8858649122926

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº »ÃСѹÏ

ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน

กระบวนการสอนแบบ 5 Es ชวยสรางทักษะการเรียนรู กิจกรรมมุงพัฒนาทักษะการคิด คำถาม + แนวขอสอบเพื่อยกผลสัมฤทธิ์ O-NET กิจกรรมบูรณาการเตรียมพรอมสู ASEAN 2558


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ

ดนตรี

ชั้นมัธยมศึกษาปที่

5

สําหรับครู

คูมือครู Version ใหม

ลักษณะเดน

ขยายพื้นที่รูปเลมใหญขึ้นกวาเดิม จัดแบงพื้นที่ออกเปนโซน เพื่อคนหาขอมูลไดงาย สะดวก รวดเร็ว และดูเปนระเบียบ กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล

กระตุน ความสนใจ

Evaluate

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

เปาหมายการเรียนรู สมรรถนะของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค

หน า

โซน 1 กระตุน ความสนใจ

Engage

สํารวจคนหา

Explore

อธิบายความรู

Explain

ขยายความเขาใจ

Expand

ตรวจสอบผล

หน า

หนั ง สื อ เรี ย น

โซน 1

หนั ง สื อ เรี ย น

Evaluate

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

O-NET บูรณาการเชื่อมสาระ

เกร็ดแนะครู

ขอสอบ

โซน 2

โซน 3

กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย

นักเรียนควรรู

โซน 3

โซน 2 บูรณาการอาเซียน มุม IT

No.

คูมือครู

คูมือครู

No.

โซน 1 ขั้นตอนการสอนแบบ 5Es

โซน 2 ชวยครูเตรียมสอน

โซน 3 ชวยครูเตรียมนักเรียน

เพื่อใหครูเตรียมจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยแนะนําขั้นตอนการสอนและ การจัดกิจกรรมแบบ 5Es อยางละเอียด เพื่อใหนักเรียนบรรลุตามตัวชี้วัด

เพื่อชวยลดภาระครูผูสอน โดยแนะนํา เกร็ดความรูสําหรับครู ความรูเสริมสําหรับ นักเรียน รวมทั้งบูรณาการความรูสูอาเซียน และมุม IT

เพื่อใหครูสะดวกตอการจัดกิจกรรม โดย แนะนํากิจกรรมบูรณาการเชือ่ มระหวางสาระหรือ กลุมสาระการเรียนรู วิชา กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย รวมถึงเนื้อหาที่เคยออกขอสอบ O-NET แนวขอสอบ NT/O-NET ทีเ่ นนการคิด พรอมเฉลยและคําอธิบายอยางละเอียด


ที่ใชในคูมือครู

แถบสีและสัญลักษณ

แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5Es เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

1. แถบสี 5Es สีแดง

สีเขียว

กระตุน ความสนใจ

เสร�ม

สํารวจคนหา

Engage

2

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุน ความสนใจ เพื่อโยง เขาสูบทเรียน

สีสม

อธิบายความรู

Explore

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนสํารวจ ปญหา และศึกษา ขอมูล

สีฟา

Explain

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนคนหา คําตอบ จนเกิดความรู เชิงประจักษ

สีมวง

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนนําความรู ไปคิดคนตอๆ ไป

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

2. สัญลักษณ สัญลักษณ

วัตถุประสงค

• เปาหมายการเรียนรู

• หลักฐานแสดง ผลการเรียนรู

• เกร็ดแนะครู

แทรกความรูเสริมสําหรับครู ขอเสนอแนะ ขอควรระวัง ขอสังเกต แนวทางการจัด กิจกรรมและอืน่ ๆ เพื่อประโยชนในการ จัดการเรียนการสอน ขยายความรูเพิ่มเติมจากเนื้อหา เพื่อให ครูนําไปใชอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียน ไดมีความรูมากขึ้น

ความรูห รือกิจกรรมเสริม ใหครูนาํ ไปใช เตรียมความพรอมใหกบั นักเรียนกอนเขาสู ประชาคมอาเซียนใน พ.ศ. 2558 โดย บูรณาการกับวิชาทีก่ าํ ลังเรียน

บูรณาการอาเซียน

คูม อื ครู

แสดงรองรอยหลักฐานตามภาระงาน ที่ครูมอบหมาย เพื่อแสดงผลการเรียนรู ตามตัวชี้วัด

• นักเรียนควรรู

มุม IT

แสดงเปาหมายการเรียนรูที่นักเรียน ตองบรรลุตามตัวชี้วัด ตลอดจนสมรรถนะ ที่จะตองมี และคุณลักษณะที่พึงเกิดขึ้น กับนักเรียน

แนะนําแหลงคนควาจากเว็บไซต เพื่อให ครูและนักเรียนไดเขาถึงขอมูลความรู ที่หลากหลาย ทั้งไทยและตางประเทศ

สัญลักษณ

ขอสอบ

วัตถุประสงค

O-NET

(เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ O-NET O-NET)

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE O-NETT (เฉพาะระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนตน)

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET (เฉพาะระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย)

บูรณาการเชื่อมสาระ

กิจกรรมสรางเสริม

• ชีแ้ นะเนือ้ หาทีเ่ คยออกขอสอบ

O-NET โดยยกตัวอยางขอสอบ พรอมวิเคราะหคาํ ตอบ อยางละเอียด

• เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน

การคิดและเปนแนวขอสอบ NT/O-NET ในระดับมัธยมศึกษา ตอนตน มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

• เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน

การคิดและเปนแนวขอสอบ O-NET ในระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม

เชือ่ มกับสาระหรือกลุม สาระ การเรียนรู ระดับชัน้ หรือวิชาอืน่ ทีเ่ กีย่ วของ

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ซอมเสริมสําหรับนักเรียนทีค่ วร ไดรบั การพัฒนาการเรียนรู

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม กิจกรรมทาทาย

ตอยอดสําหรับนักเรียนทีเ่ รียนรู ไดอยางรวดเร็ว และตองการ ทาทายความสามารถในระดับ ทีส่ งู ขึน้


คําแนะนําการใชคูมือครู การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน คูมือครู รายวิชา ดนตรี ม.5 จัดทําขึ้นเพื่อใหครูผูสอนนําไปใชเปนแนวทางวางแผนการสอนเพื่อพัฒนาผล สัมฤทธิ์ทางการเรียน และประกันคุณภาพผูเรียน ตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) โดยใชหนังสือเรียน ดนตรี ม.5 ของบริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด เปนสื่อหลัก (Core Material) ประกอบการสอน และการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดกลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 โดยออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักการสําคัญ ดังนี้

เสร�ม

3

1 ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน คูมือครู รายวิชา ดนตรี ม.5 วางแผนการสอนโดยแบงเปนหนวยการเรียนรูตามลําดับสาระ (Strand) และ หมายเลขขอของมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด แตละหนวยจะกําหนดเปาหมายการเรียนรูและจุดประสงคการเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทางการประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชัดเจน ครูผูสอนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด สมรรถนะ และคุณลักษณะอันพึงประสงคที่เปนเปาหมายการเรียนรูตามที่กําหนด หนดไวในสาระแกนกลาง (ตามแผนภูมิ) และสามารถ บันทึกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนแตละคนลงในเอกสาร ปพ.5 ได ไดอยางมั่นใจ แผนภูมิแสดงความสัมพันธขององคประกอบการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเน มาต นผูเรียนเปนสําคัญ

พผ

ูเ

จุ ด ป ร

ะสง

คก า

ส ภา

รี ย น

รู ีเรยน

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชวงชั้น

ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน คูม อื ครู


2 การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ แนวคิ ด ในการจั ด การเรี ย นการสอนที่ ยึ ด ผู  เ รี ย นเป น สํ า คั ญ พั ฒ นามาจากปรั ช ญาและทฤษฎี ก ารเรี ย นรู  Constructivism ที่เชื่อวา การเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสรางความรู โดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดเรียนรูจากบทเรียนใหมกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา ผูเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีการสั่งสมความรูความเขาใจเกี่ยวกับสิ่งตางๆ ติดตัวมากอน ทีจ่ ะเขาสูห อ งเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากประสบการณและสิง่ แวดลอมรอบตัวผูเ รียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกิจกรรม เสร�ม การเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ผูสอนจะตองคํานึงถึง

4

1. ความรูเดิมของผูเรียน วิธีการสอนที่ดีจะตองเริ่มตนจากจุดที่วา ผูเ รียนมีความรูอ ะไรมาบาง แลวจึงใหความรู หรือประสบการณใหม เพื่อตอยอดจาก ความรูเดิม นําไปสูการสรางความรู ความเขาใจใหม

2. ความรูเดิมของผูเรียนถูกตองหรือไม ผูส อนตองปรับเปลีย่ นความรูค วามเขาใจเดิม ของผูเรียนใหถูกตอง และเปนพฤติกรรม การเรียนรูใ หมทมี่ คี ณุ คาตอผูเรียน เพื่อสราง เจตคติหรือทัศนคติที่ดีตอการเรียนรู สิ่งเหลานั้น

3. ผูเรียนสรางความหมายสําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมใหผูเรียนนําความรู ความเขาใจที่เกิดขึ้นไปลงมือปฏิบัติ เพื่อขยายความรูใหลึกซึ้งและมีคุณคา ตอตัวผูเรียนมากที่สุด

แนวคิด Constructivism เนนใหผูเรียนสรางความรูโดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูของตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศ

การเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณ ความรูใ หม เพือ่ กระตนุ ใหผเู รียนเชือ่ มโยงความรู ความคิด กับประสบการณทมี่ อี ยูเ ดิม แลวสังเคราะหเปนความรูห รือแนวคิดใหมๆ ไดดว ยตนเอง

3 การบูรณาการกระบวนการคิด การเรียนรูของผูเรียนแตละคนจะเกิดขึ้นที่สมอง ซึ่งเปนอวัยวะที่ทําหนาที่รูคิดภายใตสภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวย และไดรบั การกระตนุ จูงใจอยางเหมาะสม สอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของผูเ รียนแตละคน การจัดกิจกรรม การเรียนรูและสาระการเรียนรูที่สอดคลองกับความสนใจและมีความหมายตอผูเรียน จะชวยกระตุนใหสมองของผูเรียน สามารถรับรูและเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพตามขั้นตอนการทํางงานของสมอง ดังนี้ 1. สมองจะเรียนรูและสืบคน โดยการสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง ปฏิบัติ จนทําใหคนพบความรูความเขาใจ ไดอยางรวดเร็ว

2. สมองจะแยกแยะคุณคาของสิ่งตางๆ โดยการตัดสินใจวิพากษวิจารณ แสดง ความคิดเห็น ยอมรับหรือตอตานตาม อารมณความรูสึกที่เกิดขึ้นในขณะที่เรียนรู

3. สมองจะประมวลเนื้อหาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสานกับ ความรูห รือประสบการณเดิมทีถ่ กู จัดเก็บอยูใ น สมอง ผานการกลัน่ กรองเพือ่ สังเคราะหเปน ความรูค วามเขาใจใหมๆ หรือเปนทัศนคติใหม ที่จะเก็บบรรจุไวในสมองของผูเรียน

การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะเกิดขึ้น เมื่อสมองรูคิด และตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมองผูเรียน โดยเริ่มตนจาก 1. ระดับการคิดพื้นฐาน ไดแก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล การสรุปผล เปนตน

คูม อื ครู

2. ระดับลักษณะการคิด ไดแก การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดไกล คิดหลากหลาย คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล เปนตน

3. ระดับกระบวนการคิด ไดแก กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ กระบวนการแกปญหา กระบวนการ คิดสรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะห เปนตน


5Es การจัดกิจกรรมตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ขั้นตอนการสอนที่สัมพันธกับขั้นตอนการคิดและการทํางานทางสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย คือ วัฏจักรการเรียนรู 5Es ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแตละหนวย ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1

กระตุนความสนใจ

(Engage)

เสร�ม

5

เปนขั้นที่ผูสอนนําเขาสูบทเรียน เพื่อกระตุนความสนใจของผูเรียนดวยเรื่องราวหรือเหตุการณที่นาสนใจโดยใชเทคนิควิธีการ และคําถามทบทวนความรูหรือประสบการณเดิมของผูเรียน เพื่อเชื่อมโยงผูเรียนเขาสูความรูของบทเรียนใหม ชวยใหผูเรียนสามารถ สรุปความสําคัญหัวขอและสาระการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอนการสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอมและสราง แรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน

ขั้นที่ 2

สํารวจคนหา

(Explore)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนเปดโอกาสใหผเู รียนลงมือศึกษา สังเกต หรือรวมมือกันสํารวจ เพือ่ ใหเห็นขอบขายของประเด็นหรือปญหา รวมถึง วิธีการศึกษาคนควา การรวบรวมขอมูลความรูที่จะนําไปสูการสรางความเขาใจประเด็นหรือปญหานั้นๆ เมื่อผูเรียนทําความเขาใจใน ประเด็นหรือปญหาที่จะศึกษาคนควาอยางถองแทแลว ก็ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธีการตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูที่เกี่ยวของกับประเด็นหรือปญหาที่ศึกษา

ขั้นที่ 3

อธิบายความรู

(Explain)

เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา ตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนคนหาคําตอบ และนําขอมูล ความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห สรุปผล และนําเสนอผลที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ ผังมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน ในขั้นตอนนี้ฝกใหผูเรียนใชสมองคิดวิเคราะหและสังเคราะห อยางเปนระบบ

ขั้นที่ 4

ขยายความเขาใจ

(Expand)

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใชเทคนิควิธีสอนตางๆ ที่สงเสริมใหผูเรียนนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนสืบคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะ การเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน ผูเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยง กับประสบการณเดิมโดยนําขอสรุปทีไ่ ดไปใชอธิบายเหตุการณตา งๆ หรือนําไปปฏิบตั ใิ นสถานการณใหมๆ ทีเ่ กีย่ วของกับชีวติ ประจําวัน ของตนเอง เพื่อขยายความรูความเขาใจใหกวางขวางยิ่งขึ้น ในขั้นตอนนี้ฝกสมองของผูเรียนใหสามารถคิดริเริ่มสรางสรรคอยางมี คุณภาพ เสริมสรางวิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป

ขั้นที่ 5

ตรวจสอบผล

(Evaluate)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนประเมินมโนทัศนของผูเ รียน โดยตรวจสอบจากความคิดทีเ่ ปลีย่ นไปและความคิดรวบยอดทีเ่ กิดขึน้ ใหม ตรวจสอบ ทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด หรือการเคารพความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพื่อการ สรางสรรคความรูร ว มกัน ผูเ รียนสามารถประเมินผลการเรียนรูข องตนเอง เพือ่ สรุปผลวามีความรูอ ะไรเพิม่ ขึน้ มาบาง เกิดความเขาใจ มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ หรือในชีวิตประจําวันไดอยางไร ผูเรียนจะเกิดเจตคติ และเห็นคุณคาของตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง

การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนนผูเรียน เปนสําคัญอยางแทจริง เพราะสงเสริมใหผูเรียนไดเรียนรูตามขั้นตอนของกระบวนการสรางความรูดวยตนเอง และ ฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและกระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะชีวิต ทักษะการทํางาน และทักษะการ เรียนรูที่มีประสิทธิภาพ สงผลตอการยกระดับผลสัมฤทธิ์ของผูเรียน ตามเปาหมายของการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คูม อื ครู


O-NET การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ O-NET

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ในแตละหนวยการเรียนรู ทางผูจัดทํา จะเสนอแนะวิธีสอน รูปแบบกิจกรรมการเรียนรู พรอมทั้งออกแบบเครื่องมือวัดและประเมินผลที่สอดคลองกับตัวชี้วัด และสาระการเรียนรูแกนกลางไวทุกขั้นตอน โดยยึดหลักสําคัญ คือ หลักของการวัดและประเมินผล เสร�ม

6

1. การวัดและประเมินผลทุกครั้ง ควรนําผลมาปรับปรุงพัฒนาผูเรียน เปนรายบุคคล

2. การวัดและประเมินผลมี เปาหมาย เพื่อพัฒนาการเรียนรู ของผูเรียนจนเต็มศักยภาพ

3. การนําผลการวัดและประเมินผล ทุกครั้งมาวางแผนปรับปรุงกิจกรรม การเรียนการสอน การเลือกเทคนิค วิธีสอน และสื่อการเรียนรูให เหมาะสมกับสภาพจริงของผูเรียน

การทดสอบผูเรียน 1. การใชขอสอบอัตนัย เนนการอาน การคิดวิเคราะห และการเขียนเพิ่มมากขึ้น 2. การใชคําถามกระตุนการคิดควบคูกับการทําขอสอบที่เนนการคิดอยางตอเนื่องตามลําดับกิจกรรมการเรียนรู และตัวชี้วัด 3. การทดสอบตองดําเนินการทั้งกอนเรียน ระหวางเรียน และหลังเรียน การทดสอบควรใชขอสอบทั้งชนิดปรนัยและ อัตนัย และเปนการทดสอบเพื่อประเมินผลการเรียนของผูเรียนแตละคน เพื่อการสอนซอมเสริมใหบรรลุตัวชี้วัด ไดครบถวน 4. การสอบกลางภาค (ถามี) ควรนําแบบฝกหัดหรือขอสอบทีน่ กั เรียนสวนใหญไมสามารถตอบไดหรือไมครบถวนชัดเจน มา สรางเปนแบบทดสอบอีกครัง้ เพือ่ ตรวจสอบความรูค วามเขาใจทีถ่ กู ตอง และประเมินความกาวหนาของผูเ รียนแตละคน 5. การสอบปลายภาคเรียนเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามตัวชี้วัดที่สําคัญ ควรออกขอสอบใหมีลักษณะเดียวกับ ขอสอบ O-NET โดยเนนการคิดวิเคราะห สังเคราะห เชื่อมโยงประยุกตใช เพื่อสรางความคุนเคย และฝกฝน วิธีการทําขอสอบดวยความมั่นใจ 6. การนําผลการทดสอบของผูเรียนมาวิเคราะห โดยผลการสอบกอนการเรียนตองสามารถพยากรณผลการสอบ กลางภาค และผลการสอบกลางภาคตองทํานายผลการสอบปลายภาคของผูเ รียนแตละคน เพือ่ ประเมินพัฒนาการ ความกาวหนาของผูเรียนเปนรายบุคคล 7. ผลการทดสอบปลายป ปลายภาค ตองมีคาเฉลี่ยสอดคลองกับคาเฉลี่ยของการสอบ NT ที่เขตพื้นที่การศึกษา จัดสอบ รวมทั้งคาเฉลี่ยของการสอบ O-NET ชวงชั้นที่สอดคลองครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดสําคัญ เพือ่ สะทอนประสิทธิภาพของครูผสู อนในการออกแบบการเรียนรูแ ละประกันคุณภาพผูเ รียนทีต่ รวจสอบผลไดชดั เจน การจัดการเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ตองใหผูเรียนไดสั่งสมความรู ความเขาใจตามลําดับขั้นตอน ของกิจกรรมในวัฏจักรการเรียนรู 5Es เพื่อใหผูเรียนไดเติมเต็มองคความรูอยางตอเนื่อง จนสามารถปฏิบัติชิ้นงานหรือ ภาระงานรวบยอดของแตละหนวย ผานเกณฑประกันคุณภาพในระดับที่นาพึงพอใจ เพื่อรองรับการประเมินภายนอกจาก สมศ. ตลอดเวลา คูม อื ครู


ASEAN การเรียนรูสูประชาคมอาเซียน เพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรูบูรณาการอาเซียนศึกษา ผูจัดทําไดวิเคราะห มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดที่มีสาระการเรียนรูสอดคลองกับองคความรูเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนในแงมุมตางๆ ครอบคลุมทัง้ ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน เพื่อสงเสริมการเรียนรูใหผูเรียนเกิดความตระหนัก มีความรูความเขาใจเหมาะสมกับระดับชั้นและกลุมสาระ การเรียนรู โดยเสนอแนะวิธีการจัดกิจกรรมบูรณาการเนื้อหาสาระตางๆ ที่เปนประโยชนตอผูเรียนและเปนการชวย เตรียมความพรอมผูเ รียนทุกคนทีจ่ ะกาวเขาสูก ารเปนสมาชิกของประชาคมอาเซียนไดอยางมัน่ ใจตามขอตกลงปฏิญญา เสร�ม ชะอํา-หัวหิน วาดวยความรวมมือดานการศึกษาเพือ่ บรรลุเปาหมายประชาคมอาเซียนทีเ่ อือ้ อาทรและแบงปน จึงกําหนด 7 เปนนโยบายใหกระทรวงศึกษาธิการจัดการเรียนรูเตรียมความพรอมผูเรียนเขาสูประชาคมอาเซียนภายในป พ.ศ. 2558 ตามแนวปฏิบัติที่สําคัญ ดังนี้

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน 1. การสรางความรูความเขาใจ และตระหนักถึงความสําคัญของ กฎบัตรอาเซียน และความรวมมือ ของ 3 เสาหลัก ซึง่ กฎบัตรอาเซียน ในขณะนี้มีสถานะเปนกฎหมายที่ ประเทศสมาชิกจะตองปฏิบัติตาม หลักการที่กําหนดไวเพื่อใหบรรลุ เปาหมายของกฎบัตรมาตราตางๆ

2. การสงเสริมหลักการ ประชาธิปไตยและการสราง สิ่งแวดลอมประชาธิปไตย เพื่อการอยูรวมกันอยางกลมกลืน ภายใตวิถีชีวิตอาเซียนที่มีความ หลากหลายดานสังคมและ วัฒนธรรม

4. การตระหนักในคุณคาของ สายสัมพันธทางประวัติศาสตร และมรดกทางวัฒนธรรมที่มี พัฒนาการรวมกัน เพื่อเชื่อม อัตลักษณและสรางจิตสํานึก ในการเปนประชากรของประชาคม อาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการศึกษาดาน สิทธิมนุษยชน เพื่อสรางประชาคม อาเซียนใหเปนประชาคมเพื่อ ประชาชนอยางแทจริง สามารถ อยูรวมกันไดบนพื้นฐานการเคารพ ในคุณคาของศักดิ์ศรีแหงความ เปนมนุษยเทาเทียมกัน

5. การสงเสริมสันติภาพ ความ มั่นคง และความปรองดองในสังคม ทั้งระดับประเทศและภูมิภาคของ อาเซียนบนพื้นฐานสันติวิธีและการ อยูรวมกันดวยขันติธรรม

คูม อื ครู


การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

เสร�ม

8

1. การพัฒนาทักษะการทํางาน เพื่อเสริมสรางผูเรียนใหมีทักษะ วิชาชีพที่จําเปนสอดคลองกับ ความตองการของตลาดแรงงาน และสถานประกอบการในอาเซียน สามารถเทียบโอนผลการเรียน และการทํางานตามมาตรฐานฝมือ แรงงานในภูมิภาคอาเซียน

2. การเสริมสรางวินัย ความรับผิดชอบ และเจตคติรักการทํางาน สามารถพึ่งพาตนเอง มีทักษะชีวิต ดํารงชีวิตอยางมีความสุข เห็นคุณคา และภูมิใจในตนเอง ในฐานะที่เปนพลเมืองไทยและ อาเซียน

3. การเรียนรูเพื่อพัฒนาตนเอง อยางตอเนื่องตลอดชีวิต ใหมี ทักษะการทํางานตามมาตรฐาน อาชีพ และคุณวุฒิของวิชาชีพสาขา ตางๆ เพื่อรองรับการเตรียมเคลื่อน ยายแรงงานมีฝมือและการเปน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่ เขมแข็ง เพื่อสรางขีดความสามารถ ในการแขงขันในเวทีโลก

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 1. การเสริมสรางความรวมมือ ในลักษณะสังคมที่เอื้ออาทร ของประชากรอาเซียน โดยยึด หลักการสําคัญ คือ ความงดงาม ของประชาคมอาเซียนมาจาก ความแตกตางและหลากหลายทาง วัฒนธรรมที่ลวนแตมีคุณคาตอ มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน ซึ่งประชาชนทุกคนตองอนุรักษ สืบสานใหยั่งยืน

2. การเสริมสรางคุณลักษณะ ของผูเรียนใหเปนพลเมืองอาเซียน ที่มีศักยภาพในการกาวเขาสู ประชาคมอาเซียนอยางมั่นใจ เปนผูที่มีสุขภาพสมบูรณแข็งแรง มีทักษะการสื่อสาร ทักษะการ ทํางาน ทักษะทางสังคม สามารถ ทํางานรวมกับผูอื่นไดอยาง สรางสรรค และมีองคความรู เกี่ยวกับอาเซียนที่จําเปนตอการ ดํารงชีวิตอยางมีคุณภาพ

4. การสงเสริมการเรียนรูดาน ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี วิถชี วี ติ ความเปนอยูข องเพือ่ นบาน ในอาเซียน เพื่อสรางจิตสํานึกของ ความเปนประชาคมอาเซียนและ ตระหนักถึงหนาที่ของการเปน พลเมืองอาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการเรียนรูภาษา อังกฤษเพื่อการสื่อสารและการ ทํางานตามมาตรฐานอาชีพที่ กําหนดและสนับสนุนการเรียนรู ภาษาอาเซียนและภาษาเพื่อนบาน เพื่อชวยเสริมสรางสัมพันธภาพทาง สังคม และการอยูรวมกันอยางสันติ ทามกลางความหลากหลายทาง วัฒนธรรม

5. การสรางความรูและความ ตระหนักเกี่ยวกับดานสิ่งแวดลอม ปญหาและผลกระทบตอคุณภาพ ชีวิตของประชากรในภูมิภาค รวมทั้งแนวทางการพัฒนาอยาง ยั่งยืน ใหเปนมรดกสืบทอดแก พลเมืองอาเซียนในรุนหลังตอๆ ไป

กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศนโยบายการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) เพื่อเรงพัฒนาเด็ก และเยาวชนไทยใหเปนทรัพยากรมนุษยของชาติที่มีทักษะและความชํานาญ พรอมเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงและ การแขงขันทั้งในภูมิภาคอาเซียนและภูมิภาคอื่นๆ ของสังคมโลก ทั้งนี้ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และผูปกครอง ควรรวมมือกันอยางใกลชิดในการดูแลชวยเหลือผูเรียนและจัดประสบการณการเรียนรูเพื่อพัฒนาผูเรียนจนเต็มศักยภาพ เพื่อกาวเขาสูการเปนพลเมืองอาเซียนอยางมีเกียรติภูมิและศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของตน คณะผูจัดทํา คูม อื ครู


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 2

ดนตรี (เฉพาะชั้น ม.5)*

ดนตรี

มาตรฐาน ศ 2.1 เขาใจและแสดงออกทางดนตรีอยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษวิจารณคุณคาดนตรี ถายทอดความรูสึก ความคิดตอดนตรีอยางอิสระ ชื่นชมและประยุกตใชในชีวิตประจําวัน ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

• การจัดวงดนตรี 1. เปรียบเทียบ รูปแบบของบทเพลง - การใชเครื่องดนตรี ในวงดนตรีประเภทตางๆ และวงดนตรี - บทเพลงที่บรรเลง แตละประเภท โดยวงดนตรีประเภทตางๆ • ประเภทของวงดนตรี 2. จําแนกประเภท - ประเภทของวงดนตรีไทย และรูปแบบของ - ประเภทของวงดนตรี วงดนตรีทั้งไทย สากล และสากล • ปจจัยในการสรางสรรค 3. อธิบายเหตุผลที่ ผลงานดนตรีในแตละ คนตางวัฒนธรรม สรางสรรคงานดนตรี วัฒนธรรม - ความเชื่อกับการ แตกตางกัน สรางสรรคงานดนตรี - ศาสนากับการสรางสรรค งานดนตรี - วิถีชีวิตกับการสรางสรรค งานดนตรี - เทคโนโลยีกับการ สรางสรรคงานดนตรี • เครื่องหมายและสัญลักษณ 4. อาน เขียน โนต ดนตรีไทยและสากล ทางดนตรี ในอัตราจังหวะตางๆ - เครือ่ งหมายกําหนด อัตราจังหวะ - เครื่องหมายกําหนด บันไดเสียง • โนตบทเพลงไทยอัตรา จังหวะ 2 ชัน้ และ 3 ชัน้ • เทคนิคการถายทอด 5. รองเพลง หรือ เลนดนตรีเดี่ยวและ อารมณเพลงดวยการรอง รวมวง โดยเนนเทคนิค บรรเลงเครื่องดนตรีเดี่ยว และรวมวง การแสดงออกและ คุณภาพของการแสดง 6. สรางเกณฑสาํ หรับ • เกณฑในการประเมิน ผลงานดนตรี ประเมินคุณภาพ - คุณภาพของผลงาน การประพันธ ทางดนตรี และการเลนดนตรี ของตนเองและผูอื่น - คุณคาของผลงาน ทางดนตรี ไดอยางเหมาะสม

ชั้น ม.4

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน ชั้น ม.5

• หนวยการเรียนรูที่ 3 วงดนตรีไทย • หนวยการเรียนรูที่ 7 วงดนตรีสากล

-

• หนวยการเรียนรูที่ 3 • หนวยการเรียนรูที่ 4 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับ วงดนตรีไทย • หนวยการเรียนรูที่ 7 ดนตรีสากล วงดนตรีสากล • หนวยการเรียนรูที่ 1 • หนวยการเรียนรูที่ 2 ดนตรีพนื้ บานของไทย ดนตรีไทย • หนวยการเรียนรูที่ 5 ดนตรีสากล

ชั้น ม.6

• หนวยการเรียนรูที่ 3 การปฏิบัติดนตรีไทย

เสร�ม

9

-

-

• หนวยการเรียนรูที่ 4 • หนวยการเรียนรูที่ 3 • หนวยการเรียนรูที่ 3 การปฏิบัติดนตรีไทย การปฏิบัติดนตรีไทย การปฏิบัติดนตรีไทย • หนวยการเรียนรูที่ 8 • หนวยการเรียนรูที่ 5 • หนวยการเรียนรูที่ 5 การปฏิบตั ดิ นตรีสากล การปฏิบตั ดิ นตรีสากล การปฏิบตั ดิ นตรีสากล

• หนวยการเรียนรูที่ 4 • หนวยการเรียนรูที่ 3 • หนวยการเรียนรูที่ 3 การปฏิบัติดนตรีไทย การปฏิบัติดนตรีไทย การปฏิบัติดนตรีไทย • หนวยการเรียนรูที่ 8 • หนวยการเรียนรูที่ 5 • หนวยการเรียนรูที่ 5 การปฏิบตั ดิ นตรีสากล การปฏิบตั ดิ นตรีสากล การปฏิบตั ดิ นตรีสากล -

• หนวยการเรียนรูที่ 3 การปฏิบัติดนตรีไทย

-

_________________________________ * สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ. (กรุงเทพมหานคร : ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 22-36.

