8858649122551

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº Í- .

».

ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน

กระบวนการสอนแบบ 5 Es ชวยสรางทักษะการเรียนรู กิจกรรมมุงพัฒนาทักษะการคิด คำถาม + แนวขอสอบเพื่อยกผลสัมฤทธิ์ O-NET กิจกรรมบูรณาการเตรียมพรอมสู ASEAN 2558


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

พระพุทธศาสนา ชั้นประถมศึกษาปที่

4

สําหรับครู

คูมือครู Version ใหม

ลักษณะเดน

ขยายพื้นที่รูปเลมใหญขึ้นกวาเดิม จัดแบงพื้นที่ออกเปนโซน เพื่อคนหาขอมูลไดงาย สะดวก รวดเร็ว และดูเปนระเบียบ กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

เปาหมายการเรียนรู สมรรถนะของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค

หน า

โซน 1 กระตุน ความสนใจ

Engage

สํารวจคนหา

Explore

อธิบายความรู

Explain

ขยายความเขาใจ

Expand

ตรวจสอบผล

หน า

หนั ง สื อ เรี ย น

โซน 1

หนั ง สื อ เรี ย น

Evaluate

ขอสอบเนน การคิด ขอสอบเนน การคิด แนว NT แนว O-NET ขอสอบ

โซน 2

เกร็ดแนะครู

O-NET

บูรณาการเชื่อมสาระ

โซน 3

กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย

นักเรียนควรรู

โซน 3

โซน 2 บูรณาการอาเซียน มุม IT

No.

คูมือครู

คูมือครู

No.

โซน 1 ขั้นตอนการสอนแบบ 5Es

โซน 2 ชวยครูเตรียมสอน

โซน 3 ชวยครูเตรียมนักเรียน

เพื่อใหครูเตรียมจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยแนะนําขั้นตอนการสอนและ การจัดกิจกรรมแบบ 5Es อยางละเอียด เพื่อใหนักเรียนบรรลุตามตัวชี้วัด

เพื่อชวยลดภาระครูผูสอน โดยแนะนํา เกร็ดความรูสําหรับครู ความรูเสริมสําหรับ นักเรียน รวมทั้งบูรณาการความรูสูอาเซียน และมุม IT

เพือ่ ใหครูสะดวกตอการจัดกิจกรรม โดยแนะนํา กิจกรรมบูรณาการเชื่อมระหวางกลุมสาระ วิชา กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย รวมถึงเนือ้ หา ที่เคยออกขอสอบ O-NET เก็งขอสอบ O-NET และแนวขอสอบเนนการคิด พรอมคําอธิบาย และเฉลยอยางละเอียด


ที่ใชในคูมือครู

แถบสีและสัญลักษณ

แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5Es เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

1. แถบสี 5Es สีแดง

สีเขียว

กระตุน ความสนใจ

เสร�ม

สํารวจคนหา

Engage

2

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุน ความสนใจ เพื่อโยง เขาสูบทเรียน

สีสม

อธิบายความรู

Explore

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนสํารวจ ปญหา และศึกษา ขอมูล

สีฟา

Explain

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนคนหา คําตอบ จนเกิดความรู เชิงประจักษ

สีมวง

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนนําความรู ไปคิดคนตอๆ ไป

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

2. สัญลักษณ สัญลักษณ

วัตถุประสงค

• เปาหมายการเรียนรู

O-NET

(เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ O-NET O-NET)

• ชีแ้ นะเนือ้ หาทีเ่ คยออกขอสอบ

O-NET โดยยกตัวอยางขอสอบ พรอมวิเคราะหคาํ ตอบ อยางละเอียด

• เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน

การคิดใหครูนาํ ไปใชไดจริง รวมถึงเปนการเก็งขอสอบ O-NET ทีจ่ ะออก มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

แสดงรองรอยหลักฐานตามภาระงาน ที่ครูมอบหมาย เพื่อแสดงผลการเรียนรู ตามตัวชี้วัด

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

แทรกความรูเสริมสําหรับครู ขอเสนอแนะ ขอควรระวัง ขอสังเกต แนวทางการจัด กิจกรรมและอืน่ ๆ เพื่อประโยชนในการ จัดการเรียนการสอน

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

ขยายความรูเพิ่มเติมจากเนื้อหา เพื่อใหครู นําไปใชอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียน ไดมีความรูมากขึ้น

บูรณาการเชื่อมสาระ

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม

ความรูห รือกิจกรรมเสริม ใหครูนาํ ไปใช เตรียมความพรอมใหกบั นักเรียนกอนเขาสู ประชาคมอาเซียน 2558 โดยบูรณาการ กับวิชาทีก่ าํ ลังเรียน

กิจกรรมสรางเสริม

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม

เกร็ดแนะครู

นักเรียนควรรู

บูรณาการอาเซียน

คูม อื ครู

ขอสอบ

วัตถุประสงค

• หลักฐานแสดงผล การเรียนรู

มุม IT

แสดงเปาหมายการเรียนรูที่นักเรียน ตองบรรลุตามตัวชี้วัด ตลอดจนสมรรถนะ ที่จะตองมี และคุณลักษณะที่พึงเกิดขึ้น กับนักเรียน

สัญลักษณ

แนะนําแหลงคนควาจากเว็บไซต เพื่อใหครู และนักเรียนไดเขาถึงขอมูลความรู ที่หลากหลาย ทั้งไทยและตางประเทศ

• แนวขอสอบ NT ในระดับ

ประถมศึกษา มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

(เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ NT)

กิจกรรมทาทาย

เชือ่ มกับกลุม สาระ ชัน้ หรือวิชาอืน่ ทีเ่ กีย่ วของ

ซอมเสริมสําหรับนักเรียน ทีย่ งั ไมเขาใจเนือ้ หา

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ตอยอดสําหรับนักเรียนทีเ่ รียนรู เนือ้ หาไดอยางรวดเร็ว และ ตองการทาทายความสามารถ ในระดับทีส่ งู ขึน้


คําแนะนําการใชคูมือครู การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน คูมือครู รายวิชา พระพุทธศาสนา ป.4 จัดทําขึ้นเพื่อใหครูผูสอนนําไปใชเปนแนวทางวางแผนการสอนเพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน และประกันคุณภาพผูเ รียน ตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน (สพฐ.) โดยใชหนังสือเรียน พระพุทธศาสนา ป.4 ของบริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด เปนสื่อหลัก (Core Material) ประกอบ เสร�ม การสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดกลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา 3 ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 โดยออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน ตามหลักการสําคัญ ดังนี้ 1 ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน คูม อื ครู รายวิชา พระพุทธศาสนา ป.4 วางแผนการสอนโดยแบงเปนหนวยการเรียนรูต ามลําดับสาระ (standard) และ หมายเลขขอของมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั แตละหนวยจะกําหนดเปาหมายการสอนและจุดประสงคการเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทางการประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชัดเจน ครูผูสอนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด สมรรถนะ และคุณลักษณะ อันพึงประสงคที่เปนเปาหมายการเรียนรูตามที่กําหนดไวในสาระแกนกลาง (ตามแผนภูมิ) และสามารถบันทึกผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของผูเรียนแตละคนลงในเอกสาร ปพ.5 ไดอยางมั่นใจ แผนภูมิแสดงองคประกอบของการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผูเรียนเปนสําคัญ

พผ

ูเ

จุดปร

ะสง

ค ก

ส ภา

รี ย น

รู ีเรยน

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชั้นป

ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน คูม อื ครู


2 การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ แนวคิ ด ในการจั ด การเรี ย นการสอนที่ ยึ ด ผู  เ รี ย นเป น สํ า คั ญ พั ฒ นามาจากปรั ช ญาและทฤษฎี ก ารเรี ย นรู  Constructivism ที่เชื่อวาการเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสรางความรู โดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดเรียนรูจากบทเรียนใหมกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา ผูเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีการสั่งสมความรูความเขาใจเกี่ยวกับสิ่งตางๆ ติดตัวมากอน ทีจ่ ะเขาสูห อ งเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากประสบการณและสิง่ แวดลอมรอบตัวผูเ รียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกิจกรรม เสร�ม การเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ผูสอนจะตองคํานึงถึง

4

1. ความรูเดิมของผูเรียน วิธีการสอนที่ดีจะตองเริ่มตนจากจุดที่วา ผูเ รียนมีความรูอ ะไรมาบาง แลวจึงใหความรู หรือประสบการณใหม เพื่อตอยอดจาก ความรูเดิม นําไปสูการสรางความรู ความเขาใจใหม

2. ความรูเดิมของผูเรียนถูกตองหรือไม ผูส อนตองปรับเปลีย่ นความรูค วามเขาใจเดิม ของผูเรียนใหถูกตอง และเปนพฤติกรรม การเรียนรูใ หมทมี่ คี ณุ คาตอผูเรียน เพื่อสราง เจตคติหรือทัศนคติที่ดีตอการเรียนรู สิ่งเหลานั้น

3. ผูเรียนสรางความหมายสําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมใหผูเรียนนําความรู ความเขาใจที่เกิดขึ้นไปลงมือปฏิบัติ เพื่อขยายความรูใหลึกซึ้งและมีคุณคา ตอตัวผูเรียนมากที่สุด

แนวคิด Constructivism เนนใหผูเรียนสรางความรูโดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูของตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศ

การเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณ ความรูใ หม เพือ่ กระตนุ ใหผเู รียนเชือ่ มโยงความรู ความคิด กับประสบการณทมี่ อี ยูเ ดิม แลวสังเคราะหเปนความรูห รือแนวคิดใหมๆ ไดดว ยตนเอง

3 การบูรณาการกระบวนการคิด การเรียนรูของผูเรียนแตละคนจะเกิดขึ้นที่สมอง ซึ่งเปนอวัยวะที่ทําหนาที่รูคิดภายใตสภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวย และไดรบั การกระตนุ จูงใจอยางเหมาะสม สอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของผูเ รียนแตละคน การจัดกิจกรรม การเรียนรูและสาระการเรียนรูที่สอดคลองกับความสนใจและมีความหมายตอผูเรียน จะชวยกระตุนใหสมองของผูเรียน สามารถรับรูและเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพตามขั้นตอนการทํางานของสมอง ดังนี้ 1. สมองจะเรียนรูและสืบคน โดยการสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง ปฏิบัติ จนทําใหคนพบความรูความเขาใจ ไดอยางรวดเร็ว

2. สมองจะแยกแยะคุณคาของสิ่งตางๆ โดยการตัดสินใจวิพากษวิจารณ แสดง ความคิดเห็น ยอมรับหรือตอตานตาม อารมณความรูสึกที่เกิดขึ้นในขณะที่เรียนรู

3. สมองจะประมวลเนื้อหาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสานกับ ความรูห รือประสบการณเดิมทีถ่ กู จัดเก็บอยูใ น สมอง ผานการกลัน่ กรองเพือ่ สังเคราะหเปน ความรูค วามเขาใจใหมๆ หรือเปนทัศนคติใหม ที่จะเก็บบรรจุไวในสมองของผูเรียน

การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะเกิดขึ้น เมื่อสมองรูคิด และตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมองผูเรียน โดยเริ่มตนจาก 1. ระดับการคิดพื้นฐาน ไดแก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล การสรุปผล เปนตน

