8858649122674

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº ÍÞ.

ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน

กระบวนการสอนแบบ 5 Es ชวยสรางทักษะการเรียนรู กิจกรรมมุงพัฒนาทักษะการคิด คำถาม + แนวขอสอบเพื่อยกผลสัมฤทธิ์ O - NET กิจกรรมบูรณาการเตรียมพรอมสู ASEAN 2558


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตร

วิทยาศาสตร เลม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่

1

สําหรับครู

คูมือครู Version ใหม

ลักษณะเดน

ขยายพื้นที่รูปเลมใหญขึ้นกวาเดิม จัดแบงพื้นที่ออกเปนโซน เพื่อคนหาขอมูลไดงาย สะดวก รวดเร็ว และดูเปนระเบียบ กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล

กระตุน ความสนใจ

Evaluate

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

เปาหมายการเรียนรู สมรรถนะของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค

หน า

โซน 1 กระตุน ความสนใจ

Engage

สํารวจคนหา

Explore

อธิบายความรู

Explain

ขยายความเขาใจ

Expand

ตรวจสอบผล

หน า

หนั ง สื อ เรี ย น

โซน 1

หนั ง สื อ เรี ย น

Evaluate

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

O-NET บูรณาการเชื่อมสาระ

เกร็ดแนะครู

ขอสอบ

โซน 2

โซน 3

กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย

นักเรียนควรรู

โซน 3

โซน 2 บูรณาการอาเซียน มุม IT

No.

คูมือครู

คูมือครู

No.

โซน 1 ขั้นตอนการสอนแบบ 5Es

โซน 2 ชวยครูเตรียมสอน

โซน 3 ชวยครูเตรียมนักเรียน

เพื่อใหครูเตรียมจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยแนะนําขั้นตอนการสอนและ การจัดกิจกรรมแบบ 5Es อยางละเอียด เพื่อใหนักเรียนบรรลุตามตัวชี้วัด

เพื่อชวยลดภาระครูผูสอน โดยแนะนํา เกร็ดความรูสําหรับครู ความรูเสริมสําหรับ นักเรียน รวมทั้งบูรณาการความรูสูอาเซียน และมุม IT

เพื่อใหครูสะดวกตอการจัดกิจกรรม โดย แนะนํากิจกรรมบูรณาการเชือ่ มระหวางสาระหรือ กลุมสาระการเรียนรู วิชา กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย รวมถึงเนื้อหาที่เคยออกขอสอบ O-NET แนวขอสอบ NT/O-NET ทีเ่ นนการคิด พรอมเฉลยและคําอธิบายอยางละเอียด


ที่ใชในคูมือครู

แถบสีและสัญลักษณ

แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5Es เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

1. แถบสี 5Es สีแดง

สีเขียว

กระตุน ความสนใจ

เสร�ม

สํารวจคนหา

Engage

2

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุน ความสนใจ เพื่อโยง เขาสูบทเรียน

สีสม

อธิบายความรู

Explore

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนสํารวจ ปญหา และศึกษา ขอมูล

สีฟา

Explain

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนคนหา คําตอบ จนเกิดความรู เชิงประจักษ

สีมวง

ขยายความเขาใจ Expand

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนนําความรู ไปคิดคนตอๆ ไป

ตรวจสอบผล Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

2. สัญลักษณ สัญลักษณ

วัตถุประสงค

• เปาหมายการเรียนรู

• หลักฐานแสดง ผลการเรียนรู

• เกร็ดแนะครู

แทรกความรูเสริมสําหรับครู ขอเสนอแนะ ขอควรระวัง ขอสังเกต แนวทางการจัด กิจกรรมและอื่นๆ เพื่อประโยชนในการ จัดการเรียนการสอน ขยายความรูเพิ่มเติมจากเนื้อหา เพื่อให ครูนําไปใชอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียน ไดมีความรูมากขึ้น

ความรูหรือกิจกรรมเสริม ใหครูนําไปใช เตรียมความพรอมใหกับนักเรียนกอนเขาสู ประชาคมอาเซียนใน พ.ศ. 2558 โดย บูรณาการกับวิชาที่กําลังเรียน

บูรณาการอาเซียน

คูม อื ครู

แสดงรองรอยหลักฐานตามภาระงาน ที่ครูมอบหมาย เพื่อแสดงผลการเรียนรู ตามตัวชี้วัด

• นักเรียนควรรู

มุม IT

แสดงเปาหมายการเรียนรูที่นักเรียน ตองบรรลุตามตัวชี้วัด ตลอดจนสมรรถนะ ที่จะตองมี และคุณลักษณะที่พึงเกิดขึ้น กับนักเรียน

แนะนําแหลงคนควาจากเว็บไซต เพื่อให ครูและนักเรียนไดเขาถึงขอมูลความรู ที่หลากหลาย ทั้งไทยและตางประเทศ

สัญลักษณ

ขอสอบ

วัตถุประสงค

O-NET

ชี้แนะเนื้อหาที่เคยออกขอสอบ O-NET โดยยกตัวอยางขอสอบ พรอมวิเคราะหคําตอบ อยางละเอียด

เปนตัวอยางขอสอบที่มุงเนน การคิดและเปนแนวขอสอบ NT/O-NET ในระดับมัธยมศึกษา ตอนตน มีทั้งปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

เปนตัวอยางขอสอบที่มุงเนน การคิดและเปนแนวขอสอบ O-NET ในระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย มีทั้งปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม เชื่อมกับสาระหรือกลุมสาระ การเรียนรู ระดับชัน้ หรือวิชาอืน่ ที่เกี่ยวของ

แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ซอมเสริมสําหรับนักเรียนที่ควร ไดรับการพัฒนาการเรียนรู

แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ตอยอดสําหรับนักเรียนที่เรียนรู ไดอยางรวดเร็ว และตองการ ทาทายความสามารถในระดับ ที่สูงขึ้น

(เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ O-NET O-NET)

NT O-NE T (เฉพาะระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนตน)

แนว

O-NET

(เฉพาะระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย)

บูรณาการเชื่อมสาระ

กิจกรรมสรางเสริม

กิจกรรมทาทาย


คําแนะนําการใชคูมือครู การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน คูม อื ครู รายวิชา วิทยาศาสตร ม.1 เลม 1 จัดทําขึน้ เพือ่ ใหครูผสู อนนําไปใชเปนแนวทางวางแผนการสอนเพือ่ พัฒนา ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน และประกันคุณภาพผูเ รียน ตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน (สพฐ.) โดยใชหนังสือเรียน วิทยาศาสตร ม.1 เลม 1 ของบริษทั อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด เปนสือ่ หลัก (Core Material) ประกอบ เสร�ม การสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดกลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตร 3 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พ.ศ. 2551 โดยออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักการสําคัญ ดังนี้ 1 ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน คูม อื ครู รายวิชา วิทยาศาสตร ม.1 เลม 1 วางแผนการสอนโดยแบงเปนหนวยการเรียนรูต ามลําดับสาระ (strand) และ หมายเลขขอของมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั แตละหนวยจะกําหนดเปาหมายการเรียนรูแ ละจุดประสงคการเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทางการประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชัดเจน ครูผูสอนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด สมรรถนะ และคุณลักษณะ อันพึงประสงคที่เปนเปาหมายการเรียนรูตามที่กําหนดไวในสาระแกนกลาง (ตามแผนภูมิ) และสามารถบันทึกผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของผูเรียนแตละคนลงในเอกสาร ปพ.5 ไดอยางมั่นใจ แผนภูมิแสดงความสัมพันธขององคประกอบการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผูเรียนเปนสําคัญ

พผ

ูเ

จุ ด ป ร

ะสง

คก า

ส ภา

รี ย น

รู ีเรยน

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชั้นป

ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน คูม อื ครู


2 การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ แนวคิ ด ในการจั ด การเรี ย นการสอนที่ ยึ ด ผู  เ รี ย นเป น สํ า คั ญ พั ฒ นามาจากปรั ช ญาและทฤษฎี ก ารเรี ย นรู  Constructivism ที่เชื่อวา การเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสรางความรู โดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดเรียนรูจากบทเรียนใหมกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา ผูเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีการสั่งสมความรูความเขาใจเกี่ยวกับสิ่งตางๆ ติดตัวมากอน ทีจ่ ะเขาสูห อ งเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากประสบการณและสิง่ แวดลอมรอบตัวผูเ รียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกิจกรรม เสร�ม การเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ผูสอนจะตองคํานึงถึง

4

1. ความรูเดิมของผูเรียน วิธีการสอนที่ดีจะตองเริ่มตนจากจุดที่วา ผูเ รียนมีความรูอ ะไรมาบาง แลวจึงใหความรู หรือประสบการณใหม เพื่อตอยอดจาก ความรูเดิม นําไปสูการสรางความรู ความเขาใจใหม

2. ความรูเดิมของผูเรียนถูกตองหรือไม ผูส อนตองปรับเปลีย่ นความรูค วามเขาใจเดิม ของผูเรียนใหถูกตอง และเปนพฤติกรรม การเรียนรูใ หมทมี่ คี ณุ คาตอผูเรียน เพื่อสราง เจตคติหรือทัศนคติที่ดีตอการเรียนรู สิ่งเหลานั้น

3. ผูเรียนสรางความหมายสําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมใหผูเรียนนําความรู ความเขาใจที่เกิดขึ้นไปลงมือปฏิบัติ เพื่อขยายความรูใหลึกซึ้งและมีคุณคา ตอตัวผูเรียนมากที่สุด

แนวคิด Constructivism เนนใหผูเรียนสรางความรูโดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูของตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศ

การเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณ ความรูใ หม เพือ่ กระตนุ ใหผเู รียนเชือ่ มโยงความรู ความคิด กับประสบการณทมี่ อี ยูเ ดิม แลวสังเคราะหเปนความรูห รือแนวคิดใหมๆ ไดดว ยตนเอง

3 การบูรณาการกระบวนการคิด การเรียนรูของผูเรียนแตละคนจะเกิดขึ้นที่สมอง ซึ่งเปนอวัยวะที่ทําหนาที่รูคิดภายใตสภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวย และไดรบั การกระตนุ จูงใจอยางเหมาะสม สอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของผูเ รียนแตละคน การจัดกิจกรรม การเรียนรูและสาระการเรียนรูที่สอดคลองกับความสนใจและมีความหมายตอผูเรียน จะชวยกระตุนใหสมองของผูเรียน สามารถรับรูและเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพตามขั้นตอนการทํางานของสมอง ดังนี้ 1. สมองจะเรียนรูและสืบคน โดยการสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง ปฏิบัติ จนทําใหคนพบความรูความเขาใจ ไดอยางรวดเร็ว

2. สมองจะแยกแยะคุณคาของสิ่งตางๆ โดยการตัดสินใจวิพากษวิจารณ แสดง ความคิดเห็น ยอมรับหรือตอตานตาม อารมณความรูสึกที่เกิดขึ้นในขณะที่เรียนรู

3. สมองจะประมวลเนื้อหาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสานกับ ความรูห รือประสบการณเดิมทีถ่ กู จัดเก็บอยูใ น สมอง ผานการกลัน่ กรองเพือ่ สังเคราะหเปน ความรูค วามเขาใจใหมๆ หรือเปนทัศนคติใหม ที่จะเก็บบรรจุไวในสมองของผูเรียน

การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะเกิดขึ้น เมื่อสมองรูคิด และตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมองผูเรียน โดยเริ่มตนจาก 1. ระดับการคิดพื้นฐาน ไดแก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล การสรุปผล เปนตน

คูม อื ครู

2. ระดับลักษณะการคิด ไดแก การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดไกล คิดหลากหลาย คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล เปนตน

3. ระดับกระบวนการคิด ไดแก กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ กระบวนการแกปญหา กระบวนการ คิดสรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะห เปนตน


5Es การจัดกิจกรรมตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ขั้นตอนการสอนที่สัมพันธกับขั้นตอนการคิดและการทํางานทางสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย คือ วัฏจักรการเรียนรู 5Es ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแตละหนวย ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1

กระตุนความสนใจ

(Engage)

เสร�ม

5

เปนขั้นที่ผูสอนนําเขาสูบทเรียน เพื่อกระตุนความสนใจของผูเรียนดวยเรื่องราวหรือเหตุการณที่นาสนใจโดยใชเทคนิควิธีการ และคําถามทบทวนความรูหรือประสบการณเดิมของผูเรียน เพื่อเชื่อมโยงผูเรียนเขาสูความรูของบทเรียนใหม ชวยใหผูเรียนสามารถ สรุปความสําคัญหัวขอและสาระการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอนการสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอมและสราง แรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน

ขั้นที่ 2

สํารวจคนหา

(Explore)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนเปดโอกาสใหผเู รียนลงมือศึกษา สังเกต หรือรวมมือกันสํารวจ เพือ่ ใหเห็นขอบขายของประเด็นหรือปญหา รวมถึง วิธีการศึกษาคนควา การรวบรวมขอมูลความรูที่จะนําไปสูการสรางความเขาใจประเด็นหรือปญหานั้นๆ เมื่อผูเรียนทําความเขาใจใน ประเด็นหรือปญหาที่จะศึกษาคนควาอยางถองแทแลว ก็ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธีการตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูที่เกี่ยวของกับประเด็นหรือปญหาที่ศึกษา

ขั้นที่ 3

อธิบายความรู

(Explain)

เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา ตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนคนหาคําตอบ และนําขอมูล ความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห สรุปผล และนําเสนอผลที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ ผังมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน ในขั้นตอนนี้ฝกใหผูเรียนใชสมองคิดวิเคราะหและสังเคราะห อยางเปนระบบ

ขั้นที่ 4

ขยายความเขาใจ

(Expand)

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใชเทคนิควิธีสอนตางๆ ที่สงเสริมใหผูเรียนนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนสืบคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะ การเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน ผูเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยง กับประสบการณเดิมโดยนําขอสรุปทีไ่ ดไปใชอธิบายเหตุการณตา งๆ หรือนําไปปฏิบตั ใิ นสถานการณใหมๆ ทีเ่ กีย่ วของกับชีวติ ประจําวัน ของตนเอง เพื่อขยายความรูความเขาใจใหกวางขวางยิ่งขึ้น ในขั้นตอนนี้ฝกสมองของผูเรียนใหสามารถคิดริเริ่มสรางสรรคอยางมี คุณภาพ เสริมสรางวิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป

ขั้นที่ 5

ตรวจสอบผล

(Evaluate)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนประเมินมโนทัศนของผูเ รียน โดยตรวจสอบจากความคิดทีเ่ ปลีย่ นไปและความคิดรวบยอดทีเ่ กิดขึน้ ใหม ตรวจสอบ ทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด หรือการเคารพความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพื่อการ สรางสรรคความรูร ว มกัน ผูเ รียนสามารถประเมินผลการเรียนรูข องตนเอง เพือ่ สรุปผลวามีความรูอ ะไรเพิม่ ขึน้ มาบาง เกิดความเขาใจ มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ หรือในชีวิตประจําวันไดอยางไร ผูเรียนจะเกิดเจตคติ และเห็นคุณคาของตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง

การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนนผูเรียน เปนสําคัญอยางแทจริง เพราะสงเสริมใหผูเรียนไดเรียนรูตามขั้นตอนของกระบวนการสรางความรูดวยตนเอง และ ฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและกระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะชีวิต ทักษะการทํางาน และทักษะการ เรียนรูที่มีประสิทธิภาพ สงผลตอการยกระดับผลสัมฤทธิ์ของผูเรียน ตามเปาหมายของการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คูม อื ครู


O-NET การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ O-NET

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ในแตละหนวยการเรียนรู ทางผูจัดทํา จะเสนอแนะวิธีสอน รูปแบบกิจกรรมการเรียนรู พรอมทั้งออกแบบเครื่องมือวัดและประเมินผลที่สอดคลองกับตัวชี้วัด และสาระการเรียนรูแกนกลางไวทุกขั้นตอน โดยยึดหลักสําคัญ คือ หลักของการวัดและประเมินผล เสร�ม

6

1. การวัดและประเมินผลทุกครั้ง ควรนําผลมาปรับปรุงพัฒนาผูเรียน เปนรายบุคคล

2. การวัดและประเมินผลมี เปาหมาย เพื่อพัฒนาการเรียนรู ของผูเรียนจนเต็มศักยภาพ

3. การนําผลการวัดและประเมินผล ทุกครั้งมาวางแผนปรับปรุงกิจกรรม การเรียนการสอน การเลือกเทคนิค วิธีสอน และสื่อการเรียนรูให เหมาะสมกับสภาพจริงของผูเรียน

การทดสอบผูเรียน 1. การใชขอสอบอัตนัย เนนการอาน การคิดวิเคราะห และการเขียนเพิ่มมากขึ้น 2. การใชคําถามกระตุนการคิดควบคูกับการทําขอสอบที่เนนการคิดอยางตอเนื่องตามลําดับกิจกรรมการเรียนรู และตัวชี้วัด 3. การทดสอบตองดําเนินการทั้งกอนเรียน ระหวางเรียน และหลังเรียน การทดสอบควรใชขอสอบทั้งชนิดปรนัยและ อัตนัย และเปนการทดสอบเพื่อประเมินผลการเรียนของผูเรียนแตละคน เพื่อการสอนซอมเสริมใหบรรลุตัวชี้วัด ไดครบถวน 4. การสอบกลางภาค (ถามี) ควรนําแบบฝกหัดหรือขอสอบทีน่ กั เรียนสวนใหญไมสามารถตอบไดหรือไมครบถวนชัดเจน มา สรางเปนแบบทดสอบอีกครัง้ เพือ่ ตรวจสอบความรูค วามเขาใจทีถ่ กู ตอง และประเมินความกาวหนาของผูเ รียนแตละคน 5. การสอบปลายภาคเรียนเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามตัวชี้วัดที่สําคัญ ควรออกขอสอบใหมีลักษณะเดียวกับ ขอสอบ O-NET โดยเนนการคิดวิเคราะห สังเคราะห เชื่อมโยงประยุกตใช เพื่อสรางความคุนเคย และฝกฝน วิธีการทําขอสอบดวยความมั่นใจ 6. การนําผลการทดสอบของผูเรียนมาวิเคราะห โดยผลการสอบกอนการเรียนตองสามารถพยากรณผลการสอบ กลางภาค และผลการสอบกลางภาคตองทํานายผลการสอบปลายภาคของผูเ รียนแตละคน เพือ่ ประเมินพัฒนาการ ความกาวหนาของผูเรียนเปนรายบุคคล 7. ผลการทดสอบปลายป ปลายภาค ตองมีคาเฉลี่ยสอดคลองกับคาเฉลี่ยของการสอบ NT ที่เขตพื้นที่การศึกษา จัดสอบ รวมทั้งคาเฉลี่ยของการสอบ O-NET ชวงชั้นที่สอดคลองครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดสําคัญ เพือ่ สะทอนประสิทธิภาพของครูผสู อนในการออกแบบการเรียนรูแ ละประกันคุณภาพผูเ รียนทีต่ รวจสอบผลไดชดั เจน การจัดการเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ตองใหผูเรียนไดสั่งสมความรู ความเขาใจตามลําดับขั้นตอน ของกิจกรรมในวัฏจักรการเรียนรู 5Es เพื่อใหผูเรียนไดเติมเต็มองคความรูอยางตอเนื่อง จนสามารถปฏิบัติชิ้นงานหรือ ภาระงานรวบยอดของแตละหนวย ผานเกณฑประกันคุณภาพในระดับที่นาพึงพอใจ เพื่อรองรับการประเมินภายนอกจาก สมศ. ตลอดเวลา คูม อื ครู