คูม อื ครู


ตัวชี้วัด 7. เปรียบเทียบอารมณ และความรูส กึ ที่ไดรบั จากงานดนตรีมาจาก วัฒนธรรมตางกัน 8. นําดนตรีไปประยุกต ใชในงานอื่นๆ

เสร�ม

10

สาระการเรียนรูแกนกลาง • การถายทอดอารมณ ความรูสึกของงานดนตรี จากแตละวัฒนธรรม • • • • • •

ดนตรีกับการผอนคลาย ดนตรีกับการพัฒนามนุษย ดนตรีกบั การประชาสัมพันธ ดนตรีกบั การบําบัดรักษา ดนตรีกับธุรกิจ ดนตรีกับการศึกษา

ชั้น ม.4 -

-

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน ชั้น ม.5

ชั้น ม.6

-

• หนวยการเรียนรูที่ 1 ดนตรีกับวัฒนธรรม

• หนวยการเรียนรูที่ 1 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับ ดนตรีไทย • หนวยการเรียนรูที่ 4 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับ ดนตรีสากล

-

มาตรฐาน ศ 2.2 เขาใจความสัมพันธระหวางดนตรี ประวัติศาสตรและวัฒนธรรม เห็นคุณคาของดนตรีที่เปนมรดก ทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทยและสากล ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ชั้น ม.4

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน ชั้น ม.5

• หนวยการเรียนรูที่ 2 • รูปแบบบทเพลงและ วงดนตรีไทยแตละยุคสมัย ความรูพื้นฐาน ดานดนตรีไทย • รูปแบบบทเพลงและ วงดนตรีสากลแตละยุคสมัย • หนวยการเรียนรูที่ 6 ความรูพื้นฐาน ดานดนตรีสากล • หนวยการเรียนรูที่ 2 • หนวยการเรียนรูที่ 1 2. วิเคราะหสถานะทาง • ประวัติสังคีตกวี ความรูทั่วไปเกี่ยวกับ ความรูพื้นฐาน สังคมของนักดนตรี ดนตรีไทย ดานดนตรีไทย ในวัฒนธรรมตางๆ • หนวยการเรียนรูที่ 6 • หนวยการเรียนรูที่ 2 ดนตรีพนื้ บานของไทย ความรูพื้นฐาน • หนวยการเรียนรูที่ 4 ดานดนตรีสากล ความรูทั่วไปเกี่ยวกับ ดนตรีสากล • หนวยการเรียนรูที่ 2 • หนวยการเรียนรูที่ 2 • ลักษณะเดนของดนตรี 3. เปรียบเทียบ ดนตรีพนื้ บานของไทย ความรูพื้นฐาน ในแตละวัฒนธรรม ลักษณะเดนของ ดานดนตรีไทย ดนตรีในวัฒนธรรม - เครื่องดนตรี • หนวยการเรียนรูที่ 3 - วงดนตรี ตางๆ วงดนตรีไทย - ภาษา เนื้อรอง • หนวยการเรียนรูที่ 7 - สําเนียง วงดนตรีสากล - องคประกอบบทเพลง 4. อธิบายบทบาทของ • บทบาทดนตรีในการสะทอน • หนวยการเรียนรูที่ 1 • หนวยการเรียนรูที่ 4 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับ ดนตรีไทย ดนตรีในการสะทอน สังคม • หนวยการเรียนรูที่ 5 ดนตรีสากล - คานิยมของสังคมใน แนวความคิดและ ดนตรีสากล ผลงานดนตรี คานิยมที่เปลี่ยนไป - ความเชื่อของสังคมใน ของคนในสังคม งานดนตรี 5. นําเสนอแนวทาง • แนวทางและวิธีการในการ • หนวยการเรียนรูที่ 3 วงดนตรีไทย ในการสงเสริมและ สงเสริมอนุรักษดนตรีไทย อนุรักษดนตรีใน ฐานะมรดกของชาติ

1. วิเคราะหรูปแบบ ของดนตรีสากล ในยุคสมัยตางๆ

คูม อื ครู

ชั้น ม.6 -

• หนวยการเรียนรูที่ 2 ความรูเกี่ยวกับ ดนตรีไทย • หนวยการเรียนรูที่ 4 ความรูเกี่ยวกับ ดนตรีสากล • หนวยการเรียนรูที่ 1 ดนตรีกับวัฒนธรรม

• หนวยการเรียนรูที่ 2 ความรูเกี่ยวกับ ดนตรีไทย • หนวยการเรียนรูที่ 4 ความรูเกี่ยวกับ ดนตรีสากล • หนวยการเรียนรูที่ 2 ความรูเกี่ยวกับ ดนตรีไทย


คําอธิบายรายวิชา รายวิชา ดนตรี ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 รหัสวิชา ศ…………………………………

กลุมสาระการเรียนรู ศิลปะ ภาคเรียนที่…………… เวลา 40 ชั่วโมง/ป

ศึกษา เปรียบเทียบการจัดวงดนตรี รูปแบบของบทเพลงที่บรรเลงโดยวงดนตรีแตละประเภท จําแนกประเภทและ รูปแบบของวงดนตรีไทยและวงดนตรีสากล เขาใจอิทธิพลของวัฒนธรรมตอการสรางสรรคงานดนตรี โดยใชกระบวนการคิด เสร�ม วิเคราะหเพื่ออธิบายเหตุผล หรือปจจัยที่คนแตละวัฒนธรรมสรางสรรคงานดนตรีแตกตางกัน 11 ฝกปฏิบัติการอาน เขียน โนตดนตรีไทยและสากลในอัตราจังหวะตางๆ มีทักษะในการรองเพลงหรือบรรเลงดนตรี เดี่ยวและรวมวง โดยเนนเทคนิคการแสดงออกและคุณภาพของการแสดง สรางเกณฑสําหรับประเมินคุณภาพการประพันธ และการเลนดนตรีของตนเองและผูอื่นไดอยางเหมาะสม เปรียบเทียบอารมณและความรูสึกที่ไดรับจากงานดนตรีที่มาจาก วัฒนธรรมตางกัน มีทักษะในการนําดนตรีไปประยุกตใชใหเกิดประโยชนในงานอื่นๆ ไดอยางเหมาะสมและเห็นคุณคา วิเคราะหรูปแบบของดนตรีไทยและดนตรีสากลในยุคสมัยตางๆ พรอมทั้งศึกษาและวิเคราะหสถานะทางสังคม ของดนตรี เพื่อเปรียบเทียบลักษณะเดนของดนตรีในวัฒนธรรมตางๆ ศึกษา วิเคราะหบทบาทของดนตรีในการสะทอนแนวความคิด คานิยมและความเชื่อที่เปลี่ยนไปของคนในสังคม โดยใชกระบวนการอภิปรายในการนําเสนอแนวทางและวิธีการในการสงเสริมและอนุรักษ เพื่อใหตระหนักและเห็นคุณคา ของดนตรีในฐานะมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ

ตัวชี้วัด ศ 2.1 ศ 2.2

ม.4-6/2 ม.4-6/2

ม.4-6/3 ม.4-6/3

ม.4-6/4 ม.4-6/5 ม.4-6/4 รวม 9 ตัวชี้วัด

ม.4-6/6

ม.4-6/8

คูม อื ครู


ตาราง

วิเคราะหมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั รายวิชา ดนตรี ม.5

คําชี้แจง : ใหผูสอนใชตารางนี้ตรวจสอบความสอดคลองของเนื้อหาสาระการเรียนรูในหนวยการเรียนรูกับมาตรฐาน การเรียนรูและตัวชี้วัดชวงชั้น สาระที่ 2

มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัด

เสร�ม

12

หนวยการเรียนรู

มาตรฐาน ศ 2.1 ตัวชี้วัด 1

2

3

4

5

มาตรฐาน ศ 2.2 ตัวชี้วัด 6

7

หนวยการเรียนรูที่ 1 : ความรูทั�วไปเกี่ยวกับดนตรีไทย

หนวยการเรียนรูที่ 2 : ดนตรีพื้นบานของไทย

หนวยการเรียนรูที่ 3 : การปฏิบัติดนตรีไทย หนวยการเรียนรูที่ 4 : ความรูทั�วไปเกี่ยวกับดนตรีสากล หนวยการเรียนรูที่ 5 : การปฏิบัติดนตรีสากล

1

2

4

3

หมายเหตุ ✓ เฉพาะที่สอดคลองกับตัวชี้วัด ม.5 เทานั้น ตัวชี้วัดที่เหลือจะจัดการเรียนการสอนในชั้น ม.4 และ ม.6

คูม อื ครู

8

5


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹

ดนตรี ม.๕ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๕

กลุมสาระการเรียนรูศิลปะ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

ผูเรียบเรียง

รศ. สําเร็จ คําโมง นายสุดใจ ทศพร รศ. ดร. ณรงคชัย ปฎกรัชต ผศ. มณฑา กิมทอง นายชนินทร พุมศิริ

ผูตรวจ

ผศ. เดชน คงอิ่ม ผศ. อนรรฆ จรัณยานนท นายโฆษิต มั่นคงหัตถ

บรรณาธิการ

ดร. มนัส แกวบูชา นายสมเกียรติ ภูระหงษ

พิมพครั้งที่ ๖

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ รหัสสินคา ๓๕๑๕๐๐๒

¤Œ¹¤ÇÒÁÃÙŒ¢ÂÒ¤ÇÒÁ¤Ô´¨Ò¡

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè 2 ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ 3545008

EB GUIDE

ที่พิมพกํากับหัวขอสําคัญในหนังสือเรียนหลักสูตรแกนกลางฯ ผาน www.aksorn.com ไปยังแหลงความรูทั่วไทย-ทั่วโลก

คณะผูจัดทําคูมือครู

ณรงคชัย ปฎกรัชต สุดใจ ทศพร ฐิตาภรณ เติมเกียรติเจริญ


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Explain

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

¤íÒá¹Ð¹íÒ㹡ÒÃ㪌˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ดนตรีเลมนี้ สรางขึ้นเพื่อใหเปนสื่อสําหรับใชประกอบการเรียน การสอนในรายวิชาพืน้ ฐาน กลุม สาระการเรียนรูศ ลิ ปะ ชัน้ มัธยมศึกษาปที่ ๕ โดยเนือ้ หาตรงตามสาระการเรียนรูแ กนกลางขัน้ พืน้ ฐาน อานทําความเขาใจงาย ใหทงั้ ความรูแ ละชวย พัฒนาผูเ รียนตามหลักสูตรและตัวชีว้ ดั เนือ้ หาสาระแบงออกเปนหนวยการเรียนรูต ามโครงสรางรายวิชา สะดวก แกการจัดการเรียนการสอนและการวัดผลประเมินผล พรอมเสริมองคประกอบอืน่ ๆ ทีจ่ ะชวยทําใหผเู รียนไดรบั ความรูอ ยางมีประสิทธิภาพ à¹×éÍËҵçµÒÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹Ãٌ᡹¡ÅÒ§ µÑǪÕÇé ´Ñ áÅÐÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙጠ¡¹¡ÅÒ§ µÒÁ·ÕËè ÅÑ¡Êٵà ¨Ñ´¡ÅØ‹Áà¹×éÍËÒ໚¹Ë¹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ¡íÒ˹´ à¾×èÍãËŒ·ÃÒº¶Ö§à»‡ÒËÁÒÂ㹡ÒÃÈÖ¡ÉÒ Êдǡᡋ¡ÒèѴ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹

ñ ¤ÇÒÁÃÙŒ·ÑèÇä»à¡ÕèÂǡѺ´

à¡Ãç´ÈÔÅ»Šà¾ÔèÁàµÔÁ¨Ò¡à¹×éÍËÒ ÁÕá·Ã¡à»š¹ÃÐÂÐæ

ãËŒ¤ÇÒÁÃÙŒáÅÐàÍ×é͵‹Í¡ÒùíÒä»ãªŒÊ͹à¾×èÍ ãËŒºÃÃÅصÑǪÕéÇÑ´ áÅÐÊÌҧ¤Ø³ÅѡɳРÍѹ¾Ö§»ÃÐʧ¤

หนว

การเรียนรูทย ี่

เพลงประกอบการแสดง นอกจากประกอบ ๒) เพลงตามบทบาทและสถานการณถึงสถานที่ เหตุการณ รูปราง ลักษณะ อารมณ อ้ เรือ่ งซึง่ บรรยาย อง อากัปกิรยิ าแลว ในชวงการดําเนินเนื อื้ เรือ่ ง เพลงทีใ่ ชตอ งบรรเลงใหสอดคล ไปของเน น น มาเป ความรูส กึ ของตัวละคร รวมถึงความเป ่กําหนดใชบรรเลงหรือบรรเลงประกอบการขับรองของ ลงที กับสถานการณนั้น มีตัวอยางของเพ ้นเดียว ไดแก เพลงอัตรา ๒ ชั้น หรือเพลงอัตราชั มใช ย ิ น นใหญ ว ส ง ่ ซึ  มอารมณ ตัวละครตา เพลงที่ใช อารมณในการแสดง อน ลีลากระทุม

¹µÃÕä·Â ตัวชี้วัด ■

นําดนตรีไปปร (ศ ๒.๑ ม.๔-๖/๘)ะยุกตใชในงานอื่นๆ วิเคราะหสถาน ในวัฒนธรรมต ะทางสังคมของนักดนต รี างๆ (ศ ๒.๒ ม.๔-๖/๒)

สาระการเรียนรู

แกนกลาง

ดนตรีกับการผ ดนตรีกับการพ อนคลาย ดนตรีกับการป ัฒนามนุษย ดนตรีกับการบ ระชาสัมพันธ ■ ดนตรีกับธุร ําบัดรักษา กิจ ■ ดนตรีกับการศ ■ ประวัติสังคีต ึกษา กวี ■

ดนตรีเปนศิลปะ แขนงหนึ่งที ออกมาเปน ่มนุษ ทํานอง อาร มณข องเพล ยสรางสรรคขึ้น โดย มีคณ ุ คาตอมน ใชเสี งทดี่ าํ เนินไปต ษุ ยในการป ามจินตนากา ยงเปนสื่อในการถายท รุ และวัฒนธ อด รของนกั ปร รรมของมนุ งแตง ชีวติ ใหมคี วามสุข ะพนั ธ ษยมีความสม เปนสือ่ เสรมิ ดนตรไี ทยเป แตง ใหกจิ กร เพลง ดนตรี บูรณยิ่งขึ้น รมทางประเ ความเปนไทย นมรดกทางศลิ ปวฒ พณี ั นธรรมขอ ชวยเสริมสร งค นไท วัฒนธรรม ย มีคณ างความแข ุ คาและคว ไทยมาอยา ็งแกรงใหก ามงามทีบ่ ง งตอ เนือ่ งต ับวิถีชีวิตไทย สะทอนคานิ บอกถงึ งั้ แตอ ดี ยม ความเชื ่อของผูคนใน ตจนถึงปจจุบนั ขณะเด มีผลตอการสรางสรรค ยี สังคมไวในง  านดนตรีดว วกนั ก็มบี ทบาทในการช ย ว ย

à¡ÃÔè¹¹íÒà¾×èÍãˌࢌÒ㨶֧ÊÒÃÐÊíÒ¤ÑÞ ã¹Ë¹‹Ç·Õè¨ÐàÃÕ¹

รัก โศก เศรา ดีใจ เยยหยัน โกรธ ขัดเคือง ขลัง บรรยากาศศักดิ์สิทธิ์ ชมธรรมชาติ สนุกสนาน

เสริมสาร

-

-

-

บอม -

(เพลงบอมเพิ่งบอม)

บอม -

-

-

-

(เพลงสามเพิ่ง) -

เพิ่ง -

บอม -

-

-

บอม -

-

-

บอม

เพิ่ง -

บอม -

เพิ่ง -

บอม -

เพิ่ง -

บอม

เพิ่ง -

บอม -

-

บอม -

-

-

-

-

เพิ่ง

-

ปะ เพิ่ง

-

จะ

เพิ่ง

-

จะ

เพิ่ง

-

-

ปะ - เพิ่ง ปะ - เพิง่

-

ปะ - เพิ่ง ปะ - เพิง่

-

ปะ - เพิ่ง ปะ - เพิง่

-

-

บอม

-

เพิ่ง

จะ

(เพลงเซิ้ง) -

-

-

บอม -

-

-

-

การเลนรวมวงวิธที ี่ ๒ คือ การใชเ ครือ่ แบบสองแนวหรือสามแนวอยางงายไปตาม งดนตรีทตี่ นถนัด เลนทํานองหรือขับรองประสานเสียง โนต ใชเบส กลอง และกีตารดาํ เนิน จังหวะ คอรด และประกอบ

ksorn.com/LC/Mu/M5/07 ๓๘ EB GUIDE http://www.a

Web Guide á¹Ð¹íÒáËÅ‹§¤Œ¹¤ÇŒÒ¢ŒÍÁÙÅ à¾ÔèÁàµÔÁ¼‹Ò¹Ãкº Online

เพลงพื้นเมืองอเมริกัน

แนวที่ : ๑

๑๒๐

แนวที่ : ๑

Oh

แนวที่ : ๒

Oh when we

when we

march

and sing a

march

song.

Oh when we

song.

Oh when we

want to

be in that

and sing a

march and sing แนวที่ : ๒

a

song

march and sing แนวที่ : ๑

a

song

Oh don’t

num - ber. แนวที่ : ๒

When we

march and

num - ber.

When we

march and

you

Oh don’t you want

sing

sing

a

a

to be in that

song.

song.

¤íÒ¶ÒÁ»ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒáÅСԨ¡ÃÃÁ ÊÌҧÊÃä ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒà¾×èÍãËŒ¼ÙŒàÃÕ¹ ÁդسÀÒ¾ºÃÃÅØÁҵðҹáÅеÑǪÕéÇÑ´ กบุคคล

หรือ

ดจา งานที่เกิ อยา งตอ เนอื่ ง มา รรม มรูหรือผล งวัฒนรรธมมีความหมายถระึงองยุกคตคใวาช ในวถิ กี าระกดํลุามเนชนนิ ชีวโดติ ยแสดงใหเห็นถึง

าทา ภูมิปญญ

มรดก

เพลง Marching Song

เพลงประสานเสียงสองแนว

àÊÃÔÁÊÒÃШҡà¹×Íé Ëҹ͡à˹×ͨҡ ·ÕÁè ãÕ ¹ÊÒÃСÒÃàÃÕ¹ÃÙጠ¡¹¡ÅÒ§ à¾×Íè à¾ÔÁè ¾Ù¹áÅТÂÒ¾ÃÁá´¹¤ÇÒÁÃÙ㌠ˌ ¡ÇŒÒ§¢ÇÒ§ÍÍ¡ä»

นวงดนตรีที่นิยมบรรเลงโดย โอกาสที่ใชวงกลองยาวบรรเลง วงกลองยาวเป นิยมบรรเลงในงานมงคล เชน งานบวชนาค การนั่งลอมวง และบรรเลงนําขบวนแหตางๆ งานเทศกาลประจําปของจังหวัด งานสมโภช งานรื่นเริง งานแหพระ แหองคกฐิน ผาปา ขบวนขันหมาก ขบวนแหในงานตางๆ เชน งานกาชาด งานกีฬา งานที่หนวยงานตางๆ ในตําบล อําเภอ จังหวัดจัดขึ้น เปนตน เพลงกลอง ยาวเป น การกระสว น จังหวะที่มีการตีวนซํ้าไปมาระหวางกลองเอก และกลองขัด โดยมีเนื้อเพลงที่เปนจังหวะหลัก รวมกัน ผูบรรเลงสามารถสอดแทรกไปตาม จังหวะที่รุกเราได ตัวอยางเพลงกลองยาว เชน เพลงบอม เปนจังหวะยืน ใชตีเมื่อ กสนาน วามสนุ ค ห ใ ยแต า บง ย รี ่ ี เ ท หวะการตี ั ง จ กลองยาวมี า ง เริ่มตนการบรรเลง เมื่อตองการเปลี่ยนเพลง จึงนิยมนําไปใชประกอบในงานตา งๆ หลายโอกาสอย กวางขวาง หรือเพือ่ เปนสัญญาณตางๆ ในวงกลองยาว โดย วิธีกํามือตีลงบนหนากลอง ดังนี้

(เพลงเดินกลอง)

การบรรเลงทํานองเพลงพรอมกั การบรรเลงทํานองเพลง บคอรดประสานเสียงไปพรอมกั คียบ อรด เทานัน้ โดยใชมอื ซายจั น สามารถทําไดกับเครื่องดนตรี บคอร ทํานองหลัก แตทั้งสองมือตองทํ ด และเปลีย่ นคอรดใหดาํ เนินไปตามทีโ่ นตกําหนดให สวนมือขวาให ประเภท างานสัมพันธกันตามจังหวะและล ใ การบรรเลงในลักษณะนี้ จะทําให ําดับหองเพลงที่บันทึกไวแลวอย ชบรรเลง เสีย างเคร (Monophonic texture) มีแนวทํ งบรรเลงทดี่ งั ออกมามีเนือ้ ผิวหรือเทกซเชอรแบบรวมคอรดหรือแบบโมโนโงครัด านองหลักเปนเสียงเดน และแนวดํ ฟนิก าเนินคอรดเปนเสียงสนับสนุน

เพลงบังใบ สาลิกาแกว ทองย เพลงลาวครวญ ดาวทอง ธรณีกันแสง เพลงกราวรํา เยย เพลงลิงโลด ลิงลาน นาคราช แขกบรเทศ เพลงลาวเสี่ยงเทียน ขับไมบัณเฑาะว ลาวชมดง เพลงคลื่นกระทบฝง ลมพัดชายเขา ทะราดเหยียบกรวด ด คุ ย ว กล น งคาวกิ า ค ง เพลงกราวตะลุ

ณรุนแรง บอกอารมณ งบอกอารม องกับบทรอง เชน การใชเทามุ ๆ ีลาทารําหรือนาฏยศัพทใหสอดคล ของตัวละครในเนื้อเรื่องตอนนั้น ถานการณ ถา การรําตีบทของโขน ละคร ใชล เพลงประกอบก็เปนไปตามบทบาทและส โกรธ และขัดเคือง รวมทั้งการใช

๑๖

à¡Ãç´ÈÔÅ»Š

างวัฒนธ สืบทอด และป อมของแตล ดล ิปญญาท สม มรดกภูม รรค พัฒนา สัง่ สังคมและสิ่งแว ส่ รางส ม บสภาพ กลมุ ชนที องเหมาะสมกั ายทางวัฒนธรร ั นธรรม งวฒ คล หล อด  ญาทา าก ะส ิลปะ มู ปิ ญ หล แล นมรดกภ ทะเบียนสาขาศ ญา และความ นึ้ ทะเบยี ้น  ญ อัตลักษณ ป ระกาศข ๒๕๕๒ เพื่อขึ และสาขาภมู ปิ ได ม ง รร พ.ศ. ั นธ ญญาขอ พืน้ บาน งวฒ กระทรว ่ ๑๙ กันยายน ขาวรรณกรรม วามรูและภูมิป ชนที่มี มื่อวันที ดัง้ เดมิ สา ององคค ของกลุม ครั้งแรกเ ขางานชา งฝม อื ที่โดดเดน ยกย จนเอกลักษณ ากหลายทาง อด สา า ง หล ค  ญา การแสด ื่อสงเสริมคุณ างวัฒนธรรม ตล อมรับในความ กภมู ปิ ญ เพ รด รย รีท กีฬาไทย สงเสริมศักดิ์ศ ามเขาใจ เกิดกา นา และสบื ทอดม ั ฒ ุษ คว ง สวน บรรพบุร ศ เพื่อใหเกิด รุ กั ษ สรา งสรรคพ งโขนเรื่อ สดง เปน ะเท การแสด ิ์ ลิ ปะการแ ณคาความ อยูทั่วปร และนาํ ไปสูก ารอน าศ าข มเกียรต ม บบ ั นธรรมส วรชื่นชมในคุ ประเภท รา วัฒนธรร รรมอยางเปนระ ปิ ญ ญาทางวฒ ยี น ๓ มู ักเรียนค ทางวัฒนธ นึ้ ทะเบยี นมรดกภ นาฏศิลป ที่น ประกาศขึ้นทะเบ ังตะลุง ีและ การ การข ๑.๕ หน ระดนตร พ.ศ. ๒๕๕๒ มี องกับสา ใน ๑.๔ โนรา ที่เกี่ยวข รรมไทย สําหรับ ชาตรี ๑.๓ ละคร เปนวัฒนธ รายการ คือ หนังใหญ ๒ ๑๒ ๑. น จํานว โขน ง ๑.๑ อลํากลอน การแสด ๓.๓ หม ฮูลู ซอ ปน ประเภท ขา วงสะลอ อลําพื้น ๓.๖ ดิเกร นของสา ๓.๒ หม โคราช ละในสว ดนตรี านนา เพลง ล ทะเบยี นแ ๕ ประเภท ้ ึ น ซอ ๓. ศข ๑ ง ๓. ลําผญา ดประกา เพลงรอ ั นธรรมไ ๓.๔ ะทรวงวฒ ประเภท กร ๕๓ ้ นี ๒๕ พื้นบาน กฎาคม น ๖ รายการ ดัง รงเครื่อง ปพาทย นที่ ๓๐ กร นว อก ลิเกท ียน คือ และเมอื่ วั ีก ๓ ประเภท จํา หุนกระบ ่ขึ้นทะเบ ง รายการที ายักษ-ลิ อ ละครใน รแสดงอ เร็ว แมท เบียน คื ศิลปะกา ีและเพลง ลงชาเพลง ารที่ขึ้นทะ ตร เพ ยก า รํ รา ดน อ วง าว เบียน คื ประเภท ทะ นเรอื่ งร น ้ ึ ป ข ่ ่ ี เ ที งท รายการ การแสด าฟอน ประเภท งระบํารํ การแสด ประเภท

¤Ò¶ÒÁ»ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ๑. เนื้อเพลงที่จะนํามาขับรองหรือบรรเลง จําเปนตองเขียนเปนตัวโนตหรือไม เพราะเหตุใด ๒. ผูรูทางดนตรีกลาววา “ดนตรีเริ่มตนที่จังหวะ” นักเรียนเห็นดวยหรือไมเห็นดวยอยางไร จงอธิบาย ๓. ถาโรงเรียนมีขอบังคับวานักเรียนตองเลนดนตรีเปน ๑ ชนิด นักเรียนจะเลือกเลนเครื่องดนตรีชนิดใด เพราะเหตุใด ๔. หากนักเรียนใชเครื่องดนตรีสากลประเภทคียบอรดประเภทใดก็ได นักเรียนมีวิธีการดูแลรักษาอยางไร เพื่อใหเครื่องดนตรีมีความสมบูรณพรอมใชงาน ๕. การเลนรวมวงของดนตรีสากลแบงออกเปนกี่วิธี และแตละวิธีมีความแตกตางหรือเหมือนกันอยางไร จงเปรียบเทียบใหเห็นชัดเจน