คูม อื ครู

2. ระดับลักษณะการคิด ไดแก การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดไกล คิดหลากหลาย คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล เปนตน

3. ระดับกระบวนการคิด ไดแก กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ กระบวนการแกปญหา กระบวนการ คิดสรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะหวิจัย เปนตน


5Es การจัดกิจกรรมตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ขั้นตอนการสอนที่สัมพันธกับขั้นตอนการคิดและการทํางานทางสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย คือ วัฏจักรการเรียนรู 5Es ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแตละหนวย ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1

กระตุนความสนใจ

(Engage)

เสร�ม

5

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนนําเขาสูบ ทเรียน เพือ่ กระตุน ความสนใจของผูเ รียนดวยเรือ่ งราวหรือเหตุการณทนี่ า สนใจโดยใชเทคนิควิธกี ารสอน และคําถามทบทวนความรูหรือประสบการณเดิมของผูเรียน เพื่อเชื่อมโยงผูเรียนเขาสูความรูของบทเรียนใหม ชวยใหผูเรียนสามารถ สรุปประเด็นสําคัญที่เปนหัวขอและสาระการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอนการสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอม และสรางแรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน

ขั้นที่ 2

สํารวจคนหา

(Explore)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนเปดโอกาสใหผเู รียนลงมือศึกษา สังเกต หรือรวมมือกันสํารวจ เพือ่ ใหเห็นขอบขายของปญหา รวมถึงวิธกี ารศึกษา คนควา การรวบรวมขอมูลความรูที่จะนําไปสูการสรางความเขาใจประเด็นปญหานั้นๆ เมื่อผูเรียนทําความเขาใจในประเด็นหัวขอที่จะ ศึกษาคนควาอยางถองแทแลว ก็ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธีการตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูตามที่ตั้งประเด็นศึกษาไว

ขั้นที่ 3

อธิบายความรู

(Explain)

เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา ตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนคนหาคําตอบ และนําขอมูล ความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห สรุปผล และนําเสนอผลที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ แผนผังแสดงมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน ในขั้นตอนนี้ฝกใหผูเรียนใชสมองคิดวิเคราะหและ สังเคราะหอยางเปนระบบ

ขั้นที่ 4

ขยายความเขาใจ

(Expand)

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใชเทคนิควิธีการสอนตางๆ ที่สงเสริมใหผูเรียนนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนสืบคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะ การเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน ผูเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยง กับประสบการณเดิมโดยนําขอสรุปทีไ่ ดไปใชอธิบายเหตุการณตา งๆ หรือนําไปปฏิบตั ใิ นสถานการณใหมๆ ทีเ่ กีย่ วของกับชีวติ ประจําวัน ของตนเอง เพื่อขยายความรูความเขาใจใหกวางขวางยิ่งขึ้น ในขั้นตอนนี้ฝกสมองของผูเรียนใหสามารถคิดริเริ่มสรางสรรคอยางมี คุณภาพ เสริมสรางวิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป

ขั้นที่ 5

ตรวจสอบผล

(Evaluate)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนประเมินมโนทัศนของผูเ รียน โดยตรวจสอบจากความคิดทีเ่ ปลีย่ นไปและความคิดรวบยอดทีเ่ กิดขึน้ ใหม ตรวจสอบ ทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด และการเคารพความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพื่อการ สรางสรรคความรูร ว มกัน ผูเ รียนสามารถประเมินผลการเรียนรูข องตนเอง เพือ่ สรุปผลวามีความรูอ ะไรเพิม่ ขึน้ มาบาง เกิดความเขาใจ มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ ไดอยางไร ผูเรียนจะเกิดเจตคติและเห็นคุณคาของ ตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง

การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามขั้นตอนวัฏจักรการสรางความรูแบบ 5Es จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนน ผูเ รียนเปนสําคัญอยางแทจริง เพราะสงเสริมใหผเู รียนไดลงมือปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนของกระบวนการสรางความรูด ว ยตนเอง และฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและกระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะชีวิต ทักษะการทํางานและทักษะการ เรียนรูท มี่ ปี ระสิทธิภาพ สงผลตอการยกระดับผลสัมฤทธิข์ องผูเ รียน ตามเปาหมายของการปฏิรปู การศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คูม อื ครู


O-NET การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ O-NET

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ในแตละหนวยการเรียนรู ทางผูจัดทํา จะเสนอแนะวิธีสอนรูปแบบกิจกรรมการเรียนรู พรอมทั้งออกแบบเครื่องมือวัดผลประเมินผลที่สอดคลองกับตัวชี้วัด และสาระการเรียนรูแกนกลางไวทุกขั้นตอน โดยยึดหลักสําคัญ คือ เปาหมายของการวัดผลประเมินผล เสร�ม

6

1. การวัดผลทุกครั้งตองนําผล การวัดมาปรับปรุงพัฒนาผูเรียน เปนรายบุคคล

2. การประเมินผลมีเปาหมาย เพื่อพัฒนาการเรียนรูของผูเรียน จนเต็มศักยภาพ

3. การนําผลการวัดและประเมิน ทุกครั้งมาวางแผนปรับปรุงกิจกรรม การเรียนการสอน การเลือกเทคนิค วิธีการสอน และสื่อการเรียนรูให เหมาะสมกับสภาพจริงของผูเรียน

การทดสอบผูเรียน 1. การใชขอสอบอัตนัย เนนการอาน การคิดวิเคราะห และเขียนสรุปเพิ่มมากขึ้น 2. การใชคําถามกระตุนการคิด ควบคูกับการทําขอสอบที่เนนการคิดตลอดตอเนื่องตามลําดับกิจกรรมการเรียนรูและ ตัวชี้วัด 3. การทดสอบตองดําเนินการทั้งกอนเรียน ระหวางเรียน และเมื่อสิ้นสุดการเรียน การทดสอบระหวางเรียน ต อ งใช ข  อ สอบทั้ ง ชนิ ด ปรนั ย และอั ต นั ย และเป น การทดสอบเพื่ อ วิ นิ จ ฉั ย ผลการเรี ย นของผู  เ รี ย นแต ล ะคน เพื่อวัดการสอนซอมเสริมใหบรรลุตัวชี้วัดทุกตัว 4. การสอบกลางภาค (ถามี) ควรนําขอสอบหรือแบบฝกหัดที่นักเรียนสวนใหญทําผิดบอยๆ มาสรางเปนแบบทดสอบ อีกครัง้ เพือ่ ตรวจสอบความรูค วามเขาใจทีถ่ กู ตอง และประเมินความกาวหนาของผูเรียนแตละคน 5. การสอบปลายภาคเรียนเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามตัวชี้วัดที่สําคัญ ควรออกขอสอบใหมีลักษณะเดียวกับ ขอสอบ O-NET โดยเนนการคิดวิเคราะห สังเคราะห เชื่อมโยงประยุกตใช เพื่อสรางความคุนเคย และฝกฝน วิธีการทําขอสอบดวยความมั่นใจ 6. การนําผลการทดสอบของผูเรียนมาวิเคราะห โดยผลการสอบกอนการเรียนตองสามารถพยากรณผลการสอบ กลางภาค และผลการสอบกลางภาคตองทํานายผลการสอบปลายภาคของผูเ รียนแตละคน เพือ่ ประเมินพัฒนาการ ความกาวหนาของผูเรียนเปนรายบุคคล 7. ผลการทดสอบปลายป ปลายภาค ตองมีคาเฉลี่ยสอดคลองกับคาเฉลี่ยของการสอบ NT ที่เขตพื้นที่การศึกษา จัดสอบ รวมทั้งคาเฉลี่ยของการสอบ O-NET ชวงชั้นที่สอดคลองครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดสําคัญ เพือ่ สะทอนประสิทธิภาพของครูผสู อนในการออกแบบการเรียนรูแ ละประกันคุณภาพผูเ รียนทีต่ รวจสอบผลไดชดั เจน การจัดการเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ตองใหผูเรียนไดสั่งสมความรู สะสมความเขาใจไปทีละเล็ก ละนอยตามลําดับขัน้ ตอนของกิจกรรมการเรียนรู 5Es เพือ่ ใหผเู รียนไดเติมเต็มองคความรูอ ยางตอเนือ่ ง จนสามารถปฏิบตั ิ ชิ้นงานหรือภาระงานรวบยอดของแตละหนวยผานเกณฑประกันคุณภาพในระดับที่นาพึงพอใจ เพื่อรองรับการประเมิน ภายนอกจาก สมศ. ตลอดเวลา คูม อื ครู


ASEAN การเรียนรูสูประชาคมอาเซียน เพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรูบูรณาการอาเซียนศึกษา ผูจัดทําไดวิเคราะห มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดที่มีสาระการเรียนรูสอดคลองกับองคความรูเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนในแงมุมตางๆ ครอบคลุมทัง้ ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน เพื่อสงเสริมการเรียนรูใหผูเรียนเกิดความตระหนัก มีความรูความเขาใจเหมาะสมกับระดับชั้นและกลุมสาระ การเรียนรู โดยเสนอแนะวิธีการจัดกิจกรรมบูรณาการเนื้อหาสาระตางๆ ที่เปนประโยชนตอผูเรียนและเปนการชวย เตรียมความพรอมผูเ รียนทุกคนทีจ่ ะกาวเขาสูก ารเปนสมาชิกของประชาคมอาเซียนไดอยางมัน่ ใจตามขอตกลงปฏิญญา เสร�ม ชะอํา-หัวหิน วาดวยความรวมมือดานการศึกษาเพือ่ บรรลุเปาหมายประชาคมอาเซียนทีเ่ อือ้ อาทรและแบงปน จึงกําหนด 7 เปนนโยบายใหกระทรวงศึกษาธิการจัดการเรียนรูเตรียมความพรอมผูเรียนเขาสูประชาคมอาเซียนภายในป พ.ศ. 2558 ตามแนวปฏิบัติที่สําคัญ ดังนี้

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน 1. การสรางความรูความเขาใจ และตระหนักถึงความสําคัญของ กฎบัตรอาเซียน และความรวมมือ ของ 3 เสาหลัก ซึง่ กฎบัตรอาเซียน ในขณะนี้มีสถานะเปนกฎหมายที่ ประเทศสมาชิกจะตองปฏิบัติตาม หลักการที่กําหนดไวเพื่อใหบรรลุ เปาหมายของกฎบัตรมาตราตางๆ

2. การสงเสริมหลักการ ประชาธิปไตยและการสราง สิ่งแวดลอมประชาธิปไตย เพื่อการอยูรวมกันอยางกลมกลืน ภายใตวิถีชีวิตอาเซียนที่มีความ หลากหลายดานสังคมและ วัฒนธรรม

4. การตระหนักในคุณคาของ สายสัมพันธทางประวัติศาสตร และมรดกทางวัฒนธรรมที่มี พัฒนาการรวมกัน เพื่อเชื่อม อัตลักษณและสรางจิตสํานึก ในการเปนประชากรของประชาคม อาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการศึกษาดาน สิทธิมนุษยชน เพื่อสรางประชาคม อาเซียนใหเปนประชาคมเพื่อ ประชาชนอยางแทจริง สามารถ อยูรวมกันไดบนพื้นฐานการเคารพ ในคุณคาของศักดิ์ศรีแหงความ เปนมนุษยเทาเทียมกัน

