8858649122780

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº »ÃСѹÏ

ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน

กระบวนการสอนแบบ 5 Es ชวยสรางทักษะการเรียนรู กิจกรรมมุงพัฒนาทักษะการคิด คำถาม + แนวขอสอบเพื่อยกผลสัมฤทธิ์ O-NET กิจกรรมบูรณาการเตรียมพรอมสู ASEAN 2558


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู การงานอาชีพและเทคโนโลยี

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2

สําหรับครู

คูมือครู Version ใหม

ลักษณะเดน

ขยายพื้นที่รูปเลมใหญขึ้นกวาเดิม จัดแบงพื้นที่ออกเปนโซน เพื่อคนหาขอมูลไดงาย สะดวก รวดเร็ว และดูเปนระเบียบ กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล

กระตุน ความสนใจ

Evaluate

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

เปาหมายการเรียนรู สมรรถนะของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค

หน า

โซน 1 กระตุน ความสนใจ

Engage

สํารวจคนหา

Explore

อธิบายความรู

Explain

ขยายความเขาใจ

Expand

ตรวจสอบผล

หน า

หนั ง สื อ เรี ย น

โซน 1

หนั ง สื อ เรี ย น

Evaluate

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

O-NET บูรณาการเชื่อมสาระ

เกร็ดแนะครู

ขอสอบ

โซน 2

โซน 3

กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย

นักเรียนควรรู

โซน 3

โซน 2 บูรณาการอาเซียน มุม IT

No.

คูมือครู

คูมือครู

No.

โซน 1 ขั้นตอนการสอนแบบ 5Es

โซน 2 ชวยครูเตรียมสอน

โซน 3 ชวยครูเตรียมนักเรียน

เพื่อใหครูเตรียมจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยแนะนําขั้นตอนการสอนและ การจัดกิจกรรมแบบ 5Es อยางละเอียด เพื่อใหนักเรียนบรรลุตามตัวชี้วัด

เพื่อชวยลดภาระครูผูสอน โดยแนะนํา เกร็ดความรูสําหรับครู ความรูเสริมสําหรับ นักเรียน รวมทั้งบูรณาการความรูสูอาเซียน และมุม IT

เพื่อใหครูสะดวกตอการจัดกิจกรรม โดย แนะนํากิจกรรมบูรณาการเชือ่ มระหวางสาระหรือ กลุมสาระการเรียนรู วิชา กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย รวมถึงเนื้อหาที่เคยออกขอสอบ O-NET แนวขอสอบ NT/O-NET ทีเ่ นนการคิด พรอมเฉลยและคําอธิบายอยางละเอียด


ที่ใชในคูมือครู

แถบสีและสัญลักษณ

แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5Es เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

1. แถบสี 5Es สีแดง

สีเขียว

กระตุน ความสนใจ

เสร�ม

สํารวจคนหา

Engage

2

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุน ความสนใจ เพื่อโยง เขาสูบทเรียน

สีสม

อธิบายความรู

Explore

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนสํารวจ ปญหา และศึกษา ขอมูล

สีฟา

Explain

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนคนหา คําตอบ จนเกิดความรู เชิงประจักษ

สีมวง

ขยายความเขาใจ Expand

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนนําความรู ไปคิดคนตอๆ ไป

ตรวจสอบผล Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

2. สัญลักษณ สัญลักษณ

วัตถุประสงค

• เปาหมายการเรียนรู

• หลักฐานแสดง ผลการเรียนรู

• เกร็ดแนะครู

แทรกความรูเสริมสําหรับครู ขอเสนอแนะ ขอควรระวัง ขอสังเกต แนวทางการจัด กิจกรรมและอื่นๆ เพื่อประโยชนในการ จัดการเรียนการสอน ขยายความรูเพิ่มเติมจากเนื้อหา เพื่อให ครูนําไปใชอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียน ไดมีความรูมากขึ้น

ความรูหรือกิจกรรมเสริม ใหครูนําไปใช เตรียมความพรอมใหกับนักเรียนกอนเขาสู ประชาคมอาเซียนใน พ.ศ. 2558 โดย บูรณาการกับวิชาที่กําลังเรียน

บูรณาการอาเซียน

คูม อื ครู

แสดงรองรอยหลักฐานตามภาระงาน ที่ครูมอบหมาย เพื่อแสดงผลการเรียนรู ตามตัวชี้วัด

• นักเรียนควรรู

มุม IT

แสดงเปาหมายการเรียนรูที่นักเรียน ตองบรรลุตามตัวชี้วัด ตลอดจนสมรรถนะ ที่จะตองมี และคุณลักษณะที่พึงเกิดขึ้น กับนักเรียน

แนะนําแหลงคนควาจากเว็บไซต เพื่อให ครูและนักเรียนไดเขาถึงขอมูลความรู ที่หลากหลาย ทั้งไทยและตางประเทศ

สัญลักษณ

ขอสอบ

วัตถุประสงค

O-NET

ชี้แนะเนื้อหาที่เคยออกขอสอบ O-NET โดยยกตัวอยางขอสอบ พรอมวิเคราะหคําตอบ อยางละเอียด

เปนตัวอยางขอสอบที่มุงเนน การคิดและเปนแนวขอสอบ NT/O-NET ในระดับมัธยมศึกษา ตอนตน มีทั้งปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

เปนตัวอยางขอสอบที่มุงเนน การคิดและเปนแนวขอสอบ O-NET ในระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย มีทั้งปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม เชื่อมกับสาระหรือกลุมสาระ การเรียนรู ระดับชัน้ หรือวิชาอืน่ ที่เกี่ยวของ

แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ซอมเสริมสําหรับนักเรียนที่ควร ไดรับการพัฒนาการเรียนรู

แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ตอยอดสําหรับนักเรียนที่เรียนรู ไดอยางรวดเร็ว และตองการ ทาทายความสามารถในระดับ ที่สูงขึ้น

(เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ O-NET O-NET)

NT O-NE T (เฉพาะระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนตน)

แนว

O-NET

(เฉพาะระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย)

บูรณาการเชื่อมสาระ

กิจกรรมสรางเสริม

กิจกรรมทาทาย


คําแนะนําการใชคูมือครู การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน คูมือครู รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ม.2 จัดทําขึ้นเพื่อใหครูผูสอนนําไปใชเปนแนวทาง วางแผนการสอนเพือ่ พัฒนาผลสัมฤทธิท์ างการเรียน และประกันคุณภาพผูเ รียน ตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) โดยใชหนังสือเรียน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ม.2 ของบริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด เปนสื่อหลัก (Core Material) ประกอบการสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับมาตรฐาน การเรียนรูและตัวชี้วัดกลุมสาระการเรียนรู เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ม.2 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 โดยออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักการสําคัญ ดังนี้

เสร�ม

3

1 ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน คูมือครู รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ม.2 วางแผนการสอนโดยแบงเปนหนวยการเรียนรู ตามลําดับสาระ (Strand) และหมายเลขขอของมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด แตละหนวยจะกําหนดเปาหมาย การเรียนรูและจุดประสงคการเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทาง การประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชัดเจน ครูผูสอนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐาน การเรียนรู ตัวชี้วัด สมรรถนะ และคุณลักษณะอันพึงประสงคที่เปนเปาหมายการเรียนรูตามที่กําหนดไวในสาระแกนกลาง (ตามแผนภูมิ) และสามารถบันทึกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนแตละคนลงในเอกสาร ปพ.5 ไดอยางมั่นใจ แผนภูมิแสดงความสัมพันธขององคประกอบการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผูเรียนเปนสําคัญ

คก า

ส ภา

พผ

ูเ

จุดปร

ะสง

รู

รียน

น เรีย

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชั้นป

ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน คูม อื ครู


2 การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ แนวคิ ด ในการจั ด การเรี ย นการสอนที่ ยึ ด ผู  เ รี ย นเป น สํ า คั ญ พั ฒ นามาจากปรั ช ญาและทฤษฎี ก ารเรี ย นรู  Constructivism ที่เชื่อวา การเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสรางความรู โดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดเรียนรูจากบทเรียนใหมกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา ผูเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีการสั่งสมความรูความเขาใจเกี่ยวกับสิ่งตางๆ ติดตัวมากอน ทีจ่ ะเขาสูห อ งเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากประสบการณและสิง่ แวดลอมรอบตัวผูเ รียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกิจกรรม เสร�ม การเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ผูสอนจะตองคํานึงถึง

4

1. ความรูเดิมของผูเรียน วิธีการสอนที่ดีจะตองเริ่มตนจากจุดที่วา ผูเ รียนมีความรูอ ะไรมาบาง แลวจึงใหความรู หรือประสบการณใหม เพื่อตอยอดจาก ความรูเดิม นําไปสูการสรางความรู ความเขาใจใหม

2. ความรูเดิมของผูเรียนถูกตองหรือไม ผูส อนตองปรับเปลีย่ นความรูค วามเขาใจเดิม ของผูเรียนใหถูกตอง และเปนพฤติกรรม การเรียนรูใ หมทมี่ คี ณุ คาตอผูเรียน เพื่อสราง เจตคติหรือทัศนคติที่ดีตอการเรียนรู สิ่งเหลานั้น

3. ผูเรียนสรางความหมายสําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมใหผูเรียนนําความรู ความเขาใจที่เกิดขึ้นไปลงมือปฏิบัติ เพื่อขยายความรูใหลึกซึ้งและมีคุณคา ตอตัวผูเรียนมากที่สุด

แนวคิด Constructivism เนนใหผูเรียนสรางความรูโดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูของตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศ

การเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณ ความรูใ หม เพือ่ กระตนุ ใหผเู รียนเชือ่ มโยงความรู ความคิด กับประสบการณทมี่ อี ยูเ ดิม แลวสังเคราะหเปนความรูห รือแนวคิดใหมๆ ไดดว ยตนเอง

3 การบูรณาการกระบวนการคิด การเรียนรูของผูเรียนแตละคนจะเกิดขึ้นที่สมอง ซึ่งเปนอวัยวะที่ทําหนาที่รูคิดภายใตสภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวย และไดรบั การกระตนุ จูงใจอยางเหมาะสม สอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของผูเ รียนแตละคน การจัดกิจกรรม การเรียนรูและสาระการเรียนรูที่สอดคลองกับความสนใจและมีความหมายตอผูเรียน จะชวยกระตุนใหสมองของผูเรียน สามารถรับรูและเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพตามขั้นตอนการทํางานของสมอง ดังนี้ 1. สมองจะเรียนรูและสืบคน โดยการสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง ปฏิบัติ จนทําใหคนพบความรูความเขาใจ ไดอยางรวดเร็ว

2. สมองจะแยกแยะคุณคาของสิ่งตางๆ โดยการตัดสินใจวิพากษวิจารณ แสดง ความคิดเห็น ยอมรับหรือตอตานตาม อารมณความรูสึกที่เกิดขึ้นในขณะที่เรียนรู

3. สมองจะประมวลเนื้อหาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสานกับ ความรูห รือประสบการณเดิมทีถ่ กู จัดเก็บอยูใ น สมอง ผานการกลัน่ กรองเพือ่ สังเคราะหเปน ความรูค วามเขาใจใหมๆ หรือเปนทัศนคติใหม ที่จะเก็บบรรจุไวในสมองของผูเรียน

การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะเกิดขึ้น เมื่อสมองรูคิด และตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมองผูเรียน โดยเริ่มตนจาก 1. ระดับการคิดพื้นฐาน ไดแก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล การสรุปผล เปนตน

คูม อื ครู

2. ระดับลักษณะการคิด ไดแก การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดไกล คิดหลากหลาย คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล เปนตน

3. ระดับกระบวนการคิด ไดแก กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ กระบวนการแกปญหา กระบวนการ คิดสรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะห เปนตน


5Es การจัดกิจกรรมตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ขั้นตอนการสอนที่สัมพันธกับขั้นตอนการคิดและการทํางานทางสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย คือ วัฏจักรการเรียนรู 5Es ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแตละหนวย ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1

กระตุนความสนใจ

(Engage)

เสร�ม

5

เปนขั้นที่ผูสอนนําเขาสูบทเรียน เพื่อกระตุนความสนใจของผูเรียนดวยเรื่องราวหรือเหตุการณที่นาสนใจโดยใชเทคนิควิธีการ และคําถามทบทวนความรูหรือประสบการณเดิมของผูเรียน เพื่อเชื่อมโยงผูเรียนเขาสูความรูของบทเรียนใหม ชวยใหผูเรียนสามารถ สรุปความสําคัญหัวขอและสาระการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอนการสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอมและสราง แรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน

ขั้นที่ 2

สํารวจคนหา

(Explore)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนเปดโอกาสใหผเู รียนลงมือศึกษา สังเกต หรือรวมมือกันสํารวจ เพือ่ ใหเห็นขอบขายของประเด็นหรือปญหา รวมถึง วิธีการศึกษาคนควา การรวบรวมขอมูลความรูที่จะนําไปสูการสรางความเขาใจประเด็นหรือปญหานั้นๆ เมื่อผูเรียนทําความเขาใจใน ประเด็นหรือปญหาที่จะศึกษาคนควาอยางถองแทแลว ก็ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธีการตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูที่เกี่ยวของกับประเด็นหรือปญหาที่ศึกษา

ขั้นที่ 3

อธิบายความรู

(Explain)

เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา ตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนคนหาคําตอบ และนําขอมูล ความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห สรุปผล และนําเสนอผลที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ ผังมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน ในขั้นตอนนี้ฝกใหผูเรียนใชสมองคิดวิเคราะหและสังเคราะห อยางเปนระบบ

ขั้นที่ 4

ขยายความเขาใจ

(Expand)

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใชเทคนิควิธีสอนตางๆ ที่สงเสริมใหผูเรียนนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนสืบคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะ การเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน ผูเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยง กับประสบการณเดิมโดยนําขอสรุปทีไ่ ดไปใชอธิบายเหตุการณตา งๆ หรือนําไปปฏิบตั ใิ นสถานการณใหมๆ ทีเ่ กีย่ วของกับชีวติ ประจําวัน ของตนเอง เพื่อขยายความรูความเขาใจใหกวางขวางยิ่งขึ้น ในขั้นตอนนี้ฝกสมองของผูเรียนใหสามารถคิดริเริ่มสรางสรรคอยางมี คุณภาพ เสริมสรางวิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป

ขั้นที่ 5

ตรวจสอบผล

(Evaluate)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนประเมินมโนทัศนของผูเ รียน โดยตรวจสอบจากความคิดทีเ่ ปลีย่ นไปและความคิดรวบยอดทีเ่ กิดขึน้ ใหม ตรวจสอบ ทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด หรือการเคารพความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพื่อการ สรางสรรคความรูร ว มกัน ผูเ รียนสามารถประเมินผลการเรียนรูข องตนเอง เพือ่ สรุปผลวามีความรูอ ะไรเพิม่ ขึน้ มาบาง เกิดความเขาใจ มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ หรือในชีวิตประจําวันไดอยางไร ผูเรียนจะเกิดเจตคติ และเห็นคุณคาของตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง

การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนนผูเรียน เปนสําคัญอยางแทจริง เพราะสงเสริมใหผูเรียนไดเรียนรูตามขั้นตอนของกระบวนการสรางความรูดวยตนเอง และ ฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและกระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะชีวิต ทักษะการทํางาน และทักษะการ เรียนรูที่มีประสิทธิภาพ สงผลตอการยกระดับผลสัมฤทธิ์ของผูเรียน ตามเปาหมายของการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คูม อื ครู


O-NET การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ O-NET

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ในแตละหนวยการเรียนรู ทางผูจัดทํา จะเสนอแนะวิธีสอน รูปแบบกิจกรรมการเรียนรู พรอมทั้งออกแบบเครื่องมือวัดและประเมินผลที่สอดคลองกับตัวชี้วัด และสาระการเรียนรูแกนกลางไวทุกขั้นตอน โดยยึดหลักสําคัญ คือ หลักของการวัดและประเมินผล เสร�ม

6

1. การวัดและประเมินผลทุกครั้ง ควรนําผลมาปรับปรุงพัฒนาผูเรียน เปนรายบุคคล

2. การวัดและประเมินผลมี เปาหมาย เพื่อพัฒนาการเรียนรู ของผูเรียนจนเต็มศักยภาพ

3. การนําผลการวัดและประเมินผล ทุกครั้งมาวางแผนปรับปรุงกิจกรรม การเรียนการสอน การเลือกเทคนิค วิธีสอน และสื่อการเรียนรูให เหมาะสมกับสภาพจริงของผูเรียน

การทดสอบผูเรียน 1. การใชขอสอบอัตนัย เนนการอาน การคิดวิเคราะห และการเขียนเพิ่มมากขึ้น 2. การใชคําถามกระตุนการคิดควบคูกับการทําขอสอบที่เนนการคิดอยางตอเนื่องตามลําดับกิจกรรมการเรียนรู และตัวชี้วัด 3. การทดสอบตองดําเนินการทั้งกอนเรียน ระหวางเรียน และหลังเรียน การทดสอบควรใชขอสอบทั้งชนิดปรนัยและ อัตนัย และเปนการทดสอบเพื่อประเมินผลการเรียนของผูเรียนแตละคน เพื่อการสอนซอมเสริมใหบรรลุตัวชี้วัด ไดครบถวน 4. การสอบกลางภาค (ถามี) ควรนําแบบฝกหัดหรือขอสอบทีน่ กั เรียนสวนใหญไมสามารถตอบไดหรือไมครบถวนชัดเจน มา สรางเปนแบบทดสอบอีกครัง้ เพือ่ ตรวจสอบความรูค วามเขาใจทีถ่ กู ตอง และประเมินความกาวหนาของผูเ รียนแตละคน 5. การสอบปลายภาคเรียนเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามตัวชี้วัดที่สําคัญ ควรออกขอสอบใหมีลักษณะเดียวกับ ขอสอบ O-NET โดยเนนการคิดวิเคราะห สังเคราะห เชื่อมโยงประยุกตใช เพื่อสรางความคุนเคย และฝกฝน วิธีการทําขอสอบดวยความมั่นใจ 6. การนําผลการทดสอบของผูเรียนมาวิเคราะห โดยผลการสอบกอนการเรียนตองสามารถพยากรณผลการสอบ กลางภาค และผลการสอบกลางภาคตองทํานายผลการสอบปลายภาคของผูเ รียนแตละคน เพือ่ ประเมินพัฒนาการ ความกาวหนาของผูเรียนเปนรายบุคคล 7. ผลการทดสอบปลายป ปลายภาค ตองมีคาเฉลี่ยสอดคลองกับคาเฉลี่ยของการสอบ NT ที่เขตพื้นที่การศึกษา จัดสอบ รวมทั้งคาเฉลี่ยของการสอบ O-NET ชวงชั้นที่สอดคลองครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดสําคัญ เพือ่ สะทอนประสิทธิภาพของครูผสู อนในการออกแบบการเรียนรูแ ละประกันคุณภาพผูเ รียนทีต่ รวจสอบผลไดชดั เจน การจัดการเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ตองใหผูเรียนไดสั่งสมความรู ความเขาใจตามลําดับขั้นตอน ของกิจกรรมในวัฏจักรการเรียนรู 5Es เพื่อใหผูเรียนไดเติมเต็มองคความรูอยางตอเนื่อง จนสามารถปฏิบัติชิ้นงานหรือ ภาระงานรวบยอดของแตละหนวย ผานเกณฑประกันคุณภาพในระดับที่นาพึงพอใจ เพื่อรองรับการประเมินภายนอกจาก สมศ. ตลอดเวลา คูม อื ครู


ASEAN การเรียนรูสูประชาคมอาเซียน เพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรูบูรณาการอาเซียนศึกษา ผูจัดทําไดวิเคราะห มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดที่มีสาระการเรียนรูสอดคลองกับองคความรูเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนในแงมุมตางๆ ครอบคลุมทัง้ ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน เพื่อสงเสริมการเรียนรูใหผูเรียนเกิดความตระหนัก มีความรูความเขาใจเหมาะสมกับระดับชั้นและกลุมสาระ การเรียนรู โดยเสนอแนะวิธีการจัดกิจกรรมบูรณาการเนื้อหาสาระตางๆ ที่เปนประโยชนตอผูเรียนและเปนการชวย เตรียมความพรอมผูเรียนทุกคนที่จะกาวเขาสูการเปนสมาชิกของประชาคมอาเซียนไดอยางมั่นใจตามขอตกลงปฏิญญา ชะอํา-หัวหิน วาดวยความรวมมือดานการศึกษาเพื่อบรรลุเปาหมายประชาคมอาเซียนที่เอื้ออาทรและแบงปน จึงกําหนด เปนนโยบายใหกระทรวงศึกษาธิการจัดการเรียนรูเตรียมความพรอมผูเรียนเขาสูประชาคมอาเซียนภายในป พ.ศ. 2558 ตามแนวปฏิบัติที่สําคัญ ดังนี้

เสร�ม

7

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน 1. การสรางความรูความเขาใจ และตระหนักถึงความสําคัญของ กฎบัตรอาเซียน และความรวมมือ ของ 3 เสาหลัก ซึง่ กฎบัตรอาเซียน ในขณะนี้มีสถานะเปนกฎหมายที่ ประเทศสมาชิกจะตองปฏิบัติตาม หลักการที่กําหนดไวเพื่อใหบรรลุ เปาหมายของกฎบัตรมาตราตางๆ

2. การสงเสริมหลักการ ประชาธิปไตยและการสราง สิ่งแวดลอมประชาธิปไตย เพื่อการอยูรวมกันอยางกลมกลืน ภายใตวิถีชีวิตอาเซียนที่มีความ หลากหลายดานสังคมและ วัฒนธรรม

4. การตระหนักในคุณคาของ สายสัมพันธทางประวัติศาสตร และมรดกทางวัฒนธรรมที่มี พัฒนาการรวมกัน เพื่อเชื่อม อัตลักษณและสรางจิตสํานึก ในการเปนประชากรของประชาคม อาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการศึกษาดาน สิทธิมนุษยชน เพื่อสรางประชาคม อาเซียนใหเปนประชาคมเพื่อ ประชาชนอยางแทจริง สามารถ อยูรวมกันไดบนพื้นฐานการเคารพ ในคุณคาของศักดิ์ศรีแหงความ เปนมนุษยเทาเทียมกัน

5. การสงเสริมสันติภาพ ความ มั่นคง และความปรองดองในสังคม ทั้งระดับประเทศและภูมิภาคของ อาเซียนบนพื้นฐานสันติวิธีและ การอยูรวมกันดวยขันติธรรม

คูม อื ครู


การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

เสร�ม

8

1. การพัฒนาทักษะการทํางาน เพื่อเสริมสรางผูเรียนใหมีทักษะ วิชาชีพที่จําเปนสอดคลองกับ ความตองการของตลาดแรงงาน และสถานประกอบการในอาเซียน สามารถเทียบโอนผลการเรียน และการทํางานตามมาตรฐานฝมือ แรงงานในภูมิภาคอาเซียน

2. การเสริมสรางวินัย ความรับผิดชอบ และเจตคติรักการทํางาน สามารถพึ่งพาตนเอง มีทักษะชีวิต ดํารงชีวิตอยางมีความสุข เห็นคุณคา และภูมิใจในตนเอง ในฐานะที่เปนพลเมืองไทยและ อาเซียน

3. การเรียนรูเพื่อพัฒนาตนเอง อยางตอเนื่องตลอดชีวิต ใหมี ทักษะการทํางานตามมาตรฐาน อาชีพ และคุณวุฒิของวิชาชีพสาขา ตางๆ เพื่อรองรับการเตรียมเคลื่อน ยายแรงงานมีฝมือและการเปน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่ เขมแข็ง เพื่อสรางขีดความสามารถ ในการแขงขันในเวทีโลก