ASEAN การเรียนรูสูประชาคมอาเซียน เพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรูบูรณาการอาเซียนศึกษา ผูจัดทําไดวิเคราะห มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดที่มีสาระการเรียนรูสอดคลองกับองคความรูเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนในแงมุมตางๆ ครอบคลุมทัง้ ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน เพื่อสงเสริมการเรียนรูใหผูเรียนเกิดความตระหนัก มีความรูความเขาใจเหมาะสมกับระดับชั้นและกลุมสาระ การเรียนรู โดยเสนอแนะวิธีการจัดกิจกรรมบูรณาการเนื้อหาสาระตางๆ ที่เปนประโยชนตอผูเรียนและเปนการชวย เตรียมความพรอมผูเ รียนทุกคนทีจ่ ะกาวเขาสูก ารเปนสมาชิกของประชาคมอาเซียนไดอยางมัน่ ใจตามขอตกลงปฏิญญา เสร�ม ชะอํา-หัวหิน วาดวยความรวมมือดานการศึกษาเพือ่ บรรลุเปาหมายประชาคมอาเซียนทีเ่ อือ้ อาทรและแบงปน จึงกําหนด 7 เปนนโยบายใหกระทรวงศึกษาธิการจัดการเรียนรูเตรียมความพรอมผูเรียนเขาสูประชาคมอาเซียนภายในป พ.ศ. 2558 ตามแนวปฏิบัติที่สําคัญ ดังนี้

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน 1. การสรางความรูความเขาใจ และตระหนักถึงความสําคัญของ กฎบัตรอาเซียน และความรวมมือ ของ 3 เสาหลัก ซึง่ กฎบัตรอาเซียน ในขณะนี้มีสถานะเปนกฎหมายที่ ประเทศสมาชิกจะตองปฏิบัติตาม หลักการที่กําหนดไวเพื่อใหบรรลุ เปาหมายของกฎบัตรมาตราตางๆ

2. การสงเสริมหลักการ ประชาธิปไตยและการสราง สิ่งแวดลอมประชาธิปไตย เพื่อการอยูรวมกันอยางกลมกลืน ภายใตวิถีชีวิตอาเซียนที่มีความ หลากหลายดานสังคมและ วัฒนธรรม

4. การตระหนักในคุณคาของ สายสัมพันธทางประวัติศาสตร และมรดกทางวัฒนธรรมที่มี พัฒนาการรวมกัน เพื่อเชื่อม อัตลักษณและสรางจิตสํานึก ในการเปนประชากรของประชาคม อาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการศึกษาดาน สิทธิมนุษยชน เพื่อสรางประชาคม อาเซียนใหเปนประชาคมเพื่อ ประชาชนอยางแทจริง สามารถ อยูรวมกันไดบนพื้นฐานการเคารพ ในคุณคาของศักดิ์ศรีแหงความ เปนมนุษยเทาเทียมกัน

5. การสงเสริมสันติภาพ ความ มั่นคง และความปรองดองในสังคม ทั้งระดับประเทศและภูมิภาคของ อาเซียนบนพื้นฐานสันติวิธีและการ อยูรวมกันดวยขันติธรรม

คูม อื ครู


การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

เสร�ม

8

1. การพัฒนาทักษะการทํางาน เพื่อเสริมสรางผูเรียนใหมีทักษะ วิชาชีพที่จําเปนสอดคลองกับ ความตองการของตลาดแรงงาน และสถานประกอบการในอาเซียน สามารถเทียบโอนผลการเรียน และการทํางานตามมาตรฐานฝมือ แรงงานในภูมิภาคอาเซียน

2. การเสริมสรางวินัย ความรับผิดชอบ และเจตคติรักการทํางาน สามารถพึ่งพาตนเอง มีทักษะชีวิต ดํารงชีวิตอยางมีความสุข เห็นคุณคา และภูมิใจในตนเอง ในฐานะที่เปนพลเมืองไทยและ อาเซียน

3. การเรียนรูเพื่อพัฒนาตนเอง อยางตอเนื่องตลอดชีวิต ใหมี ทักษะการทํางานตามมาตรฐาน อาชีพ และคุณวุฒิของวิชาชีพสาขา ตางๆ เพื่อรองรับการเตรียมเคลื่อน ยายแรงงานมีฝมือและการเปน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่ เขมแข็ง เพื่อสรางขีดความสามารถ ในการแขงขันในเวทีโลก

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 1. การเสริมสรางความรวมมือ ในลักษณะสังคมที่เอื้ออาทร ของประชากรอาเซียน โดยยึด หลักการสําคัญ คือ ความงดงาม ของประชาคมอาเซียนมาจาก ความแตกตางและหลากหลายทาง วัฒนธรรมที่ลวนแตมีคุณคาตอ มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน ซึ่งประชาชนทุกคนตองอนุรักษ สืบสานใหยั่งยืน

2. การเสริมสรางคุณลักษณะ ของผูเรียนใหเปนพลเมืองอาเซียน ที่มีศักยภาพในการกาวเขาสู ประชาคมอาเซียนอยางมั่นใจ เปนผูที่มีสุขภาพสมบูรณแข็งแรง มีทักษะการสื่อสาร ทักษะการ ทํางาน ทักษะทางสังคม สามารถ ทํางานรวมกับผูอื่นไดอยาง สรางสรรค และมีองคความรู เกี่ยวกับอาเซียนที่จําเปนตอการ ดํารงชีวิตอยางมีคุณภาพ

4. การสงเสริมการเรียนรูดาน ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี วิถชี วี ติ ความเปนอยูข องเพือ่ นบาน ในอาเซียน เพื่อสรางจิตสํานึกของ ความเปนประชาคมอาเซียนและ ตระหนักถึงหนาที่ของการเปน พลเมืองอาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการเรียนรูภาษา อังกฤษเพื่อการสื่อสารและการ ทํางานตามมาตรฐานอาชีพที่ กําหนดและสนับสนุนการเรียนรู ภาษาอาเซียนและภาษาเพื่อนบาน เพื่อชวยเสริมสรางสัมพันธภาพทาง สังคม และการอยูรวมกันอยางสันติ ทามกลางความหลากหลายทาง วัฒนธรรม

5. การสรางความรูและความ ตระหนักเกี่ยวกับดานสิ่งแวดลอม ปญหาและผลกระทบตอคุณภาพ ชีวิตของประชากรในภูมิภาค รวมทั้งแนวทางการพัฒนาอยาง ยั่งยืน ใหเปนมรดกสืบทอดแก พลเมืองอาเซียนในรุนหลังตอๆ ไป

กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศนโยบายการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) เพื่อเรงพัฒนาเด็ก และเยาวชนไทยใหเปนทรัพยากรมนุษยของชาติที่มีทักษะและความชํานาญ พรอมเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงและ การแขงขันทั้งในภูมิภาคอาเซียนและภูมิภาคอื่นๆ ของสังคมโลก ทั้งนี้ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และผูปกครอง ควรรวมมือกันอยางใกลชิดในการดูแลชวยเหลือผูเรียนและจัดประสบการณการเรียนรูเพื่อพัฒนาผูเรียนจนเต็มศักยภาพ เพื่อกาวเขาสูการเปนพลเมืองอาเซียนอยางมีเกียรติภูมิและศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของตน คณะผูจัดทํา คูม อื ครู


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 1

วิทยาศาสตร (เฉพาะชั้น ม.1)*

สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต

มาตรฐาน ว 1.1 เขาใจหนวยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธของโครงสราง และหนาที่ของระบบตางๆ ของสิ่งมีชีวิต ที่ทํางานสัมพันธกัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู สื่อสารสิ่งที่เรียนรู และนําความรูไปใชในการดํารง ชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

ม.1 1. สังเกตและอธิบายรูปราง ลักษณะ • เซลลของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียวและเซลลของสิ่งมีชีวิต • หนวยการเรียนรูที่ 1 ของเซลลของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว หลายเซลล เชน เซลลพืชและเซลลสัตวมีรูปราง หนวยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต และเซลลของสิ่งมีชีวิตหลายเซลล ลักษณะแตกตางกัน 2. สังเกตและเปรียบเทียบ สวนประกอบสําคัญของเซลลพืช และเซลลสัตว

เสร�ม

9

• หนวยการเรียนรูที่ 1 • นิวเคลียส ไซโทพลาซึม และเยื่อหุมเซลล เปน สวนประกอบสําคัญของเซลลที่เหมือนกันของ หนวยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต เซลลพืชและเซลลสัตว • ผนังเซลลและคลอโรพลาสตเปนสวนประกอบที่พบได ในเซลลพืช

3. ทดลองและอธิบายหนาที่ของ • นิวเคลียส ไซโทพลาซึม เยื่อหุมเซลล แวคิวโอล เปน • หนวยการเรียนรูที่ 1 สวนประกอบที่สําคัญของเซลลพืช สวนประกอบสําคัญของเซลลสตั ว มีหนาทีแ่ ตกตางกัน หนวยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต และเซลลสัตว • นิวเคลียส ไซโทพลาซึม เยื่อหุมเซลล แวคิวโอล ผนังเซลล และคลอโรพลาสต เปนสวนประกอบทีส่ าํ คัญ ของเซลลพืช มีหนาที่แตกตางกัน 4. ทดลองและอธิบายกระบวนการ สารผานเซลล โดยการแพร และออสโมซิส

• การแพรเปนการเคลือ่ นทีข่ องสารจากบริเวณทีม่ คี วาม • หนวยการเรียนรูที่ 2 กระบวนการในการดํารงชีวิต เขมขนสูงไปสูบริเวณที่มีความเขมขนตํ่า • ออสโมซิสเปนการเคลื่อนที่ของนํ้าผานเขาและออก ของพืช (ตอนที่ 1) จากเซลล จากบริเวณที่มีความเขมขนของสารละลาย ตํ่าไปสูบริเวณที่มีความเขมขนของสารละลายสูง โดย ผานเยื่อเลือกผาน

5. ทดลองหาปจจัยบางประการทีจ่ าํ เปน • แสง คลอโรฟลล แกสคารบอนไดออกไซด และนํ้า • หนวยการเรียนรูที่ 2 ตอการสังเคราะหดวยแสงของพืช เปนปจจัยที่จําเปนตอกระบวนการสังเคราะหดวยแสง กระบวนการในการดํารงชีวิต และอธิบายวาแสง คลอโรฟลล แกส ของพืช ของพืช (ตอนที่ 1) คารบอนไดออกไซด นํ้า เปนปจจัย ที่จําเปนตองใชในการสังเคราะห ดวยแสง 6. ทดลองและอธิบายผลที่ไดจากการ • นํา้ ตาล แกสออกซิเจน และนํา้ เปนผลิตภัณฑทไี่ ดจาก • หนวยการเรียนรูที่ 2 สังเคราะหดวยแสงของพืช กระบวนการสังเคราะหดวยแสงของพืช กระบวนการในการดํารงชีวิต ของพืช (ตอนที่ 1) 7. อธิบายความสําคัญของกระบวนการ • กระบวนการสังเคราะหดวยแสงมีความสําคัญตอการ • หนวยการเรียนรูที่ 2 สังเคราะหดวยแสงของพืชตอ ดํ า รงชี วิ ต ของสิ่ ง มี ชี วิ ต และต อ สิ่ ง แวดล อ มในด า น กระบวนการในการดํารงชีวิต สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม อาหาร การหมุนเวียนของแกสออกซิเจนและแกส ของพืช (ตอนที่ 1) คารบอนไดออกไซด 8. ทดลองและอธิ บ ายกลุ  ม เซลล ที่ • เนื้อเยื่อลําเลียงนํ้าเปนกลุมเซลลเฉพาะ เรียงตอกัน • หนวยการเรียนรูที่ 2 เกี่ยวของกับการลําเลียงนํ้าของพืช ตั้งแตราก ลําตนจนถึงใบ ทําหนาที่ในการลําเลียงนํ้า กระบวนการในการดํารงชีวิต และธาตุอาหาร ของพืช (ตอนที่ 1) _________________________________ * สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตร. (กรุงเทพมหานคร : ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 10-104.

คูม อื ครู


ชั้น

เสร�ม

10

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

ม.1 9. สังเกตและอธิบายโครงสราง • เนือ้ เยือ่ ลําเลียงนํา้ และเนือ้ เยือ่ ลําเลียงอาหารเปนกลุม • หนวยการเรียนรูที่ 2 ที่ เ กี่ ย วกั บ ระบบลํ า เลี ย งนํ้ า และ เซลลทอี่ ยูค ขู นานกันเปนทอลําเลียงจากราก ลําตนถึง กระบวนการในการดํารงชีวิต อาหารของพืช ใบ ซึง่ การจัดเรียงตัวของทอลําเลียงในพืชใบเลีย้ งเดีย่ ว ของพืช (ตอนที่ 1) และพืชใบเลี้ยงคูจะแตกตางกัน • เนื้อเยื่อลําเลียงนํ้า ทําหนาที่ในการลําเลียงนํ้าและ ธาตุอาหารจากรากสูใ บ สวนเนือ้ เยือ่ ลําเลียงอาหารทํา หนาที่ลําเลียงอาหารจากใบสูสวนตางๆ ของพืช • การคายนํ้ามีสวนชวยในการลําเลียงนํ้าของพืช 10. ทดลองและอธิบายโครงสรางของ • เกสรเพศผูและเกสรเพศเมียเปนโครงสรางที่ใชในการ • หนวยการเรียนรูที่ 3 ดอกทีเ่ กีย่ วของกับการสืบพันธุข อง สืบพันธุของพืชดอก กระบวนการในการดํารงชีวิต พืช ของพืช (ตอนที่ 2) 11. อธิบายกระบวนการสืบพันธุแบบ • กระบวนการสืบพันธุแ บบอาศัยเพศของพืชดอกเปนการ • หนวยการเรียนรูที่ 3 อาศั ย เพศของพื ช ดอกและการ ปฏิสนธิระหวางเซลลสบื พันธุเ พศผูแ ละเซลลไขในออวุล กระบวนการในการดํารงชีวิต สืบพันธุแบบไมอาศัยเพศของพืช • การแตกหนอ การเกิดไหล เปนการสืบพันธุของพืช ของพืช (ตอนที่ 2) โดยใชสวนตางๆ ของพืชเพื่อชวย แบบไมอาศัยเพศ โดยไมมีการปฏิสนธิ ในการขยายพันธุ • ราก ลําตน ใบ และกิ่งของพืชสามารถนําไปใชขยาย พันธุพืชได 12. ทดลองและอธิบายการตอบสนอง • พืชตอบสนองตอสิ่งเราภายนอก โดยสังเกตไดจาก • หนวยการเรียนรูที่ 3 ของพืชตอแสง นํ้า และการสัมผัส การเคลือ่ นไหวของสวนประกอบของพืชทีม่ ตี อ แสง นํา้ กระบวนการในการดํารงชีวิต และการสัมผัส ของพืช (ตอนที่ 2) 13. อธิบายหลักการและผลของการใช • เทคโนโลยีชีวภาพเปนการใชเทคโนโลยีเพื่อทําให • หนวยการเรียนรูที่ 3 เทคโนโลยีชวี ภาพในการขยายพันธุ สิ่งมีชีวิตหรือองคประกอบของสิ่งมีชีวิตมีสมบัติตาม กระบวนการในการดํารงชีวิต ปรับปรุงพันธุ เพิ่มผลผลิตของพืช ตองการ ของพืช (ตอนที่ 2) และนําความรูไปใชประโยชน • การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช และพันธุวิศวกรรม เปน เทคโนโลยีชีวภาพที่ใชในการขยายพันธุปรับปรุงพันธุ และเพิ่มผลผลิตของพืช

สาระที่ 3

สารและสมบัติของสาร

มาตรฐาน ว 3.1 เขาใจสมบัตขิ องสาร ความสัมพันธระหวางสมบัตขิ องสารกับโครงสรางและแรงยึดเหนีย่ วระหวางอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรู นําความรูไปใชประโยชน ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

ม.1 1. ทดลองและจํ า แนกสารเป น กลุ  ม • เมือ่ ใชเนือ้ สารเปนเกณฑ จําแนกสารไดเปนสารเนือ้ เดียว • หนวยการเรียนรูที่ 4 โดยใชเนื้อสารหรือขนาดอนุภาค และสารเนือ้ ผสม ซึง่ สารแตละกลุม จะมีสมบัตแิ ตกตางกัน สมบัติของสารและการจําแนก เปนเกณฑ และอธิบายสมบัติของ • เมือ่ ใชขนาดอนุภาคของสารเปนเกณฑจาํ แนกสารเปน สาร สารในแตละกลุม สารแขวนลอย คอลลอยดและสารละลาย ซึง่ สารแตละ กลุมจะมีสมบัติแตกตางกัน 2. อธิบายสมบัตแิ ละการเปลีย่ นสถานะ • สี รูปราง ขนาด ความแข็ง ความหนาแนน จุดเดือด • หนวยการเรียนรูที่ 4 ของสาร โดยใชแบบจําลองการ จุดหลอมเหลว เปนสมบัตทิ างกายภาพของสาร ความ สมบัติของสารและการจําแนก จัดเรียงอนุภาคของสาร เปนกรด-เบส ความสามารถในการรวมตัวกับสารอืน่ ๆ สาร การแยกสลายของสารและการเผาไหม เปนสมบัตทิ างเคมี • สารตางๆ มีลักษณะการจัดเรียงอนุภาค ระยะหาง ระหวางอนุภาค และแรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาค แตกตางกัน ซึ่งสามารถใชแบบจําลองการจัดเรียง อนุภาคอธิบายสมบัติบางประการของสารได

คูม อื ครู


ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

ม.1 3. ทดลองและอธิ บ ายสมบั ติ ค วาม • สารละลายที่มีนํ้าเปนตัวทําละลาย อาจจะมีสมบัติเปน • หนวยการเรียนรูที่ 4 เปนกรด เบส ของสารละลาย กรด กลาง หรือเบส ซึง่ สามารถทดสอบไดดว ยกระดาษ สมบัติของสารและการจําแนก ลิตมัส หรืออินดิเคเตอร สาร 4. ตรวจสอบคา pH ของสารละลาย • ความเปนกรด-เบสของสารละลาย ระบุเปนคา pH • หนวยการเรียนรูที่ 4 และนําความรูไปใชประโยชน ซึ่ ง ตรวจสอบได ด  ว ยเครื่ อ งมื อ วั ด ค า pH หรื อ สมบัติของสารและการจําแนก ยูนิเวอรซัลอินดิเคเตอร สาร • ผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ ใ ช ใ นชี วิ ต ประจํ า วั น อาจมี ค วามเป น กรด-เบสแตกตางกันจึงควรเลือกใชใหถกู ตองปลอดภัย ตอตนเองและสิ่งแวดลอม

เสร�ม

11

มาตรฐาน ว 3.2 เขาใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิดสารละลาย การเกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรู และนําความรูไปใชประโยชน ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

ม.1 1. ทดลองและอธิ บ ายวิ ธี เ ตรี ย ม • สารละลายประกอบดวยตัวละลายและตัวทําละลาย • หนวยการเรียนรูที่ 4 สารละลายที่ มี ค วามเข ม ข น เป น สารละลายที่ระบุความเขมขนเปนรอยละ หมายถึง สมบัติของสารและการจําแนก รอยละ และอภิปรายการนําความรู สารละลายทีม่ อี ตั ราสวนของปริมาณตัวละลาย ละลาย สาร เกี่ยวกับสารละลายไปใชประโยชน อยูในสารละลายรอยสวน • ในชีวติ ประจําวัน ไดมกี ารนําความรูเ รือ่ งสารละลายไป ใชประโยชนทางดานการเกษตร อุตสาหกรรมอาหาร การแพทย และดานอื่น ๆ 2. ทดลองและอธิบายการเปลีย่ นแปลง • เมือ่ สารเกิดการเปลีย่ นสถานะและเกิดการละลาย มวล • หนวยการเรียนรูที่ 4 สมบัติ มวลและพลังงานของสาร ของสารจะไมเปลี่ยนแปลง แตสมบัติทางกายภาพ สมบัติของสารและการจําแนก เมื่อสารเปลี่ยนสถานะและเกิดการ เปลี่ยนแปลง รวมทั้งมีการถายโอนพลังงานระหวาง สาร ละลาย ระบบกับสิ่งแวดลอม 3. ทดลองและอธิบายปจจัยที่มีผลตอ • อุณหภูมิ ความดัน ชนิดของสารมีผลตอการเปลี่ยน • หนวยการเรียนรูที่ 4 การเปลี่ยนสถานะ และการละลาย สถานะ และการละลายของสาร สมบัติของสารและการจําแนก ของสาร สาร

