8858649122841

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº Í- .

ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน

กระบวนการสอนแบบ 5 Es ชวยสรางทักษะการเรียนรู กิจกรรมมุงพัฒนาทักษะการคิด คำถาม + แนวขอสอบเพื่อยกผลสัมฤทธิ์ O-NET กิจกรรมบูรณาการเตรียมพรอมสู ASEAN 2558


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

พระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปที่

4

สําหรับครู

คูมือครู Version ใหม

ลักษณะเดน

ขยายพื้นที่รูปเลมใหญขึ้นกวาเดิม จัดแบงพื้นที่ออกเปนโซน เพื่อคนหาขอมูลไดงาย สะดวก รวดเร็ว และดูเปนระเบียบ กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล

กระตุน ความสนใจ

Evaluate

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

เปาหมายการเรียนรู สมรรถนะของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค

หน า

โซน 1 กระตุน ความสนใจ

Engage

สํารวจคนหา

Explore

อธิบายความรู

Explain

ขยายความเขาใจ

Expand

ตรวจสอบผล

หน า

หนั ง สื อ เรี ย น

โซน 1

หนั ง สื อ เรี ย น

Evaluate

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NET

ขอสอบ

โซน 2

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

เกร็ดแนะครู

O-NET

บูรณาการเชื่อมสาระ

โซน 3

กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย

นักเรียนควรรู

โซน 3

โซน 2 บูรณาการอาเซียน มุม IT

No.

คูมือครู

คูมือครู

No.

โซน 1 ขั้นตอนการสอนแบบ 5Es

โซน 2 ชวยครูเตรียมสอน

โซน 3 ชวยครูเตรียมนักเรียน

เพื่อใหครูเตรียมจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยแนะนําขั้นตอนการสอนและ การจัดกิจกรรมแบบ 5Es อยางละเอียด เพื่อใหนักเรียนบรรลุตามตัวชี้วัด

เพื่อชวยลดภาระครูผูสอน โดยแนะนํา เกร็ดความรูสําหรับครู ความรูเสริมสําหรับ นักเรียน รวมทั้งบูรณาการความรูสูอาเซียน และมุม IT

เพื่อใหครูสะดวกตอการจัดกิจกรรม โดย แนะนํากิจกรรมบูรณาการเชือ่ มระหวางสาระหรือ กลุมสาระการเรียนรู วิชา กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย รวมถึงเนื้อหาที่เคยออกขอสอบ O-NET แนวขอสอบ NT/O-NET ทีเ่ นนการคิด พรอมเฉลยและคําอธิบายอยางละเอียด


ที่ใชในคูมือครู

แถบสีและสัญลักษณ

แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5Es เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

1. แถบสี 5Es สีแดง

สีเขียว

กระตุน ความสนใจ

เสร�ม

สํารวจคนหา

Engage

2

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุน ความสนใจ เพื่อโยง เขาสูบทเรียน

สีสม

อธิบายความรู

Explore

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนสํารวจ ปญหา และศึกษา ขอมูล

สีฟา

Explain

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนคนหา คําตอบ จนเกิดความรู เชิงประจักษ

สีมวง

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนนําความรู ไปคิดคนตอๆ ไป

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

2. สัญลักษณ สัญลักษณ

วัตถุประสงค

• เปาหมายการเรียนรู

• หลักฐานแสดง ผลการเรียนรู

• เกร็ดแนะครู

แทรกความรูเสริมสําหรับครู ขอเสนอแนะ ขอควรระวัง ขอสังเกต แนวทางการจัด กิจกรรมและอืน่ ๆ เพื่อประโยชนในการ จัดการเรียนการสอน ขยายความรูเพิ่มเติมจากเนื้อหา เพื่อให ครูนําไปใชอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียน ไดมีความรูมากขึ้น

ความรูห รือกิจกรรมเสริม ใหครูนาํ ไปใช เตรียมความพรอมใหกบั นักเรียนกอนเขาสู ประชาคมอาเซียนใน พ.ศ. 2558 โดย บูรณาการกับวิชาทีก่ าํ ลังเรียน

บูรณาการอาเซียน

คูม อื ครู

แสดงรองรอยหลักฐานตามภาระงาน ที่ครูมอบหมาย เพื่อแสดงผลการเรียนรู ตามตัวชี้วัด

• นักเรียนควรรู

มุม IT

แสดงเปาหมายการเรียนรูที่นักเรียน ตองบรรลุตามตัวชี้วัด ตลอดจนสมรรถนะ ที่จะตองมี และคุณลักษณะที่พึงเกิดขึ้น กับนักเรียน

แนะนําแหลงคนควาจากเว็บไซต เพื่อให ครูและนักเรียนไดเขาถึงขอมูลความรู ที่หลากหลาย ทั้งไทยและตางประเทศ

สัญลักษณ

ขอสอบ

วัตถุประสงค

O-NET

(เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ O-NET O-NET)

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T (เฉพาะระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนตน)

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET (เฉพาะระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย)

บูรณาการเชื่อมสาระ

กิจกรรมสรางเสริม

กิจกรรมทาทาย

• ชีแ้ นะเนือ้ หาทีเ่ คยออกขอสอบ

O-NET โดยยกตัวอยางขอสอบ พรอมวิเคราะหคาํ ตอบ อยางละเอียด

• เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน

การคิดและเปนแนวขอสอบ NT/O-NET ในระดับมัธยมศึกษา ตอนตน มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

• เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน

การคิดและเปนแนวขอสอบ O-NET ในระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม

เชือ่ มกับสาระหรือกลุม สาระ การเรียนรู ระดับชัน้ หรือวิชาอืน่ ทีเ่ กีย่ วของ

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ซอมเสริมสําหรับนักเรียนทีค่ วร ไดรบั การพัฒนาการเรียนรู

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ตอยอดสําหรับนักเรียนทีเ่ รียนรู ไดอยางรวดเร็ว และตองการ ทาทายความสามารถในระดับ ทีส่ งู ขึน้


คําแนะนําการใชคูมือครู การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน คูมือครู รายวิชา พระพุทธศาสนา ม. 4 จัดทําขึ้นเพื่อใหครูผูสอนนําไปใชเปนแนวทางวางแผนการสอนเพื่อพัฒนา ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน และประกันคุณภาพผูเ รียน ตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน (สพฐ.) โดยใชหนังสือเรียน พระพุทธศาสนา ม. 4 ของบริษทั อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด เปนสือ่ หลัก (Core Material) ประกอบ เสร�ม การสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดกลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา 3 ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 โดยออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน ตามหลักการสําคัญ ดังนี้ 1 ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน คูม อื ครู รายวิชา พระพุทธศาสนา ม. 4 วางแผนการสอนโดยแบงเปนหนวยการเรียนรูต ามลําดับสาระ (strand) และ หมายเลขขอของมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั แตละหนวยจะกําหนดเปาหมายการเรียนรูแ ละจุดประสงคการเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทางการประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชัดเจน ครูผูสอนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด สมรรถนะ และคุณลักษณะ อันพึงประสงคที่เปนเปาหมายการเรียนรูตามที่กําหนดไวในสาระแกนกลาง (ตามแผนภูมิ) และสามารถบันทึกผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของผูเรียนแตละคนลงในเอกสาร ปพ.5 ไดอยางมั่นใจ แผนภูมิแสดงความสัมพันธขององคประกอบการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผูเรียนเปนสําคัญ

พผ

ูเ

จุดปร

ะสง

คก า

ส ภา

รียน

รู ีเรยน

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชวงชั้น

ทักษะการคิด การวัดและประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน คูม อื ครู


2 การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ แนวคิ ด ในการจั ด การเรี ย นการสอนที่ ยึ ด ผู  เ รี ย นเป น สํ า คั ญ พั ฒ นามาจากปรั ช ญาและทฤษฎี ก ารเรี ย นรู  Constructivism ที่เชื่อวา การเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสรางความรู โดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดเรียนรูจากบทเรียนใหมกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา ผูเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีการสั่งสมความรูความเขาใจเกี่ยวกับสิ่งตางๆ ติดตัวมากอน ทีจ่ ะเขาสูห อ งเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากประสบการณและสิง่ แวดลอมรอบตัวผูเ รียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกิจกรรม เสร�ม การเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ผูสอนจะตองคํานึงถึง

4

1. ความรูเดิมของผูเรียน วิธีการสอนที่ดีจะตองเริ่มตนจากจุดที่วา ผูเ รียนมีความรูอ ะไรมาบาง แลวจึงใหความรู หรือประสบการณใหม เพื่อตอยอดจาก ความรูเดิม นําไปสูการสรางความรู ความเขาใจใหม

2. ความรูเดิมของผูเรียนถูกตองหรือไม ผูส อนตองปรับเปลีย่ นความรูค วามเขาใจเดิม ของผูเรียนใหถูกตอง และเปนพฤติกรรม การเรียนรูใ หมทมี่ คี ณุ คาตอผูเรียน เพื่อสราง เจตคติหรือทัศนคติที่ดีตอการเรียนรู สิ่งเหลานั้น

3. ผูเรียนสรางความหมายสําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมใหผูเรียนนําความรู ความเขาใจที่เกิดขึ้นไปลงมือปฏิบัติ เพื่อขยายความรูใหลึกซึ้งและมีคุณคา ตอตัวผูเรียนมากที่สุด

แนวคิด Constructivism เนนใหผูเรียนสรางความรูโดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูของตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศ

การเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณ ความรูใ หม เพือ่ กระตนุ ใหผเู รียนเชือ่ มโยงความรู ความคิด กับประสบการณทมี่ อี ยูเ ดิม แลวสังเคราะหเปนความรูห รือแนวคิดใหมๆ ไดดว ยตนเอง

3 การบูรณาการกระบวนการคิด การเรียนรูของผูเรียนแตละคนจะเกิดขึ้นที่สมอง ซึ่งเปนอวัยวะที่ทําหนาที่รูคิดภายใตสภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวย และไดรบั การกระตนุ จูงใจอยางเหมาะสม สอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของผูเ รียนแตละคน การจัดกิจกรรม การเรียนรูและสาระการเรียนรูที่สอดคลองกับความสนใจและมีความหมายตอผูเรียน จะชวยกระตุนใหสมองของผูเรียน สามารถรับรูและเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพตามขั้นตอนการทํางานของสมอง ดังนี้ 1. สมองจะเรียนรูและสืบคน โดยการสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง ปฏิบัติ จนทําใหคนพบความรูความเขาใจ ไดอยางรวดเร็ว

2. สมองจะแยกแยะคุณคาของสิ่งตางๆ โดยการตัดสินใจวิพากษวิจารณ แสดง ความคิดเห็น ยอมรับหรือตอตานตาม อารมณความรูสึกที่เกิดขึ้นในขณะที่เรียนรู

3. สมองจะประมวลเนื้อหาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสานกับ ความรูห รือประสบการณเดิมทีถ่ กู จัดเก็บอยูใ น สมอง ผานการกลัน่ กรองเพือ่ สังเคราะหเปน ความรูค วามเขาใจใหมๆ หรือเปนทัศนคติใหม ที่จะเก็บบรรจุไวในสมองของผูเรียน

การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะเกิดขึ้น เมื่อสมองรูคิด และตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมองผูเรียน โดยเริ่มตนจาก 1. ระดับการคิดพื้นฐาน ไดแก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล การสรุปผล เปนตน

คูม อื ครู

2. ระดับลักษณะการคิด ไดแก การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดไกล คิดหลากหลาย คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล เปนตน

3. ระดับกระบวนการคิด ไดแก กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ กระบวนการแกปญหา กระบวนการ คิดสรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะห เปนตน


5Es การจัดกิจกรรมตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ขั้นตอนการสอนที่สัมพันธกับขั้นตอนการคิดและการทํางานทางสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย คือ วัฏจักรการเรียนรู 5Es ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแตละหนวย ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1

กระตุนความสนใจ

(Engage)

เสร�ม

5

เปนขั้นที่ผูสอนนําเขาสูบทเรียน เพื่อกระตุนความสนใจของผูเรียนดวยเรื่องราวหรือเหตุการณที่นาสนใจโดยใชเทคนิควิธีการ และคําถามทบทวนความรูหรือประสบการณเดิมของผูเรียน เพื่อเชื่อมโยงผูเรียนเขาสูความรูของบทเรียนใหม ชวยใหผูเรียนสามารถ สรุปความสําคัญหัวขอและสาระการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอนการสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอมและสราง แรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน

ขั้นที่ 2

สํารวจคนหา

(Explore)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนเปดโอกาสใหผเู รียนลงมือศึกษา สังเกต หรือรวมมือกันสํารวจ เพือ่ ใหเห็นขอบขายของประเด็นหรือปญหา รวมถึง วิธีการศึกษาคนควา การรวบรวมขอมูลความรูที่จะนําไปสูการสรางความเขาใจประเด็นหรือปญหานั้นๆ เมื่อผูเรียนทําความเขาใจใน ประเด็นหรือปญหาที่จะศึกษาคนควาอยางถองแทแลว ก็ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธีการตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูที่เกี่ยวของกับประเด็นหรือปญหาที่ศึกษา

ขั้นที่ 3

อธิบายความรู

(Explain)

เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา ตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนคนหาคําตอบ และนําขอมูล ความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห สรุปผล และนําเสนอผลที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ ผังมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน ในขั้นตอนนี้ฝกใหผูเรียนใชสมองคิดวิเคราะหและสังเคราะห อยางเปนระบบ

ขั้นที่ 4

ขยายความเขาใจ

(Expand)

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใชเทคนิควิธีสอนตางๆ ที่สงเสริมใหผูเรียนนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนสืบคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะ การเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน ผูเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยง กับประสบการณเดิมโดยนําขอสรุปทีไ่ ดไปใชอธิบายเหตุการณตา งๆ หรือนําไปปฏิบตั ใิ นสถานการณใหมๆ ทีเ่ กีย่ วของกับชีวติ ประจําวัน ของตนเอง เพื่อขยายความรูความเขาใจใหกวางขวางยิ่งขึ้น ในขั้นตอนนี้ฝกสมองของผูเรียนใหสามารถคิดริเริ่มสรางสรรคอยางมี คุณภาพ เสริมสรางวิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป

ขั้นที่ 5

ตรวจสอบผล

(Evaluate)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนประเมินมโนทัศนของผูเ รียน โดยตรวจสอบจากความคิดทีเ่ ปลีย่ นไปและความคิดรวบยอดทีเ่ กิดขึน้ ใหม ตรวจสอบ ทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด หรือการเคารพความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพื่อการ สรางสรรคความรูร ว มกัน ผูเ รียนสามารถประเมินผลการเรียนรูข องตนเอง เพือ่ สรุปผลวามีความรูอ ะไรเพิม่ ขึน้ มาบาง เกิดความเขาใจ มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ หรือในชีวิตประจําวันไดอยางไร ผูเรียนจะเกิดเจตคติ และเห็นคุณคาของตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง

การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนนผูเรียน เปนสําคัญอยางแทจริง เพราะสงเสริมใหผูเรียนไดเรียนรูตามขั้นตอนของกระบวนการสรางความรูดวยตนเอง และ ฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและกระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะชีวิต ทักษะการทํางาน และทักษะการ เรียนรูที่มีประสิทธิภาพ สงผลตอการยกระดับผลสัมฤทธิ์ของผูเรียน ตามเปาหมายของการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คูม อื ครู


O-NET การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ O-NET

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ในแตละหนวยการเรียนรู ทางผูจัดทํา จะเสนอแนะวิธีสอน รูปแบบกิจกรรมการเรียนรู พรอมทั้งออกแบบเครื่องมือวัดและประเมินผลที่สอดคลองกับตัวชี้วัด และสาระการเรียนรูแกนกลางไวทุกขั้นตอน โดยยึดหลักสําคัญ คือ หลักของการวัดและประเมินผล เสร�ม

6

1. การวัดและประเมินผลทุกครั้ง ควรนําผลมาปรับปรุงพัฒนาผูเรียน เปนรายบุคคล

2. การวัดและประเมินผลมี เปาหมาย เพื่อพัฒนาการเรียนรู ของผูเรียนจนเต็มศักยภาพ

3. การนําผลการวัดและประเมินผล ทุกครั้งมาวางแผนปรับปรุงกิจกรรม การเรียนการสอน การเลือกเทคนิค วิธีสอน และสื่อการเรียนรูให เหมาะสมกับสภาพจริงของผูเรียน

การทดสอบผูเรียน 1. การใชขอสอบอัตนัย เนนการอาน การคิดวิเคราะห และการเขียนเพิ่มมากขึ้น 2. การใชคําถามกระตุนการคิดควบคูกับการทําขอสอบที่เนนการคิดอยางตอเนื่องตามลําดับกิจกรรมการเรียนรู และตัวชี้วัด 3. การทดสอบตองดําเนินการทั้งกอนเรียน ระหวางเรียน และหลังเรียน การทดสอบควรใชขอสอบทั้งชนิดปรนัยและ อัตนัย และเปนการทดสอบเพื่อประเมินผลการเรียนของผูเรียนแตละคน เพื่อการสอนซอมเสริมใหบรรลุตัวชี้วัด ไดครบถวน 4. การสอบกลางภาค (ถามี) ควรนําแบบฝกหัดหรือขอสอบทีน่ กั เรียนสวนใหญไมสามารถตอบไดหรือไมครบถวนชัดเจน มา สรางเปนแบบทดสอบอีกครัง้ เพือ่ ตรวจสอบความรูค วามเขาใจทีถ่ กู ตอง และประเมินความกาวหนาของผูเ รียนแตละคน 5. การสอบปลายภาคเรียนเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามตัวชี้วัดที่สําคัญ ควรออกขอสอบใหมีลักษณะเดียวกับ ขอสอบ O-NET โดยเนนการคิดวิเคราะห สังเคราะห เชื่อมโยงประยุกตใช เพื่อสรางความคุนเคย และฝกฝน วิธีการทําขอสอบดวยความมั่นใจ 6. การนําผลการทดสอบของผูเรียนมาวิเคราะห โดยผลการสอบกอนการเรียนตองสามารถพยากรณผลการสอบ กลางภาค และผลการสอบกลางภาคตองทํานายผลการสอบปลายภาคของผูเ รียนแตละคน เพือ่ ประเมินพัฒนาการ ความกาวหนาของผูเรียนเปนรายบุคคล 7. ผลการทดสอบปลายป ปลายภาค ตองมีคาเฉลี่ยสอดคลองกับคาเฉลี่ยของการสอบ NT ที่เขตพื้นที่การศึกษา จัดสอบ รวมทั้งคาเฉลี่ยของการสอบ O-NET ชวงชั้นที่สอดคลองครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดสําคัญ เพือ่ สะทอนประสิทธิภาพของครูผสู อนในการออกแบบการเรียนรูแ ละประกันคุณภาพผูเ รียนทีต่ รวจสอบผลไดชดั เจน การจัดการเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ตองใหผูเรียนไดสั่งสมความรู ความเขาใจตามลําดับขั้นตอน ของกิจกรรมในวัฏจักรการเรียนรู 5Es เพื่อใหผูเรียนไดเติมเต็มองคความรูอยางตอเนื่อง จนสามารถปฏิบัติชิ้นงานหรือ ภาระงานรวบยอดของแตละหนวย ผานเกณฑประกันคุณภาพในระดับที่นาพึงพอใจ เพื่อรองรับการประเมินภายนอกจาก สมศ. ตลอดเวลา คูม อื ครู


ASEAN การเรียนรูสูประชาคมอาเซียน เพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรูบูรณาการอาเซียนศึกษา ผูจัดทําไดวิเคราะห มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดที่มีสาระการเรียนรูสอดคลองกับองคความรูเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนในแงมุมตางๆ ครอบคลุมทัง้ ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน เพื่อสงเสริมการเรียนรูใหผูเรียนเกิดความตระหนัก มีความรูความเขาใจเหมาะสมกับระดับชั้นและกลุมสาระ การเรียนรู โดยเสนอแนะวิธีการจัดกิจกรรมบูรณาการเนื้อหาสาระตางๆ ที่เปนประโยชนตอผูเรียนและเปนการชวย เตรียมความพรอมผูเ รียนทุกคนทีจ่ ะกาวเขาสูก ารเปนสมาชิกของประชาคมอาเซียนไดอยางมัน่ ใจตามขอตกลงปฏิญญา เสร�ม ชะอํา-หัวหิน วาดวยความรวมมือดานการศึกษาเพือ่ บรรลุเปาหมายประชาคมอาเซียนทีเ่ อือ้ อาทรและแบงปน จึงกําหนด 7 เปนนโยบายใหกระทรวงศึกษาธิการจัดการเรียนรูเตรียมความพรอมผูเรียนเขาสูประชาคมอาเซียนภายในป พ.ศ. 2558 ตามแนวปฏิบัติที่สําคัญ ดังนี้

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน 1. การสรางความรูความเขาใจ และตระหนักถึงความสําคัญของ กฎบัตรอาเซียน และความรวมมือ ของ 3 เสาหลัก ซึง่ กฎบัตรอาเซียน ในขณะนี้มีสถานะเปนกฎหมายที่ ประเทศสมาชิกจะตองปฏิบัติตาม หลักการที่กําหนดไวเพื่อใหบรรลุ เปาหมายของกฎบัตรมาตราตางๆ

2. การสงเสริมหลักการ ประชาธิปไตยและการสราง สิ่งแวดลอมประชาธิปไตย เพื่อการอยูรวมกันอยางกลมกลืน ภายใตวิถีชีวิตอาเซียนที่มีความ หลากหลายดานสังคมและ วัฒนธรรม

4. การตระหนักในคุณคาของ สายสัมพันธทางประวัติศาสตร และมรดกทางวัฒนธรรมที่มี พัฒนาการรวมกัน เพื่อเชื่อม อัตลักษณและสรางจิตสํานึก ในการเปนประชากรของประชาคม อาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการศึกษาดาน สิทธิมนุษยชน เพื่อสรางประชาคม อาเซียนใหเปนประชาคมเพื่อ ประชาชนอยางแทจริง สามารถ อยูรวมกันไดบนพื้นฐานการเคารพ ในคุณคาของศักดิ์ศรีแหงความ เปนมนุษยเทาเทียมกัน

5. การสงเสริมสันติภาพ ความ มั่นคง และความปรองดองในสังคม ทั้งระดับประเทศและภูมิภาคของ อาเซียนบนพื้นฐานสันติวิธีและการ อยูรวมกันดวยขันติธรรม

คูม อื ครู


การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

เสร�ม

8

1. การพัฒนาทักษะการทํางาน เพื่อเสริมสรางผูเรียนใหมีทักษะ วิชาชีพที่จําเปนสอดคลองกับ ความตองการของตลาดแรงงาน และสถานประกอบการในอาเซียน สามารถเทียบโอนผลการเรียน และการทํางานตามมาตรฐานฝมือ แรงงานในภูมิภาคอาเซียน

2. การเสริมสรางวินัย ความรับผิดชอบ และเจตคติรักการทํางาน สามารถพึ่งพาตนเอง มีทักษะชีวิต ดํารงชีวิตอยางมีความสุข เห็นคุณคา และภูมิใจในตนเอง ในฐานะที่เปนพลเมืองไทยและ อาเซียน

3. การเรียนรูเพื่อพัฒนาตนเอง อยางตอเนื่องตลอดชีวิต ใหมี ทักษะการทํางานตามมาตรฐาน อาชีพ และคุณวุฒิของวิชาชีพสาขา ตางๆ เพื่อรองรับการเตรียมเคลื่อน ยายแรงงานมีฝมือและการเปน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่ เขมแข็ง เพื่อสรางขีดความสามารถ ในการแขงขันในเวทีโลก

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 1. การเสริมสรางความรวมมือ ในลักษณะสังคมที่เอื้ออาทร ของประชากรอาเซียน โดยยึด หลักการสําคัญ คือ ความงดงาม ของประชาคมอาเซียนมาจาก ความแตกตางและหลากหลายทาง วัฒนธรรมที่ลวนแตมีคุณคาตอ มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน ซึ่งประชาชนทุกคนตองอนุรักษ สืบสานใหยั่งยืน

2. การเสริมสรางคุณลักษณะ ของผูเรียนใหเปนพลเมืองอาเซียน ที่มีศักยภาพในการกาวเขาสู ประชาคมอาเซียนอยางมั่นใจ เปนผูที่มีสุขภาพสมบูรณแข็งแรง มีทักษะการสื่อสาร ทักษะการ ทํางาน ทักษะทางสังคม สามารถ ทํางานรวมกับผูอื่นไดอยาง สรางสรรค และมีองคความรู เกี่ยวกับอาเซียนที่จําเปนตอการ ดํารงชีวิตอยางมีคุณภาพ

4. การสงเสริมการเรียนรูดาน ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี วิถชี วี ติ ความเปนอยูข องเพือ่ นบาน ในอาเซียน เพื่อสรางจิตสํานึกของ ความเปนประชาคมอาเซียนและ ตระหนักถึงหนาที่ของการเปน พลเมืองอาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการเรียนรูภาษา อังกฤษเพื่อการสื่อสารและการ ทํางานตามมาตรฐานอาชีพที่ กําหนดและสนับสนุนการเรียนรู ภาษาอาเซียนและภาษาเพื่อนบาน เพื่อชวยเสริมสรางสัมพันธภาพทาง สังคม และการอยูรวมกันอยางสันติ ทามกลางความหลากหลายทาง วัฒนธรรม

5. การสรางความรูและความ ตระหนักเกี่ยวกับดานสิ่งแวดลอม ปญหาและผลกระทบตอคุณภาพ ชีวิตของประชากรในภูมิภาค รวมทั้งแนวทางการพัฒนาอยาง ยั่งยืน ใหเปนมรดกสืบทอดแก พลเมืองอาเซียนในรุนหลังตอๆ ไป

กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศนโยบายการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) เพื่อเรงพัฒนาเด็ก และเยาวชนไทยใหเปนทรัพยากรมนุษยของชาติที่มีทักษะและความชํานาญ พรอมเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงและ การแขงขันทั้งในภูมิภาคอาเซียนและภูมิภาคอื่นๆ ของสังคมโลก ทั้งนี้ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และผูปกครอง ควรรวมมือกันอยางใกลชิดในการดูแลชวยเหลือผูเรียนและจัดประสบการณการเรียนรูเพื่อพัฒนาผูเรียนจนเต็มศักยภาพ เพื่อกาวเขาสูการเปนพลเมืองอาเซียนอยางมีเกียรติภูมิและศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของตน คณะผูจัดทํา คูม อื ครู


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 1

พระพุทธศาสนา (เฉพาะชั้น ม. 4)*

ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม

มาตรฐาน ส 1.1 รูและเขาใจประวัติ ความสําคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือและ ศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกตอง ยึดมั่นและปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยูรวมกันอยางสันติสุข ตัวชี้วัด 1. วิเคราะหสังคมชมพู ทวีป และคติความ เชื่อทางศาสนาสมัย กอนพระพุทธเจา หรือสังคมสมัยของ ศาสดาที่ตนนับถือ 2. วิเคราะห พระพุทธเจาใน ฐานะเปนมนุษยผู ฝกตนไดอยางสูงสุด ในการตรัสรู การ กอตั้ง วิธีการสอน และการเผยแผ พระพุทธศาสนา หรือวิเคราะหประวัติ ศาสดาที่ตนนับถือ ตามที่กําหนด 3. วิเคราะหพุทธประวัติ ดานการบริหาร และการธํารงรักษา ศาสนา หรือ วิเคราะหประวัติ ศาสดาที่ตนนับถือ ตามที่กําหนด 4. วิเคราะหขอปฏิบัติ ทางสายกลางใน พระพุทธศาสนา หรือแนวคิดของ ศาสนาที่ตนนับถือ ตามที่กําหนด 5. วิเคราะหการพัฒนา ศรัทธาและปญญาที่ ถูกตองในพระพุทธศาสนา หรือแนวคิด ของศาสนาที่ตน นับถือตามที่กําหนด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ชั้น ม.4

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน ชั้น ม.5

• ลักษณะของสังคมชมพูทวีป • หนวยการเรียนรูที่ 1 และคติความเชื่อทางศาสนา ประวัติและความสําคัญ สมัยกอนพระพุทธเจา ของพระพุทธศาสนา

-

ชั้น ม.6 -

เสร�ม

9

• พระพุทธเจาในฐานะเปน • หนวยการเรียนรูที่ 2 • หนวยการเรียนรูที่ 2 • หนวยการเรียนรูที่ 2 มนุษย ผูฝกตนไดอยางสูงสุด พุทธประวัติ พระสาวก พุทธประวัติ พระสาวก พุทธประวัติ พระสาวก (การตรัสรู) ศาสนิกชนตัวอยาง ศาสนิกชนตัวอยาง ศาสนิกชนตัวอยาง • การกอตั้งพระพุทธศาสนา และชาดก และชาดก และชาดก วิธีการสอน และการเผยแผ พระพุทธศาสนาตามแนว พุทธจริยา

-

• หนวยการเรียนรูที่ 2 พุทธประวัติ พระสาวก ศาสนิกชนตัวอยาง และชาดก

• พระพุทธศาสนามีทฤษฎีและ • หนวยการเรียนรูที่ 1 วิธีการที่เปนสากลและมีขอ ประวัติและความสําคัญ ปฏิบัติที่ยึดทางสายกลาง ของพระพุทธศาสนา

-

-

• หนวยการเรียนรูที่ 1 ประวัติและความสําคัญ ของพระพุทธศาสนา

-

-

• พุทธประวัติดานการบริหาร และการธํารงรักษาพระพุทธศาสนา

• พระพุทธศาสนาเนนการ พัฒนาศรัทธาและปญญาที่ ถูกตอง

-

หมายเหตุ : สําหรับสาระที่ 2 - 5 จะอยูในหนังสือเรียนหนาที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดําเนินชีวิตในสังคม เศรษฐศาสตร ประวัติศาสตรไทย ประวัติศาสตรสากล และภูมิศาสตร ม.4 - ม.6 ของ อจท. _________________________________

* สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง

กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม. (กรุงเทพมหานคร : ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 29-44.

