คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº
˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº Í- .
ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน
กระบวนการสอนแบบ 5 Es ชวยสรางทักษะการเรียนรู กิจกรรมมุงพัฒนาทักษะการคิด คำถาม + แนวขอสอบเพื่อยกผลสัมฤทธิ์ O-NET กิจกรรมบูรณาการเตรียมพรอมสู ASEAN 2558
เอกสารประกอบคูมือครู
กลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ภูมิศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่
1
สําหรับครู
คูมือครู Version ใหม
ลักษณะเดน
ขยายพื้นที่รูปเลมใหญขึ้นกวาเดิม จัดแบงพื้นที่ออกเปนโซน เพื่อคนหาขอมูลไดงาย สะดวก รวดเร็ว และดูเปนระเบียบ กระตุน ความสนใจ
สํารวจคนหา
Engage
Explore
อธิบายความรู Explain
ขยายความเขาใจ Expand
ตรวจสอบผล
กระตุน ความสนใจ
Evaluate
สํารวจคนหา
Engage
Explore
อธิบายความรู Explain
ขยายความเขาใจ Expand
ตรวจสอบผล Evaluate
เปาหมายการเรียนรู สมรรถนะของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค
หน า
โซน 1 กระตุน ความสนใจ
Engage
สํารวจคนหา
Explore
อธิบายความรู
Explain
ขยายความเขาใจ
Expand
ตรวจสอบผล
หน า
หนั ง สื อ เรี ย น
โซน 1
หนั ง สื อ เรี ย น
Evaluate
ขอสอบเนน การคิด
แนว NT O-NE T
ขอสอบ
โซน 2
ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET
เกร็ดแนะครู
O-NET
บูรณาการเชื่อมสาระ
โซน 3
กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย
นักเรียนควรรู
โซน 3
โซน 2 บูรณาการอาเซียน มุม IT
No.
คูมือครู
คูมือครู
No.
โซน 1 ขั้นตอนการสอนแบบ 5Es
โซน 2 ชวยครูเตรียมสอน
โซน 3 ชวยครูเตรียมนักเรียน
เพื่อใหครูเตรียมจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยแนะนําขั้นตอนการสอนและ การจัดกิจกรรมแบบ 5Es อยางละเอียด เพื่อใหนักเรียนบรรลุตามตัวชี้วัด
เพื่อชวยลดภาระครูผูสอน โดยแนะนํา เกร็ดความรูสําหรับครู ความรูเสริมสําหรับ นักเรียน รวมทั้งบูรณาการความรูสูอาเซียน และมุม IT
เพื่อใหครูสะดวกตอการจัดกิจกรรม โดย แนะนํากิจกรรมบูรณาการเชือ่ มระหวางสาระหรือ กลุมสาระการเรียนรู วิชา กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย รวมถึงเนื้อหาที่เคยออกขอสอบ O-NET แนวขอสอบ NT/O-NET ทีเ่ นนการคิด พรอมเฉลยและคําอธิบายอยางละเอียด
ที่ใชในคูมือครู
แถบสีและสัญลักษณ
แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5Es เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด
1. แถบสี 5Es สีแดง
สีเขียว
กระตุน ความสนใจ
เสร�ม
สํารวจคนหา
Engage
2
•
เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุน ความสนใจ เพื่อโยง เขาสูบทเรียน
สีสม
อธิบายความรู
Explore
•
เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนสํารวจ ปญหา และศึกษา ขอมูล
สีฟา
Explain
•
เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนคนหา คําตอบ จนเกิดความรู เชิงประจักษ
สีมวง
ขยายความเขาใจ
ตรวจสอบผล
Expand
•
Evaluate
เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนนําความรู ไปคิดคนตอๆ ไป
•
เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน
2. สัญลักษณ สัญลักษณ
วัตถุประสงค
• เปาหมายการเรียนรู
• หลักฐานแสดง ผลการเรียนรู
• เกร็ดแนะครู
แทรกความรูเสริมสําหรับครู ขอเสนอแนะ ขอควรระวัง ขอสังเกต แนวทางการจัด กิจกรรมและอืน่ ๆ เพื่อประโยชนในการ จัดการเรียนการสอน ขยายความรูเพิ่มเติมจากเนื้อหา เพื่อให ครูนําไปใชอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียน ไดมีความรูมากขึ้น
•
ความรูห รือกิจกรรมเสริม ใหครูนาํ ไปใช เตรียมความพรอมใหกบั นักเรียนกอนเขาสู ประชาคมอาเซียนใน พ.ศ. 2558 โดย บูรณาการกับวิชาทีก่ าํ ลังเรียน
บูรณาการอาเซียน
•
คูม อื ครู
แสดงรองรอยหลักฐานตามภาระงาน ที่ครูมอบหมาย เพื่อแสดงผลการเรียนรู ตามตัวชี้วัด
• นักเรียนควรรู
มุม IT
แสดงเปาหมายการเรียนรูที่นักเรียน ตองบรรลุตามตัวชี้วัด ตลอดจนสมรรถนะ ที่จะตองมี และคุณลักษณะที่พึงเกิดขึ้น กับนักเรียน
แนะนําแหลงคนควาจากเว็บไซต เพื่อให ครูและนักเรียนไดเขาถึงขอมูลความรู ที่หลากหลาย ทั้งไทยและตางประเทศ
สัญลักษณ
ขอสอบ
วัตถุประสงค
O-NET
(เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ O-NET O-NET)
ขอสอบเนน การคิด
แนว NT O-NE T (เฉพาะระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนตน)
ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET (เฉพาะระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย)
บูรณาการเชื่อมสาระ
กิจกรรมสรางเสริม
กิจกรรมทาทาย
• ชีแ้ นะเนือ้ หาทีเ่ คยออกขอสอบ
O-NET โดยยกตัวอยางขอสอบ พรอมวิเคราะหคาํ ตอบ อยางละเอียด
• เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน
การคิดและเปนแนวขอสอบ NT/O-NET ในระดับมัธยมศึกษา ตอนตน มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด
• เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน
การคิดและเปนแนวขอสอบ O-NET ในระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด
• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม
เชือ่ มกับสาระหรือกลุม สาระ การเรียนรู ระดับชัน้ หรือวิชาอืน่ ทีเ่ กีย่ วของ
• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ซอมเสริมสําหรับนักเรียนทีค่ วร ไดรบั การพัฒนาการเรียนรู
• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ตอยอดสําหรับนักเรียนทีเ่ รียนรู ไดอยางรวดเร็ว และตองการ ทาทายความสามารถในระดับ ทีส่ งู ขึน้
คําแนะนําการใชคูมือครู การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน คูมือครู รายวิชา ภูมิศาสตร ม.1 จัดทําขึ้นเพื่อใหครูผูสอนนําไปใชเปนแนวทางวางแผนการสอนเพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน และประกันคุณภาพผูเ รียน ตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน (สพฐ.) โดยใชหนังสือเรียน ภูมิศาสตร ม.1 ของบริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด เปนสื่อหลัก (Core Material) ประกอบ เสร�ม การสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดกลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา 3 ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 โดยออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน ตามหลักการสําคัญ ดังนี้ 1 ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน คูมือครู รายวิชา ภูมิศาสตร ม.1 วางแผนการสอนโดยแบงเปนหนวยการเรียนรูตามลําดับสาระ (strand) และ หมายเลขขอของมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั แตละหนวยจะกําหนดเปาหมายการเรียนรูแ ละจุดประสงคการเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทางการประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชัดเจน ครูผูสอนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด สมรรถนะ และคุณลักษณะ อันพึงประสงคที่เปนเปาหมายการเรียนรูตามที่กําหนดไวในสาระแกนกลาง (ตามแผนภูมิ) และสามารถบันทึกผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของผูเรียนแตละคนลงในเอกสาร ปพ.5 ไดอยางมั่นใจ แผนภูมิแสดงความสัมพันธขององคประกอบการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผูเรียนเปนสําคัญ
พผ
ูเ
จุดปร
ะสง
คก า
ส ภา
รียน
ร
รู ีเรยน
มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชั้นป
ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู
กิจกรรมการเรียนรู
เทคนิคการสอน คูม อื ครู
2 การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ แนวคิ ด ในการจั ด การเรี ย นการสอนที่ ยึ ด ผู เ รี ย นเป น สํ า คั ญ พั ฒ นามาจากปรั ช ญาและทฤษฎี ก ารเรี ย นรู Constructivism ที่เชื่อวา การเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสรางความรู โดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดเรียนรูจากบทเรียนใหมกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา ผูเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีการสั่งสมความรูความเขาใจเกี่ยวกับสิ่งตางๆ ติดตัวมากอน ทีจ่ ะเขาสูห อ งเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากประสบการณและสิง่ แวดลอมรอบตัวผูเ รียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกิจกรรม เสร�ม การเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ผูสอนจะตองคํานึงถึง
4
1. ความรูเดิมของผูเรียน วิธีการสอนที่ดีจะตองเริ่มตนจากจุดที่วา ผูเ รียนมีความรูอ ะไรมาบาง แลวจึงใหความรู หรือประสบการณใหม เพื่อตอยอดจาก ความรูเดิม นําไปสูการสรางความรู ความเขาใจใหม
2. ความรูเดิมของผูเรียนถูกตองหรือไม ผูส อนตองปรับเปลีย่ นความรูค วามเขาใจเดิม ของผูเรียนใหถูกตอง และเปนพฤติกรรม การเรียนรูใ หมทมี่ คี ณุ คาตอผูเรียน เพื่อสราง เจตคติหรือทัศนคติที่ดีตอการเรียนรู สิ่งเหลานั้น
3. ผูเรียนสรางความหมายสําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมใหผูเรียนนําความรู ความเขาใจที่เกิดขึ้นไปลงมือปฏิบัติ เพื่อขยายความรูใหลึกซึ้งและมีคุณคา ตอตัวผูเรียนมากที่สุด
แนวคิด Constructivism เนนใหผูเรียนสรางความรูโดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูของตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศ
การเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณ ความรูใ หม เพือ่ กระตนุ ใหผเู รียนเชือ่ มโยงความรู ความคิด กับประสบการณทมี่ อี ยูเ ดิม แลวสังเคราะหเปนความรูห รือแนวคิดใหมๆ ไดดว ยตนเอง
3 การบูรณาการกระบวนการคิด การเรียนรูของผูเรียนแตละคนจะเกิดขึ้นที่สมอง ซึ่งเปนอวัยวะที่ทําหนาที่รูคิดภายใตสภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวย และไดรบั การกระตนุ จูงใจอยางเหมาะสม สอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของผูเ รียนแตละคน การจัดกิจกรรม การเรียนรูและสาระการเรียนรูที่สอดคลองกับความสนใจและมีความหมายตอผูเรียน จะชวยกระตุนใหสมองของผูเรียน สามารถรับรูและเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพตามขั้นตอนการทํางานของสมอง ดังนี้ 1. สมองจะเรียนรูและสืบคน โดยการสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง ปฏิบัติ จนทําใหคนพบความรูความเขาใจ ไดอยางรวดเร็ว
2. สมองจะแยกแยะคุณคาของสิ่งตางๆ โดยการตัดสินใจวิพากษวิจารณ แสดง ความคิดเห็น ยอมรับหรือตอตานตาม อารมณความรูสึกที่เกิดขึ้นในขณะที่เรียนรู
3. สมองจะประมวลเนื้อหาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสานกับ ความรูห รือประสบการณเดิมทีถ่ กู จัดเก็บอยูใ น สมอง ผานการกลัน่ กรองเพือ่ สังเคราะหเปน ความรูค วามเขาใจใหมๆ หรือเปนทัศนคติใหม ที่จะเก็บบรรจุไวในสมองของผูเรียน
การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะเกิดขึ้น เมื่อสมองรูคิด และตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมองผูเรียน โดยเริ่มตนจาก 1. ระดับการคิดพื้นฐาน ไดแก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล การสรุปผล เปนตน
คูม อื ครู
2. ระดับลักษณะการคิด ไดแก การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดไกล คิดหลากหลาย คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล เปนตน
3. ระดับกระบวนการคิด ไดแก กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ กระบวนการแกปญหา กระบวนการ คิดสรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะห เปนตน
5Es การจัดกิจกรรมตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ขั้นตอนการสอนที่สัมพันธกับขั้นตอนการคิดและการทํางานทางสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย คือ วัฏจักรการเรียนรู 5Es ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแตละหนวย ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1
กระตุนความสนใจ
(Engage)
เสร�ม
5
เปนขั้นที่ผูสอนนําเขาสูบทเรียน เพื่อกระตุนความสนใจของผูเรียนดวยเรื่องราวหรือเหตุการณที่นาสนใจโดยใชเทคนิควิธีการ และคําถามทบทวนความรูหรือประสบการณเดิมของผูเรียน เพื่อเชื่อมโยงผูเรียนเขาสูความรูของบทเรียนใหม ชวยใหผูเรียนสามารถ สรุปความสําคัญหัวขอและสาระการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอนการสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอมและสราง แรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน
ขั้นที่ 2
สํารวจคนหา
(Explore)
เปนขัน้ ทีผ่ สู อนเปดโอกาสใหผเู รียนลงมือศึกษา สังเกต หรือรวมมือกันสํารวจ เพือ่ ใหเห็นขอบขายของประเด็นหรือปญหา รวมถึง วิธีการศึกษาคนควา การรวบรวมขอมูลความรูที่จะนําไปสูการสรางความเขาใจประเด็นหรือปญหานั้นๆ เมื่อผูเรียนทําความเขาใจใน ประเด็นหรือปญหาที่จะศึกษาคนควาอยางถองแทแลว ก็ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธีการตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูที่เกี่ยวของกับประเด็นหรือปญหาที่ศึกษา
ขั้นที่ 3
อธิบายความรู
(Explain)
เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา ตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนคนหาคําตอบ และนําขอมูล ความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห สรุปผล และนําเสนอผลที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ ผังมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน ในขั้นตอนนี้ฝกใหผูเรียนใชสมองคิดวิเคราะหและสังเคราะห อยางเปนระบบ
ขั้นที่ 4
ขยายความเขาใจ
(Expand)
เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใชเทคนิควิธีสอนตางๆ ที่สงเสริมใหผูเรียนนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนสืบคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะ การเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน ผูเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยง กับประสบการณเดิมโดยนําขอสรุปทีไ่ ดไปใชอธิบายเหตุการณตา งๆ หรือนําไปปฏิบตั ใิ นสถานการณใหมๆ ทีเ่ กีย่ วของกับชีวติ ประจําวัน ของตนเอง เพื่อขยายความรูความเขาใจใหกวางขวางยิ่งขึ้น ในขั้นตอนนี้ฝกสมองของผูเรียนใหสามารถคิดริเริ่มสรางสรรคอยางมี คุณภาพ เสริมสรางวิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป
ขั้นที่ 5
ตรวจสอบผล
(Evaluate)
เปนขัน้ ทีผ่ สู อนประเมินมโนทัศนของผูเ รียน โดยตรวจสอบจากความคิดทีเ่ ปลีย่ นไปและความคิดรวบยอดทีเ่ กิดขึน้ ใหม ตรวจสอบ ทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด หรือการเคารพความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพื่อการ สรางสรรคความรูร ว มกัน ผูเ รียนสามารถประเมินผลการเรียนรูข องตนเอง เพือ่ สรุปผลวามีความรูอ ะไรเพิม่ ขึน้ มาบาง เกิดความเขาใจ มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ หรือในชีวิตประจําวันไดอยางไร ผูเรียนจะเกิดเจตคติ และเห็นคุณคาของตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง
การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนนผูเรียน เปนสําคัญอยางแทจริง เพราะสงเสริมใหผูเรียนไดเรียนรูตามขั้นตอนของกระบวนการสรางความรูดวยตนเอง และ ฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและกระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะชีวิต ทักษะการทํางาน และทักษะการ เรียนรูที่มีประสิทธิภาพ สงผลตอการยกระดับผลสัมฤทธิ์ของผูเรียน ตามเปาหมายของการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คูม อื ครู
O-NET การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ O-NET
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ในแตละหนวยการเรียนรู ทางผูจัดทํา จะเสนอแนะวิธีสอน รูปแบบกิจกรรมการเรียนรู พรอมทั้งออกแบบเครื่องมือวัดและประเมินผลที่สอดคลองกับตัวชี้วัด และสาระการเรียนรูแกนกลางไวทุกขั้นตอน โดยยึดหลักสําคัญ คือ หลักของการวัดและประเมินผล เสร�ม
6
1. การวัดและประเมินผลทุกครั้ง ควรนําผลมาปรับปรุงพัฒนาผูเรียน เปนรายบุคคล
2. การวัดและประเมินผลมี เปาหมาย เพื่อพัฒนาการเรียนรู ของผูเรียนจนเต็มศักยภาพ
3. การนําผลการวัดและประเมินผล ทุกครั้งมาวางแผนปรับปรุงกิจกรรม การเรียนการสอน การเลือกเทคนิค วิธีสอน และสื่อการเรียนรูให เหมาะสมกับสภาพจริงของผูเรียน
การทดสอบผูเรียน 1. การใชขอสอบอัตนัย เนนการอาน การคิดวิเคราะห และการเขียนเพิ่มมากขึ้น 2. การใชคําถามกระตุนการคิดควบคูกับการทําขอสอบที่เนนการคิดอยางตอเนื่องตามลําดับกิจกรรมการเรียนรู และตัวชี้วัด 3. การทดสอบตองดําเนินการทั้งกอนเรียน ระหวางเรียน และหลังเรียน การทดสอบควรใชขอสอบทั้งชนิดปรนัยและ อัตนัย และเปนการทดสอบเพื่อประเมินผลการเรียนของผูเรียนแตละคน เพื่อการสอนซอมเสริมใหบรรลุตัวชี้วัด ไดครบถวน 4. การสอบกลางภาค (ถามี) ควรนําแบบฝกหัดหรือขอสอบทีน่ กั เรียนสวนใหญไมสามารถตอบไดหรือไมครบถวนชัดเจน มา สรางเปนแบบทดสอบอีกครัง้ เพือ่ ตรวจสอบความรูค วามเขาใจทีถ่ กู ตอง และประเมินความกาวหนาของผูเ รียนแตละคน 5. การสอบปลายภาคเรียนเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามตัวชี้วัดที่สําคัญ ควรออกขอสอบใหมีลักษณะเดียวกับ ขอสอบ O-NET โดยเนนการคิดวิเคราะห สังเคราะห เชื่อมโยงประยุกตใช เพื่อสรางความคุนเคย และฝกฝน วิธีการทําขอสอบดวยความมั่นใจ 6. การนําผลการทดสอบของผูเรียนมาวิเคราะห โดยผลการสอบกอนการเรียนตองสามารถพยากรณผลการสอบ กลางภาค และผลการสอบกลางภาคตองทํานายผลการสอบปลายภาคของผูเ รียนแตละคน เพือ่ ประเมินพัฒนาการ ความกาวหนาของผูเรียนเปนรายบุคคล 7. ผลการทดสอบปลายป ปลายภาค ตองมีคาเฉลี่ยสอดคลองกับคาเฉลี่ยของการสอบ NT ที่เขตพื้นที่การศึกษา จัดสอบ รวมทั้งคาเฉลี่ยของการสอบ O-NET ชวงชั้นที่สอดคลองครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดสําคัญ เพือ่ สะทอนประสิทธิภาพของครูผสู อนในการออกแบบการเรียนรูแ ละประกันคุณภาพผูเ รียนทีต่ รวจสอบผลไดชดั เจน การจัดการเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ตองใหผูเรียนไดสั่งสมความรู ความเขาใจตามลําดับขั้นตอน ของกิจกรรมในวัฏจักรการเรียนรู 5Es เพื่อใหผูเรียนไดเติมเต็มองคความรูอยางตอเนื่อง จนสามารถปฏิบัติชิ้นงานหรือ ภาระงานรวบยอดของแตละหนวย ผานเกณฑประกันคุณภาพในระดับที่นาพึงพอใจ เพื่อรองรับการประเมินภายนอกจาก สมศ. ตลอดเวลา คูม อื ครู
ASEAN การเรียนรูสูประชาคมอาเซียน เพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรูบูรณาการอาเซียนศึกษา ผูจัดทําไดวิเคราะห มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดที่มีสาระการเรียนรูสอดคลองกับองคความรูเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนในแงมุมตางๆ ครอบคลุมทัง้ ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน เพื่อสงเสริมการเรียนรูใหผูเรียนเกิดความตระหนัก มีความรูความเขาใจเหมาะสมกับระดับชั้นและกลุมสาระ การเรียนรู โดยเสนอแนะวิธีการจัดกิจกรรมบูรณาการเนื้อหาสาระตางๆ ที่เปนประโยชนตอผูเรียนและเปนการชวย เตรียมความพรอมผูเ รียนทุกคนทีจ่ ะกาวเขาสูก ารเปนสมาชิกของประชาคมอาเซียนไดอยางมัน่ ใจตามขอตกลงปฏิญญา เสร�ม ชะอํา-หัวหิน วาดวยความรวมมือดานการศึกษาเพือ่ บรรลุเปาหมายประชาคมอาเซียนทีเ่ อือ้ อาทรและแบงปน จึงกําหนด 7 เปนนโยบายใหกระทรวงศึกษาธิการจัดการเรียนรูเตรียมความพรอมผูเรียนเขาสูประชาคมอาเซียนภายในป พ.ศ. 2558 ตามแนวปฏิบัติที่สําคัญ ดังนี้
การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน 1. การสรางความรูความเขาใจ และตระหนักถึงความสําคัญของ กฎบัตรอาเซียน และความรวมมือ ของ 3 เสาหลัก ซึง่ กฎบัตรอาเซียน ในขณะนี้มีสถานะเปนกฎหมายที่ ประเทศสมาชิกจะตองปฏิบัติตาม หลักการที่กําหนดไวเพื่อใหบรรลุ เปาหมายของกฎบัตรมาตราตางๆ
2. การสงเสริมหลักการ ประชาธิปไตยและการสราง สิ่งแวดลอมประชาธิปไตย เพื่อการอยูรวมกันอยางกลมกลืน ภายใตวิถีชีวิตอาเซียนที่มีความ หลากหลายดานสังคมและ วัฒนธรรม
4. การตระหนักในคุณคาของ สายสัมพันธทางประวัติศาสตร และมรดกทางวัฒนธรรมที่มี พัฒนาการรวมกัน เพื่อเชื่อม อัตลักษณและสรางจิตสํานึก ในการเปนประชากรของประชาคม อาเซียนรวมกัน
3. การสงเสริมการศึกษาดาน สิทธิมนุษยชน เพื่อสรางประชาคม อาเซียนใหเปนประชาคมเพื่อ ประชาชนอยางแทจริง สามารถ อยูรวมกันไดบนพื้นฐานการเคารพ ในคุณคาของศักดิ์ศรีแหงความ เปนมนุษยเทาเทียมกัน
5. การสงเสริมสันติภาพ ความ มั่นคง และความปรองดองในสังคม ทั้งระดับประเทศและภูมิภาคของ อาเซียนบนพื้นฐานสันติวิธีและการ อยูรวมกันดวยขันติธรรม
คูม อื ครู
การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
เสร�ม
8
1. การพัฒนาทักษะการทํางาน เพื่อเสริมสรางผูเรียนใหมีทักษะ วิชาชีพที่จําเปนสอดคลองกับ ความตองการของตลาดแรงงาน และสถานประกอบการในอาเซียน สามารถเทียบโอนผลการเรียน และการทํางานตามมาตรฐานฝมือ แรงงานในภูมิภาคอาเซียน
2. การเสริมสรางวินัย ความรับผิดชอบ และเจตคติรักการทํางาน สามารถพึ่งพาตนเอง มีทักษะชีวิต ดํารงชีวิตอยางมีความสุข เห็นคุณคา และภูมิใจในตนเอง ในฐานะที่เปนพลเมืองไทยและ อาเซียน
3. การเรียนรูเพื่อพัฒนาตนเอง อยางตอเนื่องตลอดชีวิต ใหมี ทักษะการทํางานตามมาตรฐาน อาชีพ และคุณวุฒิของวิชาชีพสาขา ตางๆ เพื่อรองรับการเตรียมเคลื่อน ยายแรงงานมีฝมือและการเปน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่ เขมแข็ง เพื่อสรางขีดความสามารถ ในการแขงขันในเวทีโลก
การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 1. การเสริมสรางความรวมมือ ในลักษณะสังคมที่เอื้ออาทร ของประชากรอาเซียน โดยยึด หลักการสําคัญ คือ ความงดงาม ของประชาคมอาเซียนมาจาก ความแตกตางและหลากหลายทาง วัฒนธรรมที่ลวนแตมีคุณคาตอ มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน ซึ่งประชาชนทุกคนตองอนุรักษ สืบสานใหยั่งยืน
2. การเสริมสรางคุณลักษณะ ของผูเรียนใหเปนพลเมืองอาเซียน ที่มีศักยภาพในการกาวเขาสู ประชาคมอาเซียนอยางมั่นใจ เปนผูที่มีสุขภาพสมบูรณแข็งแรง มีทักษะการสื่อสาร ทักษะการ ทํางาน ทักษะทางสังคม สามารถ ทํางานรวมกับผูอื่นไดอยาง สรางสรรค และมีองคความรู เกี่ยวกับอาเซียนที่จําเปนตอการ ดํารงชีวิตอยางมีคุณภาพ
4. การสงเสริมการเรียนรูดาน ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี วิถชี วี ติ ความเปนอยูข องเพือ่ นบาน ในอาเซียน เพื่อสรางจิตสํานึกของ ความเปนประชาคมอาเซียนและ ตระหนักถึงหนาที่ของการเปน พลเมืองอาเซียนรวมกัน
3. การสงเสริมการเรียนรูภาษา อังกฤษเพื่อการสื่อสารและการ ทํางานตามมาตรฐานอาชีพที่ กําหนดและสนับสนุนการเรียนรู ภาษาอาเซียนและภาษาเพื่อนบาน เพื่อชวยเสริมสรางสัมพันธภาพทาง สังคม และการอยูรวมกันอยางสันติ ทามกลางความหลากหลายทาง วัฒนธรรม
5. การสรางความรูและความ ตระหนักเกี่ยวกับดานสิ่งแวดลอม ปญหาและผลกระทบตอคุณภาพ ชีวิตของประชากรในภูมิภาค รวมทั้งแนวทางการพัฒนาอยาง ยั่งยืน ใหเปนมรดกสืบทอดแก พลเมืองอาเซียนในรุนหลังตอๆ ไป
กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศนโยบายการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) เพื่อเรงพัฒนาเด็ก และเยาวชนไทยใหเปนทรัพยากรมนุษยของชาติที่มีทักษะและความชํานาญ พรอมเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงและ การแขงขันทั้งในภูมิภาคอาเซียนและภูมิภาคอื่นๆ ของสังคมโลก ทั้งนี้ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และผูปกครอง ควรรวมมือกันอยางใกลชิดในการดูแลชวยเหลือผูเรียนและจัดประสบการณการเรียนรูเพื่อพัฒนาผูเรียนจนเต็มศักยภาพ เพื่อกาวเขาสูการเปนพลเมืองอาเซียนอยางมีเกียรติภูมิและศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของตน คณะผูจัดทํา คูม อื ครู
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 5
ภูมิศาสตร (เฉพาะชั้น ม.1)*
ภูมิศาสตร
มาตรฐาน ส 5.1 เขาใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธของสรรพสิ่งซึ่งมีผลตอกันและกันในระบบ ของธรรมชาติ ใชแผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตรในการคนหา วิเคราะห สรุป และใชขอมูล ภูมิสารสนเทศอยางมีประสิทธิภาพ ชั้น
ตัวชี้วัด
ม.1 1. เลือกใชเครื่องมือ ทางภูมิศาสตร (ลูกโลก แผนที่ กราฟ แผนภูมิ) ในการสืบคนขอมูล เพื่อวิเคราะห ลักษณะทางกายภาพ และสังคมของ ประเทศไทยและทวีป เอเชีย ออสเตรเลีย และโอเชียเนีย 2. อธิบายเสนแบงเวลา และเปรียบเทียบ วัน เวลา ของ ประเทศไทยกับทวีป ตางๆ 3. วิเคราะหเชื่อมโยง สาเหตุและแนวทาง ปองกันภัยธรรมชาติ และการระวังภัย ที่เกิดขึ้นใน ประเทศไทยและทวีป เอเชีย ออสเตรเลีย และโอเชียเนีย
สาระการเรียนรูแกนกลาง
หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน
• เครื่องมือทางภูมิศาสตร (ลูกโลก แผนที่ กราฟ • หนวยการเรียนรูท ี่ 1 แผนภูมิ ฯลฯ) ที่แสดงลักษณะทางกายภาพและ เครือ่ งมือทางภูมศิ าสตรและ การแบงเขตเวลาของโลก สังคมของประเทศไทยและทวีปเอเชีย ออสเตรเลียและโอเชียเนีย • หนวยการเรียนรูท ี่ 2 ภูมศิ าสตรประเทศไทย • หนวยการเรียนรูท ี่ 3 ภูมศิ าสตรทวีปเอเชีย • หนวยการเรียนรูท ี่ 4 ภูมศิ าสตรทวีปออสเตรเลีย และโอเชียเนีย • หนวยการเรียนรูท ี่ 1 • เสนแบงเวลาของประเทศไทยกับทวีปตางๆ เครือ่ งมือทางภูมศิ าสตรและ • ความแตกตางของเวลามาตรฐานกับเวลาทองถิน่ การแบงเขตเวลาของโลก • ภัยธรรมชาติและการระวังภัยทีเ่ กิดขึน้ ใน ประเทศไทยและทวีปเอเชีย ออสเตรเลียและ โอเชียเนีย
เสร�ม
9
• หนวยการเรียนรูท ี่ 5 ภัยธรรมชาติและการระวังภัย
มาตรฐาน ส 5.2 เขาใจปฏิสัมพันธระหวางมนุษยกับสภาพแวดลอมทางกายภาพที่กอใหเกิดการสรางสรรควัฒนธรรม มีจิตสํานึกและมีสวนรวมในการอนุรักษทรัพยากรและสิ่งแวดลอม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ชั้น
ตัวชี้วัด
สาระการเรียนรูแกนกลาง
ม.1 1. วิเคราะหผลกระทบ • การเปลี่ยนแปลงประชากร เศรษฐกิจ สังคม จากการเปลีย่ นแปลง และวัฒนธรรมในทวีปเอเชีย ออสเตรเลียและ โอเชียเนีย ทางธรรมชาติ • การกอเกิดสิ่งแวดลอมใหมทางสังคม ของทวีปเอเชีย • แนวทางการใชทรัพยากรของคนในชุมชน ใหใชไดนานขึ้น โดยมีจิตสํานึกรูคุณคาของ ออสเตรเลียและ ทรัพยากร โอเชียเนีย • แผนอนุรักษทรัพยากรในทวีปเอเชีย
หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน
• หนวยการเรียนรูท ี่ 2 ภูมศิ าสตรประเทศไทย • หนวยการเรียนรูท ี่ 3 ภูมศิ าสตรทวีปเอเชีย • หนวยการเรียนรูท ี่ 4 ภูมศิ าสตรทวีปออสเตรเลีย และโอเชียเนีย
_________________________________ * สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม. (กรุงเทพมหานคร : ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 119-130.
