8858649122506

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº Í- .

ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน

กระบวนการสอนแบบ 5 Es ชวยสรางทักษะการเรียนรู กิจกรรมมุงพัฒนาทักษะการคิด คำถาม + แนวขอสอบเพื่อยกผลสัมฤทธิ์ O-NET กิจกรรมบูรณาการเตรียมพรอมสู ASEAN 2558


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย

ภาษาไทย

วรรณคดีและวรรณกรรม ชั้นประถมศึกษาปที่

4

สําหรับครู

คูมือครู Version ใหม

ลักษณะเดน

ขยายพื้นที่รูปเลมใหญขึ้นกวาเดิม จัดแบงพื้นที่ออกเปนโซน เพื่อคนหาขอมูลไดงาย สะดวก รวดเร็ว และดูเปนระเบียบ กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล

กระตุน ความสนใจ

Evaluate

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

เปาหมายการเรียนรู สมรรถนะของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค

หน า

โซน 1 กระตุน ความสนใจ

Engage

สํารวจคนหา

Explore

อธิบายความรู

Explain

ขยายความเขาใจ

Expand

ตรวจสอบผล

หน า

หนั ง สื อ เรี ย น

โซน 1

หนั ง สื อ เรี ย น

Evaluate

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ขอสอบ

โซน 2

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

เกร็ดแนะครู

O-NET

บูรณาการเชื่อมสาระ

โซน 3

กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย

นักเรียนควรรู

โซน 3

โซน 2 บูรณาการอาเซียน มุม IT

No.

คูมือครู

คูมือครู

No.

โซน 1 ขั้นตอนการสอนแบบ 5Es

โซน 2 ชวยครูเตรียมสอน

โซน 3 ชวยครูเตรียมนักเรียน

เพื่อใหครูเตรียมจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยแนะนําขั้นตอนการสอนและ การจัดกิจกรรมแบบ 5Es อยางละเอียด เพื่อใหนักเรียนบรรลุตามตัวชี้วัด

เพื่อชวยลดภาระครูผูสอน โดยแนะนํา เกร็ดความรูสําหรับครู ความรูเสริมสําหรับ นักเรียน รวมทั้งบูรณาการความรูสูอาเซียน และมุม IT

เพือ่ ใหครูสะดวกตอการจัดกิจกรรม โดยแนะนํา กิจกรรมบูรณาการเชื่อมระหวางกลุมสาระ วิชา กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย รวมถึงเนือ้ หา ทีเ่ คยออกขอสอบ NT/O-NET เก็งขอสอบ NT/O-NET และแนวขอสอบเนนการคิด พรอมคําอธิบาย และเฉลยอยางละเอียด


ที่ใชในคูมือครู

แถบสีและสัญลักษณ

แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5Es เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

1. แถบสี 5Es สีแดง

สีเขียว

กระตุน ความสนใจ

เสร�ม

สํารวจคนหา

Engage

2

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุน ความสนใจ เพื่อโยง เขาสูบทเรียน

สีสม

อธิบายความรู

Explore

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนสํารวจ ปญหา และศึกษา ขอมูล

สีฟา

Explain

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนคนหา คําตอบ จนเกิดความรู เชิงประจักษ

สีมวง

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนนําความรู ไปคิดคนตอๆ ไป

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

2. สัญลักษณ สัญลักษณ

วัตถุประสงค

• เปาหมายการเรียนรู

• หลักฐานแสดง ผลการเรียนรู

• เกร็ดแนะครู

• นักเรียนควรรู

• บูรณาการอาเซียน

• มุม IT

คูม อื ครู

แสดงเปาหมายการเรียนรูที่นักเรียน ตองบรรลุตามตัวชี้วัด ตลอดจนสมรรถนะ ที่จะตองมี และคุณลักษณะที่พึงเกิดขึ้น กับนักเรียน แสดงรองรอยหลักฐานตามภาระงาน ที่ครูมอบหมาย เพื่อแสดงผลการเรียนรู ตามตัวชี้วัด แทรกความรูเสริมสําหรับครู ขอเสนอแนะ ขอควรระวัง ขอสังเกต แนวทางการจัด กิจกรรมและอืน่ ๆ เพื่อประโยชนในการ จัดการเรียนการสอน ขยายความรูเพิ่มเติมจากเนื้อหา เพื่อให ครูนําไปใชอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียน ไดมีความรูมากขึ้น ความรูห รือกิจกรรมเสริม ใหครูนาํ ไปใช เตรียมความพรอมใหกบั นักเรียนกอนเขาสู ประชาคมอาเซียนใน พ.ศ. 2558 โดย บูรณาการกับวิชาทีก่ าํ ลังเรียน แนะนําแหลงคนควาจากเว็บไซต เพื่อให ครูและนักเรียนไดเขาถึงขอมูลความรู ที่หลากหลาย ทั้งไทยและตางประเทศ

สัญลักษณ

ขอสอบ

วัตถุประสงค

O-NET

(เฉพาะวิ เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ O-NET O-NET)

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T (เฉพาะวิ เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ NT เพือ่ เตรียมพรอมสอบ O-NET)

ขอสอบเนน การคิด แนว NT (เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ NT)

บูรณาการเชื่อมสาระ กิจกรรมสรางเสริม

• ชีแ้ นะเนือ้ หาทีเ่ คยออกขอสอบ

O-NET โดยยกตัวอยางขอสอบ พรอมวิเคราะหคาํ ตอบ อยางละเอียด

• เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน

การคิด และเปนแนวขอสอบ NT/O-NET ในระดับประถมศึกษา มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลย อยางละเอียด

• แนวขอสอบ NT ในระดับ

ประถมศึกษา มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด โดยเนน - การอานออกเขียนได - การคิดเลข - ความสามารถดานการคิด และการใหเหตุผล

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม

เชือ่ มกับสาระหรือกลุม สาระ การเรียนรู ระดับชัน้ หรือวิชาอืน่ ทีเ่ กีย่ วของ

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ซอมเสริมสําหรับนักเรียนทีค่ วร ไดรบั การพัฒนาการเรียนรู

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม กิจกรรมทาทาย

ตอยอดสําหรับนักเรียนทีเ่ รียนรู ไดอยางรวดเร็ว และตองการ ทาทายความสามารถในระดับ ทีส่ งู ขึน้


คําแนะนําการใชคูมือครู การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน คูมือครู รายวิชา ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ป.4 จัดทําขึ้นเพื่อใหครูผูสอนนําไปใชเปนแนวทางวางแผน การสอนเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และประกันคุณภาพผูเรียน ตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) โดยใชหนังสือเรียน ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ป.4 ของบริษัท อักษรเจริญทัศน เสร�ม อจท. จํากัดเปนสื่อหลัก (Core Material) ประกอบการสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับมาตรฐาน 3 การเรียนรูและตัวชี้วัดของกลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 โดยออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักการสําคัญ ดังนี้ 1 ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน คูมือครู รายวิชา ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ป.4 วางแผนการสอนโดยแบงเปนหนวยการเรียนรู ตามลําดับสาระ (Standard) และหมายเลขขอของมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด แตละหนวยจะกําหนดเปาหมาย การสอนและจุดประสงคการเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทาง การประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชัดเจน ครูผูสอนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐาน การเรียนรู ตัวชี้วัด สมรรถนะ และคุณลักษณะอันพึงประสงคที่เปนเปาหมายการเรียนรูตามที่กําหนดไวในสาระแกนกลาง (ตามแผนภูมิ) และสามารถบันทึกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนแตละคนลงในเอกสาร ปพ.5 ไดอยางมั่นใจ แผนภูมิแสดงองคประกอบของการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผูเรียนเปนสําคัญ

พผ

ูเ

จุดปร

ะสง

ค ก

ส ภา

รี ย น

รู ีเรยน

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชั้นป

ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน คูม อื ครู


2 การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ แนวคิ ด ในการจั ด การเรี ย นการสอนที่ ยึ ด ผู  เ รี ย นเป น สํ า คั ญ พั ฒ นามาจากปรั ช ญาและทฤษฎี ก ารเรี ย นรู  Constructivism ที่เชื่อวาการเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสรางความรู โดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดเรียนรูจากบทเรียนใหมกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา ผูเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีการสั่งสมความรูความเขาใจเกี่ยวกับสิ่งตางๆ ติดตัวมากอน ทีจ่ ะเขาสูห อ งเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากประสบการณและสิง่ แวดลอมรอบตัวผูเ รียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกิจกรรม เสร�ม การเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ผูสอนจะตองคํานึงถึง

4

1. ความรูเดิมของผูเรียน วิธีการสอนที่ดีจะตองเริ่มตนจากจุดที่วา ผูเ รียนมีความรูอ ะไรมาบาง แลวจึงใหความรู หรือประสบการณใหม เพื่อตอยอดจาก ความรูเดิม นําไปสูการสรางความรู ความเขาใจใหม

2. ความรูเดิมของผูเรียนถูกตองหรือไม ผูส อนตองปรับเปลีย่ นความรูค วามเขาใจเดิม ของผูเรียนใหถูกตอง และเปนพฤติกรรม การเรียนรูใ หมทมี่ คี ณุ คาตอผูเรียน เพื่อสราง เจตคติหรือทัศนคติที่ดีตอการเรียนรู สิ่งเหลานั้น

3. ผูเรียนสรางความหมายสําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมใหผูเรียนนําความรู ความเขาใจที่เกิดขึ้นไปลงมือปฏิบัติ เพื่อขยายความรูใหลึกซึ้งและมีคุณคา ตอตัวผูเรียนมากที่สุด

แนวคิด Constructivism เนนใหผูเรียนสรางความรูโดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูของตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศ

การเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณ ความรูใ หม เพือ่ กระตนุ ใหผเู รียนเชือ่ มโยงความรู ความคิด กับประสบการณทมี่ อี ยูเ ดิม แลวสังเคราะหเปนความรูห รือแนวคิดใหมๆ ไดดว ยตนเอง

3 การบูรณาการกระบวนการคิด การเรียนรูของผูเรียนแตละคนจะเกิดขึ้นที่สมอง ซึ่งเปนอวัยวะที่ทําหนาที่รูคิดภายใตสภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวย และไดรบั การกระตนุ จูงใจอยางเหมาะสม สอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของผูเ รียนแตละคน การจัดกิจกรรม การเรียนรูและสาระการเรียนรูที่สอดคลองกับความสนใจและมีความหมายตอผูเรียน จะชวยกระตุนใหสมองของผูเรียน สามารถรับรูและเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพตามขั้นตอนการทํางานของสมอง ดังนี้ 1. สมองจะเรียนรูและสืบคน โดยการสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง ปฏิบัติ จนทําใหคนพบความรูความเขาใจ ไดอยางรวดเร็ว

2. สมองจะแยกแยะคุณคาของสิ่งตางๆ โดยการตัดสินใจวิพากษวิจารณ แสดง ความคิดเห็น ยอมรับหรือตอตานตาม อารมณความรูสึกที่เกิดขึ้นในขณะที่เรียนรู

3. สมองจะประมวลเนื้อหาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสานกับ ความรูห รือประสบการณเดิมทีถ่ กู จัดเก็บอยูใ น สมอง ผานการกลัน่ กรองเพือ่ สังเคราะหเปน ความรูค วามเขาใจใหมๆ หรือเปนทัศนคติใหม ที่จะเก็บบรรจุไวในสมองของผูเรียน

การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะเกิดขึ้น เมื่อสมองรูคิด และตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมองผูเรียน โดยเริ่มตนจาก 1. ระดับการคิดพื้นฐาน ไดแก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล การสรุปผล เปนตน

คูม อื ครู

2. ระดับลักษณะการคิด ไดแก การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดไกล คิดหลากหลาย คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล เปนตน

3. ระดับกระบวนการคิด ไดแก กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ กระบวนการแกปญหา กระบวนการ คิดสรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะหวิจัย เปนตน


5Es การจัดกิจกรรมตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ขั้นตอนการสอนที่สัมพันธกับขั้นตอนการคิดและการทํางานทางสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย คือ วัฏจักรการเรียนรู 5Es ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแตละหนวย ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1

กระตุนความสนใจ

(Engage)

เสร�ม

5

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนนําเขาสูบ ทเรียน เพือ่ กระตุน ความสนใจของผูเ รียนดวยเรือ่ งราวหรือเหตุการณทนี่ า สนใจโดยใชเทคนิควิธกี ารสอน และคําถามทบทวนความรูหรือประสบการณเดิมของผูเรียน เพื่อเชื่อมโยงผูเรียนเขาสูความรูของบทเรียนใหม ชวยใหผูเรียนสามารถ สรุปประเด็นสําคัญที่เปนหัวขอและสาระการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอนการสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอม และสรางแรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน

ขั้นที่ 2

สํารวจคนหา

(Explore)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนเปดโอกาสใหผเู รียนลงมือศึกษา สังเกต หรือรวมมือกันสํารวจ เพือ่ ใหเห็นขอบขายของปญหา รวมถึงวิธกี ารศึกษา คนควา การรวบรวมขอมูลความรูที่จะนําไปสูการสรางความเขาใจประเด็นปญหานั้นๆ เมื่อผูเรียนทําความเขาใจในประเด็นหัวขอที่จะ ศึกษาคนควาอยางถองแทแลว ก็ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธีการตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูตามที่ตั้งประเด็นศึกษาไว

ขั้นที่ 3

อธิบายความรู

(Explain)

เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา ตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนคนหาคําตอบ และนําขอมูล ความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห สรุปผล และนําเสนอผลที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ แผนผังแสดงมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน ในขั้นตอนนี้ฝกใหผูเรียนใชสมองคิดวิเคราะหและ สังเคราะหอยางเปนระบบ

ขั้นที่ 4

ขยายความเขาใจ

(Expand)

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใชเทคนิควิธีการสอนตางๆ ที่สงเสริมใหผูเรียนนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนสืบคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะ การเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน ผูเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยง กับประสบการณเดิมโดยนําขอสรุปทีไ่ ดไปใชอธิบายเหตุการณตา งๆ หรือนําไปปฏิบตั ใิ นสถานการณใหมๆ ทีเ่ กีย่ วของกับชีวติ ประจําวัน ของตนเอง เพื่อขยายความรูความเขาใจใหกวางขวางยิ่งขึ้น ในขั้นตอนนี้ฝกสมองของผูเรียนใหสามารถคิดริเริ่มสรางสรรคอยางมี คุณภาพ เสริมสรางวิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป

ขั้นที่ 5

ตรวจสอบผล

(Evaluate)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนประเมินมโนทัศนของผูเ รียน โดยตรวจสอบจากความคิดทีเ่ ปลีย่ นไปและความคิดรวบยอดทีเ่ กิดขึน้ ใหม ตรวจสอบ ทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด และการเคารพความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพื่อการ สรางสรรคความรูร ว มกัน ผูเ รียนสามารถประเมินผลการเรียนรูข องตนเอง เพือ่ สรุปผลวามีความรูอ ะไรเพิม่ ขึน้ มาบาง เกิดความเขาใจ มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ ไดอยางไร ผูเรียนจะเกิดเจตคติและเห็นคุณคาของ ตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง

การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามขั้นตอนวัฏจักรการสรางความรูแบบ 5Es จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนน ผูเ รียนเปนสําคัญอยางแทจริง เพราะสงเสริมใหผเู รียนไดลงมือปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนของกระบวนการสรางความรูด ว ยตนเอง และฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและกระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะชีวิต ทักษะการทํางานและทักษะการ เรียนรูท มี่ ปี ระสิทธิภาพ สงผลตอการยกระดับผลสัมฤทธิข์ องผูเ รียน ตามเปาหมายของการปฏิรปู การศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คูม อื ครู


O-NET การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ O-NET

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ในแตละหนวยการเรียนรู ทางผูจัดทํา จะเสนอแนะวิธีสอนรูปแบบกิจกรรมการเรียนรู พรอมทั้งออกแบบเครื่องมือวัดผลประเมินผลที่สอดคลองกับตัวชี้วัด และสาระการเรียนรูแกนกลางไวทุกขั้นตอน โดยยึดหลักสําคัญ คือ เปาหมายของการวัดผลประเมินผล เสร�ม

6

1. การวัดผลทุกครั้งตองนําผล การวัดมาปรับปรุงพัฒนาผูเรียน เปนรายบุคคล

2. การประเมินผลมีเปาหมาย เพื่อพัฒนาการเรียนรูของผูเรียน จนเต็มศักยภาพ

3. การนําผลการวัดและประเมิน ทุกครั้งมาวางแผนปรับปรุงกิจกรรม การเรียนการสอน การเลือกเทคนิค วิธีการสอน และสื่อการเรียนรูให เหมาะสมกับสภาพจริงของผูเรียน

การทดสอบผูเรียน 1. การใชขอสอบอัตนัย เนนการอาน การคิดวิเคราะห และเขียนสรุปเพิ่มมากขึ้น 2. การใชคําถามกระตุนการคิด ควบคูกับการทําขอสอบที่เนนการคิดตลอดตอเนื่องตามลําดับกิจกรรมการเรียนรูและ ตัวชี้วัด 3. การทดสอบตองดําเนินการทั้งกอนเรียน ระหวางเรียน และเมื่อสิ้นสุดการเรียน การทดสอบระหวางเรียน ต อ งใช ข  อ สอบทั้ ง ชนิ ด ปรนั ย และอั ต นั ย และเป น การทดสอบเพื่ อ วิ นิ จ ฉั ย ผลการเรี ย นของผู  เ รี ย นแต ล ะคน เพื่อวัดการสอนซอมเสริมใหบรรลุตัวชี้วัดทุกตัว 4. การสอบกลางภาค (ถามี) ควรนําขอสอบหรือแบบฝกหัดที่นักเรียนสวนใหญทําผิดบอยๆ มาสรางเปนแบบทดสอบ อีกครัง้ เพือ่ ตรวจสอบความรูค วามเขาใจทีถ่ กู ตอง และประเมินความกาวหนาของผูเรียนแตละคน 5. การสอบปลายภาคเรียนเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามตัวชี้วัดที่สําคัญ ควรออกขอสอบใหมีลักษณะเดียวกับ ขอสอบ O-NET โดยเนนการคิดวิเคราะห สังเคราะห เชื่อมโยงประยุกตใช เพื่อสรางความคุนเคย และฝกฝน วิธีการทําขอสอบดวยความมั่นใจ 6. การนําผลการทดสอบของผูเรียนมาวิเคราะห โดยผลการสอบกอนการเรียนตองสามารถพยากรณผลการสอบ กลางภาค และผลการสอบกลางภาคตองทํานายผลการสอบปลายภาคของผูเ รียนแตละคน เพือ่ ประเมินพัฒนาการ ความกาวหนาของผูเรียนเปนรายบุคคล 7. ผลการทดสอบปลายป ปลายภาค ตองมีคาเฉลี่ยสอดคลองกับคาเฉลี่ยของการสอบ NT ที่เขตพื้นที่การศึกษา จัดสอบ รวมทั้งคาเฉลี่ยของการสอบ O-NET ชวงชั้นที่สอดคลองครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดสําคัญ เพือ่ สะทอนประสิทธิภาพของครูผสู อนในการออกแบบการเรียนรูแ ละประกันคุณภาพผูเ รียนทีต่ รวจสอบผลไดชดั เจน การจัดการเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ตองใหผูเรียนไดสั่งสมความรู สะสมความเขาใจไปทีละเล็ก ละนอยตามลําดับขัน้ ตอนของกิจกรรมการเรียนรู 5Es เพือ่ ใหผเู รียนไดเติมเต็มองคความรูอ ยางตอเนือ่ ง จนสามารถปฏิบตั ิ ชิ้นงานหรือภาระงานรวบยอดของแตละหนวยผานเกณฑประกันคุณภาพในระดับที่นาพึงพอใจ เพื่อรองรับการประเมิน ภายนอกจาก สมศ. ตลอดเวลา คูม อื ครู


ASEAN การเรียนรูสูประชาคมอาเซียน เพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรูบูรณาการอาเซียนศึกษา ผูจัดทําไดวิเคราะห มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดที่มีสาระการเรียนรูสอดคลองกับองคความรูเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนในแงมุมตางๆ ครอบคลุมทัง้ ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน เพื่อสงเสริมการเรียนรูใหผูเรียนเกิดความตระหนัก มีความรูความเขาใจเหมาะสมกับระดับชั้นและกลุมสาระ การเรียนรู โดยเสนอแนะวิธีการจัดกิจกรรมบูรณาการเนื้อหาสาระตางๆ ที่เปนประโยชนตอผูเรียนและเปนการชวย เตรียมความพรอมผูเ รียนทุกคนทีจ่ ะกาวเขาสูก ารเปนสมาชิกของประชาคมอาเซียนไดอยางมัน่ ใจตามขอตกลงปฏิญญา เสร�ม ชะอํา-หัวหิน วาดวยความรวมมือดานการศึกษาเพือ่ บรรลุเปาหมายประชาคมอาเซียนทีเ่ อือ้ อาทรและแบงปน จึงกําหนด 7 เปนนโยบายใหกระทรวงศึกษาธิการจัดการเรียนรูเตรียมความพรอมผูเรียนเขาสูประชาคมอาเซียนภายในป พ.ศ. 2558 ตามแนวปฏิบัติที่สําคัญ ดังนี้

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน 1. การสรางความรูความเขาใจ และตระหนักถึงความสําคัญของ กฎบัตรอาเซียน และความรวมมือ ของ 3 เสาหลัก ซึง่ กฎบัตรอาเซียน ในขณะนี้มีสถานะเปนกฎหมายที่ ประเทศสมาชิกจะตองปฏิบัติตาม หลักการที่กําหนดไวเพื่อใหบรรลุ เปาหมายของกฎบัตรมาตราตางๆ

2. การสงเสริมหลักการ ประชาธิปไตยและการสราง สิ่งแวดลอมประชาธิปไตย เพื่อการอยูรวมกันอยางกลมกลืน ภายใตวิถีชีวิตอาเซียนที่มีความ หลากหลายดานสังคมและ วัฒนธรรม

4. การตระหนักในคุณคาของ สายสัมพันธทางประวัติศาสตร และมรดกทางวัฒนธรรมที่มี พัฒนาการรวมกัน เพื่อเชื่อม อัตลักษณและสรางจิตสํานึก ในการเปนประชากรของประชาคม อาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการศึกษาดาน สิทธิมนุษยชน เพื่อสรางประชาคม อาเซียนใหเปนประชาคมเพื่อ ประชาชนอยางแทจริง สามารถ อยูรวมกันไดบนพื้นฐานการเคารพ ในคุณคาของศักดิ์ศรีแหงความ เปนมนุษยเทาเทียมกัน

5. การสงเสริมสันติภาพ ความ มั่นคง และความปรองดองในสังคม ทั้งระดับประเทศและภูมิภาคของ อาเซียนบนพื้นฐานสันติวิธีและการ อยูรวมกันดวยขันติธรรม

คูม อื ครู


การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

เสร�ม

8

1. การพัฒนาทักษะการทํางาน เพื่อเสริมสรางผูเรียนใหมีทักษะ วิชาชีพที่จําเปนสอดคลองกับ ความตองการของตลาดแรงงาน และสถานประกอบการในอาเซียน สามารถเทียบโอนผลการเรียน และการทํางานตามมาตรฐานฝมือ แรงงานในภูมิภาคอาเซียน

2. การเสริมสรางวินัย ความรับผิดชอบ และเจตคติรักการทํางาน สามารถพึ่งพาตนเอง มีทักษะชีวิต ดํารงชีวิตอยางมีความสุข เห็นคุณคา และภูมิใจในตนเอง ในฐานะที่เปนพลเมืองไทยและ อาเซียน

3. การเรียนรูเพื่อพัฒนาตนเอง อยางตอเนื่องตลอดชีวิต ใหมี ทักษะการทํางานตามมาตรฐาน อาชีพ และคุณวุฒิของวิชาชีพสาขา ตางๆ เพื่อรองรับการเตรียมเคลื่อน ยายแรงงานมีฝมือและการเปน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่ เขมแข็ง เพื่อสรางขีดความสามารถ ในการแขงขันในเวทีโลก

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 1. การเสริมสรางความรวมมือ ในลักษณะสังคมที่เอื้ออาทร ของประชากรอาเซียน โดยยึด หลักการสําคัญ คือ ความงดงาม ของประชาคมอาเซียนมาจาก ความแตกตางและหลากหลายทาง วัฒนธรรมที่ลวนแตมีคุณคาตอ มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน ซึ่งประชาชนทุกคนตองอนุรักษ สืบสานใหยั่งยืน

2. การเสริมสรางคุณลักษณะ ของผูเรียนใหเปนพลเมืองอาเซียน ที่มีศักยภาพในการกาวเขาสู ประชาคมอาเซียนอยางมั่นใจ เปนผูที่มีสุขภาพสมบูรณแข็งแรง มีทักษะการสื่อสาร ทักษะการ ทํางาน ทักษะทางสังคม สามารถ ทํางานรวมกับผูอื่นไดอยาง สรางสรรค และมีองคความรู เกี่ยวกับอาเซียนที่จําเปนตอการ ดํารงชีวิตอยางมีคุณภาพ

4. การสงเสริมการเรียนรูดาน ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี วิถชี วี ติ ความเปนอยูข องเพือ่ นบาน ในอาเซียน เพื่อสรางจิตสํานึกของ ความเปนประชาคมอาเซียนและ ตระหนักถึงหนาที่ของการเปน พลเมืองอาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการเรียนรูภาษา อังกฤษเพื่อการสื่อสารและการ ทํางานตามมาตรฐานอาชีพที่ กําหนดและสนับสนุนการเรียนรู ภาษาอาเซียนและภาษาเพื่อนบาน เพื่อชวยเสริมสรางสัมพันธภาพทาง สังคม และการอยูรวมกันอยางสันติ ทามกลางความหลากหลายทาง วัฒนธรรม

5. การสรางความรูและความ ตระหนักเกี่ยวกับดานสิ่งแวดลอม ปญหาและผลกระทบตอคุณภาพ ชีวิตของประชากรในภูมิภาค รวมทั้งแนวทางการพัฒนาอยาง ยั่งยืน ใหเปนมรดกสืบทอดแก พลเมืองอาเซียนในรุนหลังตอๆ ไป

กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศนโยบายการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) เพื่อเรงพัฒนาเด็ก และเยาวชนไทยใหเปนทรัพยากรมนุษยของชาติที่มีทักษะและความชํานาญ พรอมเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงและ การแขงขันทั้งในภูมิภาคอาเซียนและภูมิภาคอื่นๆ ของสังคมโลก ทั้งนี้ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และผูปกครอง ควรรวมมือกันอยางใกลชดิ ในการดูแลชวยเหลือผูเ รียนและจัดประสบการณการเรียนรูเ พือ่ พัฒนาผูเ รียนจนเต็มศักยภาพ เพื่อกาวเขาสูการเปนพลเมืองอาเซียนอยางมีเกียรติภูมิและศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของตน คณะผูจัดทํา คูม อื ครู


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 1

ภาษาไทย (เฉพาะชั้น ป.4)*

การอาน

มาตรฐาน ท 1.1 ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิด เพื่อนําไปใชตัดสินใจแกปญหาในการดําเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอาน ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ป.4 1. อานออกเสียงบทรอยแกว • การอานออกเสียงและการบอกความหมาย ของบทรอยแกวและบทรอยกรองที่ประกอบดวย และบทรอยกรอง - คําทีม่ ี ร ล เปนพยัญชนะตน ไดถูกตอง - คําที่พยัญชนะควบกลํ้า 2. อธิบายความหมายของ คํา ประโยค และสํานวน - คําที่มีอักษรนํา - อักษรยอและเครือ่ งหมายวรรคตอน จากเรื่องที่อาน - ประโยคที่มีสํานวนเปนคําพังเพย ภาษิต ปริศนาคําทาย และเครื่องหมายวรรคตอน • การอานบทรอยกรองเปนทํานองเสนาะ

3. อานเรื่องสั้นๆ ตามเวลา • การอานจับใจความจากสื่อตางๆ เชน - เรื่องสั้นๆ ที่กําหนด และ - เรื่องเลาจากประสบการณ ตอบคําถามจากเรื่อง - นิทานชาดก ที่อาน - บทความ 4. แยกขอเท็จจริง - บทโฆษณา และขอคิดเห็นจากเรื่อง - งานเขียนประเภทโนมนาวใจ ที่อาน - ขาวและเหตุการณประจําวัน 5. คาดคะเนเหตุการณ จากเรื่องที่อาน โดยระบุ - สารคดีและบันเทิงคดี ฯลฯ เหตุผลประกอบ 6. สรุปความรูและขอคิด จากเรื่องที่อาน เพื่อนํา ไปใชในชีวิตประจําวัน 7. อานหนังสือที่มีคุณคา ตามความสนใจอยาง สมํ่าเสมอและแสดง ความคิดเห็นเกี่ยวกับ เรื่องที่อาน

• การอานหนังสือตามความสนใจ เชน - หนังสือที่นักเรียนสนใจและเหมาะสมกับวัย - หนังสือที่ครูและนักเรียนกําหนดรวมกัน ฯลฯ

8. มีมารยาทในการอาน

• มารยาทในการอาน

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

เสร�ม

9

• หนวยการเรียนรูที่ 1 เรื่อง ไมอยากเปนควาย • หนวยการเรียนรูที่ 2 เรื่อง สิงโตเจาปญญา • หนวยการเรียนรูที่ 3 เรื่อง เลนกลางแจง • หนวยการเรียนรูที่ 4 เรื่อง ตนไม • หนวยการเรียนรูที่ 5 เรื่อง เรื่องของมาเหมี่ยว • หนวยการเรียนรูที่ 6 เรื่อง บานพิลึก • หนวยการเรียนรูที่ 7 เรื่อง โทรทัศนเปนเหตุ • หนวยการเรียนรูที่ 8 เรื่อง นางในวรรณคดี

สาระที่ 1 ตัวชี้วัดขอ 3-8 นี้ จะปรากฏในหนังสือเรียน ภาษาไทย หลักภาษาและการใช ภาษา ป.4