สาระที่ 4

แรงและการเคลื่อนที่

มาตรฐาน ว 4.1 เขาใจธรรมชาติของแรงแมเหล็กไฟฟา แรงโนมถวง และแรงนิวเคลียร มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชนอยางถูกตองและมีคุณธรรม ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

ม.1 1. สืบคนขอมูล และอธิบายปริมาณ • ปริมาณทางกายภาพแบงเปนปริมาณสเกลารและ • หนวยการเรียนรูที่ 5 สเกลาร ปริมาณเวกเตอร ปริมาณเวกเตอร ปริมาณสเกลารเปนปริมาณที่มีแต แรงและการเคลื่อนที่ ขนาด ปริมาณเวกเตอรเปนปริมาณที่มีทั้งขนาดและ ทิศทาง 2. ทดลองและอธิบายระยะทาง • การเคลือ่ นทีข่ องวัตถุเกีย่ วของกับระยะทาง การกระจัด • หนวยการเรียนรูที่ 5 การกระจัด อัตราเร็ว และความเร็ว อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง คือ ความยาวที่วัดตาม แรงและการเคลื่อนที่ ในการเคลื่อนที่ของวัตถุ แนวทางการเคลื่อนที่ของวัตถุจากตําแหนงเริ่มตน ไปยังตําแหนงสุดทาย การกระจัด คือ เวกเตอรที่ชี้ ตําแหนงสุดทายของวัตถุเทียบกับตําแหนงเริ่มตน อัตราเร็ว คือ ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ไดในหนึ่งหนวย เวลา ความเร็ว คือ การกระจัดของวัตถุในหนึง่ หนวยเวลา

คูม อื ครู


สาระที่ 5

พลังงาน

มาตรฐาน ว 5.1 เขาใจความสัมพันธระหวางพลังงานกับการดํารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน ปฏิสัมพันธระหวางสาร และพลังงาน ผลของการใชพลังงานตอชีวิตและสิ่งแวดลอม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู สื่อสาร สิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน ชั้น

เสร�ม

12

ตัวชี้วัด

ม.1 1. ทดลองและอธิบายอุณหภูมิ และการวัดอุณหภูมิ

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• การวัดอุณหภูมิเปนการวัดระดับความรอนของสาร • หนวยการเรียนรูที่ 6 สามารถวัดดวยเทอรมอมิเตอร พลังงานความรอน

2. สั ง เกตและอธิ บ ายการถ า ยโอน • การถายโอนความรอนมีสามวิธี คือ การนําความรอน • หนวยการเรียนรูที่ 6 ความร อ น และนํ า ความรู  ไ ปใช การพาความรอนและการแผรังสีความรอน พลังงานความรอน ประโยชน • การนําความรอน เปนการถายโอนความรอนโดยการสัน่ ของโมเลกุล • การพาความรอน เปนการถายโอนความรอนโดยโมเลกุล ของสารเคลื่อนที่ไปดวย • การแผรังสีความรอน เปนการถายโอนความรอนจาก คลื่นแมเหล็กไฟฟา • การนําความรูเ รือ่ งการถายโอนความรอนไปใชประโยชน 3. อธิบายการดูดกลืน การคาย • วัตถุทแี่ ตกตางกันมีสมบัตใิ นการดูดกลืนความรอนและ • หนวยการเรียนรูที่ 6 ความรอน โดยการแผรังสี และนํา คายความรอนไดตางกัน พลังงานความรอน ความรูไปใชประโยชน • การนําความรูเรื่องการดูดกลืนความรอนและการคาย ความรอนไปใชประโยชน 4. อธิบายสมดุลความรอนและผลของ • เมื่อวัตถุสองสิ่งอยูในสมดุลความรอน วัตถุทั้งสองมี • หนวยการเรียนรูที่ 6 ความรอนตอการขยายตัวของสาร อุณหภูมิเทากัน พลังงานความรอน และนําความรูไ ปใชในชีวติ ประจําวัน • การขยายตัวของวัตถุเปนผลจากความรอนทีว่ ตั ถุไดรบั เพิ่มขึ้น • การนําความรูเรื่องการขยายตัวของวัตถุเมื่อไดรับ ความรอนไปใชประโยชน

สาระที่ 6

กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก

มาตรฐาน ว 6.1 เขาใจกระบวนการตางๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลก ความสัมพันธของกระบวนการตางๆ ที่มีผล ตอการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐานของโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู และจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

ม.1 1. สืบคนและอธิบายองคประกอบและ • บรรยากาศของโลกประกอบดวยสวนผสมของแกส • หนวยการเรียนรูที่ 7 การแบงชั้นบรรยากาศที่ปกคลุม ตางๆ ที่อยูรอบโลกสูงขึ้นไปจากพื้นผิวโลกหลาย บรรยากาศ (ตอนที่ 1) ผิวโลก กิโลเมตร • บรรยากาศแบงเปนชั้นตามอุณหภูมิและการ เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิตามความสูงจากพื้นดิน 2. ทดลองและอธิบายความสัมพันธ ระหวางอุณหภูมิ ความชื้น และความกดอากาศที่มีผลตอ ปรากฏการณทางลมฟาอากาศ

คูม อื ครู

• อุณหภูมิ ความชื้นและความกดอากาศ มีผลตอ ปรากฏการณทางลมฟาอากาศ

• หนวยการเรียนรูที่ 7 บรรยากาศ (ตอนที่ 1)


ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

ม.1 3. สังเกต วิเคราะห และอภิปรายการ • ปรากฏการณทางลมฟาอากาศ ไดแก การเกิดเมฆ • หนวยการเรียนรูที่ 8 เกิดปรากฏการณทางลมฟาอากาศ ฝน พายุฟาคะนอง พายุหมุนเขตรอน ลมมรสุม ฯลฯ บรรยากาศ (ตอนที่ 2) ที่มีผลตอมนุษย 4. สืบคน วิเคราะห และแปลความหมาย • การพยากรณอากาศอาศัยขอมูลเกี่ยวกับอุณหภูมิ • หนวยการเรียนรูที่ 8 ขอมูลจากการพยากรณอากาศ ความกดอากาศ ความชืน้ ปริมาณเมฆ ปริมาณนํา้ ฝน บรรยากาศ (ตอนที่ 2) และนํามาแปลความหมายเพื่อใชในการทํานายสภาพ อากาศ

เสร�ม

13

5. สืบคน วิเคราะห และอธิบายผล • สภาพลมฟาอากาศที่เปลี่ยนแปลงบนโลกทําใหเกิด • หนวยการเรียนรูที่ 8 ของลมฟาอากาศตอการดํารงชีวิต พายุ ปรากฏการณเอลนิโญ ลานีญา ซึ่งสงผลตอการ บรรยากาศ (ตอนที่ 2) ของสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดลอม ดํารงชีวิตของมนุษย และสิ่งแวดลอม 6. สืบคน วิเคราะห และอธิบายปจจัย • ปจจัยทางธรรมชาติและการกระทําของมนุษย เชน • หนวยการเรียนรูที่ 8 ทางธรรมชาติและการกระทําของ ภูเขาไฟระเบิด การตัดไมทําลายปา การเผาไหมของ บรรยากาศ (ตอนที่ 2) มนุษยที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลง เครือ่ งยนตและการปลอยแกสเรือนกระจก มีผลทําให อุณหภูมิของโลก รูโหวโอโซน และ เกิดภาวะโลกรอน รูโหวของชั้นโอโซน และฝนกรด ฝนกรด • ภาวะโลกรอนคือปรากฏการณทอี่ ณ ุ หภูมเิ ฉลีย่ ของโลก สูงขึ้น 7. สืบคน วิเคราะหและอธิบายผล ของภาวะโลกรอน รูโหวโอโซน และฝนกรด ที่มีตอสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดลอม

สาระที่ 8

• ภาวะโลกรอนทําใหเกิดการละลายของธารนํ้าแข็ง • หนวยการเรียนรูที่ 8 ระดับนํา้ ทะเลสูงขึน้ การกัดเซาะชายฝง เพิม่ ขึน้ นํา้ ทวม บรรยากาศ (ตอนที่ 2) ไฟปา สงผลใหสิ่งมีชีวิตบางชนิดสูญพันธุและทําให สิ่งแวดลอมเปลี่ยนแปลงไป • รูโหวโอโซนและฝนกรดมีผลตอการเปลี่ยนแปลงของ สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม

ธรรมชาติของวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

มาตรฐาน ว 8.1 ใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรและจิตวิทยาศาสตร ในการสืบเสาะหาความรู การแกปญหา รูวา ปรากฏการณทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นสวนใหญมีรูปแบบแนนอน สามารถอธิบายและตรวจสอบไดภายใต ขอมูลและเครื่องมือที่มีอยูในชวงเวลานั้นๆ เขาใจวา วิทยาศาสตร เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดลอม มีความเกี่ยวของสัมพันธกัน ชั้น

ตัวชี้วัด

ม.1 1. ตั้งคําถามที่กําหนดประเด็นหรือ ตัวแปรที่สําคัญในการสํารวจ ตรวจสอบ หรือศึกษาคนควาเรื่อง ที่สนใจไดอยางครอบคลุมและ เชื่อถือได

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

-

• หนวยการเรียนรูที่ 1-8

2. สรางสมมติฐานที่สามารถ ตรวจสอบไดและวางแผนการ สํารวจตรวจสอบหลายวิธี

-

• หนวยการเรียนรูที่ 1-8

3. เลือกเทคนิควิธีการสํารวจ ตรวจสอบทั้งเชิงปริมาณและ เชิงคุณภาพที่ไดผลเที่ยงตรงและ ปลอดภัย โดยใชวัสดุและเครื่องมือ ที่เหมาะสม

-

• หนวยการเรียนรูที่ 1-8

คูม อื ครู


ชั้น

เสร�ม

14

คูม อื ครู

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

ม.1 4. รวบรวมขอมูล จัดกระทําขอมูล เชิงปริมาณและคุณภาพ

-

• หนวยการเรียนรูที่ 1-8

5. วิเคราะหและประเมิน ความสอดคลองของประจักษ พยานกับขอสรุป ทั้งที่สนับสนุน หรือขัดแยงกับสมมติฐาน และ ความผิดปกติของขอมูลจากการ สํารวจตรวจสอบ

-

• หนวยการเรียนรูที่ 1-8

6. สรางแบบจําลอง หรือรูปแบบ ที่อธิบายผลหรือแสดงผลของการ สํารวจตรวจสอบ

-

• หนวยการเรียนรูที่ 1-8

7. สรางคําถามที่นําไปสูการสํารวจ ตรวจสอบ ในเรื่องที่เกี่ยวของ และ นําความรูที่ไดไปใชในสถานการณ ใหมหรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงาน หรือชิ้นงานใหผูอื่นเขาใจ

-

• หนวยการเรียนรูที่ 1-8

8. บันทึกและอธิบายผลการสังเกต การสํารวจ ตรวจสอบ คนควา เพิ่มเติมจากแหลงความรูตางๆ ให ไดขอมูลที่เชื่อถือได และยอมรับ การเปลี่ยนแปลงความรูที่คนพบ เมื่อมีขอมูลและประจักษพยานใหม เพิ่มขึ้นหรือโตแยงจากเดิม

-

• หนวยการเรียนรูที่ 1-8

9. จั ด แสดงผลงาน เขี ย นรายงาน และ/หรื อ อธิ บ ายเกี่ ย วกั บ แนวคิ ด กระบวนการ และผลของโครงงาน หรือชิ้นงานใหผูอื่นเขาใจ

-

• หนวยการเรียนรูที่ 1-8


คําอธิบายรายวิชา รายวิชา วิทยาศาสตร เลม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 รหัสวิชา ว…………………………………

กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตร ภาคเรียนที่ 1 เวลา 60 ชั่วโมง/ป

ศึกษา วิเคราะห กระบวนการทางวิทยาศาสตร ซึ่งประกอบดวยการสังเกต การตั้งสมมุติฐาน การทดลอง เสร�ม การรวบรวมขอมูล สรุปผล และการเขียนรายงานการทดลอง ศึกษา วิเคราะหลักษณะและรูปรางของเซลล 15 สิ่งมีชีวิต โครงสรางและหนาที่ของเซลลพืชและเซลลสัตว กระบวนการเคลื่อนที่ของสารผานเซลล การลําเลียง สารในพืช กระบวนการสังเคราะหดว ยแสง กระบวนการสืบพันธุข องพืช การตอบสนองของพืชตอสิง่ เรา เทคโนโลยี ชีวภาพสําหรับพืช สารและการจําแนกสารเปนสารเนื้อเดียว สารเนื้อผสม สมบัติของสาร และการแยกสาร โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร การสืบเสาะหาความรู การสํารวจตรวจสอบ การสืบคนขอมูลและ อภิปราย เพื่อใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่ไดเรียนรู มีความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณคาของการนําความรูไปใชในชีวิตประจําวัน มีจิตวิทยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรม และคานิยม ที่เหมาะสม ตัวชี้วัด ว 1.1 ว 3.1 ว 3.2 ว 8.1

ม.1/1

ม.1/2

ม.1/3

ม.1/4

ม.1/1

ม.1/2

ม.1/3

ม.1/4

ม.1/1

ม.1/2

ม.1/3

ม.1/5

ม.1/6

ม.1/7

ม.1/8

ม.1/9 ม.1/10 ม.1/11 ม.1/2

ม.1/3

ม.1-3/1 ม.1-3/2 ม.1-3/3 ม.1-3/4 ม.1-3/5 ม.1-3/6 ม.1-3/7 ม.1-3/8 ม.1-3/9

รวม 29 ตัวชี้วัด

คูม อื ครู


คูม อื ครู

บรรยากาศ (ตอนที่ 2)

หนวยการเรียนรูที่ 8

บรรยากาศ (ตอนที่ 1)

หนวยการเรียนรูที่ 7

พลังงานความรอน

หนวยการเรียนรูที่ 6

แรงและการเคลือ่ นที่

หนวยการเรียนรูที่ 5

กระบวนการทางวิทยาศาสตร เลม 2

หนวยการเรียนรูพิเศษ

สมบัตขิ องสารและ การจําแนกสาร

หนวยการเรียนรูที่ 4

กระบวนการในการดํารงชีวติ ของพืช (ตอนที่ 2)

หนวยการเรียนรูที่ 3

กระบวนการในการดํารงชีวติ ของพืช (ตอนที่ 1)

หนวยการเรียนรูที่ 2

หนวยพืน้ ฐานของสิง่ มีชวี ติ ✓ ✓ ✓

หนวยการเรียนรูที่ 1

เลม 1

ตัวชี้วัด

ตัวชี้วัด

ตัวชี้วัด

ตัวชี้วัด

สาระที่ 4

ตัวชี้วัด

สาระที่ 5

มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน ว 5.1 ว 3.2 ว 4.1

ตัวชี้วัด

มาตรฐาน ว 6.1

สาระที่ 6 ตัวชี้วัด

มาตรฐาน ว 8.1

สาระที่ 8

✓✓✓✓✓✓ ✓✓✓✓ ✓✓✓✓✓✓✓

✓✓ ✓✓✓✓ ✓✓

✓✓✓✓✓✓✓✓✓✓✓✓✓✓

✓✓✓✓✓✓✓✓✓

✓✓✓✓✓✓✓✓✓

✓✓✓✓✓✓✓✓✓

✓✓✓✓✓✓✓✓✓

✓✓✓✓✓✓✓✓✓

✓✓✓✓✓✓✓✓✓

✓✓✓✓✓✓✓✓✓

✓✓✓✓✓✓✓✓✓

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 6 7 8 9

มาตรฐาน ว 3.1

สาระที่ 3

เสร�ม

16

มาตรฐาน ว 1.1

สาระที่ 1

ตาราง วิเคราะหมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด รายวิชา วิทยาศาสตร ม.1

คําชี้แจง : ใหผูสอนใชตารางนี้ตรวจสอบความสอดคลองของเนื้อหาสาระการเรียนรูในหนวยการเรียนรูกับมาตรฐาน การเรียนรูและตัวชี้วัดชั้นป


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹

วิทยาศาสตร เลม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1

¡ÅØ‹ÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒÇÔ·ÂÒÈÒʵà ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

ผูเรียบเรียง

รศ. ดร. ยุพา วรยศ นายถนัด ศรีบุญเรือง มิสเตอรโจ บอยด มิสเตอรวอลเตอร ไวทลอร

ผูตรวจ

ดร. ฤทธิ์ วัฒนชัยยิ่งเจริญ นางกุณฑรี เพ็ชรทวีพรเดช นางสาวอารียา ศรีประเสริฐ

บรรณาธิการ

นายวิโรจน เตรียมตระการผล นางสาววราภรณ ทวมดี

รหัสสินคา 2118002

ค้นความรู้ขยายความคิด¨าก ¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè ñ ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ 2148017

EB GUIDE

ที่พิมพกํากับหัวขอสําคัญในหนังสือเรียนหลักสูตรแกนกลางฯ ผาน www.aksorn.com ไปยังแหลงความรูทั่วไทย-ทั่วโลก

คณะผูจัดทําคูมือครู

พัชรินทร แสนพลเมือง สายสุนีย งามพรหม จิตรา สังขเกื้อ


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹

วิทยาศาสตร เลม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1

คํา

เตือ น

¡ÅØ‹ÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒÇÔ·ÂÒÈÒʵà ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

˹ѧÊ×ÍàÅ‹Á¹Õéä´ŒÃѺ¡Òä،Á¤ÃͧµÒÁ ¾.Ã.º. ÅÔ¢ÊÔ·¸Ôì ËŒÒÁÁÔãËŒ¼ÙŒã´ ·íÒ«éíÒ ¤Ñ´ÅÍ¡ àÅÕ¹Ẻ ·íÒÊíÒà¹Ò ¨íÒÅͧ§Ò¹¨Ò¡µŒ¹©ºÑºËÃ×Íá»Å§à»š¹ÃٻẺÍ×è¹ ã¹ÇÔ¸Õµ‹Ò§æ ·Ø¡ÇÔ¸Õ äÁ‹Ç‹Ò·Ñé§ËÁ´ËÃ×ͺҧʋǹ â´ÂÁÔä´ŒÃѺ͹ØÞÒµ¨Ò¡à¨ŒÒ¢Í§ÅÔ¢ÊÔ·¸Ôì¶×Í໚¹¡ÒÃÅÐàÁÔ´ ¼ÙŒ¡ÃзíҨеŒÍ§ÃѺ¼Ô´·Ñ駷ҧᾋ§áÅзҧÍÒÞÒ

