8858649122698

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº Í- .

ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน

กระบวนการสอนแบบ 5 Es ชวยสรางทักษะการเรียนรู กิจกรรมมุงพัฒนาทักษะการคิด คำถาม + แนวขอสอบเพื่อยกผลสัมฤทธิ์ O-NET กิจกรรมบูรณาการเตรียมพรอมสู ASEAN 2558


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

พระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปที่

1

สําหรับครู

คูมือครู Version ใหม

ลักษณะเดน

ขยายพื้นที่รูปเลมใหญขึ้นกวาเดิม จัดแบงพื้นที่ออกเปนโซน เพื่อคนหาขอมูลไดงาย สะดวก รวดเร็ว และดูเปนระเบียบ กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล

กระตุน ความสนใจ

Evaluate

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

เปาหมายการเรียนรู สมรรถนะของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค

หน า

โซน 1 กระตุน ความสนใจ

Engage

สํารวจคนหา

Explore

อธิบายความรู

Explain

ขยายความเขาใจ

Expand

ตรวจสอบผล

หน า

หนั ง สื อ เรี ย น

โซน 1

หนั ง สื อ เรี ย น

Evaluate

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ขอสอบ

โซน 2

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

เกร็ดแนะครู

O-NET

บูรณาการเชื่อมสาระ

โซน 3

กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย

นักเรียนควรรู

โซน 3

โซน 2 บูรณาการอาเซียน มุม IT

No.

คูมือครู

คูมือครู

No.

โซน 1 ขั้นตอนการสอนแบบ 5Es

โซน 2 ชวยครูเตรียมสอน

โซน 3 ชวยครูเตรียมนักเรียน

เพื่อใหครูเตรียมจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยแนะนําขั้นตอนการสอนและ การจัดกิจกรรมแบบ 5Es อยางละเอียด เพื่อใหนักเรียนบรรลุตามตัวชี้วัด

เพื่อชวยลดภาระครูผูสอน โดยแนะนํา เกร็ดความรูสําหรับครู ความรูเสริมสําหรับ นักเรียน รวมทั้งบูรณาการความรูสูอาเซียน และมุม IT

เพื่อใหครูสะดวกตอการจัดกิจกรรม โดย แนะนํากิจกรรมบูรณาการเชือ่ มระหวางสาระหรือ กลุมสาระการเรียนรู วิชา กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย รวมถึงเนื้อหาที่เคยออกขอสอบ O-NET แนวขอสอบ NT/O-NET ทีเ่ นนการคิด พรอมเฉลยและคําอธิบายอยางละเอียด


ที่ใชในคูมือครู

แถบสีและสัญลักษณ

แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5Es เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

1. แถบสี 5Es สีแดง

สีเขียว

กระตุน ความสนใจ

เสร�ม

สํารวจคนหา

Engage

2

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุน ความสนใจ เพื่อโยง เขาสูบทเรียน

สีสม

อธิบายความรู

Explore

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนสํารวจ ปญหา และศึกษา ขอมูล

สีฟา

Explain

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนคนหา คําตอบ จนเกิดความรู เชิงประจักษ

สีมวง

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนนําความรู ไปคิดคนตอๆ ไป

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

2. สัญลักษณ สัญลักษณ

วัตถุประสงค

• เปาหมายการเรียนรู

• หลักฐานแสดง ผลการเรียนรู

• เกร็ดแนะครู

แทรกความรูเสริมสําหรับครู ขอเสนอแนะ ขอควรระวัง ขอสังเกต แนวทางการจัด กิจกรรมและอืน่ ๆ เพื่อประโยชนในการ จัดการเรียนการสอน ขยายความรูเพิ่มเติมจากเนื้อหา เพื่อให ครูนําไปใชอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียน ไดมีความรูมากขึ้น

ความรูห รือกิจกรรมเสริม ใหครูนาํ ไปใช เตรียมความพรอมใหกบั นักเรียนกอนเขาสู ประชาคมอาเซียนใน พ.ศ. 2558 โดย บูรณาการกับวิชาทีก่ าํ ลังเรียน

บูรณาการอาเซียน

คูม อื ครู

แสดงรองรอยหลักฐานตามภาระงาน ที่ครูมอบหมาย เพื่อแสดงผลการเรียนรู ตามตัวชี้วัด

• นักเรียนควรรู

มุม IT

แสดงเปาหมายการเรียนรูที่นักเรียน ตองบรรลุตามตัวชี้วัด ตลอดจนสมรรถนะ ที่จะตองมี และคุณลักษณะที่พึงเกิดขึ้น กับนักเรียน

แนะนําแหลงคนควาจากเว็บไซต เพื่อให ครูและนักเรียนไดเขาถึงขอมูลความรู ที่หลากหลาย ทั้งไทยและตางประเทศ

สัญลักษณ

ขอสอบ

วัตถุประสงค

O-NET

(เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ O-NET O-NET)

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T (เฉพาะระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนตอนตน)

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET (เฉพาะระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย)

บูรณาการเชื่อมสาระ

กิจกรรมสรางเสริม

กิจกรรมทาทาย

• ชีแ้ นะเนือ้ หาทีเ่ คยออกขอสอบ

O-NET โดยยกตัวอยางขอสอบ พรอมวิเคราะหคาํ ตอบ อยางละเอียด

• เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน

การคิดและเปนแนวขอสอบ NT/O-NET ในระดับมัธยมศึกษา ตอนตน มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

• เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน

การคิดและเปนแนวขอสอบ O-NET ในระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม

เชือ่ มกับสาระหรือกลุม สาระ การเรียนรู ระดับชัน้ หรือวิชาอืน่ ทีเ่ กีย่ วของ

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ซอมเสริมสําหรับนักเรียนทีค่ วร ไดรบั การพัฒนาการเรียนรู

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ตอยอดสําหรับนักเรียนทีเ่ รียนรู ไดอยางรวดเร็ว และตองการ ทาทายความสามารถในระดับ ทีส่ งู ขึน้


คําแนะนําการใชคูมือครู การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน คูมือครู รายวิชา พระพุทธศาสนา ม.1 จัดทําขึ้นเพื่อใหครูผูสอนนําไปใชเปนแนวทางวางแผนการสอนเพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน และประกันคุณภาพผูเ รียน ตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน (สพฐ.) โดยใชหนังสือเรียน พระพุทธศาสนา ม.1 ของบริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด เปนสื่อหลัก (Core Material) ประกอบ เสร�ม การสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดกลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา 3 ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 โดยออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน ตามหลักการสําคัญ ดังนี้ 1 ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน คูม อื ครู รายวิชา พระพุทธศาสนา ม.1 วางแผนการสอนโดยแบงเปนหนวยการเรียนรูต ามลําดับสาระ (strand) และ หมายเลขขอของมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั แตละหนวยจะกําหนดเปาหมายการเรียนรูแ ละจุดประสงคการเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทางการประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชัดเจน ครูผูสอนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด สมรรถนะ และคุณลักษณะ อันพึงประสงคที่เปนเปาหมายการเรียนรูตามที่กําหนดไวในสาระแกนกลาง (ตามแผนภูมิ) และสามารถบันทึกผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของผูเรียนแตละคนลงในเอกสาร ปพ.5 ไดอยางมั่นใจ แผนภูมิแสดงความสัมพันธขององคประกอบการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผูเรียนเปนสําคัญ

พผ

ูเ

จุดปร

ะสง

คก า

ส ภา

รียน

รู ีเรยน

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชั้นป

ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน คูม อื ครู


2 การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ แนวคิ ด ในการจั ด การเรี ย นการสอนที่ ยึ ด ผู  เ รี ย นเป น สํ า คั ญ พั ฒ นามาจากปรั ช ญาและทฤษฎี ก ารเรี ย นรู  Constructivism ที่เชื่อวา การเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสรางความรู โดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดเรียนรูจากบทเรียนใหมกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา ผูเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีการสั่งสมความรูความเขาใจเกี่ยวกับสิ่งตางๆ ติดตัวมากอน ทีจ่ ะเขาสูห อ งเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากประสบการณและสิง่ แวดลอมรอบตัวผูเ รียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกิจกรรม เสร�ม การเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ผูสอนจะตองคํานึงถึง

4

1. ความรูเดิมของผูเรียน วิธีการสอนที่ดีจะตองเริ่มตนจากจุดที่วา ผูเ รียนมีความรูอ ะไรมาบาง แลวจึงใหความรู หรือประสบการณใหม เพื่อตอยอดจาก ความรูเดิม นําไปสูการสรางความรู ความเขาใจใหม

2. ความรูเดิมของผูเรียนถูกตองหรือไม ผูส อนตองปรับเปลีย่ นความรูค วามเขาใจเดิม ของผูเรียนใหถูกตอง และเปนพฤติกรรม การเรียนรูใ หมทมี่ คี ณุ คาตอผูเรียน เพื่อสราง เจตคติหรือทัศนคติที่ดีตอการเรียนรู สิ่งเหลานั้น

3. ผูเรียนสรางความหมายสําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมใหผูเรียนนําความรู ความเขาใจที่เกิดขึ้นไปลงมือปฏิบัติ เพื่อขยายความรูใหลึกซึ้งและมีคุณคา ตอตัวผูเรียนมากที่สุด

แนวคิด Constructivism เนนใหผูเรียนสรางความรูโดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูของตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศ

การเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณ ความรูใ หม เพือ่ กระตนุ ใหผเู รียนเชือ่ มโยงความรู ความคิด กับประสบการณทมี่ อี ยูเ ดิม แลวสังเคราะหเปนความรูห รือแนวคิดใหมๆ ไดดว ยตนเอง

3 การบูรณาการกระบวนการคิด การเรียนรูของผูเรียนแตละคนจะเกิดขึ้นที่สมอง ซึ่งเปนอวัยวะที่ทําหนาที่รูคิดภายใตสภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวย และไดรบั การกระตนุ จูงใจอยางเหมาะสม สอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของผูเ รียนแตละคน การจัดกิจกรรม การเรียนรูและสาระการเรียนรูที่สอดคลองกับความสนใจและมีความหมายตอผูเรียน จะชวยกระตุนใหสมองของผูเรียน สามารถรับรูและเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพตามขั้นตอนการทํางานของสมอง ดังนี้ 1. สมองจะเรียนรูและสืบคน โดยการสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง ปฏิบัติ จนทําใหคนพบความรูความเขาใจ ไดอยางรวดเร็ว

2. สมองจะแยกแยะคุณคาของสิ่งตางๆ โดยการตัดสินใจวิพากษวิจารณ แสดง ความคิดเห็น ยอมรับหรือตอตานตาม อารมณความรูสึกที่เกิดขึ้นในขณะที่เรียนรู

3. สมองจะประมวลเนื้อหาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสานกับ ความรูห รือประสบการณเดิมทีถ่ กู จัดเก็บอยูใ น สมอง ผานการกลัน่ กรองเพือ่ สังเคราะหเปน ความรูค วามเขาใจใหมๆ หรือเปนทัศนคติใหม ที่จะเก็บบรรจุไวในสมองของผูเรียน

การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะเกิดขึ้น เมื่อสมองรูคิด และตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมองผูเรียน โดยเริ่มตนจาก 1. ระดับการคิดพื้นฐาน ไดแก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล การสรุปผล เปนตน

คูม อื ครู

2. ระดับลักษณะการคิด ไดแก การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดไกล คิดหลากหลาย คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล เปนตน

3. ระดับกระบวนการคิด ไดแก กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ กระบวนการแกปญหา กระบวนการ คิดสรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะห เปนตน


5Es การจัดกิจกรรมตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ขั้นตอนการสอนที่สัมพันธกับขั้นตอนการคิดและการทํางานทางสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย คือ วัฏจักรการเรียนรู 5Es ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแตละหนวย ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1

กระตุนความสนใจ

(Engage)

เสร�ม

5

เปนขั้นที่ผูสอนนําเขาสูบทเรียน เพื่อกระตุนความสนใจของผูเรียนดวยเรื่องราวหรือเหตุการณที่นาสนใจโดยใชเทคนิควิธีการ และคําถามทบทวนความรูหรือประสบการณเดิมของผูเรียน เพื่อเชื่อมโยงผูเรียนเขาสูความรูของบทเรียนใหม ชวยใหผูเรียนสามารถ สรุปความสําคัญหัวขอและสาระการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอนการสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอมและสราง แรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน

ขั้นที่ 2

สํารวจคนหา

(Explore)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนเปดโอกาสใหผเู รียนลงมือศึกษา สังเกต หรือรวมมือกันสํารวจ เพือ่ ใหเห็นขอบขายของประเด็นหรือปญหา รวมถึง วิธีการศึกษาคนควา การรวบรวมขอมูลความรูที่จะนําไปสูการสรางความเขาใจประเด็นหรือปญหานั้นๆ เมื่อผูเรียนทําความเขาใจใน ประเด็นหรือปญหาที่จะศึกษาคนควาอยางถองแทแลว ก็ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธีการตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูที่เกี่ยวของกับประเด็นหรือปญหาที่ศึกษา

ขั้นที่ 3

อธิบายความรู

(Explain)

เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา ตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนคนหาคําตอบ และนําขอมูล ความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห สรุปผล และนําเสนอผลที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ ผังมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน ในขั้นตอนนี้ฝกใหผูเรียนใชสมองคิดวิเคราะหและสังเคราะห อยางเปนระบบ

ขั้นที่ 4

ขยายความเขาใจ

(Expand)

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใชเทคนิควิธีสอนตางๆ ที่สงเสริมใหผูเรียนนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนสืบคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะ การเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน ผูเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยง กับประสบการณเดิมโดยนําขอสรุปทีไ่ ดไปใชอธิบายเหตุการณตา งๆ หรือนําไปปฏิบตั ใิ นสถานการณใหมๆ ทีเ่ กีย่ วของกับชีวติ ประจําวัน ของตนเอง เพื่อขยายความรูความเขาใจใหกวางขวางยิ่งขึ้น ในขั้นตอนนี้ฝกสมองของผูเรียนใหสามารถคิดริเริ่มสรางสรรคอยางมี คุณภาพ เสริมสรางวิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป

ขั้นที่ 5

ตรวจสอบผล

(Evaluate)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนประเมินมโนทัศนของผูเ รียน โดยตรวจสอบจากความคิดทีเ่ ปลีย่ นไปและความคิดรวบยอดทีเ่ กิดขึน้ ใหม ตรวจสอบ ทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด หรือการเคารพความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพื่อการ สรางสรรคความรูร ว มกัน ผูเ รียนสามารถประเมินผลการเรียนรูข องตนเอง เพือ่ สรุปผลวามีความรูอ ะไรเพิม่ ขึน้ มาบาง เกิดความเขาใจ มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ หรือในชีวิตประจําวันไดอยางไร ผูเรียนจะเกิดเจตคติ และเห็นคุณคาของตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง

การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนนผูเรียน เปนสําคัญอยางแทจริง เพราะสงเสริมใหผูเรียนไดเรียนรูตามขั้นตอนของกระบวนการสรางความรูดวยตนเอง และ ฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและกระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะชีวิต ทักษะการทํางาน และทักษะการ เรียนรูที่มีประสิทธิภาพ สงผลตอการยกระดับผลสัมฤทธิ์ของผูเรียน ตามเปาหมายของการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คูม อื ครู


O-NET การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ O-NET

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ในแตละหนวยการเรียนรู ทางผูจัดทํา จะเสนอแนะวิธีสอน รูปแบบกิจกรรมการเรียนรู พรอมทั้งออกแบบเครื่องมือวัดและประเมินผลที่สอดคลองกับตัวชี้วัด และสาระการเรียนรูแกนกลางไวทุกขั้นตอน โดยยึดหลักสําคัญ คือ หลักของการวัดและประเมินผล เสร�ม

6

1. การวัดและประเมินผลทุกครั้ง ควรนําผลมาปรับปรุงพัฒนาผูเรียน เปนรายบุคคล

2. การวัดและประเมินผลมี เปาหมาย เพื่อพัฒนาการเรียนรู ของผูเรียนจนเต็มศักยภาพ

3. การนําผลการวัดและประเมินผล ทุกครั้งมาวางแผนปรับปรุงกิจกรรม การเรียนการสอน การเลือกเทคนิค วิธีสอน และสื่อการเรียนรูให เหมาะสมกับสภาพจริงของผูเรียน

การทดสอบผูเรียน 1. การใชขอสอบอัตนัย เนนการอาน การคิดวิเคราะห และการเขียนเพิ่มมากขึ้น 2. การใชคําถามกระตุนการคิดควบคูกับการทําขอสอบที่เนนการคิดอยางตอเนื่องตามลําดับกิจกรรมการเรียนรู และตัวชี้วัด 3. การทดสอบตองดําเนินการทั้งกอนเรียน ระหวางเรียน และหลังเรียน การทดสอบควรใชขอสอบทั้งชนิดปรนัยและ อัตนัย และเปนการทดสอบเพื่อประเมินผลการเรียนของผูเรียนแตละคน เพื่อการสอนซอมเสริมใหบรรลุตัวชี้วัด ไดครบถวน 4. การสอบกลางภาค (ถามี) ควรนําแบบฝกหัดหรือขอสอบทีน่ กั เรียนสวนใหญไมสามารถตอบไดหรือไมครบถวนชัดเจน มา สรางเปนแบบทดสอบอีกครัง้ เพือ่ ตรวจสอบความรูค วามเขาใจทีถ่ กู ตอง และประเมินความกาวหนาของผูเ รียนแตละคน 5. การสอบปลายภาคเรียนเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามตัวชี้วัดที่สําคัญ ควรออกขอสอบใหมีลักษณะเดียวกับ ขอสอบ O-NET โดยเนนการคิดวิเคราะห สังเคราะห เชื่อมโยงประยุกตใช เพื่อสรางความคุนเคย และฝกฝน วิธีการทําขอสอบดวยความมั่นใจ 6. การนําผลการทดสอบของผูเรียนมาวิเคราะห โดยผลการสอบกอนการเรียนตองสามารถพยากรณผลการสอบ กลางภาค และผลการสอบกลางภาคตองทํานายผลการสอบปลายภาคของผูเ รียนแตละคน เพือ่ ประเมินพัฒนาการ ความกาวหนาของผูเรียนเปนรายบุคคล 7. ผลการทดสอบปลายป ปลายภาค ตองมีคาเฉลี่ยสอดคลองกับคาเฉลี่ยของการสอบ NT ที่เขตพื้นที่การศึกษา จัดสอบ รวมทั้งคาเฉลี่ยของการสอบ O-NET ชวงชั้นที่สอดคลองครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดสําคัญ เพือ่ สะทอนประสิทธิภาพของครูผสู อนในการออกแบบการเรียนรูแ ละประกันคุณภาพผูเ รียนทีต่ รวจสอบผลไดชดั เจน การจัดการเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ตองใหผูเรียนไดสั่งสมความรู ความเขาใจตามลําดับขั้นตอน ของกิจกรรมในวัฏจักรการเรียนรู 5Es เพื่อใหผูเรียนไดเติมเต็มองคความรูอยางตอเนื่อง จนสามารถปฏิบัติชิ้นงานหรือ ภาระงานรวบยอดของแตละหนวย ผานเกณฑประกันคุณภาพในระดับที่นาพึงพอใจ เพื่อรองรับการประเมินภายนอกจาก สมศ. ตลอดเวลา คูม อื ครู


ASEAN การเรียนรูสูประชาคมอาเซียน เพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรูบูรณาการอาเซียนศึกษา ผูจัดทําไดวิเคราะห มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดที่มีสาระการเรียนรูสอดคลองกับองคความรูเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนในแงมุมตางๆ ครอบคลุมทัง้ ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน เพื่อสงเสริมการเรียนรูใหผูเรียนเกิดความตระหนัก มีความรูความเขาใจเหมาะสมกับระดับชั้นและกลุมสาระ การเรียนรู โดยเสนอแนะวิธีการจัดกิจกรรมบูรณาการเนื้อหาสาระตางๆ ที่เปนประโยชนตอผูเรียนและเปนการชวย เตรียมความพรอมผูเ รียนทุกคนทีจ่ ะกาวเขาสูก ารเปนสมาชิกของประชาคมอาเซียนไดอยางมัน่ ใจตามขอตกลงปฏิญญา เสร�ม ชะอํา-หัวหิน วาดวยความรวมมือดานการศึกษาเพือ่ บรรลุเปาหมายประชาคมอาเซียนทีเ่ อือ้ อาทรและแบงปน จึงกําหนด 7 เปนนโยบายใหกระทรวงศึกษาธิการจัดการเรียนรูเตรียมความพรอมผูเรียนเขาสูประชาคมอาเซียนภายในป พ.ศ. 2558 ตามแนวปฏิบัติที่สําคัญ ดังนี้

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน 1. การสรางความรูความเขาใจ และตระหนักถึงความสําคัญของ กฎบัตรอาเซียน และความรวมมือ ของ 3 เสาหลัก ซึง่ กฎบัตรอาเซียน ในขณะนี้มีสถานะเปนกฎหมายที่ ประเทศสมาชิกจะตองปฏิบัติตาม หลักการที่กําหนดไวเพื่อใหบรรลุ เปาหมายของกฎบัตรมาตราตางๆ

2. การสงเสริมหลักการ ประชาธิปไตยและการสราง สิ่งแวดลอมประชาธิปไตย เพื่อการอยูรวมกันอยางกลมกลืน ภายใตวิถีชีวิตอาเซียนที่มีความ หลากหลายดานสังคมและ วัฒนธรรม

4. การตระหนักในคุณคาของ สายสัมพันธทางประวัติศาสตร และมรดกทางวัฒนธรรมที่มี พัฒนาการรวมกัน เพื่อเชื่อม อัตลักษณและสรางจิตสํานึก ในการเปนประชากรของประชาคม อาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการศึกษาดาน สิทธิมนุษยชน เพื่อสรางประชาคม อาเซียนใหเปนประชาคมเพื่อ ประชาชนอยางแทจริง สามารถ อยูรวมกันไดบนพื้นฐานการเคารพ ในคุณคาของศักดิ์ศรีแหงความ เปนมนุษยเทาเทียมกัน

5. การสงเสริมสันติภาพ ความ มั่นคง และความปรองดองในสังคม ทั้งระดับประเทศและภูมิภาคของ อาเซียนบนพื้นฐานสันติวิธีและการ อยูรวมกันดวยขันติธรรม

คูม อื ครู


การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

เสร�ม

8

1. การพัฒนาทักษะการทํางาน เพื่อเสริมสรางผูเรียนใหมีทักษะ วิชาชีพที่จําเปนสอดคลองกับ ความตองการของตลาดแรงงาน และสถานประกอบการในอาเซียน สามารถเทียบโอนผลการเรียน และการทํางานตามมาตรฐานฝมือ แรงงานในภูมิภาคอาเซียน

2. การเสริมสรางวินัย ความรับผิดชอบ และเจตคติรักการทํางาน สามารถพึ่งพาตนเอง มีทักษะชีวิต ดํารงชีวิตอยางมีความสุข เห็นคุณคา และภูมิใจในตนเอง ในฐานะที่เปนพลเมืองไทยและ อาเซียน

3. การเรียนรูเพื่อพัฒนาตนเอง อยางตอเนื่องตลอดชีวิต ใหมี ทักษะการทํางานตามมาตรฐาน อาชีพ และคุณวุฒิของวิชาชีพสาขา ตางๆ เพื่อรองรับการเตรียมเคลื่อน ยายแรงงานมีฝมือและการเปน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่ เขมแข็ง เพื่อสรางขีดความสามารถ ในการแขงขันในเวทีโลก

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 1. การเสริมสรางความรวมมือ ในลักษณะสังคมที่เอื้ออาทร ของประชากรอาเซียน โดยยึด หลักการสําคัญ คือ ความงดงาม ของประชาคมอาเซียนมาจาก ความแตกตางและหลากหลายทาง วัฒนธรรมที่ลวนแตมีคุณคาตอ มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน ซึ่งประชาชนทุกคนตองอนุรักษ สืบสานใหยั่งยืน

2. การเสริมสรางคุณลักษณะ ของผูเรียนใหเปนพลเมืองอาเซียน ที่มีศักยภาพในการกาวเขาสู ประชาคมอาเซียนอยางมั่นใจ เปนผูที่มีสุขภาพสมบูรณแข็งแรง มีทักษะการสื่อสาร ทักษะการ ทํางาน ทักษะทางสังคม สามารถ ทํางานรวมกับผูอื่นไดอยาง สรางสรรค และมีองคความรู เกี่ยวกับอาเซียนที่จําเปนตอการ ดํารงชีวิตอยางมีคุณภาพ

4. การสงเสริมการเรียนรูดาน ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี วิถชี วี ติ ความเปนอยูข องเพือ่ นบาน ในอาเซียน เพื่อสรางจิตสํานึกของ ความเปนประชาคมอาเซียนและ ตระหนักถึงหนาที่ของการเปน พลเมืองอาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการเรียนรูภาษา อังกฤษเพื่อการสื่อสารและการ ทํางานตามมาตรฐานอาชีพที่ กําหนดและสนับสนุนการเรียนรู ภาษาอาเซียนและภาษาเพื่อนบาน เพื่อชวยเสริมสรางสัมพันธภาพทาง สังคม และการอยูรวมกันอยางสันติ ทามกลางความหลากหลายทาง วัฒนธรรม

5. การสรางความรูและความ ตระหนักเกี่ยวกับดานสิ่งแวดลอม ปญหาและผลกระทบตอคุณภาพ ชีวิตของประชากรในภูมิภาค รวมทั้งแนวทางการพัฒนาอยาง ยั่งยืน ใหเปนมรดกสืบทอดแก พลเมืองอาเซียนในรุนหลังตอๆ ไป

กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศนโยบายการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) เพื่อเรงพัฒนาเด็ก และเยาวชนไทยใหเปนทรัพยากรมนุษยของชาติที่มีทักษะและความชํานาญ พรอมเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงและ การแขงขันทั้งในภูมิภาคอาเซียนและภูมิภาคอื่นๆ ของสังคมโลก ทั้งนี้ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และผูปกครอง ควรรวมมือกันอยางใกลชิดในการดูแลชวยเหลือผูเรียนและจัดประสบการณการเรียนรูเพื่อพัฒนาผูเรียนจนเต็มศักยภาพ เพื่อกาวเขาสูการเปนพลเมืองอาเซียนอยางมีเกียรติภูมิและศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของตน คณะผูจัดทํา คูม อื ครู


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 1

พระพุทธศาสนา (เฉพาะชั้น ม.1)*

ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม

มาตรฐาน ส 1.1 รูและเขาใจประวัติ ความสําคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือและ ศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกตอง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยูรวมกันอยางสันติสุข ชั้น

ตัวชี้วัด

ม.1 1. อธิบายการเผยแผ พระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตน นับถือสูประเทศไทย 2. วิเคราะหความ สําคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนา ที่ตนนับถือ ที่มีตอ สภาพแวดลอมใน สังคมไทย รวมทั้ง การพัฒนาและ ครอบครัว 3. วิเคราะหพุทธประวัติ ตั้งแตประสูติจนถึง บําเพ็ญทุกกรกิริยา หรือประวัติศาสดา ที่ตนนับถือตามที่ กําหนด 4. วิเคราะหและ ประพฤติตนตาม แบบอยางการ ดําเนินชีวิตและ ขอคิดจากประวัติ พระสาวก ชาดก เรื่องเลา และ ศาสนิกชนตัวอยาง ตามที่กําหนด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

• การสังคายนา • การเผยแผพระพุทธศาสนาเขาสูประเทศไทย

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• หนวยการเรียนรูท ี่ 1 ประวัตแิ ละความสําคัญของ พระพุทธศาสนา

เสร�ม

9

• ความสําคัญของพระพุทธศาสนาตอสังคมไทยใน • หนวยการเรียนรูท ี่ 1 ประวัตแิ ละความสําคัญของ ฐานะเปน พระพุทธศาสนา - ศาสนาประจําชาติ - สถาบันหลักของสังคมไทย - สภาพแวดลอมที่กวางขวาง และครอบคลุม สังคมไทย - การพัฒนาตนและครอบครัว • สรุปและวิเคราะหพุทธประวัติ - ประสูติ - เทวทูต ๔ - การแสวงหาความรู - การบําเพ็ญทุกกรกิริยา

• หนวยการเรียนรูท ี่ 2 พุทธประวัติ พระสาวก ศาสนิกชนตัวอยาง และชาดก

• พุทธสาวก พุทธสาวิกา - พระมหากัสสปะ - พระอุบาลี - อนาถบิณฑิกะ - นางวิสาขา • ชาดก - อัมพชาดก - ติตติรชาดก • ศาสนิกชนตัวอยาง - พระเจาอโศกมหาราช - พระโสณะและพระอุตตระ

• หนวยการเรียนรูท ี่ 2 พุทธประวัติ พระสาวก ศาสนิกชนตัวอยาง และชาดก

_________________________________ * สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม. (กรุงเทพมหานคร : ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 43-57.

