8858649122902

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº »ÃСѹÏ

ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน

กระบวนการสอนแบบ 5 Es ชวยสรางทักษะการเรียนรู กิจกรรมมุงพัฒนาทักษะการคิด คำถาม + แนวขอสอบเพื่อยกผลสัมฤทธิ์ O-NET กิจกรรมบูรณาการเตรียมพรอมสู ASEAN 2558


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู สุขศึกษาและพลศึกษา

สุขศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่

5

สําหรับครู

คูมือครู Version ใหม

ลักษณะเดน

ขยายพื้นที่รูปเลมใหญขึ้นกวาเดิม จัดแบงพื้นที่ออกเปนโซน เพื่อคนหาขอมูลไดงาย สะดวก รวดเร็ว และดูเปนระเบียบ กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล

กระตุน ความสนใจ

Evaluate

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

เปาหมายการเรียนรู สมรรถนะของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค

หน า

โซน 1 กระตุน ความสนใจ

Engage

สํารวจคนหา

Explore

อธิบายความรู

Explain

ขยายความเขาใจ

Expand

ตรวจสอบผล

หน า

หนั ง สื อ เรี ย น

โซน 1

หนั ง สื อ เรี ย น

Evaluate

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

O-NET บูรณาการเชื่อมสาระ

เกร็ดแนะครู

ขอสอบ

โซน 2

โซน 3

กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย

นักเรียนควรรู

โซน 3

โซน 2 บูรณาการอาเซียน มุม IT

No.

คูมือครู

คูมือครู

No.

โซน 1 ขั้นตอนการสอนแบบ 5Es

โซน 2 ชวยครูเตรียมสอน

โซน 3 ชวยครูเตรียมนักเรียน

เพื่อใหครูเตรียมจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยแนะนําขั้นตอนการสอนและ การจัดกิจกรรมแบบ 5Es อยางละเอียด เพื่อใหนักเรียนบรรลุตามตัวชี้วัด

เพื่อชวยลดภาระครูผูสอน โดยแนะนํา เกร็ดความรูสําหรับครู ความรูเสริมสําหรับ นักเรียน รวมทั้งบูรณาการความรูสูอาเซียน และมุม IT

เพื่อใหครูสะดวกตอการจัดกิจกรรม โดย แนะนํากิจกรรมบูรณาการเชือ่ มระหวางสาระหรือ กลุมสาระการเรียนรู วิชา กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย รวมถึงเนื้อหาที่เคยออกขอสอบ O-NET แนวขอสอบ NT/O-NET ทีเ่ นนการคิด พรอมเฉลยและคําอธิบายอยางละเอียด


ที่ใชในคูมือครู

แถบสีและสัญลักษณ

แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5Es เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

1. แถบสี 5Es สีแดง

สีเขียว

กระตุน ความสนใจ

เสร�ม

สํารวจคนหา

Engage

2

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุน ความสนใจ เพื่อโยง เขาสูบทเรียน

สีสม

อธิบายความรู

Explore

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนสํารวจ ปญหา และศึกษา ขอมูล

สีฟา

Explain

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนคนหา คําตอบ จนเกิดความรู เชิงประจักษ

สีมวง

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนนําความรู ไปคิดคนตอๆ ไป

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

2. สัญลักษณ สัญลักษณ

วัตถุประสงค

• เปาหมายการเรียนรู

• หลักฐานแสดง ผลการเรียนรู

• เกร็ดแนะครู

แทรกความรูเสริมสําหรับครู ขอเสนอแนะ ขอควรระวัง ขอสังเกต แนวทางการจัด กิจกรรมและอืน่ ๆ เพื่อประโยชนในการ จัดการเรียนการสอน ขยายความรูเพิ่มเติมจากเนื้อหา เพื่อให ครูนําไปใชอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียน ไดมีความรูมากขึ้น

ความรูห รือกิจกรรมเสริม ใหครูนาํ ไปใช เตรียมความพรอมใหกบั นักเรียนกอนเขาสู ประชาคมอาเซียนใน พ.ศ. 2558 โดย บูรณาการกับวิชาทีก่ าํ ลังเรียน

บูรณาการอาเซียน

คูม อื ครู

แสดงรองรอยหลักฐานตามภาระงาน ที่ครูมอบหมาย เพื่อแสดงผลการเรียนรู ตามตัวชี้วัด

• นักเรียนควรรู

มุม IT

แสดงเปาหมายการเรียนรูที่นักเรียน ตองบรรลุตามตัวชี้วัด ตลอดจนสมรรถนะ ที่จะตองมี และคุณลักษณะที่พึงเกิดขึ้น กับนักเรียน

แนะนําแหลงคนควาจากเว็บไซต เพื่อให ครูและนักเรียนไดเขาถึงขอมูลความรู ที่หลากหลาย ทั้งไทยและตางประเทศ

สัญลักษณ

ขอสอบ

วัตถุประสงค

O-NET

(เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ O-NET)

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T (เฉพาะระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนตน)

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET (เฉพาะระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย)

บูรณาการเชื่อมสาระ

กิจกรรมสรางเสริม

กิจกรรมทาทาย

• ชีแ้ นะเนือ้ หาทีเ่ คยออกขอสอบ

O-NET โดยยกตัวอยางขอสอบ พรอมวิเคราะหคาํ ตอบ อยางละเอียด

• เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน

การคิดและเปนแนวขอสอบ NT/O-NET ในระดับมัธยมศึกษา ตอนตน มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

• เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน

การคิดและเปนแนวขอสอบ O-NET ในระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม

เชือ่ มกับสาระหรือกลุม สาระ การเรียนรู ระดับชัน้ หรือวิชาอืน่ ทีเ่ กีย่ วของ

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ซอมเสริมสําหรับนักเรียนทีค่ วร ไดรบั การพัฒนาการเรียนรู

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ตอยอดสําหรับนักเรียนทีเ่ รียนรู ไดอยางรวดเร็ว และตองการ ทาทายความสามารถในระดับ ทีส่ งู ขึน้


คําแนะนําการใชคูมือครู การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน คูม อื ครู รายวิชา สุขศึกษา ม.5 จัดทําขึน้ เพือ่ ใหครูผสู อนนําไปใชเปนแนวทางวางแผนการสอนเพือ่ พัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน และประกันคุณภาพผูเรียน ตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) โดยใช หนังสือเรียน สุขศึกษา ม.5 ของบริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด เปนสื่อหลัก (Core Material) ประกอบการสอนและ เสร�ม การจัดกิจกรรมการเรียนรูใ หสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั กลุม สาระการเรียนรู สุขศึกษาและพลศึกษา ตาม 3 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 โดยออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักการสําคัญ ดังนี้ 1 ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน คูมือครู รายวิชา สุขศึกษา ม.5 วางแผนการสอนโดยแบงเปนหนวยการเรียนรูตามลําดับสาระ (Strand) และ หมายเลขขอของมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั แตละหนวยจะกําหนดเปาหมายการเรียนรูแ ละจุดประสงคการเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทางการประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชัดเจน ครูผูสอนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด สมรรถนะ และคุณลักษณะ อันพึงประสงคที่เปนเปาหมายการเรียนรูตามที่กําหนดไวในสาระแกนกลาง (ตามแผนภูมิ) และสามารถบันทึกผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของผูเรียนแตละคนลงในเอกสาร ปพ.5 ไดอยางมั่นใจ แผนภูมิแสดงความสัมพันธขององคประกอบการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผูเรียนเปนสําคัญ

พผ

ูเ

จุ ด ป ร

ะสง

คก า

ส ภา

รี ย น

รู ีเรยน

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชวงชั้น

ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน คูม อื ครู


2 การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ แนวคิ ด ในการจั ด การเรี ย นการสอนที่ ยึ ด ผู  เ รี ย นเป น สํ า คั ญ พั ฒ นามาจากปรั ช ญาและทฤษฎี ก ารเรี ย นรู  Constructivism ที่เชื่อวา การเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสรางความรู โดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดเรียนรูจากบทเรียนใหมกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา ผูเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีการสั่งสมความรูความเขาใจเกี่ยวกับสิ่งตางๆ ติดตัวมากอน ทีจ่ ะเขาสูห อ งเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากประสบการณและสิง่ แวดลอมรอบตัวผูเ รียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกิจกรรม เสร�ม การเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ผูสอนจะตองคํานึงถึง

4

1. ความรูเดิมของผูเรียน วิธีการสอนที่ดีจะตองเริ่มตนจากจุดที่วา ผูเ รียนมีความรูอ ะไรมาบาง แลวจึงใหความรู หรือประสบการณใหม เพื่อตอยอดจาก ความรูเดิม นําไปสูการสรางความรู ความเขาใจใหม

2. ความรูเดิมของผูเรียนถูกตองหรือไม ผูส อนตองปรับเปลีย่ นความรูค วามเขาใจเดิม ของผูเรียนใหถูกตอง และเปนพฤติกรรม การเรียนรูใ หมทมี่ คี ณุ คาตอผูเรียน เพื่อสราง เจตคติหรือทัศนคติที่ดีตอการเรียนรู สิ่งเหลานั้น

3. ผูเรียนสรางความหมายสําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมใหผูเรียนนําความรู ความเขาใจที่เกิดขึ้นไปลงมือปฏิบัติ เพื่อขยายความรูใหลึกซึ้งและมีคุณคา ตอตัวผูเรียนมากที่สุด

แนวคิด Constructivism เนนใหผูเรียนสรางความรูโดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูของตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศ

การเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณ ความรูใ หม เพือ่ กระตนุ ใหผเู รียนเชือ่ มโยงความรู ความคิด กับประสบการณทมี่ อี ยูเ ดิม แลวสังเคราะหเปนความรูห รือแนวคิดใหมๆ ไดดว ยตนเอง

3 การบูรณาการกระบวนการคิด การเรียนรูของผูเรียนแตละคนจะเกิดขึ้นที่สมอง ซึ่งเปนอวัยวะที่ทําหนาที่รูคิดภายใตสภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวย และไดรบั การกระตนุ จูงใจอยางเหมาะสม สอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของผูเ รียนแตละคน การจัดกิจกรรม การเรียนรูและสาระการเรียนรูที่สอดคลองกับความสนใจและมีความหมายตอผูเรียน จะชวยกระตุนใหสมองของผูเรียน สามารถรับรูและเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพตามขั้นตอนการทํางานของสมอง ดังนี้ 1. สมองจะเรียนรูและสืบคน โดยการสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง ปฏิบัติ จนทําใหคนพบความรูความเขาใจ ไดอยางรวดเร็ว

2. สมองจะแยกแยะคุณคาของสิ่งตางๆ โดยการตัดสินใจวิพากษวิจารณ แสดง ความคิดเห็น ยอมรับหรือตอตานตาม อารมณความรูสึกที่เกิดขึ้นในขณะที่เรียนรู

3. สมองจะประมวลเนื้อหาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสานกับ ความรูห รือประสบการณเดิมทีถ่ กู จัดเก็บอยูใ น สมอง ผานการกลัน่ กรองเพือ่ สังเคราะหเปน ความรูค วามเขาใจใหมๆ หรือเปนทัศนคติใหม ที่จะเก็บบรรจุไวในสมองของผูเรียน

การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะเกิดขึ้น เมื่อสมองรูคิด และตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมองผูเรียน โดยเริ่มตนจาก 1. ระดับการคิดพื้นฐาน ไดแก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล การสรุปผล เปนตน

คูม อื ครู

2. ระดับลักษณะการคิด ไดแก การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดไกล คิดหลากหลาย คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล เปนตน

3. ระดับกระบวนการคิด ไดแก กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ กระบวนการแกปญหา กระบวนการ คิดสรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะห เปนตน


5Es การจัดกิจกรรมตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ขั้นตอนการสอนที่สัมพันธกับขั้นตอนการคิดและการทํางานทางสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย คือ วัฏจักรการเรียนรู 5Es ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแตละหนวย ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1

กระตุนความสนใจ

(Engage)

เสร�ม

5

เปนขั้นที่ผูสอนนําเขาสูบทเรียน เพื่อกระตุนความสนใจของผูเรียนดวยเรื่องราวหรือเหตุการณที่นาสนใจโดยใชเทคนิควิธีการ และคําถามทบทวนความรูหรือประสบการณเดิมของผูเรียน เพื่อเชื่อมโยงผูเรียนเขาสูความรูของบทเรียนใหม ชวยใหผูเรียนสามารถ สรุปความสําคัญหัวขอและสาระการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอนการสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอมและสราง แรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน

ขั้นที่ 2

สํารวจคนหา

(Explore)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนเปดโอกาสใหผเู รียนลงมือศึกษา สังเกต หรือรวมมือกันสํารวจ เพือ่ ใหเห็นขอบขายของประเด็นหรือปญหา รวมถึง วิธีการศึกษาคนควา การรวบรวมขอมูลความรูที่จะนําไปสูการสรางความเขาใจประเด็นหรือปญหานั้นๆ เมื่อผูเรียนทําความเขาใจใน ประเด็นหรือปญหาที่จะศึกษาคนควาอยางถองแทแลว ก็ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธีการตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูที่เกี่ยวของกับประเด็นหรือปญหาที่ศึกษา

ขั้นที่ 3

อธิบายความรู

(Explain)

เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา ตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนคนหาคําตอบ และนําขอมูล ความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห สรุปผล และนําเสนอผลที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ ผังมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน ในขั้นตอนนี้ฝกใหผูเรียนใชสมองคิดวิเคราะหและสังเคราะห อยางเปนระบบ

ขั้นที่ 4

ขยายความเขาใจ

(Expand)

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใชเทคนิควิธีสอนตางๆ ที่สงเสริมใหผูเรียนนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนสืบคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะ การเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน ผูเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยง กับประสบการณเดิมโดยนําขอสรุปทีไ่ ดไปใชอธิบายเหตุการณตา งๆ หรือนําไปปฏิบตั ใิ นสถานการณใหมๆ ทีเ่ กีย่ วของกับชีวติ ประจําวัน ของตนเอง เพื่อขยายความรูความเขาใจใหกวางขวางยิ่งขึ้น ในขั้นตอนนี้ฝกสมองของผูเรียนใหสามารถคิดริเริ่มสรางสรรคอยางมี คุณภาพ เสริมสรางวิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป

ขั้นที่ 5

ตรวจสอบผล

(Evaluate)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนประเมินมโนทัศนของผูเ รียน โดยตรวจสอบจากความคิดทีเ่ ปลีย่ นไปและความคิดรวบยอดทีเ่ กิดขึน้ ใหม ตรวจสอบ ทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด หรือการเคารพความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพื่อการ สรางสรรคความรูร ว มกัน ผูเ รียนสามารถประเมินผลการเรียนรูข องตนเอง เพือ่ สรุปผลวามีความรูอ ะไรเพิม่ ขึน้ มาบาง เกิดความเขาใจ มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ หรือในชีวิตประจําวันไดอยางไร ผูเรียนจะเกิดเจตคติ และเห็นคุณคาของตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง

การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนนผูเรียน เปนสําคัญอยางแทจริง เพราะสงเสริมใหผูเรียนไดเรียนรูตามขั้นตอนของกระบวนการสรางความรูดวยตนเอง และ ฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและกระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะชีวิต ทักษะการทํางาน และทักษะการ เรียนรูที่มีประสิทธิภาพ สงผลตอการยกระดับผลสัมฤทธิ์ของผูเรียน ตามเปาหมายของการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คูม อื ครู


O-NET การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ O-NET

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ในแตละหนวยการเรียนรู ทางผูจัดทํา จะเสนอแนะวิธีสอน รูปแบบกิจกรรมการเรียนรู พรอมทั้งออกแบบเครื่องมือวัดและประเมินผลที่สอดคลองกับตัวชี้วัด และสาระการเรียนรูแกนกลางไวทุกขั้นตอน โดยยึดหลักสําคัญ คือ หลักของการวัดและประเมินผล เสร�ม

6

1. การวัดและประเมินผลทุกครั้ง ควรนําผลมาปรับปรุงพัฒนาผูเรียน เปนรายบุคคล

2. การวัดและประเมินผลมี เปาหมาย เพื่อพัฒนาการเรียนรู ของผูเรียนจนเต็มศักยภาพ

3. การนําผลการวัดและประเมินผล ทุกครั้งมาวางแผนปรับปรุงกิจกรรม การเรียนการสอน การเลือกเทคนิค วิธีสอน และสื่อการเรียนรูให เหมาะสมกับสภาพจริงของผูเรียน

การทดสอบผูเรียน 1. การใชขอสอบอัตนัย เนนการอาน การคิดวิเคราะห และการเขียนเพิ่มมากขึ้น 2. การใชคําถามกระตุนการคิดควบคูกับการทําขอสอบที่เนนการคิดอยางตอเนื่องตามลําดับกิจกรรมการเรียนรู และตัวชี้วัด 3. การทดสอบตองดําเนินการทั้งกอนเรียน ระหวางเรียน และหลังเรียน การทดสอบควรใชขอสอบทั้งชนิดปรนัยและ อัตนัย และเปนการทดสอบเพื่อประเมินผลการเรียนของผูเรียนแตละคน เพื่อการสอนซอมเสริมใหบรรลุตัวชี้วัด ไดครบถวน 4. การสอบกลางภาค (ถามี) ควรนําแบบฝกหัดหรือขอสอบทีน่ กั เรียนสวนใหญไมสามารถตอบไดหรือไมครบถวนชัดเจน มา สรางเปนแบบทดสอบอีกครัง้ เพือ่ ตรวจสอบความรูค วามเขาใจทีถ่ กู ตอง และประเมินความกาวหนาของผูเ รียนแตละคน 5. การสอบปลายภาคเรียนเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามตัวชี้วัดที่สําคัญ ควรออกขอสอบใหมีลักษณะเดียวกับ ขอสอบ O-NET โดยเนนการคิดวิเคราะห สังเคราะห เชื่อมโยงประยุกตใช เพื่อสรางความคุนเคย และฝกฝน วิธีการทําขอสอบดวยความมั่นใจ 6. การนําผลการทดสอบของผูเรียนมาวิเคราะห โดยผลการสอบกอนการเรียนตองสามารถพยากรณผลการสอบ กลางภาค และผลการสอบกลางภาคตองทํานายผลการสอบปลายภาคของผูเ รียนแตละคน เพือ่ ประเมินพัฒนาการ ความกาวหนาของผูเรียนเปนรายบุคคล 7. ผลการทดสอบปลายป ปลายภาค ตองมีคาเฉลี่ยสอดคลองกับคาเฉลี่ยของการสอบ NT ที่เขตพื้นที่การศึกษา จัดสอบ รวมทั้งคาเฉลี่ยของการสอบ O-NET ชวงชั้นที่สอดคลองครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดสําคัญ เพือ่ สะทอนประสิทธิภาพของครูผสู อนในการออกแบบการเรียนรูแ ละประกันคุณภาพผูเ รียนทีต่ รวจสอบผลไดชดั เจน การจัดการเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ตองใหผูเรียนไดสั่งสมความรู ความเขาใจตามลําดับขั้นตอน ของกิจกรรมในวัฏจักรการเรียนรู 5Es เพื่อใหผูเรียนไดเติมเต็มองคความรูอยางตอเนื่อง จนสามารถปฏิบัติชิ้นงานหรือ ภาระงานรวบยอดของแตละหนวย ผานเกณฑประกันคุณภาพในระดับที่นาพึงพอใจ เพื่อรองรับการประเมินภายนอกจาก สมศ. ตลอดเวลา คูม อื ครู


ASEAN การเรียนรูสูประชาคมอาเซียน เพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรูบูรณาการอาเซียนศึกษา ผูจัดทําไดวิเคราะห มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดที่มีสาระการเรียนรูสอดคลองกับองคความรูเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนในแงมุมตางๆ ครอบคลุมทัง้ ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน เพื่อสงเสริมการเรียนรูใหผูเรียนเกิดความตระหนัก มีความรูความเขาใจเหมาะสมกับระดับชั้นและกลุมสาระ การเรียนรู โดยเสนอแนะวิธีการจัดกิจกรรมบูรณาการเนื้อหาสาระตางๆ ที่เปนประโยชนตอผูเรียนและเปนการชวย เตรียมความพรอมผูเ รียนทุกคนทีจ่ ะกาวเขาสูก ารเปนสมาชิกของประชาคมอาเซียนไดอยางมัน่ ใจตามขอตกลงปฏิญญา เสร�ม ชะอํา-หัวหิน วาดวยความรวมมือดานการศึกษาเพือ่ บรรลุเปาหมายประชาคมอาเซียนทีเ่ อือ้ อาทรและแบงปน จึงกําหนด 7 เปนนโยบายใหกระทรวงศึกษาธิการจัดการเรียนรูเตรียมความพรอมผูเรียนเขาสูประชาคมอาเซียนภายในป พ.ศ. 2558 ตามแนวปฏิบัติที่สําคัญ ดังนี้

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน 1. การสรางความรูความเขาใจ และตระหนักถึงความสําคัญของ กฎบัตรอาเซียน และความรวมมือ ของ 3 เสาหลัก ซึง่ กฎบัตรอาเซียน ในขณะนี้มีสถานะเปนกฎหมายที่ ประเทศสมาชิกจะตองปฏิบัติตาม หลักการที่กําหนดไวเพื่อใหบรรลุ เปาหมายของกฎบัตรมาตราตางๆ

2. การสงเสริมหลักการ ประชาธิปไตยและการสราง สิ่งแวดลอมประชาธิปไตย เพื่อการอยูรวมกันอยางกลมกลืน ภายใตวิถีชีวิตอาเซียนที่มีความ หลากหลายดานสังคมและ วัฒนธรรม

4. การตระหนักในคุณคาของ สายสัมพันธทางประวัติศาสตร และมรดกทางวัฒนธรรมที่มี พัฒนาการรวมกัน เพื่อเชื่อม อัตลักษณและสรางจิตสํานึก ในการเปนประชากรของประชาคม อาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการศึกษาดาน สิทธิมนุษยชน เพื่อสรางประชาคม อาเซียนใหเปนประชาคมเพื่อ ประชาชนอยางแทจริง สามารถ อยูรวมกันไดบนพื้นฐานการเคารพ ในคุณคาของศักดิ์ศรีแหงความ เปนมนุษยเทาเทียมกัน

5. การสงเสริมสันติภาพ ความ มั่นคง และความปรองดองในสังคม ทั้งระดับประเทศและภูมิภาคของ อาเซียนบนพื้นฐานสันติวิธีและการ อยูรวมกันดวยขันติธรรม

คูม อื ครู


การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

เสร�ม

8

1. การพัฒนาทักษะการทํางาน เพื่อเสริมสรางผูเรียนใหมีทักษะ วิชาชีพที่จําเปนสอดคลองกับ ความตองการของตลาดแรงงาน และสถานประกอบการในอาเซียน สามารถเทียบโอนผลการเรียน และการทํางานตามมาตรฐานฝมือ แรงงานในภูมิภาคอาเซียน

2. การเสริมสรางวินัย ความรับผิดชอบ และเจตคติรักการทํางาน สามารถพึ่งพาตนเอง มีทักษะชีวิต ดํารงชีวิตอยางมีความสุข เห็นคุณคา และภูมิใจในตนเอง ในฐานะที่เปนพลเมืองไทยและ อาเซียน

3. การเรียนรูเพื่อพัฒนาตนเอง อยางตอเนื่องตลอดชีวิต ใหมี ทักษะการทํางานตามมาตรฐาน อาชีพ และคุณวุฒิของวิชาชีพสาขา ตางๆ เพื่อรองรับการเตรียมเคลื่อน ยายแรงงานมีฝมือและการเปน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่ เขมแข็ง เพื่อสรางขีดความสามารถ ในการแขงขันในเวทีโลก

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 1. การเสริมสรางความรวมมือ ในลักษณะสังคมที่เอื้ออาทร ของประชากรอาเซียน โดยยึด หลักการสําคัญ คือ ความงดงาม ของประชาคมอาเซียนมาจาก ความแตกตางและหลากหลายทาง วัฒนธรรมที่ลวนแตมีคุณคาตอ มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน ซึ่งประชาชนทุกคนตองอนุรักษ สืบสานใหยั่งยืน

2. การเสริมสรางคุณลักษณะ ของผูเรียนใหเปนพลเมืองอาเซียน ที่มีศักยภาพในการกาวเขาสู ประชาคมอาเซียนอยางมั่นใจ เปนผูที่มีสุขภาพสมบูรณแข็งแรง มีทักษะการสื่อสาร ทักษะการ ทํางาน ทักษะทางสังคม สามารถ ทํางานรวมกับผูอื่นไดอยาง สรางสรรค และมีองคความรู เกี่ยวกับอาเซียนที่จําเปนตอการ ดํารงชีวิตอยางมีคุณภาพ

4. การสงเสริมการเรียนรูดาน ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี วิถชี วี ติ ความเปนอยูข องเพือ่ นบาน ในอาเซียน เพื่อสรางจิตสํานึกของ ความเปนประชาคมอาเซียนและ ตระหนักถึงหนาที่ของการเปน พลเมืองอาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการเรียนรูภาษา อังกฤษเพื่อการสื่อสารและการ ทํางานตามมาตรฐานอาชีพที่ กําหนดและสนับสนุนการเรียนรู ภาษาอาเซียนและภาษาเพื่อนบาน เพื่อชวยเสริมสรางสัมพันธภาพทาง สังคม และการอยูรวมกันอยางสันติ ทามกลางความหลากหลายทาง วัฒนธรรม

5. การสรางความรูและความ ตระหนักเกี่ยวกับดานสิ่งแวดลอม ปญหาและผลกระทบตอคุณภาพ ชีวิตของประชากรในภูมิภาค รวมทั้งแนวทางการพัฒนาอยาง ยั่งยืน ใหเปนมรดกสืบทอดแก พลเมืองอาเซียนในรุนหลังตอๆ ไป

กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศนโยบายการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) เพื่อเรงพัฒนาเด็ก และเยาวชนไทยใหเปนทรัพยากรมนุษยของชาติที่มีทักษะและความชํานาญ พรอมเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงและ การแขงขันทั้งในภูมิภาคอาเซียนและภูมิภาคอื่นๆ ของสังคมโลก ทั้งนี้ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และผูปกครอง ควรรวมมือกันอยางใกลชิดในการดูแลชวยเหลือผูเรียนและจัดประสบการณการเรียนรูเพื่อพัฒนาผูเรียนจนเต็มศักยภาพ เพื่อกาวเขาสูการเปนพลเมืองอาเซียนอยางมีเกียรติภูมิและศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของตน คณะผูจัดทํา คูม อื ครู


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 1

สุขศึกษา (เฉพาะชั้น ม.4-6)*

การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย

มาตรฐาน พ 1.1 เขาใจธรรมชาติของการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

1. อธิบาย • กระบวนการสรางเสริม กระบวนการสราง และดํารงประสิทธิภาพ เสริมและดํารง การทํางานของระบบ ประสิทธิภาพ อวัยวะตางๆ การทํางาน - การทํางานของระบบ ของระบบ อวัยวะตางๆ อวัยวะตาง ๆ - การสรางเสริมและ ดํารงประสิทธิภาพ ของอวัยวะตางๆ (อาหาร การออกกําลังกาย นันทนาการ การตรวจสุขภาพ ฯลฯ) 2. วางแผนดูแล • การวางแผนดูแล สุขภาพตามภาวะ สุขภาพของตนเองและ การเจริญเติบโต บุคคลในครอบครัว และพัฒนาการ ของตนเองและ บุคคลในครอบครัว

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน ชั้น ม.4

ชั้น ม.5

ชั้น ม.6

• หนวยการเรียนรูท ี่ 1 • หนวยการเรียนรูท ี่ 1 • หนวยการเรียนรูท ี่ 1 การทํางานของ ระบบหายใจ ระบบ ระบบประสาท ระบบผิวหนัง ไหลเวียนโลหิต ระบบสืบพันธุ และ ระบบกระดูก และระบบขับถาย ระบบตอมไรทอ และระบบ กลามเนือ้

• หนวยการเรียนรูท ี่ 2 • หนวยการเรียนรูท ี่ 2 การวางแผนดูแล การวางแผนดูแล สุขภาพของตนเอง สุขภาพของตนเอง และครอบครัว และครอบครัว

เสร�ม

9

-

หมายเหตุ : สําหรับสาระที่ 3 จะอยูในหนังสือเรียนพลศึกษา ม.5 ของ อจท. _________________________________ * สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา. (กรุงเทพมหานคร : ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 7-47.

