8858649122681

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº ÍÞ.

ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน

กระบวนการสอนแบบ 5 Es ชวยสรางทักษะการเรียนรู กิจกรรมมุงพัฒนาทักษะการคิด คำถาม + แนวขอสอบเพื่อยกผลสัมฤทธิ์ O - NET กิจกรรมบูรณาการเตรียมพรอมสู ASEAN 2558


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตร

วิทยาศาสตร เลม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปที่

1

สําหรับครู

คูมือครู Version ใหม

ลักษณะเดน

ขยายพื้นที่รูปเลมใหญขึ้นกวาเดิม จัดแบงพื้นที่ออกเปนโซน เพื่อคนหาขอมูลไดงาย สะดวก รวดเร็ว และดูเปนระเบียบ กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล

กระตุน ความสนใจ

Evaluate

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

เปาหมายการเรียนรู สมรรถนะของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค

หน า

โซน 1 กระตุน ความสนใจ

Engage

สํารวจคนหา

Explore

อธิบายความรู

Explain

ขยายความเขาใจ

Expand

ตรวจสอบผล

หน า

หนั ง สื อ เรี ย น

โซน 1

หนั ง สื อ เรี ย น

Evaluate

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

O-NET บูรณาการเชื่อมสาระ

เกร็ดแนะครู

ขอสอบ

โซน 2

โซน 3

กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย

นักเรียนควรรู

โซน 3

โซน 2 บูรณาการอาเซียน มุม IT

No.

คูมือครู

คูมือครู

No.

โซน 1 ขั้นตอนการสอนแบบ 5Es

โซน 2 ชวยครูเตรียมสอน

โซน 3 ชวยครูเตรียมนักเรียน

เพื่อใหครูเตรียมจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยแนะนําขั้นตอนการสอนและ การจัดกิจกรรมแบบ 5Es อยางละเอียด เพื่อใหนักเรียนบรรลุตามตัวชี้วัด

เพื่อชวยลดภาระครูผูสอน โดยแนะนํา เกร็ดความรูสําหรับครู ความรูเสริมสําหรับ นักเรียน รวมทั้งบูรณาการความรูสูอาเซียน และมุม IT

เพื่อใหครูสะดวกตอการจัดกิจกรรม โดย แนะนํากิจกรรมบูรณาการเชือ่ มระหวางสาระหรือ กลุมสาระการเรียนรู วิชา กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย รวมถึงเนื้อหาที่เคยออกขอสอบ O-NET แนวขอสอบ NT/O-NET ทีเ่ นนการคิด พรอมเฉลยและคําอธิบายอยางละเอียด


ที่ใชในคูมือครู

แถบสีและสัญลักษณ

แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5Es เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

1. แถบสี 5Es สีแดง

สีเขียว

กระตุน ความสนใจ

เสร�ม

สํารวจคนหา

Engage

2

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุน ความสนใจ เพื่อโยง เขาสูบทเรียน

สีสม

อธิบายความรู

Explore

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนสํารวจ ปญหา และศึกษา ขอมูล

สีฟา

Explain

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนคนหา คําตอบ จนเกิดความรู เชิงประจักษ

สีมวง

ขยายความเขาใจ Expand

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนนําความรู ไปคิดคนตอๆ ไป

ตรวจสอบผล Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

2. สัญลักษณ สัญลักษณ

วัตถุประสงค

• เปาหมายการเรียนรู

• หลักฐานแสดง ผลการเรียนรู

• เกร็ดแนะครู

แทรกความรูเสริมสําหรับครู ขอเสนอแนะ ขอควรระวัง ขอสังเกต แนวทางการจัด กิจกรรมและอื่นๆ เพื่อประโยชนในการ จัดการเรียนการสอน ขยายความรูเพิ่มเติมจากเนื้อหา เพื่อให ครูนําไปใชอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียน ไดมีความรูมากขึ้น

ความรูหรือกิจกรรมเสริม ใหครูนําไปใช เตรียมความพรอมใหกับนักเรียนกอนเขาสู ประชาคมอาเซียนใน พ.ศ. 2558 โดย บูรณาการกับวิชาที่กําลังเรียน

บูรณาการอาเซียน

คูม อื ครู

แสดงรองรอยหลักฐานตามภาระงาน ที่ครูมอบหมาย เพื่อแสดงผลการเรียนรู ตามตัวชี้วัด

• นักเรียนควรรู

มุม IT

แสดงเปาหมายการเรียนรูที่นักเรียน ตองบรรลุตามตัวชี้วัด ตลอดจนสมรรถนะ ที่จะตองมี และคุณลักษณะที่พึงเกิดขึ้น กับนักเรียน

แนะนําแหลงคนควาจากเว็บไซต เพื่อให ครูและนักเรียนไดเขาถึงขอมูลความรู ที่หลากหลาย ทั้งไทยและตางประเทศ

สัญลักษณ

ขอสอบ

วัตถุประสงค

O-NET

ชี้แนะเนื้อหาที่เคยออกขอสอบ O-NET โดยยกตัวอยางขอสอบ พรอมวิเคราะหคําตอบ อยางละเอียด

เปนตัวอยางขอสอบที่มุงเนน การคิดและเปนแนวขอสอบ NT/O-NET ในระดับมัธยมศึกษา ตอนตน มีทั้งปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

เปนตัวอยางขอสอบที่มุงเนน การคิดและเปนแนวขอสอบ O-NET ในระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย มีทั้งปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม เชื่อมกับสาระหรือกลุมสาระ การเรียนรู ระดับชัน้ หรือวิชาอืน่ ที่เกี่ยวของ

แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ซอมเสริมสําหรับนักเรียนที่ควร ไดรับการพัฒนาการเรียนรู

แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ตอยอดสําหรับนักเรียนที่เรียนรู ไดอยางรวดเร็ว และตองการ ทาทายความสามารถในระดับ ที่สูงขึ้น

(เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ O-NET O-NET)

NT O-NE T (เฉพาะระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนตอนตน)

แนว

O-NET

(เฉพาะระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย)

บูรณาการเชื่อมสาระ

กิจกรรมสรางเสริม

กิจกรรมทาทาย


คําแนะนําการใชคูมือครู การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน คูม อื ครู รายวิชา วิทยาศาสตร ม.1 เลม 2 จัดทําขึน้ เพือ่ ใหครูผสู อนนําไปใชเปนแนวทางวางแผนการสอนเพือ่ พัฒนา ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน และประกันคุณภาพผูเ รียน ตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน (สพฐ.) โดยใชหนังสือเรียน วิทยาศาสตร ม.1 เลม 2 ของบริษทั อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด เปนสือ่ หลัก (Core Material) ประกอบ เสร�ม การสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดกลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตร 3 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พ.ศ. 2551 โดยออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักการสําคัญ ดังนี้ 1 ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน คูม อื ครู รายวิชา วิทยาศาสตร ม.1 เลม 2 วางแผนการสอนโดยแบงเปนหนวยการเรียนรูต ามลําดับสาระ (Strand) และหมายเลขขอของมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั แตละหนวยจะกําหนดเปาหมายการเรียนรูแ ละจุดประสงคการเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทางการประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชัดเจน ครูผูสอนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด สมรรถนะ และคุณลักษณะอันพึงประสงคที่เปนเปาหมายการเรียนรูตามที่กําหนดไวในสาระแกนกลาง (ตามแผนภูมิ) และสามารถ บันทึกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนแตละคนลงในเอกสาร ปพ.5 ไดอยางมั่นใจ แผนภูมิแสดงความสัมพันธขององคประกอบการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผูเรียนเปนสําคัญ

คก า

ส ภา

พผ

ูเ

จุดปร

ะสง

รู

รียน

น เรีย

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชั้นป

ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน คูม อื ครู


2 การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ แนวคิ ด ในการจั ด การเรี ย นการสอนที่ ยึ ด ผู  เ รี ย นเป น สํ า คั ญ พั ฒ นามาจากปรั ช ญาและทฤษฎี ก ารเรี ย นรู  Constructivism ที่เชื่อวา การเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสรางความรู โดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดเรียนรูจากบทเรียนใหมกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา ผูเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีการสั่งสมความรูความเขาใจเกี่ยวกับสิ่งตางๆ ติดตัวมากอน ทีจ่ ะเขาสูห อ งเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากประสบการณและสิง่ แวดลอมรอบตัวผูเ รียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกิจกรรม เสร�ม การเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ผูสอนจะตองคํานึงถึง

4

1. ความรูเดิมของผูเรียน วิธีการสอนที่ดีจะตองเริ่มตนจากจุดที่วา ผูเ รียนมีความรูอ ะไรมาบาง แลวจึงใหความรู หรือประสบการณใหม เพื่อตอยอดจาก ความรูเดิม นําไปสูการสรางความรู ความเขาใจใหม

2. ความรูเดิมของผูเรียนถูกตองหรือไม ผูส อนตองปรับเปลีย่ นความรูค วามเขาใจเดิม ของผูเรียนใหถูกตอง และเปนพฤติกรรม การเรียนรูใ หมทมี่ คี ณุ คาตอผูเรียน เพื่อสราง เจตคติหรือทัศนคติที่ดีตอการเรียนรู สิ่งเหลานั้น

3. ผูเรียนสรางความหมายสําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมใหผูเรียนนําความรู ความเขาใจที่เกิดขึ้นไปลงมือปฏิบัติ เพื่อขยายความรูใหลึกซึ้งและมีคุณคา ตอตัวผูเรียนมากที่สุด

แนวคิด Constructivism เนนใหผูเรียนสรางความรูโดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูของตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศ

การเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณ ความรูใ หม เพือ่ กระตนุ ใหผเู รียนเชือ่ มโยงความรู ความคิด กับประสบการณทมี่ อี ยูเ ดิม แลวสังเคราะหเปนความรูห รือแนวคิดใหมๆ ไดดว ยตนเอง

3 การบูรณาการกระบวนการคิด การเรียนรูของผูเรียนแตละคนจะเกิดขึ้นที่สมอง ซึ่งเปนอวัยวะที่ทําหนาที่รูคิดภายใตสภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวย และไดรบั การกระตนุ จูงใจอยางเหมาะสม สอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของผูเ รียนแตละคน การจัดกิจกรรม การเรียนรูและสาระการเรียนรูที่สอดคลองกับความสนใจและมีความหมายตอผูเรียน จะชวยกระตุนใหสมองของผูเรียน สามารถรับรูและเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพตามขั้นตอนการทํางานของสมอง ดังนี้ 1. สมองจะเรียนรูและสืบคน โดยการสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง ปฏิบัติ จนทําใหคนพบความรูความเขาใจ ไดอยางรวดเร็ว

2. สมองจะแยกแยะคุณคาของสิ่งตางๆ โดยการตัดสินใจวิพากษวิจารณ แสดง ความคิดเห็น ยอมรับหรือตอตานตาม อารมณความรูสึกที่เกิดขึ้นในขณะที่เรียนรู

3. สมองจะประมวลเนื้อหาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสานกับ ความรูห รือประสบการณเดิมทีถ่ กู จัดเก็บอยูใ น สมอง ผานการกลัน่ กรองเพือ่ สังเคราะหเปน ความรูค วามเขาใจใหมๆ หรือเปนทัศนคติใหม ที่จะเก็บบรรจุไวในสมองของผูเรียน

การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะเกิดขึ้น เมื่อสมองรูคิด และตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมองผูเรียน โดยเริ่มตนจาก 1. ระดับการคิดพื้นฐาน ไดแก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล การสรุปผล เปนตน

คูม อื ครู

2. ระดับลักษณะการคิด ไดแก การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดไกล คิดหลากหลาย คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล เปนตน

3. ระดับกระบวนการคิด ไดแก กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ กระบวนการแกปญหา กระบวนการ คิดสรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะห เปนตน


5Es การจัดกิจกรรมตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ขั้นตอนการสอนที่สัมพันธกับขั้นตอนการคิดและการทํางานทางสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย คือ วัฏจักรการเรียนรู 5Es ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแตละหนวย ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1

กระตุนความสนใจ

(Engage)

เสร�ม

5

เปนขั้นที่ผูสอนนําเขาสูบทเรียน เพื่อกระตุนความสนใจของผูเรียนดวยเรื่องราวหรือเหตุการณที่นาสนใจโดยใชเทคนิควิธีการ และคําถามทบทวนความรูหรือประสบการณเดิมของผูเรียน เพื่อเชื่อมโยงผูเรียนเขาสูความรูของบทเรียนใหม ชวยใหผูเรียนสามารถ สรุปความสําคัญหัวขอและสาระการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอนการสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอมและสราง แรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน

ขั้นที่ 2

สํารวจคนหา

(Explore)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนเปดโอกาสใหผเู รียนลงมือศึกษา สังเกต หรือรวมมือกันสํารวจ เพือ่ ใหเห็นขอบขายของประเด็นหรือปญหา รวมถึง วิธีการศึกษาคนควา การรวบรวมขอมูลความรูที่จะนําไปสูการสรางความเขาใจประเด็นหรือปญหานั้นๆ เมื่อผูเรียนทําความเขาใจใน ประเด็นหรือปญหาที่จะศึกษาคนควาอยางถองแทแลว ก็ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธีการตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูที่เกี่ยวของกับประเด็นหรือปญหาที่ศึกษา

ขั้นที่ 3

อธิบายความรู

(Explain)

เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา ตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนคนหาคําตอบ และนําขอมูล ความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห สรุปผล และนําเสนอผลที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ ผังมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน ในขั้นตอนนี้ฝกใหผูเรียนใชสมองคิดวิเคราะหและสังเคราะห อยางเปนระบบ

ขั้นที่ 4

ขยายความเขาใจ

(Expand)

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใชเทคนิควิธีสอนตางๆ ที่สงเสริมใหผูเรียนนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนสืบคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะ การเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน ผูเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยง กับประสบการณเดิมโดยนําขอสรุปทีไ่ ดไปใชอธิบายเหตุการณตา งๆ หรือนําไปปฏิบตั ใิ นสถานการณใหมๆ ทีเ่ กีย่ วของกับชีวติ ประจําวัน ของตนเอง เพื่อขยายความรูความเขาใจใหกวางขวางยิ่งขึ้น ในขั้นตอนนี้ฝกสมองของผูเรียนใหสามารถคิดริเริ่มสรางสรรคอยางมี คุณภาพ เสริมสรางวิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป

ขั้นที่ 5

ตรวจสอบผล

(Evaluate)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนประเมินมโนทัศนของผูเ รียน โดยตรวจสอบจากความคิดทีเ่ ปลีย่ นไปและความคิดรวบยอดทีเ่ กิดขึน้ ใหม ตรวจสอบ ทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด หรือการเคารพความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพื่อการ สรางสรรคความรูร ว มกัน ผูเ รียนสามารถประเมินผลการเรียนรูข องตนเอง เพือ่ สรุปผลวามีความรูอ ะไรเพิม่ ขึน้ มาบาง เกิดความเขาใจ มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ หรือในชีวิตประจําวันไดอยางไร ผูเรียนจะเกิดเจตคติ และเห็นคุณคาของตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง

การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนนผูเรียน เปนสําคัญอยางแทจริง เพราะสงเสริมใหผูเรียนไดเรียนรูตามขั้นตอนของกระบวนการสรางความรูดวยตนเอง และ ฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและกระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะชีวิต ทักษะการทํางาน และทักษะการ เรียนรูที่มีประสิทธิภาพ สงผลตอการยกระดับผลสัมฤทธิ์ของผูเรียน ตามเปาหมายของการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คูม อื ครู


O-NET การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ O-NET

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ในแตละหนวยการเรียนรู ทางผูจัดทํา จะเสนอแนะวิธีสอน รูปแบบกิจกรรมการเรียนรู พรอมทั้งออกแบบเครื่องมือวัดและประเมินผลที่สอดคลองกับตัวชี้วัด และสาระการเรียนรูแกนกลางไวทุกขั้นตอน โดยยึดหลักสําคัญ คือ หลักของการวัดและประเมินผล เสร�ม

6

1. การวัดและประเมินผลทุกครั้ง ควรนําผลมาปรับปรุงพัฒนาผูเรียน เปนรายบุคคล

2. การวัดและประเมินผลมี เปาหมาย เพื่อพัฒนาการเรียนรู ของผูเรียนจนเต็มศักยภาพ

3. การนําผลการวัดและประเมินผล ทุกครั้งมาวางแผนปรับปรุงกิจกรรม การเรียนการสอน การเลือกเทคนิค วิธีสอน และสื่อการเรียนรูให เหมาะสมกับสภาพจริงของผูเรียน

การทดสอบผูเรียน 1. การใชขอสอบอัตนัย เนนการอาน การคิดวิเคราะห และการเขียนเพิ่มมากขึ้น 2. การใชคําถามกระตุนการคิดควบคูกับการทําขอสอบที่เนนการคิดอยางตอเนื่องตามลําดับกิจกรรมการเรียนรู และตัวชี้วัด 3. การทดสอบตองดําเนินการทั้งกอนเรียน ระหวางเรียน และหลังเรียน การทดสอบควรใชขอสอบทั้งชนิดปรนัยและ อัตนัย และเปนการทดสอบเพื่อประเมินผลการเรียนของผูเรียนแตละคน เพื่อการสอนซอมเสริมใหบรรลุตัวชี้วัด ไดครบถวน 4. การสอบกลางภาค (ถามี) ควรนําแบบฝกหัดหรือขอสอบทีน่ กั เรียนสวนใหญไมสามารถตอบไดหรือไมครบถวนชัดเจน มา สรางเปนแบบทดสอบอีกครัง้ เพือ่ ตรวจสอบความรูค วามเขาใจทีถ่ กู ตอง และประเมินความกาวหนาของผูเ รียนแตละคน 5. การสอบปลายภาคเรียนเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามตัวชี้วัดที่สําคัญ ควรออกขอสอบใหมีลักษณะเดียวกับ ขอสอบ O-NET โดยเนนการคิดวิเคราะห สังเคราะห เชื่อมโยงประยุกตใช เพื่อสรางความคุนเคย และฝกฝน วิธีการทําขอสอบดวยความมั่นใจ 6. การนําผลการทดสอบของผูเรียนมาวิเคราะห โดยผลการสอบกอนการเรียนตองสามารถพยากรณผลการสอบ กลางภาค และผลการสอบกลางภาคตองทํานายผลการสอบปลายภาคของผูเ รียนแตละคน เพือ่ ประเมินพัฒนาการ ความกาวหนาของผูเรียนเปนรายบุคคล 7. ผลการทดสอบปลายป ปลายภาค ตองมีคาเฉลี่ยสอดคลองกับคาเฉลี่ยของการสอบ NT ที่เขตพื้นที่การศึกษา จัดสอบ รวมทั้งคาเฉลี่ยของการสอบ O-NET ชวงชั้นที่สอดคลองครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดสําคัญ เพือ่ สะทอนประสิทธิภาพของครูผสู อนในการออกแบบการเรียนรูแ ละประกันคุณภาพผูเ รียนทีต่ รวจสอบผลไดชดั เจน การจัดการเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ตองใหผูเรียนไดสั่งสมความรู ความเขาใจตามลําดับขั้นตอน ของกิจกรรมในวัฏจักรการเรียนรู 5Es เพื่อใหผูเรียนไดเติมเต็มองคความรูอยางตอเนื่อง จนสามารถปฏิบัติชิ้นงานหรือ ภาระงานรวบยอดของแตละหนวย ผานเกณฑประกันคุณภาพในระดับที่นาพึงพอใจ เพื่อรองรับการประเมินภายนอกจาก สมศ. ตลอดเวลา คูม อื ครู


ASEAN การเรียนรูสูประชาคมอาเซียน เพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรูบูรณาการอาเซียนศึกษา ผูจัดทําไดวิเคราะห มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดที่มีสาระการเรียนรูสอดคลองกับองคความรูเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนในแงมุมตางๆ ครอบคลุมทัง้ ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน เพื่อสงเสริมการเรียนรูใหผูเรียนเกิดความตระหนัก มีความรูความเขาใจเหมาะสมกับระดับชั้นและกลุมสาระ การเรียนรู โดยเสนอแนะวิธีการจัดกิจกรรมบูรณาการเนื้อหาสาระตางๆ ที่เปนประโยชนตอผูเรียนและเปนการชวย เตรียมความพรอมผูเรียนทุกคนที่จะกาวเขาสูการเปนสมาชิกของประชาคมอาเซียนไดอยางมั่นใจตามขอตกลงปฏิญญา ชะอํา-หัวหิน วาดวยความรวมมือดานการศึกษาเพื่อบรรลุเปาหมายประชาคมอาเซียนที่เอื้ออาทรและแบงปน จึงกําหนด เปนนโยบายใหกระทรวงศึกษาธิการจัดการเรียนรูเตรียมความพรอมผูเรียนเขาสูประชาคมอาเซียนภายในป พ.ศ. 2558 ตามแนวปฏิบัติที่สําคัญ ดังนี้

เสร�ม

7

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน 1. การสรางความรูความเขาใจ และตระหนักถึงความสําคัญของ กฎบัตรอาเซียน และความรวมมือ ของ 3 เสาหลัก ซึง่ กฎบัตรอาเซียน ในขณะนี้มีสถานะเปนกฎหมายที่ ประเทศสมาชิกจะตองปฏิบัติตาม หลักการที่กําหนดไวเพื่อใหบรรลุ เปาหมายของกฎบัตรมาตราตางๆ

2. การสงเสริมหลักการ ประชาธิปไตยและการสราง สิ่งแวดลอมประชาธิปไตย เพื่อการอยูรวมกันอยางกลมกลืน ภายใตวิถีชีวิตอาเซียนที่มีความ หลากหลายดานสังคมและ วัฒนธรรม

4. การตระหนักในคุณคาของ สายสัมพันธทางประวัติศาสตร และมรดกทางวัฒนธรรมที่มี พัฒนาการรวมกัน เพื่อเชื่อม อัตลักษณและสรางจิตสํานึก ในการเปนประชากรของประชาคม อาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการศึกษาดาน สิทธิมนุษยชน เพื่อสรางประชาคม อาเซียนใหเปนประชาคมเพื่อ ประชาชนอยางแทจริง สามารถ อยูรวมกันไดบนพื้นฐานการเคารพ ในคุณคาของศักดิ์ศรีแหงความ เปนมนุษยเทาเทียมกัน

