8858649122940

Page 1

คูมือครู 㪌»ÃСͺ¡ÒÃÊ͹ËÇÁ¡Ñº

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ©ºÑº »ÃСѹÏ

ภาพปกนี้มีขนาดเทากับหนังสือเรียนฉบับจริงของนักเรียน

กระบวนการสอนแบบ 5 Es ชวยสรางทักษะการเรียนรู กิจกรรมมุงพัฒนาทักษะการคิด คำถาม + แนวขอสอบเพื่อยกผลสัมฤทธิ์ O-NET กิจกรรมบูรณาการเตรียมพรอมสู ASEAN 2558


เอกสารประกอบคูมือครู

กลุมสาระการเรียนรู การงานอาชีพและเทคโนโลยี

การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปที่

5

สําหรับครู

คูมือครู Version ใหม

ลักษณะเดน

ขยายพื้นที่รูปเลมใหญขึ้นกวาเดิม จัดแบงพื้นที่ออกเปนโซน เพื่อคนหาขอมูลไดงาย สะดวก รวดเร็ว และดูเปนระเบียบ กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล

กระตุน ความสนใจ

Evaluate

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

เปาหมายการเรียนรู สมรรถนะของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค

หน า

โซน 1 กระตุน ความสนใจ

Engage

สํารวจคนหา

Explore

อธิบายความรู

Explain

ขยายความเขาใจ

Expand

ตรวจสอบผล

หน า

หนั ง สื อ เรี ย น

โซน 1

หนั ง สื อ เรี ย น

Evaluate

ขอสอบเนน การคิด

แนว  NT  O-NE T

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

O-NET บูรณาการเชื่อมสาระ

เกร็ดแนะครู

ขอสอบ

โซน 2

โซน 3

กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย

นักเรียนควรรู

โซน 3

โซน 2 บูรณาการอาเซียน มุม IT

No.

คูมือครู

คูมือครู

No.

โซน 1 ขั้นตอนการสอนแบบ 5Es

โซน 2 ชวยครูเตรียมสอน

โซน 3 ชวยครูเตรียมนักเรียน

เพื่อใหครูเตรียมจัดกิจกรรมการเรียน การสอน โดยแนะนําขั้นตอนการสอนและ การจัดกิจกรรมแบบ 5Es อยางละเอียด เพื่อใหนักเรียนบรรลุตามตัวชี้วัด

เพื่อชวยลดภาระครูผูสอน โดยแนะนํา เกร็ดความรูสําหรับครู ความรูเสริมสําหรับ นักเรียน รวมทั้งบูรณาการความรูสูอาเซียน และมุม IT

เพื่อใหครูสะดวกตอการจัดกิจกรรม โดย แนะนํากิจกรรมบูรณาการเชือ่ มระหวางสาระหรือ กลุมสาระการเรียนรู วิชา กิจกรรมสรางเสริม กิจกรรมทาทาย รวมถึงเนื้อหาที่เคยออกขอสอบ O-NET แนวขอสอบ NT/O-NET ทีเ่ นนการคิด พรอมเฉลยและคําอธิบายอยางละเอียด


ที่ใชในคูมือครู

แถบสีและสัญลักษณ

แถบสีแสดงขั้นตอนการสอนและการจัดกิจกรรม แบบ 5Es เพื่อใหครูทราบวาเปนขั้นการสอนขั้นใด

1. แถบสี 5Es สีแดง

สีเขียว

กระตุน ความสนใจ

เสร�ม

สํารวจคนหา

Engage

2

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใช เทคนิคกระตุน ความสนใจ เพื่อโยง เขาสูบทเรียน

สีสม

อธิบายความรู

Explore

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนสํารวจ ปญหา และศึกษา ขอมูล

สีฟา

Explain

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนคนหา คําตอบ จนเกิดความรู เชิงประจักษ

สีมวง

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

เปนขั้นที่ผูสอน ใหผูเรียนนําความรู ไปคิดคนตอๆ ไป

เปนขั้นที่ผูสอน ประเมินมโนทัศน ของผูเรียน

2. สัญลักษณ สัญลักษณ

วัตถุประสงค

• เปาหมายการเรียนรู

• หลักฐานแสดง ผลการเรียนรู

• เกร็ดแนะครู

แทรกความรูเสริมสําหรับครู ขอเสนอแนะ ขอควรระวัง ขอสังเกต แนวทางการจัด กิจกรรมและอืน่ ๆ เพื่อประโยชนในการ จัดการเรียนการสอน ขยายความรูเพิ่มเติมจากเนื้อหา เพื่อให ครูนําไปใชอธิบายเพิ่มเติมใหนักเรียน ไดมีความรูมากขึ้น

ความรูห รือกิจกรรมเสริม ใหครูนาํ ไปใช เตรียมความพรอมใหกบั นักเรียนกอนเขาสู ประชาคมอาเซียนใน พ.ศ. 2558 โดย บูรณาการกับวิชาทีก่ าํ ลังเรียน

บูรณาการอาเซียน

คูม อื ครู

แสดงรองรอยหลักฐานตามภาระงาน ที่ครูมอบหมาย เพื่อแสดงผลการเรียนรู ตามตัวชี้วัด

• นักเรียนควรรู

มุม IT

แสดงเปาหมายการเรียนรูที่นักเรียน ตองบรรลุตามตัวชี้วัด ตลอดจนสมรรถนะ ที่จะตองมี และคุณลักษณะที่พึงเกิดขึ้น กับนักเรียน

แนะนําแหลงคนควาจากเว็บไซต เพื่อให ครูและนักเรียนไดเขาถึงขอมูลความรู ที่หลากหลาย ทั้งไทยและตางประเทศ

สัญลักษณ

ขอสอบ

วัตถุประสงค

O-NET

(เฉพาะวิชา ชัน้ ทีส่ อบ O-NET O-NET)

• ชีแ้ นะเนือ้ หาทีเ่ คยออกขอสอบ

O-NET โดยยกตัวอยางขอสอบ พรอมวิเคราะหคาํ ตอบ อยางละเอียด

• เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน แนว  NT  O-NE T (เฉพาะระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนตน)

แนว

O-NET

(เฉพาะระดับชัน้ มัธยมศึกษาตอนปลาย)

บูรณาการเชื่อมสาระ

กิจกรรมสรางเสริม

กิจกรรมทาทาย

การคิดและเปนแนวขอสอบ NT/O-NET ในระดับมัธยมศึกษา ตอนตน มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

• เปนตัวอยางขอสอบทีม่ งุ เนน

การคิดและเปนแนวขอสอบ O-NET ในระดับมัธยมศึกษา ตอนปลาย มีทงั้ ปรนัย - อัตนัย พรอมเฉลยอยางละเอียด

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม

เชือ่ มกับสาระหรือกลุม สาระ การเรียนรู ระดับชัน้ หรือวิชาอืน่ ทีเ่ กีย่ วของ

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ซอมเสริมสําหรับนักเรียนทีค่ วร ไดรบั การพัฒนาการเรียนรู

• แนะนําแนวทางการจัดกิจกรรม ตอยอดสําหรับนักเรียนทีเ่ รียนรู ไดอยางรวดเร็ว และตองการ ทาทายความสามารถในระดับ ทีส่ งู ขึน้


คําแนะนําการใชคูมือครู การออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน คูมือครู รายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.5 จัดทําขึ้นเพื่อใหครูผูสอนนําไปใชเปนแนวทางวางแผนการ สอนเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และประกันคุณภาพผูเรียน ตามนโยบายของสํานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) โดยใชหนังสือเรียน การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.5 ของบริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด เสร�ม เปนสื่อหลัก (Core Material) ประกอบการสอนและการจัดกิจกรรมการเรียนรูใหสอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรู 3 และตัวชี้วัดกลุมสาระการเรียนรู การงานอาชีพและเทคโนโลยี ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 โดยออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนตามหลักการสําคัญ ดังนี้ 1 ออกแบบการสอนเปนหนวยการเรียนรูอิงมาตรฐาน คูม อื ครู รายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.5 วางแผนการสอนโดยแบงเปนหนวยการเรียนรูต ามลําดับสาระ (Strand) และหมายเลขขอของมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั แตละหนวยจะกําหนดเปาหมายการเรียนรูแ ละจุดประสงค การเรียนรู (Objective Learning) กิจกรรมการเรียนรู (Learning Activities) และแนวทางการประเมินผลการเรียนรู (Learning Evaluation) ไวชดั เจน ครูผสู อนสามารถจัดทําแผนการสอนใหครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู ตัวชีว้ ดั สมรรถนะ และคุณลักษณะอันพึงประสงคที่เปนเปาหมายการเรียนรูตามที่กําหนดไวในสาระแกนกลาง (ตามแผนภูมิ) และสามารถ บันทึกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผูเรียนแตละคนลงในเอกสาร ปพ.5 ไดอยางมั่นใจ แผนภูมิแสดงความสัมพันธขององคประกอบการออกแบบการเรียนรูอิงมาตรฐานและเนนผูเรียนเปนสําคัญ

พผ

ูเ

จุ ด ป ร

ะสง

คก า

ส ภา

รี ย น

รู ีเรยน

มาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัดชวงชั้น

ทักษะการคิด การวัดประเมินผล การเรียนรู

กิจกรรมการเรียนรู

เทคนิคการสอน คูม อื ครู


2 การจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ แนวคิ ด ในการจั ด การเรี ย นการสอนที่ ยึ ด ผู  เ รี ย นเป น สํ า คั ญ พั ฒ นามาจากปรั ช ญาและทฤษฎี ก ารเรี ย นรู  Constructivism ที่เชื่อวา การเรียนรูเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในสมองของผูเรียนแตละคน ผูเรียนเปนผูสรางความรู โดยการเชื่อมโยงระหวางสิ่งที่ไดเรียนรูจากบทเรียนใหมกับความรูหรือประสบการณเดิมที่มีอยู ทฤษฎีนี้มีความเชื่อวา ผูเรียนทุกคนไดเรียนรูและมีการสั่งสมความรูความเขาใจเกี่ยวกับสิ่งตางๆ ติดตัวมากอน ทีจ่ ะเขาสูห อ งเรียน ซึง่ เปนการเรียนรูท เี่ กิดจากประสบการณและสิง่ แวดลอมรอบตัวผูเ รียนแตละคน ดังนัน้ การจัดกิจกรรม เสร�ม การเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ผูสอนจะตองคํานึงถึง

4

1. ความรูเดิมของผูเรียน วิธีการสอนที่ดีจะตองเริ่มตนจากจุดที่วา ผูเ รียนมีความรูอ ะไรมาบาง แลวจึงใหความรู หรือประสบการณใหม เพื่อตอยอดจาก ความรูเดิม นําไปสูการสรางความรู ความเขาใจใหม

2. ความรูเดิมของผูเรียนถูกตองหรือไม ผูส อนตองปรับเปลีย่ นความรูค วามเขาใจเดิม ของผูเรียนใหถูกตอง และเปนพฤติกรรม การเรียนรูใ หมทมี่ คี ณุ คาตอผูเรียน เพื่อสราง เจตคติหรือทัศนคติที่ดีตอการเรียนรู สิ่งเหลานั้น

3. ผูเรียนสรางความหมายสําหรับตนเอง ผูสอนตองสงเสริมใหผูเรียนนําความรู ความเขาใจที่เกิดขึ้นไปลงมือปฏิบัติ เพื่อขยายความรูใหลึกซึ้งและมีคุณคา ตอตัวผูเรียนมากที่สุด

แนวคิด Constructivism เนนใหผูเรียนสรางความรูโดยผานกระบวนการคิดและความอยากรูของตนเอง โดยมีผูสอนเปนผูสรางบรรยากาศ

การเรียนรูและกระตุนความสนใจ คอยจัดสถานการณใหผูเรียนเกิดความขัดแยงทางความคิดระหวางประสบการณเดิมกับประสบการณ ความรูใ หม เพือ่ กระตนุ ใหผเู รียนเชือ่ มโยงความรู ความคิด กับประสบการณทมี่ อี ยูเ ดิม แลวสังเคราะหเปนความรูห รือแนวคิดใหมๆ ไดดว ยตนเอง

3 การบูรณาการกระบวนการคิด การเรียนรูของผูเรียนแตละคนจะเกิดขึ้นที่สมอง ซึ่งเปนอวัยวะที่ทําหนาที่รูคิดภายใตสภาพแวดลอมที่เอื้ออํานวย และไดรบั การกระตนุ จูงใจอยางเหมาะสม สอดคลองกับสภาพจิตใจและความตองการของผูเ รียนแตละคน การจัดกิจกรรม การเรียนรูและสาระการเรียนรูที่สอดคลองกับความสนใจและมีความหมายตอผูเรียน จะชวยกระตุนใหสมองของผูเรียน สามารถรับรูและเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพตามขั้นตอนการทํางานของสมอง ดังนี้ 1. สมองจะเรียนรูและสืบคน โดยการสังเกต คนหา ซักถาม และทดลอง ปฏิบัติ จนทําใหคนพบความรูความเขาใจ ไดอยางรวดเร็ว

2. สมองจะแยกแยะคุณคาของสิ่งตางๆ โดยการตัดสินใจวิพากษวิจารณ แสดง ความคิดเห็น ยอมรับหรือตอตานตาม อารมณความรูสึกที่เกิดขึ้นในขณะที่เรียนรู

3. สมองจะประมวลเนื้อหาสาระ โดยการสรุปเปนความคิดรวบยอดจาก เรื่องราวที่ไดเรียนรูใหมนําไปผสมผสานกับ ความรูห รือประสบการณเดิมทีถ่ กู จัดเก็บอยูใ น สมอง ผานการกลัน่ กรองเพือ่ สังเคราะหเปน ความรูค วามเขาใจใหมๆ หรือเปนทัศนคติใหม ที่จะเก็บบรรจุไวในสมองของผูเรียน

การเรียนรูที่มีประสิทธิภาพจึงตองเปนการเรียนรูที่เกิดจากกระบวนการคิดของผูเรียน เพราะการเรียนรูจะเกิดขึ้น เมื่อสมองรูคิด และตองเปนการคิดไดครบถวนตามขั้นตอนการทํางานของสมองผูเรียน โดยเริ่มตนจาก 1. ระดับการคิดพื้นฐาน ไดแก การสังเกต การจําแนก การคาดคะเน การสื่อความหมาย การรวบรวมขอมูล การสรุปผล เปนตน

คูม อื ครู

2. ระดับลักษณะการคิด ไดแก การคิดกวาง คิดลึกซึ้ง คิดไกล คิดหลากหลาย คิดคลอง คิดอยางมีเหตุผล เปนตน

3. ระดับกระบวนการคิด ไดแก กระบวนการคิดอยางมีวิจารณญาณ กระบวนการแกปญหา กระบวนการ คิดสรางสรรค กระบวนการคิดสังเคราะห เปนตน


5Es การจัดกิจกรรมตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ขั้นตอนการสอนที่สัมพันธกับขั้นตอนการคิดและการทํางานทางสมองของผูเรียนที่นิยมใชอยางแพรหลาย คือ วัฏจักรการเรียนรู 5Es ซึ่งผูจัดทําคูมือครูไดนํามาใชเปนแนวทางออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนในแตละหนวย ตามลําดับขั้นตอนการเรียนรู ดังนี้ ขั้นที่ 1

กระตุนความสนใจ

(Engage)

เสร�ม

5

เปนขั้นที่ผูสอนนําเขาสูบทเรียน เพื่อกระตุนความสนใจของผูเรียนดวยเรื่องราวหรือเหตุการณที่นาสนใจโดยใชเทคนิควิธีการ และคําถามทบทวนความรูหรือประสบการณเดิมของผูเรียน เพื่อเชื่อมโยงผูเรียนเขาสูความรูของบทเรียนใหม ชวยใหผูเรียนสามารถ สรุปความสําคัญหัวขอและสาระการเรียนรูของบทเรียนได จึงเปนขั้นตอนการสอนที่สําคัญ เพราะเปนการเตรียมความพรอมและสราง แรงจูงใจใฝเรียนรูแกผูเรียน

ขั้นที่ 2

สํารวจคนหา

(Explore)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนเปดโอกาสใหผเู รียนลงมือศึกษา สังเกต หรือรวมมือกันสํารวจ เพือ่ ใหเห็นขอบขายของประเด็นหรือปญหา รวมถึง วิธีการศึกษาคนควา การรวบรวมขอมูลความรูที่จะนําไปสูการสรางความเขาใจประเด็นหรือปญหานั้นๆ เมื่อผูเรียนทําความเขาใจใน ประเด็นหรือปญหาที่จะศึกษาคนควาอยางถองแทแลว ก็ลงมือปฏิบัติเพื่อเก็บรวบรวมขอมูลความรู สํารวจตรวจสอบ โดยวิธีการตางๆ เชน สัมภาษณ ทดลอง อานคนควาขอมูลจากเอกสาร แหลงขอมูลตางๆ จนไดขอมูลความรูที่เกี่ยวของกับประเด็นหรือปญหาที่ศึกษา

ขั้นที่ 3

อธิบายความรู

(Explain)

เปนขั้นที่ผูสอนมีปฏิสัมพันธกับผูเรียน เชน ใหการแนะนํา ตั้งคําถามกระตุนใหคิด เพื่อใหผูเรียนคนหาคําตอบ และนําขอมูล ความรูจากการศึกษาคนควาในขั้นที่ 2 มาวิเคราะห สรุปผล และนําเสนอผลที่ไดศึกษาคนความาในรูปแบบสารสนเทศตางๆ เชน เขียนแผนภูมิ ผังมโนทัศน เขียนความเรียง เขียนรายงาน เปนตน ในขั้นตอนนี้ฝกใหผูเรียนใชสมองคิดวิเคราะหและสังเคราะห อยางเปนระบบ

ขั้นที่ 4

ขยายความเขาใจ

(Expand)

เปนขั้นที่ผูสอนเลือกใชเทคนิควิธีสอนตางๆ ที่สงเสริมใหผูเรียนนําความรูที่เกิดขึ้นไปคิดคนสืบคนตอๆ ไป เพื่อพัฒนาทักษะ การเรียนรูและการทํางานรวมกันเปนกลุม ระดมสมองเพื่อคิดสรางสรรครวมกัน ผูเรียนสามารถนําความรูที่สรางขึ้นใหมไปเชื่อมโยง กับประสบการณเดิมโดยนําขอสรุปทีไ่ ดไปใชอธิบายเหตุการณตา งๆ หรือนําไปปฏิบตั ใิ นสถานการณใหมๆ ทีเ่ กีย่ วของกับชีวติ ประจําวัน ของตนเอง เพื่อขยายความรูความเขาใจใหกวางขวางยิ่งขึ้น ในขั้นตอนนี้ฝกสมองของผูเรียนใหสามารถคิดริเริ่มสรางสรรคอยางมี คุณภาพ เสริมสรางวิสัยทัศนใหกวางไกลออกไป

ขั้นที่ 5

ตรวจสอบผล

(Evaluate)

