8858649122469

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº »ÃСѹÏ

ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน

กระบวนการสอนแบบ 5 Es ชวยสรางทักษะการเรียนรู กิจกรรมมุงพัฒนาทักษะการคิด คำถาม + แนวขอสอบเพื่อยกผลสัมฤทธิ์ O-NET กิจกรรมบูรณาการเตรียมพรอมสู ASEAN 2558


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู การงานอาชีพและเทคโนโลยี

การงานอาชีพฯ ชั้นประถมศึกษาปที่

2

สําหรับครู

คูมือครู Version ใหม

ลักษณะเดน

ขยายพื้นที่รูปเลมใหญขึ้นกวาเดิม จัดแบงพื้นที่ออกเปนโซน เพื่อคนหาขอมูลไดงาย สะดวก รวดเร็ว และดูเปนระเบียบ กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

เปาหมายการเรียนรู สมรรถนะของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค

หน า

โซน 1 กระตุน ความสนใจ

Engage

สํารวจคนหา

Explore

อธิบายความรู

Explain

ขยายความเขาใจ

Expand

ตรวจสอบผล

หน า

หนั ง สื อ เรี ย น

โซน 1

หนั ง สื อ เรี ย น

Evaluate

ขอสอบเนน การคิด ขอสอบเนน การคิด แนว NT แนว O-NET

O-NET บูรณาการเชื่อมสาระ

เกร็ดแนะครู

ขอสอบ

โซน 2

โซน 3

กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย

นักเรียนควรรู

โซน 3

โซน 2 บูรณาการอาเซียน มุม IT

No.

คูมือครู

คูมือครู

No.

โซน 1 ขั้นตอนการสอนแบบ 5Es

โซน 2 ชวยครูเตรียมสอน

โซน 3 ชวยครูเตรียมนักเรียน

เพื่อใหครูเตรียมจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยแนะนําขั้นตอนการสอนและ การจัดกิจกรรมแบบ 5Es อยางละเอียด เพื่อใหนักเรียนบรรลุตามตัวชี้วัด

เพื่อชวยลดภาระครูผูสอน โดยแนะนํา เกร็ดความรูสําหรับครู ความรูเสริมสําหรับ นักเรียน รวมทั้งบูรณาการความรูสูอาเซียน และมุม IT

เพือ่ ใหครูสะดวกตอการจัดกิจกรรม โดยแนะนํา กิจกรรมบูรณาการเชื่อมระหวางกลุมสาระ วิชา กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย รวมถึงเนือ้ หา ที่เคยออกขอสอบ O-NET เก็งขอสอบ O-NET และแนวขอสอบเนนการคิด พรอมคําอธิบาย และเฉลยอยางละเอียด


ที่ใชในคูมือครู

แถบสีและสัญลักษณ

แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5Es เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

1. แถบสี 5Es สีแดง

สีเขียว

กระตุน ความสนใจ

เสร�ม

สํารวจคนหา

Engage

2

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุน ความสนใจ เพื่อโยง เขาสูบทเรียน

สีสม

อธิบายความรู

Explore

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนสํารวจ ปญหา และศึกษา ขอมูล

สีฟา

Explain

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนคนหา คําตอบ จนเกิดความรู เชิงประจักษ

สีมวง

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนนําความรู ไปคิดคนตอๆ ไป

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

2. สัญลักษณ สัญลักษณ

วัตถุประสงค

• เปาหมายการเรียนรู

O-NET

(เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ O-NET)

• ชีแ้ นะเนือ้ หาทีเ่ คยออกขอสอบ

O-NET โดยยกตัวอยางขอสอบ พรอมวิเคราะหคาํ ตอบ อยางละเอียด

• เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน

การคิดใหครูนาํ ไปใชไดจริง รวมถึงเปนการเก็งขอสอบ O-NET ทีจ่ ะออก มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

แสดงรองรอยหลักฐานตามภาระงาน ที่ครูมอบหมาย เพื่อแสดงผลการเรียนรู ตามตัวชี้วัด

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

แทรกความรูเสริมสําหรับครู ขอเสนอแนะ ขอควรระวัง ขอสังเกต แนวทางการจัด กิจกรรมและอืน่ ๆ เพื่อประโยชนในการ จัดการเรียนการสอน

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

ขยายความรูเพิ่มเติมจากเนื้อหา เพื่อใหครู นําไปใชอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียน ไดมีความรูมากขึ้น

บูรณาการเชื่อมสาระ

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม

ความรูห รือกิจกรรมเสริม ใหครูนาํ ไปใช เตรียมความพรอมใหกบั นักเรียนกอนเขาสู ประชาคมอาเซียน 2558 โดยบูรณาการ กับวิชาทีก่ าํ ลังเรียน

กิจกรรมสรางเสริม

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม

เกร็ดแนะครู

นักเรียนควรรู

บูรณาการอาเซียน

คูม อื ครู

ขอสอบ

วัตถุประสงค

• หลักฐานแสดงผล การเรียนรู

มุม IT

แสดงเปาหมายการเรียนรูที่นักเรียน ตองบรรลุตามตัวชี้วัด ตลอดจนสมรรถนะ ที่จะตองมี และคุณลักษณะที่พึงเกิดขึ้น กับนักเรียน

สัญลักษณ

แนะนําแหลงคนควาจากเว็บไซต เพื่อใหครู และนักเรียนไดเขาถึงขอมูลความรู ที่หลากหลาย ทั้งไทยและตางประเทศ

• แนวขอสอบ NT ในระดับ

ประถมศึกษา มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

(เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ NT)

กิจกรรมทาทาย

เชือ่ มกับกลุม สาระ ชัน้ หรือวิชาอืน่ ทีเ่ กีย่ วของ

ซอมเสริมสําหรับนักเรียน ทีย่ งั ไมเขาใจเนือ้ หา

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ตอยอดสําหรับนักเรียนทีเ่ รียนรู เนือ้ หาไดอยางรวดเร็ว และ ตองการทาทายความสามารถ ในระดับทีส่ งู ขึน้


คําแนะนําการใชคูมือครู การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน คูมือครู รายวิชา การงานอาชีพฯ ป.2 จัดทําขึ้นเพื่อใหครูผูสอนนําไปใชเปนแนวทางวางแผนการสอนเพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน และประกันคุณภาพผูเ รียน ตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน (สพฐ.) โดยใชหนังสือเรียน การงานอาชีพฯ ป.2 ของบริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด เปนสื่อหลัก (Core Material) ประกอบ เสร�ม 3 การสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนรูใ หสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั กลุม สาระการเรียนรู การงานอาชีพฯ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พ.ศ. 2551 โดยออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักการสําคัญ ดังนี้ 1 ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน คูม อื ครู รายวิชา การงานอาชีพฯ ป.2 วางแผนการสอนโดยแบงเปนหนวยการเรียนรูต ามลําดับสาระ (Standard) และ หมายเลขขอของมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั แตละหนวยจะกําหนดเปาหมายการสอนและจุดประสงคการเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทางการประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชัดเจน ครูผูสอนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด สมรรถนะ และคุณลักษณะ อันพึงประสงคที่เปนเปาหมายการเรียนรูตามที่กําหนดไวในสาระแกนกลาง (ตามแผนภูมิ) และสามารถบันทึกผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของผูเรียนแตละคนลงในเอกสาร ปพ.5 ไดอยางมั่นใจ แผนภูมิแสดงองคประกอบของการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผูเรียนเปนสําคัญ

พผ

ูเ

จุดปร

ะสง

ค ก

ส ภา

รียน

รู ีเรยน

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชั้นป

ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน

คูม อื ครู


2 การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ แนวคิ ด ในการจั ด การเรี ย นการสอนที่ ยึ ด ผู  เ รี ย นเป น สํ า คั ญ พั ฒ นามาจากปรั ช ญาและทฤษฎี ก ารเรี ย นรู  Constructivism ที่เชื่อวาการเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสรางความรู โดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดเรียนรูจากบทเรียนใหมกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา ผูเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีการสั่งสมความรูความเขาใจเกี่ยวกับสิ่งตางๆ ติดตัวมากอน ทีจ่ ะเขาสูห อ งเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากประสบการณและสิง่ แวดลอมรอบตัวผูเ รียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกิจกรรม เสร�ม การเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ผูสอนจะตองคํานึงถึง

4

1. ความรูเดิมของผูเรียน วิธีการสอนที่ดีจะตองเริ่มตนจากจุดที่วา ผูเ รียนมีความรูอ ะไรมาบาง แลวจึงใหความรู หรือประสบการณใหม เพื่อตอยอดจาก ความรูเดิม นําไปสูการสรางความรู ความเขาใจใหม

2. ความรูเดิมของผูเรียนถูกตองหรือไม ผูส อนตองปรับเปลีย่ นความรูค วามเขาใจเดิม ของผูเรียนใหถูกตอง และเปนพฤติกรรม การเรียนรูใ หมทมี่ คี ณุ คาตอผูเรียน เพื่อสราง เจตคติหรือทัศนคติที่ดีตอการเรียนรู สิ่งเหลานั้น

3. ผูเรียนสรางความหมายสําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมใหผูเรียนนําความรู ความเขาใจที่เกิดขึ้นไปลงมือปฏิบัติ เพื่อขยายความรูใหลึกซึ้งและมีคุณคา ตอตัวผูเรียนมากที่สุด

แนวคิด Constructivism เนนใหผูเรียนสรางความรูโดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูของตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศ

การเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณ ความรูใ หม เพือ่ กระตนุ ใหผเู รียนเชือ่ มโยงความรู ความคิด กับประสบการณทมี่ อี ยูเ ดิม แลวสังเคราะหเปนความรูห รือแนวคิดใหมๆ ไดดว ยตนเอง

3 การบูรณาการกระบวนการคิด การเรียนรูของผูเรียนแตละคนจะเกิดขึ้นที่สมอง ซึ่งเปนอวัยวะที่ทําหนาที่รูคิดภายใตสภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวย และไดรบั การกระตนุ จูงใจอยางเหมาะสม สอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของผูเ รียนแตละคน การจัดกิจกรรม การเรียนรูและสาระการเรียนรูที่สอดคลองกับความสนใจและมีความหมายตอผูเรียน จะชวยกระตุนใหสมองของผูเรียน สามารถรับรูและเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพตามขั้นตอนการทํางานของสมอง ดังนี้ 1. สมองจะเรียนรูและสืบคน โดยการสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง ปฏิบัติ จนทําใหคนพบความรูความเขาใจ ไดอยางรวดเร็ว

2. สมองจะแยกแยะคุณคาของสิ่งตางๆ โดยการตัดสินใจวิพากษวิจารณ แสดง ความคิดเห็น ยอมรับหรือตอตานตาม อารมณความรูสึกที่เกิดขึ้นในขณะที่เรียนรู

3. สมองจะประมวลเนื้อหาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสานกับ ความรูห รือประสบการณเดิมทีถ่ กู จัดเก็บอยูใ น สมอง ผานการกลัน่ กรองเพือ่ สังเคราะหเปน ความรูค วามเขาใจใหมๆ หรือเปนทัศนคติใหม ที่จะเก็บบรรจุไวในสมองของผูเรียน

การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะเกิดขึ้น เมื่อสมองรูคิด และตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมองผูเรียน โดยเริ่มตนจาก 1. ระดับการคิดพื้นฐาน ไดแก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล การสรุปผล เปนตน

คูม อื ครู

2. ระดับลักษณะการคิด ไดแก การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดไกล คิดหลากหลาย คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล เปนตน

3. ระดับกระบวนการคิด ไดแก กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ กระบวนการแกปญหา กระบวนการ คิดสรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะหวิจัย เปนตน


5Es การจัดกิจกรรมตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ขั้นตอนการสอนที่สัมพันธกับขั้นตอนการคิดและการทํางานทางสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย คือ วัฏจักรการเรียนรู 5Es ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแตละหนวย ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1

กระตุนความสนใจ

(Engage)

เสร�ม

5

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนนําเขาสูบ ทเรียน เพือ่ กระตุน ความสนใจของผูเ รียนดวยเรือ่ งราวหรือเหตุการณทนี่ า สนใจโดยใชเทคนิควิธกี ารสอน และคําถามทบทวนความรูหรือประสบการณเดิมของผูเรียน เพื่อเชื่อมโยงผูเรียนเขาสูความรูของบทเรียนใหม ชวยใหผูเรียนสามารถ สรุปประเด็นสําคัญที่เปนหัวขอและสาระการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอนการสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอม และสรางแรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน

ขั้นที่ 2

สํารวจคนหา

(Explore)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนเปดโอกาสใหผเู รียนลงมือศึกษา สังเกต หรือรวมมือกันสํารวจ เพือ่ ใหเห็นขอบขายของปญหา รวมถึงวิธกี ารศึกษา คนควา การรวบรวมขอมูลความรูที่จะนําไปสูการสรางความเขาใจประเด็นปญหานั้นๆ เมื่อผูเรียนทําความเขาใจในประเด็นหัวขอที่จะ ศึกษาคนควาอยางถองแทแลว ก็ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธีการตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูตามที่ตั้งประเด็นศึกษาไว

ขั้นที่ 3

อธิบายความรู

(Explain)

เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา ตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนคนหาคําตอบ และนําขอมูล ความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห สรุปผล และนําเสนอผลที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ แผนผังแสดงมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน ในขั้นตอนนี้ฝกใหผูเรียนใชสมองคิดวิเคราะหและ สังเคราะหอยางเปนระบบ

ขั้นที่ 4

ขยายความเขาใจ

(Expand)

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใชเทคนิควิธีการสอนตางๆ ที่สงเสริมใหผูเรียนนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนสืบคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะ การเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน ผูเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยง กับประสบการณเดิมโดยนําขอสรุปทีไ่ ดไปใชอธิบายเหตุการณตา งๆ หรือนําไปปฏิบตั ใิ นสถานการณใหมๆ ทีเ่ กีย่ วของกับชีวติ ประจําวัน ของตนเอง เพื่อขยายความรูความเขาใจใหกวางขวางยิ่งขึ้น ในขั้นตอนนี้ฝกสมองของผูเรียนใหสามารถคิดริเริ่มสรางสรรคอยางมี คุณภาพ เสริมสรางวิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป

ขั้นที่ 5

ตรวจสอบผล

(Evaluate)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนประเมินมโนทัศนของผูเ รียน โดยตรวจสอบจากความคิดทีเ่ ปลีย่ นไปและความคิดรวบยอดทีเ่ กิดขึน้ ใหม ตรวจสอบ ทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด และการเคารพความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพื่อการ สรางสรรคความรูร ว มกัน ผูเ รียนสามารถประเมินผลการเรียนรูข องตนเอง เพือ่ สรุปผลวามีความรูอ ะไรเพิม่ ขึน้ มาบาง เกิดความเขาใจ มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ ไดอยางไร ผูเรียนจะเกิดเจตคติและเห็นคุณคาของ ตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง

การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามขั้นตอนวัฏจักรการสรางความรูแบบ 5Es จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนน ผูเ รียนเปนสําคัญอยางแทจริง เพราะสงเสริมใหผเู รียนไดลงมือปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนของกระบวนการสรางความรูด ว ยตนเอง และฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและกระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะชีวิต ทักษะการทํางานและทักษะการ เรียนรูที่มีประสิทธิภาพ สงผลตอการยกระดับผลสัมฤทธิ์ของผูเรียน ตามเปาหมายของการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คูม อื ครู


O-NET การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ O-NET

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ในแตละหนวยการเรียนรู ทางผูจัดทํา จะเสนอแนะวิธีสอนรูปแบบกิจกรรมการเรียนรู พรอมทั้งออกแบบเครื่องมือวัดผลประเมินผลที่สอดคลองกับตัวชี้วัด และสาระการเรียนรูแกนกลางไวทุกขั้นตอน โดยยึดหลักสําคัญ คือ เปาหมายของการวัดผลประเมินผล เสร�ม

6

1. การวัดผลทุกครั้งตองนําผล การวัดมาปรับปรุงพัฒนาผูเรียน เปนรายบุคคล

2. การประเมินผลมีเปาหมาย เพื่อพัฒนาการเรียนรูของผูเรียน จนเต็มศักยภาพ

3. การนําผลการวัดและประเมิน ทุกครั้งมาวางแผนปรับปรุงกิจกรรม การเรียนการสอน การเลือกเทคนิค วิธีการสอน และสื่อการเรียนรูให เหมาะสมกับสภาพจริงของผูเรียน

การทดสอบผูเรียน 1. การใชขอสอบอัตนัย เนนการอาน การคิดวิเคราะห และเขียนสรุปเพิ่มมากขึ้น 2. การใชคําถามกระตุนการคิด ควบคูกับการทําขอสอบที่เนนการคิดตลอดตอเนื่องตามลําดับกิจกรรมการเรียนรูและ ตัวชี้วัด 3. การทดสอบตองดําเนินการทั้งกอนเรียน ระหวางเรียน และเมื่อสิ้นสุดการเรียน การทดสอบระหวางเรียน ต อ งใช ข  อ สอบทั้ ง ชนิ ด ปรนั ย และอั ต นั ย และเป น การทดสอบเพื่ อ วิ นิ จ ฉั ย ผลการเรี ย นของผู  เ รี ย นแต ล ะคน เพื่อวัดการสอนซอมเสริมใหบรรลุตัวชี้วัดทุกตัว 4. การสอบกลางภาค (ถามี) ควรนําขอสอบหรือแบบฝกหัดที่นักเรียนสวนใหญทําผิดบอยๆ มาสรางเปนแบบทดสอบ อีกครัง้ เพือ่ ตรวจสอบความรูค วามเขาใจทีถ่ กู ตอง และประเมินความกาวหนาของผูเรียนแตละคน 5. การสอบปลายภาคเรียนเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามตัวชี้วัดที่สําคัญ ควรออกขอสอบใหมีลักษณะเดียวกับ ขอสอบ O-NET โดยเนนการคิดวิเคราะห สังเคราะห เชื่อมโยงประยุกตใช เพื่อสรางความคุนเคย และฝกฝน วิธีการทําขอสอบดวยความมั่นใจ 6. การนําผลการทดสอบของผูเรียนมาวิเคราะห โดยผลการสอบกอนการเรียนตองสามารถพยากรณผลการสอบ กลางภาค และผลการสอบกลางภาคตองทํานายผลการสอบปลายภาคของผูเ รียนแตละคน เพือ่ ประเมินพัฒนาการ ความกาวหนาของผูเรียนเปนรายบุคคล 7. ผลการทดสอบปลายป ปลายภาค ตองมีคาเฉลี่ยสอดคลองกับคาเฉลี่ยของการสอบ NT ที่เขตพื้นที่การศึกษา จัดสอบ รวมทั้งคาเฉลี่ยของการสอบ O-NET ชวงชั้นที่สอดคลองครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดสําคัญ เพือ่ สะทอนประสิทธิภาพของครูผสู อนในการออกแบบการเรียนรูแ ละประกันคุณภาพผูเ รียนทีต่ รวจสอบผลไดชดั เจน การจัดการเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ตองใหผูเรียนไดสั่งสมความรู สะสมความเขาใจไปทีละเล็ก ละนอยตามลําดับขัน้ ตอนของกิจกรรมการเรียนรู 5Es เพือ่ ใหผเู รียนไดเติมเต็มองคความรูอ ยางตอเนือ่ ง จนสามารถปฏิบตั ิ ชิ้นงานหรือภาระงานรวบยอดของแตละหนวยผานเกณฑประกันคุณภาพในระดับที่นาพึงพอใจ เพื่อรองรับการประเมิน ภายนอกจาก สมศ. ตลอดเวลา คูม อื ครู


ASEAN การเรียนรูสูประชาคมอาเซียน เพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรูบูรณาการอาเซียนศึกษา ผูจัดทําไดวิเคราะห มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดที่มีสาระการเรียนรูสอดคลองกับองคความรูเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนในแงมุมตางๆ ครอบคลุมทัง้ ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน เพื่อสงเสริมการเรียนรูใหผูเรียนเกิดความตระหนัก มีความรูความเขาใจเหมาะสมกับระดับชั้นและกลุมสาระ การเรียนรู โดยเสนอแนะวิธีการจัดกิจกรรมบูรณาการเนื้อหาสาระตางๆ ที่เปนประโยชนตอผูเรียนและเปนการชวย เตรียมความพรอมผูเ รียนทุกคนทีจ่ ะกาวเขาสูก ารเปนสมาชิกของประชาคมอาเซียนไดอยางมัน่ ใจตามขอตกลงปฏิญญา เสร�ม ชะอํา-หัวหิน วาดวยความรวมมือดานการศึกษาเพือ่ บรรลุเปาหมายประชาคมอาเซียนทีเ่ อือ้ อาทรและแบงปน จึงกําหนด 7 เปนนโยบายใหกระทรวงศึกษาธิการจัดการเรียนรูเตรียมความพรอมผูเรียนเขาสูประชาคมอาเซียนภายในป พ.ศ. 2558 ตามแนวปฏิบัติที่สําคัญ ดังนี้

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน 1. การสรางความรูความเขาใจ และตระหนักถึงความสําคัญของ กฎบัตรอาเซียน และความรวมมือ ของ 3 เสาหลัก ซึง่ กฎบัตรอาเซียน ในขณะนี้มีสถานะเปนกฎหมายที่ ประเทศสมาชิกจะตองปฏิบัติตาม หลักการที่กําหนดไวเพื่อใหบรรลุ เปาหมายของกฎบัตรมาตราตางๆ

