8858649122605

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº »ÃСѹÏ

ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน

กระบวนการสอนแบบ 5 Es ชวยสรางทักษะการเรียนรู กิจกรรมมุงพัฒนาทักษะการคิด คำถาม + แนวขอสอบเพื่อยกผลสัมฤทธิ์ O-NET กิจกรรมบูรณาการเตรียมพรอมสู ASEAN 2558


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู การงานอาชีพและเทคโนโลยี

การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปที่

5

สําหรับครู

คูมือครู Version ใหม

ลักษณะเดน

ขยายพื้นที่รูปเลมใหญขึ้นกวาเดิม จัดแบงพื้นที่ออกเปนโซน เพื่อคนหาขอมูลไดงาย สะดวก รวดเร็ว และดูเปนระเบียบ กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

เปาหมายการเรียนรู สมรรถนะของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค

หน า

โซน 1 กระตุน ความสนใจ

Engage

สํารวจคนหา

Explore

อธิบายความรู

Explain

ขยายความเขาใจ

Expand

ตรวจสอบผล

หน า

หนั ง สื อ เรี ย น

โซน 1

หนั ง สื อ เรี ย น

Evaluate

ขอสอบเนน การคิด ขอสอบเนน การคิด แนว NT แนว O-NET

O-NET บูรณาการเชื่อมสาระ

เกร็ดแนะครู

ขอสอบ

โซน 2

โซน 3

กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย

นักเรียนควรรู

โซน 3

โซน 2 บูรณาการอาเซียน มุม IT

No.

คูมือครู

คูมือครู

No.

โซน 1 ขั้นตอนการสอนแบบ 5Es

โซน 2 ชวยครูเตรียมสอน

โซน 3 ชวยครูเตรียมนักเรียน

เพื่อใหครูเตรียมจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยแนะนําขั้นตอนการสอนและ การจัดกิจกรรมแบบ 5Es อยางละเอียด เพื่อใหนักเรียนบรรลุตามตัวชี้วัด

เพื่อชวยลดภาระครูผูสอน โดยแนะนํา เกร็ดความรูสําหรับครู ความรูเสริมสําหรับ นักเรียน รวมทั้งบูรณาการความรูสูอาเซียน และมุม IT

เพือ่ ใหครูสะดวกตอการจัดกิจกรรม โดยแนะนํา กิจกรรมบูรณาการเชื่อมระหวางกลุมสาระ วิชา กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย รวมถึงเนือ้ หา ทีเ่ คยออกขอสอบ NT/O-NET เก็งขอสอบ NT/O-NET และแนวขอสอบเนนการคิด พรอมคําอธิบาย และเฉลยอยางละเอียด


ที่ใชในคูมือครู

แถบสีและสัญลักษณ

แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5Es เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

1. แถบสี 5Es สีแดง

สีเขียว

กระตุน ความสนใจ

เสร�ม

สํารวจคนหา

Engage

2

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุน ความสนใจ เพื่อโยง เขาสูบทเรียน

สีสม

อธิบายความรู

Explore

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนสํารวจ ปญหา และศึกษา ขอมูล

สีฟา

Explain

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนคนหา คําตอบ จนเกิดความรู เชิงประจักษ

สีมวง

ขยายความเขาใจ Expand

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนนําความรู ไปคิดคนตอๆ ไป

ตรวจสอบผล Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

2. สัญลักษณ สัญลักษณ

วัตถุประสงค

• เปาหมายการเรียนรู

O-NET

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

แทรกความรูเสริมสําหรับครู ขอเสนอแนะ ขอควรระวัง ขอสังเกต แนวทางการจัด กิจกรรมและอืน่ ๆ เพื่อประโยชนในการ จัดการเรียนการสอน

ขอสอบเนน การคิด แนว NT

ขยายความรูเพิ่มเติมจากเนื้อหา เพื่อให ครูนําไปใชอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียน ไดมีความรูมากขึ้น

ความรูหรือกิจกรรมเสริม ใหครูนําไปใช เตรียมความพรอมใหกบั นักเรียนกอนเขาสู ประชาคมอาเซียนใน พ.ศ. 2558 โดย บูรณาการกับวิชาที่กําลังเรียน

นักเรียนควรรู

บูรณาการอาเซียน

แนะนําแหลงคนควาจากเว็บไซต เพื่อให ครูและนักเรียนไดเขาถึงขอมูลความรู ที่หลากหลาย ทั้งไทยและตางประเทศ

ชีแ้ นะเนือ้ หาทีเ่ คยออกขอสอบ O-NET โดยยกตัวอยางขอสอบ พรอมวิเคราะหคําตอบ อยางละเอียด

เปนตัวอยางขอสอบที่มุงเนน การคิดใหครูนําไปใชไดจริง รวมถึงเปนการเก็งขอสอบ O-NET ที่จะออก มีทั้งปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

แนวขอสอบ NT ในระดับ ประถมศึกษา มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม เชื่อมกับสาระหรือกลุมสาระ การเรียนรู ระดับชัน้ หรือวิชาอืน่ ที่เกี่ยวของ

แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ซอมเสริมสําหรับนักเรียนที่ควร ไดรับการพัฒนาการเรียนรู

แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ตอยอดสําหรับนักเรียนที่เรียนรู ไดอยางรวดเร็ว และตองการ ทาทายความสามารถในระดับ ที่สูงขึ้น

(เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ O-NET)

แสดงรองรอยหลักฐานตามภาระงาน ที่ครูมอบหมาย เพื่อแสดงผลการเรียนรู ตามตัวชี้วัด

เกร็ดแนะครู

คูม อื ครู

ขอสอบ

วัตถุประสงค

• หลักฐานแสดงผล การเรียนรู

มุม IT

แสดงเปาหมายการเรียนรูที่นักเรียน ตองบรรลุตามตัวชี้วัด ตลอดจนสมรรถนะ ที่จะตองมี และคุณลักษณะที่พึงเกิดขึ้น กับนักเรียน

สัญลักษณ

(เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ NT)

บูรณาการเชื่อมสาระ

กิจกรรมสรางเสริม

กิจกรรมทาทาย


คําแนะนําการใชคูมือครู การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน คูมือครู รายวิชา การงานอาชีพฯ ป.5 จัดทําขึ้นเพื่อใหครูผูสอนนําไปใชเปนแนวทางวางแผนการสอนเพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน และประกันคุณภาพผูเ รียน ตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน (สพฐ.) โดยใชหนังสือเรียน การงานอาชีพฯ ป.5 ของบริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด เปนสื่อหลัก (Core Material) ประกอบ เสร�ม 3 การสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนรูใ หสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั กลุม สาระการเรียนรู การงานอาชีพฯ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พ.ศ. 2551 โดยออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักการสําคัญ ดังนี้ 1 ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน คูม อื ครู รายวิชา การงานอาชีพฯ ป.5 วางแผนการสอนโดยแบงเปนหนวยการเรียนรูต ามลําดับสาระ (Standard) และหมายเลขขอของมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั แตละหนวยจะกําหนดเปาหมายการสอนและจุดประสงคการเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทางการประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชัดเจน ครูผูสอนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด สมรรถนะ และคุณลักษณะ อันพึงประสงคที่เปนเปาหมายการเรียนรูตามที่กําหนดไวในสาระแกนกลาง (ตามแผนภูมิ) และสามารถบันทึกผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของผูเรียนแตละคนลงในเอกสาร ปพ.5 ไดอยางมั่นใจ แผนภูมิแสดงองคประกอบของการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผูเรียนเปนสําคัญ

พผ

ูเ

จุดปร

ะสง

คก

ส ภา

รียน

รู ีเรยน

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชั้นป

ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน คูม อื ครู


2 การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ แนวคิ ด ในการจั ด การเรี ย นการสอนที่ ยึ ด ผู  เ รี ย นเป น สํ า คั ญ พั ฒ นามาจากปรั ช ญาและทฤษฎี ก ารเรี ย นรู  Constructivism ที่เชื่อวาการเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสรางความรู โดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดเรียนรูจากบทเรียนใหมกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา ผูเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีการสั่งสมความรูความเขาใจเกี่ยวกับสิ่งตางๆ ติดตัวมากอน ทีจ่ ะเขาสูห อ งเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากประสบการณและสิง่ แวดลอมรอบตัวผูเ รียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกิจกรรม เสร�ม การเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ผูสอนจะตองคํานึงถึง

4

1. ความรูเดิมของผูเรียน วิธีการสอนที่ดีจะตองเริ่มตนจากจุดที่วา ผูเ รียนมีความรูอ ะไรมาบาง แลวจึงใหความรู หรือประสบการณใหม เพื่อตอยอดจาก ความรูเดิม นําไปสูการสรางความรู ความเขาใจใหม

2. ความรูเดิมของผูเรียนถูกตองหรือไม ผูส อนตองปรับเปลีย่ นความรูค วามเขาใจเดิม ของผูเรียนใหถูกตอง และเปนพฤติกรรม การเรียนรูใ หมทมี่ คี ณุ คาตอผูเรียน เพื่อสราง เจตคติหรือทัศนคติที่ดีตอการเรียนรู สิ่งเหลานั้น

3. ผูเรียนสรางความหมายสําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมใหผูเรียนนําความรู ความเขาใจที่เกิดขึ้นไปลงมือปฏิบัติ เพื่อขยายความรูใหลึกซึ้งและมีคุณคา ตอตัวผูเรียนมากที่สุด

แนวคิด Constructivism เนนใหผูเรียนสรางความรูโดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูของตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศ

การเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณ ความรูใ หม เพือ่ กระตนุ ใหผเู รียนเชือ่ มโยงความรู ความคิด กับประสบการณทมี่ อี ยูเ ดิม แลวสังเคราะหเปนความรูห รือแนวคิดใหมๆ ไดดว ยตนเอง

3 การบูรณาการกระบวนการคิด การเรียนรูข องผูเ รียนแตละคนจะเกิดขึน้ ทีส่ มอง ซึง่ เปนอวัยวะทีท่ าํ หนาทีร่ คู ดิ ภายใตสภาพแวดลอมทีเ่ อือ้ อํานวย และไดรบั การกระตนุ จูงใจอยางเหมาะสม สอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของผูเ รียนแตละคน การจัดกิจกรรม การเรียนรูและสาระการเรียนรูที่สอดคลองกับความสนใจและมีความหมายตอผูเรียน จะชวยกระตุนใหสมองของผูเรียน สามารถรับรูและเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพตามขั้นตอนการทํางานของสมอง ดังนี้ 1. สมองจะเรียนรูและสืบคน โดยการสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง ปฏิบัติ จนทําใหคนพบความรูความเขาใจ ไดอยางรวดเร็ว

2. สมองจะแยกแยะคุณคาของสิ่งตางๆ โดยการตัดสินใจวิพากษวิจารณ แสดง ความคิดเห็น ยอมรับหรือตอตานตาม อารมณความรูสึกที่เกิดขึ้นในขณะที่เรียนรู

3. สมองจะประมวลเนื้อหาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสานกับ ความรูห รือประสบการณเดิมทีถ่ กู จัดเก็บอยูใ น สมอง ผานการกลัน่ กรองเพือ่ สังเคราะหเปน ความรูค วามเขาใจใหมๆ หรือเปนทัศนคติใหม ที่จะเก็บบรรจุไวในสมองของผูเรียน

การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะเกิดขึ้น เมื่อสมองรูคิด และตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมองผูเรียน โดยเริ่มตนจาก 1. ระดับการคิดพื้นฐาน ไดแก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล การสรุปผล เปนตน

คูม อื ครู

2. ระดับลักษณะการคิด ไดแก การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดไกล คิดหลากหลาย คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล เปนตน

3. ระดับกระบวนการคิด ไดแก กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ กระบวนการแกปญหา กระบวนการ คิดสรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะหวจิ ยั เปนตน


5Es การจัดกิจกรรมตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ขั้นตอนการสอนที่สัมพันธกับขั้นตอนการคิดและการทํางานทางสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย คือ วัฏจักรการเรียนรู 5Es ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแตละหนวย ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1

กระตุนความสนใจ

(Engage)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนนําเขาสูบ ทเรียน เพือ่ กระตุน ความสนใจของผูเ รียนดวยเรือ่ งราวหรือเหตุการณทนี่ า สนใจโดยใชเทคนิควิธกี ารสอน และคําถามทบทวนความรูหรือประสบการณเดิมของผูเรียน เพื่อเชื่อมโยงผูเรียนเขาสูความรูของบทเรียนใหม ชวยใหผูเรียนสามารถ สรุปประเด็นสําคัญที่เปนหัวขอและสาระการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอนการสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอม และสรางแรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน

ขั้นที่ 2

สํารวจคนหา

เสร�ม

5

(Explore)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนเปดโอกาสใหผเู รียนลงมือศึกษา สังเกต หรือรวมมือกันสํารวจ เพือ่ ใหเห็นขอบขายของปญหา รวมถึงวิธกี ารศึกษา คนควา การรวบรวมขอมูลความรูที่จะนําไปสูการสรางความเขาใจประเด็นปญหานั้นๆ เมื่อผูเรียนทําความเขาใจในประเด็นหัวขอที่จะ ศึกษาคนควาอยางถองแทแลว ก็ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธีการตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูตามที่ตั้งประเด็นศึกษาไว

ขั้นที่ 3

อธิบายความรู

(Explain)

เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา ตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนคนหาคําตอบ และนําขอมูล ความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห สรุปผล และนําเสนอผลที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ แผนผังแสดงมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน ในขั้นตอนนี้ฝกใหผูเรียนใชสมองคิดวิเคราะหและ สังเคราะหอยางเปนระบบ

ขั้นที่ 4

ขยายความเขาใจ

(Expand)

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใชเทคนิควิธีการสอนตางๆ ที่สงเสริมใหผูเรียนนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนสืบคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะ การเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน ผูเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยง กับประสบการณเดิมโดยนําขอสรุปทีไ่ ดไปใชอธิบายเหตุการณตา งๆ หรือนําไปปฏิบตั ใิ นสถานการณใหมๆ ทีเ่ กีย่ วของกับชีวติ ประจําวัน ของตนเอง เพื่อขยายความรูความเขาใจใหกวางขวางยิ่งขึ้น ในขั้นตอนนี้ฝกสมองของผูเรียนใหสามารถคิดริเริ่มสรางสรรคอยางมี คุณภาพ เสริมสรางวิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป

ขั้นที่ 5

ตรวจสอบผล

(Evaluate)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนประเมินมโนทัศนของผูเ รียน โดยตรวจสอบจากความคิดทีเ่ ปลีย่ นไปและความคิดรวบยอดทีเ่ กิดขึน้ ใหม ตรวจสอบ ทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด และการเคารพความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพื่อการ สรางสรรคความรูร ว มกัน ผูเ รียนสามารถประเมินผลการเรียนรูข องตนเอง เพือ่ สรุปผลวามีความรูอ ะไรเพิม่ ขึน้ มาบาง เกิดความเขาใจ มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ ไดอยางไร ผูเรียนจะเกิดเจตคติและเห็นคุณคาของ ตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง

การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามขั้นตอนวัฏจักรการสรางความรูแบบ 5Es จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนน ผูเ รียนเปนสําคัญอยางแทจริง เพราะสงเสริมใหผเู รียนไดลงมือปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอนของกระบวนการสรางความรูด ว ยตนเอง และฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและกระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะชีวิต ทักษะการทํางานและทักษะการ เรียนรูท มี่ ปี ระสิทธิภาพ สงผลตอการยกระดับผลสัมฤทธิข์ องผูเ รียน ตามเปาหมายของการปฏิรปู การศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คูม อื ครู


O-NET การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ O-NET

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ในแตละหนวยการเรียนรู ทางผูจัดทํา จะเสนอแนะวิธีสอนรูปแบบกิจกรรมการเรียนรู พรอมทั้งออกแบบเครื่องมือวัดผลประเมินผลที่สอดคลองกับตัวชี้วัด และสาระการเรียนรูแกนกลางไวทุกขั้นตอน โดยยึดหลักสําคัญ คือ เปาหมายของการวัดผลประเมินผล เสร�ม

6

1. การวัดผลทุกครั้งตองนําผล การวัดมาปรับปรุงพัฒนาผูเรียน เปนรายบุคคล

2. การประเมินผลมีเปาหมาย เพื่อพัฒนาการเรียนรูของผูเรียน จนเต็มศักยภาพ

3. การนําผลการวัดและประเมิน ทุกครั้งมาวางแผนปรับปรุงกิจกรรม การเรียนการสอน การเลือกเทคนิค วิธีการสอน และสื่อการเรียนรูให เหมาะสมกับสภาพจริงของผูเรียน

การทดสอบผูเรียน 1. การใชขอสอบอัตนัย เนนการอาน การคิดวิเคราะห และเขียนสรุปเพิ่มมากขึ้น 2. การใชคําถามกระตุนการคิด ควบคูกับการทําขอสอบที่เนนการคิดตลอดตอเนื่องตามลําดับกิจกรรมการเรียนรูและ ตัวชี้วัด 3. การทดสอบตองดําเนินการทั้งกอนเรียน ระหวางเรียน และเมื่อสิ้นสุดการเรียน การทดสอบระหวางเรียน ต อ งใช ข  อ สอบทั้ ง ชนิ ด ปรนั ย และอั ต นั ย และเป น การทดสอบเพื่ อ วิ นิ จ ฉั ย ผลการเรี ย นของผู  เ รี ย นแต ล ะคน เพื่อวัดการสอนซอมเสริมใหบรรลุตัวชี้วัดทุกตัว 4. การสอบกลางภาค (ถามี) ควรนําขอสอบหรือแบบฝกหัดที่นักเรียนสวนใหญทําผิดบอยๆ มาสรางเปนแบบทดสอบ อีกครัง้ เพือ่ ตรวจสอบความรูค วามเขาใจทีถ่ กู ตอง และประเมินความกาวหนาของผูเรียนแตละคน 5. การสอบปลายภาคเรียนเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามตัวชี้วัดที่สําคัญ ควรออกขอสอบใหมีลักษณะเดียวกับ ขอสอบ O-NET โดยเนนการคิดวิเคราะห สังเคราะห เชื่อมโยงประยุกตใช เพื่อสรางความคุนเคย และฝกฝน วิธีการทําขอสอบดวยความมั่นใจ 6. การนําผลการทดสอบของผูเรียนมาวิเคราะห โดยผลการสอบกอนการเรียนตองสามารถพยากรณผลการสอบ กลางภาค และผลการสอบกลางภาคตองทํานายผลการสอบปลายภาคของผูเ รียนแตละคน เพือ่ ประเมินพัฒนาการ ความกาวหนาของผูเรียนเปนรายบุคคล 7. ผลการทดสอบปลายป ปลายภาค ตองมีคาเฉลี่ยสอดคลองกับคาเฉลี่ยของการสอบ NT ที่เขตพื้นที่การศึกษา จัดสอบ รวมทั้งคาเฉลี่ยของการสอบ O-NET ชวงชั้นที่สอดคลองครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดสําคัญ เพือ่ สะทอนประสิทธิภาพของครูผสู อนในการออกแบบการเรียนรูแ ละประกันคุณภาพผูเ รียนทีต่ รวจสอบผลไดชดั เจน การจัดการเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ตองใหผูเรียนไดสั่งสมความรู สะสมความเขาใจไปทีละเล็ก ละนอยตามลําดับขัน้ ตอนของกิจกรรมการเรียนรู 5Es เพือ่ ใหผเู รียนไดเติมเต็มองคความรูอ ยางตอเนือ่ ง จนสามารถปฏิบตั ิ ชิ้นงานหรือภาระงานรวบยอดของแตละหนวยผานเกณฑประกันคุณภาพในระดับที่นาพึงพอใจ เพื่อรองรับการประเมิน ภายนอกจาก สมศ. ตลอดเวลา คูม อื ครู


ASEAN การเรียนรูสูประชาคมอาเซียน เพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรูบูรณาการอาเซียนศึกษา ผูจัดทําไดวิเคราะห มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดที่มีสาระการเรียนรูสอดคลองกับองคความรูเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนในแงมุมตางๆ ครอบคลุมทัง้ ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน เพื่อสงเสริมการเรียนรูใหผูเรียนเกิดความตระหนัก มีความรูความเขาใจเหมาะสมกับระดับชั้นและกลุมสาระ การเรียนรู โดยเสนอแนะวิธีการจัดกิจกรรมบูรณาการเนื้อหาสาระตางๆ ที่เปนประโยชนตอผูเรียนและเปนการชวย เตรียมความพรอมผูเรียนทุกคนที่จะกาวเขาสูการเปนสมาชิกของประชาคมอาเซียนไดอยางมั่นใจตามขอตกลงปฏิญญา ชะอํา-หัวหิน วาดวยความรวมมือดานการศึกษาเพื่อบรรลุเปาหมายประชาคมอาเซียนที่เอื้ออาทรและแบงปน จึงกําหนด เปนนโยบายใหกระทรวงศึกษาธิการจัดการเรียนรูเตรียมความพรอมผูเรียนเขาสูประชาคมอาเซียนภายในป พ.ศ. 2558 ตามแนวปฏิบัติที่สําคัญ ดังนี้

เสร�ม

7

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน 1. การสรางความรูความเขาใจ และตระหนักถึงความสําคัญของ กฎบัตรอาเซียน และความรวมมือ ของ 3 เสาหลัก ซึง่ กฎบัตรอาเซียน ในขณะนี้มีสถานะเปนกฎหมายที่ ประเทศสมาชิกจะตองปฏิบัติตาม หลักการที่กําหนดไวเพื่อใหบรรลุ เปาหมายของกฎบัตรมาตราตางๆ

2. การสงเสริมหลักการ ประชาธิปไตยและการสราง สิ่งแวดลอมประชาธิปไตย เพื่อการอยูรวมกันอยางกลมกลืน ภายใตวิถีชีวิตอาเซียนที่มีความ หลากหลายดานสังคมและ วัฒนธรรม

4. การตระหนักในคุณคาของ สายสัมพันธทางประวัติศาสตร และมรดกทางวัฒนธรรมที่มี พัฒนาการรวมกัน เพื่อเชื่อม อัตลักษณและสรางจิตสํานึก ในการเปนประชากรของประชาคม อาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการศึกษาดาน สิทธิมนุษยชน เพื่อสรางประชาคม อาเซียนใหเปนประชาคมเพื่อ ประชาชนอยางแทจริง สามารถ อยูรวมกันไดบนพื้นฐานการเคารพ ในคุณคาของศักดิ์ศรีแหงความ เปนมนุษยเทาเทียมกัน

5. การสงเสริมสันติภาพ ความ มั่นคง และความปรองดองในสังคม ทั้งระดับประเทศและภูมิภาคของ อาเซียนบนพื้นฐานสันติวิธีและ การอยูรวมกันดวยขันติธรรม

คูม อื ครู


การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

เสร�ม

8

1. การพัฒนาทักษะการทํางาน เพื่อเสริมสรางผูเรียนใหมีทักษะ วิชาชีพที่จําเปนสอดคลองกับ ความตองการของตลาดแรงงาน และสถานประกอบการในอาเซียน สามารถเทียบโอนผลการเรียน และการทํางานตามมาตรฐานฝมือ แรงงานในภูมิภาคอาเซียน

2. การเสริมสรางวินัย ความรับผิดชอบ และเจตคติรักการทํางาน สามารถพึ่งพาตนเอง มีทักษะชีวิต ดํารงชีวิตอยางมีความสุข เห็นคุณคา และภูมิใจในตนเอง ในฐานะที่เปนพลเมืองไทยและ อาเซียน

3. การเรียนรูเพื่อพัฒนาตนเอง อยางตอเนื่องตลอดชีวิต ใหมี ทักษะการทํางานตามมาตรฐาน อาชีพ และคุณวุฒิของวิชาชีพสาขา ตางๆ เพื่อรองรับการเตรียมเคลื่อน ยายแรงงานมีฝมือและการเปน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่ เขมแข็ง เพื่อสรางขีดความสามารถ ในการแขงขันในเวทีโลก

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 1. การเสริมสรางความรวมมือ ในลักษณะสังคมที่เอื้ออาทร ของประชากรอาเซียน โดยยึด หลักการสําคัญ คือ ความงดงาม ของประชาคมอาเซียนมาจาก ความแตกตางและหลากหลายทาง วัฒนธรรมที่ลวนแตมีคุณคาตอ มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน ซึ่งประชาชนทุกคนตองอนุรักษ สืบสานใหยั่งยืน