คูม อื ครู


สาระที่ 2

ชีวิตและครอบครัว

มาตรฐาน พ 2.1 เขาใจและเห็นคุณคาตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทักษะในการดําเนินชีวิต ตัวชี้วัด

เสร�ม

10

1. วิเคราะหอิทธิพล ของครอบครัว เพื่อน สังคม และ วัฒนธรรมที่มี ผลตอพฤติกรรม ทางเพศและ การดําเนินชีวิต 2. วิเคราะหคานิยม ในเรื่องเพศ ตาม วัฒนธรรมไทย และวัฒนธรรม อื่นๆ 3. เลือกใชทักษะ ที่เหมาะสมใน การปองกัน ลดความขัดแยง และแกปญหา เรื่องเพศและ ครอบครัว

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ชั้น ม.5

ชั้น ม.6

• อิทธิพลของครอบครัว • หนวยการเรียนรูท ี่ 3 เพื่อน สังคม และ พฤติกรรมทางเพศ วัฒนธรรมที่มีตอ และการดําเนินชีวติ พฤติกรรมทางเพศ และ การดําเนินชีวิต

-

-

• คานิยมในเรื่องเพศ • หนวยการเรียนรูท ี่ 4 ตามวัฒนธรรมไทยและ คานิยมทางเพศกับ วัฒนธรรมอื่นๆ วัฒนธรรม

-

-

-

• หนวยการเรียนรูท ี่ 3 ทักษะในการ ปองกัน ลดความ ขัดแยงและ แกปญ หาเรือ่ งเพศ และครอบครัว

-

• หนวยการเรียนรูท ี่ 5 สัมพันธภาพ ระหวางนักเรียน หรือเยาวชนใน ชุมชน

-

-

• แนวทางในการเลือกใช ทักษะตางๆ ในการ ปองกัน ลดความขัดแยง และแกปญ หาเรือ่ งเพศ และครอบครัว - ทักษะการสื่อสารและ สรางสัมพันธภาพ - ทักษะการตอรอง - ทักษะการปฏิเสธ - ทักษะการคิดวิเคราะห - ทักษะการตัดสินใจ และแกไขปญหา ฯลฯ 4. วิเคราะหสาเหตุ • ความขัดแยงที่อาจ และผลของ เกิดขึ้นระหวางนักเรียน ความขัดแยง หรือเยาวชนในชุมชน ที่อาจเกิดขึ้น - สาเหตุของความ ระหวางนักเรียน ขัดแยง หรือเยาวชนใน - ผลกระทบที่เกิดจาก ชุมชน และเสนอ ความขัดแยงระหวาง แนวทางแกไข นักเรียน หรือ ปญหา เยาวชนในชุมชน - แนวทางในการ แกปญหาที่อาจ เกิดจากความขัดแยง ของนักเรียนหรือ เยาวชนในชุมชน

คูม อื ครู

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน ชั้น ม.4


สาระที่ 4

การสรางเสริมสุขภาพ สมรรถภาพและการปองกันโรค

มาตรฐาน พ 4.1 เห็นคุณคาและมีทักษะในการสรางเสริมสุขภาพ การดํารงสุขภาพ การปองกันโรค และการสรางเสริม สมรรถภาพเพื่อสุขภาพ ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

1. วิเคราะหบทบาท และความ รับผิดชอบของ บุคคลที่มีตอ การสรางเสริม สุขภาพและ การปองกันโรค ในชุมชน 2. วิเคราะห อิทธิพล ของสื่อโฆษณา เกี่ยวกับสุขภาพ เพื่อการเลือก บริโภค 3. ปฏิบัติตนตาม สิทธิของผูบริโภค

• บทบาทและความ รับผิดชอบของบุคคล ที่มีตอการสรางเสริม สุขภาพและการปองกัน โรคในชุมชน

4. วิเคราะหสาเหตุ และเสนอแนวทาง การปองกันการ เจ็บปวยและการ ตายของคนไทย 5. วางแผนและ ปฏิบัติตาม แผนการพัฒนา สุขภาพของ ตนเองและ ครอบครัว

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน ชั้น ม.4

ชั้น ม.5

ชั้น ม.6

-

-

• หนวยการเรียนรูท ี่ 2 การสรางเสริม สุขภาพและ การปองกันโรค ในชุมชน

-

• หนวยการเรียนรูท ี่ 4 สือ่ โฆษณากับ สุขภาพ

• อิทธิพลของสื่อโฆษณา เกี่ยวกับสุขภาพ • แนวทางการเลือก บริโภคอยางฉลาด และปลอดภัย • สิทธิพื้นฐานของ ผูบริโภคและกฎหมาย ที่เกี่ยวของกับการ คุมครองผูบริโภค • สาเหตุของการเจ็บปวย และการตายของคนไทย เชน โรคจากการ ประกอบอาชีพ โรคทางพันธุกรรม • แนวทางการปองกัน การเจ็บปวย • การวางแผนการพัฒนา • หนวยการเรียนรูท ี่ 2 สุขภาพของตนเอง การวางแผนดูแล ครอบครัว สุขภาพของตนเอง และครอบครัว

เสร�ม

11

• หนวยการเรียนรูท ี่ 4 • หนวยการเรียนรูท ี่ 4 สิทธิผบู ริโภค สือ่ โฆษณากับ สุขภาพ • หนวยการเรียนรูท ี่ 5 การเจ็บปวยและ การตายของ คนไทย

-

-

-

คูม อื ครู


ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

6. มีสวนรวมใน • การมีสวนรวมในการ การสงเสริมและ สงเสริมและพัฒนา พัฒนาสุขภาพ สุขภาพของบุคคล ของบุคคลใน ในชุมชน ชุมชน 7. วางแผนและ • การวางแผนพัฒนา ปฏิบัติตาม สมรรถภาพทางกาย แผนการพัฒนา และสมรรถภาพกลไก สมรรถภาพกาย และสมรรถภาพ กลไก

เสร�ม

12

สาระที่ 5

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน ชั้น ม.4

ชั้น ม.5

ชั้น ม.6

• หนวยการเรียนรูท ี่ 2 การสรางเสริม สุขภาพและ การปองกันโรค ในชุมชน • หนวยการเรียนรูท ี่ 6 สมรรถภาพทาง กายและทางกลไก

-

-

-

ความปลอดภัยในชีวิต

มาตรฐาน พ 5.1 ปองกันและหลีกเลี่ยงปจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงตอสุขภาพ อุบัติเหตุ การใชยา สารเสพติด และความ รุนแรง ตัวชี้วัด

1. มีสวนรวมในการ ปองกันความ เสี่ยงตอการใชยา การใชสารเสพติด และความรุนแรง เพื่อสุขภาพของ ตนเอง ครอบครัว และสังคม 2. วิเคราะหผล กระทบที่เกิดจาก การครอบครอง การใชและ การจําหนาย สารเสพติด

คูม อื ครู

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน ชั้น ม.4

ชั้น ม.5

ชั้น ม.6

• การจัดกิจกรรมปองกัน • หนวยการเรียนรูท ี่ 6 ความเสี่ยงตอการใชยา การใชยาและ สารเสพติด และความ สารเสพติด รุนแรง

-

-

• การวิเคราะหผลกระทบ • หนวยการเรียนรูท ี่ 6 ทีเ่ กิดจากการครอบครอง การใชยาและ การใชและการจําหนาย สารเสพติด สารเสพติด (ตนเอง ครอบครัว เศรษฐกิจ สังคม) • โทษทางกฎหมายที่เกิด จากการครอบครอง การใชและการจําหนาย สารเสพติด

-

• หนวยการเรียนรูท ี่ 3 สารเสพติด


ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

3. วิเคราะหปจจัยที่ มีผลตอสุขภาพ หรือความรุนแรง ของคนไทยและ เสนอแนวทาง ปองกัน 4. วางแผน กําหนด แนวทางลด อุบัติเหตุ และ สรางเสริมความ ปลอดภัยใน ชุมชน 5. มีสวนรวมใน การสรางเสริม ความปลอดภัยใน ชุมชน 6. ใชทักษะการ ตัดสินใจ แกปญหาใน สถานการณที่ เสี่ยงตอสุขภาพ และความรุนแรง 7. แสดงวิธีการชวย ฟนคืนชีพอยาง ถูกวิธี

• ปจจัยที่มีผลตอสุขภาพ ของคนไทยและเสนอ แนวทางปองกัน

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน ชั้น ม.4

ชั้น ม.5

ชั้น ม.6

-

• หนวยการเรียนรูท ี่ 7 ปจจัยทีม่ ผี ลตอ ความรุนแรงของ คนไทย

-

เสร�ม

13

• การวางแผน กําหนด แนวทางลดอุบัติเหตุ และสรางเสริมความ ปลอดภัยในชุมชน

-

-

• หนวยการเรียนรูท ี่ 5 การสรางเสริม ความปลอดภัย ในชุมชน

• กิจกรรมการสรางเสริม ความปลอดภัยในชุมชน

-

-

• ทักษะการตัดสินใจ • หนวยการเรียนรูท ี่ 7 แกปญ หาในสถานการณ ความรุนแรงใน ที่เสี่ยงตอสุขภาพ สังคม

-

• หนวยการเรียนรูท ี่ 5 การสรางเสริม ความปลอดภัย ในชุมชน -

• หนวยการเรียนรูท ี่ 8 การชวยฟน คืนชีพ

-

-

• วิธีการชวยฟนคืนชีพ อยางถูกวิธี

คูม อื ครู


จุดเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน* การขับเคลื่อนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 และการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษ ที่สอง (พ.ศ. 2552-2561) ใหประสบผลสําเร็จตามจุดเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน โดยใหทุกภาคสวน รวมกันดําเนินการ กระทรวงศึกษาธิการไดกําหนดจุดเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน ดังนี้ เสร�ม

14

ทักษะ ความสามารถ

คุณลักษณะ จุดเนนตามชวงวัย

ม. 4-6

แสวงหาความรู เพื่อแกปญหา ใชเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู ใชภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) มีทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

ม. 1-3

แสวงหาความรูดวยตนเอง ใชเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู มีทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

• อยูอยางพอเพียง

ป. 4-6

อานคลอง เขียนคลอง คิดเลขคลอง ทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

• ใฝเรียนรู

ป. 1-3

อานออก เขียนได คิดเลขเปน มีทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

• ใฝดี

• มุงมั่นในการศึกษา และการทํางาน

คุณลักษณะตามหลักสูตร

• รักชาติ ศาสน กษัตริย • ซื่อสัตยสุจริต • มีวินัย • ใฝเรียนรู • อยูอยางพอเพียง • มุงมั่นในการทํางาน • รักความเปนไทย • มีจิตสาธารณะ

* สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. แนวทางการนําจุดเนนการพัฒนาผูเรียน สูการปฏิบัติ. (กรุงเทพมหานคร : ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2553), หนา 3-10.

คูม อื ครู


คําอธิบายรายวิชา รายวิชา สุขศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 รหัสวิชา พ…………………………………

กลุมสาระการเรียนรู สุขศึกษาและพลศึกษา ภาคเรียนที่ 1-2 เวลา 40 ชั่วโมง/ป

ศึกษา วิเคราะห และอธิบายกระบวนการสรางเสริมและดํารงประสิทธิภาพการทํางานของระบบหายใจ ระบบไหลเวียนโลหิต ระบบยอยอาหาร และระบบขับถาย วางแผนดูแลสุขภาพตามภาวะการเจริญเติบโตและ เสร�ม พัฒนาการของตนเองและบุคคลในครอบครัว ปฏิบตั ติ ามแผนการพัฒนาสมรรถภาพทางกายและสมรรถภาพทาง 15 กลไก เลือกใชทักษะที่เหมาะสมในการปองกัน ลดความขัดแยง และแกปญหาเรื่องเพศและครอบครัว ปฏิบัติตน ตามสิทธิผบู ริโภค วิเคราะหสาเหตุการเจ็บปวยและการตายของคนไทย ปจจัยทีม่ ผี ลตอสุขภาพหรือความรุนแรง ของคนไทยและเสนอแนวทางปองกัน โดยใชกระบวนการคิด กระบวนการเรียนรูแบบรวมมือ กระบวนการสืบคนขอมูล กระบวนการปฏิบัติ และ กระบวนการกลุม เพือ่ ใหเกิดความรูค วามเขาใจ นําหลักการ แนวคิดไปปรับปรุง ปฏิบตั ใิ นการดูแลรักษาและพัฒนาคุณภาพ ชีวิตของตนเองและครอบครัว มีคุณธรรมจริยธรรม และมีคุณลักษณะอันพึงประสงคในดานความรักชาติ ศาสน กษัตริย ซื่อสัตยสุจริต มีวินัย ใฝเรียนรู มุงมั่นในการทํางาน มีจิตสาธารณะ รักความเปนไทย ตัวชี้วัด พ 1.1 พ 2.1 พ 4.1 พ 5.1

ม.4-6/1 ม.4-6/2 ม.4-6/3 ม.4-6/3 ม.4-6/4 ม.4-6/7 ม.4-6/3

รวม 7 ตัวชี้วัด

คูม อื ครู


ตาราง

วิเคราะหมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั รายวิชา สุขศึกษา ม.5

คําชี้แจง : ใหผูสอนใชตารางนี้ตรวจสอบความสอดคลองของเนื้อหาสาระการเรียนรูในหนวยการเรียนรูกับมาตรฐาน การเรียนรูและตัวชี้วัดชวงชั้น เสร�ม

16

สาระที่ 2 มาตรฐานการเรียนรู สาระที่ 1 มาตรฐาน และตัวชี้วัด มาตรฐาน พ 1.1 พ 2.1 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด หนวยการเรียนรู 1 2 1 2 3 4 หนวยการเรียนรูที่ 1 : ระบบหายใจ ระบบไหลเวียน โลหิตระบบยอยอาหาร และ ระบบขับถาย หนวยการเรียนรูที่ 2 : การวางแผนดูแลสุขภาพของ ตนเอง และครอบครัว หนวยการเรียนรูที่ 3 : ทักษะในการปองกัน ลด ความขัดแยงและแกปญหา เรื่องเพศและครอบครัว หนวยการเรียนรูที่ 4 : สิทธิผูบริโภค หนวยการเรียนรูที่ 5 : การเจ็บปวยและการตาย ของคนไทย หนวยการเรียนรูที่ 6 : สมรรถภาพทางกายและ ทางกลไก

สาระที่ 4 มาตรฐาน พ 4.1 ตัวชี้วัด 1

2

3

4

สาระที่ 5 มาตรฐาน พ 5.1 ตัวชี้วัด 5

6

7

2

3

หนวยการเรียนรูที่ 7 : ปจจัยที่มีผลตอความรุนแรง ของคนไทย

หมายเหตุ ✓ เฉพาะที่สอดคลองกับตัวชี้วัด ม.5 เทานั้น ตัวชี้วัดที่เหลือจะจัดการเรียนการสอนในชั้น ม.4 และ ม.6 สาระที่ 3 อยูในหนังสือเรียนพลศึกษา ม.5

คูม อื ครู

1

4

5

6

7


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹

สุขศึกษา ม.๕ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๕

กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

ผูเรียบเรียง

รศ. ดร. พรสุข หุนนิรันดร รศ. ดร. ประภาเพ็ญ สุวรรณ ผศ. ดร. สุรียพันธุ วรพงศธร ดร. อนันต มาลารัตน

ผูตรวจ

ผศ. ดร. ทรงพล ตอนี ผศ. รัตนา เจริญสาธิต นางสาวกัญจนณัฏฐ ตะเภาพงษ

บรรณาธิการ

รศ. ดร. จุฬาภรณ โสตะ นายสมเกียรติ ภูระหงษ พิมพครั้งที่ ๖

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ รหัสสินคา ๓๕๑๔๐๐๓

¤Œ¹¤ÇÒÁÃÙŒ¢ÂÒ¤ÇÒÁ¤Ô´¨Ò¡ ¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè 1 ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ 3544005

EB GUIDE

ที่พิมพกํากับหัวขอสําคัญในหนังสือเรียนหลักสูตรแกนกลางฯ ผาน www.aksorn.com ไปยังแหลงความรูทั่วไทย-ทั่วโลก

คณะผูจัดทําคูมือครู เบญจพร ทองมาก ธงชัย หวลถึง


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

อธิบายความรู

Explore

ขยายความเขาใจ

Explain

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

¤íÒá¹Ð¹íÒ㹡ÒÃ㪌˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน สุขศึกษาเลมนี้ ใชประกอบการเรียนการสอนรายวิชาพื้นฐาน กลุม สาระการเรียนรูส ขุ ศึกษาและพลศึกษา ชัน้ มัธยมศึกษาปที่ ๕ เนื้อหาตรงตามสาระการเรียนรูแกนกลางขั้นพื้นฐาน อานทําความเขาใจงาย ใหทั้งความรูและ ชวยพัฒนาผูเรียนตามหลักสูตรและตัวชี้วัด เนื้อหาสาระแบงออกเปนหนวยการเรียนรูตามโครงสรางรายวิชา สะดวกแกการจัดการเรียนการสอนและการวัดผลประเมินผล พรอมเสริมองคประกอบอื่นๆ ที่จะชวยทําให ผูเ รียนไดรบั ความรูอ ยางมีประสิทธิภาพ à¹×éÍËҵçµÒÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹Ãٌ᡹¡ÅÒ§

µÑǪÕÇé ´Ñ áÅÐÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙጠ¡¹¡ÅÒ§Ï µÒÁ·ÕËè ÅÑ¡Êٵà ¨Ñ´¡ÅØ‹Áà¹×éÍËÒ໚¹Ë¹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ¡íÒ˹´ à¾×èÍãËŒ·ÃÒº¶Ö§à»‡ÒËÁÒÂ㹡ÒÃÈÖ¡ÉÒ Êдǡᡋ¡ÒèѴ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹

ó ·Ñ¡ÉÐ㹡Òû‡Í§¡Ñ¹

áÅÐá¡»Œ Þ ˜ ËÒàÃ×Íè §àž´¤ÇÒÁ¢Ñ´áÂŒ§ ÈáÅФÃͺ ¤ÃÑÇ ตัวชี้วัด ■

เลือกใชทกั ษะท ลดความขดั แย เี่ หมาะสมในการปองกัน  และครอบคร ง และแกปญ ัว (พ ๒.๑ ม.๔-หาเรอื่ งเพศ ๖/๓)

สาระการเรียนรู

แกนกลาง

แนวทางในกา การปองกัน รเลือกใชทกั ษะตา งๆ ใน ลดค ปญหาเรื่องเพศ วามขัดแยง และแก - ทักษะการสื และครอบครัว ่อสารและสร าง สัมพันธภา - ทักษะการตพ - ทักษะการป อรอง - ทักษะการคิ ฏิเสธ ด วิ - ทักษะการตั เคราะห ดสินใจ และ แก ฯลฯ ไขปญหา ■

ธรรมชาติของมน

ุษยเกิดมาพร กับสิ่งแวดล อมกับความ อมภ ขัดแยงภายใน ทีร่ า ยแรงไปเส ายนอก จึงควรตองท ตนเอง แล ําคว ยี ะมีความขัด ตางๆ เชน ทั ทุกเรือ่ ง ซึง่ ความขัดแย ามเขาใจเรื่องความขัด แยง แยง กษะ ง สา การคดิ วิเคร การสอื่ สารและสรา งส มารถบรหิ ารจดั การได วาไมใชประเด็นปญหา  ดวยการปลู มั พันธภาพ าะห ทักษะกา ทักษะการต กฝงทักษะชี รตดั สินใจแ ดังนั้น การจ อ  วติ รอ ละ แก ง ทั ไ  ขปญ กษะการปฏิ ัดการความ  หา เปนต การกระทํา เ สธ ขั น ด ทั แย เพื ก ษะ อ ่  ง ลดความขัด ดวยสันติวิธ เพื่อแกปญ แยง ใหมนี อ หาโดยไมใช ี โดยการป เปนการเปลี ยลง ความรุน ลูกฝงทัก ่ยนพ บีบบังคับ เพื ฤติกรรมที่ไมถูกตองห แรง หรือถาอธิบายในม ษะชีวิตตางๆ จึงเปน รื ่อคุณภาพช ุมมองของสั ีวิตและสัมพั อไมชอบธรรมของอีก นติวิธี ก็คือ ฝาย โดยไม นธภาพที่ด ทําราย ขม ีสืบไป ขู หรือ

Design ˹ŒÒẺãËÁ‹ ÊǧÒÁ ¾ÔÁ¾ ô ÊÕ µÅÍ´àÅ‹Á ª‹ÇÂãˌ͋ҹࢌÒã¨ä´Œ§‹ÒÂ

ของระบบหายใจ

ควรออกก�ำลังกำยให้เหมำะสมตำมวั ย จะช่วยท�ำให้ร่ำงกำยแข็งแรง มีรูป เป็นประจ�ำอย่ำงน้อยสัปดำห์ละ 3 วัน วันละประมำณ ๓๐ นำที ซึ ่งกำรออกก�ำลังกำย ร่ำงสมส่วน

๑.๑ องคประกอบ านเขาออกในรางกาย ซึ่งประกอบไปดวย ระบบหายใจเปนกระบวนการหายใจที่ใหอากาศผ ายใจเขา-ออก ไดแก จมูก ปาก หลอดคอ อวัยวะ ๒ สวน คือ สวนที่เปนทางผานของลมห ่ยนแกส ไดแก ปอด โดยอวัยวะในแตละ เปลี นการแลก ใ ่ ที า หน า ํ ท ่ นที ว และส หลอดเสียง หลอดลม สวนก็จะทําหนาที่แตกตางกันออกไป ดังแผนภาพ

อ.๓ อารมณ์

อำรมณ์จะมีควำมสัมพันธ์กับสุขภำพมำก ไปด้วย แต่ในทำงตรงกันข้ำม หำกมี ซึ่งหำกมีอำรมณ์ดี ก็จะส่งผลท�ำให้กำรท�ำงำนของระบบต่ำงๆ ในร่ำงกำยดีตำม อ อำหำรไม่ย่อย นอนไม่หลับ เครีย ำรมณ์ไม่ดี ก็จะมีผลเสียต่อสุขภำพและอำจก่อให้เกิดควำมผิดปกติ ด เป็นต้น ต่อร่ำงกำยได้ เช่น

อ.๔ อนามัยชุมชน

สภำพแวดล้อมมีผลต่อสุขภำพอนำม ยั ของบุคคล โดยเรมิ่ ตัง้ แต่สภำพแวดล ที่ดี คือ มีกำรท�ำควำมสะอำด ถู อ้ มภำยในบำ้ น หำกสภำพแวดล้อ กสุขลักษณะ อำกำศถ่ำยเทสะดว ก ก็ย่อมส่งผลให้ทั้งตนเองและสมำชิ มด้งั กล่ำวมีสภำวะ สุขภำพที่ดีด้วย กภำยในครอบครัวมี

บบหายใจ

แผนภาพแสดงกระบวนการทํางานของระ

ตรงยาว หลอดคอ (Pharynx ) เป น หลอดตั้ ง  อ งจมู ก ประมาณ ๕ นิ้ ว ติ ด ต อ ทั้ ง ช อ งปากและช บ หลอดอาหา ร ทํ า หน า ที่ เ ป น ตั ว แยกระหว า งหลอดลมกั ยกระดู ก อ อ น ซึ่ ง โครงสร า งของหลอด คอประกอบ ด ว หรือ ๙ ชิ้น โดยชิ้นที่ใหญที่สุด คือ กระดูกธัยรอยด ที่เราเรียกวา “ลูกกระเดือก” (Adam’s apple)

ตรง จมู ก (Nose) เป น ส ว นที่ ยื่ น ออกมาจาก ่ยม กึ่ ง กลางของใบ หน า มี ลั ก ษณะเป น รู ป สามเหลี ก พี ร ะมิ ด ภายในรู จ มู ก จะมี เ ยื่ อ บุ จ มู ก และขนจมู าไปและ ทําหนาที่เปนทางผานของอากาศที่หายใจเข กรองฝุนละออง

หลอดเสี ย ง (Larynx) อยู  ติ ด ใตหลอดคอ ขณะกลืนอาหารหรือเครื่อง ดื่มจะมีแผนเนื้อเยื่อขนาดเล็ก ที่เรียกวา “ฝากลองเสียง” คอยปดหลอดลมเพื่อ ไมใหอาหารลงไปผิดชอง

หลอดลม (Trachea) เป น สวนที่ตอจากหลอดเสียงยาวลงไป ในทรวงอก ลั ก ษณะรู ป ร า งของ หลอดลมเปนหลอดกลมๆ ประกอบ ดวยกระดูกออนรูปวงแหวนวางอยู ทางดานหลังหลอดลมทําใหหลอดลม เปดอยูตลอดเวลา ไมแฟบเขาหา กันโดยแรงดันจากภายนอก สงผลให อากาศเขาไดตลอดเวลา

ภายในปอดจะ ปอด (Lang) ถูกหอหุมดวยกระดูกซี่โครง ออกซิเจนกับแกส มีถุงลม ซึ่งทําหนาที่ในการแลกเปลี่ยนแกส คารบอนไดออกไซด

EB GUIDE

http://www.aksorn.com/LC/He/M5/01

อ.๔ อนามัยชุมชน

ควำมไม่มีโรค ควบคู่กับควำมไม่ ประมำท ถือเป็นลำภอันประเสริฐ ที่ส่งผลให้มีสุขภำพดี ท�ำให้สำมำรถท� ต่ำงๆ ได้อย่ำงมีประสิทธิภำพและมี ำงำนหรือกิจกรรม ควำมสุขในกำรด�ำรงชีวิตได้ดียิ่งขึ ้น จำกหลักกำร ๕ อ. ที

่ได้กล่ ตนเองและครอบครัว เพื่อกำรมีส ำวมำข้ำงต้นนี้ นักเรียนสำมำรถน�ำไปปรับใช้ในกำรวำงแผนดูแลสุ ุขภำพและคุณภำพชีวิตที่ดีต่อไป ขภำพของทั้ง

๓. การวิเคราะห์เพื่อการวางแผ นดูแลสุขภาพของตนเอง และครอบครัว

ทอปสสาวะ (Urethra) เปนสวน ที่ตอจากกระเพาะปสสาวะ เพื่อนํานํ้า ปสสาวะออกสูภายนอก

ลผานไตและหนวย การทํางานของระบบขับถายปสสาวะจะเริ่มขึ้นเมื่อโลหิตหรือพลาสมาไห เขาไปใชใหมใน ละนํ้าบางสวนกลับ ไต ซึ่งในบริเวณนี้จะมีการกรองและดูดซึมสารที่มีประโยชนแ นรูปของ ออกจากไตใ ต ผลิ ก นจะถู ว บางส า ้ ละนํ แ รางกาย ในขณะที่สารซึ่งรางกายไมไดใชประโยชน ปสสาวะ และถูกขับออกมาจากไตไปเก็บยัง กระเพาะปสสาวะผานทอไต เมื่อปริมาณของ นํ้าปสสาวะในกระเพาะปสสาวะมากพอ ระบบ ประสาททีค่ วบคุมการขับถายปสสาวะจะกระตนุ ให ร  า งกายมี ก ารขั บ นํ้ า ป ส สาวะออกม าทาง ทอปสสาวะตอไป เมื่อรางกายของคนเรานํา นํา้ เขาไปสูร า งกายนอย จะสงผลใหการทํางาน ของระบบขับถายปสสาวะดอยประสิทธิภาพลง เพราะไตจะไมมีนํ้าที่นําเขาไปใหขับออกมา จึง ตองใชนาํ้ ในรางกาย ซึง่ อาจเปนนํา้ เลือดทีไ่ ตดึง ออกมาเพื่อจะไดมีการขับถายที่ปกติ ดังนั้นเรา การดื่มนํ้าจะชวยใหรางกายขับถายของเสียออกมา แต จึงเห็นวาปสสาวะที่ขับออกมาจะสีเหลืองเขม ถาดืม่ นํา้ ในปริมาณทีน่ อ ยกวาความตองการของรางกาย

๓๑

¤íÒ¶ÒÁ»ÃШíÒ˹‹Ç à¾×èÍãËŒ¹Ñ¡àÃÕ¹䴌½ƒ¡¤Ô´áÅÐ ·º·Ç¹¤ÇÒÁÃÙŒ áÅСԨ¡ÃÃÁÊÌҧÊÃä ¾Ñ²¹Ò¡Òà àÃÕ¹ÃÙŒ à¾×èͪ‹Ç¾Ѳ¹Ò¼ŒÙàÃÕ¹ãËŒºÃÃÅؼÅÊÑÁÄ·¸Ôì µÒÁµÑǪÕéÇÑ´

àÊÃÔÁÊÒÃШҡà¹×Íé Ëҹ͡à˹×ͨҡ ·ÕÁè ãÕ ¹ÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙጠ¡¹¡ÅÒ§ à¾×Íè à¾ÔÁè ¾Ù¹áÅТÂÒ¾ÃÁá´¹¤ÇÒÁÃÙ㌠ˌ ¡ÇŒÒ§¢ÇÒ§ÍÍ¡ä»

¤Ò¶ÒÁ»ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ

กิดการ แยลง สงผลใหเ ของประชากรให ขึ้น จึงทําใหสุขภาพ พื่อสุขภาพที่ดี ตามวิธีตอไปนี้ จจุบันเรงรีบมาก ลตัวเองเ แ ู มาด น ั วิถีชีวิตในสังคมป วรห ้น เราค นตน รายเพิ่มขึ้น ดังนั หนัง ฟงเพลง เป ืมตัว เสียชีวิตจากโรค น อานหนังสือ ดู อดิเรกที่เรารัก เชวนดีใจ เสียใจ หรือขาดสติโกรธจนล ด จิต ■ ทํางาน ๑. ใสใจสุขภาพ ียด ■ ฝกควบคุมอารมณ ไมมใส มีอารมณขัน แจ ลดความเคร ทําจิ​ิตใจใหราเริง ■ งานยากวาเปน พักผอนใหเพียงพอลายๆ แงมุม เชน มองงานหนัก ■ รูจักมองโลกในห มารถ ■ มสา ควา ทาย า การท - ๑๐ แกว ้าสะอาดวันละ ๘ รรม ■ ดื่มนํงอาหารติดมัน อาหารทอดกรอบ ัม ๒. สรางพฤติก เลี่ย ■ ไดวันละครึ่งกิโลกรลูกเดือย ขาวโพด ห ใ ม ผลไ การกินที่ดี และ ก ือง ผั อ กิน ■ าหู และนมถั่วเหล ช เชน ขาวซอมมื เลือกบริโภคธัญพืสัตวไรไขมัน นมไขมันตํ่า ปลา เต ■ เลือกบริโภคเนื้อ ■ งกายที​ี่งายที่สุด ลั า ํ อกก อ ี ธ วิ น เป าะการเดิน ๔ ครั้งขึ้นไป เดินใหมากขึ้น เพรางตํ่าครั้งละ ๓๐ นาที อาทิตยละนอิรยิ าบทเพือ่ ผอนคลาย ■ ๓. สรรหาเวลา ออกกําลังกายอยกนอยทีโ่ ตะทํางาน โดยการเปลยี่ ■ ออกกําลังกาย ตนไม ออกกําลังกายเล็ ■ น ถูบาน รดนํ้า า ดบ กวา อ ้ ื น กลามเน เองใหมากขึ้น เช นาทีขึ้นไป ทํางานบานดวยตนองแคลว ตอเนื่องกัน ตั้งแต ๒๐ ■ คล โดยตองทําแบบ

หนไี กลโรค

 ธัญพืชอยูเสมอ

บประทานผัก ผลไม

ปนประจําและการรั

การออกกําลังกายเ หางไกลโรค

จากการศึกษาปัญหาสุขภาพใน ปัจจุบ ส่วนใหญ่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพขอ ัน พบว่าสาเหตุหรือปัจจัยที่ก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพ งบุคคลเป็นส�าคัญ เช่น ปัญหาเรือ่ งโรคอ้ วน ซึง่ สาเหตกุ เ็ กิด จากพฤติกรรมของการขาดการออกก� าลังกายที่เหมาะสม และพฤติกรรมกา รรับประทานอาหารที่ ไม่ถูกต้องง ดังนั้น หากต้องการที่จะพัฒนาตนเ องและบุคคลในครอบครัวให้มีสุขภาพท จะต้องมีการพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพข ี่ดี ก็จ�าเป็นที่ องตนเองและบุคคลในครอบครัวให้ เอื้อต่อวิถีชีวิตเพื่อ การสร้างเสริมสุขภาพมากขึ้น โดยม ีเป้าหมายเพื่อการมีสุขภาพอนามัยที ่สมบูรณ์

สุขภาพดี

ทอไต (Ureters) มี ๒ ทอ ตอจาก ไตขางละทอ จะนําปสสาวะที่ไหลจากไต ไปยังกระเพาะปสสาวะ

๔.๒ กระบวนการทํางานของระบบขับถายปสสาวะ

๒๒

ควรรับประทำนอำหำรที่ปรุงสุกสะอำด ป ลอดสำรพิษ หลีกเลี่ยงกำรรับประทำนอ ของกำรเกิดโรคต่ำงๆ ำหำรประเภทไขมันและแป้ง ซึ่งเป็ นสำเหตุ