5. การสงเสริมสันติภาพ ความ มั่นคง และความปรองดองในสังคม ทั้งระดับประเทศและภูมิภาคของ อาเซียนบนพื้นฐานสันติวิธีและการ อยูรวมกันดวยขันติธรรม

คูม อื ครู


การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

เสร�ม

8

1. การพัฒนาทักษะการทํางาน เพื่อเสริมสรางผูเรียนใหมีทักษะ วิชาชีพที่จําเปนสอดคลองกับ ความตองการของตลาดแรงงาน และสถานประกอบการในอาเซียน สามารถเทียบโอนผลการเรียน และการทํางานตามมาตรฐานฝมือ แรงงานในภูมิภาคอาเซียน

2. การเสริมสรางวินัย ความรับผิดชอบ และเจตคติรักการทํางาน สามารถพึ่งพาตนเอง มีทักษะชีวิต ดํารงชีวิตอยางมีความสุข เห็นคุณคา และภูมิใจในตนเอง ในฐานะที่เปนพลเมืองไทยและ อาเซียน

3. การเรียนรูเพื่อพัฒนาตนเอง อยางตอเนื่องตลอดชีวิต ใหมี ทักษะการทํางานตามมาตรฐาน อาชีพ และคุณวุฒิของวิชาชีพสาขา ตางๆ เพื่อรองรับการเตรียมเคลื่อน ยายแรงงานมีฝมือและการเปน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่ เขมแข็ง เพื่อสรางขีดความสามารถ ในการแขงขันในเวทีโลก

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 1. การเสริมสรางความรวมมือ ในลักษณะสังคมที่เอื้ออาทร ของประชากรอาเซียน โดยยึด หลักการสําคัญ คือ ความงดงาม ของประชาคมอาเซียนมาจาก ความแตกตางและหลากหลายทาง วัฒนธรรมที่ลวนแตมีคุณคาตอ มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน ซึ่งประชาชนทุกคนตองอนุรักษ สืบสานใหยั่งยืน

2. การเสริมสรางคุณลักษณะ ของผูเรียนใหเปนพลเมืองอาเซียน ที่มีศักยภาพในการกาวเขาสู ประชาคมอาเซียนอยางมั่นใจ เปนผูที่มีสุขภาพสมบูรณแข็งแรง มีทักษะการสื่อสาร ทักษะการ ทํางาน ทักษะทางสังคม สามารถ ทํางานรวมกับผูอื่นไดอยาง สรางสรรค และมีองคความรู เกี่ยวกับอาเซียนที่จําเปนตอการ ดํารงชีวิตอยางมีคุณภาพ

4. การสงเสริมการเรียนรูดาน ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี วิถชี วี ติ ความเปนอยูข องเพือ่ นบาน ในอาเซียน เพื่อสรางจิตสํานึกของ ความเปนประชาคมอาเซียนและ ตระหนักถึงหนาที่ของการเปน พลเมืองอาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการเรียนรูภาษา อังกฤษเพื่อการสื่อสารและการ ทํางานตามมาตรฐานอาชีพที่ กําหนดและสนับสนุนการเรียนรู ภาษาอาเซียนและภาษาเพื่อนบาน เพื่อชวยเสริมสรางสัมพันธภาพทาง สังคม และการอยูรวมกันอยางสันติ ทามกลางความหลากหลายทาง วัฒนธรรม

5. การสรางความรูและความ ตระหนักเกี่ยวกับดานสิ่งแวดลอม ปญหาและผลกระทบตอคุณภาพ ชีวิตของประชากรในภูมิภาค รวมทั้งแนวทางการพัฒนาอยาง ยั่งยืน ใหเปนมรดกสืบทอดแก พลเมืองอาเซียนในรุนหลังตอๆ ไป

กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศนโยบายการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) เพื่อเรงพัฒนาเด็ก และเยาวชนไทยใหเปนทรัพยากรมนุษยของชาติที่มีทักษะและความชํานาญ พรอมเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงและ การแขงขันทั้งในภูมิภาคอาเซียนและภูมิภาคอื่นๆ ของสังคมโลก ทั้งนี้ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และผูปกครอง ควรรวมมือกันอยางใกลชดิ ในการดูแลชวยเหลือผูเ รียนและจัดประสบการณการเรียนรูเ พือ่ พัฒนาผูเ รียนจนเต็มศักยภาพ เพื่อกาวเขาสูการเปนพลเมืองอาเซียนอยางมีเกียรติภูมิและศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของตน คณะผูจัดทํา คูม อื ครู


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 1

พระพุทธศาสนา (เฉพาะชั้น ป.4)*

ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม

มาตรฐาน ส 1.1 รูและเขาใจประวัติ ความสําคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ และศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกตอง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรมเพื่ออยูรวมกันอยางสันติสุข ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

เสร�ม

9

• หนวยการเรียนรูที่ 1 ป.4 1. อธิบายความสําคัญของ • ความสําคัญของพระพุทธศาสนา ประวัติและความสําคัญ - พระพุทธศาสนา ในฐานะทีเ่ ปนเครือ่ งยึดเหนีย่ วจิตใจ พระพุทธศาสนาหรือ ทางพระพุทธศาสนา - เปนศูนยรวมการทําความดี และพัฒนาจิตใจ เชน ศาสนาที่ตนนับถือ บทที่ 1 ความสําคัญของ ฝกสมาธิ สวดมนต ศึกษาหลักธรรม ในฐานะเปนศูนยรวม พระพุทธศาสนา - เปนที่ประกอบศาสนพิธี (การทอดกฐิน การทอดผาปา จิตใจของศาสนิกชน การเวียนเทียน การทําบุญ) - เปนแหลงทํากิจกรรมทางสังคม เชน การจัดประเพณี ทองถิ่น การเผยแพรขอมูลขาวสารชุมชน และการสงเสริมพัฒนาชุมชน 2. สรุปพุทธประวัติตั้งแต บรรลุธรรมจนถึง ประกาศธรรม หรือ ประวัติศาสดาที่ตน นับถือตามที่กําหนด

• สรุปพุทธประวัติ (ทบทวน) - ตรัสรู - ประกาศธรรม ไดแก : โปรดชฎิล : โปรดพระเจาพิมพิสาร : พระอัครสาวก : แสดงโอวาทปาฏิโมกข

• หนวยการเรียนรูที่ 1 ประวัติและความสําคัญ ทางพระพุทธศาสนา บทที่ 2 พุทธประวัติ

3. เห็นคุณคา และปฏิบัติ ตนตามแบบอยางการ ดําเนินชีวิตและขอคิด จากประวัติสาวก ชาดก เรื่องเลา และ ศาสนิกชนตัวอยาง ตามที่กําหนด

• พุทธสาวก พุทธสาวิกา (พระอุรุเวลกัสสปะ) • ชาดก (กุฏิทูสกชาดก), (มหาอุกกุสชาดก) • ศาสนิกชนตัวอยาง - สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก - สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี

• หนวยการเรียนรูที่ 3 พุทธสาวกและชาดก บทที่ 1 พุทธสาวก บทที่ 2 ชาดก • หนวยการเรียนรูที่ 4 ชาวพุทธที่ดี ชีวีมีสุข บทที่ 1 ชาวพุทธตัวอยาง

4. แสดงความเคารพ พระรัตนตรัย ปฏิบัติ ตามไตรสิกขาและ หลักธรรมโอวาท 3 ในพระพุทธศาสนา หรือหลักธรรมของ ศาสนาที่ตนนับถือ ตามที่กําหนด

• พระรัตนตรัย (ศรัทธา 4) - พระพุทธ (พุทธคุณ 3) - พระธรรม (หลักกรรม) - พระสงฆ • ไตรสิกขา (ศีล สมาธิ ปญญา) • โอวาท 3 - ไมทําชั่ว (เบญจศีล), (ทุจริต 3) - ทําความดี : เบญจธรรม : สุจริต 3 : พรหมวิหาร 4 : กตัญูกตเวทีตอประเทศชาติ : มงคล 38 (เคารพ ถอมตน ทําความดีใหพรอมไวกอน) - ทําจิตใจใหบริสุทธิ์ (บริหารจิตและเจริญปญญา) • พุทธศาสนสุภาษิต - สุขา สงฺฆสฺส สามคฺคี ความพรอมเพรียงของหมูใหเกิดสุข - โลโกปตฺถมฺภิกา เมตฺตา เมตตาธรรม คํ้าจุนโลก

• หนวยการเรียนรูที่ 2 หลักธรรมคํ้าจุนโลก บทที่ 1 พุทธศาสนสุภาษิต บทที่ 2 หลักธรรมนําชาวพุทธ

_________________________________ * สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 6-22 และ 41-44.

คูม อื ครู


ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

• ตัวอยางการกระทําความดีของตนเองและบุคคล ป.4 5. ชื่นชมการทําความดี ในครอบครัว โรงเรียน และชุมชน (ตอ) ของตนเอง บุคคลใน ครอบครัว โรงเรียน และ ชุมชนตามหลักศาสนา พรอมทั้งบอกแนวปฏิบัติ ในการดําเนินชีวิต

เสร�ม

10

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน • หนวยการเรียนรูที่ 4 ชาวพุทธที่ดี ชีวีมีสุข บทที่ 1 หนาที่ชาวพุทธ

6. เห็นคุณคาและสวดมนต • สวดมนตไหวพระ สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย และแผเมตตา แผเมตตา มีสติที่เปน - รูความหมายของสติสัมปชัญญะ สมาธิ และปญญา พื้นฐานของสมาธิ - รูวิธีปฏิบัติของการบริหารจิตและเจริญปญญา ในพระพุทธศาสนา - ฝกการยืน การเดิน การนั่ง และการนอนอยางมีสติ หรือการพัฒนาจิต - ฝกการกําหนดรูความรูสึก เมื่อตาเห็นรูป หูฟงเสียง ตามแนวทางของ จมูกดมกลิน่ ลิ้นลิ้มรส กายสัมผัสสิ่งที่มากระทบ ศาสนาที่ตนนับถือ ใจรับรูธรรมารมณ ตามที่กําหนด - ฝกใหมีสมาธิในการฟง การอาน การคิด การถาม และการเขียน

• หนวยการเรียนรูที่ 5 จิตสงบ พบความสุข บทที่ 1 การบริหารจิต และเจริญปญญา บทที่ 2 สมาธิเบื้องตน • หนวยการเรียนรูที่ 6 ศาสนพิธีนารู บทที่ 1 การสวดมนตและแผเมตตา

7. ปฏิบัติตนตามหลักธรรม • หลักธรรมเพื่อการอยูรวมกันอยางสมานฉันท - เบญจศีล - เบญจธรรม ของศาสนาที่ตนนับถือ - ทุจริต 3 - สุจริต 3 เพื่อการอยูรวมกัน - พรหมวิหาร 4 เปนชาติไดอยาง - กตัญูกตเวทีตอประเทศชาติ สมานฉันท - มงคล 38 (เคารพ ถอมตน ทําความดีใหพรอมไวกอน) - พุทธศาสนสุภาษิต : ความพรอมเพรียงของหมูใหเกิดสุข : เมตตาธรรมคํ้าจุนโลก