5. การสงเสริมสันติภาพ ความ มั่นคง และความปรองดองในสังคม ทั้งระดับประเทศและภูมิภาคของ อาเซียนบนพื้นฐานสันติวิธีและการ อยูรวมกันดวยขันติธรรม

คูม อื ครู


การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

เสร�ม

8

1. การพัฒนาทักษะการทํางาน เพื่อเสริมสรางผูเรียนใหมีทักษะ วิชาชีพที่จําเปนสอดคลองกับ ความตองการของตลาดแรงงาน และสถานประกอบการในอาเซียน สามารถเทียบโอนผลการเรียน และการทํางานตามมาตรฐานฝมือ แรงงานในภูมิภาคอาเซียน

2. การเสริมสรางวินัย ความรับผิดชอบ และเจตคติรักการทํางาน สามารถพึ่งพาตนเอง มีทักษะชีวิต ดํารงชีวิตอยางมีความสุข เห็นคุณคา และภูมิใจในตนเอง ในฐานะที่เปนพลเมืองไทยและ อาเซียน

3. การเรียนรูเพื่อพัฒนาตนเอง อยางตอเนื่องตลอดชีวิต ใหมี ทักษะการทํางานตามมาตรฐาน อาชีพ และคุณวุฒิของวิชาชีพสาขา ตางๆ เพื่อรองรับการเตรียมเคลื่อน ยายแรงงานมีฝมือและการเปน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่ เขมแข็ง เพื่อสรางขีดความสามารถ ในการแขงขันในเวทีโลก

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 1. การเสริมสรางความรวมมือ ในลักษณะสังคมที่เอื้ออาทร ของประชากรอาเซียน โดยยึด หลักการสําคัญ คือ ความงดงาม ของประชาคมอาเซียนมาจาก ความแตกตางและหลากหลายทาง วัฒนธรรมที่ลวนแตมีคุณคาตอ มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน ซึ่งประชาชนทุกคนตองอนุรักษ สืบสานใหยั่งยืน

2. การเสริมสรางคุณลักษณะ ของผูเรียนใหเปนพลเมืองอาเซียน ที่มีศักยภาพในการกาวเขาสู ประชาคมอาเซียนอยางมั่นใจ เปนผูที่มีสุขภาพสมบูรณแข็งแรง มีทักษะการสื่อสาร ทักษะการ ทํางาน ทักษะทางสังคม สามารถ ทํางานรวมกับผูอื่นไดอยาง สรางสรรค และมีองคความรู เกี่ยวกับอาเซียนที่จําเปนตอการ ดํารงชีวิตอยางมีคุณภาพ

4. การสงเสริมการเรียนรูดาน ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี วิถชี วี ติ ความเปนอยูข องเพือ่ นบาน ในอาเซียน เพื่อสรางจิตสํานึกของ ความเปนประชาคมอาเซียนและ ตระหนักถึงหนาที่ของการเปน พลเมืองอาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการเรียนรูภาษา อังกฤษเพื่อการสื่อสารและการ ทํางานตามมาตรฐานอาชีพที่ กําหนดและสนับสนุนการเรียนรู ภาษาอาเซียนและภาษาเพื่อนบาน เพื่อชวยเสริมสรางสัมพันธภาพทาง สังคม และการอยูรวมกันอยางสันติ ทามกลางความหลากหลายทาง วัฒนธรรม

5. การสรางความรูและความ ตระหนักเกี่ยวกับดานสิ่งแวดลอม ปญหาและผลกระทบตอคุณภาพ ชีวิตของประชากรในภูมิภาค รวมทั้งแนวทางการพัฒนาอยาง ยั่งยืน ใหเปนมรดกสืบทอดแก พลเมืองอาเซียนในรุนหลังตอๆ ไป

กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศนโยบายการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) เพื่อเรงพัฒนาเด็ก และเยาวชนไทยใหเปนทรัพยากรมนุษยของชาติที่มีทักษะและความชํานาญ พรอมเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงและ การแขงขันทั้งในภูมิภาคอาเซียนและภูมิภาคอื่นๆ ของสังคมโลก ทั้งนี้ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และผูปกครอง ควรรวมมือกันอยางใกลชิดในการดูแลชวยเหลือผูเรียนและจัดประสบการณการเรียนรูเพื่อพัฒนาผูเรียนจนเต็มศักยภาพ เพื่อกาวเขาสูการเปนพลเมืองอาเซียนอยางมีเกียรติภูมิและศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของตน คณะผูจัดทํา คูม อื ครู


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 1

วิทยาศาสตร (เฉพาะชั้น ม.1)*

สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต

มาตรฐาน ว 1.1 เขาใจหนวยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธของโครงสราง และหนาที่ของระบบตางๆ ของสิ่งมีชีวิต ที่ทํางานสัมพันธกัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู สื่อสารสิ่งที่เรียนรู และนําความรูไปใชในการดํารง ชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

ม.1 1. สังเกตและอธิบายรูปราง ลักษณะ • เซลลของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียวและเซลลของสิ่งมีชีวิต • หนวยการเรียนรูที่ 1 ของเซลลของสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว หลายเซลล เชน เซลลพืชและเซลลสัตวมีรูปราง หนวยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต และเซลลของสิ่งมีชีวิตหลายเซลล ลักษณะแตกตางกัน 2. สังเกตและเปรียบเทียบ สวนประกอบสําคัญของเซลลพืช และเซลลสัตว

เสร�ม

9

• หนวยการเรียนรูที่ 1 • นิวเคลียส ไซโทพลาซึม และเยื่อหุมเซลล เปน สวนประกอบสําคัญของเซลลที่เหมือนกันของ หนวยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต เซลลพืชและเซลลสัตว • ผนังเซลลและคลอโรพลาสตเปนสวนประกอบที่พบได ในเซลลพืช

3. ทดลองและอธิบายหนาที่ของ • นิวเคลียส ไซโทพลาซึม เยื่อหุมเซลล แวคิวโอล เปน • หนวยการเรียนรูที่ 1 สวนประกอบที่สําคัญของเซลลพืช สวนประกอบสําคัญของเซลลสตั ว มีหนาทีแ่ ตกตางกัน หนวยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต และเซลลสัตว • นิวเคลียส ไซโทพลาซึม เยื่อหุมเซลล แวคิวโอล ผนังเซลล และคลอโรพลาสต เปนสวนประกอบทีส่ าํ คัญ ของเซลลพืช มีหนาที่แตกตางกัน 4. ทดลองและอธิบายกระบวนการ สารผานเซลล โดยการแพร และออสโมซิส

• การแพรเปนการเคลือ่ นทีข่ องสารจากบริเวณทีม่ คี วาม • หนวยการเรียนรูที่ 2 กระบวนการในการดํารงชีวิต เขมขนสูงไปสูบริเวณที่มีความเขมขนตํ่า • ออสโมซิสเปนการเคลื่อนที่ของนํ้าผานเขาและออก ของพืช (ตอนที่ 1) จากเซลล จากบริเวณที่มีความเขมขนของสารละลาย ตํ่าไปสูบริเวณที่มีความเขมขนของสารละลายสูง โดย ผานเยื่อเลือกผาน

5. ทดลองหาปจจัยบางประการทีจ่ าํ เปน • แสง คลอโรฟลล แกสคารบอนไดออกไซด และนํ้า • หนวยการเรียนรูที่ 2 ตอการสังเคราะหดวยแสงของพืช เปนปจจัยที่จําเปนตอกระบวนการสังเคราะหดวยแสง กระบวนการในการดํารงชีวิต และอธิบายวาแสง คลอโรฟลล แกส ของพืช ของพืช (ตอนที่ 1) คารบอนไดออกไซด นํ้า เปนปจจัย ที่จําเปนตองใชในการสังเคราะห ดวยแสง 6. ทดลองและอธิบายผลที่ไดจากการ • นํา้ ตาล แกสออกซิเจน และนํา้ เปนผลิตภัณฑทไี่ ดจาก • หนวยการเรียนรูที่ 2 สังเคราะหดวยแสงของพืช กระบวนการสังเคราะหดวยแสงของพืช กระบวนการในการดํารงชีวิต ของพืช (ตอนที่ 1) 7. อธิบายความสําคัญของกระบวนการ • กระบวนการสังเคราะหดวยแสงมีความสําคัญตอการ • หนวยการเรียนรูที่ 2 สังเคราะหดวยแสงของพืชตอ ดํ า รงชี วิ ต ของสิ่ ง มี ชี วิ ต และต อ สิ่ ง แวดล อ มในด า น กระบวนการในการดํารงชีวิต สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม อาหาร การหมุนเวียนของแกสออกซิเจนและแกส ของพืช (ตอนที่ 1) คารบอนไดออกไซด 8. ทดลองและอธิ บ ายกลุ  ม เซลล ที่ • เนื้อเยื่อลําเลียงนํ้าเปนกลุมเซลลเฉพาะ เรียงตอกัน • หนวยการเรียนรูที่ 2 เกี่ยวของกับการลําเลียงนํ้าของพืช ตั้งแตราก ลําตนจนถึงใบ ทําหนาที่ในการลําเลียงนํ้า กระบวนการในการดํารงชีวิต และธาตุอาหาร ของพืช (ตอนที่ 1) _________________________________ * สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตร. (กรุงเทพมหานคร : ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 10-104.

คูม อื ครู


ชั้น

เสร�ม

10

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

ม.1 9. สังเกตและอธิบายโครงสราง • เนือ้ เยือ่ ลําเลียงนํา้ และเนือ้ เยือ่ ลําเลียงอาหารเปนกลุม • หนวยการเรียนรูที่ 2 ที่ เ กี่ ย วกั บ ระบบลํ า เลี ย งนํ้ า และ เซลลทอี่ ยูค ขู นานกันเปนทอลําเลียงจากราก ลําตนถึง กระบวนการในการดํารงชีวิต อาหารของพืช ใบ ซึง่ การจัดเรียงตัวของทอลําเลียงในพืชใบเลีย้ งเดีย่ ว ของพืช (ตอนที่ 1) และพืชใบเลี้ยงคูจะแตกตางกัน • เนื้อเยื่อลําเลียงนํ้า ทําหนาที่ในการลําเลียงนํ้าและ ธาตุอาหารจากรากสูใ บ สวนเนือ้ เยือ่ ลําเลียงอาหารทํา หนาที่ลําเลียงอาหารจากใบสูสวนตางๆ ของพืช • การคายนํ้ามีสวนชวยในการลําเลียงนํ้าของพืช 10. ทดลองและอธิบายโครงสรางของ • เกสรเพศผูและเกสรเพศเมียเปนโครงสรางที่ใชในการ • หนวยการเรียนรูที่ 3 ดอกทีเ่ กีย่ วของกับการสืบพันธุข อง สืบพันธุของพืชดอก กระบวนการในการดํารงชีวิต พืช ของพืช (ตอนที่ 2) 11. อธิบายกระบวนการสืบพันธุแบบ • กระบวนการสืบพันธุแ บบอาศัยเพศของพืชดอกเปนการ • หนวยการเรียนรูที่ 3 อาศั ย เพศของพื ช ดอกและการ ปฏิสนธิระหวางเซลลสบื พันธุเ พศผูแ ละเซลลไขในออวุล กระบวนการในการดํารงชีวิต สืบพันธุแบบไมอาศัยเพศของพืช • การแตกหนอ การเกิดไหล เปนการสืบพันธุของพืช ของพืช (ตอนที่ 2) โดยใชสวนตางๆ ของพืชเพื่อชวย แบบไมอาศัยเพศ โดยไมมีการปฏิสนธิ ในการขยายพันธุ • ราก ลําตน ใบ และกิ่งของพืชสามารถนําไปใชขยาย พันธุพืชได 12. ทดลองและอธิบายการตอบสนอง • พืชตอบสนองตอสิ่งเราภายนอก โดยสังเกตไดจาก • หนวยการเรียนรูที่ 3 ของพืชตอแสง นํ้า และการสัมผัส การเคลือ่ นไหวของสวนประกอบของพืชทีม่ ตี อ แสง นํา้ กระบวนการในการดํารงชีวิต และการสัมผัส ของพืช (ตอนที่ 2) 13. อธิบายหลักการและผลของการใช • เทคโนโลยีชีวภาพเปนการใชเทคโนโลยีเพื่อทําให • หนวยการเรียนรูที่ 3 เทคโนโลยีชวี ภาพในการขยายพันธุ สิ่งมีชีวิตหรือองคประกอบของสิ่งมีชีวิตมีสมบัติตาม กระบวนการในการดํารงชีวิต ปรับปรุงพันธุ เพิ่มผลผลิตของพืช ตองการ ของพืช (ตอนที่ 2) และนําความรูไปใชประโยชน • การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช และพันธุวิศวกรรม เปน เทคโนโลยีชีวภาพที่ใชในการขยายพันธุปรับปรุงพันธุ และเพิ่มผลผลิตของพืช

สาระที่ 3

สารและสมบัติของสาร

มาตรฐาน ว 3.1 เขาใจสมบัตขิ องสาร ความสัมพันธระหวางสมบัตขิ องสารกับโครงสรางและแรงยึดเหนีย่ วระหวางอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรู นําความรูไปใชประโยชน ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

ม.1 1. ทดลองและจํ า แนกสารเป น กลุ  ม • เมือ่ ใชเนือ้ สารเปนเกณฑ จําแนกสารไดเปนสารเนือ้ เดียว • หนวยการเรียนรูที่ 4 โดยใชเนื้อสารหรือขนาดอนุภาค และสารเนือ้ ผสม ซึง่ สารแตละกลุม จะมีสมบัตแิ ตกตางกัน สมบัติของสารและการจําแนก เปนเกณฑ และอธิบายสมบัติของ • เมือ่ ใชขนาดอนุภาคของสารเปนเกณฑจาํ แนกสารเปน สาร สารในแตละกลุม สารแขวนลอย คอลลอยดและสารละลาย ซึง่ สารแตละ กลุมจะมีสมบัติแตกตางกัน 2. อธิบายสมบัตแิ ละการเปลีย่ นสถานะ • สี รูปราง ขนาด ความแข็ง ความหนาแนน จุดเดือด • หนวยการเรียนรูที่ 4 ของสาร โดยใชแบบจําลองการ จุดหลอมเหลว เปนสมบัตทิ างกายภาพของสาร ความ สมบัติของสารและการจําแนก จัดเรียงอนุภาคของสาร เปนกรด-เบส ความสามารถในการรวมตัวกับสารอืน่ ๆ สาร การแยกสลายของสารและการเผาไหม เปนสมบัตทิ างเคมี • สารตางๆ มีลักษณะการจัดเรียงอนุภาค ระยะหาง ระหวางอนุภาค และแรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาค แตกตางกัน ซึ่งสามารถใชแบบจําลองการจัดเรียง อนุภาคอธิบายสมบัติบางประการของสารได

คูม อื ครู


ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

ม.1 3. ทดลองและอธิ บ ายสมบั ติ ค วาม • สารละลายที่มีนํ้าเปนตัวทําละลาย อาจจะมีสมบัติเปน • หนวยการเรียนรูที่ 4 เปนกรด เบส ของสารละลาย กรด กลาง หรือเบส ซึง่ สามารถทดสอบไดดว ยกระดาษ สมบัติของสารและการจําแนก ลิตมัส หรืออินดิเคเตอร สาร 4. ตรวจสอบคา pH ของสารละลาย • ความเปนกรด-เบสของสารละลาย ระบุเปนคา pH • หนวยการเรียนรูที่ 4 และนําความรูไปใชประโยชน ซึ่ ง ตรวจสอบได ด  ว ยเครื่ อ งมื อ วั ด ค า pH หรื อ สมบัติของสารและการจําแนก ยูนิเวอรซัลอินดิเคเตอร สาร • ผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ ใ ช ใ นชี วิ ต ประจํ า วั น อาจมี ค วามเป น กรด-เบสแตกตางกันจึงควรเลือกใชใหถกู ตองปลอดภัย ตอตนเองและสิ่งแวดลอม

เสร�ม

11

มาตรฐาน ว 3.2 เขาใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิดสารละลาย การเกิดปฏิกิริยา มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรู และนําความรูไปใชประโยชน ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

ม.1 1. ทดลองและอธิ บ ายวิ ธี เ ตรี ย ม • สารละลายประกอบดวยตัวละลายและตัวทําละลาย • หนวยการเรียนรูที่ 4 สารละลายที่ มี ค วามเข ม ข น เป น สารละลายที่ระบุความเขมขนเปนรอยละ หมายถึง สมบัติของสารและการจําแนก รอยละ และอภิปรายการนําความรู สารละลายทีม่ อี ตั ราสวนของปริมาณตัวละลาย ละลาย สาร เกี่ยวกับสารละลายไปใชประโยชน อยูในสารละลายรอยสวน • ในชีวติ ประจําวัน ไดมกี ารนําความรูเ รือ่ งสารละลายไป ใชประโยชนทางดานการเกษตร อุตสาหกรรมอาหาร การแพทย และดานอื่น ๆ 2. ทดลองและอธิบายการเปลีย่ นแปลง • เมือ่ สารเกิดการเปลีย่ นสถานะและเกิดการละลาย มวล • หนวยการเรียนรูที่ 4 สมบัติ มวลและพลังงานของสาร ของสารจะไมเปลี่ยนแปลง แตสมบัติทางกายภาพ สมบัติของสารและการจําแนก เมื่อสารเปลี่ยนสถานะและเกิดการ เปลี่ยนแปลง รวมทั้งมีการถายโอนพลังงานระหวาง สาร ละลาย ระบบกับสิ่งแวดลอม 3. ทดลองและอธิบายปจจัยที่มีผลตอ • อุณหภูมิ ความดัน ชนิดของสารมีผลตอการเปลี่ยน • หนวยการเรียนรูที่ 4 การเปลี่ยนสถานะ และการละลาย สถานะ และการละลายของสาร สมบัติของสารและการจําแนก ของสาร สาร

สาระที่ 4

แรงและการเคลื่อนที่

มาตรฐาน ว 4.1 เขาใจธรรมชาติของแรงแมเหล็กไฟฟา แรงโนมถวง และแรงนิวเคลียร มีกระบวนการสืบเสาะหา ความรู สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชนอยางถูกตองและมีคุณธรรม ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

ม.1 1. สืบคนขอมูล และอธิบายปริมาณ • ปริมาณทางกายภาพแบงเปนปริมาณสเกลารและ • หนวยการเรียนรูที่ 5 สเกลาร ปริมาณเวกเตอร ปริมาณเวกเตอร ปริมาณสเกลารเปนปริมาณที่มีแต แรงและการเคลื่อนที่ ขนาด ปริมาณเวกเตอรเปนปริมาณที่มีทั้งขนาดและ ทิศทาง 2. ทดลองและอธิบายระยะทาง • การเคลือ่ นทีข่ องวัตถุเกีย่ วของกับระยะทาง การกระจัด • หนวยการเรียนรูที่ 5 การกระจัด อัตราเร็ว และความเร็ว อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง คือ ความยาวที่วัดตาม แรงและการเคลื่อนที่ ในการเคลื่อนที่ของวัตถุ แนวทางการเคลื่อนที่ของวัตถุจากตําแหนงเริ่มตน ไปยังตําแหนงสุดทาย การกระจัด คือ เวกเตอรที่ชี้ ตําแหนงสุดทายของวัตถุเทียบกับตําแหนงเริ่มตน อัตราเร็ว คือ ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ไดในหนึ่งหนวย เวลา ความเร็ว คือ การกระจัดของวัตถุในหนึง่ หนวยเวลา

คูม อื ครู


สาระที่ 5

พลังงาน

มาตรฐาน ว 5.1 เขาใจความสัมพันธระหวางพลังงานกับการดํารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน ปฏิสัมพันธระหวางสาร และพลังงาน ผลของการใชพลังงานตอชีวิตและสิ่งแวดลอม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู สื่อสาร สิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน ชั้น

เสร�ม

12

ตัวชี้วัด

ม.1 1. ทดลองและอธิบายอุณหภูมิ และการวัดอุณหภูมิ

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• การวัดอุณหภูมิเปนการวัดระดับความรอนของสาร • หนวยการเรียนรูที่ 6 สามารถวัดดวยเทอรมอมิเตอร พลังงานความรอน

2. สั ง เกตและอธิ บ ายการถ า ยโอน • การถายโอนความรอนมีสามวิธี คือ การนําความรอน • หนวยการเรียนรูที่ 6 ความร อ น และนํ า ความรู  ไ ปใช การพาความรอนและการแผรังสีความรอน พลังงานความรอน ประโยชน • การนําความรอน เปนการถายโอนความรอนโดยการสัน่ ของโมเลกุล • การพาความรอน เปนการถายโอนความรอนโดยโมเลกุล ของสารเคลื่อนที่ไปดวย • การแผรังสีความรอน เปนการถายโอนความรอนจาก คลื่นแมเหล็กไฟฟา • การนําความรูเ รือ่ งการถายโอนความรอนไปใชประโยชน 3. อธิบายการดูดกลืน การคาย • วัตถุทแี่ ตกตางกันมีสมบัตใิ นการดูดกลืนความรอนและ • หนวยการเรียนรูที่ 6 ความรอน โดยการแผรังสี และนํา คายความรอนไดตางกัน พลังงานความรอน ความรูไปใชประโยชน • การนําความรูเรื่องการดูดกลืนความรอนและการคาย ความรอนไปใชประโยชน 4. อธิบายสมดุลความรอนและผลของ • เมื่อวัตถุสองสิ่งอยูในสมดุลความรอน วัตถุทั้งสองมี • หนวยการเรียนรูที่ 6 ความรอนตอการขยายตัวของสาร อุณหภูมิเทากัน พลังงานความรอน และนําความรูไ ปใชในชีวติ ประจําวัน • การขยายตัวของวัตถุเปนผลจากความรอนทีว่ ตั ถุไดรบั เพิ่มขึ้น • การนําความรูเรื่องการขยายตัวของวัตถุเมื่อไดรับ ความรอนไปใชประโยชน

สาระที่ 6

กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก

มาตรฐาน ว 6.1 เขาใจกระบวนการตางๆ ทีเ่ กิดขึน้ บนผิวโลกและภายในโลก ความสัมพันธของกระบวนการตางๆ ทีม่ ผี ล ตอการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐานของโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู และจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

