8858649122476

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº »ÃСѹÏ

ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน

กระบวนการสอนแบบ 5 Es ชวยสรางทักษะการเรียนรู กิจกรรมมุงพัฒนาทักษะการคิด คำถาม + แนวขอสอบเพื่อยกผลสัมฤทธิ์ O-NET กิจกรรมบูรณาการเตรียมพรอมสู ASEAN 2558


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู การงานอาชีพและเทคโนโลยี

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ชั้นประถมศึกษาปที่ 2

สําหรับครู

คูมือครู Version ใหม

ลักษณะเดน

ขยายพื้นที่รูปเลมใหญขึ้นกวาเดิม จัดแบงพื้นที่ออกเปนโซน เพื่อคนหาขอมูลไดงาย สะดวก รวดเร็ว และดูเปนระเบียบ กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

เปาหมายการเรียนรู สมรรถนะของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค

หน า

โซน 1 กระตุน ความสนใจ

Engage

สํารวจคนหา

Explore

อธิบายความรู

Explain

ขยายความเขาใจ

Expand

ตรวจสอบผล

หน า

หนั ง สื อ เรี ย น

โซน 1

หนั ง สื อ เรี ย น

Evaluate

ขอสอบเนน การคิด ขอสอบเนน การคิด แนว NT แนว O-NET

O-NET บูรณาการเชื่อมสาระ

เกร็ดแนะครู

ขอสอบ

โซน 2

โซน 3

กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย

นักเรียนควรรู

โซน 3

โซน 2 บูรณาการอาเซียน มุม IT

No.

คูมือครู

คูมือครู

No.

โซน 1 ขั้นตอนการสอนแบบ 5Es

โซน 2 ชวยครูเตรียมสอน

โซน 3 ชวยครูเตรียมนักเรียน

เพื่อใหครูเตรียมจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยแนะนําขั้นตอนการสอนและ การจัดกิจกรรมแบบ 5Es อยางละเอียด เพื่อใหนักเรียนบรรลุตามตัวชี้วัด

เพื่อชวยลดภาระครูผูสอน โดยแนะนํา เกร็ดความรูสําหรับครู ความรูเสริมสําหรับ นักเรียน รวมทั้งบูรณาการความรูสูอาเซียน และมุม IT

เพือ่ ใหครูสะดวกตอการจัดกิจกรรม โดยแนะนํา กิจกรรมบูรณาการเชื่อมระหวางกลุมสาระ วิชา กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย รวมถึงเนือ้ หา ที่เคยออกขอสอบ O-NET เก็งขอสอบ O-NET และแนวขอสอบเนนการคิด พรอมคําอธิบาย และเฉลยอยางละเอียด


ที่ใชในคูมือครู

แถบสีและสัญลักษณ

แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5Es เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

1. แถบสี 5Es สีแดง

สีเขียว

กระตุน ความสนใจ

เสร�ม

สํารวจคนหา

Engage

2

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุน ความสนใจ เพื่อโยง เขาสูบทเรียน

สีสม

อธิบายความรู

Explore

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนสํารวจ ปญหา และศึกษา ขอมูล

สีฟา

Explain

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนคนหา คําตอบ จนเกิดความรู เชิงประจักษ

สีมวง

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนนําความรู ไปคิดคนตอๆ ไป

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

2. สัญลักษณ สัญลักษณ

วัตถุประสงค

• เปาหมายการเรียนรู

• หลักฐานแสดงผล การเรียนรู

O-NET

(เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ O-NET O-NET)

• ชีแ้ นะเนือ้ หาทีเ่ คยออกขอสอบ

O-NET โดยยกตัวอยางขอสอบ พรอมวิเคราะหคาํ ตอบ อยางละเอียด

• เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน แนว

O-NET

การคิดใหครูนาํ ไปใชไดจริง รวมถึงเปนการเก็งขอสอบ O-NET ทีจ่ ะออก มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

ขยายความรูเพิ่มเติมจากเนื้อหา เพื่อใหครู นําไปใชอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียน ไดมีความรูมากขึ้น

บูรณาการเชื่อมสาระ

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม

ความรูห รือกิจกรรมเสริม ใหครูนาํ ไปใช เตรียมความพรอมใหกบั นักเรียนกอนเขาสู ประชาคมอาเซียน 2558 โดยบูรณาการ กับวิชาทีก่ าํ ลังเรียน

กิจกรรมสรางเสริม

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม

นักเรียนควรรู

บูรณาการอาเซียน

คูม อื ครู

แสดงรองรอยหลักฐานตามภาระงาน ที่ครูมอบหมาย เพื่อแสดงผลการเรียนรู ตามตัวชี้วัด

ขอสอบ

วัตถุประสงค

แทรกความรูเสริมสําหรับครู ขอเสนอแนะ ขอควรระวัง ขอสังเกต แนวทางการจัด กิจกรรมและอืน่ ๆ เพื่อประโยชนในการ จัดการเรียนการสอน

เกร็ดแนะครู

มุม IT

แสดงเปาหมายการเรียนรูที่นักเรียน ตองบรรลุตามตัวชี้วัด ตลอดจนสมรรถนะ ที่จะตองมี และคุณลักษณะที่พึงเกิดขึ้น กับนักเรียน

สัญลักษณ

แนะนําแหลงคนควาจากเว็บไซต เพื่อใหครู และนักเรียนไดเขาถึงขอมูลความรู ที่หลากหลาย ทั้งไทยและตางประเทศ

• แนวขอสอบ NT ในระดับ

ประถมศึกษา มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

(เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ NT)

กิจกรรมทาทาย

เชือ่ มกับกลุม สาระ ชัน้ หรือวิชาอืน่ ทีเ่ กีย่ วของ

ซอมเสริมสําหรับนักเรียน ทีย่ งั ไมเขาใจเนือ้ หา

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ตอยอดสําหรับนักเรียนทีเ่ รียนรู เนือ้ หาไดอยางรวดเร็ว และ ตองการทาทายความสามารถ ในระดับทีส่ งู ขึน้


คําแนะนําการใชคูมือครู การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน คูม อื ครู รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศฯ ป.2 จัดทําขึน้ เพือ่ ใหครูผสู อนนําไปใชเปนแนวทางวางแผนการสอนเพือ่ พัฒนา ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน และประกันคุณภาพผูเ รียน ตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน (สพฐ.) โดยใชหนังสือเรียน เทคโนโลยีสารสนเทศฯ ป.2 ของบริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด เปนสื่อหลัก (Core Material) เสร�ม ประกอบการสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดกลุมสาระการเรียนรู 3 การงานอาชีพฯ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 โดยออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนตาม หลักการสําคัญ ดังนี้ 1 ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน คูมือครู รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศฯ ป.2 วางแผนการสอนโดยแบงเปนหนวยการเรียนรูตามลําดับสาระ (Standard) และหมายเลขขอของมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั แตละหนวยจะกําหนดเปาหมายการสอนและจุดประสงค การเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทางการประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชดั เจน ครูผสู อนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู ตัวชีว้ ดั สมรรถนะ และคุณลักษณะอันพึงประสงคที่เปนเปาหมายการเรียนรูตามที่กําหนดไวในสาระแกนกลาง (ตามแผนภูมิ) และสามารถ บันทึกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนแตละคนลงในเอกสาร ปพ.5 ไดอยางมั่นใจ แผนภูมิแสดงองคประกอบของการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผูเรียนเปนสําคัญ

พผ

ูเ

จุดปร

ะสง

คก

ส ภา

รียน

รู ีเรยน

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชั้นป

ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน คูม อื ครู


2 การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ แนวคิ ด ในการจั ด การเรี ย นการสอนที่ ยึ ด ผู  เ รี ย นเป น สํ า คั ญ พั ฒ นามาจากปรั ช ญาและทฤษฎี ก ารเรี ย นรู  Constructivism ที่เชื่อวาการเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสรางความรู โดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดเรียนรูจากบทเรียนใหมกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา ผูเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีการสั่งสมความรูความเขาใจเกี่ยวกับสิ่งตางๆ ติดตัวมากอน ทีจ่ ะเขาสูห อ งเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากประสบการณและสิง่ แวดลอมรอบตัวผูเ รียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกิจกรรม เสร�ม การเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ผูสอนจะตองคํานึงถึง

4

1. ความรูเดิมของผูเรียน วิธีการสอนที่ดีจะตองเริ่มตนจากจุดที่วา ผูเ รียนมีความรูอ ะไรมาบาง แลวจึงใหความรู หรือประสบการณใหม เพื่อตอยอดจาก ความรูเดิม นําไปสูการสรางความรู ความเขาใจใหม

2. ความรูเดิมของผูเรียนถูกตองหรือไม ผูส อนตองปรับเปลีย่ นความรูค วามเขาใจเดิม ของผูเรียนใหถูกตอง และเปนพฤติกรรม การเรียนรูใ หมทมี่ คี ณุ คาตอผูเรียน เพื่อสราง เจตคติหรือทัศนคติที่ดีตอการเรียนรู สิ่งเหลานั้น

3. ผูเรียนสรางความหมายสําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมใหผูเรียนนําความรู ความเขาใจที่เกิดขึ้นไปลงมือปฏิบัติ เพื่อขยายความรูใหลึกซึ้งและมีคุณคา ตอตัวผูเรียนมากที่สุด

แนวคิด Constructivism เนนใหผูเรียนสรางความรูโดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูของตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศ

การเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณ ความรูใ หม เพือ่ กระตนุ ใหผเู รียนเชือ่ มโยงความรู ความคิด กับประสบการณทมี่ อี ยูเ ดิม แลวสังเคราะหเปนความรูห รือแนวคิดใหมๆ ไดดว ยตนเอง

3 การบูรณาการกระบวนการคิด การเรียนรูของผูเรียนแตละคนจะเกิดขึ้นที่สมอง ซึ่งเปนอวัยวะที่ทําหนาที่รูคิดภายใตสภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวย และไดรบั การกระตนุ จูงใจอยางเหมาะสม สอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของผูเ รียนแตละคน การจัดกิจกรรม การเรียนรูและสาระการเรียนรูที่สอดคลองกับความสนใจและมีความหมายตอผูเรียน จะชวยกระตุนใหสมองของผูเรียน สามารถรับรูและเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพตามขั้นตอนการทํางานของสมอง ดังนี้ 1. สมองจะเรียนรูและสืบคน โดยการสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง ปฏิบัติ จนทําใหคนพบความรูความเขาใจ ไดอยางรวดเร็ว

2. สมองจะแยกแยะคุณคาของสิ่งตางๆ โดยการตัดสินใจวิพากษวิจารณ แสดง ความคิดเห็น ยอมรับหรือตอตานตาม อารมณความรูสึกที่เกิดขึ้นในขณะที่เรียนรู

3. สมองจะประมวลเนื้อหาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสานกับ ความรูห รือประสบการณเดิมทีถ่ กู จัดเก็บอยูใ น สมอง ผานการกลัน่ กรองเพือ่ สังเคราะหเปน ความรูค วามเขาใจใหมๆ หรือเปนทัศนคติใหม ที่จะเก็บบรรจุไวในสมองของผูเรียน

การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะเกิดขึ้น เมื่อสมองรูคิด และตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมองผูเรียน โดยเริ่มตนจาก 1. ระดับการคิดพื้นฐาน ไดแก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล การสรุปผล เปนตน

คูม อื ครู

2. ระดับลักษณะการคิด ไดแก การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดไกล คิดหลากหลาย คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล เปนตน

3. ระดับกระบวนการคิด ไดแก กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ กระบวนการแกปญหา กระบวนการ คิดสรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะหวิจัย เปนตน


5Es การจัดกิจกรรมตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ขั้นตอนการสอนที่สัมพันธกับขั้นตอนการคิดและการทํางานทางสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย คือ วัฏจักรการเรียนรู 5Es ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแตละหนวย ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1

กระตุนความสนใจ

(Engage)

เสร�ม

5

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนนําเขาสูบ ทเรียน เพือ่ กระตุน ความสนใจของผูเ รียนดวยเรือ่ งราวหรือเหตุการณทนี่ า สนใจโดยใชเทคนิควิธกี ารสอน และคําถามทบทวนความรูหรือประสบการณเดิมของผูเรียน เพื่อเชื่อมโยงผูเรียนเขาสูความรูของบทเรียนใหม ชวยใหผูเรียนสามารถ สรุปประเด็นสําคัญที่เปนหัวขอและสาระการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอนการสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอม และสรางแรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน

ขั้นที่ 2

สํารวจคนหา

(Explore)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนเปดโอกาสใหผเู รียนลงมือศึกษา สังเกต หรือรวมมือกันสํารวจ เพือ่ ใหเห็นขอบขายของปญหา รวมถึงวิธกี ารศึกษา คนควา การรวบรวมขอมูลความรูที่จะนําไปสูการสรางความเขาใจประเด็นปญหานั้นๆ เมื่อผูเรียนทําความเขาใจในประเด็นหัวขอที่จะ ศึกษาคนควาอยางถองแทแลว ก็ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธีการตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูตามที่ตั้งประเด็นศึกษาไว

ขั้นที่ 3

อธิบายความรู

(Explain)

เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา ตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนคนหาคําตอบ และนําขอมูล ความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห สรุปผล และนําเสนอผลที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ แผนผังแสดงมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน ในขั้นตอนนี้ฝกใหผูเรียนใชสมองคิดวิเคราะหและ สังเคราะหอยางเปนระบบ

ขั้นที่ 4

ขยายความเขาใจ

(Expand)

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใชเทคนิควิธีการสอนตางๆ ที่สงเสริมใหผูเรียนนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนสืบคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะ การเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน ผูเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยง กับประสบการณเดิมโดยนําขอสรุปทีไ่ ดไปใชอธิบายเหตุการณตา งๆ หรือนําไปปฏิบตั ใิ นสถานการณใหมๆ ทีเ่ กีย่ วของกับชีวติ ประจําวัน ของตนเอง เพื่อขยายความรูความเขาใจใหกวางขวางยิ่งขึ้น ในขั้นตอนนี้ฝกสมองของผูเรียนใหสามารถคิดริเริ่มสรางสรรคอยางมี คุณภาพ เสริมสรางวิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป

ขั้นที่ 5

ตรวจสอบผล

(Evaluate)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนประเมินมโนทัศนของผูเ รียน โดยตรวจสอบจากความคิดทีเ่ ปลีย่ นไปและความคิดรวบยอดทีเ่ กิดขึน้ ใหม ตรวจสอบ ทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด และการเคารพความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพื่อการ สรางสรรคความรูร ว มกัน ผูเ รียนสามารถประเมินผลการเรียนรูข องตนเอง เพือ่ สรุปผลวามีความรูอ ะไรเพิม่ ขึน้ มาบาง เกิดความเขาใจ มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ ไดอยางไร ผูเรียนจะเกิดเจตคติและเห็นคุณคาของ ตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง

การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามขั้นตอนวัฏจักรการสรางความรูแบบ 5Es จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนน ผูเ รียนเปนสําคัญอยางแทจริง เพราะสงเสริมใหผเู รียนไดลงมือปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนของกระบวนการสรางความรูด ว ยตนเอง และฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและกระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะชีวิต ทักษะการทํางานและทักษะการ เรียนรูที่มีประสิทธิภาพ สงผลตอการยกระดับผลสัมฤทธิ์ของผูเรียน ตามเปาหมายของการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คูม อื ครู


O-NET การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ O-NET

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ในแตละหนวยการเรียนรู ทางผูจัดทํา จะเสนอแนะวิธีสอนรูปแบบกิจกรรมการเรียนรู พรอมทั้งออกแบบเครื่องมือวัดผลประเมินผลที่สอดคลองกับตัวชี้วัด และสาระการเรียนรูแกนกลางไวทุกขั้นตอน โดยยึดหลักสําคัญ คือ เปาหมายของการวัดผลประเมินผล เสร�ม

6

1. การวัดผลทุกครั้งตองนําผล การวัดมาปรับปรุงพัฒนาผูเรียน เปนรายบุคคล

2. การประเมินผลมีเปาหมาย เพื่อพัฒนาการเรียนรูของผูเรียน จนเต็มศักยภาพ

3. การนําผลการวัดและประเมิน ทุกครั้งมาวางแผนปรับปรุงกิจกรรม การเรียนการสอน การเลือกเทคนิค วิธีการสอน และสื่อการเรียนรูให เหมาะสมกับสภาพจริงของผูเรียน