คูม อื ครู
ชั้น
เสร�ม
10
คูม อื ครู
ตัวชี้วัด
สาระการเรียนรูแกนกลาง
หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน
• หนวยการเรียนรูท ี่ 2 ภูมศิ าสตรประเทศไทย • หนวยการเรียนรูท ี่ 3 ภูมศิ าสตรทวีปเอเชีย • หนวยการเรียนรูท ี่ 4 ภูมศิ าสตรทวีปออสเตรเลียและ โอเชียเนีย 3. สํารวจและอธิบาย • ทําเลที่ตั้งกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมใน • หนวยการเรียนรูท ี่ 2 ทวีปเอเชีย ออสเตรเลียและโอเชียเนีย เชน ทําเลที่ตั้งกิจกรรม ภูมศิ าสตรประเทศไทย ศูนยกลางการคมนาคม ทางเศรษฐกิจและ • หนวยการเรียนรูท ี่ 3 สังคมในทวีปเอเชีย ภูมศิ าสตรทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย และ โอเชียเนีย โดยใช • หนวยการเรียนรูท ี่ 4 แหลงขอมูลที่หลาก ภูมศิ าสตรทวีปออสเตรเลียและ หลาย โอเชียเนีย • หนวยการเรียนรูท ี่ 2 4. วิเคราะหปจจัยทาง • ปจจัยทางกายภาพและสังคมที่มีผลตอการ กายภาพและสังคม เลื่อนไหลของความคิด เทคโนโลยี สินคา และ ภูมศิ าสตรประเทศไทย ที่มีผลตอการเลื่อน ประชากรในทวีปเอเชีย ออสเตรเลียและ • หนวยการเรียนรูท ี่ 3 โอเชียเนีย ไหลของความคิด ภูมศิ าสตรทวีปเอเชีย เทคโนโลยี สินคา และประชากรในทวีป • หนวยการเรียนรูท ี่ 4 เอเชีย ออสเตรเลีย ภูมศิ าสตรทวีปออสเตรเลียและ และโอเชียเนีย โอเชียเนีย
ม.1 2. วิเคราะหความรวม • ความรวมมือระหวางประเทศในทวีปเอเชีย ออสเตรเลียและโอเชียเนีย ที่มีผลตอ มือของประเทศ สิ่งแวดลอมทางธรรมชาติ ตางๆ ที่มีผลตอ สิ่งแวดลอมทาง ธรรมชาติของทวีป เอเชีย ออสเตรเลีย และโอเชียเนีย
คําอธิบายรายวิชา รายวิชา ภูมิศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 รหัสวิชา ส…………………………………
กลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ภาคเรียนที่ 1-2 เวลา 40 ชั่วโมง/ป
ศึกษา วิเคราะห เครือ่ งมือทางภูมศิ าสตรทแี่ สดงลักษณะทางกายภาพและสังคมของประเทศไทย ทวีปเอเชีย เสร�ม ออสเตรเลียและโอเชียเนีย เสนแบงเวลาของประเทศไทยกับทวีปตางๆ ภัยธรรมชาติและการระวังภัยทีเ่ กิดขึน้ ใน 11 ประเทศไทย ทวีปเอเชีย ออสเตรเลียและโอเชียเนีย ทําเลทีต่ งั้ กิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคม ปจจัยทางกายภาพ และสังคมทีม่ ผี ลตอการเลือ่ นไหลของความคิด เทคโนโลยี สินคาและประชากร การเปลีย่ นแปลงทางธรรมชาติ และ ความรวมมือของประเทศตางๆ ที่มีผลตอสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติของทวีปเอเชีย ออสเตรเลียและโอเชียเนีย โดยใชกระบวนการคิด กระบวนการสืบคนขอมูล กระบวนการปฏิบตั ิ กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชิญ สถานการณและแกปญหา กระบวนการกลุม เพื่อใหเกิดความรู ความเขาใจ ปฏิสัมพันธระหวางมนุษยกับสภาพแวดลอมทางกายภาพที่กอใหเกิด การสรางสรรควัฒนธรรม มีจิตสํานึก และมีสวนรวมในการอนุรักษทรัพยากรและสิ่งแวดลอม เพื่อการพัฒนา ที่ยั่งยืน ตัวชี้วัด ส 5.1 ส 5.2
ม.1/1 ม.1/1
ม.1/2 ม.1/2
ม.1/3 ม.1/3
ม.1/4 รวม 7 ตัวชี้วัด
คูม อื ครู
ตาราง
วิเคราะหมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด รายวิชา ภูมิศาสตร ม.1
คําชี้แจง : ใหผูสอนใชตารางนี้ตรวจสอบความสอดคลองของเนื้อหาสาระการเรียนรูในหนวยการเรียนรูกับมาตรฐาน การเรียนรูและตัวชี้วัดชั้นป
มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด เสร�ม
12
หนวยการเรียนรู หนวยการเรียนรูที่ 1: เครื่องมือทางภูมิศาสตรและการแบงเขต เวลาของโลก
✓
หนวยการเรียนรูที่ 2: ภูมิศาสตรประเทศไทย
✓
✓
หนวยการเรียนรูที่ 3: ภูมิศาสตรทวีปเอเชีย
✓
✓
หนวยการเรียนรูที่ 4: ภูมศิ าสตรทวีปออสเตรเลียและโอเชียเน�ย
✓
✓
หนวยการเรียนรูที่ 5: ภัยธรรมชาติและการระวังภัย
คูม อื ครู
สาระที่ 5 มาตรฐาน ส 5.1 มาตรฐาน ส 5.2 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด 1 2 3 1 2 3 4 ✓
✓
✓
✓
✓
✓
✓
✓
✓
✓
กระตุน ความสนใจ Engage
สํารวจคนหา Explore
อธิบายความรู Explain
ขยายความเขาใจ Expand
ตรวจสอบผล Evaluate
˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹
ÀÙÁÈÔ Òʵà Á.ñ
ªÑ¹é ÁѸÂÁÈÖ¡ÉÒ»‚·Õè ñ
¡ÅØ‹ÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒÊѧ¤ÁÈÖ¡ÉÒ ÈÒÊ¹Ò áÅÐÇѲ¹¸ÃÃÁ µÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ
¼ÙŒàÃÕºàÃÕ§
¼È. ÇÔâè¹ àÍÕèÂÁà¨ÃÔÞ ÃÈ. ´Ã. ÍÀÔÊÔ·¸Ôì àÍÕèÂÁ˹‹Í
¼ÙŒµÃǨ
ÃÈ. ´Ã. ÊҡŠʶԵÇÔ·Âҹѹ· ¼È. ÃÐÀվà ÊÒÁÒö ¹Ò§ÊÒÇÄ´ÕÇÃó ÁÒ´Õ¡ØÅ
ºÃóҸԡÒÃ
¹ÒÂÊÁà¡ÕÂÃµÔ ÀÙ‹ÃÐ˧É
¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè ñð
ʧǹÅÔ¢ÊÔ·¸ÔìµÒÁ¾ÃÐÃÒªºÑ- - ÑµÔ ISBN : 978-616-203-076-5 ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ òññóðøø
¤Œ¹¤ÇÒÁÃÙŒ¢ÂÒ¤ÇÒÁ¤Ô´¨Ò¡
¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè ñ ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ òñôóñóò
EB GUIDE
ที่พิมพกํากับหัวขอสําคัญในหนังสือเรียนหลักสูตรแกนกลางฯ ผาน www.aksorn.com ไปยังแหลงความรูทั่วไทย-ทั่วโลก
คณะผูจัดทําคูมือครู
ระวิวรรณ ตั้งตรงขันติ นราธิป แกวทอง
กระตุน ความสนใจ
สํารวจคนหา
Engage
อธิบายความรู
Explore
Explain
ขยายความเขาใจ
ตรวจสอบผล
Expand
Evaluate
¤íÒá¹Ð¹íÒ㹡ÒÃ㪌˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ หนังสือเรียน รายวิชาพืน้ ฐาน ภูมศิ าสตรเลมนี้ สรางขึน้ เพือ่ ใหเปนสือ่ สําหรับใชประกอบการเรียนการ สอนในรายวิชาพืน้ ฐาน กลุม สาระการเรียนรูส งั คมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน้ มัธยมศึกษาปที่ ๑ โดยเนือ้ หาตรงตามสาระการเรียนรูแ กนกลางขัน้ พืน้ ฐาน อานทําความเขาใจงาย ใหทงั้ ความรูแ ละชวย พัฒนาผูเ รียนตามหลักสูตรและตัวชีว้ ดั เนือ้ หาสาระแบงออกเปนหนวยการเรียนรูต ามโครงสรางรายวิชา สะดวก แกการจัดการเรียนการสอนและการวัดผลประเมินผล พรอมเสริมองคประกอบอืน่ ๆ ทีจ่ ะชวยทําใหผเู รียนไดรบั ความรูอ ยางมีประสิทธิภาพ à¹×éÍËҵçµÒÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹Ãٌ᡹¡ÅÒ§ ¨Ñ´¡ÅØ‹Áà¹×éÍËÒ໚¹Ë¹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ Êдǡᡋ¡ÒèѴ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹
ãËŒ¤ÇÒÁÃÙŒáÅÐàÍ×é͵‹Í¡ÒùíÒä»ãªŒÊ͹à¾×èÍ à¡ÃÔè¹¹íÒà¾×èÍãˌࢌÒ㨶֧ÊÒÃÐÊíÒ¤ÑÞ ãËŒºÃÃÅصÑǪÕéÇÑ´ áÅÐÊÌҧ¤Ø³ÅѡɳРÍѹ¾Ö§»ÃÐʧ¤ ã¹Ë¹‹Ç·Õè¨ÐàÃÕ¹ ดานสวาง
เสนสมมติที่ลากรอบโลก โดย ๒.๖) ศึกษาเสนขนานหรือเสนขนานละติจูด คือ น เสนขนานจะมีลกั ษณะเปนจุด และมีคา เทากับ ทุกเสนจะขนานกับเสนศูนยสตู ร ทีข่ วั้ โลกทัง้ สองดา ๙๐ องศาเมื่อวัดจากจุดใจกลางโลกไปจุดขั้วโลกนั้น ทรอปกออฟแคนเซอร เสนทรอเสนขนานที่สําคัญมี ๕ เสน คือ เสนศูนยสูตร เสน นแอนตารกติกเซอรเคิล ปกออฟแคปริคอรน เสนอารกติกเซอรเคิล และเส ะเอียดของขอมูลมากๆ จะตอง ลูกโลกมีขอจํากัดในการสราง เพราะถาตองการรายล ดังนั้น ถาตองการขอมูลรายละเอียดขนาดของ สรางลูกโลกขนาดใหญ ซึ่งตองลงทุนสูง ไมคุมคา งาย และใชงานไดสะดวกกวา ยได า นย อ ่ เคลื า กว ก ถู พื้นที่ใหไดมาก ควรทําลงในแผนที่เพราะราคา
๑ เครื่องมือทาง
หนวยการเรีย
นรูที่
ภูมิศาสต การแบงเขต รและ เวลา ของโลก
àÃ×Íè §¹‹ÒÃÙàŒ ¾ÔÁè àµÔÁ¨Ò¡à¹×Íé ËÒ ÁÕá·Ã¡à»š¹ÃÐÂÐæ
เสนอารกติกเซอรเคิล
แสงจาก ดวงอาทิตย เสนทรอปกออฟแคนเซอร เสนศูนยสูตร เสนทรอปกออฟแคปริคอรน
ตัวชี้วัด
แนวความสวางกับความมืด
เลือกใชเครื่อ งมื กราฟ แผนภ อทางภูมิศาสตร (ลูกโลก ูม ลักษณะทางก ิ) ในการสืบคนขอมูล เพื แผนที่ ่อ และทวีปเอเชี ายภาพและสังคมของประ วิเคราะห ย (ส ๕.๑ ม. ๑/๑)ออสเตรเลียและโอเชียเนี เทศไทย ย อธิบายเสนแบ ง เวลา และเ ของประเทศ ไทยกับทวีปต ปรียบเทียบวัน เวลา างๆ (ส ๕.๑ ม. ๑/๒)
●
●
ภาพแสดงแนวความสวางและควา
มมืด
วิธีการคํานวณ ใน ๑ วัน มี ๒๔ ชั่วโมง : โลกหมุน รอบตัวเองได = ๓๖๐ องศา ในชวงเวลา ๑ ชั่วโมง : โลกหมุน ไปได ×๑ = ๓๖๐ ดังนั้น ในชวงเวลา ๑ ชั่วโมง : โลกหมุ ๒๔ องศา นไปได = ๑๕ องศา หรือ ในทุกๆ ๑๕ องศา : เวลาจะ ตางกัน = ๑ ชั่วโมง
สาระการเรียนรู
แกนกลาง
เครื่องมือทางภ แผนภูมิ ฯลฯ) ูมิศาสตร (ลูกโลก แผนท สังคมของประ ที่แสดงลักษณะทางกายภาี่ กราฟ เทศไทย และท และโอเชียเนี วีปเอเชีย ออสเ พและ ย ตรเลยี เสนแบงเวลาข ความแตกตา องประเทศไทยกับทวีปต างๆ งของเวลามาตรฐ านกับเวลาท องถิ่น
●
● ●
น อาทิ สภาพภูมปิ ระเทศจริง นเครือ่ งมือทีม่ ปี ระโยชนมาก ใหขอ มูลหลายดา ภาพสวนหนึง่ ของโลกจาก google map ซึง่ เป จนเห็นแหลงชุมชนได ของทุกประเทศทัว่ โลก รวมทัง้ ดึงภาพเขามาดูระยะใกล
๑.๒ แผนที่ (map)
่ยวกับรูปลักษณะและที่ตั้งของสิ่งตางๆ แผนที่เปนสิ่งที่มนุษยสรางขึ้นเพื่อเสนอขอมูลเกี สัญลักษณแทนสิ่งตางๆ โดยทําลงในวัสดุพื้นที่ ที่ปรากฏอยูบนผิวโลกดวยการเขียนยอสวน และใช ประกอบดวย บนผิวโลก ประกอบด แบนราบหรือแผนกระดาษ ลักษณะของสิ่งที่แสดงปรากฏ ทะเล มหาสมุทร แมนํ้า เนินเขา ๑. สิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เชน ทวีปตางๆ น ต น เป ไม ภูเขา ที่ราบสูง ที่ราบ เกาะ พื้นที่ปา น เสนทางคมนาคม เขื่อน พื้นที่ ๒. สิ่งที่มนุษยสรางขึ้น เชน เมือง หมูบาน สนามบิ เกษตรกรรม เขตอุตสาหกรรม เปนตน
¡ÒÃÈÖ¡ ¢Í§Á¹ØÉ ÉÒàÃ×èͧÃÒǵ‹Ò§æ º¹ âÅ¡ ·Ñé§ÅÑ¡ ÅÑ É³Ð·Ò§´ 㪌à¤Ã×èͧÁ× ¡É³Ð·Ò§´ŒÒ¹¡ÒÂÀ ŒÒ¹Ê Í·Ò Ò¾ ÁÕ¢ŒÍÁÙÅ·Õèà §ÀÙÁÔÈÒʵà ઋ¹ á¼ ¢Í§âÅ¡ ÁÕ¤ÇÒÁ¨íÒ໚ ѧ¤Á ¡Ô´ ¹· ¹ änj͋ҧÅÐ ¨Ò¡¡ÒÃÊíÒÃǨ ¡Ò Õè ÅÙ¡âÅ¡ ໚¹µŒ¹ à¹× µŒÍ§ àÍÕ´ â´Â ÃÈÖ¡ÉÒ¾×é¹ èͧ¨Ò¡ ¼Ù ·Õ ʶҹ·µÕè Ò‹ §æ ¡çÊÒÁÒöŒÊ¹ã¨àÃ×èͧÃÒÇäÁ‹¨íÒ໚ è¢Í§´Ô¹á´¹µ‹Ò§æ ¹ ´Ñ§¡ÅÒ‹ Çä´ Œ ʋǹ¡ÒÃÈ àÃÕ¹ÃÙ¢Œ ÍŒ ÁÙÅ·Ò§ÀÙÁÈÔ µŒÍ§à´Ô¹·Ò§ä»Âѧ ¡Ö ÉÒàÃ×Íè §¡Ò Òʵà ¨Ò¡à ࢌÒ㨤ÇÒÁ ¤ÃÍ×è §Á×Í ÃẠᵠᵋÅзŒÍ§¶Ô ¡µ‹Ò§¢Í§àÇÅÒ áÅ §‹ ࢵàÇÅҢͧâÅ¡ ¨Ð· ÐÊÒÁÒöà è¹ä´Œ »ÃÕºà·ÕºàÇ Òí ãËŒ ÅÒã¹
๔
¹í Ò àʹÍà¹×é Í ËÒã¹ÃÙ » Ẻ¢Í§á¼¹·Õè á¼¹¼Ñ§ á¼¹ÀÙÁÔ à¾×èÍÊдǡ㹡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ áÅзíÒ¤ÇÒÁࢌÒ㨠แมนํ้าเพชรบุรี สถานีอนามัย
ถนน
๙๙ ํ๕๗
๙๙ ํ๕๖
๙๙ ํ๕๘
EB GUIDE
http://www.aksorn.com/LC/Geo/M1/01
๑๓ ํ๐๘
พิกัด ภูมิศาสตร เสนเมริเดียน
ทางรถไฟ สะพาน ๑๓ ํ๐๗
ที่วาการอําเภอ ศาลากลาง จังหวัด
โรงเรียน วัด
โรงพยาบาล
๑๓ ํ๐๖
มาตราสวน
มาตราสวน ๑ : ๕๐,๐๐๐
แผนที่จังหวัดเพชรบุรี ตัวอยางแผนที่ที่มีองคประกอบแผนที่ครบถวน
ตัวอยาง สัญลักษณในแผนที่ สัญลักษณ
ความหมาย
สัญลักษณ
ความหมาย โรงพยาบาล
ศาลากลางจังหวัด
วัด
ที่วาการอําเภอ
โรงเรียน
แมนํ้า
สถานีอนามัย
ถนน
สะพาน
ทางรถไฟ
่ง จาก ๓.๓) มาตราสวนแผนที่ อาจจะแสดงไวในรูปแบบใดรูปแบบหนึ ดังตอไปนี้
รูปแบบ
๐
๖
๑ : ๑๐๐,๐๐๐
มาตราสวนสัดสวน
๑ ซม. ตอ ๑ กม.
มาตราสวนคําพูด
๑
๒
๓
กม.