ม.1 1. สืบคนและอธิบายองคประกอบและ • บรรยากาศของโลกประกอบดวยสวนผสมของแกส • หนวยการเรียนรูที่ 7 การแบงชั้นบรรยากาศที่ปกคลุม ตางๆ ที่อยูรอบโลกสูงขึ้นไปจากพื้นผิวโลกหลาย บรรยากาศ (ตอนที่ 1) ผิวโลก กิโลเมตร • บรรยากาศแบงเปนชั้นตามอุณหภูมิและการ เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิตามความสูงจากพื้นดิน 2. ทดลองและอธิบายความสัมพันธ ระหวางอุณหภูมิ ความชื้น และความกดอากาศที่มีผลตอ ปรากฏการณทางลมฟาอากาศ

คูม อื ครู

• อุณหภูมิ ความชื้นและความกดอากาศ มีผลตอ ปรากฏการณทางลมฟาอากาศ

• หนวยการเรียนรูที่ 7 บรรยากาศ (ตอนที่ 1)


ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

ม.1 3. สังเกต วิเคราะห และอภิปรายการ • ปรากฏการณทางลมฟาอากาศ ไดแก การเกิดเมฆ • หนวยการเรียนรูที่ 8 เกิดปรากฏการณทางลมฟาอากาศ ฝน พายุฟาคะนอง พายุหมุนเขตรอน ลมมรสุม ฯลฯ บรรยากาศ (ตอนที่ 2) ที่มีผลตอมนุษย 4. สืบคน วิเคราะห และแปลความหมาย • การพยากรณอากาศอาศัยขอมูลเกี่ยวกับอุณหภูมิ • หนวยการเรียนรูที่ 8 ขอมูลจากการพยากรณอากาศ ความกดอากาศ ความชืน้ ปริมาณเมฆ ปริมาณนํา้ ฝน บรรยากาศ (ตอนที่ 2) และนํามาแปลความหมายเพื่อใชในการทํานายสภาพ อากาศ 5. สืบคน วิเคราะห และอธิบายผล • สภาพลมฟาอากาศที่เปลี่ยนแปลงบนโลกทําใหเกิด • หนวยการเรียนรูที่ 8 ของลมฟาอากาศตอการดํารงชีวิต พายุ ปรากฏการณเอลนิโญ ลานีญา ซึ่งสงผลตอการ บรรยากาศ (ตอนที่ 2) ของสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดลอม ดํารงชีวิตของมนุษย และสิ่งแวดลอม

เสร�ม

13

6. สืบคน วิเคราะห และอธิบายปจจัย • ปจจัยทางธรรมชาติและการกระทําของมนุษย เชน • หนวยการเรียนรูที่ 8 ทางธรรมชาติและการกระทําของ ภูเขาไฟระเบิด การตัดไมทําลายปา การเผาไหมของ บรรยากาศ (ตอนที่ 2) มนุษยที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลง เครือ่ งยนตและการปลอยแกสเรือนกระจก มีผลทําให อุณหภูมิของโลก รูโหวโอโซน และ เกิดภาวะโลกรอน รูโหวของชั้นโอโซน และฝนกรด ฝนกรด • ภาวะโลกรอนคือปรากฏการณทอี่ ณ ุ หภูมเิ ฉลีย่ ของโลก สูงขึ้น 7. สืบคน วิเคราะหและอธิบายผล ของภาวะโลกรอน รูโหวโอโซน และฝนกรด ที่มีตอสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดลอม

สาระที่ 8

• ภาวะโลกรอนทําใหเกิดการละลายของธารนํ้าแข็ง • หนวยการเรียนรูที่ 8 ระดับนํา้ ทะเลสูงขึน้ การกัดเซาะชายฝง เพิม่ ขึน้ นํา้ ทวม บรรยากาศ (ตอนที่ 2) ไฟปา สงผลใหสิ่งมีชีวิตบางชนิดสูญพันธุและทําให สิ่งแวดลอมเปลี่ยนแปลงไป • รูโหวโอโซนและฝนกรดมีผลตอการเปลี่ยนแปลงของ สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม

ธรรมชาติของวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี

มาตรฐาน ว 8.1 ใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรและจิตวิทยาศาสตร ในการสืบเสาะหาความรู การแกปญหา รูวา ปรากฏการณทางธรรมชาติทเี่ กิดขึน้ สวนใหญมรี ปู แบบแนนอน สามารถอธิบายและตรวจสอบไดภายใต ขอมูลและเครื่องมือที่มีอยูในชวงเวลานั้นๆ เขาใจวา วิทยาศาสตร เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดลอม มีความเกี่ยวของสัมพันธกัน ชั้น

ตัวชี้วัด

ม.1 1. ตั้งคําถามที่กําหนดประเด็นหรือ ตัวแปรที่สําคัญในการสํารวจ ตรวจสอบ หรือศึกษาคนควาเรื่อง ที่สนใจไดอยางครอบคลุมและ เชื่อถือได 2. สรางสมมติฐานที่สามารถ ตรวจสอบไดและวางแผนการ สํารวจตรวจสอบหลายวิธี 3. เลือกเทคนิควิธีการสํารวจ ตรวจสอบทั้งเชิงปริมาณและ เชิงคุณภาพที่ไดผลเที่ยงตรงและ ปลอดภัย โดยใชวัสดุและเครื่องมือ ที่เหมาะสม

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน • หนวยการเรียนรูที่ 1-8

-

-

• หนวยการเรียนรูที่ 1-8 • หนวยการเรียนรูที่ 1-8

-

คูม อื ครู


ชั้น

ตัวชี้วัด

ม.1 4. รวบรวมขอมูล จัดกระทําขอมูล เชิงปริมาณและคุณภาพ

เสร�ม

14

5. วิเคราะหและประเมิน ความสอดคลองของประจักษ พยานกับขอสรุป ทั้งที่สนับสนุน หรือขัดแยงกับสมมติฐาน และ ความผิดปกติของขอมูลจากการ สํารวจตรวจสอบ 6. สรางแบบจําลอง หรือรูปแบบ ที่อธิบายผลหรือแสดงผลของ การสํารวจตรวจสอบ 7. สรางคําถามที่นําไปสูการสํารวจ ตรวจสอบ ในเรื่องที่เกี่ยวของ และ นําความรูที่ไดไปใชในสถานการณ ใหมหรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงาน หรือชิ้นงานใหผูอื่นเขาใจ 8. บันทึกและอธิบายผลการสังเกต การสํารวจ ตรวจสอบ คนควา เพิ่มเติมจากแหลงความรูตางๆ ให ไดขอมูลที่เชื่อถือได และยอมรับ การเปลี่ยนแปลงความรูที่คนพบ เมื่อมีขอมูลและประจักษพยานใหม เพิ่มขึ้นหรือโตแยงจากเดิม 9. จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงาน หรือชิ้นงานใหผูอื่นเขาใจ

คูม อื ครู

สาระการเรียนรูแกนกลาง -

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน • หนวยการเรียนรูที่ 1-8 • หนวยการเรียนรูที่ 1-8

-

-

• หนวยการเรียนรูที่ 1-8 • หนวยการเรียนรูที่ 1-8

-

• หนวยการเรียนรูที่ 1-8 -

• หนวยการเรียนรูที่ 1-8 -


คําอธิบายรายวิชา รายวิชา วิทยาศาสตร เลม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 รหัสวิชา ว…………………………………

กลุมสาระการเรียนรู วิทยาศาสตร ภาคเรียนที่ 2 เวลา 60 ชั่วโมง/ป

ศึกษา วิเคราะหปริมาณสเกลาร ปริมาณเวกเตอร ระยะทาง การกระจัด อัตราเร็ว และความเร็วใน เสร�ม การเคลื่อนที่ของวัตถุ การถายโอนความรอน การขยายตัวของวัตถุ การดูดกลืนแสงและการคายความรอน 15 สวนประกอบและการแบงชั้นบรรยากาศ อุณหภูมิของอากาศ ความชื้น ความกดดันอากาศ ลมฟาอากาศ และภูมิอากาศ การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศและการพยากรณอากาศ การกระทําของมนุษยที่มีผลตอการ เปลีย่ นแปลงอุณหภูมขิ องโลก และผลของภาวะโลกรอน รูโหวโอโซนและฝนกรดทีม่ ตี อ สิง่ มีชวี ติ และสิง่ แวดลอม โดยใชกระบวนการทางวิทยาศาสตร การสืบเสาะหาความรู การสํารวจตรวจสอบ การสืบคนขอมูลและ อภิปราย เพื่อใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่ไดเรียนรู มีความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณคาของการนําความรูไปใชในชีวิตประจําวัน มีจิตวิทยาศาสตร จริยธรรม คุณธรรม และคานิยม ที่เหมาะสม ตัวชี้วัด ว 4.1 ว 5.1 ว 6.1 ว 8.1

ม.1/1 ม.1/1 ม.1/1 ม.1-3/1

ม.1/2 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ม.1/6 ม.1/7 ม.1-3/2 ม.1-3/3 ม.1-3/4 ม.1-3/5 ม.1-3/6 ม.1-3/7 ม.1-3/8 ม.1-3/9 รวม 22 ตัวชี้วัด

คูม อื ครู


คูม อื ครู

บรรยากาศ (ตอนที่ 2)

หนวยการเรียนรูที่ 8

บรรยากาศ (ตอนที่ 1)

หนวยการเรียนรูที่ 7

พลังงานความรอน

หนวยการเรียนรูที่ 6

แรงและการเคลือ่ นที่

หนวยการเรียนรูที่ 5

กระบวนการทางวิทยาศาสตร เลม 2

หนวยการเรียนรูพิเศษ

สมบัตขิ องสารและ การจําแนกสาร

หนวยการเรียนรูที่ 4

กระบวนการในการดํารงชีวติ ของพืช (ตอนที่ 2)

หนวยการเรียนรูที่ 3

กระบวนการในการดํารงชีวติ ของพืช (ตอนที่ 1)

หนวยการเรียนรูที่ 2

หนวยพืน้ ฐานของสิง่ มีชวี ติ ✓ ✓ ✓

หนวยการเรียนรูที่ 1

เลม 1

ตัวชี้วัด

ตัวชี้วัด

ตัวชี้วัด

ตัวชี้วัด

สาระที่ 4

ตัวชี้วัด

สาระที่ 5

มาตรฐาน มาตรฐาน มาตรฐาน ว 5.1 ว 3.2 ว 4.1

ตัวชี้วัด

มาตรฐาน ว 6.1

สาระที่ 6 ตัวชี้วัด

มาตรฐาน ว 8.1

สาระที่ 8

✓✓✓✓✓✓ ✓✓✓✓ ✓✓✓✓✓✓✓

✓✓ ✓✓✓✓ ✓✓

✓✓✓✓✓✓✓✓✓✓✓✓✓✓

✓✓✓✓✓✓✓✓✓

✓✓✓✓✓✓✓✓✓

✓✓✓✓✓✓✓✓✓

✓✓✓✓✓✓✓✓✓

✓✓✓✓✓✓✓✓✓

✓✓✓✓✓✓✓✓✓

✓✓✓✓✓✓✓✓✓

✓✓✓✓✓✓✓✓✓

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 4 5 6 7 1 2 3 4 5 6 7 8 9

มาตรฐาน ว 3.1

สาระที่ 3

เสร�ม

16

มาตรฐาน ว 1.1

สาระที่ 1

ตาราง วิเคราะหมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด รายวิชา วิทยาศาสตร ม.1

คําชี้แจง : ใหผูสอนใชตารางนี้ตรวจสอบความสอดคลองของเนื้อหาสาระการเรียนรูในหนวยการเรียนรูกับมาตรฐาน การเรียนรูและตัวชี้วัดชั้นป


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹

วิทยาศาสตร เลม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1

¡ÅØ‹ÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒÇÔ·ÂÒÈÒʵà ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

ผูเรียบเรียง

รศ. ดร. ยุพา วรยศ นายถนัด ศรีบุญเรือง มิสเตอรโจ บอยด มิสเตอรวอลเตอร ไวทลอร

ผูตรวจ

ดร. ฤทธิ์ วัฒนชัยยิ่งเจริญ นางกุณฑรี เพ็ชรทวีพรเดช นางสาวอารียา ศรีประเสริฐ

บรรณาธิการ

นายวิโรจน เตรียมตระการผล นางสาววราภรณ ทวมดี พิมพครั้งที่ 8

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ ISBN : 978-616-203-096-3

¤Œ¹¤ÇÒÁÃÙŒ¢ÂÒ¤ÇÒÁ¤Ô´¨Ò¡ ¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè 1 ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ 2148018

EB GUIDE

ที่พิมพกํากับหัวขอสําคัญในหนังสือเรียนหลักสูตรแกนกลางฯ ผาน www.aksorn.com ไปยังแหลงความรูทั่วไทย-ทั่วโลก

คณะผูจัดทําคูมือครู

พัชรินทร แสนพลเมือง สายสุนีย งามพรหม จิตรา สังขเกื้อ


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

¤íÒ¹íÒ วิทยาศาสตรเปนวิชาทีม่ บี ทบาทสําคัญยิง่ ตอสังคมทัง้ ในโลกปจจุบนั และอนาคต เพราะวิทยาศาสตร มีความเกีย่ วของกับเราทุกคนทัง้ ในการดําเนินชีวติ ประจําวัน การประกอบอาชีพการงานตางๆ ตลอดจน เทคโนโลยี เครื่องมือเครื่องใชและผลผลิตตางๆ ที่มนุษยสรางสรรคขึ้นมา วิทยาศาสตรชวยพัฒนาความคิดของมนุษย ใหคิดเปนเหตุเปนผล คิดสรางสรรค คิดวิเคราะห วิจารณ มีทักษะสําคัญในการแสวงหาความรู สามารถแกไขปญหาอยางเปนระบบ สามารถตัดสินใจ โดยใชขอมูลที่หลากหลายและมีประจักษพยานที่ตรวจสอบได วิทยาศาสตรจึงเปนวัฒนธรรมของ โลกสมัยใหมที่เราทุกคนจําเปนตองไดรับการพัฒนา สําหรับหนังสือเรียนรายวิชาพืน้ ฐาน วิทยาศาสตร ชุดนี้ สาระภายในเลมไดพฒ ั นามาจากหนังสือ ชุด New Understanding Science ของประเทศอังกฤษ โดยเรียบเรียงใหสอดคลองกับตัวชี้วัดและสาระ การเรียนรูแกนกลาง ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เนื้อหาภายใน เลมจะเรียงไปตามสาระ และแบงยอยเปนหนวยการเรียนรู การนําเสนอนอกจากเนื้อหาสาระแลว ก็จะ มีกจิ กรรมพัฒนาทักษะวิทยาศาสตรแทรกคัน่ ไวให และทุกทายหนวยการเรียนรู จะมีกจิ กรรมสรางสรรค พัฒนาที่เปนกิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตรทบทวนอีกครั้งหนึ่ง ทัง้ นี้ในแตละชัน้ จะแบงหนังสือเรียนออกเปน 2 เลม ใชประกอบการเรียนการสอนภาคเรียนละเลม ซึ่งในชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 จัดแบงเนื้อหาตามสาระ ดังนี้ วิทยาศาสตร ม.1 เลม 1 มีเนื้อหาเกี่ยวกับกระบวนการศึกษาวิทยาศาสตร หนวยพื้นฐานของ สิง่ มีชวี ติ กระบวนการในการดํารงชีวติ ของพืช สมบัตขิ องสารและการ จําแนกสาร วิทยาศาสตร ม.1 เลม 2 มีเนื้อหาเกี่ยวกับแรงและการเคลื่อนที่ พลังงานความรอน และ บรรยากาศ ในการเรียบเรียงพยายามใหนักเรียนสามารถอานทําความเขาใจไดงาย ชัดเจน ไดรับความรู ตรงตามประเด็น ในสาระการเรี ยนรู  แกนกลาง อํ านวยความสะดวกทั้ ง ต อ ครู ผู  ส อนและนั ก เรี ย น หวังเปนอยางยิ่งวาหนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน วิทยาศาสตรชุดนี้ จะมีสวนชวยใหการจัดการ เรียนการสอนวิทยาศาสตร ระดับมัธยมศึกษาปที่ 1-3 สัมฤทธิผ์ ลตามเปาหมาย และมีสว นชวยใหนกั เรียน มีคุณภาพอยางที่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานไดกําหนดไว ¼ÙŒàÃÕºàÃÕ§


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

¤íÒá¹Ð¹íÒ㹡ÒÃ㪌˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน วิทยาศาสตร ม.1 เลม 2 เลมนี้ สรางขึ้นเพื่อใหเปนสื่อสําหรับใชประกอบการเรียนการสอน ในรายวิชาพืน้ ฐาน กลุม สาระการเรียนรูว ทิ ยาศาสตร ชัน้ มัธยมศึกษาปท่ี 1 โดยเนือ้ หาตรงตามสาระการเรียนรูแ กนกลางขัน้ พืน้ ฐาน อานทําความเขาใจงาย ใหทง้ั ความรูแ ละชวยพัฒนาผูเ รียนตามหลักสูตร และตัวชี้วัด เนื้อหาสาระแบงออกเปนหนวยการเรียนรูตามโครงสรางรายวิชา สะดวกแกการจัดการเรียนการสอนและการวัดผล ประเมินผล พรอมเสริมองคประกอบอืน่ ๆ ทีจ่ ะชวยทําใหผเู รียนไดรบั ความรูอ ยางมีประสิทธิภาพ

¨Ñ´¡ÅØ‹Áà¹×éÍËÒ໚¹Ë¹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ Êдǡᡋ¡ÒèѴ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹

5

ห น่ ว

ยก

ี่ รยี นรู​ู้ท าร เ

à¹×éÍËҵçµÒÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹Ãٌ᡹¡ÅÒ§ ãËŒ¤ÇÒÁÃÙŒáÅÐàÍ×é͵‹Í¡ÒùíÒä»ãªŒÊ͹à¾×èÍ ãËŒºÃÃÅصÑǪÕéÇÑ´ áÅÐÊÌҧ¤Ø³ÅѡɳРÍѹ¾Ö§»ÃÐʧ¤

à¡ÃÔè¹¹íÒà¾×èÍãˌࢌÒ㨶֧ÊÒÃÐÊíÒ¤ÑÞ ã¹Ë¹‹Ç·Õè¨ÐàÃÕ¹

Web Guide á¹Ð¹íÒáËÅ‹§¤Œ¹¤ÇŒÒ ¢ŒÍÁÙÅà¾ÔèÁàµÔÁ¼‹Ò¹Ãкº Online

5.2 การเคลื่อนที่ของวัตถุ

5.1 แรง

แรงและการเคลื

่อให้วัตถุ ในรูปของกำรดึงหรือผลัก เพื แรง คือ สิ่งที่กระท�ำต่อวัตถุ ลือ่ นทีห่ รือไม่ก็ได้ ำต่อวัตถุแล้ววัตถุนนั้ อำจจะเค เคลือ่ นที่ แต่เมือ่ ออกแรงกระท� กรณีออกแรง แรงต่ำงๆ ทีม่ ำกระท�ำต่อวัตถุ ทัง้ นีข้ นึ้ กับขนำดและทิศทำงของ เช่น เสำหรือก�ำแพง เสำหรือก�ำแพง แรง ง งแข็ ำ ย่ อ ไว้ ด ึ ย ่ ี ท ถุ ต วั ได้แก่ แรง กระท�ำกับ วนอื่นกระท�ำต่อวัตถุด้วย ซึ่ง ย่อมไม่เคลื่อนที่ เพรำะมีแรงจำกส่ ำงก�ำแพงกับพืน้ ปูน ซึง่ มีแรงต้ำนทำน อระหว่ ยึดเหนีย่ วระหว่ำงเสำกับดิน หรื บวัตถุหนึ่ง อำจท�ำให้วัตถุเกิด ของเรำ โดยเมื่อแรงกระท�ำกั ำกกว่ำแรงผลักของเร มมำกกว่ ดังนี้ ำรเปลี่ยนแปลงได้ใน 4 รูปแบบ ่อนที่ กกำรเปลี ำจเริ่มเคลื 1. วัตถุที่อยู่นิ่งออำจเริ ่อยู่เปลี่ยนแปลงไป ำมเร็วของวัตถุที่ก�ำลังเคลื่อนที นแปลงไป ควำมเร็ คว 2. ควำ จเปลี่ย คลื่อนที่ของวัตถุอำจเปลี งกำำรเคลื ำงก ทำงกำรเ 3. ทิศททำ จเปลี่ยนแปลงไป งวัตถุอำำจเปลี ำดของวั ขนำดขอ ขนำ 4. รูปร่ำง ขน

่อนที่

ในชีวติ ประจำ� วั ใช้แรงในกำรท�ำกิจกรรม แรงผลัก แรงบีบ แรงกนของคนเรำำำใช้ ต่ำงๆ ต่อวัตถุ จะท�ำให้ว ด แรงบิด และแรงพยุง เป็นต้น ผลข เช่น แรงดึง แรงดัน ัตถุ เร็วขึ้น ช้ำลง หรือ นั้นเคลื่อนที่ เปลี่ยนรูปร่ำง เปลี่ยนทิ องกำรออกแรงที่กระท�ำ หยุ ศทำง ระยะทำงและเวลำ ดนิ่ง ซึ่งกำรเคลื่อนที่ของวัตถุด้วยควำ ท�ำให้วัตถุเคลื่อนที่ มเร็วนั้นจะเกี่ยวข้อ งกับ

ตัวชี้วัดชั้นปี มฐ. ว 4.1 ม.1/1, 2 • สืบค้นข้อมูล และอธ ิบำยปริมำณสเกลำร์ เวกเตอร์ ปริมำณ • ทดลองและอธ ิบำยระยะทำง กำรกระ และควำมเร็วในกำรเ คลื่อนที่ของวัตถุ จัด อัตรำเร็ว มฐ. ว 8.1 ม.1-3/1 , • ข้อ 1 - ข้อ 9 2, 3, 4, 5, 5, 6, 7, 8, 9

่อนที่

แรงท�ำให้วัตถุที่หยุดนิ่งเริ่มเคลื

โลกรอบตัวเรำไม่เคยหยุดนิ่ง สิ่งต่ำ งๆ มีกำรเคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลำ เช่น รถยนต์แล่นบนท้องถนน เครื่อ งบินบิน วัตถุจะเคลื่อนที่ได้นั้น ต้องมีแรงมำกระ อยู่บนท้องฟ้ำ เป็นต้น ซึ่งกำรที่ ท�ำต่อวัตถุ

