8858649122568

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº Í- .

».

ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน

กระบวนการสอนแบบ 5 Es ชวยสรางทักษะการเรียนรู กิจกรรมมุงพัฒนาทักษะการคิด คำถาม + แนวขอสอบเพื่อยกผลสัมฤทธิ์ O-NET กิจกรรมบูรณาการเตรียมพรอมสู ASEAN 2558


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

ประวัติศาสตร ชั้นประถมศึกษาปที่

4

สําหรับครู

คูมือครู Version ใหม

ลักษณะเดน

ขยายพื้นที่รูปเลมใหญขึ้นกวาเดิม จัดแบงพื้นที่ออกเปนโซน เพื่อคนหาขอมูลไดงาย สะดวก รวดเร็ว และดูเปนระเบียบ กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

เปาหมายการเรียนรู สมรรถนะของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค

หน า

โซน 1 กระตุน ความสนใจ

Engage

สํารวจคนหา

Explore

อธิบายความรู

Explain

ขยายความเขาใจ

Expand

ตรวจสอบผล

หน า

หนั ง สื อ เรี ย น

โซน 1

หนั ง สื อ เรี ย น

Evaluate

ขอสอบเนน การคิด ขอสอบเนน การคิด แนว NT แนว O-NET ขอสอบ

โซน 2

เกร็ดแนะครู

O-NET

บูรณาการเชื่อมสาระ

โซน 3

กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย

นักเรียนควรรู

โซน 3

โซน 2 บูรณาการอาเซียน มุม IT

No.

คูมือครู

คูมือครู

No.

โซน 1 ขั้นตอนการสอนแบบ 5Es

โซน 2 ชวยครูเตรียมสอน

โซน 3 ชวยครูเตรียมนักเรียน

เพื่อใหครูเตรียมจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยแนะนําขั้นตอนการสอนและ การจัดกิจกรรมแบบ 5Es อยางละเอียด เพื่อใหนักเรียนบรรลุตามตัวชี้วัด

เพื่อชวยลดภาระครูผูสอน โดยแนะนํา เกร็ดความรูสําหรับครู ความรูเสริมสําหรับ นักเรียน รวมทั้งบูรณาการความรูสูอาเซียน และมุม IT

เพือ่ ใหครูสะดวกตอการจัดกิจกรรม โดยแนะนํา กิจกรรมบูรณาการเชื่อมระหวางกลุมสาระ วิชา กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย รวมถึงเนือ้ หา ที่เคยออกขอสอบ O-NET เก็งขอสอบ O-NET และแนวขอสอบเนนการคิด พรอมคําอธิบาย และเฉลยอยางละเอียด


ที่ใชในคูมือครู

แถบสีและสัญลักษณ

แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5Es เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

1. แถบสี 5Es สีแดง

สีเขียว

กระตุน ความสนใจ

เสร�ม

สํารวจคนหา

Engage

2

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุน ความสนใจ เพื่อโยง เขาสูบทเรียน

สีสม

อธิบายความรู

Explore

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนสํารวจ ปญหา และศึกษา ขอมูล

สีฟา

Explain

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนคนหา คําตอบ จนเกิดความรู เชิงประจักษ

สีมวง

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนนําความรู ไปคิดคนตอๆ ไป

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

2. สัญลักษณ สัญลักษณ

วัตถุประสงค

• เปาหมายการเรียนรู

O-NET

(เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ O-NET O-NET)

• ชีแ้ นะเนือ้ หาทีเ่ คยออกขอสอบ

O-NET โดยยกตัวอยางขอสอบ พรอมวิเคราะหคาํ ตอบ อยางละเอียด

• เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน

การคิดใหครูนาํ ไปใชไดจริง รวมถึงเปนการเก็งขอสอบ O-NET ทีจ่ ะออก มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

แสดงรองรอยหลักฐานตามภาระงาน ที่ครูมอบหมาย เพื่อแสดงผลการเรียนรู ตามตัวชี้วัด

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

แทรกความรูเสริมสําหรับครู ขอเสนอแนะ ขอควรระวัง ขอสังเกต แนวทางการจัด กิจกรรมและอืน่ ๆ เพื่อประโยชนในการ จัดการเรียนการสอน

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

ขยายความรูเพิ่มเติมจากเนื้อหา เพื่อใหครู นําไปใชอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียน ไดมีความรูมากขึ้น

บูรณาการเชื่อมสาระ

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม

ความรูห รือกิจกรรมเสริม ใหครูนาํ ไปใช เตรียมความพรอมใหกบั นักเรียนกอนเขาสู ประชาคมอาเซียน 2558 โดยบูรณาการ กับวิชาทีก่ าํ ลังเรียน

กิจกรรมสรางเสริม

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม

เกร็ดแนะครู

นักเรียนควรรู

บูรณาการอาเซียน

คูม อื ครู

ขอสอบ

วัตถุประสงค

• หลักฐานแสดงผล การเรียนรู

มุม IT

แสดงเปาหมายการเรียนรูที่นักเรียน ตองบรรลุตามตัวชี้วัด ตลอดจนสมรรถนะ ที่จะตองมี และคุณลักษณะที่พึงเกิดขึ้น กับนักเรียน

สัญลักษณ

แนะนําแหลงคนควาจากเว็บไซต เพื่อใหครู และนักเรียนไดเขาถึงขอมูลความรู ที่หลากหลาย ทั้งไทยและตางประเทศ

• แนวขอสอบ NT ในระดับ

ประถมศึกษา มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

(เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ NT)

กิจกรรมทาทาย

เชือ่ มกับกลุม สาระ ชัน้ หรือวิชาอืน่ ทีเ่ กีย่ วของ

ซอมเสริมสําหรับนักเรียน ทีย่ งั ไมเขาใจเนือ้ หา

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ตอยอดสําหรับนักเรียนทีเ่ รียนรู เนือ้ หาไดอยางรวดเร็ว และ ตองการทาทายความสามารถ ในระดับทีส่ งู ขึน้


คําแนะนําการใชคูมือครู การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน คูมือครู รายวิชา ประวัติศาสตร ป.4 จัดทําขึ้นเพื่อใหครูผูสอนนําไปใชเปนแนวทางวางแผนการสอนเพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน และประกันคุณภาพผูเ รียน ตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน (สพฐ.) โดยใชหนังสือเรียน ประวัติศาสตร ป.4 ของบริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด เปนสื่อหลัก (Core Material) ประกอบ เสร�ม การสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดกลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา 3 ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 โดยออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน ตามหลักการสําคัญ ดังนี้ 1 ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน คูม อื ครู รายวิชา ประวัตศิ าสตร ป.4 วางแผนการสอนโดยแบงเปนหนวยการเรียนรูต ามลําดับสาระ (standard) และ หมายเลขขอของมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั แตละหนวยจะกําหนดเปาหมายการสอนและจุดประสงคการเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทางการประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชัดเจน ครูผูสอนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด สมรรถนะ และคุณลักษณะ อันพึงประสงคที่เปนเปาหมายการเรียนรูตามที่กําหนดไวในสาระแกนกลาง (ตามแผนภูมิ) และสามารถบันทึกผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของผูเรียนแตละคนลงในเอกสาร ปพ.5 ไดอยางมั่นใจ แผนภูมิแสดงองคประกอบของการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผูเรียนเปนสําคัญ

พผ

ูเ

จุดปร

ะสง

คก า

ส ภา

รียน

รู ีเรยน

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชั้นป

ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน คูม อื ครู


2 การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ แนวคิ ด ในการจั ด การเรี ย นการสอนที่ ยึ ด ผู  เ รี ย นเป น สํ า คั ญ พั ฒ นามาจากปรั ช ญาและทฤษฎี ก ารเรี ย นรู  Constructivism ที่เชื่อวาการเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสรางความรู โดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดเรียนรูจากบทเรียนใหมกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา ผูเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีการสั่งสมความรูความเขาใจเกี่ยวกับสิ่งตางๆ ติดตัวมากอน เสร�ม ทีจ่ ะเขาสูห อ งเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากประสบการณและสิง่ แวดลอมรอบตัวผูเ รียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกิจกรรม 4 การเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ผูสอนจะตองคํานึงถึง 1. ความรูเดิมของผูเรียน วิธีการสอนที่ดีจะตองเริ่มตนจากจุดที่วา ผูเ รียนมีความรูอ ะไรมาบาง แลวจึงใหความรู หรือประสบการณใหม เพื่อตอยอดจาก ความรูเดิม นําไปสูการสรางความรูความ เขาใจใหม

2. ความรูเดิมของผูเรียนถูกตองหรือไม ผูส อนตองปรับเปลีย่ นความรูความเขาใจ เดิ ม ของผู  เ รี ย นให ถู ก ต อ ง และเป น พฤติ ก รรมการเรียนรูใหมที่มีคุณคาตอ ผูเ รียน เพือ่ สรางเจตคติหรือทัศนคติทดี่ ตี อ การเรียนรูสิ่งเหลานั้น

3. ผูเรียนสรางความหมายสําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมใหผูเรียนนําความรูความ เขาใจที่เกิดขึ้นไปลงมือปฏิบัติ เพื่อขยาย ความรูใหลึกซึ้งและมีคุณคาตอตัวผูเรียน มากที่สุด

แนวคิด Constructivism เนนใหผูเรียนสรางความรูโดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูของตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศ

การเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณ ความรูใ หม เพือ่ กระตนุ ใหผเู รียนเชือ่ มโยงความรู ความคิด กับประสบการณทมี่ อี ยูเ ดิม แลวสังเคราะหเปนความรูห รือแนวคิดใหมๆ ไดดว ยตนเอง

3 การบูรณาการกระบวนการคิด การเรียนรูข องผูเ รียนแตละคนจะเกิดขึน้ ทีส่ มอง ซึง่ เปนอวัยวะทีท่ าํ หนาทีร่ คู ดิ ภายใตสภาพแวดลอมทีเ่ อือ้ อํานวย และไดรบั การกระตนุ จูงใจอยางเหมาะสม สอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของผูเ รียนแตละคน การจัดกิจกรรม การเรียนรูและสาระการเรียนรูที่สอดคลองกับความสนใจและมีความหมายตอผูเรียน จะชวยกระตุนใหสมองของผูเรียน สามารถรับรูและเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพตามขั้นตอนการทํางานของสมอง ดังนี้ 1. สมองจะเรียนรูและสืบคน โดยการสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง ปฏิบัติ จนทําใหคนพบความรูความเขาใจ ไดอยางรวดเร็ว

2. สมองจะแยกแยะคุณคาของสิ่งตางๆ โดยการตัดสินใจวิพากษวิจารณ แสดง ความคิดเห็น ยอมรับหรือตอตานตาม อารมณความรูสึกที่เกิดขึ้นในขณะที่เรียนรู

3. สมองจะประมวลเนื้อหาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสานกับ ความรูห รือประสบการณเดิมทีถ่ กู จัดเก็บอยูใ น สมอง ผานการกลัน่ กรองเพือ่ สังเคราะหเปน ความรูค วามเขาใจใหมๆ หรือเปนทัศนคติใหม ที่จะเก็บบรรจุไวในสมองของผูเรียน

การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะเกิดขึ้น เมื่อสมองรูคิด และตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมองผูเรียน โดยเริ่มตนจาก

คูม อื ครู

1. ระดับการคิดพื้นฐาน

2. ระดับลักษณะการคิด

3. ระดับกระบวนการคิด

ไดแก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล การสรุปผล เปนตน

ไดแก การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดไกล คิดหลากหลาย คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล เปนตน

ไดแก กระบวนการคิดอยางมี วิจารณญาณ กระบวนการแกปญหา กระบวนการคิดสรางสรรค กระบวนการ คิดสังเคราะหวิจัย เปนตน


5Es การจัดกิจกรรมตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ขั้นตอนการสอนที่สัมพันธกับขั้นตอนการคิดและการทํางานทางสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย คือ วัฏจักรการเรียนรู 5Es ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแตละหนวย ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1

กระตุนความสนใจ

(Engage)

เสร�ม

5

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนนําเขาสูบ ทเรียน เพือ่ กระตุน ความสนใจของผูเ รียนดวยเรือ่ งราวหรือเหตุการณทนี่ า สนใจโดยใชเทคนิควิธกี ารสอน และคําถามทบทวนความรูหรือประสบการณเดิมของผูเรียน เพื่อเชื่อมโยงผูเรียนเขาสูความรูของบทเรียนใหม ชวยใหผูเรียนสามารถ สรุปประเด็นสําคัญที่เปนหัวขอและสาระการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอนการสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอม และสรางแรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน

