศนธาตุที่อยูในสิ�งแวดลอม และงานทัศนศิลป โดยเนน เรื่องเสน สี รูปราง และรูปทรง

๓. สรางงานทัศนศิลปตางๆ โดยใชทัศนธาตุที่เนนเสน รูปราง

๔. มีทกั ษะพืน้ ฐานในการใชวสั ดุ อุปกรณสรางงานทัศนศิลป ๓ มิติ

๕. สรางภาพปะติดโดยการตัดหรือฉ�กกระดาษ

๖. วาดภาพเพือ่ ถายทอดเรือ่ งราวเกีย่ วกับครอบครัวของตนเอง และเพื่อนบาน

๗. เลือกงานทัศนศิลป และบรรยายถึงสิ�งที่มองเห็น รวมถึง เน�้อหาเรื่องราว

๘. สรางสรรคงานทัศนศิลปเปนรูปแบบงานโครงสรางเคลือ่ นไหว

มาตรฐาน ศ ๑.๒ ๑. บอกความสําคัญของงานทัศนศิลป ทีพ่ บเห็นในชีวติ ประจําวัน

๒. อภิปรายเกี่ยวกับงานทัศนศิลปประเภทตางๆ ในทองถิ�น โดยเนนถึงการสรางงาน และวัสดุ อุปกรณที่ใช


กระตุน้ ความสนใจ กระตุEngage ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

ñ ศิลปะขั้นพื้นฐาน ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

เปาหมายการเรียนรู้ประจําหน่วยที่ ๑

เมื่อเรียนจบหน่วยนี้ ผู้เรียนจะมีความรู้ความสามารถต่อไปนี้ ๑. บรรยายรูปร่าง รูปทรงที่พบในธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (มฐ. ศ ๑.๑ ป.๒/๑) ๒. ระบุทัศนธาตุที่อยู่ ในสิ่งแวดล้อมและงานทัศนศิลป์ โดย เน้นเรื่องเส้น สี รูปร่าง และรูปทรง (มฐ. ศ ๑.๑ ป.๒/๒) ๓. สร้างงานทัศนศิลป์ต่างๆ โดยใช้ทัศนธาตุที่เน้นเส้น รูปร่าง (มฐ. ศ ๑.๑ ป.๒/๓)

กระตุน้ ความสนใจ

Engage

1. ครูสนทนากับนักเรียนวา นักเรียนชอบเรียน วิชาทัศนศิลปหรือไม เพราะอะไร แลวให นักเรียนผลัดกันออกมาเลาใหเพื่อนฟง 2. ใหนักเรียนที่ชอบเรียนวิชาทัศนศิลปบอกวา ตนเองชอบทํางานศิลปะประเภทใด เชน งานวาดภาพระบายสี งานปน เปนตน 3. ใหนกั เรียนดูภาพในหนังสือ หนา 1 แลวชวยกัน ตอบคําถามวา • เด็กในภาพกําลังทํางานศิลปะประเภทใด (ตอบ งานวาดภาพระบายสี) • เด็กในภาพรูสึกอยางไรในขณะทํางานชิ้นนี้ โดยสังเกตจากสิ่งใด (ตอบ รูสึกสนุก สังเกตจากสีหนาที่ยิ้มแยม)

เกร็ดแนะครู การเรียนศิลปะจะชวยสงเสริมใหเด็กมีความคิดสรางสรรค และจินตนาการ ซึ่งนอกจากการเรียนในหองเรียนแลว ครูควรใหเด็กออกไปเรียนรูนอกหองเรียนดวย เชน การพาเด็กออกไปดูสิ่งตางๆ ที่อยูโดยรอบบริเวณโรงเรียน เปนตน โดยครูคอย เสริมสรางทักษะในเรื่องของรูปราง รูปทรง และทัศนธาตุ ที่พบในสิ่งแวดลอมตางๆ เพื่อใหเด็กเกิดความเขาใจมากยิ่งขึ้น

คู่มือครู

1


กระตุน้ ความสนใจ กระตุEngage ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

เปาหมายการเรียนรู

บรรยายรูปราง รูปทรง ที่พบในธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม (ศ 1.1 ป.2/1)