5.2.1 กฎการเคลื่อนที่ของนิ

วตัน

ในชีวิตประจ�ำวันของเรำจะสัมพันธ์ กำรเคลื่อนที่อยู่เสมอ เช่น กำรเคลืกับ ่อนที่ของ ยำนพำหนะ

ภาพ

ณท 5.1.1 ปริมาณทางกายำต้​้องพบเห็นและเกี่ยวข้องกับปริมำำณทำง

รเคลื่อื นที่ ำงกำรเคลื ทำงกำรเคล แรงท�ำให้วัตถุเปลี่ยนทิศททำ

ัญลักษณ์

ตัวอย่างหน่วยวัดปริมาณและส

ปริมาณ

ำง ำรชั่งมวลของวัตถุ เป็นตัวอย่ กกำรชั ณสเกลำำร์ ณสเกล ำรวัดปริมำำณสเกลำร์ กกำรวั

มวล มยำำว ควำมย ควำมยำว ควำ เวลำำ เวล แรง กระแสไฟฟำ้ พื้นที่ ตร ปริมำำตร อุณหภูมิ

เมื่อนั่งบนเก้ำอี้ที่มีล้อเลื่อน แล้วใช้ ก�ำแพง เรำจะเคลื่อนถอยออกจำกก�มือผลัก เนื่องจำกแรงปฏิกิริยำที่ก�ำแพงมีต่อ ำแพง แรงผลัก จำกมือเรำ

สัญลักษณ์ kg m s N A m2 m3 �c

หน่วยวัด กิโลกรัม เมตร วินำำทีที นิวตัน แอมแปร์ ำรำงเมตร ตตำรำงเมตร ำศก์เมตร บบำศก์ ลูกบำ ำเซลเซียี ส องศำเซลเซ องศำ องศ

400 m c

2

500

b a m

300 m

สาระการเรียนรู้แกนกลา ง • ปริมำณทำงกำยภำ ปริมำณเวกเตอร์ พแบ่งเป็นปริมำณสเกลำร์และ ขน ขนำด ปริมำณเวกปริมำณสเกลำร์เป็นปริมำณที ณทีม่ แี ต่ เตอร์เป็นปริมำณที ทิศทำง ม่ ที งั้ ขนำดและ • กำรเคลอื่ นทีข่ องวั ต ถุ เ กี ย ่ วข้องกับระยะทำง กำรกระ อัตรำเร็ว ควำมเร จัด แนวทำงกำรเคลื ว็ ระยะทำง คือ ควำมยำวทีว่ ดั ตำม ยังต�ำแหน่งสุดท้อ่ ำนทีข่ องวัตถุจำกต�ำแหน่งเริม่ ต้นไป ย กำรกระจัด คือ ต�ำแหน่งสุดท้ำยของว เวกเตอร์ อัตรำเร็ว คือ ระยะท ัตถุเทียบกับต�ำแหน่งเริ่มต้ทนี่ชี้ ำงที งที่วัตถุเคลื่อนที่ไ หน่วยเวลำ ควำมเร ด้ในหนึ หนึ่งหน่วยเวลำ ็ว คือ กำรกระจัดของวัตถุใน่ง

ของเรำต ของเรำ ในชีวิตประจ�ำวันของเร ำรบอก เป็นต้น กกำรบอก ำ เป็ ฟฟ้ฟ้ำ เป็ แสไฟฟ้ กระแสไฟ ำ กระแสไ เวลำ กระ เวลำ มยำำว มวล เวล ำมย ควำมยำว ควำ เช่น คว เช่ ลอดเวลำ เช่ อยูต่ ลอดเวลำ ยภำำพอยู ำยภ กกำยภำพ มำรถเข้​้ำใจได้ ณให้สำำมำรถเข ิดของปริมำำณให้ ณเหล่ำนี้จะมีหน่วยวัด เพื่อแสดงชนนระยะท วล 15 ปริมำำณเหล่ ำง 200 เมตร ใช้เวลำ 15 ะทำง ำนระยะทำ รยำนระย รยำ กย ว 2 เมตร ขี่จักรย ตรงกัน เช่น เชือกยำว ยภำำพ แบ่งออกเป็น ยภ งกำำำยภำพ ณทำำงก ณท ณที่มีแต่ วินำำทีที เป็นต้น ปริมำำณทำงก ำยถึง ปริมำำณที หมำยถึ หม quantity) หมำ ำ 1) ปริมาณสเกลาร์ (scalar เวลำ ตร มวล เวล มยำำวพื้นที่ ปริมำำตร ำมย ควำมยำ ควำ ำง เช่น คว ททำง ำกมี วหำกมี วหำ ำดเพียี งอย่ำงเดียว ไม่มีทิศทำ ขนำดเพ ขนำ ขน ณดังกล่ำวห ำน เป็นต้น ปริมำำณดั งงำน ำเร็ว พลังงำ รรำเร็ แน่น อัตรำ มหนำำำแน่ ำมหน ควำมหน ควำ ว 10 เมตร อุณหภูมิ คว ย้ ำำว10 นี น กเส้ อ เชื น เช่ ว ล้ แ ณ์ ร มหมำำยสมบู ำมหม วำมหมำ งขนำำดก็มคี ววำ เพียี งขน รบอกเพ ำรบอกเพ กกำรบอก เซียส เป็นต้น เซลเซี ำ องศำเซล องศำ 30 ด สุ ง ู ส ิ ม หภู ณ ุ อ ้ วัตถุก้อนนี้มีมวล 5 กรัม วันนี

EB GUIDE

เซอร์ไอแซก นิวตัน (Sir Isaac Newton) เป็นผูค้ น้ พบกฎกำรเคลือ่ นที่ ของวัตถุ ซึ่งมีอยู่ 3 ข้อ ดังนี้ กฎข้อที่ 1 ของนิวตัน มีใจควำมว่ สภาพเคลอื่ นทีอ่ ย่างสม�า่ เสมอ นอกจากจ ำ “วัตถุจะรักษาสภาพอยู่นิ่งหรือ ะมีแรงลัพธ์ทมี่ คี า่ ไม่เท่ากับศูนย์มา กระท�าต่อวัตถุ” กล่ำวคือ วัตถุจะพยำยำม รักษำสภำพเดิมอยู่เสมอ ถ้ำอยู่นิ่ง ก็จะอยู่นิ่งตลอดเวลำ ถ้ำเคลื่อนที่ก ็จะเคลื่อนที่ด้วยควำมเร็วคงที่ต่อไป กฎข้อที่ 2 ของนิวตัน มีใจควำมว่ำ “เมื่อมีแรงลัพธ์ที่มีค่าไม่เท่ากับ ศูนย์มากระท�าต่อวัตถุ จะท�าให้วัตถุ เคลื่อนที่ด้วยความเร่งในทิศเดียวกับ แรง ลัพธ์ และขนาดของความเร่งจะแปรผั นตรงกับขนาดของแรงลัพธ์” กฎข้อที่ 3 ของนิวตัน มีใจควำมว่ำ “ทุ กแรงกิรยิ าย่อมมีแรงปฏิกริ ยิ า ที่มีขนาดเท่ากันแต่มีทิศทางตรงข้า มกันเสมอ” กล่ำวคือ เมื่อวัตถุอัน หนึ่ง ออกแรงกระท�ำต่อวัตถุอกี อันหนึง่ (แรงกิ รยิ ำ) วัตถุอนั หลังจะออกแรงกระท�ำต่ อ วัตถุอนั แรกด้วยแรงขน ยแรงขนำดเท่ำกันในทิศทำงตรงขำ้ มกั น (แรงปฏิกริ ยิ ำ) โดยแรง ทั้งสองจะเกิดพร้อมกัน

5.2.2 ปริมาณที่เกี่ยวข้องกับ

การเคลื่อนที่

ในชีวติ ประจ�ำวันของเรำเกยี่ วข้องกับ กำรเคลือ่ นทีข่ องวัตถุ ซึง่ ปริมำณ ต่ำงๆ ที่เกี่ยวข้องกับกำรเคลื่อนที่ ได้แก่ ระยะทำง กำรกระจัด ควำมเร็ ว และอัตรำเร็ว 1) ระยะทาง (distance) คือ ควำมยำว ทีว่ ดั ตำมแนวทำงกำรเคลอื่ นที่ ของวัตถุจำกต�ำแหน่งเริ่มต้นไปยังต� ำแหน่งสุดท้ำย ซึ่งเป็นปริมำณสเกลำ ร์ มีหน่วยเป็นเมตร (m) 2) การกระจัด (displacement) คื อ ระยะทำงที่วัดได้ตำมแนวตรง จำกจุดเริม่ ต้นไปยังจุดสุดท้ำยของกำร เคลือ่ เป็นเมตร (m) ตัวอย่ำงเช่น เด็กคนหนึ นที่ เป็นปริมำณเวกเตอร์ มีหน่วย ง่ เดิน 300 เมตร (a) แล้วเลี้ยวซ้ำยเดินไปยั จำกบ้ำนไปยังเสำไฟเป็นระยะทำง งต้นไม้ 400 เมตร (b) เด็กคนนี้เดิน เป็น ระยะทำงเท่ำกับ 700 เมตร (a) + ระยะท (b) ส่วนกำรกระจัดจะวัดเป็นเส้นตรงจำก ต้นไม้ไปยังบ้ำน ซึ่งจะเท่ำกับ 500 เมตร (c) ในทิศตะวันตกเฉียงเหนือ

http://www.aksorn.com/LC/Sci B2/M1/01

6

µÑǪÕÇé ´Ñ áÅÐÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙጠ¡¹¡ÅÒ§ µÒÁ·ÕËè ÅÑ¡Êٵà ¡íÒ˹´ à¾×èÍãËŒ·ÃÒº¶Ö§à»‡ÒËÁÒÂ㹡ÒÃÈÖ¡ÉÒ ¡Ô¨¡ÃÃÁ¾Ñ²¹Ò·Ñ¡ÉÐÇÔ·ÂÒÈÒʵà ໚¹¡Ô¨¡ÃÃÁ ¡Ò÷´ÅͧÊíÒËÃѺãËŒ¼ÙŒàÃÕ¹½ƒ¡»¯ÔºÑµÔ à¾×èͪ‹Ç ÊÌҧ·Ñ¡ÉÐÇÔ·ÂÒÈÒʵà áÅЪ‹Ç¾Ѳ¹Ò¼ÙŒàÃÕ¹ ãËŒÁդسÀÒ¾µÒÁµÑǪÕéÇÑ´

รม กิฒจกร นาทั ก ษะ

พั วิทยาศาสตร์

สมบัติของแรง

ำ ก. แรงที่มากระทา� วันของเรำ ดังตัวอย่ กำรด�ำรงชีวิตประจ�ำ แรงมีอิทธิพลต่อ

5.1

งต่อไปนี้

วตัน ง คือ เซอร์ไอแซค นิ ยำศำสตร์ผู้มีชื่อเสีย และได้ตั้งกฎแห่งกำร มำจำกชื่อของนักวิท เคลื่อนที่ นิวตัน ค�ำว่ำนิวตันได้ เรื่องของแรงและกำร แรงมีหน่วยเป็น ) เขำศึกษำเกี่ยวกับ 2270 2185 พ.ศ. (Sir lsaac Newton อง ันมำจนปัจจุบัน ภาพประกอบการทดล เคลื่อนที่ ที่ยังคงใช้ก ีการทดลอง วิธ อุปกรณ์ การใช้แรง ้นตอน ดังนี้ • ดินน�้ำมัน สร้ำงปรำสำท ตำมขั น�ำดินน�้ำมันมำสร้ • เครื่องชั่งสปริงของ 1. ปั้นดินน�้ำมันเป็นรูปทรงกระบอก นิวตัน น ว ส่ 3 2. แบ่งออกเป็น • รถทดลอง ่ยม ้นเป็นแผ่นอิฐรูปสี่เหลี • ลูกน�้ำหนัก 3. น�ำส่วนที่หนึ่งมำปั • กระดำษจดบันทึก ะบอก 2 อัน บ่งครึ่งปั้นเป็นรูปทรงกร 4. น�ำส่วนที่สองมำแ

Design ˹ŒÒẺãËÁ‹ ÊǧÒÁ ¾ÔÁ¾ 4 ÊÕ µÅÍ´àÅ‹Á ª‹ÇÂãˌ͋ҹ·íÒ¤ÇÒÁࢌÒ㨧‹ÒÂ

ส�ำหรับคนไท ภัยแล้ง ดินถล่มทีเ่ ยทีร่ สู้ กึ ว่ำปัญหำนีย้ งั ไกลตวั อยำกให้ กิดขึ ลองนึ ผ่ำนมำ อุณหภูมิเฉลี น้ บ่อยครัง้ และทวีควำมรนุ แรงขนึ้ ทุก กถึงน�ำ้ ท่วม ทีในรอบ ่ย กำรตกของฝนจะเปลี ในเอเชียสูงขึ้น ประมำณ 1-3 องศำเซลเซ 100 ปีที่ ย่ น�้ำท่วม หรือบำงป นแปลงไปจำกเดมิ คือ ฝนจะตกครำวละ ียส ลักษณะ ีทิ้งช่วงนำนมำกจนเกิ มำกๆ จนเกดิ ดภัยแล้ง ภำวะโลกร้อนยังส่ง ผลกระทบต่อระบบ ฟอกขำว เนื่องจำก นิ เ วศ เช่น ปะกำ อุณ แหล่งอำหำร และช หภูมิของน�้ำสูงขึ้น ท�ำให้สำหร่ำยเซล รังเกิดกำร ่ว ล์ ท�ำให้ปะกำรงั มีสขี ยสร้ำงสีสันให้แก่ปะกำรัง ไม่สำมำร เดียว ซึ่งเป็น ำว และต ถด� เกิดกำรกดั เซำะชำยฝั ำยในทีส่ ดุ นอกจำกนีก้ ำรทีน่ ำ�้ ทะเล ำรงชีวิตอยู่ได้ ง่ สูญเสียพื้นที่ชำยฝั มำกขนึ้ ตำมมำ โดยในช่วง 30 ปีทผี่ สูงขึน้ ยังท�ำให้ ำ่ นมำประเทศไทย ่งกว่ ทะเลของประเทศไทยจำ 120,000 ไร่ หำกไม่มีกำรด�ำเนิน กำรใด ะถูกน�้ำทะเลท่วมลึ กเข้ำมำอีก 6-8 กิ ๆ ชำยฝั่ง โลเมตร ใช้ไฟฟ้าให้น้อยลง ที่จ�ำเป็น ปิดสวิ ควรใช้ไฟฟ้ำเท่ำ เมื่อไม่ใช้งำน ปรัตบช์และดึงปลั๊กทุกครั้ง อุณ อำกำศที่ 25 องศำเหภูมิเครื่องปรับ ซลเซียส

นรูปกรวย 2 รูป

ป็น 2 ส่วน ปั้นให้เป็

6. แบ่งรูปทรงกลมออกเ

เป็นปรำสำท ดังภำพ

7. น�ำทุกชิ้นมำต่อกัน

ลดการใช้ถุงพลาส กำรผลิตถุงพลำสต ติก ิกก่อ ให้เกิดแก๊สเรือนกระจ อีกทั้งถุงพลำสติกย่ ก อย สลำยได้ยำก จึงควรใช ถุงผ้ำหรือตะกร้ำแทน ้

ปะกำรังฟอกขำว

ก. แรงที่สัมผัสไม่ได้ คือ แรงบางอย่างที่สามารถท�างานได้ในระยะห่างจากวัตถุ เช่น แรงโน้มถ่วง แรงประจุไฟฟ้า และแรงแม่เหล็ก ส่วนแรงที่สัมผัสได้ เป็นแรงที่ต้องมาสัมผัสกับวัตถุก่อนจึงมีผลบางอย่างเกิดขึ้นตามมา เช่น แรงจากการดึง การดัน และการบิด เป็นต้น อุปกรณ์และสารเคมี • ท่อกระดาษยาวม้วน ท�าเป็นท่อ • ขาตั้ง • ไม้บรรทัด • ดินน�้ามัน

ใช้ประโยชน์ไม้จากสวน ป่าที่ปลูก ทดแทนได้ลดกำรท �ำ ำไม้และ ผลผลิตจำกสวนป่ลำยป่ ำที่ปลูก การลด ภาวะโลกร้อน สามารถเริ่มต้นง่ายๆ ที่ตัวเราเอง

ทิ้งขยะให้น ลดปริมำณขยะ ้อใช้ยลง แยกขยะที่สำมำรถซ�้ำและ รีไซเคิลได้มำใช้ให้น�ำไป เกิด ประโยชน์

5

1. แรงที่สัมผัสไม่ ได้

ิต

ปลูกต้นไม้ ฟื้นฟูส เสื่อมโทรม ต้นไม้ ภาพป่า จะช่วย ดูดซับแก๊สเรือนกระจ ก

ลดการใช้น�้ามันเชื ้อเพลิ เวลำนนำ นำน เดินหรือใช้จกั ง ดับเครื่องยนต์เมื่อต้องจอดรถเป็ รยำนในกำรเ น ไม่เกิน 90 กิโลเมตร /ชั่วโมง หรือใช้บดิรินทำงระยะใกล้ ขับรถ กำรรถขนส่งมวลช น

4

กิจกรรม

สร้างสรรค์พัฒนาประจ�ำหน่วยกำรเรียนรู้ที่

บริโภคผลผลิ เพื่อลดกำรใช้พลัตงที่ผลิตได้เองในท้องถิ่น งำนในกำรขนส่งผลผล

นรูปทรงกลม

ั้นเป็ 5. น�ำส่วนที่สำมมำป

¡Ô¨¡ÃÃÁÊÌҧÊÃä ¾² Ñ ¹Ò»ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ãËŒ¼ÙŒàÃÕ¹½ƒ¡»¯ÔºÑµÔËÅѧ¨Ò¡ÈÖ¡ÉÒà¹×éÍËÒᵋÅР˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ

ใช้พลังงานหมุน ทดแทน เช่น พลัเวีง ยน งำน แสงอำทิตย์ พลั งำน จำกเชื้อเพลิงชีวงมวล พลังน�้ำ พลังงำนลม เป็นต้น ไม่เผาพื้นที่ กำรเผ หรือเศษเหลือใช้ห ำหญ้ำ ขยะ ไม้ ลังกำรเก็บเกี่ยว ผลผลิตทำงกำรเกษต แก๊สเรือนกระจกเพิ ร ท�ำให้เกิด ่มมำกข ยังเป็นกำรท� ก ำลำยดินอีกด้ึ้นอีกทั้ง วย

89

อุปกรณ์และสารเคมี • เม็ดโฟม • เศษผ้า • แท่งพลาสติก • ที่จับเวลา • กระดาษกรอง

วิธีการทดลอง มีเกมให้เล่น 3 เกมที่จะช่วยให้เข้าใจเรื่องของแรงที่สัมผัสไม่ได้ ได้ดีขึ้น ดังนี้ เกมที่ 1 ตีลูกบอล (เกมความโน้มถ่วง) การตกสูพ่ นื้ ของวัตถุ เกิดจากแรงโน้มถ่วงดึงวัตถุเข้าสูศ่ นู ย์กลาง ของโลก 1. ปัน้ ดินน�า้ มันให้เป็นลูกบอลขนาดเล็ก และเตรียมอุปกรณ์ตาม ภาพ 2. ให้คู่ร่วมงานของนักเรียนปล่อยลูกบอลลงในท่อกระดาษ ใช้ ไม้ บ รรทั ด ตี ลู ก บอล ขณะที่ ลู ก บอลหล่ น ออกจากท่ อ ท�าซ�้า 3 ครั้ง 3. เปลี่ยนให้คู่ร่วมงานของนักเรียนเป็นผู้เล่นเกมบ้าง

ภาพประกอบ

4. หยดสีเมทิลีนบลู 1-2 หยด ลงบนเนื้อเยื่อ 5. ปิดด้วยกระจกปิดสไลด์แล้วไปส่องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์

ใช้ไม้บรรทัดตีลูกบอล

วิธีการทดลอง เกมที่ 2 กอล์ฟแสนกล (เกมไฟฟ้า) ถูแท่งพลาสติกด้วยเศษผ้าเพื่อให้เกิดไฟฟ้าสถิตขึ้นจากนั้นจะ พบว่าแท่งพลาสติกสามารถดูดวัตถุบางอย่างได้ 1. ถูแท่งพลาสติกด้วยเศษผ้าเพื่อให้มีไฟฟ้าสถิตเกิดขึ้น น�าแท่ง พลาสติกมาดูดเม็ดโฟมให้ลงในท่อกระดาษโดยไม่ ให้แท่ง พลาสติกแตะเม็ดโฟม จับเวลาที่ ใช้ ไปว่านานเท่าไหร่ 2. ให้ คู ่ ร ่ ว มงานท� า การทดลองบ้ า ง แล้ ว ดู ว ่ า ใครใช้ เ วลา น้อยกว่ากัน

ลูกบอลดินน�้ำมัน

ท่อ

ภาพประกอบ

เม็ดโฟม แท่งพลาสติก

11


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ÊÒúÑÞ àÅ‹Á 1 ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè ÀÒ¤¼¹Ç¡

àÅ‹Á 2 ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

1 2 3 4

˹‹Ç¾×é¹°Ò¹¢Í§ÊÔè§ÁÕªÕÇÔµ ¡Ãкǹ¡ÒÃ㹡ÒôíÒçªÕÇÔµ¢Í§¾×ª (µÍ¹·Õè 1) ¡Ãкǹ¡ÒÃ㹡ÒôíÒçªÕÇÔµ¢Í§¾×ª (µÍ¹·Õè 2) ÊÁºÑµÔ¢Í§ÊÒÃáÅСÒèíÒṡÊÒà ¡Ãкǹ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒÇÔ·ÂÒÈÒʵÃ

5 6

áçáÅСÒÃà¤Å×è͹·Õè áç ¡ÒÃà¤Å×è͹·Õè¢Í§Çѵ¶Ø

2 6

¾Åѧ§Ò¹¤ÇÒÁÌ͹

15-34

● ●

● ● ●

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

7

8

ÍسËÀÙÁÔáÅСÒÃÇÑ´ ¡Òö‹ÒÂâ͹¤ÇÒÁÌ͹ ¡Òôٴ¡Å×¹áÅСÒäÒ¤ÇÒÁÌ͹ ÊÁ´ØŤÇÒÁÌ͹áÅСÒâÂÒµÑǢͧÇѵ¶Øà¹×èͧ¨Ò¡¤ÇÒÁÌ͹

ºÃÃÂÒ¡ÒÈ (µÍ¹·Õè 1) ● ● ●

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

1-14

ͧ¤ »ÃСͺáÅСÒÃẋ§ªÑ鹺ÃÃÂÒ¡ÒÈ ÍسËÀÙÁԢͧÍÒ¡ÒÈ ¤ÇÒÁª×鹢ͧÍÒ¡ÒÈ ¤ÇÒÁ¡´ÍÒ¡ÒÈ

ºÃÃÂÒ¡ÒÈ (µÍ¹·Õè 2) ● ● ● ●

àÁ¦áÅн¹ ÅÁáÅоÒÂØ ¡ÒþÂҡó ÍÒ¡ÒÈ ¡ÒÃà»ÅÕè¹á»Å§ÍسËÀÙÁԢͧâÅ¡

ºÃóҹءÃÁ

16 19 25 29

35-60 36 42 48 52

61-97 62 67 73 82

98


กระตุน ความสนใจ

5

˹‹Ç ¡Ò

Õè ÂÕ ¹ÃÙŒ· ÃàÃ

กระตุEngage นความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

เปาหมายการเรียนรู

1. อธิบายความหมายและความแตกตางระหวาง ปริมาณสเกลารและปริมาณเวกเตอรได 2. ทดลองและอธิบายตัวอยางของปริมาณ สเกลารและปริมาณเวกเตอร ไดแก ระยะทาง การกระจัด อัตราเร็ว และความเร็วในการ เคลื่อนที่ของวัตถุได 3. วิเคราะหผลของแรงและการเคลื่อนที่จาก กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันได

áçáÅСÒÃà¤Å×è͹·Õè

ในชีวติ ประจ�าวันของคนเราใช้แรงในการท�ากิจกรรมต่างๆ เช่น แรงดึง แรงดัน แรงผลัก แรงบีบ แรงกด แรงบิด และแรงพยุง เป็นต้น ผลของการออกแรงที่กระท�า ต่อวัตถุ จะท�าให้วัตถุนั้นเคลื่อนที่ เปลี่ยนรูปร่าง เปลี่ยนทิศทาง ท�าให้วัตถุเคลื่อนที่ เร็วขึ้น ช้าลง หรือหยุดนิ่ง ซึ่งการเคลื่อนที่ของวัตถุด้วยความเร็วนั้นจะเกี่ยวข้องกับ ระยะทางและเวลา

สมรรถนะของผูเรียน 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการแกปญหา 3. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี

ตัวชี้วัดชั้นปี มฐ. ว 4.1 ม.1/1, 2 • สืบค้นข้อมูล และอธิบายปริมาณสเกลาร์ ปริมาณ เวกเตอร์ • ทดลองและอธิบายระยะทาง การกระจัด อัตราเร็ว และความเร็วในการเคลื่อนที่ของวัตถุ มฐ. ว 8.1 ม.1-3/1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 • ข้อ 1 - ข้อ 9

คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. 2. 3. 4.