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 1. การเสริมสรางความรวมมือ ในลักษณะสังคมที่เอื้ออาทร ของประชากรอาเซียน โดยยึด หลักการสําคัญ คือ ความงดงาม ของประชาคมอาเซียนมาจาก ความแตกตางและหลากหลายทาง วัฒนธรรมที่ลวนแตมีคุณคาตอ มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน ซึ่งประชาชนทุกคนตองอนุรักษ สืบสานใหยั่งยืน

2. การเสริมสรางคุณลักษณะ ของผูเรียนใหเปนพลเมืองอาเซียน ที่มีศักยภาพในการกาวเขาสู ประชาคมอาเซียนอยางมั่นใจ เปนผูที่มีสุขภาพสมบูรณแข็งแรง มีทักษะการสื่อสาร ทักษะการ ทํางาน ทักษะทางสังคม สามารถ ทํางานรวมกับผูอื่นไดอยาง สรางสรรค และมีองคความรู เกี่ยวกับอาเซียนที่จําเปนตอการ ดํารงชีวิตอยางมีคุณภาพ

4. การสงเสริมการเรียนรูดาน ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี วิถชี วี ติ ความเปนอยูข องเพือ่ นบาน ในอาเซียน เพื่อสรางจิตสํานึกของ ความเปนประชาคมอาเซียนและ ตระหนักถึงหนาที่ของการเปน พลเมืองอาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการเรียนรูภาษา อังกฤษเพื่อการสื่อสารและการ ทํางานตามมาตรฐานอาชีพที่ กําหนดและสนับสนุนการเรียนรู ภาษาอาเซียนและภาษาเพื่อนบาน เพื่อชวยเสริมสรางสัมพันธภาพทาง สังคม และการอยูรวมกันอยางสันติ ทามกลางความหลากหลายทาง วัฒนธรรม

5. การสรางความรูและความ ตระหนักเกี่ยวกับดานสิ่งแวดลอม ปญหาและผลกระทบตอคุณภาพ ชีวิตของประชากรในภูมิภาค รวมทั้งแนวทางการพัฒนาอยาง ยั่งยืน ใหเปนมรดกสืบทอดแก พลเมืองอาเซียนในรุนหลังตอๆ ไป

กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศนโยบายการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) เพื่อเรงพัฒนาเด็ก และเยาวชนไทยใหเปนทรัพยากรมนุษยของชาติที่มีทักษะและความชํานาญ พรอมเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงและ การแขงขันทั้งในภูมิภาคอาเซียนและภูมิภาคอื่นๆ ของสังคมโลก ทั้งนี้ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และผูปกครอง ควรรวมมือกันอยางใกลชิดในการดูแลชวยเหลือผูเรียนและจัดประสบการณการเรียนรูเพื่อพัฒนาผูเรียนจนเต็มศักยภาพ เพื่อกาวเขาสูการเปนพลเมืองอาเซียนอยางมีเกียรติภูมิและศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของตน คณะผูจัดทํา คูม อื ครู


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 3

เทคโนโลยีสารสนเทศฯ (เฉพาะชัน้ ม.2)*

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

มาตรฐาน ง 3.1 เขาใจ เห็นคุณคา และใชกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบคืนขอมูล การเรียนรู การสื่อสาร การแกปญหา การทํางาน และอาชีพอยางมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และมีคุณธรรม ชั้น

ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ม.2 1. อธิบายหลักการเบื้องตนของ • การสื่อสารขอมูล คือ การแลกเปลี่ยนขอมูล การสื่อสารขอมูล และเครือขาย ขาวสาร จากผูสงผานสื่อกลางไปยังผูรับ • พัฒาการของการสื่อสารขอมูล คอมพิวเตอร • อุปกรณสื่อสารสําหรับเชื่อมโยงเครือขาย คอมพิวเตอร • ชนิดของเครือขายคอมพิวเตอร • เทคโนโลยีการรับสงขอมูลภายในเครือขาย คอมพิวเตอร • ประโยชนของเครือขายคอมพิวเตอร 2. อธิบายหลักการ และวิธีการ แกปญหาดวยกระบวนการ เทคโนโลยีสารสนเทศ

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน • หนวยการเรียนรูที่ 2 การสื่อสารขอมูลและ เครือขายคอมพิวเตอร

เสร�ม

9

• หนวยการเรียนรูที่ 4 • กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ เชน หลักการและวิธีการแกปญหา การรวบรวมขอมูล การตรวจสอบความถูกตอง ดวยเทคโนโลยีสารสนเทศ ของขอมูล การประมวลผลเพื่อใหไดสารสนเทศ ที่นํามาใชในการตัดสินใจ การเผยแพรสารสนเทศ • การแกปญหาดวยกระบวนการเทคโนโลยี สารสนเทศ เปนการแกปญหาอยางเปนขั้นตอน โดยใชกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ มาชวย • การใชคอมพิวเตอรในการแกปญหาทําไดโดยการ ใชซอฟตแวรประยุกตหรือการเขียนโปรแกรม • วิธีการแกปญหา มีขั้นตอน ดังนี้ - การวิเคราะหและกําหนดรายละเอียดของปญหา - การวางแผนในการแกปญหาและถายทอด ความคิดอยางมีขั้นตอน - การดําเนินการแกปญหา - การตรวจสอบและปรับปรุง

_________________________________ * สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรู การงานอาชีพและเทคโนโลยี. (กรุงเทพมหานคร : ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 38-40.

คูม อื ครู


ชั้น

เสร�ม

10

ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง 3. คนหาขอมูล และติดตอสื่อสาร • ความหมายและพัฒนาการอินเทอรเน็ต • การใชงานอินเทอรเน็ต เชน ผานเครือขายคอมพิวเตอร - ไปรษณียอิเล็กทรอนิกส อยางมีคุณธรรมและจริยธรรม - blog - การโอนยายแฟมขอมูล - การสืบคนขอมูลและการใชโปรแกรม เรียกคนขอมูล (search engine) - การสนทนาบนเครือขาย • คุณธรรมและจริยธรรมในการใชอินเทอรเน็ต - ผลกระทบของการใชอินเทอรเน็ตกับสังคม - มารยาท ระเบียบ และขอบังคับในการใช อินเทอรเน็ต

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน • หนวยการเรียนรูที่ 3 อินเทอรเน็ตและการใชงาน

4. อธิบายหลักการเบื้องตนของ • ซอฟตแวรระบบ ประกอบดวยระบบปฏิบัติการ • หนวยการเรียนรูที่ 1 การสื่อสารขอมูล และเครือขาย โปรแกรมแปลภาษา และโปรแกรมอรรถประโยชน ซอฟตแวรและการเลือกใช • ซอฟตแวรประยุกต ประกอบดวยซอฟตแวร คอมพิวเตอร ประยุกตทั่วไป และซอฟตแวรประยุกตเฉพาะงาน • ใชซอฟตแวรระบบชวยในการทํางาน เชน บีบอัด ขยาย โอนยายขอมูล ตรวจสอบไวรัส คอมพิวเตอร • ใชซอฟตแวรประยุกตชวยในการทํางาน เชน ใชโปรแกรมในการคํานวณและจัดเรียงขอมูล ใชโปรแกรมชวยคนหาคําศัพทหรือความหมาย ใชโปรแกรมเพื่อความบันเทิง

คูม อื ครู


คําอธิบายรายวิชา รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 รหัสวิชา ง…………………………………

กลุมสาระการเรียนรู การงานอาชีพและเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 1-2 เวลา 40 ชั่วโมง/ป

อธิบายหลักการสื่อสารขอมูลเบื้องตน พัฒนาการของการสื่อสารขอมูล อุปกรณสื่อสารสําหรับเชื่อมโยง เสร�ม เครือขายคอมพิวเตอร ชนิดของเครือขายคอมพิวเตอร เทคโนโลยีการรับ-สงขอมูลภายในเครือขายคอมพิวเตอร 11 ประโยชนของเครือขายคอมพิวเตอร กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ วิธีการแกปญหาดวยกระบวนการ เทคโนโลยีสารสนเทศอยางเปนขั้นตอน คนหาขอมูลเกี่ยวกับความหมายและพัฒนาการของอินเทอรเน็ต รวมทัง้ ใชอนิ เทอรเน็ตในการติดตอสือ่ สารผานเครือขายคอมพิวเตอร และใชซอฟตแวรชว ยในการทํางานใหเกิด ประโยชน มีความเหมาะสมตองาน โดยใชกระบวนการทํางาน กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการคิดวิเคราะห และกระบวนการแกปญหา เพื่อใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถนําเทคโนโลยีสารสนเทศไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน มีคณุ ธรรมและจริยธรรมในการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยคํานึงถึงผลกระทบตอสังคม มารยาท และขอบังคับ ในการใช ตลอดจนมีเจตคติที่ดีตอคุณคาของเทคโนโลยีสารสนเทศ ตัวชี้วัด ง 3.1

ม.2/1

ม.2/2

ม.2/3 รวม 4 ตัวชี้วัด

ม.2/4

คูม อื ครู


ตาราง

วิเคราะหมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศฯ ม.2

คําชี้แจง : ใหผูสอนใชตารางนี้ตรวจสอบความสอดคลองของเนื้อหาสาระการเรียนรูในหนวยการเรียนรูกับมาตรฐาน การเรียนรูและตัวชี้วัดชั้นป มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัด

เสร�ม

12

หนวยการเรียนรู

สาระที่ 3 มาตรฐาน ง 3.1 ตัวชี้วัด 1

2

3

หนวยการเรียนรูที่ 1 : ซอฟตแวรและการเลือกใช

หนวยการเรียนรูที่ 2 : การสื่อสารขอมูลและเครือขายคอมพิวเตอร

หนวยการเรียนรูที่ 3 : อินเทอรเน็ตและการใชงาน

หนวยการเรียนรูที่ 4 : หลักการและวิธีการแกไขปญหาดวย เทคโนโลยีสารสนเทศ

คูม อื ครู

4


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹

เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร ม.2 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2

กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

ผูเรียบเรียง

นางสาวอารียา ศรีประเสริฐ นางสาวสายสุนีย เจริญสุข นางสาวสุปราณี วงษแสงจันทร

ผูตรวจ

ผศ. ดร. พรฤดี เนติโสภากุล นายเอนก สุวรรณวงศ นายจารุวัส หนูทอง

บรรณาธิการ

รศ.ดร. พิมลพรรณ ประเสริฐวงษ เรพเพอร นายสมเกียรติ ภูระหงษ

พิมพครั้งที่ 6

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ รหัสสินคา 2217118

¤Œ¹¤ÇÒÁÃÙŒ¢ÂÒ¤ÇÒÁ¤Ô´¨Ò¡

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè 1 ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ 2247009

EB GUIDE

ที่พิมพกํากับหัวขอสําคัญในหนังสือเรียนหลักสูตรแกนกลางฯ ผาน www.aksorn.com ไปยังแหลงความรูทั่วไทย-ทั่วโลก

คณะผูจัดทําคูมือครู อารียา ศรีประเสริฐ พิไลพร ฉิมพัด


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

¤íÒ¹íÒ กลุมสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี เปนกลุมสาระที่ชวยพัฒนาให ผูเรียนมีความรู ความเขาใจ มีทักษะพื้นฐานที่จําเปนตอการดํารงชีวิต และรู เทาทันการเปลี่ยนแปลง สามารถนําความรูเกี่ยวกับการดํารงชีวิต การอาชีพ และเทคโนโลยี มาประยุกตใชในการทํางานอยางมีความคิดสรางสรรคและแขงขัน ในสังคมไทยและสากล เห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ รักการทํางาน และ มีเจตคติที่ดีตอการทํางาน สามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมไดอยางพอเพียงและ มีความสุข สําหรับหนังสือเรียนที่ใชประกอบการเรียนการสอนสําหรับผูเรียนในระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 (ม.2) กลุมสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี จะจัดทํา แยกออกเปน 2 เลมดวยกัน กลาวคือ แยกเปนการงานอาชีพและเทคโนโลยี เลมหนึง� (ซึง� จะกลาวถึงสาระที่ 1 การดํารงชีวติ และครอบครัว สาระที่ 4 การอาชีพ) และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร อีกเลมหนึ�ง (ซึ�งเลมหลังน�้จะเนนหนัก สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร) ทั้งน�้ครูผูสอนและสถานศึกษาพึง ใชควบคูกัน เพื่อประสิทธิภาพในการเรียนการสอนและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ ดีของผูเรียน โดยเล ม เทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร จะเป น สาระเกี่ ย วกั บ กระบวนการเทคโนโลยี สารสนเทศ การติดตอสื่อสาร การคนหาขอมูล การใช ขอมูลและสารสนเทศ การแกปญหาหรือการสรางงาน คุณคาและผลกระทบ ของเทคโนโลยีสารสนเทศ ภายในเลมไดจัดแบงเน�้อหาแยกเปนหนวยการเรียนรู มีเน�้อหาที่สอดคลอง กับสาระการเรียนรูแกนกลาง รวมทั้งมีระดับความยากงายและจํานวนเน�้อหา ที่เหมาะสมกับคาบเวลาเรียน ทั้งน�้ทางคณะผูเรียบเรียงหวังเปนอยางยิ�งวา หนังสือเรียนเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเลมน�้ จะเปนประโยชนอยางยิ�ง ตอการนําไปใชประกอบการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษาทุกแหง ชวยให ผูเรียนไดรับความรู มีทักษะ มีคุณลักษณะอันพึงประสงค ตลอดจนบรรลุตัวชี้วัด ตามที่หลักสูตรแกนกลาง ฯ ไดกําหนดไวทุกประการ คณะผูเรียบเรียง


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

อธิบายความรู

Explore

ขยายความเขาใจ

Explain

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

¤íÒá¹Ð¹íÒ㹡ÒÃ㪌˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเลมนี้ ใชประกอบการเรียน การสอนในรายวิชาพื้นฐาน กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 เนื้อหาตรงตามสาระการเรียนรูแกนกลางขั้นพื้นฐาน อานทําความเขาใจงาย ใหทั้งความรูและชวย พัฒนาผูเ รียนตามหลักสูตรและตัวชีว้ ดั เนือ้ หาสาระแบงออกเปนหนวยการเรียนรูต ามโครงสรางรายวิชา สะดวก แกการจัดการเรียนการสอนและการวัดผลประเมินผล พรอมเสริมองคประกอบอืน่ ๆ ทีจ่ ะชวยทําใหผเู รียนไดรบั ความรูอ ยางมีประสิทธิภาพ à¡ÃÔè¹¹íÒà¾×èÍãˌࢌÒ㨶֧ÊÒÃÐÊíÒ¤ÑÞ ã¹Ë¹‹Ç·Õè¨ÐàÃÕ¹

¨Ñ´¡ÅØ‹Áà¹×éÍËÒ໚¹Ë¹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ Êдǡᡋ¡ÒèѴ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹

à¹×éÍËҵçµÒÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹Ãٌ᡹¡ÅÒ§ ãËŒ¤ÇÒÁÃÙŒáÅÐàÍ×é͵‹Í¡ÒùíÒä»ãªŒÊ͹à¾×èÍ ãËŒºÃÃÅصÑǪÕéÇÑ´ áÅÐÊÌҧ¤Ø³ÅѡɳРÍѹ¾Ö§»ÃÐʧ¤

à¡Ãç´ IT ໚¹àÃ×Íè §¹‹ÒÃÙŒ à¾Ôè Á àµÔ Á ¨Ò¡à¹×é Í ËÒ ÁÕá·Ã¡à»š¹ÃÐÂÐæ

เกร็ด... IT สําหรับในประเทศไทยก็มกี ารพั ฒนาระบบปฏิบตั กิ ารลินกุ ซออกมาใช อิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอร บา งแลว เชน Linux TLE ของศู แหง เปนตน และในปจจุบนั หลายๆ ชาติ (National Electronics and Computer Technology Center) นยเทคโนโลยี ประเทศไดม กี ารสงเสริมใหมกี ารใช ขาดดุลการคา เนือ่ งจากการนาํ ระบบปฏิบตั กิ ารนีอ้ ยางตอเนือ่ งเพื หรือ เนคเทค เขาซอฟต อ่ ลดปญหาการ ตองพึ่งพาเทคโนโลยีของตางประเทศ แวรจากตางประเทศ รวมทัง้ เพือ่ ลดปญหาในประเด็นของความม ซึ่งประเทศที่สําคัญ คือ สหรัฐอเมริ นั่ คงทีจ่ ะไม กา

µ áÇà 1. ¤ÇÒÁËÁÒÂáÅФÇÒÁÊíÒ¤Ñޢͧ«Í¿ ซอฟตแวร (software) หมายถึง ชุดคําสัง่

หน่วยการเรีย

นรู้ท ี่

ตัวชี้วัด ■

ใช้ซอฟต์แวร์

ในการทำางาน

(ง 3.1 ม.2/ 4)

สาระการเรียนรู

้แกนกลาง

ซอฟตแ์ วร์ระบบป ระกอบด้วยระบ ภาษา และโ บปฏบิ ตั กิ าร ปรแกรมอรรถปร โปรแกรมแปล ะโยชน์ ซอฟตแ์ วร์ประยุ ซอฟต์แวร์ป กต์ประกอบด้วยซอฟต์แ ระยุกต์เฉพาะ วร์ประยุกต์ท งาน วั่ ไป และ ■ ใช้ซอฟต์แวร์ ร โอนย้ายข้อมู ะบบช่วยในการทำ างาน ล ตรวจสอบไ เช่ วรัสคอมพิวเตอรน บีบอัด ขยาย ■ ใช้ซอฟต์แวร์ ์ ประยุกต์ช่วยในก ารทำางาน ฯลฯ ■

1

หรือโปรแกรมทีค่ อยสัง่ การใหเครือ่ งคอมพิวเตอร ทํางาน รวมไปถึงการควบคุมการทํางานของ อุปกรณแวดลอมตางๆ เชน CD ROM drive, modem เปนตน ซอฟตแวรเปนสิง่ ทีม่ องไมเห็น จับตองไมได แตสามารถรับรูก ารทํางานของมันได ซึ่งตางกับฮารดแวร (hardware) ที่สามารถจะ จับตองได ซอฟตแวรเปนศัพทที่มีความหมาย กวางขวางมาก บางครัง้ อาจรวมถึงผลลัพธตา งๆ เชน ผลการพิมพที่ไดจากเครื่องคอมพิวเตอร เอกสารการพัฒนาซอฟตแวร ตลอดจนคูมือ งานของ า การทํ ม วบคุ ค ่ ที งๆ า  ต วร แ ตัวอยางซอฟต การใช การสั่งงานใดๆใหเครื่องคอมพิวเตอร เครื่องคอมพิวเตอร วเชือ่ มระหวางคนหรือผูใ ชกบั เครือ่ งคอมพิวเตอร ทํางานตามตองการนัน้ ตองอาศัยซอฟตแวรเปนตั ดแวร ดังนั้น ซอฟตแวรจึงมีความสําคัญทัดเทียมกับฮาร

ซอฟ และการเลือต์กใแวร์ ช้

ั นาขึน้ เพือ่ ใชงานกับคอมพิวเตอรมมี ากมาย ซอฟตแวรหรือโปรแกรมคอมพิวเตอรทมี่ ผี พู ฒ ั นาระบบ หรือผูผ ลิตและจําหนาย หากแบง ผูพ ฒ ซอฟตแวรเหลานีอ้ าจไดรบั การพัฒนาโดยผูใ ชงาน งออกเปน 2 ประเภท คือ ซอฟตแวร แยกชนิดของซอฟตแวรตามสภาพการทํางาน สามารถแบ ระบบ และซอฟตแวรประยุกต แวรทบี่ ริษทั ผูผ ลิตสรางขึน้ เพือ่ ใชจดั การ 1) ซอฟตแวรระบบ (system software) คือ ซอฟต อมพิวเตอร เชน รับขอมูลจากแปนอักขระ กับระบบหนาที่การทํางานพื้นฐานตางๆ ของระบบค ้นนําขอมูลไปแสดงผลบนจอภาพหรือนําออกไป แลวแปลความหมายใหคอมพิวเตอรเขาใจ จากนั ร เปนตน มูลบนหนวยความจํารอง ยังเครื่องพิมพ การจัดการขอมูลในระบบแฟมขอ ายกระแสไฟฟา ใหกบั คอมพิวเตอร คอมพิวเตอรจะทํางานตามโปรแกรมทันทีเมือ่ มีการจ แวรระบบ โดยซอฟตแวรระบบอาจเก็บไว ซอฟต น ป ้ เ งานนี ํ า ท เตอร ว อมพิ ค ให ่ ั ง ่ ส รกที ซึง่ โปรแกรมแ ระบบ คอมพิวเตอรจะทํางานไมได นอกจากนี้ ในรอมหรือแผนจานแมเหล็ก หากไมมีซอฟตแวร แวรอื่นๆ และยังรวมไปถึงซอฟตแวรที่ใช ซอฟตแวรระบบยังใชเปนเครื่องมือในการพัฒนาซอฟต ในการแปลภาษาตางๆ ดวย

เตอร์​์เ ในชีวิตประจำ าวันของมนุ ข้ามามีบทบาท ษย์ เช่น การ รายงาน ตก แตง่ พิมพ์ ซึ่งการดำาเนิ ภาพ ดูหนัง ฟังเพลง เป็นต้น นการด้วยค อมพิ ต้องใช้ซอฟ ต์แวร์หรือโปร วเตอร์นี้ จำาเป็น แกรมคอมพ ช่ ว ยทำ า งาน ิวเตอ ซอ ที่ ค วบ คุ ม กา ฟต์ แ วร์ จึ ง เป็ น ส่ ว นส ร์ ำ า คั รทำ า งาน ขอ งค อม พิ ว เตอ ญ ดำาเนินการ ตามแนวคว ามคิดที่ได้ก ร์ ใ ห้ ล่วงหน้าแล ำาหนดไว้ ว้ ซึง่ คอมพ ว ิ เตอ โปรแกรมเท่ ร์ านั้น ไม่สาม ตอ้ งทาำ งานตาม ารถ เหนือไปจากท ี่กำาหนดไว้ในโป ทำางานที่นอก การศึกษาเกี รแกรมได้ ดั ย่ วกั งนั้น ต่อการทำางาน บซอฟต์แวร์ จึงมีความ สำาคัญ ด้วยคอมพิว เตอร์

µÑǪÕÇé ´Ñ áÅÐÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙጠ¡¹¡ÅÒ§ µÒÁ·ÕËè ÅÑ¡Êٵà ¡íÒ˹´ à¾×èÍãËŒ·ÃÒº¶Ö§à»‡ÒËÁÒÂ㹡ÒÃÈÖ¡ÉÒ

OS)

เครื่องคอมพิวเตอรแบบพกพา ทํางานโดยใชระบบ ปฏิบัติการปาลม

6

คาถามประจำาหน่วยการเรียนรู้

เครอื่ ง เขาไปใน รทบี่ กุ รุก บของเครื่อง มพวิ เตอ แกรมคอ เสียหายใหกับระบ สั คือ โปร าม นั้ ๆ วา ไวร ขึ้นเพื่อสรางคว ง านไฟล กส ย กใช เรี ื ย อ นา กจะพัฒ ่อมีการเรี virus) หร ไวรัสคอ mputer ผูใช สวนมากมั งตัวเองเมื ที่ใช วิ เตอร (co และจําลอ มจาก นี้ นที่คําสั่ง ไวรสั คอมพ ไดรับความยินยอ น 6 ประเภท ดัง ทนี้จะเริ่มทํางาน เตอร แท ตัวเอง รโดยไม งออกเป ไวรสั ประเภ ี้ ปในบูตเซก ะเภทนี้จะโหลด แบ เตอ ส ั ว ิ s) ลงไ ว ไวร มพ ตั viru ง ่ ง คอ ทน ัสปร ะฝ รนั้นๆ ซึ (parasitic นประเภ ะเภทนี้จ งาน ไวร ๆ ดวย คอมพิวเตอ ไวรัสพาราสิต ดยสวนมากจะเป virus) ไวรัสปร พิวเตอรขึ้นใช งอยูกับไฟลอื่น ปลงของตัวเอง ฝ อม รโ 1. มพิวเตอ ot sector เมื่อเปดเครื่องค ําเนาตัวเองไป ในการเปลี่ยนแ โปรแกรมนั้น คอ (bo ส ั  อร รถ ร ้นจะส ให ัส ไวร ที่ติดไวร ไวรัสบูตเซกเต รื่องคอมพิวเตอ ัติการ หลังจากนั ัสที่มีความสามา รมใดแลวจะทํา งเค ไวร บ แก 2. ยัง ํางานขอ ระบบปฏิ ัสประเภทนี้เปน ื่อไปติดกับโปร ต่ ดิ ตอไป ี่จะโหลด ะเม ิ่มตนการท ไวร ทุกครงั้ ที ในการเร วยความจํากอนท ealth virus) ตรวจไมพบ แล ปลงตัวเอง น  (st ารเปลยี่ นแ แกรม เขาไปที่ห ไวรัสสเตลท องกันไวรัสตางๆ ทนจี้ ะมกี บในโปร เต็ม ป 3. ะเภ รม ปร แก ั ส (มั ปร ี่โ ไวร n กจะพ จําจน ูปแบบท Applicatio อยูที่หนวยความ hic virus) พบไดยาก orp cro ใหอยูในร ขึ้นเรื่อยๆ lym Ma ว รวจ ทนี้ต ญ  ค (po ฟ ไปฝงตั ีผลกับ มีขนาดให ไวรสั โพลีมอร ทําใหไวรัสประเภ ัสประเภทนี้จะม วย จะทําใหไวรัส อมพิวเตอรได รเน็ตสามารถ ด 4. งผล ไวร นค เทอ ร ซึ่งจะส acro virus) ฟลที่มีไวรัสติดมา ขอ. มูลที่เก็บอยูใ อกันไดทางอิน เปนสื่อในการ (m ต มพิวเตอ บ ไ ต เครื่องคอ ไวรัสแมโคร เมื่อผูใชเรียกใช ะอาจสงผลเสียกั ชนิดหนึ่งที่จะติด ขายอินเทอรเน็ รคนหาเครื่อง ร 5. รือ จะทํากา cessors) มพิวเตอ รชาลง แล มารถ ระบบเค Word Pro ของคอมพิวเตอ rms) เปนไวรัสคอ ัวเองซ้ําแลวใช คือ Adore โดย ร (hacker) สา ท ะเภ กต ปร ํางาน น็ต ฮกเกอ เน็ต (wo ินเทอรเ ใหการท เพือ่ ใหแ นี้จะคัดลอ อันจะทํา หนอนอินเทอร โดยไวรัสชนิด างของหนอนอ นคอมพิวเตอร ็ว อย างใ 6. างรวดเร ากับอีเมล ตัว น้ จะสรางชองท นั ายไดอย แพรกระจ ซึ่งโดยทั่วไปจะม าร Linux หลงั จาก าย ตั กิ แพรกระจ รทมี่ รี ะบบปฏิบ ั้นได งน คอมพวิ เตอ มพิวเตอรเครื่อ คอ เขาไปยัง

มุมเทคโน

1.