อ.๒ ออกก�าลังกาย

เสริมสาระ

ถายปสสาวะ แผนภาพแสดงองคประกอบและหนาทีข่ องระบบขับ

ไตจะไมสามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ

หลัก ๕ อ. เพื่อสุขภาพ และคุ ณภาพชีวิตที่ดี หลัก ๕ อ. นับเป็นหลักส� ชุมชน เพื่อกำรมีคุณภำพชีวิตที่ด ำคัญในกำรสร้ำงสุขภำพ ซึ่งสำมำรถน�ำมำใช้ในกำรดูแลตนเอง ครอบค ีได้ โดยหลัก ๕ อ. ประกอบด้วย รัว และ อ.๑ อาหาร

เจน ซึ่งไดมาจากระบบหายใจเขา-ออก การดํารงชีวิตของมนุษยจําเปนตองอาศัยแกสออกซิ ใจจึงเปนกระบวนการสําคัญที่มีหนาที่ใน แลกเปลี่ยนอากาศกับสิ่งแวดลอมภายนอก ระบบหาย ไซดระหวางเลือดกับอากาศ โดยแกส อนไดออก บ คาร ส  การชวยแลกเปลี่ยนแกสออกซิเจนและแก ผลาญสารอาหารใหออกมาเปนพลังงาน เพื่อ ออกซิเจนที่ไดจะเปนสวนหนึ่งของกระบวนการเผา ซึ่งเปนอากาศที่ใชหายใจก็จะทําใหเสียชีวิตได ใชในการดํารงชีวิต ถารางกายขาดแกสออกซิเจน

Web Guide á¹Ð¹íÒáËÅ‹§¤Œ¹¤ÇŒÒ¢ŒÍÁÙÅ à¾ÔèÁàµÔÁ¼‹Ò¹Ãкº Online

à¡ÃÔè¹¹íÒà¾×èÍãˌࢌÒ㨶֧ÊÒÃÐÊíÒ¤ÑÞ ã¹Ë¹‹Ç·Õè¨ÐàÃÕ¹

กระเพาะป ส สาวะ (Urinary bladder) มีหนาที่รับนํ้าปสสาวะที่ กรองมาจากไตและเปนที่พักชั่วคราว กลไกการขั บ ถ า ยจะขึ้ น อยู  กั บ ระบบ ประสาทอัตโนมัติ

à¡Ãç´¹‹ÒÃÙŒà¾ÔèÁàµÔÁ¨Ò¡à¹×éÍËÒ ÁÕá·Ã¡à»š¹ÃÐÂÐæ

เกร็ดน่ารู้

ñ. ÃкºËÒÂ㨠(Respiratory system)

หน ว ยที่

ไต (Kidneys) มี ๑ คู คลายเม็ดถั่ว จะอยู ๒ ขางของกระดูกสันหลังบริเวณ เหนือเอว มีหนาที่สกัดของเสียออกจาก เลือด ควบคุมสมดุลนํ้า รักษาความเปน กรด-ดาง ผลิตฮอรโมนและสารบาง ชนิด และกักเก็บสารที่มีประโยชน

ãËŒ¤ÇÒÁÃÙŒáÅÐàÍ×é͵‹Í¡ÒùíÒä»ãªŒÊ͹à¾×èÍ ãËŒºÃÃÅصÑǪÕéÇÑ´ áÅÐÊÌҧ¤Ø³ÅѡɳРÍѹ¾Ö§»ÃÐʧ¤

๑. ความรุนแรงหมายถึงอะไร ความรุนแรงที่มักเกิดขึ้นและพบไดบอยในสังคมไทย มีอะไรบาง ๒. ใหนักเรียนยกตัวอยางปญหาความรุนแรงมา ๑ ปญหา แลวอธิบายถึงสาเหตุที่เกิดขึ้นพรอมทั้ง วิเคราะหหาแนวทางแกไข ๓. การกระทําใดบางที่ถือวาเปนการทํารายเด็ก ทํารายคูสมรส และทํารายผูสูงอายุ ๔. ปจจัยใดบางที่มีผลตอการเกิดความรุนแรงของคนไทย จงอธิบาย ๕. ใหนกั เรียนบอกแนวทางปองกันและแกไขปญหาความรุนแรงของคนไทย พรอมทัง้ ระบุดว ยวาแนวทาง ดังกลาวชวยลดปญหาความรุนแรงใดบาง

¡Ô¨¡ÃÃÁÊÌҧÊÃä ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ

ข็งแรง ขภาพของเราใหแ

จะชวยเสริมสรางสุ

๙๕ ๑๓๔

กิจกรรมที่

กิจกรรมที่

กิจกรรมที่

ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ ๓ คน สืบคนขอมูลเกี่ยวกับขาวความรุนแรงที่ มักเกิดขึ้นและพบไดบอยในสังคมไทย กลุมละ ๑ ขาว แลวรวมกันวิเคราะหขาว เพื่อหาสาเหตุและแนวทางแกไข ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ ๕ คน จัดทําโครงการเกี่ยวกับการลดปญหา การใชความรุนแรงในสังคมไทย ๑ โครงการ เชน โครงการรณรงคยตุ คิ วามรุนแรง ตอเด็กและสตรี ใหนักเรียนแตละกลุมจัดแสดงนิทรรศการและผลงานของโครงการจากกิจกรรม ที่ ๒ การลดปญหาการใชความรุนแรงในสังคมไทย เพื่อเปนการแลกเปลี่ยน ความรูกับเพื่อนตางกลุมและเผยแพรความรูตอบุคคลอื่นๆ ในโรงเรียน


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

ÊÒúÑÞ Ë¹‹Ç·Õè

ñ

ÃкºËÒÂ㨠ÃкºäËÅàÇÕ¹âÅËÔµ ÃкºÂ‹ÍÂÍÒËÒà áÅÐÃкº¢Ñº¶‹Ò ● ● ● ●

˹‹Ç·Õè

ò

● ● ●

˹‹Ç·Õè

ó

ô

ÊÀÒ¾»˜ÞËÒáÅÐÊÒà˵ؤÇÒÁ¢Ñ´áÂŒ§àÃ×èͧà¾È ÊÀÒ¾»˜ÞËÒáÅÐÊÒà˵ؤÇÒÁ¢Ñ´áÂŒ§ã¹¤Ãͺ¤ÃÑÇ á¹Ç·Ò§ã¹¡ÒÃàÅ×͡㪌·Ñ¡Éе‹Ò§æ 㹡Òû‡Í§¡Ñ¹Å´¤ÇÒÁ¢Ñ´áÂŒ§

ÊÔ·¸Ô¼ÙŒºÃÔâÀ¤ ● ● ●

ò ö ññ ñù

òõ-ôò

¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹¸ ÃÐËÇ‹Ò§ÊØ¢ÀÒ¾¢Í§µ¹àͧáÅФÃͺ¤ÃÑÇ á¹Ç¤Ô´ÊíÒ¤Ñޢͧ¡ÒÃÇҧἹ´ÙáÅÊØ¢ÀÒ¾¢Í§µ¹àͧáÅФÃͺ¤ÃÑÇ ¡ÒÃÇÔà¤ÃÒÐË à¾×èÍ¡ÒÃÇҧἹ´ÙáÅÊØ¢ÀÒ¾¢Í§µ¹àͧáÅФÃͺ¤ÃÑÇ ÇÔ¸Õ¡ÒÃÇҧἹ´ÙáÅÊØ¢ÀÒ¾¢Í§µ¹àͧáÅФÃͺ¤ÃÑÇ

·Ñ¡ÉÐ㹡Òû‡Í§¡Ñ¹ Å´¤ÇÒÁ¢Ñ´áÂŒ§ áÅÐá¡Œ»˜ÞËÒàÃ×èͧà¾ÈáÅФÃͺ¤ÃÑÇ ●

˹‹Ç·Õè

ÃкºËÒÂ㨠ÃкºäËÅàÇÕ¹âÅËÔµ ÃкºÂ‹ÍÂÍÒËÒà Ãкº¢Ñº¶‹ÒÂ

¡ÒÃÇҧἹ´ÙáÅÊØ¢ÀÒ¾¢Í§µ¹àͧ áÅФÃͺ¤ÃÑÇ ●

ñ - òô

ÊÔ·¸Ô¾×é¹°Ò¹áÅк·ºÒ·¢Í§¼ÙŒºÃÔâÀ¤ ¡®ËÁÒ¤،Á¤Ãͧ¼ÙŒºÃÔâÀ¤ ˹‹Ç§ҹ´ÙáŤ،Á¤Ãͧ¼ÙŒºÃÔâÀ¤

òö ò÷ óñ óó

ôó-öø ôô ôø õñ

öù-øô ÷ð ÷ó ÷ø


กระตุน ความสนใจ Engage

˹‹Ç·Õè

˹‹Ç·Õè

˹‹Ç·Õè

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

õ

¡ÒÃà¨çº»†ÇÂáÅСÒõÒ¢ͧ¤¹ä·Â

ö

ÊÁÃöÀÒ¾·Ò§¡ÒÂáÅзҧ¡Åä¡

÷

»˜¨¨Ñ·ÕèÁռŵ‹Í¤ÇÒÁÃعáç¢Í§¤¹ä·Â

ºÃóҹءÃÁ

● ● ●

● ● ●

● ● ●

øõ-ñðô

ʶҹ¡Òó ¡ÒÃà¨çº»†ÇÂáÅСÒõÒ¢ͧ¤¹ä·Â ÊÒà˵ØáÅÐá¹Ç·Ò§¡Òû‡Í§¡Ñ¹¡ÒÃà¨çº»†ÇÂáÅСÒõÒ¢ͧ¤¹ä·Â á¹Ç·Ò§¡Òû‡Í§¡Ñ¹¡ÒÃà¨çº»†ÇÂ

ÊÁÃöÀÒ¾·Ò§¡ÒÂáÅÐÊÁÃöÀÒ¾·Ò§¡Åä¡ ¡ÒþѲ¹ÒÊÁÃöÀÒ¾·Ò§¡ÒÂáÅзҧ¡Åä¡ ¡ÒÃÇҧἹ¾Ñ²¹ÒÊÁÃöÀÒ¾·Ò§¡ÒÂáÅзҧ¡Åä¡

¤ÇÒÁÃعáç¢Í§¤¹ä·Â »˜¨¨Ñ·ÕèÁռŵ‹Í¡ÒÃà¡Ô´¤ÇÒÁÃعáç¢Í§¤¹ä·Â á¹Ç·Ò§¡Òû‡Í§¡Ñ¹áÅÐᡌ䢤ÇÒÁÃعáç¢Í§¤¹ä·Â

øö øù ñðñ

ñðõ-ñòò ñðö ñðø ññó

ñòó-ñóô ñòô ñò÷ ñóñ

ñóõ


กระตุน้ ความสนใจ

ñ

กระตุEngage ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

หน่ ว ยที่

อธิบายกระบวนการสรางเสริมและดํารง ประสิทธิภาพการทํางานของระบบอวัยวะตางๆ ได

ÃкºËÒÂ㨠ÃкºäËÅàÇÕ¹âÅËÔµ ÃкºÂ‹ÍÂÍÒËÒà áÅÐÃкº¢Ñº¶‹ÒÂ

สมรรถนะของผูเรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการใชทกั ษะชีวิต

ตัวชี้วัด ■

เปาหมายการเรียนรู

อธิบายกระบวนการสร้างเสริมและด�ารง ประสิทธิภาพการท�างาน ของระบบ อวัยวะต่าง ๆ (พ ๑.๑ ม.๔-๖/๑)

คุณลักษณะอันพึงประสงค สาระการเรียนรู้แกนกลาง ■

กระบวนการสร้ า งเสริ ม และด� า รง ประสิ ท ธิ ภ าพการท� า งานของระบบ อวัยวะต่างๆ - การท�างานของระบบอวัยวะต่างๆ - การสร้างเสริมและด�ารง ประสิทธิภาพของอวัยวะต่างๆ (อาหาร การออกก�าลังกาย นันทนาการ การตรวจสุขภาพ ฯลฯ)

การทํางานของระบบอวัยวะตางๆ ในรางกายลวนมีการทํางานที่ประสานสัมพันธกัน ไมสามารถที่จะแยกออกจากกันได การดํารงชีวิตของมนุษยก็ขึ้นอยูกับการทํางานของระบบ ตางๆ ในรางกาย หากระบบใดระบบหนึง่ หรือหลายระบบทํางานผิดปกติ ยอมสงผลใหสภาวะ สุขภาพโดยรวมเกิดปญหาขึน้ ได ซึง่ อาจกอใหเกิดความทุกขทรมานแกรา งกายและจิตใจ หรือ ถารายแรงก็อาจทําใหเสียชีวิตได ดังนั้น จึงตองมีการเรียนรูถึงกระบวนการสรางเสริมและ ดํารงประสิทธิภาพการทํางานของระบบอวัยวะตางๆ อยางถูกวิธี เพื่อใหรางกายสามารถ ดํารงชีวิตอยูไดอยางมีความสุข สําหรับในหนวยนี้ นักเรียนจะไดศึกษาเกี่ยวกับระบบอวัยวะ ๔ ระบบใหญๆ ไดแก ระบบ หายใจ ระบบไหลเวียนโลหิต ระบบยอยอาหาร และระบบขับถาย

1. ใฝเรียนรู 2. มุงมั่นในการทํางาน

กระตุน้ ความสนใจ

Engage

ครูใหนักเรียนดูภาพหนาหนวยแลวตั้งคําถาม กระตุนความสนใจ โดยใหนักเรียนสามารถแสดง ความคิดเห็นไดอยางอิสระ • จากภาพ นักเรียนคิดวา บุคคลในภาพ กําลังทําอะไรอยู • การกระทําดังกลาว สงผลตอระบบ การทํางานของระบบอวัยวะตางๆ ใน รางกายสวนใดบาง

เกร็ดแนะครู ครูควรนําสื่อ เชน คลิปวิดีโอ ภาพโปสเตอร โมเดลจําลอง เปนตน มาใชใน การจัดการเรียนการสอน ซึ่งสื่อเหลานี้จะมีสวนชวยใหนักเรียนเกิดการเรียนรู เกิดความเขาใจ และเห็นภาพไดอยางชัดเจน เพราะหนวยการเรียนรูนี้มีเนื้อหาที่ คอนขางยากและซับซอน เนื่องจากตองทําความเขาใจเกี่ยวกับการทํางานของ ระบบตางๆ ในรางกาย เชน ระบบหายใจ ระบบไหลเวียนโลหิต ระบบยอยอาหาร และระบบขับถาย เปนตน

คู่มือครู

1


กระตุน้ ความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้ อธิบExplain ายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุEngage ้นความสนใจ

Exploreนหา ส�ารวจค้

กระตุน้ ความสนใจ

Engage

ครูตั้งคําถามกระตุนความสนใจ โดยใหนักเรียน สามารถแสดงความคิดเห็นไดอยางอิสระ • นักเรียนคิดวา มนุษยดํารงชีวิตอยูได เพราะอะไร (แนวตอบ มนุษยดํารงชีวิตอยูไดดวยการหายใจ โดยการอาศัยแกสออกซิเจน) • อวัยวะสวนใดบาง ที่ชวยในการหายใจ (แนวตอบ ไดแก จมูก ปาก หลอดคอ หลอดเสียง หลอดลม และปอด)

ส�ารวจค้นหา

ñ. รкºËาÂใ¨ (Respiratory system) การด�ารงชีวิตของมนุษย์จ�าเป็นต้องอาศัยแก๊สออกซิเจน ซึ่งได้มาจากระบบหายใจเข้า-ออก แลกเปลี่ยนอากาศกับสิ่งแวดล้อมภายนอก ระบบหายใจจึงเป็นกระบวนการส�าคัญที่มีหน้าที่ใน การช่วยแลกเปลี่ยนแก๊สออกซิเจนและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ระหว่างเลือดกับอากาศ โดยแก๊ส ออกซิเจนที่ได้จะเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเผาผลาญสารอาหารให้ ออกมาเป็นพลังงาน เพื่อ 1 ใช้ในการด�ารงชีวิต ถ้าร่างกายขาดแก๊สออกซิเจน ซึ่งเป็นอากาศที่ใช้หายใจก็จะท�าให้เสียชีวิตได้

1.1 องค์ประกอบของระบบหายใจ

2 ระบบหายใจเป็นกระบวนการหายใจที่ให้อากาศผ่านเข้าออกในร่างกาย ซึ่งประกอบไปด้วย อวัยวะ ๒ ส่วน คือ ส่วนที่เป็นทางผ่านของลมหายใจเข้า-ออก ได้แก่ จมูก ปาก หลอดคอ หลอดเสียง หลอดลม และส่วนที่ท�าหน้าที่ในการแลกเปลี่ยนแก๊ส ได้แก่ ปอด โดยอวัยวะในแต่ละ ส่วนก็จะท�าหน้าที่แตกต่างกันออกไป ดังแผนภาพ

Explore

ใหนกั เรียนแบงกลุม กลุม ละ 4-5 คน ศึกษาเรือ่ ง ระบบหายใจ จากหนังสือเรียนและแหลงเรียนรูอ นื่ ๆ เพิม่ เติม

อธิบายความรู้

แผนภาพแสดงกระบวนการท�างานของระบบหายใจ จมู ก (Nose) เป็ น ส่ ว นที่ ยื่ น ออกมาจากตรง กึ่ งกลางของใบหน้ า มี ลั กษณะเป็ น รู ป สามเหลี่ ย ม พี ร ะมิ ด ภายในรู จ มู ก จะมี เ ยื่ อ บุ จ มู ก และขนจมู ก ท�าหน้าที่เป็นทางผ่านของอากาศที่หายใจเข้าไปและ กรองฝุ่นละออง

Explain

ใหนักเรียนดูแผนภาพแสดงกระบวนการทํางาน ของระบบหายใจ จากนั้นครูสุมนักเรียน 2 กลุม ออกมานําเสนอในประเด็นองคประกอบของ ระบบหายใจ โดยครูและนักเรียนกลุมอื่นๆ รวมกัน เสนอแนะเพิ่มเติมเพื่อใหไดขอสรุปที่ถูกตองรวมกัน

หลอดคอ (Pharynx) เป็ น หลอดตั้ ง ตรงยาว ประมาณ ๕ นิ้ ว ติ ด ต่ อ ทั้ ง ช่ อ งปากและช่ อ งจมู ก ท� า หน้ า ที่ เ ป็ น ตั ว แยกระหว่ า งหลอดลมกั บ หลอดอาหาร ซึ่ ง โครงสร้ า งของหลอดคอประกอบด้ ว ยกระดู ก อ่ อ น ๙ ชิ้น โดยชิ้นที่ใหญ่ที่สุด คือ กระดูกธัยรอยด์ หรือ ที่เราเรียกว่า “ลูกกระเดือก” (Adam’s apple)

หลอดลม (Trachea) เป็ น ส่วนที่ต่อจากหลอดเสียงยาวลงไป ในทรวงอก ลั ก ษณะรู ป ร่ า งของ หลอดลมเป็นหลอดกลมๆ ประกอบ ด้วยกระดูกอ่อนรูปวงแหวนวางอยู่ ทางด้านหลังหลอดลมท�าให้หลอดลม เปิดอยู่ตลอดเวลา ไม่แฟบเข้าหา กันโดยแรงดันจากภายนอก ส่งผลให้ อากาศเข้าได้ตลอดเวลา

หลอดเสี ย ง (Larynx) อยู ่ ติ ด ใต้หลอดคอ ขณะกลืนอาหารหรือเครื่อง ดื่มจะมีแผ่นเนื้อเยื่อขนาดเล็ก ที่เรียกว่า “ฝากล่องเสียง” คอยปิดหลอดลมเพื่อ ไม่ให้อาหารลงไปผิดช่อง

ปอด (Lung) ถูกห่อหุ้มด้วยกระดูกซี่โครง ภายในปอดจะมี ถุงลม ซึ่งท�าหน้าที่ในการแลกเปลี่ยนแก๊สออกซิเจนกับแก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์

2

EB GUIDE http://www.aksorn.com/LC/He/M5/01

เกร็ดแนะครู เนือ่ งจากภาพในหนังสือเรียนนัน้ มีขนาดเล็ก ครูสามารถนําภาพแสดงองคประกอบ ของระบบหายใจมาใหนักเรียนดู เพื่อใหนกั เรียนเห็นอวัยวะตางๆ ไดอยางชัดเจน

นักเรียนควรรู 1 รางกายขาดแกสออกซิเจน เนื้อเยื่อสมองจะถูกทําลายและจะทําใหเสียชีวิต ภายในไมกี่นาที เชน คนที่จมนํ้าตาย รางกายจะสูดนํ้าเขาไปในปอดแทนการสูด แกสออกซิเจน จึงทําใหรางกายขาดแกสออกซิเจนและเสียชีวิตในที่สุด 2 การหายใจ การหายใจที่ถูกวิธี ตองหายใจอยางชาๆ และลึกๆ เมื่อหายใจ เขาทองจะปองออก เมื่อหายใจออกทองจะยุบ โดยที่ทรวงอกไมมีการเคลื่อนไหว หรืออาจเคลื่อนไหวนอยมาก

2

คู่มือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ในระหวางที่เราออกกําลังกาย เมื่อวัดอัตราการเตนของหัวใจและอัตรา การหายใจ นักเรียนคิดวา ผลที่ไดจะเปนอยางไร เพราะเหตุใด แนวตอบ ในขณะออกกําลังกาย จะมีอัตราการเตนของหัวใจที่เร็วกวาปกติ ประมาณ 180 - 200 ครั้ง/นาที และมีการหายใจถี่มากขึ้น ทั้งนี้เพื่อรับ แกสออกซิเจนเขาไปทดแทนแกสคารบอนไดออกไซดทเี่ กิดขึน้ จากกระบวนการ เผาผลาญสารอาหารใหเกิดเปนพลังงาน

บูรณาการเชื่อมสาระ

สามารถนําเนื้อหาเรื่อง ระบบหายใจ ไปบูรณาการเชื่อมโยงกับกลุมสาระ การเรียนรูวิทยาศาสตร วิชาวิทยาศาสตร เรื่อง ระบบหายใจ


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engage

Explore

อธิบายความรู้ อธิบExplain ายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู้

ครูสุมนักเรียน 2 คน ออกมาหนาชั้นเรียน เพื่อใหนักเรียนฝกการหายใจเขา-ออก อยางชาๆ โดยนักเรียนคนอื่นๆ รวมกันสังเกตการหายใจ ของเพื่อน จากนั้นครูตั้งคําถามเพื่อใหไดขอสรุปที่ ถูกตองรวมกัน • นักเรียนสังเกตเห็นการเปลี่ยนแปลงอยางไร ในขณะที่เพื่อนฝกการหายใจ (แนวตอบ ในขณะที่หายใจเขา ทองจะปอง และในขณะที่หายใจออก ทองจะยุบ) จากนั้นครูอธิบายเพิ่มเติมวา กระบวนการ ทํางานของระบบหายใจ เริ่มตนตั้งแตเราหายใจ ผานเขาทางจมูก โดยอากาศจะถูกสงตอไปยัง โพรงจมูก หลอดคอ หลอดเสียง และหลอดลม จากนั้นอากาศก็จะถูกสงตอไปยังปอดทั้ง 2 ขาง ซึ่งในขณะที่เราหายใจเขา กระดูกซี่โครงจะเลื่อน สูงขึ้น กะบังลมจะเลื่อนตํ่าลงเมื่อมีอากาศเขา และในขณะที่เราหายใจออก กระดูกซี่โครง จะเลื่อนตํ่าลง กะบังลมจะเลื่อนสูงขึ้นเมื่อมี อากาศออก

1.2 กระบวนการท�างานของระบบหายใจ กระบวนการท�างานของระบบหายใจ เริ่มต้นตั้งแต่เราหายใจผ่านเข้าทางจมูก โดยอากาศ จะถูกส่งต่อไปยังโพรงจมูก หลอดคอ หลอดเสียง และหลอดลม จากนั้นอากาศก็จะถูกส่งต่อไปยัง ปอดทั้ง ๒ ข้าง ซึ่งวัตถุประสงค์ของการหายใจ คือ การน�าส่งแก๊สออกซิเจนจากอากาศไปยังเซลล์ ต่างๆ และก�าจัดแก๊สเสียโดยน�าแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จากเซลล์ออกสู่อากาศ จึงจ�าเป็น ที่จะต้องมีการถ่ายเทอากาศในถุงลมหลังจากการแลกเปลี่ยนแก๊สกับเลือดแล้ว เพื่อน�าอากาศ บริสุทธิ์เข้าไปสู่ร่างกาย และปล่อยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดจากกระบวนการเผาผลาญ สารอาหารภายในร่างกาย ออกสู่ภายนอกร่างกายในรูปของลมหายใจออก การถ่ายเทอากาศในปอด เกิดจากการท�างานของกล้ามเนื้อส�าหรับหายใจ โดยกลไก ของการหายใจ เข้าและหายใจออกนั้นจะเกิดขึ้นสลับต่อเนื่องกัน ซึ่งเป็นไปตามหลักของความดัน บรรยากาศ ดังนี้ 1 การหายใจเข้ า เกิ ด จากกล้ า มเนื้ อ กะบั ง ลมหดตั ว ท� า ให้ แ ผ่ น กะบั ง ลมเลื่ อ นต�่ า ลงมา ทางช่องท้อง เป็นการเพิ่มปริมาตรของช่องอกในแนวตั้ง เนื่องจากเนื้อเยื่อปอดอยู่ประชิด แนบสนิทกับกะบังลม และช่องว่างระหว่างเนื้อเยื่อปอดกับกะบังลมเป็นสุญญากาศ เมื่อกะบังลม เลื่อนต�่าลงมา จึงดึงเนื้อเยื่อปอดให้ขยายตัวตามแนวตั้งด้วย ความดันภายในปอดจึงลดลง อากาศ จากภายนอกจึงเข้ามาแทนที 2 ่ได้ การหายใจออก เริ่ ม ขึ้ น เมื่ อ กล้ า มเนื้ อ กะบั ง ลมหรื อ กล้ า มเนื้ อ ยึ ด ระหว่ า งซี่ โ ครงด้ า น การหายใจออก นอกคลายตัว เนื่องจากผนังช่องอกและเนื้อเยื่อปอดมีความยืดหยุ่น ทั้งผนังช่องอกและเนื้อเยื่อ ปอดจะหดตัวกลับสู่ปริมาตรเดิม ท�าให้ความดันภายในปอดเพิ่มสูงขึ้นกว่าความดันบรรยากาศ อากาศจึงไหลออกจากปอดสู่บรรยากาศภายนอก อากาศเข้า

Explain

อากาศออก

3

กระดูกซี่โครงเลื่อนต�่าลง

กระดูกซี่โครงเลื่อนสูงขึ้น

กะบังลมเลื่อนสูงขึ้น

กะบังลมเลื่อนต�่าลง การท�างานของกะบังลมและกล้ามเนื้อยึดกระดูกซี่โครง ในกระบวนการหายใจเข้า

การท�างานของกะบังลมและกล้ามเนือ้ ยึดกระดูกซีโ่ ครงใน กระบวนการหายใจออก

การหายใจของมนุษยมีความจําเปนอยางไร

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

แนวตอบ การหายใจมีวัตถุประสงคเพื่อนําสงแกสออกซิเจนจากอากาศ ไปยังเซลลตางๆ และกําจัดแกสเสียโดยนําแกสคารบอนไดออกไซด จากเซลลออกสูอากาศ เพื่อนําอากาศบริสุทธิ์เขาไปสูรางกาย และปลอย แกสคารบอนไดออกไซดที่เกิดจากกระบวนการเผาผลาญสารอาหาร ภายในรางกาย ออกสูภายนอกรางกายในรูปของลมหายใจออก ทั้งนี้สมอง ของมนุษยจะขาดแกสออกซิเจนไดไมเกิน 5 นาที

นักเรียนควรรู 1 การหายใจเขา การฝกหายใจเขาเพื่อบริหารปอด สามารถทําไดโดยสูดหายใจ เขาลึกๆ ทางจมูก ถาหายใจถูกตอง ทองจะปองออกและหนาอกจะมีการเคลื่อนไหว นอยมาก 2 การหายใจออก การฝกหายใจออกเพื่อบริหารปอด สามารถทําไดโดย ผอนลมหายใจออกเบาๆ ผานทางไรฟนในขณะที่ริมฝปากเผยอออกเพียงเล็กนอย ใหระยะเวลาของการหายใจออกเปนประมาณ 3 เทาของระยะเวลาหายใจเขา ถาหายใจถูกตอง ทองจะยุบลงและหนาอกจะมีการเคลื่อนไหวนอยมาก 3 กระดูกซี่โครง มีจํานวน 12 คู โดยจะเชื่อมตอกับดานขางของกระดูกสันหลัง ชวงอก ตอนปลายของกระดูกซีโ่ ครงจะโคงมาดานหนาและเชือ่ มติดกับกระดูกหนาอก (ยกเวนกระดูกซี่โครงคูที่ 11 และคูที่ 12)

คู่มือครู

3


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engage

Explore

อธิบายความรู้

อธิบายความรู้ อธิบExplain ายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

ใหนักเรียนแตละกลุมรวมกันระดมความคิด เกี่ยวกับแนวทางการสรางเสริมและดํารง ประสิทธิภาพการทํางานของระบบหายใจ จากนั้น ใหแตละกลุมสงตัวแทน 1 คน ออกมาเขียนแนวทาง การสรางเสริมฯ บนกระดานดํา โดยครูจะจับเวลา 2 นาที สําหรับในการเขียน ซึ่งเพื่อนในกลุมสามารถ ชวยบอกขอมูลเพื่อนได แตหามออกมาหนาชั้นเรียน เมื่อหมดเวลาครูและนักเรียนรวมกันตรวจสอบ ความถูกตองและจํานวนขอมูลที่ไดของแตละกลุม หากกลุมใดไดจํานวนขอมูลมากที่สุดและมีความ ถูกตอง จะไดคะแนนโบนัสกลุมละ 2 คะแนน หลังจากการทํากิจกรรมดังกลาว ครูและนักเรียน รวมกันเสนอแนะเพิ่มเติม และตั้งคําถามเพื่อใหได ขอสรุปที่ถูกตองรวมกัน • แนวทางการสรางเสริมและดํารงประสิทธิภาพ การทํางานของระบบหายใจมีแนวทาง อยางไรบาง (แนวตอบ เชน อยูในสถานที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ งดสูบบุหรี่ หรือใกลชิดกับบุคคลที่กําลัง สูบบุหรี่ รับประทานอาหารที่มีประโยชนใหมี สารอาหารครบ 5 หมู หมั่นดูแลสุขภาพของ ตนเอง หลีกเลี่ยงการอยูใกลชิดกับบุคคลที่ ปวยเปนโรคติดตอทางระบบทางเดินหายใจ เปนตน)