_________________________________ *สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 7-59.

คูม อื ครู


สาระที่ 2

การเขียน

มาตรฐาน ท 2.1 ใชกระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบตางๆ เขียนรายงานขอมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคนควาอยางมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด

ชั้น

เสร�ม

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

ป.4 1. คัดลายมือตัวบรรจงเต็ม • การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด บรรทัดและครึง่ บรรทัด ตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย

10

2. เขียนสื่อสารโดยใชคํา ไดถูกตอง ชัดเจน และเหมาะสม

• การเขียนสื่อสาร เชน - คําขวัญ - คําแนะนํา ฯลฯ

3. เขียนแผนภาพโครงเรื่อง • การนําแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดไปพัฒนา และแผนภาพความคิด งานเขียน เพื่อใชพัฒนางานเขียน 4. เขียนยอความจาก เรื่องสั้นๆ

• การเขียนยอความจากสื่อตางๆ เชน นิทาน ความเรียง ประเภทตางๆ ประกาศ จดหมาย คําสอน ฯลฯ

5. เขียนจดหมายถึงเพื่อน และบิดามารดา

• การเขียนจดหมายถึงเพื่อนและบิดามารดา

6. เขียนบันทึกและเขียน รายงานจากการศึกษา คนควา

• การเขียนบันทึกและเขียนรายงานจากการศึกษาคนควา

สาระที่ 2 นี้ จะปรากฏใน หนังสือเรียนภาษาไทย หลักภาษาและการใชภาษา ป.4

7. เขียนเรือ่ งตามจินตนาการ • การเขียนเรื่องตามจินตนาการ 8. มีมารยาทในการเขียน

สาระที่ 3

• มารยาทในการเขียน

การฟง การดู และการพูด

มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ความคิด และความรูสึกในโอกาสตางๆ อยางมีวิจารณญาณและสรางสรรค ชั้น

ตัวชี้วัด

ป.4 1. จําแนกขอเท็จจริง และขอคิดเห็นจากเรือ่ ง ทีฟ่ ง และดู

สาระการเรียนรูแกนกลาง • การจําแนกขอเท็จจริงและขอคิดเห็นจากเรื่องที่ฟงและดู ในชีวิตประจําวัน

2. พูดสรุปความจากการฟง • การจับใจความ และการพูดแสดงความรู ความคิดในเรื่อง และดู ที่ฟงและดูจากสื่อตางๆ เชน 3. พูดแสดงความรู - เรื่องเลา ความคิดเห็น - บทความสั้นๆ และความรูส กึ เกีย่ วกับ - ขาวและเหตุการณประจําวัน เรือ่ งทีฟ่ ง และดู - โฆษณา 4. ตัง้ คําถามและตอบคําถาม - สื่ออิเล็กทรอนิกส เชิงเหตุผลจากเรือ่ งทีฟ่ ง - เรื่องราวจากบทเรียนกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย และดู และกลุมสาระการเรียนรูอื่น ฯลฯ 5. รายงานเรือ่ งหรือประเด็น • การรายงาน เชน ทีศ่ กึ ษาคนควา - การพูดลําดับขั้นตอนการปฏิบัติงาน จากการฟง การดู - การพูดลําดับเหตุการณ ฯลฯ และการสนทนา 6. มีมารยาทในการฟง การดู และการพูด

คูม อื ครู

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• มารยาทในการฟง การดู และการพูด

สาระที่ 3 นี้ จะปรากฏใน หนังสือเรียนภาษาไทย หลักภาษาและการใชภาษา ป.4


สาระที่ 4

หลักการใชภาษาไทย

มาตรฐาน ท 4.1 เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปญญา ทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ ชั้น

ตัวชี้วัด

ป.4 1. สะกดคําและบอก ความหมายของคํา ในบริบทตางๆ

สาระการเรียนรูแกนกลาง • • • • •

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

คําในแม ก กา มาตราตัวสะกด การผันอักษร คําเปนคําตาย คําพอง

2. ระบุชนิดและหนาที่ ของคําในประโยค

• ชนิดของคํา ไดแก - คํานาม - คําสรรพนาม - คํากริยา - คําวิเศษณ

3. ใชพจนานุกรมคนหา ความหมายของคํา

• การใชพจนานุกรม

4. แตงประโยคไดถูกตอง ตามหลักภาษา

• ประโยคสามัญ - สวนประกอบของประโยค - ประโยค 2 สวน - ประโยค 3 สวน

5. แตงบทรอยกรอง และคําขวัญ

• กลอนสี่ • คําขวัญ

6. บอกความหมาย ของสํานวน

• สํานวนที่เปนคําพังเพยและสุภาษิต

เสร�ม

11

สาระที่ 4 นี้ จะปรากฏใน หนังสือเรียนภาษาไทย หลักภาษา และการใชภาษา ป.4

7. เปรียบเทียบภาษาไทย • ภาษาไทยมาตรฐาน มาตรฐานกับภาษาถิ่นได • ภาษาถิ่น

สาระที่ 5

วรรณคดีและวรรณกรรม

มาตรฐาน ท 5.1 เขาใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยางเห็นคุณคาและนํามาประยุกตใช ในชีวิตจริง ชั้น

ตัวชี้วัด

ป.4 1. ระบุขอคิดจากนิทาน พื้นบานหรือนิทาน คติธรรม 2. อธิบายขอคิดจาก การอานเพื่อนําไปใช ในชีวิตจริง

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• หนวยการเรียนรูที่ 2 • วรรณคดีและวรรณกรรม เชน เรื่อง สิงโตเจาปญญา - นิทานพื้นบาน - นิทานคติธรรม - เพลงพื้นบาน - วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียนและตามความสนใจ • หนวยการเรียนรูที่ 5 เรื่อง เรื่องของมาเหมี่ยว ฯลฯ

3. รองเพลงพื้นบาน

• เพลงพื้นบาน

4. ทองจําบทอาขยาน ตามที่กําหนด และบทรอยกรอง ที่มีคุณคาตามความ สนใจ

• บทอาขยานและบทรอยกรองที่มีคุณคา - บทอาขยานตามที่กําหนด - บทรอยกรองตามความสนใจ

สาระที่ 5 ตัวชี้วัดขอ 3-4 นี้ จะปรากฏในหนังสือเรียน ภาษาไทย หลักภาษาและการใช ภาษา ป.4

คูม อื ครู


คําอธิบายรายวิชา รายวิชา ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่ 4 รหัสวิชา ท…………………………………

เสร�ม

12

การศึกษาและการฝกทักษะหลักภาษา การใชภาษา วรรณคดีและวรรณกรรม โดยการอานออกเสียง บทรอยแกว บทรอยกรอง อธิบายความหมายของคํา ประโยค และสํานวน อานเรื่องสั้นๆ ตามเวลาที่ กําหนด ตอบคําถาม แยกขอเท็จจริง ขอคิดเห็น คาดคะเนเหตุการณจากเรือ่ งทีอ่ า น โดยระบุเหตุผลประกอบ สรุปความรูและขอเท็จจริง คัดลายมือ เขียนสื่อสาร เขียนแผนภาพโครงเรื่อง แผนภาพความคิด ยอความ เขียนจดหมายถึง เพื่อนและบิดามารดา เขียนบันทึก เขียนรายงาน เขียนเรื่องตามจินตนาการ จําแนกขอเท็จจริง ขอคิดเห็น จากการฟงและดู พูดสรุปความ พูดแสดงความรู ความคิดเห็น และความรูสึกตั้งคําถามตอบเชิงเหตุผล พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษา สะกดคํา บอกความหมายของคํา ระบุชนิดและหนาที่ของคําในประโยค ใชพจนานุกรม แตงประโยค แตงบทรอยกรอง แตงคําขวัญ บอกความหมายของสํานวน เปรียบเทียบภาษาไทย ภาษาถิ่น ระบุขอคิด จากนิทานพื้นบาน นิทานคติธรรม อธิบายขอคิดจากการอาน เพื่อนําไปใชในชีวิตจริง รองเพลงพื้นบาน ทองจําบทอาขยาน และบทรอยกรองที่มีคุณคาตามความสนใจ มีนิสัยรักการอาน มีมารยาทในการอาน เขียน ฟง ดู และพูด โดยใชการฝกทักษะกระบวนการทางภาษาไทย ไดแก การฟง การพูด การอาน และการเขียน เพื่อใหเกิดเจตคติที่ดีตอการเรียนวิชาภาษาไทย ตั้งใจเรียนและมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียน คนควา หาความรูจากแหลงการเรียนรูตางๆ อยางสมํ่าเสมอ กลาซักถามเพื่อหาขอมูล มีความรอบคอบในการ ทํางาน ใชภาษาไทยไดอยางถูกตอง เหมาะสม ตัวชี้วัด ท 1.1 ท 2.1 ท 3.1 ท 4.1 ท 5.1

คูม อื ครู

กลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย ภาคเรียนที่ 1-2 เวลา 160 ชั่วโมง/ป

ป.4/1 ป.4/1 ป.4/1 ป.4/1 ป.4/1

ป.4/2 ป.4/2 ป.4/2 ป.4/2 ป.4/2

ป.4/3 ป.4/3 ป.4/3 ป.4/3 ป.4/3

ป.4/4 ป.4/5 ป.4/4 ป.4/5 ป.4/4 ป.4/5 ป.4/4 ป.4/5 ป.4/4 รวม 33 ตัวชี้วัด

ป.4/6 ป.4/6 ป.4/6 ป.4/6

ป.4/7 ป.4/7 ป.4/7

ป.4/8 ป.4/8


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹

ÀÒÉÒä·Â

ÇÃó¤´ÕáÅÐÇÃó¡ÃÃÁ ».ô ªÑé¹»ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè ô

¡ÅØ‹ÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ÀÒÉÒä·Â µÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ

¼ÙŒàÃÕºàÃÕ§ ¹Ò¢ѳ¸ ªÑ ͸Ôà¡ÕÂÃµÔ ÃÈ.´Ã. ÊÔÃԾѪà à¨É®ÒÇÔâè¹ ¼ÙŒµÃǨ

¹Ò§ÊÒǾþԵà ¾¨¹ÍÒÃÕ ¹Ò§ÊÒǨÔÃÀѷà ͹Øâè¹ ÇÒ³Ôª ¹Ò§ÍØ·ÑÂÇÃó ÀÑ··¡Ç§È

ºÃóҸԡÒà ¹ÒÂàÍ¡ÃÔ¹·Ã ÊÕèÁËÒÈÒÅ

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè ö

ʧǹÅÔ¢ÊÔ·¸ÔìµÒÁ¾ÃÐÃÒªºÑ- - ÑµÔ ISBN : 978-616-203-033-8 ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ ñôññððó

¤Œ¹¤ÇÒÁÃÙŒ¢ÂÒ¤ÇÒÁ¤Ô´¨Ò¡

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè ñ ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ ñôôñðóø

EB GUIDE

ที่พิมพกํากับหัวขอสําคัญในหนังสือเรียนหลักสูตรใหม ชั้น ป.๔ ขึ้นไป ผาน www.aksorn.com ไปยังแหลงความรูทั่วไทย-ทั่วโลก


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

¤íÒ¹íÒ ´ŒÇ¡ÃзÃǧÈÖ¡ÉÒ¸Ô¡ÒÃä´ŒÁÕ¤íÒÊÑè§ãˌ㪌ËÅÑ¡ÊٵáÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõôô ã¹âçàÃÕ¹·ÑÇè ä»·Õ¨è ´Ñ ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñ¹é ¾×¹é °Ò¹ã¹»‚¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõôö áÅШҡ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒÇÔ¨ÂÑ áÅеԴµÒÁ ¼Å¡ÒÃ㪌ËÅÑ¡ÊٵáÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñ¹é ¾×¹é °Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõôô ¨Ö§¹íÒä»Ê‹¡Ù ÒþѲ¹ÒËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§ ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñ¹é ¾×¹é °Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ «Ö§è ÁÕ¤ÇÒÁàËÁÒÐÊÁáÅЪѴਹ à¾×Íè ãˌʶҹÈÖ¡ÉÒä´Œ¹Òí ä» ãªŒà»š¹¡Ãͺ·Ôȷҧ㹡ÒèѴËÅÑ¡ÊÙµÃʶҹÈÖ¡ÉÒáÅШѴ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹à¾×Íè ¾Ñ²¹Òà´ç¡áÅÐàÂÒǪ¹ ·Ø¡¤¹ã¹ÃдѺ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ãËŒÁդسÀÒ¾´ŒÒ¹¤ÇÒÁÃÙŒ áÅзѡÉзÕè¨íÒ໚¹ÊíÒËÃѺ¡ÒôíÒçªÕÇÔµ ã¹Êѧ¤Á·ÕèÁÕ¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§ áÅÐáÊǧËÒ¤ÇÒÁÃÙŒà¾×è;Ѳ¹Òµ¹àͧÍ‹ҧµ‹Íà¹×èͧµÅÍ´ªÕÇÔµ ÊíÒËÃѺ¡Å‹ØÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒÀÒÉÒä·Â »ÃСͺ´ŒÇ õ ÊÒÃЋ͠¤×Í ÊÒÃзÕè ñ ¡ÒÃÍ‹Ò¹ ÊÒÃзÕè ò ¡ÒÃà¢Õ¹ ÊÒÃзÕè ó ¡Òÿ˜§ ¡Òô٠áÅСÒþٴ ÊÒÃзÕè ô ËÅÑ¡¡ÒÃ㪌ÀÒÉÒä·Â ÊÒÃзÕè õ ÇÃó¤´ÕáÅÐÇÃó¡ÃÃÁ ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÀÒÉÒä·Â ÇÃó¤´ÕáÅÐÇÃó¡ÃÃÁ ».ô àÅ‹Á¹Õé¨Ñ´·íÒ¢Öé¹ÊíÒËÃѺ㪌 »ÃСͺ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ÇÃó¤´ÕáÅÐÇÃó¡ÃÃÁ¢Í§¹Ñ¡àÃÕ¹ÃдѺªÑé¹»ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè ô â´Â ¨Ñ´·íÒãËŒÊÍ´¤ÅŒÍ§µÒÁ¡Ãͺ¢Í§ËÅÑ¡Êٵ÷ء»ÃСÒà ʋ§àÊÃÔÁ¤ÇÒÁÃÙ´Œ ÒŒ ¹ÇÃó¤´ÕáÅÐÇÃó¡ÃÃÁµ‹Ò§æ ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÀÒÉÒä·Â ÇÃó¤´ÕáÅÐÇÃó¡ÃÃÁ ».ô àÅ‹Á¹Õé ÁÕ ø ˹‹Ç ᵋÅÐ˹‹Ç »ÃСͺ´ŒÇ ñ. ໇ÒËÁÒ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ»ÃШíÒ˹‹Ç ¡íÒ˹´ÃдѺ¤ÇÒÁÃÙŒ ¤ÇÒÁÊÒÁÒö¢Í§¼ÙŒàÃÕÂ¹Ç‹Ò àÁ×èÍàÃÕ¹¨ºáµ‹ÅÐ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ µŒÍ§ºÃÃÅØÁҵðҹµÑǪÕéÇÑ´·Õè¡íÒ˹´äÇŒã¹ËÅÑ¡ÊٵâŒÍã´ºŒÒ§ ò. à¹×éÍËÒ ¤ÃºµÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ ¹íÒàÊ¹Í àËÁÒÐÊÁ¡Ñº¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ã¹áµ‹ÅÐÃдѺªÑé¹ ó. ¡Ô¨¡ÃÃÁ ÁÕËÅÒ¡ËÅÒÂÃٻẺãËŒ¹Ñ¡àÃÕ¹»¯ÔºÑµÔ ẋ§à»š¹ (ñ) ¡Ô¨¡ÃÃÁ¹íÒÊ‹Ù¡ÒÃàÃÕ¹ ¹íÒࢌÒÊ‹Ùº·àÃÕ¹ à¾×èÍ¡Ãе،¹¤ÇÒÁʹ㨢ͧ¼ÙŒàÃÕ¹ (ò) ¡Ô¨¡ÃÃÁ¤íÒ¶ÒÁ·ŒÒÊÁͧ ¡Ô¨¡ÃÃÁ·ŒÒ½‚Á×Í ¡Ô¨¡ÃÃÃÁ½ƒ¡¤Ô´·ŒÒ»ÃÐʺ¡Òó ãËŒ ¼ÙŒàÃÕ¹»¯ÔºÑµÔà¾×Íè áÊ´§¾ÄµÔ¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙÃŒ ǺÂÍ´ áÅлÃÐàÁÔ¹¼Å¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙµŒ ÒÁÁҵðҹµÑǪÕÇé ´Ñ »ÃШíÒ˹‹Ç ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÀÒÉÒä·Â ÇÃó¤´ÕáÅÐÇÃó¡ÃÃÁ ».ô àÅ‹Á¹Õé ¹íÒàʹ͡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ãËŒàËÁÒÐÊÁá¡‹ÇÑ¢ͧ¼ÙŒàÃÕ¹㹪Ñé¹»ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè ô «Öè§à»š¹¡ÒÃÈÖ¡ÉÒÊÔ觷Õèà¡ÕèÂÇ¢ŒÍ§¡Ñº¡ÒôíÒà¹Ô¹ ªÕÇµÔ »ÃШíÒÇѹ¢Í§¼ÙàŒ ÃÕ¹ â´Â㪌ÀÒ¾¹íÒàʹÍà¹×Íé ËÒµ‹Ò§æ «Ö§è ¨Ðª‹ÇÂãËŒ¼àŒÙ ÃÕ¹ÊÒÁÒöàÃÕ¹ÃÙäŒ ´Œ§Ò‹ Â¢Ö¹é ¤³Ð¼Ù¨Œ ´Ñ ·íÒËÇѧ໚¹Í‹ҧÂÔ§è Ç‹Ò Ë¹Ñ§Ê×ÍàÃÕ¹ ÀÒÉÒä·Â ÇÃó¤´ÕáÅÐÇÃó¡ÃÃÁ ».ô àÅ‹Á¹Õé ¨Ð໚¹Ê×èÍ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹·ÕèÍíҹǻÃÐ⪹ µ‹Í¡ÒÃàÃÕ¹ÀÒÉÒä·Â à¾×èÍãËŒà¡Ô´ÊÑÁÄ·¸Ô¼Å µÒÁÁҵðҹµÑǪÕéÇÑ´·Õè¡íÒ˹´äÇŒã¹ËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ ·Ø¡»ÃСÒà ¤³Ð¼ÙŒ¨Ñ´·íÒ