2. การสงเสริมหลักการ ประชาธิปไตยและการสราง สิ่งแวดลอมประชาธิปไตย เพื่อการอยูรวมกันอยางกลมกลืน ภายใตวิถีชีวิตอาเซียนที่มีความ หลากหลายดานสังคมและ วัฒนธรรม

4. การตระหนักในคุณคาของ สายสัมพันธทางประวัติศาสตร และมรดกทางวัฒนธรรมที่มี พัฒนาการรวมกัน เพื่อเชื่อม อัตลักษณและสรางจิตสํานึก ในการเปนประชากรของประชาคม อาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการศึกษาดาน สิทธิมนุษยชน เพื่อสรางประชาคม อาเซียนใหเปนประชาคมเพื่อ ประชาชนอยางแทจริง สามารถ อยูรวมกันไดบนพื้นฐานการเคารพ ในคุณคาของศักดิ์ศรีแหงความ เปนมนุษยเทาเทียมกัน

5. การสงเสริมสันติภาพ ความ มั่นคง และความปรองดองในสังคม ทั้งระดับประเทศและภูมิภาคของ อาเซียนบนพื้นฐานสันติวิธีและการ อยูรวมกันดวยขันติธรรม

คูม อื ครู


การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

เสร�ม

8

1. การพัฒนาทักษะการทํางาน เพื่อเสริมสรางผูเรียนใหมีทักษะ วิชาชีพที่จําเปนสอดคลองกับ ความตองการของตลาดแรงงาน และสถานประกอบการในอาเซียน สามารถเทียบโอนผลการเรียน และการทํางานตามมาตรฐานฝมือ แรงงานในภูมิภาคอาเซียน

2. การเสริมสรางวินัย ความรับผิดชอบ และเจตคติรักการทํางาน สามารถพึ่งพาตนเอง มีทักษะชีวิต ดํารงชีวิตอยางมีความสุข เห็นคุณคา และภูมิใจในตนเอง ในฐานะที่เปนพลเมืองไทยและ อาเซียน

3. การเรียนรูเพื่อพัฒนาตนเอง อยางตอเนื่องตลอดชีวิต ใหมี ทักษะการทํางานตามมาตรฐาน อาชีพ และคุณวุฒิของวิชาชีพสาขา ตางๆ เพื่อรองรับการเตรียมเคลื่อน ยายแรงงานมีฝมือและการเปน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่ เขมแข็ง เพื่อสรางขีดความสามารถ ในการแขงขันในเวทีโลก

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 1. การเสริมสรางความรวมมือ ในลักษณะสังคมที่เอื้ออาทร ของประชากรอาเซียน โดยยึด หลักการสําคัญ คือ ความงดงาม ของประชาคมอาเซียนมาจาก ความแตกตางและหลากหลายทาง วัฒนธรรมที่ลวนแตมีคุณคาตอ มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน ซึ่งประชาชนทุกคนตองอนุรักษ สืบสานใหยั่งยืน

2. การเสริมสรางคุณลักษณะ ของผูเรียนใหเปนพลเมืองอาเซียน ที่มีศักยภาพในการกาวเขาสู ประชาคมอาเซียนอยางมั่นใจ เปนผูที่มีสุขภาพสมบูรณแข็งแรง มีทักษะการสื่อสาร ทักษะการ ทํางาน ทักษะทางสังคม สามารถ ทํางานรวมกับผูอื่นไดอยาง สรางสรรค และมีองคความรู เกี่ยวกับอาเซียนที่จําเปนตอการ ดํารงชีวิตอยางมีคุณภาพ

4. การสงเสริมการเรียนรูดาน ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี วิถชี วี ติ ความเปนอยูข องเพือ่ นบาน ในอาเซียน เพื่อสรางจิตสํานึกของ ความเปนประชาคมอาเซียนและ ตระหนักถึงหนาที่ของการเปน พลเมืองอาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการเรียนรูภาษา อังกฤษเพื่อการสื่อสารและการ ทํางานตามมาตรฐานอาชีพที่ กําหนดและสนับสนุนการเรียนรู ภาษาอาเซียนและภาษาเพื่อนบาน เพื่อชวยเสริมสรางสัมพันธภาพทาง สังคม และการอยูรวมกันอยางสันติ ทามกลางความหลากหลายทาง วัฒนธรรม

5. การสรางความรูและความ ตระหนักเกี่ยวกับดานสิ่งแวดลอม ปญหาและผลกระทบตอคุณภาพ ชีวิตของประชากรในภูมิภาค รวมทั้งแนวทางการพัฒนาอยาง ยั่งยืน ใหเปนมรดกสืบทอดแก พลเมืองอาเซียนในรุนหลังตอๆ ไป

กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศนโยบายการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) เพื่อเรงพัฒนาเด็ก และเยาวชนไทยใหเปนทรัพยากรมนุษยของชาติที่มีทักษะและความชํานาญ พรอมเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงและ การแขงขันทั้งในภูมิภาคอาเซียนและภูมิภาคอื่นๆ ของสังคมโลก ทั้งนี้ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และผูปกครอง ควรรวมมือกันอยางใกลชิดในการดูแลชวยเหลือผูเรียนและจัดประสบการณการเรียนรูเพื่อพัฒนาผูเรียนจนเต็มศักยภาพ เพื่อกาวเขาสูการเปนพลเมืองอาเซียนอยางมีเกียรติภูมิและศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของตน คณะผูจัดทํา คูม อื ครู


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 1

การงานอาชีพฯ (เฉพาะชั้น ป.2)*

การดํารงชีวิตและครอบครัว

มาตรฐาน ง 1.1 เขาใจการทํางาน มีความคิดสรางสรรค มีทักษะกระบวนการทํางาน ทักษะการจัดการ ทักษะ กระบวนการแกปญหา ทักษะการทํางานรวมกัน และทักษะการแสวงหาความรู มีคุณธรรม และลักษณะ นิสัยในการทํางาน มีจิตสํานึกในการใชพลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดลอม เพื่อการดํารงชีวิตและ ครอบครัว เสร�ม ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ป.2 1. บอกวิธีการและประโยชน • การทํางานเพื่อชวยเหลือตนเองและ การทํางาน เพื่อชวยเหลือ ครอบครัว เชน ตนเองและครอบครัว - บทบาทและหนาที่ของสมาชิกในบาน - การจัดวาง เก็บเสื้อผา รองเทา - การชวยครอบครัวเตรียม ประกอบอาหาร - การกวาดบาน - การลางจาน 2. ใชวัสดุ อุปกรณ และ • การใชวัสดุ อุปกรณ และเครื่องมือ เครื่องมือในการทํางาน ใหเหมาะสมกับงาน ชวยใหประหยัด อยางเหมาะสมกับงาน และปลอดภัย เชน และประหยัด - การเพาะเมล็ด - การดูแลแปลงเพาะกลา - การทําของเลน - การประดิษฐของใชสวนตัว 3. ทํางานเพื่อชวยเหลือ ตนเองและครอบครัว อยางปลอดภัย

• ความปลอดภัยเปนลักษณะนิสัยในการ ทํางาน

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

9

• หนวยการเรียนรูท ี่ 1 งานบาน บทที่ 1 เรียนรูงานบาน บทที่ 2 ชุดสวยสะอาดตา บทที่ 3 แมครัวตัวนอย

• หนวยการเรียนรูท ี่ 2 งานเกษตร บทที่ 1 เครื่องมือเกษตร นาใช บทที่ 2 พื้นฐานงานเกษตร • หนวยการเรียนรูท ี่ 3 งานชาง งานประดิษฐ บทที่ 1 ฉันรักงานชาง บทที่ 2 รูจักคิดประดิษฐได • หนวยการเรียนรูท ี่ 1 งานบาน บทที่ 1 เรียนรูงานบาน บทที่ 2 ชุดสวยสะอาดตา บทที่ 3 แมครัวตัวนอย

_________________________________ * สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, สาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพ และเทคโนโลยี. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 16-30.

คูม อื ครู


สาระที่ 2

การออกแบบและเทคโนโลยี

มาตรฐาน ง 2.1 เขาใจเทคโนโลยีและกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสรางสิ่งของเครื่องใชหรือวิธีการ ตามกระบวนการเทคโนโลยีอยางมีความคิดสรางสรรค เลือกใชเทคโนโลยีในทางสรางสรรคตอชีวิต สังคม สิ่งแวดลอม และมีสวนรวมในการจัดการเทคโนโลยีที่ยั่งยืน ชั้น

เสร�ม

10

คูม อื ครู

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ป.2 1. บอกประโยชนของสิ่งของ • สิ่งของเครื่องใชในชีวิตประจําวันถูกสรางมา เครื่องใชในชีวิตประจําวัน ใหมีรูปรางที่แตกตางกันตามหนาที่ใชสอย เชน แปรงสีฟน หมอหุงขาว กรรไกร ปากกา ดินสอ เปนตน ซึ่งมีประโยชน ในการทํากิจกรรมตางๆ ไดสะดวก และรวดเร็วขึ้น 2. สรางของเลน ของใช • การสรางของเลนหรือของใชอยางเปน อยางงาย โดยกําหนด ขั้นตอน ตั้งแตกําหนดปญหาหรือความ ปญหาหรือความตองการ ตองการ รวบรวมขอมูล ออกแบบโดย รวบรวมขอมูล ออกแบบ ถายทอดความคิดเปนภาพราง 2 มิติ โดยถายทอดความคิดเปน กอนลงมือสรางและประเมินผล ทําให ภาพราง 2 มิติ ลงมือ ผูเรียนทํางานอยางเปนกระบวนการ สรางและประเมินผล • ภาพราง 2 มิติ หรือภาพ 2 มิติ ประกอบ ดวยดานกวางและดานยาว 3. นําความรูเกี่ยวกับการใช • การใชอุปกรณ เครื่องมือ เชน กรรไกร อุปกรณ เครื่องมือที่ถูกวิธี ไมบรรทัด ควรใชใหเหมาะสมกับลักษณะ ไปประยุกตใชในการสราง และประเภทของการทํางาน หากนํามาใช ของเลน ของใชอยางงาย โดยขาดความระมัดระวัง และการใชงาน ที่ไมถูกวิธี จะทําใหเกิดอันตรายตอตนเอง และความเสียหายกับชิ้นงาน ดังนั้น การใช อุปกรณเครื่องมือที่ถูกวิธีจะทําใหเกิดความ ปลอดภัยในการทํางาน 4. มีความคิดสรางสรรค • ความคิดสรางสรรคมี 4 ลักษณะ ประกอบดวยความคิดริเริ่ม ความคลอง อยางนอย 1 ลักษณะ ในการคิด ความยืดหยุนในการคิด ในการแกปญหาหรือ และความคิดละเอียดลออ สนองความตองการ

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• หนวยการเรียนรูท ี่ 3 งานชาง งานประดิษฐ บทที่ 2 รูจักคิดประดิษฐได

• หนวยการเรียนรูท ี่ 3 งานชาง งานประดิษฐ บทที่ 2 รูจักคิดประดิษฐได

• หนวยการเรียนรูท ี่ 3 งานชาง งานประดิษฐ บทที่ 2 รูจักคิดประดิษฐได

• หนวยการเรียนรูท ี่ 3 งานชาง งานประดิษฐ บทที่ 2 รูจักคิดประดิษฐได


สาระที่ 3

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

มาตรฐาน ง 3.1 เขาใจ เห็นคุณคา และใชกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบคนขอมูลการเรียนรู การสื่อสาร การแกปญหา การทํางาน และอาชีพอยางมีประสิทธิภาพประสิทธิผล และมีคุณธรรม ชั้น

ตัวชี้วัด

ป.2 1. บอกประโยชนของขอมูล และรวบรวมขอมูลที่สนใจ จากแหลงขอมูลตางๆ ที่เชื่อถือได

2. บอกประโยชนและ การรักษาแหลงขอมูล

3. บอกชื่อและหนาที่ของ อุปกรณพื้นฐานที่เปน สวนประกอบหลักของ คอมพิวเตอร

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• ขอมูลบางอยางมีประโยชนในการดําเนิน • หนวยการเรียนรูท ี่ 4 ขอมูลและคอมพิวเตอร ชีวิต ตองพิจารณากอนนําไปใช บทที่ 1 ขอมูลรอบตัวเรา • แหลงขอมูลทีเ่ ชือ่ ถือได เปนแหลงขอมูล ทีม่ กี ารรวบรวมขอมูลอยางมีหลักเกณฑ มีเหตุผล และมีการอางอิง เชน - แหลงขอมูลของทางราชการ - แหลงขอมูลจากผูเ ชีย่ วชาญ มีประสบการณตรงและศึกษาในเรือ่ งนัน้ ๆ • การรวบรวมขอมูลทีส่ นใจจากแหลงขอมูล หลายแหลงทีเ่ ชือ่ ถือได ชวยใหไดขอ มูลที่ ถูกตองและสมบูรณมากขึน้ • ประโยชนของแหลงขอมูล • หนวยการเรียนรูท ี่ 4 • การรักษาแหลงขอมูล เปนการรักษาสภาพ ขอมูลและคอมพิวเตอร ของแหลงขอมูลใหคงอยู และใชงานได บทที่ 1 ขอมูลรอบตัวเรา นานๆ เชน ไมขีดเขียนตามสถานที่ตางๆ ปฏิบัติตามระเบียบการใชแหลงขอมูล และ ไมทําใหแหลงขอมูลเกิดความชํารุดเสียหาย • คอมพิวเตอรประกอบดวย หนวยรับเขา • หนวยการเรียนรูท ่ี 4 หนวยประมวลผล หนวยสงออก ซึ่งการ ขอมูลและคอมพิวเตอร ประมวลผลเปนการกระทํา (คํานวณ บทที่ 2 คอมพิวเตอรแสนกล เปรียบเทียบ) กับขอมูลทีร่ บั เขามา • อุปกรณพนื้ ฐานทีเ่ ปนสวนประกอบหลักของ คอมพิวเตอร มีดงั นี้ - เมาส ทําหนาทีเ่ ลือ่ นตัวชี้ และคลิกคําสัง่ - แผงแปนอักขระ ทําหนาทีร่ บั ขอความ สัญลักษณ และตัวเลข - จอภาพ ทําหนาทีแ่ สดงขอความภาพ - ซีพยี ู ทําหนาทีป่ ระมวลผลขอมูล - ลําโพง ทําหนาทีส่ ง เสียง - เครือ่ งพิมพ ทําหนาทีพ่ มิ พขอ ความภาพ ทางกระดาษ - อุปกรณเก็บขอมูล เชน แผนบันทึกซีดี หนวยความจํา แบบแฟลช

เสร�ม

11

คูม อื ครู


คําอธิบายรายวิชา รายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปที่ 2 รหัสวิชา ง…………………………………

เสร�ม

12

กลุมสาระการเรียนรู การงานอาชีพและเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 1-2 เวลา 40 ชั่วโมง/ป

ศึกษา วิเคราะห วิธีการทํางานเพื่อชวยเหลือตนเอง ครอบครัว และสวนรวม เลือกใชวัสดุอุปกรณ เครื่องมือ เครื่องใชในการทํางานไดอยางเหมาะสมกับลักษณะงาน โดยการสาธิต ทดลองปฏิบัติและนําผลมา อภิปราย กําหนดเปนแนวทางในการทํางาน ฝกการทํางานโดยเนนขั้นตอนกระบวนการและนิสัยการทํางาน สังเกตการปฏิบัติงานและผลงาน แลวนํามาอภิปรายหาขอบกพรองและวิธีแกไขเพื่อใหมีความรูความเขาใจ และมีทักษะเบื้องตน และทํางานรวมกับสมาชิกในครอบครัวได ปรับปรุงงานอยูเสมอ เห็นคุณคาของการ ทํางาน และมีนิสัยรักการทํางาน ศึกษาและปฏิบัติการสรางชิ้นงานของเลน ของใชอยางงาย โดยการกําหนดปญหาหรือความตองการ แลวรวบรวมขอมูลเพื่อออกแบบโดยถายทอดความคิดเปนภาพราง 2 มิติ ลงมือสรางและประเมินผลโดย เลือกใชวัสดุ อุปกรณอยางถูกวิธี มีความคิดสรางสรรค และมีการจัดการสิ่งของเครื่องใชดวยการนํากลับมา ใชซํ้าอยางมีจิตสํานึกที่ดี ศึกษา รวบรวม และอธิบายเกี่ยวกับขอมูลและการรวบรวมขอมูลจากแหลงการเรียนรูที่นาสนใจตาม ประเภทของแหลงขอมูล โดยสามารถบอกประโยชนและเก็บรักษาแหลงขอมูลเพือ่ นํามาใชใหเกิดประโยชนได บอกชื่อและหนาที่ของอุปกรณพื้นฐานที่เปนสวนประกอบหลักของคอมพิวเตอร โดยใชกระบวนการการทํางาน กระบวนการปฏิบตั ิ กระบวนการคิดวิเคราะห และกระบวนการทํางานกลมุ เพื่อใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรูและเห็นคุณคาของการทํางาน และ นําความรูที่เรียนไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน มีความสามารถในการตัดสินใจ มีจริยธรรม คุณธรรม และ คานิยมที่เหมาะสม และมีจิตสํานึกในการอนุรักษสิ่งแวดลอม ตัวชี้วัด ง 1.1 ง 2.1 ง 3.1

ป.2/1 ป.2/1 ป.2/1

ป.2/2 ป.2/2 ป.2/2

ป.2/3 ป.2/3 ป.2/3

ป.2/4 รวม 10 ตัวชี้วัด

คูม อื ครู


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹

¡ÒçҹÍÒªÕ¾áÅÐà·¤â¹âÅÂÕ ».ò ªÑé¹»ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè ò

¡ÅØ‹ÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ¡ÒçҹÍÒªÕ¾áÅÐà·¤â¹âÅÂÕ µÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ

¼ÙŒàÃÕºàÃÕ§ ¹Ò§ÍѨ©ÃÒ ¹Ò¤àÁ¸Õ ¹Ò§ÊÔÃÔÃѵ¹ ¨Õ¹ã¨µÃ§ ¹Ò»Ãоѹ¸ àËÁÒ¤Á ¼ÙŒµÃǨ

¹Ò§Êؤ¹¸ ÂÅ»ÃÐÊÒ¹ ¹Ò§¹ÔÀÒ ºØÞÂÐÃѵ¹ ¹Ò§ÊÒÇÇÕÃÐÇÃó ÇÕÃо§É

ºÃóҸԡÒà ¹ÒÂÊÒÂѹµ ¢Ñ¹¸¹ÔÂÁ

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè ù

ʧǹÅÔ¢ÊÔ·¸ÔìµÒÁ¾ÃÐÃÒªºÑÞÞÑµÔ ISBN : 978-616-203-155-7 ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ ñòñ÷ðñø

¤Œ¹¤ÇÒÁÃÙŒ¢ÂÒ¤ÇÒÁ¤Ô´¨Ò¡

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè ñ ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ ñòô÷ðóõ

EB GUIDE

ที่พิมพกํากับหัวขอสําคัญในหนังสือเรียนหลักสูตรใหม ชั้น ป.๔ ขึ้นไป ผาน www.aksorn.com ไปยังแหลงความรูทั่วไทย-ทั่วโลก

( ดูแผนผังความคิดฯ ไดทปี่ กหลังดานใน)