¡Ô¨¡ÃÃÁÊÌҧÊÃä ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ กิจกรรมที่

กิจกรรมที่

กิจกรรมที่

ใหนกั เรียนเลือกเครือ่ งดนตรีทจี่ ะฝกปฏิบตั ติ ามความสนใจ พรอมทัง้ บอกเหตุผลวา ทําไมจึงเลือกฝกปฏิบัติเครื่องดนตรีชนิดนั้น ใหนักเรียนแตละกลุมเลือกเครื่องดนตรีตามความถนัดของตนคนละ ๑ ประเภท พรอมทั้งเลือกเพลงเพื่อทําการซอมเลนดนตรีประสานเสียง โดยใหฝกซอม จนชํานาญแลวไปทดสอบกับครูผูสอน ใหนักเรียนแบงกลุม กลุมละ ๕ คน รวมกันวิเคราะหและแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับความแตกตางของการบรรเลงเดี่ยวและบรรเลงรวมวง แลวสรุปขอมูล ที่ได จากนั้นออกมานําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน

๓๕

๑๒๓


กระตุน ความสนใจ Engage

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

สํารวจคนหา Explore

ñ

ó

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

ò ö ñó ñø

òð

òõ-öò

¤ÇÒÁÊíÒ¤ÑÞáÅÐÅѡɳТͧ´¹µÃÕ¾×鹺ŒÒ¹ òö »˜¨¨Ñ·ÕÁè ÍÕ ·Ô ¸Ô¾Åµ‹Í¡ÒÃÊÌҧÊÃä ´¹µÃÕ¾¹×é ºŒÒ¹ ò÷ ÅѡɳТͧǧ´¹µÃÕ¾×鹺ŒÒ¹ã¹ÀÒ¤µ‹Ò§æ ¢Í§»ÃÐà·Èä·Â óð à»ÃÕºà·ÕºÅѡɳÐà´‹¹¢Í§´¹µÃÕ¾×鹺ŒÒ¹ ôù ã¹ÀÙÁÔÀÒ¤µ‹Ò§æ Êѧ¤Õµ¡ÇÕ´¹µÃÕ¾×鹺ŒÒ¹ õñ

¡Òû¯ÔºÑµÔ´¹µÃÕä·Â ●

ñ-òô

¤Ø³¤‹ÒáÅФÇÒÁ§ÒÁ¢Í§´¹µÃÕä·Â ´¹µÃÕä·Â¡Ñº¡ÒûÃÐÂØ¡µ 㪌 »ÃÐàÀ·¢Í§à¾Å§ä·Â ÈѾ· Êѧ¤Õµã¹´¹µÃÕä·Â Êѧ¤Õµ¡ÇÕä·Â

´¹µÃÕ¾×鹺ŒÒ¹¢Í§ä·Â ●

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

ขยายความเขาใจ

¤ÇÒÁÃÙŒ·ÑèÇä»à¡ÕèÂǡѺ´¹µÃÕä·Â

ò

Explain

ÊÒúÑÞ ●

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

อธิบายความรู

öó-øò

¢¹º¸ÃÃÁà¹ÕÂÁ»¯ÔºÑµÔ¢Í§´¹µÃÕä·Â ÃٻẺ¡ÒúÃÃàŧ´¹µÃÕä·Â ËÅÑ¡¡Òû¯ÔºÑµÔà¤Ã×èͧ´¹µÃÕä·Â : ÃйҴàÍ¡ ÃٻẺ¡ÒâѺÌͧà¾Å§ä·Â ࡳ± 㹡ÒûÃÐàÁÔ¹¤Ø³ÀÒ¾¼Å§Ò¹´¹µÃÕä·Â

öô öö ö÷ ÷ò ÷ø


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Explore

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

ô

Explain

õ

Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

¤ÇÒÁÃÙ·Œ ÇÑè ä»à¡ÕÂè ǡѺ´¹µÃÕÊÒ¡Å øó-ñðò ●

˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ·Õè

ขยายความเขาใจ

¤Ø³¤‹ÒáÅФÇÒÁ§ÒÁ¢Í§´¹µÃÕÊÒ¡Å ´¹µÃÕÊҡšѺ¡ÒûÃÐÂØ¡µ 㪌 »ÃÐàÀ·¢Í§à¾Å§ÊÒ¡Å ÈѾ· Êѧ¤Õµã¹´¹µÃÕÊÒ¡Å Êѧ¤Õµ¡ÇÕ´¹µÃÕÊÒ¡Å

¡Òû¯ÔºÑµÔ´¹µÃÕÊÒ¡Å ●

à¤Ã×èͧËÁÒÂáÅÐÊÑÞÅѡɳ ·Ò§´¹µÃÕ ËÅÑ¡»¯ÔºÑµÔà¤Ã×èͧ´¹µÃÕÊÒ¡Å ¡ÒúÃÃàŧÃÇÁǧ

ºÃóҹءÃÁ

øô ùð ùó ù÷ ñðð

ñðó-ñòó ñðô ñðù ññø

ñòô


กระตุน ความสนใจ

ñ

กระตุEngage นความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

หน่วย

การเรียนรู้ที่

เปาหมายการเรียนรู

1. นําดนตรีไปประยุกตใชในงานอื่นๆ 2. วิเคราะหสถานะทางสังคมของนักดนตรี ในวัฒนธรรมตางๆ

¤ÇÒÁÃÙŒ·ÑèÇä»à¡ÕèÂǡѺ´¹µÃÕä·Â

สมรรถนะของผูเรียน ตัวชี้วัด ■

1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 3. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี

น�าดนตรีไปประยุกตใชในงานอื่นๆ (ศ ๒.๑ ม.๔-๖/๘) วิเคราะหสถานะทางสังคมของนักดนตรี ในวัฒนธรรมต่างๆ (ศ ๒.๒ ม.๔-๖/๒)

สาระการเรียนรู้แกนกลาง ■ ■ ■ ■ ■ ■ ■

คุณลักษณะอันพึงประสงค

ดนตรีกับการผ่อนคลาย ดนตรีกับการพัฒนามนุษย ดนตรีกับการประชาสัมพันธ ดนตรีกับการบ�าบัดรักษา ดนตรีกับธุรกิจ ดนตรีกับการศึกษา ประวัติสังคีตกวี

1. 2. 3. 4.

มีวินัย ใฝเรียนรู มุงมั่นในการทํางาน รักความเปนไทย

กระตุน ความสนใจ

ดนตรีเปนศิลปะแขนงหนึ่งที่มนุษยสรางสรรคขึ้น โดยใชเสียงเปนสื่อในการถายทอด ออกมาเปนทํานอง อารมณของเพลงทีด่ าํ เนินไปตามจินตนาการของนักประพันธเพลง ดนตรี มีคณ ุ คาตอมนุษยในการปรุงแตงชีวติ ใหมคี วามสุข เปนสือ่ เสริมแตงใหกจิ กรรมทางประเพณี และวัฒนธรรมของมนุษยมีความสมบูรณยิ่งขึ้น ดนตรีไทยเปนมรดกทางศิลปวัฒนธรรมของคนไทย มีคณ ุ คาและความงามทีบ่ ง บอกถึง ความเปนไทย ชวยเสริมสรางความแข็งแกรงใหกับวิถีชีวิตไทย มีผลตอการสรางสรรค วัฒนธรรมไทยมาอยางตอเนือ่ งตัง้ แตอดีตจนถึงปจจุบนั ขณะเดียวกันก็มบี ทบาทในการชวย สะทอนคานิยม ความเชื่อของผูคนในสังคมไวในงานดนตรีดวย

Engage

ครูเปดซีดี หรือดีวีดีการบรรเลงดนตรีไทย ใหนักเรียนฟง จากนั้นครูถามนักเรียนวา • นักเรียนเกิดความรูสึกอยางไร เมื่อไดฟงการบรรเลงดนตรีไทย (แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น ไดอยางอิสระ) • นักเรียนชอบฟงเพลงประเภทนี้หรือไม อยางไร (แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น ไดอยางอิสระ)

เกร็ดแนะครู การเรียนการสอนในหนวยการเรียนรูนี้ ครูควรอธิบายความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับ ดนตรีไทยใหนกั เรียนฟงวา ดนตรีไทยเปนงานทีส่ รางสรรคขนึ้ จากฝมอื และความคิด สรางสรรคของมนุษย มีเปาหมายในการนํามาใชเพื่อประกอบกิจกรรมตางๆ ทั้งในดานของความเชื่อ พิธีกรรม ประกอบการแสดง และการละเลน เพื่อสราง ความบันเทิงเริงรมย ความสําคัญของดนตรีที่มีตอจิตใจของคนแตละคน นับเปน สื่อเชื่อมโยงในการผสานความรัก ความสามัคคีระหวางกลุมคนในสังคม นอกจากนี้ ดนตรียังสามารถนําไปประยุกตใชกับงานอื่นๆ ไดอีก ไดแก ดนตรีกับการผอนคลาย ดนตรีกับการพัฒนามนุษย ดนตรีกับการประชาสัมพันธ ดนตรีกับการบําบัดรักษา ดนตรีกับธุรกิจและดนตรีกับการศึกษา ดังนั้น ดนตรี จึงเปรียบเสมือนมรดกทางศิลปวัฒนธรรมของชาติอีกแขนงหนึ่งที่ปรมาจารย ทางดานดนตรีไทยไดสรางสรรคไว โดยมีการสืบทอดและพัฒนามาจากอดีต จนถึงปจจุบัน คูมือครู

1


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุEngage นความสนใจ

Exploreนหา สํารวจค

กระตุน ความสนใจ

Engage

ครูเปดซีดี หรือดีวีดีการแสดงดนตรีไทย ใหนักเรียนชม จากนั้นครูถามนักเรียนวา • นักเรียนสามารถมองเห็นคุณคา และความงามของดนตรีไทยไดจากสิ่งใด (แนวตอบ สามารถมองเห็นคุณคาและความ งามของดนตรีไทยไดจากสิ่งที่ปรากฏอยู ในกิจกรรมทางสังคมไทย ไดแก ดนตรี ที่เกี่ยวของกับพระมหากษัตริย ศาสนา และกิจกรรมทั่วไป)

สํารวจคนหา

๑. คุณค่าและความงามของดนตรีไทย

มนุษย์สร้างสรรค์ดนตรีขึ้นจากภูมิปัญญาและจินตนาการ เพื่อน�ามาปรุงแต่งความสมบูรณ์ ในจิตใจ ซึ่งมีผลต่อร่างกาย อารมณ์และสังคม ดังนั้น ดนตรีจึงมีคุณค่าและความงามทั้งในระดับ บุคคล กลุ่มชนจนถึงระดับประเทศ ดนตรีไทยเป็นศิลปะทีบ่ ง่ บอกถึงความเป็นชาติ คุณค่าและความงามของดนตรีไทยพิจารณาได้ จากบทเพลงทีน่ กั ประพันธ์เพลงประพันธ์ขนึ้ มีทว่ งท�านองตามโครงสร้างของระบบเสียง เนือ้ ร้องที่ ร้อยกรองอย่างสละสลวย มีนกั ดนตรีทา� หน้าทีถ่ า่ ยทอดบทเพลง โดยใช้ระบบวิธบี รรเลงเครือ่ งดนตรี ซึง่ มีลกั ษณะหลากหลาย มีวธิ ขี บั ร้องทีก่ ลมกลืนกัน และมีเครือ่ งดนตรีซงึ่ มีรปู แบบเฉพาะ สวยงาม ได้สัดส่วน

Explore

๑.๑ คุณค่าและความงามของดนตรีไทยที่ปรากฏอยู่ในกิจกรรม ทางสังคมไทย

ใหนักเรียนแบงกลุมออกเปน 3 กลุม ใหนักเรียน ศึกษา คนควา หาความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับคุณคา และความงามของดนตรีไทย จากแหลงเรียนรูตางๆ เชน หนังสือเรียน หองสมุด อินเทอรเน็ต เปนตน ในหัวขอที่ครูกําหนดให ดังตอไปนี้ กลุมที่ 1 คุณคาและความงามของดนตรีไทย ทีป่ รากฏอยูใ นกิจกรรมทางสังคมไทย กลุมที่ 2 คุณคาและความงามของดนตรีไทย ที่แสดงออกถึงวัฒนธรรมของไทย กลุมที่ 3 การเขาถึงคุณคาและความงาม ของดนตรีไทย ทําเปนรายงาน นําสงครูผูสอน เตรียมพรอม นําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน

อธิบายความรู

คุณค่าและความงามของดนตรีไทยปรากฏอยู่ในกิจกรรมทางสังคมไทย ดังนี้

๑) คุณค่าและความงามของดนตรีไทยที่เกี่ยวกับพระราชพิธี ดนตรีที่เกี่ยว กับพระราชพิธ1ี เช่น วงปี่พาทย์บรรเลงในงานที่พระมหากษัตริย์เสด็จทรงบ�าเพ็ญพระราชกุศล วงกลองแขกบรรเลงในกระบวนพยุหยาตราทางชลมารค เช่นเดียวกับการเห่เรือที่มีศิลปินเห่ ในกระบวนพยุหยาตราทางชลมารค วงขับไม้บรรเลงในพระราชพิธีขึ้นพระอู่ของพระราชโอรส และพระราชธิดา การประโคมวงปีพ่ าทย์นางหงส์ ในงานพระเมรุ เป็นต้น ดนตรีไทยในงาน พระราชพิธีได้แสดงคุณค่าและความงามของ วงดนตรีและเสียงเพลงทีส่ อดคล้องกับกิจกรรม แบบแผนและระเบียบวิธบี รรเลง ตลอดจนเสียง เพลงที่ปรากฏขึ้นนั้นได้สร้างความสมบูรณ์ให้ แก่งานอย่างงดงาม ๒) คุ ณ ค่ า และความงามของ ดนตรีไทยทีเ่ กีย่ วกับศาสนา ดนตรีทเี่ กีย่ วกับ

Explain

ครูสุมนักเรียน 2-3 คน ใหตอบคําถามดังตอไปนี้ • เสียงดนตรีชวยกลอมเกลาจิตใจของมนุษย ไดอยางไร (แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น ไดอยางอิสระ)

วงปไฉนกลองชนะ เป็นเครื่องดนตรีไทยที่ใชบรรเลง ในงานพระราชพิธีเกี่ยวกับพระบรมศพและพระศพ

เกร็ดแนะครู ครูควรเปดซีดี หรือดีวีดี หรือสื่ออินเทอรเน็ตเกี่ยวกับการบรรเลงดนตรีในงาน พระราชพิธีของพระมหากษัตริยใหนักเรียนชม จากนั้นครูอธิบายความรูเพิ่มเติม เกี่ยวกับคุณคาและความงามของดนตรีไทยที่เกี่ยวกับงานพระราชพิธีวา ดนตรีไทย ในงานพระราชพิธีไดแสดงใหเห็นถึงคุณคาและความงามของดนตรี เสียงเพลง ที่สอดคลองกับกิจกรรม ระเบียบแบบแผน วิธีการบรรเลง ตลอดจนเสียงเพลง ที่ปรากฏขึ้นนั้นไดสรางความสมบูรณใหแกงานอยางสมพระเกียรติ

นักเรียนควรรู 1 กลองแขก เปนกลองที่ไดรับอิทธิพลมาจากชวาและมลายู นิยมนํามาเลน ในวงมโหรี วงปพาทยและวงกลองแขก โดยตีเปนจังหวะหนาทับตางๆ ในเพลงไทย เชน หนาทับสองไม หนาทับปรบไก หนาทับสะระหมา เปนตน

2

คูมือครู

ศาสนา โดยเฉพาะศาสนาที่ เ ป็ น มู ล ฐานให้ เกิดประเพณีต่างๆ ของไทยมาตั้งแต่อดีต คือ ศาสนาพราหมณ์และพระพุทธศาสนา ดนตรี ที่เกี่ยวข้องกับศาสนาพราหมณ์ส่วนใหญ่แล้ว

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

วงดนตรีไทยที่ใชบรรเลงในงานพระราชพิธีสมโภชเดือนและขึ้นพระอู มีลักษณะอยางไร แนวตอบ ดนตรีในพระราชพิธีสมโภชเดือนและขึ้นพระอู จะใชวงดนตรี มาบรรเลงดวยกัน 3 วง คือ วงประโคมแตรสังข ใชบรรเลงประกอบในชวงที่ พระมหากษัตริยเสด็จพระราชดําเนินถึงพระที่นั่งและบรรเลงประโคม วงปพาทยพิธี ใชบรรเลงประกอบพระราชพิธีสมโภชเดือนและขึ้นพระอู เพื่อสื่อถึงความเปนสิริมงคลในพระราชพิธี และวงขับไม ใชบรรเลงใน พระราชพิธี เพื่อเปนการขับกลอมพระบรรทมใหกับพระราชกุมาร


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู มีบทบาทในงานพระราชพิธี เครื่องดนตรีที่ใช้มีทั้งที่เป็นเครื่องดนตรีที่พราหมณ์ใช้มาก่อน คือ สังข์ บัณเฑาะว์ และเครื่องดนตรีพิธีกรรมที่มีใช้อยู่ในสังคม คือ มโหระทึก นอกจากงาน พระราชพิธีแล้ว งานที่เกี่ยวกับฤกษ์ยามมงคล ของประชาชนทั่วไปก็นิยมใช้เช่นกัน ดังพบใน งานต่างๆ เช่น การวางศิลาฤกษ์นิยมเป่าสังข์ ไกวบั ณ เฑาะว์ หรื อ งานที่ มี พ ราหมณ์ เ ป็ น ผูป้ ระกอบพิธี เช่น งานพิธบี วงสรวงสิง่ ศักดิส์ ทิ ธิ์ ต่างๆ คุณค่าของดนตรีลักษณะดังกล่าวนี้ จึงมี ความเกีย่ วข้องกับความเชือ่ เรือ่ งเสียงศักดิส์ ทิ ธิ์ ที่เกิดจากการเป่าสังข์ เสียงที่เกิดจากการไกว บัณเฑาะว์ เสียงมโหระทึก การสาธยายมนต์ เพื่อสื่อสารกับสิ่งศักดิ์สิทธิ์เหนือธรรมชาติ ส�าหรับงานพิธีที่มีความเกี่ยวข้อง วงปพาทยมอญ เป็นวงดนตรีไทยที่ปรับปรุงขึ้น โดยน�า กับพระพุทธศาสนา ทั้งงานมงคลและอวมงคล เครื่องดนตรีมอญประสมกับวงปพาทยไมแข็ง นิยมใช นับจากอดีตจนถึงปัจจุบนั พุทธศาสนิกชนนิยม บรรเลงในทุกโอกาส ทั้งงานมงคลและงานอวมงคล ใช้วงดนตรีไทยบรรเลงในงานพิธีต่างๆ เช่น พิธีขึ้นบ้านใหม่ พิธีเฉลิมฉลองที่มีการนิมนต์พระสงฆ์ ด งานบวชนาค งานเทศน์มหาชาติทรงเครื่อง มาเจริญพระพุทธมนต์ งานบุญ งานเทศกาลของวั 1 วงปี่พาทย์จะบรรเลงเพลงโหมโรงเย็น โหมโรงเช้า เพลงรับพระ เพลงส่งพระ เป็นต้น บางพิธี อาจใช้วงกลองยาว หรือแตรวงบรรเลงประกอบ เช่น พิธีท�าขวัญนาคหรือแห่น�านาคไปอุปสมบท การใช้วงปีพ่ าทย์สา� หรับบรรเลงประกอบพิธกี รรมในงานมงคล การใช้วงปีพ่ าทย์นางหงส์ วงปีพ่ าทย์ มอญ วงปี่กลองมลายู (วงบัวลอย) บรรเลงในงานศพ เป็นต้น นอกจากนี้ พุทธศาสนิกชนมีความเชื่อว่าการเทศน์มหาชาติเป็นสุดยอดของงานบุญ การได้ฟังเทศน์มหาชาติทั้ง ๑๓ กัณฑ์จบภายในวันเดียวจะช่วยให้ผู้ฟังได้รับบุญกุศลมหาศาล การเทศน์มหาชาติเป็นเรื่องราวชาดกที่แสดงการบ�าเพ็ญทานบารมีอันยิ่งใหญ่ในอดีตชาติและ เป็นพระชาติสุดท้ายก่อนที่จะประสูติเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เนื่องจากการด�าเนินเรื่องและ พระคาถาของเทศน์มหาชาติมีความยาวมาก ผู้ที่ไปฟังเทศน์มหาชาติต้องนั่งฟังทั้งวัน จึงมีการ ปรับปรุงและพัฒนาวิธกี ารสวดเป็นท�านองเทศน์และแหล่ และน�าวงปีพ่ าทย์มาบรรเลงเมือ่ พระเทศน์ จบแต่ละกัณฑ์ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวดั ติวงศ์ได้ทรงปรับปรุงเพลง อดคล้องกัน ดังนี้ ประจ�ากัณฑ์ที่ก�าหนดไว้ตามแบบแผนจากของเดิมและเรียบเรียงให้สอดคล้ http://www.aksorn.com/LC/Mu/M5/01

EB GUIDE

กิจกรรมสรางเสริม ใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับเพลงที่ใชประกอบกิจกรรม ทางศาสนา ไดแก งานมงคลและงานอวมงคล เขียนสรุปสาระสําคัญ ลงกระดาษรายงาน นําสงครูผูสอน

กิจกรรมทาทาย ใหนักเรียนเขียนอธิบายความสัมพันธของเพลงไทยที่ใชประกอบ การเทศนมหาชาติ พรอมทั้งหาความหมายของเพลง ลงกระดาษรายงาน นําสงครูผูสอน

Explain

ใหนักเรียนกลุมที่ 1 ที่ไดศึกษา คนควา หาความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับคุณคาและความงาม ของดนตรีไทย สงตัวแทน 2-3 คน ออกมา อธิบายความรูในหัวขอคุณคาและความงามของ ดนตรีไทยที่ปรากฏอยูในกิจกรรมทางสังคมไทย ตามที่ไดศึกษามาหนาชั้นเรียน จากนั้นครูถาม นักเรียนวา • ผูคนนิยมนําวงดนตรีไทยมาบรรเลง ในงานพิธีใด (แนวตอบ งานขึ้นบานใหม งานบุญ งานบวชนาค งานเทศนมหาชาติ งานอุปสมบท งานมงคลสมรส งานมงคลตางๆ และงานอวมงคล) • วงดนตรีประเภทใดที่ใชบรรเลงประกอบ กิจกรรมทางศาสนา (แนวตอบ การที่จะมีดนตรีบรรเลงประกอบ ในงานที่จะจัดใหมีขึ้นนั้น ควรจะยึดถือ แบบแผนที่สมัยโบราณที่ไดใชกันมา จนเปนธรรมเนียมปฏิบัติ คือ - งานมงคลที่มีพระสงฆสวดมนตและ ฉันอาหาร ควรใชวงปพาทย ซึ่งจะเปน วงปพาทยเครื่องหา เครื่องคู หรือเครื่องใหญ ก็ได - งานมงคลสมรส (งานแตงงาน) ควรใช วงมโหรี หรือวงเครื่องสาย - งานอวมงคล (งานศพ) ควรใช วงปพาทยนางหงส แตในปจจุบันนิยมนํา วงปพาทยมอญมาบรรเลง) • เพลงที่บรรเลงในงานมงคลและงานอวมงคล ใหความรูสึกที่แตกตางกันหรือไม อยางไร (แนวตอบ ตางกัน คือ จังหวะและทํานอง ดนตรีในงานมงคลจะมีลักษณะที่ฟงแลวเกิด ความไพเราะ ออนหวาน สวนใน งานอวมงคลจะมีลักษณะที่ฟงแลวเกิด ความโศกเศรา ทุกขใจ เปนตน)

นักเรียนควรรู 1 โหมโรงเย็น เปนเพลงประเภทหนึ่งที่ไดนําเพลงหลายๆ เพลง มาบรรเลง ติดตอกันเปนชุด ใชบรรเลงเปนอันดับแรกของงาน แตละเพลงเปนเพลงหนาพาทย ใชบรรเลงประกอบในพิธีอันเปนมงคล เชน งานทําบุญขึ้นบานใหม งานโกนจุก งานบวชนาค งานที่เกี่ยวของกับศาสนา เปนตน เพลงที่บรรเลง ไดแก เพลงสาธุการ เพลงตระ เพลงรัวสามลา เพลงตนเขามาน เพลงเขามาน เพลงปฐม เพลงลา เพลงเสมอ เพลงรัว เพลงเชิด เพลงกลม เพลงชํานาญ และเพลงกราวใน

มุม IT นักเรียนสามารถฟงเพลงโหมโรงเย็น ไดจาก http://www.youtube.com โดยคนหาจากคําวา เพลงโหมโรงเย็น

คูมือครู

3


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

ใหนักเรียนกลุมที่ 2 ที่ไดศึกษา คนควา หาความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับคุณคาและความงาม ของดนตรีไทย สงตัวแทน 2-3 คน ออกมาอธิบาย ความรูในหัวขอคุณคาและความงามของดนตรีไทย ที่แสดงออกถึงวัฒนธรรมไทย ตามที่ไดศึกษามา หนาชั้นเรียน จากนั้นครูถามนักเรียนวา • คุณคาและความงามของดนตรีไทย ที่แสดงออกถึงวัฒนธรรมของไทย สามารถ แบงออกเปนกี่ประเภท อะไรบาง จงอธิบาย (แนวตอบ สามารถแบงออกเปน 2 ประเภท คือ ดานรูปธรรม ไดแก เครื่องดนตรีไทย ประเภทดีด สี ตีและเปา ดานนามธรรม คือ ความไพเราะของบทเพลงที่เกิดจาก การบรรเลงเพลงดวยเครื่องดนตรี) • นักเรียนสามารถสัมผัสความไพเราะ ของเสียงเพลงไดอยางไร (แนวตอบ ไดจากการฟงเพลงที่บรรเลงในงาน พิธีตางๆ หรือเปดฟงจากซีดี หรือดีวีดี หรือ สื่ออินเทอรเน็ต หรือจากการบรรเลงสด แตใน การฟงนั้นจะตองฟงอยางตั้งใจ จึงจะสัมผัส ความไพเราะของเสียงเพลงไดอยางแทจริง) • “รสของเพลง” หมายถึงสิ่งใด (แนวตอบ การฟงเพลงแลวกอใหเกิดความรูสึก ไพเราะ โศกเศรา สนุกสนาน ซึ่งแสดงใหเห็น ถึงสุนทรียะที่เกิดขึ้นจากการฟง)

กัณฑ์ที่ ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐. ๑๑. ๑๒. ๑๓.