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

อธิบายความรู

Explore

ขยายความเขาใจ

Explain

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

แนวคิดสําคัญ แกนความรูที่เปนความเขาใจ คงทนติดตัวผูเรียน

คําชี้แจงในการใชสื่อ

แนวคิดสําคัญ 

เรื่อง ไมอยากเป เกิดความทกุ ขใจ ไม นควาย เปนเรื่องของควายที่ไมอยาก มคี เปนควาย ทําใหม ัน ตัวเอง คือ กลับมา วามสุข เพราะอยากเปนคน แตเ มือ่ มัน เปนควายเหมือนเด ิม มันก็มีความสุข กลบั มาเปนตัวของ กิจกรรมนําสู

การเรียน

à¾×è͹æ à¤ÂÍÂÒ¡à» š¹àËÁ×͹ÊÑµÇ ª¹Ô áÅÐà¾ÃÒÐà˵Øã´ ´ã´ºŒÒ§

หนวยการเรียนรูที่

Â

äÁ‹ÍÂҡ໚¹¤ÇÒ

ñ

˹ÙÍÂҡ໚¹¡Ãе‹

ÒÂ

©Ñ¹ÍÂҡ໚¹áÁÇ

¼ÁÍÂҡ໚¹àÊ×Í

ที่ ๑ ียนรูประจําบท /๑) เปาหมายการเร อง ี้ (มฐ. ท ๑.๑ ป.๔ ไดถตูกอตไปน หนดารถ ที่กําสาม งสั้นๆ วาม ศูนย

ป.๔เป/๒)น ๑.๑านะ ยนจะะเรืมีค่อวามรูค จากหรื (มฐ.บถืทอในฐ ผูเรีมแล นไดี่ต นนั หนียวงขยนีอ้ ควา ศาส่อานาท ๑. ยนจบกเส เมื่ออเรีานออ สนา เรื่องที านวน พุทสํธศา า และ ญของงคํพระ สําคัยขอ ๒. ป.๔/๑] ๑. อธิบายความหมา ๑.๑ ส าทีต่ นนับถือ [มฐ. าสด ิ ศ ต ชน วั ก ิ ประ รวมจิตใจของศาสน บรรลธุ รรมจนถงึ ประกาศธรรม หรือ งั้ แต ๒. สรุปพุทธประวัตติ ส ๑.๑ ป.๔/๒] /๘] ป.๔ ๑.๑ ส [มฐ. [มฐ. หนด า ํ ก ่ สังเขป ตามที าของศาสนาอื่นๆ โดย ๓. อธิบายประวัติศาสด

มาตรฐานตัวชี้วัด ระบุตัวชี้วัดที่กําหนดไว ในแตละบท เน�้อหา ครบตามหลักสูตรแกนกลางฯ ’๕๑ นําเสนอโดยใชภาพ และเน�้อหา เหมาะสมกับการเรียนการสอน

กิจกรรมนําสูการเรียน นําเขาสูบทเรียนโดยใชกระตุน ความสนใจและวัดประเมินผล กอนเรียน

เปาหมายการเรียนรู กําหนดระดับความรูความสามารถ ของผูเรียนเมื่อเรียนจบบท ?

äÁ‹ÍÂҡ໚¹¤ÇÒÂ

ดินมาที่หองสมุด ิชาสุดทายแลว สันติเ ว นี้ ตอนเย็นหลังจากเรียนว แลวคิดถึงคําพูดของแมเมื่อวาน ตู ประ า น ง ยืนที่ห พูดดวยความเปนหว ของโรงเรียน เขาหยุด แม นะ” น ้ ึ ากข ม ให อ “ลูกตองอานหนังสื ยสง ปนจี้ ะเปน แบบเกา  อ ค ม ไ ก็ ู ก นล า บ การ ี ด ก็ไม อ “เมอื่ ปทแี่ ลว คะแนนสอบ ี้ ลูกจะตอ งไปอานหนังสื กอนไปโรงเรียน “ตอไปน ไมไดแลว” แมอ บรมเขา มาเลาใหแมฟง” นั่นเปนคําสั่งของแมซึ่งเปน แลว ในหองสมุดครั้งละเลม องสมุดของโรงเรียน สาเหตุใหเขาตองมาที่ห

?

เ ขาขนึ้ ชัน้ ป. ๔ มา วยความลงั เลใจ ตัง้ แต สันติยนื หนา หองสมดุ ด เลย เขารูส กึ วาหองสมดุ มีแตหนังสือ ริการหอ งสมดุ ุดของโรงเรยี นเปลีย่ นไป เขายังไมไดเขามาใชบ วันนี้ สันติรูสึกวา หองสม เกาๆ และมีฝุนมาก แต น ป ็ เ เรียนก ได EB GUIDE ปรุงในชว งปดัตภาค ไทย) อาจเปนเพราะมกี ารปรับ ประว ิหองสมุดในประเทศ http:// www.aksorn.co

๑. ถาสิงโตหนุมคิ ดวิธ ๒. คําพูดของครู ี “ปนเชือกดวยขี้เถา” ไมได จะเกิด นพรัตน อะไรขึ้น มีความหมายอยา ที่บอกวา “ประเดิมเรื่องแรกก็เป งไร นมงคล” ๓. นิทานเรื่อง “สิ งโตเจาปญญา” ให ขอคิดอะไรบาง

¡Ô¨¡ÃÃÁ·ŒÒ½‚Á×Í

๑. นักเรียนลองคิ ดปร ๒. นักเรียนลองเรี ิศนาคําทายเอาไวทายเพื่อนๆ ยงลําดับบุคคลเหล านี้ตามชวงอายุจาก นอยไปมาก

?

m/lib/p/tha_05 (เรื่อง

¤íÒ¶ÒÁ·ŒÒÊÁͧ

½ƒ¡¤Ô´·ŒÒ»ÃÐʺ¡ÒÃ

³

๑. ครอบครวั ของน กั เรียนมสี มาชิก……… ………….คน แบง ตามชว งอายุ ดังนี้ ชวงวัยเด็กมี………………… …..คน มี ความสัมพันธคือเป ชวงวัยรุนมี………………… น ……………………… …..คน มีค …………….. วามสัมพันธ ชวงวัยผูสูงอายุหรื อวัยชรามี………………… คือเปน…………………………………………… …..คน มีความสัมพันธคือ เปน……………………………… …………

Web Guide แหลงเรียนรูทางอินเทอรเน็ต

คําถามทาสมอง กิจกรรมทาฝมือ ฝกคิดทาประสบการณ ใหผูเรียนฝกปฏิบัติเพื่อแสดงพฤติกรรม การเรียนรูรวบยอดและประเมินผล การเรียนรูตามมาตรฐานตัวชี้วัดประจําบท

๓๑


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

สารบัญ ●

ตารางวิเคราะหมาตรฐานการเรียนรู

หนวยการเรียนรูที่ หนวยการเรียนรูที่ หนวยการเรียนรูที่ หนวยการเรียนรูที่ หนวยการเรียนรูที่ หนวยการเรียนรูที่ หนวยการเรียนรูที่ หนวยการเรียนรูที่

บรรณานุกรม EB GUIDE

๑ ไมอยากเปนควาย ๒ สิงโตเจาปญญา

๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘

เลนกลางแจง ตนไม เรื่องของมาเหมี่ยว บานพิลึก โทรทัศนเปนเหตุ นางในวรรณคดี

๑ ๑๗ ๓๙ ๕๓ ๗๒ ๘๗ ๑๐๓ ๑๒๒ ๑๕๔

คนควาขอมูลเพิ่มเติม จากเว็บไซตที่อยูในหนังสือเรียน หนา ๓, ๕, ๓๖, ๔๘, ๖๘, ๙๒, ๑๒๐ ๑๓๔, ๑๔๒


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

ตารางวิเคราะห

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Áҵðҹ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙጠÅеÑǪÕÇé ´Ñ ÃÒÂÇÔªÒ ÀÒÉÒä·Â ».๔

คําชี้แจง : ใหผูสอนใชตารางน�้ตรวจสอบวา เน�้อหาสาระการเรียนรูในหนวยการเรียนรูสอดคลองกับมาตรฐาน การเรียนรูและตัวชี้วัดชั้นปในขอใดบาง

มาตรฐาน การเรียนรู

มฐ. ท ๑.๑

หนวยที่

สาระการเรียนรู ตัวชี้วัด ชั้น ป.๔ สาระที่ ๑ การอาน ๑. อานออกเสียงบทรอยแกว และบทรอยกรอง ไดถูกตอง ๒. อธิบายความหมายของคํา ประโยค และสํานวน จากเรื่องที่อาน ๓. อานเรื่องสั้นๆ ตามเวลาที่กําหนด และตอบคําถาม จากเรื่องที่อาน

✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓

๔. แยกขอเท็จจริง และขอคิดเห็นจากเรื่องที่อาน ๕. คาดคะเนเหตุการณจากเรื่องที่อาน โดยระบุเหตุผล ประกอบ ๖. สรุปความรูและขอคิดจากเรื่องที่อาน เพื่อนําไปใช ในชีวิตประจําวัน ๗. อานหนังสือทีม่ คี ณุ คาตามความสนใจอยางสมํา่ เสมอ และแสดงความคิดเห็นเกีย่ วกับเรือ่ งทีอ่ า น ๘. มีมารยาทในการอาน สาระที่ ๒ การเขียน

สาระที่ ๑ ตัวชีว้ ดั ขอ ๓-๘ นี้ จะปรากฏ ในหนังสือเรียนภาษาไทย หลักภาษา และการใชภาษา ป.๔

๑. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ�งบรรทัด ๒. เขียนสื่อสารโดยใชคําไดถูกตอง ชัดเจน และ เหมาะสม

มฐ. ท ๒.๑

๓. เขียนแผนภาพโครงเรื่อง และแผนภาพความคิด เพื่อใชพัฒนางานเขียน ๔. เขียนยอความจากเรื่องสั้นๆ ๕. เขียนจดหมายถึงเพื่อนและบิดามารดา

สาระที่ ๒ นี้ จะปรากฏใน หนังสือเรียนภาษาไทย หลักภาษา และการใชภาษา ป.๔

๖. เขียนบันทึกและเขียนรายงานจากการศึกษาคนควา ๗. เขียนเรื่องตามจินตนาการ ๘. มีมารยาทในการเขียน


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

ตารางวิเคราะห มาตรฐาน การเรียนรู

มฐ. ท ๓.๑

อธิบายความรู

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Áҵðҹ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙጠÅеÑǪÕÇé ´Ñ (ตอ)

หนวยที่

สาระการเรียนรู ตัวชี้วัด ชั้น ป.๔ สาระที่ ๓ การฟง การดู และการพูด ๑. จําแนกขอเท็จจริงและขอคิดเห็นจากเรื่องที่ฟงและดู ๒. พูดสรุปความจากการฟงและดู ๓. พูดแสดงความรู ความคิดเห็น และความรูสึก เกี่ยวกับเรื่องที่ฟงและดู ๔. ตั้งคําถามและตอบคําถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟง และดู ๕. รายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาคนควาจากการฟง การดู และการสนทนา ๖. มีมารยาทในการฟง การดู และการพูด สาระที่ ๔ หลักการใชภาษาไทย ๑. สะกดคําและบอกความหมายของคําในบริบทตางๆ

สาระที่ ๓-๔ นี้ จะปรากฏใน หนังสือเรียนภาษาไทย หลักภาษาและ การใชภาษา ป.๔

๒. ระบุชนิดและหนาที่ของคําในประโยค

มฐ. ท ๔.๑

๓. ใชพจนานุกรมคนหาความหมายของคํา ๔. แตงประโยคไดถูกตองตามหลักภาษา ๕. แตงบทรอยกรองและคําขวัญ ๖. บอกความหมายของสํานวน ๗. เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ�นได สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม ๑. ระบุขอคิดจากนิทานพื้นบาน หรือนิทานคติธรรม