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

คํานํา

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ¡ÒçҹÍÒªÕ¾áÅÐà·¤â¹âÅÂÕ ».ò àÅ‹Á¹Õé ¨Ñ´·íÒ¢Öé¹ÊíÒËÃѺ 㪌»ÃСͺ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ªÑé¹»ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè ò â´Â´íÒà¹Ô¹¡ÒèѴ·íÒãËŒÊÍ´¤ÅŒÍ§ µÒÁ¡Ãͺ¢Í§ËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñ¹é ¾×¹é °Ò¹ ¾.È. òõõñ ·Ø¡»ÃСÒà ʋ§àÊÃÔÁ ¡Ãкǹ¡ÒäԴ ¡ÒÃÊ׺àÊÒÐËÒ¤ÇÒÁÃÙŒ ¡ÒÃá¡Œ»Þ ˜ ËÒ ¤ÇÒÁÊÒÁÒö㹡ÒÃÊ×Íè ÊÒà ¡Òà µÑ´ÊԹ㨠¡ÒùíÒä»ãªŒã¹ªÕÇµÔ Ê‹§àÊÃÔÁãËŒ¼àÙŒ ÃÕ¹·íҧҹ͋ҧÁÕ·¡Ñ ÉСÃкǹ¡Ò÷íÒ§Ò¹ ÁÕÅѡɳйÔÊÑ·Õè´Õ㹡Ò÷íÒ§Ò¹ ÁÕ¨ÔµÊíҹ֡㹡ÒÃ͹ØÃÑ¡É ÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ ¡ÒÃࢌÒ㨠áÅÐ ÁÕ·Ñ¡ÉСÒ䌹ËÒ¢ŒÍÁÙÅÍ‹ҧÁÕ¢Ñ鹵͹ ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ¡ÒçҹÍÒªÕ¾áÅÐà·¤â¹âÅÂÕ ».ò àÅ‹Á¹Õé ÁÕ·§Ñé ËÁ´ ô ˹‹Ç ã¹áµ‹ÅÐ˹‹ÇÂẋ§à»š¹º·Â‹ÍÂæ «Ö觻ÃСͺ´ŒÇ ñ. ໇ÒËÁÒ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙ»Œ ÃШíÒ˹‹Ç ¡íÒ˹´ÃдѺ¤ÇÒÁÃÙŒ ¤ÇÒÁÊÒÁÒö ¢Í§¼ÙàŒ ÃÕ¹NjÒàÁ×Íè àÃÕ¹¨ºã¹áµ‹ÅÐ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ µŒÍ§ºÃÃÅØÁҵðҹµÑǪÕÇé ´Ñ ·Õ¡è Òí ˹´ äÇŒã¹ËÅÑ¡ÊٵâŒÍã´ºŒÒ§ ò. ÊÒÃÐÊíÒ¤ÑÞ á¡‹¹¤ÇÒÁÃÙŒ·Õè໚¹¤ÇÒÁÃÙŒ¤ÇÒÁࢌÒ㨤§·¹µÔ´µÑǼٌàÃÕ¹ ó. à¹×éÍËÒ ¤ÃºµÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾.È. òõõñ ¹íÒàʹÍàËÁÒÐÊÁ¡Ñº¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ã¹áµ‹ÅÐÃдѺªÑé¹ ô. ¡Ô¨¡ÃÃÁ ÁÕËÅÒ¡ËÅÒÂÃٻẺãËŒ¹Ñ¡àÃÕ¹»¯ÔºÑµÔ ẋ§à»š¹ (ñ) ¡Ô¨¡ÃÃÁ¹íÒÊ‹Ù¡ÒÃàÃÕ¹ ¹íÒࢌÒÊ‹Ùº·àÃÕ¹à¾×èÍ¡Ãе،¹¤ÇÒÁʹ㨠ᡋ¼ÙŒàÃÕ¹ (ò) ¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ÁͺËÁÒÂãËŒ¹Ñ¡àÃÕ¹½ƒ¡»¯ÔºÑµÔà¾×è;Ѳ¹Ò ¤ÇÒÁÃÙŒ áÅзѡÉлÃШíÒ˹‹Ç ¤³Ð¼ÙŒ ¨Ñ ´ ·í Ò ËÇÑ § ໚ ¹ Í‹ Ò §ÂÔè § Ç‹ Ò Ë¹Ñ § Ê× Í àÃÕ Â ¹ ¡ÒçҹÍÒªÕ ¾ áÅÐ à·¤â¹âÅÂÕ ».ò àÅ‹Á¹Õé ¨Ð໚¹Ê×èÍ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹·ÕèÍíҹǻÃÐ⪹ µ‹Í¡ÒÃàÃÕ¹ ¡ÒçҹÍÒªÕ¾áÅÐà·¤â¹âÅÂÕ à¾×èÍãËŒÊÑÁÄ·¸Ô¼ÅµÒÁÁҵðҹµÑǪÕéÇÑ´·Õè¡íÒ˹´änj㹠ËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾.È. òõõñ ·Ø¡»ÃСÒà ¤³Ð¼ÙŒ¨Ñ´·íÒ


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

คําชี้แจงในการใชสื่อ ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ¡ÒçҹÍÒªÕ¾áÅÐà·¤â¹âÅÂÕ ».ò àÅ‹Á¹Õé ÀÒÂã¹àÅ‹Á¹íÒàÊ¹Í ¡ÒèѴ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹໚¹Ë¹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ¤Ãº¶ŒÇ¹µÒÁÁҵðҹµÑǪÕéÇÑ´ªÑé¹»‚ áÅÐÊÒÃСÒÃàÃÕ¹Ãٌ᡹¡ÅÒ§ â´Â์¹¡ÒÃÍ͡Ẻ¡Ô¨¡ÃÃÁãËŒÊÑÁ¾Ñ¹¸ ¡Ñº¸ÃÃÁªÒµÔ ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ¢Í§áµ‹ÅСÅØ‹ÁÊÒÃÐ áÅФÇÒÁʹ㨢ͧ¼ÙŒàÃÕ¹ᵋÅФ¹ เปาหมายการเรียนรู

สาระสําคัญ

กําหนดระดับความรูความสามารถ ของผูเรียนเมื่อเรียนจบหนวย

แกนความรูที่เปนความเขาใจคงทน ติดตัวผูเรียน

ñ งานบาน

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

º··Õè

เรียนรูงานบาน

เปาหมายการเรียนรูประจําหนวยที่ ๑

¡Ô¨¡ÃÃÁ¹íÒÊÙ‹¡ÒÃàÃÕ¹

เมื่อเรียนจบหนวยนี้ ผูเรียนจะมีความรูความสามารถตอไปนี้ ๑. รูจักบทบาทและหนาที่ของตนเอง (มฐ.ง ๑.๑ ป.๒/๑) ๒. บอกวิธีการและกวาดบาน ลางจานชาม และแกวนํ้า (มฐ.ง ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๓) ๓. บอกวิธีการและจัดเก็บเสื้อผา และเครื่องแตงกายของตนเอง (มฐ.ง ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๓) ๔. บอกวิธีการและชวยครอบครัวเตรียมประกอบอาหาร (มฐ.ง ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๓)

ñ

สาระสําคัญ สมาชิกในครอบครัวยอมมีบทบาทและหนาที่ของตนเอง ที่แตกตางกัน ซึ่งหนาที่ของนักเรียน คือ ตั้งใจศึกษา เลาเรียน และชวยเหลืองานบานทีพ่ อทําได เชน กวาดบาน ลางจานชาม ลางแกวนํ้า เปนตน

? ÀҾ㴠໚¹º·ºÒ· áÅÐ˹ŒÒ·Õè¢Í§¹Ñ¡àÃÕ¹

¡Ô¨¡ÃÃÁ¹ÓÊÙ‹¡ÒÃàÃÕ¹ นําเขาสูบทเรียนใชกระตุนความสนใจ และวัดประเมินผลกอนเรียน


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

อธิบายความรู

Explore

ขยายความเขาใจ

Explain

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ

เนือ้ หา

ครบตามหลักสูตรแกนกลางฯ พ.ศ. ๒๕๕๑ นําเสนอเหมาะสมกับการเรียนการสอนใน แตละระดับชั้น

มอบหมายใหผูเรียนฝกปฏิบัติ เพื่อพัฒนาความรูและทักษะประจําหนวย ¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ

๒. ลางแกวนํ้า และจานชาม เมื่อรับประทานอาหารเสร็จ เราควรลางภาชนะที่ใชรบั ประทานอาหารทุกครัง้ เพือ่ จะไดมภี าชนะ ไวใชในครั้งตอไป และเปนการรักษาความสะอาด เพื่อไมใหเกิดโรค เกี่ยวกับทางเดินอาหาร การลางภาชนะควรลางแกวนํ้ากอนลาง จานชาม หรือลางภาชนะที่เลอะนอยกวากอน ๑) ลางแกวนํ้า ควรปฏิบัติ ดังนี้

๑. หาภาพเสื้อผามาติดลงในสมุด แลวเขียนบันทึกขอมูลตามที่กําหนด • ลักษณะของเสื้อผา • โอกาสในการใสเสื้อผา ๒. ดูภาพทีก่ าํ หนด แลวเขียนวิธกี ารจัดเก็บเสือ้ ผาและเครือ่ งแตงกายใหเหมาะสม ลงในสมุด ๑) ๒) ๓)

เสื้อนักเรียน

(๑)

(๒) ลางแกวดวยนํ้าสะอาด จนหมด คราบ และกลิ่น

ผสมนํา้ ยาลางจานกับนํา้ แลวใช ฟองนํ้าถูดานใน ดานนอก และ ขอบแกว

(๓)

¢ÂÒ¤ÇÒÁÃÙŒ ÊÙ¡‹ ÒäԴ

(๔)

ผึ่งแกวใหแหง โดยควํ่าแกวไว บนตะแกรง

รองเทา

เสื้อยืด

๓. ดูภาพที่กําหนด แลวเขียนอธิบายวาวิธีการจัดเก็บเสื้อผาและเครื่องแตงกาย ในภาพเหมาะสมหรือไม เพราะเหตุใด

นักเรียนคิดวา ถาจัดเก็บเสื้อผาและเครื่องแตงกายอยางถูกวิธี และเปน ระเบียบ จะเกิดผลดีกับนักเรียนและครอบครัวอยางไร

เมือ่ แกวแหงแลว จึงจัดเก็บเขาที่ ใหเรียบรอย

๑๗

¢ÂÒ¤ÇÒÁÃÙŒ ÊÙ¡‹ ÒäԴ

คําถามกระตุนเพื่อใหผูเรียน ใชทักษะการคิด วิเคราะหตอยอดความรู ที่ไดในบทเรียน

ÊÒÃÐÊÓ¤ÑÞ ¨´¨íÒäÇŒ สรุปสาระสําคัญประจําหนวย ที่ ควรจดจํ า และเป น ประโยชน ตอผูเรียน 

านบาน การทาํ หงลือครอบครัว ยเ เพื่อชว

เรียน รูงา

นบ า

บทบาทแ ของสมาชิลกะในหบนาานที่

การประกอบอาหาร

เพื่อเสริมสรางพฤติกรรมและปลูกฝง คานิยมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

â¤Ã§§Ò¹ : §Ò¹»ÃдÔÉ° Áդس¤‹Ò จุดประสงค : รูจักใชเศษวัสดุใหเกิดประโยชน เพื่อฝกการประหยัด ภาระงาน : ใหนกั เรียนนําเศษวัสดุทเี่ หลือใช มาประดิษฐตกแตงเปน

ของเลนหรือของใช

ห ม าะ ส ม

ชุดสวยสะอาดตา

แมค รวั ตัว นอ

อุ ในการปรปกรณท ใี่ ช ะกอ บ อาหา ร

เสื้อผา หากเปนเสื้อผาที่สวมใสแลว ควรผึ่งใหเหงื่อแหง แลวจึงใสตะกรา เพื่อรอซัก สวนเสื้อผาที่ซักทําความ สะอาดแล ว เสื้ อ ผ า ที่ ไ ม ต  อ งรี ด ให พับเก็บ สวนเสื้อผาที่ตองรีด เมื่อรีด เสร็จแลวใหแขวนในตูใหเรียบรอย เครื่องแตงกาย ควรจัดแยกเก็บแตละ ประเภทใหเรียบรอย 

ส รยี ม การเต

การทําใหอาหารสุกดวยวิธกี ารตางๆ เชน ผัด ทอด ตม เปนตน ซึ่งเรา ควรเลือกวิธีการประกอบอาหารให เหมาะสมกับชนิดของอาหาร

ºÙóҡÒÃàÈÃÉ°¡Ô¨¾Íà¾Õ§

กวาดบาน ควรใชเครื่องมือใหเหมาะสม และทําใหถูกตอง ตามขั้นตอน เชน กวาดพื้นไม ควรใชไมกวาด ดอกหญากวาด และกวาดไปในทิศทางเดียวกัน จากนั้ น โกยใส ที่ ตั ก ผง แล ว นํ า ไปทิ้ ง ถั ง ขยะ เปนตน ลางแกวนํ้า และจานชาม ควรลางทําความสะอาดแกวนํ้า และจานชาม เพือ่ จะไดมภี าชนะไวใชในครัง้ ตอไป และปองกัน ไมใหเปนแหลงสะสมเชื้อโรค

การจัดเก็บเสื้อผาาย และเครือ่ งแตงก

§Ò¹ºŒÒ¹

ควรเลือกใชเสื้อผาใหเหมาะสม กับโอกาสและสถานที่ เพื่อชวย เสริมบุคลิกภาพใหดูดี และไดรับ ประโยชน เชน เพื่อปกปดรางกาย เพื่อทําใหรางกายอบอุน เปนตน

การแตงกายใหเ

¡Ô¨¡ÃÃÁ..............

ÊÒÃÐÊíÒ¤ÑÞ ¨´¨íÒäÇŒ

สมาชิกทุกคนในครอบครัว ควรปฏิบตั ิ ตามบทบาทและหน า ที่ ข องตนเอง เพื่อใหอยูรวมกันอยางสงบสุข

¡Ô¨¡ÃÃÁ..............

ºÙóҡÒÃàÈÃÉ°¡Ô¨¾Íà¾Õ§

µÃǨÊͺµ¹àͧ

วนป ระกอ บในอา หาร

¡Ô¨¡ÃÃÁ..............

ºÙóҡÒèԵÍÒÊÒ

อุปกรณที่ใชในการประกอบอาหาร มีหลายประเภทควรใชใหถูกตอง และเหมาะสม เชน ชามใชใส อาหารประเภทนํ้ า ช อ นใช ตั ก อาหารตางๆ เปนตน

â¤Ã§§Ò¹ : ÃÑ¡É âšÌ͹ จุดประสงค : เพื่อปลูกฝงใหนักเรียนเห็นความสําคัญของตนไม และ

การเตรียมประกอบอาหารทําให สะดวกและประหยัดเวลาในการ ประกอบอาหาร

ธรรมชาติ

นักเรียนลองสังเกตตนเองดูวา ปฏิบัติตามสิ่งตางๆ เหลานี้ไดหรือไม ❏ รูจักและปฏิบัติตามบทบาทหนาที่ของตนเองได ❏ กวาดบานไดถูกตองตามขั้นตอน ❏ ลางแกวนํ้าและจานชามไดอยางถูกตองตามขั้นตอน ❏ แตงกายไดเหมาะสมกับโอกาสและสถานที่ ❏ จัดเก็บเสื้อผาและเครื่องแตงกายไดถูกวิธี ❏ ใชอุปกรณในการประกอบอาหารไดถูกตองและเหมาะสม ❏ ชวยพอแมเตรียมสวนประกอบในอาหารได

ภาระงาน : ใหนักเรียนนําตนกลาที่เพาะได นําไปปลูกตามสถานที่

ตางๆ เชน บริเวณบาน บริเวณโรงเรียน หรือนําตนกลา ไปแจกใหเพื่อนๆ หรือผูที่สนใจชวยกันนําไปปลูก

๒๗

µÃǨÊͺµ¹àͧ เพื่อใหผูเรียนใชตรวจสอบตนเองวา เมื่อจบหนวยแลว ไดบรรลุตามเปาหมาย การเรียนรูหรือไม

๘๙

¡Ô¨¡ÃÃÁ..............

ºÙóҡÒèԵÍÒÊÒ

เพื่อปลูกฝงจิตสํานึกในการเสียสละ เพื่อประโยชนสวนรวมเปนกิจนิสัย


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

สารบั ญ ตารางวิเคราะหมาตรฐานการเรียนรู

ห น ว ย การเรียนรูที่

งานบาน

งานเกษตร

งานชาง งานประดิษฐ

ขอมูลและคอมพิวเตอร

บทที่ ๑ เรียนรูงานบาน บทที่ ๒ ชุดสวยสะอาดตา บทที่ ๓ แมครัวตัวนอย ห น ว ย การเรียนรูที่

บทที่ ๑ เครื่องมือเกษตรนาใช บทที่ ๒ พื้นฐานงานเกษตร ห น ว ย การเรียนรูที่

บทที่ ๑ ฉันรักงานชาง บทที่ ๒ รูจักคิดประดิษฐได ห น ว ย การเรียนรูที่

บทที่ ๑ ขอมูลรอบตัวเรา บทที่ ๒ คอมพิวเตอรแสนกล โครงงานการงานอาชีพฯ กิจกรรมบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมบูรณาการจิตอาสา บรรณานุกรม

๒ ๑๒ ๑๘

๒๘ ๒๙ ๓๔

๔๘ ๔๙ ๕๗

๖๘

๖๙ ๗๗

๘๙ ๘๙ ๙๐ ๙๐


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ตารางวิเคราะห มาตรฐานการเรียนรูแ  ละตัวชีว้ ดั รายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป.๒ คําชี้แจง : ใหผสู อนใชตารางน�ต้ รวจสอบวา เน�อ้ หาสาระการเรียนรูใ นหนวยการเรียนรูส อดคลองกับมาตรฐาน การเรียนรูและตัวชี้วัดชั้นปในขอใดบาง หนวยที่ หนวยที่ หนวยที่ หนวยที่ สาระการเรียนรู ๑ ๒ ๓ ๔ บทที่ บทที่ บทที่ บทที่ ตัวชี้วัด ชั้น ป.๒ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒

สาระที่ ๑ การดํารงชีวิตและครอบครัว มาตรฐาน ง ๑.๑ ๑. บอกวิธีการและประโยชนการทํางานเพื่อชวยเหลือตนเอง ✓ ✓ ✓ และครอบครัว ๒. ใชวสั ดุ อุปกรณ และเครือ่ งมือในการทํางานอยางเหมาะสม ✓✓ ✓✓ กับงาน และประหยัด ๓. ทํางานเพื่อชวยเหลือตนเองและครอบครัวอยางปลอดภัย ✓ ✓ ✓ สาระที่ ๒ การออกแบบและเทคโนโลยี มาตรฐาน ง ๒.๑ ✓ ๑. บอกประโยชนของสิ�งของเครื่องใชในชีวิตประจําวัน ๒. สรางของเลน ของใชอยางงาย โดยกําหนดปญหาหรือ ความตองการ รวบรวมขอมูล ออกแบบโดยถายทอด ✓ ความคิดเปนภาพราง ๒ มิติ ลงมือสราง และประเมินผล ๓. นําความรูเ กีย่ วกับการใชอปุ กรณ เครือ่ งมือทีถ่ กู วิธไี ปประยุกต ✓ ใชในการสรางของเลน ของใชอยางงาย ๔. มีความคิดสรางสรรคอยางนอย ๑ ลักษณะ ในการแกปญ หา ✓ หรือสนองความตองการ สาระที่ ๓ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาตรฐาน ง ๓.๑ ๑. บอกประโยชนของขอมูลและรวบรวมขอมูลที่สนใจจาก ✓ แหลงขอมูลตางๆ ที่เชื่อถือได ๒. บอกประโยชนและการรักษาแหลงขอมูล ✓ ๓. บอกชื่อและหนาที่ของอุปกรณพื้นฐานที่เปนสวนประกอบ ✓ หลักของคอมพิวเตอร สาระที่ ๔ การงานอาชีพ มาตรฐาน ง ๔.๑ สาระที่ ๔ เรียนในชั้น ป.๔ - ป.๖


กระตุน ความสนใจ กระตุEngage นความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

ñ งานบาน

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

เปาหมายการเรียนรูประจําหนวยที่ ๑ เมื่อเรียนจบหนวยนี้ ผูเรียนจะมีความรูความสามารถตอไปนี้ ๑. รูจักบทบาทและหนาที่ของตนเอง (มฐ.ง ๑.๑ ป.๒/๑) ๒. บอกวิธีการและกวาดบาน ลางจานชาม และแกวนํ้า (มฐ.ง ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๓) ๓. บอกวิธีการและจัดเก็บเสื้อผา และเครื่องแตงกายของตนเอง (มฐ.ง ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๓) ๔. บอกวิธีการและชวยครอบครัวเตรียมประกอบอาหาร (มฐ.ง ๑.๑ ป.๒/๑, ป.๒/๓)

กระตุน ความสนใจ

Engage

1. ใหนักเรียนดูภาพ แลวครูถามคําถาม และให นักเรียนชวยกันแสดงความคิดเห็นอยางอิสระ • จากภาพ มีการทํางานบานอะไรบาง และงานบานนั้นมีประโยชนอยางไร (แนวตอบ - ลางแกวนํ้า ทําใหแกวนํ้าสะอาด ไมเปน แหลงสะสมเชื้อโรค และมีแกวนํ้าไวใช - กวาดพื้นในบานทําใหบานสะอาด ไมมี ขยะหรือเศษฝุนละออง - กวาดเศษใบไม ทําใหไมมีเศษใบไมรก สนามหนาบานสะอาด ไมมีสัตวมีพิษมา อาศัยอยู - ตากผา ทําใหผาที่ซักแลวแหง เพื่อมีไว ใชงานตอไป) 2. ครูถามนักเรียนวา เด็กในวัยนักเรียนสามารถ ทํางานบานไดหรือไม และงานบานอะไรที่ สามารถชวยทําได (แนวตอบ สามารถชวยทํางานบานได เชน กวาดบาน ลางแกวนํ้า และจานชาม จัดเก็บ สิ่งของเครื่องใชตางๆ เปนตน)

เกร็ดแนะครู การเรียนรูในวิชาการงานอาชีพฯ มุงเนนการพัฒนาผูเรียน เพื่อใหมีความรู ความสามารถ มีทักษะในการทํางาน สามารถชวยเหลือตนเองและครอบครัวได ดังนั้น ครูควรเนนใหนักเรียนไดฝกปฏิบัติจริง เพื่อใหเกิดทักษะกระบวนการทํางาน ทักษะกระบวนการแกปญหา และทักษะการทํางานรวมกัน

คูมือครู

1


กระตุน ความสนใจ กระตุEngage นความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

เปาหมายการเรียนรู

1. รูจักบทบาทและหนาที่ของตนเอง (ง 1.1 ป.2/1) 2. บอกวิธีการและกวาดบาน ลางจานชาม และแกวนํ้า (ง 1.1 ป.2/1, ป.2/3)

º··Õè

เรียนรูงานบาน

สมรรถนะของผูเรียน 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการแกปญหา 3. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต

¡Ô¨¡ÃÃÁ¹íÒÊÙ‹¡ÒÃàÃÕ¹ ๑

คุณลักษณะอันพึงประสงค

ñ

สาระสําคัญ สมาชิกในครอบครัวยอมมีบทบาทและหนาที่ของตนเอง ที่แตกตางกัน ซึ่งหนาที่ของนักเรียน คือ ตั้งใจศึกษา เลาเรียน และชวยเหลืองานบานทีพ่ อทําได เชน กวาดบาน ลางจานชาม ลางแกวนํ้า เปนตน

1. มีวินัย รับผิดชอบ 2. ใฝเรียนรู 3. มุงมัน่ ในการทํางาน

กระตุน ความสนใจ

Engage

ใหนักเรียนดูภาพ หนา 2 แลวชวยกันบอกวา • เด็กในภาพกําลังทําอะไร (ตอบ 1. ลางแกวนํ้า 2. ผูกประทัดที่หางสุนัข 3. เรียนหนังสือ 4. กวาดบาน) • การกระทําในภาพใด เราไมควรปฏิบัติตาม เพราะอะไร (แนวตอบ ผูกประทัดที่หางสุนัข เพราะเปนการ รังแกสัตว เสียงประทัดอาจทําใหสุนัขตกใจ และกัดเราได)

? ÀҾ㴠໚¹º·ºÒ· áÅÐ˹ŒÒ·Õè¢Í§¹Ñ¡àÃÕ¹

เกร็ดแนะครู ครูจัดกระบวนการเรียนรูโดยการใหนักเรียนปฏิบัติ ดังนี้ • อภิปรายบทบาทหนาที่ของตนเองในครอบครัว • ฝกปฏิบัติการทํางานบานอยางงายๆ จนเกิดเปนความรูความเขาใจวา ทุกคนมีบทบาทและหนาที่ของตนเอง นอกจากนี้ เราควรชวยครอบครัวทํางานตางๆ เชน กวาดบาน ถูบาน ลางจานชาม แกวนํ้า เปนตน

ขอสอบเนนการคิด

การชวยแบงเบาภาระของพอแมในขอใด ไมเหมาะสมกับวัยของนักเรียน ก. อาบนํ้าและแตงตัวเอง ข. ใหอาหารสัตวเลี้ยง ค. ซอมพัดลม ง. กวาดบาน วิเคราะหคําตอบ พัดลมเปนเครื่องใชไฟฟาที่ตองใหชางหรือผูที่มีความ รูความชํานาญในการซอมแซม ดังนั้น จึงไมเหมาะกับเด็กในวัย ป.2 ที่จะ ซอมแซมเอง เพราะอาจทําใหเกิดอันตรายได ดังนั้น ขอ ค.