การทดสอบผูเรียน 1. การใชขอสอบอัตนัย เนนการอาน การคิดวิเคราะห และเขียนสรุปเพิ่มมากขึ้น 2. การใชคําถามกระตุนการคิด ควบคูกับการทําขอสอบที่เนนการคิดตลอดตอเนื่องตามลําดับกิจกรรมการเรียนรูและ ตัวชี้วัด 3. การทดสอบตองดําเนินการทั้งกอนเรียน ระหวางเรียน และเมื่อสิ้นสุดการเรียน การทดสอบระหวางเรียน ต อ งใช ข  อ สอบทั้ ง ชนิ ด ปรนั ย และอั ต นั ย และเป น การทดสอบเพื่ อ วิ นิ จ ฉั ย ผลการเรี ย นของผู  เ รี ย นแต ล ะคน เพื่อวัดการสอนซอมเสริมใหบรรลุตัวชี้วัดทุกตัว 4. การสอบกลางภาค (ถามี) ควรนําขอสอบหรือแบบฝกหัดที่นักเรียนสวนใหญทําผิดบอยๆ มาสรางเปนแบบทดสอบ อีกครัง้ เพือ่ ตรวจสอบความรูค วามเขาใจทีถ่ กู ตอง และประเมินความกาวหนาของผูเรียนแตละคน 5. การสอบปลายภาคเรียนเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามตัวชี้วัดที่สําคัญ ควรออกขอสอบใหมีลักษณะเดียวกับ ขอสอบ O-NET โดยเนนการคิดวิเคราะห สังเคราะห เชื่อมโยงประยุกตใช เพื่อสรางความคุนเคย และฝกฝน วิธีการทําขอสอบดวยความมั่นใจ 6. การนําผลการทดสอบของผูเรียนมาวิเคราะห โดยผลการสอบกอนการเรียนตองสามารถพยากรณผลการสอบ กลางภาค และผลการสอบกลางภาคตองทํานายผลการสอบปลายภาคของผูเ รียนแตละคน เพือ่ ประเมินพัฒนาการ ความกาวหนาของผูเรียนเปนรายบุคคล 7. ผลการทดสอบปลายป ปลายภาค ตองมีคาเฉลี่ยสอดคลองกับคาเฉลี่ยของการสอบ NT ที่เขตพื้นที่การศึกษา จัดสอบ รวมทั้งคาเฉลี่ยของการสอบ O-NET ชวงชั้นที่สอดคลองครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดสําคัญ เพือ่ สะทอนประสิทธิภาพของครูผสู อนในการออกแบบการเรียนรูแ ละประกันคุณภาพผูเ รียนทีต่ รวจสอบผลไดชดั เจน การจัดการเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ตองใหผูเรียนไดสั่งสมความรู สะสมความเขาใจไปทีละเล็ก ละนอยตามลําดับขัน้ ตอนของกิจกรรมการเรียนรู 5Es เพือ่ ใหผเู รียนไดเติมเต็มองคความรูอ ยางตอเนือ่ ง จนสามารถปฏิบตั ิ ชิ้นงานหรือภาระงานรวบยอดของแตละหนวยผานเกณฑประกันคุณภาพในระดับที่นาพึงพอใจ เพื่อรองรับการประเมิน ภายนอกจาก สมศ. ตลอดเวลา คูม อื ครู


ASEAN การเรียนรูสูประชาคมอาเซียน เพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรูบูรณาการอาเซียนศึกษา ผูจัดทําไดวิเคราะห มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดที่มีสาระการเรียนรูสอดคลองกับองคความรูเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนในแงมุมตางๆ ครอบคลุมทัง้ ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน เพื่อสงเสริมการเรียนรูใหผูเรียนเกิดความตระหนัก มีความรูความเขาใจเหมาะสมกับระดับชั้นและกลุมสาระ การเรียนรู โดยเสนอแนะวิธีการจัดกิจกรรมบูรณาการเนื้อหาสาระตางๆ ที่เปนประโยชนตอผูเรียนและเปนการชวย เตรียมความพรอมผูเ รียนทุกคนทีจ่ ะกาวเขาสูก ารเปนสมาชิกของประชาคมอาเซียนไดอยางมัน่ ใจตามขอตกลงปฏิญญา เสร�ม ชะอํา-หัวหิน วาดวยความรวมมือดานการศึกษาเพือ่ บรรลุเปาหมายประชาคมอาเซียนทีเ่ อือ้ อาทรและแบงปน จึงกําหนด 7 เปนนโยบายใหกระทรวงศึกษาธิการจัดการเรียนรูเตรียมความพรอมผูเรียนเขาสูประชาคมอาเซียนภายในป พ.ศ. 2558 ตามแนวปฏิบัติที่สําคัญ ดังนี้

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน 1. การสรางความรูความเขาใจ และตระหนักถึงความสําคัญของ กฎบัตรอาเซียน และความรวมมือ ของ 3 เสาหลัก ซึง่ กฎบัตรอาเซียน ในขณะนี้มีสถานะเปนกฎหมายที่ ประเทศสมาชิกจะตองปฏิบัติตาม หลักการที่กําหนดไวเพื่อใหบรรลุ เปาหมายของกฎบัตรมาตราตางๆ

2. การสงเสริมหลักการ ประชาธิปไตยและการสราง สิ่งแวดลอมประชาธิปไตย เพื่อการอยูรวมกันอยางกลมกลืน ภายใตวิถีชีวิตอาเซียนที่มีความ หลากหลายดานสังคมและ วัฒนธรรม

4. การตระหนักในคุณคาของ สายสัมพันธทางประวัติศาสตร และมรดกทางวัฒนธรรมที่มี พัฒนาการรวมกัน เพื่อเชื่อม อัตลักษณและสรางจิตสํานึก ในการเปนประชากรของประชาคม อาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการศึกษาดาน สิทธิมนุษยชน เพื่อสรางประชาคม อาเซียนใหเปนประชาคมเพื่อ ประชาชนอยางแทจริง สามารถ อยูรวมกันไดบนพื้นฐานการเคารพ ในคุณคาของศักดิ์ศรีแหงความ เปนมนุษยเทาเทียมกัน

5. การสงเสริมสันติภาพ ความ มั่นคง และความปรองดองในสังคม ทั้งระดับประเทศและภูมิภาคของ อาเซียนบนพื้นฐานสันติวิธีและการ อยูรวมกันดวยขันติธรรม

คูม อื ครู


การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

เสร�ม

8

1. การพัฒนาทักษะการทํางาน เพื่อเสริมสรางผูเรียนใหมีทักษะ วิชาชีพที่จําเปนสอดคลองกับ ความตองการของตลาดแรงงาน และสถานประกอบการในอาเซียน สามารถเทียบโอนผลการเรียน และการทํางานตามมาตรฐานฝมือ แรงงานในภูมิภาคอาเซียน

2. การเสริมสรางวินัย ความรับผิดชอบ และเจตคติรักการทํางาน สามารถพึ่งพาตนเอง มีทักษะชีวิต ดํารงชีวิตอยางมีความสุข เห็นคุณคา และภูมิใจในตนเอง ในฐานะที่เปนพลเมืองไทยและ อาเซียน

3. การเรียนรูเพื่อพัฒนาตนเอง อยางตอเนื่องตลอดชีวิต ใหมี ทักษะการทํางานตามมาตรฐาน อาชีพ และคุณวุฒิของวิชาชีพสาขา ตางๆ เพื่อรองรับการเตรียมเคลื่อน ยายแรงงานมีฝมือและการเปน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่ เขมแข็ง เพื่อสรางขีดความสามารถ ในการแขงขันในเวทีโลก

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 1. การเสริมสรางความรวมมือ ในลักษณะสังคมที่เอื้ออาทร ของประชากรอาเซียน โดยยึด หลักการสําคัญ คือ ความงดงาม ของประชาคมอาเซียนมาจาก ความแตกตางและหลากหลายทาง วัฒนธรรมที่ลวนแตมีคุณคาตอ มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน ซึ่งประชาชนทุกคนตองอนุรักษ สืบสานใหยั่งยืน

2. การเสริมสรางคุณลักษณะ ของผูเรียนใหเปนพลเมืองอาเซียน ที่มีศักยภาพในการกาวเขาสู ประชาคมอาเซียนอยางมั่นใจ เปนผูที่มีสุขภาพสมบูรณแข็งแรง มีทักษะการสื่อสาร ทักษะการ ทํางาน ทักษะทางสังคม สามารถ ทํางานรวมกับผูอื่นไดอยาง สรางสรรค และมีองคความรู เกี่ยวกับอาเซียนที่จําเปนตอการ ดํารงชีวิตอยางมีคุณภาพ

4. การสงเสริมการเรียนรูดาน ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี วิถชี วี ติ ความเปนอยูข องเพือ่ นบาน ในอาเซียน เพื่อสรางจิตสํานึกของ ความเปนประชาคมอาเซียนและ ตระหนักถึงหนาที่ของการเปน พลเมืองอาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการเรียนรูภาษา อังกฤษเพื่อการสื่อสารและการ ทํางานตามมาตรฐานอาชีพที่ กําหนดและสนับสนุนการเรียนรู ภาษาอาเซียนและภาษาเพื่อนบาน เพื่อชวยเสริมสรางสัมพันธภาพทาง สังคม และการอยูรวมกันอยางสันติ ทามกลางความหลากหลายทาง วัฒนธรรม

5. การสรางความรูและความ ตระหนักเกี่ยวกับดานสิ่งแวดลอม ปญหาและผลกระทบตอคุณภาพ ชีวิตของประชากรในภูมิภาค รวมทั้งแนวทางการพัฒนาอยาง ยั่งยืน ใหเปนมรดกสืบทอดแก พลเมืองอาเซียนในรุนหลังตอๆ ไป

กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศนโยบายการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) เพื่อเรงพัฒนาเด็ก และเยาวชนไทยใหเปนทรัพยากรมนุษยของชาติที่มีทักษะและความชํานาญ พรอมเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงและ การแขงขันทั้งในภูมิภาคอาเซียนและภูมิภาคอื่นๆ ของสังคมโลก ทั้งนี้ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และผูปกครอง ควรรวมมือกันอยางใกลชิดในการดูแลชวยเหลือผูเรียนและจัดประสบการณการเรียนรูเพื่อพัฒนาผูเรียนจนเต็มศักยภาพ เพื่อกาวเขาสูการเปนพลเมืองอาเซียนอยางมีเกียรติภูมิและศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของตน คณะผูจัดทํา คูม อื ครู


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 1

การงานอาชีพฯ (เฉพาะชั้น ป.2)*

การดํารงชีวิตและครอบครัว

มาตรฐาน ง 1.1 เขาใจการทํางาน มีความคิดสรางสรรค มีทักษะกระบวนการทํางาน ทักษะการจัดการ ทักษะ กระบวนการแกปญหา ทักษะการทํางานรวมกัน และทักษะการแสวงหาความรู มีคุณธรรม และลักษณะนิสัยในการทํางาน มีจิตสํานึกในการใชพลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดลอม เพื่อการดํารงชีวิตและครอบครัว ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ป.2 1. บอกวิธีการและประโยชน • การทํางานเพื่อชวยเหลือตนเอง การทํางาน เพื่อชวยเหลือ และครอบครัว เชน ตนเองและครอบครัว - บทบาทและหนาที่ของสมาชิกในบาน - การจัดวาง เก็บเสื้อผา รองเทา - การชวยครอบครัวเตรียม ประกอบอาหาร - การกวาดบาน - การลางจาน • การใชวัสดุ อุปกรณ และเครื่องมือ 2. ใชวัสดุ อุปกรณ และ เครื่องมือในการทํางาน ใหเหมาะสมกับงาน ชวยใหประหยัด อยางเหมาะสมกับงาน และปลอดภัย เชน - การเพาะเมล็ด และประหยัด - การดูแลแปลงเพาะกลา - การทําของเลน - การประดิษฐของใชสวนตัว 3. ทํางานเพื่อชวยเหลือ • ความปลอดภัยเปนลักษณะนิสัย ตนเองและครอบครัว ในการทํางาน อยางปลอดภัย

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

เสร�ม

9

สาระที่ 1 ตัวชี้วัดที่ 1-3 นี้ จะปรากฏในหนังสือเรียน การงานอาชีพ และเทคโนโลยี ป.2

_________________________________ * สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, สาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพ และเทคโนโลยี. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 6-30.

คูม อื ครู


สาระที่ 2

การออกแบบและเทคโนโลยี

มาตรฐาน ง 2.1 เขาใจเทคโนโลยีและกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสรางสิ่งของเครื่องใชหรือวิธีการ ตามกระบวนการเทคโนโลยีอยางมีความคิดสรางสรรค เลือกใชเทคโนโลยีในทางสรางสรรคตอชีวิต สังคม สิ่งแวดลอม และมีสวนรวมในการจัดการเทคโนโลยีที่ยั่งยืน ชั้น

เสร�ม

10

คูม อื ครู

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ป.2 1. บอกประโยชนของสิ่งของ • สิ่งของเครื่องใชในชีวิตประจําวันถูกสรางมา เครื่องใชในชีวิตประจําวัน ใหมีรูปรางที่แตกตางกันตามหนาที่ใชสอย เชน แปรงสีฟน หมอหุงขาว กรรไกร ปากกา ดินสอ เปนตน ซึ่งมีประโยชน ในการทํากิจกรรมตางๆ ไดสะดวก และรวดเร็วขึ้น • การสรางของเลนหรือของใชอยางเปน 2. สรางของเลน ของใช ขั้นตอน ตั้งแตกําหนดปญหาหรือความ อยางงาย โดยกําหนด ปญหาหรือความตองการ ตองการ รวบรวมขอมูล ออกแบบโดย รวบรวมขอมูล ออกแบบ ถายทอดความคิดเปนภาพราง 2 มิติ โดยถายทอดความคิดเปน กอนลงมือสรางและประเมินผล ทําให ผูเรียนทํางานอยางเปนกระบวนการ ภาพราง 2 มิติ ลงมือ • ภาพราง 2 มิติ หรือภาพ 2 มิติ สรางและประเมินผล ประกอบดวยดานกวางและดานยาว 3. นําความรูเกี่ยวกับการใช • การใชอุปกรณ เครื่องมือ เชน กรรไกร อุปกรณ เครื่องมือที่ถูกวิธี ไมบรรทัด ควรใชใหเหมาะสมกับลักษณะ ไปประยุกตใชในการสราง และประเภทของการทํางาน หากนํามาใช ของเลน ของใชอยางงาย โดยขาดความระมัดระวัง และการใชงาน ที่ไมถูกวิธี จะทําใหเกิดอันตรายตอตนเอง และความเสียหายกับชิ้นงาน ดังนั้น การใช อุปกรณเครื่องมือที่ถูกวิธีจะทําใหเกิดความ ปลอดภัยในการทํางาน 4. มีความคิดสรางสรรค • ความคิดสรางสรรคมี 4 ลักษณะ อยางนอย 1 ลักษณะ ประกอบดวยความคิดริเริ่ม ความคลอง ในการแกปญหาหรือ ในการคิด ความยืดหยุนในการคิด สนองความตองการ และความคิดละเอียดลออ

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

สาระที่ 2 ตัวชี้วัดที่ 1-4 นี้ จะปรากฏในหนังสือเรียน การงานอาชีพ และเทคโนโลยี ป.2


สาระที่ 3

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

มาตรฐาน ง 3.1 เขาใจ เห็นคุณคา และใชกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบคนขอมูลการเรียนรู การสื่อสาร การแกปญหา การทํางาน และอาชีพอยางมีประสิทธิภาพประสิทธิผล และมีคุณธรรม ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ป.2 1. บอกประโยชนของขอมูล • ขอมูลบางอยางมีประโยชนในการดําเนิน และรวบรวมขอมูลที่ ชีวิต ตองพิจารณากอนนําไปใช สนใจจากแหลงขอมูล • แหลงขอมูลทีเ่ ชือ่ ถือได เปนแหลงขอมูล ทีม่ กี ารรวบรวมขอมูลอยางมีหลักเกณฑ ตางๆ มีเหตุผล และมีการอางอิง เชน ที่เชื่อถือได - แหลงขอมูลของทางราชการ - แหลงขอมูลจากผูเ ชีย่ วชาญ มีประสบการณตรงและศึกษาในเรือ่ งนัน้ ๆ การรวบรวมข อมูลทีส่ นใจจากแหลงขอมูล • หลายแหลงทีเ่ ชือ่ ถือได ชวยใหไดขอ มูลที่ ถูกตองและสมบูรณมากขึน้ 2. บอกประโยชนและ • ประโยชนของแหลงขอมูล การรักษาแหลงขอมูล • การรักษาแหลงขอมูล เปนการรักษาสภาพ ของแหลงขอมูลใหคงอยู และใชงานได นานๆ เชน ไมขีดเขียนตามสถานที่ตางๆ ปฏิบัติตามระเบียบการใชแหลงขอมูล และ ไมทําใหแหลงขอมูลเกิดความชํารุดเสียหาย 3. บอกชื่อและหนาที่ของ • คอมพิวเตอรประกอบดวย หนวยรับเขา อุปกรณพื้นฐานที่เปน หนวยประมวลผล หนวยสงออก ซึ่งการ สวนประกอบหลักของ ประมวลผลเปนการกระทํา (คํานวณ คอมพิวเตอร เปรียบเทียบ) กับขอมูลทีร่ บั เขามา • อุปกรณพนื้ ฐานทีเ่ ปนสวนประกอบหลักของ คอมพิวเตอร มีดงั นี้ - เมาส ทําหนาทีเ่ ลือ่ นตัวชี้ และคลิกคําสัง่ - แผงแปนอักขระ ทําหนาทีร่ บั ขอความ สัญลักษณ และตัวเลข - จอภาพ ทําหนาทีแ่ สดงขอความ ภาพ - ซีพยี ู ทําหนาทีป่ ระมวลผลขอมูล - ลําโพง ทําหนาทีส่ ง เสียง - เครือ่ งพิมพ ทําหนาทีพ่ มิ พขอ ความ ภาพ ทางกระดาษ - อุปกรณเก็บขอมูล เชน แผนบันทึกซีดี หนวยความจําแบบแฟลช