ขั้นที่ 2

สํารวจคนหา

(Explore)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนเปดโอกาสใหผเู รียนลงมือศึกษา สังเกต หรือรวมมือกันสํารวจ เพือ่ ใหเห็นขอบขายของปญหา รวมถึงวิธกี ารศึกษา คนควา การรวบรวมขอมูลความรูที่จะนําไปสูการสรางความเขาใจประเด็นปญหานั้นๆ เมื่อผูเรียนทําความเขาใจในประเด็นหัวขอที่จะ ศึกษาคนควาอยางถองแทแลว ก็ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธีการตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูตามที่ตั้งประเด็นศึกษาไว

ขั้นที่ 3

อธิบายความรู

(Explain)

เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา ตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนคนหาคําตอบ และนําขอมูล ความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห สรุปผล และนําเสนอผลที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ แผนผังแสดงมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน ในขั้นตอนนี้ฝกใหผูเรียนใชสมองคิดวิเคราะหและ สังเคราะหอยางเปนระบบ

ขั้นที่ 4

ขยายความเขาใจ

(Expand)

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใชเทคนิควิธีการสอนตางๆ ที่สงเสริมใหผูเรียนนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนสืบคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะ การเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน ผูเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยง กับประสบการณเดิมโดยนําขอสรุปทีไ่ ดไปใชอธิบายเหตุการณตา งๆ หรือนําไปปฏิบตั ใิ นสถานการณใหมๆ ทีเ่ กีย่ วของกับชีวติ ประจําวัน ของตนเอง เพื่อขยายความรูความเขาใจใหกวางขวางยิ่งขึ้น ในขั้นตอนนี้ฝกสมองของผูเรียนใหสามารถคิดริเริ่มสรางสรรคอยางมี คุณภาพ เสริมสรางวิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป

ขั้นที่ 5

ตรวจสอบผล

(Evaluate)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนประเมินมโนทัศนของผูเ รียน โดยตรวจสอบจากความคิดทีเ่ ปลีย่ นไปและความคิดรวบยอดทีเ่ กิดขึน้ ใหม ตรวจสอบ ทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด และการเคารพความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพื่อการ สรางสรรคความรูร ว มกัน ผูเ รียนสามารถประเมินผลการเรียนรูข องตนเอง เพือ่ สรุปผลวามีความรูอ ะไรเพิม่ ขึน้ มาบาง เกิดความเขาใจ มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ ไดอยางไร ผูเรียนจะเกิดเจตคติและเห็นคุณคาของ ตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง

การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามขั้นตอนวัฏจักรการสรางความรูแบบ 5Es จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนน ผูเ รียนเปนสําคัญอยางแทจริง เพราะสงเสริมใหผเู รียนไดลงมือปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนของกระบวนการสรางความรูด ว ยตนเอง และฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและกระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะชีวิต ทักษะการทํางานและทักษะการ เรียนรูท มี่ ปี ระสิทธิภาพ สงผลตอการยกระดับผลสัมฤทธิข์ องผูเ รียน ตามเปาหมายของการปฏิรปู การศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คูม อื ครู


O-NET การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ O-NET

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามขัน้ ตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ในแตละหนวยการเรียนรู ทางผูจ ดั ทํา จะเสนอแนะวิธสี อนรูปแบบกิจกรรมการเรียนรู พรอมทัง้ ออกแบบเครือ่ งมือวัดผลประเมินผลทีส่ อดคลองกับตัวชีว้ ดั และสาระการเรียนรูแกนกลางไวทุกขั้นตอน โดยยึดหลักสําคัญ คือ เปาหมายของการวัดผลประเมินผล เสร�ม

6

1. การวัดผลทุกครั้งตองนําผล การวัดมาปรับปรุงพัฒนาผูเรียน เปนรายบุคคล

2. การประเมินผลมีเปาหมาย เพื่อพัฒนาการเรียนรูของผูเรียน จนเต็มศักยภาพ

3. การนําผลการวัดและประเมิน ทุกครั้งมาวางแผนปรับปรุงกิจกรรม การเรียนการสอน การเลือกเทคนิค วิธีการสอน และสื่อการเรียนรูให เหมาะสมกับสภาพจริงของผูเรียน

การทดสอบผูเรียน 1. การใชขอสอบอัตนัย เนนการอาน การคิดวิเคราะห และเขียนสรุปเพิ่มมากขึ้น 2. การใชคําถามกระตุนการคิด ควบคูกับการทําขอสอบที่เนนการคิดตลอดตอเนื่องตามลําดับกิจกรรมการเรียนรูและ ตัวชี้วัด 3. การทดสอบตองดําเนินการทั้งกอนเรียน ระหวางเรียน และเมื่อสิ้นสุดการเรียน การทดสอบระหวางเรียน ต อ งใช ข  อ สอบทั้ ง ชนิ ด ปรนั ย และอั ต นั ย และเป น การทดสอบเพื่ อ วิ นิ จ ฉั ย ผลการเรี ย นของผู  เ รี ย นแต ล ะคน เพื่อวัดการสอนซอมเสริมใหบรรลุตัวชี้วัดทุกตัว 4. การสอบกลางภาค (ถามี) ควรนําขอสอบหรือแบบฝกหัดที่นักเรียนสวนใหญทําผิดบอยๆ มาสรางเปนแบบทดสอบ อีกครัง้ เพือ่ ตรวจสอบความรูค วามเขาใจทีถ่ กู ตอง และประเมินความกาวหนาของผูเรียนแตละคน 5. การสอบปลายภาคเรียนเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามตัวชี้วัดที่สําคัญ ควรออกขอสอบใหมีลักษณะเดียวกับ ขอสอบ O-NET โดยเนนการคิดวิเคราะห สังเคราะห เชื่อมโยงประยุกตใช เพื่อสรางความคุนเคย และฝกฝน วิธีการทําขอสอบดวยความมั่นใจ 6. การนําผลการทดสอบของผูเรียนมาวิเคราะห โดยผลการสอบกอนการเรียนตองสามารถพยากรณผลการสอบ กลางภาค และผลการสอบกลางภาคตองทํานายผลการสอบปลายภาคของผูเ รียนแตละคน เพือ่ ประเมินพัฒนาการ ความกาวหนาของผูเรียนเปนรายบุคคล 7. ผลการทดสอบปลายป ปลายภาค ตองมีคาเฉลี่ยสอดคลองกับคาเฉลี่ยของการสอบ NT ที่เขตพื้นที่การศึกษา จัดสอบ รวมทั้งคาเฉลี่ยของการสอบ O-NET ชวงชั้นที่สอดคลองครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดสําคัญ เพือ่ สะทอนประสิทธิภาพของครูผสู อนในการออกแบบการเรียนรูแ ละประกันคุณภาพผูเ รียนทีต่ รวจสอบผลไดชดั เจน การจัดการเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ตองใหผูเรียนไดสั่งสมความรู สะสมความเขาใจไปทีละเล็ก ละนอยตามลําดับขัน้ ตอนของกิจกรรมการเรียนรู 5Es เพือ่ ใหผเู รียนไดเติมเต็มองคความรูอ ยางตอเนือ่ ง จนสามารถปฏิบตั ิ ชิ้นงานหรือภาระงานรวบยอดของแตละหนวยผานเกณฑประกันคุณภาพในระดับที่นาพึงพอใจ เพื่อรองรับการประเมิน ภายนอกจาก สมศ. ตลอดเวลา คูม อื ครู


ASEAN การเรียนรูสูประชาคมอาเซียน เพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรูบูรณาการอาเซียนศึกษา ผูจัดทําไดวิเคราะห มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดที่มีสาระการเรียนรูสอดคลองกับองคความรูเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนในแงมุมตางๆ ครอบคลุมทัง้ ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน เพื่อสงเสริมการเรียนรูใหผูเรียนเกิดความตระหนัก มีความรูความเขาใจเหมาะสมกับระดับชั้นและกลุมสาระ การเรียนรู โดยเสนอแนะวิธีการจัดกิจกรรมบูรณาการเนื้อหาสาระตางๆ ที่เปนประโยชนตอผูเรียนและเปนการชวย เตรียมความพรอมผูเ รียนทุกคนทีจ่ ะกาวเขาสูก ารเปนสมาชิกของประชาคมอาเซียนไดอยางมัน่ ใจตามขอตกลงปฏิญญา ชะอํา-หัวหิน วาดวยความรวมมือดานการศึกษาเพือ่ บรรลุเปาหมายประชาคมอาเซียนทีเ่ อือ้ อาทรและแบงปน จึงกําหนด เปนนโยบายใหกระทรวงศึกษาธิการจัดการเรียนรูเตรียมความพรอมผูเรียนเขาสูประชาคมอาเซียนภายในป พ.ศ. 2558 ตามแนวปฏิบัติที่สําคัญ ดังนี้

เสร�ม

7

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน 1. การสรางความรูความเขาใจ และตระหนักถึงความสําคัญของ กฎบัตรอาเซียน และความรวมมือ ของ 3 เสาหลัก ซึง่ กฎบัตรอาเซียน ในขณะนี้มีสถานะเปนกฎหมายที่ ประเทศสมาชิกจะตองปฏิบัติตาม หลักการที่กําหนดไวเพื่อใหบรรลุ เปาหมายของกฎบัตรมาตราตางๆ

2. การสงเสริมหลักการ ประชาธิปไตยและการสราง สิ่งแวดลอมประชาธิปไตย เพื่อการอยูรวมกันอยางกลมกลืน ภายใตวิถีชีวิตอาเซียนที่มีความ หลากหลายดานสังคมและ วัฒนธรรม

4. การตระหนักในคุณคาของ สายสัมพันธทางประวัติศาสตร และมรดกทางวัฒนธรรมที่มี พัฒนาการรวมกัน เพื่อเชื่อม อัตลักษณและสรางจิตสํานึก ในการเปนประชากรของประชาคม อาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการศึกษาดาน สิทธิมนุษยชน เพื่อสรางประชาคม อาเซียนใหเปนประชาคมเพื่อ ประชาชนอยางแทจริง สามารถ อยูรวมกันไดบนพื้นฐานการเคารพ ในคุณคาของศักดิ์ศรีแหงความ เปนมนุษยเทาเทียมกัน

5. การสงเสริมสันติภาพ ความ มั่นคง และความปรองดองในสังคม ทั้งระดับประเทศและภูมิภาคของ อาเซียนบนพื้นฐานสันติวิธีและการ อยูรวมกันดวยขันติธรรม

คูม อื ครู


การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

เสร�ม

8

1. การพัฒนาทักษะการทํางาน เพื่อเสริมสรางผูเรียนใหมีทักษะ วิชาชีพที่จําเปนสอดคลองกับ ความตองการของตลาดแรงงาน และสถานประกอบการในอาเซียน สามารถเทียบโอนผลการเรียน และการทํางานตามมาตรฐานฝมือ แรงงานในภูมิภาคอาเซียน

2. การเสริมสรางวินัย ความรับผิดชอบ และเจตคติรักการทํางาน สามารถพึ่งพาตนเอง มีทักษะชีวิต ดํารงชีวิตอยางมีความสุข เห็นคุณคา และภูมิใจในตนเอง ในฐานะที่เปนพลเมืองไทยและ อาเซียน

3. การเรียนรูเพื่อพัฒนาตนเอง อยางตอเนื่องตลอดชีวิต ใหมี ทักษะการทํางานตามมาตรฐาน อาชีพ และคุณวุฒิของวิชาชีพสาขา ตางๆ เพื่อรองรับการเตรียมเคลื่อน ยายแรงงานมีฝมือและการเปน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่ เขมแข็ง เพื่อสรางขีดความสามารถ ในการแขงขันในเวทีโลก

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 1. การเสริมสรางความรวมมือ ในลักษณะสังคมที่เอื้ออาทร ของประชากรอาเซียน โดยยึด หลักการสําคัญ คือ ความงดงาม ของประชาคมอาเซียนมาจาก ความแตกตางและหลากหลายทาง วัฒนธรรมที่ลวนแตมีคุณคาตอ มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน ซึ่งประชาชนทุกคนตองอนุรักษ สืบสานใหยั่งยืน

2. การเสริมสรางคุณลักษณะ ของผูเรียนใหเปนพลเมืองอาเซียน ที่มีศักยภาพในการกาวเขาสู ประชาคมอาเซียนอยางมั่นใจ เปนผูที่มีสุขภาพสมบูรณแข็งแรง มีทักษะการสื่อสาร ทักษะการ ทํางาน ทักษะทางสังคม สามารถ ทํางานรวมกับผูอื่นไดอยาง สรางสรรค และมีองคความรู เกี่ยวกับอาเซียนที่จําเปนตอการ ดํารงชีวิตอยางมีคุณภาพ

4. การสงเสริมการเรียนรูดาน ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี วิถชี วี ติ ความเปนอยูข องเพือ่ นบาน ในอาเซียน เพื่อสรางจิตสํานึกของ ความเปนประชาคมอาเซียนและ ตระหนักถึงหนาที่ของการเปน พลเมืองอาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการเรียนรูภาษา อังกฤษเพื่อการสื่อสารและการ ทํางานตามมาตรฐานอาชีพที่ กําหนดและสนับสนุนการเรียนรู ภาษาอาเซียนและภาษาเพื่อนบาน เพื่อชวยเสริมสรางสัมพันธภาพทาง สังคม และการอยูรวมกันอยางสันติ ทามกลางความหลากหลายทาง วัฒนธรรม