เปนคําตอบที่ถูก

2

คูมือครู


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

สํารวจค Exploreนหา

Engage

สํารวจคนหา

1. ครูนําภาพบานที่มีสมาชิกในบานทํากิจกรรม ตางๆ มาใหนักเรียนดู แลวรวมกันอภิปรายวา ภาพนี้คืออะไร และมีประโยชนอยางไร 2. ใหนักเรียนวาดภาพบานของตนเอง พรอมกับ เขียนวาในครอบครัวของนักเรียนมีใครบาง จากนั้นครูสุมเรียกนักเรียนใหออกมานําเสนอ ผลงานของตนเอง

บทบาทและหนาที่ของสมาชิกในบาน บานเปนที่อยูอาศัยของสมาชิกในครอบครัว ทุกคนตองมีบาน ไวสําหรับพักผอน นอนหลับ กันแดด กันฝน และทํากิจกรรมอื่นๆ อีกหลายอยาง บานแตละบานจะมีสมาชิกในครอบครัวทีแ่ ตกตางกัน บางครอบครัวเปนครอบครัวเล็ก มีสมาชิกนอย เชน พอ แม ลูก เปนตน แตบางครอบครัวเปนครอบครั วใหญ มีสมาชิกหลายคน เชน 1 ปู ยา ตา ยาย ลุง ปา นา อา เปนตน

อธิบายความรู

ครอบครัวของฉัน

ลุง

ยา

พอ

ตา

อา

ปา

ลูก

ลูก

ยาย

แม

Explain

1. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวา ในครอบครัว ประกอบดวยใครบาง 2. ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา บานแตละบานจะมีสมาชิกในครอบครัว แตกตางกัน บางครอบครัวเปนครอบครัวเล็ก มีสมาชิกนอย เชน พอ แม ลูก บางครอบครัว เปนครอบครัวใหญ มีสมาชิกหลายคน เชน ปู ยา พอ แม ปา นา ลูก 3. ครูถามนักเรียนวา • สมาชิกแตละคนในครอบครัวมีหนาที่ แตกตางกันหรือไม อยางไร (ตอบ ตางกัน ขึ้นอยูกับบทบาทของแตละคน ในครอบครัว เชน พอแมมีหนาที่เลี้ยงดูลูก ลูกมีหนาที่เชื่อฟงคําสั่งสอนของพอแม) • เมื่ออยูในครอบครัวนักเรียนมีหนาที่อยางไร (แนวตอบ ขึ้นอยูกับคําตอบนักเรียนแตละคน)

ตัวอยาง สมาชิกในครอบครัว

ปู

Explore

นา

ลูก

ขอสอบเนนการคิด

หากพอแมมอบหมายงานบานใหทํา แลวนักเรียนทําอยางตั้งใจ และเต็มใจ แสดงวานักเรียนมีคุณธรรมใด ก. ความรับผิดชอบ ข. ความตรงตอเวลา ค. ความซื่อสัตย ง. ความอดทน

วิเคราะหคําตอบ การทํางานอยางตั้งใจ และเต็มใจทํา เปนการทํางาน ดวยความรับผิดชอบตอหนาที่ ดังนั้น ขอ ก. จึงเปนคําตอบที่ถูก

เกร็ดแนะครู ในขั้นสํารวจคนหา ครูอาจจัดกิจกรรมโดยใหนักเรียนนํารูปภาพสมาชิก ในครอบครัวมาแลกเปลี่ยนกันดูกับเพื่อน แลวแนะนําใหเพื่อนๆ รูจักสมาชิก ในครอบครัวของตนเองวาเปนใคร มีความสัมพันธกับนักเรียนอยางไร

นักเรียนควรรู 1 ปู ยา ตา ยาย ลุง ปา นา อา เรียกจะแตกตางกันไป ดังนี้ ปู เปนพอของพอ ยา เปนแมของพอ ตา เปนพอของแม ยาย เปนแมของแม

เปนคํานามที่ใชเรียกแทนบุคคล ซึ่งในการ ลุง ปา นา อา

เปนพี่ของพอและแม เปนพี่ของพอและแม เปนนองของแม เปนนองของพอ คูมือครู

3


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบExplain ายความรู

สมาชิกในบานของเราตางก็มหี นาทีด่ ว ยกันทุกคน ซึง่ แตละคน จะมีหนาที่แตกตางกันออกไป เชน พอ

• ทํางานหาเลี้ยงครอบครัว 1 • อบรม สั่งสอน เลี้ยงดูลูก และทําตน

ใหเปนแบบอยางที่ดีแกลูก • ชวยเหลืองานตางๆ ในบาน เชน ดูแล ซอมแซมของใชในบาน ตัดหญา รดนํ้า ตนไม เปนตน

Expand

1. ใหนักเรียนนําภาพสมาชิกในครอบครัวมาติด เปนแผนผังความคิดลงในสมุด แลวเขียนบอก หนาที่ของแตละคน พรอมตกแตงใหสวยงาม 2. ใหนักเรียนออกมานําเสนอแผนผังความคิด สมาชิกในครอบครัวที่หนาชั้นเรียน

ตรวจสอบผล

Evaluate ตรวจสอบผล

Explain

1. ใหนักเรียนนําภาพสมาชิกในครอบครัวที่ นักเรียนวาดในขั้นตอนการสํารวจคนหามาให เพื่อนดู พรอมบอกวาสมาชิกแตละคนมีบทบาท และหนาที่อยางไรบาง 2. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวา พอ แม และลูก มีบทบาทหนาที่อยางไรบางในครอบครัว 3. ใหนักเรียนอานขอมูล หนา 4 แลวรวมกันสรุป หนาที่ของสมาชิกในครอบครัว

ขยายความเขาใจ

Expand าใจ ขยายความเข

แม

• ทํางานหาเลี้ยงครอบครัว • อบรม สั่งสอน เลี้ยงดูลูก และทําตน

ใหเปนแบบอยางที่ดีแกลูก • ทํางานบานตางๆ เชน ทําอาหาร ซักผา รีดผา กวาดบาน ถูบาน เปนตน

Evaluate

ครูตรวจสอบวานักเรียนเขียนแผนผังความคิด เกี่ยวกับบทบาทและหนาที่ของสมาชิกในครอบครัว ตนเองไดอยางเหมาะสมหรือไม

ลูก

• ตั้งใจเรียนหนังสือ เชื่อฟงคําสั่งสอน

ของพอ แม และครู • ทํางานชวยเหลือตนเอง เชน อาบนํ้า แตงตัว จัดเก็บของใช ของเลน เปนตน • ชวยเหลืองานบานเทาที่ทําได เชน กวาดบาน ถูบาน ใหอาหารสัตวเลี้ยง ลางจานชาม เปนตน ๔

เกร็ดแนะครู ครูอธิบายเสริมวา พอ แม มีบทบาทในการทํางานหาเงินมาเลี้ยงดูเรา รวมทั้ง ดูแลทุกขสขุ ของสมาชิกภายในบาน หนาทีข่ องเราแมจะเปนเด็ก ก็สามารถแบงเบา ภาระของทานได ดวยการชวยเหลือทํางานบาน ซึ่งงานบานมีอยูหลายอยางที่ เด็กสามารถทําได ทั้งกวาดบาน ถูบาน ลางถวยจานชาม ซึ่งทักษะเหลานี้จะเปน ประโยชนตอเราเมื่อเติบโตขึ้น และเมื่อตองดูแลตนเอง

นักเรียนควรรู 1 ลูก หนาทีข่ องลูก นอกจากตัง้ ใจเรียน และชวยเหลือตนเองหรือชวยทํางานบาน ตางๆ แลว ยังตองเปนเด็กดี มีคุณธรรม คือ ขยัน ประหยัด ซื่อสัตย มีวินัย สุภาพ สะอาด สามัคคี และมีนํ้าใจ

4

คูมือครู

บูรณาการเชื่อมสาระ

ครูบูรณาการความรูในสาระการงานอาชีพฯ กับสาระสังคมศึกษา เรื่อง บทบาทหนาที่ของนักเรียน โดยครูใหนักเรียนเปรียบหองเรียนเหมือนบาน ทุกคนเปนสมาชิกในบาน โดยมีครูเปนหัวหนาครอบครัว จากนั้นใหนักเรียน ชวยกันแบงบทบาทหนาที่ในหองเรียนวา มีอะไรบางที่สมาชิกตองชวยกันทํา และมอบหมายหนาที่ใหแตละคนทําตามหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย เพื่อฝก ใหมีความรับผิดชอบ


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

สํารวจค Exploreนหา

Engage

สํารวจคนหา

Explore

1. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวา นักเรียน สามารถชวยทํางานบานอะไรไดบาง 2. ครูสนทนาซักถามนักเรียนวา ใครเคยชวย พอแมทํางานบานบาง ชวยทํางานอะไร จากนั้นใหนักเรียนผลัดกันเลาประสบการณ ของตนเอง 3. ครูชวนนักเรียนสนทนาวา ใครเคยกวาดบาน บาง ตองทําอยางไร ครูใหนักเรียนชวยกัน แสดงความคิดเห็น 4. ครูสุมเรียกนักเรียนที่เคยกวาดบานใหออกมา เลาประสบการณ พรอมกับสาธิตวิธีการทํางาน ใหเพื่อนๆ ดูที่หนาชั้นเรียน 5. ครูถามนักเรียนวา • ถาจะกวาดบาน เราควรเตรียมเครื่องมือ อะไรบาง (ตอบ ไมกวาด และที่ตักผง) • การเลือกใชไมกวาดขึ้นอยูกับสิ่งใด (ตอบ ขึ้นอยูกับลักษณะของพื้นที่จะกวาด)

การทํางานบานเพื่อชวยเหลือครอบครัว เด็กในวัยของนักเรียนสามารถชวยทํางานบานบางอยางไดแลว เพือ่ เปนการแบงเบาภาระของพอแม งานบานทีน่ กั เรียนสามารถชวย ทําไดและควรปฏิบัติ มีดังนี้ ๑. กวาดบาน จะทําใหบานสะอาด นาอยู ไมเปนแหลงสะสม เชื้อโรค และทําใหสมาชิกในบานมีสุขภาพที่ดี ดังนั้นจึงควรเรียนรู เกี่ยวกับเครื่องมือ และขั้นตอนในการกวาดบาน เพื่อใหทํางานได อยางถูกตอง เหมาะสม และปลอดภัยในการทํางาน ๑) เครื่องมือที่ใชกวาดบาน ที่ควรรูจัก มีดังนี้ (๑) ไมกวาดดอกหญา ใชกวาดพื้นที่เรียบ และแหง เชน พื้นไม พื้นกระเบื้อง เปนตน (๒) ไมกวาดทางมะพราว ใชกวาดพื้นที่ เปยก และหยาบ เชน พื้นปูนซีเมนต เปนตน

อธิบายความรู

Explain

1. ครูนําไมกวาดแตละชนิดมาใหนักเรียนดู แลวใหนักเรียนชวยกันบอกชื่อไมกวาด 2. ใหนักเรียนผลัดกันออกมาทําทาจับไมกวาด แตละชนิดขณะกวาดบาน แลวใหครูแนะนําวา จับไมกวาดไดถูกตองหรือไม 3. ใหนักเรียนอานขอมูล หนา 5 แลวรวมกันสรุป เกี่ยวกับเครื่องมือที่ใชกวาดบานวามีอะไรบาง

(๓) ไมกวาดทางมะพราวมีดาม ใชกวาดพื้นดิน พื้นที่หยาบ พื้นปูนซีเมนต (๔) ทีต่ กั ผง ใชตกั ฝุน ละออง หรือเศษผง ที่กวาดรวมกันเพื่อนําไปทิ้งถังขยะ ๕

ขอสอบเนนการคิด

การกวาดพื้นหองควรกวาดจากดานในออกมาดานนอก เพราะอะไร ก. ทําใหไมมีฝุนตกคางอยูในหอง ข. ทําใหกวาดไดเร็วขึ้น ค. ทําใหฝุนไมฟุงกระจาย ง. ทําใหสะดวกในการกวาด

วิเคราะหคําตอบ การกวาดพื้นหองจากดานในหองกอน จะทําให ฝุนละอองที่อยูดานในถูกกวาดออกมา ซึ่งจะชวยใหไมมีฝุนละอองตกคาง อยูในหอง ดังนั้น ขอ ก. เปนคําตอบที่ถูก

เกร็ดแนะครู ครูอธิบาบเสริมใหนักเรียนเขาใจวา การรูจักเครื่องือในการปฏิบัติงานบาน จะชวยทําใหนักเรียนสามารถเลือกเครื่องมือไดอยางเหมาะสมกับงานที่ทํา ซึ่งทําใหชวยประหยัดเวลาและแรงงาน

บูรณาการอาเซียน ครูเนนยํ้าใหนักเรียนตระหนักวา การกวาดบาน การลางแกวนํ้าและภาชนะ เปนงานบานที่ทําใหบาน และสิ่งของตางๆ ในบานสะอาด บานนาอยูอาศัย และ ทําใหผูอยูอาศัยมีสุขภาพกายและจิตที่ดี หรือที่เรียกวา มีสุขภาวะกายจิต ซึ่งสอดคลองกับเปาหมายอาเซียน ที่ตองการใหประชาชนปราศจากโรคภัยไขเจ็บ และมีสิ่งแวดลอมที่ดี

คูมือครู

5


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูนําภาพพื้นบานลักษณะตางๆ ใหนักเรียนดู แลวสนทนาซักถามวา พื้นบานแตละลักษณะ ควรใชไมกวาดชนิดใดทําความสะอาด 2. ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา พื้นบาน แตละบริเวณอาจจะแตกตางกัน เชน พื้นไม พื้นซีเมนต พื้นดิน เปนตน ดังนั้นเราจึงควร เลือกใชไมกวาดใหเหมาะสมกับพื้นที่จะกวาด 3. ใหนักเรียนดูภาพการกวาดพื้นไม พื้นกระเบื้อง หนา 6 แลวรวมกันอธิบายประกอบภาพ 4. ครูสาธิตการกวาดพื้นไม พื้นกระเบื้อง ใหนักเรียนดู 5. ใหนักเรียนแบงกลุม แลวใหแตละกลุมฝก กวาดพื้นไม พื้นกระเบื้อง โดยปฏิบัติตาม ขั้นตอน จากนั้นรวมกันสรุปขอควรปรับปรุง ในการปฏิบัติงาน

1

๒) ขั้นตอนการกวาดบาน พื้นบานแตละบริเวณอาจจะ แตกตางกัน เชน พื้นไม พื้นกระเบื้อง พื้นปูนซีเมนต เปนตน เราจึง ควรเลือกใชเครื่องมือใหเหมาะสมกับพื้นที่ และปฏิบัติใหถูกตอง (๑) กวาดพื้นไม พื้นกระเบื้อง ควรปฏิบัติ ดังนี้

๑.

๒.

๓.

เริ่มกวาดโดยใชไมกวาดดอกหญา กวาดพื้นจากบริเวณมุมหองดานใน ออกมาดานนอก เพราะบริเวณนี้มี ฝุนมาก และควรกวาดไปในทิศทาง เดียวกัน กวาดเศษผงทั้งหมดมากองรวมกัน ไวที่ใดที่หนึ่ง แลวใชไมกวาดกวาด เศษผงใสที่ตักผง จากนั้นนําไปทิ้ง ในถังขยะ เมื่อกวาดเสร็จแลว ทําความสะอาด ไมกวาดดอกหญา โดยเคาะเศษผง ออกจนหมด สวนที่ตักผงควรลางให สะอาด ผึ่งใหแหง แลวจัดเก็บเขาที่ ใหเรียบรอย

เกร็ดแนะครู ครูอธิบายเสริมกับนักเรียนวา ตองปดพัดลมหรืออยาใหพัดลมพัดแรงในขณะ กวาดบาน เพราะฝุนละอองและเศษผงจะฟุงกระจาย รวมทั้งถาตองการกวาด ในบริเวณที่มีฝุนละอองมาก จะตองใชหนากากอนามัยหรือมีผาปดปากปดจมูก เพื่อปองกันไมใหหายใจเอาฝุนละอองเขาสูรางกาย

นักเรียนควรรู 1 การกวาดบาน เราควรกวาดบานทุกวันเพื่อไมใหมีฝุนละอองสะสมอยูตาม พื้นบาน เพราะฝุนละอองเปนสาเหตุหนึ่งที่ทําใหเปนโรคภูมิแพและโรคเกี่ยวกับ ทางเดินหายใจ

6

คูมือครู

ขอสอบเนนการคิด

หากเก็บไมกวาดดอกหญา โดยวางตั้งใหปลายไมกวาดอยูกับพื้นนานๆ จะเกิดผลอยางไร ก. ปลายไมกวาดงอ ข. ไมกวาดใชกวาดไดดีขึ้น ค. ไมกวาดมีความทนทาน ง. ดอกหญาจะหลุดรวงงาย วิเคราะหคําตอบ หากวางไมกวาดดานที่เปนดอกหญาไวกับพื้นนานๆ ปลายไมกวาดจะงอ และทําใหกวาดพืน้ ไดไมดี และไมกวาดชํารุดงาย ดังนั้น ขอ ก. เปนคําตอบที่ถูก


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบExplain ายความรู

Expand าใจ ขยายความเข

Evaluate ตรวจสอบผล

อธิบายความรู

Explain

1. ครูอธิบายเพิ่มเติมเรื่องขั้นตอนการกวาดพื้นซีเมนตที่มีนํ้าขัง และการกวาดพื้นนอกบาน โดยใหนักเรียนดูขอมูล หนา 7 ประกอบ 2. ครูพานักเรียนไปที่สนาม แลวสาธิตวิธีการ กวาดพื้นซีเมนตที่มีนํ้าขัง และการกวาดพื้น นอกบาน ใหนักเรียนดู 3. ใหนักเรียนแบงกลุมแลวฝกปฏิบัติตามที่ครู สาธิต จากนั้นรวมกันสรุปขอควรปรับปรุง 4. ครูถามนักเรียนวา • หากนําไมกวาดดอกหญามากวาดพื้นที่มี นํ้าขัง ผลจะเปนอยางไร (ตอบ ไมกวาดจะชํารุดไดงาย)

(๒) กวาดพืน้ ซีเมนตทมี่ ี นํ้าขัง ควรปฏิบัติ ดังนี้ ๑. ให ใ ช ไ ม กวาด ทางมะพราวกวาดนํ้าที่พื้น โดยกวาด ใหขนานกับพื้น และกวาดเบาๆ ไปใน ทิศทางเดียวกัน ๒. กวาดนํ้าใหไหล ขณะกวาดนํ้าตองไมสะบัดปลายไมกวาด เพราะจะทําใหนํ้ากระเด็นใสตนเองได ไปตามทางระบายนํ้าจนหมด ๓. ทําความสะอาดไมกวาดทางมะพราว แลวนําไป ผึ่งแดดจนแหง จากนั้นจัดเก็บโดยแขวนไวกับฝาผนัง หรือวางพิง ฝาผนังเอาสวนที่เปนดามลงพื้น (๓) กวาดพื้ น นอกบ า น การกวาดพื้ น บริ เ วณนอก ตัวบาน เชน พื้นดิน พื้นทราย พื้นลานซีเมนต เปนตน ควรปฏิบัติ ดังนี้ 1 ๑. ใชไมกวาดทางมะพราวมีดามกวาดเศษผง ใบไมแหงในพื้นที่ที่มีบริเวณกวาง โดยกวาดไปในทิศทางเดียวกัน หากพื้นที่ที่มีบริเวณแคบ ควรใชไมกวาดทางมะพราวกวาด ๒. กวาดเศษผง ใบไมแหงมากองรวมกันไว แลว ใชไมกวาดกวาดใสที่ตักผง จากนั้นนําไปทิ้งในถังขยะ ๓. ดึงเศษขยะที่ติดอยูที่ไมกวาดทางมะพราวมี ดามออก ลางใหสะอาด แลวผึง่ ใหแหง จากนัน้ เก็บโดยวางพิงฝาผนัง เอาสวนที่เปนดามลงพื้น