มฐ. ท ๕.๑

๒. อธิบายขอคิดจากการอานเพื่อนําไปใชในชีวิตจริง ๓. รองเพลงพื้นบาน ๔. ทองจําบทอาขยานตามที่กําหนด และบทรอยกรอง ที่มีคุณคาตามความสนใจ

✓ ✓

สาระที่ ๕ ตัวชีว้ ดั ขอ ๑-๒ นี้ จะปรากฏ ในหนังสือเรียนภาษาไทย หลักภาษา และการใชภาษา ป.๔


กระตุน้ ความสนใจ Engage

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expore

Explain

Expand

Evaluate

เปาหมายการเรียนรู

1. อานออกเสียงวรรณกรรมที่กําหนด 2. อธิบายความหมายของคําและสํานวน จากวรรณกรรมที่อาน 3. บอกขอคิดจากเรื่องที่อาน

สมรรถนะของผูเรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการใชทกั ษะชีวิต

คุณลักษณะอันพึงประสงค

หนวยการเรียนรูที่

äÁ‹ÍÂҡ໚¹¤ÇÒÂ

ñ

เปาหมายการเรียนรูประจําบทที่ ๑ ๑. ่ออ่เรีานออกเสี งสั้นๆความสามารถต่ ที่กําหนดไดถูกอตไปนี อง ้ (มฐ. ท ๑.๑ ป.๔/๑) เมื ยนจบหน่ยวงขยนีอ้ ความและเรื ผูเรียนจะมีค่อวามรู ๒. อธิบายความหมายของคํ า และสํ านวนจากเรื ่อ่านได่ตนนั (มฐ.บถืทอในฐานะเป ๑.๑ ป.๔/๒)นศูนย ๑. ายความสําคัญของพระพุ ทธศาสนา หรื่องที ศาสนาที รวมจิตใจของศาสนิกชน [มฐ. ส ๑.๑ ป.๔/๑] ๒. สรุปพุทธประวัตติ งั้ แต่บรรลุธรรมจนถึงประกาศธรรม หรือประวัตศิ าสดาทีต่ นนับถือ ตามที่กําหนด [มฐ. ส ๑.๑ ป.๔/๒] ๓. อธิบายประวัติศาสดาของศาสนาอื่นๆ โดยสังเขป [มฐ. ส ๑.๑ ป.๔/๘]

1. ใฝเรียนรู 2. มุงมั่นในการทํางาน

กระตุน้ ความสนใจ

Engage

1. ใหนักเรียนดูภาพในหนังสือ หนา 1 แลวรวมกันบอกวา สัตวในภาพคือสัตวอะไร และสัตวในภาพมีลักษณะอยางไร (ตอบ สัตวในภาพ คือ ควาย และลิง ซึ่งสัตวทั้งสองใสเสื้อผาเหมือนอยางคน) 2. ใหนักเรียนอานชื่อเรื่องในหนังสือ หนา 1 จากนั้นครูถามคําถาม แลวใหนักเรียน แสดงความคิดเห็นอยางอิสระ • นักเรียนคิดวา จากชื่อเรื่อง อะไรที่ไมอยาก เปนควาย และทําไมจึงไมอยากเปน (แนวตอบ คําตอบมีหลากหลาย ขึ้นอยูกับ นักเรียนแตละคน เชน คนไมอยากเปนควาย เพราะไมอยากโงเหมือนควาย เปนตน)

เกร็ดแนะครู ครูจัดกระบวนการเรียนรู โดยการใหนักเรียนปฏิบัติ ดังนี้ • อภิปรายเกี่ยวกับเรื่อง เราควรพอใจในสิ่งที่ตนเองเปน • อานออกเสียงขอความและเรื่องสั้นๆ ที่กําหนด • อธิบายความหมายของคําและสํานวนจากเรื่อง • วิเคราะหและสรุปขอคิดที่ไดจากวรรณกรรม แลวนําไปประยุกตใช ในชีวิตประจําวัน

คู่มือครู

1


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา Explore

Engaae

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Elaborate

Evaluate

Explore

1. ครูและนักเรียนรวมกันสนทนาเกีย่ วกับสัตวตา งๆ ที่นักเรียนอยากเปน และครูถามคําถาม ใหนักเรียนตอบ ดังนี้ • นักเรียนอยากเปนสัตวชนิดนั้น เพราะอะไร (แนวตอบ ตอบไดหลากหลาย เชน อยากเปนแมว เพราะอยากปนตนไมได เปนตน) • ถานักเรียนไดเปนสัตวชนิดนั้น นักเรียนจะทํา อะไรเปนสิ่งแรก (แนวตอบ ตอบไดหลากหลาย เชน เลนกับเจาของ เปนตน) • คนกับสัตวแตกตางกันอยางไร (ตอบ คนจะมีความคิด แตสัตวจะไมมี และสัตวจะทําทุกอยางตามสัญชาตญาณ) • สัตวทําอะไรแบบคนไดหรือไม เพราะอะไร (ตอบ สัตวบางชนิดอาจเลียนแบบการกระทํา บางอยางของคนได แตก็เปนการทําโดยไมมี ความรูสึกนึกคิด เชน นกขุนทองพูด เลียนแบบคน เปนตน) 2. ครูติดภาพควายบนกระดาน แลวครูถามคําถาม ใหนักเรียนตอบ ดังนี้ • นักเรียนเคยเห็นสัตวในภาพนี้มากอนหรือไม (แนวตอบ ตอบไดหลากหลาย ขึ้นอยูกับ นักเรียนแตละคน) • ภาพที่นักเรียนเห็นนี้ คือสัตวชนิดใด (ตอบ ควาย) • สัตวในภาพมีประโยชนอยางไรตอสังคมไทย (แนวตอบ ใชเปนแรงงานในการทําเกษตรกรรม เชน ใชไถนา เปนตน)

แนวคิดสําคัญ เรื่อง ไมอยากเปนควาย เปนเรื่องของควายที่ไม่อยากเปนควาย ทําใหมัน เกิดความทุกขใจ ไม่มคี วามสุข เพราะอยากเปนคน แต่เมือ่ มันกลับมาเปนตัวของ ตัวเอง คือ กลับมาเปนควายเหมือนเดิม มันก็มีความสุข

กิจกรรมนําสูการเรียน à¾×è͹æ à¤ÂÍÂҡ໚¹àËÁ×͹ÊÑµÇ ª¹Ô´ã´ºŒÒ§ áÅÐà¾ÃÒÐà˵Ø㴠˹ÙÍÂҡ໚¹¡Ãе‹ÒÂ

¼ÁÍÂҡ໚¹àÊ×Í

©Ñ¹ÍÂҡ໚¹áÁÇ

เกร็ดแนะครู ครูสอนนักเรียนรองเพลง เปนอะไรดีเอย ของ หลวงประดิษฐไพเราะ แลวให นักเรียนวาดภาพสัตวตางๆ ที่ระบุในเนื้อเพลง ใหสอดคลองกับเนื้อหาของเพลง แลวสรุปขอคิดจากเพลง เพลง เปนอะไรดีเอย อยากเปนกบ รองอบ อบ ในกอหญา อยากเปนปลา วายนํ้า ดําผุดวาย อยากเปนเปด วายนํ้า ตามสบาย อยากเปนกระตาย โดดเตน เลนแสงจันทร อยากเปนนก นอยนอย เหินลอยฟา อยากเปนมา โลดไล ในไพรสัณฑ อยากเปนไก ขันจา ทาตะวัน อยากเปนเด็ก คนขยัน ดีกวาเอย

2

คู่มือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T อะไรเอย ตัวสีดํา มีสี่เทา เขากาง กินฟางและกินหญา จากปริศนาคําทาย หมายถึงสัตวในขอใด 1. แพะภูเขา 2. กวาง 3. ควาย 4. เกง วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 3. จากปริศนา เปนลักษณะของควาย ขอ 3. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง

บูรณาการเชื่อมสาระ

ครูบูรณาการความรูในสาระภาษาไทย กับสาระศิลปะ วิชาทัศนศิลป เรื่อง การวาดรูป โดยใหนักเรียนเลือกวาดภาพสัตวจากเพลง เปนอะไรดีเอย คนละ 1 ชนิด ใหสอดคลองกับเนื้อหาของเพลง แลวนําเสนอผลงาน ที่หนาชั้นเรียน


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู้ Explain

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู้

Explain

1. ใหนักเรียนรวมกันอานออกเสียงเรื่อง ไมอยาก เปนควาย ในหนังสือ หนา 3 พรอมๆ กัน 2. ใหนกั เรียนรวมกันสรุปสาเหตุทสี่ นั ติมาที่ หองสมุด และสรุปลักษณะนิสัยของสันติ • สันติตองอานหนังสือในหองสมุดครั้งละ 1 เลม แลวไปเลาใหแมฟง • สันติมีนิสัยไมรักการอาน และไมตั้งใจเรียน 3. ใหนักเรียนรวมกันตอบคําถามวา • นักเรียนเคยใชบริการหองสมุดโรงเรียน หรือไม ถาเคย นักเรียนใชบริการอะไร ของหองสมุด (แนวตอบ คําตอบมีหลากหลายขึ้นอยูกับ นักเรียนแตละคน เชน เคยใชบริการ ยืม - คืนหนังสือ เปนตน) • เพราะเหตุใด จึงเรียกหองที่เก็บหนังสือ และสื่อตางๆ วา หองสมุด (ตอบ ในอดีต คนไทยบันทึกเรื่องราว และขอมูลตางๆ ลงสมุดที่เรียกวา สมุดไทย จึงเรียกหองที่ใชเก็บสมุดเหลานี้วา หองสมุด ตอมาภายหลัง เรารับเทคโนโลยีการพิมพ จากตะวันตก สิ่งที่เก็บในหองสมุดจึงเปน หนังสือแทบทั้งสิ้น แตเราก็ยังคงใชคําวา หองสมุดมาจนทุกวันนี้) 4. ครูอธิบายขอมูลเพิ่มเติมเรื่องหองสมุด ใหนักเรียนฟง

äÁ‹ÍÂҡ໚¹¤ÇÒ ตอนเย็นหลังจากเรียนวิชาสุดทายแลว สันติเดินมาที่หองสมุด ของโรงเรียน เขาหยุดยืนที่หนาประตู แลวคิดถึงคําพูดของแม่เมื่อวานนี้ “ลูกตองอานหนังสือใหมากขึ้นนะ” แม่พูดดวยความเปนห่วง “เมือ่ ปทแี่ ลว คะแนนสอบก็ไมดี การบานลูกก็ไมคอ ยสง ปนจี้ ะเปนแบบเกา ไมไดแลว” แม่อบรมเขาก่อนไปโรงเรียน “ตอไปนี้ ลูกจะตองไปอานหนังสือ ในหองสมุดครั้งละเลม แลวมาเลาใหแมฟง” นั่นเปนคําสั่งของแม่ซึ่งเปน 1 สาเหตุใหเขาตองมาที่หองสมุดของโรงเรียน

สันติยนื หนาหองสมุดดวยความลังเลใจ ตัง้ แต่เขาขึน้ ชัน้ ป. ๔ มา เขายังไม่ไดเขามาใชบริการหองสมุดเลย เขารูส กึ ว่าหองสมุดมีแต่หนังสือ เก่าๆ และมีฝุนมาก แต่วันนี้ สันติรูสึกว่า หอ2งสมุดของโรงเรียนเปลีย่ นไป อาจเปนเพราะมีการปรับปรุงในช่วงปดภาคเรียนก็เปนได http:// www.aksorn.com/lib/p/tha_05 (เรื่อง ประวัติหองสมุดในประเทศไทย)

ขอสอบเนน การคิด

หองสมุด มีประโยชนตอนักเรียนอยางไร

แนว  NT  O-NE T

แนวตอบ เปนแหลงรวบรวมหนังสือและสื่อตางๆ ซึ่งเราสามารถไปสืบคน ขอมูลตางๆ จากหนังสือในหองสมุดได ซึ่งชวยใหเรามีความรูเพิ่มมากขึ้น จากการอานหนังสือหรือสื่อตางๆ และยังชวยปลูกฝงนิสัยรักการคนควาขอมูล ตางๆ ดวยตนเองอีกดวย

EB GUIDE

นักเรียนควรรู 1 หองสมุด เปนสถานที่ที่รวบรวมวิทยาการตางๆ ที่บันทึกไวในรูปแบบหนังสือ วารสาร หรืออุปกรณโสตทัศนศึกษาตางๆ โดยจัดไวอยางเปนระบบ เพื่ออํานวย ความสะดวกแกผูใชบริการในการคนควา 2 ภาคเรียน เปนชวงเวลาที่สถานศึกษาเปดทําการสอนติดตอกัน ตามปกติ ปการศึกษาหนึ่งๆ จะแบงออกเปน 2 ภาคเรียน

คู่มือครู

3


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู้

อธิบายความรู้ Explain

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

1. ใหนักเรียนรวมกันอานออกเสียงวรรณกรรม ในหนังสือ หนา 4 พรอมๆ กัน 2. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับสํานวน โงเหมือนควาย ในประเด็น ดังนี้ • ทําไมจึงตองโงเหมือนควาย • ควายโงจริงหรือไม 3. ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจเกี่ยวกับ สํานวน โงเหมือนควาย • สํานวน โงเหมือนควาย มีที่มาจากลักษณะ นิสัยของควายที่ทําตามความตองการของ มนุษยโดยไมดื้อดาน เชน ไถนา ลากเกวียน เปนตน และควายยังถูกชักจูงไดงาย จากการสนตะพาย คนเราจึงคิดวาควายโง แตจริงๆ แลวควายเปนสัตวที่ซื่อสัตย และกตัญูตอเจาของ ไมไดโงอยางที่คนเรา เขาใจ

สันติเห็นคอมพิวเตอรตงั้ ไวทผี่ นังหองดานหนึง่ ๒ เครือ่ ง เครือ่ งแรก มีรุ่นพี่คนหนึ่งใชงานอยู่ เขาเขาไปดูเครื่องที่ว่าง จึงรูว่าใชสําหรับคนหา หนังสือ เขาอ่านขั้นตอนการใชงานแลวเห็นว่าไม่ยาก แค่พิมพชื่อหนังสือ หรือคําที่ตองการเท่านั้นเอง สันตินั่งคิดอยู่หนาคอมพิวเตอร “เอ! เราจะพิมพหาหนังสือ ชื่ออะไรดีนะ” ขณะกําลังคิด ภาพแม่ก็ผุดขึ้นมา พรอมกับเสียงบ่นที่ดังกอง ในหัวของเขา “ตองอานหนังสือเยอะๆ จะไดไมโงเหมือนควาย รูไ หม” สันติ ถอนใจ เขารูว่าแม่รักและเปนห่วงเขา ไม่อยากใหเขาลําบากตอนโต ก็เลย อยากใหเรียนเก่งและเปนเด็กฉลาด “เอา…เอาคํานี้แหละ” เขากดแปนพิมพพิมพคําว่า “ควาย” เขาอยากรูว่า ทําไมตองโง่เหมือนควายดวย ควายเปนอย่างไรหนอ “มีตงั้ หลายเรือ่ ง เกีย่ วกับควายทัง้ นัน้ เอ…แลวจะอานเรือ่ งไหนดีละ ” เขากวาดสายตามองรายชื่อหนังสือไปเรื่อยๆ จนมาสะดุดที่ชื่อหนังสือ 1 เล่มหนึง่ “ไมอยากเปนควาย… มีเรื่องนี้ดวยหรือเนี่ย” สันติตกลงใจเลือก อ่านหนังสือเรือ่ งนี้ เขาอยากรูว า่ ในหนังสือเล่มนีจ้ ะมีคาํ ตอบไหมว่า ทําไม จึงเปรียบว่า โง่เหมือนควาย เขาจึงจดเลขทะเบียนหนังสือแลวไปหาที่ชั้น วางหนังสือ เขาเรียนวิชาการใชหอ งสมุดเมือ่ ปทแี่ ลว แต่ตอนฝกคนหนังสือ จากเลขทะเบียน เขาไม่ไดหาเองเพราะใหเพื่อนช่วย มาครั้งนี้เขาจึงตอง ใชเวลานานกว่าจะพบหนังสือเล่มนั้น