5. การสรางความรูและความ ตระหนักเกี่ยวกับดานสิ่งแวดลอม ปญหาและผลกระทบตอคุณภาพ ชีวิตของประชากรในภูมิภาค รวมทั้งแนวทางการพัฒนาอยาง ยั่งยืน ใหเปนมรดกสืบทอดแก พลเมืองอาเซียนในรุนหลังตอๆ ไป

กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศนโยบายการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) เพื่อเรงพัฒนาเด็ก และเยาวชนไทยใหเปนทรัพยากรมนุษยของชาติที่มีทักษะและความชํานาญ พรอมเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงและ การแขงขันทั้งในภูมิภาคอาเซียนและภูมิภาคอื่นๆ ของสังคมโลก ทั้งนี้ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และผูปกครอง ควรรวมมือกันอยางใกลชดิ ในการดูแลชวยเหลือผูเ รียนและจัดประสบการณการเรียนรูเ พือ่ พัฒนาผูเ รียนจนเต็มศักยภาพ เพื่อกาวเขาสูการเปนพลเมืองอาเซียนอยางมีเกียรติภูมิและศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของตน คูม อื ครู

คณะผูจัดทํา


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 4

ประวัติศาสตร (เฉพาะชั้น ป.4)*

ประวัติศาสตร

มาตรฐาน ส 4.1 เขาใจความหมาย ความสําคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร สามารถใชวิธีการ ทางประวัติศาสตรมาวิเคราะหเหตุการณตางๆ อยางเปนระบบ ชั้น

ตัวชี้วัด

ป.4 1. นับชวงเวลาเปน ทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• ความหมายและชวงเวลาของทศวรรษ ศตวรรษ • หนวยการเรียนรูท ี่ 1 เวลาและเหตุการณ และสหัสวรรษ บทที่ 1 เวลา ชวงเวลา และ • การใชทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ ยุคสมัยทางประวัติศาสตร เพื่อทําความเขาใจชวงเวลาที่ปรากฏใน เอกสารตางๆ เชน หนังสือพิมพ

เสร�ม

9

• หนวยการเรียนรูท ี่ 1 • เกณฑการแบงยุคสมัยในการศึกษา เวลาและเหตุการณ ประวัติศาสตรที่แบงเปนยุคกอนประวัติศาสตร บทที่ 2 ยุคสมัยทาง และยุคประวัติศาสตร • ยุคสมัยที่ใชในการศึกษาประวัติศาสตร ไทย เชน ประวัติศาสตร สมัยกอนสุโขทัย สมัยสุโขทัย สมัยอยุธยา สมัย ธนบุรี และสมัยรัตนโกสินทร 3. แยกแยะประเภท • ประเภทของหลักฐานทางประวัติศาสตรที่แบง • หนวยการเรียนรูท ี่ 1 เวลาและเหตุการณ หลักฐานที่ใชในการ เปนหลักฐานชั้นตนและหลักฐานชั้นรอง ศึกษาความเปนมา • ตัวอยางหลักฐานที่ใชในการศึกษาความเปนมา บทที่ 3 การศึกษา ประวัติศาสตรทองถิน่ ของทองถิ่นของตน ของทองถิ่น • เกณฑการจําแนกหลักฐานที่พบในทองถิ่นเปน หลักฐานชั้นตนและหลักฐานชั้นรองอยางงายๆ 2. อธิบายยุคสมัยใน การศึกษาประวัติ ของมนุษยชาติ โดยสังเขป

มาตรฐาน ส 4.2 เขาใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปจจุบันในดานความสัมพันธและการเปลี่ยนแปลง ของเหตุการณอยางตอเนื่อง ตระหนักถึงความสําคัญและสามารถวิเคราะหผลกระทบที่เกิดขึ้น ชั้น

ตัวชี้วัด

ป.4 1. อธิบายการตั้งหลักแหลงและพัฒนาการ ของมนุษยยุคกอน ประวัติศาสตรและ ยุคประวัติศาสตร โดยสังเขป 2. ยกตัวอยางหลักฐาน ทางประวัติศาสตร ที่พบในทองถิ่นที่ แสดงพัฒนาการ ของมนุษยชาติ ในดินแดนไทย

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• พัฒนาการของมนุษยยุคกอนประวัติศาสตรและ • หนวยการเรียนรูท ี่ 2 ยุคประวัติศาสตรในดินแดนไทยโดยสังเขป การตัง้ ถิน่ ฐานและพัฒนาการ ของมนุษยในดินแดนไทย บทที่ 1 การตั้งถิ่นฐานและ การดํารงชีวิตของมนุษย ในดินแดนไทย บทที่ 2 พัฒนาการของ • หลักฐานทางประวัติศาสตรที่แสดงการตั้ง มนุษยสมัยประวัติศาสตร หลักแหลงของมนุษยยุคกอนประวัติศาสตร ในดินแดนไทย และยุคประวัติศาสตรในดินแดนไทย โดยเฉพาะที่สามารถกอตั้งเปนอาณาจักร โบราณไดโดยสังเขป • หลักฐานทางประวัติศาสตรที่พบในทองถิ่นที่ แสดงพัฒนาการของมนุษยชาติในดินแดนไทย โดยสังเขป

_________________________________ * สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 92-118.

คูม อื ครู


มาตรฐาน ส 4.3 เข า ใจความเป นมาของชาติ ไ ทย วั ฒ นธรรม ภู มิ ป  ญ ญาไทย มี ความรั ก ความภู มิ ใ จ และธํ า รง ความเปนไทย ชั้น

เสร�ม

10

คูม อื ครู

ตัวชี้วัด

ป.4 1. อธิบายพัฒนาการ ของอาณาจักร สุโขทัยโดยสังเขป

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• การสถาปนาอาณาจักรสุโขทัยโดยสังเขป • หนวยการเรียนรูท ี่ 3 • พัฒนาการของอาณาจักรสุโขทัยทางดาน ความเปนมาของชาติไทย การเมือง การปกครอง และเศรษฐกิจโดยสังเขป บทที่ 1 พัฒนาการของสมัย สุโขทัย 2. บอกประวัติและผล- • ประวัติและผลงานของบุคคลสําคัญสมัยสุโขทัย • หนวยการเรียนรูท ี่ 3 งานของบุคคลสําคัญ เชน พอขุนศรีอินทราทิตย พอขุนรามคําแหง ความเปนมาของชาติไทย สมัยสุโขทัย มหาราช พระมหาธรรมราชาที่ 1 (พระยาลิไทย) บทที่ 2 บุคคลสําคัญสมัย โดยสังเขป สุโขทัย 3. อธิบายภูมิปญญา • ภูมิปญญาไทยในสมัยสุโขทัย เชน ภาษาไทย • หนวยการเรียนรูท ี่ 3 ไทยที่สําคัญ สมัย ศิลปกรรมสุโขทัยที่ทําใหสุโขทัยไดรับการยกยอง ความเปนมาของชาติไทย สุโขทัยที่นาภาคเปนมรดกโลก บทที่ 3 ภูมิปญญาสมัย ภูมิใจและควรคา • คุณคาของภูมิปญญาไทยที่สืบตอถึงปจจุบัน สุโขทัย แกการอนุรักษ ที่นาภาคภูมิใจและควรคาแกการอนุรักษ


คําอธิบายรายวิชา รายวิชา ประวัติศาสตร ชั้นประถมศึกษาปที่ 4 รหัสวิชา ส…………………………………

กลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ภาคเรียนที่ 1-2 เวลา 40 ชั่วโมง/ป

ศึกษา วิเคราะหนบั ชวงเวลาเปนทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ ยุคสมัยในการศึกษาประวัตขิ องมนุษยชาติ เสร�ม โดยสังเขป ประเภทหลักฐานทีใ่ ชในการศึกษาความเปนมาของทองถิน่ การตัง้ หลักแหลงและพัฒนาการของมนุษย 11 ยุคกอนประวัตศิ าสตรและยุคประวัตศิ าสตรโดยสังเขป ยกตัวอยางหลักฐานทีพ่ บในทองถิน่ ทีแ่ สดงพัฒนาการของ มนุษยชาติในดินแดนไทย พัฒนาการของอาณาจักรสุโขทัย ดานการเมือง การปกครอง และเศรษฐกิจ โดยสังเขป ประวัติและผลงานของบุคคลสําคัญสมัยสุโขทัย ภูมิปญญาไทยที่สําคัญสมัยสุโขทัยที่นาภาคภูมิใจและควรคาแก การอนุรักษ โดยใชกระบวนการคิด กระบวนการสืบคนขอมูล กระบวนการปฏิบตั ิ กระบวนการทางสังคม กระบวนการ กลุม กระบวนการเผชิญสถานการณและแกปญหา เพือ่ ใหเกิดความรู ความเขาใจ สามารถนําไปปฏิบตั ใิ นการดําเนินชีวติ มีคณุ ธรรม จริยธรรม มีคณุ ลักษณะ อันพึงประสงคในดานรักชาติ ศาสน กษัตริย ซื่อสัตยสุจริต มีวินัย ใฝเรียนรู รักความเปนไทย มีจิตสาธารณะ ตัวชี้วัด ส 4.1 ส 4.2 ส 4.3

ป.4/1 ป.4/1 ป.4/1

ป.4/2 ป.4/2 ป.4/2

ป.4/3 ป.4/3 รวม 8 ตัวชี้วัด

คูม อื ครู


จุดเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน* การขับเคลื่อนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 และการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษ ที่สอง (พ.ศ. 2552-2561) ใหประสบผลสําเร็จตามจุดเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน โดยใหทุกภาคสวน รวมกันดําเนินการ กระทรวงศึกษาธิการไดกําหนดจุดเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน ดังนี้ เสร�ม

12

ทักษะ ความสามารถ

คุณลักษณะ จุดเนนตามชวงวัย

ม. 4-6

แสวงหาความรู เพื่อแกปญหา ใชเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู ใชภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) มีทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

ม. 1-3

แสวงหาความรูดวยตนเอง ใชเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู มีทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

• อยูอยางพอเพียง

ป. 4-6

อานคลอง เขียนคลอง คิดเลขคลอง ทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

• ใฝเรียนรู

ป. 1-3

อานออก เขียนได คิดเลขเปน มีทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

• ใฝดี

• มุงมั่นในการศึกษา และการทํางาน

คุณลักษณะตามหลักสูตร

• รักชาติ ศาสน กษัตริย • ซื่อสัตยสุจริต • มีวินัย • ใฝเรียนรู • อยูอยางพอเพียง • มุงมั่นในการทํางาน • รักความเปนไทย • มีจิตสาธารณะ

* สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. แนวทางการนําจุดเนนการพัฒนาผูเรียน สูการปฏิบัติ. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2553), หนา 3-10.