คูม อื ครู


ตัวชี้วัด

เสร�ม

10

คูม อื ครู

6. วิเคราะหลักษณะ ประชาธิปไตยใน พระพุทธศาสนา หรือแนวคิดของ ศาสนาที่ตนนับถือ ตามที่กําหนด 7. วิเคราะหหลักการ ของพระพุทธศาสนา กับหลักวิทยาศาสตร หรือแนวคิดของ ศาสนาที่ตนนับถือ ตามที่กําหนด 8. วิเคราะหการฝกฝน และพัฒนาตนเอง การพึ่งตนเอง และ การมุงอิสรภาพใน พระพุทธศาสนา หรือแนวคิดของ ศาสนาที่ตนนับถือ ตามที่กําหนด 9. วิเคราะหพระพุทธศาสนาวา เปน ศาสตรแหงการ ศึกษาซึ่งเนนความ สัมพันธของเหตุ ปจจัยกับวิธีการแก ปญหา หรือแนวคิด ของศาสนาที่ตน นับถือตามที่กําหนด 10. วิเคราะหพระพุทธศาสนาในการฝก ตนไมใหประมาท มุงประโยชนและ สันติภาพบุคคล สังคมและโลก หรือ แนวคิดของศาสนา ที่ตนนับถือตามที่ กําหนด 11. วิเคราะหพระพุทธศาสนากับปรัชญา ของเศรษฐกิจพอ เพียงและการพัฒนา ประเทศแบบยั่งยืน หรือแนวคิดของ ศาสนาที่ตนนับถือ ตามที่กําหนด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ชั้น ม.4

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน ชั้น ม.5

ชั้น ม.6

• ลักษณะประชาธิปไตยใน พระพุทธศาสนา

-

• หนวยการเรียนรูที่ 1 ประวัติและความสําคัญ ของพระพุทธศาสนา

-

• หลักการของพระพุทธศาสนา กับหลักวิทยาศาสตร • การคิดตามนัยแหงพระพุทธศาสนาและการคิดแบบ วิทยาศาสตร

-

• หนวยการเรียนรูที่ 1 ประวัติและความสําคัญ ของพระพุทธศาสนา

-

• พระพุทธศาสนาเนนการ ฝกหัดอบรมตน การพึ่ง ตนเอง และการมุงอิสรภาพ

-

• หนวยการเรียนรูที่ 1 ประวัติและความสําคัญ ของพระพุทธศาสนา

-

• พระพุทธศาสนาเปนศาสตร แหงการศึกษา • พระพุทธศาสนาเนนความ สัมพันธ ของเหตุปจจัยและ วิธีการแกปญหา

-

-

• หนวยการเรียนรูที่ 1 ประวัติและความสําคัญ ของพระพุทธศาสนา

• พระพุทธศาสนาฝกตนไมให ประมาท • พระพุทธศาสนามุงประโยชน สุขและสันติภาพแกบุคคล สังคมและโลก

-

-

• หนวยการเรียนรูที่ 1 ประวัติและความสําคัญ ของพระพุทธศาสนา

• พระพุทธศาสนากับปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียงและ การพัฒนาแบบยั่งยืน

-

-

• หนวยการเรียนรูที่ 8 พระพุทธศาสนากับ การแกปญหาและ การพัฒนา


ตัวชี้วัด 12. วิเคราะหความสําคัญ ของพระพุทธศาสนา เกี่ยวกับการศึกษาที่ สมบูรณ การเมือง และสันติภาพ หรือ แนวคิดของศาสนา ที่ตนนับถือตามที่ กําหนด 13. วิเคราะหหลักธรรม ในกรอบ อริยสัจ 4 หรือหลักคําสอนของ ศาสนา ที่ตนนับถือ พระรัตนตรัย

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ชั้น ม.4

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน ชั้น ม.5

ชั้น ม.6

• ความสําคัญของพระพุทธศาสนากับการศึกษาที่ สมบูรณ • ความสําคัญของพระพุทธศาสนากับการเมือง • ความสําคัญของพระพุทธศาสนากับสันติภาพ

• หนวยการเรียนรูที่ 8 พระพุทธศาสนากับ การแกปญหาและการ พัฒนา

พระรัตนตรัย • วิเคราะหความหมายและ คุณคาของพุทธะ ธรรมะ สังฆะ อริยสัจ 4 • ทุกข (ธรรมที่ควรรู) - ขันธ 5 นามรูป โลกธรรม 8 จิต, เจตสิก • สมุทัย (ธรรมที่ควรละ) - หลักกรรม นิยาม 5 กรรมนิยาม (กรรม 12) ธรรมนิยาม (ปฏิจจสมุปบาท) - วิตก 3 - มิจฉาวณิชชา 5 - นิวรณ 5 - อุปาทาน 4 • นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ) - ภาวนา 4 - วิมุตติ 5 - นิพพาน • มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ) - พระสัทธรรม 3 - ปญญาวุฒิธรรม 4 - พละ 5 - อุบาสกธรรม 5 - อปริหานิยธรรม 7 - ปาปณิกธรรม 3 - ทิฏฐธัมมิกัตถสังวัตตนิกธรรม 4 - โภคอาทิยะ 5 - อริยวัฑฒิ 5 - อธิปไตย 3 - สาราณียธรรม 6 - ทศพิธราชธรรม 10

• หนวยการเรียนรูที่ 3 • หนวยการเรียนรูที่ 3 • หนวยการเรียนรูที่ 3 หลักธรรมทาง หลักธรรมทาง หลักธรรมทาง พระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนา • หนวยการเรียนรูที่ 4 • หนวยการเรียนรูที่ 4 • หนวยการเรียนรูที่ 4 พุทธศาสนสุภาษิตและ พระไตรปฎกและพุทธ พุทธศาสนสุภาษิต พระไตรปฎก ศาสนสุภาษิต คําศัพททางพระพุทธศาสนา และพระไตรปฎก

-

-

เสร�ม

11

คูม อื ครู


ตัวชี้วัด

เสร�ม

12

คูม อื ครู

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ชั้น ม.4

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน ชั้น ม.5

ชั้น ม.6

- วิปสสนาญาณ 9 • หนวยการเรียนรูที่ 3 • หนวยการเรียนรูที่ 3 • หนวยการเรียนรูที่ 3 - มงคล 38 หลักธรรมทาง หลักธรรมทาง หลักธรรมทาง สงเคราะหบุตร พระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนา สงเคราะหภรรยา • หนวยการเรียนรูที่ 4 • หนวยการเรียนรูที่ 4 • หนวยการเรียนรูที่ 4 สันโดษ พุทธศาสนสุภาษิตและ พุทธศาสนสุภาษิตและ พุทธศาสนสุภาษิต ถูกโลกธรรม พระไตรปฎก พระไตรปฎก คําศัพททางพระพุทธจิตไมหวั่นไหว ศาสนา และพระไตรปฎก จิตไมเศราโศก จิตไมมัวหมอง จิตเกษม ความเพียรเผากิเลส ประพฤติพรหมจรรย เห็นอริยสัจ บรรลุนิพพาน พุทธศาสนสุภาษิต • จิตฺตํ ทนฺตํ สุขาวหํ จิตที่ฝกดีแลวนําสุขมาให • นอุจจฺ าวจํ ปณฺฑติ า ทสฺสยนฺติ บัณฑิตยอมไมแสดงอาการ ขึ้นๆ ลงๆ • นตฺถิ โลเก อนินฺทิโต คนที่ไมถูกนินทา ไมมีในโลก • โกธํ ฆตฺวา สุขํ เสติ ฆาความโกรธไดยอ มอยูเ ปนสุข • ปฏิรูปการี ธุรวา อุฎฐาตา วินฺทเต ธนํ คนขยันเอาการเอางาน กระทําเหมาะสม ยอมหา ทรัพยได • วายเมถว ปุริโส ยาว อตฺถสฺส นิปฺปทา เกิดเปนคนควรจะพยายาม จนกวาจะประสบความสําเร็จ • สนฺตฎฐี ปรมํ ธนํ ความสันโดษเปนทรัพยอยางยิง่ • อิณาทานํ ทุกฺขํ โลเก การเปนหนี้เปนทุกขในโลก • ราชา มุขํ มนุสฺสานํ พระราชาเปนประมุขของ ประชาชน • สติ โลกสฺมิ ชาคโร สติเปนเครื่องตื่นในโลก • นตฺถิ สนฺติปรํ สุขํ สุขอื่นยิ่งกวาความสงบไมมี • นิพฺพานํ ปรมํ สุขํ นิพพานเปนสุข อยางยิ่ง


ตัวชี้วัด 14. วิเคราะหขอคิดและ แบบอยางการดําเนิน ชีวิตจากประวัติสาวก ชาดก เรื่องเลา และ ศาสนิกชนตัวอยาง ตามที่กําหนด

15. วิเคราะหคุณคา และความสําคัญ ของการสังคายนา พระไตรปฎก หรือ คัมภีรของศาสนาที่ ตนนับถือ และการ เผยแผ

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ชั้น ม.4

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน ชั้น ม.5

ชั้น ม.6

พุทธสาวก พุทธสาวิกา • หนวยการเรียนรูที่ 2 • หนวยการเรียนรูที่ 2 • หนวยการเรียนรูที่ 2 • พระอัสสชิ พุทธประวัติ พระสาวก พุทธประวัติ พระสาวก พุทธประวัติ พระสาวก • พระกีสาโคตรมีเถรี ศาสนิกชนตัวอยาง ศาสนิกชนตัวอยาง ศาสนิกชนตัวอยาง • พระนางมัลลิกา และชาดก และชาดก และชาดก • หมอชีวกโกมารภัจ • พระอนุรุทธะ • พระองคุลิมาล • พระธัมมทินนาเถรี • จิตตคหบดี • พระอานนท • พระปฏาจาราเถรี • จูฬสุภัททา • สุมนมาลาการ ชาดก • เวสสันดรชาดก • มโหสธชาดก • มหาชนกชาดก ชาวพุทธตัวอยาง • พระนาคเสน - พระยามิลนิ ท • สมเด็จพระวันรัต (เฮง เขมจารี) • พระอาจารยมั่น ภูริทตฺโต • สุชีพ ปุญญานุภาพ • สมเด็จพระนารายณมหาราช • พระธรรมโกศาจารย (พุทธทาสภิกขุ) • พระพรหมมังคลาจารย (ปญญานันทภิกขุ) • ดร.เอ็มเบดการ • พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว • พระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท) • พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ. ปยุตโต) • อนาคาริก ธรรมปาละ • วิธีการศึกษาและคนควา • หนวยการเรียนรูที่ 4 • หนวยการเรียนรูที่ 4 • หนวยการเรียนรูที่ 4 พระไตรปฎก และคัมภีรของ พุทธศาสนสุภาษิตและ พระไตรปฎกและ พุทธศาสนสุภาษิต ศาสนาอื่นๆ การสังคายนา พระไตรปฎก พุทธศาสนสุภาษิต คําศัพททางพระพุทธและการเผยแผพระไตรปฎก ศาสนา และพระไตรปฎก • ความสําคัญและคุณคาของ พระไตรปฎก

เสร�ม

13

คูม อื ครู


เสร�ม

14

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

16. เชื่อมั่นตอผลของ การทําความดี ความชั่ว สามารถ วิเคราะหสถานการณ ที่ตองเผชิญ และ ตัดสินใจเลือกดําเนิน การหรือปฏิบัติตน ไดอยางมีเหตุผลถูก ตองตามหลักธรรม จริยธรรม และ กําหนดเปาหมาย บทบาทการดําเนิน ชีวิตเพื่อการอยูรวม กันอยางสันติสุข และอยูรวมกันเปน ชาติอยางสมานฉันท 17. อธิบายประวัติศาสดา ของศาสนาอื่นๆ โดยสังเขป

• ตัวอยางผลที่เกิดจากการ ทําความดี ความชั่ว • โยนิโสมนสิการดวยวิธีคิด แบบอริยสัจ • หลักธรรมตามสาระการเรียน รูขอ 13

ชั้น ม.4 -

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน ชั้น ม.5 • หนวยการเรียนรูที่ 3 หลักธรรมทาง พระพุทธศาสนา

ชั้น ม.6

• หนวยการเรียนรูที่ 3 หลักธรรมทาง พระพุทธศาสนา

• ประวัติพระพุทธเจา มุฮัมมัด • หนวยการเรียนรูพิเศษ • หนวยการเรียนรูที่ 2 พระเยซู ศาสนาสําคัญใน พุทธประวัติ พระสาวก ประเทศไทย ศาสนิกชนตัวอยาง และชาดก 18. ตระหนักในคุณคา • คุณคาและความสําคัญของ • หนวยการเรียนรูที่ 9 และความสําคัญของ คานิยมและจริยธรรม หลักธรรมทางศาสนา คานิยม จริยธรรมที่ • การขจัดความขัดแยงเพื่ออยู กับการอยูรวมกันอยาง เปนตัวกําหนดความ รวมกันอยางสันติสุข สันติสุข เชื่อและพฤติกรรม ที่แตกตางกันของ ศาสนิกชนศาสนา ตาง ๆ เพื่อขจัด ความขัดแยงและ อยูรวมกันในสังคม อยางสันติสุข 19. เห็นคุณคา เชื่อมั่น • พัฒนาการเรียนรูดวยวิธีคิด • หนวยการเรียนรูที่ 7 • หนวยการเรียนรูที่ 7 • หนวยการเรียนรูที่ 7 และมุงมั่นพัฒนา แบบโยนิโสมนสิการ 10 วิธี การบริหารจิตและ การบริหารจิตและ การบริหารจิตและ ชีวิตดวยการพัฒนา (เนนวิธีคิดแบบแยกแยะ การเจริญปญญา การเจริญปญญา การเจริญปญญา จิตและพัฒนาการ สวนประกอบ แบบสามัญญเรียนรูดวยวิธีคิด ลักษณะ แบบเปนอยูในขณะ แบบโยนิโสมนสิการ ปจจุบัน และแบบวิภัชชวาท) หรือการพัฒนาจิต - วิธีคิดแบบสืบสาวเหตุ ตามแนวทางของ ปจจัย ศาสนาที่ตนนับถือ - วิธีคิดแบบแยกแยะสวน ประกอบ - วิธีคิดแบบสามัญลักษณะ - วิธีคิดแบบอริยสัจ - วิธีคิดแบบอรรถธรรม สัมพันธ

คูม อื ครู


ตัวชี้วัด

20. สวดมนต แผเมตตา และบริหารจิตและ เจริญปญญาตาม หลักสติปฏฐาน หรือ ตามแนวทางของ ศาสนาที่ตนนับถือ

21. วิเคราะหหลักธรรม สําคัญในการอยูรวม กันอยางสันติสุขของ ศาสนาอื่นๆ และ ชักชวน สงเสริม สนับสนุนใหบุคคล อื่นเห็นความสําคัญ ของการทําความดี ตอกัน

22. เสนอแนวทางการจัด กิจกรรม ความรวม มือของทุกศาสนาใน การแกปญหาและ พัฒนาสังคม

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ชั้น ม.4

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน ชั้น ม.5

- วิธีคิดแบบคุณคาแท• หนวยการเรียนรูที่ 7 คุณคาเทียม การบริหารจิตและ - วิธีคิดแบบคุณ-โทษ และ การเจริญปญญา ทางออก - วิธีคิดแบบอุบาย ปลุกเรา คุณธรรม - วิธีคิดแบบเปนอยูในขณะ ปจจุบัน - วิธีคิดแบบวิภัชชวาท สวดมนตแปลและแผเมตตา • หนวยการเรียนรูที่ 7 รูและเขาใจวิธีปฏิบัติและ การบริหารจิตและ ประโยชนของการบริหารจิตและ การเจริญปญญา เจริญปญญา • ฝกการบริหารจิตและเจริญ ปญญาตามหลักสติปฏฐาน • นําวิธีการบริหารจิตและเจริญ ปญญาไปใชในการพัฒนาการ เรียนรู คุณภาพชีวิตและ สังคม • หลักธรรมสําคัญในการอยู รวมกันอยางสันติสุข - หลักธรรมในพระพุทธศาสนา เชน สาราณียธรรม 6 อธิปไตย 3 มิจฉาวณิชชา 5 อริยวัฑฆิ 5 โภคอาทิยะ 5 • คริสตศาสนา ไดแก บัญญัติ 10 ประการ (เฉพาะที่ เกี่ยวของ) • ศาสนาอิสลาม ไดแก หลัก จริยธรรม (เฉพาะที่เกี่ยวของ) • สภาพปญหาในชุมชน และ สังคม

• หนวยการเรียนรูที่ 7 การบริหารจิตและ การเจริญปญญา

ชั้น ม.6

• หนวยการเรียนรูที่ 7 การบริหารจิตและ การเจริญปญญา

เสร�ม

15

• หนวยการเรียนรูที่ 7 การบริหารจิตและ การเจริญปญญา

• หนวยการเรียนรูพิเศษ หลักธรรมทางศาสนา ในการอยูรวมกันอยาง สันติสุข

-

• หนวยการเรียนรูที่ 7 การบริหารจิตและ การเจริญปญญา

-

• หนวยการเรียนรูที่ 8 พระพุทธศาสนากับ การแกปญหาและ การพัฒนา

คูม อื ครู


มาตรฐาน ส 1.2 เขาใจ ตระหนักและปฏิบตั ติ นเปนศาสนิกชนทีด่ ี และธํารงรักษาพระพุทธศาสนา หรือศาสนาทีต่ นนับถือ ตัวชี้วัด

เสร�ม

16

คูม อื ครู

1. ปฏิบัติตนเปน ศาสนิกชนที่ดีตอ สาวก สมาชิกใน ครอบครัว และคน รอบขาง

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ชั้น ม.4

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน ชั้น ม.5

• หนวยการเรียนรูที่ 5 หนาที่ชาวพุทธและ • การเขาใจในกิจของพระภิกษุ มารยาทชาวพุทธ ปฏิบัติตนเปนชาวพุทธที่ดีตอ พระภิกษุ

เชน การศึกษา การปฏิบัติ ธรรม และการเปนนักบวชที่ดี • คุณสมบัติทายกและปฏิคาหก • หนาที่และบทบาทของ พระภิกษุในฐานะพระนักเทศน พระธรรมทูต พระธรรมจาริก พระวิทยากร พระวิปส สนาจารย และพระนักพัฒนา • การปกปองคุมครองพระพุทธศาสนาของพุทธบริษัทใน สังคมไทย • การปฏิบัติตนตอพระภิกษุทาง กาย วาจา และใจ ที่ประกอบ ดวยเมตตา • การปฏิสันถารที่เหมาะสมตอ พระภิกษุในโอกาสตาง ๆ ปฏิบัติตนเปนสมาชิกที่ดีของ ครอบครัวและสังคม • การรักษาศีล 8 • การเขารวมกิจกรรมและเปน สมาชิกขององคกรชาวพุทธ • การเปนชาวพุทธที่ดี ตามหลัก ทิศเบื้องบนในทิศ 6 • การปฏิบัติตนที่เหมาะสมใน ฐานะผูปกครองและผูอยูใน ปกครอง ตามหลักทิศเบื้อง ลาง ในทิศ 6 • การปฏิสันถารตามหลัก ปฏิสันถาร 2 • หนาที่และบทบาทของอุบาสก อุบาสิกาที่มีตอสังคมไทยใน ปจจุบัน • การปฏิบัติตนเปนสมาชิกที่ดี ของครอบครัว ตามหลักทิศ เบื้องหลัง ในทิศ 6 • การบําเพ็ญตนใหเปน ประโยชนตอครอบครัว ชุมชน ประเทศชาติ และโลก

• หนวยการเรียนรูที่ 5 หนาที่ชาวพุทธและ มารยาทชาวพุทธ

ชั้น ม.6

• หนวยการเรียนรูที่ 5 หนาที่ชาวพุทธและ มารยาทชาวพุทธ


ตัวชี้วัด 2. ปฏิบัติตนถูกตอง ตามศาสนพิธี พิธีกรรมตามหลัก ศาสนาที่ตนนับถือ

3. แสดงตนเปน พุทธมามกะ หรือ แสดงตนเปน ศาสนิกชนของ ศาสนาที่ตนนับถือ 4. วิเคราะหหลักธรรม คติธรรมที่เกี่ยวเนื่อง กับวันสําคัญทาง ศาสนา และเทศกาล ที่สําคัญของศาสนา ที่ตนนับถือ และ ปฏิบัติตนไดถูกตอง 5. สัมมนาและเสนอ แนะแนวทางในการ ธํารงรักษาศาสนา ที่ตนนับถือ อันสง ผลถึงการพัฒนาตน พัฒนาชาติและโลก

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ชั้น ม.4

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน ชั้น ม.5

ชั้น ม.6

ประเภทของศาสนพิธีใน • หนวยการเรียนรูที่ 6 • หนวยการเรียนรูที่ 6 • หนวยการเรียนรูที่ 6 พระพุทธศาสนา วันสําคัญทางพระพุทธ- วันสําคัญทางพระพุทธ- วันสําคัญทางพระพุทธ• ศาสนพิธีเนื่องดวยพุทธศาสนาและศาสนพิธี ศาสนาและศาสนพิธี ศาสนาและศาสนพิธี บัญญัติ เชน พิธีแสดงตน เปนพุทธมามกะ พิธีเวียน เทียน ถวายสังฆทาน ถวาย ผาอาบนํ้าฝน พิธีทอดกฐิน พิธีปวารณา เปนตน • ศาสนพิธที นี่ าํ พระพุทธศาสนา เขาไปเกี่ยวเนื่อง เชน การทําบุญเลี้ยงพระในโอกาส ตางๆ ความหมาย ความสําคัญ คติธรรมในพิธีกรรม บทสวด มนตของนักเรียน งานพิธี คุณคาและประโยชน พิธีบรรพชาอุปสมบท คุณสมบัติของผูขอบรรพชา อุปสมบท เครื่องอัฏฐบริขาร ประโยชนของการบรรพชา อุปสมบท บุญพิธี ทานพิธี กุศลพิธี คุณคาและประโยชนของศาสนพิธี การแสดงตนเปนพุทธมามกะ • หนวยการเรียนรูที่ 5 • ขั้นเตรียมการ หนาที่ชาวพุทธและ • ขั้นพิธีการ มารยาทชาวพุทธ

เสร�ม

17

• หลักธรรม/คติธรรมที่เกี่ยว • หนวยการเรียนรูที่ 6 • หนวยการเรียนรูที่ 6 • หนวยการเรียนรูที่ 6 เนือ่ งกับวันสําคัญและเทศกาล วันสําคัญทางพระพุทธ- วันสําคัญทางพระพุทธ- วันสําคัญทางพระพุทธที่สําคัญในพระพุทธศาสนา ศาสนาและศาสนพิธี ศาสนาและศาสนพิธี ศาสนาและศาสนพิธี หรือศาสนาอื่น • การปฏิบัติตนที่ถูกตองในวัน สําคัญและเทศกาลที่สําคัญใน พระพุทธศาสนา หรือศาสนาอืน่ • การปกปอง คุมครอง ธํารง • หนวยการเรียนรูที่ 8 • หนวยการเรียนรูที่ 8 • หนวยการเรียนรูที่ 5 รักษาพระพุทธศาสนาของ พระพุทธศาสนากับ พระพุทธศาสนากับ หนาที่ชาวพุทธและ พุทธบริษัทในสังคมไทย การแกปญ หาและ การแกปญ หาและ มารยาทชาวพุทธ • การปลูกจิตสํานึก และการมี การพัฒนา การพัฒนา สวนรวมในสังคมพุทธ

คูม อื ครู


คําอธิบายรายวิชา รายวิชา พระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 รหัสวิชา ส…………………………………

กลุมสาระการเรียนรู สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ภาคเรียนที่ 1-2 เวลา 40 ชั่วโมง/ป

ศึกษา วิเคราะหลักษณะสังคมชมพูทวีปและคติความเชื่อทางศาสนาสมัยกอนพระพุทธเจา และพระพุทธเจาใน เสร�ม ฐานะเปนมนุษยผูฝกตนไดอยางสูงสุดในการตรัสรูและกอตั้งพระพุทธศาสนา รวมถึงขอคิดและแบบอยางในการดําเนิน 18 ชีวิตจากประวัติพระสาวก ชาดก และศาสนิกชนตัวอยาง วิธีการศึกษาคนควาพระไตรปฎก หลักธรรมในกรอบอริยสัจ 4 ขอปฏิบัติทางสายกลางและแนวคิดการพัฒนาศรัทธาและปญญาทางพระพุทธศาสนา พุทธศาสนสุภาษิต การปฏิบัติตน เปนพุทธศาสนิกชนที่ดีตอสาวก สมาชิกในครอบครัวและคนรอบขาง รวมถึงในพิธีกรรมและศาสนพิธีตาง ๆ วิธีปฏิบัติใน การบริหารจิตและเจริญปญญาตามหลักสติปฏฐาน การพัฒนาการเรียนดวยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ รวมถึงแนวทางใน การธํารงรักษาพระพุทธศาสนาอันสงผลตอการพัฒนาตน ชาติและโลก เพื่อใหสามารถวิเคราะหลักษณะสังคมชมพูทวีปและคติความเชื่อทางศาสนาสมัยกอนพระพุทธเจา และ พระพุทธเจาในฐานะเปนมนุษยผูฝกตนไดอยางสูงสุดในการตรัสรูและกอตั้งพระพุทธศาสนา รวมถึงขอคิดและแบบอยาง ในการดําเนินชีวิตจากประวัติพระสาวก ชาดก และศาสนิกชนตัวอยาง ศึกษาคนควาพระไตรปฎก มีความรูความเขาใจ และปฏิบัติตนตามหลักธรรมในกรอบอริยสัจ 4 ขอปฏิบัติทางสายกลางและแนวคิดการพัฒนาศรัทธาและปญญาทาง พระพุทธศาสนา พุทธศาสนสุภาษิต การเปนพุทธศาสนิกชนที่ดีตอสาวก สมาชิกในครอบครัวและคนรอบขาง รวมถึงใน พิธีกรรมและศาสนพิธีตาง ๆ บริหารจิตและเจริญปญญาตามหลักสติปฏฐาน พัฒนาการเรียนดวยวิธีคิดแบบ โยนิโสมนสิการ รวมถึงธํารงรักษาพระพุทธศาสนาอันสงผลตอการพัฒนาตน ชาติและโลก

ตัวชี้วัด ส 1.1 ม.4/1, 4, 5 ม.4/2,14 ม.4/13 ส 1.2 ม.4/1 ม.4/2, 3, 4 ม.4/5

ม.4/13,15 ม.4/19, 20 ม.4/12 รวม 17 ตัวชี้วัด

คูม อื ครู

ม.4/17


5

✓ ✓

4

6

7

8

_________________________________ หมายเหตุ ✓ เฉพาะที่สอดคลองกับตัวชี้วัด ม.4 เทานั้น ตัวชี้วัดที่เหลือจะจัดการเรียนการสอนในชั้น ม.5 และ ม.6

หนวยการเรียนรูที่ 5 : หนาที่ชาวพุทธและมารยาทชาวพุทธ

9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 1

3

หนวยการเรียนรูที่ 4 : พุทธศาสนสุภาษิตและพระไตรปฎก

2

1

มาตรฐาน ส 1.1 ตัวชี้วัด

สาระที่ 1

หนวยการเรียนรูที่ 3 : หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา

หนวยการเรียนรูที่ 2 : พุทธประวัติ พระสาวก ศาสนิกชนตัวอยาง และชาดก

หนวยการเรียนรูที่ 1 : ประวัตแิ ละความสําคัญของพระพุทธศาสนา

หนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด

2

3

4

มาตรฐาน ส 1.2 ตัวชี้วัด 5

ตาราง วิเคราะหมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั รายวิชา พระพุทธศาสนา ม.4

คําชี้แจง : ใหผูสอนใชตารางนี้ตรวจสอบความสอดคลองของเนื้อหาสาระการเรียนรูในหนวยการเรียนรูกับมาตรฐาน การเรียนรูและตัวชี้วัด เสร�ม

19

คูม อื ครู


คูม อื ครู

หนวยการเรียนรูพ เิ ศษ : ศาสนาสําคัญในประเทศไทย

หนวยการเรียนรูที่ 8 : พุทธศาสนากับการแกปญหาและ การพัฒนา

หนวยการเรียนรูที่ 7 : การบริหารจิตและการเจริญปญญา

1

2

3

4

5

6

7

8

✓ ✓

9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 1

มาตรฐาน ส 1.1 ตัวชี้วัด

สาระที่ 1

20

หนวยการเรียนรูที่ 6 : วันสําคัญทางพระพุทธศาสนาและศาสนพิธี

หนวยการเรียนรู

มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด

เสร�ม 3

4

✓ ✓ ✓

2

มาตรฐาน ส 1.2 ตัวชี้วัด 5


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹

¾รоط¸Èาส¹า Á.ô ªั¹é Áั¸ÂÁÈÖ¡Éา»‚·èÕ ô

¡ÅØ‹ÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙŒÊѧ¤ÁÈÖ¡ÉÒ ÈÒÊ¹Ò áÅÐÇѲ¹¸ÃÃÁ µÒÁËÅÑ¡ÊÙµÃ᡹¡ÅÒ§¡ÒÃÈÖ¡ÉÒ¢Ñé¹¾×é¹°Ò¹ ¾Ø·¸ÈÑ¡ÃÒª òõõñ

¼ÙŒàÃÕºàÃÕ§

¼ÙŒµÃǨ

ºÃóҸԡÒÃ

È.´Ã. ÇÔ·Â ÇÔÈ·àÇ·Â È.¾ÔàÈÉ àÊ°ÕÂþ§É ÇÃó»¡

È.¾ÔàÈÉ ¨íÒ¹§¤ ·Í§»ÃÐàÊÃÔ° ÃÈ. ªÙÈÑ¡´Ôì ·Ô¾Âà¡Éà ¹ÒÂÊíÒÃÇ ÊÒÃѵ¶

¹ÒÂÊÁà¡ÕÂÃµÔ ÀÙ‹ÃÐ˧É

พิมพครั้งที่ ๘

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ ISBN : 978-616-203-345 -2 รหัสสินคา ๓๔๑๓๐๑๐

¤Œ¹¤ÇÒÁÃÙŒ¢ÂÒ¤ÇÒÁ¤Ô´¨Ò¡

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè 1 ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ 3443015

EB GUIDE

ที่พิมพกํากับหัวขอสําคัญในหนังสือเรียนหลักสูตรแกนกลางฯ ผาน www.aksorn.com ไปยังแหลงความรูทั่วไทย-ทั่วโลก

คณะผูจัดทําคูมือครู

ระวิวรรณ ตั้งตรงขันติ วิทยา ยุวภูษิตานนท


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

คำ�นำ� พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำาชาติไทยและเป็นศาสนาที่คนไทยส่วนใหญ่นับถือ ดังนั้น จึงเป็นสิ่งจำาเป็นที่เยาวชนไทยจะต้องศึกษาเรียนรู้ ทั้งนี้เพื่อจะได้เล็งเห็นคุณค่าและตระหนักใน ความสำาคัญของพระพุทธศาสนา อันจะนำาไปสู่ความร่วมมือกันในการทำานุบำารุงพระพุทธศาสนา ให้เจริญรุ่งเรืองมั่นคงสืบไป รวมทั้งจะได้มีโอกาสเรียนรู้หลักธรรมที่มีคุณค่าเพื่อนำาไปใช้เป็น แนวทางในการดำาเนินชีวิต ซึ่งถ้าคนไทยส่วนใหญ่รู้จักปฏิบัติตนตามหลักคำาสอนของพระพุทธ ศาสนาแล้ว นอกจากผู้ปฏิบัติตามจะพบแต่ความสุขความเจริญแล้ว ยังจะส่งผลทางอ้อมให้สังคม ไทย มีสันติสุขมีความสงบร่มเย็นมากขึ้น ในการเรียบเรียงหนังสือเรียนพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔-๖ นี้ ได้จัดทำาตาม ตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้แกนกลาง ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ละ ม ๒๕๕๑ โดยจัดแบ่งหนังสือเรียนออกเป็น ๓ เล่ม สำาหรับใช้ประกอบการเรียนการสอนชั้นละ ๑ เล่ ๆ กันในทุกชั้น ก็เรียบเรียง สำาหรับเนื้อหาสาระในบางหัวข้อที่มีความจำาเป็นต้องเรียนซ้ำาๆ กั ออกไป โดยลำาดับความยากง่าย เนื้อหาให้มีแนวคิดหลักและสาระของเรื่องให้มีความแตกต่างกันออกไป โดยลำ รวมทั้ ง อาศัยกรอบความคิดในการจัดทำาสาระการเรียนรู้ ให้ เ หมาะสมกั บ ผู้ เ รี ย นในแต่ ล ะชั้ น รวมทั ษา สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พระพุทธศาสนา ของสำานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำ กระทรวงศึกษาธิการประกอบด้วย พืน้ ฐาน กระทรวงศึ ทั้งนี้เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความเข้าใจประวัติ ความสำาาคัคัญ พุพุทธประวัติ หลักธรรมของ พระพุทธศาสนา มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึยึดมั่นและปฏิบัติตามหลักธรรมเพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข รวมทั้งเพื่อจะได้เกิดความตระหนักและปฏิบัติตนเป็นพุทธศาสนิกชนที่ดี และร่วมกันธำารงรักษา งตลอดไป ตลอดจนสามารถนำาหลักธรรมทางพระพุทธพระพุทธศาสนาให้มีความเจริญรุ่งเรืองตลอดไป ตลอดจนสามารถนำ ศาสนาไปเป็นแนวทางปฏิบัติในการดำารงชีวิต เพื่อพัฒนาตนเอง ครอบครัว และสังคมได้ หวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือเรียนพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ เล่มนี้ จะเป็น สื่อการเรียนการสอนที่ช่วยอำานวยความสะดวกแก่ครูผู้สอน ให้ความรู้และช่วยพัฒนาศักยภาพ ของผู้เรียนให้บรรลุมาตรฐานตามที่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กำาหนดไว้ทุกประการ คณะผู้เรียบเรียง


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

สารบัหน่วยการเรียนรู้ที่

ประวัติและความสำาคัญของพระพุทธศาสนา

ลักษณะของสังคมชมพูทวีปและคติความเชื่อ ทางศาสนาในสมัยก่อนพระพุทธเจ้า ● ความสำาคัญของพระพุทธศาสนา

๒ ๑๓

๒๕

หน่วยการเรียนรู้ที่

พุทธประวัติ พระสาวก ศาสนิกชนตัวอย่าง และชาดก ● ● ● ●

พุทธประวัติ ประวัติพุทธสาวก พุทธสาวิกา ศาสนิกชนตัวอย่าง ชาดก

หน่วยการเรียนรู้ที่

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ● ●

พระรัตนตรัย อริยสัจ ๔ ๔

หน่วยการเรียนรู้ที่

๖๓ ๖๔ ๖๘

พุทธศาสนสุภาษิตและพระไตรปิฎก ●

๒๖ ๓๐ ๔๖ ๕๗

พุทธศาสนสุภาษิต พระไตรปิฎก

๘๓ ๘๔ ๘๘


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Explain

หน่วยการเรียนรู้ที่

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

หน้าที่ชาวพุทธและมารยาทชาวพุทธ ● ●

หน้าที่ชาวพุทธ มารยาทชาวพุทธ

หน่วยการเรียนรู้ที่

วันสำาคัญทางพระพุทธศาสนาและศาสนพิธี ● ●

วันสำาคัญทางพระพุทธศาสนา ศาสนพิธี

หน่วยการเรียนรู้ที่

การบริหารจิตและการเจริญปัญญา ● ●

การบริหารจิต การเจริญปัญญาตามหลักโยนิโสมนสิการ

หน่วยการเรียนรู้ที่

พระพุทธศาสนากับการแก้ปัญหาและการพัฒนา พระพุทธศาสนากับการศึกษาที่สมบูรณ์ ● แนวทางการสัมมนาพระพุทธศาสนา ● การสัมมนาและเสนอแนะแนวทางในการธำารง รักษาพระพุทธศาสนาอันส่งผลถึงการพัฒนาตน ●

หน่วยการเรียนรู้พิเศษ

ศาสนาสำาคัญในประเทศไทย ● ● ● ●

ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ศาสนาสิข

บรรณานุกรม

๙๑ ๙๒ ๑๐๑

๑๐๗ ๑๐๘ ๑๑๘

๑๓๑ ๑๓๒ ๑๓๘

๑๔๓ ๑๔๔ ๑๔๖ ๑๔๘

๑๕๓ ๑๕๔ ๑๕๘ ๑๖๑ ๑๖๕

๑๗๑


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expore

Explain

Expand

Evaluate

เปาหมายการเรียนรู

1. อธิบายสังคมชมพูทวีปและคติความเชื่อทาง ศาสนาสมัยกอนพระพุทธเจาได 2. อภิปรายขอปฏิบัติทางสายกลางในพระพุทธศาสนาได 3. อภิปรายการพัฒนาศรัทธาและปญญาที่ ถูกตองในพระพุทธศาสนาได

สมรรถนะของผูเรียน 1. ความสามารถในการสื่อการ 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการแกปญ  หา

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

๑ »ÃÐÇѵิ

คุณลักษณะอันพึงประสงค 1. 2. 3. 4. 5.