มีวินัย ใฝเรียนรู ซื่อสัตยสุจริต มุงมั่นในการทํางาน

กระตุน ความสนใจ

Engage

ครูยกตัวอยางแรงชนิดตางๆ จากบทนําของ หนังสือเรียนในหนาที่ 1 แลวถามคําถามเพื่อให นักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นอยางอิสระ • แรงดึง แรงดัน แรงผลัก แรงบีบ และ แรงอื่นๆ มีลักษณะอยางไร • เรือสามารถลอยนํ้าอยูไดอยางไร • แรงมีความเกี่ยวของกับเหตุการณที่เกิดขึ้น ในภาพอยางไร

เกร็ดแนะครู การเรียนการสอนในเรื่อง แรงและการเคลื่อนที่ ครูควรเนนใหนักเรียนไดเห็น ภาพของแรงชนิดตางๆ และผลของแรงเหลานั้น โดยใหนักเรียนทดลองออกแรง ในรูปแบบตางๆ เชน ยกหนังสือ ผลักโตะ ขยํากระดาษ เปดฝากระปองนํ้าอัดลม เปนตน เพื่อใหนักเรียนไดเห็นถึงผลของแรงที่เกิดขึ้นจริง

คูมือครู

1


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา Exploreนหา สํารวจค

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุEngage นความสนใจ

กระตุน ความสนใจ

Engage

ครูใหนักเรียนออกแรงดันหนังสือบนโตะไปตาม ทิศทางตางๆ ดวยแรงสมํ่าเสมอ แลวสังเกตผล จากนั้นตั้งคําถามเพื่อกระตุนความสนใจ • เพราะเหตุใดหนังสือจึงเคลื่อนที่ไปในทิศทาง ที่แตกตางกัน (แนวตอบ เพราะหนังสือเคลื่อนที่ไปตามทิศทาง ของแรงดันที่มีทิศทางแตกตางกัน) • การบอกปริมาณของแรงจําเปนตองอธิบายถึง สิ่งใดบาง (แนวตอบ ขนาดและทิศทางของแรง)

สํารวจคนหา

5.1 แรง

ภาพที่ 5.1 แรงท�าให้วัตถุที่หยุดนิ่งเริ่มเคลื่อนที่ (ที่มาของภาพ : photo bank ACT.)

Explore

ใหนักเรียนแตละคนศึกษาปริมาณทางกายภาพ จากหนังสือเรียน หนา 1-2 จากนัน้ ครูสมุ ตัวแทน นักเรียนออกมาสรุปเกีย่ วกับปริมาณทางกายภาพ ใหเพือ่ นในหองฟง เมือ่ ตัวแทนนักเรียนสรุปเสร็จ ครูเปดโอกาสใหนกั เรียนซักถามขอสงสัยตางๆ โดยครูเปนผูใ หคาํ ตอบจนนักเรียนมีความเขาใจ ทีถ่ กู ตองตรงกัน

แรง คือ สิ่งที่กระท�าต่อวัตถุในรูปของการดึงหรือผลัก เพื่อให้วัตถุ เคลือ่ นที่ แต่เมือ่ ออกแรงกระท�าต่อวัตถุแล้ววัตถุนนั้ อาจจะเคลือ่ นทีห่ รือไม่ก็ได้ ทัง้ นีข้ นึ้ กับขนาดและทิศทางของแรงต่างๆ ทีม่ ากระท�าต่อวัตถุ กรณีออกแรง กระท�ากับวัตถุที่ยึดไว้อย่างแข็งแรง เช่น เสาหรือก�าแพง เสาหรือก�าแพง ย่อมไม่เคลื่อนที่ เพราะมีแรงจากส่วนอื่นกระท�าต่อวัตถุด้วย ซึ่งได้แก่ แรง ยึดเหนีย่ วระหว่างเสากับดิน หรือระหว่างก�าแพงกับพืน้ ปูน ซึง่ มีแรงต้านทาน มากกว่าแรงผลักของเรา โดยเมื่อแรงกระท�ากับวัตถุหนึ่ง อาจท�าให้วัตถุเกิด การเปลี่ยนแปลงได้ใน 4 รูปแบบ ดังนี้ 1. วัตถุที่อยู่นิ่งอาจเริ่มเคลื่อนที่ 2. ความเร็วของวัตถุที่ก�าลังเคลื่อนที่อยู่เปลี่ยนแปลงไป 3. ทิศทางการเคลื่อนที่ของวัตถุอาจเปลี่ยนแปลงไป 4. รูปร่าง ขนาดของวัตถุอาจเปลี่ยนแปลงไป

5.1.1 ปริมาณทางกายภาพ

ภาพที่ 5.2 แรงท�าให้วตั ถุเปลีย่ นทิศทางการเคลือ่ นที่ (ที่มาของภาพ : photo bank ACT.)

ในชีวิตประจ�าวันของเราต้องพบเห็นและเกี่ยวข้องกับปริมาณทาง กายภาพอยูต่ ลอดเวลา เช่น ความยาว มวล เวลา กระแสไฟฟ้า เป็นต้น การบอก ปริมาณเหล่านี้จะมีหน่วยวัด เพื่อแสดงชนิดของปริมาณให้สามารถเข้าใจได้ ตรงกัน เช่น เชือกยาว 2 เมตร ขี่จักรยานระยะทาง 200 เมตร ใช้เวลา 15 วินาที เป็นต้น ปริมาณทางกายภาพ แบ่งออกเป็น 1) ปริมำณสเกลำร์ (scalar quantity) หมายถึง ปริ1มาณที2่มีแต่ ขนาดเพียงอย่างเดียว ไม่3มที ศิ ทาง เช่น ความยาว พืน้ ที่ ปริมาตร มวล เวลา อุณหภูมิ ความหนาแน่น อัตราเร็ว พลังงาน เป็นต้น ปริมาณดังกล่าวหากมี การบอกเพียงขนาดก็มคี วามหมายสมบูรณ์แล้ว เช่น เชือกเส้นนีย้ าว 10 เมตร วัตถุก้อนนี้มีมวล 5 กรัม วันนี้อุณหภูมิสูงสุด 30 องศาเซลเซียส เป็นต้น ตำรำงที่ 1 ตัวอย่ำงหน่วยวัดปริมำณและสัญลักษณ์

ภาพที่ 5.3 การชัง่ มวลของวัตถุ เป็นตัวอย่างการวัด ปริมาณสเกลาร์ (ที่มาของภาพ : photo bank ACT.)

ปริมาณ

หน่วยวัด

สัญลักษณ์

มวล ความยาว เวลา แรง กระแสไฟฟ้า พื้นที่ ปริมาตร อุณหภูมิ

กิโลกรัม เมตร วินาที 4 นิวตัน แอมแปร์ ตารางเมตร ลูกบาศก์เมตร องศาเซลเซียส

kg m s N A m2 m3 �c

2

นักเรียนควรรู 1 ปริมาตร จํานวนทีบ่ อกขนาดของรูป 3 มิติ มีหนวยมาตรฐานตางๆ เชน ลิตร ลูกบาศกเมตร เปนตน 2 มวล ปริมาณซึ่งเปนสมบัติเฉพาะของวัตถุ แสดงถึงความสามารถในการตาน การเปลี่ยนแปลงสภาพการเคลื่อนที่ ตัวอยางเชน รถบรรทุกซึ่งมีมวลมากจะทําให เคลื่อนที่ไดยากกวารถจักรยานซึ่งมีมวลนอย 3 ความหนาแนน เปนปริมาณทีแ่ สดงอัตราสวนระหวางมวลตอปริมาตรของวัตถุ 4 นิวตัน เปนหนวยของแรง ซึ่งแรง 1 นิวตัน (N หรือ kg•m/s2) เปนแรงที่ ทําใหมวล 1 กิโลกรัม (kg) เคลื่อนที่ดวยความเรง 1 เมตรตอวินาทียกกําลังสอง (m/s2)

2

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

การบวกลบปริมาณเวกเตอรแตกตางจากการบวกลบปริมาณสเกลาร อยางไร แนวตอบ เนื่องจากเวกเตอรเปนปริมาณที่ตองระบุทิศทาง การบวกลบ เวกเตอรจึงตองคํานึงถึงทิศทางของเวกเตอรที่นํามาบวกลบกันดวย โดย อาศัยการวาดภาพเพื่อหาขนาดและทิศทางของเวกเตอรลัพธที่ได ซึ่งตาง จากการบวกลบปริมาณสเกลารที่ไมคํานึงถึงทิศทาง


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ Expand าใจ ขยายความเข

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบExplain ายความรู

อธิบายความรู 2) ปริมำณเวกเตอร์ (vector 1 quantity) หมายถึ 2 ง ปริมาณที่มีทั้ง ขนาดและทิศทาง เช่น การกระจัด ความเร็ว ความเร่ง แรง เป็นต้น ตัวอย่าง เช่น รถยนต์คันหนึ่งแล่นจากกรุงเทพฯ ไปอยุธยา ซึ่งอยู่ทางทิศเหนือของ กรุงเทพ ด้วยความเร็ว 80 กิโลเมตรต่อชั่วโมง จะเห็นได้ว่าแรงที่กระท�าต่อ วัตถุให้เคลื่อนที่ด้วยความเร็ว จัดเป็นปริมาณเวกเตอร์

5.1.2 ประเภทของแรง ได้ดังนี้

สามารถแบ่งตามขนาด ลักษณะของแรง และการเคลื่อนที่ของวัตถุ

ครูทดสอบความเขาใจของนักเรียนในเรื่อง ปริมาณทางกายภาพ โดยใหนกั เรียนปฏิบตั กิ จิ กรรม ที่ 5.1 จากแบบวัดและบันทึกผลการเรียนรู วิทยาศาสตร ม.1

1 ช่อง = เมตร

✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ ว�ทยาศาสตร ม.1 กิจกรรมที่ 5.1 หนวยที่ 5 แรงและการเคลื่อนที่

ภาพที่ 5.4 การเขียนเวกเตอร์จะใช้ลกู ศรแทนขนาด และหัวลูกศรแทนทิศทาง จากภาพ เป็นเวกเตอร์ ขนาด 4 เมตร ในทิศตะวันออกเฉียงเหนือ (ที่มาของภาพ : photo bank ACT.)

กิจกรรมตามตัวชี้วัด

ตำรำงที่ 2 ประเภทและลักษณะของแรง ประเภท

1) แรงลัพธ์

2) แรงย่อย

Explain

กิจกรรมที่ 5.1 ใหนักเรียนปฏิบัติตามคําแนะนําตอไปนี้ (ว 4.1 ม.1/1) 1. สืบคนขอมูลเกี่ยวกับปริมาณสเกลารและปริมาณเวกเตอร แลวนําขอมูล มาเติมลงในตารางใหถูกตอง

ลักษณะ

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได

10

แรงรวมหรือผลรวมของแรงย่อยหลายแรงที่กระท�าต่อวัตถุ โดยต้องเป็นการรวมกันในแบบปริมาณเวกเตอร์ ถ้าแรงลัพธ์ มีค่าเป็นศูนย์จะท�าให้วัตถุหยุดนิ่งกับที่

ปริมาณทางฟสิกส

ความหมาย

ตัวอยาง

ปริมาณสเกลาร

เปนปริมาณที่มีแตขนาดเพียง ………………………………………………………………………..

ระยะทาง อัตราเร็ว มวล พื้นที่ ………………………………………………………………………..

………………………………………………………………………..

พลังงาน อุณหภูมิ ………………………………………………………………………..

แรงที่กระท�าร่วมกันหลายแรง ซึ่งเป็นส่วนประกอบของแรง ลัพธ์

ปริมาณเวกเตอร

เปนปริมาณที่มีทั้งขนาดและทิศทาง ………………………………………………………………………..

การกระจัด ความเร็ว ความเรง ………………………………………………………………………..

อยางเดียว ไมมีทิศทาง ………………………………………………………………………..

ปริมาตร ความหนาแนน เวลา ………………………………………………………………………..

………………………………………………………………………..

นํ้าหนัก แรง ………………………………………………………………………..

………………………………………………………………………..

………………………………………………………………………..

2. อานขอความที่กําหนดให แลวบอกปริมาณทางฟสิกสใหถูกตอง

3) แรงขนาน

แรงที่มีทิศทางขนานกัน ซึ่งอาจกระท�าที่จุดเดียวกันหรือต่าง จุดกัน

4) แรงหมุน

แรงที่กระท�าต่อวัตถุ ท�าให้วัตถุเคลื่อนที่โดยหมุนรอบจุดหมุน หรือแกนกลาง ผลของการหมุน เรียกว่า โมเมนต์ เช่น การปิด-เปิดประตู หรือหน้าต่าง

5) แรงดึง

แรงที่เกิดจากการเกร็งตัวเพื่อต่อต้านแรงกระท�าของวัตถุ เป็น แรงที่เกิดในวัตถุที่มีลักษณะยาวๆ เช่น เส้นเชือก เส้นลวด

6) แรงต้าน

แรงทีต่ อ่ ต้านการเคลือ่ นทีข่ องวัตถุ ซึง่ จะมีทศิ ทางตรงข้ามกับ แรงกระท�า เช่น แรงต้านของอากาศ แรงเสียดทาน

7) แรงโน้มถ่วง ของโลก

แรงดึงดูดทีม่ วลของโลกกระท�ากับมวลของวัตถุ เพือ่ ดึงดูดวัตถุ นั้นเข้าสู่ศูนย์กลางของโลก

8) แรงกิริยาและ แรงปฏิกิริยา

ปริมาณสเกลาร ………………………………………………….

มาลีเดินจากบานไปโรงเรียนใชเวลา 15 นาที

ปริมาณสเกลาร ………………………………………………….

อุณหภูมิบนยอดเขาวัดได 10 องศาเซลเซียส

ปริมาณสเกลาร ………………………………………………….

ความเรงโนมถวงของโลกมีคาประมาณ 9.8 เมตรตอวินาที 2

ปริมาณเวกเตอร ………………………………………………….

รถโดยสารวิ่งจากกรุงเทพฯ ไปเชียงใหมดวย ความเร็ว 80 กิโลเมตรตอชั่วโมง

ปริมาณเวกเตอร ………………………………………………….

53

ขยายความเขาใจ

แรงกิริยา คือ แรงที่กระท�าต่อวัตถุที่จุดจุดหนึ่ง อาจเป็นแรง เพียงแรงเดียวหรือแรงลัพธ์ของแรงย่อยก็ได้ แรงปฏิกิริยา คือ แรงที่กระท�าตอบโต้ต่อแรงกิริยาที่จุด เดียวกัน โดยมีขนาดเท่ากับแรงกิรยิ า แต่ทศิ ทางของแรงทัง้ สองจะตรงข้ามกัน

ฉบับ

เฉลย

หองเรียนมีพื้นที่ 70 ตารางเมตร

ภาพที่ 5.5 แรงโน้มถ่วงของโลก ดึงดูดให้วตั ถุตกลง สู่พื้น (ที่มาของภาพ : photo bank ACT.)

Expand

ใหนักเรียนยกตัวอยางแรงตางๆ ที่พบเห็นได ในชีวิตประจําวัน พรอมระบุวาเปนแรงชนิดใด บันทึกลงในสมุดของนักเรียน

3

กิจกรรมสรางเสริม ใหนักเรียนเปรียบเทียบความแตกตางระหวางปริมาณสเกลารกับ ปริมาณเวกเตอร พรอมยกตัวอยางปริมาณแตละประเภท สรุปเปนใบงาน สงครูผูสอน

กิจกรรมทาทาย ใหนักเรียนศึกษาคนควาเพิ่มเติมจากแหลงเรียนรูตางๆ เกี่ยวกับประเภท และลักษณะของแรงชนิดตางๆ ทีม่ ผี ลตอการเคลือ่ นทีข่ องวัตถุ เชน แรงลัพธ แรงหมุน แรงดึง แรงผลัก แรงเสียดทาน แรงโนมถวงของโลก เปนตน วามีลักษณะอยางไร และมีผลตอการเคลื่อนที่ของวัตถุอยางไร แลวสรุปเปน ใบงานสงครูผูสอน

เกร็ดแนะครู ครูควรแสดงตัวอยางการบวกลบเวกเตอรดวยวิธีการตางๆ เชน การวาดภาพ เวกเตอร การบวกลบเวกเตอรที่ขนานกัน เปนตน เพื่อใหนักเรียนเกิดความชํานาญ และสามารถนํามาใชในการบวกลบเวกเตอรของแรงได

นักเรียนควรรู 1 การกระจัด เปนปริมาณเวกเตอรซึ่งบอกถึงการเปลี่ยนตําแหนงของวัตถุ มีขนาดเทากับระยะทางในแนวตรงจากตําแหนงของวัตถุเดิมไปยังตําแหนงใหม และมีทิศทางจากตําแหนงเดิมไปยังตําแหนงใหม 2 ความเรง เปนปริมาณการเคลื่อนที่ที่ขึ้นอยูกับเวลา ซึ่งมีคาเทากับอัตราสวน ของความเร็วที่เปลี่ยนไปในหนึ่งชวงเวลา คูมือครู

3


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ขยายความเขาใจ Expand าใจ ขยายความเข

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Expand

ครูนําสนทนากอนเริ่มปฏิบัติกิจกรรมพัฒนา ทักษะทางวิทยาศาสตรวา เครื่องมือที่นํามาใช วัดขนาดและทิศทางของแรงอยางงาย คือ เครื่องชั่งสปริง แลวนําเครื่องชั่งสปริงมาใชสาธิต และอธิบายเกี่ยวกับขนาดและทิศทางของแรง และใหนักเรียนทดลองใชเครื่องชั่งสปริงในการ หาขนาดและทิศทางของแรงชนิดตางๆ จากนั้น ใหนักเรียนปฏิบัติกิจกรรมพัฒนาทักษะ วิทยาศาสตร 5.1 หนา 4-5

กิจกรรม

พั ฒ นาทั ก ษะ วิทยาศาสตร์ สมบัติของแรง

5.1

ก. แรงที่มำกระท�ำ แรงมีอิทธิพลต่อการด�ารงชีวิตประจ�าวันของเรา ดังตัวอย่างต่อไปนี้

ภาพที่ 5.6 (ที่มาของภาพ : photo bank ACT.)

1

แรงมีหน่วยเป็นนิวตัน ค�าว่านิวตันได้มาจากชื่อของนักวิทยาศาสตร์ผู้มีชื่อเสียง คือ เซอร์ไอแซค นิวตัน (Sir lsaac Newton พ.ศ. 2185 - 2270) เขาศึกษาเกี่ยวกับเรื่องของแรงและการเคลื่อนที่ และได้ตั้งกฎแห่งการ เคลื่อนที่ ที่ยังคงใช้กันมาจนปัจจุบัน กำรทดลองเรื่อง กำรใช้แรง อุปกรณ์ • ดินนํ้ามัน

วิธีการทดลอง

ภาพประกอบการทดลอง

นําดินนํ้ามันมาสร้างปราสาท ตามขั้นตอน ดังนี้ 1. ปนดินนํ้ามันเป็นรูปทรงกระบอก 2. แบ่งออกเป็น 3 ส่วน

3. นําส่วนที่หนึ่งมาปนเป็นแผ่นอิฐรูปสี่เหลี่ยม 4. นําส่วนที่สองมาแบ่งครึ่งปนเป็นรูปทรงกระบอก 2 อัน

5. นําส่วนที่สามมาปนเป็นรูปทรงกลม 6. แบ่งรูปทรงกลมออกเป็น 2 ส่วน ปนให้เป็นรูปกรวย 2 รูป 7. นําทุกชิ้นมาต่อกันเป็นปราสาท ดังภาพ

ภาพที่ 5.7 (ที่มาของภาพ : photo bank ACT.)