สมรรถนะของผูเรียน

º··Õè

รูปราง รูปทรง

ในธรรมชาติและสิง่ แวดลอม

1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต

ñ

สาระสําคัญ สิ่งที่อยู่ในธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อาจมีรูปร่างและ รูปทรง ที่เหมือนหรือแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับลักษณะ และประเภทของสิ่งนั้นๆ

¡Ô¨¡ÃÃÁ¹ÒÊÙ‹¡ÒÃàÃÕ¹

คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. มีวินัย รับผิดชอบ 2. ใฝเรียนรู 3. มุงมัน่ ในการทํางาน

กระตุน้ ความสนใจ

Engage

ใหนักเรียนดูภาพในหนังสือ หนา 2 แลวชวยกัน บอกวา • ภาพที่เห็นนี้ ภาพใดเปนรูปราง และภาพใด เปนรูปทรง สังเกตไดจากสิ่งใด (ตอบ - ภาพที่เปนรูปราง ไดแก เหรียญ กระจก ซองจดหมาย เพราะมีลักษณะแบนราบ เปน 2 มิติ - ภาพที่เปนรูปทรง ไดแก กรวย ปู กลองนม ลูกบอล เพราะมีลักษณะเปน 3 มิติ) • นักเรียนคิดวามีสิ่งของใดภายในหองเรียน ของเราที่มีรูปราง รูปทรง เหมือนในภาพบาง (แนวตอบ คําตอบมีหลากหลาย ขึ้นอยูกับ นักเรียนแตละคน)

? ÀÒ¾·ÕèàËç¹¹Õé ÀÒ¾ã´à»š¹ÃٻËҧ áÅÐÀҾ㴠໚¹ÃÙ»·Ã§ Êѧࡵ䴌¨Ò¡ÊÔè§ã´

เกร็ดแนะครู ครูจัดกระบวนการเรียนรูโดยใหนักเรียนปฏิบัติ ดังนี้ • สังเกตรูปรางและรูปทรงของสิ่งตางๆ • บรรยายรูปรางและรูปทรงของสิ่งตางๆ จนเกิดเปนความรูความเขาใจวา สิ่งที่อยูในธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอาจมี รูปราง รูปทรง ที่แตกตางกันไปตามลักษณะและประเภทของสิ่งนั้นๆ

2

คู่มือครู


กระตุ้นความสนใจ Engage

ส�ารวจค้นหา ส�ารวจค้ Exploreนหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

ส�ารวจค้นหา

1. ใหนักเรียนสํารวจสิ่งตางๆ ที่อยูในหองเรียน เชน กระดานดํา สมุด เปนตน แลวบอกวา สิ่งนั้นมีรูปรางอยางไร 2. ใหนักเรียนรวมกันสนทนาแสดงความคิดเห็น วา รูปรางในธรรมชาติและสิ่งแวดลอมรอบตัว เรามีอะไรบาง มีลักษณะเหมือนหรือแตกตาง กันหรือไม อยางไร 3. ใหนกั เรียนดูภาพในหนังสือ หนา 3 แลวชวยกัน บรรยายลักษณะรูปรางของสิ่งที่ยกตัวอยาง (ตอบ มีรูปรางอิสระตามลักษณะของสิ่งนั้นๆ) 4. ใหนักเรียนวางฝามือทับบนกระดาษ แลวใช ดินสอวาดเสนตามรอยฝามือ รูปที่ 1 วางมือใหนิ้วแยกจากกัน รูปที่ 2 วางมือใหนิ้วทั้ง 5 ชิดกัน แลวชวยกันบรรยายวารูปรางฝามือมีลักษณะ อยางไร (ตอบ มีรูปรางอิสระทั้ง 2 ภาพ)

๑ รูปรางในธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 1

รูปร่างในธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมรอบตัวเรานั้น มีอยู่มากมายหลาย รูปแบบ และมีลักษณะเฉพาะแตกต่างกันออกไป การสังเกตและจดจ�าลักษณะ รูปร่างของสิง่ ต่างๆ เป็นสิง่ ทีส่ า� คัญ เพราะเป็นพืน้ ฐานเบือ้ งต้นของการท�างานศิลปะ ประเภทต่างๆ โดยเฉพาะในเรื่องของการวาดภาพ