เปนขัน้ ทีผ่ สู อนประเมินมโนทัศนของผูเ รียน โดยตรวจสอบจากความคิดทีเ่ ปลีย่ นไปและความคิดรวบยอดทีเ่ กิดขึน้ ใหม ตรวจสอบ ทักษะ กระบวนการปฏิบัติ การแกปญหา การตอบคําถามรวบยอด หรือการเคารพความคิดหรือยอมรับเหตุผลของคนอื่น เพื่อการ สรางสรรคความรูร ว มกัน ผูเ รียนสามารถประเมินผลการเรียนรูข องตนเอง เพือ่ สรุปผลวามีความรูอ ะไรเพิม่ ขึน้ มาบาง เกิดความเขาใจ มากนอยเพียงใด และจะนําความรูเหลานั้นไปประยุกตใชในการเรียนรูเรื่องอื่นๆ หรือในชีวิตประจําวันไดอยางไร ผูเรียนจะเกิดเจตคติ และเห็นคุณคาของตนเองจากผลการเรียนรูที่เกิดขึ้น ซึ่งเปนการเรียนรูที่มีความสุขอยางแทจริง

การจัดกิจกรรมการเรียนรูตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es จึงเปนรูปแบบการเรียนการสอนที่เนนผูเรียน เปนสําคัญอยางแทจริง เพราะสงเสริมใหผูเรียนไดเรียนรูตามขั้นตอนของกระบวนการสรางความรูดวยตนเอง และ ฝกฝนใหใชกระบวนการคิดและกระบวนการกลุมอยางชํานาญ กอใหเกิดทักษะชีวิต ทักษะการทํางาน และทักษะการ เรียนรูที่มีประสิทธิภาพ สงผลตอการยกระดับผลสัมฤทธิ์ของผูเรียน ตามเปาหมายของการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) ทุกประการ คูม อื ครู


O-NET การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ O-NET

การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามขั้นตอนวัฏจักรการเรียนรู 5Es ในแตละหนวยการเรียนรู ทางผูจัดทํา จะเสนอแนะวิธีสอน รูปแบบกิจกรรมการเรียนรู พรอมทั้งออกแบบเครื่องมือวัดและประเมินผลที่สอดคลองกับตัวชี้วัด และสาระการเรียนรูแกนกลางไวทุกขั้นตอน โดยยึดหลักสําคัญ คือ หลักของการวัดและประเมินผล เสร�ม

6

1. การวัดและประเมินผลทุกครั้ง ควรนําผลมาปรับปรุงพัฒนาผูเรียน เปนรายบุคคล

2. การวัดและประเมินผลมี เปาหมาย เพื่อพัฒนาการเรียนรู ของผูเรียนจนเต็มศักยภาพ

3. การนําผลการวัดและประเมินผล ทุกครั้งมาวางแผนปรับปรุงกิจกรรม การเรียนการสอน การเลือกเทคนิค วิธีสอน และสื่อการเรียนรูให เหมาะสมกับสภาพจริงของผูเรียน

การทดสอบผูเรียน 1. การใชขอสอบอัตนัย เนนการอาน การคิดวิเคราะห และการเขียนเพิ่มมากขึ้น 2. การใชคําถามกระตุนการคิดควบคูกับการทําขอสอบที่เนนการคิดอยางตอเนื่องตามลําดับกิจกรรมการเรียนรู และตัวชี้วัด 3. การทดสอบตองดําเนินการทั้งกอนเรียน ระหวางเรียน และหลังเรียน การทดสอบควรใชขอสอบทั้งชนิดปรนัยและ อัตนัย และเปนการทดสอบเพื่อประเมินผลการเรียนของผูเรียนแตละคน เพื่อการสอนซอมเสริมใหบรรลุตัวชี้วัด ไดครบถวน 4. การสอบกลางภาค (ถามี) ควรนําแบบฝกหัดหรือขอสอบทีน่ กั เรียนสวนใหญไมสามารถตอบไดหรือไมครบถวนชัดเจน มา สรางเปนแบบทดสอบอีกครัง้ เพือ่ ตรวจสอบความรูค วามเขาใจทีถ่ กู ตอง และประเมินความกาวหนาของผูเ รียนแตละคน 5. การสอบปลายภาคเรียนเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามตัวชี้วัดที่สําคัญ ควรออกขอสอบใหมีลักษณะเดียวกับ ขอสอบ O-NET โดยเนนการคิดวิเคราะห สังเคราะห เชื่อมโยงประยุกตใช เพื่อสรางความคุนเคย และฝกฝน วิธีการทําขอสอบดวยความมั่นใจ 6. การนําผลการทดสอบของผูเรียนมาวิเคราะห โดยผลการสอบกอนการเรียนตองสามารถพยากรณผลการสอบ กลางภาค และผลการสอบกลางภาคตองทํานายผลการสอบปลายภาคของผูเ รียนแตละคน เพือ่ ประเมินพัฒนาการ ความกาวหนาของผูเรียนเปนรายบุคคล 7. ผลการทดสอบปลายป ปลายภาค ตองมีคาเฉลี่ยสอดคลองกับคาเฉลี่ยของการสอบ NT ที่เขตพื้นที่การศึกษา จัดสอบ รวมทั้งคาเฉลี่ยของการสอบ O-NET ชวงชั้นที่สอดคลองครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดสําคัญ เพือ่ สะทอนประสิทธิภาพของครูผสู อนในการออกแบบการเรียนรูแ ละประกันคุณภาพผูเ รียนทีต่ รวจสอบผลไดชดั เจน การจัดการเรียนการสอนในแตละหนวยการเรียนรู ตองใหผูเรียนไดสั่งสมความรู ความเขาใจตามลําดับขั้นตอน ของกิจกรรมในวัฏจักรการเรียนรู 5Es เพื่อใหผูเรียนไดเติมเต็มองคความรูอยางตอเนื่อง จนสามารถปฏิบัติชิ้นงานหรือ ภาระงานรวบยอดของแตละหนวย ผานเกณฑประกันคุณภาพในระดับที่นาพึงพอใจ เพื่อรองรับการประเมินภายนอกจาก สมศ. ตลอดเวลา คูม อื ครู


ASEAN การเรียนรูสูประชาคมอาเซียน เพื่ออํานวยความสะดวกแกครูผูสอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรูบูรณาการอาเซียนศึกษา ผูจัดทําไดวิเคราะห มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัดที่มีสาระการเรียนรูสอดคลองกับองคความรูเกี่ยวกับประชาคมอาเซียนในแงมุมตางๆ ครอบคลุมทัง้ ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และประชาคมสังคมและวัฒนธรรม อาเซียน เพื่อสงเสริมการเรียนรูใหผูเรียนเกิดความตระหนัก มีความรูความเขาใจเหมาะสมกับระดับชั้นและกลุมสาระ การเรียนรู โดยเสนอแนะวิธีการจัดกิจกรรมบูรณาการเนื้อหาสาระตางๆ ที่เปนประโยชนตอผูเรียนและเปนการชวย เตรียมความพรอมผูเ รียนทุกคนทีจ่ ะกาวเขาสูก ารเปนสมาชิกของประชาคมอาเซียนไดอยางมัน่ ใจตามขอตกลงปฏิญญา เสร�ม ชะอํา-หัวหิน วาดวยความรวมมือดานการศึกษาเพือ่ บรรลุเปาหมายประชาคมอาเซียนทีเ่ อือ้ อาทรและแบงปน จึงกําหนด 7 เปนนโยบายใหกระทรวงศึกษาธิการจัดการเรียนรูเตรียมความพรอมผูเรียนเขาสูประชาคมอาเซียนภายในป พ.ศ. 2558 ตามแนวปฏิบัติที่สําคัญ ดังนี้

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมการเมืองและความมัน่ คงอาเซียน 1. การสรางความรูความเขาใจ และตระหนักถึงความสําคัญของ กฎบัตรอาเซียน และความรวมมือ ของ 3 เสาหลัก ซึง่ กฎบัตรอาเซียน ในขณะนี้มีสถานะเปนกฎหมายที่ ประเทศสมาชิกจะตองปฏิบัติตาม หลักการที่กําหนดไวเพื่อใหบรรลุ เปาหมายของกฎบัตรมาตราตางๆ

2. การสงเสริมหลักการ ประชาธิปไตยและการสราง สิ่งแวดลอมประชาธิปไตย เพื่อการอยูรวมกันอยางกลมกลืน ภายใตวิถีชีวิตอาเซียนที่มีความ หลากหลายดานสังคมและ วัฒนธรรม

4. การตระหนักในคุณคาของ สายสัมพันธทางประวัติศาสตร และมรดกทางวัฒนธรรมที่มี พัฒนาการรวมกัน เพื่อเชื่อม อัตลักษณและสรางจิตสํานึก ในการเปนประชากรของประชาคม อาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการศึกษาดาน สิทธิมนุษยชน เพื่อสรางประชาคม อาเซียนใหเปนประชาคมเพื่อ ประชาชนอยางแทจริง สามารถ อยูรวมกันไดบนพื้นฐานการเคารพ ในคุณคาของศักดิ์ศรีแหงความ เปนมนุษยเทาเทียมกัน

5. การสงเสริมสันติภาพ ความ มั่นคง และความปรองดองในสังคม ทั้งระดับประเทศและภูมิภาคของ อาเซียนบนพื้นฐานสันติวิธีและการ อยูรวมกันดวยขันติธรรม

คูม อื ครู


การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

เสร�ม

8

1. การพัฒนาทักษะการทํางาน เพื่อเสริมสรางผูเรียนใหมีทักษะ วิชาชีพที่จําเปนสอดคลองกับ ความตองการของตลาดแรงงาน และสถานประกอบการในอาเซียน สามารถเทียบโอนผลการเรียน และการทํางานตามมาตรฐานฝมือ แรงงานในภูมิภาคอาเซียน

2. การเสริมสรางวินัย ความรับผิดชอบ และเจตคติรักการทํางาน สามารถพึ่งพาตนเอง มีทักษะชีวิต ดํารงชีวิตอยางมีความสุข เห็นคุณคา และภูมิใจในตนเอง ในฐานะที่เปนพลเมืองไทยและ อาเซียน

3. การเรียนรูเพื่อพัฒนาตนเอง อยางตอเนื่องตลอดชีวิต ใหมี ทักษะการทํางานตามมาตรฐาน อาชีพ และคุณวุฒิของวิชาชีพสาขา ตางๆ เพื่อรองรับการเตรียมเคลื่อน ยายแรงงานมีฝมือและการเปน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่ เขมแข็ง เพื่อสรางขีดความสามารถ ในการแขงขันในเวทีโลก

การจัดการเรียนรูส ู ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 1. การเสริมสรางความรวมมือ ในลักษณะสังคมที่เอื้ออาทร ของประชากรอาเซียน โดยยึด หลักการสําคัญ คือ ความงดงาม ของประชาคมอาเซียนมาจาก ความแตกตางและหลากหลายทาง วัฒนธรรมที่ลวนแตมีคุณคาตอ มรดกทางวัฒนธรรมของอาเซียน ซึ่งประชาชนทุกคนตองอนุรักษ สืบสานใหยั่งยืน

2. การเสริมสรางคุณลักษณะ ของผูเรียนใหเปนพลเมืองอาเซียน ที่มีศักยภาพในการกาวเขาสู ประชาคมอาเซียนอยางมั่นใจ เปนผูที่มีสุขภาพสมบูรณแข็งแรง มีทักษะการสื่อสาร ทักษะการ ทํางาน ทักษะทางสังคม สามารถ ทํางานรวมกับผูอื่นไดอยาง สรางสรรค และมีองคความรู เกี่ยวกับอาเซียนที่จําเปนตอการ ดํารงชีวิตอยางมีคุณภาพ

4. การสงเสริมการเรียนรูดาน ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี วิถชี วี ติ ความเปนอยูข องเพือ่ นบาน ในอาเซียน เพื่อสรางจิตสํานึกของ ความเปนประชาคมอาเซียนและ ตระหนักถึงหนาที่ของการเปน พลเมืองอาเซียนรวมกัน

3. การสงเสริมการเรียนรูภาษา อังกฤษเพื่อการสื่อสารและการ ทํางานตามมาตรฐานอาชีพที่ กําหนดและสนับสนุนการเรียนรู ภาษาอาเซียนและภาษาเพื่อนบาน เพื่อชวยเสริมสรางสัมพันธภาพทาง สังคม และการอยูรวมกันอยางสันติ ทามกลางความหลากหลายทาง วัฒนธรรม

5. การสรางความรูและความ ตระหนักเกี่ยวกับดานสิ่งแวดลอม ปญหาและผลกระทบตอคุณภาพ ชีวิตของประชากรในภูมิภาค รวมทั้งแนวทางการพัฒนาอยาง ยั่งยืน ใหเปนมรดกสืบทอดแก พลเมืองอาเซียนในรุนหลังตอๆ ไป

กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศนโยบายการปฏิรูปการศึกษาทศวรรษที่ 2 (พ.ศ. 2552-2561) เพื่อเรงพัฒนาเด็ก และเยาวชนไทยใหเปนทรัพยากรมนุษยของชาติที่มีทักษะและความชํานาญ พรอมเผชิญกับความเปลี่ยนแปลงและ การแขงขันทั้งในภูมิภาคอาเซียนและภูมิภาคอื่นๆ ของสังคมโลก ทั้งนี้ผูบริหารสถานศึกษา ครูผูสอน และผูปกครอง ควรรวมมือกันอยางใกลชิดในการดูแลชวยเหลือผูเรียนและจัดประสบการณการเรียนรูเพื่อพัฒนาผูเรียนจนเต็มศักยภาพ เพื่อกาวเขาสูการเปนพลเมืองอาเซียนอยางมีเกียรติภูมิและศักดิ์ศรีความเปนมนุษยของตน คณะผูจัดทํา คูม อื ครู


ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง สาระที่ 1

การงานอาชีพและเทคโนโลยี (เฉพาะชั้น ม.5)*

การดํารงชีวิตและครอบครัว

มาตรฐาน ง 1.1 เขาใจการทํางาน มีความคิดสรางสรรค มีทกั ษะกระบวนการทํางาน ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการ แกปญหา ทักษะการทํางานรวมกัน และทักษะการแสวงหาความรู มีคุณธรรมและลักษณะนิสัยในการ ทํางาน มีจิตสํานึกในการใชพลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดลอม เพื่อการดํารงชีวิตและครอบครัว ชั้น

ตัวชี้วัด

ม.4-6 1. อธิบายวิธีการทํางานเพื่อ การดํารงชีวิต 2. สรางผลงานอยางมีความ คิดสรางสรรค และมีทักษะ การทํางานรวมกัน 3. มีทักษะการจัดการในการ ทํางาน 4. มีทักษะกระบวนการแก ปญหาในการทํางาน 5. มีทักษะในการแสวงหา ความรูเพื่อการดํารงชีวิต 6. มีคุณธรรมและลักษณะ นิสัยในการทํางาน 7. ใชพลังงาน ทรัพยากร ในการทํางานอยางคุมคา และยั่งยืน เพื่อการ อนุรักษสิ่งแวดลอม

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• วิธีการทํางานเพื่อการดํารงชีวิต เปนการ ทํางานที่จําเปนเกี่ยวกับความเปนอยูใน ชีวติ ประจําวัน เชน การเลือกใช ดูแลรักษา เสื้อผาและเครื่องแตงกาย • ความคิดสรางสรรคมี 4 ลักษณะ ประกอบดวย ความคิดริเริ่ม ความคลอง ในการคิด ความยืดหยุนในการคิด และ ความคิดละเอียดลออ • ทักษะการทํางานรวมกัน เปนการทํางาน กลุม ทํางานรวมกับผูอื่นไดอยางมีความ สุข ทํางานอยางมีกระบวนการตาม ขั้นตอนและฝกหลักการทํางานกลุม เชน การประดิษฐของใชที่เปนเอกลักษณ ไทย หนาที่และบทบาทของตนเองที่มีตอ สมาชิกในครอบครัว โรงเรียน และชุมชน • ทักษะการจัดการ เปนการจัดระบบงานและ ระบบคน เพื่อใหการทํางานสําเร็จตาม เปาหมายอยางมีประสิทธิภาพ เชน การ ดูแลรักษา ทําความสะอาด จัดตกแตงบาน และโรงเรียน การปลูกพืช ขยายพันธุพืช หรือเลี้ยงสัตว การบํารุง เก็บรักษาเครื่อง ใชไฟฟา และอุปกรณอํานวยความสะดวก ในชีวิตประจําวัน การดําเนินการทางธุรกิจ

• หนวยการเรียนรูที่ 1 การเรียนรูก ระยวนการ ทําานและกระบวนการแก ปญหา • หนวยการเรียนรูที่ 2 งานชางในบาน • หนวยการเรียนรูที่ 3 เสือ้ ผาและเครือ่ งแตงกาย • หนวยการเรียนรูที่ 4 งานประดิษฐเอกลักษณ ไทย • หนวยการเรียนรูที่ 5 งานเกษตร

เสร�ม

9

_________________________________ * สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลาง กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี. (กรุงเทพมหานคร : ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2551), หนา 6-27.