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• หนวยการเรียนรูท ี่ 1 ขอมูลนารู บทที่ 1 เรียนรูขอมูล บทที่ 2 แหลงขอมูลนารู

เสร�ม

11

• หนวยการเรียนรูท ี่ 1 ขอมูลนารู บทที่ 2 แหลงขอมูลนารู

• หนวยการเรียนรูท ี่ 2 คอมพิวเตอรนา เรียน บทที่ 1 เรียนรูอุปกรณ คอมพิวเตอร บทที่ 2 การใชงาน คอมพิวเตอร บทที่ 3 การดูแลรักษา เครื่องคอมพิวเตอร

คูม อื ครู


คําอธิบายรายวิชา รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ชั้นประถมศึกษาปที่ 2 รหัสวิชา ง…………………………………

เสร�ม

12

กลุมสาระการเรียนรู การงานอาชีพและเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 1-2 เวลา 15 ชั่วโมง/ป

ศึกษา รวบรวม และอธิบายเกี่ยวกับขอมูลและการรวบรวมขอมูลจากแหลงการเรียนรูที่นาสนใจตาม ประเภทของแหลงขอมูล โดยบอกประโยชนและเก็บรักษาแหลงขอมูล เพื่อนํามาใชใหเกิดประโยชนได ศึกษาและอธิบายชื่อและหนาที่ของอุปกรณที่เปนสวนประกอบหลัก หลักการทํางานเบื้องตนของ คอมพิวเตอร ใชกระบวนการคิดวิเคราะห เพื่อสรุปประโยชนของระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร เพื่อการใชงาน คอมพิวเตอรเบื้องตน และดูแลรักษาเครื่องคอมพิวเตอรอยางถูกวิธี โดยใชกระบวนการการทํางาน กระบวนการปฏิบตั ิ กระบวนการคิดวิเคราะห และกระบวนการทํางานกลมุ เพื่อใหเกิดความรู และใชกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบคนขอมูลการเรียนรู การสื่อสาร มีความสามารถในการตัดสินใจ มีจริยธรรม คุณธรรม และคานิยมที่เหมาะสม ตัวชี้วัด ง 3.1

ป.2/1

ป.2/2

ป.2/3 รวม 3 ตัวชี้วัด

คูม อื ครู


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹

à·¤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·ÈáÅСÒÃÊ×èÍÊÒà ».ò ªÑé¹»ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè ò

¡ÅØ‹ÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ¡ÒçҹÍÒªÕ¾áÅÐà·¤â¹âÅÂÕ µÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ

¼ÙŒàÃÕºàÃÕ§ ¹Ò§¼¡ÒÁÒÈ ºØÞà¼×Í¡ ¼ÙŒµÃǨ

¹Ò§¾ÃóÇÅÕ ©ÔÁ´Í¹·Í§ ¹Ò§ÍÒ·ÔµÂÒ ªíÒ¹Òި، ¹Ò§ÊÒÇÇÕÃÐÇÃó ÇÕÃо§É

ºÃóҸԡÒà ¹Ò¹ѵµÔÇѲ¹ ÈÃÕºØÉÂ

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè õ

ʧǹÅÔ¢ÊÔ·¸ÔìµÒÁ¾ÃÐÃÒªºÑÞÞѵÔ

ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ ñòñ÷ðñù

¤Œ¹¤ÇÒÁÃÙŒ¢ÂÒ¤ÇÒÁ¤Ô´¨Ò¡ ¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè ò ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ ñòô÷ðóö

EB GUIDE

ที่พิมพกํากับหัวขอสําคัญในหนังสือเรียนหลักสูตรใหม ชั้น ป.๔ ขึ้นไป ผาน www.aksorn.com ไปยังแหลงความรูทั่วไทย-ทั่วโลก

( ดูแผนผังความคิดฯ ไดทปี่ กหลังดานใน)


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Explain

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

คําชี้แจงในการใชสื่อ ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ à·¤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·ÈáÅСÒÃÊ×èÍÊÒà ».ò àÅ‹Á¹Õé ÀÒÂã¹àÅ‹Á ¹í Ò àʹ͡ÒÃ¨Ñ ´ ¡ÒÃàÃÕ Â ¹¡ÒÃÊ͹໚ ¹ ˹‹ Ç Â¡ÒÃàÃÕ Â ¹ÃÙŒ ¤ ú¶Œ Ç ¹µÒÁÁҵðҹ µÑǪÕéÇÑ´ªÑé¹»‚ áÅÐÊÒÃСÒÃàÃÕ¹Ãٌ᡹¡ÅÒ§ â´Â์¹¡ÒÃÍ͡Ẻ¡Ô¨¡ÃÃÁãËŒÊÑÁ¾Ñ¹¸ ¡Ñº¸ÃÃÁªÒµÔ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ¢Í§áµ‹ÅСÅØ‹ÁÊÒÃÐ áÅФÇÒÁʹ㨢ͧ¼ÙŒàÃÕ¹ᵋÅФ¹ เปาหมายการเรียนรู

สาระสําคัญ

กําหนดระดับความรูความสามารถ ของผูเรียนเมื่อเรียนจบหนวย

แกนความรูที่เปนความเขาใจคงทน ติดตัวผูเรียน

ñ ขอมูลนารู

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

º··Õè

เรียนรูขอมูล

เปาหมายการเรียนรูประจําหนวยที่ ๑

¡Ô¨¡ÃÃÁ¹ÓÊÙ ¨¡ÃÃÁ¹ÓÊÙ‹¡ÒÃàÃÕ¹

เมื่อเรียนจบหนวยน�้ นักเรียนจะมีความรูความสามารถตอไปน�้ ๑. บอกประโยชนของขอมูล และรวบรวมขอมูลที่สนใจจากแหลง ขอมูลตางๆ ที่เชื่อถือได (มฐ. ง ๓.๑ ป.๒/๑) ๒. บอกประโยชนและการรักษาแหลงขอมูล (มฐ. ง ๓.๑ ป.๒/๒)

ñ

สาระสําคัญ ขอมูล เปนเรื่องราว หรือขอเท็จจริงเกี่ยวกับคน สัตว สิ�งของ สถานที่ หรือสิ�งตางๆ ขอมูลแตละประเภท มีประโยชนแตกตางกันออกไป ซึง� เราสามารถนําขอมูล เหลานั้นมาใชประโยชนในชีวิตประจําวันได

? ¨Ò¡ÀÒ¾ ÁÕ¢ŒÍÁÙÅÍÐäúŒÒ§ áÅТŒÍÁÙŹÑ鹨Ѵ໚¹¢ŒÍÁÙÅ»ÃÐàÀ·ã´

¡Ô¨¡ÃÃÁ¹ÓÊÙ‹¡ÒÃàÃÕ¹ นําเขาสูบทเรียนใชกระตุนความสนใจ และวัดประเมินผลกอนเรียน


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล

¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ

เนือ้ หา ครบตามหลักสูตรแกนกลางฯ พ.ศ. ๒๕๕๑ นําเสนอเหมาะสมกับการเรียน การสอนในแตละระดับชั้น

มอบหมายใหผูเรียนฝกปฏิบัติ เพื่อพัฒนาความรูและทักษะประจําหนวย

¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ò

๑ รูจักคอมพิวเตอร

คอมพิวเตอรเปนเครือ่ งมือที่ใชในการคํานวณ และจดจําขอมูล จํานวนมาก ในปจจุบนั มีการใชคอมพิวเตอรกนั อยาง แพรหลาย เครื่องคอมพิวเตอร โดยทั่ ว ไปที่ เ ราใช ง านกั น ที่ บ  า น ที่ โรงเรียน หรือที่สํานักงาน เรียกวา ไมโครคอมพิวเตอร แบงไดเปน ๒ แบบ ไดแก เครื่องคอมพิวเตอรแบบตั้งโตะ เหมาะกับการติดตั้งใชงานอยูกับที่ แบบตั้งโตะ และแบบพกพา เน็ตบุก

๑. อานคําถามที่กําหนด แลวบอกวาควรรวบรวมขอมูลโดยวิธีการใด จากแหลง ขอมูลใด

๑) ด.ญ. สุมาลี จะขอยืมหนังสือจากหองสมุดไปอานที่บานไดกี่วัน ๒) ถาตองการสงจดหมายไปหาคุณปู ตองติดแสตมปราคากี่บาท ๓) อาการแพยาเปนอยางไร ๒. ดูภาพ แลวรวมกันบอกวา เด็กในภาพรักษาแหลงขอมูลเหมาะสมหรือไม เพราะเหตุใด และถาปฏิบัติไมเหมาะสม ควรแกไขอยางไร ๑) ๒) ๓)

พีดีเอ

โนตบุก

แท็บเล็ต

เครื่องคอมพิวเตอรแบบพกพา สามารถนําไปใชงานในที่ตางๆ ไดสะดวก

à·¤â¹âÅÂÕ¹‹ÒÃÙŒ

¢ÂÒ¤ÇÒÁÃÙŒ ÊÙ¡‹ ÒäԴ

คอมพิวเตอรแบบพกพาทีม่ ลี กั ษณะเหมือนสมุดบันทึก สวนใหญมกั เรียกตามลักษณะของ รูปลักษณวา คอมพิวเตอรโนตบุก

นักเรียนมีวิธีการรักษาแหลงขอมูลอยางไรบาง และถาไมรักษาแหลงขอมูลนั้น จะเกิดผลเสียอยางไร

๒๓

à·¤â¹âÅÂÕ¹‹ÒÃÙŒ สาระความรูเพิ่มเติมสําหรับนักเรียน

๒๐

¢ÂÒ¤ÇÒÁÃÙŒ ÊÙ¡‹ ÒäԴ

คําถามกระตุนเพื่อใหผูเรียน ใชทักษะการคิดวิเคราะหตอยอดความรู ที่ไดในบทเรียน

Evaluate


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

สารบั ญ

ห น ว ย

ขอมูลนารู

คอมพิวเตอรนาเรียน

๒๑

บทที่ ๑ เรียนรูอุปกรณคอมพิวเตอร บทที่ ๒ การใชงานคอมพิวเตอร บทที่ ๓ การดูแลรักษาเครื่องคอมพิวเตอร

๒๒ ๓๓ ๕๑

การเรียนรูที่

บทที่ ๑ เรียนรูขอมูล บทที่ ๒ แหลงขอมูลนารู ห น ว ย การเรียนรูที่

บรรณานุกรม

๑ ๒ ๙

๖๐


กระตุน้ ความสนใจ กระตุEngage ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

ñ ขอมูลนารู

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

เป้าหมายการเรียนรู้ประจ�าหน่วยที่ ๑ เมื่อเรียนจบหน่วยน�้ นักเรียนจะมีความรู้ความสามารถต่อไปน�้ ๑. บอกประโยชน์ของข้อมูล และรวบรวมข้อมูลที่สนใจจากแหล่ง ข้อมูลต่างๆ ที่เชื่อถือได้ (มฐ. ง ๓.๑ ป.๒/๑) ๒. บอกประโยชน์และการรักษาแหล่งข้อมูล (มฐ. ง ๓.๑ ป.๒/๒)

กระตุน้ ความสนใจ

Engage

1. ครูนําสิ่งของ 2 - 3 ชนิด เชน ดอกมะลิ ฟุตบอล สม แทมบูรีน เปนตน มาใหนักเรียน สํารวจโดยใชประสาทสัมผัสทั้ง 5 2. ใหนักเรียนรวมกันบอกรายละเอียดของสิ่งของ โดยครูเขียนตามทีน่ กั เรียนบอกไวบนกระดานดํา 3. ครูสนทนาซักถามนักเรียนวา นักเรียนคิดวา รายละเอียดบนกระดานดํานี้ เปนขอมูลหรือไม เพราะอะไร 4. ใหนกั เรียนดูภาพ หนา 1 แลวรวมกันสนทนาวา • บุคคลในภาพกําลังทําอะไร และเปนการ รับรูขอมูลประเภทใด (แนวตอบ - เด็กโทรศัพท ไดรับขอมูลเสียง - เด็กยืนอานปายประกาศ ไดรับขอมูล ตัวอักขระ - เด็กกินขนม ไดรับขอมูลรสชาติ - เด็กเลนคอมพิวเตอร ไดรับขอมูลภาพ ตัวอักขระ และเสียง - ตายายฟงวิทยุ ไดรับขอมูลเสียง - ครอบครัวกําลังคุยกัน ไดรับขอมูลเสียง)

เกร็ดแนะครู ในหนวยการเรียนรูที่ 1 มีเนื้อหา ดังนี้ • ขอมูล • ประโยชนของขอมูล • แหลงขอมูล • การรวบรวมขอมูล • ประโยชนของแหลงขอมูล ซึ่งในการเรียนเรื่องขอมูลนี้ ครูควรพานักเรียนไปทัศนศึกษาหรือศึกษาขอมูล จากแหลงขอมูลจริง เพื่อใหนักเรียนเกิดทักษะ และสามารถรวบรวมขอมูลไดอยาง ถูกตองและเหมาะสม

คู่มือครู

1


กระตุน้ ความสนใจ กระตุEngage ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

เปาหมายการเรียนรู

บอกประโยชนของขอมูล และรวบรวมขอมูล ที่สนใจจากแหลงขอมูลตางๆ ที่เชื่อถือได (ง 3.1 ป.2/1)

º··Õè

เรียนรูขอมูล

สมรรถนะของผูเรียน 1. 2. 3. 4.

ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการใชเทคโนโลยี ความสามารถในการคิด ความสามารถในการใชทักษะชีวิต

¡Ô¨¡ÃÃÁ¹ÓÊÙ‹¡ÒÃàÃÕ¹

ñ

สาระส�าคัญ ข้อมูล เป็นเรื่องราว หรือข้อเท็จจริงเกี่ยวกับคน สัตว์ สิ�งของ สถานที่ หรือสิ�งต่างๆ ข้อมูลแต่ละประเภท มีประโยชน์แตกต่างกันออกไป ซึง� เราสามารถน�าข้อมูล เหล่านั้นมาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ�าวันได้

คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. ใฝเรียนรู 2. มุงมั่นในการทํางาน

กระตุน้ ความสนใจ

Engage

ใหนักเรียนดูภาพ หนา 2 แลวชวยกันบอกวา • สิ่งใดเปนแหลงขอมูลบาง (ตอบ หนังสือพิมพ ดอกไม พอแม) • แหลงขอมูลนั้น ใหขอมูลอะไรบาง และขอมูลนั้นเปนขอมูลประเภทใด (แนวตอบ - หนังสือพิมพ ใหขอ มูลขาวสารตางๆ ความรู ความบันเทิง จัดเปนขอมูลตัวอักขระ ภาพ และตัวเลข - ดอกไม ใหขอมูลเกี่ยวกับรูปราง ลักษณะ ของดอกไมนั้นๆ จัดเปนขอมูลภาพ - พอแม ใหขอมูลความรูตางๆ คําสั่งสอน จัดเปนขอมูลเสียง)

? ¨Ò¡ÀÒ¾ ÁÕ¢ŒÍÁÙÅÍÐäúŒÒ§ áÅТŒÍÁÙŹÑ鹨Ѵ໚¹¢ŒÍÁÙÅ»ÃÐàÀ·ã´

เกร็ดแนะครู ครูจัดกระบวนการเรียนรูโดยการใหนักเรียนปฏิบัติ ดังนี้ • วิเคราะหจากภาพและประเด็นคําถามเกี่ยวกับประเภทของขอมูล • รวมกันอภิปรายเกี่ยวกับประโยชนของขอมูล จนเกิดเปนความรูความเขาใจวา ขอมูลแตละประเภทมีประโยชนแตกตาง กันออกไป เราจึงควรเลือกใชประโยชนใหเหมาะสมกับความตองการ และใหเกิด ประโยชนสูงสุด

ขอสอบเนนการคิด

ขอใดเปนการไดรับขอมูลเสียงเพียงอยางเดียว ก. ฟงขาวจากวิทยุ ข. ดูสารคดีจากโทรทัศน ค. ดูการตูนจากเว็บไซตในคอมพิวเตอร ง. อานและดูขั้นตอนการปลูกพืชจากหนังสือ วิเคราะหคําตอบ ก. ไดรับขอมูลเสียง ข. ไดรับขอมูลภาพ ขอมูลเสียง และขอมูลตัวอักขระ ค. ไดรบั ขอมูลภาพ ขอมูลเสียง และขอมูลตัวอักขระ ง. ไดรับขอมูลภาพ และขอมูลตัวอักขระ ดังนั้น ขอ ก. จึงเปนคําตอบ

ที่ถูก

2

คู่มือครู


กระตุ้นความสนใจ Engage

ส�ารวจค้นหา ส�ารวจค้ Exploreนหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

ส�ารวจค้นหา

Explore

1. ครูสนทนาซักถามนักเรียนวา • ในแตละวันนักเรียนรับรูขอมูลดวยวิธีใดบาง (แนวตอบ ขึ้นอยูกับคําตอบของนักเรียน แตละคน) • ขอมูลเหลานั้นจัดเปนขอมูลประเภทใดบาง (แนวตอบ ขึ้นอยูกับคําตอบของนักเรียน แตละคน) 2. ใหนักเรียนแบงเปน 4 กลุม แลวใหแตละกลุม รวมกันคิดวา ขอมูลแตละประเภทมีอะไรบาง โดยใหยกตัวอยางขอมูลทีไ่ ดรบั ในชีวติ ประจําวัน กลุมที่ 1 ขอมูลภาพ กลุมที่ 2 ขอมูลอักขระ กลุมที่ 3 ขอมูลตัวเลข กลุมที่ 4 ขอมูลอื่นๆ เชน ขอมูลเสียง ขอมูลกลิ่น

๑ ข้อมูล

๑. ความหมายของข้อมูล ในชีวิตประจ�าวัน เราสามารถรับรู้สิ่งต่างๆ ได้โดยการฟัง อ่าน ดู ชิมรสชาติ ดมกลิ่น หรือ5สัมผัส ผ่านทางอวัยวะรับสัมผัส 1 2 3 4 ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น และผิ ผิวหนัง ซึ่งสิ่งต่างๆ ที่เรารับรู้ได้เหล่านี้ เรียกว่า ข้อมูล ๒. ประเภทของข้อมูล ข้อมูลแบ่งออกเป็น ๔ ประเภท ดังนี้ ๑) ข้อมูลภาพ หมายถึง ข้อมูลที่เป็นภาพในลักษณะต่างๆ ที่เรามองเห็นได้ อาจเป็นภาพนิ่ง เช่น ภาพถ่าย ภาพวาด เป็นต้น หรือภาพเคลื่อนไหว เช่น ภาพยนตร์ ภาพจากโทรทัศน์ เป็นต้น

ภาพถ่ายครอบครัว จัดเป็นภาพนิ่ง ที่ให้ข้อมูลเรื่องราวของครอบครัว

ขอสอบเนนการคิด

บัวลอยถวยนีม้ รี สหวานกลมกลอม จากขอความ มีการใชอวัยวะรับสัมผัส ในขอใด ก. จมูก ข. ลิ้น ค. ผิวหนัง ง. ตา วิเคราะหคําตอบ การรับรูรสหวานของบัวลอยแสดงวาเกิดจากการชิม รสชาติ ซึ่งอวัยวะรับสัมผัสที่ใชในการชิมรสชาติ คือ ลิ้น ดังนั้น ขอ ข.

จึงเปนคําตอบที่ถูก

นักเรียนควรรู 1 ตา เปนอวัยวะรับความรูสึกเกี่ยวกับการมองเห็น ประกอบดวยลูกตา แกวตา หรือเลนสตา เปลือกตา และตอมนํ้าตา 2 หู เปนอวัยวะรับความรูสึกเกี่ยวกับการไดยิน แบงออกเปน 3 สวน คือ หูชั้นนอก หูชั้นกลาง และหูชั้นใน 3 จมูก เปนอวัยวะรับความรูสึกเกี่ยวกับกลิ่น ซึ่งมีเซลลรับกลิ่นอยูที่ผนังดานบน ของชองจมูก และสงสัญญาณตอไปยังสมอง 4 ลิ้น เปนอวัยวะรับรส มีตัวรับรสอยูที่ปุมรับรส ซึ่งฝงอยูบนเยื่อบุของลิ้น เชน ปลายลิ้นรับรสหวาน เปนตน และตัวรับรสจะสงสัญญาณตอไปยังสมอง 5 ผิวหนัง เปนอวัยวะรับสัมผัสโดยตรง เชน ความรอน ความแข็ง เปนตน ซึ่งความรูสึกตางๆ จะถูกสงตอไปตามเสนประสาทสูสมอง

คู่มือครู

3


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engage

Explore

อธิบายความรู้

อธิบายความรู้ อธิบExplain ายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวา นักเรียนคิดวา เราสามารถรับรูขอมูลตางๆ ไดอยางไร และขอมูลที่ไดแบงไดกี่ประเภท อะไรบาง 2. ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา ขอมูล คือ เรื่องราวสิ่งตางๆ ที่เราสามารถรับรูไดโดย ผานอวัยวะรับสัมผัสทั้ง 5 ไดแก • การดู ผานทางตา • การฟง ผานทางหู • การดมกลิ่น ผานทางจมูก • การชิมรสชาติ ผานทางลิ้น • การสัมผัส ผานทางผิวหนัง 3. ใหนักเรียนอานขอมูลเรื่องความหมายของขอมูล และประเภทของขอมูล หนา 3 - 5 แลวรวมกัน สรุปใหไดวา ขอมูลแบงออกเปน 4 ประเภท ดังนี้ 1) ขอมูลภาพ 2) ขอมูลตัวอักขระ 3) ขอมูลตัวเลข 4) ขอมูลอื่นๆ

๒) ข้อมูลตัวอักขระ หมายถึง ข้อมูลที่เป็นตัวอักษร ไม่ว่า จะเป็นภาษาไทย ภาษาอืน่ ๆ เช่น ชือ่ -นามสกุล ป้ายประกาศ เป็นต้น ข้อมูลที่เป็นตัวเลขที่ไม่ใช้ในการค�านวณ เช่น หมายเลขโทรศัพท์1 และข้อมูลที่ประกอบด้ วยตัวอักษรและตัวเลข เช่น ทะเบียนบ้าน 2 ทะเบียนรถยนต์ เป็นต้น

ทะเบียนรถยนต์ และหมายเลขโทรศัพท์ จัดเป็นข้อมูลตัวอักษรและตัวเลขที่ไม่ใช้ในการค�านวณ

๑๓๕ เซนติเมตร

๒๘ กิโลกรัม ส่วนสูงหรือน�้าหนัก จัดเป็นข้อมูลตัวเลข เพราะสามารถน�าไปคิดค�านวณเปรียบเทียบกันได้

๓) ข้อมูลตัวเลข หมายถึง ข้อมูลต่างๆ ที่เป็นตัวเลข เช่น ตัวเลขไทย ๐ ถึง ๙ หรือตัวเลข ฮินดูอารบิก 0 ถึง 9 ข้อมูลตัวเลข เหล่านี้สามารถน�ามาใช้ในการ คิดค�านวณได้ เช่น จ�านวนเงิน คะแนนสอบของนักเรียน ราคา สินค้า น�้าหนัก ส่วนสูง เป็นต้น

4

นักเรียนควรรู 1 ทะเบียนบาน ทะเบียนบานฉบับปจจุบัน เรียกวา ทะเบียนบานฉบับสมุดพก มีลักษณะคลายสมุดเงินฝากธนาคาร 2 ทะเบียนรถยนต จําแนกตามประเภทการใชงานได เชน • ปายขาวตัวอักษรดํา เปนปายทะเบียนรถยนตนั่ง สวนบุคคลไมเกิน 7 ที่นั่ง เชน รถเกง เปนตน • ปายขาวตัวอักษรเขียว เปนปายทะเบียนรถบรรทุก สวนบุคคล เชน รถกระบะ เปนตน • ปายเหลืองตัวอักษรดํา เปนปายทะเบียนรถโดยสาร รับจาง เชน รถแท็กซี่ รถตู เปนตน

4

คู่มือครู

ขอสอบเนนการคิด

ขอใดจัดเปนขอมูลประเภทเดียวกับ หมายเลขโทรศัพท ก. ฝายสอบได 15 คะแนน ข. จอยสูง 130 เซนติเมตร ค. แกมอยูบานเลขที่ 15/3 ง. เสื้อราคา 150 บาท วิเคราะหคําตอบ หมายเลขโทรศัพทจดั เปนขอมูลตัวอักขระ ซึง่ เปนตัวเลข ที่ไมสามารถนําไปใชในการคํานวณได ก. คะแนนสอบ ข. สวนสูง ง. ราคา จัดเปนขอมูลตัวเลข ค. ทะเบียนบาน จัดเปนขอมูลตัวอักขระ เหมือนหมายเลขโทรศัพท ดังนั้น ขอ ค. จึงเปนคําตอบที่ถูก


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

Engage

Explore

Explain

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Expand าใจ ขยายความเข้

Evaluate ตรวจสอบผล

ขยายความเข้าใจ

Expand

1. ใหนกั เรียนสํารวจสูตบิ ตั รของตนเอง แลวบันทึก ขอมูลที่สํารวจพบลงในสมุด ตามหัวขอที่ กําหนดในกิจกรรมการเรียนรูท ี่ 1 หนา 5 2. ใหนักเรียนเขียนขอมูลสวนตัวของตนเอง ลงในสมุด ตามหัวขอที่กําหนด ดังนี้ • ชื่อ-นามสกุล • หมายเลขโทรศัพท • ชื่อเลน • ลักษณะนิสัย • วัน เดือน ปเกิด • นํ้าหนัก • ที่อยู • สวนสูง 3. ใหนักเรียนรวมกันวิเคราะหวา ขอมูลสวนตัว ของตนเอง มีขอมูลประเภทใดบาง

๔) ข้อมูลอื่นๆ เป็นข้อมูล1ที่ไม่ใช่ข้อมูลภาพ ข้อมูลตัวเลข ข้อมูลตัวอักขระ เช่น ข้อมูลรสชาติ ข้อมูลกลิ่น ข้อมูลเสียง ข้อมูลสี เป็นต้น

ตรวจสอบผล การดมสิ่งต่างๆ ท�าให้รู้ข้อมูลกลิ่น

2

Evaluate

1. ครูตรวจสอบความถูกตองและความเหมาะสม ในการบันทึกขอมูลจากสูติบัตร 2. ครูตรวจสอบความถูกตองและความเหมาะสม ในการบันทึกขอมูลสวนตัวของนักเรียน

การฟังเสียงต่างๆ ท�าให้รู้ข้อมูลเสียง

¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ ¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ñ ส�ารวจสูติบัตรของตนเอง แล้วบันทึกข้อมูลที่ส�ารวจพบลงในสมุดตามหั ตามหวข้อ ที่ก�าหนด

ข้อมูลที่พบ ได้แก่ ๑) เป็นข้อมูลประเภท ๒) ทึก น ั บ บ บ แ เป็นข้อมูลประเภท ตัวอยาง ๓) เป็นข้อมูลประเภท ๕

ขอสอบเนนการคิด

กุกและหญิงพูดคุยกันเกี่ยวกับวิชาที่ชอบเรียน จากขอมูล กุกและหญิง จะไดรับขอมูลประเภทใด ก. ขอมูลภาพ ข. ขอมูลเสียง ค. ขอมูลตัวเลข ง. ขอมูลตัวอักขระ วิเคราะหคําตอบ การพูดเปนการเปลงเสียงออกมา ซึ่งผูที่ไดรับฟงนั้น ก็จะไดรับขอมูลเสียง ดังนั้น ขอ ข. จึงเปนคําตอบที่ถูก

นักเรียนควรรู 1 รสชาติ ในตําราสมุนไพรไทยโบราณไดระบุรสชาติไว 9 ชนิด ไดแก 1. รสเปรี้ยว 2. รสหวาน 3. รสเค็ม 4. รสขม 5. รสฝาด 6. รสมัน 7. รสเผ็ดรอน 8. รสหอมเย็น 9. รสเมาเบื่อ (รสที่ทําใหเกิดอาการมึนงง) 2 การฟงเสียง ควรหลีกเลี่ยงการฟงเสียงที่ดังมากๆ เปนระยะเวลานาน เพราะอาจจะทําใหประสาทการรับฟงเสียงเสื่อมได ในปจจุบัน เด็กๆ มักชอบฟงเสียงโดยเสียบหูฟงตอจากอุปกรณตางๆ เชน โทรศัพทมือถือ MP3 MP4 ซึ่งหากเปดเสียงดังและฟงติดตอกันเปนเวลานานๆ อาจทําใหหูตึงได

คู่มือครู

5


กระตุนความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

Exploreนหา สํารวจค

สํารวจคนหา

Explore

ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวา ขอมูลที่นักเรียน ไดรับในแตละวัน ใหประโยชนกับนักเรียนอยางไร โดยครูจดบันทึกตามที่นักเรียนบอกบนกระดาน

อธิบายความรู

๒ ประโยชน์ของข้อมูล

ในชีวติ ประจ�าวันของเราสามารถรับรูข้ อ้ มูลต่างๆ ได้มากมาย เช่น ข้อมูลเสียง ข้อมูลภาพ เป็นต้น เมื่อเรารับข้อมูลต่างๆ เข้ามา เราสามารถน�าข้อมูลเหล่านั้นมาใช้ประโยชน์ได้ ข้อมูลมีประโยชน์ในด้านต่างๆ ดังนี้ ๑. ด้านการเรียนรู้ และการพัฒนาตนเอง เราสามารถใช้ข้อมูลที่ได้รับมาจากแหล่งข้อมูลต่างๆ เช่น วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ เป็นต้น ให้เป็นประโยชน์ต่อการเรียนรู้ ของเราได้ และใช้พัฒนาตนเองให้ฉลาดรอบรู้ได้อีกด้วย นอกจากนี้ ข้อมูลบางอย่างยังช่วยพัฒนาชุมชนและสังคมได้ 1เช่น ข้อมูลทาง โภชนาการ ช่วยให้คนในชุมชนรับประทานอาหารให้ถูกสุขลักษณะ เป็นต้น ๒. ด้านการสื่อสาร สาร เราสามารถใช้ข้อมูลที่มีในการสนทนา หรือสื่อสารกับผู้อื่น ตลอดจนแลกเปลีย่ นความคิดเห็นได้ เช่น เมือ่ เราทราบข้อมูลเรือ่ งกิจกรรมวันสุนทรภู ่ จึงน�าข้อมูล นั้นไปพูดคุยกั​ับเพื่อนในชั้นเรียน ครูมอบหมายให้ท�างานกลุ่ม สมาชิกในกลุ่มพูดคุยและ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นในการท�างาน

Explain

1. ครูเขียนหัวขอประโยชนจากขอมูลในดานตางๆ บนกระดาน ดังนี้ 1. ดานการเรียนรู และการพัฒนาตนเอง 2. ดานการสื่อสาร 3. ดานการตัดสินใจหรือแกไขปญหา 4. ดานการประกอบอาชีพ 2. ใหนักเรียนรวมกันบอกวา ประโยชนที่นักเรียน ไดรับที่บอกใหครูเขียนบนกระดานในขั้นสํารวจ จัดอยูในประโยชนดานใดบาง 3. ครูอธิบายขอมูลเพิ่มเติมวา ในชีวิตประจําวัน ของเราสามารถรับรูขอมูลตางๆ ไดมากมาย เมื่อเรารับขอมูลมาแลว เราสามารถนําขอมูล เหลานั้นมาใชประโยชนในดานตางๆ ได 4. ใหนักเรียนอานขอมูลเรื่องประโยชนของขอมูล ในหนา 6 - 8 แลวรวมกันสรุป

à·¤â¹âÅÂÕ¹‹ÒÃÙŒ

ในการสนทนาหรือสื่อสารกับผู้อื่น ตลอดจนแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เราควรใช้ค�าพูด ที่สุภาพ อ่อนโยน เพื่อให้การสื่อสารนั้นเป็นไปอย่างราบรื่น

นักเรียนควรรู 1 รับประทานอาหาร การรับประทานอาหารใหถูกสุขลักษณะ สามารถปฏิบัติได ดังนี้ 1) กินอาหารใหครบ 5 หมู และในแตละหมูใหมีความหลากหลาย 2) กินขาวเปนอาหารหลัก หรือกินสลับกับอาหารประเภทแปงบางในบางมื้อ 3) กินพืชผักและกินผลไมเปนประจําทุกวัน 4) กินปลา เนื้อสัตวไมติดมัน ไข และถั่วเมล็ดแหง เปนประจํา 5) ดื่มนมใหเหมาะสมตามวัย 6) กินอาหารที่มีไขมันแตพอควร 7) หลีกเลี่ยงการกินอาหารรสจัด เชน หวานจัด เค็มจัด เปรี้ยวจัด 8) กินอาหารที่สะอาดปราศจากการปนเปอนสารพิษ 9) งดหรือลดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลทุกชนิด

6

คูมือครู

ขอสอบเนนการคิด

ขอใดเปนการใชประโยชนในดานการเรียนรู และพัฒนาตนเอง ก. กุยรับฟงการสั่งการบานจากครู แลวมาบอกเพื่อนๆ ในหอง ข. ทินนําความรูที่ไดไปปลูกผักใหไดผลผลิตที่ดี เพื่อนําไปขายได ค. กอยอานขาวบันเทิงจากหนังสือพิมพ แลวนําไปเลาใหเพื่อนๆ ฟง ง. โอฟงเพลงภาษาอังกฤษ แลวฝกแปลเนื้อเพลงเปนภาษาไทย วิเคราะหคําตอบ การที่โอฝกแปลเนื้อเพลงเปนภาษาไทย เปนการฝกฝน ตนเองใหเกิดความรูและเพิ่มทักษะดานการใชภาษาของตนเอง ซึ่งทําให เกิดการเรียนรู และนําความรูนั้นมาพัฒนาตนเองตอไปได ดังนั้น ขอ ง.

