8858649122582

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº »ÃСѹÏ

หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน

ทัศนศิลป ชั้นประถมศึกษาปที่ ๕

กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ องอาจ มากสิน ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน

กระบวนการสอนแบบ 5 Es ชวยสรางทักษะการเรียนรู กิจกรรมมุงพัฒนาทักษะการคิด คำถาม + แนวขอสอบเพื่อยกผลสัมฤทธิ์ O - NET กิจกรรมบูรณาการเตรียมพรอมสู ASEAN 2558


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ

ทัศนศิลป ชั้นประถมศึกษาปที่

5

สําหรับครู

คูมือครู Version ใหม

ลักษณะเดน

ขยายพื้นที่รูปเลมใหญขึ้นกวาเดิม จัดแบงพื้นที่ออกเปนโซน เพื่อคนหาขอมูลไดงาย สะดวก รวดเร็ว และดูเปนระเบียบ กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

เปาหมายการเรียนรู สมรรถนะของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค

หน า

โซน 1 กระตุน ความสนใจ

Engage

สํารวจคนหา

Explore

อธิบายความรู

Explain

ขยายความเขาใจ

Expand

ตรวจสอบผล

หน า

หนั ง สื อ เรี ย น

โซน 1

หนั ง สื อ เรี ย น

Evaluate

ขอสอบเนน การคิด ขอสอบเนน การคิด แนว NT แนว O-NET

O-NET บูรณาการเชื่อมสาระ

เกร็ดแนะครู

ขอสอบ

โซน 2

โซน 3

กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย

นักเรียนควรรู

โซน 3

โซน 2 บูรณาการอาเซียน มุม IT

No.

คูมือครู

คูมือครู

No.

โซน 1 ขั้นตอนการสอนแบบ 5Es

โซน 2 ชวยครูเตรียมสอน

โซน 3 ชวยครูเตรียมนักเรียน

เพื่อใหครูเตรียมจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยแนะนําขั้นตอนการสอนและ การจัดกิจกรรมแบบ 5Es อยางละเอียด เพื่อใหนักเรียนบรรลุตามตัวชี้วัด

เพื่อชวยลดภาระครูผูสอน โดยแนะนํา เกร็ดความรูสําหรับครู ความรูเสริมสําหรับ นักเรียน รวมทั้งบูรณาการความรูสูอาเซียน และมุม IT

เพือ่ ใหครูสะดวกตอการจัดกิจกรรม โดยแนะนํา กิจกรรมบูรณาการเชื่อมระหวางกลุมสาระ วิชา กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย รวมถึงเนือ้ หา ที่เคยออกขอสอบ O-NET เก็งขอสอบ O-NET และแนวขอสอบเนนการคิด พรอมคําอธิบาย และเฉลยอยางละเอียด


ที่ใชในคูมือครู

แถบสีและสัญลักษณ

แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5Es เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

1. แถบสี 5Es สีแดง

สีเขียว

กระตุน ความสนใจ

เสร�ม

สํารวจคนหา

Engage

2

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุน ความสนใจ เพื่อโยง เขาสูบทเรียน

สีสม

อธิบายความรู

Explore

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนสํารวจ ปญหา และศึกษา ขอมูล

สีฟา

Explain

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนคนหา คําตอบ จนเกิดความรู เชิงประจักษ

สีมวง

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนนําความรู ไปคิดคนตอๆ ไป

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

2. สัญลักษณ สัญลักษณ

วัตถุประสงค

• เปาหมายการเรียนรู

O-NET

(เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ O-NET O-NET)

• ชีแ้ นะเนือ้ หาทีเ่ คยออกขอสอบ

O-NET โดยยกตัวอยางขอสอบ พรอมวิเคราะหคาํ ตอบ อยางละเอียด

• เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน

การคิดใหครูนาํ ไปใชไดจริง รวมถึงเปนการเก็งขอสอบ O-NET ทีจ่ ะออก มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

แสดงรองรอยหลักฐานตามภาระงาน ที่ครูมอบหมาย เพื่อแสดงผลการเรียนรู ตามตัวชี้วัด

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

แทรกความรูเสริมสําหรับครู ขอเสนอแนะ ขอควรระวัง ขอสังเกต แนวทางการจัด กิจกรรมและอืน่ ๆ เพื่อประโยชนในการ จัดการเรียนการสอน

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

ขยายความรูเพิ่มเติมจากเนื้อหา เพื่อใหครู นําไปใชอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียน ไดมีความรูมากขึ้น

บูรณาการเชื่อมสาระ

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม

ความรูห รือกิจกรรมเสริม ใหครูนาํ ไปใช เตรียมความพรอมใหกบั นักเรียนกอนเขาสู ประชาคมอาเซียน 2558 โดยบูรณาการ กับวิชาทีก่ าํ ลังเรียน

กิจกรรมสรางเสริม

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม

เกร็ดแนะครู

นักเรียนควรรู

บูรณาการอาเซียน

คูม อื ครู

ขอสอบ

วัตถุประสงค

• หลักฐานแสดงผล การเรียนรู

มุม IT

แสดงเปาหมายการเรียนรูที่นักเรียน ตองบรรลุตามตัวชี้วัด ตลอดจนสมรรถนะ ที่จะตองมี และคุณลักษณะที่พึงเกิดขึ้น กับนักเรียน

สัญลักษณ

แนะนําแหลงคนควาจากเว็บไซต เพื่อใหครู และนักเรียนไดเขาถึงขอมูลความรู ที่หลากหลาย ทั้งไทยและตางประเทศ

• แนวขอสอบ NT ในระดับ

ประถมศึกษา มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

(เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ NT)

กิจกรรมทาทาย

เชือ่ มกับกลุม สาระ ชัน้ หรือวิชาอืน่ ทีเ่ กีย่ วของ

ซอมเสริมสําหรับนักเรียน ทีย่ งั ไมเขาใจเนือ้ หา

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ตอยอดสําหรับนักเรียนทีเ่ รียนรู เนือ้ หาไดอยางรวดเร็ว และ ตองการทาทายความสามารถ ในระดับทีส่ งู ขึน้


คําแนะนําการใชคูมือครู การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน คูม อื ครู รายวิชา ทัศนศิลป ป.5 จัดทําขึน้ เพือ่ ใหครูผสู อนนําไปใชเปนแนวทางวางแผนการสอนเพือ่ พัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน และประกันคุณภาพผูเรียน ตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) โดยใช หนังสือเรียน ทัศนศิลป ป.5 ของบริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด เปนสื่อหลัก (Core Material) ประกอบการสอน และการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดกลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 โดยออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักการสําคัญ ดังนี้

เสร�ม

3

1 ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน คูมือครู รายวิชา ทัศนศิลป ป.5 วางแผนการสอนโดยแบงเปนหนวยการเรียนรูตามลําดับสาระ (Standard) และ หมายเลขขอของมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั แตละหนวยจะกําหนดเปาหมายการสอนและจุดประสงคการเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทางการประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชัดเจน ครูผูสอนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด สมรรถนะ และคุณลักษณะ อันพึงประสงคที่เปนเปาหมายการเรียนรูตามที่กําหนดไวในสาระแ นสาระแกนกลาง (ตามแผนภูมิ) และสามารถบันทึกผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของผูเรียนแตละคนลงในเอกสาร ปพ.5 ไดอยางมั่นใจ แผนภูมิแสดงองคประกอบของการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผผูเรียนเปนสําคัญ

พผ

ูเ

จุดปร

ะสง

ค ก

ส ภา

รียน

รู ีเรยน

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชั้นป

ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน

คูม อื ครู


2 การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ แนวคิ ด ในการจั ด การเรี ย นการสอนที่ ยึ ด ผู  เ รี ย นเป น สํ า คั ญ พั ฒ นามาจากปรั ช ญาและทฤษฎี ก ารเรี ย นรู  Constructivism ที่เชื่อวาการเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสรางความรู โดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดเรียนรูจากบทเรียนใหมกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา ผูเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีการสั่งสมความรูความเขาใจเกี่ยวกับสิ่งตางๆ ติดตัวมากอน ทีจ่ ะเขาสูห อ งเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากประสบการณและสิง่ แวดลอมรอบตัวผูเ รียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกิจกรรม เสร�ม การเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ผูสอนจะตองคํานึงถึง

4

1. ความรูเดิมของผูเรียน วิธีการสอนที่ดีจะตองเริ่มตนจากจุดที่วา ผูเ รียนมีความรูอ ะไรมาบาง แลวจึงใหความรู หรือประสบการณใหม เพื่อตอยอดจาก ความรูเดิม นําไปสูการสรางความรู ความเขาใจใหม

2. ความรูเดิมของผูเรียนถูกตองหรือไม ผูส อนตองปรับเปลีย่ นความรูค วามเขาใจเดิม ของผูเรียนใหถูกตอง และเปนพฤติกรรม การเรียนรูใ หมทมี่ คี ณุ คาตอผูเรียน เพื่อสราง เจตคติหรือทัศนคติที่ดีตอการเรียนรู สิ่งเหลานั้น

3. ผูเรียนสรางความหมายสําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมใหผูเรียนนําความรู ความเขาใจที่เกิดขึ้นไปลงมือปฏิบัติ เพื่อขยายความรูใหลึกซึ้งและมีคุณคา ตอตัวผูเรียนมากที่สุด

แนวคิด Constructivism เนนใหผูเรียนสรางความรูโดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูของตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศ

การเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณ ความรูใ หม เพือ่ กระตนุ ใหผเู รียนเชือ่ มโยงความรู ความคิด กับประสบการณทมี่ อี ยูเ ดิม แลวสังเคราะหเปนความรูห รือแนวคิดใหมๆ ไดดว ยตนเอง

3 การบูรณาการกระบวนการคิด การเรียนรูของผูเรียนแตละคนจะเกิดขึ้นที่สมอง ซึ่งเปนอวัยวะที่ทําหนาที่รูคิดภายใตสภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวย และไดรบั การกระตนุ จูงใจอยางเหมาะสม สอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของผูเ รียนแตละคน การจัดกิจกรรม การเรียนรูและสาระการเรียนรูที่สอดคลองกับความสนใจและมีความหมายตอผูเรียน จะชวยกระตุนใหสมองของผูเรียน สามารถรับรูและเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพตามขั้นตอนการทํางงานของสมอง ดังนี้ 1. สมองจะเรียนรูและสืบคน โดยการสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง ปฏิบัติ จนทําใหคนพบความรูความเขาใจ ไดอยางรวดเร็ว

2. สมองจะแยกแยะคุณคาของสิ่งตางๆ โดยการตัดสินใจวิพากษวิจารณ แสดง ความคิดเห็น ยอมรับหรือตอตานตาม อารมณความรูสึกที่เกิดขึ้นในขณะที่เรียนรู