คูม อื ครู


ชั้น

ตัวชี้วัด

ม.4-6 (ตอ)

เสร�ม

10

สาระที่ 2

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• ทักษะกระบวนการแกปญ หาในการทํางาน มีขนั้ ตอน คือ การสังเกต วิเคราะห สราง ทางเลือก และประเมินทางเลือก เชน การตัดเย็บ และดัดแปลงเสือ้ ผา การเก็บ ถนอม และแปรรูปอาหาร การติดตัง้ ประกอบ ซอมแซมอุปกรณ เครื่องมือ เครื่องใช สิ่งอํานวยความสะดวกในบาน และโรงเรียน • ทักษะการแสวงหาความรูเพื่อการดํารง ชีวิต ประกอบดวย การศึกษาคนควา รวบรวม สังเกต สํารวจ และบันทึก เชน การดูแลรักษาบาน การเลี้ยงสัตว • คุณธรรมและลักษณะนิสัยในการทํางาน เปนการสรางคุณงามความดี และควรฝก ใหผเู รียนมีคณุ ภาพ ที่สําคัญๆ เชน ขยัน อดทน รับผิดชอบ และซื่อสัตย • การใชพลังงาน ทรัพยากรอยางคุมคาและ ยั่งยืน เปนคุณธรรมในการทํางาน

• หนวยการเรียนรูที่ 1 การเรียนรูก ระบวนการ ทําานและกระบวนการ แกปญ หา • หนวยการเรียนรูที่ 2 งานชางในบาน • หนวยการเรียนรูที่ 3 เสือ้ ผาและเครือ่ งแตงกาย • หนวยการเรียนรูที่ 4 งานประดิษฐเอกลักษณ ไทย • หนวยการเรียนรูที่ 5 งานเกษตร

การออกแบบและเทคโนโลยี

มาตรฐาน ง 2.1 เขาใจเทคโนโลยีและกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสรางสิ่งของเครื่องใช หรือวิธีการตาม กระบวนการเทคโนโลยีอยางมีความคิดสรางสรรค เลือกใชเทคโนโลยีในทางสรางสรรคตอชีวิต สังคม สิ่งแวดลอม และมีสวนรวมในการจัดการเทคโนโลยีที่ยั่งยืน ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ม.4-6 1. อธิบายและเชื่อมโยงความ • เทคโนโลยีมีความสัมพันธกับศาสตรอื่นๆ สัมพันธระหวางเทคโนโลยี โดยเฉพาะวิทยาศาสตร กับศาสตรอื่นๆ

คูม อื ครู

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• จะจัดการเรียนการสอนอยู ในหนังสือเรียนชัน้ ม.4 หนวยการเรียนรูที่ 5 ระบบเทคโนโลยี


ชั้น

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

ม.4-6 2. วิเคราะหระบบเทคโนโลยี • ระบบเทคโนโลยี ประกอบดวย ตัวปอน (Input) กระบวนการ (Process) ผลลัพธ (ตอ) (Output) ทรัพยากรทางเทคโนโลยี (Resources) ปจจัยที่เอื้อหรือขัดขวางตอ เทคโนโลยี (Consideration) • การวิเคราะหระบบเทคโนโลยีทําใหทราบ เกี่ยวกับปจจัยในดานตางๆ ที่มีผลตอการ แกปญหาหรือสนองความตองการ 3. สรางและพัฒนาสิ่งของ • การสรางสิง่ ของเครือ่ งใชหรือวิธกี ารตาม เครื่องใชหรือวิธีการตาม กระบวนการ เทคโนโลยี ทําใหผูเรียน ทํางานอยางเปนระบบ สามารถยอนกลับ กระบวนการเทคโนโลยี มาแกไขไดงาย อยางปลอดภัย โดย ถายทอดความคิดเปน • การสรางและพัฒนาสิ่งของเครื่องใชหรือ ภาพฉายและแบบจําลอง วิธีการตองอาศัยความรูที่เกี่ยวของอื่นอีก เชน กลไกและการควบคุมไฟฟาเพื่อนําไปสูการสราง อิเล็กทรอนิกส ชิ้นงาน หรือถายทอด ความคิดของวิธีการเปน • การใชซอฟตแวรชวยในการออกแบบหรือ แบบจําลองความคิดและ นําเสนอผลงาน มีประโยชนในการชวยราง ภาพ ทําภาพ 2 มิติ และ 3 มิติ การรายงานผลโดยใช • การพัฒนาสิ่งของเครื่องใช ตองคํานึงถึง ซอฟตแวรชวยในการ หลักการวิเคราะหผลิตภัณฑเบื้องตน ออกแบบหรือนําเสนอ • หลักการวิเคราะหผลิตภัณฑเบื้องตน ผลงาน เปนการวิเคราะหจุดมุงหมายของการ ออกแบบ ประกอบดวย ชิ้นงานนี้ใชทํา อะไร ทําไมถึงตองมีชิ้นงานนี้ ใครเปน ผูใช ใชที่ไหน เมื่อไหรจึงใช วิธีการที่ทําให ชิ้นงานนี้ทํางานไดตามวัตถุประสงคที่ กําหนดไว • ภาพฉาย เปนภาพแสดงรายละเอียดของ ชิ้นงาน ประกอบดวย ภาพดานหนา ดานขาง ดานบน แสดงขนาดและ หนวยวัด เพื่อนําไปสรางชิ้นงาน

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

• จะจัดการเรียนการสอนอยู ในหนังสือเรียนชัน้ ม.4 หนวยการเรียนรูที่ 5 ระบบเทคโนโลยี

เสร�ม

11

• หนวยการเรียนรูที่ 6 การออกแบบเทคโนโลยี

คูม อื ครู


ชั้น

เสร�ม

12

คูม อื ครู

ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรูแกนกลาง

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

ม.4-6 4. มีความคิดสรางสรรคใน • ความคิดสรางสรรค มี 4 ลักษณะ (ตอ) การแกปญหาหรือสนอง ประกอบดวย ความคิดริเริ่ม ความคลองใน การคิด ความยืดหยุนในการคิด และความ ความตองการในงานที่ ผลิตเอง หรือการพัฒนา คิดละเอียดลออ • ความคิดริเริ่ม จะเปนลักษณะความคิดที่ ผลิตภัณฑที่ผูอื่นผลิต แปลกใหม แตกตางจากความคิดเดิม • ความคิดแปลกใหมที่ได ตองไมละเมิด ความคิดผูอ นื่ • ความคิดแปลกใหมเปนการสรางนวัตกรรม • หนวยการเรียนรูที่ 6 ที่เปนสวนหนึ่งของทรัพยสินทางปญญา การออกแบบเทคโนโลยี • การวิเคราะหผลดี ผลเสีย การประเมิน 5. วิเคราะหและเลือกใช และการตัดสินใจเพื่อเลือกใชเทคโนโลยีที่ เทคโนโลยีที่เหมาะสม เหมาะสม กับชีวิตประจําวันอยาง สรางสรรคตอชีวิต สังคม • การเลือกใชสิ่งของเครื่องใชอยาง สรางสรรค โดยการเลือกสิ่งของเครื่องใชที่ และสิ่งแวดลอม และมี เปนมิตรกับชีวิต สังคม สิ่งแวดลอม การจัดการเทคโนโลยี ที่ยั่งยืนดวยวิธีการของ • เทคโนโลยีสะอาดเปนเครื่องมือที่ใชในการ จัดการใชเทคโนโลยีเพื่อมุงสูการพัฒนา เทคโนโลยีสะอาด อยางยั่งยืนชนิดหนึ่ง


สาระที่ 4

การอาชีพ

มาตรฐาน ง 4.1 เขาใจ มีทักษะที่จําเปน มีประสบการณ เห็นแนวทางในงานอาชีพ ใชเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาอาชีพ มีคุณธรรม และมีเจตคติที่ดีตออาชีพ ชั้น

ตัวชี้วัด

ม.4-6 1. อภิปรายแนวทางเขาสู อาชีพที่สนใจ 2. เลือกและใชเทคโนโลยี อยางเหมาะสมกับอาชีพ 3. มีประสบการณในอาชีพที่ ถนัดและสนใจ 4. มีคุณลักษณะที่ดีตออาชีพ

สาระการเรียนรูแกนกลาง

• แนวทางเขาสูอาชีพ - เตรียมตัวหางานและพัฒนาบุคลิกภาพ - ลักษณะความมั่นคงและความกาวหนา - การสมัครงาน - การสัมภาษณ - การทํางาน - การเปลี่ยนงาน • การเลือกและใชเทคโนโลยีอยางเหมาะสม กับอาชีพ - วิธีการ - หลักการ - เหตุผล • ประสบการณในอาชีพ - การจําลองอาชีพ - กิจกรรมอาชีพ • คุณลักษณะที่ดีตออาชีพ - คุณธรรม - จริยธรรม - คานิยม

หนวยการเรียนรูในหนังสือเรียน

เสร�ม

13

• หนวยการเรียนรูที่ 7 งานอาชีพ

คูม อื ครู


จุดเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน* การขับเคลื่อนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2551 และการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษ ที่สอง (พ.ศ. 2552-2561) ใหประสบผลสําเร็จตามจุดเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน โดยใหทุกภาคสวน รวมกันดําเนินการ กระทรวงศึกษาธิการไดกําหนดจุดเนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน ดังนี้ เสร�ม

14

ทักษะ ความสามารถ

คุณลักษณะ จุดเนนตามชวงวัย

ม. 4-6

แสวงหาความรู เพื่อแกปญหา ใชเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู ใชภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) มีทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

ม. 1-3

แสวงหาความรูดวยตนเอง ใชเทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู มีทักษะการคิดขั้นสูง ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

• อยูอยางพอเพียง

ป. 4-6

อานคลอง เขียนคลอง คิดเลขคลอง ทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

• ใฝเรียนรู

ป. 1-3

อานออก เขียนได คิดเลขเปน มีทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน ทักษะชีวิต ทักษะการสื่อสารอยางสรางสรรคตามชวงวัย

• ใฝดี

• มุงมั่นในการศึกษา และการทํางาน

คุณลักษณะตามหลักสูตร

• รักชาติ ศาสน กษัตริย • ซื่อสัตยสุจริต • มีวินัย • ใฝเรียนรู • อยูอยางพอเพียง • มุงมั่นในการทํางาน • รักความเปนไทย • มีจิตสาธารณะ

* สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. แนวทางการนําจุดเนนการพัฒนาผูเรียน สูการปฏิบัติ. (กรุงเทพมหานคร : ชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2553), หนา 3-10.

คูม อื ครู


คําอธิบายรายวิชา รายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 รหัสวิชา ง…………………………………

กลุมสาระการเรียนรู การงานอาชีพและเทคโนโลยี ภาคเรียนที่ 1-2 เวลา 20 ชั่วโมง/ป

ศึกษา วิเคราะห อธิบาย วิธีการทํางานเพื่อการดํารงชีวิตที่เกี่ยวของกับความเปนอยูในชีวิต ประจําวัน สรางและพัฒนาผลงานอยางมีความคิดสรางสรรคหรือสนองความตองการในงานทีผ่ ลิตเองหรือการ เสร�ม พัฒนาผลิตภัณฑที่ผูอื่นผลิต ตามกระบวนการเทคโนโลยีอยางปลอดภัย ถายทอดความคิดของวิธีการสราง 15 ผลงานเปนแบบจําลองความคิดและใชซอฟตแวรชวยในการออกแบบหรือนําเสนอผลงาน อภิปรายแนวทาง เขาสูอาชีพที่สนใจ และเลือกนําเทคโนโลยีมาใชไดอยางเหมาะสมกับอาชีพ ชีวิต สังคม และสิ่งแวดลอม โดยใชทักษะกระบวนการทํางานรวมกัน ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการแกปญหาในการทํางาน และทักษะในการแสวงหาความรูเพื่อการดํารงชีวิต ทักษะการคิดอยางสรางสรรค เพือ่ ใหเกิดความรู ความเขาใจในวิธกี ารทํางานและสรางสรรคผลงาน สามารถนําความรูไ ปประยุกตใช ในชีวิตประจําวัน มีประสบการณในอาชีพที่ถนัดและสนใจ มีคุณลักษณะที่ดีตออาชีพ มีคุณธรรมและลักษณะ นิสัยในการทํางาน และมีจิตสํานึกในการใชพลังงาน ทรัพยากร การจัดการเทคโนโลยีอยางคุมคาและยั่งยืน ดวยวิธีการเทคโนโลยีสะอาดเพื่อการอนุรักษสิ่งแวดลอม ตัวชี้วัด ง 1.1 ง 2.1 ง 4.1

ม.4-6/1

ม.4-6/2

ม.4-6/3

ม.4-6/3

ม.4-6/4

ม.4-6/5

ม.4-6/1

ม.4-6/2

ม.4-6/3

ม.4-6/4

ม.4-6/5

ม.4-6/6

ม.4-6/7

ม.4-6/4

รวม 14 ตัวชี้วัด * สําหรับสาระที่ 2 ง 2.1 ม.4-6/1-2 จะจัดการเรียนการสอนในชั้น ม.4

คูม อื ครู


ตาราง

วิเคราะหมาตรฐานการเรียนรูแ ละตัวชีว้ ดั รายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.5

คําชี้แจง : ใหผูสอนใชตารางนี้ตรวจสอบความสอดคลองของเนื้อหาสาระการเรียนรูในหนวยการเรียนรูกับมาตรฐาน การเรียนรูและตัวชี้วัดชวงชั้น เสร�ม

16

มาตรฐานการเรียนรู และตัวชี้วัด

สาระที่ 1 มาตรฐาน ง 1.1

สาระที่ 2 มาตรฐาน ง 2.1

สาระที่ 4 มาตรฐาน ง 4.1

ตัวชี้วัด

ตัวชี้วัด

ตัวชี้วัด

หนวยการเรียนรู

1

2

3

4

5

6

7

หนวยการเรียนรูที่ 1 : การเรียนรูกระบวนการทํางาน และกระบวนการแกปญหา

หนวยการเรียนรูที่ 2 : งานชางในบาน หนวยการเรียนรูที่ 3 : เสื้อผาและเครื่องแตงกาย หนวยการเรียนรูที่ 4 : งานประดิษฐเอกลักษณไทย หนวยการเรียนรูที่ 5 : งานเกษตร

1

2

4

5

1

2

3

4

หนวยการเรียนรูที่ 6 : การออกแบบเทคโนโลยี หนวยการเรียนรูที่ 7 : งานอาชีพ หมายเหตุ ✓ เฉพาะที่สอดคลองกับตัวชี้วัด ม.5 เทานั้น ตัวชี้วัดที่เหลือจะจัดการเรียนการสอนในชั้น ม.4 และ ม.6

คูม อื ครู

3


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ Expand

ตรวจสอบผล Evaluate

˹ѧÊ×ÍàÃÕ¹ ÃÒÂÇÔªÒ¾×é¹°Ò¹

การงานอาชีพ และเทคโนโลยี ม.๕ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๕

กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

ผูเรียบเรียง

นายมนตรี สมไรขิง ผศ. เพ็ญพร ประมวลสุข นายปญญา สังขภิรมย นางวรรณี วงศพานิชย นายสุวัฏ สอนจันทร นางศิริรัตน ฉัตรศิขรินทร

ผูตรวจ

รศ. สมทรง สีตลายัน ผศ. โสภาพรรณ อมตะเดชะ นายบุญชู เจนคุณาวัฒน

บรรณาธิการ

นายสมเกียรติ ภูระหงษ พิมพครั้งที่ ๕

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ ISBN : 978-616-203-146-5 รหัสสินคา ๓๕๑๗๐๐๑

¤Œ¹¤ÇÒÁÃÙŒ¢ÂÒ¤ÇÒÁ¤Ô´¨Ò¡

¾ÔÁ¾ ¤ÃÑ駷Õè 1 ÃËÑÊÊÔ¹¤ŒÒ 3547005

EB GUIDE

ที่พิมพกํากับหัวขอสําคัญในหนังสือเรียนหลักสูตรแกนกลางฯ ผาน www.aksorn.com ไปยังแหลงความรูทั่วไทย-ทั่วโลก

คณะผูจัดทําคูมือครู วรรณี วงศพานิชย สุวัฏ สอนจันทร


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา Explore

อธิบายความรู Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

¤íÒá¹Ð¹íÒ㹡ÒÃ㪌¤íËÒ¹í¹ÑÒ§Ê×ÍàÃÕ¹ กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี เปนกลุมสาระที่ชวย

หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน การงานอาชีพและเทคโนโลยีเลมนี้ ใชประกอบการเรียนการสอน พัฒนาใหผูเรียนมีความรู ความเขาใจ มีทักษะพื้นฐานที่จําเปนตอการดํารงชีวิต รายวิชาพื้นฐาน กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๕ และรูเ ทาทันการเปลีย่ นแปลง สามารถนําความรูเ กีย่ วกับการดํารงชีวติ การอาชีพ เนื้อหาตรงตามสาระการเรียนรูแกนกลางขั้นพื้นฐาน อานทําความเขาใจงาย ใหทั้งความรูและ และเทคโนโลยี ใชในการทํงาออกเป งานอยนาหนงมีวคยการเรี วามคิยดนรู สรตาามโครงสร งสรรคและแข งขัชนา ชวยพัฒนาผูเรียนตามหลั กสูตรและตัมาประยุ วชี้วัด เนืกต้อหาสาระแบ างรายวิ ในสังยคมไทยและสากล นแนวทางในการประกอบอาชี พ รัก่การทํ งานวยทํและ สะดวกแกการจัดการเรี นการสอนและการวัดเห็ผลประเมิ นผล พรอมเสริมองคประกอบอื นๆ ที่จาะช าให ที่ดทีตธิอภการทํ ผูเรียนไดรับความรูมีอเยจตคติ างมีประสิ าพ างาน สามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมไดอยางพอเพียงและ

ǪÕéÇÑ´áÅÐÊÒÃСÒÃàÃÕ¹Ãٌ᡹¡ÅÒ§Ï à¹×éÍËҵçµÒÁÊÒÃСÒÃàÃÕ¹Ãٌ᡹¡ÅÒ§ มีความสุข µÑµÒÁ·Õ ãËŒ¤ÇÒÁÃÙŒáÅÐàÍ×é͵‹Í¡ÒùíÒä»ãªŒÊ͹à¾×èÍ èËÅÑ¡ÊٵáíÒ˹´ à¾×èÍãËŒ·ÃÒº¶Ö§ ºÃÃÅصÑǪÕéÇÑ´ áÅÐÊÌҧ¤Ø³ÅѡɳР໇ÒËÁÒÂ㹡ÒÃÈÖ¡ÉÒ ¹¾Ö§»ÃÐʧ¤ สําหรับหนังสือเรียนที่ใชประกอบการเรียãËŒÍÑนการสอนสํ าหรับผูเ รียนในระดับชัน้ ô §Ò¹»ÃдÔÉ° àÍ¡ÅÑ¡มัɳ ธä·Âยมศึกษาปที่ ๕ (ม.๕) กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี จะจัด ทําแยกออกเปน ๒ เลมดวยกัน กลาวคือ แยกเปนการงานอาชีพและเทคโนโลยี เลมหนึ�ง (ซึ�งจะกลาวถึงสาระที่ ๑ การดํารงชีวิตและครอบครัว สาระที่ ๒ การออกแบบและเทคโนโลยี และสาระที่ ๔ การอาชีพ) และเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารอีกเลมหนึ�ง (ซึ�งเลมหลังน�้จะเนนหนักสาระที่ ๓ เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อ สาร) ทั้ ง น�้ ค รู ผู ส อนและสถานศึ ก ษาพึ ง ใช ควบคู กั น เพื่อประสิทธิภาพในการเรียนการสอนและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีของผูเรียน โดยเล ม การงานอาชี พ และเทคโนโลยี จะเป น สาระเกี่ ย วกั บ กระบวน การทํางานในชีวิตประจําวัน เพื่อชวยเหลือตนเอง ครอบครัว และสังคมได Web Guide á¹Ð¹íÒáËÅ‹§¤Œ¹¤ÇŒÒ¢ŒÍÁÙÅ àʹÍà¹×Íé ËÒ์¹·Ñ¡ÉСÃкǹ¡Òà à¡ÃÔè¹¹íÒà¾×èÍãˌࢌÒ㨶֧ÊÒÃÐÊíÒ¤ÑÞ ในสภาพเศรษฐกิจที่พอเพี ไมทําOnline ลายสิ�งแวดลอม เน¹í·í㪌นÒÒã§Ò¹Í‹ การปฏิ ัติจริà¾×งÍè ¡Òùíจนเกิ ҧ໚¹¢Ñบ¹é µÍ¹ Òä» ด à¾ÔèÁย àµÔÁง¼‹Ò¹Ãкº ã¹Ë¹‹Ç·Õè¨ÐàÃÕ¹ ¹ªÕÇÔµ»ÃШíÒÇѹ ความมัน� ใจและภูมàÊÃÔิใÁจในผลสํ เร็จของงาน  พบความสามารถ ความถนัด ÊÒÃШҡà¹×éÍาËҹ͡àË¹× Í¨Ò¡·ÕèÁÕã¹เพื่อใหคน ÊÒÃСÒÃàÃÕ Â ¹ÃÙŒ á ¡¹¡ÅÒ§Ï à¾×èÍà¾ÔèÁ¾Ù¹ ¡Ô¨¡ÃÃÁÊÌҧÊÃä ¾² ¹ÃÙŒ à¾×Íè ª‹Ç¾Ѳ¹Ò ความสนใจตนเองáÅТÂÒ¾ÃÁá´¹¤ÇÒÁÃÙ และการนําการออกแบบและเทคโนโลยี าใช¼ÅÊÑไÁดÑÄ·¸Ôอ¹Ò¡ÒÃàÃÕ ยìµÒÁµÑ างสร ㌠ˌ¡ÇŒÒ§¢ÇÒ§ÍÍ¡ä» ¼ÙŒàÃÕ¹ãËŒม ºÃÃÅØ ÇªÕéÇÑ´างสรรค ในการสรางสิ�งของเครื่องใช เพื่อเพิ�มประสิทธิภาพในการดํารงชีวิต ภายในเลมไดจเคัดรียแบ งเน�้อหาแยกเปนหนวยการเรียนรู มีเน�้อหาที่สอดคลอง ด ความ กับสาระการเรียนรูแกนกลาง รวมทั้งมีระดับความยากงายและจํานวนเน�้อหาที่ เหมาะสมกับเวลาเรียน ทั้งน�้ทางคณะผูเรียบเรียงหวังเปนอยางยิ�งวาหนังสือเรียน การงานอาชีพและเทคโนโลยีเลมน�้ จะเปนประโยชนอยางยิ�งตอการนําไปใช ประกอบการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษาทุกแหง ชวยใหผูเรียนไดรับ ความรู มีทักษะ มีคุณลักษณะอันพึงประสงค ตลอดจนบรรลุตัวชี้วัดตามที่ หลักสูตรแกนกลางฯ ไดกําหนดไวทุกประการ