2. การเสริมสรางคุณลักษณะ ของผูเรียนใหเปนพลเมืองอาเซียน ที่มีศักยภาพในการกาวเขาสู ประชาคมอาเซียนอยางมั่นใจ เปนผูที่มีสุขภาพสมบูรณแข็งแรง มีทักษะการสื่อสาร ทักษะการ ทํางาน ทักษะทางสังคม สามารถ ทํางานรวมกับผูอื่นไดอยาง สรางสรรค และมีองคความรู เกี่ยวกับอาเซียนที่จําเปนตอการ ดํารงชีวิตอยางมีคุณภาพ

4. การสงเสริมการเรียนรูดาน ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี วิถชี วี ติ ความเปนอยูข องเพือ่ นบาน ในอาเซียน เพื่อสรางจิตสํานึกของ ความเปนประชาคมอาเซียนและ ตระหนักถึงหนาที่ของการเปน พลเมืองอาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการเรียนรูภาษา อังกฤษเพื่อการสื่อสารและการ ทํางานตามมาตรฐานอาชีพที่ กําหนดและสนับสนุนการเรียนรู ภาษาอาเซียนและภาษาเพื่อนบาน เพื่อชวยเสริมสรางสัมพันธภาพทาง สังคม และการอยูรวมกันอยางสันติ ทามกลางความหลากหลายทาง วัฒนธรรม

5. การสรางความรูและความ ตระหนักเกี่ยวกับดานสิ่งแวดลอม ปญหาและผลกระทบตอคุณภาพ ชีวิตของประชากรในภูมิภาค รวมทั้งแนวทางการพัฒนาอยาง ยั่งยืน ใหเปนมรดกสืบทอดแก พลเมืองอาเซียนในรุนหลังตอๆ ไป

กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศนโยบายการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) เพื่อเรงพัฒนาเด็ก และเยาวชนไทยใหเปนทรัพยากรมนุษยของชาติที่มีทักษะและความชํานาญ พรอมเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงและ การแขงขันทั้งในภูมิภาคอาเซียนและภูมิภาคอื่นๆ ของสังคมโลก ทั้งนี้ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และผูปกครอง ควรรวมมือกันอยางใกลชิดในการดูแลชวยเหลือผูเรียนและจัดประสบการณการเรียนรูเพื่อพัฒนาผูเรียนจนเต็มศักยภาพ เพื่อกาวเขาสูการเปนพลเมืองอาเซียนอยางมีเกียรติภูมิและศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของตน คณะผูจัดทํา คูม อื ครู


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 1

การงานอาชีพฯ (เฉพาะชั้น ป.5)*

การดํารงชีวิตและครอบครัว

มาตรฐาน ง 1.1 เขาใจการทํางาน มีความคิดสรางสรรค มีทกั ษะกระบวนการทํางาน ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการ แกปญหา ทักษะการทํางานรวมกัน และทักษะการแสวงหาความรู มีคุณธรรม และลักษณะนิสัยในการ ทํางาน มีจิตสํานึกในการใชพลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดลอม เพื่อการดํารงชีวิตและครอบครัว ชั้น

ตัวชี้วัด

ป.5 1. อธิบายเหตุผลในการทํางาน แตละขั้นตอนถูกตองตาม กระบวนการทํางาน

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• ขั้นตอนการทํางาน เปนสวนหนึ่งของการปฏิบัติ • หนวยการเรียนรูที่ 1 งานตามกระบวนการทํางาน โดยทําตามลําดับ งานบาน ขั้นตอนที่วางไว เชน บทที่ 2 เสื้อผาของฉัน - การซอมแซม ซัก ตาก เก็บ รีด พับเสื้อผา • หนวยการเรียนรูที่ 2 - การปลูกพืช งานเกษตรคูบาน - การทําบัญชีครัวเรือน บทที่ 1 พื้นฐานงานเกษตร บทที่ 2 พืชผักสวนครัว • หนวยการเรียนรูที่ 4 งานธุรกิจ และการประกอบอาชีพ บทที่ 1 รูจักงานธุรกิจ

2. ใชทักษะการจัดการในการทํางาน อยางเปนระบบ ประณีต และมี ความคิดสรางสรรค

• ทักษะการจัดการเปนการจัดระบบงาน และ ระบบคน เพื่อใหทํางานสําเร็จตามเปาหมาย อยางมีประสิทธิภาพ เชน - การจัดโตะอาหาร ตูเย็น และหองครัว - การทําความสะอาดหองนํ้าและหองสวม - การซอมแซมอุปกรณของใชในบาน - การประดิษฐของใช ของตกแตงจากวัสดุ เหลือใชที่มีอยูในทองถิ่น - การจัดเก็บเอกสารสําคัญ - การดูแลรักษาและใชสมบัติสวนตัว - ความคิดสรางสรรคมี 4 ลักษณะ ประกอบดวย ความคิดริเริ่ม ความคลอง ในการคิด และความยืดหยุนในการคิด และความคิดละเอียดลออ - ความประณีตเปนลักษณะนิสัยในการทํางาน

• หนวยการเรียนรูที่ 1 งานบาน บทที่ 1 บานงามตา • หนวยการเรียนรูที่ 3 ชํานาญการงานชาง งานประดิษฐ บทที่ 1 ความรูพื้นฐานงานชาง บทที่ 2 เทคโนโลยีกับงานประดิษฐ • หนวยการเรียนรูที่ 4 งานธุรกิจ และการประกอบอาชีพ บทที่ 1 รูจักงานธุรกิจ

3. ปฏิบัติตนอยางมีมารยาท ในการทํางานกับสมาชิก ในครอบครัว

• มารยาทในการทํางานกับสมาชิกในครอบครัว

• หนวยการเรียนรูท ี่ 1 งานบาน บทที่ 1 บานงามตา

4. มีจิตสํานึกในการใชพลังงาน และทรัพยากรอยางประหยัด และคุมคา

• การมีจิตสํานึกในการใชพลังงานและทรัพยากร อยางประหยัดและคุมคา เปนคุณธรรมในการ ทํางาน

• หนวยการเรียนรูท ี่ 1 งานบาน บทที่ 1 บานงามตา บทที่ 2 เสื้อผาของฉัน • หนวยการเรียนรูท ี่ 2 งานเกษตรคูบ า น บทที่ 2 พืชผักสวนครัว • หนวยการเรียนรูท ี่ 3 ชํานาญการงานชาง งานประดิษฐ บทที่ 1 ความรูพื้นฐานงานชาง บทที่ 2 เทคโนโลยีกับงานประดิษฐ

เสร�ม

9

* สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี. (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 6 - 30. คูม อื ครู


สาระที่ 2

การออกแบบและเทคโนโลยี

มาตรฐาน ง 2.1 เขาใจเทคโนโลยีและกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสรางสิ่งของเครื่องใชหรือวิธีการ ตามกระบวนการเทคโนโลยีอยางมีความคิดสรางสรรค เลือกใชเทคโนโลยีในทางสรางสรรคตอชีวิต สังคม สิ่งแวดลอม และมีสวนรวมในการจัดการเทคโนโลยีที่ยั่งยืน ชั้น

เสร�ม

10

ตัวชี้วัด

ป.5 1. อธิบายความหมายและวิวัฒนาการ ของเทคโนโลยี

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• ความหมายของเทคโนโลยี คือ การนําความรู • หนวยการเรียนรูท ี่ 3 ทักษะ และทรัพยากรมาสรางสิ่งของเครื่องใช ชํานาญการงานชาง งานประดิษฐ ผลิตภัณฑหรือวิธีการ โดยผานกระบวนการ บทที่ 2 เทคโนโลยีกบั งานประดิษฐ เพื่อแกปญหา สนองความตองการหรือเพิ่ม ความสามารถในการทํางานของมนุษย • เทคโนโลยีมีที่มาที่แตกตางกันและมีการพัฒนา เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เรียกวา วิวัฒนาการ การศึกษาวิวัฒนาการเพื่อใชเปนแนวทางในการ พัฒนา

2. สรางสิ่งของเครื่องใชตามความสนใจ • การสรางสิ่งของเครื่องใชอยางเปนขั้นตอน ตั้งแต • หนวยการเรียนรูท ี่ 3 อยางปลอดภัย โดยกําหนดปญหา กําหนดปญหาหรือความตองการ รวบรวมขอมูล ชํานาญการงานชาง งานประดิษฐ หรือความตองการ รวบรวมขอมูล เลือกวิธีการ ออกแบบโดยถายทอดความคิดเปน บทที่ 1 ความรูพ นื้ ฐานงานชาง เลือกวิธีการ ออกแบบโดยถายทอด ภาพราง 3 มิติ กอนลงมือสราง และประเมินผล ความคิดเปนภาพราง 3 มิติ ลงมือ ทําใหผูเรียนทํางานอยางเปนกระบวนการ สราง และประเมินผล • ภาพราง 3 มิติหรือภาพสวนหนึ่งของ 3 มิติ ประกอบดวย ดานกวาง ดานยาว และดานสูง เปนการถายทอดความคิดหรือจินตนาการ 3. นําความรูและทักษะการสรางชิ้น งานไปประยุกตในการสรางสิ่งของ เครื่องใช

• ความรูที่ใชในการสรางชิ้นงานตองอาศัยความรู • หนวยการเรียนรูท ี่ 3 ที่เกี่ยวของกับชิ้นงานอื่นอีก เชน กลไกและการ ชํานาญการงานชาง งานประดิษฐ ควบคุมไฟฟา - อิเล็กทรอนิกส บทที่ 1 ความรูพ นื้ ฐานงานชาง • ทักษะการสรางชิ้นงาน เปนการฝกฝนในการใช อุปกรณ เครื่องมือ สรางชิ้นงาน จนสามารถ ปฏิบัติงานไดอยางคลองแคลว รวดเร็ว และถูกตองตามแบบที่กําหนด เชน ทักษะ การวัดขนาด การทําเครื่องหมาย

4. มีความคิดสรางสรรคอยางนอย 2 ลักษณะ ในการแกปญหา หรือสนองความตองการ

• ความคิดสรางสรรค มี 4 ลักษณะ ประกอบดวย ความคิดริเริม่ ความคลองในการคิด ความยืดหยุน ในการคิด และความคิดละเอียดลออ

5. เลือกใชเทคโนโลยีในชีวิตประจําวัน • การเลือกใชเทคโนโลยีอยางสรางสรรค อยางสรางสรรคตอชีวิต สังคม โดยหมุนเวียนกลับมาใชใหมทางพลังงาน เรียกวา พลังงานหมุนเวียน และมีการจัดการสิ่งของเครื่องใช • การจัดการสิง่ ของเครื่องใชดวยการแปรรูปแลว ดวยการแปรรูปแลวนํากลับมา นํากลับมาใชใหมเปนสวนหนึ่งของเทคโนโลยี ใชใหม สะอาด

คูม อื ครู

• หนวยการเรียนรูท ี่ 3 ชํานาญการงานชาง งานประดิษฐ บทที่ 2 เทคโนโลยีกบั งานประดิษฐ


สาระที่ 3

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

มาตรฐาน ง 3.1 เขาใจ เห็นคุณคา และใชกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบคนขอมูล การเรียนรู การสื่อสาร การแกปญหา การทํางาน และอาชีพอยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีคุณธรรม ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

ป.5 1. คนหา รวบรวมขอมูลที่สนใจ และ • การดําเนินการเพื่อใหไดขอมูลตามวัตถุประสงค • หนวยการเรียนรูท ี่ 5 เปนประโยชนจากแหลงขอมูลตางๆ มีขั้นตอน ดังนี้ ขอมูลขาวสาร และการใชเทคโนโลยี ที่เชื่อถือไดตรงตามวัตถุประสงค - กําหนดวัตถุประสงคและความตองการของ บทที่ 1 ขอมูลสารสนเทศ สิ่งที่สนใจเพื่อกําหนดขอมูลที่ตองการคนหา - วางแผนและพิจารณาเลือกแหลงขอมูลที่มี ความนาเชื่อถือ - กําหนดหัวขอของขอมูลที่ตองการคนหา เตรียมอุปกรณที่ตองใชในการคนหา บันทึก และเก็บขอมูล - คนหาและรวบรวมขอมูล - พิจารณา เปรียบเทียบ ตัดสินใจ - สรุปผลและจัดทํารายงาน โดยมีการอางอิง แหลงขอมูล - เก็บรักษาขอมูลใหพรอมใชงานตอไป 2. สรางงานเอกสารเพื่อใชประโยชนใน • การใชซอฟตแวรประมวลคําขั้นพื้นฐาน เชน ชีวิตประจําวันดวยความรับผิดชอบ การสรางเอกสารใหม การตกแตงเอกสาร การบันทึกงานเอกสาร • การสรางงานเอกสาร เชน บัตรอวยพร ใบประกาศ รายงาน โดยมีการอางอิง แหลงขอมูล ใชคําสุภาพ และไมกอใหเกิด ความเสียหายตอผูอื่น

สาระที่ 4

เสร�ม

11

• หนวยการเรียนรูท ี่ 5 ขอมูลขาวสาร และการใชเทคโนโลยี บทที่ 2 การใชคอมพิวเตอร

การอาชีพ

มาตรฐาน ง 4.1 เขาใจ มีทักษะที่จําเปน มีประสบการณ เห็นแนวทางในงานอาชีพ ใชเทคโนโลยี เพื่อพัฒนาอาชีพ มีคุณธรรม และมีเจตคติที่ดีตออาชีพ ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ป.5 1. สํารวจขอมูลที่เกี่ยวกับอาชีพตางๆ ในชุมชน

• อาชีพตางๆ ในชุมชน - คาขาย - เกษตรกรรม - รับจาง - รับราชการ พนักงานของรัฐ - อาชีพอิสระ

2. ระบุความแตกตางของอาชีพ

• ความแตกตางของอาชีพ - รายได - ลักษณะงาน - ประเภทกิจการ • ขอควรคํานึงเกี่ยวกับอาชีพ - ทํางานไมเปนเวลา - การยอมรับนับถือจากสังคม - มีความเสี่ยงตอชีวิตสูง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• หนวยการเรียนรูท ี่ 4 งานธุรกิจ และการประกอบอาชีพ บทที่ 2 การประกอบอาชีพ

คูม อื ครู


คําอธิบายรายวิชา รายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปที่ 5 รหัสวิชา ง…………………………………

เสร�ม

12

กลุมสาระการเรียนรู การงานอาชีพและเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 1-2 เวลา 80 ชั่วโมง/ป

ศึกษา วิเคราะห อธิบายเหตุผลในการทํางานแตละขั้นตอนถูกตองตามกระบวนการทํางาน ใชทักษะ การจัดการในการทํางานอยางเปนระบบ ประณีต และมีความคิดสรางสรรค ปฏิบัติตนอยางมีมารยาทในการ ทํางานกับสมาชิกในครอบครัว มีจิตสํานึกในการใชพลังงานและทรัพยากรอยางประหยัดและคุมคา อธิบายความหมายและวิวัฒนาการของเทคโนโลยี สรางสิ่งของเครื่องใชตามความสนใจอยางปลอดภัย โดยกําหนดปญหาหรือความตองการ รวบรวมขอมูล เลือกวิธีการ ออกแบบโดยการถายทอดความคิดเปน ภาพราง 3 มิติ ลงมือสรางและประเมินผล นําความรูและทักษะการสรางชิ้นงานไปประยุกตในการสราง สิ่งของเครื่องใช มีความคิดสรางสรรคอยางนอย 2 ลักษณะ ในการแกปญหาหรือสนองความตองการ เลือกใชเทคโนโลยีในชีวิตประจําวันอยางสรางสรรคตอชีวิต สังคม และมีการจัดการสิ่งของเครื่องใชดวยการ แปรรูปแลวนํากลับมาใชใหม สํารวจ คนหา รวบรวมขอมูลที่สนใจ และเปนประโยชนจากแหลงขอมูลตางๆ ที่เชื่อถือไดตรงตาม วัตถุประสงค สรางงานเอกสารเพื่อใชประโยชนในชีวิตประจําวันดวยความรับผิดชอบ ขอมูลที่เกี่ยวกับอาชีพ ตางๆ ในชุมชน ระบุความแตกตางของอาชีพ โดยใชกระบวนการการทํางาน กระบวนการปฏิบตั ิ กระบวนการคิดวิเคราะห และกระบวนการทํางานกลุม เพื่อใหเกิดความรู ความเขาใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรูและเห็นคุณคาของการทํางาน และนําความรู ที่เรียนไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน มีความสามารถในการตัดสินใจ มีจริยธรรม คุณธรรม และคานิยม ที่เหมาะสม และมีจิตสํานึกในการอนุรักษสิ่งแวดลอม ตัวชี้วัด ง 1.1 ง 2.1 ง 3.1 ง 4.1

ป.5/1 ป.5/1 ป.5/1 ป.5/1

ป.5/2 ป.5/2 ป.5/2 ป.5/2

ป.5/3 ป.5/3

รวม 13 ตัวชี้วัด

คูม อื ครู

ป.5/4 ป.5/4

ป.5/5


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹

¡ÒçҹÍÒªÕ¾áÅÐà·¤â¹âÅÂÕ ».õ ªÑé¹»ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè õ

¡ÅØ‹ÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ¡ÒçҹÍÒªÕ¾áÅÐà·¤â¹âÅÂÕ µÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ

¼ÙŒàÃÕºàÃÕ§ ¹Ò§ÍѨ©ÃÒ ¹Ò¤àÁ¸Õ ¹Ò§ÊÔÃÔÃѵ¹ ¨Õ¹ã¨µÃ§ ¹Ò»Ãоѹ¸ àËÁÒ¤Á ¼ÙŒµÃǨ

¹Ò§Êؤ¹¸ ÂÅ»ÃÐÊÒ¹ ¹Ò§¹ÔÀÒ ºØÞÂÐÃѵ¹ ¹Ò§ÊÒÇÇÕÃÐÇÃó ÇÕÃо§É

ºÃóҸԡÒà ¹ÒÂÊÒÂѹµ ¢Ñ¹¸¹ÔÂÁ

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè ù

ʧǹÅÔ¢ÊÔ·¸ÔìµÒÁ¾ÃÐÃÒªºÑÞÞÑµÔ ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ ñõñ÷ððò

¤Œ¹¤ÇÒÁÃÙŒ¢ÂÒ¤ÇÒÁ¤Ô´¨Ò¡

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè ò ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ ñõô÷ðô÷

EB GUIDE

ที่พิมพกํากับหัวขอสําคัญในหนังสือเรียนหลักสูตรใหม ชั้น ป.๔ ขึ้นไป ผาน www.aksorn.com ไปยังแหลงความรูทั่วไทย-ทั่วโลก

( ดูแผนผังความคิดฯ ไดทปี่ กหลังดานใน)


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

คํานํา

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ¡ÒçҹÍÒªÕ¾áÅÐà·¤â¹âÅÂÕ ».õ àÅ‹Á¹Õé ¨Ñ´·íÒ¢Öé¹ÊíÒËÃѺ 㪌»ÃСͺ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ªÑé¹»ÃжÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè õ â´Â´íÒà¹Ô¹¡ÒèѴ·íÒãËŒÊÍ´¤ÅŒÍ§ µÒÁ¡Ãͺ¢Í§ËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñ¹é ¾×¹é °Ò¹ ¾.È. òõõñ ·Ø¡»ÃСÒà ʋ§àÊÃÔÁ ¡Ãкǹ¡ÒäԴ ¡ÒÃÊ׺àÊÒÐËÒ¤ÇÒÁÃÙŒ ¡ÒÃá¡Œ»Þ ˜ ËÒ ¤ÇÒÁÊÒÁÒö㹡ÒÃÊ×Íè ÊÒà ¡Òà µÑ´ÊԹ㨠¡ÒùíÒä»ãªŒã¹ªÕÇµÔ Ê‹§àÊÃÔÁãËŒ¼àÙŒ ÃÕ¹·íҧҹ͋ҧÁÕ·¡Ñ ÉСÃкǹ¡Ò÷íÒ§Ò¹ ÁÕ·¡Ñ ÉÐ㹡Ò÷íҧҹËÇÁ¡Ñº¼ÙÍŒ ¹×è ÁÕ¨µÔ Êíҹ֡㹡ÒÃ͹ØÃ¡Ñ É Ê§Ôè áÇ´ÅŒÍÁ ÁÕ·¡Ñ ÉСÒÃ㪌 ¤ÍÁ¾ÔÇàµÍà ÊÌҧ§Ò¹àÍ¡ÊÒà áÅЪÔ鹧ҹÍ‹ҧÁÕ¨ÔµÊíÒ¹Ö¡áÅÐÃѺ¼Ô´ªÍº ¡ÒÃࢌÒ㨠áÅÐÁÕ·Ñ¡ÉСÒ䌹ËÒ¢ŒÍÁÙÅÍ‹ҧÁÕ¢Ñ鹵͹ ÃÙŒáÅÐࢌÒã¨à¡ÕèÂǡѺ¤ÇÒÁÊíÒ¤ÑޢͧÍÒªÕ¾ ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ¡ÒçҹÍÒªÕ¾áÅÐà·¤â¹âÅÂÕ ».õ àÅ‹Á¹Õé ÁÕ·§Ñé ËÁ´ õ ˹‹Ç ã¹áµ‹ÅÐ˹‹ÇÂẋ§à»š¹º·Â‹ÍÂæ «Ö觻ÃСͺ´ŒÇ ñ. ໇ÒËÁÒ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙ»Œ ÃШíÒ˹‹Ç ¡íÒ˹´ÃдѺ¤ÇÒÁÃÙŒ ¤ÇÒÁÊÒÁÒö ¢Í§¼ÙàŒ ÃÕ¹NjÒàÁ×Íè àÃÕ¹¨ºã¹áµ‹ÅÐ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ µŒÍ§ºÃÃÅØÁҵðҹµÑǪÕÇé ´Ñ ·Õ¡è Òí ˹´ äÇŒã¹ËÅÑ¡ÊٵâŒÍã´ºŒÒ§ ò. ÊÒÃÐÊíÒ¤ÑÞ á¡‹¹¤ÇÒÁÃÙŒ·Õè໚¹¤ÇÒÁÃÙŒ¤ÇÒÁࢌÒ㨤§·¹µÔ´µÑǼٌàÃÕ¹ ó. à¹×éÍËÒ ¤ÃºµÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾.È. òõõñ ¹íÒàʹÍàËÁÒÐÊÁ¡Ñº¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ã¹áµ‹ÅÐÃдѺªÑé¹ ô. ¡Ô¨¡ÃÃÁ ÁÕËÅÒ¡ËÅÒÂÃٻẺãËŒ¹Ñ¡àÃÕ¹»¯ÔºÑµÔ ẋ§à»š¹ (ñ) ¡Ô¨¡ÃÃÁ¹íÒÊ‹Ù¡ÒÃàÃÕ¹ ¹íÒࢌÒÊ‹Ùº·àÃÕ¹à¾×èÍ¡Ãе،¹¤ÇÒÁʹ㨠ᡋ¼ÙŒàÃÕ¹ (ò) ¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ÁͺËÁÒÂãËŒ¹Ñ¡àÃÕ¹½ƒ¡»¯ÔºÑµÔà¾×è;Ѳ¹Ò ¤ÇÒÁÃÙŒ áÅзѡÉлÃШíÒ˹‹Ç ¤³Ð¼ÙŒ ¨Ñ ´ ·í Ò ËÇÑ § ໚ ¹ Í‹ Ò §ÂÔè § Ç‹ Ò Ë¹Ñ § Ê× Í àÃÕ Â ¹ ¡ÒçҹÍÒªÕ ¾ áÅÐ à·¤â¹âÅÂÕ ».õ àÅ‹Á¹Õé ¨Ð໚¹Ê×èÍ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹·ÕèÍíҹǻÃÐ⪹ µ‹Í¡ÒÃàÃÕ¹ ¡ÒçҹÍÒªÕ¾áÅÐà·¤â¹âÅÂÕ à¾×èÍãËŒÊÑÁÄ·¸Ô¼ÅµÒÁÁҵðҹµÑǪÕéÇÑ´·Õè¡íÒ˹´änj㹠ËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾.È. òõõñ ·Ø¡»ÃСÒà ¤³Ð¼ÙŒ¨Ñ´·íÒ