3. สมองจะประมวลเนื้อหาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสานกับ ความรูห รือประสบการณเดิมทีถ่ กู จัดเก็บอยูใ น สมอง ผานการกลัน่ กรองเพือ่ สังเคราะหเปน ความรูค วามเขาใจใหมๆ หรือเปนทัศนคติใหม ที่จะเก็บบรรจุไวในสมองของผูเรียน

การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะเกิดขึ้น เมื่อสมองรูคิด และตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมองผูเรียน โดยเริ่มตนจาก 1. ระดับการคิดพื้นฐาน ไดแก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล การสรุปผล เปนตน

คูม อื ครู

2. ระดับลักษณะการคิด ไดแก การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดไกล คิดหลากหลาย คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล เปนตน

3. ระดับกระบวนการคิด ไดแก กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ กระบวนการแกปญหา กระบวนการ คิดสรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะหวิจัย เปนตน


5Es การจัดกิจกรรมตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ขั้นตอนการสอนที่สัมพันธกับขั้นตอนการคิดและการทํางานทางสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย คือ วัฏจักรการเรียนรู 5Es ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแตละหนวย ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1

กระตุนความสนใจ

(Engage)

เสร�ม

5

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนนําเขาสูบ ทเรียน เพือ่ กระตุน ความสนใจของผูเ รียนดวยเรือ่ งราวหรือเหตุการณทนี่ า สนใจโดยใชเทคนิควิธกี ารสอน และคําถามทบทวนความรูหรือประสบการณเดิมของผูเรียน เพื่อเชื่อมโยงผูเรียนเขาสูความรูของบทเรียนใหม ชวยใหผูเรียนสามารถ สรุปประเด็นสําคัญที่เปนหัวขอและสาระการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอนการสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอม และสรางแรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน

ขั้นที่ 2

สํารวจคนหา

(Explore)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนเปดโอกาสใหผเู รียนลงมือศึกษา สังเกต หรือรวมมือกันสํารวจ เพือ่ ใหเห็นขอบขายของปญหา รวมถึงวิธกี ารศึกษา คนควา การรวบรวมขอมูลความรูที่จะนําไปสูการสรางความเขาใจประเด็นปญหานั้นๆ เมื่อผูเรียนทําความเขาใจในประเด็นหัวขอที่จะ ศึกษาคนควาอยางถองแทแลว ก็ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธีการตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูตามที่ตั้งประเด็นศึกษาไว

ขั้นที่ 3

อธิบายความรู

(Explain)

เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา ตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนคนหาคําตอบ และนําขอมูล ความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห สรุปผล และนําเสนอผลที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ แผนผังแสดงมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน ในขั้นตอนนี้ฝกใหผูเรียนใชสมองคิดวิเคราะหและ สังเคราะหอยางเปนระบบ

ขั้นที่ 4

ขยายความเขาใจ

(Expand)

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใชเทคนิควิธีการสอนตางๆ ที่สงเสริมใหผูเรียนนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนสืบคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะ การเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน ผูเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยง กับประสบการณเดิมโดยนําขอสรุปทีไ่ ดไปใชอธิบายเหตุการณตา งๆ หรือนําไปปฏิบตั ใิ นสถานการณใหมๆ ทีเ่ กีย่ วของกับชีวติ ประจําวัน ของตนเอง เพื่อขยายความรูความเขาใจใหกวางขวางยิ่งขึ้น ในขั้นตอนนี้ฝกสมองของผูเรียนใหสามารถคิดริเริ่มสรางสรรคอยางมี คุณภาพ เสริมสรางวิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป

ขั้นที่ 5

ตรวจสอบผล

(Evaluate)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนประเมินมโนทัศนของผูเ รียน โดยตรวจสอบจากความคิดทีเ่ ปลีย่ นไปและความคิดรวบยอดทีเ่ กิดขึน้ ใหม ตรวจสอบ ทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด และการเคารพความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพื่อการ สรางสรรคความรูร ว มกัน ผูเ รียนสามารถประเมินผลการเรียนรูข องตนเอง เพือ่ สรุปผลวามีความรูอ ะไรเพิม่ ขึน้ มาบาง เกิดความเขาใจ มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ ไดอยางไร ผูเรียนจะเกิดเจตคติและเห็นคุณคาของ ตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง

การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามขั้นตอนวัฏจักรการสรางความรูแบบ 5Es จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนน ผูเ รียนเปนสําคัญอยางแทจริง เพราะสงเสริมใหผเู รียนไดลงมือปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนของกระบวนการสรางความรูด ว ยตนเอง และฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและกระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะชีวิต ทักษะการทํางานและทักษะการ เรียนรูที่มีประสิทธิภาพ สงผลตอการยกระดับผลสัมฤทธิ์ของผูเรียน ตามเปาหมายของการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คูม อื ครู


O-NET การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ O-NET

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ในแตละหนวยการเรียนรู ทางผูจัดทํา จะเสนอแนะวิธีสอนรูปแบบกิจกรรมการเรียนรู พรอมทั้งออกแบบเครื่องมือวัดผลประเมินผลที่สอดคลองกับตัวชี้วัด และสาระการเรียนรูแกนกลางไวทุกขั้นตอน โดยยึดหลักสําคัญ คือ เปาหมายของการวัดผลประเมินผล เสร�ม

6

1. การวัดผลทุกครั้งตองนําผล การวัดมาปรับปรุงพัฒนาผูเรียน เปนรายบุคคล

2. การประเมินผลมีเปาหมาย เพื่อพัฒนาการเรียนรูของผูเรียน จนเต็มศักยภาพ

3. การนําผลการวัดและประเมิน ทุกครั้งมาวางแผนปรับปรุงกิจกรรม การเรียนการสอน การเลือกเทคนิค วิธีการสอน และสื่อการเรียนรูให เหมาะสมกับสภาพจริงของผูเรียน

การทดสอบผูเรียน 1. การใชขอสอบอัตนัย เนนการอาน การคิดวิเคราะห และเขียนสรุปเพิ่มมากขึ้น 2. การใชคําถามกระตุนการคิด ควบคูกับการทําขอสอบที่เนนการคิดตลอดตอเนื่องตามลําดับกิจกรรมการเรียนรูและ ตัวชี้วัด 3. การทดสอบตองดําเนินการทั้งกอนเรียน ระหวางเรียน และเมื่อสิ้นสุดการเรียน การทดสอบระหวางเรียน ต อ งใช ข  อ สอบทั้ ง ชนิ ด ปรนั ย และอั ต นั ย และเป น การทดสอบเพื่ อ วิ นิ จ ฉั ย ผลการเรี ย นของผู  เ รี ย นแต ล ะคน เพื่อวัดการสอนซอมเสริมใหบรรลุตัวชี้วัดทุกตัว 4. การสอบกลางภาค (ถามี) ควรนําขอสอบหรือแบบฝกหัดที่นักเรียนสวนใหญทําผิดบอยๆ มาสรางเปนแบบทดสอบ อีกครัง้ เพือ่ ตรวจสอบความรูค วามเขาใจทีถ่ กู ตอง และประเมินความกาวหนาของผูเรียนแตละคน 5. การสอบปลายภาคเรียนเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามตัวชี้วัดที่สําคัญ ควรออกขอสอบใหมีลักษณะเดียวกับ ขอสอบ O-NET โดยเนนการคิดวิเคราะห สังเคราะห เชื่อมโยงประยุกตใช เพื่อสรางความคุนเคย และฝกฝน วิธีการทําขอสอบดวยความมั่นใจ 6. การนําผลการทดสอบของผูเรียนมาวิเคราะห โดยผลการสอบกอนการเรียนตองสามารถพยากรณผลการสอบ กลางภาค และผลการสอบกลางภาคตองทํานายผลการสอบปลายภาคของผูเ รียนแตละคน เพือ่ ประเมินพัฒนาการ ความกาวหนาของผูเรียนเปนรายบุคคล 7. ผลการทดสอบปลายป ปลายภาค ตองมีคาเฉลี่ยสอดคลองกับคาเฉลี่ยของการสอบ NT ที่เขตพื้นที่การศึกษา จัดสอบ รวมทั้งคาเฉลี่ยของการสอบ O-NET ชวงชั้นที่สอดคลองครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดสําคัญ เพือ่ สะทอนประสิทธิภาพของครูผสู อนในการออกแบบการเรียนรูแ ละประกันคุณภาพผูเ รียนทีต่ รวจสอบผลไดชดั เจน การจัดการเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ตองใหผูเรียนไดสั่งสมความรู สะสมความเขาใจไปทีละเล็ก ละนอยตามลําดับขัน้ ตอนของกิจกรรมการเรียนรู 5Es เพือ่ ใหผเู รียนไดเติมเต็มองคความรูอ ยางตอเนือ่ ง จนสามารถปฏิบตั ิ ชิ้นงานหรือภาระงานรวบยอดของแตละหนวยผานเกณฑประกันคุณภาพในระดับที่นาพึงพอใจ เพื่อรองรับการประเมิน ภายนอกจาก สมศ. ตลอดเวลา คูม อื ครู


ASEAN การเรียนรูสูประชาคมอาเซียน เพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรูบูรณาการอาเซียนศึกษา ผูจัดทําไดวิเคราะห มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดที่มีสาระการเรียนรูสอดคลองกับองคความรูเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนในแงมุมตางๆ ครอบคลุมทัง้ ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน เพื่อสงเสริมการเรียนรูใหผูเรียนเกิดความตระหนัก มีความรูความเขาใจเหมาะสมกับระดับชั้นและกลุมสาระ การเรียนรู โดยเสนอแนะวิธีการจัดกิจกรรมบูรณาการเนื้อหาสาระตางๆ ที่เปนประโยชนตอผูเรียนและเปนการชวย เตรียมความพรอมผูเ รียนทุกคนทีจ่ ะกาวเขาสูก ารเปนสมาชิกของประชาคมอาเซียนไดอยางมัน่ ใจตามขอตกลงปฏิญญา เสร�ม ชะอํา-หัวหิน วาดวยความรวมมือดานการศึกษาเพือ่ บรรลุเปาหมายประชาคมอาเซียนทีเ่ อือ้ อาทรและแบงปน จึงกําหนด 7 เปนนโยบายใหกระทรวงศึกษาธิการจัดการเรียนรูเตรียมความพรอมผูเรียนเขาสูประชาคมอาเซียนภายในป พ.ศ. 2558 ตามแนวปฏิบัติที่สําคัญ ดังนี้