Explore

รูปรางของสิ่งที่อยูในธรรมชาติ

¡ÒÃÊѧࡵÃٻËҧ·Õèà¡Ô´¨Ò¡¸ÃÃÁªÒµÔáÅÐÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ àÃÒÊÒÁÒö´Ùä´Œ¨Ò¡àÊŒ¹Ãͺ¹Í¡¢Í§ÊÔè§àËÅ‹Ò¹Ñé¹

ขอสอบเนนการคิด (1) (2) (3) ขอใดเปนรูปรางของสิ่งที่อยูในธรรมชาติ ก. (1), (2) ข. (2), (3) ค. (3), (4) ง. (2), (4)

(4)

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ ก. เพราะ ภาพที่ 1 เปนภาพรูปรางของฝรั่ง

นักเรียนควรรู 1 รูปราง แบงเปน 2 ลักษณะ คือ 1) รูปรางอิสระ เปนรูปรางที่ไมมีโครงสรางแนนอน ไมสามารถระบุชื่อเรียก ไดชัดเจน เชน รูปรางของกอนเมฆ รูปรางของใบไม เปนตน 2) รูปรางเรขาคณิต เปนรูปรางที่มีโครงสรางแนนอน เกิดจากการสราง ของคน สามารถระบุชื่อเรียกได เชน รูปรางสามเหลี่ยม รูปรางสี่เหลี่ยม รูปรางวงกลม เปนตน

ภาพที่ 2 เปนภาพรูปรางของพริก สวนภาพที่ 3 เปนรูปรางสามเหลี่ยม ภาพที่ 4 เปนรูปรางสี่เหลี่ยม ซึ่งเปน รูปรางที่มนุษยสรางขึ้น คู่มือครู

3


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engage

Explore

อธิบายความรู้

อธิบายความรู้ อธิบExplain ายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับรูปราง จนไดขอสรุปวา รูปรางมีลักษณะเปน 2 มิติ 2. ใหนักเรียนชวยกันบอกสิ่งที่เกิดขึ้นเอง ตามธรรมชาติ แลวครูจดลงบนกระดาน เชน กอนเมฆ ตนไม สัตว กอนหิน เปนตน แลวครู ใหนักเรียนออกมาวาดรูปรางของสิ่งเหลานั้น บนกระดาน 3. ครูปฏิบัติเชนเดียวกับขอ 2 แตเปลี่ยนเปนรูปราง ของสิ่งที่มนุษยสรางขึ้น 4. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับรูปราง ของสิ่งที่อยูในธรรมชาติ และรูปรางของสิ่งที่ มนุษยสรางขึ้น จนไดขอสรุปวา รูปรางที่อยูใน ธรรมชาติสวนใหญเปนรูปรางอิสระ สวนรูปราง ที่มนุษยสรางขึ้นสวนใหญเปนรูปรางเรขาคณิต 5. ครูแจกกระดาษใหนักเรียนคนละ 1 แผน แลวใหนกั เรียนวาดรูปรางของสิง่ ทีน่ กั เรียนสนใจ มาคนละ 1 รูป จากนั้นผลัดกันนําเสนอผลงาน แลวใหเพื่อนชวยกันบอกวาเปนรูปรางของสิ่งใด

รูปรางของสิ่งที่มนุษย์สรางขึ้น

àÃ×èͧ¹‹ÒÃÙŒ

1

ʹ·¹ÒÀÒÉÒÈÔÅ»Š พลอยเป็นหินชนิดหนึ่ง ซึ่งมีสีสันที่ สวยงาม คนจึงนิยมน�ามาดัดแปลงให้เกิด ไม้บรรทัดมีรูปร่างเป็นอย่างไร และมี เป็นรูปร่างต่างๆ เพื่อท�าเป็นเครื่องประดับ สิง่ ใดบ้างที่มีรูปร่างเหมือนไม้บรรทัด ตามต้องการ 