อร มพิวเต

ปฏิบัติการของเครื่องคอมพิวเตอรแมคอินทอช เป น ผลิ ต ภั ณ ฑ แ รกที่ ป ระสบความสํ า เร็ จ ใน การทํางานแบบจียูไอ (GUI) ในป ค.ศ. 1984 ของบริษัทแอปเปล (Apple) ตอมาไดมีการ เปลี่ยนชื่อเปนระบบปฏิบัติการแมค โอเอส ระบบปฏิบัติการแมคอินทอช สามารถใชงานหลายๆ (Mac OS) โดยเวอรชันลาสุดมีชื่อเรียกวา Mac โปรแกรมในเวลาดียวกัน OS X ( X คือ เลข 10 แบบโรมัน) เหมาะกับ างานหลายโปรแกรมพรอมกัน คอมพิวเตอรที่ผลิตโดยบริษัท Apple และมีความสามารถในการทํ ลปะเปนหลัก (multitasking) เหมาะกับงานประเภทสิ่งพิมพ กราฟก และศิ ดรับความนิยมมาก 3) ระบบปฏิบัติการลินุกซ (Linux) เปนระบบปฏิบัติการที่ไ ชาวฟนแลนด ลินุกซเปน เชนเดียวกัน พัฒนาขึ้นมาโดย ลินุส ทอวาลด (Linus Torvalds) าและทํางานไดเร็วกวา ในชวงแรก ระบบปฏิบัติการที่มีลักษณะคลายกับยูนิกซ แตมีขนาดเล็กกว ้น แตในชวงหลังความนิยมในการ เปนการพัฒนาขึ้นมาเพื่อใชในคอมพิวเตอรสวนบุคคลเทานั ั นาสวนประกอบอืน่ ๆ ของลินกุ ซเพือ่ เพิม่ เชือ่ มโยงคอมพิวเตอรเปนเครือขายเพิม่ สูงขึน้ จึงมีผพู ฒ ความสามารถในการทํางานทางดานเครือขายมากขึ้น EB GUIDE

5

2. 3. 4. 5.

โปรแกรม Microsoft Word ที่ใช้งานกันอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน เป็นซอฟต์แวร์หรือฮาร์ดแวร์ จงอธิบายพร้อมยกตัวอย่างซอฟต์แวร์อื่นๆ มาประกอบพอสังเขป ซอฟต์แวร์แบ่งเป็นกี่ประเภท ประกอบด้วยอะไรบ้าง จงอธิบาย โปรแกรมระบบปฏิบัติการมีหน้าที่หลักอะไรบ้าง จงอธิบาย จงยกตัวอย่างซอฟต์แวร์ประยุกต์ทั่วไป พร้อมอธิบายประโยชน์และการใช้งานมาพอสังเขป โปรแกรมอรรถประโยชน์ที่ใช้ในปัจจุบันมีอะไรบ้าง พร้อมอธิบายประโยชน์และการใช้งานมาพอ สังเขป

กิจกรรมสร้างสรรค์พัฒนาการเรียนรู้

13 22

Web Guide á¹Ð¹íÒáËÅ‹§¤Œ¹¤ÇŒÒ¢ŒÍÁÙÅ à¾ÔèÁàµÔÁ¼‹Ò¹Ãкº Online

5) ระบบปฏบิ ตั กิ ารปาลม (Palm

เปนระบบปฏิบัติการที่ถือวาเกิด ขึ้นมา พรอมๆ กับการนําเอาคอมพิวเตอร แบบพกพา มาใชในยุคแรกๆ ที่เรียกวาเครื่องปาล ม พั ขึ้นโดยบริษัทปาลม ซึ่งไดรับความนิ ฒนา ยมอย แพรหลายในเวลาตอมา ปจจุบันอาจจะพ าง บเห็น การนําเอาระบบนี้ไปใชกับคอมพิ วเตอร พกพาของบริษทั ผูผ ลิตอุปกรณเทคโนโลย แบบ ชี นั้ นํา นอกเหนือไปจากเครื่องของบริษ ัทปาลมดวย เชน Visor (ของบริษทั แฮนดสปริงซึ ง่ ปจจุบนั รวม กิจการเขากับบริษัทปาลมไปแลว) และ (ของบริษัทโซนีซึ่งยุติการผลิตไปแล CLIE ว) ซึ่งใช ระบบปฏิบัติการแบบนี้ดวยเชนกัน

¤íÒ¶ÒÁ»ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒáÅСԨ¡ÃÃÁ ÊÌҧÊÃä ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒà¾×èÍãËŒ¼ÙŒàÃÕ¹ ÁդسÀÒ¾ºÃÃÅØÁҵðҹáÅеÑǪÕéÇÑ´

โลยี

ระบบปฏิบตั กิ ารไมโครซอฟตวนิ โดวสไดรบั ความนิยมสูง ในปจจุบนั

4) ระบบปฏิบัติการวินโดวส

http://www.aksorn.com/LC/Tech/M2/01

EB GUIDE

ÁØÁà·¤â¹âÅÂÕà¹×éÍËҹ͡à˹×ͨҡ ·ÕÁè ãÕ ¹ÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙጠ¡¹¡ÅÒ§ à¾×Íè à¾ÔÁè ¾Ù¹áÅТÂÒ¾ÃÁá´¹¤ÇÒÁÃÙ㌠ˌ ¡ÇŒÒ§¢ÇÒ§ÍÍ¡ä»

2) ระบบปฏิบัติการแมคอินทอช (Macintosh Operating System) เปนระบบ

http://www.aksorn.com/LC/Tech/M2/02

ระบบปฏิบตั กิ ารวินโดวส เซิรฟ เวอร ใชควบคุมคอมพิวเตอรในเครือ ถูกออกแบบมาเพือ่ ขาย

2. »ÃÐàÀ·¢Í§«Í¿µ áÇÃ

ปัจจ จจุ​ุบันคอมพ ิว

2

ระบบปฏิบตั กิ ารวินโดวสนเี้ ปนระบบ ปฏิบัติการที่ไดรับความนิยมสูงมากในเครื่อง ไมโครคอมพิวเตอรทั่วไป ทั้งนี้นอกจากใชงาน ไดงายดังที่กลาวมาขางตนแลว ยังเปนเพราะ หลั ง จากที่ บ ริ ษั ท ไมโครซอฟต  ไ ด ผ ลิ ต ระบบ ปฏิ บั ติ ก ารนี้ อ อกสู  ต ลาดแล ว ก็ ไ ด พั ฒ นา ซอฟตแวรประยุกตที่สามารถใชงานบนระบบ ปฏิบัติการนี้ขึ้นหลายประเภท เชน ซอฟตแวร ประมวลผลคํา ซอฟตแวรตารางทํางาน ซอฟตแวร นําเสนอ เปนตน ซึง่ ชวยอํานวยความสะดวกใน การทํางานของผูใชในทุกๆ ดาน ซึ่งทําใหเกิด การใชงานที่แพรหลายในปจจุบัน

เซิรฟเวอร

(Windows Server) เปนระบบ ปฏิบัติการที่ออกแบบมาเพื่อใชง านกับ เครือขายโดยเฉพาะ โดยรุนแรกออก ระบบ มาในชื่อ Windows NT และพัฒนามาเป น Windows 2000 และรุนลาสุด คือ Window s Server 2003 ผลิตมาเพื่อรองรับการใช งานในระดับ องคกรขนาดเล็กและขนาดกลาง พัฒนาโดย บริษัทไมโครซอฟต สวนใหญเหมาะกั บการ ติดตั้งและใชงานกับเครื่องประเภท แมขาย

กิจกรรมที่

1

กิจกรรมที่

2

กิจกรรมที่

3

ให้นักเรียนเลือกใช้ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในปัจจุบันมา 1 ซอฟต์แวร์ นำาเสนอเรื่อง เกี่ยวกับโรงเรียนของเรา พร้อมลงมือปฏิบัติจริง ทำารายงานส่งครูผู้สอนและ นำาเสนอเป็นผลงานหน้าชั้นเรียน ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน จัดทำาแผนผังความคิด (Mind Mapping) เรื่องซอฟต์แวร์และการเลือกใช้ แล้วนำาผลงานที่นักเรียนทำาเสร็จแล้วมานำา เสนอด้วยโปรแกรม Microsoft Office Power Point หน้าชั้นเรียน เชิญวิทยากรหรือรุน่ พีท่ มี่ ปี ระสบการณ์ทางด้านงานกราฟิกและมัลติมเี ดียมาให้ ความรู้หรือแนะนำาวิธีการใช้โปรแกรมเบื้องต้น โดยให้นักเรียนพยายามซักถาม และสรุปสาระความรู้จากการบรรยายพร้อมสร้างชิ้นงานอย่างสร้างสรรค์นำาส่ง ครูผู้สอน


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

1

● ●

3

● ● ●

4

ตรวจสอบผล

¤ÇÒÁËÁÒÂáÅФÇÒÁÊíÒ¤Ñޢͧ«Í¿µ áÇà »ÃÐàÀ·¢Í§«Í¿µ áÇà «Í¿µ áÇà Ãкºª‹ÇÂ㹡Ò÷íÒ§Ò¹ «Í¿µ áÇà »ÃÐÂØ¡µ ª‹ÇÂ㹡Ò÷íÒ§Ò¹

¤ÇÒÁËÁÒÂáÅоѲ¹Ò¡Òâͧ¡ÒÃÊ×èÍÊÒâŒÍÁÙÅ à¤Ã×Í¢‹Ò¤ÍÁ¾ÔÇàµÍà â¾Ãâ·¤ÍÅáÅÐÍØ»¡Ã³ Ê×èÍÊÒÃã¹Ãкºà¤Ã×Í¢‹Ò¤ÍÁ¾ÔÇàµÍà ෤â¹âÅÂÕ¡ÒÃÃѺʋ§¢ŒÍÁÙÅã¹à¤Ã×Í¢‹Ò¤ÍÁ¾ÔÇàµÍà »ÃÐ⪹ ¢Í§¡ÒÃÊ×èÍÊÒâŒÍÁÙż‹Ò¹à¤Ã×Í¢‹Ò¤ÍÁ¾ÔÇàµÍÃ

ÍÔ¹à·Íà à¹çµáÅСÒÃ㪌§Ò¹ ●

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

Expand

¡ÒÃÊ×Íè ÊÒâŒÍÁÙÅáÅÐà¤Ã×Í¢‹Ò¤ÍÁ¾ÔÇàµÍà ●

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

ขยายความเขาใจ

«Í¿µ áÇà áÅСÒÃàÅ×͡㪌

2

Explain

Evaluate

ÊÒúÑÞ ●

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

อธิบายความรู

¤ÇÒÁËÁÒÂáÅоѲ¹Ò¡ÒâͧÍÔ¹à·Íà à¹çµ ¡Ò÷íÒ§Ò¹¢Í§ÍÔ¹à·Íà à¹çµ ¡ÒÃàª×èÍÁµ‹Í¡ÑºÍÔ¹à·Íà à¹çµ ¡ÒÃ㪌ºÃÔ¡Òõ‹Ò§æ º¹ÍÔ¹à·Íà à¹çµ ¤Ø³¸ÃÃÁáÅШÃÔ¸ÃÃÁ㹡ÒÃ㪌ÍÔ¹à·Íà à¹çµ ÁÒÃÂÒ· ÃÐàºÕº áÅТŒÍºÑ§¤Ñºã¹¡ÒÃ㪌ÍÔ¹à·Íà à¹çµ

ËÅÑ¡¡ÒÃáÅÐÇÔ¸Õ¡ÒÃá¡Œ»˜ÞËÒ ´ŒÇÂà·¤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·È ● ● ●

1 - 22 2 2 4 14

23 - 42 24 29 31 35 40

43 - 70 44 47 50 51 67 69

71 - 91

¡Ãкǹ¡ÒÃà·¤â¹âÅÂÕÊÒÃʹà·È ¡ÒÃ㪌¤ÍÁ¾ÔÇàµÍà ᡌ»˜ÞËÒ ¢Ñ鹵͹¡ÒÃá¡Œ»˜ÞËÒ´ŒÇ¤ÍÁ¾ÔÇàµÍÃ

72 77 79

ºÃóҹءÃÁ

92


กระตุน้ ความสนใจ กระตุEngage ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

เปาหมายการเรียนรู

1. อธิบายความหมาย ความสําคัญ และประเภท ของซอฟตแวรได 2. สามารถใชซอฟตแวรใหเหมาะสมกับการ ทํางาน และแกปญหาในชีวิตประจําวันได

สมรรถนะของผูเรียน 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการแกปญหา 3. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี

หน่วยการเรียนรู้ท ี่

1

ตัวชี้วัด ■

ใช้ซอฟต์แวร์ในการทำางาน (ง 3.1 ม.2/4)

สาระการเรียนรู้แกนกลาง ■

ซอฟต์แวร์ระบบประกอบด้วยระบบปฏิบตั กิ าร โปรแกรมแปล ภาษา และโปรแกรมอรรถประโยชน์ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ประกอบด้วยซอฟต์แวร์ประยุกต์ทวั่ ไป และ ซอฟต์แวร์ประยุกต์เฉพาะงาน ใช้ซอฟต์แวร์ระบบช่วยในการทำ างาน เช่น บีบอัด ขยาย โอนย้ายข้อมูล ตรวจสอบไวรัสคอมพิวเตอร์

คุณลักษณะอันพึงประสงค

ซอฟต์แวร์ และการเลือกใช้ ปัจจุ จจุบันคอมพิวเตอร์​์เข้ามามีบทบาท

ในชีวิตประจำาวันของมนุษย์ เช่น การพิมพ์ รายงาน ตกแต่งภาพ ดูหนัง ฟังเพลง เป็นต้น ซึ่งการดำาเนินการด้วยคอมพิวเตอร์นี้ จำาเป็น ต้องใช้ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ช่ ว ยทำ า งาน ซอฟต์ แ วร์ จึ ง เป็ น ส่ ว นสำ า คั ญ ที่ ค วบคุ ม การทำ า งานของคอมพิ ว เตอร์ ใ ห้ ดำาเนินการตามแนวความคิดที่ได้กำาหนดไว้ ล่วงหน้าแล้ว ซึง่ คอมพิวเตอร์ตอ้ งทำางานตาม โปรแกรมเท่านั้น ไม่สามารถทำางานที างานที่นอก เหนือไปจากที่กำาหนดไว้ในโปรแกรมได้ ดังนั้น การศึกษาเกีย่ วกับซอฟต์แวร์ จึงมีความสำาคัญ ต่อการทำางานด้วยคอมพิวเตอร์

1. ใฝเรียนรู 2. มุงมั่นในการทํางาน

กระตุน้ ความสนใจ

Engage

ครูนําสนทนาเกี่ยวกับซอฟตแวร โดยตั้งคําถาม กระตุนความสนใจของนักเรียน • นักเรียนรูจักซอฟตแวรหรือไม หากรูจัก ใหยกตัวอยางมาอยางนอย 2 ซอฟตแวร • นักเรียนใชประโยชนจากซอฟตแวร อยางไรบาง

ใช้ซอฟต์แวร์ประยุกต์ช่วยในการทำางาน ฯลฯ

เกร็ดแนะครู การเรียนการสอนเรื่อง ซอฟตแวรและการเลือกใช ครูควรจัดการเรียนรูโดยให นักเรียนแบงกลุมปรึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู และแสดงความคิดเห็นรวมกันเกี่ยวกับ ซอฟตแวรในชีวิตประจําวันที่นักเรียนไดพบเห็นและใชประโยชน และควรเนนการ ปฏิบัติงานจริง โดยอาจมอบหมายงานใหนักเรียนไดปฏิบัติโดยใชซอฟตแวรตางๆ ในการสรางชิ้นงาน ทั้งนี้เพื่อชวยใหนักเรียนมีทักษะพื้นฐานในการใชซอฟตแวร ประเภทตางๆ

คู่มือครู

1


กระตุน้ ความสนใจ

ส�ารวจค้นหา Exploreนหา ส�ารวจค้

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุEngage ้นความสนใจ

กระตุน้ ความสนใจ

Engage 1

ครูและนักเรียนรวมกันสนทนาเกี่ยวกับการ ทํางานของเครื่องคอมพิวเตอร จากนั้นใหนักเรียน รวมกันอภิปรายวา เครื่องคอมพิวเตอรที่ใชอยูทั่วไป สามารถทํางานไดอยางไร หลังจากที่นักเรียนอภิปรายผานไประยะหนึ่ง ครูอาจนําชิ้นงานตางๆ เชน รายงานที่พิมพจาก โปรแกรมไมโครซอฟต เวิรด (Microsoft Word) ซึ่งอาจมีการสรางตารางจากโปรแกรมไมโครซอฟต เอกซเซล (Microsoft Excel) หรืองานนําเสนอที่ สรางจากโปรแกรมไมโครซอฟต พาวเวอรพอยต (Microsoft PowerPoint) มาใหนักเรียนพิจารณา แลวรวมกันวิเคราะหวาชิ้นงานดังกลาวนั้นสรางขึ้น จากโปรแกรมใดบาง

ส�ารวจค้นหา

1. ความหมายแÅะความสำาคัÞ¢องซอฟต์แวร์

ซอฟต์แวร์ (software) หมายถึง ชุดค�าสัง่ หรือโปรแกรมทีค่ อยสัง่ การให้เครือ่ งคอมพิวเตอร์ ท�างาน รวมไปถึงการควบคุมการท�างานของ อุปกรณ์แวดล้อมต่างๆ เช่น CD ROM drive, modem เป็นต้น ซอฟต์แวร์เป็นสิง่ ทีม่ องไม่เห็น จับต้องไม่ได้ แต่สามารถรับรูก้ ารท�างานของมันได้ ซึ่งต่างกับฮาร์ดแวร์ (hardware) ที่สามารถจะ จับต้องได้ ซอฟต์แวร์เป็นศัพท์ที่มีความหมาย กว้างขวางมาก บางครัง้ อาจรวมถึงผลลัพธ์ตา่ งๆ เช่น ผลการพิมพ์ที่ได้จากเครื่องคอมพิวเตอร์ เอกสารการพัฒนาซอฟต์แวร์ ตลอดจนคู่มือ ตัวอย่างซอฟต์แวร์ต่างๆ ที่ควบคุมการทำางานของ เครื่องคอมพิวเตอร์ การใช้ การสั่งงานใดๆให้เครื่องคอมพิวเตอร์ ท�างานตามต้องการนัน้ ต้องอาศัยซอฟต์แวร์เป็นตัวเชือ่ มระหว่างคนหรือผูใ้ ช้กบั เครือ่ งคอมพิวเตอร์ ดังนั้น ซอฟต์แวร์จึงมีความส�าคัญทัดเทียมกับฮาร์ดแวร์

Explore

ใหนักเรียนแตละคนศึกษาเรื่อง ความหมาย และความสําคัญของซอฟตแวร และประเภทของ ซอฟตแวร จากหนังสือเรียน หนา 2-3 หรือจาก แหลงเรียนรูต า งๆ จากนัน้ ใหนกั เรียนจับคูก นั รวมกัน อภิปรายและสรุปสาระสําคัญของเรื่องที่ศึกษา แลวใหชวยกันตั้งคําถามเกี่ยวกับเรื่องดังกลาว พรอมทั้งหาคําตอบอยางนอย 3 ขอ โดยจดลงใน สมุดบันทึกของนักเรียน

2. ประเÀท¢องซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ทมี่ ผี พู้ ฒ ั นาขึน้ เพือ่ ใช้งานกับคอมพิวเตอร์มมี ากมาย ซอฟต์แวร์เหล่านีอ้ าจได้รบั การพัฒนาโดยผูใ้ ช้งาน ผูพ้ ฒ ั นาระบบ หรือผูผ้ ลิตและจ�าหน่าย หากแบ่ง แยกชนิดของซอฟต์แวร์ตามสภาพการท�างาน สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ ซอฟต์แวร์ ระบบ และซอฟต์แวร์ประยุกต์ 1) ซอฟต์แวร์ระบบ (system software) คือ ซอฟต์แวร์ทบี่ ริษทั ผูผ้ ลิตสร้างขึน้ เพือ่ ใช้จดั การ กับระบบหน้าที่การท�างานพื้นฐานต่างๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น รับข้อมูลจากแป้นอักขระ แล้วแปลความหมายให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ จากนั้นน�าข้อมูลไปแสดงผลบนจอภาพหรือน�าออกไป ยังเครื่องพิมพ์ การจัดการข้อมูลในระบบแฟ้มข้อมูลบนหน่วยความจ�ารรอง เป็นต้น คอมพิวเตอร์จะท�างานตามโปรแกรมทันทีเมือ่ มีการจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กบั คอมพิวเตอร์ ซึง่ โปรแกรมแรกทีส่ งั่ ให้คอมพิวเตอร์ทา� งานนีเ้ ป็นซอฟต์แวร์ระบบ โดยซอฟต์แวร์ระบบอาจเก็บไว้ ในรอมหรือแผ่นจานแม่เหล็ก หากไม่มีซอฟต์แวร์ระบบ คอมพิวเตอร์จะท�างานไม่ได้ นอกจากนี้ ซอฟต์แวร์ระบบยังใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาซอฟต์แวร์อื่นๆ และยังรวมไปถึงซอฟต์แวร์ที่ใช้ ในการแปลภาษาต่างๆ ด้วย 2

EB GUIDE

เกร็ดแนะครู กอนเริ่มการเรียนการสอน ครูอาจสอบถามนักเรียนวา นักเรียนมีอีเมล (e-mail) กันหรือไม ซึง่ หากนักเรียนคนใดยังไมมี ครูควรแนะนําใหนกั เรียนไปสมัครกับเว็บเมลที่ ใหบริการฟรี เชน www.hotmail.com www.yahoomail.com www.gmail.com เปนตน เพื่อใชเปนชองทางในการสงงาน หรือติดตอสอบถามกับครูผูสอน ทั้งนี้อาจ ใหนักเรียนเรียนรูการใชงานอีเมลแลวสรุปเปนใบงานสงครูผูสอนดวย

นักเรียนควรรู 1 ซอฟตแวร เอดา ไบรอน (Ada Byron) นักคณิตศาสตรชาวอังกฤษ เปนคนแรก ที่สามารถเขียนชุดคําสั่งใหกับเครื่องคํานวณไดในป พ.ศ. 2385 (ค.ศ. 1842) ซึ่งเปน ยุคที่ยังไมมีเครื่องคอมพิวเตอร ตอมาเมื่อถึงยุคของคอมพิวเตอรจึงมีการนําหลักการ ของเอดามาประยุกตใชในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอรตางๆ มากมาย ทําให เอดาไดรับการยกยองวาเปนโปรแกรมเมอรคนแรกของโลก

2

คู่มือครู

http://www.aksorn.com/LC/Tech/M2/01

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

การรับขอมูลจากแปนอักขระ แลวแปลความหมายให คอมพิวเตอรเขาใจ จากนั้นนําขอมูลที่ไดมาแสดงผลบนจอภาพ หรือนําออกไปยังเครื่องพิมพ เปนการปฏิบัติงานของซอฟตแวรใด 1. ซอฟตแวรระบบ 2. ซอฟตแวรประยุกต 3. ซอฟตแวรตารางทํางาน 4. ซอฟตแวรประมวลผลคํา วิเคราะหคําตอบ การรับขอมูลจากแปนอักขระ แลวแปล ความหมายใหคอมพิวเตอรเขาใจ จากนั้นนําขอมูลที่ไดมาแสดงผล บนจอภาพ หรือนําออกไปยังเครื่องพิมพนั้น เปนการทํางาน พื้นฐานของคอมพิวเตอร ซึ่งควบคุมโดยซอฟตแวรระบบ ดังนั้น ตอบขอ 1.