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

คําชี้แจงในการใชสื่อ ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ¡ÒçҹÍÒªÕ¾áÅÐà·¤â¹âÅÂÕ ».õ àÅ‹Á¹Õé ÀÒÂã¹àÅ‹Á¹íÒàÊ¹Í ¡ÒèѴ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹໚¹Ë¹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ¤Ãº¶ŒÇ¹µÒÁÁҵðҹµÑǪÕéÇÑ´ªÑé¹»‚ áÅÐÊÒÃСÒÃàÃÕ¹Ãٌ᡹¡ÅÒ§ â´Â์¹¡ÒÃÍ͡Ẻ¡Ô¨¡ÃÃÁãËŒÊÑÁ¾Ñ¹¸ ¡Ñº¸ÃÃÁªÒµÔ ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ¢Í§áµ‹ÅСÅØ‹ÁÊÒÃÐ áÅФÇÒÁʹ㨢ͧ¼ÙŒàÃÕ¹ᵋÅФ¹ เปาหมายการเรียนรู

สาระสําคัญ

กําหนดระดับความรูความสามารถ ของผูเรียนเมื่อเรียนจบหนวย

แกนความรูที่เปนความเขาใจคงทน ติดตัวผูเรียน

ñ

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

§Ò¹ºŒÒ¹¹‹ÒÃÙŒ

º··Õè

ñ

บานงามตา

เปาหมายการเรียนรูประจําหนวยที่ ๑

¡Ô¨¡ÃÃÁ¹ÓÊÙ‹¡ÒÃàÃÕ¹

เมื่อเรียนจบหนวยนี้ ผูเรียนจะมีความรูความสามารถตอไปนี้ ๑. ทําความสะอาดบริเวณบาน หองครัว และหองนํ้าไดอยาง เหมาะสม โดยใชทักษะการจัดการในการทํางาน (มฐ. ง ๑.๑ ป.๕/๒, ป.๕/๔) ๒. ทํางานรวมกับผูอื่นอยางมีมารยาทในการทํางาน (มฐ. ง ๑.๑ ป.๕/๓) ๓. ดูแลรักษาเสื้อผาถูกตองตามลําดับขั้นตอน (มฐ. ง ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๔) ๕. ซอมแซมเสื้อผาไดอยางเหมาะสม (มฐ. ง ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๔)

สาระสําคัญ การดูแลรักษาบาน และการทํางานบาน ควรมีทักษะ การจัดการในการทํางานอยางเปนขั้นตอน และทํางาน รวมกับผูอ นื่ อยางมีมารยาทเพือ่ ใหทาํ งานไดอยางสะดวก และงานสําเร็จตามเปาหมายที่ตั้งไว

? ¨Ò¡ÀÒ¾ ãËŒ¹Ñ¡àÃÕ¹ËÇÁ¡Ñ¹ºÍ¡¢Ñ鹵͹ ¡Ò÷íÒ¤ÇÒÁÊÐÍҴˌͧ¹Õé

¡Ô¨¡ÃÃÁ¹ÓÊÙ‹¡ÒÃàÃÕ¹ นําเขาสูบ ทเรียนใชกระตุน ความสนใจ และวัดประเมินผลกอนเรียน


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

อธิบายความรู

Explore

ขยายความเขาใจ

Explain

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ

เนือ้ หา

ครบตามหลักสูตรแกนกลางฯ พ.ศ. ๒๕๕๑ นําเสนอเหมาะสมกับการเรียนการสอนใน แตละระดับชั้น

ñ

มอบหมายใหผูเรียนฝกปฏิบัติ เพื่อพัฒนาความรูและทักษะประจําหนวย

¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ò

¡ÒôÙáÅÃÑ¡ÉÒàÊ×éͼŒÒ

เสือ้ ผาเปนปจจัยสีท่ มี่ คี วามจําเปนในการดํารงชีวติ ของคนเรา นอกเหนือ ไปจากที่อยูอาศัย อาหาร และยารักษาโรค ซึ่งเสื้อผามีประโยชน คือ ใชปกปด รางกาย ใชปองกันความรอนความหนาวของอากาศ ชวยปองกันเชื้อโรคไมให เขาสูรางกายไดงาย และใหความสวยงามแกผูสวมใส

๑. เขียนบอกวิธีการซอมแซมเสื้อผาจากลักษณะการชํารุดตามที่กําหนด ๑) ชายกางเกงลุย ๒) เสื้อนักเรียนถูกตะปูเกี่ยวขาดเปนทางยาว ๓) ตะขอกระโปรงหลุด

๑. หลักการซักผา

การซักผาเปนการทําความสะอาดเสื้อผา สามารถทําได ๒ วิธี ดังนี้ ๑) การซักผาดวยมือ อุปกรณ กะละมัง ตะกราผา แปรงซักผา ผงซักฟอก ขั้นตอนการซักผาดวยมือ

๒. ดูภาพแลวตอบคําถาม

๑) การชํารุดของผาชิ้นนี้มีลักษณะอยางไร ๒) วิธีใดที่ใชซอมแซมผาชิ้นนี้ ๓) ขั้นตอนในการซอมแซมควรปฏิบัติอยางไร

ใหแยกผาขาวออกจากผาสี

๓. นําเสื้อผาที่ชํารุดของตนเองมาฝกซอมแซมตามสภาพชํารุดคนละ ๑ วิธี แลวเขียน บันทึกขอมูลลงในสมุด จากนั้นออกมานําเสนอผลงานที่หนาชั้น • ลักษณะเสื้อผาที่ชํารุด • สาเหตุที่ทําใหเสื้อผาชํารุด • วิธีการที่เลือกซอมแซมเสื้อผาที่ชํารุด • ขั้นตอนการซอมแซม

แชเสือ้ ผาในนํา้ สะอาดประมาณ ๒ ๑๐ นาที แลวขยี้ฝุนละอองออกจากเสื้อผา ¡‹Í¹¡Òëѡ¼ŒÒ ¤ÇÃÊíÒÃǨàÊ×éͼŒÒ â´ÂµÃǨ¡ÃÐ້ÒàÊ×éÍ áÅСҧࡧ¡‹Í¹ ¶ŒÒ¾ºÊÔ觢ͧ ãËŒ¹íÒÍÍ¡ÁÒ ¶ŒÒËÒ¡¾ºÇ‹ÒàÊ×éͼŒÒªíÒÃØ´ ¤Çë‹ÍÁá«Á¡‹Í¹¹íÒ仫ѡ EB GUIDE

¢ÂÒ¤ÇÒÁÃÙŒ ÊÙ¡‹ ÒäԴ

นักเรียนคิดวา การใสเสื้อผาที่ขาดหลุดลุยไปในที่สาธารณะจะเกิดผลอยางไร

http://www.aksorn.com/lib/p/voc_01 (เรื่อง การลบรอยเปอนบนเสื้อผา)

๑๖

๒๘

¢ÂÒ¤ÇÒÁÃÙŒ ÊÙ¡‹ ÒäԴ

คําถามกระตุน เพือ่ ใหผเู รียน ใชทกั ษะการคิด วิเคราะห ตอยอดความรูที่ไดในบทเรียน

EB GUIDE แหลงเรียนรูทางอินเทอรเน็ต

¡Ô¨¡ÃÃÁ

ÊÒÃÐÊíÒ¤ÑÞ ¨´¨íÒäÇŒ ร ั ดก า น ารจ นบา ษ ะ ก ํา ง า ทัก การท ใน

ทั ก ษะการจั ด การ เป น กระบวนการ ในการดําเนินงานอยางเปนระบบ เพื่อให ทํางานตางๆ ไดสะดวก และสําเร็จตาม เปาหมาย ซึ่งมีขั้นตอน ดังนี้ ๑. สํารวจและวิเคราะหงาน ๒. วางแผนการทํางาน ๓. ปฏิบัติงาน และสรุปผลของงานที่ทํา ประโยชนของการใชทักษะการจัดการ ในการทํางานบาน คือ วางแผนในการ ทํางานได ทํางานเสร็จตามเปาหมาย และฝกความรับผิดชอบมีเหตุผลรอบคอบ

รัว  อ งค าดห รัว สะอ  อ ง ค วาม รจัดห า

การ ท แ ล ะ ํา ค ก

บา นงามตา 

น ชกิ ใ สมา การ ว มกบั าํ งานร มารยาทในการท

เสอื้ ผา ของฉนั

การเย็บพื้นฐานเพื่อใชในการซอมแซม เสื้อผา มีดังนี้ การเนา การสอย การดน การซอมแซมเสือ้ ผาทีช่ าํ รุด เชนกระดุม เสือ้ หลุดหรือขาด ชายกระโปรงหรือชาย กางเกงลุย เปนตน

หลักการทําความสะอาดหองครัว และ สิ่งของตางๆ ในหองครัว - ทํ า ความสะอาดอุ ป กรณ ที่ ใ ช ใ นการ ประกอบอาหารและภาชนะใสอาหาร เตา อางลางภาชนะ และจัดตูเย็น หลักในการจัดตกแตงหองครัว ควรจัด วางสิ่งของใหเปนระเบียบ และจัดแยก ตามหมวดหมู เพื่อสะดวกในการหยิบใช งาน และไมทาํ ใหเกิดอันตราย นอกจากนี้ ควรหมั่นทําความสะอาดหองครัวทุกวัน การจั ด โต ะ อาหารควรคํ า นึ ง ถึ ง ความ สะอาด ความเปนระเบียบ และความ สวยงาม

ผา

อื้ ษาเส แู ลรกั การด 

ครอ บคร วั

การซักผา รีดผา และจัดเก็บเสือ้ ผา ควรทําใหถูกวิธี และเหมาะสม ซึ่ง เปนการดูแลรักษาเสือ้ ผาอีกวิธหี นึง่ ทําใหมีเสื้อผาไวใชไดยาวนาน

  

หมั่นทําความสะอาดหองนํ้าอยูเสมอ เพื่ อ ป อ งกั น ไม ใ ห เ ป น แหล ง สะสม เชือ้ โรค ซึง่ ในการทําความสะอาดควร ใชอุปกรณ ใหเหมาะสม และปฏิบัติ ตามขั้นตอนใหถูกตอง

¡Ô¨¡ÃÃÁ

ºÙóҡÒèԵÍÒÊÒ

มีความรับผิดชอบตองานที่ไดรับ ตัง้ ใจ กระตือรือรน ใสใจในการทํางาน ยอมรับในขอผิดพลาด และปรับปรุง แกไขใหดียิ่งขึ้น

กิจกรรม : แบงปนความรู จุดประสงค : เพื่อปลูกฝงใหนักเรียนมีความเอื้อเฟอเผื่อแผใหแกผูอื่น ภาระงาน ๑. สืบคนขอมูลความรูตางๆ ที่นาสนใจและมีประโยชน แลว จัดพิมพเอกสารและใสภาพประกอบใหสวยงาม พรอมทั้ง ระบุแหลงที่มาของขอมูล ๒. นําผลงานของนักเรียนทุกคนมารวมกัน แลวเย็บเลมให เรียบรอย จากนั้นนําไปเผยแพรใหนักเรียนคนอื่นไดทราบ โดยอาจนําไปไวที่หองสมุด

µÃǨÊͺµ¹àͧ ใหนักเรียนสํารวจตนเองวา เมื่อเรียนจบหนวยน�้แลวปฏิบัติสิ�งตางๆ เหลาน�้ไดหรือไม ❏ มีทักษะการจัดการในการทํางานบาน ❏ บอกวิธีและทําความสะอาดหองครัวและสิ่งของตางๆ ในหองครัวได ❏ บอกวิธี และจัดตกแตงหองครัวได ❏ บอกวิธี และทําความสะอาดหองนํ้าได ❏ มีมารยาทในการทํางานรวมกับสมาชิกในครอบครัว ❏ บอกวิธีการ และซักผา รีดผา จัดเก็บเสื้อผาได ❏ บอกวิธีการ และซอมแซมเสื้อผาได

๒๙

µÃǨÊͺµ¹àͧ เพื่อใหผูเรียนใชตรวจสอบตนเองวา เมื่อจบหนวยแลวไดบรรลุตามเปาหมาย การเรียนรูหรือไม

เพื่อเสริมสรางพฤติกรรมและ ปลู ก ฝ ง ค า นิ ย มตามหลั ก ปรั ช ญา เศรษฐกิจพอเพียง

กิจกรรม : ชางนอยประจําบาน จุดประสงค : รูจักใชชีวิตอยางพอเพียง และฝกนิสัยประหยัด ภาระงาน : สมมุติวาตนเองเปนชาง จากนั้นคอยตรวจสอบ ดูแลรักษา สรางของใช และซอมแซมของใชในบานดวยตนเอง เพือ่ จะได ไมตองซื้อสิ่งของใหม

ทาํ ค วาม สะอา ดหอ ง นาํ้ และหอง สวม

§Ò¹ºŒÒ¹¹‹ÒÃÙŒ

าทีช่ าํ รุด การซอมแซมเสือ้ ผ

ºÙóҡÒÃàÈÃÉ°¡Ô¨¾Íà¾Õ§

¡Ô¨¡ÃÃÁ

ºÙóҡÒÃàÈÃÉ°¡Ô¨¾Íà¾Õ§

๑๒๒

ÊÒÃÐÊíÒ¤ÑÞ ¨´¨íÒäÇŒ เพือ่ สรุปสาระสําคัญประจํา หน ว ยที่ ควรจดจํ า และเป น ประโยชนตอผูเรียน

¡Ô¨¡ÃÃÁ

ºÙóҡÒèԵÍÒÊÒ เพือ่ ปลูกฝงจิตสํานึกในการเสียสละ เพื่อประโยชนสวนรวมเปนกิจนิสัย


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

สารบั ญ ตารางวิเคราะหมาตรฐานการเรียนรู

ห น ว ย การเรียนรูที่

งานบานนารู

งานเกษตรคูบาน

๓๐

ชํานาญการงานชาง งานประดิษฐ

๕๒

งานธุรกิจ และการประกอบอาชีพ

๗๔

ขอมูลขาวสาร และการใชเทคโนโลยี

๙๓

บทที่ ๑ บานงามตา บทที่ ๒ เสื้อผาของฉัน

ห น ว ย การเรียนรูที่

บทที่ ๑ พื้นฐานงานเกษตร บทที่ ๒ พืชผักสวนครัว

ห น ว ย การเรียนรูที่

บทที่ ๑ ความรูพื้นฐานงานชาง บทที่ ๒ เทคโนโลยีกับงานประดิษฐ

ห น ว ย การเรียนรูที่

บทที่ ๑ รูจักงานธุรกิจ บทที่ ๒ การประกอบอาชีพ

ห น ว ย การเรียนรูที่

๒ ๑๕ ๓๑ ๔๑

๕๓ ๖๓

๗๕ ๘๕

บทที่ ๑ ขอมูลสารสนเทศ บทที่ ๒ การใชคอมพิวเตอร

๙๔ ๑๐๑

โครงงานการงานอาชีพฯ กิจกรรมบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง กิจกรรมบูรณาการจิตอาสา บรรณานุกรม

๑๒๑ ๑๒๑ ๑๒๒ ๑๒๒

คนควาขอมูลเพิ�มเติม จากเว็บไซตที่อยูในหนังสือเรียน หนา ๓, ๑๖, ๑๘, ๒๐, ๒๗, ๓๖, ๓๙, EB GUIDE ๔๓, ๔๔, ๕๕, ๗๘, ๗๙, ๘๖, ๙๙, ๑๐๕


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

ตารางวิเคราะห มาตรฐานการเรียนรูแ  ละตัวชีว้ ดั รายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี ป.๕ คําชี้แจง : ใหผสู อนใชตารางน�ต้ รวจสอบวา เน�อ้ หาสาระการเรียนรูใ นหนวยการเรียนรูส อดคลองกับมาตรฐาน การเรียนรูและตัวชี้วัดชั้นปในขอใดบาง

สาระการเรียนรู หน๑วยที่ หน๒วยที่ หน๓วยที่ หน๔วยที่ หน๕วยที่ ตัวชี้วัด ชั้น ป.๕

บทที่

บทที่

บทที่

บทที่

บทที่

๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒ ๑ ๒

สาระที่ ๑ การดํารงชีวิตและครอบครัว มาตรฐาน ง ๑.๑ ๑. อธิบายเหตุผลในการทํางานแตละขั้นตอนถูกตองตามกระบวนการ ✓ ✓ ✓ ✓ ทํางาน ๒. ใชทกั ษะการจัดการในการทํางานอยางเปนระบบ ประณ�ต และมีความ ✓ ✓ ✓ ✓ คิดสรางสรรค ๓. ปฏิบัติตนอยางมีมารยาทในการทํางานกับสมาชิกในครอบครัว ✓ ๔. มีจิตสํานึกในการใชพลังงานและทรัพยากรอยางประหยัด และคุมคา ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ สาระที่ ๒ การออกแบบและเทคโนโลยี มาตรฐาน ง ๒.๑ ✓ ๑. อธิบายความหมายและวิวัฒนาการของเทคโนโลยี ๒. สรางสิง� ของเครือ่ งใชตามสนใจอยางปลอดภัย โดยกําหนดปญหาหรือ ✓ ความตองการ รวบรวมขอมูล เลือกวิธีการ ออกแบบโดยถายทอด ความคิดเปนภาพราง ๓ มิติ ๓. นําความรูและทักษะการสรางชิ้นงานไปประยุกตในการสรางสิ�งของ ✓ เครื่องใช ๔. มีความคิดสรางสรรคอยางนอย ๒ ลักษณะ ในการแกปญ หาหรือสนอง ✓ ความตองการ ๕. เลือกใชเทคโนโลยีในชีวติ ประจําวันอยางสรางสรรคตอ ชีวติ สังคม และ ✓ มีการจัดสิ�งของเครื่องใชดวยการแปรรูปแลวนํากลับมาใชใหม สาระที่ ๓ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาตรฐาน ง ๓.๑ ๑. คนหาขอมูล รวบรวมขอมูลทีส่ นใจ และเปนประโยชนจากแหลงขอมูล ✓ ตางๆ ที่เชื่อถือไดตรงตามวัตถุประสงค ๒. สรางงานเอกสารเพือ่ ใชประโยชนในชีวติ ประจําวันดวยความรับผิดชอบ ✓ สาระที่ ๔ การงานอาชีพ มาตรฐาน ง ๔.๑ ✓ ๑. สํารวจขอมูลที่เกี่ยวกับอาชีพตางๆ ในชุมชน ๒. ระบุความแตกตางของอาชีพ ✓


กระตุน ความสนใจ กระตุEngage นความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุน ความสนใจ

ñ

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

§Ò¹ºŒÒ¹¹‹ÒÃÙŒ เปาหมายการเรียนรูประจําหนวยที่ ๑ เมื่อเรียนจบหนวยนี้ ผูเรียนจะมีความรูความสามารถตอไปนี้ ๑. ทําความสะอาดบริเวณบาน หองครัว และหองนํ้าไดอยาง เหมาะสม โดยใชทักษะการจัดการในการทํางาน (มฐ. ง ๑.๑ ป.๕/๒, ป.๕/๔) ๒. ทํางานรวมกับผูอื่นอยางมีมารยาทในการทํางาน (มฐ. ง ๑.๑ ป.๕/๓) ๓. ดูแลรักษาเสื้อผาถูกตองตามลําดับขั้นตอน (มฐ. ง ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๔) ๔. ซอมแซมเสื้อผาไดอยางเหมาะสม (มฐ. ง ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๔)

Engage

1. ใหนักเรียนดูภาพ หนา 1 แลวครูถามนักเรียน ดังนี้ • เด็กในภาพกําลังทําอะไร และมีประโยชน อยางไร (แนวตอบ เด็กกําลังพับผาใหเปนระเบียบ เรียบรอย ซึ่งถือเปนงานบานอยางหนึ่ง ผาที่ซักทําความสะอาดและตากจนแหงแลว เราควรจะพับและนําไปเก็บไวในตูเสื้อผา ใหเปนระเบียบเรียบรอย เพื่อสะดวกในการ หยิบมาใชไดงาย) 2. ใหนักเรียนชวยกันบอกวา มีงานบานอะไรบาง ที่เด็กในวัยนักเรียนสามารถทําได งานบานนั้น มีวิธีการทําอยางไร (แนวตอบ เชน • กวาดบาน โดยกวาดใหสะอาด ซึ่งควรกวาด จากสวนที่อยูดานในของบาน หรือมุมของ หอง หรือใตโตะ ใตเตียงออกมาดานนอก มากองไวรวมกัน แลวจึงโกยไปทิ้งถังขยะ • ลางจาน ชาม โดยลางทําความสะอาดจาน ชาม หรือภาชนะที่ใชใสอาหารใหสะอาด ผึ่งใหแหง แลวจัดเก็บเขาที่ใหเรียบรอย)

เกร็ดแนะครู ในหนวยการเรียนรูที่ 1 มีเนื้อหา ดังนี้ 1. ทักษะการจัดการในการทํางานบาน 2. การทําความสะอาดหองครัวและการจัดหองครัว 3. การทําความสะอาดหองนํ้าและหองสวม 4. มารยาทในการทํางานรวมกับสมาชิกในครอบครัว 5. การดูแลรักษาเสื้อผา 6. การซอมแซมเสื้อผา

คูมือครู

1


กระตุน ความสนใจ กระตุEngage นความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

เปาหมายการเรียนรู

1. ทําความสะอาดบริเวณบาน หองครัว และหองนํ้าไดอยางเหมาะสม โดยใชทักษะ การจัดการในการทํางาน (ง 1.1 ป.5/2, ป.5/4) 2. ทํางานรวมกับผูอื่นอยางมีมารยาทในการทํางาน (ง 1.1 ป.5/3)

º··Õè

ñ

บานงามตา

สมรรถนะของผูเรียน

¡Ô¨¡ÃÃÁ¹ÓÊÙ‹¡ÒÃàÃÕ¹

1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการแกปญหา 3. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต

สาระสําคัญ การดูแลรักษาบาน และการทํางานบาน ควรมีทักษะ การจัดการในการทํางานอยางเปนขั้นตอน และทํางาน รวมกับผูอ นื่ อยางมีมารยาทเพือ่ ใหทาํ งานไดอยางสะดวก และงานสําเร็จตามเปาหมายที่ตั้งไว

คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. มีวินัย รับผิดชอบ 2. ใฝเรียนรู 3. มุงมัน่ ในการทํางาน

กระตุน ความสนใจ

Engage

ใหนักเรียนดูภาพ หนา 2 แลวครูถามนักเรียน ดังนี้ • หองนี้คือหองอะไร และใชทําอะไร (ตอบ หองครัว ใชประกอบอาหารตางๆ) • นักเรียนมีวิธีดูแลและทําความสะอาดหองนี้ อยางไรบาง (แนวตอบ • จัดวางสิ่งของตางๆ ใหเปนระเบียบ • ลางทําความสะอาด และจัดเก็บอุปกรณ ที่ใชในการปรุงอาหาร เมื่อใชงานเสร็จ • เช็ดทําความสะอาดเตาแกสทุกครั้ง หลังจากปรุงอาหาร โดยทําเมื่อเตาแกส คลายความรอนแลว กวาดและถูพื้น หองครัว และนําขยะไปทิ้งทุกวัน)

? ¨Ò¡ÀÒ¾ ãËŒ¹Ñ¡àÃÕ¹ËÇÁ¡Ñ¹ºÍ¡¢Ñ鹵͹ ¡Ò÷íÒ¤ÇÒÁÊÐÍҴˌͧ¹Õé

เกร็ดแนะครู ครูจัดกระบวนการเรียนรูโดยการใหนักเรียนปฏิบัติ ดังนี้ • วิเคราะหจากภาพและประเด็นคําถามเกี่ยวกับการทําความสะอาดหองครัว และการจัดหองครัว การทําความสะอาดหองนํ้าและหองสวม • ฝกปฏิบัติการทําความสะอาดหองครัวและการจัดหองครัว การทําความสะอาดหองนํ้าและหองสวม จนเกิดเปนความรูความเขาใจวา ในการทํางานบานควรมีทักษะการจัดการ ในการทํางานบานที่เปนขั้นตอน และในการทํางานรวมกับผูอื่น จะตองมีมารยาท ในการทํางาน เพื่อใหทํางานไดอยางราบรื่น และประสบผลสําเร็จ