กัณฑ์ทศพร กัณฑ์หิมพานต์ กัณฑ์ทานกัณฑ์ กัณฑ์วนปเวสน์ กัณฑ์ชูชก กัณฑ์จุลพน กัณฑ์มหาพน กัณฑ์กุมาร กัณฑ์มัทรี กัณฑ์สักบรรพ กัณฑ์มหาราช กัณฑ์ฉกษัตริย์ กัณฑ์นครกัณฑ์

เพลงประจ�ากัณฑ์ 1

เพลงสาธุการ เพลงตวงพระธาตุ เพลงพญาโศก เพลงพญาเดิน เพลงเซ่นเหล้า 2 เพลงคุกพาทย์ เพลงเชิดกลอง เพลงโอด, เพลงเชิดฉิ่ง เพลงทยอย, เพลงโอด 3 เพลงกลม เพลงกราวนอก เพลงตระนอน เพลงกลองโยน, เชิด

๓) คุณค่าและความงามข และความงามของดนตรีไทยที่เกี่ยวกับกิจกรรมทั่วไป กิจกรรมทั่วไป เช่น งานมงคลสมรส งานฉลองความส�าเร็จของบุคคล หรือเมื่อมีการจัดเลี้ยงต่างๆ นิยมจัดให้มี วงดนตรีไทยบรรเลง เช่น วงมโหรี วงเครื่องสาย เป็นต้น ส�าหรับงานมงคลสมรสที่มีการแห่ ขันหมาก นิยมใช้วงกลองยาวและวงแตรวงบรรเลงน�า โดยมีผู้ร่วมงานร�าน�าหน้าขบวนและ มีการโห่ร้องเป็นที่ครื้นเครง เมื่อมีการแสดงมหรสพต่างๆ เช่น โขน ละคร ลิเก หุ่นกระบอก ก็มีวงปี่พาทย์บรรเลงประกอบตามแต่ละประเภทของการแสดง ในการต่อสู้ป้องกันตัว เช่น การร�ากระบี่กระบอง การชกมวยไทยก็ใช้ปี่ชวา กลองแขกบรรเลงตั้งแต่นักมวยไหว้ครูอยู่บนเวที บรรเลงระหว่างการชกมวย จนกระทั่งการชกยุติ เสียงของเครื่องดนตรีและเพลงไทยได้ท�าหน้าที่ เป็นสัญลักษณ์ของศิลปวัฒนธรรมไทย ก่อให้เกิดความรู้สึกภาคภูมิใจร่วมกัน ๑.๒ คุณค่าและความงามของดนตรีไทยที่แสดงออกถึงวัฒนธรรม

ของไทย ของไทย

คุณค่าและความงามของดนตรีไทยที่แสดงออกถึงวัฒนธรรมของไทย จ�าแนกได้ ๒ ด้าน คือ ๑) ด้านรูปธรรม เครื่องดนตรีไทยมีทั้งเครื่องดีด เครื่องสี เครื่องตี และเครื่องเป่า เครื่องดนตรีเหล่านี้ครูดนตรีในอดีตได้ใช้หลักการในการเลือกเครื่องดนตรีให้มีความสอดคล้องกัน 4

นักเรียนควรรู 1 เพลงสาธุการ เปนเพลงหนาพาทยชั้นสูงเพลงหนึ่ง ใชสําหรับพิธีมงคลตางๆ จัดเปนเพลงแรกในการบรรเลงโหมโรง ซึ่งถือวาเปนเพลงที่มีความศักดิ์สิทธิ์ นําความมงคลมาสูผูฟง ผูบรรเลง ผูแสดงและสถานที่ 2 เพลงคุกพาทย ใชสําหรับการแสดงอิทธิฤทธิ์ หรือเหตุการณที่นาสะพรึงกลัว 3 เพลงกลม ใชสําหรับการไป-มาของเทพเจา เชน พระนารายณ พระวิษณุกรรม เปนตน สําหรับมนุษยที่ใชเพลงกลม คือ เจาเงาะ ในเรื่องสังขทอง เพราะสามารถเหาะเหินเดินอากาศไดอยางเทวดา

มุม IT นักเรียนสามารถฟงเพลงสาธุการ ไดจาก http://www.youtube.com โดยคนหาจากคําวา เพลงสาธุการ

4

คูมือครู

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’ 50 ออกเกี่ยวกับคุณคาของดนตรีไทย ขอใดแสดงคุณคาของดนตรีไทยซึ่งเปนภูมิปญญาที่ดุริยกวีไดสรางสรรค ไวอยางเดนชัดที่สุด 1. การนําเพลงไทย (เดิม) มาดัดแปลงเปนเพลงไทยประยุกต 2. ความไพเราะของบทเพลงที่มีสําเนียงภาษาตางๆ ซึ่งเรียกวา เพลงภาษา 3. ความไพเราะของบทเพลงไทยที่เรียบเรียงใหกับวงดนตรีสากล บรรเลง 4. การบรรเลงบทเพลงไทยดวยวงดนตรีไทยผสมกับวงดนตรีชาติอื่น วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 2. เพราะเพลงภาษา หรือเพลงออกสําเนียง ภาษา เปนเพลงที่ดุริยกวีไดสรางสรรคขึ้นดวยภูมิปญญาที่มีมาตั้งแตอดีต เพลงภาษาเปนเพลงที่นักดนตรีไทยไดแตงขึ้น โดยการเลียนเสียงสําเนียง ภาษาของชาติตางๆ มีรูปแบบเปนเพลงไทยที่มีชื่อขึ้นตนเปนชื่อของชาติอื่น ภาษาอื่น เชน เพลงจีนขิมเล็ก เพลงเขมรพายเรือ เพลงมอญรําดาบ เพลงพมารําขวาน เพลงแขกยิงนก เพลงฝรั่งรําเทา เปนตน


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบExplain ายความรู

Expand าใจ ขยายความเข

Evaluate ตรวจสอบผล

อธิบายความรู

ใหนักเรียนกลุมที่ 3 ที่ไดศึกษา คนควา หาความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับคุณคาและความงาม ของดนตรีไทย สงตัวแทน 2-3 คน ออกมาอธิบาย ความรูในหัวขอการเขาถึงคุณคาและความงามของ ดนตรีไทย ตามที่ไดศึกษามาหนาชั้นเรียน จากนั้น ครูถามนักเรียนวา • การเขาถึงคุณคาและความงามของดนตรีไทย สามารถกระทําไดอยางไร (แนวตอบ สามารถกระทําไดโดยการศึกษา และทําความเขาใจเรื่องราวและเนื้อหาสาระ ตางๆ ของดนตรีไทย การฟงเพลงไทย ดวยความตั้งใจ การขับรอง หรือบรรเลง เครื่องดนตรีไทยใหเปนอยางนอย 1 ชนิด และการทําความเขาใจความหมาย ของศัพทสังคีต)

เพื่อประสมเป็นวงดนตรี การใช้ท�านองเพลงไทยที่เหมาะสมกับงานหรือกิจกรรมที่จัดขึ้น เสียง ของเพลงสามารถสื่อได้ด้วยการฟัง ปรากฏออกมาเป็นความดัง ความถี่ สีสันของเครื่องดนตรี ภาพลักษณ์ทพี่ บได้จากวิธกี ารบรรเลงและเสียง ขับร้องของศิลปินดนตรี นอกจากนี้ยังมีค�าร้อง ที่น�ามาจากบทร้อยกรองของวรรณคดีหรือที่ ประพันธ์ขึ้นเป็นการเฉพาะในกิจกรรมต่างๆ ๒) ด้านนามธรรม รสของเพลง ที่เป็นผลมาจากท�านองเพลงไทย ที่เกิดจาก การบรรเลง จนก่อให้เกิดอารมณ์และความรูส้ กึ ว่าเพลงนั้นมีความเสนาะ ไพเราะ สนุกสนาน เพลินอารมณ์ โศกเศร้า เรื่องของอารมณ์และ ความรูส้ กึ จัดเป็นนามธรรมทีบ่ ง่ บอกคุณค่าและ ความงามของดนตรีไทย เป็นสุนทรียรสที่รับรู้ การฟงการบรรเลงดนตรีไทยอย่างตั้งใจ จะท�าใหผูฟง และความรูสึกที่หลากหลายทั้งสนุกสนาน ได้ด้วยความรู้สึก คนไม่ฟังเพลง หรือฟังเพลง เกิเพลิดดอารมณ เพลินหรือโศกเศรา ไม่เป็น ฟังแล้วไม่เข้าใจ จะไม่สามารถเข้าถึง คุณค่าของดนตรีไทยได้

ขยายความเขาใจ

E×pand

ใหนักเรียนรวมกันสรุปสาระสําคัญเกี่ยวกับ คุณคาและความงามของดนตรีไทย ในหัวขอที่ครู กําหนดให คือ คุณคาและความงามของดนตรีไทย ที่ปรากฏอยูในกิจกรรมทางสังคมไทย คุณคา และความงามของดนตรีไทยที่แสดงออกถึง วัฒนธรรมของไทย การเขาถึงคุณคาและความงาม ของดนตรีไทย ลงกระดาษรายงาน นําสงครูผูสอน

๑.๓ การเข้าถึงคุณค่าและความงามของดนตรีไทย 1 การเข้าถึงสุนทรียรสในดนตรีไทย ย่อมท�าให้พบคุณค่าและความงามของดนตรีไทย สิ่งนี้มี ส่วนส�าคัญที่ท�าให้คนไทยเกิดความรู้สึกผูกพัน เกิดจิตตระหนักในความเป็นไทยร่วมกัน เกิดความ ภาคภูมใิ จ มีความมัน่ คงในจิตใจ โดยเฉพาะเมือ่ ไปเข้าสมาคมกับชาวต่างชาติ ต่างวัฒนธรรม และ ในสถานการณ์ทตี่ อ้ งแสดงคุณลักษณะของความเป็นไทย การเข้าถึงคุณค่าและความงามของดนตรี ไทยสามารถท�าได้ ดังนี้

๑) การศึกษาและท�าความเข้าใจเรือ่ งราวและเนือ้ หาสาระต่างๆ ของดนตรีไทย

เช่น เครื่องดนตรี วงดนตรี เพลงไทย นักประพันธ์เพลง ศิลปินเพลงไทย เป็นต้น ๒) การฟงเพลงไทยด้วยความตัง้ ใจ เมือ่ ฟังแล้วต้องฝึกสังเกตท�านองเพลง จังหวะ อารมณ์เพลง ฟังจนเข้าใจรายละเอียดและสามารถจ�าแนกได้ว่า เพลงที่ฟังนั้นมีอัตราจังหวะใด แนวเพลงเป็นอย่างไร และบอกได้ว่าเสียงที่ได้ยินเป็นเสียงของเครื งของเครื่องดนตรีหรือวงดนตรีชนิดใด http://www.aksorn.com/LC/Mu/M5/02

Explain

ตรวจสอบผล

EB GUIDE

Evaluate

1. ครูพิจารณาจากการทํารายงานเรื่องคุณคา และความงามของดนตรีไทยของนักเรียน 2. ครูพิจารณาจากการสรุปสาระสําคัญเกี่ยวกับ คุณคาและความงามของดนตรีไทยของนักเรียน

5

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

การกระทําของบุคคลในขอใดที่แสดงใหเห็นถึงคุณคาของดนตรีไทยมากที่สุด 1. ดาว ชอบฟงเพลงไทยเดิมจากวิทยุ 2. จัน หัดขับรองเพลงไทยเดิมในวันหยุดเสาร-อาทิตย 3. เดือน เลนดนตรีไทยที่ตนเองสนใจและขยันฝกซอมทุกวัน 4. แรม เปดรานจําหนายเพลงไทยเดิมและเครื่องดนตรีไทยทุกชนิด วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 3. เพราะการที่เลือกเลนดนตรีไทยที่ตนเอง สนใจและขยันในการฝกซอมทุกวันนั้น ยอมแสดงใหเห็นถึงคุณคาของดนตรี และไมละเลยในการฝกซอม เพื่อใหเกิดความชํานาญ จนสามารถบรรเลงได อยางไพเราะ

เกร็ดแนะครู ครูควรเชิญวิทยากรที่มีความรู ความเชี่ยวชาญในดานดนตรีไทยมาอธิบาย เพิ่มเติมเกี่ยวกับคุณคาและความงามของดนตรีไทยใหนักเรียนฟง พรอมทั้งเปดซีดี หรือดีวีดีการบรรเลงดนตรีไทยประกอบการอธิบาย จากนั้นครูเปดโอกาสใหนักเรียน ไดซักถามในสิ่งที่สงสัยและแสดงความคิดเห็น ซึ่งจะทําใหนักเรียนมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับคุณคาและความงามของดนตรีไทยไดดียิ่งขึ้น

นักเรียนควรรู 1 สุนทรียรส ความงามในดานอารมณสะเทือนใจที่เกิดจากการพรรณนา และการแตงคําประพันธที่เหมาะสม เชน รสแหงความรัก รสแหงความโกรธเคือง รสแหงความกลาหาญ เปนตน

คูมือครู

5


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุEngage นความสนใจ

กระตุน ความสนใจ

Exploreนหา สํารวจค

Engage

ครูเปดซีดี หรือดีวีดีการขับรองและบรรเลง ดนตรีในงานพิธีตางๆ ใหนักเรียนชม จากนั้นครู ถามนักเรียนวา • นักเรียนรูสึกอยางไรเมื่อไดยินและไดชม การขับรองและบรรเลงดนตรี (แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น ไดอยางอิสระ)

สํารวจคนหา

๓) การขับร้องหรือบรรเลงเครื่องดนตรีไทยให้เป็นอย่างน้อย ๑ ชนิด โดยการ

ฝึกจนสามารถขับร้องหรือบรรเลงเพลงไทยได้ถูกต้องตามท�านองเพลงและจังหวะไม่แปร่งเพี้ยน ๔) การท�าความเข้าใจความหมายของศัพท์สังคีต เพื่อช่วยให้สามารถสื่อสาร สาระความรู้ต่างๆ ได้ตรงกับการใช้ในวงวิชาการดนตรีไทย

Explore

ใหนักเรียนแบงกลุมออกเปน 6 กลุม ใหนักเรียน ศึกษา คนควา หาความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับดนตรีไทย กับการประยุกตใช จากแหลงเรียนรูตางๆ เชน หนังสือเรียน หองสมุด อินเทอรเน็ต เปนตน ในหัวขอที่ครูกําหนดให ดังตอไปนี้ กลุมที่ 1 ดนตรีกับการพัฒนามนุษย กลุมที่ 2 ดนตรีกับการผอนคลาย กลุมที่ 3 ดนตรีกับการบําบัดรักษา กลุมที่ 4 ดนตรีกับการศึกษา กลุมที่ 5 ดนตรีกับการโฆษณา และประชาสัมพันธ กลุมที่ 6 ดนตรีกับธุรกิจ

อธิบายความรู

การน�าดนตรีไทยไปร่วมแสดงในงานต่างๆ เป็นแนวทางหนึ่งที่ช่วยเผยแพร ยเผยแพร่ดนตรีไทยใหขยายกวางออกไป

๒. ดนตรีไทยกับการประยุกต์ใช้

ดนตรีไทยเป็นมรดกทางภูมปิ ญั ญาและวัฒนธรรมทีม่ คี วามหมายและความส�าคัญของคนไทย หลักการของดนตรีไทยมีลกั ษณะเช่นเดียวกับดนตรีของทุกชาติในโลก คือ เป็นผลงานการสร้างสรรค์ ของศิลปินดนตรี ที่มีเป้าหมายเพื่อใช้ในกิจกรรมทางสังคมและวัฒนธรรม ตั้งแต่ในระดับส่วน บุคคล ระดับสังคมขนาดย่อยทีส่ ดุ ไปจนใหญ่ทสี่ ดุ คือ ในระดับสังคมโลก จนถือได้วา่ เป็นมรดกทาง วัฒนธรรมของโลก ดนตรีที่ท�าหน้าที่รับใช้กิจกรรมทางความเชื่อ กิจกรรมทางศาสนา และพัฒนา ไปสูก่ จิ กรรมนันทนาการ กิจกรรมทางสังคม ประเพณี และก้าวไปสูก่ ารน�าดนตรีมาประกอบอาชีพ ด้านต่างๆ ทั้งที่เป็นอาชีพดนตรีโดยตรงของศิลปินดนตรี และอาชีพดนตรีที่สัมพันธ์กับอาชีพอื่นๆ ในเนื้อหานี้จึงชี้ให้นักเรียนเห็นว่าดนตรีไทยสามารถน�าไปประยุกตต์ใช้กับส่วนใดได้บ้าง

Explain

ใหนกั เรียนกลุม ที่ 1 ทีไ่ ดศกึ ษา คนควา หาความรู เพิ่มเติมเกี่ยวกับดนตรีไทยกับการประยุกตใช สงตัวแทน 2-3 คน ออกมาอธิบายความรูในหัวขอ ดนตรีกับการพัฒนามนุษย ตามที่ไดศึกษามา หนาชั้นเรียน จากนั้นครูถามนักเรียนวา • นักเรียนสามารถนําดนตรีไปพัฒนาตนเองได หรือไม อยางไร (แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น ไดอยางอิสระ)

๒.๑ ดนตรีกับการพัฒนามนุษย์ การพัฒนามนุษย์มี ๒ ส่วน คือ ส่วนแรกเป็นการพัฒนาทางกายภาพ ในวงการแพทย์ได้แนะน�า ให้มนุษย์รับประทานอาหารให้ครบ ๕ หมู่ ออกก�าลังกายอย่างเหมาะสมและสม�่าเสมอ พักผ่อนให้ 6

เกร็ดแนะครู ครูควรเนนยํ้าใหนักเรียนตระหนักถึงความสําคัญของดนตรีที่มีสวน ในการพัฒนามนุษยทงั้ ทางดานรางกาย จิตใจ อารมณ สังคม ชวยใหการประสานงาน ของระบบตางๆ ในรางกายสัมพันธกัน ความสามารถทางการมองเห็น และการไดยินดีขึ้น นอกจากนี้ ยังมีสวนเสริมสรางสมาธิ ความจํา เชาวนปญญา ความคิดสรางสรรคและคุณลักษณะที่พึงประสงคอื่นๆ เชน ดนตรีสามารถชวย พัฒนาสติปญญา ดนตรีสามารถชวยพัฒนากระบวนการคิด ดนตรีสามารถชวย พัฒนาอารมณ ดนตรีสามารถชวยพัฒนาพลังสมาธิ เปนตน ซึ่งจะทําใหนักเรียนมี ความรู ความเขาใจเกี่ยวกับปจจัยในการสรางสรรคผลงานดนตรีไทยไดดียิ่งขึ้น

6

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

เพราะเหตุใดในปจจุบันสุภาพสตรีที่มีครรภจึงนิยมฟงเพลง 1. ลดความวิตกกังวล 2. บรรเทาอาการปวดหลัง 3. ผอนคลายความตึงเครียด 4. จรรโลงจิตใจใหเกิดความสงบ วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 4. เพราะเสียงของดนตรีจะทําหนาที่พัฒนา คุณภาพทางดานจิตใจใหเกิดความสุข ความสงบ และเมื่อเกิดความสุข รางกายก็จะเกิดความสงบ สบาย สุขภาพจิตดี สุขภาพกายก็จะแข็งแรง ดังนั้น จึงมีการสงเสริมใหสุภาพสตรีที่ตั้งครรภฟงเพลง


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

Explain

ใหนักเรียนกลุมที่ 2 ที่ไดศึกษา คนควา หาความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับดนตรีไทยกับการ ประยุกตใช สงตัวแทน 2-3 คน ออกมาอธิบาย ความรูในหัวขอดนตรีกับผอนคลาย ตามที่ได ศึกษามาหนาชั้นเรียน จากนั้นครูถามนักเรียนวา • ดนตรีชวยใหในการผอนคลายไดจริงหรือไม อยางไร (แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น ไดอยางอิสระ) • นักเรียนควรเลือกฟงเพลงประเภทใด ที่ชวยใหเกิดความผอนคลาย (แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น ไดอยางอิสระ) • เพราะเหตุใด จึงมีคํากลาววา “การฟงเพลง เปนวิธกี ารหนึง่ ทีช่ ว ยผอนคลายความเครียด” (แนวตอบ เพราะเสียงเพลงมีสวนชวยปรุงแตง จิตใจใหมีความรูสึกเปนสุข เมื่อจิตใจเปนสุข อารมณก็ยอมมีสุข สมองปลอดโปรง ความเครียดก็จะเบาบางลงไป) • การนําดนตรีมาใชใหเกิดการผอนคลาย มีวิธีในการเลือกใชอยางไรจึงจะเหมาะสม (แนวตอบ ดนตรีจะตองมีทวงทํานองสูง-ตํ่า จังหวะของดนตรีจะตองมีความชา หรือความเร็วที่สมํ่าเสมอ เนื้อรองควรมี เนื้อหาที่สรางสรรคและจรรโลงใจ และจะตองมีการประสานเสียงที่กลมกลืนกัน ถามีดนตรีมากกวาหนึ่งเสียง ระดับเสียงที่ฟง แลวทําใหเกิดการผอนคลายจะมีความดัง ไมมากนัก ประมาณ 40-50 เดซิเบล)

เพียงพอ เพื่อพัฒนาร่างกายให้มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง ส่วนที่สองเป็นการพัฒนาทางด้านจิตใจ และอารมณ์ เพื่อน�าไปสู่สุนทรียภาพและการเห็นคุณค่าของชีวิต ในวงการแพทย์มีการค้นคว้าวิจัยพบว่า ดนตรีมีส่วนในการพัฒนาคุณภาพมนุษย์ จึงมี การส่งเสริมให้มารดาที่ตั้งครรภ์ฟังเพลงประเภทที่ชวนให้เกิดความเพลิดเพลินใจ การเปิดเสียง ดนตรีด้วยจังหวะเบาๆ และน้อยชิ้น ส�าหรับทารกที่อยู่ในครรภ์ และเพิ่มท�านองเพลงและ จั ง หวะที่ เ ร็ ว หรื อ ซั บ ซ้ อ นขึ้ น ตามระยะการเจริ ญ เติ บ โตของทารกจนกระทั่ ง ถึ ง วั น คลอด แม้เมื่อคลอดจากครรภ์มารดาแล้วก็ยังให้ฟังเพลงต่อไปอีก ส�าหรับสังคมไทยในอดีต มีการ ร้ อ งเพลงกล่ อ มลู ก ให้ เ กิ ด ความเพลิ ด เพลิ น ทั้ ง แม่ แ ละลู ก น้ อ ย เสี ย งเพลงกล่ อ มลู ก ช่ ว ย ประสานสายใยอุ่นรักของแม่ที่มีต่อลูก เสียงเพลงที่ผสมผสานระหว่างค�าร้องท�านองของเพลง กล่อมลูก จึงเป็นดนตรีที่ได้ท�าหน้าที่พัฒนาคุณภาพทางจิตใจให้มีความสุข เมื่อสุขใจ ร่างกาย ก็เกิดความสบาย และมีความสมบูรณ์แข็งแรง ๒.๒ ดนตรีไทยกับการผ่อนคลาย 1 เพลงไทยมีวัตถุประสงค์ในการใช้ ๓ ประการ คือ เพลงเพื่อพิธีกรรม เพลงเพื่อประกอบ การแสดง และเพลงที่ใช้บรรเลงในโอกาสทั่วๆ ไป เพลงไทยจึงมีแนวเพลงที่ด�าเนินไปอย่างเป็น ทางการ และอย่างไม่เป็นทางการ สามารถน�ามาบรรเลงโดยเสรีจนน�าไปสู่เพลงเพื่อการฟังที่สร้าง ความไพเราะ และก่อให้เกิดความรู้สึกและอารมณ์ที่หลากหลาย การฟังเพลงเป็นวิธีการหนึ่งที่ช่วยผ่อนคลายความเคร่งเครียดจากการเรียน การท�างาน หรือจากปัญหาและความวุ่นวายต่างๆ การฟัง เพลงไทยจัดเป็นการพักผ่อนหย่อนใจ เช่น เดียวกับการเล่นเครื่องดนตรี และการขับร้อง ก็ เ ป็ น กิ จ กรรมหนึ่ ง ที่ ใ นวงการศึ ก ษาได้ มี การส่งเสริมให้นักเรียนตั้งแต่ระดับปฐมวัยไป จนถึงระดับอุดมศึกษาใช้ดนตรีไทยเพื่อช่วย ผ่อนคลายอารมณ์ ดนตรีมีส่วนส�าคัญในการ ปรุงจิตใจให้รู้สึกเป็นสุข เมื่ออารมณ์มีความสุข สมองย่อมปลอดโปร่ง ดังนั้น การเล่นดนตรี จึงเป็นการบูรณาการให้เกิดการพัฒนาคุณภาพ น ดนตรี ร ่ ว มกั น นอกจากจะท� า ให เ กิ ด ความ ทางด้านร่างกายและจิตใจ และยังเป็นการ การเล่ สนุกสนานเพลิดเพลินแลว ยังเป็นการใชเวลาว่างใหเกิด ส่งเสริมความสามัคคีในหมู่คณะด้วย ประโยชนและเสริมสรางความสามัคคีอีกดวย 7

กิจกรรมสรางเสริม ใหนักเรียนเลือกฟงเพลงไทยตามความสนใจของตนเอง 1 เพลง จากนั้นเขียนบรรยายความรูสึกที่เกิดขึ้นจากการฟงเพลง ลงกระดาษ รายงาน นําสงครูผูสอน

กิจกรรมทาทาย ใหนักเรียนวิเคราะหความสําคัญของดนตรีกับการผอนคลาย ลงกระดาษรายงาน นําสงครูผูสอน

เกร็ดแนะครู ครูควรเปดซีดี หรือดีวีดี หรือสื่ออินเทอรเน็ตเกี่ยวกับเพลงไทยที่มีจังหวะ และทํานองเพลงที่ออนหวาน เยือกเย็นใหนักเรียนฟง โดยครูใหนักเรียนนั่งหลับตา และฟงเพลงจนจบ เพื่อใหนักเรียนสามารถซึมซับความไพเราะของเสียงเพลง และสามารถออกมาเลาใหเพื่อนฟงหนาชั้นเรียนไดวา นักเรียนรูสึกผอนคลายหรือไม เมื่อไดฟงเพลง ซึ่งจะทําใหนักเรียนมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับดนตรี กับการผอนคลายไดดียิ่งขึ้น

นักเรียนควรรู 1 เพลงไทย เปนเพลงที่มีทํานองเปนเอกลักษณแบบไทย การบรรเลง การขับรองที่เปนแบบไทยและแตงตามหลักของดนตรีไทย สามารถแบงออกไดเปน 2 ประเภท คือ เพลงบรรเลงและเพลงขับรอง คูมือครู

7


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

ใหนกั เรียนกลุม ที่ 3 ทีไ่ ดศกึ ษา คนควา หาความรู เพิ่มเติมเกี่ยวกับดนตรีไทยกับการประยุกตใช สงตัวแทน 2-3 คน ออกมาอธิบายความรูในหัวขอ ดนตรีกับการบําบัดรักษา ตามที่ไดศึกษามา หนาชั้นเรียน จากนั้นครูถามนักเรียนวา • สิ่งใดคือเปาหมายสําคัญของการใชดนตรี ในการบําบัดรักษา (แนวตอบ เปาหมายสําคัญจะเนนในดาน พัฒนาการทางรางกาย จิตใจ อารมณ สังคม ขึ้นอยูกับความจําเปนของแตละบุคคลที่เขามา รับการบําบัด) • สิ่งใดที่จัดเปนลักษณะเดนของดนตรีบําบัด (แนวตอบ ดนตรีบําบัดมีลักษณะเดน หลายดาน ไดแก สามารถประยุกตเขากับ ระดับความสามารถของบุคคลไดงาย กระตุนการทํางานของสมองไดหลายสวน กระตุนและสงเสริมพัฒนาการทุกดาน ชวยพัฒนาอารมณ จิตใจ เสริมสรางทักษะ ทางสังคมและการสื่อสาร ใหการรับรูที่มี ความหมายและความสนุกสนานไปพรอมกัน และประสบความสําเร็จในการบําบัดไดงาย เนื่องจากสามารถนํามาประยุกตใชไดทุกเพศ ทุกวัย ทุกระดับความสามารถ) • พิธี “ลงขวง” ตามความเชื่อของคนไทย ในภาคอีสานมีความเกี่ยวของกับดนตรี กับการบําบัดรักษาอยางไร (แนวตอบ ชาวอีสานเชื่อวาการลงขวง เปนการเชิญวิญญาณเขาคนทรงเพื่อมารักษา อาการเจ็บปวย โดยจะมีการรําดาบประกอบ การเปาแคนที่มีทํานองสนุกสนานประกอบ การรักษา ในตอนทายของพิธีคนปวยจะลุก ขึ้นมารายรําดวย)

๒.๓ ดนตรีกับการบ�าบัดรักษา การเจ็บป่วยของมนุษย์ จ�าแนกได้ ๒ ลักษณะ คือ อาการเจ็บป่วยทางกาย เช่น ปวดศีรษะ เป็นไข้ ปวดท้อง ปวดหลัง ปวดหู ปวดฟัน กระเพาะอักเสบ เป็นต้น และอาการเจ็บป่วย ทางใจ เช่น อาการซึมเศร้า อาการสับสน ในใจ เป็นต้น นอกจากนี้อาจมีอาการบางอย่าง บกพร่องหรือผิดปกติมาตั้งแต่แรกเกิด เช่น ออร์ทิสติก เป็นต้น บรรดาอาการทั้งหลาย ดังกล่าว มีกระบวนการรักษาด้วยขั้นตอนตาม หลักวิชาการแพทย์ ส�าหรับในส่วนของดนตรี สามารถน� 1 ามา บ�าบัดผู้ป่วยที่เรียกว่า “ดนตรีบ�าบัด” ซึ่งใช้ บ� า บั ด ทั้ ง ทางกายและจิ ต ใจ กระบวนการ 2 หุ่นจ�าลองพิธีร�าผีฟาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็น รักษานี้แพทย์จะให้ผู้ป่วยเล่นดนตรีเพื่อช่วยให้ พิธีกรรมที่ใชดนตรีในการบ�าบัดรักษาโรคภัยไขเจ็บ การเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อเกิดภาวะการ เปลี่ยนแปลงในขณะที่ผู้ป่วยเองก็เพลิดเพลินในการเล่นดนตรี หรืออาจใช้วิธีการรักษาเพื่อบูรณะ จิตใจผู้ป่วย ด้วยการฟังเพลงหรือเข้าร่วมกิจกรรมดนตรีต่างๆ เป็นการฟืนฟูสภาพจิตใจผู้ป่วยให้ ผ่อนคลาย และเป็นผลดีต่อการรักษาผู้ป่วย นอกจากนี้ ในสังคมของชาวบ้านทุกภาคของประเทศไทย มีการน�าดนตรีไปใช้ในการรักษา ผู้ป่วยทางจิตใจ หรือผู้ที่มีอาการที่บ่งบอกเช่นนั้น โดยใช้ร่างทรงของผู้ท�าพิธีและมีเครื่องประกอบ พิธีกรรมต่างๆ มีนักดนตรีท�าหน้าที่บรรเลงดนตรี ขับร้อง ท�าจังหวะ บางพิธีมีการร�าของเจ้าพิธี ผู้เข้าร่วมพิธี และผู้ป่วยด้วย บางพิธีมีการอัญเชิญวิญญาณของเทพเจ้าหรือบรรพชนเข้าสู่ร่างทรง เพื่อซักถามอาการเจ็บป่วย แสดงการรักษา หรือบอกสรรพคุณยาในการรักษา เป็นต้น ดนตรีใน พิธกี รรมทีใ่ ช้บา� บัดผูป้ ว่ ยมีชอื่ เรียกตามแต่ละท้องถิน่ เช่น ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีพธิ เี หยา พิธีลงข่วง พิธีร�าผีฟ้า ภาคเหนือ มีพิธีลงผี พิธีกรรมฟ้อนผีมด ผีเม็ง ภาคใต้ มีพิธีตือรี พิธีโนรา โรงครูนายมนต์ (โต๊ะครึม) ภาคกลาง มีดนตรีหัวไม้ พิธีไหว้ครูเจ้า เป็นต้น เมื่อผ่านกระบวนการ ของพิธีกรรมดังกล่าวแล้ว ผู้ป่วยจะเกิดความรู้สึกผ่อนคลาย มีก�าลังใจ และรับรู้ว่าตนเองได้รับ การบ�าบัดแล้ว เมื่อจิตใจรับรู้ถึงการผ่านการบ�าบัด บางรายเชื่อว่าตนหายเจ็บป่วย อาการทางกาย ก็เกิดผลดีตามไปด้วย http://www.aksorn.com/LC/Mu/M5/03 8 EB GUIDE