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engage

Explore

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ Expand าใจ ขยายความเข้

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบExplain ายความรู้

อธิบายความรู้

ครูตั้งคําถามใหนักเรียนอาสาตอบคําถาม ในแตละขอ • ซอฟตแวรทําหนาที่อะไรในคอมพิวเตอร (แนวตอบ ซอฟตแวร คือ ชุดคําสั่งหรือ โปรแกรมที่สั่งการใหเครื่องคอมพิวเตอร ทํางานตามที่ผูใชตองการ หรือเปนตัวกลาง เพื่อใหผูใชคอมพิวเตอรสามารถสื่อสารกับ ฮารดแวรคอมพิวเตอรได) • ใหนักเรียนยกตัวอยางซอฟตแวรที่นักเรียน เคยใชงาน หรือที่นักเรียนรูจัก (แนวตอบ พิจารณาจากคําตอบของนักเรียน โดยอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน เชน ระบบปฏิบัติการไมโครซอฟตวินโดวส โปรแกรมไมโครซอฟต เวิรด โปรแกรม ไมโครซอฟต เอกซเซล โปรแกรมไมโครซอฟต พาวเวอรพอยต เปนตน) จากนั้นครูสอบถามนักเรียนแตละคูที่รวมกัน อภิปรายและตัง้ คําถามเกีย่ วกับเรือ่ งซอฟตแวรไววา คําถามที่นักเรียนตั้งไวแตกตางไปจากที่ครูถาม หรือไม หากมีคําถามที่แตกตางออกไป ใหนักเรียน ออกมานําเสนอหนาชั้นเรียน เพื่อใหนักเรียน คนอื่นๆ ชวยกันหาคําตอบ โดยครูคอยเสนอแนะ และตรวจสอบความถูกตอง

2) ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (application software) เป็นซอฟต์แวร์ทใี่ ช้กบั งานด้านต่างๆ ตาม

ความต้องการของผูใ้ ช้ ทีส่ ามารถน�ามาใช้ประโยชน์ได้โดยตรง ปัจจุบนั มีผพู้ ฒ ั นาซอฟต์แวร์ใช้งานทาง ด้านต่างๆ ออกจ�าหน่ายมาก การประยุกต์งานคอมพิวเตอร์ จ ง ึ กว้ า งขวางและแพร่ หลาย อาจแบ่ง 1 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ออกเป็นสองกลุม่ คือ ซอฟต์แวร์สา� เร็จ และ และซอฟต์แวร์ทพี่ ฒ ั นาขึน้ ใช้เฉพาะงาน ซึ่งปัจจุบันมีมากมาย เช่น ซอฟต์แวร์ประมวลผลค�า ซอฟต์แวร์ตารางท�างาน เป็นต้น

ระบบปฏิบัติการ

โปรแกรมแปลภาษา

Explain

โปรแกรมอรรถประโยชน์

ซอฟต์แวร์ระบบ

ซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์ประยุกต์

ขยายความเข้าใจ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ทั่วไป

ซอฟต์แวร์ประยุกต์เฉพาะงาน

ประเภทของซอฟต์แวร์

3

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

หากไมมีซอฟตแวรระบบ ผูใชจะสามารถใชงานซอฟตแวร ประยุกตไดหรือไม เพราะเหตุใด

แนวตอบ ไมสามารถใชงานได เนื่องจากซอฟตแวรระบบจะทํา หนาที่เปนตัวกลางระหวางซอฟตแวรประยุกตกับผูใชงานเพื่อ สั่งการใหเครื่องคอมพิวเตอรทํางาน

กิจกรรมสรางเสริม ใหนักเรียนสืบคนและรวบรวมขอมูลจากอินเทอรเน็ตเกี่ยวกับ ซอฟตแวร โดยระบุชอื่ ซอฟตแวรตา งๆ มาใหไดมากทีส่ ดุ พรอมทัง้ บอกวาซอฟตแวรนนั้ ๆ ใชประโยชนทางดานใดบาง ทําเปนใบงาน สงครูผูสอนผานทางอีเมล

Expand

ใหนักเรียนพิจารณาแผนผังแสดงประเภท ของซอฟตแวร จากหนังสือเรียน หนา 3 จากนั้น ครูสุมนักเรียน 2 คน ออกมาหนาชั้นเรียน แลวให นักเรียนคนอื่นๆ รวมกันวิเคราะหความแตกตาง ระหวางซอฟตแวรระบบกับซอฟตแวรประยุกต โดยใหนักเรียน 2 คนขางตนเขียนสรุปลงบน กระดานหนาชั้นเรียน เมื่อไดขอสรุปที่ตรงกันแลว ใหนักเรียนทุกคนบันทึกลงในสมุดของตนเอง

เกร็ดแนะครู ครูอาจมอบหมายงานใหนักเรียนจัดทําแผนผังแสดงประเภทของซอฟตแวร โดยใชแผนผังในหนังสือเรียน หนา 3 เปนแนวทางในการจัดทํา แตควรใหมี รายละเอียดมากขึ้น เชน มีรายระเอียดของซอฟตแวรแตละประเภท มีตัวอยาง ซอฟตแวร เปนตน ซึ่งใหนักเรียนใชคอมพิวเตอรในการสรางชิ้นงาน โดยเลือกใช ซอฟตแวรที่นักเรียนมีความถนัด แลวนําชิ้นงานสงครูผูสอนทางอีเมล หรือพิมพ เปนเอกสารใบงาน

นักเรียนควรรู 1 ซอฟตแวรสําเร็จ หรือซอฟตแวรประยุกตอเนกประสงค (general-purpose) หรือซอฟตแวรชวยเพิ่มผลผลิต (productivity applications) ตัวอยางเชน ซอฟตแวรประมวลผลคํา ซอฟตแวรตารางทํางาน ซอฟตแวรนําเสนอ เปนตน คู่มือครู

3


กระตุน้ ความสนใจ

ส�ารวจค้นหา Exploreนหา ส�ารวจค้

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุEngage ้นความสนใจ

กระตุน้ ความสนใจ

Engage

ครูตั้งคําถามเพื่อทดสอบความรูของนักเรียน เกี่ยวกับซอฟตแวรระบบ • ซอฟตแวรระบบมีความสําคัญตอการทํางาน ของเครื่องคอมพิวเตอรอยางไร (แนวตอบ ซอฟตแวรระบบจะทําหนาที่ จัดการกับระบบการทํางานพื้นฐานของ เครื่องคอมพิวเตอร ซึ่งหากไมมีซอฟตแวร ระบบ เครื่องคอมพิวเตอรจะไมสามารถ ทํางานได) ครูควรอธิบายเกี่ยวกับซอฟตแวรระบบอยาง สังเขป พรอมทั้งบอกวาซอฟตแวรระบบ แบงออก เปน 3 ประเภท ไดแก ระบบปฏิบตั กิ าร โปรแกรม แปลภาษา และโปรแกรมอรรถประโยชน ซึ่งนักเรียน จะไดศึกษาเกี่ยวกับระบบปฏิบัติการกอน จากนั้น ตั้งคําถามกระตุนความสนใจของนักเรียน • นักเรียนเคยไดยินคําวา “ระบบปฏิบัติการ” หรือไม และรูจักระบบปฏิบัติการใดบาง (แนวตอบ พิจารณาจากคําตอบของนักเรียน โดยอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน เชน ระบบปฏิบัติการวินโดวส ระบบปฏิบัติการ แมคอินทอช เปนตน)

ส�ารวจค้นหา

3 . ซอฟต์แวร์ระบบช่วยในการทำางาน ซอฟต์แวร์ระบบ (system software) เป็นโปรแกรมควบคุมและประสานงานการท�างานของ เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยซอฟต์แวร์ระบบจะเป็น ตัวสั่งการหน่วยควบคุมภายในหน่วยประมวลผลกลาง (CPU) เช่น สั่งให้รับข้อมูลจากแป้นพิมพ์ สั่งให้แสดงผลทางล�าโพง เป็นต้น ซอฟต์แวร์ระบบสามารถแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ ระบบ ปฏิบตั กิ าร โปรแกรมแปลภาษา และโปรแกรมอรรถประโยชน์ โดยจะกล่าวถึงในรายละเอียดต่อไปนี้

3.1 ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการ (Operating System : OS) เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้ส�าหรับควบคุมและ ประสานงานระหว่างอุปกรณ์ภายในคอมพิวเตอร์ทงั้ หมด ตัง้ แต่ซพี ยี ู หน่วยความจ�า ไปจนถึงหน่วย น�าเข้าและส่งออก บางครั้งนิยมเรียกรวมๆ ว่า แพลตฟอร์ม (platform) คอมพิวเตอร์จะท�างานได้ จ�าเป็นต้องมีระบบปฏิบตั กิ ารติดตัง้ อยูใ่ นเครือ่ งเสียก่อน ซึง่ ขึน้ อยูก่ บั บริษทั ผูผ้ ลิตเครือ่ งนัน้ ๆ ว่าจะ เลือกใช้ระบบปฏิบัติการอะไรในการท�างาน เราจะพบเห็นระบบปฏิบัติการอยู่ในคอมพิวเตอร์แทบ ทุกประเภทตั้งแต่เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่อย่างเครื่องเมนเฟรม จนถึงเครื่องคอมพิวเตอร์ ขนาดเล็กอย่างเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดพกพาประเภทพีดีเอ หน้าที่ของระบบปฏิบัติการ มีดังนี้ 1. การจองและการก�าหนดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์ 2. การจัดตารางงาน 3. การติดตามผลของระบบ 4. การท�างานหลายโปรแกรมพร้อมกัน 5. การจัดแบ่งเวลา 6. การประมวลผลหลายชุดพร้อมกัน ตัวอย่างระบบปฏิบัติการที่สา� คัญควรรู้ มีดังนี้ 1) ระบบปฏิบตั กิ ารไมโครซอฟต์วนิ โดวส์ (Microsoft Windows) ระบบปฏิบตั กิ ารนี้ 1) พัฒนาโดยบริษทั ไมโครซอฟต์ ซึง่ มีส1ว่ นติดต่อกับผูใ้ ช้ (user interface) แบบทีเ่ รียกว่า ระบบติดต่อ ผู้ใช้แบบกราฟิก หรือที่เรียกว่า จียูไอ (Graphical User Interface : GUI) คือ มีการแสดงผลเป็น รูปภาพ และใช้สญั ลักษณ์ในรูปรายการเลือก (menu) หรือสัญรูป (icon) ในการสัง่ งานคอมพิวเตอร์ แทนการพิมพ์ค�าสั่งทีละบรรทัด ท�าให้การใช้งานคอมพิวเตอร์ง่ายขึ้น ทั้งยังมีสีสันที่ท�าให้ ซอฟต์แวร์น่าใช้งานมากขึ้น

Explore

ใหนักเรียนแบงกลุม ออกเปน 6 กลุม ศึกษา เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการตางๆ แลวสรุปสาระสําคัญ เพื่อเตรียมออกมานําเสนอหนาชั้นเรียน โดยให แตละกลุมจับสลากวาจะไดศึกษาเรื่องใด ดังนี้ 1. ระบบปฏิบัติการวินโดวส 2. ระบบปฏิบัติการแมคอินทอช 3. ระบบปฏิบัติการลีนุกซ 4. ระบบปฏิบัติการวินโดวสเซิรฟเวอร 5. ระบบปฏิบัติการปาลม 6. ระบบปฏิบัติการซิมเบียน

4

นักเรียนควรรู 1 จียูไอ การใชงานจียูไอโดยปกติแลวจะเปนการใชงานเมาสรวมกับคียบอรด โดยใชเมาสบังคับพอยนเตอร (pointer) ซึ่งสวนมากจะเปนรูปลูกศร ใหเลื่อนไปยัง สิ่งที่ตองการ จากนั้นจึงกดปุมซายหรือขวาของเมาสเพื่อเลือกรายการทํางานกับ สิ่งที่ชี้อยู เรียกการใชงานเชนนี้วา ชี้และเลือก (point and click) นอกจากนี้ ยังมีการใชเมาสที่นิยมอีกอยาง คือการเลื่อนพอยนเตอรไปยังสิ่งที่ตองการและ กดปุมเมาสซายคางไว จากนั้นทําการลาก (drag) สิ่งนั้นไปวาง (drop) โดยการ ปลอยการกดปุมเมาสยังตําแหนงที่ตองการ เรียกการใชงานเชนนี้วา ลากแลววาง (drag and drop) สวนการปอนขอมูลสามารถกระทําไดโดยใชคียบอรด ซึ่งจะเปน การปอนขอมูล ณ ตําแหนงที่เคอรเซอร (cursor) อยู ซึ่งสวนมากจะเปนสัญลักษณ ขีดตั้งปรากฏอยู

4

คู่มือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ขอใดไมใช หนาที่ของระบบปฏิบัติการ 1. จัดตารางเวลา 2. ตรวจจับไวรัสคอมพิวเตอร 3. ทํางานหลายโปรแกรมพรอมกัน 4. เปนตัวกลางระหวางผูใชกับเครื่องคอมพิวเตอร วิเคราะหคําตอบ ระบบปฏิบัติการมีหนาที่หลายอยาง ไดแก ควบคุมการทํางานของคอมพิวเตอรโดยเปนตัวกลางระหวางผูใช กับเครื่องคอมพิวเตอร จัดสรรการใชทรัพยากร การใชเวลา จัดตารางงาน การทํางานหลายโปรแกรมพรอมกัน และการ ประมวลผลหลายชุดพรอมกัน ซึ่งไมไดมีหนาที่ตรวจจับไวรัส คอมพิวเตอร ซึ่งการตรวจจับไวรัสคอมพิวเตอรเปนหนาที่ของ โปรแกรมปองกันไวรัส ดังนั้น ตอบขอ 2.


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engage

Explore

อธิบายความรู้ อธิบExplain ายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู้ ระบบปฏิบตั กิ ารวินโดวส์นเี้ ป็นระบบ ปฏิบัติการที่ได้รับความนิยมสูงมากในเครื่อง ไมโครคอมพิวเตอร์ทั่วไป ทั้งนี้นอกจากใช้งาน ได้ง่ายดังที่กล่าวมาข้างต้นแล้ว ยังเป็นเพราะ หลั ง จากที่ บ ริ ษั ท ไมโครซอฟต์ ไ ด้ ผ ลิ ต ระบบ ปฏิ บั ติ ก ารนี้ อ อกสู ่ ต ลาดแล้ ว ยั ง ได้ พั ฒ นา ซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่สามารถใช้งานบนระบบ ปฏิบัติการนี้ขึ้นหลายประเภท เช่น ซอฟต์แวร์ ประมวลผลค�า ซอฟต์แวร์ตารางท�างาน ซอฟต์แวร์ น�าเสนอ เป็นต้น ซึง่ ช่วยอ�านวยความสะดวกใน การท�างานของผู้ใช้ในทุกๆ ด้าน ซึ่งท�าให้เกิด การใช้งานที่แพร่หลายในปัจจุบัน

ใหนักเรียนกลุมที่ศึกษาเรื่อง ระบบปฏิบัติการ วินโดวส ระบบปฏิบัติการแมคอินทอช และระบบ ปฏิบัติการลีนุกซ ออกมานําเสนอสาระสําคัญ หนาชั้นเรียน โดยใหนักเรียนคนอื่นๆ ตั้งใจฟง และจดสาระสําคัญลงในสมุดบันทึกของตนเอง จากนั้นครูตั้งคําถามใหนักเรียนชวยกันตอบและ แสดงความคิดเห็น • เครื่องคอมพิวเตอรของโรงเรียนเรา ใชระบบปฏิบัติการอะไร (แนวตอบ พิจารณาจากคําตอบของนักเรียน โดยขึ้นอยูกับเครื่องคอมพิวเตอรของแตละ โรงเรียน ซึ่งสวนใหญจะใชระบบปฏิบัติการ วินโดวส) • ระบบปฏิบัติการแมคอินทอชเหมาะกับงาน ประเภทใด (แนวตอบ ระบบปฏิบัติการแมคอินทอช เหมาะกับงานประเภทสิ่งพิมพ กราฟก และดานศิลปะ เพราะมีโปรแกรมหลาย โปรแกรมที่ใชสรางสรรคงานประเภทนี้ได)

ระบบปฏิบตั กิ ารไมโครซอฟต์วนิ โดวส์ได้รบั ความนิยมสูง ในปจจุบนั

2) ระบบปฏิบัติการแมคอินทอช (Macintosh Operating System) เป็นระบบ

ปฏิบัติการของเครื่องคอมพิวเตอร์แมคอินทอช เป็ น ผลิ ต ภั ณ ฑ์ แ รกที่ ป ระสบความส� า เร็ จ ใน การท�างานแบบจียูไอ (GUI) ในป ค.ศ. 1984 ของบริษัทแอปเปิล (Apple) ต่อมาได้มีการ เปลี่ ย นชื่ อ เป็ น ระบบปฏิ บัติ ก ารแมค โอเอส (Mac OS) โดยเวอร์ชันล่าสุดมีชื่อเรียกว่า Mac ระบบปฏิบัติการแมคอินทอช สามารถใช้งานหลายๆ OS X ( X คือ เลข 10 แบบโรมัน) เหมาะกับ โปรแกรมในเวลาเดียวกัน คอมพิวเตอร์ที่ผลิตโดยบริษัท Apple และมีความสามารถในการท�างานหลายโปรแกรมพร้อมกัน (multitasking) เหมาะกับงานประเภทสิ่ง1พิมพ์ กราฟิก และศิลปะเป็นหหลัก 3) ระบบปฏิบัติการลินุกซ์ (Linux) เป็นระบบปฏิบัติการที่ได้รับความนิยมมาก เช่นเดียวกัน พัฒนาขึ้นมาโดย ลินุส ทอวาลดส์ (Linus Torvalds) ชาวฟินแลนด์ ลินุกซ์เป็น ระบบปฏิบัติการที่มีลักษณะคล้ายกับยูนิกซ์ แต่มีขนาดเล็กกว่าและท�างานได้เร็วกว่า ในช่วงแรก เป็นการพัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้ในคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลเท่านั้น แต่ในช่วงหลังความนิยมในการ เชือ่ มโยงคอมพิวเตอร์เป็นเครือข่ายเพิม่ สูงขึน้ จึงมีผพู้ ฒ ั นาส่วนประกอบอืน่ ๆ ของลินกุ ซ์เพือ่ เพิม่ ความสามารถในการท�างานทางด้านเครือข่ายมากขึ้น http://www.aksorn.com/LC/Tech/M2/02

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ขอใดกลาวถึงการใชงานซอฟตแวรไดถูกตอง 1. ใชซอฟตแวรระบบในการเปดคอมพิวเตอรเทานั้น 2. ใชซอฟตแวรประยุกตในการปดคอมพิวเตอรเทานั้น 3. ใชทั้งซอฟตแวรระบบและซอฟตแวรประยุกตควบคูกันไป 4. ใชเฉพาะซอฟตแวรระบบหรือซอฟตแวรประยุกตอยางใด อยางหนึ่งเทานั้น

วิเคราะหคําตอบ เครื่องคอมพิวเตอรทุกๆ เครื่องจะมีทั้งซอฟแวร ระบบและซอฟแวรประยุกต ทั้งนี้เพื่อตอบสนองความตองการ ในการใชงานในแตละดาน ซึ่งซอฟตแวรทั้งสองประเภทจะทํางาน ควบคูกันไป ทําใหการใชงานคอมพิวเตอรงายขึ้น และผูใชงาน มีความสะดวกสบายยิ่งขึ้น ดังนั้น ตอบขอ 3.