คูม อื ครู


ชั้น

เสร�ม

10

คูม อื ครู

ตัวชี้วัด

ม.1 5. อธิบายพุทธคุณ และขอธรรมสําคัญ ในกรอบอริยสัจ ๔ หรือหลักธรรมของ ศาสนาที่ตนนับถือ ตามที่กําหนด เห็น คุณคาและนําไป พัฒนาแกปญหาของ ตนเองและครอบครัว

สาระการเรียนรูแกนกลาง

• พระรัตนตรัย - พุทธคุณ ๙ • อริยสัจ ๔ - ทุกข (ธรรมที่ควรรู) : ขันธ ๕ - สมุทัย (ธรรมที่ควรละ) : กรรม : อบายมุข ๖ - นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ) : สุข ๒ (กายิก, เจตสิก) : คิหิสุข - มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ) : ไตรสิกขา : กรรมฐาน ๒ : ปธาน ๔ : โกศล ๓ : มงคล ๓๘ ➤ การไมคบคนพาล ➤ การคบบัณฑิต ➤ การบูชาผูควรบูชา • พุทธศาสนสุภาษิต - ยํ เว เสวติ ตาทิโส คบคนเชนใดยอมเปนเชนนั้น - อตฺตนา โจทยตฺตานํ จงเตือนตนดวยตนเอง - นิสมฺม กรณํ เสยฺโย การใครครวญกอนแลวจึงทําดีกวา - ทุราวาสา ฆรา ทุกฺขา เหยาเรือนที่ปกครองไมดีนําทุกขมาให

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• หนวยการเรียนรูท ี่ 3 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา • หนวยการเรียนรูท ี่ 4 พุทธศาสนสุภาษิต


ชั้น

ตัวชี้วัด

ม.1 6. เห็นคุณคาของการ พัฒนาจิต เพื่อ การเรียนรูและการ ดําเนินชีวิต ดวย วิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการคือวิธีคิด แบบคุณคาแทคุณคาเทียม และ วิธีคิดแบบคุณ-โทษ และทางออกหรือ การพัฒนาจิตตาม แนวทางของศาสนา ที่ตนนับถือ 7. สวดมนต แผเมตตา บริหารจิต และเจริญ ปญญาดวยอานาปานสติ หรือตาม แนวทางของศาสนา ที่ตนนับถือตามที่ กําหนด 8. วิเคราะหและปฏิบัติ ตนตามหลักธรรม ทางศาสนาที่ตน นับถือในการดํารง ชีวิตแบบพอเพียง และดูแลรักษา สิ่งแวดลอมเพื่อการ อยูรวมกันไดอยาง สันติสุข

สาระการเรียนรูแกนกลาง

• โยนิโสมนสิการ - วิธีคิดแบบคุณคาแท-คุณคาเทียม - วิธีคิดแบบคุณ-โทษ และทางออก

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• หนวยการเรียนรูท ี่ 7 การบริหารจิตและการเจริญ ปญญา เสร�ม

11

• สวดมนตแปล และแผเมตตา • หนวยการเรียนรูท ี่ 7 • วิธีปฏิบัติและประโยชนของการบริหารจิตและ การบริหารจิตและการเจริญ เจริญปญญา การฝกบริหารจิตและเจริญปญญา ปญญา ตามหลักสติปฏฐานเนนอานาปานสติ • นําวิธีการบริหารจิตและเจริญปญญาไปใชในชีวิต ประจําวัน • หลักธรรม (ตามสาระการเรียนรูขอ ๕)

• หนวยการเรียนรูท ี่ 8 ศาสนสัมพันธ

คูม อื ครู


ชั้น

เสร�ม

12

ตัวชี้วัด

ม.1 9. วิเคราะหเหตุผล ความจําเปนทีท่ กุ คน ตองศึกษาเรียนรู ศาสนาอื่นๆ 10. ปฏิบัติตนตอ ศาสนิกชนอื่นใน สถานการณตางๆ ไดอยางเหมาะสม 11. วิเคราะหการกระทํา ของบุคคลที่เปน แบบอยางดาน ศาสนสัมพันธ และ นําเสนอแนวทางการ ปฏิบัติของตนเอง

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• ศาสนิกชนของศาสนาตางๆ มีการประพฤติ • หนวยการเรียนรูท ี่ 8 ปฏิบัติตนและวิถีการดําเนินชีวิตแตกตางกันตาม ศาสนสัมพันธ หลักความเชื่อและคําสอนของศาสนาที่ตนนับถือ • การปฏิบัติอยางเหมาะสมตอศาสนิกชนอื่นใน สถานการณตางๆ

• หนวยการเรียนรูท ี่ 8 ศาสนสัมพันธ

• ตัวอยางบุคคลในทองถิ่นหรือประเทศที่ปฏิบัติตน • หนวยการเรียนรูท ี่ 8 ศาสนสัมพันธ เปนแบบอยางดานศาสนสัมพันธหรือมีผลงาน ดานศาสนสัมพันธ

มาตรฐาน ส 1.2 เขาใจ ตระหนัก และปฏิบัติตนเปนศาสนิกชนที่ดี และธํารงรักษาพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ ชั้น

ตัวชี้วัด

ม.1 1. บําเพ็ญประโยชน ตอศาสนสถานของ ศาสนาที่ตนนับถือ 2. อธิบายจริยวัตรของ สาวกเพื่อเปนแบบ อยางในการประพฤติ ปฏิบตั ิ และปฏิบตั ติ น อยางเหมาะสมตอ สาวกของศาสนาที่ ตนนับถือ

คูม อื ครู

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• หนวยการเรียนรูท ี่ 5 หนาทีช่ าวพุทธและมารยาท ชาวพุทธ • หนวยการเรียนรูท ี่ 5 • วิถีชีวิตของพระภิกษุ หนาทีช่ าวพุทธและมารยาท • บทบาทของพระภิกษุในการเผยแผพระพุทธศาสนา เชน การแสดงธรรม ปาฐกถาธรรม การ ชาวพุทธ ประพฤติตนใหเปนแบบอยาง • การปฏิบัติตนที่เหมาะสม - การเขาพบพระภิกษุ - การแสดงความเคารพ การประนมมือ การ ไหว การกราบ การเคารพพระรัตนตรัย การ ฟงเจริญพระพุทธมนต การฟงสวดพระอภิธรรม การฟงพระธรรมเทศนา • การบําเพ็ญประโยชนและการบํารุงรักษาวัด


ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ม.1 3. ปฏิบัติตนอยาง • ปฏิบัติตนอยางเหมาะสมตอเพื่อนตามหลัก เหมาะสมตอบุคคล พระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ตางๆ ตามหลัก - การจัดโตะหมูบูชา แบบหมู ๔ หมู ๕ ศาสนาที่ตนนับถือ หมู ๗ หมู ๘ ตามที่กําหนด - การจุดธูปเทียน การจัดเครื่องประกอบโตะ หมูบูชา 4. จัดพิธีกรรม • คําอาราธนาตางๆ และปฏิบัติตนใน ศาสนพิธี พิธีกรรม ไดถูกตอง 5. อธิบายประวัติ • ประวัติและความสําคัญของวันธรรมสวนะ ความสําคัญและ วันเขาพรรษา วันออกพรรษา วันเทโวโรหณะ ปฏิบัติตนในวัน • ระเบียบพิธี พิธีเวียนเทียน การปฏิบัติตนใน สําคัญทางศาสนา วันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันอัฏฐมีบูชา ที่ตนนับถือตามที่ วันอาสาฬหบูชา วันธรรมสวนะ และเทศกาล กําหนดไดถูกตอง สําคัญ

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• หนวยการเรียนรูท ี่ 5 หนาทีช่ าวพุทธและมารยาท ชาวพุทธ เสร�ม • หนวยการเรียนรูท ี่ 6 วันสําคัญทางพระพุทธศาสนา

13

• หนวยการเรียนรูท ี่ 6 วันสําคัญทางพระพุทธศาสนา

คูม อื ครู


จุดเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน* การขับเคลื่อนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 และการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษ ที่สอง (พ.ศ. 2552-2561) ใหประสบผลสําเร็จตามจุดเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน โดยใหทุกภาคสวน รวมกันดําเนินการ กระทรวงศึกษาธิการไดกําหนดจุดเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน ดังนี้ เสร�ม

14

ทักษะ ความสามารถ

คุณลักษณะ จุดเนนตามชวงวัย

ม. 4-6

แสวงหาความรู เพื่อแกปญหา ใชเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู ใชภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) มีทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

ม. 1-3

แสวงหาความรูดวยตนเอง ใชเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู มีทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

• อยูอยางพอเพียง

ป. 4-6

อานคลอง เขียนคลอง คิดเลขคลอง ทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

• ใฝเรียนรู

ป. 1-3

อานออก เขียนได คิดเลขเปน มีทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

• ใฝดี

• มุงมั่นในการศึกษา และการทํางาน

คุณลักษณะตามหลักสูตร

• รักชาติ ศาสน กษัตริย • ซื่อสัตยสุจริต • มีวินัย • ใฝเรียนรู • อยูอยางพอเพียง • มุงมั่นในการทํางาน • รักความเปนไทย • มีจิตสาธารณะ

* สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. แนวทางการนําจุดเนนการพัฒนาผูเรียน สูการปฏิบัติ. (กรุงเทพมหานคร : ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2553), หนา 3-10.

คูม อื ครู


คําอธิบายรายวิชา รายวิชา พระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 รหัสวิชา ส…………………………………

กลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ภาคเรียนที่ 1-2 เวลา 40 ชั่วโมง/ป

ศึกษา วิเคราะห การสังคายนา การเผยแผพระพุทธศาสนาเขาสูประเทศไทย พุทธประวัติตั้งแตประสูติจนถึงบําเพ็ญ ทุกกรกิริยา ประวัติพระมหากัสสปะ พระอุบาลี อนาถบิณฑิกะ นางวิสาขา พระเจาอโศกมหาราช พระโสณะและพระอุตตระ เสร�ม บุคคลที่เปนแบบอยางดานศาสนสัมพันธ ชาดกในเรื่อง อัมพชาดก ติตติรชาดก ประพฤติตนตามแบบอยางการดําเนินชีวิต 15 และขอคิดจากประวัติพระสาวก ชาดก เรื่องเลา และศาสนิกชนตัวอยาง ความสําคัญของพระพุทธศาสนาที่มีตอสภาพ แวดลอมในสังคมไทย รวมทัง้ การพัฒนาตนและครอบครัว ความจําเปนทีท่ กุ คนตองเรียนรูศ าสนาอืน่ ๆ ปฏิบตั ติ นตอศาสนิกชน อื่นในสถานการณตางๆ ไดอยางเหมาะสม วิเคราะหและปฏิบัติตนตามหลักพุทธคุณ ๙ อริยสัจ ๔ ทุกข (ธรรมที่ควรรู) ในเรื่อง ขันธ ๕ สมุทัย (ธรรมที่ควรละ) ในเรื่อง กรรม อบายมุข ๖ นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ) ในเรื่อง สุข ๒ (กายิก, เจตสิก) คิหิสุข มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ) ในเรื่อง ไตรสิกขา กรรมฐาน ๒ ปธาน ๔ โกศล ๓ มงคล ๓๘ (การไมคบคนพาล การคบบัณฑิต การบูชาผูควรบูชา) พุทธศาสนสุภาษิต ในเรือ่ ง ย เว เสวติ ตาทิโส (คบคนเชนใดยอมเปนเชนนัน้ ) อตฺตนา โจทยตฺตาน (จงเตือนตนดวยตนเอง) นิสมฺม กรณ เสยฺโย (การใครครวญกอนแลวจึงทําดีกวา) ทุราวาสา ฆรา ทุกขฺ า (เหยาเรือนทีป่ กครองไมดนี าํ ทุกขมาให) ปฏิบตั ติ นตาม หลักธรรมและนําไปพัฒนา แกปญ หาของตนเองและครอบครัวในการดํารงชีวติ แบบพอเพียง และดูแลรักษาสิง่ แวดลอมเพือ่ การอยู รวมกันไดอยางสันติสุข การพัฒนาจิตเพื่อการเรียนรูและและการดําเนินชีวิตดวยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ (วิธีคิดแบบ คุณคาแท-คุณคาเทียม วิธคี ดิ แบบคุณ-โทษ และทางออก) สวดมนต แผเมตตา บริหารจิต และเจริญปญญาดวยอานาปานสติ วิเคราะหและปฏิบตั ติ น การบําเพ็ญประโยชนตอ ศาสนสถาน วิถชี วี ติ ของพระภิกษุ บทบาทของพระภิกษุในการเผยแผ พระพุทธศาสนา ปฏิบัติตนอยางเหมาะสมตอบุคคลตางๆ การจัดโตะหมูบูชา การจุดธูปเทียน การจัดเครื่องประกอบโตะ หมูบูชา ปฏิบัติตนในศาสนพิธีและพิธีกรรมในเรื่อง คําอาราธนาตางๆ ประวัติ ความสําคัญ และการปฏิบัติตนในวันสําคัญ ทางพระพุทธศาสนา โดยใชกระบวนการคิด กระบวนการสืบคนขอมูล กระบวนการทางสังคม กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการกลุม กระบวนการเผชิญสถานการณและแกปญหา เพือ่ ใหเกิดความรูค วามเขาใจ สามารถนําไปปฏิบตั ใิ นการดําเนินชีวติ นําไปพัฒนาแกปญ หาของตนเองและครอบครัว รักษาสิง่ แวดลอม มีคณุ ลักษณะอันพึงประสงคในดานรักชาติ ศาสน กษัตริย ซือ่ สัตยสจุ ริต มีวนิ ยั ใฝเรียนรู อยูอ ยางพอเพียง มุงมั่นในการทํางาน รักความเปนไทย มีจิตสาธารณะ สามารถอยูรวมกันไดอยางสันติสุข

ตัวชี้วัด ส 1.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ม.1/6 ม.1/7 ม.1/8 ม.1/9 ม.1/10 ม.1/11 ส 1.2 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 รวม 16 ตัวชี้วัด

คูม อื ครู


ตาราง

วิเคราะหมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั รายวิชา พระพุทธศาสนา ม.1

คําชี้แจง : ใหผูสอนใชตารางนี้ตรวจสอบความสอดคลองของเนื้อหาสาระการเรียนรูในหนวยการเรียนรูกับมาตรฐาน การเรียนรูและตัวชี้วัดชั้นป เสร�ม

16

สาระที่ 1

มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด

หนวยการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 1 : ประวัติและ ความสําคัญของ พระพุทธศาสนา หนวยการเรียนรูที่ 2 : พุทธประวัติ พระสาวก ศาสนิกชนตัวอยาง และชาดก

มาตรฐาน ส 1.1 ตัวชี้วัด 1

2

3

4

5

หนวยการเรียนรูที่ 3 : หลักธรรมทาง พระพุทธศาสนา

หนวยการเรียนรูที่ 4 : พุทธศาสนสุภาษิต

6

7

มาตรฐาน ส 1.2 ตัวชี้วัด 8

9

10

11

หนวยการเรียนรูที่ 5 : หนาที่ชาวพุทธ และมารยาท ชาวพุทธ หนวยการเรียนรูที่ 6 : วันสําคัญทาง พระพุ ท ธศาสนา และศาสนพิธี หนวยการเรียนรูที่ 7 : การบริหารจิตและ การเจริญปญญา หนวยการเรียนรูที่ 8 : ศาสนสัมพันธ

คูม อื ครู

1

2

3

4

5


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹

¾Ãоط¸ÈÒÊ¹Ò Á.ñ

ªÑ¹é ÁѸÂÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè ñ

¡ÅØ‹ÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒÊѧ¤ÁÈÖ¡ÉÒ ÈÒÊ¹Ò áÅÐÇѲ¹¸ÃÃÁ µÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ

¼ÙŒàÃÕºàÃÕ§

È.´Ã. ÇÔ·Â ÇÔÈ·àÇ·Â È.¾ÔàÈÉ àÊ°ÕÂþ§É ÇÃó»¡

¼ÙŒµÃǨ

È.¾ÔàÈÉ ¨íÒ¹§¤ ·Í§»ÃÐàÊÃÔ° ÃÈ. ªÙÈÑ¡´Ôì ·Ô¾Âà¡Éà ¹ÒÂÊíÒÃÇ ÊÒÃѵ¶

ºÃóҸԡÒÃ

¹ÒÂÊÁà¡ÕÂÃµÔ ÀÙ‹ÃÐ˧É

ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ òññóðøô

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè ñ ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ òñôóñòø

คณะผูจัดทําคูมือครู ฤดีวรรณ มาดีกุล วีระชัย บุญอยู แมนพงษ เห็มกอง


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

¤íÒ¹íÒ

¾Ãоط¸ÈÒʹҹѺ໚¹Ê¶ÒºÑ¹ËÅÑ¡·ÕèÍÂÙ‹¤Ù‹Êѧ¤Áä·ÂÁÒÍ‹ҧÂÒǹҹáÅÐ໚¹ÊÀÒ¾áÇ´ÅŒÍÁ ·Õ¤è Ãͺ¤ÅØÁÊѧ¤Áä·ÂÍ‹ҧ¡ÇŒÒ§¢ÇÒ§ ´ŒÇÂÊÀÒ¾Êѧ¤Áä·Â·ÕÁè ¡Õ ÒÃà»ÅÕÂè ¹á»Å§ä»Í‹ҧÃÇ´àÃçÇ ÃÇÁ·Ñ§é à·¤â¹âÅÂÕáÅÐÇѵ¶Ø¹ÔÂÁ·ÕèࢌÒÁÒÁÕº·ºÒ·µ‹Í¡ÒôíÒà¹Ô¹ªÕÇÔµ¢Í§¼ÙŒ¤¹à»š¹Í‹ҧÁÒ¡ â´Â੾ÒÐÇÑ¢ͧ ¹Ñ¡àÃÕ¹«Öè§Âѧ໚¹àÂÒǪ¹ ¡çÁÕÊÔè§àÂŒÒÂǹµ‹Ò§æ ¼‹Ò¹à¢ŒÒÁÒ㹪ÕÇÔµÍÂÙ‹äÁ‹¹ŒÍ ¨Ö§¨íÒ໚¹µŒÍ§ÁÕÀÙÁԤ،Á¡Ñ¹ ãËŒÊÒÁÒö´íÒà¹Ô¹ªÕÇÔµ»ÃШíÒÇѹ䴌Í‹ҧ໚¹»¡µÔÊØ¢ áÅÐàµÔºâµà»š¹ºØ¤¤Å·Õè¶Ö§¾ÃŒÍÁ´ŒÇ¤ÇÒÁÃÙŒ ¤ÇÒÁÊÒÁÒö ໚¹¤¹´Õ Áդس¸ÃÃÁ áÅÐ㪌ªÕÇԵ͋ҧÁÕ¤ÇÒÁÊØ¢ ÀÙÁ¤Ô ÁŒØ ¡Ñ¹ÍÂ‹Ò§Ë¹Ö§è ·Õ¨è Ъ‹ÇÂãËŒ¹¡Ñ àÃÕ¹¶Ö§¾ÃŒÍÁ´ŒÇ¤سÊÁºÑµ´Ô §Ñ ¡Å‹ÒÇä´Œ ¡ç¤Í× ÈÒÊ¹Ò â´Â੾ÒÐ ¾Ãоط¸ÈÒÊ¹Ò Íѹ໚¹ÈÒÊ¹Ò·Õ¤è ¹ä·ÂʋǹãËÞ‹¹ºÑ ¶×Í ´ŒÇÂà˵عÕé ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒàÃÕ¹ÃÙ¾Œ Ãоط¸ÈÒʹҨ֧ ໚¹ÊÔ§è ¨íÒ໚¹ ·Ñ§é ¹Õàé ¾×Íè ¨Ðä´ŒàÅç§àË繤س¤‹ÒáÅеÃÐ˹ѡ㹤ÇÒÁÊíÒ¤Ñޢͧ¾Ãоط¸ÈÒÊ¹Ò Íѹ¨Ð¹íÒä» ÊÙ¤‹ ÇÒÁËÇÁÁ×͡ѹ㹡Ò÷íҹغÒí Ãا¾Ãоط¸ÈÒʹÒãËŒà¨ÃÔÞÃا‹ àÃ×ͧµÅÍ´¨¹ä´ŒÁâÕ Í¡ÒÊàÃÕ¹ÃÙËŒ ÅÑ¡¸ÃÃÁ ·ÕèÁդس¤‹Òà¾×è͹íÒä»ãªŒà»š¹á¹Ç·Ò§ã¹¡ÒôíÒà¹Ô¹ªÕÇÔµ ÊíÒËÃѺ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹¾Ãоط¸ÈÒÊ¹Ò àÅ‹Á¹Õé àÃÕºàÃÕ§¢Öé¹ãËÁ‹ãËŒÊÍ´¤ÅŒÍ§¡ÑºµÑǪÕéÇÑ´áÅÐÊÒÃÐ ¡ÒÃàÃÕ¹Ãٌ᡹¡ÅÒ§ µÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ â´Âã¹áµ‹ÅÐ ªÑ¹é »‚ (Á.ñ-Á.ó) ¨ÐÁÕ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ªÑé¹ÅÐ ñ àÅ‹Á ÊÒÁÒö㪌໚¹Ê×èÍ»ÃСͺ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹䴌·Ñé§ ò ÀÒ¤àÃÕ¹ ·Ñ駹Õé㹪Ñé¹ÁѸÂÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè ñ ¨ÐÁÕà¹×éÍÊÒÃÐÇ‹Ò´ŒÇ»ÃÐÇѵԤÇÒÁ໚¹ÁÒ ¡ÒÃà¼ÂἋ¾Ãоط¸ÈÒʹÒࢌÒÊÙ‹»ÃÐà·Èä·Â ¤ÇÒÁÊíÒ¤Ñޢͧ¾Ãоط¸ÈÒÊ¹Ò ¾Ø·¸»ÃÐÇÑµÔ ¾ÃÐÊÒÇ¡ ÈÒʹԡª¹µÑÇÍ‹ҧ ªÒ´¡ ËÅÑ¡¸ÃÃÁ·ÕèÊíÒ¤ÑÞ·Ò§¾Ãоط¸ÈÒÊ¹Ò ¾Ø·¸ÈÒʹÊØÀÒÉÔµ ˹ŒÒ·ÕèªÒǾط¸áÅÐÁÒÃÂÒ·ªÒǾط¸ ÇѹÊíÒ¤ÑÞ·Ò§¾Ãоط¸ÈÒÊ¹Ò ÈÒʹ¾Ô¸Õ ¡ÒúÃÔËÒèԵáÅÐà¨ÃÔÞ»˜ÞÞÒ áÅÐÈÒʹÊÑÁ¾Ñ¹¸ «Ö§è 㹡ÒèѴ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹ ¹Í¡¨Ò¡ÀÒ¤¤ÇÒÁÃÙ·Œ ¹Õè ¡Ñ àÃÕ¹¨ÐµŒÍ§ÈÖ¡ÉҨҡ˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹áÅŒÇ ¤ÃÙ¼ÙŒÊ͹¨ÐµŒÍ§¨Ñ´¡Ô¨¡ÃÃÁãËŒ¹Ñ¡àÃÕ¹䴌ŧÁ×Í»¯ÔºÑµÔ¨ÃÔ§´ŒÇ â´Â੾ÒСÒÃËÇÁ»¯ÔºÑµÔÈÒʹ¾Ô¸Õ ¡ÒÃËÇÁ»¯ÔºÑµÔ¡Ô¨¡ÃÃÁã¹ÇѹÊíÒ¤ÑÞ·Ò§ÈÒÊ¹Ò ¡ÒùíÒËÅÑ¡¸ÃÃÁÁÒ㪌 ËÃ×Í¡Òýƒ¡ÊÁÒ¸Ô ¡ç¨Ðª‹ÇÂãËŒ ¹Ñ¡àÃÕ¹䴌ࢌÒã¨áÅÐàË繶֧¤ÇÒÁÊíÒ¤Ñޢͧ¾Ãоط¸ÈÒʹÒÁÒ¡¢Öé¹ ËÇѧ໚¹Í‹ҧÂÔ§è Ç‹Ò Ë¹Ñ§Ê×ÍàÃÕ¹¾Ãоط¸ÈÒʹÒàÅ‹Á¹Õé ¨Ðª‹ÇÂÍíҹǤÇÒÁÊдǡ㹡ÒèѴ¡ÒÃàÃÕ¹ ¡ÒÃÊ͹䴌Í‹ҧÁÕ»ÃÐÊÔ·¸ÔÀÒ¾ áÅЪ‹ÇÂãËŒ¹¡Ñ àÃÕ¹ÁÕ¤³ Ø ÀÒ¾ ÁÕ¼ÅÊÑÁÄ·¸Ô·ì Ò§¡ÒÃàÃÕ¹µÒÁ·ÕËè ÅÑ¡ÊÙµÃä´Œ ¡íÒ˹´äÇŒ·¡Ø »ÃСÒà ¤³Ð¼ÙŒàÃÕºàÃÕ§


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Explore

ขยายความเขาใจ

Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

¤íÒá¹Ð¹íÒ㹡ÒÃ㪌˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ หนังสือเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน พระพุทธศาสนาเลมนี้ สรางขึน้ เพือ่ ใหเปนสือ่ สําหรับใชประกอบการเรียน การสอนในรายวิชาพืน้ ฐาน กลุม สาระการเรียนรูส งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน้ มัธยมศึกษาปที่ ๑ โดยเนือ้ หาตรงตามสาระการเรียนรูแ กนกลางขัน้ พืน้ ฐาน อานทําความเขาใจงาย ใหทงั้ ความรูแ ละชวย พัฒนาผูเ รียนตามหลักสูตรและตัวชีว้ ดั เนือ้ หาสาระแบงออกเปนหนวยการเรียนรูต ามโครงสรางรายวิชา สะดวก แกการจัดการเรียนการสอนและการวัดผลประเมินผล พรอมเสริมองคประกอบอืน่ ๆ ทีจ่ ะชวยทําใหผเู รียนไดรบั ความรูอ ยางมีประสิทธิภาพ à¹×éÍËҵçµÒÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹Ãٌ᡹¡ÅÒ§

พระสงฆ์ผู้กระท�า

สถานที่และผู้อุปถัมภ์

วัดโพธาราม จังหวัดเชียงใหม่ ประเทศไทย (นับเป็ ติโลกราชเป็นองค์อปุ ถัมภ์

อธิบายการเผยแ ที่ตนนับถือสู ผ่พระพุทธศาสนาหรอื ศาสน ่ป วิเคราะห์ความสระเทศไทย (ส ๑.๑ ม.๑/ า ๑) ศาสนาที่ตนนั า� คัญของพระพุทธศาสนาหร สังคมไทยรวม บถือที่มีต่อสภาพแวดล อื ั นาตนและค ้อมใน (ส ๑.๑ ม.๑/ ทัง้ การพฒ รอบครัว ๒)

สาเหตุ

ยอ่ หย่อนในพระธรรมวินยั พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดพระผูใ้ หญ่ถกู ถอดและถูกจับสึก เพราะความประพฤติ ฎกขึน้ เพือ่ ให้พระสงฆ์ศกึ ษาพระธรรมทีถ่ กู ต้อง ฟ้าจุฬาโลกมหาราช จึงทรงมีพระราชประสงค์ให้ชา� ระพระไตรปิ

พระพุทธรูปปางปรินิพพานในพระสถู

เวลาที่กระท�า

เดือน จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช) กระท�าอยู่ ๕ กระท�าใน พ.ศ. ๒๓๓๑ (รัชสมัยของพระบาทสมเด็ จึงส�าเร็จ ยกว่า พระสงฆ์ผู้กระท�า ได้รว่ มกันช�าระคัดลอกสร้างพระไตรปิฎกฉบับหลวง เรี พระเถระ ๒๑๘ รูป และราชบัณฑิตคฤหัสถ์อกี ๓๒ คนบรองทอง และฉบับทองชุบ) “ฉบับทองใหญ่” (ต่อมาสร้างเพิม่ อีก ๒ ฉบับ คือ ฉบั

สาระการเรียนรู

้แกนกลาง

การสังคายน า การเผยแผ่พ ระพุ ความส�าคัญของพทธศาสนาเข้าสู่ประเท ศไทย ในฐานะเป็น ระพุทธศาสนาต่อสังคมไท ย - ศาสนาประ จ� - สถาบันหลั าชาติ กของสังคมไท - สภาพแวดล ย ้อมที่กว้างขวา สังคมไทย งและครอบคลุ ม - การพัฒนาตน และครอบครั ว ●

ปปรินิพพาน เมืองกุสินารา ประเทศอ

เรื่องน่ารู้

พระพุทธรูปปางไสยาสน์ เป็นพระปาง ประจำวันเกิดของผู้ที่เกิดวันอังคาร เรียกอีกอย่างว่าปางโปรดอสุรนิ ทราหู เป็นเหตุการณ์เมื่อครั้งพระพุทธเจ้ าประทับอยู่ ณ วัดเชตวัน เมืองสาวัตถี ครั ้งนั้นอสุรินทราหูจอมอสูรสำคัญ ว่าตนมีร่างกาย ใหญ่โต แสดงความกระด้างกระเดื ่องไม่ยอมอ่อนน้อมต่อพระพุทธเจ้ า พระพุทธองค์ ทรงมีพระราชประสงค์ลดทิฐิของจอมอ สูร จึงทรงเนรมิตกายจนใหญ่กว่ า อสุรินทราหูจึงยอมอ่อนน้อม

ทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชเป็นองค์อปุ ถัมภ์ วัดมหาธาตุยวุ ราชรังสฤษฎิ์ โดยมีพระบาทสมเดจ็ พระพุ

¾Ã Ð¾Ø · àÁ×Íè »ÃÐÁÒ³ ¸È ÒÊ ¹Ò ä´Œ ¡‹ Í ¡í Ò à¹Ô ¤Ã§Ñé ·Õè ó ¾Ã ò,õðð ¡Ç‹Ò»‚ÁÒáÅ ´ ¢Öé ¹ ã¹ »Ã Ðà· ÈÍÔ ¹ ÇŒ â´ÂËÅ§Ñ ¨Ò¡ à´Õ  Ðਠ¤³Ð¸ÃÃÁ·Ù ÒŒ ÍâÈ¡ÁËÒÃÒª «Ö§è ¡ÒÃÊѧ¤Ò ໚ µ ¹Ò ´Ô¹á´¹ÊØÇ à´Ô¹·Ò§ä»à¼Âá¼È‹ Òʹ ¹Í§¤Í »Ø ¶ÑÁÀ ¡äç ´Œ·Ã§Ê Ãó ÂÍÁÃѺ¹Ñº ÀÙÁÔ´ŒÇ ¹Ñº¨Ò¡¹Ñ ÒÂѧ´Ô¹á´¹µÒ‹ §æ ÃÇÁ §‹ é¹ ¶× ··Ñ§é ¨¹¶Ö§»˜¨¨Øº ;Ãоط¸ÈÒʹÒ໚ ÁÒªÒÇä·ÂʋǹãË ¹ã Þ‹ ¡çä´Œ ѹ ¹ËÅÑ¡ã¹¡Ò Ã´íÒà¹Ô¹ªÕÇ ´Ñ§¹Ñé¹ ¨Ö§ Ôµ ໚¹¡ÒÃÊÁ ¤ÇèÐä´ŒÈ ¤ÇÃÂÔè§·Õ ¡Ö ¨Ðä´ŒµÃÐË ÉÒ»ÃÐÇѵ¤Ô ÇÒÁ໚¹ÁÒ è¾Ø·¸ÈÒʹԡª¹ªÒÇ ä·Â ¹Ñ ¢Í ÊíÒ¤ÑÞµ‹ÍÊÑ ¡¶Ö§¤ÇÒÁÊíÒ¤Ñޢͧ¾ §¾Ãо·Ø ¸ÈÒÊ Òʹ¹ÒÒ à¾× §¤Áä·ÂÁÒ Í‹ҧÂÒǹ Ãоط¸ÈÒʹҷÕèÁÕ¤ Íè ÇÒÁ Ò¹

การสังคายนา ครั้งที่ 10

สาเหตุ

ญ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบัน ทรงเจริ เพื่อช�าระพระไตรปิฎกแล้วจัดพิมพ์ ในวโรกาสที่พ กว่า “พระไตรปิฎกฉบับสังคายนา” พระชนมายุครบ ๖๐ พรรษา ใน พ.ศ. ๒๕๓๐ โดยเรีย