พิมพครั้งที่ 8

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ ISBN : 978-616-203-095-6


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

¤íÒ¹íÒ วิทยาศาสตรเปนวิชาทีม่ บี ทบาทสําคัญยิง่ ตอสังคมทัง้ ในโลกปจจุบนั และอนาคต เพราะวิทยาศาสตร จะมีความเกี่ยวของกับเราทุกคนทั้งในการดําเนินชีวิตประจําวัน การประกอบอาชีพการงานตางๆ ตลอดจนเทคโนโลยี เครื่องมือเครื่องใชและผลผลิตตางๆ ที่มนุษยสรางสรรคขึ้นมา วิทยาศาสตรชวยพัฒนาความคิดของมนุษย ใหคิดเปนเหตุเปนผล คิดสรางสรรค คิดวิเคราะห วิจารณ มีทักษะสําคัญในการแสวงหาความรู สามารถแกไขปญหาอยางเปนระบบ สามารถตัดสินใจ โดยใชขอมูลที่หลากหลายและมีประจักษพยานที่ตรวจสอบได วิทยาศาสตรจึงเปนวัฒนธรรมของโลก สมัยใหมที่เราทุกคนจําเปนตองไดรับการพัฒนา สําหรับหนังสือเรียนรายวิชาพืน้ ฐาน วิทยาศาสตร ชุดนี้ สาระภายในเลมไดพฒ ั นามาจากหนังสือ ชุด New Understanding Science ของประเทศอังกฤษ โดยเรียบเรียงใหสอดคลองกับตัวชี้วัดและสาระ การเรียนรูแกนกลาง ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เนื้อหาภายใน เลมจะเรียงไปตามสาระ และแบงยอยเปนหนวยการเรียนรู การนําเสนอนอกจากเนื้อหาสาระแลว ก็จะ มีกจิ กรรมพัฒนาทักษะวิทยาศาสตรแทรกคัน่ ไวให และทุกทายหนวยการเรียนรู จะมีกจิ กรรมสรางสรรค พัฒนาที่เปนกิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตรทบทวนอีกครั้งหนึ่ง ทัง้ นี้ในแตละชัน้ จะแบงหนังสือเรียนออกเปน 2 เลม ใชประกอบการเรียนการสอนภาคเรียนละเลม ซึ่งในชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 จัดแบงเนื้อหาตามสาระ ดังนี้ วิทยาศาสตร ม.1 เลม 1 มีเนื้อหาเกี่ยวกับกระบวนการศึกษาวิทยาศาสตร หนวยพื้นฐานของ สิง่ มีชวี ติ กระบวนการในการดํารงชีวติ ของพืช สมบัตขิ องสารและการ จําแนกสาร วิทยาศาสตร ม.1 เลม 2 มีเนื้อหาเกี่ยวกับแรงและการเคลื่อนที่ พลังงานความรอน และ บรรยากาศ ในการเรียบเรียงพยายามใหนักเรียนสามารถอานทําความเขาใจไดงาย ชัดเจน ไดรับความรู ตรงตามประเด็นในสาระการเรียนรูแกนกลาง และอํานวยความสะดวกทั้งตอครูผูสอนและนักเรียน หวังเปนอยางยิ่งวา หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน วิทยาศาสตรชุดนี้ จะมีสวนชวยใหการจัด การเรียนการสอนวิทยาศาสตร ระดับมัธยมศึกษาปที่ 1-3 สัมฤทธิผลตามเปาหมาย และมีสวนชวยให นักเรียนมีคุณภาพอยางที่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานไดกําหนดไว ¼ÙŒàÃÕºàÃÕ§

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ÊÒúÑÞ àÅ‹Á 1 ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

1 2 3 4

˹‹Ç¾×é¹°Ò¹¢Í§ÊÔè§ÁÕªÕÇÔµ ● ●

ÅѡɳÐáÅÐÃٻËҧ¢Í§à«ÅÅ ÊÔè§ÁÕªÕÇÔµ â¤Ã§ÊÌҧáÅÐ˹ŒÒ·Õè¢Í§à«ÅÅ ¾×ªáÅÐà«ÅÅ ÊѵÇ

¡Ãкǹ¡ÒÃ㹡ÒôíÒçªÕÇÔµ¢Í§¾×ª (µÍ¹·Õè 1) ● ● ●

¡Ãкǹ¡ÒÃà¤Å×è͹·Õè¢Í§ÊÒü‹Ò¹àÂ×èÍËØŒÁà«ÅÅ ¡ÒÃÅíÒàÅÕ§ÊÒÃ㹾ת ¡Ãкǹ¡ÒÃÊѧà¤ÃÒÐË ´ŒÇÂáʧ

¡Ãкǹ¡ÒÃ㹡ÒôíÒçªÕÇÔµ¢Í§¾×ª (µÍ¹·Õè 2) ● ● ●

¡Ãкǹ¡ÒÃÊ׺¾Ñ¹¸ آͧ¾×ª ¡Òõͺʹͧ¢Í§¾×ªµ‹ÍÊÔè§àÃŒÒ à·¤â¹âÅÂÕªÕÇÀÒ¾ÊíÒËÃѺ¾×ª

ÊÁºÑµÔ¢Í§ÊÒÃáÅСÒèíÒṡÊÒà ● ● ● ●

ÊÁºÑµÔ¢Í§ÊÒÃáÅСÒèíÒṡÊÒà ÊÒÃà¹×éÍà´ÕÂÇ ÊÒÃà¹×éͼÊÁ ÊÁºÑµÔ¢Í§ÊÒÃÅÐÅÒ¡ô-àºÊ

ÀÒ¤¼¹Ç¡ ¡Ãкǹ¡Ò÷ҧÇÔ·ÂÒÈÒʵà ● ● ● ● ●

¡Ãкǹ¡Ò÷ҧÇÔ·ÂÒÈÒʵà ¡Ò÷´Åͧ ¡ÒÃËÒ¢ŒÍÁÙÅ ¡ÒÃÇÑ´»ÃÔÁÒ³ ¡ÒÃà¢Õ¹ÃÒ§ҹ

ºÃóҹءÃÁ

àÅ‹Á 2

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè 5 áçáÅСÒÃà¤Å×è͹·Õè ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ¾Åѧ§Ò¹¤ÇÒÁÌ͹ ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè 7 ºÃÃÂÒ¡ÒÈ (µÍ¹·Õè 1) ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè 8 ºÃÃÂÒ¡ÒÈ (µÍ¹·Õè 2)

1-16 2 7

17-36

18 22 26

37-54 38 45 48

55-90 56 65 74 78

91-108 92 95 98 100 103

108


กระตุน ความสนใจ

1

˹‹Ç ¡Ò

Õè ÂÕ ¹ÃÙŒ· ÃàÃ

กระตุEngage นความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

เปาหมายการเรียนรู

1. อธิบายรูปราง ลักษณะของเซลลของสิ่งมีชีวิต เซลลเดียวและเซลลของสิง่ มีชวี ติ หลายเซลลได 2. อธิบายโครงสรางและหนาที่ของเซลลพืชและ เซลลสัตวได 3. เปรียบเทียบสวนประกอบสําคัญของเซลลพืช และเซลลสัตวได

˹‹Ç¾×é¹°Ò¹ ¢Í§ÊÔè§ÁÕªÕÇÔµ

สมรรถนะของผูเรียน

ร่างกายของพืชและสัตว์ทุกชนิดประกอบด้วยหน่วยโครงสร้างพื้นฐานที่ เล็กที่สุด เรียกว่า เซลล์ (cell) จ�านวนมากมายนับล้านเซลล์ โดยแต่ละเซลล์จะมี ส่วนประกอบพื้นฐานเหมือนกัน คือ เยื่อหุ้มเซลล์ ไซโทพลาซึม และนิวเคลียส ซึ่งหากจะศึกษาให้ลึกลงไปในแต่ละเซลล์จะต้องใช้กล้องจุลทรรศน์ช่วยในการศึกษา เพื่อให้ทราบถึงขนาด รูปร่าง และส่วนประกอบของเซลล์ได้ชัดเจนขึ้น

1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการแกปญหา

คุณลักษณะอันพึงประสงค ตัวชี้วัดชั้นป มฐ. ว 1.1 ม. 1/1, 2, 3 • สังเกตและอธิบายรูปร่าง ลักษณะของเซลล์ ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและเซลล์ของสิ่งที่มีชีวิต หลายเซลล์ • สังเกตและเปรียบเทียบส่วนประกอบส�าคัญของ เซลล์พืชและเซลล์สัตว์ • ทดลองและอธิบายหน้าที่ของส่วนประกอบที่ส�าคัญ ของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ มฐ. ว 8.1 ม. 1-3/1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 • ข้อ 1-ข้อ 9

1. มีวินัย 2. ใฝเรียนรู 3. มุงมัน่ ในการทํางาน

กระตุน ความสนใจ

Engage

ครูใหนักเรียนพิจารณาภาพหนาหนวยแลวให นักเรียนรวมกันอภิปรายวาเปนเซลลชนิดใด และ มีหนาที่อยางไร และถามความคิดเห็นของนักเรียน วาเซลลชนิดตางๆ นาจะมีรูปรางและหนาที่ เหมือนกันหรือไม

เกร็ดแนะครู การเรียนการสอนเรื่อง หนวยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ครูควรเนนใหนักเรียนได ศึกษาถึงรูปราง ลักษณะของเซลลจริง โดยสิ่งจําเปนอยางยิ่งในการศึกษาเรื่องเซลล คือ กลองจุลทรรศน ดังนั้น ครูควรฝกพื้นฐานการใชกลองจุลทรรศนอยางถูกตอง ใหแกนักเรียน ทั้งนี้เพื่อเปนพื้นฐานในการศึกษาระดับที่สูงขึ้นไป

คูมือครู

1


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ Expand าใจ ขยายความเข

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุEngage นความสนใจ

กระตุน ความสนใจ

Exploreนหา สํารวจค

Engage

ครูนําเขาสูบทเรียนโดยการเลาประวัติของ รอเบิรต ฮุค อยางสังเขปๆ พรอมอธิบายเพิ่มเติม เกีย่ วกับกลองจุลทรรศนทรี่ อเบิรต ฮุค เปนผูป ระดิษฐ มาเพื่อใชศึกษาเกี่ยวกับเซลล จากนั้นครูตั้งคําถาม เพื่อกระตุนความสนใจของนักเรียน • เซลลที่รอเบิรต ฮุค คนพบมีลักษณะ เปนอยางไร (แนวตอบ รอเบิรต ฮุค ใชกลองจุลทรรศน สองดูไมคอรกที่เฉือนบางๆ ซึ่งพบชองเล็กๆ จํานวนมาก เขาจึงเรียกชองเล็กๆ เหลานี้วา เซลล (cell) ซึ่งเซลลที่รอเบิรต ฮุค พบนั้นเปน เซลลที่ตายแลว แตการที่คงเปนชองอยูไดก็ เนื่องจากเซลลนั้นมีผนังเซลลนั่นเอง โดยเซลล จะเปนองคประกอบที่อยูในสิ่งมีชีวิตทุกชนิด)

สํารวจคนหา

1.1 ลÑกɳÐáลÐรู»ร่างของเ«ลล สิ่งมÕชÕÇิต

รอเบิร์ต ฮุค เป็นผู้ค้นพบเซลล์เป็นคนแรก

ลักษณะกล้องจุลทรรศน์ ของรอเบิร์ต ฮุค และเซลล์ไม้คอร์ก

อะมีบา

แบคทีเรีย

ยีสต์

ตัวอย่างสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว

2

เกร็ดแนะครู 1. ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับลักษณะ สวนประกอบ และการทํางานของ กลองจุลทรรศนประเภทตางๆ 2. ครูอธิบายเพิ่มเติมวา ภายในนิวเคลียสจะมีหนวยพันธุกรรม คือ ยีน (gene) ซึ่งทําหนาที่ควบคุมและถายทอดขอมูลเกี่ยวกับลักษณะทางพันธุกรรมตางๆ ของสิ่งมีชีวิตจากรุนหนึ่งไปสูอีกรุนหนึ่ง

มุม IT ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับเซลลของสิ่งมีชีวิตไดจาก http://www.myf irstbrain. com/student_view.aspx?ID=71878

คูมือครู

ไดอะตอม พารามีเซียม

Expand

ครูใหนักเรียนแบงกลุมเปน 6 กลุม ทําสมุดภาพ โดยวาดภาพรูปรางของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียวชนิดใด ชนิดหนึ่ง ไดแก อะมีบา พารามีเซียม ยูกลีนา ยีสต แบคทีเรีย และไดอะตอม พรอมทั้งบอกวาสิ่งมีชีวิต ชนิดนั้นมีสวนประกอบอะไรบาง

2

สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว (unicellular organism) ร่างกายจะประกอบด้วย เซลล์เพียงเซลล์เดียว กิจกรรมต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการด�ารงชีวิต เช่น การ กินอาหาร การขับถ่าย การสืบพันธุ์ จะเกิดขึ้นภายในเซลล์เพียงเซลล์เดียว ภายในเซลล์จะประกอบด้วยโครงสร้างต่างๆ เหมือนกับเซลล์ของสิ่งมีชีวิต หลายเซลล์ ส่วนมากนิวเคลียสมีเยื่อหุ้ม สามารถด�ารงชีวิตอยู่เป็นอิสระได้ เช่น สาหร่ายเซลล์เดียว อะมีบา ยีสต์ เป็นต้น บางชนิดนิวเคลียสไม่มเี ยือ่ หุม้ เช่น แบคทีเรีย ดังนัน้ DNA (Deoxyibonucleic acid) จะกระจายอยู่ในไซโทพลาซึม ท�าให้ไม่มีนิวเคลียสเป็นก้อนเหมือนสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นๆ และมีโครโมโซม รูปวงกลม 1 อัน ท�าหน้าที่ควบคุมกิจกรรมต่างๆ ภายในเซลล์

Explain

ครูสุมนักเรียนใหออกมารายงานเรื่องที่ศึกษา หนาชั้นเรียน และใหนักเรียนคนอื่นๆ รวมกัน อภิปรายและแสดงความคิดเห็น รวมทั้งครูชวย อธิบายเพิ่มเติมเพื่อใหเกิดความเขาใจที่ถูกตอง

ขยายความเขาใจ

เซลล์จดั เป็นหน่วยทีเ่ ล็กทีส่ ดุ ทีท่ า� หน้าทีข่ องสิง่ มีชวี ติ ได้ เช่น เจริญเติบโต สืบพันธุ์เป็นต้น ปี พ.ศ. 2208 รอเบิร์ต ฮุค (Robert Hooke) นักวิทยาศาสตร์ ชาวอังกฤษ ได้ค้นพบเซลล์จากการที่เขาได้น�าเลนส์มาส่องดูสิ่งต่างๆ เช่น แมลง ขนนก เกล็ดปลา เป็นต้น ซึง่ สิง่ ทีเ่ ขาสนใจมากทีส่ ดุ คือ เปลือกต้นโอ๊ก หรือทีเ่ รียกอีกชือ่ หนึง่ ว่า ไม้คอร์ก เขาน�าเปลือกต้นโอ๊กมาตัดเป็นชิน้ บางๆ แล้วน�ามาส่องดูด้วยเลนส์เห็นเป็นช่องสี่เหลี่ยมเล็กๆ เรียงติดต่อกัน ฮุคจึง เรียกช่องเหล่านี้ว่า เซลล์ (cell) โดยเซลล์ไม้คอร์กที่เขาเห็นนี้ เป็นเซลล์ที่ ตายแล้ว เพราะประกอบด้วยผนังเซลล์เรียงติดต่อกันเป็นช่องสี่เหลี่ยม และ ภายในไม่มีองค์ประกอบที่มีชีวิต

1.1.1 สิ่งมีชีวิตเซลลเดียว

Explore

ใหนักเรียนศึกษาเกี่ยวกับลักษณะและรูปราง ของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียวชนิดตางๆ จากหนังสือเรียน หนา 2 แลวสรุปและบันทึกลงในสมุดของนักเรียน

อธิบายความรู

อธิบExplain ายความรู

กิจกรรมสรางเสริม ใหนักเรียนศึกษาคนควาเพิ่มเติมรวบรวมรายชื่อชนิดของสิ่งมีชีวิต เซลลเดียวใหไดมากที่สุด โดยจดลงในสมุดบันทึก

กิจกรรมทาทาย ใหนักเรียนศึกษาคนควาเพิ่มเติมวาสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว เชน อะมีบา พารามีเซียม ยูกลีนา ยีสต แบคทีเรีย ไดอะตอม เปนตน มีการดําเนิน กิจกรรมตางๆ ที่เกี่ยวของกับการดํารงชีวิต เชน การกินอาหาร การขับถาย การเคลื่อนที่ การสืบพันธุอยางไร แลวทํารายงานสงครูผูสอน


กระตุนความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

สํารวจค Exploreนหา

สํารวจคนหา

ครูใหนักเรียนหาคําตอบเกี่ยวกับรูปราง ลักษณะ และหนาที่ของเซลลชนิดตางๆ ที่เปน สวนประกอบในสิ่งมีชีวิตหลายเซลล เชน เซลลคุม เซลลขนราก เซลลประสาท เซลลกลามเนื้อ เปนตน โดยเลือกมาคนละ 1 เซลล แลวบันทึกผล ลงในสมุด

1.1.2 สิ่งมีชีวิตหลายเซลล

สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ (multicellular organism) ได้แก่ พืชและสัตว์ ทั่วไป ร่างกายจะประกอบขึ้นจากเซลล์มากมายหลายล้านเซลล์ โดยเซลล์ ที่มีลักษณะคล้ายกันหรือเป็นเซลล์ชนิดเดียวกันมาอยู่ด้วยกัน ท�าหน้าที่ อย่างเดียวกัน เรียกกลุ่มเซลล์เหล่านี้ว่า เนือ้ เยื่อ (tissues) ถึงแม้เซลล์ของ พืชและเซลล์ของสัตว์จะมีโครงสร้างพื้นฐาน คือ เยื่อหุ้มเซลล์ ไซโทพลาซึม และนิวเคลียสเหมือนกัน แต่เซลล์พชื และเซลล์สตั ว์กม็ สี ว่ นประกอบของเซลล์ ที่แตกต่างกันหลายอย่าง

เซลล์คุม อยูบริเวณใต้ใบของพืช ทุกชนิด ยกเว้นพืชที่อยูในนํ้า

เซลล์ขนราก มีลักษณะยาวและ บาง เพื่อเพิ่มพื้นที่ผิวในการดูดซึม นํ้าและแรธาตุ ภาพที่ 1.5 ตัวอย่างเซลล์ของสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ (ที่มาของภาพ : science tracks 8 p.42)

ภาพที่ 1.4 ผี เ สื้ อ เป็ น ตั ว อย่ า งของสิ่ ง มี ชี วิ ต หลายเซลล์ (ที่มาของภาพ : photo bank ACT.)