มาตราสวนเสน
๑๗
àÊÃÔÁÊÒÃШҡà¹×Íé Ëҹ͡à˹×ͨҡ ·ÕÁè ãÕ ¹ÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙጠ¡¹¡ÅÒ§ à¾×Íè à¾ÔÁè ¾Ù¹áÅТÂÒ¾ÃÁá´¹¤ÇÒÁÃÙ㌠ˌ ¡ÇŒÒ§¢ÇÒ§ÍÍ¡ä»
๓ แบบ
¤íÒ¶ÒÁ»ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒáÅСԨ¡ÃÃÁ ÊÌҧÊÃä ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒà¾×èÍãËŒ¼ÙŒàÃÕ¹ ÁդسÀÒ¾ºÃÃÅØÁҵðҹáÅеÑǪÕéÇÑ´
à ·ÃѾÂÒ¡  ÁÊíÒÃǨ ´ÒÇà·Õ ͧ»ÃÐà·Èä· ) áᢠn Satellite
เสนขนาน ละติจูด
ทิศ
เรื่องนารู เสนวันที่ (Date Line) คือ เสนสมมติ เสนเมริเดียนที่ ๑๘๐ องศา ทัง้ นีเ้ ป นผลจากการประชุมของนานาชาติ ที่กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. สหรัฐอเมริ กา เมื่อ พ.ศ. ๒๔๒๗ ที่จะหาวิ ธีการที่จะทําใหระบบวันเวลาของ ทั่วโลก ซึ่งมีกลางวัน กลางคืน และเวลา ประเทศตา งๆ ทองถิ่นแตกตางกัน เขามาอยูในระบบเด ียวกัน และสามารถเปรียบเทียบ วันเวลาเขาหากันได ที่ประชุมไดตกลงยึดเอาเสนเมริเดี ยนที่ ๑๘๐ องศา เปนเสนวันที่ และการแ ตะวันตก-ตะวันออกของเสนเมริเ บ ง เช น นี จ ้ ะทํ า ให เ วลาทางดาน ดียนที่ ๑๘๐ องศา มีเวลาตางกั นถึง ๒๔ ชั่วโมง ดังนั้น หากมีก เสนนี้จากซีกโลกตะวันตกไปซีก ารเดินทางขาม โลกตะวันออก เวลาจะเพิ่มขึ้น ๑ วัน แตถาเดินทางจากซีกโลกตะวั ซีกโลกตะวันตก เวลาจะลดลง ๑ นออกไป วัน
Web guide á¹Ð¹íÒáËÅ‹§¤Œ¹¤ÇŒÒ¢ŒÍÁÙÅ à¾ÔèÁàµÔÁ¼‹Ò¹Ãкº Online
µÑǪÕÇé ´Ñ áÅÐÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙጠ¡¹¡ÅÒ§ µÒÁ·ÕËè ÅÑ¡Êٵà ¡íÒ˹´ à¾×èÍãËŒ·ÃÒº¶Ö§à»‡ÒËÁÒÂ㹡ÒÃÈÖ¡ÉÒ
ชื่อแผนที่
ดานมืด แกนโลก
´Ç§
ÃÐ
tio Observa ซึ่งเปน and Earth ติของประเทศไทย(สทอภ.) ชา OS: Thail เทศ อส (THE จทรัพยากรธรรม และภมู สิ ารสน าศ รว วเทยี มธีอ ) หรอื ดา nsing) เพื่อใชสํา เทคโนโลยอี วก ส ote ich ั นา นพฒ ต (Tha ote Se ศฝรั่งเศ มไทยโช ยะไกล (Rem โดยมสี าํ นักงา im) ประเท ดาวเทวเทยี ียมสํารวจขอมูลทยระและรฐั บาลฝรัง่ เศสเสตรียม (EADS Astru ทยโชต เปนดา ะหวางรฐั บาลไ เอ ดี เอส แอ าวเทียมไ อี งแสดงด โครงการร นรวมกับบริษัท านบาท ภาพจําลอ ล ดําเนินงา มาณ ๖,๐๐๐ ระ ดวยงบป ินการเมื่อวันที่ เริ่มดําเน าคม พ.ศ. ๒๕๔๗ ๑๙ กรกฎ เดิมชื่อ ทยโชต ดาวเทียมไ สูอวกาศเมื่อ ขึ้น ๕๑ ียมธีออส ต วาดาวเท ลาคม พ.ศ. ๒๕ มไทยโช น. ๑ ตุ ดาวเทีย มา อยู ๑๓ : ๓๗ วันพุธที่ กลั บ าน ระเทศไทย จะ โค จร เวลาในป น. ตามเวลามาตรฐ เดิมและ ตําแหนง วด ใน ๓๗ จร : ง ส ๖ หรอื ๑๖ วัน กฐาน ในทุกๆ TC) จา ธรัฐ เดียวกัน รวจทรัพยากร สากล (U (Yasny) สหพัน จ าพบริเวณ รสาํ นี ทียมสํารว สัญญาณภ ลายดา น เชน กา ตน นอกจากนี้ เมืองยาส ง วเ ส ดา น แล ะ นับเป ชนใ นห นน เปน รัสเซีย ขอ งไ ทย จึงมีประโย นที่ การสรางถ ื่อถือได ดว งแ รก ต ยํา และเช รทาํ แผ ทยโชต ทรั พ ยา กร ตะวันออกเฉียงใ ปาไม กา เร็ว ชัดเจน แมน ดาวเทียมไ ก็ต เชีย ภาพจากอนใตของเกาะภูเ รวง มรวด ภูมิภาคเอ ยังมีควา ๕๔ กระท น ษณต ก ั ล ิ ๒๕ ม ภู ศ. แสดง ราคม พ. สํานักงา ่ ๒๐ มก ดมีหนังสือไปยัง เมื่อวันที ีไ ื่อใหมให ลย นช นโ ทา คโ าช ญ ละเท ื่อขอพระร ๒๕๕๕ ศาสตรแ หาดกะตะให เกาะโหลน วิทยา ารคณะรัฐมนตรี เพ ๑๘ มกราคม พ.ศ. บกลับ เลขาธิก อส ตอมาวันที่ นังสือตอ อย ีอ ตรี ไดม หี กรุณา หาดกะตะน ดาวเทียมธ าธกิ ารคณะรฐั มน อยูหัว ทรงพระ า า ลข า วว ะเจ นเ สํานักงา ะบาทสมเด็จพร ดา วเ ที ย มดั ง กล พร แหลมกา hote ตัง้ แต ทา นชื่ อ aic าช ความวา Th ะร า ล า ฯ พร อื่ ภาษาอังกฤษว คี วามหมายวา ช โป รด เก ช ยม และใหใ สืบไป โด ต” วย โช ๕๔ าไ ๒๕ ทย “ไ หาดร พ.ศ. รุงเรือง” ธันวาคม วันที่ ๑๐ ี่ทําใหประเทศไทย มท เกาะบอน “ดาวเทีย หาดในหาน
àÊÃÔÁÊÒ
เกาะมัน
๑๐
¤íÒ¶ÒÁ»ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ๑. จงยกตัวอยางเครื่องมือทางภูมิศาสตรพรอมอธิบายการใชประโยชนของเครื่องมือตางๆ ๒. แผนที่มคี วามจําเปนตอชีวิตประจําวันของนักเรียนอยางไรบาง ๓. ถานักเรียนไปเดินปาที่อุทยานแหงชาติเขาใหญ นักเรียนควรเตรียมเครื่องมือทาง ภูมิศาสตรอะไรบาง และเครื่องมือเหลานั้นมีประโยชนอยางไร ๔. เขตเวลามาตรฐานสากลมีความสําคัญและมีประโยชนอยางไร จงอธิบาย ๕. ประเทศไทยใชเขตเวลามาตรฐานทองถิ�นที่เทาใด และชาหรือเร็วกวาเวลาปานกลาง กรีนิชกี่ชั�วโมง
¡Ô¨¡ÃÃÁÊÌҧÊÃä ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ
หมเทพ
แหลมพร
๒๒
กิจกรรมที่ ๑
นักเรียนสํารวจชุมชนหรือทองถิ�นของตนหรือชุมชนใกลเคียง เก็บขอมูล ดานภูมลิ กั ษณ จํานวนประชากร การประกอบอาชีพ สถานศึกษา แลวนําเสนอ ขอมูลดวยรูปแบบใดรูปแบบหนึ�งทางภูมิศาสตร อาจนําเสนอผลงานเปน กลุมหรือเฉพาะบุคคลก็ได
กิจกรรมที่ ๒
นักเรียนแบงกลุมจัดทําแผนผังแสดงที่ตั้งของโรงเรียน โดยใชเครื่องมือ เชน แผนที่ รูปถายทางอากาศ หรือภาพจากดาวเทียม และใชเข็มทิศ เพื่อแสดง ตําแหนงของโรงเรียนกับสถานทีส่ าํ คัญใกลโรงเรียน ใชเครือ่ งมือวัดระยะทาง ใชเครื่องมือ GPS (ถามี) เพื่อกําหนดตําแหนงที่ตั้งของโรงเรียน โดยกําหนดมาตราสวนทีเ่ หมาะสม ใชสญั ลักษณตา งๆ ใหถกู ตอง ระบาย สีใหสวยงาม เสร็จแลวสงครูผสู อนพิจารณาคัดเลือกผลงานกลุม ทีด่ ที สี่ ดุ ๒-๓ กลุม นําไปแสดงที่ปายนิเทศ
กิจกรรมที่ ๓
นักเรียนยกตัวอยางเหตุการณที่เกิดขึ้นในตางประเทศ ๑ เหตุการณ เชน การแข ง ขั น ฟุ ต บอลในต า งประเทศแล ว นํ า มาเปรี ย บเที ย บกั บ เวลาใน ประเทศไทย โดยนําเสนอลงในสมุด
ภูมิศาสตร ประเทศไทย
กระตุน ความสนใจ Engage
ÊÒúÑ-
สํารวจคนหา Explore
˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè
ñ
˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè
ò
˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè
ó
อธิบายความรู Explain
ขยายความเขาใจ Expand
ตรวจสอบผล Evaluate
à¤Ã×èͧÁ×Í·Ò§ÀÙÁÔÈÒʵà áÅСÒÃẋ§à¢µàÇÅҢͧâÅ¡ à¤Ã×èͧÁ×ÍÊíÒ¤ÑÞ·Ò§ÀÙÁÔÈÒʵà ෤â¹âÅÂÕáÅÐÃٻẺ¢Í§¢ŒÍÁÙÅÀÙÁÔÈÒʵà ¡ÒÃẋ§à¢µàÇÅҢͧâÅ¡
ñ ò ñó ñõ
ÀÙÁÔÈÒʵà »ÃÐà·Èä·Â ÊÀÒ¾áÇ´ÅŒÍÁ·Ò§¡ÒÂÀÒ¾¢Í§ä·Â ÅѡɳлÃЪҡâͧä·Â ÅѡɳÐÊѧ¤ÁáÅÐÇѲ¹¸ÃÃÁ¢Í§ä·Â ÅѡɳÐàÈÃÉ°¡Ô¨¢Í§ä·Â »¯ÔÊÑÁ¾Ñ¹¸ ÃÐËÇ‹Ò§Á¹ØÉ ¡ÑºÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁã¹ä·Â ¡ÒÃ͹ØÃÑ¡É ·ÃѾÂҡøÃÃÁªÒµÔáÅÐÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ¢Í§ä·Â
òó òô ôñ ôó ôõ õò õó
ÀÙÁÔÈÒʵà ·ÇÕ»àÍàªÕ ÊÀÒ¾áÇ´ÅŒÍÁ·Ò§¡ÒÂÀÒ¾¢Í§·ÇÕ»àÍàªÕ ÅѡɳлÃЪҡâͧ·ÇÕ»àÍàªÕ ÅѡɳÐÊѧ¤ÁáÅÐÇѲ¹¸ÃÃÁ¢Í§·ÇÕ»àÍàªÕ ÅѡɳÐàÈÃÉ°¡Ô¨¢Í§·ÇÕ»àÍàªÕ »¯ÔÊÑÁ¾Ñ¹¸ ÃÐËÇ‹Ò§Á¹ØÉ ¡ÑºÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁã¹·ÇÕ»àÍàªÕ ¡ÒÃ͹ØÃÑ¡É ·ÃѾÂҡøÃÃÁªÒµÔáÅÐÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ¢Í§·ÇÕ»àÍàªÕÂ
õõ õö ÷ó ÷ö ÷ù øö øù
กระตุน ความสนใจ Engage
สํารวจคนหา Explore
˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè
˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè
ô õ
อธิบายความรู Explain
ขยายความเขาใจ Expand
ตรวจสอบผล Evaluate
ÀÙÁÔÈÒʵà ·ÇÕ»ÍÍÊàµÃàÅÕÂáÅÐâÍàªÕÂà¹Õ ÊÀÒ¾áÇ´ÅŒÍÁ·Ò§¡ÒÂÀÒ¾¢Í§·ÇÕ»ÍÍÊàµÃàÅÕÂáÅÐâÍàªÕÂà¹Õ ÅѡɳлÃЪҡâͧ·ÇÕ»ÍÍÊàµÃàÅÕÂáÅÐâÍàªÕÂà¹Õ ÅѡɳÐÊѧ¤ÁáÅÐÇѲ¹¸ÃÃÁ¢Í§·ÇÕ»ÍÍÊàµÃàÅÕÂáÅÐâÍàªÕÂà¹Õ ÅѡɳÐàÈÃÉ°¡Ô¨¢Í§·ÇÕ»ÍÍÊàµÃàÅÕÂáÅÐâÍàªÕÂà¹Õ »¯ÔÊÑÁ¾Ñ¹¸ ÃÐËÇ‹Ò§Á¹ØÉ ¡ÑºÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁã¹·ÇÕ»ÍÍÊàµÃàÅÕ áÅÐâÍàªÕÂà¹Õ ¡ÒÃ͹ØÃÑ¡É ·ÃѾÂҡøÃÃÁªÒµÔáÅÐÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ¢Í§ ·ÇÕ»ÍÍÊàµÃàÅÕÂáÅÐâÍàªÕÂà¹ÕÂ
ù÷ ùø ñð÷ ñðø ñðù
ÀѸÃÃÁªÒµÔáÅСÒÃÃÐÇѧÀÑ ÀѸÃÃÁªÒµÔ·ÕèÁÕÊÑÞÞÒ³àµ×͹ŋǧ˹ŒÒ ÀѸÃÃÁªÒµÔ·Õèà¡Ô´¢Ö鹩Ѻ¾Åѹ
ñòó ñòô ñóó
ºÃóҹءÃÁ
ñôð
ññô ññø
กระตุน ความสนใจ Engage
หน่วยการเรียนรู้ที่
สํารวจคนหา
อธิบายความรู
ขยายความเขาใจ
ตรวจสอบผล
Explore
Explain
Expand
Evaluate
๑
1. ใชเครื่องมือทางภูมิศาสตรในการสืบคนและ วิเคราะหลักษณะทางกายภาพและสังคมของ ประเทศไทย ทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลีย และโอเชียเนียได 2. อธิบายเสนแบงเวลา และเปรียบเทียบวัน เวลาของประเทศไทยกับทวีปตางๆ ได
เครื่องมือทาง ภูมิศาสตรและ การแบงเขตเวลา ของโลก
สมรรถนะของผูเรียน 1. 2. 3. 4.
ตัวชี้วัด ●
●
เลือกใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ (ลูกโลก แผนที่ กราฟ แผนภูมิ) ในการสืบค้นข้อมูล เพื่อวิเคราะห์ ลักษณะทางกายภาพและสังคมของประเทศไทย และทวีปเอเชีย ออสเตรเลียและโอเชียเนีย (ส ๕.๑ ม. ๑/๑) อธิบายเส้นแบ่งเวลา และเปรียบเทียบวัน เวลา ของประเทศไทยกับทวีปต่างๆ (ส ๕.๑ ม. ๑/๒)
● ●
ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการใชทักษะชีวิต ความสามารถในการใชเทคโนโลยี
คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. ใฝเรียนรู 2. มุงมั่นในการทํางาน
สาระการเรียนรู้แกนกลาง ●
เปาหมายการเรียนรู
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ (ลูกโลก แผนที่ กราฟ แผนภูมิ ฯลฯ) ที่แสดงลักษณะทางกายภาพและ สังคมของประเทศไทย และทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย และโอเชียเนีย เส้นแบ่งเวลาของประเทศไทยกับทวีปต่างๆ ความแตกต่างของเวลามาตรฐานกับเวลาท้องถิ่น
กระตุน ความสนใจ ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒàÃ×èͧÃÒǵ‹Ò§æ º¹âÅ¡ ·Ñé§Åѡɳзҧ´ŒÒ¹Êѧ¤Á ¢Í§Á¹ØÉ Åѡɳзҧ´ŒÒ¹¡ÒÂÀÒ¾¢Í§âÅ¡ ÁÕ¤ÇÒÁ¨íÒ໚¹µŒÍ§ 㪌à¤Ã×èͧÁ×Í·Ò§ÀÙÁÔÈÒʵà ઋ¹ á¼¹·Õè ÅÙ¡âÅ¡ ໚¹µŒ¹ à¹×èͧ¨Ò¡ ÁÕ¢ŒÍÁÙÅ·Õèà¡Ô´¨Ò¡¡ÒÃÊíÒÃǨ ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¾×é¹·Õè¢Í§´Ô¹á´¹µ‹Ò§æ änj͋ҧÅÐàÍÕ´ â´Â¼ÙŒÊ¹ã¨àÃ×èͧÃÒÇäÁ‹¨íÒ໚¹µŒÍ§à´Ô¹·Ò§ä»Âѧ ʶҹ·Õµè Ò‹ §æ ¡çÊÒÁÒöàÃÕ¹ÃÙ¢Œ ÍŒ ÁÙÅ·Ò§ÀÙÁÈÔ Òʵà ¨Ò¡à¤Ã×Íè §Á×Í ´Ñ§¡Å‹ÒÇä´Œ ʋǹ¡ÒÃÈÖ¡ÉÒàÃ×Íè §¡ÒÃẋ§à¢µàÇÅҢͧâÅ¡ ¨Ð·íÒãËŒ ࢌÒ㨤ÇÒÁᵡµ‹Ò§¢Í§àÇÅÒ áÅÐÊÒÁÒöà»ÃÕºà·ÕºàÇÅÒ㹠ᵋÅзŒÍ§¶Ôè¹ä´Œ
Engage
ครูนําตัวอยางเครื่องมือทางภูมิศาสตรมา สนทนากับนักเรียน แลวใหนักเรียนชวยกันบอกวา เครื่องมือแตละชนิดเรียกวาอะไร มีประโยชน อยางไร (แนวตอบ เชน ลูกโลกใชในการศึกษาทิศทาง การหมุนของโลก ใชศึกษาตําแหนงที่ตั้งของ ประเทศตางๆ เข็มทิศใชในการหาทิศของตําแหนง ตางๆ เปนตน)
เกร็ดแนะครู ครูควรจัดกิจกรรมการเรียนรูแบบเนนทักษะกระบวนการ เชน ทักษะการใช เครื่องมือทางภูมิศาสตรในการอานและแปลความหมายขอมูลเชิงภูมิศาสตรได โดยการจัดกิจกรรม ดังนี้ • นําเครื่องมือทางภูมิศาสตร เชน เข็มทิศ ลูกโลก แผนที่ประเทศไทย แผนที่ทวีปเอเชีย มาใหนักเรียนไดฝกการอานและแปลความ • สืบคนตัวอยางการนําเสนอขอมูลในรูปแบบตางๆ จากเว็บไซต • ฝกการเทียบวัน เวลาของประเทศไทยกับทวีปตางๆ
คูมือครู
1
กระตุน ความสนใจ Engage
สํารวจคนหา Explore
กระตุน ความสนใจ
อธิบายความรู Explain
Expand
Evaluate
๑. เครื่องมือสำาคัญทางภูมิศาสตร์ ภูมิศาสตร์ เป็นวิชาที่เกี่ยวกับการจัดการพื้นที่และสิ่งแวดล้อมที่มนุษย์อาศัยอยู่ ตลอดจน องค์ประกอบด้านสังคมมนุษย์ โดยใช้วิธีการและเทคนิค ตลอดจนเครื่องมือต่างๆ ในการศึกษา เครือ่ งมือทางภูมศิ าสตร์พนื้ ฐานทีน่ กั เรียนควรศึกษาทีส่ า� คัญ ได้แก่ ลูกโลก แผนที ่ เข็มทิศแม่เหล็ก รูปถ่ายทางอากาศ และภาพจากดาวเทียม
Explore
ครูใหนักเรียนไปศึกษาเกี่ยวกับลักษณะ ประโยชน และการใชลูกโลก จากหนังสือเรียนหนา 2-4 หรือจากแหลงเรียนรูอื่นๆ เชน หนังสือใน หองสมุด เว็บไซตในอินเทอรเน็ต เปนตน เพื่อนํามา อภิปรายในชั้นเรียน
อธิบายความรู
ตรวจสอบผล
Engage
ครูนําลูกโลกมาใหนักเรียนศึกษาและเรียนรู โดยขออาสาสมัครนักเรียนใหมาอธิบายสิ่งที่ปรากฏ บนลูกโลก (แนวตอบ บนลูกโลกมีชื่อประเทศ ชื่อมหาสมุทร ทะเล เกาะ และชื่อสถานที่สําคัญตางๆ)
สํารวจคนหา
ขยายความเขาใจ
๑.๑ ลูกโลก (globe) 1 ๑) ลักษณะและประโยชน์ของลูกโลก ลูกโลกเป็นหุ่นจ�าลองของโลกที่มีรูปร่าง
ลักษณะสัณฐานเป็นทรงกลม แสดงต�าแหน่งและการกระจายของพื้นที่ประเทศ ทวีป ทะเล และ มหาสมุทรต่างๆ ได้ตรงตามทีป่ รากฏบนพืน้ ผิวโลก ลูกโลกสร้างขึน้ จากวัสดุตา่ งๆ เช่น กระดาษอัด พลาสติก ยาง หรือสิ่งอื่นๆ ก็ได้ ลูกโลกที่สร้างมีฐานรองรับ โดยจะวางลูกโลกให้แกนขั้วโลกเหนือเอียงตามลักษณะ ที่โลกหมุนรอบตัวเองและโคจรรอบดวงอาทิตย์ ลูกโลกนอกจากจะแสดงรายละเอียดของทวีป มหาสมุทร ทะเล เกาะ และรายชือ่ ของสิง่ ต่างๆ แล้ว ยังมีเส้นเมริเดียนและเส้นขนานหรือเส้นขนาน ละติจดู มาตราส่วน เพื่อแสดงค่าระยะทางและประเมินขนาดพื้นที่ตามที่ปรากฏบนลูกโลก ๒) การใช้ลูกโลก ลูกโลกที่สร้างโดยมีฐานรองรับจะวางลูกโลกให้แกนขั้วโลกเหนือ งๆ ได้ ดังนี้ เอียงเป็นมุม ๒๓ ๒๑ องศากับแนวตั้งฉาก ดังนั้น จึงสามารถใช้ลูกโลกศึกษาข้อมูลต่างๆ ๒.๑) ศึกษาทิศทางการหมุน ของโลก โลกหมุนจากทิศตะวันตกไปทิศตะวันออก (กรณีมองไปทีเ่ ส้นศูนย์สตู ร) หรือหมุนทวน เข็มนาฬิกา (กรณีมองไปทางขัว้ โลกเหนือ) หรือ หมุนตามเข็มนาฬิกา (กรณีมองไปที่ขั้วโลกใต้) ดังนัน้ จึงกล่าวได้วา่ ลูกโลกหมุนจากทิศตะวันตก ไปทางทิศตะวันออก ส่งผลให้ปรากฏการณ์ การรับแสงอาทิตย์แรกจะอยูด่ า้ นตะวันออกของ ดินแดนต่างๆ ก่อน เช่น จังหวัดอุบลราชธานี ได้รับแสงสว่างก่อนกรุงเทพฯ ส่วนกรุงเทพฯ ได้รับแสงสว่างก่อนจังหวัดกาญจนบุรี พื้นที่ที่ ั แสงเป็นเวลากลางวัน ส�าหรับพืน้ ทีท่ ไี่ ม่ได้ ลูกโลกเป็นเครื่องมือที่ใช้ศึกษาต�าแหน่งและลักษณะต่างๆ ได้รบ ที่ปรากฏบนพื้นผิวโลก รับแสงเป็นเวลากลางคืน
Explain
ครูสุมใหนักเรียนออกมาสาธิตการหมุนลูกโลก เพื่อจําลองการหมุนของโลก และใหนักเรียน อภิปรายแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการหมุนของ โลก แลวสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับการใชลูกโลก ในการศึกษาปรากฏการณกลางวันและกลางคืน และฤดูกาลตางๆ
2
เกร็ดแนะครู ครูควรอธิบายเกี่ยวกับการเอียงของโลกวา โลกมีแกนเอียง 23 21 องศากับ แนวตั้งฉาก สงผลใหเกิดฤดูกาลและเวลาระหวางกลางวันและกลางคืนที่แตกตางกัน ในแตละพื้นที่ จากการที่ไดรับแสงอาทิตยไมเทากันในการโคจรรอบดวงอาทิตย ในเวลาหนึ่งป
นักเรียนควรรู 1 โลก ดาวเคราะหดวงหนึ่งในระบบสุริยะ ซึ่งเปนที่อยูของมนุษย มีขนาดใหญ อันดับที่ 5 ในจํานวนดาวเคราะหทั้ง 8 ดวง หางจากดวงอาทิตยเปนอันดับที่ 3 (อยูถัดจากดาวพุธและดาวศุกร) มีเสนผานศูนยกลางที่เสนศูนยสูตรยาว 12,755 กม. มีเนื้อที่บนผิวโลก 510.1 ลาน ตร.กม.