ินเดีย

พระพุทธรูปปางไสยาสน์

สถานที่และผู้อุปถัมภ์

พระพุทธรูปปางไสยาสน์และพระ

พุทธรูปปางปรินิพพาน

เวลาที่กระท�า

กระท�าใน พ.ศ. ๒๕๒๘ ไม่ปรากฏระยะเวลาทีก่ ระท�า

พระพุทธรูปปางไสยาสน์และพระพ ุทธรูปปางปรินิพพาน มีพุทธลักษณะที่ใกล้เคียงกันมาก ทั้งนี ้มีวิธีสังเกตความแตกต่างของพระ พุทธรูป ทั้ง ๒ ปางที่ฝ่าพระบาท โดยพระพ ุทธรูปปางไสยาสน์พระบาทจะเหลื ่อมกัน ส่วนพระพุทธรูปปางปรินิพพานจะม ีพระบาทที่เสมอกัน

พระสงฆ์ผู้กระท�า

ทงั้ ฝายมหานิกายและธรรมยุตกิ นิกาย มีสมเด็จพระสังฆราชเป็นองค์ประมุข ร่วมกับพระสงฆ์ สถานที่และผู้อุปถัมภ์ โดยมีรฐั บาลเป็นผูอ้ ปุ ถัมภ์ วัดมหาธาตุยวุ ราชรังสฤษฎิ์ กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย

32UIDE ๕ EB G

http://www.aksorn.com/LC/Rel/M1/01

Web guide á¹Ð¹íÒáËÅ‹§¤Œ¹¤ÇŒÒ¢ŒÍÁÙÅ à¾ÔèÁàµÔÁ¼‹Ò¹Ãкº Online

µÑǪÕÇé ´Ñ áÅÐÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙጠ¡¹¡ÅÒ§ µÒÁ·ÕËè ÅÑ¡Êٵà ¡íÒ˹´ à¾×èÍãËŒ·ÃÒº¶Ö§à»‡ÒËÁÒÂ㹡ÒÃÈÖ¡ÉÒ

¤íÒ¶ÒÁ»ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒáÅСԨ¡ÃÃÁ ÊÌҧÊÃä ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒà¾×èÍãËŒ¼ÙŒàÃÕ¹ ÁդسÀÒ¾ºÃÃÅØÁҵðҹáÅеÑǪÕéÇÑ´

àÊÃÔÁÊÒÃШҡà¹×Íé Ëҹ͡à˹×ͨҡ ·ÕÁè ãÕ ¹ÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙጠ¡¹¡ÅÒ§ à¾×Íè à¾ÔÁè ¾Ù¹áÅТÂÒ¾ÃÁá´¹¤ÇÒÁÃÙ㌠ˌ ¡ÇŒÒ§¢ÇÒ§ÍÍ¡ä»

Design ˹ŒÒẺãËÁ‹ ÊǧÒÁ ¾ÔÁ¾ ô ÊÕ µÅÍ´àÅ‹Á ª‹ÇÂãˌ͋ҹ·íÒ¤ÇÒÁࢌÒã¨ä´Œ§‹ÒÂ

·Ò§ ³ ÊíÒ¤ÑÞ à˵ءÒà Òã¹»˜¨¨ØºÑ¹ Òʹ

“ดูกอนภิกษุทั้งหลาย บัดนี้เราขอเตือนเธอทั้งหลายวา สังขารทั้งหลาย มีความเสื่อมและสิ้นไปเปนธรรมดา พวกเธอจงยังประโยชนตนและผูอื่นใหถึงพรอมดวย ความไมประมาทเถิด”

¤Ó¶ÒÁ»ÃШÓ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ

È

¾Ãоط¸

ÃÐ àÊÃÔÁÊÒ

๑. ในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ถานักเรียนติดธุระหรือไมสะดวกดวยประการใดๆ ควร ปฏิบัติเชนไรจึงจะไดชื่อวาเปนพุทธศาสนิกชนที่ดี ๒. การเขารวมศาสนพิธีในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนามีประโยชนอยางไร ๓. นักเรียนคิดวาการจัดโตะหมูบูชามีจุดประสงคเพื่ออะไร ๔. การอาราธนาศีล การอาราธนาธรรม และการอาราธนาพระปริตรมีความแตกตางกัน อยางไร ๕. นักเรียนควรจะปฏิบัติตนอยางไรจึงจะไดชื่อวาเปนพุทธศาสนิกชน หรือศาสนิกชนที่ดี ของศาสนาที่ตนนับถือ จงอธิบายพรอมยกตัวอยางประกอบ

ะพุทธี่ยวกับพร กิจการเก นอกเหนือจาก ลปัจจุบัน ในรัชกา องเป็นอย่างมาก �าหลักธรรมทาง งน ่งเรื รุ ทร ญ จะ ริ ัว ระพฤติ ศาสนาเจ เด็จพระเจ้าอยู่ห กรแล้ว ยังทรงป ทรง นิ สม ทิ พระบาท าสนามาดูแลพสก วพุทธที่ดี อา ใน ชา ละ พระพทุ ธศ นแบบอย่างของ ติยราชประเพณีแ ป็ เ ์ ต ขั งค พระอ ะราชกุศลตาม ธศาสนา บ�าเพ็ญพร างๆ ทางพระพุท ต่ ญ คั า ส� บ วัน ั จ จุ บั น กั ลป

ั จ จุบน ชกาลป ั้งแรก นาในรั ทศเป็นคร ุ ธศาส ท ต่างประเ ินเดีย ศอ ั พระพ างวัดไทยใน ยี่ วกบ มีการสร้ ยพุทธคยา ประเท

๐ ๒๕๐

นา ะพุทธศาสกิจการ ิม นักงานพร จัดตั้งส�า ท�าหน้าที่ส่งเสร แห่งชาติ าสนาของชาติ พระพุทธศ

น เนือ่ งในวั านาชาติ ณฑลเปน็ ธม ชาวพุทธน ทีป่ ระชมุ าโลก มีมติให้พทุ าสนาของโลก วิสาขบชู งของพระพทุ ธศ ลา ก ย์ น ศู

1๓

อภิปรายรวมกันในหัวขอ “ความสำคัญของวันธรรมสวนะกับการปฏิบัติตน เพื่อการเปนพุทธศาสนิกชนที่ดี” หลังจากนั้นใหนักเรียนเขียนสรุปเนื้อหา การอภิปรายลงในสมุดสงครูผูสอน

กิจกรรมที่ ๒

ครูพานักเรียนไปรวมบำเพ็ญประโยชน หรือเขารวมศาสนพิธีตามโอกาส และเวลาที่เหมาะสม

กิจกรรมที่ ๓

จัดการประกวดการจัดโตะหมูบูชาระหวางหองเรียน รวมทั้งจัดนิทรรศการ เกี่ยวกับการปฏิบัติตนที่ถูกตองในศาสนพิธีตางๆ เพื่อใหความรูแกนักเรียน ในโรงเรียน

พุทธศาสนสุภาษิต

ÊÒ¡¨Ú©Ò » Ú Ò àÇ·Ôµ¾Ú¾Ò : »˜- - Ò¾Ö§ÃÙŒ (ÁÕ) ä´Œ´ŒÇ¡ÒÃʹ·¹Ò ๑๒๒

๓๓

กิจกรรมที่ ๑

๔๘ พ.ศ. ๒๕

0๘ พ.ศ. ๒๕

พรรษา งกุสนิ ารา เมือ่ วันขึน้ ๑๕ ค่ำ เดือน ๖ เมือ่ พระชนมายุ ๘๐ พระพุทธเจาเสด็จดับขันธปรินิพพาน ที่สาลวโนทยาน เมือ

0๕ พ.ศ. ๒๕

ใช้ ประกาศ ์ สงฆ ัญญัติคณะ แห่งโลก กสัมพันธ์ เป็นการ ทุ ธศาสนิ ขนึ้ องคก์ ารพตัง้ ส�านักงานใหญ่ มหานคร งเทพ จัด ถาวรทกี่ รุ (พ.ส.ล.)

พระราชบ

¡Ô¨¡ÃÃÁÊÌҧÊÃä ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ

คือ วัดไท

๒๕๕ ๐

สร้าง มีการจัด ลที่จังหวัด พุทธมณฑ เพื่อฉลองกึ่ง นครปฐม และให้เป็น พุทธกาล ัดกิจกรรมและ สถานที่จ ะพุทธศาสนา ศึกษาพร าสนา พระพทุ ธศษา ึก เรียนสอน จัดตัง้ โรงพัฒนาเป็นศูนย์ศตย์ ปัจจุบัน าสนาวันอาทิ พระพุทธศ อ.) (ศพ

พ.ศ. ๒๕

01

พ.ศ. ๒๕

00

แสดง

๔๕

เก  าํ คัญ ้ เวลา การณส เสน เหตุ

พ.ศ. ๒๕

ู ่ หั ว รั ช กา ะเจ ้ า อย นา สม เด็ จ พร พร ะบ าท า� รุงพระพุทธศาส บ การทา� นุ

๒๕๐ ๕

นการสังคายนาครั้งแรกในประเทศไทย) โดยมีพระเจ้

การสังคายนา ครั้งที่ ๙

ตัวชี้วัด ●

บัดนี้เราขอเ เสื่อมและสิ้นไปเป็นธรรมดา พวกเธ ตือนเธอทั้งหลายว่า สังขารทั้งหลาย มีความ อจงยังประโยชน์ตนและผู้อื่นให้ถึงพร้ อมด้วยความ ไม่ประมาทเถิด”

ยร้อยรูป พระธรรมทินนเถระเป็นประธานสงฆ์ ท�าร่วมกับพระเถระหลา

๒๕๔ ๕

นรู้ที่

ป และควา ระวัติ ของพระพุท มสําคัญ ธศาสนา

๑.๔ ปรินิพพาน

เมื่อทรงสถาปนาพุทธบริษัทสี ่ คือ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิก า ขึ้น แต่ละพุทธบริษัท ก็เจริญแพร่หลาย มีความรู้ความสา มารถท พระพุทธศาสนาให้ยนื ยาวต่อไปได้ พระพุ ี่จะสืบสานต่อเจตนารมณ์ของพระองค์ และสืบทอด ทธเจ้าจึงทรงตัดสินพระทัยเสด็จดับ ขันธ์ปรินิพพาน ณ สาลวโนทยาน เมืองกุสนิ ารา เมือ่ วัน เพ็ญเดือ ก่อนเสด็จดับขันธ์ปรินิพพานพร น ๖ ขณะพระชนมายุ ๘๐ พรรษา ะองค์ได้ตรัสพระโอวาทครั้งสุดท้ายว่ า “ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย

าระ พระเถระผูท้ รงพระไตรปิฎกหลายร้อยรูปจึงร่วมกันช� พระไตรปิฎกยังขาดตกบกพร่อง ผิดเพีย้ นและไม่ครบ พระไตรปิฎกให้สมบูรณ์ยงิ่ ขึน้ เวลาที่กระท�า งอาณาจักรล้านนา) ใช้เวลากระท�าอยู่ ๑ ป จึงส�าเร็จ กระท�าใน พ.ศ. ๒๐๒๐ (รัชสมัยพระเจ้าติโลกราช แห่

0๙ พ.ศ. ๒๕

หน่วยการเรีย

การสังคายนา ครั้งที่ ๘

สาเหตุ

๒๕๑ ๐

¨Ñ´¡ÅØ‹Áà¹×éÍËÒ໚¹Ë¹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ Êдǡᡋ¡ÒèѴ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹

àÃ×Íè §¹‹ÒÃÙàŒ ¾ÔÁè àµÔÁ¨Ò¡à¹×Íé ËÒ ÁÕá·Ã¡à»š¹ÃÐÂÐæ

à¡ÃÔè¹¹íÒà¾×èÍãˌࢌÒ㨶֧ÊÒÃÐÊíÒ¤ÑÞ ãËŒ¤ÇÒÁÃÙŒáÅÐàÍ×é͵‹Í¡ÒùíÒä»ãªŒÊ͹à¾×èÍ ãËŒºÃÃÅصÑǪÕéÇÑ´ áÅÐÊÌҧ¤Ø³ÅѡɳРã¹Ë¹‹Ç·Õè¨ÐàÃÕ¹ Íѹ¾Ö§»ÃÐʧ¤


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

ÊÒúÑ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

ñ

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

ò

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

ó ô

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

»ÃÐÇѵÔáÅФÇÒÁÊíÒ¤Ñޢͧ¾Ãоط¸ÈÒÊ¹Ò ¡Ò÷íÒÊѧ¤ÒÂ¹Ò ¡ÒÃà¼ÂἋ¾Ãоط¸ÈÒʹÒࢌÒÊÙ‹»ÃÐà·Èä·Â ¤ÇÒÁÊíÒ¤Ñޢͧ¾Ãоط¸ÈÒʹҵ‹ÍÊѧ¤Áä·Â ¾Ãоط¸ÈÒʹҡѺ¡ÒþѲ¹Òµ¹áÅФÃͺ¤ÃÑÇ

ñ ò ö ñô òð

¾Ø·¸»ÃÐÇÑµÔ ¾ÃÐÊÒÇ¡ ÈÒʹԡª¹µÑÇÍ‹ҧáÅЪҴ¡ ¾Ø·¸»ÃÐÇÑµÔ »ÃÐÇѵԾط¸ÊÒÇ¡ ¾Ø·¸ÊÒÇÔ¡Ò ÈÒʹԡª¹µÑÇÍ‹ҧ ªÒ´¡

òõ òö óù õñ õõ

ËÅÑ¡¸ÃÃÁ·Ò§¾Ãоط¸ÈÒÊ¹Ò ¾ÃÐÃѵ¹µÃÑ ÍÃÔÂÊѨ ô

öñ öò öó

¾Ø·¸ÈÒʹÊØÀÒÉÔµ Âí àÇ àÊÇµÔ µÒ·ÔâÊ : ¤º¤¹àª‹¹ã´Â‹ÍÁ໚¹àª‹¹¹Ñé¹ ÍµÚµ¹Ò ⨷µڵҹí : ¨§àµ×͹µ¹´ŒÇµ¹àͧ ¹ÔÊÁÚÁ ¡Ã³í àÊÂÚâ : ¡ÒÃã¤Ã‹¤ÃÇÞ¡‹Í¹áŌǨ֧·íÒ´Õ¡Ç‹Ò ·ØÃÒÇÒÊÒ ¦ÃÒ ·Ø¡Ú¢Ò : àËÂŒÒàÃ×͹·Õ軡¤ÃͧäÁ‹´Õ ¹íÒ·Ø¡¢ ÁÒãËŒ

÷÷ ÷ù øð øñ øò


กระตุน ความสนใจ Engage

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

สํารวจคนหา Explore

õ ö ÷ ø

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

˹ŒÒ·ÕèªÒǾط¸áÅÐÁÒÃÂÒ·ªÒǾط¸ ¡ÒúíÒà¾çÞ»ÃÐ⪹ áÅСÒúíÒÃاÃÑ¡ÉÒÇÑ´ ¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒÇÔ¶ÕªÕÇÔµ¢Í§¾ÃÐÀÔ¡ÉØʧ¦ ÁÒÃÂÒ·ªÒǾط¸ ¡Òû¯ÔºÑµÔµ¹Í‹ҧàËÁÒÐÊÁµ‹Íà¾×è͹µÒÁËÅÑ¡¾Ãоط¸ÈÒʹÒ

ตรวจสอบผล Evaluate

øõ øö øø ùñ ùø

ÇѹÊíÒ¤ÑÞ·Ò§¾Ãоط¸ÈÒʹÒáÅÐÈÒʹ¾Ô¸Õ ÇѹÊíÒ¤ÑÞ·Ò§¾Ãоط¸ÈÒÊ¹Ò ÈÒʹ¾Ô¸Õ

ñðó ñðô ññô

¡ÒúÃÔËÒèԵáÅСÒÃà¨ÃÔÞ»˜ÞÞÒ ¤ÇÒÁÃÙŒàº×éͧµŒ¹à¡ÕèÂǡѺ¡ÒúÃÔËÒèԵáÅÐà¨ÃÔÞ»˜ÞÞÒ ¡Ãкǹ¡Òýƒ¡ÊÁÒ¸ÔµÒÁËÅÑ¡ÍÒ¹Ò»Ò¹ÊµÔ ¡ÒÃà¨ÃÔÞ»˜ÞÞÒ ¡ÒÃà¨ÃÔÞ»˜ÞÞÒâ´Â¡ÒäԴẺâ¹ÔâÊÁ¹ÊÔ¡Òà ¡ÒùíÒÇÔ¸Õ¡ÒúÃÔËÒèԵáÅÐà¨ÃÔÞ»˜ÞÞÒä»ãªŒã¹ªÕÇÔµ»ÃШíÒÇѹ

ñòó ñòô ñòù ñóñ ñóó ñóõ

ÈÒʹÊÑÁ¾Ñ¹¸ ¤ÇÒÁ¨íÒ໚¹·ÕèàÃÒ¤ÇÃàÃÕ¹ÃÙŒÈÒʹÒÍ×è¹ ¡Òû¯ÔºÑµÔµ¹Í‹ҧàËÁÒÐÊÁµ‹ÍÈÒʹԡª¹Í×è¹ã¹Ê¶Ò¹¡Òó µ‹Ò§æ ¡Òû¯ÔºÑµÔµ¹µÒÁËÅÑ¡¸ÃÃÁ·Ò§ÈÒʹҷÕèµ¹¹Ñº¶×Í㹡ÒôíÒçªÕÇԵẺ¾Íà¾Õ§ áÅСÒôÙáÅÃÑ¡ÉÒÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ µÑÇÍ‹ҧºØ¤¤Å·Õè໚¹áººÍ‹ҧ·Ò§´ŒÒ¹ÈÒʹÊÑÁ¾Ñ¹¸

ñóù ñôð ñôñ ñôò

ºÃóҹءÃÁ

ñõò

ñôõ


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

ลุมพินี เปนสถานที่ประสูติของเจาชาย สิทธัตถะ ซึ่งตอมาพระองคตรัสรูเปน พระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจา สมัย พุทธกาล ลุมพินเี คยเปนพระราชอุทยาน ของกษัตริยแ ละประชาชน ตัง้ อยูร ะหวาง กรุงกบิลพัสดุก บั กรุงเทวทหะ หลังจาก ที่พระพุทธเจาเสด็จดับขันธปรินิพพาน พระเจาอโศกมหาราชทรงสรางพระอาราม พระเจดี ย  และเสาศิ ล าจารึ ก ไว เ ป น สัญลักษณ ปจจุบันลุมพินีตั้งอยูตําบล ลุมมินเด ประเทศเนปาล และไดรบั การ ขึน้ ทะเบียนจากองคการยูเนสโกใหเปน มรดกโลก ประเภทมรดกทางวัฒนธรรม เมื่อป พ.ศ. ๒๕๔๐

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

พุทธคยา เปนสถานที่ตรัสรูอนุตตรสัมมาโพธิญาณของพระพุทธเจา สราง ขึ้นในสมัยพระเจาหุวิชกะระหวาง พ.ศ. ๖๗๔-๖๙๔ ปจจุบัน พุทธคยาตั้งอยู ทางดานตะวันตกของแมนํ้าเนรัญชรา ตําบลคยา รัฐพิหาร ประเทศอินเดีย มีมหาสถูปพุทธคยาเปนสัญลักษณ สูง ๕๑ เมตร วัดรอบฐานได ๕๘.๗๖ เมตร และไดรับการขึ้นทะเบียนจากองคการ ยูเนสโกใหเปนมรดกโลก ประเภทมรดก ทางวัฒนธรรม เมื่อป พ.ศ. ๒๕๔๕

สารนาถ เปนสถานที่แสดงปฐมเทศนาของพระพุทธเจา ซึ่งพระพุทธองคทรงแสดงปฐมเทศนาธัมมจักกัปปวัตนสูตรแกปญจวัคคีย สมัยพุทธกาล สารนาถ คือ ปาอิสิปตนมฤคทาย ตั้งอยูเมืองพาราณสี อันเปนเมืองศูนยกลาง ของศาสนาฮินดู เปนสถานที่สงบและเปนแหลงชุมนุม ของนักบวชและนักพรต ปจจุบนั สารนาถตัง้ อยู รัฐอุตตรประเทศ ประเทศอินเดีย ภายในมีธรรมเมกขสถูป หรือที่ แปลวา สถูปผูเห็นธรรม

กุสนิ ารา เปนสถานทีเ่ สด็จดับขันธปรินพิ พานของพระพุทธเจา สมัยพุทธกาล เมือง กุสินารา เปนที่ตั้งของสาลวโนทยานอันเปนปาสาละที่รมรื่น อยูในแควนมัลละ ใกลฝงแมนํ้าหิรัญญวดี หลังการเสด็จดับขันธปรินิพพานของพระพุทธองคแลว กษัตริยแหงมัลละทรงประดิษฐานพระพุทธสรีระไว ณ เมืองกุสินาราเปนเวลากวา ๗ วัน กอนที่จะประกอบพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพ ปจจุบัน กุสินารา ตั้งอยู รัฐอุตตรประเทศ ประเทศอินเดีย มีสถูปปรินพิ พานเปนสถูปแบบทรงโอควํา่ ภายใน ประดิษฐานพระพุทธรูปปางเสด็จดับขันธปรินิพพาน อายุกวา ๑,๕๐๐ ป สรางขึ้น โดยพระเจาอโศกมหาราช


กระตุน ความสนใจ Engage

หน่วยการเรียนรู้ที่

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

1. อธิบายความหมาย สาเหตุ สถานที่ และ ระยะเวลาในการทําสังคายนาแตละครั้งได 2. อธิบายประวัติความเปนมาและการเผยแผ พระพุทธศาสนาเขาสูสังคมไทยได 3. วิเคราะหถึงคุณคาและความสําคัญของ พระพุทธศาสนาที่มีตอสังคมไทย

ประวัติ และความสําคัญ ของพระพุทธศาสนา

สมรรถนะของผูเรียน 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการสื่อสาร 3. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต

ตัวชี้วัด ●

อธิบายการเผยแผ่พระพุทธศาสนาหรือศาสนา ที่ตนนับถือสู่ประเทศไทย (ส ๑.๑ ม.๑/๑) วิเคราะห์ความส�าคัญของพระพุทธศาสนาหรือ ศาสนาที่ตนนับถือที่มีต่อสภาพแวดล้อมใน สังคมไทยรวมทัง้ การพัฒนาตนและครอบครัว (ส ๑.๑ ม.๑/๒)

คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. 2. 3. 4. 5.

สาระการเรียนรู้แกนกลาง ● ● ●

เปาหมายการเรียนรู

การสังคายนา การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศไทย ความส�าคัญของพระพุทธศาสนาต่อสังคมไทย ในฐานะเป็น - ศาสนาประจ�าชาติ - สถาบันหลักของสังคมไทย - สภาพแวดล้อมที่กว้างขวางและครอบคลุม สังคมไทย - การพัฒนาตนและครอบครัว

¾ÃÐ¾Ø · ¸ÈÒʹÒä´Œ ¡‹ Í ¡í Ò à¹Ô ´ ¢Öé ¹ ã¹»ÃÐà·ÈÍÔ ¹ à´Õ  àÁ×Íè »ÃÐÁÒ³ ò,õðð ¡Ç‹Ò»‚ÁÒáÅŒÇâ´ÂËÅѧ¨Ò¡¡ÒÃÊѧ¤ÒÂ¹Ò ¤ÃÑ§é ·Õè ó ¾ÃÐ਌ÒÍâÈ¡ÁËÒÃÒª «Ö§è ໚¹Í§¤ Í»Ø ¶ÑÁÀ ¡äç ´Œ·Ã§Ê‹§ ¤³Ð¸ÃÃÁ·Ùµà´Ô¹·Ò§ä»à¼ÂἋÈÒʹÒÂѧ´Ô¹á´¹µ‹Ò§æ ÃÇÁ·Ñ§é ´Ô¹á´¹ÊØÇÃóÀÙÁÔ´ŒÇ ¹Ñº¨Ò¡¹Ñé¹ÁÒªÒÇä·ÂʋǹãËÞ‹¡çä´Œ ÂÍÁÃÑ º ¹Ñ º ¶× ;ÃÐ¾Ø · ¸ÈÒʹÒ໚ ¹ ËÅÑ ¡ 㹡Òôí Ò à¹Ô ¹ ªÕ ÇÔ µ ¨¹¶Ö§»˜¨¨ØºÑ¹ ´Ñ§¹Ñé¹ ¨Ö§à»š¹¡ÒÃÊÁ¤ÇÃÂÔ觷Õè¾Ø·¸ÈÒʹԡª¹ªÒÇä·Â ¤ÇèÐä´ŒÈ¡Ö ÉÒ»ÃÐÇѵ¤Ô ÇÒÁ໚¹ÁҢͧ¾Ãоط¸ÈÒÊ¹Ò à¾×Íè ¨Ðä´ŒµÃÐ˹ѡ¶Ö§¤ÇÒÁÊíÒ¤Ñޢͧ¾Ãоط¸ÈÒʹҷÕèÁÕ¤ÇÒÁ ÊíÒ¤ÑÞµ‹ÍÊѧ¤Áä·ÂÁÒÍ‹ҧÂÒǹҹ

มีวินัย ใฝเรียนรู ซื่อสัตยสุจริต มุงมั่นในการทํางาน รักชาติ ศาสน กษัตริย

กระตุน ความสนใจ

Engage

ครูใหนักเรียนดูภาพที่เกี่ยวของกับพระพุทธเจา เชน สังเวชนียสถาน แลวบอกถึงความสําคัญ ตอพระพุทธศาสนา จากนั้นใหนักเรียนดูภาพ พระพุทธรูปหนาหนวย และตั้งคําถามกระตุน ความสนใจ เชน • พระพุทธศาสนาไดกอกําเนิดขึ้นใน ประเทศใด (แนวตอบ พระพุทธศาสนาไดกอกําเนิดขึ้นใน ประเทศอินเดียเมื่อประมาณ 2,500 กวาปมาแลว)

เกร็ดแนะครู ครูควรจัดกิจกรรมการเรียนรูที่สอดแทรกการพัฒนาทักษะกระบวนการตางๆ ที่สําคัญ ไดแก ทักษะการคิดและกระบวนการกลุม เพื่อใหนักเรียนสามารถอธิบาย การเผยแผพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือสูประเทศไทย และวิเคราะห ความสําคัญของพระพุทธศาสนาที่มีตอสภาพแวดลอมในสังคมไทย โดยจัดกิจกรรม • ใหนักเรียนแบงกลุมศึกษาความรูเกี่ยวกับการสังคายนา และจัดกิจกรรม ปุจฉา - วิสัชนา ถาม - ตอบปญหาเกี่ยวกับการสังคายนา • ใหนักเรียนแบงกลุมศึกษาการเผยแผพระพุทธศาสนาเขาสูประเทศไทยจาก หนังสือเรียนและแหลงการเรียนรูอื่นๆ เชน พระไตรปฎก แลวนําความรูที่ ไดศึกษามาอภิปรายและเขียนเรียงความเกี่ยวกับความสําคัญของพระพุทธศาสนาตอสังคมไทย • ใหนักเรียนยกตัวอยางหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา เพื่อการพัฒนาตนเอง และครอบครัว คูมือครู

1


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

กระตุน ความสนใจ

อธิบายความรู Explain

Expand

Evaluate

ñ. การทíาสั§คาÂนา เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธ์ปรินิพพานแล้ว พระพุทธวจนะทั้งหลายที่พระองค์เคย ตรัสสอนบุคคลต่างๆ ต่างกรรมต่างวาระ อันอยูใ่ นความทรงจ�าของบรรดาสาวกของพระพุทธองค์ ซึ่ง มีมากน้อยตามความสามารถของสาวกแต่ละรูปนัน้ ได้รบั การประมวลเป็นหมวดหมู่ เรียกว่า “พระธรรม วินยั ” โดยมีพระมหากัสสปะผูเ้ ป็นประมุขของสงฆ์กบั พระอรหันต์ทรงอภิญญาอีก ๕๐๐ รูป ร่วมกัน รวบรวมเรียบเรียงขึน้ การรวบรวมพระธรรมวินยั นีเ้ รียกว่า “การทําสังคายนา” สังคายนา มาจากค�าว่า “ สํ ” อันหมายถึง ร่วมกัน พร้อมกัน ประกอบกับค�าว่า “คายนา” ทีห่ มายถึงการสวด การสาธยาย ดังนัน้ สังคายนาจึงมีความหมายว่า การสวดพร้อมกัน หรือร่วมกันสวด ด้วยเหตุผลว่า พระสงฆ์ทั้งหลายท่านได้พิจารณาประเด็นต่างๆ แห่ง พระธรรมวินยั เมือ่ ตกลงเห็นพร้อมกันแล้ว ก็รว่ มสวดพร้อมกันเพือ่ ทรงจ�าต่อไป เนือ่ งจากการนี้ เป็นการรวบรวมหรือจัดหมูแ่ ห่งพระธรรมวินยั ให้เป็นระบบ เพราะฉะนัน้ ค�าว่า “สังคายนา” จึงมีความหมายถึง “การรอยกรอง” หรือ “การจัดหมวดหมู” พระธรรมวินัยได้อีกด้วย การท�าสังคายนาได้รบั การท�าติดต่อกันมาอีกหลายครัง้ เป็นระยะๆ ทั้งในประเทศอินเดียและประเทศอื่นๆ รวมทั้งสิ้น ๑๐ ครั้ง ดังนี้ สาเหตุ

การสังคายนา ครั้งที่ 1

เนือ่ งมาจากพระภิกษุชอื่ สุภทั ทะ ได้กล่าววาจาในท�านองดูหมิน่ พระพุทธองค์ และแสดงความดีใจเมื่อได้ข่าวว่าพระพุทธเจ้าปรินิพพาน พระมหากัสสปะเกรง ว่าจะเป็นเหตุให้พระธรรมวินัยเสื่อมสูญ จึงเรียกประชุมพระสงฆ์เพื่อกระท�าการ สังคายนา

Explore

ครูใหนักเรียนศึกษาคนควาเกี่ยวกับการทํา สังคายนาในพระพุทธศาสนาจากพระไตรปฎก หรือหนังสือเรียน หนา 2 - 5