Explain

EB GUIDE

5

นักเรียนควรรู 1 ระบบปฏิบัติการลินุกซ จุดเดนที่นาสนใจของลินุกซ เชน • เปนระบบปฏิบัติการที่ใชงานไดฟรี • สามารถทํางานไดรวดเร็ว เนื่องจากมีระบบการจัดการหนวยความจําเสมือน (Virtual Memory) การจัดทํางานแบบ Multitasking และระบบปองกัน การรบกวนการทํางานระหวาง Process ตางๆ

มุม IT ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับระบบปฏิบัติการลินุกซ ไดจากเว็บไซต http://www.thaiall.com/os/os11.htm หรือ http://www.school.net.th/ library/create-web/10000/technology/10000-11703.html

คู่มือครู

5


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engage

Explore

อธิบายความรู้

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ Expand าใจ ขยายความเข้

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบExplain ายความรู้

Explain

ใหนักเรียนกลุมที่ศึกษาเรื่อง ระบบปฏิบัติการ วินโดวสเซิรฟเวอร ระบบปฏิบัติการปาลม และ ระบบปฏิบัติการซิมเบียน ออกมานําเสนอสาระ สําคัญหนาชั้นเรียน โดยใหนักเรียนคนอื่นๆ ตั้งใจ ฟงและจดสาระสําคัญลงในสมุดบันทึกของตนเอง จากนั้นครูตั้งคําถามใหนักเรียนชวยกันตอบและ แสดงความคิดเห็น • ระบบปฏิบัติการซิมเบียนมีประโยชน ตอเทคโนโลยีการสื่อสารอยางไร (แนวตอบ ระบบปฏิบตั กิ ารซิมเบียน มีประโยชน ตอเทคโนโลยีการสื่อสาร โดยถูกออกแบบมา เพื่อรองรับกับเทคโนโลยีการสื่อสารแบบ ไรสาย (wireless) โดยเฉพาะโทรศัพทมือถือ แบบสมารตโฟน) • นักเรียนรูจักระบบปฏิบัติการอื่นๆ บนโทรศัพทมือถืออีกบางหรือไม (แนวตอบ พิจารณาจากคําตอบของนักเรียน โดยอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน เชน ระบบ ปฏิบัติการแอนดรอยด (Android) ระบบ ปฏิบตั กิ ารบาดา (Bada OS) ระบบปฏิบตั ิ การวินโดวส โมบาย (Windows Mobile) ระบบปฏิบัติการแบล็คเบอรรี (BlackBerry) เปนตน)

ขยายความเข้าใจ

เกร็ด... IT สำาหรับในประเทศไทยก็มกี ารพัฒนาระบบปฏิบตั กิ ารลินกุ ซ์ออกมาใช้บา้ งแล้ว เช่น Linux TLE ของศูนย์เทคโนโลยี อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (National Electronics and Computer Technology Center) หรือ เนคเทค เปนต้น และในปจจุบนั หลายๆ ประเทศได้มกี ารส่งเสริมให้มกี ารใช้ระบบปฏิบตั กิ ารนีอ้ ย่างต่อเนือ่ งเพือ่ ลดปญหาการ ขาดดุลการค้า เนือ่ งจากการนำาเข้าซอฟต์แวร์จากต่างประเทศ รวมทัง้ เพือ่ ลดปญหาในประเด็นของความมัน่ คงทีจ่ ะไม่ ต้องพึ่งพาเทคโนโลยีของต่างประเทศ ซึ่งประเทศที่สำาคัญ คือ สหรัฐอเมริกา

4) ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ เซิร์ฟเวอร์ (Windows Server) เป็นระบบ

ระบบปฏิบตั กิ ารวินโดวส์ เซิรฟ์ เวอร์ ถูกออกแบบมาเพือ่ ใช้ควบคุมคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย

ปฏิบัติการที่ออกแบบมาเพื่อใช้งานกับระบบ เครือข่ายโดยเฉพาะ โดยรุ่นแรกออกมาในชื่อ Windows NT และพัฒนามาเป็น Windows 2000 และรุ่นล่าสุด คือ Windows Server 2003 ผลิตมาเพื่อรองรับการใช้งานในระดับ องค์กรขนาดเล็กและขนาดกลาง พัฒนาโดย บริษัทไมโครซอฟต์ ส่วนใหญ่เหมาะกับการ ติดตั้งและใช้งานกับเครื่องประเภทแม่ข่าย

5) ระบบปฏิบตั กิ ารปาล์ม (Palm

Expand

ใหนักเรียนแตละกลุมสืบคนขอมูลเพิ่มเติม เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการที่กลุมตนเองศึกษา ไปขางตน แลวสรุปสาระสําคัญเปนใบงานเพื่อนําไป จัดปายนิเทศเผยแพรความรูในหองเรียน

เครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพา ทำางานโดยใช้ระบบ ปฏิบัติการปาล์ม

OS) เป็นระบบปฏิบัติการที่ถือว่าเกิดขึ้นมา พร้อมๆ กับการน�าเอาคอมพิวเตอร์แบบพกพา มาใช้ในยุคแรกๆ ที่เรียกว่าเครื่องปาล์ม พัฒนา ขึ้นโดยบริษัทปาล์ม ซึ่งได้รับความนิยมอย่าง แพร่หลายในเวลาต่อมา ปัจจุบันอาจจะพบเห็น การน�าเอาระบบนี้ไปใช้กับคอมพิวเตอร์แบบ พกพาของบริษทั ผูผ้ ลิตอุปกรณ์เทคโนโลยีชนั้ น�า นอกเหนือไปจากเครื่องของบริษัทปาล์มด้วย เช่น Visor (ของบริษทั แฮนด์สปริงซึง่ ปัจจุบนั รวม กิจการเข้ากับบริษัทปาล์มไปแล้ว) และ CLIE (ของบริษัทโซนีซึ่งยุติการผลิตไปแล้ว) ซึ่งใช้ ระบบปฏิบัติการแบบนี้ด้วยเช่นกัน

6

เกร็ดแนะครู เมื่อกลาวถึงระบบปฏิบัติการซิมเบียน ครูควรใหความรูเพิ่มเติมแกนักเรียน เกี่ยวกับระบบปฏิบัติการบนโทรศัพทมือถือที่นิยมใชกันอยูในปจจุบัน ดังนี้ • Bada OS พัฒนาขึ้นโดยบริษัท Samsung เพื่อใชงานกับโทรศัพทเคลื่อนที่ ของ Samsung ในตระกูล Wave • Android พัฒนาขึ้นโดยบริษัท Google ซึ่งเปนระบบปฏิบัติการแบบ Open-Source ดังนั้นผูผลิตโทรศัพทเคลื่อนที่และ Tablet จึงนิยมนํา Android ไปใช เชน HTC Samsung ในตระกูล Galaxy • Symbian OS พัฒนาขึ้นโดยบริษัท Symbian สําหรับใชในโทรศัพทเคลื่อนที่ ของ Nokia • iOS พัฒนาขึ้นโดยบริษัท Apple ซึ่งใชในผลิตภัณฑที่บริษัท Apple เปนผูผลิต เชน iPod iPad iPhone • BlackBerry พัฒนาขึ้นโดยบริษัท RIM (Research In Motion) ซึ่งเปนผูผลิต อุปกรณสื่อสารภายใตยี่หอ BlackBerry

6

คู่มือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ขอใดเปนความหมายของระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร 1. อุปกรณคอมพิวเตอร 2. โปรแกรมกําจัดไวรัส 3. โปรแกรมพิมพเอกสาร 4. โปรแกรมควบคุมเครื่องคอมพิวเตอร วิเคราะหคําตอบ ระบบปฏิบตั กิ ารคอมพิวเตอร (Operating System : OS) หรือแพลตฟอรม (platform) เปนโปรแกรมที่ใช ควบคุมและประสานงานระหวางอุปกรณในคอมพิวเตอรทั้งหมด ซึ่งคอมพิวเตอรจะทํางานไดนั้นจะตองมีระบบปฏิบัติการติดตั้งอยู ดังนั้น ตอบขอ 4.


ส�ารวจค้นหา

กระตุ้นความสนใจ Engage

ส�ารวจค้ Exploreนหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

ส�ารวจค้นหา

ใหนักเรียนแตละคนศึกษาเรื่อง โปรแกรม แปลภาษาคอมพิวเตอร จากหนังสือเรียน หนา 7 จากนั้นครูควรเตรียมใบความรูเรื่อง โปรแกรม แปลภาษาคอมพิวเตอร ใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติม โดยอาจหาขอมูลไดจากเว็บไซตที่ระบุไวในมุม IT ดานลาง หรืออาจใชขอมูล ดังนี้ โปรแกรมแปลภาษาคอมพิวเตอร แบงออกเปน 2 ประเภท ดังนี้ 1. โปรแกรมแปลภาษาระดับตํ่า ไดแก โปรแกรมภาษาแอสแซมเบลอร (Assembler) ที่ใชแปลภาษาแอสเซมบลี 2. โปรแกรมแปลภาษาระดับสูง แบงออกเปน 2 ประเภท ดังนี้ • คอมไพเลอร (Compiler) จะตรวจสอบ คําสัง่ ทีร่ บั เขามาวาการเขียนคําสัง่ ถูกตอง ตามหลักไวยากรณของภาษาหรือไม ถายังไมถูกตองก็จะแจงขอผิดพลาดให ผูใชทราบ หากตรวจสอบแลวถูกตอง ก็จะแปลจาก Source Program ใหเปน Object Program เก็บไวในหนวย ความจํา ภาษาที่ใชตัวแปลประเภทนี้ เชน FORTRAN COBOL เปนตน • อินเตอรพลีตเตอร (Interpreter) จะทําการแปลชุดคําสั่งที่นําเขาสู เครื่องคอมพิวเตอรทีละคําสั่ง และ ประมวลผลทันที โดยไมตองทําใหเปน Object Program ถาพบขอผิดพลาด โปรแกรมจะหยุดทํางานทันที ภาษาที่ใช ตัวแปลประเภทนี้ เชน PASCAL BASIC เปนตน

6) ร ะบบปฏิ บั ติ ก ารซิ ม เบี ย น (Symbian OS) เป็นระบบปฏิบตั กิ ารทีพ่ ฒั นา

โดยบริษัทซิมเบียน ออกแบบมาเพื่อรองรับ เทคโนโลยีการสื่อสารแบบไร้สาย (wireless) โดยเฉพาะกับโทรศัพท์มือถือแบบสมาร์ตโฟน (smart phone) นอกจากนั้ น ยั ง สนั บ สนุ น การท�างานหลายๆ งานในเวลาเดียวกันอีกด้วย เช่ น การบั น ทึ ก การนั ด หมายเข้ า เว็ บ ไซต์ รับส่งอีเมล รวมถึงรับแฟกซ์ได้ในเวลาเดียวกัน ซึ่งท�าให้โทรศัพท์มือถือมีความสามารถนอก เหนือจากรับสายพูดคุยในแบบทัว่ ไปเพียงอย่าง เดียว

โทรศัพท์มอื ถือประเภทสมาร์ตโฟนใช้ระบบปฏิบตั กิ าร ซิมเบียน

3.2 โปรแกรมแปลภาษาคอมพิวเตอร์

ในการพัฒนาซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ นักเขียนโปรแกรมหรือโปรแกรมเมอร์จะเขียน โปรแกรมในภาษาคอมพิวเตอร์แบบต่างๆ ตามแต่ความช�านาญของแต่ละคน โปรแกรมที่ได้ เรียกว่า รหัสต้นฉบับ หรือซอร์สโคด (source code) ซึ่งมนุษย์จะอ่านโปรแกรมต้น1ฉบับนี้ได้แต่ คอมพิวเตอร์จะไม่เข้าใจค�าสั่งเหล่านั้น เนื่องจากคอมพิวเตอร์เข้าใจแต่ภาษาเครื่อง (machine language) ซึง่ ประกอบขึน้ จากรหัสฐานสองเท่านัน้ จึงต้องมีการใช้โปรแกรมแปลภาษาคอมพิวเตอร์ (translator) ให้เป็นรหัสทีอ่ ยูใ่ นรูปแบบทีเ่ ครือ่ งคอมพิวเตอร์สามารถท�างานได้ โดยโปรแกรมทีแ่ ปล จากโปรแกรมต้นฉบับแล้วเรียกว่า รหัสจุดหมาย (object code) โปรแกรมแปลภาษา

ภาษาซีชาร์ป

Explore

ภาษาเครื่อง

การแปลภาษาซีชาร์ป (C#) ไปเปนภาษาเครือ่ ง (machine language) ทีคคอมพิ ่ อมพิวเตอร์เข้าใจและสามารถทำางานได้

7

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

นักเรียนคิดวาระบบปฏิบัติการใดเปนที่นิยมมากที่สุดในปจจุบัน

แนวตอบ พิจารณาจากคําตอบของนักเรียน โดยอยูในดุลยพินิจ ของครูผูสอน เชน ระบบปฏิบัติการวินโดวสไดรับความนิยมสูง เพราะใชงานไดงาย และมีซอฟตแวรประยุกตที่สามารถใชงานได บนระบบปฏิบัติการหลายประเภท ซึ่งสามารถชวยอํานวยความ สะดวกในการทํางานของผูใชทุกๆ ดาน จึงทําใหมีการใชงานกัน แพรหลาย

นักเรียนควรรู 1 ภาษาเครื่อง เปนภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอรที่สั่งใหคอมพิวเตอรทํางานได โดยตรง ประกอบดวยเลข 0 และ1 หรือระบบเลขฐานสอง (binary system) มีขอดี คือ ใชความจํานอย และเมือ่ คําสัง่ นีเ้ ขาสูเ ครือ่ งคอมพิวเตอรจะสามารถสัง่ การทํางาน ไดทันที จึงมีความรวดเร็วสูง สวนขอเสีย คือ ยากตอการเรียนรูและการจดจํา ดังนั้น จึงทําใหยากตอการสรางหรือการพัฒนาซอฟตแวร

มุม IT ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับโปรแกรมแปลภาษาคอมพิวเตอร ไดจากเว็บไวต http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type2/tech04/22/ cit/3_3.html หรือ http://www.ssobooks.com/e_book/program/022.html

คู่มือครู

7


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engage

ส�ารวจค้นหา

Exploreนหา ส�ารวจค้

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

Explore

ใหนักเรียนศึกษาเรื่อง โปรแกรมอรรถประโยชน จัดการไฟล จากหนังสือเรียน หนา 8 จากนั้นครู สาธิตการจัดการไฟลดวยวิธีการตางๆ แลวให นักเรียนใชโปรแกรมจัดการไฟล ดังนี้ 1. คัดลอกแฟมขอมูลจาก Drive C ไปยัง Drive D (Copy) 2. ยายแฟมขอมูลจาก Drive C ไปยัง Drive D แลวลบแฟมขอมูลเดิมใน Drive C ทิ้งไป (Copy and Delete) 3. เปลี่ยนชื่อแฟมขอมูลเปนชื่อของนักเรียนเอง (Rename) 4. เปดดูไฟลรูปภาพดวยโปรแกรม Windows Picture and Fax Viewer (Open with Windows Picture and Fax Viewer) 5. ตั้งไฟลรูปภาพใหเปนภาพพื้นหลังของ หนาจอ (Set as Desktop Background) 6. สั่งพิมพไฟลรูปภาพ (Print) 7. ปรับขนาดรูปภาพ (Resize Picture) 8. เปดดูรายละเอียดของรูปภาพ (properties)

3.3 โปรแกรมอรรถประโยชน์

โปรแกรมอรรถประโยชน์หรือโปรแกรมยูทิลิตี (utility programs) เป็นโปรแกรมหรือ ซอฟต์แวร์ทชี่ ว่ ยสนับสนุน เพิม่ หรือขยายขีดความสามารถของโปรแกรมทีใ่ ช้งานให้มปี ระสิทธิภาพ มากขึน้ เป็นโปรแกรมทีใ่ ห้บริการต่างๆ เช่น การจัดเรียงข้อมูล การรวมแฟ้มข้อมูลทีเ่ รียงล�าดับแล้ว เข้าด้วยกัน หรือย้ายข้อมูลจากอุปกรณ์รบั ส่งหนึง่ ไปยังอีกอุปกรณ์หนึง่ รวมทัง้ โปรแกรมทีใ่ ช้จดั การ กับฮาร์ดแวร์โดยตรง โปรแกรมอรรถประโยชน์สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด ได้แก่ โปรแกรม อรรถประโยชน์ส�าหรับระบบปฏิบัติการ และโปรแกรมอรรถประโยชน์อื่นๆ ดังนี้

1) โปรแกรมอรรถประโยชน์ส�าหรับระบบปฏิบัติการ (OS utility programs)

เป็นโปรแกรมอรรถประโยชน์ที่มักมีการติดตั้งมาพร้อมกับระบบปฏิบัติการอยู่แล้ว ซึ่งช่วยอ�านวย ความสะดวกส�าหรับการท�างานร่วมกับคอมพิวเตอร์ ตัวอย่างเช่น 1.1) โปรแกรมอรรถประโยชน์จัดการไฟล์ (file manager) เป็นโปรแกรม อรรถประโยชน์ที่มีหน้าที่หลักในการจัดการเกี่ยวกับไฟล์ต่างๆ เช่น สามารถคัดลอกแฟ้มข้อมูล เปลี่ยนชื่อแฟ้มข้อมูล ลบแฟ้มข้อมูล หรือเรียกใช้งานโปรแกรมต่างๆ ได้อย่างสะดวก เป็นต้น ซึ่ง ระบบปฏิบัติการวินโดวส์รุ่นใหม่ๆ ยังได้เพิ่มคุณสมบัติที่สามารถแสดงไฟล์เป็นรูปภาพเหมือนจริง เพื่อน�ามาปรับใช้กับไฟล์ที่เป็นรูปภาพได้อีกด้วย

วิธกี ารจัดการไฟล์ อาจทำาได้โดยคลิกไฟล์ทต่ี อ้ งการ แล้วคลิกทีเ่ มนู File จะมีรายการไฟล์ตา่ งๆ ให้เลือกหรืออาจคลิกขวาที่ ไฟล์ทต่ี อ้ งการ ก็จะมีรายการจัดการไฟล์ขน้ึ มาเช่นกัน

8

เกร็ดแนะครู ครูควรแนะนํานักเรียนวา วิธีการจัดการไฟล นอกจากจะคลิกที่ไฟลที่ตองการ แลวคลิกที่เมนู File (ที่มุมบนดานซาย) หรือคลิกขวาที่ไฟลที่ตองการ ยังอาจคลิก ที่ไฟล แลวใชเมนูที่อยูในกรอบทางดานซายของกลองไดดวยเชนกัน (ดูภาพจาก หนังสือเรียน หนา 8) ในระหวางการสาธิตการจัดการไฟลดวยวิธีการตางๆ หรือในระหวางที่นักเรียน ลองปฏิบัติ ครูควรบอกใหนักเรียนจดบันทึกขั้นตอนการจัดการไฟลดวยวิธีตางๆ ลงในสมุดบันทึกของนักเรียน เพื่อชวยในการจดจํา และสามารถนํากลับมาอาน ทบทวน หรือนํากลับไปฝกทบทวนที่บานได

กิจกรรมสรางเสริม ใหนักเรียนสรุปขั้นตอนการจัดการไฟลดวยวิธีการตางๆ ในลักษณะของแผนผังขั้นตอน จัดทําโดยใชโปรแกรม Microsoft Word แลวนําสงครูผูสอนทางอีเมล

กิจกรรมทาทาย ใหนักเรียนฝกปฏิบัติการจัดการไฟลดวยวิธีตางๆ นอกเหนือ จากที่ไดปฏิบัติในหองเรียน แลวสรุปขั้นตอนการจัดการไฟล ดวยวิธีการตางๆ ในลักษณะของแผนผังขั้นตอน จัดทําโดยใช โปรแกรม Microsoft Word แลวนําสงครูผูสอนทางอีเมล

8

คู่มือครู


กระตุน้ ความสนใจ

ส�ารวจค้นหา ส�ารวจค้ Exploreนหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุEngage ้นความสนใจ

กระตุน้ ความสนใจ

กอนที่จะใหนักเรียนศึกษาเกี่ยวกับโปรแกรม ยกเลิกการติดตั้งโปรแกรม และโปรแกรม อรรถประโยชนสแกนดิสก ครูอาจตั้งคําถาม ใหนักเรียนมีปฏิสัมพันธกับครู • หากเราลงโปรแกรมในเครื่องคอมพิวเตอร มากเกินไป นักเรียนคิดวาจะมีผลอยางไร ตอคอมพิวเตอรบาง (แนวตอบ พิจารณาจากคําตอบของนักเรียน โดยอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน เชน ทําใหเครื่องคอมพิวเตอรทํางานหนัก หนวยความจําเหลือนอยลง เครื่องทํางานชา เปนตน) จากนั้นครูนําอภิปรายวา หากเราไมตองการ ใชโปรแกรมบางโปรแกรมอีก เราสามารถลบ โปรแกรมนั้นๆ ออกจากเครื่องคอมพิวเตอรได ทั้งนี้เพื่อทําใหมีหนวยความจํามากขึ้นเพียงพอที่จะ นําโปรแกรมอื่นๆ ที่มีความจําเปนมาลงไวได และ เพื่อใหการทํางานของคอมพิวเตอรรวดเร็วยิ่งขึ้น

1.2) โปรแกรมยกเลิกการติดตัง้ โปรแกรม (uninstaller) เป็นโปรแกรมอรรถประโยชน์ ที่ใช้ในการยกเลิกโปรแกรมที่ท�าการติดตั้งไว้ในระบบ เมื่อผู้ใช้ท�าการติดตั้งโปรแกรม ระบบปฏิบัติ การจะท�าการบันทึกโปรแกรมนัน้ ไว้ในระบบไฟล์ หากผูใ้ ช้ตอ้ งการลบโปรแกรมนัน้ ออกจากเครือ่ ง สามารถใช้โปรแกรมยกเลิกการติดตั้งโปรแกรมได้ 1.3) โปรแกรมอรรถประโยชน์สแกนดิสก์ (disk scanner) เป็นโปรแกรม อรรถประโยชน์ที่ใช้ในการตรวจหาความเสียหายที่เกิดขึ้นกับฮาร์ดดิสก์ ซึ่งผู้ใช้สามารถก�าหนดให้ โปรแกรมตรวจสอบดิสก์และซ่อมแซมส่วนที่เสียหายได้ 1 2 3

1

2

1 คลิกที่ Start > Control Panel > Add or Remove Program > Change or Remove Program จะได้หน้าต่าง ดังรูป 2 คลิกทีโ่ ปรแกรมทีต่ อ้ งการเปลีย่ นแปลงหรือลบออกจากเครือ่ ง คอมพิวเตอร์ 3 คลิกที่ Change เพือ่ เปลีย่ นแปลงโปรแกรม หรือ Remove เพื่อลบโปรแกรม

Engage

ส�ารวจค้นหา

Explore

ใหนักเรียนศึกษาเรื่อง โปรแกรมยกเลิกการ ติดตั้งโปรแกรม และโปรแกรมอรรถประโยชน สแกนดิสก จากหนังสือเรียน หนา 9 จากนั้นครู สาธิตการใชโปรแกรม แลวใหนักเรียนลองฝกใช โปรแกรมนั้นๆ

3

1 คลิกขวาที่ไอคอนไดรฟ์ C แล้วเลือก Properties > Tools จะปรากฏหน้าต่างดังรูป แล้วคลิกที่ Check Now 2 เมื่อปรากฏหน้าต่างดังรูป ให้คลิกที่ Scan for and attempt recovery of bad sectors เพื่อตรวจสอบ ข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นกับฮาร์ดดิสก์แล้วคลิก Start 3 เมื่อตรวจสอบเรียบร้อยแล้วคลิก OK โปรแกรมยกเลิกการติดตัง้ โปรแกรม (ซ้าย) และโปรแกรมอรรถประโยชน์สแกนดิ แกนดิสก์ (ขวา)

9

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

กรณีใดตอไปนี้ ที่ควรใชโปรแกรมอรรถประโยชนสแกนดิสก 1. เมื่อคอมพิวเตอรคางอยูบอยๆ 2. เมื่อตองการลงโปรแกรมใหม 3. เมื่อใชคอมพิวเตอรไปทุกๆ 1 เดือน 4. เมื่อตองการยกเลิกการติดตั้งโปรแกรม

วิเคราะหคําตอบ การใชโปรแกรมอรรถประโยชนเพื่อสแกนดิสก แตละครั้ง ไมไดมีการกําหนดระยะเวลาไววาจะตองสแกนทุกๆ กี่วันหรือกี่เดือน สวนใหญจะสแกนในกรณีที่ฮารดดิสกเริ่มมีความ ผิดปกติ เชน มีกลองขอความแจงเตือนวา “HDD Controller Failure” เครือ่ งคอมพิวเตอรคางบอย หรือฮารดดิสกมีอุณหภูมิ สูงขึ้นอยางรวดเร็ว เปนตน ดังนั้น ตอบขอ 1.