คูม อื ครู


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹

»ÃÐÇѵÔÈÒʵà ».ô

ªÑé¹»ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè ô

¡ÅØ‹ÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ Êѧ¤ÁÈÖ¡ÉÒ ÈÒÊ¹Ò áÅÐÇѲ¹¸ÃÃÁ µÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ

¼ÙŒàÃÕºàÃÕ§ ÃÈ. ÇزԪÑ ÁÙÅÈÔÅ»Š ¼ÙŒµÃǨ

´Ã. ¡Ñ³°Ô¡Ò ÈÃÕÍØ´Á ¼È.´Ã. Çþà ÀÙ‹¾§È ¾Ñ¹¸Ø ¹Ò§ÊØÃÕ ¾Ñ¹¸Ø ÊØ¢ÊÒ¸Ø

ºÃóҸԡÒà ¼È. ÈÔÃԾà ´Òºà¾ªÃ

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè ññ

ʧǹÅÔ¢ÊÔ·¸ÔìµÒÁ¾ÃÐÃÒªºÑ- - ÑµÔ ISBN : 978-616-203-053-6 ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ ñôñóððø

¤Œ¹¤ÇÒÁÃÙŒ¢ÂÒ¤ÇÒÁ¤Ô´¨Ò¡

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè ñ ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ ñôôóðôó

EB GUIDE

ที่พิมพกํากับหัวขอสําคัญในหนังสือเรียนหลักสูตรใหม ชั้น ป.๔ ขึ้นไป ผาน www.aksorn.com ไปยังแหลงความรูทั่วไทย-ทั่วโลก


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

¤íÒ¹íÒ ´ŒÇ¡ÃзÃǧÈÖ¡ÉÒ¸Ô¡ÒÃä´ŒÁÕ¤íÒÊÑè§ãˌ㪌ËÅÑ¡ÊٵáÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõôô ã¹âçàÃÕ¹·ÑÇè ä»·Õ¨è ´Ñ ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñ¹é ¾×¹é °Ò¹ã¹»‚¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ òõôö áÅШҡ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒÇÔ¨ÂÑ áÅеԴµÒÁ ¼Å¡ÒÃ㪌ËÅÑ¡ÊٵáÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñ¹é ¾×¹é °Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõôô ¨Ö§¹íÒä»Ê‹¡Ù ÒþѲ¹ÒËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§ ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñ¹é ¾×¹é °Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ «Ö§è ÁÕ¤ÇÒÁàËÁÒÐÊÁáÅЪѴਹ à¾×Íè ãˌʶҹÈÖ¡ÉÒä´Œ¹Òí ä» ãªŒà»š¹¡Ãͺ·Ôȷҧ㹡ÒèѴËÅÑ¡ÊÙµÃʶҹÈÖ¡ÉÒáÅШѴ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹à¾×Íè ¾Ñ²¹Òà´ç¡áÅÐàÂÒǪ¹ ·Ø¡¤¹ã¹ÃдѺ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñ¹é ¾×¹é °Ò¹ãËŒÁ¤Õ ³ Ø ÀÒ¾´ŒÒ¹¤ÇÒÁÃÙŒ áÅзѡÉзըè Òí ໚¹ÊíÒËÃѺ¡ÒôíÒçªÕÇµÔ ã¹Êѧ¤Á·ÕèÁÕ¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§ áÅÐáÊǧËÒ¤ÇÒÁÃÙŒà¾×è;Ѳ¹Òµ¹àͧÍ‹ҧµ‹Íà¹×èͧµÅÍ´ªÕÇÔµ ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ »ÃÐÇѵÔÈÒʵà ».ô àÅ‹Á¹Õé¨Ñ´·íÒ¢Öé¹ÊíÒËÃѺ㪌»ÃСͺ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ ªÑ¹é »ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè ô â´Â´íÒà¹Ô¹¡ÒèѴ·íÒãËŒÊÍ´¤ÅŒÍ§µÒÁ¡Ãͺ¢Í§ËÅÑ¡Êٵ÷ء»ÃСÒà ʋ§àÊÃÔÁ ¡Ãкǹ¡ÒäԴ ¡ÒÃÊ׺àÊÒÐËÒ¤ÇÒÁÃÙŒ ¡ÒÃá¡Œ»˜ÞËÒ ¤ÇÒÁÊÒÁÒö㹡ÒÃÊ×èÍÊÒà ¡ÒõѴÊԹ㨠¡ÒùíÒä»ãªŒã¹ªÕÇÔµ ÃÇÁ·Ñé§Ê‹§àÊÃÔÁãËŒ¼ÙŒàÃÕ¹Áդس¸ÃÃÁ ¨ÃÔ¸ÃÃÁ áÅФ‹Ò¹ÔÂÁ·Õè¶Ù¡µŒÍ§àËÁÒÐÊÁ ¡Ñº¡ÒôíÒçªÕÇÔµã¹Êѧ¤Áä·Â ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ »ÃÐÇѵÔÈÒʵà ».ô àÅ‹Á¹Õé ÁÕ ó ˹‹Ç ã¹áµ‹ÅÐ˹‹ÇÂẋ§à»š¹º·Â‹ÍÂæ «Ö觻ÃСͺ´ŒÇ ñ. ໇ÒËÁÒ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ»ÃШíÒ˹‹Ç ¡íÒ˹´ÃдѺ¤ÇÒÁÃÙŒ ¤ÇÒÁÊÒÁÒö¢Í§¼ÙŒàÃÕ¹ Ç‹ÒàÁ×èÍàÃÕ¹¨ºã¹áµ‹ÅÐ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ µŒÍ§ºÃÃÅØÁҵðҹµÑǪÕéÇÑ´·Õè¡Òí ˹´äÇŒã¹ËÅÑ¡ÊٵâŒÍã´ºŒÒ§ ò. á¹Ç¤Ô´ÊíÒ¤ÑÞ á¡‹¹¤ÇÒÁÃÙŒ·Õè໚¹¤ÇÒÁÃÙŒ¤ÇÒÁࢌÒ㨤§·¹µÔ´µÑǼٌàÃÕ¹ ó. à¹×éÍËÒ ¤ÃºµÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾.È. òõõñ ¹íÒàÊ¹Í àËÁÒÐÊÁ¡Ñº¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ã¹áµ‹ÅÐÃдѺªÑé¹ ô. ¡Ô¨¡ÃÃÁ ÁÕËÅÒ¡ËÅÒÂÃٻẺãËŒ¹Ñ¡àÃÕ¹»¯ÔºÑµÔ ẋ§à»š¹ (ñ) ¡Ô¨¡ÃÃÁ¹íÒÊ‹Ù¡ÒÃàÃÕ¹ ¹íÒࢌÒÊ‹Ùº·àÃÕ¹à¾×èÍ¡Ãе،¹¤ÇÒÁʹã¨á¡‹¼ÙŒàÃÕ¹ (ò) ¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ãËŒ¼ÙŒàÃÕ¹½ƒ¡»¯ÔºÑµÔà¾×è;Ѳ¹Ò¤ÇÒÁÃÙŒáÅзѡÉлÃШíÒ Ë¹‹Ç (ó) ¡Ô¨¡ÃÃÁÃǺÂÍ´ ãËŒ¼ÙŒàÃÕ¹»¯ÔºÑµÔà¾×èÍáÊ´§¾ÄµÔ¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒÃǺÂÍ´ áÅÐ »ÃÐàÁÔ¹¼Å¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒµÒÁÁҵðҹµÑǪÕéÇÑ´»ÃШíÒ˹‹Ç ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ »ÃÐÇѵÔÈÒʵà ».ô àÅ‹Á¹Õé ¹íÒàʹ͡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒãËŒàËÁÒÐÊÁ¡ÑºÇÑ¢ͧ ¼ÙŒàÃÕ¹㹪Ñé¹»ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè ô «Öè§à»š¹¡ÒÃÈÖ¡ÉÒÊÔ觷Õè¼ÙŒàÃÕ¹à¡ÕèÂÇ¢ŒÍ§ã¹¡ÒôíÒà¹Ô¹ªÕÇÔµ»ÃШíÒÇѹ â´Â㪌ÀÒ¾ á¼¹ÀÙÁÔ µÒÃÒ§¢ŒÍÁÙÅ ª‹ÇÂ㹡ÒùíÒàʹÍÊÒÃе‹Ò§æ «Ö觨Ъ‹ÇÂãËŒ¼ÙŒàÃÕ¹ÊÒÁÒöàÃÕ¹ÃÙŒ ä´Œ§‹Ò¢Öé¹ ¤³Ð¼ÙŒ¨Ñ´·íÒ¨Ö§ËÇѧ໚¹Í‹ҧÂÔè§Ç‹Ò ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ »ÃÐÇѵÔÈÒʵà ».ô àÅ‹Á¹Õé ¨Ð໚¹ Ê×èÍ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹·ÕèÍíҹǻÃÐ⪹ µ‹Í¡ÒÃàÃÕ¹»ÃÐÇѵÔÈÒʵà à¾×èÍãËŒÊÑÁÄ·¸Ô¼ÅµÒÁÁҵðҹ µÑǪÕéÇÑ´·Õè¡íÒ˹´äÇŒã¹ËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾.È. òõõñ ·Ø¡»ÃСÒà ¤³Ð¼ÙŒ¨Ñ´·íÒ


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

คําชี้แจงในการใชสื่อ เปาหมายการเรียนรู กําหนดระดับความรูความสามารถ ของผูเรียนเมื่อเรียนจบหนวย

ñ

ภาพหนาหนวยการเรียนรู เปนภาพประกอบขนาดใหญ ชวยกระตุนความสนใจ ของผูเรียน

หนวยการเรียนรูที่

àÇÅÒáÅÐà˵ءÒó

กิจกรรมนําสูการเรียน นําเขาสูบทเรียนโดยใชกระตุน ความสนใจและวัดประเมินผล กอนเรียน เวลา ชวงเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร

บทที่

ñ

กิจกรรมนําสูการเรียน เปาหมายการเรียนรู้ประจ�าหน่วยที่ ๑ เมือ่ เรียนจบหน่วยน� ้ ผูเ้ รียนจะมีความรูค้ วามสามารถต่อไปน�้ ๑. นับช่วงเวลาเป็นทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ [มฐ. ส ๔.๑ ป.๔/๑] ๒. อธิบายยุคสมัยในการศึกษาประวัติของมนุษยชาติ โดยสังเขป [มฐ. ส ๔.๑ ป.๔/๒] ๓. แยกแยะประเภทหลักฐานที่ใช้ในการศึกษาประวัติ ความเป็นมาของท้องถิ่น [มฐ. ส ๔.๑ ป.๔/๓]

à¾ÃÒÐà˵Øã´ àÃÒ¨Ö§µŒÍ§àÃÕ¹ÃÙŒ ª‹Ç§àÇÅÒáÅÐÂؤÊÁÑ ·Ò§»ÃÐÇѵÔÈÒʵÃ

มาตรฐานตัวชี้วัด ระบุตัวชี้วัดที่กําหนดไว ในแตละหนวย á¹Ç¤Ô´ÊíÒ¤ÑÞ àÇÅÒÁÕ¤ÇÒÁÊíÒ¤ÑÞáÅÐà¡ÕÂè Ç¢ŒÍ§¡Ñº¡ÒôíÒà¹Ô¹ªÕÇµÔ ¢Í§¤¹àÃÒ ã¹¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ»ÃÐÇѵÈÔ Òʵà «§Öè ໚¹à˵ءÒó ·Õ¼è Ò‹ ¹ÁÒáÅŒÇ àÃÒµŒÍ§ºÍ¡àÅ‹ÒàÃ× èͧÃÒÇ·Ò§»ÃÐÇѵÈÔ Òʵà â´Â㪌¤íÒ·ÕèÃкت‹Ç§àÇÅÒ àª‹¹ ·ÈÇÃÃÉ ÈµÇÃÃÉ ÊËÑÊÇÃÃÉ

2

แนวคิดสําคัญ แกนความรูที่เปนความเขาใจ คงทนติดตัวผูเรียน


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู

ภาพประกอบเน�้อหา เปนภาพประกอบ ๔ สี แทรกอยูตลอดเลม ชวยเสริมสรางความเขาใจ ๑) สมัยหิน เป็นสมัยทีม่ นุษย์ใช้หนิ ท�าเครือ่ งมือ เครือ่ งใช้ นักโบราณคดีนยิ มแบ่งช่วงเวลาสมัยหินอย่างละเอียด โดยจะแบ่งออก เป็นสมัยหินเก่า สมัยหินกลาง และสมัยหินใหม่ แต่โดยทัว่ ไปจะแบ่ง กว้างๆ เป็นสมัยหินเก่า และสมัยหินใหม่ สมัยหินเกา มนุษ ย์ ใน สมัยหินเก่ามีความเป็นอยู่แบบ เร่ร่อน อาศัยอยู่ตามบริเวณถ�้า และเพิงผา เก็บของปาและออก ล่าสัตว์เป็นอาหาร เครื่องมือหิน ที่ใช้จะมีลักษณะหยาบๆ ใช้ทุบ ตัด หรือสับ ถ�้าผีแมน จังหวัดแม่ฮ่องสอน ซึ่งเคยค้นพบ ▲

หลักฐานสมัยหินเก่า

สมัยหินใหม มนุษย์ ใน สมั ย หิ น ใหม่ เ ริ่ ม ตั้ ง หลั ก แหล่ ง อยูร่ วมกันเป็นกลุม่ เล็กๆ โดยเริม่ ท�าการเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ เครื่องมือหินที่ใช้มีการขัดให้คม มีผิวเรียบ นอกจากนี้มีการปัน ภาชนะดินเผาที่มีการตกแต่งให้ สวยงามขึ้นไว้ใช้

Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

เน�้อหา ครบตามหลักสูตรแกนกลางฯ ’๕๑ นําเสนอโดยใชแผนภาพ แผนภูมิ ตาราง เหมาะสมกับการเรียนการสอน Web Guide แหลงเรียนรูทาง อินเทอรเน็ต มนุษย์สมัยโลหะอยู่รวมกันเป็นชุมชน ท�าการล่าสัตว์ การเพาะปลูก มีพิธีกรรม เช่น การประกอบพิธีฝังศพ รวมทั้งยัง มีการแลกเปลี่ยนค้าขายกับชุมชนภายนอกทั้งบริเวณใกล้และไกล ดังพบหลักฐานที่เป็นสิ่งของจากชุมชนต่างถิ่น เช่น บางชุมชนไม่มี แหล่งแร่โลหะแต่มเี ครือ่ งมือเครือ่ งใช้ เครือ่ งประดับจากโลหะ และพบ ลูกปัดสีจากอินเดีย จึงแสดงว่ามีการแลกเปลีย่ นค้าขายกับชุมชนอืน่