จึงเปนคําตอบที่ถูก


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand าใจ ขยายความเข

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

ขยายความเขาใจ

๓. ด้านการตัดสินใจหรือแก้ไขปัญหา ก่อนที่เราจะตัดสินใจท�าสิ่งต่างๆ หรือแก้ไขปัญหา เราจ�าเป็น ต้องทราบข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เพื่อช่วยให้ตัดสินใจหรือแก้ไขปัญหาได้ ถูกต้องและเหมาะสม เช่น 350 เมือ่ ทราบผลสอบว่า 290 เราได้คะแนนน้อย เราควรขยัน และตั้งใจเรียนให้มากขึ้น เมื่อทราบราคาขาย สิ น ค้ า ที่ เ หมื อ นกั น ของร้ า นค้ า ทั้งสองร้าน ท�าให้ตัดสินใจได้ว่า ควรซือ้ สินค้าจากร้านทีข่ ายถูกกว่า เป็นต้น การทราบข้อมูลราคาสินค้า ท�าให้ตัดสินใจ

1. ใหนักเรียนดูภาพในกิจกรรมการเรียนรูที่ 2 หนา 8 แลวเขียนตอบคําถามลงในสมุด 2. ใหนักเรียนอานขอความที่กําหนดในกิจกรรม รวบยอดที่ 1.1 ขอ 2 จากแบบวัดฯ เทคโนโลยี สารสนเทศ ป.2 แลวจําแนกวาเปนประโยชน ของขอมูลในดานใด ✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ เทคโนโลยีฯ ป.2 กิจกรรมรวบยอดที่ 1.1 แบบประเมินตัวช�้วัด ง 3.1 ป.2/1

๒ อานขอความที่กําหนด จากนั้นจําแนกวาเปนประโยชนของขอมูลในดานใด ฟงขาวจากวิทยุ

ประชุมกลุม เพื่อเตรียมจัดงานวันภาษาไทย

อานบทความเรื่อง การสรางรายไดเพิ่ม

ทําขอสอบวิชาคณิตศาสตร ไดคะแนนนอย จึงขยันเรียนมากขึ้น

คนควาขอมูลจากอินเทอรเน็ต เพื่อนํามาเขียนรายงาน ฟงขาวจากวิทยุ ๑) ดานการเรียนรูและการพัฒนาตนเอง ..................................................................................... คนควาขอมูลจากอินเทอรเน็ต เพื่อนํามาเขียนรายงาน และ .............................................................................................................................................................................. ๒) ดานการสื่อสารกับผูอื่น ตลอดจนการแสดงความคิดเห็น ................................ ประชุมกลุม เพื่อเตรียมจัดงานวันภาษาไทย ......................................................................................................................................................................................... ทําขอสอบวิชาคณิตศาสตร ๓) ดานการตัดสินใจหรือการแกไขปญหา .................................................................................. ไดคะแนนนอย จึงขยันเรียนมากขึ้น ......................................................................................................................................................................................... อานบทความเรื่องการสรางรายไดเพิ่ม ๔) ดานการประกอบอาชีพ ........................................................................................................................

1

เลือกซื้อสินค้าได้เหมาะสมและคุ้มค่า

๔. ด้านการประกอบอาชีพ เราสามารถน�าข้อมูลที่ได้รับจากแหล่งต่างๆ งๆ เช่น โทรทัศน์ วิทยุ หนังสือพิมพ์ อินเทอร์เน็ต เป็นต้น มาใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อ การประกอบอาชีพได้ เช่น เกษตรกรได้อา่ นหนังสือพิมพ์พบวิธกี �าจัดแมลงศัตรูพชื โดยไม่ใช้สารเคมี จึงน�าวิธีการที่ได้มาทดลองใช้เพื่อจะได้ไม่ต้องใช้ สารเคมีที่เป็นอันตรายต่อร่างกาย และได้ผลผลิตที่มีคุณภาพ

Expand

ฉบับ

เฉลย

......................................................................................................................................................................................... ตัวชี้วัด ง ๓.๑ ขอ ๑ ไดคะแนน คะแนนเต็ม

õ

เกณฑประเมินชิ้นงาน

การจําแนกขอมูล (๕ คะแนน) • จําแนกขอมูลไดถูกตอง ครบถวน ขอ ๑ • จําแนกขอมูลไดถูกตอง ครบถวน ขอ ๒ - ๔ ขอละ

๒ คะแนน ๑ คะแนน

3. ใหนักเรียนเขียนแผนผังความคิดสรุป ประโยชนของขอมูลลงในสมุด 4. ครูถามคําถามขยายความรูสูการคิด หนา 8 แลวใหนักเรียนชวยกันตอบ

7

ขอสอบเนนการคิด

ปุมสอบถามลูกคาเกี่ยวกับรสชาติขนม แลวนําไปปรับปรุงจนทําใหขนม ของปุมขายดี จากขอความแสดงวาปุมใชประโยชนจากขอมูลในดานใด ก. ดานการสื่อสาร ข. ดานการประกอบอาชีพ ค. ดานการตัดสินใจและแกไขปญหา ง. ดานการเรียนรูและการพัฒนาตนเอง วิเคราะหคําตอบ การสอบถามขอมูลจากลูกคา แลวนําขอมูลมาปรับปรุง ทําใหรสชาติขนมอรอยตรงตามความชื่นชอบของลูกคา ซึ่งเปนประโยชน กับการประกอบอาชีพของปุม ดังนั้น ขอ ข. จึงเปนคําตอบที่ถูก

เกร็ดแนะครู ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา การที่เรารูจักหาขอมูลและนําขอมูลนั้น มาใชประโยชนในดานการตัดสินใจ จะชวยใหเราตัดสินใจทําสิ่งตางๆ ไดอยาง เหมาะสม ซึ่งนักเรียนควรฝกใชขอมูลตางๆ มาชวยในดานการตัดสินใจ และแกไข ปญหาใหเปนนิสัย

นักเรียนควรรู 1 เลือกซื้อสินคา หลักในการเลือกซื้อสินคาและบริการ มีดังนี้ 1) เปรียบเทียบสินคาประเภทและชนิดเดียวกัน 2) คํานึงถึงความจําเปน คุณคา ราคา และคุณภาพของสินคา 3) พิจารณาราคาตอหนวยของสินคา 4) เปรียบเทียบรานคา เชน ความสะดวกของสถานที่ การใหบริการของผูขาย 5) การบริการหลังการขาย คูมือครู

7


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

Engage

Explore

Explain

Expand

ตรวจสอบผล

ตรวจสอบผล Evaluate ตรวจสอบผล Evaluate

Evaluate

ครูตรวจสอบผลความถูกตอง และเหมาะสม ของแผนผังความคิดสรุปประโยชนของขอมูล

พ่อค้าแม่ค้าทราบ ความต้องการของลูกค้าจากการ สอบถาม จึงน�าข้อมูลที่ได้จาก การสอบถามไปปรับปรุงสินค้า หรือบริการของตนให้ ต รงตาม ความต้องการของลูกค้า ส่งผลให้ ขายสินค้าหรือบริการได้ดียิ่งขึ้น ●

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู 1. บันทึกผลขอมูลจากสูติบัตร 2. บันทึกผลขอมูลสวนตัว 3. บันทึกผลแผนผังความคิดสรุปประโยชน ของขอมูล แม่ค้าทราบข้อมูลความชอบหรือความต้องการ ของลูกค้า ท�าให้ขายสินค้าได้ดี

¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ò ดูภาพต่อไปนี้ แล้วตอบค�าถามลงในสมุด ๑) ๒) ๓)

๔)

จากภาพ เป็นภาพของสิ่งใด สิ่งนี้ให้ข้อมูลประเภทใด ข้อมูลที่ได้จากสิ่งนี้มีประโยชน์อย่างไร ● ● ●

¢ÂÒ¤ÇÒÁÃÙŒ ÊÙ¡ÒÃ¤Ô ¡‹ ÒäԴ

การรับรู้ข้อมูลต่างๆ มีประโยชน์ต่อการด�าเนินชีวิตประจ�าวันของนักเรียน อย่างไรบ้าง

8

กิจกรรมสรางเสริม

เฉลย กิจกรรมการเรียนรูที่ 2 1. แนวตอบ ภาพ

ใหขอมูลประเภท

ประโยชนของขอมูล

ใหขอมูลตัวอักขระ ขอมูลภาพ ขอมูลตัวเลข

ใหขอมูลขาวสารดานความรู และความบันเทิง

ใหขอมูลภาพ ขอมูลเสียง

ใหขอมูลขาวสารดานความรู และความบันเทิง

ใหขอมูลรสชาติ

ใหขอมูลดานโภชนาการ

ใหขอมูลเสียง

ใหขอมูลขาวสารดานความรู และความบันเทิง

หนังสือพิมพ

โทรทัศน

อาหาร

วิทยุ

8

คู่มือครู

ใหนักเรียนยกตัวอยางการใชประโยชนของขอมูลในชีวิตประจําวันของ ตนเอง โดยเขียนอธิบายวาใชประโยชนจากขอมูลในดานใดและใชอยางไร พรอมกับวาดภาพประกอบ


กระตุน้ ความสนใจ กระตุEngage ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

º··Õè

แหลงขอมูลนารู

ò

เปาหมายการเรียนรู

1. รวบรวมขอมูลที่สนใจจากแหลงขอมูลตางๆ ที่เชื่อถือได (ง 3.1 ป.2/1) 2. บอกประโยชนและการรักษาแหลงขอมูล (ง 3.1 ป.2/2)

สาระส�าคัญ แหล่งข้อมูล เป็นที่มาของข้อมูล ซึ�งมีทั้งแหล่งข้อมูล ที่เป็นบุคคล และแหล่งข้อมูลที่ไม่ใช่บุคคล

สมรรถนะของผูเรียน 1. 2. 3. 4.

¡Ô¨¡ÃÃÁ¹ÓÊÙ‹¡ÒÃàÃÕ¹

ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการใชเทคโนโลยี ความสามารถในการคิด ความสามารถในการใชทักษะชีวิต

คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. ใฝเรียนรู 2. มุงมั่นในการทํางาน

กระตุน้ ความสนใจ

? ¨Ò¡ÀÒ¾ àÃÒÊÒÁÒöÃѺÃÙŒ¢ŒÍÁÙÅ ¨Ò¡áËÅ‹§¢ŒÍÁÙÅã´ä´ŒºŒÒ§

Engage

1. ใหนักเรียนดูภาพ หนา 9 แลวชวยกันบอกวา • จากภาพ สิ่งใดเปนแหลงขอมูลบาง และแหลงขอมูลนั้นมีประโยชนอยางไร (แนวตอบ - โทรทัศน ใหขอมูลขาวสารตางๆ และความบันเทิง - คอมพิวเตอร ใหขอมูลความรู ขาวสาร และความบันเทิง - หนังสือพิมพ ใหขอมูลขาวสาร เหตุการณปจจุบัน ความรู ความบันเทิง - วิทยุ ใหขอมูลขาว และความบันเทิง) 2. ครูชวนนักเรียนสนทนาวา นักเรียนมักจะใช ประโยชนจากแหลงขอมูลใดมากที่สุด และใช ประโยชนอยางไร

เกร็ดแนะครู ครูจัดกระบวนการเรียนรูโดยใหนักเรียนปฏิบัติ ดังนี้ • วิเคราะหจากภาพและประเด็นคําถามเกี่ยวกับแหลงขอมูล การรวบรวม แหลงขอมูล ประโยชนของแหลงขอมูล และการรักษาแหลงขอมูล • รวมกันอภิปรายเกี่ยวกับการรวบรวมขอมูล ประโยชนของแหลงขอมูล และการรักษาแหลงขอมูล • ฝกรวบรวมขอมูลที่สนใจ จนเกิดเปนความรูค วามเขาใจวา แหลงขอมูลมีมากมายหลายประเภท แหลงขอมูล แตละแหลงใหขอมูลที่แตกตางกันไป เมื่อไดขอมูลมาแลว เราควรปฏิบัติตามขั้นตอน การรวบรวมขอมูล เพื่อใหไดขอมูลที่ดีที่สุด ถูกตองที่สุด และนอกจากนี้เราควรดูแล รักษาแหลงขอมูล เพื่อใหมีไวใชคนหาขอมูลไดอีกยาวนาน

คู่มือครู

9


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engage

Exploreนหา ส�ารวจค้

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

ส�ารวจค้นหา

Explore

1. ครูนําบัตรภาพแหลงขอมูลตางๆ เชน สวนสัตว วัด นักดนตรี ดอกมะลิ หนังสือพิมพ เปนตน ใหนักเรียนดู แลวรวมกันสนทนาวา • บัตรภาพใดเปนแหลงขอมูลบาง และให ขอมูลอะไร • นอกจากแหลงขอมูลนี้แลว รอบตัวนักเรียน ยังมีแหลงขอมูลอะไรอีกบาง และใหขอมูล อะไร 2. ใหนักเรียนแบงกลุม แลวรวมกันอภิปรายวา ถาตองการขอมูลเรื่อง อาหารหลัก 5 หมู นักเรียนจะคนหาขอมูลจากแหลงขอมูลใด และดวยวิธีการอยางไร

๑ แหล่งข้อมูล

๑. ความหมายของแหล่งข้อมูล แหล่งข้อมูลเป็นแหล่งที่ ให้รายละเอี1 ยดต่างๆ ของข้อมูล อาจเป็นสถานที่ เช่น ห้องสมุด พิพิธภัณฑ์ อาจเป็นบุคคล เช่น ครู คุณหมอ นักวิทยาศาสตร์ หรืออาจเป็นสิ่งต่างๆ เช่น หนังสือพิมพ์ โทรทัศน์ วิทยุ เป็นต้น

พ่อแม่ และญาติผู้ใหญ่ เป็นแหล่งข้อมูลใกล้ตัว ที่เราสามารถสอบถามข้อมูลต่างๆ ได้

๒. ประเภทของแหล่งข้อมูล แหล่งข้อมูลทีน่ า� มาใช้ในการค้นหาข้อมูล ควรเป็นแหล่งข้อมูล ที่น่าเชื่อถือ มีการรวบรวมข้อมูลอย่างมีหลักเกณฑ์ มีเหตุผล และ มีการอ้างอิง เช่น การสอบถามจากผู้เชี่ยวชาญที่มปี ระสบการณ์ตรง และศึกษาในเรือ่ งนัน้ ๆ การค้นคว้าหรือสอบถามข้อมูลจากหน่วยงาน ราชการ เป็นต้น 10

เกร็ดแนะครู ครูอธิบายเพิม่ เติมใหนกั เรียนเขาใจวา ปจจุบนั คนนิยมสืบคนขอมูลจากอินเทอรเน็ต เพราะสามารถคนหาขอมูลไดรวดเร็วและสะดวก เพียงแคปลายนิ้วคลิกเทานั้น แตขอมูลที่ไดจากการสืบคนทางอินเทอรเน็ต ก็มีทั้งที่เชื่อถือได และเชื่อถือไมได ดังนั้นหากจะนําขอมูลที่ตองการไปใชงาน ตองเลือกใชขอมูลจากแหลงขอมูล ที่สามารถอางอิงได เชน ขอมูลจากหนวยงานราชการ หรือองคกรตางๆ

