8858649122452

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº »ÃСѹÏ

หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน

ดนตรี -นาฏศิลป ชั้นประถมศึกษาปที่ ๒

กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ประทีป นักป

ศศิธร นักป

ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน

กระบวนการสอนแบบ 5 Es ชวยสรางทักษะการเรียนรู กิจกรรมมุงพัฒนาทักษะการคิด คำถาม + แนวขอสอบเพื่อยกผลสัมฤทธิ์ O - NET กิจกรรมบูรณาการเตรียมพรอมสู ASEAN 2558


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ

ดนตรี-นาฏศิลป ชั้นประถมศึกษาปที่

2

สําหรับครู

คูมือครู Version ใหม

ลักษณะเดน

ขยายพื้นที่รูปเลมใหญขึ้นกวาเดิม จัดแบงพื้นที่ออกเปนโซน เพื่อคนหาขอมูลไดงาย สะดวก รวดเร็ว และดูเปนระเบียบ กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

เปาหมายการเรียนรู สมรรถนะของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค

หน า

โซน 1 กระตุน ความสนใจ

Engage

สํารวจคนหา

Explore

อธิบายความรู

Explain

ขยายความเขาใจ

Expand

ตรวจสอบผล

หน า

หนั ง สื อ เรี ย น

โซน 1

หนั ง สื อ เรี ย น

Evaluate

ขอสอบเนน การคิด ขอสอบเนน การคิด แนว NT แนว O-NET

O-NET บูรณาการเชื่อมสาระ

เกร็ดแนะครู

ขอสอบ

โซน 2

โซน 3

กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย

นักเรียนควรรู

โซน 3

โซน 2 บูรณาการอาเซียน มุม IT

No.

คูมือครู

คูมือครู

No.

โซน 1 ขั้นตอนการสอนแบบ 5Es

โซน 2 ชวยครูเตรียมสอน

โซน 3 ชวยครูเตรียมนักเรียน

เพื่อใหครูเตรียมจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยแนะนําขั้นตอนการสอนและ การจัดกิจกรรมแบบ 5Es อยางละเอียด เพื่อใหนักเรียนบรรลุตามตัวชี้วัด

เพื่อชวยลดภาระครูผูสอน โดยแนะนํา เกร็ดความรูสําหรับครู ความรูเสริมสําหรับ นักเรียน รวมทั้งบูรณาการความรูสูอาเซียน และมุม IT

เพือ่ ใหครูสะดวกตอการจัดกิจกรรม โดยแนะนํา กิจกรรมบูรณาการเชื่อมระหวางกลุมสาระ วิชา กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย รวมถึงเนือ้ หา ที่เคยออกขอสอบ O-NET เก็งขอสอบ O-NET และแนวขอสอบเนนการคิด พรอมคําอธิบาย และเฉลยอยางละเอียด


ที่ใชในคูมือครู

แถบสีและสัญลักษณ

แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5Es เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

1. แถบสี 5Es สีแดง

สีเขียว

กระตุน ความสนใจ

เสร�ม

สํารวจคนหา

Engage

2

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุน ความสนใจ เพื่อโยง เขาสูบทเรียน

สีสม

อธิบายความรู

Explore

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนสํารวจ ปญหา และศึกษา ขอมูล

สีฟา

Explain

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนคนหา คําตอบ จนเกิดความรู เชิงประจักษ

สีมวง

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนนําความรู ไปคิดคนตอๆ ไป

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

2. สัญลักษณ สัญลักษณ

วัตถุประสงค

• เปาหมายการเรียนรู

O-NET

(เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ O-NET O-NET)

• ชีแ้ นะเนือ้ หาทีเ่ คยออกขอสอบ

O-NET โดยยกตัวอยางขอสอบ พรอมวิเคราะหคาํ ตอบ อยางละเอียด

• เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน

การคิดใหครูนาํ ไปใชไดจริง รวมถึงเปนการเก็งขอสอบ O-NET ทีจ่ ะออก มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

แสดงรองรอยหลักฐานตามภาระงาน ที่ครูมอบหมาย เพื่อแสดงผลการเรียนรู ตามตัวชี้วัด

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

แทรกความรูเสริมสําหรับครู ขอเสนอแนะ ขอควรระวัง ขอสังเกต แนวทางการจัด กิจกรรมและอืน่ ๆ เพื่อประโยชนในการ จัดการเรียนการสอน

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

ขยายความรูเพิ่มเติมจากเนื้อหา เพื่อใหครู นําไปใชอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียน ไดมีความรูมากขึ้น

บูรณาการเชื่อมสาระ

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม

ความรูห รือกิจกรรมเสริม ใหครูนาํ ไปใช เตรียมความพรอมใหกบั นักเรียนกอนเขาสู ประชาคมอาเซียน 2558 โดยบูรณาการ กับวิชาทีก่ าํ ลังเรียน

กิจกรรมสรางเสริม

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม

เกร็ดแนะครู

นักเรียนควรรู

บูรณาการอาเซียน

คูม อื ครู

ขอสอบ

วัตถุประสงค

• หลักฐานแสดงผล การเรียนรู

มุม IT

แสดงเปาหมายการเรียนรูที่นักเรียน ตองบรรลุตามตัวชี้วัด ตลอดจนสมรรถนะ ที่จะตองมี และคุณลักษณะที่พึงเกิดขึ้น กับนักเรียน

สัญลักษณ

แนะนําแหลงคนควาจากเว็บไซต เพื่อใหครู และนักเรียนไดเขาถึงขอมูลความรู ที่หลากหลาย ทั้งไทยและตางประเทศ

• แนวขอสอบ NT ในระดับ

ประถมศึกษา มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

(เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ NT)

กิจกรรมทาทาย

เชือ่ มกับกลุม สาระ ชัน้ หรือวิชาอืน่ ทีเ่ กีย่ วของ

ซอมเสริมสําหรับนักเรียน ทีย่ งั ไมเขาใจเนือ้ หา

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ตอยอดสําหรับนักเรียนทีเ่ รียนรู เนือ้ หาไดอยางรวดเร็ว และ ตองการทาทายความสามารถ ในระดับทีส่ งู ขึน้


คําแนะนําการใชคูมือครู การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน คูมือครู รายวิชา ดนตรี-นาฏศิลป ป.2 จัดทําขึ้นเพื่อใหครูผูสอนนําไปใชเปนแนวทางวางแผนการสอนเพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน และประกันคุณภาพผูเ รียน ตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน (สพฐ.) โดยใชหนังสือเรียน ดนตรี-นาฏศิลป ป.2 ของบริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด เปนสื่อหลัก (Core Material) ประกอบ เสร�ม การสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดกลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ 3 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พ.ศ. 2551 โดยออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักการสําคัญ ดังนี้ 1 ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน คูม อื ครู รายวิชา ดนตรี-นาฏศิลป ป.2 วางแผนการสอนโดยแบงเปนหนวยการเรียนรูต ามลําดับสาระ (Standard) และ หมายเลขขอของมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั แตละหนวยจะกําหนดเปาหมายการสอนและจุดประสงคการเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทางการประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชัดเจน ครูผูสอนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด สมรรถนะ และคุณลักษณะ อันพึงประสงคที่เปนเปาหมายการเรียนรูตามที่กําหนดไวในสาระแ นสาระแกนกลาง (ตามแผนภูมิ) และสามารถบันทึกผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของผูเรียนแตละคนลงในเอกสาร ปพ.5 ไดอยางมั่นใจ แผนภูมิแสดงองคประกอบของการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผผูเรียนเปนสําคัญ

พผ

ูเ

จุดปร

ะสง

ค ก

ส ภา

รียน

รู ีเรยน

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชั้นป

ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน

คูม อื ครู


2 การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ แนวคิ ด ในการจั ด การเรี ย นการสอนที่ ยึ ด ผู  เ รี ย นเป น สํ า คั ญ พั ฒ นามาจากปรั ช ญาและทฤษฎี ก ารเรี ย นรู  Constructivism ที่เชื่อวาการเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสรางความรู โดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดเรียนรูจากบทเรียนใหมกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา ผูเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีการสั่งสมความรูความเขาใจเกี่ยวกับสิ่งตางๆ ติดตัวมากอน ทีจ่ ะเขาสูห อ งเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากประสบการณและสิง่ แวดลอมรอบตัวผูเ รียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกิจกรรม เสร�ม การเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ผูสอนจะตองคํานึงถึง

4

1. ความรูเดิมของผูเรียน วิธีการสอนที่ดีจะตองเริ่มตนจากจุดที่วา ผูเ รียนมีความรูอ ะไรมาบาง แลวจึงใหความรู หรือประสบการณใหม เพื่อตอยอดจาก ความรูเดิม นําไปสูการสรางความรู ความเขาใจใหม

2. ความรูเดิมของผูเรียนถูกตองหรือไม ผูส อนตองปรับเปลีย่ นความรูค วามเขาใจเดิม ของผูเรียนใหถูกตอง และเปนพฤติกรรม การเรียนรูใ หมทมี่ คี ณุ คาตอผูเรียน เพื่อสราง เจตคติหรือทัศนคติที่ดีตอการเรียนรู สิ่งเหลานั้น

3. ผูเรียนสรางความหมายสําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมใหผูเรียนนําความรู ความเขาใจที่เกิดขึ้นไปลงมือปฏิบัติ เพื่อขยายความรูใหลึกซึ้งและมีคุณคา ตอตัวผูเรียนมากที่สุด

แนวคิด Constructivism เนนใหผูเรียนสรางความรูโดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูของตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศ

การเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณ ความรูใ หม เพือ่ กระตนุ ใหผเู รียนเชือ่ มโยงความรู ความคิด กับประสบการณทมี่ อี ยูเ ดิม แลวสังเคราะหเปนความรูห รือแนวคิดใหมๆ ไดดว ยตนเอง