áÅÐคÇามÊÓคÑޢͧ¾รоط¸Èาʹา ÈÒʹҷءÈÒʹÒÁÕËÅÑ¡¤ÓÊ͹ãËŒÈÒʹԡª¹¢Í§áµ‹ÅÐÈÒʹҾѲ¹Òµ¹ãËŒ´¢Õ ¹Öé ÊÙ§¢Ö¹é ¨¹¡ÃÐ·Ñ§è ¡ŒÒÇä»Êً໇ÒËÁÒÂÊÙ§ÊØ´áË‹§ªÕÇÔµµÒÁÃкº¤ÇÒÁàª×è͹Ñé¹æ ÊÓËÃѺ¾Ãоط¸ÈÒÊ¹Ò ÁÕÊѨ¸ÃÃÁ·Õè¾Ãоط¸à¨ŒÒµÃÑÊÃÙŒáÅйÓÁÒà¼ÂἋÊÑè§Ê͹ᡋ»ÃЪҪ¹ «Ö觶×ÍÇ‹Ò໚¹ËÅÑ¡¤ÇÒÁ¨Ãԧṋ¹Í¹ ໚¹ÊÒ¡Å áÅÐ໚¹ËÅÑ¡»¯ÔºÑµÔ·Õè໚¹ÊÒ¡ÅÒ§ ¹Ñ蹤×Í ·Ã§ªÕéãËŒ àËç¹Ç‹ÒªÕÇÔµáÅÐâÅ¡¹Õé໚¹·Ø¡¢ ËÃ×ÍÁÕ»˜ÞËÒ »˜ÞËÒ·Ø¡Í‹ҧÁÔä´Œà¡Ô´¢Öé¹ÅÍÂæ â´ÂäÁ‹ÁÕÊÒà赯 ÊÔ觷Õè໚¹ »˜ÞËҢͧÁ¹ØÉ Á¹ØÉ ÊÒÁÒö¨Ðᡌ䢴ŒÇÂʵԻ˜ÞÞÒáÅФÇÒÁ¾Ò¡à¾ÕÂâͧµÑÇÁ¹ØÉ àͧ䴌 ตัวชี้วัด ส 1.1 ม.4/1, 4, 5 ■ วิเคราะห์สังคมชมพูทวีปและคติความเชื่อทางศาสนาสมัยก่อน พระพุทธเจ้าหรือสังคมสมัยของศาสดาที่ตนนับถือ ■ วิเคราะห์ข้อปฏิบัติทางสายกลางในพระพุทธศาสนาหรือแนวคิด ของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด ■ วิเคราะห์การพัฒนาศรัทธาและปัญญาที่ถูกต้องในพระพุทธศาสนาหรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำหนด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง ■

ลักษณะของสังคมชมพูทวีปและคติความเชื่อทางศาสนาสมัย ก่อนพระพุทธเจ้า พระพุทธศาสนามีทฤษฎีและวิธีการที่เป็นสากลและมีข้อปฏิบัติ ที่ยึดทางสายกลาง พระพุทธศาสนาเน้นการพัฒนาศรัทธาและปัญญาที่ถูกต้อง

ซื่อสัตยสุจริต มีวินัย ใฝเรียนรู อยูอยางพอเพียง มุงมั่นในการทํางาน

กระตุน ความสนใจ

Engage

ครูใหนักเรียนพิจารณาภาพที่หนาหนวยการ เรียนรู แลวสนทนารวมกันถึงการสรางพุทธศาสนสถานและพุทธศาสนวัตถุตางๆ ที่เปนเครื่องระลึก ถึงพระพุทธคุณ จากนั้นตั้งคําถามเกี่ยวกับอิทธิพล ของพระพุทธศาสนาตอสังคมชมพูทวีปใหนักเรียน ชวยกันตอบ เชน • หลักธรรมคําสอนของพระพุทธเจาแตกตาง จากความเชื่อของคนสวนใหญในชมพูทวีป อยางไร (แนวตอบ พระพุทธเจาทรงสอนใหมนุษยเขาใจ ธรรมชาติของชีวติ และแกปญ  หาชีวติ ของ ตนเองโดยไมหวังพึง่ การดลบันดาลเทพเจา)

เกร็ดแนะครู ครูควรจัดกิจกรรมการเรียนรูเพื่อใหนักเรียนสามารถวิเคราะหสังคมชมพูทวีป และคติความเชื่อทางศาสนาสมัยกอนพระพุทธเจา และขอปฏิบัติทางสายกลางใน พระพุทธศาสนา รวมถึงการพัฒนาศรัทธาและปญญาที่ถูกตองในพระพุทธศาสนา โดยเนนการพัฒนาทักษะกระบวนการ ไดแก ทักษะการคิดและกระบวนการกลุม ดังนี้ • ครูใหนักเรียนศึกษาความรูเกี่ยวกับลักษณะของสังคมชมพูทวีปและคติความ เชื่อทางศาสนาในสมัยกอนพระพุทธเจาจากหนังสือเรียน และแหลงการเรียน รูอื่นๆ เชน หองสมุด อินเทอรเน็ต แลวเขียนบทความเกี่ยวกับลักษณะของ สังคมชมพูทวีปและคติความเชื่อทางศาสนาในสมัยกอนพระพุทธเจา • ครูใหนักเรียนชวยกันศึกษาเกี่ยวกับความสําคัญของพระพุทธศาสนาคนละ 1 หัวขอ แลวใหนักเรียนแตละคนอธิบายความรูที่ตนศึกษามาใหแกเพื่อน ตามลําดับ จากนั้นใหนักเรียนแตละกลุมอภิปรายกลุมยอยเกี่ยวกับความ สําคัญของพระพุทธศาสนาโดยศึกษาขอมูลเพิ่มเติมจากแหลงการเรียนรูอื่น พรอมทั้งเสนอความคิดเห็นถึงการปฏิบัติตนตามแนวทางพระพุทธศาสนา ของนักเรียน จากนั้นบันทึกเปนผลการอภิปรายของกลุม คูมือครู 1


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

Engaae

สํารวจคนหา

Evaluate

สังคมชมพูทวีปเมื่อครั้งอดีต ก่อนที่พระพุทธเจ้าจะตรัสรู้และประกาศศาสนานั้น มีสภาพ ที่แตกต่างไปจากปัจจุบันนี้มาก ซึ่งสามารถสรุปภาพรวมให้เห็นความเป็นไปในแต่ละด้านได้ ดังนี้

๑.๑ ด้านการเมืองการปกครอง อิ น เดี ย ในสมั ย พุ ท ธกาลมี แ ว่ น แคว้ น ต่ า งๆ หลายสิ บ แคว้ น แต่ ล ะแว่ น แคว้ น เรี ย กว่ า “ชนบท” เฉพาะแคว้นที่มีอาณาเขตกว้างขวางเรียกว่า “มหาชนบท” ชนบทเหล่านี้แบ่งเป็น ๒ ส่วน คือ ส่วนกลางเรียกว่า มัชฌิมชนบท หรือ มัธยมประเทศ ส่วนที่เป็นหัวเมืองชั้นนอก เรียกว่า ปัจจันตชนบท มูลเหตุทแี่ บ่งเรียกอย่างนี้ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณ1 วโรรส ทรงสันนิษฐานว่า เริ่มแรกที่พวกอริยกะอพยพมาตั้งถิ่นฐานอยู่ในชมพูทวีป คงจะเรียก ชนบทที่ตนเข้าไปอาศัยอยู่และเป็นใจกลางแห่งการปกครองว่า มัชฌิมชนบท เรียกชนบทที่พวก มิลักขะตั้งอยู่นอกเขตของตนว่า ปัจจันตชนบท๑ เป็นธรรมดาว่า หมู่ชนที่เจริญแล้วมักคิดว่า อาณาเขตที่ตนอาศัยอยู่เป็น “ศูนย์กลาง” ของโลก เช่นเดียวกับการที่ชาวจีนเรียกประเทศของเขา ว่า จงกั๊ว (Chung Kua) ซึ่งแปลว่า ประเทศศูนย์กลาง๒

๑) แคว้นต่างๆ ที่ประกอบเป็นมัชฌิมชนบท มัชฌิมชนบท ประกอบด้วย

มหาชนบทหรือแว่นแคว้นใหญ่ๆ (ตามที่ระบุไว้ในติกนิบาต อังคุตตรนิกาย พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๐) มีอยู่ ๑๖ แคว้น ดังนี้ ชื่อแคว้น แคว้นอังคะ แคว้นมคธ แคว้นกาสี แคว้นโกศล แคว้นวัชชี แคว้นมัลละ

ชื่อเมืองหลวง จัมปา ราชคฤห์ พาราณสี สาวัตถี เวสาลี หรือไพศาลี กุสินาราหรือปาวา

2

สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส. พุทธประวัติ เล่ม ๑. พิมพ์ครั้งที่ ๔๕. (กรุงเทพฯ : มหามกุฏราชวิทยาลัย. ๒๕๑๙), หน้า ๒. ๒ นิธิพัฒน์ ชาลีจันทร์. นวทัศน์แห่งพุทธประวัติ. (เชียงใหม่ : บริษัทสยามแผ่นดินทอง. ๒๕๒๓), หน้า ๑๓.

นักเรียนควรรู 1 อริยกะ หรืออารยัน เปนกลุมชาติพันธุที่สําคัญในประเทศอินเดียและประเทศ อื่นในภูมิภาคเอเชียใต โดยสันนิษฐานวา ชาวอารยันที่ตั้งถิ่นฐานอยูทางตะวันตกเฉียงเหนือไดอพยพเขามายังดินแดนทางตอนเหนือของชมพูทวีปตั้งแตยุคกอน ประวัตศิ าสตร สงผลใหชนพืน้ เมืองเดิมคือ ชาวดราวิเดียน กลายเปนชนชัน้ ลางของ สังคมจากระบบวรรณะ วัฒนธรรมทีส่ าํ คัญของชาวอารยัน เชน ศาสนาพราหมณ-ฮินดู มหากาพยรามายณะ และภาษาฮินดีที่ใชกันมากในประเทศอินเดียปจจุบัน

มุม IT ศึกษาพระประวัติของสมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ไดที่ http://mahamakuta.inet.co.th/buddhism/somdet/somdet10.htm เว็บไซตมูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ คูมือครู

Elaborate

๑. ลักษณะของสังคมชมพูทวีปและคติความเชื่อทางศาสนา ในสมัยก่อนพระพุทธเจ้า

Explain

ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับลักษณะสังคม ชมพูทวีปในสมัยกอนพระพุทธเจาในดานการเมือง การปกครองที่นักเรียนไดศึกษามา จากนั้นตั้ง คําถามแลวสุมใหนักเรียนตอบ โดยใชแผนที่ ภูมิภาคเอเชียใตประกอบ ตัวอยางขอคําถามเชน • ระบอบการปกครองแควนตางๆ ในชมพู ทวีปมีลักษณะอยางไร (แนวตอบ แควนตางๆ เรียกวา ชนบท โดย ชนบทเหลานี้แบงออกเปน 2 สวน ไดแก สวนกลาง เรียกวา มัชฌิมชนบท หรือ มัธยมประเทศ สวนหัวเมืองชั้นนอกเรียกวา ปจจันตชนบท) • ขอสันนิษฐานของการแบงเรียกสวนตางๆ ภายในแตละชนบทคืออะไร (แนวตอบ สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงสันนิษฐาน วา เมื่อพวกอริยกะอพยพตั้งถิ่นฐานในชมพู ทวีป คงจะเรียกบริเวณที่ตนเขาไปตั้งถิ่นฐาน และเปนศูนยกลางของการปกครองวา มัชฌิมชนบท และเรียกชนบทที่พวกมิลักขะ หรือชนพื้นเมืองที่ตนเขามาอาศัยอยูแทนที่ วา ปจจันตชนบท เนื่องจากหมูชนที่เจริญ แลวมักคิดวาอาณาเขตที่ตนอาศัยอยูเปน ศูนยกลางของโลก)

2

ตรวจสอบผล

Explore

ครูใหนักเรียนศึกษาความรูเกี่ยวกับลักษณะ ของสังคมชมพูทวีปและคติความเชื่อทางศาสนา ในสมัยกอนพระพุทธเจาจากหนังสือเรียน หนา 2-13 และแหลงการเรียนรูอื่น ๆ เชน หองสมุด อินเทอรเน็ต ในดานตอไปนี้ 1. ดานการเมืองการปกครอง 2. ดานสังคม 3. ดานศาสนาหรือลัทธิความเชื่อ

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

เพราะเหตุใด พวกอริยกะในชมพูทวีปจึงเรียกบริเวณที่ตนอาศัยอยูวา มัชฌิมชนบท 1. ความคิดวาพวกตนเปนผูเจริญแลวและเปนศูนยกลางของแควน 2. ความเชื่อเรื่องระบบวรรณะที่ตนกําเนิดจากพระนาภีหรือทองของ พระพรหม 3. การปฏิบัติตามจีนซึ่งเปนอาณาจักรที่มีความเจริญกาวหนาทาง ศิลปวิทยาการ 4. การยอมรับนับถือพระพุทธศาสนาจึงนําเอาหลักมัชฌิมาปฏิปทามา ตั้งเปนชื่อชนบทของตน วิเคราะหคําตอบ พวกอริยกะอพยพเขาไปอยูในดินแดนชมพูทวีป และพัฒนาชุมชนของตนขึ้นเปนชนบทที่เจริญกาวหนาและเปนศูนยกลาง ของการปกครองของแควน จึงเรียกชนบทของตนวา มัชฌิมชนบท สวนบริเวณนอกเขตที่ตนอาศัย เรียกวา ปจจันตชนบท ดังนั้น

คําตอบคือ ขอ 1.


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู ชื่อแคว้น

ครูตั้งคําถามแลวสุมใหนักเรียนตอบ โดยใช แผนภูมิภาคเอเชียใตประกอบตัวอยางขอคําถาม เชน • มัชฌิมชนบทในสมัยพุทธกาลมีทั้งหมดกี่ แควน ยกตัวอยางชื่อแควน เมืองหลวง และ ที่ตั้งมาพอสังเขป (แนวตอบ มัชฌิมชนบทประกอบดวย 16 แควน ยกตัวอยางเชน แควนมคธ มีเมือง หลวงชื่อ ราชคฤห ตั้งอยูคอนไปทางตะวันออกเฉียงใตของประเทศอินเดียในปจจุบัน แควนโกศล มีเมืองหลวงชื่อ สาวัตถี ตั้ง อยูบริเวณตอนกลางของประเทศอินเดียใน ปจจุบัน และแควนวัชชี มีเมืองหลวงชื่อ เวสาลีหรือไพสาลี ตั้งอยูทางตะวันออกของ แควนโกศล) • แควนใหญของชมพูทวีปในสมัยพุทธกาลที่ สันนิษฐานวาไมไดตั้งอยูในดินแดนประเทศ อินเดียในปจจุบันไดแกแควนใด (แนวตอบ แควนคันธาระ มีเมืองหลวงชื่อ ตักกศิลา และแควนกัมโพชะ มีเมืองหลวง ชื่อ ทวารกะ ตั้งอยูในดินแดนประเทศ ปากีสถานในปจจุบัน) •แควนเล็กที่มีความสําคัญในพุทธประวัติที่ นักเรียนทราบไดแกแควนใดบาง (แนวตอบ แควนสักกะ มีเมืองหลวงชื่อ กบิลพัสดุ ซึ่งเปนเมืองที่เจาชายสิทธัตถะ ประสูติ และปกครองโดยพระเจาสุทโธทนะ พระราชบิดา และแควนโกลิยะ มีเมืองหลวง ชื่อ เทวทหะ ซึ่งเปนแควนของพระราช มารดา คือ พระนางสิริมหามายา)

ชื่อเมืองหลวง

แคว้นเจตี แคว้นวังสะ แคว้นกุรุ แคว้นปัญจาละ แคว้นมัจฉะ แคว้นสุรเสนะ แคว้นอัสสกะ แคว้นอวั​ันตี 1 แคว้นคันธาระ แคว้นกัมโพชะ

โสตถิวดี โกสัมพี อินทปัตถ์ หัสดินปุระ สาคละ มถุรา โปตลี อุชเชนี ตักกสิลา ทวารกะ

แคว้นเล็กแคว้นน้อย ๕ แคว้น แคว้นสักกะ แคว้นโกลิยะ แคว้นภัคคะ แคว้นวิเทหะ แคว้นอังคุตตราปะ

กบิลพัสดุ์ เทวทหะ สุงสุมารคีรี มิถิลา อาปณะ

แผนทีแ่ สดงแคว้นใหญ่ตา่ งๆ ในชมพูทวีปสมัยพุทธกาล ●

คันธาระ กัมโพชะ ●

กุรุ

มัจฉะ ●

● ปัญจาละ● ● วัชชี สุรเสนะ โกศล มั ล ละ ● ● ● อังคะ ● อวันตี วังสะ กาสี ●

N

อัสสกะ

เจตี

มคธ

Explain

อ่าวเบงกอล

3

บูรณาการเชื่อมสาระ

ครูสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรูแ บบบูรณาการเรือ่ ง แควนสําคัญ ในชมพูทวีปสมัยพุทธกาล กับวิชาประวัตศิ าสตร เรือ่ งวิธกี ารทาง ประวัตศิ าสตร และวิชาภูมศิ าสตร เรือ่ งเครือ่ งมือทางภูมศิ าสตร โดยให นักเรียนรวมกลุม กัน กลุม ละ 4-5 คน เพือ่ ชวยกันศึกษาคนควาขอมูลเกีย่ วกับ แควนสําคัญในชมพูทวีปสมัยพุทธกาลทีค่ รูกาํ หนด เชน แควนสักกะอัน เปนสถานทีป่ ระสูตขิ องพระพุทธเจา เสนทางการเผยแผพระศาสนาของ พระพุทธเจา ดวยวิธกี ารทางประวัตศิ าสตร จากนัน้ จัดทําเปนบันทึกการศึกษาคนควา และสงตัวแทนออกมา นําเสนอหนาชัน้ เรียนโดยใชแผนทีป่ ระกอบ

เกร็ดแนะครู ครูอาจนําวีดิทัศนสารคดีเกี่ยวกับลักษณะทางสังคมของภูมิภาคเอเชียใตที่ยังมี ลักษณะไมแตกตางจากในอดีตมากนัก เชน วิถีชีวิตของชาวเอเชียใต ความเชื่อ และศาสนาของชาวอินเดีย มาใหนักเรียนพิจารณารวมกัน เพื่อกระตุนความสนใจ และใหขอมูลเบื้องตนแกนักเรียน แลวสนทนากับนักเรียนถึงความรูที่ไดจากวีดิทัศน สารคดีนั้น

นักเรียนควรรู 1 แควนคันธาระ เปนดินแดนที่มีความเจริญกาวหนาทางศิลปวิทยาการตาง ๆ อันเกิดจากการผสมผสานองคความรูของกรีก อินเดีย เปอรเซีย และเปนแหลงแรก ที่สรางสรรครูปเคารพพระพุทธเจาหรือพระพุทธรูปขึ้นจากการแกะสลักหิน ซึ่งเปน อิทธิพลทางศิลปกรรมของกรีก พระพุทธปฏิมาในสมัยแรกจึงมีชื่อเรียกตามแหลง กําเนิดวา ศิลปะแบบคันธาระ คูมือครู

3


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Elaborate

Evaluate

Explain

ครูใหนักเรียนสงตัวแทนออกมาชวยกันเขียน ลักษณะของระบอบการปกครองแบบราชาธิปไตย และสามัคคีธรรมที่ตารางบนกระดานหนาชั้นเรียน ซึ่งครูกําหนดหัวขอไวพอสังเขป เชน ลักษณะของ การปกครอง ตัวอยางของแควนที่ปกครองหลัก ธรรมที่ชวยสงเสริมการปกครอง เปนตน

แคว้นเล็กๆ เหล่านี้แม้ว่าจะแยกปกครองตนเองต่างหาก แต่ก็ขึ้นอยู่กับแคว้น ที่ใหญ่กว่าคล้ายกับเป็นเมืองขึ้นหรือเป็นเมืองประเทศราช เช่น แคว้นสักกะและแคว้นโกลิยะอยู่ ภายใต้อำนาจปกครองของแคว้นโกศล เป็นต้น

๒) ระบอบการปกครองของแคว้นต่างๆ รูปแบบการปกครองของแคว้นต่างๆ

แบ่งออกเป็น ๒ ระบอบ ดังนี้ ๒.๑) ราชาธิปไตย หรือสมบูรณาญาสิทธิราชย์ มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข มีอำนาจสิทธิขาดในการปกครอง มีรัชทายาทสืบสันตติวงศ์ แคว้นใหญ่ๆ ส่วนมากจะปกครอง ด้วยระบอบนี้ เช่น แคว้นมคธมีพระเจ้าพิมพิสารปกครอง (ในตอนต้นพุทธกาล) และพระเจ้า อชาตศั ต รู ป กครอง (ในตอนปลายพุ ท ธกาล) แคว้ น โกศลมี พ ระเจ้ า ปเสนทิ โ กศลปกครอง แคว้นอวันตีมีพระเจ้าจัณฑปัชโชตปกครอง เป็นต้น อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ว่าพระมหากษัตริย์จะมีอำนาจสิทธิ์ขาดในการปกครอง ประเทศเพียงพระองค์เดียวตามกฎหมาย แต่พระมหากษัตริย์ยังมีปุโรหิต เป็นที่ปรึกษาข้อราชการ เพื่อให้คำแนะนำในการตัดสินใจในกรณี ที่ ส ำคั ญ ๆ เช่ น วั ส สการพราหมณ์ แ ละเสนี ธ อำมาตย์ เป็ น ที่ปรึกษาของพระเจ้าอชาตศัตรู เป็นต้น นอกจากนั้นพระมหากษั ต ริ ย์ ก็ ยั ง ยึ ด อุ ด มการณ์ ที่ จ ะ “ปกครองโดยธรรม” คื อ ยึ ด หลักธรรมทางศาสนาเป็นแกนสำคัญ เช่น ทศพิธราชธรรม ๑๐ 1 จักรวรรดิวัตร ๑๒ เป็นต้น ๒.๒) สามัคคีธรรม หรือประชาธิปไตยระดับหนึ่ง การปกครองระบอบนี้ไม่มีพระมหากษัตริย์ที่ใช้อำนาจสิทธิ์ขาดแต่ ผู้ เ ดี ย ว และไม่ มี ก ารสื บ สั น ตติ ว งศ์ โ ดยตั้ ง รั ช ทายาทสื บ ทอด ดั ง เช่ น ระบอบประชาธิ ป ไตย การบริ ห ารประเทศจะกระทำโดย รัฐสภา ซึ่งเรียกกันสมัยนั้นว่า “สัณฐาคาร” มีประมุขรัฐสภาดำรง ตำแหน่งตามระยะเวลาที่กำหนด (เช่น พระเจ้าสุทโธทนะเป็นประมุข รัฐสภาศากยะ) หรือมีคณะกรรมการบริหารประกอบด้วย 2 เสาอโศก สร้างขึ้นในสมัยพระเจ้าอโศก สมาชิกจำนวนหนึ่ง (เช่น กษัตริย์ลิจฉวี แห่งแคว้นเวสาลี) มหาราช เป็ น เครื่ อ งหมายของการ ประกาศพระธรรมของพระพุทธเจ้า กรรมการรัฐสภาเลือกจากหัวหน้าครอบครัวใหญ่ๆ ใน 4

นักเรียนควรรู 1 จักรวรรดิวัตร 12 หมายถึง พระจริยาที่พระจักรพรรดิพึงทรงบําเพ็ญ สมํ่าเสมอ ตามอรรถกถาแหงจักกวัตติสูตร ประกอบดวย การสงเคราะหชนภายใน และพลกายกองทหาร สงเคราะหกษัตริยเมืองขึ้นทั้งหลาย สงเคราะหเหลาเชื้อ พระวงศ ผูตามเสด็จเปนขาราชบริพาร คุมครองพราหมณและคฤหบดีทั้งหลาย คุมครองชาวราษฎรพื้นเมืองทั้งหลาย คุมครองเหลาสมณพราหมณ คุมครองเนื้อ นกที่เอาไวสืบพันธุ หามปรามมิใหมีการประพฤติการอันผิดธรรม ทํานุบํารุงผูขัดสน ไรทรัพย เขาไปหาและสอบถามปญหากับสมณพราหมณ เวนความกําหนัดในกาม โดยอาการไมเปนธรรม เวนโลภกลา ไมเลือกควรไมควร 2 เสาอโศก เปนเสมือนสัญลักษณที่แสดงถึงขอบเขตอาณาจักรของพระเจา อโศกมหาราช และยังแสดงถึงพระราชประสงคในการเผยแผพระพุทธศาสนาของ พระองค ลักษณะของเสาประกอบดวยสัญลักษณทางพระพุทธศาสนาตางๆ เชน ธรรมจักร ดอกบัว โดยเสาตนที่รูจักโดยทั่วไปคือ เสาอโศก เมืองสารนาถ ที่หัวเสา มีสิงหสี่ตัวหันหนาออกไปยังสี่ทิศ ซึ่งนํามาใชเปนสัญลักษณของประเทศอินเดีย

4

คูมือครู

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’ 53 ออกเกี่ยวกับหลักธรรมของผูปกครองประเทศ ผูปกครองประเทศควรยึดหลักใด สังคมจึงจะสงบสุขและสันติ 1. เบญจศีล 2. อริยวัฑฒิ 3. อปริหานิยธรรม 4. ทศพิธราชธรรม วิเคราะหคําตอบ พระพุทธศาสนามีหลักธรรมคําสอนที่ผูปกครอง ประเทศควรยืดถือหลายประการ ที่สําคัญไดแก ทศพิธราชธรรม และ อปริหานิยธรรม รวมถึงอริยวัฑฒิ ที่ประกอบดวย ศรัทธา ศีล สุตะ จาคะ และปญญา สวนเบญจศีลเปนหลักธรรมระดับการดําเนินชีวิตสวนบุคคล ดังนั้นคําตอบคือ ขอ 2.-4.