อธิบายความรู

ตรวจสอบผล

Engage

ครูใหนักเรียนยกตัวอยางเหตุการณที่ทําให เขาใจผิดกันในกลุมเพื่อนของตนเอง ใหนักเรียน ชวยกันบอกวิธีการแกปญหา และผลที่ไดรับ จากนั้นยกตัวอยางเหตุการณในสมัยพุทธกาลทีม่ ี ความเขาใจคลาดเคลือ่ นในหลักคําสอน จนทําให มีความเขาใจผิด พระพุทธศาสนาตองมัวหมอง จนตองนําไปสูการสังคายนา และครูตั้งคําถามให นักเรียนชวยกันตอบ • สังคายนา คืออะไร (แนวตอบ สังคายนา คือ การสวดพรอมกัน เพื่อจัดหมวดหมูพระธรรมวินัย กระทําโดย คณะสงฆรวมกันพิจารณาประเด็นแหง พระธรรมวินัย) • การสังคายนาในพระพุทธศาสนามี วัตถุประสงคเพื่ออะไร (แนวตอบ การสังคายนามีวัตถุประสงคเพื่อ จัดหมวดหมูพระธรรมวินัยใหเปนระบบและ ใหเกิดความเขาใจตรงกันในคณะสงฆ)

สํารวจคนหา

ขยายความเขาใจ

เวลาที่กระท�า

เริ่มหลังจากพระพุทธเจ้าปรินิพพานได้ ๓ เดือน กระท�าอยู่ ๗ เดือนจึงส�าเร็จ

พระสงฆ์ผู้กระท� 1 า

Explain

2

พระมหากัสสปะเป็นประธาน และเป็นผูส้ อบถามพระธรรม และพระวินยั โดยมีพระอุบาลีเป็น ผู้ตอบด้านพระวินัย และพระอานนท์เป็นผู้ตอบด้านพระธรรม พระสงฆ์ที่เข้าร่วมกระท�า สังคายนาครั้งนี้มีจ�านวน ๕๐๐ รูป ซึ่งล้วนแต่เป็นพระอรหันต์ทั้งสิ้น

ครูนําสนทนาถึงที่มาของคําวา “สังคายนา” โดยเลาถึงเหตุการณในสมัยพุทธกาลที่พระภิกษุ กลาววาจาดูหมิ่นพระพุทธเจา

สถานที่และผู้อุปถัมภ์

ถ�้าสัตตบรรณ ข้างภูเขาเวภาระ ใกล้กรุงราชคฤห์ เมืองหลวงของแคว้นมคธ โดยมี พระเจ้าอชาตศัตรูเป็นผู้อุปถัมภ์ ๒

นักเรียนควรรู 1 พระมหากัสสปะ พระสาวกของพระพุทธเจาที่ไดรับยกยองใหเปนเอตทัคคะ ในดานผูทรงธุดงค เพราะหลังจากอุปสมบทไดไมนานก็บรรลุพระอรหันต และ ถือปฏิบัติธุดงควัตร 13 ประการตลอดชีวิต พระมหากัสสปะมีชีวิตอยูถึง 120 ป นิพพาน ณ เขากุกกุฏสัมปาตบรรพต เมืองราชคฤห 2 พระอุบาลี พระสาวกของพระพุทธเจาที่ไดรับยกยองใหเปนเอตทัคคะในทาง ผูทรงวินัย เพราะหลังจากอุปสมบททานไดศึกษาพระวินัยปฎกจากพระโอษฐของ พระพุทธเจาโดยตรง ทําใหมีความแมนยําในพระวินัยเปนอยางดี และเปนผูสอน พระวินัยแกภิกษุหลังจากที่พระพุทธเจาเสด็จดับขันธปรินิพพานไปแลว

2

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

การทําสังคายนาในพระพุทธศาสนาเกิดขึ้นครั้งแรกเมื่อใด 1. เมื่อพระพุทธเจาตรัสรู 2. ภายหลังแสดงปฐมเทศนา 3. เมื่อมีพระรัตนตรัยครบองค 3 4. ภายหลังพระพุทธเจาเสด็จดับขันธปรินิพพานแลว วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 4. เพราะเมื่อพระพุทธองคไดเสด็จดับขันธปรินิพพานแลว บรรดาสาวกของพระพุทธองค จึงไดรวบรวมพระพุทธวจนะ ทั้งหลายที่พระองคเคยตรัสสอนบุคคลตางๆ ไว นํามาจัดเปนหมวดหมู เรียกวา พระธรรมวินัย ดังนั้น การรวบรวมพระธรรมวินัยนี้เรียกวา การทํา สังคายนา


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

ครูและนักเรียนรวมกันสนทนาถึงสาเหตุของ การทําสังคายนาครั้งที่ 2 ครั้งที่ 3 และครั้งที่ 4 และรวมกันคาดเดาวาหากไมมีการทําสังคายนา พระพุทธศาสนาจะเกิดความเสื่อมอยางไร

การสังคายนา ครั้งที่ ๒

สาเหตุ

Explain

ภิกษุกลุม่ หนึง่ มีชอื่ ว่า พระวัชชีบตุ ร ได้ปฏิบตั หิ ย่อนทางวินยั ๑๐ ประการ เช่น เก็บสะสมเกลือไว้ในเขาสัตว์แล้ว น�ามาผสมอาหารฉันได้หลายวันหรือฉันเมือ่ ตะวันบ่ายไปแล้วประมาณสองนิว้ (เทียบราวบ่ายสองโมง) เป็นต้น พระยสกากัณฑบุตรจึงชักชวนพระเถระต่างๆ ให้มาร่วมกันวินจิ ฉัยแก้ความผิดในครัง้ นี้

เวลาที่กระท�า

กระท�าใน พ.ศ. ๑๐๐ กระท�าอยู่ ๘ เดือนจึงส�าเร็จ

พระสงฆ์ผู้กระท�า1

พระยสกากัณฑบุตร เป็นผู้ชักชวนพระเถระทั้งหลายให้กระท�าการสังคายนา พระเรวตะเป็นผู้ซักถามและ พระสัพพกามีเป็นผูต้ อบปัญหาเกีย่ วกับพระวินยั ทัง้ หมด โดยมีพระสงฆ์มาร่วมประชุมกัน ๗๐๐ รูป

สถานที่และผู้อุปถัมภ์

วาลิการาม เมืองเวสาลี (ไพศาลี) แคว้นวัชชี โดยมีพระเจ้ากาฬาโศกเป็นผูอ้ ปุ ถัมภ์

การสังคายนา ครั้งที่ ๓ สาเหตุ

มีพวกนอกศาสนาปลอมเข้ามาบวชในพระพุทธศาสนามากขึน้ ท�าให้พระพุทธศาสนามัวหมอง พระโมคคัลลีบุตรติสสเถระเห็นว่า อาจเป็นเหตุให้พระพุทธศาสนามัวหมองได้ จึงขอความร่วมมือจากพระมหากษัตริย์ให้ สังคายนาช�าระสะสางพระศาสนาให้บริสทุ ธิ์

เวลาที่กระท�า

กระท�าใน พ.ศ. ๒๓๔ (บางแห่งว่า พ.ศ. ๒๓๕) กระท�าอยู่ ๙ เดือน จึงส�าเร็จ

พระสงฆ์ผู้กระท�า 2

พระโมคคัลลีบตุ รติสสเถระเป็นประธานและมีพระสงฆ์ประชุมกัน ๑,๐๐๐ รูป

สถานที่และผู้อุปถัมภ์

อโศการาม กรุงปาฏลีบตุ ร โดยมีพระเจ้าอโศกมหาราชเป็นผูอ้ ปุ ถัมภ์

การสังคายนา ครั้งที่ ๔

สาเหตุ

ต้องการวางรากฐานพระพุทธศาสนาในประเทศลังกา

เวลาที่กระท�า

เริม่ ท�าใน พ.ศ. ๒๓๘ โดยไม่ปรากฏระยะเวลาทีก่ ระท�า

พระสงฆ์ผู้กระท� 3 า

พระมหินทเถระเป็นประธาน พระอริฏฐะเป็นผูส้ วดวินยั และมีพระสงฆ์รว่ มประชุมกันทัง้ สิน้ ๖๘,๐๐๐ รูป

สถานที่และผู้อุปถัมภ์

ถูปาราม เมืองอนุราธปุระ ประเทศลังกา โดยมีพระเจ้าเทวานัมปิยะติสสะ เป็นองค์อปุ ถัมภ์

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’ 51 ออกเกี่ยวกับการสังคายนา ภายหลังการสังคายนาพระไตรปฎกครัง้ ที่ 3 ในสมัยพระเจาอโศกมหาราช แลวไดเกิดเหตุการณสําคัญในขอใด 1. เกิดสงครามระหวางศาสนาตางๆ ในประเทศอินเดีย 2. พระพุทธศาสนากลายเปนรากฐานของวัฒนธรรมอินเดีย 3. พระพุทธศาสนาเผยแผไปยังดินแดนอาณานิคมของประเทศอินเดีย 4. พระเจาอโศกมหาราชทรงสงสมณทูตไปประกาศพระพุทธศาสนา นอกชมพูทวีป วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 4. ภายหลังการสังคายนาพระไตรปฎก ครัง้ ที่ 3 พระเจาอโศกมหาราชไดทรงสงพระโสณเถระและพระอุตตรเถระเขา มาเผยแผพระพุทธศาสนาในดินแดนสุวรรณภูมิ

เกร็ดแนะครู ครูควรอธิบายเพิ่มเติมวา การทําสังคายนาในชวงแรกใชวิธีการถาม - ตอบหรือ บอกเลาปากตอปาก เพื่อการทองจําที่แมนยํา ซึ่งเรียกวา “มุขปาฐะ”

นักเรียนควรรู 1 พระยสกากัณฑบุตร พระเถระจากเมืองโกสัมภี ไดเดินทางแสวงจาริกที่เมือง เวสาลี ซึ่งไดพบกับกลุมพระภิกษุวัชชีบุตร กระทําการอันไมเหมาะสม คือ การเรียกรองใหชาวบานบริจาคทรัพยสิน จึงเปนที่มาของการสังคายนาครั้งที่ 2 2 พระโมคคัลลีบุตรติสสเถระ ผูพิจารณาเห็นควรใหวัดสงพระเถระพรอมดวย บริวารออกเผยแผพระพุทธศาสนาในสวนตางๆ ของทวีปเอเชีย 3 พระมหินทเถระ ผูที่พระเจาอโศกมหาราชทรงสงใหมาเปนพระธรรมทูต ประจําที่เกาะลังกา หรือประเทศศรีลังกา คูมือครู

3


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

พระสงฆ์ในลังกาต่างเห็นพ้องต้องกันว่าพระพุทธวจนะที่ถ่ายทอดกันมาโดยวิธีท่องจ� านั้น อาจจะขาดตก บกพร่องได้ในภายภาคหน้า เพราะผูท้ สี่ ามารถจดจ�าได้มเี หลือน้อยลง ประกอบกับสถานการณ์1ทางการเมือง ในขณะนั้นก�าลังอยู่ในความไม่สงบ เพราะได้เกิดศึกยืดเยื้อระหว่างพวกทมิฬกับชาวสิงหล จึงได้บันทึก พระไตรปิฎกเป็นลายลักษณ์อกั ษร

เวลาที่กระท�า

กระท�าใน พ.ศ. ๔๓๓ (บางแห่งว่า พ.ศ. ๔๕๐) โดยไม่ปรากฏระยะเวลาทีก่ ระท�า

พระสงฆ์ผู้กระท�า พระสงฆ์ชาวลังกา

สถานที่และผู้อุปถัมภ์

อาโลกเลณสถาน มตเลณชนบท (หรือมลัยชนบท) ประเทศลังกา โดยมีพระเจ้าวัฏฏคามณีอภัยเป็นผูอ้ ปุ ถัมภ์

เนือ่ งจากในประเทศอินเดีย มีเพียงพระไตรปิฎก ไม่มอี รรถกถา พระพุทธโฆษาจารย์จงึ เดินทางมาแปลอรรถกถา พระไตรปิฎกจากภาษาลังกาเป็นภาษาบาลี กระท�าใน พ.ศ. ๙๕๖ โดยไม่ปรากฏว่าใช้ระยะเวลาเท่าใด

พระสงฆ์ผู้กระท�า

พระพุทธโฆษาจารย์ และพระเถระแห่งวัดมหาวิหารจ�านวนหนึง่

สถานที่และผู้อุปถัมภ์

วัดมหาวิหาร ประเทศศรีลงั กา โดยมีพระเจ้ามหานามเป็นผูอ้ ปุ ถัมภ์

ñð

ตอนที่ ๑ วิเคราะหการสังคายนาครั้งที่ ๑-๕ และผลตอการเปลี่ยนแปลงทางพระพุทธศาสนา สาเหตุ พระสุภัททะดูหมิ่นพระธรรมวินัย

การสังคายนา ครั้งที่ ๗

ผลของการทําสังคายนา ทําใหคําสอนของพระพุทธเจาไดรับ การจัดเปนหมวดหมูชัดเจน

ครั้งที่ ๑

…………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………..

ครั้งที่ ๒

…………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………..

สาเหตุ

…………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………..

พระภิกษุกลุมพระวัชชีบุตรประพฤติ ยอหยอนพระธรรมวินัย

2

เวลาที่กระท�า

คะแนนเต็ม คะแนนที่ได

กิจกรรมที่ ๑.๑ ใหนักเรียนตอบคําถามตอไปนี้ (ส ๑.๑ ม.๑/๑)

การสังคายนา ครั้งที่ ๖

สาเหตุ

กิจกรรมตามตัวชี้วัด

เกิดการแบงคณะสงฆเปน ๒ นิกาย คือ นิกายเถรวาทและนิกายมหายาน

เนือ่ งจากทีล่ งั กา ยังขาดคัมภีรฎ์ กี า (คัมภีรท์ อี่ ธิบายอรรถกถา) พระเถระทัง้ หลายอันมีพระกัสสปะเป็นประธาน จึงได้ประชุมกันเพือ่ รจนาคัมภีรฎ์ กี าขึน้ เพือ่ ประโยชน์แก่การศึกษาพระพุทธศาสนา

…………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………..

มีพวกนอกศาสนาปลอมตัวเขามาบวช …………………………………………………………………….. กําจัดพวกนอกศาสนา และพระเจา …………………………………………………………………….. ในพระพุทธศาสนามากขึ้น ทําให …………………………………………………………………….. อโศกมหาราชทรงส ง พระสงฆ ที่ …………………………………………………………………….. พระพุทธศาสนามัวหมอง มี ค วามรู  ค วามสามารถไปเผยแผ …………………………………………………………………….. …………………………………………………………………….. พระพุทธศาสนายังตางแดน …………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………..

เวลาที่กระท�า

ตองการวางรากฐานพระพุทธศาสนา ทําใหพระพุทธศาสนาเจริญรุงเรือง ฉบับ ใหมั่นคงในประเทศศรีลังกา ในศรีลังกา และเปนตนแบบของ เฉลย พระพุทธศาสนาลัทธิลังกาวงศ

…………………………………………………………………….. …………………………………………………………………….. …………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………..

กระท�าใน พ.ศ. ๑๕๘๗ โดยไม่ปรากฏว่าใช้ระยะเวลาเท่าใด

…………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………..

เนื่องจากการทองจําอาจจะทําให ไดจารึกพระธรรมวินยั ลงในใบลาน พระธรรมวินัยคลาดเคลื่อนได จึง …………………………………………………………………….. …………………………………………………………………….. ตองจารึกไวเปนลายลักษณอักษร …………………………………………………………………….. …………………………………………………………………….. …………………………………………………………………….. ……………………………………………………………………..

ครั้งที่ ๕

Evaluate

สาเหตุ

หนวยที่ 1 ประวัติและความสําคัญของพระพุทธศาสนา

ครั้งที่ ๔

Expand

การสังคายนา ครั้งที่ ๕

✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ พระพุทธศาสนา ม.1 กิจกรรมที่ 1.1

ครั้งที่ ๓

ตรวจสอบผล

Explain

1. ครูเลาเรื่องราวในชีวิตประจําวัน หรือเหตุการณ ตางๆ ใหตัวแทนนักเรียนคนที่ 1 ฟง โดยที่ไม ใหเพื่อนนักเรียนคนอื่นรู แลวใหนักเรียนคนที่ 1 เลาใหคนที่ 2 ฟง และเลาตอๆ กัน จากนั้นให นักเรียนคนที่ฟงคนสุดทายเลาใหเพื่อนในชั้นฟง และเปรียบเทียบวาเหมือนกับเรื่องราวที่ครูเลา หรือไม เพราะเหตุใด และถาตองการใหเรื่อง เลานั้นมีใจความไมผิดเพี้ยน ควรทําอยางไร เพื่อเชื่อมโยงกับสาเหตุของการทําสังคายนา ครั้งที่ 5 ซึ่งมีสาเหตุจากการถายทอดพุทธวจนะ ดวยการทองจําตอๆ กันมาโดยไมมีการบันทึก เปนลายลักษณอักษร 2. ครูและนักเรียนรวมกันวิเคราะหถึงสาเหตุของ การสังคายนาครั้งที่ 6 - 10 3. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมที่ 1.1 จากแบบวัดฯ พระพุทธศาสนา ม.1

การสังคายนา

ขยายความเขาใจ

พระสงฆ์ผู้กระท�า

พระกัสสปะเถระเป็นประธานสงฆ์รว่ มกับพระสงฆ์อกี จ�านวน ๑,๐๐๐ รูป

ตอนที่ ๒ การทําสังคายนามีผลตอพระพุทธศาสนาอยางไร

สถานที่และผู้อุปถัมภ์

๑. ทําใหหลักคําสอนของพระพุทธเจาไดรับการจัดไวเปนหมวดหมูชัดเจน ๒. หลักคําสอนของพระพุทธศาสนาไดมีผูนําไปเผยแผยังดินแดนตางๆ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๓. มีประชาชนจํานวนมากหันมานับถือพระพุทธศาสนา ทําใหพระพุทธศาสนาตั้งมั่นในประเทศตางๆ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๔. ทําใหพวกนอกรีตที่แปลกปลอมเขามาบวชในพระพุทธศาสนาถูกกําจัดใหหมดไป ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๕. มีการรักษาหลักธรรมในการสั่งสอนพุทธบริษัทสืบเนื่องตอกันเรื่อยมา ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ๖. ทําใหเกิดคัมภีรที่สําคัญของพระพุทธศาสนา คือ พระไตรปฎก ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

ประเทศศรีลงั กา โดยมีพระเจ้าปรากรมพาหุมหาราช เป็นองค์อปุ ถัมถ์ ๔

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

(พิจารณาคําตอบของนักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน)

เกร็ดแนะครู ครูควรอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับความขัดแยงของชาวทมิฬกับชาวสิงหล และ เหตุการณที่เกิดขึ้นภายหลังการสังคายนาครั้งที่ 5

นักเรียนควรรู 1 ชาวสิงหล ชนพื้นเมืองสวนใหญของประเทศศรีลังกาที่นับถือพระพุทธศาสนา ในขณะที่ชาวทมิฬเปนชนกลุมนอยของประเทศศรีลังกาที่นับถือศาสนาฮินดู 2 อรรถกถา คําอธิบายที่ขยายความหลักคําสอนที่เปนพุทธวจนะใน พระไตรปฎก เพื่อใหมีใจความที่สมบูรณ และทําใหอานเขาใจงายขึ้น

4

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

วิธีถายทอดคําสอนของพระพุทธเจาในสมัยพุทธกาล มีการปฏิบัติกัน อยางไร 1. จารึกลงในใบลาน 2. จารึกลงในศิลาจารึก 3. ทองจําดวยปากเปลา 4. ทองจําและบันทึกลงในใบลาน วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 3. วิธีถายทอดคําสอนของพระพุทธเจาใน สมัยพุทธกาล ใชวิธีการทองจําดวยปากเปลา เพื่อการทองจําที่แมนยํา ซึ่งเรียกวา มุขปาฐะ


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

อธิบายความรู

ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายถึงสาเหตุของ การทําสังคายนาครั้งที่ 8 - 10 จากนั้นใหนักเรียน ทบทวนการสังคายนาครั้งที่ 1 - 10 และใหแบงออก เปน 2 กลุม เพื่อจัดกิจกรรมปุจฉา - วิสัชนา โดย ผลัดกันถาม - ตอบความรูเกี่ยวกับการสังคายนา ทั้ง 10 ครั้ง เชน • การสังคายนาครั้งที่ 5 มีความสําคัญ อยางไรตอพระพุทธศาสนา (แนวตอบ มีการจดบันทึกพระพุทธวจนะเปน ลายลักษณอักษรลงบนใบลานดวยภาษาบาลี และยังถือเปนตนฉบับของพระไตรปฎกใน พระพุทธศาสนาฝายเถรวาท)

การสังคายนา ครั้งที่ ๘

สาเหตุ

พระไตรปิฎกยังขาดตกบกพร่อง ผิดเพีย้ นและไม่ครบ พระเถระผูท้ รงพระไตรปิฎกหลายร้อยรูปจึงร่วมกันช�าระ พระไตรปิฎกให้สมบูรณ์ยงิ่ ขึน้

เวลาที่กระท�า

กระท�าใน พ.ศ. ๒๐๒๐ (รัชสมัยพระเจ้าติโลกราช แห่งอาณาจักรล้านนา) ใช้เวลากระท�าอยู่ ๑ ป จึงส�าเร็จ

พระสงฆ์ผู้กระท�า

พระธรรมทินนเถระเป็นประธานสงฆ์ ท�าร่วมกับพระเถระหลายร้อยรูป

สถานที่และผู้อุปถัมภ์

วัดโพธาราม จังหวัดเชียงใหม่ ประเทศไทย (นับเป็นการสังคายนาครั้งแรกในประเทศไทย) โดยมีพระเจ้า ติโลกราชเป็นองค์อปุ ถัมภ์

การสังคายนา ครั้งที่ ๙ สาเหตุ

ขยายความเขาใจ

พระผูใ้ หญ่ถกู ถอดและถูกจับสึก เพราะความประพฤติยอ่ หย่อนในพระธรรมวินยั พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช จึงทรงมีพระราชประสงค์ให้ชา� ระพระไตรปิฎกขึน้ เพือ่ ให้พระสงฆ์ศกึ ษาพระธรรมทีถ่ กู ต้อง กระท�าใน พ.ศ. ๒๓๓๑ (รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช) กระท�าอยู่ ๕ เดือน จึงส�าเร็จ

พระสงฆ์ผู้กระท�า

พระเถระ ๒๑๘ รูป และราชบัณฑิตคฤหัสถ์อกี ๓๒ คน ได้รว่ มกันช�าระคัดลอกสร้างพระไตรปิฎกฉบับหลวง เรียกว่า “ฉบับทองใหญ่” (ต่อมาสร้างเพิม่ อีก ๒ ฉบับ คือ ฉบับรองทอง และฉบับทองชุบ)

สถานที่และผู้อุปถัมภ์

วัดมหาธาตุยวุ ราชรังสฤษฎิ์ โดยมีพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชเป็นองค์อปุ ถัมภ์

การสังคายนา ครั้งที่ 10

เพื่อช�าระพระไตรปิฎกแล้วจัดพิมพ์ ในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบัน ทรงเจริญ พระชนมายุครบ ๖๐ พรรษา ใน พ.ศ. ๒๕๓๐ โดยเรียกว่า “พระไตรปิฎกฉบับสังคายนา”

เวลาที่กระท�า

กระท�าใน พ.ศ. ๒๕๒๘ ไม่ปรากฏระยะเวลาทีก่ ระท�า

พระสงฆ์ผู้กระท�า

1

2

มีสมเด็จพระสังฆราชเป็นองค์ประมุข ร่วมกับพระสงฆ์ทงั้ ฝายมหานิกายและธรรมยุตกิ นิกาย

สถานที่และผู้อุปถัมภ์

วัดมหาธาตุยวุ ราชรังสฤษฎิ์ กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย โดยมีรฐั บาลเป็นผูอ้ ปุ ถัมภ์ http://www.aksorn.com/LC/Rel/M1/01

EB GUIDE ๕

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

การทําสังคายนามีผลตอความเจริญรุงเรืองของพระพุทธศาสนาอยางไร

แนวตอบ การทําสังคายนา ทําใหหลักคําสอนของพระพุทธเจาไดรับ การจัดเปนหมวดหมู เกิดเปนพระไตรปฎกในเวลาตอมา ซึ่งสามารถใช เปนหลักฐานสําคัญในการเรียนรูและเผยแผพระพุทธศาสนาตอๆ กันมา และทําใหพุทธบริษัทมีความเขาใจในหลักธรรมคําสอนไดถูกตองตรงกัน

Expand

1. ครูใหนักเรียนวิเคราะหถึงประโยชนที่ไดรับ จากการทําสังคายนาพระไตรปฎก (แนวตอบ เชน สรางความเขาใจในพระธรรมวินัยที่ถูกตองใหกับ ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก และ อุบาสิกา เปนการสืบทอดพระพุทธศาสนาให ดํารงอยูอยางมั่นคง ดวยการรักษาคําสอนของ พระพุทธเจาที่เรียกวา “พระธรรมวินัย” ใหมี ความถูกตองแมนยํา) 2. ครูสมมติสถานการณในชีวิตประจําวันของ นักเรียน หากนักเรียนมีเรื่องไมเขาใจกับเพื่อน นักเรียนสามารถนําวิธีการสังคายนาทาง พระพุทธศาสนามาปรับใชในการแกไขปญหา ไดอยางไรบาง (แนวตอบ ควรพูดคุยกับเพื่อนถึงสาเหตุของ ความไมเขาใจที่เกิดขึ้นระหวางกันและหา แนวทางแกไขปญหาเหลานั้นรวมกัน)

เวลาที่กระท�า

สาเหตุ

Explain

ตรวจสอบผล

Evaluate

ตรวจความถูกตองจากการถาม - ตอบคําถาม ในกิจกรรมปุจฉา - วิสัชนาเกี่ยวกับการสังคายนา ครั้งที่ 1 - 10

นักเรียนควรรู 1 มหานิกาย นิกายหนึ่งของคณะสงฆไทยสายเถรวาทลัทธิลังกาวงศ ที่สืบทอดมาตั้งแตสมัยสุโขทัย 2 ธรรมยุติกนิกาย นิกายหนึ่งของคณะสงฆไทย ตั้งขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 4 เนื่องดวยขณะที่พระองคทรงผนวช พระองคทรงศรัทธาในจริยาวัตรของพระมอญ จึงทรงตั้งคณะธรรมยุติกนิกายขึ้นใน พ.ศ. 2376 เพื่อปฏิรูปพระพุทธศาสนา ฟนฟู ดานวัตรปฏิบัติของสงฆ

คูมือครู

5


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

กระตุน ความสนใจ

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Engage

ครูใหนักเรียนดูแผนที่โลก และใหตัวแทน ออกมาชี้ตําแหนงของประเทศประกอบการ ตอบคําถาม • ดินแดนที่ถูกเรียกวา “สุวรรณภูมิ” มี ตําแหนงที่ตั้งอยูตรงสวนใดของแผนที่โลก • ประเทศเพื่อนบานของดินแดนสุวรรณภูมิ ไดแกประเทศใดบาง และมีตําแหนง ที่ตั้งอยูตรงสวนใดของแผนที่โลก

สํารวจคนหา

เรื่องน่ารู้ หอไตรหรือหอพระไตรปฎก “หอ” หมายถึง เรือนที่ปลูกเพื่อประโยชน์ในการใช้สอยอย่างใด อย่างหนึ่ง ส่วน “ไตร” เป็นค�าย่อมาจากไตรปฎก (พระธรรมค�าสั่งสอนของ พระพุทธเจ้าอันได้แก่ พระวินัย พระสูตร และพระอภิธรรม) ตั้งอยู่ในเขต สังฆาวาส เป็นสถานที่ที่ใช้เก็บพระไตรปฎกหรือเก็บรักษาคัมภีร์ทาง ศาสนา ด้วยเหตุนี้จึงท�าให้มีชื่อเรียกอีกอย่างว่า “หอพระธรรม” หรือ “หอธรรม” ลักษณะของหอพระไตรปฎกในประเทศไทยจะมี ลักษณะและรูปแบบหลากหลายตามแต่ละยุคแต่ละสมัย หรือแต่ละ ท้องถิ่น บางที่สร้างอยู่กลางน�้า เพื่อปองกันโจรและสัตว์ประเภทหนู มด แมลงต่างๆ เป็นต้น

Explore

1. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับความเชื่อดั้งเดิม ของอาณาจักรตางๆ เชน การนับถือบูชาภูตผี ปศาจ ปรากฏการณทางธรรมชาติ เพื่อนําไปสู การอธิบายถึงการเกิดขึ้นของศาสนา 2. ครูใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5 - 8 คน เพื่อ ศึกษาคนควาการเผยแผพระพุทธศาสนาเขาสู ประเทศไทยใน 4 ยุค ดังนี้ • ยุคเถรวาทสมัยพระเจาอโศกมหาราช • ยุคมหายาน • ยุคเถรวาทแบบพุกาม • ยุคเถรวาทแบบลังกาวงศ

ò. การà¼Âแ¼‹พระพุทธศาสนาࢌาสÙ‹»ระàทศäท การศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับการเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศไทยนั้น ขั้นแรก นักเรียนต้องท�าความเข้าใจเสียก่อนว่า ดินแดนอันเป็นที่ตั้งของประเทศไทยในปัจจุบันนี้รวมไป ถึงดินแดนของประเทศเพื่อนบ้านใกล้เคียงที่อยู่รายรอบ เมื่อครั้งอดีตจะเรียกรวมๆ กันว่า “สุวรรณภูมิ” ซึ่งสมัยนั้นมีชุมชน เมือง แคว้น และอาณาจักรต่างๆ หลายแห่ง ซึ่งทั้งนี้เรา ไม่มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ชัดเจนว่าเมืองหรืออาณาจักรเหล่านี้ ได้รับการยอมรับนับถือ พระพุทธศาสนาตั้งแต่เมื่อใด แต่จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ต่างๆ ท�าให้อนุมานได้ว่าผู้คนใน ดินแดนสุวรรณภูมินี้นับถือศาสนาและลัทธิความเชื่อแตกต่างกันออกไป กล่าวคือ ผู้คนบางกลุ่มก็ นับถือบูชาภูตผีปศาจและปรากฏการณ์ทางธรรมชาติอันเป็นความเชื1่อทที่มีมาตั้งแต่เดิม ในขณะที่ ผู้คนอีกส่วนหนึ่งก็นับถือพระพุทธศาสนาหรือศาสนาพราหมณ์ 2 - ฮินดู ต่างกันไป ทั้งนี้ การนับถือพระพุทธศาสนาในดินแดนสุวรรณภูมินี้ แต่ละอาณาจักรจะนับถือนิกายที่ ต่างกัน เช่น อาณาจักรทวารวดี อาณาจักรพุกาม และอาณาจักรหริภุญชัย จะนับถือนิกายเถรวาท ส่วนอาณาจักรศรีวิชัย นับถือนิกายมหายาน เป็นต้น ส�าหรับการนับถือพระพุทธศาสนาในประเทศไทยนั้นสามารถแบ่งออกได้เป็น ๔ ยุค ดังนี้