3 การบูรณาการกระบวนการคิด การเรียนรูของผูเรียนแตละคนจะเกิดขึ้นที่สมอง ซึ่งเปนอวัยวะที่ทําหนาที่รูคิดภายใตสภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวย และไดรบั การกระตนุ จูงใจอยางเหมาะสม สอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของผูเ รียนแตละคน การจัดกิจกรรม การเรียนรูและสาระการเรียนรูที่สอดคลองกับความสนใจและมีความหมายตอผูเรียน จะชวยกระตุนใหสมองของผูเรียน สามารถรับรูและเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพตามขั้นตอนการทํางงานของสมอง ดังนี้ 1. สมองจะเรียนรูและสืบคน โดยการสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง ปฏิบัติ จนทําใหคนพบความรูความเขาใจ ไดอยางรวดเร็ว

2. สมองจะแยกแยะคุณคาของสิ่งตางๆ โดยการตัดสินใจวิพากษวิจารณ แสดง ความคิดเห็น ยอมรับหรือตอตานตาม อารมณความรูสึกที่เกิดขึ้นในขณะที่เรียนรู

3. สมองจะประมวลเนื้อหาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสานกับ ความรูห รือประสบการณเดิมทีถ่ กู จัดเก็บอยูใ น สมอง ผานการกลัน่ กรองเพือ่ สังเคราะหเปน ความรูค วามเขาใจใหมๆ หรือเปนทัศนคติใหม ที่จะเก็บบรรจุไวในสมองของผูเรียน

การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะเกิดขึ้น เมื่อสมองรูคิด และตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมองผูเรียน โดยเริ่มตนจาก 1. ระดับการคิดพื้นฐาน ไดแก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล การสรุปผล เปนตน

คูม อื ครู

2. ระดับลักษณะการคิด ไดแก การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดไกล คิดหลากหลาย คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล เปนตน

3. ระดับกระบวนการคิด ไดแก กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ กระบวนการแกปญหา กระบวนการ คิดสรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะหวิจัย เปนตน


5Es การจัดกิจกรรมตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ขั้นตอนการสอนที่สัมพันธกับขั้นตอนการคิดและการทํางานทางสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย คือ วัฏจักรการเรียนรู 5Es ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแตละหนวย ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1

กระตุนความสนใจ

(Engage)

เสร�ม

5

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนนําเขาสูบ ทเรียน เพือ่ กระตุน ความสนใจของผูเ รียนดวยเรือ่ งราวหรือเหตุการณทนี่ า สนใจโดยใชเทคนิควิธกี ารสอน และคําถามทบทวนความรูหรือประสบการณเดิมของผูเรียน เพื่อเชื่อมโยงผูเรียนเขาสูความรูของบทเรียนใหม ชวยใหผูเรียนสามารถ สรุปประเด็นสําคัญที่เปนหัวขอและสาระการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอนการสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอม และสรางแรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน

ขั้นที่ 2

สํารวจคนหา

(Explore)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนเปดโอกาสใหผเู รียนลงมือศึกษา สังเกต หรือรวมมือกันสํารวจ เพือ่ ใหเห็นขอบขายของปญหา รวมถึงวิธกี ารศึกษา คนควา การรวบรวมขอมูลความรูที่จะนําไปสูการสรางความเขาใจประเด็นปญหานั้นๆ เมื่อผูเรียนทําความเขาใจในประเด็นหัวขอที่จะ ศึกษาคนควาอยางถองแทแลว ก็ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธีการตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูตามที่ตั้งประเด็นศึกษาไว

ขั้นที่ 3

อธิบายความรู

(Explain)

เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา ตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนคนหาคําตอบ และนําขอมูล ความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห สรุปผล และนําเสนอผลที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ แผนผังแสดงมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน ในขั้นตอนนี้ฝกใหผูเรียนใชสมองคิดวิเคราะหและ สังเคราะหอยางเปนระบบ

ขั้นที่ 4

ขยายความเขาใจ

(Expand)

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใชเทคนิควิธีการสอนตางๆ ที่สงเสริมใหผูเรียนนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนสืบคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะ การเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน ผูเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยง กับประสบการณเดิมโดยนําขอสรุปทีไ่ ดไปใชอธิบายเหตุการณตา งๆ หรือนําไปปฏิบตั ใิ นสถานการณใหมๆ ทีเ่ กีย่ วของกับชีวติ ประจําวัน ของตนเอง เพื่อขยายความรูความเขาใจใหกวางขวางยิ่งขึ้น ในขั้นตอนนี้ฝกสมองของผูเรียนใหสามารถคิดริเริ่มสรางสรรคอยางมี คุณภาพ เสริมสรางวิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป

ขั้นที่ 5

ตรวจสอบผล

(Evaluate)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนประเมินมโนทัศนของผูเ รียน โดยตรวจสอบจากความคิดทีเ่ ปลีย่ นไปและความคิดรวบยอดทีเ่ กิดขึน้ ใหม ตรวจสอบ ทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด และการเคารพความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพื่อการ สรางสรรคความรูร ว มกัน ผูเ รียนสามารถประเมินผลการเรียนรูข องตนเอง เพือ่ สรุปผลวามีความรูอ ะไรเพิม่ ขึน้ มาบาง เกิดความเขาใจ มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ ไดอยางไร ผูเรียนจะเกิดเจตคติและเห็นคุณคาของ ตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง

การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามขั้นตอนวัฏจักรการสรางความรูแบบ 5Es จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนน ผูเ รียนเปนสําคัญอยางแทจริง เพราะสงเสริมใหผเู รียนไดลงมือปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนของกระบวนการสรางความรูด ว ยตนเอง และฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและกระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะชีวิต ทักษะการทํางานและทักษะการ เรียนรูที่มีประสิทธิภาพ สงผลตอการยกระดับผลสัมฤทธิ์ของผูเรียน ตามเปาหมายของการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คูม อื ครู


O-NET การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ O-NET

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ในแตละหนวยการเรียนรู ทางผูจัดทํา จะเสนอแนะวิธีสอนรูปแบบกิจกรรมการเรียนรู พรอมทั้งออกแบบเครื่องมือวัดผลประเมินผลที่สอดคลองกับตัวชี้วัด และสาระการเรียนรูแกนกลางไวทุกขั้นตอน โดยยึดหลักสําคัญ คือ เปาหมายของการวัดผลประเมินผล เสร�ม

6

1. การวัดผลทุกครั้งตองนําผล การวัดมาปรับปรุงพัฒนาผูเรียน เปนรายบุคคล

2. การประเมินผลมีเปาหมาย เพื่อพัฒนาการเรียนรูของผูเรียน จนเต็มศักยภาพ

3. การนําผลการวัดและประเมิน ทุกครั้งมาวางแผนปรับปรุงกิจกรรม การเรียนการสอน การเลือกเทคนิค วิธีการสอน และสื่อการเรียนรูให เหมาะสมกับสภาพจริงของผูเรียน

การทดสอบผูเรียน 1. การใชขอสอบอัตนัย เนนการอาน การคิดวิเคราะห และเขียนสรุปเพิ่มมากขึ้น 2. การใชคําถามกระตุนการคิด ควบคูกับการทําขอสอบที่เนนการคิดตลอดตอเนื่องตามลําดับกิจกรรมการเรียนรูและ ตัวชี้วัด 3. การทดสอบตองดําเนินการทั้งกอนเรียน ระหวางเรียน และเมื่อสิ้นสุดการเรียน การทดสอบระหวางเรียน ต อ งใช ข  อ สอบทั้ ง ชนิ ด ปรนั ย และอั ต นั ย และเป น การทดสอบเพื่ อ วิ นิ จ ฉั ย ผลการเรี ย นของผู  เ รี ย นแต ล ะคน เพื่อวัดการสอนซอมเสริมใหบรรลุตัวชี้วัดทุกตัว 4. การสอบกลางภาค (ถามี) ควรนําขอสอบหรือแบบฝกหัดที่นักเรียนสวนใหญทําผิดบอยๆ มาสรางเปนแบบทดสอบ อีกครัง้ เพือ่ ตรวจสอบความรูค วามเขาใจทีถ่ กู ตอง และประเมินความกาวหนาของผูเรียนแตละคน 5. การสอบปลายภาคเรียนเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามตัวชี้วัดที่สําคัญ ควรออกขอสอบใหมีลักษณะเดียวกับ ขอสอบ O-NET โดยเนนการคิดวิเคราะห สังเคราะห เชื่อมโยงประยุกตใช เพื่อสรางความคุนเคย และฝกฝน วิธีการทําขอสอบดวยความมั่นใจ 6. การนําผลการทดสอบของผูเรียนมาวิเคราะห โดยผลการสอบกอนการเรียนตองสามารถพยากรณผลการสอบ กลางภาค และผลการสอบกลางภาคตองทํานายผลการสอบปลายภาคของผูเ รียนแตละคน เพือ่ ประเมินพัฒนาการ ความกาวหนาของผูเรียนเปนรายบุคคล 7. ผลการทดสอบปลายป ปลายภาค ตองมีคาเฉลี่ยสอดคลองกับคาเฉลี่ยของการสอบ NT ที่เขตพื้นที่การศึกษา จัดสอบ รวมทั้งคาเฉลี่ยของการสอบ O-NET ชวงชั้นที่สอดคลองครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดสําคัญ เพือ่ สะทอนประสิทธิภาพของครูผสู อนในการออกแบบการเรียนรูแ ละประกันคุณภาพผูเ รียนทีต่ รวจสอบผลไดชดั เจน การจัดการเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ตองใหผูเรียนไดสั่งสมความรู สะสมความเขาใจไปทีละเล็ก ละนอยตามลําดับขัน้ ตอนของกิจกรรมการเรียนรู 5Es เพือ่ ใหผเู รียนไดเติมเต็มองคความรูอ ยางตอเนือ่ ง จนสามารถปฏิบตั ิ ชิ้นงานหรือภาระงานรวบยอดของแตละหนวยผานเกณฑประกันคุณภาพในระดับที่นาพึงพอใจ เพื่อรองรับการประเมิน ภายนอกจาก สมศ. ตลอดเวลา คูม อื ครู