ภาพจ�าลองการใช้ชีวิตของมนุษย์ในสมัยหินใหม่

http://www.aksorn.com/lib/p/soc_04 (เรื่อง ยุคหินในดินแดนไทย) EB GUIDE 12 ▲

ตัวอย่าง เครือ่ งประดับ จากหนองโน จังหวัดชลบุรี

กิจจกรรมพั กรรมพัฒนาการเรียนรู้ที่ ๑

กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ที่ ๒ ๑. ร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับ ข้อดีของการประดิษฐ์ตัวอักษรที่ ใช้บันทึกเรื่องราวต่างๆ ๒. ดูภาพ แล้วบอกว่า สิ่งของในภาพน่าจะอยู่ในสมัยใด พร้อมทั้งบอกเหตุผล ๑) ๒)

๓. แบ่งกลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับหลักเกณฑ์ การแบ่งยุคสมัยที่ใช้ในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทย แล้วจัดท�า เป็นรายงาน

กิจกรรมรวบยอด ๑. เขียนอธิบายสมัยในการศึกษาประวัติศาสตร์มาโดยสังเขป ๒. เขียนอธิบายเกี่ยวกับความส�าคัญของการแบ่งสมัยในการ ศึกษาประวัติศาสตร์ ๓. ร่วมกันอภิปรายว่า “ถ้ำนักเรียนพบโบรำณวัตถุโดยบังเอิญ และไม่ทรำบว่ำเปนอะไร นักเรียนควรท�ำอย่ำงไร แล้วนักเรียน จะทรำบได้อย่ำงไรว่ำ โบรำณวัตถุชิ้นนี้อยู่ในสมัยใด” ๔. ร่วมกันอภิปรายว่า “หลักฐำนทำงประวัติศำสตรมีควำมส�ำคัญ อย่ำงไรต่อกำรศึกษำประวัติศำสตร” 18

ศพมนุษย์สมัยเหล็ก ตามร่างกายประดับด้วยเครือ่ ง ประดับส�าริด พบทีเ่ นินอุโลก จังหวัดนครราชสีมา

๑. ร่วมกันอภิปรายว่า การแบ่งสมัยทางประวัติศาสตร์ ใช้หลักเกณฑ์การแบ่งอย่างไร ๒. เขียนแผนผังความคิดแสดงสมัยก่อนประวัติศาสตร์ 1๔

กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู ใหผูเรียนฝกปฏิบัติเพื่อพัฒนาความรู และทักษะประจําหนวย

กิจกรรมรวบยอด ใหผูเรียนฝกปฏิบัติเพื่อแสดงพฤติกรรม การเรียนรูร วบยอดและประเมินผลการเรียนรู ตามมาตรฐานตัวชี้วัดประจําหนวย


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

สารบัญ

● ตารางวิเคราะหมาตรฐานการเรียนรู

หนวยการเรียนรูที่

๑ เวลาและเหตุการณ

บทที่ ๑ เวลา ชวงเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร บทที่ ๒ ยุคสมัยทางประวัติศาสตร บทที่ ๓ การศึกษาประวัติศาสตรทองถิ�น หนวยการเรียนรูที่

Evaluate

๒ ๑๐ ๑๙

๒ การตั้งถิ่นฐานและพัฒนาการของมนุษย ในดินแดนไทย ๒

๒๘

๓ ความเปนมาของชาติไทย

๕๑

บทที่ ๑ การตั้งถิ�นฐานและการดํารงชีวิตของมนุษยในดินแดนไทย บทที่ ๒ พัฒนาการของมนุษยสมัยประวัติศาสตรในดินแดนไทย หนวยการเรียนรูที่

ตรวจสอบผล

บทที่ ๑ พัฒนาการของสมัยสุโขทัย บทที่ ๒ บุคคลสําคัญสมัยสุโขทัย บทที่ ๓ ภูมิปญญาสมัยสุโขทัย

๒๙ ๔๑ ๕๒ ๖๕ ๗๓

● บรรณานุกรม

๘๑ ๘๒

● อภิธานศัพท

พิเศษ

● คําสําคัญ

ห า ๑๒, ๑๓, ๒๒, ๒๓, ๓๘, ๕๖, ๖๖, ๗๕ EB GUIDE คนควาขอมูลเพิ�มเติม จากเว็บไซตที่อยูในหนังสือเรียน หน


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Explore

ตารางวิเคราะห

Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Áҵðҹ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙጠÅеÑǪÕÇé ´Ñ ÃÒÂÇÔªÒ »ÃÐÇѵÈÔ Òʵà ».๔

คําชี้แจง : ใหผูสอนใชตารางน�้ตรวจสอบวา เน�้อหาสาระการเรียนรูในหนวยการเรียนรูสอดคลองกับมาตรฐาน การเรียนรูและตัวชี้วัดชั้นปในขอใดบาง

มาตรฐาน การเรียนรู

สาระการเรียนรู ตัวชี้วัด ชั้น ป.๔

หนวยที่ ๑

หนวยที่ ๒

หนวยที่ ๓

บทที่ ๑ ๒ ๓

บทที่

บทที่ ๑ ๒ ๓

สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร

มฐ. ส ๔.๑

มฐ. ส ๔.๒

มฐ. ส ๔.๓

๑. นับชวงเวลาเปนทศวรรษ ศตวรรษ ✓ และสหัสวรรษ ๒. อธิบายยุคสมัยในการศึกษาประวัติ ✓ ของมนุษยชาติโดยสังเขป ๓. แยกแยะประเภทหลักฐานทีใ่ ชในการ ✓ ศึกษาความเปนมาของทองถิน� ๑. อธิบายการตั้งหลักแหลงและพัฒนาการ ของมนุษยยุคกอนประวัติศาสตรและยุค ✓ ✓ ประวัติศาสตรโดยสังเขป ๒. ยกตัวอยางหลักฐานทางประวัติศาสตร ที่พบในทองถิ�นที่แสดงพัฒนาการของ ✓ ✓ มนุษยชาติในดินแดนไทย ๑. อธิบายพัฒนาการของอาณาจักรสุโขทัย ✓ โดยสังเขป ๒. บอกประวัติและผลงานของบุคคลสําคัญ ✓ สมัยสุโขทัย ๓. อธิบายภูมิปญญาไทยที่สําคัญสมัย สุโขทัยที่นาภาคภูมิใจและควรคา ✓ แกการอนุรักษ


กระตุน้ ความสนใจ Engaae

ñ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุน้ ความสนใจ

หนวยการเรียนรูที่

Engage

1. ครูนําภาพยนตรอิงประวัติศาสตรหรือการตูน อิงประวัติศาสตรสั้นๆ มาใหนักเรียนดู แลวสังเกตความสนใจของนักเรียน 2. ครูถามนักเรียนวา • ภาพยนตรหรือการตูนที่ดู เปนเรื่องราว เกี่ยวกับอะไร (แนวตอบ คําตอบขึ้นอยูกับสิ่งที่นักเรียนดู) • จากภาพยนตรหรือการตูนทําใหนักเรียน รูอะไรบาง (แนวตอบ คําตอบขึ้นอยูกับสิ่งที่นักเรียนดู) • ทําไมนักเรียนตองเรียนรูเรื่องราวในอดีต (แนวตอบ เพื่อใหทราบความเปนไปของ เหตุการณตา งๆ ในอดีตตามความเปนจริง และเขาใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากเหตุการณใน อดีตซึ่งสงผลมาถึงปจจุบัน และนําสิ่งที่ เกิดขึ้นมาเปนบทเรียนสอนใจเพือ่ นํามา ประยุกตใชในปจจุบนั และในอนาคตได) • นักเรียนคิดวามีอะไรที่บอกเรื่องราวในอดีต ไดบาง (แนวตอบ มีมากมายหลายอยาง เชน จารึก โบราณสถาน โบราณวัตถุ พงศาวดาร เปนตน) 3. ใหนักเรียนดูภาพจากหนังสือ หนา 1 แลวให นักเรียนรวมกันตอบวา จากภาพทําให นักเรียนรูขอมูลใดบาง ซึ่งนักเรียนอาจ ตอบรูหรือตอบไมรูก็ได

àÇÅÒáÅÐà˵ءÒó

เปาหมายการเรียนรูประจําหนวยที่ ๑ เมือ่ เรียนจบหนวยน�้ ผูเ รียนจะมีความรูค วามสามารถตอไปน�้ ๑. นับชวงเวลาเปนทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ [มฐ. ส ๔.๑ ป.๔/๑] ๒. อธิบายยุคสมัยในการศึกษาประวัติของมนุษยชาติ โดยสังเขป [มฐ. ส ๔.๑ ป.๔/๒] ๓. แยกแยะประเภทหลักฐานที่ใชในการศึกษาประวัติ ความเปนมาของทองถิ่น [มฐ. ส ๔.๑ ป.๔/๓]

มุม IT ครูคนหาภาพยนตรหรือการตูนอิงประวัติศาสตร ไดจาก www. youtube.com โดยพิมพชื่อภาพยนตรหรือการตูนอิงประวัติศาสตร ลงในชองคนหา เชน นเรศวร ขุนศึก กานกลวย เปนตน

คู่มือครู

1


กระตุน้ ความสนใจ Engaae

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expore

Explain

Elaborate

Evaluate

เปาหมายการเรียนรู

เวลา ชวงเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร

นับชวงเวลาเปนทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษได (ส 4.1 ป.4/1)

สมรรถนะของผูเรียน

คุณลักษณะอันพึงประสงค

à¾ÃÒÐà˵Øã´ àÃÒ¨Ö§µŒÍ§àÃÕ¹ÃÙŒ ª‹Ç§àÇÅÒáÅÐÂؤÊÁÑ ·Ò§»ÃÐÇѵÔÈÒʵÃ

1. ใฝเรียนรู 2. มุงมั่นในการทํางาน

Engage

1. ครูเลาเรื่องใหนักเรียนฟง โดยไมเรียงลําดับ เหตุการณและไมระบุชวงเวลา แลวซักถาม ความเขาใจของนักเรียน 2. ครูเลาเรื่องเดิม แตเรียงลําดับเหตุการณและ ระบุคําบอกชวงเวลา แลวซักถามความเขาใจ ของนักเรียนอีกครั้ง จากนั้นใหนักเรียนรวมกัน สรุปวา การเลาเรื่องแบบใดทําใหเขาใจ เรื่องราวไดงายกวากัน 3. ใหนักเรียนดูภาพจากหนังสือ หนา 2 แลวบอก วา เปนภาพสถานที่ใด และคาดวาถูกสรางขึ้น สมัยใด จากนั้นครูเฉลยคําตอบ (ตอบ ภาพนี้ คือ วัดไชยวัฒนาราม จังหวัด พระนครศรีอยุธยา ถูกสรางขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2173 หรือประมาณ 4 ศตวรรษมาแลว) 4. ใหนักเรียนลองคาดเดาความหมายของคําวา “4 ศตวรรษ”

á¹Ç¤Ô´ÊíÒ¤ÑÞ àÇÅÒÁÕ¤ÇÒÁÊíÒ¤ÑÞáÅÐà¡ÕÂè Ç¢ŒÍ§¡Ñº¡ÒôíÒà¹Ô¹ªÕÇµÔ ¢Í§¤¹àÃÒ ã¹¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ»ÃÐÇѵÈÔ Òʵà «§Öè ໚¹à˵ءÒó ·Õ¼è Ò‹ ¹ÁÒáÅŒÇ àÃÒµŒÍ§ºÍ¡àÅ‹ÒàÃ× èͧÃÒÇ·Ò§»ÃÐÇѵÈÔ Òʵà â´Â㪌¤íÒ·ÕèÃкت‹Ç§àÇÅÒ àª‹¹ ·ÈÇÃÃÉ ÈµÇÃÃÉ ÊËÑÊÇÃÃÉ

เกร็ดแนะครู ครูจัดกระบวนการเรียนรูโดยการใหนักเรียนปฏิบัติ ดังนี้ • สืบคนขอมูลเกี่ยวกับการนับชวงเวลาเปนทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ • วิเคราะหจากประเด็นคําถามและภาพเกี่ยวกับชวงเวลา การใชทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ • เชื่อมโยงประสบการณเกี่ยวกับการใชทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ ในชีวิตประจําวัน จนเกิดเปนความรูความเขาใจวา ชวงเวลามีความสําคัญตอการเรียนรู เรื่องราวตางๆ ที่เกิดขึ้น การเรียนรูเรื่องชวงเวลาทําใหเขาใจวา แตละเรื่องราว เกิดขึ้นเมื่อไร เพื่อใหเห็นถึงการเปลี่ยนแปลง