4

นักเรียนควรรู 1 สิ่งที่มนุษยสรางขึ้น สวนใหญมุงเนนไปที่ประโยชนใชสอยเปนหลัก และคํานึงถึง การนําไปจัดวางในพื้นที่ตางๆ ไดสะดวก เชน ที่นอนถูกออกแบบใหเหมาะกับการนอน กระเปานักเรียนถูกออกแบบใหเหมาะกับการใสหนังสือ เปนตน เฉลย คําถามสนทนาภาษาศิลป ตอบ ไมบรรทัดมีรูปรางเปนสี่เหลี่ยมผืนผา สิ่งที่มีรูปรางเหมือนไมบรรทัด เชน สมุด กระเปานักเรียน กรอบรูป เปนตน

ขอสอบเนนการคิด

เราสามารถสังเกตรูปรางตางๆ ไดจากสิ่งใด ก. เสนวงใน ข. เสนรอบนอก ค. เสนทแยงมุม ง. เสนผานศูนยกลาง วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ ข. เพราะเสนรอบนอก ทําใหเราสามารถทราบ ไดวา สิ่งของนั้นๆ มีรูปรางอยางใด เปนตน เชน

ฟุตบอล

4

คู่มือครู

เสนรอบนอกของฟุตบอลเปนรูปวงกลม


กระตุ้นความสนใจ Engage

ส�ารวจค้นหา ส�ารวจค้ Exploreนหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

ส�ารวจค้นหา

Explore

1. ใหนักเรียนสํารวจสิ่งตางๆ ที่อยูในหองเรียน เชน ดินสอ ยางลบ โตะเรียน กระเปานักเรียน เปนตน แลวบอกวาสิ่งนั้นมีรูปทรงอยางไร 2. ใหนักเรียนรวมกันสนทนาแสดงความคิดเห็น วา รูปทรงในธรรมชาติและรูปทรงของ สิ่งแวดลอมรอบตัวเรามีอะไรบาง มีลักษณะ เหมือนหรือแตกตางกันหรือไม อยางไร 3. ใหนักเรียนดูภาพในหนังสือ หนา 5 แลวชวยกันบรรยายลักษณะรูปรางของสิ่งที่ ยกตัวอยาง (ตอบ มีรูปรางอิสระตามลักษณะของสิ่งนั้นๆ)

๒ รูปทรงในธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

สิ่งต่างๆ ที่อยู่ในธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมนั้น มีรูปทรงที่แตกต่างกัน ตามลักษณะ และประเภทของสิ่งนั้น รูปทรงมีลักษณะเป็น ๓ มิติ โดยสังเกตได้ จากความกว้าง ความยาว และความลึกหรือความหนาของสิ่งนั้น เราควรฝึก สังเกตและจดจ�ารูปทรงของสิ่งต่างๆ ในธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมไว้ เนื่องจาก เป็นความรูพ้ นื้ ฐานทีส่ า� คัญในการเรียนศิลปะ และสามารถน�าไปพัฒนาใช้กบั งาน ประเภทอื่นได้ รูปทรงของสิ่งที่อยูในธรรมชาติ

สิง่ ทีม่ อี ยูต่ ามธรรมชาติ จะมีรปู ทรงอิสระไม่ซา�้ แบบกัน แม้จะเป็นชนิดเดียวกันก็ตาม

ขอสอบเนนการคิด

(1) (2) (3) ขอใดเปนรูปทรงของสิ่งที่มนุษยสรางขึ้น ก. (1), (2) ค. (3), (4)

(4) ข. (2), (3) ง. (1), (3)

เกร็ดแนะครู ครูอธิบายใหนักเรียนเขาใจวา ในงานศิลปะที่เห็นเปนรูปทรงชัดเจน ไดแก • งานปน เปนการนําวัสดุเนื้อออน เชน ดินเหนียว ดินนํ้ามัน เปนตน มาปน เปนรูปตามที่ตองการ • งานแกะสลัก เปนการนําวัสดุเนื้อออนที่ไมแข็งจนเปราะ เชน สบู เปนตน มาเจาะ เซาะ แกะ จนเปนรูปทรงตามตองการ • งานสรางสรรคจากเศษวัสดุ เปนการนําวัสดุที่เหลือใชมาสรางสรรคใหเปน งานศิลปะ เชน กลองเก็บอุปกรณ ที่ใสดินสอ เปนตน