ASEAN การเรียนรูสูประชาคมอาเซียน เพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรูบูรณาการอาเซียนศึกษา ผูจัดทําไดวิเคราะห มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดที่มีสาระการเรียนรูสอดคลองกับองคความรูเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนในแงมุมตางๆ ครอบคลุมทัง้ ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน เพื่อสงเสริมการเรียนรูใหผูเรียนเกิดความตระหนัก มีความรูความเขาใจเหมาะสมกับระดับชั้นและกลุมสาระ การเรียนรู โดยเสนอแนะวิธีการจัดกิจกรรมบูรณาการเนื้อหาสาระตางๆ ที่เปนประโยชนตอผูเรียนและเปนการชวย เตรียมความพรอมผูเ รียนทุกคนทีจ่ ะกาวเขาสูก ารเปนสมาชิกของประชาคมอาเซียนไดอยางมัน่ ใจตามขอตกลงปฏิญญา เสร�ม ชะอํา-หัวหิน วาดวยความรวมมือดานการศึกษาเพือ่ บรรลุเปาหมายประชาคมอาเซียนทีเ่ อือ้ อาทรและแบงปน จึงกําหนด 7 เปนนโยบายใหกระทรวงศึกษาธิการจัดการเรียนรูเตรียมความพรอมผูเรียนเขาสูประชาคมอาเซียนภายในป พ.ศ. 2558 ตามแนวปฏิบัติที่สําคัญ ดังนี้

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน 1. การสรางความรูความเขาใจ และตระหนักถึงความสําคัญของ กฎบัตรอาเซียน และความรวมมือ ของ 3 เสาหลัก ซึง่ กฎบัตรอาเซียน ในขณะนี้มีสถานะเปนกฎหมายที่ ประเทศสมาชิกจะตองปฏิบัติตาม หลักการที่กําหนดไวเพื่อใหบรรลุ เปาหมายของกฎบัตรมาตราตางๆ

2. การสงเสริมหลักการ ประชาธิปไตยและการสราง สิ่งแวดลอมประชาธิปไตย เพื่อการอยูรวมกันอยางกลมกลืน ภายใตวิถีชีวิตอาเซียนที่มีความ หลากหลายดานสังคมและ วัฒนธรรม

4. การตระหนักในคุณคาของ สายสัมพันธทางประวัติศาสตร และมรดกทางวัฒนธรรมที่มี พัฒนาการรวมกัน เพื่อเชื่อม อัตลักษณและสรางจิตสํานึก ในการเปนประชากรของประชาคม อาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการศึกษาดาน สิทธิมนุษยชน เพื่อสรางประชาคม อาเซียนใหเปนประชาคมเพื่อ ประชาชนอยางแทจริง สามารถ อยูรวมกันไดบนพื้นฐานการเคารพ ในคุณคาของศักดิ์ศรีแหงความ เปนมนุษยเทาเทียมกัน

5. การสงเสริมสันติภาพ ความ มั่นคง และความปรองดองในสังคม ทั้งระดับประเทศและภูมิภาคของ อาเซียนบนพื้นฐานสันติวิธีและการ อยูรวมกันดวยขันติธรรม

คูม อื ครู


การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

เสร�ม

8

1. การพัฒนาทักษะการทํางาน เพื่อเสริมสรางผูเรียนใหมีทักษะ วิชาชีพที่จําเปนสอดคลองกับ ความตองการของตลาดแรงงาน และสถานประกอบการในอาเซียน สามารถเทียบโอนผลการเรียน และการทํางานตามมาตรฐานฝมือ แรงงานในภูมิภาคอาเซียน

2. การเสริมสรางวินัย ความรับผิดชอบ และเจตคติรักการทํางาน สามารถพึ่งพาตนเอง มีทักษะชีวิต ดํารงชีวิตอยางมีความสุข เห็นคุณคา และภูมิใจในตนเอง ในฐานะที่เปนพลเมืองไทยและ อาเซียน

3. การเรียนรูเพื่อพัฒนาตนเอง อยางตอเนื่องตลอดชีวิต ใหมี ทักษะการทํางานตามมาตรฐาน อาชีพ และคุณวุฒิของวิชาชีพสาขา ตางๆ เพื่อรองรับการเตรียมเคลื่อน ยายแรงงานมีฝมือและการเปน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่ เขมแข็ง เพื่อสรางขีดความสามารถ ในการแขงขันในเวทีโลก

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 1. การเสริมสรางความรวมมือ ในลักษณะสังคมที่เอื้ออาทร ของประชากรอาเซียน โดยยึด หลักการสําคัญ คือ ความงดงาม ของประชาคมอาเซียนมาจาก ความแตกตางและหลากหลายทาง วัฒนธรรมที่ลวนแตมีคุณคาตอ มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน ซึ่งประชาชนทุกคนตองอนุรักษ สืบสานใหยั่งยืน

2. การเสริมสรางคุณลักษณะ ของผูเรียนใหเปนพลเมืองอาเซียน ที่มีศักยภาพในการกาวเขาสู ประชาคมอาเซียนอยางมั่นใจ เปนผูที่มีสุขภาพสมบูรณแข็งแรง มีทักษะการสื่อสาร ทักษะการ ทํางาน ทักษะทางสังคม สามารถ ทํางานรวมกับผูอื่นไดอยาง สรางสรรค และมีองคความรู เกี่ยวกับอาเซียนที่จําเปนตอการ ดํารงชีวิตอยางมีคุณภาพ

4. การสงเสริมการเรียนรูดาน ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี วิถชี วี ติ ความเปนอยูข องเพือ่ นบาน ในอาเซียน เพื่อสรางจิตสํานึกของ ความเปนประชาคมอาเซียนและ ตระหนักถึงหนาที่ของการเปน พลเมืองอาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการเรียนรูภาษา อังกฤษเพื่อการสื่อสารและการ ทํางานตามมาตรฐานอาชีพที่ กําหนดและสนับสนุนการเรียนรู ภาษาอาเซียนและภาษาเพื่อนบาน เพื่อชวยเสริมสรางสัมพันธภาพทาง สังคม และการอยูรวมกันอยางสันติ ทามกลางความหลากหลายทาง วัฒนธรรม

5. การสรางความรูและความ ตระหนักเกี่ยวกับดานสิ่งแวดลอม ปญหาและผลกระทบตอคุณภาพ ชีวิตของประชากรในภูมิภาค รวมทั้งแนวทางการพัฒนาอยาง ยั่งยืน ใหเปนมรดกสืบทอดแก พลเมืองอาเซียนในรุนหลังตอๆ ไป

กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศนโยบายการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) เพื่อเรงพัฒนาเด็ก และเยาวชนไทยใหเปนทรัพยากรมนุษยของชาติที่มีทักษะและความชํานาญ พรอมเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงและ การแขงขันทั้งในภูมิภาคอาเซียนและภูมิภาคอื่นๆ ของสังคมโลก ทั้งนี้ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และผูปกครอง ควรรวมมือกันอยางใกลชิดในการดูแลชวยเหลือผูเรียนและจัดประสบการณการเรียนรูเพื่อพัฒนาผูเรียนจนเต็มศักยภาพ เพื่อกาวเขาสูการเปนพลเมืองอาเซียนอยางมีเกียรติภูมิและศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของตน คณะผูจัดทํา คูม อื ครู


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 2

ดนตรี-นาฏศิลป (เฉพาะชั้น ป.2)*

ดนตรี

มาตรฐาน ศ 2.1 เขาใจและแสดงออกทางดนตรีอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวิจารณคุณคาดนตรี ถายทอด ความรูสึก ความคิดตอดนตรีอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน ชั้น

ตัวชี้วัด

ป.2 1. จําแนกแหลงกําเนิด ของเสียงที่ไดยิน 2. จําแนกคุณสมบัติ ของเสียงสูง-ตํ่า ดัง-เบา ยาว-สั้น ของดนตรี 3. เคาะจังหวะหรือ เคลื่อนไหวรางกาย ใหสอดคลองกับ เนื้อหาของเพลง 4. รองเพลงงายๆ ที่ เหมาะสมกับวัย 5. บอกความหมายและ ความสําคัญของ เพลงที่ไดยิน

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• สีสันของเสียงเครื่องดนตรี • สีสันของเสียงมนุษย • การฝกโสตประสาท การจําแนกเสียงสูง-ตํ่า ดัง-เบา ยาว-สั้น

• หนวยการเรียนรูท ี่ 1 พืน้ ฐานการดนตรี บทที่ 1 เสียงและคุณสมบัติ ของเสียง

• การเคลื่อนไหวประกอบเนื้อหาในบทเพลง • การเลนเครื่องดนตรีประกอบเพลง

• หนวยการเรียนรูท ี่ 1 พืน้ ฐานการดนตรี บทที่ 2 สนุกกับดนตรี

• การขับรอง

• หนวยการเรียนรูท ี่ 1 พืน้ ฐานการดนตรี บทที่ 3 เพลงไพเราะ

• ความหมายและความสําคัญของเพลงที่ยิน - เพลงปลุกใจ - เพลงสอนใจ

เสร�ม

9

มาตรฐาน ศ 2.2 เขาใจความสัมพันธระหวางดนตรี ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคาของดนตรีที่เปนมรดก ทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทยและสากล ชั้น

ตัวชี้วัด

ป.2 1. บอกความสัมพันธ ของเสียงรอง เสียงเครื่องดนตรี ในเพลงทองถิ่น โดยใชคํางายๆ 2. แสดงและเขารวม กิจกรรมทางดนตรี ในทองถิ่น

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• บทเพลงในทองถิ่น • หนวยการเรียนรูท ี่ 2 - ลักษณะของเสียงรองในบทเพลง เพลงทองถิน่ ภูมปิ ญ ญาทองถิน่ - ลักษณะของเสียงเครื่องดนตรีที่ใชในบทเพลง บทที่ 1 ลักษณะเพลงทองถิ่น • กิจกรรมดนตรีในโอกาสพิเศษ - ดนตรีกับโอกาสสําคัญในโรงเรียน - ดนตรีกับวันสําคัญของชาติ

• หนวยการเรียนรูท ี่ 2 เพลงทองถิน่ ภูมปิ ญ ญาทองถิน่ บทที่ 2 ดนตรีกับกิจกรรม ในวันสําคัญ

_________________________________ * สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. สาระการเรียนรูแ กนกลาง กลุม สาระการเรียนรู ศิลปะ. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 22-50