2

คูมือครู


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

สํารวจค Exploreนหา

Engage

สํารวจคนหา

ñ

1. ครูสนทนาซักถามนักเรียนวา ใครเคยชวย พอแมทํางานบานบาง และเคยทํางานบาน อะไรบาง จากนั้นครูสุมเรียกนักเรียนที่มี ประสบการณออกมาเลาใหเพื่อนฟง 2. ครูถามนักเรียน ดังนี้ • ในการทํางานบาน หากนักเรียนไมได จัดเตรียมอุปกรณในการทํางานบาน จะเกิดผลอยางไร (แนวตอบ อาจทํางานบานไมสําเร็จตาม เปาหมาย ใชเวลามากในการทํางานบาน) • การวางแผนในการทํางานบาน จะตองทํา อยางไรบาง (แนวตอบ สํารวจและวิเคราะหวาจะตอง ทํางานอะไรบาง จากนั้นจึงวางแผนการ ทํางานแลวจึงจัดเตรียมอุปกรณ และลงมือ ทํางานบานตามที่กําหนด เมื่อทําเสร็จแลว จะตองตรวจสอบการทํางาน และแกไข ขอบกพรองใหเรียบรอย) • เมื่อทํางานบานเสร็จแลว ควรปฏิบัติอยางไร (แนวตอบ ทําความสะอาดอุปกรณที่ใชในการ ทําความสะอาดบาน แลวจัดเก็บเขาที่ให เรียบรอย และควรลางมือใหสะอาด)

·Ñ¡ÉСÒèѴ¡ÒÃ㹡Ò÷íÒ§Ò¹ºŒÒ¹ ความหมาย ทักษะการจัดการ หมายถึง กระบวนการดําเนินงาน 1 อยางใดอยางหนึ่งอยางเปนระบบ เพื่อใหทํางานตางๆ ไดอยางสะดวก และสําเร็จตามเปาหมาย

ทักษะ การจัดการ ในการทํางาน

กระบวนการทํางาน • สํารวจและวิเคราะหงาน • วางแผนการทํางาน • ปฏิบัติงาน และสรุปผลของงานที่ทํา

ประโยชนของการใชทักษะการจัดการในการทํางาน • ทําใหทราบลวงหนาวาตองทํางานอะไร เมื่อใด • ทําใหทํางานที่รับผิดชอบไดครบทุกรายการ และชวยใหทํางานสําเร็จตามเปาหมาย • ทําใหเปนคนมีเหตุผล และรอบคอบ http://www.aksorn.com/lib/p/voc_01 (เรื่อง งานบานกับการออกกําลังกาย)

Explore

อธิบายความรู

Explain

ใหนักเรียนอานขอมูลเรื่องทักษะการจัดการ ในการทํางาน หนา 3 แลวครูและนักเรียนรวมกัน อภิปรายวาสามารถนําทักษะการจัดการในการ ทํางานไปประยุกตใชในการทํางานบานไดอยางไร EB GUIDE

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

นักเรียนคิดวา สามารถใชกระบวนการทํางานในเรื่องการเรียนได หรือไม อยางไร

แนวตอบ ได เชน ใชในการวางแผนทบทวนบทเรียนวา ในสัปดาหนี้ จะทบทวนวิชาใดกอน-หลัง เพื่อเปนการชวยเรียงลําดับความสําคัญของ แตละวิชา ซึ่งจะทําใหการทบทวนความรูประสบผลสําเร็จตามเปาหมายที่ วางแผนไว เปนตน

เกร็ดแนะครู ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา ในการทํางานบาน เราควรใชทักษะ การจัดการมาชวย เพื่อใหทํางานอยางมีขั้นตอน ซึ่งจะทําใหทํางานไดครบถวน ตามความตองการ สําเร็จตามเปาหมาย ประหยัดเวลาในการทํางาน นอกจากนี้ ยังเปนการฝกกระบวนการคิดอยางมีหลักการ มีเหตุมีผล และมีความรอบคอบ

นักเรียนควรรู 1 ระบบ หมายถึง กลุมของสิ่งซึ่งมีลักษณะประสานถาเปนสิ่งเดียวกัน ตามหลัก แหงความสัมพันธที่สอดคลองกัน ดวยระเบียบของธรรมชาติ หรือหลักเหตุผลทาง วิชาการ ในที่นี้หมายถึง การทํางานอยางมีขั้นตอน มีความสัมพันธตอเนื่องกัน โดยไมติดขัดใดๆ คูมือครู

3


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา กระบวนการทํางานของทักษะการจัดการ ในการทํางาน มี 3 ขั้นตอน คือ 1) สํารวจและวิเคราะหงาน เปนขัน้ ตอนทีก่ าํ หนด วาจะตองทํางานอะไร งานที่ทํานั้นมีอุปกรณ อะไรบาง ใครเปนผูรับผิดชอบในการทํางาน และใชระยะเวลาในการทํางานเทาไร 2) วางแผนการทํางาน เปนขั้นตอนที่กําหนดวา ในการทํางานนี้ จะตองทํางานอยางไร โดยกําหนดเปนหัวขออยางคราวๆ 3) ปฏิบัติงานและสรุปผลงาน เปนขั้นตอนที่ ลงมือทํางานตามที่ไดวางแผนไว และเมื่อ ทํางานเสร็จ ก็ตองประเมินผลงาน หากพบ ปญหาหรือขอบกพรอง ควรแกไขทันที 2. ใหนักเรียนชวยกันบอกวา ถานักเรียนตอง ทําความสะอาดหองนํ้า นักเรียนจะใชทักษะ การจัดการในการทํางานมาใชในการทํางานนี้ อยางไร 3. ใหนักเรียนอานขอมูล หนา 4 เพิ่มเติม

¨Ò¡¡ÒÃ㪌·Ñ¡ÉСÒèѴ¡Òà 㹡Ò÷íÒ§Ò¹ ¹íÒä»ÊÙ‹¡Ãкǹ¡Ò÷íÒ§Ò¹ áÅТÑ鹵͹¡Ò÷íÒ§Ò¹ ´Ñ§µÑÇÍ‹ҧ

๑ สํารวจและวิเคราะหงาน ๑. งานบานที่ตองทํา คือ ทําความ สะอาดหองนํ้า ๒. วัสดุอุปกรณที่ใช มีดังนี้ • นํ้ายาทําความสะอาด • แปรงขัดพื้น • แปรงขัดโถส 1 วม • ถุงมือยาง • ขันนํ้า • ไมกวาดทางมะพราว ๓. ผูรับผิดชอบ โจและจอย ๔. ระยะเวลา ประมาณ ๓๐ นาที

๒ วางแผนการทํางาน ขั้นตอนที่ ๑ ทําความสะอาดพื้น และผนังหองนํ้า ขั้นตอนที่ ๒ ทําความสะอาดโถสวม ขั้นตอนที่ ๓ ทําความสะอาด อางลางมือ ขอควรระวัง อยาลืมสวมถุงมือยาง และรองเทา เพื่อปองกันไมให นํ้ายาทําความสะอาด ถูกผิวหนังโดยตรง

๓ ปฏิบัติงานและสรุปผลงาน ปฏิบัติงานตามแผนงานที่กําหนดไว สรุปผลการทํางาน ดังนี้ ๑) ผลจากการปฏิบัติงานเปนอยางไร ๒) ปญหาที่พบขณะทํางานมีหรือไม ปญหาอะไรบาง ๓) ถาพบปญหามีวิธีแกไขปญหาอยางไร ¡ÒÃÇҧἹ¡Ò÷íÒ§Ò¹·Õè´Õ ¤Çû¯ÔºÑµÔ ´Ñ§¹Õé ñ. àÃÕ§ÅíҴѺ¤ÇÒÁÊíÒ¤Ñޢͧ§Ò¹·Õ赌ͧ·íÒNjҧҹ㴠¤Ç÷íÒ¡‹Í¹ËÃ×ÍËÅѧ ò. ÃкØÇѹàÇÅÒ ¼ÙŒÃѺ¼Ô´ªÍº§Ò¹ áÅЧҹ·Õ赌ͧ·íÒ ó. á¼¹§Ò¹ÊÒÁÒö»ÃѺà»ÅÕÂè ¹ä´ŒµÒÁ¤ÇÒÁàËÁÒÐÊÁ ô. ·Ø¡¤¹ÊÒÁÒö»¯ÔºÑµÔµÒÁá¼¹§Ò¹ä´Œ

เกร็ดแนะครู ในขั้นอธิบาย ครูอาจใหนักเรียนแบงกลุม แลวเขียนวางแผนการทํางานบาน 1 ประเภท ตามที่เรียนมา จากนั้นใหแตละกลุมออกมานําเสนอที่ชั้นเรียน โดยครู คอยใหคําแนะนํา

นักเรียนควรรู 1 ถุงมือยาง ใชสวมที่มือ เพื่อปองกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับมือและปลายแขน ในขณะทํางาน เชน ปองกันสารเคมี สิง่ สกปรก เชือ้ โรค เปนตน ซึง่ ทางคณะกรรมการ มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมไดพิจารณาใหถุงมือยางจะตองไดรับมาตรฐาน ผลิตภัณฑอุตสาหกรรมตามที่กําหนด เพื่อความปลอดภัยของผูใช เชน ISO มอก. เปนตน

4

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

“ขั้นตอนแรกที่ควรนําไปวางแผนการทํางาน” จากขอความนี้ สอดคลองกับการกระทําของใคร 1. ตอมระบุขอบเขตของงาน 2. ตุมระบุตัวผูรับผิดชอบงาน 3. ตุยระบุระยะเวลาในการทํางาน 4. แตวระบุงานที่ตองทํากอนหรือหลัง วิเคราะหคําตอบ ในการวางแผนการทํางาน จะตองเริ่มตนจากการ เรียงลําดับความสําคัญของงาน วางานใดควรทํากอน งานใดควรทําทีหลัง จากนั้นระบุวัน เวลา ผูรับผิดชอบ และงานที่ตองทํา ดังนั้น ขอ 4.

จึงเปนคําตอบที่ถูก


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

ò

1. ครูสนทนาซักถามนักเรียนวา ถาตองทํา ความสะอาดหองครัวและจัดหองครัว ควรปฏิบัติอยางไร โดยใหนักเรียนตอบ ตามความคิดอยางอิสระ 2. ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา การทําความสะอาดหองครัว และการจัด หองครัว สามารถใชหลักการ ดังนี้ • หลักการทําความสะอาดหองครัว และสิ่งของในหองครัว เชน อุปกรณที่ใช ในการประกอบอาหารและภาชนะใสอาหาร เตาแกส อางลางภาชนะ ตูเย็น เปนตน • หลักการจัดตกแตงหองครัว • หลักการจัดโตะอาหาร 3. ใหนักเรียนดูภาพ หนา 5 แลวชวยกันบอกวา เด็กในภาพกําลังทําอะไร (แนวตอบ ลางจาน) 4. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายถึงขั้นตอนการ ทําความสะอาดอุปกรณที่ใชในการประกอบ อาหารและภาชนะใสอาหาร โดยใหนักเรียนดู เนื้อหาใน หนา 5 ประกอบ

¡Ò÷íÒ¤ÇÒÁÊÐÍҴˌͧ¤ÃÑÇáÅСÒèѴˌͧ¤ÃÑÇ

หองครัว เปนหองที่ใชประกอบอาหาร เราจึงตองหมั่นทําความสะอาด หองครัว และภาชนะหรืออุปกรณที่ใชในการประกอบอาหาร เพื่อสุขอนามัยที่ดี ของคนในบาน

๑. หลักการทําความสะอาดหองครัว และสิ่งของในหองครัว

๑) การทําความสะอาดอุปกรณทใี่ ชในการประกอบอาหารและภาชนะ ใสอาหาร เชน จาน ชาม หมอ กระทะ ตะหลิว เปนตน ซึ่งควรปฏิบัติ ดังนี้ 1 ๑ รวบรวมอุปกรณมาไว ๒ กวาดเศษอาหารออก ๓ ใชฟองนํ้าชุบนํ้าผสม ที่อางลางจาน

๔ ลางดวยนํ้าเปลาให

สะอาดจนหมดฟอง

ใหหมดแลวลางดวย นํ้าเปลา ๑ ครั้ง

๕ นําไปควํ่าหรือผึ่งแดด ใหแหงแลวเก็บเขาที่

Explain

นํา้ ยาลางจานขัดถูใหทวั่

¡ÇÒ´àÈÉÍÒËÒà ÍÍ¡¨Ò¡ÀÒª¹Ð¡‹Í¹¹íÒä»ÅŒÒ§ ¨Ðª‹ÇÂäÁ‹ãËŒÁÕàÈÉÍÒËÒà ŧä»ÍØ´µÑ¹ã¹·‹Í¹íéÒ

¨ÔµÊíҹ֡㹡ÒÃ㪌¾Åѧ§Ò¹Í‹ҧ»ÃÐËÂÑ´ ขณะลางภาชนะหรืออุปกรณประกอบอาหาร ควรรองนํา้ ใสภาชนะแลวจึงนําสิง่ ตางๆ ลงไปลาง เพื่อเปนการใชนํ้าอยางประหยัด และนํ้าสุดทายของการลางจานชามยังนําไปใชลางพื้นบริเวณบาน หรือรดนํ้าตนไมไดอีกดวย

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

การลางภาชนะที่ใชในการรับประทานอาหาร เชน จาน ชาม แกวนํ้า เปนตน ควรเริ่มลางจากสิ่งใดกอน เพราะอะไร แนวตอบ ลางแกวนํ้ากอน เพราะโดยปกติแลว แกวนํ้าจะไมคอยเปอน คราบอาหารมากนัก ดังนั้น จึงควรลางแกวนํ้ากอนภาชนะอื่นๆ ที่ใชใส อาหารคาว เพื่อปองกันกลิ่นคาวของอาหารมาติดที่แกวนํ้า

บูรณาการเชื่อมสาระ

ครูบูรณาการความรูในสาระการงานอาชีพฯ วิชาการงานอาชีพฯ กับ สาระภาษาไทย เรื่องการทําความสะอาดหองครัว โดยใหนักเรียนเขียนอธิบาย ขั้นตอนการทําความสะอาดหองครัวเปนขอๆ เพื่อใหนักเรียนมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการทําความสะอาดหองครัวมากยิ่งขึ้น

เกร็ดแนะครู ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนฟงวา เมื่อทอนํ้าอุดตันซึ่งอาจเกิดจากคราบ สกปรกของไขมันหรือเศษอาหารตางๆ ไปติดคางในทอนํ้าทิ้ง สามารถแกไข ปญหานี้ได โดยการเทเกลือ 500 กรัม และเบกกิ้งโซดา 200 กรัม ลงในทอนํ้าทิ้ง จากนั้นใชนํ้าที่ตมจนเดือดเทตามลงไป สิ่งเหลานี้จะชวยละลายคราบไขมันหรือ ชวยใหเศษอาหารหลุดและไหลออกจากทอนํ้าทิ้งไปได ทําใหทอไมอุดตัน

นักเรียนควรรู 1 ฟองนํ้า เมื่อฟองนํ้าที่ใชลางภาชนะเริ่มเปอย ควรเปลี่ยนใหมทันที หรือควร เปลี่ยนทุกๆ เดือน เพื่อปองกันไมใหเปนที่สะสมของเชื้อโรคตางๆ เชน เชื้อรา เชื้อแบคทีเรีย เปนตน

คูมือครู

5


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูนําภาพเตาถาน และเตาแกสมาใหนักเรียนดู แลวใหนักเรียนชวยกันบอกวา วิธีการทํา ความสะอาดเตาทั้ง 2 ประเภท ควรปฏิบัติ อยางไร ใหนักเรียนตอบตามความคิดอยาง อิสระ 2. ใหนักเรียนศึกษาเรื่องการทําความสะอาดเตา จากเนื้อหา หนา 6 3. ครูอธิบายเพิม่ เติมวา เราจะตองทําความสะอาด เตาทั้ง 2 ประเภท ทุกครั้งหลังจากประกอบ อาหารเสร็จ โดยกอนลงมือทําความสะอาด จะตองรอใหเตาคลายความรอนกอน เพื่อ ปองกันอันตรายที่จะเกิดจากความรอนของเตา 4. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเรื่องการทํา ความสะอาดอางลางภาชนะ โดยใหนักเรียนดู เนื้อหา หนา 6 ประกอบ 5. ใหนักเรียนสํารวจตนเองวา ไดทําความสะอาด เตาและอางลางภาชนะตางจากที่เรียนหรือไม หากมีความแตกตาง ใหครูและนักเรียนรวมกัน อภิปรายวาถูกวิธีหรือไม หากไมถูกวิธีควรแกไข อยางไร

ใตเตาทิ้ง ใหสะอาด

๒) การทําความสะอาดเตา มีขั้นตอนปฏิบัติ ดังนี้ • เตาถาน 1 (๑) เมือ่ เตาคลายความรอนแลว ใหตกั ถานออก และตักขีเ้ ถา (๒) ใชผาแหงปดฝุนละอองบริเวณขอบเตา และรอบๆ เตา

• เตาแกส

(๑) ใชฟองนํา้ ชุบนํา้ ผสมนํ้ายาลางจาน เช็ดดานบนเตาให สะอาด แลวใชผา แหงเช็ดอีกครัง้ ใหแหง หลังใชงานเสร็จทุกครั้ง (๒) ทําความสะอาด ถาดรองเตาประมาณสัปดาหละ ๑ ครั้ง โดยใชแปรงขนออนขัด แลวลางนํ้า ใหสะอาด จากนั้นวางผึ่งไวใหแหงกอน และนําไปเก็บเขาที่ใหเรียบรอย ๓) การทํ า ความสะอาด อางลางภาชนะ มีขั้นตอนการปฏิบัติ ดังนี้ (๑) กวาดเศษอาหาร ที่ตกคางในอางทิ้งลงในถังขยะ เพื่อ ปองกันการอุดตันของทอนํ้า (๒) ใช ฟ องนํ้ า ชุ บ นํ้ า ผสมนํ้ายาลางจาน ถูบริเวณที่วางจาน และอาง เพื่อใหหมดคราบไขมัน และ สิง่ สกปรกตางๆ แลวลางดวยนํา้ สะอาด

ทําความสะอาดเตาหลังจากที่เตาคลายรอนแลว เพื่อไมใหเกิดอันตราย

อางลางภาชนะที่สะอาดชวยใหจานชาม ปราศจากเชื้อโรค

เกร็ดแนะครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ครูอาจใหนักเรียนแบงกลุม แลวใหแตละกลุมทดลองทํานํ้ายาลางจาน หรือให นักเรียนคนหาขอมูลเกี่ยวกับขี้เถา วาสามารถทําประโยชนอะไรไดอีกบาง

นักเรียนควรรู 1 ขี้เถา สามารถนํามาทํานํ้ายาลางจานได โดยนําขี้เถา 1 สวน ผสมกับนํ้า 4 สวน คนใหเขากัน ทิ้งไว 3 วัน ใหขี้เถาตกตะกอน แลวนํามากรอง จากนั้นนํานํ้า ที่ผานการกรองแลวมาผสมกับนํ้ามะนาว ก็สามารถนําไปใชลางจานแทน นํ้ายาลางจานได

1 2 3 จากภาพ ขอใดเปนอุปกรณที่ใชในหองครัว 1. 1 และ 2 2. 2 และ 3 3. 3 และ 4 4. 1 และ 4

วิเคราะหคาํ ตอบ หมายเลข 1 คือ หมอน ซึง่ เปนอุปกรณทใี่ ชในหองนอน หองรับแขก หรือหองนั่งเลน หมายเลข 4 คือ ผาหม ซึ่งเปนอุปกรณ ที่ใชในหองนอน สวนหมายเลข 2 คือ หมอไฟฟา หมายเลข 3 คือ หมอสเตนเลส ซึ่งเปนอุปกรณที่ใชในหองครัว ดังนั้น ขอ 2. จึงเปน

คําตอบที่ถูก

6

คูมือครู

4


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

1. ใหนักเรียนดูภาพตูเย็น หนา 7 จากนั้น ครูแบงกระดานดําเปน 2 ฝง ฝงแรกเขียนวา การทําความสะอาดตูเย็น ฝงที่ 2 เขียนวา การจัดตูเย็น 2. ใหนักเรียนผลัดกันออกมาเขียนบอกวิธีการ ทําความสะอาดตูเย็น และวิธีการจัดตูเย็น บนกระดานดํา ตามความคิดของนักเรียน 3. ใหนักเรียนศึกษาเรื่องการทําความสะอาด และจัดตูเย็น หนา 7 แลวนําความรูที่ได มาตรวจสอบคําตอบบนกระดานดําวาถูกตอง หรือไม 4. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวา ในการทํา ความสะอาดหองครัว และสิ่งของในหองครัว มีวิธีใชพลังงานอยางประหยัดอยางไรบาง

1

ใหแหง สะอาด

๔) การทําความสะอาดและจัดตูเย็น มีขั้นตอนการปฏิบัติ ดังนี้ • การทําความสะอาดตูเย็น (๑) ถอดปลั๊กตูเย็นออก แลวนําอาหารที่อยูในตูเย็นออกมา (๒) ถอดชั้นวางสิ่งของในตูเย็นไปลาง แลวผึ่งแดดหรือเช็ด (๓) ใชฟองนํ้าชุบนํ้าอุนเช็ดทําความสะอาดภายในตูเย็นจน (๔) นําชั้นที่ถอดออกประกอบในตูเย็นใหเหมือนเดิม • การจัดตูเย็น (๑) จําแนกอาหารใหเปนหมวดหมู เชน ผลไม นํา้ ดืม่ เปนตน (๒) จัดอาหารไวที่ชั้นวางในตูเย็นใหเปนระเบียบ ดังนี้

เนือ้ สัตว เก็ บ ใส ก ล อ งพลาสติ ก แลวเก็บไวในชองแชแข็ง ซึ่ ง มี อ2ุ ณ หภู มิ ป ระมาณ -๑๘ Cํ

Explain

อาหารอื่นๆ จั ดวางให เ ป น ระเบียบ เพือ่ ให หยิบไดสะดวก นํ้าดื่ม ใสขวดปดฝาให มิดชิด แลววางไว ที่ชั้น จัดใหเปน ระเบียบ

ผักผลไม จัดเก็บไวตรงสวนลางสุด ของตูเ ย็น โดยไมตอ งลาง เพือ่ ไมใหชาํ้ หรือเนาเสีย

¨ÔµÊíҹ֡㹡ÒÃ㪌¾Åѧ§Ò¹Í‹ҧ»ÃÐËÂÑ´ ถาตองการหยิบสิ่งของในตูเย็น ใหนึกเสียกอนวาตองการสิ่งใดบาง และหยิบสิ่งของเหลานั้น ใหครบถวนเพียงครั้งเดียว เพื​ื่อจะไดไมตองเปดปดตูเย็นหลายๆ ครั้ง เพราะการเปดตูเย็นบอยๆ จะทําใหสิ้นเปลืองพลังงานไฟฟา

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

อาหารชนิดใดที่ควรจัดเก็บไวในชองแชแข็งของตูเย็น

นักเรียนควรรู

1.

2.

1 ตูเ ย็น หากตูเ ย็นมีกลิน่ เหม็นหรือกลิน่ สกปรก อาจกําจัดกลิน่ ในตูเ ย็นโดยใช กาแฟหรือกากกาแฟที่คั้นแลว ใสผาผืนเล็กๆ วางไวในตูเย็น เพราะกาแฟจะมี คุณสมบัติดูดซับกลิ่นไดอยางดี หรือนําถานกอนเล็กๆ 2-3 กอน ใสถวย แลวนําไป วางไวในตูเย็น จะชวยดูดซับกลิ่นไดเชนกัน

3.

4.