• หนวยการเรียนรูที่ 2 หลักธรรมคํ้าจุนโลก บทที่ 3 ประวัติศาสดา ของศาสนาอื่นๆ

8. อธิบายประวัติศาสดา ของศาสนาอื่นๆ โดยสังเขป

• ประวัติศาสดา (พระพุทธเจา, มุฮัมมัด, พระเยซู)

• หนวยการเรียนรูที่ 1 ประวัติและความสําคัญ ทางพระพุทธศาสนา บทที่ 3 ประวัติศาสดา ของศาสนาอื่นๆ

มาตรฐาน ส 2.1 เขาใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเปนศาสนิกชนที่ดี และธํารงรักษาพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ป.4 1. อภิปรายความสําคัญและ • ความรูเบื้องตนและความสําคัญของศาสนสถาน มีสวนรวมในการบํารุง • การแสดงความเคารพตอศาสนสถาน รักษาศาสนสถานของ • การบํารุงรักษาศาสนสถาน ศาสนาที่ตนนับถือ 2. มีมรรยาทของความ เปนศาสนิกชนที่ีดี ตามที่กําหนด

• หนวยการเรียนรูที่ 4 ชาวพุทธที่ดี ชีวีมีสุข บทที่ 2 หนาที่ชาวพุทธ

• หนวยการเรียนรูที่ 4 • มรรยาทของศาสนิกชน ชาวพุทธที่ดี ชีวีมีสุข - การปฏิบัติตนที่เหมาะสมตอพระภิกษุ - การยืน การเดิน และการนั่งที่เหมาะสมในโอกาสตางๆ บทที่ 3 มรรยาทชาวพุทธ

3. ปฏิบัติตนในศาสนพิธี • ปฏิบัติตนในศาสนพิธี - การอาราธนาศีล พิธีกรรม และวันสําคัญ ทางศาสนาตามที่กําหนด - การอาราธนาธรรม - การอาราธนาพระปริตร ไดถูกตอง - ระเบียบพิธีและการปฏิบัติตนในวันธรรมสวนะ

คูม อื ครู

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• หนวยการเรียนรูที่ 6 ศาสนพิธีนารู บทที่ 2 ศาสนพิธี ทางพระพุทธศาสนา


คําอธิบายรายวิชา รายวิชา พระพุทธศาสนา ชั้นประถมศึกษาปที่ 4 รหัสวิชา ส…………………………………

กลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ภาคเรียนที่ 1-2 เวลา 30 ชั่วโมง/ป

ศึกษา วิเคราะห อธิบายความสําคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ สรุปพุทธประวัติ ตั้งแตบรรลุธรรมจนถึงประกาศธรรม หรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่กําหนด ปฏิบัติตนตามแบบอยาง เสร�ม การดําเนินชีวิตและขอคิดจากประวัติสาวก ชาดก เรื่องเลา และศาสนิกชนตัวอยางตามที่กําหนด ปฏิบัติตน 11 ตามหลักไตรสิกขาและหลักธรรมโอวาท 3 ในพระพุทธศาสนาหรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ ทําความดีตามหลักศาสนาและบอกแนวปฏิบัติในการดําเนินชีวิต มีสมาธิ หรือพัฒนาจิต ปฏิบัติตาม หลักธรรมศาสนาที่ตนนับถือ อธิบายประวัติศาสดาของศาสนาอื่นพอสังเขป อธิบายความสําคัญและ มีสวนรวมในการบํารุงรักษาศาสนสถาน เปนผูมีมรรยาทของความเปนศาสนิกชนที่ดีและปฏิบัติตน ในศาสนพิธี พิธีกรรม และวันสําคัญทางศาสนาตามที่กําหนด โดยใชหลักของกระบวนการคิด กระบวนการสืบคนขอมูล กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการทางสังคม กระบวนการกลุม กระบวนการเผชิญสถานการณและแกปญหา เพือ่ ใหเกิดความรู ความเขาใจ สามารถนําไปปฏิบตั ใิ นการดําเนินชีวติ มีคณุ ธรรม จริยธรรม มีคณุ ลักษณะ อันพึงประสงคในดานรักชาติ ศาสน กษัตริย ซื่อสัตยสุจริต มีวินัย ใฝเรียนรู รักความเปนไทย มีจิตสาธารณะ สามารถดําเนินชีวิตอยางสันติสุขในสังคมไทยและสังคมโลก ตัวชี้วัด ส 1.1 ส 1.2

ป.4/1 ป.4/1

ป.4/2 ป.4/2

ป.4/3 ป.4/3

ป.4/4

ป.4/5

ป.4/6

ป.4/7

ป.4/8

รวม 11 ตัวชี้วัด

คูม อื ครู


จุดเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน* การขับเคลื่อนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 และการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษ ที่สอง (พ.ศ. 2552-2561) ใหประสบผลสําเร็จตามจุดเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน โดยใหทุกภาคสวน รวมกันดําเนินการ กระทรวงศึกษาธิการไดกําหนดจุดเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน ดังนี้ เสร�ม

12

ทักษะ ความสามารถ

คุณลักษณะ จุดเนนตามชวงวัย

ม. 4-6

แสวงหาความรู เพื่อแกปญหา ใชเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู ใชภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) มีทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

ม. 1-3

แสวงหาความรูดวยตนเอง ใชเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู มีทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

• อยูอยางพอเพียง

ป. 4-6

อานคลอง เขียนคลอง คิดเลขคลอง ทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

• ใฝเรียนรู

ป. 1-3

อานออก เขียนได คิดเลขเปน มีทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

• ใฝดี

• มุงมั่นในการศึกษา และการทํางาน

คุณลักษณะตามหลักสูตร

• รักชาติ ศาสน กษัตริย • ซื่อสัตยสุจริต • มีวินัย • ใฝเรียนรู • อยูอยางพอเพียง • มุงมั่นในการทํางาน • รักความเปนไทย • มีจิตสาธารณะ

* สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. แนวทางการนําจุดเนนการพัฒนาผูเรียน สูการปฏิบัติ. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2553), หนา 3-10.

คูม อื ครู


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹

¾Ãоط¸ÈÒÊ¹Ò ».ô

ªÑé¹»ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè ô

¡ÅØ‹ÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ Êѧ¤ÁÈÖ¡ÉÒ ÈÒÊ¹Ò áÅÐÇѲ¹¸ÃÃÁ µÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ

¼ÙŒàÃÕºàÃÕ§ ¹Ò§ÊÒǨ§¨ÃÑÊ á¨‹Á¨Ñ¹·Ã ¹Ò§Êؾ¹ ·ÔÁÍíèÒ ¼ÙŒµÃǨ

¹Ò¾ÔÈÔÉ° ¾ÂÍÁ ¹ÒªÒ޳ç¤ äªÂ»˜ÞËÒ ¹Ò¸ÕÃહ·Ã ¾ÃóÒ

ºÃóҸԡÒà ¹Ò§Êѹ·¹Ò ¾Ñ¸¹ÒÇÔ¹

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè ø

ʧǹÅÔ¢ÊÔ·¸ÔìµÒÁ¾ÃÐÃÒªºÑ- - ÑµÔ ISBN : 978-616-203-047-5 ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ ñôñóðð÷

¤Œ¹¤ÇÒÁÃÙŒ¢ÂÒ¤ÇÒÁ¤Ô´¨Ò¡

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè ñ ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ ñôôóðôò

EB GUIDE

ที่พิมพกํากับหัวขอสําคัญในหนังสือเรียนหลักสูตรใหม ชั้น ป.๔ ขึ้นไป ผาน www.aksorn.com ไปยังแหลงความรูทั่วไทย-ทั่วโลก


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

¤íÒ¹íÒ ´ŒÇ¡ÃзÃǧÈÖ¡ÉÒ¸Ô¡ÒÃä´ŒÁÕ¤íÒÊÑè§ãˌ㪌ËÅÑ¡ÊٵáÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõôô ã¹âçàÃÕ¹·ÑÇè ä»·Õ¨è ´Ñ ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñ¹é ¾×¹é °Ò¹ã¹»‚¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõôö áÅШҡ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒÇÔ¨ÂÑ áÅеԴµÒÁ ¼Å¡ÒÃ㪌ËÅÑ¡ÊٵáÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñ¹é ¾×¹é °Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõôô ¨Ö§¹íÒä»Ê‹¡Ù ÒþѲ¹ÒËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§ ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñ¹é ¾×¹é °Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ «Ö§è ÁÕ¤ÇÒÁàËÁÒÐÊÁáÅЪѴਹ à¾×Íè ãˌʶҹÈÖ¡ÉÒä´Œ¹Òí ä» ãªŒà»š¹¡Ãͺ·Ôȷҧ㹡ÒèѴËÅÑ¡ÊÙµÃʶҹÈÖ¡ÉÒáÅШѴ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹à¾×Íè ¾Ñ²¹Òà´ç¡áÅÐàÂÒǪ¹ ·Ø¡¤¹ã¹ÃдѺ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñ¹é ¾×¹é °Ò¹ãËŒÁ¤Õ ³ Ø ÀÒ¾´ŒÒ¹¤ÇÒÁÃÙŒ áÅзѡÉзըè Òí ໚¹ÊíÒËÃѺ¡ÒôíÒçªÕÇµÔ ã¹Êѧ¤Á·ÕèÁÕ¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§ áÅÐáÊǧËÒ¤ÇÒÁÃÙŒà¾×è;Ѳ¹Òµ¹àͧÍ‹ҧµ‹Íà¹×èͧµÅÍ´ªÕÇÔµ ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ¾Ãоط¸ÈÒÊ¹Ò ».ô àÅ‹Á¹Õ¨é ´Ñ ·íÒ¢Ö¹é ÊíÒËÃѺ㪌»ÃСͺ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ ªÑ¹é »ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè ô â´Â´íÒà¹Ô¹¡ÒèѴ·íÒãËŒÊÍ´¤ÅŒÍ§µÒÁ¡Ãͺ¢Í§ËÅÑ¡Êٵ÷ء»ÃСÒà ʋ§àÊÃÔÁ ¡Ãкǹ¡ÒäԴ ¡ÒÃÊ׺àÊÒÐËÒ¤ÇÒÁÃÙŒ ¡ÒÃá¡Œ»˜ÞËÒ ¤ÇÒÁÊÒÁÒö㹡ÒÃÊ×èÍÊÒà ¡ÒõѴÊԹ㨠¡ÒùíÒä»ãªŒã¹ªÕÇµÔ Ê‹§àÊÃÔÁãËŒ¼àŒÙ ÃÕ¹ÁÕ¤Ò‹ ¹ÔÂÁ·Õ´è §Õ ÒÁ ¾Ñ²¹Òµ¹àͧÍÂÙà‹ ÊÁÍ ÃÇÁ·Ñ§é ºíÒà¾çÞ»ÃÐ⪹ µ‹ÍÊѧ¤ÁáÅÐʋǹÃÇÁ ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ¾Ãоط¸ÈÒÊ¹Ò ».ô àÅ‹Á¹Õé ÁÕ ö ˹‹Ç ã¹áµ‹ÅÐ˹‹ÇÂẋ§à»š¹º·Â‹ÍÂæ «Ö觻ÃСͺ´ŒÇ ñ. ໇ÒËÁÒ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ»ÃШíÒ˹‹Ç ¡íÒ˹´ÃдѺ¤ÇÒÁÃÙŒ ¤ÇÒÁÊÒÁÒö¢Í§¼ÙŒàÃÕ¹ Ç‹ÒàÁ×èÍàÃÕ¹¨ºã¹áµ‹ÅÐ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ µŒÍ§ºÃÃÅØÁҵðҹµÑǪÕéÇÑ´·Õè¡Òí ˹´äÇŒã¹ËÅÑ¡ÊٵâŒÍã´ºŒÒ§ ò. á¹Ç¤Ô´ÊíÒ¤ÑÞ á¡‹¹¤ÇÒÁÃÙŒ·Õè໚¹¤ÇÒÁÃÙŒ¤ÇÒÁࢌÒ㨤§·¹µÔ´µÑǼٌàÃÕ¹ ó. à¹×éÍËÒ ¤ÃºµÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾.È. òõõñ ¡ÒùíÒàÊ¹Í àËÁÒÐÊÁ¡Ñº¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ã¹áµ‹ÅÐÃдѺªÑé¹ ô. ¡Ô¨¡ÃÃÁ ÁÕËÅÒ¡ËÅÒÂÃٻẺãËŒ¹Ñ¡àÃÕ¹»¯ÔºÑµÔ ẋ§à»š¹ (ñ) ¡Ô¨¡ÃÃÁ¹íÒÊ‹Ù¡ÒÃàÃÕ¹ ¹íÒࢌÒÊ‹Ùº·àÃÕ¹à¾×èÍ¡Ãе،¹¤ÇÒÁʹã¨á¡‹¼ÙŒàÃÕ¹ (ò) ¡Ô¨¡ÃÃÁÃǺÂÍ´ ãËŒ¼ÙŒàÃÕ¹»¯ÔºÑµÔà¾×èÍáÊ´§¾ÄµÔ¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒÃǺÂÍ´ áÅлÃÐàÁÔ¹¼Å¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒµÒÁÁҵðҹµÑǪÕéÇÑ´»ÃШíÒ˹‹Ç ¤³Ð¼ÙŒ¨Ñ´·íÒ¨Ö§ËÇѧ໚¹Í‹ҧÂÔè§Ç‹Ò ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ¾Ãоط¸ÈÒÊ¹Ò ».ô àÅ‹Á¹Õé ¨Ð໚¹ Ê×Íè ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹·ÕÍè Òí ¹Ç»ÃÐ⪹ µÍ‹ ¡ÒÃàÃÕ¹¾Ãоط¸ÈÒÊ¹Ò à¾×Íè ãËŒÊÁÑ Ä·¸Ô¼ÅµÒÁÁҵðҹ µÑǪÕéÇÑ´·Õè¡íÒ˹´äÇŒã¹ËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾.È. òõõñ ·Ø¡»ÃСÒà ¤³Ð¼ÙŒ¨Ñ´·íÒ


