8858649122636

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº Í- .

ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน

กระบวนการสอนแบบ 5 Es ชวยสรางทักษะการเรียนรู กิจกรรมมุงพัฒนาทักษะการคิด คำถาม + แนวขอสอบเพื่อยกผลสัมฤทธิ์ O-NET กิจกรรมบูรณาการเตรียมพรอมสู ASEAN 2558


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย

ภาษาไทย

หลักภาษาและการใชภาษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่

1

สําหรับครู

คูมือครู Version ใหม

ลักษณะเดน

ขยายพื้นที่รูปเลมใหญขึ้นกวาเดิม จัดแบงพื้นที่ออกเปนโซน เพื่อคนหาขอมูลไดงาย สะดวก รวดเร็ว และดูเปนระเบียบ กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล

กระตุน ความสนใจ

Evaluate

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

เปาหมายการเรียนรู สมรรถนะของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค

หน า

โซน 1 กระตุน ความสนใจ

Engage

สํารวจคนหา

Explore

อธิบายความรู

Explain

ขยายความเขาใจ

Expand

ตรวจสอบผล

หน า

หนั ง สื อ เรี ย น

โซน 1

หนั ง สื อ เรี ย น

Evaluate

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ขอสอบ

โซน 2

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

เกร็ดแนะครู

O-NET

บูรณาการเชื่อมสาระ

โซน 3

กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย

นักเรียนควรรู

โซน 3

โซน 2 บูรณาการอาเซียน มุม IT

No.

คูมือครู

คูมือครู

No.

โซน 1 ขั้นตอนการสอนแบบ 5Es

โซน 2 ชวยครูเตรียมสอน

โซน 3 ชวยครูเตรียมนักเรียน

เพื่อใหครูเตรียมจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยแนะนําขั้นตอนการสอนและ การจัดกิจกรรมแบบ 5Es อยางละเอียด เพื่อใหนักเรียนบรรลุตามตัวชี้วัด

เพื่อชวยลดภาระครูผูสอน โดยแนะนํา เกร็ดความรูสําหรับครู ความรูเสริมสําหรับ นักเรียน รวมทั้งบูรณาการความรูสูอาเซียน และมุม IT

เพื่อใหครูสะดวกตอการจัดกิจกรรม โดย แนะนํากิจกรรมบูรณาการเชือ่ มระหวางสาระหรือ กลุมสาระการเรียนรู วิชา กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย รวมถึงเนื้อหาที่เคยออกขอสอบ O-NET แนวขอสอบ NT/O-NET ทีเ่ นนการคิด พรอมเฉลยและคําอธิบายอยางละเอียด


ที่ใชในคูมือครู

แถบสีและสัญลักษณ

แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5Es เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

1. แถบสี 5Es สีแดง

สีเขียว

กระตุน ความสนใจ

เสร�ม

สํารวจคนหา

Engage

2

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุน ความสนใจ เพื่อโยง เขาสูบทเรียน

สีสม

อธิบายความรู

Explore

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนสํารวจ ปญหา และศึกษา ขอมูล

สีฟา

Explain

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนคนหา คําตอบ จนเกิดความรู เชิงประจักษ

สีมวง

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนนําความรู ไปคิดคนตอๆ ไป

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

2. สัญลักษณ สัญลักษณ

วัตถุประสงค

• เปาหมายการเรียนรู

• หลักฐานแสดง ผลการเรียนรู

• เกร็ดแนะครู

แทรกความรูเสริมสําหรับครู ขอเสนอแนะ ขอควรระวัง ขอสังเกต แนวทางการจัด กิจกรรมและอืน่ ๆ เพื่อประโยชนในการ จัดการเรียนการสอน ขยายความรูเพิ่มเติมจากเนื้อหา เพื่อให ครูนําไปใชอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียน ไดมีความรูมากขึ้น

ความรูห รือกิจกรรมเสริม ใหครูนาํ ไปใช เตรียมความพรอมใหกบั นักเรียนกอนเขาสู ประชาคมอาเซียนใน พ.ศ. 2558 โดย บูรณาการกับวิชาทีก่ าํ ลังเรียน

บูรณาการอาเซียน

คูม อื ครู

แสดงรองรอยหลักฐานตามภาระงาน ที่ครูมอบหมาย เพื่อแสดงผลการเรียนรู ตามตัวชี้วัด

• นักเรียนควรรู

มุม IT

แสดงเปาหมายการเรียนรูที่นักเรียน ตองบรรลุตามตัวชี้วัด ตลอดจนสมรรถนะ ที่จะตองมี และคุณลักษณะที่พึงเกิดขึ้น กับนักเรียน

แนะนําแหลงคนควาจากเว็บไซต เพื่อให ครูและนักเรียนไดเขาถึงขอมูลความรู ที่หลากหลาย ทั้งไทยและตางประเทศ

สัญลักษณ

ขอสอบ

วัตถุประสงค

O-NET

(เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ O-NET O-NET)

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T (เฉพาะระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนตอนตน)

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET (เฉพาะระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย)

บูรณาการเชื่อมสาระ

กิจกรรมสรางเสริม

กิจกรรมทาทาย

• ชีแ้ นะเนือ้ หาทีเ่ คยออกขอสอบ

O-NET โดยยกตัวอยางขอสอบ พรอมวิเคราะหคาํ ตอบ อยางละเอียด

• เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน

การคิดและเปนแนวขอสอบ NT/O-NET ในระดับมัธยมศึกษา ตอนตน มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

• เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน

การคิดและเปนแนวขอสอบ O-NET ในระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม

เชือ่ มกับสาระหรือกลุม สาระ การเรียนรู ระดับชัน้ หรือวิชาอืน่ ทีเ่ กีย่ วของ

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ซอมเสริมสําหรับนักเรียนทีค่ วร ไดรบั การพัฒนาการเรียนรู

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ตอยอดสําหรับนักเรียนทีเ่ รียนรู ไดอยางรวดเร็ว และตองการ ทาทายความสามารถในระดับ ทีส่ งู ขึน้


คําแนะนําการใชคูมือครู การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน คูม อื ครู รายวิชา ภาษาไทย หลักภาษาและการใชภาษา ม.1 จัดทําขึน้ เพือ่ ใหครูผสู อนนําไปใชเปนแนวทางวางแผน การสอนเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และประกันคุณภาพผูเรียน ตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) โดยใชหนังสือเรียน ภาษาไทย หลักภาษาและการใชภาษา ม.1 ของบริษัท อักษรเจริญทัศน เสร�ม อจท. จํากัด เปนสื่อหลัก (Core Material) ประกอบการสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับมาตรฐาน 3 การเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั กลุม สาระการเรียนรู ภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พ.ศ. 2551 โดยออกแบบ กิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักการสําคัญ ดังนี้ 1 ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน คูมือครู รายวิชา ภาษาไทย หลักภาษาและการใชภาษา ม.1 วางแผนการสอนโดยแบงเปนหนวยการเรียนรู ตามลําดับสาระ (strand) และหมายเลขขอของมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด แตละหนวยจะกําหนดเปาหมาย การเรียนรูและจุดประสงคการเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทาง การประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชัดเจน ครูผูสอนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐาน การเรียนรู ตัวชี้วัด สมรรถนะ และคุณลักษณะอันพึงประสงคที่เปนเปาหมายการเรียนรูตามที่กําหนดไวในสาระแกนกลาง (ตามแผนภูมิ) และสามารถบันทึกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนแตละคนลงในเอกสาร ปพ.5 ไดอยางมั่นใจ แผนภูมิแสดงความสัมพันธขององคประกอบการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผูเรียนเปนสําคัญ

พผ

ูเ

จุดปร

ะสง

คก า

ส ภา

รียน

รู ีเรยน

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชั้นป

ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน คูม อื ครู


2 การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ แนวคิ ด ในการจั ด การเรี ย นการสอนที่ ยึ ด ผู  เ รี ย นเป น สํ า คั ญ พั ฒ นามาจากปรั ช ญาและทฤษฎี ก ารเรี ย นรู  Constructivism ที่เชื่อวา การเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสรางความรู โดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดเรียนรูจากบทเรียนใหมกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา ผูเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีการสั่งสมความรูความเขาใจเกี่ยวกับสิ่งตางๆ ติดตัวมากอน ทีจ่ ะเขาสูห อ งเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากประสบการณและสิง่ แวดลอมรอบตัวผูเ รียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกิจกรรม เสร�ม การเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ผูสอนจะตองคํานึงถึง

4

1. ความรูเดิมของผูเรียน วิธีการสอนที่ดีจะตองเริ่มตนจากจุดที่วา ผูเ รียนมีความรูอ ะไรมาบาง แลวจึงใหความรู หรือประสบการณใหม เพื่อตอยอดจาก ความรูเดิม นําไปสูการสรางความรู ความเขาใจใหม

2. ความรูเดิมของผูเรียนถูกตองหรือไม ผูส อนตองปรับเปลีย่ นความรูค วามเขาใจเดิม ของผูเรียนใหถูกตอง และเปนพฤติกรรม การเรียนรูใ หมทมี่ คี ณุ คาตอผูเรียน เพื่อสราง เจตคติหรือทัศนคติที่ดีตอการเรียนรู สิ่งเหลานั้น

3. ผูเรียนสรางความหมายสําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมใหผูเรียนนําความรู ความเขาใจที่เกิดขึ้นไปลงมือปฏิบัติ เพื่อขยายความรูใหลึกซึ้งและมีคุณคา ตอตัวผูเรียนมากที่สุด

แนวคิด Constructivism เนนใหผูเรียนสรางความรูโดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูของตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศ

การเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณ ความรูใ หม เพือ่ กระตนุ ใหผเู รียนเชือ่ มโยงความรู ความคิด กับประสบการณทมี่ อี ยูเ ดิม แลวสังเคราะหเปนความรูห รือแนวคิดใหมๆ ไดดว ยตนเอง

3 การบูรณาการกระบวนการคิด การเรียนรูของผูเรียนแตละคนจะเกิดขึ้นที่สมอง ซึ่งเปนอวัยวะที่ทําหนาที่รูคิดภายใตสภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวย และไดรบั การกระตนุ จูงใจอยางเหมาะสม สอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของผูเ รียนแตละคน การจัดกิจกรรม การเรียนรูและสาระการเรียนรูที่สอดคลองกับความสนใจและมีความหมายตอผูเรียน จะชวยกระตุนใหสมองของผูเรียน สามารถรับรูและเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพตามขั้นตอนการทํางานของสมอง ดังนี้ 1. สมองจะเรียนรูและสืบคน โดยการสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง ปฏิบัติ จนทําใหคนพบความรูความเขาใจ ไดอยางรวดเร็ว

2. สมองจะแยกแยะคุณคาของสิ่งตางๆ โดยการตัดสินใจวิพากษวิจารณ แสดง ความคิดเห็น ยอมรับหรือตอตานตาม อารมณความรูสึกที่เกิดขึ้นในขณะที่เรียนรู

3. สมองจะประมวลเนื้อหาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสานกับ ความรูห รือประสบการณเดิมทีถ่ กู จัดเก็บอยูใ น สมอง ผานการกลัน่ กรองเพือ่ สังเคราะหเปน ความรูค วามเขาใจใหมๆ หรือเปนทัศนคติใหม ที่จะเก็บบรรจุไวในสมองของผูเรียน

การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะเกิดขึ้น เมื่อสมองรูคิด และตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมองผูเรียน โดยเริ่มตนจาก 1. ระดับการคิดพื้นฐาน ไดแก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล การสรุปผล เปนตน

คูม อื ครู

2. ระดับลักษณะการคิด ไดแก การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดไกล คิดหลากหลาย คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล เปนตน

3. ระดับกระบวนการคิด ไดแก กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ กระบวนการแกปญหา กระบวนการ คิดสรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะห เปนตน


5Es การจัดกิจกรรมตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ขั้นตอนการสอนที่สัมพันธกับขั้นตอนการคิดและการทํางานทางสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย คือ วัฏจักรการเรียนรู 5Es ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแตละหนวย ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1

กระตุนความสนใจ

(Engage)

เสร�ม

5

เปนขั้นที่ผูสอนนําเขาสูบทเรียน เพื่อกระตุนความสนใจของผูเรียนดวยเรื่องราวหรือเหตุการณที่นาสนใจโดยใชเทคนิควิธีการ และคําถามทบทวนความรูหรือประสบการณเดิมของผูเรียน เพื่อเชื่อมโยงผูเรียนเขาสูความรูของบทเรียนใหม ชวยใหผูเรียนสามารถ สรุปความสําคัญหัวขอและสาระการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอนการสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอมและสราง แรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน

ขั้นที่ 2

สํารวจคนหา

(Explore)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนเปดโอกาสใหผเู รียนลงมือศึกษา สังเกต หรือรวมมือกันสํารวจ เพือ่ ใหเห็นขอบขายของประเด็นหรือปญหา รวมถึง วิธีการศึกษาคนควา การรวบรวมขอมูลความรูที่จะนําไปสูการสรางความเขาใจประเด็นหรือปญหานั้นๆ เมื่อผูเรียนทําความเขาใจใน ประเด็นหรือปญหาที่จะศึกษาคนควาอยางถองแทแลว ก็ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธีการตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูที่เกี่ยวของกับประเด็นหรือปญหาที่ศึกษา

ขั้นที่ 3

อธิบายความรู

(Explain)

เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา ตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนคนหาคําตอบ และนําขอมูล ความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห สรุปผล และนําเสนอผลที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ ผังมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน ในขั้นตอนนี้ฝกใหผูเรียนใชสมองคิดวิเคราะหและสังเคราะห อยางเปนระบบ

ขั้นที่ 4

ขยายความเขาใจ

(Expand)

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใชเทคนิควิธีสอนตางๆ ที่สงเสริมใหผูเรียนนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนสืบคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะ การเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน ผูเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยง กับประสบการณเดิมโดยนําขอสรุปทีไ่ ดไปใชอธิบายเหตุการณตา งๆ หรือนําไปปฏิบตั ใิ นสถานการณใหมๆ ทีเ่ กีย่ วของกับชีวติ ประจําวัน ของตนเอง เพื่อขยายความรูความเขาใจใหกวางขวางยิ่งขึ้น ในขั้นตอนนี้ฝกสมองของผูเรียนใหสามารถคิดริเริ่มสรางสรรคอยางมี คุณภาพ เสริมสรางวิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป

ขั้นที่ 5

ตรวจสอบผล

(Evaluate)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนประเมินมโนทัศนของผูเ รียน โดยตรวจสอบจากความคิดทีเ่ ปลีย่ นไปและความคิดรวบยอดทีเ่ กิดขึน้ ใหม ตรวจสอบ ทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด หรือการเคารพความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพื่อการ สรางสรรคความรูร ว มกัน ผูเ รียนสามารถประเมินผลการเรียนรูข องตนเอง เพือ่ สรุปผลวามีความรูอ ะไรเพิม่ ขึน้ มาบาง เกิดความเขาใจ มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ หรือในชีวิตประจําวันไดอยางไร ผูเรียนจะเกิดเจตคติ และเห็นคุณคาของตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง

การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนนผูเรียน เปนสําคัญอยางแทจริง เพราะสงเสริมใหผูเรียนไดเรียนรูตามขั้นตอนของกระบวนการสรางความรูดวยตนเอง และ ฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและกระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะชีวิต ทักษะการทํางาน และทักษะการ เรียนรูที่มีประสิทธิภาพ สงผลตอการยกระดับผลสัมฤทธิ์ของผูเรียน ตามเปาหมายของการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คูม อื ครู


O-NET การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ O-NET

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ในแตละหนวยการเรียนรู ทางผูจัดทํา จะเสนอแนะวิธีสอน รูปแบบกิจกรรมการเรียนรู พรอมทั้งออกแบบเครื่องมือวัดและประเมินผลที่สอดคลองกับตัวชี้วัด และสาระการเรียนรูแกนกลางไวทุกขั้นตอน โดยยึดหลักสําคัญ คือ หลักของการวัดและประเมินผล เสร�ม

6

1. การวัดและประเมินผลทุกครั้ง ควรนําผลมาปรับปรุงพัฒนาผูเรียน เปนรายบุคคล

2. การวัดและประเมินผลมี เปาหมาย เพื่อพัฒนาการเรียนรู ของผูเรียนจนเต็มศักยภาพ

3. การนําผลการวัดและประเมินผล ทุกครั้งมาวางแผนปรับปรุงกิจกรรม การเรียนการสอน การเลือกเทคนิค วิธีสอน และสื่อการเรียนรูให เหมาะสมกับสภาพจริงของผูเรียน