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู ชนบท (เมือง) นิคม (อำเภอ) และคาม (ตำบล) อย่างในกรณีรัฐสภาศากยะ เจ้าศากยะซึ่งมีอายุ ๒๐ ปีขึ้นไป ทุกคนมีสิทธิ์ได้เป็นสมาชิกของสภานี้่และก่อนจะเข้าเป็นสมาชิกจะต้องกล่าวคำ ปฏิญาณว่า๓ ๑. ข้าพเจ้าจะอุทิศร่างกาย จิตใจ และทรัพย์สมบัติของข้าพเจ้า เพื่อรักษาไว้ซึ่งผลประโยชน์ 1 ของศากยวงศ์ ๒. ข้าพเจ้าจะไม่ขาดการประชุม ๓. ข้าพเจ้าจะต้องแสดงความคิดเห็นโดยเปิดเผย เมื่อเห็นว่าศากยะผู้ใดประพฤติผิดหน้าที ่ เป็นการทำลายประโยชน์ของศากยวงศ์ ข้าพเจ้าจะแจ้งเรื่องนั้นให้สภาทราบโดยไม่ปิดบัง ๔. ข้ า พเจ้ า จะต้ อ งไม่ โ กรธตอบเมื่ อ ถู ก กล่ า วหาว่ า กระทำผิ ด ใดๆ และข้ า พเจ้ า จะยอม สารภาพผิดในเมื่อกระทำผิดต่อบทบัญญัติของศากยวงศ์

สำหรับข้อราชการต่างๆ จะนำเข้าสู่ที่ประชุมรัฐสภาวินิจฉัยตัดสิน และยึดถือ ปฏิบัติตามเสียงข้างมากเป็นเกณฑ์ การปกครองระบบนี้ต้องการความสามัคคีพร้อมเพรียงเป็น องค์ประกอบสำคัญ เมื่อใดที่สมาชิกรัฐสภาแตกสามัคคีกัน การบริหารประเทศชาติก็จะประสบ อุปสรรคอาจถึงขั้นวิบัติสูญเสียอิสรภาพได้ ดังกรณีของพวกลิจฉวี เป็นต้น การปกครองระบอบนี้จะเป็นไปด้วยดี จะต้องยึดถือหลัก ๗ ประการ เรียกว่า “อปริหานิยธรรม” ได้แก่ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗.

หมั่นประชุมกันเนืองนิตย์ พร้อมเพรียงกันเลิกประชุม พร้อมเพรียงกันประชุม พร้ ไม่บัญญัติสิ่งใหม่อันขัดต่อหลักการเดิม ไม่ ไม่ล้มล้างข้อบัญญัติเก่าที่ยังใช้ได้อยู่ เคารพนับถือและเชื่อฟังผู้ใหญ่ ปกป้องกุลสตรีมิให้ถูกข่มเหงหรือฉุดคร่าขืนใจ (สนับสนุนสิทธิเสรีภาพของสตรี) ใจ (สนั เคารพบูชาปูชนียสถาน ปูชนียวัตถุ ตลอดถึงอนุสาวรีย์ต่างๆ งๆ จัดอารักขา คุ้มครอง ป้ป้องกันภัยอันชอบธรรมแก่สมณชีพราหมณ์ผู้เป็นหลักทางใจ ของประชาชนทั้งหลาย

B.R. Ambedkar. The Buddha and His Dhamma. (Bombay : People’s Education Society. 1957), P. 23

5

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

การปกครองแบบสามัคคีธรรมมีหลักธรรมสําคัญที่สามารถนํามา ประยุกตใชกับการปกครองระบอบประชาธิปไตยในปจจุบันไดอยางไรบาง

แนวตอบ หลักธรรมสําคัญของการปกครองแบบสามัคคีธรรม คือ อปริหานิยธรรม 7 ซึง่ ผูป กครองตามระบอบประชาธิปไตยในปจจุบนั สามารถ นํามาประยุกตใชได เชน การหมัน่ ประชุมกันเนืองนิตย การพรอมเพรียงกัน ประชุมและเลิกประชุม รวมถึงการไมลมลางขอบัญญัติเกาที่ยังใชไดอยู ซึ่งจะชวยใหการบริหารประเทศเปนไปอยางถูกตอง รวดเร็ว และโปรงใส

Explain

ครูตั้งประเด็นใหนักเรียนอภิปรายเปรียบเทียบ ลักษณะการปกครองระบอบสามัคคีธรรมในสมัย พุทธกาลกับระบอบประชาธิปไตยในปจจุบัน จาก นั้นใหนักเรียนชวยกันสรุปผลการอภิปรายใน ประเด็นยอย ดังนี้ • ความคลายคลึงของการปกครองระบอบ สามัคคีธรรมในสมัยพุทธกาลกับระบอบ ประชาธิปไตยในปจจุบัน (แนวตอบ การมีคณะกรรมการคลายรัฐสภาที่ เรียกวา สัณฐาคาร ทําหนาที่บริหารประเทศ โดยวินิจฉัยตัดสินขอราชการตางๆ ตาม เสียงขางมาก และคุณธรรมสําคัญของการ ปกครองระบอบนี้คือ ความสามัคคี) • ความแตกตางของการปกครองระบอบ สามัคคีธรรมในสมัยพุทธกาลกับระบอบ ประชาธิปไตยในปจจุบัน (แนวตอบ การเลือกสมาชิกคณะกรรมการ ที่ทําหนาที่บริหารประเทศจากหัวหนา ครอบครัวใหญในชนบท นิคม และคาม ตางๆ สวนการปกครองระบอบประชาธิปไตย ในปจจุบันสมาชิกรัฐสภาสวนใหญมาจาก การเลือกตั้งของประชาชน) • หลักการของการปกครองระบอบ สามัคคีธรรมที่นักเรียนคิดวามีประโยชนตอ การปกครองระบอบประชาธิปไตยของไทย ในปจจุบันคืออะไร (แนวตอบ ขอปฏิบัติบางประการในคํา ปฏิญาณกอนเขาเปนสมาชิกสัณฐานคาร เชน การอุทิศรางกายและจิตใจ เพื่อรักษา ไวซึ่งประโยชนของประเทศ การไมขาดการ ประชุม และหลักอปริหานิยธรรม เชน การ หมั่นประชุมกันเนืองนิตย การไมบัญญัติสิ่ง ใหมที่ขัดตอหลักการเดิม และการเคารพ นับถือเชื่อฟงผูใหญ เปนตน)

เกร็ดแนะครู ครูสนทนารวมกันกับนักเรียนถึงปญหาดานการเมืองการปกครองไทยในปจจุบัน แลวใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยางหลักธรรมที่ผูบริหารราชการแผนดินไทย ควรยึดถือ เพื่อความมั่นคงและเจริญกาวหนาของประเทศชาติ นอกเหนือจาก อปริหานิยธรรม เชน สัปปุรสิ ธรรม 8 กุศลกรรมบถ 10 และกาลามสูตรกังขานิยฐาน 10 เปนตน

นักเรียนควรรู 1 ศากยวงศ ตระกูลแหงศากยะในวรรณกษัตริยพูทวัป ณ มัชฌิมชนบท แควนสักกะ ชมพูทวีป มีพระเจาโอกกากราชเปนตนสกุล โดยทรงตัง้ นครกบิลพัสดุ และพระราชโอรสธิดาไดสบื เชือ้ สายตอมาจนถึงพระเจาสุทโธทนะ ผูเ ปนพระราชบิดา ของเจาชายสิทธัตถะ ซึง่ ตอมาไดเสด็จออกบรรพชาและตรัสรูเ ปนสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา เมื่อพระชนมายุ 35 พรรษา คูมือครู

5


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Elaborate

Evaluate

Explain

ครูอภิปรายรวมกันกับนักเรียนเกี่ยวกับลักษณะ ดานสังคมของชมพูทวีปสมัยกอนพระพุทธเจา จากนั้นครูใหตัวแทนนักเรียนผลัดกันออกมาเขียน ขอมูลของวรรณะตางๆ ในรูปแบบตารางหรือ ผังกราฟกที่เหมาะสมกับขอมูล เชน ผังแบบ พีระมิด ผังมโนทัศน หรือผังขั้นบันได ที่กระดาน หนาชั้นเรียน ในหัวขอบทบาทหนาที่ทางสังคม สีประจําวรรณะ และอื่นๆ

๑.๒ ด้านสังคม สภาพสังคมอินเดียได้จัดแบ่งผู้คนออกเป็นชนชั้นเรียกว่า “วรรณะ” เพราะตามความเชื่อ ทางศาสนาพราหมณ์ถือเอาเชื้อชาติเป็นเกณฑ์ ในการแบ่ง คนเกิดในวรรณะใดจะมีสิทธิและ 1 แนวทางดำเนินชีวิตตามหลักคำสอนที่ได้วางไว้โดยขัดขืนไม่ได้ ระบบวรรณะนั้นชาวอินเดียถือว่า ถูกกำหนดไว้ตายตัวโดยพระผู้เป็นเจ้า การเปลี่ยนแปลงสถานภาพทางสังคม เช่น คนเกิด ในวรรณะต่ำจะยกตัวเองให้สูงขึ้นด้วยการศึกษา การสร้างฐานะทางเศรษฐกิจ และความสำเร็จใน ชีวิตอื่นๆ ไม่ได้

๑) ชนชั้นต่างๆ ในระบบวรรณะ ระบบวรรณะของอินเดียประกอบด้วยชนชั้น

ต่างๆ รวม ๔ วรรณะด้วยกัน ดังนี้ ๑.๑) วรรณะพราหมณ์ ได้แก่ พวกศึกษาคัมภีร์พระเวท มีหน้าที่ติดต่อกับเทวะ และกระทำพิธีกรรมทางศาสนา สีประจำวรรณะคือ สีขาว ๑.๒) วรรณะกษัตริย์ ได้แก่ พวกนักรบ นักปกครอง สีประจำวรรณะคือสีแดง ๑.๓) วรรณะแพศย์หรือไวศยะ ได้แก่ ประชาชนนอกเหนือจากสองวรรณะ ข้างต้น ซึ่งเป็นชนส่วนใหญ่ในสังคมที่ประกอบอาชีพต่างๆ กัน เช่น พาณิชยกรรม เกษตรกรรม ศิลปหัตถกรรม เป็นต้น ต่อมาในระยะหลังมักตีความว่าหมายถึงเพียง “พ่อค้า” อย่างเดียว สีประจำวรรณะคือ สีเหลือง ๑.๔) วรรณะศูทร ได้แก่ พวกกรรมกรผู้ใช้แรงงาน ไม่มีสีประจำวรรณะ จะใช้สี อะไรก็ได้ เช่น สีดำ สีเขียว นอกจากสีประจำวรรณะทั้งสามข้างต้น เรื่องน่ารู้ วรรณะที่ 5

นอกจากวรรณะทั้ง ๔ คือ กษัตริย์ พราหมณ์ แพศย์ ศูทรแล้ว ในสังคมอินเดียยังมีชนชั้นอีกวรรณะหนึ่ง เรียกว่า วรรณะจัณฑาล คือ บุคคลที่เกิดจากบิดามารดาต่างวรรณะกัน ชนชั้นนี้จะถูกเหยียดหยามว่าเป็นชนชั้นต่ำ ซึ่งเป็น ลักษณะความเชื่อตามหลักศาสนาพราหมณ์ แต่ทั้งนี้ทางพระพุทธศาสนาปฏิเสธเรื่องวรรณะเพราะถือว่าบุคคลจะดี หรือเลว มิได้อยู่ที่ชาติกำเนิด แต่อยู่ที่กรรมหรือการกระทำของบุคคลนั้นๆ

EB GUIDE

http://www.aksorn.com/LC/Rel/M4/01

6

นักเรียนควรรู 1 ระบบวรรณะ ในสังคมอินเดียปจจุบัน ปรากฏวามีหลัก 2 ประการในการ แบงวรรณะ คือ หลักชนมชาติ และหลักกรมชาติ หลักชนมชาตินั้นถือวา วรรณะ หมายถึง ตระกูล คนที่เกิดมาจากตระกูลวรรณะใดก็อยูในวรรณะนั้น สวนหลัก กรมชาตินนั้ ถือวา การกระทําหรืออาชีพของคนๆ นัน้ ตรงกับลักษณะของวรรณะใด ก็ใหถือวาคนๆ นั้นเปนวรรณะนั้นๆ ทั้งนี้เกิดจากตีความหมายของเนื้อหาใน คัมภีรพระเวทที่แตกตางกัน

มุม IT ศึกษาความเปนมาและบทบาทหนาทีข่ องวรรณะตางๆ ในสังคมอินเดียเพิม่ เติมไดที่ http://www.human.cmu.ac.th/courseonline/course/004233/pdf/doc06.pdf เว็บไซตบทเรียนออนไลนของคณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม

6

คูมือครู

กิจกรรมสรางเสริม ครูอาจมอบหมายใหนักเรียนสืบคนขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับบทบาท หนาที่และการดําเนินชีวิตของวรรณะตางๆ ที่ตนสนใจมาคนละ 1 วรรณะ แลวจัดทําเปนบันทึกการสืบคนสงครูผูสอน

กิจกรรมทาทาย ครูอาจมอบหมายใหนักเรียนสืบคนขอมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับบทบาท หนาที่และการดําเนินชีวิตของวรรณะตางๆ แลวจัดทําเปนบันทึกการ สืบคนสงครูผูสอน


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

Explain

ครูสอบถามนักเรียนเกี่ยวกับมูลเหตุที่ทําให เกิดวรรณะ ไดแก 1. มูลเหตุทางตํานาน แบงออกเปน ทฤษฎี เกี่ยวกับยุค และทฤษฎีเกี่ยวกับองคาพยพ ของพระผูสราง 2. มูลเหตุตามหลักวิชา แลวใหนักเรียนสรุปขอมูลในรูปผังกราฟก ตางๆ เชน ผังมโนทัศน ลงในสมุด จากนั้นครู สุมนักเรียนใหออกมาอธิบายมูลเหตุที่ทําใหเกิด วรรณะโดยใชผังกราฟกของตนเองประกอบ ที่หนาชั้นเรียน

๒) มูลเหตุที่ทำให้เกิดวรรณะ เหตุเกิดวรรณะ อาจกล่าวได้เป็น ๒ ทาง ดังนี้

๒.๑) ทางตำนาน ได้แก่ทฤษฎีต่างๆ ดังนี้ (๑) ทฤษฎีเกี่ยวกับยุค ได้แบ่งยุคหรือระยะกาลเวลาออกเป็น ๔ ยุค ถือว่าแต่ละยุคได้เกิดคนในวรรณะต่างๆ ตามลำดับ ดังนี้ 1 (๑.๑) พวกที่เกิดในกฤตยุค ได้แก่ มนุษย์วรรณะพราหมณ์ (๑.๒) พวกที่เกิดในไตรดายุค ได้แก่ มนุษย์วรรณะกษัตริย์ (๑.๓) พวกที่เกิดในทวาปรยุค ได้แก่ มนุษย์วรรณะแพศย์ (๑.๔) พวกที่เกิดในกลียุค ได้แก่ มนุษย์วรรณะศูทร และจัณฑาล (๒) ทฤษฎีเกี่ยวกับองคาพยพของพระผู้สร้าง กล่าวว่า พระพรหมเป็น ผู้สร้างมนุษย์จากอวัยวะส่วนต่างๆ ของพระองค์เอง แล้วจัดวรรณะให้พร้อมกัน ดังนี้ (๒.๑) ทรงสร้างวรรณะพราหมณ์จากพระโอษฐ์ (ปาก) (๒.๒) ทรงสร้างวรรณะกษัตริย์จากพระพาหา (แขน) (๒.๓) ทรงสร้างวรรณะแพศย์จากพระอูรุ (โคนขาหรือตะโพก) (๒.๔) ทรงสร้างวรรณะศูทรจากพระบาท (เท้า) ๒.๒) สันนิษฐานตามหลักวิชา เนื่องจากคำว่า วรรณะ แปลว่า สีผิว ทำให้ สันนิษฐานว่า การแบ่งชนชั้นเดิมคงถือตามสีผิวเป็นสำคัญ พราหมณ์ซึ่งเป็นวรรณะสูงสุดเดิม คงมีผิวกายขาว ต่อมาเมื่อกาลเวลาล่วงเลยไป มีการผสมปะปนกันทางเชื้อชาติบ้าง สภาพ แวดล้อมทางภูมิศาสตร์ และความเป็นอยู่เป็นองค์ประกอบบ้าง สีผิวจึงเป็นเครื่องกำหนดที่ ไม่แน่นอน กล่าวอีกนัยหนึ่ง ชาติ (กำเนิดหรือเผ่าพันธุ์) คงเป็นตัวกำหนดวรรณะ เพราะ แต่เดิมมีการแบ่งเหล่ากันตามเชื้อชาติเผ่าพันธุ์ คือ เผ่าอารยันทั้งหมดจัดอยู่ในสามวรรณะแรก (อารยันที่เป็นนักบวชเป็นวรรณะพราหมณ์ นักรบเป็นวรรณะกษัตริย์ พ่อค้าเป็นวรรณะแพศย์) ส่วนคนพื้นเมืองและเผ่าอื่นๆ ถูกจัดให้เป็นวรรณะศูทรเหมือนกันหมด อย่างไรก็ตาม การถือวรรณะในสมัยต้นๆ คงยังไม่เคร่งครัดมากนัก ครั้นเมื่อ กาลเวลาล่วงผ่านไปนานเข้า ก็ยิ่งเพิ่มความเคร่งครัดมากขึ้นตามลำดับ โดยเฉพาะพวกวรรณะ พราหมณ์จะถือเอาความได้เปรียบทางเชื้อชาติดูถูกเหยียดหยามวรรณะอื่นๆ แม้กระทั่งวรรณะ กษัตริย์และแพศย์ว่าต่ำต้อยไม่เป็นอารยชน จนกระทั่งละเลยศีลธรรม จริยธรรม และมาตรฐาน 7

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

จากการศึกษาเกี่ยวกับมูลเหตุที่ทําใหเกิดวรรณะ นักเรียนเชื่อถือ ในแนวคิดใด อธิบายพอสังเขป

แนวตอบ แนวคิดตามหลักวิชา จากการอพยพเขาสูดินแดนชมพูทวีป ของพวกอริยกะ และตอมามีอํานาจในการปกครองแควนมากกวาพวก มิลักขะชนพื้นเมืองที่อาศัยอยูเดิม อริยกะจึงสรางระบบวรรณะขึ้นจาก สีผิวที่แตกตางกันของพวกตนกับมิลักขะ เพื่อควบคุมมิใหพวกมิลักขะมี บทบาทหนาที่ในสังคม โดยเฉพาะในการปกครอง ซึ่งอาจแยงชิงอํานาจ ทางการปกครองของตนได รวมถึงมิใหเกิดการปะปนทางเชือ้ ชาติระหวางกัน

เกร็ดแนะครู ครูอาจใหนักเรียนชวยกันวิเคราะหขอดี-ขอเสียของระบบวรรณะตอสังคมอินเดีย ทั้งในอดีตและปจจุบัน รวมถึงแนวโนมของระบบวรรณะในอนาคต แลวใหนักเรียน บันทึกผลการวิเคราะหลงในสมุด

นักเรียนควรรู 1 วรรณะพราหมณ เปนวรรณะทวิชะ หมายถึง วรรณะที่มีการเกิดสองครั้ง คือ ครั้งแรกเกิดในตระกูลวรรณะพราหมณ ครั้งที่สองเกิดในพิธีการเขาศึกษาเลาเรียน โดยพราหมณผูทําพิธีจะทองมนตศักดิ์สิทธิ์และคลองดายศักดิ์สิทธิ์เรียกวา ยัชโญประวีต หรือสายคุรําเฉวียงบา

คูมือครู

7


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

Elaborate

Evaluate

ความดีงามทางสังคมอย่างอื่น เพื่อชี้ให้เห็นความบกพร่องด้านนี้ พระพุทธเจ้าได้ตรัสเตือนพวก พราหมณ์ว่า “คนเราจะดีหรือชั่ว มิใช่เพราะเชื้อชาติวรรณะเป็นตัวกำหนด การกระทำของเขา ต่างหากเป็นตัวกำหนด” หรือ “เราไม่เรียกคนที่เกิดจากท้องมารดาวรรณะพราหมณ์ว่าเป็น พราหมณ์ที่แท้จริง คนที่ละกิเลสได้หมดสิ้นต่างหากจึงควรเรียกว่า พราหมณ์ที่แท้จริง”

๑.๓ ด้านศาสนาหรือลัทธิความเชื่อ คนอินเดีย1สมัยพุทธกาล ส่วนมากนับถือศาสนาพราหมณ์ นอกนั้นก็นับถือลัทธิศาสนาอื่น เช่น ศาสนาเชนของศาสดามหาวีระ เป็นต้น ความเชื่อและแนวทางปฏิบัติ จึงอยู่บนพื้นฐานของ คำสอนทางศาสนาพราหมณ์เป็นใหญ่ ซึ่งพอสรุปได้ดังนี้

๑) ความเชือ่ ในเรือ่ งการล้างบาป ชาวอินเดียเชือ่ ในความศักดิส์ ทิ ธิข์ องแม่นำ้ 2

คงคาว่าถ้าใครได้อาบหรือดื่มน้ำในแม่น้ำคงคา โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่เมืองพาราณสี ซึ่งถือกันว่า เป็นเมืองของพระศิวะและที่เมืองคยา ซึ่งถือว่าเป็นเมืองพระวิษณุจะได้บุญมาก ความชั่วที่ทำไว้ ทั้งหมดจะถูกลอยไปกับสายน้ำ กลายเป็นผู้บริสุทธิ์ทั้งทางกายและทางใจ ส่วนแม่น้ำอื่นๆ ที่พวกนับถือศาสนาพราหมณ์หรือศาสนาฮินดูก็เชื่อว่าศักดิ์สิทธิ์ สามารถชำระล้างบาปได้เช่นเดียวกัน แต่ไม่นิยมมากเท่าแม่น้ำคงคา เพราะถือกันว่าแม่น้ำคงคา มีต้นน้ำไหลมาจากสวรรค์ ทางมวยผมพระศิวะ จึงนิยมมาอาบและดื่มกินเพื่อลอยบาปกัน มากมาย แม้กระทั่งก่อนตายก็สั่งให้ญาติมิตร นำศพไปเผาริมน้ำ แล้วลอยกระดูกและเถ้า ถ่านลงไปในแม่น้ำคงคา ส่วนคนที่ยากจนไม่ สามารถหาฟื นมาเผาได้ ก็ เ อาศพทิ้ ง ลงใน แม่น้ำ ด้วยยความเชือ่ ว่าผูต้ ายจะได้ขนึ้ สวรรค์ไป อยูก่ ับพระผู้เป็นเจ้าอย่างแน่นอน ดังนั้นจึงมัก มีศพขึ้นอืดลอยมาตามกระแสน้ำคงคาอยู่เป็น ประจำ ในขณะที่นักแสวงบุญทั้งหลายต่างก็ ดำผุดดำว่ายบ้าง วักน้ำกินบ้าง โดยไม่รังเกียจ ชาวอินเดียมีความเชื่อว่าการได้อาบน้ำในแม่น้ำคงคา ซึ่ง ถือเป็นแม่น้ำศักดิ์สิทธิ์ที่ไหลมาจากสวรรค์ จะสามารถ เดียดฉันท์หรือขยะแขยงแต่ประการใด แต่ก็ ชำระล้างบาปที่ตนได้ก่อไว้ได้ทั้งหมด น่าแปลกที่น้ำในแม่น้ำคงคาซึ่งดูสกปรกเช่นนั้น 8

EB GUIDE

นักเรียนควรรู 1 ศาสนาเชน เปนศาสนาที่เกิดขึ้นในชมพูทวีปในชวงเวลาที่ใกลเคียงกับ พระพุทธศาสนา มีพระมหาวีระเปนศาสดา ศาสนาเชนไมเชื่อในการมีอยูและ อํานาจของเทพเจา แตเชื่อวาการบําเพ็ญตนใหลําบากจะสามารถชวยใหชีวิต พนทุกขได ปจจุบันศาสนาเชนแบงออกไดเปน 2 นิกายใหญ ไดแก นิกายทิคัมพร และนิกายเศวตัมพร ผูนับถือสวนใหญอยูในประเทศอินเดีย 2 แมนํ้าคงคา เปนพรมแดนธรรมชาติระหวางประเทศอินเดียกับประเทศ บังกลาเทศ มีความยาวประมาณ 2,525 กิโลเมตร ตนนํ้าอยูทางตะวันตกของ เทือกเขาหิมาลัยในเขตอุตตรขัณฑและไหลทางตะวันออกเฉียงใตลงสูอาวเบงกอล ในประเทศบังกลาเทศ ปจจุบันบริเวณที่ราบลุมแมนํ้าคงคามีประชากรอาศัยอยู มากกวา 400 ลานคน จึงเปนที่ราบลุมแมนํ้าที่มีประชากรอาศัยอยูอยางหนาแนน ที่สุดในโลก

คูมือครู

ตรวจสอบผล

Explain

ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับพุทธวจนะเกี่ยว กับระบบวรรณะ จากนั้นใหนักเรียนชวยกันยก ตัวอยางพุทธศาสนสุภาษิต สํานวน หรือคําพังเพย ที่สอดคลองกับพุทธวจนะดังกลาว เชน ผูทํากรรม ดียอมไดผลดี ผูทํากรรมชั่วยอมไดผลชั่ว กงเกวียน กําเกวียน คนดีตกนํ้าไมไหล ตกไฟไมไหม เปนตน แลวตัง้ คําถามเกีย่ วกับความเชือ่ ในเรือ่ งการลางบาป ของคนในชมพูทวีปสมัยกอนพระพุทธเจาให นักเรียนชวยกันตอบ เชน • วิธีการลางบาปของคนในชมพูทวีปสมัยกอน พระพุทธเจามีการปฏิบัติอยางไรบาง (แนวตอบ การอาบและดื่มกินนํ้าในแมนํ้า คงคาเชื่อวาจะไดบุญมาก ความชั่วที่ทํา ไวทั้งหมดจะถูกลอยไปกับสายนํ้า กลาย เปนผูบริสุทธิ์ทั้งทางกายและใจ รวมถึงการ ประกอบพิธีเผาศพและลอยเถากระดูกหรือ ศพไปในแมนํ้าคงคา ดวยความเชื่อที่วา ผู ตายจะไดขึ้นสวรรคไปอยูกับพระผูเปนเจา) • เพราะเหตุใด ชาวชมพูทวีปจึงเชื่อวาแมนํ้า คงคาเปนแมนํ้าศักดิ์สิทธิ์ (แนวตอบ ตามความเชื่อของศาสนาพราหมณ ถือวา แมนํ้าคงคามีตนนํ้าไหลมาจากสวรรค ผานทางมวยผมของพระศิวะ) • ทัศนะของพระพุทธเจาหรือพระสาวกเกี่ยว กับความเชื่อเรื่องการลางบาปคืออะไร (แนวตอบ พระพุทธเจาทรงตรัสกับพราหมณ ที่ชักชวนพระองคไปลางบาปที่แมนํ้าคงคา มีใจความสําคัญวา คนเราถาทําชั่วถึงจะไป อาบนํ้าที่แมนํ้าที่เชื่อวาศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายก็ พนจากบาปไมได เพราะแมนํ้าไมสามารถ ลางกรรมของคนได ควรอาบนํ้าธรรมวินัย คือ การปฏิบัติดีทั้งทางกาย วาจา ใจ แลว ทานก็จะบริสุทธิ์เอง)

8

ขยายความเขาใจ

http://www.aksorn.com/LC/Rel/M4/02

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

หากนักเรียนเดินทางไปทองเที่ยวที่ประเทศอินเดีย และตองการศึกษา ความเชื่อการลางบาปของผูที่นับถือศาสนาฮินดู นักเรียนควรเดินทางไปยัง เมืองใด 1. เมืองพาราณสี 2. เมืองโกลกาตา 3. เมืองนาลันทา 4. เมืองกุสินารา วิเคราะหคําตอบ ชาวฮินดูทําพิธีลางบาปริมฝงแมนํ้าคงคา เนื่องจากเชื่อ วาไหลมาจากสวรรคผานทางมวยผมพระศิวะ เมืองที่นิยมทําพิธีนี้ไดแก เมืองพาราณสี ซึ่งถือวาเปนเมืองของพระศิวะ และเมืองคยา ซึ่งถือวาเปน เมืองของพระวิษณุ โดยเชื่อวาจะไดบุญมาก ดังนั้นคําตอบคือ ขอ 1.


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

Explain

1. ครูสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนเกี่ยวกับ ความเชื่อเรื่องการลางบาป เชน • นักเรียนเชื่อวาเราสามารถลางบาป แกกรรมชั่วไดหรือไม อยางไร (แนวตอบ ตามความเชื่อทางพระพุทธศาสนา บาปหรือกรรมชั่วเปนการกระทําที่ประกอบ ดวยความเจตนา และสงผลกระทบตอผูอื่น และตนเองไมมากก็นอย การลางบาปหรือ แกกรรมจึงไมสามารถทําใหกลายเปนผู บริสุทธิ์ได) 2. ครูตั้งคําถามเกี่ยวกับความเชื่อเรื่องโลกและ ชีวิตของคนในชมพูทวีปสมัยกอนพระพุทธเจา ใหนักเรียนชวยกันตอบ เชน • สถานภาพของโลกและชีวิตตามความเชื่อ ของคนในชมพูทวีปสมัยกอนพระพุทธเจา เปนอยางไร (แนวตอบ ชาวชมพูทวีปมีความเชื่อเกี่ยวกับ สถานภาพของโลกอยางหลากหลาย เชน บางกลุมเชื่อวาโลกนี้เปนนิรันดร บางกลุม เชื่อวาโลกนี้เปนนิรันดรบางสวน สวนความ เชือ่ เกีย่ วกับชีวติ หลังความตาย เชน บางกลุม เชื่อวาคนเราตายแลวตองเกิดอีก บางกลุม เชือ่ วาตายแลวไมเกิดอีก เปนตน)

กลับไม่ปรากฏว่ามีพิษจนเป็นอันตรายแก่ผู้ดื่มกินแต่ประการใด๔ ปรากฏการณ์เช่นนี้ยิ่งทำให้คน อินเดียเชือ่ มัน่ ว่าแม่นำ้ คงคานีม้ ีความศักดิ์สิทธิ์จริงๆ ความนิยมล้างบาปด้วยการอาบน้ำในแม่น้ำคงคาแพร่หลายมาก ถึงขนาดพราหมณ์ คนหนึ่ง ซึ่งรู้จักคุ้นเคยกับพระพุทธเจ้าเป็นการส่วนตัว ได้ชักชวนพระพุทธองค์ไปอาบน้ำที่แม่น้ำ คงคากับตนเพื่อชำระล้างบาป แต่พระพุทธเจ้าทรงตอบปฏิเสธ โดยตรัสว่า “คนเราถ้าทำชัว่ ถึงจะไปอาบน้ำทีแ่ ม่นำ้ พาหุกา แม่นำ้ อธิกา แม่นำ้ สุนทริกา แม่น้ำ สรัสตี แม่น้ำพาหุมตี เป็นนิตย์ ก็บริสุทธิ์พ้นจากบาปไม่ได้ เพราะแม่น้ำไม่สามารถชำระล้าง กรรมหยาบช้าของคนให้หมดจดได้ ท่านจงอาบน้ำธรรมวินัยนี้เถิด (คือหันมาทำความดีทางกาย วาจา ใจ) ถ้าท่านไม่พูดเท็จ ไม่เบียดเบียนสัตว์ ไม่ถือเอาของที่เขามิได้ให้ มีความเชื่อตาม เหตุผล ไม่ตระหนี่ถี่เหนียว ท่านก็จะบริสุทธิ์เอง ถ้าทำความดีแล้วจะอาบน้ำดื่มน้ำชนิดไหน มันก็จะกลายเป็นน้ำศักดิ์สิทธิ์ทั้งสิ้น” ๕ เถรีภาษิตอีกแห่งหนึง่ สนับสนุนทรรศนะนีค้ อื “ถ้าบุคคลจะพ้นจากบาปกรรม เพราะการ รดน้ำศักดิ์สิทธิ์แล้ว กบ เต่า นาก จระเข้ และสัตว์น้ำทั้งปวง ก็จักได้ไปสวรรค์หมดเป็นแน่” ๖ 1 ๒) ทรรศนะเกี่ยวกับโลกและชีวิต ถึงแม้จะมีความเชื่อว่า พระพรหมเป็น ผู้สร้างโลกและกำหนดชะตากรรมของมนุษย์โดยส่วนรวมก็ตาม แต่คนอินเดียในสมัยพุทธกาล ก็ ยั ง มี ท รรศนะแตกต่ า งกั น เกี่ ย วกั บ สถานภาพของโลก เช่ น บางพวกเห็ นว่ า โลกนี้ นิ รั น ดร บางพวกว่านิรันดรบางส่วน บางพวกว่าโลกมีที่สุด บางพวกว่าโลกไม่มีที่สุด เกี่ยวกับชีวิตมนุษย์ หลังตายก็เช่นกัน บ้างว่าคนเราตายแล้วต้องเกิดอีก บางพวกว่าตายแล้วไม่เกิดอีก บางพวกว่า ตายแล้วยังมีสัญญา (ความจำได้) อยู่ บางพวกว่าตายแล้วไม่มีสัญญา เป็นต้น ทรรศนะเหล่านี้มี บันทึกไว้ใน “พรหมชาลสูตร พระไตรปิฎก เล่มที่ ๙” มีทั้งหมด ๖๒ ทรรศนะ ซึ่งจะนำมากล่าว พอสังเขป ดังนี้ ๔

แต่เดิมเคยมีการทดสอบน้ำในแม่น้ำคงคา ปรากฏว่าน้ำมีความเป็นด่างอย่างแรงพอที่จะทำลายเชื้อโรคและ แบคทีเรียบางอย่างได้ ทำให้ไม่เป็นอันตรายต่อผู้มาอาบหรือดื่มกิน อันอาจจะเป็นเพราะธรรมชาติของแม่น้ำที่ใต้แม่น้ำบาง บริเวณเป็นแอ่งมหึมา อย่างเช่น บริเวณหน้าเมืองพาราณสี ทำให้มีหินปูนมาตกตะกอนทับถมส่งผลให้มีความเป็นด่างมาก แต่อย่างไรก็ตาม การที่อินเดียมีประชากรเพิ่มมากขึ้น มีการทิ้งซากศพและสิ่งปฏิกูล รวมทั้งมีการปล่อยน้ำเสียจำนวนมาก ลงสู่แม่น้ำตลอดเวลา ทำให้จากการทดสอบตัวอย่างน้ำในแม่น้ำคงคาของนักวิทยาศาสตร์อเมริกันเมื่อต้นปี พ.ศ. ๒๕๕๒ พบว่าแม่นำ้ คงคามีคณุ ภาพลดลงกว่าเดิม ซึง่ ทางรัฐบาลอินเดียก็พยายามทีจ่ ะแก้ไขปัญหาแม่นำ้ สายสำคัญทีส่ ดุ ของประเทศอยู่ ๕ ถอดความจาก. มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ เล่มที่ ๒. ข้อที่ ๙๘. หน้า ๖๙-๗๐. ๖ ปุณญิกาชเถรีภาษิต เล่มที่ ๒๖. ข้อที่ ๑๖๖. หน้า ๔๗๓.