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

คําชี้แจงในการใชสื่อ เปาหมายการเรียนรู กําหนดระดับความรูความสามารถ ของผูเรียนเมื่อเรียนจบหนวย

ñ

หนวยการเรียนรูที่

ภาพหนาหนวยการเรียนรู เปนภาพประกอบขนาดใหญ ชวยกระตุนความสนใจของผูเรียน

»ÃÐÇѵÔáÅФÇÒÁÊíÒ¤ÑÞ ¢Í§¾Ãоط¸ÈÒÊ¹Ò กิจกรรมนําสูการเรียน นําเขาสูบทเรียนโดยใชกระตุน ความสนใจและวัดประเมินผล กอนเรียน บทที่

ความสําคัญของพระพุทธศาสนา

ñ

กิจกรรมนําสูการเรียน เปาหมายการเรียนรูประจําหนวยที่ ๑ เมือ่ เรียนจบหนวยน�้ ผูเ รียนจะมีความรูค วามสามารถตอไปน�้ ๑. อธิบายความสําคัญของพระพุทธศาสนา หรือศาสนา ที่ตนนับถือในฐานะเปนศูนยรวมจิตใจของศาสนิกชน [มฐ. ส ๑.๑ ป.๔/๑] ๒. สรุปพุทธประวัติตั้งแตบรรลุธรรมจนถึงประกาศธรรม หรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่กําหนด [มฐ. ส ๑.๑ ป.๔/๒] ๓. อธิบายประวัติศาสดาของศาสนาอื่นๆ โดยสังเขป [มฐ. ส ๑.๑ ป.๔/๘]

¾Ãоط¸ÈÒÊ¹Ò ÁÕ¤ÇÒÁÊíÒ¤ÑÞ µ‹Í¤¹ä·ÂÍ‹ҧäÃ

¨Ò¡ÀÒ¾ ºÍ¡¶Ö§ ¤ÇÒÁÊíÒ¤Ñޢͧ ¾Ãоط¸ÈÒÊ¹Ò Í‹ҧäúŒÒ§

มาตรฐานตัวชี้วัด ระบุตัวชี้วัดตามที่หลักสูตรกําหนด á¹Ç¤Ô´ÊíÒ¤ÑÞ ¾Ãоط¸ÈÒʹÒä´Œà¼ÂἋÍÍ¡ä»Í‹ҧ¡ÇŒÒ§¢ÇÒ§ ÀÒÂËÅѧ䴌¢ÂÒÂࢌÒÊÙ‹´Ô¹á´¹ÊØÇÃóÀÙÁÔ Íѹ໚¹·ÕèµÑé§ ¢Í§»ÃÐà·Èä·Âã¹»˜¨¨Øº¹Ñ áÅÐËÅÑ¡¸ÃÃÁ¢Í§¾Ãоط¸ÈÒÊ¹Ò ¶× Í à»š ¹ ËÅÑ ¡ 㹡Òôí Ò à¹Ô¹ ªÕ ÇÔ µ ¢Í§¤¹ä·Â ¨Ö§¡Å‹ÒÇä´ŒÇÒ‹ “¾Ãоط¸ÈÒʹÒ໚¹Èٹ ÃÇÁ¨Ôµã¨¢Í§ ¾Ø·¸ÈÒʹԡª¹áÅÐ໚¹Áô¡·Ò§ÇѲ¹¸ÃÃÁ·ÕèÅíéÒ¤‹Ò”

แนวคิดสําคัญ แกนความรูที่จะเปนความเขาใจ คงทนติดตัวผูเรียน


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

เน�้อหา ครบตามหลักสูตรแกนกลางฯ ’๕๑ นําเสนอโดยใชแผนภาพ แผนภูมิ ตาราง เหมาะสมกับการเรียนการสอน

http://www.aksorn.com/lib/p/soc_01 (เรื่อง ประวัติตนพระศรีมหาโพธิ์)

EB GUIDE

๑๑

คำสําคัญ คําสําคัญ

๑๓. บูรณปฏิสังขรณ ๑๔. พยาบาท ๑๕. พลานามัย ๑๖. พสกนิกร ๑๗. พุทธมามกะ ๑๘. พุทธสาวก ๑๙. วัตรปฏิบัติ ๒๐. สะเดาะ ๒๑. สาธารณชน

คําอาน

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

ภาพประกอบเน�้อหา เปนภาพประกอบ 4 สี แทรกอยูตลอดเลม ชวยเสริมสรางความเขาใจ

การคนพบหนทางดับทุกข เมื่อเจาชายสิทธัตถะผนวชแลว ไดไปศึกษาอยูที่สํานักของ อาฬารดาบส และอุททกดาบส ทรงศึกษาจนสําเร็จก็ไมพบหนทาง พนทุกข จึงเสด็จไปแสวงหาธรรมที่อื่นตอไป ตอมาทรงบําเพ็ญทุกรกิ ริ ย า กลั้ น ลมหายใจเข า ออก อดอาหารจนพระวรกายผายผอม ก็ยังไมทรงพบหนทางพนทุกข จึ ง ทรงเลิ กวิ ธี ท รมานร า งกาย เปนเหตุใหพวกปญจวัคคียที่เฝา ปรนนิบตั ริ บั ใชคดิ วาพระองคทรง พระสิทธัตถะบําเพ็ญทุกรกิริยาจนเกือบสิ้นพระชนม เลิกบําเพ็ญเพียรจึงจากไป พระองค ไดบําเพ็ญเพียร ดวยการนัง่ สมาธิ พิจารณาความ เปนไปของธรรมชาติ จนตรัสรู อริยสัจ ๔ ซึ่งเปนหนทางการ ดับทุกข ณ ใตตน พระศรีมหาโพธิ์ บริเวณริมฝง แมนาํ้ เนรัญชรา ตําบล อุรเุ วลาเสนานิคม เมือ่ วันขึน้ ๑๕ คํ่า เดือน ๖ ขณะมีพระชนมายุ ๓๕ พรรษา พระสิทธัตถะตรัสรูดวยการบําเพ็ญเพียรทางจิต

๑. ฉกฉวย ๒. ฉอราษฎรบังหลวง ๓. ชฎิล ๔. ตรัสรู ๕. เถระ ๖. ทารุณ ๗. เทวทูต ๘. ทุกรกิริยา ๙. บรรณาการ ๑๐. บริวาร ๑๑. บันดาล ๑๒. เบญจางคประดิษฐ

ขยายความเขาใจ

Web Guide อินเทอรเน็ต กิจกรรมรวบยอด ตอนที่ ๑ อภิปรายชวนคิด

นักเรียนแบงกลุม อภิปรายวา พระสารีบุตร และพระโมคคัลลานะมีคุณธรรม สําคัญอยางไร แลวสงตัวแทนนําเสนอผลการอภิปรายหนาชั้นเรียน

ตอนที่ ๒ ผลงานสรางสรรค

ครูแบงนักเรียนออกเปน ๔ กลุม ใหชวยกันคนควาหาขอมูลทํารายงาน จากแหลงการเรียนรูต า งๆ เชน หองสมุด อินเทอรเน็ต ตามหัวขอตอไปนี้ กลุมที่ ๑ ประวัติของชฎิล ๓ พี่นองและการแสดงธรรมของพระพุทธเจา ในการโปรดชฎิลทั้งสาม กลุมที่ ๒ ประวัตขิ องพระเจาพิมพิสาร และการแสดงธรรมของพระพุทธเจา ในการโปรดพระเจาพิมพิสาร กลุมที่ ๓ ประวัติของพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะกับการเผยแผ พระพุทธศาสนา กลุมที่ ๔ หลักคําสอนของพระพุทธเจาเรื่องโอวาทปาฏิโมกข

ตอนที่ ๓ คําถามวัดความรู

ตอบคําถามตอไปนี้ลงในสมุด ๑. เจาชายสิทธัตถะออกผนวช ดวยสาเหตุใด ๒. เจาชายสิทธัตถะทรงแสวงหาหนทางดับทุกข ดวยวิธีการใดบาง ๓. โอวาทปาฏิโมกข มีใจความสําคัญวาอยางไร ๔. นักเรียนคิดวา การศึกษาพุทธประวัตมิ ปี ระโยชนตอ ชาวพุทธอยางไรบาง ๕. นักเรียนไดขอ คิดอะไรบาง จากการศึกษาพุทธประวัติ