เกร็ดแนะครู ในระหวางที่ใหนักเรียนฝกการใชโปรแกรมยกเลิกการติดตั้งโปรแกรม ครูอาจใหนักเรียนคลิกเขาไปถึงเพียงแคหนาตางในหนาหนังสือเรียน โดยไมตองให คลิกเปลี่ยนแปลงหรือลบโปรแกรมออกไปจริงๆ และบอกขอควรระวังในการยกเลิก การติดตั้งโปรแกรมวา “ขณะที่โปรแกรมอยูในระหวางที่ยกเลิกการติดตั้ง หากมี หนาตางเตือนขึ้นมาวามีไฟลบางไฟลที่ตองใชงานรวมกับโปรแกรมอื่นๆ (share) จะยกเลิกโปรแกรมนั้นหรือไม ใหนักเรียนสังเตวา ถาไฟลนั้นอยูใน folder โปรแกรม ที่เราตองการยกเลิก ใหตอบไปวา “Yes” แตถาไมแนใจ ใหตอบวา “No” เนื่องจาก อาจทําใหโปรแกรมอื่นเสียหายได”

คู่มือครู

9


กระตุน้ ความสนใจ

ส�ารวจค้นหา Exploreนหา ส�ารวจค้

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุEngage ้นความสนใจ

กระตุน้ ความสนใจ

Engage

ครูตั้งคําถามกระตุนความสนใจนักเรียน • หากใชงานคอมพิวเตอรเปนระยะเวลานาน หลายป นักเรียนคิดวาขอมูลตางๆ นั้นจะ กระจัดกระจายหรือไม และเราจะมีวิธีการ จัดการเก็บรวบรวมขอมูลนั้นๆ ไดอยางไร (แนวตอบ พิจารณาจากคําตอบของนักเรียน โดยอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน เชน ขอมูล อาจกระจัดกระจาย ซึ่งนาจะมีโปรแกรม บางอยางที่มาชวยจัดการขอมูลตางๆ นั้นได เปนตน) จากนั้นครูตั้งคาเครื่องคอมพิวเตอรของครูใหมี การพักหนาจอ แลวสอบถามนักเรียนวา มีนักเรียน คนใดตั้งคาพักหนาจอเปนบาง ซึ่งหากมีนักเรียนที่ ทําเปน ใหออกมาสาธิตใหเพื่อนในหองดู

ส�ารวจค้นหา

1.4) โปรแกรมจัดเรียงพื้นที่จัดเก็บข้อมูลของฮาร์ดดิสก์ (disk defragmenter) เป็นโปรแกรมอรรถประโยชน์ที่มีประโยชน์ในการใช้งานอย่างมาก เพราะเมื่อมีการเรียกใช้งาน ดิสก์ของคอมพิวเตอร์บ่อยๆ จะท�าให้แฟ้มข้อมูลกระจัดกระจายไม่เป็นระเบียบ ไม่ได้อยู่เป็นกลุ่ม เดียวกัน และเมื่อต้องการเรียกใช้อีกในภายหลัง จะท�าให้ใช้เวลามากขึ้นในการดึงข้อมูลนั้นๆ โดยโปรแกรมประเภทนีจ้ ะท�าหน้าทีจ่ ดั เรียงไฟล์ตา่ งๆ ให้เป็นระเบียบมากขึน้ เพือ่ ช่วยให้การเข้าถึง ข้อมูลได้ง่ายและรวดเร็ว 1.5) โปรแกรมรักษาหน้าจอ (screen saver) เนื่องจากเมื่อเปิดจอภาพของ คอมพิวเตอร์ให้ท�างานและปล่อยทิ้งไว้ให้แสดงภาพเดิ มโดยไม่มีการเคลื่อนไหวใดๆ เป็นเวลานาน 1 จะเกิดรอยไหม้บนสารเรืองแสงที่ฉาบผิวจอ และไม่สามารถลบออกไปได้ ซึ่งเมื่อปล่อยทิ้งไว้เป็น เวลานาน อาจส่งผลให้อายุการใช้งานของหน้าจอคอมพิวเตอร์สนั้ ลงตามไปด้วย โปรแกรมประเภทนี้ จะช่วยป้องกันปัญหาดังกล่าวได้เป็นอย่างดี โดยผูใ้ ช้สามารถตัง้ ค่าระยะเวลาให้โปรแกรมตรวจสอบ และเริ่มท�างานได้หากไม่มีการเคลื่อนไหวใดๆ ของจอภาพ เช่น 5 นาที หรือ 10 นาที เป็นต้น ซึ่งเมื่อเราขยับเมาส์ หรือเริ่มท�างานใหม่ โปรแกรมนี้ก็จะหายไป 1

Explore

ใหนักเรียนศึกษาเรื่อง โปรแกรมจัดเรียงพื้นที่ จัดเก็บขอมูลของฮารดดิสก และโปรแกรมรักษา หนาจอ จากหนังสือเรียน หนา 10 จากนั้นครูสาธิต การใชโปรแกรม แลวใหนักเรียนลองฝกปฏิบัติ

2

3

1 คลิกที่ Start > All Programs > Accessories > System Tools > Disk Defragmenter จะ ปรากฏหน้าต่างดังรูป 2 คลิกไดรฟ์ที่ต้องการ แล้วคลิก Defragment 3 เมื่อโปรแกรมจัดเรียงพื้นที่ จัด เก็ บข้ อมู ล ของ ฮาร์ ด ดิ ส ก์ เ รี ย บร้ อ ยแล้ ว จะปรากฏหน้ า ต่ า ง ดังรูป แล้วคลิก Close 1 2

1 คลิกขวาที่หน้าจอ เลือก Properties จะปรากฏหน้าต่างดังรูป 2 เลือก Screen Saver 3 ตั้งเวลาเพื่อให้โปรแกรมพักหน้าจอท�างาน

3

โปรแกรมจัดเรียงพืน้ ทีจ่ ดั เก็บข้อมูลของฮาร์ดดิสก์ (ซ้าย) และโปรแกรมรักษาหน้าจอ (ขวา)

10

เกร็ดแนะครู การฝกใชโปรแกรมรักษาหนาจอ ครูควรบอกนักเรียนวาการตัง้ เวลาใหโปรแกรมนี้ ทํางานนัน้ ขึน้ อยูก บั ผูใ ชตอ งการ ซึง่ สวนใหญมกั ตัง้ คาอยูท ปี่ ระมาณ 5 หรือ 10 นาที แตในระหวางการฝกปฏิบัตินั้นครูอาจใหนักเรียนลองตั้งคาเพียง 1 นาที แลวให นักเรียนหยุดการทํางานใดๆ กับคอมพิวเตอร เพื่อใหโปรแกรมนี้ทํางานขึ้น ซึ่งเมื่อ โปรแกรมทํางานขึ้นแลวใหนักเรียนขยับเมาสเพื่อใหเครื่องคอมพิวเตอรกลับมาทํางาน ไดเชนเดิม จากนั้นจึงใหนักเรียนกลับไปตั้งเวลาในการพักหนาจอเปน 10 นาที

นักเรียนควรรู 1 สารเรืองแสงที่ฉาบผิวจอ จะพบในจอภาพแบบซีอารที (CRT : Cathode Ray Tube) ซึ่งสารเรืองแสงนั้นเปนสารประกอบของฟอสฟอรัส โดยเมื่อมีอิเล็กตรอน มากระทบจะเกิดการเรืองแสงขึ้นเปนภาพตางๆ

10

คู่มือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

โปรแกรมรักษาหนาจอมีประโยชนอยางไร แนวตอบ โปรแกรมรักษาหนาจอ (screen saver) จะชวยยืด อายุการใชงานของหนาจอคอมพิวเตอร โดยเมื่อมีการเปดใชงาน คอมพิวเตอรทิ้งไวโดยใหแสดงภาพเดิมเปนเวลานาน อาจเกิดรอย ไหมบนสารเรืองแสงที่ฉาบบนผิวจอภาพที่ไมสามารถลบออกได ซึ่งจะสงผลใหอายุการใชงานของจอภาพลดลง


กระตุน้ ความสนใจ

ส�ารวจค้นหา ส�ารวจค้ Exploreนหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุEngage ้นความสนใจ

กระตุน้ ความสนใจ

ครูนําสนทนาเกี่ยวกับไวรัส โดยอาจใชคําถาม กระตุนการคิดวิเคราะหของนักเรียน • นักเรียนรูจักไวรัสหรือไม แลวไวรัสสงผลตอ รางกายของเราอยางไร (แนวตอบ พิจารณาจากคําตอบของนักเรียน โดยอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน เชน ไวรัส เปนสิ่งมีชีวิตชนิดหนึ่งที่มีขนาดเล็กมาก ซึ่งเมื่อเขาสูรางกายมนุษยอาจกอใหเกิดโรค ตางๆ เชน ไขหวัด ไขหวัดนก ไขเลือดออก อีสุกอีใส ตาแดง เปนตน) • นักเรียนรูจักไวรัสคอมพิวเตอรหรือไม แลวไวรัสคอมพิวเตอรสงผลตอ เครื่องคอมพิวเตอรอยางไร (แนวตอบ พิจารณาจากคําตอบของนักเรียน โดยอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน เชน ไวรัส คอมพิวเตอรจะทําใหประสิทธิภาพการทํางาน ของเครื่องคอมพิวเตอรลดลง หรืออาจทําให คอมพิวเตอรเสีย เปนตน)

2) โปรแกรมอรรถประโยชน์อนื่ ๆ (stand alone utility programs) เป็นโปรแกรม

ที่ช่วยให้เครื่องคอมพิวเตอร์ท�างานได้อย่างมี1ประสิทธิภาพ ตัวอย่างเช่น 2.1) โปรแกรมป้องกันไวรัส (anti-virus program) การใช้งานคอมพิวเตอร์ ร่วมกับบุคคลอืน่ หลายๆ คน โดยเฉพาะเมือ่ ใช้กบั ระบบเครือข่าย อาจท�าให้คอมพิวเตอร์ได้รบั ไวรัส คอมพิวเตอร์ ซึ่งเป็นชุดค�าสั่งที่ผู้ไม่ประสงค์ดีเขียนขึ้นมา เพื่อท�าให้ประสิทธิภาพการท�างานของ คอมพิวเตอร์ลดลงหรือไม่สามารถท�างานต่างๆ ได้ จึงมีผพู้ ฒ ั นาโปรแกรมเพือ่ ตรวจหาและก�าจัดไวรัส อย่างไรก็ดี ไวรัสคอมพิวเตอร์นั้นเกิดขึ้นใหม่อยู่ตลอดเวลา ผู้ใช้จึงต้องเพิ่มข้อมูลไวรัสใหม่ๆ เพื่อ ให้โปรแกรมสามารถท�างานได้อย่างสมบูรณ์

ส�ารวจค้นหา

โปรแกรมป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์ชว่ ยค้นหาและกำาจัดไวรัสในเครือ่ งคอมพิวเตอร์

2.2) โ ปรแกรมไฟร์ ว อลล์ (firewall) เป็นโปรแกรมที่จะช่วยป้องกันไม่ให้ บุคคลภายนอกบุกรุกเข้ามาในระบบได้ ด้วย การเฝ้าดูข้อมูลที่ไม่ได้รับอนุญาต ทั้งข้อมูลที่ จะเข้ามาและข้อมูลที่อาจจะออกไปจากระบบ ซึ่งข้อมูลที่ไม่ได้รับอนุญาตนี้เองที่อาจจะเป็น ข้อมูลที่ผู้ไม่หวังดีเจาะเข้าระบบได้ ซึ่งผู้ใช้ สามารถน�ามาใช้ได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย นิยม ใช้กับระบบปฏิบัติการวินโดวส์ เช่น Windows Firewall, ZoneAlarm เป็นต้น

Engage

Explore

ใหนักเรียนศึกษาเรื่อง โปรแกรมปองกันไวรัส และโปรแกรมไฟรวอลล จากหนังสือเรียน หนา 11 จากนั้นครูสาธิตการใชโปรแกรม แลวใหนักเรียน ลองฝกใชโปรแกรมปองกันไวรัส

โปรแกรมไฟร์ ว อลล์ ช่ ว ยป้ อ งกั น อั น ตรายกั บ เครื่ อ ง คอมพิวเตอร์ได้

11

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

หากนักเรียนไมตองการใหบุคคลภายนอกเขามาในระบบ คอมพิวเตอรเพื่อดูขอมูลโดยไมไดรับอนุญาต นักเรียนควรเลือกใช โปรแกรมใด 1. fif irewall 2. disk scanner 3. anti-virus program 4. application software

วิเคราะหคําตอบ หากบุคคลภายนอกบุกรุกเขามาในระบบ คอมพิวเตอรได อาจนําขอมูลที่เปนความลับออกไปเผยแพรสู ภายนอก กอใหเกิดความเสียหาย หรืออาจนําไวรัสคอมพิวเตอร เขามาในเครื่อง ทําใหเครื่องผิดปกติ ดังนั้นจึงตองมีโปรแกรมที่จะ ชวยปองกันไมใหบุคคลภายนอกบุกรุกเขามาในระบบคอมพิวเตอร โดยไมไดรับอนุญาต ซึ่งโปรแกรมนั้นคือ โปรแกรมไฟรวอลล (fififirewall) ดังนั้น ตอบขอ 1.

นักเรียนควรรู 1 โปรแกรมปองกันไวรัส ที่เปนที่นิยมมากในปจจุบัน เชน

AVG Antivirus

Avira AntiVir Personal

Nod32 antivirus

Panda Cloud Antivirus

คู่มือครู

11


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engage

ส�ารวจค้นหา

Exploreนหา ส�ารวจค้

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

Explore 2.3) โปรแกรมบีบอัดไฟล์ (file compression utility) เป็นโปรแกรมทีท่ า� หน้าที่ บีบอัดไฟล์ให้มีขนาดเล็กลง โดยไฟล์ที่ได้จากการบีบอัดไฟล์นี้ บางครั้งนิยมเรียกว่า ซิปไฟล์ (zip file) โปรแกรมอรรถประโยชน์ที่นิยมใช้และรู้จักกันเป็นอย่างดี เช่น Winzip, Winrar เป็นต้น

ใหนักเรียนศึกษาเรื่อง โปรแกรมบีบอัดไฟล จากหนังสือเรียน หนา 12 จากนั้นครูอาจสาธิต การบีบอัดไฟลงานใหนักเรียนพิจารณา แลวให นักเรียนฝกการบีบอัดไฟล ตามขั้นตอน ดังนี้ คลิกขวาที่ไฟลงาน  เลื่อนเมาสไปที่ WinRaR แลวเลือก Add to archrive จะขึ้นหนาตาง “ชื่อเอกสารและคาพารามิเตอร” แลวกด OK เมื่อบีบอัดไฟลแลวใหนักเรียนเปรียบเทียบขนาด ของไฟลเดิมกับไฟลใหมที่ถูกบีบอัด วามีขนาด แตกตางกันอยางไร จากนั้นใหนักเรียนเปดไฟลงาน ที่ถูกบีบอัดแลว โดยการดับเบิลคลิกที่ไอคอนซิปไฟล จะขึ้นหนาตาง WinRaR แลวจึงดับเบิลคลิกที่ไฟล งานนั้นๆ

ตัวอย่างโปรแกรม Winrar ช่วยบีบอัดไฟล์ให้มขี นาดเล็กลง

เกร็ด... ... IT IT โปรแกรมสแกนไวรัส โปรแกรมสแกนไวรัสที่สามารถดาวน์โหลดได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายมีหลายโปรแกรม ที่ได้รับความนิยมมาก เช่น BiDefender Antivirus 2010 สามารถกำาจัดสปายแวร์และมัลแวร์อื่นๆ พร้อมกับการอัพเดททุกชั่วโมง ESET Nod32 สามารถตรวจจับไวรัสที่ยังไม่มีใครรู้จักมาก่อน โดยที่ไม่ต้องอัพเดทฐานข้อมูลไวรัส แต่อย่างใด McAffe VirusScan สามารถตรวจจับสปายแวร์และแอดแวร์โดยอัตโนมัติ อัพเดทระบบแบบรายวัน จัดการกับไวรัส เวิร์ม โทรจัน ActiveX และ Java applet ได้ในทันทีที่เข้าสู่ระบบ Norton AntiVirus ป้องกันไวรัส เวริ์ม สปายแวร์ บอทซ์ และอีกมากมาย ช่วยประหยัดเวลาด้วยการ สแกนที่ใช้เวลาสั้น ● ●

12

เกร็ดแนะครู ครูอาจมอบหมายงานใหนักเรียนสรุปวิธีการใชโปรแกรมอรรถประโยชนทั้งหมด ที่ไดเรียนมา จัดทําโดยใชโปรแกรม Microsoft Word แลวบีบอัดไฟล เพื่อสง ครูผูสอนทางอีเมล

มุม IT สามารถดาวนโหลดโปรแกรมสแกนไวรัสฟรี ไดจากเว็บไซต http://www. downloaddd.com/tags/โปรแกรมสแกนไวรัส/ หรือ http://www.techxcite. com/topic/4217.html

12

คู่มือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ขอใดไมใช หนาที่ของโปรแกรมอรรถประโยชน 1. สรางเสถียรภาพใหแกคอมพิวเตอร 2. สงเสริมการทํางานของซอฟตแวรประยุกต 3. ดูแลความปลอดภัยในการทํางานของคอมพิวเตอร 4. เปนสื่อกลางระหวางฮารดแวรกับซอฟตแวรประยุกต วิเคราะหคําตอบ โปรแกรมอรรถประโยชนเปนโปรแกรมที่ชวย สนับสนุน และขยายความสามารถของโปรแกรมตางๆ ในเครื่อง คอมพิวเตอรใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น ชวยสรางเสถียรภาพของ คอมพิวเตอร สงเสริมการทํางานของซอฟตแวรประยุกต ดูแลและ ปองกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับคอมพิวเตอร สวนสื่อกลางระหวาง ฮารดแวรกับซอฟตแวรประยุกตนั้นเปนหนาที่ของระบบปฏิบัติการ ดังนั้น ตอบขอ 4.


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา ส�ารวจค้ Exploreนหา

อธิบายความรู้

Explore

Explain

Engage

ขยายความเข้าใจ Expand าใจ ขยายความเข้

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

ส�ารวจค้นหา

Explore

ใหนักเรียนศึกษาเรื่อง ไวรัสคอมพิวเตอร จากหนังสือเรียน หนา 13 แลวสรุปสาระสําคัญวา ไวรัสคอมพิวเตอรสงผลตอการทํางานของ คอมพิวเตอรอยางไรบาง โดยบันทึกลงในสมุด ของนักเรียน

มุมเทคโนโลยี ไวรัสคอมพิวเตอร์ ไวรัสคอมพิวเตอร์ (computer virus) หรือเรียกสัน้ ๆ ว่า ไวรัส คือ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ทบี่ กุ รุกเข้าไปในเครือ่ ง คอมพิวเตอร์โดยไม่ได้รับความยินยอมจากผู้ใช้ ส่วนมากมักจะพัฒนาขึ้นเพื่อสร้างความเสียหายให้กับระบบของเครื่อง คอมพิวเตอร์นั้นๆ ซึ่งไวรัสแบ่งออกเปน 6 ประเภท ดังนี้ 1. ไวรัสพาราสิต (parasitic virus) ไวรัสประเภทนี้จะเริ่มทำางานและจำาลองตัวเองเมื่อมีการเรียกใช้งานไฟล์ ที่ติดไวรัส ไวรัสคอมพิวเตอร์โดยส่ 1 วนมากจะเปนประเภทนี้ 2. ไวรัสบูตเซกเตอร์ (boot sector virus) ไวรัสประเภทนี้จะฝงตัวลงไปในบูตเซกเตอร์ แทนที่คำาสั่งที่ใช้ ในการเริ่มต้นการทำางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ เมื่อเปดเครื่องคอมพิวเตอร์ขึ้นใช้งาน ไวรัสประเภทนี้จะโหลดตัวเอง เข้าไปที่หน่วยความจำาก่อนที่จะโหลดระบบปฏิบัติการ หลังจากนั้นจะสำาเนาตัวเองไปฝงอยู่กับไฟล์อื่นๆ ด้วย 3. ไวรัสสเตลท์ (stealth virus) ไวรัสประเภทนี้เปนไวรัสที่มีความสามารถในการเปลี่ยนแปลงของตัวเอง ให้อยู่ในรูปแบบที่โปรแกรมป้องกันไวรัสต่างๆ ตรวจไม่พบ และเมื่อไปติดกับโปรแกรมใดแล้วจะทำาให้โปรแกรมนั้น มีขนาดใหญ่ขึ้นเรื่อยๆ 4. ไวรัสโพลีมอร์ฟก (polymorphic virus) ไวรัสประเภทนี้จะมีการเปลี่ยนแปลงตัวเองทุกครั้งที่ติดต่อไปยัง เครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะส่งผลทำาให้ไวรัสประเภทนี้ตรวจพบได้ยาก 2 5. ไวรัสแมโคร (macro virus) ไวรัสประเภทนี้จะมีผลกับ Macro Application (มักจะพบในโปรแกรม ประเภท Word Processors) เมื่อผู้ใช้เรียกใช้ไฟล์ที่มีไวรัสติดมาด้วย จะทำาให้ไวรัสไปฝงตัวอยู่ที่หน่วยความจำาจนเต็ม อันจะทำาให้การทำางานของคอมพิวเตอร์ช้าลง และอาจส่งผลเสียกับข้​้อ. มูลที่เก็บอยู่ในคอมพิวเตอร์ได้ (worms) เปนไวรัสคอมพิวเตอร์ชนิดหนึ่งที่จะติดต่อกันได้ทางอินเทอร์เน็ตสามารถ 6. หนอนอินเทอร์เน็ต (worms) แพร่กระจายได้อย่างรวดเร็ว โดยไวรัสชนิดนี้จะคัดลอกตัวเองซ้ำาแล้วใช้ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเปนสื่อในการ แพร่กระจายซึ่งโดยทั่วไปจะมากับอีเมล ตัวอย่างของหนอนอินเทอร์เน็ต คือ Adore โดยจะทำาการค้นหาเครื่อง คอมพิวเตอร์ทมี่ รี ะบบปฏิบตั กิ าร Linux หลังจากนัน้ จะสร้างช่องทางในคอมพิวเตอร์เพือ่ ให้แฮกเกอร์ (hacker) สามารถ เข้าไปยังคอมพิวเตอร์เครื่องนั้นได้

ขยายความเข้าใจ

Expand

ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5 คน ทําใบงาน แสดงขั้นตอนการใชโปรแกรมอรรถประโยชน โดยเลือกหัวขอใดหัวขอหนึ่ง ดังนี้ • การคัดลอกแฟมขอมูลจากไดรฟหนึ่งไปยัง อีกไดรฟหนึ่ง แลวเปลี่ยนชื่อแฟมขอมูลนั้น • เปดดูไฟลรูปภาพดวยโปรแกรม Windows Picture and Fax Viewer แลวตั้งไฟล รูปภาพใหเปนภาพพื้นหลังของหนาจอ • การใชโปรแกรมอรรถประโยชนสแกนดิสก • การตั้งคาโปรแกรมพักหนาจอ • การบีบอัดไฟลเพื่อสงไฟลทางอีเมล โดยในใบงานอาจมีรูปภาพแสดงขั้นตอนตางๆ ซึ่งสามารถดูแนวทางไดจากในหนังสือเรียน จากนั้นนําใบงานไปจัดปายนิเทศเผยแพรความรู ในหองเรียน

13

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ขอใดเปนการใชงานคอมพิวเตอรที่มีโอกาสไดรับไวรัส คอมพิวเตอรมากที่สุด 1. ใชคอมพิวเตอรพัฒนาสื่อประสม 2. ใชคอมพิวเตอรพิมพเอกสารเปนเวลานาน 3. เลนเกมที่ติดตั้งไวภายในเครื่องคอมพิวเตอร 4. ดาวนโหลดไฟลจากอินเทอรเน็ตลงในคอมพิวเตอร

วิเคราะหคําตอบ ไวรัสคอมพิวเตอรมักแฝงมากับเครือขาย อินเทอรเน็ต การใชงานอินเทอรเน็ตหรือดาวนโหลดไฟลจาก อินเทอรเน็ต จึงมีความเสี่ยงตอการไดรับไวรัสคอมพิวเตอร มากที่สุด ดังนั้น ตอบขอ 4.