2
คูมือครู
ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET
เครื่องมือทางภูมิศาสตรมีความสําคัญตอมนุษยอยางไร 1. เปนเครื่องอํานวยความสะดวกในชีวิตประจําวัน 2. เปนพื้นฐานในการพัฒนาเทคโนโลยีในดานตางๆ 3. เปนเครื่องมือในการนําทรัพยากรมาใชประโยชนไดอยางคุมคา 4. เปนแหลงขอมูลใชในการดําเนินกิจกรรมตางๆ ไดอยางเหมาะสม วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 4. เครื่องมือทางภูมิศาสตรจะใหขอมูล ซึ่งเปนประโยชนในการดําเนินกิจกรรมตางๆ ของมนุษย เชน การเดินทาง การระวังภัยพิบัติ การสํารวจทรัพยากร เปนตน
กระตุนความสนใจ
สํารวจคนหา
Engage
Explore
อธิบายความรู Explain
ขยายความเขาใจ
ตรวจสอบผล
Expand
Evaluate
อธิบายความรู
1. ครูใหนักเรียนแบงกลุมเลนเกมนักสํารวจ โดยครูเขียนชื่อประเทศหรือสถานที่สําคัญ ลงในฉลาก ใหแตละกลุมผลัดกันจับฉลาก ดังกลาว เมื่อไดชื่อประเทศหรือสถานที่ใด ก็ใหสงตัวแทนกลุมออกมาชี้ตําแหนงที่ลูกโลก พรอมบอกตําแหนงที่ตั้งและอาณาเขตติดตอ กลุมใดสามารถบอกตําแหนงตามเวลา ที่กําหนดไดถูกตองมากกวาเปนฝายชนะ 2. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมที่ 1.1 จากแบบวัดฯ ภูมิศาสตร ม.1
ซีกโลกเหนือ ฤดูใบไม้ผลิ ซีกโลกใต้ ฤดูใบไม้ร่วง ๒๑ มีนาคม N
๐� ๐�
ซีกโลกเหนือ ฤดูร้อน ซีกโลกใต้ ฤดูหนาว ๒๑ มิถุนายน
S
ซีกโลกเหนือ ฤดูหนาว ฤดูร้อน ๐ � ซีกโลกใต้ ๒๒ ธันวาคม
ดวงอาทิตย์
๐ �
๐�
๐�
Explain
✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ ภูมิศาสตร ม.1 กิจกรรมที่ 1.1
๐�
หนวยที่ 1 เคร�อ่ งมือทางภูมศิ าสตรและการแบงเขตเวลาของโลก
ซีกโลกเหนือ ฤดูใบไม้ร่วง ซีกโลกใต้ ฤดูใบไม้ผลิ ๒๓ กันยายน
ต�าแหน่งการโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ และฤดูกาลของโลก
กิจกรรมตามตัวชี้วัด
กิจกรรมที่ ๑.๑ ใหนกั เรียนตอบคําถามเกีย่ วกับลูกโลกลงในพืน้ ทีท่ กี่ าํ หนดให
๒.๒) ศึกษาทวีปต่างๆ ทั้ง ๗ แห่ง ซึ่งประกอบด้วย ทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลีย และโอเชียเนีย ทวีปยุโรป ทวีปแอฟริกา ทวีปอเมริกาเหนือ ทวีปอเมริกาใต้ และทวีปแอนตาร์กติกา ว่าอยู่ตรงส่วนใดของโลก มีขนาด และรูปร่างอย่างไร มีอาณาเขตติดกับทวีปและมหาสมุทรใดบ้าง ๒.๓) ศึกษาต�าแหน่งที่ตั้งของประเทศต่างๆ ว่าอยู่ตรงส่วนใดของโลก มีขนาด รูปร่าง ลักษณะ อาณาเขต และพรมแดนติดต่อกับประเทศใดบ้าง ศึกษามหาสมุทรทั้ง ๔ แห่ง ซึ่งประกอบด้วย มหาสมุทรแปซิฟิก มหาสมุทรแอตแลนติก มหาสมุทรอินเดีย และมหาสมุทร อาร์กติก ว่ามีอาณาเขตติดต่อกับดินแดนใด และมีรูปร่างอย่างไร ๒.๔) ศึกษาการโคจรของโลก โดยการน� โดยการน�าลูกโลกวางตามแนวเส้นวงรีที่โลกโคจร รอบดวงอาทิตย์ การใช้ประโยชน์จากลูกโลกข้อนี้ เพื่อที่จะได้เห็นต�าแหน่งการรับแสงอาทิตย์ที่ แตกต่างกัน ซึ่งส่งผลท�าให้ต�าแหน่งบนพื้นโลกได้รับแสงมากน้อยและยาวนานแตกต่างกันจนเกิด เป็น ฤดูกาล ของพื้นที่ต่างๆ ๒.๕) ศึกษาเส้นเมริเดียน คือ เส้นสมมติที่ลากจากขั้วโลกเหนือถึงขั้วโลกใต้ เมริเดียนแต่ละเส้นจะห่างกันมากทีส่ ดุ ตรงบริเวณเส้ วณเส้นศูนย์สตู ร และจะชิ ร และจะชิดกันเมือ่ ใกล้ขวั้ โลกทัง้ สอง ด้าน เส้นเมริเดียนกรีนิชมีค่าเท่ากับ ๐ องศา เรียกว่า เมริ เมริเดียนแรก นแรก (prime meridian) และเส้ (prime meridian) และเส้น เมริเดียน ๑๘๐ องศา เรียกว่า เส้นวันที่ (date line)
(ส ๕.๑ ม.๑/๑)
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
õ
ลูกโลก คืออะไร
หุนจําลองของโลกที่มีลักษณะสัณฐานทรงกลม แสดงตําแหนงและการกระจายของพื้นที่ประเทศ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ทวีป ทะเล และมหาสมุทรตางๆ ไดตรงตามที่ปรากฏบนพื้นโลก ลูกโลกสรางขึ้นจากวัสดุตางๆ เชน …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. กระดาษอัด พลาสติก ยาง เปนตน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
ฉบับ
เฉลย
ขอมูลที่แสดงบนลูกโลกมีอะไรบาง
๒
ลูกโลกมีประโยชนอยางไร
๑.…………………………………………………………………………………………. แสดงตําแหนงและการกระจายของพืน้ ทีป่ ระเทศ ทวีป ทะเล และมหาสมุทรตางๆ …………………………………………………………………………………………. ๒. แสดงลักษณะภูมปิ ระเทศของประเทศตางๆ ทัว่ โลก …………………………………………………………………………………………. ๓. แสดงที่ ตั้ ง อาณาเขต และเมื อ งหลวงของ …………………………………………………………………………………………. ประเทศตางๆ …………………………………………………………………………………………. ๔.…………………………………………………………………………………………. แสดงกระแสนํา้ สําคัญในมหาสมุทร ๕. แสดงเสนเมริเดียนและเสนขนานหรือเสนละติจดู …………………………………………………………………………………………. มาตราสวน …………………………………………………………………………………………. ๖.…………………………………………………………………………………………. แสดงชือ่ ของสิง่ ตางๆ เชน แมนาํ้ ภูเขา เปนตน
๑.………………………………………………………………………………. หาคาพิกัดทางภูมิศาสตร การหาคา ละติจูดและลองจิจูด ………………………………………………………………………………. ๒. หาเวลาตามแนวเสนเมริเดียน ………………………………………………………………………………. ๓. ศึกษาทิศทางการหมุนของโลก ………………………………………………………………………………. ๔. ศึกษาทวีปตางๆ ของโลก ………………………………………………………………………………. ๕. ศึกษาการเกิดกลางวัน กลางคืน ………………………………………………………………………………. ๖.………………………………………………………………………………. ศึกษาการเกิดฤดูกาล ๗. ศึกษาตําแหนงที่ตั้งของประเทศตางๆ ………………………………………………………………………………. ๘. ศึกษาการโคจรของโลก ……………………………………………………………………………….
………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………….
(พิจารณาคําตอบของนักเรียน โดยใหอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน)
3
ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET
ในชวงเดือนกรกฎาคม ประเทศญี่ปุนตรงกับฤดูกาลในขอใด 1. ฤดูรอน 2. ฤดูหนาว 3. ฤดูใบไมรวง 4. ฤดูใบไมผลิ
วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 1. ในชวงเดือนกรกฎาคมเปนชวงที่โลกโคจร รอบดวงอาทิตย โดยเอียงไปทางซีกโลกเหนือ ดังนั้น ประเทศที่อยูในแถบ ซีกโลกเหนือจึงไดรับพลังงานความรอนจากดวงอาทิตย ทําใหประเทศญี่ปุน ซึ่งตั้งอยูแถบซีกโลกหนือเกิดฤดูรอนในชวงเดือนดังกลาว
เกร็ดแนะครู ครูอธิบายเกี่ยวกับตําแหนงการโคจรของโลกรอบดวงอาทิตยและฤดูกาลโลก - วันที่ 21 มีนาคม เปนวันที่ดวงอาทิตยทํามุมตั้งฉากที่เสนศูนยสูตร จึงทําให ซีกโลกเหนือและซีกโลกใตมีเวลาชวงละ 12 ชั่วโมงเทากัน ฤดูกาลในซีกโลก เหนือ คือ ฤดูใบไมผลิ และซีกโลกใต คือ ฤดูใบไมรวง - วันที่ 21 มิถุนายน เปนวันที่ดวงอาทิตยทํามุมตั้งฉากที่เสนทรอปกออฟแคนเซอร ทําใหซีกโลกเหนือ คือ ฤดูรอน และเกิดปรากฏการณพระอาทิตย เที่ยงคืน สวนซีกโลกใต คือ ฤดูหนาว - วันที่ 23 กันยายน เปนวันที่ดวงอาทิตยทํามุมตั้งฉากที่เสนศูนยสูตร จึงทําให ซีกโลกเหนือและซีกโลกใตมีเวลาชวงละ 12 ชั่วโมงเทากัน สวนฤดูกาลใน ซีกโลกเหนือ คือ ฤดูใบไมรวง และซีกโลกใต คือ ฤดูใบไมผลิ - วันที่ 22 ธันวาคม เปนวันที่ดวงอาทิตยทํามุมตั้งฉากที่เสนทรอปกออฟแคปริคอรน ทําใหซีกโลกเหนือ คือ ฤดูหนาว สวนซีกโลกใต คือ ฤดูรอน และ เกิดปรากฏการณพระอาทิตยเที่ยงคืน คูมือครู
3
กระตุนความสนใจ
สํารวจคนหา
Engage
Explore
อธิบายความรู
อธิบายความรู Explain
ขยายความเขาใจ
ตรวจสอบผล
Expand
Evaluate
Explain
1. ครูนําเสนอถึงเสนที่ปรากฏบนลูกโลก เชน • เสนศูนยสูตร แบงโลกเปนซีกโลกเหนือและ ซีกโลกใต • เสนเมริเดียน เปนเสนที่ลากจากขั้วโลกเหนือ มาถึงขั้วโลกใต • เสนเมริเดียนแรก มีคาเทากับ 0 องศา ที่เมืองกรีนิช สหราชอาณาจักร • เสนเมริเดียน 180 องศา เรียกวา เสนวันที่ • เสนขนานละติจูด เปนเสนที่ขนานกับ เสนศูนยสูตร 2. ครูใหนักเรียนฝกการใชลูกโลก โดยครูบอกชื่อ ประเทศหรือทวีป แลวใหนักเรียนอานและแปล ความหมายจากลูกโลก 3. นักเรียนรวมกันสรุปสาระสําคัญเกี่ยวกับ ประโยชน ความสําคัญ และวิธีการใชลูกโลก เพื่อที่จะไดนําไปใชไดอยางถูกตองตอไป
1 ๒.๖) ศึกษาเส้นขนานหรือเส้นขนานละติจูด คือ เส้นสมมติที่ลากรอบโลก โดย ทุกเส้นจะขนานกับเส้นศูนย์สตู ร ทีข่ วั้ โลกทัง้ สองด้าน เส้นขนานจะมีลกั ษณะเป็นจุด และมีคา่ เท่ากับ ๙๐ องศาเมื่อวัดจากจุดใจกลางโลกไปจุดขั้วโลกนั้น เส้นขนานที่ส�าคัญมี ๕ เส้น คือ เส้นศูนย์สูตร เส้นทรอปกออฟแคนเซอร์ เส้นทรอปกออฟแคปริคอร์น เส้นอาร์กติกเซอร์เคิล และเส้นแอนตาร์กติกเซอร์เคิล ลูกโลกมีข้อจ�ากัดในการสร้าง เพราะถ้าต้องการรายละเอียดของข้อมูลมากๆ จะต้อง สร้างลูกโลกขนาดใหญ่ ซึ่งต้องลงทุนสูง ไม่คุ้มค่า ดังนั้น ถ้าต้องการข้อมูลรายละเอียดขนาดของ พื้นที่ให้ได้มาก ควรท�าลงในแผนที่เพราะราคาถูกกว่า เคลื่อนย้ายได้ง่าย และใช้งานได้สะดวกกว่า
ภาพส่วนหนึง่ ของโลกจาก google map ซึง่ เป็นเครือ่ งมือทีม่ ปี ระโยชน์มาก ให้ขอ้ มูลหลายด้าน อาทิ สภาพภูมปิ ระเทศจริง ของทุกประเทศทัว่ โลก รวมทัง้ ดึงภาพเข้ามาดูระยะใกล้จนเห็นแหล่งชุมชนได้
๑.๒ แผนที่ (map)
แผนที่เป็นสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อเสนอข้อมูลเกี่ยวกับรูปลักษณะและที่ตั้งของสิ่งต่างๆ ที่ปรากฏอยู่บนผิวโลกด้วยการเขียนย่อส่วน และใช้สัญลักษณ์แทนสิ่งต่างๆ โดยท�าลงในวัสดุพื้นที่ แบนราบหรือแผ่นกระดาษ ลักษณะของสิ่งที่แสดงปรากฏบนผิวโลก ประกอบด โลก ประกอบด้วย ๑. สิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เช่น ทวีปต่างๆ ทะเล มหาสมุทร แม่น�้า เนินเขา ภูเขา ที่ราบสูง ที่ราบ เกาะ พื้นที่ป่าไม้ เป็นต้น ๒. สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น เมือง หมู่บ้าน สนามบิน เส้นทางคมนาคม เขื่อน พื้นที่ เกษตรกรรม เขตอุตสาหกรรม เป็นต้น 4
EB GUIDE
เกร็ดแนะครู ครูควรใหนักเรียนแบงกลุม เพื่อศึกษาขอมูลทางภูมิศาสตรระดับจังหวัด และระดับตําบล ซึ่งเปนพื้นที่ที่นักเรียนอาศัยอยู โดยใชโปรแกรม Google Map
นักเรียนควรรู 1 เสนขนานละติจูด เสนสมมติบนผิวโลก ซึ่งจุดทุกจุดบนเสนสมมตินั้นมีคา เทากัน เสนขนานละติจูดทุกเสนบนผิวโลกเปนขอบวงกลมขนานกับเสนศูนยสูตร และมีชื่ิอเรียกตามคาของละติจูด เชน เสนขนานละติจูด 17 องศาเหนือ เปนตน
4
คูมือครู
http://www.aksorn.com/LC/Geo/M1/01
ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET
ลูกโลกมีประโยชนในการศึกษาภูมิศาสตรทางดานใด 1. โครงสรางของโลก 2. ชั้นบรรยากาศของโลก 3. ที่ตั้งของประเทศตางๆ 4. การเปลี่ยนแปลงลักษณะพื้นผิวโลก วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 3. ลูกโลกเปนหุนจําลองของโลกที่สามารถแสดง ตําแหนงของพื้นที่ประเทศ ทวีป ทะเลและมหาสมุทรตางๆ ไดตรงตาม ที่ปรากฎที่ผิวโลก จึงสามารถใชศึกษาที่ตั้งของประเทศตางๆ
กระตุน ความสนใจ Engage
สํารวจคนหา Explore
อธิบายความรู Explain
ขยายความเขาใจ
ตรวจสอบผล
Expand
Evaluate
กระตุน ความสนใจ
Engage
ครูนําตัวอยางแผนที่มาใหนักเรียนดูแลวให นักเรียนบอกวา เปนแผนที่ชนิดใด พรอมทั้งให นักเรียนบอกลักษณะสําคัญ และประโยชนของ แผนที่เหลานั้น เชน แผนที่ทางหลวงเปนแผนที่ เฉพาะเรื่องที่แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับถนน สายหลักของประเทศ สามารถใชประโยชน ในการเดินทางไปยังสถานที่ตางๆ
แผนที่นอกจากจะมีข้อมูลลักษณะของสิ่งที่ปรากฏบนผิวโลกแล้ว แผนที่ยังแสดงข้อมูล สิ่งต่างๆ ไว้เพื่อใช้เป็นข้อมูลและหลักฐาน ทั้งนี้เพราะในสภาพพื้นที่จริงจะไม่มีสิ่งต่อไปนี้ เช่น • เส้นแบ่งเขตแดนระหว่างประเทศ เพื่อแสดงแนวพรมแดนและอาณาเขตติดต่อ • เส้นเมริเดียนและเส้นขนาน เพื่อแสดงเส้นโครงแผนที่แบบต่างๆ • มาตราส่วนแผนที่ เพื่อแสดงอัตราส่วนระหว่างระยะทางบนแผนที่กับระยะทางจริง ๑) ความส�าคัญและประโยชน์ของแผนที ่ ได้แก่ ๑. สามารถค้นคว้าศึกษาข้อมูลของสิง่ ต่างๆ ในพืน้ ทีไ่ ด้อย่างถูกต้องโดยไม่จา� เป็น ต้องเดินทางไป ท�าให้ประหยัดทั้งเวลาและค่าใช้จ่าย ๒. การศึกษาข้อมูลจากแผนที่จะได้ทั้งข้อมูลเฉพาะจุด และเห็นข้อมูลที่ห่างไกล ออกไปได้อย่างกว้างขวาง ๓. ข้อมูลจากแผนที่จะช่วยท�าให้สามารถวางแผนการจัดการพื้นที่ และการเข้า ถึงพื้นที่ได้อย่างถูกต้อง ๒) ชนิดของแผนที ่ แผนที่ที่น�ามาใช้กันโดยทั่วไปแบ่งเป็น ๓ ชนิด ได้แก่ ๒.๑) แผนที่แบบแบน (planemetric map) เป็นแผนที่ที่ไม่แสดงรายละเอียด เกี่ยวกับความสูง โดยจะแสดงต�าแหน่งของสิ่งต่างๆ ในทางราบ มีประโยชน์อย่างมากในการใช้หา ระยะทางและเส้นทาง ระเทศ ๒.๒) แผนที 1 ่ภูมิประเทศ (topographic map) เป็ 2เป็นแผนที่แสดงรายละเอียดตาม โลก โดยใช้เส้นชั้นความสูงที่บอกค่าความสูงจากระดับทะเล แนวดิ่งเกี่ยวกับภูมิลักษณ์ของพื้นโลก ทะเล 3 ปานกลาง และแสดงรายละเอียดตามแนวราบโดยใช้สัญลักษณ์ต่างๆ ปานกลาง และแสดงรายละเอี (thematic map) เป็นแผนที่แสดงข้อมูลเฉพาะเรื่องใด ๒.๓) แผนที่เฉพาะเรื่อง (thematic map) เป็ แผนทีภ่ มู อิ ากาศ แผนที ากาศ แผนทีท่ างหลวง เป็ างหลวง เป็นต้น เรือ่ งหนึง่ เท่านัน้ เช่น แผนทีป่ ระชากร แผนที ยา แผนที 4 แผนทีธ่ รณีวทิ ยา (atlas) เป็นการน�าแผนที่ภูมิประเทศและแผนที่เฉพาะเรื่องที่รวบรวมไว้ ส�าหรับแผนที่เล่ม (atlas) เป็ น�ามาอยู่เป็นเล่มเดียวกัน ๓) การใช้แผนที ่ ในการใช้แผนทีช่ นิดใดชนิดหนึง่ ผูผูใ้ ช้แผนทีจ่ ะต้องมีความรู ้ ความ เข้าใจองค์ประกอบของแผนที่อย่างถูกต้อง โดยท�าการศึกษาทิศทางในแผนที่ สัญลักษณ์แผนที่ มาตราส่วนแผนที่ ระบบอ้างอิงต�าแหน่งในแผนที่ ดังนี้ ๓.๑) ทิศทางในแผนที่ ปกติก�าหนดให้ด้านบนขอบระวางแผนที่เป็นทิศเหนือ เสมอ และมีเครื่องหมายลูกศรก�ากับ ๓.๒) สัญลักษณ์แผนที่ จะแสดงแทนสถานที่จริงในรูปลักษณะเป็นจุด ลายเส้น รูปร่างหรือสี มีค�าอธิบายสัญลักษณ์ไว้ทุกๆ รูปสัญลักษณ์
สํารวจคนหา
Explore
ครูใหนักเรียนศึกษาเกี่ยวกับความสําคัญ ประโยชน ชนิดการใชแผนที่ และระบบอางอิงใน แผนที่ จากหนังสือเรียนหนา 5-8 หรือจากแหลง เรียนรูอื่นๆ เชน หนังสือในหองสมุด เว็บไซตใน อินเทอรเน็ต เปนตน
อธิบายความรู
Explain
1. ครูใหนักเรียนชวยกันบอกความสําคัญและ ประโยชนของแผนที่ 2. ครูสุมใหนักเรียนยกตัวอยางชนิดของแผนที่ และบอกถึงลักษณะสําคัญของแผนที่ชนิดนั้น
5
ขอสอบ
O-NET
ขอสอบป ’52 ออกเกีย่ วกับมาตราสวนแผนที่ แผนทีฉ่ บับหนึง่ ระบุมาตราสวน 1 : 200,000 ระยะจริงที่สั้นที่สุดระหวาง เมือง ก และเมือง ข ในแผนที่ฉบับนี้เปนกี่กิโลเมตร ถาระยะหางของเมือง ทั้งสองในแผนที่ 5 เซนติเมตร 1. 5 2. 10 3. 15 4. 20 (วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 2. ระยะหางในแผนที่กําหนดเปนเซนติเมตร (ซม.) ดังนั้น มาตราสวน 1 : 200,000 จึงเทียบคาไดวา ระยะในแผนที่ 1 ซม.ตอระยะจริง 200,000 ซม. ซึ่งเทียบไดเปน 1 กิโลเมตร (กม.) ดังนั้น ระยะหางของเมืองทั้งสองในแผนที่ 5 ซม. จึงเทากับระยะจริง 5 × 2 = 10 กม.)
นักเรียนควรรู 1 ภูมิลักษณ ลักษณะของเปลือกโลกที่มีรูปพรรณสัณฐานตางๆ กัน เชน เปนภูเขา ที่ราบสูง ที่ราบ หุบเขา เปนตน 2 เสนชั้นความสูง เสนแสดงความสูงเทากันบนแผนที่ โดยแสดงความสูงจาก ระดับทะเลปานกลาง 3 ระดับทะเลปานกลาง คาเฉลี่ยของระดับนํ้าทะเล ซึ่งคํานวณไดจากผล การตรวจระดับนํ้าขึ้นและนํ้าลงในที่ใดที่หนึ่งที่ไดบันทึกติดตอกันไวเปนเวลานาน ประเทศไทยวัดที่เกาะหลัก จ.ประจวบคีรีขันธ 4 atlas มาจากชื่อเทพเจาของกรีกโบราณ ซึ่งเปนผูแบกโลกไวบนบาและ หลังของตน นอกจากนี้ คําวา atlas ยังเปนชื่อเทือกเขาทางตะวันตกเฉียงเหนือ ของทวีปแอฟริกาอีกดวย
คูมือครู
5
กระตุนความสนใจ
สํารวจคนหา
Engage
Explore
อธิบายความรู
อธิบายความรู Explain
ขยายความเขาใจ
ตรวจสอบผล
Expand
Evaluate
Explain ถนน
1. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับ องคประกอบของแผนที่ สัญลักษณในแผนที่ และมาตราสวนแผนที่ จากนัน้ ยกตัวอยางการอาน แผนที่จังหวัดเพชรบุรี ในหนังสือเรียนหนา 6 2. ครูแบงนักเรียนออกเปน 3 กลุม กลุมละเทาๆ กัน เพื่อศึกษาแผนที่ตางๆ โดยแตละกลุม ศึกษา ดังนี้ กลุมที่ 1 ศึกษาแผนที่ประเทศไทย กลุมที่ 2 ศึกษาแผนที่ทวีปเอเชีย กลุมที่ 3 ศึกษาแผนที่ทวีปออสเตรเลียและ โอเชียเนีย นักเรียนแตละกลุมทําการศึกษาในประเด็น ตอไปนี้ • การอานพิกัดภูมิศาสตรแสดงที่ตั้ง • สถานที่สําคัญ เมืองสําคัญตางๆ • ลักษณะภูมิประเทศเดนๆ นักเรียนแตละกลุมสรุปสาระสําคัญจากการ ศึกษาแผนที่ แลวใหแตละกลุมสงตัวแทนออกมา นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน
๙๙ �๕๖
แม่น�้าเพชรบุรี สถานีอนามัย ๙๙ �๕๘
๙๙ �๕๗
เส้นขนาน ละติจูด
๑๓ �๐๘
พิกัด ภูมิศาสตร์ ทิศ เส้นเมริเดียน
ทางรถไฟ สะพาน
๑๓ �๐๗
ที่ว่าการอ�าเภอ ศาลากลาง จังหวัด
โรงเรียน วัด
โรงพยาบาล ๑๓ �๐๖
ชื่อแผนที่
แผนที่จังหวัดเพชรบุรี
มาตราส่วน 1 : 50,000
ตัวอย่างแผนที่ที่มีองค์ประกอบแผนที่ครบถ้วน
ตัวอย่าง สัญลักษณ์ในแผนที่ สัญลักษณ์
ความหมาย
สัญลักษณ์
โรงพยาบาล
ที่ว่าการอ�าเภอ
วัด
แม่น�้า
โรงเรียน สถานีอนามัย
ทางรถไฟ
ดังต่อไปนี้
เกร็ดแนะครู ครูอธิบายเกี่ยวกับมาตราสวนในแผนที่วา แผนที่ภูมิประเทศที่ใชกันมาก มี 2 มาตราสวน ไดแก มาตราสวนเล็ก คือ มาตราสวน 1 : 250,000 และแผนที่ มาตราสวนใหญ คือ มาตราสวน 1 : 50,000 เนื่องจากแผนที่ภูมิประเทศทั้งสอง มาตราสวนจัดทําขึ้นจากขอมูลที่ไดมาจากรูปถายทางอากาศและภาพจากดาวเทียม จึงไดขอมูลที่ปรากฏอยูบนพื้นผิวโลกที่ถูกตองและทันสมัย จึงนิยมใชในงานสาขา ตางๆ เชน การสรางถนน การวางผังเมือง เปนตน
บูรณาการอาเซียน ครูนําแผนที่แสดงตําแหนงที่ตั้งสถานที่สําคัญในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต มาใหนักเรียนศึกษา เชน นครวัด (กัมพูชา) บุโรพุทโธ (อินโดนีเซีย) เปนตน หลังจากนัน้ เปดโอกาสใหนกั เรียนรวมกันอภิปรายในประเด็นตางๆ เชน ทีต่ งั้ อาณาเขต ความสําคัญทางดานเศรษฐกิจและสังคม เปนตน คูมือครู
สะพาน
๓.๓) มาตราส่วนแผนที่ อาจจะแสดงไว้ในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง จาก ๓ แบบ รูปแบบ
๐
6
ความหมาย
ศาลากลางจังหวัด
ถนน
6
มาตราส่วน
๑ : ๑๐๐,๐๐๐
มาตราส่วนสัดส่วน
๑ ซม. ต่อ ๑ กม.
มาตราส่วนค�าพูด
๑
๒
๓
กม.