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน 1. การสรางความรูความเขาใจ และตระหนักถึงความสําคัญของ กฎบัตรอาเซียน และความรวมมือ ของ 3 เสาหลัก ซึง่ กฎบัตรอาเซียน ในขณะนี้มีสถานะเปนกฎหมายที่ ประเทศสมาชิกจะตองปฏิบัติตาม หลักการที่กําหนดไวเพื่อใหบรรลุ เปาหมายของกฎบัตรมาตราตางๆ

2. การสงเสริมหลักการ ประชาธิปไตยและการสราง สิ่งแวดลอมประชาธิปไตย เพื่อการอยูรวมกันอยางกลมกลืน ภายใตวิถีชีวิตอาเซียนที่มีความ หลากหลายดานสังคมและ วัฒนธรรม

4. การตระหนักในคุณคาของ สายสัมพันธทางประวัติศาสตร และมรดกทางวัฒนธรรมที่มี พัฒนาการรวมกัน เพื่อเชื่อม อัตลักษณและสรางจิตสํานึก ในการเปนประชากรของประชาคม อาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการศึกษาดาน สิทธิมนุษยชน เพื่อสรางประชาคม อาเซียนใหเปนประชาคมเพื่อ ประชาชนอยางแทจริง สามารถ อยูรวมกันไดบนพื้นฐานการเคารพ ในคุณคาของศักดิ์ศรีแหงความ เปนมนุษยเทาเทียมกัน

5. การสงเสริมสันติภาพ ความ มั่นคง และความปรองดองในสังคม ทั้งระดับประเทศและภูมิภาคของ อาเซียนบนพื้นฐานสันติวิธีและการ อยูรวมกันดวยขันติธรรม

คูม อื ครู


การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

เสร�ม

8

1. การพัฒนาทักษะการทํางาน เพื่อเสริมสรางผูเรียนใหมีทักษะ วิชาชีพที่จําเปนสอดคลองกับ ความตองการของตลาดแรงงาน และสถานประกอบการในอาเซียน สามารถเทียบโอนผลการเรียน และการทํางานตามมาตรฐานฝมือ แรงงานในภูมิภาคอาเซียน

2. การเสริมสรางวินัย ความรับผิดชอบ และเจตคติรักการทํางาน สามารถพึ่งพาตนเอง มีทักษะชีวิต ดํารงชีวิตอยางมีความสุข เห็นคุณคา และภูมิใจในตนเอง ในฐานะที่เปนพลเมืองไทยและ อาเซียน

3. การเรียนรูเพื่อพัฒนาตนเอง อยางตอเนื่องตลอดชีวิต ใหมี ทักษะการทํางานตามมาตรฐาน อาชีพ และคุณวุฒิของวิชาชีพสาขา ตางๆ เพื่อรองรับการเตรียมเคลื่อน ยายแรงงานมีฝมือและการเปน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่ เขมแข็ง เพื่อสรางขีดความสามารถ ในการแขงขันในเวทีโลก

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 1. การเสริมสรางความรวมมือ ในลักษณะสังคมที่เอื้ออาทร ของประชากรอาเซียน โดยยึด หลักการสําคัญ คือ ความงดงาม ของประชาคมอาเซียนมาจาก ความแตกตางและหลากหลายทาง วัฒนธรรมที่ลวนแตมีคุณคาตอ มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน ซึ่งประชาชนทุกคนตองอนุรักษ สืบสานใหยั่งยืน

2. การเสริมสรางคุณลักษณะ ของผูเรียนใหเปนพลเมืองอาเซียน ที่มีศักยภาพในการกาวเขาสู ประชาคมอาเซียนอยางมั่นใจ เปนผูที่มีสุขภาพสมบูรณแข็งแรง มีทักษะการสื่อสาร ทักษะการ ทํางาน ทักษะทางสังคม สามารถ ทํางานรวมกับผูอื่นไดอยาง สรางสรรค และมีองคความรู เกี่ยวกับอาเซียนที่จําเปนตอการ ดํารงชีวิตอยางมีคุณภาพ

4. การสงเสริมการเรียนรูดาน ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี วิถชี วี ติ ความเปนอยูข องเพือ่ นบาน ในอาเซียน เพื่อสรางจิตสํานึกของ ความเปนประชาคมอาเซียนและ ตระหนักถึงหนาที่ของการเปน พลเมืองอาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการเรียนรูภาษา อังกฤษเพื่อการสื่อสารและการ ทํางานตามมาตรฐานอาชีพที่ กําหนดและสนับสนุนการเรียนรู ภาษาอาเซียนและภาษาเพื่อนบาน เพื่อชวยเสริมสรางสัมพันธภาพทาง สังคม และการอยูรวมกันอยางสันติ ทามกลางความหลากหลายทาง วัฒนธรรม

5. การสรางความรูและความ ตระหนักเกี่ยวกับดานสิ่งแวดลอม ปญหาและผลกระทบตอคุณภาพ ชีวิตของประชากรในภูมิภาค รวมทั้งแนวทางการพัฒนาอยาง ยั่งยืน ใหเปนมรดกสืบทอดแก พลเมืองอาเซียนในรุนหลังตอๆ ไป

กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศนโยบายการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) เพื่อเรงพัฒนาเด็ก และเยาวชนไทยใหเปนทรัพยากรมนุษยของชาติที่มีทักษะและความชํานาญ พรอมเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงและ การแขงขันทั้งในภูมิภาคอาเซียนและภูมิภาคอื่นๆ ของสังคมโลก ทั้งนี้ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และผูปกครอง ควรรวมมือกันอยางใกลชิดในการดูแลชวยเหลือผูเรียนและจัดประสบการณการเรียนรูเพื่อพัฒนาผูเรียนจนเต็มศักยภาพ เพื่อกาวเขาสูการเปนพลเมืองอาเซียนอยางมีเกียรติภูมิและศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของตน คณะผูจัดทํา คูม อื ครู


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 1

ทัศนศิลป (เฉพาะชั้น ป.5)*

ทัศนศิลป

มาตรฐาน ศ 1.1 สรางสรรคงานทัศนศิลปตามจินตนาการ และความคิดสรางสรรค วิเคราะห วิพากษ วิจารณ คุณคา งานทัศนศิลป ถายทอดความรูสึก ความคิดตองานศิลปะอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใชใน ชีวิตประจําวัน ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

ป.5 1. บรรยายเกี่ยวกับจังหวะ ตําแหนง ของสิ่งตางๆ • จังหวะ ตําแหนงของสิง่ ตางๆ ในสิง่ แวดลอม • หนวยการเรียนรูท ี่ 1 ที่ปรากฏในสิ่งแวดลอมและงานทัศนศิลป และงานทัศนศิลป พืน้ ฐานงานทัศนศิลป บทที่ 1 ทัศนศิลปนารู 2. เปรียบเทียบความแตกตางระหวางงานทัศนศิลป • ความแตกตางระหวางงานทัศนศิลป • หนวยการเรียนรูท ี่ 1 ที่สรางสรรคดวยวัสดุ อุปกรณ และวิธีการ พืน้ ฐานงานทัศนศิลป ที่ตางกัน บทที่ 2 งานทัศนศิลปกับวิธีการ สรางสรรค 3. วาดภาพ โดยใชเทคนิคของแสงเงา นํ้าหนัก • แสงเงา นํ้าหนัก และวรรณะสี • หนวยการเรียนรูท ี่ 2 และวรรณะสี สรางสรรคงานศิลป บทที่ 1 แสงเงากับการวาดภาพ

เสร�ม

9

4. สรางสรรคงานปนจากดินนํ้ามัน หรือดินเหนียว • การสรางงานปนเพื่อถายทอดจินตนาการ • หนวยการเรียนรูท ี่ 2 โดยเนนการถายทอดจินตนาการ ดวยการใชดินนํ้ามันหรือดินเหนียว สรางสรรคงานศิลป บทที่ 2 งานปนแสนสนุก 5. สรางสรรคงานพิมพภาพ โดยเนนการจัดวาง ตําแหนงของสิ่งตางๆ ในภาพ

• การจัดภาพในงานพิมพภาพ

6. ระบุปญหาในการจัดองคประกอบศิลป และการ • การจัดองคประกอบศิลปและการสื่อ สื่อความหมายในงานทัศนศิลปของตนเอง ความหมายในงานทัศนศิลป และบอกวิธีการปรับปรุงงานใหดีขึ้น 7. บรรยายประโยชนและคุณคาของงานทัศนศิลป ที่มีผลตอชีวิตของคนในสังคม

• ประโยชนและคุณคาของงานทัศนศิลป

• หนวยการเรียนรูท ี่ 2 สรางสรรคงานศิลป บทที่ 3 ภาพพิมพกับการจัดภาพ • หนวยการเรียนรูท ี่ 2 สรางสรรคงานศิลป บทที่ 3 ภาพพิมพกับการจัดภาพ • หนวยการเรียนรูท ี่ 1 พืน้ ฐานงานทัศนศิลป บทที่ 2 งานทัศนศิลปกับวิธีการ สรางสรรค

มาตรฐาน ศ 1.2 เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัตศิ าสตร และวัฒนธรรม เห็นคุณคางานทัศนศิลปทเี่ ปนมรดก ทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทยและสากล ชั้น

ตัวชี้วัด

ป.5 1. ระบุและบรรยายเกี่ยวกับลักษณะ รูปแบบของ งานทัศนศิลปในแหลงเรียนรูหรือนิทรรศการ ศิลปะ 2. อภิปรายเกี่ยวกับงานทัศนศิลปที่สะทอน วัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถิ่น

สาระการเรียนรูแกนกลาง • ลักษณะรูปแบบของงานทัศนศิลป • งานทัศนศิลปที่สะทอนวัฒนธรรม และภูมิปญญาในทองถิ่น

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน • หนวยการเรียนรูท ี่ 3 การสรางสรรคงานศิลปะดวยภูมปิ ญ ญา บทที่ 1 งานศิลปะรอบๆ ตัวเรา • หนวยการเรียนรูท ี่ 3 การสรางสรรคงานศิลปะดวยภูมปิ ญ ญา บทที่ 2 งานศิลปภูมิปญญาแหงชุมชน

_________________________________ * สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. สาระการเรียนรูแ กนกลาง กลุม สาระการเรียนรู ศิลปะ. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 19-20

คูม อื ครู


คําอธิบายรายวิชา รายวิชา ทัศนศิลป ชั้นประถมศึกษาปที่ 5 รหัสวิชา ศ…………………………………

เสร�ม

10

กลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ ภาคเรียนที่ 1-2 เวลา 30 ชั่วโมง/ป