คูม อื ครู


สาระที่ 3

นาฏศิลป

มาตรฐาน ศ 3.1 เขาใจและแสดงออกทางนาฏศิลปอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวิจารณ คุณคานาฏศิลป ถายทอด ความรูสึก ความคิดอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน ชั้น

เสร�ม

10

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ป.2 1. เคลื่อนไหวขณะ • การเคลื่อนไหวอยางมีรูปแบบ อยูกับที่และเคลื่อนที่ - การนั่ง - การยืน - การเดิน 2. แสดงการเคลื่อนไหว • การประดิษฐทาจากการเคลื่อนไหวอยางมี ที่สะทอนอารมณ รูปแบบ ของตนเองอยาง • เพลงที่เกี่ยวกับสิ่งแวดลอม อิสระ 3. แสดงทาทาง • หลักและวิธีการปฏิบัตินาฏศิลป เพื่อสื่อความหมาย - การฝกภาษาทาสือ่ ความหมายแทนอากัปกิรยิ า แทนคําพูด - การฝกนาฏยศัพทในสวนลําตัว 4. แสดงทาทาง • การใชภาษาทาและนาฏยศัพทประกอบจังหวะ ประกอบจังหวะ อยางสรางสรรค 5. ระบุมารยาทในการ • มารยาทในการชมการแสดง การเขาชม ชมการแสดง หรือมีสวนรวม

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• หนวยการเรียนรูท ี่ 3 พืน้ ฐานนาฏศิลป บทที่ 1 การเคลื่อนไหว เบื้องตน

• หนวยการเรียนรูท ี่ 3 พืน้ ฐานนาฏศิลป บทที่ 2 ภาษาทาและ นาฏยศัพท

• หนวยการเรียนรูท ี่ 3 พืน้ ฐานนาฏศิลป บทที่ 3 การชมการแสดง

มาตรฐาน ศ 3.2 เขาใจความสัมพันธระหวางนาฏศิลป ประวัตศิ าสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคาของนาฏศิลปทเี่ ปนมรดก ทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทยและสากล ชั้น

ตัวชี้วัด

ป.2 1. ระบุและเลน การละเลนพื้นบาน

สาระการเรียนรูแกนกลาง

• การละเลนพื้นบาน - วิธีการเลน - กติกา 2. เชือ่ มโยงสิง่ ทีพ่ บเห็น • ที่มาของการละเลนพื้นบาน ในการละเลนพืน้ บาน กับสิ่งที่พบเห็น ในการดํารงชีวิต ของคนไทย 3. ระบุสิ่งที่ชื่นชอบ • การละเลนพื้นบาน และภาคภูมิใจใน การละเลนพื้นบาน

คูม อื ครู

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• หนวยการเรียนรูท ี่ 4 นาฏศิลปพนื้ บาน บทที่ 1 การละเลนพื้นบาน


คําอธิบายรายวิชา รายวิชา ดนตรี-นาฏศิลป ชั้นประถมศึกษาปที่ 2 รหัสวิชา ศ…………………………………

กลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ ภาคเรียนที่ 1-2 เวลา 50 ชั่วโมง/ป

ศึกษา วิเคราะห จําแนกแหลงกําเนิดของเสียงที่ไดยิน คุณสมบัติของเสียงสูง-ตํ่า ดัง-เบา ยาว-สั้น เสร�ม ของดนตรี สามารถเคาะจังหวะหรือเคลื่อนไหวรางกายใหสอดคลองกับเนื้อหาในบทเพลง รองเพลงงายๆ ที่ 11 เหมาะสมกับวัยได พรอมบอกความหมายและความสําคัญของเพลงปลุกใจและเพลงสอนใจ เขาใจลักษณะของเสียงรองและเสียงเครื่องดนตรีที่ใชในบทเพลง แสดงและเขารวมกิจกรรมทางดนตรี ในโอกาสพิเศษ อาทิ การเคลื่อนไหวอยางมีรูปแบบ การเคลื่อนไหวที่สะทอนอารมณของตนเองอยางอิสระ แสดงทาทางเพื่อสื่อความหมายแทนคําพูด ใชภาษาทาและนาฏยศัพทประกอบจังหวะ และระบุมารยาทใน การชมการแสดง ระบุที่มา วิธีการเลน กติกา และเลนการละเลนพื้นบาน และสามารถเชื่อมโยงสิ่งที่พบเห็น ในการละเลนพื้นบานกับสิ่งที่พบเห็นในการดํารงชีวิตของคนไทย โดยใชทกั ษะกระบวนการทางดนตรีและนาฏศิลปในการแสดงออกทางดนตรีและนาฏศิลปอยางสรางสรรค การวิเคราะห วิพากษวิจารณคุณคางานดนตรีและนาฏศิลป เพื่อใหเห็นคุณคางานดนตรีและนาฏศิลปที่เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น และเขาใจ ความสัมพันธระหวางดนตรี-นาฏศิลป กับประวัติศาสตรและวัฒนธรรม และการนําความรูไปประยุกตใช ในชีวิตประจําวัน มีจริยธรรม คุณธรรม และคานิยมที่เหมาะสม ตัวชี้วัด ศ 2.1 ศ 2.2 ศ 3.1 ศ 3.2

ป.2/1 ป.2/1 ป.2/1 ป.2/1

ป.2/2 ป.2/2 ป.2/2 ป.2/2

ป.2/3

ป.2/4

ป.2/5

ป.2/3 ป.2/4 ป.2/3 รวม 15 ตัวชี้วัด

ป.2/5

คูม อื ครู


จุดเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน* การขับเคลื่อนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 และการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษ ที่สอง (พ.ศ. 2552-2561) ใหประสบผลสําเร็จตามจุดเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน โดยใหทุกภาคสวน รวมกันดําเนินการ กระทรวงศึกษาธิการไดกําหนดจุดเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน ดังนี้ เสร�ม

12

ทักษะ ความสามารถ

คุณลักษณะ จุดเนนตามชวงวัย

ม. 4-6

แสวงหาความรู เพื่อแกปญหา ใชเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู ใชภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) มีทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

ม. 1-3

แสวงหาความรูดวยตนเอง ใชเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู มีทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

• อยูอยางพอเพียง

ป. 4-6

อานคลอง เขียนคลอง คิดเลขคลอง ทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

• ใฝเรียนรู

ป. 1-3

อานออก เขียนได คิดเลขเปน มีทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

• ใฝดี

• มุงมั่นในการศึกษา และการทํางาน

คุณลักษณะตามหลักสูตร

• รักชาติ ศาสน กษัตริย • ซื่อสัตยสุจริต • มีวินัย • ใฝเรียนรู • อยูอยางพอเพียง • มุงมั่นในการทํางาน • รักความเปนไทย • มีจิตสาธารณะ

* สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. แนวทางการนําจุดเนนการพัฒนาผูเรียน สูการปฏิบัติ. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2553), หนา 3-10.

คูม อื ครู


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุEngage นความสนใจ

สํารวจค Exploreนหา

อธิบExplain ายความรู

Expand าใจ ขยายความเข

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹

´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÔÅ»Š ».ò ªÑé¹»ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè ò

¡ÅØ‹ÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ÈÔŻРµÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ

¼ÙŒàÃÕºàÃÕ§ ÃÈ. »Ãзջ ¹Ñ¡»‚› ¹Ò§ÈÈԸà ¹Ñ¡»‚› ¼ÙŒµÃǨ

¹Ò»ÃФͧ àÍÕèÂÁÈÔÃÔ ¹ÒÂÊÔ·¸ÔªÑ µÑ¹à¨ÃÔÞ ¹Ò§ÇÔÀҾà ¾ÂѦÇÃó

ºÃóҸԡÒà ¹Ò¸¹¡Ã ÍÂًʧ¤

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè ø

ʧǹÅÔ¢ÊÔ·¸ÔìµÒÁ¾ÃÐÃÒªºÑ- - ÑµÔ ISBN : 978-616-203-154-0 ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ ñòñõðòõ

¤Œ¹¤ÇÒÁÃÙŒ¢ÂÒ¤ÇÒÁ¤Ô´¨Ò¡ ¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè ñ ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ ñòôõðôð

EB GUIDE

ที่พิมพกํากับหัวขอสําคัญในหนังสือเรียนหลักสูตรใหม ชั้น ป.๔ ขึ้นไป ผาน www.aksorn.com ไปยังแหลงความรูทั่วไทย-ทั่วโลก

( ดูแผนผังความคิดฯ ไดทปี่ กหลังดานใน)

Evaluate ตรวจสอบผล


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุEngage นความสนใจ

Exploreนหา สํารวจค

อธิบExplain ายความรู

Expand าใจ ขยายความเข

Evaluate ตรวจสอบผล

คําชี้แจงในการใชสื่อ ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ´¹µÃÕ-¹Ò¯ÈÔÅ»Š ».ò àÅ‹Á¹Õé ÀÒÂã¹àÅ‹Á¹íÒàʹ͡ÒèѴ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹໚¹ ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ¤Ãº¶ŒÇ¹µÒÁÁҵðҹµÑǪÕéÇÑ´ªÑé¹»‚ áÅÐÊÒÃСÒÃàÃÕ¹Ãٌ᡹¡ÅÒ§ â´Â์¹ ¡ÒÃÍ͡Ẻ¡Ô¨¡ÃÃÁãËŒÊÑÁ¾Ñ¹¸ ¡Ñº¸ÃÃÁªÒµÔ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ¢Í§áµ‹ÅСÅØ‹ÁÊÒÃÐ áÅФÇÒÁʹ㨠¢Í§¼ÙŒàÃÕ¹ᵋÅФ¹