มาตราส่วนเส้น
ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET
แผนที่แสดงภูมิประเทศของประเทศไทย มาตราสวน 1 : 50,000 หมายความวาอยางไร 1. ระยะทางในแผนที่ 1 นิ้ว เทากับระยะทางจริง 50,000 กิโลเมตร 2. ระยะทางในแผนที่ 1 เมตร เทากับระยะทางจริง 50,000 กิโลเมตร 3. ระยะทางในแผนที่ 1 เซนติเมตร เทากับระยะทางจริง 50,000 กิโลเมตร 4. ระยะทางในแผนที่ 1 เซนติเมตร เทากับระยะทางจริง 50,000 กิโลเมตร วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 4. มาตราสวน 1 : 50,000 หมายความวา 1 เซนติเมตรในแผนที่เทากับระยะจริงบนพื้นผิวภูมิประเทศ 50,000 เซนติเมตร หรือ 500 เมตร
กระตุนความสนใจ
สํารวจคนหา
Engage
Explore
อธิบายความรู Explain
ขยายความเขาใจ
ตรวจสอบผล
Expand
Evaluate
อธิบายความรู
1. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับระบบ การอางอิงในแผนที่ แลวสุมใหนักเรียนตอบ คําถาม ดังนี้ • ทําไมจึงตองมีระบบอางอิงในแผนที่ (แนวตอบ เนื่องจากโลกมีสัณฐานกลม จึงตอง สรางเสนสมมติขึ้นเพื่อกําหนดตําแหนงที่ตั้ง ที่ชัดเจนและใชเปนมาตรฐานเดียวกันได) • เสนโครงแผนที่มีความสําคัญอยางไร (แนวตอบ เปนระบบของเสนขนานกับ เสนเมริเดียน ใชในการถายทอดลักษณะ ทรงกลมของโลกลงบนพื้นราบ) 2. นักเรียนชวยกันสรุปความรูเรื่องประโยชน และความสําคัญของแผนที่ วิธีการใชแผนที่ ที่ถูกตอง
๔) ระบบอ้างอิงต�าแหน่งในแผนที ่ เนื่องจากโลกมีสัณฐานกลม จึงต้องสร้างเส้น
สมมติขึ้นเพื่อการก�าหนดต�าแหน่งที่ตั้งที่ถูกต้อง และใช้อ้างอิงเป็นมาตรฐานเดียวกันได้ โลก จากนัน้ นักภูมศิ าสตร์ได้ก�าหนดเส้นเมริเดียนกับเส้นขนานไว้บนทรงกลมของลูก1โลก เส้นโครงแผนที ่ ประกอบด้วย จึงถ่ายทอดเส้นเมริเดียนกับเส้นขนานลงในแผนที ่ เราเรียกเส้นทัง้ สองว่า เส้ ๔.๑) เส้นเมริเดียน (meridian) เป็นเส้นสมมติที่ลากจากขั้วโลกเหนือไปยัง ขัว้ โลกใต้ โดยเมริเดียนแรก เรียกว่า เมริเดียนของลองจิจูด ๐ องศา เส้นเมริเดียนที่ถัดจาก ๐ องศา ไปทางขวามือมีค่าเป็นองศาตะวันออกจนถึง ๑๘๐ องศา ส่วนที่ไปทางซ้ายมือมีค่าเป็น องศาตะวันตกจนถึง ๑๘๐ องศา เส้นอาร์กติกเซอร์เคิล
ขั้วโลกเหนือ
เส้นขนาน
Explain
ซีกโลกเหนือ
เส้นทรอปิกออฟ แคนเซอร์ เส้นศูนย์สูตร ซีกโลกใต้
เส้นทรอปิกออฟ แคปริคอร์น เส้นเมริเดียน เส้นแอนตาร์กติก เซอร์เคิล
ขั้วโลกใต้
ภาพวาดลูกโลกจ�าลองแสดงเส้นเมริเดียนและเส้นขนานบนลูกโลก
๔.๒) เส้นศูนย์สูตร (equator) (equator) เป็นเส้นโค้งวงกลมใหญ่ที่แบ่งโลกออกเป็น ๒ ซีก คือ ซีกโลกเหนือกับซีกโลกใต้ ความยาวของเส้นศูนย์สูตรประมาณ รประมาณ ๔๐,๐๗๕ ๔๐,๐๗๕ กิโลเมตร ลเมตร จุดทุกจุดบนเส้นศูนย์สูตรอยู่ห่างจากขั้วโลกทั้งสองเท่ากัน และระนาบของเส้ และระนาบของเส้นศูนย์สูตรตั้งฉากกับ แกนของโลก ๔.๓) เส้นขนานละติจดู (parallel of latitude) เป็ latitude) เป็นเส้นโค้งวงกลมเล็ก ซึซึง่ ตัง้ ฉาก กับแกนขัว้ โลก เป็ เป็นเส้นสมมติทลี่ ากจากทิศตะวันตกไปทิศตะวันออก ออก โดยเส้ โดยเส้นขนานทุกเส้นจะขนาน กับเส้นศูนย์สูตร เส้นศูนย์สูตรมีค่ามุมเท่ากับ ๐ องศา องศา เส้นขนานที่ถัดจากเส้นศูนย์สูตรไปทาง ทิศเหนือและใต้ เมื่อนับจากเส้นศูนย์สูตรไป รไป จะมี จะมีค่ามุมตั้งแต่ ๐ ถึง ๙๐ องศาที องศาที่ขั้วโลกเหนือและ ขั้วโลกใต้ 7
ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET
ขอใดกลาวไดถูกตอง 1. โลกมี 360 องศา ดังนั้น เสนขนานละติจูดจึงมี 360 เสน 2. ตําแหนงเสนเมริเดียนบนผิวโลกแตละเสนกําหนดดวยคาละติจูดของ เสนเมริเดียนนั้น 3. เสนเมริเดียนที่ 180 องศาตะวันออกและตะวันตกจะทับกันเปนเสนเดียว และเปนเสนวันที่ 4. เสนศูนยสูตร เสนเมริเดียนแรก และเสนทรอปกออฟแคนเซอรเปน เสนขนานที่สําคัญ วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 3. เสนวันที่เปนเสนสมมติซึ่งนานาชาติได ตกลงขึ้น โดยกําหนดใหลากทับกับเสนเมริเดียน 180 องศา เพื่อใชเปน เขตกําหนดการเปลี่ยนวันที่ เมื่อมีการเดินทางขามเสนนี้
เกร็ดแนะครู ครูอาจใหนักเรียนจัดทําแผนที่เฉพาะเรื่องอยางงาย แตถูกตองตามองคประกอบ ของแผนที่ เชน แผนที่แสดงความหนาแนนของประชากร แผนที่แสดงเสนทาง คมนาคมในบางบริเวณของประเทศไทย ทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนีย โดยคนควาขอมูลจากแหลงการเรียนรูอื่นประกอบกับขอมูลในหนังสือเรียน
นักเรียนควรรู 1 เสนโครงแผนที่ ระบบของเสนขนานกับเสนเมริเดียน ใชในการถายทอด ลักษณะทรงกลมของโลกลงบนพื้นราบ เชน การยอสวน หรือการวิเคราะหทาง คณิตศาสตร เพื่อรักษาระยะทาง พื้นที่ ทิศทาง หรือรูปรางไวตามอัตราสวน ใหใกลเคียงกับสภาพจริงบนโลกมากที่สุด
คูมือครู
7
กระตุน ความสนใจ Engage
สํารวจคนหา Explore
กระตุน ความสนใจ
อธิบายความรู Explain
Explore
ภาพวาดลูกโลกจ�าลองแสดงพิกัดทางภูมิศาสตร์
8
๑.๓ เข็มทิศ(compass)
เข็มทิศเป็นเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ที่ให้ข้อมูลด้านทิศทาง มีหลักการท�างานโดย อาศัยแรงดึงดูดระหว่างสนามแม่เหล็กขัว้ โลกกับเข็มแม่เหล็กของเข็มทิศ เข็มแม่เหล็กจะชีอ้ ยูใ่ นแนวทิศเหนือ-ใต้ตลอดเวลา หน้าปัดของเข็ม ทิศคล้ายกับหน้าปัดนาฬิกา ซึ่งจะมีการแบ่งขนาดของมุมโดย เริม่ นับทิศเหนือเป็นหลัก มีคา่ เท่ากับ ๐ องศา เวียนตาม เข็มนาฬิกาไปทางทิศตะวันออกเท่ากับ ๙๐ องศา จาก ทิศเหนือไปทิศใต้เท่ากับ ๑๘๐ องศา จากทิศเหนือไป ทิศตะวันตกเท่ากับ ๒๗๐ องศา และเมื่อเวียนมา เข็มทิศเป็นเครือ่ งมือทางภูมศิ าสตร์ทใี่ ช้ในการหาทิศ บรรจบที่ทิศเหนือ จะมีค่าเท่ากับ ๓๖๐ องศา หรือ ของต�าแหน่งต่างๆ บนแผนที่และพื้นผิวโลก เทียบได้กับหนึ่งวงกลมนั่นเอง
เกร็ดแนะครู ครูอาจเพิ่มกิจกรรมเกี่ยวกับเข็มทิศ เชน การเลนเกมตามลาหาสมบัติ โดยครูนําสิ่งของไปไวตามสถานที่ตางๆ ภายในโรงเรียน แลวใหขอมูลทิศทาง พรอมแผนที่ เพื่อใหแตละกลุมตามหาสิ่งของเหลานั้นโดยใชเข็มทิศประกอบ
นักเรียนควรรู 1 ระยะทางเชิงมุม การบอกระยะหางจากเสนศูนยสูตรไปยังขั้วโลกเหนือหรือ ขั้วโลกใต โดยคาระยะทางของมุม 1 องศา มีคาประมาณ 111 กม. เชน กรุงเทพฯ อยูที่ละติจูด 13 องศา จะมีระยะทางเชิงมุมประมาณ 13 × 111 เทากับ 1,443 กม. จากเสนศูนยสูตร
คูมือครู
Evaluate
Explain
1. ครูใหนกั เรียนกลุม เดิมชวยกันสรุปลักษณะสําคัญ และการใชประโยชนของเข็มทิศ จากนั้นสงตัว แทนกลุมมานําเสนอหนาชั้นเรียน 2. ครูมอบเข็มทิศเพื่อใหแตละกลุมทดลองใช โดยครูบอกสถานที่สําคัญในโรงเรียนแลวให แตละกลุมบอกทิศทางใหถูกตอง 3. ครูใหแตละกลุมทําแผนที่ในโรงเรียน แสดง สถานที่สําคัญตางๆ ภายในโรงเรียน เชน หองเรียน สนามฟุตบอล เสาธง เปนตน โดยให ทําสัญลักษณและกําหนดทิศทางใหถูกตอง
8
Expand
๔.๔) พิกัดทางภูมิศาสตร์ เป็นค่าพิกัดของจุดที่เกิดจากการลากเส้นเมริเดียน กับเส้นขนานมาตัดกัน โดยต�าแหน่งบนเส้นเมริเดียนจะเรียกว่า ลองจิจูด ส่วนต�าแหน่งบน เส้นขนานจะเรียกว่า ละติจดู ดังนัน้ ต�าแหน่งของจุดบนพืน้ โลกจึงก�าหนดค่าเป็นละติจดู และลองจิจดู ๑. ละติจูด (latitude) เป็นค่าของระยะทางเชิงมุมที่นับ ๐ องศา จาก เส้นศูนย์สูตรไปทางทิศเหนือหรือใต้ จนถึง ๙๐ องศา ที่ขั้วโลกทั้งสอง ละติจูดจึงเป็นจุดหนึ่งบน เส้นขนาน 1 ๒. ลองจิจูด (longitude) เป็นค่าของระยะทางเชิงมุมที่นับ ๐ องศา จากเมริเดียนแรกหรือเมริเดียนกรีนชิ ไปจนถึง ๑๘๐ องศาทางตะวันออกหรือทางตะวันตก ลองจิจดู เป็นจุดหนึ่งบนเส้นเมริเดียน
ครูใหนักเรียนไปศึกษาเกี่ยวกับลักษณะสําคัญ และการใชประโยชนเครื่องมือทางภูมิศาสตร ไดแก เข็มทิศ รูปถายทางอากาศ และภาพจากดาวเทียม จากแหลงเรียนรูตางๆ เชน หนังสือเรียน หนังสือใน หองสมุด เว็บไซตในอินเทอรเน็ต เปนตน
อธิบายความรู
ตรวจสอบผล
Engage
ครูนําเข็มทิศมาใหนักเรียนดู แลวถามนักเรียน วา ทําไมเข็มทิศจึงชี้อยูในแนวทิศเหนือ-ใตตลอด เวลา (แนวตอบ เนื่องจากเข็มทิศมีหลักการทํางานโดย อาศัยแรงดึงดูดระหวางสนามแมเหล็กขั้วโลกกับ เข็มแมเหล็กของเข็มทิศ ดังนั้น เข็มแมเหล็กจึงชี้อยู ในแนวเหนือใตตลอดเวลา)
สํารวจคนหา
ขยายความเขาใจ
ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET
หากตองเดินปานักเรียนควรจะนําเครื่องมือทางภูมิศาสตรชนิดใดไปดวย 1. แผนที่ ลูกโลก 2. แผนที่ เข็มทิศ 3. เครื่องจีพีเอส ลูกโลก 4. ลูกโลก ภาพจากดาวเทียม วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 2. แผนที่เปนเครื่องมือในการแสดงสภาพ พื้นที่และเสนทาง สวนเข็มทิศจะชวยในการหาทิศทาง จึงมีประโยชนใน การเดินทางในปามากที่สุด
กระตุนความสนใจ
สํารวจคนหา
Engage
Explore
อธิบายความรู Explain
ขยายความเขาใจ
ตรวจสอบผล
Expand
Evaluate
อธิบายความรู
แจ้ง
ม วัฒน ราชหาวิทย ะ ภัฏพ าลัย ระน คร
วดั วรมพระศร หาว มี หา ิหาร ธาต ุ
ลโย ธิน
ถนน
คลองถนน
ใช้ ใ นการเดิ น ทาง ได้ แ ก่ การเดิ น เรื อ ทะเล เครื่ อ งบิ น การเดิ น เท้ า ไปยั ง ต� า แหน่ ง ต่ า งๆ การใช้ เ ข็ ม ทิ ศ จะต้ อ งมี แ ผนที่ ป ระกอบ และ ต้องหาทิศเหนือก่อน เพื่อจะได้รู้ทิศของค่า ของมุมที่เบี่ยงเบนไปจากทิศเหนือ ๒) การใช้ เ ข็ ม ทิ ศ เนื่ อ งจาก การหาทิศจริงในแผนที่ต้องใช้เข็มทิศเพื่อหา ทิศเหนือก่อน จึงต้องวางแผนที่ให้ตรงทิศเหนือ จากนั้นจึงใช้แผนที่ได้ตามวัตถุประสงค์
1. ครูนําภาพ 2 ภาพมาใหนักเรียนดู แลวให นักเรียนบอกวา เปนรูปถายทางอากาศหรือ ภาพจากดาวเทียม และใหนักเรียนชวยกัน บอกความแตกตางของทั้งสองภาพ พรอม บอกลักษณะสําคัญและการใชประโยชนทาง ภูมิศาสตร 2. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมที่ 1.4 จากแบบวัดฯ ภูมิศาสตร ม.1
ถนน พห
๑) ความส� า คั ญ ของเข็ ม ทิ ศ
อน รัฐธ ุสาวรีย รรม ์พิท นูญ ักษ์ ถนน ราม อินท รา
✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ ภูมิศาสตร ม.1 กิจกรรมที่ 1.4
รูปถ่ายทางอากาศบริเวณอนุสาวรีย์พิทักษ์รัฐธรรมนูญ เขตบางเขน กรุงเทพฯ มาตราส่วน 1 : 30,000
หนวยที่ 1 เคร�่องมือทางภูมิศาสตรและการแบงแขตเวลาของโลก
๑.๔ รูปถ่ายทางอากาศ (aerial photograph)
รูปถ่ายทางอากาศ คือ รูปถ่ายที่ได้จากการถ่ายรูปด้วยกล้องที่ใช้ฟิล์ม โดยน�ากล้องไป ติดตัง้ กับอากาศยาน เช่น เครือ่ งบิน บอลลูน แล้วถ่ายรูปในแนวดิง่ หรือเฉียงกับผิวโลก จะได้รปู ถ่าย ของพื้นผิวโลกตามความเป็นจริงทีป่ รากฏ ณ เวลานัน้ ซึง่ เป็นทีน่ ยิ มใช้กนั มากโดยการน�ารูปถ่าย ทางอากาศมาใช้ท�าแผนที่ ท�าโฉนดที่ดิน การก่อสร้างถนน และวางผังเมือง
Explain
กิจกรรมที่ ๑.๔ ใหนกั เรียนใสเครือ่ งหมาย ✓ ใหสมั พันธกบั ชนิดของเครือ่ งมือ ทางภูมิศาสตร (ส ๕.๑ ม.๑/๑) การทํางานของเครื่องมือทางภูมิศาสตร
ดาวเทียมมีอปุ กรณ์ทบี่ ันทึกเก็บรวบรวม ข้อมูลด้วยระบบกล้องหลายช่วงคลืน่ จึงแตกต่าง จากกล้องถ่ายรูปธรรมดา โดยบันทึกข้อมูลเชิง ตัวเลขของค่าการสะท้อนช่วงคลืน่ แสง เนือ่ งจาก วัตถุแต่ละอย่างจะให้ค่าการสะท้อนของแสง อาทิตย์เฉพาะตัวที่แตกต่างกัน เราจึงสามารถ จ�าแนกวัตถุต่างๆ ได้โดยพิจารณาจากลักษณะ ของสิ่งที่ปรากฏบนภาพ เช่น สี รูปร่าง รูปแบบ ซึ่งข้อมูลที่บันทึกสามารถส่งกลับมายังสถานี รับบนโลกได้ทันที จึงท�าให้ได้ข้อมูลที่ทันสมัย ที่สุด แต่การใช้ข้อมูลจากภาพดาวเทียมจ�าเป็น ต้องมีการแปลความของสิง่ ทีป่ รากฏบนภาพก่อน
แผนที่
เข็มทิศ
รูปถาย ภาพจาก ทางอากาศ ดาวเทียม
✓ ✓
๒. การถายรูปดวยกลองที่ใชฟล ม โดยนํากลองไปติดตัง้ กับอากาศยาน จะไดรปู ถายของพืน้ ผิวโลกตามความ เปนจริงที่ปรากฏ ณ เวลานั้นๆ ๓. หุนจําลองของโลกที่มีรูปรางลักษณะสัณฐานที่เปน ทรงกลม
ñð
เครื่องมือทางภูมิศาสตร ลูกโลก
๑. เครื่องมือทางภูมิศาสตรที่ใชในการหาทิศของ ตําแหนงตางๆ บนแผนที่และพื้นผิวโลก
๑.๕ ภาพจากดาวเทียม (satellite image) 1
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
✓ ✓
๔. นําเสนอขอมูลเกีย่ วกับลักษณะและทีต่ งั้ ของสิง่ ตางๆ ที่ปรากฏอยูบนผิวโลก โดยการเขียนยอสวนและใช สัญลักษณแทนสิ่งตางๆ โดยทําลงบนวัสดุพื้นที่ แบนราบหรือแผนกระดาษ
ฉบับ
เฉลย ✓
๕. การบันทึกรวบรวมขอมูลดวยระบบกล อ งหลาย ชวงคลื่น โดยบันทึกขอมูลเชิงตัวเลขของคาการ สะทอนชวงคลื่นแสง ๖. ใชศึกษาเกี่ยวกับการโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย และฤดูกาลของโลก
✓ ✓
๗. นิยมนํามาใชในการทําแผนที่ ทําโฉนดที่ดิน การกอสรางถนน และการวางผังเมือง ๘. มีองคประกอบที่สําคัญ คือ ทิศทาง สัญลักษณ มาตราสวน และระบบอางอิงตําแหนง
✓ ✓
๙. การใชขอมูลตองมีการแปลความสิ่งที่ปรากฏ บนภาพกอน ขอมูลที่ไดมีความทันสมัย ๑๐. มีหลักการทํางานโดยอาศัยแรงดึงดูดระหวางสนาม แมเหล็กกับเข็มแมเหล็ก
✓
๕
ภาพจากดาวเทียม แสดงภูมิลักษณ์ของประเทศไทย
http://www.aksorn.com/LC/Geo/M1/02
ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET
อุปสรรคที่สําคัญของการถายภาพทางอากาศ คือขอใด 1. ฝูงนก 2. อุทกภัย 3. หมอกควัน 4. แสงแดดจัด
วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 3. การถายภาพทางอากาศนั้นจะมีการติดตั้ง อุปกรณถายภาพกับอากาศยานแลวถายภาพมายังพื้นที่ตางๆ ซึ่งอุปสรรค สําคัญในการถายภาพทางอากาศ คือ หมอกควันที่บดบังพื้นที่ ทําใหได รูปถายทางอากาศที่ไมชัดเจน
EB GUIDE
9
เกร็ดแนะครู ครูอธิบายขอมูลเกี่ยวกับภาพจากดาวเทียมเพิ่มเติมวา ขอมูลจากดาวเทียม มีประโยชนหลากหลายดาน เชน การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ การเตือนภัย ธรรมชาติ การจัดการพื้นที่ เปนตน จากนั้นใหนักเรียนตอบคําถามที่กระตุนให นักเรียนเกิดทักษะการคิดวิเคราะห ประเมินคา หรืออื่นๆ เชน หากไมมีดาวเทียม ที่บันทึกภาพดังกลาวจะมีผลอยางไร
นักเรียนควรรู 1 ดาวเทียม วัตถุที่มนุษยสรางขึ้นเลียนแบบดาวบริวารของดาวเคราะห มีวงโคจรแนนอน และมีกําหนดผานบริเวณหนึ่งตามชวงเวลาที่กําหนด เชน ผานบริเวณหนึ่งทุกหนึ่งวัน ทุก 16 วัน ทุก 23 วัน เปนตน ดังนั้น บริเวณนั้น จึงมีขอมูลใหใชตอเนื่อง ทําใหวิเคราะหการเปลี่ยนแปลงตางๆ ได เชน การขยายพื้นที่เพาะปลูก การเกิดอุทกภัย เปนตน คูมือครู
9
กระตุนความสนใจ
สํารวจคนหา
Engage
Explore
อธิบายความรู
อธิบายความรู Explain
เสริมสาระ
Expand
´วงแá¢องปÃÐเทÈäทย
Evaluate
ภาพจ�าลองแสดงดาวเทียมไทยโชต
ภาพจากดาวเทียมไทยโชต แสดงภูมิลักษณ์ตอนใต้ของเกาะภูเก็ต
หาดกะตะใหญ่ หาดกะตะน้อย
เกาะโหลน แหลมกา หาดราไวย์
หาดในหาน เกาะมัน
เกาะบอน แหลมพรหมเทพ
10
นักเรียนควรรู 1 Remote Sensing คือ การรับรูจากระยะไกล เปนระบบสํารวจเก็บขอมูล เกี่ยวกับพื้นผิวโลกดวยเครื่องรับรู (Sensors) ซึ่งติดไปกับยานดาวเทียมหรือ เครื่องบิน เครื่องรับรูจะตรวจจับคลื่นพลังงานแมเหล็กไฟฟาที่สะทอนจากวัตถุบน ผิวโลก แลวมีการแปลงขอมูลเชิงตัวเลข ซึ่งนําไปใชแสดงเปนภาพและทําแผนที่ 2 สํานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (สทอก.) หนวยงาน ของรัฐในรูปแบบองคกรมหาชน เพื่อบริการขอมูลภูมิสารสนเทศ บริการวิชาการ ตางๆ วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศใหเปนประโยชนตอประชาชน
มุม IT ศึกษาคนควาขอมูลเพิม่ เติมเกีย่ วกับดาวเทียมไทยโชต ไดที่ http://www.gistda. or.th เว็บไซตสาํ นักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมสิ ารสนเทศ (องคการมหาชน) คูมือครู
Evaluate
ดÒÇàทีÂÁÊíÒÃว¨ทÃѾยÒ¡Ã
ดาวเทียมไทยโชต เดิมชื่อ ว่าดาวเทียมธีออสขึ้นสู่อวกาศเมื่อ วันพุธที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2551 เวลาในประเทศไทย 13 : 37 น. หรือ 6 : 37 น. ตามเวลามาตรฐาน สากล (UTC) จากฐานส่งจรวด เมืองยาสนี (Yasny) สหพันธรัฐ รัสเซีย นับเป็นดาวเทียมส�ารวจ ทรั พ ยากรดวงแรกของไทยและ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
1. ครูตรวจสอบความเขาใจของนักเรียนเกี่ยวกับ เครื่องมือทางภูมิศาสตร โดยการยกตัวอยาง เครื่องมือทางภูมิศาสตร แลวใหนักเรียนบอก คุณสมบัติและแนวทางการใชประโยชน ในการศึกษาภูมิศาสตรประเทศไทย ทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนีย 2. ตรวจสอบความถูกตองจากการใชเครื่องมือทาง ภูมิศาสตรในการศึกษาภูมิศาสตรประเทศไทย ทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนีย
10
ตรวจสอบผล
ดาวเทียมไทยโชต (Thaichote) หรือดาวเทียมธี1ออส (THEOS: Thailand Earth Observation Satellite) เป็นดาวเทียมส�ารวจข้อมูลระยะไกล (Remote Sensing) เพื่อใช้ส�ารวจทรัพยากรธรรมชาติของประเทศไทย ซึ่งเป็น2 โครงการระหว่างรัฐบาลไทยและรัฐบาลฝรัง่ เศส โดยมีสา� นักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมสิ ารสนเทศ (สทอภ.) ด�าเนินงานร่วมกับบริษัท อี เอ ดี เอส แอสเตรียม (EADS Astruim) ประเทศฝรั่งเศส ด้วยงบประมาณ 6,000 ล้านบาท เริ่มด�าเนินการเมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2547
ครูนําเครื่องมือทางภูมิศาสตรทั้ง 5 ชนิด คือ ลูกโลก แผนที่ เข็มทิศ ภาพจากดาวเทียม รูปถายทาง อากาศ และแบงนักเรียนออกเปน 5 กลุม หมุนเวียน กันสาธิตการใชเครื่องมือทั้ง 5 ชนิด
ตรวจสอบผล
Expand
Explain
ครูใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยางดาวเทียมที่ นักเรียนรูจัก และบอกวาเปนดาวเทียมประเภทใด ของประเทศอะไร และมีประโยชนทางดานใด
ขยายความเขาใจ
ขยายความเขาใจ
ดาวเทียมไทยโชต จะโคจรกลั บ มาอยู ่ ในต�าแหน่งเดิมและ ส่งสัญญาณภาพบริเวณเดียวกันในทุกๆ 16 วัน จึงมีประโยชน์ในหลายด้าน เช่น การส�ารวจทรัพยากร ป่าไม้ การท�าแผนที่ การสร้างถนน เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมีความรวดเร็ว ชัดเจน แม่นย�า และเชื่อถือได้ เมื่อวันที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2554 กระทรวง วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้มีหนังสือไปยังส�านักงาน เลขาธิการคณะรัฐมนตรี เพื่อขอพระราชทานชื่อใหม่ให้ ดาวเทียมธีออส ต่อมาวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2555 ส�านักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ได้มหี นังสือตอบกลับ ความว่า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณา โปรดเกล้ า ฯ พระราชทานชื่ อ ดาวเที ย มดั ง กล่ า วว่ า “ไทยโชต” “ไทยโชต” และให้ใช้ชอื่ ภาษาอังกฤษว่า Thaichote ตัง้ แต่ วันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2554 สืบไป โดยมีความหมายว่า “ดาวเทียมที่ท�าให้ประเทศไทยรุ่งเรือง”
กิจกรรมทาทาย ครูใหนักเรียนไปสืบคนขอมูลดาวเทียมสํารวจทรัพยากรเพิ่มเติม 1 ดวง พรอมบอกคุณสมบัติพิเศษของดาวเทียมดวงนั้น แลวนําขอมูลมาเลาให เพื่อนในชั้นเรียนฟง
กระตุน ความสนใจ Engage
สํารวจคนหา Explore
อธิบายความรู
ขยายความเขาใจ
ตรวจสอบผล
Explain
Expand
Evaluate
กระตุน ความสนใจ
ครูนําสถิติขอมูลที่เปนความเรียงมาใหนักเรียน อานและสรุปสาระสําคัญและถามคําถาม • ขอมูลนี้ควรนําเสนอรูปแบบใดเพื่อใหเขาใจ ไดงาย และนาสนใจ
๑.๖ เครื่องมืออื่นๆ
นอกจากเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ดังที่ได้กล่าวมาข้างต้นแล้ว ยังมีเครื่องมืออื่นๆ อีกหลาย ชนิดที่ให้ข้อมูลทางด้านกายภาพและสังคมของประเทศไทย ทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลียและ โอเชียเนีย เช่น แผนภูม ิ แผนผัง เว็บไซต์ในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยเฉพาะเว็บไซต์จะมีประโยชน์ อย่างมาก เพราะมีจ�านวนมากให้เลือก มีความเป็นปัจจุบัน ทันสมัย หลายเว็บไซต์สร้างจาก หน่วยงานโดยตรงของแต่1 ละประเทศ ข้อมูลจึงมีความน่าเชื่อถือมาก การใช้งานอาจใช้โปรแกรม ค้นหา (search engine) ตัวอย่างเช่น เข้าไปที่ www.google.co.th แล้วพิมพ์ข้อความที่ต้องการ ค้นหา จะเป็นภาษาไทย หรือภาษาอังกฤษก็ได้ในช่องค้นหา (search) หากเป็นภาษาอังกฤษจะมี ข้อมูลต่างๆ ให้เลือกน�ามาประกอบการศึกษาได้มาก
ที่มา : www.business-in-asia.com
: www.business-in-asia.com ที่มา : www.business-in-asia.com
ที่มา : www.lawyerclubindia.com
ที่มา : www.ft.com
Engage
สํารวจคนหา
Explore
1. ครูใหนักเรียนดูภาพการนําเสนอขอมูลจาก หนังสือหนา 10 - 11 และชวยกันบอกวา เปนการนําเสนอขอมูลอะไร วิธีการนําเสนอ ขอมูลแบบนี้มีขอดีและขอเสียอยางไร 2. ครูใหนักเรียนสืบคนการนําเสนอขอมูลใน รูปแบบกราฟกคนละ 1 เรื่อง จากเว็บไซต ตางๆ เพื่อนํามาอภิปรายในชั้นเรียน
ตัวอย่างข้อมูลสถิติทางสังคมในรูปของกราฟที่สามารถน�าข้อมูลไปใช้ประโยชน์์ทางภูมิศาสตร์ได้
11
ขอสอบ
O-NET
ขอสอบป ’ 51 ออกเกี่ยวกับเครื่องมือทางภูมิศาสตร เครื่องมือและเทคโนโลยีทางภูมิศาสตรขอใดมีความจําเปนนอยที่สุดในการ พยากรณลมฟาอากาศประจําวัน 1. แผนที่รัฐกิจ, ซิสโมมิเตอร 2. บอลลูน, บารอมิเตอร 3. ภาพถายจากดาวเทียม, เรดาร 4. เครื่องบินตรวจอากาศ, แอนนิโมมิเตอร (วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 1. เนื่องจากแผนที่รัฐกิจ คือ แผนที่ที่แสดง อาณาเขตพื้นที่การปกครอง และซิสโมมิเตอร คือ เครื่องมือที่ใชวัด แผนดินไหว สวนบอลลูน เครื่องบิน ดาวเทียม เรดาร ใชในการสํารวจ การเคลื่อนที่ของลมและกลุมเมฆ บารอมิเตอรใชวัดอุณหภูมิและความกด อากาศ และแอนนิโมมิเตอรใชวัดความเร็วลม)
เกร็ดแนะครู ครูควรแนะนําเว็บไซตที่มีขอมูลทางภูมิศาสตรที่หนวยงานราชการจัดทํา เพิื่อเผยแพร จากนั้นใหนักเรียนชวยกันบอกหลักการเลือกใชขอมูลจากเว็บไซต ที่เหมาะสม และยกตัวอยางเว็บไซตที่นาเชื่อถือ เพื่อประโยชนในการศึกษาคนควา ไดอยางรวดเร็ว และไดขอมูลที่ถูกตอง ทันสมัย
นักเรียนควรรู 1 search engine โปรแกรมที่ออกแบบมาเพื่อเปนเครื่องมือสําหรับใชคนหา ขอมูลบนเว็บไซตตางๆ ซึ่งขอมูลอาจอยูในรูปของเว็บไซต ไฟลเอกสาร ไฟล รูปภาพ สื่อมัลติมีเดีย ไฟลบีบอัด และรูปแบบอื่นๆ จะชวยใหผูใชเขาถึงขอมูล ไดสะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น
คูมือครู
11
กระตุนความสนใจ
สํารวจคนหา
Engage
Explore
อธิบายความรู
อธิบายความรู Explain
ขยายความเขาใจ Expand
ที่มา : www.gisthai.org ศูนย์วิจัยภูมิสารสนเทศ
Expand
ครูใหนักเรียนสืบคนการนําเสนอขอมูลจาก เว็บไซตตางๆ คนละ 1 เรื่อง พรอมทั้งอธิบายขอมูล ที่สืบคนมา
ตรวจสอบผล
Evaluate
Explain
1. ครูใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยางเครื่องมือ ทางภูมิศาสตรอื่นๆ นอกเหนือจากที่ไดศึกษา พรอมบอกความสําคัญของเครื่องมือดังกลาว (แนวตอบ เชน เว็บไซตในเครือขายอินเทอรเน็ต มีขอมูลทางภูมิศาสตรอยูมากมาย และมีการ ปรับปรุงขอมูลใหทันสมัย จึงสามารถนํามาใช ประโยชนไดหลากหลายดาน) 2. ครูสุมใหนักเรียนบอกหลักในการเลือกใชขอมูล จากเว็บไซต (แนวตอบ การเลือกใชเว็บไซตที่เชื่อถือได มีการ ปรับปรุงขอมูลใหทันสมัยอยูเสมอ เชน เว็บไซต ของหนวยงานราชการ มหาวิทยาลัย เปนตน) 3. ครูใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยางเว็บไซตที่มี ขอมูลเกี่ยวกับภูมิศาสตรที่นาเชื่อถือ และให นักเรียนไปรวบรวมเว็บไซตเพิ่มเติม
ขยายความเขาใจ
ตรวจสอบผล
ที่มา : www.mfa.go.th กระทรวงการต่างประเทศ
Evaluate
ครูสังเกตจากวิธีการเลือกเว็บไซตที่นาเชื่อถือ และความถูกตองของขอมูล
ที่มา : National Geographic (ฉบับที่ ๘๘) พฤศจิกายน, ๒๕๕๑, หน้า ๖๑.