นักเรียนควรรู 1 บูตเซกเตอร (Boot Sector) คือ สวนของแผนจานบันทึกในรูปแบบของ ฮารดดิสก หรืออุปกรณเก็บขอมูลอื่นๆ ที่เก็บคําสั่งสําหรับใชในการเริ่มตนระบบ เชน คําสั่งของระบบปฏิบัติการ ซึ่งเมื่อเปดเครื่องจะดึงระบบปฏิบัติการที่เก็บใน บูตเซกเตอรมาไวที่หนวยความจําหลักของเครื่อง เพื่อใหผูใชควบคุมการทํางาน ของเครื่อง เพราะฉะนั้นถาบูตเซกเตอรเสีย คอมพิวเตอรจะไมสามารถทํางานได 2 Macro Application คือ ชุดคําสั่งที่ชวยในการทํางานตางๆ ใหเปนไป แบบอัตโนมัติ อาจมีหนึ่งคําสั่งหรือมีมากกวานั้น โดยที่แตละคําสั่งจะแสดงการ ปฏิบัติงานที่เฉพาะเจาะจง เชน การเปดฟอรม การพิมพรายงาน เปนตน

คู่มือครู

13


กระตุน้ ความสนใจ

ส�ารวจค้นหา Exploreนหา ส�ารวจค้

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุEngage ้นความสนใจ

กระตุน้ ความสนใจ

Engage

ครูนําสนทนาวา จากที่นักเรียนศึกษาเรื่อง ซอฟตแวรระบบ แลวครูสั่งงานตางๆ ไปนั้น นักเรียนไดใชโปรแกรมใดบางในการสรางชิ้นงาน จากนั้นตั้งคําถามกระตุนความสนใจของนักเรียน • นักเรียนเคยใชโปรแกรมใดบางในการ สรางงานตางๆ (แนวตอบ พิจารณาจากคําตอบของนักเรียน โดยอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน เชน ใช Microsoft Word ในการพิมพเอกสารรายงาน ใช Microsoft Excel สรางเอกสารตาราง ใช Microsoft PowerPoint สรางเอกสาร นําเสนองาน เปนตน)

ส�ารวจค้นหา

4 . ซอฟต์แวร์ประยุกต์ช่วยในการทำางาน ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (application software) คือ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นเพื่อ การท�างานเฉพาะอย่างที่เราต้องการ การท�างานร่วมกับเครื่องคอมพิวเตอร์ในงานเฉพาะด้าน ซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับการควบคุมระบบ ผู้ใช้จ�าเป็นต้องเลือกหาซอฟต์แวร์ให้ตรงตามความต้องการ นัน้ ๆ โดยเฉพาะ เช่น การจัดพิมพ์รายงาน น�าเสนองาน จัดท�าบัญชี ตกแต่งภาพ ออกแบบเว็บไซต์ เป็นต้น นอกจากนั้นอาจต้องค�านึงถึงงบประมาณในการจัดหาซอฟต์แวร์มาใช้ด้วยว่ามีเพียงพอ หรือไม่เพียงใด ซึง่ ซอฟต์แวร์ประยุกต์สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ทั่วไป และซอฟต์แวร์ประยุกต์เฉพาะงาน

4.1 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ทั่วไป

ซอฟต์แวร์ประยุกต์ทั่วไป (general purpose software) เป็นซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้น เพื่อน�าไปประยุกต์ใช้กับงานทั่วไป ไม่เฉพาะเจาะจง ผู้ใช้จึงต้องเลือกซอฟต์แวร์ให้เหมาะสมกับ ลักษณะงาน เช่น การจัดพิมพ์รายงาน การสร้างตารางท�างาน การน�าเสนอผลงาน เป็นต้น 1) ซอฟต์แวร์ประมวลผลค�ำ (word processing software) เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้ ในการจัดท�าเอกสารทุกชนิด เช่น รายงาน จดหมายเวียน หนังสือ ใบปลิว สื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ เป็นต้น สามารถแก้ไข เพิม่ แทรก ลบ และจัดรูปแบบเอกสารได้อย่างดี เอกสารทีพ่ มิ พ์ไว้จดั เก็บ เป็นแฟ้มข้อมูล และสามารถน�ามาแก้ไขใหม่ได้ ซอฟต์แวร์ประมวลผลค�าที่นิยมใช้ในปัจจุบัน เช่น Microsoft Word, PageMaker, Corel Draw เป็นต้น

Explore

ใหนักเรียนศึกษาเรื่อง ซอฟตแวรประยุกต จากหนังสือเรียน หนา 14 จากนั้นครูและนักเรียน อภิปรายวาโปรแกรมประมวลผลคําโปรแกรมใด ที่เปนที่นิยมอยางแพรหลาย แลวครูมอบหมายให นักเรียนไปศึกษาวิธีการใชโปรแกรม Microsoft Word จากอินเทอรเน็ต หรือจากแหลงเรียนรูตางๆ แลวสรุปเปนใบงานโดยใชโปรแกรม Microsoft Word พิมพออกมาเปนเอกสารสงครูผูสอน

เ ตัวอย่างซอฟต์แวร์ประมวลผลคำา Microsoft Word (ขวา) และ Corel Draw (ซ้าย)

14

เกร็ดแนะครู เนื่องจากนักเรียนแตละคนอาจมีพื้นฐานการใชโปรแกรม Microsoft Word แตกตางกัน ดังนั้นครูจึงอาจสาธิตวิธีการใชโปรแกรมขั้นพื้นฐานที่นักเรียนจะนําไป ใชในการสรางงานได เชน การเลือกรูปแบบและขนาดตัวอักษร การใสสีตัวอักษร การแทรกรูปภาพ การแทรกตาราง การจัดหนาเอกสาร การพิมพเอกสาร เปนตน

มุม IT ศึกษาคนควาเพิ่มเติมเกี่ยวกับ Microsoft Offfi ice 2013 ไดจากเว็บไซต http://www.it24hrs.com/2012/microsoft-announces-Offfi ice-new-versionOfffi ice-2013-15-trial-download/

14

คู่มือครู

กิจกรรมสรางเสริม ใหนักเรียนทําใบงานเกี่ยวกับประวัติสวนตัวของนักเรียนเอง เชน ชื่อ ที่อยู รูปถาย วันเกิด อุปนิสัย งานอดิเรก เปนตน โดยทําในโปรแกรม Microsoft Word ซึ่งอาจมีรูปภาพอื่นๆ ประกอบเพื่อความสวยงาม แลวพิมพเปนเอกสารสงครูผูสอน

กิจกรรมทาทาย ใหนักเรียนออกแบบการดอวยพรในโอกาสตางๆ เชน การดอวยพรวันเกิด การดอวยพรปใหม เปนตน โดยใชโปรแกรม Microsoft Word ซึ่งควรมีการใชแบบอักษรที่หลากหลาย มีการ ใชภาพประกอบ หรือตกแตงลวดลายตางๆ แลวพิมพเปนเอกสาร สงครูผูสอน


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้ อธิบExplain ายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

ส�ารวจค้ Exploreนหา

Engage

ส�ารวจค้นหา

Explore

ใหนักเรียนศึกษาเรื่อง ซอฟตแวรตารางทํางาน และซอฟตแวรจัดการฐานขอมูล จากหนังสือเรียน หนา 15 แลวสรุปวาซอฟตแวรดังกลาวเหมาะกับ งานประเภทใด จากนั้นใหนักเรียนเปดโปรแกรม Microsoft Excel แลวพิมพขอความตามรูปใน หนังสือเรียน โดยเปลี่ยนชื่อเปนชื่อของเพื่อนๆ ในหอง และเวนชองที่เปนการรวมคะแนนไว จากนั้นครูสอนวิธีการกําหนดสูตรการคํานวณ โดยอาจใชการพิมพคําสั่งลงไปในชองที่ตองการ หรืออาจลากแถบคลุมจํานวนที่ตองการใหรวม คากัน แลวเลือกแถบเครื่องมือ สูตรผลรวม อัตโนมัติผลรวม แลวกด enter

2) ซอฟต์แวร์ตารางท�างาน (spreadsheet software) เป็นซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการ

ค�านวณ วิเคราะห์ตัวเลข เพื่อใช้งานในด้านการเงิน บัญชี สถิติ คณิตศาสตร์ หรือวิทยาศาสตร์ การท�างานของซอฟต์แวร์ตารางท�างานประกอบด้วยตารางขนาดใหญ่ส�าหรับใส่ตัวเลข ข้อความ สูตรการค�านวณ ซึ่งมีเครื่องค�านวณเตรียมไว้ส�าเร็จ สามารถสั่งให้ค�านวณตามสูตรหรือเงื่อนไขที่ ก�าหนด ผูใ้ ช้สามารถประยุกต์ใช้งานประมวลผลตัวเลขอืน่ ๆ ได้กว้างขวาง ซอฟต์แวร์ตารางท�างาน ที่นิยมใช้ เช่น Microsoft Excel, OpenOffice Calc ในโปรแกรมชุด Pladao Office เป็นต้น

อธิบายความรู้

Explain

ครูสุมเลือกนักเรียน 2-3 คน ออกมาสรุปวิธี การใชโปรแกรม Microsoft Excel โดยใหนักเรียน คนอื่นตั้งใจฟง และเสนอแนะในประเด็นที่อาจ ขาดหายไป เพื่อใหไดขอสรุปที่ถูกตองตรงกัน เ โปรแกรม Microsoft Excel นิยมใช้สาำ หรับการคำานวณทางคณิตศาสตร์

3) ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล (database management software) การใช้

งานคอมพิวเตอร์อย่างหนึ่ง คือ การใช้เก็บ ข้อมูลและจัดการกับข้อมูลทีจ่ ดั เก็บอยูใ่ นเครือ่ ง คอมพิวเตอร์ ซึ่งข้อมูลต่างๆ เหล่านั้น เรียกว่า ฐานข้อมูล ดังนั้นจึงจ�าเป็นต้องมีซอฟต์แวร์ จัดการฐานข้อมูล เพื่อช่วยในการจัดเก็บเรียก ค้ น ท� า งาน และสรุ ป ผลข้ อ มู ล ในเครื่ อ ง คอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์จดั การฐานข้อมูลทีน่ ยิ มใช้ เช่น Dbase, Paradox, Foxbase, Microsoft Access เป็นต้น

โปรแกรม Microsoft Access ช่วยจัดการฐานข้อมูล

15

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

เกร็ดแนะครู

หากครูตองการบันทึกและวิเคราะหคะแนนของนักเรียน แลว สรุปเปนแผนภูมจิ ากขอมูลทีไ่ ด ครูควรเลือกใชซอฟตแวรใด 1. ซอฟตแวรนําเสนอ 2. ซอฟตแวรฐานขอมูล 3. ซอฟตแวรประมวลคํา 4. ซอฟตแวรตารางทํางาน

ครูควรสอนเพิ่มเติมเกี่ยวกับการสรางกราฟ หรือแผนภูมิ โดยใชโปรแกรม Microsoft Excel หรืออาจใหนักเรียนไปศึกษาเพิ่มเติมจากอินเทอรเน็ต หรือ แหลงเรียนรูตางๆ โดยครูอาจแนะนําเว็บไซตใหแกนักเรียนตามมุม IT ดานลาง

วิเคราะหคําตอบ ซอฟตแวรตารางทํางาน เปนซอฟตแวรที่ชวย ในการคํานวณ วิเคราะหตัวเลข และสามารถแสดงผลออกมาเปน กราฟหรือแผนภูมิได ดังนั้น ตอบขอ 4.

ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการใชงานโปรแกรม Microsoft Excel ไดจากเว็บไซต http://www.technonp.ac.th/excel/Excel.html หรือ http://www.satit.su.ac. th/soottin/excel2007/lesson1.htm หรือ http://www.chandra.ac.th/offfi ice/ict/ document/it/it03/menu_excle.htm

มุม IT

คู่มือครู

15


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้ อธิบExplain ายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

Exploreนหา ส�ารวจค้

Engage

ส�ารวจค้นหา

Explore

ใหนักเรียนศึกษาเรื่อง ซอฟตแวรนําเสนอ จาก หนังสือเรียน หนา 16 แลวสรุปวาซอฟตแวรดังกลาว เหมาะกับงานดานใด จากนั้นใหนักเรียนเปด โปรแกรม Microsoft PowerPoint แลวปฏิบัติงาน ตามที่ครูสาธิต ดังนี้ • การสรางภาพนิ่ง • การพิมพขอความลงในภาพนิ่ง • การใสพื้นหลังของภาพนิ่ง • การแทรกรูปภาพ แผนภูมิ แผนภาพตางๆ • การทําภาพเคลื่อนไหว • การตั้งคาการเปลี่ยนภาพนิ่ง • การนําเสนอภาพนิ่ง โดยระหวางการฝกปฏิบัติใหนักเรียนจดบันทึก ขั้นตอนตางๆ ลงในสมุดบันทึกของนักเรียน เพื่อ สามารถนํามาอานทบทวนได

อธิบายความรู้

4) ซอฟต์แวร์น�ำเสนอ (presentation software) เป็นโปรแกรมที่ใช้น�ำเสนอ ข้อมูลด้วยระบบคอมพิวเตอร์ สร้ำงเอกสำรที่ประกอบไปด้วยตัวอักษร รูปภำพ ภำพเคลื่อนไหว โดยแสดงออกมำทีละรำยกำร รวมทั้งยังสำมำรถใส่เสียงประกอบกำรน�ำเสนอได้ สำมำรถก�ำหนด ระยะเวลำกำรแสดงและก�ำหนดจุดเชือ่ มโยงไปยังหน้ำทีต่ อ้ งกำรได้ เพือ่ ใช้ป1ระกอบกำรบรรยำยและ กำรเสนอผลงำนน ซอฟต์แวร์นำ� เสนอทีน่ ยิ มใช้ เช่น Microsolf PowerPoint, OpenOffice Impress, Pladao Office เป็นต้น

Microsoft Office Power Point

Explain

หลังจากที่นักเรียนไดฝกปฏิบัติการใชโปรแกรม Microsoft PowerPoint แลว ใหนักเรียนอาสา ออกมาสรุปวิธีการตางๆ ที่ไดฝกปฏิบัติไป คนละ 1 ขั้นตอน OpenOffice Impress

Plado Office ซอฟต์แวร์นำ�เสนอใช้นำ�เสนอผลง�น ซึ่งประกอบไปด้วยตัวอักษร รูปภ�พ และเสียง

16

นักเรียนควรรู 1 Microsoft PowerPoint สัญลักษณ (icon) หรือแถบเครื่องมือตางๆ ในโปรแกรม Microsoft PowerPoint ที่ควรรูจัก เชน เพื่อสรางภาพนิ่ง เพื่อแทรกตัวอักษรศิลป เพื่อแทรกไฟลรูปภาพ เพื่อใสไฟลเสียง เพื่อสรางตาราง เพื่อนําเสนอภาพนิ่ง

16

คู่มือครู

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’ 52 ออกเกี่ยวกับการเลือกใชซอฟตแวรประยุกต ด.ญ.สมหญิง ทําการทดลองทางเคมี และตองวิเคราะหขอมูล พรอมสรางแผนภูมิจากขอมูลที่ได โดยจะนําเสนอขอมูลที่ได หนาชั้นเรียน ด.ญ.สมหญิง ตองเลือกใชโปรแกรมสําเร็จรูปใด ใหเหมาะสมกับงาน 1. Excel และ Word 2. Excel และ PowerPoint 3. Equation และ Word 4. Equation และ PowerPoint วิเคราะหคําตอบ ด.ญ.สมหญิง ตองวิเคราะหขอมูลพรอมสราง แผนภูมิจากขอมูลที่ได ดังนั้นจึงควรใชโปรแกรม Excel และเมื่อ ตองการนําเสนอขอมูลหนาชั้นเรียน ควรใชโปรแกรม PowerPoint ในการจัดทํา เพราะสามารถใชวิธีการตางๆ เพื่อออกแบบ การนําเสนอไดอยางหลากหลาย สวน Equation คือ โปรแกรม เขียนสมการทางคณิตศาสตรและวิทยาศาสตร ดังนั้น ตอบขอ 2.


กระตุ้นความสนใจ Engage

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้ อธิบExplain ายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

ส�ารวจค้ Exploreนหา

ส�ารวจค้นหา

Explore

ใหนักเรียนศึกษาเรื่อง ซอฟตแวรทางดาน กราฟกและมัลติมีเดีย จากหนังสือเรียน หนา 17 แลวสรุปวาซอฟตแวรดังกลาวนั้นเหมาะกับงาน ดานใด จากนั้นใหนักเรียนเปดโปรแกรม Adobe Photoshop แลวปฏิบัติงานตามที่ครูสาธิต ดังนี้ • การเปดไฟลภาพ • การลดขนาดรูปภาพ • การปรับความคมชัดของภาพ • การใสกรอบใหภาพ • การใสตัวอักษรในภาพ • การปรับภาพใหมีสีสดขึ้น • การทําตัวอักษรแอนิเมชัน โดยระหวางการฝกปฏิบัติใหนักเรียนจดบันทึก ขั้นตอนตางๆ ลงในสมุดบันทึกของนักเรียน เพื่อสามารถนํามาอานทบทวนได

5) ซอฟต์แวร์ทางด้านกราฟกและมัลติมีเดีย (graphics and multimedia

software) เป็นกลุม่ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ทพี่ ฒั นาขึน้ ส�าหรับจัดการงานทางด้านกราฟิกและมัลติมเี ดีย

มีความสามารถเสมือนเป็นผู้ช่วยในการออกแบบชิ้นงานเกี่ยวกับการตกแต่งภาพ วาดภาพ ปรับเสียง ตัดต่อภาพเคลื่อนไหว รวมถึงการสร้างและออกแบบพัฒนาเว็บไซต์ ซอฟต์แวร์ทาง ด้านกราฟิกและมัลติมีเดีย เช่น Adobe InDesign, Adobe Illustrator, Adobe Photoshop Macromedia Dreamweaver เป็นต้น

อธิบายความรู้

Adobe InDesign

Explain

หลังจากทีน่ กั เรียนไดฝก ปฏิบตั กิ ารใชโปรแกรม Adobe Photoshop แลว ใหนักเรียนอาสาออกมา สรุปวิธกี ารตางๆ ทีไ่ ดฝก ปฏิบตั ไิ ป คนละ 1 ขัน้ ตอน

Adobe Illustrator

Adobe Photoshop

Macromedia Dremweaver ซอฟต์แวร์ทางด้านกราฟกและมัลติมีเดียช่วยในการออกแบบ ตกแต่งภาพในสื่อส่ิงพิมพ์ต่างๆ

17

กิจกรรมสรางเสริม ใหนกั เรียนใชโปรแกรม Adobe Photoshop ตกแตงภาพของ นักเรียนเอง แลวนําภาพกอนการตกแตงมาเปรียบเทียบกับภาพ ที่ตกแตงแลว พิมพลงในกระดาษ A4 นําสงครูผูสอน

กิจกรรมทาทาย ใหนักเรียนทําใบงานแสดงการใชงานเบื้องตนของซอฟตแวร ทางดานกราฟกและมัลติมีเดีย ซอฟตแวรใดซอฟตแวรหนึ่ง ที่นักเรียนสนใจ โดยมีขอมูลและภาพประกอบ พิมพลงใน กระดาษ A4 จากนั้นครูคัดเลือกผลงานที่ถูกตองและโดดเดน เพื่อใหนักเรียนนําไปจัดปายนิเทศเผยแพรความรูในโรงเรียน

เกร็ดแนะครู ครูอาจสาธิตวิธีการใชโปรแกรม Adobe Illustrator และ Adobe InDesign และแนะนําใหนักเรียนที่สนใจสามารถไปศึกษาเพิ่มเติมไดจากเว็บไซตตางๆ ใน อินเทอรเน็ต หรือหนังสือคูมือการใชโปรแกรม

มุม IT ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการใชโปรแกรม Adobe Illustrator ไดจากเว็บไซต http://www.comnetsite.com/illustrator-tech.php ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการใชโปรแกรม Adobe InDesign ไดจากเว็บไซต http://oit.cru.in.th/downloadmanual/InDesign1.pdf

คู่มือครู

17


กระตุ้นความสนใจ Engage

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้ อธิบExplain ายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

Exploreนหา ส�ารวจค้

ส�ารวจค้นหา

Explore

ใหนักเรียนศึกษาเรื่อง ซอฟตแวรการใชงาน บนเว็บไซตและการติดตอสื่อสาร จากหนังสือเรียน หนา 18 แลวสรุปวาซอฟตแวรดังกลาวมีประโยชน อยางไรบาง

อธิบายความรู้

6) ซอฟต์แวร์การใช้งานบนเว็บไซต์และการติดต่อสื่อสาร (web site and communications software) การเติบโตของเครือข่ายอินเทอร์เน็ตท�าให้มีผู้พัฒนาโปรแกรมเพื่อ ใช้งานเฉพาะอย่างเพิ่มมากขึ้น มีทั้งการตรวจเช็คอีเมล เข้าเว็บไซต์ การจัดการและดูแลเว็บไซต์ ส่งข้อความติดต่อสื่อสาร รวมไปถึงการประชุมทางไกลผ่านเครือข่าย ตัวอย่างซอฟต์แวร์การ ใช้งานบนเว็บไซต์ และการติดต่อสื่อ1สาร เช่น Microsoft Outlook, Microsoft Netmeeting, MSN Messenger/Windows Messenger เป็นต้น

Explain

ครูสอบถามวา นักเรียนเคยใชงาน MSN Messenger/Windows Messenger หรือไม ซึ่งหากมีนักเรียนคนใดเคยใชงาน ใหนักเรียน ออกมาเลาใหเพื่อนฟงวา ใชงานอยางไร และใช เพื่อประโยชนดานใดบาง

Microsoft Outlook

Microsoft Netmeeting

Adobe Photoshop

MSN Messenger/Windows Messenger ซอฟต์แวร์การใช้งานบนเว็บไซต์และการติดต่อสื่อสาร

18

นักเรียนควรรู 1 MSN Messenger/Windows Messenger หรือ Windows Live Messenger เปดใหบริการมาเปนเวลานานกวา 12 ป และเคยเปนโปรแกรมแชทยอดนิยมในชวง เวลาหนึ่ง กอนจะคอยๆ เสื่อมความนิยมลงนับตั้งแตโซเชียลเน็ตเวิรกรูปแบบใหม อยางเฟซบุก (Facebook) ทวิตเตอร (Twitter) ไดรับความนิยมมากขึ้น จนทาง ไมโครซอฟตตองพิจารณาปดบริการสวนนี้ลง ลาสุดเมื่อเดือนพฤศจิกายนที่ผานมา (พ.ศ. 2555) ไมโครซอฟทออกมายืนยัน แลววาเตรียมปดบริการ MSN Messenger ภายในชวงไตรมาสแรกของป พ.ศ. 2556 เมื่อปดบริการนี้แลวไมโครซอฟตเตรียมผลักดัน Skype ขึ้นแทน และยายผูใชงาน รวมถึงบริการตางๆ ของ MSN ไปรวมกับ Skype ซึ่งผูใชงานยังสามารถคุยกับ เพื่อนใน MSN ไดเหมือนเดิม แตเปนเพียงการเปลี่ยนโปรแกรมคุยจาก MSN ไปเปน Skype เทานั้น เนื่องจากระบบของ Skype มีพื้นฐานแบบเดียวกัน และผูใช MSN ก็สามารถล็อกอินเขา Skype ดวยชื่อบัญชีเดียวกับที่ใชใน MSN ได