¨Ñ´¡ÅØ‹Áà¹×éÍËÒ໚¹Ë¹‹Ç¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ Êдǡᡋ¡ÒèѴ¡ÒÃàÃÕ¹¡ÒÃÊ͹

วิธีทําสวนประกอบของมาลัย

๑) ตัวมาลัย ๑. ตัดกระดาษใชแลวเปนรูปกลีบตามแบบ ๒. รอยมาลัยเกลียวตามแบบ

หน่วย

การเรียนรู้ที่

ตัวชี้วัด

สร้างผลงานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ และมี ทักษะการท�างานร่วมกัน (ง ๑.๑ ม. ๔-๖/๒) มีทักษะการจัดการในการท�างาน (ง ๑.๑ ม. ๔-๖/๓) มีทักษะกระบวนการแก้ปัญหาในการท�างาน (ง ๑.๑ ม. ๔-๖/๔) ■ มี ทั ก ษะในการแสวงห าความรู ้ เ พื่ อ การ ด�ารงชีวิต (ง ๑.๑ ม. ๔-๖/๕) ■ มีคุณธรรมและลักษณะนิ สัยในการท�างาน (ง ๑.๑ ม. ๔-๖/๖) ■ ใช้ พ ลั ง งาน ทรั พ ยากรในการท� างานอย่าง คุ้มค่าและยั่งยืนเพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (ง ๑.๑ ม. ๔-๖/๗) ■

่อผลิตงานสิ่งพิมพ์ชนิดต่างๆ โดย ๒.๕) การออกแบบสิ่งพิมพ์ เป็นการออกแบบเพื านท�าความเข้าใจ และสร้างความประทบั ใจให้ มีจดุ หมายเพือ่ ให้สงิ่ พิมพ์มคี วามน่าสนใจ ง่ายต่อการอ่ พิมพ์ โปสเตอร์ แผ่นพับ ใบปลิว นามบัตร อ สื ง หนั อ สื ง หนั ก่ แ ได้ ้ นี บบประเภท กับผู้ชม งานออกแ มพ์ภาพลงบนสิ่งของเครื่องใช้ต่างๆ การ์ดอวยพร บัตรต่างๆ งานพิมพ์ลวดลายผ้า และงานพิ นการออกแบบเพือ่ สือ่ ความหมาย ๒.๖) การออกแบบสัญลักษณ์และเครือ่ งหมาย เป็ เกิดความเข้าใจได้ทนั ที โดยไม่จา� เป็นต้องมีภาษา เป็นสัญลักษณ์หรือเครือ่ งหมายทีผ่ พู้ บเห็นเห็นแล้ว ร เครื่องหมายสถานที่ เครื่องหมายที่ใช้กับ ก�ากับ งานออกแบบประเภทนี้ เช่น เครื่องหมายจราจ ่องหมายตามลักษณะสิ่งของเครื่องใช้ เป็นต้น เครื่องกล เครื่องหมายที่ใช้กับเครื่องใช้ไฟฟ้า เครื น เป็นการออกแบบเพือ่ เป็นแบบส�าหรับย่อ ขยายผลงา ๒.๗) การออกแบบหุน่ จ�าลอง เป็ บงานออกแบบประเภทน ี้ เช่น หุน่ จ�าลองบ้าน หรั า ๆ ส� ้ น นั ่ ง ดของสิ ตัวจริง หรือเพือ่ ศึกษารายละเอีย าลองทางวิทยาศาสตร์ เป็นต้น หุ่นจ�าลองผังเมือง หุ่นจ�าลองเครื่องจักรกล หุ่นจ�

เกร็ดน่ารู้

สาระการเรียนรู้แกนกลาง ■

๓. รอยมาลัยยาวประมาณ ๑๒ นิ้ว นําหัวทายมาผูกเปนวงกลม ๒) ดอกมะลิตูม ๑. เพนทสีชอลกตามรูปแบบเสนทึบ ๒. บิดฟองนํ้าตามแบบ ๓. มัดดายใหดอกใหญประมาณ ๑ ๑ เซนติเมตร ๔. พันฟลอราเทปและตัดกานดอกให๒ เหลือประมาณ ๐.๔ เซนติเมตร ๕. รูปแบบสําเร็จ

ทักษะการท�างานร่วมกัน เป็นการท�างานกลุม่ ท�างานร่วมกับผูอ้ นื่ ได้อย่างมีความสุข ท�างาน อย่ า งมี ก ระบวนการตามขั้น ตอนและฝ ก หลักการท�างานกลุม่ เช่น การประดิษฐ์ของใช้ ที่เป็นเอกลักษณ์ไทย การใช้พลังงาน ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและ ยั่งยืน เป็นคุณธรรมในการท�างาน

แนวทางการออกแบบสัญลักษณ์ ความหมาย าความเข้าใจวัตถุประสงค์หลักที่ต้องการสื่อ ในการออกแบบสัญลักษณ์ ควรเริ่มต้นจากการท� การออกแบบสัญลักษณ์ ลักษณ์ที่ทุกคนดูแล้วเกิดความเข้าใจตรงกัน ให้เข้าใจร่วมกัน แล้วแปรออกมาเป็นแบบสัญ ลักษณ์ให้ระวังอันตราย ก็ใช้ เด่นชัด และสื่อความหมายได้ทันที เช่น สัญ น ห็ เ ่ ี ท ี ส ใช้ ย า บง่ ย รี เ ู ด ่ นิยมใช้รูปทรงที ้นฐานที่มักน�ามาใช้ใน ก็ใช้รูปร่มกางกันฝน เป็นต้น ส�าหรับรูปแบบพื า ้ กน� ย การเปี ง ะวั ร ห้ ใ ษณ์ ก ลั ญ สั กะโหลก ว หั ป รู การออกแบบสัญลักษณ์มี ๓ รูปแบบ ดังนี้

ง านประดิษฐเอกลักษณไทยเปนชิ้นงานที่จัดทําหรือสรางขึ้นตั ้งแตสมัยบรรพบุรุษ ของไทย ที่สะทอนใหเห็นถึงวิถีชีิวิต วัฒนธรรมประ เพณี ภูมิปญญา เพื่อตกแตงสถานที่ หรือของใชตกแตงกายใหเกิดความสวยงาม งานประดิษฐเอกลักษณไทยมีอยูมากมาย เชน เครื่องประดับจากเปลือกหอย เครื่องจักสาน มาลัยดอกไมสด กระทงดอกไม เครื่องแขวน บายศรี ของเลน เปนตน ดวยคุณคาของงานปร ะดิษฐดังกลาวจึงควรแกการอนุรักษและ สืบสานตอไป ซึง่ นอกจากจะเปนการเผยแพร ค วามรูซ งึ่ เปนขุมทรัพยทางภูมปิ ญ  ญาอันสําคัญ ยิ่งแลว ยังเปนการเสริมสรางรายไดในการประกอ บอาชีพดวย

๑. รูปแบบจากธรรมชาติ เช่น คน สัตว์ พืช สิ่งของ เป็นต้น เป็นรูปแบบที่ดูง่าย

2. รูปแบบเรขาคณิต เช่น วงกลม สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม เป็นต้น เป็นสัญลักษณ์ที่สื่อความ หมายตรงตามความต้องการของ ผู้ออกแบบ

๓) ดอกตุมอุบะ นํากระดาษสาสี่เหลี ่ยมที่ตัดไวมวนเปนแกนดอก พันให แ หมายเลข ๒ มาประกบทีละกลีบ มั ดใหแนนดวยดาย นํากลีบเลี้ยงจํานวน นนดวยดาย และนํากลีบ ๕ กลีบ ติดกับดอกโดยใชกาว ทาเล็กนอย ตัดกานดอกใหขั้วสั​ั้นที ่สุดและทากาวสวนที่ตัดเพ เพื่อกันลุย

๓. รูปแบบตัวอักษรและตัวเลข ท�าให้เกิดรูปทรงใหม่ที่สวยงาม และสื่ อ ความหมายไ ด้ ส มบู ร ณ์ เช่นเดียวกัน

EB GUIDE

http://www.aksorn.com/LC/Car/M5/13

ลักษณะมาลัย

๑๑๓

๖๘

๑.4 การเลือกเสื้อผ้าให้เหมาะสมกับบุคลิก

เลือกสวมใส่มากกว่าผู้ชาย ดังนั้น แบบของเสื้อผ้าให้ความรู้สึกต่างกัน เสื้อผ้าผู้หญิงมีแบบให้ เสื้อผ้าที่ใช้บ่อยจึงไม่ควรเลือกแบบที่ทันสมัย และเด่นมากเกินไป เพราะจะท�าให้ล้าสมัยเร็ว ทัง้ นี ้ ในการเลือกแบบจะต้องค�านึงถึงบุคลิกของ ผู้สวมใส่และรูปร่างผู้สวมใส่ ดังนี้ ๑. คนลักษณะสุภาพเรียบร้อย ควร เลือกเสื้อผ้าที่ทิ้งตัว แบบเรียบ ติดโบว์ หรือปัก เล็กน้อยเพื่อให้เกิดจุดเด่น ๒. คนลักษณะแข็งแรงแบบนักกีฬา ควรเลือกเสื้อผ้าสีพื้นและมีลายเส้นตรง แบบ เรียบ เช่น เสื้อโปโล เป็นต้น ๓. คนลั ก ษณะมี ค วามเชื่ อ มั่ น ใน คนทีม่ ลี กั ษณะสุภาพเรียบร้อย ควรแต่งกายให้เหมาะสม ตนเองสูง ควรเลือกสีสด แบบเก๋สะดุดตา โดยสวมใส่เสื้อผ้าทิ้งตัว แบบเรียบ

ใบมอบหมายงานที่ ๕.๑

การรับมือกับ

ในการทํางาน อยครัง้ ทีต่ อ้ งประสบกบั ปญหา หรือมลภาติ วะใจ วันของเรานัน้ บ่ อ่ ร่างกายและจ ด�าเนินชีวติ ประจา� ดมักจะเปน็ โทษต กระเพาะ นใหญค่ วามเครีย ในการท�างานหรือ มดันโลหิตสูง โรค ดิ ความเครียด ส่ว ราเก เ ให้ า นท� งๆ ของร่างกาย ควา าท เป็นต้น ดังนัน้ เราจงึ เป็นพิษต่างๆ จ เมือ่ ยตามส่วนต่า ปวด ประส ว หั โรค า รปวด เศร้ ึ ม ต่อไปนี้ เช่น ท�าให้เกิดอากา หลับ จิตใจเกดิ ความวิตกกังวล ซ ความสุข ซึ่งมีดัง งมี า ย่ อ ด้ ไ ่ ไม่ อยู ต ิ ว ท้องผูก ท้องเสีย นอน ่อจะท�าให้เราด�ารงชี อกับความเครียดเพื ควรเรียนรู้วิธีรับมื เครียดนั้น ความ บ ั ก ่ อยู ไ้ ด้ ค่อยๆ เครียด เรามักจะจม เวลาที่เราเกิดความาอะไร ดังนัน้ เราตอ้ งตัง้ สติกบั ตัวเองให แก้ไขปัญหา ห้ได้ จนไมม่ สี มาธิทจี่ ะท� ปัญหา และพจิ ารณาหาแนวทางิดแก้ไขปัญหา ๑. ตั้งสติกับตัวเองใ ั หา ทีม่ าของ ยที่จะตามมา ต้องมีสติค เรียนรูป้ ญ ผล ดี-ข้อเสี โดยวิเคราะห์ถึงข้อ อย่าปล่อยให้อารมณ์อยู่เหนือเหตุ ก็ปล่อย ด้วยความรอบคอบ ด อดีตที่ผ่านมา าวันนี้ ิดก็ปล่อยให้มันเกิ ที จงท� โดยคิดว่าอะไรจะเก คตยังมาไม่ถึงก็ค่อยว่ากันอีก ให้มากที่สุด เราให้มากที่สุด ให้มันผ่านไป อนา 2. อยู่กับปัจจุบัน ่กับปัจจุบัน กับตัว เป็นผลดี ม่ ไ ก็ ให้ดีที่สุด หรืออยู สิ่งใดมากๆ าดหวังกับสิ่งหนึ่ง ทุกคนต้องประสบกับความ ีวิต การที่บางครั้งเราค ิต อย่ายึดติด ยดได้ เพราะในช วิตให้มากขึ้น อาจท�าให้เราเครี ง ดังนั้น เราควรปล่อยวางกับชีวง่ดี ก็จะท�าให้ ๓. ยืดหยุ่นกับชี หวั ด ิ กในแ และผ ง องโล วั สมห มากเกินไป และม หรือคาดหวังกับอะไร ถาม เรามีความสุข ว ทางทดี่ จี งหยุดค�า าจไมม่ คี า� ตอบตายตั จะต้องเป็นแบบที่เรา าถามบางค�าถามอ งๆ ตนเอง เพราะค�องถามตนเองว่า แล้วท�าไมสิ่งต่า องการของตวั เองไดม้ ากขึน้ บ กั น ต้ น ้ ึ ข ่ ที และล 4. ลดค�าถาม ให้น้อยลง ให้เราเข้าใจความต้ า าจท� อ ก็ ย อะไร ว า ด้ ท� า ไม” า ต้องการ ว่า “ท� จนไมค่ อ่ ยทีจ่ ะกล้ รู้สึก วในเรอื่ งเล็กๆ น้อยๆ ฝนความ มีบางคนค่อนข้างกลั ื่นจะไม่สบายใจ หรือท�าไปแล้วความมนั่ ใจใน งให้มากขึ้น ดังนัน้ จงมี กลัวว่าท�าไปแล้วคนอ ๕. มั่นใจในตนเอ ยูก่ บั ความเครียด ต่อคนอื่นให้น้อยลงแล้ว งจมอ ้ อ เลยต ของตนเอง ลดความรู้สึกอ่อนไหว ตนเองให้มากขึ้น ท�าในสิ่งที่ควรท�า

กับบุคลิก

เกร็ดน่ารู้

ชนิดของผ้า ส่วนใหญ่จะนิยมใช้กันอยู่ ๓ ชนิด ได้แก่

ผ้าที่น�ามาใช้ในการตัดเสื้อผ้ามีอยู่มากมายหลายชนิด แต่

๓. ผ้าฝายผสมผ้าใยสังเคราะห์ 2. ผ้าใยสังเคราะห์หรือผ้า TK หรือผ้า TC (cotton ผสม (polyester) เนื้อผ้ามีลักษณะด้าน ข้อดีของผ้าฝ้าย polyester) เนื้อผ้ามีลักษณะมัน ข้อดีของผ้า TK คือ

๑. ผ้าฝาย (cotton)

คือ ซับเหงือ่ ได้ดี ระบายอากาศได้ดี สวม ไม่ค่อยยับ อยู่ทรง ไม่หด ไม่ย้วย สีไม่ตก ใส่สบาย จึงเหมาะแก่ผู้อยู่กลางแจ้งและ แต่ข้อเสีย คือ ระบายอากาศได้ไม่ดี เมื่อ โดนแดดบ่อยๆ แต่กม็ ขี อ้ เสีย คือ ยับง่าย สวมใส่จะรู้สึกร้อน จึงเหมาะแก่ผู้ที่อยู่ใน และเมื่อซักบ่อยๆ จะย้วย ห้องแอร์

กิจกรรมสร้างสรรค์พัฒนาการเรียนรู้

เสริมสาระ

เนื้อผ้ามีลักษณะมันน้อยกว่าผ้า TK ระบายอากาศไม่ค่อยดี นิยมทอผ้า ให้เป็นรูเล็กๆ เพื่อช่วยระบายอากาศ และเพื่อความสบายขณะสวมใส่

๓๕

à¡Ãç´¹‹ÒÃÙŒà¾ÔèÁàµÔÁ¨Ò¡à¹×éÍËÒ ÁÕá·Ã¡à»š¹ÃÐÂÐæ

สุข

ิต กระทรวงสาธารณ

o.th กรมสุขภาพจ

ที่มา : www.dmh.g

เรื่อง การปลูกพืชในท้องถิ่น

ค�าชี้แจง ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมเป็นรายกลุ่มโดยปฏิบัติงานตามที่ก�าหนด ๑. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มตามความสนใจ กลุ่มละ ๔-๖ คน เพื่อศึกษาการปลูกพืชในท้องถิ่น ตามความสนใจของกลุ่ม (โดยแต่ละกลุ่มไม่ควรวางแผนการปลูกพืชชนิดเดียวกัน) ๒. ศึกษาข้อมูลการปลูกพืชจากแหล่งการเรียนรูต้ า่ งๆ เช่น หนังสือพิมพ์ เกษตรกรในท้องถิน่ หรือเกษตรอ�าเภอ หรือสืบค้นจากอินเทอร์เน็ต ตามความเหมาะสมกับสภาพท้องถิ่น ๓. บันทึกผลการปลูกพืชลงในแบบฝึกปฏิบัติการวางแผนปลูกพืช ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้ แบบฝึกปฏิบัติการวางแผนปลูกพืช ชื่อกลุ่ม ........................................... กลุ่มที่ ............................. รายชื่อสมาชิกกลุ่ม ๑) ................................................................................. ๔) .............................................................................. ๒) ................................................................................. ๕) .............................................................................. ๓) ................................................................................. ๖) .............................................................................. พืชที่จะผลิต .................................................... อายุการเก็บเกี่ยว ........................ วัน จ�านวนพื้นที่ใช้ผลิต .................. ตารางเมตร แนวทางการใช้ประโยชน์จากผลผลิตพืช ................. ....................................................................................................................................................................................