บรรยายเกี่ยวกับจังหวะ ตําแหนงของสิ่งตางๆ ที่ปรากฏในสิ่งแวดลอมและงานทัศนศิลป เปรียบเทียบ ความแตกตางระหวางงานทัศนศิลปทสี่ รางสรรคดว ยวัสดุ อุปกรณ และวิชาการทีแ่ ตกตางกัน และบอกประโยชน และคุณคาของงานทัศนศิลปที่มีผลตอชีวิตของคนในสังคม จากนั้นระบุปญหาในการจัดองคประกอบศิลป และการสื่อความหมายในงานทัศนศิลปของตนเอง และบอกวิธีการปรับปรุงงานใหดีขึ้น วาดภาพโดยใชเทคนิคของแสงเงา นํา้ หนัก และวรรณะสี สรางสรรคงานปน จากดินนํา้ มันหรือดินเหนียว โดยเนนการถายทอดจินตนาการสรางสรรค งานพิมพภาพ โดยเนนการจัดวางตําแหนงของสิ่งตางๆ ในภาพ ระบุ บรรยาย อภิปราย เกี่ยวกับลักษณะรูปแบบของงานทัศนศิลปในแหลงเรียนรูหรือนิทรรศการศิลปะ และงานทัศนศิลปที่สะทอนวัฒนธรรมและภูมิปญญาในทองถิ่น โดยใชทักษะกระบวนการทางทัศนศิลป ในการสรางและนําเสนอผลงานทัศนศิลป การเลือกใชวัสดุ อุปกรณที่เหมาะสม การวิเคราะห การวิพากษวิจารณคุณคางานทัศนศ นศิลป เพื่อใหเห็นคุณคางานทัศนศิลป เขาใจความสัมพันธระหวางทัศนศิลป ประวัติศาสตร และวัฒนธรรม นําความรูไปประยุกตใชในชีวิตประจําวันใหเกิดประโยชน มีจริยธรรม ธ คุณธรรม และคานิยมที่เหมาะสม ตัวชี้วัด ศ 1.1 ศ 1.2

ป.5/1 ป.5/1

ป.5/2 ป.5/2

ป.5/3

ป.5/4 รวม 9 ตัวชี้วัด

คูม อื ครู

ป.5/5

ป.5/6

ป.5/7


จุดเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน* การขับเคลื่อนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 และการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษ ที่สอง (พ.ศ. 2552-2561) ใหประสบผลสําเร็จตามจุดเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน โดยใหทุกภาคสวน รวมกันดําเนินการ กระทรวงศึกษาธิการไดกําหนดจุดเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน ดังนี้ เสร�ม

ทักษะ ความสามารถ

คุณลักษณะ จุดเนนตามชวงวัย

ม. 4-6

แสวงหาความรู เพื่อแกปญหา ใชเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู ใชภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) มีทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

ม. 1-3

แสวงหาความรูดวยตนเอง ใชเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู มีทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

• อยูอยางพอเพียง

ป. 4-6

อานคลอง เขียนคลอง คิดเลขคลอง ทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

• ใฝเรียนรู

ป. 1-3

อานออก เขียนได คิดเลขเปน มีทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

• ใฝดี

• มุงมั่นในการศึกษา และการทํางาน

11

คุณลักษณะตามหลักสูตร

• รักชาติ ศาสน กษัตริย • ซื่อสัตยสุจริต • มีวินัย • ใฝเรียนรู • อยูอยางพอเพียง • มุงมั่นในการทํางาน • รักความเปนไทย • มีจิตสาธารณะ

* สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. แนวทางการนําจุดเนนการพัฒนาผูเรียน สูการปฏิบัติ. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2553), หนา 3-10.

คูม อื ครู


คําอธิบายจุดเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน ทักษะการคิด ม.4-6

เสร�ม

12

ทักษะการคิดขั้นสูง

ม.3 ม.2

ทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน

ม.1 ป.6 ป.5 ป.4 ป.3 ป.2 ป.1

คูม อื ครู

ทักษะการคิดแกปญหาอยางสรางสรรค ทักษะกระบวนการคิดอยางมีวจิ ารณญาณ ทักษะกระบวนการคิดสรางสรรค ทักษะการสังเคราะห ทักษะการประยุกตใชความรู ทักษะการวิเคราะห ทักษะการประเมิน ทักษะการสรุป ลงความเห็น ทักษะการสรุปอางอิง ทักษะการนําความรูไปใช

ทักษะการแปลความ ทักษะการตีความ ทักษะการตั้งคําถาม ทักษะการใหเหตุผล ทักษะการรวบรวมขอมูล ทักษะการเชื่อมโยง ทักษะการเปรียบเทียบ ทักษะการจําแนกประเภท ทักษะการสังเกต ทักษะการจัดกลุม


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุEngage นความสนใจ

สํารวจค Exploreนหา

อธิบExplain ายความรู

Expand าใจ ขยายความเข

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹

·ÑȹÈÔÅ»Š ».õ

ªÑé¹»ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè õ

¡ÅØ‹ÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ÈÔŻРµÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ

¼ÙŒàÃÕºàÃÕ§ ¹ÒÂͧÍÒ¨ ÁÒ¡ÊÔ¹ ¼ÙŒµÃǨ

¹ÒÂʶԵ ǧÉÒÇ´Õ ¹Ò¸ÇѪ ÊÔ§ËÌ ¹Ò»ÃÐÊÔ·¸Ôì àÍÁ·ÔÁ

ºÃóҸԡÒà ¹ÒÂÇÔÊٵà ⾸Ôìà§Ô¹

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè ø

ʧǹÅÔ¢ÊÔ·¸ÔìµÒÁ¾ÃÐÃÒªºÑ- - ÑµÔ ISBN : 978-616-203-358-2 ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ ñõñõðòö

¤Œ¹¤ÇÒÁÃÙŒ¢ÂÒ¤ÇÒÁ¤Ô´¨Ò¡ ¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè ñ ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ ñõôõðó÷

EB GUIDE

ที่พิมพกํากับหัวขอสําคัญในหนังสือเรียนหลักสูตรใหม ชั้น ป.๔ ขึ้นไป ผาน www.aksorn.com ไปยังแหลงความรูทั่วไทย-ทั่วโลก

Evaluate ตรวจสอบผล


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุEngage นความสนใจ

Exploreนหา สํารวจค

อธิบExplain ายความรู

Expand าใจ ขยายความเข

Evaluate ตรวจสอบผล

คํานํา ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ·ÑȹÈÔÅ»Š ».õ àÅ‹Á¹Õé ¨Ñ´·íÒ¢Öé¹ÊíÒËÃѺ㪌»ÃСͺ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ ªÑé¹»ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè õ â´Â´íÒà¹Ô¹¡ÒèѴ·íÒãËŒÊÍ´¤ÅŒÍ§µÒÁ¡Ãͺ¢Í§ËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§ ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñ¹é ¾×¹é °Ò¹ ¾.È. òõõñ ·Ø¡»ÃСÒà ʋ§àÊÃÔÁãËŒ¼àŒÙ ÃÕ¹ÁÕ¤ÇÒÁ¤Ô´ÊÌҧÊÃä ÁÕ¨¹Ô µ¹Ò¡Òà ·Ò§ÈÔŻР«Ö觨Ъ‹Ç¾Ѳ¹Ò¼ŒÙàÃÕ¹·Ñ駴ŒÒ¹Ã‹Ò§¡Ò ¨Ôµã¨ ʵԻ˜ÞÞÒ ÍÒÃÁ³ Êѧ¤Á ¹Í¡¨Ò¡¹Õé Âѧª‹ÇÂãËŒ¼ŒÙàÃÕ¹à¡Ô´¤ÇÒÁÃٌࢌÒ㨠ÁÕ·Ñ¡ÉÐÇÔ¸Õ¡Ò÷ҧÈÔŻРáÅÐà¡Ô´¤ÇÒÁ«Òº«Öé§ã¹¤Ø³¤‹Ò¢Í§ §Ò¹ÈÔÅ»Ðᢹ§µ‹Ò§æ ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ·ÑȹÈÔÅ»Š ».õ àÅ‹Á¹Õé ÁÕ ó ˹‹Ç ã¹áµ‹ÅÐ˹‹ÇÂẋ§à»š¹º·Â‹ÍÂæ «Ö觻ÃСͺ´ŒÇ ñ. ໇ÒËÁÒ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙ»Œ ÃШíÒ˹‹Ç ¡íÒ˹´ÃдѺ¤ÇÒÁÃÙŒ ¤ÇÒÁÊÒÁÒö¢Í§¼ÙàŒ ÃÕ¹ Ç‹ÒàÁ×èÍàÃÕ¹¨ºã¹áµ‹ÅÐ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ µŒÍ§ºÃÃÅØÁҵðҹµÑǪÕéÇÑ´·Õè¡íÒ˹´äÇŒã¹ËÅÑ¡Êٵà ¢ŒÍã´ºŒÒ§ ò. ÊÒÃÐÊíÒ¤ÑÞ á¡‹¹¤ÇÒÁÃÙŒ·Õè໚¹¤ÇÒÁÃÙŒ¤ÇÒÁࢌÒ㨤§·¹µÔ´µÑǼٌàÃÕ¹ ó. à¹×éÍËÒ ¤ÃºµÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾.È. òõõñ ¹íÒàÊ¹Í àËÁÒÐÊÁ¡Ñº¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ã¹áµ‹ÅÐÃдѺªÑé¹ ô. ¡Ô¨¡ÃÃÁ ÁÕËÅÒ¡ËÅÒÂÃٻẺãËŒ¹Ñ¡àÃÕ¹»¯ÔºÑµÔ ẋ§à»š¹ (ñ) ¡Ô¨¡ÃÃÁ¹íÒÊ‹Ù¡ÒÃàÃÕ¹ ¹íÒࢌÒÊ‹Ùº·àÃÕ¹à¾×èÍ¡Ãе،¹¤ÇÒÁʹã¨á¡‹¼ÙŒàÃÕ¹ (ò) ¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ÁͺËÁÒÂãËŒ¼ŒÙàÃÕ¹½ƒ¡»¯ÔºÑµÔà¾×è;Ѳ¹Ò¤ÇÒÁÃÙŒáÅзѡÉÐ »ÃШíÒ˹‹Ç ¤³Ð¼Ù¨Œ ´Ñ ·íÒ¨Ö§ËÇѧ໚¹Í‹ҧÂÔ§è Ç‹Ò Ë¹Ñ§Ê×ÍàÃÕ¹ ·ÑȹÈÔÅ»Š ».õ àÅ‹Á¹Õé ¨Ð໚¹Ê×èÍ ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹·ÕèÍíҹǻÃÐ⪹ µ‹Í¡ÒÃàÃÕ¹·ÑȹÈÔÅ»Š à¾×èÍãËŒÊÑÁÄ·¸Ô¼ÅµÒÁÁҵðҹ µÑǪÕéÇÑ´·Õè¡íÒ˹´äÇŒã¹ËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾.È. òõõñ ·Ø¡»ÃСÒà ¤³Ð¼ÙŒ¨Ñ´·íÒ