2 ํC เปนสัญลักษณของคําวา องศาเซลเซียส ซึ่งเปนหนวยวัดอุณหภูมิที่กําหนด ใหจุดเยือกแข็งของนํ้าบริสุทธิ์ที่ 0 ํC และจุดเดือดของนํ้าบริสุทธิ์ที่ 100 ํC

วิเคราะหคําตอบ ไอศกรีมเปนอาหารที่สามารถละลายไดหากเก็บไวใน อุณหภูมิที่ไมเหมาะสม จึงควรเก็บไวในชองแชแข็ง สวนแอปเปล นํ้าผลไม ผักกาดขาว ไมจําเปนตองเก็บไวในชองแชแข็ง จัดเก็บไวในชองปกติ ก็เพียงพอตอการถนอมอาหารได ดังนั้น ขอ 3. จึงเปนคําตอบที่ถูก

คูมือครู

7


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. ใหนักเรียนดูภาพ หนา 8 แลวครูถามนักเรียน ดังนี้ • การทําใหหองครัวสะอาด และจัดสิ่งของ อยางเปนระเบียบเหมือนกับในภาพ มีขอดี อยางไร (แนวตอบ ตอบไดหลากหลาย เชน ไมมี กลิ่นเหม็น หยิบของใชไดสะดวก) 2. ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา หองครัว เปนหองทีใ่ ชประกอบอาหาร ซึง่ สิง่ ของตางๆ ในหองครัวมักจะถูกใชงานบอยๆ นอกจากนี้ หองครัวก็จะมีกลิ่นอาหาร มีขยะที่เปน เศษอาหารอยูเสมอ ดังนั้นเราจึงควรจัดตกแตง หองครัวอยูเปนประจํา เพื่อรักษาความสะอาด ของหองครัว และสะดวกในการหยิบใชอุปกรณ ใหมากขึ้น 3. ใหนักเรียนศึกษาเรื่องการจัดตกแตงหองครัว เพิ่มเติม จากเนื้อหา หนา 8-9 4. ครูถามนักเรียนวา • การจัดเก็บภาชนะใสอาหารทุกชนิดรวมกัน จะเกิดผลอยางไร (แนวตอบ ทําใหไมสะดวกในการหยิบใชงาน) • การปลอยใหมีเศษอาหารอยูในถังขยะ เพียงเล็กนอย โดยไมนําขยะไปทิ้ง นักเรียน คิดวาเหมาะสมหรือไม เพราะอะไร (แนวตอบ ไมเหมาะสม เพราะถึงแมจะมี เศษอาหารเพียงเล็กนอยก็ควรนําไปทิ้ง เพื่อไมใหเศษอาหารเนาจนสงกลิ่นเหม็น และปองกันหนูหรือแมลงสาบมากิน เศษอาหาร ซึ่งจะทําใหเปนแหลงสะสม ของเชื้อโรค)

๒. หลักการจัดตกแตงหองครัว

การจัดหองครัวควรจัดใหแยกออกจากหองอื่นๆ ในบาน โดยควรอยูทาง ดานหลังของบาน และทางใตของทางลม เพื่อใหอากาศถายเทสะดวกในขณะ ประกอบอาหาร หรือเพื่อปองกันกลิ่นอาหารรบกวนภายในบาน การจัดหองครัว ตองคํานึงถึงสิ่งตอไปนี้ ๑) ทางเดินในหองครัวไมควรมีสิ่งกีดขวาง และควรจัดวางสิ่งของ ใหเปนระเบียบ ๒) จัดวางตูกับขาว โตะอาหาร ถังขยะ และเตาสําหรับปรุงอาหาร ใหเปนระเบียบ และถูกสุขลักษณะ ๓) ความสูงของโตะสําหรับจัดเตรียมอาหาร เตาสําหรับปรุงอาหาร หรืออางลางอุปกรณ ควรจัดใหมีความเหมาะสม และสะดวกตอผูใช ๔) อุปกรณที่ใชในการปรุงอาหาร และใสอาหาร ควรจัดวางแยกตาม ขนาดและประเภท เพื่อสะดวกตอการหยิบใช ๕) จัดเตรียมภาชนะหรืออุปกรณ และเครื่องปรุงที่ใชปรุงอาหารให ครบถวน ควรจัดวางในที่ที่เหมาะสมเปนหมวดหมู เพื่อใหหยิบใชไดงาย

ดูแลรักษาหองครัวใหสะอาด เพื่อสุขอนามัยของสมาชิกในครอบครัว

เกร็ดแนะครู ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนฟงวา การจัดวางเครื่องครัวและสิ่งของตกแตงอื่นๆ ควรจัดใหเปนระเบียบเรียบรอย เชน • ตูเย็น ควรวางอยูใกลกับทางเขาครัว และใกลกับที่เตรียมอาหาร เพื่อใหหยิบใชอาหารในตูเย็นไดสะดวก • ตูติดผนังหรือตูที่ใชเปนที่เก็บจาน ชาม ภาชนะเครื่องครัวตางๆ ควรติดตั้งไวใกลกับที่เตรียมอาหาร • อางลางจาน จะใชอางเดี่ยวหรืออางคูก็ได ขึ้นอยูกับพื้นที่และความสะดวกของผูใช

อางลางจานแบบอางเดี่ยว

อางลางจานแบบอางคู

• เตา ควรตั้งไวในสวนปรุงอาหารที่อยูตอจากสวนเตรียมอาหารและลางจาน จะทําใหสะดวกในการใชงานมากยิ่งขึ้น • สิ่งของตกแตงอื่นๆ เชน ภาพหรืออุปกรณประดับผนัง ควรใชภาพผัก ผลไม ดอกไม ทิวทัศน ที่ดูแลวสบายตา เปนตน

8

คูมือครู


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

Explain

1. ครูสนทนาซักถามนักเรียนวา ใครเคยชวย ผูปกครองจัดโตะอาหารบาง จากนั้นครู สุมเรียกใหนักเรียนที่มีประสบการณออกมา เลาใหเพื่อนฟง 2. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวา การจัด โตะอาหารจะตองคํานึงถึงสิ่งใดบาง 3. ใหนักเรียนศึกษาเรื่องหลักการจัดโตะอาหาร จากเนื้อหา หนา 9 4. ใหนักเรียนแบงกลุม แลวใหแตละกลุมสรุป เรื่องการทําความสะอาดหองครัว และการจัด หองครัว โดยทําเปนแผนผังความคิด 5. ใหตัวแทนแตละกลุม ออกมานําเสนอผลงาน ของกลุม ตนเองทีห่ นาชัน้ เรียน จากนัน้ ใหเพือ่ น กลุมอื่นๆ ชวยกันประเมินผล และครูให คําแนะนํา

๖) จัดใหมีแสงสวางที่เพียงพอ และอากาศถายเทไดสะดวก เชน มีชองระบายอากาศ มีหนาตาง เปนตน ๗) มีตหู รือชัน้ วางอุปกรณตา งๆ โดยจัดวางสิง่ ของในตูห รือชัน้ ใหเปน ระเบียบเรียบรอย 1 ๘) จัดใหมที รี่ องรับขยะทีเ่ ปนเศษอาหาร โดยจัดวางในทีท่ เี่ หมาะสม และควรนําขยะไปทิ้งทุกวัน เพื่อปองกันการแพรระบาดของเชื้อโรค ๙) กวาดและถูพื้นทําความสะอาดหองครัวทุกวัน

๓. หลักการจัดโตะอาหาร

การจัดโตะอาหารสิ่งที่ควรคํานึงถึงในการจัดโตะอาหาร มีดังนี้ ๑) ความสะอาด อาหารและภาชนะที่ใสอาหาร รวมทัง้ โตะและเกาอี้ จะตองดูแลรักษาความสะอาด และควรจัดวางชอนกลางในจานอาหารสวนกลาง เพื่อปองกันโรคติดตอ ๒) ความเปนระเบียบ ควร จัดวางสิ่งของเครื่องใชบนโตะอาหาร ใหเปนระเบียบ และจัดใหผูรับประทาน ไดรับความสะดวก ๓) ความสวยงาม ควร เสริมสรางบรรยากาศที่ดี เชน จัดแตง โตะอาหารใหสวยงาม เปนตน จัดโตะอาหารใหสวยงาม ชวยใหผูรับประทาน เพลิดเพลินและเจริญอาหารมากขึ้น

¨ÔµÊíҹ֡㹡ÒÃ㪌¾Åѧ§Ò¹Í‹ҧ»ÃÐËÂÑ´ ควรทําความสะอาดตูเย็นเปนประจํา โดยเฉพาะตูเย็นรุนที่ไมมีระบบละลายนํ้าแข็งอัตโนมัติ และไมควรใสของทีย่ งั รอนอยูเ ขาตูเ ย็น ควรรอใหของนัน้ เย็นกอนแลวจึงนําแชในตูเ ย็น จะช2วยประหยัด พลังงานไฟฟา และหากคิดจะซื้อตูเย็นหลังใหม ควรเลือกที่มีฉลากประหยัดไฟเบอร ๕

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ขอใดไมใชสิ่งที่ควรคํานึงถึงในการจัดโตะอาหาร 1. สะอาด 2. สวยงาม 3. ราคาแพง 4. เปนระเบียบ

วิเคราะหคําตอบ การจัดโตะอาหาร เราควรคํานึงถึงสิ่งตอไปนี้ • ความสะอาดของอาหารและภาชนะที่ใสอาหาร เพื่อใหมีสุขอนามัย ในการรับประทานอาหาร • ความเปนระเบียบ เพื่อใหผูรับประทานเกิดความสะดวก • ความสวยงาม เพื่อเสริมสรางบรรยากาศที่ดี จะชวยใหเจริญอาหาร สวนราคาแพงไมใชสิ่งที่ควรคํานึงถึงในการจัดโตะอาหาร เพราะของ ที่เรานํามาจัดวางบนโตะอาหารตลอดจนอาหาร ไมจําเปนตองมีราคาแพง แตใหมีความสะอาด ถูกสุขอนามัย ดังนั้น ขอ 3. จึงเปนคําตอบที่ถูก

นักเรียนควรรู 1 ขยะ ควรนําไปทิ้งทุกวัน เพื่อไมใหเกิดการเนาจนสงกลิ่นเหม็น และเมื่อทิ้ง ขยะแลว ควรลางทําความสะอาดถังขยะดวย เพื่อไมใหกลิ่นเหม็นติดในถังขยะ ถาหากยังมีกลิ่นอยูควรใชเปลือกสมเขียวหวาน หรือเปลือกสมโอ นําไปใสใน ถังขยะ เพราะเปลือกสมจะชวยดูดซับกลิ่น 2 ฉลากประหยัดไฟเบอร 5 เปนสัญลักษณที่บอกใหเรารูวา เครื่องใชไฟฟานี้จะชวยประหยัดพลังงานไฟฟาในระดับใด ซึง่ ผูผลิตเครื่องใชไฟฟา ผลิต หรือนําเขาอุปกรณไฟฟาที่มี ประสิทธิภาพสูง แตใชพลังงานไฟฟานอย ซึ่งถาผานการ ตรวจรับรองจากสถาบันไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส (สฟอ.) แลว จะติดสัญลักษณฉลากประหยัดไฟเบอร 5 ไวที่สินคาทุกชิ้น เพื่อยืนยันวาอุปกรณชิ้นนี้ประหยัดไฟไดตามที่กําหนด

คูมือครู

9


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Expand าใจ ขยายความเข

Evaluate ตรวจสอบผล

Expand

1. ใหนักเรียนดูภาพในกิจกรรมการเรียนรูที่ 1 ขอ 1 หนา 10 แลวเขียนแสดงความคิดเห็น และตอบคําถามลงในสมุด 2. ใหนักเรียนเลือกวางแผนการทํางานบานที่ กําหนดในกิจกรรมการเรียนรูท ี่ 1 ขอ 2. หนา 10 1 งาน แลวทํางานตามที่วางแผนไว และเขียน บันทึกลงในสมุด 3. ใหนกั เรียนออกมานําเสนอผลการทํางานบาน ของตนเองที่หนาชั้นเรียน

ตรวจสอบผล

ขยายความเขาใจ

¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ñ ๑. ดูภาพที่กําหนด แลวเขียนแสดงความคิดเห็น และตอบคําถามลงในสมุด

Evaluate

ครูตรวจสอบนักเรียนวา ทํางานบานได อยางถูกตอง และเขียนบันทึกผลการทํางานได อยางเหมาะสม

๑) นักเรียนมีความคิดเห็นตอภาพนี้อยางไร ๒) การทําความสะอาด และจัดตกแตงหองในภาพนี้ ควรปฏิบัติอยางไร ๒. เลือกวางแผนการทํางานบานที่กําหนด ๑ งาน และทํางานตามที่วางแผนไว จากนั้น เขียนบันทึกผลลงในสมุด งานบานที่กําหนด

• การจัดหองครัว • การทําความสะอาดหองครัว • • • •

• การจัดตูเย็น • การจัดโตะอาหาร

งานบานที่ฉันเลือกทํา • ฉันวางแผนในการทํางาน อุปกรณที่ใชในการทํางานนี้ • ขั้นตอนในการทํางานนี้ ผลของการทํางานนี้ วิธีประหยัดพลังงาน และทรัพยากรธรรมชาติในการทํางานนี้

๑๐ เฉลย กิจกรรมพัฒนาการเรียนรูที่ 1 1. แนวตอบ 1) หองครัวจัดไดอยางเปนระเบียบ ทําใหหยิบจับสิ่งของไดสะดวก และยังสะอาดถูกสุขลักษณะ 2) • การทําความสะอาดสิ่งของในหองครัว เชน จาน ชาม แกวนํ้า เปนตน ควรลางและนําไปควํ่าหรือผึ่งแดดใหแหง • การทําความสะอาดเตา เชน เตาแกส ควรใชฟองนํ้าชุบนํ้าผสมนํ้ายาลางจาน เช็ดบนเตาใหสะอาด จากนั้นใชผาแหงเช็ดอีกครั้ง • การทําความสะอาดอางลางภาชนะ ใหนําเอาเศษอาหารที่ตกคางในอางทิ้งลงถังขยะ เพื่อปองกันการอุดตันของทอนํ้า แลวใช ฟองนํ้าชุบนํ้าผสมนํ้ายาลางจาน ถูบริเวณที่วางจานและอางจนหมดคราบไขมัน จากนั้นลางดวยนํ้าสะอาด สวนการตกแตงหองครัวควรคํานึงถึงสิ่งตางๆ เชน • ทางเดินในหองครัว ไมควรมีสิ่งกีดขวาง ควรจัดวางสิ่งตางๆ ใหเปนระเบียบเพื่อใหหยิบมาใชไดงาย และปองกันการเกิดอุบัติเหตุ • ตูกับขาว โตะอาหาร ถังขยะ และเตาสําหรับปรุงอาหาร ควรวางใหเปนระเบียบ และถูกสุขลักษณะ • อุปกรณตางๆ ที่ใชในการปรุงอาหารและใสอาหาร ควรจัดวางแยกตามขนาดและประเภท เพื่อใหสะดวกตอการหยิบใชงาน • จัดใหมีที่รองรับขยะที่เปนเศษอาหาร โดยจัดวางในที่ที่เหมาะสม และควรนําขยะไปทิ้งทุกวัน เพื่อปองกันสัตว เชน แมลงสาบ หนู มากินเศษอาหาร อีกทั้งยังเปนการปองกันการแพรระบาดของเชื้อโรคอีกดวย

10

คูมือครู


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา สํารวจค Exploreนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุEngage นความสนใจ

กระตุน ความสนใจ

ó

ครูนําบัตรภาพหองนํ้าที่สกปรกมาใหนักเรียนดู แลวใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็น

¡Ò÷íÒ¤ÇÒÁÊÐÍҴˌͧ¹íéÒáÅÐˌͧʌÇÁ

หองนํ้าและหองสวมเปนหองที่สกปรกและเกิดเชื้อโรคไดงาย ดังนั้นเรา จึงตองทําความสะอาดอยูเสมอ เพื่อปองกันไมใหเกิดการสะสมเชื้อโรค

สํารวจคนหา

การใชอุปกรณทําความสะอาดหองนํ้าและหองสวม ควรเลือกใชงานให เหมาะสม ซึ่งอุปกรณ มีดังนี้ ใชขัดพื้น และโถสวม

Explore

1. ใหนักเรียนแบงกลุม แลวใหแตละกลุมรวมกัน อภิปรายวา ถาตองทําความสะอาดหองนํ้า ในบัตรภาพ ควรปฏิบัติอยางไร 2. ใหตัวแทนแตละกลุมออกมานําเสนอ ผลการอภิปรายที่หนาชั้นเรียน

๑. อุปกรณที่ใชสําหรับทําความสะอาดหองนํ้าและหองสวม

๑ แปรงขัดพื้น และแปรงขัดโถสวม

Engage

๒ ถังนํ้า และขันนํ้า ใชใสนาํ้ เพือ่ ขัดพืน้ และตักนํา้ ราดพืน้

แปรงขัดพื้น

แปรงขัดสวม

๓ แผนขัดและฟองนํ้า ใช ขั ด คราบสกปรก ตางๆ บริเวณฝาผนัง หรืออางนํ้า

ขันนํ้า

ถังนํ้า

๔ นํ้ายาลางหองนํ้า

๕ ไมกวาดทางมะพราว

ใชกาํ จัดคราบสกปรก ตางๆ บริเวณฝาผนัง และพื้นหองนํ้า

ใชกวาดนํ้าบริเวณ พื้นหองนํ้า

แผนขัด ฟองนํ้า

นํ้ายาลางหองนํ้า

1

ไมกวาดทางมะพราว

๑๑

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET 1 2 3 จากภาพ ขอใดเปนอุปกรณที่ใชในหองนํ้า 1. 1 และ 2 2. 2 และ 3 3. 3 และ 4 4. 1 และ 4

4

นักเรียนควรรู 1 นํ้ายาลางหองนํ้า มักมีกรดเกลือเปนสวนประกอบหลัก ซึง่ เปนกรดทีม่ ฤี ทธิ์ กัดกรอนมาก ดังนัน้ อยาใหนํ้ายาลางหองนํ้าโดนผิวหนัง เพราะอาจเกิดอันตราย กับผิวหนังได ถาหากผิวหนังโดนนํ้ายาลางหองนํ้า ใหรีบลางดวยนํ้าสะอาดหลายๆ ครั้ง หรือใชผงฟูประมาณ 1 ชอน ละลายนํ้า 1 แกว ราดบนผิวหนังบริเวณที่โดนนํ้ายา ลางหองนํ้า จะชวยลดฤทธิ์กัดกรอนของนํ้ายาลางหองนํ้าลงได

วิเคราะหคําตอบ หมายเลข 2 หมอสเตนเลส เปนอุปกรณที่ใชในหองครัว หมายเลข 3 โซฟา เปนอุปกรณทใี่ ชในหองรับแขก สวนหมายเลข 1 ขันนํ้า หมายเลข 4 คือ แปรงขัดพื้น เปนอุปกรณที่ใชในหองนํ้า ดังนั้น ขอ 4.

จึงเปนคําตอบที่ถูก

คูมือครู

11


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. ใหนักเรียนรวมกันสรุปวา การทําความสะอาด หองนํ้าและหองสวม ควรปฏิบัติอยางไร 2. ใหนักเรียนศึกษาเรื่องการทําความสะอาด หองนํ้าและหองสวม จากเนื้อหา หนา 11-12 3. ครูพานักเรียนไปที่หองนํ้าที่เตรียมไว แลวครู แนะนําอุปกรณทใี่ ชในการทําความสะอาดหองนํา้ และหองสวมใหนักเรียนรูจัก จากนั้นครูสาธิต วิธีการลางหองนํ้าและหองสวมใหนักเรียนดู 4. ใหนักเรียนแบงกลุม แลวใหแตละกลุมฝก ทําความสะอาดหองนํ้า โดยครูคอยดูแล และใหคําแนะนํา 5. ใหเพื่อนกลุมอื่นชวยกันประเมินผล หากกลุมใดมีขอบกพรอง ใหคําแนะนํา ในการแกไขขอบกพรอง

๒. ขั้นตอนในการทําความสะอาดหองนํ้าและหองสวม

๑) เคลื่อนยายสิ่งของ เชน สบู ยาสระผม ครีมนวดผม เปนตน ไปไวที่อื่นกอน ๒) ราดนํ้าใหทั่วพื้นหอง แลวผสมนํ้ายาล 1 างหองนํ้าตามสัดสวนที่ ระบุในฉลาก ราดที่ฝาผนัง บนพื้นหอง อางลางมือ และบริเวณโถสวมใหทั่ว ทิ้งไวสักครูแลวจึงเริ่มทําความสะอาด ๓) สวมถุงมือยางเพื่อปองกันการระคายเคืองจากสารเคมีในนํ้ายา ลางหองนํ้า แลวทําความสะอาดบริเวณตางๆ ในหองนํ้าโดยปฏิบัติ ดังนี้ • ฝาผนัง ถาเปนกระเบื้องใหใชฟองนํ้า หรือแผนขัดขัดใหทั่ว แตถาเปนซีเมนตควรใชแปรงขัดพื้นขัด แลวลาง ดวยนํ้าสะอาด • พืน้ หอง ถาเปนพืน้ ซีเมนตใหใช แปรงลวดขัด เพื่อใหคราบสกปรกหลุดออกไดงาย แตถาเปนพื้นกระเบื้องควรใชแปรงพลาสติกขัด ขัดพื้นหองนํ้าใหสะอาด เพื่ อ ป อ งกั น การสึ ก กร อ นของปู น แล ว ล า งนํ้ า เพื่อปราศจากเชื้อโรค ใหสะอาด ใชไมกวาดทางมะพราวกวาดนํ้าใหแหง • อางลางมือ ใชแผนขัดขัดใหทวั่ ทัง้ ดานในและดานนอก แลวใช นํ้าลางใหสะอาด จากนั้นเช็ดดวยผาใหแหง • โถสวม ใชแปรงขัดโถสวมขัดคราบสกปรกดานในออกใหหมด สวนดานนอกใชแผนขัดขัดใหทั่วแลวลางดวยนํ้าใหสะอาด จากนั้นทิ้งไวใหแหง

¨ÔµÊíҹ֡㹡ÒÃ㪌¾Åѧ§Ò¹Í‹ҧ»ÃÐËÂÑ´ ในการทําความสะอาดหองนํ้าควรใชนํ้าอยางประหยัด ไมควรเปดนํ้าทิ้งไวโดยไมจําเปน และ ควรตรวจสอบอุปกรณในหองนํ้าเปนประจํา เชน กอกนํ้า ทอนํ้า สายฝกบัว เปนตน เพื่อไมใหมีการ รัว่ ไหลของนํา้ ซึง่ ทําใหสนิ้ เปลืองโดยเปลาประโยชน และทําใหตอ งจายคานํา้ ประปามากขึน้ กวาปกติ

๑๒

นักเรียนควรรู 1 อางลางมือ การทําความสะอาดอางลางมือ นอกจากจะใชนํ้ายาลางหองนํ้า ทําความสะอาดแลว สามารถใชผาชุบนํ้าสมสายชูพอหมาดๆ ถูใหทั่วอาง แลวลางซํ้าดวยนํ้าสบูออนๆ ถาหากอางลางมือมีคราบหินปูนหรือคราบสนิมเกาะ ใหใชแอมโมเนียผสมกับ นํ้ามะนาวเล็กนอยถูบริเวณดังกลาว จะทําใหคราบหินปูนและคราบสนิมหลุด ออกหมด ถาอางลางมือเริ่มระบายนํ้าไดไมดี มีสาเหตุจากการอุดตัน ใหใชโซดาไฟผสม นํ้าสมสายชูในอัตราสวน 1 ตอ 1 เทลงในทอนํ้า แลวทิ้งไว 3-4 นาที จากนั้นเปดนํ้า ใหไหลลงทอ ก็จะทําใหทอนํ้าระบายนํ้าไดดี เพราะโซดาไฟจะไปกัดกรอนไขมัน ใหหลุดออกไป

12

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ขอใดปฏิบัติไดถูกตองในการทําความสะอาดหองนํ้า 1. ใชผานิ่มๆ ขัดพื้นหองนํ้า 2. ใชผงซักฟอกขัดอางลางหนา 3. ใชแอลกอฮอลราดพื้นหองนํ้า 4. สวมถุงมือยางขณะขัดพื้นหองนํ้า วิเคราะหคําตอบ การทําความสะอาดหองนํ้าตองใชนํ้ายาลางหองนํ้า ขัดพื้น จึงตองสวมถุงมือยางในขณะขัดพื้น เพื่อปองกันอันตรายจาก นํ้ายาลางหองนํ้า สวนตัวเลือกอื่นเปนการปฏิบัติไมถูกตองตามหลักการ ทําความสะอาดหองนํ้า ดังนั้น ขอ 4. จึงเปนคําตอบที่ถูก


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ Expand าใจ ขยายความเข

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบExplain ายความรู

อธิบายความรู

ô

ÁÒÃÂҷ㹡Ò÷íҧҹËÇÁ¡ÑºÊÁÒªÔ¡ã¹ ¤Ãͺ¤ÃÑÇ

Explain

1. ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา ในการ ทํางานรวมกับผูอื่นหรือสมาชิกในครอบครัว เราจะตองมีมารยาทในการทํางาน เพื่อใหงาน สําเร็จลุลวง และราบรื่นในการทํางาน 2. ใหนักเรียนชวยกันบอกวา มารยาทในการ ทํางานรวมกับสมาชิกในครอบครัว หรือผูอื่น ควรปฏิบัติอยางไร 3. ใหนักเรียนอานเรื่องมารยาทในการทํางาน รวมกับสมาชิกในครอบครัว หนา 13

1

การทํางานตางๆ รวมกับสมาชิกในครอบครัว จําเปนตองมีมารยาท ในการทํางาน เพื่อใหทํางานไดอยางราบรื่น และทํางานประสบผลสําเร็จตามที่ วางแผนไว มารยาทในการทํางานรวมกับสมาชิกในครอบครัวที่ควรปฏิบัติ มีดังนี้ ๑. มีความรับผิดชอบตองานที่ไดรับมอบหมาย ๒. ทํางานดวยความตัง้ ใจ ใสใจในรายละเอียดตางๆ และทํางานอยาง เปนระเบียบเรียบรอย ๓. มีความกระตือรือรนในการทํางาน ๔. ใหความชวยเหลือผูอ นื่ ในขณะทํางานรวมกัน และควรทํางานแทน ผูอ นื่ เทาทีจ่ ะสามารถทําได เมือ่ มีเหตุจาํ เปนทีท่ าํ ใหเจาของงานไมสามารถทํางาน ไดตามปกติ ๕. กลาวคํา “ขอบคุณ” “ขอบใจ” เมื่อมีผูชวยเหลือ และกลาวคํา “ขอโทษ” ทุกครั้งที่ทําผิด ๖. ถาพบขอผิดพลาดในการทํางานควรยอมรับ และปรับปรุงแกไข การทํางานของตนใหดียิ่งขึ้น

ขยายความเขาใจ

Expand

ใหนักเรียนทํากิจกรรมรวบยอดที่ 1.2 จาก แบบวัดฯ การงานอาชีพฯ ป.5 โดยขีด ✓ หนาขอ ที่ถูกตอง และกา ✗ หนาขอที่ไมถูกตอง ✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ การงานอาช�พ ป.5 กิจกรรมรวบยอดที่ 1.2 แบบประเมินตัวช�้วัด ง 1.1 ป.5/3 กิจกรรมรวบยอดที่ ๑.๒ แบบประเมินตัวชี้วัด ง ๑.๑ ป.๕/๓ 

ปฏิบัติตนอยางมีมารยาทในการทํางานกับสมาชิกในครอบครัว

ชุดที่ ๑ ๕ คะแนน ขีด ✓ หนาขอที่ถูกตอง และกา ✗ หนาขอที่ไมถูกตอง

✓ ✗ ✓ …………………. ✗ …………………. ✗ …………………. …………………. ………………….