9

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’ 51 ออกเกี่ยวกับหลักความเชื่อทางพระพุทธศาสนา เรื่องภพ-ภูมิ สัมพันธกับหลักพระพุทธศาสนาในเรื่องใด 1. กรรม 2. กิเลส 3. นิพพาน 4. อริยสัจ วิเคราะหคําตอบ เรื่องภพ-ภูมิ สัมพันธกับหลักพระพุทธศาสนาในเรื่อง กรรม ซึ่งเปนการกระทําที่ประกอบดวยเจตนา ยอมสงผลตอผูกระทําตาม สิ่งที่กระทําไปไมวาเร็วหรือชา และสามารถอธิบายไดตามหลักธรรมกรรม 12 คือ กรรมจําแนกตามหลักเกณฑเกี่ยวกับการใหผล 12 ประการ เชน ทิฏฐธรรมเวทนียกรรม กรรมใหผลในปจจุบัน ชนกกรรม กรรมแตงใหเกิด กรรมที่เปนตัวนําไปเกิด ดังนั้นคําตอบคือ ขอ 1.

เกร็ดแนะครู ครูควรนํากรณีศึกษาความเชื่อเกี่ยวกับผลของกรรมในสังคมไทยปจจุบัน เชน การแกกรรม การระลึกชาติ มาใหนักเรียนพิจารณา หลังจากที่นักเรียนไดศึกษา ทรรศนะทางพระพุทธศาสนาเกี่ยวกับกรรมและชีวิต แลวใหนักเรียนอภิปรายถึง ความเชื่อในกรณีศึกษากับทรรศนะทางพระพุทธศาสนา จากนั้นบันทึกผลการ อภิปรายลงในสมุด

นักเรียนควรรู 1 โลกและชีวิต ในทางพระพุทธศาสนามนุษยเปนสวนหนึ่งของธรรมชาติ ชีวิตของมนุษยจึงอยูภายใตกฎเกณฑของธรรมชาติอยางหลีกเลี่ยงไมได มนุษย จึงตองรูเทาทันทุกขและพัฒนาสุขในระดับตางๆ ตามนัยแหงพระพุทธศาสนาดวย ปญญาแหงธรรม คูมือครู

9


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Elaborate

Evaluate

Explain

ครูใหตัวแทนนักเรียนออกมาเขียนความเชื่อ เกี่ยวกับโลกและชีวิตของคนในชมพูทวีปกอนสมัย พระพุทธเจาที่บันทึกไวในพรหมชาลสูตร ที่ตาราง บนกระดานหนาชั้นเรียนในหัวขอ ดังนี้ 1. ความเชื่อเกี่ยวกับสถานภาพของโลก 2. ความเชื่อเกี่ยวกับสถานภาพของสรรพสิ่ง 3. ความเชื่อเกี่ยวกับการตายและการเกิด 4. ความเชื่อเกี่ยวกับเรื่องสุขและทุกข 5. ความเชื่อเกี่ยวกับชีวิตหลังความตาย 6. ความเชื่อเกี่ยวกับเปาหมายสูงสุดของชีวิต 7. ความเชื่อที่ไมแนนอน แลวสํารวจความเชื่อของนักเรียนในหัวขอ ตางๆ ขางตน โดยใหนักเรียนยกมือในความเชื่อ ที่นักเรียนเห็นดวย ครูบันทึกจํานวนนักเรียนที่ เห็นดวยกับความเชื่อตางๆ จากนั้นสุมนักเรียนให อธิบายวา เพราะเหตุใดจึงเห็นดวยกับความเชื่อนั้น โดยเฉพาะในหัวขอความเชื่อเกี่ยวกับสถานภาพ ของโลกและความเชื่อเกี่ยวกับการตายและการเกิด

๑. ๒. ๓.

๔. ๕. ๖. ๗.

เกี่ยวกับการตายและการเกิด ๑.๑ พวกหนึ่งเห็นว่าตายแล้วเกิดอีก ๑.๒ อีกพวกหนึ่งเห็นว่าตายแล้วสูญ เกี่ยวกับเรื่องสุขและทุกข์ ๒.๑ พวกหนึ่งเห็นว่าสุขและทุกข์ไม่มีเหตุ ไม่มีปัจจัย (คือ เกิ​ิดขึ้นได้เอง ดับได้เอง) ๒.๒ อีกพวกหนึ่งเห็นว่าสุขและทุกข์มีเหตุ มีปัจจัย เกี่ยวกับสถานภาพของสรรพสิ่ง ๓.๑ พวกหนึ่งเห็นว่าสรรพสิ่งเที่ยงแท้นิรันดร ๓.๒ อีกพวกหนึ่งเห็นว่านิรันดรเพียงบางส่วนบางอย่าง เกี่ยวกับสถานภาพของโลก ๔.๑ พวกที่ ๑ เห็นว่าโลกมีที่สุด ๔.๒ พวกที่ ๒ เห็นว่าโลกไม่มีที่สุด ๔.๓ พวกที่ ๓ เห็นว่าโลกมีที่สุดบางอย่าง ๔.๔ พวกที่ ๔ เห็นว่าโลกมีที่สุดก็ไม่ใช่ ไม่มีที่สุดก็ไม่ใช่ เกี่ยวกับชีวิตหลังความตาย ๕.๑ พวกที่ ๑ เห็นว่าสัตว์ตายแล้วยังมีสัญญา (ความจำได้) อยู่ ๕.๒ พวกที่ ๒ เห็นว่าสัตว์ตายแล้วไม่มีสัญญา ๕.๓ พวกที่ ๓ เห็นว่าสัตว์ตายแล้วมีสัญญาก็ไม่ใช่ ไม่มีสัญญาก็ไม่ใช่ เกี่ยวกับเป้าหมายสูงสุดของชีวิต ๖.๑ พวกที่ ๑ เห็ เห็นว่าความสุขในกามารมณ์ เป็นเป้าหมายสูงสุดของชีวิต 1 งๆ เป็นเป้าหมายสูงสุดของชีวิต ๖.๒ พวกที่ ๒ เห็ เห็นว่าการได้ฌานชั้นต่างๆ อน ยัยังมีอีกพวกหนึ่งเห็นว่าไม่ควรบัญญัติอะไรว่าเป็นอย่างนั้นอย่างนี ้ ทรรศนะไม่แน่นอน เพราะไม่มีอะไรเป็นกฎเกณฑ์แน่นอนตายตัว การปฏิเสธหรือยอมรับอะไรง่ายๆ อาจ ผิดพลาดขึ้นได้ ดังนั้นจึงไม่ควรผูกมัดตัวเองกับทฤษฎีใดๆ

๓) การแสวงหาสัจธรรม สภาพเศรษฐกิจที่มีความยากจนบีบคั้น และสภาพ

10

สังคมที่มีการแบ่งชั้นวรรณะ มีการดูหมิ่นเหยียดหยาม เอารัดเอาเปรียบกัน ทำให้คนอีกกลุ่มหนึ่ง เกิดความเบื่อหน่ายในชีวิตที​ี่เต็มไปด้วยความทุกข์ พากันปลีกตนออกจากบ้านเรือนเข้าสู่ป่า แสวงหาคำตอบแก่ชีวิตในรูปแบบต่ 2 างๆ ถือเพศผู้แสวงหาโมกษะ (ทางหลุดพ้น) มีชื่อเรียกว่า อาชีวกบ้าง ปริพาชกบ้าง ชฎิลบ้าง สมณะบ้าง ตั้งตนเป็นเจ้าสำนักสอนลัทธิของตนแก่มหาชน มีผู้นับถือมากมาย หลักฐานระบุไว้ถึง ๖๒ ลัทธิดังกล่าวข้างต้นและมีเจ้าลัทธิที่มีชื่อเสียงมากใน ยุคนั้น ๖ ท่าน ดังต่อไปนี้

นักเรียนควรรู 1 ฌาน ในทางพระพุทธศาสนาคือ การเพงอารมณจนใจแนวแน เปนอัปปนา สมาธิ หรือภาวะจิตสงบประณีต ซึ่งมีสมาธิเปนองคธรรมหลัก ในเบื้องตนแบงออก ไดเปน 4 ระดับ ไดแก ปฐมฌาน คือ วิตก วิจาร ปติ สุข และเอกัคคตา ทุติยฌาน คือ ปติ สุข และเอกัคคตา ตติยฌาน คือ สุขและเอกัคคตา และจตุตถฌาน คือ อุเบกขาและเอกัคคตา 2 ชฎิล คือ นักบวชประเภทหนึ่ง เกลาผมมุนเปนมวยสูงขึ้น มักถือลัทธิบูชาไฟ บางครั้งจัดเขาในพวกฤๅษี ชฎิลสําคัญที่ปรากฏในประวัติพระพุทธศาสนา ไดแก ชฎิลกัสสปะหรือชฎิลสามพี่นอง ประกอบดวย อุรุเวลกัสสปะ นทีกัสสปะ และคยากัสสปะ ซึ่งภายหลังไดรับการเทศนาธรรมจากพระพุทธเจาทําใหหันมา ยอมรับนับถือพระพุทธศาสนา

10

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ทรรศนะเกี่ยวกับความสุขและทุกขของชีวิตในชมพูทวีปมีลักษณะอยางไร 1. กลุมตางๆ เชื่อวาไมมีความสุขความทุกข มนุษยลวนคิดไปเอง 2. กลุมตางๆ เชื่อวาความสุขทางกายเปนเปาหมายสูงสุดของชีวิต 3. กลุมหนึ่งเชื่อวาเกิดขึ้นเอง อีกกลุมหนึ่งเชื่อวาเกิดขึ้นดวยเหตุปจจัย 4. กลุมหนึ่งเชื่อวาพระเจาบันดาลสุข อีกกลุมหนึ่งเชื่อวาภูติผีสรางทุกขเข็ญ วิเคราะหคําตอบ ทรรศนะเกี่ยวกับชีวิตมนุษยในชมพูทวีปเรื่องความสุข และทุกขนั้น แบงออกไดเปน 2 กลุมใหญๆ คือ กลุมที่เชื่อวาความสุข และทุกขในชีวิตนั้นเกิดขึ้นเอง ไมมีเหตุปจจัย เชน ลัทธิมักขลิโคสาล กับ กลุมที่เชื่อวา ความสุขและทุกขนั้นมีเหตุปจจัย เชน พระพุทธศาสนา ดังนั้นคําตอบคือ ขอ 3.


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู ลัทธิ

1

ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับการแสวงหา สัจธรรมของคนในชมพูทวีปสมัยกอนพระพุทธเจา แลวใหนักเรียนพิจารณาแถบขอความคําตอไปนี้ • เห็นวาทําก็เทากับไมทํา • เห็นวาไมมีเหตุ มีแตผล • เห็นวาไมมี เห็นวาสูญ • เห็นวานิรันดร • เห็นวาความจริงมีหลายแง • เห็นวาไมตายตัว จากนั้นใหนักเรียนชวยกันจับคูลัทธิที่มีหลัก คําสอนตรงขามกัน ครูติดแถบขอความที่นักเรียน จับคูไดถูกตองบนกระดานเปนคูๆ (คูที่ถูกตอง ไดแก เห็นวาทําก็เทากับไมทํา คือ ปูรณกัสสป คู กับ เห็นวาไมมีเหตุ มีแตผล คือ มักขลิโคสาล เห็นวาไมมี เห็นวาสูญ คือ อชิตเกสกัมพล คูกับ เห็นวานิรันดร คือ ปกุธกัจจายนะ และเห็นวา ความจริงมีหลายแง คือ นิครนถนาฏบุตร คูกับ เห็นวาไมตายตัว คือ สัญชัยเวลัฏบุตร) แลวสุม นักเรียนเปนคูใหออกมาเขียนหลักคําสอนของลัทธิ ที่ตรงขามกันที่กระดานหนาชั้นเรียน

หลักคำสอน

ปูรณกัสสป

มีความเห็นว่า บุญบาปไม่มจี ริง สิง่ ทีท่ ำลงไปว่าดีหรือชัว่ ไม่มผี ลอะไรตอบสนอง ทำแล้วก็แล้วไป ลัทธินเี้ รียกว่า “อกิรยิ ทิฏฐิ” (เห็นว่าทำก็เท่ากับไม่ทำ)

มักขลิโคสาล

มีความเห็นว่า ความบริสทุ ธิแ์ ละความมัวหมองไม่มเี หตุปจั จัย สัตว์ทงั้ หลาย บริสุทธิ์และเศร้าหมองเองตามธรรมชาติ ลัทธินี้เรียกว่า “อเหตุกทิฏฐิ” (เห็น ว่าไม่มีเหตุ มีแต่ผล) ลัทธินี้เรียกอีกอย่างว่า “สังสารสุทธิ” คือ เชื่อว่า หลังจากเวียนว่ายตายเกิดเป็นเวลานาน สัตว์ทั้งหลายก็จะบริสุทธิ์ได้เอง

อชิตเกสกัมพล

มีความเห็นว่า คนไม่มี สัตว์ไม่มี มีแต่การประชุมแห่งธาตุทั้ง ๔ เมื่อธาตุ ทั้ง ๔ แยกกันแล้วก็เป็นอันสิ้นสุด บาปบุญไม่มี ทานและการบูชายัญเป็น บัญญัติของคนโง่ ที่สุดของชีวิตก็คือเถ้าถ่าน ไม่มีอะไรเหลืออยู่ ตายแล้ว สูญหมด ลัทธินี้เรียกว่า “นัตถิกทิฏฐิ” (เห็นว่าไม่มี) และ “อุจเฉททิฏฐิ” (เห็นว่าสูญ) นับว่าเป็นลัทธิวัตถุนิยมของอินเดีย

ปกุธกัจจายนะ

มีความเห็นว่า สิ่งที่เที่ยงแท้มีอยู่ ๗ อย่าง คือ ดิน น้ำ ไฟ ลม สุข ทุกข์ และชีวะ ไม่ผันแปรเป็นอย่างอื่น มีอยู่อย่างไรก็อย่างนั้น ลัทธินี้เรียกว่า “สัสสตทิฏฐิ” (เห็นว่านิรันดร) และในด้านจริยธรรมถือว่าไม่มีคนฆ่า ไม่มีคน ถูกฆ่า เป็นแต่เพียงศัสตราวุธชำแหละผ่านอวัยวะที่ไม่ยั่งยืนเท่านั้น แต่ชีวะ ที่เที่ยงแท้ไม่มีใครฆ่าได้ จึงไม่มีผลทางจริยธรรมแต่อย่างใด ลัทธินี้จึงจัด เป็น “นัตถิกทิฏฐิ” ได้อีกด้วย

นิครนถ์นาฏบุตร๗

มีความเห็นว่า การทรมานกายให้ลำบากด้วยวิธีต่างๆ เป็นทางหลุดพ้นหลัก คำสอน ลัทธินี้เน้นความเข้มงวดต่างๆ เช่น ถือการไม่เบียดเบียนอย่าง ยิ่งยวด ถึงกับเอาผ้าปิดปากปิดจมูก เกรงว่าเวลาหายใจจะสูดจุลินทรีย์สัตว์ เข้าไปโดยไม่เจตนา หรือเวลาเดินไปไหนจะเอาไม้เท้ากวาดพื้นเสียก่อนแล้ว ค่อยๆ ย่องไปอย่างช้าๆ ไม่มีสมบัติครอบครอง ไม่นุ่งห่มผ้า ประพฤติตน เป็นชีเปลือย เชื่อว่าการอดข้าวจนสิ้นชีพจะทำให้พ้นทุกข์ ลัทธินี้เรียกว่า “อัตตกิลมถานุโยค” (ลัทธิทรมานตน) ในแง่อภิปรัชญาลัทธินี้ถือว่า ความ จริงแท้มีหลายแง่ เรื่องหนึ่งมองในแง่นี้อาจเป็นจริง แต่ถ้ามองในแง่อื่นใน สถานการณ์อื่นอาจไม่จริงก็ได้ เรียกว่า “อเนกานตวาท” (ถือว่าความจริงมี หลายเงื่อนหลายแง่)

สัญชัยเวลัฏฐบุตร

มีความเห็นว่า การจะผูกมัดตัวเองกับทรรศนะใดๆ ย่อมมีส่วนผิดพลาดได้ จึงไม่ยืนยันและปฏิเสธทรรศนะใด เอาแน่อะไรไม่ได้ เช่น ถ้าถามว่าเป็น อย่างนี้หรือ ก็ตอบว่าไม่ใช่ ถ้าถามว่าไม่ใช่หรือ ก็ตอบว่าใช่ ลัทธินี้เรียกว่า “อมราวิกเขปิกาทิฏฐิ” (มีความเห็นไม่ตายตัว ลืน่ ไหลไปมาเหมือนปลาไหล)

นิครนถ์นาฏบุตร เป็นที่รู้จักกันในอีกนามหนึ่ง พระมหาวีระ ซึ่งเป็นศาสดาของศาสนาเชน

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ลัทธิรวมสมัยกับพระพุทธเจาที่พัฒนาขึ้นเปนศาสนาในปจจุบันคืออะไร และมีหลักคําสอนสําคัญอยางไร

แนวตอบ ลัทธินิครนถนาฏบุตร คือ ศาสนาเชน ในปจจุบัน มีพระมหาวีระ เปนศาสดา หลักคําสอนสําคัญของลัทธินี้คือ การทรมานกายใหลําบาก ดวยวิธีตางๆ เปนแนวทางหลุดพนจากทุกข และในการปฏิบัติเนนความ เขมงวดเปนอยางยิ่ง เชน การไมครอบครองสมบัติ การไมนุงหมผา การอดขาวจนสิ้นชีพ เปนตน

Explain

11

นักเรียนควรรู 1 ลัทธิ คติความเชื่อ ความคิดเห็น และหลักการที่มีผูนิยมนับถือและปฏิบัติ ตามสืบเนื่องกันมา มักใชทั้งในดานศาสนาและดานการเมืองการปกครอง เชน ลัทธิของเหลาติตถกร (เจาลัทธิทั้ง 6 ในสมัยพุทธกาล) ลัทธิสังคมนิยม และลัทธิ ทุนนิยม เปนตน

มุม IT ศึกษาความเชื่อและรายละเอียดเพิ่มเติมของลัทธิตางๆ ในสังคมชมพูทวีป สมัยกอนพระพุทธเจาไดที่ http://www.mcu.ac.th/site/articlecontent_desc. php?article_id=428&articlegroup_id=104 เว็บไซตมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

คูมือครู

11


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

Expand

ครูมอบหมายใหนักเรียนเขียนบทความเกี่ยว กับลักษณะของสังคมชมพูทวีปและคติความเชื่อ ทางศาสนาในสมัยกอนพระพุทธเจา โดยกําหนด ใหมีเนื้อหาครอบคลุมดานการเมืองการปกครอง ดานสังคม และดานศาสนาหรือลัทธิความเชื่อ ความยาวไมตํ่ากวา 2 หนากระดาษ A4 จาก ความรูที่นักเรียนไดศึกษามาและคนควาขอมูล เพิ่มเติมในเชิงลึกจากแหลงการเรียนรูตางๆ

ตรวจสอบผล

Evaluate

ครูคัดเลือกบทความที่ดีเกี่ยวกับลักษณะของ สังคมชมพูทวีปและคติความเชื่อทางศาสนาในสมัย กอนพระพุทธเจา แลวนํามาใหนักเรียนชวยกันตรวจ อีกครั้ง โดยพิจารณาจากความสมบูรณของเนื้อหา สาระและการนําเสนอที่เขาใจงาย รวมถึงความนา สนใจ จากนัน้ อภิปรายรวมกันกับนักเรียนถึงแนวทาง ในการแกไขปรับปรุงและพัฒนาชิน้ งานตอไป

12

1 อาฬารดาบส กาลามโคตร เปนอาจารยที่สอนสมาบัติแกพระพุทธเจาใน ขณะที่ยังเปนพระสิทธัตถะ อาฬารดาบสไดสมาบัติถึงชั้นอากิญจัญญาตนฌาน คือ ฌานกําหนดภาวะที่ไมมีอะไรเลยเปนอารมณ 2 อุททกดาบส รามบุตร เปนอาจารยที่สอนสมาบัติแกพระพุทธเจาในขณะ ที่ยังเปนพระสิทธัตถะเชนกัน อุททกดาบสไดสมาบัติถึงชั้นเนวสัญญานาสัญญายตนะ คือ ภาวะที่มีสัญญาก็ไมใช ไมมีสัญญาก็ไมใช

คูมือครู

ตรวจสอบผล Evaluate

๔) แนวทางปฏิบัติ แนวทางปฏิบัติเพื่อความหลุดพ้นจากความทุกข์ของคน

อินเดียยุคพุทธกาลมีอยู่ ๓ ทาง ดังนี้ ๔.๑) การหมกมุ่นเสพสุขทางกามารมณ์ ได้แก่ การแสวงหาความสุขทาง เนื้อหนังอย่างเต็มที่ พวกนี้ถือว่าชีวิตมีชีวิตเดียว ความสุขทางเนื้อหนังจึงเป็นจุดหมายสูงสุด ของชีวิต ตายไปแล้วทุกอย่างเป็นอันสิ้นสุด พวกนี้ได้ประกาศทรรศนะของตนว่า “คนเราประกอบ ด้วยธาตุ ๔ เมื่อตายลง ธาตุดินก็กลับคืนสู่ดิน ธาตุน้ำก็กลับคืนสู่น้ำ ธาตุไฟก็กลับคืนสู่ ไฟ ธาตุลมก็กลับคืนสู่ลม ความรู้สึกทั้งหลายหายไปในอวกาศ คนเราไม่ว่าโง่หรือฉลาด เมื่อกาย แตกสลายก็แตกดับหายสูญ ไม่คงอยู่อีกต่อไป ไม่มีโลกหน้า ความตายคือที่สุดของสรรพสิ่ง โลกปัจจุบันนี้เท่านั้นคือความจริง สิ่งที่เรียกว่านรกสวรรค์ เป็นเพียงจินตนาการของคนโกง” พวกคนที่มีความเห็นเช่นนี้เรียกว่า “โลกายตะ” ซึ่งเป็นลัทธิวัตถุนิยมของ อินเดียโบราณ พระพุทธศาสนาเรียกลัทธินวี้ า่ “กามสุขลั ลิกานุโยค” (ลัทธิหมกมุน่ อยู่ในสุขทางกาม) ๔.๒) การบำเพ็ญตบะ คือ ทำตนให้ลำบากด้วยการบำเพ็ญตบะต่างๆ เช่น ย่างตนให้ร้อนด้วยไฟ ขุดหลุมฝังตนเอง เอาขี้เถ้าหรือโคลนทาตัวให้สกปรกจนเป็นสะเก็ดดำ อย่างตอตะโก แช่กายในน้ำที่เย็นจัด ทำให้อวัยวะพิการด้วยวิธีต่างๆ ฯลฯ ตลอดจนการอดอาหาร ด้วยความเชื่อว่าเมื่อทรมานตนให้ลำบากแล้วกิเลสภายในจิตใจจะเหือดแห้งไป หรือพระผู้เป็นเจ้า จักมีพระกรุณาประทานความหลุดพ้นให้ วิธีการนี้เรียกว่า “ตบวิธี” (อ่านว่า ตะ - บะ - วิ - ธี) ทางพระพุทธศาสนา เรียกว่า “อัตตกิลมถานุโยค” (ลัทธิทรมานตนให้ลำบาก) ๔.๓) การฝึกโยคะ คือ การ ฝึกทำจิตใจให้สงบ เพื่อให้พลังจิตควบคุมหรือ บังคับกาย ผลของการฝึกจิตคือทำให้ได้ฌาน สมาบัติขั้นต่างๆ วิธีนี้เรียกว่า “โยควิธี” ผู้ที่ฝึก ปฏิบัติวิธีนี้เรียกว่า “โยคี” มีแพร่หลายมากใน ประเทศอินเดียโบราณแม้ปจั จุบนั ก็ยงั ปรากฏอยู่ ผู้ ที่ เ ป็ น เจ้ า สำนั ก ที่ มี ชื่ อ เสี ย งมากในสมั ย นั้ น แม้พระพุทธเจ้าก็เสด็จไปทดสอบฝึกปฏิบัติอยู่ การบำเพ็ญตบะ คือ การทรมานตนเองด้วยเชื่อว่าเป็น 1 หนทางแห่งการหลุดพ้นได้ ด้วยก่อนตรัสรู้คือ อาฬารดาบส กาลามโคตร 2 และอุททกดาบส รามบุตร

นักเรียนควรรู

12

Expand

Explain

ครูสุมนักเรียนใหตอบคําถามเกี่ยวกับแนวทาง ปฏิบัติเพื่อความหลุดพนจากทุกขของคนในชมพู ทวีปสมัยกอนพระพุทธเจา เชน • แนวทางที่อาจกลาวไดวาสอดคลองกับลัทธิ วัตถุนิยมในปจจุบันคืออะไร และมีแนวทาง การปฏิบัติอยางไร (แนวตอบ ผูที่เชื่อในแนวทางเชนนี้เรียกวา โลกายตะ ในทางพระพุทธศาสนาเรียกลัทธิ นี้วา กามสุขัลลิกานุโยค หมายถึง ลัทธิ หมกมุนอยูในสุขทางกาม พวกที่เชื่อในลัทธิ นี้จะแสวงหาความสุขทางเนื้อหนังอยางเต็ม ที่ เพราะถือวามีชีวิตเดียว ความสุขทางเนื้อ หนังจึงเปนจุดหมายสูงสุดของชีวิต เมื่อตาย ไปแลวทุกอยางก็สิ้นสุด)

ขยายความเขาใจ

ขยายความเขาใจ

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

พระพุทธเจาทรงแสวงหาทางหลุดพนจากทุกขของชีวิตโดยทรงปฏิบัติ ตามแนวทางใดบาง 1. โลกายตะ ตบวิธี 2. ตบวิธี โยควิธี 3. โยควิธี สมถวิธี 4. สมถวิธี นิคคหวิธี วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 2. พระพุทธเจาทรงแสวงหาทางหลุดพนจาก ทุกขของชีวิตตามแนวทางตางๆ ในสังคมชมพูทวีปสมัยนั้น ไดแก โยค วิธี หรือการฝกโยคะ คือ การฝกทําจิตใจใหสงบ เพื่อใหพลังจิตควบคุม กายจนไดฌานสมาบัติชั้นตางๆ และตบวิธี หรือการบําเพ็ญตบะ คือ การทรมานตนใหลาํ บากดวยวิธกี ารตางๆ เชน กลัน้ ลมหายใจเอาลิน้ ดุน เพดานปากจนเกิดความรอนไปทั่วรางกาย ตลอดจนการบําเพ็ญทุกกรกิริยา หรือการอดอาหารจนผายผอม แตก็ไมพบทางพนทุกขจึงทรงเลิก ปฏิบัติในที่สุด


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

กระตุน ความสนใจ

ครูตั้งคําถามเกี่ยวกับความสําคัญของ พระพุทธศาสนา โดยเชื่อมโยงกับลักษณะทาง สังคมชมพูทวีปสมัยกอนพระพุทธเจาที่นักเรียนได ศึกษามา แลวใหนักเรียนชวยกันตอบ เชน • หลักธรรมและขอปฏิบตั ทิ างพระพุทธศาสนา มีความแตกตางจากคติความเชื่อทาง ศาสนาในสมัยกอนพระพุทธเจาอยางไรบาง (แนวตอบ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนามี ความเปนกลาง ไมขึ้นตอบุคคล กลุม เชื้อ ชาติ หรือศาสนาใดๆ เมื่อพูดวาสิ่งนี้ดี สิ่ง นี้ไมดี ยอมดีหรือไมดีสําหรับคนทุกหมูเหลา และทุกกาลเทศะ สวนขอปฏิบตั ทิ างพระพุทธศาสนานั้นยึดทางสายกลาง และเนนการ พัฒนาศรัทธาและปญญาบนหลักของเหตุผล)