2

คู่มือครู

ñ

กิจกรรมนําสูการเรียน

1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี

กระตุน้ ความสนใจ

บทที่


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา Explore

Engaae

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

ส�ารวจค้นหา

วั น เวลากั บ ประวั ติ ศ าสตร มี ค วามเกี่ ย วข อ งกั น เพราะ 1 ประวัติศาสตรคือการศึกษาเรื่องราวในอดีตของมนุษย เราศึกษา ประวัติศาสตรเพื่อใหรูวามนุษย ในอดีตมีความคิด ความเชื่อ และ การกระทําอยางไร และอะไรสงผลใหมนุษยทําเชนนั้น ในทุกๆ วันมี เหตุการณตา งๆ เกิดขึน้ ตลอดเวลา เหตุการณสาํ คัญในประวัตศิ าสตร จึงมีมากมายตลอดชวงเวลาหลายรอย หลายพันป นักประวัตศิ าสตร จึงกําหนดชวงเวลาและยุคสมัยทางประวัตศิ าสตร เพือ่ ใหงา ยแกการ จดจําและเพื่อใหเกิดความเขาใจเหตุการณตรงกัน

๑. ความสําคัญของเวลากับประวัติศาสตร

เวลามีความสําคัญและเกี่ยวของกับการดําเนินชีวิตของคนเรา เวลาทําใหเรารูว า เหตุการณตา งๆ เกิดขึน้ เมือ่ ใด เหตุการณใดเกิดขึน้ กอนหลัง และทําใหเราสามารถเขาใจความสัมพันธของเหตุการณได เชน เหตุการณทเี่ กิดกอนมีผลตอเหตุการณทเี่ กิดทีหลัง ในการศึกษา ประวัติศาสตรเราตองบอกเลาเรื่องราวทางประวัติศาสตรโดยใชคําที่ ระบุชวงเวลา เพื่อใหรูวาเหตุการณนั้นๆ เกิดขึ้นในชวงเวลาใด หรือ เพื่อใหรูวาในชวงเวลานั้นๆ มีเหตุการณสําคัญใดเกิดขึ้น ดังนั้นเวลา และประวัติศาสตรจึงมีความเกี่ยวของกัน

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET คําบอกชวงเวลา มีประโยชนตอการศึกษาประวัติศาสตรอยางไร แนวตอบ คําบอกชวงเวลามีประโยชนตอ การศึกษาประวัตศิ าสตรอยางยิง่ เพราะทําใหรูวา เหตุการณตางๆ เกิดขึ้นเมื่อใด เหตุการณใดเกิดขึ้น กอนหรือหลัง ทําใหเราเขาใจความสัมพันธของเหตุการณตางๆ ไดดีขึ้น

Explore

1. ใหนกั เรียนศึกษาขอมูลความสําคัญของเวลา กับประวัตศิ าสตร จากหนังสือ หนา 3 2. ใหนกั เรียนรวมกันอภิปรายวา เวลามีความสําคัญตอการดําเนินชีวติ ของ คนเราอยางไร แลวสรุปผลลงในสมุด 3. ครูยกตัวอยางสื่อโฆษณาหรือสื่อที่ระบุคําวา ทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ เชน “สดร. ชวนชมปรากฏการณแหงศตวรรษ ดาวศุกรผานหนาดวงอาทิตย” “กอนจะขึ้น ค.ศ. ใหม เปน ค.ศ. 2000 มี ความตื่นเตนที่จะไดลุนวา ใครจะเปนทารก คนแรกแหงสหัสวรรษใหม” แลวใหนักเรียนชวยกันคนหาคําบอกชวงเวลา จากสื่อที่ยกตัวอยาง 4. ใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นวา เคยไดยินหรือเคยเห็นคําบอกชวงเวลา เหลานี้จากแหลงใดอีกบาง 5. ครูใหนักเรียนลองคาดเดาความหมายของ คําวา ทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ 6. ใหนักเรียนศึกษาขอมูล หนา 4-7 แลวตรวจสอบวา ตนเองคาดเดาความหมาย ไดถูกตองหรือไม

เกร็ดแนะครู ใหนักเรียนแบงกลุม แลวใหแตละกลุมไปสืบคนขาวหรือขอความโฆษณา ที่ระบุคําบอกชวงเวลาเปนทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ จากหนังสือพิมพ นิตยสาร หรืออินเทอรเน็ต แลวออกมานําเสนอที่หนาชั้น จากนั้นใหรวมกัน คาดเดาความหมายของคําบอกชวงเวลาที่สืบคนมาได

นักเรียนควรรู 1 ประวัติศาสตร คือ History ในภาษาอังกฤษ มาจากคําภาษากรีกวา Histon ซึ่งหมายความถึงการถักหรือทอ ภายหลังเฮโรโดตุส นักปราชญชาวกรีกไดเรียก เรื่องราวที่สืบสวน คนควา รวบรวมขึ้นวา Historiai อันเปนที่มาของคําวา History ในปจจุบัน

คู่มือครู

3


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู้

อธิบายความรู้ Explain

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Elaborate

Evaluate

Explain

.1. ใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นและ สรุปวา คําบอกชวงเวลามีความสําคัญตอ เหตุการณที่เกิดขึ้น เพราะจะทําใหเราเขาใจ ความสัมพันธของเหตุการณแตละเหตุการณ และทราบวา เหตุการณใดเกิดขึน้ กอนหรือหลัง 2. ใหนักเรียนชวยกันคิดวา • ถาพบบันทึกเกา แตไมมีการระบุชวงเวลา ของเหตุการณ จะเกิดผลตอการตีความ หลักฐานอยางไร (แนวตอบ ทําใหผูศึกษาไมทราบวา เหตุการณ ในบันทึกเกิดขึ้นในชวงเวลาใด อาจทําให เกิดการตีความเรื่องชวงเวลาคลาดเคลื่อนไป จากความเปนจริง) 3. ใหนักเรียนรวมกันสรุปความหมายของคําวา ทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ จากนั้น ชวยกันเรียงลําดับชวงเวลาจากสั้นที่สุดไปหา ยาวที่สุด 4. ครูตั้งประเด็นคําถามใหนักเรียนชวยกันตอบ เชน • พ.ศ. 2536 อยูในทศวรรษที่เทาไร (ตอบ ทศวรรษที่ 2530) • พ.ศ. ที่อยูในชวงทศวรรษที่ 2550 มีอะไรบาง (ตอบ พ.ศ. 2550, 2551, 2552, ..., 2559) • ปจจุบันคือ พ.ศ. อะไร และอยูในชวง ทศวรรษที่เทาไร (แนวตอบ พ.ศ. 2556 อยูในชวงทศวรรษที่ 2550)

1

๒. ความรูเกี่ยวกับทศวรรษ ศตวรรษ สหัสวรรษ

การกลาวถึงเหตุการณใดเหตุการณหนึ่งแลวระบุเวลาที่ชัดเจน หรือระบุชวงเวลากวางๆ ไวดวย ทําใหสามารถจดจําเหตุการณนั้น ไดงายขึ้น รวมทั้งทําใหเรียงลําดับเหตุการณ ไดถูกตอง และทําให เกิดความเขาใจวาในแตละชวงเวลามีเหตุการณสําคัญใดเกิดขึ้นบาง การกําหนดชวงเวลามีทงั้ ชวงเวลาทีย่ าว คือ รอบพันป เรียกวา สหัสวรรษ รอบรอยป เรียกวา ศตวรรษ และชวงเวลาสั้น คือใน รอบสิบป เรียกวา ทศวรรษ ทศวรรษ (๑๐ ป) ศตวรรษ (๑๐๐ ป) สหัสวรรษ (๑,๐๐๐ ป)

แผนภาพแสดงการเปรียบเทียบชวงเวลาทั้ง ๓ แบบ

๒.๑ ทศวรรษ หมายถึง เวลาในรอบ ๑๐ ป เริ่มนับจากปที่ ขึ้นตนดวยเลข ๐ เปนปแรกของทศวรรษ และไปสิ้นสุดที่ ๙ เชน ทศวรรษที่ ๑๙๘๐ หมายถึง เวลาระหวาง ค.ศ. ๑๙๘๐ - ๑๙๘๙ ทศวรรษที่ ๒๕๕๐ หมายถึง เวลาระหวาง พ.ศ. ๒๕๕๐ - ๒๕๕๙ 2

ปจจุบันเราอยูในทศวรรษที่ ๕๐ ทางพุทธศักราช หมายถึง ชวงเวลาระหวาง พ.ศ. ๒๕๕๐ - ๒๕๕๙ ๔

นักเรียนควรรู 1 ทศวรรษ ศตวรรษ สหัสวรรษ คําวา “วรรษ” หมายถึง ป เมื่อนํามารวมกับ คําบอกจํานวน จึงหมายถึง รอบจํานวนปตามคํานั้นๆ เชน ทศ (10) + วรรษ หมายถึง รอบสิบป = ทศวรรษ ศต (100) + วรรษ หมายถึง รอบรอยป = ศตวรรษ สหัส (1,000) + วรรษ หมายถึง รอบพันป = สหัสวรรษ 2 พุทธศักราช คือ การนับปศักราชของพระพุทธศาสนา โดยเริ่มนับจากปที่ พระพุทธเจาปรินิพพานเปนพุทธศักราชที่ 1 มีคํายอวา พ.ศ.

4

คู่มือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ชวงเวลาในขอใด มีชวงระยะเวลาสั้นที่สุด 1. คนไทยกับเจ็ดทศวรรษเพลงชาติไทย 2. เฉลิมฉลองครึ่งศตวรรษกับเดอะบีทเทิล 3. ชวนรําลึกสิบทศวรรษ ครูเนรมิตผูชนะสิบทิศ 4. ปราสาทสัจธรรม สถาปตยกรรมไมที่ยิ่งใหญแหงศตวรรษ วิเคราะหคาํ ตอบ ทศวรรษ หมายถึง รอบสิบป เจ็ดทศวรรษ หมายถึง 70 ป สิบทศวรรษ หมายถึง 100 ป สวนศตวรรษ หมายถึง รอบรอยป ดังนั้น ครึ่งศตวรรษ หมายถึง 50 ป ขอ 2. เปนคําตอบที่ถูกตอง


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู้ Explain

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู้

ตัวอยาง การใชทศวรรษ 

เมื่อสองทศวรรษที่แลว โทรศัพทมือถือยังมีราคาแพง แตปจจุบันมีราคาถูกลงมาก หมายถึง เมื่อ ๒๐ ปที่แลว

โรงเรียนจัดงานฉลองครบรอบ ๕ ทศวรรษ หมายถึง โรงเรียนจัดงานฉลองที่มีอายุครบ ๕๐ ป

หนังสือพิมพรายงานวาในทศวรรษนี้ราคานํ้ามันสูงขึ้น มากที่สุด หมายถึง ในชวง ๑๐ ป นี้

กิจกรรมพัฒนาการเรียนรูที่ ๑

(ผลการปฏิบัติกิจกรรมขึ้นอยูกับดุลยพินิจของครูผูสอน)

สืบคนขอมูลทีร่ ะบุเวลาเปนทศวรรษจากแหลงขอมูลตางๆ แลวนํามา คัดลอกลงในสมุด จากนั้นออกมาอานใหเพื่อนฟงที่หนาชั้น

๒.๒ ศตวรรษ หมายถึง เวลาในรอบ ๑๐๐ ป เริ่มนับจากป ทีข่ ึ้นตนดวยเลข ๑ เปนปแรกของศตวรรษ และจนถึงปที่ ๑๐๐ เชน ศตวรรษที่ ๑ คือ เวลาในชวงปที่ ๑ - ๑๐๐ ศตวรรษที่ ๒ คือ เวลาในชวงปที่ ๑๐๑ - ๒๐๐ ศตวรรษที่ ๙ คือ เวลาในชวงปที่ ๘๐๑ - ๙๐๐ ศตวรรษที่ ๑๐ คือ เวลาในชวงปที่ ๙๐๑ - ๑๐๐๐

Explain

1. ใหนกั เรียนศึกษาขอมูลทีร่ ะบุเวลาเปนทศวรรษ จากแหลงขอมูลตางๆ แลวออกมานําเสนอ ที่หนาชั้น จากนั้นใหเพื่อนๆ รวมกันอธิบาย ความหมายของขอความเหลานั้น 2. ครูเขียนขอความวา - ทศวรรษที่ 1980 - ทศวรรษที่ 2550 ลงบนกระดาน จากนั้นตั้งประเด็นคําถาม ใหนักเรียนชวยกันตอบ เชน • ทศวรรษที่ 1980 เปนการกลาวเจาะจง หมายถึงชวงเวลาของพุทธศักราชหรือ คริสตศักราชหรือไม เพราะเหตุใด (แนวตอบ ไมไดกลาวเจาะจงถึงศักราชใด จึงอาจทําใหสับสนไดวาเปนพุทธศักราช หรือคริสตศักราช ดังนั้นจึงควรเจาะจง ลงไป เชน ทศวรรษที่ 1980 ของคริสตศกั ราช เปนตน) • ทศวรรษที่ 2550 เปนการกลาวเจาะจง หมายถึงชวงเวลาของพุทธศักราชหรือ คริสตศักราชหรือไม เพราะเหตุใด (แนวตอบ แมไมไดกลาวเจาะจงวาเปน ชวงเวลาของศักราชใด ก็ทราบไดวา เปนชวงเวลาของพุทธศักราช เพราะ คริสตศักราชในปจจุบัน คือ ค.ศ. 2013) 3. ครูนําขาวหรือเหตุการณเดนในแตละรอบ ทศวรรษมาสนทนากับนักเรียน เพื่อใหนักเรียน เห็นความเปลี่ยนแปลงของสิ่งตางๆ ในแตละ ชวงเวลา