การทดสอบผูเรียน 1. การใชขอสอบอัตนัย เนนการอาน การคิดวิเคราะห และการเขียนเพิ่มมากขึ้น 2. การใชคําถามกระตุนการคิดควบคูกับการทําขอสอบที่เนนการคิดอยางตอเนื่องตามลําดับกิจกรรมการเรียนรู และตัวชี้วัด 3. การทดสอบตองดําเนินการทั้งกอนเรียน ระหวางเรียน และหลังเรียน การทดสอบควรใชขอสอบทั้งชนิดปรนัยและ อัตนัย และเปนการทดสอบเพื่อประเมินผลการเรียนของผูเรียนแตละคน เพื่อการสอนซอมเสริมใหบรรลุตัวชี้วัด ไดครบถวน 4. การสอบกลางภาค (ถามี) ควรนําแบบฝกหัดหรือขอสอบทีน่ กั เรียนสวนใหญไมสามารถตอบไดหรือไมครบถวนชัดเจน มา สรางเปนแบบทดสอบอีกครัง้ เพือ่ ตรวจสอบความรูค วามเขาใจทีถ่ กู ตอง และประเมินความกาวหนาของผูเ รียนแตละคน 5. การสอบปลายภาคเรียนเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามตัวชี้วัดที่สําคัญ ควรออกขอสอบใหมีลักษณะเดียวกับ ขอสอบ O-NET โดยเนนการคิดวิเคราะห สังเคราะห เชื่อมโยงประยุกตใช เพื่อสรางความคุนเคย และฝกฝน วิธีการทําขอสอบดวยความมั่นใจ 6. การนําผลการทดสอบของผูเรียนมาวิเคราะห โดยผลการสอบกอนการเรียนตองสามารถพยากรณผลการสอบ กลางภาค และผลการสอบกลางภาคตองทํานายผลการสอบปลายภาคของผูเ รียนแตละคน เพือ่ ประเมินพัฒนาการ ความกาวหนาของผูเรียนเปนรายบุคคล 7. ผลการทดสอบปลายป ปลายภาค ตองมีคาเฉลี่ยสอดคลองกับคาเฉลี่ยของการสอบ NT ที่เขตพื้นที่การศึกษา จัดสอบ รวมทั้งคาเฉลี่ยของการสอบ O-NET ชวงชั้นที่สอดคลองครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดสําคัญ เพือ่ สะทอนประสิทธิภาพของครูผสู อนในการออกแบบการเรียนรูแ ละประกันคุณภาพผูเ รียนทีต่ รวจสอบผลไดชดั เจน การจัดการเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ตองใหผูเรียนไดสั่งสมความรู ความเขาใจตามลําดับขั้นตอน ของกิจกรรมในวัฏจักรการเรียนรู 5Es เพื่อใหผูเรียนไดเติมเต็มองคความรูอยางตอเนื่อง จนสามารถปฏิบัติชิ้นงานหรือ ภาระงานรวบยอดของแตละหนวย ผานเกณฑประกันคุณภาพในระดับที่นาพึงพอใจ เพื่อรองรับการประเมินภายนอกจาก สมศ. ตลอดเวลา คูม อื ครู


ASEAN การเรียนรูสูประชาคมอาเซียน เพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรูบูรณาการอาเซียนศึกษา ผูจัดทําไดวิเคราะห มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดที่มีสาระการเรียนรูสอดคลองกับองคความรูเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนในแงมุมตางๆ ครอบคลุมทัง้ ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน เพื่อสงเสริมการเรียนรูใหผูเรียนเกิดความตระหนัก มีความรูความเขาใจเหมาะสมกับระดับชั้นและกลุมสาระ การเรียนรู โดยเสนอแนะวิธีการจัดกิจกรรมบูรณาการเนื้อหาสาระตางๆ ที่เปนประโยชนตอผูเรียนและเปนการชวย เตรียมความพรอมผูเ รียนทุกคนทีจ่ ะกาวเขาสูก ารเปนสมาชิกของประชาคมอาเซียนไดอยางมัน่ ใจตามขอตกลงปฏิญญา เสร�ม ชะอํา-หัวหิน วาดวยความรวมมือดานการศึกษาเพือ่ บรรลุเปาหมายประชาคมอาเซียนทีเ่ อือ้ อาทรและแบงปน จึงกําหนด 7 เปนนโยบายใหกระทรวงศึกษาธิการจัดการเรียนรูเตรียมความพรอมผูเรียนเขาสูประชาคมอาเซียนภายในป พ.ศ. 2558 ตามแนวปฏิบัติที่สําคัญ ดังนี้

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน 1. การสรางความรูความเขาใจ และตระหนักถึงความสําคัญของ กฎบัตรอาเซียน และความรวมมือ ของ 3 เสาหลัก ซึง่ กฎบัตรอาเซียน ในขณะนี้มีสถานะเปนกฎหมายที่ ประเทศสมาชิกจะตองปฏิบัติตาม หลักการที่กําหนดไวเพื่อใหบรรลุ เปาหมายของกฎบัตรมาตราตางๆ

2. การสงเสริมหลักการ ประชาธิปไตยและการสราง สิ่งแวดลอมประชาธิปไตย เพื่อการอยูรวมกันอยางกลมกลืน ภายใตวิถีชีวิตอาเซียนที่มีความ หลากหลายดานสังคมและ วัฒนธรรม

4. การตระหนักในคุณคาของ สายสัมพันธทางประวัติศาสตร และมรดกทางวัฒนธรรมที่มี พัฒนาการรวมกัน เพื่อเชื่อม อัตลักษณและสรางจิตสํานึก ในการเปนประชากรของประชาคม อาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการศึกษาดาน สิทธิมนุษยชน เพื่อสรางประชาคม อาเซียนใหเปนประชาคมเพื่อ ประชาชนอยางแทจริง สามารถ อยูรวมกันไดบนพื้นฐานการเคารพ ในคุณคาของศักดิ์ศรีแหงความ เปนมนุษยเทาเทียมกัน

5. การสงเสริมสันติภาพ ความ มั่นคง และความปรองดองในสังคม ทั้งระดับประเทศและภูมิภาคของ อาเซียนบนพื้นฐานสันติวิธีและการ อยูรวมกันดวยขันติธรรม

คูม อื ครู


การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

เสร�ม

8

1. การพัฒนาทักษะการทํางาน เพื่อเสริมสรางผูเรียนใหมีทักษะ วิชาชีพที่จําเปนสอดคลองกับ ความตองการของตลาดแรงงาน และสถานประกอบการในอาเซียน สามารถเทียบโอนผลการเรียน และการทํางานตามมาตรฐานฝมือ แรงงานในภูมิภาคอาเซียน

2. การเสริมสรางวินัย ความรับผิดชอบ และเจตคติรักการทํางาน สามารถพึ่งพาตนเอง มีทักษะชีวิต ดํารงชีวิตอยางมีความสุข เห็นคุณคา และภูมิใจในตนเอง ในฐานะที่เปนพลเมืองไทยและ อาเซียน

3. การเรียนรูเพื่อพัฒนาตนเอง อยางตอเนื่องตลอดชีวิต ใหมี ทักษะการทํางานตามมาตรฐาน อาชีพ และคุณวุฒิของวิชาชีพสาขา ตางๆ เพื่อรองรับการเตรียมเคลื่อน ยายแรงงานมีฝมือและการเปน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่ เขมแข็ง เพื่อสรางขีดความสามารถ ในการแขงขันในเวทีโลก

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 1. การเสริมสรางความรวมมือ ในลักษณะสังคมที่เอื้ออาทร ของประชากรอาเซียน โดยยึด หลักการสําคัญ คือ ความงดงาม ของประชาคมอาเซียนมาจาก ความแตกตางและหลากหลายทาง วัฒนธรรมที่ลวนแตมีคุณคาตอ มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน ซึ่งประชาชนทุกคนตองอนุรักษ สืบสานใหยั่งยืน

2. การเสริมสรางคุณลักษณะ ของผูเรียนใหเปนพลเมืองอาเซียน ที่มีศักยภาพในการกาวเขาสู ประชาคมอาเซียนอยางมั่นใจ เปนผูที่มีสุขภาพสมบูรณแข็งแรง มีทักษะการสื่อสาร ทักษะการ ทํางาน ทักษะทางสังคม สามารถ ทํางานรวมกับผูอื่นไดอยาง สรางสรรค และมีองคความรู เกี่ยวกับอาเซียนที่จําเปนตอการ ดํารงชีวิตอยางมีคุณภาพ

4. การสงเสริมการเรียนรูดาน ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี วิถชี วี ติ ความเปนอยูข องเพือ่ นบาน ในอาเซียน เพื่อสรางจิตสํานึกของ ความเปนประชาคมอาเซียนและ ตระหนักถึงหนาที่ของการเปน พลเมืองอาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการเรียนรูภาษา อังกฤษเพื่อการสื่อสารและการ ทํางานตามมาตรฐานอาชีพที่ กําหนดและสนับสนุนการเรียนรู ภาษาอาเซียนและภาษาเพื่อนบาน เพื่อชวยเสริมสรางสัมพันธภาพทาง สังคม และการอยูรวมกันอยางสันติ ทามกลางความหลากหลายทาง วัฒนธรรม

5. การสรางความรูและความ ตระหนักเกี่ยวกับดานสิ่งแวดลอม ปญหาและผลกระทบตอคุณภาพ ชีวิตของประชากรในภูมิภาค รวมทั้งแนวทางการพัฒนาอยาง ยั่งยืน ใหเปนมรดกสืบทอดแก พลเมืองอาเซียนในรุนหลังตอๆ ไป

กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศนโยบายการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) เพื่อเรงพัฒนาเด็ก และเยาวชนไทยใหเปนทรัพยากรมนุษยของชาติที่มีทักษะและความชํานาญ พรอมเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงและ การแขงขันทั้งในภูมิภาคอาเซียนและภูมิภาคอื่นๆ ของสังคมโลก ทั้งนี้ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และผูปกครอง ควรรวมมือกันอยางใกลชิดในการดูแลชวยเหลือผูเรียนและจัดประสบการณการเรียนรูเพื่อพัฒนาผูเรียนจนเต็มศักยภาพ เพื่อกาวเขาสูการเปนพลเมืองอาเซียนอยางมีเกียรติภูมิและศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของตน คณะผูจัดทํา คูม อื ครู


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 1

ภาษาไทย หลักภาษาและการใชภาษา (เฉพาะชัน้ ม.1)*

การอาน

มาตรฐาน ท 1.1 ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพื่อนําไปใชตัดสินใจ แกปญหาในการดําเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอาน ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

• การอานออกเสียง ประกอบดวย ม.1 1. อานออกเสียง - บทรอยแกวที่เปนบทบรรยาย บทรอยแกวและ - บทรอยกรอง เชน กลอนสุภาพ บทรอยกรองได กลอนสักวา กาพยยานี ๑๑ กาพยฉบัง ๑๖ ถูกตองเหมาะสม กาพยสุรางคนางค ๒๘ และโคลงสี่สุภาพ กับเรื่องที่อาน 2. จับใจความสําคัญ • การอานจับใจความจากสื่อตางๆ เชน - เรื่องเลาจากประสบการณ จากเรื่องที่อาน 3. ระบุเหตุและผล และ - เรื่องสั้น - บทสนทนา ขอเท็จจริง - นิทานชาดก กับขอคิดเห็นจาก - วรรณคดีในบทเรียน เรื่องที่อาน - งานเขียนเชิงสรางสรรค 4. ระบุและอธิบาย - บทความ คําเปรียบเทียบ - สารคดี และคําที่มีหลาย ความหมายในบริบท - บันเทิงคดี ตางๆ จากการอาน - เอกสารทางวิชาการทีม่ คี าํ ประโยค และขอความ ที่ตองใชบริบทชวยพิจารณาความหมาย 5. ตีความคํายากใน - งานเขียนประเภทชักจูงโนมนาวใจเชิงสรางสรรค เอกสารวิชาการ โดยพิจารณาจาก บริบท 6. ระบุขอสังเกตและ ความสมเหตุสมผล ของงานเขียน ประเภทชักจูง โนมนาวใจ

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• หนวยการเรียนรูท ี่ 1 การอานออกเสียง

เสร�ม

9

• หนวยการเรียนรูท ี่ 2 การอานในชีวติ ประจําวัน

_________________________________ หมายเหตุ : สําหรับสาระที่ 5 (วรรณคดีและวรรณกรรม) จะอยูในหนังสือเรียนภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ม.1 ของ อจท. ซึ่งเปนหนังสือที่จัดทํา ควบคุูกับหนังสือเรียนภาษาไทย หลักภาษาและการใชภาษา เลมนี้

คูม อื ครู


ชั้น

เสร�ม

10

ตัวชี้วัด

ม.1 7. ปฏิบัติตามคูมือ (ตอ) แนะนําวิธีการใชงาน ของเครื่องมือหรือ เครื่องใชในระดับที่ ยากขึ้น 8. วิเคราะหคุณคาที่ได รับจากการอาน งานเขียนอยาง หลากหลายเพื่อนํา ไปใชแกปญ หาในชีวติ 9. มีมารยาทในการอาน

สาระที่ 2

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• การอานและปฏิบัติตามเอกสารคูมือ

• หนวยการเรียนรูท ี่ 2 การอานในชีวติ ประจําวัน

• การอานหนังสือตามความสนใจ เชน - หนังสือที่นักเรียนสนใจและเหมาะสมกับวัย - หนังสืออานที่ครูและนักเรียนกําหนดรวมกัน

• หนวยการเรียนรูท ี่ 2 การอานในชีวติ ประจําวัน

• มารยาทในการอาน

• หนวยการเรียนรูท ี่ 2 การอานในชีวติ ประจําวัน

การเขี​ียน

มาตรฐาน ท 2.1 ใชกระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบตางๆ เขียนรายงานขอมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคนควาอยางมีประสิทธิภาพ ชั้น

ตัวชี้วัด

ม.1 1. คัดลายมือตัวบรรจง ครึ่งบรรทัด 2. เขี ย นสื่ อ สารโดยใช ถอยคําถูกตอง ชัดเจน เหมาะสม และสละสลวย 3. เขียนบรรยาย ประสบการณโดยระบุ สาระสําคัญและ รายละเอียด สนับสนุน 4. เขียนเรียงความ 5. เขียนยอความจาก เรื่องที่อาน

คูม อื ครู

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• การคัดลายมือตัวบรรจงครึ่งบรรทัด ตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย • การเขียนสื่อสาร เชน - การเขียนแนะนําตนเอง - การเขียนแนะนําสถานที่สําคัญๆ - การเขียนบนสื่ออิเล็กทรอนิกส • การบรรยายประสบการณ

• หนวยการเรียนรูท ี่ 1 การเขียนสือ่ สารดวยถอยคํา • หนวยการเรียนรูท ี่ 1 การเขียนสือ่ สารดวยถอยคํา

• การเขียนเรียงความเชิงพรรณนา

• หนวยการเรียนรูท ี่ 2 การเขียนเพือ่ การสือ่ สาร • หนวยการเรียนรูท ี่ 2 การเขียนเพือ่ การสือ่ สาร

• การเขียนยอความจากสื่อตางๆ เชน เรื่องสั้น คําสอน โอวาท คําปราศรัย สุนทรพจน รายงาน ระเบียบ คําสั่ง บทสนทนา เรื่องเลา ประสบการณ

• หนวยการเรียนรูท ี่ 2 การเขียนเพือ่ การสือ่ สาร


ชั้น ตัวชี้วัด ม.1 6. เขียนแสดงความ (ตอ) คิดเห็นเกี่ยวกับ

สาระการเรียนรูแกนกลาง

• การเขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ สาระจากสื่อตางๆ เชน สาระจากสื่อที่ไดรับ - บทความ - หนังสืออานนอกเวลา - ขาวและเหตุการณประจําวัน - เหตุการณสําคัญตางๆ

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• หนวยการเรียนรูท ี่ 3 การเขียนแสดงความคิดเห็น จากสือ่ เสร�ม

11

7. เขียนจดหมาย • การเขียนจดหมายสวนตัว สวนตัวและจดหมาย - จดหมายขอความชวยเหลือ กิจธุระ - จดหมายแนะนํา • การเขียนจดหมายกิจธุระ - จดหมายสอบถามขอมูล

• หนวยการเรียนรูท ี่ 2 การเขียนเพือ่ การสือ่ สาร

8. เขียนรายงานการ ศึกษาคนควา และโครงงาน

• การเขียนรายงาน ไดแก - การเขียนรายงานจากการศึกษาคนควา - การเขียนรายงานโครงงาน

• หนวยการเรียนรูท ี่ 2 การเขียนเพือ่ การสือ่ สาร

9. มีมารยาทในการ เขียน

• มารยาทในการเขียน

• หนวยการเรียนรูท ี่ 1, 2 และ 3

สาระที่ 3

การฟง การดู และการพูด

มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ความคิด และความรูสึกในโอกาสตางๆ อยางมีวิจารณญาณและสรางสรรค ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ม.1 1. พูดสรุปใจความ • การพูดสรุปความ พูดแสดงความรู สําคัญของเรื่องที่ฟง ความคิดอยางสรางสรรคจากเรื่องที่ฟงและดู และดู 2. เลาเรื่องยอจากเรื่อง ที่ฟงและดู

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• หนวยการเรียนรูท ี่ 2 การฟง การดู และการพูด ในชีวติ ประจําวัน

3. พูดแสดงความคิดเห็น • การพูดประเมินความนาเชื่อถือของสื่อที่มีเนื้อหา • หนวยการเรียนรูท ี่ 2 โนมนาว การฟง การดู และการพูด อยางสรางสรรค ในชีวติ ประจําวัน เกี่ยวกับเรื่องที่ฟง และดู 4. ประเมินความนา เชื่อถือของสื่อที่มี เนื้อหาโนมนาวใจ คูม อื ครู


ชั้น

เสร�ม

12

ตัวชี้วัด

ม.1 5. พูดรายงานเรื่อง (ตอ) หรือประเด็นที่ ศึกษาคนควา จากการฟง การดู และการสนทนา 6. มีมารยาทในการฟง การดู และการพูด

สาระที่ 4

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• การพูดรายงานการศึกษาคนควาจาก แหลงเรียนรูตางๆ ในชุมชน และทองถิ่น ของตน

• หนวยการเรียนรูท ี่ 2 การฟง การดู และการพูด ในชีวติ ประจําวัน

• มารยาทในการฟง การดู และการพูด

• หนวยการเรียนรูท ี่ 1 การฟง และการดูสอื่

หลักการใชภาษาไทย

มาตรฐาน ท 4.1 เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภูมิปญญา ทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ม.1 1. อธิบายลักษณะของ • เสียงในภาษาไทย เสียงในภาษาไทย 2. สรางคําในภาษาไทย • การสรางคํา - คําประสม คําซํ้า คําซอน - คําพอง 3. วิเคราะหชนิดและ • ชนิดและหนาที่ของคํา หนาที่ของคํา ในประโยค • ภาษาพูด 4. วิเคราะหความ • ภาษาเขียน แตกตางของ ภาษาพูด และภาษาเขียน 5. แตงบทรอยกรอง • กาพยยานี ๑๑ 6. จําแนกและใชสาํ นวน • สํานวนที่เปนคําพังเพยและสุภาษิต ที่เปนคําพังเพย และสุภาษิต

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• หนวยการเรียนรูท ี่ 1 เสียงในภาษาไทยและ การสรางคํา • หนวยการเรียนรูท ี่ 1 เสียงในภาษาไทยและ การสรางคํา • หนวยการเรียนรูท ี่ 2 ชนิดและหนาทีข่ องคําใน ประโยค • หนวยการเรียนรูท ี่ 3 ความแตกตางของภาษา

• หนวยการเรียนรูท ี่ 5 การแตงบทรอยกรอง • หนวยการเรียนรูท ี่ 4 สํานวน คําพังเพย และสุภาษิต

_________________________________ * สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย. (กรุงเทพมหานคร : ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 7-59.