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุEngage นความสนใจ

สํารวจค Exploreนหา

อธิบExplain ายความรู

Expand าใจ ขยายความเข

Evaluate ตรวจสอบผล

คําชี้แจงในการใชสื่อ ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ·ÑȹÈÔÅ»Š ».õ àÅ‹Á¹Õé ÀÒÂã¹àÅ‹Á¹íÒàʹ͡ÒèѴ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹໚¹ ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ¤Ãº¶ŒÇ¹µÒÁÁҵðҹµÑǪÕéÇÑ´ªÑé¹»‚ áÅÐÊÒÃСÒÃàÃÕ¹Ãٌ᡹¡ÅÒ§ â´Â์¹ ¡ÒÃÍ͡Ẻ¡Ô¨¡ÃÃÁãËŒÊÑÁ¾Ñ¹¸ ¡Ñº¸ÃÃÁªÒµÔ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ¢Í§áµ‹ÅСÅØ‹ÁÊÒÃÐáÅФÇÒÁʹ㨠¢Í§¼ÙŒàÃÕ¹ᵋÅФ¹

เปาหมายการเรียนรู

สาระสําคัญ

กําหนดระดับความรูความสามารถ ของผูเรียนเมื่อเรียนจบหนวย

แกนความรูที่เปนความเขาใจคงทน ติดตัวผูเรียน

ñ ¾×é¹°Ò¹§Ò¹·ÑȹÈÔÅ»Š

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

º··Õè

ñ

ทัศนศิลปนารู

เปาหมายการเรียนรูประจําหนวยที่ ๑ เมื่อเรียนจบหนวยน�้ ผูเรียนจะมีความรูความสามารถตอไปน�้ ๑. บรรยายเกี่ ย วกั บ จั ง หวะ ตํ า แหน ง ของสิ� ง ต า งๆ ที่ ป รากฏใน สิ�งแวดลอม และงานทัศนศิลป (มฐ. ศ ๑.๑ ป.๕/๑) ๒. เปรียบเทียบความแตกตางระหวางงานทัศนศิลปที่สรางสรรคดวย วัสดุ อุปกรณ และวิธีการที่ตางกัน (มฐ. ศ ๑.๑ ป.๕/๒) ๓. บรรยายประโยชนและคุณคาของงานทัศนศิลปที่มีผลตอชีวิตของ คนในสังคม (มฐ. ศ ๑.๑ ป.๕/๗)

สาระสําคัญ ความสัมพันธของทัศนธาตุในลักษณะของการซ้ํากัน สลับไปมา หรือลักษณะลื่นไหลเคลื่อนไหวไมขาดระยะ จังหวะที่มีความสัมพันธ ตอเน��องกัน จะชวยเนนใหงานทัศนศิลปมีลักษณะเดน

¡Ô¨¡ÃÃÁ¹�ÊÙ ¨¡ÃÃÁ¹�ÊÙ‹¡ÒÃàÃÕ¹

? ¨Ò¡ÀÒ¾ ÁÕ¤ÇÒÁâ´´à´‹¹ã¹àÃ×èͧã´

ภาพหนาหนวยการเรียนรู

¡Ô¨¡ÃÃÁ¹�ÊÙ‹¡ÒÃàÃÕ¹

เปนภาพประกอบขนาดใหญ ชวยกระตุนความสนใจของผูเรียน

นําเขาสูบทเรียนใชกระตุนความสนใจ และวัดประเมินผลกอนเรียน


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุEngage นความสนใจ

เนือ้ หา

Exploreนหา สํารวจค

อธิบExplain ายความรู

Expand าใจ ขยายความเข

Evaluate ตรวจสอบผล

¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ

เนือ้ หา

มอบหมายนักเรียนฝกปฏิบัติ เพื่อ พัฒนาความรูแ ละทักษะประจําหนวย

ครบตามหลักสูตรแกนกลางฯ พ.ศ. ๒๕๕๑ นําเสนอ เหมาะสมกับการเรียนการสอนในแตละระดับชั้น ๒. เงา แบงเปน ๒ ประเภท คือ

¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ

๑) เงาในตัวเอง คือ เงาที่เกิดขึ้นภายในตัววัตถุ ๒) เงาตกทอด คือ เงาของวัตถุที่เกิดบนพื้นหรือพาดบนวัตถุอื่นที่รองรับ

๑. ดูภาพ แลวบอกวาเปนรูปแบบการจัดจังหวะแบบใด พรอมทั้งเขียนบรรยายถึงภาพที่เห็น ลงในสมุด

เงาในตัวเอง

๑)

๒)

เงาตกทอด

àÃ×èͧ¹‹ÒÃÙŒ

๒. ใหสรางงานทัศนศิลปโดยการจัดจังหวะตําแหนงของสิ่งตางๆ มา ๑ ประเภทผลงาน

เมื่อแสงสองกระทบวัตถุที่มีความหนาหรือทึบ เงาจะมีความเขมมาก และเมื่อแสง สองกระทบวัตถุที่มีความบางหรือโปรงแสง เงาจะมีความเขมนอยหรือจาง http://www.aksorn.com/lib/p/art_01 (เรื่อง เทคนิคการแรเงา)

¢ÂÒ¤ÇÒÁÃÙŒ ÊÙ¡ÒÃ¤Ô ¡‹ ÒäԴ

นักเรียนเคยนําความรูเกี่ยวกับหลักการจัดองคประกอบศิลปแบบตางๆ มาใชในการเรียน บางหรือไม อยางไร

EB GUIDE

๒๕

ภาพประกอบเนือ้ หา

¢ÂÒ¤ÇÒÁÃÙŒ ÊÙ¡ÒÃ¤Ô ¡‹ ÒäԴ

แหลงเรียนรูทางอินประเภทของโครงงาน เทอรเน็ตาโครงงาน ระยะเวลาในการทํ

EB GUIDE

วิธีทํา

หมายเหตุ : โครงงานที่กําหนดขึ้นน�้ เปนเพียงโครงงานเสนอแนะเทานั้น นักเรียนอาจคิดหัวขอโครงงาน ตามที่ตนสนใจขึ้นเองก็ได

เพื่อสรุปสาระสําคัญประจําหนวยที่ควร จดจําและเปนประโยชนตอผูเรียน

ºÙóҡÒÃàÈÃÉ°¡Ô¨¾Íà¾Õ§

กิจกรรม : บัตรอวยพรจากภาพพิมพ จุดประสงค : เพื่อรวมกิจกรรมในวันขึ้นปใหม และรณรงคการใชวัสดุในทองถิ�นใหเกิด ประโยชน ภาระงาน

ของ

๑. แบงกลุม รวบรวมวัสดุที่สามารถทําเปนแมพิมพไดในทองถิ�น แลวนํามาคัดแยกอีกครั้งหนึ�ง ๒. ออกแบบภาพที่ตองการจะพิมพ โดยใหมีขนาดเทากับบัตรอวยพรทั�วไป ๓. เลือกใชวัสดุที่เหมาะสมกับภาพพิมพ ๔. ลงมือพิมพภาพตามที่ออกแบบไว ๕. นําภาพที่พิมพแลวมาประดับหรือตกแตงใหสวยงาม ๖. เขียนคําอวยพรลงในบัตรอวยพร แลวนําไปใหกับคนที่รักหรือคนที่อยากให

ศิลป กอ บ

คปร

ะก อบ

ศิลปของ

สิ่งตางๆ ในงานทัศนศิลป 

- เทากัน - ไมเทากัน

ทัศนศิลปนารู

¾×é¹°Ò¹ §Ò¹·ÑȹÈÔÅ»Š - ใหความภาคภูมิใจ - ใหความสะดวกสบาย - ใหประโยชนทางเศรษฐกิจ - ใหความเพลิดเพลิน - ใหความปติยินดี - ใหประโยชนในดานการสื่อสาร

งานทศั น ศิลปก บั วิธีก ารสร า

ช ระโย

นแล

ะคุณ

คางา

กิจกรรม : สอนนองสรางสรรคงานจากเศษวัสดุ จุดประสงค : เพื่อใหเห็นคุณคาของเศษวัสดุบางอยาง และฝกความคิดสรางสรรค ในการทํางานศิลปะ

กา

๗๓

¡Ô¨¡ÃÃÁ

ºÙóҡÒèԵÍÒÊÒ

งงาน

รสร า งส รรค

งคประ การจัดอ

ั ดอง

จ การ

เพือ่ เสริมสรางพฤติกรรมและปลูกฝงคานิยม ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

¡Ô¨¡ÃÃÁ

ÊÒÃÐÊ�¤ÑÞ ¨´¨�äÇŒ

- แบบเหมือนกันหรือซํ้ากัน - แบบสลับไปมา - แบบไหลลื่น - แบบลดหลั่น

 อม 

๑. สํารวจขอมูลเกี่ยวกับงานดานทัศนศิลปในทองถิ�นที่ตนเองสนใจมา ๒-๓ ชิ้น ๒. สังเกตและบันทึกขอมูลเกี่ยวกับงานดานทัศนศิลปชิ้นนั้น พรอมกับวาดภาพ หรือถายภาพผลงานชิ้นนั้น มาติดประกอบ ๓. นําเสนอผลงานในรูปแบบรายงานหรือปายนิเทศ

¨¡ÃÃÁ.............. ºÙáԳҡÒÃàÈÃÉ°¡Ô ¨¾Íà¾Õ§

ÊÒÃÐÊÒ¤ÑÞ ¨´¨�äÇŒ วดล

ÈÔÅ»Ð

คําถามกระตุนเพื่อใหผูเรียน ใชทักษะ : การคิ ประเภทสํด ารวจ วิรวบรวมข อมูล ตอยอดความรูที่ไดในบทเรียน เคราะห : ๒ - ๓ สัปดาห

â¤Ã§§Ò¹ : ¡ÒÃÊÒÃǨ¼Å§Ò¹´ŒÒ¹·ÑȹÈÔÅ»Šã¹·ŒÍ§¶Ôè¹

เปนภาพประกอบ ๔ สี แทรกอยูตลอดเลม ชวยเสริมสรางความเขาใจ

สิ่งแ

â¤Ã§§Ò¹..............