ขยายความเขาใจ

Expand

1. ใหนักเรียนแบงกลุม แลวใหแตละกลุมฝก กวาดพื้นบานตามที่กลุมตนเองจับฉลากได 2. ใหนักเรียนแตละกลุมออกมาเลาวิธีการทํางาน ของกลุมตนเอง แลวใหเพื่อนกลุมอื่นๆ ชวยกันประเมินผล

ตรวจสอบผล

Evaluate

ครูตรวจสอบวา นักเรียนปฏิบัติขั้นตอนการ กวาดบานไดอยางถูกตอง และเหมาะสมหรือไม

ขอสอบเนนการคิด

เพราะเหตุใด การกวาดพื้นควรกวาดตามทิศทางลม

แนวตอบ เพื่อไมใหฝุนปลิวยอนกลับมา และทําใหตองเริ่มกวาดใหม และฝุนที่ปลิวยอนกลับมาอาจปลิวเขาตาและจมูก ทําใหเกิดอาการ ระคายเคืองได

นักเรียนควรรู 1 ไมกวาดทางมะพราวมีดาม ลักษณะเหมือนไมกวาดทางมะพราว เพียงแต มีไมรวกหรือไมไผเสียบไวตรงกลางของทางมะพราวที่นํามามัดรวมกัน เพื่อใชเปน ดามจับ ทําใหกวาดสะดวกยิ่งขึ้น การใชไมกวาดทางมะพราวมีดาม ควรใชกวาดพื้นที่มีบริเวณกวาง เพื่อชวย ผอนแรง

คูมือครู

7


กระตุนความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

Exploreนหา สํารวจค

สํารวจคนหา

Explore 1

1. ครูนําภาพเด็กกําลังลางจาน กับภาพโตะอาหาร ที่มีจานชามวางเกลื่อนกลาดมาใหนักเรียนดู แลวรวมกันอภิปรายวา เมื่อนักเรียนรับประทาน อาหารเสร็จแลว ควรปฏิบัติตามในภาพใดจึงจะ เหมาะสม 2. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวา การที่เราลาง แกวนํ้า และจานชามไดดวยตนเอง มีประโยชน หรือไม อยางไร 3. ครูชวนนักเรียนสนทนาวา ใครเคยลางแกวนํ้า และจานชามบาง หรือเมื่ออยูที่บานใครมี หนาที่ตองลางแกวนํ้าและจานชามบาง จากนั้น ใหนักเรียนที่เคยมีประสบการณในการลาง แกวนํ้าและจานชาม ออกมาเลาประสบการณ ของตนเอง 4. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวา เมื่อสมาชิกใน ครอบครัวรับประทานอาหารเสร็จแลว ทําไม ควรลางภาชนะที่ใชในการรับประทานอาหาร เหลานั้น ไมควรทิ้งไวคางคืน

อธิบายความรู

๒. ลางแกวนํ้า และจานชาม เมื่อรับประทานอาหารเสร็จ เราควรลางภาชนะที่ใชรบั ประทานอาหารทุกครัง้ เพือ่ จะไดมภี าชนะ ไวใชในครั้งตอไป และเปนการรักษาความสะอาด เพื่อไมใหเกิดโรค เกี่ยวกับทางเดินอาหาร การลางภาชนะควรลางแกวนํ้ากอนลาง จานชาม หรือลางภาชนะที่เลอะนอยกวากอน ๑) ลางแกวนํ้า ควรปฏิบัติ ดังนี้

(๑) ผสมนํา้ 2ยาลางจานกับนํา้ แลวใช ฟองนํ้าถูดานใน ดานนอก และ ขอบแกว

Explain

1. ใหนกั เรียนรวมกันอภิปรายและสรุปใหไดวา เมือ่ รับประทานอาหารเสร็จแลว ควรลางภาชนะทีใ่ ช รับประทานอาหารทุกครั้ง เพื่อใหมีภาชนะไวใช งาน และไมเปนแหลงสะสมเชื้อโรค 2. ครูถามคําถามวา • หากตองลางแกวนํ้า และภาชนะใสอาหาร ควรลางสิ่งใดกอน เพราะอะไร (ตอบ ลางแกวนํ้ากอน เพราะแกวนํ้ามักมี คราบสกปรกหรือมีกลิ่นคาวของอาหาร นอยกวา หากลางจานชามกอน กลิ่นคาว ของอาหารอาจไปติดที่ฟองนํ้า เมื่อนํามาลาง แกวนํ้าตอ กลิ่นคาวอาจไปติดที่แกวนํ้าได)

(๓)

เมือ่ แกวแหงแลว จึงจัดเก็บเขาที่ ใหเรียบรอย

1 แกวน้ำ และจามชาม ที่ทําจากวัสดุที่แตกหักได เชน แกว กระเบื้อง ควรลางดวยความระมัดระวัง อยาใหกระทบกัน เพราะอาจทําใหเกิดรอยราว หรือแตกได ซึ่งอาจทําใหบาดมือผูลางได 2 ฟองน้ำ ที่ใชสําหรับลางภาชนะ เมื่อเริ่มเปอยควรเปลี่ยนใหม หรือเปลี่ยน อยางนอยเดือนละ 1 ครั้ง เพื่อไมใหเปนแหลงสะสมของเชื้อโรค

คูมือครู

ลางแกวดวยนํ้าสะอาด จนหมด คราบ และกลิ่น

(๔)

ผึ่งแกวใหแหง โดยควํ่าแกวไว บนตะแกรง

นักเรียนควรรู

8

(๒)

ขอสอบเนนการคิด

ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับการทําความสะอาดภาชนะ ก. ลางเสร็จแลวควรเก็บเขาตูทันที ข. ควรลางแกวนํ้าแยกจากภาชนะอื่นๆ ค. ลางภาชนะทุกประเภทรวมกัน ง. ควรลางจานกอนแกวนํ้า วิเคราะหคําตอบ การแยกลางแกวนํา้ จากภาชนะอืน่ ๆ จะทําใหลา งแกวนํา้ ไดงาย เพราะแกวนํ้าเปนภาชนะที่ไมสกปรกมาก หากนําไปลางรวมกับ ภาชนะอื่นๆ จะทําใหแกวนํ้ามักมีกลิ่นของอาหารติด และลางออกยาก ดังนั้น ขอ ข. เปนคําตอบที่ถูก


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ Expand าใจ ขยายความเข

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบExplain ายความรู

อธิบายความรู

Explain

1. ครูสาธิตวิธีการลางแกวนํ้า และจานชาม ใหนักเรียนดู โดยใหนักเรียนอธิบายขั้นตอนไป พรอมๆ กัน 2. ใหนักเรียนแบงกลุม แลวใหแตละกลุมฝกลาง แกวนํ้า และจานชาม จากนั้นรวมกันสรุปและ แกไขขอบกพรอง

๒) ลางจานชาม ควรปฏิบัติ ดังนี้

(๑) กวาดเศษอาหารลงในถังขยะ แลว ลางจานชามดวยนํ้าเปลา ๑ ครั้ง1 เพื่อลางเศษอาหาร และคราบไขมัน ออกกอน

ขยายความเขาใจ

Expand

1. ครูใหนักเรียนรวมกันสรุปเรื่องบทบาทและ หนาที่ของสมาชิกในครอบครัว และการ ทํางานบานเพื่อชวยเหลือครอบครัว และเขียน แสดงเปนแผนผังความคิด 2. ใหนักเรียนฝกทํางานบาน 1 อยาง โดยให ผูปกครองคอยใหคําแนะนํา จากนั้นเขียน อธิบายขั้นตอนตามหัวขอที่กําหนดในกิจกรรม การเรียน ขอ 2 หนา 10 ลงในสมุด

(๒) ผสมนํ้ายาลางจานกับนํ้าในกะละมัง แลวใชฟองนํ้าถูจานชามใหทั่วทั้ง ด า นหน า และด า นหลั ง จากนั้ น ลางจานชามดวยนํ้าสะอาด จนหมด คราบ และกลิ่น

(๓) ผึง่ จานชามใหแหงกอน โดยวางเรียง หรือควํ่าบนตะแกรง จากนั้นจัดเก็บ เขาที่ใหเรียบรอย ๙

ขอสอบเนนการคิด

ถาถวยชามมีคราบไขมันเกาะติดอยู ควรแกไขอยางไร ก. ลางดวยนํ้ายาลางจานอยางเขมขน ข. นําไปตากแดดใหแหงกอนนําไปลาง ค. ลางดวยนํ้าอุนกอนลางดวยนํ้ายาลางจาน ง. ลางดวยนํ้าเย็นจัดกอนลางดวยนํ้ายาลางจาน

วิเคราะหคําตอบ คราบไขมันที่เกาะติดภาชนะสามารถกําจัดไดโดยใช นํ้าอุนลางคราบไขมันออก จะทําใหคราบไขมันหลุดออกไดงาย ดังนั้น

ขอ ค. เปนคําตอบที่ถูก

เกร็ดแนะครู ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา นํ้าเปนทรัพยากรธรรมชาติที่เราควรใช อยางประหยัด ดังนั้นในการลางภาชนะควรปฏิบัติ ดังนี้ 1. รองนํ้าใสกะละมังและนํามาใชลางภาชนะ ไมควรลางภาชนะโดยเปดกอกนํ้า ลางโดยตรง เพราะสิ้นเปลืองนํ้า 2. หากตองลางแกวนํ้าและภาชนะ ใหลางแกวนํ้ากอน เพราะนํ้าที่ใชลางแกว สามารถนํามาใชลางคราบเศษอาหารบนภาชนะไดอีก 3. เมื่อใชนํ้าเสร็จแลว ตองปดกอกนํ้าใหสนิท

นักเรียนควรรู 1 ลางเศษอาหาร และคราบไขมัน ออกจากภาชนะ ควรใชนํ้าอุนลาง เพราะจะทําใหคราบไขมันหลุดออกและสลายไปไดดีกวาใชนํ้าเย็นลาง คูมือครู

9


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ขยายความเขาใจ Expand าใจ ขยายความเข

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Expand

1. ใหนักเรียนรวมกันอานขอความในกิจกรรม การเรียนรู ขอ 3 หนา 10 แลวบอกวาเปนการ ปฏิบัติที่เหมาะสมหรือไม พรอมอธิบายเหตุผล 2. ใหนักเรียนแบงกลุม แลวใหแตละกลุมเลือก ทํางานบานที่กําหนดในกิจกรรมรวบยอดที่ 1.2 จากแบบวัดฯ การงานอาชีพฯ ป.2

¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ๑. เขียนแผงผังความคิดเกี่ยวกับบทบาทและหนาที่ของสมาชิกในครอบครัวของ ตนเองลงในสมุด ๒. ฝกทํางานบานตามที่เรียน ๑ อยาง แลวเขียนอธิบายขั้นตอนการทํางาน ตามหัวขอที่กําหนด ลงในสมุด

✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ การงานอาช�พฯ ป.2 กิจกรรมรวบยอดที่ 1.2 แบบประเมินตัวช�้วัด ง1.1 ป.2/3 กิจกรรมรวบยอดที่ ๑.๒ แบบประเมินตัวชี้วัด ง ๑.๑ ป.๒/๓ 

• งานบานที่ทํา • ขั้นตอนในการทํางาน • ประโยชนของการทํางานนี้

ทํางานเพื่อชวยเหลือตนเองและครอบครัวอยางปลอดภัย

ชุดที่ ๑ ๓๐ คะแนน

(ตัวอยาง)

๑ แบงกลุม ๕ กลุม จากนั้นใหแตละกลุมกวาดพื้น และถูพื้น เพื่อทําความสะอาดหองเรียน กลุมละ ๑ วัน และใหครูประเมินผลการทํางานลงในตาราง (๑๕ คะแนน) ผลการประเมิน รายการประเมิน ดี พอใช ปรัควร บปรุง

ฉบับ

เฉลย

๑) ๒) ๓) ๔) ๕)

การเลือกใชอุปกรณและเครื่องมือ ………………… ………………… วิธีการและขั้นตอนการทํางาน ………………… ………………… ความสะอาดเรียบรอยของผลงาน ………………… งผูสอน………………… อ ยพ่ทําินงานิจข ………………… ………………… ล ุ ด การจัดเก็บอุปกรณและความสะอาดสถานที บ ั ก  ู ย อ ความปลอดภัยในการทํขาึ้น งาน ………………… …………………

………………… ………………… ………………… …………………

๓. อานขอความที่กําหนด แลวบอกวาเปนการปฏิบัติที่เหมาะสมหรือไม พรอมกับอธิบายเหตุผล ๑) งานบานเปนงานที่แมตองทําคนเดียว ๒) ถาทุกคนชวยกันทํางานบาน จะทําใหงานเสร็จเร็วขึ้น ๓) ถวยชามที่มีคราบไขมันติดอยู ควรลางดวยนํ้าอุนกอน ๔) การลางแกว ใหใชฟองนํ้าถูเฉพาะขอบแกว ๕) ขณะกวาดนํ้าที่ขังอยู ควรสะบัดปลายไมกวาดแรงๆ ๖) เราควรกวาดบานทุกวัน ๗) เมื่อลางแกวนํ้า และจานชามเสร็จแลว ควรเก็บเขาตูทันที ๘) เราควรใชไมกวาดทางมะพราวมีดามกวาดเศษใบไมที่ลานบาน ๙) เราควรใชไมกวาดดอกหญากวาดพื้นที่เปยกนํ้า ๑๐) เมื่อใชเครื่องมือในการกวาดบานเสร็จแลว ควรจัดเก็บเขาที่ใหเรียบรอย

…………………

ลงชื่อ ……………………………………………………………………. ผูประเมิน

๒ ลางจานชาม และแกวนํ้าที่ตนเองรับประทาน จากนั้นใหผูปกครองประเมินผลการทํางาน ลงในตาราง (๑๕ คะแนน)

รายการประเมิน ๑) ๒) ๓) ๔) ๕)

ดี

ผลการประเมิน พอใช ปรัควร บปรุง

การเลือกใชอุปกรณและเครื่องมือ ………………… ………………… วิธีการและขั้นตอนการทํางาน งผูสอน………………… ขอ………………… ความสะอาดเรียบรอยของผลงานับดุลยพินิจ ………………… ………………… ก  ู ย ขึ้นอ การจัดเก็บอุปกรณและความสะอาดสถานที ่ทํางาน ………………… ………………… ความปลอดภัยในการทํางาน ………………… …………………

………………… ………………… ………………… ………………… …………………

ลงชื่อ ……………………………………………………………………. ผูประเมิน ตัวชี้วัด ง ๑.๑ ขอ ๓ ไดคะแนน คะแนนเต็ม

óð

๑๐ เฉลย กิจกรรมการเรียนรูที่ 3. แนวตอบ 1) ไมเหมาะสม เพราะสมาชิกทุกคนในบานตองชวยกันทํางานบาน 2) เหมาะสม เพราะการชวยกันคนละไมคนละมือจะทําใหงานเสร็จเร็ว 3) เหมาะสม เพราะความรอนของนํ้าอุนทําใหคราบไขมันที่ติดอยูละลาย ถาใช นํ้าเย็นลางจะยิ่งทําใหคราบไขมันจับตัวเปนกอนได 4) ไมหมาะสม เพราะควรถูทั้งขอบแกว ภายใน และภายนอกแกว 5) ไมเหมาะสม เพราะจะทําใหนํ้ากระเด็นใสตนเอง หรือผูอื่นได 6) เหมาะสม เพราะทําใหบานสะอาด ไมเปนแหลงสะสมเชื้อโรค 7) ไมเหมาะสม ควรผึ่งใหแหงเสียกอน แลวจึงจัดเก็บเขาที่ 8) เหมาะสม เพราะไมกวาดทางมะพราวมีดามเหมาะสําหรับกวาดเศษใบไม และใชกวาดบริเวณพื้นที่กวาง 9) ไมเหมาะสม เพราะไมกวาดดอกหญาใชกวาดพื้นที่แหง 10) เหมาะสม เพราะควรจัดเก็บใหเรียบรอย ทําใหสะดวกในการหยิบใชงาน ในครั้งตอไป

10

คูมือครู

กิจกรรมทาทาย ใหนักเรียนสํารวจบานของตนเองวา ปจจุบันมีงานบานอะไรบางที่ ตองทํา ใครคือผูรับผิดชอบ และมีระยะเวลาในการทําอยางไร แลวบันทึก ขอมูลตามตัวอยาง งานบานที่ตองทํา 1. หุงขาว

ผูรับผิดชอบ แม

ระยะเวลาในการทํา ทุกวัน


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engage

Explore

Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate ตรวจสอบผล Evaluate

ตรวจสอบผล

1. ครูตรวจสอบวา นักเรียนเขียนแผนผังความคิด แสดงหนาที่ของสมาชิกในครอบครัว และการ ทํางานเพื่อชวยเหลือครอบครัวไดอยางถูกตอง 2. ครูประเมินผลการทํางานบานของนักเรียน ตามที่กําหนด โดยพิจารณาจากการเลือกใช อุปกรณการทํางานตามขั้นตอน และความ สะอาดเรียบรอยของผลงาน

๔. แบงกลุม กลุมละ ๔-๕ คน ใหแตละกลุมเลือกทํางานบานที่กําหนด กลุมละ ๑ อยาง แลวบันทึกผลการปฏิบัติงานลงในสมุดตามหัวขอที่กําหนด จากนั้น ใหครูและเพื่อนกลุมอื่นประเมินผลการทํางาน งานบานที่กําหนด - กวาดพื้น - ลางแกวนํ้า ลางจานชาม • งานบานที่กลุมของฉันเลือกทํา • อุปกรณและเครื่องมือที่ใชทํางานบานนี้ • ประโยชนที่ไดรับจากการทํางานบานนี้ • ปญหาและอุปสรรคที่พบในการทํางานบานนี้ • กลุมของฉัน พอใจ ไมพอใจ • สิ่งที่ควรปรับปรุงในการทํางานนี้ รายการประเมิน

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู 1. แผนผังความคิดแสดงบทบาทและหนาที่ของ สมาชิกในครอบครัว 2. ผลการบันทึก และผลการประเมินการ ทํางานบาน

การทํางานบานครั้งนี้ ผลการประเมิน ดี พอใช ปรัควร บปรุง

ดีมาก

๑. การเลือกใชอุปกรณและเครื่องมือ ๒. วิธีการและขั้นตอนการทํางาน ๓. ความสะอาดเรียบรอยของผลงาน ๔. การจัดเก็บอุปกรณและทําความ สะอาดสถานที่ทํางาน ๕. ความปลอดภัยในการทํางาน

Evaluate

…………………… ………………….. ………………….. …………………..

ึกผ ท น ั งบ

………………….. ………………….. ………………….. …………………..

าร างต

…………………… ………………….. ………………….. …………………..

ตัวอ

…………………… ………………….. ………………….. ………………….. …………………… ………………….. ………………….. …………………..

ลงชื่อ ……………………………………………………….. ผูประเมิน

¢ÂÒ¤ÇÒÁÃÙŒ ÊÙ¡‹ ÒäԴ

นักเรียนคิดวา ถาสมาชิกในบานชวยกันทํางานบาน จะเกิดผลอยางไร

๑๑

กิจกรรมสรางเสริม ใหนักเรียนวาดภาพงานบานที่อยากทํามากที่สุดมา 1 งาน จากนั้น ระบายสีใหสวยงาม พรอมกับเขียนบอกเหตุผลวา ทําไมตนเองจึงอยาก ทํางานบานชนิดนี้

เกร็ดแนะครู ขณะที่นักเรียนแตละกลุมปฏิบัติงาน ใหครูสังเกตนักเรียนอยางใกลชิด เพื่อนํา ขอมูลมาใชในการประเมินผล และการแนะนํานักเรียนใหแกไขขอบกพรอง แนวตอบ ขยายความรูสูการคิด บานสะอาด เรียบรอย นาอยูอาศัย ไมเปนแหลงเพาะเชื้อโรค ซึ่งทําใหสมาชิก ในบานมีความสุข สุขภาพแข็งแรง

คูมือครู

11


กระตุน ความสนใจ กระตุEngage นความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

เปาหมายการเรียนรู

• บอกวิธีการและจัดเก็บเสื้อผา และเครื่องแตงกายของตนเอง (ง 1.1 ป.2/1, ป.2/3)

º··Õè

ชุดสวยสะอาดตา

สมรรถนะของผูเรียน 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการแกปญหา 3. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต

¡Ô¨¡ÃÃÁ¹íÒÊÙ‹¡ÒÃàÃÕ¹

คุณลักษณะอันพึงประสงค

ç

1. 2. 3. 4.