นักเรียนควรรู 1 พิพิธภัณฑ เปนแหลงขอมูลที่สําคัญ ซึ่งการเขาชม นักเรียนควรปฏิบัติตาม กฎระเบียบ เชน - ไมสงเสียงดังขณะเขาชม - ไมนําอาหารและเครื่องดื่มทุกชนิดเขาไปในพิพิธภัณฑ - ไมหยิบ จับ หรือเคลื่อนยายสิ่งของในพิพิธภัณฑ

10

คู่มือครู

ขอสอบเนนการคิด

เพราะเหตุใด ขณะเชาชมสิ่งของในพิพิธภันฑ จึงมีขอหามไมใหหยิบ จับ หรือเคลื่อนยายสิ่งของในพิพิธภัณฑ แนวตอบ การหยิบ จับ สิ่งของหรือวัตถุตางๆ ในพิพิธภัณฑ อาจทําให วัตถุนั้นๆ เกิดความเสียหายได เชน แตก หัก เปนรอย โดยเฉพาะวัตถุโบราณที่มีความเกาแก และเปราะบาง ซึ่งหากวัตถุนั้นเปนสิ่งของที่หายาก หรือมีอยูเพียงชิ้นเดียวเทานั้น แตหากเกิดความเสียหายจนไมสามารถ ซอมแซมได ก็จะทําใหสูญเสียวัตถุอันทรงคุณคาที่เปนขอมูลทาง ประวัติศาสตร และแหลงเรียนรูที่สําคัญไป


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engage

Explore

อธิบายความรู้ อธิบExplain ายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู้

Explain

1. ใหนักเรียนรวมกันสรุปวา แหลงขอมูลคืออะไร และการเลือกแหลงขอมูลควรเลือกอยางไร 2. ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา แหลงขอมูลเปนแหลงที่ใหรายละเอียดตางๆ ของขอมูล อาจเปนสถานที่ เชน พิพิธภัณฑ วัด อาจเปนบุคคล เชน พอ-แม ครู ตํารวจ หรืออาจเปนสิ่งตางๆ เชน คอมพิวเตอร ตนไม นาฬกา เปนตน ในการเลือกแหลงขอมูลที่จะนํามาใช คนหาขอมูลนั้น ควรเลือกแหลงขอมูลที่ นาเชื่อถือ มีการรวบรวมขอมูลอยางมี หลักเกณฑ มีเหตุผล และมีการอางอิง เชน การอานจากหนังสือที่มีการรวบรวม และตรวจสอบขอมูลแลว การทัศนศึกษา และสอบถามขอมูลจากเจาหนาที่พิพิธภัณฑ เปนตน 3. ใหนักเรียนชวยกันบอกแหลงขอมูลที่นาเชื่อถือ ตามความคิดของนักเรียน โดยครูเขียนตามที่ นักเรียนบอกบนกระดาน 4. ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา แหลงขอมูลแบงเปน 2 ประเภท คือ 1) แหลงขอมูลชั้นตน เปนแหลงขอมูลที่ได จากการเก็บรวบรวมขอมูลดวยตนเอง 2) แหลงขอมูลชั้นรอง เปนแหลงขอมูลที่ได จากการอาน การฟง หรือการดูขอมูลที่ผูอื่น รวบรวมไวแลว 5. ใหนักเรียนพิจารณาแหลงขอมูลบนกระดาน แลวรวมกันวิเคราะห และจําแนกวา แหลงขอมูลใดเปนแหลงขอมูลชั้นตน และแหลงขอมูลใดเปนแหลงขอมูลชั้นรอง

แหล่งข้อมูล แบ่งออกเป็น ๒ ประเภท ดังนี้ ๑) แหล่งข้อมูลชั้นต้น เป็นแหล่งข้อมูลที่ได้จากการเก็บ รวบรวม หรือการเก็บบันทึกจาก แหล่งข้อมูลโดยตรง เช่น การ สอบถามหรือสัมภาษณ์เจ้าของ ข้อมูลโดยตรง การเดินทางไปดู สถานที่จริง แล้วบันทึกข้อมูลไว้ เป็นต้น การสอบถามผู้อื่นในเรื่องที่เขาเกี่ยวข้องโดยตรง จะได้ข้อมูลที่เป็นข้อมูลชั้นต้นที่น่าเชื่อถือ

๒) แหล่งข้อมูลชั้นรอง เป็นแหล่งข้อมูลที่ได้จากการอ่าน เช่น หนังสือเรียน หนังสือพิมพ์ ได้จากการฟัง เช่น วิทยุ เป็นต้น หรือได้จากการดูข้อมูลที่มีผู้รวบรวมหรือบันทึกไว้แล้ว เช่น รายการ สารคดีของสถานีโทรทัศน์ นิทรรศการต่างๆ เป็นต้น

ห้องสมุด เป็นแหล่งข้อมูลที่มีประโยชน์และเหมาะกับเด็กในวัยเรียนอย่างยิ่ง

11

ขอสอบเนนการคิด

ขอใดเปนการใชขอมูลชั้นรอง ก. ตอมไปทัศนศึกษาที่อุทยานประวัติศาสตรสุโขทัย ข. เกดสอบถามแพทยเกี่ยวกับวิธีปองกันโรคมือ เทา ปาก ค. ตูอานบทสัมภาษณเจาของธุรกิจไกยางจากหนังสือพิมพ ง. เดือนสังเกตการเจริญเติบโตของตนมะลิที่ปลูกและจดบันทึก

วิเคราะหคําตอบ แหลงขอมูลชั้นรอง เปนแหลงขอมูลที่ไดจากการอาน การฟง การดูขอ มูลทีม่ ผี รู วบรวมหรือบันทึกไวแลว ซึง่ การอานบทสัมภาษณ จากหนังสือพิมพ ก็เปนการอานขอมูลที่ผูอื่นสืบคนขอมูล และรวบรวม มาแลว ดังนั้น ขอ ค. จึงเปนคําตอบที่ถูก

เกร็ดแนะครู ครูอาจแนะนําขอมูลเกี่ยวกับหองสมุด เชน การคนหาหนังสือในหองสมุด มารยาทการใชหองสมุด เปนตน เพื่อใหนักเรียนใชหองสมุดที่เปนแหลงขอมูล ไดอยางถูกตองและหมาะสม

บูรณาการอาเซียน ครูใหนักเรียนดูการตูนเกี่ยวกับอาเซียน ซึ่งเปนแหลงขอมูลชั้นรอง เพื่อให นักเรียนเกิดความรูและความเขาใจเกี่ยวกับอาเซียนมากยิ่งขึ้น โดยเขาเว็บไซต www.youtube.com แลวพิมพคําวา การตูนทองอาเซียนที่ชองคนหา จากนั้น จึงเลือกการตูนทองอาเซียน 1 - 5 ตามลําดับ

คู่มือครู

11


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engage

Explore

อธิบายความรู้

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ Expand าใจ ขยายความเข้

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบExplain ายความรู้

Explain

1. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวา ในชีวิตประจําวัน ของเรา สามารถหาขอมูลตางๆ ไดจากแหลงขอมูลที่ใกลตัว ไดแก 1) แหลงขอมูลที่เปนบุคคล 2) แหลงขอมูลที่ไมใชบุคคล จากนั้นใหนักเรียนชวยกันยกตัวแหลงขอมูล ทั้ง 2 ประเภทนี้ 2. ใหนักเรียนอานขอมูลเรื่องแหลงขอมูล หนา 10 - 12 แลวรวมกันสรุป

ขยายความเข้าใจ

๓. แหล่งข้อมูลที่อยู่ใกล้ตัว ในชีวติ ประจ�าวันของเรา สามารถหาข้อมูลต่างๆ ได้จากแหล่ง ข้อมูลที่อยู่ใกล้ตัว ซึ่งแบ่งได้ ๒ ประเภท ดังนี้ ๑) แหล่งข้อมูลทีเ่ ป็นบุคคล เช่น พ่อแม่ พี่น้อง ญาติ เพื่อน คุณครู เป็นต้น ซึ่งการรับรู้ข้อมูล จากแหล่งข้อมูลทีเ่ ป็นบุคคลจะใช้ วิธีการสอบถามและการฟัง

Expand

ใหนักเรียนเขียนแผนผังความคิดแสดงประเภท ของแหลงขอมูลในกิจกรรมรวบยอดที่ 1.2 ขอ 1 จากแบบวัดฯ เทคโนโลยีสารสนเทศฯ ป.2 ✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ เทคโนโลยีฯ ป.2 กิจกรรมรวบยอดที่ 1.2 แบบประเมินตัวช�้วัด ง 3.1 ป.2/1 แบบประเมินผลการเรียนรูตามตัวชี้วัด ประจําหนวยที่ ๑ บทที่ ๒ กิจกรรมรวบยอดที่ ๑.๒

การสอบถามข้อมูลจากผู้ปกครอง เป็นการหาข้อมูล จากแหล่งข้อมูลใกล้ตัวที่สะดวกและปลอดภัย

๒) แหล่งข้อมูลที่ไม่ใช่บุคคล อาจเป็นเอกสารต่างๆ เช่น หนังสือพิมพ์ หนังสือเล่ม เป็นต้น สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น โทรทัศน์ วิทยุ คอมพิวเตอร์ เป็นต้น ข้อมูลตัวอักขระ และข้อมูลภาพ

ข้อมูลตัวอักขระ ข้อมูลภาพ และข้อมูลเสียง

หนังสือ มีมีหลายประเภท บางประเภท ให้ความรู ้ เช่น หนังสือเรียน บางประเภท ให้ความบันเทิง เช่น หนังสือการ์ตูน หนังสือนิทาน เป็นต้น

คอมพิวเตอร์ ให้ข้อมูลหลากหลาย ประเภท เราสามารถค้นคว้าข้อมูลต่างๆ1 ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตไปยังเว็บไซต์ ได้อย่างไม่จ�ากัด

แบบประเมินตัวชี้วัด ง ๓.๑ ป.๒/๑ 

บอกประโยชนของขอมูลและรวบรวมขอมูลที่สนใจจากแหลงขอมูลตางๆ ที่เชื่อถือได

ชุดที่ ๑ ๑๕ คะแนน

๑ เขียนแผนผังความคิดแสดงประเภทของแหลงขอมูล

(ตัวอยางคําตอบ)

ประเภทของแหลงขอมูล ฉบับ

เฉลย

แหลงขอมูลชั้นตน .........................................................................................

แหลงขอมูลชั้นรอง .........................................................................................

ผูที่เกี่ยวของกับขอมูลโดยตรง .........................................................................................

· ·

พิพิธภัณฑ .........................................................................................

สถานที่ที่เกี่ยวของกับเหตุการณ .........................................................................................

หองสมุด .........................................................................................

โดยตรง .........................................................................................

· · ......................................................................................... · สวนสาธารณะ

ตัวชี้วัด ง ๓.๑ ขอ ๑ ไดคะแนน คะแนนเต็ม

õ

๒ เขียนอธิบายวิธีการรวบรวมขอมูลตามที่กําหนดมาพอเขาใจ

๑) วิธีการรวบรวมขอมูลโดยการสอบถาม ควรปฏิบัติ ดังนี้

๑. พูดใหชัดเจน ใชถอยคําสุภาพ ........................................................................................................................................................................................... ๒. ตั้งคําถามใหนาสนใจ ถามใหตรงประเด็น และจดบันทึกคําตอบที่ได ...........................................................................................................................................................................................

๒) วิธีรวบรวมขอมูลโดยการสังเกต ควรปฏิบัติ ดังนี้

๑. ตัง้ ใจสังเกต และมีจดุ มุง หมายทีแ่ นนอน ชัดเจน วาจะสังเกตอะไรบาง ........................................................................................................................................................................................... ๒. จดบันทึกขอมูลรายละเอียดทุกอยางที่พบในระหวางการสังเกต ........................................................................................................................................................................................... ตัวชี้วัด ง ๓.๑ ขอ ๑ ไดคะแนน คะแนนเต็ม

1๒

õ

๑๘

นักเรียนควรรู 1 เว็บไซต (Web site) เปนแหลงเก็บขอมูลเว็บเพจหลายๆ เว็บเพจ แลวรวบรวม เว็บเพจเหลานี้เขาดวยกัน เพื่อตั้งขึ้นเปนเว็บไซต โดยเว็บไซตนั้นจะตองมีที่อยู ที่ใชในการติดตอสื่อสาร เชน

ที่อยูเว็บไซต คือ www.aksorn.com

12

คู่มือครู

ขอสอบเนนการคิด

ถาตองการคนหาขอมูลที่หลากหลาย ทันสมัย และสามารถสืบคนขอมูล ไดทันที ควรหาขอมูลจากแหลงขอมูลใด ก. วิทยุ ข. เพื่อน ค. หองสมุด ง. คอมพิวเตอร วิเคราะหคําตอบ คอมพิวเตอรที่เชื่อมตอเครือขายอินเทอรเน็ต เปน แหลงขอมูลที่มีขอมูลหลากหลาย มีการปรับปรุงขอมูลอยูตลอดเวลา ซึ่งเราสามารถคนหาขอมูลไดทันทีที่เริ่มเชื่อมตอกับเครือขายอินเทอรเน็ต ดังนั้น ขอ ง. จึงเปนคําตอบที่ถูก


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Expand าใจ ขยายความเข

Evaluate ตรวจสอบผล

ขยายความเขาใจ

1. ใหนักเรียนอานขอความที่กําหนดในกิจกรรม การเรียนรูที่ 1 ขอ 1 หนา 13 แลวเขียน จําแนกขอมูลที่ไดรับ และแหลงขอมูล ลงในสมุด ตามตัวอยางตาราง 2. ใหนักเรียนอานสถานการณที่กําหนด ในกิจกรรมการเรียนรูที่ 1 ขอ 2 หนา 13 แลวเขียนตอบคําถามลงในสมุด

¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ñ ๑. อ่านข้อความที่ก�าหนด แล้วเขียนจ�าแนกข้อมูลที่ได้รับ และแหล่งข้อมูล ลงในสมุด ตามตัวอย่างตาราง ๑) อ่านหนังสือการ์ตูน ๒) เล่นเกมในคอมพิวเตอร์ ๓) ฟังเพลงจากวิทยุ ๔) ดูละครจากโทรทัศน์ ๕) ฟังคุณครูเล่านิทาน ๖) ดูข่าวจากโทรทัศน์ ๗) อ่านหนังสือพิมพ์ ๘) ไปเที่ยวสวนสัตว์กับคุณแม่ ข้อมูลที่ได้รับ

๒)

ตรวจสอบผล

Evaluate

1. ครูตรวจสอบความถูกตองในการจําแนกขอมูล และแหลงขอมูล 2. ครูตรวจสอบวานักเรียนบอกแหลงขอมูล ในการใชคนหาไดอยางถูกตอง และเหมาะสม

แหล่งข้อมูล

๑)

Expand

ันทึก

การบ ง า ร า ต าง

ตัวอย

๒. อ่านสถานการณ์ที่ก�าหนด แล้วตอบค�าถามลงในสมุด ๑) กุกต้องการทราบข้อมูลเกี่ยวกับการแข่งขันวิ่งผลัด กุก ควรจะหาข้อมูลจาก ๒) ตูต้องการทราบข้อมูลเกี่ยวกับหนังสือนิทานอีสป ตูควรจะหาข้อมูลจาก ๓) ออดต้องการทราบข้อมูลเกี่ยวกับวันส�าคัญทางศาสนา ออดควรจะหาข้อมูลจาก

? ? ?