กล่าวโดยสรุปในทางศาสนาหรือลั​ัทธิความเชื่อ พวกพราหมณ์ที่ผูกขาดสืบทอด 1 พระเวทติดต่อกันมาได้พัฒนาคำสอนในด้านพิธีกรรมต่างๆ ให้สลับซับซ้อนยิ่งขึ้น ซึ่งพิธีกรรม เหล่านีม้ งุ่ สนองความต้องการหรือผลประโยชน์สว่ นตัวของเหล่าอภิสทิ ธิช์ นมากกว่าการสร้างสรรค์ ประโยชน์สุขแก่สังคมส่วนรวม เช่น พิธีบูชายัญที่ต้องเซ่นสรวงสังเวยด้วยชีวิตของสัตว์คราว ละมากๆ ในเวลาเดียวกันนี้ พราหมณ์บางพวกได้คิดว่าพิธีกรรมต่างๆ ไม่สามารถตอบสนอง ความต้องการของคนได้อย่างสูงสุด จึงเริ่มหันมาเอาจริงเอาจังกับปัญหาชีวิตนิรันดรและหนทาง ที่จะนำไปสู่ภาวะนั้น ถึงกับปลีกตนออกจากสังคมไปบวชบำเพ็ญตบะหรือโยคะแบบต่างๆ เช่น การทรมานตนให้ลำบากด้วยวิธีการพิสดารต่างๆ นานาชนิดที่คนทั่วไปนึกไม่ถึงว่าจะเป็นไปได้ หรือไม่ก็บำเพ็ญสมาธิจนถึงขั้นทำอิทธิปาฏิหาริย์ และได้ฌานสมาบัติก็มี ระบบความเชื่อของคน อินเดียยุคพุทธกาลมีมากมาย เฉพาะที่บันทึกไว้ในคัมภีร์พระไตรปิฎกมีถึง ๖๒ ทฤษฎี มีสำนัก คณาจารย์ที่มีชื่อเสียงถึง ๖ สำนักด้วยกัน ดังนั้น จะเห็นได้ว่าในขณะที่คนกลุ่มหนึ่งกำลังรุ่งเรืองในทางการเมืองการ ปกครองและมีความสุขอย่างเหลือเฟือ แต่อีกกลุ่มหนึ่งกลับมีฐานะทางสังคมด้อยลงทุกขณะ เพราะไม่ได้รับการดูแล และยังมีอีกพวกหนึ่งที่ปลีกตัวออกจากสังคมเพื่อมุ่งแสวงหาความจริง ทางด้านปรัชญา โดยไม่ได้สนใจสภาพของสังคมที่เป็นอยู่

สํารวจคนหา

๒. ความสำคัญของพระพุทธศาสนา ๒.๑ พระพุทธศาสนามีทฤษฎีที่เป็นสากล พระพุทธศาสนานั้นสอนความจริงเป็นกลางๆ ไม่ขึ้นต่อบุคคล กลุ่ม หรือเชื้อชาติศาสนา ใดๆ เมื่อพูดว่าสิ่งนี้ดี สิ่งนี้ไม่ดี ย่อมดีหรือไม่ดีสำหรับคนทุกหมู่เหล่า และทุกกาลเทศะ เพราะ เป็นสิ่งที่ดี ที่เป็นสากล ยกตัวอย่างเช่น พระพุทธศาสนาสอนว่า ปาณาติบาต : การทำลายชีวิต เป็นสิ่งไม่ดี ก็สอนเป็นกลางๆ ว่า ไม่ว่าจะฆ่าคนซึ่งไม่จำกัดว่าเป็นใครก็ตาม หรือไม่ว่าจะฆ่าสัตว์ ชนิดไหนก็ตาม ถือว่าเป็นบาปทั้งนั้น ไม่มียกเว้นว่าฆ่าคนดีเท่านั้นที่บาป ฆ่าคนชั่วไม่บาป หรือ ฆ่าคนเท่านั้นจึงจะบาป ฆ่าสัตว์ไม่บาป หรือฆ่าสัตว์เพื่อความสนุกสนาน เพื่อหวังทำลายชีวิตให้ ตกไปเท่านั้นเป็นบาป แต่ฆ่าสัตว์เพื่อเป็นอาหารไม่บาป ทั้งนี้เพราะพระพุทธศาสนาถือหลักการ สากลว่า “คนและสัตว์ต่างรักตัวกลัวตาย การทำลายชีวิตทุกชีวิตให้ตกล่วงไปถือว่าเป็นบาปเช่น เดียวกัน” ฉะนั้น การทำปาณาติบาตในทุกกรณี จึงถือเป็นสิ่งไม่ดีในทางพระพุทธศาสนา 13

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’ 52 ออกเกี่ยวกับความเปนสากลของพระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนาสอนหลักความจริงที่เปนสากลในเรื่องใด 1. ตนเปนที่พึ่งแหงตน 2. การทําลายชีวิตเปนบาป 3. ทุกชีวิตตองเผชิญปญหาดวยความไมประมาท 4. มนุษยใชปญญาหาสาเหตุเพื่อแกปญหาได วิเคราะหคําตอบ ความจริงที่เปนสากลของพระพุทธศาสนา หมายถึง ความจริงที่เปนกลาง ไมขึ้นตอบุคคลที่นับถือ ศาสนาใด เมื่อพูดวาสิ่ง นี้ดี สิ่งนี้ไมดี ยอมดีหรือไมดีสําหรับทุกคน ตัวเลือกที่เปนสากลคือ การ ทําลายชีวิตเปนบาป สอดคลองกับหลักคําสอนของทุกศาสนา สวนตัวเลือก ขออืน่ ไมเปนสากล เนือ่ งจากศาสนาทีเ่ ชือ่ ในพระเจา เนนใหมนุษยศรัทธาใน พระเจา ผูส ามารถดลบันดาลสิง่ ตางๆ ในการดําเนินชีวติ ได ดังนัน้ คําตอบ

คือ ขอ 2.

Engage

Explore

ครูใหนักเรียนรวมกลุมกัน กลุมละ 3 คน เพื่อ ใหแบงหนาที่กันศึกษาเกี่ยวกับความสําคัญของ พระพุทธศาสนา จากหนังสือเรียน หนา 13-23 คนละหัวขอ ดังนี้ นักเรียนคนที่ 1 ศึกษาพระพุทธศาสนามี ทฤษฎีที่เปนสากล นักเรียนคนที่ 2 ศึกษาพระพุทธศาสนามีขอ ปฏิบัติที่ยึดทางสายกลาง นักเรียนคนที่ 3 ศึกษาพระพุทธศาสนาเนน การพัฒนาศรัทธาและปญญา ที่ถูกตอง จากนั้นใหนักเรียนแตละคนอธิบายความรูที่ ตนศึกษามาใหแกเพื่อนในกลุมตามลําดับ เมื่อครบ ทุกหัวขอแลวใหนักเรียนในแตละกลุมสอบถามขอ สงสัยจนมีความเขาใจตรงกัน

เกร็ดแนะครู ครูอาจอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับการมีทฤษฎีที่เปนสากลของพระพุทธศาสนาใน แงพระพุทธศาสนาแสดงธรรมทั้งหลายเปนธรรมดา ไมบังคับใหทํา และไมขูดวย การลงโทษ ใครจะเชื่อหรือไมเชื่อก็ไมบังคับ สอนใหรูวาความจริงเปนอยางนั้น เมื่อ กระทําแลวจะเกิดผลดีหรือผลเสียก็เปนไปตามธรรมดาของมันเอง เปนเรื่องที่ทุกคน สามารถพิจารณาไดดวยสติปญญาของตนเอง

นักเรียนควรรู 1 พระเวท คือ คัมภีรในศาสนาพราหมณ-ฮินดู ประกอบดวย 3 เลม เรียกวา ไตรเพท ไดแก ฤคเวท ประมวลบทสวดสรรเสริญเทพเจา ยชุรเวท ประกอบดวย บทสวดออนวอนในพิธีบูชายัญตาง ๆ และสามเวท ประมวลบทเพลงขับสําหรับ สวดหรือรองเปนทํานองในพิธีบูชายัญ ทั้งนี้ตอมาไดมีคัมภีรเพิ่มขึ้นอีกเลมหนึ่ง คือ อาถรรพเวทหรืออาถรรพณเวท อันวาดวยคาถาอาคมทรงไสยศาสตร คูมือครู

13


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

Elaborate

Evaluate

ข้อทฤษฎีที่เป็นสากลที่พระพุทธศาสนาสอนเน้นอยู่เสมอก็คือ หลักความจริงอันประเสริฐ แห่งชีวิต ๔ ประการ (อริยสัจ ๔) ดังนี้

๑) สอนว่าชีวิตและโลกนี้มีปัญหา เมื่อมองชีวิตแต่ละชีวิตที่เกิดมา ล้วนแต่

มี ปั ญ หาสารพั ด ชนิ ด ทั้ ง ปั ญ หาเล็ ก และปั ญ หาใหญ่ ทั้ ง ปั ญ หาภายในและปั ญ หาภายนอก สัตว์เดรัจฉานต้องเผชิญปัญหาการเอาตัวรอดจากภัยพิบัติ ต้องต่อสู้ดิ้นรนเพื่อหาอาหารมา เลี้ยงปากเลี้ยงท้อง กล่าวได้ว่านับตั้งแต่เกิดจนโต กว่าสัตว์เดรัจฉานจะเอาชีวิตรอดมาได้ ก็ต้อง เผชิญภยันตรายต่างๆ อย่างสาหัส แม้วันนี้จะสามารถอยู่รอดได้ ก็ไม่แน่ว่าพรุ่งนี้จะปลอดภัย จะทำสิ​ิ่งใดๆ จึงต้องระมัดระวังไปแทบทุกฝีก้าว ส่วนมนุษย์มิได้มีปัญหาอยู่เพียงเรื่องปากท้อง เท่านั้น ยังมีปัญหาอื่นๆ ทับถมเข้ามาอีก เช่น มีกินอิ่มแล้ว ยังอยากมีมากกว่าเดิมอีก อยากมีไว้ เผื่อลูกหลานอีก เกิดความโลภอยากได้ ไม่รู้จบ ปากท้องได้กินอิ่มแล้ว ยังต้องการให้ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ได้กินอีก เมื่อไขว่คว้าหารูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส มาปรนเปรอบำรุงบำเรอ ไม่จบสิ้น ปัญหาก็ยิ่งเพิ่มทวีคูณจนยากที่จะสะสางให้เบาบางได้ เมื่อมองภาพรวมของโลกทั้งหมด ทุกชีวิตที่เกิดมาล้วนเผชิญกับปัญหาที่เป็นสากล ด้วยกันทั้งนั้นคือ ปัญหาการเกิด แก่ เจ็บ ตาย ปัญหาการไม่ได้สมปรารถนา ปัญหาที่ต้อง ประสบกับบุคคล สัตว์ และสิ่งของที่ไม่เป็นที่รัก และปัญหาการพลัดพรากจากบุคคล สัตว์ และ สิ่งของอันเป็นที่รัก

๒) สอนว่ า ปั ญ หามี ส าเหตุ มิได้เกิดขึ้นลอยๆ พระพุทธศาสนาสอนว่า

พระพุทธศาสนาสอนว่าปัญหาทุกปัญหามีสาเหตุ การใช้ ความร่ ว มมื อ กั น ปรึ ก ษากั น เพื่ อ แก้ ไขปั ญ หา จึ ง เป็ น หนทางที่สมควร

สรรพสิ่ ง เกิ ด จากเหตุ สรรพสิ่ ง จะดั บ หรื อ หมดไป ก็ เ พราะดั บ เหตุ ไม่ มี สิ่ ง ใดเกิ ด ขึ้ น เป็นไป หรือดับสลายไปเฉยๆ โดยไม่มีเหตุ ปัจจัย พูดอีกนัยหนึ่งพระพุทธศาสนามิได้สอน ให้เชื่อในเรื่องบังเอิญ ในบางครั้งที่เราคิดว่ามัน เป็นไปโดย “บังเอิญ” ไม่มีเหตุไม่มีปัจจัยนั้น เป็นเพราะว่าเรามองไม่เห็นหรือไม่เข้าใจเหตุ หรือปัจจัยของมัน จึงทึกทักเอาว่าสิ่งนั้นเกิด ขึ้นหรือดับไปโดยบังเอิญ เช่น ดำกับแดงเป็น

14

เกร็ดแนะครู ครูอธิบายใหนักเรียนเขาใจเพิ่มเติมการคิดตามหลักอริยสัจ 4 โดยการเชื่อมโยง กับโยนิโสมนสิการ คือ การทําในใจโดยแยบคายที่นักเรียนไดศึกษามาแลววา การทําในใจโดยแยบคาย คือ การพิจารณาเพือ่ เขาถึงความจริง โดยสืบคนหาเหตุผล ไปตามลําดับจนถึงตนเหตุ แยกแยะองคประกอบจนมองเห็นตัวสภาวะและความ สัมพันธแหงเหตุปจจัยหรือตริตรองใหรูจักสิ่งที่ดีที่ชั่ว ยังกุศลธรรมใหเกิดขึ้นโดย อุบายที่ชอบ ซึ่งจะมิใหเกิดอวิชชาและตัณหา

มุม IT ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับหลักอริยสัจและทัศนะจากอริยสงฆไดที่ http://www.thammapedia.com/ariyasaj/ariyasaj.php เว็บไซต มูลนิธิธรรมทานกุศลจิต คูมือครู

ตรวจสอบผล

Explain

ครูสนทนารวมกันกับนักเรียนเกี่ยวกับการมี ทฤษฎีที่เปนสากลของพระพุทธศาสนา จากนั้นให นักเรียนแตละกลุมสงตัวแทนออกมาตอบคําถาม เกี่ยวกับหลักความจริงแหงชีวิต 4 ประการ เชน • เพราะเหตุใด มนุษยจึงมีปญหาชีวิต มากกวาสัตวโลกทั้งหลาย (แนวตอบ กิเลสตัณหาที่ครอบงําจิตใจของ มนุษย ทําใหมนุษยประสบกับปญหาชีวิตโดย ตลอด เชน มีกินอิ่มแลว ยังอยากมีมากกวา เดิมอีก อยากมีไวเผื่อลูกหลานอีก เกิดความ โลภอยากไดอยากมีไมรูจบ) • มนุษยทุกคนตองประสบกับปญหาชีวิตใด บาง (แนวตอบ การเกิด แก เจ็บ ตาย ปญหา การไมไดสมความปรารถนา ปญหาที่ตอง ประสบกับสิ่งที่ไมเปนที่รัก และปญหาการ พลัดพรากจากสิ่งที่เปนที่รัก) • พระพุทธศาสนามีทัศนะเกี่ยวกับการเกิด ปญหาอยางไร (แนวตอบ ปญหาเกิดขึ้นจากสาเหตุมิไดเกิด ขึ้นลอยๆ ดังคําที่วา สรรพสิ่งเกิดจากเหตุ สรรพสิ่งจะดับหรือหมดไป ก็เพราะดับเหตุ ไมมีสิ่งใดเกิดขึ้น เปนไป หรือดับสลายไป เฉยๆ โดยไมมีเหตุปจจัย) • เพราะเหตุใด พระพุทธศาสนาจึงไมสอนให เชื่อในเรื่องความบังเอิญ (แนวตอบ เพื่อใหเราพิจารณาหาสาเหตุของ ปญหาอยางจริงจัง เพราะในบางครั้งที่เรา คิดวามันเปนไปโดยบังเอิญ เปนเพราะวาเรา มองไมเห็นหรือไมเขาใจเหตุหรือปจจัยของ มัน จึงทึกทักเอาวาสิ่งนั้นเกิดขึ้นหรือดับไป โดยบังเอิญ)

14

ขยายความเขาใจ

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ทุกขประจําของชีวิตที่มนุษยและสัตวเดรัจฉานมีรวมกันคืออะไร 1. การมีชีวิตรอด 2. การพลัดพรากจากสิ่งที่รัก 3. การอยากไดอยากมีอยากเปนไมสิ้นสุด 4. การเผชิญกับปญหาดานการเรียนและการงาน วิเคราะหคําตอบ สิ่งมีชีวิตทั้งปวงไมวาจะมนุษยหรือสัตวเดรัจฉานลวน มีทุกขที่ตองเผชิญรวมกันหรือทุกขประจํา คือ การพยายามมีชีวิตรอด หมายถึง ความตองการอาหารยังชีพและการเอาตัวรอดจากภยันตรายตางๆ ดังนั้นคําตอบคือ ขอ 1.


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู เพื่อนเล่นกันมาตั้งแต่เด็ก มีนิสัยชอบการชกต่อยต่อสู้ ครูเขียวซึง่ เป็นหัวหน้าค่ายมวยในท้องถิน่ จึ ง จั บ ดำกั บ แดงมาฝึ ก หั ด ซ้ อ มมวย จนกระทั่ ง เด็ ก ทั้ ง สองมี ความเชี่ ย วชาญในเชิ ง มวยไทย ครูเขียวจึงพาไปขึ้นชกในงานมหรสพที่จัดขึ้นตามเวทีงานวัดต่างๆ หลายแห่ง ซึ่งทั้งดำและแดง ก็สะสมชัยชนะมีชื่อเสียงโด่งดังเป็นที่รู้จักกันทั่วไป ในที่สุดก็ ได้เข้ามาเป็นนักมวยสังกัดค่าย มวยใหญ่แห่งหนึ่งในกรุงเทพฯ​ ทั้งสองได้หันมาชกมวยสากล จนกระทั่งก้าวขึ้นเป็นแชมป์มวย สากลแต่ละรุ่นในเวลาไล่เลี่ยกัน หลังจากได้แชมป์แล้ว ดำยังคงหมั่นซ้อมสม่ำเสมอมิได้ขาด ประพฤติตนอยู่ในโอวาทของครูฝึกและหัวหน้าค่ายมวยเป็นอย่างดี ส่วนแดงเปลี่ยนไปจากเดิม 1 คือ หลงระเริงในชื่อเสียง เกียรติยศที่ตนได้รับ ไม่สนใจฝึกซ้อมเท่าที่ควร เอาแต่เที่ยวเตร่ หาความสนุกสำราญ ไม่อยู่ในโอวาทของครูฝึกและหัวหน้าค่ายมวย ที่สุดก็สูญเสียตำแหน่งแชมป์ และถูกไล่ออกจากค่ายมวยไปในทีส่ ดุ ยังคงมีแต่ดำเท่านัน้ ทีย่ งั ครองตำแหน่งแชมป์อยูเ่ ป็นเวลานาน ชีวิตประสบแต่ความสำเร็จ มีทั้งเกียรติยศชื่อเสียง เงินทอง เป็นที่สรรเสริญของคนทั่วไป จากเรื่องเล่าดังกล่าวถ้าหากเรามองชีวิตของดำและแดงเพียงผิวเผินก็อาจจะคิดว่า ชีวิตของคนทั้งสองเป็นไปโดยบังเอิญว่าครูเขียวเห็นเด็กสองคนอยู่ว่างๆ จึงเอามาฝึกชกมวย จนกระทั่งเป็นนักมวยมีฝีมือ และบังเอิญทั้งสองมีโอกาสลงไปกรุงเทพฯ ไปอยู่ค่ายมวยใหญ่ มีผจู้ ดั การดี มีครูฝกึ ดี ได้รบั การสนับสนุนให้ขนึ้ ชกมวยสากลจนได้เป็นแชมป์โลก เมือ่ ได้แชมป์โลก แล้วบังเอิญว่าดำรักษาแชมป์ไว้ได้นานเพราะชกกับนักมวยทีม่ ฝี มี อื ยังอ่อนประสบการณ์ ในขณะที่ แดงบังเอิญไปคบเพื่อนไม่ดี ถูกเพื่อนชักจูงไปเที่ยวสนุกสำราญจนลืมซ้อมมวย หรือคู่ชกของ แดงเป็นนักมวยที่เก่งมาก จึงทำให้แดงต้องเสียแชมป์ไปในที่สุด แต่ถ้าพิจารณาอย่างละเอียดถี่ถ้วนแล้ว จะเห็นว่าทุกอย่างดำเนินไปตามเหตุปัจจัย ไม่มีอะไรเกิดขึ้นและเป็นไปโดยไม่มีสาเหตุ ที่คิดว่าเป็นเพราะความ “บังเอิญ” นั้น เพราะมอง สาเหตุไม่ออกหรือมองไม่ชัดเจนเท่านั้นเอง เหตุที่ทำให้ดำและแดงประสบความสำเร็จในวิชาชีพ นักมวยที่สำคัญก็คือ การกระทำของเขาทั้งสองกับการอุปการะช่วยเหลือของครูฝึกและหัวหน้า ค่ายมวยรวมทั้งบุคคลอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง และเหตุที่ทำให้แดงต้องเสียแชมป์และถูกไล่ออกจาก ค่ายมวยในขณะที่ดำยังคงครองความเป็นนักมวยยิ่งใหญ่อยู่ได้นั้น ก็คือ ความประพฤติของ ทั้งสองคนที่แตกต่างกันนั่นเอง พระพุทธศาสนาเน้นว่า ปัญหาทุกอย่างมีสาเหตุ การที่จะแก้ ปัญหาได้ต้องศึกษาหาสาเหตุให้เข้าใจชัดเจนแล้วแก้ที่สาเหตุนั้น มิฉะนั้นแล้วแม้จะพยายามแก้ ปัญหาเท่าใดก็ยิ่งจะเพิ่มปัญหาใหม่ทับถมปัญหาเก่ามากขึ้น เข้าทำนองว่ายิ่งแก้ก็ยิ่งยุ่ง ปัญหา ก็จะยิ่งมากและซับซ้อนยิ่งกว่าเดิมเสียอีก

กิจกรรมสรางเสริม ครูอาจใหนักเรียนพิจารณาความทุกขในชีวิตของตน สาเหตุ และ แนวทางการแกไขความทุกขนั้น แลวบันทึกลงในสมุดสงครูผูสอน

กิจกรรมทาทาย

15

Explain

นักเรียนแตละกลุมสงตัวแทนออกมาตอบ คําถามเกี่ยวกับหลักความจริงแหงชีวิต 4 ประการ เชน • คุณธรรม จริยธรรมที่ไดจากการศึกษากรณี ตัวอยางนักมวยดําและแดงไดแกอะไรบาง (แนวตอบ คุณธรรม จริยธรรม ที่ไดจาก การศึกษากรณีตัวอยาง เชน ความกตัญู กตเวที การไมยุงเกี่ยวกับอบายมุข ความมี ระเบียบวินัย เปนตน) • สาเหตุที่แทจริงของปญหาชีวิตของแดงคือ อะไร (แนวตอบ ความประพฤติของแดงที่ขาด ระเบียบวินัยในการฝกซอม ไมอยูในโอวาท ของครูฝกและหัวหนาคายมวย หลงระเริง ไปกับเกียรติยศชื่อเสียง และเอาแตเที่ยวเตร หาความสุข) • การแกปญหาชีวิตตามหลักอริยสัจของ พระพุทธศาสนานั้นในขั้นตนตองทําอยางไร (แนวตอบ การศึกษาหาสาเหตุใหเขาใจ ชัดเจนแลวแกที่สาเหตุนั้น มิฉะนั้นแลวแม จะพยายามแกปญหาเทาใดก็อาจจะยิ่งเพิ่ม ปญหาใหมทับถมปญหาเกามากขึ้น ปญหาก็ จะยิ่งมากและซับซอนยิ่งกวาเดิม) • ความเชื่อของพระพุทธศาสนาเกี่ยวกับความ เปนเวไนยสัตวของมนุษยสัมพันธกับความ ศรัทธาในเทพเจาของคนในชมพูทวีปอยางไร (แนวตอบ พระพุทธศาสนาเชื่อในศักยภาพ ของมนุษยวา มนุษยสามารถพัฒนาตนไป สูจุดหมายสูงสุดของชีวิตไดดวยสติปญญา และความพากเพียรของตนเอง หรือเชื่อใน ความเปนเวไนยสัตวของมนุษย คือ ความ เปนผูที่ฝกฝนอบรมได จึงไมสัมพันธกับ ความเชื่อของคนสวนใหญในชมพูทวีปสมัย นั้นที่ศรัทธาในเทพเจาตางๆ วาสามารถดล บันดาลใหชีวิตประสบกับความสุขหรือทุกข)

เกร็ดแนะครู ครูอาจใหนักเรียนชวยกันวิเคราะหความสอดคลองของหลักอริยสัจ 4 กับหลัก การดําเนินชีวิตที่ชวยปองกันและแกไขปญหาตางๆ เชน หลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง จากนั้นใหนักเรียนเสนอแนวทางการดําเนินชีวิตของตนตามหลักดังกลาว บันทึกลงในสมุดและนําไปปฏิบัติในชีวิตประจําวัน

นักเรียนควรรู ครูอาจใหนักเรียนพิจารณาปญหาของบุคคลโดยทั่วไป โดยใหนักเรียน ยกตัวอยางปญหาทีเ่ ปนความทุกขพนื้ ฐานมา 2-3 ตัวอยาง แลวเสนอแนะ แนวทางการแกปญหาตามหลักทางพระพุทธศาสนา จากนั้นบันทึก ลงในสมุดสงครูผูสอน

1 เกียรติยศ หนึ่งในความเปนธรรมดาของโลกในทางพระพุทธศาสนา เรียกวา โลกธรรม คือ ธรรมที่มีประจําโลก ธรรมที่ครอบงําสัตวโลก และสัตวโลกก็เปน ไปตามที่สิ่งเหลานั้น มี 8 ประการ คือ มีลาภ เสื่อมลาภ มียศ เสื่อมยศ สรรเสริญ นินทา สุข ทุกข

คูมือครู

15


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Elaborate

Evaluate

Explain

นักเรียนแตละกลุมสงตัวแทนออกมาตอบ คําถามเกี่ยวกับหลักความจริงแหงชีวิต 4 ประการ เชน • เพราะเหตุใด พระพุทธศาสนาจึงสอนวา มนุษยสามารถแกปญหาชีวิตไดดวยตนเอง (แนวตอบ เพราะปญหาของชีวิตเรา ตัวเรา เทานั้นที่ยอมจะรูดีและแกไขไดดีที่สุด มิใช การบนบานศาลกลาวหรือพึ่งสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ดวยพิธีกรรมตางๆ ขอเพียงแตรูสาเหตุของ ปญหาและวิธีแกที่ถูกตองเทานั้น เชน การแกปญหาความยากจน แนวทางการ แกไขปญหาก็มิใชการเลนหวย เพราะอาจจะ ทําใหยากจนมากยิง่ ขึน้ แตควรขยันหมัน่ เพียร ในการประกอบการงานมากกวา) • ปญญาเพียงอยางเดียวชวยในการแกปญหา ชีวิตของมนุษยใหหมดสิ้นไปไดหรือไม เพราะเหตุใด (แนวตอบ ไมได เพราะปญหาทุกชนิดจะตอง อาศัยทั้งปญญาและความพากเพียรจึงจะแก ได กลาวคือ จะตองใชปญญาพิจารณาเพื่อรู วาปญหาคืออะไร สาเหตุมาจากไหน มีทาง แกไขหรือไม วิธีการแกไขจะตองทําอยางไร บาง จากนั้นจึงลงมือแกปญหาดวยความ พากเพียรพยายามอยางตอเนื่อง)

๓) สอนว่ามนุษย์สามารถแก้ปัญหาด้วยตนเอง พระพุทธศาสนาเน้นอยู่

เสมอว่ามนุษย์มีศักยภาพในตัวเอง หรือเรียกอย่างศัพท์ศาสนาก็ว่า มนุษย์เป็น “เวไนยสัตว์” (ผู้ที่ ฝึกฝนอบรมได้) มนุษย์ทุกคนมีความสามารถที่จะพัฒนาตนจากจุดเริ่มต้นก้าวไปสู่จุดหมายสูงสุด ของชีวติ ได้ดว้ ยสติปญั ญา ด้วยความพากเพียรของตนเอง โดยมิตอ้ งอาศัยอำนาจสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ใดๆ มาดลบันดาลให้เป็นไป คนส่วนมากเมื่อเกิดปัญหาต่างๆ ขึ้นในชีวิต แทนที่จะพิจารณาหาทางแก้ปัญหา ด้วยตนเอง กลับหันไปพึ่งสิ่งศักดิ์สิทธิ์ภายนอกให้ช่วยเหลือด้วยการบนบาน เซ่นสรวงภูตผี เทวดา รดน้ำมนต์ สะเดาะเคราะห์ ดูหมอ เสี่ยงทายและทำพิธีทางไสยศาสตร์ต่างๆ บ้าง หันไปพึ่งอบายมุขบ้าง ด้วยคิดว่าสิ่งเหล่านี้จะช่วยผ่อนคลายปัญหา หรือช่วยแก้ปัญหาให้ได้ อันที่จริงแล้วเป็นความเข้าใจผิด ที่จริงแล้วปัญหาของเราเอง ตัวเราเท่านั้นย่อมที่จะรู้ดีและแก้ ไขได้ดีกว่าผู้อื่น ขอเพียงแต่รู้จักวิธีแก้ที่ถูกเท่านั้น ยกตัวอย่างเช่น ปัญหาความยากจน มีเงินทองไม่พอใช้จ่าย ยังชีพ ถ้าหวังแก้จนโดยการซื้อหวยเถื่อนเพื่อผ่อนคลายปัญหาความยากจน แทนที่ปัญหาจะ หมดไป กลับเป็นการสร้างหนี้สร้างสิน ยากจนหนักขึ้นกว่าเดิมอีก พระพุทธศาสนาจึงเน้นให้แก้ที่ ต้นเหตุ ซึ่งต้นเหตุอย่างหนึ่งของความจน คือ การพนัน เพราะฉะนั้นการหวังจะเล่นการพนัน เพื่อแก้ความจนจึงเป็นการแก้ที่ไม่ถูกจุด

๔) สอนว่าการแก้ปัญหานั้น ต้ อ งใช้ ปั ญ ญาและความพากเพี ย ร

การแก้ ปั ญ หาต่ า งๆ จำต้ อ งใช้ ปั ญ ญาและความเพี ย ร เกื้อหนุนกัน โดยควรได้รับการฝึกฝนตั้งแต่วัยเยาว์

ปัญหาทุกชนิดจะต้องใช้ปัญญาและความเพียร จึ ง จะแก้ ไ ด้ พู ด อี ก นั ย หนึ่ ง ก็ คื อ จะต้ อ งรู้ ว่ า ปัญหาคืออะไร สาเหตุมาจากไหน มีทางแก้ ได้ ไ หม วิ ธี การจะแก้ จ ะต้ อ งทำอย่ า งไรบ้ า ง เมื่อรู้ตลอดสายอย่างนี้แล้วถึงลงมือแก้ปัญหาที่ เกิดด้วยความพากเพียรพยายามอย่างต่อเนื่อง เพราะฉะนั้ น จะเห็ นว่ า ในกระบวนการแก้ ปัญหานั้น ปัญญา กับ วิริยะ (ความเพียร) จะต้องผสมผสานกัน เกื้อหนุนซึ่งกันและกัน

16

เกร็ดแนะครู ครูควรอธิบายนักเรียนเพิ่มเติมเกี่ยวกับวิธีคิดแบบอริยสัจ ซึ่งเปนวิธีคิดที่สําคัญ ตามการคิดแบบโยนิโสมนสิการ ดังนี้ วิธีคิดแบบอริยสัจ คือ การคิดแบบแกปญหา แบงออกไดเปน 2 วิธี ไดแก วิธีคิดตามเหตุผล เปนการสืบสาวจากผลไปหาเหตุแลว แกไขที่เหตุนั้น จัดเปนสองคู คือ คูที่ 1 ทุกขเปนผล เปนตัวปญหา เปนสถานการณ ที่ไมตองการ สมุทัยเปนเหตุ เปนที่มาของปญหา เปนจุดที่ตองการแกไข คูที่ 2 นิโรธเปนผล เปนภาวะสิ้นปญหา เปนจุดหมายที่ตองการจะเขาถึง มรรคเปนเหตุ เปนขอปฏิบัติที่ตองการกระทําในการแกไขสาเหตุ เพื่อบรรลุจุดหมายคือ ภาวะสิ้น ปญหาอันไดแกความดับทุกข และวิธีคิดที่ตรงจุดตรงเรื่อง เปนการคิดอยางตรงไป ตรงมา นําเอาสิ่งหรือเรื่องที่ตองเกี่ยวของมาใชในการแกปญหา ไมนําสิ่งหรือเรื่องที่ ปฏิบัติไมไดเขามาเกี่ยวของ

16

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ขอใดแสดงถึงการเปนศาสนาประเภทอเทวนิยมของพระพุทธศาสนา ไดชัดเจนที่สุด 1. การเชื่อในศักยภาพของมนุษย 2. การเชื่อวาสรรพสิ่งทั้งหลายไมจีรังยั่งยืน 3. การใชปญญาและวิริยะแกปญหาทั้งหลาย 4. การปฏิเสธพิธีกรรมและการสรางศาสนวัตถุทั้งปวง วิเคราะหคําตอบ พระพุทธศาสนาเชื่อวา มนุษยมีศักยภาพที่จะพัฒนา ตนเองไปสูจ ดุ หมายสูงสุดของชีวติ และสามารถแกปญ  หาชีวติ ไดดว ยตนเอง เทพเจาหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายไมสามารถดลบันดาลใหปญหาหมดไป ไดเหมือนกับการแกไขดวยปญญาและความพากเพียรของตนเอง ดังนั้น

คําตอบคือ ขอ 1.