สาระสําคัญ การเลือกสวมใสเสื้อผา และจัดเก็บเสื้อผาและเครื่อง แตงกายใหเรียบรอย เปนการทํางานเพื่อชวยเหลือ ตนเองและครอบครัว ที่นักเรียนสามารถทําไดดวย ตนเองตามขั้นตอนและวิธีการทํางาน

มีวินัย รับผิดชอบ ใฝเรียนรู อยูอยางพอเพียง มุงมั่นในการทํางาน

กระตุน ความสนใจ

ò

๑ Engage

1. ครูสนทนากับนักเรียนวา นักเรียนมีเครือ่ งแตงกาย อะไรบาง เชน ชุดนักเรียน ชุดไปเที่ยว ชุดนอน ชุดอยูบาน เปนตน ชุดเหลานี้เมื่อซักทําความ สะอาดแลว มีการจัดเก็บอยางไร แลวให นักเรียนแสดงความคิดเห็นอยางอิสระ 2. ครูถามนักเรียนวา • หากเราไมมีการจัดเก็บเสื้อผาใหเรียบรอย ผลจะเปนอยางไร (แนวตอบ เชน ดูรก ไมเปนระเบียบ หยิบใชงาน ไมสะดวก)

๖ ๔

? ¹Ñ¡àÃÕ¹ÁÕÇԸըѴà¡çºàÊ×éͼŒÒ áÅÐà¤Ã×èͧᵋ§¡ÒÂã¹ÀҾ͋ҧäÃ

๑๒

เกร็ดแนะครู ครูจัดกระบวนการเรียนรูโดยการใหนักเรียนปฏิบัติ ดังนี้ • รวมกันอภิปรายเกี่ยวกับการแตงกายใหเหมาะสม และการจัดเก็บเสื้อผา และเครื่องแตงกาย • ฝกปฏิบัติการจัดเก็บเสื้อผาและเครื่องแตงกายอยางถูกวิธี • รวมกันอภิปรายและตอบคําถามจากประเด็นคําถามที่กําหนด จนเกิดเปนความรูความเขาใจวา ในการแตงกายควรเลือกสวมใสเสื้อผา ใหเหมาะกับตนเองและเหมาะกับโอกาส เพื่อชวยเสริมสรางบุคลิกภาพของตนเอง ใหดูดี และเมื่อใชงานเสร็จแลว ควรทําความสะอาดและจัดเก็บเสื้อผา และเครื่องแตงกายใหเรียบรอย เพื่อทําใหสะดวกในการหยิบใชงาน และเปนการถนอมดูแลรักษาใหมีเสื้อผาไวใชงานไดยาวนาน

12

คูมือครู

บูรณาการเชื่อมสาระ

ครูบูรณาการความรูในสาระการงานอาชีพฯ เรื่อง การแตงกายให เหมาะสม โดยใชเกมคอมพิวเตอรเปนสื่อการสอน เพื่อกระตุนใหนักเรียน อยากเรียนรู โดยใหนักเรียนไดลองเลนเกมแตงตัว ซึ่งเปนการใหนักเรียนได เลือกเครื่องแตงกายใหกับตัวการตูนในเกม จากนั้นครูชวนนักเรียนสนทนา เกี่ยวกับเครื่องแตงกายที่นักเรียนเลือก พรอมกับใหเหตุผลประกอบ


กระตุนความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

สํารวจค Exploreนหา

สํารวจคนหา

ครูนําภาพการแตงกายที่ไมเหมาะสมกับ สถานที่มาใหนักเรียนดู แลวรวมกันวิเคราะห และอภิปรายวา • เด็กในภาพแตงกายไดเหมาะสมหรือไม เพราะอะไร • ถาเปนนักเรียน จะแตงกายอยางไรจึงจะ เหมาะสม

การแตงกายใหเหมาะสม การเลือกสวมใสเสื้อผาที่เหมาะสมกั บตนเองและเหมาะกับ 1 โอกาส จะชวยเสริมสรางบุคลิกภาพของตนเองใหดูดี และยังไดรับ ประโยชนตางๆ เชน ทําใหรางกายอบอุน ปองกันสัตวและแมลง ชวยปกปดรางกาย เปนตน ตัวอยาง การแตงกาย

ชุดอยูบาน ควรเลื อ กเสื้ อ ผ า ที่ ส วมใส ส บาย ทําใหคลองตัว เชน เสือ้ ยืด กางเกง ขาสั้น เปนตน

ชุดไปวัด ควรเลือกสวมเสื้อผาที่แบบสุภาพ เรียบรอย ไมนงุ กางเกงขาสัน้ หรือ กระโปรงที่สั้นจนเกินไป

Explore

อธิบายความรู

Explain

1. ใหนักเรียนชวยกันบอกตัวอยางสถานที่หรือ กิจกรรมทีจ่ ะทํา เชน ไปโรงเรียน ไปทําบุญทีว่ ดั อยูบาน ไปเที่ยว ไปเลนกีฬา เปนตน แลวให รวมกันอภิปรายวา ในแตละสถานการณควร แตงกายอยางไร จึงจะเหมาะสม 2. ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา การ แตงกายโดยเลือกสวมใสเสื้อผาที่เหมาะสมกับ ตนเอง เหมาะกับโอกาสและสถานที่ จะชวย เสริมสรางบุคลิกภาพของตนเองใหดูดี สะดวก ในการทํากิจกรรม และยังไดรับประโยชน ตางๆ เชนทําใหรางกายอบอุน ปองกันสัตว และแมลง เปนตน 3. ใหนักเรียนดูภาพ หนา 13 แลวอานขอมูลใน หนานี้ แลวรวมกันสรุป 4. ใหนักเรียนแบงกลุม แลวครูแจกภาพสถานที่ ใหกลุมละ 3 ภาพ จากนั้นใหแตละกลุมชวยกัน คิดวา ควรแตงกายอยางไรใหเหมาะสมกับ สถานที่นั้น 5. ใหตัวแทนแตละกลุมออกมานําเสนอผลงาน ของกลุมตนเองที่หนาชั้น จากนั้นรวมกันสรุป อีกครั้ง

2

ชุดนักเรียน ควรแตงกายดวยชุดนักเรียนตามที่ โรงเรียนกําหนด

ชุดกีฬา ควรเลือกแตงกายใหทะมัดทะแมง และเหมาะสมกับประเภทของกีฬา เชน เลนกีฬาฟุตบอลใหใสเสื้อยืด นุงกางเกงขาสั้น เปนตน ๑๓

การแตงกายไปเลนกีฬา เนนเรื่องใด ก. ความสวยงามขณะเลนกีฬา ข. ความปลอดภัยขณะเลนกีฬา ค. ความทันสมัยของชุดที่สวมใส ง. ความสะอาดของชุดที่สวมใส

ขอสอบเนนการคิด

วิเคราะหคําตอบ การเลนกีฬาแตละประเภทจะมีชุดกีฬาที่แตกตางกัน ทั้งนี้เพื่อใหเกิดความปลอดภัยแกรางกายในขณะเลน ดังนั้น ขอ ข.

เปนคําตอบที่ถูก

นักเรียนควรรู 1 เสริมสรางบุคลิกภาพ เราสามารถเสริมสรางบุคลิกภาพที่ดีไดโดยการปฏิบัติ ดังนี้ 1. แตงกายดวยเสื้อผาที่สะอาดเรียบรอย 2. แตงกายใหเหมาะสมกับวัยของตนเอง 3. แตงกายใหเหมาะสมกับสถานที่และโอกาส 2 ชุดนักเรียน เสื้อนักเรียนสวนใหญเปนสีขาวทําใหเปรอะเปอนไดงาย และเมื่อใชไปสักระยะหนึ่ง เสื้อสีขาวเริ่มกลายเปนสีเหลืองทําใหดูเกา ซึ่งสามารถ แกไขได โดยใชเปลือกไขไกปนละเอียดเปนผง ใสลงไปในนํ้าที่ใชแชผาทิ้งไวสักครู แลวจึงซักตามปกติ เนื่องจากในเปลือกไขไกมีสารที่ชวยทําใหผาขาวขึ้น

คูมือครู

13


กระตุนความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

Exploreนหา สํารวจค

สํารวจคนหา

Explore

ครูสุมเรียกนักเรียน 4-5 คน แลวสอบถามวา • นักเรียนมีวิธีจัดเก็บชุดนักเรียนอยางไร • เมื่อเสื้อผาที่ซักทําความสะอาดแหงแลว ควรจัดเก็บอยางไร ใหนักเรียนตอบตามความจริงที่มีการปฏิบัติ ในบานของตนเอง

อธิบายความรู

การจัดเก็บเสื้อผาและเครื่องแตงกาย การจัดเก็บเสือ้ ผาและเครือ่ งแตงกายใหเรียบรอย ทําใหสะดวก ในการหยิบใชงาน และเปนการยืดอายุการใชงานของเสื้อผาและ เครื่องแตงกายใหใชงานไดยาวนาน ซึ่งเปนการประหยัดคาใชจาย ของครอบครัว ๑. การจัดเก็บเสื้อผา แบงไดเปน ๒ ประเภท ดังนี้ ๑) การจัดเก็บเสื้อผาที่สวมใสแลว มีวิธีการปฏิ บัติ ดังนี้ 1 (๑) ผึ่งเสื้อผาที่ใสแลวไวที่ราว ใหเหงื่อแหงกอน (๒) จัดเก็บเสื้อผาที่แหงแลวใสตะกรา โดยแยกถุงเทา และชุดชั้นในใสตะกราอีกใบหนึ่ง (๓) นําเสื้อผาไปซักใหสะอาดและตาก โดยมีขั้นตอน ดังนี้

Explain

1. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวา การจัดเก็บ เสือ้ ผาและเครือ่ งแตงกายควรปฏิบตั อิ ยางไรบาง 2. ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา การจัดเก็บเสื้อผาและเครื่องแตงกายให เรียบรอย ทําใหสะดวกในการหยิบใชงาน และเปนการยืดอายุการใชงานของเสื้อผาและ เครื่องแตงกายใหใชงานไดยาวนาน ซึ่งเปน การชวยประหยัดรายจายของครอบครัว 3. ใหนักเรียนอานขอมูลเรื่องการจัดเก็บเสื้อผา หนา 14-15 แลวใหรวมกันสรุปวิธีจัดเก็บเสื้อผา วามีกี่วิธี อะไรบาง

๑.

๒.

ซักผาโดยขยี้หรือใชแปรงซักผา แปรงไปมาตรงบริเวณที่สกปรก จากนั้นนําผาไปซักนํ้าสะอาดอีก ๒-๓ ครั้ง

กลับผาเอาดานในออกดานนอก แลวสะบัดเบาๆ และนําไปพาดไว ทีร่ าวตากผา แลวใชไมหนีบหนีบไว หรือใสไมแขวนแขวนไว

2

๑๔

นักเรียนควรรู 1 เหงื่อ เสื้อผาที่เลอะคราบเหงื่อไคล ใหซักดวยนํ้าผสมนํ้าสมสายชูเล็กนอย หรือนํ้าผสมนํ้ามะนาว จากนั้นจึงซักดวยผงซักฟอกตามปกติ จะชวยใหคราบ เหงื่อไคลหลุดออกไดดี 2 กลับผา กอนตากเสื้อผาควรกลับเสื้อผาทุกชนิด โดยกลับเอาดานในออก ดานนอก เพื่อไมใหแดดเลียสีเสื้อผา เพราะอาจจะทําใหเสื้อผาสีซีด และเกาเร็ว

14

คูมือครู

ขอสอบเนนการคิด

การจัดเก็บถุงเทาเปนคูมีประโยชนอยางไร แนวตอบ ทําใหหยิบใชไดสะดวก เพราะถุงเทาเขาคูกัน ชวยประหยัด เวลาในการคนหา และปองกันมิใหเผอเรอสวมใสถุงเทาที่ไมเขาคูกัน


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

ดังนี้

1. ครูตั้งประเด็นคําถามใหนักเรียนรวมกัน อภิปรายวา • นักเรียนคิดวา จําเปนหรือไมที่จะตองผึ่ง เสื้อผาที่สวมใสแลวใหเหงื่อแหงกอนนําไป ใสตะกราผา เพราะอะไร (แนวตอบ จําเปน เพราะถานําเสื้อผาที่ยังชื้น เหงื่อไปใสรวมกันในตะกรา จะทําใหเกิด กลิ่นอับชื้น และเปนแหลงเพาะเชื้อโรคได) • เพราะเหตุใด จะตองกลับผาเอาดานในออก ดานนอกทุกครั้งที่ตากผา (แนวตอบ เพราะไมใหเสื้อผาสีซีดหรือเกาเร็ว) 2. ครูสาธิตวิธีการจัดเก็บเสื้อผาใหนักเรียนดู พรอมกับใหนักเรียนพูดอธิบายขั้นตอนไปดวย 3. ใหนักเรียนแบงกลุม ใหแตละกลุมฝกจัดเก็บ เสือ้ ผาตามทีเ่ รียนมา จากนัน้ รวมกันประเมินผล และแกไขขอบกพรอง 4. ครูนาํ เครือ่ งแตงกายตางๆ มาใหนกั เรียนดู แลว ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวา เครื่องแตงกาย แตละประเภทมีวิธีจัดเก็บอยางไรบาง 5. ครูใหนักเรียนอานขอมูลเรื่องการจัดเก็บ เครื่องแตงกาย หนา 16 6. ใหนักเรียนรวมกันสรุปเรื่องการจัดเก็บเสื้อผา และเครื่องแตงกาย

๒) การจัดเก็บเสือ้ ผาทีท่ าํ ความสะอาดแลว มีวธิ กี ารปฏิบตั ิ

๑.

๒.

เสื้อผาที่ไมตองรีด เชน เสื้อยืด กางเกงขาสั้น ผาเช็ดตัว เปนตน ใหพับเก็บและแยกประเภทไวให เรียบรอย

เสื้อผาที่ตองรีด เชน ชุดนักเรียน เสื้อเชิ้ต เปนตน เมื่อรีดเสร็จแลว ควรใสไมแขวน แลวแขวนเรียงไว ในตูใหเปนระเบียบ

Explain

จัดเก็บเสื้อผาอยางเปนระเบียบ ทําใหสะดวกในการหยิบใชงาน

๑๕

เสื้อผาในขอใดที่ไมควรเก็บไวดวยกัน ก. เสื้อยืด - กางเกงขาสั้น ข. เสื้อนอน - กางเกงนอน ค. ผาเช็ดหนา - เสื้อนักเรียน ง. ถุงเทา - ชุดชั้นใน

ขอสอบเนนการคิด

วิเคราะหคําตอบ ผาเช็ดหนา และเสื้อนักเรียน เปนเสื้อผาคนละประเภท และจัดเก็บตางกัน เพราะเสื้อผานักเรียนเมื่อรีดแลวควรใสไมแขวน แขวน ไวในตูเ สือ้ ผา สวนผาเช็ดหนาเมือ่ รีดแลวใหพบั และเก็บใสลนิ้ ชักของตูเ สือ้ ผา ดังนั้น ขอ ค. เปนคําตอบที่ถูก

เกร็ดแนะครู ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจ การรีดผาใหประหยัดพลังงานไฟฟา สามารถทําได ดังนี้ 1. เก็บผาที่รอรีดใหผายับนอยที่สุด จะทําใหรีดไดงาย และใชเวลารีดเพียง เล็กนอย 2. รวบรวมผาที่จะรีดแตละครั้งใหมากพอ 3. ไมพรมนํ้าบนผามากเกินไป 4. เริ่มรีดจากผาบางๆ หรือผาที่ตองการความรอนนอยกอน 5. ถอดปลั๊กไฟกอนรีดผาเสร็จ ประมาณ 3-4 นาที เพราะความรอนที่อยูใน เตารีดยังใชรีดผาที่ไมตองการความรอนมากไดอีก เชน ผาเช็ดหนา เปนตน 6. ใหตรวจสอบสภาพของเตารีด รวมทั้งสายไฟ ซึ่งอาจมีการชํารุดหรือเสื่อม สภาพลง ควรเปลี่ยนหรือซอมแซมใหเรียบรอยกอนนํามาใชงาน

คูมือครู

15


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

Expand าใจ ขยายความเข

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Expand

1. ใหนักเรียนดูภาพที่กําหนดในกิจกรรม การเรียนรู ขอ 2 หนา 17 แลวเขียนวิธีการ จัดเก็บเสื้อผาและเครื่องแตงกายใหเหมาะสม ลงในสมุด 2. ครูถามคําถามขยายความรูสูการคิด หนา 17 และใหนักเรียนชวยกันตอบคําถาม 3. ครูใหนักเรียนนําภาพเสื้อผามาติดลงในสมุด แลวเขียนบันทึกขอมูลตามหัวขอในกิจกรรม การเรียนรู ขอ 1 หนา 17 จากนั้นใหออกมา นําเสนอผลงานที่หนาชั้น 4. ใหนักเรียนแบงกลุม แลวใหแตละกลุมเลือก กิจกรรมรวบยอดที่ 1.4 จากแบบวัดฯ การงานอาชีพฯ ป.2

๒. การจัดเก็บเครื่องแตงกาย เครื1 ่องแตงกายมีหลายประเภท เชน เข็มขัด โบผูกผม ถุงเทา รองเทา เปนตน ซึ่งแตละประเภทมี วิธจี ดั เก็บแตกตางกัน เราจึงควรจัดเก็บเครือ่ งแตงกายแตละประเภท ใหเหมาะสม ดังนี้

๑) เข็มขัด ควรพาดไวที่ราว แขวนไว ที่ขอ หรือมวนเก็บไวในกลองหรือ ลิ้นชักใหเรียบรอย

✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ การงานอาช�พฯ ป.2 กิจกรรมรวบยอดที่ 1.4 แบบประเมินตัวช�้วัด ง1.1 ป.2/3

๒) โบผูกผม และกิ๊บติดผม ควรจัด แยกประเภท แลวจัดเก็บใสกลอง หรือใสลิ้นชักใหเรียบรอย

กิจกรรมรวบยอดที่ ๑.๔ แบบประเมินตัวชี้วัด ง ๑.๑ ป.๒/๓ 

ขยายความเขาใจ

ทํางานเพื่อชวยเหลือตนเองและครอบครัวอยางปลอดภัย

ชุดที่ ๑ ๑๕ คะแนน แบงกลุม กลุมละ ๓-๔ คน จับฉลากเลือกเสื้อผาและเครื่องแตงกายตามที่ครูกําหนด แลวจัดเก็บ เสื้อผาและเครื่องแตงกายตามที่เรียนมา จากนั้นออกมานําเสนอผลงานที่หนาชั้นเรียน โดยใหครู เปนผูประเมินผล (๑๕ คะแนน) รายการประเมิน ๑) ๒) ๓) ๔) ๕)

ดี

๓)

ผลการประเมิน พอใช ควรปรับปรุง

วิธีการและขั้นตอนการทํางาน ………………… ………………… ความสะอาด และความเรียบรอยของผลงาน ………………… ………………… ูสอน ผ ง อ ข จ ิ ความตั้งใจ และกระตือรือรนในการทํางาน ุลยพ ………………… ิน ………………… ด บ ั ก  ู ย การทํางานรวมกับผูอื่น ………………… ………………… อ ขึ้น ความปลอดภัยในการทํางาน ………………… …………………

๔)

………………… …………………

ฉบับ

…………………

เฉลย

………………… …………………

ลงชื่อ ……………………………………………………………………. ผูประเมิน ตัวชี้วัด ง ๑.๑ ขอ ๓ ไดคะแนน คะแนนเต็ม

ñõ

ถุงเทา นํามาจัดเก็บเขาคูกัน แลว รองเทา ใหจัดเรียงไวเปนคูๆ แลว นํามาพับซอนกันใหเปนระเบียบ เก็บไวใ2นที่เก็บรองเทาหรือชั้นวาง รองเทา

เกณฑประเมินชิ้นงาน

ผลการทํางาน (๑๕ คะแนน)

• ผลการทํางานอยูในเกณฑ ดี • ผลการทํางานอยูในเกณฑ พอใช • ผลการทํางานอยูในเกณฑ ควรปรับปรุง

๓ คะแนน ๒ คะแนน ๑ คะแนน

๑๓

๑๖

เกร็ดแนะครู ครูอธิบายเสริมเกี่ยวกับการจัดเก็บรองเทาวา ถารองเทาที่เราสวมใสสกปรก เลอะเทอะ จะตองทําความสะอาดสิ่งสกปรกใหสะอาดกอนทําการจัดเก็บ ซึ่งนอกจากจะปองกันความสกปรกแลว ยังปองกันเศษดินโคลนไมใหรวงหลนอยูใน ชั้นวางรองเทา รวมทั้งในกรณีรีบดวน เราก็สามารถนํามาหยิบใชไดทันที

นักเรียนควรรู 1 รองเทา การทําความสะอาดรองเทากีฬาหรือรองเทาผาใบสีขาว ควรซักดวย ผงซักฟอกหรือสบู แลวลางดวยนํ้าสะอาด จากนั้นนํามาผึ่งแดด โดยติดปะกระดาษ ชําระไวที่รองเทา เพื่อปองกันไมใหรองเทาเปนคราบสีเหลือง 2 ชั้นวางรองเทา ควรจัดวางไวในบริเวณที่มีอากาศถายเทสะดวก เพื่อชวย ระบายกลิ่นเหม็นอับที่อยูในรองเทา

16

คูมือครู

ขอสอบเนนการคิด

เพราะอะไรการจัดเก็บรองเทาจึงควรเก็บไวในที่ที่มีอากาศถายเทสะดวก แนวตอบ รองเทาที่ใชแลว มักมีกลิ่นเหม็น ดังนั้น จึงควรเก็บไวในที่ที่มี อากาศถายเทสะดวก เพื่อชวยใหระบายกลิ่นไดดี


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engage

Explore

Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate ตรวจสอบผล Evaluate

ตรวจสอบผล

¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ๑. หาภาพเสื้อผามาติดลงในสมุด แลวเขียนบันทึกขอมูลตามที่กําหนด • ลักษณะของเสื้อผา • โอกาสในการใสเสื้อผา ๒. ดูภาพทีก่ าํ หนด แลวเขียนวิธกี ารจัดเก็บเสือ้ ผาและเครือ่ งแตงกายใหเหมาะสม ลงในสมุด ๑) ๒) ๓)

เสื้อนักเรียน

เสื้อยืด

Evaluate

1. ครูตรวจสอบวานักเรียนเลือกแตงกายไดอยาง เหมาะสม 2. ครูประเมินผลการจัดเก็บเสื้อผาและเครื่องแตงกาย โดยพิจารณาจากการทํางานตาม ขั้นตอน ความเรียบรอยของผลงาน และความ ตั้งใจในการทํางาน

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู 1. ผลงานการเลือกเสื้อผาแตงกาย 2. ผลการประเมินการจัดเก็บเสื้อผา และเครื่องแตงกาย

รองเทา

๓. ดูภาพที่กําหนด แลวเขียนอธิบายวาวิธีการจัดเก็บเสื้อผาและเครื่องแตงกาย ในภาพเหมาะสมหรือไม เพราะเหตุใด

¢ÂÒ¤ÇÒÁÃÙŒ ÊÙ¡‹ ÒäԴ

นักเรียนคิดวา ถาจัดเก็บเสื้อผาและเครื่องแตงกายอยางถูกวิธี และเปน ระเบียบ จะเกิดผลดีกับนักเรียนและครอบครัวอยางไร

๑๗

ขอสอบเนนการคิด

ขอใดไมใชประโยชนที่ไดจากการจัดเก็บเสื้อผาอยางเปนระเบียบ ก. ชวยใหเรียนดีขึ้น ข. ชวยใหหยิบใชงาย ค. ชวยฝกระเบียบวินัย ง. ชวยเสริมสรางบุคลิก

วิเคราะหคําตอบ การจัดเก็บเสื้อผาเปนการฝกนิสัย ฝกระเบียบวินัย ไมเกี่ยวของกับสติปญญาโดยตรง จึงไมไดทําใหเรียนดีขึ้น ดังนั้น ขอ ก.