ขั้นตอนการปฏิบัติงาน วัน / เดือน / ปี

รายการปฏิบัติ

ผู้รับผิดชอบ

หมายเหตุ

...........................

.......................................................................................... ........................ .....................

...........................

.......................................................................................... ........................ .....................

...........................

.......................................................................................... ........................ .....................

...........................

.......................................................................................... ........................ .....................

๔. น�าเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน จากนั้นอภิปรายและสรุปผลการวางแผนการปลูกพืช ๕. น�าผลงานการวางแผนการปลูกพืชไปฝึกปฏิบตั จิ ริงในแปลงปลูกพืชหรือปลูกพืชในภาชนะ ของโรงเรียน หรือปลูกที่บ้านตามความเหมาะสม

99

คณะผูเรียบเรียง


กระตุน ความสนใจ Engage

หน่วยการเรียนรู้ที่

สํารวจคนหา Explore

ò

Expand

ทักษะกระบวนการทíางานและกระบวนการแก้ป˜Þหา หลักการทíางานเพื่อการดíารงชีวิต การแก้ป˜Þหาในการทíางานด้วยวง¨ร PDCA การแก้ป˜Þหาในการทíางานด้วยกิ¨กรรม ๕ ส

งานช‹างãนºŒาน ●

บทบาทหน้าที่ของตนเองที่มีต่อสมาชิกในครอบครัว โรงเรียน และชุมชน การ«่อมแ«มและติดตั้งอุปกรณ์ เครื่องใช้ภายในบ้าน

เÊ×éอ¼ŒาแลÐเคร×èองแต‹งกาย ● ● ● ●

หน่วยการเรียนรู้ที่

ขยายความเขาใจ

¡าÃàÃีÂนÃÙŒ¡ÃкÇน¡า÷íางานáÅÐ ¡ÃкÇน¡าÃá¡Œ»˜ÞËา ●

หน่วยการเรียนรู้ที่

Explain

ตรวจสอบผล Evaluate

ÊÒúÑÞ ●

หน่วยการเรียนรู้ที่

อธิบายความรู

การเลือกใช้เสื้อผ้าและเครื่องแต่งกาย การเลือก«ื้อเสื้อผ้าและเครื่องแต่งกาย การ«่อมแ«ม ตกแต่ง และดัดแปลงเสื้อผ้า การตัดเยçบเสื้อผ้าและของใช้ภายในบ้าน

งาน»รдÔษ° เอกลÑกษ³ äทย ●

● ●

ความหมาย ความสíาคัÞ และประโยชน์ของงานประดิษ°์ ที่เปšนเอกลักษณ์äทย ประเภทของงานประดิษ°์ที่เปšนเอกลักษณ์äทย ตัวอย่างงานประดิษ°์ที่เปšนเอกลักษณ์äทย

๑-๑๐ ๒ ๓ ๖ ๙

๑๑-๓๐ ๑๒ ๑๕

๓๑-๕ø ๓๒ ๓๖ ๔๓ ๔๘

๕ù-๗๔ ๖๐ ๖๑ ๖๔


กระตุน ความสนใจ Engage

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Explore

หน่วยการเรียนรู้ที่

Explain

Evaluate

การปลูกพืช การเลี้ยงสัตว์

๗๖ ๘๙

การออกแบบเทคโนโลยี ● ● ● ●

หน่วยการเรียนรู้ที่

ตรวจสอบผล

๗๕-๑๐๐

Expand

งานเกษตร ●

หน่วยการเรียนรู้ที่

ขยายความเขาใจ

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยี การออกแบบเทคโนโลยี การเขียนแบบชิ้นงานหรือผลิตภัณฑ์ กระบวนการเทคโนโลยีกับการออกแบบชิ้นงาน

งานอาชีพ ● ● ● ●

แนวทางการเข้าสู่อาชีพ การเลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมกับการประกอบอาชีพ ประสบการณ์ในอาชีพ คุณลักษณะที่ดีต่ออาชีพ

บรรณานุกรม

๑๐๑-๑๓๐ ๑๐๒ ๑๐๙ ๑๒๒ ๑๒๖

๑๓๑-๑๕๔ ๑๓๒ ๑๔๖ ๑๔๘ ๑๕๐

๑๕๕-๑๕๖


กระตุน ความสนใจ

ñ

กระตุEngage นความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

หน่วย

การเรียนรู้ที่

1. อธิบายวิธีการทํางานเพื่อการดํารงชีวิตได 2. ใชทกั ษะการจัดการในการทํางาน ทักษะการ ทํางานรวมกัน ทักษะกระบวนการแกปญหา ในการทํางาน ทักษะการแสวงหาความรู ในการสรางงานอยางมีความคิดสรางสรรค 3. มีคุณธรรมและลักษณะนิสัยที่ดีในการทํางาน 4. ใชทรัพยากรในการทํางานอยางคุมคาและ ยั่งยืน

¡ÒÃàÃÕ¹ÃÙŒ¡Ãкǹ¡Ò÷íÒ§Ò¹ áÅСÃкǹ¡ÒÃá¡Œ»˜ÞËÒ ตัวชี้วัด

อธิบายวิธีการท�างานเพื่อการด�ารงชีวิต (ง ๑.๑ ม. ๔-๖/๑) ■ สร้างผลงานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์และ มีทกั ษะการท�างานร่วมกัน (ง ๑.๑ ม. ๔-๖/๒) ■ มีทักษะการจัดการในการท�างาน (ง ๑.๑ ม. ๔-๖/๓) ■ มีทักษะกระบวนการแก้ปัญหาในการท�างาน (ง ๑.๑ ม. ๔-๖/๔) ■ มีทักษะในการแสวงหาความรู้เพื่อการด�ารง ชีวิต (ง ๑.๑ ม. ๔-๖/๕) ■ มีคุณธรรมและลักษณะนิสัยในการท�างาน (ง ๑.๑ ม. ๔-๖/๖) ■ ใช้ พ ลั ง งาน ทรั พ ยากรในการท� า งานอย่ า ง คุ้มค่าและยั่งยืนเพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม (ง ๑.๑ ม. ๔-๖/๗) ■

สมรรถนะของผูเรียน 1. ความสามารถในการคิด 2. ความสามารถในการแกปญหา 3. ความสามารถในการใชทักษะชีวิต

คุณลักษณะอันพึงประสงค

สาระการเรียนรู้แกนกลาง ■

1. 2. 3. 4.

วิธีการท�างานเพื่อการด�ารงชีวิต เป็นการ ท�างานที่จ�าเป็นเกี่ยวกับความเป็นอยู่ในชีวิต ประจ�าวัน

กระบวนการทํางานและกระบวนการแกปญหาเปนกระบวนการที่สําคัญในการทํางาน เพือ่ การดํารงชีวติ โดยเปนการทํางานทีม่ รี ะบบ มีขนั้ ตอน กระบวนการทํางานและกระบวนการ แกปญ  หามีลกั ษณะเดน คือ การทีเ่ ราเปนผูป ฏิบตั งิ านดวยตนเอง ไดรจู กั พัฒนาทักษะการคิด แกปญหาอยางมีขั้นตอน มีเหตุผล และฝกการทํางานกลุม การแกปญหาที่ดีควรหลีกเลี่ยง การยึดติดกับวิธีการตายตัวที่เชื่อวาจะนําไปสูการแกปญหา หากแตจะตองคิดอยูเสมอวาวิธี การแกปญหามีมากกวาหนึ่งทาง ซึ่งเราจําเปนตองเลือกทางที่ดีที่สุดเพื่อประหยัดคาใชจาย และเกิดความคุม คามากทีส่ ดุ การเรียนรูก ระบวนการทํางานและกระบวนการแกปญ  หาจะชวย ใหเราฝกวิธีทํางานอยางสมํ่าเสมอ ทั้งการทํางานเปนรายบุคคลและทํางานเปนกลุม ชวยให เกิดความคิดวิธีการแกปญหาตางๆ ตลอดจนชวยใหเกิดความชํานาญในการทํางานดวย

เปาหมายการเรียนรู

ซื่อสัตยสุจริต มีวินัย ใฝเรียนรู มุงมั่นในการทํางาน

กระตุน ความสนใจ

Engage

ครูใหนักเรียนดูภาพหนาหนวย จากนั้นถาม คําถาม เพื่อกระตุนความสนใจของนักเรียน • นักเรียนคิดวาการทํางานมีความสําคัญตอ การดํารงชีวิตอยางไร • นักเรียนมีเทคนิคอะไรที่ทําใหสามารถ ทํางานไดประสบผลสําเร็จ

เกร็ดแนะครู ครูควรจัดการเรียนรูเพื่อใหนักเรียนมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับการเรียนรู กระบวนการทํางานและกระบวนการแกปญหา ใหสามารถอธิบายวิธีการทํางานเพื่อ การดํารงชีวิตได มีทักษะการจัดการในการทํางาน ทักษะการทํางานรวมกัน ทักษะ กระบวนการแกปญหาในการทํางาน ทักษะการแสวงหาความรูเพื่อการสรางงาน อยางมีความคิดสรางสรรค มีคุณธรรมและลักษณะนิสัยที่ดีในการทํางาน และใช ทรัพยากรในการทํางานอยางคุม คาและยัง่ ยืน โดยครูจดั กิจกรรมการเรียนรู ดังนี้ • ใหนักเรียนตอบคําถามและแสดงความคิดเห็น เพื่อใหเกิดความรูความเขาใจ เกี่ยวกับกระบวนการทํางานและกระบวนแกปญหา • ใหนักเรียนทํางานกลุมโดยการนําวงจร PDCA มาใชในกระบวนการทํางาน และแกปญหา เพื่อใหนักเรียนสามารถแกปญหาในการทํางานได • ใหนักเรียนทํากิจกรรม 5 ส ที่บาน เพื่อใหสามารถแกปญหาการทํางานได จากกิจกรรมดังกลาว คูมือครู

1


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุEngage นความสนใจ

Exploreนหา สํารวจค

กระตุน ความสนใจ

Engage

ครูใหนักเรียนดูภาพชิ้นงานประเภทตางๆ แลว ตั้งคําถามกระตุนความสนใจนักเรียน • ในการทําชิ้นงานดังกลาวใหสําเร็จจะตองใช ทักษะกระบวนการทํางานใดบาง (แนวตอบ ในการทําชิ้นงานใหสําเร็จจะตอง อาศัยทักษะกระบวนการทํางานที่หลากหลาย เชน ใชทักษะกระบวนการแกปญหา ทักษะ การทํางานกลุม ทักษะการแสวงหาความรู ทักษะการจัดการงาน เปนตน)

สํารวจคนหา

๑. ทักษะกระบวนการท�างานและกระบวนการแก้ปัญหา การท�างานมีความส�าคัญต่อชีวติ มนุษย์เป็นอย่างยิง่ อาจกล่าวได้วา่ การท�างานเป็นส่วนหนึง่ ของชีวติ ทีป่ ฏิบตั มิ ากกว่ากิจกรรมใดๆ การท�างานเป็นสิง่ ทีใ่ ห้ประสบการณ์ทมี่ คี ณ ุ ค่าต่อชีวติ มนุษย์ เพราะเป็นโอกาสที่ท�าให้เกิดการวางแผน การปฏิบัติตามขั้นตอนต่างๆ การปรับปรุงแก้ไขและ พัฒนาระบบให้ดียิ่งขึ้น ดังนั้น การท�างานจึงเป็นการเปิดโอกาสให้คนแสดงออกถึงเชาว์ปัญญา ความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ อันจะน�ามาซึ่งเกียรติภูมิและความพึงพอใจในชีวิต ๑) ทักษะกระบวนการท�างาน หมายถึง การท�างานด้วยตนเอง โดยมุ ่งเน้นการปฏิบัติ 1 อย่างสม�่าเสมอ ทั้งการท�างานเป็นรายบุคคลและการท�างานเป็นกลุ่ม เพื่อให้สามารถท�างานได้ บรรลุตามเป้าหมาย ซึ่งกระบวนการท�างานมีขั้นตอน ดังนี้ ๑.๑) การวิเคราะห์งานหรือภาระงาน คือ การก�าหนดภาระงานหรือแจกแจงงานที่จะ ท�าว่าเป็นงานประเภทใด หรือลักษณะงานที่ท�าต้องใช้เครื่องมือและอุปกรณ์อะไรบ้าง และมีล�าดับ ขั้นตอนในการปฏิบัติงานอย่างไร กล่าวคือ ฝึกให้ผู้ปฏิบัติงานทุกคนมองงานโดยภาพรวมออกมา ว่าจะต้องท�างานกับใคร ท�างานที่ไหน และท�างานอย่างไร 2 ๑.๒) การวางแผนในการปฏิบัติงาน คื าน อ การวางแผนในการท�างานว่าจะใช้ก�าลังคนใน การท�างานอย่างไร จะท�าคนเดียวหรือท�าเป็นกลุ่ม ถ้าท�าเป็นกลุ่มจะต้องแบ่งหน้าที่การท�างานกัน ง องใช้เงินลงทุนมากน้อยเท่าไร ตลอดจน อย่างไร ต้ต้องใช้วัสดุ อุปกรณ์ และเครื่องมืออะไรบ้าง ต้ การก�าหนดรูปแบบและวิธีการท�างานอย่างเป็นขั้นตอนจนงานส�าเร็จ าน คือ การท� การท�างานตามล�าดับขัน้ ตอนทีว่ างแผนไว้ เป็นการฝึกให้มนี สิ ยั ๑.๓) การปฏิบตั งิ าน คื รักการท�างาน มีความรับผิดชอบ ขยัน อดทน ซื่อสัตย์ และสามารถตรวจสอบกระบวนการ ระยะๆ เพื่อให้งานที่ท�า ท�างานของตนเองเป็นระยะๆ มีคุณภาพ ๑.๔) การประเมินผลการท�างาน คอื การ ตรวจสอบและประเมินผลการท�างานทุกขัน้ ตอน โดยจะต้องวิเคราะห์ถงึ สภาพปัญหาทีเ่ กิดขึน้ ใน การท�างาน ตลอดจนหาวิธกี ารและกระบวนการ หา อ่ งานส�าเร็จก็ให้ประเมินว่าผลงาน แก้ปญั หา เมื ในการท�างานเป็ างานเป็นกลุ่มจะต้องมีการวางแผนและปฏิบัติ งานตามแผนที่วางไว้ เพื่อให้การท�างานส�าเร็จตาม บรรลุตามจุดมุ่งหมายหรือไม่ มีข้อดี ข้อเสีย เป้าหมาย อย่างไร เพื่อจะได้น�าไปปรับปรุงแก้ไขให้ดีขึ้น

Explore

ใหนักเรียนศึกษาคนควาเกี่ยวกับทักษะ กระบวนการทํางานและการแกปญ  หา จากหนังสือเรียน หนา 2-3 หรือศึกษาจากแหลงการเรียนรูอื่นๆ เพิ่มเติม หรือสอบถามจากผูมีประสบการณในการ ทํางาน เปนตน เพื่อนําขอมูลที่ศึกษามาอภิปราย รวมกันในชั้นเรียน

อธิบายความรู

Explain

ครูและนักเรียนอภิปรายรวมกันถึงทักษะ กระบวนการทํางานและกระบวนการแกปญ  หา สามารถนํามาปฏิบัติงานไดอยางไร โดยครูสุมเลือก นักเรียนออกมาอธิบาย (แนวตอบ ทักษะกระบวนการทํางานประกอบดวย ขั้นตอน ดังนี้ 1. การวิเคราะหงาน หรือการกําหนด ภาระงานในภาพรวม 2. การวางแผนในการปฏิบัติ งาน แบงหนาที่การทํางาน วัสดุ อุปกรณ กําลังคน ในการทํางาน 3. การปฏิบัติงาน ทํางานตามลําดับ ขั้นตอนตามที่วางแผนไว 4. ประเมินผลการทํางาน เพื่อใหทราบปญหา สวนกระบวนการแกปญหาประกอบดวย ขั้นตอน ดังนี้ 1. การสังเกต 2. การวิเคราะห 3. การสรางทางเลือก 4. การประเมินทางเลือก)

2

นักเรียนควรรู 1 การทํางานเปนกลุม ปจจัยที่นําไปสูการทํางานเปนกลุมใหประสบความ สําเร็จ ไดแก ความไววางใจกัน มีความซื่อสัตยตอกัน มีการมอบหมายงานอยาง ชัดเจนและทุกคนในกลุมยอมรับภารกิจนั้น สมาชิกแตละคนตองเขาใจและ ปฏิบัติตามบทบาทหนาที่ของตนและเขาใจบทบาทของผูอื่นในกลุม และการสราง บรรยากาศของการทํางานอยางเปนกันเองเพื่อใหทุกคนชวยกันทํางานอยางจริงจัง และจริงใจ ไมแสดงความเบื่อหนายงาน 2 การวางแผนในการปฏิบัติงาน จะชวยในการกําหนดทิศทางในการทํางาน ทําใหทุกคนสามารถปฏิบัติงานใหเปนไปในทิศทางเดียวกัน หากไมมีการวางแผน ก็จะทําใหแตละคนทํางานไปคนละทิศละทาง จนอาจกอใหเกิดความสับสน ความ ขัดแยง และความลาชาในการทํางาน

2

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ขอใดตอไปนี้จัดเปนขั้นตอนการวางแผนในการปฏิบัติงาน 1. แจมทําอุปกรณสําหรับกองเชียร 2. จอยกําหนดงบประมาณในการจัดงานกีฬาสี 3. จิ๋วเรียกประชุมสมาชิกเพื่อใหสมาชิกเตรียมตัวจัดงานกีฬาสี 4. แจววิเคราะหปญหาในการจัดงานกีฬาสีเพื่อการจัดงานปหนา วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 2. ขั้นตอนการวางแผนในการปฏิบัติ งาน เปนขั้นตอนในการจัดวาจะใชคนเทาใด ใชอุปกรณใดบาง ใชเงินลงทุนเทาใด รูปแบบงานเปนอยางไร ซึ่งจอยกําหนด งบประมาณในการจัดงานกีฬาสี จัดอยูในขั้นตอนการวางแผนใน การปฏิบัติงานเนื่องจากเปนการกําหนดคาใชจายในงานกีฬาสีเพื่อ ใหสมาชิกสามารถจัดสรรงบประมาณในการจัดงานไดอยางลงตัว