นักเรียนควรรู 1 ดนตรีบําบัด การวางแผนในการใชกิจกรรมทางดนตรีควบคุมในกลุมของคน ทุกวัย ไมวาจะเปนวัยเด็กจนถึงวัยสูงอายุ เพื่อใหเกิดผลบรรลุในการรักษาโรค ที่เกิดมาจากความบกพรองตางๆ เชน ความผิดปกติทางดานอารมณ ทางรางกาย ทางดานสติปญญา เปนตน 2 รําผีฟา เปนการรําบวงสรวงตอผีฟา หรือพญาแถน เพือ่ ขอความเปนสิรมิ งคล พรอมทั้งอัญเชิญทานใหลงมาชวยปดเปาทุกขโศก โรคภัย รักษาอาการเจ็บไขของ ชาวบานที่มาชุมนุมในพิธี

มุม IT นักเรียนสามารถศึกษา คนควาเพิ่มเติมจากชมการแสดงรําผีฟา ไดจาก http://www.youtube.com โดยคนหาจากคําวา รําผีฟา

8

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ในสังคมปจจุบันการใชดนตรีเพื่อบําบัดรักษามีประโยชนอยางไร แนวตอบ ประโยชนของดนตรีบําบัด มีดังนี้ 1. ปรับสภาพจิตใจใหอยูในสภาวะสมดุล มีมุมมอง และความคิดสรางสรรคในเชิงบวก 2. ผอนคลายความตึงเครียด ลดความวิตกกังวล 3. กระตุน เสริมสราง พัฒนาทักษะการเรียนรูและความจํา 4. กระตุนประสาทสัมผัสการรับรู 5. ลดอาการเจ็บปวดจากสาเหตุตางๆ 6. สรางสัมพันธภาพที่ดีในการบําบัดรักษาตางๆ


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู ๒.4 ดนตรีกับการศึกษา ในหลายสังคมและวัฒนธรรมถือว่าดนตรีเป็นวิชาของชนชั้นสูงและนักปราชญ์ราชบัณฑิต ดนตรี บ างประเภทได้ รั บ การพั ฒ นาไปตาม ภูมปิ ญั ญาของนักปราชญ์ทางดนตรี เช่น ดนตรี 1 จีน ดนตรีกรีก ดนตรีอนิ เดีย เป็นต้น ในประเทศ อินเดียที่มีการแบ่งชั้นวรรณะได้มีการก�าหนด บทร้องท�านองสวดต่อพระผู้เป็นเจ้าไว้ส�าหรับ ชนวรรณะสูง ห้ามวรรณะศูทรและจัณฑาลเล่น หรือแม้แต่ฟังดนตรี แต่ภายหลังเมื่อพระภรต ฤๅษีได้เขียนต�ารานาฏยศาสตร์ขึ้น ท�าให้ทุก วรรณะสามารถเข้าถึงนาฏศิลป ดนตรี เพลง และบทสวดได้ ส�าหรับการเรียนการสอนดนตรีของไทยมี วิทยาลัยดุรยิ างคศิลป มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นหน่วยงาน ดการเรียนการสอนเกีย่ วกับดนตรีไทย ดนตรี ทั้งดนตรีไทย ดนตรีพื้นบ้าน ดนตรีสากล มีการ รัพืฐ้นทีบม่ ากี นารจัและดนตรี สากลโดยตรง ศึกษาทั้งภาคปฏิบัติ และภาคทฤษฎี ในระดับ มัธยมศึกษามีการจัดการเรียนที่โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร วิทยาลัยนาฏศิลป ๑๒ แห่ง ทั่วประเทศ หลักสูตรเตรียมศิลปิน (เทียบชั้นมัธยมปีที่ ๔ - ๖) ของวิทยาลัยดุริยางคศิลป มหาวิทยาลัยมหิดล หลักสูตรดนตรีระดับมัธยมศึกษาของมหาวิทยาลัยพายัพ จังหวัดเชียงใหม่ และมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เป็นต้น การศึกษาดนตรีในระดับอุดมศึกษา ตั้งแต่ระดับปริญญาตรี ปริญญาโท มีการเปิดสอนใน มหาวิทยาลัยต่างๆ ทั่วประเทศ เช่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยทักษิณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยพายัพ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยรังสิต มหาวิทยาลัยราชภัฏ (บางแห่ง) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร มหาวิทยาลัยศิลปากร สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป 9

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

เพราะเหตุใดจึงมีกําหนดใหทุกโรงเรียนมีการจัดการเรียนการสอน ในวิชาดนตรีไทย 1. เพราะตองการใหนักเรียนรูจักเครื่องดนตรีไทย 2. เพราะตองการใหนักเรียนใชเวลาวางปฏิบัติกิจกรรมที่เกิดประโยชน 3. เพราะตองการใหรูจักวิธีทําเครื่องดนตรี เนื่องจากทุกโรงเรียนตองใช 4. เพราะตองการตระหนักถึงความสําคัญของดนตรีไทยที่เปนมรดก ทางวัฒนธรรมของชาติ วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 4. เพราะดนตรีไทยจัดเปนมรดกทาง วัฒนธรรมของชาติที่นักเรียนทุกคนตองรวมมือรวมใจกันในการสืบสาน และอนุรักษดนตรีไทยใหคงอยูสืบตอไป จึงมีการกําหนดใหทุกโรงเรียน มีการสอนวิชาดนตรีเพื่อเปนการปลูกฝงใหนักเรียนเกิดความรัก และความภาคภูมิใจในมรดกอันลํ้าคาทางวัฒนธรรม

Explain

ใหนกั เรียนกลุม ที่ 4 ทีไ่ ดศกึ ษา คนควา หาความรู เพิ่มเติมเกี่ยวกับดนตรีไทยกับการประยุกตใช สงตัวแทน 2-3 คน ออกมาอธิบายความรูในหัวขอ ดนตรีกับการบําบัดรักษา ตามที่ไดศึกษามา หนาชั้นเรียน จากนั้นครูถามนักเรียนวา • ดนตรีมีความสัมพันธตอการศึกษาอยางไร (แนวตอบ เสียงดนตรีที่นํามาใชประกอบ ในการสอนแบบสรางสรรคทางศิลปะ มีผลปรากฏวาเสียงดนตรีสามารถสงเสริม พัฒนาการทางอารมณ เสริมสรางความคิด สรางสรรค จินตนาการ ชวยกระตุนใหมี การแสดงออกในเชิงบวก สงเสริม ความสัมพันธระหวางประสาทหู และกลามเนื้อมือ ใหมีความสอดคลอง กับการใชความคิด ทําใหหายเหนื่อย และผอนคลายความตึงเครียด) • หากในสถาบันการศึกษาไมมีการเรียน การสอนเรื่องของดนตรีจะกอใหเกิดสิ่งใด (แนวตอบ ดนตรีอาจไมไดรับความนิยม และสูญหายไปในที่สุด) • การเรียนดนตรีในสถานศึกษาจะทําให นักเรียนไดเรียนรูในเรื่องใด (แนวตอบ 1. เขาใจและแสดงออกทางดนตรี อยางสรางสรรค วิเคราะห วิพากษ วิจารณคุณคาดนตรี ถายทอดความรูสึก ความคิดตอดนตรีอยางอิสระ ชื่นชม และประยุกตใชในชีวิตประจําวัน 2. เขาใจความสัมพันธระหวางดนตรี ประวัติศาสตรและวัฒนธรรม เห็นคุณคา ของดนตรีที่เปนมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น ภูมิปญญาไทย และสากล)

นักเรียนควรรู 1 ดนตรีอินเดีย แบงออกไดเปน 2 ฝาย คือ ดนตรีประจําชาติฝายฮินดู และฝายมุสลิม วัฒนธรรมทางดนตรีอินเดียจะแบงแยกกันอยางชัดเจน ไมวาจะเปน การเรียกชื่อเครื่องดนตรี ประเภทของเครื่องดนตรี แตคงมีสิ่งหนึ่งที่เหมือนกันก็คือ ชาวอินเดียจะใชเสียงดนตรีเปนสื่อติดตอกับพระเจาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ตนเองเคารพ นับถืออยู เชน พระพรหม พระวิษณุ พระศิวะ พระพิฆเณศ เปนตน

มุม IT นักเรียนสามารถศึกษา คนควาเพิ่มเติมจากการชมและการฟง การบรรเลงดนตรีอินเดีย ไดจาก http://www.youtube.com โดยคนหาจากคําวา ดนตรีอินเดีย

คูมือครู

9


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. ใหนกั เรียนกลุม ที่ 5 ทีไ่ ดศกึ ษา คนควา หาความรู เพิ่มเติมเกี่ยวกับดนตรีไทยกับการประยุกตใช สงตัวแทน 2-3 คน ออกมาอธิบายความรูใ นหัวขอ ดนตรีกับการโฆษณาและประชาสัมพันธ ตามที่ ไดศึกษามาหนาชั้นเรียน 2. ใหนักเรียนดูภาพประชาสัมพันธการแสดงโขน จากนั้นครูถามนักเรียนวา

• จากภาพตองการสื่อใหเห็นถึงสิ่งใด (แนวตอบ เชิญชวนใหประชาชนไปชม การแสดงโขน ชุดศึกมัยราพณ ซึ่งจัดโดย มูลนิธิสงเสริมศิลปาชีพในสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ แสดงที่ ศูนยวัฒนธรรมแหงประเทศไทย ตั้งแตวันที่ 15-31 กรกฎาคม 2554) • ภาพนี้ใชหลักการโฆษณาและประชาสัมพันธ ถูกตองเหมาะสมหรือไม อยางไร (แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น ไดอยางอิสระ)

มหาวิทยาลัยบางแห่งเปิดการศึกษาวิชาดนตรีถึงระดับปริญญาเอก คือ มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยมหาสารคาม และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จึงนับว่าในประเทศไทยได้มีการพัฒนา วิทยาการวิชาดนตรีอย่างก้าวไกล เพือ่ รองรับศักยภาพทางดนตรีของเยาวชนไทยให้กา้ วไปสูค่ วาม เป็นนักดนตรีที่มีความรู้ความสามารถในระดับนานาชาติ น�าชื่อเสียงมาสู่ตนเอง ครอบครัว และ ประเทศชาติต่อไป

๑0

๒.5 ดนตรีกับการโฆษณาและประชาสัมพันธ์ การโฆษณา หมายถึง การป่าวประกาศ การบอกกล่าว การเผยแพร่ข้อมูลให้ผู้อื่นทราบ เช่น การโฆษณาสินค้า ส่วนการประชาสัมพันธ์ หมายถึง การสื่อสารข้อมูลต่างๆ ให้รับรู้และเข้าใจ ถูกต้องตรงกัน การใช้ดนตรีในการโฆษณาและประชาสั มพันธ์ของไทยปรากฏหลักฐานมาตั้งแต่ 1 สมัยอยุธยา เรียกว่า “ตีฆอ้ งร้องป่าว” เพือ่ บอกข่าวและข้อมูลส�2าคัญของทางราชการ โดยเจ้าหน้าที่ ของรัฐจะใช้ไม้ท่อนตีฆ้องขนาดเล็ก ที่เรียกว่า “ฆ้องกระแต” และเมื่อประชาชนได้ยินเสียง ก็จะ มารวมตัวกันเพื่อรับฟังข่าวนั้น ส�าหรับในภาคใต้มีเพลงพื้นบ้านประเภทหนึ่งเรียกว่า “เพลงบอก” ศิลปินที่ร้องเพลงบอกมีแม่เพลงและลูกคู่ พร้อมฉิ่งตีให้จังหวะ ท�าหน้าที่ประชาสัมพันธ์ข่าวคราว ของทางราชการ หรือกิจกรรมและงานเทศกาลต่างๆ ทีต่ อ้ งการบอกเล่าเก้าสิบให้ประชาชนได้ทราบ ในปัจจุบันเมื่อระบบเทคโนโลยีด้านการ สื่อสารเจริญก้าวหน้า ทั้งการกระจายเสียง ทางวิทยุ การแพร่ภาพทางสถานีโทรทัศน์และ รายการผ่านระบบอินเทอร์เน็ต รายการการ โฆษณาและประชาสั ม พั น ธ์ เ รื่ อ งราวต่ า งๆ รวมทั้งการซื้อขายสินค้าและงานบริการต่างๆ มีการแข่งขันกันสูงมาก เพื่อเพิ่มยอดขายหรือ น�าความส�าเร็จมาสู่กิจการต่างๆ การโฆษณา และประชาสัมพันธ์ จึงได้มีการเลือกสรรดนตรี และเพลงที่มีความโดดเด่น น่าสนใจ เพื่อสร้าง ความสนใจแก่ผบู้ ริโภค นอกจากนี้ ตามสถานที่ ต่างๆ เช่น สถานีรถไฟ ห้างสรรพสินค้า โรงแรม สถานทีบ่ ริการต่างๆ ได้มกี ารน�าดนตรีและเพลง มาใช้เป็นเครื่องจูงใจผู้คน ซึ่งมีทั้งที่มีท�านอง การประชาสัมพันธการแสดงและการบรรเลงดนตรีไทย สั้นๆ หรือใช้เสียงเพลงสร้างบรรยากาศให้ผู้ฟัง มีการท�าแผ่นปายโฆษณาและประชาสัมพันธประกอบ เกิดความสนใจ และมีความสุขใจไปพร้อมๆ กัน

นักเรียนควรรู 1 ตีฆอ งรองปาว เปนคําทีเ่ กิดขึน้ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูห วั (รัชกาลที่ 4) เมื่อมีพระบรมราชโองการใหประกาศเรื่องใดใหราษฎรทราบ พระราชกฤษฎีกา ประเพณีเดิมในกรุงเทพมหานคร กรมเมืองจะใหนายอําเภอ เปนเจาพนักงานไปอานประกาศตามตําบล หรือที่ชุมชน สวนหัวเมืองทั้งหลายนั้น กรมเมืองจะใหกํานันเปนเจาพนักงานไปอานประกาศ เมื่อพนักงานอานประกาศ ที่ตําบลใด ใหตีฆองเปนสัญญาณเรียกราษฎรมาประชุม แลวอานประกาศใหฟง ณ ที่นั้น วิธีประกาศเชนนี้จึงเรียกกันวา “ตีฆองรองปาว” 2 ฆองกระแต เปนชื่อฆองขนาดเล็ก ใชบรรเลงในวงปพาทยมอญ โดยทํา รานฆองโคงงอขึ้นเหมือนฆองมอญ แตปลายสั้นกวา ฆอง 1 วง มีลูกฆอง 11 ลูก วิธีการใชจะนําลูกฆองมาแขวนกับไม สําหรับถือตี เปนสัญญาณในการอยูเวรยาม หรือแจงขาวสารตางๆ

10

คูมือครู

บูรณาการเชื่อมสาระ

จากการศึกษาเกี่ยวกับดนตรีกับการโฆษณาและประชาสัมพันธ สามารถ เชื่อมโยงกับการเรียนการสอนในกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและ เทคโนโลยี ในเรื่องเทคโนโลยี กลาวคือ เนื่องจากในปจจุบันระบบเทคโนโลยี ดานการสื่อสารมีความเจริญกาวหนามากยิ่งขึ้น ทั้งการกระจายเสียงทางวิทยุ การแพรภาพทางโทรทัศนและรายการผานระบบอินเทอรเน็ต การโฆษณา และประชาสัมพันธเรื่องราวตางๆ รวมทั้งการซื้อขายสินคาและการบริการ ก็มีการแขงขันกันสูงขึ้น จึงมีการเลือกสรรดนตรีและบทเพลงนํามาใช เพือ่ การประชาสัมพันธเพิม่ มากขึน้ ผานทางเทคโนโลยีทที่ นั สมัยและมีเครือขาย เชื่อมโยงกันทั่วโลก ผูชม ผูฟง สามารถเสพความสุขทางดนตรีไดดวยตนเอง ทุกที่ ทุกเวลา


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู ๒.6 ดนตรีกับธุรกิจ การประกอบอาชีพดนตรีในปัจจุบันไม่ได้จ�ากั1ดอยู่ที่ศิลปินผู้สร้างผลงานการประพันธ์เพลง แต่ยังรวมถึงการเป็นนักดนตรี นักร้อง วาทยกรที่ท�าหน้าที่อ�านวยการเพลงให้จังหวะวงดนตรี ผู้เรียบเรียงเพลง หรือผู้รับจ้างบรรเลงดนตรีในรูปของคณะดนตรี ดังปรากฏในงานมงคลสมรส งานเฉลิมฉลองต่างๆ งานเทศกาลของวัดหรือหน่วยงานราชการ และงานมหรสพต่างๆ ธุรกิจทางด้านดนตรีมีกิจกรรมหลายอย่างที่สามารถน�าไปประกอบเป็นอาชีพได้ โดยการใช้ ความรู้และศาสตร์ต่างๆ เข้าบูรณาการ ทั้งยังสามารถเพิ่มมูลค่าให้แก่ผู้ประกอบการอย่างคุ้มค่า ธุรกิจทางด้านดนตรีที่น่าสนใจ มีดังนี้ ๑) ก ารผลิ ต ซี ดี แ ละดี วี ดี ด นตรี ไ ทย เป็นอาชีพหนึ่งที่ก�าลังได้รับความสนใจ โดยเฉพาะการบรรเลงเพลงไทย ทั้งเพลงเดี่ยวเครื2 ่องดนตรีไทยชนิดต่างๆ การบรรเลงวงดนตรีทั้ง วงปี่พาทย์ วงเครื่องสาย วงมโหรี วงอังกะลุง วงแตรวง วงดนตรีพื้นบ้านภาคเหนือ วงดนตรี พืน้ บ้านภาคกลาง วงดนตรีพนื้ บ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ วงดนตรีพนื้ บ้านภาคใต้ เพลงทีไ่ ด้รบั ความสนใจจากตลาดผู้บริโภค เช่น เพลงตับ เพลงเถา เพลงโหมโรง เพลงอัตรา ๓ ชั้น เพลงอัตรา ๒ ชัน้ เพลงเรือ่ ง เพลงหน้าพาทย์ เพลงทีบ่ รรเลงตามบทตามตอนของโขน ละคร เพลงทีเ่ น้นอารมณ์ เพลงลักษณะต่างๆ ทั้งงานมงคล งานอวมงคล ธุรกิจการผลิตซีดีและดีวีดี มีทั้งภาพเคลื่อนไหว และเฉพาะเสียงเพลง ธุรกิจดนตรีลักษณะนี้ในปัจจุบันนอกจากจ�าหน่ายภายในประเทศไทยแล้ว ยังมีการส่งไปจ�าหน่ายยังต่างประเทศอีกด้วย

๒) นักวิชาการดนตรี ครูดนตรี และการผลิตผลงานวิชาการ วิชาการดนตรี

ไม่ได้มีเพียงการบรรเลงเพื่อสร้างประสบการณ์ ภาคปฏิ บั ติ หรื อ เรี ย นให้ มี ค วามรู ้ ท างด้ า น ดนตรี เ ท่ า นั้ น นั ก วิ ช าการที่ ไ ด้ ศึ ก ษาดนตรี อย่ า งลึ ก ซึ้ ง จนเกิ ด ความเชี่ ย วชาญ หรื อ ท�าการวิจัยดนตรี จนได้ความรู้ด้านต่างๆ ทาง ด้านดนตรี นักวิชาการเหล่านั้นยังสามารถ สังเคราะห์ความรู้ทางด้านดนตรีมาผลิตงาน เขียน ในรูปของเอกสารหรือต�าราดนตรี หรือ รวมกลุ่มกันจัดท�าเป็นวารสารดนตรีขยายวง ความรู้ให้แก่นักเรียน นิสิต นักศึกษา และ

ตัวอย่างผลงานในรูปแบบของเอกสารหรือต�าราดนตรีที่ ถูกผลิตขึ้นโดยหน่วยงานต่างๆ นับเป็นแนวทางหนึ่งใน การเผยแผ่ความรูทางดานดนตรีสู่สังคมไทย

๑๑

ดนตรีกับธุรกิจมีความเกี่ยวของกันอยางไร

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

แนวตอบ ในปจจุบันธุรกิจถือเปนปจจัยสําคัญในการดํารงชีวิต เมื่อมี เสียงดนตรีก็ยอมมีธุรกิจดานดนตรีเขามาเกี่ยวของดวย เชน เพลงประกอบ การโฆษณาสินคา เทปเพลง แผนบันทึกเสียง เพลงรูปแบบตางๆ เปนตน รายการวิทยุ โทรทัศนทุกรายการตางก็มีดนตรีเขามาเกี่ยวของแทบทั้งสิ้น เพื่อเพิ่มสีสันใหแกรายการ ธุรกิจดนตรีจึงมีสวนกระตุนใหมนุษยไดเรียนรู ดนตรี และธุรกิจเปนเครื่องมือที่ทําใหคุณภาพของดนตรีมีการเปลี่ยนแปลง ไปตามกระแสคานิยมทางวัฒนธรรมในสังคม

Explain

ใหนกั เรียนกลุม ที่ 6 ทีไ่ ดศกึ ษา คนควา หาความรู เพิ่มเติมเกี่ยวกับดนตรีไทยกับการประยุกตใช สงตัวแทน 2-3 คน ออกมาอธิบายความรูในหัวขอ ดนตรีกับธุรกิจ ตามที่ไดศึกษามาหนาชั้นเรียน จากนั้นครูถามนักเรียนวา • การประกอบอาชีพใดที่มีสวนเกี่ยวของกับ งานดานธุรกิจดนตรี (แนวตอบ นักดนตรี นักรอง นักเรียบเรียงเพลง นักประพันธเพลง ผูอํานวยเพลงหรือวาทยกร ครูดนตรี นักวิชาการดนตรี ธุรกิจโรงเรียนดนตรี ผูบันทึกเสียง ผูรับงานดนตรี ผูผลิตมิวสิกวิดีโอ ผูผลิตสื่อการแสดง ผูผลิตเครื่องดนตรี ผูจําหนายเครื่องดนตรี) • นักเรียนรูจักครูดนตรีไทยที่มีชื่อเสียง ทานใดบาง จงยกตัวอยาง (แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น ไดอยางอิสระ ครูเนนใหเห็นวา “ครูดนตรีไทย ทีม่ ชี อื่ เสียงวามีความสามารถดานการบรรเลง ดนตรีไทยไดนนั้ มีมากมายหลายทาน เชน พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย (รัชกาลที่ 2) พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว (รัชกาลที่ 9) สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ หลวงไพเราะเสียงซอ หลวงประดิษฐไพเราะ พระยาประสานดุริยศัพท พระยาเสนาะดุริยางค ครูมนตรี ตราโมท ครูประเวศ กุมุท ครูชอย สุนทรวาทิน ครูเฉลิม บัวทั่ง เปนตน”)

เกร็ดแนะครู ครูควรเชิญวิทยากรที่มีความรู ความเชี่ยวชาญในดานดนตรีกับธุรกิจ มาอธิบาย เพิ่มเติมเกี่ยวกับธุรกิจทางดานดนตรี จากนั้นครูเปดโอกาสใหนักเรียนไดซักถาม ในสิ่งที่สงสัยและแสดงความคิดเห็น ซึ่งจะทําใหนักเรียนมีความรู ความเขาใจ เกี่ยวกับดนตรีกับธุรกิจไดดียิ่งขึ้น

นักเรียนควรรู 1 วาทยกร หรือผูอํานวยเพลง คือ คนที่ตีความหมายของบทเพลง โดยเห็น ภาพรวมทั้งหมดของวงดนตรี มีหนาที่ดึงความสัมพันธของเครื่องดนตรีแตละชิ้น ออกมา เพื่อสอดผสานรวมเปนหนึ่งเดียวกัน 2 วงอังกะลุง เปนวงดนตรีที่บรรเลงดวยอังกะลุงอยางนอย 7 คู พรอมกับ เครื่องประกอบจังหวะ ไดแก ฉิ่ง ฉาบเล็ก กรับ โหมงและกลองแขก อังกะลุง ของไทยไดดัดแปลงมาจากอังกะลุงของประเทศอินโดนีเซีย แตจะมีความแตกตาง กันคือ เสียงและวิธีการบรรเลง คูมือครู 11


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบExplain ายความรู

ผู้สนใจทั่วไป รวมทั้งครูดนตรี โดยเฉพาะครูดนตรีของสถาบันดนตรีเอกชนที่มิใช่ครูหรืออาจารย์ ประจ�าในสถาบันการศึกษาปกติ รวมทัง้ การรับสอนดนตรีตามสถาบัน หรือตามบ้านทีม่ คี วามต้องการ ครูไปสอน ซึ่งธุรกิจด้านนี้ก�าลังได้รับความสนใจ และสร้างรายได้ให้แก่ครูดนตรี ทั้งนี้ครูดนตรีต้อง เป็นผู้ที่มีความสามารถสูง มีประสบการณ์ และมีความพร้อมที่จะเป็นครูดนตรีด้วย ๓) การตั้งคณะหรือวงดนตรีรับจ้างบรรเลงดนตรีในงานต่างๆ โดยการรวบรวม ศิลปินดนตรี และนักร้อง มีการฝึกซ้อมเพือ่ พัฒนาคุณภาพงานดนตรีให้เป็นทีย่ อมรับและมีชอื่ เสียง เพื่อให้เป็นอาชีพที่มั่นคงมากกว่าการเป็นศิลปินเดี่ยวและมีรายได้ไม่คงที่ ทั้งนี้การตั้งคณะหรือ วงดนตรีต้องอาศัยศาสตร์อื่นๆ เข้ามาช่วยขับเคลื่อนให้กิจการดนตรีด�าเนินไปอย่างดี เช่น การตลาด การบัญชี การจัดการอาชีพ เป็นต้น ๔) การเปิดสอนดนตรีในโรงเรียนดนตรีเอกชน การบรรเลงดนตรีในปัจจุบันเป็น กิจกรรมที่ได้รับความสนใจจากเยาวชนเป็นอย่างมาก เพราะนอกจากเป็นการใช้เวลาว่างให้เป็น ประโยชน์แล้ว ดนตรียังใช้เป็นเครื่องพักผ่อนจิตใจในยามว่าง ถ้าผู้ใดมีความสามารถทางด้าน ดนตรีมากยังสามารถน�าไปประกอบอาชีพดนตรีได้อกี ทางหนึง่ ด้วยเหตุนจี้ งึ มีการเปิดโรงเรียนสอน ดนตรีเอกชนทั้งในกรุงเทพมหานคร และตามจังหวัดต่างๆ ดังนั้น โรงเรียนดนตรีเอกชนจึงเป็น แหล่งประกอบธุรกิจดนตรีที่ส�าคัญ และสามารถน�าความส�าเร็จในการด�าเนินงานมาสู่ผู้ประกอบ ธุรกิจได้เป็นอย่างดี

๕) การผลิ ต เครื่ อ งดนตรี ไ ทย

E×pand

ใหนักเรียนสรุปสาระสําคัญเกี่ยวกับดนตรีกับ การประยุกตใช ลงกระดาษรายงาน นําสงครูผูสอน