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ ง. เพราะภาพที่ 1 เปนภาพแกวนํ้า ภาพที่ 3 เปนภาพบัวรดนํ้า ซึ่งเปนสิ่งที่มนุษยสรางขึ้น ไมสามารถเกิดขึ้น เองตามธรรมชาติได ภาพที่ 2 ไข ภาพที่ 4 เตา เปนสิ่งที่เกิดขึ้นเองตาม ธรรมชาติ

คู่มือครู

5


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engage

Explore

อธิบายความรู้

อธิบายความรู้ อธิบExplain ายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับรูปทรง จนไดขอสรุปวา รูปทรงมีลักษณะเปน 3 มิติ คือ มองเห็นไดทั้งดานกวาง ดานยาว และดานหนา หรือลึก 2. ใหนักเรียนชวยกันบอกสิ่งที่เกิดขึ้นเอง ตามธรรมชาติ แลวครูจดลงบนกระดาน เชน กอนเมฆ กอนหิน สัตว ตนไม ดอกไม เปนตน แลวครูใหนักเรียนออกมาวาดรูปทรงของ สิ่งเหลานั้นบนกระดาน 3. ครูปฏิบตั เิ ชนเดียวกับขอ 2 แตเปลีย่ นเปนรูปทรง ของสิ่งที่มนุษยสรางขึ้น 4. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับรูปทรง ของสิ่งที่อยูในธรรมชาติ และรูปทรงของสิ่งที่ มนุษยสรางขึ้น จนไดขอสรุปวา รูปทรงที่อยูใน ธรรมชาติสวนใหญเปนรูปทรงอิสระ สวนรูปทรง ของสิ่งที่มนุษยสรางขึ้นสวนใหญจะเปนรูปทรง เรขาคณิต 5. ครูแจกกระดาษใหนักเรียนคนละ 1 แผน แลว ใหนักเรียนวาดรูปทรงของสิ่งที่นักเรียนสนใจ มาคนละ 1 รูป จากนั้นผลัดกันนําเสนอผลงาน แลวใหเพื่อนชวยกันบอกวาเปนรูปทรงของสิ่งใด 6. ครูถามคําถามสนทนาภาษาศิลปในหนังสือ หนา 6 ใหนักเรียนชวยกันตอบ

รูปทรงของสิ่งที่มนุษย์สรางขึ้น

สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น มักจะมีรูปทรงเรขาคณิต และถ้าเป็นสิ่งของชนิดเดียวกันที่มนุษย์สร้างขึ้นจ�านวนมากๆ มักจะซ�า้ แบบกัน

ÃÙËÃ×ËŒ Ã×ÍäÁ‹

?

 ʹ·¹ÒÀÒÉÒÈÔÅ»Š

ปจจุบนั หลอดตะเกียบเป็นทีน่ ยิ มน�ามา ใช้งานอย่างมากเนื่องจากประหยัดพลังงาน สิง่ ใดมีลกั ษณะเป็นรูปทรงกลมทีเ่ กิดขึน้ เอง และลดภาวะโลกร้อนได้ และยังมีรูปทรงที่ ตามธรรมชาติ และสิง่ ใดมีลกั ษณะเป็นรูปร่าง สีเ่ หลีย่ มทีม่ นุษย์สร้างขึน้ ดูแปลกตาอีกด้วย ๖

เฉลย คําถามสนทนาภาษาศิลป แนวตอบ รูปทรงกลมที่เกิดขึ้นเอง เชน มะนาว โลก เปนตน สิ่งที่มีลักษณะเปนรูปรางสี่เหลี่ยมที่มนุษยสรางขึ้น เชน กรอบรูป ไมบรรทัด เปนตน