เกร็ดแนะครู ครูพานักเรียนไปใชบริการหองสมุด จากนั้นคนหาหนังสือเกี่ยวกับควาย แลวจดบันทึกสาระสําคัญของหนังสือที่อาน และนําเสนอผลงานที่หนาชั้นเรียน โดยบอกชื่อหนังสือ ชื่อผูแตง สาระสําคัญของหนังสือที่อาน และวิธีการคนหาหนังสือ

นักเรียนควรรู 1 ไมอยากเปนควาย เปนหนังสือประเภทนิทานภาพที่ไดรับคัดเลือกใหเปน 1 ในหนังสือดี 100 ชื่อเรื่อง ที่เด็กและเยาวชนไทยควรอาน จากคณะวิจัยหนังสือดี วิทยาศาสตร

4

คู่มือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

เพราะเหตุใดจึงเปรียบเทียบคนโงวา โงเหมือนควาย 1. เพราะคนโงถูกชักจูงใหทําสิ่งตางๆ ไดงาย 2. เพราะคนโงชวยเหลือตัวเองไมได 3. เพราะคนโงไมมีความคิดเปนของตัวเอง 4. เพราะคนโงไมมีปากเสียงในการคัดคานหรือสนับสนุนผูอื่น วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 1. เพราะคนโงถูกหลอกหรือถูกชักจูงไดงาย เหมือนกับควายที่ถูกสนตะพายแลวคนจะลากจูงไปทางไหนก็ได จึงเปรียบ คนโงวา โงเหมือนควาย


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู้ Explain

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู้

Explain

1. ใหนักเรียนรวมกันอานออกเสียงวรรณกรรม ในหนังสือหนา 5 บรรทัดที่ 1-7 พรอมๆ กัน 2. ใหนักเรียนรวมกันคิดคาดเดาเหตุการณวา หนังสือเรื่อง ไมอยากเปนควาย เปนเรื่อง เกี่ยวกับควายที่ไมอยากเปนควาย หรือคน ที่ไมอยากเปนควาย 3. ใหนักเรียนศึกษาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับเรื่อง ไมอยากเปนควาย ไดที่ http://www.aksorn. com/lib/p/tha_05 (เรื่อง ไมอยากเปนควาย)

หนังสือเรื่อง ไมอยากเปน ควาย เปนหนังสือเล่มไม่หนามาก ปกแข็ง หนาปกเปนรูปควายยืนสองขา วางท่าและสวมเสื้อผาเหมือนคน เขียนเรื่องโดย ดร. สายสุรี จุติกุล เขาจึงหาทีน่ งั่ ว่างๆ เพือ่ อ่านหนังสือ เล่มนี้

ลองเดาดู

เรื่อง “ไมอยากเปนควาย” เปนเรื่องเกี่ยวกับอะไร  ควายที่ไม่อยากเปนควาย  คนที่ไม่อยากเปนควาย เมื่ออ่านเรื่องนี้จบก็จะทราบคําเฉลย ลองดูซิว่าถูกไหม

äÁ‹ ÍÂÒ¡ ÇÒ ๑ ໚¹¤ Â

นานมาแลว ไม่ไกลจากขอนแก่นนัก ยังมีควายตัวหนึ่ง เจาของมีไวใชไถนา

http:// www.aksorn.com/lib/p/tha_05 (เรื่อง ไมอยากเปนควาย)

___________________________________ ๑ ดร. สายสุรี จุติกุล, ไมอยากเปนควาย (กรุงเทพมหานคร : สํานักพิมพชมรมเด็ก, ๒๕๕๑), หนา ๑-๓๔.

EB GUIDE

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T จากแผนผังของหองสมุดที่กําหนด นักเรียนควรหาหนังสือ เรื่อง ไมอยากเปนควาย จากขอใด 1. บริเวณ ก 2. บริเวณ ข 3. บริเวณ ค 4. บริเวณ ง

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 3. หนังสือเรื่อง ไมอยากเปนควาย เปนหนังสือนิทานภาพ ซึ่งเปนหนังสือสําหรับเด็ก ขอ 3. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง

คู่มือครู

5


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู้

อธิบายความรู้ Explain

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

1. ใหนักเรียนรวมกันอานออกเสียงเรื่อง ไมอยาก เปนควาย ในหนังสือ หนา 5-9 พรอมๆ กัน 2. ใหนักเรียนปฏิบัติกิจกรรม ดังนี้ 1) นักเรียนแบงกลุม กลุมละ 4-5 คน ใหแตละกลุมชวยกันตั้งคําถาม เกี่ยวกับเรื่อง ไมอยากเปนควาย ใหครอบคลุมเนื้อเรื่อง มากที่สุด 2) นักเรียนแตละกลุมผลัดกันถามคําถาม ที่กลุมตนเองคิดใหเพื่อนกลุมอื่นตอบ กลุมใดตอบไดมากที่สุดเปนกลุมชนะ 3) นักเรียนรวมกันรวบรวมคําถามและคําตอบ จากเรื่อง ไมอยากเปนควาย 3. ใหนักเรียนรวมกันสรุปใจความสําคัญของเรื่อง ไมอยากเปนควาย

แมว่าเปนงานหนักน่าเบื่อ แต่มันก็คิดว่า มันมีความสุข ตามสมควร มันคิดว่า เวลาฝนตกใหม่ๆ กลิ่นไอดินหอมชื่นใจจริงๆ มันเฝาทํางานดวยความซื่อสัตยอยู่หลายป วันหนึง่ ขณะทีม่ นั นอนกลิง้ เกลือกอยู่ในปลักนัน้ ควายคิดไป คิดมาแลวเห็นว่า ถายังเปนควายอยู่อย่างนี้ ไฉนจะทําความเจริญให เกิดขึ้นแก่ตนได มันเหลียวไปแลมา เห็นคนกลุ่มหนึ่งเดินผ่านไป จึง เกิดความคิดขึ้นมาว่า “อยากระนั้นเลย เราจะไปเปนคน อยูอยางคน กินอยางคน ทํางานอยางคน สนุกสนานอยางคน ไปอยูก บั คนเสียเลย จะดีกวา แลวเราจะไดเจริญอย1างคน” เมื่อคิดไดดังนั้น ก็สลัดความเปนควายออก

เกร็ดแนะครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

จากภาพที่กําหนด ควายทํากิริยาอาการ ตรงกับคําในขอใด

ครูนําหนังสือเรื่อง ไมอยากเปนควาย ฉบับเต็ม มาใหนักเรียนอาน เพื่อฝกนิสัย รักการอาน แลวรวมกันสรุปใจความสําคัญ

นักเรียนควรรู 1 สลัด เปนคําหลายความหมาย ไดแก 1. หมายถึง ชื่อยําชนิดหนึ่งตามแบบชาวตะวันตก 2. หมายถึง โจรที่ปลนเรือในทะเล เรียกวา โจรสลัด 3. หมายถึง ทําใหสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่ติดอยูใหหลุดไป ซึ่งสลัดในที่นี้ มีความหมายตามขอ 3. คือ ควายเลิกทําตัวเปนควาย หันมา ทําตัวเปนคนแทน โดยในการอานคําหลายความหมาย นักเรียนควรทําความเขาใจ บริบทของคํา เพื่อจะไดเขาใจความหมายของคําที่อานไดดียิ่งขึ้น

6

คู่มือครู

1. คลุกเคลา 3. คลอเคลีย

2. กลิ้งเกลือก 4. กลับกลอก

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 2. ควายในภาพนอนกลิ้งเกลือกอยูในปลัก ซึ่งกลิ้งเกลือกหมายถึง กลิ้งตัวไปมา สวน ขอ 1. หมายถึง ผสมใหเขากัน ขอ 3. หมายถึง เคียงกันไป เคลากันไป ขอ 4. หมายถึง ไมอยูกับรองกับรอย


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู้ Explain

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู้

รํ่าลาเจาของที่ห่วงใย แลวมุ่งหนาเขาสู่หมู่บาน ควายตัวนี้ เริ่มใชชีวิตอย่างคนทันที มีความเปนอยู่อย่างคน กินอย่างคน นอน อย่างคน พูดอย่างคน เดินอย่างคน แต่งตัวอย่างคน ทํางานอย่างคน และสมาคมกับคน ไม่ชาไม่นานนัก มันก็รูสึกว่ามีอย่างหนึ่งที่ทําอย่างคนไม่ได นั่นคือสนุกอย่างคนไม่ได แมจะใชความพยายามมากเท่าใด ควายก็ไม่รูสึกสนุก ควาย ไม่เคยยิม้ เลยตัง้ แต่เปนคน ไปหาหมอก็แลว ไปหาคนอืน่ ๆ ก็แลว ไป หาเพื่อนควายดวยกันก็แลว ไม่มีใครช่วยได ควายก็ยังยิ้มไม่ออกอยู่ นั่นเอง

Explain

1. ใหนักเรียนรวมกันสรุปขอคิดที่ไดจากเรื่อง ไมอยากเปนควาย • เรื่อง ไมอยากเปนควาย ใหขอคิดวา การทําในสิ่งที่ไมใชตัวตนที่แทจริง ทําใหเกิดความทุกข 2. ใหนักเรียนเขียนแผนภาพโครงเรื่อง เรื่อง ไมอยากเปนควาย ตามหัวขอดังนี้ 1) ตัวละคร 2) สถานที่ 3) เหตุการณที่เกิดขึ้น 4) ผลของเหตุการณ 3. ใหนักเรียนนําเสนอผลการเขียนแผนภาพ โครงเรื่องที่หนาชั้นเรียน 4. ใหนักเรียนรวมกันบอกวา หากนักเรียนรูสึก ไมสนุก นักเรียนจะใชวิธีการใดทําให ตนเองสนุก โดยไมละเมิดสิทธิของผูอื่น

วันหนึ่ง ควายคิด1 ถึงลิงเพื่อนสนิทจึงไปขอใหลิงช่วย ลิง ก็ เ ต น ลิ ง ให ดู แสดงกลทุ ก อย่ า งที่ รู  จั ก ทํ า ท่ า ตลกทุ ก ท่ า ที่ เ คย 2 ทําใหคนหัวเราะได แต่ควายก็ยังหัวเราะไม่ออก ลิงหมดปญญา 3 จึงพาควายไปหานก หวังจะใหนกรองเพลงกล่อมควายใหมีความสุข ๗

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

เพราะเหตุใด ควายในเรื่อง ไมอยากเปนควาย จึงไมอยากเปนควาย 1. เพราะคิดวา เปนควายแลวไมมีความสุข 2. เพราะไมอยากไดยินคนพูดวา โงเหมือนควาย 3. เพราะคิดวา เปนควายแลวตองทํางานหนักกวาคน 4. เพราะคิดวา เปนควายแลวไมมีความเจริญรุงเรือง

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 4. ควายไมอยากเปนควาย เพราะคิดวาเปน ควายแลวไมมคี วามเจริญรุง เรืองเกิดขึน้ แกตนเอง จึงทําตัวเปนคน เพือ่ จะได เจริญแบบคน

นักเรียนควรรู 1 กล เปนการเลนที่ลวงตาใหเห็นเปนจริง 2 หัวเราะไมออก ออก ในทีน่ ี้ หมายถึง ได หัวเราะไมออก จึงหมายถึง หัวเราะไมได เหมือนอยางคนนัน่ เอง 3 กลอม คือ การรองเปนทํานองเพื่อเลาโลมใจ หรือใหเพลิน โดยปริยาย หมายความวา พูดใหนอมใจตาม หรือทําใหเพลิดเพลิน เชน กลอมใจ กลอมอารมณ เปนตน

คู่มือครู

7


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู้

อธิบายความรู้ Explain

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

1. ใหนักเรียนแบงกลุม ใหแตละกลุมแสดงบทบาท สมมุติจากเรื่อง ไมอยากเปนควาย โดยคิด บทสนทนาเอง 2. ใหนักเรียนผลัดกันแสดงบทบาทสมมุติเรื่อง ไมอยากเปนควาย ที่หนาชั้นเรียน 3. ครูอธิบายเพิ่มเติมขอมูลที่นักเรียนควรรู

ควายก็1ยังยิ้มไม่ออกอยู่นั่นเอง นกหมดปญญาจึงพาควาย ไปหาไสเดือน ไสเดือนเห็นนกมาก็หลบ นึกว่านกจะมากิน นกรอง ตะโกนบอกว่า “ไม ใช จะมาขอความชวยเหลือตางหาก เพื่อนควายยิ้ม ไมออกมาหลายเดือนแลว เปนเรื่องเศรา ชวยเพื่อนที” ไสเดือนโผล่ออกมาแลวบอกว่า “ไดสิ แตควายจะตองทําตาม ทีบ่ อก แลวอยาถามอะไรใหมากมายนัก” ควายสัญญาว่าจะทําตามที่ ไสเดือนว่าทุกอย่าง ไสเดือนจึงบอกว่า “ขอโทษทีจ่ ะตองใชเวลาหนอย เพราะเดินชา” ว่าแลวก็ใหควายเดินตามมา ใชเวลาเกือบตลอดวัน ไสเดือนนําทางมาจนถึงแอ่งนํ้าแห่งหนึ่ง แลวคลานลงไปจน เกือบถึงนํ้า ควายก็เดินตามไปจนขาแช่นํ้าอยู่ในโคลน ………………………………… มีความสุขอะไรอย่างนี้ แลวมันก็รองตะโกนดวยความร่าเริง แลวมันก็หัวเราะดังกองไปทั่วบริเวณจนเหนื่อย

นักเรียนควรรู 1 ไสเดือน เปนสัตวไมมีกระดูกสันหลัง มีอยูทั่วไปตามดินที่ชุมชื้น ปจจุบัน มีการเพาะพันธุไสเดือนมากขึ้นเพื่อใชกําจัดขยะที่ยอยสลายได ซึ่งขยะที่ไสเดือน ดูดกินเขาไปจะถายมูลออกมาเปนปุยหมักที่สามารถนําไปใสใหตนพืชได

บูรณาการเชื่อมสาระ

ครูบรู ณาการความรูใ นสาระภาษาไทย กับสาระศิลปะ วิชาดนตรี-นาฏศิลป เรื่อง การแสดงบทบาทสมมุติ เพื่อใหนักเรียนฝกใชจินตนาการ และทักษะ ในการสื่อสารไดดียิ่งขึ้น

กิจกรรมทาทาย ใหนักเรียนแตงนิทานสั้นๆ มีตัวละครหลักเปนควาย แลววาดรูป ระบายสีใหสวยงาม จากนั้นนําเสนอผลงานที่หนาชั้นเรียน เพื่อพัฒนา ทักษะการเขียน และการสื่อสารใหดียิ่งขึ้น

8

คู่มือครู


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู้ Explain

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู้

Explain

1. ใหนักเรียนรวมกันบอกวิธีการที่ควายทําให ตนเองมีความสุขและยิ้มได • ควายกลับบาน และไมทําตัวเปนคนอีก ทําใหควายมีความสุขและยิ้มได 2. ใหนักเรียนทําแบบฝกหัด ภาษาไทย ป.4

ทั้งลิง นก และไสเดือน ต่างก็พลอยหัวเราะไปดวย เมื่อเห็นเพื่อน ควายหัวเราะได แลวก็รองเรียกชวนควายกลับบาน “บานอยูที่ไหน” ควายถามแลวพูดอย่างภูมิใจว่า “บานฉันอยูที่นี่ 1 บานฉันอยูที่นี่” ว่าแลวก็ลุกขึ้นเล็มหญาอยู่ริมปลักนั่นเอง!