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

Explain

นักเรียนแตละกลุมสงตัวแทนออกมาตอบ คําถามเกี่ยวกับหลักความจริงแหงชีวิต 4 ประการ เชน • ผูที่มีปญญาหรือความเพียรเพียงอยาง ใดอยางหนึ่งสามารถแกปญหาไดหรือไม อธิบายพอสังเขป (แนวตอบ ไมสามารถแกปญหาไดเสมอ ไป เนื่องจากคนที่มีปญญา มีความรูความ สามารถอาจแกปญหาไมได เพราะนึกวาตน รูแลว แตไมลงมือแกปญหาเลย ปญหาจึง ยังคงมีอยูเหมือนเดิม สวนคนที่มีความเพียร อาจแกปญหาไมได ดวยปราศจากปญญา ความรูความสามารถ ถึงจะพยายามแก ปญหาอยางไร ก็ยากที่จะประสบความสําเร็จ บางครั้งอาจกอใหเกิดปญหาเพิ่มขึ้นอีกโดย ไมรูตัว) • จากคํากลาวที่วา “ความพากเพียรของ คนฉลาดนั้น เทวดาก็กีดกั้นมิได” มีความ หมายวาอยางไร (แนวตอบ ผูที่มีปญญาและมีความพากเพียร กอปรดวยคุณธรรมอื่นๆ เชน ความไม ประมาท จะสามารถแกปญหาชีวิตและ พัฒนาตนใหเจริญกาวหนาได ดังกรณี พระราชาแหงนคร ข. เรงบํารุงกองทัพของตน อยางดีและฝกซอมอยางสมํ่าเสมอ จนใน ที่สุดก็สามารถเอาชนะพระราชาแหงนคร ก. ที่สวรรคกําหนดใหเปนผูชนะได)

จึงจะสำเร็จผลด้วยดี คือสามารถแก้ไขปัญหาให้สำเร็จลุล่วงไปได้ ถ้ามีแต่ความรู้ บางทีก็แก้ปัญหาไม่ได้ เพราะจะนึกแต่ว่าตนรู้แล้ว บางทีไม่ลงมือ แก้ปัญหาเลย ปัญหาที่มีอยู่ก็ยังคงมีอยู่เหมือนเดิม ถ้ามีแต่ความเพียร โดยปราศจากความรู้ ถึงจะพยายามแก้ปัญหาอย่างไร ก็ยากที่ จะประสบความสำเร็จ หนำซ้ำบางทีกลับยิ่งเพิ่มปัญหาใหม่ขึ้นมาอีกโดยไม่รู้ตัว เรื่องนี้ขอยกตัวอย่างด้วยนิทานชาดกเรื่องหนึ่งความว่า มีพระราชาแห่งสองนคร ได้ รั บ พยากรณ์ จากฤๅษี ผู้ เ คร่ ง ญาณ 1(ซึ่ ง ได้ รั บ คำบอกเล่ า มาจากพระอิ น ทร์ อี ก ต่ อ หนึ่ ง ) ว่ า พระราชาแห่งนคร ก. จะรบชนะพระราชาแห่งนคร ข. พระราชาแห่งนคร ก. เมื่อได้ทราบ คำพยากรณ์นั้นก็ดีใจ เมื่อดีใจก็ตกอยู่ในความประมาทไม่สนใจฝึกปรือกองทัพของตนให้เข้มแข็ง เพราะคิดว่าถึงอย่างไร กองทัพของตนก็จะชนะอยู่แล้ว ส่วนพระราชาแห่งนคร ข. เมื่อได้รับคำพยากรณ์เช่นนั้นก็มิได้ประมาทหรือหมด กำลังใจ ตรงกันข้ามกลับมุมานะมากยิ่งขึ้น พยายามบำรุงกำลังกองทัพของตนอย่างดี เอาใจใส่ ฝึกซ้อมสม่ำเสมอมิได้ขาด เมื่อถึงเวลากองทัพทั้งสองรบกันจริงๆ ปรากฏว่าพระราชาที่ได้รับการพยากรณ์ว่า จะชนะกลับพ่ายแพ้อย่างย่อยยับ พระราชาที่ได้รับพยากรณ์ว่าพ่ายแพ้กลับชนะ พระราชาที่เป็น ฝ่ายพ่ายแพ้จึงไปต่อว่าฤๅษี ฤๅษีซึ่งได้รับบอกเล่ามาจากพระอินทร์อีกต่อหนึ่ง จึงไปต่อว่า พระอินทร์ว่าทำให้ตนเสียชื่อโดยแสร้งบอกคำพยากรณ์ไปผิดๆ พระอินทร์ได้กล่าวแก้ฤๅษีว่า คำพยากรณ์มิได้ผิดพลาด ถ้าปล่อยให้ทุกอย่างเป็นไปตามธรรมดาของมัน พระราชาแห่งนคร ก. จะต้องชนะแน่นอน แต่เนื่องจากพระราชาแห่งนคร ข. ไม่ประมาท ใช้ปัญญาและความพากเพียร ปรับปรุงตนและกองทัพของตนให้เข้มแข็งเตรียมพร้อมอยู่เสมอ จึงสามารถเอาชนะพระราชา แห่งนคร ก. และคำพยากรณ์ได้ ซึ่งพระอินทร์ได้กล่าวย้ำว่า “ความพากเพียรของคนฉลาดนั้น เทวดาก็กีดกันมิได้” เรื่องนี้แสดงให้เห็นว่า การจะแก้ปัญหาไม่ว่าเล็กหรือใหญ่ จะต้องใช้ปัญญาและ ความเพียรควบคู่กันไป ขาดอย่างใดอย่างหนึ่งไม่ได้

๒.๒ พระพุทธศาสนามีข้อปฏิบัติที่ยึดทางสายกลาง ข้อปฏิบัติที่ยึดทางสายกลางของพระพุทธศาสนาเรียกว่า “มัชฌิมาปฏิปทา” อันได้แก่ 2 “อริยมรรคมีองค์แปด” ได้แก่ 17

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’ 51 ออกเกี่ยวกับหลักอริยสัจ การรูแจงในอริยสัจ 4 สัมพันธกับสติปฏฐานขอใด 1. กายานุปสสนา 2. เวทนานุปสสนา 3. จิตตานุปสสนา 4. ธัมมานุปสสนา วิเคราะหคําตอบ อริจสัจ 4 คือ ความจริงอันประเสริฐของชีวิต เปน ความจริงที่มีอยูในธรรมชาติ ซึ่งพระพุทธเจาทรงคนพบและนํามาสั่งสอน ใหมนุษยเขาใจชีวิต และดําเนินชีวิตไดอยางเปนสุข จึงสัมพันธกับสติปฏฐานขอธัมมานุปสสนา การตั้งสติกําหนดพิจารณาธรรม การมีสติกํากับดู รูเทาทันธรรม ดังนั้นคําตอบคือ ขอ 4.

นักเรียนควรรู 1 ญาณ ญาณที่เกิดแตผูบําเพ็ญวิปสสนาโดยลําดับตั้งแตตนจนถึงจุดหมาย คือ มรรคผลนิพพาน 16 อยาง หรือโสฬสญาณ เชน นามรูปปรจเฉทญาณ ญาณ กําหนดแยกนามรูป ปจจัยปริคคหญาณ ญาณกําหนดจับปจจัยแหงญาณรูป โคตรภูญาณ ญาณครอบโคตรคือหัวตอที่ขามพนภาวะปุถุชน มัคคญาณ ญาณใน อริยมรรค เปนตน 2 มรรค แปลวา ทางหรือเหตุ มักใชรวมกับคําวา ผล วา เปนมรรคเปนผล ใน ทางพระพุทธศาสนา อริยมรรคมีองคแปด จึงหมายถึง ทางที่จะนําไปสูความพน ทุกข 8 ประการ นอกจากนี้ยังเปนชื่อแหงโลกุตตรธรรมคูกับผลมี 4 ชั้น คือ โสดาปตติมรรค สกทาคามิมรรค อนาคามิมรรค และอรหัตมรรค

คูมือครู

17


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Elaborate

Evaluate

Explain

ครูสนทนารวมกันกับนักเรียนเกีย่ วกับพระพุทธศาสนามีขอปฏิบัติที่ยึดทางสายกลาง จากนั้นให นักเรียนแตละกลุมสงตัวแทนคนอื่นออกมาตอบ คําถามเกี่ยวกับขอปฏิบัติที่ยึดทางสายกลาง เชน • ขอปฏิบัติที่ยึดทางสายกลางของพระพุทธศาสนาเรียกวาอะไร และมีแนวทางการ ปฏิบัติอยางไร (แนวตอบ ขอปฏิบัติที่ยึดทางสายกลางของ พระพุทธศาสนาเรียกวา มัชฌิมาปฏิปทา มี แนวทางการปฏิบัติ 8 ประการ ที่เรียกวา อริยมรรคมีองคแปด) • อริยมรรคมีองคแปดใหแนวทางนักเรียนใน การปฏิบัติตนตามทางสายกลางอยางไรบาง ยกตัวอยางประกอบพอสังเขป (แนวตอบ มีสัมมาทิฏฐิ คือ ความเห็นชอบ เชน เห็นวาการทําความดี ยอมไดรบั ผลดีตอบ การทําความชั่ว ยอมไดรับความเดือดรอน ตามมา เห็นถึงพระคุณของบิดามารดาผูให กําเนิด เลีย้ งดู และอบรมสัง่ สอนมาจนเติบใหญ มีสัมมากัมมันตะ คือ การกระทําชอบ เชน การปฏิบัติตามเบญจศีล คือ ไม เบียดเบียนสิ่งมีชีวิต ไมลักเอาของผูอื่น ไม ประพฤติผิดในกาม ไมพูดปด และไมเสพ ของมึนเมา มีสัมมาสมาธิ คือ ความตั้งใจมั่นชอบ เชน การมีจิตใจแนวแน มีสมาธิ ไมใหนิวรณ ตางๆ คือ ความใครในกาม ความพยาบาท ปองรายเขา ความงวงซึม ความฟุงซาน รําคาญใจ และความลังเลสงสัย ซึ่งเปนสิ่งปด กัน้ จิตจากความดีงามเขามาครอบงําจิตใจได)

การเลีย้ งชีพโดยสุจริตตามหลักสัมมาอาชีวะ เป็นหลักธรรม หนึง่ ของการปฏิบัติที่ยึดหลักทางสายกลาง

1

๑. ความเห็นชอบ (สัมมาทิฐิ) เช่น เห็นว่าทำดีได้ดี ทำชั่วได้ชั่ว เห็นว่านรกสวรรค์มีจริง คุณของบิดามารดามีจริง เป็นต้น ๒. ความดำริชอบ (สัมมาสังกัปปะ) เช่น ดำริออกจากความยึดติดในกามารมณ์ ดำริไม่ พยาบาทปองร้ายผู้อื่น และดำริไม่เบียดเบียนผู้อื่น ๓. เจรจาชอบ (สัมมาวาจา) เช่น ไม่พูดเท็จ (พูดคำสัตย์ คำจริง) ไม่พูดส่อเสียด (พูด สมัครสมานสามัคคี) ไม่พูดคำหยาบ (พูดคำสุภาพอ่อนหวาน) ไม่พูดเพ้อเจ้อ (พูดคำที่มี สาระไม่เหลวไหล) ๔. การกระทำชอบ(สั การกระทำชอบ (สัมมากัมมันตะ) เช่น ไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักทรัพย์ ไม่ประพฤติผิดในกาม ๕. การเลี้ยงชีพชอบ (สัมมาอาชีวะ) เช่น เลี้ยงชีพด้วยอาชีพที่สุจริต ไม่ประกอบอาชีพทุจริต เป็นต้นว่า ค้ามนุษย์ ค้าอาวุธ ค้าสิ่งเสพติด ค้าน้ำเมา เป็นต้น ๖. พยายามชอบ (สัมมาวายามะ) เช่น พยายามระวังมิให้ความชั่วเกิดขึ้นในจิต พยายาม ละความชั่วที่เกิดขึ้นแล้วให้หมดไป พยายามสร้างความดีที่ยังไม่มีให้มี และพยายาม รักษาความดีที่มีอยู่แล้วให้คงอยู่ตลอดไป ๗. ระลึกชอบ (สัมมาสติ) เช่น มีสติ รู้ตัวทั่วพร้อม หรือระลึกรู้กาย เวทนา (ความรู้สึก) จิต (สภาพจิต) ธรรม (สภาวธรรม) ตามความเป็นจริงว่าเป็นสภาพที่เกิดขึ้น ตั้งอยู่และ ดับไปตามธรรมดาของโลก ไม่มีสัตว์ บุคคล ตัวตนของเราของเขา ๘. ตั้งใจมั่นชอบ (สัมมาสมาธิ) เช่น การที่จิตแน่วดิ่งเป็นสมาธิ ปราศจากนิวรณ์ (เครื่อง ปิดกั้นจิตจากความดีงาม) ๕ อย่าง คือ ความใคร่ในกาม ความพยาบาทปองร้ายเขา ความง่วงซึม ความฟุ้งซ่านรำคาญใจ และความลังเลสงสัย 18

เกร็ดแนะครู ครูอาจนําขาวหรือบทความเกีย่ วกับบุคคลทีป่ ระสบความสําเร็จในชีวติ ดานตางๆ เชน นักเรียนที่สอบเขามหาวิทยาลัยไดดวยคะแนนอันดับหนึ่ง นักเรียนที่ไดรับ การยกยองวามีความประพฤติดี มีคุณธรรม มาใหนักเรียนพิจารณา แลวชวยกัน วิเคราะหวา บุคคลเหลานั้นดําเนินชีวิตตามหลักอริยมรรคมีองคแปดในขอใดบาง รวมถึงมีคุณธรรมที่ควรยึดถือเปนแบบอยางใด

นักเรียนควรรู 1 สัมมา โดยชอบ ดี ถูกตอง ถูกถวน สมบูรณ จริง แท ในทางพระพุทธศาสนา นอกจากสัมมาทั้งแปดประการหรืออริยมรรคแลว ปรากฎหลักธรรมสัมมัตตะหรือ อเสขธรรม 10 คือ ความเห็นถูก มี 10 ประการ โดยเพิ่มเติมจากหลักอริยมรรค คือ สัมมาญาณ การรูชอบ ไดแก ผลญาณและปจจเวกขณญาณ และสัมมาวิมุตติ การพนชอบ ไดแก อรหัตตผลวิมุตติ

18

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

อริยมรรคมีองคแปดในขอใดมีลักษณะแตกตางจากขออื่น 1. สัมมาสติ 2. สัมมาสมาธิ 3. สัมมาวายามะ 4. สัมมากัมมันตะ วิเคราะหคําตอบ อริยมรรคมีองคแปดในขอ 1.-3. ไดแก สัมมาสติ สัมมาสมาธิ และสัมมาวายามะ จัดอยูในจิตตสิกขาตามหลักไตรสิกขา ซึ่งหมายถึง การกระทําการใดๆ ที่ประกอบดวยพลังจิตที่เขมแข็ง มี ความแนวแนมั่นคงตอจุดหมายที่ตั้งไว สวนขอ 4. สัมมากัมมันตะ นั้น จัดอยูในสีลสิกขา หมายถึง การมีพฤติกรรมที่สอดคลองกับความรู ความเขาใจ เพื่อใหบรรลุเปาหมาย ดังนั้นคําตอบคือ ขอ 4.


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู คำว่า “ชอบ” ในทีน่ มี้ ไิ ด้หมายความว่า ชอบใจ หรือพอใจ แต่หมายความว่า ถูกต้อง ไม่ผิดพลาด การแก้ปัญหาในชีวิตตาม “ทางสายกลาง” จึงหมายถึงการปฏิบัติตามแนวทาง ที่ถูกต้อง ได้แก่ ทางที่มีองค์ประกอบ ๘ ประการข้างต้น ทางสายกลางเป็นทางที่ไม่สัมพันธ์และ ไม่เอียงเข้าใกล้ทางสุดโต่งทั้ง ๒ ทาง คือ ทางที่บำรุงบำเรอความสุขทางกาย กับทางที่ทรมาน ตนให้ลำบากด้วยวิธีต่างๆ ซึ่งพระพุทธองค์ ได้ทรงทดลองปฏิบัติมาแล้วและทรงพบว่ามิ ใช่ แนวทางที่ถูกต้อง ส่วนทางสายกลางเป็นแนวทางที่ถูกต้อง ถ้าปฏิบัติตามแล้วย่อมดับความทุกข์ ความเดือดร้อนได้ หนทางนี้เป็นทางที่นำพระพุทธองค์ไปสู่การตรัสรู้และนิพพานในที่สุด

๒.๓ พระพุทธศาสนาเน้นการพัฒนาศรัทธาและปั- - าที่ถูกต้อง

๑) การพัฒนาศรัทธา ศรัทธา แปลว่า ความเชื่อ ศรัทธาในพระพุทธศาสนานั้น

จะต้องเป็นความเชื่อมั่นในคุณงามความดีที่ประกอบด้วยเหตุผล ผิดจากนี้แล้วไม่นับว่าเป็น ศรัทธา ยกตัวอย่าง มีคนมาบอกว่า ถ้าอยากเรียนหนังสือเก่ง สอบได้คะแนนดี เรียนจบแล้ว ได้ทำงานที่ก้าวหน้า ประสบความสำเร็จในชีวิต ให้ท่องคาถาบทใดบทหนึ่งวันละร้อยครั้ง เราเชื่อ และทำตามความเชื่อ อย่างนี้ไม่จัดเป็นศรัทธาเพราะไม่มีเหตุผล คนที่ต้องการเรียนหนังสือเก่ง แต่แค่ท่องคาถา ไม่สนใจอ่านหนังสือ แทนที่จะเรียนเก่ง สอบได้คะแนนดี ก็จะกลับสอบตกได้ ง่ายๆ แต่ถ้าใครพูดว่าถ้าอยากประสบความสำเร็จดังกล่าวข้างต้นนั้นต้องขยันหมั่นเพียร ศึกษา เรื่องน่ารู้ อริยมรรค : ไตรสิกขา

อริยมรรคมีองค์แปดประการนี้ ถ้าหากจะสรุปลงในไตรสิกขา จะแบ่ จะแ งได้ดังนี้ 1. ปัญญาสิกขา ประกอบด้วย สัมมาทิฐิ สัมมาสังกัปปะ อันหมายถึงว่า จะทำการอะไรจะต้องมีความรู้ความ เข้าใจเป็นพื้นฐานสำคัญก่อนอื่น 2. สีลสิกขา ประกอบด้วย สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ อันหมายถึงว่าจะต้องควบคุมพฤติกรรมให้ สอดคล้องกับความรู้ความเข้าใจนั้นด้วยการกระทำจึงบรรลุเป้าหมาย 3. จิตตสิกขา ประกอบด้วย สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ อันหมายถึงว่า ในการกระทำการใดๆ นั้น จิตต้องมีพลังเข้มแข็ง แน่วแน่มั่นคงต่อเป้าหมายที่วางไว้ด้วย อริยมรรคที่สรุปลงในไตรสิกขานี้เป็นข้อปฏิบัติที่ยึดทางสายกลาง คือ ทางสายกลางระหว่างความ “สุดโต่ง” หรือ “เอียงสุด” ๒ ด้าน คือ 1. กามสุขัลลิกานุโยค การหมกมุ่นอยู่ในความสุขทางกามารมณ์ หรือความเสพสุขทางเนื้อหนังมังสา รูป เสียง กลิ่น รส สัมผัส อันเป็นความเอียงสุดทางด้านกาย 2. อัตตกิลมถานุโยค การทรมานตนด้วยวิธีต่างๆ ดังเช่นที่ฤาษีโยคีทั้งหลายกระทำกันอยู่ เพื่อย่างกิเลส ให้เหือดแห้งไปพร้อมกับเนื้อหนังมังสา ตามความเข้าใจของคนอินเดียสมัยก่อน ซึ่งเป็นความเอียงสุดทางด้านจิตใจ

19

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

คุณธรรมฝายปญญาที่สงเสริมการมองโลกและชีวิตตามความเปนจริงใน มรรค 8 ไดแกขอใด 1. สัมมาสติ สัมมาสมาธิ 2. สัมมาวาจา สัมมาวายามะ 3. สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ 4. สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ

วิเคราะหคาํ ตอบ ตอบขอ 4. สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ คือ ความเห็นชอบ ความดําริชอบ ตามลําดับ อันจะชวยสงเสริมใหบุคคลมองโลกและชีวิตตาม ความเปนจริง เชน เห็นถึงผลของการกระทํา การไมคิดเบียดเบียนหรือ ปองรายผูอื่น เปนตน

Explain

1. นักเรียนแตละกลุมสงตัวแทนออกมาตอบ คําถามเกี่ยวกับขอปฏิบัติที่ยึดทางสายกลาง เชน • คําวา “ชอบ” ในอริยมรรคมีองคแปดมี ความหมายแตกตางจากความหมายโดย ทั่วไปอยางไร (แนวตอบ คําวา ชอบ ในอริยมรรคมีองค แปดมิไดหมายถึง ชอบใจ แตมีความหมาย วา ถูกตอง ไมผิดพลาด การแกปญหาและ ดําเนินชีวิตตามทางสายกลาง จึงหมายถึง การปฏิบัติตนตามแนวทางที่ถูกตอง) • พระพุทธองคทรงคนพบทางสายกลางได อยางไร (แนวตอบ พระพุทธเจาครั้งเปนพระสิทธัตถะ ทรงทดลองปฏิบัติตามแนวทางตางๆ ที่ คนในชมพูทวีปสมัยนั้นยึดถือ ที่สําคัญไดแก การบํารุงบําเรอความสุขทางกาย และการ ทรมานตนเองใหลําบากดวยวิธีตางๆ และ ทรงพบวา มิใชแนวทางที่จะทําใหหลุดพน จากทุกขไดอยางแทจริง จึงทรงปฏิบัติตน ตามทางสายกลางซึ่งนําไปสูการดับทุกขและ ตรัสรูเปนพระสัมมาสัมพุทธเจาไดในที่สุด) 2. ครูสนทนารวมกันกับนักเรียนเกีย่ วกับพระพุทธศาสนาเนนการพัฒนาศรัทธาและปญญาที่ถูก ตอง จากนั้นใหนักเรียนแตละกลุมสงตัวแทน คนอื่นออกมาตอบคําถามเกี่ยวกับการพัฒนา ศรัทราและปญญาตามหลักพระพุทธศาสนา เชน • ศรัทธาในทางพระพุทธศาสนามีความหมาย วาอยางไร (แนวตอบ ศรัทธาในทางพระพุทธศาสนา หมายถึง ความเชื่อที่ประกอบดวยเหตุผล และเชื่อมั่นในคุณงามความดี)

เกร็ดแนะครู ครูควรอธิบายนักเรียนเพิ่มเติมเกี่ยวกับการคนพบทางสายกลางของพระพุทธเจา ในพุทธประวัติ คือ การที่มีพระอินทรมาเทียบสายพิณใหฟงขณะที่พระสิทธัตถะทรง แสวงหาทางหลุดพนดวยการบําเพ็ญทุกกรกิริยา ทั้งนี้วิเคราะหไดวา อาจหมายถึง พระอินทรจริงๆ มาเทียบสายพิณใหพระสิทธัตถะฟง เพื่อเตือนสติวาใหทําแตพอดี หรืออาจเปนบุคคลใดบุคคลหนึ่งเทียบสายพิณแลวดีด ในบริเวณที่พระสิทธัตถะทรง บําเพ็ญทุกกรกิริยาอยู พระองคจึงทรงระลึกได หรืออาจเปนพระสิทธัตถะทรงคิด เปรียบเทียบดวยพระองคเอง จากการแสวงหาทางหลุดพนตามวิธีการของลัทธิความ เชื่อตางๆ ทั้งที่ยอหยอนเกินไปและตึงจนเกินไป พระองคจึงทรงเห็นวาทุกสิ่งตอง ใหพอเหมาะพอดีจึงจะสําเร็จผล อยางไรก็ตามการปฏิบัติตามทางสายกลางหรือ มัชฌิมาปฏิปทานี้ ทําใหพระองคตรัสรูเปนพระสัมมาสัมพุทธเจาไดในที่สุด

คูมือครู

19


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Elaborate

Evaluate

Explain

นักเรียนแตละกลุมสงตัวแทนออกมาตอบ คําถามเกี่ยวกับการพัฒนาศรัทธาและปญญาตาม หลักพระพุทธศาสนา เชน • ศรัทธาที่ควรพัฒนาในทางพระพุทธศาสนา ขอใดแสดงถึงการเปนศาสนาประเภท อเทวนิยม (ศาสนาที่ไมนับถือพระเจา) (แนวตอบ ความศรัทธาหรือเชื่อมั่นในความดี งามของมนุษย คือ เชื่อวาความดีงามที่เกิด ขึ้นเปนไปตามเหตุปจจัย มิใชเกิดจากการดล บันดาลของสิ่งศักดิ์สิทธิ์ หรือเกิดจากความ บังเอิญ กลาวอีกนัยหนึ่งคือ เชื่อวามนุษยเรา มีศักยภาพที่จะพัฒนาตนใหบรรลุถึงความดี งามนั้นไดดวยความพากเพียรของตนเอง) • ศรัทธาที่ควรพัฒนาในทางพระพุทธศาสนา สอดคลองกับหลักกรรมอยางไร (แนวตอบ ความศรัทธาหรือเชื่อมั่นในกฎแหง การกระทําและผลของการกระทํา และความ เชื่อมั่นวามนุษยตองรับผิดชอบตอการกระทํา และผลของการกระทํานั้น หมายถึง เชื่อมั่นวาไมมีสิ่งใดเกิดขึ้นลอยๆ โดยไมมี เหตุปจจัย เมื่อทําอะไรลงไปแลวไมวาดีหรือ ชั่วยอมจะมีผลของการกระทํานั้นตามมาไม โดยทางตรงก็ทางออม สอดคลองกับหลัก กรรมที่เชื่อวา การกระทําใดๆ ที่ประกอบ ดวยเจตนายอมเปนกรรม ซึ่งจะมีผลตอผู กระทําไมเร็วก็ชา ดังพุทธศาสนสุภาษิตบท ที่วา กมฺมุนา วตฺตตี โลโก สัตวโลกยอมเปน ไปตามกรรม)

หาความรู้ ตั้งใจฟังครูอาจารย์สอน ฟังแล้วนำมาคิดพินิจพิจารณาเพื่อความเข้าใจยิ่งขึ้น เรื่องใด ยังไม่เข้าใจหรือเข้าใจไม่กระจ่างก็ซักถาม เมื่อได้ความรู้ถูกต้องแน่นอนแล้วให้จดบันทึกกันลืม ผู้มีวิญญาณแห่ง “ผู้ใฝ่รู้” เช่นนี้ประสบความสำเร็จในการเรียนแน่นอน เราเชื่อและกระทำตามนี้ ความเชื่ออย่างนี้จัดเป็นศรัทธาที่พึงประสงค์ได้ แม้ว่าจะเป็นความเชื่อในเรื่องธรรมดาสามัญ ก็ตาม เพราะความเชื่อเช่นนี้มีครบองค์ประกอบ ๒ อย่าง คือ อยู่บนพื้นฐานของเหตุและผล และ สิ่งที่เชื่อและกระทำนั้นเป็นสิ่งที่ดีงามหรือเป็นไปเพื่อความดีงามแห่งชีวิต ศรัทธาที่ควรพัฒนา มีลักษณะ ๓ ประการ ได้แก่ ๑.๑) เชื่อมั่นในความดีงามของมนุษ ย์ หมายถึง เชื่อมั่นว่ามีหลักแห่งความ ดีงามของมนุษย์ และความดีงามนั้นเป็นไปตามเหตุปัจจัยมิใช่มีขึ้นมาเองโดยบังเอิญ เชื่อมั่นว่า ความดีงามนั้นสามารถสร้างขึ้นมาได้ หรือพูดอีกนัยหนึ่งว่ามนุษ ย์เรามีศักยภาพจะพัฒนา ตนให้บรรลุถึงความดีงามนั้นได้ด้วยความพากเพียรของตนเอง มิใช่ด้วยการอ้อนวอนร้องขอให้ สิ่งศักดิ์สิทธิ์ใดๆ บันดาลให้เป็นไป โดยมีพระพุทธเจ้าทรงทำให้เป็นตัวอย่าง และเชื่อมั่นว่ามี กลุ่มบุคคลที่ปฏิบัติตามแนวทางของพระพุทธองค์แล้วได้บรรลุถึงความดีงามนั้นจริงๆ ปรากฏ เป็นสักขีพยานอยู่ ๑.๒) เชื่อมั่นในกฎแห่งการกระทำและผลของการกระทำ หมายถึง เชื่อมั่นว่า ไม่มีสิ่งใดเกิดขึ้นลอยๆ โดยไม่มีเหตุปัจจัยทำให้เกิด เมื่อกระทำอะไรลงไปแล้วย่อมจะมีผลของ การกระทำนั้นตามมาไม่โดยทางตรงก็ทางอ้อม ยกตัวอย่าง สมศักดิ์เป็นเด็กขยันเรียน ขยัน ทำการบ้านทบทวนตำราอยู่เสมอ การกระทำของสมศักดิ์นี้เป็นเหตุ สมศักดิ์ย่อมได้รับผลของการ กระทำแน่นอน โดยตรงก็คือ “ได้ความเป็นคนขยัน” ได้ความรู้ความเข้าใจในสิ่งที่ไม่เคยรู้ไม่เคย เข้าใจ ผลโดยอ้อมก็คือสมศักดิ์อาจสอบได้คะแนนดี ครูอาจารย์ เพื่อนๆ หรือคนอื่นๆ ที่รู้ก็อาจ ชื่นชมสมศักดิ์ (พึงเข้าใจว่า คนขยัน เรียนดี มีความรู้ความเข้าใจในวิชาที่เรียน ไม่จำเป็นจะต้อง สอบได้คะแนนดีก็ได้ เพราะการสอบของเขาขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง เช่น ครูผู้ตรวจให้คะแนน หรือเครื่องตรวจคะแนน ผลของการเรียนจึงถือเป็นผลโดยอ้อมของการเรียนดี) ๑.๓) เชื่อมั่นว่ามนุษย์ต้องรับผิดชอบต่อการกระทำและผลของการกระทำนั้น ข้อนี้สืบเนื่องมาจากข้อ ๑.๒) คือ ถ้าคนเชื่อว่ากระทำอะไรลงไปแล้วไม่ว่าดีหรือชั่วย่อมได้รับผล ของการกระทำนั้นไม่โดยทางตรงก็ทางอ้อม จะทำให้เป็นคนระมัดระวังตนอย่างดี มีความละเอียด รอบคอบ ไม่เผลอทำอะไรตามอำนาจความอยากความต้องการ เพราะเขาเชื่อว่าถ้าทำอะไรไม่ดี 20