จึงเปนคําตอบที่ถูก

กิจกรรมทาทาย ใหนักเรียนสํารวจการจัดเก็บเสื้อผาและเครื่องแตงกายของตนเอง วามี อะไรบาง และมีการจัดเก็บอยางไร แลวบันทึกขอมูล

เฉลย กิจกรรมการเรียนรู 2. แนวตอบ 1) เสื้อผานักเรียน รีดแลวใสไมแขวนนําไปแขวนไวในตูเสื้อผา 2) เสื้อยืด พับใหเรียบรอย แลวจัดเก็บในตูเสื้อผา 3) รองเทา จัดเปนคู แลววางไวในชั้นวางรองเทา 3. แนวตอบ จากภาพเปนการจัดเก็บเสื้อผาที่ไมเหมาะสม เพราะทิ้งเสื้อผาไวเกลื่อนกลาด ไมเปนระเบียบ เฉลย ขยายความรู สูการคิด แนวตอบ ทําใหสะดวกในการหยิบใชงาน เสื้อผาและเครื่องแตงกายไมสูญหาย เปนการ ถนอมเสื้อผาและเครื่องแตงกายใหมีไวใชงานไดยาวนาน ชวยประหยัดคาใชจาย ในการซื้อเสื้อผา และเครื่องแตงกายใหมๆ ทําใหบานดูเปนระเบียบเรียบรอย คูมือครู

17


กระตุน ความสนใจ กระตุEngage นความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

เปาหมายการเรียนรู

• บอกวิธีการและชวยครอบครัวเตรียมประกอบ อาหาร (ง 1.1 ป.2/1, ป.2/3)

º··Õè

แมครัวตัวนอย

สมรรถนะของผูเรียน 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการแกปญหา 3. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต

¡Ô¨¡ÃÃÁ¹íÒÊÙ‹¡ÒÃàÃÕ¹

คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. 2. 3. 4.

สาระสําคัญ การเตรียมประกอบอาหาร เชน การลางผัก ผลไม การเด็ดผัก เปนตน เปนงานที่นักเรียนสามารถชวย พอแมทําได

มีวินัย รับผิดชอบ ใฝเรียนรู อยูอยางพอเพียง มุงมั่นในการทํางาน

กระตุน ความสนใจ

ó

๑ Engage

1. ครูสนทนากับนักเรียนวา ใครทําอาหารเปนบาง หรือใครเคยชวยพอแมทําอาหารบาง แลวครูให นักเรียนที่มีประสบการณในการทําอาหารหรือ เคยชวยทําอาหารออกมาเลาใหเพื่อนๆ ฟงวา เคยทําอะไร และทําอยางไร 2. ใหนกั เรียนดูภาพในหนังสือ หนา 18 แลวชวยกัน บอกวา แตละภาพคืออาหารอะไรบาง (ตอบ 1. นองไก 2. แตงกวา 3. เนื้อหมู 4. แอปเปล 5. ฝรั่ง 6. ปลา) 3. ครูถามนักเรียนวา เนื้อสัตว ผัก และผลไม ตางๆ กอนนํามาประกอบอาหารหรือนํามา รับประทาน สิ่งสําคัญอันดับแรกตองทําอยางไร (ตอบ ลางใหสะอาด)

๖ ๔

? ´ÙÀÒ¾·Õè¡íÒ˹´ áŌǺ͡ÇÔ¸Õ¡ÒÃàµÃÕÂÁÍÒËÒÃàËÅ‹Ò¹Õé

๑๘

เกร็ดแนะครู ครูจัดกระบวนการเรียนรูโดยการใหนักเรียนปฏิบัติ ดังนี้ • วิเคราะหจากประเด็นคําถามและภาพเกี่ยวกับการใชอุปกรณที่ใชในการ ประกอบอาหาร การเตรียมสวนประกอบในอาหาร และการประกอบอาหาร • รวมกันอภิปรายเรื่องการเตรียมสวนประกอบในอาหาร • ฝกปฏิบัติการเตรียมสวนประกอบในอาหารอยางถูกวิธี จนเกิดเปนความรูความเขาใจวา ในการเตรียมสวนประกอบในอาหารจะทําให สะดวก และชวยประหยัดเวลาในการประกอบอาหาร ซึ่งการเตรียมสวนประกอบ อาหารนั้น ควรเลือกใชอุปกรณที่ใชในการประกอบอาหารอยางถูกตองเหมาะสม และควรปฏิบัติตามขั้นตอนอยางถูกวิธี เพื่อใหไดสวนประกอบที่มีคุณภาพ ชวยประหยัดเวลา และปลอดภัยในการทํางาน

18

คูมือครู

บูรณาการเชื่อมสาระ

ครูบูรณาการความรูในสาระการงานอาชีพฯ กับสาระวิทยาศาสตร เรื่อง อาหารหลัก 5 หมู โดยใหนักเรียนดูภาพอาหาร หนา 18 แลวจําแนกวา อาหารแตละภาพเปนอาหารหมูใด และมีประโยชนตอรางกายอยางไร เพื่อให นักเรียนรูจักเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน


กระตุนความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

สํารวจค Exploreนหา

สํารวจคนหา

1. ครูนําภาพอุปกรณที่ใชในการประกอบอาหาร มาใหนักเรียนดู แลวใหรวมกันบอกชื่ออุปกรณ ตางๆ 2. ครูตั้งคําถามเกี่ยวกับการใชงานอุปกรณที่ใชใน การประกอบอาหาร เชน • อุปกรณชนิดใดใชใสขาว • ถาตองการตักแกงจากหมอมาใสชาม ควรใชอุปกรณใด • ถาจะทําผัดผัก ตองใชอุปกรณชนิดใดบาง จากนั้นครูสุมเรียกใหนักเรียนตอบคําถาม หากตอบผิดใหเพื่อนคนอื่นๆ ชวยตอบ 3. ครูแบงกระดานเปน 4 ชอง แลวเขียนประเภท ของอุปกรณที่ใชในการประกอบอาหารลงใน แตละชอง ดังนี้ • ชองที่ 1 ภาชนะที่ใชใสอาหาร • ชองที่ 2 อุปกรณที่ใชตักอาหาร • ชองที่ 3 อุปกรณที่ใชเตรียมอาหาร • ชองที่ 4 อุปกรณที่ใชปรุงอาหาร ใหนักเรียนแบงออกเปน 4 กลุม ใหแตละกลุม เขียนชื่ออุปกรณตามประเภทที่กลุมไดรับมอบ หมายใหไดมากที่สุด

อุปกรณที่ใชในการประกอบอาหาร การใชอุปกรณที่ใชในการประกอบอาหารไดถูกตองเหมาะสม จะทําใหทาํ งานไดสะดวก ปลอดภัย และประหยัดเวลาในการประกอบ อาหาร ซึ่งอุปกรณที่ใชในการประกอบอาหารที่ควรรูจัก มีดังนี้ ๑. ภาชนะที่ใชใสอาหาร มีหลายประเภท เชน ๑) จาน ใชใสขา ว หรือใสอาหารประเภทผัด ยํา ทอด หรือ อาหารวาง 1 ๒) ชาม ใชใสอาหารประเภทนํ้า เชน แกงจืด เปนตน ๓) ถวย ใชใสอาหารประเภทที่มีนํ้านอย เชน นํ้าพริก เปนตน

จาน

ชาม

ถวย

๒. อุปกรณที่ใชตักอาหาร มีหลายประเภท เชน ๑) ชอนและสอม ใชคูกันในการตักอาหารตางๆ ๒) ทัพพี ใชตกั อาหารทัง้ แหงและนํา้ เชน ขาว แกง เปนตน

ชอนและสอม

ทัพพีตักขาว

Explore

อธิบายความรู

Explain

1. ใหนักเรียนรวมกันสรุปวา อุปกรณที่ใชในการ ประกอบอาหารมีอะไรบาง และแตละชนิดใช ทําอะไร 2. ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา การใช อุปกรณที่ใชในการประกอบอาหารไดถูกตอง เหมาะสม จะทําใหทํางานไดสะดวก ปลอดภัย และประหยัดเวลาในการประกอบอาหาร

ทัพพีตักแกง

๑๙

ขอสอบเนนการคิด

ถาเราใชชอนตักแกงจากหมอใสชาม เปนการปฏิบัติที่เหมาะสมหรือไม เพราะอะไร แนวตอบ ไมเหมาะสม เพราะชอนใชตักอาหารเปนคําๆ ใสปาก ถานํา ชอนมาใชตักแกงใสชามจะตองใชเวลานานขึ้นกวาจะไดแกง 1 ชาม ตองตักหลายครั้ง และระหวางตักอาจทําใหแกงหกได จึงควรใชทัพพี ตักแกงจะเหมาะสมกวาใชชอน เพราะทัพพีมีขนาดใหญกวาชอน

เกร็ดแนะครู ครูควรใหนักเรียนนําอุปกรณที่ใชในครัวหลายๆ ชนิดมาจากบาน จากนั้นนํา มาแสดง โดยครูเปนผูถามวาอุปกรณดังกลาวมีชื่อเรียกวาอะไร ใชอยางไร โดยให นักเรียนจดบันทึกสาระความรูลงในสมุด

นักเรียนควรรู 1 ชาม ชามพลาสติกไมควรนํามาใสอาหารรอนๆ เพราะความรอนจะทําให สารเคมีในพลาสติกละลายออกมาปนเปอนในอาหาร ซึ่งอาจเปนอันตรายตอ ผูรับประทานอาหารนั้นๆ ได

คูมือครู

19


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูนํานักเรียนไปที่โรงอาหาร แลวแนะนํา อุปกรณที่ใชในการประกอบอาหารของจริง และสาธิตวิธีการใชงานอุปกรณแตละชนิด ใหนักเรียนดู 2. ใหนักเรียนแบงกลุม แลวใหแตละกลุมฝกใช อุปกรณที่ใชในการประกอบอาหาร โดยครู ชวยแนะนําใหนักเรียนใชอุปกรณตางๆ อยาง ระมัดระวัง โดยเฉพาะอุปกรณที่มีคม เชน สอม มีด เปนตน 3. ใหนักเรียนแตละกลุมชวยกันทําบัตรภาพ อุปกรณที่ใชในการประกอบอาหารตามที่กลุม ของตนเองไดรับมอบหมาย พรอมเขียนบอก หนาที่ของอุปกรณนั้นๆ 4. ใหแตละกลุมออกมานําเสนอผลงานที่ หนาชั้น

๓. อุปกรณที่ใชปรุงอาหาร มีหลายประเภท เชน ๑) กระทะและตะหลิว ใชปรุงอาหารประเภทผัดหรือทอด ๒) หมอ ใชปรุงอาหารประเภทตม ๓) ลังถึง ใชนึ่งอาหาร

กระทะและตะหลิว

หมอ

ลังถึง

1

๔. อุปกรณที่ใชเตรียมอาหาร มีหลายประเภท เชน ๑) มีด ใชหั่น ปอก หรือสับอาหาร ๒) กะละมัง ใชลางผัก ผลไม และเนื้อสัตวตางๆ 2 ๓) ครกและไม ตีพริก ใชตําอาหารใหแหลกหรือละเอียด ๔) เขียง ใชรองรับการสับ หรือหั่น

เขียง มีด

กะละมัง

ครกและไมตีพริก

๒๐

นักเรียนควรรู 1 ลังถึง เรียกอีกอยางวา “ซึ้ง” มีลักษณะคลายหมอซอนกันเปนชั้นๆ แตที่กน แตละชั้นจะเจาะเปนรูๆ ไว ยกเวนหมอชั้นลางสุดจะไมเจาะรู เพื่อสําหรับใสนํ้า ไวตม การใชลังถึงปรุงอาหารเปนการทําอาหารใหสุกดวยการนึ่งใหไอนํ้าผานชั้น แตละชั้นที่ซอนกันขึ้นมายังอาหาร 2 ครก ทําจากวัสดุหลายชนิด เชน ครกหิน ครกไม ครกดินเผา เปนตน แหลงผลิตครกหินที่มีชื่อเสียงของไทยอยูที่ตําบลอางศิลา จังหวัดชลบุรี

20

คูมือครู

กิจกรรมสรางเสริม ใหนักเรียนสํารวจอุปกรณที่ใชในการประกอบอาหารในบาน จากนั้น จัดทําบัตรภาพ โดยวาดภาพอุปกรณที่สํารวจพบและระบายสีใหสวยงาม พรอมกับเขียนชื่อและวิธีใชงานอุปกรณนั้น


กระตุนความสนใจ Engage

สํารวจคนหา สํารวจค Exploreนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

สํารวจคนหา

Explore

1. ครูสนทนาซักถามนักเรียนวา ใครเคยชวย พอแมเตรียมสวนประกอบอาหารบาง เชน ลางผัก เด็ดผัก ลางเนื้อไก เปนตน จากนั้น ครูสุมเรียกนักเรียนที่มีประสบการณออกมา เลาใหเพื่อนฟงที่หนาชั้น 2. ครูถามคําถามวา • นักเรียนคิดวา เราควรเตรียมสวนประกอบ อาหารกอนประกอบอาหารหรือไม เพราะอะไร (แนวตอบ ควรเตรียมกอนประกอบอาหาร เพราะทําใหสะดวก และชวยประหยัดเวลา ในการประกอบอาหาร) 3. ครูใหนักเรียนแบงเปน 3 กลุม แลวใหแตละ กลุมสืบคนขอมูลจากหนังสือ หนา 21-23 และซักถามจากผูปกครองเกี่ยวกับการเตรียม สวนประกอบอาหาร โดยใหสืบคนขอมูลตาม ที่กําหนด ดังนี้ • กลุมที่ 1 เรื่องการเตรียมอาหารประเภท เนื้อสัตว • กลุมที่ 2 เรื่องการเตรียมอาหารประเภทผัก • กลุมที่ 3 เรื่องการเตรียมอาหารประเภท ผลไม

การเตรียมสวนประกอบในอาหาร การจัดเตรียมสวนประกอบตางๆ ไวใหพรอมกอนการประกอบ อาหาร ทําใหสะดวก และประหยัดเวลาในการประกอบอาหาร ๑. การเตรียมอาหารประเภทเนื อ้ สัตว เชน 1 เนือ้ ไก เนือ้ หมู และเนือ้ วัว ใหลางดวยนํ้าสะอาด แลวหั่นตาม แนวขวางของเนื้อ

หั่นเนื้อตามแนวขวางของเนื้อ เพื่อนําไปประกอบอาหาร จะทําใหเนื้อไมเหนียว และรับประทานไดงาย

2

ปลา ควักไสและตัดครีบออก ลางดวยนํา้ สะอาด แลวหัน่ ใหเปน ชิ้นๆ หรือบั3 ้ง หอย แชนํ้าทิ้งไวประมาณ ๑๐ นาที เพื่อใหหอยคลายดินโคลน ออกกอน แลวจึงทําความสะอาดหอย ๒๑

บูรณาการเชื่อมสาระ

ครูบูรณาการความรูในสาระการงานอาชีพฯ กับสาระวิทยาศาสตร เรื่อง การตอบสนองตอสิ่งเราของสัตว โดยครูนําหอยชนิดตางๆ มาใหนักเรียน สังเกต แลวใหนักเรียนใชนิ้วเขี่ยที่เปลือก และสังเกตการเปลี่ยนแปลง ครูให นักเรียนรวมกันอภิปรายวา หอยที่ครูนํามาใหดูตายหรือยัง ทราบไดอยางไร เพื่อใหนักเรียนสามารถนําความรูไปใชในชีวิตประจําวันได

นักเรียนควรรู 1 เนื้อไก เนื้อหมู และเนื้อวัว ควรเลือก ดังนี้ • เนื้อไก เลือกที่มีสีชมพูปนเหลือง ไมมีเมือก ผิวหนังไมมีสีเขียวคลํ้า • เนื้อหมู เลือกที่มีสีชมพูออนๆ ไมมีเม็ดสาคู มันมีสีขาว • เนื้อวัว เลือกที่มีสีแดงสด มันมีสีเหลือง เสนเนื้อเล็กและละเอียด 2 ปลา ควรเลือกปลาที่มีเหงือกสีแดงสด ปดสนิท มีตาใสโปนออกมา มีเนื้อแนน 3 หอย ควรเลือกหอยที่ยังไมตาย สังเกตจากเมื่อวางทิ้งไว เปลือกจะอาออก แตถานํามือไปแตะเปลือกจะปดทันที

มุม IT ครูสามารถดูขอมูลเพิ่มเติมไดที่ http://www.thaifooddb.com/tips.html เรื่องเคล็บลับคูครัว คูมือครู 21


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูใหแตละกลุมสงตัวแทนออกมานําเสนอ ขอมูลที่ไปสืบคนมา 2. ครูตั้งประเด็นคําถามใหนักเรียนรวมกัน อภิปรายวา • นักเรียนคิดวา การเตรียมสวนประกอบใน อาหารกอนประกอบอาหาร มีประโยชน อยางไร (แนวตอบ ทําใหสะดวก และประหยัดเวลาใน การประกอบอาหาร) • นักเรียนคิดวา จําเปนหรือไมที่จะตองเรียนรู เกี่ยวกับการเตรียมสวนประกอบในอาหาร เพราะอะไร (แนวตอบ จําเปน เพราะทําใหเราจัดเตรียม สวนประกอบแตละประเภทไดอยางถูกวิธี) 3. ครูสาธิตการเตรียมสวนประกอบอาหารแตละ ประเภทใหนักเรียนดูเปนตัวอยาง จากนั้นให นักเรียนแบงกลุม แลวใหแตละกลุมฝกปฏิบัติ ตามที่ครูสาธิต

๒. การเตรียมอาหารประเภทผัก เชน

ผักบุง

คะนา

๑)

๑)

ใชมีดหั่นสวนรากทิ้ง เด็ดสวนที่ไมตองการออก เชน ใบเนา เปนตน

๒)

1

ลางนํ้าสะอาด หรือแชดวยนํ้าผสมดางทับทิม ประมาณ ๕-๑๐ นาที แลวลางนํ้าใหสะอาด

๓)

เด็ดทีละตนใหยาวพอประมาณ แลวใสภาชนะ เตรียมไวประกอบอาหาร

เด็ดสวนที่ไมตองการออก เชน ใบแก ใบเนา เปนตน

๒) ลางนํ้าสะอาด หรือแชดวยนํ้าผสมดางทับทิม ประมาณ ๕-๑๐ นาที แลวลางนํ้าใหสะอาด

๓)

ใชมีดหั่นเปนทอนๆ แลวใสภาชนะเตรียมไว ประกอบอาหาร

๒๒

เกร็ดแนะครู ครูชวยอธิบายเสริมวา ในกรณีที่นักเรียนหาดางทับทิมไมได ใหทําความสะอาด พืชผักรวมทั้งผลไม โดยปลอยใหนํ้าสะอาดไหลผานหลายๆ ครั้ง หรือแชนํ้าทิ้งไว ครูหนึ่ง แลวคอยลางทําความสะอาดอีกครั้ง

นักเรียนควรรู 1 ดางทับทิม มีลักษณะเปนเกล็ดแข็งสีมวง สามารถละลายไดในนํ้า นํามาใช ในการลางผัก ผลไม แตไมควรใชในปริมาณมาก เพราะหากใชดางทับทิมแชผัก ผลไมในปริมาณมากจนเกินไป จะทําใหเปนพิษตอรางกายได ดังนั้น จึงควรใช ดางทับทิมในปริมาณนอยๆ โดยสังเกตจากสีของนํ้าเมื่อใสดางทับทิมลงไป ถานํ้า เปนสีชมพูออนๆ แสดงวาอยูในระดับที่ปลอดภัย และผักผลไมที่ลางดางทับทิมแลว ควรลางออกดวยนํ้าสะอาดทุกครั้ง

22

คูมือครู

กิจกรรมทาทาย ใหนักเรียนสืบคนขอมูล การเตรียมอาหารประเภทผัก คนละ 1 ชนิด ที่ไมซํ้ากับในบทเรียน แลวเขียนอธิบายลงในสมุดพรอมกับวาดภาพหรือ ติดภาพประกอบ


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Expand าใจ ขยายความเข

Evaluate ตรวจสอบผล

ขยายความเขาใจ 1

1. ใหนักเรียนดูภาพที่กําหนดในกิจกรรม ขอ 1 หนา 126 แลวเขียนบอกวิธีการจัดเตรียม ประกอบอาหารลงในสมุด 2. ใหนักเรียนแตละกลุมนําผักและผลไมมา อยางละ 1 ชนิด และจัดเตรียมอาหารของ กลุมตน โดยใหครูประเมินโดยใชแบบวัดฯ การงานอาชีพฯ ป.2

๓. การเตรียมอาหารประเภทผลไม เชน

✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ การงานอาช�พฯ ป.2 กิจกรรมรวบยอดที่ 1.6 แบบประเมินตัวช�้วัด ง.1.1 ป.2/3

ฝรั่ง

สม

Expand

ผักกาดขาว ภาพนี้ คือ …………………………………………………………………………………………… ใชมีดหั่น วิธีการจัดเตรียมอาหารปฏิบัติดังนี้ ๑.………………………………

๕)

สวนที่ไมตองการออก ๒. ลางดวยนํ้าสะอาด ตัวชี้วัด ง ๑.๑ ขอ ๑ ๓. ใชมีดหั่นเปนทอนๆ ñð ๔. ใสภาชนะเตรียมไวประกอบอาหาร ………………………………………………………………………………………….