1
นิ ต ยสาร National Geographic (ฉบั บ ภาษาไทย) มีข้อมูลน่าสนใจจ�านวนมากที่เหมาะกับการน�ามาใช้ใน การศึกษาด้านภูมิศาสตร์ดังตัวอย่าง
ที่มา : www.mfa.go.th/asean กรมอาเซียน
ข้อมูลทางด้านภูมิศาสตร์ สามารถสืบค้นได้จากเว็บไซต์ ที่หน่วยราชการต่างๆ ได้จัดท�าขึ้นมาเผยแพร่
12
นักเรียนควรรู 1 นิตยสาร National Geographic นิตยสารอยางเปนทางการของสมาคม เนชั่นแนล จีโอกราฟฟก ซึ่งเปนองคกรดานวิทยาศาสตรและการศึกษาที่ไมแสวงหา ผลกําไร มีสํานักงานใหญอยูที่กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. สหรัฐอเมริกา กอตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2431 เพื่อสืบเสาะคนหาเรื่องราวอันนาทึ่งทางภูมิศาสตรและธรรมชาติวิทยา สงเสริมการอนุรักษสิ่งแวดลอม การรักษาโบราณสถานและโบราณวัตถุตางๆ รวมทั้งศึกษาวัฒนธรรมและประวัติศาสตรโลก
บูรณาการอาเซียน ครูนาํ สถิตขิ อ มูลทีส่ าํ คัญของประเทศสมาชิกอาเซียนมาใหนกั เรียนศึกษา เชน จํานวนประชากร สถิตสิ นิ คานําเขา-สงออก ขอมูลรายไดประชาชาติ เปนตน แลวให นักเรียนรวมกันอภิปรายและแสดงความคิดเห็นเกีย่ วกับวิธกี ารนําเสนอขอมูลดังกลาว
12
คูมือครู
ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET
การนําเสนอขอมูลมีความสําคัญตอการศึกษาวิชาภูมิศาสตรอยางไร แนวตอบ วิชาภูมิศาสตรมีขอมูลมากมายและหลากหลายรูปแบบทั้งใน เชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ซึ่งทําใหยากแกการทําความเขาใจ ดังนั้น การนําเสนอขอมูลในรูปแบบที่เหมาะสม จะชวยใหผูศึกษาเขาใจขอมูล ไดงาย รวดเร็ว และถูกตอง เชน การนําเสนอขอมูลการเปลี่ยนแปลง จํานวนประชากรในรูปแบบกราฟ จะทําใหผูที่ศึกษาเห็นอัตราการ เปลี่ยนแปลงไดอยางชัดเจน เปนตน
กระตุน ความสนใจ Engage
สํารวจคนหา Explore
อธิบายความรู
ขยายความเขาใจ
ตรวจสอบผล
Explain
Expand
Evaluate
กระตุน ความสนใจ
1. ครูนําเครื่องจีพีเอสหรือโทรศัพทมือถือรุนที่ มีระบบนําทางจีพีเอสมาใหนักเรียนดู และให นักเรียนที่ใชเครื่องจีพีเอสเปนมาสาธิตวิธีการ ใชงานใหเพื่อนดู พรอมทั้งใหนักเรียนชวยกัน บอกวาในปจจุบันจีพีเอสใชทําอะไรไดบาง 2. ครูและนักเรียนรวมกันสนทนาเกี่ยวกับเครื่อง จีพีเอส โดยครูตั้งคําถาม • เครื่องจีพีเอสมีหลักการทํางานอยางไร (แนวตอบ เมื่อเครื่องจีพีเอสรับสัญญาณจาก ดาวเทียมแลว จะคํานวณและบอกคาพิกัด ภูมิศาสตร ณ จุดที่เครื่องจีพีเอสอยูขณะนั้น) • เครื่องจีพีเอสมีบทบาทอยางไรในปจจุบัน (แนวตอบ ปจจุบันมีการนํามาใชในระบบ นําทาง โดยติดตั้งในรถยนต เพื่อใชใน การนําทางแทนการใชแผนที่ และสามารถ ตรวจสอบไดวารถคันนั้นใชงานอยูที่ใด เพื่อประโยชนในการติดตามรถจากการถูก โจรกรรม นอกจากนี้ ยังใชในระบบการบิน รถไฟ เรือ การสํารวจรังวัด เปนตน)
ò. เทคโนโลยีและรูปแบบของข้อมูลภูมิศาสตร์ โลกยุคปัจจุบัน ข้อมูลและข่าวสารสามารถรับรู้ได้รวดเร็ว แม่นย�า ทันสมัย ด้วยเครื่องมือ และเทคโนโลยีทางภูมศิ าสตร์ ทีเ่ ข้ามามีความส�าคัญในการค้นหาข้อมูล และน�าไปใช้ประโยชน์อย่าง กว้างขวาง ที่ส�าคัญ ได้แก่
๒.๑ ระบบก�าหนดต�าแหน่ง บนพืน้ โลก (GPS : global positioning system)
แต่เดิมมาการหาจุดต�าแหน่งบนพื้นผิว โลกจะต้องใช้การค�านวณค่าจากแผนที่ ซึ่งอาจ มีข้อผิดพลาดจากการชี้ต�าแหน่งในแผนที่ไม่ ถูกต้องได้ แต่ปจั จุบนั มีเทคโนโลยีใหม่ทใี่ ช้เครือ่ ง รับสัญญาณจากดาวเทียม เพื่อหาหรือก�าหนด จุดต�าแหน่งบนพื้นโลกได้อย่างถูกต้อง แม่นย�า และรวดเร็ว ค่าต่างๆ ทีจ่ ะแสดงบนจอของเครือ่ ง ปัจจุบนั มีการใช้ GPS มากขึน้ ในการหาเส้นทางเพือ่ เดินทาง จีพีเอส ได้แก่ ค่าละติจูด ค่าลองจิจูด และค่า ไปยังจุดหมาย ระดับความสูง การท�างานของระบบก�าหนดต�าแหน่งบนพื้นโลกโดยเครื่องจีพีเอส จะรับสัญญาณจาก ดาวเทียมอย่างน้อย ๔ ดวง จากดาวเทียมทั้งหมด ๒๗ ดวงที่โคจรอยู่เหนือผิวโลก ๒๐,๒๐๐ กิโลเมตร ส�าหรับเครื่องมือรับสัญญาณมีขนาดและรูปร่างต่างกัน ขนาดซึ่งเป็นที่นิยมใช้ทั่วไปจะมี ขนาดเท่ากับโทรศัพท์มือถือ หรืออยู่ในเครื1่องโทรศัพท์มือถือ เมื่อเครื่องรับสัญญาณจากดาวเทียม แล้ว จะค�านวณและบอกค่าพิกัดภูมิศาสตร์ ณ จุดที่เครื่องจีพีเอสอย อสอยูู่ขณะนั้น ปัจจุบัน2มีการน�าจีพีเอสมาใช้ในการระบุต�าแหน่งของเครื่องบิน รถยนต์ รถไฟ เรือ คน การส�ารวจรังวัด ติดตามการเคลื่อนที่ของพาหนะ คนเดิน บอกต�าแหน่งผู้ป่วย เป็นต้น
Engage
สํารวจคนหา
Explore
ครูใหนักเรียนศึกษาคนควาเกี่ยวกับเทคโนโลยี และรูปแบบของขอมูลภูมิศาสตร จากหนังสือเรียน และจากแหลงเรียนรูอื่นๆ เชน หนังสือในหองสมุด เว็บไซตในอินเทอรเน็ต เพือ่ นําขอมูลมาอภิปรายใน ชั้นเรียน
๒.๒ รูปแบบการน�าเสนอข้อมูลภูมิศาสตร์
การศึกษาวิชาภูมิศาสตร์ ข้อมูลที่ใช้ได้จะมีทั้งในข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ดังนั้น การน�าเสนอข้อมูลให้ผอู้ า่ นสามารถเข้าใจได้งา่ ย รวดเร็ว และตรงตามสภาพความเป็นจริงมากทีส่ ดุ จึงเป็นเรื่องส�าคัญ โดยทั่วไปมีรูปแบบการน�าเสนอที่ส�าคัญ ดังนี้ 13
ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET
เครื่องจีพีเอสสามารถนํามาใชประโยชนในกิจกรรมใด 1. การสํารวจแหลงปาไม 2. การสงสัญญาณกันขโมย 3. การพัฒนาพื้นที่เกษตรกรรม 4. การระบุตําแหนงของเครื่องบิน
วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 4. เครื่องจีพีเอสหรือระบบกําหนดตําแหนง บนพื้นโลก เปนเทคโนโลยีที่ใชเครื่องรับสัญญาณจากดาวเทียม เพื่อหา หรือกําหนดจุดตําแหนงบนพื้นโลกไดอยางถูกตอง จึงสามารถใชในการ ระบุตําแหนงของเครื่องบินได
นักเรียนควรรู 1 คาพิกัดภูมิศาสตร ตําแหนงหรือจุดที่เกิดจากเสนขนานและเสนเมริเดียน ตัดกันเปนคาละติจูดและลองจิจูด เชน กรุงเทพฯ มีคาพิกัดภูมิศาสตรอยูที่ละติจูด 13 องศา 45 ลิปดาเหนือ ลองจิจูด 100 องศา 31 ลิปดาตะวันออก 2 การสํารวจรังวัด การสํารวจพื้นที่ ที่ดิน และวัดเพื่อทําแนวเขต
มุม IT ศึกษาคนควาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับระบบกําหนดตําแหนงบนพื้นโลก ไดที่ http://www.space.mict.go.th เว็บไซตสํานักกิจการอวกาศแหงชาติ
คูมือครู
13
กระตุนความสนใจ
สํารวจคนหา
Engage
Explore
อธิบายความรู
อธิบายความรู Explain
Expand
Evaluate
๑) แบบบรรยาย เป็นการน�าเสนอข้อมูลทีม่ เี นือ้ หาสาระการบรรยายความเรือ่ งราว
ต่างๆ ไม่มีความซับซ้อนมากนัก ตัวอย่างที่ ๑
ตัวอย่างที่ ๒
๒) แผนภูมิ เป็นการน�าเสนอข้อมูลเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยจัดระบบข้อมูลที่มีความ
ซับซ้อนให้ง่ายต่อการรับรู้ โดยแสดงเป็นตาราง หรือเส้นและรูปวงกลม
แผนภูมิรูปวงกลม แสดงพื้นที่ป่าไม้ของประเทศไทย พ.ศ. ๒๕๕๑
แผนผัง
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
ñõ
๑๐.๙๐%
๔.๖๘%
แผนภูมิ
2
ข้อมูลเชิงคุณภาพ “พื้นที่กรุงเทพมหานคร เป็นที่ราบลุ่มที่เกิดจากการทับถมของตะกอนน้�าพา และจากการทั บ ถมของคลื่ น ในยุ ค ควอเทอร์ น ารี การขุ ด พบซากหอยนางรมในพื้ น ที่ ต่ า งๆ ของ กรุงเทพมหานคร จึงเป็นหลักฐานว่าพื้นที่นั้นเคยเป็นชายทะเลมาก่อน”
หนวยที่ 1 เคร�่องมือทางภูมิศาสตรและการแบงเขตเวลาของโลก กิจกรรมที่ ๑.๕ ใหนักเรียนเลือกรูปแบบการนําเสนอขอมูลทางภูมิศาสตร เติมลงในชองวางที่มีความสัมพันธกัน (ส ๕.๑ ม.๑/๑)
1
ข้อมูลเชิงปริมาณ “กรุงเทพมหานคร แบ่งพื้นที่ปกครองออกเป็นเขต ๕๐ เขต และแบ่งพื้นที่เขต ออกเป็นแขวงต่างๆ รวม ๑๕๔ แขวง ใน พ.ศ. ๒๕๕๔ มีประชากรทั้งสิ้น ๕,๖๗๔,๘๔๓ คน แยกเป็นชาย ๒,๖๙๒,๙๕๔ คน หญิง ๒,๙๘๑,๘๘๙ คน”
✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ ภูมิศาสตร ม.1 กิจกรรมที่ 1.5
กราฟ
๑. นําเสนอขอมูลที่มีเนื้อหาสาระและเรื่องราวที่ไมมีความซับซอนมากนัก ๒. การนําเสนอขอมูลในรูปแบบของรูปภาพที่มองจากมุมสูง ๓. การนําเสนอขอมูลเชิงเปรียบเทียบขอมูลแตละสวนที่ซับซอน กําหนด เปน ๑๐๐% แลวคํานวณหาสวนยอยๆ เพื่อใหงายตอการเขาใจ ๔. การใชขอความสั้นๆ กระชับ ตรงประเด็น เพื่องายตอการเขาใจ ๕. การนําเสนอขอมูลในเชิงปริมาณในรูปแบบของเสน จุดหรือภาพ เพื่อเปรียบเทียบขอมูลตัวเลขหลายๆ ชุด ๖. การนําเสนอขอมูลพื้นที่จําหนายสินคาของตลาดนัดสวนจตุจักร ฉบับ ๗. การนําเสนอขอมูลอุณหภูมิเฉลี่ยของประเทศไทย ป ๒๕๔๒ ถึงปจจุบัน เฉลย ๘. “กรุงเทพมหานครแบงพื้นที่ปกครองออกเปน ๕๐ เขต และแบงพื้นที่ เขตออกเปนแขวงตางๆ รวม ๑๕๕ แขวง ในป ๒๕๕๑ มีประชากร ทั้งสิ้น ๕,๗๑๐,๘๘๓ คน แยกเปนชาย ๒,๗๒๒,๓๑๓ คน หญิง ๒,๙๘๘,๕๗๐ คน” ๙. การนําเสนอขอมูลพื้นที่ปาไมของประเทศไทย ในป ๒๕๔๓ - ๒๕๕๓ ๑๐. การนําเสนอขอมูลปริมาณนํ้าฝนในประเทศไทย ในป ๒๕๕๓ ๑๑. การนําเสนอขอมูลจํานวนประชากรของประเทศไทยในแตละภูมิภาค ๑๒. การนําเสนอขอมูลการสงสินคาออกของประเทศไทย ๑๐ อันดับแรก ๑๓. การจําลองพื้นที่เล็กๆ ที่มีรายละเอียดนอยกวาแผนที่ ๑๔. การนําเสนอขอมูลที่งายตอการทําความเขาใจในเชิงปริมาณวาสวนใด มากกวาสวนใด ๑๕. การนําเสนอขอมูลในเชิงเปรียบเทียบ เหมาะกับการแสดงขอมูลหลายๆ ชุด ใหเห็นเปนภาพ หรือเพื่อใหเห็นความแตกตางของขอมูลแตละชุด
๖
บรรยาย ……………………………
๑๒.๙๕%
แผนผัง ……………………………
๕๕.๔๑%
แผนภูมิ …………………………… บรรยาย ……………………………
๑๖.๐๖%
กราฟ …………………………… แผนผัง …………………………… กราฟ ……………………………
บรรยาย ……………………………
ภาคใต ภาคกลาง ภาคเหน�อ ภาคตะวันออก ภาคตะวันออกเฉ�ยงเหน�อ
ที่มา : กรมป่ : กรมป่าไม้ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ. ๒๕๕๓
แผนภูมิ …………………………… กราฟ …………………………… กราฟ ……………………………
๓) แผนผัง เป็นการน�าเสนอข้อมูลในรูปแบบของรูปภาพที่มองจากมุมสูงเพื่อ
แผนภูมิ …………………………… แผนผัง ……………………………
ต้องการให้เห็นภาพรวมของบริเวณใดบริเวณหนึง่ อย่างชัดเจน แผนผังจึงเหมาะส�าหรับการจ�าลอง พื้นที่เล็กๆ ที่มีรายละเอียดน้อยกว่าแผนที่
แผนภูมิ …………………………… กราฟ ……………………………
14
เกร็ดแนะครู ครูควรอธิบายเพิ่มเติมวา รูปแบบการนําเสนอขอมูลแบบแผนภูมิและแบบกราฟ เปนการนําเสนอขอมูลทางดานปริมาณ เนื่องจากคาสถิติแสดงใหเห็นความแตกตาง ของขอมูลยาก แตแผนภูมิและกราฟชวยใหเกิดความเขาใจไดงายในการวิเคราะห และตีความขอมูล
นักเรียนควรรู 1 ขอมูลเชิงปริมาณ เปนขอมูลเชิงสถิติ มีการประมวลผลผานระบบคอมพิวเตอร แสดงใหเห็นการเปรียบเทียบ และสามารถนําขอมูลนั้นมาวิเคราะหปรากฏการณที่ เกิดขึ้นได 2 ขอมูลเชิงคุณภาพ เปนขอมูลที่ผานการวิเคราะหโดยใชหลักทฤษฎีประกอบ การอธิบายอยางมีเหตุผล
14
ตรวจสอบผล
Explain
1. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับรูปแบบ การนําเสนอขอมูลทางภูมิศาสตรในปจจุบัน ครูตั้งคําถาม • รูปแบบการนําเสนอขอมูลทางภูมิศาสตร ที่สําคัญมีอะไรบาง (แนวตอบ แบบบรรยาย แบบแผนภูมิ แบบแผนผัง แบบกราฟ) • การนําเสนอขอมูลแบบบรรยายเหมาะสมกับ ขอมูลแบบใด (แนวตอบ เหมาะสมกับขอมูลที่มีเนื้อหาสาระ การบรรยายความเรื่องราวตางๆ ไมมีความ ซับซอนมากนัก) 2. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรมที่ 1.5 จากแบบวัด ภูมิศาสตร ม.1
บรรยาย
ขยายความเขาใจ
คูมือครู
บูรณาการเชื่อมสาระ
ครูสามารถนําเนื้อหาเรื่องรูปแบบการนําเสนอขอมูลภูมิศาสตรไป บูรณาการเชือ่ มกับสาระการเรียนรูค ณิตศาสตร วิชาคณิตศาสตร เรือ่ ง สัดสวนรอยละ โดยใหนักเรียนไปสืบคนขอมูลสถิติทางภูมิศาสตร เชน จํานวนประชากรไทยในแตละภาค จํานวนประชากรของประเทศในภูมภิ าค เอเชียตะวันออกเฉียงใต เปนตน จากนั้นใหนักเรียนนําขอมูลมาคิดสัดสวน รอยละ เพื่อนําเสนอขอมูลในรูปแบบแผนภูมิซึ่งเปนการจัดระบบขอมูลให เขาใจงาย เปนการฝกทักษะในการคํานวณและใหนกั เรียนรูจ กั นําเสนอขอมูล ในรูปแบบตางๆ
กระตุนความสนใจ
สํารวจคนหา
อธิบายความรู
Engage
Explore
Explain
ขยายความเขาใจ Expand
ขยายความเขาใจ
ตรวจสอบผล Evaluate
Expand
1. ครูนําตัวอยางขอมูลทางภูมิศาสตรที่เปนความ เรียงของประเทศไทย ทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนีย เชน จํานวน ประชากร ทรัพยากรธรรมชาติ เปนตน มาให นักเรียนชวยกันอภิปรายวา ควรนําเสนอขอมูล แบบใด เพราะอะไร 2. ครูใหนักเรียนแตละกลุมเลือกขอมูลทาง ภูมิศาสตรมา 1 ตัวอยาง เพื่อใหนักเรียนฝก การนําเสนอเปนรูปแบบตางๆ เชน แผนผัง แผนภูมิ กราฟ เปนตน แลวนําเสนอ หนาชั้นเรียน 3. ครูและนักเรียนชวยกันสรุปรูปแบบการ นําเสนอขอมูลทางภูมิศาสตร ประโยชน และการนําไปใช
1
แผนผังตลาดนัดสวนจตุจักรที่น�าเสนอข้อมูลเป็นภาพกราฟิกที่ดูเสมือนจริง
ตรวจสอบผล
ที่มา : www.plazahub.com
Evaluate
ครูตรวจสอบความถูกตองและเหมาะสมจาก การนําเสนอขอมูลทางภูมิศาสตรของประเทศไทย ทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนีย
๔) กราฟ เป็นการน�าเสนอข้อมูลเชิงปริมาณ ในรูปแบบของเส้น จุดหรือภาพ
เหมาะส�าหรับการเปรียบเทียบข้อมูลตัวเลขหลายๆ ชุด เพื่อให้เห็นถึงความแตกต่างและการ เปลีย่ นแปลงของข้อมูลทีเ่ กิดขึน้ เช่น กราฟแสดงปริมาณน�า้ ฝนตลอดปี จะท�าให้เห็นปริมาณน�า้ ฝน ในแต่ละเดือน และเปรียบเทียบได้ว่าเดือนใดฝนตกมากหรือน้อย
๓. การแบ่งเขตเวลาของโลก
๓.๑ ความส�าคัญของการแบ่งเวลา
เนื่องจากโลกมีสัณฐานเป็นทรงกลมจึงได้รับแสงสว่างจากดวงอาทิตย์ไม่พร้อมกันทั้งโลก ความสว่างและความมืดบนพื้นผิวโลกจะเวียนเปลี่ยนไปตามลักษณะการหมุนรอบตัวเองของโลก จากทิศตะวันตกไปทางทิศตะวันออก จึงส่งผลท�าให้ตา� แหน่งทีอ่ ยูท่ างทิศตะวันออกเห็นดวงอาทิตย์ หรือสว่างก่อนต�าแหน่งสถานที่ที่อยู่ด้านทิศตะวันตก ตัวอย่างเช่น ประเทศไทยเริ่มวันใหม่ก่อน ประเทศสหราชอาณาจักร ส่วนประเทศสหราชอาณาจักรเริ่มวันใหม่ก่อนประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นต้น 15
กิจกรรมสรางเสริม ครูใหนักเรียนเขียนแผนที่อยางงายแสดงที่ตั้งของโรงเรียน และมีสถานที่ สําคัญของชุมชน โดยมีองคประกอบของแผนที่ถูกตอง เชน ทิศ สัญลักษณ มาตราสวน เปนตน พรอมระบายสีใหถูกตองตามหลักการทําแผนที่
กิจกรรมทาทาย ครูใหนักเรียนเขียนแผนผังการเดินทางจากบานมาโรงเรียน โดย มีองคประกอบของแผนผังถูกตอง เชน ทิศ สัญลักษณ มาตราสวน เปนตน พรอมระบายสีใหสวยงาม
เกร็ดแนะครู ครูอาจใหนักเรียนสํารวจอาคารเรียนหรือบริเวณโรงเรียนของนักเรียน แลวสราง แผนผัง พรอมระบายสีและตกแตงใหสวยงาม นําสงครูผูสอน
นักเรียนควรรู 1 ภาพกราฟก การสราง การตกแตงแกไข หรือการจัดการเกี่ยวกับรูปภาพ โดยใชเครื่องคอมพิวเตอรในการออกแบบ
มุม IT ศึกษาคนควาขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับตัวอยางการนําเสนอขอมูลเปนรูปกราฟก เพื่อสื่อสารใหเขาใจงาย ไดที่ http://www.whereisthailand.info เว็บไซตประเทศไทยอยูตรงไหน? คูมือครู 15
กระตุน ความสนใจ Engage
สํารวจคนหา Explore
กระตุน ความสนใจ
อธิบายความรู Explain
Expand
Evaluate
๗๕ �ตะวันตก
๐ �
๑๐๕ �ตะวันออก
สหรัฐอเมริกา
สหราชอาณาจักร
ไทย
๗.๐๐ น. อาหารเช้า
๑๒.๐๐ น. อาหารกลางวัน
๑๙.๐๐ น. อาหารค�่า
-๕
๑๒.๐๐
+๗
การเปรียบเทียบเวลาการรับประทานอาหารของคนแต่ละภูมิภาค ที่เกิดขึ้นในขณะเดียวกันแต่ต่างเวลากัน