นักเรียนควรรู 1 ศาสนาพราหมณ - ฮินดู ศาสนาอินเดียโบราณที่เขามาเผยแผในดินแดน สุวรรณภูมิกอนพุทธกาล จนกระทั่งพัฒนามาเปนศาสนาฮินดูในปจจุบัน ดังจะเห็นไดจากสวนหนึ่งของวิถีชีวิตคนไทยที่มีการผสมกลมกลืนระหวางพิธีกรรม ของศาสนาฮินดูกับพระพุทธศาสนา เชน พระราชพิธีที่สําคัญของพระมหากษัตริย เปนตน 2 สุวรรณภูมิ แปลวา ดินแดนแหงทองคํา ซึ่งมิไดจะแปลความวา ดินแดน แหงนี้เต็มไปดวยทองคําหรือมีทองคํามาก หากมีนัยบงบอกวา เปนดินแดนที่ อุดมสมบูรณไปดวยทรัพยากรลํ้าคาตางๆ ประดุจมีทองคําอยูทั่วทุกพื้นที่

6

คูมือครู

บูรณาการเชื่อมสาระ

ครูสามารถนําเนื้อหาเกี่ยวกับการเผยแผพระพุทธศาสนาเขาสูประเทศไทย ในดินแดนสุวรรณภูมิมาบูรณาการเชื่อมโยงกับวิชาประวัติศาสตร เรื่อง สมัย กอนสุโขทัยในดินแดนไทย โดยใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมถึงพัฒนาการของ พระพุทธศาสนาในอาณาจักรโบราณตางๆ เชน อาณาจักรทวารวดี อาณาจักร หริภุญชัย อาณาจักรศรีวิชัย เปนตน เพื่อเสริมสรางความเขาใจในแงประวัติ ของพระพุทธศาสนาในดินแดนไทยมากขึ้น


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

Explain

ครูใหนักเรียนนําขอมูลที่ศึกษาคนความา นําเสนอหนาชั้นเรียน แลวใหเพื่อนในชั้นเรียน รวมกันอภิปรายถึงหลักฐานที่เกี่ยวเนื่องกับ พระพุทธศาสนาในยุคตางๆ (แนวตอบ หลักฐานที่เกี่ยวเนื่องกับพระพุทธศาสนา เชน ยุคเถรวาทสมัยพระเจาอโศกมหาราช เชน สถูป เจดีย ธรรมจักรศิลากวางหมอบ เปนตน ยุคมหายาน เชน พระโพธิสัตวอวโลกิเตศวร ทําดวยสําริด เจดียพระบรมธาตุไชยา เปนตน ยุคเถรวาทแบบพุกาม เชน เจดียวัดเจ็ดยอด เปนตน ยุคเถรวาทแบบลังกาวงศ เชน วัดมหาธาตุ วัดศรีชุม วรรณคดีเตภูมิกถา หรือไตรภูมิพระรวง เปนตน)

๒.1 ยุคเถรวาทสมัยพระเจ้าอโศกมหาราช ในรัชสมัยของพระเจ้าอโศกมหาราช กษัตริย์ผู้ยิ่งใหญ่ของอินเดียนั้น พระพุทธศาสนาได้ รับการท�านุบ�ารุงจนมีความเจริญรุ่งเรืองอย่างมาก พระราชกรณียกิจ ที่ส�าคัญประการหนึ่งของพระองค์คือ ทรงจัดให้มีการสังคายนา พระธรรมวิ นั ย ขึ้ น เป็ น ครั้ ง ที่ ๓ ซึ่ ง หลั ง จากเสร็ จ สิ้ น การ สั ง คายนาครั้ ง นี้ แ ล้ ว พระองค์ ไ ด้ ท รงส่ ง คณะสมณทู ต ให้ เดินทางไปเผยแผ่พระพุทธศาสนายั ง ดิ น แดนต่างๆ รวม ๙ สายด้วยกัน ในครั้งนั้นพระโสณเถระและพระอุตตรเถระ ได้เดินทางมาเผยแผ่พระพุทธศาสนายังดินแดนสุวรรณภูมิ ซึ่งรวมถึงดินแดนอันเป็นที่ตั้งของประเทศไทยในปัจจุบันด้วย การเข้ามาเผยแผ่พระพุทธศาสนาครั้งนี้สันนิษฐานว่าเกิดก่อนป พ.ศ. ๕๐๐ โดยสังเกตจากหลักฐานต่างๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับ พระพุทธศาสนา อาทิ สถูป เจดีย์ ธรรมจักรศิลากวางหมอบ พระพุทธรูปที่ปรากฏในดินแดนแถบนี้ล้วนเป็นศิลปกรรม ธรรมจักรกับกวางหมอบ สัญลักษณ์ อินเดียสมัยพระเจ้าอโศกมหาราชทั้งสิ้น ส�าหรับอาณาจักร แสดงถึงเหตุการณ์ปฐมเทศนาธรรมจักร แรกในดินแดนทีเ่ ป็นทีต่ งั้ ของประเทศไทยปัจจุบนั ทีร่ บั อิทธิพล กัปปวัตตนสูตร ของพระพุทธศาสนา คือ อาณาจักรทวารวดี (สันนิษฐานว่ามีศนู ย์กลาง อยูบ่ ริเวณภาคกลางของประเทศไทยในปัจจุบนั ) โดยนับถือพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท และอาณาจักรทวารวดีนี้เองก็ได้เผยแผ่ พระพุทธศาสนาแบบเถรวาทไปยังดินแดนใกล้เคียงอีกด้วย

๒.๒ ยุคมหายาน

ประมาณ พ.ศ. ๑๓๐๐ อาณาจักรศรีวชิ ยั เรืองอ�านาจมาก มีอทิ ธิพลครอบคลุมพืน้ ทีท่ างคาบสมุทรตอนใต้ ตลอดจนหมู่เกาะ ชวาและสุมาตรา (ของประเทศอินโดนีเซียในปัจจุบนั ) ทัง้ นีก้ ษัตริย์ ศรีวชิ ยั นับถือพระพุทธศาสนานิกายมหายาน จึงท�าให้บริเวณ ภาคใต้ของไทยที่เป็นพื้นที่อยู่ในอาณาจักรของพระองค์ต่าง นับถือนิกายมหายานตามไปด้ พระโพธิสตั ว์อวโลกิเตศวรส�าริดหลักฐาน 1 วย โดยมีหลักฐานต่างๆ อาทิ พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรท�าด้วยส�าริด เจดีย์พระบรมธาตุไชยา แสดงการนับถือพระพุทธศาสนานิกาย มหายาน ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นต้น http://www.aksorn.com/LC/Rel/M1/02

EB GUIDE

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

พระเจาอโศกมหาราชทรงสรางคุณประโยชนมหาศาลใหแกพระพุทธศาสนาดานใดมากที่สุด 1. การเผยแผพระพุทธศาสนา 2. การสรางพระประจําวันเกิด 3. การปราบปรามพวกมารศาสนา 4. การใหเสรีภาพในการนับถือศาสนา

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 1. เพราะหลังการทําสังคายนาพระธรรม วินัยครั้งที่ 3 สิ้นสุดลง พระเจาอโศกมหาราชไดทรงสงคณะสมณทูตออก ไปเผยแผพระพุทธศาสนายังดินแดนตางๆ 9 สายดวยกัน

นักเรียนควรรู 1 พระโพธิสัตวอวโลกิเตศวร ศิลปะศรีวิชัยในพุทธศตวรรษที่ 13 - 18 คนพบที่ วัดพระบรมธาตุไชยาราชวรวิหาร จังหวัดสุราษฎรธานี ในสภาพชํารุดเหลือเพียง ครึ่งองค ซึ่งพระนามของพระองคนั้น มีความหมายวา พระผูเปนใหญในการ ทัศนาโลก และเปนผูปลดเปลื้องทุกขแกสรรพสัตว ทั้งนี้ ตามความเชื่อของ พระพุทธศาสนานิกายมหายาน นิยมสรางรูปพระโพธิสัตวอวโลกิเตศวรเปนที่เคารพ บูชา เพราะเชื่อกันวาพระองคเปนผูชวยเหลือ ผูใหแสงสวาง และผูสอนพระธรรม

คูมือครู

7


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูนําสารคดีหรือภาพโบราณสถานเกี่ยวกับ อาณาจักรพุกามมาใหนักเรียนดู และอภิปราย ถึงลักษณะเดน 2. นักเรียนอภิปรายถึงการเขามาของพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทในประเทศไทย และให นักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับความแตกตาง ระหวางพระพุทธศาสนานิกายมหายานและ นิกายเถรวาท

ต่อมาประมาณ พ.ศ. ๑๕๕๐ กษัตริย์กัมพูชาราชวงศ์สุริยวรมัน ผู้ทรงนับถือพระพุทธศาสนานิกายมหายาน เรืองอ�านาจ และได้แผ่ขยายอาณาเขตลงมายังอาณาจักรละโว้ (ลพบุรี) ซึ่ ง นั บ ถื อ พระพุทธศาสนานิกายเถรวาทและศาสนาพราหมณ์ กันมาแต่เดิม จึงท�าให้ชมุ ชน บริเวณนี้นับถือพระพุทธศาสนาทั้ง ๒ นิกาย ตลอดจนศาสนาพราหมณ์ด้วย หลัก ฐานส�าคัญทางโบราณคดีที่แ สดงการนับ ถือ พระพุทธศาสนา นิกายมหายานในบริเวณนี้ อาทิ พระปรางค์องค์ใหญ่วดั พระศรีรตั นมหาธาตุ และพระปรางค์สามยอด ในจังหวัดลพบุรี

๒.๓ ยุคเถรวาทแบบพุกาม ประมาณ พ.ศ. ๑๖๐๐ พระเจ้ า อนุ รุ ท ธมหาราช มหากษั ต ริ ย ์ ผู ้ ท รงอิ ท ธิ พ ลของ อาณาจักรพุกาม ได้แผ่ขยายอ�านาจเข้ามา ครอบครองอาณาจัก รต่างๆ ทางตอนเหนือ ของไทย จึงท�าให้พระพุทธศาสนาแบบเถรวาท เจดี ย ์ วั ด เจ็ ด ยอด จั ง หวั ด เชี ย งใหม่ หลั ก ฐานแสดง เฟืองฟูขึ้นในดินแดนแถบนี้ โดยเรียกว่าเป็น การนับถือพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทแบบพุกามใน “นิกายเถรวาทแบบพุกาม” หลักฐานส�าคัญทาง ประเทศไทย โบราณคดีที่พบในดินแดนแถบนี ้ที่เป็นตัวอย่าง 1 ได้แก่ เจดีย์วัดเจ็ดยอด จังหวัดเชียงใหม่ ที่สร้างเลียนแบบเจดีย์พุทธคยาในอินเดีย เป็นต้น

๒.๔ ยุคเถรวาทแบบลังกาวงศ

ใน พ.ศ. ๑๖๙๖ พระเจ้าปรากรมพาหุมหาราช กษัตริย์ลังกา ได้ทรงท�านุบ�ารุงพระพุทธศาสนาโดยรวมพระสงฆ์เป็นนิกายเดียว และโปรดให้มีการสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ ๗ ขึ้น ท�าให้พระพุทธศาสนาเจริญรุง่ เรืองมากทัง้ ด้านการศึกษาและปฏิบตั ิ พระสงฆ์จากประเทศต่างๆ จึง เข้าไปศึกษาพระธรรมวินัยเพื่อน�ากลับไปเผยแผ่ในประเทศของตน ส�าหรับประเทศไทย พระพุทธศาสนาแบบลังกาวงศ์นี้เป็นแบบที่นับถือกันมาเป็นศาสนา ประจ�าชาติจนปัจจุบัน ซึ่งสามารถแบ่งย่อยเป็นสมัยต่างๆ ได้ดังนี้ ๑) สมัยสุโขทัย พระพุทธศาสนานิกายเถรวาทแบบลังกาวงศ์เฟืองฟูมากใน เมืองนครศรีธรรมราช จนเมื่อ พ.ศ. ๑๘๒๐ พ่อขุนรามค�าแหงมหาราชทรงทราบว่าพระสงฆ์ใน เมืองนครศรีธรรมราชมีวัตรปฏิบัติเคร่งครัดในพระธรรมวินัยน่าเคารพเลื่อมใส จึงโปรดเกล้าฯ ให้นิมนต์สมเด็จพระมหาเถรสังฆราชจากนครศรีธรรมราชขึ้นมาเทศนาสั่งสอนประชาชนที่ กรุงสุโขทัย โดยโปรดเกล้าฯ ให้พ�านักที่วัดอรัญญิก ปรากฏว่าพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทแบบ ลังกาวงศ์นี้เป็นที่เคารพนับถือของชาวสุโขทัยเป็นอย่างยิ่ง และลัทธิมหายานก็ได้เสื่อมสูญไป

นักเรียนควรรู 1 เจดียพุทธคยา สถานที่ตรัสรูของพระพุทธเจา ในสมัยพุทธกาล ตั้งอยูใน ดินแดนที่เรียกวา ชมพูทวีป หมูบานนิคมชื่อวา อุรุเวลาเสนานิคม ในแควนมคธ อันเปนสถานที่รมรื่นเหมาะแกการบําเพ็ญเพียรทางจิต ปจจุบันพุทธคยาตั้งอยูใน อําเภอคยา รัฐพิหาร ประเทศอินเดีย มีสัญลักษณที่สําคัญ คือ องคเจดียสี่เหลี่ยม ที่สูงถึง 51 เมตร ฐานวัดโดยรอบได 120 เมตร ลอมรอบดวยโบราณวัตถุ โบราณสถาน เชน ตนพระศรีมหาโพธิ์ พระแทนวัชรอาสน ที่ประทับตรัสรู เปนตน ทั้งนี้ พุทธคยา ยังมีอีกชื่อหนึ่งวา “วัดมหาโพธิ์” และใน พ.ศ. 2545 เปนสถานที่ที่ไดรับการยกยอง จากองคการยูเนสโกใหเปนมรดกโลก ประเภทมรดกทางวัฒนธรรม

8

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

พระพุทธศาสนาที่คนไทยนับถือเปนศาสนาประจําชาติในปจจุบัน เรียกวา พระพุทธศาสนาแบบใด 1. แบบพุกาม 2. แบบมหายาน 3. แบบสยามวงศ 4. แบบลังกาวงศ

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 4. เนื่องจากไดรับอิทธิพลและรูปแบบการ นับถือศาสนามาจากประเทศลังกา นับตั้งแตพุทธศตวรรษที่ 17


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

1. นักเรียนอภิปรายถึงสถานการณของพระพุทธศาสนาแบบลังกาวงศในประเทศไทย นับตั้งแต สมัยสุโขทัยจนถึงสมัยรัตนโกสินทร และให ตัวแทนนักเรียนออกมาเขียนผังความคิดลําดับ เหตุการณการเผยแผพระพุทธศาสนาแบบ ลังกาวงศในประเทศไทยบนกระดาน โดยให เพื่อนในชั้นเรียนรวมกันอภิปราย 2. ครูใหนักเรียนชวยกันวิเคราะหวา • การนับถือศาสนาของกษัตริยมีอิทธิพลตอ ความเจริญรุงเรืองของศาสนานั้นๆ หรือไม อยางไร (แนวตอบ ครูเปดโอกาสใหนักเรียนแสดง ความคิดเห็นไดอยางหลากหลายบนพื้นฐาน ของความมีเหตุผล โดยครูอาจยกตัวอยาง การนับถือพระพุทธศาสนาของ พระมหากษัตริยไทยประกอบคําอธิบาย)

วัดมหาธาตุ วัดเก่าแก่ที่พระยาเลอไทย กษัตริย์สุโขทัยทรงบูรณปฏิสังขรณ์ขึ้น มีรูปแบบสถาปัตยกรรมแบบสุโขทัยอย่าง ชัดเจน แสดงถึงการนับถือพระพุทธศาสนาแบบลังกาของอาณาจักรสุโขทัย

โดยในสมัยสุโขทัยมีหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ทแี่ สดงถึงการนับถือพระพุทธศาสนา แบบเถรวาทมากมาย อาทิ วัดมหาธาตุ วัดศรีชุม ตลอดจนวรรณคดีพระพุทธศาสนาที่ส�าคัญ มากของไทยเรื่องเตภูมิกถาหรือไตรภูมิพระร่วงก็ก�าเนิดขึ้นในสมัยนี้โดยเป็นบทพระราชนิพนธ์ ของพระยาลิไทย กษัตริย์ของสุโขทัย องค์ที่ ๖ ๒) สมัยล้านนา เมื่อ พ.ศ. ๑๙๑๓ พระเจ้ากือนา กษั1 ตริย์ล้านนาได้ส่งพระราชทูต มาอาราธนาพระสังฆราชสุมนเถระจากพระยาลิไทยขึ้นไปยังล้านนา อันเป็นการเริ่มต้นพระพุทธศาสนาแบบลังกาวงศ์ในดินแดนภาคเหนือของไทยตั้งแต่บัดนั้น สมัยอาณาจักรล้านนานี้ได้มีการสังคายนาครั้งที่ ๘ ขึ้นในสมัยพระเจ้าติโลกราช นอกจากนี้มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ต่างๆ อีกมากมาย2 อาทิ วัดเชีย3งมั่น พระธาตุดอยสุเทพ เ นต้น และเกิดวรรณคดีทางพระพุทธศาสนา อาทิ มังคลัตถทีปนี จักรวาฬทีปนี เป็ ๓) สมัยอยุธยา อาณาจักรอยุธยามีอาณาเขตอยู่ใกล้กับอาณาจักรสุโขทัยที่เป็น ศูนย์กลางทางพระพุทธศาสนาในดินแดนสุวรรณภูมิ ท�าให้อาณาจักรอยุธยาได้มีการรับอิทธิพล การนับถือพระพุทธศาสนาตามอย่างอาณาจักรสุโขทัย กล่าวคือ นับถือพระพุทธศาสนานิกาย เถรวาทแบบลังกาวงศ์เป็นศาสนาประจ�าอาณาจักร ในยุคนี้พระสงฆ์ไทยได้เดินทางไปศึกษา พระพุทธศาสนาที่ลังกาหลายครั้ง จนประมาณป พ.ศ. ๒๒๙๖ พระพุทธศาสนาในลังกาเสื่อมลง http://www.aksorn.com/LC/Rel/M1/03

EB GUIDE

กิจกรรมสรางเสริม ครูใหนักเรียนสืบคนบทบาทของกษัตริยที่มีอิทธิพลตอความเจริญรุงเรือง ของพระพุทธศาสนาในประเทศเพื่อนบาน

กิจกรรมทาทาย ครูใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับวรรณคดีทางพระพุทธศาสนาใน สมัยสุโขทัย สมัยลานนา สมัยอยุธยา แลวอธิบายวาวรรณคดีเรื่องดังกลาว มีความเกี่ยวของกับพระพุทธศาสนาอยางไร

Explain

นักเรียนควรรู 1 ลานนา พระเจากือนาไดสรางวัดบุปผาราม หรือวัดสวนดอก ที่เมืองเชียงใหม สําหรับเปนที่จําพรรษาของพระสุมนเถระ 2 มังคลัตถทีปนี คัมภีรทางพระพุทธศาสนาที่อธิบายมงคล 38 ประการ ในมงคลสูตร โดยรวบรวมคําอธิบายจากอรรถกถา ฎีกา อนุฎีกาตางๆ พรอมทั้ง มีคําบรรยายเพิ่มเติมที่แตงโดยพระสิริมังคลาจารย เมื่อ พ.ศ. 2067 3 จักรวาฬทีปนี คัมภีรทางพระพุทธศาสนาที่อธิบายถึงการกําเนิดจักรวาลและ รวบรวมคําอธิบายตางๆ เกี่ยวกับจักรวาลที่ปรากฏในพระไตรปฎก อรรถกถา ฎีกา อนุฎีกา โยชนา และปกรณตางๆ ซึ่งแตงโดยพระสิริมังคลาจารย เมื่อ พ.ศ. 2063

คูมือครู

9


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

ใหนักเรียนดูภาพโบราณสถานโบราณวัตถุ ที่แสดงถึงความเจริญรุงเรืองของพระพุทธศาสนาใน สมัยอยุธยา พรอมทั้งใหนักเรียนรวมกันแสดงความ คิดเห็นเกี่ยวกับความสวยงาม ความสําคัญ คุณคา และการอนุรักษสถานที่เหลานั้นเพื่อเปนมรดกของ ชาติตอไป

มากแทบสิ้นสมณวงศ์ กษัตริย์ลังกาจึงส่งคณะทูตมายังกรุงศรีอยุธยา ขอให้พระสงฆ์ไทย ไปอุ ป สมบทให้ แ ก่ กุ ล บุ ต รชาวสิ ง หล สมเด็ จ พระเจ้ า บรมโกศตอบรั บ พระราชไมตรี โดย ส่ ง พระอุ บ าลี กั บ พระอริ ย มุ นี พร้ อ มด้ ว ย คณะสงฆ์อีก ๑๕ รูป เดินทางไปลังกา ครั้งนั้น พระสงฆ์ ไ ทยได้ ช ่ ว ยกั น วางรากฐานและ ประดิษฐานพระพุทธศาสนาในลังกาจนมั่นคง ท�าให้เกิดเป็นนิกายเรียกว่า “อุบาลีวงศ์หรือ สยามวงศ์” อันเป็นคณะสงฆ์ใหญ่ที่สุดในลังกา มาจนตราบทุกวันนี้ ในสมัยอยุธยานี้มีการสร้างวัดส�าคัญ ทางพระพุทธศาสนาหลายวัด เช่น วัดพระศรีสรรเพชญ์ วั ด หน้ า พระเมรุ วั ด ราชบู ร ณะ พระประธานวัดหน้าพระเมรุ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็น รวมทั้ ง เกิ ด วรรณคดี พ ระพุ ท ธศาสนาที่ ส� า คั ญ 1 พระพุทธรูปทรงเครื่องสมัยอยุธยาตอนปลายที่มีลักษณะ งดงามมากที่สุดองค์หนึ่ง ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงความเจริญ หลายเรื่อง อาทิ มหาชาติค�าหลวง พระมาลัย รุง่ เรืองทางด้านพระพุทธศาสนาในสมัยอยุธยาได้เป็นอย่างดี ค� า หลวง กาพย์ ม หาชาติ นั น โทปนั น ทสู ต ร เป็นต้น

วัดพระศรีสรรเพชญ์ เป็นวัดในวังหลวงที่ไม่มีพระสงฆ์จ�าพรรษา สร้างในสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ราชวงศ์ สุพรรณภูมิ แห่งอาณาจักรอยุธยา

10

เกร็ดแนะครู ครูอาจพานักเรียนไปทัศนศึกษาที่วัดหรือสถานที่สําคัญของพระพุทธศาสนา ในทองถิ่นหรือจังหวัดใกลเคียง เพื่อศึกษาประวัติความเปนมา ลักษณะทาง สถาปตยกรรม และรองรอยความเจริญรุงเรืองของพระพุทธศาสนา

นักเรียนควรรู 1 มหาชาติคําหลวง หนังสือมหาชาติภาษาไทยที่เปนคําหลวงเรื่องแรกของไทย มีนักปราชญชวยกันแตงตามพระบรมราชโองการของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ เมื่อ พ.ศ. 2025 โดยใชคําประพันธหลายประเภท คือ โคลง ฉันท กาพย กลอน และราย มีเนื้อหาเกี่ยวกับศีลธรรมและศาสนา ซึ่งมหาชาติคําหลวงใชอานหรือสวด ในวันสําคัญทางพระพุทธศาสนาตางๆ เชน วันเขาพรรษา เปนตน

10

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ขอใดมีความสัมพันธกับหลักฐานของพระพุทธศาสนานิกายมหายาน 1. จักรวาฬทีปนี 2. เจดียวัดเจ็ดยอด 3. พระโพธิสัตวอวโลกิเตศวร 4. ธรรมจักรศิลากวางหมอบ วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 3. ตามความเชื่อของพระพุทธศาสนา นิกาย ยุคมหายาน นิยมสรางพระโพธิสัตวอวโลกิเตศวรเปนที่เคารพบูชา เพื่อให พระองคเปนผูชวยเหลือ ใหแสงสวางแกชีวิต ในประเทศไทยขุดพบแถบ ภาคใต ณ วัดพระบรมธาตุไชยาฯ จังหวัดสุราษฎรธานี นับเปน พระโพธิสัตวอวโลกิเตศวรองคสําคัญในสมัยศรีวิชัย ที่ไดรับอิทธิพลจาก พระพุทธศาสนานิกายมหายาน


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

Explain

1. ครูสนทนาถึงความเสื่อมโทรมของพระพุทธศาสนา หลังการเสียกรุงครั้งที่ 2 และ ตั้งคําถามใหนักเรียนชวยกันอภิปราย • ในสมัยธนบุรี สมเด็จพระเจาตากสิน มหาราชทรงฟนฟูพระพุทธศาสนา อยางไรบาง (แนวตอบ หลังจากที่สมเด็จพระเจาตากสิน มหาราชสถาปนากรุงธนบุรีขึ้น พระองค ทรงโปรดเกลาฯ ใหคัดเลือกพระสงฆที่ทรง คุณสมบัติขึ้นเปนสังฆราช โปรดเกลาฯให ขอยืมพระไตรปฎกสยามวงศมาคัดลอก ใหเปนตนฉบับหลวง เพื่อรักษาหลักธรรมไว และยังทรงปฏิสังขรณพระอารามสําคัญ ตางๆ เชน วัดบางวาใหญ วัดบางยี่เรือใต วัดแจง เปนตน) 2. ใหนักเรียนดูภาพวัดอรุณฯ แลวบรรยายความ รูสึกและรวมกันอภิปรายถึงความงดงามคุณคา และความสําคัญของสถานที่ดังกลาว

๔) สมัยธนบุรี เมื่อสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชสถาปนากรุงธนบุรีขึ้น ได้ทรง

ฟื้นฟูพระพุทธศาสนาทีเ่ สือ่ มโทรมไปเพราะสงครามคราวเสียกรุงครั้งที่ ๒ เป็นการใหญ่ พระสงฆ์ ที่กระจัดกระจายไปเพราะภัยสงคราม ก็ได้รับอาราธนามาอยู่ในพระอารามต่างๆ นอกจากนี้ พระองค์ได้ทรงโปรดเกล้าฯ ให้รวบรวมพระสงฆ์ที่ทรงคุณธรรมจากทั่วประเทศให้มาประชุมกันที่ วัดบางว้าใหญ่ (วัดระฆังโฆสิตารามในปัจจุบัน) เพื่อคัดเลือกพระสงฆ์ที่ทรงคุณสมบัติขึ้นเป็น สังฆราช ซึง่ ครัง้ นัน้ มีมติให้พระอาจารย์ศรี วัดประดู่แห่งกรุงศรีอยุธยา เป็นสมเด็จพระสังฆราช องค์แรกของกรุงธนบุรี เพื่อรับผิดชอบการปกครองดูแลคณะสงฆ์และฟื้นฟูพระพุทธศาสนาให้ กลับคืนสู่ความรุ่งเรืองดังเดิม นอกจากนี้ ยังโปรดเกล้าฯ ให้ขอยืมพระไตรปิฎกสยามวงศ์ฉบับสมบูรณ์จาก หัวเมืองทางเหนือและเมืองนครศรีธรรมราชมาคัดลอกให้เป็นต้นฉบับหลวง เพื่อรักษาหลักธรรม ไว้ให้มนั่ คง สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชยังทรงปฏิสังขรณ์พระอารามส�าคัญและโปรดเกล้าฯ ให้สมโภชวัดพระมหาธาตุเมืองนครศรีธรรมราชให้เป็นศูนย์กลางพระพุทธศาสนาในภาคใต้ ตลอดจนทรงสร้างวัดบางยี่เรือเหนือ (วัดราชคฤห์) ส่วนวัดที่ทรงปฏิสังขรณ์ คือ วัดบางว้าใหญ่ (วัดระฆังโฆสิตาราม) วัดแจ้ง (วัดอรุณราชวราราม) วัดบางยี่เรือใต้ (วัดอินทาราม) และวัดหงส์รัตนาราม

1

วัดอรุณราชวราราม หรือเดิมชื่อวัดแจ้ง ได้รับการปฏิสังขรณ์มาตั้งแต่สมัยสมเ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช

11

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

สมเด็จพระเจาตากสินมหาราชทรงสนพระทัยฟนฟูพระพุทธศาสนา อยางไร

แนวตอบ พระองคทรงฟนฟูพระพุทธศาสนาดวยการคัดเลือกพระสงฆ ที่ทรงคุณสมบัติขึ้นเปนสังฆราช เพื่อรับผิดชอบการปกครองดูแลคณะสงฆ นอกจากนี้ยังแสวงหาพระไตรปฎก เพื่อนํามาคัดลอกไวที่กรุงธนบุรีเปน ฉบับหลวง และทรงปฏิสังขรณวัดอรุณราชวราราม วัดบางวาใหญ วัดหงส รัตนาราม ตลอดจนสรางวัดบางยี่เรือเหนือ (วัดราชคฤห)

นักเรียนควรรู 1 วัดอรุณราชวราราม วัดโบราณที่สรางในสมัยอยุธยา แตเดิมนั้นชื่อวัดมะกอก และไดเปลี่ยนชื่อเปนวัดแจงในสมัยสมเด็จพระเจาตากสินมหาราช และเปลี่ยน ชื่อเปนวัดอรุณราชวรารามในสมัยรัชกาลที่ 4 ภายในวัดมีพระปรางคที่มีความ สวยงาม ประดับดวยเครื่องถวยชามสีตางๆ

มุม IT ศึกษาคนควาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับศาสนสถานที่สําคัญสมัยกรุงธนบุรี ไดที่ http://www.wangdermpalace.org

คูมือครู

11


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

ใหนักเรียนดูตารางเหตุการณทางดานพระพุทธ ศาสนาที่สําคัญจากหนังสือเรียนหนา 12 และให นักเรียนสรุปพระราชกรณียกิจสําคัญของพระมหากษัตริยสมัยรัตนโกสินทรที่มีตอพระพุทธศาสนาใน แตละรัชสมัย (แนวตอบ - รัชกาลที่ 1 ทรงสรางวัด พระศรีรัตนศาสดาราม - รัชกาลที่ 2 ทรงฟนฟูประเพณีวิสาขบูชา - รัชกาลที่ 3 โปรดเกลาฯ ใหราชบัณฑิตแตง และจารึกสรรพวิทยาไวที่ วัดพระเชตุพนฯ - รัชกาลที่ 4 โปรดเกลาฯ ใหมีพิธีมาฆบูชา - รัชกาลที่ 5 ทรงวางรูปแบบการศึกษา คณะสงฆ - รัชกาลที่ 6 โปรดเกลาฯ ใหเปลี่ยน ร.ศ. เปน พ.ศ. - รัชกาลที่ 7 โปรดเกลาฯ ใหจัดพิมพ พระไตรปฎกฉบับสยามรัฐ - รัชกาลที่ 8 มีการแปลพระไตรปฎกเปน สํานวนเทศนา เรียกวา “พระไตรปฎกเทศนาฉบับหลวง” - รัชกาลที่ 9 มีการบัญญัติกฎหมายคณะสงฆ พ.ศ. 2505 และกําหนดใหสมเด็จ พระสังฆราชเปนประมุขฝาย พุทธจักร)