คูม อื ครู


จุดเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน* การขับเคลื่อนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 และการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษ ที่สอง (พ.ศ. 2552-2561) ใหประสบผลสําเร็จตามจุดเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน โดยใหทุกภาคสวน รวมกันดําเนินการ กระทรวงศึกษาธิการไดกําหนดจุดเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน ดังนี้ เสร�ม

ทักษะ ความสามารถ

13

คุณลักษณะ จุดเนนตามชวงวัย

ม. 4-6

แสวงหาความรู เพื่อแกปญหา ใชเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู ใชภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) มีทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

ม. 1-3

แสวงหาความรูดวยตนเอง ใชเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู มีทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

• อยูอยางพอเพียง

ป. 4-6

อานคลอง เขียนคลอง คิดเลขคลอง ทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

• ใฝเรียนรู

ป. 1-3

อานออก เขียนได คิดเลขเปน มีทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

• ใฝดี

• มุงมั่นในการศึกษา และการทํางาน

คุณลักษณะตามหลักสูตร

• รักชาติ ศาสน กษัตริย • ซื่อสัตยสุจริต • มีวินัย • ใฝเรียนรู • อยูอยางพอเพียง • มุงมั่นในการทํางาน • รักความเปนไทย • มีจิตสาธารณะ

* สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. แนวทางการนําจุดเนนการพัฒนาผูเรียน สูการปฏิบัติ. (กรุงเทพมหานคร : ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2553), หนา 3-10.

คูม อื ครู


คําอธิบายรายวิชา รายวิชา ภาษาไทย หลักภาษาและการใชภาษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 รหัสวิชา ท…………………………………

กลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย ภาคเรียนที่ 1-2 เวลา 60 ชั่วโมง/ป

ฝกทักษะการอาน การเขียน การฟง การดู และการพูด การวิเคราะห และประเมินคาวรรณคดี เสร�ม วรรณกรรม โดยศึกษาเกีย่ วกับการอานออกเสียง การอานในชีวติ ประจําวัน ฝกทักษะการคัดลายมือ การเขียน 14 บรรยายประสบการณ การเขียนเรียงความ การเขียนยอความ การเขียนจดหมายสวนตัวและกิจธุระ การเขียนแสดงความคิดเห็น วิเคราะหวิจารณ หรือโตแยงจากสื่อตางๆ เขียนรายงานการศึกษาคนควา เขียนโครงงาน ฝกทักษะการพูดสรุปใจความสําคัญ การเลาเรื่องยอ การแสดงความคิดเห็น การประเมิน ความนาเชื่อถือเรื่องจากการฟงและการดู พูดรายงานการศึกษาคนควา และศึกษาเกี่ยวกับลักษณะ ของเสียงในภาษาไทย การสรางคํา การวิเคราะหชนิดและหนาที่ของคําในประโยค การวิเคราะหความ แตกตางของภาษาพูดและภาษาเขียน การจําแนกและใชสํานวนที่เปนคําพังเพย และสุภาษิต การแตงบท รอยกรองประเภทกาพยยานี 11 วิเคราะห วิถไี ทย ประเมินคา ความรูแ ละขอคิดจากวรรณคดี วรรณกรรม นิราศภูเขาทอง โคลงโลกนิติ สุภาษิตพระรวง กาพยเรื่องพระไชยสุริยา ราชาธิราช ตอนสมิงพระรามอาสา กาพยเหชมเครื่องคาวหวาน นิทานพื้นบาน ทองจําบทอาขยานที่กําหนดและบทรอยกรองที่มีคุณคาตามความสนใจ โดยใชกระบวนการอานเพื่อสรางความรูความคิดนําไปใชตัดสินใจ แกปญหาในการดําเนินชีวิต กระบวนการเขียนเขียนสื่อสารอยางมีประสิทธิภาพ กระบวนการฟง การดู และการพูด สามารถเลือกฟง และดู และพูดแสดงความรูความคิดอยางมีวิจารณญาณและสรางสรรค เพื่อใหเขาใจธรรมชาติภาษาและ หลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา พลังภาษา ภูมิปญญาทางภาษา วิเคราะหวิจารณวรรณคดีและ วรรณกรรมอยางเห็นคุณคาและนํามาประยุกตใชในชีวิตจริง รักษาภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ และมีนิสัย รักการอาน การเขียน มีมารยาทในการอาน การเขียน การฟง การดู และการพูด ตัวชี้วัด ท 1.1

ม.1/1

ม.1/2

ม.1/3

ม.1/4

ม.1/5

ม.1/6

ม.1/7

ม.1/8

ม.1/9

ท 2.1

ม.1/1

ม.1/2

ม.1/3

ม.1/4

ม.1/5

ม.1/6

ม.1/7

ม.1/8

ม.1/9

ท 3.1

ม.1/1

ม.1/2

ม.1/3

ม.1/4

ม.1/5

ม.1/6

ท 4.1

ม.1/1

ม.1/2

ม.1/3

ม.1/4

ม.1/5

ม.1/6

ท 5.1

ม.1/1

ม.1/2

ม.1/3

ม.1/4

ม.1/5 รวม 35 ตัวชี้วัด

คูม อื ครู


วิเคราะหมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั รายวิชา ภาษาไทย หลักภาษาและการใชภาษา ม.1

มาตรฐาน ท 2.1 ตัวชี้วัด

มาตรฐาน ท 1.1 ตัวชี้วัด

ตัวชี้วัด

มาตรฐาน ท 4.1

มาตรฐาน ท 3.1 ตัวชี้วัด

สาระที่ 4

สาระที่ 3

✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓

✓ ✓ ✓ ✓

✓ ✓

✓ ✓ ✓

1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5 6

สาระที่ 2

สาระที่ 1

หมายเหตุ ✓ เฉพาะที่สอดคลองกับตัวชี้วัดชั้น ม.1 เทานั้น ตัวชี้วัดที่เหลือจะจัดการเรียนการสอนในชั้น ม.2 และ ม.3

หนวยการเรียนรูที่ 3 : การเขียนแสดงความคิดเห็น จากสื่อ

หนวยการเรียนรูที่ 2 : การเขียนเพื่อการสื่อสาร

ตอนที่ 2 : การพัฒนาทักษะการเขียน หนวยการเรียนรูที่ 1 : การเขียนสื่อสารดวยถอยคํา

หนวยการเรียนรูที่ 2 : การอานในชีวิตประจําวัน

ตอนที่ 1 : การพัฒนาทักษะการอาน หนวยการเรียนรูที่ 1 : การอานออกเสียง

หนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด

คําชี้แจง : ใหผูสอนใชตารางน�้ตรวจสอบวา เน�้อหาสาระการเรียนรูในหนวยการเรียนรูสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดชั้นปในขอใดบาง

ตาราง

เสร�ม

15

คูม อื ครู


คูม อื ครู

หนวยการเรียนรูที่ 5 : การแตงบท รอยกรอง

หนวยการเรียนรูที่ 4 : สํานวน คําพังเพย และสุภาษิต

หนวยการเรียนรูที่ 3 : ความแตกตาง ของภาษา

หนวยการเรียนรูที่ 2 : ชนิดและหนาที่ ของคํา

ตอนที่ 4 : หลักการใชภาษา หนวยการเรียนรูที่ 1 : เสียงในภาษาไทย และการสรางคํา

หนวยการเรียนรูที่ 2 : การฟง การดู และการพูดใน ชีวิตประจําวัน

มาตรฐาน ท 2.1 ตัวชี้วัด

มาตรฐาน ท 1.1 ตัวชี้วัด

ตัวชี้วัด

มาตรฐาน ท 3.1

สาระที่ 3 ตัวชี้วัด

มาตรฐาน ท 4.1

สาระที่ 4

✓ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓

✓ ✓

1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 3 4 5 6 1 2 3 4 5 6

สาระที่ 2

สาระที่ 1

16

ตอนที่ 3 : การพัฒนาทักษะการฟง การดู และการพูด หนวยการเรียนรูที่ 1 : การฟงและดูสื่อ

หนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด

เสร�ม


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน

ภาษาไทย

หลักภาษาและการใชภาษา ม.๑ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑ กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

ผูเรียบเรียง

นางฟองจันทร สุขยิ่ง นางกัลยา สหชาติโกสีย นางสาวศรีวรรณ ชอยหิรัญ นายภาสกร เกิดออน นางสาวระวีวรรณ อินทรประพันธ

ผูตรวจ

นางบุญลักษณ เอี่ยมสําอางค นางเกื้อกมล พฤกษประมูล นางสาวโสภิต พิทักษ

บรรณาธิการ

นายเอกรินทร สี่มหาศาล พิมพครั้งที่ ๙

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ ISBN : 978-616-203-072-7 รหัสสินคา ๒๑๑๑๐๐๓

¤Œ¹¤ÇÒÁÃÙŒ¢ÂÒ¤ÇÒÁ¤Ô´¨Ò¡

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè ñ ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ òñôñðñö

EB GUIDE

ที่พิมพกํากับหัวขอสําคัญในหนังสือเรียนหลักสูตรแกนกลางฯ ผาน www.aksorn.com ไปยังแหลงความรูทั่วไทย-ทั่วโลก

คณะผูจัดทําคูมือครู ประนอม พิมพรรณ สมปอง เกศรินทร

พงษเผือก เพ็ญศิริ ประทีปชวง หาญดํารงครักษ


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Explain

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

¤íÒá¹Ð¹íÒ㹡ÒÃ㪌˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹

หนังสือเรียนภาษาไทย หลักภาษาและการใชภาษาเลมนี้ เปนสื่อสําหรับใชประกอบการเรียน การสอนรายวิชาพื้นฐาน กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๑ เนื้อหาตรงตามสาระการเรียนรูแกนกลางขั้นพื้นฐาน อานทําความเขาใจงาย ใหทั้งความรูและ ชวยพัฒนาผูเรียนตามหลักสูตรและตัวชี้วัด เนื้อหาสาระแบงออกเปนหนวยการเรียนรูตามโครงสรางรายวิชา สะดวกแกการจัดการเรียนการสอนและการวัดผลประเมินผล พรอมเสริมองคประกอบอื่นๆ ที่จะชวยทําให ผูเรียนไดรับความรูอยางมีประสิทธิภาพ ¨Ñ´¡ÅØ‹Áà¹×éÍËÒ໚¹Ë¹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ Êдǡᡋ¡ÒèѴ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹

à¡ÃÔè¹¹íÒà¾×èÍãˌࢌÒ㨶֧ÊÒÃÐÊíÒ¤ÑÞ ã¹Ë¹‹Ç·Õè¨ÐàÃÕ¹

ºÍ¡àÅ‹Òà¡ŒÒÊÔº ໚¹àÃ×Íè §¹‹ÒÃÙàŒ ¾ÔÁè àµÔÁ ¨Ò¡à¹×éÍËÒÁÕá·Ã¡à»š¹ÃÐÂÐæ

ง ๑.๒ เสียงในภาษาและรูปตัวอักษรแทนเสีย

๓) การพูดติชม หมายถึง การพูด ติเพื่อกอและชมใหกําลังใจ ซึ่งความจร โดยใหเหตุผลประกอบและเสนอแนะด ิงควรพูดชมกอนติ วย เชน

๑) เสียงและรูปสระ เสียงสระเกิดจากลมที่ถูกขับออกจากปอด ๑.๑) ตําแหนงที่เกิดเสียงสระในภาษาไทย โดย ยงในหลอดลม แลวผานออกมาจากลําคอโดยตรง และถูกบังคับใหผานหลอดลม กระทบเสนเสี คือ ลิ้นกับริมฝปาก เสียงสระบางเสียงนั้น งสระ กเสีย ไมมีการปดกั้นทางลม อวัยวะที่ชวยในการออ ซึ่งลิ้นจะ วนกลาง และบางเสียงเกิดจากลิ้นสวนหลัง เกิดจากลิ้นสวนหนา บางเสียงเกิดจากลิ้นส ดจากรูป บางเสียงเกิดจากริมฝปากหอกลม บางเสียงเกิ กระดกในระดับสูงตํ่าตางกัน สวนริมฝปาก ยงสระที่ อรี ถาลิ้นยกอยูในระดับใดเพียงระดับเดียว เสี ริมฝปากปกติ บางเสียงเกิดจากรูปปากกวางหรื งสระสอง หนึ่งไปสูอีกระดับหนึ่งอยางรวดเร็ว จะเกิดเสีย เกิดขึ้นเรียกวา สระแท ถาลิ้นเลื่อนจากระดับ น อ ่ สระเลื อ หรื สระประสม า กว ย เราเรี น กั มๆ หรือสามเสียงพรอ ๑.๒) ลักษณะการออกเสียงสระ มฝปากที่ใชในการออกเสียง ดังนี้ ๑. การออกเสียงสระแท มีลักษณะของลิ้นและริ

ารใชภาษา

เสียงสระ อะ อา อิ อี

หน่วยที่ ñ

อึ อือ อุ อู เอะ เอ

เสียงในภาษาไทยและการสรางคํา ตัวชี้วัด

ท ๔.๑ ม.๑/๑, ๒ อธิบายลักษณะของเสียงในภาษาไทย สรางคําในภาษาไทย

■ ■

สาระการเรียนรู้แกนกลาง ■ ■

เสียงในภาษาไทย การสรางคํา คําประสม คําซํ้า คําซอน คําพอง

● ●

รรมชาติ ข องภาษาโ ดยทั่ ว ไป ประกอบ ด้ ว ยเสี ย งและควา มหมาย ในการใช ้ ภ าษาไทยใ ห้ ถู ก ต้ อ งและมี ประสิทธิผลนั้น ผู้ใช้ควรค�านึงถึงการใช้ เสียงในภาษาให้ถูกต้อง เพื่อให้สามารถ สื่อความหมายได้ชัดเจน จ�าเป็นต้องอาศั ย การเรี ย นรู ้ แ ละน� า ไปประยุ ก ต์ ใ ช้ ผ ่ า นทาง ทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการ เขียน

แอะ แอ

โอะ โอ

สวนหลังยกขึ้นสูง สวนหลังยกขึ้นสูง สวนหนากระดกขึ้นสูงแต ตํ่ากวาขณะออกเสียง อิ

พลังแหงการพูด การพูดเปนการสื่อสารที่มีความสํ าคัญอาจกอใหเกิดประโยชนห รือโทษไดทั้งกับตัวผูพูดเอง หรือกับผูฟง ดังที่ปรากฏอยูใ นวรรณคดีตางๆ ตอไปนี้

ริมฝปาก

ลิ้น วางในทาปกติ สวนหนากระดกขึ้นสูง

ºÍ¡àÅ‹Òà¡ŒÒÊÔº

ถึงบางพูดพูดดีเปนศรีศักดิ์ ความสําคัญ ของการพูด แมนพูดชั่วตัวตายทําลายมิตร

อาปากปกติ เหยียดปากออกเล็กนอย เผยอขึ้นเล็กนอย ไมกลม หอกลมเล็ก เหยียดออกเหมือน อิ แต ขากรรไกรลางลดตํ่าลงกวา ขณะออกเสียง อิ

สวนหนาลดตํ่าลงกวาขณะ ออกเสียง เอะ

เหยียดออก ขากรรไกรลาง ลดตํ่าลงกวาเมื่อออกเสียง

สวนหลังกระดกขึ้นสูงแต ตํ่ากวาขณะออกเสียง อุ

หอกลม

“พีว่ า ...นองใสชดุ นีส้ ดใส สีสมกับวั ย เขากับผิว แตนา เสียดายที่แบบมันสั้นไปหนอย น าจะลุกนั่งไมถนัด เวลานั่งลงกราบจะตึงรนทําใหอึด อัดไมสะดวก ถาเปลี่ยนชุดก็ใหยาวกวานี้เพื่อลุ กนั่งสบายๆ ก็จะดีนะ”

เอะ

มารยาท ในการพูด

จะพูดจาปราศรัยกับใครนั้น ไมควรพูดอื้ออึงขึ้นมึงกู

คิดกอนพูด

เปนมนุษยสุดนิยมเพียงลมปาก แมนพูดดีมีคนเขาเมตตา

อิทธิพล ของคําพูด

อันออยตาลหวานลิ้นแลวสิ้น ซาก แมนเจ็บอื่นหมื่นแสนจะแคลนคลาย

มีคนรักรสถอยอรอยจิต จะชอบผิดในมนุษยเพราะพูด จา

(นิราศภูเขาทอง : สุนทรภู)

อยาตะคั้นตะคอกใหเคืองหู คนจะหลูลวงลามไมขามใจ (สุภาษิตสอนสตรี : สุนทรภู)

จะไดยากโหยหิวเพราะชิวหา จะพูดจาจงพิเคราะหใหเหมาะควา ม (สุภาษิตสอนสตรี : สุนทรภู)

แตลมปากหวานหูไมรูหาย เจ็บจนตายนั้นเพราะเหน็บให เจ็บใจ (เพลงยาวถวายโอวาท : สุนทรภู

)

จากขอความขางตน จะเห็น ไดวาคําพูดมีความสําคัญและมี อิทธิพลตอความคิด ความเชื และความรูส กึ ของผูฟ ่อ  ง ดังนัน้ ผูพ  ดู ตองคิดพิจารณาไตรตรองความ คิดกอนพูด เพือ่ ใหการสือ่ สาร เกิดประสิทธิภาพและผูรับสารมี ความประทับใจ