1.๓ การสร้างเสริมและด�ารงประสิทธิภาพการท�างานของระบบหายใจ ระบบหายใจเป็นระบบที่มีความส�าคัญต่อการด�ารงชีวิตของมนุษย์เป็นอย่างมาก ถ้าอวัยวะ ต่างๆ ของระบบหายใจท�างานผิดปกติ ย่อมส่งผลกระทบต่อร่างกายและอาจท�าให้เสียชีวิตได้ ดังนั้น จึงควรสร้างเสริมและด�ารงประสิทธิภาพการท�างานของระบบหายใจ เพื่อให้ระบบหายใจ ท�างานได้อย่างเต็มที่และมีประสิทธิภาพ ซึ่งอาจปฏิบัติตามแนวทาง ดังนี้ ๑. อยู่ในสถานที่ที่มีอ1ากาศบริสุทธิ์ หลีกเลีย่ งการอยูใ่ นสถานทีแ่ ออัด หรือบริเวณที่ มีมลภาวะ เพราะอาจท�าให้มีโอกาสติดเชื้อโรค ในระบบทางเดินหายใจได้งา่ ย แต่ถา้ ไม่สามารถ หลีกเลีย่ งได้ ก็ควรจะมีอปุ กรณ์ไว้สา� หรับป้องกัน ตนเอง เช่น หน้ากากอนามัย ผ้าเช็ดหน้า เป็นต้น เมื่อป่วยเป็นโรคระบบทางเดินหายใจและต้องอยู่ร่วม ๒. งดสูบบุหรี ่ หรือใกล้ชดิ กับบุคคล กับผู้อื่น ควรใส่หน้ากากอนามัยเพื่อป้องกันการแพร่ ที่ก�าลังสูบบุหรี่ เนื่องจากบุหรี่เป็นสาเหตุของ กระจายของเชื้อโรค โรคในระบบทางเดิ นหายใจหลายๆ โรค เช่น 2 โรคถุงลมโป่งพอง โรคหลอดลมอักเสบเรื้อรัง โรคมะเร็งปอด เป็นต้น ๓. เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงของอากาศ ควรรักษาความอบอุ่นของร่างกายอยู่เสมอ หลีกเลี่ยงการตากน�้าค้างหรือตากฝน เพราะอาจท�าให้เป็นหวัดได้ ๔. รับประทานอาหารทีม่ ปี ระโยชน์ให้ครบ ๕ หมู ่ พักผ่อนให้เพียงพอ และออกก�าลังกาย เป็นประจ�าอย่างสม�่าเสมอ เพื่อให้ร่างกายแข็งแรงและช่วยท�าให้ประสิทธิภาพในการท�างานของ ปอดท�างานได้ดีขึ้น ๕. หลีกเลีย่ งการอยูใ่ กล้ชดิ กับบุคคลทีป่ ว่ ยเป็นโรคติดต่อทางระบบทางเดินหายใจ เช่น โรคหวัด วัณโรค เป็นต้น ๖. หมัน่ ดูแลรักษาสุขภาพของตนเอง เพือ่ ป้องกันการเกิดความผิดปกติทเี่ กีย่ วกับระบบ ทางเดินหายใจ และควรตรวจสอบสมรรถภาพในการท�างานของปอดเป็นระยะๆ ถ้าเป็นไปได้ควร ตรวจเอกซเรย์ปอด อย่างน้อยปีละ ๑ ครั้ง ๗. เมื่อเกิดความผิดปกติของระบบทางเดินหายใจ ไม่ควรนิ่งนอนใจ ควรรีบไปพบ แพทย์เพื่อตรวจสุขภาพและท�าการรักษา ๔

เกร็ดแนะครู ครูควรยกตัวอยางโรคหรือลักษณะอาการที่เกิดขึ้นบอยๆ กับระบบทางเดิน หายใจ พรอมกับเชื่อมโยงโรคหรือลักษณะอาการดังกลาวกับแนวทางการสรางเสริม และดํารงประสิทธิภาพการทํางานของระบบหายใจ

นักเรียนควรรู 1 สถานที่แออัด เปนสถานที่ที่มีบุคคลมากมาย เชน คอนเสิรต โรงภาพยนตร ตลาด หางสรรพสินคา เปนตน 2 โรคมะเร็งปอด ปจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคมะเร็งปอด สวนใหญพบวาเกิด จากการสูบบุหรี่ และผูที่อยูใกลชิดกับบุคคลที่กําลังสูบบุหรี่ นอกจากนี้ยังพบวาผูที่ ทํางานเหมืองจะมีโอกาสเสี่ยงไดเชนเดียวกัน เนื่องจากตองสัมผัสหรือสูดดมควัน จากการเผาไหมนํ้ามันและถานหิน

4

คู่มือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ขอใดเปนวิธีการดํารงประสิทธิภาพการทํางานของระบบหายใจไดดีที่สุด 1. รับประทานอาหารที่มีประโยชน 2. อยูในที่ซึ่งมีอากาศบริสุทธิ์ 3. ทําจิตใจใหราเริงแจมใส 4. พักผอนใหเพียงพอ วิเคราะหคําตอบ การดํารงประสิทธิภาพการทํางานของระบบหายใจที่ดี ที่สุดคือ การอยูในสถานที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ ไมมีมลภาวะ เพราะจะทําให รางกายไดรับแกสออกซิเจนจากอากาศไปหลอเลี้ยงเซลลตางๆ ของรางกาย เพื่อใหระบบหายใจทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ แตถาหากอยูในสถานที่ แออัด มีมลภาวะ อาจทําใหมีโอกาสติดเชื้อโรคในระบบทางเดินหายใจไดงาย

ตอบขอ 2.


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand าใจ ขยายความเข

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

ขยายความเขาใจ

ใหนกั เรียนศึกษาเพิม่ เติมเรือ่ ง โรคโพรงอากาศ อักเสบ จากเสริมสาระ แลวเขียนสรุปแนวทาง การปองกันเพื่อไมใหเกิดโรคโพรงอากาศอักเสบ ตอตนเองและครอบครัว จากนั้นครูใหนักเรียนแตละกลุมศึกษาอาการ ที่เกี่ยวของกับการหายใจ วาแตละอาการนั้นเกิดมา จากสาเหตุใด โดยใหนําหลักการและกระบวนการ เกี่ยวกับระบบการหายใจที่เรียนมามาประยุกตใช รวมกัน โดยมีประเด็นไดแก การจาม การหาว และการสะอึก โดยครูตั้งคําถามและชวยอธิบาย เพิ่มเติมเพื่อใหไดขอสรุปที่ถูกตองรวมกัน • นักเรียนคิดวา อาการดังกลาว เกิดมาจาก สาเหตุใด (แนวตอบ • การจาม เกิดจากการหายใจเอาอากาศ ที่ไมบริสุทธิ์เขาไปในรางกาย รางกาย จึงพยายามขับสิ่งแปลกปลอมเหลานั้น ออกมานอกรางกาย • การหาว เกิดจากการที่มีปริมาณแกส คารบอนไดออกไซดสะสมอยูในเลือดมาก เกินไป จึงตองขับออกจากรางกาย โดย การหายใจเขายาวๆ และลึก เพื่อรับ แกสออกซิเจนเขาปอดและแลกเปลี่ยน แกสคารบอนไดออกไซดออกจากเลือด • การสะอึก เกิดจากกะบังลมหดตัวเปน จังหวะๆ ขณะหดตัว อากาศจะถูกดัน ผานลงสูปอดทันที ทําใหสายเสียงสั่นและ เกิดเสียงขึ้น)

เสริมสาระ โรคภัยใกล้ตัว

โรคโพรงอำกำศอักเสบ

Expand

1

โรคโพรงอากาศอักเสบ หรือทีเ่ รียกกันว่า “โรคไซนั โรคไซนัส” เปนการอักเสบของโพรงอากาศข้างจมูก ทีท่ า� ให้เกิดความเจ็บปวดแบบเฉียบพลันทุกครัง้ ทีเ่ ปนหวัด เนือ่ งจากเกิดการติดเชือ้ แบคทีเรียและไวรัส เช่น เชื้อที่ท�าให้เกิดไข้หวัดหรือไข้หวัดใหญ่ เปนต้น อาจท�าให้เยื่อเมือกบุโพรงอากาศอักเสบขึ้น บวม เต็มไปด้วยเสลดและหนอง ซึ่งส่งผลท�าให้เกิดอาการปวดรอบๆ เบ้าตา ใบหน้า ขมับ และกลายเปน อาการปวดศีรษะอย่างรุนแรงได้บ่อยๆ อาจมีอาการอ่อนเพลีย เหนื่อยล้า และเปนไข้ร่วมด้วย ดั ง นั้ น แม้ ผ ู้ ป ่ ว ยจะหายจากไข้ ห วั2ด หรื อ ไข้ ห วั ด ใหญ่ แ ล้ ว ก็ ยั ง อาจมี เชื้ อ ตกค้ า งอยู ่ ท� า ให้ เ กิ ด อาการคัดจมูกเนือ่ งจากการอุดตันและมีนา�้ มูกข้นเขียว ซึง่ หากช่องทางติดต่อระหว่างโพรงอากาศกับจมูกอุดตัน น�้ามูกจะหยุดไหล ส่งผลให้ผู้ป่วยต้องหายใจทางปาก นอนไม่ค่อยหลับ และมักปวดศีรษะอย่างรุนแรงใน ตอนเช้า ส�าหรับผู้ที่เคยเป็นโรคโพรงอากาศอักเสบ มาครัง้ หนึง่ แล้ว เยือ่ บุโพรงอากาศจะมีความไวต่อการ โพรงอากาศ สฟนอยด ติดเชือ้ ซ�า้ อีก ดังนัน้ จึงควรหลีกเลีย่ งปัจจัยเสีย่ งต่างๆ ที่จะก่อให้เกิดการอักเสบขึ้นได้ เช่น ห้ามอยู ใ ่ กล้ ช ด ิ 3 โพรงอากาศ กับผู้ป่วยที่เป็นโรคไข้หวัดหรือไข้หวัดใหญ่ ให้สวม ฟรอนตอล หน้ากากอนามัยทุกครั้งเมื่ออยู่ในชุมชน ที่มีอากาศ ร้อนอบอ้าว บนรถประจ�าทาง และรถไฟ ควรปรับ โพรงอากาศ เอ็ทมอยด ความชื้นภายในบ้านให้พอเหมาะ หากรูส้ กึ ว่าตนเองก�าลังจะเป็นไข้หวัดให้อยู่ โพรงอากาศ ในห้ อ งที่ มี อุ ณ หภู มิ ค งที่ งดการออกก� า ลั ง กายที่ แม็กซิลลารี หักโหมจนเกินไป เนื่องจากจะท�าให้อุณหภูมิของ ร่างกายเพิ่มขึ้นและลดลงอย่างรวดเร็ว ควรดูแล ตนเองด้ ว ยการรั บ ประทานอาหารให้ ถู ก หลั ก โภชนาการและพั ก ผ่ อ นอย่ า งเพี ย งพอ เป็ น ต้ น โพรงอากาศบริเวณใบหน้ามี ๔ บริเวณ โดยโพรงอากาศ บางคนพบว่า การนอนหนุนหมอนสองใบจะท�า ฟรอนตอลที่ อ ยู ่ ใ นกระดู ก หน้ า ผากและโพรงอากาศ แม็กซิลลารีที่อยู่บริเวณกระดูกแก้ม เป็นโพรงอากาศ ให้นอนหลับได้สนิทขึ้น เนื่องจากท�าให้ศีรษะอยู่ใน ที่เกิดการอุดตันและบวมบ่อยที่สุด ต�าแหน่งสูงขึ้นเล็กน้อย

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

โรคของระบบการหายใจในขอใด เกิดจากการหายใจเอาอากาศที่ไมบริสุทธิ์ เขาสูรางกายเปนเวลานาน 1. โรคหอบหืด 2. โรควัณโรค 3. โรคริดสีดวงจมูก 4. โรคถุงลมโปงผอง วิเคราะหคําตอบ การหายใจเอาอากาศที่ไมบริสุทธิ์เขาสูรางกายเปนเวลา นานๆ จะสงผลใหเกิดโรคหอบหืด เนื่องจากหายใจเอาสารที่แพเขาไปใน หลอดลม เชน กลิ่นนํ้าหอม ยาฆาแมลง กลิ่นอับ กลิ่นทอไอเสีย กลิ่นบุหรี่ ภาวะอากาศเปลี่ยน เปนตน ตอบขอ 1.

นักเรียนควรรู 1 ไซนัส คือโพรงอากาศในกะโหลกศีรษะ เรียกวา โพรงไซนัส มีทั้งหมด 4 ตําแหนงเปนคูๆ ไดแก บริเวณหนาผากใกลกับหัวคิ้วทั้ง 2 ขาง บริเวณหัวตา ทั้ง 2 ขาง บริเวณโหนกแกมทั้ง 2 ขาง และบริเวณกะโหลกศีรษะใกลฐานสมอง 2 นํ้ามูก เกิดจากสารคัดหลั่งที่อยูในจมูก ซึ่งจะหลั่งออกมาเพื่อใหความชุมชื้น กับรูจมูก โดยปกตินํ้ามูกจะมีสีใสๆ และจะมีปริมาณมากหรือนอยก็ขึ้นอยูกับการ ระคายเคือง 3 ไขหวัดใหญ สาเหตุเกิดจากเชื้อไวรัส Inflfluenza ซึ่งจะอยูในนํ้ามูก นํ้าลาย และเสมหะของผูปวย โดยสามารถติดตอไดดวยการไอ จาม หรือใชสงิ่ ของบางอยาง รวมกับผูป ว ย เชน ผาเช็ดหนา ชอน แกวนํา้ เปนตน อาการทีส่ าํ คัญ คือ มีไขสูง ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยตามตัว และปวดกลามเนื้อ พบไดทุกชวงวัย โดยเฉพาะผูที่มี ภูมิคุมกันตํ่า เชน เด็กเล็ก ผูสูงอายุ เปนตน

คูมือครู

5


กระตุ้นความสนใจ Engage

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้ อธิบExplain ายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

Exploreนหา ส�ารวจค้

ส�ารวจค้นหา

Explore

ใหนักเรียนศึกษาเรื่อง ระบบไหลเวียนโลหิต จากคลิปวิดีโอ โดยใหนักเรียนจดบันทึกสาระสําคัญ ลงในสมุดเพื่อเตรียมอภิปราย

อธิบายความรู้

๒. รкºäËÅàÇÕÂนâÅËÔµ (Circulatory system) ระบบไหลเวียนโลหิตเปรียบเสมือนระบบขนส่งสารอาหาร แก๊สออกซิเจน น�า้ และสิง่ มีประโยชน์ อื่นๆ ให้กับเซลล์ทั่วร่างกาย มีหน้าที่ส�าคัญคือ ล�าเลียงอาหาร แก๊สออกซิเจนไปสูเ่ ซลล์ตา่ งๆ ใน เวลาเดียวกัน ก็น�าแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ หัวใจ และของเสียต่างๆ ที่ร่างกายใช้แล้วออกจาก เลือด เซลล์ผ่านทางระบบหายใจ อีกทั้งยังช่วยรักษา สมดุ ล ของร่ า งกายผ่ า นทางระบบขั บ ถ่ า ย ปัสสาวะ ควบคุมอุณหภูมิ และน�าแอนติบอดี ไปให้เซลล์เพื่อช่วยให้ร่างกายมีภูมิคุ้มกันต่อ หลอดเลือด โรคอีกด้วย

Explain

หลังจากดูคลิปวิดีโอ ครูใหนักเรียนรวมกัน อภิปรายในประเด็น องคประกอบของระบบไหลเวียน โลหิต โดยครูและนักเรียนคนอื่นๆ รวมกันเสนอแนะ เพิ่มเติม แลวตั้งคําถามเพื่อใหไดขอสรุปที่ถูกตอง รวมกัน • ระบบไหลเวียนโลหิตประกอบดวยอะไรบาง (แนวตอบ เลือด หัวใจ หลอดเลือด นํ้าเหลือง และหลอดนํ้าเหลือง) • นักเรียนคิดวา เลือดมีหนาที่สําคัญอยางไร (แนวตอบ เลือดมีหนาที่ในการนําแกสออกซิเจน ไปยังสวนตางๆ ของรางกาย แตในขณะ เดียวกันก็จะนําแกสคารบอนไดออกไซดออก จากรางกาย โดยผานกระบวนการหายใจ) • เมื่อรางกายเกิดบาดแผลสงผลใหเลือดไหล กลไกของรางกายมีสิ่งใดที่ชวยหยุดเลือด บริเวณปากแผลได (แนวตอบ เกล็ดเลือด ซึ่งมีหนาที่ชวยทําให เลือดแข็งตัวเมื่อเกิดบาดแผล)

หัวใจ หลอดเลือด และเลือด เป็นส่วนประกอบที่ส�าคัญ ของระบบไหลเวียนโลหิตในร่างกายมนุษย์

2.1 องค์ ป ระกอบของระบบ ไหลเวียนโลหิต

ระบบไหลเวียนโลหิตประกอบด้วยส่วนส�าคัญ คือ เลือด หัวใจ หลอดเลือด น�้าเหลืองและหลอดน�้าเหลือง ซึ่งแต่ละส่วนก็มีหน้าที่การท�างาน ที่แตกต่างกันไปตามกระบวนการท� างานของระบบไหลเวียนโลหิต ดังนี้ 1 ๑) เลือด (Blood) เป็นเนื้อเยื่อเกี่ยวพันชนิดเดียวที่มีลักษณะเป็นของเหลวสีแดง ประกอบด้วยส่วนที่เป็นของเหลวเรียกว่า “นํ้าเลือด” หรือ “พลาสมา” และส่วนที่เป็นของแข็ง คือ เซลล์เม็ดเลือดชนิดต่างๆ ซึ่งจ�าแนกออกเป็ 2 น ๓ ชนิดใหญ่ๆ ได้แก่ ๑.๑) เซลลเม็ดเลือดแดง (Red blood cell) เป็นเซลล์เม็ดเลือดที่เกิดใน ไขกระดูกแดง มีอายุอยู่ได้ประมาณ ๑๒๐ วัน ก็จะแก่ตัว ถูกกินและท�าลายโดย “เซลล์ฟาโก ไซต์” (Phagocyte) ในม้าม ตับ และในไขกระดูกเอง รูปร่างของเซลล์เป็นแผ่นคล้ายจานและ มีส่วนเว้าทั้งสองด้าน ไม่มีนิวเคลียส ท�าหน้าที่ขนส่งแก๊สออกซิเจนจากปอดไปยังเนื้อเยื่อ และ น�าแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จากเนื้อเยื่อไปขจัดออกทางปอด โดยภายในเซลล์มีสารสีม่วงแดง เรียกว่า “ฮีโมโกลบิน” (Hemoglobin) เมือ่ เลือดไหลผ่านปอด ฮีโมโกลบินจะท�าหน้าทีจ่ บั กับออกซิเจน กลายเป็น “ออกซีฮีโมโกลบิน” (Oxyhemoglobin) ซึ่งมีสีแดงสด และเมื่อเซลล์เม็ดเลือดแดง น�าออกซิเจนไปส่งให้แก่เซลล์ต่างๆ ทั่วร่างกายแล้ว ออกซีฮีโมโกลบินจะเปลี่ยนกลับมาเป็น ฮีโมโกลบินอีกครั้ง โดยในร่างกายของเพศหญิงจะมีจ�านวนเซลล์เม็ดเลือดแดงประมาณ ๔.๕ - ๕ ล้านเซลล์ต่อเลือด ๑ ซี.ซี. และในเพศชายมีประมาณ ๕ ล้านเซลล์ต่อเลือด ๑ ซี.ซี. 6

นักเรียนควรรู 1 เลือด ในรางกายของคนเรามีเลือดอยูป ระมาณ 6,000 ลูกบาศกเซนติเมตร (6 ลิตร) หรือประมาณ 7- 9 เปอรเซ็นตของนํา้ หนักตัว มีคณ ุ สมบัตเิ ปนเบสออน (pH ประมาณ 7.3 -7.4) ซึง่ แตละคนจะมีเลือดไมเทากัน ทัง้ นีข้ นึ้ อยูก บั เพศ อายุ นํา้ หนัก และสุขภาพรางกาย 2 เซลลเม็ดเลือดแดง โรคทีเ่ กิดกับเซลลเม็ดเลือดแดงทีพ่ บไดบอ ย คือโรคเลือดจาง ซึ่งหมายถึง การที่มีปริมาณเซลลเม็ดเลือดแดงนอยกวาปกติ

มุม IT ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับระบบไหลเวียนโลหิต ไดจาก http://www.nookjung. com/health/34/comment-page-1

6

คู่มือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

เพราะเหตุใด การวัดชีพจรจึงตองจับที่เสนเลือดแดง แนวตอบ เพราะเสนเลือดแดงจะเปนเสนเลือดขนาดใหญที่ลําเลียงเลือด จากหัวใจ ทุกครั้งที่หัวใจมีการบีบตัว เสนเลือดแดงก็จะหดขยายตามแรง เหลานั้นไปตลอดเสน และเมื่อถึงบริเวณที่เสนเลือดแดงขึ้นมาใกลผิวหนัง แลวเราเอานิ้วไปสัมผัส จะสามารถรูสึกไดถึงการหด ขยาย หรือการเตน ของหัวใจนั้นได

บูรณาการเชื่อมสาระ

สามารถนําเนื้อหาเรื่อง ระบบไหลเวียนโลหิต ไปบูรณาการเชื่อมโยงกับ กลุม สาระการเรียนรูว ทิ ยาศาสตร วิชาวิทยาศาสตร เรือ่ ง ระบบหมุนเวียนเลือด


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engage

Explore

อธิบายความรู้ อธิบExplain ายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู้

ครูนําโมเดลจําลองหัวใจมาใหนักเรียนดู จากนั้นครูสุมนักเรียน 2-3 คน ใหออกมาชวยกัน สรุปหนาที่การทํางานของหัวใจโดยใชโมเดล จําลองประกอบการอธิบาย จากนั้นครูและนักเรียน คนอื่นๆ รวมกันเสนอแนะเพิ่มเติม และตั้งคําถาม เพื่อใหไดขอสรุปที่ถูกตองรวมกัน • จากโมเดลจําลองพบวา ภายในหัวใจ แบงออกเปน 4 หอง นักเรียนคิดวา แตละ หองจะทําหนาที่ตางกันหรือเหมือนกัน อยางไร (แนวตอบ หัวใจแตละหองจะทําหนาทีต่ า งกัน โดยหัวใจหองบนขวา จะมีหนาทีร่ บั เลือดเสีย หรือเลือดดําจากทุกสวนของรางกาย หัวใจ หองบนซาย มีหนาทีร่ บั เลือดดีหรือเลือดแดง จากปอด หัวใจหองลางขวา มีหนาทีร่ บั เลือด จากหัวใจหองบนขวา แลวสงเลือดไปฟอก ทีป่ อด เพื่อสูบฉีดเลือดไปยังปอด และหัวใจ หองลางซาย มีหนาที่รับเลือดดีจากหัวใจ หองบนซาย แลวสงไปเลี้ยงทั่วรางกาย ซึ่งหัวใจหองนี้จะทํางานหนักที่สุด จึงมี ผนังหัวใจหนาที่สุด)

1 ๑.๒) เซลลเม็ดเลือดขาว ดขาว (White blood cell) (White blood cell) เป็นเซลล์เม็ดเลือดที่มีขนาดใหญ่ กว่าเซลล์เม็ดเลือดแดง มีนิวเคลียสแต่ไม่มีฮีโมโกลบิน สามารถเคลื่อนไหวได้โดยอิสระ และ ลอดผ่านผนังของหลอดเลือดขนาดเล็กเข้าสู่เนื้อเยื่อต่างๆ ของร่างกายได้ ท�าหน้าที่ต่อต้าน ท�าลายเชื้อโรค สิ่งแปลกปลอม และสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่ร่างกาย แบ่งออกเป็น ๒ พวกใหญ่ๆ เซลล์เม็ด คือ แกรนูโลไซต์ (Granulocyte) เป็นพวกที่ เลือดขาว มีแกรนูลของไลโซโซมจ�านวนมากในไซโทพลาสซึ ม พวกนี้ จ ะสร้ า งมาจากไขกระดู ก มีนิวเคลียส มีอายุประมาณ ๒-๓ วัน และ อะแกรนูโลไซต์ (Agranulocyte) เป็นพวกที่ ไม่มีแกรนูลของไลโซโซมอยู่ในไซโตพลาสซึม เซลล์เม็ด พวกนี้ ถู ก2สร้ า งจากอวั ย วะน�้ า เหลื อ ง ได้ แ ก่ เลือดแดง เกร็ด ต่อมไทมัส ต่อมน�า้ เหลือง ม้าม มีอายุประมาณ เลือด ๑๐๐-๓๐๐ วัน นประกอบต่างๆ ของเลือดมีหน้าที่เฉพาะตัว เมื่อ ๑.๓) เกล็ดเลือด (Platelet) ส่ร่าวงกายเสี ยเลือดจะท�าให้เกิดอาการผิดปกติขึ้น เป็นส่วนประกอบของเลือดทีไ่ ม่ใช่เซลล์ แต่เป็น ส่วนประกอบชิ้นเล็ก ๆ ของเซลล์ ปกติจะมีรูปร่างคล้ายจานแบนๆ มีขนาดเล็กมาก ไม่มีสีและ ไม่มีนิวเคลียส ท�าหน้าที่ช่วยท�าให้เลือดแข็งตัวเมื่อเกิดบาดแผล โดยการแข็งตัวของเลือดตรง ส่วนนั้น จะเกิดขึ้นเมื่อมีเลือดไหลออกจากบาดแผล เลือดก็จะเปลี่ยนเป็นลิ่มคล้ายวุ้น เรียกว่า “ลิ่มเลือด” ซึ่งประกอบด้วยไฟบริน โดยมีเกล็ดเลือดเป็นตัวกระตุ้นปฏิกิริยา ลิ่มเลือดจะท�าหน้าที่ ช่วยห้ามเลือดและป้องกันมิให้เชื้อโรคเข้าสู่บาดแผล ๒) หัวใจ (Heart) เป็นอวัยวะที่ส�าคัญที่สุดในระบบไหลเวียนโลหิต มีขนาดเท่าก�าปั้น ของบุคคลผู้เป็นเจ้าของ ตั้งอยู่ในทรวงอกระหว่างปอดทั้ง ๒ ข้าง ซึ่งอยู่ทางด้านซ้ายของร่างกาย มีพื้นที่ประมาณ ๒ ใน ๓ ส่วน มีส่วนประกอบที่ส�าคัญคือ “เยื่อหุ้มหัวใจ” มีลักษณะเป็นถุงหุ้มอยู่ รอบๆ หัวใจ มีหน้าทีป่ อ้ งกันอันตรายทีจ่ ะเกิดขึน้ กับหัวใจ และช่วยให้หวั ใจมีการเคลือ่ นไหวสะดวก ไม่เสียดสีกัน และ “ผนังหัวใจ” ซึ่งประกอบด้วยผนัง ๓ ชั้น คือ เอ็พพิคาร์เดียม (Epicardium) อยู่ชั้นนอกสุด มัยโอคาร์เดียม (Myocardium) อยู่ชั้นกลาง และเอนโดคาร์เดียม (Endocardium) อยู่ชั้นในสุด 3 ภายในหัวใจจะแบ่งออกเป็น ๔ ห้อง คือ ข้างบน ๒ ห้อง ข้างล่าง ๒ ห้อง โดยมี ลิ้นหัวใจ กั้นระหว่างห้องบนและห้องล่าง ซึ่งแต่ละห้องมีหน้าที่ ดังนี้ http://www.aksorn.com/LC/He/M5/02

Explain

EB GUIDE 7

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

เซลลเม็ดเลือดแดงและเซลลเม็ดเลือดขาว ทําหนาที่ตางกันอยางไร 1. เซลลเม็ดเลือดแดงฆาเชื้อโรค เซลลเม็ดเลือดขาวลําเลียงแกส 2. เซลลเม็ดเลือดแดงลําเลียงแกส เซลลเม็ดเลือดขาวฆาเชื้อโรค 3. เซลลเม็ดเลือดแดงฆาเชื้อโรค เซลลเม็ดเลือดขาวชวยใหเลือดแข็งตัว 4. เซลลเม็ดเลือดแดงชวยใหเลือดแข็งตัว เซลลเม็ดเลือดขาวฆาเชื้อโรค

วิเคราะหคําตอบ เซลลเม็ดเลือดแดงและเซลลเม็ดเลือดขาวทําหนาที่ ตางกัน โดยเซลลเม็ดเลือดแดงจะทําหนาที่ขนสงแกสออกซิเจนจากปอด ไปยังเนื้อเยื่อ และนําแกสคารบอนไดออกไซดจากเนื้อเยื่อไปขจัดออก ทางปอด สวนเซลลเม็ดเลือดขาวจะทําหนาที่ตอตานทําลายเชื้อโรค สิ่งแปลกปลอม และสรางภูมิคุมกันใหแกรางกาย ตอบขอ 2.