ความหมาย

ฉก-ฉวย ฉอ-ราด-บัง-หลวง ชะ-ดิน ตรัด-สะ-รู เถ-ระ ทา-รุน เท-วะ-ทูด ทุก-กะ-ระ-กิ-ริ-ยา บัน-นา-กาน บอ-ริ -วาน บัน-ดาน เบน-จาง-คะ-ประ-ดิด

ยื้อแยงเอาไปตอหนา การเบียดบังเงินหลวง นักบวชเกลาผมมุนเปนมวยสูงมักบูชาไฟ รูแจง พระผูใหญมีพรรษาตั้งแต ๑๐ ขึ้นไป โหดราย สัญญาณที่เตือนใหระลึกถึงคติธรรมดาของชีวิต การกระทํากิจที่ทําไดยาก สิ่งที่สงไปใหดวยความเคารพนับถือ หรือดวยไมตรี ผูแวดลอม ผูติดตาม ใหเกิดมีขึ้นดวยแรงอํานาจของสิ�งใดสิ�งหนึ�ง การกราบโดยใหอวัยวะทั้ง ๕ ลงกับพื้น คือศีรษะ ๑ มือทั้ง ๒ เขาทั้ง ๒ บู-ระ-นะ-ปะ-ติ-สัง-ขอน ซอมแซมทําใหกลับคืนดีเหมือนเดิม พะ-ยา-บาด ผูกใจเจ็บ และอยากแกแคน พะ-ลา-นา-มัย ภาวะของรางกายที่แข็งแรงไมเปนโรค พะ-สก-นิ-กอน คนที่อยูในประเทศ พุด-ทะ-มา-มะ-กะ ผูประกาศตนวาเปนผูนับถือพระพุทธศาสนา พุด-ทะ-สา-วก ศิษยของพระพุทธเจา วัด-ตระ-ปะ-ติ-บัด การปฏิบัติตามหนาที่ สะ-เดาะ ทําใหหลุดออกมาดวยคาถาอาคม สา-ทา-ระ-นะ-ชน ประชาชนทั่วไป

๑๓๗

๑๗

กิจกรรมรวบยอด ใหผูเรียนฝกปฏิบัติเพื่อแสดงพฤติกรรม การเรียนรูรวบยอดและประเมินผลการเรียนรู ตามมาตรฐานตัวชี้วัดประจําหนวย

คําสําคัญ เปนตารางรวบรวม คําศัพทสําคัญในเลม พรอมทั้ง บอกคําอานและความหมาย เพื่อชวยใหผูเรียนเขาใจยิ�งขึ้น


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

สารบัญ ●

ตารางวิเคราะหมาตรฐานการเรียนรู

หนวยการเรียนรูที่

๑ ประวัติและความสําคัญของพระพุทธศาสนา

บทที่ ๑ ความสําคัญของพระพุทธศาสนา บทที่ ๒ พุทธประวัติ บทที่ ๓ ประวัติศาสดาของศาสนาอื่นๆ หนวยการเรียนรูที่ ๒ หลักธรรมคํา จุนโลก บทที่ ๑ พุทธศาสนสุภาษิต บทที่ ๒ หลักธรรมนําชาวพุทธ หนวยการเรียนรูที่

คําสําคัญ บรรณานุกรม

๒ ๗ ๑๘

๒๒

๒๓ ๒๙

๗๘

๖๐ ๖๔

๗๙ ๙๔ ๑๐๑

๕ จิตสงบ พบความสุข

๑๐๙

๖ ศาสนพิธีนารู

๑๒๓

บทที่ ๑ การสวดมนตและแผเมตตา บทที่ ๒ ศาสนพิธีทางพระพุทธศาสนา ●

๔ ชาวพุทธที่ดี ชีวีมีสุข

บทที่ ๑ การบริหารจิตและเจริญปญญา บทที่ ๒ สมาธิเบือ้ งตน หนวยการเรียนรูที่

๕๙

บทที่ ๑ ชาวพุทธตัวอยาง บทที่ ๒ หนาทีช่ าวพุทธ บทที่ ๓ มรรยาทชาวพุทธ หนวยการเรียนรูที่

Evaluate

๓ พุทธสาวกและชาดก

บทที่ ๑ พุทธสาวก บทที่ ๒ ชาดก หนวยการเรียนรูที่

ตรวจสอบผล

Expand

๑๑๐ ๑๑๔

๑๒๔ ๑๒๘ ๑๓๗ ๑๓๘

คนควาขอมูลเพิม� เติม จากเว็บไซตทอ่ี ยูใ นหนังสือเรียน หนา ๑๑, ๑๓, ๓๒, ๔๖, ๔๙, ๕๔, EB GUIDE ๙๐, ๙๑, ๑๑๗, ๑๓๕


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

ตารางวิเคราะห

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

Áҵðҹ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙጠÅеÑǪÕÇé ´Ñ ÃÒÂÇÔªÒ ¾Ãоط¸ÈÒÊ¹Ò ».๔

คําชี้แจง : ใหผูสอนใชตารางน�้ตรวจสอบวา เน�้อหาสาระการเรียนรูในหนวยการเรียนรูสอดคลองกับมาตรฐาน การเรียนรูและตัวชี้วัดชั้นปในขอใดบาง

มาตรฐาน การ เรียนรู

หนวยที่ ๑

สาระการเรียนรู ตัวชี้วัด ชั้น ป.๔ ๑. อธิบายความสําคัญของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ในฐานะเปนศูนยรวม จิตใจของศาสนิกชน ๒. สรุปพุทธประวัติตั้งแตบรรลุธรรมจนถึง ประกาศธรรม หรือประวัตศิ าสดาทีต่ นนับถือ ตามทีก่ าํ หนด

หนวยที่ หนวยที่ ๒ ๓

บทที่

บทที่

บทที่

หนวยที่ ๔

หนวยที่ หนวยที่ ๕ ๖

บทที่

บทที่

๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๑ ๒ ✓

๓. เห็นคุณคาและปฏิบัติตนตามแบบอยางการ ดําเนินชีวิตและขอคิดจากประวัติสาวก ชาดก เรื่องเลา และศาสนิกชนตัวอยางตามที่กําหนด

✓ ✓ ✓

๔. แสดงความเคารพพระรัตนตรัยปฏิบตั ติ าม ไตรสิกขาและหลักธรรมโอวาท ๓ ในพระพุทธศาสนา หรือหลักธรรมของศาสนาทีต่ นนับถือตาม มฐ. ส ๑.๑ ทีก่ าํ หนด

✓ ✓

๕. ชื่นชมการทําความดีของตนเอง บุคคลใน ครอบครัว โรงเรียน และชุมชนตามหลักศาสนา พรอมทั้งบอกแนวปฏิบัติในการดําเนินชีวิต

๖. เห็นคุณคาและสวดมนต แผเมตตา มีสติที่เปน พื้นฐานของสมาธิในพระพุทธศาสนา หรือการ พัฒนาจิตตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ ตามที่กําหนด

✓ ✓ ✓

๗. ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ เพือ่ การอยูร ว มกันเปนชาติไดอยางสมานฉันท ๘. อธิบายประวัตศิ าสดาของศาสนาอืน่ ๆ โดยสังเขป ๑. อภิปรายความสําคัญและมีสวนรวมในการบํารุง รักษาศาสนสถานของศาสนาทีต่ นนับถือ

มฐ. ๒. มีมรรยาทของความเปนศาสนิกชนที่ดีตามที่ ส ๑.๒ กําหนด ๓. ปฏิบตั ติ นในศาสนพิธี พิธกี รรม และวันสําคัญทาง ศาสนาตามทีก่ าํ หนดไดถกู ตอง

บทที่

✓ ✓ ✓ ✓


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุน ความสนใจ

ñ

หนวยการเรียนรูที่

»ÃÐÇѵÔáÅФÇÒÁÊíÒ¤ÑÞ ¢Í§¾Ãоط¸ÈÒʹÒ

เปาหมายการเรียนรูประจําหนวยที่ ๑ เมือ่ เรียนจบหนวยน�้ ผูเ รียนจะมีความรูค วามสามารถตอไปน�้ ๑. อธิบายความสําคัญของพระพุทธศาสนา หรือศาสนา ที่ตนนับถือในฐานะเปนศูนยรวมจิตใจของศาสนิกชน [มฐ. ส ๑.๑ ป.๔/๑] ๒. สรุปพุทธประวัติตั้งแตบรรลุธรรมจนถึงประกาศธรรม หรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่กําหนด [มฐ. ส ๑.๑ ป.๔/๒] ๓. อธิบายประวัติศาสดาของศาสนาอื่นๆ โดยสังเขป [มฐ. ส ๑.๑ ป.๔/๘]

¾Ãоط¸ÈÒÊ¹Ò ÁÕ¤ÇÒÁÊíÒ¤ÑÞ µ‹Í¤¹ä·ÂÍ‹ҧäÃ

Engage

1. ครูนําภาพหรือวีดิทัศนเกี่ยวกับวันสําคัญทาง พระพุทธศาสนามาใหนักเรียนดู จากนั้น ใหนักเรียนรวมกันบอกวา เปนวันสําคัญทาง ศาสนาวันใด และกิจกรรมในวีดิทัศน คือกิจกรรมใด 2. ใหนักเรียนผลัดกันเลาประสบการณของ ตนเองที่เกี่ยวของกับการเขารวมพิธีกรรม ทางพระพุทธศาสนา เชน การไปทําบุญที่วัด การไปเวียนเทียน การไปงานบวช เปนตน 3. ใหนักเรียนดูภาพ จากหนังสือเรียน หนา 1 แลวรวมกันแสดงความคิดเห็นวา • จากภาพ มีความสําคัญตอพระพุทธศาสนา อยางไร (แนวตอบ พระสงฆถือเปนผูที่คอยอบรม สั่งสอนหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา แกพุทธศาสนิกชน และยังเปนผูประกอบ พิธีกรรมตางๆ ทางพระพุทธศาสนา พระสงฆจึงมีความสําคัญตอพระพุทธศาสนา ในฐานะผูสืบทอดพระพุทธศาสนา) • นักเรียนคิดวา เพราะเหตุใดพระพุทธศาสนา จึงเปนศาสนาประจําชาติไทย (แนวตอบ เพราะคนไทยสวนใหญนับถือ พระพุทธศาสนาและยึดหลักคําสอนทาง พระพุทธศาสนามาใชเปนแนวทางในการ ดําเนินชีวิต)

เกร็ดแนะครู กอนเริ่มเขาสูบทเรียนครูควรใหนักเรียนไดทบทวนความรูเดิมที่เคยเรียน ในชั้นที่ผานมาวา นักเรียนรูถึงความสําคัญของพระพุทธศาสนามากนอยเพียงใด โดยใหนักเรียนชวยกันบอกความสําคัญของการมีพระพุทธศาสนาเปนที่ยึดเหนี่ยว ทางจิตใจ

คูมือครู

1


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expore

Explain

Expand

Evaluate

เปาหมายการเรียนรู

บทที่

อธิบายความสําคัญของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ในฐานะเปนศูนยรวมจิตใจ ของศาสนิกชน (ส 1.1 ป.4/1)

ความสําคัญของพระพุทธศาสนา

สมรรถนะของผูเรียน

ñ

กิจกรรมนําสูการเรียน

1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการใชทกั ษะชีวิต

¨Ò¡ÀÒ¾ ºÍ¡¶Ö§ ¤ÇÒÁÊíÒ¤Ñޢͧ ¾Ãоط¸ÈÒÊ¹Ò Í‹ҧäúŒÒ§

คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. รักชาติ ศาสน กษัตริย 2. ใฝเรียนรู 3. มุงมัน่ ในการทํางาน