เซลล์ประสาท มีแขนงยื่น ออกมาชวยเพิ่มพื้นที่ ใน การสงสัญญาณประสาท

อธิบายความรู

Explain

ครูสุมตัวแทนนักเรียนออกมานําเสนอผลงาน หนาชั้นเรียน โดยใหนักเรียนคนอื่นๆ รวมกัน วิพากษวิจารณวาสรุปไดครบถวนตรงประเด็น หรือไม หากไมครบถวนใหชวยกันเสนอแนะใหได ขอสรุปที่ถูกตองชัดเจน หลังจากนั้นใหนักเรียนทํา กิจกรรมที่ 1.2 จากแบบวัดและบันทึกผลการเรียนรู วิทยาศาสตร ม.1

เซลล์กล้ามเนือ้ มีลกั ษณะยาว หัวท้ายแหลม มีนิวเคลียสอยู กลางเซลล์

✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ ว�ทยาศาสตร ม.1 กิจกรรมที่ 1.2 หนวยที่ 1 หนวยพืน้ ฐานของสิง่ มีชว� ต�

¤วาÁàËÁ×อ¹áÅФวาÁáต¡ต่างÃÐËว่าง ÊÔèงÁÕªÕวÔตà«ÅÅ à´Õยว¡ัºÊÔèงÁÕªÕวÔตËÅายà«ÅÅ

พืช

แบคทีเรีย

สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว • สิ่งมีชีวิตที่ประกอบด้วยเซลล์เพียง หนึ่งเซลล์ • กิจกรรมต่างๆ เกีย่ วกับการด�ารงชีวติ เกิดขึ้นภายในเซลล์เดียว 1 • ตัวอย่างเช่น2อะมีบา ยูกลีนา พารามีเซียม ไดอะตอม เป็นต้น

Explore

กิจกรรมที่ 1.2

สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ • สิ่งมีชีวิตที่ประกอบด้วยเซลล์ มากกว่าหนึ่งเซลล์ • เซลล์ชนิดเดียวกันหลายๆ เซลล์จะมา รวมตัวกันเพือ่ ท�าหน้าทีอ่ ย่างเดียวกัน เรียกว่า “เนื้อเยื่อ” • ได้แก่ พืชและสัตว์ต่างๆ

ใหนกั เรียนเปรียบเทียบลักษณะเซลลของสิง่ มีชวี ติ เซลลเดียว และเซลลของสิ่งมีชีวิตหลายเซลล (ว 1.1 ม.1/1)

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได

10

ลักษณะเซลลของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว

ลักษณะเซลลของสิ่งมีชีวิตหลายเซลล

กิจกรรมตางๆ ที่เกี่ยวของกับการดํารงชีวิต ……………………………………………………………………………………

แตละเซลลจะมีโครงสรางพื้นฐานเหมือนกัน ……………………………………………………………………………………

จะเกิดขึ้นภายในเซลลเพียงเซลลเดียว ภายใน ……………………………………………………………………………………

คือ เยื่อหุมเซลล ไซโทพลาซึม และนิวเคลียส ……………………………………………………………………………………

เซลลประกอบดวยโครงสรางตางๆ เหมือนกับ ……………………………………………………………………………………

แตในเซลลพชื และเซลลสตั วนั้นจะมีโครงสราง ……………………………………………………………………………………

เซลลของสิ่งมีชีวิตหลายเซลล ……………………………………………………………………………………

บางอยางที่แตกตางกัน ……………………………………………………………………………………

รางกายประกอบไปดวยเซลลเพียงเซลลเดียว ……………………………………………………………………………………

กิจกรรมที่ 1.3

เซลลหลายเซลลจะประกอบกันเปนรางกาย ……………………………………………………………………………………

ใหนักเรียนปฏิบัติกิจกรรมตามคําแนะนํา (ว 1.1 ม.1/1)

ฉบับ

เฉลย

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได

15

ตอนที่ 1 บอกสวนประกอบของกลองจุลทรรศน และหนาทีข่ องสวนประกอบตางๆ 5

อะมีบา

สัตว์

1 2

3

3 4

ใกลวัตถุ ตถุ 1. เลนส …………………………………. หนาที่ ขยายภาพของวั ……………………………………………………………………… นวางวัตถุ วางสไลดตัวอยางที่ตองการศึกษา 2. แท …………………………………. หนาที่ ใช ……………………………………………………………………… แสงสองสวางเพื่อดูวัตถุ 3. หลอดไฟ …………………………………. หนาที่ ให ……………………………………………………………………… บนํ้าหนักของตัวกลอง …………………………………. หนาที่ รองรั ……………………………………………………………………… 6 4. ฐาน ใกลตา ตถุ 5. เลนส …………………………………. หนาที่ ขยายภาพของวั ……………………………………………………………………… แขน ใชเปนที่จับ เมื่อเคลื่อนยายกลอง 7 6. …………………………………. หนาที่ ……………………………………………………………………… ปุ ม  ปรั บ ภาพหยาบ ใช เ ลื อ ่ นแท น วางวั ตถุเพื่อใหมองเห็นภาพ 7. …………………………………. หน า ที ่ ……………………………………………………………………… 8 มปรับภาพละเอียด หนาที่ ปรั บความคมชัดของภาพ 8. ปุ…………………………………. ………………………………………………………………………

3

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

การขับถายของสัตวในขอใดแตกตางจากขออื่น 1. อะมีบา 2. ไดอะตอม 3. พลานาเรีย 4. พารามีเซียม

วิเคราะหคําตอบ อะมีบา ไดอะตอม และพารามีเซียม เปนสิ่งมีชีวิต เซลลเดียว ดังนั้นการขับถายจึงเกิดขึ้นในเซลลเพียงเซลลเดียว แต พลานาเรียเปนสิ่งมีชีวิตหลายเซลล ซึ่งจะมีระบบขับถายทําหนาที่ใน การขับถาย โดยระบบขับถายเกิดจากการรวมกันของอวัยวะที่ทําหนาที่ใน การขับถาย ซึ่งอวัยวะแตละอวัยวะจะเกิดจากการรวมกันของเนื้อเยื่อ และ เนื้อเยื่อเกิดจากการรวมกลุมของเซลลหลายๆ เซลลนั่นเอง พลานาเรีย จึงมีการขับถายแตกตางจากสิ่งมีชีวิตอื่นขออื่น ดังนั้น จึงตอบขอ 2.

เกร็ดแนะครู ครูอธิบายเพิ่มเติมวา ในสิ่งมีชีวิตหลายเซลลนั้น เซลลจะมีการรวมกลุมกันเปน เนื้อเยื่อชนิดตางๆ เนื้อเยื่อชนิดตางๆ จะรวมกันเปนอวัยวะ และอวัยวะก็รวมกัน เปนระบบ ระบบแตละระบบจะทําหนาที่เฉพาะ เชน ระบบยอยอาหาร ระบบหายใจ ระบบขับถาย เปนตน ซึ่งระบบเหลานี้จะรวมกันและประกอบขึ้นเปนรูปรางหรือ รางกายของสิ่งมีชีวิตแตละชนิด

นักเรียนควรรู 1 ยูกลีนา โพรติสตเซลลเดียวที่มีสารสีแคโรทีนและคลอโรฟลล ดํารงชีพเปน ผูผลิต มีอายสปอต (eye spot) ในการตอบสนองตอแสง 2 พารามีเซียม โปรโตซัวสกุลหนึ่ง มีรูปรางลักษณะคลายกับรองเทาแตะ มีขนรอบๆ ตัว ใชในการเคลื่อนที่ เรียกวา ซิเลีย (celia) อาศัยในแหลงนํ้าจืด ตามธรรมชาติ คูมือครู

3


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ขยายความเขาใจ Expand าใจ ขยายความเข

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Expand

1. ครูใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับเซลลตางๆ ในสิง่ มีชวี ติ หลายเซลลทงั้ เซลลพชื และเซลลสตั ว แลวทําปายนิเทศเผยแพรความรูในชั้นเรียน โดยออกแบบใหเขาใจงาย ซึ่งอาจใชภาพ ประกอบการอธิบาย 2. ใหนักเรียนปฏิบัติกิจกรรมพัฒนาทักษะ วิทยาศาสตร 1.1 ขอ 1. สวนประกอบของ กลองจุลทรรศน โดยบันทึกลงในสมุดของ นักเรียน

กิจกรรม

พั ฒ นาทั ก ษะ วิทยาศาสตร์

1.1

1. ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์ นักวิทยาศาสตร์จ�าเป็นต้องใช้กล้องจุลทรรศน์เพื่อศึกษาสิ่งต่างๆ ที่มีขนาดเล็กมากที่ ไม่สามารถมองเห็นด้วย ตาเปล่า โดยกล้องจุลทรรศน์จะช่วยขยายภาพที่มีขนาดเล็กให้มีขนาดใหญ่ขึ้น

ภาพตัดขวางของใบพืช ก�าลังขยาย 400 เท่า

ภาพที่ 1.6 กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง (ที่มาของภาพ : biology expression p.18)

ภาพตัดขวางของใบพืช ก�าลังขยาย 400 เท่า

ภาพที่ 1.7 กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน (ที่มาของภาพ : biology expression p.18)

ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงจะช่วยขยายภาพวัตถุให้มีขนาดใหญ่ขึ้น เมื่อแสงส่องผ่านไปยังวัตถุ นักเรียนก็จะ ษณะบางมาก เห็นภาพของวัตถุนั้นได้ แต่วัตถุที่น�ามาส่องดูนี้ต้องมีลักษณะบา  1. ให้นักเรียนหาแผนภาพแสดงกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงจากหนังสือในห้องสมุดหรือจากอินเทอร์เน็ตแล้ว

น�าไปติดในสมุด จากนั้นเขียนค�าอธิบายส่วนต่างๆ เพิ่มเติม 2. ให้นักเรียนสร้างตารางที่มี 2 คอลัมน์ลงในสมุด แล้วเขียนส่วนประกอบต่างๆ ของกล้องจุลทรรศน์ลงใน คอลัมน์แรก จากนั้นจึงเขียนอธิบายหน้าที่ของส่วนประกอบแต่ละส่วนลงในคอลัมน์ที่สอง

4

แนวตอบ กิจกรรมพัฒนาทักษะวิทยาศาสตร 1.1 1. สวนประกอบของกลองจุลทรรศน 1. พิจารณาจากผลงานของนักเรียน โดยอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน 2. สวนประกอบของ กลองจุลทรรศน

4

หนาที่ของสวนประกอบ

สวนประกอบของ กลองจุลทรรศน

หนาที่ของสวนประกอบ

1. ลํากลอง

ปลายดานบนมีเลนสใกลตาสวมอยู อีกดานหนึ่งมีชุดของเลนสใกล วัตถุซึ่งติดอยูกับจานหมุน

8. แขนกลอง

สวนที่ยึดลํากลองและฐานไวดวยกัน ใชเปนที่จับเวลาเคลื่อนยาย กลองจุลทรรศน

2. จานหมุนเลนส

ใชหมุนเพื่อเปลี่ยนกําลังขยายของเลนส

9. แทนวางสไลด

3. เลนสใกลวัตถุ

ขยายภาพของวัตถุ

สําหรับวางสไลดตัวอยางที่ตองการศึกษา มีลักษณะเปนแทน สี่เหลี่ยมหรือวงกลม ตรงกลางมีรูใหแสงจากหลอดไฟสองผานวัตถุ

4. ที่หนีบสไลด

สําหรับยึดสไลดและมีอุปกรณชวยในการเลื่อนสไลด

5. คอนเดนเซอร

เปนเลนสรวมแสง เพื่อรวมแสงผานไปยังวัตถุที่อยูบนสไลด สามารถเลื่อนขึ้นลงได

6. หลอดไฟ

สําหรับใหแสงสองสวางเพื่อดูวัตถุ

7. เลนสใกลตา

ใชขยายภาพของวัตถุ

คูมือครู

10. ปุมปรับภาพหยาบ ใชเลื่อนตําแหนงของแทนวางวัตถุขึ้นลง เมื่ออยูในระยะโฟกัสก็จะ มองเห็นภาพได 11. ปุมปรับภาพ ละเอียด

ใชปรับภาพเพื่อใหไดภาพคมชัดยิ่งขึ้นหลังจากปรับปุมปรับ ภาพหยาบ

12. ฐาน

รับนํ้าหนักทั้งหมดของกลองจุลทรรศน มีรูปรางสี่เหลี่ยม หรือ วงกลม ที่ฐานจะมีปุมสําหรับปด-เปดไฟฟา


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand าใจ ขยายความเข

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

ขยายความเขาใจ 1. ให้นักเรียนเขียนอักษร A บนสไลด์แล้วน�าสไลด์ไปส่องดู ด้วยกล้องจุลทรรศน์ จากนัน้ ให้นกั เรียนเคลือ่ นแผ่นสไลด์ ขึ้นลง และเคลือ่ นแผ่นสไลด์ไปด้านซ้ายขวาสังเกตและจด บันทึกลักษณะการเคลื่อนที่ของตัวอักษร A เมื่อมองผ่าน ด้วยกล้องจุลทรรศน์ 2. หาสไลด์มาอีกชุดหนึง่ จ�านวน 3 แผ่น เขียนตัวอักษรลงบน สไลด์ตามÀาพด้านขวา ปรับÀาพให้เห็นตัวอักษรบนสไลด์ แผ่นที่ 1 แล้วปรับÀาพใหม่ให้เห็นตัวอักษรบนสไลด์แผ่น ที่ 2 ½ƒกปรับÀาพให้เห็นตัวอักษรบนสไลด์แผ่นที่ 1 และ แผ่นที่ 2 โดยมีสไลด์แผ่นที่ 3 วางทับอยู่สลับกันจนเกิด ความช�านาญ

Expand

ครูใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับ วิธีการใชกลองจุลทรรศน ลักษณะของสิ่งที่ เห็นผานกลองจุลทรรศน และประโยชนของ กลองจุลทรรศน จากหนังสือ อินเทอรเน็ต หรือ แหลงเรียนรูตางๆ สรุปสาระสําคัญลงในสมุด ของนักเรียน จากนั้นใหนักเรียนทํากิจกรรม พัฒนาทักษะวิทยาศาสตร 1.1 ขอ 2. การใช กลองจุลทรรศน

A

ภาพที่ 1.8 (ที่มาของภาพ : photo bank ACT.)

2. การใช้กล้องจุลทรรศน์ 1. ให้นักเรียนศึกษาลักษณะเส้นใยจากผ้าชนิดต่างๆ โดย น�าเส้นใยมาวางบนสไลด์แล้วใช้กล้องจุลทรรศน์ส่องดู แล้ ว วาดÀาพเส้ น ใยที่ เ ห็ น จากกล้ อ งจุ ล ทรรศน์ แ ละ เขียนชื่อเส้นใยนั้นก�ากับไว้ด้วย

ภาพที่ 1.9 (ที่มาของภาพ : photo bank ACT.)

2. ให้นักเรียนหาสไลด์ที่สะอาดมา 1 แผ่น น�าสิ่งที่นักเรียนสนใจมาวางบนสไลด์แล้วส่องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ ตัวอย่าง เช่น ผ้า เส้นผม กระดาษ เส้นขน ใบไม้ และอื่นๆ วาดÀาพสิ่งที่นักเรียนน�ามาส่องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ลงในสมุด โดยวาดÀาพให้มีขนาดใหญ่พอสมควร

? กล้องจุลทรรศน์มีประโยชน์ต่อการศึกษาทางวิทยาศาสตร์อย่างไร http://www.aksorn.com/LC/Sci B1/M1/01

EB GUIDE

5

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

คอนเดนเซอร (Condencer) เปนเลนสรวมแสง จากประโยชนขางตน นักเรียนคิดวาเลนสรวมแสงคือเลนสอะไร 1. เลนสนูน 2. เลนสเวา 3. เลนสกาบกลวย 4. ถูกทุกขอ

แนวตอบ กิจกรรมพัฒนาทักษะวิทยาศาสตร 1.1 2. การใชกลองจุลทรรศน กลองจุลทรรศนมีประโยชนตอการศึกษาวิทยาศาสตรหลายดาน เชน 1) ชวยในการมองเห็นสิ่งมีชีวิตที่มีขนาดเล็กเกินกวาที่ตาเราจะมองเห็นได 2) ชวยในการศึกษาหาขอมูลหลักฐานทางวิทยาศาสตร

วิเคราะหคําตอบ เลนสที่ทําหนาที่รวมแสงใหไปตกที่จุดเดียวกันคือ เลนสนูน ใชแกปญหาสายตาสั้น เลนสเวาจะทําหนาที่กระจายแสง ใชแกปญหาสายตายาว สวนเลนสกาบกลวยจะทําหนาที่หักเหแสง ใชแกปญหาสายตาเอียง ตอบขอ 1.

คูมือครู

5


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engage

Explore

Explain

Expand

ตรวจสอบผล

ตรวจสอบผล Evaluate ตรวจสอบผล Evaluate

Evaluate

นักเรียนอธิบายรูปราง ลักษณะ สวนประกอบ ของเซลลของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียวและเซลลของ สิ่งมีชีวิตหลายเซลลได และตอบคําถามกิจกรรม พัฒนาทักษะวิทยาศาสตร 1.1 ไดถูกตอง

3. โครงสร้างของไรน�้า

1

ภาพที่นักเรียนเห็นข้างล่างนี้เป็นภาพโครงร่างของไรน�้า (Daphnia) ชนิดหนึ่ง

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู 1. สมุดภาพเกี่ยวกับรูปรางและสวนประกอบของ สิ่งมีชีวิตเซลลเดียว 2. ปายนิเทศเผยแพรความรูเกี่ยวกับเซลลตางๆ ใน สิ่งมีชีวิตหลายเซลล ทั้งเซลลพืชและเซลลสัตว 3. แบบบันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรมพัฒนาทักษะ วิทยาศาสตร 1.1

เนื่ อ งจากไรน�้ า เป็ น สิ่ ง มี ชี วิ ต ขนาดเล็ ก จ� า เป็ น ต้ อ งใช้ ก ล้ อ งจุ ล ทรรศน์ ส ่ อ งดู จึ ง จะสามารถมองเห็ น รายละเอียดส่วนต่างๆ ในร่างกายของไรน�้าได้ แต่ภาพข้างบนนี้ยังไม่ได้แสดงส่วนต่างๆ เช่น ขา หนวด หัวใจ ตา และ ทางเดินอาหารไว้ ในภาพ การทดลองเรื่อง โครงสร้างของไรน�้า อุปกรณ์ • กล้องจุลทรรศน์ • สไลด์ • ไรน�้า

วิธีการทดลอง 1. ให้นกั เรียนคัดลอกภาพโครงร่างของไรน�า้ ตามภาพข้างบนลงในสมุด 2. หยดน�้าที่มีไรน�้าลงบนสไลด์ 1 หยด

ภาพประกอบการทดลอง ตา หัวใจ

3. ปรับโฟกัสของกล้องจุลทรรศน์เพื่อให้เห็นตัวไรน�้าได้ชัดเจน แล้วให้ นักเรียนศึกษาส่วนต่างๆ ของไรน�้า ดังนี้ • ขา • หัวใจ • ตา • หนวด ขา หนวด ทางเดินอาหาร • ทางเดินอาหาร โดยหาข้อมูลเพิ่มเติมจากห้องสมุดหรืออินเทอร์เน็ต ภาพที่ 1.10 (ที่มาของภาพ : photo bank ACT.) 4. ให้นักเรียนวาดภาพส่วนต่างๆ ของไรน�้า (จากข้อ 3.) ลงในภาพ โครงร่างของไรน�้าที่คัดลอกไว้ แล้วเขียนอธิบายส่วนต่างๆ นั้นลง ในภาพด้วย 5. น�าตัวไรน�า้ ทีอ่ ยูบ่ นสไลด์ ไปเก็บไว้ ในภาชนะที่ใช้เลีย้ งตามเดิม 6. ให้นักเรียนลองสังเกตสัตว์หรือพืชเล็กๆ ชนิดอื่นๆ ที่อาศัยอยู่ ใน สระน�้า โดยน�าสัตว์หรือพืชเล็กๆ นั้นมาส่องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ แล้ววาดภาพตามที่เห็นลงในสมุด

6

นักเรียนควรรู 1 ไรนํ้า หรือไรแดง ชื่อวิทยาศาสตร Moina macrocopa เปนแพลงกตอนสัตว ชนิดหนึ่ง มีขนาด 0.4 -1.8 มิลลิมตร ลําตัวมีสีแดงเรื่อๆ ถาอยูรวมกันจํานวนมาก จะมองเห็นเปนสีแดงเขม ไรแดงเปนอาหารธรรมชาติที่มีคุณคาทางโภชนาการสูง ดังนั้น การอนุบาลสัตวนํ้าวัยออนดวยไรแดงจะทําใหอัตรารอดชีวิตและอัตราการ เจริญเติบโตสูงมาก ซึ่งไรแดง 1 กรัม (นํ้าหนักแหง) ประกอบดวยโปรตีน 74.09 % คารโบไฮเดรต 12.50 % ไขมัน 10.19 % และกากอาหาร 3.47 % แนวตอบ กิจกรรมพัฒนาทักษะวิทยาศาสตร 1.1 3. โครงสรางของไรนํ้า พิจารณาจากคําตอบของนักเรียน โดยอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน

6

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

กลองจุลทรรศนมีประโยชนตอการศึกษาทางวิทยาศาสตรอยางไร แนวตอบ กลองจุลทรรศนมีประโยชนตอการศึกษาทางวิทยาศาสตร โดยชวยทําใหสามารถมองเห็นสิ่งมีชีวิต หรือสิ่งตางๆ ที่มีขนาดเล็กกวา ที่สายตามนุษยจะมองเห็นได ทําใหสามารถศึกษาลักษณะภายนอก รายละเอียด และองคประกอบภายในสิ่งมีชีวิตตางๆ ได ซึ่งนับวาเปน เครื่องมือที่มีความสําคัญอยางมากตอการศึกษาทางชีววิทยา


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา สํารวจค Exploreนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุEngage นความสนใจ