เมื่อประเทศต่างๆ ทั่วโลก มีการติดต่อสัมพันธ์กันทั้งในด้านการค้า ตลาดหุ้น การเดินเรือ การบิน การรายงานข่ าวต่างๆ จึงต้องก�าหนดเวลามาตรฐานใช้ในประเทศของตนจากเวลา เวลา 1 ปานกลางกรีนิช (Greenwich Mean Time : GMT) หรือ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “เวลาสากล” (Universal Time)
Explore
ครูใหนกั เรียนศึกษาคนควาเกีย่ วกับการแบงเวลา ของโลก จากหนังสือเรียนหนา 15-21 และจากแหลง เรียนรูอื่นๆ เชน หนังสือในหองสมุด เว็บไซตใน อินเทอรเน็ต เปนตน เพือ่ นําขอมูลมาอภิปรายรวมกัน ในชั้นเรียน
อธิบายความรู
ตรวจสอบผล
Engage
1. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับเวลาของโลก โดยถามนักเรียนวา หากนักเรียนตองการชม การถายทอดสดการแขงขันฟุตบอลที่ประเทศ อังกฤษ นักเรียนจะรูไดอยางไรวาตองรอดู ในเวลาใด เนื่องจากประเทศไทยกับประเทศ อังกฤษมีเวลาที่แตกตางกัน (แนวตอบ สามารถเปรียบเทียบวันเวลาเขาหากัน ไดโดยใชเวลาสากลหรือเวลาปานกลางกรีนิช) 2. ครูใหนักเรียนดูภาพจากหนังสือเรียนหนา 16 แลวถามคําถาม • ทําไมเด็กทั้ง 3 คน จึงรับประทานอาหารเชา ไมพรอมกัน (แนวตอบ เนื่องจากโลกมีสัณฐานเปนทรงกลม สงผลใหประเทศตางๆ รับแสงสวางจาก ดวงอาทิตยไมพรอมกัน ทําใหเวลาของแตละ พื้นที่แตกตางกัน)
สํารวจคนหา
ขยายความเขาใจ
๓.๒ เส้นเมริเดียนกับการก�าหนดเขตเวลา
นั ก ภู มิ ศ าสตร์ ไ ด้ ก� า หนดเส้ น สมมติ ที่ ล ากจากขั้ ว โลกเหนื อ ไปยั ง ขั้ ว โลกใต้ เรี ย กว่ า “เส้นเมริเดียน” น” เมื่อทรงกลมของโลกมี ๓๖๐ องศา หากก�าหนดเส้นเมริเดียนทุกๆ เส้นห่างกัน ๑ องศา จะมีเส้นเมริเดียน ๓๖๐ เส้น โลกจะสว่าง (เป็นเวลากลางวัน) ได้ครึ่งหนึ่งเฉพาะด้านที่หันเข้าหาดวงอาทิตย์ และส่วนอีก ครึ่งหนึ่งที่อยู่ด้านตรงข้ามจะมืด (เป็นเวลากลางคืน) ในปรากฏการณ์ธรรมชาติจะมีแนว ความสว่างกับความมืดเกิดขึ้น เสมือนเส้นที่ลากจากขั้วโลกเหนือไปขั้วโลกใต้ ท�าให้ดินแดน ของประเทศต่างๆ มีกลางวั2 นและกลางคืนตามการหมุนรอบตัวเองของโลก โลกหมุนรอบตัวเองได้ครบ ๑ รอบ ในเวลา ๑ วัน จะใช้เวลา ๒๔ ชั่วโมง จึงท�าให้พื้นที่ บริเวณต่างๆ ของโลก มีเวลากลางวันและเวลากลางคืน ๑๒ ชัว่ โมงเท่ากัน ดังนัน้ ในเวลา ๑ ชัว่ โมง โลกจะหมุนท�าให้แนวความสว่างกับความมืดเคลื่อนผ่านไป ๑๕ องศาเมริเดียนนั่นเอง
Explain
ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับการ กําหนดเขตภาคเวลา เวลามาตรฐาน และความ แตกตางของเวลามาตรฐานสากลกับเวลาทองถิ่น
16
นักเรียนควรรู 1 เวลาปานกลางกรีนิช เวลาสมมติที่เมริเดียนกรีนิช ซึ่งประเทศตางๆ ที่อยูหาง จากเมริเดียนกรีนิชใชอางอิงเพื่อกําหนดเวลามาตรฐานใชในประเทศของตน หรือกําหนดเวลาเกี่ยวกับการเดินเรือ การบิน การรายงานขาวอากาศ โดยทั่วไป มักใชกํากับเวลาดวยอักษรยอวา GMT โดยเมืองกรีนิชตั้งอยูทางตะวันออกเฉียงใต ของอังกฤษ เปนที่ตั้งหอดูดาวกรีนิช เสนเมริเดียนที่ผานกรีนิชถือเปนฐานของ เวลามาตรฐานทั่วโลก และใชคํานวณลองจิจูดของสถานที่ตางๆ 2 โลกหมุนรอบตัวเอง 1 รอบใชเวลา 24 ชั่วโมง ในขณะที่โลกหมุนรอบตัวเอง โลกจะเคลื่อนที่รอบดวงอาทิตยไปดวย ทําใหโลกซีกหนึ่งที่ไดรับแสงอาทิตยเปน เวลากลางวันซึ่งใชเวลา 12 ชั่วโมง สวนโลกอีกซีกหนึ่งที่ไมไดรับแสงอาทิตยเปน เวลากลางคืน ซึ่งใชเวลา 12 ชั่วโมง เชนกัน
16
คูมือครู
ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET
เพราะเหตุใดประเทศไทยจึงเริ่มวันใหมกอนสหราชอาณาจักรและ สหรัฐอเมริกา แนวตอบ เนื่องจากโลกหมุนรอบตัวเองจากทิศตะวันตกไปทาง ทิศตะวันออก จึงสงผลใหตําแหนงที่อยูทางทิศตะวันออกไดรับแสงอาทิตย กอนทิศตะวันตก และการที่เสนวันที่อยูกลางมหาสมุทรแปซิฟก ดังนั้น ประเทศไทยจึงไดรับแสงอาทิตยและเริ่มวันใหมกอนสหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา ที่อยูทางทิศตะวันตก
กระตุนความสนใจ
สํารวจคนหา
Engage
Explore
อธิบายความรู Explain
ขยายความเขาใจ
ตรวจสอบผล
Expand
Evaluate
อธิบายความรู ด้านสว่าง
1. ครูใหนักเรียนดูภาพแสดงแนวความสวางและ ความมืดจากหนังสือเรียนหนา 17 แลวให นักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับการเกิด กลางคืนและกลางวัน (แนวตอบ เนื่องจากโลกมีสัณฐานเปนทรงกลม จึงไดรับแสงสวางจากดวงอาทิตยไมพรอมกัน ความมืด ความสวางจะหมุนเวียนเปลี่ยนกันไป ตามการหมุนรอบตัวเองของโลกจากทิศ ตะวันตกไปทิศตะวันออก จึงทําใหตําแหนงที่ อยูทางทิศตะวันออกจะเห็นดวงอาทิตยกอน ทางทิศตะวันตก 2. ครูยกตัวอยางเวลาในประเทศไทยแลว ตั้งคําถามใหนักเรียนตอบ เชน • หากประเทศไทยเปนเวลา 18.00 น. ประเทศญี่ปุนจะตรงกับเวลาใด เพราะเหตุใด (แนวตอบ 20.00 น. เพราะประเทศญี่ปุนใช เวลามาตรฐานที่เสนเมริเดียนกลางที่ 135 องศาตะวันตก ซึ่งมีเวลาเร็วกวาประเทศไทย 2 ชั่วโมง)
ด้านมืด
1
แกนโลก
เส้นอาร์กติกเซอร์เคิล
แสงจาก ดวงอาทิตย์
Explain
เส้นทรอปิกออฟแคนเซอร์
2
เส้นศูนย์สูตร
เส้นทรอปิกออฟแคปริคอร์น แนวความสว่างกับความมืด ภาพแสดงแนวความสว่างและความมืด
วิธีการค�านวณ ใน ๑ วัน มี ๒๔ ชั่วโมง : โลกหมุนรอบตัวเองได้ = ๓๖๐ องศา ×๑ ในช่วงเวลา ๑ ชั่วโมง : โลกหมุนไปได้ = ๓๖๐ ๒๔ องศา ดังนั้น ในช่วงเวลา ๑ ชั่วโมง : โลกหมุนไปได้ = ๑๕ องศา หรือ ในทุกๆ ๑๕ องศา : เวลาจะต่างกัน = ๑ ชั่วโมง เรื่องน่ารู้ เสนวันที่ (Date Line) คือ เส้นสมมติเส้นเมริเดียนที่ 180 องศา ทัง้ นีเ้ ป็นผลจากการประชุมของนานาชาติ ที่กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. สหรัฐอเมริกา เมื่อ พ.ศ. 2427 ที่จะหาวิธีการที่จะท�าให้ระบบวันเวลาของประเทศต่างๆ ทั่วโลก ซึ่งมีกลางวัน กลางคืน และเวลาท้องถิ่นแตกต่างกัน เข้ามาอยู่ในระบบเดียวกัน และสามารถเปรียบเทียบ วันเวลาเข้าหากันได้ ที่ประชุมได้ตกลงยึดเอาเส้นเมริเดียนที่ 180 องศา เป็นเส้นวันที่ และการแบ่งเช่นนี้จะท�าให้เวลาทางด้าน ตะวันตก-ตะวันออกของเส้นเมริเดียนที่ 180 องศา มีเวลาต่างกันถึง 24 ชั่วโมง ดังนั้น หากมีการเดินทางข้าม เส้นนี้จากซีกโลกตะวันตกไปซีกโลกตะวันออก เวลาจะเพิ่มขึ้น 1 วัน แต่ถ้าเดินทางจากซีกโลกตะวันออกไป ซีกโลกตะวันตก เวลาจะลดลง 1 วัน
17
ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET
ขอใดกลาวถึงความสําคัญของเสนเมริเดียนแรกไดถูกตอง 1. เปนเสนเขตวันสากล 2. เปนเสนแบงเวลาสากล 3. เปนเสนกําหนดเขตอากาศสากล 4. เปนเสนกําหนดเวลามาตรฐานสากล
วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 4. เสนเมริเดียนแรก คือ เสนลองจิจูดที่ 0 องศา ลากผานเมืองกรีนิช กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ กําหนดเปนเวลาปาน กลางกรีนิช ซึ่งประเทศตางๆ ที่อยูหางจากเสนเมริเดียนกรีนิชจะใชอางอิง เพื่อกําหนดเขตเวลามาตรฐานเพื่อใชในประเทศของตน)
นักเรียนควรรู 1 แกนโลก เสนสมมติที่ผานขั้วโลกเหนือและขั้วโลกใต ในขณะที่โลกเคลื่อนที่ 1 รอบดวงอาทิตยและหมุนรอบตัวเองนั้น แกนโลกจะเอียงทํามุม 23 2 องศา ทําให บริเวณตางๆ ของโลกไดรับแสงสวางและความรอนไมเทากัน และมีฤดูกาล แตกตางกัน 2 เสนศูนยสูตร เสนวงใหญที่แบงโลกออกเปน 2 ซีก คือ ซีกโลกเหนือกับ ซีกโลกใต จุดทุกจุดบนเสนศูนยสูตรอยูหางจากขั้วโลกทั้งสองเทากัน และระนาบ ของเสนศูนยสูตรตั้งฉากกับแกนของโลก เสนศูนยสูตรมีความยาว 40,075 กม.
คูมือครู
17
กระตุนความสนใจ
สํารวจคนหา
Engage
Explore
Explain
Expand
Evaluate
10
+ 10
10.30
11
+ 11 + 12
ํ 180
12.45 12
11.30
11
11.30
+9 +8
8
+6 +5
6.30 5
+4
4
3
+3
3 3 1
1
+1
2
เวลามาตรฐาน 0 1 เขตยุโรปตอนกลาง 2
0
ํ 0
1
0
0
0
1
1
1
2
2
3
+2
2
3
3 3
4
3
3
3.30
4
4
5
4.30 5
5.30
6
5
5.30
5.30
5.45
7
8 7
เนปดอว 7
6 6.30
8
8
7
+7
7
8
8
9
8
9
9.30
9
10
10
10
10
10
10 10
9
11
10
11
11
11
12
12
12
13
12
10
13
11
เที่ยงคืน กอน หลัง 8
-1
0
-3
4
4
-4
3
3.30 3
ขอสอบ
-6 - 11 - 12
180
ํ
เวลา เร็วกวา 1 วัน
12
12.45
13
11 12 12
O-NET
10
10
11 11
11
10
10
- 10
-9
-8
เขตที่ใชเวลาปานกลางกรีนิช จํานวนชั่วโมงที่เร็วกวาหรือชากวา เวลาปานกลางกรีนิช เขตเวลาครึ่งชั่วโมง แนวพรมแดนระหวางประเทศ เสนเขตเวลา ซึ่งบางครั้งอาจทับ กับแนวพรมแดนระหวางประเทศ
เขตที่เร็วกวาเวลาปานกลางกรีนิช
เขตที่ชากวาเวลาปานกลางกรีนิช
เขตเวลามาตรฐาน
-7
1
6
5
5
5
-5
4
3
4
4
เวลามาตรฐาน เขตแปซิฟก 8
เวลามาตรฐาน 9 เขตอะแลสกา
เวลามาตรฐาน เขตภูเขา
5
เวลามาตรฐาน เวลามาตรฐาน ก เขตตอนกลาง เวลามาตรฐาน เขตแอตแลนติ 4 3.30 เขตตะวันออก 6
2
1
2
-2
1
2
0
0 1 3 4
เที่ยงคืน เวลา ชากวา 1 วัน
1 เขตเวลามาตรฐาน เนื่องจากโลกหมุนรอบตัวเองและเคลื่อนที่รอบดวงอาทิตย ทําใหพื้นที่ตางๆ ไดรับแสงสวางจากดวงอาทิตยแตกตางกัน สหพันธดาราศาสตร นานาชาติจึงแบงเขตเวลาบนโลกออกเปน 24 โซน ตามเสนลองจิจูด แตละโซน มีคา 15 องศา โดยนับเสนแรกจากเสนเวลามาตรฐานกรีนิช ณ เมืองกรีนิช ประเทศอังกฤษ เรียกจุดนี้วา GMT+0 ซึ่งประเทศที่อยูทางซีกตะวันออกจะมีคา เวลาเปนบวก ตั้งแต +1 ถึง +12 สวนประเทศทางซีกโลกตะวันตกจะมีคาเปนลบ ตั้งแต -1 ถึง -12 เชนกัน ดังนั้น จึงสามารถเปรียบเทียบวัน เวลาในแตละพื้นที่ให เปนมาตรฐานเดียวกันได
7
15 ํ E 30 ํ E 45 ํ E 60 ํ E 75 ํ E 90 ํ E 105 ํ E 120 ํ E 135 ํ E 150 ํ E 165 ํ E 180 ํ E
หลัง
เที่ยงวัน กอน
แผนที่แสดงเขตภาคเวลาของโลก
180 ํ W 165 ํ W 150 ํ W 135 ํ W 120 ํ W 105 ํ W 90 ํ W 75 ํ W 60 ํ W 45 ํ W 30 ํ W 15 ํ W 0 ํ
นักเรียนควรรู
ว วันอ ันจันท าทิต ร ย
๑๘
คูมือครู
ตรวจสอบผล
Explain
1. ครูนําแผนที่แสดงเขตภาคเวลาของโลกมาให นักเรียนดู และใหศึกษาจากหนังสือเรียน ประกอบ แลวอธิบายถึงเวลาของประเทศตางๆ ในโลก พรอมทั้งชวยกันสรุปถึงความสําคัญของ การแบงเวลาของโลก 2. ครูนํานักเรียนฝกการเทียบวัน เวลาของประเทศ ตางๆ ในโลก โดยใชแผนที่แสดงเขตเวลาของ โลกประกอบการฝกเทียบวัน เวลาของประเทศ ตางๆ ในโลก โดยฝกเทียบเวลากับประเทศ เพื่อนบานของไทยกอน เชน ไทยกับมาเลเซีย ไทยกับสิงคโปร ไทยกับกัมพูชา ไทยกับลาว จากนั้นเทียบเวลากับประเทศในทวีปยุโรป ทวีปอเมริกา และทวีปออสเตรเลียตอไป 3. ครูใหนักเรียนคํานวณเวลาของประเทศตางๆ เชน ถามนักเรียนวา วันที่ 15 เดือนธันวาคม ประเทศไทยตรงกับเวลา 19.00 น. สหราชอาณาจักร ประเทศอินเดีย ประเทศญี่ปุน จะตรงกับวันที่และเวลาใด (แนวตอบ สหราชอาณาจักรตรงกับวันที่ 15 ธันวาคม เวลา 12.00 น. ประเทศอินเดียตรงกับ วันที่ 15 ธันวาคม เวลา 17.00 น. ประเทศญี่ปุน ตรงกับวันที่ 15 ธันวาคม เวลา 21.00 น.)
18
ขยายความเขาใจ
เมริเดียนกรีนิช
อธิบายความรู
อธิบายความรู
ขอสอบป ’ 52 ออกเกี่ยวกับการเปรียบเทียบวันเวลาของประเทศไทย กับประเทศตางๆ ถานักเรียนตองการชมการถายทอดสดฟุตบอล ซึ่งแขงขันที่ประเทศอังกฤษ เวลา 15.00 น. วันเสาร นักเรียนตองเปดเครื่องรับโทรทัศนที่ประเทศไทยเวลา ใด จึงจะไดชมการถายทอดตั้งแตเริ่มตนการแขงขัน 1. 8.00 น. วันเสาร 2. 15.00 น. วันเสาร 3. 22.00 น. วันเสาร 4. 8.00 น. วันอาทิตย (วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 3. นักเรียนตองเปดเครื่องรับโทรทัศนที่ ประเทศไทยเวลา 22.00 น. วันเสาร เนื่องจากเวลาประเทศไทยเร็วกวา ประเทศอังกฤษ 7 ชั่วโมง)
กระตุนความสนใจ
สํารวจคนหา
Engage
Explore
อธิบายความรู Explain
ขยายความเขาใจ
ตรวจสอบผล
Expand
Evaluate
อธิบายความรู
1. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับ การกําหนดเขตภาคเวลา โดยใชแผนที่แสดง เขตภาคเวลาของโลกประกอบ 2. ครูใหนักเรียนทํากิจกรรม 1.6 จากแบบวัดฯ ภูมิศาสตร ม.1
๓.๓ การก�าหนดเขตภาคเวลา 1
การก�าหนดเขตภาคเวลา (time zone) จะก�าหนดตามระยะห่างของเส้นช่วงละ ๑๕ องศา โดยก�าหนดตามเส้นเมริเดียน ๐ � , ๑๕ � , ๔๕ � , ๖๐ � , ๗๕ � , ๙๐ � , ๑๐๕ � , ๑๒๐ � , ๑๓๕ � , ๑๕๐ � , ๑๗๕ � และเส้นเมริเดียน หรือลองจิจูด ๑๘๐ องศา ทั้งด้านทิศตะวันออกและทิศตะวันตก และทุกเขตภาคเวลาที่ก�าหนดช่วงละ ๑๕ 2องศานั้น จะมีเส้นเมริเดียนกลางเป็นหลัก แล้วให้นับ ระยะห่างออกไปข้างละ ๗ องศา ๓๐ ลิปดา ดังนั้น ทั่วโลกจึงมี ๒๔ เขตภาคเวลา จากแผนทีแ่ สดงเขตภาคเวลาของโลก ก�าหนดให้เมริเดียนแรก (๐ องศา) เป็นเวลาปานกลาง กรีนิช (Greenwich Mean Time : GMT) ซึ่งประเทศต่างๆ ที่อยู่ห่างจากเส้นเมริเดียนกรีนิช จะใช้อ้างอิงเพื่อก�าหนดเวลามาตรฐานเพื่อใช้ในประเทศของตน ตัวอย่างเช่น ดาวเทียมธีออส (THEOS) ดาวเทียมส�ารวจทรัพยากรดวงแรกของไทยได้ถูกส่งขึ้นวงโคจร เมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ ตรงกับเวลาในประเทศไทย ๑๓:๓๗ น. หรือ ๖:๓๗ ตามเวลา GMT นั่นหมายถึง เวลาของประเทศไทยเร็วกว่าเวลาปานกลางกรีนิช ๗ ชั่วโมง
Explain
✓ แบบวัดฯ ใบงาน แบบฝกฯ ภูมิศาสตร ม.1 กิจกรรมที่ 1.6 หนวยที่ 1 เคร�่องมือทางภูมิศาสตรและการแบงเขตเวลาของโลก
กิจกรรมที่ ๑.๖ ใหนักเรียนเติมคําเกี่ยวกับการแบงเขตเวลาของโลก ลงในชองวางตอไปนี้ (ส ๕.๑ ม.๑/๒)
คะแนนเต็ม คะแนนที่ได
ñð
ทรงกลม จึงไดรบั แสงสวางจากดวงอาทิตย ไมพรอมกัน โลกจะสวาง ๑. โลกมีสณ ั ฐานเปน……………………………… ตะวันตก และมืดเปลี่ยนเวียนไปตามลักษณะการหมุนรอบตัวเองของโลกจากทิศ………………………………….. ตะวันออก ไปทิศ………………………………….. ๒. ประเทศตางๆ ทั่วโลกติดตอสัมพันธกันดานการคา ตลาดหุน การเดินเรือ การบิน และการ ปานกลางกรีนชิ รายงานขาว จึงตองกําหนดเวลามาตรฐานเพื่อใชในประเทศของตนจากเวลา……………………………. เวลาสากล หรือเรียกอีกอยางหนึ่งวา………………………… เสนเมริเดียน ๓. นักภูมิศาสตรไดกําหนดเสนสมมติที่ลากจากขั้วโลกเหนือไปขั้วโลกใต เรียกวา………………………….. ๑๕ องศา โดยกําหนด ๔. การกําหนดเขตภาคเวลาจะกําหนดตามระยะหางของเสนชวงละ ....................... ตามเสนเมริเดียน ๐ ํ - ๑๘๐ ํ ทั้งทางดานทิศตะวันออกและทิศตะวันตก ดังนั้น ทั่วโลกจึงมี ๒๔ เขตภาคเวลา ………………. ฉบับ ๓๖๐ องศา ในชวงเวลา ๑ ชั่วโมง เฉลย ๕. ใน ๑ วัน มี ๒๔ ชั่วโมง โลกหมุนรอบตัวเองได……………………….. ๑๕ องศา และในทุกๆ ๑๕ องศา เวลาจะตางกัน……………………….. ๑ ชั่วโมง โลกหมุนไปได…………………… ๖. จัสตินอยูที่สหรัฐอเมริกา รับประทานอาหารเชาเวลา ๐๗.๐๐ นาฬกา วิลเลียมอยูที่ ๑๒.๐๐ นาฬกา สวนแพรไหมอยูที่ สหราชอาณาจักร รับประทานอาหารกลางวันเวลา…………………….. ๑๙.๐๐ นาฬกา ประเทศไทยจะรับประทานอาหารคํ่าเวลา…………………….. ๗ ชัว่ โมง เนือ่ งจากประเทศไทย ๗. เวลาของประเทศไทยเร็วกวาเวลาปานกลางกรีนชิ ……………………….. ๑๐๕ ํ ตะวันออก เปนเสนเมริเดียนกลางเขตภาคเวลา ใชเวลาที่เสนเมริเดียน ……………………….. ๑๘๐ องศา ดังนัน้ เวลาทางดานตะวันตก - ตะวันออก ๘. เสนวันทีส่ ากล คือ เสนสมมติลองจิจดู ที…่ ……………. ๒๔ ชั่วโมง ของลองจิจูด ๑๘๐ องศา มีเวลาตางกันถึง……………………….. ๙. ประเทศไทย กัมพูชา และลาว ใชเวลามาตรฐานเดียวกัน เนื่องจากมีพื้นที่ดินแดนอยูในเขต ๑๐๕ องศาตะวันออก ภาคเวลาเดียวกัน คือ……………………….. ๑๐. ประเทศญี่ปุนใชเวลามาตรฐานที่เสนเมริเดียนกลางที่ ๑๓๕ องศาตะวันออก มีเวลาเร็วกวา ๒ ชั่วโมง ประเทศไทย………………………..