กระตุน ความสนใจ

Engage

1. ใหนักเรียนดูภาพจากหนังสือเรียน หนา 2 แลวชวยกันบอกวา • จากภาพ นักเรียนคิดวาเปนภาพอะไร และเกี่ยวของกับพระพุทธศาสนาอยางไร (แนวตอบ เปนภาพเด็กกําลังสรงนํ้าพระ ซึ่งบงบอกวาพระพุทธศาสนามีบทบาท ตอวิถีการดําเนินชีวิตของคนไทย) 2. ครูสนทนากับนักเรียนวา นักเรียนคนใดนับถือ พระพุทธศาสนาบาง ครูใหนักเรียนยกมือ จากนั้นครูสุมเรียกนักเรียนที่ยกมือใหอธิบายวา ที่นักเรียนบอกวานับถือพระพุทธศาสนานั้น นักเรียนปฏิบัติอยางไร (แนวตอบ เชน รักษาศีล สวดมนตไหวพระ ทําบุญตักบาตร ปฏิบัติธรรม เปนตน)

á¹Ç¤Ô´ÊíÒ¤ÑÞ ¾Ãоط¸ÈÒʹÒä´Œà¼ÂἋÍÍ¡ä»Í‹ҧ¡ÇŒÒ§¢ÇÒ§ ÀÒÂËÅѧ䴌¢ÂÒÂࢌÒÊÙ‹´Ô¹á´¹ÊØÇÃóÀÙÁÔ Íѹ໚¹·ÕèµÑé§ ¢Í§»ÃÐà·Èä·Âã¹»˜¨¨Øº¹Ñ áÅÐËÅÑ¡¸ÃÃÁ¢Í§¾Ãоط¸ÈÒÊ¹Ò ¶× Í à»š ¹ ËÅÑ ¡ 㹡Òôí Ò à¹Ô¹ ªÕ ÇÔ µ ¢Í§¤¹ä·Â ¨Ö§¡Å‹ÒÇä´ŒÇÒ‹ “¾Ãоط¸ÈÒʹÒ໚¹Èٹ ÃÇÁ¨Ôµã¨¢Í§ ¾Ø·¸ÈÒʹԡª¹áÅÐ໚¹Áô¡·Ò§ÇѲ¹¸ÃÃÁ·ÕèÅíéÒ¤‹Ò”

เกร็ดแนะครู ครูจัดกระบวนการเรียนรูโดยการใหนักเรียนปฏิบัติ ดังนี้ • สํารวจเพื่อนในชั้นเรียนเกี่ยวกับการปฏิบัติกิจกรรมทางพระพุทธศาสนา • สืบคนขอมูลเกี่ยวกับพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนาที่มีความผูกพันกับวิถีชีวิต ของชาวพุทธ • อภิปรายขอมูลเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาเปนศูนยรวมจิตใจของคนไทย • สรุปความสําคัญของพระพุทธศาสนา • วิเคราะหขอมูลจากภาพและประเด็นคําถาม จนเกิดเปนความรูความเขาใจวา พระพุทธศาสนามีความสําคัญในฐานะ เปนศูนยรวมจิตใจของคนไทย โดยมีวัดเปนศูนยกลางในการจัดกิจกรรมตางๆ และนําหลักธรรมคําสั่งสอนทางพระพุทธศาสนามาใชเปนแนวทางในการดําเนินชีวิต

2

คูมือครู


สํารวจคนหา

กระตุนความสนใจ

Explore

Engaae

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

สํารวจคนหา

พระพุทธศาสนาในฐานะที่เปนเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ

พระพุทธศาสนาถือกําเนิดในประเทศอินเดียและเผยแผเขามา ในดินแดนของประเทศไทยในปจจุบัน และเขตประเทศเพื่อนบาน ซึ่งอยูในราวพุทธศตวรรษที่ ๓ พระพุทธศาสนาเปนศาสนาที่คนไทยสวนใหญ นับถือมาตั้งแต อดีตจนถึงปจจุบัน พระมหากษัตริย ไทยทุกพระองคทรงนับถือ พระพุทธศาสนา อีกทั้งทรงเปน พุทธมามกะและไดทรงใหความ อุปถัมภคํ้าชูตอพระพุทธศาสนา มาโดยตลอด หลักธรรมที่มีในพระพุทธศาสนามุง สอนใหพทุ ธศาสนิกชน ละเวนจากการทําความชัว่ ทําแต ความดี และทําจิตใจใหบริสุทธิ์ ซึง่ เปนเครือ่ งยึดเหนีย่ ว และทีพ่ งึ่ ทางใจของเหลาพุทธศาสนิกชน แลวไดนําหลักธรรมมาประพฤติ ปฏิ บั ติ ส  ง ผลให มี ความสุ ข และ ประสบผลสํ า เร็ จ ในการดํ า เนิ น ชีวิต ทําใหสังคมมีความสงบสุข พระพุทธศาสนาหลอหลอมใหคนไทยมีความรัก ตลอดมา และสามัคคีกัน

Explore

1. ครูสมุ ใหนกั เรียน 2-3 คน ยกตัวอยางหลักธรรม ที่นักเรียนรูจัก จากนั้นยกตัวอยางการปฏิบัติ ตนตามหลักธรรม เชน • ศีล 5 เชน ไมฆาสัตว ไมพูดปด ไมเสพสารเสพติด เปนตน • หิริ-โอตตัปปะ เชน ไมหนีเรียน ไมลักขโมย สิ่งของของผูอื่น เปนตน • สติ-สัมปชัญญะ เชน ตัง้ ใจเรียน ไมประมาท ปฏิบัติสมาธิเปนประจํา เปนตน 2. ใหนกั เรียนคนอืน่ สํารวจตนเองวาเคยปฏิบตั ติ าม หลักธรรมที่ยกตัวอยางมาบางหรือไม อยางไร 3. ครูสุมใหนักเรียน 2-3 คน ยกตัวอยางพิธีกรรม ทางพระพุทธศาสนา เชน ทําบุญตักบาตร สวดมนต เวียนเทียน ถวายสังฆทาน เปนตน 4. ใหนกั เรียนคนอืน่ สํารวจตนเองวาเคยปฏิบตั ติ าม พิธีกรรมเหลานี้หรือไม ถาเคย ใหออกมาเลา ใหเพื่อนฟงที่หนาชั้น 5. ใหนักเรียนสอบถามขอมูลเพิ่มเติมจากเพื่อน ในชั้นเรียนวา เพื่อนของนักเรียนเคยปฏิบัติ กิจกรรมใดอีกบางทีเ่ กีย่ วของกับพระพุทธศาสนา

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ขอใดไมใชลักษณะของคนไทยที่ไดรับการหลอหลอมจากพระพุทธศาสนา 1. บําเพ็ญประโยชนเพื่อสวนรวม 2. มีความสมานสามัคคี 3. จิตใจราเริงแจมใส 4. ชอบอยูคนเดียว

วิเคราะหคําตอบ พระพุทธศาสนาสอนใหคนมีนํ้าใจตอกัน มีเมตตากรุณา รูจักชวยเหลือซึ่งกันและกัน ไมเห็นแกประโยชนสวนตนมากกวาสวนรวม และมีความสมานสามัคคี รักใครปรองดองกัน ดังนั้น ขอ 4. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง

บูรณาการอาเซียน ครูอธิบายใหนักเรียนเขาใจวา ในประเทศอาเซียนมีคนหลากหลายเชื้อชาติ ซึ่งแตละเชื้อชาติก็มีความเชื่อเปนของตนเอง จึงทําใหเกิดความแตกตางทาง ความเชื่อ วิถีชีวิต ภาษา ขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรม เชน บางประเทศมีประชากรสวนใหญนับถือศาสนาอิสลาม จึงมีประเพณี และวัฒนธรรมที่สอดคลองกับศาสนา เชน การแตงกายของสตรีที่ปกปดมิดชิด และสวมผาคลุมศีรษะ เรียกวา “ฮิญาบ” การละหมาด การถือศีลอด เปนตน บางประเทศมีประชากรสวนใหญนับถือพระพุทธศาสนา จึงมีประเพณีและ วัฒนธรรมที่สอดคลองกับศาสนา เชน การทําบุญตักบาตร การถวายสังฆทาน การเวียนเทียน การอุปสมบท เปนตน บางประเทศมีประชากรสวนใหญนับถือศาสนาคริสต จึงมีประเพณีและ วัฒนธรรมที่สอดคลองกับศาสนา เชน การไปโบสถทุกวันอาทิตย เปนตน บางประเทศมีประชากรที่เปนชนกลุมนอย ซึ่งยังมีความเชื่อเกี่ยวกับวิญญาณ ภูตผีปศาจ จึงทําใหเกิดประเพณีและวัฒนธรรมที่สอดคลองกับความเชื่อเหลานี้ เชน การไหวผีและนับถือผีบรรพบุรุษ เปนตน คูมือครู 3


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูถามนักเรียนวา • จากการสํารวจกิจกรรมที่เกี่ยวของกับ พระพุทธศาสนา นักเรียนคิดวาพระพุทธศาสนา มีความสําคัญตอคนไทยอยางไร (แนวตอบ คนไทยสวนใหญนับถือพระพุทธศาสนาเปนเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ และนําหลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาใช เปนแนวทางในการปฏิบัติตนใหเปนคนดี ทําใหดําเนินชีวิตอยางมีความสุข) 2. ใหนักเรียนดูภาพจากหนังสือเรียน หนา 4 แลวชวยกันบอกวา • จากภาพ เปนภาพอะไร และมีความสําคัญ ตอคนไทยอยางไร (แนวตอบ เปนภาพชาวพุทธกําลังฟงธรรม ซึ่งชวยกลอมเกลาจิตใจของชาวพุทธใหเปน คนดี มีศลี ธรรม และแสดงใหเห็นวา ชาวพุทธ พรอมใจกันเขารวมพิธีกรรมในวันสําคัญ ทางพระพุทธศาสนา) • สิ่งสําคัญของพระพุทธศาสนาที่ชวย หลอหลอมพฤติกรรมของคนไทยคือสิ่งใด (แนวตอบ หลักธรรมคําสอนตางๆ ทางพระพุทธศาสนา) 3. ใหนักเรียนรวมกันสรุปความสําคัญของ พระพุทธศาสนาวา พระพุทธศาสนาเปน เครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจของชาวพุทธอยางไร (แนวตอบ พระพุทธศาสนามีความเกี่ยวของกับ วิถีการดําเนินชีวิตของพุทธศาสนิกชนไทย มาเปนเวลายาวนาน ตั้งแตเกิดจนตาย จะเห็นไดจากกิจกรรมตางๆ เชน ทําบุญวันเกิด จัดพิธศี พ เปนตน)