กิจกรรมสรางเสริม ใหนักเรียนสังเกตสิ่งของในหองเรียน จากนั้นวาดภาพรูปราง 1 รูป และ วาดภาพรูปทรง 1 รูป แลวบอกถึงความแตกตางของทั้ง 2 ภาพ เพื่อพัฒนา ทักษะการคิด

กิจกรรมทาทาย ใหนักเรียนออกแบบรูปรางตามจินตนาการมา 1 รูป แลววาดรูปจาก รูปรางใหเปนรูปทรง แลวเขียนบรรยายสั้นๆ ประกอบภาพ เพื่อพัฒนา ทักษะการคิดและจินตนาการของนักเรียน

6

คู่มือครู


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

Engage

Explore

Explain

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Expand าใจ ขยายความเข้

Evaluate ตรวจสอบผล

ขยายความเข้าใจ 1

¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ

Expand

1. ใหนักเรียนทํากิจกรรมการเรียนรู ขอ 1-3 ในหนังสือ หนา 7 2. ครูถามคําถามขยายความรูสูการคิดในหนังสือ หนา 7 และใหนักเรียนชวยกันตอบ

๑. รูปร่างและรูปทรงต่อไปนี้ มีลักษณะเหมือนกับสิ่งต่างๆ ที่พบเห็นในชีวิตประจําวัน อะไรบ้าง และสิ่งต่างๆ ที่พบเห็นมีความเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร

ตรวจสอบผล

Evaluate

1. ครูตรวจสอบการอธิบายลักษณะของรูปราง รูปทรง โดยพิจารณาจากการตอบคําถามได ถูกตอง ตรงตามรูปภาพที่กําหนดให 2. ครูตรวจสอบผลงานภาพวาดสิง่ ของภายในบาน โดยพิจารณาจากความถูกตอง และสวยงาม 3. ครูตรวจสอบการยกตัวอยางสิ่งที่มนุษย สรางขึ้น และสิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ โดยพิจารณาจากการยกตัวอยางไดถูกตอง

๒. วาดภาพสิ่งของเครื่องใช้ภายในบ้าน ที่มีลักษณะเปนรูปร่างมา ๑ อย่าง และรูปทรง ๑ อย่าง ลงในสมุด พร้อมทั้งระบายสีให้สวยงาม ๓. ยกตัวอย่างสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น และสิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ที่มีรูปร่าง รูปทรง เหมือนกันให้ได้มากที่สุด ลงในสมุด ¢ÂÒ¤ÇÒÁÃÙŒ ÊÙ¡‹ ÒäԴ ความแตกต่างระหว่างรูปร่างและรูปทรง ที่ปรากฏให้เห็นได้อย่างชัดเจนคืออะไร และในบริเวณห้องเรียนมีรูปร่าง รูปทรงอะไรบ้าง

เฉลย กิจกรรมการเรียนรู 1. ตอบ - รูปรางวงกลม เชน เหรียญตางๆ เปนตน - รูปรางสามเหลี่ยม เชน ปายจราจร เปนตน - รูปรางวงรี เชน ไข เปนตน - รูปทรงสี่เหลี่ยม เชน กลอง เปนตน - รูปทรงกระบอก เชน กระบอกนํ้า เปนตน 3. แนวตอบ ตอบไดหลากหลาย เชน กระบอกนํ้ามีรูปทรงเหมือนกับกระบอกไมไผ ผลสมมีรูปทรงเหมือนกับลูกบอล กรอบรูปวงรีมีรูปรางเหมือนกับไข เปนตน แนวตอบ ขยายความรูสูการคิด สิ่งที่แตกตางกันที่เห็นไดชัดเจน คือ รูปรางจะมีลักษณะเปน 2 มิติ เปนระนาบแบนๆ สวนรูปทรงจะมีลักษณะเปน 3 มิติ มองเห็นไดทั้งความกวาง ความยาว และความหนาหรือความลึก ในบริเวณหองเรียนมีสิ่งที่เปนรูปราง เชน กระดานดํา สมุด ไมบรรทัด เปนตน ในบริเวณหองเรียนมีสิ่งที่เปนรูปทรง เชน โตะ เกาอี้ รองเทานักเรียน เปนตน คู่มือครู

7


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.