๘๘

๙๖

¹íÒàʹÍà¹×éÍËÒã¹ÃٻẺµÒÃÒ§ à¾×èÍãËŒ§‹Òµ‹Í¤ÇÒÁࢌÒã¨áÅÐ à¡Ô´¤ÇÒÁ¤Ô´ÃǺÂÍ´

µÑÇÍ‹ҧẺ½ƒ¡à¾×Íè ãËŒ¹¡Ñ àÃÕ¹½ƒ¡·Ñ¡ÉР㹡Òþٴ Í‹Ò¹ áÅÐà¢Õ¹ ËÇÁ¡Ñ¹¨¹à¡Ô´ ¤ÇÒÁªíÒ¹ÒÞã¹·Ñ¡ÉÐ ละยอหนามี ดังนี้ ใจความสําคัญของนิทานพื้นบานเรื่องจระเขสามพัน ในแต นํ้าสุพรรณ ๑. ครั้งหนึ่งมีตากับยายสองคนผัวเมียตั้งบานเรือนอยูริมแม นเบี้ย ๒. พอคาชาวมอญขอรองใหตาชวยซื้อลูกจระเขในราคาสามพั กรง ตาจึงใหคนมาชวยกันเอามัน ๓. ตาซื้อลูกจระเขและเลี้ยงดูมันอยางดีจนมันตัวโตคับ ออกจากกรง ตาตกลงไปในนํ้าแลวคาบตา ๔. วันหนึ่งขณะที่ตาเอาอาหารใหจระเขกิน มันไดเอาหางฟาดจน มีใครชวยไดทัน ดํานํ้าหายไปอยางรวดเร็ว ยายจึงรองใหคนมาชวยแตไม เบี้ยไดกินตาเสียแลว และ น พั งในราคาสาม ย ้ มาเลี อ ้ าซื ต ่ ี ท จระเข า ว น กั อ ลื า งเล ๕. ผูคนตา มาชาวบานจึงเรียกตําบลที่ตั้งบานเรือนของ สั่งสอนกันสืบตอมาวาหามเลี้ยงลูกเสือ ลูกจระเข ตอ ตายายนั้นวา ตําบลจระเขสามพัน เอกภาพและสัมพันธภาพ โดยปรับ ผูอานจะตองเชื่อมโยงใจความสําคัญแตละยอหนาใหเปน องสัมพันธกัน โดยพิจารณาจุดมุงหมาย ขอความใหเหมาะสมและเรียบเรียงเนื้อหาใหมีความสอดคล นกับวัตถุประสงคของผูเขียน ดังตัวอยาง ของเรื่อง เพื่อใหผูอานสามารถจับใจความสําคัญไดตรงประเด็ การจับใจความนิทานเรื่องจระเขสามพัน ดังนี้ ¡ÒèѺ㨤ÇÒÁ¹Ô·Ò¹àÃ×èͧ ¨ÃÐࢌÊÒÁ¾Ñ¹ รี เลากันวาครั้งหนึ่งมีตากับ นิทานเรื่องจระเขสามพันเปนนิทานพื้นบานของสุพรรณบุ คาออนวอนใหตาชวยซื้อลูกจระเข โดย ยายสองคนผัวเมียตั้งบานเรือนอยูริมแมนํ้าสุพรรณ มีพอ ้ยงดูมันอยางดีจนมันตัวโตคับกรง ขายใหในราคาสามพันเบี้ย ตาจึงซื้อลูกจระเขตัวนั้นและเลี กิน จระเขไดเอาหางฟาดจนตาตกลงไป จึงใหมันออกจากกรง วันหนึ่งขณะที่ตายื่นอาหารใหจระเข คนมาชวยแตไมมีใครชวยไดทัน ผูคนตาง ในนํ้าแลวคาบตาดํานํ้าหายไปอยางรวดเร็ว ยายจึงรองให ว ทั้งยังสั่งสอนกันสืบตอมาวาหามเลี้ยง เลากันวาจระเขที่ตาซื้อมาในราคาสามพันไดกินตาเสียแล ั้นวาตําบลจระเขสามพัน ลูกเสือ ลูกจระเข และเรียกตําบลที่ตั้งบานเรือนของตายายน วยเหลือคน ควรพิจารณาวา นิทานเรื่องนี้มีเจตนาสอนวา ตองมีวิจารณญาณในการช นอาจเปนอันตรายได สิ่งใดควรทํา สิ่งใดไมควรทํา ไมควรเลี้ยงสัตวรายเพราะมั

EB GUIDE

http://www.aksorn.com/LC/Thai_Gra/M1/02

ตอนที่

ฒนาทักษะการฟง ó การพั การดู และการพูด

¤íÒ¶ÒÁ»ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒáÅСԨ¡ÃÃÁÊÌҧÊÃä ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙàŒ ¾×Íè ¾Ñ²¹Ò¼ÙàŒ ÃÕ¹ãËŒÁ¤Õ ³ Ø ÀÒ¾µÒÁµÑǪÕÇé ´Ñ คําถาม

กิจกรรม

ภาษาคือกลองสองความคิด ถาเขียนพูดปดเปอนเลอะเลือนไป เงาพระปรางควัดอรุณอรุณสอง อันคําพูดนั้นเลาเงาความคิด

ภาพนํ้าจิตอาจเห็นใหเดนใส ก็นํ้าในหรือจะแจมแอรมฤทธิ์ ยอมผุดผองกวาเงาแหงเตาอิฐ เปรียบเหมือนพิศพักตรชะโงกกะโหลกทึก

กิจกรรมที่

กิจกรรมที่

กิจกรรมที่

(ศึกษิต : กรมหมื่นพิทยาลงกรณ)

๑๖

Web Guide á¹Ð¹íÒáËÅ‹§¤Œ¹¤ÇŒÒ¢ŒÍÁÙÅ à¾ÔèÁàµÔÁ¼‹Ò¹Ãкº Online

ประจําหนวยการเรียนรู

๑. เพลงปลุกใจ จัดเปนพลังของภาษาในเชิงสรางสรรคหรือไม อยางไร ๒. การใชคําพองในการสื่อสาร ควรคํานึงถึงสิ่งใดเปนสําคัญ ๓. อักษรสามหมู มีความสําคัญตอการผันเสียงวรรณยุกตอยางไร ๔. การสรางคําในภาษาไทยเกิดขึ้นเพราะเหตุใด จงอธิบาย ๕. เหตุใดจึงตองระมัดระวังเมื่อใชคําซอนเพื่อเสียงในการสื่อสาร จงอธิบายพอสังเขป

Design ˹ŒÒẺãËÁ‹ ÊǧÒÁ ¾ÔÁ¾ ô ÊÕ µÅÍ´àÅ‹Á ª‹ÇÂãˌ͋ҹ·íÒ¤ÇÒÁࢌÒã¨ä´Œ§‹ÒÂ

๑๑๖

สรางสรรคพัฒนาการเรียนรู ใหนักเรียนชวยกันคิดและบอกหลักในการทองจําอักษรสามหมู แลวแลกเปลี่ยนความรูกัน ใหนักเรียนสํารวจชื่อเลนของเพื่อนในชั้นเรียน แลวแยกประเภทชื่อที่เปน คําเปนและคําตาย พรอมทั้งบอกหลักในการแบงชื่อใหถูกตอง ใหนักเรียนรวมกันยกตัวอยางคําพองที่มีปญหาในการใช พรอมทั้งรวมกัน เสนอแนวทางแกไข


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

สารบัญ ตอนที่ ๑ การพัฒนาทักษะการอาน หนวยการเรียนรูที่ ๑ การอานออกเสียง หนวยการเรียนรูที่ ๒ การอานในชีวิตประจําวัน

๑ - ๑๑ ๑๒ - ๒๕

ตอนที่ ๒ การพัฒนาทักษะการเขียน หนวยการเรียนรูที่ ๑ การเขียนสื่อสารดวยถอยคํา

๒๗ - ๓๕

หนวยการเรียนรูที่ ๒ การเขียนเพื่อการสื่อสาร

๓๖ - ๖๑

หนวยการเรียนรูที่ ๓ การเขียนแสดงความคิดเห็นจากสื่อ

๖๒ - ๖๙

ตอนที่ ๓ การพัฒนาทักษะการฟง การดู และการพูด หนวยการเรียนรูที่ ๑ การฟงและการดูสื่อ

๗๑ - ๗๘

หนวยการเรียนรูที่ ๒ การฟง การดู และการพูดในชีวิตประจําวัน

๗๙ - ๙๑

ตอนที่ ๔ หลักการใชภาษา หนวยการเรียนรูที่ ๑ เสียงในภาษาไทยและการสรางคํา

๙๓ - ๑๑๖

หนวยการเรียนรูที่ ๒ ชนิดและหนาที่ของคําในประโยค

๑๑๗ - ๑๓๑

หนวยการเรียนรูที่ ๓ ความแตกตางของภาษา

๑๓๒ - ๑๓๙

หนวยการเรียนรูที่ ๔ สํานวน คําพังเพย และสุภาษิต

๑๔๐ - ๑๔๕

หนวยการเรียนรูที่ ๕ การแตงบทรอยกรอง

๑๔๖ - ๑๕๔

บรรณานุกรม

๑๕๕ - ๑๕๖

ตรวจสอบผล Evaluate


กระตุน ความสนใจ Engage

กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

Engage

1. ครูใหขอมูลเกี่ยวกับวาระที่องคการยูเนสโก คัดเลือกใหกรุงเทพมหานคร เปนเมือง หนังสือโลก ป 2556 โดยจะมีการรณรงค ใหคนไทยอานหนังสือมากขึ้นโดยเนนไปที่เด็ก และเยาวชน จากนั้นตั้งคําถามกับนักเรียน • นักเรียนคิดวา การรณรงคในลักษณะดังกลาว จะสามารถทําใหคนไทยอานหนังสือ ไดมากขึ้น จริงหรือไม อยางไร (แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น ไดอยางอิสระ ซึ่งครูควรใหคําแนะนําที่ชวย สรางเจตคติที่ดีตอการอานใหแกนักเรียน เพราะการอานเปนรากฐานสําคัญของ การเรียนรู นอกจากความรูแลวการอาน ยังทําใหไดรับความบันเทิง ชวยจรรโลง และยกระดับจิตใจใหหลุดพนจากความ เศราหมองทั้งปวง) • นักเรียนชอบอานหนังสือประเภทใด และ การอานหนังสือที่จํากัดอยูเฉพาะที่ตนเอง ชอบจะกอใหเกิดผลเสียอยางไร (แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความ คิดเห็นไดอยางอิสระ เพราะคําตอบที่ไดนั้น มาจากการสํารวจตนเองของนักเรียน ครูควร พิจารณาคําตอบพรอมทั้งใหคําชี้แนะที่เปน ประโยชน) 2. นักเรียนรวมกันอานออกเสียงรอยกรอง ที่ปรากฏหนาตอน จากนั้นรวมกันถอดความ เปนรอยแกว แสดงความคิดเห็นของตนเอง เกี่ยวกับแนวคิดที่ไดรับและแนวทางการนําไป ประยุกตใชในชีวิตประจําวันของตนเอง

ตอนที่

ñ การพัฒนาทักษะการอาน

แมลงเอยแมลงผึ้ง ไดนํ้าหวานเก็บไวในรังนอน เปรียบบัณฑิตรักการอานหนังสือ ยิ่งอานมากยิ่งมีปรีชาชาญ

เที่ยวเคลาคลึงดอกไมไซเกสร ไมเดือดรอนเพราะขยันหมั่นทํางาน ปญญาคือนํ้าผึ้งซึ่งหอมหวาน ความคิดอานฟูเฟองเปรื่องปราดเอย (ดอกสรอยรอยแปด : ฐะปะน�ย นาครทรรพ)

เกร็ดแนะครู การเรียนการสอนในตอนที่ 1 การพัฒนาทักษะการอาน เปาหมายสําคัญคือ นักเรียนสามารถนําความรู ความเขาใจเกี่ยวกับหลักปฏิบัติการอานประเภทตางๆ ไปใชเพื่อพัฒนาทักษะการอานของตนเองใหมีประสิทธิภาพ เพื่อใหการอานใน แตละครั้งของตนเอง เปนการอานที่ไดรับประโยชนอยางแทจริง การจะบรรลุเปาหมายดังกลาว ครูควรเริ่มตนจากการสรางเจตคติที่ดีเกี่ยวกับ การอานใหแกนักเรียน ชักจูงและชักนําใหมองเห็นความสําคัญของการอาน โดยอาจยกตัวอยางสถานการณความพยายามของหนวยงานรัฐ เมื่อนักเรียนเห็น ความสําคัญของการอานแลว ควรใหเรียนรูทฤษฎี แลวจึงลงมือปฏิบัติโดยอานงาน ที่หลากหลาย ในเบื้องตนครูอาจเปนผูกําหนดกรอบ ภายหลังอาจตรวจสอบทักษะ การเลือกรับสารของนักเรียนได โดยใหนักเรียนเลือกอานดวยตนเอง


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

เปาหมายการเรียนรู

อานออกเสียงรอยแกวและรอยกรองไดถกู ตอง ตามฉันทลักษณ มีความเหมาะสมกับเนื้อความ สะทอนอารมณความรูสึกของบทอาน โดยใช ทวงทํานอง ลีลาการอาน และนํ้าเสียงถายทอด ไปยังผูฟงไดอยางถูกตอง เหมาะสม

สมรรถนะของผูเรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด

คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. มีวินัย 2. ใฝเรียนรู 3. มุงมัน่ ในการทํางาน

หนวยที่

ñ

การอานออกเสียง ตัวชี้วัด

กระตุน ความสนใจ

ารอ า นออกเสี ย งทั้ ง บทร อ ยแก ว และบทรอยกรองเปนการสื่อสารที่สําคัญ อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรองไดถูกตองเหมาะสม เพราะเปนการถายทอดความคิด ความรู กับเรื่องที่อาน ตลอดจนความรูส กึ ของผูส ง สารไปยังผูร บั สาร ซึ่งการจะทําใหผูรับสารเขาใจจนเกิดความรู สาระการเรียนรูแกนกลาง ความบันเทิงไดผูอานตองรูหลักในการอานทั้ง รอยแกวและรอยกรอง เพื่อนํามาใชใหเหมาะสม การอานออกเสียงบทรอยแกวที่เปนบทบรรยาย การอานออกเสียงบทรอยกรอง เชน กลอนสุภาพ จึงจะทําใหการอานออกเสียงนั้นนาฟง ผูฟงเกิด กาพยยานี ๑๑ โคลงสี่สุภาพ อารมณ ค ล อ ยตามและการฝ ก อ า นออกเสี ย งที่ ถูกตองจะเปนพื้นฐานที่ดีในการทองบทอาขยานดวย ท ๑.๑ ม.๑/๑ ■

■ ■

Engage

นักเรียนดูภาพประกอบหนาหนวย จากนั้น ครูตั้งคําถามกับนักเรียนวา • จากภาพที่นักเรียนเห็นสามารถคาดเดา สถานการณที่เกิดขึ้นภายในภาพเปน ลักษณะใดไดบาง (แนวตอบ นักเรียนสามารถคาดเดา สถานการณทเี่ กิดขึน้ ภายในภาพไดอยาง หลากหลาย โดยสถานการณทนี่ กั เรียนตอบ จะตองครอบคลุมเกี่ยวกับการใชทักษะ การอานออกเสียง เชน กําลังอานหนังสือ หรืออานนิทานใหเพื่อนๆ ฟง)

เกร็ดแนะครู การเรียนการสอนในหนวยการเรียนรู การอานออกเสียง เปาหมายสําคัญคือ นักเรียนสามารถอานออกเสียงรอยแกวและรอยกรองได โดยคํานึงถึงอักขรวิธี การเวนวรรคตอน การออกเสียงไดถูกตองตามลักษณะคําประพันธ ใชนํ้าเสียง ใหสอดคลองกับอารมณของบทอาน รวมทั้งการวางทาทางไดอยางเหมาะสม การจะบรรลุเปาหมายดังกลาว ครูควรคํานึงถึงความสามารถและความพรอม ของนักเรียน ซึ่งมีความแตกตางกัน ควรใหนักเรียนมีโอกาสอานออกเสียงบทอาน ที่หลากหลาย รวมกันกําหนดเกณฑมาตรฐานสําหรับวัดคุณภาพการอานเพื่อใช ประเมินการอานของตนเองและหมายรวมถึงเพื่อนๆ ในชั้นเรียน การเรียนการสอนในลักษณะนี้จะชวยฝกทักษะการอาน ทักษะการตั้งเกณฑ และทักษะการประเมินใหแกนักเรียน

คูมือครู

1


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

กระตุน ความสนใจ

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Engage

1. ครูนําเขาสูหัวขอการเรียนการสอนดวยวิธีการ ตั้งคําถามเพื่อสรางแรงจูงใจใหแกนักเรียน • นักเรียนคิดวา บทอานรอยแกวประเภทใด ทีจ่ ะตองใชความรู ความเขาใจทีห่ ลากหลาย เกีย่ วกับทักษะการอานออกเสียง (แนวตอบ การอานออกเสียงบทอานรอยแกว จะใชทกั ษะทีเ่ หมือนกัน เชน การเวนวรรคตอน การออกเสียงคําควบกลํ้า แตการอานนิทาน จะตองใชกลวิธีพิเศษเพื่อสรางทํานองเสียง สูง ตํ่า สรางบรรยากาศในการรับฟง) 2. ครูเปดแถบบันทึกเสียงการออกเสียงรอยแกว ใหนักเรียนฟง โดยที่แถบบันทึกเสียงทั้งสอง มีวิธีการอานที่แตกตางกัน ในประเด็นการแบง วรรคตอน นํ้าเสียง การออกเสียงคําควบกลํ้า จากนั้นตั้งคําถามกับนักเรียนวา • แถบบันทึกเสียงที่ไดฟงมีลักษณะแตกตางกัน อยางไร และนักเรียนรูสึกประทับใจ แถบบันทึกเสียงใด เพราะอะไร (แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น ไดอยางอิสระ ซึ่งควรมีเหตุผลสนับสนุน ความคิดเห็นของตนเองอยางเหมาะสม)

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

๑ ¡ÒÃÍ‹Ò¹ÍÍ¡àÊÕ§º·ÃŒÍÂá¡ŒÇ การอานออกเสียงรอยแกว หมายถึง การอานถอยคําที่มีผูเรียบเรียงหรือประพันธไวโดย การเปลงเสียง และวางจังหวะเสียงใหเปนไปตามความนิยมและเหมาะสมกับเรื่องที่อาน มีการใชลีลา ของเสียงไปตามเจตนารมณของผูประพันธ เพื่อถายทอดอารมณ 1 นั้นๆ ไปสูผูฟง ซึ่งจะทําใหผูฟง เกิดอารมณรวมคลอยตามไปกับเรื่องราวหรือรสของบทประพันธที่อาน