- ภาพเขียน - งานปน - ภาพพิมพ

ภาระงาน ๑. แบงกลุม รวบรวมวัสดุในทองถิน� ทีส่ ามารถนํามาทําผลงานศิลปะได แลวนํามาคัดแยกอีกครัง้ หนึง� ๒. จัดกิจกรรม โดยนัดแนะนองๆ ในชุมชนของนักเรียนมารวมกลุมกันทําผลงานศิลปะ เพื่อใชเวลาวาง ใหเกิดประโยชน ๓. สอนนองๆ ทํางานศิลปะจากเศษวัสดุประเภทตางๆ เชน เครื่องใช เครื่องประดับ เปนตน ๔. นําผลงานที่ไดไปใชประโยชน

µÃǨÊͺµ¹àͧ ใหนักเรียนสํารวจตนเองวา เมื่อเรียนจบหนวยนี้แลว ปฏิบัติสิ่งตางๆ เหลานี้ไดหรือไม ❏ บรรยายเกี่ยวกับจังหวะและตําแหนงของสิ่งตางๆ ที่ปราฏในสิ่งแวดลอมได ❏ บรรยายเกี่ยวกับจังหวะและตําแหนงของสิ่งตางๆ ที่ปรากฏในงานทัศนศิลปได ❏ เปรียบเทียบความแตกตางระหวางงานทัศนศิลปที่สรางสรรคดวยวัสดุ อุปกรณ และวิธีการที่ตางกันได ❏ บรรยายประโยชนและคุณคาของงานทัศนศิลปที่มีตอชีวิตของคนในสังคมได

ºÃóҹءÃÁ โกสุม สายใจ. วาดเสน. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร, ๒๕๓๐. เฉลิม นาคีรักษ และคณะ. ศ ๑๐๑ - ศ ๑๐๒ ทัศนศิลปศึกษา ชั้น ม.๑. กรุงเทพมหานคร : อักษรเจริญทัศน, ๒๕๒๔. . ศ ๑๐๑ - ศ ๑๐๒ ศิลปะกับชีวติ ๑ - ๒. กรุงเทพมหานคร : อักษรเจริญทัศน, ๒๕๔๔. ชะลูด นิ�มเสมอ. องคประกอบของศิลปะ. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๓๑. น.ณ ปากน้ํา. หลักการใชสี. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๒๔. ประเทือง เอมเจริญ. ธรรมชาติ ชีวิต ศิลปะ. กรุงเทพมหานคร : เรือนแกวการพิมพ, ๒๕๓๓. วิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ, สํานัก. ตัวชีว้ ดั และสาระการเรียนรูแ กนกลาง กลมุ สาระการเรียนรูศ ลิ ปะ. พิมพครัง้ ที่ ๑ กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทยจํากัด, ๒๕๕๑. วิบูลย ลี้สุวรรณ. ศิลปะหัตถกรรมพื้นบาน. กรุงเทพมหานคร : ปาณยา, ๒๕๒๗. วิรุณ ตั้งเจริญ. ทฤษฎีสีเพื่อการสรางสรรคศิลปะ. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร, ๒๕๓๕. . มนุษยกับความงาม. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร, ๒๕๓๗. สุชาติ เถาทอง. การเขียนภาพสีน้ํา . กรุงเทพมหานคร : แพรพิทยา, ๒๕๔๐. . วาดเสน. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร, ๒๕๓๖. . ศิลปะกับมนุษย. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร, ๒๕๓๒. . หลักการทัศนศิลป. กรุงเทพมหานคร : อักษรกราฟฟก, ๒๕๓๖. อารี สุทธิพันธุ. การวาดเขียน. กรุงเทพมหานคร : วิฌวลอารต, ๒๕๒๘.

¡Ô¨¡ÃÃÁ..............

๒๐

µÃǨÊͺµ¹àͧ

ºÙóҡÒèԵÍÒÊÒ

เพือ่ ใหผเู รียนใชตรวจสอบตนเองวา เมือ่ จบหนวยแลว ไดบรรลุตามเปาหมายการเรียนรูหรือไม

เพื่อปลูกฝงจิตสํานึกในการเสียสละ เพื่อประโยชนสวนรวมจนเปนกิจนิสัย

๗๔


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุEngage นความสนใจ

สํารวจค Exploreนหา

อธิบExplain ายความรู

Expand าใจ ขยายความเข

Evaluate ตรวจสอบผล

สารบั ญ ตารางวิเคราะหมาตรฐานการเรียนรู

ห น ว ย การเรียนรูที่

พื้นฐานงานทัศนศิลป

สรางสรรคงานศิลป

๒๒

การสรางสรรคงานศิลปะดวยภูมิปญญา

๕๘

บทที่ ๑ ทัศนศิลปนารู บทที่ ๒ งานทัศนศิลปกับวิธีการสรางสรรค

ห น ว ย การเรียนรูที่

บทที่ ๑ แสงเงากับการวาดภาพ บทที่ ๒ งานปนแสนสนุก บทที่ ๓ ภาพพิมพกับการจัดภาพ

ห น ว ย การเรียนรูที่

บทที่ ๑ งานศิลปะรอบๆ ตัวเรา บทที่ ๒ งานศิลปภูมิปญญาแหงชุมชน

โครงงานศิลปะ กิจกรรมบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมบูรณาการจิตอาสา บรรณานุกรม

EB GUIDE

๒ ๙

๒๓ ๓๓ ๔๕ ๕๙ ๖๔

๗๓

๗๓ ๗๔ ๗๔

คนควาขอมูลเพิ่มเติม จากเว็บไซตที่อยูในหนังสือเรียน หนา ๒๕, ๒๘, ๓๐, ๓๔, ๔๗, ๔๘, ๖๐, ๖๒, ๖๕


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุEngage นความสนใจ

Exploreนหา สํารวจค

อธิบExplain ายความรู

Expand าใจ ขยายความเข

Evaluate ตรวจสอบผล

ตารางวิเคราะห มาตรฐานการเรียนรูแ  ละตัวชีว้ ดั รายวิชา ทัศนศิลป ป.๕ คําชี้แจง : ใหผสู อนใชตารางน�ต้ รวจสอบวา เน�อ้ หาสาระการเรียนรูใ นหนวยการเรียนรูส อดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั ชัน้ ป ในขอใดบาง

สาระการเรียนรู ตัวชี้วัด ชั้น ป.๕

หนวยที่ ๑

หนวยที่ ๒

หนวยที่ ๓

บทที่

บทที่

บทที่

มาตรฐาน ศ ๑.๑ ๑. บรรยายเกี่ยวกับจังหวะ ตําแหนงของสิ่งตางๆ ที่ปรากฏ ในสิ่งแวดลอมและในงานทัศนศิลป ๒. เปรียบเทียบความแตกตางระหวางงานทัศนศิลปที่สรางสรรคดวย วัสดุ อุปกรณและวิธีการที่ตางกัน ๓. วาดภาพ โดยใชเทคนิคของแสงเงา นํ้าหนักและวรรณะสี

✓ ✓ ✓

๔. สรางสรรคงานปนจากดินนํ้ามันหรือดินเหนียวโดยเนนการ ถายทอดจินตนาการ

๕. สรางสรรคงานพิมพภาพ โดยเนนการจัดวางตําแหนงของสิ่งตางๆ ในภาพ

๖. ระบุปญหาในการจัดองคประกอบศิลป และการสื่อความหมาย ในงานทัศนศิลปของตนเอง และบอกวิธีการปรับปรุงงานใหดีขึ้น

๗. บรรยายประโยชนและคุณคาของงานทัศนศิลปที่มีผลตอชีวิต ของคนในสังคม

มาตรฐาน ศ ๑.๒ ๑. ระบุและบรรยายเกี่ยวกับลักษณะ รูปแบบของงานทัศนศิลป ในแหลงเรียนรูหรือนิทรรศการศิลปะ ๒. อภิปรายเกี่ยวกับงานทัศนศิลปที่สะทอนวัฒนธรรมและภูมิปญญา ในทองถิ่น


กระตุน ความสนใจ กระตุEngage นความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุน ความสนใจ

ñ ¾×é¹°Ò¹§Ò¹·ÑȹÈÔÅ»Š

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

เปาหมายการเรียนรูประจําหนวยที่ ๑ เมื่อเรียนจบหนวยน�้ ผูเรียนจะมีความรูความสามารถตอไปน�้ ๑. บรรยายเกี่ ย วกั บ จั ง หวะ ตํ า แหน ง ของสิ� ง ต า งๆ ที่ ป รากฏใน สิ�งแวดลอม และงานทัศนศิลป (มฐ. ศ ๑.๑ ป.๕/๑) ๒. เปรียบเทียบความแตกตางระหวางงานทัศนศิลปที่สรางสรรคดวย วัสดุ อุปกรณ และวิธีการที่ตางกัน (มฐ. ศ ๑.๑ ป.๕/๒) ๓. บรรยายประโยชนและคุณคาของงานทัศนศิลปที่มีผลตอชีวิตของ คนในสังคม (มฐ. ศ ๑.๑ ป.๕/๗)

Engage

1. ครูสนทนากับนักเรียนวา ในการเรียน วิชาทัศนศิลป นักเรียนรูสึกสนุกหรือไม เพราะอะไร แลวใหนักเรียนผลัดกันออกมา เลาใหเพื่อนฟง 2. ใหนักเรียนที่รูสึกสนุกเวลาเรียนวิชาทัศนศิลป บอกวา ตนเองชอบทํางานศิลปะประเภทใด เชน งานภาพพิมพ งานปน เปนตน เพราะอะไร 3. ใหนักเรียนตอบคําถามวา • สีที่เห็นในภาพนี้ คือสีชนิดใด มีวิธีใช อยางไร (ตอบ สีไม ใชระบายสี โดยนํามาฝนบริเวณ ที่ตองการระบาย) • สีชนิดใดบางที่มีวิธีใชเหมือนสีในภาพ (แนวตอบ สีเทียน สีชอลก เปนตน)

เกร็ดแนะครู การเรียนศิลปะจะชวยสงเสริมใหเด็กมีความคิดสรางสรรคและจินตนาการ มีทักษะในการใชวัสดุ อุปกรณ ตางๆ ในการทํางานศิลปะอยางถูกตอง และครูควร นําเสนอผลงานศิลปะที่มีความหลากหลาย เพื่อเปนการกระตุนใหเด็กเกิดความคิด แปลกใหมในการทํางานศิลปะ นอกจากนี้ควรฝกใหเด็กไดบรรยายถึงผลงานศิลปะ ทั้งของตนเองและผูอื่น เพื่อฝกใหเด็กรูจักแสดงออกทางความคิดอยางสรางสรรค

คูมือครู

1


กระตุน ความสนใจ กระตุEngage นความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

เปาหมายการเรียนรู

บรรยายเกี่ยวกับจังหวะ ตําแหนงของสิ่งตางๆ ที่ปรากฏในสิ่งแวดลอม และงานทัศนศิลป (ศ 1.1 ป.5/1)

º··Õè

ñ

ทัศนศิลปนารู

สมรรถนะของผูเรียน 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต

สาระสําคัญ ความสัมพันธของทัศนธาตุในลักษณะของการซ้ํากัน สลับไปมา หรือลักษณะลื่นไหลเคลื่อนไหวไมขาดระยะ จังหวะที่มีความสัมพันธ ตอเน��องกัน จะชวยเนนใหงานทัศนศิลปมีลักษณะเดน