ตรวจสอบผล

Evaluate ตรวจสอบผล

Explain

ครูสุมนักเรียน 2-3 คน ใหตอบคําถามดังตอไปนี้ • เพราะเหตุใดในงานเทศกาลตางๆ จึงมีการจางวงดนตรีมาบรรเลงในงาน (แนวตอบ เพื่อสรางสีสันและสราง ความสนุกสนานใหแกแขกที่มารวมงาน) • การเรียนดนตรีในโรงเรียนเอกชน ดึงดูดความสนใจของวัยรุนในปจจุบันหรือไม อยางไร (แนวตอบ ดึงดูดความสนใจกับวัยรุนบางกลุม ที่มีความสนใจในเสียงดนตรีและตองการ ใชเวลาวางใหเกิดประโยชนโดยการมาเรียน ดนตรี หรือเรียนรองเพลง) • นักเรียนสามารถนําวัสดุที่มีอยูในทองถิ่น มาสรางเครื่องดนตรีไดหรือไม ถาได จะเปนเครื่องดนตรีชนิดใด (แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น ไดอยางอิสระ)

ขยายความเขาใจ

Expand าใจ ขยายความเข

Evaluate

ครูพิจารณาจากการสรุปสาระสําคัญเกี่ยวกับ ดนตรีกับการประยุกตใชของนักเรียน

การผลิตเครื่องดนตรีไทยประเภทต่างๆ เป็นการด�าเนิน ธุรกิจทางดนตรีที่มีการลงทุนในการผลิตสูง

มีหลายชนิด เช่น การผลิตเครื่องดนตรีไทย ประเภทระนาดเอก1 ระนาดทุ้ม ซอด้วง ซออู้ ซอสามสาย สะล้อ พิณอีสาน ขลุ่ย แคน กลอง ประเภทต่างๆ เป็นต้น การผลิตชิ้นส่วนที่ใช้ ประกอบกับเครื่องดนตรี เช่น ลิ้นปี่ ยางสน สายซอ ไม้ตีระนาด ไม้ตีฆ้อง ตะกั่วถ่วงเสียง ระนาด ฆ้องวง เป็นต้น การด� า เนิ น ธุ ร กิ จ ดนตรี ด ้ า น นี้ต้องใช้การลงทุนสูง จึงต้องมีการวางแผน การตลาด การศึกษาแหล่งจ�าหน่ายและแหล่ง บริโภคสินค้า และส่วนประกอบอื่นๆ ที่จ�าเป็น ต่อการประกอบอาชีพนี้

๑๒

นักเรียนควรรู 1 สะลอ เปนเครื่องดนตรีลานนาชนิดหนึ่ง จัดเปนเครื่องดนตรีประเภทเครื่องสี ซึ่งมีทั้ง 2 สาย และ 3 สาย คันชักสําหรับสีจะอยูขางนอกเหมือนคันชักซอสามสาย สะลอเรียกอีกอยางหนึ่งวา “ทรอ” หรือ “ซะลอ” มีรูปรางลักษณะคลายกับซออู ของภาคกลาง จะใชไมแผนบางๆ ปดปากกะลาทําหลักที่หัวสําหรับพาดทองเหลือง ดานหลังกะโหลกเจาะเปนรูปลวดลายตางๆ เชน รูปหนุมาน รูปหัวใจ เปนตน สวนดานลางของกะโหลกเจาะทะลุลงขางลาง เพื่อสอดคันทวนที่ทําดวยไมชิงชัน ตรงกลางคันทวนมีรัดอกทําดวยหวาย ปลายคันทวนดานบนเจาะรูสําหรับสอด ลูกบิด ซึ่งมี 2 หรือ 3 อัน สําหรับขึงสายซอ จากปลายลูกบิดลงมาถึงดานกลาง ของกะโหลก มีหยองสําหรับหนุนสายสะลอ เพื่อใหเกิดเสียงเวลาสี คันชักสะลอ ทําดวยไมดัดเปนรูปโคง ขึงดวยหางมา หรือพลาสติก เวลาสีจะใชยางสนถู ทําใหเกิดเสียงได

12

คูมือครู

กิจกรรมสรางเสริม ใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับขั้นตอนและกรรมวิธีการผลิต เครื่องดนตรีไทยตามความสนใจของตนเอง 1 ประเภท พรอมหาภาพ ประกอบ จัดทําเปนแผนพับ ตกแตงใหสวยงาม นําสงครูผูสอน

กิจกรรมทาทาย ใหนักเรียนทดลองทําเครื่องดนตรีแบบงายๆ โดยใชวัสดุจากธรรมชาติ หรือสิ่งของเหลือใช พรอมตั้งชื่อเครื่องดนตรี จากนั้นออกมาสาธิตวิธีการ บรรเลงเครื่องดนตรีใหเพื่อนชมหนาชั้นเรียน โดยมีครูเปนผูคอยชี้แนะ ความถูกตอง


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุEngage นความสนใจ

สํารวจค Exploreนหา

กระตุน ความสนใจ

Engage

ครูเปดซีดี หรือดีวีดีการบรรเลงเพลงไทย ประเภทตางๆ ใหนักเรียนฟง จากนั้นครูถาม นักเรียนวา • เพลงทีน่ กั เรียนไดยนิ นัน้ เปนเพลงประเภทใด (แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น ไดอยางอิสระ) • นักเรียนเกิดความรูสึกอยางไรเมื่อไดฟง เพลงนี้ (แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น ไดอยางอิสระ)

๖) ธุรกิจการจ�าหน่ายเครือ่ งดนตรี เป็นอาชีพหนึง่ ทีไ่ ด้รบั ความสนใจมากขึน้ เพราะ

ผูบ้ ริโภคมีทงั้ นักดนตรีทตี่ อ้ งการเลือกสรรเครือ่ งดนตรีทมี่ คี ณุ ภาพ นักดนตรีทเี่ ริม่ ฝึกหัดและกระจาย อยู่ตามโรงเรียนต่างๆ ทั้งโรงเรียนในระบบการศึกษาและโรงเรียนดนตรีเอกชน ทั้งนี้ผู้ปกครอง จ�านวนมากที่มีความสนใจเลือกหาเครื่องดนตรี โดยมุ่งไปยังร้านจ�าหน่ายเครื่องดนตรี ดังนั้น จึงพบว่าในทุกจังหวัด หรืออ�าเภอ หรือในชุมชนขนาดใหญ่ มีร้านจ�าหน่ายเครื่องดนตรีไว้บริการ ลูกค้า ทั้งนี้หากผู้ประกอบกิจการร้านจ�าหน่ายเครื่องดนตรีมีความรู้และมีความสามารถในการเล่น ดนตรีไทยด้วย ก็ยอ่ มเป็นต้นทุนและเป็นจุดประชาสัมพันธ์สนิ ค้าทีด่ ี และเป็นการเสริมให้การค้าขาย เจริญก้าวหน้าอีกด้วย

๓. ประเภทของเพลงไทย

เพลงไทยเป็นเพลงที่มีแนวท�านอง เนื้อร้อง จังหวะ และเสียงประสานเป็นเอกลักษณ์เฉพาะ ของไทย เพลงไทยแบ่งออกเป็น ๒ ประเภทใหญ่ๆ คือ ๑) เพลงบรรเลง หมายถึง เพลงที่ใช้เครื่องดนตรีบรรเลงล้วนๆ มีแ1ต่ท�านองไม่มีการ ขับร้องประกอบ เช่น เพลงโหมโรง เพลงหน้าพาทย์ เพลงเรือ่ ง เพลงหางเครือ่ ง เพลงเดีย่ ว เป็นต้น ๒) เพลงขับร้อง หมายถึง เพลงที่นิยมน�ามาขับร้องประกอบดนตรีตามแบบของ 2 เพลงไทย คือ ร้องแล้วมีดนตรีรับหรือร้องคลอไปกับดนตรี เช่น เพลงเถา เพลงตับ เพลงใหญ่ เพลงเกร็ด เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมีการจ�าแนกเพลงไทยออกตามกิจกรรมหรือสถานการณ์ตา่ งๆ โดยศิลปิน ดนตรีจะบรรเลงให้เหมาะสมและถูกต้องตามหลักขนบปฏิบัติส�าหรับเพลงนั้น ซึ่งสามารถสรุปได้ ดังนี้

สํารวจคนหา

๓.๑ เพลงในพระราชพิธี ในงานพระราชพิธีต่างๆ นักดนตรีของหน่วยราชการที่เกี่ยวข้อง เช่น ศิลปินข้าราชการของ กรมศิลปากรผู้ปฏิบัติราชการ หรือพราหมณ์ที่ท�าหน้าที่นั้นๆ เพลงที่ใช้บรรเลงจึงต้องด�าเนินไป ตามระเบียบการใช้เพลง เช่น งานทอดผ้าพระกฐิน หรืองานที่เกี่ยวเนื่องด้วยพระพุทธศาสนา จะมี วงปี่พาทย์บรรเลง เพลงที่ใช้ คือ เพลงสาธุการ เพลงกราวใน และเพลงเรื่อง หากเป็นงานจรด พระนังคัลแรกนาขวัญ เพลงทีใ่ ช้ เช่น เพลงพระยาเดิน เป็นต้น หรืองานทีม่ พี ราหมณ์เบิกแว่นเทียน เวียนเทียน เพลงทีบ่ รรเลงใช้เพลงในชุดตับเวียนเทียน ส่วนงานพระบรมศพ เช่น งานถวายพระเพลิง พระศพสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เพลงที่ ใช้ขึ้นอยู่กับวงดนตรีที่น�ามาบรรเลง เช่น วงปี่พาทย์นางหงส์ วงปี่พาทย์มอญ หรือวงดนตรีอื่นๆ ซึ่งวงดนตรีแต่ละประเภทมีแบบแผนการใช้เพลงบรรเลงอย่างชัดเจน

อธิบายความรู

Explore

ใหนักเรียนศึกษา คนควา หาความรูเพิ่มเติม เกี่ยวกับประเภทของเพลงไทย จากแหลงเรียนรู ตางๆ เชน หนังสือเรียน หองสมุด อินเทอรเน็ต เปนตน ในหัวขอที่ครูกําหนดให ดังตอไปนี้ 1. เพลงในพระราชพิธี 2. เพลงในงานมงคล 3. เพลงในงานอวมงคล 4. เพลงประกอบการแสดง

Explain

ครูสมุ นักเรียน 2-3 คน ใหตอบคําถามดังตอไปนี้ • เพลงไทยสะทอนใหเห็นถึงวัฒนธรรมทาง ดนตรีของไทยอยางไร (แนวตอบ เพลงไทยจะมีทํานอง จังหวะ และเสียงประสานที่มีความเปนเอกลักษณ เฉพาะตัว ซึ่งไมมีเพลงประเภทใด เลียนแบบได) ๑๓

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’ 53 ออกเกี่ยวกับการขับรองเพลงไทย เอกลักษณสําคัญของการขับรองเพลงไทยเดิมคืออะไร 1. การใชปากและการหายใจ 2. การเอื้อน 3. การดัดเสียงใหกลมกลอม 4. การผอนและการถอนลมหายใจ วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 2. เพราะการเอื้อน เปนการเปลงเสียง ที่ไมมีความหมาย แตเปนทํานองประกอบคํารอง มีจุดประสงคเพื่อใหการรอง ครบถวนตามจังหวะหนาทับ วิธีการเอื้อนโดยปกติจะใชเสียงอือ ฮือ เออ เฮอ เงอ เงย และใสทํานองใหสัมพันธกับคํารอง ซึ่งจัดวาเปนเอกลักษณที่โดดเดน ของเพลงไทย

นักเรียนควรรู 1 เพลงหางเครื่อง เปนเพลงสั้นๆ ที่นิยมนํามาบรรเลงตอจากเพลงแมบท โดยทันทีทันใดหลังจากบรรเลงเพลงนั้นจบแลว เพลงหางเครื่องจัดเปนเพลง ในอัตราจังหวะ 2 ชัน้ หรืออัตราจังหวะชัน้ เดียว มีทาํ นองคอนขางเร็ว กระฉับกระเฉง โดยมากจะเปนเพลงที่มีเสียงและสําเนียงเดียวกันกับเพลงแมบทที่บรรเลงไปกอน หนา และนิยมบรรเลงดนตรีเพียงอยางเดียว ไมมีการขับรองประกอบ 2 เพลงใหญ เพลงไทยเดิมที่มีลักษณะ ดังนี้ 1. เปนเพลงที่คอนขางยาว ตองใชเวลาในการบรรเลงนานมากกวา เพลงประเภทอื่นๆ 2. เปนเพลงที่มีทางรองสั้น แตทางรับยาว คือ นักรองใชเวลาไมมาก ก็รองจบทอนหนึ่งๆ แตนักดนตรีตองใชเวลาในการบรรเลงรับนาน มากกวาหลายเทา 3. ทํานองเพลงสลับซับซอนเต็มไปดวยลูกลอ ลูกขัดและลูกลวงจังหวะ คูมือครู

13


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับประเภทของ เพลงไทย ในหัวขอเพลงในพระราชพิธี เพลงในงาน มงคลและเพลงในงานอวมงคล ตามที่ไดศึกษามา จากนั้นครูถามนักเรียนวา • เพลงที่บรรเลงดวยวงปพาทยนางหงส ประกอบในงานพระบรมศพคือเพลงใด (แนวตอบ เพลงที่บรรเลง เรียกวา “เพลงชุด นางหงส” ประกอบดวยเพลงนางหงส (เพลง พราหมณเก็บหัวแหวน) เพลงสาวสอดแหวน เพลงแสนสุดสวาท เพลงแมลงปอ และเพลงแมลงวันทอง) • เพลงที่นิยมบรรเลงในงานมงคลสมรส คือเพลงประเภทใด (แนวตอบ เพลงที่นิยมนํามาบรรเลงในงาน มงคลสมรสสวนใหญ จะนิยมบรรเลงเพลง ที่มีชื่อเปนมงคล หรือมีเนื้อรองไปในทาง ความรัก หรือเพลงที่มีอัตราจังหวะ 2 ชั้น ซึ่งเปนเพลงที่มีจังหวะกลางๆ เพลงที่ขาดไมไดในงานมงคลสมรส ไดแก เพลงตับวิวาหพระสมุทรสองชั้น ซึ่งประกอบ ไปดวยเพลงคลื่นกระทบฝง เพลงบังใบ และเพลงแขกสาหราย) • บทเพลงและวงดนตรีที่ใชในงานอวมงคล คือบทเพลงและวงดนตรีประเภทใด (แนวตอบ เพลงที่ใชบรรเลง เชน เพลงเชิญศพ เพลงยกศพ เพลงประจําวัด เพลงประจําบาน เพลงบัวลอย เพลงนางหนาย เพลงแรงกระพือปก เพลงกาจับปากโลง เพลงนางหงส เพลงสาวสอดแหวน เพลงแสนสุดสวาท เพลงแมลงปอ เพลงแมลงวันทอง เปนตน สวนวงดนตรีที่ใชบรรเลง คือ วงบัวลอย วงปพาทยนางหงส วงปพาทยมอญ และ วงเครื่องสายปชวา)

๓.๒ เพลงในงานมงคล งานมงคลเป็นงานทีม่ เี พลงบรรเลงได้ทวั่ ไป ยกเว้นงานทีก่ า� หนดใช้สา� หรับงานอวมงคล ศิลปิน ดนตรี จ ะทราบและไม่ น� า มาใช้ ใ นงานมงคล อย่ า งไรก็ ต ามแบบแผนการใช้ เ พลงก็ ต ้ อ ง พิจารณาว่าควรใช้วงดนตรีประเภทใดและเลือก ใช้เพลงใดที่เหมาะสม เช่น งานที่เกี่ยวข้องกับ การท�าบุญเลี้ยงพระ มีสวดมนต์เย็น-ฉันเช้า กลุม่ เพลงทีใ่ ช้ประกอบด้วย เพลงชุดโหมโรงเย็น เพลงชุดโหมโรงเช้า เพลงพระฉัน งานท�าขวัญบวชนาค เพลงที่ใช้น อกจากเพลงชุดโหมโรงเย็นแล้ว ขณะอาบน�้านาคใช้เพลงลงสรง เมื่อเข้าสู่พิธีท�าขวัญนาค เพลงที่ใช้คือเพลงใน ชุดท�าขวัญหรือตับเวียนเทียน งานที่เกี่ยวกับ ขบวนแห่ต่างๆ ในงานมงคลที่ตองการความสนุกสนาน ฤกษ์ยามใช้เพลงเพิ่มเติมในส่วนของฤกษ์ เช่น รื่นเริง มักนิยมใชวงกลองยาวมาบรรเลงประกอบ เพลงมหาฤกษ์ มหาชัย เป็นต้น ส�าหรับงานมงคลทั่วไป เช่น งานเฉลิมฉลองต่างๆ งานสมโภช หรืองานบรรเลงที่จัดเพื่อ การฟัง เพลงที่ใช้1ภายหลังจากบรรเลงเพลงโหมโรงแล้ว ศิลปินดนตรีสามารถเลือกเพลงได้ เช่น เพลงกาเรียนทอง เพลงอะแซหวุน่ กี้ เพลงแขกมอญบางขุนพรหม เพลงนกขมิน้ เพลงชมแสงจันทร์ เป็นต้น ส่วนจะใช้บรรเลงในลักษณะเพลงเถา เพลง ๓ ชั้น เพลง ๒ ชั้น มีขับร้องประกอบหรือ ไม่มกี ไ็ ด้ กรณีทเี่ ป็นเพลงกลุม่ เพลงเสภานิยมใช้วงปีพ่ าทย์เสภา มีโหมโรงเสภา เพลงพม่าห้าท่อน เพลงแขกโอด เป็นต้น ในงานมงคลนี้หากเป็นงานมงคลสมรส วงดนตรีนิยมใช้วงเครื่องสายไทย หรือวงมโหรี กลุ่มเพลงที่ใช้นิยมเพลงที2 ่มีท�านองอ่อนหวาน เช่น เพลงตับวิวาห์พระสมุทร เพลงลาวด�าเนินทราย เพลงลาวค�าหอม เพลงเขมรไทรโยค เป็นต้น

๓.๓ เพลงในงานอวมงคล งานอวมงคลเป็นงานที่เกี่ยวกับพิธีกรรมหลังความตาย นิยมใช้ในงานของชาวไทยพุทธ เช่น งานสวดพระอภิธรรมศพ งานฌาปนกิจศพ งานท�าบุญกระดูก งานรวมญาติ (มักท�าในวันสงกรานต์ และรวมจัดพร้อมกันที่วัด) วงดนตรีที่ใช้ในงานอวมงคล เช่น วงบัวลอย วงปี่พาทย์นางหงส์ วงปี่พาทย์มอญ วงเครื่องสายปี่ชวา เป็นต้น เพลงที่ใช้ของวงดนตรีแต่ละประเภทมีแบบแผน เช่น วงบัวลอยมีเพลงทีเ่ รียบเรียงเข้าเป็นชุดขึน้ อยูก่ บั ต�ารับหรือทางของส�านักดนตรี เช่น เพลงบัวลอย ๑4

นักเรียนควรรู 1 เพลงกาเรียนทอง เปนเพลงไทยอัตราจังหวะ 2 ชั้น ที่นิยมนํามารอง และบรรเลงประกอบการแสดงโขน ละคร 2 เพลงลาวคําหอม เปนเพลงไทยเดิม อัตราจังหวะ 2 ชั้น สําเนียงลาว จาโคม (เผน ผยองยิง่ ) เปนผูป ระพันธทางรองขึน้ กอน ตอมาพระยาประสานดุรยิ ศัพท ไดประพันธทางเครื่องดนตรีขึ้นรับ เนื่องจากเนื้อเพลงที่ใชขับรองกันแตแรก ขึ้นตนดวยคําวา “หอมดอกไมคําหอม” จึงเรียกกันทั่วไปวาเพลง “ลาวคําหอม”

มุม IT นักเรียนสามารถฟงเพลงลาวคําหอม ไดจาก http://www.youtube.com โดยคนหาจากคําวา เพลงลาวคําหอม

14

คูมือครู

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’ 50 ออกเกี่ยวกับการบรรเลงดนตรีไทยในงานอวมงคล ถาสมโชคไดรับการไหววานใหไปนําวงดนตรีมาบรรเลง ในงานสวดพระอภิธรรม สมโชคควรนําวงดนตรีในขอใดมาบรรเลง 1. ปพาทยมอญ หรือปพาทยดึกดําบรรพ 2. ปพาทยนางหงส หรือปพาทยชาตรี 3. ปพาทยมอญ หรือปพาทยเสภาเครื่องใหญ 4. ปพาทยนางหงส หรือปพาทยมอญ วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 4. เพราะเปนวงดนตรีที่นิยมนํามาบรรเลง ในงานอวมงคล


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

ครูสมุ นักเรียน 2-3 คน ใหตอบคําถามดังตอไปนี้ • เพลงประกอบการแสดงหมายถึงเพลงที่มี ลักษณะอยางไร (แนวตอบ เพลงหนาพาทย ที่ใชบรรเลง ประกอบกิริยาและอารมณของตัวละคร สามารถแบงออกเปน 2 ลักษณะ คือ 1. หนาพาทยธรรมดา ใชบรรเลงประกอบ กิริยาและอารมณของตัวละครที่เปน สามัญชน เพลงหนาพาทยชนิดนี้ โดยมากใชกับการแสดงลิเก หรือละคร เชน เพลงเสมอ เพลงเชิด เพลงรัว เพลงโอด เปนตน 2. หนาพาทยชั้นสูง ใชบรรเลงประกอบ กิริยาและอารมณของตัวละครผูสูงศักดิ์ หรือเทพเจาตางๆ เพลงหนาพาทยชนิดนี้ โดยมากจะใชกับการแสดงโขน ละคร และใชในพิธีไหวครู ครอบครูดนตรี และนาฏศิลป เชน เพลงตระนอน เพลงตระบองกัน เพลงตระนารายณ บรรทมสินธุ เพลงบาทสกุนี เพลงองคพระพิราพ เปนตน) • ถาตัวละครแสดงกิริยาอาการสนุกสนาน รื่นเริงใจ วงปพาทยควรบรรเลงเพลงใด จึงจะถูกตอง เหมาะสม (แนวตอบ สามารถบรรเลงได 5 เพลง แตตองพิจารณากอนวาตัวละครกําลังอยู ในอารมณใด ไดแก เพลงกราวรํา (กิริยา เยาะเยย) เพลงสีนวล เพลงชา เพลงเร็ว (แสดงความรื่นเริง) และเพลงฉุยฉายแมศรี (แสดงความภูมิใจในความงาม)

นางหน่าย ไฟชุม แร้งกระพือปีก กาจับปากโลง นางหงส์ เป็นต้น ถ้าเป็นวงปีพ่ าทย์มอญมีเพลงพิธกี รรม ที่ก�าหนดเป็นแบบแผน เช่น เพลงเชิญศพ เพลงยกศพ เพลงประจ�าวัด เพลงประจ�าบ้าน เป็นต้น ในงานสวดพระอภิธรรมศพที่วัด ก่อนพระสงฆ์ลงศาลาวงดนตรีจะบรรเลงเพลงย�่าค�่า มีการ บรรเลงออกเพลงสิบสองภาษา และเพลงอื่นๆ จนเมื่อถึงเวลาพระสงฆ์ลงศาลา วงดนตรีบรรเลง เพลงรับพระ เริ่มฟังพระสวด ระหว่างที่พระสงฆ์สวดจบแต่ละช่วงนั้น วงดนตรีสามารถเลือก เพลงต่างๆ มาบรรเลงหรือขับร้องได้ เช่น เพลงมอญอ้อยอิ่ง เพลงแขกมอญ เพลงแขกต่อยหม้อ เพลงแขกไทร เพลงถอนสมอ เป็นต้น

๓.4 เพลงประกอบการแสดง การแสดงหนังใหญ่ โขน ละคร หุ่นกระบอก ลิเก และการแสดงเป็นเรื่องต่างๆ ศิลปินนักแสดง เมื่อสวมบทบาทไปตามบทของแต่ละท้องเรื่อง วงปี่พาทย์ที่บรรเลงประกอบการแสดงต้องด�าเนิน เพลงให้สอดคล้องกับบทที่ก�าหนดเพลงไว้ หรืออาจบรรเลงรับ-ส่งตัวแสดงตามบทบาท ซึ่งศิลปิน ดนตรีต้องทราบและเข้าใจระเบียบวิธีใช้เพลงให้เข้ากับการแสดงนั้นๆ เพลงประกอบการแสดง มีอยู่เป็นจ�านวนมาก สามารถจ�าแนกตามประเภทเป็น ๒ ประเภท คือ ๑) เพลงหน้าพาทย์ เพลงประเภทนี้เป็นเพลงที่ใช้บรรเลงประกอบกิริยาสมมติ ของตัวละคร ซึ่งด�าเนินไปตามบทบาทในเนื้อเรื่อง ได้แก่ อากัปกิริยาในการแสดง เดิน ทั้งเดินเร็ว เดินช้า วิ่งไล่ เหาะเหิน บิน ท่องอากาศ เคลื่อนตัวไปในอากาศ ที่เกี่ยวกับน�้า กิน ดื่ม นอน จัดทัพ สู้รบ เศร้าโศกเสียใจ ร้องไห้ แสดงอิทธิฤทธิ์ แปลงหรือเนรมิตร่าง ใหม่

เพลงที่ใช้ เพลงเชิด เชิดฉาน เสมอ เสมอผี เสมอตีนนก เสมอเถร เสมอมาร เสมอแขก เสมอมอญ เพลงเหาะ แผละ โคมเวียน

1

เพลงลงสรง ใช้เรือ โล้ เพลงนั่งกิน เซ่นเหล้า 2 เพลงตระบรรทมไพร ตระนอน เพลงกราวนอก กราวใน ปฐม เชิด เพลงทยอย โอด 3 เพลงรัวลาเดียว รัวสามลา คุกพาทย์ ตระนิมิต

http://www.aksorn.com/LC/Mu/M5/04

EB GUIDE

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

เพลงหนาพาทยในขอใดจับคูกัน ไมถูกตอง 1. เพลงชุบ = การแปลงกายของตัวละคร 2. เพลงสีนวล = ความสนุกสนาน รื่นเริงใจ 3. เพลงเชิดกลอง = การตอสู การฆาฟนกัน 4. เพลงกลอม = การขับกลอมเพื่อใหนอนหลับ

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 1. เพราะเพลงชุบ เปนเพลงหนาพาทย ประกอบกิริยาไป-มา ซึ่งในที่นี้หมายถึง การไป-มาของตัวละครตํ่าศักดิ์ เชน นางกํานัล เปนตน

Explain

๑5

เกร็ดแนะครู ครูควรเชิญวิทยากรที่มีความรู ความเชี่ยวชาญในดานดนตรีไทย มาอธิบาย เพิ่มเติมเกี่ยวกับเพลงหนาพาทย พรอมทั้งเปดซีดี หรือดีวีดีการบรรเลง เพลงหนาพาทยใหนักเรียนฟง จากนั้นครูเปดโอกาสใหนักเรียนไดซักถามในสิ่งที่ สงสัยและแสดงความคิดเห็น ซึ่งจะทําใหนักเรียนมีความรู ความเขาใจเกี่ยวกับ เพลงหนาพาทยไดดียิ่งขึ้น

นักเรียนควรรู 1 เสมอตีนนก ใชสําหรับตัวแสดงที่เปนทาวพระยามหากษัตริย แสดงถึง การไป-มาดวยกิริยาที่สงางาม 2 เพลงตระบรรทมไพร ใชสําหรับการนอนของตัวละครที่คางแรมในปา 3 คุกพาทย ใชสาํ หรับการแสดงอิทธิฤทธิป์ าฏิหาริย หรือเหตุการณอนั นาสะพรึงกลัว คูมือครู

15


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับประเภทของ เพลงไทย ในหัวขอเพลงประกอบการแสดง ตามที่ไดศึกษามา จากนั้นครูถามนักเรียนวา • เพลงตามบทบาทและสถานการณ หมายถึงเพลงที่มีลักษณะอยางไร (แนวตอบ เพลงที่ใชในชวงของการดําเนินเรื่อง ที่มีการบรรยายถึงสถานที่ เหตุการณ รูปราง ลักษณะ อารมณและความรูสึกของตัวละคร รวมไปถึงความเปนมาของเนื้อเรื่อง) • กลอนละครบทนี้ควรใชเพลงประเภทใด บรรเลงประกอบจึงจะมีความเหมาะสม “พี่ชมพี่เชยแลว พลางถาม เจามิอื้ออําความ ไปพรอง เจาเอื้อนมิเออขาม เขินพี่ อยูฤๅ ผินพักตรมาอยาของ ขัดแคนเคืองพี่” (บทเหสังวาส : เจาฟาธรรมมาธิเบศร) (แนวตอบ ควรใชเพลงบังใบ เพลงสาลิกาแกว เพลงทองยอน เพลงลีลากระทุม เพราะ ในบทกลอนแสดงใหเห็นเปนบทเกี้ยวโอโลม คือ การกลาวแสดงความรักในการพบกัน ในระยะแรกๆ และในตอนโอโลมกอนจะถึง บทสังวาสนั้นดวย) • ถาวงดนตรีบรรเลงเพลงลาวครวญ นักเรียน คิดวาบทละครที่ไดยินนั้นจะมีลักษณะ อยางไร (แนวตอบ บทโศกเศรา เชน “ลําดวนเอยจะดวนไปกอนแลว ทั้งเกดแกวพิกุลยี่สุนสี จะโรยรางหางสิ้นกลิ่นมาลี จําปเอยกี่ปจะมาพบ ”)