เปาหมายการเรียนรู

สาระสําคัญ

กําหนดระดับความรูความสามารถ ของผูเรียนเมื่อเรียนจบหนวย

แกนความรูที่เปนความเขาใจคงทน ติดตัวผูเรียน

ñ พื้นฐานการดนตรี ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

º··Õè

เสียงและคุณสมบัติ ของเสียง

เปาหมายการเรียนรูประจําหนวยที่ ๑ เมื่อเรียนจบหนวยน�้ ผูเรียนจะมีความรูความสามารถตอไปน�้ ๑. จําแนกแหลงกําเนิดของเสียงที่ไดยิน (มฐ. ศ ๒.๑ ป. ๒/๑) ๒. จําแนกคุณสมบัตขิ องเสียงสูง -ตํา่ ดัง-เบา ยาว-สัน้ ของดนตรี (มฐ. ศ ๒.๑ ป. ๒/๒) ๓. เคาะจังหวะหรือเคลื่อนไหวรางกายใหสอดคลองกับเน�้อหา ของเพลง (มฐ. ศ ๒.๑ ป. ๒/๓) ๔. รองเพลงงายๆ ที่เหมาะสมกับวัย (มฐ.ศ ๒.๑ ป.๒/๔) ๕. บอกความหมายและความสําคัญของเพลงที่ไดยิน (มฐ. ศ ๒.๑ ป. ๒/๕)

¡Ô¨¡ÃÃÁ¹ÒÊÙ ¨¡ÃÃÁ¹ÒÊÙ‹¡ÒÃàÃÕ¹

ñ

สาระสําคัญ เสียงที่ไดยนิ มีความแตกตางกัน หรือคลายกันตามแหลง กําเนิดเสียง ทําใหเกิดสีสันของเสียง ตามคุณสมบัติ ของเสียง เชน เสียงสูง-ตํ่า เสียงดัง-เบา เสียงยาว-สั้น เปนตน

? àÊÕ§µÕâ·¹ ÃíÒÁÐ¹Ò àÊÕ§ໆҢÅØ‹Â áÅÐàÊÕ§µÕ©Ôè§ ÁÕÅѡɳÐᵡµ‹Ò§¡Ñ¹Í‹ҧäÃ

ภาพหนาหนวยการเรียนรู เปนภาพประกอบขนาดใหญ ชวยกระตุนความสนใจของผูเรียน

¡Ô¨¡ÃÃÁ¹ÓÊÙ‹¡ÒÃàÃÕ¹ นําเขาสูบทเรียนใชกระตุนความสนใจ และวัดประเมินผลกอนเรียน


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุEngage นความสนใจ

ÃÙËŒ Ã×ÍäÁ‹Ç‹Ò... เกร็ดความรูที่นาสนใจ ชวยตอยอดความรูเดิม โดยเพิ่มความรูใหม

สํารวจค Exploreนหา

อธิบExplain ายความรู

Expand าใจ ขยายความเข

เนือ้ หา

¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ

ครบตามหลักสูตรแกนกลางฯ พ.ศ. ๒๕๕๑ นําเสนอ เหมาะสม กับการเรียนการสอนในแตละระดับชั้น

๒. สีสันของเสียงมนุษย เนื่องจากคนเรามีความแตกตางกันหลายอยางไมวาจะเปนรูปรางหนาตา และลักษณะตางๆ รวมถึงเสียงพูดของแตละคนไมเหมือนกัน จึงทําใหเสียงขับรอง แตกตางกันไปดวย การทีค่ นสามารถปรับเสียงใหมรี ะดับเสียงสูงและตํา่ ได ทําใหสามารถเลียน เสียงตางๆ รอบตัวไดใกลเคียง เสียงคนจึงมีลักษณะเปนเสียงดนตรีชนิดหนึ่ง

Evaluate ตรวจสอบผล

มอบหมายนักเรียนฝกปฏิบัติ เพื่อ พัฒนาความรูแ ละทักษะประจําหนวย

¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ฝกคิด ฉลาดทํา ๑. ฟงเสียงคนในวัยตางๆ มา ๕ ครั้ง แลวบันทึกลักษณะของเสียงที่ไดยิน ลักษณะของเสียงที่ไดยิน

ครั้งที่

ÃÙËŒ Ã×ÍäÁ‹Ç‹Ò...

คนชรา

เสียงของคนเราเกิดขึ้นไดอยางไร เสียงของคนเกิดจากการสัน่ สะเทือนของเสนเสียงทีอ่ ยูในลําคอ และอาศัยอวัยวะสวนอืน่ ๆ ชวยปรับ เสียงใหมีระดับเสียงสูงและตํ่าตามตองการ

ผูชาย

ผูหญิง

เด็ก

ทึก

แบบบัน

ตัวอยาง

๒. เลือกฟงเสียงเครื่องดนตรีที่กําหนดให แลวบันทึกเสียงที่ไดยิน àÊÕ§ÊÙ§¢Í§¼ÙŒªÒ ÈѾ· ·Ò§´¹µÃÕ àÃÕÂ¡Ç‹Ò à·à¹Íà (Tenor) àÊÕ§µíèҢͧ¼ÙŒªÒ ÈѾ· ·Ò§´¹µÃÕ àÃÕÂ¡Ç‹Ò àºÊ (Bass)

เสียงขับรองของคนแตละคน มีความแตกตางกันตามเพศและวัย ใน หลักการทางดนตรีจะแบงเสียงขับรอง เปน ๔ ประเภท คือ เสียงสูงของผูหญิง และผูชาย เสียงตํ่าของผูหญิงและผูชาย ซอสามสาย

àÊÕ§ÊÙ§¢Í§¼ÙŒËÞÔ§ ÈѾ· ·Ò§´¹µÃÕ àÃÕÂ¡Ç‹Ò â«»ÃÒâ¹ (Soprano) àÊÕ§µíèҢͧ¼ÙŒËÞÔ§ ÈѾ· ·Ò§´¹µÃÕ àÃÕÂ¡Ç‹Ò ÍÑÅâµ (Alto)

ครั้งที่

๑ ๒ ๓

 ʹ·¹Ò¡ÑºÈÔÅ» ¹ ๖

นักเรียนคิดวา เสียงของเพื่อนๆในหอง มีลักษณะเหมือนกันหรือไม เพราะเหตุใด

ระนาดเอก

กีตาร

แซ็กโซโฟน

ประเภท ของเครื่องดนตรี (ดีด สี ตี เปา)

ดัง

เบา

สั้น

ยาว

สูง

ตํ่า

……………………………………………

……………………………………………

…………..

…………..

…………..

…………..

…………..

…………..

……………………………………………

……………………………………………

แบ ตัวอยาง

…………..

…………..

…………..

…………..

…………..

…………..

……………………………………………

……………………………………………

…………..

…………..

…………..

…………..

…………..

…………..

……………………………………………

……………………………………………

…………..

…………..

…………..

…………..

…………..

…………..

ชื่อเครื่องดนตรี

คุณสมบัติของเสียง

บบันทึก

สัญลักษณแทนการปฏิบัติ กิจกรรมเดี่ยว สัญลักษณแทนการปฏิบัติ กิจกรรมกลุม

ภาพประกอบเนือ้ หา

เปนภาพประกอบ ๔ สี แทรกอยูตลอดเลม ชวยเสริมสรางความเขาใจ

 ʹ·¹Ò¡ÑºÈÔÅ» ¹ คํ า ถามกระตุ  น ให ผู  เ รี ย นได ต  อ ยอด ความรูที่ไดในบทเรียน


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุEngage นความสนใจ

Exploreนหา สํารวจค

อธิบExplain ายความรู

Expand าใจ ขยายความเข

Evaluate ตรวจสอบผล

สารบั ญ

ห น ว ย การเรียนรูที่

พื้นฐานการดนตรี

เพลงทองถิ่น ภูมิปญญาทองถิ่น

๒๒

พื้นฐานนาฏศิลป

๓๑

นาฏศิลปพื้นบาน

๕๓

บทที่ ๑ เสียงและคุณสมบัติของเสียง บทที่ ๒ สนุกกับดนตรี บทที่ ๓ เพลงไพเราะ

ห น ว ย การเรียนรูที่

บทที่ ๑ ลักษณะเพลงทองถิ�น บทที่ ๒ ดนตรีกับกิจกรรมในวันสําคัญ

ห น ว ย การเรียนรูที่

บทที่ ๑ การเคลื่อนไหวเบื้องตน บทที่ ๒ ภาษาทาและนาฏยศัพท บทที่ ๓ การชมการแสดง

ห น ว ย การเรียนรูที่

บทที่ ๑ การละเลนพื้นบาน

บรรณานุกรม

๒ ๙ ๑๖ ๒๓ ๒๗

๓๒ ๓๙ ๕๐

๕๔

๖๐


กระตุน ความสนใจ กระตุEngage นความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

ñ พื้นฐานการดนตรี

กระตุน ความสนใจ

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

Engage

1. ครูนําเสียงการบรรเลงเครื่องดนตรีไทย แตละชนิดมาใหนักเรียนฟง แลวใหนักเรียน บอกวา เสียงที่ไดยินเปนเสียงของเครื่องดนตรี ชนิดใด 2. ใหนักเรียนดูภาพในหนังสือ หนา 1 แลวถามนักเรียน ดังนี้ • เครื่องดนตรีที่เห็นในภาพ เปนเครื่องดนตรี ชนิดใด (ตอบ ซออู โดยสังเกตจากกะโหลกซอ) • หากตองการเลนเครื่องดนตรีในภาพ ใหมีความไพเราะ นักเรียนควรทําอยางไร (ตอบ ตองเรียนรูวิธีการเลนอยางถูกตอง รวมทั้งยังตองรูเรื่องโนตดนตรีไทยอีกดวย)

เปาหมายการเรียนรู้ประจ�าหน่วยที่ ๑ เมื่อเรียนจบหน่วยน�้ ผู้เรียนจะมีความรู้ความสามารถต่อไปน�้ ๑. จ�าแนกแหล่งก�าเนิดของเสียงที่ได้ยิน (มฐ. ศ ๒.๑ ป. ๒/๑) ๒. จ�าแนกคุณสมบัตขิ องเสียงสูง -ต�า่ ดัง-เบา ยาว-สัน้ ของดนตรี (มฐ. ศ ๒.๑ ป. ๒/๒) ๓. เคาะจังหวะหรือเคลื่อนไหวร่างกายให้สอดคล้องกับเน�้อหา ของเพลง (มฐ. ศ ๒.๑ ป. ๒/๓) ๔. ร้องเพลงง่ายๆ ที่เหมาะสมกับวัย (มฐ.ศ ๒.๑ ป.๒/๔) ๕. บอกความหมายและความส�าคัญของเพลงที่ได้ยิน (มฐ. ศ ๒.๑ ป. ๒/๕)