นักเรียนควรรู 1 เซลลเม็ดเลือดขาว ในเลือดของคนปกติจะมีเซลลเม็ดเลือดขาวประมาณ 1 เปอรเซ็นต หรือมีอยูประมาณ 5,000 -10,000 เซลลในเลือดหนึ่งมิลลิลิตร ซึ่งใน ทางการแพทยจะใชจํานวนของเซลลเม็ดเลือดขาวเปนขอบงชี้ของโรค เชน ผูที่ปวย เปนโรคลูคิเมียหรือมะเร็งเม็ดเลือดขาว จะมีจํานวนเซลลเม็ดเลือดขาวมากกวาปกติ 2 ตอมไทมัส มีลักษณะเปนพู มีตําแหนงอยูระหวางกระดูกอกกับหลอดเลือดใหญ ของหัวใจ มีหนาที่สรางเซลลเม็ดเลือดขาวลิมโฟไซตชนิดที หรือเซลลที (T-cell) 3 ลิ้นหัวใจ เปนแผนของกลามเนื้อหัวใจและเนื้อเยื่อเกี่ยวพันที่แข็งแรงที่ยื่นออก มาจากผนังของหัวใจ เพื่อควบคุมทิศทางการไหลของเลือดภายในหัวใจใหเปนไปใน ทิศทางเดียวกัน โดยอาศัยความแตกตางของความดันโลหิตในแตละหอง

คู่มือครู

7


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engage

Explore

อธิบายความรู้

อธิบายความรู้ อธิบExplain ายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

ใหนักเรียนรวมกันตอบคําถามจากบทเรียน ซึ่งครูจะใหคะแนนโบนัสสําหรับนักเรียนที่ตอบ คําถามไดถูกตอง และมีสวนรวมในการแสดง ความคิดเห็น ซึ่งคําถามมี ดังนี้ • หลอดเลือดแบงออกเปนกี่ชนิด มีอะไรบาง (แนวตอบ หลอดเลือดแบงออกเปน 3 ชนิด ไดแก หลอดเลือดแดง (Artery) หลอดเลือดดํา (Vein) และหลอดเลือดฝอย (Capillary)) • หลอดเลือดใดที่สามารถเกิดการเปราะของ เสนเลือดไดงายที่สุด และมีหนาที่ในการ ทํางานอยางไร (แนวตอบ คือ หลอดเลือดฝอย เนื่องจากเปน หลอดเลือดที่มีขนาดเล็กมาก จึงเกิดการ เปราะไดงาย มีหนาที่นําเลือดจาก หลอดเลือดแดงไปยังเซลล และนําเลือดดํา จากเซลลไปยังหลอดเลือดดํา หลอดเลือดฝอย จึงเปรียบเสมือนตัวกลางที่เชื่อมโยงระบบ ไหลเวียนโลหิตระหวางหลอดเลือดแดงและ หลอดเลือดดํา ซึ่งทําใหระบบไหลเวียนโลหิต สามารถทําหนาที่ไดอยางมีประสิทธิภาพ)

แผนภาพแสดงส่วนประกอบและหน้าทีข่ องหัวใจทัง้ ๔ ห้อง หั ว ใจห้ อ งบนขวา (Right atrium) เป็ น ช่ อ งที่ รับเลือดเสียหรือเลือดด�าจากทุกส่วนของร่างกาย ซึง่ น�ามา โดยหลอดเลือด ๓ เส้น คือ หลอดเลือดด�าใหญ่บน รับเลือด จากส่วนบนของร่างกาย หลอดเลือดด�าใหญ่ล่าง รับเลือด จากส่วนล่างของร่างกาย และโพรงโลหิตด�า ของหัวใจ รับเลือดจากกล้ามเนื้อของหัวใจ เอง หัวใจห้องบนขวาเปิ1ดสูห่ วั ใจห้องล่าง ขวาผ่านลิ้นไตรคัสปิด (Tricuspid valve) ซึ่งกั้นอยู่ระหว่างหัวใจห้อง บนและห้องล่าง ลิ้นนี้จะปิดตอน หัวใจห้องล่างบีบตัว เพื่อป้องกัน ไม่ให้เลือดไหลกลับเข้าหัวใจห้อง บนขวา

หัวใจห้องบนซ้าย (Left atrium) รับเลือดดี หรือเลือดแดงจากปอด ซึ่งถูกส่งมาทางหลอดเลือดด�า จากปอดสู่ห2ัวใจและเปิดเข้าสู่หัวใจห้องล่างซ้าย ผ่าน ลิ้นไบคัสปิด (bicuspid valve) ซึ่งท�าหน้าที่เหมือนลิ้น ไตรคัสปิด

หัวใจห้องล่างขวา (Right ventricle) รับเลือดจากหัวใจห้องบนขวา แล้ว ส่งเลือดไปฟอกทีป่ อด เนือ่ งจากหัวใจห้องล่างต้องท�าหน้าที่ สูบฉีดเลือดไปยังปอด เพราะฉะนั้นผนังจะหนากว่าหัวใจ ห้องบน ส่วนที่อยู่ในหัวใจมีลิ้นลักษณะเป็นเสี้ยวจันทร์ เรียกว่า ลิ้นเซมิลูนาร์ (Semilunar valve) ซึ่งป้องกันไม่ให้ เลือดไหลกลับเข้าหัวใจห้องล่างในขณะที่หัวใจห้องล่าง คลายตัว

หั ว ใจห้ อ งล่ า งซ้ า ย (Left ventricle) รั บ เลื อ ดดี จ ากหั ว ใจห้ อ ง บนซ้าย แล้วส่งไปเลี้ยงทั่วร่างกาย หัวใจห้องนี้จะ ท�างานหนักที่สุด จึงมีผนังหัวใจหนาที่สุด การสูบฉีด เลือดไปเลี้ยงทั่วร่างกาย จะผ่านทางหลอดเลือดแดง ใหญ่ ซึ่งภายในมีลิ้นเอออร์ติก (Aortic valve) ลักษณะ คล้ายเสี้ยวจันทร์ปิดกั้นไม่ให้เลือดไหลกลับ ซึ่งหัวใจ ห้องล่างขวาและซ้ายจะบีบตัวพร้อมกัน

3

๓) หลอดเลือด (ฺBlood vessels) แบ่งออกเป็น ๓ ชนิด ได้แก่

๓.๑) หลอดเลือดแดง (Artery) เป็นหลอดเลือดที่น�าเลือดออกจากหัวใจ เพราะ ฉะนั้นหลอดเลือดแดงจึงเป็นเส้นทางน�าเลือดที่มีปริมาณออกซิเจนสูง ไปยังหลอดเลือดฝอย เพื่อน�าไปเลี้ยงเซลล์ต่างๆ ของร่างกายต่อไป ๓.๒) หลอดเลือดด�า (Vein) เป็นหลอดเลือดทีน่ า� เลือดจากส่วนต่างๆ ของร่างกาย กลับเข้าสู่หัวใจ ซึ่งเลือดที่อยู่ในหลอดเลือดด�ามีปริมาณของออกซิเจนอยู่น้อย ๓.๓) หลอดเลือดฝอย (Capillary) เป็นหลอดเลือดที่มีขนาดเล็กมาก มีหน้าที่ น�าเลือดจากหลอดเลือดแดงไปยังเซลล์ และน�าเลือดด�าจากเซลล์ไปยังหลอดเลือดด�า หลอดเลือดฝอย จึงเปรียบเสมือนตัวกลางทีเ่ ชือ่ มโยงระบบไหลเวียนโลหิตระหว่างหลอดเลือดแดงและหลอดเลือดด�า ซึ่งท�าให้ระบบไหลเวียนโลหิตสามารถท�าหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 8

นักเรียนควรรู 1 ลิ้นไตรคัสปด อยูระหวางหัวใจหองบนขวาและหองลางขวา มีลักษณะเปน แผน 3 แผน 2 ลิ้นไบคัสปด อยูที่โคนของเสนเลือดพัลโมนารีอารเทอรี มีลักษณะเปนถุง รูปพระจันทรครึ่งเสี้ยว 3 ใบบรรจบกัน แตไมไดยึดติดกันดวยเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน 3 หลอดเลือด มีอยูในทุกสวนของรางกายทําหนาที่นําสารอาหารและ แกสออกซิเจนที่ลําเลียงไปกับเลือดไปเลี้ยงสวนตางๆ ของรางกาย เมื่อไปถึงเซลล จะมีการแลกเปลี่ยนอาหารและแกสตางๆ ซึ่งถานําหลอดเลือดในรางกายมาตอกัน จะมีความยาวประมาณ 160,934.4 กิโลเมตร

8

คู่มือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

โรคของหลอดเลือดที่พบไดบอยที่สุด คือโรคใด 1. โรคมะเร็ง 2. โรคเบาหวาน 3. โรคเสนเลือดขอด 4. โรคความดันโลหิต วิเคราะหคําตอบ โรคของหลอดเลือดที่พบไดบอยที่สุด คือ โรคเสนเลือด ขอด ซึ่งเกิดจากความผิดปกติของลิ้นและผนังของหลอดเลือด ซึ่งลิ้นใน หลอดเลือดดํานั้น เปนกลไกสําคัญในการปองกันเลือดไหลยอนกลับ และ การนั่งนานๆ หรือยืนนานๆ ก็อาจเปนสาเหตุที่ทําใหเกิดโรคนี้ได โดย อาการนั้น จะมีอาการปวดขาเมื่อยืนหรือนั่งนานๆ และมีเสนเลือดที่ขา โปงออก ตอบขอ 3.


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engage

Explore

อธิบายความรู้ อธิบExplain ายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู้

ใหนักเรียนรวมกันตอบคําถามตอจากบทเรียน ซึ่งครูใหคะแนนโบนัสสําหรับนักเรียนที่ตอบคําถาม ไดถกู ตอง และมีสว นรวมในการแสดงความคิดเห็น • หลอดนํ้าเหลืองมีหนาที่อยางไร (แนวตอบ หลอดนํ้าเหลืองมีหนาที่นํานํ้า และโปรตีนกลับเขาสูเลือด) • ตอมนํ้าเหลืองมีความสําคัญอยางไรกับ รางกายของเรา (แนวตอบ ตอมนํ้าเหลืองมีความสําคัญกับ รางกายของเรามาก เนื่องจากจะเปนที่ ผลิตเม็ดเลือดขาว กักเก็บวัตถุแปลกปลอม ที่เขาสูกระแสนํ้าเหลือง อีกทั้งยังชวยปองกัน อันตรายใหแกรางกาย เพื่อใหรางกาย สามารถตอตานเชื้อโรคหรือทําลาย เชื้อโรคได) • อาการบวมนํ้า เกิดขึ้นไดอยางไร (แนวตอบ อาการบวมนํ้าเกิดขึ้นเมื่อของเหลว ที่ควรเดินทางผานหลอดเลือดและนํ้าเหลือง กลับซึมออกมาสูเซลลและชองวางระหวาง เซลล เนือ่ งจากรางกายไดรบั ปริมาณโซเดียม มากเกินไปจึงทําใหเกิดอาการบวมนํ้าขึ้นที่ บริเวณมือ ขอเทา และขา)

๔) น�้าเหลืองและหลอดน�้าเหลือง (Lymph and Lymphatic vessels) หลอด

น�า้ เหลืองเป็นส่วนหนึง่ ของระบบไหลเวียนโลหิต ท�าหน้าทีน่ า� น�า้ และโปรตีนกลับเข้าสูเ่ ลือด ภายใน หลอดน�้าเหลืองประกอบด้วยน�้าเหลือง ซึ่งได้จากเลือด มีลักษณะใสคล้ายน�้า หลอดน�้าเหลืองมี โครงสร้างคล้ายเส้นเลือดด�า แต่มีลิ้นจ�านวนมากกว่า จึงมีผลท�าให้น�้าเหลืองไหลไปทางเดียว เมื่อน�้าเหลืองไหลผ่านหลอดน�้าเหลือง จะมองเห็นจากภายนอกเป็นเม็ดๆ อยู่เรียงกันไป ทั้งนี้ ผนังหลอดน�้าเหลืองตอนที่ไม่มีลิ้นกั้นจะป่อง ออกมา เนื่องจากมีปริมาณของน�้าเหลืองไหล เข้าไปมาก ขณะที่แขนงของหลอดน�้าเหลือง มีจ�ากัด ไม่เหมือนหลอดเลือดซึ่งแตกแขนง กระจัดกระจายเข้าไปตามเนื้อเยื่อทั่วไป ตลอด หลอดเลือดด�า ทางของหลอดน�้าเหลืองจะมี ต่อมน�้าเหลือง หลอดเลือดแดง หลอดเลือดฝอย (Lymph node) อยู่ขนาบข้างเป็นระยะๆไป หลอดเลือดแต่ละชนิดมีลกั ษณะทีแ่ ตกต่างกัน โดยหลอด ซึ่งต่อมน�้าเหลืองจะเป็นที่ผลิตเม็ดเลือดขาว เลือดแดงจะมีผนังหนาที่สุดเพื่อให้ทนทานต่อแรงดัน และกั ก เก็ บ วั ต ถุ แ ปลกปลอมที่ เ ข้ า สู ่ ก ระแส เลือดที่ถูกฉีดออกจากหัวใจ รองลงมาคือ หลอดเลือดด�า ส่วนหลอดเลือดฝอย จะมีผนังบางที่สุด น�้าเหลือง อีกทั้งยังช่วยป้องกันอันตรายให้แก่ ร่างกายอีกด้วย

หลอดเลือดด�า

หัวใจ

ต่อมน�้าเหลือง หลอดน�้าเหลือง

การไหลเวียนน�้าเหลืองประกอบด้วยร่างแหของหลอด น�้าเหลืองที่กระจายอยู่ที่ร่างกาย ซึ่งจะล�าเลียงน�้าเหลือง กลับเข้าสู่กระแสเลือด

Explain

การไหลเวียนของน�้าเหลืองไปตาม หลอดน�้าเหลือง อาศัยแรงผลักดันภายนอก หลอดน�้าเหลือง เช่น การหดตัวของกล้ามเนื้อ การเคลื่ อนไหวของอวัยวะภายใน และการ ท�างานของหัวใจ กิจกรรมต่างๆ เหล่านี ้ จะช่วย บีบหลอดน�า้ เหลือง ส่งผลให้นา�้ เหลืองไหลเข้าสู่ เส้นเลือดด�า นอกจากนี้ ก ารไหลเวี ย นของน�้ า เหลืองจะช่วยล�าเลียงของเหลวและสารอาหาร จากทางเดินอาหารกลับสู่ระบบไหลเวียนเลือด รวมทัง้ การถ่ายเทของเหลวและโปรตีนส่วนเกิน ที่ได้รับจากหลอดเลือดฝอยออกจากเนื 1 ้อเยื่อ ต่างๆ ช่วยไม่ให้เกิด อาการบวมน�้า (edema) 9

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

โรคที่มักเรียกกันวา “นํ้าเหลืองเสีย หรือนํ้าเหลืองไมดี” ที่มีสาเหตุเกิดจาก การหมุนเวียนเลือดที่ผิดปกติ สงผลใหผิวหนังมีเลือดมาเลี้ยงไมเพียงพอ ไมสามารถตอสูกับเชื้อโรคตางๆ ได นักเรียนคิดวา ลักษณะอาการของโรค ดังกลาว จะมีลักษณะอาการอยางไร 1. ผื่นตุมพอง และกลายเปนหนอง 2. ปวดตามรางกาย 3. มีไข หนาวสั่น 4. หายใจผิดปกติ วิเคราะหคําตอบ ผูที่มีปญหาเกี่ยวกับโรคระบบนํ้าเหลือง ผิวหนังจะถูก กระตุนไดงาย เพียงแคเกา หรือเมื่อสัมผัสโดยตรงกับสารที่แพ ผิวหนังก็จะ ปลอยสารกอภูมิแพขึ้น ทําใหเกิดผื่นขึ้นเปนตุมพอง มีอาการคันซึ่งเมื่อเกา จนเปนแผลก็จะนําไปสูการเปนหนอง หรือบางครั้งถึงขั้นติดเชื้อที่ผิวหนังได

เกร็ดแนะครู ครูสามารถแนะนํานักเรียนเพิ่มเติมเกี่ยวกับเซลลเม็ดเลือดขาว ที่เปนสวนที่ รางกายสรางขึ้นมาเพื่อตอตานหรือตอสูกับเชื้อโรค ซึ่งเรียกวา ภูมิคุมกัน แตถา รางกายของเรามีความผิดปกติของระบบภูมิคุมกันจะสงผลใหเกิดโรคตางๆ เชน โรคภูมิแพ โรคเอดส เปนตน

นักเรียนควรรู 1 อาการบวมนํ้า สาเหตุที่พบไดบอย คือ บริโภคอาหารที่มีโซเดียมมากเกินไป การสวมถุงเทาที่ยาวถึงเขาและรัดแนนดานบน การยืนนานๆ และการนั่งหอยขา ก็สามารถทําใหขอเทาบวมได

ตอบขอ 1.

คู่มือครู

9


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engage

Explore

อธิบายความรู้

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ Expand าใจ ขยายความเข้

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบExplain ายความรู้

Explain

ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 3-4 คน โดยให แตละกลุมสงตัวแทนออกมารวมพูดคุยแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นถึงกระบวนการในการทํางานของ ระบบไหลเวียนโลหิต และเสนอแนะแนวทาง การสรางเสริมและดํารงประสิทธิภาพการทํางาน ของระบบไหลเวียนโลหิตรวมกัน โดยครูชวยอธิบาย เพิ่มเติม

ขยายความเข้าใจ

2.2 กระบวนการท�างานของระบบไหลเวียนโลหิต กระบวนการท�างานของระบบไหลเวียนโลหิต ใน ๑ รอบ เป็นกระบวนการที่เลือดต้องไหล ผ่านเข้าสู่หัวใจ ๒ ครั้ง คือ ครั้งแรก เลือดด�าจากส่วนต่างๆ ของร่างกายที่มีปริมาณออกซิเจนต�่า จะกลับเข้าสู่หัวใจห้องบนขวา จากนั้นหัวใจห้องบนขวาจะบีบตัวส่งเลือดไปยังหัวใจห้องล่าง ขวา แล้วจะถูกสูบฉีดออกจากหัวใจห้องล่างขวาไปยังปอด เพื่อไปฟอกหรือแลกเปลี่ยนแก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์กบั แก๊สออกซิเจน เมือ่ เลือดมีปริมาณแก๊สออกซิเจนสูงเพียงพอแล้ว เลือดก็จะ ถูกส่งกลับมายังหัวใจห้องบนซ้ายอีกครัง้ หนึง่ และไหลลงสูห่ วั ใจห้องล่างซ้าย จากนัน้ หัวใจห้องล่าง ซ้ายจะส่งเลือดไปยังส่วนต่างๆ ของร่างกาย โดยมีลนิ้ หัวใจในแต่ละห้องเป็นตัวปิ1ดกัน้ ไม่ให้เลือดไหล ย้อนกลับ ซึ่งการปิดกั้นของลิ้นหัวใจจะเป็นตัวที่ท�าให้เกิด “การเต้ “การเต้นของหัวใจ” ใจ” (Heart beat) ขึ้น กระบวนการท�างานของหัวใจและระบบไหลเวียนโลหิตใน ๑ รอบ

Expand

ใหนักเรียนเขียนสรุปกระบวนการทํางานของ ระบบไหลเวียนโลหิตและเสนอแนะแนวทาง การสรางเสริมและดํารงประสิทธิภาพการทํางาน ของระบบไหลเวียนโลหิตในรูปแบบของผังความคิด

(๑)

หัวใจ หองบนขวา

หัวใจ หองบนซาย

หัวใจ หองลางขวา

หัวใจ หองลางซาย

เลือดจากร่างกายเข้าสู่หัวใจ ห้องบนขวา

(๒)

หัวใจห้องบนขวาบีบตัว ส่งเลือดไปห้องล่างขวา

(๓)

(๔)

หัวใจห้องล่างขวา ส่งเลือดไปปอด

เลือดจากปอดถูกส่งมายัง หัวใจห้องบนซ้ายและไหล ลงสู่หัวใจห้องล่างซ้าย

2.๓ การเสริมสร้างและด�ารงประสิทธิภาพการท�างานของระบบ ไหลเวียนโลหิต

ระบบไหลเวียนโลหิตนับเป็นระบบที่มีความส�าคัญมากระบบหนึ่งของร่างกายมนุษย์ เพราะ นอกจากจะเป็นตัวที่น�าแก๊สออกซิเจนไปยังเซลล์ต่างๆ ทั่วร่างกายแล้ว ยังเป็นตัวขนส่งสารอาหาร ที่ได้จากกระบวนการย่อยอาหาร เพื่อน�าไปใช้ในการเจริญเติบโตของร่างกายอีกด้วย หากมีความ ผิดปกติหรือเป็นโรคเกี่ยวกับระบบไหลเวียนโลหิต อาจท�าให้เกิดอันตรายถึงแก่เสียชีวิตได้ ดังนั้น จึงควรเสริมสร้างและด�ารงประสิทธิภาพการท�างานของระบบไหลเวียนโลหิต เพื่อให้กระบวนการ ท�างานของระบบเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งอาจปฏิบัติตามแนวทาง ดังนี้ ๑. เลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย โดยรับประทานอาหารให้ครบ ๕ หมู่ แต่ละหมู่ให้หลากหลายและเหมาะสมต่อความต้องการของร่างกาย เช่น ผัก ผลไม้ เป็นต้น ไม่ควรรับประทานอาหารที่มีปริมาณไขมันหรือคอเลสเตอรอล สูง เพราะนอกจากจะท�าให้ เป็นโรคอ้วนแล้ว ยังท�าให้เสี่ยงต่อการเป็นโรคเกี่ยวกับหลอดเลือดและหัวใจ อีกด้วย 10

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

นักเรียนควรรู 1 การเตนของหัวใจ อัตราการเตนของหัวใจสําหรับคนปกติในแตละชวงวัย สามารถแบงได ดังนี้

10

อายุ

อัตราการเตนของหัวใจ

1 เดือน

ประมาณ 120 -160 ครั้ง/นาที

1-12 เดือน

ประมาณ 100 -140 ครั้ง/นาที

1- 6 ป

ประมาณ 80 -120 ครั้ง/นาที

6 -12 ป

ประมาณ 70 -120 ครั้ง/นาที

อายุมากกวา 12 ป

ประมาณ 60 -100 ครั้ง/นาที

คู่มือครู

การดูแลปองกันไมใหเกิดโรคความดันโลหิตสูง ควรปฏิบัติดังตอไปนี้ ยกเวน ขอใด 1. พักผอนใหเพียงพอ 2. ไมดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล 3. รับประทานอาหารที่มีรสเค็มจัด 4. ทําจิตใจใหราเริงแจมใสอยูเสมอ วิเคราะหคําตอบ การรับประทานอาหารที่มีรสเค็มจัด หรือมีปริมาณ โซเดียมสูง อาจสงผลใหเกิดโรคความดันโลหิตสูงได เนื่องจากโซเดียม จะมีหนาที่ควบคุมความสมดุลของเหลวในรางกาย และรักษาความดันโลหิต ใหอยูในระดับปกติ หากมีมากเกินไปก็จะสงผลเสียตอรางกาย โดยโซเดียม จะพบมากในผงชูรส อาหารกึ่งสําเร็จรูป ขนมขบเคี้ยว และอาหารกระปอง ซึ่งวิธีการปองกันไมใหรับโซเดียมในปริมาณที่มากเกินไปนั้น ใน 1 วัน ไมควร รับประทานโซเดียมเกิน 6 กรัม หรือเกิน 1 ชอนชาตอวัน ตอบขอ 3.


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา สํารวจค Exploreนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุEngage นความสนใจ

กระตุน ความสนใจ

ครูตั้งคําถามกระตุนความสนใจ โดยให นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็นไดอยางอิสระ • นักเรียนคิดวา เมื่อเรารับประทานอาหาร เขาไปแลว อาหารเหลานั้นจะเกิดการ เปลี่ยนแปลงอยางไร (แนวตอบ อาหารเหลานั้นจะมีโมเลกุลของ สารอาหารขนาดเล็กลงจนสามารถลําเลียง เขาสูเซลลได เนื่องจากเกิดกระบวนการ ยอยอาหาร) • ถารางกายของเราไมมีระบบยอยอาหาร จะเกิดอะไรขึ้น (แนวตอบ จะทําใหรา งกายไมไดรบั สารอาหาร ตางๆ ในการเจริญเติบโต เนื่องจากอาหารที่ เรารับประทานเขาไปนั้นจะไมสามารถ ถูกยอยใหเปนโมเลกุลขนาดเล็ก จนสามารถ เขาสูเซลลตางๆ ของรางกายได รางกาย จึงไมไดรับสารอาหารที่ชวยเสริมสรางให รางกายมีพลังงานเพียงพอในการทํางาน ออกกําลังกาย หรือประกอบกิจกรรมตางๆ ในการดําเนินชีวิต)

๒. หมัน่ ดูแลสุขภาพตนเองอย่างสม�า่ เสมอ ควรตรวจวัดความดันโลหิต หรือตรวจเลือด เพื่อค้นหาโรคเบาหวานโดยเฉพาะผู้ที่มีปัจจัยเสี่ยง เช่น มีญาติป่วยเป็นโรคเบาหวาน เป็นต้น เพื่อที่จะได้ด�าเนินการรักษาได้อย่างทันท่วงที 1 ๓. ไม่ดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ และหลีกเลี่ยงการเสพสารเสพติดทุกชนิด ๔. หมั่นออกก�าลังกายอย่างสม�่าเสมอ ไม่ว่าจะเป็นการวิ่งหรือการเต้นแอโรบิก ก็ตาม จะช่วยท�าให้การท�างานของหัวใจดีขึ้น กล้ามเนือ้ หัวใจแข็งแรง แต่ทงั้ นีค้ วรเลือกวิธกี าร ออกก�าลังกายให้เหมาะสมกับวัยและสภาพ ร่างกายด้วย ๕. ควรหาเวลาในการพักผ่อนให้ เพี ย งพอต่ อ ความต้ อ งการของร่ า งกาย ไม่ หักโหมท�างานหนักจนเกินไป เพราะอาจท�าให้ เกิ ด ความเครี ย ดสะสม จนเป็ น ปั ญ หาต่ อ การพักผ่อนโดยการท�ากิจกรรมที่เหมาะสมกับตนเอง สุขภาพโดยรวม โดยเฉพาะในเรื่องของโรค ช่วยให้เกิดความผ่อนคลายและเป็นการดูแลระบบไหล เวียนโลหิตให้ท�างานได้ปกติ หัวใจได้ ๖. ควรท�าจิตใจให้รา่ เริงแจ่มใสอยูเ่ สมอ เพราะจะส่งผลให้มสี ขุ ภาพกายทีด่ ี หากบุคคลใด ที่มีอารมณ์แปรปรวน หรือเคร่งเครียดเป็นประจ�า อาจมีโอกาสสูงต่อการเกิด โรคความดันโลหิตสูง อาจท�าให้เกิดภาวะหัวใจล้มเหลว หลอดเลือดในสมองแตก ซึ่งเป็นอันตรายต่อชีวิตได้ ๗. เมื่อเกิดความผิดปกติของระบบไหลเวียนโลหิต ควรรีบไปพบแพทย์เพื่อตรวจ สุขภาพ และท�าการรักษาอย่างทันท่วงที

ó. รкºÂ‹อÂอาËาร (Digestive system)

สํารวจคนหา

ระบบย่อยอาหารเป็นระบบที่มีความส�าคัญต่อร่างกาย ซึ่งร่างกายจะต้องใช้สารอาหารต่างๆ ในการเจริญเติบโต เพื่อให้มีพลังงานเพียงพอในการท�างาน ออกก�าลังกาย และประกอบกิจกรรม ต่างๆ ในการด�าเนินชีวิต รวมไปถึงการรักษาอุณหภูมิของร่างกายให้คงที่ด้วย แต่เนื่องจากอาหาร ประเภทต่างๆ ที่เราบริโภคเข้าไปในแต่ละวัน โดยเฉพาะสารอาหารที่ให้พลังงานแก่ร่างกาย คือ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน ล้วนแต่มีโมเลกุลขนาดใหญ่เกินกว่าที่จะล�าเลียงเข้าสู่เซลล์ ส่วนต่างๆ ของร่างกายเพื่อที่จะน�าไปใช้ประโยชน์ได้ ยกเว้นวิตามินและเกลือแร่ ซึ่งมีอนุภาค ขนาดเล็ก จึงจ�าเป็นต้องมีอวัยวะและกลไกการท�างานต่างๆ ที่จะท�าให้โมเลกุลของสารอาหาร มีขนาดเล็กลงจนสามารถล�าเลียงเข้าสู่เซลล์ได้ เราเรียกกระบวนการนี้ว่า “การย่อยอาหาร” http://www.aksorn.com/LC/He/M5/03

Engage

Explore

ใหนักเรียนศึกษาเรื่อง ระบบยอยอาหาร จากหนังสือเรียน โดยมีประเด็นในการศึกษา ดังตอไปนี้ • องคประกอบของระบบยอยอาหาร • กระบวนการทํางานของระบบยอยอาหาร • การสรางเสริมและดํารงประสิทธิภาพ การทํางานของระบบยอยอาหาร

EB GUIDE 11

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

เพราะเหตุใด อาหารจึงตองผานกระบวนการยอย

แนวตอบ เพราะการที่อาหารผานกระบวนการยอย จะทําใหสารอาหาร มีโมเลกุลขนาดเล็กลง ซึ่งสามารถละลายไปกับนํ้า เพื่อใหเกิดกระบวนการ แพรผานเนื้อเยื่อเขาสูเซลลตางๆ ไดสะดวกขึ้น

บูรณาการเชื่อมสาระ

สามารถนําเนื้อหาเรื่อง ระบบยอยอาหาร ไปบูรณาการเชื่อมโยงกับ กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร วิชาวิทยาศาสตร เรื่อง ระบบยอยอาหาร

เกร็ดแนะครู หากมีเวลาในการจัดการเรียนการสอน ครูสามารถนําคลิปวิดีโอเกี่ยวกับ ระบบยอยอาหารมาใหนักเรียนดู เพื่อใหนักเรียนเกิดความเขาใจในกระบวนการ การทํางานของระบบยอยอาหารมากยิ่งขึ้น

นักเรียนควรรู 1 เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล ผลิตจากวัตถุดิบที่มีสวนประกอบของนํ้าตาลมาหมัก และเติมยีสตลงไปเพื่อใหยีสตดูดซึมนํ้าตาลที่อยูในวัตถุดิบ และเปลี่ยนใหกลายเปน แอลกอฮอล ซึ่งผูที่ดื่มแอลกอฮอลเขาไปแลวจะทําใหเสียการทรงตัว พูดไมชัด และ หมดสติ เนื่องจากแอลกอฮอลมีฤทธิ์กดระบบประสาทสวนกลาง

คูมือครู

11


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engage

Explore

อธิบายความรู้

อธิบายความรู้ อธิบExplain ายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

ใหนักเรียนรวมกันแสดงความคิดเห็นวา กระบวนการยอยอาหารนัน้ มีกวี่ ธิ ี และมีองคประกอบ ที่สําคัญไดแกอะไรบาง โดยครูตั้งคําถามกระตุน การเรียนรูของนักเรียน • การยอยอาหารมีกี่วิธี ไดแกอะไรบาง และ ตางกันอยางไร (แนวตอบ มี 2 วิธี ไดแก การยอยเชิงกล คือ การบดเคี้ยวอาหารโดยฟน ซึ่งเปนการ เปลี่ยนแปลงขนาดโมเลกุลของสารอาหาร ใหมีขนาดเล็กลง และการยอยเชิงเคมี คือ การเปลีย่ นแปลงขนาดโมเลกุลของสารอาหาร โดยใชเอนไซมที่เกี่ยวของทําใหโมเลกุลของ สารอาหารเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ทําใหโมเลกุลมีขนาดเล็กลง) • องคประกอบที่สําคัญของระบบยอยอาหาร แบงออกเปนกี่สวน ไดแกอะไรบาง (แนวตอบ แบงออกเปน 3 สวน ไดแก อวัยวะในชองปาก อวัยวะในสวนของ ทอทางเดินอาหาร และอวัยวะเสริมในการ ยอยอาหารอื่นๆ)

การย่อยอาหารมี ๒ วิธี ได้แก่ “การย่อยเชิงกล” คือ การบดเคี้ยวอาหารโดยฟัน เป็นการ เปลี่ยนแปลงขนาดโมเลกุลของสารอาหารให้มีขนาดเล็กลง และ “การย่อยเชิงเคมี” คือ การ เปลี่ยนแปลงขนาดโมเลกุลของสารอาหาร โดยใช้เอนไซม์ ที่เกี่ยวข้องท�าให้โมเลกุลของสารอาหาร เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ท�าให้ได้โมเลกุลที่มีขนาดเล็กลง ในกระบวนการย่อยอาหารนั้น วิธีการทั้ง ๒ วิธี จะด�าเนินการควบคู่และต่อเนื่องกัน เพื่อ ให้สารอาหารสามารถจะดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือด และถูกพาไปยังเซลล์ต่างๆ ของร่างกาย เพื่อสร้างเป็นพลังงานต่อไป

๓.1 องค์ประกอบของระบบย่อยอาหาร กระบวนการย่อยอาหารเพื่อให้ได้สารอาหารที่ร่างกายสามารถน�าไปใช้ประโยชน์ได้นั้น เริ่ ม ต้ น ตั้ ง แต่ เ มื่ อ อาหารเข้ า สู ่ ร ่ า งกายทางปากไปจนถึ ง ขั บ ถ่ า ยออกมาทางทวารหนั ก ซึ่ ง องค์ประกอบที่ส�าคัญของระบบย่อยอาหาร แบ่งออกเป็น ๓ ส่วน ดังนี้ ๑) ส่วนที่ ๑ เริ่มตั้งแต่อวัยวะในช่องปาก คือ ริมฝีปาก แก้ม เพดานปาก ฟัน เหงือก ลิน้ จนถึงคอหอย โดยอวัยวะภายในช่องปากจะมีอวัยวะเสริมทีม่ สี ว่ นช่วยในการย่อยอาหาร ได้แก่ ๑.๑) ฟน (Teeth) เป็นอวัยวะที่แข็งแรงที่สุด และมีหน้าที่ส�าคัญ คือ การย่อย เชิงกล โดยการบดเคี้ยวของฟันจะท�าให้อาหารมีขนาดเล็กลง ๑.๒) ลิ้น (Tongue) มีส่วนช่วยในการคลุกเคล้าอาหาร การกลืน และมีส่วน เกี่ยวข้องกับการรับรส เนื่องจากบริเวณเยื่อบุผิวของลิ้นนั้นจะมีตุ่มนูนเล็กๆ เรียกว่า “พาพิลลา” (Papilla) ซึ่งสามารถรับรสได้ เมื่ออวัยวะรับ รสที่ลิ้นได้รับการกระตุ้น จะท�าให้ต่อมน�้าลาย ขั บ น�้ า ลายเพิ่ ม มากขึ้ น1 โดยในน�้ า ลายจะมี เอนไซม์ทชี่ อื่ ว่า อะไมเลส (Amylase) ท� อะไมเลส (Amylase) ท�าหน้าที่ เปลี่ยนแป้งให้เป็นน�้าตาลมอลโทส (Maltose) ซึ่งเอนไซม์ดังกล่าวจะท�างานได้ดีในสภาพที่ เป็นด่างเล็กน้อย และลิ้นของมนุษย์นั้นมีความ รู้สึกที่ไวที่สุด ทั้งนี้อาจจะเป็นกลไกที่ลิ้นสร้าง ขึน้ มาป้องกันตนเอง เช่น ถ้ารับประทานอาหาร รสขมจะท� า ให้ ค นเราคายอาหารนั้ น ออกมา ปากเป็นอวัยวะส�าคัญเริ่มแรกส�าหรับการย่อยอาหาร ซึ่งภายในปากจะมีทั้งการย่อยเชิงกลและย่อยทางเคมี ทันที 12

นักเรียนควรรู 1 อะไมเลส เปนเอนไซมที่ทําหนาที่เปลี่ยนแปงใหเปนนํ้าตาล หากรางกายขาด เอนไซมอะไมเลส จะทําใหเกิดหนองภายในชองปากไดงายมาก โดยเฉพาะผูที่ ปวดฟนหรือปวดเหงือกรอบฟน ซึ่งสาเหตุเนื่องมาจากการรับประทานอาหารที่มี รสหวานจัดเปนประจํา จึงสงผลใหรางกายผลิตเอนไซมอะไมเลสไมทัน

มุม IT ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับระบบยอยอาหาร ไดจาก http://www.youtube.com/ watch?v=UWD7SVNXP7w

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

อวัยวะใดในระบบยอยอาหารที่มีกระบวนการยอยและการดูดซึมมากที่สุด 1. ปาก 2. ลําไสเล็ก 3. ลําไสใหญ 4. กระเพาะอาหาร วิเคราะหคําตอบ อวัยวะในระบบยอยอาหารที่มีกระบวนการยอยและ การดูดซึมมากที่สุด คือ ลําไสเล็ก โดยเอนไซมในลําไสเล็กจะทํางานไดดี ในสภาพที่เปนดาง ซึ่งจะมีการยอยอาหารทั้งคารโบไฮเดรต โปรตีน และ ไขมัน สําหรับวิตามิน แรธาตุและนํ้า จะถูกดูดซึมผานผนังลําไสเล็กเขาสู หลอดเลือดฝอย และหลอดนํ้าเหลือง แลวลําเลียงตอไปยังเซลลตางๆ ทัว่ รางกาย สวนอาหารทีไ่ มถกู ยอยหรือยอยไมไดกจ็ ะถูกสงตอไปยังลําไสใหญ

ตอบขอ 2.