………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………. ไดคะแนน คะแนนเต็ม

๑)

๑)

ลางสมทีละผลในนํา้ สะอาด โดยถูเปลือกสม เบาๆ ใหทั่ว

เกณฑประเมินชิ้นงาน

ขอ ๑ การบอกชื่ออุปกรณ (๕ คะแนน)

ลางฝรั่งในนํ้าสะอาด โดยถูผิวฝรั่งใหทั่ว

• บอกชื่ออุปกรณถูกตอง ครบถวน ขอละ

๑ คะแนน

• อธิบายขั้นตอน ไดถูกตองและมีใจความสําคัญครบถวน ขอละ

๒ คะแนน

ขอ ๒ การอธิบายขั้นตอน (๑๐ คะแนน)

กิจกรรมรวบยอดที่ ๑.๖ แบบประเมินตัวชี้วัด ง ๑.๑ ป.๒/๓

ฉบับ

เฉลย

ทํางานเพื่อชวยเหลือตนเองและครอบครัวอยางปลอดภัย

ชุดที่ ๑ ๑๕ คะแนน แบงกลุม กลุมละ ๓-๔ คน ใหแตละกลุมนําผักและผลไมมาอยางละ ๑ ชนิด แลวจัดเตรียมอาหาร ของกลุมตนเอง จากนั้นใหครูประเมินผลการทํางาน (๑๕ คะแนน) รายการประเมิน

๒) ผึ่งสมใหสะเด็ดนํ้า

๒)

ดี

ผลการประเมิน พอใช ควรปรับปรุง

๑) การปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนการเตรียมประกอบอาหาร ………………… ………………… ๒) การใชอปุ กรณในการเตรียมประกอบอาหาร ………………… ………………… ไดถูกตองและเหมาะสม ผูสอน ิจของ………………… น ิ พ ๓) ความสะอาด ความคลองแคลว และความปลอดภั ย ………………… ย ล ุ ด ับ ในการเตรียมประกอบอาหาร ขึ้นอยูก ๔) การทําความสะอาดและจัดเก็บอุปกรณและสถานที่ ………………… ………………… ๕) ความรับผิดชอบ และกระตือรือรนในการทํางาน ………………… …………………

ใชมีดเฉาะฝรั่งใหเปนชิ้น

………………… ………………… ………………… ………………… …………………

ขอเสนอแนะ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

๑๘

๓) จัดสมใสถาดใหสวยงาม

ตรวจสอบผล

๓) จัดฝรั่งใสจานใหสวยงาม

๒๓

ขอสอบเนนการคิด

ผลไมในขอใดที่มีการจัดเตรียมกอนนําไปรับประทานเหมือนฝรั่ง ก. สม ข. องุน ค. แอปเปล ง. นอยหนา

วิเคราะหคําตอบ แอปเปลเปนผลไมที่ไมตองปอกเปลือก เชนเดียวกับ ฝรั่ง จึงมีวิธีจัดเตรียมเหมือนกัน คือ นําไปลางใหสะอาด หั่นเปนชิ้นพอดีคํา แลวจัดใสจาน ดังนั้น ขอ ค. เปนคําตอบที่ถูก

Evaluate

1. ครูประเมินผลการจัดเตรียมอาหารของ นักเรียน โดยพิจารณาจากการปฏิบัติงาน ตามขั้นตอน การใชอุปกรณไดเหมาะสม 2. ครูตรวจสอบการเขียนอธิบายวิธีการจัดเตรียม สวนประกอบของอาหารวาอธิบายไดชัดเจน ถูกตองหรือไม

นักเรียนควรรู 1 ผลไม มีหลายลักษณะ แตละลักษณะมีการเตรียมแตกตางกัน ดังนี้ • ผลไมที่ตองปอกเปลือก เชน แตงโม ทุเรียน สับปะรด สม เปนตน ผลไมประเภทนี้ ตองปอกเปลือกหรือแกะเปลือกออกกอน แลวจึงนําเนื้อมาจัดใส จาน หรือหั่นเปนชิ้นพอดีคํา • ผลไมที่ไมตองปอกเปลือก เชน องุน ฝรั่ง ชมพู เปนตน ผลไมประเภทนี้ ลางใหสะอาด แลวจัดใสจานทั้งลูก หรือหั่นเปนชิ้นพอดีคํา

คูมือครู

23


กระตุนความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

Exploreนหา สํารวจค

สํารวจคนหา

Explore

1. ครูนําภาพอาหารตางๆ มาใหนักเรียนดู เชน ขาวสวย ไกทอด ขาวเหนียว ผัดผัก แกงจืด ไขเจียว หมูปง เปนตน แลวใหนักเรียนชวยกัน บอกชื่ออาหาร จากนั้นใหนักเรียนชวยกันบอก วิธีประกอบอาหารเหลานั้น แลวครูจดลงบน กระดาน 2. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับวิธี ประกอบอาหารที่ครูเขียนบนกระดานวา การประกอบอาหารแตละวิธีทําอยางไร

อธิบายความรู

การประกอบอาหาร อาหารที่นํามารับประทานสวนใหญจะตองทําใหสุกเสียกอน เพื่อฆาเชื้อโรค และทําใหอาหารมีรสชาติดี สีสันนารับประทาน การประกอบอาหารมีหลายวิธี ดังนี้ วิธีการประกอบอาหาร ลักษณะการประกอบอาหาร ตัวอยางอาหาร การนําขาวใสในหมอ แลวใส ● หุงขาว การหุง นํา้ ใหเหมาะสมตามปริมาณ ของขาว จากนั้นเสียบปลั๊ก แลวจึงกดสวิตชที่ตัวหมอ รอจนกระทั่งขาวสุก การตม 1 การนําอาหารใสนํ้า จากนั้น ● ไขตม ● แกงสม ตั้งไฟจนเดือด

Explain

1. ใหนักเรียนอานขอมูลและดูภาพประกอบ ในหนา 24-25 2. ครูถามคําถามนักเรียนวา • การผัดกับการทอดแตกตางกันอยางไร (ตอบ การผัดใชนํ้ามันนอยกวาการทอด และพลิกอาหารกลับไปกลับมาจนสุก) • การตมกับการลวกแตกตางกันอยางไร (ตอบ การตมใสอาหารลงในนํ้ารอนและตั้งไฟ จนเดือด สวนการลวกใสอาหารลงในนํ้าเดือด เพียงครูเดียว แลวนําอาหารขึ้น) 3. ใหนักเรียนรวมกันพูดสรุปวิธีการประกอบ อาหารแตละวิธีอีกครั้ง 4. ครูสาธิตวิธีประกอบอาหารบางประเภทให นักเรียนดู โดยใหนักเรียนรวมกันพูดอธิบายวิธี ประกอบอาหารไปดวยตามขั้นตอนที่ครูสาธิต

การลวก

การนึ่ง

การนําอาหารใสในนํ้าเดือด หรือเทนํ้าเดือดลงในอาหาร ทิ้งไวประมาณ ๕-๑๐ นาที แลวจึงนําขึ้น การนําอาหารใสไวในลังถึง 2 หรือหวด แลวใชไอนํ้าเดือด ทําใหอาหารสุก

ไขลวก ● ผักลวก ●

ไกนึ่ง ● ขาวเหนียว ●

๒๔

นักเรียนควรรู 1 ไขตม การตมไขใหปอกเปลือกงายๆ ทําไดโดยขณะที่ตมไขใหใสเกลือลงไป ประมาณ 1 ชอนโตะตอนํ้า 1 ลิตร เทานี้ก็จะทําใหปอกเปลือกไขที่ตมสุกแลว ไดงาย 2 หวด เปนภาชนะอยางหนึ่งใชสําหรับนึ่งอาหาร เชน นึ่งขาวเหนียว เปนตน มีลักษณะเปนกรวยสามเหลี่ยม ทําจากไมไผสาน เวลาใชจะใชคูกับหมอนึ่ง โดยนําหมอนึ่ง ใสนํ้า จากนั้นวางหวดที่ใสอาหารแลวลงบนหมอนึ่ง แลว ใชไอนํ้าเดือดจากหมอนึ่งที่ผานขึ้นมาในหวด เพื่อทําให อาหารสุก

24

คูมือครู

ขอสอบเนนการคิด

อาหารในขอใดตอไปนี้ทําใหสุกโดยการนึ่ง ก. ไขเจียว ข. แกงจืด ค. ขนมเคก ง. ซาลาเปา วิเคราะหคําตอบ ซาลาเปาเปนอาหารที่ทําจากแปงและมีไสอยูภายใน จากนั้นนําไปเรียงบนซึ้ง แลวนึ่งใหสุก ดังนั้น ขอ ง. เปนคําตอบที่ถูก


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand าใจ ขยายความเข

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

ขยายความเขาใจ

1. ใหนักเรียนแบงกลุม แลวแจกบัตรภาพอาหาร ใหแตละกลุม จากนั้นใหแตละกลุมรวมกัน อภิปรายวา ภาพอาหารที่กลุมของตนเองได มีวิธีการประกอบอาหารแบบใด และวิธีนี้ สามารถนํามาประกอบอาหารอะไรไดอีกบาง 2. ใหตัวแทนแตละกลุมออกมารายงานผลที่ หนาชั้น โดยใหเพื่อนชวยกันประเมินผล 3. ใหนักเรียนแตละกลุมไปสํารวจอาหารที่มีขาย ในโรงอาหารของโรงเรียน และบริเวณชุมชน รอบๆ โรงเรียน แลวจดบันทึกชื่ออาหาร และเขียนบอกวา อาหารชนิดนั้นใชวิธีใด ในการประกอบอาหาร พรอมกับวาดภาพ หรือติดภาพประกอบ

วิธีการประกอบอาหาร ลักษณะการประกอบอาหาร ตัวอยางอาหาร 1 การทอด การนําอาหารใสกระทะ แลวทอดในนํ้ามันรอนๆ การผัด

การนําอาหารใสกระทะที่มี นํ้ามันหรือนํ้าเล็กนอย แลว พลิกอาหารกลับไปมาจนสุก

Expand

ปลาทอด ● ไขเจียว ●

ขาวผัด ● ผัดผัก ●

การปง การวางอาหารบนตะแกรง เหนือไฟ การอบ

การนําอาหารใส ในเตาอบ 2 หรือเตาไมโครเวฟ แลวใช ความรอนทําใหอาหารสุก

หมูปง ● ไกปง ●

ขนมเคก ● หมูอบ ●

๒๕

ขอสอบเนนการคิด

การประกอบอาหารโดยการผัดกับการทอด มีขอแตกตางกันในขอใด ก. ปริมาณนํ้ามันที่ใชประกอบอาหาร ข. ความอรอยของอาหาร ค. กลิ่นหอมของอาหาร ง. สีสันของอาหาร

วิเคราะหคําตอบ การผัดใชนํ้ามันเพียงเล็กนอย สวนการทอดใชนํ้ามัน ปริมาณมากกวาการผัด ดังนั้น ขอ ก. เปนคําตอบที่ถูก

นักเรียนควรรู 1 การทอด การทอดอาหารไมใหอมนํ้ามัน ทําไดโดยใสนํ้าสมสายชูเล็กนอย ลงไปในนํ้ามันที่ใชทอด จากนั้นก็ทอดตามปกติ เพียงเทานี้อาหารก็จะไมอมนํ้ามัน 2 เตาไมโครเวฟ การอบอาหารจําพวกผัก ผลไม ควรใชสอมหรือไมแหลม เจาะผิวของผัก ผลไม เพื่อระบายนํ้าออก เปนการปองกันอาหารปะทุแรงดันของ ความรอนจากคลื่นไมโครเวฟ

คูมือครู

25


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Expand าใจ ขยายความเข

Evaluate ตรวจสอบผล

Expand

1. ใหนักเรียนฝกชวยผูปกครองจัดเตรียมประกอบ อาหาร แลวจดบันทึกลงในสมุด จากนั้นให ผูปกครองประเมินผลตามตารางการประเมิน ในกิจกรรมการเรียนรู ขอ 2 หนา 26 2. ครูถามคําถามขยายความรูสูการคิด หนา 26 แลวใหนักเรียนชวยกันตอบ

ตรวจสอบผล

ขยายความเขาใจ

¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ๑. ดูภาพที่กําหนด แลวเขียนบอกวิธีการจัดเตรียมประกอบอาหารลงในสมุด ๒) ๑) ๓)

Evaluate

ครูตรวจสอบวานักเรียนจัดเตรียมอาหารได อยางเหมาะสมหรือไม

๒. ใหนกั เรียนฝกชวยผูป กครองจัดเตรียมประกอบอาหาร แลวจดบันทึกขัน้ ตอน การทํางานลงในสมุด โดยใหผูปกครองประเมินผล ผลการประเมิน รายการประเมิน ดีมาก ดี พอใช ๑. การปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนการเตรียมประกอบอาหาร ………………….. …………………. ………………….. ผล ก ึ ๒. การใชอุปกรณ ในการเตรียมประกอบอาหารได ท ัน ………………….. บ…………………. ง ถูกตองและเหมาะสม …………………. า าร ๓. ความสะอาด ความคลองแคลว และความ ยางต ปลอดภัย ในการเตรียมประกอบอาหาร ตัวอ ………………….. …………………. ………………….. ๔. การทําความสะอาดจัดเก็บอุปกรณและสถานที่ ………………….. …………………. ………………….. ๕. ความรับผิดชอบ และกระตือรือรนในการทํางาน ………………….. …………………. …………………..

ลงชื่อ ……………………………………………………….. ผูประเมิน

¢ÂÒ¤ÇÒÁÃÙŒ ÊÙ¡‹ ÒäԴ อยางไร

นักเรียนคิดวา การจัดเตรียมอาหารตางๆ ไวเพือ่ ประกอบอาหาร มีประโยชน

๒๖ เฉลย กิจกรรมการเรียนรูที่ 1. แนวตอบ 1) เนื้อหมู ลางดวยนํ้าสะอาด หั่นตามแนวขวางของเนื้อหมู แลวใสภาชนะ เพื่อเตรียมประกอบอาหาร 2) ผักชี เด็ดสวนที่ไมตองการออก เชน ใบเนา เปนตน แลวลางนํ้าสะอาด และตัดสวนรากออก จากนั้นเด็ดใบหรือชอใสภาชนะ 3) ชมพู ลางดวยนํ้าสะอาดโดยถูผิวชมพูเบาๆ ใหทั่ว แลวใชมีดหั่นชมพู ใหเปนชิ้นๆ จากนั้นจัดใสจานใหสวยงาม เฉลย ขยายความรู สูการคิด แนวตอบ ทําใหเตรียมสวนประกอบอาหารไดอยางครบถวน สะดวกในการประกอบ อาหาร และชวยใหประหยัดเวลาในการทํางาน

26

คูมือครู

กิจกรรมทาทาย ใหนักเรียนจัดทําสมุดภาพอาหาร โดยใหรวบรวมภาพอาหารจาก สื่อตางๆ เชน หนังสือพิมพ ใบโฆษณา อินเทอรเน็ต เปนตน แลวนํามาติด ลงในสมุดวาดเขียน พรอมกับเขียนชื่ออาหาร และวิธีประกอบอาหารนั้น


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engage

Explore

Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate ตรวจสอบผล Evaluate

ตรวจสอบผล

1. ใหนักเรียนรวมกันสรุปวาเรียนรูอะไรบางโดย สรุปเปนขอๆ 2. ใหนักเรียนตรวจสอบตนเอง ในแตละหัวขอ ตาม หนา 27 วาเมื่อเรียนจบแลวสามารถ ปฏิบัติสิ่งใดไดบาง

ÊÒÃÐÊíÒ¤ÑÞ ¨´¨íÒäÇŒ 

สมาชิกทุกคนในครอบครัว ควรปฏิบตั ิ ตามบทบาทและหน า ที่ ข องตนเอง เพื่อใหอยูรวมกันอยางสงบสุข

เรียน รูงา นบ า

บทบาทแ ของสมาชิลกะในหบนาานที่

านบาน การทาํ หงลือครอบครัว ยเ เพื่อชว ควรเลือกใชเสื้อผาใหเหมาะสม กับโอกาสและสถานที่ เพื่อชวย เสริมบุคลิกภาพใหดูดี และไดรับ ประโยชน เชน เพื่อปกปดรางกาย เพื่อทําใหรางกายอบอุน เปนตน

การแตงกายใหเ

การประกอบอาหาร

ชุดสวยสะอาดตา

แมค รวั ตัว นอ

การทําใหอาหารสุกดวยวิธกี ารตางๆ เชน ผัด ทอด ตม เปนตน ซึ่งเรา ควรเลือกวิธีการประกอบอาหารให เหมาะสมกับชนิดของอาหาร

µÃǨÊͺµ¹àͧ

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู 1. การบันทึกผลการฝกจัดเตรียมประกอบอาหาร 2. ผลการประเมินการชวยผูปกครองจัดเตรียม สวนประกอบอาหาร

ห ม าะ ส ม

อ ในการปรุปกรณท ใี่ ช ะกอ บ อาหา ร

เสื้อผา หากเปนเสื้อผาที่สวมใสแลว ควรผึ่งใหเหงื่อแหง แลวจึงใสตะกรา เพื่อรอซัก สวนเสื้อผาที่ซักทําความ สะอาดแล ว เสื้ อ ผ า ที่ ไ ม ต  อ งรี ด ให พับเก็บ สวนเสื้อผาที่ตองรีด เมื่อรีด เสร็จแลวใหแขวนในตูใหเรียบรอย เครื่องแตงกาย ควรจัดแยกเก็บแตละ ประเภทใหเรียบรอย 

ส รยี ม การเต

กวาดบาน ควรใชเครื่องมือใหเหมาะสม และทําใหถูกตอง ตามขั้นตอน เชน กวาดพื้นไม ควรใชไมกวาด ดอกหญากวาด และกวาดไปในทิศทางเดียวกัน จากนั้ น โกยใส ที่ ตั ก ผง แล ว นํ า ไปทิ้ ง ถั ง ขยะ เปนตน ลางแกวนํ้า และจานชาม ควรลางทําความสะอาดแกวนํ้า และจานชาม เพือ่ จะไดมภี าชนะไวใชในครัง้ ตอไป และปองกัน ไมใหเปนแหลงสะสมเชื้อโรค

การจัดเก็บเสื้อผาาย และเครือ่ งแตง ก

§Ò¹ºŒÒ¹

วนป ระกอ บในอา หาร

Evaluate

อุปกรณที่ใชในการประกอบอาหาร มีหลายประเภทควรใชใหถูกตอง และเหมาะสม เชน ชามใชใ ส อาหารประเภทนํ้ า ช อ นใช ตั ก อาหารตางๆ เปนตน การเตรียมประกอบอาหารทําให สะดวกและประหยัดเวลาในการ ประกอบอาหาร

นักเรียนลองสังเกตตนเองดูวา ปฏิบัติตามสิ่งตางๆ เหลานี้ไดหรือไม ❏ รูจักและปฏิบัติตามบทบาทหนาที่ของตนเองได ❏ กวาดบานไดถูกตองตามขั้นตอน ❏ ลางแกวนํ้าและจานชามไดอยางถูกตองตามขั้นตอน ❏ แตงกายไดเหมาะสมกับโอกาสและสถานที่ ❏ จัดเก็บเสื้อผาและเครื่องแตงกายไดถูกวิธี ❏ ใชอุปกรณในการประกอบอาหารไดถูกตองและเหมาะสม ❏ ชวยพอแมเตรียมสวนประกอบในอาหารได

๒๗

ขอใดเลือกใชภาชนะใสอาหารไมเหมาะสม ก. ใชจานใสปลาทูทอด ข. ใชชามใสแกงสม ค. ใชถวยใสนํ้าพริก ง. ใชจานใสแกงจืด

ขอสอบเนนการคิด

เกร็ดแนะครู ครูเขียนชื่อบทเรียนบนกระดาน แลวใหนักเรียนชวยกันออกมาตอเติมแผนผัง ความคิดวา ในบทเรียนแตละบทนักเรียนไดเรียนรูอะไรบาง เพื่อใหนักเรียนได ทบทวนสิ่งที่ไดเรียนรู

วิเคราะหคําตอบ แกงจืดเปนอาหารที่มีนํ้า จึงควรใสถวยหรือชามเพื่อ ไมใหนํ้าแกงหก สวนจานเปนภาชนะที่ใสอาหารแหงๆ หรืออาหารที่มีนํ้า เล็กนอย เชน ผัด ยํา ดังนั้น ขอ ง. เปนคําตอบที่ถูก

คูมือครู

27


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.