¡Ô¨¡ÃÃÁ¹�ÊÙ‹¡ÒÃàÃÕ¹

คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. มีวินัย รับผิดชอบ 2. ใฝเรียนรู 3. มุงมัน่ ในการทํางาน

กระตุน ความสนใจ

Engage

ใหนักเรียนดูภาพในหนังสือ หนา 2 แลวชวยกันบอกวา • จากภาพ มีความโดดเดนในเรื่องใด (แนวตอบ โดดเดนในเรื่องภาพที่ดูมีจังหวะ ไหลลื่น และมีการจัดองคประกอบศิลปที่ นาสนใจ) • ภาพนี้มีความสวยงามหรือไม เพราะอะไร (แนวตอบ มีความสวยงาม เพราะมีการจัดวาง ภาพที่มีความโดดเดน มีจุดนําสายตา สีสัน มีความกลมกลืนกัน)

? ¨Ò¡ÀÒ¾ ÁÕ¤ÇÒÁâ´´à´‹¹ã¹àÃ×èͧã´

เกร็ดแนะครู ครูจัดกระบวนการเรียนรูโดยการใหนักเรียนปฏิบัติ ดังนี้ • สังเกตการจัดองคประกอบศิลป • บรรยายลักษณะการจัดจังหวะและตําแหนงของสิ่งตางๆ จนเกิดเปนความรู ความเขาใจวา จังหวะและตําแหนงของสิ่งตางๆ เมื่อลองสังเกตใหดีจะเห็นวา มีความสัมพันธกันอยางตอเนื่อง และสิ่งนี้นี่เองที่ทําใหงานทัศนศิลปมีลักษณะเดน ดึงดูดความสนใจ

2

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ภาพใดมีความไหลลื่นอยางตอเนื่อง 1.

2.

3.

4.

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 3. เพราะจากภาพดูแลวทําใหเกิดความรูสึก ตอเนื่อง เชื่อมโยง ทําใหรูสึกวามีการเคลื่อนไหว ความไหลลื่น สวนภาพ ที่ 1., 2., 4. มีการใชสีสันตางๆ มาวางสลับกันอยางตอเนื่อง ทําใหเกิด ความรูสึกตอเนื่อง แตไมไหลลื่น คูมือครู


กระตุนความสนใจ Engage

สํารวจคนหา สํารวจค Exploreนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

สํารวจคนหา

ñ

Explore

1. ใหนกั เรียนสังเกตการจัดโตะเรียนทีว่ างเรียงกัน ในหองเรียน แลวชวยกันบอกวาการเรียงกัน ของโตะเรียนในหองเรียน มีความตอเนื่องกัน หรือมีการหยุดอยางเปนจังหวะหรือไม 2. ใหนักเรียนรวมกันสนทนาแสดงความคิดเห็น วา ลักษณะของจังหวะและตําแหนงของ สิ่งตางๆ มีการจัดจังหวะแบบใดบาง 3. ใหนักเรียนดูภาพในหนังสือ หนา 3 แลวชวยกันบอกวา สิ่งที่อยูรอบๆ ตัวเรา มีการจัดจังหวะแบบนี้อีกหรือไม (แนวตอบ มี เชน การยืนเขาแถวเคารพธงชาติ บานจัดสรร เปนตน)

¡ÒèѴͧ¤ »ÃСͺÈÔÅ»Š¢Í§ÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ

การจัดองคประกอบศิลปของสิ่งแวดลอม ทําไดโดยการจัดจังหวะและตําแหนงของ สิ่งแวดลอม โดยใหมีความตอเนื่องกัน หรือใหมีการหยุดอยางเปนจังหวะ โดยทั่วไปมัก หมายถึงการซํา้ ของทัศนธาตุตา งๆ เชน อาจเปนการซํา้ ของสี นํา้ หนัก ความเขมของสี ลวดลาย และเสน เปนตน ลักษณะของจังหวะและตําแหนงของสิ่งตางๆ ในสิ่งแวดลอมรอบตัว อาจแบงออกเปน ๔ ประเภท ตามลักษณะการจัด ดังนี้ 1 ๑. การจัดจังหวะแบบเหมือนกันหรือซํ้ากัน หมายถึง การจัดชวงจังหวะของสิ่งที่ มีลักษณะแบบเดียวกัน ตอเนื่องกัน และมีระยะหางเทาๆ กัน ทําใหดูมีระเบียบ

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

จากภาพ เปนการจัดจังหวะแบบใด 1. ซํ้ากัน 2. ไหลลื่น 3. ลดหลั่น 4. สลับไปมา

นักเรียนควรรู 1 การจัดจังหวะแบบเหมือนกันหรือซํ้ากัน ในการจัดจังหวะลักษณะนี้ เราสามารถ สังเกตไดตั้งแตการขึ้นบันได การยืนเขาแถวเคารพธงชาติ หรือแมแตการนั่งเรียน ในหองเรียน ทุกอยางรอบๆ บริเวณโรงเรียนของเรามักมีการจัดจังหวะแบบ เหมือนกันหรือซํ้ากันอยูหลายอยาง

มุม IT วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 1. เพราะเปนการจัดชวงจังหวะของสิ่งที่มี ลักษณะแบบเดียวกัน ตอเนื่องกัน และมีระยะหางเทาๆ กัน จึงจัดเปน การจัดจังหวะแบบซํ้ากัน

ครูดูขอมูล การจัดองคประกอบศิลป เพิ่มเติม ไดที่ http://www.prc.ac.th/webart/compositionnewart/01.html

คูมือครู

3


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูอธิบายใหนักเรียนเขาใจวา การจัด องคประกอบศิลปของสิ่งแวดลอมและการจัด องคประกอบศิลปในงานทัศนศิลป มีการจัด จังหวะที่เหมือนกัน เชน การซํ้าของสี นํ้าหนัก ลวดลาย เปนตน ในการจัดองคประกอบศิลป ในงานทัศนศิลปจะมีความสวยงามมากกวา การจัดองคประกอบศิลปในสิ่งแวดลอม เพราะ จะมีความกลมกลืนและสวนใหญเปนการตั้งใจ ใหเปนไปตามจินตนาการที่ผูสรางตองการ ถายทอดนั่นเอง 2. ใหนักเรียนศึกษาเนื้อหาในหนังสือ หนา 3-5 เพิ่มเติม

๒. การจัดจังหวะแบบสลับไปมา หมายถึง การจัดชวงจังหวะของสิ่งที่มีลักษณะ

ตางกัน มาวางสลับกันอยางตอเนื่อง ทําใหเกิดความนาสนใจเพิ่มขึ้น

๓. การจัดจังหวะแบบไหลลื่น หมายถึง การจัดชวงจังหวะใหไดความรูสึกตอเนื่อง

เชื่อมโยง ทําใหเกิดความรูสึกวามีการเคลื่อนไหว

เกร็ดแนะครู ครูหาบัตรภาพที่มีการจัดจังหวะแบบตางๆ มาใหนักเรียนเปรียบเทียบ ความแตกตาง หรือพานักเรียนออกไปสังเกตสิ่งตางๆ รอบบริเวณโรงเรียน เพื่อใหเด็กไดเกิดการเรียนรู และมีความเขาใจมากยิ่งขึ้น

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ถาบันไดมีการจัดจังหวะแบบสลับขนาดไปมา จะเกิดผลอยางไร

บูรณาการอาเซียน ครูใหนักเรียนหาภาพสิ่งกอสรางที่เดนของประเทศสมาชิกอาเซียน ประเทศละ 2 ภาพ จากนั้นสังเกตภาพและบอกวาสิ่งกอสรางที่เห็นมีการจัดจังหวะแบบใด สังเกตจากอะไร

4

คูมือครู

แนวตอบ การจัดจังหวะบันไดแบบสลับขนาดไปมา อาจทําใหพื้นที่ในการ เดินขึ้น-ลง มีบริเวณจํากัด ทําใหเดินขึ้น-ลง ไดลําบาก จึงไมนิยมทําขึ้น เพราะอาจทําใหเกิดอันตรายเวลาใชงานได


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

Explain

1. ครูนําภาพการจัดองคประกอบศิลปของ สิ่งแวดลอมลักษณะตางๆ ใหนักเรียนดู แลวใหชวยกันบอกวาเปนการจัดจังหวะแบบใด 2. ใหนักเรียนชวยกันบอกวา การจัด องคประกอบศิลปของสิ่งแวดลอม มีความสัมพันธกับการจัดองคประกอบ ในงานทัศนศิลปหรือไม อยางไร (แนวตอบ มีความสัมพันธกัน เพราะงาน ทัศนศิลปที่สรางขึ้นสวนใหญมีตนแบบมาจาก สิ่งแวดลอม แลวเติมความคิดสรางสรรคและ จินตนาการลงบนผลงานเพิ่มเติม เพื่อใหได ผลงานที่สวยงามมากยิ่งขึ้น) 3. ครูถามคําถามสนทนาภาษาศิลปในหนังสือ หนา 5 ใหนักเรียนชวยกันตอบ

1

๔. การจัดจังหวะแบบที่มีการลดหลั่น หมายถึง การจัดชวงจังหวะของวัตถุที่เรียง

ตอกัน โดยเรียงจากเล็กไปใหญหรือจากใหญไปเล็ก จากสีออ นไปสีแก หรือจากผิวเรียบไปหยาบ หรือแบบอื่นๆ ทําใหเกิดความรูสึกในเรื่องของระยะและปริมาณที่มากขึ้นหรือนอยลง

¹Ñ¡àÃÕ¹ÊÒÁÒöÊѧࡵ ÅѡɳСÒèѴª‹Ç§¨Ñ§ËÇÐ ËÃ×Í¡ÒèѴµíÒá˹‹§ ¢Í§ÊÔ觵‹Ò§æ 㹸ÃÃÁªÒµÔ áÅÐÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ â´ÂãËŒ¾Ô¨ÒóҴ٨ҡ¡ÒÃÇÒ§µíÒá˹‹§ ¢Í§ÊÔ觵‹Ò§æ Ç‹Ò໚¹ä»µÒÁÃٻẺ㴠áÅзíÒãËŒà¡Ô´¤ÇÒÁÃÙŒÊÖ¡Í‹ҧäÃ

 ʹ·¹ÒÀÒÉÒÈÔÅ»Š ถาหากตองการจัดหองเรียนใหเกิดความ นาสนใจ นักเรียนจะนําการจัดจังหวะแบบใด เขามาใช เพราะอะไร 5

ขอใดเปนการจัดจังหวะแบบที่มีการลดหลั่น 1. 2.

3.

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

นักเรียนควรรู 1 ลดหลั่น คือ ตํ่าเปนชั้นๆ ตามลําดับ ในดานศิลปะอาจใชในดานการบอก ความออนแกของสี เชน จากสีเขียวออนไปสีเขียวเขม เปนตน ตัวอยางการลดหลั่นของสี

4.