¹Í¡¨Ò¡¹Õé㹡Ò÷íÒ§Ò¹ºŒÒ¹µ‹Ò§æ ¹Ñ¡àÃÕ¹¤ÇÃ㪌¾Åѧ§Ò¹áÅзÃѾÂÒ¡Ã㹡Ò÷íÒ§Ò¹ Í‹ҧ»ÃÐËÂÑ´´ŒÇ ઋ¹ 㪌¹íéÒáÅÐä¿¿‡ÒÍ‹ҧ»ÃÐËÂÑ´ µÒÁ¤ÇÒÁ¨íÒ໚¹ãËŒà¡Ô´»ÃÐ⪹ ÊÙ§ÊØ´ à¾×èͪ‹ÇÂ͹ØÃÑ¡É ¾Åѧ§Ò¹ áÅзÃѾÂҡøÃÃÁªÒµÔãËŒÁÕ㪌仹ҹæ

ฉบับ

เฉลย

๑) เมือ่ ไดรบั มอบหมายงาน ควรทํางานใหเสร็จตามทีก่ าํ หนด ๒) ถาพบขอผิดพลาดในการทํางาน ควรใหผูอื่นแกไขให ๓) ถาพี่ไมสามารถทํางานบานได นองควรชวยทํางานแทนพี่ ๔) ถาพี่ทํางานบานไมสะอาด เราควรรีบไปฟองแมทันที ตัวชี้วัด ง ๑.๑ ขอ ๓ ๕) เราควรบีบบังคับใหนอ งชวยเราทํางานบาน ไดคะแนน คะแนนเต็ม õ

เเกณฑประเมินชิ้นงาน

การวิเคราะหขอความ (๕ คะแนน)

• วิเคราะหขอความไดถูกตอง ขอละ

๑ คะแนน

ชุดที่ ๒ ๑๐ คะแนน วง

รอบตัวอักษรหนาคําตอบที่ถูกที่สุด

(ขอ ๑-๔ ประเมินตัวชีว้ ดั ง ๑.๑ ขอ ๒) ๒. ถาตองการทําความสะอาด ๑. ขอใดไมใชประโยชนของการวางแผน พื้นกระเบื้องในหองครัว การทํางาน ควรใชเครื่องมือใด ก. ทําใหผูรวมงานพอใจ ก. แปรงทองเหลือง ข. ทําใหเปนคนรอบคอบ ข. แปรงพลาสติก ค. ทําใหทราบวาตองทํางานอะไร ค. แปรงขนแข็ง ง. ทําใหทํางานไดครบทุกรายการ ง. แปรงลวด

๑๓ ๖

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

การทํางานบานควรเปนหนาที่ของใคร 1. พอ 2. แม 3. นอง 4. ทุกคนในบาน

วิเคราะหคําตอบ การทํางานบานควรเปนหนาที่ของสมาชิกทุกคนที่อยู อาศัยในบาน เพราะบานเปนที่อยูอาศัยของทุกคน ซึ่งการทําความสะอาด บานจะทําใหผูอยูอาศัยทุกคนมีสุขภาพดี ดังนั้น นอกจากทุกคนในบาน จะชวยกันทํางานบานแลว ยังตองชวยกันรักษาความสะอาดบานอีกดวย ดังนั้น ขอ 4. จึงเปนคําตอบที่ถูก

มุม IT • ครูหาความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับเนื้อหาเรื่อง 108 วิธีประหยัดพลังงาน ไดที่ http://www.eppo.go.th/encon/encon-108-T.html • ครูหาความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับเนื้อหาเรื่อง วิธีดูแลรักษาทรัพยากรและ สิ่งแวดลอม ไดที่ http://www.school.net.th/library/snet6/envi2/ subwater/sub.htm

นักเรียนควรรู 1 มารยาท หมายถึง กิริยาวาจาที่ถือวาสุภาพเรียบรอย ถูกกาลเทศะ

คูมือครู

13


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Expand าใจ ขยายความเข

Evaluate ตรวจสอบผล

Expand

1. ใหนักเรียนดูภาพในกิจกรรมการเรียนรูที่ 2 ขอ 1. หนา 14 แลวเขียนตอบคําถามลงในสมุด 2. ใหนักเรียนแบงกลุม แลวใหแตละกลุมวางแผน การทําความสะอาดหองนํ้า และปฏิบัติตามที่ วางแผนไว จากนั้นเขียนบันทึกตามหัวขอ ที่กําหนดในกิจกรรมการเรียนรูที่ 2 ขอ 2 หนา 14 3. ใหนักเรียนเขียนแผนผังความคิดสรุป เรื่องมารยาทในการทํางานลงในสมุด

ตรวจสอบผล

¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ò ๑. ดูภาพที่กําหนด แลวเขียนตอบคําถามลงในสมุด µŒÍ§ãªŒÍØ»¡Ã³ ÍÐäà ·íÒ¤ÇÒÁÊÐÍÒ´ºŒÒ§¹Ð

Evaluate

1. ครูตรวจสอบนักเรียนวา ทําความสะอาดหองนํ้า ไดอยางถูกตองและเหมาะสม 2. ครูตรวจสอบนักเรียนวา เขียนสรุปเรื่องการมี มารยาทในการทํางานไดอยางถูกตอง

๑) อุปกรณที่ใชทําความสะอาดมีอะไรบาง ๒) ขั้นตอนการทําความสะอาดควรปฏิบัติอยางไร ๓) ประโยชนที่ไดรับจากการทําความสะอาดหองนํ้า ๒. แบงกลุม กลุมละ ๓-๔ คน แลววางแผนการทําความสะอาดหองนํ้า และปฏิบัติตาม ที่วางแผนไว จากนั้นเขียนบันทึกผลลงในสมุด • การวางแผนในการทํางาน • อุปกรณที่ใชในการทํางาน • ขั้นตอนในการทํางาน • มารยาทที่ใชในการทํางาน • วิธีการประหยัดพลังงาน และทรัพยากรธรรมชาติในการทํางาน ๓. เขียนแผนผังความคิดสรุปเรื่อง มารยาทในการทํางาน ลงในสมุด

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู 1. ผลการทํางานบาน และการบันทึกผลการทํางาน 2. ผลการทําความสะอาดหองนํ้า 3. บันทึกผลการสรุปเรื่องมารยาทในการทํางาน

¢ÂÒ¤ÇÒÁÃÙŒ ÊÙ¡‹ ÒäԴ อยางไรบาง

นักเรียนคิดวา ถาหากเราไมมีทักษะการจัดการในการทํางานจะเกิดผล

๑๔ เฉลย กิจกรรมการเรียนรูที่ 2 1. แนวตอบ 1) • แปรงขัดโถสวม • แปรงขัดพื้น • แผนขัดพื้น • นํ้ายาลางหองนํ้า • ถังนํ้า • ขันนํ้า • ไมกวาดทางมะพราว 2) • ยายสิ่งของ เชน สบู ยาสระผม เปนตน ไปไวที่อื่นกอน • ราดนํ้าใหทั่วหอง ผสมนํ้ายาลางหองนํ้ากับนํ้า แลวราดที่ผนังหองนํ้า บนพื้นหองนํ้า อางลางมือ และโถสวมใหทั่วแลวทิ้งไวสักครู • ใชแผนขัดขัดอางลางมือและฝาผนัง ใชแปรงขัดโถสวมขัดโถสวม และใชแปรงขัดพื้นขัดพื้นใหสะอาด • ใชนํ้าสะอาดลางจนหมดคราบนํ้ายาลางหองนํ้า จากนั้นใชไมกวาดทางมะพราวกวาดพื้นใหแหง • เก็บอุปกรณตางๆ ใหเรียบรอย และลางมือใหสะอาด 3) ทําใหหองนํ้าสะอาด นาใช และไมเปนแหลงสะสมเชื้อโรค 3. แนวตอบ มารยาทในการทํางาน รับผิดชอบ

14

คูมือครู

ตั้งใจ

กระตือรือรน

ชวยเหลือผูอื่น

พูดจาเหมาะสม

ยอมรับและปรับปรุงแกไข


กระตุน ความสนใจ

º··Õè

กระตุEngage นความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

1. ดูแลรักษาเสื้อผาถูกตองตามลําดับขั้นตอน (ง 1.1 ป.5/1, ป.5/4) 2. ซอมแซมเสื้อผาไดอยางเหมาะสม (ง 1.1 ป.5/1, ป.5/4)

ò

เสื้อผาของฉัน

สาระสําคัญ

สมรรถนะของผูเรียน

การดู แ ลรั ก ษาความสะอาด ซ อ มแซม และจั ด เก็ บ เสื้อผาใหเรียบรอย ทําใหมีเสื้อผาไวใชไดนานๆ โดย ไมตองซื้อใหม

¡Ô¨¡ÃÃÁ¹ÓÊÙ‹¡ÒÃàÃÕ¹

เปาหมายการเรียนรู

1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการแกปญหา 3. ความสามารถในการใชทักษะชีิวิต

คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. มีวินัย รับผิดชอบ 2. ใฝเรียนรู 3. มุงมัน่ ในการทํางาน

๑ ๕

กระตุน ความสนใจ

? àÊ×éͼŒÒ¨Ò¡ÀÒ¾ ÁÕÇÔ¸Õ¡ÒèѴà¡çºÍ‹ҧäúŒÒ§

๑๕

Engage

ใหนักเรียนดูภาพ หนา 15 แลวครูถามนักเรียน ดังนี้ • เสื้อผาตางๆ ที่เห็นในภาพ มีวิธีจัดเก็บ อยางไรบาง (แนวตอบ 1) เสื้อกันหนาว พับหรือแขวนใหเรียบรอย แลวเก็บในตูเสื้อผา 2) เสือ้ ยืด พับใหเรียบรอย แลวเก็บใสตเู สือ้ ผา 3) เสื้อเชิ้ต รีดแลวแขวนเก็บในตูเสื้อผา 4) เสื้อนักเรียน รีดแลวแขวนเก็บในตูเสื้อผา 5) กางเกงขาสั้น พับใหเรียบรอย แลวเก็บ ในตูเสื้อผา 6) กระโปรง รีดแลวแขวนเก็บในตูเสื้อผา)

เกร็ดแนะครู ครูจัดกระบวนการเรียนรูโดยการใหนักเรียนปฏิบัติ ดังนี้ • อภิปรายวิธีการดูแลรักษาเสื้อผา และการซอมแซม • ฝกปฏิบัติดูแลรักษาเสื้อผา และซอมแซมเสื้อผา จนเกิดเปนความรูความเขาใจวา การดูแลรักษาทําความสะอาด ซอมแซม และจัดเก็บเสื้อผาอยางถูกวิธีจะทําใหเสื้อผาไมเกาเร็ว มีเสื้อผาไวใชงานไดยาวนาน

คูมือครู

15


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

Engage

Exploreนหา สํารวจค

สํารวจคนหา

Explore

1. ครูนําเสื้อผาที่ตองรีด เชน เสื้อเชิ้ต กระโปรง เปนตน และเสื้อที่ไมตองรีด เชน เสื้อยืด กางเกงขาสั้นใสอยูบาน เปนตน มาให นักเรียนดู 2. ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายวา เสื้อผาที่ครู นํามาใหดูนี้ มีวิธีดูแลรักษาอยางไร

อธิบายความรู

ñ

1

¡ÒôÙáÅÃÑ¡ÉÒàÊ×éͼŒÒ

เสือ้ ผาเปนปจจัยสีท่ มี่ คี วามจําเปนในการดํารงชีวติ ของคนเรา นอกเหนือ ไปจากที่อยูอาศัย อาหาร และยารักษาโรค ซึ่งเสื้อผามีประโยชน คือ ใชปกปด รางกาย ใชปองกันความรอนความหนาวของอากาศ ชวยปองกันเชื้อโรคไมให เขาสูรางกายไดงาย และใหความสวยงามแกผูสวมใส

Explain

๑. หลักการซักผา

1. ใหนักเรียนรวมกันสรุปวา การดูแลรักษาเสื้อผา ควรปฏิบัติอยางไร 2. ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา การดูแล รักษาเสื้อผาอยางถูกวิธี ทําใหเสื้อผาสะอาด นาสวมใส และเปนการถนอมใหเสื้อผาใชงาน ไดยาวนาน ซึ่งการดูแลรักษาเสื้อผาที่นักเรียน ควรปฏิบัติ มีดังนี้ • การซักผา • การรีดผา • การจัดเก็บเสื้อผา

การซักผาเปนการทําความสะอาดเสื้อผา สามารถทําได ๒ วิธี ดังนี้ ๑) การซักผาดวยมือ อุปกรณ กะละมัง ตะกราผา แปรงซักผา ผงซักฟอก ขั้นตอนการซักผาดวยมือ

ใหแยกผาขาวออกจากผาสี

แชเสือ้ ผาในนํา้ สะอาดประมาณ ๒ ๑๐ นาที แลวขยี้ฝุนละอองออกจากเสื้อผา ¡‹Í¹¡Òëѡ¼ŒÒ ¤ÇÃÊíÒÃǨàÊ×éͼŒÒ â´ÂµÃǨ¡ÃÐ້ÒàÊ×éÍ áÅСҧࡧ¡‹Í¹ ¶ŒÒ¾ºÊÔ觢ͧ ãËŒ¹íÒÍÍ¡ÁÒ ¶ŒÒËÒ¡¾ºÇ‹ÒàÊ×éͼŒÒªíÒÃØ´ ¤Çë‹ÍÁá«Á¡‹Í¹¹íÒ仫ѡ EB GUIDE

http://www.aksorn.com/lib/p/voc_01 (เรื่อง การลบรอยเปอนบนเสื้อผา)

๑๖

เกร็ดแนะครู ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนฟงวา ผาขาวที่เริ่มดูหมองคลํ้า ใหนําผาขาว เหลานั้นแชลงในนํ้าสไปรท และผสมผงซักฟอกลงไปเล็กนอยตามความเหมาะสม ของปริมาณผา โดยใชอัตราสวนนํ้าสไปรท 1 ขวด (325 ซีซี) ตอเสื้อผา 1-2 ตัว จากนั้นแชทิ้งไว 1 คืน แลวนํามาซักตามปกติ

นักเรียนควรรู 1 เสื้อ จากเทคโนโลยีที่ทันสมัยในปจจุบัน ทําใหมนุษยสามารถผลิต เสื้อนาโน ที่มีคุณสมบัติพิเศษ ไดแก กันนํ้า กันรังสียูวี กันเชื้อแบคทีเรีย กันไฟฟาสถิต และกันยับยูยี่ ซึ่งมีประโยชนตอการใชงานในปจจุบันมาก

16

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ขอใดปฏิบัติไดถูกตองในการซักผา 1. ใชสบูซักผาขาว 2. แชผาในแอลกอฮอล 3. ซักผาขาวปนกับผาสี 4. แยกผาขาวออกจากผาสีกอนซัก วิเคราะหคําตอบ โดยปกติผาสีที่ไมมีคุณภาพมักจะตกสี หากซักรวมกับ ผาขาว อาจทําใหผาขาวติดสีจากผาสีได เพราะฉะนั้นกอนซักผาควรแยก ผาขาวออกจากผาสีกอนซัก ดังนั้น ขอ 4. จึงเปนคําตอบที่ถูก


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

1. ครูสนทนาซักถามนักเรียนวา ใครเคยชวย ผูปกครองซักผาบาง จากนั้นครูสุมใหนักเรียน ที่มีประสบการณทั้งการซักผาดวยมือ และ ซักผาดวยเครือ่ งซักผาออกมาเลาประสบการณ ใหเพื่อนฟง 2. ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา การซักผาเปนการทําความสะอาดเสื้อผา ที่สวมใสแลว ซึ่งการซักผาสามารถทําได 2 วิธี คือ 1) การซักผาดวยมือ 2) การซักผาดวยเครื่องซักผา ถาซักชุดชัน้ ใน ถุงเทา หรือเสือ้ ผาทีม่ ี ปริมาณนอย ควรซักดวยมือจึงจะเหมาะกวา ถาซักดวยเครื่องซักผาจะทําใหเปลืองไฟ 3. ครูนําบัตรภาพอุปกรณที่ใชซักผาดวยมือ และซักผาดวยเครื่องซักผามาใหนักเรียนดู จากนั้นใหนักเรียนชวยกันบอกวา อุปกรณใด ที่ใชในการซักผาดวยมือ และอุปกรณใด ใชในการซักผาดวยเครื่องซักผา แลวครู ตรวจสอบวาถูกตองหรือไม

1

เปลีย่ นนํา้ ใหม แลวนําผงซักฟอก ผสมกับนํา้ ใชมอื ตีจนเปนฟอง จากนัน้ นําผา ลงแชไวประมาณ ๑๐-๑๕ นาที

ขยี้ ผ  า ที ล ะตั ว โดยใช มื อ ขยี้ หรือใชแปรงซักผาแปรงไปมาเบาๆ บริเวณที่ สกปรกมาก เชน คอเสือ้ วงแขน ขอบกระเปา เปนตน

Explain

ซั ก ผ า ในนํ้ า สะอาดแล ว บิ ด ให หมาดๆ ถายังไมหมดฟอง ใหลางดวยนํ้า สะอาดอีก ๒-๓ ครั้ง จากนั้นนําผาไปตาก

¨ÔµÊíҹ֡㹡ÒÃ㪌¾Åѧ§Ò¹Í‹ҧ»ÃÐËÂÑ´ - นํ้าแรกที่ใชแชผาและนํ้าสุดทายที่ใชซักผา สามารถนําไปใชรดตนไมได เพื่อชวยประหยัด ทรัพยากรนํ้า - ขณะซักผาดวยมือ ควรรองนํ้าใสกะละมังแคพอใช ไมควรเปดนํ้าไหลทิ้งตลอดเวลา

๑๗

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ใครซักผาไดเหมาะสมที่สุด 1. นิดขยี้ผาทีละ 2 ตัว เพื่อชวยผอนแรง 2. นุชแชผาขาวกับผาสีรวมกันเพื่อประหยัดเวลา 3. นอยลางผาที่ซักแลวดวยนํ้าสะอาด 1 รอบ เพื่อประหยัดนํ้า 4. นิ้งแชผาในนํ้าสะอาด 10 นาที กอนนําไปซัก เพื่อใหฝุนละออง หลุดออกจากผา

วิเคราะหคําตอบ การซักผาควรแยกผาขาวออกจากผาสี แลวแชผานั้น ในนํ้าสะอาดประมาณ 10 นาที กอนนําไปซัก ขณะซักควรซักทีละตัว โดยใชมือขยี้หรือใชแปรงซักผาขัดถู เมื่อซักเสร็จใหนําไปลางนํ้าประมาณ 2-3 ครั้ง จนหมดฟอง ดังนั้น ขอ 4. จึงเปนคําตอบที่ถูก

เกร็ดแนะครู ในขั้นอธิบาย ครูอาจใหนักเรียนแบงกลุม แลวใหแตละกลุมสืบคนขอมูลเกี่ยวกับ การซักผาอยางไรจึงจะประหยัดพลังงาน จากนั้นใหแตละกลุมออกมานําเสนอ ผลการสืบคนที่หนาชั้นเรียน

นักเรียนควรรู 1 ผงซักฟอก ในการซักผาดวยผงซักฟอก ไมควรเทนํ้าผงซักฟอกลงในแมนํ้า ลําคลอง เนื่องจากผงซักฟอกบางชนิดมีฟอสเฟตที่เปนสารอาหารของพืชนํ้า ซึ่งจะมีผลทําใหพืชนํ้าเติบโตอยางรวดเร็ว ทําใหขวางทางคมนาคมทางนํ้า และสารประกอบบางอยางในผงซักฟอกยังทําอันตรายตอสัตวนํ้า จนสัตวนํ้าตาย และทําใหนํ้าเนาเสีย เปนการกอใหเกิดมลภาวะทางนํ้า

คูมือครู

17


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายใหเขาใจถึงวิธี การซักผาดวยมือ โดยใหนักเรียนดูเนื้อหา หนา 16 -17 ประกอบ 2. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายใหเขาใจถึงวิธี การซักผาดวยเครื่องซักผา โดยใหนักเรียนดู เนื้อหา หนา 18 -19 ประกอบ 3. ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา การใช ผงซักฟอกในการซักผา ควรใสใหพอเหมาะกับ ปริมาณของเสื้อผา เพราะถาใสผงซักฟอก นอยกวาปริมาณเสื้อผา อาจทําใหคราบสกปรก หลุดออกยาก และตองใชแรงในการขยี้ผามาก หรือถาใสผงซักฟอกมากกวาเสื้อผา จะตองลาง ดวยนํ้าสะอาดหลายๆ ครั้ง จนกวาฟองจะหมด ซึ่งทําใหเปลืองนํ้ามากยิ่งขึ้น และทําใหเสียเวลา ในการซักผานาน

๒) การซักผาดวยเครื่องซักผา อุปกรณ เครื่องซักผา ผงซักฟอก ตะกราผา ขั้นตอนการซักผาดวยเครื่องซักผา ๑ สํารวจเครื่องซักผาให อยูในสภาพพรอมทํางาน เชน ปลั๊กไฟ ระบบนํ้า เปนตน ใส ผ  า ลงไปในถั ง ซั ก โดยคลี่ ผ  า แต ล ะชิ้ น และตรวจสอบ กระเปาเสื้อหรือกระเปากางเกงกอนวา มีสิ่งของหรือไม หากมีตองนําสิ่งของ ออกมากอน

àµÃÕÂÁ¼ŒÒÊíÒËÃѺ«Ñ¡ àËÁ×͹¡Òëѡ´ŒÇÂÁ×Í áÅеŒÍ§ ᡪ¹Ô´¢Í§¼ŒÒµÒÁ¤ÇÒÁ˹ÒáÅкҧ¢Í§à¹×éͼŒÒ´ŒÇ à¾×èÍÊдǡ㹡ÒÃ*µÑé§â»Ãá¡ÃÁ¡Ò÷íÒ§Ò¹¢Í§à¤Ã×èͧ

à¡Ãç´¹‹ÒÃÙŒ¤Ù‹ºŒÒ¹ การซักผาดวยเครือ่ งซักผา ถาเปนเสือ้ ผาเนือ้ บาง กอนนําไปซักควรใสไวในถุงผาหรือถุงตาขาย เพราะถุงตาขายจะชวยถนอมเนื้อผาไมใหขาดงาย และปองกันไมใหผาพันกัน *ตั้งโปรแกรม หมายถึง การกดปุมเพื่อกําหนดเวลา หรือตั้งระดับการทํางานของเครื่องซักผา EB GUIDE

http://www.aksorn.com/lib/p/voc_01 (เรื่อง ซักผากับเครื่องซักผาใหประหยัดพลังงาน)