๕) สมัยรัตนโกสินทร์ รัชสมัย

เหตุการณ์ทางด้านพระพุทธศาสนาที่ส�าคัญ

พระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟ้าจุฬา โลกมหาราช (ร.๑)

ทรงสร้างวัดพระศรีรัตนศาสดาราม และทรงปฏิสังขรณ์วัดสุทัศนเทพวราราม โปรดเกล้าฯ ให้สังคายนาครั้งที่ ๙ มีการแต่งและแปลคัมภีร์ทาง พระพุทธศาสนา เช่น ไตรภูมิโลกวินิจฉัยกถา รัตนพิมพวงศ์ สังคีติยวงศ์ มหาวงศ์ เป็นต้น

พระบาทสมเด็จ พระพุทธเลิศหล้า นภาลัย (ร.๒)

ทรงฟื้นฟูประเพณีวิสาขบูชา ทรงส่งพระสงฆ์ไปสืบพระพุทธศาสนายัง ลังกา ทรงสร้างพระวิหารหลวงวัดสุทัศน์ฯ ทรงสลักบานประตูไม้ประดับ พระวิหาร ทรงให้หล่อพอกพระเศียรและต่อนิ้วพระหัตถ์พระศรีศากยมุนี ซึ่งเดิมสั้นยาวไม่เท่ากัน ให้ยาวเสมอกัน

พระบาทสมเด็จ พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร.๓)

โปรดเกล้าฯ ให้ราชบัณฑิตแต่งและจารึกสรรพวิทยาและทรงให้สร้าง พระนอน ยาว ๔๙ เมตร ไว้ที่วัดพระเชตุพนฯ มีการแต่งวรรณคดี พระพุทธศาสนา เช่น ร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดก ปฐมสมโพธิกถา สรรพสิทธิ์ค�าฉันท์ โปรดเกล้าฯ ให้ชะลอพระพุทธชินสีห์จากพิษณุโลก มาประดิษฐานที่วัดบวรนิเวศวิหาร

พระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว (ร.๔)

เมื่อยังทรงเป็นเจ้าฟ้ามงกุฎ ทรงผนวชเป็นภิกษุ ทรงมีพระฉายานามว่า “วชิ ร ญาโณ” ทรงเลื่ อ มใสในวั ต รปฏิ บั ติ ข องพระรามั ญ วงศ์ จึ ง ทรง อุปสมบทใหม่ ภายหลังมีผู้บวชตามมาก จึงทรงตั้งเป็นนิกายใหม่เรียก ว่า ธรรมยุติกนิกาย ทรงคิดสร้างพระพุทธรูปที่มีพุทธลักษณะใกล้เคียงกับ มนุษย์มากขึ้น เช่น พระนิรันตราย โปรดเกล้าฯ ให้มีพิธีมาฆบูชาขึ้นเป็น ครั้งแรก

พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้า เจ้าอยูห่ วั (ร.๕)

ทรงวางรูปแบบการศึกษาคณะสงฆ์ใหม่เป็นแผนกนักธรรมและแผนกบาลี ทรงสถาปนาสถาบันการศึกษาสงฆ์ขนั้ สูง คือ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย ส�าหรับให้การศึกษาคณะสงฆ์มหานิกาย และมหาวิทยาลัย มหามกุฏราชวิทยาลัย ส�าหรับคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย ทรงให้จัดพิมพ์ พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย แทนการจารลงในใบลานเป็นครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๑

พระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัว (ร.๖)

ทรงพระราชนิพนธ์วรรณคดีพระพุทธศาสนา เช่น พระพุทธเจ้าตรัสรู้อะไร มงคลสู ต รค� า ฉั น ท์ จดหมายเหตุ เ รื่ อ งพระภิ ก ษุ ดู ฟุ ต บอล เป็ น ต้ น โปรดเกล้าฯ ให้เปลีย่ น ร.ศ. (รัตนโกสินทร์ศก) เป็น พ.ศ. เพือ่ ยกย่องพระพุทธศาสนา ทรงปฏิสังขรณ์และพระราชทานนามพระพุทธรูปยืนที่พบที่เมือง ศรีสัชนาลัยว่า พระร่วงโรจนฤทธิ์

พระบาทสมเด็จ พระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว (ร.๗)

ทรงผนวชและทรงจ�าพรรษาที่วัดบวรนิเวศวิหาร โดยทรงมีพระฉายานาม ว่า “ปชาธิโป” โปรดเกล้าฯ ให้จัดพิมพ์พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ และทรง ให้มีการจัดประกวดหนังสือสอนพระพุทธศาสนาส�าหรับเยาวชน

พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว อานันทมหิดล (ร.๘)

มีการแปลพระไตรปิฎกเป็นส�านวนธรรมดาและส�านวนเทศนา เรียกว่า พระไตรปิ ฎ กเทศนาฉบั บ หลวง มี ก ารออกพระราชบั ญ ญั ติ ค ณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๔๘๔ ซึ่งแบ่งการปกครองคณะสงฆ์เป็นประชาธิปไตยตามแบบ การปกครองประเทศ

พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชมหาราช (ร.๙)

ทรงออกผนวช โดยมีพระฉายานามว่า “ภูมิพโล” มีการบัญญัติกฎหมาย คณะสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๐๕ ก�าหนดให้สมเด็จพระสังฆราชเป็นประมุขฝาย พุทธจักร มีการสร้างวัดไทยขึ้นในต่างประเทศ และประเทศไทยกลายเป็น ศูนย์กลางในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของโลก

1

2

ตัวอย่างผลงานส�าคัญในรัชสมัย วัดพระเชตุพน วิมลมังคลาราม

วัดอรุณราช วราราม

วัดราชโอรสาราม

วัดราชประดิษฐ สถิตมหาสีมาราม

วัดเบญจมบพิตร ดุสิตวนาราม

พระร่วงโรจนฤทธิ์

พระไตรปิฎก ฉบับสยามรัฐ

พระไตรปิฎก เทศนาฉบับ หลวง วัดพระรามเก้า วัดที่สร้างขึ้นตาม แนวพระราชด�าริ เศรษฐกิจพอเพียง

1๒

นักเรียนควรรู 1 บานประตูไมประดับพระวิหาร บานประตูของพระวิหารพระศรีศากยมุนีเปน รูปภูเขาตนไม มีถํ้าคูหา และรูปสัตวตางๆ ซึ่งรัชกาลที่ 2 ทรงมีพระราชดําริให ชางเขียนเสนลายประตู และพระองคทรงแกะสลักลายประตูดวยพระองคเอง ซึ่งถือเปนงานแกะสลักไมที่มีความประณีตสวยงาม และมีคุณคาอยางมาก ปจจุบัน เก็บรักษาไวที่พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระนคร 2 ร.ศ. (รัตนโกสินทรศก) เริ่มนับปที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ทรงสถาปนากรุงเทพมหานครขึน้ เปนราชธานีแหงใหมของราชอาณาจักรไทย เมื่อ พ.ศ. 2325 เปนรัตนโกสินทรศกที่ 1 ทั้งนี้ไทยเริ่มใชการนับศักราชแบบ รัตนโกสินทรศกใน พ.ศ. 2432 กลางรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห วั และเลิกใชเมื่อ พ.ศ. 2455 ตอนตนรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว

12

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

เหตุผลที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว โปรดเกลาฯ ให เปลี่ยนการนับศักราชจาก ร.ศ. มาเปน พ.ศ. คืออะไร 1. คณะสงฆทูลใหทรงเปลี่ยนแปลง 2. ร.ศ. ใชมาเปนระยะเวลานานแลว 3. จะไดเทียบกับเวลาสากลไดสะดวก 4. ทรงยกยองพระพุทธศาสนาเปนศาสนาของชาติไทย วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 4. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว โปรดเกลาฯ ใหเปลี่ยนการนับศักราชจาก ร.ศ. มาเปน พ.ศ. เพื่อยกยอง พระพุทธศาสนา ซึ่ง พ.ศ. คือ พุทธศักราช เปนศักราชทางพระพุทธศาสนา โดยไทยเริ่มนับพุทธศักราชที่ 1 (พ.ศ. 1) เมื่อพระพุทธเจาเสด็จดับขันธปรินิพพานไปแลว 1 ป


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ขยายความเขาใจ

àÊÃÔÁÊÒÃÐ

1. ครูนําขาวเกี่ยวกับเหตุการณสําคัญ ทางพระพุทธศาสนาในปจจุบันมาเลาให นักเรียนฟง 2. ใหนักเรียนวิเคราะหวา • ความเจริญรุงเรืองของพระพุทธศาสนามี ผลตอความสุขของคนในสังคมหรือไม อยางไร (แนวตอบ เปดโอกาสใหนักเรียนแสดงความ คิดเห็นไดอยางหลากหลายโดยอยู บนพื้นฐานของความมีเหตุผล) 3. ใหนักเรียนเขียนเรียงความในหัวขอ “พระมหากษัตริยไทยกับพระพุทธศาสนา” ลงในกระดาษ A4 สงครูผูสอน

à˵ءÒó ÊíÒ¤ÑÞ·Ò§ ¾Ãоط¸ÈÒʹÒã¹»˜¨¨ØºÑ¹

ในรัชกาลปัจจุบัน กิจการเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาเจริญรุ่งเรืองเป็นอย่างมาก นอกเหนือจาก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะทรงน�าหลักธรรมทาง พระพุทธศาสนามาดูแลพสกนิกรแล้ว ยังทรงประพฤติ พระองค์เป็นแบบอย่างของชาวพุทธที่ดี อาทิ ทรง บ�าเพ็ญพระราชกุศลตามขัตติยราชประเพณีและใน วันส�าคัญต่างๆ ทางพระพุทธศาสนา พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู ่ หั ว รั ช กาลปั จ จุ บั น กั บ การท�านุบา� รุงพระพุทธศาสนา

ตรวจสอบผล

เส้นเวลา

แสดงเหตุการณสาํ คัญเกีย ่ วกับพระพุทธศาสนาในรัชกาลปจจุบน ั

พ.ศ. ๒๕๔๕

๒๕ ๔๕

๒๕

ทีป่ ระชุมชาวพุทธนานาชาติเนือ่ งในวัน วิสาขบูชาโลก มีมติให้พทุ ธมณฑลเป็น ศูนย์กลางของพระพุทธศาสนาของโลก

พ.ศ. ๒๕๔๘

พ.ศ. ๒๕0๘

องค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก (พ.ส.ล.) จัดตัง้ ส�านักงานใหญ่ขนึ้ เป็นการ ถาวรทีก่ รุงเทพมหานคร

๒๕ ๕๐

พ.ศ. ๒๕0๙

๑๐

จัดตั้งส�านักงานพระพุทธศาสนา แห่งชาติ ท�าหน้าที่ส่งเสริมกิจการ พระพุทธศาสนาของชาติ

พ.ศ. ๒๕0๕

ประกาศใช้ ประกาศใช้ พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พระราชบัญญัติคณะสงฆ์

Evaluate

ตรวจผลงานการเขียนเรียงความ โดยพิจารณา จากความถูกตองของขอมูล และรูปแบบของการ เขียนเรียงความ

มีการสร้างวัดไทยในต่ 1 างประเทศเป็นครั้งแรก คือ วัดไทยพุทธคยา ประเทศอินเดีย

จัดตัง้ โรงเรียนสอนพระพุทธศาสนา ปัจจุบันพัฒนาเป็นศูนย์ศึกษา พระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ (ศพอ.)

๒๕ ๐๕

พ.ศ. ๒๕01

พ.ศ. ๒๕00

มีการจัดสร้าง พุทธมณฑลที่จังหวัด นครปฐม เพื่อฉลองกึ่ง พุทธกาลและให้เป็น สถานที่จัดกิจกรรมและ ศึกษาพระพุทธศาสนา

๐๐ ๒๕

Expand

1๓

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

“พระมหากษัตริยมีพระพุทธศาสนาอยูเคียงคู รวมทั้งเปนหลักประกันวา พระประมุขของชาติเปนชาวพุทธ นับถือศาสนารวมกันกับประชาชน สวนใหญของประเทศ” มีความสัมพันธกับขอใด 1. รัฐบาลไทยสงเสริมพระพุทธศาสนา 2. พระมหากษัตริยทรงเปนพุทธมามกะ 3. พระพุทธศาสนาเปนสถาบันคูชาติไทย 4. ใหวันสําคัญทางพระพุทธศาสนาเปนวันหยุดราชการ วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 2. พระมหากษัตริยทรงเปนพุทธมามกะ หมายถึง พระองคทรงประกาศตนวา เปนบุคคลผูนับถือพระพุทธศาสนา โดยทรงประพฤติพระองคเปนแบบอยางชาวพุทธที่ดี อาทิ ทรงบําเพ็ญ พระราชกุศลตามขัตติยราชประเพณีในวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา

นักเรียนควรรู 1 วัดไทยพุทธคยา วัดแหงแรกที่รัฐบาลไทยสรางในตางแดนในนามพุทธบริษัท ชาวไทย เพื่อเปนพุทธบูชา ในคราวที่พระพุทธศาสนามีอายุครบ 25 ศตวรรษ หรือ 2,500 ป ตามคําเชิญของรัฐบาลอินเดีย วัดไทยพุทธคยาตั้งอยูใกลกับสถานที่ ทีพ่ ระพุทธองคประทับตรัสรู และยังเปนทีจ่ าํ พรรษาของพระเทพโพธิวเิ ทศ เจาอาวาส วัดไทยพุทธคยา และหัวหนาพระธรรมทูตสายประเทศอินเดีย - เนปาล และยังเปน ที่พักอาศัยปฏิบัติธรรม ในระหวางที่จาริกแสวงบุญ ณ ดินแดนพุทธสังเวชนียสถาน ของพระภิกษุและฆราวาสชาวไทย นอกจากนี้คณะพระธรรมทูตไทยยังไดทําหนาที่ ในการเผยแผพระพุทธศาสนาในประเทศอินเดียดวยดีมาโดยตลอด ตั้งแต พ.ศ. 2500 เปนตนมา และนับไดวาวัดไทยพุทธคยาเปนจุดเริ่มตนและเปนแบบอยางของ การกอสรางวัดไทยในตางประเทศ กระทั่งปจจุบันมีวัดไทยตั้งอยูในบริเวณใกลเคียง กับสังเวชนียสถานและสถานทีท่ มี่ คี วามสําคัญทางพุทธประวัติ ทัง้ ในประเทศอินเดีย และเนปาลนับสิบแหง คูมือครู

13


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

กระตุน ความสนใจ

อธิบายความรู Explain

Expand

Evaluate

ó. ควาÁสíาคัÞ¢อ§พระพุทธศาสนาต‹อสั§คÁäทÂ พระพุทธศาสนาเป็นสถาบันหลัก เป็นรากฐานของวัฒนธรรมไทย อยู่เคียงคู่กับสังคมไทย มาโดยตลอด หลักธรรมของพระพุทธศาสนาล้วนมีอิทธิพลต่อวิถีการด�าเนินชีวิตของผู้คนเป็น ส่วนใหญ่ในสังคม จนมีคา� กล่าวว่า “สังคมไทยเป็นสังคมพุทธ” เพราะเมือ่ พิจารณาสภาพแวดล้อม ที่อยู่รอบตัว ตลอดจนแนวทางการด�าเนินชีวิตประจ�าวัน จะเห็นได้อย่างชัดเจนว่า สิ่งที่เกิดขึ้น หลายอย่างล้วนเกี่ยวเนื่องหรือได้รับ1อิทธิพลมาจากพระพุทธศาสนา เช่น วัดที่อยู่ในชุมชน การแสดงความเคารพกันด้วยการไหว้ การสวดมนต์ไหว้พระ เป็นต้น ความส�าคัญของพระพุทธศาสนาที่มีต่อสังคมไทย สามารถแบ่งออกเป็น ๓ ด้านโดย ภาพรวม คือ ในฐานะที่เป็นศาสนาประจ�าชาติ เป็นสถาบันหลักของสังคมไทย และเป็นสภาพ แวดล้อมที่กว้างขวางครอบคลุมสังคมไทย

Explore

ครูตั้งคําถามเพื่อใหนักเรียนไปศึกษาคนควาวา • พระพุทธศาสนามีความสําคัญตอคนไทยและ สังคมไทยอยางไร โดยใหนักเรียนไปศึกษาคนควาในหนังสือ เรียนหนา 14 - 19 หรือจากผูที่มีความรู เชน พระสงฆ เพื่อนํามาอภิปรายในชั้นเรียน

อธิบายความรู

ตรวจสอบผล

Engage

ครูสนทนากับนักเรียนถึงเสรีภาพในการนับถือ ศาสนาตางๆ ในสังคมไทย และใหนักเรียนชวยกัน จัดลําดับวาศาสนาใดเปนศาสนาทีม่ ผี นู บั ถือมากทีส่ ดุ และนอยที่สุดตามลําดับ

สํารวจคนหา

ขยายความเขาใจ

๓.1 พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจําชาติไทย พระพุทธศาสนาอยู่เคียงคู่กับสังคมไทยมาหลายศตวรรษ ประวัติศาสตร์ไทยจึงมีเรื่องราว เกี่ยวพันกับพระพุทธศาสนาอยู่เสมอ นับตั้งแต่คนไทยสามารถรวมตัวกันก่อตั้งอาณาจักรของ ตนเองขึ้นมา พระพุทธศาสนาได้เข้ามามีบทบาทตั้งแต่นั้นจนถึงปัจจุบัน คนไทยส่วนใหญ่ยอมรับ นับถือพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจ�าชาติ โดยไม่เคยเปลี่ยนแปลงไปยึดศาสนาอื่นใดเป็น ศาสนาประจ� า ชาติ ทั้ ง นี้ เ หตุ ผ ลของการนั บ ถื อ ยอมรั บ พุ ท ธศาสนาเป็ น ศาสนาประจ�าชาติไทย มีดังนี้ ๑) คนไทยส่วนใหญ่ยอมรับนับถือ การยอมรับ นับถือพระพุทธศาสนาของคนไทย มีมาแต่อดีต สืบเนื่องจนถึง ปัจจุบนั ทัง้ นีพ้ ระพุทธศาสนาเป็นศาสนาล�าดับแรกๆ ทีส่ งั คม รู้ จัก และคุ้น เคย แม้ ภายหลั งจะมี ศาสนาอื่นเผยแผ่เข้า มาบ้าง หรือแม้สังคมไทยจะเปิดกว้างให้มีการเผยแผ่ ศาสนาต่างๆ ได้อย่างเสรี ให้ผู้คนสามารถเลือก นั บ ถื อ ศาสนาใดๆ ได้ ต ามใจชอบ แต่ ผู ้ ค น ส่วนใหญ่ในสังคมไทยประมาณร้ อ ยละ ๙๕ ก็เลือกนับถือพระพุทธศาสนาเป็นแนวทางในการ ด�าเนินชีวิต ทั้งนี้เพราะชาวไทยนับตั้งแต่บรรพบุรุษ ในอดีต ต่างเห็นพร้องแล้วว่าพระพุทธศาสนาเป็น เยาวชนไทยจะได้รับการส่งเสริมให้เข้ามาบวชเรียน ศาสนาที่เหมาะสมกับสภาพสังคมไทยได้มากกว่า

Explain

1. ครูนาํ สนทนาถึงความสําคัญของพระพุทธศาสนา ในสังคมไทย และใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยาง วิถีชีวิตของคนไทยที่แสดงใหเห็นถึงการไดรับ อิทธิพลหรือมีความผูกพันกับพระพุทธศาสนา (แนวตอบ เชน ในวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา คนไทยนิยมเขาวัดเพื่อทําบุญตักบาตร ฟงเทศน ฟงธรรม) 2. ครูตั้งประเด็นอภิปรายวา • การที่ประเทศไทยมีพระพุทธศาสนาเปน ศาสนาหลักสงผลตอวิถีชีวิตหรือการดําเนิน ชีวิตของคนในสังคมอยางไร (แนวตอบ ทําใหคนไทยอยูรวมกันอยางสันติสุข มีการพึ่งพาอาศัยกัน มีการชวยเหลือเอื้ออาทร ตอกัน มีการใหอภัย มีเมตตาตอกัน มีธรรมะ ในการดําเนินชีวิต ทําใหมีการดําเนินชีวิต แบบไมประมาท)

และศึกษาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา

1๔

นักเรียนควรรู 1 การไหว มารยาทไทยที่สืบทอดกันมาชานาน การไหวเปนการแสดงถึงความ มีสัมมาคารวะ และการใหเกียรติซึ่งกันและกัน ซึ่งเปนการแสดงออกถึงการทักทาย การขอบคุณ หรือการกลาวลา โดยยกมือสองขางประนม นิ้วชิดกันปลายนิ้วจดกัน ยกมือขึ้นในระดับตางๆ ตามฐานะของบุคคล ซึ่งการไหวแบงเปน 4 ระดับ ไดแก การไหวพระรัตนตรัย การไหวผูอาวุโสมากกวา การไหวผูอาวุโสนอยกวา และการ ไหวผูเสมอกัน การแสดงความเคารพดวยการไหว เปนธรรมเนียมที่ประเทศไทยไดรับ อิทธิพลมาจากประเทศอินเดียซึ่งเปนประเทศตนตํารับภาษามือ (นาฏศาสตร) แตประเทศไทยไดนํามาปรับปรุงจนมีความงดงาม ออนชอย ทั้งนี้ ประเทศที่ไดรับ อิทธิพลจากวัฒนธรรมอินเดีย ก็จะมีธรรมเนียมการไหวที่คลายคลึงกัน

14

คูมือครู

บูรณาการเชื่อมสาระ

ครูอธิบายถึงลักษณะของสังคมไทยที่มีพระพุทธศาสนาเปนสถาบันหลัก เปนรากฐานของวัฒนธรรมไทย มีวัฒนธรมที่เปนเอกลักษณเฉพาะของ คนไทย เพื่อบูรณาการเชื่อมโยงกับสาระหนาที่พลเมือง วัฒนธรรม และ การดําเนินชีวิตในสังคม เรื่อง ที่มาของวัฒนธรรมไทย ที่ไดรับอิทธิพลจาก พระพุทธศาสนา เชน การประกอบพิธีกรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี การแสดงความเคารพกันดวยการไหว การสวดมนตไหวพระ เพื่อปลูก จิตสํานึกใหนักเรียนเลื่อมใสศรัทธาในพระพุทธศาสนาอันเปนศาสนา ประจําชาติ และรวมสืบสานพิธีกรรมทางศาสนาดวยความเต็มใจ


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

1. ใหนักเรียนชวยกันบอกวา ในชีวิตประจําวัน นักเรียนพบเห็นสัญลักษณแทนพระพุทธศาสนา ที่ใดบาง (แนวตอบ เชน การจัดหิ้งพระไวบูชาที่บาน หรือสรางพระพุทธรูปประดิษฐานตามสถานที่ ราชการ หองทํางาน เพื่อใหบุคคลทั่วไป สักการบูชา ฯลฯ) 2. ครูตั้งคําถามใหนักเรียนชวยกันตอบวา • นอกจากพระพุทธรูปปางตางๆ อันเปน สัญลักษณแทนพระพุทธศาสนาแลว นักเรียนคิดวา มีสิ่งใดอีกหรือไม ที่บงบอก วาพระพุทธศาสนาเปนศาสนาประจําชาติ ไทย (แนวตอบ พระมหากษัตริยไทยทรงเปน พุทธมามกะและอัครศาสนูปถัมภก รวมถึง การกําหนดใหวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา เปนวันหยุดราชการ เพื่อใหพุทธศาสนิกชน ไดไปประกอบพิธีกรรมทางศาสนา) 3. ครูใหนักเรียนชวยกันบอกพระราชกรณียกิจ ของพระมหากษัตริยไทยในอดีตที่บงบอกวา พระมหากษัตริยทรงเปนพุทธมามกะและ อัครศาสนูปถัมภก (แนวตอบ เชน รัชกาลที่ 1 ทรงสรางวัด พระศรีรัตนศาสดาราม รัชกาลที่ 4 ทรงผนวช เปนภิกษุ เปนตน)

๒) มี สั ญ ลั ก ษณ์ แ ทนพระพุ ท ธศาสนาในสถานที่ ร าชการ นอกเหนือจาก

พระบรมฉายาลั ก ษณ์ แ ละธงชาติ ไ ทยแล้ ว ตามสถานที่ ร าชการต่ า งๆ มั ก จะมี พ ระพุ ท ธรู ป อันเป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่งของพระพุทธศาสนาประดิษฐานไว้ ๓) พระมหากษัตริย์ทรงเป็นพุทธมามกะและอัครศาสนูปถัมภก พระมหากษัตริย์ไทยในอดีตจนถึงปัจจุบันทุกพระองค์ทรงเป็นพุทธมามกะตามขัตติยราชประเพณี แม้มี การเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตย มีรัฐธรรมนูญอันเป็นกฎหมายสูงสุดที่ใช้ในการปกครองประเทศ เช่น รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน พุทธศักราช ๒๕๕๐ ได้บัญญัติไว้ในหมวด 1 ๒ มาตรา ๙ ว่า พระมหากษัตริย์ทรงเป็นพุทธมามกะและทรงเป็ น อั ค รศาสนู ป ถั ม ภก เท่ า กั บ เป็ น การก� า หนดให้ สถาบันพระมหากษัตริย์ มีพระพุทธศาสนาอยู่เคียงคู่ รวมทั้งเป็นหลักประกันว่าพระประมุขของชาติเป็นชาวพุทธนับถือ ศาสนาร่วมกับประชาชนส่วนใหญ่ในประเทศ ๔) ก�าหนดให้วันส�าคัญทางพระพุทธศาสนาเป็นวันหยุดราชการ วันส�าคัญ ทางพระพุทธศาสนาต่างๆ นั้น ทางราชการได้ก�าหนดให้เป็นวันหยุดทั่วประเทศ เพื่อเปิดโอกาส ให้พุทธศาสนิกชนได้มีเวลาไปปฏิบัติศาสนกิจ อันย�้าให้เห็นความส�าคัญของพระพุทธศาสนาต่อ สังคมไทย แม้นานาชาติทั่วโลกก็รับทราบ โดยทางราชการและรัฐวิสาหกิจตลอดจนบริษัทเอกชน ส่วนใหญ่จะหยุดท�าการ ทั้งนี้วันส�าคัญทางพระพุทธศาสนาที่ราชการก�าหนดให้เป็นวันหยุด ได้แก่ วันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันอาสาฬหบูชา วันเข้าพรรษา โดยในวันดังกล่าว นอกจากทาง ราชการจะเป็นแกนน�าในการจัดศาสนพิธีใน สถานที่บางแห่งแล้ว ยังได้มีการรณรงค์ให้ พุทธศาสนิกชนไปปฏิบัติศาสนกิจที่วัด และลด ละ เลิก ความประพฤติเสียหายทั้งปวงอีกด้วย

๓.๒ พระพุทธศาสนาเป็น สถาบันหลักของสังคม ไทย สถาบั น หลั ก ของไทยมี ๓ สถาบั น ได้ แ ก่ สถาบั น ชาติ สถาบั น ศาสนา และ สถาบันพระมหากษัตริย์ ทั้งสามสถาบันนี้ต่าง เกื้อหนุนค�้าจุนเสมือนหนึ่งเป็นโครงสร้างอัน แข็งแกร่งให้สังคมไทยและชาติไทยด�ารงอยู่

Explain

ประชาชนจะน้ อ มท� า บุ ญ ตั ก บาตรร่ ว มกั น ในวั น ส� า คั ญ ทางพระพุทธศาสนา

กิจกรรมสรางเสริม ครูใหนักเรียนไปเขารวมกิจกรรมในวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา แลวจดบันทึกขั้นตอนในศาสนพิธี และประโยชนที่ไดรับจากการเขารวม กิจกรรม

กิจกรรมทาทาย ครูใหนักเรียนวิเคราะหวา การนับถือพระพุทธศาสนาเปนศาสนา ประจําชาติไทย เปนปจจัยที่เสริมสรางความสุขใหกับคนในสังคมไทย อยางไร

1๕

เกร็ดแนะครู ครูจัดกิจกรรมสงเสริมพระพุทธศาสนา โดยจัดทําโครงการทําบุญตักบาตร พระสงฆภายในโรงเรียน สัปดาหละ 1 วัน ตามความเหมาะสม เพื่อปลูกจิตสํานึก ใหนักเรียนปฏิบัติตนเปนพุทธศาสนิกชนที่ดี

นักเรียนควรรู 1 อัครศาสนูปถัมภก พระมหากษัตริยผูทรงนับถือพระพุทธศาสนา และทรง เปนพระประมุขในการทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา อีกทั้งทรงอุปถัมภพสกนิกรของ ทุกศาสนาอยางเสมอภาคกัน

คูมือครู

15


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

ครูและนักเรียนอภิปรายรวมกันถึงความสัมพันธ ของสถาบันหลักของไทย 3 สถาบัน อันไดแก สถาบัน ชาติ สถาบันศาสนา และสถาบันพระมหากษัตริย จากนั้นใหนักเรียนศึกษาคนควาพระราชกรณียกิจ ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวที่แสดงใหเห็นวา พระองคทรงเปนพุทธมามกะและอัครศาสนูปถัมภก (แนวตอบ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงผนวช เปนพระภิกษุในพระพุทธศาสนา ทรงประกอบศาสนกิจ ตามพระวินยั สงฆอยางเครงครัด ทรงบําเพ็ญพระราชกุศลในวันสําคัญทางพระพุทธศาสนาอยางสมํ่าเสมอ ทรงอุปถัมภเกื้อกูลพระพุทธศาสนาในดานตางๆ เชน พระราชทานพระบรมราชูปถัมภแกสามเณรที่ สอบไลไดเปรียญธรรม ๙ ประโยค ในการอุปสมบท เปนพระภิกษุนาคหลวง ทรงสถาปนาพระราชาคณะ พระราชทานพระสมณศักดิ์ ทรงถวายผาพระกฐิน และพระราชทานพระราชทรัพยในการกอสรางและ บํารุงรักษาวัดวาอารามตางๆ นอกจากนี้ พระองค ยังทรงอุปถัมภและคุมครองทุกศาสนาที่ประชาชนใน ประเทศไทยนับถืออยางเสมอภาคอีกดวย)