กระตุน ความสนใจ

ครูนําภาพเซลลพืชและเซลลสัตวหลายชนิด มาใหนักเรียนพิจารณา แลวถามคําถามเพื่อ กระตุนการเรียนรู • เซลลพืชและเซลลสัตวที่เห็นมีความ แตกตางกันอยางไร (แนวตอบ เซลลพืชและเซลลสัตวมีความ แตกตางกัน ดังนี้ 1. เซลลพชื มีรปู รางเปนเหลีย่ ม แตเซลลสตั ว มีรูปรางกลม หรือรี 2. เซลลพืชมีผนังเซลล แตเซลลสัตวไมมี ผนังเซลล แตจะมีสารเคลือบเซลลอยู ดานนอก 3. เซลลพืชมีคลอโรพลาสตภายในเซลล แตเซลลสัตวไมมีคลอโรพลาสต 4. เซลลพืชไมมีเซนทริโอล แตเซลลสัตว มีเซนทริโอลใชในการแบงเซลล 5. เซลลพืชมีแวคิวโอลขนาดใหญ มองเห็น ไดชัดเจน แตเซลลสัตวมีแวคิวโอล ขนาดเล็กมองเห็นไดไมชัดเจน)

1.2 â¤รงสร้างáลÐหน้า·Õ่ของเ«ลล พืชáลÐ เ«ลล สÑตÇ โครงสร้างและหน้าที่ของส่วนต่างๆ ของเซลล์คล้ายคลึงกัน แต่จะ แตกต่างกันไปบ้างขึ้นกับชนิดของเซลล์ เช่น ■ เซลล์พืชมักมีรูปร่างเป็นเหลี่ยม มีผนังเซลล์ (cell wall) ห่อหุ้ม เพือ่ เพิม่ ความแข็งแรงให้กบั เซลล์1มีคลอโรพลาสต์ (chloroplast) เพือ่ ใช้ในการ สังเคราะห์แสง แต่ไม่มีเซนทริโอล (centriole) ซึ่งเป็นส่วนที่เกี่ยวข้องกับการ แบ่งเซลล์ ■ เซลล์สต ั ว์มรี ปู ร่างไม่แน่นอน ไม่มผี นังเซลล์ ไม่มคี ลอโรพลาสต์ แต่มีเซนทริโอล ถึงแม้ว่ารูปร่างของเซลล์สิ่งมีชีวิตจะแตกต่างกัน แต่โครงสร้างหลัก ก็ยังคงเหมือนกัน คือ จะมีเยื่อหุ้มเซลล์ นิวเคลียส และไซโทพลาซึม ไซโทพลาซึม

นิวเคลียส

ผนังเซลล์

เยื่อหุ้มเซลล์

Engage

ตัวอย่างของเซลล์พืช มักมีรูปร่างเป็นเหลี่ยม

ตัวอย่างของเซลล์สัตว์ มีรูปร่างไม่แน่นอน

สํารวจคนหา

ภาพที่ 1.13 เซลล์สาหร่าย (ที่มาของภาพ : biology p.14)

Explore

ครูเตรียมสไลดเซลลพืชและเซลลสัตว เชน เซลลเยื่อหอม เซลลสาหรายหางกระรอก เซลลเยื่อบุขางแกม เปนตน มาใหนักเรียนศึกษา โครงสราง โดยการสองดูดวยกลองจุลทรรศน แลวใหนักเรียนวาดภาพลักษณะของเซลลที่เห็น จากกลองจุลทรรศนลงในสมุด จากนั้นครูสุมให นักเรียนบางคนออกมาอธิบายลักษณะของเซลล ที่เห็นจากกลองจุลทรรศหนาชั้นเรียน โดยให คนอื่นๆ รวมกันวิพากษวิจารณวามีลักษณะของ เซลลที่เห็นเหมือนกันหรือไม

1.2.1 โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล

เซลล์ทุกชนิดจะประกอบด้วยโครงสร้างหรือส่วนประกอบที่ท�าให้ เซลล์สามารถด�ารงชีวิตอยู่ได้ ซึ่งเซลล์ประกอบด้วยโครงสร้างพื้นฐาน าน ดังนี้ 1. ผนังเซลล์ ผนังเซลล์ (cell wall) เป็นโครงสร้2างที่ไม่มีชีวิตห่อหุ้มรอบนอก ของเซลล์ ประกอบด้วยสารจ�าพวกเซลลู เซลลูโลส ผนังเซลล์ท�าหน้าที่ให้ความ แข็งแรงแก่เซลล์ และช่วยให้เซลล์สามารถคงรูปอยู่ได้ ซึ่งพบเฉพาะใน เซลล์พืชเท่านั้น

7

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’ 51 ออกเกี่ยวกับสวนประกอบของเซลล สวนประกอบใดของเซลลที่พบทั้งในเซลลพืชและเซลลสัตว 1. นิวเคลียส 2. ผนังเซลล 3. คลอโรฟลล 4. คลอโรพลาสต (วิเคราะหคําตอบ ผนังเซลล คลอโรฟลล และคลอโรพลาสต จะพบ เฉพาะในเซลลพืชเทานั้น สวนนิวเคลียสจะพบไดทั้งในเซลลพืชและ เซลลสัตว ดังนั้น จึงตอบขอ 1.)

นักเรียนควรรู 1 เซนทริโอล สวนที่อยูใกลนิวเคลียส พบในเซลลสัตวและโพรตีสตบางชนิด มีขนาดเล็ก ใส มีรูปรางคลายทอทรงกระบอก ในแตละเซลลจะมีเซนทริโอล 2 อัน เรียงในลักษณะตั้งฉากกัน เซนทริโอลทําหนาที่ชวยในการเคลื่อนที่ของโครโมโซม ในขณะที่มีการแบงเซลล และชวยในการเคลื่อนที่ของเซลลบางชนิด 2 เซลลูโลส สารอินทรียที่มีอยูในผนังเซลลของพืชทุกชนิด มีสูตรเคมี คือ (C6H10O5)n เปนพอลิเมอรของนํ้าตาล ใชในอุตสาหกรรมเสนใยสังเคราะห และ พลาสติกบางชนิด

คูมือครู

7


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

Exploreนหา สํารวจค

Engage

สํารวจคนหา

Explore

ครูใหนักเรียนศึกษาคนควาเกี่ยวกับโครงสราง และหนาที่ของเซลล จากหนังสือเรียนหนา 7-8 โดยเขียนสรุปลงในตารางที่นักเรียนสรางขึ้น

อธิบายความรู

Explain

ครูสุมตัวแทนนักเรียนใหออกมาสรุปเกี่ยวกับ โครงสรางและหนาที่ของเซลลที่ไดศึกษา แลว รวมกันวิพากษวิจารณวาสรุปไดครบถวนตรง ประเด็นหรือไม หากไมครบถวนใหชวยกัน เสนอแนะใหไดขอสรุปที่ถูกตองชัดเจน หลังจากนั้น ใหนักเรียนทํากิจกรรมที่ 1.5 จากแบบวัดและบันทึก ผลการเรียนรู วิทยาศาสตร ม.1

ลักษณะของร่างแหเอนโดพลาซึม

✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ ว�ทยาศาสตร ม.1 กิจกรรมที่ 1.5 หนวยที่ 1 หนวยพืน้ ฐานของสิง่ มีชว� ต� กิจกรรมที่ 1.5

ใหนักเรียนบอกสวนประกอบของเซลลจากภาพที่กําหนด และบอกหนาทีข่ องสวนประกอบตางๆ ของเซลล (ว 1.1 ม.1/2)

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได

15

ผนังเซลล ……………………………………..

นิวเคลียส ……………………………………..

เยื่อหุมเซลล ……………………………………..

รางแหเอนโดพลาซึม ……………………………………..

คลอโรพลาสต ……………………………………..

ไมโทคอนเดรีย ……………………………………..

กอลจิบอดี ……………………………………..

แวคิวโอล ……………………………………..

ฉบับ

เซลลพืช

เฉลย

นิวเคลียส ……………………………………..

รางแหเอนโดพลาซึม …………………………………….. ไมโทคอนเดรีย ……………………………………..

แวคิวโอล ……………………………………..

กอลจิบอดี ……………………………………..

ลักษณะของนิวเคลียส

เยื่อหุมเซลล ……………………………………..

2. เยื่อหุ้มเซลล์ เยือ่ หุม้ เซลล์ (cell membrane) เป็นเยือ่ บางๆ ทีห่ อ่ หุม้ ส่วนต่างๆ ของเซลล์ไว้ มีองค์ประกอบหลักเป็นสารพวกโปรตีนและไขมัน มีคุณสมบัติ ยอมให้สารบางชนิดผ่านได้ เรียกว่า เยื่อเลือกผาน (semi-permeable membrane) พบในเซลล์ทุกชนิด 3. ไซโทพลาซึม ไซโทพลาซึม (cytoplasm) อยู่ภายในเยื่อหุ้มเซลล์ ประกอบ ด้วยสารประกอบทางเคมีและโครงสร้างต่างๆ ที1่ท�าหน้าที่เกี่ยวกับกิจกรรม ส่วนใหญ่ภายในเซลล์ ซึ่งส่วนที่เป็นออร์แกเนลล์มีหลายชนิดและท�าหน้าที่ ต่างๆ กัน ดังนี้ 1) ร่างแหเอนโดพลาซึ 2 ม (endoplasmic reticulum) มีหน้าที่ สังเคราะห์โปรตีนและเอนไซม์ 2) กอลจิบอดี (golgi body) ประกอบด้วยถุงที่เป็นเยื่อบางๆ เรียงซ้อนกัน ท�าหน้าที่เก็บสารที่ร่างแหเอนโดพลาซึมสร้างขึ้น 3) ไมโทคอนเดรีย (mitochondria) มีลักษณะเป็นก้อนกลมๆ มีผนังหุ้มที่เป็นเยื่อ 2 ชั้น ท�าหน้าที่เป็นแหล่งสร้างพลังงานให้แก่เซลล์ 4) คลอโรพลาสต์ (chloroplast) จะพบเฉพาะในเซลล์ พืชและ 3 สาหร่ายบางชนิด มีเยื่อหุ้ม 2 ชั้น ภายในมีรงควัตถุหรือสารสีที่เกี่ยวข้อง กับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ที่เรียกว่า คลอโรฟิลล์ (chlorophyll) 5) แวคิวโอล (vacuole) มีลักษณะใสกว่าส่วนอื่นๆ ท�าให้มอง เห็นคล้ายเป็นช่องว่างภายในเซลล์ พบได้ทั้งในเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ ใน เซลล์พืชจะเป็นแหล่งสะสมน�้าและสารสีต่างๆ ที่ท�าให้พืชมีสีสันสวยงาม ซึ่ง แวคิวโอลในเซลล์พืชมีขนาดใหญ่กว่าในเซลล์สัตว์มาก 4. นิวเคลียส นิวเคลียส (nucleus) เป็นโครงสร้างที่ส�าคัญที่สุดภายในเซลล์ โดยทัว่ ไปมีรปู ร่างค่อนข้างกลม แต่อาจพบรูปร่างรี แบน หรือไม่มรี ปู ทรงก็ได้ ขึ้นกับชนิดของเซลล์ พบทั้งในเซลล์พืช4และเซลล์สัตว์ มักจะมีจ�านวนเพียง 1 นิวเคลียส ยกเว้นเซลล์เม็ดเลือดขาว พบว่ามีนิวเคลียสหลายนิวเคลียส เป็นต้น

เซลลสัตว

6

8

นักเรียนควรรู 1 ออรแกเนลล โครงสรางภายในเซลลซึ่งทําหนาที่เฉพาะอยาง เชน ไรโบโซม ไมโทคอนเดรีย แวคิวโอล เปนตน 2 เอนไซม โปรตีนที่ทําหนาที่เรงปฏิกิริยาเคมี เอนไซมมีความสําคัญและ จําเปนสําหรับสิ่งมีชีวิต เพราะวาปฏิกิริยาเคมีสวนใหญในเซลลจะเกิดชามาก หรือถาไมมีเอนไซมอาจทําใหผลิตภัณฑจากปฏิกิริยากลายเปนสารเคมีชนิดอื่น ซึ่งถาขาดเอนไซมระบบการทํางานของเซลลจะผิดปรกติ 3 รงควัตถุ สารมีสีที่อยูในเซลลพืชหรือสัตว เชน คลอโรฟลล เปนสารสีเขียว ซึ่งทําใหใบไมมีสีเขียว 4 เม็ดเลือดขาว เม็ดเลือดที่ไมมีสี คอนขางใส รูปรางคอนขางกลม เสนผาน ศูนยกลางประมาณ 10-25 ไมครอน มีนิวเคลียสขนาดใหญ เม็ดเลือดขาว มีหลายชนิด ทําหนาที่ตอตานและทําลายเชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอมตางๆ ที่เขาสูรางกาย

8

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ออรแกเนลลในไซโทพลาซึมคูใดมีความสัมพันธกันมากที่สุด 1. ไมโทคอนเดรีย-แวคิวโอล 2. เซนทริโอล-ไมโทคอนเดรีย 3. รางแหเอนโดพลาซึม-แวคิวโอล 4. รางแหเอนโดพลาซึม-กอลจิบอดี วิเคราะหคําตอบ ไมโทคอนเดรียทําหนาที่เปนแหลงสรางพลังงานใหแก เซลล แวคิวโอลทําหนาที่เปนที่เก็บ หลั่ง และถายเทของเหลวภายในเซลล เซนทริโอลทําหนาที่ชวยในการเคลื่อนที่ของโครโมโซมในขณะแบงเซลล และชวยในการเคลื่อนที่ของเซลลบางชนิด รางแหเอนโดพลาซึมทําหนาที่ สังเคราะหโปรตีนและเอนไซม และกอลจิบอดีทําหนาที่เก็บสารที่รางแห เอนโดพลาซึมสรางขึ้น รางแหเอนโดพลาซึมและกอลจิบอดีจึงมีความ สัมพันธกันมากที่สุด ดังนั้น จึงตอบขอ 4.


กระตุนความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

สํารวจค Exploreนหา

สํารวจคนหา

Explore

ครูใหนักเรียนไปศึกษาเกี่ยวกับโครงสราง ของเซลลพืชและเซลลสัตว จากหนังสือเรียน หนา 9 แลวใหนักเรียนเขียนอธิบายและ เปรียบเทียบโครงสรางตางๆ ในเซลลพืชและ เซลลสัตวที่เหมือนกันและแตกตางกันลงในสมุด

นิวเคลียสท�าหน้าที่เป็นศูนย์กลางควบคุมการท�างานของเซลล์ มีบทบาทเกี่ยวกับการแบ่งเซลล์ กล่าวคือถ้าไม่มีนิวเคลียส เซลล์จะไม่มี การแบ่งตัว และมีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการถ่1ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม นอกจากนี้ยังท�าหน้าที่ควบคุมการสังเคราะห์สารประกอบโปรตีนของเซลล์

1.2.2 การเปรียบเทียบเซลลพืชและเซลลสัตว

จากที่นักเรียนได้ศึกษาเกี่ยวกับลักษณะ รูปร่าง ส่วนประกอบและ หน้าทีข่ องเซลล์พชื และเซลล์สตั ว์มาแล้วนัน้ สามารถน�ารายละเอียดจากการ ศึกษามาเปรียบเทียบกันเพื่อให้เห็นความเหมือนและความแตกต่างระหว่าง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์ ได้ดังนี้

อธิบายความรู

Explain

ครูสุมนักเรียนบางคนใหออกมาอธิบายและ เปรียบเทียบโครงสรางตางๆ ในเซลลพืชและ เซลลสัตว โดยใหนักเรียนคนอื่นๆ รวมกัน อภิปรายแสดงความคิดเห็น รวมทั้งครูชวยอธิบาย เพิ่มเติมเพื่อใหเกิดความเขาใจที่ถูกตอง จากนั้น ใหนักเรียนทํากิจกรรมที่ 1.6 จากแบบวัดและ บันทึกผลการเรียนรู วิทยาศาสตร ม.1

â¤ÃงÊÃŒาง·ÕèÊíา¤ัÞ¢องà«ÅÅ Êัตว áÅÐà«ÅÅ ¾×ª

นิวเคลียส เยื่อหุ้มเซลล์ ไซโทพลาซึม

✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ ว�ทยาศาสตร ม.1 กิจกรรมที่ 1.6 หนวยที่ 1 หนวยพืน้ ฐานของสิง่ มีชว� ต�

คลอโรพลาสต์ แวคิวโอล ผนังเซลล์

กิจกรรมที่ 1.6

เซลล์สัตว์

เซลล์พืช

ใหนักเรียนออกแบบเซลลบนจานอาหาร โดยนําอาหาร แตละชนิดที่นักเรียนรับประทานมาแทนสวนประกอบตางๆ ภายในเซลล โดยจัดวางใหมีลักษณะคลายภาพเซลลมากที่สุด แลววาดภาพผลงานลงในกรอบดานลาง (ว 1.1 ม.1/2)

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได

10

พิจารณาจากผลงานของนักเรียน โดยอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน

เซลล์สัตว์

สิ่งเปรียบเทียบ

เซลล์พืช

ค่อนข้างกลม ไม่มี มี ไม่มี ขนาดเล็ก มี

รูปร่าง ผนังเซลล์ เยื่อหุ้มเซลล์ คลอโรพลาสต์ แวคิวโอล เซนทริโอล

ค่อนข้างเหลี่ยม มี มี มี ขนาดใหญ่ ไม่มี

ตัวอยางภาพเซลลพืช ฉบับ

เฉลย กิจกรรมที่ 1.7

หากนําเซลลชนิดหนึ่งไปศึกษาดวยกลองจุลทรรศน นักเรียนจะมีวิธีการ สังเกตอยางไรที่จะระบุไดวาเซลลนั้นเปนเซลลพืชหรือเซลลสัตว แนวตอบ พิจารณาจากคําตอบของนักเรียน โดยอยูในดุลยพินิจของ ครูผูสอน ซึ่งความแตกตางระหวางเซลลพืชและเซลลสัตวนั้น นักเรียนได ศึกษาผานมาแลว โดยนักเรียนอาจตอบวาสังเกตไดจาก • รูปรางของเซลล (มีรูปรางกลมหรือเหลี่ยม) • ผนังเซลล (มีผนังเซลลหรือไม) • คลอโรพลาสต (มีคลอโรพลาสตหรือไม) • แวคิวโอล (มีแวคิวโอลขนาดใหญหรือเล็ก)

ใหนกั เรียนเปรียบเทียบสวนประกอบสําคัญของเซลลพชื และ เซลลสัตว (ว 1.1 ม.1/2)

สิ่งเปรียบเทียบ

9

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ภาพเซลลบนจานอาหาร คะแนนเต็ม คะแนนที่ได

10

เซลลพืช

เซลลสัตว

คอนขางเหลี่ยม

…………………………………………………………..

มี

…………………………………………………………..

มี

…………………………………………………………..

มี

…………………………………………………………..

ขนาดใหญ

…………………………………………………………..

ไมมี

…………………………………………………………..

รูปราง

…………………………………………………………..

ผนังเซลล

…………………………………………………………..

เยื่อหุมเซลล

…………………………………………………………..

คลอโรพลาสต

…………………………………………………………..

แวคิวโอล

…………………………………………………………..

เซนทริโอล

…………………………………………………………..