๑๘

เกร็ดแนะครู ในขั้นอธิบาย ครูอาจหาขอมูลเกี่ยวกับการเลือกซื้อเครื่องซักผาที่มีขนาดพอเหมาะกับจํานวนสมาชิกในครอบครัวมาอธิบายเพิ่มเติมให นักเรียนเขาใจ ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนฟงวา การไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทยไดมีการรับรองประสิทธิภาพเครื่องใชไฟฟา 15 ผลิตภัณฑ ไดแก ตูเย็น เครื่องปรับอากาศ หลอดตะเกียบ บัลลาสตนิรภัย พัดลมไฟฟา หมอหุงขาวไฟฟา บัลลาสตอิเล็กทรอนิกส T5 พัดลมสายรอบตัว หลอดผอมเบอร 5 กระติกนํ้ารอนไฟฟา โคมไฟฟาเบอร 5 เตารีดไฟฟา เครื่องทํานํ้าอุนไฟฟา และ Standby Power 1 Watt ของ เครื่องรับโทรทัศนและคอมพิวเตอร และในป 2555 ทาง กฟผ. กําลังดําเนินการติดฉลากแสดงระดับประสิทธิภาพสําหรับเครื่องซักผา อีกหนึ่งรายการ บัลลาสตอิเล็กทรอนิกส T5 เปนอุปกรณไฟฟาใชกับวงจรหลอดไฟฟลูออเรสเซนต ทําใหชวยประหยัดไฟมากขึ้น และยืดอายุหลอดไฟไดนานขึ้น รวมถึงขอดีอื่นๆ เชน หลอดเปดติดทันที แสงสองสวางไมกะพริบ ไมมีเสียงฮัม ไมสะสมความรอน หลอดติดไฟแมแรงดันไฟฟาตก เปนตน บัลลาสตอิเล็กทรอนิกส T5

18

คูมือครู


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

1. ครูสาธิตวิธีการซักผาดวยมือใหนักเรียนดู 2. ใหนกั เรียนแบงกลุม แลวใหแตละกลุม ฝกปฏิบัติตามครู 3. ครูถามนักเรียนวา • ถานักเรียนตองซักเสื้อผา 5 ตัว นักเรียน ควรซักดวยวิธีใด เพราะอะไร (แนวตอบ ซักผาดวยมือ เพราะเสื้อผาเพียง 5 ตัว มีจํานวนนอย หากใชเครื่องซักผา จะทําใหสิ้นเปลืองทรัพยากรและไฟฟา) • นักเรียนมีวิธีการซักผาอยางไร ใหประหยัด พลังงาน และทรัพยากร (แนวตอบ ขึ้นอยูกับคําตอบของนักเรียน แตละคน) 4. ใหนักเรียนรวมกันสรุปเรื่องหลักการซักผา แลวจดบันทึกลงในสมุด

กดปุม เพือ่ ปลอยนํา้ เขา เครือ่ งซักผาตามความเหมาะสม แลวใส ผงซั ก ฟอกสํ า หรั บ ซั ก ผ า ด ว ยเครื่ อ ง ใหพอเหมาะกับปริมาณผาที่ซัก ๔

หมุนหรือกดปุมเลือก ระดับการซักผาแตละประเภท จากนั้น เครื่องซักผาจะเริ่มทํางานจนเสร็จ ๕

เมื่อซักผาเสร็จ นําผา ออกจากเครื่องซักผามาใสตะกราผา เพื่อนําไปตาก

เมื่ อ ซั ก ผ า เสร็ จ แล ว ตองถอดปลั๊กออกทุกครั้ง แลวใชผา เช็ดรอบๆ ตัวถัง จากนั้นใชผาคลุมไว สวนอุปกรณอื่นๆ ใหทําความสะอาด แลวจัดเก็บเขาที่ใหเรียบรอย

Explain

¨ÔµÊíҹ֡㹡ÒÃ㪌¾Åѧ§Ò¹Í‹ҧ»ÃÐËÂÑ´ การเลือกซือ้ เครือ่ งซักผา ควรเลือกขนาดใหเหมาะสมกับการใชงาน จํานวนสมาชิกภายในบาน การซักดวยเครื่องซักผาควรใชตอเมื่อมีผาจํานวนที่พอเหมาะกับขนาดของเครื่อง หากตองการซัก เพียงไมกี่ชิ้น หรือซักชุดชั้นในควรซักดวยมือ เพื่อเปนการประหยัดพลังงานไฟฟา

๑๙

กิจกรรมสรางเสริม ใหนักเรียนเขียนอธิบายขั้นตอนการซักผา โดยทําเปนแผนผังความคิด จากนั้นนํามาสงครูผูสอน แลวครูคัดเลือกผลงานแผนผังความคิดการซักผา 3-5 ผลงาน มานําเสนอที่หนาชั้น

เกร็ดแนะครู ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนฟงวา ในการซักผาจะมีเสื้อผาบางประเภท ที่ควรซักแหง หามซักแหง และเสื้อผาบางประเภทที่หามใชสารฟอกขาว ซึ่งเสื้อผา เหลานั้นจะมีเครื่องหมายกํากับเอาไวที่ปายฉลากสินคาที่ติดมากับเสื้อผา ดังนี้

กิจกรรมทาทาย ใหนักเรียนจัดทําสมุดภาพขั้นตอนการซักผา แลวนํามาสงครูผูสอน จากนั้นครูคัดเลือกผลงานสมุดภาพ 3-5 ผลงาน มานําเสนอที่หนาชั้น

ควรซักแหง

หามซักแหง

หามฟอกขาว

คูมือครู

19


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูสนทนาซักถามนักเรียนวา เสื้อผาที่ซักจน สะอาด และตากแหงแลว ควรปฏิบัติอยางไร ตอไป (ใหนักเรียนตอบตามความคิดอยาง อิสระ) 2. ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา เสื้อผา ที่ซักและตากจนแหงแลว จะตองจัดเก็บให เรียบรอยเพื่อประโยชน ดังนี้ • ทําใหเสื้อผาไมยับยูยี่ • ชวยเสริมสรางบุคลิกภาพที่ดีแกผูสวมใส • ทําใหสะดวกในการหยิบใชงาน • เปนการดูแลรักษาเสื้อผา การจัดเก็บเสื้อผา แบงได 2 ลักษณะ คือ 1) การจัดเก็บเสื้อผาที่ไมจําเปนตองรีด 2) การจัดเก็บเสื้อผาที่จําเปนตองรีด 3. ครูนําเสื้อผาแบบตางๆ มาใหนักเรียนดู แลวใหนักเรียนชวยกันจําแนกวา เสื้อผาตัวใด จะตองจัดเก็บอยางไร แลวครูตรวจสอบวา ถูกตองหรือไม

๒. หลักการรีดผา

การรีดผาทําใหเสื้อผาเรียบไมยับยูยี่ เมื่อสวมใสแลวจะชวยเสริมสราง บุคลิกภาพที่ดีแกผูสวมใส การรีดผา ควรปฏิบัติ ดังนี้ ๑) แยกประเภทผ า ตาม ระดับอุณหภูมิของเตารีด ไดแก • ผาทีร่ ดี โดยใชไฟออนๆ เชน ผาใยสังเคราะห ผาไนลอน เปนตน • ผาทีร่ ดี ดวยไฟแรง เชน ผาฝาย เปนตน ๒) พรมนํ้าบนผาใหทั่ว แยกประเภทเสื้อผากอนรีด เพื่อสะดวกตอการรีดผา ๓) ทดลองความรอนของเตารีดดวยการรีดบนผารองรีดกอน ๔) รีดเสื้อผาทีละชิ้นโดยรีดจากสวนปลีกยอยกอน ดังนี้

๓ รีดแขน

๑ รีดปก

๑ รีดขอบเอว

๑ รีดขอบเอว

๒ รีดตัวเสื้อ

๒ รีดตัวกางเกง

๒ รีดตัวกระโปรง

¨ÔµÊíҹ֡㹡ÒÃ㪌¾Åѧ§Ò¹Í‹ҧ»ÃÐËÂÑ´ - ควรรีดผาครั้งละหลายๆ ตัว เพราะจะชวยประหยัดไฟกวารีดทีละตัว - ขณะรีดผาไมควรพรมนํ้าบนเสื้อผาจนแฉะเกินไป เพราะจะทําใหตองใชไฟระดับสูง หรือถา ใชไฟในระดับออนก็จะใชเวลาในการรีดนาน ซึ่งเปนการสิ้นเปลืองพลังงานไฟฟา EB GUIDE

http://www.aksorn.com/lib/p/voc_01 (เรื่อง รีดผาอยางไรใหประหยัดพลังงาน)

๒๐

เกร็ดแนะครู ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนฟงวา นักเรียนควรสังเกตสัญลักษณตางๆ ที่แสดงในเสื้อผาเพื่อจะไดรีดผาไดอยางถูกตองเหมาะสมกับ ชนิดของผาที่รีดนั้น สัญลักษณ

อุณหภูมิ 200 ํC

ชนิดของผา ผาฝาย ผาลินิน ผาวีสโคส

150 ํC

ผาผสมใยโพลีเอสเตอร ผาขนสัตว

Warm iron

110 ํC

ผาอะไครลิก ผาไนลอน ผาอะซิเตด ผาโพลีเอสเตอร หามรีดดวยเตารีด เพราะจะทําใหเสนใย ถูกทําลาย

Cool iron

-

20

คูมือครู

คําที่อาจจะใชแทนสัญลักษณ Hot iron

Do not iron


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

Explain

1. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายใหเขาใจถึง หลักการรีดผาและหลักการจัดเก็บเสื้อผา โดยใหนักเรียนดูเนื้อหา หนา 20-21 ประกอบ 2. ครูสาธิตวิธีการรีดผาใหนักเรียนดู 3. ใหนักเรียนแบงกลุม แลวใหแตละกลุมฝก รีดผาโดยใชอุปกรณจําลอง 4. ครูสาธิตวิธีการจัดเก็บเสื้อผาใหนักเรียนดู 5. ใหนักเรียนกลุมเดิม ฝกจัดเก็บเสื้อผา 6. ใหนักเรียนแตละกลุม ออกมาแสดงบทบาท สมมุติในการรีดผา และการจัดเก็บเสื้อผา ที่หนาชั้นเรียน โดยใหเพื่อนกลุมอื่นชวยกัน ประเมินผล และครูคอยใหคําแนะนํา

๓. หลักการจัดเก็บเสื้อผา

การจัดเก็บเสือ้ ผาทําใหสะดวกในการหยิบใชงาน ดูเปนระเบียบเรียบรอย อีกทั้งเปนการถนอมดูแลรักษาเสื้อผาอีกดวย ซึ่งการจัดเก็บเสื้อผาสามารถแบง ได ๒ ลักษณะ ดังนี้ 1 ๑) การจัดเก็บเสื้อผาที่ไมจําเปนตองรีด เชน เสื้อยืด กางเกงขาสั้น ชุดชั้นใน ผาถุง ผาเช็ดตัว เปนตน เสื้อผาเหลานี้ไมจําเปนตองรีด แตควรจัดเก็บ โดยพับใหเรียบรอย การเก็บเสื้อผาโดยการพับ มีวิธีปฏิบัติ ดังนี้ การ พับ เสื้อ การ พับ กางเกง การพับ ผาเช็ดตัว หรือผาถุง

๒) การจัดเก็บเสื้อผาที่จําเปนตองรีด เมื่อรีดเสร็จแลว ตองจัดเก็บ ใหเปนระเบียบเรียบรอย เพื่อไมใหเสื้อผายับยูยี่ ซึ่งการจัดเก็บเสื้อผาที่รีดแลว สามารถทําได ดังนี้ (๑) เสื้อผาที่รีดแลวบางประเภท เชน ชุดนักเรียน ชุดทํางาน เปนตน ตองใสไมแขวนเสือ้ แขวนไวใหเรียบบรอย และจัดรูปทรงของเสือ้ ผาใหเขาที่ (๒) เสือ้ ผาทีร่ ดี แลวบางประเภท เชน เสือ้ ยืด กางเกง เปนตน ไมตอ ง ใสไมแขวนเสื้อ ใหพับเก็บใหเรียบรอย ๒๑

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

จากภาพ ควรจัดเก็บอยางไร 1. ใชไมแขวนเสื้อแลวเก็บไวในตูเสื้อผา 2. พับใหเรียบรอยแลวเก็บไวในตูเสื้อผา 3. ขยุมๆ แลวเก็บไวในตะกรา 4. มวนแลวเก็บไวในตะกรา วิเคราะหคําตอบ ในภาพ คือ เสื้อเชิ้ต เมื่อซักและตากจนแหงแลว ใหรีดใหเรียบรอย จากนั้นใสไมแขวนเสื้อแลวนําไปเก็บในตูเสื้อผา ดังนั้น ขอ 1. จึงเปนคําตอบที่ถูก

บูรณาการเชื่อมสาระ

ครูบูรณาการความรูในสาระการงานอาชีพฯ วิชาการงานอาชีพฯ กับ สาระภาษาไทย เรื่องการเขียนอธิบาย โดยใหนักเรียนจัดทําสมุดภาพแสดง ขั้นตอนในการดูแลรักษาเสื้อผา โดยเขียนอธิบายมาพอสังเขป เพื่อให นักเรียนเกิดความรูความเขาใจเกี่ยวกับการดูแลรักษาเสื้อผา

เกร็ดแนะครู ในขั้นอธิบาย ครูอาจสุมเรียกนักเรียนออกมา 4 คน ใหออกมาแสดงการจัดเก็บ เสื้อผา จากนั้นใหเพื่อนๆ ชวยกันวิเคราะหวา เพื่อนคนใดจัดเก็บเสื้อผาไดถูกตอง และคนใดจัดเก็บเสื้อผาไมถูกตอง เพราะอะไร

นักเรียนควรรู 1 เสื้อยืด เนื่องจากผาที่นํามาทําเสื้อยืดมีความยืดหยุน จึงมีขอแนะนําการซัก และการดูแลรักษา ดังนี้ 1. ควรซักดวยมือมากกวาซักดวยเครื่องซักผา 2. ผงซักฟอกที่ใชควรเลือกที่เปนแบบถนอมใยผา 3. ไมควรตากโดยใชไมแขวนเสื้อ ใหกลับดานแลวพาดเสื้อที่ราวตากผา 4. ควรพับเก็บมากกวาใชไมแขวนเสื้อผา ซึง่ การปฏิบตั ติ ามคําแนะนํานีจ้ ะไมทาํ ใหเสือ้ ยืดเสียทรงเร็ว และคอเสือ้ ยืดงาย คูมือครู

21


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Expand าใจ ขยายความเข

Evaluate ตรวจสอบผล

Expand

1. ใหนักเรียนแบงกลุม แลวใหแตละกลุมนําเสื้อผา มากลุมละ 2-3 ชุด แลวซักผาดวยมือตาม ขั้นตอนที่เรียนมา และเขียนบันทึกผลการ ทํางานลงในสมุด จากนั้นใหเพื่อนกลุมอื่น ประเมินผลตามหัวขอในกิจกรรมการเรียนรูที่ 1 ขอ 1. หนา 22 2. ใหนักเรียนแบงกลุม แลวใหแตละกลุมนําเสื้อผา ที่ซักแลวแตยังไมไดรีด มากลุมละ 4-5 ชุด แลวฝกรีดและจัดเก็บใหเรียบรอย จากนั้น เขียนบันทึกผลตามหัวขอที่กําหนดในกิจกรรม การเรียนรูที่ 1 ขอ 2. หนา 22

ตรวจสอบผล

ขยายความเขาใจ

¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ñ ๑. แบงกลุม กลุมละ ๔-๕ คน ใหแตละกลุมนําเสื้อผามากลุมละ ๒-๓ ชุด แลวซักผา ดวยมือตามขั้นตอนที่เรียนมา และเขียนบันทึกผลการทํางานลงในสมุด จากนั้นให เพื่อนกลุมอื่นชวยประเมินผล

ผลการประเมิน ดีมาก ดี พอใช

รายการประเมิน

Evaluate

๑. ปฏิบัติตามขั้นตอนการซักผาที่ถูกตอง ………………….. …………………. ………………….. ผล ก ึ ๒. ทําความสะอาดอุปกรณ จัดเก็บ ท บัน ………………….. และทําความสะอาดบริเวณซักลาง …………………. าง …………………. าร …………………. ………………….. ต ๓. การตากผาที่ซักแลว ง ………………….. ยา ตัวอ………………….. …………………. ………………….. ๔. ความสะอาดของเสื้อผาที่ซัก ๕. การประหยัดพลังงานและทรัพยากรธรรมชาติ ………………….. …………………. …………………..

1. ครูตรวจสอบวา นักเรียนซักผาไดอยางถูกตอง 2. ครูตรวจสอบวา นักเรียนจัดเก็บเสื้อผาไดอยาง ถูกตอง และเหมาะสม

ลงชื่อ ……………………………………………………….. ผูประเมิน ๒. แบงกลุม กลุมละ ๓-๔ คน ใหนําเสื้อผาที่ซักแลวแตยังไมไดรีดมากลุมละ ๔-๕ ชุด แลวฝกรีดผาและจัดเก็บเสื้อผาใหเรียบรอย และเขียนบันทึกผลลงในสมุด จากนั้น ออกไปนําเสนอผลงานที่หนาชั้นเรียน • เสื้อผาที่นํามารีด • ลักษณะของเสื้อผากอนนํามารีด • ขั้นตอนในการรีดเสื้อผา • ผลดีที่เกิดจากการรีดเสื้อ1 ผาดวยตนเอง • วิธีชวยประหยัดพลังงานในการทํางานนี้

๒๒

นักเรียนควรรู 1 วิธีชวยประหยัดพลังงาน ในปจจุบันคนไทยใชพลังงานจํานวนมาก หากพวกเราทุกคนชวยกันประหยัดพลังงานวันละนิด จะสามารถชวยชาติ ลดคาใชจายในดานพลังงาน ซึ่งนักเรียนสามารถทําไดงายๆ เชน • ปดสวิตชไฟและเครื่องใชไฟฟาเมื่อเลิกใชงาน • ใชพัดลมแทนการใชเครื่องปรับอากาศในวันที่อากาศไมรอนมากนัก • ไมเปด-ปดตูเย็นบอยๆ เพราะจะทําใหตูเย็นทํางานมากขึ้น และกินไฟ มากขึ้น

22

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ใครปฏิบัติไดถูกตองที่สุด 1. ตุกรีดผาครั้งละตัว เพื่อเปนการประหยัดเวลา 2. ตอมรีดผาทุกชนิดดวยไฟแรง เพื่อใหผาเรียบเร็ว 3. นิ่มแชผาขาวและผาสีรวมกัน เพื่อประหยัดผงซักฟอก 4. นอยใชแปรงแปรงผาบริเวณที่สกปรกมาก เพื่อชวยทุนแรงในการขยี้ วิเคราะหคําตอบ การใชแปรงแปรงผาในบริเวณที่สกปรกมาก เชน คอเสื้อ วงแขน ขอบกระเปา เปนตน จะชวยใหทุนแรงในการใชมือขยี้ และยังชวยใหผาสะอาด ดังนั้น ขอ 4. จึงเปนคําตอบที่ถูก


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุEngage นความสนใจ

สํารวจค Exploreนหา

กระตุน ความสนใจ

ò

ครูนําเสื้อผาที่ขาดมาแสดงใหนักเรียนดู แลวถามวา เสื้อผาใครเคยเปนอยางนี้บาง แลวนักเรียนทําอยางไร

¡Òë‹ÍÁá«ÁàÊ×éͼŒÒ

๑. การเย็บพื้นฐานเพื่อใชในการซอมแซมเสื้อผา

สํารวจคนหา

เสื้อผาที่เราสวมใสบอยๆ อาจเกิดการชํารุดเสียหายได เชน ตะเข็บขาด กระดุมหลุด ถาเราสามารถซอมแซมเองได ก็จะชวยประหยัดคาใชจา ย ซึง่ การเย็บ พื้นฐานเพื่อใชซอมแซมเสื้อผามีวิธีการ ดังนี้ ๑) การเนา เปนการเย็บตะเข็บชั่วคราวดวยมือ เพื่อยึดผาใหติดกัน กอนเย็บตะเข็บดวยจักร ซึ่งการเนาแบงออกเปน ๔ ชนิด ไดแก (๑) การเนาเทากัน เปนการเย็บที่มีความถี่และความหางของฝเข็มยาวเทาๆ กัน ทั้งดานหนา และดานหลัง การเย็บวิธีนี้จะชวยยึดผาใหติดกัน แตไมแนนมาก

ลักษณะของฝเข็มดานหนา

Explore

ครูสุมเรียกนักเรียนที่เคยซอมแซมเสื้อผาที่ ชํารุด 3-4 คน ออกมาเลาประสบการณใหเพื่อนฟง จากนั้นครูสอบถามนักเรียน ดังนี้ • เพราะอะไรจึงซอมแซมเสื้อผาที่ชํารุด (แนวตอบ เพราะสามารถนําเสื้อผามาใช ไดอีก โดยไมตองซื้อใหม เปนการประหยัด คาใชจาย)

อธิบายความรู

Explain

1. ใหนักเรียนรวมกันสรุปวา เมื่อเสื้อผาชํารุด ควรปฏิบัติอยางไร 2. ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา หาก เสื้อผาชํารุดเพียงเล็กนอย เชน กระดุมหลุด ชายกระโปรงลุย เปนตน เราควรซอมแซม ดวยตนเอง เพราะทําใหมีเสื้อผาไวใชไดอีก ยาวนาน เปนการชวยประหยัดคาใชจาย ซึ่งในการซอมแซมเสื้อผานี้ เราจะตองเรียนรู วิธีการเย็บผาพื้นฐานกอน เพื่อนําไปใช ในการซอมแซมเสื้อผา การเย็บผาพื้นฐานที่นักเรียนควรรู คือ 1) การเนา 2) การดน 3) การสอย

ลักษณะของฝเข็มดานหลัง

(๒) การเนาไมเทากัน เปนการเย็บที่มีความถี่และความหางของฝเข็มสลับกัน ฝเข็มถี่ จะอยูดานหนา สวนฝเข็มหางจะอยูดานหลัง ซึ่งการเย็บดวยวิธีนี้จะชวยยึดผา ใหติดแนนกวาการเนาเทากัน

ลักษณะของฝเข็มดานหนา

Engage

ลักษณะของฝเข็มดานหลัง

๒๓

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ขอใดไมใชวิธีการซอมแซมเสื้อผาที่ชํารุดเล็กนอย 1. การเนา 2. การเย็บจักร 3. การดน 4. การสอย

วิเคราะหคําตอบ การซอมแซมเสื้อผาที่ชํารุดเล็กนอย เรามักใชวิธีการ เนา การดน การสอย สวนการเย็บจักรเปนวิธีการตัดเย็บเสื้อผาหรือ ซอมแซมเสื้อผาที่ชํารุดมาก ดังนั้น ขอ 2. จึงเปนคําตอบที่ถูก

บูรณาการเชื่อมสาระ

เกร็ดแนะครู ครูอธิบายเสริมใหนักเรียนฟงวา ในการซอมแซมเสื้อผาเราควรเลือกดายใหเขา กับผา โดยใชดายสีเดียวกับผาหรือใกลเคียงกับผา ขนาดของเสนดายควรกลมกลืน กับเนื้อผา เพื่อใหการซอมแซมเสื้อผานั้นดูกลมกลืนและสวยงาม

มุม IT ครูหาความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับการซอมแซม ตกแตง และดัดแปลงเสื้อผา ไดที่ http://www.kobfa.com/?cid=95908

ครูบูรณาการความรูในสาระการงานอาชีพฯ วิชาการงานอาชีพฯ กับ สาระภาษาไทย เรื่องการเขียนอธิบาย โดยใหนักเรียนจัดทําสมุดภาพ ขั้นตอนการซอมแซมเสื้อผา โดยเขียนอธิบายขั้นตอนประกอบภาพอยาง ละเอียด เพื่อใหนักเรียนเกิดความรูความเขาใจเกี่ยวกับขั้นตอนการซอมแซม เสื้อผาไดดียิ่งขึ้น