๑.๑ หลักเกณฑในการอาน

หลักเกณฑทั่วไปในการอานออกเสียงรอยแกว มีดังนี้ ๑. กอนอานควรศึกษาเรือ่ งทีอ่ า นใหเขาใจโดยศึกษาสาระสําคัญของเรือ่ งและขอความทุกขอความ เพื่อจะแบงวรรคตอนในการอานไดอยางเหมาะสม ๒. อานออกเสียงดังพอเหมาะกับสถานที่และจํานวนผูฟง ใหผูฟงไดยินทั่วกัน ไมดังหรือคอย จนเกินไป ๓. อานใหคลอง ฟงรื่นหูและออกเสียงใหถูกตองตามอักขรวิธี ชัดถอยชัดคํา โดยเฉพาะตัว ร ล หรือคําควบกลํ้า ตองออกเสียงใหชัดเจน ๔. อานออกเสียงใหเปนเสียงพูดอยางธรรมชาติที่สุด ๕. เนนเสียงและถอยคําตามนํ้าหนักความสําคัญของใจความ ใชเสียงและจังหวะใหเปนไปตาม เนื้อเรื่อง เชน ดุ ออนวอน จริงจัง โกรธ เปนตน

Explore

แบงกลุมนักเรียนออกเปน 3 กลุม โดยใชระดับ ความสามารถในการอานออกเสียงของนักเรียน เปนเกณฑ กลุม ที่ 1 มีความสามารถอยูใ นระดับตองพัฒนา กลุมที่ 2 มีความสามารถอยูในระดับปานกลาง กลุมที่ 3 มีความสามารถอยูในระดับดี ใหสมาชิกในแตละกลุมรวมกันสํารวจคนหา ความรูเ กีย่ วกับหลักเกณฑการอานออกเสียงรอยแกว จากสื่อที่สนใจและสามารถเขาถึงไดหรือจากบุคคล ตนแบบ เชน ผูดําเนินรายการวิทยุ โทรทัศน ผูประกาศขาว เปนตน

ผูทําหนาที่ดําเนินรายการจะตองมีทักษะดานการอานออกเสียงเปนอยางดี สามารถออกเสียงไดไพเราะ และสื่อ ความชัดเจน

นักเรียนควรรู 1 รสของบทประพันธ ไดแก เสาวรจนี คือบทชมโฉมตัวละคร ชมความงาม ของธรรมชาติ นารีปราโมทย คือบทเกี้ยวพาราสี พิโรธวาทัง คือบทแสดงความโกรธ ตัดพอ และสัลลาปงคพิสัย คือบทครํ่าครวญ โศกเศรา ซึ่งนักเรียนสามารถซาบซึ้ง กับรสของบทประพันธ โดยการอานวรรณคดีเรื่องตางๆ เชน มัทนะพาธา อิเหนา ขุนชางขุนแผน เปนตน 2 หลักเกณฑในการอาน ปจจัยพื้นฐานของการอานออกเสียงประกอบดวย สายตา นํ้าเสียง และการสรางอารมณใหเหมาะสมกับบทอาน เมื่อผูอานออกเสียง มีปจจัยพื้นฐานดังกลาวขางตน สิ่งสําคัญตอมาหากตองการจะเปนผูที่ประสบ ความสําเร็จในการอานออกเสียง ผูอานจะตองเรียนรูหลักเกณฑในการอาน อยางครบถวน ใสใจทุกรายละเอียดและสําคัญที่สุด คือตองมีความเพียรพยายาม ในการฝกซอม นําทฤษฎีหรือหลักเกณฑที่ไดเรียนรูมาใชฝกปฏิบัติกับบทอานจริง โดยเริ่มจากการเลือกบทอานที่ประทับใจกอน ฝกฝนจนชํานาญแลวจึงฝกกับบทอาน ที่หลากหลายยิ่งขึ้น

2

คูมือครู

2

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

การฝกซอมอานออกเสียงรอยแกวดวยตนเองอยางสมํ่าเสมอ จะชวย เพิ่มพูนทักษะการอานออกเสียงใหแกนักเรียนไดอยางไร จงแสดงความ คิดเห็น แนวตอบ การฝกซอมอานออกเสียงรอยแกวดวยตนเองจะทําใหเกิด ทักษะความชํานาญ โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อฝกอานจากบทอานที่มี ความหลากหลาย มีระดับความยากงายแตกตางกัน เมื่อพบคําที่ไมเคย อานมากอน ก็สามารถที่จะคนควาวิธีการอานไดจากพจนานุกรม ทําให มีคลังคํามากขึ้น เมื่อจะตองอานออกเสียงใหผูอื่นฟง แลวพบคําที่เคย คนควาวิธีการอานไว ก็จะทําใหอานไดถูกตอง ดังนั้นการฝกซอมอาน ออกเสียงดวยตนเองอยางสมํ่าเสมอจึงเปรียบเสมือนการทําตนเองให พรอมอยูเสมอ เหมือนนักรบที่จะตองฝกการใชอาวุธอยูตลอดเวลา


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู ๖. อานออกเสียงใหเหมาะกับประเภทของเรื่อง รูจักใสอารมณใหเหมาะสมตามเนื้อเรื่อง ๗. ขณะที่อาน ควรสบสายตาผูฟง ในลักษณะที่เปนธรรมชาติ ๘. การอานในทีป่ ระชุม ตองจับหรือถือบทอานใหเหมาะสมและยืนทรงตัวในทาทีส่ งา

๑.๒ วิธกี ารอาน ในการฝกอานออกเสียงขอความที่เปนรอยแกว จะใชเครื่องหมายแบงวรรคตอนในการอาน เพื่อเปนการเวนชวงจังหวะการอาน ดังนี้ เครื่องหมาย / หมายถึง การหยุดเวนชวงจังหวะสั้นๆ เครื่องหมาย // หมายถึง การหยุดเวนชวงจังหวะที่ยาวกวาเครื่องหมาย / เครื่องหมาย _ (ขีดเสนใต) หมายถึง การเนนหรือการเพิ่มนํ้าหนักของเสียง การอานออกเสียงขอความที่เปนรอยแกวมีวิธีการอาน ๒ วิธี ดังนี้ 1 ๑) วิธีการอานแบบบรรยาย การอานออกเสียงใหถูกตอง ชัดถอยชัดคํา เวนวรรคตอนใน การอานใหเหมาะสม เนนเสียงและถอยคําตามนํ้าหนักความสําคัญของใจความ เพื่อจะชวยใหผูอาน เขาถึงจุดมุงหมายของเรื่องไดดี

Explain

1. นักเรียนกลุมที่ 1 ออกมาอธิบายความรู ในประเด็น “หลักเกณฑการอานออกเสียง รอยแกว” ที่ไดจากการศึกษาคนควารวมกัน จากนั้นครูเปนผูตั้งคําถามใหนักเรียนทุกคน ในกลุมไดมีโอกาสแสดงความรูของตน 2. นักเรียนในชั้นเรียนรวมกันอานออกเสียง บทบรรยายไมเนนการแสดงอารมณ จากหนังสือเรียนภาษาไทย หนา 3 อยาง พรอมเพรียงกัน โดยใชหลักเกณฑการอาน ออกเสียงที่ไดเรียนรูและฟงจากการบรรยาย ของเพื่อนๆ กลุมที่ 1 เปนแนวทาง ครูคอย ชี้แนะขอควรปรับปรุงแกไขใหแกนักเรียน หลังจากการอานสิ้นสุดลง

¡Òýƒ¡Í‹Ò¹ÍÍ¡àÊÕ§ẺºÃÃÂÒÂäÁ‹à¹Œ¹¡ÒÃáÊ´§ÍÒÃÁ³ ในปจจุบนั กลาวกันวา/เรากําลังอยูใ นยุยุคโลกาภิวตั นนห รือเรียกอีกอยางวาโลกไรพรมแดน// /ก็เปนกระบวนการสําคัญอยางยิ่งในการพัฒนาคนใน แตจะเรียกอยางไรก็ตามเถิด/การอาน/ก็ ทศวรรษนี้/เพราะโลกของการศึกษามิไดจํากัดอยูภายในหองเรียนที่มีลักษณะรูปทรงสี่เหลี่ยม ใหเล็กลงเทาทีเ่ ราอยากรูไ ดรวดเร็ว/ แคบๆ/เทานัน้ //แตขอ มูลขาวสารสารสนเทศตางๆ/ไดยอ โลกให ในชั่วลัดนิ้วมือเดียวอยางที่คนโบราณกลาวไว//จะมีสื่อใหเลือกอานอยางหลากหลาย//ทั้งสื่อ สิง่ พิมพทเี่ ราคุน เคย/ไปจนถึงสือ่ อิเล็กทรอนิกสทเี่ รียกวา//“อิ “อินเทอรเน็ต”/เพราะการต ”/เพราะการตอสูร กุ รานกัน /มากกวาการใชกําลังอาวุธ ของมนุษยยุคใหม/จะใชขอมูล/สติปญญาและคุณภาพของคนในชาติ//มากกว ขาดการเรียนร นรู​ู/จะถูกครอบงําทางปญญา เขาประหัตประหารกัน//หากคนในชาติดอยคุณภาพ/ขาดการเรี ไดงายๆ/จากสื่อตางๆ (ชาติกาวไกลดวยคนไทยรักการอาน : มานพ ศรีเทียม)

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

นอกจากจะตองเรียนรูอักขรวิธีในการอานแลว นักเรียนคิดวาตองเรียนรู เกี่ยวกับสิ่งใดอีกบาง ที่จะทําใหการอานออกเสียงแตละครั้งมีความสมบูรณ จงอธิบายพรอมยกตัวอยางประกอบใหชัดเจน แนวตอบ การอานออกเสียงใหมีความสมบูรณ นอกจากผูอานจะตองมี ความรู ความเขาใจ ที่ถูกตองเกี่ยวกับอักขรวิธี ฝกฝนจนเกิดความชํานาญ แลว ผูอานจะตองเรียนรูเกี่ยวกับการวางทาทาง บุคลิกภาพในขณะที่อาน ทั้งในรูปแบบการนั่งอานและยืนอาน การสบสายตาผูฟง การจับ การเปด การพลิกหนังสือ อากัปกิริยาเหลานี้จะอยูในสายตาของผูฟง เมื่อตองอาน ออกเสียงในที่สาธารณชน ดังนั้นเพื่อใหการอานออกเสียงในแตละครั้ง มีความสมบูรณและสรางความนาเชื่อถือในตัวผูอานใหเกิดขึ้นแกผูฟง ผูอานออกเสียงจึงควรที่จะเรียนรูเกี่ยวกับบุคลิกภาพในขณะอานดวย

เกร็ดแนะครู ครูควรจัดเตรียมบทอานที่มีลักษณะเปนบทบรรยายสําหรับใหนักเรียนไดรวมกัน ฝกฝนเพิม่ เติม โดยอาจคนหาจากเรือ่ งสัน้ นวนิยาย บทความตางๆ หรืออาจคัดลอก จากสารานุกรมไทยสําหรับเยาวชน โดยพระราชประสงคในพระบาทสมเด็จพระเจาอยูห วั ฉบับเสริมการเรียนรูเ ลมใดเลมหนึง่ เพราะนอกจากนักเรียนจะไดฝก อานออกเสียงแลว ยังไดรับความรูเพิ่มเติมอีกดวย

นักเรียนควรรู 1 บรรยาย คือ ลักษณะของงานเขียนประเภทหนึ่งที่เนนการดําเนินเรื่องวาใคร ทําอะไร ทําอยางไร ที่ไหน และเมื่อไร เชน “หลอนนึกถึงบานริมสวนในวัยเด็ก ที่มักจะชวนเพื่อนๆ มุดรั้วลวดหนามเขาไปเลนในสวนเล็กๆ แหงนั้น เก็บชมพู มะปราง หรือละมุดสีดาที่ติดกิ่งเรี่ยๆ กินกันอยางเพลิดเพลิน” คูมือครู

3


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

1. นักเรียนกลุม ที่ 2 และ 3 ออกมาอธิบายความรู ในประเด็น “หลักเกณฑการอานออกเสียงรอยแกว ประเภทบรรยาย เนนการแสดงอารมณ และ บทพรรณนาที่ไดจากการศึกษาคนควารวมกัน ตามลําดับ 2. นักเรียนในชั้นเรียนรวมกันอานออกเสียง บทบรรยายเนนการแสดงอารมณจาก หนังสือเรียนภาษาไทย หนา 4 และบทพรรณนา ใหเห็นภาพ หนา 5 ตามลําดับ โดยใชหลักเกณฑ การอานออกเสียงที่ไดเรียนรูและฟงจากการ บรรยายของเพื่อนๆ กลุมที่ 2 และ 3 เปน แนวทาง ครูคอยชี้แนะขอควรปรับปรุงแกไข ใหแกนักเรียนหลังการอานสิ้นสุดลง

¡Òýƒ¡Í‹Ò¹ÍÍ¡àÊÕ§ẺºÃÃÂÒÂ์¹¡ÒÃáÊ´§ÍÒÃÁ³ เกวียนโขยกขลุกขลักไปอยางเชื่องชา/เสียงเพลาเสียดสีไปกับดุม/ดังเสียงแหลมเล็ก/ สลับกับเสียงกระดิง่ วัว/ดังตามจังหวะการกาวเดินของวัวชราสองตัวนัน้ /ฟงเปนเพลงมารชประจํา ทุง/ที่มีตัวโนตธรรมชาติเปนผูกําหนดทํานอง//บางครั้ง/มันฟงดูเศราซึม/เหมือนอยางเสียงของ เกวียนเลมนี้// ชายชรานัง่ ขยับไมแสอยูบ นเกวียน/แกแกวงไมอยูก ลางอากาศ/ขณะไลววั ดวยเสียงแหบพรา/ แกคงไมกลาเอาไมแสแตะหลังวัว/ใหมนั ระคายเคืองและเจ็บปวดใจ/สังขารอันรวงโรยของไอแกว ไอไหม/วัวคูย ากก็ไมตา งจากเจาของมากนัก//หนังหยอนยานรัดรูปลงไปโชวกระดูก/เรีย่ วแรงของ มันคอยหมดลงไป/จนเกือบจะลากขาตนเองไมไหว//ถาแกมัง่ มีหรือพอมีใช/ก็จะปลดเกษียณใหววั คูย าก/มันไดพกั ผอนยามชราบาง//แตมนั จนใจ/เพราะแมแตตวั แกเองก็ยงั ไมไดพกั /แมยา งเขา ๖๕ แลว/ชีวติ ทีเ่ ขมขนเมือ่ ตอนหนุม ๆ/ไดกลายเปนความหลังอันยืดยาว/มีนยิ ายชีวติ ทีเ่ ลาใหลกู หลาน ฟงไดหลายวันหลายคืนกวาจะจบ// ตะวันคลอยตํา่ ลงไป/พาดยอดไมชายทุง โนนแลว/วัวเดินชาลงๆ//เหมือนมันจะลมลง/สิน้ ใจ ตายเสียกอนถึงทีห่ มาย/แกหันมามองดูฟน ในเกวียน//แลวหันไปมองวัว/รูส กึ สงสารไอแกวไอไหม จนหัวใจสะทอน//แกรูด วี า /มันเหนือ่ ยสายตัวแทบขาด//แมแตแกนัง่ มาบนเกวียน/ยังเหนือ่ ยเพลีย จนจะหมดแรง//แกหยิบฟนโยนทิ้งขางทางเสียสองสามดุน// ไอแกว/ไอไหม/อยูกับแกมาตั้งแตเปนวัวรุนหนุม/ยังไมรูงาน//แกจําไดวา/วันแรกเอาไอวัว หนุม สองตัวเทียมเกวียน/มันตืน่ พาแกวิง่ ไปตลอดทุง //กวาจะฝกใหบา มันเคยแบกเกวียนไดตอ งใช เวลานาน//พอมันเปนวัวหนุมฉกรรจงานคลอง/เทียมเกวียนลัดออมยังไมทันเสร็จ//มันก็วิ่งกราก ราวกับมายนต/ไมแสไมเคยใชเลย/ทั้งเวลาไถนาและลากเกวียน// แกยังจําไดวา/เคยมีคนเอาวัวมาแลกถึงสองคู/แกก็ไมยอม// อม//แกรักมันเหมือนลูก/เสร็จงาน จะอาบนํ้า/ลางขน งขนให ใหมันเปนเงาวับ//กลางคืนยังไดนอนมุงอยางมีความสุข/ไมใหยุงริ้นรบกวน/ มันเคยโดนขโมยไปเรียกคาไถถึงสองหน/คาตัวจึงเพิ่มขึ้นเปนสองเทาตัว// ชีวติ ของชาวนาจนๆ อยางลุงอํา่ //ตองดิน้ รนอยู รน ก ลางทุง นาอันเปลาเปลีย่ ว//ยิง่ หางไกลความ เจริญมากเทาไร/มือกฎหมายก็เขาไปไมถงึ /กลายเปนกฎหมู/ กฎนักเลง//ตองพึง่ ตัวเอง/พึง่ พีน่ อ ง// ราบเรียบเปนเสนตรงของแก ชีวติ ทีซ่ อื่ /ราบเรี ตรงของแก/ไมมอี าํ นาจพอจะเปนทีเ่ กรงใจของใคร//นักเลงไมเคยกลัว ความดี/ี มันกลัวปน// ความด

1

(เกวียนชรา : นิมิตร ภูมิถาวร)

นักเรียนควรรู 1 เกวียนชรา หนึ่งในเรื่องสั้นของนิมิต ภูมิถาวร ซึ่งถูกรวมไวในหนังสือ รวมเรื่องสั้น “ไมเรียวอันสุดทาย” โดยประกอบดวยเรื่องสั้นเรื่องอื่นๆ ไดแก ประชาธิปไตย 5 เกวียน, ปรัชญาบนนาขาว, ชองวางระหวางกอโสน, ครู-สาวโสด, กระสุนแหงเกียรติยศ, ไมเรียวอันสุดทาย, เสียงปรบมือใหความจน, บทเศราของ ด.ญ. มะลิ, ปรัชญาบนขาออน, ผูแพ, หลงทาง และเด็กเอยเกลียดครูไหม

มุม IT การฝกอานเรื่องสั้นหรืองานเขียนหลากหลายประเภท จะชวยฝกทักษะการอาน ออกเสียงใหแกนักเรียน โดยนักเรียนสามารถเขาไปสืบคนรายชื่อหนังสือที่นาสนใจ ไดจากเว็บไซต http://oas.psu.ac.th/rewardbook/index.php

4

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

การใชระดับเสียงใหมีความแตกตางกันในขณะที่อานมีประโยชน ตอการอานเนื้อหาสาระในขอใดมากที่สุด 1. นิทาน 2. ปาฐกถา 3. แถลงการณ 4. พระบรมราโชวาท วิเคราะหคําตอบ การอานออกเสียงพระบรมราโชวาท ปาฐกถาและ แถลงการณ ผูอานออกเสียงจะตองมุงเนนไปที่การแบงวรรคตอนให ถูกตอง เพื่อปองกันการสื่อความคลาดเคลื่อน นอกจากนี้ยังตองออกเสียง คําใหชัดเจน คําควบกลํ้า อักษรนํา เปนตน แตการอานนิทานซึ่งมีเนื้อหา ในการเสริมสรางจินตนาการใหแกผูฟง การใชระดับเสียงใหแตกตาง ในขณะที่อาน มีความหนัก เบา สูง ตํา่ จะชวยทําใหผฟู ง เกิดอารมณ ความรูส กึ คลอยตามและสามารถทําความเขาใจเนื้อหาสาระของเรื่อง ไดงายขึ้น ดังนั้นจึงตอบขอ 1.