๓.๔ เวลามาตรฐาน
เวลามาตรฐาน (standard time) สามารถแบ่งออกได้ ดังนี้ ๑) เวลามาตรฐานสากล คือ เวลาที่ก�าหนดขึ้นใช้ในเขตภาคเวลาต่างๆ ทั่วโลก ใน ทางปฏิบัติจริงแนวเส้นของเขตภาคเวลาอาจคดโค้งไปตามขนาดของเนื้อที่ประเทศและดินแดน บางประเทศมีขนาดใหญ่ครอบคลุมพืน้ ทีห่ ลายเขตภาคเวลา ตัวอย่างเช่น รัสเซีย แบ่งเป็น ๑๑ เขต ภาคเวลา สหรัฐอเมริกาแบ่งเป็น ๕ เขตภาค ๑๐๕ �E ๑๑๐ �E ๑๑๒ �๓๐ ๑๒๐ �E ๙๐ �E ๙๗ �๓๐ ลาว เวลา ออสเตรเลีย แบ่งเป็น ๓ เขตภาคเวลา จีน ไทย และอินเดีย แบ่งเป็น ๑ เขตภาคเวลา เป็นต้น กัมพูชา ส� า หรั บ ประเทศไทย กั ม พู ช า ๑๐ �N เวียดนาม และลาว ใช้เวลามาตรฐานเดียวกัน เนือ่ งจากต่างก็มพี นื้ ทีด่ นิ แดนอยูใ่ นเขตภาคเวลา เดียวกัน คือ ๑๐๕ องศาตะวันออก ๐ � อิ น โ ด ๒) เวลามาตรฐานท้องถิ่น คือ นี เ ซ ี ย เวลาของแต่ละพื้นที่จะแตกต่างกันออกไปตาม เขตภาคเวลาของแต่ละดินแดนหรือประเทศ ๑๐ �S กัมพูชา ลาว และเวียดนาม ใช้เวลามาตรฐาน ต่างๆ ซึ่งมีเวลามาตรฐานของแต่ละเขตหรือ ประเทศไทย เดียวกัน โดยใช้เวลาที่เส้นเมริเดียน 105 � ตะวันออก แต่ละท้องถิ่นอยู่แล้ว ดังตัวอย่างต่อไปนี้ เป็นเส้นเมริเดียนกลางเขตภาคเวลา เซีย
มาเล
๗
http://www.aksorn.com/LC/Geo/M1/03
ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET
วันที่ 25 มิถุนายน เวลา 18.00 น. ไดเกิดแผนดินไหวที่กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุน ดังนั้น ที่ประเทศพมาจะตรงกับวันและเวลาใด 1. วันที่ 25 มิถุนายน เวลา 14.00 น. 2. วันที่ 25 มิถุนายน เวลา 15.00 น. 3. วันที่ 24 มิถุนายน เวลา 10.00 น. 4. วันที่ 24 มิถุนายน เวลา 09.00 น.
วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 2. ประเทศพมาอยูหางจากประเทศญี่ปุน 3 เขต ภาคเวลา เมื่อประเทศญี่ปุนตรงกับวันที่ 25 มิถุนายน เวลา 18.00 น. จึงนับถอยหลังไป 3 ชั่วโมง ดังนั้น พมาจึงตรงกับวันที่ 25 มิถุนายน เวลา 15.00 น.
EB GUIDE
19
นักเรียนควรรู 1 เขตภาคเวลา การแบงพื้นที่สวนตางๆ ของโลกเปนเขต สําหรับการใชเวลา มาตรฐานเดียวกันที่ใชเกณฑตามเวลาเชิงพิกัด (UTC-Coordinated Universal Time) ซึ่งเปนหนวยเวลาที่ใชอางอิงการหมุนของโลก โดยใชเครื่องหมายบวก (+) หรือลบ (-) เทียบจากหนวยเวลาสากล ซึ่งเปนระบบอางอิงจากเวลามาตรฐานกรีนิช (GMT) 1 2 ลิปดา หนวยการวัดคาของมุม โดย 1 ลิปดา มีคาเทากับ 60 องศา และมี คาเทากับ 60 พิลิปดา ลิปดาเปนหนวยมุมขนาดเล็กที่ใชในการวัดคาที่มีความ ละเอียดมาก เชน ใชในวิชาดาราศาสตร ใชในการกําหนดพิกัดการยิงขีปนาวุธ เปนตน
คูมือครู
19
กระตุนความสนใจ
สํารวจคนหา
Engage
Explore
อธิบายความรู
อธิบายความรู Explain
ขยายความเขาใจ
ตรวจสอบผล
Expand
Evaluate
Explain
ครูขออาสาสมัครนักเรียนใหมาอธิบายความรู เกี่ยวกับเวลามาตรฐาน แลวครูอธิบายเพิ่มเติม จากนั้นตั้งคําถามใหนักเรียนชวยกันตอบ • เวลามาตรฐานสากลกับเวลามาตรฐาน ทองถิ่นตางกันอยางไร (แนวตอบ เวลามาตรฐานสากลเปนเวลาที่ กําหนดขึ้นใชในเขตภาคเวลาตางๆ ทั่วโลก สวนเวลามาตรฐานทองถิ่นเปนเวลาของแตละ ดินแดนหรือประเทศตางๆ) • ประเทศไทยอยูในเขตภาคเวลาใด (แนวตอบ เขตภาคเวลา 105 องศา ตะวันออก) • ประเทศไทยใชเวลามาตรฐานเดียวกับ ประเทศใด (แนวตอบ ประเทศกัมพูชา ลาว และเวียดนาม)
ตัวอย่างที่ ๑
โตเกียวสกายทรี กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุน
มี ร ายงานข่ า วจากกรุ ง โตเกี ย ว ประเทศ ญีป่ นุ ว่า “ได้เกิดแผ่นดินไหว เมือ่ เวลา ๒๑:๔๖ น. 1 ตามเวลาท้องถิน่ ” ค�าว่า “เวลาท้องถิน่ ” หมายถึง เวลาทีป่ ระเทศญีป่ นุ หากจะเทียบเวลาการเกิดว่า ตรงกับเวลาใดในประเทศไทย ก็ต้องทราบว่า ประเทศญี่ปนุ ใช้เวลามาตรฐานที่เส้นเมริเดียน กลางที ่ ๑๓๕ องศาตะวันออก ซึง่ มีเวลาเร็วกว่า ประเทศไทย ๒ ชัว่ โมง ดังนัน้ ขณะเกิดแผ่นดินไหวในประเทศญีป่ นุ ประเทศไทยเป็นเวลา ๑๙:๔๖ น.
ตัวอย่างที่ ๒
ประตูบรันเดนบูรก กรุงเบอรลิน ประเทศเยอรมนี
การแข่ ง ขั น ฟุ ต บอลโลกรอบชิ ง ชนะเลิ ศ ระหว่างบราซิลกับฝรั่งเศสที่สนามของประเทศ เยอรมนี สถานี วิ ท ยุ โ ทรทั ศ น์ ช่ อ ง ๓ จะท� า การถ่ า ยทอดสดให้ ค นไทยได้ ช มการแข่ ง ขั น ดังกล่าวในเช้าวันที ่ ๑๑ มกราคม เวลา ๐๑:๐๐ น. นั่นคือ การแข่งขันฟุตบอลในประเทศเยอรมนี จะด� า เนิ น การในวั น ที่ ๑๐ มกราคม เวลา ๑๙:๐๐ น. ตามเวลาท้องถิ่น แสดงว่าเยอรมนีใช้เส้นเมริเดียนกลางที่ ๑๕ องศาตะวันออก
ตัวอย่างที่ ๓ เมื่อเวลา ๐๘:๐๐ น. ดร.เหงียน เตืองลาย ได้โทรศัพท์มาจากกรุงฮานอยว่า “เครื่องบิน จะออกเดินทาง เวลา ๐๙:๐๐ น. และจะถึง ท่ า อากาศยานสุ ว รรณภู มิ เ วลา ๑๐:๕๐ น.” ขณะที่ รั บ โทรศั พ ท์ เ สี ย งเพลงชาติ ไ ทยยั ง ดั ง เข้าสายโทรศัพท์ไปถึงกรุงฮานอยด้วย แสดงว่าทั้งเวียดนามและไทย ใช้เวลา มาตรฐานท้องถิ่นเดียวกัน สุสานประธานาธิบดีโฮจิมนิ ห กรุงฮานอย ประเทศเวียดนาม
20
นักเรียนควรรู 1 เวลาทองถิ่น เวลาที่ใชเสนเมริเดียนของทองถิ่นเปนเกณฑในการกําหนดเวลา โดยกําหนดใหเปนเวลาเที่ยงตรง (12.00 น.) เมื่อดวงอาทิตยผานมาอยูในตําแหนง ตรงกับเสนเมริเดียนทองถิ่นนั้นๆ พอดี ดังนั้น ทองถิิ่นที่อยูตางลองจิจูดกันก็จะมี เวลาตางกันไป เวลาทองถิ่นดังกลาวไมเปนที่นิยมเนื่องจากเวลาจะแตกตางออกไป ตามเสนเมริเดียน ดังนั้น จึงมีการกําหนดเวลามาตรฐานทองถิ่นขึ้นใชแทน
บูรณาการอาเซียน ครูอธิบายเพิ่มเติมวา ประเทศสมาชิกอาเซียนไดมีแนวคิดในการกําหนดเวลา มาตรฐานอาเซียน (ASEAN Common Time) ขึ้น โดยกําหนดใหใช UTC+ 8 ดังนั้น ในเอกสารตางๆ จะปรากฏตัวยอวา “ACT” ซึ่งจะเปนประโยชนในการติดตอสื่อสาร ตลอดจนการดําเนินธุรกิจตางๆ สามารถเทียบเวลามาตรฐานอาเซียนกับเวลาทั่วโลก ไดที่ http://www.sitesworld.com/time/asean-common-time.html
20
คูมือครู
ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET
หากนักเรียนตองการชมพิธีปดการแขงขันโอลิมปกที่กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ในวันที่ 12 สิงหาคม เวลา 21.00-23.45 น. ตามเวลา ทองถิ่น นักเรียนควรจะเปดโทรทัศนเพื่อชมการถายทอดสดในวันเวลาใด 1. วันที่ 12 สิงหาคม เวลา 04.00 น. 2. วันที่ 12 สิงหาคม เวลา 14.00 น. 3. วันที่ 13 สิงหาคม เวลา 04.00 น. 4. วันที่ 13 สิงหาคม เวลา 14.00 น. วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 3. เนื่องจากประเทศไทยอยูเขตภาคเวลา 105 องศาตะวันออก สวนกรุงลอนดอนอยูเขตภาคเวลา 0 องศา ประเทศไทย จึงเร็วกวากรุงลอนดอน 7 ชั่วโมง
กระตุนความสนใจ
สํารวจคนหา
อธิบายความรู
Engage
Explore
Explain
ขยายความเขาใจ Expand าใจ ขยายความเข
ตรวจสอบผล Evaluate
Expand
ขยายความเขาใจ
Expand
ครูนําขาวหรือเหตุการณสําคัญในตางประเทศ มาใหนักเรียนฝกฝนเปรียบเทียบวันและเวลาวา มีความสอดคลองกับวันและเวลาของประเทศไทย อยางไร (แนวตอบ เชน ประเทศญี่ปุนเกิดคลื่นสึนามิที่ เมืองเซนได เมื่อวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2554 เวลา 14.50 น. ประเทศไทยตรงกับวันที่ 11 มีนาคม พ.ศ. 2554 เวลา 12.50 น. เปนตน)
เรื่องน่ารู้ เวลาท้องถิ่น
โดยปกติเวลาท้องถิ่น (local time) 1 จะยึดถือตามเส้นเมริเดียน แต่ก็มีข้อยกเว้น กล่าวคือ ถ้าเป็นประเทศ เดียวกัน มักจะใช้เวลามาตรฐานของท้องถิน่ เป็นเวลาเดียวกันทัง้ ประเทศ เพราะพืน้ ทีบ่ างแห่งจะอยูใ่ นแนวเส้นเมริเดียน ต่างกัน ถ้ายึดเอาเวลาตามเส้นเมริเดียนเป็นหลักทั้งหมด ประเทศหนึ่งๆ อาจจะมีเวลาท้องถิ่นหลายเวลา ตัวอย่างเช่น จังหวัดอุบลราชธานีหากใช้เวลาที่เส้นเมริเดียนกลาง 105 องศาตะวันออก จังหวัดแม่ฮ่องสอน ก็ใช้เวลาที่เส้นเมริเดียน 98 องศาตะวันออก • ทั้ง 2 จังหวัดใช้เวลาตามเส้นเมริเดียนที่ต่างกัน 7 องศา ดังนั้นเวลาทั้ง 2 จังหวัด จะแตกต่างกัน เท่ากับ 7 � × 4 = 28 นาที ( 1 องศา = 4 นาที) • จังหวัดอุบลราชธานีอยู่ทางทิศตะวันออกของจังหวัดแม่ฮ่องสอน จึงเห็นดวงอาทิตย์ขึ้นก่อนและเริ่ม เวลาก่อน • ถ้าในขณะนั้นจังหวัดอุบลราชธานี เวลา 06:00 น. ดังนั้น เวลาตามเส้นเมริเดียนที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน ช้ากว่า 28 นาที นั่นคือ จังหวัดแม่ฮ่องสอนจะเป็นเวลา 09:32 น. จากตัวอย่างจะพบว่า ถ้าใช้เวลาท้องถิน่ ตามต�าแหน่งทีต่ รงกับเส้นเมริเดียนท้องถิน่ แล้ว จะเกิดความสับสน ดังนัน้ การก�าหนดเวลาท้องถิน่ ดังกล่าวจึงไม่เป็นทีน่ ยิ ม ส�าหรับประเทศไทยจึงได้มกี ารก�าหนดเวลามาตรฐานท้องถิน่ ขึน้ เพื่อใช้แทนเวลาท้องถิ่น คือ ใช้เวลาเดียวกันทั้งประเทศ
ตรวจสอบผล
Evaluate
ครูตรวจสอบความถูกตองจากการเปรียบเทียบ วันและเวลาของประเทศตางๆ ทั่วโลก
ชื่อเส้นขนานละติจูดที่ส�าคัญ เส้นขนานละติจูด เป็นเส้นที่สามารถบอกลักษณะภูมิอากาศและบอกฤดูกาลได้ ซึ่งมีเส้นขนานละติจูด ที่ส�าคัญ ดังนี้ 1) เส้นทรอปิกออฟแคนเซอร์ คือ เส้นขนานละติจูดที่ 23 องศา 30 ลิปดาเหนือ 2) เส้นทรอปิกออฟแคปริคอร์น คือ เส้นขนานละติจูดที่ 23 องศา 30 ลิปดาใต้ 3) เส้นศูนย์สูตร คือ เส้นวงใหญ่ที่แบ่งโลกออกเป็น 2 ซีก คือ ซีกโลกเหนือกับซีกโลกใต้ พื้นระนาบของ เส้นศูนย์สูตร มีค่าเป็น 0 องศา 4) เส้นอาร์กติกเซอร์เคิล คือ เส้นขนานละติจูดที่ 66 องศา 30 ลิปดาเหนือ 5) เส้นแอนตาร์กติกาเซอร์เคิล คือ เส้นขนานละติจูดที่ 66 องศา 30 ลิปดาใต้
กล่าวโดยสรุปได้ว่า การรู้จักใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์จะช่วยท�าให้สามารถศึกษาและ เรียนรู้เรื่องราวต่างๆ ที่ปรากฏบนพื้นผิวโลกได้อย่างมีประสิทธิภาพ ขณะเดียวกันการทราบถึง หลักการแบ่งเขตเวลาของโลก ก็จะเป็นประโยชน์ท�าให้เราเข้าใจเวลาจริงของท้องถิ่นที่อยู่ ต่างเขตเวลากันได้
21
บูรณาการเชื่อมสาระ
ครูสามารถนําเนื้อหาเรื่องเวลาทองถิ่นไปบูรณาการเชื่อมกับสาระ การเรียนรูคณิตศาสตร วิชาคณิตศาสตร โดยอธิบายวา การกําหนดเวลา ทองถิ่นใหเปนเวลามาตรฐานเดียวกัน เพื่อจะไดไมเกิดความสับสนเรื่อง เวลาในทองถิ่นตางๆ จากนั้นครูตั้งสถานการณสมมติใหนักเรียนฝกการ คํานวณเพื่อหาเวลาทองถิ่น เชน ถามวา ตําบล ก. ตั้งอยูที่เสนเมริเดียน 140 องศาตะวันออก ตําบล ข. ตั้งอยูที่เสนเมริเดียน 80 องศาตะวันออก ตําบล ก. และตําบล ข. มีเวลาตางกันเทาไร เปนตน
นักเรียนควรรู 1 เวลามาตรฐานของทองถิ่น เวลาที่ถือตามขอตกลงที่กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ซึ่งไดกําหนดเสนแบงเขตวันสากลขึ้น เนื่องจากโลกกลมและมีอาณาเขตกวางขวาง เวลาจึงแตกตางกันออกไป โดยเฉพาะประเทศที่มีพื้นที่กวางจําเปนตองกําหนด เวลามาตรฐานไวเปนเขตๆ เรียกวา เวลามาตรฐาน โดยถือเอาเมริเดียนมาตรฐาน ทุกๆ 15 องศา เปนเสนกําหนดเวลามาตรฐาน คือ คลุมบริเวณ 15 องศาลองจิจูด ทุกๆ จุดในโซนเดียวกันจะมีเวลาเหมือนกัน แตละโซนเวลาจะตางกัน 1 ชั่วโมง
คูมือครู
21
กระตุนความสนใจ
สํารวจคนหา
อธิบายความรู
ขยายความเขาใจ
Engage
Explore
Explain
Expand
ตรวจสอบผล
ตรวจสอบผล Evaluate
Evaluate
ครูประเมินความถูกตองจากการตอบคําถาม ประจําหนวยการเรียนรู
คำาถามประจำาหน่วยการเรียนรู้ ๑. จงยกตัวอย่างเครื่องมือทางภูมิศาสตร์พร้อมอธิบายการใช้ประโยชน์ของเครื่องมือต่างๆ ๒. แผนที่มีความจ�าเป็นต่อชีวิตประจ�าวันของนักเรียนอย่างไรบ้าง ๓. ถ้านักเรียนไปเดินป่าที่อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ นักเรียนควรเตรียมเครื่องมือทาง ภูมิศาสตร์อะไรบ้าง และเครื่องมือเหล่านั้นมีประโยชน์อย่างไร ๔. เขตเวลามาตรฐานสากลมีความส�าคัญและมีประโยชน์อย่างไร จงอธิบาย ๕. ประเทศไทยใช้เขตเวลามาตรฐานท้องถิ�นที่เท่าใด และช้าหรือเร็วกว่าเวลาปานกลาง กรีนิชกี่ชั�วโมง
หลักฐานแสดงผลการเรียนรู 1. สรุปสาระสําคัญจากการศึกษาแผนที่ 2. แผนทีแ่ สดงสถานที่สําคัญในโรงเรียน 3. การอานขอมูลรูปถายทางอากาศและ ภาพจากดาวเทียม 4. ขอมูลเกี่ยวกับดาวเทียม 5. ชิ้นงานการนําเสนอขอมูลทางภูมิศาสตรใน รูปแบบสารสนเทศ
กิจกรรมสร้างสรรค์พัฒนาการเรียนรู้ กิจกรรมที่ ๑ นักเรียนส�ารวจชุมชนหรือท้องถิ�นของตนหรือชุมชนใกล้เคียง เก็บข้อมูล ด้านภูมลิ กั ษณ์ จ�านวนประชากร การประกอบอาชีพ สถานศึกษา แล้วน�าเสนอ ข้อมูลด้วยรูปแบบใดรูปแบบหนึ�งทางภูมิศาสตร์ อาจน�าเสนอผลงานเป็น กลุ่มหรือเฉพาะบุคคลก็ได้ กิจกรรมที่ ๒ ๒ นักเรียนแบ่งกลุ่มจัดท�าแผนผังแสดงที่ตั้งของโรงเรียน โดยใช้เครื่องมือ เช่น แผนที่ รูปถ่ายทางอากาศ หรือภาพจากดาวเทียม และใช้เข็มทิศ เพื่อแสดง ต�าแหน่งของโรงเรียนกับสถานทีส่ า� คัญใกล้โรงเรียน ใช้เครือ่ งมือวัดระยะทาง ใช้เครื่องมือ GPS (ถ้ามี) เพื่อก�าหนดต�าแหน่งที่ตั้งของโรงเรียน โดยก�าหนดมาตราส่วนทีเ่ หมาะสม ใช้สญั ลักษณ์ตา่ งๆ ให้ถกู ต้อง ระบาย สีให้สวยงาม เสร็จแล้วส่งครูผสู้ อนพิจารณาคัดเลือกผลงานกลุม่ ทีด่ ที สี่ ดุ ๒-๓ กลุ่ม น�าไปแสดงที่ป้ายนิเทศ กิจกรรมที่ ๓๓ นักเรียนยกตัวอย่างเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในต่างประเทศ ๑ เหตุการณ์ เช่น การแข่ ง ขั น ฟุ ต บอลในต่ า งประเทศแล้ ว น� า มาเปรี ย บเที ย บกั บ เวลาใน ประเทศไทย โดยน�าเสนอลงในสมุด
22
แนวตอบ คําถามประจําหนวยการเรียนรู 1. - ลูกโลกใชแสดงตําแหนงและการกระจายของพื้นที่ประเทศ ทวีป ทะเล และมหาสมุทรตางๆ ตามที่ปรากฏบนผิวโลก - เข็มทิศใชในการหาทิศของตําแหนงตางๆ บนแผนที่และพื้นผิวโลก - รูปถายทางอากาศใชในการทําแผนที่ การทําโฉนดที่ดิน การกอสรางถนน และการวางผังเมือง - ภาพจากดาวเทียมใชในการพยากรณอากาศ การสํารวจทรัพยากรธรรมชาติ 2. แผนที่ชวยใหเขาใจเสนทางและสามารถวางแผนกอนการเดินทางไปยังสถานที่ตางๆ ไดถูกตอง 3. แผนที่ใชเพื่อวางแผนการเดินทางไปยังสถานที่ที่กําหนดไดถูกตอง และเข็มทิศใชเพื่อหาทิศทางใหสอดคลองตามแผนที่ที่กําหนด 4. เขตเวลามาตรฐานสากล ใชกําหนดเวลาของสถานที่ตามตําแหนงที่ตั้งตางๆ บนผิวโลก เพื่อใหมนุษยในพื้นที่นั้นๆ รูชวงเวลาที่ถูกตอง 5. ประเทศไทยใชเวลามาตรฐานทองถิ่นที่เสนเมริเดียน 105 องศาตะวันออก เร็วกวาเวลาปานกลางกรีนิช 7 ชั่วโมง
22
คูมือครู