4

นักเรียนควรรู 1 เซอรไอแซค นิวตัน นอกจากจะเปนผูที่ตั้งกฎแหงการเคลื่อนที่ ที่ยังคงใชกัน จนถึงปจจุบันแลว นิวตันยังมีผลงานดานอื่นๆ อีกหลายดาน เชน • คนพบกฎแรงโนมถวงของโลก • ตั้งทฤษฎีแคลลูลัส • ประดิษฐกลองโทรทรรศนชนิดหักเหแสง • คนพบวาแสงขาวนั้นประกอบไปดวยแสงสี 7 สี ไดแก มวง คราม นํ้าเงิน เขียว เหลือง แสด และแดงตามลําดับ

4

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ขอใดกลาวไมถูกตองเกี่ยวกับแรง 1. แรงทําใหวัตถุหยุดนิ่ง 2. แรงทําใหวัตถุเปลี่ยนสถานะ 3. แรงทําใหวัตถุเกิดการเคลื่อนที่ 4. แรงทําใหวัตถุเปลี่ยนแปลงรูปราง วิเคราะหคําตอบ แรงจะทําใหวัตถุหยุดนิ่ง เคลื่อนที่ หรือเปลี่ยนรูปรางได แตแรงไมสามารถทําใหวัตถุเปลี่ยนสถานะได ดังนั้น ตอบขอ 2.


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engage

Explore

Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate ตรวจสอบผล Evaluate

ตรวจสอบผล

ครูยกตัวอยางหรือนําภาพการทํากิจกรรม ตางๆ ในชีวิตประจําวันมาใหนักเรียนดู เพื่อให นักเรียนวิเคราะหวา กิจกรรมตางๆ เกิดแรงชนิดใด พรอมทั้งเขียนสัญลักษณแสดงทิศทางของแรง แตละชนิดที่เกิดขึ้น

การทดลองเรื่อง การวัดแรง ÍØ»¡Ã³ • เครื่องชั่งสปริงของ นิวตัน • รถจําลอง • ลูกนํ้าหนัก • กระดาษจดบันทึก

ÇÔ¸Õ¡Ò÷´Åͧ

ÀÒ¾»ÃСͺ¡Ò÷´Åͧ

ใชเครื่องชั่งสปริงของนิวตันวัดคาของแรงที่เกิดจากการกระทําตอ ไปนี้ • ฉีกกระดาษ • เคลื่อนยายหนังสือ • ดึงรถทดลอง • ยกลูกนํ้าหนัก บันทึกผลที่ไดจากการทดลองลงบนกระดาษจดบันทึก

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู 1. แบบบันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรมพัฒนาทักษะ วิทยาศาสตร 5.1 2. สมุดบันทึกตัวอยางแรงตางๆ ที่พบเห็น ในชีวิตประจําวัน

ภาพที่ 5.8 (ที่มาของภาพ : photo bank ACT.)

?

Evaluate

1. คัดลอกภาพขั้นตอนการปนรูปปราสาทจากกิจกรรมในหนา 4 ลงในสมุดของนักเรียน เขียนชื่อชนิดของ แรงที่ใชในแตละขั้นตอนลงใตภาพ 2. ใชเครื่องมือชนิดใดในการวัดปริมาณของแรง มีหนวยวัดเปนอะไร

ข. แรงที่พบทั่วไป ใหนักเรียนศึกษากิจกรรมที่เกิดขึ้นในชีวิตประจําวัน ดังภาพขางลาง และชวยกันคิดวากิจกรรมตางๆ เหลานี้เกิดจากการใชแรงดัน แรงดึง หรือแรงบิด

เปดฝาขวด

ขยํากระดาษ เขียนหนังสือ

นํ้ามัน นํ้า ทิ้งขยะลงตะกรา

เปดฝากระปอง ภาพที่ 5.9 (ที่มาของภาพ : photo bank ACT.)

 ทําตารางบันทึกผลที่ไดจากการปรึกษากัน โดยตารางตองประกอบดวย 2 ชอง

5

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ขอใดระบุชนิดของแรงที่ใชทํากิจกรรมไดถูกตอง 1. ตักนํ้า-แรงดัน 2. ปาเปา-แรงบิด 3. นวดแปง-แรงกด 4. โยนลูกบอล-แรงดึง

วิเคราะหคําตอบ การตักนํ้าตองใชแรงดึง การปาเปาตองใชแรงดัน การนวดแปงตองใชแรงกดและแรงบีบ การโยนลูกบอลตองใชแรงดัน ดังนั้น ตอบขอ 3.

แนวตอบ กิจกรรมพัฒนาทักษะวิทยาศาสตร 5.1 สมบัติของแรง ก. แรงที่มากระทํา 1. ขั้นตอนที่ 1 2 3 4 5 6 7

ข. แรงที่พบทั่วไป แรงที่ใช แรงดัน แรงบิด แรงกด แรงบิด แรงบีบ แรงบีบ แรงดัน

กิจกรรม เปดฝาขวด ขยํากระดาษ เปดฝากระปอง เขียนหนังสือ ทิ้งขยะลงตะกรา

แรงที่ใช แรงบิด แรงดัน แรงดัน แรงดัน แรงดัน

2. ใชเครื่องชั่งสปริง มีหนวยวัดเปนนิวตัน (N)

คูมือครู

5


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา Exploreนหา สํารวจค

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุEngage นความสนใจ

กระตุน ความสนใจ

Engage

ครูสาธิตการเคลื่อนที่เนื่องจากแรง เชน ออกแรงดันหนังสือที่วางบนโตะไปในทิศทางตางๆ การโยนสิ่งของใหนักเรียนบางคนรับ เปนตน แลว ตั้งคําถามใหนักเรียนแสดงความคิดเห็น • หนังสือที่ถูกดันหรือโยนออกไปมีการเปลี่ยน ตําแหนงไปจากเดิมหรือไม อยางไร (แนวตอบ เกิดการเปลี่ยนตําแหนงไปในทิศ ทางที่ออกแรงกระทํา) • การเคลื่อนที่ของหนังสือหรือวัตถุที่ถูกโยนไป มีความชาเร็วแตกตางกันหรือไม อยางไร (แนวตอบ มีความชาเร็วแตกตางกันขึ้นอยูกับ แรงที่กระทํา ซึ่งวัตถุจะเคลื่อนที่เร็วเมื่อมี แรงกระทํามาก ซึ่งทําใหวัตถุเปลี่ยนตําแหนง ในเวลาที่รวดเร็ว และเคลื่อนที่ชาเมื่อออกแรง กระทํานอย ซึ่งทําใหวัตถุเปลี่ยนตําแหนงดวย เวลาที่นานกวา) • การเคลื่อนที่ประเภทใดที่นักเรียนพบเห็นได ในชีวิตประจําวัน (แนวตอบ เชน การเดิน การวิ่ง รถแลนบนถนน การวายนํ้า เปนตน)

สํารวจคนหา

Explore

5.2 การàคลืèอน·Õèของวѵ¶ุ

โลกรอบตัวเราไม่เคยหยุดนิ่ง สิ่งต่างๆ มีการเคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลา เช่น รถยนต์แล่นบนท้องถนน เครื่องบินบินอยู่บนท้องฟ้า เป็นต้น ซึ่งการที่ วัตถุจะเคลื่อนที่ได้นั้น ต้องมีแรงมากระท�าต่อวัตถุ

5.2.1 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน ภาพที่ 5.10 ในชีวิตประจ�าวันของเราจะสัมพันธ์ กับการเคลื่อนที่อยู่เสมอ เช่น การเคลื่อนที่ของ ยานพาหนะ (ที่มาของภาพ : physics insights p.76)

ภาพที่ 5.11 เมื่อนั่งบนเก้าอี้ที่มีล้อเลื่อน แล้วใช้ มือผลักก�าแพง เราจะเคลื่อนถอยออกจากก�าแพง เนื่องจากแรงปฏิกิริยาที่ก�าแพงมีต่อแรงผลักจาก มือเรา (ที่มาของภาพ : photo bank ACT.)

ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 4 - 5 คน พิจารณาภาพแสดงการเคลื่อนที่ของเด็กหญิงคนหนึ่ง จากหนังสือเรียน หนา 6 (ภาพที่ 5.12) และศึกษา ปริมาณในการเคลื่อนที่ตางๆ ไดแก ระยะทาง การกระจัด ความเร็ว และอัตราเร็ว จากหนังสือเรียน หนา 6-7

400 m c

b a m

300 m

500

ภาพที่ 5.12 (ที่มาของภาพ : photo bank ACT.)

EB GUIDE

เซอร์ไอแซก นิวตัน (Sir Isaac Newton) เป็นผูค้ น้ พบกฎการเคลือ่ นที่ ของวัตถุ ซึ่งมีอยู่ 3 ข้อ ดังนี้ กฎข้อที่ 1 ของนิวตัน มีใจความว่า “วัตถุจ1ะรักษำสภำพอยู่นิ่งหรือ สภำพเคลือ่ นทีอ่ ย่ำงสม�ำ่ เสมอ นอกจำกจะมีแรงลัพธ์ทมี่ คี ำ่ ไม่เท่ำกับศูนย์มำ กระท�ำต่อวัตถุ” กล่าวคือ วัตถุจะพยายามรักษาสภาพเดิมอยู่เสมอ ถ้าอยู่นิ่ง ก็จะอยู่นิ่งตลอดเวลา ถ้าเคลื่อนที่ก็จะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ต่อไป กฎข้อที่ 2 ของนิวตัน มีใจความว่า “เมื่อมีแรงลัพธ์ที่มีค่ำไม่เท่ำกับ ศูนย์มำกระท�ำต่อวัตถุ จะท�ำให้วัตถุเคลื่อนที่ด้วยควำมเร่งในทิศเดียวกับแรง ลัพธ์ และขนำดของควำมเร่ง2จะแปรผันตรงกับขนำดของแรงลัพธ์” กฎข้อที ่ 3 ของนิวตัน มีใจความว่า “ทุกแรงกิรยิ ำย่อมมีแรงปฏิกริ ยิ ำ ที่มีขนำดเท่ำกันแต่มีทิศทำงตรงข้ำมกันเสมอ” กล่าวคือ เมื่อวัตถุอันหนึ่ง ออกแรงกระท�าต่อวัตถุอกี อันหนึง่ (แรงกิรยิ า) วัตถุอนั หลังจะออกแรงกระท�าต่อ วัตถุอนั แรกด้วยแรงขนาดเท่ากันในทิศทางตรงข้ามกัน (แรงปฏิกริ ยิ า) โดยแรง ทั้งสองจะเกิดพร้อมกัน

5.2.2 ปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่

ในชีวติ ประจ�าวันของเราเกีย่ วข้องกับการเคลือ่ นทีข่ องวัตถุ ซึง่ ปริมาณ ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนที่ ได้แก่ ระยะทาง การกระจัด ความเร็ว และอัตราเร็ว 1) ระยะทำง (distance) คือ ความยาวทีว่ ดั ตามแนวทางการเคลือ่ นที่ ของวัตถุจากต�าแหน่งเริ่มต้นไปยังต�าแหน่งสุดท้าย ซึ่งเป็นปริมาณสเกลาร์ มีหน่วยเป็นเมตร (m) 2) กำรกระจัด (displacement) คือ ระยะทางที่วัดได้ตามแนวตรง จากจุดเริม่ ต้นไปยังจุดสุดท้ายของการเคลือ่ นที่ เป็นปริมาณเวกเตอร์ มีหน่วย เป็นเมตร (m) ตัวอย่างเช่น เด็กคนหนึง่ เดินจากบ้านไปยังเสาไฟเป็นระยะทาง 300 เมตร (a) แล้วเลี้ยวซ้ายเดินไปยังต้นไม้ 400 เมตร (b) เด็กคนนี้เดินเป็น ระยะทางเท่ากับ 700 เมตร (a) + (b) ส่วนการกระจัดจะวัดเป็นเส้นตรงจาก ต้นไม้ไปยังบ้าน ซึ่งจะเท่ากับ 500 เมตร (c) ในทิศตะวันตกเฉียงเหนือ

http://www.aksorn.com/LC/Sci B2/M1/01

6

เกร็ดแนะครู ครูอาจหาภาพการเคลื่อนที่ที่แตกตางกันใหนักเรียนแตละกลุมศึกษา เพื่อให นักเรียนสามารถนํามาอภิปรายในชั้นเรียนได

นักเรียนควรรู 1 แรงลัพธ เปนผลรวมของแรงที่กระทําตอวัตถุชิ้นหนึ่งๆ แบบเวกเตอร เนื่องจากอาจมีแรงมากระทําตอวัตถุหนึ่งไดมากกวาหนึ่งแรง 2 กฎขอที่ 3 ของนิวตัน หรือกฎของแรงกิริยาและแรงปฏิกิริยาซึ่งมีทิศทาง ตรงกันขาม แตกระทําตอวัตถุคนละชิ้น แรงทั้งสองจึงไมหักลางกัน เนื่องจากไมได กระทําตอวัตถุชิ้นเดียวกัน

6

คูมือครู

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’ 52 ออกเกี่ยวกับอัตราเร็วเฉลี่ย สนามเด็กเลนมีพนื้ ทีเ่ ปนวงกลม รัศมี 10 เมตร ชายคนหนึง่ ออกวิง่ จาก จุด A ดวยความเร็วสมํ่าเสมอไปตามขอบพื้นที่ และไปหยุดที่จุด B ใชเวลา ทั้งสิ้น 1 นาที ขนาดของอัตราเร็วเฉลี่ย ที่ชายคนนี้วิ่งเปนกี่เมตรตอวินาที B A 1. π¶/6 2. π¶/3 3. 10π 4. 20π¶ อัตราเร็วเฉลี่ย = ระยะทางทั้งหมด เวลาทั้งหมด ระยะทางจาก A ถึง B = 2π ¶r/2 = 2π ¶(10)/2 เมตร เวลา = 1 นาที = 60 วินาที อัตราเร็วเฉลี่ย = 2π(10)/2 เมตร 60 วินาที = π/6 เมตรตอวินาที ดังนั้น ตอบขอ 1.

วิเคราะหคําตอบ


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ Expand าใจ ขยายความเข

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบExplain ายความรู

อธิบายความรู 3) ควำมเร็1ว (velocity) เป็นปริมาณเวกเตอร์ ต้องระบุทั้งขนาดและ ทิศทางการเคลือ่ นที่ ซึง่ เราสามารถค�านวณความเร็วของการเคลือ่ นทีข่ องวัตถุ ได้จากอัตราส่วนของระยะการกระจัดกับเวลาที่ใช้ไป ตัวอย่างที่ 1

A

ใหนักเรียนแตละกลุมออกมาอธิบายเกี่ยวกับ ปริมาณการเคลื่อนที่ตางๆ โดยสุมเลือกมากลุมละ 1 ปริมาณ จากนั้นครูผูสอนใหนักเรียนปฏิบัติ กิจกรรมที่ 5.4 จากแบบวัดและบันทึกผล การเรียนรู วิทยาศาสตร ม.1

ด ความเร็ว = การกระจั เวลา (ความเร็วมีหน่วยเป็นเมตรต่อวินาที)

รถยนต์คันหนึ่งวิ่งจากจุด A ไปยังจุด B ซึ่งอยู่ห่างกัน 500 เมตร ใช้เวลา 10 วินาที จงหาการกระจัดและความเร็ว

วิธีท�ำ

500 เมตร

Explain

✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ ว�ทยาศาสตร ม.1 กิจกรรมที่ 5.4 หนวยที่ 5 แรงและการเคลื่อนที่

ระยะทางจาก A - B (การกระจัด) = 500 เมตร เวลาที่ใช้ในการเดินทาง = 10 วินาที ความเร็ว = การกระจัด เวลา = 500 เมตร 10 วินาที = 50 เมตรต่อวินาที B

กิจกรรมที่ 5.4

ใหนักเรียนพิจารณาภาพเสนทางจากบานไปโรงเรียน แลว ตอบคําถามใหถูกตอง (ว 4.1 ม.1/2)

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได

10

C 400 เมตร

ดังนั้น รถยนต์วิ่งจากจุด A ไปยังจุด B ซึ่งมีการกระจัด 500 เมตรด้วยความเร็ว 50 เมตรต่อวินาที ตอบ

A B 200 เมตร

หมายเหตุ : การกระจัด คือ ระยะทางจากจุดเริม่ ต้นถึงจุดสุดท้าย ระยะระหว่าง AB เป็นเส้นตรงนัน่ คือ มีการกระจัดเท่ากับ 500 เมตร การบอกความเร็วจะต้องระบุทศิ ทางในการเคลือ่ นทีด่ ว้ ยเสมอ

1. ฟาเดินทางจากบานไปโรงเรียนโดยใชเสนทาง B และเดินทางกลับบานโดยใชเสนทาง C ฟาเดินเปนระยะทางเทาใด

4) อัตรำเร็ว (speed) เราสามารถบอกอัตราเร็ว ในการเคลือ่ นทีข่ อง วัตถุโดยวัดระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ใน 1 หน่วยเวลา ซึ่งบอกเป็นกิโลเมตร ต่อชัว่ โมง หรือเมตรต่อวินาที ดังนัน้ อัตราเร็วจึงเป็นปริมาณสเกลาร์ โดยระบุ ขนาดแต่ไม่ระบุทิศทาง ซึ่งมีสูตรในการค�านวณดังนี้

ระยะทาง = 200 + 400 = 600 เมตร ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ฉบับ

เฉลย

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

2. ถาฟาใชเวลาในการเดินทางทั้งสิ้น 20 นาที ฟาเดินดวยอัตราเร็วเทาใด ระยะทาง เวลา

600 20 × 60

อัตราเร็ว = = = 0.5 เมตรตอวินาที ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

3. การกระจัดคือเสนทางใด เพราะเหตุใด

เสนทาง A เพราะเปนเสนทางที่วัดไดตามแนวตรงจากจุดเริ่มตนไปยังจุดสุดทายของการเคลื่อนที่ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

4. ถาฟาเดินทางจากบานไปโรงเรียนตามเสนทาง A โดยใชการกระจัด 100 เมตร และใชเวลา 5 นาที ฟาเดินดวยความเร็วเทาใด

อัตราเร็ว = ระยะทาง เวลา

การกระจัด เวลา

100 5 × 60

ความเร็ว = = = 0.33 เมตรตอวินาที ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ถ้าพิจารณา ถึงการเคลื่อนที่ของวัตถุ จะเห็นได้ว่าความเร็วและ อัตราเร็วของวัตถุอาจมีค่าเดียวกัน ถ้าการเคลื่อนที่นั้นเป็นแนวเส้นตรงเดียว ซึ่งระยะทางก็จะเท่ากับการกระจัด แต่จะต่างกัน คือ ความเร็วจะบอกทิศทาง ในการเคลื่อนที่ด้วย ส่วนอัตราเร็วไม่ต้องบอกทิศทาง อย่างไรก็ตาม ปกติอัตราเร็วในการเคลื่อนที่จะไม่คงที่ตลอด การเดินทาง มีบางช่วงช้าและบางช่วงเร็ว เช่น การเคลื่อนที่ของรถยนต์ จะไม่สามารถใช้ 2 อตั ราเร็วคงที่ได้ตลอด ดังนัน้ การบอกอัตราเร็วจึงมักบอกเป็น ยเวล อัตราเร็วเฉลี่ย คือ ผลรวมของระยะทางที่เคลื่อนที่ทั้งหมดหารด้วยเวลา ยเ อัตราเร็วเฉลี่ย = ผลรวมของระยะทางทั้งหมด เวลาทั้งหมด

ภาพที่ 5.13 มาตรวัดความเร็วบนหน้าปัดรถยนต์ จะบอกอัตราเร็วเทียบกับเวลา (ในทีน่ เี้ ป็นกิโลเมตร ต่อชั่วโมง) (ที่มาของภาพ : physics insights p.29)

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

5. นักเรียนคิดวาเปนไปไดหรือไม การเคลื่อนที่ของวัตถุในแตละครั้งจะมีระยะทางเทากับ การกระจัด เพราะเหตุใดจึงคิดเชนนั้น เปนไปได เพราะถาวัตถุเคลื่อนที่เปนเสนตรงโดยไมเปลี่ยนทิศทาง จะมีระยะทางเทากับการกระจัด ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

56

ขยายความเขาใจ ภาพที่ 5.14 การหาอัตราเร็วในการเคลื่อนที่ของ วัตถุมกั จะเป็นอัตราเร็วเฉลีย่ เพราะวัตถุจะเคลือ่ นที่ ด้วยอัตราเร็วไม่คงที่ (ที่มาของภาพ : photo bank ACT.)