เกร็ดแนะครู ในหนวยการเรียนรูที่ 1 มีเนื้อหา ดังนี้ 1. แหลงกําเนิดเสียงและคุณสมบัติของเสียง (ตรงกับ มฐ. ศ 2.1 ป.2/1, ป.2/2) 2. การฝกเลนดนตรีและการเคลื่อนไหวรางกายประกอบเพลง (ตรงกับ มฐ. ศ 2.1 ป.2/3) 3. การขับรองเพลงไทย เพลงไทยสากล เพลงปลุกใจ และเพลงสอนใจ (ตรงกับ มฐ. ศ 2.1 ป.2/4, ป.2/5)

มุม IT ครูศึกษาเสียงการบรรเลงเครื่องดนตรีไทย และเปดใหนักเรียนฟง ไดที่ http://www.culture.go.th/research/musical/html/th download.htm

คูมือครู

1


กระตุน ความสนใจ กระตุEngage นความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

เปาหมายการเรียนรู

1. จําแนกแหลงกําเนิดเสียงที่ไดยิน (ศ 2.1 ป.2/1) 2. บอกคุณสมบัติของเสียงของเสียงดนตรีที่ไดยิน (ศ 2.1 ป.2/2)

º··Õè

เสียงและคุณสมบัติ ของเสียง

สมรรถนะของผูเรียน ความสามารถในการสื่อสาร

¡Ô¨¡ÃÃÁ¹ÒÊÙ‹¡ÒÃàÃÕ¹

ñ

สาระส�าคัญ เสียงที่ได้ยนิ มีความแตกต่างกัน หรือคล้ายกันตามแหล่ง ก�าเนิดเสียง ท�าให้เกิดสีสันของเสียง ตามคุณสมบัติ ของเสียง เช่น เสียงสูง-ต�่า เสียงดัง-เบา เสียงยาว-สั้น เป็นต้น

คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. ใฝเรียนรู 2. รักความเปนไทย ขลุย

กระตุน ความสนใจ

Engage

1. ใหนักเรียนดูภาพในหนังสือ หนา 2 แลวครูถาม นักเรียน ดังนี้ • ในภาพมีเครื่องดนตรีชนิดใดบาง (ตอบ โทน รํามะนา ขลุย ฉิ่ง ฆองวง) • เสียงของเครื่องดนตรีแตละชิ้น เกิดจาก วิธีการใดบาง (แนวตอบ - โทน รํามะนา ฉิ่ง และฆองวง เกิดจากวิธีการตี - ขลุย เกิดจากวิธีการเปา) 2. ครูนําวีดิทัศนการแสดงการเลนดนตรีจาก สื่อตางๆ มาใหนักเรียนดู แลวรวมกันบอกวา เสียงดนตรีที่นักเรียนไดยิน เปนเสียงของ เครื่องดนตรีชนิดใดบาง

โทน

? àÊÕ§µÕâ·¹ ÃíÒÁÐ¹Ò àÊÕ§ໆҢÅØ‹Â áÅÐàÊÕ§µÕ©Ôè§ ÁÕÅѡɳÐᵡµ‹Ò§¡Ñ¹Í‹ҧäÃ

เกร็ดแนะครู ครูจัดกระบวนการเรียนรูโดยการใหนักเรียนปฏิบัติ ดังนี้ • อภิปรายถึงแหลงกําเนิดเสียง สีสันของเสียงเครื่องดนตรี สีสันของเสียงมนุษย • อธิบายคุณสมบัติของเสียงที่ไดยิน จนสามารถจําแนกแหลงกําเนิดเสียง และบอกคุณสมบัติของเสียงดนตรีที่ไดยิน

มุม IT ครูศึกษาการแสดงของวงดนตรีไทย และแนะนําใหนักเรียนชม ไดที่ http://www.youtube.com/watch?v=XSMOybfBxvE

คูมือครู

ฉิง่

รํามะนา

2

ฆองวง


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ Expand าใจ ขยายความเข

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

Engage

สํารวจค Exploreนหา

อธิบExplain ายความรู

สํารวจคนหา

1. ครูทําเสียงใหนักเรียนฟงทีละเสียง ดังนี้ • จิ๊บ จิ๊บ • โฮง โฮง • เปรี้ยง เปรี้ยง • มอ มอ • ชึกชั่ก ชึกชั่ก • กาบ กาบ 2. ใหนักเรียนรวมกันบอกวา เสียงที่ฟงเปนเสียง ที่มาจากแหลงใด

1

แหลงกําเนิดเสียง เสียงทีเ่ ราได้ยนิ มาจากแหล่งก�าเนิดต่างๆ ทีอ่ ยูร่ อบตัวเรา เสียงทีก่ า� เนิดจาก สิ่งที่ไม่เหมือนกัน จะมีลักษณะเสียงแตกต่างกัน ท�าให้เราสามารถแยกแยะหรือ จ�าแนกเสียงที่ได้ยินได้ว่า เป็นเสียงของอะไร หรือมาจากแหล่งก�าเนิดชนิดใด

¨Ôêº...

ªÖ¡...

Explore

อธิบายความรู

¨Ôêº

1. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเฉลยคําตอบ ที่มาของเสียงที่ครูถามในขางตน และให นักเรียนตรวจคําตอบของตนเองวาถูกตอง หรือไม โดยดูขอมูลในหนังสือ หนา 3 ประกอบ 2. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายถึงแหลงกําเนิดเสียง จนเขาใจวา เสียงตางๆ ทีไ่ ดยนิ นัน้ มักมีลกั ษณะ แตกตางกันไป เราจึงสามารถจําแนกเสียงที่ ไดยินวา เปนเสียงอะไร

à»ÃÕé§ ÇÙé...ÇÙé

ªÑè¡

Explain

ขยายความเขาใจ

Expand

ใหนักเรียนทําแบบบันทึกเสียงตางๆ ที่ไดยิน ในหองเรียน หรือรอบๆ หองเรียน โดยอาจใช ตารางบันทึกดังตัวอยาง

âÎè§... âÎè§ ¡éÒº... ¡éÒº

เสียงที่ไดยิน กริ๊ง กริ๊ง โครม

ÁÍ... ÁÍ

แหลงที่มาของเสียง เสียงโทรศัพท เสียงโตะลม

จากนั้นใหนักเรียนนําแบบบันทึกมานําเสนอ หนาชั้นเรียน ใหเพื่อนแสดงความคิดเห็นวา เสียง ที่เพื่อนบันทึกมานั้นถูกตองหรือไม และรวมกัน อภิปรายสรุปแหลงที่มาของเสียงอีกครั้ง

ขอสอบเนนการคิด

จากภาพ นาจะเกิดเสียงดังอยางไร ก. หวอ หวอ ข. บรึ้น บรึ้น ค. เหงง หงาง ง. กอก กอก

วิเคราะหคําตอบ คําตอบที่ถูก คือ ขอ ข. เพราะเปนภาพคนขี่ รถจักรยานยนต เสียงที่ไดยินจึงตองเปนเสียงเรงเครื่องของรถจักรยานยนต คือ บรึ้น บรึ้น

เกร็ดแนะครู ครูอาจใหนักเรียนวาดภาพระบายสีสิ่งที่ใหกําเนิดเสียง และบอกเสียงที่คาดวา จะไดยิน แลวแลกกันดูกับเพื่อน เพื่อตรวจสอบวา เพื่อนบอกสิ่งที่ใหกําเนิดเสียง และเสียงไดถูกตองหรือไม

นักเรียนควรรู 1 เสียง คนเราไดยนิ เสียงตางๆ ได เกิดจากองคประกอบ 3 สวน คือ 1. แหลงกําเนิดเสียง หมายถึง สิง่ ทีใ่ หกาํ เนิดเสียงตางๆ เชน นกรอง วัวรอง เปนตน 2. ตัวกลางเสียง หมายถึง สิง่ ทีเ่ ปนสือ่ ใหเสียงเดินทางมาถึงเรา ไดแก ของแข็ง ของเหลว และแกส 3. อวัยวะรับเสียง หมายถึง หูของคนเรา คูมือครู

3


กระตุนความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

Exploreนหา สํารวจค

สํารวจคนหา

Explore

1. ใหนักเรียนบอกชื่อเครื่องดนตรีไทยชนิดตางๆ ที่นักเรียนรูจัก และบอกวาเปนเครื่องดนตรี ประเภทใด 2. ใหนกั เรียนสืบคนขอมูลเกีย่ วกับเครือ่ งดนตรีไทย จากหองสมุดหรืออินเทอรเน็ต คนละ 1 ชนิด โดยครูใหคําแนะนําในการสืบคน

อธิบายความรู

สีสันของเสียง เสียงต่างๆ ที่ได้ยินรอบๆ ตัว เกิดจากแหล่งก�าเนิดที่แตกต่างกัน เสียงจึง มีลักษณะไม่เหมือนกัน เสียงที่แตกต่างกันนี้ เรียกว่า สีสันของเสียง ๑. สีสันของเสียงเครื่องดนตรี เครื่องดนตรีชนิดต่างๆ ที่มีลักษณะแตกต่างกัน ท�าให้เกิดเสียงดนตรี ที่ไม่เหมือนกัน เมื่อได้ยินจึงบอกได้ว่า เป็นเสียงของเครื่องดนตรีชนิดใด ๑) สีสันของเครื่องดนตรีประเภทเครื่องดีด เสียงที่ก�าเนิดจากเครื่องดีด เกิดจากวิธีการใช้นิ้ว หรืออุปกรณ์อื่นเขี่ยหรือดีดสายที่ขึงตึง ท�าให้เกิดเสียงดัง กังวาน เครื่องดนตรีประเภทนี้มีหลายชนิด เช่น จะเข้ กระจับป ซึง เป็นต้น

Explain

1. ใหนักเรียนออกมานําเสนอขอมูลที่สืบคนมา หนาชั้นเรียน 2. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายใหเขาใจวา เสียงทีเ่ กิดจากการบรรเลงเครือ่ งดนตรีแตละชนิด มีลักษณะไมเหมือนกัน เพราะลักษณะของ เครื่องดนตรีแตละชนิดแตกตางกัน เสียงที่ แตกตางกันนี้ เรียกวา สีสันของเสียง 3. ใหนักเรียนชวยกันอธิบายลักษณะการเกิดเสียง ของเครื่องดนตรีประเภทเครื่องดีดและเครื่องสี แลวครูอธิบายเพิ่มเติมโดยใหนักเรียนดูเนื้อหา ในหนังสือ หนา 4 ประกอบ