12

คู่มือครู


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engage

Explore

อธิบายความรู้ อธิบExplain ายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู้

Explain

ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับ องคประกอบของระบบยอยอาหาร โดยครูและ นักเรียนรวมกันเสนอแนะเพิ่มเติม และตั้งคําถาม เพื่อใหไดขอสรุปที่ถูกตองรวมกัน • หลอดอาหารมีหนาที่อยางไร (แนวตอบ หลอดอาหารมีหนาทีล่ าํ เลียงอาหาร จากหลอดคอเพือ่ ผานลงสูก ระเพาะอาหาร โดยการหดตัวและคลายตัวของชัน้ กลามเนือ้ ซึง่ บีบตัวในลักษณะลูกคลืน่ เปนระยะๆ จน อาหารเคลือ่ นทีล่ งสูก ระเพาะอาหารจนหมด) • เพราะเหตุใด รูปรางและขนาดกระเพาะอาหาร ของแตละคนจึงมีความแตกตางกัน (แนวตอบ เพราะขึน้ อยูก บั รูปรางของแตละคน เชน บางคนรูปรางใหญอาจมีกระเพาะอาหาร ที่ใหญตามไปดวย เปนตน หรือขึน้ อยูก บั การรับประทานอาหารในแตละมื้อ ซึ่งใน ขณะที่ยังไมไดรับประทานอาหาร กระเพาะอาหารจะมีขนาดปกติตามรูปราง ของแตละคน แตเมื่อไดรับประทานอาหาร เขาไป กระเพาะอาหารจะสามารถขยายตัว ไดถึง 10 - 40 เทา)

๒) ส่วนที่ ๒ อวัยวะในส่วนของ ท่อทางเดินอาหาร มีลกั ษณะเป็นท่อกล้ามเนือ้

เริม่ ตัง้ แต่หลอดอาหาร ลงไปยังกระเพาะอาหาร ปาก ล�าไส้เล็ก และล�าไส้ใหญ่ ๒.๑) หลอดอาหาร (Esophagus) มี ลั ก ษณะเป็ น ท่ อ กล้ า มเนื้ อ เรี ย บ หลอดอาหาร 1 มีความยาวประมาณ ๑๐ นิว้ อยูร่ ะหว่างคอหอย และกระเพาะอาหาร ในบริเวณนี้จะมีการสร้าง ตับ เมือกเพื่อให้เกิดการหล่อลื่น และมีการย่อย กระเพาะ อาหาร เชิงกลโดยการบีบตัวของกล้ามเนื้อทางเดิน อาหารเป็นช่วง ๆ ท�าให้อาหารสามารถเคลือ่ นที่ ล�าไส้ใหญ่ ล�าไส้เล็ก ลงสู่กระเพาะอาหารได้ 2 กระเพาะอาหาร (Stomach) ๒.๒) กระเพาะอาหาร (Stomach) ระบบทางเดินอาหารของมนุษย์เป็นระบบพื้นฐานของ ร่างกายในการแปรรูปพลังงานจากอาหารเพือ่ ให้รา่ งกาย มีลักษณะรูปร่างคล้ายตัวเจ (J) เป็นท่อที่มี สามารถน�าไปใช้ได้ ลั ก ษณะโป่ ง พองทางด้ า นบน ส่ ว นบนของ 3 กระเพาะอาหารจะต่ออยู่กับหลอดอาหาร ปลายส่วนล่างจะต่อกับล�าไส้เล็กส่วนดูโอดินัม (Duodenum) รูปร่างและขนาดของกระเพาะอาหารจะแตกต่างกันออกไปในแต่ละบุคคล และในแต่ละมื้อ ของอาหารที่รับประทานเข้าไป ในขณะที่ยังไม่ได้รับประทานอาหาร กระเพาะอาหารจะมีขนาด ๕๐ ลูกบาศก์เซนติเมตร แต่เมื่อได้รับประทานอาหารเข้าไป กระเพาะอาหารสามารถขยายตัวได้ อีก ๑๐ - ๔๐ เท่า ในกระเพาะอาหารจะมีการย่อยเชิงกล โดยการบีบตัวของกล้ามเนือ้ ทางเดินอาหาร และมีการย่อยทางเคมีโดยเอนไซม์เปบซิน (Pepsin) ซึ่งจะท�างานได้ดีในสภาพที่เป็นกรด ชั้นใน สุดของกระเพาะอาหารจะมีต่อมสร้างน�้าย่อย คือ เอนไซม์เปบซินและกรดไฮโดรคลอริกเป็นส่วน ประกอบ โดยเอนไซม์เปบซินจะย่อยโปรตีนให้เป็นเปบไทด์ (Peptide) นอกจากนีใ้ นกระเพาะอาหาร นี้ยังมีเอนไซม์อยู่อีกชนิดหนึ่งชื่อว่า “เรนนิน” (Rennin) ท�าหน้าที่ย่อยโปรตีนในน�้านม ๒.๓) ล�าไส้เล็ก (Small intestine) เป็นส่วนของทางเดินอาหาร อยูร่ ะหว่างกระเพาะ อาหารกับล�าไส้ใหญ่ทมี่ คี วามยาวมากทีส่ ดุ ประมาณ ๒๑ ฟุต หรือประมาณ ๓.๔ เมตร และมีขนาด เส้นผ่านศูนย์กลาง ประมาณ ๑ นิ้ว มีลักษณะขดพับทบไปทบมา เพื่อให้สามารถบรรจุอยู่ใน ช่องท้องได้ แบ่งออกเป็น ๓ ส่วน คือ 1๓

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

การเคี้ยวอาหารใหละเอียด สงผลดีตอระบบการยอยอาหารอยางไร

แนวตอบ การเคี้ยวอาหารใหละเอียดกอนกลืนมีความสําคัญมาก เพราะ จะสงผลดีตอระบบการยอยอาหาร เนื่องจากการเคี้ยวอาหารเปนขั้นตอนแรก ของกระบวนการยอย ซึ่งถาเราสามารถบดเคี้ยวอาหารใหละเอียดมากๆ ระบบการยอยอาหารก็จะสามารถทํางานไดดียิ่งขึ้น และไมกอใหเกิด โรคทองอืด หรืออาหารไมยอย โดยการเคี้ยวอาหารที่ดีนั้น ควรเคี้ยวอาหาร ใหไดอยางนอย 30 ครั้งตอคํา

นักเรียนควรรู 1 คอหอย ทําหนาที่เปนทางผานของหลอดลมหรืออากาศจากจมูกไปยัง กลองเสียง และเปนทางผานของอาหารไปยังหลอดอาหาร 2 กระเพาะอาหาร ถากระเพาะอาหารมีการหลั่งกรดมากเกินไป หรือ ความตานทานของผิวเยื่อบุอาหารลดลง จะทําใหเกิดแผลในกระเพาะอาหาร สงผลใหมีอาการปวดแสบ จุกเสียด จุกแนนตรงบริเวณใตลิ้นป บางครั้งอาจมี เลือดออกหรือเปนแผล สงผลใหเกิดโรคกระเพาะอาหารได 3 ลําไสเล็กสวนดูโอดินัม มีขนาดยาวประมาณ 30 เซนติเมตร รูปรางเหมือน ตัวยูคลุมอยูรอบๆ บริเวณสวนหัวของตับออน ภายในดูโอดินัมมีตอมสรางนํ้ายอย และเปนตําแหนงที่ของเหลวจากตับออนและนํ้าดีจากตับมาเปดเขา จึงเปน ตําแหนงที่มีการยอยเกิดขึ้นมากที่สุด

คู่มือครู

13


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engage

Explore

อธิบายความรู้

อธิบายความรู้ อธิบExplain ายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

ใหนักเรียนดูแผนภาพแสดงสวนประกอบ ของลําไสเล็ก และรวมกันอภิปรายตอเกี่ยวกับ องคประกอบของระบบยอยอาหาร โดยครูและ นักเรียนรวมกันเสนอแนะเพิ่มเติม และตั้งคําถาม เพื่อใหไดขอสรุปที่ถูกตองรวมกัน • ลําไสเล็ก สามารถสรางเอนไซมใดไดบาง (แนวตอบ ไดแก มอลเทส (Maltase) เปน เอนไซมที่ยอยนํ้าตาลมอลโทสใหเปนกลูโคส ซูเครส (Sucrase) เปนเอนไซมที่ยอยนํ้าตาล ทรายหรือนํ้าตาลซูโครสใหเปนกลูโคสกับ ฟรุกโทส และแล็กเทส (Lactase) เปน เอนไซมที่ยอยนํ้าตาลแล็กโทสใหเปนกลูโคส กับกาแล็กโทส) • ไสติ่งอักเสบเกิดมาจากสาเหตุใด (แนวตอบ เกิดจากการอุดตันภายในของรูไสติ่ง เชน มีเศษอาหาร อุจจาระ พยาธิ เปนตน ตกเขาไปหรืออุดตันทําใหมีการติดเชื้อ แลวเกิดการอักเสบขึ้น)

แผนภาพแสดงส่วนประกอบของล�าไส้เล็ก ล�าไส้เล็กส่วนต้น (Duodenum) ยาวประมาณ ๑ ฟุต

เจจู นั ม (Jejunum) ยาว ประมาณ ๘ ฟุต

ไอเลี ย ม (Ileum) ยาว ประมาณ ๑๒ ฟุต

ล�าไส้เล็กเป็นบริเวณที่มีการย่อยและการดูดซึมมากที่สุด โดยเอนไซม์ในล�าไส้เล็ก จะท�างานได้ดีในสภาพที่เป็นด่าง ซึ่งเอนไซม์ที่ล�าไส้เล็กสร้างขึ้น ได้แก่ มอลเทส (Maltase) เป็น เอนไซม์ที่ย่อยน�้าตาลมอลโทสให้เป็นกลูโคส ซูเครส (Sucrase) เป็นเอนไซม์ที่ย่อยน�้าตาลทราย หรือน�้าตาลซูโครสให้เป็นกลูโคสกับฟรุกโทส และแล็กเทส (Lactase) เป็นเอนไซม์ที่ย่อยน�้าตาล แล็กโทสให้เป็นกลูโคสกับกาแล็กโทส นอกจากนี้ การย่อยอาหารที่ล�าไส้เล็กจะใช้เอนไซม์จากตับอ่อนมาช่ว1ยย่อยด้วย เช่น ทริปซิน (Trypsin) ซึ่งเป็นเอนไซม์ที่ย่อยโปรตีนหรือเปบไทด์ให้เป็นกรดอะมิโน อะไมเลส (Amylase) เป็นเอนไซม์ที่ย่อยแป้งให้เป็นน�้าตาลมอลโทส และไลเปส (Lipase) เป็นเอนไซม์ที่ ย่อยไขมันให้เป็นกรดไขมันและกลีเซอรอล ๒.๔) ล�าไส้ใหญ่ (Large intestine) เป็นส่วนปลายของทางเดินอาหารที่ต่อมาจาก บริเวณไอเลียมของล�าไส้เล็ก ยาวประมาณ ๑.๕ เมตร มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ ๓ นิ้ว ซึง่ ประกอบด้วยส่วนทีเ่ รียกว่า “ซีกมั ” (Caecum) “โคลอน” (Colon) และส่วนทีเ่ ป็นไส้ตรงทีต่ อ่ กับ ล�าไส้ใหญ่ ส่วนที่เป็นท่อทวารหนัก เพื่อขับอุจจาระออกสู่ โคลอน กระเปาะล�าไส้ใหญ่ ภายนอกร่างกาย นอกจากนีส้ ว่ นของล�าไส้ใหญ่ (Caecam) ก้อน กากอาหาร ยังมีอวัยวะทีเ่ รียกว่า “ไส้ตงิ่ ” ซึ่งเป็นส่วนที่ยื่น (อุจจาระ) ออกมาจากบริเวณของซีกม ั อยูส่ ว่ นล่างขวาของ ไส้ติ่ง ช่องท้อง ไม่ใช่อวัยวะทีจ่ า� เป็นต่อระบบทางเดิน ไส้ตรง อาหาร โดยไส้ตงิ่ เป็นอวัยวะทีม่ ปี ลายตัน แต่มรี ู ทวารหนัก ที่สามารถท�าให้เศษอาหารหรือเศษอุจจาระตก หลังจากการย่อยอาหารเสร็จสิ้น อาหารส่วนที่เหลือที่ ร่างกายไม่สามารถย่อยได้จะถูกก�าจัดออกทางล�าไส้ใหญ่ เข้าไปได้ ซึ่งในบางครั2้งท�าให้เกิดการอักเสบที่ ในรูปอุจจาระ เรียกว่า “ไส้ ไส้ติ่งอักเสบ” 1๔

นักเรียนควรรู 1 กรดอะมิโน ที่จําเปนสําหรับมนุษยมีทั้งหมด 8 ชนิด ที่รางกายไมสามารถ สังเคราะหเองได ตองไดรับจากอาหารที่รับประทานเทานั้น ไดแก 1. ไอโซลิวซีน (Isoleucine) 2. ลิวซีน (Leucine) 3. ไลซีน (Lysine) 4. เมไทโอนีน (Methionine) 5. ฟนิลอะลานีน (Phenylalanine) 6. ทรีโอนีน (Threonine) 7. ทริปโตเฟน (Tryptophan) 8. วาลีน (Valine) 2 ไสติ่งอักเสบ จะมีอาการปวดทองบริเวณทองนอยดานขวาตํ่ากวาสะดือ มีไขขึ้นสูง เบื่ออาหาร คลื่นไส อาเจียน ทองเสีย ถาไสติ่งอักเสบอยางเฉียบพลัน แพทยจะทําการผาตัดโดยตัดไสติ่งออกทันที

14

คู่มือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ลําไสใหญมีสวนชวยในการยอยอาหารโดยตรงหรือไม อยางไร แนวตอบ ลําไสใหญไมมสี ว นชวยในการยอยอาหารโดยตรง แตจะมีหนาที่ ในการดูดนํา้ และแรธาตุกลับคืนสูร า งกาย โดยหลังจากการยอยอาหาร เสร็จสิน้ อาหารสวนทีเ่ หลือทีเ่ ปนกากอาหารทีร่ า งกายไมสามารถยอยได จะเคลือ่ นทีไ่ ปรวมกันที่ปลายของลําไสใหญเพื่อรอขับถายออกทางทวารหนัก ในรูปของอุจจาระตอไป


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engage

Explore

อธิบายความรู้ อธิบExplain ายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู้

Explain

ครูสุมนักเรียน 2 คน ใหออกมานําเสนอ เกี่ยวกับอวัยวะเสริมในการยอยอาหาร โดยครู และนักเรียนคนอื่นๆ รวมกันเสนอแนะเพิ่มเติม และตั้งคําถามเพื่อใหไดขอสรุปที่ถูกตองรวมกัน • นํ้าดีมีสวนชวยในการยอยอาหารไดอยางไร (แนวตอบ นํ้าดีจะทําหนาที่ยอยโมเลกุลไขมัน ใหเล็กลง เพื่อชวยใหเอนไซมจากตับออน ยอยสลายไขมันไดดีขึ้น และแพรเขาสู เซลลตางๆ ได) • ตับและตับออน มีหนาที่ในการทํางาน ตางกันอยางไร (แนวตอบ ตับ มีหนาที่ผลิตนํ้าดี ซึ่งสามารถ ชวยยอยไขมันในบริเวณลําไสเล็ก สวน ตับออนนั้น มีหนาที่ผลิตนํ้ายอยสําหรับ ยอยโปรตีน คารโบไฮเดรต และไขมัน)

หน้าที่ของล�าไส้ใหญ่ในส่วนครึ่งแรกคือ ดูดซึมของเหลว น�้า เกลือแร่ และน�้าตาล กลู โ คสที่ ยั ง เหลื อ อยู ่ ใ นกากอาหาร ส� า หรั บ ล� า ไส้ ใ หญ่ ส ่ ว นครึ่ ง หลั ง จะเป็ น ที่ พั ก กากอาหาร ซึ่ ง มี ลั ก ษณะกึ่ ง ของแข็ ง ล� า ไส้ ใ หญ่ จ ะขั บ เมื อ กออกมาหล่ อ ลื่ น เพื่ อ ให้ ก ากอาหารเคลื่ อ น ตับ ไปตามล�าไส้ใหญ่ได้ง่ายขึ้น ถ้าล�าไส้ใหญ่ดูดน�้า มากเกิ น ไปเนื่ อ งจากกากอาหารตกค้ า งอยู1่ ในล�าไส้ใหญ่หลายวัน จะท�าให้ กากอาหารแข็ง เกิดความล�าบากในการขับถ่าย ซึ่งเรียกอาการ ตับอ่อน นี้ว่า “ท้องผูก”

๓) ส่วนที ่ ๓ อวัยวะเสริมในการ ย่อยอาหารอื 2 ่นๆ มีหน้าที่หลั่งสารที่เรียกว่า

“เอนไซม์” (Enzyme) ซึง่ เป็นสารประกอบประเภท ถุงน�้าดี โปรตีนที่ร่างกายสร้างขึ้น ท�าหน้าที่เร่งอัตรา การเกิดปฏิกริ ยิ าเคมีในร่างกาย เอนไซม์ทใี่ ช้ใน ตับ ตับอ่อน และถุงน�้าดี เป็นอวัยวะที่ไม่เกิดกระบวน การย่อยสารอาหารนัน้ เรียกว่า “นํา้ ย่อย” อวัยวะ การย่อยอาหารโดยตรง แต่เป็นอวัยวะเสริมที่มีส่วนช่วย เสริมเหล่านี้ ประกอบด้วย ตับ ถุงน�้าดี ตับอ่อน ในการย่อยอาหาร และต่อมน�้าลาย ๓.๑) ตับ (Liver) เป็นอวัยวะซึ่งประกอบด้วยต่อมมีท่อเรียงตัวกันอยู่มากมาย ตับมีน�้าหนักประมาณ ๓ ปอนด์ (๑.๓๖ ก.ก.) มีต�าแหน่งอยู่ในช่องท้องด้านหน้าเยื้องไปทางขวา ติดกับเยื่อกะบังลม เซลล์ตับท�าหน้าที่หลั่งน�้าดี (Bile) น�้าดีที่ผลิตจากเซลล์ตับจะออกจากท่อ ไปรวบรวมเก็บไว้ในถุงน�้าดี (Gall bladder) โดยน�้าดีจะมีประโยชน์ช่วยการย่อยไขมันในบริเวณ ล�าไส้เล็ก ๓.๒) ถุงน�้าดี (Gall bladder) มีลักษณะเป็นถุงคล้ายลูกแพร์ อยู่ใต้ตับ มีขนาด ยาวประมาณ ๘-๑๐ เซนติเมตร กว้าง ๒.๕ เซนติเมตร เป็นที่เก็บน�้าดีที่ผลิตมาจากตับ ส�าหรับน�้าดีนั้น ไม่จัดเป็นเอนไซม์เพราะไม่ใช่สารประกอบประเภทโปรตีน น�้าดีจะมีสีน�้าตาล ปนเหลือง หรืออาจเป็นสีเขียวมะกอกใส ๆ มีรสขม ลักษณะเป็นด่าง ท�าหน้าที่ย่อยโมเลกุล ไขมัน ให้เล็กลง แล้วน�้าย่อยจากตับอ่อนจะย่อยต่อ ท�าให้ได้อนุภาคที่เล็กที่สุดที่สามารถแพร่ เข้าสู่เซลล์ได้ ๓.๓) ตับอ่อน (Pancreas) เป็นอวัยวะที่ท�าหน้าที่เป็นทั้งต่อมมีท่อและต่อมไร้ท่อ เนือ้ เยือ่ ส่วนทีเ่ ป็นต่อมมีทอ่ เป็นเนือ้ เยือ่ ส่วนใหญ่ของตับอ่อน ท�าหน้าทีใ่ นการผลิตน�า้ ย่อยส�าหรับ ย่อยโปรตีน คาร์โบไฮเดรต และไขมัน ซึง่ มีทอ่ เปิดอยูท่ ลี่ า� ไส้เล็กส่วนต้นใกล้กบั ท่อเปิดของท่อน�า้ ดี 1๕

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ขอใดคือโรคที่เกี่ยวของกับระบบทางเดินอาหาร 1. โรคลูคิเมีย 2. โรคตับแข็ง 3. โรคเบาหวาน 4. โรคไทรอยด

วิเคราะหคําตอบ โรคที่เกี่ยวของกับระบบทางเดินอาหาร คือ โรคตับแข็ง เกิดจากการที่เนื้อเยื่อตับถูกทําลายจากการอักเสบเรื้อรังจากสาเหตุตางๆ เชน โรคไวรัสตับอักเสบบีและซี การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล ผลขางเคียง จากยาบางชนิด เปนตน ทําใหตับสูญเสียการทํางาน เมื่อมีการอักเสบเพิ่ม มากขึ้นจะทําใหเกิดการบวมของเนื้อเยื่อตับและเมื่อมีการอักเสบเรื้อรัง เนื้อเยื่อตับจะเปนพังผืดเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ และทําใหตับแข็งในที่สุด ตอบขอ 2.

นักเรียนควรรู 1 กากอาหารแข็ง จะทําใหขับถายลําบากและมีกลิ่นเหม็น สาเหตุเกิดจาก การหมักหมมของเศษอาหารในลําไสใหญ เนื่องมาจากการรับประทานอาหารที่ไมมี กากใย รวมถึงรับประทานอาหารที่มีแตโปรตีนและไขมัน 2 เอนไซม ปจจัยที่มีผลตอการทํางานของเอนไซม ไดแก • อุณหภูมิ เอนไซมแตละชนิดทํางานไดดีที่อุณหภูมิตางกัน ซึ่งเอนไซมในรางกาย มนุษยทํางานไดดีที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส • ความเปนกรด-เบส เชน เอนไซมในกระเพาะอาหารทํางานไดดีในสภาวะ เปนกรด เอนไซมในลําไสเล็กทํางานไดดีในสภาวะเปนเบส เปนตน • ความเขมขน เอนไซมที่มีความเขมขนมากจะทํางานไดดีกวาเอนไซมที่มี ความเขมขนนอย

คู่มือครู

15


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engage

Explore

อธิบายความรู้

อธิบายความรู้ อธิบExplain ายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

ครูขออาสาสมัครนักเรียน 2 คน ใหออกมา สรุปสาระสําคัญจากการศึกษาเกี่ยวกับองคประกอบ ของระบบยอยอาหาร ซึ่งครูจะใหคะแนนโบนัสเพิ่ม คนละ 5 คะแนน หากนักเรียนสามารถสรุป สาระสําคัญไดอยางครบถวนและถูกตอง หลังจากที่นักเรียนสรุปสาระสําคัญเสร็จสิ้น ครูใหนักเรียน 2 คน ดังกลาว ถามคําถามนักเรียน คนอื่นๆ ที่อยูในหอง คนละ 2 คําถาม โดยจะให นักเรียนที่ตองการจะตอบคําถามไดยกมือขึ้น หากนักเรียนคนใดตอบคําถามไดถูกตอง ครูจะให คะแนนโบนัส 1 คะแนน ซึ่งนักเรียนที่ตอบคําถาม ไปแลวไมสามารถตอบคําถามขอตอไปไดอีก เมื่อนักเรียน 2 คน ถามคําถามครบแลว ครูอธิบาย เพิ่มเติมและเสนอแนะเพื่อใหไดขอสรุปที่ถูกตอง รวมกัน

๓.๔) ต่อมน�้าลาย (Salivary gland) มีจ�านวน ๓ คู่ ได้แก่ ต่อมน�้าลายใต้ลิ้น ๑ คู่ มีขนาดเล็กที่สุด อยู่ใต้เยื่อเมือกของปากทั้งสองข้างลิ้นมีท่อเล็กๆ เปิดไปสู่ช่องปาก ต่อมน�้าลาย ใต้ขากรรไกรล่าง ๑ คู่ มีท่อเปิดไปสู่ช่องปากระหว่างใต้ปลายลิ้นกับพื้น ปาก ต่อมน�้าลายใต้กกหู ๑ คู่ เป็นต่อมน�้าลายที่ใหญ่ที่สุด มีท่อเปิดไปสู่ กระพ้งุ แก้ม โดยต่อมน�า้ ลายจะผลิตน�า้ ลายได้วนั ละ ๑-๑.๕ ลิตร จะช่วยคลุกเคล้าอาหาร ท�าให้ อาหารอ่อนนุม่ สะดวกในการกลืน ซึง่ ในน�า้ ลาย จะมีเอนไซม์อะไมเลส มีหน้าที่ย่อยสารอาหาร ประเภทคาร์โบไฮเดรตจ�าพวกแป้งและ ไกลโคเจน ต่อมน�้าลาย ให้มโี มเลกุลขนาดเล็กลง โดยเอนไซม์อะไมเลส จะท�างานได้ดีในสภาวะที่เป็นเบสเล็กน้อย เป็น กลางหรือเป็นกรด ซึ่งจะขึ้นอยู่กับชนิดของ น�า้ ตาลและอุณหภูมปิ กติของร่างกาย (ประมาณ ถ้าหากต่อมน�้าลายได้รับการติดเชื้อไวรัส จะท�าให้ต่อม น�้ า ลายอั ก เสบและเกิ ด อาการบวมได้ ที ่ เ รี ย กว่ า เป็ น ๓๗ องศาเซลเซียส) 1 คางทูม

เกร็ดน่ารู้ แก้ท้องผูกง่ายๆ กับกายบริหาร ส�าหรับผู้ที่มีปัญหาเกี่ยวกับระบบย่อยอาหารผิดปกติ จนเป็ 2 นสาเหตุให้การขับถ่ายอุจจาระของล�าไส้ใหญ่ เป็นไปด้วยความยากล�าบาก ซึ่งอาจมีผลท�าให้เกิดอาการท้องผูก ได้ แต่ปัญหานี้จะได้รับการแก้ไขแบบไม่ต้อง พึ่งยาถ่าย ด้วยการท�าท่ากายบริหารง่ายๆ ๒ ท่า ดังนี้ ขั้นที่ 1 นอนหงายกับพื้น มือทั้งสองวางรองไว้ใต้ศีรษะ ขาทั้งสองวางชิดกัน แล้วยกขึ้นช้า ๆ ให้ตั้งฉากกับล�าตัว นับ ๑ - ๑๐ แล้ว ค่อยๆ วางลง ท�าซ�้า ๖ ครั้ง

ขั้นที่ 2

มือทั้งสองกางออกข้างล�าตัว แล้วค่อยๆ ยกขาขึ้นตั้งฉากกับล�าตัว วางขาทั้งสองข้างลงด้านข้างทางขวา นับ ๑ - ๕ ยกขึ้นตั้ง ฉาก แล้วสลับท�าอีกข้าง จากนั้นจึงค่อย ๆ วางขาทั้งสองลงบนพื้น ผ่อนคลายสักครู่ แล้วท�าซ�้า ๓ - ๕ ครั้ง