1๓

ขอสอบเนนการคิด

ในการคนหาขอมูลดวยคอมพิวเตอร ควรคํานึงถึงสิ่งใดมากที่สุด ก. ความทันสมัยของขอมูล ข. ความนาเชื่อถือของขอมูล ค. ความรวดเร็วในการคนขอมูล ง. ความสะดวกในการสืบคนขอมูล

วิเคราะหคําตอบ ในการคนหาขอมูลดวยคอมพิวเตอร จากเครือขาย อินเทอรเน็ต ควรมีการตรวจสอบขอมูลกอนวามีความนาเชื่อถือมากเพียงใด เพราะขอมูลบางอยางที่สืบคนจากอินเทอรเน็ตอาจเชื่อถือไมได เนื่องจาก ผูที่ใหขอมูลนั้นอาจไมมีความรูจริง เราจึงควรตรวจสอบใหแนชัดกอนนํา ขอมูลมาใช ดังนั้น ขอ ข. จึงเปนคําตอบที่ถูก

เฉลย กิจกรรมการเรียนรูที่ 1 1. แนวตอบ 1) 2) 3) 4) 5) 6) 7) 8)

ขอมูลที่ไดรับ ขอมูลตัวอักขระและขอมูลภาพ ขอมูลภาพ ขอมูลตัวอักขระ และขอมูลเสียง ขอมูลเสียง ขอมูลภาพ และขอมูลเสียง ขอมูลเสียง ขอมูลภาพ ขอมูลตัวอักขระ และขอมูลเสียง ขอมูลภาพและขอมูลตัวอักขระ ขอมูลภาพ ขอมูลเสียง ขอมูลกลิ่น และขอมูลตัวอักขระ

แหลงขอมูล - หนังสือการตูน - คอมพิวเตอร -

วิทยุ โทรทัศน คุณครู โทรทัศน

- หนังสือพิมพ - สวนสัตว

2. แนวตอบ 1) อินเทอรเน็ต หองสมุด คุณครูพละ 2) อินเทอรเน็ต หองสมุด คุณครูบรรณารักษ 3) อินเทอรเน็ต หองสมุด คุณครูที่สอนวิชาสังคมฯ พระสงฆ คูมือครู

13


กระตุ้นความสนใจ Engage

ส�ารวจค้นหา Exploreนหา ส�ารวจค้

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

ส�ารวจค้นหา

Explore

1. ครูสนทนาซักถามนักเรียนวา ถาตองการคนหา ขอมูล นักเรียนมีวิธีการรวบรวม และจัดการ ขอมูลอยางไรบาง 2. ครูสุมเลือกนักเรียนที่รวบรวม และจัดการขอมูล อยางเปนขั้นตอน กับนักเรียนที่รวบรวมขอมูล และจัดการขอมูลไมเปนขั้นตอนออกมา แลวให นักเรียนชวยกันเปรียบเทียบวา ควรปฏิบัติตาม คนใด เพราะอะไร 3. ครูตั้งคําถามวา • จอยตองการขอมูลเกี่ยวกับลักษณะ และนิสัย ของแมว จอยจึงคอยเฝาดูพฤติกรรมของแมว ที่ตนเองเลี้ยงไว ในขณะที่แมวกําลังเลน กําลัง กิน และกําลังนอน แลวจดบันทึกไว นักเรียน คิดวา จอยรวบรวมขอมูลดวยวิธีใด (ตอบ รวบรวมขอมูลโดยการสังเกต) • ถานักเรียนตองการสืบคนขอมูลเรื่อง การเพาะเมล็ดโดยการสอบถาม นักเรียน ควรสอบถามจากบุคคลใด และใชวิธีอยางไร (แนวตอบ เชน เจาหนาที่เกษตรอําเภอ ครูที่ สอนวิชาเกษตร โดยการสนทนาซักถาม และ ใหเจาหนาที่เกษตรอําเภอ และครูสาธิตวิธี การเพาะเมล็ดใหดู แลวจดบันทึกขอมูล) • ถานักเรียนรวบรวมขอมูลที่ตองการจาก แหลงขอมูลตางๆ มาแลว นักเรียนควรนํา ขอมูลไปใชงานทันทีหรือไม เพราะอะไร (แนวตอบ ไมควร เพราะยังไมไดมีการ ตรวจสอบความถูกตองของขอมูล)

๒ การรวบรวมข้อมูล

การรวบรวมข้อมูล เป็นการสืบค้นข้อมูลที่ต้องการจากแหล่ง ข้อมูลต่างๆ มาเก็บรวบรวมไว้ ซึง่ ท�าได้โดยการสอบถาม การสังเกต หรือการอ่านจากข้อมูลที่มีผู้รวบรวมไว้แล้ว ÊÇÑÊ´Õ¤ÃѺ ¼Á¨ÐËÒ˹ѧÊ×Íà¡ÕèÂǡѺ...ä´Œ·Õèä˹¤ÃѺ

์ บรรณารักษ 1

ในกรณีที่ไม่รู้ชื่อหนังสือ สามารถขอข้อมูลหรือสอบถามจากคุณครูบรรณารักษ์ ได้

๑. วิธีการรวบรวมข้อมูล การรวบรวมข้อมูล มีวิธีการ ดังนี้ ๑) การรวบรวมข้อมูลโดย การสอบถาม การสอบถาม เป็ น การพู ด คุ ย ระหว่างบุคคล ๒ ฝ่าย อย่างมี จุดหมาย โดยฝ่ายทีต่ อ้ งการทราบ ข้อมูลเป็นผู้ถาม ผู้ให้ข้อมูลเป็น ฝ่ายตอบ แล้วผูถ้ ามก็จะจดบันทึก ข้อมูลที่ได้ การพูดคุยกับเพื่อน

เป็นการรวบรวมข้อมูลโดยการสอบถาม

14

นักเรียนควรรู 1 บรรณารักษ คือ ผูที่มีความรูในการจัดเก็บขอมูล สื่อและสิ่งพิมพตางๆ บรรณารักษจะทําหนาทีใ่ นหองสมุดสาธารณะ หองสมุดโรงเรียน หองสมุดมหาวิทยาลัย หรือหองสมุดในบริษัทและหนวยงานราชการตางๆ บรรณารักษมีหนาที่ในการชวยใหผูมารับบริการใหทราบขอเท็จจริง จัดหา สารสนเทศและคนหาสารสนเทศประเภทตางๆ เชน หนังสือ วารสาร นิตยสาร เว็บไซต และสารสนเทศอื่นๆ ที่ผูใชตองการ

14

คู่มือครู

ขอสอบเนนการคิด

ใครสอบถามขอมูลไดเหมาะสมที่สุด ก. อนถามแทรกทันทีที่ตนเองสงสัย ข. เดนจดบันทึกเฉพาะคําตอบที่ฟงทัน ค. ตั้มถามตรงประเด็นที่ตองการขอมูล ง. ขวัญถามดวยนํ้าเสียงหนักแนน และดุดัน วิเคราะหคําตอบ การสอบถามขอมูลควรพูดดวยคําที่สุภาพ ตั้งคําถาม ที่นาสนใจ ตรงประเด็นที่ตองการ และควรจดบันทึกคําตอบใหครบถวน ดังนั้น ขอ ค. จึงเปนคําตอบที่ถูก


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

Explain

1. ใหนักเรียนรวมกันสรุปวา การรวบรวมขอมูล มีวธิ อี ยางไร และการจัดการขอมูลทีร่ วบรวมได ควรปฏิบัติอยางไร 2. ใหนกั เรียนอานขอมูลเรือ่ งวิธกี ารรวบรวมขอมูล หนา 14 - 16 แลวรวมกันสรุป 3. ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา เมื่อไดขอมูลจากแหลงขอมูลตางๆ แลว ไมควรนําขอมูลมาใชงานทันที เพราะขอมูล ที่ไดมานั้นอาจเปนขอมูลที่จริงบาง เท็จบาง ดังนั้น เราจึงตองปฏิบัติตามขั้นตอน การจัดการขอมูลที่รวบรวมได เพื่อใหได ขอมูลที่ถูกตอง และขอมูลนั้นสามารถ นํามาใชประโยชนได

วิธีการสอบถามข้อมูล ผู้ถามควรปฏิบัติตน ดังนี้ (๑) พูดให้ชัดเจน ใช้ถ้อยค�าสุภาพ (๒) ตั้งค�าถามให้น่าสนใจ และถามให้ตรงประเด็น (๓) จดบันทึกค�าตอบที่ได้ให้ครบถ้1วน ๒) การรวบรวมข้อมูลโดยการสังเกต เกต เป็นการศึกษาให้ ทราบถึงลักษณะของคน สัตว์ พืช สถานที ่ หรือ สิ่งต่างๆ ที่ต้องการทราบข้อมูล แล้วจดบันทึก ข้อมูลที่สังเกตได้ การสังเกตสิ่งต่างๆ เพื่อรวบรวม ข้อมูล ผู้สังเกตควรปฏิบัติตน ดังนี้ (๑) ตั้งใจสังเกต โดยมีจุดมุ่งหมายที่แน่นอน และ ชัดเจนว่าจะสังเกตอะไรบ้าง (๒) จดบันทึกข้อมูล รายละเอียดทุกอย่างที่พบเห็นใน ระหว่างการสังเกต เพื่อป้องกัน การลืม สิ่งแวดล้อมต่างๆ ทางธรรมชาติ เป็นแหล่งข้อมูลที่น่าสังเกตและน่าศึกษา

à·¤â¹âÅÂÕ¹‹ÒÃÙŒ การสังเกตเป็นทักษะส�าคัญอย่างหนึ่ง ที่นักเรียนควรหมั่นฝกฝน เพราะจะช่วยท�าให้ เก็บรวบรวมข้อมูลได้ดียิ่งขึ้น และได้ข้อมูลที่ถูกต้องและสมบูรณ์

1๕

ขอสอบเนนการคิด

ขอใดกลาวไมถูกตองเกี่ยวกับการรวบรวมขอมูลโดยการสังเกต ก. มีจุดมุงหมายที่แนนอนวาจะสังเกตสิ่งใด ข. ไมควรใชเวลาสังเกตสิ่งตางๆ นานเกินไป ค. เปนการรวบรวมขอมูลโดยการมองและจดจําเทานั้น ง. ระหวางการสังเกตมีการจดบันทึกขอมูลอยางละเอียด

วิเคราะหคําตอบ ในการรวบรวมขอมูลโดยการสังเกต ควรตั้งใจสังเกต สิ่งที่สนใจ รวมถึงมีการจดบันทึกขอมูลสิ่งที่สังเกตอยางละเอียด เพื่อ ปองกันการหลงลืม เพราะการสังเกตและจดจําเพียงอยางเดียว อาจทําให เราหลงลืมขอมูลบางสวน และไดขอมูลที่ไมครบถวนสมบูรณ ดังนั้น ขอ ค.

จึงเปนคําตอบที่ถูก

เกร็ดแนะครู ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา การสอบถามโดยใชแบบสอบถามตางๆ ทีใ่ หผตู อบเขียนตอบ ก็เปนการรวบรวมขอมูลโดยการสอบถามอีกวิธีหนึ่ง ซึ่งการ ตั้งคําถามนั้น ควรเปนคําถามที่นาสนใจ ถามตรงประเด็น ไมทําลายชื่อเสียงของ ผูอ นื่ ใชถอ ยคําทีส่ ภุ าพ และควรสะกดคําใหถกู ตอง เพราะการเขียนคําผิด อาจทําให ความหมายของคําถามนั้นเปลี่ยนไปได

นักเรียนควรรู 1 การรวบรวมขอมูลโดยการสังเกต ผูสังเกตจะตองใชประสาทสัมผัสทั้ง 5 ในการรวบรวมขอมูล ทําใหผูสังเกตมีโอกาสไดสัมผัส และเขาใจสถานการณ หรือเหตุการณที่เกิดขึ้นจริง แตในบางกรณี การใชการสังเกตเพียงอยางเดียวอาจจะไดขอมูลไมเพียงพอ จึงตองอาศัยการเก็บขอมูลเพิ่มเติมจากบุคคลอื่น โดยใชการสอบถามเพื่อใหได ขอมูลที่ชัดเจนและถูกตองมากยิ่งขึ้น คูมือครู 15


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engage

Explore

อธิบายความรู้

อธิบายความรู้ อธิบExplain ายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูนําขอมูลเรื่องเดียวกัน ที่คนหาขอมูลจาก แหลงขอมูล 3 แหลง มาใหนักเรียนอาน 2. ครูสนทนาซักถามนักเรียนวา • ขอมูลที่ครูใหอานแตละขอมูลเปนเรื่องอะไร (แนวตอบ ขึ้นอยูกับขอมูลที่ครูนํามาให นักเรียนอาน) • เมื่อไดรับขอมูลที่นักเรียนอานไปแลวนี้ นักเรียนสามารถนําขอมูลมาใชประโยชน ไดเลยหรือไม เพราะอะไร (แนวตอบ ขึ้นอยูกับขอมูลที่ครูนํามาให นักเรียนอาน) 3. ครูอธิบายเพิ่มเติมวา เมื่อนักเรียนรวบรวม ขอมูลที่ตองการจากแหลงขอมูลตางๆ แลว นักเรียนไมควรนําขอมูลไปใชทันที เพราะ ขอมูลที่ไดมานั้น อาจจะมีทั้งขอมูลที่ถูกตอง และไมถูกตอง ดังนั้นเราจึงตองนําขอมูลที่ได มาจัดการขอมูลตามขั้นตอน ดังนี้ 1) ตรวจสอบความนาเชื่อถือ และความสมบูรณ ของขอมูล 2) จําแนกขอมูลเปนหมวดหมู 3) จัดเก็บขอมูลเปนหมวดหมูและเปนระเบียบ 4) นําเสนอขอมูล 4. ใหนักเรียนอานขอมูล หนา 17 แลวรวมกันสรุป ใจความสําคัญ

1

๓) การรวบรวมข้อมูลจากเอกสารหรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เป็นการอ่านข้อมูลจากหนังสือ บทความ หรือสิง่ พิมพ์ตา่ งๆ และดูขอ้ มูลจากอินเทอร์เน็ต หรือโทรทัศน์ แล้วจดบันทึกข้อมูลที่ได้

การดูโทรทัศน์ และการค้นคว้าจากอินเทอร์เน็ต เป็นการรวบรวมข้อมูลจากสื่ออิเล็กทรอนิกส์

ในการรวบรวมข้อมูลจากเอกสารหรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ควรปฏิบัติตน ดังนี้ (๑) ตั้งใจอ่านหรือดู (๒) จดบันทึกรายละเอียดหรือข้อเท็จจริงไว้ และเขียน บอกแหล่งที่มาของข้อมูล

à·¤â¹âÅÂÕ¹‹ÒÃÙŒ ข้อมูลที่ได้จากการอ่านหรือดูจากเอกสารหรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์ จัดเป็นข้อมูลชั้นรอง

1๖

นักเรียนควรรู 1 สือ่ อิเล็กทรอนิกส (Electronic media) หมายถึง สือ่ ทีท่ าํ การบันทึกดวยวิธกี าร ทางอิเล็กทรอนิกส ซึง่ ขอมูลแบบดิจทิ ลั ทีบ่ นั ทึกไวนนั้ ไมสามารถอานไดดว ยตาเปลา ตองใชเครือ่ งคอมพิวเตอรบนั ทึก และอานขอมูล สือ่ อิเล็กทรอนิกสมหี ลายประเภท เชน คอมพิวเตอรชว ยสอน CAI หนังสืออิเล็กทรอนิกส (e-book) แผนซีดี แผนดีวดี ี เปนตน

16

คู่มือครู

ขอสอบเนนการคิด

ขอมูลใด จัดเปนสื่ออิเล็กทรอนิกส ก. สารคดีในโทรทัศน ข. แผนพับโฆษณาสินคา ค. บทความในหนังสือพิมพ ง. รายงานการสังเกตวงจรชีวิตของผีเสื้อ วิเคราะหคําตอบ สารคดีในโทรทัศน เปนขอมูลที่ไดจากการบันทึกดวย วิธีการทางอิเล็กทรอนิกส สวนบทความในหนังสือพิมพ แผนพับโฆษณา สินคา เปนขอมูลที่ไดจากเอกสารหรือสิ่งพิมพ และรายงานเรื่องวงจรชีวิต ของผีเสือ้ เปนขอมูลทีไ่ ดจาการสังเกต ดังนัน้ ขอ ก. จึงเปนคําตอบทีถ่ กู


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

Engage

Explore

Explain

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Expand าใจ ขยายความเข้

Evaluate ตรวจสอบผล

ขยายความเข้าใจ

Expand

1. ใหนักเรียนแบงกลุม แลวใหแตละกลุมรวมกัน อภิปรายวา นอกจากวิธีการรวบรวมขอมูลตาม ที่เรียนแลว ยังมีวิธีการรวบรวมขอมูลอยางไร อีกบาง 2. ใหตัวแทนแตละกลุมออกมานําเสนอผลการ อภิปรายของกลุมตนเองที่หนาชั้น 3. ใหนักเรียนอานขอความที่กําหนดในกิจกรรม การเรียนรูที่ 2 ขอ 1 หนา 20 แลวบอกวา ควรรวบรวมขอมูลโดยวิธีการใด และจาก แหลงขอมูลใด

๒. การจัดการข้อมูลที่รวบรวมได้ เมื่อรวบรวมข้อมูลได้แล้ว ควรจัดการข้อมูลที่ได้ ดังนี้ ๑) ตรวจสอบความถูกต้อง และความสมบูรณ์ของข้อมูล โดยดูจากแหล่งข้อมูล หรือหลักฐานต่างๆ เช่น การตรวจสอบข้อมูล เรื่องโรคไข้หวัดใหญ่ ๒๐๐๙ จากคุณหมอ จะมีความถูกต้องและ สมบูรณ์มากกว่าสอบถามจากคุณครู เป็นต้น ๒) จ�าแนกข้อมูลเป็นหมวดหมู ่ โดยดูจากเนือ้ หาของข้อมูล แล้วน�ามาจัดรวมเข้าตามหมวดหมู่ ๓) จัดเก็บข้อมูลเป็นหมวดหมู่และเป็นระเบียบ เพื่อให้ สะดวกในการหยิบใช้งาน โดยมีวิธีการจัดเก็บ ดังนี้ (๑) จัดเก็บใส่แฟ้ม เอกสาร (๒) เก็บในอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ เช่น เก็บข้อมูล ในแฟลชไดรฟ์ เก็บไว้ในเครื่อง คอมพิวเตอร์ เป็นต้น ๔) น�าเสนอข้อมูล เช่ เช่น การน�าเสนอข้อมูลหน้าชั้นเรียน การท�ารายงาน การจัดป้ายนิเทศ จัดเอกสารมาใส่แฟ้มอย่างเป็นระเบียบบ ะดวก ช่วยให้ค้นข้อมูลได้สะดวก และรวดเร็ วมากยิ่งขึ้น เป็นต้น