๒) เพลงตามบทบาทและสถานการณ์ เพลงประกอบการแสดง นอกจากประกอบ

อากัปกิรยิ าแล้ว ในช่วงการด�าเนินเนือ้ เรือ่ งซึง่ บรรยายถึงสถานที่ เหตุการณ์ รูปร่าง ลักษณะ อารมณ์ ความรูส้ กึ ของตัวละคร รวมถึงความเป็นมาเป็นไปของเนือ้ เรือ่ ง เพลงทีใ่ ช้ตอ้ งบรรเลงให้สอดคล้อง กับสถานการณ์นั้น มีตัวอย่างของเพลงที่ก�าหนดใช้บรรเลงหรือบรรเลงประกอบการขับร้องของ ตัวละครตามอารมณ์ ซึ่งส่วนใหญ่นิยมใช้เพลงอัตรา ๒ ชั้น หรือเพลงอัตราชั้นเดียว ได้แก่ อารมณ์ในการแสดง รัก โศก เศร้า ดีใจ เย้ยหยัน โกรธ ขัดเคือง ขลัง บรรยากาศศักดิ์สิทธิ์ ชมธรรมชาติ สนุกสนาน

๑6

ครูควรเปดซีดี หรือดีวีดี หรือสื่ออินเทอรเน็ตเกี่ยวกับเพลงตามบทบาท และสถานการณ เชน เพลงบังใบ เพลงทองยอน เพลงนาคราช เพลงลาวเสีย่ งเทียน เพลงคลื่นกระทบฝง เพลงกราวตะลุง เปนตน ใหนักเรียนฟง โดยครูใหนักเรียน นั่งหลับตาและฟงเพลงจนจบ เพื่อใหนักเรียนสามารถซึมซับความไพเราะ ของเสียงเพลงและสามารถออกมาเลาใหเพื่อนฟงหนาชั้นเรียนไดวา นักเรียนรูสึก อยางไรเมื่อไดฟงเพลงแตละเพลง

นักเรียนควรรู 1 นาคราช เปนเพลงอัตราจังหวะชั้นเดียว ซึ่งหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) ไดยืดทํานองเพลงของเกาที่มีอัตราจังหวะชั้นเดียวมาแตง เปนอัตราจังหวะ 2 ชั้น รวมเปนเพลงเถา และไดทําทํานองรองขึ้น เพื่อนํามาใช ประกอบการแสดงละคร โดยเพลงนาคราชจะใชในบทโกรธ หรือบทที่ตัวละคร แสดงกิริยาเรงรอน คูมือครู

เพลงบังใบ สาลิกาแก้ว ทองย่อน ลีลากระทุ่ม เพลงลาวครวญ ดาวทอง ธรณีกันแสง เพลงกราวร�า เย้ย 1 เพลงลิงโลด ลิงลาน นาคราช เพลงลาวเสี่ยงเทียน ขับไม้บัณเฑาะว์ แขกบรเทศ เพลงคลื่นกระทบฝั่ง ลมพัดชายเขา ลาวชมดง เพลงกราวตะลุง ค้างคาวกินกล้วย คุดทะราดเหยียบกรวด

การร�าตีบทของโขน ละคร ใชลีลาท่าร�าหรือนาฏยศัพทใหสอดคลองกับบทรอง เช่น การใชเทามุ่งบอกอารมณรุนแรง โกรธ และขัดเคือง รวมทั้งการใชเพลงประกอบก็เป็นไปตามบทบาทและสถานการณของตัวละครในเนื้อเรื่องตอนนั้นๆ

เกร็ดแนะครู

16

เพลงที่ใช้

ขอสอบ

O-NET

ขอสอบป ’ 52 ออกเกี่ยวกับการบรรเลงดนตรีประกอบการแสดง การแสดงละครเพื่อเนนใหเห็นความสวยงามและความไพเราะ ของเสียงดนตรีที่มีลักษณะเดียวกันหรือคลายคลึงกัน โดยนําการรายรํา มาประกอบ การแสดงครั้งนี้ควรใชบทเพลงในขอใด 1. เพลงนางลอย 2. เพลงนาคบาศ 3. เพลงลาวเจริญ 4. เพลงชมตลาด วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 4. เพราะเพลงชมตลาด ใชบรรยาย ความงดงามของตัวละคร เชน รองชมรางแปลงของนางวันทอง เมื่อจะไปหามทัพพระไวย ดังคํากลอนตอไปนี้ “นวลละอองผองศรีฉวีขาว เมื่อแรกรุนรูปราวกับนางหาม มวยกระหมวดกวดเกลาเหมือนเจาพราหมณ ใสสังวาลประจํายามอรามพรายฯ ”


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบExplain ายความรู

Expand าใจ ขยายความเข

Evaluate ตรวจสอบผล

อธิบายความรู

Explain

ใหนักเรียนศึกษาเรื่องเพลงที่ใชในการขับรอง จากในหนังสือเรียน หนา 17 จากนัน้ ครูถามนักเรียน วา • นักเรียนเคยขับรองเพลงไทยบางหรือไม ถาเคย นักเรียนเคยรองเพลงใด (แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น ไดอยางอิสระ) • นักเรียนสามารถนําเพลงไทยมาขับรอง ประกอบกิจกรรมในชีวิตประจําวันไดหรือไม อยางไร (แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น ไดอยางอิสระ)

เสริมสาระ เพลงไทย

ที่ใชขับรอง

เพลงไทย เปนศิลปะและวัฒนธรรมของชนชาติไทยมีมาตั้งแตสมัยโบราณ ภายหลังไดพัฒนา รูปแบบของเพลงไทยมาอยางตอเนือ่ ง รวมทัง้ ไดมกี ารประพันธเพลงไทยใหมลี ลี าและสําเนียงเลียน สําเนียงภาษาของชนชาติอื่นๆ เชน ลาว เขมร มอญ แขก พมา จีน เปนตน เพลงที่ประพันธขึ้นมา โดยเลียนสําเนียงของภาษาอืน่ มักมีชอื่ เรียกนําหนาเพลงตามสํ 1 าเนียงภาษาที 2 เ่ ลียนสําเนียงมาเสมอ เชน เพลงลาวดวงเดือน เขมรไทรโยค มอญทาอิฐ แขกสาหราย พมาเห จีนขิมเล็ก เปนตน ซึ่งเพลงเหลานี้คือเพลงไทยไม ใชของชาติอื่น โดยคนไทยเปนผูประพันธขึ้นทั้งสิ้น เพลงไทยประเภทเพลงขับร้องแบ่งได้เปน ๓ ประเภทใหญ่ๆ ดังนี้ ๑. เพลงเถา เป็นเพลงเดียวกันที่บรรเลงหรือขับรองติดต่อกันโดยมีอัตราจังหวะลดหลั่นตาม สัดส่วนโดยเริ่มจากอัตราจังหวะ ๒ ชั้น และชั้นเดียว เช่น เพลงนางครวญ เถา จะเริ่มบรรเลงตั้งแต่เพลง นางครวญอัตราจังหวะ ๓ ชั้น ตามดวยอัตราเพลงนางครวญอัตราจังหวะ ๒ ชั้น และจบดวยเพลงนางครวญ อัตราจังหวะชั้นเดียว เป็นตน ๒. เพลงตับ เป็นการน�าเพลงหลายๆ เพลงมาบรรเลงและขับรองติดต่อกัน ดังนี้ ๒.๑ เพลงตับเพลง คือ การน�าเพลงหลายเพลงที่มีลักษณะคลายคลึงกันมาบรรเลงหรือขับรอง ติดต่อกัน เพลงทุกเพลงที่น�ามาบรรเลงติดต่อกันนั้นตองเป็นเพลงที่มีอัตราจังหวะเดียวกันทุกเพลง เช่น เพลงตับตนเพลงฉิ่ง ๓ ชั้น เป็นตน ๒.๒ เพลงตับเรือ่ ง คือ เพลงทีน่ า� มาขับรองหรือบรรเลงติดต่อกัน มีอตั ราจังหวะเหมือนหรือต่างกัน ก็ได แต่มบี ทรองตองติดต่อเป็นเรือ่ งเดียวกัน เช่น เพลงตับเรือ่ งนางลอย ตับเรือ่ งนาคบาศ ในการแสดงโขน เรื่องรามเกียรติ์ และเพลงตับเรื่องพระรถเสน ตอน พระรถหนีนางเมรี เป็นตน ๓. เพลงเกร็ด เป็นเพลงเบ็ดเตล็ดที่ใชขับรองและบรรเลงทั่วไป ไม่อาจจัดเขาลักษณะของเพลง ประเภทต่ า งๆ ดั งกล่ า วข า งต น ได เพลงเกร็ ด นี้ ผูป ระพันธสว่ นใหญ่ประพันธขนึ้ เพือ่ ความสนุกสนาน เพลิดเพลินหรือเพื่อใชเป็นคติสอนใจ เนื้อหาอาจอยู่ ในรูปแบบของการชมธรรมชาติ ชมความงามของ สตรีซงึ่ บรรยายเกีย่ วกับความรัก เพลงเกร็ดส่วนมาก มักจะเป็นเพลงในอัตราจังหวะ ๒ ชั้น เช่น เพลงลาว 3 ค�าหอม เพลงเขมรไทรโยค เพลงเขมรเขาเขียว เพลง การแสดงโขน และละคร มีการน�าเพลงไทยมาบรรเลง จีนน�าเสด็จ เพลงแขกสาหร่าย เป็นตน หรือขับรองประกอบการแสดง

ขยายความเขาใจ

E×pand

1. ใหนักเรียนรวมกันสรุปสาระสําคัญเกี่ยวกับ ประเภทของเพลงไทยเปนแผนผัง (Mind Mapping) ลงกระดาษรายงาน นําสงครูผสู อน 2. ครูควรเชิญวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญในดาน ดนตรีไทย มาอธิบายเพิม่ เติมเกีย่ วกับเพลงไทย ที่ใชขับรอง พรอมทั้งเปดซีดี หรือดีวีดี การบรรเลงเพลงไทยที่ใชขับรองใหนักเรียนฟง จากนั้นครูเปดโอกาสใหนักเรียนไดซักถาม ในสิ่งที่สงสัยและแสดงความคิดเห็น

ตรวจสอบผล

Evaluate

ครูพิจารณาจากการสรุปสาระสําคัญเกี่ยวกับ ประเภทของเพลงไทยของนักเรียน

๑7

กิจกรรมสรางเสริม ใหนักเรียนเลือกฟงเพลงไทยตามความสนใจของตนเอง 1 เพลง จากนั้นเขียนบรรยายความรูสึกที่เกิดขึ้นจากการฟงเพลง ลงกระดาษ รายงาน นําสงครูผูสอน

กิจกรรมทาทาย ใหนักเรียนทําตารางวิเคราะหความเหมือนหรือความแตกตาง ของเพลงเถา เพลงตับและเพลงเกร็ด ลงกระดาษรายงาน นําสงครูผูสอน

นักเรียนควรรู 1 มอญทาอิฐ เปนเพลงไทยอัตราจังหวะ 2 ชั้น สําเนียงมอญ นิยมนํามา บรรเลงประกอบการแสดง 2 แขกสาหราย เปนเพลงไทยอัตราจังหวะ 2 ชั้น ประเภทหนาทับปรบไก มี 3 ทอน ทอนที่ 1 และทอนที่ 2 มีทอนละ 4 จังหวะ ทอนที่ 3 มี 6 จังหวะ ปรากฏเปนเพลงในเพลงตับวิวาหพระสมุทร ซึ่งจาโคม (เผน ผยองยิ่ง) เปนผูแตง ทั้งบทรองและทํานอง หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) ไดนํามาแตงขยาย ขึ้นเปนอัตราจังหวะ 3 ชั้น และตัดลงเปนเพลงชั้นเดียว ครบเปนเพลงเถา 3 เพลงเขมรเขาเขียว เปนเพลงไทยอัตราจังหวะ 2 ชั้น หนาทับปรบไก มี 2 ทอน ทอนที่ 1 มี 6 จังหวะ ทอนที่ 2 มี 8 จังหวะ

คูมือครู

17


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุEngage นความสนใจ

กระตุน ความสนใจ

Exploreนหา สํารวจค

Engage

ครูนําบัตรคําที่เกี่ยวกับศัพทสังคีตในดนตรีไทย มาติดบนกระดานใหนักเรียนดู จากนั้นครูถาม นักเรียนวา • คําศัพทเหลานี้สามารถนํามาใชประโยชน ทางดนตรีไดอยางไร (แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น ไดอยางอิสระ) • นักเรียนรูความหมายของคําศัพทเหลานี้ หรือไม ถารู นักเรียนรูจักความหมาย ของคําศัพทใด (แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น ไดอยางอิสระ)

สํารวจคนหา

๔. ศัพท์สังคีตในดนตรีไทย

วิชาการดนตรีไทยมีศัพท์เฉพาะที่ใช้เรียกสื่อสารกัน ศัพท์ดังกล่าวเรียกว่า “ศัพท์สังคีต” ศัพท์ สังคีตที่น่ารู้ มีดังนี้ ค�าศัพท์

Explore

กวาด

วิธีการบรรเลงเครื่องดนตรีประเภทเครื่องตีที่บรรเลงท�านอง มีระนาดเอก ระนาดทุ้ม ระนาดเอกเหล็ก ระนาดทุ้มเหล็ก ฆ้องวงใหญ่ ฆ้องวงเล็ก ฆ้องมอญวงใหญ่ ฆ้องมอญ วงเล็ก โดยใช้ไม้ตีลากกวาดไปที่ลูกระนาด หรือลูกฆ้อง จากลูกที่มีระดับเสียงต�่าไปหา ระดับเสียงสูง หรือจากระดับเสียงสูงลงมาหาระดับเสียงต�่าก็ได้ เพื่อให้เกิดเสียงดังยาว ต่อเนื่องและตรงกับจังหวะของเพลง

คลอ

การบรรเลงไปพร้อมๆ กับการขับร้อง โดยผู้บรรเลงต้องบรรเลงเครื่องดนตรีให้ท�านอง และเสียงตรงกับผู้ขับร้อง เช่น การสีซอสามสายคลอร้อง เป็นต้น

จน

จนมุม หมดหนทาง หมดทางสู้ ท�าไม่ได้ตามที่ต้องท�า ค�าว่า “จน” ในทางดนตรีเกิดขึ้น เมื่อศิลปินใช้ปฏิภาณต่อสู้กันด้วยวิชาดนตรี ฝ่ายที่ท�าไม่ได้ หรือกล้อมแกล้มบรรเลงขับร้อง ไม่แนบเนียนเรียบร้อย ถือว่า “จน” เช่น นักดนตรีขึ้นต้นบรรเลงเพลง แล้วส่งท�านองให้นักร้อง นักร้องขับร้องรับไม่ได้ แสดงว่า นักร้อง “จน” หรือนักร้องขับร้องส่งเพลงให้นกั ดนตรี นักดนตรีบรรเลงรับเพลงไม่ได้ ก็แสดงว่านักดนตรี “จน” นักดนตรี ๒ วงบรรเลงเพลงเชิดต่อตัวแข่งขันกัน วงหนึ่งบรรเลงต่อเพลงเชิดไม่ได้ แสดงว่านักดนตรีวงนั้น “จน”

เดี่ยว

วิธีบรรเลงอย่างหนึ่งของเครื่องดนตรีประเภทเครื่องท�าท�านอง เช่น ซอสามสาย ซอด้วง ซออู้ จะเข้ ปี่ใน ปี่มอญ ขลุ่ยเพียงออ ระนาดเอก ระนาดทุ้ม ฆ้องวงใหญ่ เป็นต้น มีเครื่องดนตรีประเภทเครื่องหนัง เช่น กลองสองหน้า กลองแขก โทน-ร�ามะนา ท�าหน้าทีก่ า� กับจังหวะหน้าทับ มีเครือ่ งประกอบจังหวะทัว่ ไป เช่น ฉิง่ ฉาบเล็ก กรับโหม่ง การเดี่ยวดังกล่าว นักดนตรีต้องมีความสามารถในการปฏิบัติเครื่องดนตรีเป็นอย่างดี เพราะท�านองเดีย่ วมีทา� นองทีแ่ ตกต่างไปจากท�านองเพลงปกติ มีกลวิธที บี่ รรเลงซับซ้อน และต้องใช้ทักษะปฏิบัติเป็นอย่างดี เพื่อแสดงให้ผู้ฟังได้เห็นถึงความรู้ความสามารถ ของนักดนตรีถือเป็นการอวดฝีมือการบรรเลง อวดความแม่นในท�านองและจังหวะ อวดทักษะที่เชี่ยวชาญของนักดนตรี และอวดทางเพลงเดี่ยวที่ไพเราะรวมถึงชั้นเชิง ของนักดนตรี เพลงที่นิยมน�ามาเดี่ยว เช่น เพลงกราวใน กราวนอก เชิดนอก เชิดจีน แขกมอญ สารถี ลาวแพน หกบท พญาโศก เป็นต้น

ใหนักเรียนศึกษา คนควา หาความรูเพิ่มเติม เกี่ยวกับศัพทสังคีตในดนตรีไทย จากแหลงเรียนรู ตางๆ เชน หนังสือเรียน หองสมุด อินเทอรเน็ต เปนตน

อธิบายความรู

Explain

ใหนักเรียนรวมกันอภิปรายเกี่ยวกับศัพทสังคีต ในดนตรีไทย ตามที่ไดศึกษามา จากนั้นครูถาม นักเรียนวา • ศัพทสังคีตมีความหมายวาอยางไร (แนวตอบ ศัพทสังคีต คือ ภาษาเฉพาะที่ใชกัน ในวงการดนตรีไทย ซึ่งเปนที่รูกันวาศัพท ดังกลาวมีความหมายอยางไร หรือตองปฏิบัติ กับเครื่องดนตรีชนิดใด)

ความหมาย

๑8

เกร็ดแนะครู ครูควรอธิบายความรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับศัพทสังคีตที่ใชในการตีระนาด เชน ปากไก เปนวิธีจับไมตีระนาดและไมฆอง ที่มีลักษณะคลายกับการจับ “ปากกา” แตจะแตกตางกันตรงนิ้วชี้ คือ นิ้วชี้จะตกลงจากดานบนของกานไมระนาด โดยจะ อยูตรงกันขามกับนิ้วหัวแมมือ กานไมตีอยูดานขางในตําแหนงประมาณกกเล็บ หรือ โคนเล็บ เปนตน และศัพทสังคีตที่ใชในการสีซอดวง เชน แมวขวนฝา คือ การสีซอ (โดยเฉพาะซอดวง) สําหรับผูเริ่มหัดเลนใหมๆ และใชคันชักสีเขาออกแรงเกินไป ไมสัมพันธกับสายซอ เชน คันชักเบียดสายซอมากก็ชักเขาไปและชักแรงขึ้น ทําใหเกิดเสียงดังกรากๆ จึงเรียกวาสีซอลักษณะนี้วา “แมวขวนฝา” เปนตน

มุม IT นักเรียนสามารถศึกษา คนควาเพิ่มเติมเกี่ยวกับศัพทสังคีตดนตรีไทย ไดจาก http://www.pirun.ac.th

18

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

คําวา “กรอ” มีความหมายวาอยางไร แนวตอบ กรอ มีความหมายทางดนตรี 2 ลักษณะ คือ 1. วิธีบรรเลงเครื่องดนตรีประเภทตี (เชน ระนาด ฆองวง เปนตน) อยางหนึ่ง ซึ่งใชวิธีตี 2 มือสลับกันถี่ๆ เหมือนรัวเสียงเดียว หากแต วิธีตีที่เรียกวา “กรอ” นี้ มือทั้ง 2 ไมไดตีอยูที่ลูกเดียวกัน โดยปกติ จะตีเปนคู 2 คู 3 คู 4 คู 5 คู 6 และ คู 8 เปนตน 2. คําเรียกทางของการดําเนินทํานองเพลงอยางหนึ่ง ที่ดําเนินไป โดยใชเสียงยาวๆ ชาๆ เพลงที่ดําเนินทํานองอยางนี้เรียกวา “ทางกรอ” ที่เรียกอยางนี้ ก็เพราะเพลงที่มีเสียงยาวๆ นั้น เครื่องดนตรีประเภทตีไมสามารถจะทําเสียงใหยาวได จึงตองกรอ ใหไดความยาวเทากับทํานองของเพลง


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบExplain ายความรู

Expand าใจ ขยายความเข

Evaluate ตรวจสอบผล

อธิบายความรู เพลงตั ค�าศัพบ ท์

เพลงที่น�ามาเรียบเรียงเข้าเป็นชุด น�ความหมา ามาบรรเลง หรือบรรเลง-ขับร้อง ต่อเนื่องกัน จ�าแนกได้ ๒ ชนิด คือ ๑. ตับเรื่อง คือ เพลงที่เรียบเรียงเข้าเป็นชุดโดยค�านึงถึงการด�าเนินเรื่องราวเป็น หลัก มีบทร้องที่สอดคล้องกับเรื่องราว ส่วนท�านองเพลงที่บรรจุตามบทร้องนั้นใช้เพลง อัตราชั้น หรือประเภทหน้าทับที่แ1ตกต่างกันก็ได้ ไม่มีข้อก�าหนด เช่น เพลงตับนางลอย ตับนาคบาศ ตับวิวาห์พระสมุทร เป็นต้น ๒. ตับเพลง คือ เพลงที่เรียบเรียงเข้าเป็นชุดโดยค�านึงถึงความกลมกลืนมีความ สอดคล้อ2งของท�านองเพลง ทั้งอัตราชั้นและแนวท�านองเพลง เช่น เพลงตับลมพัด ชายเขา ตับสามลา ตับเพลงยาว เป็นต้น

ลูกล้อ - ลูกขัด

วิธีการบรรเลงท�านองอย่างหนึ่งด้วยการแบ่งช่วงบรรเลงของเครื่องดนตรี ๒ พวก ด้วยวรรคหรือประโยคของท�านองที่มีความสั้น-ยาวตามท�านองของเพลงนั้นๆ ดังนี้ - เมื่อเครื่องดนตรีพวกแรกบรรเลงก่อน จากนั้นพวกหลังจึงบรรเลงต่อด้วยท�านอง เหมือนกัน เรียกว่า “ลูกล้อ” - เมื่อเครื่องดนตรีพวกแรกบรรเลงก่อน จากนั้นพวกหลังจึงบรรเลงต่อด้วยท�านอง แตกต่างกัน เรียกว่า “ลูกขัด”

Explain

ครูสมุ นักเรียน 2-3 คน ใหตอบคําถามดังตอไปนี้ • นักเรียนรูจักศัพทสังคีตที่เรียกวา “ทาง” หรือไม ถารู คําวา “ทาง” มีความหมายวา อยางไร (แนวตอบ คําวา “ทาง” เปนคําทีม่ คี วามหมาย 3 ประการ คือ 1. วิธีดําเนินทํานองโดยเฉพาะของ เครื่องดนตรีแตละชนิด เชน ทางระนาดเอก ทางระนาดทุม ทางซอดวง ทางจะเข เปนตน ซึ่งแตละชนิดก็มีวิธี ดําเนินทํานองตางๆ กัน ออกไป 2. วิธีดําเนินทํานองของเพลงที่แตงขึ้น โดยเฉพาะ เชน ทางของครูคนนั้น ทางของครูคนนี้ หรือทางเดี่ยว ทางหมู ทางกรอ เปนตน 3. ระดับเสียงที่บรรเลง ซึ่งแตละทาง เปนเสียงคนละเสียงและมีชื่อเรียก เปนที่รูกันเอง เชน ทางเพียงออลาง ทางใน ทางกลาง เปนตน)

ขยายความเขาใจ

E×pand

ใหนักเรียนสรุปสาระสําคัญเกี่ยวกับศัพทสังคีต ในดนตรีไทย ลงกระดาษรายงาน นําสงครูผูสอน

การบรรเลงดนตรีประสานเสียงจะตองเลือกเสียงของเครื่องดนตรีที่จะน�ามารวมกลุ่มใหถูกตองตามหลักไวยากรณและ ศัพทสังคีตทางดนตรี

à¡Ãç´ÈÔÅ»Š

ตรวจสอบผล

เพลงไทยที่มีชื่อกลุ่มชาติพันธุ์และส�าเนียงต่างๆ เพลงไทยที่มีชื่อกลุ่มชาติพันธุเป็นชื่อเพลง เช่น แขก มอญ ลาว เขมร พม่า ฝรั่ง จีน ญวน เป็นตน เป็นเพลง ที่นักดนตรีไทยประพันธขึ้นเพื่อใชบรรเลงตามลักษณะการใชที่เหมาะสมกับโอกาสนั้น เช่น ใชบรรเลงประกอบการ แสดงละครพันทาง ใชบรรเลงประกอบการแสดงทีต่ อ งการแสดงถึงลักษณะของตัวละคร ใชบรรเลงเพือ่ ออกภาษา หรือ ประพันธขึ้นเพื่อแสดงความสามารถและภูมิปญญาของนักดนตรี ดังนั้น ในวงการดนตรีไทยจึง3มีเพลงไทยที่มีชื่อและ ลีลาของท�านองเพลงหลากหลาย เช่น จีนโล แขกเชิญเจา มอญออยอิง่ ลาวครวญ ญวนทอดแห เขมรเปาใบไม เป็นตน

Evaluate

ครูพิจารณาจากการสรุปสาระสําคัญเกี่ยวกับ ศัพทสังคีตในดนตรีไทยของนักเรียน

๑9

กิจกรรมสรางเสริม ใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับศัพทสังคีตนอกเหนือจากที่ไดเรียน มา 20 คํา จัดทําเปนสมุดเลมเล็ก ตกแตงใหสวยงาม นําสงครูผูสอน

กิจกรรมทาทาย ใหนักเรียนวิเคราะหและจําแนกประเภทของศัพทสังคีตที่ใช ในการบรรเลงเครื่องดนตรีไทยแตละประเภท คือ ประเภทเครื่องดีด เครื่องสี เครื่องตีและเครื่องเปา ลงกระดาษรายงาน นําสงครูผูสอน

นักเรียนควรรู 1 วิวาหพระสมุทร เปนบทละครพูดสลับรํา มีทั้งบทรองและบทเจรจา ซึ่งเปนบทพระราชนิพนธในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ 6) ทรงพระราชนิพนธขนึ้ เมือ่ ปพ.ศ. 2461 โดยไดเคาโครงเรือ่ งมาจากนิยายกรีกโบราณ ทีม่ คี วามเชือ่ กันวาถาใชหญิงงามถวายแกพระสมุทรจะชวยใหชาวเมืองพนภัยจากทะเล จุดมุงหมายในการพระราชนิพนธ ก็เพื่อพระราชทานแกคณะเสือปา กองเสนาหลวง รักษาพระองค ใหนาํ มาจัดแสดงและเก็บเงินนํามาบํารุงราชนาวีสมาคมแหงกรุงสยาม 2 เพลงตับลมพัดชายเขา เปนเพลงไทยอัตราจังหวะ 3 ชั้น ที่ครูมนตรี ตราโมท ไดเรียบเรียงขึ้น โดยนําบทละครเรื่องอิเหนา บทพระราชนิพนธในสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย (รัชกาลที่ 2) และเสภาเรื่องขุนชางขุนแผน เรื่องละ 2 บท มาทําบทรอง 3 ญวนทอดแห เพลงไทยอัตราจังหวะ 2 ชั้น ประเภทหนาทับญวน นิยมนํามา บรรเลงและขับรองประกอบการแสดงละคร คูมือครู

19


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุEngage นความสนใจ

Exploreนหา สํารวจค

กระตุน ความสนใจ

Engage

ครูนําภาพสังคีตกวีไทยมาใหนักเรียนดู จากนั้น ครูถามนักเรียนวา • นักเรียนรูจักบุคคลในภาพหรือไม (แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น ไดอยางอิสระ) • บุคคลเหลานี้มีคุณูปการในดานดนตรีไทย อยางไร (แนวตอบ นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็น ไดอยางอิสระ)

สํารวจคนหา

๕. สังคีตกวีไทย 5.๑ นายส�าราญ เกิดผล (พ.ศ. ๒470-ปจจุบัน) ๑) ประวัติและผลงานสังคีตกวีไทย นายส�าราญ เกิดผล เป็นนักดนตรีที่เกิด