เกร็ดแนะครู ครูอาจอธิบายนักเรียนเพิ่มเติมเกี่ยวกับหัวใจนักปราชญเพื่อการพัฒนาศรัทธา ที่ถูกตองตามขั้นตอนดังตอไปนี้ ขั้นแรก สุ มาจาก สุต หมายถึง การฟง เพราะ การศึกษาเลาเรียน แสวงหาความรู อาศัยการฟงเปนพื้นฐาน ขั้นที่สอง จิ มาจาก จินตนะ หมายถึง การคิดพิจารณาขอมูลที่ไดรับรูมา อันเปนพื้นฐานของ การคิดสรางสรรค ขั้นที่สาม ปุ มาจาก ปุจฉา หมายถึง การถาม ซึ่งเปนขั้นตอน ที่ตอเนื่องจากการฟงและคิด เกี่ยวของกับการพูด เปนการถามขอสงสัยที่ผานการ ไตรตรองอยางดีแลว ขั้นสุดทาย ลิ มาจาก ลิขิต หมายถึง การเขียน การบันทึกไว เปนผลสืบเนื่องจากการฟง คิด และถาม

20

คูมือครู

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’ 53 ออกเกี่ยวกับแนวคิดของพระพุทธศาสนา ขอใดไมใชแนวคิดของพระพุทธศาสนา 1. สอนใหอุทิศตนแกสิ่งศักดิ์สิทธิ์ 2. สอนใหพิสูจนคําบอกเลาแลวจึงเชื่อ 3. เชื่อวากรรมเปนตัวกําหนดสรรพสิ่ง 4. หลักศีลธรรมเกิดจากการศึกษาของผูรู วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 1. สอนใหอุทิศตนแกสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เนื่องจาก พระพุทธศาสนามีแนวคิดที่เชื่อวามนุษยมีศักยภาพที่จะพัฒนาตนใหบรรลุ ความดีงามไดดวยตนเอง มิใชดวยการออนวอนรองขอสิ่งศักดิ์สิทธิ์ บันดาลใหเปนไป


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

Explain

นักเรียนแตละกลุมสงตัวแทนออกมาตอบ คําถามเกี่ยวกับการพัฒนาศรัทธาและปญญาตาม หลักพระพุทธศาสนา เชน • ความรูเชนไรจึงถือวาเปนปญญาที่แท (แนวตอบ ความรูในเรื่องใดๆ อยางทั่วถึง ทะลุปรุโปรง และรอบดาน นับเปนปญญา ที่แท) • พระพุทธศาสนาเชื่อวาปญญาแบงออกเปน กี่ประเภท และปญญาประเภทใดที่สามารถ พัฒนาได (แนวตอบ พระพุทธศาสนาเชื่อวาปญญา หรือความรู แบงออกเปน 2 ประเภท ไดแก สหชาติปญญา หรือความรูที่มีมาตั้งแตเกิด เปนความรูที่ทุกคนพึงมีมากบางนอยบาง แลวแตบุคคล บางคนก็มีความรูพิเศษที่คน อื่นไมมีซึ่งภาษาไทยเรียกวา พรสวรรค และ โยคปญญา หรือความรูที่มีขึ้นดวยการศึกษา เลาเรียนและฝกฝน เปนความฉลาดรอบรูที่ ฝกฝนอบรมได เรียกวา พรแสวง) • ปจจัยสําคัญที่ชวยพัฒนาปญญาคืออะไร แนวตอบ ปจจัยสําคัญที่ชวยพัฒนาปญญา คือ การฝกฝนพัฒนา ดังคํากลาวที่วา ปญญามี ไดเพราะการฝกฝนพัฒนา ปญญาเสื่อมไป เพราะไมฝกฝนพัฒนา) • ผูที่มีปญญารูจักความเสื่อมหรืออปายโกศล ตองมีลักษณะเชนไร (แนวตอบ ผูที่มีปญญารูจักความเสื่อมหรือ อปายโกศลตองรูวาอะไรคือความเสื่อม และอะไรคือสาเหตุที่แทจริงของความเสื่อม)

ลงไปเขาจะต้องรับผลของการกระทำนั้น คนที่เชื่อมั่นอย่างนี้ย่อมเป็นคนมีความรับผิดชอบสูง คือ รับทั้งผิด รับทั้งชอบ อันจักเกิดขึ้นจากการกระทำของตน ไม่เหมือนคนส่วนมากที่ยินดี รับเฉพาะ “ชอบ” ไม่ยอมรับ “ผิด” คนที่คิดเสมอว่าตนเองจะต้องรับผิดชอบต่อการกระทำของ ตนเอง จะไม่ทำความเสียหายง่ายๆ เพราะเขาคิดล่วงหน้าไปไกลว่า ถ้าทำลงไปแล้วคนอื่นเขา รู้เข้าเขาจะว่าอย่างไร เกียรติยศ ชืิ่อเสียงของเราจะมิเสียหายหรือ ตายไปแล้วจะมิตกนรกหรือ อย่างนี้เป็นต้น เขาจึงพร้อมจะปรับปรุงแก้ไขพฤติกรรมของตนเองให้ดีขึ้นเสมอ 1 ๒) การพัฒนาปัญญา ปัญญา แปลว่า รู้ทั่วถึง หมายความว่า ความรู้ในเรื่องใด ถ้ารู้ไม่ทั่วถึง ไม่ทะลุปรุโปร่ง ไม่รอบด้าน ไม่นับเป็นปัญญาที่แท้ ความรู้มีอยู่ ๒ ประเภท คือ ความรู้ที่มีมาตั้งแต่เกิด (สหชาติปัญญา) และความรู้ที่มีขึ้นด้วยการศึกษาเล่าเรียนและฝึกฝน (โยคปัญญา) อย่างแรกเป็นความรู้พื้นฐานที่ทุกคนพึงมีมากบ้างน้อยบ้างแล้วแต่บุคคล บางคน ก็มีความรู้พิเศษที่คนอื่นไม่มีซึ่งภาษาไทยเรียกว่า “พรสวรรค์” เช่น มีความสามารถวาดภาพได้ งดงาม ทั้งๆ ที่ไม่ได้เรียนมาจากใครเลย แต่กรณีอย่างนี้มีน้อย ความรู้ประเภทหลังนี้เท่านั้นที่ ต้องการเน้นในที่นี้ เพราะความรู้ความฉลาดเป็นเรื่องที่ฝึกฝนอบรมกันได้ เรียกว่า “พรแสวง” คือ แสวงหาเอาภายหลังได้ดังพระบาลีรับรองไว้ว่า “ปัญญามีได้เพราะการฝึกฝนพัฒนา ปัญญา เสื่อมไปเพราะไม่ฝึกฝนพัฒนา” ปั ญ ญาหรื อ ความรู้ ที่ ควรพั ฒ นา มี ๓ ลักษณะ ซึ่งขออธิบายพร้อมยกตัวอย่าง ประกอบ ดังต่อไปนี้ ๒.๑) ปัญญารู้จักความเสื่อม (อปายโกศล) หมายถึ ง รู้ ว่ า อะไรคื อ ความ เสื่อม และอะไรคือเหตุทำให้เกิดความเสื่อม การรู้เพียงแง่ใดแง่หนึ่งยังไม่ถือว่าเป็นอปายโกศล เช่น บางคนเงินเดือนไม่พอจ่าย ชักหน้า ไม่ถึงหลัง เป็นหนี้สินมากมาย เขารู้ว่าเขามี ปัญหา มีความทุกข์ เขาคิดว่าความทุกข์ที่เขา ได้รับนี้ เพราะเจ้านายจ่ายเงินเดือนให้เขาน้อย การพัฒนาปัญญา ต้องอาศัยการหมั่นศึกษาหาความรู้ เกินไปจึงไม่พอใช้จ่าย แต่เขาหารู้ไม่ว่าสาเหตุ อย่างสม่ำเสมอ 21

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’ 52 ออกเกี่ยวกับกฎแหงกรรม เรื่องกฎแหงกรรมในพระพุทธศาสนาสอดคลองกับเรื่องใด 1. ภพ-ภูมิ 2. ไตรสิกขา 3. ไตรลักษณ 4. กฎธรรมชาติ วิเคราะหคําตอบ ในทางพระพุทธศาสนา กรรมสงผลตอการเกิดในภพภูมิตางๆ ดังขอชนกกรรม ในหลักกรรม 12 ซึ่งหมายถึง กรรมเปนตัวนํา ไปเกิด และสอดคลองกับกฎธรรมชาติ กลาวคือ ไมมีสิ่งใดเกิดขึ้นลอยๆ ลวนเกิดจากเหตุปจจัยตางๆ รวมถึงมนุษยทุกคนตองเผชิญกับความตาย ดังนั้นคําตอบคือ ขอ 1. และขอ 4.

นักเรียนควรรู 1 การพัฒนาปญญา หรือการเจริญปญญาใหเจริญงอกงาม สามารถทําได 3 ทาง คือ สุตมยปญญา ปญญาเกิดจากการฟง ประโยชนหลัก คือ ทําใหเขาใจสิ่งที่เราไม เคยรูมากอนหรือเขาใจสิ่งนั้นชัดเจนยิ่งขึ้น จินตามยปญญา ปญญาเกิดจากการคิด ประโยชนหลัก คือ การเกิดความรูค วามเขาใจทีถ่ กู ตองชัดเจนขึน้ ในสิง่ ทีเ่ รารับฟงมา และภาวนามยปญญา ปญญาเกิดจากการลงมือทํา ประโยชนหลัก คือ การมีความรู ความเขาใจในสิ่งที่ไดรับฟงมาอยางสมบูรณจากการลงมือปฏิบัติดวยตนเอง

คูมือครู

21


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Elaborate

Evaluate

Explain

นักเรียนแตละกลุมสงตัวแทนออกมาตอบ คําถามเกี่ยวกับการพัฒนาศรัทธาและปญญาตาม หลักพระพุทธศาสนา เชน • อายโกศลและสิ่งที่ชวยสงเสริมอายโกศลคือ อะไร (แนวตอบ อายโกศล คือ ปญญารูความเจริญ ไดแก รูวาอะไรคือความดี ความเจริญที่แท และรูวาอะไรคือสาเหตุที่ทําใหเกิดความดี และความเจริญนั้น สวนสิ่งที่ชวยสงเสริม อายโกศลคือ ศีลธรรมและกฎหมาย กลาวคือ ศีลธรรมและกฎหมายชวยใหรูสาเหตุที่แท จริงของความดีและความเจริญตางๆ เชน คนที่รํ่ารวยจากการทุจริต ผูที่มีอายโกศลจะ สามารถแยกแยะไดวา สาเหตุที่แทจริงของ ความรํ่ารวยนั้นมาจากการทุจริต ซึ่งเปนสิ่ง ที่ไมถูกตอง) • การรูครบวงจรตามอุปายโกศลมีประโยชน และความสําคัญอยางไร (แนวตอบ การรูครบวงจรตามอุปายโกศล คือ การรูทั้งสองดาน ไดแก ดานความเสื่อมและ สาเหตุของความเสื่อม และดานความเจริญ และสาเหตุของความเจริญ มีความสําคัญคือ คนที่รูความเสื่อมและเหตุแหงความเสื่อม อาจเพียงระมัดระวังไมทําความชั่วเทานั้น แตอาจไมไดทําความดีหรือสรางสรรค ประโยชนใดใหแกตนและสังคม สวนคนที่รู ความเจริญและสาเหตุของความเจริญอยาง เดียวก็อาจทําใหไมระมัดระวัง เพราะคิด แตประโยชนที่จะได จึงอาจกอใหเกิดความ เสื่อมตามมาได)

แท้จริงก็คือการที่เขาใช้จ่ายเงินฟุ่มเฟือย และไม่รู้จักประหยัดอดออม การรู้จักแต่ความเสื่อม แต่ไม่รู้ลึกไปถึงสาเหตุแห่งความเสื่อม อย่างนี้ยังไม่พอจะต้องพิจารณาจนทราบสาเหตุที่แท้จริง ของความเสื่อมด้วย ๒.๒) ปัญญารู้ความเจริญ (อายโกศล) คือ รู้ว่าอะไรคือความดี ความเจริญที่แท้ และก็รู้ด้วยว่าอะไรคือสาเหตุให้เกิดความดีความเจริญนั้น คนที่รู้ว่าความร่ำรวย ความมีหลักฐาน มั่นคงเป็นความดีระดับโลกอย่างหนึ่งที่มนุษย์ปุถุชนพึงมีพึงได้ แต่คิดไปว่าการจะร่ำรวยมีหน้า มีตาในสังคมนั้นจะต้องเป็นนักฉวยโอกาส รู้จักเอารัดเอาเปรียบคน หรือขายของหนีภาษี หรือ สิ่งเสพติด เป็นต้น อย่างนี้ไม่1เรียกว่าเป็นอายโกศลเพราะรู้แต่อะไรคือความเจริญ แต่สาเหตุให้ ลุถึงความเจริญด้วยโภคทรัพย์นั้นไม่ถูกต้อง จริงอยู่คนทุจริตคดโกงนั้นร่ำรวยได้และร่ำรวยเร็ว ด้วย แต่มิใช่สาเหตุที่แท้จริงเพราะผิดกฎหมายและศีลธรรม การรู้ว่าอะไรคือความเจริญ อะไรคือ สาเหตุให้เกิดความเจริญอย่างแท้จริงเป็นปัญญาประการที่ ๒ ๒.๓) ปัญญารู้จักวิธีการละเหตุแห่งความเสื่อมและสร้างเหตุแห่งความเจริญ (อุปายโกศล) คือ รู้ทั้งสองด้าน เรียกว่า “รู้ครบวงจร” คนที่รู้ความเสื่อมและเหตุแห่งความเสื่อม อาจเพียงระมัดระวังไม่ทำความชั่วเท่านั้น แต่อาจไม่ทำความดีหรือสร้างสรรค์ประโยชน์อะไร ให้แก่ตนและสังคมก็ ได้ และในบางกรณีอาจระวังตัวมากจนกลายเป็นโทษก็ ได้ ยกตัวอย่าง ข้าราชการระดับสูงรู้ว่าการเซ็นอนุมัติอะไรง่ายๆ อาจทำให้ผิดพลาดถึงขั้นออกจากงานหรือ ติดคุกได้ จึงระมัดระวังไม่ยอมเซ็นอนุมัติอะไรง่ายๆ แม้แต่เรื่องที่เป็น “กิจวัตรประจำวัน” จึงอาจ ทำให้งานล่าช้าเกิดความเสียหายแก่ราชการได้ในบางเรื่องบางกรณี ในทางตรงกันข้าม ถ้ามองแต่ในแง่ความเจริญและเหตุแห่งความเจริญ อย่ า งเดี ย วก็ อ าจทำให้ ไ ม่ ร ะมั ด ระวั ง เพราะคิ ด แต่ จ ะได้ ป ระโยชน์ ก็ ไ ด้ ยกตั ว อย่ า งเช่ น ชาวนาชาวสวนเห็นที่ดินราคาแพงขึ้นคิดว่าเป็นโอกาสได้เงินมหาศาล จึงขายไร่นาที่เป็นมรดก ตกทอดมานานได้เงินหลายสิบล้านบาท แรกๆ ก็แบ่งขายแต่เมื่อเห็นว่าได้ราคาดีมากจึงขาย จนหมด เพราะไม่มีความรู้ในการบริหารเงินจำนวนมากขนาดนี้ จึงเอาเงินไปซื้อรถปิ๊กอัพบ้าง รถจักรยานยนต์บ้าง แจกลูกหลานคนละคันสองคัน ซื้อวัตถุอำนวยความสะดวกบำรุงบำเรอชีวิต มากมาย ไม่นานเงินที่ ได้จากการขายไร่นาก็ร่อยหรอหมดไป ในที่สุดก็มาเช่านายทุนทำกิน บนที่ดินดั้งเดิมของตนนั้นเอง อย่างนี้เรียกว่ามองแต่ผลที่จะได้ มองเห็นแต่ความเจริญด้านเดียว ไม่รู้จักมองด้านเสื่อมซึ่งอาจจะตามมาได้ 22

นักเรียนควรรู 1 โภคทรัพย แปลวา ทรัพยสิ่งของที่ใชอุปโภคบริโภค มีประโยชนในทาง พระพุทธศาสนา หรือโภคอาทิยะ 5 ประการ คือ เลี้ยงตัว บิดามารดา บุตร ภรรยา บาวไพร ใหเปนสุข เลีย้ งเพือ่ นฝูงใหเปนสุข บําบัดปองกันภยันตราย ทําพลี 5 อยาง เชน การชวยเหลือญาติที่เดือดรอน และทําทานในสมณพราหมณ เปนตน

มุม IT ศึกษาเพิ่มเติมถึงการพัฒนาพฤติกรรม จิตใจ และปญญา ตามแนวทาง พระพุทธศาสนาไดที่ http://www.swu.ac.th/journal/swuvision/v1n3/ article04.htm เว็บไซตยุทธศาสตรการพัฒนาสื่อสารการเรียนรูเพื่อสังคม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

22

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

นิวใชคอมพิวเตอรไดอยางชํานาญจึงทําแผนซีดีเพลงและภาพยนตรที่ กําลังไดรับความนิยมออกจําหนาย เพื่อหารายไดเสริม นิวจัดวาเปนผูมี ปญญาหรือไม เพราะเหตุใด 1. มี เพราะรูจักใชความสามารถใหเกิดประโยชน 2. มี เพราะทําใหเพื่อนไดซีดีเพลงและภาพยนตรราคาถูก 3. ไมมี เพราะเปนการละเมิดทรัพยสินทางปญญาไมถูกตองทั้งทาง ศีลธรรมและกฎหมาย 4. ไมมี เพราะนิวไมไดสอนใหเพื่อนๆ สามารถทําแผนซีดีเพลงและ ภาพยนตรไดเหมือนตนเอง วิเคราะหคําตอบ ปญญาในทางพระพุทธศาสนานั้นตองประกอบดวย ความถูกตองทั้งทางศีลธรรมและกฎหมาย หรือที่เรียกวา อายโกศล การกระทําของนิวถือวาเปนการละเมิดทรัพยสินทางปญญาของผูอื่น จึงไมถือวาเปนผูมีปญญา ดังนั้นคําตอบคือ ขอ 3.


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engaae

Expore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

อธิบายความรู

ครูและนักเรียนรวมกันสรุปสาระสําคัญ เกี่ยวกับความสําคัญของพระพุทธศาสนาทั้ง ในดานการมีทฤษฎีที่เปนสากล การมีขอปฏิบัติที่ ยึดทางสายกลาง และการเนนการพัฒนาศรัทธา และปญญาที่ถูกตอง แลวใหนักเรียนบันทึกขอสรุป ที่ไดลงในสมุด

ผู้ที่ฉลาดแท้จริงจะต้องมีปัญญาทั้ง ๓ ประการ คือ

๑. รู้ทางเสื1่อมและผลของทางเสื่อม รู้ทางเจริญและผลของทางเจริญ ๒. รู้อุบายหรือวิธีแก้และป้องกันความเสื่อม ๓. รู้วิธีสร้างความเจริญและรักษาความเจริญให้คงอยู่ ตลอดถึงส่งเสริมให้เจริญยิ่งๆ ขึ้นไป อีกด้วย

ขยายความเขาใจ

พระพุทธศาสนาเน้นว่าศรัทธาที่ถูกต้องจะต้องเป็นความเชื่อมั่นในความดีงาม ของมนุษย์ เชื่อมั่นในการกระทำและผลของการกระทำ เชื่อมั่นว่าเราต้องรับผิดชอบต่อการ กระทำของตนเอง ศรัทธาที่ถูกต้องจะต้องไม่ ใช่ความเชื่อ “ฝังหัว” อย่างมืดบอดในเรื่องใด เรื่องหนึ่ง หากแต่เป็นไปเพื่อให้เกิดปัญญา รู้ผิดชอบชั่วดี รู้ทางเสื่อมทางเจริญ และรู้วิธีละทาง เสื่อมสร้างสรรค์ทางเจริญ

ตรวจสอบผล

ÇÔÃÔ๠·Ø¡¢Á¨à¨µÔ Ú¢Á¨Úà¨µÔ ¤¹Å‹Ç§·Ø¡¢ ä´Œà¾ÃÒФÇÒÁà¾ÕÂÃ

กิจกรรมสรางเสริม ครูอาจมอบหมายใหนักเรียนคนควาขอมูลเกี่ยวกับการพัฒนาปญญาทาง พระพุทธศาสนาตามหลักธรรมที่กําหนด เชน วุฑฒิธรรม 4 จักรธรรม 4 แลวจัดทําเปนแผนพับ จากนั้นครูคัดเลือกผลงานที่ดีจัดแสดงที่ปายนิเทศ ในชั้นเรียน

กิจกรรมทาทาย ครูอาจมอบหมายใหนักเรียนคนควาขอมูลเกี่ยวกับการพัฒนาปญญา ในแนวทางอื่นๆ ของพระพุทธศาสนา แลวจัดทําเปนแผนพับ จากนั้น ครูคัดเลือกผลงานที่ดีจัดแสดงที่ปายนิเทศในชั้นเรียน

Expand

ครูตั้งประเด็นใหนักเรียนแตละกลุมอภิปราย กลุมยอยเกี่ยวกับความสําคัญของพระพุทธศาสนา ในดานการมีทฤษฎีที่เปนสากล การมีขอปฏิบัติที่ ยึดทางสายกลาง และการเนนการพัฒนาศรัทธา และปญญาที่ถูกตอง โดยศึกษาขอมูลเพิ่มเติมจาก แหลงการเรียนรูอื่น ๆ เชน พระสงฆ หองสมุด อินเทอรเน็ต พรอมทั้งเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับ การปฏิบัติตนของนักเรียนตามแนวทางทั้งสามของ พระพุทธศาสนา จากนั้นจัดทําเปนบันทึกผลการ อภิปรายของกลุม

พระพุ ท ธศาสนาเกิ ด ขึ้ น ท า มกลางสภาพสั ง คมในอิ น เดี ย ที่ เ ต็ ม ไปด ว ยป ญ หา วุนวายนานัปการ ขณะที่คำสอนหรือแนวคิดใดๆ ก็ยังไมสามารถชวยแกปญหาความคับของใจ ของผูคนในสังคมอินเดียขณะนั้นได พระพุทธศาสนาจึงเปนสิ่งแปลกใหมในสังคมอินเดีย เปน แรงดึงดูดใหผูคนหันมาศึกษาและยอมรับนับถือพระพุทธศาสนากันเปนจำนวนมาก แมวาคำสอน ของพระพุทธศาสนาจะแตกตางจากหลักคำสอนของศาสนาอื่นๆ หรือลัทธิความเชื่ออื่นๆ ที่ใน อินเดียนับถือกันมากอนหนานั้นก็ตาม ทั้งนี้เพราะพระพุทธศาสนานั้นปฏิเสธความเชื่อเรื่องพระเจา แลวสอนใหมนุษยพิจารณาสรรพสิ่งที่เกิดขึ้นตามความเปนจริงตามธรรมชาติ พิจารณาหาสาเหตุ และผลลัพธของการกระทำ นอกจากนี้ลักษณะเดนของพระพุทธศาสนาที่ทำใหมีผูคนหันมานับถือ กั น มากมายนั้ น คื อ การมี ท ฤษฎี ที่ เ ป น สากล มี ข อ ปฏิ บั ติ ที่ ยึ ด หลั ก ทางสายกลางและมุ ง เน น การพัฒนาศรัทธาที่ถูกตอง หรืออาจจะกลาวไดวาพระพุทธศาสนาเปดโอกาสใหมนุษยใชปญญา พิจารณาตัดสินทุกๆ สิ่งตามความเปนจริงดวยตัวเอง ไมมีโอกาสกำหนดกฎเกณฑขูบังคับใดๆ เมื่อมนุษยพิจารณาเห็นความจริงตามคำสอนในพระพุทธศาสนาแลว จึงหันมาศรัทธาและนับถือ พระพุทธศาสนาเปนศาสนาหลักในการดำเนินชีวิตสืบทอดมาจนปจจุบันนั่นเอง

(¾Ø·¸ÈÒʹÊØÀÒÉÔµ)

Explain

23

Evaluate

1. ครูและนักเรียนชวยกันตรวจบันทึกผลการ อภิปรายเกี่ยวกับความสําคัญของพระพุทธศาสนาของแตละกลุม โดยใหแตละกลุมสงตัว แทนออกมานําเสนอผลการอภิปรายของกลุม ตนที่หนาชั้นเรียน แลวพิจารณาถึงความถูก ตองครบถวนของขอมูล และความคิดเห็นที่ เหมาะสม จากนั้นครูใหนักเรียนปฏิบัติตนตาม แนวทางของพระพุทธศาสนาที่ไดศึกษามา 2. ครูสังเกตพฤติกรรมการมีสวนรวมในกิจกรรม การเรียนรู เชน การตอบคําถาม การทํางานกลุม เปนตน

เกร็ดแนะครู ครูอาจอภิปรายรวมกันกับนักเรียนในประเด็นความสําคัญของพระพุทธศาสนา เชน พระพุทธศาสนา : ศรัทธาและปญญาที่กอใหการเปลี่ยนแปลงในสังคมชมพูทวีป ลักษณะสังคมชมพูทวีปในสมัยพุทธกาล จากนั้นใหนักเรียนสรุปสาระสําคัญของการ อภิปรายลงในสมุด

นักเรียนควรรู 1 อุบาย วิธีสําหรับประกอบ หนทาง วิธีการ หรือกลวิธี ในปจจุบันนิยมใช ในความหมายวา เลหเหลี่ยม

คูมือครู

23


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engaae

Expore

Explain

Elaborate

ตรวจสอบผล

ตรวจสอบผล Evaluate

Evaluate

ครูตรวจสอบความถูกตองในการตอบคําถาม ประจําหนวยการเรียนรู

คาถาม ประจำหน่วยการเรียนรู้

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู

๑. ลักษณะของสังคมชมพูทวีป ในสมัยก่อนพระพุทธเจ้า ในด้านการเมืองการปกครอง ด้านสังคม และด้านศาสนาหรือลัทธิความเชื่อ มีส่วนเหมือน คล้ายคลึง หรือแตกต่าง กับลักษณะของสังคมอินเดียในปัจจุบันอย่างไร ๒. นักเรียนคิดว่าความเชื่อทางศาสนาสมัยก่อนพระพุทธเจ้านั้น ส่งผลต่อการดำเนินชีวิต ของคนในสมัยนั้นอย่างไรบ้าง จงอธิบาย ๓. นอกจากความสำคัญของพระพุทธศาสนาทั้ง ๓ ด้านที่ได้เรียนไปในหน่วยนี้ นักเรียน คิดว่ามีความสำคัญในด้านใดอีกบ้าง จงวิเคราะห์พร้อมยกตัวอย่างประกอบการอธิบาย

1. บทความเกี่ยวกับลักษณะของสังคมชมพูทวีป และคติความเชื่อทางศาสนาในสมัยกอน พระพุทธเจา 2. บันทึกผลการอภิปรายเกี่ยวกับความสําคัญของ พระพุทธศาสนา

กิจกรรม จกรรม สร้างสรรค์พัฒนาการเรียนรู้ กิจกรรมที่ ๑ ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มทำรายงานเกี่ยวกับแคว้นต่างๆ ในชมพูทวีปสมัยก่อน พระพุทธเจ้า โดยในรายงานให้ประกอบด้วยภาพวาดแผนที่แสดงแคว้นและ เมืองสำคัญต่างๆ พร้อมทั้งระบุความสำคัญของแคว้นหรือเมืองต่างๆ ที่มี ความสำคัญหรือมีความเกี่ยวเนื่องกับพระพุทธศาสนาส่งครูผู้สอน กิจกรรมที่ ๒ ทำผังมโนทัศน์สรุปภาพรวมของสังคมชมพูทวีปและคติความเชื่อทางศาสนา ในสมัยก่อนพระพุทธเจ้า โดยวาดภาพประกอบพร้อมตกแต่งให้สวยงามส่ง ครูผู้สอน

24

แนวตอบ คําถามประจําหนวยการเรียนรู 1. ความแตกตางของลักษณะทางสังคมอินเดียในปจจุบันกับสังคมชมพูทวีปในอดีตที่สําคัญไดแก ในดานการเมืองการปกครอง กลาวคือ ระบอบการปกครองที่ในอดีต มีกษัตริยเปนประมุข แตในปจจุบันปกครองดวยระบอบประชาธิปไตยที่มีประธานาธิบดีเปนประมุข ทั้งนี้สืบเนื่องมาจากอิทธิพลของประเทศอังกฤษที่เปนเจาอาณานิคม ของอินเดียสมัยจักรวรรดินิยม สําหรับในดานสังคม ลัทธิความเชื่อและศาสนา สังคมอินเดียในปจจุบันมีความคลายคลึงกับสังคมชมพูทวีปในอดีต กลาวคือ ชาวอินเดีย สวนใหญยังคงนับถือศาสนาฮินดู และมีสถานภาพตามระบบวรรณะซึ่งอาจไมเครงครัดเทาในอดีต เนื่องจากภาครัฐและประชาชนมีความตระหนักในเรื่องสิทธิมนุษยชน มากขึ้น 2. ความเชื่อทางศาสนามีอิทธิพลตอการดําเนินชีวิตของคนในชมพูทวีปสมัยกอนพระพุทธเจาคอนขางมาก โดยคนสวนใหญที่นับถือศาสนาพราหมณ (ซึ่งในเวลาตอมา พัฒนาเปนศาสนาฮินดู จึงอาจเรียกวา ศาสนาพราหมณ-ฮินดู) ลวนดําเนินชีวิตตามระบบวรรณะที่เชื่อวา คนวรรณะตาง ๆ ถือกําเนิดจากองคาพยพที่แตกตางกันของ พระพรหมผูสราง จึงมีสิทธิและบทบาทหนาที่ในสังคมแตกตางกัน เชน คนในวรรณะกษัตริยนั้นเกิดจากพระพาหา (แขน) ของพระพรหม มีหนาที่ปกครองและปกปอง ความสงบสุขของแควน สวนคนในวรรณะศูทรเกิดจากพระบาท (เทา) ของพระพรหม จึงมีหนาที่ใชแรงงานรับใชวรรณะตางๆ เปนตน 3. พระพุทธศาสนามีความสําคัญตอสังคมชมพูทวีปในหลายดาน โดยเฉพาะความเชื่อในการหลุดพนจากทุกขของชีวิต อันเปนความเชื่อสูงสุดหรือปรมัตถธรรม คือ นิพพาน เปนการหลุดพนจากสังสารวัฏ เปนภาวะวางเปลา ไมเวียนวายตายเกิดอีก ซึง่ เปนความสุขสงบทีแ่ ทจริง ตางจากความเชือ่ สุงสุดของศาสนาพราหมณทเี่ ชือ่ วา การหลุดพนจากความทุกขของชีวิต ไมตองเวียนวายตายเกิดอีกนั้น วิญญาณจะตองกลับไปรวมกับวิญญาณของพรหมหรือปรมาตมันอันเปนจุดกําเนิดอีกครั้งหนึ่ง

24

คูมือครู


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.