คอนขางกลม ไมมี มี

ไมมี

ขนาดเล็ก มี

8

เกร็ดแนะครู ครูอาจนําแบบจําลองของเซลลพืชและเซลลสัตวมาแสดงใหนักเรียนดู เพื่อให นักเรียนเกิดความเขาใจเกี่ยวกับลักษณะและโครงสรางของเซลลพืชและเซลลสัตว มากขึ้น

นักเรียนควรรู 1 การสังเคราะห กระบวนการในการทําใหเกิดสารประกอบที่ตองการ โดย การนําสารประกอบยอยๆ มาทําปฏิกิริยากันใหไดสารประกอบโมเลกุลใหญ หรือ สารที่มีโมเลกุลที่มีความซับซอนมากขึ้น

คูมือครู

9


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ขยายความเขาใจ Expand าใจ ขยายความเข

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Expand

ครูใหนักเรียนศึกษาวิธีการเตรียมสไลดเพื่อนํา ไปสองดูดวยกลองจุลทรรศน โดยครูอาจใชคําถาม กระตุนการคิดวิเคราะหของนักเรียน เชน • การเตรียมสไลดตัวอยางสิ่งมีชีวิตเพื่อนํามา ศึกษาดวยกลองจุลทรรศนจะตองเตรียม อุปกรณใดบาง (แนวตอบ พิจารณาจากคําตอบของนักเรียน ตัวอยางเชน การเตรียมสไลดตัวอยาง สิ่งมีชีวิต ตองเตรียมอุปกรณ ดังนี้ 1. สไลด 2. กระจกปดสไลด 3. หลอดหยด 4. สียอมตางๆ 5. กระดาษทิชชู 6. ชิ้นสวนสิ่งมีชีวิต จากนั้นใหนักเรียนปฏิบัติกิจกรรมพัฒนาทักษะ วิทยาศาสตร 1.2 หนา 10 -13 โดยบันทึกลงในสมุด ของนักเรียน

กิจกรรม

พั ฒ นาทั ก ษะ วิทยาศาสตร์

1.2

1. เซลล์ เมื่ อ ประมาณ 300 ป‚ ม าแล้ ว รอเบิ ร ์ ต Îุ ค ได้ ใ ช้ ก ล้ อ งจุ ล ทรรศน์ อ ย่ า งง่ า ยที่ เ ขาประดิ ษ °์ ขึ้ น ส่ อ งดู สิ่งต่างๆ จนน�าไปสู่การค้นพบที่ส�าคัญ ซึ่งนักเรียนจะได้ศึกษาต่อไปว่า เขาได้ค้นพบอะไร แต่สิ่งแรกที่นักเรียนจะต้อง ท�าความเข้าใจคือ การเตรียมสไลด์เพื่อน�าไปส่องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์

การทดลองเรื่อง เซลล์ อุปกรณ์และสารเคมี

วิธีการทดลอง

ภาพประกอบ

• กล้องจุลทรรศน์ 1 . ให้นักเรียนเตรียมสไลด์ชิ้นส่วนของเยื่อหอม แล้วให้ • ส ไลด์ แ ละกระจกปิ ด นักเรียนอธิบายวิธีเตรียมสไลด์ ดังกล่าว สไลด์ 2. น�าสไลด์เยื่อหอมไปส่องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์แบบ • หลอดหยด ใช้แสง โดยใช้กา� ลังขยายต�า่ ให้สงั เกตว่าสิง่ ทีเ่ ห็นจาก • สีย้อมไอโอดีน กล้องจุลทรรศน์มีลักษณะคล้ายกับอะไร • ชิ้นส่วนของเยื่อหอม

หยดน�้าลงไป 1 หยด

3. ยอ้ มสีโดยหยดสารละลายไอโอดีน 1 หยด ลงบนสไลด์ เยื่อหอม ปิดด้วยกระจกปิดสไลด์แผ่นใหม่ น�าไปส่อง ดูดว้ ยกล้องจุลทรรศน์อกี ครัง้ หนึง่ โดยใช้กา� ลังขยายที่ สูงขึ้น

วางเยื่อหอมลงบนแผ่นสไลด์

ใช้กระจกปิดสไลด์ปิดทับบนเยื่อหอม

สไลด์ที่เตรียมเสร็จเรียบร้อย ภาพที่ 1.17 (ที่มาของภาพ : photo bank ACT.)

10

เกร็ดแนะครู การเตรียมสไลดชิ้นสวนของเยื่อหอม ในขั้นตอนการปดกระจกปดสไลด ครูอาจแนะนําวิธีการปดกระจกปดสไลดไมใหเกิดฟองอากาศภายในสไลด โดยการใชเข็มเขี่ยรองรับแผนกระจกปดสไลดไวดานหนึ่ง สวนอีกดานหนึ่งของ กระจกปดสไลดแตะอยูบนหยดนํ้าตัวอยาง จากนั้นคอยๆ ลดระดับเข็มเขี่ยใหตํ่าลง จนกระทั่งกระจกปดสไลดปดลงบนหยดนํ้าทั้งหมด ซึ่งหากไมใชเข็มเขี่ยอาจจะใช คีมปลายแหลม (forceps) หรือเข็มหมุดแทนก็ได แนวตอบ กิจกรรมพัฒนาทักษะวิทยาศาสตร 1.2 1. เซลล วิธีการเตรียมสไลด 1) หยดนํ้า 1 หยด ลงบนแผนสไลด 2) ลอกเยื่อหอมบางๆ วางลงบนสไลดในขอ 1. 3) ปดดวยกระจกปดสไลด โดยระวังไมใหเกิดฟองอากาศ

10

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

“การเตรียมสไลดเพื่อศึกษาเซลลนั้น ในขั้นตอนการปดกระจกปดสไลด ตองระมัดระวังไมใหเกิดฟองอากาศบนสไลด” จากขอความดังกลาว นักเรียนคิดวาเพราะเหตุใดจึงตองระมัดระวังไมใหเกิดฟองอากาศบน กระจกสไลด แนวตอบ พิจารณาจากคําตอบของนักเรียน โดยมีแนวการตอบ ดังนี้ “หากเกิดฟองอากาศบนสไลดอาจทําใหเห็นรายละเอียดตางๆ ของเซลล ไดไมชัดเจน และอาจกอใหเกิดความสับสนไดวาฟองอากาศนั้นเปน สวนประกอบหนึ่งของเซลล ซึ่งจะทําใหไดขอมูลที่ผิดพลาด”


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand าใจ ขยายความเข

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

ขยายความเขาใจ สิ่งมีชีวิตที่มีขนาดเล็กมากบางชนิดจะประกอบด้วยเซลล์เพียง 1 เซลล์ แต่พืชและสัตว์ส่วนใหญ่ร่างกาย ประกอบด้วยเซลล์จ�านวนมาก เช่น ในเลือดของมนุษย์ที่มีปริมาตร 1 ลูกบาศก์มิลลิเมตร จะมีเซลล์ต่างๆ อยู่ มากกว่า 5 ล้านเซลล์ ในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตจะมีส่วนต่างๆ ของเซลล์ที่ท�าหน้าที่แตกต่างกันไป ซึ่งเซลล์ส่วนใหญ่จะมีโครงสร้างที่ส�าคัญ ดังต่อไปนี้ 1. เยื่อหุ้มเซลล์ ท�าหน้าที่ควบคุมการ 2. ไซโทพลาซึ ม เป็ น บริ เ วณที่ เ กิ ด 3. นิวเคลียส ท�าหน้าที่ควบคุมการ เคลื่อนที่ของสารต่างๆ ที่เข้าและ กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ท�างานของเซลล์ ออกจากเซลล์ ในเซลล์

Expand

1. ครูใหนักเรียนหาภาพโครงสรางแตละชนิดของ เซลล แลวนํามาทําเปนสมุดภาพสรุปเกี่ยวกับ รูปราง ลักษณะ และหนาที่ของโครงสราง เหลานั้น 2. ครูใหนักเรียนคนควาเพิ่มเติมวานอกจาก สวนประกอบตางๆ ในเซลลที่ไดศึกษาไปแลว ในเซลลยังมีสวนประกอบอื่นๆ อีกหรือไม ถามีสวนประกอบเหลานั้นมีความสําคัญ อยางไร

4. ผนังเซลล์ ช่วยสร้างความแข็งแรง 5. ค ลอโรพลาสต์ ท� า หน้ า ที่ ส ร้ า ง 6. แวคิวโอล ท�าหน้าที่เก็บสะสมสาร ให้กับเซลล์และท�าให้เซลล์คงรูป อาหารโดยอาศัยพลังงานแสง ในรูปสารละลาย (ที่ละลายในน�้า)

ภาพที่ 1.18 (ที่มาของภาพ : photo bank ACT.)

 1. ให้ ให้นกั เรียนหาแผนภาพของเซลล์พชื และเซลล์สตั ว์จากหนังสือในห้องสมุด หรื หรือจากอินเทอร์เน็ต จากนั จากนัน้ ให้

น�าไปติดในสมุด แล้วเขียนแสดงส่วนต่างๆ ที่ส�าคัญทั้งของเซลล์สัตว์และเซลล์พืชลงในแผนภาพนี้ด้วย 2. ให้ ให้นักเรียนคัดลอกตารางตามตัวอย่างด้านล่างลงในสมุด แล้ แล้วเขียนเติมตารางนี้ ให้สมบูรณ์ ส่วนประกอบของเซลล์พืช 1. 2.

หน้าที่ 1. 2.

2. ความแตกต่างของเซลล์ 1. เตรียมสไลด์จากส่วนต่างๆ ของพืชสีเขียว 2. น�าสไลด์ไปส่องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์

 ให้นักเรียนวาดภาพเซลล์พืชมา 2 เซลล์ แล้วให้วาดภาพแสดงส่วนประกอบที่ส�าคัญของเซลล์มา 4 อย่าง

11

แนวตอบ กิจกรรมพัฒนาทักษะวิทยาศาสตร 1.2 1. เซลล (ตอ) 1. พิจารณาจากผลงานของนักเรียน โดยอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน 2. สวนประกอบของเซลลพืช หนาที่ ผนังเซลล

หอหุมเซลล ใหความแข็งแรงแกเซลล และชวยใหเซลลคงรูปอยูได

เยื่อหุมเซลล

เยื่อบางๆที่หอหุมเซลล ถัดจากผนังเซลล

ไซไทพลาซึม - รางแหเอนโดพลาซึม - กอลจิบอดี - ไมโทคอนเดรีย - คลอโรพลาสต - แวคิวโอล

ประกอบดวยสารเคมีและโครงสรางตางๆที่ทําหนาที่เกี่ยวกับกิจกรรมภายในเซลล -สังเคราะหโปรตีนและเอนไซม -เก็บสารที่รางแหเอนโดพลาซึมสรางขึ้น -เปนแหลงสรางพลังงานใหแกเซลล -เกี่ยวของกับการสังเคราะหดวยแสง -แหลงสะสมนํ้าและสารสีที่ทําใหพืชมีสีสันสวยงาม

นิวเคลียส

ศูนยกลางควบคุมการทํางานของเซลล มีบทบาทเกี่ยวกับการแบงเซลล

2. ความแตกตางของเซลล พิจารณาจากคําตอบของนักเรียน โดยอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน คูมือครู

11


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ขยายความเขาใจ Expand าใจ ขยายความเข

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Expand

ครูใหนักเรียนศึกษาคนควาเพิ่มเติมจากหนังสือ อินเทอรเน็ต หรือแหลงเรียนรูตางๆ เกี่ยวกับรูปราง สวนประกอบ และหนาที่ของเซลลที่ทําหนาที่เฉพาะ ทั้งเซลลพืชและเซลลสัตว เชน เซลลทอลําเลียงนํ้า เซลลทอลําเลียงอาหาร เซลลคุม เซลลสืบพันธุ เซลลเม็ดเลือดขาว เซลลผิวหนัง เซลลกระดูก เปนตน เพื่อใหเกิดความเขาใจเกี่ยวกับเซลลที่ ทําหนาที่เฉพาะมากขึ้น

3. เซลล์ที่ท�าหน้าที่เฉพาะ สิ่งมีชีวิตส่วนใหญ่จะประกอบด้วยเซลล์หลายชนิด เซลล์แต่ละชนิดจะมีรูปร่างแตกต่างกันไป ทั้งนี้เนื่องจากเซลล์ แต่ละชนิดจะ¶ูกสร้างขึ้นมาเพื่อท�าหน้าที่เ©พาะแตกต่างกัน 1 เซลล์สืบพัน¸ุ์ (sex cell) ท�า หน้าที่น�าข้อมูลทางพัน¸ุกรรม ไป¶่ายทอดให้1แก่รุ่นลูก โดย เพศผู้สร้า2งอสุจิ ส่วนเพศเมีย จะสร้างไข่

2 เซลล์กล้ามเนือ้ (muscle cell) มีความสามาร¶ที่จะหดตัวและ คลายตัวได้ เพื่อท�าให้เกิดการ เคลื่อนไหว

3 เซลล์ ป ระสาทสมอง (brain nerve cell) จะส่งสัญญาณ ประสาทผ่านไปยังเซลล์ประสาท อื่นๆ ที่เชื่อมโยงกันอยู่

4 เซลล์ประสาทสั่งงาน (motor nerve cell) ท�าหน้าที่ควบคุม การเคลือ่ นไหวของอวัยวะต่างๆ

5 เซลล์ เ ม็ ด เลื อ ดขาว (white blood cell) ท�าหน้าที่ต่อสู้กับ เชื้อโรคที่เข้ามาในร่างกาย

6 เซลล์ ผิ ว หนั ง (skin cell) ท�าหน้าที่ห่อหุ้มร่างกายโดยจะ เรียงตัวเป็นชั้นๆ

ภาพที่ 1.19 (ที่มาของภาพ : photo bank ACT.)

อุปกรณ์

วิธีการทดลอง

• กล้องจุลทรรศน์ • สไลด์ของรากพืชที่ ก�าลังงอก • สไลด์ของใบพืช • สีย้อมเมทิลีนบลู

การศึกษาเซลล์รากพืช 1. น�าสไลด์ถาวรของรากไปส่องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ โดยให้ศึกษาเซลล์ของขนราก (root hair) แล้ว เปรียบเทียบกับเซลล์ของรากที่ส่วนอื่นๆ 2. ว าดภาพของเซลล์ ข นราก 1 เซลล์ เพื่ อ แสดง โครงสร้างต่างๆ ของเซลล์ขนราก (อธิบายด้วยว่า เซลล์ขนรากมีลักษณะคล้ายอะไร) 3. นา� สไลด์ถาวรของใบพืชมาส่องดูดว้ ยกล้องจุลทรรศน์ จะพบว่ามีชั้นของเซลล์ผิวชั้นนอกอยู่ ให้นักเรียน วาดภาพเซลล์ผวิ ชัน้ นอก แล้วเขียนอธิบายหน้าทีข่ อง เซลล์ผิวชั้นนอกด้วย

ภาพประกอบ

ภาพที่ 1.20 ภาพตัดขวางของใบพืช (ที่มาของภาพ : biology p.15)

12

นักเรียนควรรู 1 อสุจิ เพศชายจะเริ่มสรางตัวอสุจิเมื่ออายุประมาณ 12-13 ป และจะสราง ไปตลอดชีวิต การหลั่งนํ้าอสุจิแตละครั้งจะมีของเหลวประมาณ 3-4 ลูกบาศกเซนติเมตร ซึ่งมีตัวอสุจิเฉลี่ยประมาณ 300-500 ลานตัว 2 ไข เด็กหญิงแรกเกิดจะมีเซลลไขที่ยังไมเจริญเต็มที่ประมาณ 5 แสนเซลล และจะลดจํานวนลงเรื่อยๆ จนถึงวัยที่ตกไขได จะเหลือประมาณ 490 เซลล

12

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

เซลลเม็ดเลือดขาวแตกตางจากเซลลเม็ดเลือดแดงอยางไร วิเคราะหคําตอบ เซลลเม็ดเลือดแดงจะมีขนาดประมาณ 6-8 ไมครอน รูปรางคอนขางกลม แตเวา บริเวณกลางคลายโดนัท มีสีแดงเพราะมี ฮีโมโกลบิน ไมมีนิวเคลียส และเซลลเม็ดเลือดแดงทําหนาที่ในการลําเลียง ออกซิเจนไปเลี้ยงเซลลตางๆ ทั่วรางกาย แตเซลลเม็ดเลือดขาวจะมีขนาด ประมาณ 6-15 ไมครอน รูปรางและขนาดแตกตางกันตามชนิด ปกติจะ ใหญกวาเซลลเม็ดเลือดแดงเกือบ 2 เทา ไมมีสีเพราะไมมีฮีโมโกลบิน แต มีนิวเครียส เซลลเม็ดเลือดขาวจะทําหนาที่เปนเซลลของระบบภูมิคุมกัน ซึ่งจะคอยปองกันรางกายจากเชื้อโรคและสารแปลกปลอมตางๆ ที่เขามา ในรางกาย


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engage

Explore

Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate ตรวจสอบผล Evaluate

ตรวจสอบผล

? 1. โครงสร้างของเซลล์ขนรากจะช่วยในการดูดน�า้ ของรากจากดิน

อย่างไร 2. ให้นกั เรียนเลือกเซลล์ของร่างกายมา 2 ชนิด แล้วค้นหาข้อมูล เกี่ยวกับเซลล์ที่นักเรียนเลือก โดยปฏิบัติดังนี้ 1) เขียนข้อเท็จจริงเกี่ยวกับเซลล์แต่ละชนิดมา 3 ข้อ 2) ว าดภาพของเซลล์ ทั้ ง 2 ชนิ ด ที่ นั ก เรี ย นเลื อ กไว้ แล้วเขียนอธิบายโครงสร้างของเซลล์ พร้อมทั้งบอกว่า โครงสร้างเหล่านี้ช่วยในการท�างานของเซลล์อย่างไร 3) ให้นกั เรียนศึกษาภาพเซลล์สบื พันธุข์ องมนุษย์ดา้ นขวามือ เซลล์ไข่และเซลล์อสุจขิ องมนุษย์ (ก�าลังขยาย 400 เท่า) ใน บพันธุข์ องมนุษย์แต่ละครัง้ จะมีการสร้างเซลล์ไข่เพียง แล้ ว บั น ทึ ก ผลที่ สั ง เกตได้ ล งในตารางตามตั ว อย่ า ง การสื 1 เซลล์ แต่อสุจิจะมีจ�านวนหลายล้านเซลล์ที่ถูกปล่อยออก ด้านล่าง มาในแต่ละครั้ง

Evaluate

นักเรียนอธิบายโครงสราง หนาที่ และ เปรียบเทียบสวนประกอบที่สําคัญของเซลลพืช และเซลลสัตวได และตอบคําถามกิจกรรมพัฒนา ทักษะวิทยาศาสตร 1.1 ไดถูกตอง

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู 1. สมุดภาพสรุปเกี่ยวกับรูปราง ลักษณะ และ หนาที่ของโครงสรางแตละชนิดของเซลล 2. แบบบันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรมพัฒนาทักษะ วิทยาศาสตร 1.2

ให้นักเรียนคัดลอกตารางด้านล่างลงในสมุดแล้วเติมตารางให้สมบูรณ์ คุณลักษณะ

เซลล์อสุ¨ิของมนุษย์

เซลล์ไข่ของมนุษย์

รูปร่าง (ให้นักเรียนวาดภาพ) ขนาด (เล็กหรือใหญ่) จ�านวน (น้อยหรือมาก)

การทดลองเรือ่ ง การศึกษาเรือ่ งเซลล์ อุปกรณ์และสารเคมี

วิธีการทดลอง

ภาพประกอบการทดลอง

• กล้องจุลทรรศน์ • สไลด์ • กระจกปิดสไลด์ • ใบมีดโกน • ล�าต้นส่วนยอดของ พืชใบเลี้ยงคู่ที่มี เส้นผ่านศูนย์กลาง ประมาณ 0.5 ซม. (เช่น มะลิ เข็ม) • สีย้อมเมทิลีนบลู

1. ให้ นั ก เรี ย นเตรี ย มสไลด์ ข องล� า ต้ น พื ช ใบเลี ย งคู ่ โดยย้อมสีด้วยเมทิลีนบลู 2. น�าสไลด์ ไปส่องดูด้วยกล้องจุลลทรรศน์

เซลล์ที่ทําหน้าที่ หอหุ้ม

เซลล์ที่ทําหน้าที่ ลําเลียงนํ้า

3. สั ง เกตลั ก ษณะของเซลล์ ต ่ า งๆ ในล� า ต้ น แล้ ว วาดภาพแสดงโครงสร้างต่างๆ

เซลล์ที่ทําหน้าที่ ให้ความแข็งแรง

13

แนวตอบ กิจกรรมพัฒนาทักษะวิทยาศาสตร 1.2 3. เซลลที่ทําหนาที่เฉพาะ 1. โครงสรางของเซลลขนรากมีสวนชวยในการดูดนํ้าและแรธาตุ เนื่องจากเซลลขนรากมีผนังเซลลบาง และมีพื้นที่ผิว สัมผัสกับนํ้าและแรธาตุมาก 2. 1) พิจารณาจากคําตอบของนักเรียน โดยอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน 2) พิจารณาจากคําตอบของนักเรียน โดยอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน 3) คุณลักษณะ