✓ แบบฝกฯ ใบงาน แบบวัดฯ ภาษาไทย ป.4 ประเมินตัวชี้วัด มฐ. ท 1.1 ป.4/1

๒. เขียนบอกสิ่งที่ตนเองอยากเปน และไมอยากเปน ลงในชองวาง พรอมกับบอกเหตุผลประกอบ (ตัวอยาง) ฉันอยากเปน นก เพราะ จะไดบินทองเที่ยวไปในที่ตางๆ

…………………………………………………………………………………………………..

………………………………………………………………………………………………………………………

อยางอิสระ

……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ฉันไมอยากเปน แมลงวัน เพราะ มีแตคนรังเกียจ และเปนพาหะ

เฉลย

……………………………………………………………………………………………

………………………………………………………………………………………………………………………

นําโรคมาสูคนดวย

……………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

๓. เขียนเติมชื่อสัตวใหถูกตองกับสํานวนที่กําหนด ชาเปน เตา โงเหมือน ควาย …………………………………………………

ซื่อเหมือน แมวนอนหวด

………………………………………………

………………………………………………………………..

คอยาวเหมือน ยีราฟ

…………………………………………..

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

เพราะเหตุใด ควายจึงกลับมามีความสุขอีกครั้ง 1. เพราะลิงเลนกลใหดู 2. เพราะนกรองเพลงใหฟง 3. เพราะควายคิดไดแลว 4. เพราะควายไดกลับมาอยูกับเจาของ

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 3. ควายคิดไดวา การเปนตัวของตัวเอง เปนเรื่องที่ดีที่สุด มันจึงกลับมามีความสุขอีกครั้ง

นักเรียนควรรู 1 ปลัก หมายถึง แองที่เปนโคลนเลน เชน ปลักควาย เปนตน

มุม IT ครูศึกษาเรื่อง ไมอยากเปนควาย ไดที่ http://www.youtube.com/watch?V= LtltjQgej84 โดยคนหา (Search) คําวา ไมอยากเปนควาย จะปรากฏภาพ และคําบรรยายเรื่อง ไมอยากเปนควาย ใหชม

คู่มือครู

9


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

Explain

1. ใหนักเรียนรวมกันอานออกเสียงวรรณกรรม ในหนังสือ หนา 10 พรอมๆ กัน 2. ใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นวา • สันติเห็นปายประกาศที่ติดไวบนโตะ จึงนํา หนังสือไปเก็บไวที่ชั้น นักเรียนคิดวา ปายประกาศบนโตะมีขอความวาอยางไร (แนวตอบ ปายที่ติดบนโตะ มีใจความสําคัญ ใหผูใชบริการหองสมุดนําหนังสือไปเก็บเขาที่ เมื่ออานจบแลว สันติจึงนําหนังสือไปเก็บที่ชั้น แทนที่จะวางไวบนโตะ)

ขยายความเข้าใจ

อธิบายความรู้

Expand

1. ใหนกั เรียนรวมกันตอบคําถามในกิจกรรมคําถาม ทาสมอง และทํากิจกรรมทาฝมือในหนังสือ หนา 10-11 2. ใหนกั เรียนรวมกันอภิปรายสรุปผลการทํากิจกรรม ทาฝมือ 3. ใหนักเรียนรวมกันสรุปขอคิดที่ไดจากเรื่อง ไมอยากเปนควาย อีกครั้ง เปนการทบทวน

สันติจดบันทึกย่อเรื่องไวในสมุดเพื่อจะนําไปเล่าใหแม่ฟง เขายัง ไม่ทราบว่าทําไมจึงตองเรียกคนโง่ว่า ควาย ซึ่งเขาคิดว่าจะไปถามแม่ ในภายหลัง จากนัน้ สันติกว็ างหนังสือไวทโี่ ตะเพือ่ จะกลับบาน แต่เขาเหลือบ ไปเห็นปายประกาศที่ติดไวบนโตะ จึงนําหนังสือไปไวที่ชั้นตามเดิม

นาฉงน

ปายประกาศบนโตะมีขอความว่าอย่างไร

ระหว่างเดินกลับบาน สันติคิดว่า ทําไมควายในเนื้อเรื่องถึงอยาก เปนคน เพราะถึงแมว่าเปนคนจะทําอะไรไดมากกว่าควาย แต่คนก็ตองมี ความรับผิดชอบมากดวย และการทีเ่ ราอยากเปนหรืออยากทําอะไรทีไ่ ม่ใช่ ตัวตนที่แทจริงของเรา ย่อมทําใหเราเกิดความทุกขได

?

?

¤íÒ¶ÒÁ·ŒÒÊÁͧ

๑. นักเรียนคิดว่า “ควาย” เปนสัตวที่มีประโยชนอย่างไรบาง ๒. ถานักเรียนเปนเจาของควายที่อยากเปนคน นักเรียนจะบอก ควายตัวนั้นอย่างไร เพื่อใหควายตัวนั้นเห็นคุณค่าของตนเอง

¡Ô¨¡ÃÃÁ·Œ ¨¡ÃÃÁ·ŒÒ½‚Á×Í ๑. นักเรียนลองปฏิบัติวิธีต่อไปนี้ เพื่อพิสูจนว่า วิธีใดทําใหนักเรียน ฉลาดขึ้น โดยเรียงลําดับจากวิธีที่ไดผลมากไปหาวิธีที่ไดผลนอย ก. นั่งสมาธิ ข. คุยกับเพื่อน ค. ปลูกตนไม ง. ออกกําลังกาย จ. อ่านหนังสือเรียน ฉ. นอนพักผ่อน ช. เล่นเกมคอมพิ เกมคอมพิวเตอร

๑๐

เฉลย กิ​ิจกรรมคําถามทาสมอง 1. แนวตอบ ควายมีประโยชนหลายอยาง ไดแก 1) ใชเปนแรงงานในการไถนา เทียมเกวียน หรือนวดขาว 2) นํามูลมาใชเปนปุยในไรนา ทําใหไมตองเสียเงินซื้อปุย 3) ชวยลดการใชเชื้อเพลิงในการใชรถไถนาลงได 2. แนวตอบ ตอบไดหลากหลาย เชน “ควายเอย เจาไมจําเปนตองเลียนแบบใครเลย เพราะเจาก็มีคุณคาอยูแลว ถาไมมีเจา เราก็จะลําบาก เพราะไมมีแรงงานมาชวย ไถนา เจามีคุณคาตอคนมากนะ” เปนตน

10

คู่มือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ขอใดไมใชประโยชนของควาย 1. เปนกําลังหลักของชาวนาในการไถนา 2. เปนสัตวที่เหมาะกับการชักลากไมในปา 3. เปนสัตวที่ฝกใชงานไดงาย 4. เปนเพื่อนเลนของเด็กๆ วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 2. ควายเปนสัตวที่ฝกใชงานไดงาย ชาวนา จึงนิยมใชควายไถนาปลูกขาว และควายยังเปนเพื่อนเลนของเด็กๆ อีกดวย สวนสัตวที่เหมาะกับการชักลากไมในปา คือ ชาง ดังนั้น ขอนี้จึง ไมใชประโยชนของควาย


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

Engaae

Expore

Explain

ขยายความเข้าใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ขยายความเข้าใจ

๒. นักเรียนลองสํารวจเพือ่ นในหองเรียนว่า แต่ละคนเขาไปอ่านหนังสือ ในหองสมุดมากนอยเพียงใด แลวบันทึกขอมูลลงในสมุด  เพื่อนที่เขาหองสมุดบ่อยที่สุด คือ ………………………………………………………….. โดยเขาไปอ่านหนังสือในหองสมุด ………………………….ครั้งต่อสัปดาห  เพื่อนที่เขาหองสมุดนอยที่สุด คือ ………………………………………………………….. โดยเขาไปอ่านหนังสือในหองสมุด ………………………….ครั้งต่อสัปดาห เพื่อนที่เขาหองสมุดบ่อยๆ เปนนักเรียนที่ฉลาดหรือไม่ อย่างไร

?

Expand

1. ใหนักเรียนรวมกันตอบคําถามในกิจกรรม ฝกคิดทาประสบการณในหนังสือ หนา 11 2. ใหนักเรียนไปใชบริการหองสมุด แลวเลือก อานนิทาน หรือเรื่องสั้น ที่มีตัวละครเปนสัตว จากนั้นเขียนสรุปใจความสําคัญของเรื่อง ที่อานตามหัวขอ ดังนี้ • ชื่อเรื่อง • ชื่อผูแตง • ใจความสําคัญของเรื่อง • ขอคิดที่ไดจากเรื่อง 3. ใหนักเรียนนําเสนอผลงานที่หนาชั้นเรียน แลวนําผลงานไปติดที่ปายนิเทศ

½ƒ¡¤Ô´·ŒÒ»ÃÐʺ¡Òó ๑. นักเรียนอยากเกิดเปนควายหรือไม่ เพราะเหตุใด ๒. สมมุตวิ า่ นักเรียนตองเกิดเปนสัตว นักเรียนอยากเกิดเปนสัตวชนิดใด เพราะเหตุใด ๓. นักเรียนมีวิธีทําใหตัวเองรูสึกสนุกไดอย่างไร ๔. นักเรียนลองสังเกตว่า สัตวต่างๆ ต่อไปนี้แสดงความรูสึกสนุก ไดอย่างไร

๑๑

บูรณาการเชื่อมสาระ

ครูบูรณาการความรูในสาระภาษาไทย กับสาระวิทยาศาสตร เรื่อง พฤติกรรมของสัตวตางๆ โดยใหนักเรียนสังเกตการแสดงความรูสึกสนุก ของสุนัข ปลา แมว และนก เพื่อใหนักเรียนมีทักษะในการสังเกต จากนั้น เขียนบันทึกผลลงในสมุด แลวรายงานผลการศึกษาที่หนาชั้นเรียน

เกร็ดแนะครู ใหนักเรียนใชบริการหองสมุด แลวอานหนังสือในหองสมุดครั้งละ 1 เลม สัปดาหละ 3 ครั้ง เหมือนอยางสันติ จากนั้นเขียนสรุปใจความสําคัญของหนังสือ ที่อานตามหัวขอ ดังนี้ 1) ชื่อเรื่อง 2) ชื่อผูแตง 3) เรื่องยอ 4) ขอคิดที่ได แลวแลกกันอานกับเพื่อน เพื่อฝกนิสัยรักการอาน

คู่มือครู

11


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

Engaae

Expore

Explain

ขยายความเข้าใจ

ขยายความเข้าใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

Expand

1. ใหนักเรียนรวมกันอานออกเสียงเนื้อเพลง เขมรไลควาย ในหนังสือ หนา 12 พรอมๆ กัน 2. ใหนักเรียนศึกษาคําศัพทนารูจากเพลง เขมรไลควาย ในหนังสือ หนา 12 เพื่อให เขาใจความหมายของเนื้อเพลงดียิ่งขึ้น 3. ครูสอนนักเรียนรองเพลง เขมรไลควาย โดยครูรองเพลงเอง หรือเปดเพลงจากสื่อตางๆ ใหนักเรียนฝกรองตามจนคลอง 4. ใหนักเรียนรวมกันรองเพลง เขมรไลควาย โดยคิดทาทางประกอบเพลงตามจินตนาการ

นาฟง นารอง เขมรไลควาย

คํารอง : รอยแกว รักไทย ทํานอง : มงคล อมาตยกุล

1

เราชาวนาอยูก บั ควาย พอหมดงานไถ เราจูงฝูงควายเขาบาน พออาบนํา้ ควายสําราญ แลวเสร็จจากงาน เบิกบานรองเพลงรําวง เราชาวนาสุขสบาย คืนคํ่าเดือนหงาย เราขี่หลังควายรอง สง ทัง้ ฉิง่ ทัง้ กลองฆองโมง จะเทงเทงโมง รําวงแสนเพลิดเพลินใจ แม น ใครอิ จ ฉา มั น น า หั ว เราะ จะเยาะพวกเรามิ ไ ด ลมเย็นๆ รองเขมรไลควาย แปลกใจ ควายมันไมอาทร เจอคนงอนคอนวาคน วา โงเปนควาย ใจไมนกึ อายคนคอน ควรชัง่ ยัง้ ใจไวกอ น โฉมแมบงั อร สิ้นงอนแลวไดขี่ควาย ฟงเพลงไดท่ี : HYPERLINK “http://www.music4thai.com/music/lyric/?sid=330”

¤íÒÈѾ· ¹‹ÒÃÙŒ คอน (ก.) เดือนหงาย (น.) บังอร (น.) เยาะ (ก.) อาทร (น.) ๑๒

นักเรียนควรรู 1 เขมรไลควาย เปนเพลงที่แตงเนื้อรองและทํานองโดยดัดแปลงจากเพลงพื้นบาน ที่รองไดงาย และมีทํานองสนุกสนาน ซึ่งศิลปนที่รองเพลงเขมรไลควายเปนคนแรก คือ สุรพล สมบัติเจริญ นักรองลูกทุงชื่อดังในอดีตที่เสียชีวิตไปแลว

มุม IT ครูศึกษาเพลง เขมรไลควาย ไดที่ http://www.olozmp3.com/search/mp3/1/ เขมรไลควาย.html

12

คู่มือครู

    

ว่าใหสะเทือนใจ คืนที่ดวงจันทรมีแสงสว่างมาก ผูหญิง พูดหรือกระทําใหเจ็บใจ ชํ้าใจ ความเอื้อเฟอ ความเอาใจใส่ ความพะวง

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

เพลง เขมรไลควาย แสดงใหเห็นลักษณะนิสัยของคนไทยอยางไร 1. รักสนุก 2. ขี้งอน 3. ชางสงสัย 4. ไมชอบทํางาน วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 1. คนไทยมีนิสัยรักสนุก โดยดูจากเนื้อเพลงที่วา ...แลวเสร็จจากงาน เบิกบานรองเพลงรําวง...