Expand

ใหนักเรียนศึกษาการหาความเร็วของการ เคลือ่ นทีท่ เี่ กิดขึน้ ในชีวติ ประจําวัน ในตัวอยางที่ 1 จากหนังสือเรียน หนา 7 โดยครูผูสอนอธิบาย เพิ่มเติม

7

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’ 53 ออกเกี่ยวกับอัตราเร็ว นิลตองการเดินทางจากบานไปวัด โดยเริ่มเดินทางจากบาน ผานโรงเรียน และผานบานของแกว ซึ่งแผนผังการเดินทางเปนดังรูป ถาวัดอยูหางจาก บานแกวไปทางทิศตะวันตกเปนระยะ 160 เมตร และนิลใชเวลาเดินทาง จากบานไปวัดทั้งหมด 50 วินาที นิลเดินทางดวยอัตราเร็วกี่เมตรตอวินาที กําหนดใหหัวกระดาษเปนทิศเหนือ 160 เมตร โรงเรียน บานนิล ระยะทาง แนวตอบ อัตราเร็ว = 120 เมตร เวลา บานแกว = 160+120+160 เมตร 50 วินาที = 8.8 เมตรตอวินาที ดังนั้น ตอบ 8.8 เมตรตอวินาที

เกร็ดแนะครู ครูควรยกตัวอยางเพิ่มเติมเกี่ยวกับการคํานวณหาความเร็วเพื่อใหนักเรียน เกิดความเขาใจมากยิ่งขึ้น

นักเรียนควรรู 1 ทิศทางการเคลื่อนที่ นอกจากความเร็วจะมีทิศทางเดียวกับการเคลื่อนที่แลว ยังมีทศิ ทางเดียวกับทิศทางของแรงทีม่ ากระทําเมือ่ วัตถุเคลือ่ นทีด่ ว ยความเร็วเพิม่ ขึน้ และมีทิศทางตรงกันขามกับแรงที่มากระทําเมื่อวัตถุเคลื่อนที่ดวยความเร็วลดลง 2 อัตราเร็วเฉลี่ย ไมสามารถอธิบายการเคลื่อนที่ไดดีในกรณีที่วัตถุมีการเปลี่ยน รูปแบบการเคลื่อนที่อยูตลอดเวลา เชน หยุดนิ่งสลับกับการเคลื่อนที่ แตเหมาะจะ ใชอธิบายการเคลื่อนที่ของวัตถุที่มีการเคลื่อนที่คอนขางสมํ่าเสมอ คูมือครู

7


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ Expand าใจ ขยายความเข

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบExplain ายความรู

Explain

ครูสุมตัวแทนนักเรียน 3 คน ออกมาอธิบาย การหาอัตราเร็วและความแตกตางระหวางปริมาณ การเคลื่อนที่ตางๆ ไดแก ระยะทาง การกระจัด อัตราเร็ว และความเร็ว จากนั้นใหนักเรียนปฏิบัติ กิจกรรมที่ 5.5 จากแบบวัดและบันทึกผลการเรียนรู วิทยาศาสตร ม.1

ตัวอย่างที่ 2

✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ ว�ทยาศาสตร ม.1 กิจกรรมที่ 5.5 หนวยที่ 5 แรงและการเคลื่อนที่ กิจกรรมที่ 5.5 ใหนักเรียนปฏิบัติตามคําแนะนําตอไปนี้ (ว 4.1 ม.1/2) 1. พิจารณาภาพที่กําหนดใหแลวคํานวณหาอัตราเร็วเมื่อถึงวินาทีที่ 4

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได

20

อัตราเร็ว = ระยะทาง …………………………………………………………………………………………………………………………………. เวลา = 20 …………………………………………………………………………………………………………………………………. 4 = 5 เมตรตอวินาที ………………………………………………………………………………………………………………………………….

ตัวอย่างที่ 3

2. พิจารณาขอมูลการเคลื่อนที่ของวัตถุแตละชนิดตอไปนี้ 1) อัตราเร็วในการบินของนกมีคาเทาใด ระยะทาง = 240 m เวลา = 60 s

อัตราเร็ว = ระยะทาง เวลา = 240 60 = 4 เมตรต อวินาที ………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………….

……………………………………………………………………………………………….

ฉบับ

เฉลย 2) ระยะทางในการเคลื่อนที่ของการวิ่ง อัตราเร็ว = 30 m/s มีคาเทาใด ระยะทาง = อัตราเร็ว × เวลา เวลา = 20 s ……………………………………………………………………………………………….

= 30 × 20 = 600 เมตร

………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………….

3) ความเร็วในการเคลือ่ นทีข่ องจักรยานมีคา เทาใด การกระจัด = 2,000 m เวลา = 40 s

ด ความเร็ว = การกระจั เวลา = 2,000 40 = 50 เมตรตอวินาที ………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………….

……………………………………………………………………………………………….

57

ขยายความเขาใจ

Expand

ใหนักเรียนศึกษาการหาอัตราเร็วของการ เคลื่อนที่ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจําวัน ในตัวอยางที่ 2 และ 3 จากหนังสือเรียน หนา 8 โดยครูผูสอน อธิบายเพิ่มเติม

ในการเรียนการสอนเรื่อง อัตราเร็วและความเร็ว ครูควรเนนใหนักเรียนเขาใจ เกีย่ วกับความหมายของอัตราเร็วและความเร็วมากกวาเนนวิธกี ารคํานวณหาอัตราเร็ว และความเร็ว

นักเรียนควรรู 1 กิโลเมตรตอชั่วโมง หนวยแสดงอัตราเร็วหรือความเร็วเชนเดียวกับหนวย เมตรตอวินาที เปนหนวยที่นิยมใชในการอธิบายการเคลื่อนที่ในชีวิตประจําวัน นอกจากนี้ยังมีหนวยอื่นๆ ที่ใชแสดงอัตราเร็วหรือความเร็ว เชน ไมลตอชั่วโมง นอต ไมลทะเลตอชั่วโมง เปนตน

คูมือครู

วิธีท�ำ

อัตราเร็ว = ระยะทาง เวลา = 300 10 = 30 เมตรต่อวินาที ด ความเร็ว = การกระจั เวลา = 300 10 = 30 เมตรต่อวินาทีไปทางทิศใต้ ดังนั้น รถยนต์แล่นด้วยอัตราเร็ว 30 เมตรต่อวินาที และด้วยความเร็ว 30 เมตรต่อวินาทีไปทางทิศใต้

ตอบ

ชายคนหนึ่งเดินทางจากต�าบล A ไปยังต�าบล B ซึ่งอยู่ทางทิศเหนือและห่างจากต�าบล A 3 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทางครึ่งชั่วโมง จากต�าบล B เลี้ยวไปต�าบล C ซึ่งอยู่ทางทิศ ตะวันออก และห่างจากต�าบล B 4 กิโลเมตร ใช้เวลาเดินทางครึ่งชั่วโมง จงหาอัตราเร็วแต่ละ ช่วงของการเดินทางและอัตราเร็วเฉลี่ยตลอดการเดินทาง วิธีท�ำ

อัตราเร็ว = ระยะทาง เวลา 3 อัตราเร็วในช่วง A ถึง B = 0.5 = 6 กิโลเมตรต่อชั่วโมง 4 อัตราเร็วในช่วง B ถึง C = 0.5 1 = 8 กิโลเมตรต่อชั่วโมง อัตราเร็วเฉลี่ย = ระยะทางทัง้ หมด เวลาทั้งหมด 3+4 = 0.5+0.5 = 7 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ดังนั้น ชายคนนีเ้ ดินทางด้วยอัตราเร็ว 6 กิโลเมตรต่อชัว่ โมงในช่วง A ถึง B ด้วยอัตราเร็ว 8 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ในช่วง B ถึง C และด้วยอัตราเร็วเฉลี่ยตลอดการเดินทาง 7 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ตอบ

8

เกร็ดแนะครู

8

บนถนนมอเตอร์เวย์ รถยนต์คันหนึ่งแล่นไปทางทิศใต้ได้ 300 เมตร ในเวลา 10 วินาที จงหาอัตราเร็วและความเร็วของรถยนต์คันนี้

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’ 53 ออกเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ นักเรียนคนหนึ่งเดินจากจุด A ไปจุด B เปนเสนทางดังรูป หากนักเรียนใชเวลาในการเดินทาง 40 วินาที B 100 เมตร ขอใดตอไปนี้ไมถูกตอง A 1. นักเรียนเดินดวยความเร็วเฉลี่ย 2.5 เมตรตอวินาที 2. นักเรียนเดินดวยอัตราเร็วเฉลี่ย 2.5 เมตรตอวินาที 3. การกระจัดที่นักเรียนเดินไดเปน 0 4. นักเรียนเดินไดระยะทาง 100 เมตร วิเคราะหคําตอบ จากโจทยระยะทาง = การกระจัด = 100 เมตร นักเรียนเดินดวยอัตราเร็วเฉลีย่ = ระยะทาง = 100 = 2.5 เมตรตอวินาที เวลา 40 นักเรียนเดินดวยความเร็วเฉลี่ย = การกระจัด = 100 = 2.5 เมตรตอวินาที เวลา 40 ดังนัน้ ตอบขอ 3.


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

กิจกรรม

พั ฒ นาทั ก ษะ วิทยาศาสตร์

ขยายความเขาใจ Expand าใจ ขยายความเข

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

ขยายความเขาใจ

ใหนกั เรียนปฏิบตั กิ จิ กรรมที่ 5.6 จากแบบวัด และบันทึกผลการเรียนรู วิทยาศาสตร ม.1

5.2

✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ ว�ทยาศาสตร ม.1 กิจกรรมที่ 5.6 หนวยที่ 5 แรงและการเคลื่อนที่

ความเร็ว ¡. ¡ÒÃÇÑ´¤ÇÒÁàÃçÇ ผู้คนส่วนมากชอบการเดินทางอย่างรวดเร็ว แต่การเดินทางดังกล่าวมีความเสี่ยงและมีอันตรายสูง ยานพาหนะ ส่วนใหÞ่จะมีเคร×อ่ งวัดความเร็ว (speedometer) ทีใ่ ช้วดั ความเร็วของการเคล×อ่ นทีใ่ นระยะเวลาหนึง่ ซึง่ ความเร็วค�านวณ ได้จากระยะทางหารด้วยเวลา ด ความเร็ว = การกระจั เวลา

Expand

กิจกรรมที่ 5.6

ใหนักเรียนคํานวณหาปริมาณที่เกี่ยวของกับการเคลื่อนที่ ของวัตถุตอไปนี้ (ว 4.1 ม.1/2) 1. เสือตัวหนึ่งวิ่งดวยอัตราเร็ว 10 เมตรตอวินาที ถาเวลาผานไป 2 วินาที เสือจะวิ่งไดระยะทางเทาใด

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได

20

ระยะทาง

อัตราเร็ว = เวลา ……………………………………………………………………………………………………………………………… ระยะทาง 2

10 = ……………………………………………………………………………………………………………………………… ระยะทาง = 10 × 2 ………………………………………………………………………………………………………………………………

1

ในทางวิทยาÈาสตร์ ความเร็วมีหน่วยเปšนเมตรต่อวินาที แต่เคร×่องวัดความเร็วส่วนใหÞ่ที่ใช้กันจะวัดในหน่วยไมล์ ต่อชั่วโมง หร×อกิโลเมตรต่อชั่วโมง 2 แรงเปšนสิง่ จ�าเปšนทีใ่ ช้หยุดการเคล×อ่ นทีข่ องวัตถุได้ เช่น การห้ามล้อของรถยนต์ (break) จะใช้แรงเสียดทานช่วยให้ รถยนต์วงิ่ ช้าลงจนหยุดนิง่ โดยรถยนต์ทวี่ งิ่ ด้วยความเร็วสูงต้องใช้เวลาในการหยุดนานกว่าและใช้ระยะทางยาวกว่ารถยนต์ ที่วิ่งด้วยความเร็วต�่า จากความรู้เร×่องความเร็ว ท�าให้เราสามารถสร้างความปลอดภัยให้เกิดขึ้นได้ดังนี้

= 20 เมตร ………………………………………………………………………………………………………………………………

2. มาวิง่ ดวยอัตราเร็ว 8 เมตรตอวินาที ถาระยะทาง 1,000 เมตร มาจะวิ่งเปนเวลาเทาใดจึงจะถึงจุดหมาย ระยะทาง

อัตราเร็ว = เวลา …………………………………………………………………………………………………………………………….. 1,000 เวลา 1,000 8 = 125 วินาที …………………………………………………………………………………………………………………………….. 8 = ………………………………………………………………………………………………………………………………

เวลา = ……………………………………………………………………………………………………………………………..

ฉบับ

เฉลย

3. ในเวลา 10 วินาที รถจักรยานยนตคันหนึ่งวิ่งไดระยะทาง 150 เมตร รถคันนี้วิ่งดวยอัตราเร็วเทาใด ระยะทาง

อัตราเร็ว = เวลา ……………………………………………………………………………………………………………………………… 150 10

= ……………………………………………………………………………………………………………………………..

ÃÐÂзҧ·Õè¤Ô´¨ÐËÂشö 9 àÁµÃ

·Õè¤ÇÒÁàÃçÇ 50 ¡ÔâÅàÁµÃµ‹ 3 ͪÑèÇâÁ§ ÃÐÂзҧ·Õè㪌ˌÒÁÅŒÍ ÃÐÂзҧ·Õè㪌·Ñé§ËÁ´ 14 àÁµÃ 23 àÁµÃ

= 15 เมตรตอวินาที ……………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………..

4. ชายคนหนึ่งวายนํ้าไดระยะทาง 300 เมตร ซึ่งใชเวลา 5 นาที ชายคนนี้วายนํ้าดวยอัตราเร็วเทาใด ระยะทาง

อัตราเร็ว = เวลา ……………………………………………………………………………………………………………………………… 300 5 × 60 = 1 เมตรตอวินาที ………………………………………………………………………………………………………………………………

= …………………………………………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………………………………………………………………..

ÃÐÂзҧ·Õè¤Ô´¨ÐËÂشö 15 àÁµÃ

·Õè¤ÇÒÁàÃçÇ 80 ¡ÔâÅàÁµÃµ‹ÍªÑèÇâÁ§ ÃÐÂзҧ·Õè㪌ˌÒÁÅŒÍ ÃÐÂзҧ·Õè㪌·Ñé§ËÁ´ 38 àÁµÃ 53 àÁµÃ

ÃÐÂзҧ·Õè¤Ô´¨ÐËÂشö 21 àÁµÃ

·Õè¤ÇÒÁàÃçÇ 110 ¡ÔâÅàÁµÃµ‹ÍªÑèÇâÁ§ ÃÐÂзҧ·Õè㪌ˌÒÁÅŒÍ ÃÐÂзҧ·Õè㪌·Ñé§ËÁ´ 75 àÁµÃ 96 àÁµÃ

58

จากนั้นใหนักเรียนปฏิบัติกิจกรรมพัฒนา ทักษะวิทยาศาสตร 5.2

9

กิจกรรมทาทาย ใหนักเรียนสํารวจสถิติการแขงกีฬาประเภทตางๆ ที่มีการวัดอัตราเร็ว โดยประกอบดวยขอมูล ดังนี้ • ระยะทางในการแขงขัน • เวลาในการแขงขัน • อัตราเร็วในการแขงขัน เชื่อมโยงขอมูลดังกลาวกับการหาความเร็วและอัตราเร็วที่ไดศึกษามา พรอมบอกประโยชนของการหาความเร็วและอัตราเร็วในการเคลื่อนที่ แลวทําเปนรายงานสงครูผูสอน

นักเรียนควรรู 1 ไมล มาตรวัดระยะทางของอังกฤษ โดย 1 ไมล เทากับ 1,609 กิโลเมตร 2 แรงเสียดทาน แรงที่ตานการเคลื่อนที่ของวัตถุ เชน แรงเสียดทานเนื่องจาก ผิวสัมผัส แรงตานในอากาศ เปนตน 3 ระยะทางที่ใชหามลอ ระยะทางที่นอยที่สุดที่ใชในการหยุดรถที่กําลังเคลื่อนที่ ดวยความเร็ว ซึ่งมีคาขึ้นอยูกับความเร็วของรถและแรงเสียดทานระหวางลอรถและ พื้นถนน

คูมือครู

9


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engage

Explore

Explain

Expand

ตรวจสอบผล

ตรวจสอบผล Evaluate ตรวจสอบผล Evaluate

Evaluate

นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมพัฒนาทักษะ วิทยาศาสตร 5.2 และตอบคําถามทายกิจกรรมได อยางถูกตอง

กำรทดลองเรื่อง กำรวัดควำมเร็ว อุปกรณ์ วิธีการทดลอง • ไม้เมตร 1. เลือกของเล่นมา 2 ชิ้น จากที่มีอยู่ • นาฬิกาจับเวลา 2. ตรวจหาว่าของเล่นชิ้นใดมีความเร็วมากที่สุดโดยทําการไขลานของเล่น แล้วปล่อยให้เคลื่อนที่ไป วัดระยะทาง • ชอล์ก • ข องเล่ น ประเภท ที่เคลื่อนที่ไปในเวลา 10 วินาที คํานวณความเร็วเป็นเมตร/วินาที ไขลานที่เคลื่อนที่ได้ 3. ทําการทดลองซํ้า 3 ครั้ง คํานวณหาความเร็วเฉลี่ยของของเล่นแต่ละชิ้น • กระดาษกราฟ 4. เก็บความเร็วที่วัดได้ ไว้เป็นความลับ จัดการแข่งขันขึ้นในชั้นเรียน ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนําของเล่นชิ้นที่มี ความเร็วมากที่สุดเข้าทําการแข่งขัน

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู 1. แบบบันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรมพัฒนาทักษะ วิทยาศาสตร 5.2 2. สมุดบันทึกการคํานวณหาปริมาณการเคลื่อนที่ ไดแก ระยะทาง การกระจัด อัตราเร็ว และ ความเร็ว

 1. เขียนรายงานการทดลองสั้นๆ ที่ประกอบด้วย

- ชื่อเรื่อง - วิธีการวัดความเร็ว - ค�าอธิบายว่าเพราะเหตุใดจึงต้องท�าการทดลองซ�้า - วิธีการค�านวณ เพื่อแสดงการหาค่าความเร็วเป็น เมตร/วินาที - ตารางแสดงค่าความเร็วเฉลี่ยของของเล่นแต่ละชนิดเป็น เมตร/วินาที 2. ใช้ข้อมูลจากภาพในหน้า 9 เขียนกราฟแสดงระยะทางที่ใช้หยุดรถยนต์ (บนแกน Y) กับความเร็วของ รถยนต์ (บนแกน X) จ�าไว้ว่าต้องใส่มาตราส่วนและค่าของมาตราส่วนลงบนแกนทั้งสองของกราฟด้วย จากนั้นใส่ชื่อกราฟ

¢. ¡ÒÃà¾ÔèÁ¤ÇÒÁàÃçÇ 1. ใช้เคร×่องม×อเช่นเดียวกับการทดลองครั้งที่แล้วโดยเล×อกของเล่นชิ้นที่มีความเร็วมากที่สุดเพียงชิ้นเดียวเท่านั้น 2. ให้นักเรียนออกแบบการทดลองใช้วัดความเร็วหลายæ วิ¸ี โดยใช้อุปกรณ์หม×อนเดิมในการทดลองครั้งแรก ตัวแปรที่นักเรียนจะต้องควบคุมค×อ เวลา ในการทดลองครั้งนี้ตัวแปรอะไรที่นักเรียนจะต้องควบคุม 3. ท�าการทดลอง หาความเร็วเ©ลี่ยจากการทดลอง 3 ครั้ง

ภาพที่ 5.15 (ที่มาของภาพ : photo bank ACT.)

4. ถ้ามีเวลาให้นักเรียนพยายามท�าการเปลี่ยนแปลง “สภาพพ×้นผิว” ที่จะท�าให้ของเล่นวิ่งไปได้ไกลขึ้น

 เขียนค�าแนะน�าวิธีการทดลองแบบต่างๆ ที่นักเรียนแต่ละกลุ่มได้ออกแบบไว้

10

แนวตอบ กิจกรรมพัฒนาทักษะวิทยาศาสตร 5.2 ความเร็ว ก. การวัดความเร็ว 1. ชื่อเรื่อง การวัดความเร็ว การวัดความเร็วคํานวณไดจากอัตราสวนระหวางระยะทางทีข่ องเลนเคลือ่ นทีก่ บั เวลา มีหนวยเปน เมตรตอวินาที (m/s) ดังสูตร ความเร็ว = ระยะทาง และสาเหตุทตี่ อ งทําการทดลองซํา้ เพือ่ ใหไดผลการทดลองทีถ่ กู ตอง แมนยําทีส่ ดุ เวลา ตารางแสดงความเร็วเฉลี่ยของของเลนแตละชนิด ชนิดของเลน ครั้งที่ ระยะทาง ความเร็ว ความเร็วเฉลี่ย 1 จริง) 2 1 ทดลอง ร า ก ก 3 ี่ไดจา ดลองท ท 1 ร า ก ผล 2 (บันทึก 2 3

2. พิจารณาจากคําตอบของนักเรียน โดยอยูใ นดุลยพินจิ ของครูผสู อน ข. การเพิม่ ความเร็ว พิจารณาจากคําตอบของนักเรียน โดยอยูใ นดุลยพินจิ ของครูผสู อน

10

คูมือครู


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

กิจกรรม

1. แรงที่สัมผัสไม่ ได้ ¡. áç·ÕèÊÑÁ¼ÑÊäÁ‹ä´Œ 1 2 ค×อ แรงบางอย่างที่สามารถท�างานได้ในระยะห่างจากวัตถุ เช่น แรงโน้มถ่วง แรงประจุไ¿¿‡า และแรงแม่เหล็ก ส่วนáç·ÕèÊÑÁ¼ÑÊä´Œ เปšนแรงที่ต้องมาสัมผัสกับวัตถุก่อนจึงมีผลบางอย่างเกิดขึ้นตามมา เช่น แรงจากการดึง การดัน การบิด เปšนต้น

กำรทดลองเรื่อง แรงโน้มถ่วง อุปกรณ์ • ท่อกระดาษยาวม้วน ทําเป็นท่อ • ขาตั้ง • ไม้บรรทัด • ดินนํ้ามัน

วิธีการทดลอง เกมที่ 1 ตีลูกบอล (เกมความโน้มถวง) 1. ปน ดินนํา้ มันให้เป็นลูกบอลขนาดเล็ก และเตรียมอุปกรณ์ตามภาพ 2. ให้ คู ่ ร ่ ว มงานของนั ก เรี ย นปล่ อ ยลู ก บอลลงในท่ อ กระดาษใช้ ไม้บรรทัดตีลูกบอล ขณะที่ลูกบอลหล่นออกจากท่อ ทําซํ้า 3 ครั้ง 3. เปลี่ยนให้คู่ร่วมงานของนักเรียนเป็นผู้เล่นเกมบ้าง

Expand าใจ ขยายความเข

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

ขยายความเขาใจ

5

สร้างสรรค์พัฒนาประจ�าหน่วยการเรียนรู้ที่

ขยายความเขาใจ

ภาพประกอบ ลูกบอลดินน�้ามัน

ท่อ ใช้ไม้บรรทัดตีลูกบอล

Expand

ครูและนักเรียนรวมกันทบทวนความรูเรื่อง แรงและการเคลื่อนที่ของวัตถุ ที่ไดศึกษาไปแลว จากนั้นครูตั้งคําถามเพื่อนําสูการทํากิจกรรม สรางสรรคพัฒนาประจําหนวยการเรียนรูที่ 5 • นักเรียนคิดวาแรงดึงและแรงผลักมีความ แตกตางจากแรงโนมถวงอยางไร (แนวตอบ แรงดึงและแรงผลักจะทําใหวัตถุ เกิดการเปลี่ยนแปลงได แรงนั้นจะตองสัมผัส กับวัตถุ แตแรงโนมถวงสามารถทําใหวัตถุ เกิดการเปลี่ยนแปลงได โดยแรงนั้นไมตอง สัมผัสกับวัตถุ) จากนั้นใหนักเรียนปฏิบัติกิจกรรมสรางสรรค พัฒนาประจําหนวยการเรียนรูที่ 5 ขอ 1. แรงที่ สัมผัสไมได

กำรทดลองเรื่อง แรงประจุไฟฟ้ำ อุปกรณ์ • เม็ดโฟม • เศษผ้า • แท่งพลาสติก • นาฬิกาจับเวลา

วิธีการทดลอง เกมที่ 2 กอลฟแสนกล (เกมไฟฟา) 1. ถูแท่งพลาสติกด้วยเศษผ้าเพื่อให้มี ไฟฟาสถิตเกิดขึ้น นําแท่ง พลาสติกมาดูดเม็ดโฟมให้ ไปถึงจุดหมายทีก่ าํ หนดไว้ โดยไม่ ให้แท่ง พลาสติกแตะเม็ดโฟม จับเวลาที่ ใช้ ไปว่านานเท่าไหร่ 2. ให้คู่ร่วมงานทําการทดลองบ้าง แล้วดูว่าใครใช้เวลาน้อยกว่ากัน

ภาพประกอบ แท่งพลาสติก เม็ดโฟม

กำรทดลองเรื่อง แรงแม่เหล็ก อุปกรณ์ วิธีการทดลอง • จานแก้ว เกมที่ 3 สร้างใบหน้า (เกมแมเหล็ก) • โครงร่างใบหน้า 1. แต่งรูปหน้าให้สมบูรณ์ โดยใช้แท่งแม่เหล็กดูดผงตะไบเหล็กไป • แท่งแม่เหล็กขนาดเล็ก เติมเป็นคิ้วทั้ง 2 ข้าง เติมจุดกลางดวงตาทั้งคู่ และปิดฟนซี่หนึ่ง • ผงตะไบเหล็ก นักเรียนใช้เวลาไปนานเท่าไหร่ 2. เปลี่ยนให้คู่ร่วมงานทําการทดลองบ้าง แล้วดูว่าใครใช้เวลาน้อย กว่ากัน

ภาพประกอบ ผงตะไบเหล็ก

คว�่าจานแก้วลง ภาพที่ 5.16 (ทีม่ าของภาพ : photo bank ACT.)