ได้ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน โดยเฉพาะพระพุทธศาสนาเป็นสถาบันที่มีบทบาทอย่างสูงในการ ควบคุมพฤติกรรมของผู้คนในสังคมไทย ทั้งนี้เหตุผลที่ท�าให้สถาบันพระพุทธศาสนาเป็นหนึ่งใน สถาบันหลักของสังคมไทย เนื่องมาจาก

๑) พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า เ ป ็ น สถาบันคู่ชาติไทย พระพุทธศาสนาได้เผยแผ่

เข้ามาในดินแดนสุวรรณภูมิอันเป็นที่ตั้งของ ประเทศไทยในปัจจุบัน นับตั้งแต่พุทธศตวรรษ ที่ ๓ อาณาจักรต่างๆ ของคนไทย ล้วนสืบทอด พระพุ ท ธศาสนาไว้ ตั้ ง แต่ ส มั ย สุ โ ขทั ย สมั ย อยุธยา สมัยธนบุรี จนมาถึงสมัยรัตนโกสินทร์ ไว้อย่างมั่นคง จึงกล่าวได้ว่าพระพุทธศาสนา เป็นสถาบันคู่ชาติไทยมาโดยตลอด พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จออกทรงผนวช ณ วั ด พระศรี รั ต นศาสดาราม เมื่ อ พุ ท ธศั ก ราช ๒๔๙๙ ทรงได้รับพระสมญานามว่า “ภูมิพโล”

๒) 1พระมหากษัตริย์ไทยทรง เป็นพุทธมามกะ ในประวัตศิ าสตร์ของชาติอนื่

กษัตริย์ที่ปกครองประเทศในแต่ละสมัยมักจะ นับถือศาสนาต่างกัน แต่พระมหากษัตริย์ไทย ทุกยุคทุกสมัยล้วนเป็นพุทธมามกะ โดยราชประเพณี ก่อนที่พระมหากษัตริย์ไทยทุกพระองค์ จะขึ้นครองราชย์ จะมีพระราชประเพณีให้ออกผนวชชั่วคราวเพื่อศึกษาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา และน�าหลักธรรมมาประยุกต์ใช้ในการปกครองประเทศ แม้ในกรณีที่ไม่สามารถออก ผนวชก่อนขึ้นเสวยราชสมบัติก็ต้องออกผนวชหลังจากขึ้นครองราชย์แล้ว ดังกรณีพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบัน เป็นต้น ๓) พระมหากษั ๓) พระมหากษั ต ริ ย ์ ท รงเป็ น อั ค รศาสนู ป ถั ม ภก ภก พระมหากษัตริย์ไทยทุก พระองค์ทรงให้ความส�าคัญในการอุปถัมภ์พระพุทธศาสนาโดยทรงถือเป็นพระราชภารกิจส�าคัญ พระราชภารกิ 2 จ ที่ พ ระมหากษั ต ริ ย ์ ไ ทยทรงท� า นุ บ� า รุ ง พระพุ ท ธศาสนา อาทิ ทรงสร้ า งวั ด ปฏิสังขรณ์วัด และปูชนียสถานต่างๆ ทรงอุปถัมภ์การศึกษาพระพุทธศาสนา ทรงส่งเสริม การปฏิบัติธรรม ทรงยกย่องพระสงฆ์ผู้เชี่ยวชาญในพระปริยัติและเชี่ยวชาญในการปฏิบัติให้ด�ารง สมณศักดิ์ตามความสามารถ และความเหมาะสม ทรงสนับสนุนการสังคายนา ดังที่พระมหากษัตริย์บางพระองค์ได้ทรงสนับสนุนอุปถัมภ์การสังคายนา (ดังในสมัยรัชกาลที่ ๑ และรัชกาล ที่ ๙) และทรงวางพระองค์เป็นแบบอย่างของชาวพุทธที่ดี เป็นต้น

1๖

นักเรียนควรรู 1 พุทธมามกะ ผูรับเอาพระพุทธเจาเปนของตน ในประเทศไทยมีการริเริ่ม พิธกี ารแสดงตนเปนพุทธมามกะในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูห วั และไดมีการปฏิบัติสืบตอกันมาจนถึงปจจุบัน 2 ปฏิสังขรณ การทําใหกลับคืนสูสภาพเดิมอยางที่เคยเปนมา โดยมีขั้นตอน ดําเนินการ ดังนี้ 1. สํารวจสภาพเดิมและสภาพปจจุบัน 2. จัดโครงการ โดยใหความสําคัญในการรักษาจุดเดนของโบราณสถาน 3. กําหนดใหใชเทคนิคการอนุรักษที่ผานการศึกษาและทดลองจนเปนที่พอใจ 4. กําหนดใหเสริมความมั่นคงแข็งแรงที่จําเปน เรียบงาย และกลมกลืนกับ ของเดิม 5. ในกรณีจําเปนตองทําชิ้นสวนที่ขาดหายไปขึ้นมาใหม ตองทําใหกลมกลืน กับของเดิม แตตองแสดงใหเห็นไดวาทําขึ้นมาใหม

16

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

พระมหากษัตริยไทยนับตั้งแตสมัยสุโขทัยจนถึงปจจุบันทรงมีบทบาทใน การสงเสริ​ิมพระพุทธศาสนาใหประดิษฐานอยางมั่นคงในดินแดนประเทศไทย อยางไร จงอธิบายมาพอเขาใจ แนวตอบ นับตั้งแตสมัยสุโขทัยจนถึงสมัยรัตนโกสินทรอาจกลาวไดวา พระมหากษัตริยไทยลวนใหการสงเสริมการเผยแผพระพุทธศาสนาและ การทํานุบํารุงพระพุทธศาสนาใหเจริญรุงเรืองในแผนดินไทย ดังจะเห็นได จากพระราชกรณียกิจตางๆ ที่แสดงใหเห็นถึงการมีความเลื่อมใสศรัทธา ในพระพุทธศาสนา เชน พอขุนรามคําแหงมหาราชทรงนิมนตพระสงฆจาก นครศรีธรรมราชมาเทศนาสั่งสอนราษฎรที่กรุงสุโขทัย หรือพระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลิไทย) ทรงออกผนวช และทรงพระราชนิพนธวรรณคดีทาง พระพุทธศาสนา เรื่อง ไตรภูมิพระรวง หรือสมัยอยุธยาจนถึงสมัยรัตนโกสินทร พระมหากษัตริยหลายพระองคทรงโปรดใหสรางวัดวาอารามมากมาย ทรง ใหมีการสังคายนาพระไตรปฎกเพื่อใหใชเปนหลักในการสั่งสอนประชาชน เปนตน


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู ๔) รัฐบาลไทยส่งเสริมสนับสนุนพระพุทธศาสนา เมือ่ ประเทศไทยได้เปลีย่ นแปลง

ระบอบการปกครองมาเป็นระบอบประชาธิปไตย พระราชอ�านาจและพระราชภารกิจในการอุปถัมภ์ บ�ารุงพระศาสนาของพระมหากษัตริย์แต่เดิมก็ถูกมอบหมายให้รัฐบาลท�าหน้าที่สืบแทนต่อไป เพราะฉะนั้นรัฐบาลจึงมีหน้าที่โดยตรงที่จะอุปถัมภ์พระพุทธศาสนาทั้งด้านการศึกษา และด้าน การปฏิบัติพระศาสนา โดยก�าหนดเป็นนโยบายที่แน่นอนและปฏิบัติให้บรรลุผลตามนโยบายที่ ก�าหนดไว้ ทั้งนี้โดยการด�าเนินงานผ่านทางหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อาทิ กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงวัฒนธรรม กระทรวงมหาดไทย และส�านักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ เป็นต้น

๓.๓ พระพุทธศาสนาเป็นสภาพแวดล้อมที่กว้างขวางและ ครอบคลุมสังคมไทย คนไทยส่วนใหญ่ภายในสังคมไทยเป็นชาวพุทธโดยก�าเนิด ไม่ต้องมีการประกาศ เพราะวิถี ชีวิตของคนไทยได้รับการผสมผสานกลมกลืนเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับพระพุทธศาสนามาทุกยุค ทุกสมัย สภาพแวดล้อมรอบตัวทั้งทางกายภาพและสภาพแวดล้อมทางสังคม ส่วนใหญ่มักได้รับ อิทธิพลจากพระพุทธศาสนา หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ ตั้งแต่เกิดจนตายคนไทยส่วนใหญ่มักต้อง สัมผัสกับพระพุทธศาสนามากหรือน้อยบ้างตามโอกาส ดังนั้น พระพุทธศาสนาจึงเป็นสภาพ แวดล้อมที่กว้างขวางและครอบคลุมสังคมไทยอย่างแท้จริง ด้วยเหตุผลดังนี้ ๑) มีวัดและส�านักสงฆ์มากมายทัว่ ประเทศ จากสถิติ พ.ศ. ๒๕๕๒ ในประเทศไทยมี วัดประมาณ ๓๕,๒๗๑ วัด และส�านักสงฆ์อีกจ�านวนมาก มีพระภิกษุและสามเณรประมาณ ๓๒๒,๐๐๐ รูป ไม่นับพระภิกษุสามเณร ผู้บวช ชั่วคราว ทุกหมู่บ้านมีวัดประจ�าหมู่บ้าน แม้ เมื่อจะก่อตั้งหมู่บ้านขึ้นใหม่ก็นิยมสร้างวัดไว้ เป็ น สถานที่ บ� า เพ็ ญ บุ ญ ทางพระศาสนาด้ ว ย วัดจึงนับเป็น “ศูนย์กลาง” ของสังคมไทยส่วน ใหญ่มาแต่อดีตถึงปัจจุบัน

๒) มี ปู ช นี ย สถาน ปู ช นี ย วั ต ถุ มากมาย เหตุ ที่ วั ด เป็ น สภาพแวดล้ อ มที่

ครอบคลุ ม สั ง คมไทยทั่ ว ไปจึ ง มี ปู ช นี ย สถาน และปูชนียวัตถุสา� คัญๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับพระพุทธศาสนาประดิษฐานเก็บรักษาอยู่มากมาย เช่น พระธาตุพนม พระบรมธาตุน1ครศรีธรรมราช พระธาตุดอยสุเทพ พระพุทธรูป วิหาร เป็นต้น

วั ด เบญจมบพิ ต รดุ สิ ต วนาราม เป็ น พระอารามหลวง ชั้นเอก สร้างในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

พระพุทธศาสนาในฐานะที่เปนสภาพแวดลอมที่ดีของสังคมไทยได สราง คุณประโยชนตอสังคมไทยอยางไรบาง แนวตอบ 1. เปนแหลงการศึกษาเรียนรูและภูมิปญญาของคนไทยโดยมี วัดและพระสงฆเปนแหลงศึกษาและเปนแบบอยางที่ดี 2. เปนศูนยรวมการพัฒนาจิตใจและบุคลิกภาพ ปลูกฝงใหคนในสังคม มีนิสัยโอบออมอารี รักสงบ และใหอภัยซึ่งกันและกัน

1๗

Explain

1. ครูนําสนทนาถึงคานิยมที่สําคัญของสังคมไทย ปจจุบัน และแสดงความคิดเห็นวา คานิยม เหลานั้นไดรับอิทธิพลจากพระพุทธศาสนา หรือไม อยางไร (แนวตอบ เนื่องจากวิถีชีวิตสวนใหญของคนไทย ไดรับการผสมผสานกลมกลืนเปนอันหนึ่ง อันเดียวกับพระพุทธศาสนามาทุกยุคทุกสมัย จึงกลาวไดวา คานิยมอันเปนความคิด ความเชื่อที่บุคคลในสังคมยึดถือหรือเห็นวา มีคุณคาตางๆ นั้น ลวนไดรับอิทธิพลจาก พระพุทธศาสนาเชนเดียวกัน ดังจะเห็นได จากลักษณะนิสัยและมารยาทของคนไทย เชน ความเอื้อเฟอเผื่อแผ ความมีนํ้าใจ ความ เมตตากรุณา และการรูจักใหอภัย เปนตน) 2. ครูสอบถามนักเรียนถึงกิจวัตรประจําวันที่มี ความเกี่ยวของกับพระพุทธศาสนา เชน การ สวดมนต การทําบุญตักบาตร เปนตน และ รวมกันอภิปรายถึงบทบาทสําคัญของวัด ในฐานะที่เปนศูนยกลางของสังคมไทยตั้งแต อดีตจนถึงปจจุบันและวิเคราะหถึงบทบาท ความสําคัญและบทบาทของวัดที่ลดลงเมื่อ เปรียบเทียบกับในอดีต 3. ครูนําภาพวัดหรือสถานที่ทางพระพุทธศาสนา ที่มีความยิ่งใหญสวยงามมาใหนักเรียนดูและ ใหนักเรียนตอบคําถามวา • นักเรียนมีความคิดเห็นอยางไรเกี่ยวกับการ สรางวัดหรือสถานทีท่ างพระพุทธศาสนา โดย มุงเนนความยิ่งใหญของสถานที่เปนหลัก (แนวตอบ ครูเปดโอกาสใหนักเรียนแสดง ความคิดเห็นไดอยางหลากหลายบนพื้นฐาน ของความมีเหตุผล โดยมุงเนนใหนักเรียน ตระหนักถึงแกนแทของพระพุทธศาสนาและ ความสําคัญของวัดหรือสถานที่ทางพระพุทธ ศาสนาอยางแทจริง)

เกร็ดแนะครู ครูอาจอธิบายเกี่ยวกับขอความที่วา “ในสังคมไทยของเรานั้น นับตั้งแตเกิด จนตายลวนมีความเกี่ยวของกับพระพุทธศาสนาทั้งสิ้น” จากนั้นใหนักเรียนรวมกัน แสดงความคิดเห็นวาเห็นดวยหรือไม พรอมอธิบายเหตุผลประกอบ

นักเรียนควรรู 1 พระพุทธรูป แรกเริ่มการสรางพระพุทธรูปไมมีการกําหนดรูปแบบปางตางๆ ตามพระพุทธจริยาวัตรที่ทรงบําเพ็ญพุทธกิจอยางใดอยางหนึ่ง เปนการสรางขึ้น เพื่อเปนเครื่องเตือนใจใหระลึกถึงคุณของพระพุทธเจาเทานั้น แตตอมาจึงมีการ สรางพระพุทธรูปในลักษณะตางๆ มากขึ้น ซึ่งกรมศิลปากร แผนกโบราณคดีได จําแนกลักษณะของพระพุทธรูปในไทยออกเปน 7 สมัย ไดแก สมัยทวารวดี สมัย ศรีวิชัย สมัยลพบุรี สมัยเชียงแสน สมัยสุโขทัย สมัยอยุธยา และสมัยรัตนโกสินทร ทั้งนี้ ธรรมเนียมการสรางพระพุทธรูป ไทยก็ไดรับอิทธิพลจากอินเดียเชนกัน คูมือครู 17


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

ใหนกั เรียนดูภาพโลหะปราสาท วัดราชนัดดาราม ศึกษาความสําคัญและรวมกันอภิปรายถึงความงดงาม และคุณคาตอสังคมไทย พรอมทั้งใหนักเรียน ยกตัวอยางวัดตางๆ ที่มีความงามและมีคุณคา พรอมทั้งบอกวิธีการอนุรักษและการถายทอดความ งามและคุณคาเหลานั้นใหคนไทยไดภูมิใจและ รวมกันอนุรักษโบราณสถานดังกลาว

àÊÃÔÁÊÒÃÐ

âÅËлÃÒÊÒ· ÇÑ´ÃÒª¹Ñ´´ÒÃÒÁ

âÅËлÃÒÊÒ·áË‹§ÊØ´·ŒÒ¢ͧâÅ¡ โลหะปราสาท ที่วัดราชนัดดารามวรวิหาร ตั้งอยู่ที่ถนนมหาไชย

เขตพระนคร กรุงเทพฯ เป็นโลหะปราสาทแห่งเดียวของไทย และปัจจุบัน เป็นโลหะปราสาทแห่งเดียวที่ยังเหลืออยู่ในโลก พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๓) โปรดเกล้าฯ ให้สร้างเมื่อป พ.ศ. ๒๓๘๙ โดยให้ช่างออกแบบและสร้างตามลักษณะโลหะปราสาทหลังที่สอง พระองค์ ท รงมอบหมายให้ ส มเด็ จ เจ้ า พระยาบรมมหาพิ ชั ย ญาติ (ทัต บุนนาค) ด�ารงต�าแหน่งอธิบดีก่อสร้าง ด�าเนินการก่อสร้าง โดยก่อนที่จะเริ่มก่อสร้างนั้น พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โปรดเกล้าฯ ให้ช่างเดินทางไปดูแบบที่ประเทศลังกาด้วย ว่ากันว่า มู ล เหตุ ที่ บั น ดาลพระราชหฤทั ย พระบาทสมเด็ จ พระนั่ ง เกล้ า เจ้าอยู่หัว ให้ด�าเนินการสร้างโลหะปราสาทในวั ด ราชนั ด ดา รามวรวิหารนั้น น่าจะสืบเนื่องมาจากความเจริญรุ่งเรืองทาง พระพุทธศาสนาในรัชสมัยของพระองค์เป็นส�าคัญ อีกทัง้ ทรงสร้าง เพื่อถวายเป็นพุทธบูชา และเป็นอนุสรณ์ในบวรพุทธศาสนา ตามอย่างลังกา โลหะปราสาทของไทยหลังนี้ มีความงดงามตามแบบศิลปะสถาปัตยกรรมไทย แผนผังของปราสาทเป็น รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ฐานกว้างด้านละ ๒๓ วา เป็นปราสาท ๗ ชั้น อาคารชั้นล่าง ชั้นที่ ๓ และชั้นที่ ๕ เป็นคูหาและ ระเบียงรอบ ส่วนชั้นที่ ๒ ชั้นที่ ๔ และชั้นที่ ๖ ท�าเป็นคูหาจตุรมุข มียอดเป็นบุษบก ชั้นละ ๑๒ ยอด และชั้นที่ ๗ เป็นยอดปราสาทจตุรมุขส�าหรับประดิษฐานพระบรมธาตุ รวมทั1้งสิ้นเป็น ๓๗ ยอด ซึ่งหมายถึงหลักธรรมใน พุทธศาสนา ๓๗ ประการ ที่เรียกว่า “โพธิปักขิยธรรม ๓๗ ประการ” อันเป็นหลักธรรมที่น�าไปสู่ความหลุดพ้นและ เข้าสู่นิพพาน ใจกลางของตัวปราสาทจะมีบันไดวนที่ใช้ซุงขนาดใหญ่ยึดเป็นแม่บันได และมีหลักฐานการก่อสร้าง งฐานด้วย ครั้งแรกว่า ใช้ศิลาแลงจากเมืองสวรรคโลกมาเป็นวัสดุในการก่อสร้างฐ โลหะปราสาทหลังนี้เริ่มสร้างขึ้นในสมัยรัชกาลที่ ๓ แต่มาแล้วเสร็จในสมัยรัชกาลที่ ๕ เนื่องจากพระบาท สมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จสวรรคตขณะก�าลังก่อสร้าง โลหะปราสาท ในภายหลังได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์เรื่อยมาจนสมบูรณ์ วั ด ราชนั ด ดารามวรวิ ห ารแห่งนี้ นับว่า ในรัชกาลปัจจุบัน เป็ น พุ ท ธศิ ล ป ใ นสถาปั ต ยกรรม ที่ ง ดงามแห่ ง หนึ่ ง ของไทย และ เป็นโลหะปราสาททีเ่ หลืออยูเ่ พียง แห่งเดียวในโลก

1๘

นักเรียนควรรู 1 โพธิปกขิยธรรม 37 ประการ ธรรมอันเปนฝกฝายแหงความตรัสรู หรือธรรม ที่เกื้อหนุนแกอริยมรรค ไดแก 1. สติปฏฐาน 4 5. พละ 5 2. สัมมัปปธาน 4 6. โพชฌงค 7 3. อิทธิบาท 4 7. มรรคมีองค 8 4. อินทรีย 5

มุม IT ศึกษาคนควาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับโลหะปราสาท วัดราชนัดดาราม ไดที่ www.watratchanaddaram.com หรือ Youtube.com โดยคนหาคําวา โลหะปราสาท หรือวัดราชนัดดาราม

18

คูมือครู

บูรณาการเชื่อมสาระ

ครูสามารถนําเนื้อหาลักษณะสถาปตยกรรมของโลหะปราสาท วัดราชนัดดารามมาบูรณาการเชื่อมโยงกับกลุมสาระการเรียนรูศิลปะ วิชาทัศนศิลป เรื่อง ประเภทของงานทัศนศิลป โดยใหนักเรียนสืบคนขอมูลและอธิบาย ความงดงามในฐานะที่เปนผลงานดานสถาปตยกรรมทางพระพุทธศาสนา


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ขยายความเขาใจ

Expand

1. ครูยกตัวอยางวรรณคดีไทยที่ไดรับอิทธิพล มาจากพระพุทธศาสนา เชน ไตรภูมิพระรวง เปนตน และใหนักเรียนอภิปรายถึงขอคิดที่ ไดรับจากความเชื่อเกี่ยวกับเรื่องนรก สวรรค หรือบาปกรรมในวรรณคดีดังกลาว (แนวตอบ เชน ใหเรงทําความดีเพื่อไปสู ภพภูมิที่ดีในอนาคต หรือหลุดพนจาก ความทุกขทั้งปวง) 2. ครูใหนักเรียนบอกลักษณะนิสัยและมารยาท ของตนเองที่ไดรับอิทธิพลมาจากพระพุทธศาสนา (แนวตอบ เชน มีนํ้าใจ มีความเมตตาตอผูอื่น ใหอภัยเมื่อผูอื่นที่ทําผิดตอเรา แลวเกิด สํานึกผิดและมาขอโทษ เพราะพระพุทธศาสนา สอนใหละเวนการจองเวรซึ่งกันและกัน ใหรูจัก การใหอภัย และใหโอกาสผูอื่นเสมอ เปนตน) 3. ครูยกตัวอยางชื่อคนหรือสถานที่ที่ไดรับ อิทธิพลมาจากภาษาบาลี - สันสกฤต และให นักเรียนบอกวา ชื่อตนเองแปลวาอะไร มาจาก ภาษาบาลี - สันสกฤต หรือไดรับอิทธิพลมา จากพระพุทธศาสนาหรือไม (แนวตอบ เชน วิทยา วิริยะ หมายถึง ความรู และความเพียร ตามลําดับ) 4. ครูใหนักเรียนเขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ “พระพุทธศาสนากับสังคมไทยปจจุบัน”

๓) ประเพณีพิธีกรรมต่างๆ ของคนไทย มาจากพระพุทธศาสนาโดยตรง เช่น

ประเพณีการบวช ประเพณีวนั ส�าคัญทางพระพุทธศาสนา ประเพณีทอดผ้าปา ประเพณีทอดกฐิน และคติบางอย่างก็น�าเอาแนวคิดทางพระพุทธศาสนาไปปรับใช้ให้ผสมกลมกลืน เช่น การตั้งชื่อ โกนผมไฟ ขึ้นบ้านใหม่ ท�าบุญอายุ งานศพ ถ้าไม่มีพระพุทธศาสนา ประเพณีพิธีกรรมเหล่านี้ อาจเป็นไปในรูปแบบอื่น หรือประเพณีบางอย่างก็อาจไม่เกิดขึ้นมาในสังคมไทย ซึ่งย่อมมี ผลพลอยท�าให้สังคมไทยขาดเอกลักษณ์บางอย่างไป นอกจากนี้จิตใจของคนไทยส่วนใหญ่ ก็อาจขาดการขัดเกลาหรือมิได้ถูกหล่อหลอมให้มีลักษณะเป็นคนไทยอย่างที่เห็นและเป็นอยู่ใน ปัจจุบันนี้ก็ได้

๔) ลักษณะนิสัยและมารยาทของคนไทยส่วนใหญ่มีรากฐานจากพระพุทธศาสนา คนไทยได้รับการยกย่องจากชาวต่างชาติว่าเป็นคนที่มีลักษณะนิสัยดีงาม เช่น มีความ

เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ มีน�้าใจ เมตตากรุณา เกรงใจ พร้อมให้อภัยคนอื่นเสมอ ยิ้มแย้มแจ่มใส เป็นต้น คนไทยมีค�าพูดติดปาก คือ “ไมเปนไร” อันหมายถึง ไม่ถือโทษ ไม่อาฆาตมาดร้าย ให้อภัย อยู่เสมอ ลักษณะนิสัยเหล่านี้และอื่นๆ ล้วนหล่อหลอมมาจากพระพุทธศาสนา อันเป็นสภาพ แวดล้อมที่ครอบคลุมสังคมไทยอย่างกว้างขวาง ด้ า นกิ ริ ย ามารยาทนั้ น คนไทยมี กิ ริ ย ามารยาทเรี ย บร้ อ ย นุ ่ ม นวล การไหว้ การกราบ มารยาทในการต้อนรับ การแต่งกาย ตลอดจนอิริยาบถของคนไทย ล้วนได้รับการ ชื่นชมจากทั่วโลก ทั1 ้งนี้มารยาทเหล่านี้ล้วนมีพื้นฐานมาจากหลักค�าสอนทางพระพุทธศาสนา เช่น หลักคารวธรรม หลักการปฏิสันถาร เป็นต้น ๕) ภาษาและวรรณคดีไทยมีอิทธิพลมาจากพระพุทธศาสนา ภาษาไทยที่ใช้ อยู่ในปัจจุบันส่วนมากมีพื้นฐานมาจากภาษาบาลีสันสกฤต ซึ่งเป็นภาษาทางพระพุทธศาสนา สังเกตได้จากชื่อ นามสกุล ชื่อบริษัท ห้างร้าน สถานที่ แม้กระทั่งชื่อหน่วยงานราชการต่างๆ ตลอดจนวรรณคดีไทยต่างๆ มักมีแนวคิดทางพระพุ 2 ทธศาสนาเป็นแนวคิดหลัก โดยสะท้อนความ เชื่อเรื่อง นรก สวรรค์ บุญ บาป กรรม สังสารวัฏ 3๖) การนับศักราช การนับศักราชอย่างเป็นทางการของประเทศไทยจะนับเป็น “พุทธศักราช” โดยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงมีพระราชด�าริให้เปลีย่ นแปลงจาก แบบรัตนโกสินทร์ศกมาเป็นพุทธศักราช อันแสดงให้เห็นว่าประเทศไทยให้ความ การนับศักราชแบบรั ส�าคัญอย่างยิ่งยวดแก่พระพุทธศาสนา และประเทศไทยเป็นประเทศเดียวในโลกที่ใช้วิธีการนับ ศักราชเช่นนี้

ตรวจสอบผล

Evaluate

ตรวจสอบจากการแสดงความคิดเห็น โดย พิจารณาถึงความถูกตองของเนื้อหาและรูปแบบ การเขียน 1๙

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

“สังคมไทยเปนสังคมพุทธ” คํากลาวขางตนมีที่มาจากขอใด 1. การมีวัดเปนศูนยกลางของสังคมไทย 2. หลักธรรมทางพระพุทธศาสนามีอิทธิพลตอวิถีการดําเนินชีวิตของ คนไทยสวนใหญ 3. การกอเกิดประเพณีและพิธีกรรมตางๆ จากความศรัทธาในพระพุทธศาสนาของคนไทย 4. ทางราชการกําหนดใหวันสําคัญทางศาสนาเปนวันหยุด เพื่อให พุทธศาสนิกชนไดปฏิบัติศาสนกิจ

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 2. คนไทยสวนใหญนับถือพระพุทธศาสนา มาตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน ความศรัทธาในพระพุทธศาสนาจึงเปนรากฐาน ของวัฒนธรรมไทยหลายดาน รวมถึงการปฏิบัติตนตามหลักธรรมทาง พระพุทธศาสนาชวยหลอหลอมใหคนไทยมีลักษณะนิสัยที่ดีงาม เชน มีความเอื้อเฟอเผื่อแผ รูจักใหอภัยซึ่งกันและกัน เปนตน

นักเรียนควรรู 1 หลักคารวธรรม หลักปฏิบัติในการอยูรวมกันในสังคมโดยมีความเคารพ ซึ่งกันและกัน มี 6 ประการ ไดแก เคารพในพระพุทธเจา เคารพเชื่อฟงพระธรรม คําสอนของพระพุทธเจา เคารพในพระสงฆ เคารพในไตรสิกขา เคารพใน ปฏิสันถารตอนรับดวยธรรม และเคารพในความไมประมาท 2 สังสารวัฏ การเวียนวายตายเกิดอยูในภพภูมิตางๆ ของสัตวโลกดวยอํานาจ แหงผลกรรม 3 พุทธศักราช เริ่มตนนับตั้งแตวันที่พระพุทธเจาเสด็จดับขันธปรินิพพานมาแลว ครบ 1 ปเปนพุทธศักราชหรือ พ.ศ.1 สําหรับการเทียบพุทธศักราชใหเปนคริสต ศักราช ใหนํา 543 ไปลบปพุทธศักราช เชน พ.ศ. 2555-543 = ค.ศ. 2012

คูมือครู

19


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

กระตุน ความสนใจ

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Engage

1. ครูสนทนากับนักเรียนถึงลักษณะของคนดีกับ คนเกง และตั้งคําถามกระตุนความสนใจวา • นักเรียนคิดวาระหวางคนดีกับคนเกงนั้น บุคคลประเภทใดสามารถสรางความเจริญ ใหแกตนเองและสังคมไดมากกวากัน เพราะเหตุใด 2. ครูยกตัวอยางบุคคลที่เปนแบบอยางของ คนดี ที่ใชหลักธรรมทางศาสนาในการดําเนิน ชีวิตจนประสบความสําเร็จในการเรียนหรือใน อาชีพ และใหนักเรียนรวมกันอภิปรายแสดง ความคิดเห็นถึงแนวทางการนําหลักธรรมมาใช ในชีวิตประจําวัน