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ขยายความเขาใจ 1

๒) วิธีการอานแบบพรรณนาใหเห็นภาพ ทําใหผูอานเกิดอารมณคลอยตาม การอานควร

อานออกเสียงใหเปนเสียงพูดอยางธรรมชาติที่สุด ใชนํ้าเสียงและอารมณในการอานใหเหมาะสมกับ เนื้อความ บทสนทนา และบทบรรยาย ควรใชนํ้าเสียงแตกตางกัน เนนเสียง ใชเสียงและจังหวะใหเปน ไปตามเนื้อเรื่อง ¡Òýƒ¡Í‹Ò¹ÍÍ¡àÊÕ§Ẻ¾Ãó¹ÒãËŒàËç¹ÀÒ¾ ฉันเปนสายนํ้าที่ไหลเอื่อยๆ อยูในลําคลอง/ฉันไหลผานบานเรือน/ชุมชนตางๆ//บางครั้ง มีผูคนทิ้งขยะลงมาใสฉัน/ทําใหตัวฉันมีกลิ่นเหม็น/เปนที่รังเกียจของคนทั่วไป//แมแตสัตวนํ้า ที่อาศัยอยูรวมกับฉันอยางมีความสุข/ก็พลอยไดรับความเดือดรอนไปดวย//บางตัวก็ปวยไข หายใจพะงาบๆ/เขาพยายามพูดกับฉันวา// “โอย!/นํา้ จา/ชวยไหลแรงๆ//พาพวกฉันใหพน ไปจากบริเวณนีท้ เี ถอะ/พวกฉันอยากไปอยูใ น ที่ที่มีนํ้าสะอาดกวานี้ี”// “เอาเถอะ/ฉันจะพยายามพาพวกเธอไปอาศัยอยูที่ทะเลอันกวางใหญ/พวกเธอจะไดมีนํ้า สะอาดๆ อยู/อดทนหนอยนะ//ฉันเองก็ไมอยากอาศัยอยูที่นี่เหมือนกัน”// วาแลวฉันก็ไหลลงไปสูท ะเลอันกวางใหญ/โดยมีฝงู ปลาประคองตัวลอยตามไป/กอนจากกัน ปลาตัวหนึ่งหันมาพูดกับฉันวา// “ขอบคุณมากสายนํ้าผูอารี/พวกฉันจะไมลืมพระคุณของทานเลย”// “ไมเปนไรหรอก/เราตองพึ่งพาอาศัยกันอยูแลว”/ฉันตอบ//แลวฝูงปลาก็วายนํ้าจากไป// (เรียวรุงเหนือทุงกวาง : ปฐพร ตุกชูแสง)

จากวิธีการอานแบบบรรยาย และแบบพรรณนาใหเห็นภาพขางตน จะเห็นไดวา มีวิธีการอาน ที่แตกตางกัน โดยขึ้นอยูกับเนื้อหาและจุดมุงหมายของผูสงสาร ดังนั้น ผูอานควรทําความเขาใจเนื้อหา และเจตนาของผูสงสารกอนอานสารนั้น แลวจึงถายทอดสารดวยถอยคําที่ถูกตอง ชัดเจน เวนจังหวะ การอานใหเหมาะสม หากตองใชนาํ้ เสียงหรืออารมณเปนสือ่ ประกอบการอาน ควรเลือกใชใหสอดคลอง ตามเนื้อเรื่อง เพื่อใหการสื่อสารเกิดประสิทธิภาพและผูอานสามารถเกิดอารมณความรูสึกคลอยตาม

Expand

1. นักเรียนรวมกันสรุปความรู ความเขาใจที่ ถูกตองเกี่ยวกับหลักการอานออกเสียงรอยแกว นําขอมูลที่ไดมาจัดการความรูรวมกัน ในลักษณะของปายนิเทศประจําชั้นเรียน ในหัวขอ “นิทานกับการอานออกเสียง” 2. นักเรียนรวมกันกําหนดเกณฑมาตรฐาน สําหรับใชวัดคุณภาพการอานออกเสียงบทอาน ประเภทรอยแกวโดยประมวลจากความรู ความเขาใจ ที่ไดรับจากการฟงบรรยายของ เพื่อนๆ กลุมที่ 1-3 รวมถึงขอควรปรับปรุง ทีค่ รูเปนผูช แี้ นะ หลังจากการอานออกเสียงของ นักเรียน ซึ่งเกณฑมาตรฐานที่ถูกกําหนดขึ้นนี้ จะใชวัดคุณภาพการอานออกเสียงรอยแกว ของนักเรียนในชั้นเรียน 3. นักเรียนคัดสรรงานเขียนรอยแกวที่ตนเอง ประทับใจ โดยเลือกระหวางบทบรรยายและ บทพรรณนา ความยาวไมเกิน 15 บรรทัด เพื่อนํามาอานออกเสียงใหครูและเพื่อนๆ ฟงหนาชั้นเรียน โดยคัดลอกดวยลายมือ พรอมแสดงการแบงวรรคตอนการอาน 4. ในขณะทีเ่ พือ่ นอานออกเสียง ใหนกั เรียนคนอืน่ ๆ ภายในชั้นเรียนเขียนแสดงความคิดเห็นและ ประเมินการอานของเพื่อน โดยใชเกณฑ มาตรฐานที่รวมกันกําหนดขึ้นเปนแกนกลาง

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

การอานในขอใดถาเวนวรรคตอนผิดจะทําใหความหมายผิดไปจากเจตนาเดิม 1. นํ้าทวมปนี้มากกวา ป 2538 หลายเทา 2. นาซาคือหนวยงานที่เกี่ยวของกับอวกาศ 3. เมื่อนักเรียนเดินผานครูตองทําความเคารพ 4. สิ่งเล็กๆ ที่เรียกวารักเปนชื่อของภาพยนตร วิเคราะหคําตอบ ขอ 1. อานวา นํ้าทวมปนี้ / มากกวา / ป 2538 / หลายเทา ขอ 2. อานวา นาซา / คือ / หนวยงาน / ที่เกี่ยวของกับอวกาศ ขอ 4. อานวา สิ่งเล็กๆ / ที่เรียกวารัก / เปนชื่อของภาพยนตร สวนขอ 3. หากอานวา เมื่อ นักเรียนเดินผาน / ครูตองทําความเคารพ จะมีความหมายไปอีกประเด็นหนึ่ง ที่ถูกตอง ควรอานวา เมื่อนักเรียน / เดินผานครู / ตองทําความเคารพ ดังนั้น จึงตอบขอ 3.

นักเรียนควรรู 1 พรรณนา เรื่องราวที่กลาวอยางละเอียดลึกซึ้ง โดยใสอารมณ ความรูสึกลงไป ในบทประพันธ เพือ่ ทําใหผอู า นมองเห็นภาพไดชดั เจน ไมเนนการดําเนินเรือ่ ง ใชสาํ หรับ การพรรณนาความงามของสถานที่ ความรูสึก เชน “ดอกจันทนกระพอรวงพรูแตมไิ ด หลนลงสูพื้นดินทีเดียว เกสรเล็กๆ แดงเรื้อแกมเหลืองลอยออน กระจัดพลัดพราย อยูในอากาศที่โปรงสะอาดหนวยหนึ่ง” หรือ “ภาพนั้นขาวอรามนวลใยอยูทามกลาง ความมืดมิด มีแสงสีนาํ้ เงินแผกระจายหอมลอมราวกับรัศมีจากสรวงสวรรคเปนหินออน ขนาดพอดีไมใหญเทอะทะและไมเล็กจนบอบบาง เปนรูปสลักองคพระเยซูคริสต นอนทอดระทวยสิ้นใจอยูบนตักพระนางมารี ทาทางที่พระนางมารีกมมองบุตรชาย ที่หาชีวิตไมแลวในออมกอดแสดงใบหนาสงบนิ่งอยางคนที่ปลงตกแลวทุกอยาง เปนภาพที่เศราซึ่งยากจะหาคําใดมาบรรยายมิได...”

คูมือครู

5


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

กระตุน ความสนใจ

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Engage

ครูเปดวีซีดีการพากยโขนของกรมศิลปากร ใหนักเรียนฟง จากนั้นตั้งคําถามกับนักเรียนวา • บทรอยกรองที่นักเรียนไดฟง หากอาน โดยไมใสทวงทํานอง จะทําใหไดรับความรูสึก ที่แตกตางกันอยางไร เพราะเหตุใด (แนวตอบ การอานออกเสียงรอยกรองโดย ปราศจากการใสทวงทํานองอาจทําใหผูฟง สูญเสียอรรถรสขณะที่ฟง เพราะการอาน โดยใหมีทํานองเสียงสูง ตํ่า หนัก เบา ยาว สั้น ตามจังหวะลีลาของรอยกรองจะชวย ถายทอดอารมณไปยังผูฟงไดชัดเจนและ สมจริง) • นักเรียนคิดวาการอานออกเสียงรอยกรอง แสดงใหเห็นเอกลักษณของคนไทยอยางไร (แนวตอบ คําตอบขึ้นอยูกับดุลยพินิจของครู นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็นไดอยาง อิสระ โดยขึ้นอยูกับทัศนคติสวนตนซึ่งครู ควรชี้แนะเพิ่มเติม)

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Explore

นักเรียนกลุมเดิมรวมกันสํารวจคนหาความรู เกี่ยวกับหลักเกณฑการอานออกเสียงรอยกรอง ดังตอไปนี้ กลุมที่ 1 ประเภทกลอนสุภาพ กลุมที่ 2 ประเภทกาพยยานี 11 กลุมที่ 3 ประเภทโคลงสี่สุภาพ โดยนักเรียนสามารถสืบคนความรูไดจากแหลง การเรียนรูที่สามารถเขาถึงไดและทุกคนควรมี สวนรวมในการสืบคน

๒ ¡ÒÃÍ‹Ò¹ÍÍ¡àÊÕ§º·ÃŒÍ¡Ãͧ การอานออกเสียงรอยกรอง เปนการอานที่มุงใหเกิดความเพลิดเพลิน ซาบซึ้งในรสของ บทประพันธ ซึ่งจะตองอานอยางมีจังหวะ ลีลาและทวงทํานองตามลักษณะของคําประพันธแตละชนิด การอานบทรอยกรอง อานได ๒ แบบ ดังนี้ อานออกเสียงธรรมดา เปนการอานออกเสียงพูดตามปกติเหมือนอานรอยแกว แตมีจังหวะ วรรคตอน มีการเนนสัมผัสตามลักษณะบังคับของคําประพันธแตละชนิด อานทํานองเสนาะ เปนการอานมีสําเนียงสูง ตํ่า หนัก เบา ยาว สั้น เปนทํานองเหมือนเสียง ดนตรี มีการเอื้อนเสียง เนนสัมผัส ตามจังหวะ ลีลาและทวงทํานองที่แตกตางไปตามลักษณะบังคับของ คําประพันธชนิดตางๆ ใหชัดเจน ไพเราะ เหมาะสม ทําใหผูฟงเกิดอารมณคลอยตาม

๒.๑ หลักเกณฑในการอาน หลักทั่วไปของการอานออกเสียงรอยกรองที่ควรคํานึงถึง มีดังตอไปนี้ ๑. ศึกษาลักษณะบังคับของคําประพันธแตละชนิ 1 ดที่จะอานใหเขาใจแจมแจง เชน การแบง จังหวะ จํานวนคํา สัมผัส เสียงวรรณยุกต เสียงหนักเบา เปนตน ๒. อานใหถูกตองตามลักษณะบังคับของคําประพันธชนิดนั้นๆ ๓. อานออกเสียงคําใหชัดเจน ถูกตอง โดยเฉพาะคําที่ออกเสียง ร ล และคําควบกลํ้า ๔. อานเสียงดังพอสมควรที่ผูฟงจะไดยินทั่วถึง ไมดังหรือคอยจนเกินไป ๕. อานมีจังหวะ วรรคตอน รูจักทอดจังหวะ เอื้อนเสียง หรือหลบเสียง ๖. คําที่รับสัมผัสกัน ตองอานเนนเสียงใหชัด ถาเปนสัมผัสนอกตองทอดเสียงใหมีจังหวะยาว กวาธรรมดา ๗. อานเอื้อสัมผัสในเพื่อเพิ่มความไพเราะ เชน ตเวที อันรักษาศีลสัตยกกตเวที ขาขอเคารพ ขอเคารพอภิวันท ไมมีกษัตริยครองปฐพี ปฐพี คิดถึงบาทบพิตรอดิ รอดิศร

อานวา กัด-ตะ-เว-ที อานวา อบ-พิ-วัน อานวา ปด-ถะ-พี อานวา อะ-ดิด-สอน

เพื่อใหสัมผัสกับ เพื่อใหสัมผัสกับ เพื่อใหสัมผัสกับ เพื่อใหสัมผัสกับ

สัตย เคารพ กษัตริย บพิตร

๘. คําที่มีพยางคเกินใหอานเร็วและเบา เพื่อใหเสียงไปตกอยูพยางคที่ตองการ ๙. มีศิลปะในการใชเสียง รูจักเอื้อนเสียงใหเกิดความไพเราะ และใชเสียงแสดงความรูสึกให เหมาะกับขอความ เพื่อรักษาบรรยากาศของเรื่องที่อาน ๑๐. เมื่ออานถึงตอนจะจบบทตองเอื้อนเสียงและทอดจังหวะใหชาลง จนกระทั่งจบบท ๖

นักเรียนควรรู 1 เสียงหนักเบา เสียงหนักหรือคําครุ หมายถึง พยางคที่ประสมดวยสระเสียงยาว ในแม ก.กา และพยางคที่มีตัวสะกดทั้ง 8 มาตรา สวนเสียงเบาหรือคําลหุ หมายถึง พยางคที่ประสมดวยสระเสียงสั้นในแม ก.กา พยางคที่ใชพยัญชนะตัวเดียว เชน ก็ ณ บ ซึ่งคําครุและลหุ มีความจําเปนอยางมากตอการแตงคําประพันธประเภทฉันท โดยผูแตงจะตองบรรจุคําครุ ลหุ ใหครบตามจํานวนที่ระบุไวในฉันทลักษณ ตําแหนง ใดที่กําหนดใหเปนคําครุและลหุ จะตองเปนคําครุและลหุ จะใชผิดที่หรือแทนกัน ไมได ฉันททนี่ าํ มาแตงในวรรณคดีไทย ไดแก ฉันท 8, ฉันท 11, ฉันท 12, ฉันท 14, ฉันท 15, ฉันท 16, ฉันท 18, ฉันท 19, ฉันท 20 และฉันท 21 โดยจะยกตัวอยาง อินทรวิเชียรฉันท ดังนี้ “...บงเนื้อก็เนื้อเตน พิศเสนสรีรรัว ทั่วรางและทั้งตัว ก็ระริกระริวไหว แลหลังละลามโล หิตโอเลอะหลั่งไป เพงผาดอนาถใจ ระกะรอยเพราะรอยหวาย”

6

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

การฝกอานออกเสียงรอยกรองจนเกิดความชํานาญในทวงทํานองของ รองกรองแตละประเภท ขั้นตอนตอมาที่นักเรียนควรฝกฝนเพื่อใหเกิด ความไพเราะขณะที่อานซึ่งถือเปนศิลปะประการหนึ่งคืออะไร แนวตอบ เมื่อผูอานออกเสียงมีความชํานาญดานการออกเสียง รูจัก ทวงทํานองแลว ควรที่จะฝกฝนศิลปะการใชเสียงเพื่อใหเกิดความไพเราะ ในขณะที่อาน เชน การทอดเสียงเพือ่ ผอนจังหวะใหชา ลง การเอือ้ นเสียง เพือ่ ใหเขาจังหวะ การครั่นเสียง การหลบเสียงเมื่อตองออกเสียงที่เกิน ความสามารถ การกระแทกเสียง เปนตน การมีทักษะที่ดีในการออกเสียง และมีกลวิธีพิเศษเกี่ยวกับการใชเสียง จะทําใหการอานออกเสียงใน แตละครั้งเกิดความไพเราะ และมีเสนหชวนฟง