ขอใดไมอยูในชวงเวลาเดียวกัน 1. พ.ศ. 2556 2. ทศวรรษที่ 2550 3. ศตวรรษที่ 26 4. สหัสวรรษที่ 2

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

วิเคราะหคําตอบ พ.ศ. 2556 อยูในชวงสหัสวรรษที่ 3 ทศวรรษที่ 2550 อยูในชวงสหัสวรรษที่ 3 และศตวรรษที่ 26 อยูในชวงสหัสวรรษที่ 3 สวนสหัสวรรษที่ 2 คือ ชวงเวลาระหวางป พ.ศ. 1001-2000 ดังนั้น ขอ 4. เปนคําตอบที่ถูกตอง

บูรณาการอาเซียน ครูยกตัวอยางเหตุการณสาํ คัญๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในชวงทศวรรรษ ศตวรรษ หรือสหัสวรรษ ในภูมภิ าคอาเซียน มาอธิบายใหนกั เรียนฟงเพิม่ เติม เพือ่ ใหนกั เรียนเขาใจยิง่ ขึน้ เชน • ประเทศไทยไดเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย มาเปนระบอบประชาธิปไตย โดยมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ตั้งแต พ.ศ. 2475 จนถึงปจจุบัน (พ.ศ. 2556) รวมระยะเวลากวา 8 ทศวรรษ • ในชวงพุทธศตวรรษที่ 26 (พ.ศ. 2510) สมาคมประชาชาติแหงเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต มาจากภาษาอังกฤษวา The Association of Southeast Asian Nations (ASEAN) เปนสมาคมทีถ่ อื กําเนิดจากการประกาศปฏิญญา กรุงเทพ ในวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 เมื่อเริ่มกอตั้งมีสมาชิกเพียง 5 ประเทศ ไดแก อินโดนีเซีย ไทย มาเลเซีย ฟลิปปนส และสิงคโปร

คู่มือครู

5


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู้

อธิบายความรู้ Explain

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Elaborate

Evaluate

Explain

1. ใหนักเรียนรวมกันอธิบายความหมายของ คําวา ศตวรรษ 2. ครูตั้งประเด็นคําถามใหนักเรียนชวยกันตอบ เชน • ปจจุบันอยูในพุทธศตวรรษที่เทาไร (แนวตอบ ปจจุบันตรงกับ พ.ศ. 2556 จึงอยูในพุทธศตวรรษที่ 26) • ปจจุบันอยูในคริสตศตวรรษที่เทาไร (แนวตอบ ปจจุบันตรงกับ ค.ศ. 2013 จึงอยูในคริสตศตวรรษที่ 21) 3. ใหนักเรียนยกตัวอยางการใชศตวรรษ แลวรวมกันอธิบายความหมายของขอความ เหลานั้น 4. ใหนักเรียนเขียนอธิบายเหตุการณที่กําหนดให โดยดูขอมูลเหตุการณจากกิจกรรมพัฒนาฯ ที่ 2 หนา 7 วาอยูในชวงเวลาใด

เมื่อจะกลาวถึงเหตุการณทางประวัติศาสตรที่ไมตองการระบุป พุทธศักราช (พ.ศ.) หรือปคริสตศักราช (ค.ศ.) โดยละเอียดนั้น นักประวัติศาสตรจะใชพุทธศตวรรษและคริสตศตวรรษกํากับไวแทน รวมทั้งใชคําวาตนศตวรรษ กลางศตวรรษ และปลายศตวรรษดวย เพื่อระบุเวลาใหใกลเคียงยิ่งขึ้น ดังตัวอยาง

ตัวอยาง การใช1ศตวรรษ 

ลายสือไท หรือ ตัวอักษรไทยประดิษฐขึ้นในสมัยสุโขทัย ปจจุบันตัวอักษรไทยมีอายุกวา ๗ ศตวรรษ แลว หมายถึง ตัวหนังสือไทยมีอายุมากกวา ๗๐๐ ป แลว

กรุงสุโขทัยตั้งขึ้นในชวงปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๘ และ ถูกรวมเปนสวนหนึ่งของกรุงศรีอยุธยาในตนพุทธศตวรรษ ที่ ๒๑ หมายถึง กรุงสุโขทัยตั้งขึ้นใน พ.ศ. ๑๗๙๒ (พุทธศตวรรษที่ ๑๘ คือ ระหวาง พ.ศ. ๑๗๐๑ - ๑๘๐๐) และรวมเปนสวนหนึ่งของกรุงศรีอยุธยาใน พ.ศ. ๒๐๐๖ (พุทธศตวรรษที่ ๒๑ คือ ระหวาง พ.ศ. ๒๐๐๑ - ๒๑๐๐)

กรุงเทพฯ ตั้งขึ้นในพุ ใน ทธศตวรรษที่ ๒๔ หมายถึง กรุงเทพฯ ซึ่งตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๓๒๕ อยูใน พุทธศตวรรษที่ ๒๔ หรือ ระหวาง พ.ศ. ๒๓๐๑ - ๒๔๐๐

2

ชาวยุโรปคนพบทวีปอเมริกาเมื่อ ๕ ศตวรรษ ที่แลว หมายถึง ชาวยุโรปคนพบทวีปอเมริกาเมื่อ ๕๐๐ ป ที่แลว

นักเรียนควรรู 1 ลายสือไท พอขุนรามคําแหง ทรงเปนผูประดิษฐลายสือไท เมื่อ พ.ศ. 1826 ซึ่งลายสือไทไดรับอิทธิพลมาจากอักษรขอมหวัด อักษรมอญ และอักษรปลลวะ 2 ชาวยุโรปคนพบทวีปอเมริกา คือ คริสโตเฟอร โคลัมบัส นักสํารวจชาวเจนัว (ปจจุบนั อยูใ นเขตแดนของประเทศอิตาลี) ซึง่ เดินเรือสํารวจมหาสมุทรแอตแลนติก เพื่อคนหาเสนทางไปยังทวีปเอเชีย เขาเดินทางมาพบทวีปอเมริกาเหนือ เมื่อ พ.ศ. 2035 โดยทีเ่ ขาใจวาดินแดนทีพ่ บนีค้ อื ทวีปเอเชีย ตอมาอเมริโก เวสปุคซี ไดเดินทาง มายังดินแดนนี้ตามเสนทางของโคลัมบัส เพื่อสํารวจใหกับสเปนและโปรตุเกส รายงานของเขาไดถูกตีพิมพและเผยแพร ทําใหชาวยุโรปรูเรื่องราวเกี่ยวกับทวีป ใหมดีขึ้น และตั้งชื่อทวีปวา “อเมริกา” เพื่อเปนเกียรติแก อเมริโก เวสปุคซี

6

คู่มือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ขอใดไมอยูในชวงพุทธศตวรรษที่ 24 1. พ.ศ. 2300 2. พ.ศ. 2301 3. พ.ศ. 2359 4. พ.ศ. 2400 วิเคราะหคาํ ตอบ พุทธศตวรรษที่ 24 คือ ชวงเวลาระหวาง พ.ศ. 2301-2400 ดังนั้น ขอ 1. เปนคําตอบที่ถูกตอง


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู้ Explain

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู้ 

1. ใหนักเรียนรวมกันอธิบายความหมายของ คําวา สหัสวรรษ 2. ครูสอบถามนักเรียนวา • พ.ศ. ในปจจุบัน กับ ค.ศ. ในปจจุบัน อยูใน สหัสวรรษเดียวกันหรือไม เพราะอะไร (แนวตอบ อยูในสหัสวรรษเดียวกัน เพราะ ปจจุบัน คือ พ.ศ. 2556 ซึ่งอยูในชวงของ สหัสวรรษที่ 3 และ ค.ศ. 2013 ซึ่งอยูในชวง ของสหัสวรรษที่ 3 เชนเดียวกัน) 3. ใหนักเรียนยกตัวอยางการใชสหัสวรรษ แลว รวมกันอธิบายความหมายของขอความเหลานัน้ 4. ใหนกั เรียนทําแบบฝกกิจกรรม จากแบบวัดฯ ประวัตศิ าสตร ป.4 แลวนําเสนอหนาชัน้

ตั้งแตกลางคริสตศตวรรษที่ ๑๙ ชาติตะวันตกขยายอํานาจ ไปยังทวีปเอเชียและแอฟริกาอยางมาก หมายถึง ชวงเวลาตั้งแต ค.ศ. ๑๘๕๐ - ๑๙๐๐ เพราะขอความ ระบุวา กลางคริสตศตวรรษ

กิจกรรมพัฒนาการเรียนรูที่ ๒ เขียนอธิบายวาเหตุ1การณที่กําหนดให อยูในชวงเวลาใด - กรุงรัตนโกสินทรมีอายุยืนยาวกวา ๒ ศตวรรษ แลว - ศตวรรษหนา คาดวาทุกครอบครัวจะมีคอมพิวเตอรใช

๒.๓ สหัสวรรษ หมายถึง เวลาในรอบ ๑,๐๐๐ ป เชน

✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ ประวัติศาสตร ป.4 แบบฝกกิจกรรม เรื่อง ทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ

สหัสวรรษที่ ๑ คือ ระหวางป ๑ - ๑๐๐๐ สหัสวรรษที่ ๒ คือ ระหวางป ๑๐๐๑ - ๒๐๐๐ สหัสวรรษที่ ๓ คือ ระหวางป ๒๐๐๑ - ๓๐๐๐

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

บทที่

àÇÅÒáÅÐà˵ءÒó

๑ ตอบคําถามทีก่ าํ หนดให

(แนวตอบ) ๑) ทศวรรษ หมายถึงอะไร เวลาในรอบ ๑๐ ป เริ ม ่ นั บ จากป ท ล ่ ี งท า ยด ว ยเลข ๐ จนถึ ง ป ท ลี่ งทาย ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ด……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. วยเลข ๙ เชน ทศวรรษ ๒๕๕๐ หมายถึง พ.ศ. ๒๕๕๐ - ๒๕๕๙ ฉบับ ๒) ศตวรรษ หมายถึงอะไร เฉลย เวลาในรอบ ๑๐๐ ป เริม่ นับจากปทลี่ งทายดวยเลข ๑ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. จนถึ งปที่ ๑๐๐ เชน พุทธศตวรรษที่ ๒๖ หมายถึง พ.ศ. ๒๕๐๑- ๒๖๐๐ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๓) สหัสวรรษ หมายถึงอะไร เวลาในรอบ ๑,๐๐๐ ป เริม่ นับจากปทลี่ งทายดวยเลข ๑ จนถึงปที่ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๑,๐๐๐ เชน พุทธสหัสวรรษที่ ๓ หมายถึง พ.ศ. ๒๐๐๑ - ๓๐๐๐ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๔) ปจจุบันเราอยูในทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษที่เทาไร ตามพุทธศักราช ตั……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. วอยางเชน ถาปจจุบนั ตรงกับป พ.ศ. ๒๕๕๔ อยูใ นทศวรรษที่ ๒๕๕๐ ศตวรรษที ่ ๒๖ และสหัสวรรษที่ ๓ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๕) รอบทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษที่เราอยูในปจจุบัน ตรงกับ เวลาในชวงปที่เทาใด รอบทศวรรษ ๒๕๕๐ - ๒๕๕๙ รอบคริสตศตวรรษ ๒๐๐๑ - ๒๑๐๐ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. รอบพุ ทธศตวรรษ ๒๕๐๑ - ๒๖๐๐ และรอบสหัสวรรษ ๒๐๐๑ - ๓๐๐๐ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

เมื่อ ๕ สหัสวรรษที่แลว โลกยังอยูในยุคหิน หมายถึง เมื่อ ๕๐๐๐ ปที่แลว

พระพุทธศาสนามีมีอายุเกือบ ๓ สหัสวรรษแล แลว หมายถึง พระพุทธศาสนามีมีอายุเกือบ ๓๐๐๐ ปแลว (พ.ศ. ๒๕๕๑ หมายถึง เปนปที่ ๒๕๕๑ ของพระพุทธศาสนา) ๗

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ป พ.ศ. 2555 นับเปนปที่เทาไรในคริสตสหัสสวรรษที่ 3 1. ปที่ 8 2. ปที่ 10 3. ปที่ 12 4. ปที่ 14