11

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

แรงโนมถวง แรงประจุไฟฟา และแรงแมเหล็กมีความเหมือนหรือ แตกตางกันอยางไร

แนวตอบ แรงทัง้ สามลวนเปนปริมาณทีก่ ระทําตอวัตถุอยางมีทศิ ทางทัง้ สิน้ แตจะกระทําตอวัตถุที่แตกตางกัน กลาวคือ แรงโนมถวงจะกระทําตอวัตถุ ทีม่ มี วล แรงไฟฟาจะกระทําตอวัตถุทมี่ ปี ระจุทางไฟฟา ไดแก ประจุบวก และประจุลบ สวนแรงแมเหล็กจะกระทําตอวัตถุที่มีสมบัติทางแมเหล็ก ซึ่งแรงทั้งสามชนิดจัดวาเปนแรงที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ

นักเรียนควรรู 1 แรงประจุไฟฟา แรงที่เกิดขึ้นเนื่องจากอํานาจทางไฟฟาระหวางประจุ หากเปนประจุชนิดเดียวกันแรงที่เกิดขึ้นจะเปนแรงผลัก ในทางตรงกันขาม หากเปนประจุตางชนิดกันจะเกิดแรงดึงดูดระหวางประจุทั้งสอง 2 แรงแมเหล็ก แรงธรรมชาติเนื่องจากอํานาจทางแมเหล็ก เกิดขึ้นภายใน สนามแมเหล็ก เชน สนามแมเหล็กโลกที่ออกแรงกระทําใหเข็มทิศซึ่งประกอบดวย สารแมเหล็กชี้ในแนวเหนือ-ใต แรงแมเหล็กที่ดูดแมเหล็กติดตูเย็นใหติดกับตูเย็น เปนตน

คูมือครู

11


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ขยายความเขาใจ Expand าใจ ขยายความเข

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Expand

ใหนักเรียนคนหนึ่งทดลองออกแรงดันโตะไป ทางดานซายจนโตะเริ่มเคลื่อนที่แลวดันโตะตอไป เรื่อยๆ ดวยแรงขนาดเทาเดิม ตอมาใหเพื่อน นักเรียนอีกคนหนึ่งดันโตะตัวเดียวกัน แตดันไป ทางขวา จนกระทั่งโตะหยุดการเคลื่อนที่ จากนั้น ใหนักเรียนทั้ง 2 คน ยังคงออกแรงเทาเดิมตอไป แลวใหนักเรียนในหองสังเกตการเคลื่อนที่ของ โตะตัวนี้ จากนั้นครูตั้งคําถาม • สุดทายโตะตัวนี้มีการเคลื่อนที่หรือไม อยางไร (แนวตอบ สุดทายโตะตัวนี้จะอยูนิ่งไมมีการ เคลื่อนที่ เนื่องจากแรงของนักเรียนทั้ง 2 คน ที่กระทําตอโตะมีขนาดเทากัน ทําใหเกิด สมดุลของแรง โตะจึงหยุดนิ่งไมเคลื่อนที่) จากนั้นใหนักเรียนปฏิบัติกิจกรรมสรางสรรค พัฒนาประจําหนวยการเรียนรูที่ 5 ขอ 2. การทําให เกิดสมดุล

 1. เขียนชื่อของแรงสัมผัสได้และแรงที่สัมผัสไม่ได้มาอย่างละ 3 ชนิด

2. เขียนชื่อแรงที่สัมผัสไม่ได้ที่น�ามาใช้ในแต่ละเกม พร้อมทั้งบอกรายละเอียดวิธีใช้แรงเหล่านั้น 3. คัดลอกตารางข้างล่างนี้พร้อมทั้งเติมข้อความให้สมบูรณ์ เกม

แรงกระท�าบน

วัตถุถูกดูดâดย

1 ¢. ¡ÒÃ㪌áç·ÕèÊÑÁ¼ÑÊäÁ‹ä´Œ จากภาพ นักเรียนจะพบว่ากิจกรรมในชีวติ ประจ�าวันของเราหลายอย่างทีต่ อ้ งใช้แรงทีก่ ระท�ากับวัตถุทอี่ ยูห่ า่ งไกลกัน

การนั่งบนรถไฟ การเปดตู้เย็น เหาะตีลังกาในสวนสนุก ภาพที่ 5.17 (ที่มาของภาพ : photo bank ACT.)

การท�างานของเข็มทิศ

ลูกโปงลอยได้

 เขียนชื่อแรงสัมผัสไม่ได้ที่ถูกใช้ในแต่ละภาพ

2. การท�าให้เกิดสมดุล เม×่อมีแรงมากระท�ากับวัตถุก้อนหนึ่ง อาจท�าให้วัตถุอยู่ในสมดุลหร×อไม่สมดุลก็ได้ โดยแรงที่ท�าให้วัตถุเกิดสมดุลนั้น รูปร่างของวัตถุจะไม่เปลี่ยนไป หร×อวัตถุยังคงอยู่ในสภาพเดิม หร×อเคล×่อนที่ไปในความเร็วคงที่ ส่วนแรงที่ท�าให้วัตถุ ไม่สมดุลนั้นเปšนแรงที่ท�าให้มีการเปลี่ยนรูปร่างของวัตถุ หร×อเปลี่ยนความเร็ว หร×อเปลี่ยนทิÈทางการเคล×่อนที่ นักเรียน คิดว่าจะเกิดอะไรขึ้นกับเส้นเช×อกที่ก�าลังถูกชักเย่อ เม×่อแรงในแต่ แรงในแต่ละข้างถูกท�าให้เกิดสมดุลและไม่ท�าให้เกิดสมดุล

กำรทดลองเรื่อง กำรท�ำให้เกิดสมดุล

อุปกรณ์ วิธีการทดลอง • ไม้กระดก ให้นักเรียนจับคู่กันคิดหาวิธีแก้ปญหาลับสมอง (มีการบอกใบ้ว่าจะเริ่มต้นอย่างไรในตอนท้ายของหน้า) • เหรียญ หรือ ภาพประกอบ แผ่นโลหะกลม 14 อัน • เหรียญขนาดใหญ่ หรือ แผ่นโลหะกลม 1 อัน • ลูกกลมทําด้วย ดินนํ้ามัน

ภาพที่ 5.18 (ที่มาของภาพ : photo bank ACT.)

12

แนวตอบ กิจกรรมสรางสรรคพัฒนาประจําหนวยการเรียนรูที่ 5 1. แรงที่สัมผัสไมได ก. แรงที่สัมผัสไมได 1. แรงที่สัมผัสได เชน แรงดึง แรงดัน แรงกด แรงที่สัมผัสไมได เชน แรงแมเหล็ก แรงโนมถวง แรงประจุไฟฟา 2. เกมที่ แรงที่สัมผัสไมได 1. ตีลูกบอล

แรงโนมถวง ซึ่งเปนแรงดึงดูดที่มวลของโลกกระทําตอมวลของวัตถุ เพื่อดึงดูดวัตถุเขาสู ศูนยกลางของโลก

2. กอลฟแสนกล แรงประจุไฟฟา เปนแรงดึงดูดที่เกิดจากประจุไฟฟาขั้วบวกและขั้วลบทําปฏิกิริยาตอกัน 3. สรางใบหนา

3.

12

แรงแมเหล็ก เปนแรงดึงดูดที่เกิดจากขั้วบวกและขั้วลบของแมเหล็กทําปฏิกิริยาตอกัน

เกมที่ 1. ตีลูกบอล

ลูกบอล

วัตถุถูกดูดโดย แรงโนมถวง

2. กอลฟแสนกล

เม็ดโฟม

แรงประจุไฟฟา

3. สรางใบหนา

ผงตะไบเหล็ก

แรงแมเหล็ก

คูมือครู

แรงกระทําบน

ข. การใชแรงที่สัมผัสไมได เกมที่ 1. การนั่งบนรถไฟเหาะ ตีลังกาในสวนสนุก

แรงที่สัมผัสไมได แรงโนมถวง

2. การเปดตูเย็น

แรงแมเหล็ก

3. การทํางานของเข็มทิศ

แรงแมเหล็ก หรือแรงสนามแมเหล็กโลก

4. ลูกโปงลอยได

แรงดันอากาศ


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Expand าใจ ขยายความเข

Evaluate ตรวจสอบผล

ขยายความเขาใจ »˜ÞËÒÅѺÊÁͧ ถ้ า มี นั ก เรี ย นอยู ่ 15 คนในชั้ น เรี ย น โดยนั ก เรี ย น 14 คน มี น�้ า หนั ก เท่ า กั น นั ก เรี ย นอี ก คนหนึ่ ง มี น�้าหนักมากกว่านักเรียนคนอ×่นæ 2 กิโลกรัม ท�าอย่างไรจึงจะใช้ไม้กระดกเปšนเคร×่องม×อหานักเรียนคนที่มีน�้าหนัก ต่างจากคนอ×่นได้ นักเรียนสามารถใช้ไม้กระดกได้เพียง 3 ครั้งเท่านั้น

 เขียนรายละเอียดว่านักเรียนมีวธิ แี ก้ปญ ั หาเรือ่ งไม้กระดกได้อย่างไร โดยมีคา� ว่าสมดุลของแรงและสมดุลของ

วัตถุ อยู่ในค�าตอบด้วย

ºÍ¡ãºŒ»Þ˜ ËÒÅѺÊÁͧ àÃÔÁè ¨Ò¡ãËŒ¹¡Ñ àÃÕ¹¹Ñ§è º¹äÁŒ¡Ãдҹ¢ŒÒ§ÅÐ 7 ¤¹ ¶ŒÒäÁŒ¡Ãд¡ ÁÕÊÁ´ØÅ áÊ´§Ç‹Ò¹Ñ¡àÃÕ¹·Õàè ËÅ×Í໚¹¤¹·ÕÁè ¹Õ Òíé ˹ѡÁÒ¡·ÕÊè ´Ø áµ‹¶ÒŒ äÁŒ¡Ãд¡äÁ‹ÊÁ´ØÅ ¹Ñ¡àÃÕ¹·ÕèÁÕ¹íéÒ˹ѡÁÒ¡µŒÍ§ÍÂÙ‹¢ŒÒ§·ÕèäÁŒ¡Ãд¡Å§

Expand

ใหนักเรียนปฏิบัติกิจกรรมสรางสรรคพัฒนา ประจําหนวยการเรียนรูที่ 5 ขอ 3. การออกแบบ ผลิตภัณฑที่ดีและไมดี จากนั้นใหนักเรียนแบงกลุม กลุม ละ 4-5 คน ยกตัวอยางผลิตภัณฑหรือเครือ่ งมือ ที่ออกแบบขึ้นเพื่อปองกันแรงที่มากระทําใหเกิด ความเสียหาย นอกเหนือจากตัวอยางในกิจกรรม สรางสรรคพัฒนาประจําหนวยการเรียนรูที่ 5 เพื่อ นํามาบรรยายหนาชั้นเรียน

ตรวจสอบผล

Evaluate

นักเรียนตอบคําถามจากกิจกรรมสรางสรรค พัฒนาประจําหนวยที่ 5 ไดถูกตอง

3. การออกแบบผลิตภัณฑที่ดีและไม่ดี เคร×่องม×อ เคร×่องจักร และผลิตภัณ±์ต่างæ ล้วนถูกออกแบบมาไว้เพ×่อป‡องกันแรงต่างæ ที่จะมากระท�าให้เกิดความ เสียหายได้ ให้นักเรียนสังเกตผลิตภัณ±์ต่างæ ในภาพข้างล่างนี้ว่ามีการออกแบบที่ไม่ดีอย่างไรบ้าง จากนั้นให้เขียนบทความ เพ×่อบรรยายหน้าชั้นที่ประกอบด้วยหัวข้อ ดังนี้ • ชนิดของแรงที่มากระท�า • การออกแบบที่จะท�าให้ผลิตภัณ±์สามารถต้านทานแรงต่างæ ที่จะมาท�าให้เกิดความเสียหายได้ • การปรับปรุงรูปแบบของผลิตภัณ±์ที่ไม่ดีนี้ นักเรียนสามารถใช้ภาพถ่ายหร×อผลิตภัณ±์จริงมาเปšนตัวอย่างประกอบการบรรยายหน้าชั้นเรียน

ภาพที่ 5.19 (ที่มาของภาพ : photo bank ACT.)

13

แนวตอบ กิจกรรมสรางสรรคพัฒนาประจําหนวยการเรียนรูที่ 5 2. การทําใหเกิดสมดุล ครั้งที่ 1 แบงกลุมนักเรียนออกเปน 2 กลุม กลุมละ 7 คน เหลือเศษ 1 คน ใหนักเรียน 2 กลุม นั่งบนไมกระดกขางละกลุม ถาไมอยู ในสมดุล แสดงวาคนที่เหลือมีนํ้าหนักมากกวาคนอื่น แตถาไมเอียงดานใดดานหนึ่ง แสดงวาดานนั้นมีคนที่นํ้าหนักมากกวา อยูในกลุม ครัง้ ที่ 2 แบงนักเรียนกลุม ทีอ่ ยูด า นไมเอียงออกเปน 2 กลุม กลุม ละ 3 คน เหลือ 1 คน แลวใหนงั่ ไมขา งละกลุม สังเกตผลเชนเดียวกับ ครัง้ ที่ 1 ครั้งที่ 3 แบงนักเรียนจากกลุม 3 คน ใหนั่งบนไมขางละคน หากไมอยูในสมดุล แสดงวานักเรียนคนที่เหลือมีนํ้าหนักมากกวาคนอื่น 3. การออกแบบผลิตภัณฑที่ดีและไมดี ภาพ เปดฝากระปอง

ชนิดของแรง แรงดึง

การออกแบบ ใชโลหะที่มีความเหนียวมาทําหวงที่ใชดึงฝา

การปรับปรุง ใชขวดแกวหรือกระปองแบบฝาเกลียว

เปดถุงขนม

แรงฉีก

ใชถุงพลาสติกที่มีความเหนียวคงทน

ทํารอยตัดไวดานขางสําหรับฉีก

หั่นเนื้อ

แรงกด

ใชโลหะที่มีความแข็งแรงตอแรงกด

มีดควรมีรอยหยักเหมือนฟนเลื่อย

แขวนผาบนไมแขวนผา

แรงกด

ใชลวดโลหะที่มีความแข็งแรงและคงทน

ไมแขวนผาตองมีความแข็งแรงและควรมีที่ยึด หรือเกี่ยวผาไมใหไหลมารวมกัน

คูมือครู

13


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engage

Explore

Explain

Expand

ตรวจสอบผล

Evaluate

ครูใหนักเรียนอานสรุปทบทวนประจําหนวย การเรียนรูที่ 5 จากนั้นครูตั้งคําถามใหนักเรียนตอบ เพื่อเปนการตรวจสอบความเขาใจของนักเรียน

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู 1. แบบบันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรมพัฒนาทักษะ วิทยาศาสตร 2. สมุดบันทึกตัวอยางแรงตางๆ ที่พบเห็นในชีวิต ประจําวัน 3. สมุดบันทึกการคํานวณหาปริมาณการเคลื่อนที่ ไดแก ระยะทาง การกระจัด อัตราเร็ว และ ความเร็ว 4. แบบบันทึกผลการปฏิบัติกิจกรรมสรางสรรค พัฒนาประจําหนวยการเรียนรูที่ 5

ตรวจสอบผล Evaluate ตรวจสอบผล Evaluate

สรุปทบทวน

ประจ�าหน่วยการเรียนรู้ที่

5

■ แรงที่ใช้ในชีวิตประจ�าวัน เช่น แรงดัน แรงดึง แรงหมุน แรงบีบ เป็นต้น โดยเมื่อแรงกระท�าต่อวัตถุหนึ่ง อาจมีผลท�าให้วัตถุที่หยุดนิ่งอยู่เกิดการเคลื่อนที่ ท�าให้วัตถุที่เคลื่อนที่อยู่มีการเคลื่อนที่เร็วขึ้น ช้าลง หยุดนิ่ง หรือ เปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ และอาจท�าให้วัตถุมีรูปร่างและขนาดเปลี่ยนแปลงไป ■ ปริมาณทางกายภาพแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ปริมาณสเกลาร์และปริมาณเวกเตอร์ ■ ปริมาณสเกลาร์ เป็นปริมาณที่มีแต่ขนาดเพียงอย่างเดียว เช่น มวล ปริมาตร ความยาว เวลา อุณหภูมิ เป็นต้น ■ ปริมาณเวกเตอร์ เป็นปริมาณที่มีทั้งขนาดและทิศทาง เช่น ความเร็ว การกระจัด ความเร่ง เป็นต้น ■ การเคลื่อนที่ของวัตถุเกี่ยวข้องกับระยะทาง การกระจัด อัตราเร็ว และความเร็ว ■ ระยะทาง คือ ความยาวทีว ่ ดั ตามแนวทางการเคลือ่ นทีข่ องวัตถุจากต�าแหน่งเริม่ ต้นไปยังต�าแหน่งสุดท้าย ■ การกระจัด คือ เวกเตอร์ที่ชี้ต�าแหน่งสุดท้ายของวัตถุเทียบกับต�าแหน่งเริ่มต้น ■ อัตราเร็ว คือ ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ได้ในหนึ่งหน่วยเวลา ■ ความเร็ว คือ การกระจัดของวัตถุในหนึ่งหน่วยเวลา ■ เซอร์ ไอแซก นิวตัน เป็นผู้ค้นพบกฎการเคลื่อนที่ของวัตถุ ซึ่งมีอยู่ 3 ข้อ ■ กฎข้อที่ 1 ของนิวตัน มีใจความว่า วัตถุจะรักษาสภาพอยูน ่ งิ่ หรือสภาพเคลือ่ นทีอ่ ย่างสม�า่ เสมอ นอกจาก จะมีแรงลัพธ์ที่มีค่าไม่เท่ากับศูนย์มากระท�าต่อวัตถุ ■ กฎข้อที่ 2 ของนิวตัน มีใจความว่า เมื่อมีแรงลัพธ์ที่มีค่าไม่เท่ากับศูนย์มากระท�าต่อวัตถุ จะท�าให้วัตถุ เคลื่อนที่ด้วยความเร่งในทิศเดียวกับแรงลัพธ์ และขนาดของความเร่งจะแปรผันตรงกับขนาดของแรงลัพธ์ ■ กฎข้อที่ 3 ของนิวตัน มีใจความว่า ทุกแรงกิรย ิ าย่อมมีแรงปฏิกริ ยิ าทีม่ ขี นาดเท่ากันแต่มที ศิ ทางตรงข้าม กันเสมอ

14

เกร็ดแนะครู เมื่อจบการเรียนการสอนในหนวยการเรียนรูที่ 5 แลว ครูอาจใหนักเรียน เขียนสรุปเนื้อหาสาระสําคัญทั้งหมดที่ไดเรียนไปในหนวยการเรียนรูที่ 5 ออกมา เปนแผนผังความคิดในรูปแบบที่งายตอการเขาใจ แลวนําสงครูผูสอน เพื่อให ครูไดตรวจสอบความเขาใจของนักเรียนอีกครั้งหนึ่ง และนักเรียนสามารถนํา แผนผังความคิดนี้ไปใชอานประกอบเพื่อเตรียมตัวสอบในเรื่องแรงและการเคลื่อนที่ ของวัตถุได

14

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ใหนักเรียนอธิบายวา ความเร็วกับอัตราเร็วมีความแตกตางกันอยางไร แนวตอบ ความเร็ว มีคาเทากับอัตราสวนระหวางการกระจัดกับเวลาที่ ใชในการเคลื่อนที่ ซึ่งเปนปริมาณเวกเตอร ที่ตองบอกทั้งขนาดและทิศทาง ในการเคลื่อนที่ สวนอัตราเร็ว มีคาเทากับอัตราสวนระหวางระยะทางกับ เวลาที่ใชในการเคลื่อนที่ ซึ่งเปนปริมาณสเกลาร ที่ระบุแตขนาดโดยไมตอง ระบุทิศทางในการเคลื่อนที่ ดังนั้น หากการเคลื่อนที่ใดๆ มีการกระจัด เทากับระยะทาง ทั้งความเร็วและอัตราเร็วจะมีคาเทากัน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.