ลูกบิด หย่อง นม

ไม้ดีด

1

จะเข้เป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องดีด สันนิษฐานว่ามาจากมอญ มีลักษณนามเรียกว่า ตัว

๒) สีสันของเครื่องดนตรี ประเภทเครือ่ งสี เครือ่ งดนตรีประเภท เครื่องสี ท�าให้เกิดเสียงโดยการน�า วัตถุ ๒ ชนิดมาเสียดสีหรือถูกนั ท�าให้ เกิดเสียงลักษณะต่างๆ เครื่องดนตรี ประเภทนี้มีหลายชนิด เช่น ซอด้วง ซออู้ ซอสามสาย สะล้อ เป็นต้น

ลูกบิด

คันชัก

2

กระบอก

ซอด้วงเป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสี มีเสียงสูงแหลม มีลักษณนามเรียกว่า คัน

นักเรียนควรรู 1 ไมดีด ไมดีดจะเขสวนมากทําดวยงาหรือเขาสัตว กลึงเปนทอนกลม ปลายเรียว แหลมมน เวลาใชงานตองพันติดนิ้วชี้มือขวาใหแนนและถูกหลักการพันดวย 2 คันชัก เปนอุปกรณที่ใชบรรเลงเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสี โดยใช สวนประกอบที่เปนหางมาหรือเอ็น ถูสายซอตามจังหวะและทํานองเพลง

บูรณาการอาเซียน กระปอ (Krapeu) เปนเครื​ื่องดนตรีชนิดหนึ่ง ของประเทศกัมพูชา ที่มีลักษณะคลายกับจะเข ของไทย

4

คูมือครู

กิจกรรมทาทาย ใหนักเรียนเลนเกมโดยการแบงนักเรียนออกเปน 2 กลุม กลุมที่ 1 ออกไปเขียนชื่อเครื่องดนตรีประเภทเครื่องดีด กลุมที่ 2 ออกไปเขียนชื่อเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสี โดยสามารถเขียนไดทั้งชื่อเครื่องดนตรีไทยและชื่อเครื่องดนตรีสากล รวมกัน กลุมใดสามารถเขียนไดมากกวาในเวลาที่กําหนด และถูกตอง เปนผูชนะ


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

1. ใหนักเรียนชวยกันอธิบายลักษณะของการ เกิดเสียงของเครื่องดนตรีประเภทเครื่องตี และเครื่องเปา แลวครูอธิบายเพิ่มเติม โดยให นักเรียนดูเนื้อหาในหนังสือ หนา 5 ประกอบ 2. ใหนักเรียนชวยกันอธิบายลักษณะการเกิดเสียง ของเครื่องดนตรีไทยอีก 2-3 ชนิด เชน • เสียงของตะโพน เกิดจากการใชมือตีกระทบ หนังสัตวตรงหนากลอง • เสียงของปชวา เกิดจากการใชปากเปา ที่ปากเปาของเครื่องดนตรี แลวครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจ มากยิ่งขึ้น

๓) สีสนั ของเครือ่ งดนตรีประเภทเครือ่ งตี เสียงของเครือ่ งดนตรีประเภท เครื่องตี เกิดจากวิธีการใช้วัตถุ ๒ ชิ้น มากระทบกันจนเกิดเป็นเสียงตามลักษณะ วัตถุชนิดนั้น เช่น เสียงของโลหะกระทบกัน เสียงของไม้กระทบกัน เสียงของ ไม้ตีกระทบหนังสัตว์ เป็นต้น เครื่องดนตรีประเภทนี้มีหลายชนิด เช่น ฉิ่ง ฉาบ ระนาดเอก ระนาดทุ้ม ตะโพน กลองทัด เป็นต้น โขน

รางระนาด ไม้ตีระนาด

Explain

เชือกร้อยลูกระนาด

ระนาดเอกเป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องตี และใช้เป็นเครื่องดนตรีน�าของวงปพาทย์ มีลักษณนามเรียกว่า ราง

๔) สีสันของเครื่องดนตรีประเภทเครื่องเปา เสียงของเครื่องดนตรี ประเภทเครื่องเป่า เกิดจากการบังคับลมที่พอเหมาะ ผ่านเข้าไปในเครื่องเป่า ชนิดต่างๆ โดยอาจผ่านกลไกของเครือ่ งดนตรีทา� ให้เกิดแรงดันของลมทีท่ า� ให้เกิด ระดับเสียงที่แตกต่างกันและมีความไพเราะ เครื่องดนตรีประเภทนี้มีหลายชนิด 1 เช่น ขลุ่ยเพียงออ ขลุ่ยหลีบ ขลุ่ยอู้ ปใน ปชวา ปมอญ เป็นต้น รูให้ระดับเสียง ด้านบน ด้านล่าง

รูร้อยเชือก

รูปากนกแก้ว

ขลุ่ยเป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่า มีลักษณนามเรียกว่า เลา

5

ขอใดเปนลักษณะเสียงที่เกิดขึ้น จากการตีฉิ่ง ดังภาพ ก. เสียงสั้น ข. เสียงตํ่า ค. เสียงยาว ง. เสียงดังมาก

ขอสอบเนนการคิด

วิเคราะหคําตอบ คําตอบที่ถูก คือ ขอ ค. เพราะการตีฉิ่งในภาพทําให เกิดเสียงดัง “ฉิ่ง” ซึ่งเปนเสียงกระทบกันของโลหะ แลวสะบัดขอมือออกทันที ทําใหเกิดเสียงดังกังวานและมีความตอเนื่อง ซึ่งลักษณะเสียงเชนนี้ เปนลักษณะของเสียงยาว

นักเรียนควรรู 1 ขลุยเพียงออ เปนเครือ่ งดนตรีทใี่ ชในการเทียบเสียงเครือ่ งดนตรีในวงดนตรีไทย เพราะมีเสียงทีเ่ ปนมาตรฐาน เสียงโดของขลุย เพียงออ เทียบเทากับเสียงทีแฟล็ตของ ดนตรีสากล

มุม IT ครูศึกษาเสียงเครื่องดนตรีชนิดตางๆ ไดที่ http://www.culture.go.th/research/musical/html/th download.htm

คูมือครู

5


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ Expand าใจ ขยายความเข

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบExplain ายความรู

Explain

1. ใหนักเรียน 4-5 คน สงเสียงรอง แลวใหนักเรียน ที่เหลือฟงเสียง และวิเคราะหเปรียบเทียบ เสียงของเพือ่ นวาแตกตางหรือเหมือนกันอยางไร (ใหนักเรียนแสดงความคิดเห็นตามความคิด อยางอิสระ) 2. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายถึงลักษณะเสียง ของมนุษยใหเขาใจวา เสียงของมนุษยมีความ แตกตางกันตามเพศและวัย โดยครูอธิบาย เพิ่มเติมวา ในหลักการทางดนตรีจะแบงเสียง ขับรองออกเปน 4 ประเภท คือ • เสียงสูงของผูหญิง • เสียงสูงของผูชาย • เสียงตํ่าของผูหญิง • เสียงตํ่าของผูชาย

ขยายความเขาใจ

อธิบายความรู

๒. สีสันของเสียงมนุษย์ เนื่องจากคนเรามีความแตกต่างกันหลายอย่างไม่ว่าจะเป็นรูปร่างหน้าตา และลักษณะต่างๆ รวมถึงเสียงพูดของแต่ละคนไม่เหมือนกัน จึงท�าให้เสียงขับร้อง แตกต่างกันไปด้วย การทีค่ นสามารถปรับเสียงให้มรี ะดับเสียงสูงและต�า่ ได้ ท�าให้สามารถเลียน เสียงต่างๆ รอบตัวได้ใกล้เคียง เสียงคนจึงมีลักษณะเป็นเสียงดนตรีชนิดหนึ่ง

ÃÙËŒ Ã×ÍäÁ‹Ç‹Ò... เสียงของคนเราเกิดขึ้นได้อย่างไร 1 เสียงของคนเกิดจากการสัน่ สะเทือนของเส้นเสียงทีอ่ ยู่ในล�าคอ และอาศัยอวัยวะส่วนอืน่ ๆ ช่วยปรับ เสียงให้มีระดับเสียงสูงและต�่าตามต้องการ àÊÕ§ÊÙ§¢Í§¼ÙŒªÒ ÈѾ· ·Ò§´¹µÃÕ àÃÕÂ¡Ç‹Ò à·à¹Íà (Tenor) àÊÕ§µíèҢͧ¼ÙŒªÒ ÈѾ· ·Ò§´¹µÃÕ àÃÕÂ¡Ç‹Ò àºÊ (Bass)

Expand

1. ใหนักเรียนทํากิจกรรมการเรียนรูในหนังสือ หนา 8 ขอ 1 2. ครูถามคําถามสนทนากับศิลปน แลวใหนักเรียน ชวยกันตอบ

เสียงขับร้องของคนแต่ละคน มีความแตกต่างกันตามเพศและวัย ใน หลักการทางดนตรีจะแบ่งเสียงขับร้อง เป็น ๔ ประเภท คือ เสียงสูงของผู้หญิง และผู้ชาย เสียงต�่าของผู้หญิงและผู้ชาย

àÊÕ§ÊÙ§¢Í§¼ÙŒËÞÔ§ ÈѾ· ·Ò§´¹µÃÕ àÃÕÂ¡Ç‹Ò â«»ÃÒâ¹ (Soprano) àÊÕ§µíèҢͧ¼ÙŒËÞÔ§ ÈѾ· ·Ò§´¹µÃÕ àÃÕÂ¡Ç‹Ò ÍÑÅâµ (Alto)

 ʹ·¹Ò¡ÑºÈÔÅ» ¹ ๖

ขอสอบเนนการคิด

นักเรียนควรรู 1 เสนเสียง เปนแผนเนื้อเยื่อ 2 แผน ที่อยูในกลองเสียงขณะที่เราพูดหรือ ออกเสียง จะทําใหเนื้อเยื่อสั่นและเกิดเสียง เสนเสียง