สํารวจคนหา

๔. พระพุทธศาสนากับการพัฒนาตนและครอบครัว ๔.1 พระพุทธศาสนากับการพัฒนาตน การพัฒนา หมายถึง การเปลี่ยนแปลงหรือปรับปรุงอะไรบางอย่างให้ดีขึ้น โดยอาจเป็น สิ่งที่ยังไม่ดีให้กลายเป็นดี หรือสิ่งที่ดีอยู่แล้วให้ดียิ่งขึ้น ดังนั้นการรู้ว่าอะไรดีอะไรไม่ดีเป็น สิ่งส�าคัญ เพราะถ้าไม่รู้การพัฒนาก็เกิดไม่ได้ เพราะการพัฒนาคือการเปลี่ยนแปลงไปสู่สิ่งนั้น การพัฒนาตนนั้นมองได้ ๒ ทาง คือ พัฒนาตนให้เป็นคนดี กับการพัฒนาตนให้เป็น คนเก่งมีความสามารถ คนดีที่ไม่เก่งแม้จะไม่ท�าความชั่วก็ไม่สามารถสร้างความเจริญให้แก่ตน และสังคมได้มากนัก แต่ก็ไม่ได้สร้างความเสียหายแก่สังคม ส่วนคนเก่งที่ไม่ดีเป็นคนน่ากลัว เพราะอาจท�าความชั่วได้มาก ทั้งนี้ตามคติของพระพุทธศาสนา คนดี คือ คนที่ซื่อสัตย์สุจริต ไม่เบียดเบียนผู้อื่น มีเมตตากรุณา อยู่ในเบญจศีล เบญจธรรม ส่วน คนเก่ง คือ คนที่สามารถ ท�าการงานให้ส�าเร็จลุล่วงไปได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ซึ่งพระพุทธศาสนามีบทบาท ช่วยพัฒนาชาวพุทธและครอบครัว ดังนี้ ๑) การพัฒนาตนให้เป็น1 คนดี พระพุ 2 ทธศาสนามีหลักธรรมมากมายที่สั่งสอน ส่งเสริมให้คนเป็นคนดี เช่น ไตรสิกขา ปธาน ๔ มิตรแท้ มิตรเทียม มงคล (ไม่คบคนพาล คบบัณฑิต) เป็นต้น แต่หลักธรรมส�าคัญที่ควรศึกษาไว้เพื่อน�าไปใช้ในการพัฒนาตน ได้แก่ เบญจศีล และเบญจธรรม

Explore

ครูใหนักเรียนศึกษาคนควาเกี่ยวกับหลักธรรม ทางพระพุทธศาสนาที่สามารถนําไปประยุกตใชเพื่อ พัฒนาตนและสังคมได เชน เบญจศีล เบญจธรรม อิทธิบาท 4 เปนตน

เบญจศีล ดังนี้

เบญจศีล คือ หลักธรรมที่ว่าด้วยการรักษากายวาจาให้เรียบร้อย เว้นจากความชั่ว ๕ ประการ (๑) (๒) (๓) (๔) (๕)

เว้นจากการฆ่า การเบียดเบียนสัตวโลกทั้งปวง เว้นจากการถือเอาสิง่ ของทีเ่ ขามิได้ให้ การฉ้อโกง การท�าลายของผูอ้ นื่ เว้นจากการประพฤติผิดในกาม ไม่ละเมิดสิ่งที่ผู้อื่นหวงแหน เว้นจากการพูดเท็จ เว้นจากการดื่มน�้าเมา และสิ่งเสพติดทั้งปวง

เบญจธรรม

๒0

เบญจธรรม คือ หลักธรรมที่คู่กับเบญจศีล โดยมุ่งเน้นการกระท�าเพิ่ม มิใช่การละเว้นอย่างเดียว มีอยู่ ๕ ประการ ดังนี้ (๑) มีเมตตา กรุณา (๒) หาเลี้ยงชีพในทางสุจริต (๓) สังวรในกาม ควบคุมตนในกามารมณ์ (๔) มีความสัตย์ (๕) ไม่ประมาท ระลึกอยู่เสมอว่าสิ่งใดควรสิ่งใดไม่ควร

นักเรียนควรรู 1 ไตรสิกขา หลักปฏิบัติเพื่อพัฒนาชีวิต 3 ประการ ประกอบดวย อธิสีลสิกขา (ศีล) อธิจิตตสิกขา (สมาธิ) และอธิปญญาสิกขา (ปญญา) 2 ปธาน 4 ความเพียรทั้ง 4 ประกอบดวย สังวรปทาน คือ ความเพียรระวังยับยั้งบาปไมใหเกิดขึ้น ปหานปทาน คือ ความเพียรที่จะละหรือกําจัดบาปที่เกิดขึ้นแลว ภาวนาปทาน คือ ความเพียรการสรางกุศลธรรมใหเกิดขึ้น อนุรักขนาปธาน คือ ความเพียรรักษากุศลธรรมที่เกิดขึ้นแลวใหคงอยู และเพิ่มพูนขึ้นตอไป

20

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

เพราะเหตุใดการพัฒนาตนตามแนวทางพระพุทธศาสนาจึงมุงเนน การเปนคนดีควบคูไปกับการเปนคนเกง แนวตอบ เพราะคนเกงที่เปนคนไมดีจะสามารถสรางความเดือดรอนให กับตนเองและสังคมไดมากมาย สําหรับคนดีที่ไมใชคนเกง ถึงแมวาจะไม สามารถสรางผลงานที่มีประสิทธิภาพเทียบเทาคนเกงได แตก็ไมไดสราง ความเดือดรอนใหกับสังคมมากเทา ทั้งยังเปนแบบอยางที่ดีในการปฏิบัติตน ตามหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาใหกับผูอื่นไดอีกดวย ดังนั้น การพัฒนา ตนใหเปนคนดีควบคูไปกับการเปนคนเกงจึงสงเสริมใหบุคคลประกอบการ งานไดสําเร็จลุลวงอยางรวดเร็ว และชวยพัฒนาสังคมโดยปองกันไมให คนเกงที่ไมมีคุณธรรมสรางความเสื่อมเสียใหกับสังคม


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

Explain

1. ครูนําสนทนาดวยการยกตัวอยางละคร โทรทัศนที่มีตัวละครเปนคนดี มีหลักธรรม ในการดําเนินชีวิต และใหนักเรียนรวมกัน วิเคราะหนิสัยตัวละครและหลักธรรมที่ ตัวละครใชในการดําเนินชีวิต 2. ใหนักเรียนในชั้นเรียนทองศีล 5 พรอมกัน แลวตั้งคําถามใหนักเรียนชวยกันตอบ เชน • นักเรียนคิดวา การปฏิบัติตนตามศีล 5 นั้น มีประโยชนตอตนเองและสังคมอยางไร (แนวตอบ การปฏิบัติตนตามศีล 5 นั้นชวย ขัดเกลาจิตใจของผูปฏิบัติใหเปนผูคิดดี ทําดี พูดดี ทั้งยังเปนเครื่องมือในการ ควบคุมพฤติกรรมของผูปฏิบัติใหสามารถ อยูรวมกับผูอื่นในสังคมไดอยางสงบสุข) • นักเรียนคิดวา การปฏิบัติตนตามศีล 5 ขอใดที่ปฏิบัติไดยากที่สุด เพราะเหตุใด (แนวตอบ ครูเปดโอกาสใหนักเรียนแสดง ความคิดเห็นไดอยางหลากหลายโดยอยูบน พื้นฐานของความมีเหตุผล)

๒) การพัฒนาตนให้เป็นคนเก่งมีความสามารถ พระพุทธศาสนามีหลักธรรม

อีกมากมายที่ส่งเสริมให้มนุษย์เป็นคนเก่ง มีความสามารถในการประกอบการงาน เช่น โกศล ๓ หลักกรรม ไตรสิกขา เป็นต้น แต่นอกจากนี้ ยังมีหลักธรรมอื่นๆ ที่ควรศึกษาไว้เพื่อพัฒนา ตนให้เป็นคนเก่ง มีความสามารถในการท�างาน ให้เป็นผลส�าเร็จได้อีก ได้แก่ อิทธิบาท ๔ และ พละ ๕ อิทธิบาท ๔ คือ คุณธรรมที่ น� า ไปสู่ความส�าเร็จ มี ๔ ประการ ดังนี้ (๑) ฉั น ทะ คื อ ความมี ใ จรั ก ที่ จะท�าในสิ่งที่ก�าลังตั้งใจท�า (๒) วิ ริ ย ะ คื อ ความพยายาม เข้มแข็ง และอดทนที่จะท�า (๓) จิตตะ คือ ความตัง้ ใจแน่วแน่ การท�างานโดยยึดหลัก สัทธา วิริยะ สติ สมาธิ และ ที่จะท�า ไม่ลังเล ไม่ฟุ้งซ่าน ปัญญา สามารถช่วยพัฒนาตนเองให้เป็นคนดีคนเก่งได้ (๔) วิมงั สา คือ ความคิดไตร่ตรอง วางแผน ตามเหตุผล มีการปรับปรุง พละ ๕ คือ หลักธรรมที่ช่วยให้ท�างานลุล่วงส�าเร็จได้ มี ๕ ประการ ดังนี้ (๑) สัทธา คือ มีความเชื่อมั่นในสิ่งที่ตนก�าลังท�า (๒) วิริยะ คือ มีความเพียร (๓) สติ คือ มีความระลึกได้ ไม่ประมาท (๔) สมาธิ คือ มีจิตตั้งมั่น (๕) ปัญญา คือ มีความรู้ชัดเจนเกี่ยวกับเรื่องที่กระท�า เรื่องน่ารู้ พุทธลักษณะกับการพัฒนาตน

1

พุทธลักษณะบางประการ สามารถพิจารณาเชิงสัญลักษณ์ว่ามีนัยในการ สั่งสอนให้บุคคลรู้จักการพัฒนาตนเอง เช่น พระเนตรที่หลุบต�่า คือ นิมิตเตือนใจว่าให้ หลุบตาลงมามองตนเองเสียบ้าง อย่ามัวแต่เพ่งโทษจับผิดผู้อื่น หรือพระกรรณยาว คือ นิมิตเตือนให้เป็นคนหูหนัก ไม่หูเบาเชื่ออะไรง่ายๆ เป็นต้น

๒1

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

การพัฒนาตนใหเปนคนเกง ประสบความสําเร็จในการเรียนหรือ การทํางาน ควรปฏิบัติตนตามหลักธรรมในขอใด 1. ทิศ 6 2. เบญจธรรม 3. อิทธิบาท 4 4. กุลจิรัฏฐิติธรรม 4

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 3. อิทธิบาท 4 คือ หลักธรรมที่นําไปสูความ สําเร็จ 4 ประการ ดังนี้ ฉันทะ มีใจรักในสิ่งที่ทํา วิริยะ มีความเพียรพยายาม จิตตะ มีจิตที่แนวแน วิมังสา มีการคิดไตรตรองดวยเหตุผล

เกร็ดแนะครู ครูใหนักเรียนชวยกันสืบคนประวัติและผลงานของบุคคลที่นําหลักธรรมทาง พระพุทธศาสนามาประยุกตใชในการดํารงชีวิตแลวประสบความสําเร็จในหนาที่ชีวิต การงาน โดยอาจสรุปประวัติและผลงานโดยสังเขปจัดทําเปนปายนิเทศ

นักเรียนควรรู 1 พุทธลักษณะ ลักษณะของสวนตางๆ ที่สังเกตเห็นไดจากพระพุทธรูป ซึ่งลักษณะในแตละสวนนั้นจะมีเอกลักษณเฉพาะที่แฝงไวดวยขอคิดจากธรรมะ เชน พระนาสิกเปนสันนูน หมายถึง การหายใจดวยตนเอง เปนการเตือนสติใหยึดมั่น การพึ่งตนเองเปนหลัก

คูมือครู

21


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูยกตัวอยางครอบครัวที่เปนแบบอยางใน การทําดี เชน ชวยเหลือกิจกรรมตางๆ ใน ชุมชน ประกอบอาชีพสุจริตจนประสบความ สําเร็จ สมาชิกในครอบครัวเปนคนดีมีการศึกษา ที่ดีมีงานทําที่ดี ฯลฯ รวมกันอภิปรายถึงแบบอยางความดี จากนั้นนําสนทนาถึงความสําคัญ ของสถาบันครอบครัวที่มีตอสังคมไทย และให นักเรียนชวยกันบอกหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ที่สงเสริมใหมนุษยพัฒนาครอบครัวของตนใหมี ความสุขและมีความเจริญรุงเรือง (แนวตอบ ครอบครัวเปนสถาบันแรกที่ทําหนาที่ เลี้ยงดูและอบรมบมสอนแบบแผนและวิธีปฏิบัติ ตนตามระเบียบของสังคมที่ถูกตองใหกับสมาชิก ในครอบครัว อีกทั้งยังมีบทบาทในการปลูกฝง ความคิด ความเชื่อ และพฤติกรรมตางๆ ของ สมาชิกที่จะแสดงออกตอสังคมอีกดวย ดังนั้น จึงกลาวไดวา สถาบันครอบครัวเปนสถาบันที่ เล็กที่สุดแตทรงคุณคาแกสังคมมากที่สุด เชน หากครอบครัวปลูกฝงใหสมาชิกเปนคนดีและ รูจักใฝรูใฝเรียนแลว ยอมเปนกําลังสําคัญในการ พัฒนาสังคมและประเทศชาติไปในทางที่ดีอยาง แนนอน สวนหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาที่ สงเสริมใหมนุษยพัฒนาครอบครัวของตนใหมี ความสุขและมีความเจริญรุงเรือง เชน กุลจิรัฏฐิติธรรม 4 และ ทิศ 6) 2. ครูและนักเรียนชวยกันยกตัวอยางเหตุการณ ตางๆ ที่แสดงใหเห็นถึงสภาพปญหาในสังคม เชน ปญหานักเรียนยกพวกทํารายกัน ปญหา อาชญากรรม เปนตน แลวใหนักเรียนชวยกัน บอกบทบาทของครอบครัวเพื่อแกปญหา เหลานั้น

๔.๒ พระพุทธศาสนากับการพัฒนาครอบครัว การพัฒนาครอบครัว คือ การปรับปรุงให้ครอบครัวดีขึ้น1 ครอบครัวที่ดี คือ ครอบครัวที่ มีความสงบสุข สมาชิกในครอบครัวมีความรักใคร่กัน สามัคคีปรองดองกัน ให้อภัยกันและกัน ไม่แก่งแย่งชิงดีกัน ผู้ปกครองหรือหัวหน้าครอบครัวมีความยุติธรรม การพัฒนาครอบครัวนั้นจึงเกี่ยวกับการพัฒนาตนเองของสมาชิกแต่ละคนภายในครอบครัว ถ้าสมาชิกในครอบครัวเป็นคนดีคนเก่ง ครอบครัวนั้นย่อมเจริญรุ่งเรือง มีความสงบสุข ในขณะ เดียวกัน ถ้าครอบครัวไม่สงบสุข การพัฒนาตนเองของสมาชิกก็เป็นไปได้ยาก ดังนั้น การพัฒนา ตนเองและครอบครัวจึงต้องด�าเนินไปด้วยกัน หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาที่ส่งเสริมให้มนุษย์ พัฒนาครอบครัวมีอยู่มากมาย แต่ที่ควรศึกษาไว้ในระดับนี้ เช่น กุลจิรัฏฐิติธรรม ๔ และ ทิศ ๖ กุลจิรัฏฐิติธรรม ๔ กุลจิรัฏฐิติธรรม ๔ คือ หลักธรรมเพื่อพัฒนาให้สกุลยั่งยืน มี ๔ ประการ ดังนี้ (๑) ของหมดรู้จักหามาไว้ (๒) ของเก่ารู้จักบูรณะซ่อมแซม (๓) รู้จักประมาณการกินการใช้ (๔) ตั้งผู้มีศีลธรรมเป็นพ่อบ้านแม่เรือน

ทิศ ๖ ทิศ ๖ คือ หลักธรรมที่บอกหน้าที่ที่บุคคลพึงปฏิบัติต่อกัน โดยหลักธรรมที่เกี่ยวเนื่องกับการ พัฒนาครอบครัว คือ ทิศเบื้องหน้า หรือบิดามารดา ซึ่งหลักเกณฑ์ที่บุตรธิดาพึงบ�ารุงบิดามารดา มีดังนี้ (๑) ท่านเลี้ยงมาแล้ว เลี้ยงท่านตอบ (๒) ช่วยท�าการงานของท่าน (๓) ด�ารงวงศ์ตระกูล (๔) ประพฤติตัวให้เหมาะสมกับความเป็นทายาท (๕) เมื่อท่านล่วงลับไปแล้ว ท�าบุญอุทิศให้ท่าน ส่วนบิดามารดาเองก็ม่ีหลักการอนุเคราะห์บุตรธิดา ดังนี้ (๑) ห้ามปรามจากความชั่ว (๒) ให้ตั้งอยู่ในความดี (๓) ให้ศึกษาศิลปวิทยา (๔) หาคู่ครองที่สมควรให้ (๕) มอบทรัพย์สมบัติให้ในโอกาสอันควร

๒๒

เกร็ดแนะครู ครูควรอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับหลักธรรมสําหรับการพัฒนาครอบครัว เชน ฆราวาสธรรม 4 ประกอบดวย สัจจะ (ความซื่อสัตย) ทมะ (ความขมใจ) ขันติ (ความอดทน) และจาคะ (ความเสียสละ)

นักเรียนควรรู 1 สามัคคี การรวมพลังกับผูอื่น เพื่อเพิ่มขีดความสามารถของตนในการกระทํา สิ่งใดสิ่งหนึ่งดวยความพรอมเพรียงใหสําเร็จผล ซึ่งความพรอมเพรียงจําแนกได 2 ประเภท ไดแก 1. ความพรอมเพรียงทางกาย คือ การชวยเหลือซึ่งกันและกันดวยกําลังกาย ใหสําเร็จลุลวง 2. ความพรอมเพรียงทางใจ คือ มีใจที่หวังดีตอกัน มีเจตนาที่จะแสดงความ คิดเห็นเพื่อพัฒนาไปในทิศทางที่ดี

22

คูมือครู

บูรณาการเชื่อมสาระ

ครูสามารถนําเนื้อหาเรื่อง หลักธรรมกุลจิรัฏฐิติธรรม 4 มาบูรณาการ เชื่อมโยงกับสาระการเรียนรูเศรษฐศาสตร เรื่อง การดําเนินชีวิตตามหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยใหนักเรียนยกตัวอยางการปฏิบัติตนตาม หลักธรรมดังกลาว พรอมกับอธิบายวามีความสอดคลองกับหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงอยางไร


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ขยายความเขาใจ

Expand

1. ครูและนักเรียนอภิปรายรวมกันวา นักเรียนมี วิธีปฏิบัติตนอยางไร เพื่อสงเสริมใหพระพุทธ ศาสนาดํารงอยูอยางมั่นคง บันทึกลงใน กระดาษ A4 (แนวตอบ ปฏิบัติตนตามหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาและเขารวมพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนาอยางสมํ่าเสมอ) 2. ครูจดั กิจกรรมเสวนา “ธรรมะกับการพัฒนาตน” โดยคัดเลือกตัวแทนนักเรียน 4 - 5 คน เปน ผูรวมเสวนา และคัดเลือกตัวแทนนักเรียน 1 - 2 คน เปนผูดําเนินการเสวนา 3. ครูใหนักเรียนเขียนเรียงความเกี่ยวกับการนํา หลักธรรม แนวคิดทางพระพุทธศาสนามาใช ในการเรียน โดยใหนักเรียนตั้งชื่อเรื่องให นาสนใจ

เรื่องน่ารู้ บทบาทของวัด วัดเป็นสถานที่ส�าคัญมากต่อสังคมไทย บทบาทส�าคัญ ต่างๆ ของวัด ที่มีต่อสังคมไทยมาอย่างยาวนาน มีดังนี้ ๑. เป็นสถานศึกษาของชาวบ้าน ในอดีตชาวบ้าน นิยมส่งบุตรหลานให้มาอยู่กับพระเพื่อศึกษาทั้งวิชาการ และ ศีลธรรม แม้ปัจจุบันบทบาทด้านนี้อาจไม่ชัดเจนนัก เนือ่ งจาก มีสถานศึกษามารับบทบาทนีแ้ ทน แต่ในโรงเรียนบางแห่งก็ยัง มีวัดอยู่ในบริเวณหรือมีวัดอุปถัมภ์อยู่ ๒. เป็นสถานสงเคราะห์ วัดจะรับบุตรหลานชาวบ้านที่ยากจนมาศึกษาเล่าเรียนฝึกฝนอาชีพพื้นฐาน ๓. เป็นสถานพยาบาล วัดบางแห่งพระสงฆ์มีความรู้ความสามารถในการรักษาโรคทั้งโรคทางกายและ จิตใจ อันเป็นการแบ่งเบาภาระของหน่วยงานราชการทางอ้อม ๔. เป็นที่พบปะสังสรรค์ของชาวบ้าน วัดมักเป็นศูนย์กลางที่ชาวบ้านจะมาพบปะสังสรรค์ ปรึกษาหารือ เรื่องราวต่างๆ ตลอดจนเป็นที่พักผ่อนหย่อนใจ ๕. เป็นสถานบันเทิง ในงานเทศกาลต่างๆ วัดมักมีงานมหรสพต่างๆ ส�าหรับชาวบ้าน ๖. เป็นศูนย์กลางศิลปวัฒนธรรม วัดเป็นเสมือนพิพิธภัณฑ์รวบรวมศิลปกรรมต่างๆ ของชาติไว้ ๗. เป็นคลังพัสดุ ส�าหรับเก็บของใช้ต่างๆ ที่ชาวบ้านได้ใช้ร่วมกัน หรือยืมไปใช้เมื่อมีงาน ๘. เป็นศูนย์ประสานงานของหน่วยราชการ เช่น เป็นสถานที่ที่ก�านันหรือผู้ใหญ่บ้านจะเรียกลูกบ้าน มาประชุมเพื่อแจ้งกิจกรรมต่างๆ เป็นหน่วยเลือกตั้ง เป็นต้น ๙. เป็นสถานที่ประกอบพิธีกรรม เนื่องจากวัดส่วนใหญ่จะมีสถานที่กว้างขวาง1 และมีข้าวของเครื่องใช้ เป็นต้น ครบถ้วน ดังนั้น จึงเป็นสถานที่ที่ชาวพุทธมักเลือกใช้ประกอบพิธีกรรมต่างๆ เช่น งานศพ เป

ตรวจสอบผล

Evaluate

1. ครูประเมินผลงานการเสวนา “ธรรมะกับการ พัฒนาตน” 2. ครูตรวจเรียงความเกี่ยวกับการนําหลักธรรม และแนวคิดทางพระพุทธศาสนามาใชในการ เรียน โดยพิจารณาจากความถูกตองของ รูปแบบการเขียนและความถูกตองของเนื้อหา

นับตั้งแต่พระเจ้าอโศกมหาราช มีพระราชด�าริให้ท�าการสั าการสังคายนาพระธรรม วินัย และส่งธรรมทูตเข้ามาเผยแผ่พระพุทธศาสนา จนมาประดิษฐานและเฟื่องฟูในดินแดน สุวรรณภูมิ อันเป็นถิ่นที่ตั้งของสยามประเทศในปัจจุบัน พระพุทธศาสนาได้รับการท�านุบ�ารุง ให้บริบูรณ์อยู่เสมอมานับแต่สมัยสุโขทัย อยุธยา ธนบุรี ตราบจนสมัยรัตนโกสินทร์ สถาบัน พระพุทธศาสนาจึงกลมกลืนเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับสังคมไทยอย่างย งยิ​ิ่งยวด วิถีการด�าเนิน ชีวิตของไทยส่วนใหญ่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของพระพุทธศาสนา สิ่งต่างๆ เหล่านี้จึงสะท้อนให้ เห็นว่าพระพุทธศาสนามีความส�าคัญเป็นอย่างยิ่งต่อสังคมไทย ไม่ว่าจะเป็นสถาบันหลักของ สังคมไทย เป็นสภาพแวดล้อมที่กว้างขวางครอบคลุมสังคมไทย รวมทั้งการมีหลักธรรม ที่จะน�าไปช่วยในการพัฒนาตนและครอบครัวของพุทธศาสนิกชนผู้นับถือ ๒๓

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

บทบาทสําคัญของวัดที่มีตอสังคมไทยในอดีตและปจจุบันเหมือนหรือ แตกตางกันอยางไร แนวตอบ ในอดีตวัดเปนสถานศึกษาของศาสนิกชนและเปนศูนยรวม ในการจัดงานตางๆ ของชุมชน แตในปจจุบันบทบาทสําคัญในสวนนี้ได กลายเปนของโรงเรียนและหนวยงานภาครัฐหรือเอกชนไปแลว วัดจึงมี บทบาทสําคัญในการเปนสถานที่ประกอบพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา และใหความรูทางธรรมแกชุมชน หรือใชเปนสถานที่จัดงานประเพณี วัฒนธรรมตางๆ

เกร็ดแนะครู ครูควรนํานักเรียนสนทนาเกี่ยวกับวัดที่อยูในทองถิ่นวายังคงมีบทบาทตาม ที่หนังสือเรียนระบุไวในดานใดบาง และสาเหตุที่ทําใหบทบาทของวัดบางดาน เริ่มเปลี่ยนแปลงในสังคมปจจุบัน

นักเรียนควรรู 1 งานศพ มีขั้นตอนตางๆ ในศาสนพิธีที่แฝงไปดวยปริศนาธรรม เชน การเคาะโลงรับศีล เปนการบอกคนที่มารวมงานวาอยาประมาทขาดสติ ไมสนใจในหลักธรรมคําสอน เพราะเมื่อตายไปแลวยอมหมดโอกาสในการทํา ความดี แมจะเคาะจนโลงแตกก็ลุกขึ้นมาไมได การสวดอภิธรรม เปนการสวดมนตเพื่อใหผูมีชีวิตมีสมาธิอยูกับเสียงสวด และนอมนําหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาไปปฏิบัติในชีวิตประจําวัน เปนตน คูมือครู

23


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engage

Explore

Explain

Expand

ตรวจสอบผล

ตรวจสอบผล Evaluate

Evaluate

ครูตรวจความถูกตองในการตอบคําถาม ประจําหนวยการเรียนรู

คíา¶าÁ»ระ¨íาËน‹วÂการàรÕÂนรÙŒ ๑. การสังคายนามีความส�าคัญอย่างไร จงสรุปการสังคายนาของพระพุทธศาสนานับตั้งแต่ ครั้งอดีต ๒. พระพุทธศาสนาเผยแผ่เข้ามาสู่ประเทศไทยเมื่อใด และแต่ละยุคสมัยมีพัฒนาการความ เป็นมาอย่างไร ๓. พระพุทธศาสนาได้เป็นศาสนาประจ�าชาติมาตั้งแต่สมัยใด และมีอะไรบ้างที่ปรากฏเป็น หลักฐานยืนยัน ๔. จงวิเคราะห์ถึงความส�าคัญของพระพุทธศาสนาที่มีต่อสังคมไทยมาพอสังเขป ๕. หลักธรรมข้อใดของพระพุทธศาสนาที่นักเรียนคิดว่ามีประโยชน์อย่างยิ่งในการน�าไปใช้ พัฒนาตนเองและครอบครัว ให้ประสบความส�าเร็จในการด�าเนินชีวิต

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู เรียงความเกี่ยวกับการนําแนวคิดทางพระพุทธศาสนามาใชในการเรียน

กÔ¨กรรÁสรŒา§สรรค พัฒนาการàรÕÂนรÙŒ กิจกรรมที่ ๑

ให้นักเรียนสรุปข้อมูลเกี่ยวกับการสังคายนาพระธรรมวินัยทั้ง ๑๐ ครั้ง น�าข้อมูลมาจัดท�าเป็นตารางให้สมบูรณ์ แล้วน�าส่งครูผู้สอน

กิจกรรมที่ ๒ จัดท�าแผนที่แสดงเส้นทางที่พระธรรมทูตภายใต้การอุปถัมภ์ของพระเจ้า อโศกมหาราช เดินทางไปเผยแผ่พระพุทธศาสนา ว่ามีดินแดนใดบ้าง แล้วน�าไปติดที่ป้ายนิเทศ กิจกรรมที่ ๓

นักเรียนสืบค้นข้อมูลเพิม่ เติมจากแหล่งเรียนรู้ เช่น จากหนังสือหรือสืบค้น จากอินเทอร์เน็ตในประเด็น “ความส�าคัญของพระพุทธศาสนาต่อสังคมไทย” แล้วน�ามาอภิปรายร่วมกันในชัน้ เรียน นักเรียนแต่ละคนสรุปผลการอภิปราย ส่งครูผู้สอน

พุทธศาสนสุภาษิต

âÅâ¡ »µ¶ÁÀÔ »µÚ¶ÁÀÔÚÀ¡Ô Ò àÁµµÒ àÁµµÒ ÚµÒ

:

àÁµµÒ¸ÃÃÁ໚¹à¤Ã×èͧ¤íéҨعâÅ¡

๒๔

แนวตอบ คําถามประจําหนวยการเรียนรู 1. การสังคายนาเปนการจัดหมวดหมูพระธรรมวินัยใหเปนระบบ เพื่อสรางความเขาใจที่ถูกตองใหกับพุทธบริษัทและสืบทอดพระพุทธศาสนาใหดํารงอยูอยางมั่นคง การสังคายนาเกิดขึ้นทั้งหมด 10 ครั้ง การสังคายนาครั้งแรกนั้นเกิดขึ้นหลังจากพระพุทธเจาปรินิพพานได 3 เดือน และกระทําติดตอกันมาอยางตอเนื่อง มีสาเหตุหลักมาจากความคลาดเคลื่อนของพระพุทธวจนะและมีขอวัตรปฏิบัติที่แตกตางกัน 2. พระพุทธศาสนาเผยแผเขาสูประเทศไทย เมื่อพระเจาอโศกมหาราชทรงสงคณะสมณทูตมาเผยแผยังดินแดนสุวรรณภูมิ และในแตละยุคสมัยนั้นพระมหากษัตริยจะเปน ผูใหการอุปถัมภพระพุทธศาสนาใหเจริญรุงเรืองเรื่อยมาจนถึงปจจุบัน 3. นับตั้งแตคนไทยสามารถรวมตัวกันกอตั้งอาณาจักรของตนเอง พิจารณาไดจากวัดวาอาราม ปูชนียสถาน ปูชนียวัตถุ และประเพณีพิธีกรรมตางๆ ของคนไทยที่สืบทอด ตอกันมา 4. ความสําคัญของพระพุทธศาสนาที่มีตอสังคมไทย แบงออกเปน 3 ดาน ไดแก ในฐานะที่เปนศาสนาประจําชาติ เปนสถาบันหลักของสังคมไทย และเปนสภาพแวดลอมที่ กวางขวางครอบคลุมสังคมไทย 5. หลักธรรมเบญจศีล เบญจธรรม อันเปนหลักธรรมที่วาดวยการรักษากาย วาจา ใจ ใหละเวนจากความชั่ว 5 ประการ และประพฤติปฏิบัติในสิ่งที่ดี 5 ประการ

24

คูมือครู


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.