18

คู่มือครู

กิจกรรมทาทาย ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5 คน ศึกษาคนควาเกี่ยวกับ การใชงานโปรแกรม Skype จัดทําเปนปายนิเทศแลวนําไปติด ในบริเวณตางๆ ของโรงเรียน เพื่อใหนักเรียนคนอื่นๆ ไดศึกษา และสามารถนําไปปฏิบัติไดจริง โดยใหมีรายละเอียดตางๆ เชน • ขั้นตอนการติดตั้งโปรแกรม • การสมัครหรือลงทะเบียนใชงาน • ขั้นตอนการใชงาน


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้ อธิบExplain ายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

ส�ารวจค้ Exploreนหา

Engage

ส�ารวจค้นหา

ใหนักเรียนแตละคนศึกษาเรื่อง การปรับแตง ภาพดวยโปรแกรม Adobe Photoshop จากมุม เทคโนโลยี ในหนังสือเรียน หนา 19 แลวจับคูกัน รวมกันอภิปรายวาโปรแกรมนี้เหมาะสมกับงาน ทางดานใด และนักเรียนจะนําโปรแกรมนีไ้ ปใชงาน ไดอยางไรบาง โดยบันทึกลงในสมุดของนักเรียน จากนั้นใหนักเรียนนําภาพถายของนักเรียน หรือภาพที่นักเรียนชื่นชอบ มาปรับคาความสวาง และโทนสีตามตัวอยางในหนังสือเรียน หนา 19 และนําภาพถายทั้ง 2 ภาพมาเปรียบเทียบกัน โดยนําสงครูผูสอนทางอีเมล

มุมเทคโนโลยี การปรับแตงภาพดวยโปรแกรม Adobe Photoshop โปรแกรม Adobe Photoshop เปนโปรแกรมทีใ่ ช้สาำ หรับตกแต่งภาพถ่ายและภาพกราฟกได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่วา่ จะเปนงานด้านสิง่ พิมพ์ นิตยสาร และงานด้านมัลติมเี ดีย เราสามารถใช้โปรแกรม Photoshop ในการตกแต่งภาพ การใส่เอฟเฟกต่างๆ ให้กบั ภาพและตัวหนังสือ การทำาภาพขาวดำา การทำาภาพถ่ายเปนภาพเขียน การนำาภาพมารวมกัน เปนต้น ซึ่งจะยกตัวอย่างการตกแต่งภาพ ดังนี้ การปรับคาความสวางของภาพ ทำาได้ดังนี้ 1. คลิกที่เมนู Image > Adjustment > Levels จะได้หน้าต่าง ดังรูป 1 Channel เลือกสีของภาพที่จะทำาการปรับ แต่ง 2 Input Levels ช่องสำาหรับระบุคา่ โทนสีตา่ งๆ ซึง่ มีกราฟแสดง Histogram ของภาพ และ สามารถปรับโทนสีของภาพด้วยการเลื่อน รูปสามเหลี่ยมด้านล่าง 3 Output Levels การกำาหนดค่าให้กับแถบ Gradient ซึ่งเปนการกำาหนดค่ามืดที่สุด และสว่างที่สุดในภาพ

1

2

3

Explore

อธิบายความรู้

Explain

ครูนําสนทนาเกี่ยวกับการปรับแตงภาพดวย โปรแกรม Adobe Photoshop และตั้งคําถามให นักเรียนรวมกันตอบ • โปรแกรมนี้มีประโยชนอยางไรตอการ ทํางานของนักเรียน (แนวตอบ โปรแกรม Adobe Photoshop ชวยในการทํางานดานสิ่งพิมพ นิตยสาร หนังสือ แผนพับ ใบปลิว รายงาน เนื่องจาก โปรแกรมนี้สามารถออกแบบ ตกแตงภาพ ใสเอฟเฟกใหกับภาพและตัวหนังสือได หลากหลายรูปแบบตามความตองการ ของผูใชงาน)

.

2. ทำาการปรับค่าต่างๆ แล้วคลิก OK จะได้ภาพตามต้องการ การปรับคาความสวาง / มืด / สีอัตโนมัติ ทำาได้ดังนี้ 1. ปรับค่าความสว่างอัตโนมัติ ไปที่เมนู Image > Adjustment > Auto Levels 2. ปรับค่าความมืดอัตโนมัติ ไปที่เมนู Image > Adjustment > Auto Contrast 3. ปรับค่าความสมดุลของโทนสีอัตโนมัติ ไปทีเ่ มนู Image > Adjustment > Auto Color

19

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

แพรวาไดรับมอบหมายใหนําเสนอรายงานหนาชั้นเรียนดวย คอมพิวเตอร แพรวาควรใชโปรแกรมใด 1. Microsoft Word 2. Microsoft Excel 3. Microsoft Access 4. Microsoft PowerPoint

วิเคราะหคําตอบ การนําเสนอรายงานหนาชั้นเรียนดวย คอมพิวเตอรนั้นอาจประกอบไปดวยขอมูลตัวอักษร รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว โดยโปรแกรมที่เหมาะกับงานลักษณะนี้ คือ โปรแกรม Microsoft PowerPoint ซึ่งนอกจากจะนําเสนอขอมูล ตางๆ ขางตนไดแลว ยังสามารถใสเสียงประกอบเพื่อดึงดูด ความสนใจในการนําเสนอไดอีกดวย ดังนั้น ตอบขอ 4.

เกร็ดแนะครู ครูอาจแนะนําเทคนิคเพิ่มเติมเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe Photoshop เชน การ Die-cut การตัดตอภาพ การตกแตงภาพแบบตางๆ เปนตน โดยครูนํา ภาพถายเดิมกับภาพถายที่ผานการตกแตงมาใหนักเรียนพิจารณา และแนะนําให นักเรียนศึกษาการใชโปรแกรมนี้เพิ่มเติมไดทางอินเทอรเน็ต หรือหนังสือคูมือ การใชงาน เพื่อนํามาประยุกตในการทํารายงานของนักเรียนได

มุม IT ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับการใชโปรแกรม Adobe Photoshop ไดจากเว็บไซต http://bombik.com/category/แนะนําโปรแกรมตางๆ-และวิธีการใช/วิธีการใช โปรแกรม-photoshop หรือ http://www.slideshare.net/surachet179/ photoshop-cs-4672544 คู่มือครู

19


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้ อธิบExplain ายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

Engage

ส�ารวจค้นหา

Exploreนหา ส�ารวจค้

Explore

ใหนักเรียนศึกษาเรื่อง ซอฟตแวรประยุกต เฉพาะงาน จากหนังสือเรียน หนา 20-21 แลว รวมกลุมกัน กลุมละ 3 คน รวมกันสรุปสาระสําคัญ ของเรื่องที่ศึกษา โดยควรมุงเนนไปที่ประเด็นวา ซอฟตแวรประยุกตเฉพาะงานนัน้ เหมาะกับการใชงาน ทางดานใด จากนัน้ ใหแตละกลุม คนควาและรวบรวม รายชื่อซอฟตแวรสําหรับงานธุรกิจ พรอมทั้งระบุวา ซอฟตแวรนั้นๆ ใชงานดานใด และบอกแหลงที่มา ของขอมูล โดยจัดทํารายงานดวยโปรแกรม Microsoft Word แลวพิมพเปนเอกสารสงครูผูสอน

อธิบายความรู้

4.2 ซอฟต์แวร์ประยุกต์เฉพาะงาน

ซอฟต์แวร์ประยุกต์เฉพาะงาน (application software for specific purpose) เป็น ซอฟต์แวร์ที่พัฒนาขึ้นเพื่อน�าไปประยุกต์ใช้งานกับองค์กรใดองค์กรหนึ่งโดยเฉพาะ ออกแบบและ สร้างขึน้ โดยผูผ้ ลิตซอฟต์แวร์ทมี่ คี วามช�านาญในด้านนัน้ ๆ หรืออาจพัฒนาโดยนักเขียนโปรแกรมของ องค์กร โดยผ่านการวิเคราะห์ ออกแบบ ลงมือสร้าง และทดสอบโปรแกรมให้สามารถท�างานได้ ถูกต้องก่อนจึงจะน�ามาใช้งานได้ เช่น โปรแกรมค�านวณภาษีของกรมศุลกากร โปรแกรมบันทึก เวลาการปฏิบตั งิ านของพนักงาน โปรแกรมเงินเดือน ซึง่ ต้องมีการออกแบบโครงสร้างซอฟต์แวร์ เพื่อให้ใช้งานได้ตามความต้องการ 1) ซอฟต์แวร์ส�าหรับงานธุรกิจ (business software) การประยุกต์ใช้งานด้วย ซอฟต์แวร์ส�าหรับงานธุรกิจมักจะเน้นการใช้งานทั่วไป แต่อาจจะน�ามาประยุกต์ใช้โดยตรงกับ งานทางธุรกิจบางอย่างได้ เช่น กิจการธนาคาร มีการฝาก-ถอนเงิน งานทางด้านบัญชี หรือ ในห้างสรรพสินค้ามีงานการขายสินค้า การออกใบเสร็จรับเงิน การควบคุมสินค้าคงคลัง ดังนั้น จึงต้องมีการพัฒนาซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะ ส�าหรับงานแต่ละประเภทให้ตรงกับความต้องการ ของผู้ใช้แต่ละราย ซอฟต์แวร์ส�าหรับงานธุรกิจมักจะเป็นซอฟต์แวร์ที่ผู้พัฒนาต้องเข้าไปศึกษา รูปแบบการท�างานหรือความต้องการของธุรกิจนัน้ แล้วจึงจัดท�าขึน้ โดยทัว่ ไปจะเป็นซอฟต์แวร์ทมี่ ี หลายส่วนท�างานร่วมกัน ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานเฉพาะที่ใช้กันในธุรกิจ เช่น ระบบงานทางด้านบัญชี ระบบงานจัดจ�าหน่าย ระบบงานสินค้าคงคลัง ระบบงานบริหารการเงิน เป็นต้น

Explain

ครูสุมนักเรียน 2-3 กลุมออกมานําเสนอ หนาชั้นเรียน ถึงผลการคนควาเกี่ยวกับซอฟตแวร สําหรับงานธุรกิจ แลวใหนักเรียนคนอื่นๆ รวมกัน อภิปรายจนไดขอสรุปที่ถูกตองตรงกัน

ตัวอย่างซอฟต์แวร์สำาหรับงานธุรกิจการบริการซื้อขาย และซ่อมโทรศัพท์มือถือ

20

เกร็ดแนะครู ครูควรเสนอแนะนักเรียนเกี่ยวกับงานดานโปแกรมเมอรวา การพัฒนาศักยภาพ ทางคอมพิวเตอรยังสามารถขยายตัวไปไดอีกมาก จํานวนโปรแกรมเมอรที่มีอยูใน ปจจุบันจึงยังไมเพียงพอกับความตองการของตลาดวงการไอที อาชีพนี้จึงยังมี แนวโนมความตองการในตลาดแรงงานคอนขางสูงและใหผลตอบแทนสูง ซึ่งหาก นักเรียนมีความสนใจงานทางดานนี้ จึงควรรูวาคุณสมบัติที่จําเปนในการเปน โปรแกรมเมอร มีดังนี้ • มีความรูทางดานคอมพิวเตอร ซึ่งนักเรียนสามารถเขารับการศึกษาได ในสถาบันการศึกษาที่ทําการสอนทางดานคอมพิวเตอร • มีทักษะในการการเขียนภาษาคอมพิวเตอร • มีความคิดสรางสรรค สามารถประยุกตและดัดแปลงความรูความสามารถ ทางดานโปรแกรมคอมพิวเตอรไดเปนอยางดี

20

คู่มือครู

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

บุคคลใดควรเลือกใชซอฟตแวรประยุกตเฉพาะงานมากที่สุด 1. นักเรียนที่ตองการพิมพรายงาน 2. นักออกแบบที่ตองออกแบบงานสื่อสิ่งพิมพ 3. เลขานุการที่ตองการสงขอความถึงผูเขารวมประชุม 4. พนักงานตรวจสอบสินคาที่ตองการฐานขอมูลสําหรับใชภายใน องคกร วิเคราะหคําตอบ ซอฟตแวรประยุกตเฉพาะงาน เปนซอฟตแวร ที่พัฒนาขึ้นเพื่อนําไปประยุกตใชงานกับองคกรใดองคกรหนึ่ง โดยเฉพาะ เชน โปรแกรมคํานวณภาษี โปรแกรมระบบงานสินคา โปรแกรมดานบัญชี เปนตน ซึ่งจากตัวเลือกที่กําหนดใหนั้น การ พิมพรายงานควรใชโปรแกรม Microsoft Word การออกแบบงาน สื่อสิ่งพิมพควรใชโปรแกรมดานกราฟกและมัลติมีเดีย สวนการสง ขอความถึงผูเขารวมประชุมควรใชอีเมล ดังนั้น ตอบขอ 4.


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engage

Explore

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ Expand าใจ ขยายความเข้

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบExplain ายความรู้

อธิบายความรู้

ครูตงั้ คําถามเพือ่ ทดสอบความเขาใจของ นักเรียนเกีย่ วกับเรือ่ งทีเ่ รียนไปทัง้ หนวยการเรียนรูน ี้ • ซอฟตแวรคืออะไร และแบงออกเปน กี่ประเภท อะไรบาง (แนวตอบ ซอฟตแวร คือ ชุดคําสั่งหรือ โปรแกรมที่สั่งการใหคอมพิวเตอรทํางาน สามารถแบงออกเปน 2 ประเภท ไดแก ซอฟตแวรระบบ และซอฟตแวรประยุกต) • นักเรียนใชซอฟตแวรระบบชวยในการ ทํางานอยางไรบาง (แนวตอบ ใชในการจัดการไฟล บีบอัด ขยาย โอนยายขอมูล สแกนดิสก สแกนไวรัส เปนตน) • นักเรียนใชซอฟตแวรประยุกตชวยในการ ทํางานอยางไรบาง (แนวตอบ ใชโปรแกรม Microsoft Word พิมพรายงาน ใชโปรแกรม Microsoft Excel คํานวณตัวเลขทางสถิติ ใชโปรแกรม Microsoft PowerPoint นําเสนองาน เปนตน)

2) ซอฟต์แวร์อื่นๆ ซอฟต์แวร์ประยุกต์เฉพาะงานนอกจากจะเป็นซอฟต์แวร์ส�าหรับ

งานธุรกิจแล้ว ยังมีซอฟต์แวร์อนื่ ๆ อีกเช่น โปรแกรมช่วยค้นหาค�าศัพท์ โปรแกรมเพือ่ ความบันเทิง เป็นต้น

โปรแกรมช่วยค้นหาคำาศัพท์ช่วยให้ทราบทั้งคำาอ่านและคำาแปลของคำาศั​ัพท์นั้น

ขยายความเข้าใจ

ซอฟต์แวร์เป็นชุดคำาสั่งหรือโปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาคอมพิวเตอร์ ซึ่งคอยสั่งการให้

คอมพิวเตอร์ทาำ งานตามทีผ่ ใู้ ช้ตอ้ งการ โดยอาจกล่าวได้วา่ ซอฟต์แวร์เป็นตัวเชือ่ มโยงคนหรือ ผู้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์นั่นเอง ซอฟต์แวร์แบ่งออกเป็นสองประเภท ได้แก่ ซอฟต์แวร์ ระบบและซอฟต์แวร์ประยุกต์ ซึง่ มีคณ ุ สมบัตแิ ตกต่างกันออกไป ดังนัน้ หากต้องการเลือกใช้ ซอฟต์แวร์ชนิดใดชนิดหนึง่ ส่งิ ทีค่ วรคำานึงถึงเป็นอันดับแรก คือ ลักษณะของงานทีต่ อ้ งการ เนื่องจากซอฟต์แวร์แต่ละประเภทจะเหมาะกับงานในด้านต่างๆ กันไป

http://www.aksorn.com/LC/Tech/M2/03

ขอสอบเนน การคิด

ซอฟตแวรประยุกตเฉพาะงานมีขอดีกวาซอฟตแวรประยุกต ทั่วไปอยางไร

แนวตอบ ซอฟตแวรประยุกตเฉพาะงานถูกพัฒนาขึ้นเพื่อนําไป ประยุกตใชงานกับองคกรใดองคกรหนึ่งโดยเฉพาะ ดังนั้น จึงสามารถตอบสนองความตองการของผูใชไดอยางดีและมี ประสิทธิภาพสูง

กิจกรรมทาทาย ใหนักเรียนสํารวจคอมพิวเตอรของตนเองวาติดตั้งซอฟตแวร อะไรบาง ซอฟตแวรนั้นเปนซอฟตแวรประเภทใด โดยพิมพเปน เอกสารใบงานสงครูผูสอน

Expand

ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 5-6 คน รวมกัน อภิปรายและสรุปสาระสําคัญเรื่อง ซอฟตแวรและ การเลือกใช ที่ไดเรียนมาทั้งหนวยการเรียนรูนี้ แลวสรางงานนําเสนอโดยใชโปรแกรม Microsoft PowerPoint บันทึกลงในแผนดิสกสงครูผูสอน และนําเสนองานในชั่วโมงเรียนตอไป

EB GUIDE

แนว  NT  O-NE T

Explain

21

เกร็ดแนะครู ครูควรมอบหมายงานใหนักเรียนทํากิจกรรมสรางสรรคพัฒนาประจําหนวย การเรียนรู กิจกรรมที่ 1 จากหนังสือเรียน หนา 22 โดยอาจปรับเปลี่ยนวิธีการสงงาน จากการทําเปนเลมรายงานเปนการสงไฟลงานทางอีเมล หรือไรทลงแผนดิสก

มุม IT สามารถดาวนโหลดโปรแกรมคนหาคําศัพทไดฟรี จากเว็บไซต http://www. onlinejung.com/read.php?tid-67.html หรือสามารถใชผานทางระบบออนไลน ที่ http://www.tumcivil.com/dict/ หรือ http://lexitron.nectec.or.th/2009_1/ index.php?q=lookup/form/submit

คู่มือครู

21


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engage

Explore

Explain

Expand

ตรวจสอบผล

ตรวจสอบผล Evaluate ตรวจสอบผล Evaluate

Evaluate

นักเรียนสามารถอธิบายความหมาย ความสําคัญ และประเภทของซอฟตแวรได รวมทั้งสามารถใช ซอฟตแวรใหเหมาะสมกับการทํางานได

คาถามประจำาหน่วยการเรียนรู้ 1.

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู 1. ปายนิเทศเผยแพรความรูเกี่ยวกับ ระบบปฏิบัติการ 2. ใบงานแสดงขั้นตอนการใชโปรแกรม อรรถประโยชน 3. งานนําเสนอสรุปสาระสําคัญเรื่อง ซอฟตแวร และการเลือกใช

2. 3. 4. 5.

โปรแกรม Microsoft Word ที่ใช้งานกันอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน เป็นซอฟต์แวร์หรือฮาร์ดแวร์ จงอธิบายพร้อมยกตัวอย่างซอฟต์แวร์อื่นๆ มาประกอบพอสังเขป ซอฟต์แวร์แบ่งเป็นกี่ประเภท ประกอบด้วยอะไรบ้าง จงอธิบาย โปรแกรมระบบปฏิบัติการมีหน้าที่หลักอะไรบ้าง จงอธิบาย จงยกตัวอย่างซอฟต์แวร์ประยุกต์ทั่วไป พร้อมอธิบายประโยชน์และการใช้งานมาพอสังเขป โปรแกรมอรรถประโยชน์ที่ใช้ในปัจจุบันมีอะไรบ้าง พร้อมอธิบายประโยชน์และการใช้งานมาพอ สังเขป

กิจกรรมสร้างสรรค์พัฒนาการเรียนรู้ กิจกรรมที่ 1

กิจกรรมที่ 2

กิจกรรมที่ 3

ให้นักเรียนเลือกใช้ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในปัจจุบันมา 1 ซอฟต์แวร์ น�าเสนอเรื่อง เกี่ยวกับโรงเรียนของเรา พร้อมลงมือปฏิบัติจริง ท�ารายงานส่งครูผู้สอนและ น�าเสนอเป็นผลงานหน้าชั้นเรียน ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน จัดท�าแผนผังความคิด (Mind Mapping) เรื่องซอฟต์แวร์และการเลือกใช้ แล้วน�าผลงานที่นักเรียนท�าเสร็จแล้วมาน�า เสนอด้วยโปรแกรม Microsoft Office Power Point หน้าชั้นเรียน เชิญวิทยากรหรือรุน่ พีท่ มี่ ปี ระสบการณ์ทางด้านงานกราฟิกและมัลติมเี ดียมาให้ ความรู้หรือแนะน�าวิธีการใช้โปรแกรมเบื้องต้น โดยให้นักเรียนพยายามซักถาม และสรุปสาระความรู้จากการบรรยายพร้อมสร้างชิ้นงานอย่างสร้างสรรค์น�าส่ง ครูผู้สอน

22

แนวตอบ คําถามประจําหนวยการเรียนรู 1. โปรแกรม Microsoft Word เปนซอฟตแวร ซึ่งเปนโปรแกรมที่นํามาใชในงานพิมพเอกสาร และสามารถจัดตกแตงใหสวยงามได นอกจากนี้ยังมีโปรแกรมอื่นๆ อีก เชน Microsoft Excel เนนทางดานคํานวณ Microsoft PowerPoint เนนทางดานการนําเสนองาน 2. ซอฟตแวรแบงออกเปน 2 ประเภท ไดแก ซอฟตแวรระบบ ซึ่งมีหนาที่จัดการกับการทํางานพื้นฐานของคอมพิวเตอร และซอฟตแวรประยุกต ซึ่งถูกพัฒนาขึ้น เพื่อการทํางานเฉพาะอยาง โดยไมเกี่ยวของกับการควบคุมระบบ 3. โปรแกรมระบบปฏิบัติการมีหนาที่หลัก ดังนี้ 1. การจองและการกําหนดการใชทรัพยากรคอมพิวเตอร 2. การจัดตารางงาน 3. การติดตามผลของระบบ 4. การทํางาน หลายโปรแกรมพรอมกัน 5. การจัดแบงเวลา 6. การประมวลผลหลายชุดพรอมกัน 4. พิจารณาจากคําตอบของนักเรียน โดยอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน เชน • ซอฟตแวรประมวลผลคํา เปนซอฟตแวรที่ใชในการจัดทําเอกสารทุกชนิด สามารถจัดรูปแบบเอกสารไดอยางดี และสามารถเรียกมาแกไขใหมได • ซอฟตแวรตารางทํางาน เปนซอฟตแวรที่ชวยในการคํานวณ วิเคราะหตัวเลข เพื่อใชในงานดานการเงิน บัญชี สถิติ คณิตศาสตร หรือวิทยาศาสตร • ซอฟตแวรนําเสนอ เปนซอฟตแวรที่ใชนําเสนอขอมูลดวยระบบคอมพิวเตอร รวมทั้งสามารถใสเสียงประกอบในการนําเสนอได เพื่อใชประกอบการบรรยาย 5. พิจารณาจากคําตอบของนักเรียน โดยอยูในดุลยพินิจของครูผูสอน เชน โปรแกรมอรรถประโยชนจัดการไฟล ใชจัดการไฟลตางๆ เชน คัดลอก เปลี่ยนชื่อ ลบแฟม ขอมูล เปนตน โปรแกรมยกเลิกการติดตั้งโปรแกรมใชยกเลิกโปรแกรมที่ติดตั้งไวในระบบ โปรแกรมปองกันไวรัสใชตรวจหาและกําจัดไวรัสคอมพิวเตอร โปรแกรมบีบอัดไฟล ใชบีบอัดไฟลใหมีขนาดเล็กลง

22

คูมือครู


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.