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู การอ า นบทร อ ยกรองหรื อ ทํ า นองเสนาะให ไ พเราะและประทั บ ใจผู  ฟ  ง นั้ น ผู  อ  า นควรมี ความพรอมทั้งในดานรางกายและจิตใจ กลาวคือ กอนอานทํานองเสนาะควรรักษาสุขภาพใหดี ตั้งสติใหมั่นคง ไมตื่นเตน ตกใจ หรือประหมา ควรมีสมาธิทั้งกอนอานและขณะอาน โดยกอนอาน ควรตรวจดูบทอานอยางคราวๆ และรวดเร็ว เพื่อพิจารณาวาเนื้อหากลาวถึงเรื่องใด ควรอานใสอารมณ แบบใด รวมทัง้ กวาดสายตาพิจารณาคํายากหรือการผันวรรณยุกตและการสะกดคําอืน่ ๆ เพือ่ จะไดอา น ใหถูกตองตามอักขรวิธีไมมีขอผิดพลาด

๒.๒ วิธกี ารอาน ในการอานทํานองเสนาะจากคําประพันธจะมีเครื่องหมายแบงวรรคตอนในการอาน ดังนี้ เครื่องหมาย / หมายถึง การหยุดเวนชวงจังหวะสั้นๆ เครื่องหมาย // หมายถึง การหยุดเวนชวงจังหวะที่ยาวกวาเครื่องหมาย /

๑) กลอนสุภาพ คือ กลอนแปด เปนคําประพันธที่นิยมแตงกันมาแตโบราณ กลอนสุภาพ 1 มีหลายชนิด ไดแก สักวา ดอกสรอย เสภา นิราศ เพลงยาว ซึ่งแตละชนิดมีลักษณะบังคับที่ตางกัน แตกลอนทุกชนิดมีลีลาหรือกระบวนความบรรยายทํานองเดียวกัน ดังเชน กลอนสุภาพ (กลอนแปด) บทหนึง่ มี ๒ บาท ซึง่ ๑ บาท จะมี ๒ วรรค โดยมีวรรคละ ๗-๙ คํา วรรคแรก เรียกวา วรรคสดับ วรรคที่สอง เรียกวา วรรครับ วรรคที่สาม เรียกวา วรรครอง และ วรรคที่สี่ เรียกวา วรรคสง

Explain

1. นักเรียนกลุมที่ 1 สงตัวแทน 1 คน ออกมา หนาชั้นเรียน เพื่ออธิบายความรูในประเด็น “หลักการอานออกเสียงรอยกรอง ประเภท กลอนสุภาพหรือกลอนแปด” จากนั้นให รวมกันอานออกเสียงทํานองเสนาะกลอน สุภาพประชุมลํานํา จากหนังสือเรียนภาษาไทย หนา 7 โดยใชหลักการอานตามแนวทางที่ได ศึกษา และครูคอยชี้แนะขอควรปรับปรุงแกไข ใหแกนักเรียน หลังการอานสิ้นสุดลง 2. นักเรียนใชความรู ความเขาใจเกี่ยวกับ หลักเกณฑการอานออกเสียงรอยแกวและ รอยกรอง ทําแบบวัดฯ ภาษาไทย ม.1 ตอนที่ 1 หนวยที่ 1 กิจกรรมตามตัวชี้วัด กิจกรรมที่ 1.1 ✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ ภาษาไทย ม.1 กิจกรรมที่ 1.1 เรื่อง หลักเกณฑการอานออกเสียง กิจกรรมตามตัวชี้วัด

กิจกรรมที่ ๑.๑ ใหนกั เรียนเขียนอธิบายหลักเกณฑในการอานตอไปนี้ (ท ๑.๑ ม.๑/๑)

การอานกลอนสุภาพ นิยมอานเสียงสูง ๒ วรรค และเสียงตํ่า ๒ วรรค การแบงจังหวะวรรคในการอาน แบงดังนี้ // วรรคละ ๗ คํา อาน ๒/๒/๓/ วรรคละ ๘ คํา อาน ๓/๒/๓/ // วรรคละ ๙ คํา อาน ๓/๓/๓/ //

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได

ñõ

หลักเกณฑการอานออกเสียงรอยแกว ๑. ศึกษาสาระสําคัญของเรื่องที่อาน ................................................................................................................................................................................................................................................... ๒. อานเสียงดังพอเหมาะกับผูฟง ไมดังหรือคอยจนเกินไป ................................................................................................................................................................................................................................................... ๓. อานออกเสียงใหถูกตองตามอักขรวิธี ................................................................................................................................................................................................................................................... ๔. อานออกเสียงใหเปนเสียงพูดอยางเปนธรรมชาติที่สุด ................................................................................................................................................................................................................................................... ๕. เนนเสียงและถอยคําตามนํ้าหนักความสําคัญของใจความ ใชเสียงและจังหวะใหเปนไปตาม ................................................................................................................................................................................................................................................... เนื้อเรื่อง ................................................................................................................................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................................................................................................................

กลอนสุภาพ (กลอนแปด)

ฉบับ

เฉลย

กลอนสุภาพ/แปดคํา/ประจําบอน// ตอนตนสาม/ตอนสอง/ตองแสดง// กําหนดบท/ระยะ/กะสัมผัส// วางจังหวะ/กะทํานอง/ตองกระบวน//

๑. ศึกษาลักษณะบังคับของคําประพันธที่จะอาน ................................................................................................................................................................................................................................................... ๒. อานใหถูกตองตามลักษณะบังคับของคําประพันธชนิดนั้นๆ ................................................................................................................................................................................................................................................... ๓. อานออกเสียงคําใหชัดเจน ถูกตอง โดยเฉพาะคําที่ออกเสียง ร ล และคําควบกลํ้า ................................................................................................................................................................................................................................................... ๔. อานเสียงดังพอสมควรใหผูฟงไดยินทั่วถึง ................................................................................................................................................................................................................................................... ๕. อานมีจังหวะ วรรคตอน รูจักทอดจังหวะ เอื้อนเสียง หรือหลบเสียง ................................................................................................................................................................................................................................................... ๖. คําทีร่ บั สัมผัสกันตองอานเนนเสียง ถาเปนสัมผัสนอกตองทอดเสียงใหมจี งั หวะยาวกวาธรรมดา ................................................................................................................................................................................................................................................... ๗. อานเอื้อนสัมผัสในเพื่อเพิ่มความไพเราะ ................................................................................................................................................................................................................................................... ๘. คําที่มีพยางคเกินใหอานเร็วและเบา เพื่อใหเสียงไปตกอยูพยางคที่ตองการ ...................................................................................................................................................................................................................................................

(ประชุมลํานํา : หลวงธรรมาภิมณฑ (ถึก))

ขอใดเวนวรรคตอนถูกตอง 1. ใจดํา เชน อีกา 2. สมาคมขาราชการพลเรือนแหงประเทศไทย 3. อาหารที่มีไขมันมากไดแก พิซซา เฟรนซฟรายด 4. การนําสัตวขึ้นหรือลง ณสถานีใดใหอยูในดุลยพินิจของเจาหนาที่

วิเคราะหคําตอบ การเวนชองวางระหวางคํา ขอความ ประโยค ใหถกู ตอง เปนสิ่งสําคัญตอการเขียนสื่อสาร เพราะทําใหขอเขียนมีความถูกตอง อาน ไดตรงความตองการของผูเขียน ขอ 1. คําวา “เชน” ที่มีความหมายวา “เหมือน” หรือ “อยาง” ไมตองเวนวรรคเล็กทั้งหนาและหลัง ขอ 2. ไมตอง เวนวรรคระหวางคํานําหนาชื่อที่แสดงฐานะของนิติบุคคล หนวยงาน หรือ กลุมบุคคลกับชื่อ ขอ 3. ตองเวนวรรคเล็กทั้งหนาและหลังคําวา ไดแก ขอ 4. ตองเวนวรรคเล็กทัง้ หนาและหลังคําวา ณ และ ธ ดังนัน้ จึงตอบขอ 2.

...................................................................................................................................................................................................................................................

หลักเกณฑการอานออกเสียงรอยกรอง

อานสามตอน/ทุกวรรค/ประจักษแถลง// ตอนสามแจง/สามคํา/ครบจํานวน// ใหฟาดฟด/ชัดความ/ตามกระสวน// จึงจะชวน/ฟงเสนาะ/เพราะจับใจ//

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

...................................................................................................................................................................................................................................................

๙. เอื้อนเสียงใหเกิดความไพเราะ และใชเสียงแสดงความรูสึกใหเหมาะสมกับขอความ ................................................................................................................................................................................................................................................... ๑๐. เมื่ออานถึงตอนจะจบบทตองเอื้อนเสียงและทอดจังหวะใหชาลง จนกระทั่งจบบท ...................................................................................................................................................................................................................................................

นักเรียนควรรู 1 นิราศ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ไดทรงสันนิษฐานวา นิราศเปนบทประพันธ ที่เกิดขึ้นเพราะระยะเวลาที่กวีตองเดินทางไปยังจุดหมายปลายทางนั้นยาวนานมาก เพราะในสมัยโบราณใชเรือเปนพาหนะ กวีจึงไดบันทึกอารมณคิดถึงนางอันเปนที่รัก พรอมกับเลาระยะทาง สถานทีท่ ผี่ า น สิง่ ทีไ่ ดพบเห็นระหวางทาง โดยจะยกตัวอยาง นิราศภูเขาทองซึ่งเปนผลงานของสุนทรภู ดังนี้ “...มาถึงบางธรณีทวีโศก ยามวิโยคยากใจใหสะอื้น โอสุธาหนาแนนเปนแผนพื้น ถึงสี่หมื่นสองแสนทั้งแดนไตร เมื่อเคราะหรายกายเราก็เทานี้ ไมมีที่พสุธาจะอาศัย ลวนหนาวเหน็บเจ็บแสบคับแคบใจ เหมือนนกไรรังเรอยูเอกา”

คูมือครู

7


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ ภาษาไทย ม.1 กิจกรรมที่ 1.3 เรื่อง การอานออกเสียงบทรอยกรอง กิจกรรมที่ ๑.๓ ใหนักเรียนอานออกเสียงบทรอยกรองตอไปนี้ แบบทํานองเสนาะ (ท ๑.๑ ม.๑/๑)

ฉบับ

Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูสุมเรียกชื่อนักเรียนใหทบทวนความรูเกี่ยวกับ หลักการอานออกเสียงรอยกรองประเภทกลอนสุภาพ ที่ไดรับจากการฟงบรรยายของเพื่อนๆ กลุม ที่ 1 จากนัน้ ใหนกั เรียนทัง้ ชัน้ เรียนฝกปฏิบตั ิ อานออกเสียงทํานองเสนาะบทรอยกรองประเภท กลอนสักวา จากหนังสือเรียนภาษาไทย หนา 8 2. นักเรียนใชความรู ความเขาใจเกีย่ วกับการอาน ออกเสียงรอยกรอง รวมกันอานออกเสียงกาพย เหชมเครื่องคาวหวาน พระราชนิพนธใน พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย จาก แบบวัดฯ ภาษาไทย ม.1 ตอนที่ 1 หนวยที่ 1 กิจกรรมตามตัวชี้วัด กิจกรรมที่ 1.3

เฉลย

อธิบายความรู

๏ มัสมั่นแกงแกวตา ชายใดไดกลืนแกง ๏ ยําใหญใสสารพัด รสดีดวยนํ้าปลา ๏ ตับเหล็กลวกหลอนตม โอชาจะหาไหน ๏ หมูแนมแหลมเลิศรส พิศหอเห็นรางชาง ๏ กอยกุงปรุงประทิ่น รสทิพยหยิบมาโปรย ๏ เทโพพื้นเนื้อทอง นาซดรสครามครัน ๏ ความรักยักเปลี่ยนทา กลออมกลอมเกลี้ยงกลม ๏ ขาวหุงปรุงอยางเทศ ใครหุงปรุงไมเปน ๏ เหลือรูหมูปาตม รอยแจงแหงความขํา ๏ ชาชาพลาเนื้อสด คิดความยามถนอม

สําหรับกลอนสักวา ดอกสรอย และนิราศ จะแบงวรรคในการอานเหมือนการอานกลอนสุภาพ ขางตน ดังตัวอยางตอไปนี้ กลอนสักวา สักวา/หวานอื่น/มีหมื่นแสน// กลิ่นประเทียบ/เปรียบดวง/พวงพะยอม// แมนลอลาม/หยามหยาบ/ไมปลาบปลื้ม// ผูดีไพร/ไมประกอบ/ชอบอารมณ//

(สักวาหวานอื่นมีหมื่นแสน : พระเจาบรมวงศเธอ กรมหลวงบดินทรไพศาลโสภณ)

สวนกลอนหก อานเวนจังหวะ ดังนี้ วรรคละ ๖ คํา อาน ๒/๒/๒

นางเหลือบ/นัยนา/มาแล// สบเนตร/นางยิ้ม/พริ้มพักตร//

ñõ

(กาพยเหชมเครื่องคาวหวาน : พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย)

//

กลอนหก

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได

หอมยี่หรารสรอนแรง แรงอยากใหใฝฝนหา วางจานจัดหลายเหลือตรา ญี่ปุนลํ้ายํ้ายวนใจ เจือนํ้าสมโรยพริกไทย ไมมีเทียบเปรียบมือนาง พรอมพริกสดใบทองหลาง หางหอหวนปวนใจโหย วางถึงลิ้นดิ้นแดโดย ฤๅจะเปรียบเทียบทันขวัญ เปนมันยองลองลอยมัน ของสวรรคเสวยรมย ทํานํ้ายาอยางแกงขม ชมไมวายคลับคลายเห็น รสพิเศษใสลูกเอ็น เชนเชิงมิตรประดิษฐทํา แกงคั่วสมใสระกํา ชํ้าทรวงเศราเจาตรากตรอม ฟุงปรากฏรสหื่นหอม สนิทเนื้อเจือเสาวคนธ

ไมเหมือนแมน/พจมาน/ที่หวานหอม// อาจจะนอม/จิตโนม/ดวยโลมลม// ดังดูดดื่ม/บอระเพ็ด/ตองเข็ดขม// ใครฟงลม/เมินหนา/ระอาเอย//

คือแข/สองสรวง/ดวงจักษ// ยั่วรัก/ยิ่งเรง/ใจรอน//

1

(กนกนคร : กรมหมื่นพิทยาลงกรณ)

ºÍ¡àÅ‹Òà¡ŒÒÊÔº อยากใหเสียงดี นํ้าเย็นและนํ้ามะนาว เปนของตองหามสําหรับผูที่ตองใชเสียงเปนอาชีพ เชน นักรอง นักพากย พิธีกร เปนตน เพราะนํ้าทั้งสองชนิดจะสงผลใหเสียงแหบแ งแหบแหง ขาดพลัง นํ้ า เย็ น จะเข า ไปลดอุ ณ หภู มิ ใ นร า งกาย จุ ด แรกที่ นํ้ า เดิ น ทางผ า นเข า สู  ร  า งกายก็ คื อ ลําคอ จึงทําใหคอแหง เปลงเสียงออกมาไดไมเต็มที่ สวนนํ้ามะนาวหากผสมนํ้าดื่มเพียงเล็กนอย อาจทําใหรสู กึ สดชืน่ ชุม คอเหมือนจะชวยใหเสียงใสขึน้ แตถา ผสมเขมขนเกินไปจะทําใหเสียงหายได ผูที่ตองใชเสียงอานทํานองเสนาะ ควรงดดื่มนํ้าเย็นและไมหวังพึ่งนํ้ามะนาว หันมาดื่มนํ้า อุณหภูมปิ กติหรือนํา้ อุน แทน และควรเขานอนแตหวั คํา่ เพือ่ จะไดตนื่ มาพรอมกับพลังเสียงทีช่ ดั เจน แจมใสเหมาะกับการอานทํานองเสนาะในวันรุงขึ้น

(พิจารณาการอานของนักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน)

นักเรียนควรรู 1 กรมหมืน่ พิทยาลงกรณ เปนโอรสองคที่ 22 ในกรมพระราชวังบวรสถานมงคล ประสูติเมื่อวันที่ 10 มกราคม 2419 พระนามเดิมวา พระองคเจาชายรัชนีแจมจรัส พระองคทรงชํานาญดานภาษาและวรรณคดีเปนพิเศษ ทรงเปนกวีที่มีโวหารไพเราะ ซึ่งงานพระนิพนธของพระองคแยกเปน 2 ประเภท ไดแก ประเภทรอยแกว คือ จดหมายจางวางหรํ่า นิทานเวตาล สืบราชสมบัติ ตลาดเงินตรา และพระนาง ฮองไทเฮา สวนประเภทรอยกรอง คือ กนกนคร พระนลคําฉันท และลิลิตสามกรุง โดยทรงใชนามปากกาวา น.ม.ส.