ตรวจสอบผล

Evaluate

ครูตรวจสอบวานักเรียนบอกวิธีรวบรวมขอมูล ไดอยางถูกตอง

17

บูรณาการเชื่อมสาระ

ครูบูรณาการความรูในสาระการงานอาชีพฯ กับสาระคณิตศาสตร เรื่องขอมูลและการจําแนกขอมูล โดยนําวิธีการจําแนกขอมูล การจัดขอมูล ใหเปนหมวดหมู หรือเรียงลําดับในลักษณะตางๆ ของวิชาคณิตศาสตร มาประยุกตใช

เกร็ดแนะครู ในขั้นอธิบายความรู ครูอาจอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับการนําเสนอขอมูลเพื่อให นักเรียนเขาใจมากยิ่งขึ้น การนําเสนอขอมูล แบงเปน 2 ลักษณะใหญๆ ดังนี้ 1) การนําเสนอขอมูลอยางเปนแบบแผน (formal presentation) หมายถึง การนําเสนอขอมูลที่มีเกณฑ ซึ่งจะตองปฏิบัติตามมาตรฐานที่กําหนดไวเปน แบบอยาง ที่นิยมใช คือ การนําเสนอในรูปแบบตาราง กราฟ และแผนภูมิ 2) การนําเสนอขอมูลอยางไมเปนแบบแผน (informal presentation) หมายถึง การนําเสนอขอมูลที่ไมไดมีการกําหนดเกณฑไวตายตัว เชน บทความ หรือความเรียง และการนําเสนอแบบบทความกึ่งตาราง

คู่มือครู

17


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engage

Exploreนหา ส�ารวจค้

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

ส�ารวจค้นหา

Explore

1. ครูสนทนาซักถามนักเรียนวา • นักเรียนคิดวา แหลงขอมูลมีประโยชน หรือไม เพราะอะไร (แนวตอบ มีประโยชน เพราะแหลงขอมูล ใชเปนแหลงคนควาขอมูลและเปนหลักฐาน ในการอางอิงเรื่องตางๆ เพื่อเพิ่มความ นาเชื่อถือใหกับขอมูล) • นักเรียนคิดวา ถาแหลงขอมูลเกิดความเสียหาย จะเกิดผลอยางไร (แนวตอบ ไมสามารถคนหาขอมูลจากแหลง ขอมูลนั้นได หรืออาจไดขอมูลที่ผิดจากความ เปนจริงไป) • นักเรียนคิดวา เราควรปฏิบัติอยางไร เพื่อไมใหแหลงขอมูลเกิดความเสียหาย (แนวตอบ ตองชวยกันดูแลรักษา ไมทําลาย และปฏิบัติตามกฏระเบียบในการใชแหลง ขอมูล) 2. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวา การรักษา แหลงขอมูล ควรปฏิบัติอยางไร

๓ ประโยชน์ ของแหล่งข้อมูล 1

แหล่งข้อมูลต่างๆ งๆ มีประโยชน์ ดังนี้ ๑) ใช้เป็นแหล่งในการค้นคว้าหาข้อมูล ทัง้ ทีเ่ ป็นความรู้ และความบันเทิง เช่น อ่านหนังสือพิมพ์เพื่อให้ทราบข่าวสารที่เป็น ปัจจุบัน สอบถามข้อมูลเรื่องสถานที่ท่องเที่ยวจากคุณพ่อ เป็นต้น ๒) ใช้เป็นหลักฐานในการอ้างอิงเรื่องต่างๆ เพื่อเพิ่ม ความน่าเชื่อถือให้กับข้อมูล ๓) ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบตั ติ นทีเ่ หมาะสม เช่น การดู ใบเสร็จรับเงินค่าโทรศัพท์แล้วลดการใช้โทรศัพท์ลงเพื่อลดรายจ่าย เป็นต้น

๔ การรักษาแหล่งข้อมูล

การรักษาแหล่งข้อมูล เป็นการรักษาสภาพของแหล่งข้อมูล ให้คงอยู่ในสภาพดี ซึ่งปฏิบัติได้ ดังนี้ ๑) ไม่ขีดเขียนตามสิ่งของ หรือสถานที่ต่างๆ งๆ ที่เป็นแหล่ง ข้อมูล แต่ควรช่วยกันดูแลรักษา ความสะอาด ซึ่งสามารถท�าได้ หลายวิธี เช่น การไม่ ทิ้ ง ขยะ การปัดฝุน่ ท�าความสะอาด เป็นต้น กวาดห้องเรียน ท�าให้ห้องเรียนสะอาด และน่านั่งเรียน

18

เกร็ดแนะครู ครูใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวา คนที่ชอบขีดเขียนตามสถานที่สาธารณะตางๆ เปนคนที่มีจิตสํานึกตอสวนรวมหรือไม เพราะอะไร จากนั้นใหนักเรียนสํารวจตนเอง วา เคยขีดเขียนตามที่สาธารณะ เชน บนโตะเรียน ฝาผนังหองเรียน ฝาผนังหองนํ้า ของโรงเรียน เปนตน หรือไม ถาหากเคยกระทํา ปจจุบันไดปรับปรุงแกไขพฤติกรรม ของตนเองหรือยัง

นักเรียนควรรู 1 แหลงขอมูล บางแหลงเปนสถานทีเ่ กาแก และมีความสําคัญทางประวัตศิ าสตร เชน โบราณสถาน วัดเกาแก เปนตน การไมชวยกันดูแลรักษา หรือการทําลาย สถานที่เหลานั้น ถือเปนการทําลายมรดกทางวัฒนธรรม ซึ่งนักเรียนเอง ตองไมกระทําเชนนั้น

18

คู่มือครู

ขอสอบเนนการคิด

ใครใชประโยชนจากแหลงขอมูลอยางไมเหมาะสม ก. นิวใชอินเทอรเน็ตสืบคนสื่อลามก ข. นาวดูใบเสร็จคาไฟฟา แลวลดการใชไฟฟานอยลง ค. โนตดูหนังสือในหองสมุด แลวใชอางอิงในการทํารายงาน ง. แนนสอบถามประวัติครอบครัวจากพอแม เพื่อนํามาเขียนเรียงความ วิเคราะหคําตอบ การดูใบเสร็จคาไฟฟา แลวลดการใชไฟฟาลง เปนการ ใชประโยชนของแหลงขอมูลเพื่อเปนแนวทางในการปฏิบัติตนที่เหมาะสม การใชหนังสือในหองสมุดอางอิงการทํารายงาน เปนการใชประโยชน ของแหลงขอมูลเพื่อใหเกิดความนาเชื่อถือ การสอบถามประวัติครอบครัว จากพอแม เปนการใชประโยชนจากแหลงขอมูลเพื่อเปนแหลงอางอิง สวนการใชอินเทอรเน็ตสืบคนสื่อลามกเปนการใชประโยชนที่ไมเหมาะสม เพราะแหลงขอมูลควรใชสําหรับสืบคนขอมูลที่เปนความรูและขาวสาร ตางๆ ดังนั้น ขอ ก. จึงเปนคําตอบที่ถูก


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engage

Explore

อธิบายความรู้ อธิบExplain ายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู้

Explain

1. ใหนักเรียนรวมกันสรุปเรื่อง ประโยชนของ แหลงขอมูล และการรักษาแหลงขอมูล 2. ใหนักเรียนอานขอมูลเรื่องประโยชนของ แหลงขอมูล และการรักษาขอมูล หนา 18 - 19 แลวรวมกันสรุปใจความสําคัญ 3. ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา แหลงขอมูลมีหลายประเภท และใหขอมูล ทีแ่ ตกตางกันไป เราจึงตองเลือกแหลงขอมูล ทีเ่ หมาะสมกับความตองการ เพือ่ ใชแหลงขอมูล ใหเกิดประโยชนไดอยางสูงสุด นอกจากนี้ เราควรรักษาสภาพของแหลงขอมูลใหคงอยู ในสภาพที่ดี เพื่อไมทําใหขอมูลจากแหลง ขอมูลนั้นผิดเพี้ยนไป และทําใหมีแหลงขอมูล ไวใชงานไดอีกยาวนาน

๒) ปฏิบัติตามกฎระเบียบของการใช้แหล่งข้อมูลที่ก�า1หนด เช่น ไม่น�าขนมหรือน�้าวางไว้ใกล้กับคอมพิวเตอร์ เพราะอาหารหรือ น�า้ อาจหกเลอะเทอะและท�าความเสียหายแก่คอมพิวเตอร์ได้ เป็นต้น

ขณะใช้งานคอมพิวเตอร์ ไม่ควรน�าอาหารหรือน�้าดื่มวางไว้บริเวณโตะคอมพิวเตอร์ เพราะอาจท�าให้คอมพิวเตอร์เสียหายได้

๓) ไม่ทา� ให้แหล่งข้อมูลเกิดช�ารุดเสียหาย เช่ เช่น ไม่ฉกี หนังสือ ไม่ทา� ลายป้ายประกาศต่างๆ เป็นต้น และเราควรซ่ อมแซมแหล่งข้อมูล 2 ที่ช�ารุด เช่น ซ่อมแซมหนังสือที่ขาด เป็นต้น

หากหนังสือช�ารุด สามารถซ่อมแซมเองได้โดยใช้สก็อตเทป

ขอสอบเนนการคิด

ขอใดปฏิบัติไมถูกตองในการรักษาแหลงขอมูล ก. ปดฝุนบริเวณชั้นวางหนังสือเสมอ ข. ถอดปลั๊กโทรทัศนทุกครั้งเมื่อไมใชงาน ค. เช็ดทําความสะอาดคอมพิวเตอรอยูเสมอ ง. นําหนังสือชํารุดที่ตนเองซอมแซมไมไดทิ้งถังขยะ

วิเคราะหคําตอบ หากหนังสือที่เราไมสามารถซอมแซมไดดวยตนเอง ควรนําไปใหผูปกครองชวยซอมแซมให เพื่อใหมีหนังสือไวใชสืบคนขอมูล ไดอีก ดังนั้น ขอ ง. จึงเปนคําตอบที่ถูก

1๙

นักเรียนควรรู 1 อาหาร หากเศษอาหารตกหลนบนแผงแปนอักขระ แลวเราไมเห็นอาจจะ เนาเสีย ซึ่งทําใหเปนแหลงเพาะเชื้อโรคตางๆ ได และเมื่อมือเราไปสัมผัสแปน ในภายหลัง อาจทําใหไดรับเชื้อโรคติดมือมาดวย 2 ซอมแซมหนังสือที่ขาด มีวิธีการ ดังนี้ 1) จัดกระดาษตรงที่ขาดใหเรียบรอย และใหแนบชิดกัน 2) นําเทปใสมาติดตรงรอยขาดใหสนิทกัน 3) ตรวจสอบความเรียบรอย กอนนําหนังสือไปใชหรือไปจัดเก็บเขาที่

คู่มือครู

19


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

Engage

Explore

Explain

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Expand าใจ ขยายความเข้

Evaluate ตรวจสอบผล

Expand

1. ใหนักเรียนแบงกลุม แลวใหแตละกลุมคนหา ขอมูลที่สนใจ 1 เรื่อง แลวปฏิบัติตามขั้นตอน การรวบรวมขอมูล 2. ใหตัวแทนกลุมออกมานําเสนอขอมูลของกลุม ตนเอง พรอมบอกประโยชน และวิธีรักษา แหลงขอมูลที่กลุมตนเองปฏิบัติดวย 3. ใหนักเรียนดูภาพในกิจกรรมการเรียนรูที่ 2 ขอ 2 หนา 20 แลวรวมกันวิเคราะหวา เด็กในภาพรักษาแหลงขอมูลเหมาะสม หรือไม เพราะอะไร และถาปฏิบัติไมเหมาะสม ควรแกไขอยางไร 4. ครูถามคําถามขยายความรูสูการคิด หนา 20 แลวใหนักเรียนชวยกันตอบ

ตรวจสอบผล

ขยายความเข้าใจ

¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ò ๑. อานคําถามที่กําหนด แลวบอกวาควรรวบรวมขอมูลโดยวิธีการใด จากแหลง ขอมูลใด

Evaluate

๑) ด.ญ. สุมาลี จะขอยืมหนังสือจากหองสมุดไปอานที่บานไดกี่วัน ๒) ถาตองการสงจดหมายไปหาคุณปู ตองติดแสตมปราคากี่บาท ๓) อาการแพยาเปนอยางไร ๒. ดูภาพ แลวรวมกันบอกวา เด็กในภาพรักษาแหลงขอมูลเหมาะสมหรือไม เพราะเหตุใด และถาปฏิบัติไมเหมาะสม ควรแกไขอยางไร ๑) ๒) ๓)

1. ครูตรวจสอบวานักเรียนบอกประโยชนของ แหลงขอมูลไดอยางเหมาะสม 2. ครูตรวจสอบวานักเรียนวิเคราะหการปฏิบัติตน ในการรักษาแหลงขอมูลไดถกู ตอง และเหมาะสม

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู 1. บันทึกผลการจําแนกขอมูลที่ไดรับจาก แหลงขอมูล 2. ผลการบอกวิธีรวบรวมขอมูล 3. บันทึกผลการรวบรวมขอมูลที่สนใจจาก แหลงขอมูลตางๆ 4. ผลการบอกประโยชนของแหลงขอมูล 5. ผลการวิเคราะหการปฏิบัติตนในการรักษา แหลงขอมูล

¢ÂÒ¤ÇÒÁÃÙŒ ÊÙ¡‹ ÒäԴ

นักเรียนมีวิธีการรักษาแหลงขอมูลอยางไรบาง และถาไมรักษาแหลงขอมูลนั้น จะเกิดผลเสียอยางไร

๒๐ เฉลย กิจกรรมการเรียนรูที่ 2 1. ตอบ 1) สอบถามจากคุณครูบรรณารักษ 2) สอบถามจากบุรุษไปรษณีย 3) สอบถามจากแพทย 2. แนวตอบ 1) ไมเหมาะสม เพราะนําสีไปพนใสปายประกาศ ควรปฏิบัติโดยชวยทําความ สะอาดบริเวณปายประกาศ 2) ไมเหมาะสม เพราะเด็ดและทําลายดอกไม ควรปฏิบัติโดยปลูกและดูแล รักษาดอกไม ตนไม 3) เหมาะสม เพราะการทําความสะอาดเปนการรักษาแหลงขอมูลวิธีหนึ่ง

20

คู่มือครู

ขอสอบเนนการคิด

พลอยอยากทํารายงานเรือ่ งวงจรชีวิ ติ ของหนอนผีเสือ้ พลอยควรใชวธิ กี าร ขอใดในการรวบรวมขอมูล รวมถึงใชแหลงขอมูลใดในการคนควาเพื่อใหมี ความนาเชื่อถือ ก. รวบรวมขอมูลโดยการสอบถาม และใชอินเทอรเน็ตในการคนควา ข. รวบรวมขอมูลโดยการสังเกต และใชอินเทอรเน็ตในการคนควา ค. รวบรวบขอมูลโดยการสังเกต และใชหนังสือภาพจากหองสมุด ในการคนควา ง. รวบรวมขอมูลโดยการจับหนอนผีเสื้อมาใสขวดโหล แลวสังเกต วงจรชีวิต วิเคราะหคําตอบ ผีเสื้อมีวงจรชีวิต 1 - 2 สัปดาห โดยแบงการเติบโต ออกเปน 4 ระยะ ซึ่งแตละระยะจะมีความแตกตางกัน จึงตองมีการสังเกต การเปลี่ยนแปลงอยูตลอด และเพื่อใหไดขอมูลที่ถูกตองและชัดเจน ควร ศึกษาเพิ่มเติม จากหนังสือภาพของวงจรชีวิตของผีเสื้อโดยอาจสืบคนได จากหองสมุด ซึ่งในหนังสือภาพจะมีการรวบรวมขอมูลที่ละเอียดครบถวน จึงสามารถใชเปนหลักฐานอางอิงในการคนควาและทําใหรายงานนาเชื่อถือ ยิ่งขึ้น ดังนั้น ขอ ค. จึงเปนคําตอบที่ถูก


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.