เซลลอสุจิของมนุษย

เซลลไขของมนุษย

รูปราง (ใหนักเรียนวาดภาพ)

ภาพที่นักเรียนวาด

ภาพที่นักเรียนวาด

ขนาด (เล็กหรือใหญ)

เล็กกวาเซลลไข

ใหญกวาเซลลอสุจิ 50,000-90,000 เทา

จํานวน (นอยหรือมาก)

มาก (ประมาณ 350-500 ลานเซลลตอ ลูกบาศกเซนติเมตร)

นอย (1 เซลลตอเดือน)

คูมือครู

13


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ขยายความเขาใจ Expand าใจ ขยายความเข

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Expand

ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายและสรุป เกี่ยวกับรูปราง ลักษณะ โครงสรางและหนาที่ของ เซลลจากเนื้อหาที่ไดเรียนมาในหนวยการเรียนรูที่ 1 จากนั้นครูอาจนําสนทนาเกี่ยวกับคุณลักษณะของ นักวิทยาศาสตร โดยตั้งประเด็นใหนักเรียน รวมกันอภิปรายวา นักวิทยาศาสตรควรมี คุณลักษณะอยางไร แลวใหนักเรียนอานประวัติ ของอันตน ฟาน เลเวนฮุก จากกิจกรรมสรางสรรค พัฒนาประจําหนวยการเรียนรูที่ 1 ทํากิจกรรม โดยบันทึกลงในสมุดของนักเรียน พรอมทั้งวิเคราะห ดวยวา อังตน ฟาน เลเวนฮุก มีคุณลักษณะของ นักวิทยาศาสตรอยางไรบาง

กิจกรรม

สร้างสรรค์พัฒนาประจ�าหน่วยการเรียนรู้ที่

1

1. อังตน ฟาน เลเวนฮุก อังตน ฟาน เลเวนฮุก (Anton Van Leeuwenhook) เกิดเมื่อ วันที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2175 ที่เมืองเดลฟท์ ประเทศเนเธอร์แลนด์ ใน ครอบครัวชนชั้นกลางที่ยากจน เลเวนฮุกไม่ ได้รับการศึกษาสูงนัก แต่ เขาเป็นคนช่างสังเกตและชอบศึกษาเรียนรู้สิ่งรอบๆ ตัว ผลงานที่สร้าง ชื่อเสียงให้แก่เขาเป็นอย่างมาก คือ “ประดิษฐ์กล้องจุลทรรศน์” ซึ่งให้ คุณประโยชน์แก่วงการวิทยาศาสตร์และการแพทย์ โดยเฉพาะการค้นพบ แบคทีเรีย ที่มองไม่เห็นด้วยตาเปล่า หลังจากที่เลเวนฮุกประดิษฐ์กล้องจุลทรรศน์ส�าเร็จ เขาใช้ เวลาส่วนใหญ่ศึกษาธรรมชาติที่อยู่รอบๆ ตัว วันหนึ่งเลเวนฮุกได้ ใช้ กล้องจุลทรรศน์ส่องดูน�้าที่ขังอยู่บนพื้นดิน ปรากฏว่าเขาสามารถมองเห็นสัตว์ตัวเล็กๆ จ�านวนมาก ที่ไม่สามารถมอง เห็นด้วยตาเปล่า เลเวนฮุกเรียกสัตว์จ�าพวกนี้ว่า “Wretahed Beasties” เมื่อเขาเห็นสัตว์พวกนี้ผ่านทางกล้องจุลทรรศน์ เขามีความสงสัยต่อไปอีกว่า สัตว์เหล่านี้มาจากที่ไหน ซึ่งน�าไปสู่การค้นคว้าของเขาเกี่ยวกับเรื่องจุลินทรีย์  1. ให้นักเรียนเขียนสรุปประวัติและผลงานของอังตน ฟาน เลเวนฮุก ลงในสมุดโดยใช้ตัวอย่างแบบบันทึก

ข้อมูลข้างล่าง ª×èÍ ..................................................................................................................................................... ............................................................................................................................... ʶҹ·Õèà¡Ô´........................................................................................................................ »‚à¡Ô´............................................................................................................................... .............................................................................................................................................. ¼Å§Ò¹ ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................... ................................................................................................................................................................

กล้องจุลทรรศน์ของเลเวนฮุก

2. ให้นักเรียนค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับประวัติและผลงานของเลเวนฮุก เพิ่มเติมจากหนังสือในห้องสมุดหรือ จากอินเทอร์เน็ต แล้วเขียนอธิบายลงในสมุดหรือในใบงาน ค�าที่นักเรียนสามารถใช้เพื่อค้นหาจากดัชนี ค้นหาค�า เช่น เลเวนฮุก (Leeuwenhook) กล้องจุลทรรศน์เลนส์เดี่ยว

14

แนวตอบ กิจกรรมสรางสรรคพัฒนาประจําหนวยการเรียนรูที่ 1 1. อังตน ฟาน เลเวนฮุก 1.

กลองจุลทรรศนของเลเวนฮุก

อังตน ฟาน เลเวนฮุก ชื่อ..................................................................................................................... เมืองเดลฟท ประเทศเนเธอรแลนด สถานที่เกิด..................................................................................................... พ.ศ. 2175 (ค.ศ. 1632) ปเกิด..................................................................................................... ......... ผลงาน ประดิษฐกลองจุลทรรศน และคนควาเกี่ยวกับจุลินทรีย ....... ................................................................................................................... .......................................................................................................................... ..........................................................................................................................

2. พิจารณาจากคําตอบของนักเรียน โดยอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน

14

คูมือครู


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Expand าใจ ขยายความเข

Evaluate ตรวจสอบผล

ขยายความเขาใจ

ครูและนักเรียนทบทวนเกี่ยวกับรูปราง และ องคประกอบของเซลลพืชและเซลลสัตว จากนั้น ครูอาจตั้งคําถามที่เกี่ยวของกับกิจกรรมขอ 2. การไหลของไซโทพลาซึม เชน • ไซโทพลาซึมภายในเซลลมีลักษณะอยางไร (แนวตอบ เปนของเหลวขน โปรงแสง) • นักเรียนคิดวาเราจะสังเกตการไหลของ ไซโทพลาซึมไดอยางไร (แนวตอบ เนื่องจากโซโทพลาซึมมีลักษณะ โปรงแสง ดังนั้น จะสามารถสังเกตการไหล ของไซโทพลาซึมไดจากการเคลือ่ นทีข่ อง ออรแกเนลลที่อยูภายในเซลล) จากนั้นใหนักเรียนทํากิจกรรมสรางสรรค พัฒนาประจําหนวยการเรียนรูที่ 1 ขอ 2. และ ขอ 3.

2. การไหลของไซโทพลาซึมภายในเซลล์ การทดลองเรื่อง การไหลของไซโทพลาซึม อุปกรณ์และสารเคมี 1. สไลด์ และกระจกปิดสไลด์ 2. ใบสาหร่ายหางกระรอก (บริเวณยอด) 3. กล้องจุลทรรศน์

วิธีการทดลอง 1. หยดน�้า 1 หยด ลงบนสไลด์ 2. เด็ดใบสาหร่ายหางกระรอกบริเวณยอด 1 ใบ วางลงในหยดน�้าบนสไลด์ ในข้อ 1. 3. ปิดด้วยกระจกปิดสไลด์ 4. ส่องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์และวาดภาพตามที่นักเรียนเห็นจากสไลด์

? 1. นักเรียนสังเกตเห็นเซลล์ ในใบสาหร่ายหางกระรอกมีลักษณะอย่างไร

2. นักเรียนสังเกตเห็นการไหลของไซโทพลาซึมหรือไม่ และสังเกตได้จากอะไร

3. เปรียบเทียบลักษณะของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ การทดลองเรื่อง ลักษณะรูปร่างและโครงสร้างของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ อุปกรณ์และสารเคมี 1. สไลด์ และกระจกปิดสไลด์ 2. หัวหอม 3. สารละลายไอโอดีน 4. กล้องจุลทรรศน์

Expand

วิธีการทดลอง 1. ตัดหัวหอมเป็นชิ้นจ�านวน 4 ชิ้น หรือ 8 ชิ้น

ตรวจสอบผล

2. ใช้ปากคีบลอกเนื้อเยื่อบางๆ ภายในของกลีบหอม ให้ ได้ชิ้นขนาดประมาณครึ่งนิ้ว วางบนสไลด์ 3. หยดสารละลายไอโอดีนบนเยื่อหอม 1 หยด แล้วปิดด้วยกระจกปิดสไลด์ 4. สังเกตลักษณะของเซลล์เยื่อหอมเมื่อส่องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ 5. วาดภาพและจดบันทึกรูปร่างลักษณะของเซลล์เยื่อหอม ใช้ปลายนิ้วขูดที่ผนังด้านในของช่องปากบริเวณข้างแก้มเบาๆ เบาๆ 6. ล้างมือให้สะอาด ใช้ ใช้นิ้วป้ายที่แผ่นสไลด์อีกแผ่นหนึ่ง 7. ใช้ 3. ถึงข้อ 5.5. 8. ท�าซ�้าตามขั้นตอนข้อ 3. ถึ

Evaluate

นักเรียนสามารถตอบคําถามกิจกรรมสรางสรรค พัฒนาประจําหนวยการเรียนรูที่ 1 ไดถูกตอง

 1. ให้นักเรียนคัดลอกตารางด้านล่างลงในสมุด แล้ แล้วบันทึกข้อมูลที่สังเกตได้จากการท�ากิจกรรม ลักษณะเซลล์เยื่อหอม

ลักษณะเซลล์เยื่อบุข้างแก้ม

2. เซลล์พืชและเซลล์สัตว์มีส่วนใดที่เหมือนกัน 3. เซลล์พืชมีส่วนประกอบใดที่ไม่พบในเซลล์สัตว์ 15

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

จากการทดลองเปรียบเทียบลักษณะของเซลลพืชและเซลลสัตว ในขั้นตอนที่ 3 ทําไมจึงตองมีการหยดไอโอดีนลงไปที่เซลล 1. เพื่อลางทําความสะอาดเซลล 2. เพื่อหยุดการทํางานของเซลล ณ ขณะนั้น 3. เพื่อทําใหเซลลพืชและเซลลสัตวมีการกลายพันธุ 4. เพือ่ ทําใหสามารถมองเห็นเซลลพชื และเซลลสตั วไดชดั เจนยิง่ ขึน้

วิเคราะหคําตอบ เนื่องจากเซลลมีลักษณะใส ทําใหสังเกตเห็นไดยาก จึงมีการหยดไอโอดีนเพื่อเปนการชวยยอมสีเซลลใหสามารถสังเกตเห็น โครงสรางของเซลลไดชัดเจนขึ้นเมื่อนําไปสองดูดวยกลองจุลทรรศน ดังนั้น ตอบขอ 4.

แนวตอบ

กิจกรรมสรางสรรคพัฒนาประจําหนวยการเรียนรูที่ 1

2. การไหลของไซโทพลาซึมภายในเซลล 1. เซลลของใบสาหรายหางกระรอกมีลักษณะเปนเหลี่ยม มีผนังเซลลหนา 2. เห็นการไหลของไซโทพลาซึม โดยสังเกตจากคลอโรพลาสตที่อยูใน ไซโทพลาซึมเคลื่อนที่ไปยังสวนตางๆ ของเซลล 3. เปรียบเทียบลักษณะของเซลลพืชและเซลลสัตว 1. ลักษณะเซลลเยื่อหอม ลักษณะเซลลเยื่อบุขางแกม 1. รูปรางคอนขางเปนเหลี่ยม

1. รูปรางคอนขางกลม

2. มีผนังเซลล

2. ไมมีผนังเซลล

3. มีเยื่อหุมเซลล

3. มีเยื่อหุมเซลล

4. มีคลอโรพลาสต

4. ไมมีคลอโรพลาสต

2. สวนที่เหมือนกันของเซลลพืชและเซลลสัตว คือ เยื่อหุมเซลล ไซโทพลาซึม และนิวเคลียส 3. สวนประกอบที่พบเฉพาะในเซลลพืช คือ ผนังเซลล และคลอโรพลาสต คูมือครู

15


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engage

Explore

Explain

Expand

ตรวจสอบผล

Evaluate

ครูใหนักเรียนอานสรุปทบทวนประจําหนวย การเรียนรูที่ 1 จากนั้นครูตั้งคําถามเกี่ยวกับ บทเรียนใหนักเรียนชวยกันตอบ เพื่อเปนการ ตรวจสอบความเขาใจของนักเรียน

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู 1. แบบบันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรมพัฒนาทักษะ วิทยาศาสตร 2. สมุดภาพเกี่ยวกับรูปรางและสวนประกอบของ สิ่งมีชีวิตเซลลเดียว 3. ปายนิเทศเผยแพรความรูเกี่ยวกับเซลลตางๆ ในสิ่งมีชีวิตหลายเซลลทั้งเซลลพืชและเซลลสัตว 4. สมุดภาพสรุปเกี่ยวกับรูปราง ลักษณะ และ หนาที่ของโครงสรางแตละชนิดของเซลล 5. แบบบันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรมสรางสรรค พัฒนาประจําหนวยการเรียนรูที่ 1

ตรวจสอบผล Evaluate ตรวจสอบผล Evaluate

สรุปทบทวน

ประจ�าหน่วยการเรียนรู้ที่

1

■ รอเบิรต ์ ฮุก เป็นคนแรกทีพ่ ยายามหาค�าตอบว่าสิง่ มีชวี ติ ประกอบด้วยอะไร เป็นคนแรกทีค่ น้ พบโครงสร้าง พื้นฐานที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิตและตั้งชื่อว่า เซลล์ โดยกล่าวว่าสิ่งมีชีวิตทุกชนิดประกอบด้วยเซลล์ ■ เซลล์เป็นหน่วยที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต สามารถเพิ่มจ�านวน เจริญเติบโต และตอบสนอง ต่อสิ่งเร้าได้ เซลล์บางเซลล์สามารถเคลื่อนที่ได้ เช่น เซลล์อสุจิ เป็นต้น เซลล์บางเซลล์มลี ักษณะพิเศษ เพือ่ ท�าหน้าทีเ่ ฉพาะอย่าง เช่น เซลล์ประสาทมีแขนงยื่นยาวเพื่อใช้รับ - ส่งกระแสประสาท ■ เซลล์ส่วนใหญ่มีขนาดเล็กมาก ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า จะต้องใช้กล้องจุลทรรศน์ส่องดู เพื่อ ท�าให้การศึกษาขนาด รูปร่าง และส่วนประกอบต่างๆ ของเซลล์ท�าได้ง่ายขึ้น ■ เซลล์ของสิ่งมีชีวิตทุกชนิดประกอบด้วยโครงสร้างพื้นฐาน 3 อย่าง คือ เยื่อหุ้มเซลล์ ไซโทพลาซึม และ นิวเคลียส เยื่อหุ้มเซลล์ท�าหน้าที่ควบคุมการผ่านเข้าออกของสารประกอบทางเคมี เช่น สารอาหาร และแก๊สต่างๆ ในไซโทพลาซึมจะเป็นทีเ่ กิดของปฏิกริ ยิ าเคมีทกุ ชนิด ส�าหรับในนิวเคลียสมีสารพันธุกรรมทีอ่ ยูบ่ นโครโมโซม ท�าหน้าที่ ถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต ■ ผนังเซลล์เป็นโครงสร้างที่อยู่นอกสุดของเซลล์พืช ประกอบด้วยสารพวกเซลลู โลส มีหน้าที่ ให้ความ แข็งแรงแก่เซลล์ และช่วยให้เซลล์สามารถคงรูปร่างอยู่ได้ ■ เยือ ่ ห้มุ เซลล์เป็นเยือ่ บางๆ ทีห่ อ่ หุม้ ส่วนต่างๆ ของเซลล์ มีคณุ สมบัตยิ อมให้สารบางชนิดผ่านได้ เรียกว่า เยื่อเลือกผ่าน (semi-permeable membrane) ■ ไซโทพลาซึมอยูภ ่ ายในเยือ่ หุม้ เซลล์ ประกอบด้วยสารประกอบทางเคมีและออร์แกเนลล์ตา่ งๆ ทีท่ า� หน้าที่ เกี่ยวกับกิจกรรมภายในเซลล์ ได้แก่ ร่างแหเอนโดพลาซึม กอลจิบอดี ไมโทคอนเดรีย คลอโรพลาสต์ และแวคิวโอล ■ นิวเคลียสท�าหน้าที่เป็นศูนย์กลางควบคุมการท�างานของเซลล์ เกี่ยวข้องกับการแบ่งเซลล์และถ่ายทอด ลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิต ■ เซลล์สัตว์และเซลล์พืชมีความแตกต่างกัน เซลล์พืชมีผนังเซลล์ คลอโรพลาสต์ และแวคิวโอล ซึ่ง เซลล์สัตว์ไม่มี ส่วนรูปร่างของเซลล์ เซลล์สัตว์มีรูปร่างค่อนข้างกลม แต่เซลล์พืชมีรูปร่างเป็นเหลี่ยม ■ เซลล์มีรูปร่างและขนาดต่างๆ กัน รูปร่างของเซลล์ขึ้นอยู่กับการท�าหน้าที่เฉพาะอย่างของเซลล์ เช่น เซลล์เม็ดเลือดแดง เป็นเซลล์ที่ไม่มีนิวเคลียส รูปร่างกลม ตรงกลางเว้า เพื่อช่วยในการขนส่งแก๊สออกซิเจน และ เคลื่อนที่ไหลไปตามหลอดเลือดได้สะดวก เซลล์อสุจิมีส่วนหัวเรียวและส่วนหางยาวเพื่อช่วยในการเคลื่อนที่ไปผสม กับเซลล์ไข่ เซลล์คุมมีรูปร่างคล้ายเมล็ดถั่ว ช่วยในการควบคุมการคายน�้า เป็นต้น

16

เกร็ดแนะครู เมื่อจบการเรียนการสอนในหนวยการเรียนรูที่ 1 แลว ครูอาจใหนักเรียนเขียน สรุปเนื้อหาสาระสําคัญทั้งหมดที่ไดเรียนไปในหนวยการเรียนรูที่ 1 ออกมาเปน แผนผังความคิดในรูปแบบที่งายตอการเขาใจ แลวนําสงครูผูสอน เพื่อใหครูได ตรวจสอบความเขาใจของนักเรียนอีกครั้งหนึ่ง และนักเรียนสามารถนําแผนผัง ความคิดนี้ไปใชอานประกอบเพื่อเตรียมตัวสอบในเรื่องลักษณะ รูปราง โครงสราง และหนาที่ของเซลลสิ่งมีชีวิตได

16

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ขอใดกลาวไดถูกตอง 1. เซลลสัตวจะมีรูปรางเปนเหลี่ยม 2. เซลลสามารถมองเห็นไดดวยตาเปลา 3. ผนังเซลลของพืชประกอบดวยสารจําพวกไขมันเปนสวนใหญ 4. ในเซลลจะมีนิวเคลียสซึ่งทําหนาที่ควบคุมการทํางานของเซลล วิเคราะหคําตอบ เซลลเปนหนวยที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต ที่ไมสามารถ มองเห็นไดดวยตาเปลา เซลลสัตวจะมีรูปรางกลม เพราะไมมีผนังเซลล สวนเซลลพืชจะมีรูปรางเหลี่ยม เนื่องจากมีผนังเซลลที่ประกอบดวย เซลลูโลส ซึ่งทําใหเซลลมีความแข็งแรง และในเซลลพืชและเซลลสัตว จะมีนิวเคลียสทําหนาที่ควบคุมการทํางานของเซลล ดังนั้นจึงตอบขอ 4.


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.