8

คูมือครู

บูรณาการเชื่อมสาระ

การอานออกเสียงสามารถบูรณาการไดกับเรื่องการดูแลสภาวะรางกาย โภชนาการ การเลือกกินอาหาร การดูแลระบบหายใจ ในกลุมสาระการเรียนรู สุขศึกษาและพลศึกษา วิชาสุขศึกษา โดยใหนักเรียนวิเคราะหวาระบบหายใจ มีสวนสําคัญตอการออกเสียงอยางไร และจะมีแนวทางอยางไรสําหรับการดูแล รักษาเสียงใหมีความชัดเจน กังวาน แจมใส ไมแหบพรา จัดทําเปนใบความรู เฉพาะบุคคล สงครู ผลที่ไดรับจากการปฏิบัติกิจกรรมบูรณาการ จะทําใหนักเรียนมีความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของตนเอง ดูแลปจจัยพื้นฐานของ การอานออกเสียง และยังสงผลไปสูการปลูกฝงใหนักเรียนมีความตื่นตัว กับการสรางสุขภาวะสุขภาพของตนเองใหสมบูรณอีกดวย


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

อธิบายความรู ๒) กาพยยานี ๑๑ เปนกาพยที่มีลีลาไพเราะ จังหวะ กระบวนการอานเหมาะสมอยางยิ่ง

สําหรับการพรรณนาชมความงามและการบรรยายปลุกเราอารมณ กาพยยานี ๑๑ มีจาํ นวนคําในแตละบาท ๑๑ คํา แบงเปนวรรคหนา ๕ คํา วรรคหลัง ๖ คํา การอานกาพยยานี ๑๑ ในบาทโทนั้น นิยมอานเสียงสูงกวาปกติจึงจะเกิดความไพเราะ การแบงจังหวะ วรรคในการอาน มีดังนี้ วรรคหนา ๕ คํา อาน ๒/๓ / วรรคหลัง ๖ คํา อาน ๓/๓ / กาพยยานี ๑๑ เรื่อยเรื่อย/มารอนรอน// สนธยา/จะใกลคํ่า// เรื่อยเรื่อย/มาเรียงเรียง// ตัวเดียว/มาพลัดคู//

ทิพากร/จะตกตํ่า// คํานึงหนา/เจาตราตรู// นกบินเฉียง/ไปทั้งหมู// เหมือนพี่อยู/ผูเดียวดาย//

๓) โคลงสี่สุภาพ บทหนึ่งมี ๓๐ คํา โดย ๑ บท มี ๔ บาท วรรคหนาในบาทที่ ๑-๔ มี ๕ คํา

สวนวรรคหลังมี ๒ คํา แตบาทที่ ๔ วรรคหลังจะมี ๔ คํา (อาจมีคาํ สรอย ๒ คําในบาทที่ ๑ และ ๓) การอ า นโคลงสี่ สุ ภ าพ นิ ย มอ า นออกเสี ย งตํ่ า ที่ ท  า ยวรรคบาทที่ ๒ ออกเสี ย งสู ง ตรง ทายวรรคหนาของบาทที่ ๓ และทอดเสียงที่ทายวรรคแรกของแตละบาท นิยมอานดวยระดับเดียวกัน ทั้งบท แตบางคําจะขึ้นลงสูงตํ่าตามเสียงของวรรณยุกต ยกเวนวรรคแรกของบาทที่ ๓ จะอานเสียงสูง กวาทุกวรรค ๑ บันไดเสียง โดยปกติ โคลงสี่สุภาพมีการแบงจังหวะในการอาน ดังนี้ / ่ ้/

/ / ่ ่ /้ /

นักเรียนกลุมที่ 2 และ 3 สงตัวแทนออกมา หนาชั้นเรียน เพื่ออธิบายความรูในประเด็น “หลักการอานออกเสียงรอยกรองประเภท กาพยยานี 11” และ “โคลงสีส่ ภุ าพ” จากนัน้ ให นักเรียนทั้งชั้นรวมกันอานออกเสียงทํานองเสนาะ กาพยยานี 11 และโคลงสี่สุภาพ จากหนังสือเรียน ภาษาไทย หนา 9 ตามลําดับ โดยใชหลักการอาน ตามแนวทางที่ไดศึกษา และครูคอยชี้แนะขอควร ปรับปรุงแกไขใหแกนักเรียนหลังการอานสิ้นสุดลง

ขยายความเขาใจ

(กาพยเหเรือ : เจาฟาธรรมธิเบศร)

่ //

Explain

/()/  ่ ้/

่ /()/  ่ ้ ///

Expand

1. นักเรียนนําความรู ความเขาใจเกี่ยวกับการอาน ออกเสียงรอยกรอง มาจัดการความรูรวมกัน ในลักษณะของปายนิเทศประจําชั้นเรียนหัวขอ “นํ้าเสียง ฉันทลักษณ อรรถรสบทรอยกรอง” 2. นักเรียนรวมกันกําหนดเกณฑมาตรฐานสําหรับ ใชวัดคุณภาพการอานออกเสียงบทอานประเภท รอยกรอง โดยประมวลจากความรู ความเขาใจ ที่ไดรับจากการฟงบรรยายของเพื่อนๆ กลุมที่ 1-3 รวมถึงขอควรปรับปรุงที่ครูเปนผูชี้แนะ หลังจากการอานของนักเรียน มาตรฐานที่ถูก กําหนดขึ้นนี้จะใชวัดคุณภาพการอานออกเสียง รอยกรองของนักเรียนทุกๆ คนในชั้นเรียน

โคลงสี่สุภาพ เสียงฤๅ/เสียงเลาอาง/ เสียงยอม/ยอยศใคร/ สองเขือ/พี่หลับใหล/ สองพี่/คิดเองอา/

อันใด/พี่เอย/ ทั่วหลา/ ลืมตื่น/ฤๅพี่/ อยาได/ถามเผือ// 1

(ลิลิตพระลอ : ไมปรากฏนามผูแตง)

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

จากรอยกรองที่กําหนดใหตอไปนี้ นักเรียนแสดงความคิดเห็นวาจะใช นํ้าเสียงและลีลาทาทางขณะอานอยางไร “หนาวลมหมผาหอน หายหนาว ฟาพรํ่านํ้าคางพราว พรางฟา เดนเดือนเกลื่อนกลาดดาว ดวงเดน ใจเปลาเศราซบหนา นึกนองหมองใจ” (โคลงนิราศสุพรรณ : สุนทรภู)

แนวตอบ รอยกรองขางตนเปนบทเศรา ครํา่ ครวญ ผูอ า นจึงควรใชนาํ้ เสียง ในลักษณะที่เรียกวา “ครั่นเสียง” และ “เครือเสียง” อานใหชาและเนิบ กวาปกติ ปรับสีหนาใหเศราสรอยเพื่อสรางอารมณความรูสึกคลอยตาม ใหเกิดแกผูฟง

นักเรียนควรรู 1 ลิลิต เจาพระยาพระคลัง (หน) ไดนิพนธเรื่อง “เพชรมงกุฎ” โดยใชโคลงและ รายแตงผสานตอเนื่องกัน และเรียกบทนิพนธนี้วา “ลิลิต” จึงกลายเปนชื่อรูปแบบ รอยกรองที่แตงดวยโคลงผสานกับราย รวมทั้งที่แตงดวยโคลงสลับกับราย เชน ลิลิต โองการแชงนํา้ สําหรับลิลติ เพชรมงกุฎไดเคาเรือ่ งมาจากนิทานเวตาล แตไดคดั เฉพาะ เรื่องที่เวตาลเลาเรื่องเกี่ยวกับพระเพชรมงกุฎถวายทาววิกรมาทิตย ซึ่งวรรณคดี เรื่องนี้ไดปรากฎคุณคาทั้งดานวรรณศิลป ดานพระพุทธศาสนา โดยไดแสดงคติธรรม ใหมนุษยรูจักดับกิเลสตัณหา ไมปลอยใหความหลงใหลในความรักเขาครอบงํา จนเกิดความเดือดรอนในภายหลัง

คูมือครู

9


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

Expand

1. นักเรียนคัดสรรรอยกรองประเภทใดก็ไดจาก วรรณคดีเรื่องที่ตนประทับใจ ความยาวไมเกิน 2 บท เพื่อนํามาอานออกเสียงใหครูและเพื่อนๆ ฟง หนาชั้นเรียน โดยคัดลอกดวยลายมือของ ตนเองพรอมแสดงการแบงวรรคตอนในการ อานโดยใชเครื่องหมายที่ถูกตอง 2. ในขณะทีเ่ พือ่ นอานออกเสียง ใหนกั เรียนคนอืน่ ๆ ภายในชัน้ เรียน เขียนแสดงความคิดเห็นและ ประเมินการอานของเพื่อน โดยใชเกณฑ มาตรฐานการอานออกเสียงบทรอยกรอง ที่รวมกันกําหนดขึ้นเปนแกนกลาง

บางกรณี จําเปนตองอานรวบคํา ๓ คํา จาก ๒/๓ เปน ๓/๒ เชน คําวา “เลื้อยบทํา” และ “ชูแตหาง” ดังนี้ โคลงสี่สุภาพ นาคี/มีพิษเพี้ยง/ เลื้อยบทํา/เดโช/ พิษนอย/หยิ่งโยโส/ ชูแตหาง/เองอา/

สุริโย/ แชมชา/ แมลงปอง/ อวดอาง/ฤทธี/

(โคลงโลกนิติ : กรมพระยาเดชาดิศร)

1

หากเปนโคลงกระทู ใหอานกระทูกอน คือ อานคําแรกของแตละบาทเรียงลงมาตาม แนวตั้ง แลวจึงยอนขึ้นไปอานตามแนวนอนทีละบาทเหมือนโคลงสี่สุภาพ ดังตัวอยางโคลงนี้ใหอานวา “โคลงกระทู ขน ทราย เขา วัด” กอนอานตามบทโคลงทั่วไป â¤Å§¡Ãзٌ

โคลงกระทู ขน ของ/จานจายเขา/ ทราย อิฐเอา/ถมลง/ เขา ในวัด/วัดคง/ วัด กลับ/ยินดีอื้น/

เขตสงฆ/ ลาดพื้น/ ไมขัด/ขวางเลย/ อรรถซอง/สรรเสริญ//

(ไขภาษา : พระยาอุปกิตศิลปสาร)

¡Òýƒ¡Í‹Ò¹ÍÍ¡àÊÕ§ãËŒÁ»Õ ÃÐÊÔ·¸ÔÀÒ¾¹Ñ¹ é µŒÍ§ÂÖ´ËÅѡࡳ± ¢Í§ÀÒÉÒ໚¹ÊíÒ¤ÑÞ â´ÂÁÕ¾¨¹Ò¹Ø¡ÃÁ©ºÑºÃÒªºÑ³±ÔµÂʶҹ໚¹à¤Ã×èͧ»ÃСͺ ¤ÇÃàÍÒã¨ãÊ‹¡ÒÃÍ‹Ò¹ÍÍ¡ àÊÕ§¤ÓÍ‹Ò¹·ÕèÁÕ Ã Å ¤Ó¤Çº¡ÅéÓ ÃÇÁ¶Ö§àÊÕ§ÇÃóÂØ¡µ µ‹Ò§§æ µŒÍ§ãËŒÁÕàÊÕ§´Ñ§¿˜§ªÑ´ ÃÙŒ¨Ñ¡àÅ×͡㪌¹éÓàÊÕ§ãËŒÊÍ´¤ÅŒÍ§àËÁÒÐÊÁ¡Ñº¢ŒÍ¤ÇÒÁ·ÕèÍ‹Ò¹ µÅÍ´¨¹ÃÙŒ¨Ñ¡à¹Œ¹àÊÕ§ ã¹¢ŒÍ¤ÇÒÁÊÓ¤ÑÞµ‹Ò§æ § ´ŒÇ ¹Í¡¨Ò¡¹Õé¼ÙŒÍ‹Ò¹¤ÇÃàµÃÕÂÁÈÖ¡ÉÒº··Õè¨ÐÍ‹Ò¹ à¾×èͨѴẋ§ÇÃäµÍ¹ã¹¡ÒÃÍ‹Ò¹ ãËŒàËÁÒÐÊÁ ÃÇÁ·Ñ駤ÇÃËÁÑè¹½ƒ¡½¹·‹Ò·Ò§¢³ÐÍ‹Ò¹ãËŒ¶Ù¡µŒÍ§ÍÂÙ‹àÊÁÍà¾×èÍãËŒà¡Ô´ ¤ÇÒÁÁÑè¹ã¨áÅÐÊÌҧ¤ÇÒÁª×蹪Áãˌᡋ¼ÙŒ¿˜§·ÑèÇä» EB GUIDE

http://www.aksorn.com/LC/Thai_Gra/M1/01

๑๐

นักเรียนควรรู 1 โคลงกระทู การอานออกเสียงรอยกรองประเภทโคลงกระทู ตองอานคํากระทู นั้นกอน แลวจึงอานหมดทั้งโคลงอีกครั้ง ถาคํากระทูอยูตนบาท บาทละ 1 คํา เรียกวา กระทู 1 ถา 2 คํา เรียกวา กระทู 2 หากเปนคํา หรือขอความเดียวกันทั้ง 4 บาท เรียกวา กระทูซํ้าคํา เชน “หาม เพลิงไวอยาให มีควัน หาม สุริยแสงจันทร สองไซร หาม อายุใหทัน คืนเลา หาม ดังนี้ไวได จึ่งหามนินทา” โคลงที่ยกตัวอยางเปนโคลงกระทู 1 ซํ้าคําวา “หาม” ดังนั้น กอนอานทํานอง เสนาะทัง้ โคลง ตองอานกระทูด ว ยเสียงธรรมดากอนวา “โคลงกระทู 1 ซํา้ คําวา หาม” หรือ “โคลงกระทู 1 หาม หาม หาม หาม”

10

คูมือครู

กิจกรรมสรางเสริม นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับปจจัยพื้นฐานในการอานออกเสียงจากนั้นให ตั้งขอสังเกตวา หากนักเรียนตองการจะเปนผูประสบความสําเร็จในการ อานออกเสียง นอกจากปจจัยพื้นฐานแลวยังตองมีสิ่งใดอีกบาง สรุปเปน ใบความรูเฉพาะบุคคล สงครู

กิจกรรมทาทาย นักเรียนศึกษาเกี่ยวกับคุณสมบัติของผูที่จะอานทํานองเสนาะไดดี จากนั้นใหตั้งขอสังเกตวา หากนักเรียนมีคุณสมบัติของผูที่จะอานออกเสียง ทํานองเสนาะครบถวน แตการอานของนักเรียนยังไมไพเราะ นักเรียน คิดวาตนเองตองฝกฝนในเรื่องใด สรุปเปนใบความรูเฉพาะบุคคล สงครู


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engage

Explore

Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ตรวจสอบผล

คําถาม

1. นักเรียนออกมาอานออกเสียงรอยแกวและ รอยกรองที่ไดคัดสรรดวยตนเอง ใหครูและ เพื่อนๆ ฟง หนาชั้นเรียน 2. ครูตรวจสอบการอานออกเสียงของนักเรียน แตละคน โดยใหความสําคัญกับอักขรวิธี การเวนวรรคตอน การออกเสียงใหถูกตอง ตามลักษณะคําประพันธ การทําลีลานํ้าเสียง ใหสอดคลองกับเรื่องที่อาน โดยใหคําแนะนํา เปนรายบุคคลเพื่อใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ในการเรียนการสอน 3. ครูสุมเรียกชื่อนักเรียนเพื่อแสดงความคิดเห็น ของตนเองที่ประเมินการอานของเพื่อนๆ โดยครูคอยสังเกตวิธีการแสดงความคิดเห็น ของนักเรียนวาตั้งอยูบนเกณฑมาตรฐานที่ รวมกันกําหนดขึ้นหรือไม อยางไร เพื่อเปน การตรวจสอบทักษะการประเมินของนักเรียน อีกชั้นหนึ่ง 4. นักเรียนตอบคําถามประจําหนวยการเรียนรู

ประจําหนวยการเรียนรู

๑. การฝกอานออกเสียงรอยแกวและรอยกรองใหถูกตองไพเราะมีประโยชนหรือมีความสําคัญอยางไร กับนักเรียน ๒. การอานออกเสียงรอยแกวและรอยกรองมีหลักในการอานอยางไร ๓. การอานออกเสียงมีความจําเปนตอการสื่อสารในชีวิตประจําวันหรือไม อยางไร ๔. การอานออกเสียงรอยแกวเปนพื้นฐานที่สําคัญของการอานบทรอยกรองอยางไร จงอธิบาย ๕. ผูที่มีพื้นฐานในการอานออกเสียงที่ถูกตอง ชัดเจน เหมาะสําหรับการประกอบอาชีพใด เพราะเหตุใด

กิจกรรม กิจกรรมที่

กิจกรรมที่

Evaluate

สรางสรรคพัฒนาการเรียนรู ใหนักเรียนจัดโครงการ “สวนสุภาษิต” รวบรวมสํานวนสุภาษิต ขอคิด หรือวรรคทองในวรรณกรรม วรรณคดีที่นักเรียนประทับใจแลวเขียนเปน ปายเล็กๆ ติดไวตามสวนหยอมในโรงเรียน เชน ■ คบคนพาล พาลพาไปหาผิด คบบัณฑิต บัณฑิตพาไปหาผล ■ มีความรูอยูกับตัวกลัวอะไร ชีวิตไมปลดปลงคงไดดี จัดประกวดโครงการ “ยอดนักอาน” เพื่อใหนักเรียนไดแสดงความสามารถ ในทักษะการอานและความรูทางวิชาการ เชน ■ ประกวดอานขาวเสียงตามสายของโรงเรียน ■ ประกวด “ดีเจเสียงใส ใสใจสังคม”

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู 1. ปายนิเทศประจําชั้นเรียน 2. รอยแกวและรอยกรอง ที่คัดลอกดวยลายมือ ของนักเรียน แสดงการแบงวรรคตอนในการอาน 3. แบบวัดและบันทึกผลการเรียนรู

๑๑

แนวตอบ คําถามประจําหนวยการเรียนรู 1. ประโยชนของการฝกอานออกเสียงรอยแกวและรอยกรองใหถูกตองไพเราะ จะทําใหผูอานมีความมั่นใจในตนเอง สรางความบันเทิงใหแกผูฟง และถายทอดอารมณ ความรูสึกของบทอานไดอยางถูกตอง และมีประสิทธิภาพ 2. การอานออกเสียงรอยกรองจะตองศึกษาฉันทลักษณของคําประพันธ ใชนํ้าเสียง เอื้อนเสียงใหมีความไพเราะ สอดรับกันในแตละวรรค สวนการอานออกเสียง รอยแกวจะตองคํานึงถึงการแบงวรรคตอน การเนนเสียงใหความหนัก เบา เปนตน 3. การอานออกเสียงมีความจําเปนตอการสื่อสารในชีวิตประจําวัน เพราะการอานออกเสียง คือการถายทอดเนื้อหาสาระตางๆ ใหผูฟงรับรู เขาใจ และปฏิบัติตาม เชน การอานประกาศ หรือเพื่อใหไดรับอรรถรสความบันเทิง เชน นิทาน เรื่องสั้น เปนตน 4. การอานออกเสียงรอยแกวเปนพื้นฐานสําคัญของการอานรอยกรอง เพราะถาสามารถแบงวรรคตอน ออกเสียงคําควบกลํ้า ตัว ร ล ไดชัดเจน จะทําใหสามารถอาน ออกเสียงรอยกรองไดไพเราะ สละสลวยมากยิ่งขึ้น 5. อาชีพครู ผูประกาศขาว พิธีกร นักพากย เพราะบุคคลกลุมนี้จะตองทําหนาที่ในการถายทอดเรื่องราวตางๆ สูสาธารณชน หากมีการแบงวรรคตอน หรือออกเสียง ผิดพลาด อาจกอใหเกิดการเขาใจสารผิดพลาด หรือทําใหเสียอรรถรสในการฟง

คูมือครู

11


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.