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุEngage นความสนใจ

สํารวจค Exploreนหา

กระตุน ความสนใจ ๒) ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา หมายถึง กระบวนการที่ต้องการให้ผู้ปฏิบัติงาน เกิดความคิดหาวิธีการแก้ปัญหาต่างๆ อย่างมีระบบ ซึ่งมีขั้นตอน ดังนี้ ๒.๑) การสังเกต เริ่มจากเราจะต้องศึกษาข้อมูลเบื้องต้น และท�าความเข้าใจใน ปัญหานัน้ ๆ ๒.๒) การวิเคราะห์ เป็นการจ�าแนกและจัดล�าดับความส�าคัญ สาเหตุของปัญหา แต่ละปัญหาที่เกิดในขณะท�างาน และเลือกแก้ปัญหาที่ส�าคัญก่อนตามล�าดับความเหมาะสม 1 ๒.๓) การสร้างทางเลือก เป็นการเปิดโอกาสให้เราได้แสวงหาทางเลือกในการ แก้ปัญหาอย่างหลากหลาย ซึ่งอาจใช้วิธีศึกษาค้นคว้า ทดลอง ตรวจสอบ เพื่อเป็นข้อมูลของการ ตัดสินใจหาทางเลือกในการแก้ปัญหาที่ดีที่สุดและมีผลกระทบต่อการท�างานน้อยที่สุด ๒.๔) การประเมินทางเลือก เป็นการพิจารณาข้อมูลของทางเลือกต่างๆ แล้วน�า มาประเมินทางเลือก ต้องมีการวางแผนปฏิบัติงานอย่างเป็นขั้นตอน บันทึกผลการปฏิบัติงาน เพื่อรายงาน และตรวจสอบความถูกต้องของทางเลือกในการแก้ปัญหา

๒. หลักการท�างานเพื่อการด�ารงชีิวิต 2.๑ หลักการพัฒนาคุณภาพในการท�างาน ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของเราเพื่อให้เป็นคนดี คนเก่ง และให้การท�างานมีคุณภาพดีเป็น เป้าหมายส�าคัญ การฝึกทักษะการท�างานอย่างเดียวคงไม่เพียงพอ ควรมีการฝึ 2 กทักษะทางด้านการ เข้าสังคม การท�างานเป็นกลุ่มหรือหมู่คณะ การปรับตัวให้มีมนุษยสัมพันธ์และเสริมสร้างลักษณะ ชีวิตบางประการด้วย ส�าหรับหลักการพัฒนาคุณภาพในการท�างาน มีดังนี้ มีสติปัญญา ความเฉลียวฉลาด มีจริยธรรม ซื่อสัตย์ และเสียสละ มีความรู้และประสบการณ์ในงานที่ท�า มีความเชื่อมั่นในความสามารถของตนเอง สร้างแรงจูงใจ ความมานะพากเพียรไปสู่ความส�าเร็จ มีความคิดสร้างสรรค์ คิดเป็น ท�าเป็น และจัดการเป็น มีทัศนคติ ค่านิยมที่ดีต่อการท�างานและสถานการณ์แวดล้อมทั่วไป

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

สิ่งใดตอไปนี้ที่ทําใหการทํางานกลุมประสบความสําเร็จ 1. หัวหนากลุมมีความรูมาก 2. สมาชิกในกลุมมีสุขภาพจิตที่ดี 3. หัวหนากลุมมีความเชื่อมั่นในตนเองสูง 4. สมาชิกในกลุมรอรับคําสั่งจากหัวหนากลุม

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 2. ในการทํางานกลุมใหประสบ ความสําเร็จจะตองมีมนุษยสัมพันธที่ดีตอกัน เริ่มจากการมี สุขภาพจิตที่ดี จะทําใหยิ้มแยมแจมใส มีเหตุผลมากขึ้น ไมใช อารมณในการทํางาน ทําใหเรามองโลกในแงดี รูจักการเสียสละ และใหอภัย ดังนั้นการมีสุขภาพจิตที่ดีเปนสิ่งสําคัญในการ ทํางานกลุมที่จะขาดไปไมได

1. ครูนําภาพยนตรหรือรายการโทรทัศน หนังสั้น เกี่ยวกับชีวิตของวัยรุนที่มุงมั่นในการทํางาน จนประสบความสําเร็จ เรื่อง วัยรุนพันลาน มาใหนักเรียนดูหรือใหนักเรียนไดศึกษาชีวิต ของบุคคลที่ประสบความสําเร็จในการทํางาน เพื่อใหนักเรียนไดเห็นทักษะในการทํางาน ที่ประสบผลสําเร็จ และครูซักถามนักเรียนวา • นักเรียนไดหลักการทํางานอะไรจากการดู เรื่องดังกลาว (แนวตอบ เชน การมีความเชื่อมั่นในตนเอง ความมานะพากเพียร การมีความคิด สรางสรรค เปนตน)

สํารวจคนหา

Explore

ครูใหนักเรียนศึกษาคนควาเกี่ยวกับหลักการ ทํางานเพื่อการดํารงชีวิต จากหนังสือเรียน หนา 2-3 หรือศึกษาจากแหลงการเรียนรูอื่นๆ เพิ่มเติม หรือสอบถามจากผูมีประสบการณในการ ทํางาน เปนตน เพื่อนําขอมูลที่ไดมาอภิปราย รวมกันในชั้นเรียน

อธิบายความรู

มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี

หลักการพัฒนา คุณภาพ ในการท�างาน

Engage

Explain

ครูใหนักเรียนชวยกันแสดงความคิดเห็น เกี่ยวกับหลักการพัฒนาคุณภาพในการทํางาน วาสามารถนํามาใชในการทํางานไดอยางไร (แนวตอบ หลักการพัฒนาคุณภาพในการ ทํางาน เชน การมีสติปญญา ทําใหสามารถแก ปญหาในการทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ การมีความรูและประสบการณ การมีความมานะ พากเพียร เพราะหากขาดหลักการนี้จะทําใหงาน ไมประสบผลสําเร็จหรืองานไมมีประสิทธิภาพ)

นักเรียนควรรู 1 ทางเลือกในการแกปญหา หากประสบปญหาในการทํางานอยาใชทางเลือก ในการแกปญหาเพียงทางเดียว เพราะจะเปนการจํากัดทางเลือกทางอื่นและยัง ทําใหเสียโอกาสในทางเลือกอื่นๆ ในการแกปญหา นอกจากนี้จะตองรวบรวม วิเคราะหขอดี-ขอเสียของทางเลือกแตละแนวทาง เพื่อนํามาปรับใชใหเหมาะสม กับลักษณะของปญหากับงานนั้นๆ 2 การปรับตัวใหมีมนุษยสัมพันธ เชน การทักทายปราศรัยผูอื่นกอน การรับ ฟงความคิดเห็นของผูอื่น การไมดูถูกผูที่ออนดอยกวา การไมเห็นแกตัว ชวยเหลือ เกื้อกูลซึ่งกันและกัน การมีกิริยาสุภาพพูดจาไพเราะ การยิ้มแยมแจมใส เปนตน หากเรารูจักปรับตัวใหมีมนุษยสัมพันธที่ดี ยอมเปนที่นาเชื่อถือรักใครของผูอื่น เกิดความราบรื่นในการคบหาสมาคม และการทํางานประสบผลสําเร็จ ทํางาน รวมกันอยางมีความสุข

คูมือครู

3


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

Explain

1. ครูใหนกั เรียนชวยกันแสดงความคิดเห็นเกีย่ วกับ ประเด็นความสําคัญของคุณภาพในการทํางาน วามีความสําคัญอยางไรในยุคปจจุบัน โดยครู ใหอาสาสมัครตัวแทนนักเรียนมา 3-4 คน ออกมาแสดงความคิดเห็นที่หนาชั้นเรียน (แนวตอบ คุณภาพในการทํางานมีความสําคัญมาก ในปจจุบันมีการแขงขันกันสูง เชน ในภาคธุรกิจ ที่มุงเนนคุณภาพของงานเพื่อศักยภาพในการ แขงขัน หากคุณภาพของงานไมดีก็ไมสามารถ แขงขันกับธุรกิจอืน่ ได ทางดานแรงงานก็เชนกัน หากขาดทักษะในการทํางาน ผลงานไมมี ประสิทธิภาพ ก็จะเปนสาเหตุหลักที่ทําใหถูก เลิกจางในที่สุด) 2. ครูใหนักเรียนชวยกันบอกวิธีการพัฒนาการ ทํางานใหมีคุณภาพมากขึ้น ใหนักเรียนออกมา อธิบายแตละขั้นตอนใหเพื่อนฟงหนาชั้นเรียน (แนวตอบ การพัฒนาการทํางานใหมีคุณภาพ มีวิธีการ เชน 1. ปรับปรุงและพัฒนาวิธีการทํางาน โดย ลดทอนขั้นตอนที่ยุงยากซับซอนลงไป เพื่อให ทํางานไดสะดวกสบายและคลองแคลววองไว มากขึ้น 2. คนหาวิธีการทํางานที่ชวยใหประหยัด ทรัพยากร เชน เวลา แรงงาน วัสดุ อุปกรณ ใหคุมคามากขึ้น 3. พัฒนาการทํางานใหถูกตอง เพื่อใหเกิด ความปลอดภัยตอการทํางาน 4. พยายามสรางหรือคนหาวิธีทํางานที่สราง ความพอใจใหแกตนเองและผูอื่น เพื่อใหมี ประสบการณการทํางานมากขึ้น)

1

2.2 คุ คุณภาพในการท�างาน

โลกในปัจจุบันมีการแข่งขันสูง มีคนว่างงานเป็นจ�านวนมาก บริษัทหรือสถานประกอบการ หลายแห่งปลดพนักงานออก ส่วนหนึ่งเป็นเพราะคนเหล่านั้นขาดคุณภาพในการท�างาน ดังนั้น ถ้าหากเราไม่รู้จักปรับปรุงและพัฒนาการท�างานของตนเองให้มีคุณภาพมากขึ้นตามล�าดับ แม้ว่า จะมีประสบการณ์ในการท�างานก็ตาม เราก็จะ ไม่สามารถเพิม่ คุณภาพในการท�างานได้ ซึง่ การ พัฒนาการท�างานให้มีคุณภาพมีวิธีการ ดังนี้ ๑. ปรับปรุง พัฒนาวิธีการท�างานให้ สะดวกสบายและดีขึ้นกว่าเดิม เช่น ลดขั้นตอน หรือเพิม่ เทคนิคบางอย่างเข้าไป เพือ่ ให้สามารถ ท�างานได้คล่องแคล่วว่องไวขึ้น เป็นต้น ๒. ค้นหาวิธกี ารท�างานให้ประหยัด ลด การน�าอุปกรณ์และกระบวนการเทคโนโลยีมาช่วยใน การใช้ อุ ป กรณ์ แ ละก� า ลั ง คนได้ อ ย่ า งคุ ้ ม ค่ า การท�างาน จะท�าให้ท�างานได้สะดวกสบายและงานมี เพื่ อ เพิ่ ม ผลผลิ ต ในการท� า งาน หรื อ ให้ ง าน ประสิทธิภาพมากขึ้น มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมากขึ้ น โดยน� า กระบวนการ เทคโนโลยีมาใช้ในการท�างาน ๓. พัฒนาการท�างานให้มีความถูกต้องเพื่อลดการสูญเสีย และเพิ่มความปลอดภัยใน การท�างาน ๔. พยายามสร้างหรือค้นหาวิธีการท�างานที่สร้างความพอใจให้แก่ตนเองและผู้อื่น มากกว่าที่เป็นอยู่เพื่อให้ประสบการณ์การท�างานเพิ่มขึ้น สามารถพัฒนาไปสู่คุณภาพได้

2.๓ วิ 2.๓ วิธีท�างานอย่างมีความสุข คนเราส่วนใหญ่ในปัจจุบนั มักจะไม่ได้ทา� งานในสิง่ ทีต่ นอยากจะท�าจริงๆ แต่กลับต้องท�างานที่ ใจไม่รกั ไม่ ไม่ชอบ อบ แต่ แต่ทตี่ อ้ งจ�าใจท�าก็เพราะไม่มที างเลือกก เพือ่ จะมีรายได้มาเลีย้ งชีวติ และครอบครัว ดังนั้น เพื่อให้เกิดความรู้สึกอยากท�างาน งาน จึงขอแนะน�าเคล็ดลับวิธีท�างานซึ่งเราสามารถน�าไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจ�าาวัวันได้โดยมี ๓ วิธี ดังนี้ ๑) มองให้เห็นคุณค่าของงาน การท�างานทุกอย่างมีคณุ ค่าต่อการด�ารงชีวติ หากเรา รู้จักมองให้เห็นคุณค่าของงานที่ก�าลังท�าอยู่ว่าได้ช่วยเหลือเกื้อกูลใครหรือท�าประโยชน์แก่ใครบ้ 2 าง เราก็จะเกิดความรัก ความภาคภูมิใจจ และความมั่นใจในงานของตนเอง ใจในงานของตนเอง ซึ่งจะเป็นพลังใจให้เรา ท�างานอย่างมีความสุขมากขึ้น หรือสามารถต่อสู้กับงานที่ยากล�าบากหรือน่าเบื่อหน่ายต่อไปได้ 4

นักเรียนควรรู 1 คุณภาพในการทํางาน ประกอบดวย ชั่วโมงการทํางาน สภาพแวดลอม การทํางาน คาจาง ผลประโยชนและบริการ ความกาวหนาในการทํางาน และ การมีมนุษยสัมพันธ ซึ่งมีผลตอการปฏิบัติงานและยังเปนแรงจูงใจใหเกิดความ ตองการทํางานเพื่อนําไปสูประสิทธิภาพและเกิดการเพิ่มผลผลิตของบริษัท หรือองคกร ในที่สุด รวมทั้งสงผลตอเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศอีกดวย 2 พลังใจ การที่จะมีพลังใจในการทํางานไดนั้น ตองเริ่มตนจากการรูจักตนเอง กอนวาอะไรเปนสิ่งที่มีคาและเปนที่ตองการมากที่สุดในชีวิต แลวนําสิ่งนั้นมาตั้งเปน จุดหมายเพื่อไปใหถึงความสําเร็จ การสรางพลังใจ ในการทํางานโดยการบริหาร ตนเอง เพื่อไมใหเกิดความเครียด เชน มีการแกปญหาอยางถูกวิธี บริหารเวลาได เหมาะสม ปรับเปลี่ยนความคิดใหยืดหยุน มีเหตุผล พักผอนใจเพื่อผอนคลายจาก งาน รูจักยืนยันสิทธิของตน สรางความเขมแข็งทางจิตใจ สรางสัมพันธภาพที่ดีกับ เพื่อนรวมงาน เปนตน

4

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ขอใดเปนวิธีการทํางานอยางมีความสุข 1. แอรตั้งความหวังวาจะทํางานใหดีกวาเพื่อน 2. อิ๋วไปพักผอนกับเพื่อนกอนแลวจึงกลับมาทํางาน 3. เอทํางานไปเรื่อยๆ สบายๆ ใกลกําหนดจึงคอยเรงมือ 4. โอทํางานที่ตนเองถนัดและชอบดวยความมั่นใจและมีความสุข วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 4. การทํางานที่ตนเองชอบจะมี ความสุขกับการทํางานและวิธีการทํางานอยางมีความสุขสามารถ ทําได ดังนี้ เห็นคุณคาของงานที่ทํา จะทําใหเกิดความภูมใิ จและ ตัง้ ใจทํางานอยางกระตือรือรน ไมควรเครงเครียดกับงาน เกินไปจน ไมมีเวลาพักผอน หรือควรมีความมั่นใจในตนเองใหมากขึ้น


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

เสริมสาระ การรับมือกับ

ความเครียดในการทํางาน

ในการท�างานหรือด�าเนินชีวติ ประจ�าวันของเรานัน้ บ่อยครัง้ ทีต่ อ้ งประสบกับปญหา หรือมลภาวะ เป็นพิษต่างๆ จนท�าให้เราเกิดความเครียด ส่วนใหญ่ความเครียดมักจะเป็นโทษต่อร่างกายและจิตใจ เช่น ท�าให้เกิดอาการปวดหัว ปวดเมือ่ ยตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย ความดันโลหิตสูง โรคกระเพาะ ท้องผูก ท้องเสีย นอนไม่หลับ จิตใจเกิดความวิตกกังวล ซึมเศร้า โรคประสาท เป็นต้น ดังนัน้ เราจึง ควรเรียนรู้วิธีรับมือกับความเครียดเพื่อจะท�าให้เราด�ารงชีวิตอยู่ได้อย่างมีความสุข ซึ่งมีดังต่อไปนี้ ๑. ตั้งสติกับตัวเองให้ได้

เวลาที่เราเกิดความเครียด เรามักจะจมอยู่กับความเครียดนั้น จนไม่มสี มาธิทจี่ ะท�าอะไร ดังนัน้ เราต้องตัง้ สติกบั ตัวเองให้ได้ ค่อยๆ เรียนรูป้ ญ ั หา ทีม่ าของปัญหา และพิจารณาหาแนวทางแก้ไขปัญหา โดยวิเคราะห์ถึงข้อดี-ข้อเสียที่จะตามมา ต้องมีสติคิดแก้ไขปัญหา ด้วยความรอบคอบ อย่าปล่อยให้อารมณ์อยู่เหนือเหตุผล 2. อยู่กับปัจจุบันให้มากที่สุด โดยคิดว่าอะไรจะเกิดก็ปล่อยให้มันเกิด อดีตที่ผ่านมาก็ปล่อย ให้มันผ่านไป อนาคตยังมาไม่ถึงก็ค่อยว่ากันอีกที จงท�าวันนี้ ให้ดีที่สุด หรืออยู่กับปัจจุบัน กับตัวเราให้มากที่สุด 1 การที่บางครั้งเราคาดหวังกับสิ่งหนึ่งสิ่งใดมากๆ ก็ไม่เป็นผลดี ๓. ยืดหยุ่นกับชีวิตให้มากขึ้น อาจท�าให้เราเครียดได้ เพราะในชีวิตทุกคนต้องประสบกับความ สมหวังและผิดหวัง ดังนั้น เราควรปล่อยวางกับชีวิต อย่ายึดติด หรือคาดหวังกับอะไรมากเกินไป และมองโลกในแง่ดี ก็จะท�าให้ เรามีความสุข 4. ลดค�าถามที่ขึ้นต้นกับตนเอง เพราะค�าถามบางค�าถามอาจไม่มคี า� ตอบตายตัว ทางทีด่ จี งหยุดค�าถาม และลองถามตนเองว่า แล้วท�าไมสิ่งต่างๆ จะต้องเป็นแบบที่เรา ว่า “ท�าไม” ให้น้อยลง ต้องการด้วย ก็อาจท�าให้เราเข้าใจความต้องการของตัวเองได้มากขึน้ ๕. มั่นใจในตนเองให้มากขึ้น มีบางคนค่อนข้างกลัวในเรือ่ งเล็กๆ น้อยๆ จนไม่คอ่ ยทีจ่ ะกล้าท�าอะไร กลัวว่าท�าไปแล้วคนอื่นจะไม่สบายใจ หรือท�าไปแล้วฝนความรู้สึก ของตนเอง เลยต้องจมอยูก่ บั ความเครียด ดังนัน้ จงมีความมัน่ ใจใน ตนเองให้มากขึ้น ลดความรู้สึกอ่อนไหวต่อคนอื่นให้น้อยลงแล้ว ท�าในสิ่งที่ควรท�า ที่มา : www.dmh.go.th กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข

บูรณาการเชื่อมสาระ

ครูสามารถนําเนื้อหาเรื่องการการรับมือกับความเครียดในการ ทํางาน ไปบูรณาการกับกลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา วิชา สุขศึกษา ในหัวขอ หลัก 5 อ. เพื่อสุขภาพ และคุณภาพชีวิต ที่ดี ซึ่งหลักการดังกลาวที่ใชปฏิบัติเพื่อสรางสุขภาพรางกายและ จิตใจใหแข็งแรง ไดแก อาหาร ควรรับประทานอาหารที่มีประโยชน อากาศ อยูในสถานที่ที่มีอากาศบริสุทธิ์ อารมณ ตองมีอารมณแจมใส อุจจาระ มีระบบขับถายที่ดี ออกกําลังกาย เพื่อการมีสุขภาพรางกายแข็งแรง ในหลัก อ.3 ทีเ่ ปนหลักปฏิบตั เิ กีย่ วกับอารมณ ซึง่ เปนสาเหตุ สําคัญทีท่ าํ ใหเกิดความเครียด จนทําใหเกิดผลเสียตอรางกาย เพราะ อารมณ มีความสัมพันธกับสภาพรางกาย ถาอารมณดีไมเครียด สุขภาพรางกายและจิตใจจึงจะดี แตถาหากเกิดความเครียด จะทําใหระบบในรางกายทํางานผิดปกติทําใหปวยได

Explain

1. ครูใหนักเรียนบอกถึงความเครียดที่เกิดขึ้นกับ นักเรียนมาคนละ 1 อยาง พรอมบอกวิธีการ รับมือกับความเครียดที่นักเรียนปฏิบัติ 2. ครูใหนักเรียนหาขาวที่มีสาเหตุเกิดมาจาก ความเครียด โดยใหนักเรียนวิเคราะหถึง สาเหตุที่ทําใหเกิดเหตุการณนั้นๆ และวิธี รับมือทีถ่ กู ตอง โดยครูสมุ เลือกนักเรียนออกมา เลาขาวและอธิบายใหเพื่อนฟงหนาชั้นเรียน 3. ครูและนักเรียนสนทนารวมกันถึงโทษที่เกิด จากความเครียดที่มักเกิดขึ้นจากการทํางาน โดยใหนักเรียนแตละคนบอกมาคนละ 1 ขอ (แนวตอบ โทษที่เกิดจากความเครียดจาก การทํางานมีอยูหลากหลาย ซึ่งสงผลเสียตอ สุขภาพทางรางกายและจิตใจ ทําใหงานที่ทํา ไมมีประสิทธิภาพ เนื่องจากขาดสมาธิในการ ทํางาน เกิดความขัดแยงกับบุคคลรอบขาง เนื่องจากการใชอารมณ เปนตน) 4. ครูตั้งประเด็นคําถามเพื่อการเรียนรูของ นักเรียนวา • การสรางความมั่นใจในตนเองชวยลดภาวะ ความเครียดในการทํางานไดอยางไร (แนวตอบ การเพิ่มความมั่นใจใหตนเองทําได โดยการลดความกลัวลง กลาที่จะทําในสิ่งที่ ถูกตอง ไมควรฝนความรูสึกของตนเอง ทําในสิ่งที่ควรทํา ลดความรูสึกออนไหวกับ คนอื่นใหนอยลง) • วิธีการทํางานอยางมีความสุขสามารถนํามา ประยุกตใชในชีวิตประจําวันไดอยางไร (แนวตอบ วิธีการทํางานอยางมีความสุข สามารถนํามาประยุกตใชในการเรียนได กลาวคือ ในการทําการบาน การอาน หนังสือ เราควรที่จะมีความกระตือรือรน มีสมาธิกับการทํางาน และมองเห็นคุณคา ของการทําการบานและการอานหนังสือ ทําดวยความรูสึกมีความสุข ไมใชทําเพราะ ตองทําใหเสร็จ การเรียนจึงจะประสบความ สําเร็จ)

เกร็ดแนะครู เชน

ครูแนะนําวิธีการผอนคลายความเครียดในการเรียนและการทํางานรวมกับผูอื่น • จดบันทึก เรื่องราวตางๆ ของตนเองรวมถึงปญหาที่เกิดขึ้น เพื่อเปนการ ทบทวนตนเอง และสํารวจหาทางออกปญหา • การทําสมาธิ เปนการสรางความสงบในใจ ลดภาวะความเครียด • พูดคุยกับเพื่อน เพื่อระบายความเครียด และทําใหรูสึกวาไมไดอยูคนเดียว

นักเรียนควรรู 1 ยืดหยุนกับชีวิต มีวิธีการปฏิบัติดวยการเปนคนมีบุคลิกภาพที่ไมตึง เจาระเบียบ เขมงวดกับชีวิตจนเกินไป ซึ่งการเปนคนเจาระเบียบเขมงวดกับ กฎระเบียบมากเกินไป ทําใหดําเนินชีวิตแบบเครงเคียด ซึ่งจะบั่นทอนสุขภาพกาย และสุขภาพจิต คูมือครู

5


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา Exploreนหา สํารวจค

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุEngage นความสนใจ

กระตุน ความสนใจ

Engage

ครูใหนกั เรียนดูภาพวงจร PDCA ในหนังสือเรียน หนา 6 จากนั้นครูตั้งคําถามใหนักเรียนรวมกัน แสดงความคิดเห็นวา • วงจร PDCA ตามความเขาใจของนักเรียนมี ความหมายวาอยางไร (แนวตอบ วงจร PDCA หมายถึงกระบวนการ ในการทํางานเพื่อใหประสบความสําเร็จ หรือ กระบวนการแกไขปญหาในการทํางาน) • เปาหมายสูงสุดในการทํางานคือสิ่งใด (แนวตอบ เปาหมายสูงสุดในการทํางานก็คือ ผลการทํางานประสบความสําเร็จอยางมี ประสิทธิภาพ)

สํารวจคนหา

๒) มีความกระตือรือร้น เราควรสร้างอิริยาบถให้กระชุ่มกระชวย มีชีวิตชีวา รักการ

ท�างานให้ตดิ จนเป็นนิสยั ดังนัน้ หากเราฝึกท�างานให้วอ่ งไว มีความตืน่ ตัว กระฉับกระเฉงอยูเ่ สมอ ก็จะกลายเป็นบุคลิกใหม่ติดตัวเรา เราก็จะท�างานได้อย่างสนุกสนาน มีชีวิตชีวา ๓) มี ส มาธิ กั บ งาน การท� า งาน บางประเภทอาจท�าให้เราเกิดความเบื่อหน่าย โดยเฉพาะงานที่ต้องท�าซ�้าๆ หรืองานวิชาการ เราก็จะไม่มีความสุขในการท�างาน ต้องฝืนใจ ท�าไป หรือท�างานด้วยอาการใจลอย ไม่มสี มาธิ ดังนัน้ เราควรลองเปลีย่ นวิธกี ารท�างานด้วยการ ฝึกจิตให้มีสมาธิ โดยก่อนที่จะเริ่มท�างานใดๆ ก็ตาม เราต้องมีความตัง้ ใจอย่างแน่วแน่วา่ จะไม่ คิดฟุ้งซ่านในขณะท�างาน และในขณะท�างานก็ คิดหาวิธีแก้ไขและพัฒนางาน จะช่วยให้เราฝึก การท�าจิตใจให้มีสมาธิกับงาน นอกจากจะท�าให้งาน ประสบผลส�าเร็จแล้ว ยังท�าให้เกิดความปลอดภัยใน การคิดวิเคราะห์ และไม่เกิดความฟุ้งซ่าน การท�างานด้วย

Explore

1. ครูใหนกั เรียนศึกษาคนควาเกีย่ วกับการแกปญ  หา การทํางานดวยวงจร PDCA จากหนังสือเรียน หนา 6-8 หรือศึกษาจากแหลงการเรียนรูอื่นๆ เพิ่มเติม เพื่อนําขอมูลที่ศึกษามาอภิปราย รวมกันในชั้นเรียน 2. ครูใหนักเรียนศึกษาตัวอยางการนําวงจร PDCA มาใชในกระบวนการทํางานและการแกปญหา ในหนังสือเรียน หนา 8

๓. การแก้ปญ ั หาในการท�างาน ด้วยวงจร PDCA PDCA เป็นวงจรของการพัฒนาทักษะ ในการแก้ไขปัญหา ซึง่ สามารถน�าไปประยุกต์ใช้ ในทุกวงการ ทุกองค์กร ทุกระดับ และทุกคน เพือ่ ให้เกิดการพัฒนาทางด้านคุณภาพของงานหรือ ผลลัพธ์อย่างมีประสิทธิภาพ กล่าวคือ PDCA จะช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานได้ติดตามและทบทวน ขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ านอย่างต่อเนือ่ ง และท�าให้ ผูร้ ว่ มงานทุกคนมีสว่ นร่วมในการแก้ไข ปรับปรุง วิธกี ารท�างานเพือ่ พัฒนาการท�างานอย่างยัง่ ยืน ดังนั้นวงจร PDCA จึงเหมาะกับการ ปฏิบัติงานที่ต้องอาศัยความรอบคอบ ถูกต้อง เพราะมีการตรวจสอบการท�างานตลอดเวลา 6

ครูเพิ่มเติมขอมูลวงจร P D C A วา เปนวงจรพัฒนาคุณภาพงาน โดยเปน วงจรพัฒนาพื้นฐานหลักของการพัฒนาคุณภาพทั้งระบบ ผูที่คิดคนกระบวนการ หรือวงจรพัฒนาคุณภาพ PDCA คือ Shewhart นักวิทยาศาสตรชาวอเมริกันแต Deming ไดนําไปเผยแพรที่ประเทศญี่ปุนจนประสบผลสําเร็จ จนผลักดันใหญี่ปุน เปนประเทศมหาอํานาจของโลก คนทั่วไปจึงรูจักวงจร PDCA จากการเผยแพร ของ Deming จึงเรียกวา “วงจร Deming” หรือ วงจร PDCA ซึ่งประกอบดวย 4 ขั้นตอน คือ การวางแผน Plan = P การปฏิบัติ Do = D การตรวจสอบ Check = C การปรับปรุงแกไข Action = A

คูมือครู

การวางแผน (Plan)

การปรับปรุง แก้ไขงาน (Act)

กระบวนการ พัฒนาทักษะ ในการแก้ไขปัญหา

การปฏิบัติ (Do)

การตรวจสอบงาน (Check)

ตัวย่อ

P (Plan) D (Do) C (Check) A (Act)

ความหมาย

การวางแผน การปฏิบัติหรือลงมือท�างาน การตรวจสอบงาน การปรับปรุงแก้ไขงาน

EB GUIDE http://www.aksorn.com/LC/Car/M5/01

เกร็ดแนะครู

6

แผนผังวงจร PDCA

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

การแกปญหาในการทํางานดวยวงจร PDCA ใชปฏิบัติงานอยางไร แนวตอบ 1. ใชในเชิงปองกันปญหา วงจร PDCA สามารถนําไปใช วางแผนปองกันปญหาที่ไมควรเกิด ชวยลดความสับสนในการ ทํางาน ลดการใชทรัพยากรมากหรือนอยเกินความพอดี ลดความ สูญเสียในรูปแบบตางๆ ทําใหการปฏิบัติงานมีความรัดกุมขึ้น และ แกไขปญหาไดอยางรวดเร็ว 2. ใชในเชิงแกไขปญหา ความไมเหมาะสม ไมสะอาด ไมสะดวก ไมมีประสิทธิภาพ ไมประหยัด สามารถ แกปญหาโดยเริ่มจากตรวจสอบวามีอะไรบางที่เปนปญหา เมื่อพบ ปญหา จึงนํามาวางแผนเพื่อดําเนินการตามวงจร PDCA ตอไป 3. ใชในเชิงการปรับปรุง แสวงหาสิง่ ตางๆ หรือวิธกี าร ที่ดีกวาเดิมอยูเสมอ เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตและสังคม โดยไม ตองรอใหเกิดปญหากอน


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบายความรู

Explain

1. ครูใหนักเรียนอภิปรายรวมกันถึงองคประกอบ ของวงจร PDCA วาประกอบไปดวยขั้นตอน ใดบาง โดยใหอาสาสมัครออกมาอธิบายให เพื่อนฟงที่หนาชั้นเรียน (แนวตอบ วงจร PDCA ประกอบไปดวย 4 ขั้นตอน ไดแก 1. P (Plan) เปนขั้นตอนการวางแผนงาน 2. D (Do) เปนการลงมือปฏิบัติงานตาม แผนงานที่วางไว 3. C (Check) เปนขั้นตอนการตรวจสอบ ผลที่ไดจากการปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลง 4. A (Act) เปนขั้นตอนการปรับปรุงแกไข การทํางาน ซึ่งเกิดจากการประเมินวาการ ทํางานเปนไปตามแผนหรือไม เพื่อปรับปรุงการ ทํางานใหดียิ่งขึ้นไป) 2. ครูใหนักเรียนชวยกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยว กับวงจร PDCA วามีเทคนิคในแตละขั้นตอน อยางไร โดยใหตัวแทนนักเรียนออกมาแสดง ความคิดเห็นหนาชั้นเรียน

๓.๑ โครงสร้างของวงจร PDCA วงจร PDCA ถูกน�ามาใช้เป็นเครื่องมือในการแก้ปัญหา พัฒนา และปรับปรุงงานอย่างเป็น ขัน้ ตอนเพือ่ ให้งานส�าเร็จลุลว่ งตามเป้าหมายทีต่ งั้ ไว้ ซึง่ เราสามารถน�าไปประยุกต์ใช้ได้กบั ทุกๆ เรือ่ ง นับตั้งแต่กิจกรรมส่วนตัวไปจนถึงการด�าเนินงานในชีวิตประจ�าวัน เช่น การปรุงอาหาร การเรียน การท�างาน การตั้งเป้าหมายชีวิต เป็นต้น วงจร PDCA ประกอบด้วย ๔ ขั้นตอน ดังนี้ วงจร PDCA ขั้นตอนที่ ๑ การวางแผน (Plan) การวางแผนอย่างรอบคอบ ครอบคลุมถึงการก�าหนดกรอบหัวข้อที่ต้องการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง การแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงานต่างๆ โดยระบุวิธีการให้ชัดเจน นอกจากนี้ การวางแผนยังช่วย ให้เราสามารถคาดการณ์สิ่งที่เกิดขึ้นในอนาคต และช่วยประหยัดงบประมาณ แรงงาน วัตถุดิบ และระยะ เวลาในการท�างานด้วย ขั้นตอนที่ ๒ การปฏิบัติ (Do) การลงมือปฏิบัติงาน หรือปรับปรุงเปลี่ยนแปลงตามทางเลือกที่ได้ก�าหนดไว้ในขั้นตอนการวางแผน ในขั้นตอนนี้ต้องท�าการตรวจสอบระหว่างการปฏิบัติด้วยว่าด�าเนินไปในทิศทางที่ตั้งไว้หรือไม่ พร้อมกับ สื่อสารให้ผู้ที่เกี่ยวข้องรับทราบด้วย ทุกคนท่ี่มีส่วนร่วมในการท�างานย่อมต้องการทราบความคืบหน้า เพื่อจะได้มั่นใจว่าการปฏิบัติงานที่เกิดขึ้นมีข้อผิดพลาดน้อยท ยที่สุด อย่างแน่นอน เพื ขั้นตอนที่ ๓ การตรวจสอบงาน (Check) การประเมินผลที่ได้รับจากการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง นแปลง วิธีการปฏิบัติใดที่มีประสิทธิผลมากที่สุดและ ตรวจสอบผลที่เกิดขึ้น การตรวจสอบจะท�าให้เราทราบว่าการปฏิบัติในขั้นตอนที่ ๒ สามารถบรรลุ เป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ที่ก�าหนดไว้หรือไม่ สิ่งส�าคัญก็คือ เราต้องรู้ว่าจะตรวจสอบอะไรบ้างง และ บ่อยครั้งแค่ไหน ข้อมูลที่ได้จากการตรวจสอบจะเป็นประโยชน์ส�าหรับขั้นตอนถัดไป ขั้นตอนที่ ๔ การปรับปรุงแก้ไขงาน (Act) ขั้นตอนพิจารณาผลที่ได้จากการตรวจสอบ ซึ่งมีอยู่ ๒ กรณี คือ ผลที่เกิดขึ้นเป็นไปตามแผนที่ วางไว้ หรือ ไม่เป็นไปตามแผนที่วางไว้ หากเป็นกรณีแรก ให้น�าแนวทางหรือกระบวนการปฏิบัตินั้น มาจัดท�าให้เป็นมาตรฐาน พร้อมทั้งหาวิธีการที่จะปรับปรุงให้ดียิ่งขึ้นไปอีก ซึ่งอาจท�าให้บรรลุเป้าหมาย เร็วกว่าเดิม หรือเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าเดิม หรือท�าให้คุณภาพดียิ่งขึ้นก็ได้ แต่ถ้าเป็นกรณีที่สอง ซึ่งก็คือ ผลที่ได้ไม่บรรลุวัตถุประสงค์ตามแผนที่วางไว้ เราควรน�าข้อมูลที่รวบรวมไว้มาวิเคราะห์และพิจารณาว่า ควรจะด�าเนินการอย่างไรต่อไป โดยอาจเปลี่ยนเป้าหมายใหม่หรือใช้ความพยายามให้มากขึ้นกว่าเดิม 7

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

การวางแผนงานที่ดีมีลักษณะอยางไร 1. มีความชัดเจน 2. ปฏิบัติงานงาย 3. ตรวจสอบการทํางานได 4. มีความซับซอนในการปฏิบัติ

วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 1. แผนงานที่ดีจะตองชัดเจน รูวา ใครทําหนาที่ใด ทําอะไร ทําเมื่อไร ทําที่ไหน ทําอยางไร และทํา เพื่ออะไรอยางละเอียด เพื่อใหสามารถนําแผนไปใชในการปฏิบัติ งาน สามารถกระทําไดประสานสอดคลองอยางตอเนือ่ ง ซึง่ ขอมูล เหลานี้จะตองกําหนดไวอยางชัดเจน