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

Engaae

Expore

Explain

ขยายความเข้าใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ขยายความเข้าใจ

Expand

1. ใหนกั เรียนรวมกันอานออกเสียงเรือ่ ง ควายไทย ในหนังสือ หนา 13-14 พรอมๆ กัน 2. ใหนักเรียนรวมกันสรุปประโยชนของควายไทย จากเรื่องที่อาน 3. ใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ การอนุรักษควายไทย วาสามารถปฏิบัติ อยางไรไดบาง เชน ใชควายไถนาแทน การใชรถไถ เปนตน

กุญแจไขความรู ควายไทย

ควายไทยมีขนาดใหญ่กว่าวัวประมาณสองเท่า ควายตัวผูท โี่ ตเต็มทีจ่ ะ มีนาํ้ หนักเฉลีย่ ๖๐๐ - ๖๕๐ กิโลกรัม ควายตัวเมียทีโ่ ตเต็มทีจ่ ะมีนาํ้ หนักเฉลีย่ ๔๐๐ - ๕๐๐ กิโลกรัม ควายมีลาํ ตัวใหญ่ ขายาว หัวมีขนาดเล็กเมือ่ เทียบ กับขนาดตัว ควายทัง้ ตัวผูแ ละตัวเมียมีเขายาวโคงงองุม เขาหากันไปดานหลัง เขาควายมีรปู ร่างแบน ปลายเขาเรียวแหลม ควายไทยมีสองสี คือ ควายสีเทา หรือดํา และควายเผือกซึง่ มีสขี าวแกมชมพู ควายเปนสัตวเลีย้ งทีอ่ ยูค่ ชู่ าวนาไทยมาชานานตัง้ แต่อดีตกาล เปนสัตว ทีเ่ ปนกําลังหลักของชาวนาในการปลูกขาวมาโดยตลอด แต่ในปจจุบนั ควาย ถูกใชงานนอยลงเพราะวิถชี วี ติ เกษตรกรเปลีย่ นไปจากการใชแรงงานควาย ไปใชเครือ่ งจักรแทน คนไทยในอดีตมีความผูกพันกับควายโดยถือว่าควาย เปรียบเสมือนสมาชิกในครอบครัวเช่นเดียวกับหมาหรือแมวของคนสมัยนี้ นอกจากนี้ ควายยังเปนเพือ่ นเล่นของเด็กๆ ดวย

๑๓

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ขอใดแสดงใหเห็นสาเหตุของการใชแรงงานควายนอยลง 1. ลุงทินทําการเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2. ลุงดําทําไรโดยใชรถไถไถดินเพื่อใหงานเสร็จเร็ว 3. ลุงจอยใชควายเปนพาหนะเขาไปทําไร 4. ลุงเอกเลี้ยงควายเพื่อไวขาย

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 2. ปจจุบันเกษตรกรนิยมใชเครื่องจักรแทน แรงงานจากวัวควาย เชน ใชรถไถไถดินแทนการใชวัวควาย ทําใหการใช แรงงานควายลดนอยลง

เกร็ดแนะครู ครูพานักเรียนไปทัศนศึกษาที่หมูบานอนุรักษควายไทย อ.ศรีประจันต จ.สุพรรณบุรี (ถาสามารถพาไปได) เพื่อศึกษาเกี่ยวกับควายไทย และรูปแบบ การดําเนินชีวิตของคนในชนบท หรือไปชมการเลี้ยงควาย การใชควายในการ ทํานาจากแหลงเรียนรูที่อยูในทองถิ่นหรือที่ใกลเคียง

มุม IT ศึกษาเพลง ควายไทย ไดที่ http://www.youtube.com โดย search คําวา ควายไทย

คู่มือครู

13


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

Engaae

Expore

Explain

ขยายความเข้าใจ

ขยายความเข้าใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

Expand

1. ใหนักเรียนสืบคนขอมูลเกี่ยวกับควายไทย เพิ่มเติมจากสื่อตางๆ 2. ใหนักเรียนนําลักษณะนิสัย หรือธรรมชาติของ ควายมาแตงปริศนาคําทายที่คําตอบหมายถึง ควาย แลวนําเสนอผลงานที่หนาชั้นเรียน เชน ตัวอะไรเอย มีสีดํา มีสี่เทา เขากาง กินฟาง และหญา ชวยไถนาอยางตั้งใจ เปนตน 3. ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับควายที่นักเรียนควรรู ดังนี้ • ควายเปนสัตวที่เชื่อง เพราะมีระดับของ ฮอรโมนอะดรีนาลินตํ่า จึงไมคอยขัดขืน หรือดื้อเวลาเจาของสั่งใหทําสิ่งตางๆ

ควายเปนสัตวมตี อ่ มเหงือ่ นอยกว่าวัว จึงถ่ายเทความรอนออกจาก ร่างกายไดไม่ดเี ท่าวัว เวลาอากาศรอน ควายจะชอบนอนแช่ปลักโคลนเพือ่ เปน การระบายความรอนออกจากร่างกาย ถาควายอยูใ่ นบริเวณทีม่ อี ากาศรอนนานๆ จะแสดงอารมณหงุดหงิด และดุรา ย จนอาจทํารายผูเ ขาใกลไดหากไม่ระวัง แต่โดยทัว่ ไป ควายเปนสัตวเลีย้ งทีเ่ ชือ่ งและเชือ่ ฟงผูเ ลีย้ ง จึงฝกใชงานไดงา่ ย เรียบเรียงจาก http://thaibuffalo.blogspot.com/

๑๔

บูรณาการอาเซียน ครูอธิบายเพิ่มเติมวา คําที่ใชเรียกควายของประเทศตางๆ ในอาเซียน จะเรียก ตางกัน ซึ่งบางคําก็มีใชในภาษาไทยดวย เชน • เขมร เรียกควายวา กระบือ กรบาย หรือ กรบี • ฟลิปปนส เรียกควายวา คาราบาว • อินโดนีเซีย เรียกควายวา เกรบาว เปนตน ครูอธิบายใหนักเรียนเขาใจวา การเรียนรูถึงความแตกตางดานภาษาของ ประเทศตางๆ ในอาเซียนจะทําใหนักเรียนเขาใจถึงความแตกตาง รูจักยอมรับ ในสิ่งที่ผูอื่นเปน ซึ่งจะทําใหดํารงชีวิตไดอยางสันติสุข ในฐานะพลเมืองไทย และพลเมืองอาเซียน

14

คู่มือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T ขอใดใชคําวา เชื่อง ไมถูกตอง 1. ควายตัวนั้นเชื่องมาก 2. สัตวพวกนั้นเลี้ยงไมเชื่อง 3. เสือตัวนี้เชื่องกับคนเลี้ยงมาก 4. เขาเปนคนเลี้ยงไมเชื่อง

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 4. เชื่อง เปนคําวิเศษณ หมายถึง ไมเปรียว ซึ่งเปนอาการที่ใชกับสัตวเทานั้น ขอ 4. จึงใชคําไมถูกตอง


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

Engaae

Expore

Explain

ขยายความเข้าใจ Expand

Evaluate

ขยายความเข้าใจ

นารู บางคนเรียกควายว่า ทุย หรือกระบือ คําว่า ทุย เปนคําเรียกควาย ที่มีเขาสั้นหรือหงิกว่า ควายทุย คําว่า กระบือ เปนคําภาษาเขมร ชาวเขมร เรียกควายว่า กรบี หรือ กรบาย ชาวฟลิปปนสเรียกว่า คาราบาว ชาวมาเลเซีย และอินโดน�เซียเรียกว่า เกรเบา หรือเคอรเบา ภาษาบาลีใชวา่ กาสร ภาษาอังกฤษ ใชว่า Buffalo (บัฟฟะโล)

นาศึกษา

ภาษาไทยมีสํานวนเกี่ยวกับควายหลายสํานวน เช่น ความวัวไมทันหาย ความควายเขามาแทรก หมายถึง เรื่องราย ที่เกิดขึ้นยังไม่ทันจะผ่านไป มีเรื่องใหม่เกิดซอนขึ้นมาอีก เปนตน ฆาควายอยาเสียดายพริก หมายถึง ทําการใหญ่ไม่ควรตระหนี่ 1 ซื้อควายหนานา ซื้อผาหนาตรุษ หมายถึง ซื้อของไม่คํานึงถึง กาลเวลาย่อมไดของแพง ทําอะไรไม่เหมาะกับกาลเวลา ย่อม ไดรับความเดือดรอน สีซอใหควายฟง หมายถึง แนะนําคนโง่ไม่มปี ระโยชน เสี้ยมเขาควายใหชนกัน หมายถึง ยุยงใหทะเลาะกัน อยูบานทานอยานิ่งดูดาย ปนวัวปนควายใหลูกทานเลน หมายถึง ทําตัวใหเปนประโยชน

ตรวจสอบผล

Expand

1. ใหนักเรียนรวมกันบอกสํานวนที่เกี่ยวกับควาย และบอกความหมาย เชน • สีซอใหควายฟง หมายถึง แนะนําคนโง ไมมีประโยชน • เดินตามควาย หมายถึง เดินเร็วมาก เปนตน 2. ใหนักเรียนดูตัวอยางสํานวนเกี่ยวกับควาย ในหนังสือ หนา 15 3. ครูแบงนักเรียนเปนกลุม กลุมละ 4-5 คน ใหแตละกลุมเลือกแสดงบทบาทสมมุติตาม สํานวนที่เกี่ยวของกับควาย กลุมละ 1 สํานวน จากนั้นใหเพื่อนกลุมอื่นชวยกันทายวาเปน สํานวนอะไร เพื่อใหนักเรียนเขาใจและ นําสํานวนไปใชในชีวิตประจําวันไดอยาง ถูกตองตอไป

๑๕

กิจกรรมสรางเสริม ใหนักเรียนแตงประโยคจากสํานวนที่เกี่ยวกับควาย แลวแลกกันอาน กับเพื่อน เพื่อพัฒนาทักษะการเขียนของนักเรียนใหดียิ่งขึ้น

กิจกรรมทาทาย

นักเรียนควรรู 1 ตรุษ แปลวา ตัด หรือขาด หมายความวา ตัดปเกาที่ลวงมาแลวใหผานไป วันตรุษ ถือเปนวันปใหมในสมัยโบราณ ตรงกับวันแรม 13-15 คํ่า เดือน 4 และ วันขึ้น 1 คํ่า เดือน 5 การซื้อผาชวงนี้ผาจะมีราคาแพง เพราะเปนชวงที่ใครๆ ก็อยากแตงตัวสวยงามดวยเสื้อผาใหมในชวงปใหมนั่นเอง

บูรณาการอาเซียน ใหนักเรียนแตงเรื่องสั้นๆ จากสํานวนไทยที่เกี่ยวกับควายมา 1 เรื่อง โดยใหมีเนื้อหาที่สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และบอกขอคิดที่สามารถ นําไปประยุกตใชในชีวิตประจําวันได พรอมวาดภาพระบายสีประกอบ ใหสวยงาม จากนั้นนําเสนอผลงานที่หนาชั้นเรียน

ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา ในประเทศกัมพูชา มีสํานวนเกี่ยวกับ ควาย ดังนี้ • มะนึฮฺ คะเลียน จัน นีย กระบือ เคลียน สะเมา หมายถึง คนเห็นแกอาหาร ควายเห็นแกหญา คือ หญาเปนอาหารที่ควาย ชอบมาก ดังนั้นเมื่อควายพบหญาที่ใดจะหยุดทํางานและกินหญาทันที เชนเดียวกับคนเห็นแกกินก็มักคิดกังวลแตเรื่องกิน เปรียบเทียบกับคนที่ โกงกินบานเมือง ที่อยากไดทุกอยางเพราะโลภนั่นเอง คู่มือครู 15


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

Engaae

Expore

Explain

Elaborate

ตรวจสอบผล

ตรวจสอบผล Evaluate

Evaluate

1. ครูตรวจสอบการอานออกเสียง และบอก ความหมายของสํานวนจากเรื่องที่อาน โดยพิจารณาวาอานออกเสียงไดถูกตอง ชัดเจน และบอกความหมายของสํานวนจากเรือ่ งทีอ่ า นได 2. ครูตรวจสอบการสรุปใจความสําคัญและบอก ขอคิดจากเรื่องที่อาน โดยพิจารณาวาสรุป ใจความสําคัญ และบอกขอคิดจากเรื่องที่อาน ไดตรงหรือใกลเคียงกับบันทึกของสันติ ในหนังสือ หนา 16 3. ครูตรวจสอบการทําแบบฝกหัดของนักเรียน โดยพิจารณาวา เขียนสะกดคําไดถูกตอง และสื่อความหมายไดชัดเจน

ºÑ¹·Ö¡¢Í§ÊѹµÔ หนังสือ เรื่อง ไม่อยากเปนควาย มีเนื้อเรื่องย่อ ดังนี้ .......................................................................... .......................................................................... ควายตัวหนึ่งมีความรูสึกไม่อยากเปนควายอีก .......................................................................... มันจึงลุกขึ้นมาทําตัวเหมือนคน แต่มันรูสึกว่า มันยังไม่มี .......................................................................... ความสุข ยังยิ้มไม่ได จึงไปขอลิงเพื่อนสนิทช่วย แต่ลิงช่วย .......................................................................... ไม่ได ลิงจึงบอกใหนกช่วย นกก็ช่วยไม่ได .......................................................................... นกจึงไปขอใหไสเดือนช่วย ไสเดือนจึงพาควายไปที่ปลักโคลน .......................................................................... พอควายไดแช่โคลนก็รูสึกมีความสุข และหัวเราะได .......................................................................... แลวมันก็ไม่กลับไปทําตัวเหมือนคนอีก .......................................................................... .......................................................................... ขอคิดที่ได .......................................................................... การทําในสิ่งที่ไม่ใช่ตัวตนที่แทจริงนี้ ทําใหเกิดความทุกข .......................................................................... .......................................................................... .......................................................................... .......................................................................... .......................................................................... .......................................................................... .......................................................................... ..........................................................................

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู 1. แบบประเมินการอานออกเสียง 2. การบอกความหมายของสํานวนจากเรื่องที่อาน 3. การเขียนสรุปใจความสําคัญ และขอคิด จากเรื่องที่อาน 4. แบบฝกหัด ภาษาไทย ป.4

๑๖

เกร็ดแนะครู ใหนักเรียนใชบันทึกของสันติในหนังสือ หนา 16 เพื่อเปนแนวทางในการสรุป ใจความสําคัญของวรรณกรรมที่อาน ในการเรียนการสอนเรื่องวรรณกรรม ครูควรใหนักเรียนไดฝกสรุปใจความสําคัญ ของเรื่องบอยๆ เพื่อฝกทักษะการคิดและการเขียน

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ใครไมปฏิบัติตนตามขอคิดที่ไดจากเรื่อง ไมอยากเปนควาย 1. มดสวมเสื้อแบบที่ตนเองชอบ 2. จอยทําทาทางเหมือนดาราที่ชื่นชอบ 3. แกมซื้อขนมที่ตนเองชอบรับประทาน 4. หญิงประดิษฐของเลนไวเลนเอง วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 2. ขอคิดที่ไดจากเรื่อง ไมอยากเปนควาย คือ การทําในสิ่งที่ไมใชตัวตนที่แทจริง อาจทําใหเกิดความทุกขได เหมือนที่จอย ทําทาทางเลียนแบบคนอื่น อาจทําใหไมมีความสุข เพราะตองฝนทําในสิ่งที่ ไมเปนตัวของตัวเอง

16

คู่มือครู


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.