เฉลย คําถามสนทนากับศิลปน แนวตอบ ไมเหมือนกัน เพราะเสียงของคนเรามีลักษณะแตกตางกัน ซึ่งขึ้นอยู กับเพศ อายุ ขนาดเสนเสียงตางกัน เปนตน

6

คูมือครู

นักเรียนคิดว่า เสียงของเพื่อนๆ ในห้อง มีลักษณะเหมือนกันหรือไม่ เพราะเหตุใด

ขอใดเปนลักษณะเสียงของผูชายวัยกลางคน ก. แผวเบา ข. ทุมใหญ ค. แหบแหง ง. เล็กแหลม

วิเคราะหคําตอบ คําตอบที่ถูก คือ ขอ ข. เพราะผูชายวัยกลางคน มีอายุชวง 30-40 ป โดยปกติมักจะมีเสียงทุมใหญตามธรรมชาติของคนวัยนี้


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

สํารวจค Exploreนหา

Engage

สํารวจคนหา

คุณสมบัติของเสียงดนตรี เสียงดนตรีเกิดจากการบรรเลงเครือ่ งดนตรี การขับร้องของคนเรา หรือการ ดีด สี ตี เป่า สิ่งใดสิ่งหนึ่ง แล้วท�าให้เกิดเสียงสูง-ต�่า อย่างเป็นระบบ เป็นจังหวะ ท�านองต่อเนื่องกัน ๑. เสียงดังหรือเบา เสียงดนตรีจะมีลักษณะดังหรือ เบา ขึ้นอยู่กับการบรรเลงและลักษณะ 1 ของเครื่องดนตรีชนิดนั้น ฉาบใหญ่ตีดังกว่าฉาบเล็ก เพราะมีขนาดใหญ่กว่า

©Ôè§

©Ñº 2

เสียงตีฉิ่งจะดังฉิ่ง-ฉับ เป็นเสียงยาว-สั้น สลับกันไป

๓. เสียงสูงหรือต�่า เสียงสูง คือ เสียงที่มีความถี่ใน การสั่นมาก เสียงต�่า คือ เสียงที่มีความถี่ใน การสั่นน้อย เสียงดนตรีจะสูงหรือต�่าขึ้นอยู่ กับท�านองดนตรี วิธีการบรรเลง และ ลักษณะของเครื่องดนตรี

๒. เสียงสั้นหรือยาว เสียงสั้น คือ เสียงที่เกิดขึ้นใน ระยะเวลาไม่นาน เสียงยาว คือ เสียงที่เกิดขึ้นใน ระยะเวลานานๆ เสียงดนตรีจะมีความสัน้ หรือยาว ขึน้ อยูก่ บั วิธกี ารบรรเลงและลักษณะของ เสียงดนตรี รวมถึงองค์ประกอบของเพลง

Explore

ใหนักเรียนบอกการกระทําที่ทําใหเกิด เสียงดัง-เบา เสียงสั้น-ยาว เสียงสูง-ตํ่า เชน ตะโกนเสียงดัง กระซิบเสียงเบา เปนตน

อธิบายความรู

Explain

1. ครูนําเพลงมาเปดใหนักเรียนฟง แลวใหสังเกต และบอกลักษณะการเกิดเสียงดัง-เบา เสียงสั้น-ยาว และเสียงสูง-ตํ่า ที่ปรากฏในเพลง 2. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายใหเขาใจวา เสียงดนตรีหรือเสียงเพลงทีไ่ ดยนิ นัน้ จะปรากฏ คุณสมบัติของเสียง ไดแก เสียงดัง-เบา เสียงสั้น-ยาว และเสียงสูง-ตํ่า อยางสมํ่าเสมอ โดยครูอธิบายเพิ่มเติมวา คุณสมบัติของเสียง ที่เกิดขึ้นนั้น ถูกจัดใหเปนระบบ ทําให เสียงดนตรีที่ไดยินมีความไพเราะนาฟง

3

เสียงสีซอจะมีเสียงสูงหรือต�่าขึ้นอยู่กับการจับสายซอขณะเล่น

7

ขอสอบเนนการคิด

เสียงยาว เปนคุณสมบัติเสียงการบรรเลงของเครื่องดนตรีขอใด ก. กรับเสภา ข. กรับพวง ค. กลองชาตรี ง. ฆองโหมง

วิเคราะหคําตอบ คําตอบที่ถูก คือ ขอ ง. เพราะฆองเปนเครื่องดนตรี ที่ทําจากโลหะ เมื่อใชไมตีกระทบจึงมีเสียงดังกังวาน ดัง “โหมง” ซึ่งเปน เสียงยาว

กิจกรรมสรางเสริม ใหนักเรียนฝกฟงเพลงไทย เพลงไทยสากล จากสื่อทั่วไป แลวสังเกต ลักษณะของเสียงดัง-เบา เสียงสั้น-ยาว และเสียงสูง-ตํ่า ที่มีอยูในเพลง โดยครูคอยใหคําแนะนําในการสังเกต แลวนํามาเลาใหเพื่อนฟง จากนั้นครู และนักเรียนรวมกันอภิปรายสรุปถึงลักษณะของเสียง

นักเรียนควรรู 1 ฉาบ ที่ใชในดนตรีไทยมีทั้งฉาบเล็กและฉาบใหญ ซึ่งฉาบที่ใชในวงดนตรีไทย จะใชฉาบเล็ก ตีขัดจังหวะฉิ่งและกลองหรือตีประกอบเพลงใหมีความไพเราะนาฟง 2 ฉิ่ง ใชตีกํากับจังหวะเพลงไทย ทั้งเพลงขับรองและเพลงบรรเลง 3 สีซอ การสีซอควรมีความรูพื้นฐานเรื่อง ทานั่งและจับซอที่ถูกตอง ดังนี้ 1. การนั่ง นั่งขัดสมาธิบนพื้น หากเปนสตรีใหนั่งพับเพียบขาขวาทับขาซาย 2. การวางซอ วางกะโหลกซอไวบนขาพับดานซาย มือซายจับคันซอให ตรงกับที่มีเชือกรัดอก ใหตํ่ากวาเชือกรัดอกประมาณ 1 นิ้ว สวนมือขวาจับคันสี 3. การจับคันสี ใหแบงคันสีออกเปน 5 สวน แลวจับตรง 3 สวน ใหคันสีพาด ไปบนนิ้วชี้และนิ้วกลางในลักษณะหงายมือ สวนนิ้วหัวแมมือใชกํากับคันสี โดยกด ลงบนนิ้วชี้ นิ้วนาง และนิ้วกอย ใหงอติดกัน เพื่อทําหนาที่ดันคันชักออกเมื่อจะสี สายเอก และดึงเขาเมื่อจะสีสายทุม คูมือครู

7


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Expand าใจ ขยายความเข

Evaluate ตรวจสอบผล

Expand

¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ

ใหนักเรียนทํากิจกรรมการเรียนรูในหนังสือ หนา 8 ขอ 2

ตรวจสอบผล

Evaluate

1. ครูตรวจแบบบันทึกเสียง โดยพิจารณาวา จําแนกแหลงกําเนิดเสียงถูกตองหรือไม 2. ครูตรวจแบบบันทึกเสียงคน โดยพิจารณาวา จําแนกเสียงตามวัยและเพศถูกตองหรือไม และเขียนลักษณะเสียงที่ไดยินถูกตองหรือไม 3. ครูตรวจแบบบันทึกเสียงเครื่องดนตรี โดย พิจารณาวา บันทึกลักษณะเสียงเครื่องดนตรี ที่ไดยินถูกตองหรือไม

ฝกคิด ฉลาดท�า ๑. ฟงเสียงคนในวัยต่างๆ มา ๕ ครั้ง แล้วบันทึกลักษณะของเสียงที่ได้ยิน ลักษณะของเสียงที่ได้ยิน

ครั้งที่

คนชรา

ผู้ชาย

ผู้หญิง

เด็ก

ทึก

บัน บ บ แ ง า  ตัวอย

๒. เลือกฟงเสียงเครื่องดนตรีที่ก�าหนดให้ แล้วบันทึกเสียงที่ได้ยิน

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู 1. แบบบันทึกเสียงที่สังเกตได 2. กิจกรรมเรียนรูขอ 1-2

1

ซอสามสาย

๒ ๓ ๔

กีตาร

แซ็กโซโฟน

ประเภท ของเครื่องดนตรี (ดีด สี ตี เป่า)

ดัง

เบา

สั้น

ยาว

สูง

ต�่า

……………………………………………

……………………………………………

…………..

…………..

…………..

…………..

…………..

…………..

……………………………………………

……………………………………………

…………..

…………..

…………..

…………..

…………..

……………………………………………

……………………………………………

…………..

…………..

…………..

…………..

…………..

…………..

……………………………………………

……………………………………………

…………..

…………..

…………..

…………..

…………..

…………..

ครั้งที่

ระนาดเอก

ชื่อเครื่องดนตรี

คุณสมบัติของเสียง

ึก

ันท บ บ บ แ ง ัวอยา

…………..

8

ขอสอบเนนการคิด

นักเรียนควรรู 1 ระนาด ระนาดที่ใชบรรเลงในวงดนตรีไทยมีหลายชนิด ไดแก ระนาดเอก ระนาดทุม ระนาดทอง ระนาดเอกเหล็ก และระนาดทุมเหล็ก

8

ระนาดเอก

ระนาดทุม

ระนาดเอกเหล็ก

ระนาดทุมเหล็ก

คูมือครู

จากภาพ เกี่ยวของกับคุณสมบัติเสียงขอใด ก. เสียงสั้น ข. เสียงตํ่า ค. เสียงยาว ง. เสียงดัง

วิเคราะหคําตอบ คําตอบที่ถูก คือ ขอ ก. เพราะในภาพเปนการตีฉิ่ง ในจังหวะ “ฉับ” ซึ่งทําใหเสียงดังในชวงเวลาสั้นๆ ไมดังกังวานยาวนาน เหมือนการตีฉิ่งในจังหวะ “ฉิ่ง”


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.