ในตระกูลนักดนตรีและศิลปินพืน้ บ้าน ท่านเป็น บุตรของนายหงส์ เกิดผล และนางสังวาล เกิดผล เกิดเมื่อวันที่ ๒๒ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๗๐ ที่บ้านใหม่หางกระเบน ต�าบลบ้านใหม่ อ�าเภอ พระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เริ่มเรียนปี่พาทย์ตั้งแต่อายุ ๙ ขวบ จากคุณอา คื อ นายจ� า รั ส เกิ ด ผล และจากนายเพ็ ช ร จรรย์นาฏย์ ต่อมาจึงศึกษาดนตรีเพิ่มเติมใน ส�านักดนตรีบ้านพาทยโกศล และได้ฝากตัว นายส�าราญ เกิดผล ผูเชี่ยวชาญดานระนาดเอกของไทย เป็นศิษย์ของคุณครูดนตรีหลายท่าน เช่น นาย เทวาประสิทธิ์ พาทยโกศล นายเทียบ คงลายทอง นายอาจ สุนทร นายช่อ สุนทรวาทิน 1 นายฉัตร สุนทรวาทิน นายพุ่ม บาปุยะวาทย์ เป็นต้น นายส�าราญ เกิดผล เป็นนักระนาดเอก เป็นนักแต่งเพลงไทย มีความรูแ้ ละประสบการณ์ ดนตรีไทยสูงมากท่านหนึ่งของวงการดนตรีไทย ได้รับมอบเป็นครูผู้ประกอบพิธีไหว้ครูจากนาย อาจ สุนทร และเป็นผูอ้ า� นวยการโครงการสอนดนตรีให้แก่เยาวชนประจ�าศูนย์สง่ เสริมและเผยแพร่ ดนตรีไทยในพระราชูปถัมภ์ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ท่านเป็นผูส้ บื ทอด ดนตรีไทยจากบรรพบุรุษของท่าน คือ วงดนตรีบ้านใหม่หางกระเบน ต่อมาได้รับพระราชทาน ชือ่ จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ว่า “บ้านพาทยรัตน์” ผลงานด้านดนตรี และเกียรติภูมิของบ้านพาทยรัตน์เป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดีในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และใน วงการดนตรีไทย นอกจากความรู้ความสามารถทางด้านดนตรีไทยแล้ว ยังมีความรู้ด้านแพทย์แผนไทย โดยได้ทา� หน้าทีเ่ ป็นแพทย์แผนไทยประจ�าต�าบลบางชะนี อ�าเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นผู้ใหญ่บ้าน และก�านันต�าบลบางชะนีจนเกษียณอายุราชการ ในด้านเกียรติคุณที่ได้รับมี จ�านวนมากเช่น ได้รับปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาดนตรีและศิลปะการแสดง จากสภาการฝึกหัดครู ได้รบั การยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นผูม้ ผี ลงานดีเด่นทางวัฒนธรรม สาขาศิลปะ

Explore

ใหนักเรียนศึกษา คนควา หาความรูเพิ่มเติม เกีย่ วกับตัวอยางสังคีตกวีไทย คือ ครูสาํ ราญ เกิดผล และครูเฉลิม บัวทั่ง จากแหลงเรียนรูตางๆ เชน หนังสือเรียน หองสมุด อินเทอรเน็ต เปนตน

อธิบายความรู

Explain

ครูสุมนักเรียน 2-3 คน ใหตอบคําถามดังตอไปนี้ • เพราะเหตุใดนักเรียนจึงตองเรียนรูเกี่ยวกับ สังคีตกวีไทย (แนวตอบ เพื่อที่จะไดทราบวา มีบุคคล ทานใดบางที่ไดสรางคุณูปการในดาน ดนตรีไทยที่มีคาไวใหเราไดศึกษากัน ในปจจุบัน)

๒0

นักเรียนควรรู 1 พุม บาปุยะวาทย เดิมมีชื่อวา “พุมเล็ก” เกิดเมื่อวันที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2433 ณ บานพระยาภูธราภัย อําเภอบางกอกนอย จังหวัดธนบุรี เปนบุตรคนสุดทองของ ครูปุย บาปุยะวาทย ครูดนตรีที่มีชื่อเสียงในสมัยนั้น ครูพุมเปนผูมีฝมือทางดาน ดนตรีไทยทั้งในทางทฤษฎีและทางปฏิบัติ ไดมีโอกาสเปนผูสอนวิชาดนตรีไทยให กับพระบรมวงศานุวงศตามวังตางๆ เชน วังบางขุนพรหม ของสมเด็จพระเจา บรมวงศเธอ เจาฟาบริพัตรสุขุมพันธ กรมพระนครสวรรควรพินิต วังบูรพาของ สมเด็จพระราชปตุลาบรมพงศาภิมุข เจาฟาภาณุรังษีสวางวงศ กรมพระยา ภาณุพันธุวงศวรเดช วังพระนางเจาอินทรศักดิ์ศจี เปนตน

มุม IT นักเรียนสามารถศึกษา คนควาเพิ่มเติมเกี่ยวกับประวัติครูพุม บาปุยะวาทย ไดจาก http://www.student.nu.ac.th

20

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ครูสําราญ เกิดผล เปนสังคีตกวีที่มีผลงานโดดเดนในเรื่องใด 1. บรรเลงระนาดเอก 2. ประพันธเพลงเถา 3. สรางเครื่องดนตรีไทย 4. บรรเลงเพลงไทยไดดีเยี่ยม วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 1. เพราะเปนผูที่มีความรู และเชี่ยวชาญ ในการบรรเลงระนาดเอกไดอยางดีเลิศคนหนึ่งของไทย


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

ครูสุมนักเรียน 2-3 คน ออกมาเลาชีวประวัติ ครูสําราญ เกิดผล ใหเพื่อนฟงหนาชั้นเรียนตามที่ ไดศึกษามา จากนั้นครูถามนักเรียนวา • ครูสําราญ เกิดผล มีความสามารถ ในการบรรเลงเครื่องดนตรีประเภทใด (แนวตอบ ระนาด) • นอกจากความสามารถทางดานดนตรีไทย แลว ครูสําราญ เกิดผล มีความสามารถ ในเรื่องใดอีกบาง (แนวตอบ มีความรูเรื่องแพทยแผนไทย ซึ่งทําหนาที่แพทยแผนไทยที่ตําบลบางชะนี อําเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา) • ผลงานดานการแตงเพลงของ ครูสําราญ เกิดผล ที่แตงขึ้นเพื่อถวายแด สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี คือเพลงใด (แนวตอบ เพลงกลางพนาเถา เพลงลอยประทีปเถา และเพลงไอยราชูงวง) • “บานพาทยรัตน” ถูกสรางขึ้นดวยเหตุผล ประการใด (แนวตอบ เพราะตองการอนุรักษและเผยแพร ดนตรีไทยทางเพลงสายทานครู “จางวางทั่ว พาทยโกศล” ซึ่งเปนทางเพลง โบราณ ที่หาฟงไดยากยิ่งใหดํารงอยูสืบไป ตลอดจนเปนการแสดงมุทิตาจิตแกครูอาวุโส ที่สืบทอดและเผยแพรดนตรีไทยมา ตลอดชีวิต ไดแก ครูสําราญ เกิดผล ครูมาลี สุขเสียงศรี ครูจําลอง เกิดผล ครูวิเชียร เกิดผล และครูเบญจา เกิดผล นอกจากนี้ยังเปนสถานที่สอนดนตรีใหแก เยาวชนที่มีความชื่นชอบดนตรีไทยอีกดวย)

(ดนตรีไทย) จากส�านักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ได้รับการประกาศเกียรติคุณให้เป็น ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทย) ประจ�าปี ๒๕๔๘ เป็นต้น ๒) ผลงานด้านดนตรี นายส�าราญ เกิดผล เริ่มแต่งเพลงสามไม้ เถา เป็นเพลงแรก เมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๘ จากนั้นจึงมีผลงานการแต่งเพลงจ�านวนมาก ดังนี้ ประเภทเพลง เพลงโหมโรง เพลงหน้าพาทย์ไหว้ครู เพลงอัตรา ๓ ชั้น เพลงเถา

เพลงระบ�า เพลงอัตรา ๒ ชั้น และชั้นเดียว เพลงทางร้อง

Explain

เพลง เพลงโหมโรงกาญจนาภิเษก เพลงโหมโรงเกษมส�าราญ 1 เพลงโหมโรงทยอยเดี่ยว เพลงโหมโรงมหาชัย เพลงโหมโรงศิวะประสิทธิ์ เพลงโหมโรงอู่ทอง เพลงตระนาง (ตระนางมณโฑหุงน�้าทิพย์) เพลงตระพระปัญจะสิงขร เพลงตระพระศิวะเปิดโลก เพลงขวางคลอง ๓ ชั้น เพลงสุรางค์จ�าเรียง ๓ ชั้น เพลงกระบอกเงินเถา เพลงกลางพนาเถา เพลงเขมรครวญเถา เพลงคู่โฉลกเถา เพลงจีนขายอ้อยเถา เพลงจีนเข้าโบสถ์เถา เพลงจีนถอนสมอเถา เพลงช้อนแท่นเถา เพลงดวงดอกไม้เถา เพลงตะลุ่มโปงเถา เพลงถอยหลังเข้าคลองเถา เพลงทองกวาวเถา เพลงบางหลวงอ้ายเอี้ยงเถา เพลงบัวตูมบัวบานเถา เพลงแผ่นดินพ่อเถา เพลงบ้าบ่นเถา เพลงแผ่นดินแม่เถา เพลงฝรั่งกลายเถา เพลงฝรั่งจรกาเถา เพลงฝรั่งแดงเถา เพลงพิศวงเถา เพลงมหาราชรามค�าแหงเถา เพลงแม่ม่ายคร�่าาครวญเถา ครวญเถา เพลงรั้วแดงก�าแพงเหลืองเถา เพลงล่องลอยเถา เพลงลอยประทีปเถา เพลงวิหคเหินเถา เพลงสามเกลอเถา เพลงสามไม้ในเถา เพลงสุดใจเถา เพลงเสภากลางเถา เพลงเสภานอกเถา เพลงเสภาในเถา เพลงอนงค์สุชาดาเถา เพลงอัปสรสวรรค์เถา เพลงไอยราชูงวงเถา เพลงระบ�านกแก้ว เพลงระบ�าบุษราคัมมณี เพลงไอยเรศชั้นเดียว เพลงไอยเรศ ๒ ชั้น เพลงจีนเก็บบุปผาเถา เพลงอัปสรส�าอางเถา ๒๑

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ขอใดตอไปนี้สัมพันธกัน 1. เพลงกระบองเงินเถา เพลงไอยเรศ 2 ชั้น 2. เพลงจีนเก็บบุปผาเถา เพลงอัปสรสําอางเถา 3. เพลงเสภากลางเถา เพลงระบํานกแกว 4. เพลงโหมโรงศิวะประสิทธิ์ เพลงไอยราชูงวงเถา

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 2. เพราะเพลงจีนเก็บบุปผาเถาและ เพลงอัปสรสําอางเถาจัดเปนเพลงประเภทเพลงทางรองเชนเดียวกัน

เกร็ดแนะครู ครูควรอธิบายความรูเพิ่มเติมวา นายสําราญ เกิดผล เปนผูที่มีความเชี่ยวชาญ สามารถประพันธเพลงไทยไดหลายประเภท เชน เพลงสองชั้น เพลงขับรองทั่วไป เพลงเรื่อง เพลงพิธีตางๆ เพลงหนาพาทย เพลงโหมโรง เพลงเสภา เปนตน ทั้งยังเปนผูที่ศึกษาเรียนรูวิชาดนตรีไทยอยางจริงจัง จึงมีความรูทั้งดานทฤษฎี และการปฏิบัติ เขียนและอานโนตเพลงสากลไดเปนอยางดี

นักเรียนควรรู 1 เพลงโหมโรงมหาชัย เปนเพลงที่ครูทั่ง สุนทรวาทิน แตงโดยนําเพลงมหาชัย อัตราจังหวะ 2 ชั้น ซึ่งอยูในเพลงเรื่องทําขวัญมาแตงและขยายขึ้นเปน อัตราจังหวะ 3 ชั้น ทํานองเพลงที่ออกทาย ครูทั่ง สุนทรวาทิน และพระยาประสานดุริยศัพท (แปลก ประสานศัพท) รวมกันแตง คูมือครู

21


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

ครูสุมนักเรียน 2-3 คน ออกมาเลาชีวประวัติ ครูเฉลิม บัวทั่ง ใหเพื่อนฟงหนาชั้นเรียน ตามที่ได ศึกษามา จากนั้นครูถามนักเรียนวา • ครูเฉลิม บัวทั่ง มีความสามารถ ในการบรรเลงเครื่องดนตรีประเภทใด (แนวตอบ ระนาดเอก ) • การสรางสรรคผลงานดนตรีไทย ของครูเฉลิม บัวทั่ง คือสิ่งใด (แนวตอบ เปนผูริเริ่มทําอังกะลุงของไทย จาก 2 กระบอก มาเปน 3 กระบอก เปนผูริเริ่มบันทึกโนตเพลงไทย สําหรับ เครื่องตี คือ ระนาด ฆอง ขิม โดยเขียนเปน สกอร 2 บรรทัดคู และเปนผูริเริ่มการบรรเลง อังกะลุงประสานเสียงแบบสากล) • อังกะลุงคือเครื่องดนตรีที่มีลักษณะ และวิธีการเลนอยางไร (แนวตอบ เปนเครื่องดนตรีที่ทําจากไมไผ เปนทอนๆ แขวนไวเปนตับ ตับละ 2 ทอน ใชคนถือคนละ 1 ตับ บรรเลงโดยการเขยา กระแทกกระบอกไมไผที่แขวนไวในราง ใหสวนรางของกระบอกกระแทกกับตัวราง จะเกิดเสียงตามที่เทียบไวเปนเสียงสูง-ตํ่า และมีทั้งหมด 5 เสียง)

5.๒ นายเฉลิม บัวทั่ง (พ.ศ. ๒45๓-๒5๓0) ๑) ประวัติและผลงานสังคีตกวี

ไทย นายเฉลิม บัวทั่ง เป็นบุตรของนายปัน

และนางถนอม บัวทั่ง เกิดเมื่อวันจันทร์ที่ ๒๙ สิงหาคม พ.ศ. ๒๔๕๓ ที่จังหวัดนนทบุรี บิดา เป็นนักดนตรีและเจ้าของวงปี่พาทย์ ท่านได้รับ การศึกษาที่โรงเรียนพรานหลวงสวนมิสกวัน กรุ ง เทพมหานคร เริ่ ม เรี ย นดนตรี จ ากบิ ด า และพี่ชายต่างมารดาชื่อ นายหวาด บัวทั่ง จากนั้นจึงฝากตัวเป็นศิษย์ของพระยาประสาน ดุริยศัพท์ (แปลก ประสานศัพท์) ขุนบรรจงทุ้ม 1 เลิศ (ปลัง่ ประสานศัพท์) จางวางทัว่ พาทยโกศล นายเฉลิม บัวทัง่ ผูเ ริม่ พัฒนาเครือ่ งดนตรีองั กะลุงใหเป็น และได้ศึกษาวิชาการดนตรีจากคุณครูดนตรี ที่รูจักแพร่หลายในปจจุบัน หลายท่าน ส่งผลให้นายเฉลิม บัวทั่งมีความ รอบรู้และมีฝีมือทางด้านดนตรีเป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดีในวงการดนตรีไทย นอกจากนี้นายเฉลิม บัวทั่ง ยังเป็นผู้ริเริ่มพัฒนาอังกะลุงซึ่งแต่เดิมอังกะลุงตับหนึ่งมี ๒ กระบอก เพิ่มเป็น ๓ กระบอก จนเป็นที่นิยมอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน นายเฉลิม บัวทั่ง ได้รับราชการ หลายแห่ง เช่น เป็นนักดนตรีประจ�ากรมปีพ่ าทย์ และโขนหลวง กรมศิลปากร กรมต�ารวจ เป็น อาจารย์สอนดนตรีให้แก่วงดนตรีและสถาบัน การศึกษาต่างๆ เช่น สามัคยาจารย์สมาคม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิ บ ดี ธนาคารกรุงเทพ จ�ากัด มหาชน ควบคุมวงดนตรี คณะเสริมมิตรบรรเลง และมีคณะปี่พาทย์ของ ท่านเองที่ตั้งขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๕ ชื่อ “วงศิษย์ อังกะลุง เป็นเครื่องดนตรีที่ไดรับการพัฒนาขึ้นโดยนาย ดุริยศัพท์” เฉลิม บัวทั่ง ปจจุบันเป็นที่นิยมใชในการเรียนการสอน ในโรงเรียนดนตรีสมัยใหม่

๒๒

นักเรียนควรรู 1 จางวางทั่ว พาทยโกศล เกิดเมื่อปพ.ศ. 2428 เปนบุตรของ หลวงกัลยาณมิตตาวาส กับนางแสง พาทยโกศล เปนนักดนตรีไทยที่มีชื่อเสียง ในสมัยรัชกาลที่ 6 นอกจากฝมือการเลนดนตรีแลว ทานยังไดแตงเพลงอีก เปนจํานวนมาก มีทั้งประเภทเพลงตับและเพลงเกร็ดตางๆ ประเภทเพลงตับ เชน ตับลาวเจริญศรี ตับชุดแขกไทร เปนตน ประเภทเพลงเกร็ด เชน เขมรเอวบาง (เถา) เขมรพวง (เถา) เขมรปากทอ (เถา) เขมรเขียว (เถา) แขกสาหราย (เถา) ดอกไมรว ง (เถา) โอลาว (เถา) เขมรเหลือง (เถา) เขมรครวญ (เถา) เขมรนอย (เถา) พมาหาทอน (เถา) เปนตน

มุม IT นักเรียนสามารถฟงเพลงตับลาวเจริญศรี ไดจาก http://www.youtube.com โดยคนหาจากคําวา เพลงตับลาวเจริญศรี

22

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ขอใดตอไปนี้กลาว ไมถูกตอง เกี่ยวกับครูเฉลิม บัวทั่ง 1. เปนนักตีฆองวงที่มีฝมือดีเยี่ยมคนหนึ่ง 2. ไดรับเสนอชื่อในฐานะนักดนตรีไทยตัวอยาง 3. ผลงานเพลง เชน โหมโรงสรรเสริญพระจอมเกลา โหมโรงพิมานมาศ 4. ไดรับเชิดชูเกียรติ เปนศิลปนแหงชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทย) วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 1. เพราะไดรับการยกยองวามีฝมือ ในการบรรเลงดนตรีไทยไดดีเยี่ยม โดยเฉพาะระนาดเอก


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ Expand าใจ ขยายความเข

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

ขยายความเขาใจ

ใหนกั เรียนนําขอมูลเกีย่ วกับประวัตสิ งั คีตกวีไทย คือ ครูสําราญ เกิดผล และครูเฉลิม บัวทั่ง มารวม กันจัดนิทรรศการเรื่อง “สังคีตกวีไทย” พรอมหา ภาพมาประกอบใหสวยงาม

เมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๔ นายเฉลิม บัวทั่ง ได้รับพระราชทานโล่เกียรติยศ “นักดนตรีไทย ตัวอย่าง” จากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ในปี พ.ศ. ๒๕๒๕ ได้แต่งเพลง ปิน่ นคเรศเถาส่งเข้าประกวดจนได้รบั รางวัลชนะเลิศรางวัลพิณทองของธนาคารกสิกรไทย และในปี พ.ศ. ๒๕๒๙ ได้รับการเชิดชูเกียรติเป็นศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทย) ๒) ผลงานด้านดนตรี นายเฉลิม บัวทั่ง ได้แต่งเพลงไทยไว้จ�านวนมาก ดังนี้ ประเภทเพลง เพลงโหมโรง เพลงเถา

E×pand

เพลง เพลงโหมโรงจามจุรี เพลงโหมโรงประสานเนรมิต เพลงโหมโรงพิมานมาศ เพลงโหมโรงมหาปิยะ เพลงโหมโรงสรรเสริญพระจอมเกล้า เพลงโหมโรงรามาธิบดี เพลงขอมใหญ่เถา เพลงเขมรพายเรือเถา เพลงเขมรเหลืองเถา เพลงเขมรใหญ่เถา เพลงเคียงมอญร�าดาบเถา เพลงดอกไม้เหนือเถา เพลงประพาสเภตราเถา เพลงปิ่นนคเรศเถา เพลงมอญอ้อยอิ่งเถา เพลงลาวเจริญศรีเถา เพลงลาวกระแซเถา เพลงลาวล�าปางใหญ่เถา เพลงลาวล�าปางเล็กเถา เพลงสาวสอดแหวนเถา เพลงลาวเลียบค่ายเถา เพลงสีนวลเถา

สรุป ดนตรีไทยเปนมรดกทางวัฒนธรรมที่บงบอกถึงความเปนไทยและอยูคูกับคนไทย

มาชานาน ดังนั้น ดนตรีไทยจึงมีความสัมพันธกับวิถีชีวิตของคนไทยนับตั้งแตเกิดจนถึง วันสุดทายของชีวิตก็วาได โดยดนตรีไทยมีคุณคาและมีความสําคัญตอคนไทยในการนําไป ประยุกตใชในชีวิตประจําวัน ทั้งเพื่อการผอนคลายจิตใจ การพัฒนามนุษย การบําบัดรักษา และดานอื่นๆ รวมทั้งเปนสื่อกลางของกิจกรรมทางศาสนา ประเพณี ดนตรีจึงเปรียบเสมือน กระจกเงาที่ชวยสะทอนสภาพสังคม วัฒนธรรม ความคิด คานิยม และความเชื่อ รวมทั้งเปน มรดกทางวัฒนธรรมไทยที่ควรชวยกันสืบสานไวใหคงอยูสืบไป

๒๓

กิจกรรมสรางเสริม ใหนักเรียนศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับสังคีตกวีไทยที่นักเรียนสนใจ 1 ทาน โดยศึกษาในเรื่องของประวัติความเปนมา ผลงานดานดนตรี พรอมหา ภาพประกอบ ลงกระดาษรายงาน ตกแตงใหสวยงาม นําสงครูผูสอน

กิจกรรมทาทาย ใหนักเรียนฟงเพลงที่แตงขึ้นจากฝมือของสังคีตกวีไทยที่นักเรียนสนใจ 1 ทาน 1 เพลง จากนั้นเขียนบรรยายความรูสึกประทับใจในสังคีตกวีไทย ทานนี้และความรูสึกที่ไดจากการฟงเพลง ลงกระดาษรายงาน นําสงครูผูสอน

เกร็ดแนะครู ครูควรอธิบายความรูเพิ่มเติมวา ครูเฉลิม บัวทั่ง ไดแตงเพลงประเภทเพลงระบํา ไว 4 เพลง คือ เพลงปทุมบันเทิง เพลงระบําสม เพลงระบําตะกรอและเพลงระบําเก็บกระวาน ประเภทเพลงที่แตงขึ้นในโอกาสพิเศษ เชน เพลงชุดถวายพระพร ในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงมีพระชนมายุครบ 4 รอบ ในปพ.ศ. 2518 เพลงประชุมเทพ ในวาระเฉลิมพระยศสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในปพ.ศ. 2520 เพลงเกริ่นเจาฟา เพลงสําเนียงโปรตุเกส เพลงประนมกร เพลงระบําสี่ภาค เปนตน

มุม IT นักเรียนสามารถศึกษา คนควาเพิ่มเติมเกี่ยวกับประวัติครูเฉลิม บัวทั่ง ไดจาก http://www.student.nu.ac.th คูมือครู

23


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

Engage

Explore

Explain

Expand

ตรวจสอบผล

ตรวจสอบผล Evaluate ตรวจสอบผล Evaluate

Evaluate

ครูพิจารณาจากการจัดนิทรรศการเรื่อง “สังคีตกวีไทย” ของนักเรียน โดยพิจารณาในดาน ความถูกตองของเนื้อหา การนําเสนอขอมูล ความสวยงามและความคิดริเริ่มสรางสรรค

¤Ò¶ÒÁ»ÃШíÒ˹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ ๑. ดนตรีไทยมีคุณค่าและมีความเป็นมาอย่างไร จงวิเคราะห์ ๒. นักเรียนจะสามารถประยุกต์ใช้ดนตรีไทยให้สอดคล้องกับสภาพสังคมไทยในปัจจุบันได้อย่างไร ๓. เพลงไทยในแต่ละประเภทมีลักษณะแตกต่างกันอย่างไร ๔. จงยกตัวอย่างสังคีตกวีไทยมาอธิบาย ๑ ท่าน โดยเน้นผลงานส�าคัญที่มีต่อวงการดนตรีไทย ๕. นักเรียนจะมีวิธีการอย่างไรในการส่งเสริมให้เยาวชนไทยรุ่นใหม่สนใจและร่วมกันอนุรักษ์ดนตรีไทย ให้คงอยู่สืบไป

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู 1. ผลการจัดทํารายงานเกี่ยวกับคุณคาและ ความงามของดนตรีไทย 2. ผลการสรุปสาระสําคัญเกี่ยวกับคุณคา และความงามของดนตรีไทย 3. ผลการสรุปสาระสําคัญเกี่ยวกับดนตรี กับการประยุกตใช 4. ผลการสรุปสาระสําคัญเกี่ยวกับประเภท ของเพลงไทย 5. ผลการสรุปสาระสําคัญเกี่ยวกับศัพทสังคีตกวี ดนตรีไทย 6. ผลการจัดนิทรรศการเรื่อง “สังคีตกวีไทย”

¡Ô¨¡ÃÃÁÊÌҧÊÃä ¾Ñ²¹Ò¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ กิจกรรมที่ ๑ กิจกรรมที่ ๒๒

กิจกรรมที่ ๓

ให้นักเรียนฟังเพลงไทยจากซีดี แล้วช่วยกันบอกประเภทของเพลงไทยที่ฟังว่า เป็นเพลงประเภทใด ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายถึงการประยุกต์ใช้ดนตรีไทยในปัจจุบัน โดยให้ นักเรียนยกตัวอย่างประกอบการอภิปราย และบันทึกสาระส�าคัญลงสมุดบันทึก แล้วน�าส่งครูผู้สอน ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๕ คน ไปศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับประวัติและผลงาน ของคีตกวีไทยที่มีผลงานดีเด่น ๑ ท่าน แล้วน�าข้อมูลพร้อมภาพประกอบไปจัด นิทรรศการเรื่อง “สังคีตกวีไทย” ที่มุมชั้นเรียนเป็นเวลา ๑-๒ สัปดดาห์

๒4

แนวตอบ คําถามประจําหนวยการเรียนรู 1. แบงออกเปน 2 ที่มา คือ 1. สันนิษฐานวาดนตรีไทยไดรับอิทธิพลทางดนตรีมาจากประเทศใกลเคียง เชน จีน อินเดีย ลาว พมา เปนตน 2. สันนิษฐานวาดนตรีไทยเกิดจากความคิดและสติปญญาของคนไทย เกิดขึ้นมาพรอมกับคนไทย ตั้งแตสมัยที่ยังอยูทางตอนใตของประเทศจีน ดนตรีไทยเปนสิ่งที่ สะทอนใหเห็นวัฒนธรรมของชาติอยางหนึ่งที่มีมาตั้งแตอดีต ดนตรีไทยมีความสําคัญและมีความหมายตอบุคคลในการพัฒนาคุณภาพจิตใจ เปนสื่อกลาง ของกิจกรรมทางประเพณี ศาสนา ศิลปะการแสดง และเปนสื่อทางสังคมที่ชวยใหเกิดการรวมกลุมของคนในชาติ 2. นําดนตรีไทยมาใชในงานกิจกรรมตางๆ ของสังคม โดยอาจมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบใหมีความนาสนใจมากยิ่งขึ้น 3. เพลงไทยจะแบงออกเปนเพลงบรรเลงและเพลงขับรอง ซึ่งมีลักษณะที่แตกตางกัน ดังนี้ เพลงบรรเลง คือ เพลงที่เขียนขึ้นมาโดยไมมีเนื้อรอง มีจุดมุงหมายที่จะใช ในการบรรเลงเฉพาะเครื่องดนตรีที่มีอยูในวงนั้นๆ โดยบรรเลงทํานองเพลงสอดสลับกันไป เพื่อทําใหเกิดทวงทํานองที่ไพเราะตามลักษณะของเพลงที่นํามาบรรเลง และเพลงขับรอง คือ เพลงที่เขียนขึ้นมาโดยมีเนื้อรอง มีจุดประสงคที่จะใหมีทั้งการขับรองและการบรรเลงดนตรีประกอบเขาดวยกัน 4. นักเรียนสามารถแสดงความคิดเห็นไดอยางอิสระ โดยขึ้นอยูกับดุลยพินิจของครูผูสอน 5. วิธีการอนุรักษดนตรีไทย เชน ปลูกฝงดนตรีไทยใหแกกลุมเด็ก เยาวชน สรางสายสัมพันธอันดีระหวางครูกับศิษย ใชอุปกรณทันสมัยชวยในการเรียนการฝก ปรับปรุงผสมผสานวัฒนธรรมดั้งเดิมกับวัฒนธรรมเพลงสมัยใหม มีการประเมินผลผูเรียนเปนขั้นตอน เปนตน

24

คูมือครู


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.