ท่ากายบริหารทั้ง 2 ท่า ดังกล่าว นอกจากจะช่วยคลายอาการท้องผูกให้หมดไปแล้ว ยังสามารถช่วยบริหาร ให้ระบบย่อยอาหารท�างานได้อย่างมีประสิทธิภาพในทางอ้อมได้อีกด้วย แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น ก็ควรจะรับประทานอาหาร ที่มีประโยชน์โดยเฉพาะอาหารที่มีกากใยควบคู่กันไปด้วย เพื่อให้กระบวนการท�างานของระบบย่อยอาหารและ การขับถ่ายอุจจาระในส่วนของล�าไส้ใหญ่ท�างานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

16

นักเรียนควรรู 1 คางทูม เปนโรคติดเชื้อชนิดหนึ่งที่เกิดจากการอักเสบของตอมนํ้าลาย สามารถ ติดตอกันไดโดยการหายใจ การจาม การไอ และการสัมผัสกับนํ้าลายของผูปวย เชน การดื่มนํ้าและรับประทานอาหารโดยใชภาชนะรวมกัน เมื่อไดรับเชื้อ ผูปวย จะเริ่มมีอาการเปนไขตํ่าๆ ออนเพลีย เบื่ออาหารและปวดเมื่อยตามตัว หลังจากนั้น จะมีอาการเจ็บบริเวณขากรรไกร เนื่องจากตอมนํ้าลายบริเวณขางหูบวมโตขึ้น สงผลใหผูปวยมีอาการปวดหูเวลาพูด กลืน และเคี้ยวอาหารไดลําบากมากขึ้น 2 อาการทองผูก คนปกติจะถายอุจจาระอยางนอยวันละ 1 ครั้งตอวัน หรือ มากกวา 3 ครั้งตอสัปดาห ผูที่ถายอุจจาระนอยกวา 3 ครั้งตอสัปดาห ประกอบกับ การถายลําบาก จะถือวามีอาการทองผูก

16

คู่มือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

หากนักเรียนมีอาการทองผูก นักเรียนจะมีวิธีการแกไขปญหาหรือ ปฏิบัติตนอยางไรบาง แนวตอบ เมื่อมีอาการทองผูก ควรรับประทานอาหารที่มีกากใยจําพวกผัก ผลไม ธัญพืชตางๆ และควรดืม่ นํา้ เปนประจําทุกวันอยางนอยวันละ 6-8 แกว หรืออาจจะดื่มนํ้าหลังจากการตื่นนอนตอนเชาประมาณ 2-3 แกว ทันที เนื่องจากลําไสจะถูกกระตุนทําใหรูสึกอยากขับถาย ซึ่งวิธีนี้เปนวิธีการแก อาการทองผูกที่ปลอดภัยโดยไมตองใชยาระบายหรือยาถาย แตควรทําเปน กิจวัตรจนรางกายเกิดความเคยชินและกลับมาขับถายในตอนเชาเปนปกติ


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 3-4 คน แลวให แตละกลุมสงตัวแทนออกมาอธิบายกระบวนการ ทํางานของระบบยอยอาหาร โดยใชแผนภาพ แสดงการทํางานของระบบยอยอาหารประกอบ การอธิบาย จากนั้นครูชวยอธิบายเพิ่มเติม และ ตั้งคําถามเพื่อใหไดขอสรุปที่ถูกตองรวมกัน • กระบวนการยอยอาหาร มีขั้นตอน อยางไรบาง (แนวตอบ เริ่มจากการยอยอาหารในปาก ซึ่งอาหารจะถูกบดเคี้ยวใหมีขนาดเล็กลง และทําใหออ นนุม ดวยนํา้ ลาย ภายในนํา้ ลาย จะมีเอนไซมอะไมเลส ทําหนาที่ยอยอาหาร คารโบไฮเดรตจําพวกแปงและไกลโคเจน ใหมีขนาดเล็กลง เมื่อเรากลืนอาหาร อาหาร จะเคลื่อนไปตามหลอดอาหาร โดยอาศัย การบีบตัวของหลอดอาหารเพื่อลงสู กระเพาะอาหาร ซึง่ อาหารทีถ่ กู ยอยสวนใหญ จะเปนโปรตีน และลําไสเล็กจะดูดซึม สารอาหาร ซึ่งจะมีการยอยอาหารทั้ง คารโบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน จากนั้น ลําไสใหญจะดูดซึมของเหลว นํ้า เกลือแร และนํา้ ตาลกลูโคสทีย่ งั เหลืออยูใ นกากอาหาร เพื่อขับออกนอกรางกายในรูปของอุจจาระ ทางทวารหนักตอไป)

๓.2 กระบวนการท�างานของระบบย่อยอาหาร ระบบย่อยอาหารจะท�างานโดยอาศัยการบีบตัวของทางเดินอาหาร การสร้างน�้าย่อยตลอดจน เมือกต่างๆ เพื่อช่วยในการย่อยอาหารและการดูดซึมสารอาหารต่างๆ โดยที่การบีบตัวของทาง เดินอาหาร จะแบ่งได้เป็น ๒ ส่วน คือ การบีบตัวของทางเดินอาหารส่วนต้น เริ่มตั้งแต่ภายใน ช่องปากถึงหลอดอาหาร ซึ่งเป็นไปในลักษณะที่ท�าให้เกิดการบดเคี้ยวและการกลืน กับการบีบตัว ของทางเดินอาหารส่วนปลาย โดยเริ่มตั้งแต่กระเพาะอาหาร ล�าไส้เล็ก ไปจนถึงล�าไส้ใหญ่ ส�าหรับ การบีบตัวในช่วงนี้จะเป็นไปในลักษณะของการคลุกเคล้าและการเคลื่อนย้ายอาหารเป็นส�าคัญ โดยในระบบทางเดินอาหารจะมีการสร้างน�า้ ย่อยและเมือกจากอวัยวะต่างๆ เพือ่ ช่วยย่อยอาหารและ ดูดซึมสารอาหาร ได้แก่ น�้าลายจากต่อมน�้าลาย น�้าย่อยจากกระเพาะอาหาร น�้าย่อยจากล�าไส้เล็ก และล�าไส้ใหญ่ น�้าดีจากตับ และน�้าย่อยจากตับอ่อน โดยกระบวนการย่อยอาหารจะแบ่งออกเป็น ๕ ขั้นตอน ดังนี้ แผนภาพแสดงการท�างานของระบบย่อยอาหาร ขั้นที่ 1 การย่อยอาหารในปาก อาหารจะถูกบดเคี้ยว ให้มีขนาดเล็กลง และท�าให้อ่อนนุ่มด้วยน�้าลาย ภายใน น�้าลายจะมีเอนไซม์อะไมเลส ท�าหน้าที่ย่อยอาหาร คาร์โบไฮเดรตจ�าพวกแป้งและไกลโคเจน ให้มี ขนาดเล็กลง

ขั้นที่ ๕ การดูดซึมในล�าไส้ใหญ่ ในส่ ว นนี้ จ ะมี ก ารดู ด ซึ ม น�้ า ออก เหลือเป็นกากอาหาร ที่จะถูกขับออก นอกร่างกายในรูปของอุจจาระทาง ทวารหนักต่อไป

Explain

ขั้ น ที่ 2 กล้ า มเนื้ อ บริ เ วณหลอดคอบั ง คั บ ให้ อาหารเคลื่อนไปยังหลอดอาหาร โดยมีลิ้นไก่ปิดกั้นไม่ให้ อาหารตกลงไปในหลอดลม จากนั้นอาหารจะเคลื่อน ไปตามหลอดอาหาร โดยอาศัยการบีบตัวของ หลอดอาหาร

ขั้ น ที่ ๓ การย่ อ ยในกระเพาะ อาหาร ในส่ ว นนี้ อ าหารที่ ถู ก ย่ อ ย ส่วนใหญ่จะเป็นโปรตีน โดยเอนไซม์ เปบซิน

ขั้ น ที่ ๔ การย่ อ ยและดู ด ซึ ม สารอาหารในล� า ไส้ เ ล็ ก ในส่ ว นนี้ จ ะมี ก ารย่ อ ยอาหารทั้ ง คาร์ โ บไฮเดรต โปรตีน และไขมัน โดยในส่วนของคาร์ 1 โบไฮเดรตนั้นจะมีการย่อยต่อด้วยเอนไซม์อะไมเลสจากตับอ่อน จนกลายเป็นน�้าตาลโมเลกุลเดี่ยว และถูกดูดซึมไปใช้ในการสร้างพลังงานต่อไป ในขณะที่โปรตีนจะถูกย่อยด้วย เอนไซม์เปบซินอย่างต่อเนื่องจนได้กรดอะมิโน ส่วนไขมันจะถูกย่อยโดยเอนไซม์ไลเปสจนได้ โมโนกลีเซอไรด์ กรดไขมัน และกลีเซอรอล เพื่อน�าไปใช้ประโยชน์ในร่างกายต่อไป

17

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ขอใดสามารถอธิบายกระบวนการทํางานของระบบยอยอาหารไดถูกตอง 1. ปาก ➝ หลอดอาหาร ➝ กระเพาะอาหาร ➝ ลําไสเล็ก ➝ ลําไสใหญ 2. ปาก ➝ หลอดอาหาร ➝ กระเพาะอาหาร ➝ ลําไสใหญ ➝ ลําไสเล็ก 3. ปาก ➝ หลอดอาหาร ➝ ลําไสเล็ก ➝ กระเพาะอาหาร ➝ ลําไสใหญ 4. ปาก ➝ หลอดอาหาร ➝ ลําไสใหญ ➝ ลําไสเล็ก ➝ กระเพาะอาหาร วิเคราะหคําตอบ กระบวนการทํางานของระบบยอยอาหารจะเริ่มจากปาก ซึ่งอาหารจะถูกบดเคี้ยว จากนั้นอาหารจะเคลื่อนที่ไปตามหลอดอาหาร ดวยการกลืนลงไปสูกระเพาะอาหาร เพื่อใหลําไสเล็กไดทําหนาที่ยอยและ ดูดซึมสารอาหาร โดยสวนที่ลําไสเล็กไมสามารถยอยและดูดซึมไดจะเปน กากอาหารเพื่อสงตอไปยังลําไสใหญใหรอขับถายออกทางทวารหนักในรูปของ อุจจาระตอไป ตอบขอ 1.

เกร็ดแนะครู ครูควรอธิบายเพิ่มเติมวา หากรับประทานอาหารที่มากหรืออิ่มจนเกินไป และเขานอนทันที อาจสงผลใหเกิดโรคกรดไหลยอนได โดยกรดหรือนํ้ายอยใน กระเพาะอาหารจะไหลยอนขึ้นมาบริเวณหลอดอาหาร จึงทําใหเกิดอาการเจ็บแนน หนาอก หรือแสบหนาอก และเรอเหม็นเปรี้ยว

นักเรียนควรรู 1 นํ้าตาลโมเลกุลเดี่ยว เรียกวา Monosaccharide ซึ่งเปนคารโบไฮเดรตที่มี โมเลกุลเล็กที่สุด มีรสหวาน ละลายนํ้าไดงาย และรางกายสามารถดูดซึมไปใชได ทันที ไดแก กลูโคส (Glucose) ฟรักโทส (Fructose) และกาแล็กโทส (Galactose)

คูมือครู

17


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engage

Explore

อธิบายความรู้

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ Expand าใจ ขยายความเข้

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบExplain ายความรู้

Explain

ใหนักเรียนกลุมเดิมสงตัวแทนออกมานําเสนอ เรื่อง การสรางเสริมและดํารงประสิทธิภาพ การทํางานของระบบยอยอาหาร โดยครูชวยอธิบาย เพิ่มเติมแลวตั้งคําถามเพื่อใหไดขอสรุปที่ถูกตอง รวมกัน • นักเรียนจะมีแนวทางในการสรางเสริมและ ดํารงประสิทธิภาพการทํางานของ ระบบยอยอาหารดวยวิธีใดบาง (แนวตอบ ไดแก รับประทานอาหารที่สะอาด และปรุงสุกใหมๆ ควรเปนอาหารที่ยอยงาย และรสไมจัด เคี้ยวอาหารใหละเอียดกอนกลืน รับประทานอาหารใหเปนเวลา ดูแลสุขภาพ ของชองปากและฟนอยางสมํ่าเสมอ ออกกําลังกาย และฝกนิสัยการขับถาย ใหเปนเวลาอยางนอยวันละ 1 ครั้ง)

ขยายความเข้าใจ

๓.๓ การสร้างเสริมและด�ารงประสิทธิภาพการท�างานของระบบย่อย อาหาร ระบบย่อยอาหาร ท�าหน้าทีใ่ นการย่อยอาหารทีเ่ รารับประทานเข้าไปให้มขี นาดเล็กจนร่างกาย สามารถดูดซึมน�าสารอาหารไปใช้ประโยชน์ต่างๆ ได้ หากระบบย่อยอาหารมีการท�างานผิด ปกติ อาจส่งผลให้ร่างกายดูดซึมสารอาหารได้ น้อยลง จนมีผลให้ร่างกายอ่อนแอและอาจ เกิดโรคขาดสารอาหารต่างๆ ได้ ดังนั้น เราจึง ควรเสริ ม สร้ า งและด� า รงประสิ ท ธิ ภ าพการ ท�างานของระบบย่อยอาหาร เพื่อให้ระบบย่อย อาหารท�างานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งอาจ ปฏิบัติตามแนวทาง ดังนี้ ๑. รับประทานอาหารทีส่ ะอาด และ ปรุงสุกใหม่ๆ เหมาะสมกับวัย ครบทุกประเภท การเลือกรับประทานอาหารให้เหมาะสมกับวัยและถูก สุขลักษณะ จะช่วยให้การท�างานของระบบย่อยอาหาร ในแต่ละมื้อ ทั้งนี้ควรเป็นอาหารที่ย่อยง่าย รส เป็นไปอย่างปกติ ไม่จัด ไม่ควรรับประทานอาหารมากเกิ นความ 1 ต้องการของร่างกาย เพราะอาหารจะย่อยไม่หมดส่งผลให้เกิดอาการท้องเฟ้อได้ รวมถึงไม่ควร รับประทานอาหารประเภทหมักดอง ซึ่งอาจไม่สะอาดและท�าให้เกิดโรคระบบทางเดินอาหาร ๒. เคีย้ วอาหารให้ละเอียดก่อนกลืน เพือ่ ช่วยลดภาระในการย่อยอาหารให้มขี นาดเล็ก ลงของอวัยวะต่างๆ ภายในร่างกาย อย่ารีบรับประทานอาหารขณะก�าลังเหนื่อย ๓. รับประทานอาหารให้เป็นเวลา เนือ่ งจากการรับประทานอาหารไม่เป็นเวลา จะท�าให้ กรดในกระเพาะอาหารที่ขับออกมาเพื่อช่วยย่อยอาหารไม่มีอาหารให้ย่อย และจะย่อยกระเพาะ อาหารของเราเอง ส่งผลท�าให้เกิดโรคกระเพาะอาหาร ได้ในที่สุด ๔. ดูแลรักษาสุขภาพของช่องปากและฟันอย่างสม�่าเสมอ เนื่องจากการมีฟันที่ แข็งแรง จะช่วยท�าให้การบดเคีย้ วอาหารเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ช่วยย่อยอาหารในเบือ้ งต้นได้ ซึ่งนักเรียนสามารถที่จะดูแลสุขภาพของช่องปากและฟันได้ ดังนี้ แปรงฟัน อย่างถูกวิธี อย่างน้อยวันละ ๒ ครั้ง ในตอนเช้าและก่อนนอน หรือ หากเป็นไปได้ ควรแปรงฟันทุกครั้งภายหลังรับประทานอาหารเสร็จแล้ว รับประทานผักและผลไม้ที่ช่วยบ�ารุงเหงือกและช่วยท�าความสะอาดฟัน เช่น ฝรั่ง ชมพู่ เป็นต้น

Expand

ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 4-5 คน จัดทําบอรดความรูเรื่อง การสรางเสริมและดํารง ประสิทธิภาพการทํางานของระบบยอยอาหาร โดยใหนําไปติดไวตามอาคารตางๆ ภายในโรงเรียน

18

เกร็ดแนะครู ครูควรแนะนําโรคที่เกี่ยวของกับระบบยอยอาหารใหกับนักเรียน เชน โรคกระเพาะอาหาร โรคกรดไหลยอน โรคทองอืด ทองเฟอ เปนตน เพื่อใหนักเรียน รูจักการปฏิบัติตนในการสรางเสริมการทํางานของระบบยอยอาหารใหหางไกลจาก โรคดังกลาว

กิจกรรมสรางเสริม ใหนักเรียนเขียนอธิบายกระบวนการทํางานของระบบยอยอาหาร โดยมีรูปภาพประกอบการอธิบาย แลวนําสงครูผูสอน

กิจกรรมทาทาย

นักเรียนควรรู 1 ทองเฟอ เปนอาการที่มีแกสในทองมากกวาปกติ ซึ่งสาเหตุเกิดจากมีกรด มากเกินไป เปนแผลในกระเพาะอาหารและลําไส ความผิดปกติของการยอยอาหาร เชน ขาดเอนไซมซึ่งเปนสารชวยยอยอาหารประเภทตางๆ เปนตน ดื่มเครื่องดื่มที่มี แอลกอฮอลและนํ้าอัดลมเปนประจํา และการรับประทานอาหารเร็วๆ เคี้ยวอาหาร ไมละเอียด ก็อาจเปนสาเหตุหนึ่งที่ทําใหเกิดอาการทองอืด ทองเฟอไดเชนเดียวกัน

18

คู่มือครู

ใหนักเรียนสรางวงจรกระบวนการทํางานของระบบยอยอาหาร พรอมทั้ง อธิบายรายละเอียดใหชัดเจน โดยอาจทําในรูปแบบของโปสเตอร หรือ Power Point ตามความถนัดของนักเรียน แลวนําสงครูผูสอน


กระตุน้ ความสนใจ กระตุEngage ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุน้ ความสนใจ ■

หลีกเลี่ยงการใช้ฟันที่ผิดวิธี เช่น ใช้ฟันฉีกหรือกัดของแข็ง อาจท�าให้ฟันบิ่น

ควรไปพบทันตแพทย์สม�่าเสมอ อย่างน้อยปีละ ๑ ครั้ง เพื่อตรวจสุขภาพ

หรือหักได้

Engage

ใหนักเรียนทุกคนกระโดดตบ 30 ครั้ง จากนั้นใหนักเรียนสังเกตการเปลี่ยนแปลงรางกาย ของตนเองวาเกิดอะไรขึ้นหลังจากการกระโดดตบ โดยครูถามนักเรียนวา • รางกายเกิดการเปลี่ยนแปลงอยางไรบาง (แนวตอบ ขึ้นอยูกับคําตอบของนักเรียน โดยอาจตอบวา หอบเหนื่อย เหงื่อออกมาก หัวใจเตนแรง) • นักเรียนคิดวา เหงื่อที่ออกตามรูขุมขนนั้น เกิดมาจากสาเหตุใด (แนวตอบ เกิดจากการที่รางกายขับถาย ของเสียออกจากรางกาย ซึ่งผิวหนังจะกําจัด นํ้าและเกลือแรที่รางกายไมตองการออกมา ในรูปของเหงื่อ)

ฟันและช่องปาก ๕. ออกก�าลังกายอย่างสม�่าเสมอ การออกก�าลังกายจะช่วยท�าให้ระบบต่างๆ ของ ร่างกายท�างานได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนั้นยังท�าให้สุขภาพจิตดี ไม่เกิด ความเครียด ซึ่งเป็นสาเหตุท�าให้ระบบการย่อยอาหารเกิดความแปรปรวน และอาจเกิดปัญหาเรื่องท้องอืด ท้องเฟ้อตามมา ๖. ฝึกนิสยั การขับถ่าย ให้เป็นเวลาอย่ 1 างน้อยวันละ ๑ ครัง้ อย่าปล่อยให้ทอ้ งผูก เพราะ จะท�าให้เกิดปัญหาในเรื่องของโรคริดสีดวงทวาร ตามมาได้ การฝึกนิสัยการขับถ่ายอุจจาระให้เป็น เวลานั้น นอกจากจะช่วยท�าให้การท�างานของระบบย่อยอาหารดีขึ้นแล้ว ยังช่วยป้องกันปัญหาใน การขับถ่ายอุจจาระในระหว่างการเดินทางอีกด้วย ๗. เมื่อเกิดปัญหากับระบบย่อยอาหารในร่างกายของตนเอง ควรรีบไปพบแพทย์ เพื่อท�าการรักษาโดยทันที

ô. รкº¢ัº¶‹า (Excretory system) ในร่างกายของเราจะมีระบบขับถ่าย ช่วยท�าหน้าทีข่ บั ถ่ายของเสียออกจากร่างกาย โดยมีอวัยวะ ที่ส�าคัญ ได้แก่ ไตและตับ นอกจากนี้ยังมีป2อด ซึ่งคอยก�าจัดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ 3 ในขณะที่เรา หายใจออก ผิวหนังจะก�าจัดน�้าและเกลือแร่ที่ร่างกายไม่ต้องการออกมาในรูปเหงื่อ และล�าไส้ใหญ่ ก�าจัดกากอาหารออกมาในรูปอุจจาระ แต่ ใ นที่ นี้ จ ะขอกล่ า วถึ ง ระบบขั บ ถ่ า ย ปัสสาวะ (Urinary system) ซึ่งเป็นระบบที่มี ความส�าคัญต่อร่างกายระบบหนึ่ง เนื่องจาก เป็นระบบที่มีหน้าที่ในการควบคุมความเป็น กรด-ด่าง ภายในร่างกายให้เหมาะสม ซึ่งใน ร่างกายของมนุษย์นั้นมีน�้าเป็นส่วนประกอบ มากที่ สุ ด ดั ง นั้ น การควบคุ ม ความเป็ น กรด-ด่างภายในร่างกายของมนุษย์ โดยการ เ ป็น อาหารที่ มีเส้ น ใยสู งจะช่ ว ยป้ อ งกั น อาการ ขับออกมาในรูปของปัสสาวะ จึงเป็นเรื่องที่มี ผลไม้ ท้องผูก ท�าให้การท�างานของระบบขับถ่ายดีขึ้น ความส�าคัญอย่างยิ่ง 19

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

เพราะเหตุใด นักกีฬาจึงตองดื่มนํ้ามากกวาคนปกติทั่วไป

แนวตอบ เพราะนักกีฬาจะสูญเสียนํ้าในรางกายมาก เนื่องจากการ ออกกําลังกายจะทําใหเกิดความรอนขึ้น จึงจําเปนตองระบายออกสูภายนอก รางกายพรอมกับการขับนํ้าในรูปของเหงื่อ โดยระบบประสาทอัตโนมัติ จะมีการสั่งการใหรางกายเกิดความรูสึกตองการนํ้าเขามาชดเชยสวนที่ ขาดหายไป จึงเกิดการกระหายนํ้า ทําใหนักกีฬาตองดื่มนํ้ามากกวาปกติ เพื่อใหเกิดความสมดุลของปริมาณนํ้าในรางกาย

นักเรียนควรรู 1 โรคริดสีดวงทวาร เปนภาวะที่มีการอักเสบของเสนเลือดดําบริเวณลําไสตรง จนทําใหเสนเลือดบริเวณนี้โปงหรือพองออกมา ซึ่งถาเปนมากๆ จะเห็นเหมือนเปน ติ่งเนื้อโผลออกมาทางทวารหนัก ซึ่งผูปวยจะมีอาการเจ็บๆ คันๆ ในระยะแรกและ จะเพิ่มอาการเจ็บปวดมากขึ้น โดยการโปงของเสนเลือดนี้จะทําใหเกิดการเสียดสีกับ อุจจาระ ในที่สุดก็จะเกิดเปนแผลและมีเลือดออกขณะเบงหรือถายอุจจาระ 2 เกลือแร เปนสารที่จําเปนตอรางกายมีอยูหลายชนิดที่สําคัญตอรางกาย ไดแก แคลเซียม ฟอสฟอรัส เหล็ก และโซเดียม 3 เหงื่อ เปนของเสียชนิดหนึง่ ทีร่ า งกายขับออกมาในรูปของเหลว และจะขับออกมา ทางผิวหนัง มักจะมีรสเค็มเนื่องจากมีแรธาตุสําคัญ คือ โซเดียม และโพแทสเซียม

คู่มือครู

19


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้ อธิบExplain ายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explore

Explain

Expand

Evaluate

Engage

Exploreนหา ส�ารวจค้

ส�ารวจค้นหา

Explore

ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ 3-4 คน ศึกษาเรื่อง ระบบขับถาย จากหนังสือเรียนและแหลงเรียนรูอื่นๆ เพิ่มเติม โดยมีประเด็นการศึกษา ดังนี้ • องคประกอบของระบบขับถายปสสาวะ • กระบวนการทํางานของระบบขับถายปสสาวะ • การสรางเสริมและดํารงประสิทธิภาพ การทํางานของระบบขับถายปสสาวะ

อธิบายความรู้

๔.1 องค์ประกอบของระบบขับถ่ายปัสสาวะ ระบบขับถ่ายปัสสาวะมีองค์ประกอบของอวัยวะที่ส�าคัญ ดังนี้ ๑) ไต (Kidneys) มีจ�านวน ๑ คู่ อยู่ด้านหลังของช่องท้องบริเวณเอว รูปร่างคล้าย เม็ดถัว่ แดง มีลกั ษณะโค้งออกด้านข้างและด้านในเว้าเข้า ซึง่ เนือ้ ไตทัง้ หมดจะมีเนือ้ เยือ่ บางๆ คลุม อยู่เรียกว่า “เยื่อไต” (Renal capsule) โดยทั่ว1ไปแล้วไตข้างขวาจะมีขนาดใหญ่กว่าไตข้างซ้าย ในแต่ละข้างจะประกอบด้วยหน่วยไตหรือเนฟรอน (nephrons) ประมาณ ๑ - ๒ ล้านหน่วย เนื่องจากระบบการขับถ่ายปัสสาวะ เป็นระบบที่เกี่ยวข้องกับการผลิตน�้าปัสสาวะ และการขับถ่ายน�้าปัสสาวะ ซึ่งเป็นระบบการขับถ่ายของเสียในรูปของเหลว การท�างานของ ระบบปัสสาวะจึงมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับระบบไหลเวียนโลหิต โดยโลหิตที่เป็นของเหลว ที่อยู่ภายนอกเซลล์จะเป็นตัวพาสารต่าง ๆ ที่ร่างกายต้องการขับออกไปที่ไต เพื่อให้ไตกรองสาร ที่ไม่ต้องการออก พร้อมทั้งท�าการผลิตและขับออก หน้าที่ส�าคัญของไตมีมากมาย ได้แก่ ๑. สร้างน�า้ ปัสสาวะทีเ่ กิดจากการกรองน�า้ โลหิตทีไ่ ต ซึง่ ของเสียส่วนใหญ่เป็นของ เสียที่เกิดจากขบวนการเมแทบอลิซึมของเซลล์ และขับออกทางหลอดไตไปยังกระเพาะปัสสาวะ ๒. 2ขับของเสียจากกระบวนการเมแทบอลิซึม ของร่างกาย ได้แก่ ยูเรีย ครีเอตินิน แอมโมเนีย กรดยูรกิ และสารพิษทีร่ า่ งกายไม่สามารถท�าลายได้ ซึง่ ถือว่าเป็นหน้าทีโ่ ดยตรงของไต ในการช่วยก�าจัดสารพิษที่เข้าไปในร่างกาย แล้วขับออกกับน�้าปัสสาวะ ๓. กักเก็บสารทีม่ ปี ระโยชน์ตอ่ ร่างกายเพือ่ น�ากลับมาใช้ใหม่ เช่น กลูโคส กรดอะมิโน ฮอร์โมน และวิตามินต่างๆ กรวยไต ๔. รั ก ษาสมดุ ล ของน�้ า ใน ร่างกาย และเป็นตัวท�าละลายส�าหรับสารต่าง ๆ หลอดเลือดแดง ของไต ที่เป็นของเสียจากขบวนการเมแทบอลิซึมที่ ร่างกายต้องการขับออก ไตจึงเป็นตัวควบคุม ปริมาณน�้าในร่างกายไม่ให้มีการขับน�้าออกมา มากเกินไป ๕. ควบคุมสมดุลของเกลือแร่ หลอดเลือดด�า ในร่างกาย โดยการขับแร่ธาตุส่วนที่มีมากเกิน ของไต ความต้องการออก และดูดกลับแร่ธาตุส่วนที่ ท่อไต ร่างกายมีความต้องการเข้าสู่ร่างกายผ่านทาง ส่วนประกอบของไตที่ท�าหน้าที่ขับถ่ายของเสีย รักษา ผนังของท่อไต สมดุลของสารเคมี และผลิตฮอร์โมน

Explain

ใหนักเรียนแตละกลุมรวมกันอภิปรายวา องคประกอบของการขับถายปสสาวะที่สําคัญนั้น มีอะไรบาง โดยครูตงั้ คําถามกระตุน การเรียนรูข อง นักเรียน • ระบบขับถายปสสาวะ มีองคประกอบของ อวัยวะที่สําคัญ ไดแกอะไรบาง (แนวตอบ ไดแก • ไต (Kidneys) • ทอไต (Ureters) • กระเพาะปสสาวะ (Urinary bladder) • ทอปสสาวะ (Urethra))

20

เกร็ดแนะครู ครูสามารถนําโมเดลจําลององคประกอบของระบบขับถายปสสาวะ เชน ไต กระเพาะปสสาวะ เปนตน มาใหนักเรียนดู เพื่อใหนักเรียนสามารถเห็นลักษณะของ อวัยวะตางๆ ไดอยางชัดเจน

นักเรียนควรรู 1 เนฟรอน ในไตแตละขางจะประกอบดวยเนฟรอน ประมาณ 1.2 ลานหนวย ทําหนาที่ในการกรองของเสียออกจากเลือดและดูดกลับสารที่มีประโยชนเขาสูเลือด 2 กรดยูริก เปนของเสียที่รางกายขับออกมาทางปสสาวะ ซึ่งถามีมากเกินไปและ ขับออกไมทันก็จะทําใหกรดยูริกในเลือดเพิ่มสูงขึ้นไดงาย และอาจสงผลใหเกิด โรคเกาต

20

คู่มือครู

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’ 51 ออกเกี่ยวกับระบบขับถาย นักวิ่งระยะสั้นฝกซอมการวิ่ง 100 เมตร ติดตอกัน 10 เที่ยวทําใหลา เนื่องจากเกิดของเสียใดในรางกาย 1. กรดแลคติก 2. กรดยูริก 3. กรดเกลือ 4. กรดอะมิโน วิเคราะหคําตอบ การที่รางกายเกิดอาการเหนื่อยลาเนื่องมาจากการ ออกกําลังกาย รางกายจะขับของเสียออกมาในรูปของการหายใจเพื่อ เผาผลาญพลังงานโดยไมใชออกซิเจน ซึ่งของเสียที่ถูกขับออกมานั้น คือ กรดแลคติก ตอบขอ 1.