วิเคราะหคาํ ตอบ พ.ศ. 2555 ตรงกับป ค.ศ. 2012 ซึง่ คริสตสหัสวรรษที่ 3 เริ่มนับตั้งแตป ค.ศ. 2001 ดังนั้น ป ค.ศ. 2012 จึงอยูในชวงปที่ 12 ของคริสตสหัสวรรษที่ 3 ดังนั้น ขอ 3. เปนคําตอบที่ถูกตอง

ทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ

คําชี้แจง : การเรียนรูเ รือ่ งทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ ทําใหทราบลําดับ เหตุการณที่เกิดขึ้นกอนหลังได

ตัวอยาง การใชสหัสวรรษ 

ñ

เวลา ชวงเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร

แบบฝกกิจกรรม

Explain

หมายเหตุ : แนวตอบ - ควรตอบใหมใี จความสําคัญตามคําตอบทีก่ าํ หนดสวนสํานวนภาษา ใหขึ้นอยูกับดุลยพินิจของครูผูสอนในการพิจารณา ๑

นักเรียนควรรู 1 กรุงรัตนโกสินทร ไดรับการสถาปนาเปนราชธานีของไทยตอจากกรุงธนบุรี ใน พ.ศ. 2325 พระมหากษัตริยผูทรงสถาปนากรุงรัตนโกสินทร คือ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช (รัชกาลที่ 1) ซึ่งเปนปฐมกษัตริยแหง ราชวงศจักรี โดยมีกรุงเทพมหานครเปนเมืองหลวง กรุงเทพมหานครมีชื่อเต็มวา กรุงเทพมหานคร อมรรัตนโกสินทร มหินทรายุธยา มหาดิลกภพ นพรัตนราชธานี บุรีรมย อุดมราชนิเวศนมหาสถาน อมรพิมานอวตารสถิต สักกะทัตติยะวิษณุกรรม ประสิทธิ์ เฉลย กิจกรรมพัฒนาการเรียนรูที่ 2 ตอบ - กรุงรัตนโกสินทรมีอายุยืนยาวกวา 200 ปมาแลว - 100 ป ขางหนา คาดวาทุกครอบครัวจะมีคอมพิวเตอรใช คู่มือครู

7


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

Engaae

Expore

Explain

ขยายความเข้าใจ

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

Expand

1. ใหนักเรียนรวมกันอานตัวอยางการใชคําบอก ชวงเวลา หนา 8 แลวรวมกันอภิปราย ความหมายของขอความที่อาน 2. ใหนักเรียนแตละกลุมสืบคนขอความที่มี คําบอกชวงเวลาที่พบจากสื่อตางๆ เพิ่มเติม แลวรวมกันอภิปรายความหมายของขอความ 3. ใหนักเรียนรวมกันแตงคําโฆษณาสั้นๆ ที่ระบุคําบอกชวงเวลา (ทศวรรษ ศตวรรษ สหัสวรรษ) 1 คําโฆษณาตอ 1 คําบอก ชวงเวลา แลวนําเสนอผลงานหนาชั้น 4. ใหนักเรียนทํากิจกรรมรวบยอดที่ 1.1 จากแบบวัดฯ ประวัติศาสตร ป.4 แลวนําเสนอหนาชั้น ✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ ประวัติศาสตร ป.4 กิจกรรมรวบยอดที่ 1.1 แบบประเมินตัวชี้วัด ส 1.1 ป.4/1 แบบประเมินผลการเรียนรูตามตัวชี้วัด ประจําหนวยที่ ๑

บทที่

กิจกรรมรวบยอดที่ ๑.๑ แบบประเมินตัวชี้วัด ส ๔.๑ ป.๔/๑ 

ขยายความเข้าใจ

นับชวงเวลาเปนทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ

ชุดที่ ๑ ๑๐ คะแนน

ตัวอยางการใชคําบอกชวงเวลาในสื่อตางๆ ตัวอยางจากปายโฆษณา ยิ่งใหญที่สุดในศตวรรษ !

ขอเชิญรวมงานแสดงสินคาสงออกครั้งใหญ ที่สุดของประเทศไทย รวมผูประกอบการกวาแสนราย สินคาทุกประเภท ทุกรายการนับลานชิ้น จัดตลอด ๒๔ ชั่วโมง ๙ วัน ๙ คืน ๑ - ๙ ธันวาคม ๒๕๕๖ ณ เมืองทองธานี

ตัวอยางจากหนังสือ

หนังสือประวัตศิ าสตร ป.๔ หัวขอ พัฒนาการของสุโขทัย สมัยพอขุนรามคําแหงมหาราช ระบุวา เวลาเกือบ ๒ ทศวรรษ ทีพ่ อ ขุนรามคําแหงมหาราชทรงครองราชสมบัติ กรุงสุโขทัย มีความเจริญในดานตางๆ และมีความเขมแข็งมากที่สุด ในสมัยสุโขทัย (พอขุนรามคําแหงมหาราช ครองราชย ระหวาง พ.ศ. ๑๘๒๒ - ๑๘๔๑ รวม ๑๙ ป)

๑ เติมขอมูลในชองวางใหถูกตอง

๑๘๓๐ - ๑๘๓๙ ๑) ทศวรรษที่ ๑๘๓๐ คือ ชวงเวลาระหวางป ………………………………………………………… - ๒๕๐๐ ๒) พุทธศตวรรษที่ ๒๕ คือ ชวงเวลาระหวาง พ.ศ.๒๔๐๑ ……………………………………………. ๑๘๐๑ - ๑๙๐๐ ฉบับ ๓) คริสตศตวรรษที่ ๑๙ คือ ชวงเวลาระหวาง ค.ศ. …………………………………….. พุทธสหัสวรรษที่ ๓ คือ ชวงเวลาระหวาง พ.ศ. ๒๐๐๑ - เฉลย ๔) ……………………………………………………………………… พ.ศ. ๓๐๐๐ พุทธศตวรรษที่ ๑๓ คือ ชวงเวลาระหวาง พ.ศ. ๑๒๐๑ ๕) ……………………………………………………………………… พ.ศ. ๑๓๐๐ ตัวชี้วัด ส ๔.๑ ขอ ๑ ไดคะแนน คะแนนเต็ม

õ

๒ อานขอความ และเขียนอธิบายความหมายของขอความใหถูกตอง ตัวอยาง

● ●

ในชวงสองทศวรรษที่ผานมา บานเมืองมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว ในชวงระยะเวลา ๒๐ ปที่ผานมา บานเมืองมีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว

ตัวอยางจากขาวโทรทัศน

ผูประกาศขาวรายงานวา รัฐบาลอังกฤษคาดวาการจัดกีฬาโอลิมปก ที่กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ค.ศ. ๒๐๑๒ ที่กําลังจะมาถึง จะชวยให เศรษฐกิจอังกฤษเติบโตอยางตอเนื่องตลอด งตลอดทศวรรษ ๒๐๑๐ (ทศวรรษ ๒๐๑๐ คือ ชวงระหวาง ค.ศ. ๒๐๑๐ - ๒๐๑๙)

1

๑) ปจจุบันพระพุทธศาสนามีอายุสูพุทธศตวรรษที่ ๒๖ ปจจุบันพระพุทธศาสนามีอายุสูชวง พ.ศ. ๒๕๐๑ - ๒๖๐๐ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

เกร็ดแนะครู ครูควรหาตัวอยางการใชศักราชแบบตางๆ ที่ปรากฏอยูในสื่อตางๆ มาให นักเรียนดูเพิ่มเติม เพื่อจะไดเขาใจมากขึ้น

นักเรียนควรรู 1 กีฬาโอลิมปก เปนกีฬาระดับโลกของมวลมนุษยชาติที่เขารวมการแขงขัน กวา 200 ประเทศทั่วโลก กีฬาโอลิมปกเกิดขึ้นครั้งแรกที่กรุงเอเธนส ประเทศกรีซ เมื่อป ค.ศ. 1896 และจัดมาแลวถึง 30 ครั้ง โดยกําหนดจัด 4 ปตอ 1 ครั้ง ครั้งตอไปจะจัดที่กรุงรีโอเดจาเนโร ประเทศบราซิล ในป ค.ศ. 2016

8

คู่มือครู

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’ 53 ออกเกี่ยวกับเรื่อง คําบอกชวงเวลาทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ ชวงเวลาใดมีรอบปไมชัดเจน 1. ศตวรรษ 2. ศาสนวรรษ 3. ทศวรรษ 4. สหัสวรรษ (วิเคราะหคําตอบ จากตัวเลือกจะตองพิจารณาวา คําบอกชวงเวลา ในแตละขอ หมายถึงชวงเวลาใด 1. ศตวรรษ หมายถึง เวลาในรอบ 100 ป 2. ศาสนวรรษ หมายถึง ปในศาสนา ซึ่งไมไดระบุชัดเจนวา เปนปของศาสนาใด 3. ทศวรรษ หมายถึง เวลาในรอบ 10 ป 4. สหัสวรรษ หมายถึง เวลาในรอบ 1,000 ป ดังนั้น ขอ 2. เปนคําตอบที่ถูกตอง)


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

Engaae

Expore

Explain

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

ขยายความเข้าใจ

1. ครูตั้งประเด็นคําถาม เพื่อใหนักเรียนรวมกัน อภิปรายวา • คําบอกชวงเวลามีความสําคัญตอการศึกษา ประวัติศาสตรอยางไร (แนวตอบ คําบอกชวงเวลาทําใหทราบวา เหตุการณที่ศึกษา เหตุการณใดเกิดขึ้นกอน หรือหลัง และชวงเวลาที่เกิดเหตุการณนั้น ยาวนานเทาใด) 2. ใหนักเรียนเขียนชวงเวลาที่กําหนดใหตาม กิจกรรมรวบยอด หนา 9 โดยจัดทําลงในสมุด

กิจกรรมพัฒนาการเรียนรูที่ ๓ ๑. หาคําแสดงชวงเวลา ทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ จากสื่อตางๆ จากนั้นออกมานําเสนอที่หนาชั้น ๒. รวมกันอภิปรายวา เวลามีความสําคัญตอการดําเนินชีวิต ของคนเราอยางไร

กิจกรรมรวบยอด

ตรวจสอบผล

เขียนชวงเวลาที่กําหนดใหลงในสมุด ทศวรรษ

ศตวรรษ

๑) พ.ศ. ๓๔๖ ๑) ๕ ศตวรรษ ๒) พ.ศ. ๑๘๖๒ ๒) ตนพุทธศตวรรษ ที่ ๑๔ ๓) พ.ศ. ๒๕๒๕ ๓) คริสตศตวรรษ ที่ ๑๙ ๔) ค.ศ. ๕๔๓ ๔) ๘ ศตวรรษ ๕) ค.ศ. ๑๙๙๙

๕) พุทธศตวรรษ ที่ ๒๕

Expand

Evaluate

1. ครูตรวจสอบการเขียนบอกชวงเวลาวาถูกตอง หรือไม 2. ครูตรวจสอบผลการทํากิจกรรมรวบยอดที่ 1.1 จากแบบวัดฯ ประวัติศาสตร ป.4

สหัสวรรษ

๑) ๔ สหัสวรรษ ๒) สหัสวรรษที่ ๒ ของพุทธศักราช ๓) สหัสวรรษที่ ๓ ของคริสตศักราช ๔) ๘ สหัสวรรษที่ แลว ๕) ปลายสหัสวรรษ ที่ ๑ ของ คริสตศักราช

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู 1. ผลการเขียนบอกชวงเวลาเปนทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ 2. กิจกรรมรวบยอดที่ 1.1 จากแบบวัดฯ ประวัติศาสตร ป.4

คําวา ครึ่งสหัสวรรษ หมายถึงชวงเวลากี่ป 1. ชวงเวลา 5 ป 2. ชวงเวลา 15 ป 3. ชวงเวลา 50 ป 4. ชวงเวลา 500 ป

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

วิเคราะหคําตอบ สหัสวรรษ หมายถึง ชวงเวลา 1,000 ป และครึ่งของ ชวงเวลา 1,000 ป คือ 500 ป ดังนั้น ขอ 4. เปนคําตอบที่ถูกตอง

เฉลย กิจกรรมพัฒนาการเรียนรูที่ 3 1. แนวตอบ ขึ้นอยูกับดุลยพินิจของครูผูสอน 2. แนวตอบ • เปนตัวกําหนดการทํากิจกรรมตางๆ ของคนเรา • ทําใหทราบวาเหตุการณใดเกิดขึ้นกอนหรือหลัง เฉลย กิจกรรมรวบยอด 1) 2) 3) 4) 5)

ทศวรรษที่ 40 ทศวรรษที่ 60 ทศวรรษที่ 20 ทศวรรษที่ 40 ทศวรรษที่ 90

1) 2) 3) 4) 5)

500 ป ประมาณ พ.ศ. 1301-1349 ค.ศ.1801-1900 800 ป พ.ศ. 2401-2500

1) 2) 3) 4) 5)

4,000 ป พ.ศ. 1001-2000 ค.ศ. 2001-3000 8,000 ปที่แลว ประมาณ ค.ศ. 700-1,000

คู่มือครู

9


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.