คูมือครู

23


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูนําอุปกรณที่ใชในการเย็บผามาใหนักเรียนดู แลวแนะนําอุปกรณใหนักเรียนรูจัก 2. ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา การซอมแซมเสื้อผาโดยการเย็บผานั้น จะตอง เลือกใชสีของดายใหตรงกับสีเสื้อผา หรือถา ไมมีสีที่ตรงกัน ใหเลือกใชสีที่ใกลเคียงมากที่สุด เพื่อความสวยงาม และไมทําใหเห็นรอยดาย 3. ใหนักเรียนศึกษาเรื่องการเนา หนา 23-24 4. ครูสาธิตวิธีการเนาผาแบบตางๆ ใหนักเรียนดู 5. ใหนักเรียนแบงกลุม แลวใหแตละกลุมฝกเนาผา โดยครูคอยดูแล และใหคําแนะนํา 6. ใหนักเรียนศึกษาเรื่องการสอย หนา 24-25 7. ครูสาธิตวิธีการสอยแบบตางๆ ใหนักเรียนดู 8. ใหนักเรียนกลุมเดิมฝกสอยผา โดยครูคอยดูแล และใหคําแนะนํา

(๓) การเนาเฉลียง เปนการเนาผา ๒ ชิ้น ตาม 1 แนวทแยงใหตดิ กัน เชน เนาผารองปกกับ ปกเสื้อ เปนตน (๔) การเนาแบบช2างเสือ้ ชาย เปนการเนาตะเข็บที่ใชเปน เสนแสดงแนวกลางหนาและกลางหลังของ เสื้อและกระโปรง ๒) การสอย เปนการเย็บดวยมือที่จะมองเห็นรอยเย็บดานนอก นอยที่สุด ซึ่งการสอยที่นิยมใช มีดังนี้ (๑) การสอยซอนดาย เปนการสอยใหดายซอน อยูระหวางรอยพับของผาเปนชวงๆ โดย สลับกับการสะกิดเสนดายเพื่อยึดรอยพับ ใหติดกัน นิยมใชกับการสอยชายเสื้อหรือ ลักษณะของฝเข็ม ลักษณะการเย็บ ดานหนา ดานหลัง ชายกระโปรง (๒) การสอยฟนปลา เปนการสอยใหแนวเสนดาย ทแยงขึน้ ลงสลับฟนปลาบนสวนทีเ่ ปนแนว พับชายผา และสะกิดเสนดายที่ผาชิ้นลาง เพียงเล็กนอย นิยมใชกับการสอยชายเสื้อ ชายกระโปรง หรือชายกางเกงทีเ่ ปนผายืด หรือผาเนื้อหนา ๒๔

เกร็ดแนะครู ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนฟงวา การเนาผามีประโยชนหลายประการ เชน 1. เปนการเย็บผาใหติดกันชั่วคราว เพื่อไมใหผาเคลื่อนที่ 2. ชวยใหเย็บตะเข็บถาวรไดงายขึ้น 3. มีเครื่องหมายในการเย็บ ซึ่งจะทําใหเย็บไดตรงตามที่ตองการ

นักเรียนควรรู 1 ทแยง หมายถึง เฉียง เฉลียง 2 ตะเข็บ หมายถึง แนวผาที่เย็บติดๆ กัน

24

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

การเย็บในลักษณะใด เหมาะที่จะใชเย็บหมอนอิง 1. การเนาเฉลียง 2. การสอยฟนปลา 3. การสอยหลบหลังคา 4. การเนาแบบชางเสื้อชาย วิเคราะหคําตอบ การเย็บหมอนอิง เย็บทีน่ อน เบาะ มักจะใชการสอย หลบหลังคา ซึ่งทําไดโดยการพับริมผา 2 ชิ้นใหเสมอกัน แทงเข็มลงบน ริมผา จากนั้นดึงดายขึ้น แลวแทงเข็มลงบนริมผาใหหางจากฝเข็มแรก เล็กนอย ซึ่งเมื่อทําแบบนี้แลวจะทําใหขอบของหมอนอิง ที่นอน และเบาะ แนนหนา ไมขาดงาย ดังนั้น ขอ 3. จึงเปนคําตอบที่ถูก


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

1. ใหนักเรียนศึกษาขอมูลเรื่องการดน หนา 25 2. ครูสาธิตการดนแบบตางๆ ใหนักเรียนดู 3. ใหนกั เรียนกลุมเดิมฝกดนผา โดยครูคอยดูแล และใหคําแนะนํา 4. ใหตัวแทนแตละกลุมนําผลงานของกลุมตนเอง ทั้งหมด ออกมานําเสนอที่หนาชั้นเรียน จากนั้นใหเพื่อนกลุมอื่นๆ ชวยกันประเมินผล และครูคอยใหคําแนะนํา 5. ใหนักเรียนแตละกลุมแกไขขอบกพรอง ในการเย็บผาพื้นฐาน และใหแตละกลุมฝก เย็บผา จนเกิดความชํานาญ

(๓) การสอยหลบหลังคา เปนการสอยโดยพับริมผา ๒ ชิน้ ใหเสมอกันแลวแทงเข็มลงบนริมผา แลวดึงดายขึ้น จากนั้นแทงเข็มลงที่ริมผา ใหหางจากฝเข็มชวงแรกเล็ กนอย นิยมใช 1 เย็บที่นอน หมอนอิง เบาะ ๓) การดน เปนการเย็บผาใหยึดติดแนน การดนที่นิยมใช มีดังนี้ (๑) การดนตะลุย เปนการเย็บผา ๒ ชิ้น ให ติดกัน โดยแทงเข็มขึ้นลงใหฝเข็มถี่ที่สุด นิยมใชเย็บเกล็ดเสื้อ ปะผา (๒) การดนถอยหลัง เปนการเย็บผา ๒ ชิน้ ใหตดิ กัน โดยแทงเข็มขึ้นและยอนกลับไปแทงเข็ม ทีด่ า นหลัง ใหฝเ ข็มยาวเพียงครึง่ หนึง่ ของ ฝเข็มแรก จากนัน้ แทงเข็มลงและดึงดายขึน้ นิยมใชเย็บผาโดยทั่วไป

ลักษณะของการเย็บ ดานหนา

Explain

ลักษณะของฝเข็ม ดานหลัง

à¡Ãç´¹‹ÒÃÙŒ¤Ù‹ºŒÒ¹ การดนถอยหลัง เปนการทําตะเข็บดวยมือที่มีลักษณะเหมือนตะเข็บจากจักรเย็บผา ซึ่งแตละ ชวงของการดนถอยหลังควรยาวไมเกิน ๑/๘ นิ้ว จึงจะดูสวยงาม

๒๕

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’ 53 ออกเกี่ยวกับการเย็บผา การเย็บดวยมือขอใดที่เลาะดายออกไดงายที่สุด 1. การดนตะลุย 2. การสอยพับริม 3. การดนถอยหลัง 4. การเย็บหลบหลังคา วิเคราะหคําตอบ การดนตะลุย จะมีลักษณะคลายกับการเนา โดยใชการ แทงเข็มขึ้น-ลงบนผาไดระยะเสมอกันและเปนแนวตรง ซึ่งคลายกับ การเนาแตมีความถี่มากกวา จึงทําใหเลาะดายออกไดงาย ดังนั้น ขอ 1.

จึงเปนคําตอบที่ถูก

เกร็ดแนะครู ครูแนะนํานักเรียนวา หลังเย็บผาเสร็จแลวควรเก็บอุปกรณเย็บผาใหเปนระเบียบ เพื่อปองกันอันตราย และเพื่อใหหยิบใชงานในครั้งตอไปไดสะดวก เชน เข็มเย็บผา ควรใสหลอดที่เก็บเข็มหรือปกไวที่หมอนปกเข็ม ดายควรพันไวกับหลอดดาย ใหเรียบรอย เปนตน

นักเรียนควรรู 1 หมอนอิง เปนผลิตภัณฑที่ทําจากผาชนิดตางๆ เชน ผาฝาย ผาไหม นํามา ตัดเย็บประกอบใหมีขนาดและรูปแบบตามตองการ เชน สี่เหลี่ยม กลม นิยมนํามา ทําเปนของใชและของตกแตง

คูมือครู

25


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนเขาใจวา เมื่อเรา ฝกเย็บผาพื้นฐานจนเกิดความชํานาญแลว สามารถนําการเย็บผาพื้นฐานนั้นมาใช ในการซอมแซมเสื้อผาที่ชํารุดได 2. ใหนักเรียนศึกษาเรื่องกระดุมเสื้อหลุด หรือขาดในหนังสือ หนา 26-27 3. ครูสาธิตวิธีการซอมแซมเสื้อที่กระดุมหลุด ใหนักเรียนดู 4. ใหนักเรียนแบงกลุม แลวใหแตละกลุม ฝกปฏิบัติตาม 5. ใหตัวแทนแตละกลุมออกมานําเสนอผลงาน ที่หนาชั้นเรียน จากนั้นใหเพื่อนกลุมอื่นๆ ประเมินผล และครูใหคําแนะนํา

๒. การซอมแซมเสื้อผาที่ชํารุด

เสื้อผาเมื่อใชไประยะหนึ่งอาจเกิดการชํารุด เชน กระเปาเสื้อฉีกขาด กระดุมหลุด ชายกระโปรงหรือขากางเกงลุย เปนตน เราจึงควรซอมแซมเพื่อให เสื้อผานั้นๆ กลับมาใชไดอีก ซึ่งการซอมแซมเสื้อผาดวยตนเอง ทําใหประหยัด เงินและเปนการใชเวลาวางใหเปนประโยชนดวย ๑) กระดุมเสื้อหลุดหรือขาด กระดุมทีน่ ยิ มใชตดิ เสือ้ ผามีหลายชนิด แตสาํ หรับชุดนักเรียนมักเปน กระดุมไมมีกาน และกระดุมแปบ ซึ่งมีวิธีการเย็บที่แตกตางกัน ดังนั้นนักเรียน ควรรูจักวิธีการเย็บกระดุมทั้ง ๒ ลักษณะ เพื่อจะไดเย็บหรือซอมแซมกระดุมเสื้อ ไดถูกตอง (๑) การเย็บกระดุมไมมีกาน มีขั้นตอน ดังนี้

๑ หาตําแหนงที่กระดุมหลุด จากนั้นวางกระดุมที่

ตําแหนงเดิม

๒ แทงเข็มขึ้นจากใตผาผานเขามาในรูกระดุม และแทง

เข็มลงบนผาโดยเปลี่ยนรูกระดุมที่แทง ทําเชนนี้สลับกันจน แนใจวากระดุมถูกตรึงแนนแลว

๓ แทงเข็มกลับลงมาที่จุดเริ่มตน จากนั้นผูกปมดายให

แนน ๒๖

เกร็ดแนะครู ครูอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียนฟงวา การเย็บกระดุมสามารถทําไดงายๆ โดยทําตามขั้นตอน ดังนี้

1. สอดเข็มหมุดไขวกัน 2 อัน กับชิ้นผา และ วางกระดุมไวกึ่งกลาง

26

คูมือครู

2. ใชเข็มรอยดาย และเย็บไขวเหมือน เครื่องหมายคูณ

3. เมื่อเย็บไขวเสร็จแลว ใหแทงเข็มขึ้นมาจาก ใตกระดุมและวนดาย 3 รอบ จากนัน้ แทงกลับ ดานลาง

4. ผูกปมใหแนน ตัดดาย ใหเรียบรอย และดึง เข็มหมุดออก


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

Explain

1. ใหนักเรียนศึกษาเรื่อง ชายกระโปรง หรือชายกางเกงลุย หนา 27 2. ครูสาธิตวิธีการซอมแซมชายกระโปรงหรือ ชายกางเกงลุยใหนักเรียนดู 3. ใหนักเรียนแบงกลุม แลวใหแตละกลุมฝก ซอมแซมชายกระโปรงหรือชายกางเกงลุย 4. ใหตัวแทนแตละกลุมออกมานําเสนอผลงาน ของกลุมตนเอง แลวใหเพื่อนกลุมอื่นๆ ประเมินผล และครูใหคําแนะนํา

1

(๒) การเย็บกระดุมแปบ มีขั้นตอน ดังนี้ ๑ หาตําแหนงที่กระดุมหลุด วางกระดุมหงายขึ้นตรง ตําแหนงเดิม ใชเข็มแทงเขาในชองที่อยูในกระดุม แลวแทง เข็มออกนอกชองที่อยูขางๆ ของกระดุมนั้นอีกครั้ง

๒ เย็บกระดุมเหมือนขั้นตอนที่ ๑ ซํ้าประมาณ ๖-๘ ครั้ง

จากนัน้ ใชแทงเข็มในชองถัดไป แลวเย็บเหมือนกับชองแรก จนครบทุกชอง

๓ พันปลายเข็ม ๓-๔ ครั้ง เพื่อผูกปมดาย กระดุมแปบ

๑ ชุด จะมี ๒ ตัว ซึ่งใชหลักการเย็บเหมือนกัน

๒) ชายกระโปรงหรือชายกางเกงลุย (๑) การสอยชายกระโปรงหรือกางเกง มีขั้นตอน ดังนี้ ๑ ใชกรรไกรตัดเสนดายทีล่ ยุ ออก พับริมผาทีต่ อ งการสอย ใหเรียบรอย

๒ สอดเข็มใตริมผาในสวนที่พับ จากนั้นแทงเข็มขึ้นเพื่อ

ซอนปม

๓ จับผาใหแนน แทงเข็มเกีย่ วผาดานลางขึน้ มาโดยสะกิด

ผาเพียงเล็กนอย สอดเข็มขึ้นมาตรงริมผาที่พับ ดึงดาย ขึ้นมาใหสุด แลวแทงเข็มลงไป สอยตามแบบเดิมอีกครั้ง โดยเวนระยะหางใหเทากัน จากนั้นขมวดปมเมื่อสอยเสร็จ http://www.aksorn.com/lib/p/voc_01 (เรื่อง การซอมแซมเสื้อผา)

EB GUIDE

๒๗

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

“ตอนเย็นหลังเลิกเรียน ตุยหกลมในสนามฟุตบอล ทําใหชายกางเกงลุย” จากขอความนี้ตุยควรจะทําการซอมแซมกางเกงดวยวิธีใด จึงจะเหมาะสม ที่สุด 1. การปะ 2. การดน 3. การสอย 4. การเนา วิเคราะหคําตอบ เมื่อชายกางเกงหรือชายกระโปรงลุย เราควรซอมแซม โดยวิธีการสอย เพราะจะทําใหไมเห็นรอยดายปรากฏอีกดานของกางเกง หรือกระโปรง ดังนั้น ขอ 3. จึงเปนคําตอบที่ถูก

เกร็ดแนะครู ครูอาจใหนักเรียนดูภาพการเย็บกระดุมแปบประกอบ เพื่อใหนักเรียนเขาใจ งายขึ้น

1

2

3

4

นักเรียนควรรู 1 กระดุมแปบ เปนกระดุมที่ทําดวยโลหะ มีลักษณะตางไปจากกระดุมธรรมดา คือ ประกอบดวยฝาบน ซึ่งมีปุมนูนตรงกลาง และตัวรับ ซึ่งตรงกลางเปนแอง ตองใชคูกันเสมอ คูมือครู

27


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ขยายความเขาใจ Expand าใจ ขยายความเข

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Expand

1. ใหนักเรียนอานขอความในกิจกรรมการเรียนรู ที่ 2 ขอ 1. หนา 28 แลวเขียนบอกวิธีการ ซอมแซมเสื้อผาที่ชํารุด 2. ใหนักเรียนดูภาพในกิจกรรมการเรียนรูที่ 2 ขอ 2. หนา 28 แลวตอบคําถาม 3. ครูใหนักเรียนนําเสื้อผาที่ชํารุดของตนเองมา ซอมแซม แลวเขียนบันทึกตามหัวขอที่กําหนด ในกิจกรรมการเรียนรูที่ 2 ขอ 3. หนา 28 4. ใหนักเรียนออกมาแสดงผลงานของตนเอง ที่หนาชั้นเรียน

¡Ô¨¡ÃÃÁ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ò ๑. เขียนบอกวิธีการซอมแซมเสื้อผาจากลักษณะการชํารุดตามที่กําหนด ๑) ชายกางเกงลุย ๒) เสื้อนักเรียนถูกตะปูเกี่ยวขาดเปนทางยาว ๓) ตะขอกระโปรงหลุด ๒. ดูภาพแลวตอบคําถาม

๑) การชํารุดของผาชิ้นนี้มีลักษณะอยางไร ๒) วิธีใดที่ใชซอมแซมผาชิ้นนี้ ๓) ขั้นตอนในการซอมแซมควรปฏิบัติอยางไร

๓. นําเสื้อผาที่ชํารุดของตนเองมาฝกซอมแซมตามสภาพชํารุดคนละ ๑ วิธี แลวเขียน บันทึกขอมูลลงในสมุด จากนั้นออกมานําเสนอผลงานที่หนาชั้น • ลักษณะเสื้อผาที่ชํารุด • สาเหตุที่ทําใหเสื้อผาชํารุด • วิธีการที่เลือกซอมแซมเสื้อผาที่ชํารุด • ขั้นตอนการซอมแซม

¢ÂÒ¤ÇÒÁÃÙŒ ÊÙ¡‹ ÒäԴ

นักเรียนคิดวา การใสเสื้อผาที่ขาดหลุดลุยไปในที่สาธารณะจะเกิดผลอยางไร

๒๘ เฉลย กิจกรรมการเรียนรูที่ 2 1. แนวตอบ 1) สอยชายกางเกงโดยใชวิธีสอยซอนดาย 2) ปะดวยผาอีกผืนหนึ่ง 3) เย็บตะขอกระโปรงใหม 2. แนวตอบ 1) ตะขอกางเกงหลุด 2) เย็บตะขอ 3) • หาตําแหนงที่ตะขอหลุด แลววางตะขอไวที่ตําแหนงเดิม • แทงเข็มขึ้นจากใตผาผานเขามาในรูตะขอและแทงเข็มลงบนผา โดยเปลี่ยนรูตะขอที่แทง ทําเชนนี้สลับกันจนตะขอตรึงแนน • แทงเข็มกลับมาที่จุดเริ่มตน จากนั้นผูกปมดายใหแนน เพื่อปองกัน เสนดายที่เย็บไวคลายตัว

28

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ขอใดไมใชอุปกรณที่ใชในการซักผาดวยมือ 1.

2.

3.

4.

วิเคราะหคําตอบ การซักผาดวยมือ ใชอุปกรณ ดังนี้ แปรงซักผา (ขอ 2.) ผงซักฟอก (ขอ 3.) กะละมัง (ขอ 4.) และตะกราผา สวนภาพขอ 1. เปนแปรงขัดพื้น ใชในการขัดพื้นหองนํ้า ไมใชในการซักผา ดังนั้น

ขอ 1. จึงเปนคําตอบที่ถูก


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engage

Explore

Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate ตรวจสอบผล Evaluate

ตรวจสอบผล

1. ครูตรวจสอบนักเรียนวา ซอมแซมเสื้อผาตาม สภาพที่ชํารุดไดอยางถูกตอง 2. ใหนักเรียนตรวจสอบตนเอง ในแตละหัวขอ ตาม หนา 28 วาเมื่อเรียนจบแลวสามารถ ปฏิบัติสิ่งใดไดบาง

ÊÒÃÐÊíÒ¤ÑÞ ¨´¨íÒäÇŒ ร ั ดก า น า ร จ น บ า ษ ะ ก ํา ง า ทั ก ก า ร ท ใน

ทั ก ษะการจั ด การ เป น กระบวนการ ในการดําเนินงานอยางเปนระบบ เพื่อให ทํางานตางๆ ไดสะดวก และสําเร็จตาม เปาหมาย ซึ่งมีขั้นตอน ดังนี้ ๑. สํารวจและวิเคราะหงาน ๒. วางแผนการทํางาน ๓. ปฏิบัติงาน และสรุปผลของงานที่ทํา ประโยชนของการใชทักษะการจัดการ ในการทํางานบาน คือ วางแผนในการ ทํางานได ทํางานเสร็จตามเปาหมาย และฝกความรับผิดชอบมีเหตุผลรอบคอบ

ครัว หอง ัว ด า ร สะอ  อ ง ค วาม รจัดห า

การ ท แ ล ะ ํา ค ก

บา นงามตา 

น ชกิ ใ สมา การ ว มกบั าํ งานร มารยาทในการท

เสอื้ ผา ของฉนั

การเย็บพื้นฐานเพื่อใชในการซอมแซม เสื้อผา มีดังนี้ การเนา การสอย การดน การซอมแซมเสือ้ ผาทีช่ าํ รุด เชน กระดุม เสือ้ หลุดหรือขาด ชายกระโปรงหรือชาย กางเกงลุย เปนตน

อื้ ษาเส ั ก ร แู ล การด

ผา

า ทชี่ าํ รดุ การซอมแซมเสอื้ ผ

หลักการทําความสะอาดหองครัว และ สิ่งของตางๆ ในหองครัว - ทํ า ความสะอาดอุ ป กรณ ที่ ใ ช ใ นการ ประกอบอาหารและภาชนะใสอาหาร เตา อางลางภาชนะ และจัดตูเย็น หลักในการจัดตกแตงหองครัว ควรจัด วางสิ่งของใหเปนระเบียบ และจัดแยก ตามหมวดหมู เพื่อสะดวกในการหยิบใช งาน และไมทาํ ใหเกิดอันตราย นอกจากนี้ ควรหมั่นทําความสะอาดหองครัวทุกวัน การจั ด โต ะ อาหารควรคํ า นึ ง ถึ ง ความ สะอาด ความเปนระเบียบ และความ สวยงาม

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู 1. ผลการประเมินผลการซักผา 2. การบันทึกผลการจัดเก็บเสื้อผา 3. ผลการซอมแซมเสื้อผาที่ชํารุด

ทาํ ค วาม สะอา ดหอ ง นาํ้ และหอ ง สวม

§Ò¹ºŒÒ¹¹‹ÒÃÙŒ

ครอ บคร วั

การซักผา รีดผา และจัดเก็บเสือ้ ผา ควรทําใหถูกวิธี และเหมาะสม ซึ่ง เปนการดูแลรักษาเสือ้ ผาอีกวิธหี นึง่ ทําใหมีเสื้อผาไวใชไดยาวนาน

  

Evaluate

หมั่นทําความสะอาดหองนํ้าอยูเสมอ เพื่ อ ป อ งกั น ไม ใ ห เ ป น แหล ง สะสม เชือ้ โรค ซึง่ ในการทําความสะอาดควร ใชอุปกรณ ใหเหมาะสม และปฏิบัติ ตามขั้นตอนใหถูกตอง

มีความรับผิดชอบตองานที่ไดรับ ตัง้ ใจ กระตือรือรน ใสใจในการทํางาน ยอมรับในขอผิดพลาด และปรับปรุง แกไขใหดียิ่งขึ้น

µÃǨÊͺµ¹àͧ ใหนักเรียนสํารวจตนเองวา เมื่อเรียนจบหนวยน�้แลวปฏิบัติสิ�งตางๆ เหลาน�้ไดหรือไม ❏ มีทักษะการจัดการในการทํางานบาน ❏ บอกวิธีและทําความสะอาดหองครัวและสิ่งของตางๆ ในหองครัวได ❏ บอกวิธี และจัดตกแตงหองครัวได ❏ บอกวิธี และทําความสะอาดหองนํ้าได ❏ มีมารยาทในการทํางานรวมกับสมาชิกในครอบครัว ❏ บอกวิธีการ และซักผา รีดผา จัดเก็บเสื้อผาได ❏ บอกวิธีการ และซอมแซมเสื้อผาได

๒๙

ขอใดเปนวิธีการรีดผาที่ถูกตอง 1. ใชไฟแรงๆ รีดผาไนลอน 2. เอาเสื้อผาชุบนํ้ากอนรีด 3. ใชไฟแรงๆ รีดผาฝาย 4. รีดผาบนผาเช็ดตัว

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

เกร็ดแนะครู เมื่อเรียนจบหนวยนี้แลว ครูใหนักเรียนชวยกันสรุปความรูทั้งหมดที่ไดจาก หนวยการเรียนรู โดยครูใชเทคนิคการเขียนแผนผังความคิดเปนเครื่องมือในการ ใหนักเรียนไดระดมสมองในการสรุปบทเรียน โดยใหนักเรียนผลัดกันออกมาเขียน สิ่งที่ตนเองรูในรูปแบบแผนผังความคิด

วิเคราะหคําตอบ การรีดผาฝาย ตองปรับอุณหภูมิของเตารีด โดยใช ไฟแรงๆ เพราะผาฝายมีความหนา จึงรีดยาก ดังนั้น ขอ 3. จึงเปน

คําตอบที่ถูก

คูมือครู

29


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.