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

Explain

ครูสุมนักเรียน 2-3 กลุม ออกมานําเสนอใน ประเด็น องคประกอบของระบบขับถายปสสาวะ โดยครูและนักเรียนกลุมอื่นๆ รวมกันเสนอแนะ เพิ่มเติม และตั้งคําถามเพื่อใหไดขอสรุปที่ถูกตอง รวมกัน • กระเพาะปสสาวะ มีหนาที่สําคัญอยางไร (แนวตอบ มีหนาที่รับนํ้าปสสาวะที่กรองมา จากไตและเปนที่พักชั่วคราวของนํ้าปสสาวะ เพื่อปองกันไมใหปสสาวะไหลออกทาง ทอปสสาวะตลอดเวลา และเมื่อกระเพาะ ปสสาวะรวบรวมปสสาวะมากเทาที่สามารถ บรรจุได ก็จะมีการขับถายออกมาเปน ครั้งคราว) • เพราะเหตุใด กระเพาะปสสาวะจึงสามารถ ขยายตัวได (แนวตอบ เนื่องจากกระเพาะปสสาวะจะตอง รับนํ้าปสสาวะในปริมาณมาก ซึ่งจะขยายได ครั้งละ 1 มิลลิเมตร เมื่อกระเพาะปสสาวะ รับนํ้าปสสาวะไดประมาณ 200 - 400 ซี.ซี. จะเกิดความรูส กึ ปวดปสสาวะ แตในบางครัง้ กระเพาะปสสาวะสามารถขยายตัวไดถึง 700 ซี.ซี. หากมีการกลั้นปสสาวะ แตถา เกินกวานั้นจะเปนอันตรายตอรางกายได)

1 ๖. รักษาสมดุลของกรด-ด่างในน�า้ โลหิต โดยทัว่ ไปแล้ว โลหิตจะมีคา่ pH ประมาณ pH ๗.๔ ซึ่งเป็นระดับที่เซลล์ในร่างกายสามารถท�าหน้าที่ได้ การที่โลหิตมี pH เป็นด่าง (Alkalosis) หรือมี pH เป็นกรดมากเกินไป (Acidosis) จะส่งผลให้การท�างานของเซลล์มีประสิทธิภาพลดลง ๗. สร้างและหลั่งฮอร์โมนที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเซลล์เม็ดเลือดแดง และผลิต ฮอร์โมนที่เกี่ยวกับการควบคุมความดันของโลหิต โดยในแต่ละวันนั้น โลหิตที่หมุนเวียนอยู่ ภายในร่างกายจะต้องไหลผ่านมายังไต ซึ่งประมาณการว่าในแต่ละนาทีจะมีโลหิตถูกส่งมายังไต ประมาณ ๑,๒๐๐ มิลลิลิตรต่อนาที หรือประมาณวันละ ๑๘๐ ลิตร ๒) ท่อไต (Ureters) เป็นท่อกลวงที่ประกอบด้วยกล้ามเนื้อเรียบทั้งหมด มีจ�านวน ๒ ท่อ แต่ละท่อจะมีความยาวประมาณ ๑๐ - ๑๒ นิ้ว โดยท่อไตจะเป็นทางติดต่อระหว่างไตและ กระเพาะปัสสาวะ ท�าหน้าที่รับน�้าปัสสาวะจากไต เพื่อส่งต่อไปยังกระเพาะปัสสาวะ ซึ่งการส่งผ่าน น�้าปัสสาวะเกิดจากการบีบตัวของผนังกล้ามเนื้อเรียบที่ล้อมรอบท่อไต บริเวณท่อไตตรงส่วนที่ต่อ ระหว่างท่อไตกับกระเพาะปัสสาวะจะมีลิ้น (valves) อยู่ภายในท่อ เพื่อท�าหน้าที่ป้องกันการไหล ย้อนกลับของน�้าปัสสาวะเข้าสู่ไต ๓) กระเพาะปัสสาวะ (Urinary bladder) เป็นอวัยวะที่ประกอบด้วยกล้ามเนื้อ ภายใน เป็นโพรงส�าหรับพักปัสสาวะก่อนขับออกภายนอกร่างกาย ในกระเพาะปัสสาวะจะมีทาง เปิด ๓ ช่อง คือทางเปิดของท่อไตเข้าสู่กระเพาะปัสสาวะ จ�านวน ๒ ช่อง และทางเปิดออกสู่ท่อ ปัสสาวะ จ�านวน ๑ ช่อง หน้าทีส่ า� คัญของกระเพาะปัสสาวะคือ รับน�า้ ปัสสาวะทีก่ รองมาจากไตและ เป็นทีพ่ กั ชัว่ คราวของน�า้ ปัสสาวะ ทัง้ นีเ้ พือ่ ป้องกันมิให้ปสั สาวะไหลออกทางท่อปัสสาวะตลอดเวลา และเมือ่ กระเพาะปัสสาวะรวบรวมปัสสาวะมากเท่าทีส่ ามารถบรรจุได้ ก็จะมีการขับถ่ายออกมาเป็น ครั้งคราว โดยมีระบบประสาทส่วนกลางเป็นตัวควบคุมการขับถ่ายอย่างอัตโนมัติ ซึ่งจะกระตุ้นให้ เกิดความรู้สึกอยากถ่ายปัสสาวะออกมา กระเพาะปัสสาวะสามารถขยายตัวได้จากขนาดปกติครั้งละน้อยๆ คือ ขยายได้ครั้งละ ๑ มิลลิเมตร จนเต็มที่ได้ถึง ๑ ลิตร เมื่อกระเพาะปัสสาวะรับน�้าปัสสาวะได้ประมาณ ๒๐๐ - ๔๐๐ ซี.ซี. (โดยเฉลี่ย คือประมาณ ๒๕๐ ซี.ซี.) จะเกิดความรู้สึกปวดปัสสาวะ อยากขับถ่ายปัสสาวะ ออกทันที แต่พบว่าในบางครั้งกระเพาะปัสสาวะสามารถที่จะขยายตัวได้ถึง ๗๐๐ ซี.ซี. (หากมี การกลั้นปัสสาวะ) แต่ถ้าเกินกว่านั้นโดยไม่มีการขับถ่ายออกมา จะเป็นอันตรายต่อร่างกายได้ ๔) ท่อปัสสาวะ (Urethra) เป็นส่วนทีต่ อ่ จากกระเพาะปัสสาวะ เพือ่ น�าปัสสาวะออกสู่ ภายนอกร่างกาย ในเพศหญิงท่อปัสสาวะจะมีความยาวประมาณ ๔ เซนติเมตร ในขณะที่เพศชาย จะมีความยาวประมาณ ๒๐ เซนติเมตร 21

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ขอใดอธิบายหนาที่การทํางานของไตไม ถูกตอง 1. กักเก็บสารที่มีประโยชนตอรางกายเพื่อนํากลับมาใชใหม 2. ขับของเสียจากกระบวนการเมแทบอลิซึมของรางกาย 3. ผลิตนํ้ายอยสําหรับยอยโปรตีน และไขมัน 4. ควบคุมสมดุลของเกลือแรในรางกาย

วิเคราะหคําตอบ ไตจะมีหนาที่สรางและหลั่งฮอรโมนที่เกี่ยวกับการสราง เม็ดเลือดแดง และผลิตฮอรโมนที่เกี่ยวกับการควบคุมความดันของโลหิต ดังนั้น ไตจึงไมมีหนาที่ในการผลิตนํ้ายอยสําหรับยอยโปรตีน และไขมัน แตหนาที่ดังกลาวเปนหนาที่ของตับออน ตอบขอ 3.

เกร็ดแนะครู ครูควรเพิ่มเติมความรูใหกับนักเรียนเรื่อง กระเพาะปสสาวะอักเสบ ซึ่งเปนโรค ที่พบไดบอยในผูหญิง โดยเฉพาะในชวงอายุ 20-50 ป ทั้งนี้เพราะทอปสสาวะของ ผูหญิงจะสั้นกวาผูชายและอยูใกลกับทวารหนัก บริเวณทวารหนักจะมีเชื้อแบคทีเรีย จํานวนมาก จึงมีโอกาสสูงที่จะเคลื่อนเขาสูกระเพาะปสสาวะทําใหเกิดการอักเสบได

นักเรียนควรรู 1 pH เปนคาที่แสดงความเปนกรด-เบส ของสารเคมี สําหรับตัวเลขที่แสดงคา pH ถาพิจารณาอยางงาย คาเทากับ 7 แสดงวาสารนั้นเปนกลางไมมีฤทธิ์เปน กรด-เบส ถามีคานอยกวา 7 แสดงวาเปนกรด และถามีคามากกวา 7 แสดงวาเปน เบส

คูมือครู

21


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

Engage

Explore

อธิบายความรู้

อธิบายความรู้ อธิบExplain ายความรู้

ขยายความเข้าใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

ใหนักเรียนกลุมที่ออกมานําเสนอแลว เลือกเพื่อนอีก 2 คน ออกมานําเสนอในประเด็น กระบวนการทํางานของระบบขับถายปสสาวะ ซึ่งหลังจากที่แตละกลุมนําเสนอเสร็จสิ้น ครูให นักเรียนกลุมดังกลาวไดเปดโอกาสใหนักเรียน กลุมอื่นๆ ไดซักถามและแสดงความคิดเห็นรวมกัน เพื่อใหนักเรียนไดมีสวนรวมในชั้นเรียน โดยครู เสนอแนะและอธิบายเพิ่มเติมวา การทํางานของระบบขับถายปสสาวะจะเริ่มขึ้น เมื่อโลหิตไหลผานไตและหนวยไต ซึ่งในบริเวณนี้ จะมีการกรองและดูดซึมสารที่มีประโยชนและนํ้า บางสวนกลับเขาไปใชใหมในรางกาย ในขณะที่สาร ซึ่งรางกายไมไดใชประโยชนและนํ้าบางสวนจะถูก ผลิตออกจากไตในรูปของปสสาวะ และถูกขับออก มาจากไตไปเก็บยังกระเพาะปสสาวะผานทอไต เมื่อปริมาณของนํ้าปสสาวะในกระเพาะปสสาวะ มากพอ ระบบประสาทที่ควบคุมการขับถาย ปสสาวะจะกระตุนใหรางกายมีการขับนํ้าปสสาวะ ออกมาทางทอปสสาวะตอไป

แผนภาพแสดงองค์ประกอบและหน้าทีข่ องระบบขับถ่ายปัสสาวะ ไต (Kidneys) มี ๑ คู่ คล้ายเม็ดถั่ว จะอยู่ ๒ ข้างของกระดูกสันหลังบริเวณ เหนือเอว มีหน้าที่สกัดของเสียออกจาก เลือด ควบคุมสมดุลน�้า รักษาความเป็น กรด-ด่าง ผลิตฮอร์โมนและสารบาง ชนิด และกักเก็บสารที่มีประโยชน์ กระเพาะปั ส สาวะ (Urinary bladder) มีหน้าที่รับน�้าปัสสาวะที่ กรองมาจากไตและเป็นที่พักชั่วคราว กลไกการขั บ ถ่ า ยจะขึ้ น อยู ่ กั บ ระบบ ประสาทอัตโนมัติ

ท่อไต (Ureters) มี ๒ ท่อ ต่อจาก ไตข้างละท่อ จะน�าปัสสาวะที่ไหลจากไต ไปยังกระเพาะปัสสาวะ

ท่อปัสสาวะ (Urethra) เป็นส่วน ที่ต่อจากกระเพาะปัสสาวะ เพื่อน�าน�้า ปัสสาวะออกสู่ภายนอก

๔.2 กระบวนการท�างานของระบบขับถ่ายปัสสาวะ การท�างานของระบบขับถ่ายปัสสาวะจะเริ่มขึ้นเมื่อโลหิตหรือพลาสมาไหลผ่านไตและหน่วย ไต ซึ่งในบริเวณนี้จะมีการกรองและดูดซึมสารที่มีประโยชน์และน�้าบางส่วนกลับเข้าไปใช้ใหม่ใน ร่างกาย ในขณะที่สารซึ่งร่างกายไม่ได้ใช้ประโยชน์และน�้าบางส่วนจะถูกผลิตออกจากไตในรูปของ ปัสสาวะ และถูกขับออกมาจากไตไปเก็บยัง กระเพาะปัสสาวะผ่านท่อไต เมื่อปริมาณของ น�้าปัสสาวะในกระเพาะปัสสาวะมากพอ ระบบ ประสาททีค่ วบคุมการขับถ่ายปัสสาวะจะกระตุน้ ให้ ร ่ า งกายมี ก ารขั บ น�้ า ปั ส สาวะออกมาทาง ท่อปัสสาวะต่อไป เมื่อร่างกายของคนเรา น�า น�า้ เข้าไปสูร่ า่ งกาย นอ้ ย จะส่งผลให้การท�างาน ของระบบขับถ่ายปัสสาวะด้อยประสิทธิภาพลง เพราะไตจะไม่มีน�้าที่น�าเข้าไปให้ขับออกมา จึง ต้องใช้นา�้ ในร่างกาย ซึง่ อาจเป็นน�า้ เลือดทีไ่ ตดึง 1 ออกมาเพื่อจะได้มีการขับถ่ายที่ปกติ ดังนั้นเรา การดื่มน�้าจะช่วยให้ร่างกายขับถ่ายของเสียออกมา แต่ ถ้าดืม่ น�า้ ในปริมาณทีน่ อ้ ยกว่าความต้องการของร่างกาย จึงเห็นว่าปัสสาวะที่ขับออกมาจะสีเหลืองเข้ม ไตจะไม่สามารถท�างานได้อย่างมีประสิทธิภาพ

22

นักเรียนควรรู 1 การดื่มนํ้า ในกรณีของคนที่มีความผิดปกติหรือมีภาวะความเจ็บปวยของไต หากมีการดื่มนํ้ามากเกินไปจะสงผลเสียตอรางกาย ซึ่งอาจจะทําใหปสสาวะเขมขน นอยลง ปริมาณโซเดียมในเลือดตํ่า ทําใหเกิดอาการชัก และทําใหเกิดอาการบวม ขึ้นได เนื่องจากการขับถายนํ้าออกนอกรางกายทําไดไมดี

มุม IT ศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับ ความสําคัญของระบบขับถายปสสาวะ จากบทความ “ปสสาวะบอกโรคและการขับพิษทางปสสาวะ” ไดจาก http://doctor.or.th/ article/detail/3045

22

คู่มือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

เพราะเหตุใด การตรวจปสสาวะจึงสามารถทราบตนเหตุของโรคตางๆ ได แนวตอบ เพราะการทํางานของระบบปสสาวะจะมีความสัมพันธเกี่ยวของ กับระบบไหลเวียนโลหิต โดยโลหิตที่เปนของเหลวที่อยูภายนอกเซลลจะเปน ตัวพาสารตางๆ ที่รางกายตองการขับออกไปที่ไต เพื่อใหไตกรองสารที่ ไมตองการออก สําหรับในทางการแพทย ปสสาวะถือเปนสิ่งที่มีประโยชน มากในการวินิจฉัยโรค เพราะในปสสาวะจะมีสารเคมีมากมายที่รางกาย ขับออกมา เชน โปรตีน บิลิรูบิน ครีอะตินิน เปนตน ซึ่งสามารถบอก ความผิดปกติของโรคบางชนิดไดอยางแมนยํา


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

Engage

Explore

Explain

ขยายความเข้าใจ Expand าใจ ขยายความเข้

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

ขยายความเข้าใจ

Expand

ใหนักเรียนแตละกลุมรวมกันเสนอแนะวิธีการ สรางเสริมและดํารงประสิทธิภาพการทํางานของ ระบบขับถายปสสาวะ โดยนําเสนอในรูปแบบของ ผังความคิด จากนั้นใหนักเรียนแตละกลุมสงตัวแทน กลุมละ 1 คน ออกมานําเสนอโดยใชผังความคิด ประกอบการอธิบาย หลังจากทุกกลุมนําเสนอ เสร็จสิ้น ครูชวยเสนอแนะและอธิบายเพิ่มเติม แลวตั้งคําถามเพื่อขยายความเขาใจของนักเรียน • นักเรียนมีแนวทางในการสรางเสริมและ ดํารงประสิทธิภาพการทํางานของ ระบบขับถายปสสาวะอยางไรบาง (แนวตอบ ดื่มนํ้าสะอาดในปริมาณที่เพียงพอ ตอความตองการของรางกาย รับประทาน อาหารประเภทโปรตีน ไมควรกลั้นปสสาวะ เปนเวลานาน และเมื่อมีอาการผิดปกติ เกิดขึ้นกับระบบทางเดินปสสาวะ ควรรีบ ปรึกษาแพทยทันที)

๔.๓ การสร้างเสริมและด�ารงประสิทธิภาพการท�างานของระบบ ขับถ่ายปัสสาวะ ระบบขับถ่ายปัสสาวะเป็นระบบที่มีความส�าคัญต่อร่างกายระบบหนึ่ง เนื่องจากเป็นระบบที่ มีหน้าที่ในการควบคุมความเป็นกรด - ด่าง ภายในร่างกายให้เหมาะสม เราถึงสามารถด�ารงชีวิต อยู่ได้ หากร่างกายขาดความสมดุลที่เหมาะสม อาจส่งผลให้ร่างกายผิดปกติจนถึงแก่ชีวิตได้ เพื่อให้ระบบขับปัสสาวะ ท�างานได้อย่างเต็มที่และมีประสิทธิภาพ จึงควรมีการเสริมสร้างและด�ารง ประสิทธิภาพการท�างานของระบบขับถ่าย ดังนี้ ๑. ดื่มน�้าสะอาดในปริมาณที่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย คืออย่างน้อย วันละ ๘ - ๑๐ แก้ว เพื่อทดแทนปริมาณน�้าที่ขับออกมาทางปัสสาวะ 1 ๒. ไม่ควรรับประทานผักที่มีปริมาณของสาร ออกซาเลตสูง เช่น ยอดผัก หน่อไม้ ชะพลู เป็ น ต้ น ในปริ ม าณมากๆ เนื่ อ งจากจะท� า ให้ เ กิดการสะสมของผลึก สารแคลเซียม ออกซาเลตในไตหรือกระเพาะปัสสาวะ ซึ่งส่งผลอาจท�าให้เกิดเป็น “นิ่ว” ได้ ๓. ควรรับประทานอาหารประเภทโปรตีนเช่น เนื้อสัตว์ นม ไข่ ถั่วต่างๆ เป็นต้น ซึ่งมี ปริมาณของสารฟอสเฟตสูง เพราะจะช่วยลดอัตราการเกิดนิ่วในระบบทางเดินปัสสาวะได้ ๔. ไม่ควรกลั้นปัสสาวะเป็นเวลานาน เพราะจะท�าให้มีโอกาสเกิดการอักเสบติดเชื้อ ในระบบทางเดินปัสสาวะได้โดยง่าย ๕. เมื่ อ มี อ าการผิ ด ปกติ เ กิ ด ขึ้ น กั บ ระบบทางเดิ น ปั ส สาวะ เช่ น ปั ส สาวะขั ด ปัสสาวะกะปริบกะปรอย ปัสสาวะมีสีผิดปกติ เป็นต้น ควรรีบปรึกษาแพทย์เพื่อท�าการรักษาทันที

มือ่ เรารับประทานอาหาร หรือหายใจเอาอากาศเขาไปในรางกาย ระบบตางๆ ของรางกายก็ จะเริ่มทําหนาที่ของตนเอง โดยเริ่มตนตั้งแตการยอยอาหารในระบบยอยอาหาร การแลกเปลี่ยน แกสออกซิเจนกับแกสคารบอนไดออกไซดในระบบหายใจ ไปจนถึงการนําสารอาหารและแกส ออกซิเจนที่จําเปนตอรางกายไปสูเซลลตาง ๆ ผานทางระบบไหลเวียนโลหิต และระบบไหลเวียน โลหิตก็จะนําสารที่ไมจําเปนตอรางกายขับออกมาผานทางระบบทางเดินหายใจ ระบบขับถาย ปสสาวะ และระบบอื่นๆ ในที่สุด จะเห็นไดวาระบบอวัยวะตางๆ ทั้ง ๔ ระบบ จะตองมีการทํางานที่ ประสานสัมพันธกนั เปนอยางดี จึงจะทําใหรา งกายสามารถดํารงสภาวะสุขภาพอยูอ ยางเปนปกติสขุ ได หากระบบใดระบบหนึ่งทํางานผิดปกติยอมจะสงผลกระทบตอ ระบบอื่น ๆ และมีผ ลตอ สุขภาพโดยตรง ดังนัน้ เราจึงควรดูแลรักษา เอาใจใส และเสริมสรางดํารงประสิทธิภาพการทํางาน ของระบบอวัยวะตางๆ อยางถูกวิธีเพื่อปองกันปญหาสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นได

2๓

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’ 53 ออกเกี่ยวกับการสรางเสริมการทํางานของระบบขับถาย ปสสาวะ ธิดามีอาชีพเปนพนักงานขายของหนารานมีอาการของโรคกระเพาะ ปสสาวะอักเสบ ธิดาควรมีวิธีดูแลระบบทางเดินปสสาวะที่ถูกตองอยางไร 1. ทําความสะอาดอวัยวะเพศหลังการขับถาย 2. ถายปสสาวะจนหมด และดื่มนํ้าวันละ 8 -10 แกว 3. ไมกลั้นปสสาวะ และทําความสะอาดอวัยวะเพศหลังการขับถายทุกครั้ง 4. ดื่มนํ้าวันละ 8 -10 แกว ถายปสสาวะจนหมด และรับประทานยา ตามแพทยสั่ง วิเคราะหคําตอบ ธิดาไมควรกลั้นปสสาวะ เพราะจะทําใหเกิดการอักเสบ ของกระเพาะปสสาวะได ถึงแมวาจะเปนพนักงานขายของหนาราน ซึ่งตอง ดูแลหนารานตลอดเวลา หากมีความจําเปนควรใหพนักงานคนอื่นดูแลราน ใหชั่วคราว และหลังการขับถายทุกครั้ง ควรจะทําความสะอาดอวัยวะเพศ เพราะหากไมทําความสะอาด อาจสงผลใหเกิดการติดเชื้อในระบบทางเดิน ปสสาวะได ตอบขอ 3.

เกร็ดแนะครู ครูสามารถเพิ่มเติมความรูเรื่องการดื่มนํ้าใหกับนักเรียน โดยคํานึงถึงสูตรของ องคการอนามัยโลกที่ไดกําหนดไววา ในแตละวันคนเราตองดื่มนํ้าใหไดปริมาณที่ เหมาะสมกับนํ้าหนักตัว โดยมีวิธีคํานวณ ดังนี้ นํ้าหนักตัว (ก.ก.) × 2.2 × 30 = c.c. ซึ่ง 1,000 c.c. = 1 ลิตร = 5 แกว 2

นักเรียนควรรู 1 ออกซาเลต (oxalate) เปนสารทีย่ บั ยัง้ การดูดซึมของแคลเซียมและแรธาตุสาํ คัญ หลายชนิดในกระแสเลือด หากรางกายไดรับแคลเซียมและแรธาตุตางๆ จากอาหาร มากเกินไป รางกายจะไมสามารถดูดซึมกลับเขาไปสะสมในกระดูกได แตจะสะสม อยูใ นกระแสเลือดและเนือ้ เยือ่ แทน จึงทําใหอวัยวะทีม่ แี คลเซียมออกซาเลตไปสะสม ทํางานผิดปกติ และอาจทําใหเกิดกอนนิ่วในไตหรือกระเพาะปสสาวะได คู่มือครู

23


กระตุ้นความสนใจ

ส�ารวจค้นหา

อธิบายความรู้

ขยายความเข้าใจ

Engage

Explore

Explain

Expand

ตรวจสอบผล

ตรวจสอบผล Evaluate ตรวจสอบผล Evaluate

Evaluate

1. การเขียนสรุปแนวทางการปองกันเพื่อไมใหเกิด โรคโพรงอากาศอักเสบตอตนเองและครอบครัว 2. การเขียนสรุปผังความคิดเกี่ยวกับกระบวนการ ทํางานของระบบไหลเวียนโลหิตและแนวทาง การสรางเสริมและดํารงประสิทธิภาพ การทํางานของระบบไหลเวียนโลหิต 3. การจัดทําบอรดความรูเรื่อง การสรางเสริมและ ดํารงประสิทธิภาพการทํางานของระบบ ยอยอาหาร 4. การเขียนผังความคิดเรื่อง การสรางเสริมและ ดํารงประสิทธิภาพการทํางานของระบบขับถาย ปสสาวะ

คา¶าÁปรШíาËน‹ÇÂการàรÕÂนรÙŒ ๑. จงอธิบายขัน้ ตอนการท�างานของระบบอวัยวะดังต่อไปนี ้ ระบบหายใจ ระบบไหลเวียนโลหิต ระบบย่อย อาหาร ระบบขับถ่ายปัสสาวะ มา ๑ ระบบ ๒. เพราะเหตุใดระบบขับถ่ายปัสสาวะจึงมีความสัมพันธ์กับระบบไหลเวียนโลหิตมากกว่าระบบอื่น ๆ ๓. ถ้าระบบอวัยวะระบบใดระบบหนึ่งท�างานผิดปกติ นักเรียนคิดว่าจะมีผลกระทบต่อสุขภาพของเรา หรือไม่อย่างไร จงอธิบาย ๔. การสร้างเสริมและด�ารงประสิทธิภาพในการท�างานของระบบอวัยวะต่าง ๆ มีความสัมพันธ์กับการ ด�าเนินชีวิตของเราอย่างไร ๕. การออกก�าลังกายเป็นประจ�ามีผลดีต่อระบบอวัยวะต่าง ๆ ของเราอย่างไรบ้าง จงวิเคราะห์

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู

กÔ¨กรรมสร้ำงสรรค์พั²นำกำรเรÕยนรู้

1. ผังความคิดเกี่ยวกับกระบวนการทํางานของ ระบบไหลเวียนโลหิตและแนวทางการสรางเสริม และดํารงประสิทธิภาพการทํางานของระบบ ไหลเวียนโลหิต 2. บอรดความรูเรื่อง การสรางเสริมและดํารง ประสิทธิภาพการทํางานของระบบยอยอาหาร 3. ผังความคิดเรื่อง การสรางเสริมและดํารง ประสิทธิภาพการทํางานของระบบขับถาย ปสสาวะ

กิจกรรมที่ ๑

กิจกรรมที่ ๒

กิจกรรมที่ ๓

แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มกลุ่มละ ๓ - ๕ คน ให้เลือกท�ารายงานเกี่ยวกับระบบ อวัยวะตามทีไ่ ด้ศกึ ษา กลุม่ ละ ๑ ระบบ โดยให้แต่ละกลุม่ มีแผนภาพประกอบด้วย เสร็จแล้วให้น�ารายงานส่งครูผู้สอน ครูและนักเรียนช่วยกันหาแผนภาพ หุ่นจ�าลอง ซีดี เกี่ยวกับองค์ประกอบและ หน้าที่ของระบบอวัยวะต่าง ๆ น�ามาแสดงในชั้นเรียนและร่วมกันอภิปราย ในประเด็นที่จะศึกษา เชิญบุคลากรด้านสาธารณสุขในท้องถิ่น มาบรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับแนวทาง ปฏิบัติตนในการสร้างเสริมและด�ารงประสิทธิภาพการท�างานของระบบอวัยวะ ต่าง ๆ ทั้ง ๔ ระบบ โดยให้นักเรียนสรุปสาระส�าคัญจดบันทึกไว้

2๔

แนวตอบ คําถามประจําหนวยการเรียนรู 1. ระบบยอยอาหาร เริ่มจากการยอยอาหารในปาก ซึ่งอาหารจะถูกบดเคี้ยวใหมีขนาดเล็กลง และทําใหออนนุมดวยนํ้าลาย ภายในนํ้าลายจะมีเอนไซมอะไมเลส ทําหนาที่ ยอยอาหารคารโบไฮเดรตจําพวกแปงและไกลโคเจนใหมีขนาดเล็กลง เมื่อเรากลืนอาหาร อาหารจะเคลื่อนไปตามหลอดอาหาร โดยอาศัยการบีบตัวของหลอดอาหาร เพื่อลงสูกระเพาะอาหาร ซึ่งอาหารที่ถูกยอยสวนใหญจะเปนโปรตีน และลําไสเล็กจะดูดซึมสารอาหาร ซึ่งจะมีการยอยอาหารทั้งคารโบไฮเดรต โปรตีน และไขมัน จากนั้นลําไสใหญจะดูดซึมของเหลว นํ้า เกลือแร และนํ้าตาลกลูโคสออกใหเหลือเปนกากอาหาร เพื่อขับออกนอกรางกายในรูปของอุจจาระทางทวารหนักตอไป 2. เพราะการทํางานของระบบขับถายปสสาวะจะเริ่มขึ้นเมื่อโลหิตหรือพลาสมาไหลผานไตและหนวยไต ซึ่งในบริเวณนี้จะมีการกรองและดูดซึมสารที่มีประโยชนและ นํา้ บางสวนกลับเขาไปใชใหมในรางกาย โดยโลหิตทีเ่ ปนของเหลวทีอ่ ยูภ ายนอกเซลลจะเปนตัวพาสารตางๆ ทีร่ า งกายตองการขับออกไปทีไ่ ต เพือ่ ใหไตกรองสารทีไ่ มตอ งการออก 3. มีผล เพราะรางกายจะสามารถดํารงภาวะสุขภาพไดดนี นั้ ระบบอวัยวะตางๆ ของรางกายตองทํางานประสานสัมพันธกนั อยูต ลอดเวลา จึงจะทําใหมนุษยสามารถดํารงชีวติ อยูไดอยางปกติ โดยเริ่มตั้งแตการหายใจเขาสูรางกายผานกระบวนการของระบบหายใจ การยอยอาหารและนําสารอาหารที่จําเปนเขาสูรางกายผานทางระบบไหลเวียน โลหิต และรางกายจะขับสารที่ไมจําเปนตอรางกายออกมาทางระบบทางเดินหายใจและระบบขับถายปสสาวะ 4. หากเรารูว ธิ กี ารปฏิบตั ติ นดูแลรักษา เอาใจใส และสรางเสริมดํารงประสิทธิภาพการทํางานของระบบอวัยวะตางๆ อยางถูกวิธี ก็ยอ มสงผลใหสขุ ภาพของเรามีความแข็งแรง ปราศจากโรคภัยไขเจ็บตางๆ และสามารถปองกันปญหาสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นได 5. การออกกําลังกายเปนการสรางประโยชนใหแกรางกาย ทําใหรางกายมีสุขภาพสมบูรณแข็งแรง สงผลใหความดันโลหิต การเตนของหัวใจ และระดับคอเลสเตอรอลเปนไป อยางปกติ นอกจากนี้ยังทําใหรางกายมีความกระฉับกระเฉง คลองแคลว และลดความเครียดได

24

คู่มือครู


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.