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 1. เพราะเปนการเรียงลําดับจากใหญไปเล็ก ทําใหเกิดความรูสึกในเรื่องของปริมาณที่นอยลง จึงเปนการจัดจังหวะแบบ ที่มีการลดหลั่น

เฉลย คําถามสนทนาภาษาศิลป แนวตอบ การจัดจังหวะแบบสลับไปมา เพราะการจัดชวงจังหวะของสิ่งที่มี ลักษณะตางกัน มาวางสลับกันอยางตอเนื่อง ทําใหเกิดความนาสนใจเพิ่มขึ้น คูมือครู

5


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูอธิบายใหนักเรียนเขาใจวา การจัด องคประกอบศิลปในงานทัศนศิลป จะชวยให ผลงานมีความโดดเดน สวยงาม นาสนใจมาก ยิ่งขึ้น โดยสามารถทําได 2 ลักษณะ คือ 1) การจัดชวงจังหวะที่เทาๆ กัน 2) การจัดชวงจังหวะที่ไมเทากัน 2. ใหนักเรียนศึกษาขอมูลในหนังสือ หนา 6-7 เพิ่มเติม 3. ครูแจกกระดาษใหนักเรียนคนละ 1 แผน แลวใหนกั เรียนวาดรูปโดยใชการจัดองคประกอบ ในงานทัศนศิลปแบบใดก็ได ใหถูกตอง สวยงาม จากนั้นผลัดกันนําเสนอผลงาน แลวใหเพื่อนชวยกันบอกวา เปนภาพการจัด องคประกอบศิลปแบบใด 4. ครูถามคําถามสนทนาภาษาศิลปในหนังสือ หนา 7 ใหนักเรียนชวยกันตอบ

ò

¡ÒèѴͧ¤ »ÃСͺÈÔÅ»Šã¹§Ò¹·ÑȹÈÔÅ»Š

การจัดองคประกอบศิลปในงานทัศนศิลป เปนการจัดจังหวะและตําแหนง ของทัศนธาตุ ตางๆ เชน เสน สี รูปราง รูปทรง พื้นผิว เปนตน ใหดูโดดเดน สวยงาม ซึ่งการจัดจังหวะที่ดี จะชวยสรางความนาสนใจใหกับผลงาน และทําใหเกิดความรูสึกเคลื่อนไหวและสื่ออารมณ ตางๆ ได การจัดจังหวะและตําแหนงในงานทัศนศิ1ลป ทําไดโดยการจัดองคประกอบที่ใหความ รูสึกเคลื่อนไหว มีจังหวะที่เหมาะสม กลมกลืน สวยงาม โดยตองคํานึงถึงพื้นที่วาง ซึ่งในชั้นนี้ นักเรียนจะไดเรียนการจัดจังหวะและตําแหนงของภาพใน ๒ ลักษณะ คือ ๑. การจัดชวงจังหวะที่เทาๆ กัน เปนการจัดภาพใหมีระยะเทาๆ กัน ซํ้าๆ กัน และ ประสานตอเนื่องไปในทิศทางเดียวกัน ดังตัวอยาง

นักเรียนควรรู 1 กลมกลืน การทํางานศิลปะใหมีความกลมกลืนกันนั้น กอนอื่นตองมีการ วางแผนการทํางานเปนอยางดี โดยเฉพาะการลงสีภาพ และการจัดวางภาพ เพื่อใหไดผลงานศิลปะที่ดึงดูดความสนใจมากยิ่งขึ้น

มุม IT ศึกษาประโยชนและคุณคาขององคประกอบทางทัศนศิลป เพิ่มเติมไดที่ http://www.chk.ac.th/web/web_art/page3_5.html

6

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ถาตองการวาดภาพที่ดูแลวทําใหเกิดความรูสึกตื่นเตน ราเริง ควรใชการจัดชวงจังหวะแบบใด เพราะอะไร แนวตอบ การจัดชวงจังหวะที่ไมเทากัน เพราะเปนการจัดที่ใชเสน รูปราง รูปทรง ที่มีความหนาความบางไมเทากัน และสีที่ใชใหนํ้าหนักออน-แก ไมเทากัน จึงทําใหเกิดความรูสึกตื่นเตน


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand าใจ ขยายความเข

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

ขยายความเขาใจ

Expand

1. ใหนักเรียนดูภาพในหนังสือ หนา 8 แลวบอกวา เปนรูปแบบการจัดจังหวะแบบใด และบรรยาย 2. ใหนักเรียนสรางงานทัศนศิลป โดยการจัด จังหวะตําแหนงของสิ่งตางๆ 3. ครูถามคําถามขยายความรูสูการคิดในหนังสือ หนา 8 แลวใหนักเรียนชวยกันตอบ 4. ใหนักเรียนทําแบบวัดฯ ทัศนศิลป ป.5 กิจกรรมรวบยอดที่ 1.1 ขอ 2

๒. การจัดชวงจังหวะทีไ่ มเทากัน เปนการจัดใหมกี ารสลับหรือสับหวาง โดยใหมเี สน

รูปราง รูปทรง มีความหนาความบางไมเทากัน และสีใหนํ้าหนักออน-แกไมเทากัน แตมีความ สัมพันธกัน ซึ่งอาจทําใหเกิดความรูสึกตางๆ เชน ตื่นเตน ราเริง ขัดแยง กาวหนา ไมหยุดนิ่ง เปนตน

✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ ทัศนศิลป ป.5 กิจกรรมรวบยอดที่ 1.1 ประเมินตัวชี้วัด ศ 1.1 ป.5/1 (ตัวอยางคําตอบ)

๒ ดูภาพที่กําหนดให และตอบคําถาม

ฉบับ

เฉลย

 ʹ·¹ÒÀÒÉÒÈÔÅ»Š

บันไดแหงความสุข ๑) จากภาพ จะตั้งชื่อภาพวา……………………………………………………………………………………………………………………. ๒) จากภาพ เปนการจัดจังหวะภาพในรูปแบบ ❍ การจัดจังหวะแบบเหมือนกัน ❍ การจัดจังหวะแบบสลับไปมา ✓ การจัดจังหวะแบบไหลลื่น ❍ ❍ การจัดจังหวะแบบทีม่ กี ารลดหลัน่ ✓ สวยงาม ❍ ไมสวยงาม ๓) นักเรียนคิดวา ภาพทีเ่ ห็นสวยงามหรือไม ❍ สีของภาพดูแลวสบายตา การจัดจังหวะของภาพทําใหภาพดูนาสนใจ เพราะ…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๔) นักเรียนคิดวา การจัดวางตําแหนงของสิง่ ตางๆ ในภาพ มีสว นทําใหภาพมีความ ✓ มี โดดเดน หรือดูสวยงามขึน้ หรือไม ❍ ❍ ไมมี ทําใหเห็นรายละเอียดของภาพตางๆ ไดอยางชัดเจน เพราะ…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ✓ ชอบ ๕) นักเรียนชื่นชอบภาพที่เห็นหรือไม ❍ ❍ ไมชอบ ออกแบบสวยงามและดูทันสมัย อยากใหที่บานทําบันไดแบบนี้บาง เพราะ…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ตัวชี้วัด ศ ๑.๑ ขอ ๑ ไดคะแนน คะแนนเต็ม

õ

ภายในสนามเด็ ก เล น ของโรงเรี ย น นักเรียนคิดวามีของเลนใดบางที่มีการจัด จังหวะที่เทากัน และของเลนใดที่มีการจัด จังหวะที่ไมเทากัน 7

กิจกรรมสรางเสริม ใหนักเรียนสังเกตสิ่งแวดลอมรอบๆ ตัว และในงานทัศนศิลปวา มีการจัดจังหวะแบบใดบาง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดและการสังเกต

เฉลย คําถามสนทนาภาษาศิลป แนวตอบ - ของเลนที่มีการจัดจังหวะที่เทากัน เชน ลอยางรถยนตที่วางเรียงตอกัน ชิงชาที่แขวนเรียงตอกัน เปนตน

กิจกรรมทาทาย ใหนักเรียนหารูปภาพของสิ่งแวดลอม และงานทัศนศิลป มาอยางละ 2 ภาพ แลวบอกวาเปนการจัดจังหวะแบบใด เพื่อพัฒนาทักษะการคิด และการสังเกต

- ของเลนที่มีการจัดจังหวะไมเทากัน เชน มาหมุนที่ทาสีแตกตางกัน เปนตน

คูมือครู

7


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engage

Explore

Explain

Expand

ตรวจสอบผล

ตรวจสอบผล Evaluate ตรวจสอบผล Evaluate

Evaluate

¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ

1. ครูตรวจสอบผลการบรรยายรูปแบบการจัด จังหวะ โดยพิจารณาจากการบรรยายไดถูกตอง ตรงกับภาพ 2. ครูตรวจสอบผลการสรางงานทัศนศิลป โดยพิจารณาจากการทํางานไดถูกตอง ตรงคําสั่ง 3. แบบวัดฯ ทัศนศิลป ป.5 กิจกรรมรวบยอดที่ 1.1 ขอ 2

๑. ดูภาพ แลวบอกวาเปนรูปแบบการจัดจังหวะแบบใด พรอมทั้งเขียนบรรยายถึงภาพที่เห็น ลงในสมุด ๑)

๒)

๒. ใหสรางงานทัศนศิลปโดยการจัดจังหวะตําแหนงของสิ่งตางๆ มา ๑ ประเภทผลงาน

¢ÂÒ¤ÇÒÁÃÙŒ ÊÙ¡‹ ÒäԴ

นักเรียนเคยนําความรูเกี่ยวกับหลักการจัดองคประกอบศิลปแบบตางๆ มาใชในการเรียน บางหรือไม อยางไร

เฉลย กิจกรรมการเรียนรู 1. แนวตอบ 1) เปนการจัดจังหวะแบบเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ และผลงานภายในภาพเปนของเลน ที่มีความสวยงาม นาเลน 2) เปนการจัดจังหวะแบบเหมือนกัน และผลงานภายในภาพเปนผลงาน ประติมากรรมที่มีความสวยงามแปลกตา นาสนใจเปนอยางมาก แนวตอบ ขยายความรูสูการคิด แนวตอบ เคย เชน การจัดปายนิเทศ โดยการทําใหนาสนใจ จัดองคประกอบ ภายในปายนิเทศใหสวยงาม เปนตน

8

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

จากภาพ เปนการจัดชวงจังหวะแบบใด 1. แบบซํ้ากัน 2. แบบเทากัน 3. แบบไมเทากัน 4. แบบไปทิศทางเดียวกัน

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 3. แบบไมเทากัน เพราะมีการใชนํ้าหนักของสี แตกตางกัน แตมีความสัมพันธกัน ซึ่งทําใหเกิดความรูสึกตางๆ เชน ตื่นเตน ราเริง ขัดแยง กาวหนา ไมหยุดนิ่ง เปนตน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.