ชีวิตคนไทยนั้นผูกพันอยูกับพระพุทธศาสนา ชีวิตตั้งแตเกิด จนตายจะมีกิจกรรมที่เกี่ยวของกับพระพุทธศาสนา เชน การทําบุญ 2 3 1 วันเกิด การทําบุญบาน การทําบุญงานศพ ทําบุญงานมงคลสมรส เปนตน ทุกชุมชนจะมีวัดและพระสงฆเปนศูนยรวมทางจิตใจและ การทําความดี พระสงฆจะนําหลักธรรมคําสอนของพระพุทธเจา มาเผยแผอบรมสั่งสอนประชาชน และพัฒนาจิตใจดวยการฝกสมาธิ การไหวพระสวดมนต ศึกษาหลักธรรมคําสอน เพือ่ ทีจ่ ะนํามาใชในการ ดําเนินชีวิตประจําวัน

พระพุทธศาสนาเปนสวนหนึ่งในวิถีชีวิตของชาวไทย

นักเรียนควรรู 1 การทําบุญบาน เปนพิธีที่คนไทยนิยมนิมนตพระภิกษุมาสวดมนตใหพร เพื่อความเปนสิริมงคลของผูที่อยูอาศัย ซึ่งพิธีการทําบุญบานนั้นถือวาเปนสิ่งที่ดีงาม ตามหลักของพระพุทธศาสนา 2 งานศพ เปนพิธีที่ทําใหคนเราระลึกวาสังขารของมนุษยเปนสิ่งที่ไมเที่ยงแท แนนอน (กฎไตรลักษณ) ซึ่งทําใหผูที่มารวมงานนอกจากจะไปเพื่อขอขมาลาโทษ แกผูที่ลวงลับไปแลว ยังเปนการเตือนสติใหเราดําเนินชีวิตดวยความไมประมาท 3 งานมงคลสมรส หรือพิธีแตงงาน จะเกี่ยวของกับประเพณีทางพระพุทธศาสนา เชน การทําบุญตักบาตร การนิมนตพระภิกษุมาสวดมนตใหพร เพื่อความเปนสิริมงคลแกคูสมรสซึ่งจะเริ่มตนใชชีวิตคูรวมกัน

4

คูมือครู

กิจกรรมทาทาย ใหนักเรียนหาภาพที่เกี่ยวของกับการจัดประเพณีหรือกิจกรรมทาง พระพุทธศาสนา เชน การทําบุญตักบาตร การเวียนเทียน การอุปสมบท การแหเทียนเขาพรรษา เปนตน แลวใหนักเรียนสืบคนจุดประสงคของ การจัดกิจกรรมดังกลาว จากนั้นติดภาพลงในกระดาษ แลวเขียนอธิบาย จุดประสงคสั้นๆ


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engaae

Expore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ขยายความเขาใจ

วัดเปนศูนยรวมในการจัดกิจกรรมตางๆ ทางพระพุทธศาสนา

1

นอกจากนี้ วัดยังถือเปนศูนยกลางในการจัดงานและกิจกรรม ทั้งในดานวัฒนธรรมประเพณี เชน การทอดกฐิน การทอดผาปา การไปเวียนเทียนในโอกาสวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา เชน 2 วันวิสาขบูชา วันอาสาฬหบูชา การทําบุญในวันธรรมสวนะ เชน ทําบุญตักบาตร ฟงธรรมเทศนา บริจาคทรัพยสิ่งของเพื่อพัฒนา และทํานุบํารุงวัด สนทนาธรรมกับพระภิกษุหรือผูรู และเปนแหลง กิจกรรมทางสังคม เชน การจัดงานประเพณีทองถิ่น ตลอดจนการ เผยแพรขอมูลขาวสารในชุมชนและการสงเสริมพัฒนาชุมชน เชน เปนที่รวมกลุมอาชีพชุมชน อาสาสมัครพัฒนาชุมชน กลุมแมบาน

Expand

1. ใหนักเรียนแบงกลุม แลวรวมกันอภิปราย ตามประเด็นที่กําหนด จากนั้นสรุปผลการ อภิปรายลงในสมุด • พระพุทธศาสนาเปนศูนยรวมจิตใจของ คนไทยอยางไรบาง (แนวตอบ พระพุทธศาสนาจะเกี่ยวของกับ วิถีชีวิตของคนไทยตั้งแตเกิดจนตาย เชน มีการทําบุญในวันเกิด มีการนิมนตพระ มาสวดในงานศพ เปนตน รวมทั้งคนไทย ก็ยังไดนําหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา มาใชเปนแนวทางในการดําเนินชีวิต) 2. ใหนักเรียนแบงกลุม 6-8 คน แลวชวยกัน รวบรวมภาพเกี่ยวกับพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนาที่มีความผูกพันกับวิถชี วี ติ ของชาวพุทธ จะเปนของประเทศไทยหรือประเทศเพือ่ นบาน ก็ได จากแหลงขอมูลตางๆ เชน หองสมุด อินเทอรเน็ต เปนตน จากนั้นนําภาพที่หาได มารวบรวมจัดทําเปนรูปเลมและเขียนบอก คําอธิบายใตภาพ

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’ 52 ออกเกี่ยวกับศาสนา ศาสนามีความสําคัญตอมนุษยในขอใดมากที่สุด 1. เปนศูนยกลางชุมชน 2. สอนใหมีความยุติธรรมเทาเทียมกัน 3. เปนหลักในการดํารงชีวิตและที่พึ่งทางใจ 4. สอนใหเห็นถึงความสําคัญของธรรมชาติ ไมทําลายสิ่งแวดลอม วิเคราะหคําตอบ ศาสนาทุกศาสนามีหลักธรรมที่เปนแนวปฏิบัติ ในชีวิตประจําวัน และมุงสอนใหศาสนิกชนที่ปฏิบัติตามเปนคนดี และอดทน ตออุปสรรคและความทุกขตา งๆ เมือ่ คนเรามีความทุกขใจจึงมักใชหลักธรรม ทางศาสนามาชวยแกไขปญหา จึงสรุปไดวาศาสนาเปนหลักในการดํารงชีวิต และที่พึ่งทางจิตใจ ดังนั้น ขอ 3. จึงเปนคําตอบที่ถูกตอง

นักเรียนควรรู 1 วัด เปนสถานทีท่ ใี่ ชในการประกอบพิธกี รรมทางพระพุทธศาสนา ซึง่ ถือเปน ทีย่ ดึ เหนีย่ วจิตใจของชาวพุทธ นอกจากนี้วัดยังเปนสถานศึกษาที่ใชในการศึกษา หาความรูของพระภิกษุ สามเณร และชาวพุทธทั่วไปอีกดวย 2 วันธรรมสวนะ เปนวันที่เกิดขึ้นเมื่อพระเจาพิมพิสารกราบทูลขออนุญาต พระพุทธเจาใหมีวันประชุมสนทนาเกี่ยวกับหลักธรรมในพระพุทธศาสนา

คูมือครู

5


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engaae

Expore

Explain

Elaborate

ตรวจสอบผล

ตรวจสอบผล Evaluate

Evaluate

1. ครูพิจารณาการสรุปผลการอภิปรายของ แตละกลุมวาบอกความสําคัญของพระพุทธศาสนาที่เปนศูนยรวมจิตใจของประชาชน ไดถูกตองและชัดเจน 2. ครูพิจารณาความถูกตองของภาพที่หามาวา เปนภาพเกี่ยวกับพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา ที่มีความผูกพันกับวิถีการดําเนินชีวิตของ พุทธศาสนิกชน และเขียนคําอธิบายใตภาพ ไดสอดคลองกันหรือไม

ซึง่ เห็นไดชดั วา วัดเปนศูนยรวมของการดําเนินชีวติ ในสังคมไทย ทําใหประชาชนในทองถิ่นนั้นๆ ไดรับความสุขสนุกสนานพักผอน จิตใจ วัดจึงเปนศูนยรวมของความสามัคคี เปนสมบัติสวนรวมที่ ประชาชนจะมาพบปะสังสรรค แลกเปลีย่ นความคิดเห็นซึง่ กันและกัน

กิจกรรมรวบยอด

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู

ตอนที่ ๑ อภิปรายชวนคิด

1. ผลงานสรุปการอภิปรายหัวขอพระพุทธศาสนา เปนศูนยรวมจิตใจของประชาชน 2. ผลงานสมุดภาพเกี่ยวกับภาพพิธีกรรมทาง พระพุทธศาสนาที่มีความผูกพันกับวิถีชีวิต ของชาวพุทธ พรอมคําบรรยายภาพ

(ผลการปฏิบัติกิจกรรมขึ้นอยูกับดุลยพินิจของครูผูสอน)

นักเรียนแบงกลุมรวมกันอภิปรายวา พระพุทธศาสนาเปนศูนยรวมจิตใจของ ประชาชนอยางไรบาง แลวสงตัวแทนนําเสนอผลการอภิปรายหนาชั้นเรียน

ตอนที่ ๒ ผลงานสรางสรรค (ผลการปฏิบัติกิจกรรมขึ้นอยูกับดุลยพินิจของครูผูสอน)

๑. แบงกลุม กลุม ละ ๖-๘ คน รวบรวมภาพพิธกี รรมทางพระพุทธศาสนาทีม่ ี ความผูกพันกับวิถชี วี ติ ของชาวพุทธจากแหลงการเรียนรูต า งๆ เชน หองสมุด อินเทอรเน็ต ๒. นําภาพที่รวบรวมได จัดทําเปนรูปเลมและเขียนคําอธิบายใตภาพ

ตอนที่ ๓ คําถามวัดความรู

ตอบคําถามตอไปนี้ลงในสมุด ๑. สิ่งใดที่แสดงใหเห็นวา พระพุทธศาสนาเปนศูนยรวมจิตใจของคนไทย ๒. สิ่งใดที่แสดงใหเห็นวา ชาวพุทธนําหลักธรรมมาใชในชีวิตประจําวัน ๓. กิจกรรมใดบางทางพระพุทธศาสนา ที่สงเสริมการพัฒนาจิตใจ ๔. ประเพณีวัฒนธรรมใดบาง ที่ไดรับอิทธิพลมาจากพระพุทธศาสนา ๕. นักเรียนคิดวา วัดมีความสําคัญตอชุมชนอยางไร

เฉลย กิจกรรมรวบยอด ตอนที่ 3 (คําถามวัดความรู) 1. แนวตอบ คนไทยสวนใหญที่เปนชาวพุทธจะยึดหลักคําสอนทางพระพุทธศาสนา มาใชเปนหลักในการดําเนินชีวิตประจําวัน 2. แนวตอบ การปฏิบัติกิจกรรมตางๆ ที่เกี่ยวของกับพระพุทธศาสนา เชน การทําบุญตักบาตร การถือศีล การนั่งสมาธิ เปนตน 3. แนวตอบ เชน การทําบุญตักบาตร การนัง่ สมาธิ การสวดมนตไหวพระ การทําบุญปลอยนกปลอยปลา การเวียนเทียน การบําเพ็ญประโยชนตอสวนรวม เปนตน 4. แนวตอบ เชน การทอดกฐิน การทอดผาปา การทําบุญในวันธรรมสวนะ การไปเวียนเทียนในวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา เปนตน 5. แนวตอบ วัดเปนศูนยกลางในการจัดงานและกิจกรรมตางๆ ที่เกี่ยวของกับ พระพุทธศาสนา ซึ่งเปนแหลงที่ทําใหเกิดความสมานสามัคคีของคนไทย วัดจึงเปนศูนยรวมจิตใจของพุทธศาสนิกชนชาวไทย

6

คูมือครู


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.