เกร็ดแนะครู ครูเพิ่มเติมขอมูลเทคนิคในการปฏิบัติงานตามวงจร PDCA ดังนี้ 1. เทคนิคการวางแผน ใชการตอบคําถามวา - มีอะไรบางที่ตองทํา - ใครมีหนาที่อะไร - ตองใชอะไรบาง - ใชระยะเวลาในการทํางานเทาใด - ลําดับการทํางานอยางไร - เปาหมายในการทํางานคืออะไร 2. เทคนิคขั้นตอนการปฏิบัติ - ทําใหถูกตองตั้งแตแรก - ตรวจสอบทุกขั้นตอน - หากพบขอบกพรอง รีบแกไขกอนที่ความเสียหายจะมากขึ้น 3. เทคนิคขั้นตอนตรวจสอบ - ตรวจสอบวิธีการและระยะเวลาที่ใชในการปฏิบัติจริง วาทําไดตามแผน หรือไม - ตรวจสอบผล ที่ไดวาไดตามเปาหมายหรือไม 4. เทคนิคขั้นตอนการปรับปรุงแกไข - หากตรวจสอบแลวพบวามีขอผิดพลาด ใหหาสาเหตุและแกไขที่สาเหตุ - พัฒนาปรับปรุง เพื่อใหการปฏิบัติครั้งตอไปดีกวาเดิม คูมือครู 7


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู

Engage

Explore

Explain

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Expand

Evaluate

Expand าใจ ขยายความเข

Evaluate ตรวจสอบผล

Expand

ครูใหนักเรียนแบงกลุมออกเปน 4 กลุม เพื่อศึกษาตัวอยางการนําวงจร PDCA มาใชใน กระบวนการทํางานและแกปญหา ในหนังสือเรียน หนา 8 เพื่อทําการศึกษาคนควาขอมูลการนําวงจร PDCA มาใชในกระบวนการทํางานและแกปญหา ในการทํางานที่กําหนดใหโดยใหแตละกลุมจับฉลาก เลือกหัวขอดังตอไปนี้ กลุม 1 การเลี้ยงสัตว กลุม 2 การทํางานชางในบาน กลุม 3 การตัดเย็บเสื้อผา กลุม 4 งานประดิษฐ บันทึกขั้นตอนการทํางานโดยใชวงจร PDCA จากนั้นสงตัวแทนออกมานําเสนอขอมูลที่ศึกษา หนาชั้นเรียน

ตรวจสอบผล

ขยายความเขาใจ

๓.2 ตัวอย่างการน�าวงจร PDCA มาใช้ในกระบวนการท�างานและ แก้ปัญหา การซื้อของใช้ภายในบ้าน ขั้นตอนที่ ๑ การวางแผน (Plan) คิดว่ามีของอะไรทีต่ อ้ งใช้ ส�าหรับกีค่ น แล้วตรวจสอบว่าของในบ้านมีอะไร เหลืออยูเ่ ป็นจ�านวนเท่าไหร่ ขาดเหลืออะไร (check) จากนั้นจดรายการและจ�านวนสิ่งของที่ต้องซื้อ ก�าหนดสถานที่ และเตรียมเงิน ให้เพียงพอ ขั้นตอนที่ ๒ การปฏิบัติ (Do) ไปที่ร้านค้า โดยเรียงล�าดับในการซื้อ ถ้าต้องไปหลายร้าน ให้เลือกเส้นทางที่ไม่ต้องอ้อมไปอ้อมมา ถ้าต้องยกของเอง ให้เลือกซื้อของที่มีน�้าหนักเบาก่อนเพื่อจะได้ไม่ต้องยกของหนักเป็นเวลานาน (plan) แล้วเดินเลือกซื้อของตามที่จดมา (do) หากพบสิ่งที่ไม่เป็นไปตามแผน เช่น ไม่มีของ หรือของมีราคาสูง เกินกว่าทีต่ งั้ ใจไว้ (check) ให้พจิ ารณาปรับเปลีย่ นตามความเหมาะสม (act) ก่อนออกจากร้าน ให้ตรวจสอบ ว่าของทีซ่ อื้ ได้รบั ครบตามจ�านวนและถูกต้องตามทีต่ อ้ งการหรือไม่ สินค้าอยูใ่ นสภาพสมบูรณ์หรือมีตา� หนิ คนขายคิดราคาและทอนเงินถูกต้องหรือไม่ (check) ถ้าสินค้ามีตา� หนิกใ็ ห้เปลีย่ นของทันทีหรือถ้าทอนผิด ก็ทักท้วงจนเกิดความถูกต้องง (act)

Evaluate

1. ครูตรวจสอบจากบันทึกขั้นตอนการทํางานกลุม เรื่อง การนําวงจร PDCA มาใชในกระบวนการ ทํางานและแกปญหา 2. ครูสังเกตพฤติกรรมการตอบคําถามและการ รวมแสดงความคิดเห็นของนักเรียน

ขั้นตอนที่ ๓๓ การตรวจสอบ (Check) การตรวจสอบ (Check) เมื่อกลับมาที่บ้านก็ให้ท�าการตรวจสอบจ�านวนเงินที่ใช้ไป และตรวจสอบว่าของอะไรบ้างที่ซื้อไม่ได้ ตามแผน เช่น ของราคาสู ของราคาสูงกว่าที่คิดไว้ ของเปลี่ยนรุ่น หรื หรือของอะไรที่ซื้อมาแล้วใช้ไม่ได้ เช่น ซื้อเสื้อ ตามแผน เช่ ผิดขนาด ขนาด เป็นต้น เพื่อให้การซื้อของครั้งต่อไปจะได้วางแผนส�ารองเพื่อจะได้ของตรงตามเป้าหมาย และใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ขั้นตอนที่ ๔๔ การปรั การปรับปรุงแก้ไขข (Act) (Act) พิจารณาความผิดพลาดจากการซื้อของครั้งนี้คืออะไร อะไร เช่น ไม่ดูขนาดของเสื้อหรือไม่ลองสวมเสื้อ ก่อนจ่ายเงิน วิวิธีแก้ไขข คืคือ ต่ต่อไปต้องลองเสื้อก่อนซื้อแทนที่จะดูแต่ป้ายบอกขนาด ยบอกขนาด เช่น เบอร์ M เบอร์ L และเบอร์ XL XL รวมทั้งขยายผลไปยังของอื่นที่ต้องตรวจสอบคุณภาพด้วยย เช่น เบอร์ สี รุ่น และ เนื้อผ้า เป็นต้น ควรจดราคาสินค้าที่ซื้อมาเก็บไว้เป็นหลักฐานส�าหรับเปรียบเทียบในการซื้อครั้งต่อไป เพื่อจะได้เตรียมงบประมาณให้เหมาะสม

8

บูรณาการอาเซียน ครูเพิ่มเติมขอมูล การเตรียมพรอมของประเทศไทยกอนการเขาสูประชาคม อาเซียนวา ตองมีการเตรียมความพรอมทั้งทางดานเศรษฐกิจ ความมั่นคงทาง การเมือง และจะตองเตรียมรับมือกับการหลั่งไหลของแรงงานจากนานาประเทศ ซึ่งจะทําใหเกิดการแขงขันทางดานการทํางานสูงขึ้น จึงตองมีการพัฒนาทรัพยากร มนุษย เพื่อใหสามารถรองรับการแขงขันกับนานาชาติไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยจะตองพัฒนาทักษะทางดานภาษา การศึกษา เทคโนโลยี และทักษะกระบวนการ ทํางานและการแกปญหา เพื่อใหบุคคลากรของไทยมีศักยภาพในการทํางานที่มี ประสิทธิภาพทัดเทียมกับนานาชาติได

8

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ขอใดตอไปนี้เปนประโยชนของวงจร PDCA 1. ทํางานเปนระบบ 2. ทํางานแบบมีขั้นตอน 3. มีการเสนอความคิดเห็น 4. แกไขปรับปรุงอยางตอเนื่อง วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 4. วงจร PDCA เปนวิธีการทํางาน และการแกปญหาในการทํางาน โดยเนนการพัฒนา ปองกัน และ ปรับปรุงการทํางานใหดีขึ้น เพื่อใหการทํางานพัฒนาไดอยางยั่งยืน และมีคุณภาพ วงจร PDCA จึงถูกเรียกอีกชื่อหนึ่งวา วงจรบริหาร งานคุณภาพ


กระตุน ความสนใจ

สํารวจคนหา

อธิบายความรู อธิบExplain ายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Engage

Explore

Explain

Expand

Evaluate

กระตุEngage นความสนใจ

สํารวจค Exploreนหา

กระตุน ความสนใจ

ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับการทํากิจกรรม 5 ส ในโรงเรียน โดยครูถามความคิดเห็นของ นักเรียนวา • นักเรียนคิดวาการทํากิจกรรม 5 ส ที่โรงเรียน สามารถนําไปประยุกตใชใน ชีวิตประจําวันของนักเรียนไดอยางไรบาง (แนวตอบ กิจกรรม 5 ส นําไปประยุกตใช ในชีวิตประจําไดอยางหลากหลาย เชน นําไปใชในการทําความสะอาดบานของ ตนเอง ชุมชนดูแลตนเอง และชวยฝก ลักษณะนิสัยใหเปนคนรักความสะอาด และเปนระเบียบ)

๔. การแก้ปัญหาในการท�างานด้วยกิจกรรม ๕ ส 4.๑ ความหมายและหลักการของกิจกรรม ๕ ส กิจกรรม ๕ ส คือ กิจกรรมที่เกี่ยวกับการจัดระเบียบและการท�าความสะอาดในสถานที่ต่างๆ เช่น บ้าน โรงเรียน ห้องเรียน และสถานที่ปฏิบัติงาน เป็นต้น เพื่อให้สถานที่เหล่านี้มีความเป็น ระเบียบ สะอาด ปลอดภัย และมีบรรยากาศที่ดี ท�าให้ทุกคนมีความสุขที่ได้อาศัยอยู่ในสถานที่นั้น ส�าหรับกิจกรรม ๕ ส มีความหมายและหลักการ ดังต่อไปนี้ กิจกรรม ๕ ส

ความหมาย

หลักการ

๑. สะสาง การแยกของที่ต้องการออกจากของ ส� ารวจสิ่ งของต่ างๆ ในหน่ วยงาน (SEIRI-เซริ) ทีไ่ ม่ต้องการ และก�าจัดของที่ไม่ต้องการ โดยเฉพาะบริเวณทีอ่ ยูใ่ นความรับผิดชอบ1 ทิ้งไป จากนั้นแยกแยะของที่ต้องการใช้งานกับ ของที่ไม่ต้องการใช้งานออกจากกัน แล้ว ก�าจัดของที่ไม่ต้องการออก ๒. สะดวก (SEITON เซตง)

การจัดวางสิง่ ของต่างๆ ในทีท่ า� งานให้ วางของที่ใช้งานให้เป็นที่ เป็นหมวด เป็นระเบียบ เพื่อความสะดวก ปลอดภัย หมู่ อาจมีป้ายบอก และเมื่อน�าของไป ใช้งานเสร็จแล้ว ควรน�ามาเก็บไว้ที่เดิม ให้เรียบร้อย โดยของที่ใช้อยู่เป็นประจ�า ควรวางไว้ใกล้ตัว จะได้ จะได้หยิบใช้ได้ง่าย

๓. สะอาด (SEISO เซโซ)

การท�าความสะอาดเครือ่ งจักร อุปกรณ์ ท�าการปัด กวาด กวาด เช็ด ถู บริเวณ และสถานที่ท�างาน ต่างๆ งๆ ของห้ ของห้องง เช่ เช่น พืพื้น ฝาผนั ฝาผนัง เพดาน เพดาน มุ ม เพดาน เพดาน ด้ านบนและใต้ โ ต๊ ะ ท� างาน งาน ชั้นวางของ วางของ ตูตู้เอกสาร อกสาร หลอดไฟ เป็ หลอดไฟ เป็นต้น ให้เกิดความสะอาด

Engage

สํารวจคนหา

Explore

ครูใหนักเรียนศึกษาคนควาเกี่ยวกับการแก ปญหาในการทํางานดวยกิจกรรม 5 ส จากหนังสือ เรียน หนา 9-10 หรือศึกษาจากแหลงการเรียนรู อื่นๆ เพิ่มเติม เชน ขอมูลทางอินเทอรเน็ต หรือ อาจสอบถามจากผูมีประสบการณในการทํางาน เปนตน เพื่อนําขอมูลที่ศึกษามาอภิปรายรวมกัน ในชั้นเรียน

อธิบายความรู

๔. สุขลักษณะ ความหมดจด สะอาดตา ถูถูกสุขลักษณะ ษณะ ควรหมั่นปัด กวาด กวาด เช็ด ถูบริเวณ (SEIKETSU- และรักษาให้ดีตลอดไป ต่างๆ งๆ ของห้ ของห้องอย่างสม�า่ เสมอ เซเคทซึ)

Explain

ครูและนักเรียนอภิปรายหลักการทํางานดวย กิจกรรม 5 ส ใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยาง แนวทางการจัดกิจกรรม 5 ส ในหองเรียน

๕. สร้างนิสัย การอบรม สร้างนิสยั ในการปฏิบตั งิ าน หัวหน้าหน่วยงานหรือผู้บริหารควร (SHITSUKE- ตามระเบียบ วินยั ข้อบังคับอย่างเคร่งครัด ก� า ชั บ ให้ ลู ก น้ อ งหรื อ ผู ้ ใ ต้ บั ง คั บ บั ญ ชา ซิทซึเกะ) ปฏิบัติงานตามกฎระเบียบบ ไม่ย่อหย่อน ต่อระเบียบบ วิวินยั ข้ข้อบังคับ เพื เพือ่ สร้างนิสยั ให้เกิดขึ้นในที่ท�างาน 9

กิจกรรมสรางเสริม ครูใหนักเรียนแตละคนทํากิจกรรม 5 ส โดยใหนักเรียนเลือก มุมใดมุมหนึ่งภายในโรงเรียนเพื่อทํากิจกรรม ใหนักเรียนถายภาพ กอนการทํากิจกรรม 5 ส ในพื้นที่ที่นักเรียนเลือกไว จากนั้นเมื่อ ทํากิจกรรมเสร็จแลวใหถายภาพพื้นที่เดิม เพื่อนําภาพมานําเสนอ ในชั้นเรียนโดยนํามาเปรียบเทียบกับภาพของเพื่อน

เกร็ดแนะครู ครูยกตัวอยางสถานที่ตางๆ ที่มีการจัดกิจกรรม 5 ส โดยอาจเปรียบเทียบ สภาพกอนจัดกิจกรรม 5 ส กับหลังจากการจัดกิจกรรม 5 ส เปรียบเทียบในดาน ความเปนระเบียบเรียบรอย ความสะดวกสบายในการใชสถานที่หรือสิ่งของ ความปลอดภัย สุขอนามัย เปนตน

นักเรียนควรรู 1 แยกแยะของที่ตองการใชงานกับของที่ไมตองการใชงานออกจากกัน เปนการจัดแบงของใชเปนประเภท ของบางอยางที่เก็บไวใชไดจะถูกนําไปรวบรวม ไวเปนระบบ ของบางอยางนําไปรีไซเคิลได หรือของบางอยางนําไปจําหนาย จายแจกได ซึ่งจะทําใหเรามีพื้นที่วางที่จะนําไปใชประโยชนในการเก็บของอื่นๆ หรือใชประโยชนอยางอื่น คูมือครู

9


กระตุนความสนใจ

สํารวจคนหา

Engage

Explore

อธิบายความรู

อธิบายความรู

ขยายความเขาใจ

ตรวจสอบผล

Explain

Expand

Evaluate

อธิบExplain ายความรู

4.2 ประโยชน์ที่ได้รับจากการท�ากิจกรรม ๕ ส หากเราท�างานโดยยึดหลักกิจกรรม ๕ ส จะก่อประโยชน์ให้แก่องค์กร หน่วยงาน และบุคคล ดังต่อไปนี้ ๑. บ้าน โรงเรียน ห้องเรียน และสถานทีป่ ฏิบตั งิ านมีความสะอาดและเป็นระเบียบเรียบร้อย ๒. ประสิทธิภาพในการท�างานสูงขึ้น ๓. มี โ อกาสท� า งานเป็ น กลุ ่ ม และแก้ ปัญหาร่วมกัน ๔. เกิดการฝึกฝนแนวความคิดอย่าง เป็นระบบ ๕. เป็นการใช้พื้นที่ในการจัดเก็บวัสดุ อุปกรณ์อย่างมีประสิทธิภาพ ๖. ช่วยลดอุบัติเหตุที่จะเกิดจากการ ท�างาน บ้านที่ผู้อาศัยน�ากิจกรรม ๕ ส มาปฏิบัติ ย่อมท�าให้เกิด ๗. ก่อให้เกิดความสะดวกและปลอดภัย ความเป็นระเบียบเรียบร้อยและสะอาดสะอ้าน น่าอยู่ ในการปฏิบัติงาน ๘. เป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคลากรในองค์กร หน่วยงาน ตลอดจนประชาชน ในสังคมให้ดีขึ้น

Expand

ครูใหนักเรียนนําหลักกิจกรรม 5 ส ไปปฏิบัติ ที่บานของตนเอง เปนระยะเวลา 2 สัปดาห โดย ใหนักเรียนถายรูปบานกอนและหลังการนํากิจกรรม 5 ส มาใช เพื่อเปรียบเทียบความแตกตาง และ ใหเขียนบันทึกความแตกตางที่เกิดขึ้นกับบานของ นักเรียนลงในกระดาษ A4 สงครูผูสอน

ตรวจสอบผล

Evaluate ตรวจสอบผล

Explain

ครูตั้งประเด็นใหนักเรียนรวมกันแสดงความ คิดเห็นวา การทํางานโดยยึดหลักการ 5 ส มี ประโยชนตอการดํารงชีวิตอยางไร โดยครูสุมเลือก ตัวแทนนักเรียนใหออกมาแสดงความคิดเห็นที่หนา ชั้นเรียน (แนวตอบ การทํางานโดยยึดหลักการ 5 ส จะชวยใหเกิดประโยชนอยางหลากหลาย เชน สถานที่เรียน สถานที่ทํางาน สถานที่อยูอาศัย มีความสะอาดและเปนระเบียบเรียบรอย ชวยลด อุบัติเหตุที่อาจเกิดจากการทํางาน เพิ่มความสะดวก และรวดเร็วในการทํางาน ลดความสิ้นเปลืองในการ จัดซื้อวัสดุ อุปกรณที่ไมจําเปน และยังชวยสราง บรรยากาศในการทํางานใหดีมากขึ้น สงเสริมให การทํางานของบุคลากรมีประสิทธิภาพ เปนตน)

ขยายความเขาใจ

Expand าใจ ขยายความเข

สรุป

การทํางานเพื่อการดํารงชีวิตมีความสําคัญตอชีวิตมนุษยเปนอยางย งยิ่ง ซึ่งในสังคม ปจจุบนั มีการแขงขันกันสูง จึงไดมกี ารนําเทคโนโลยีมาชวยในการทํางานเพือ่ ลดตนทุนในดานตางๆ การทํางานเพือ่ ใหงานมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลจําเปนทีจ่ ะตองมีกระบวนการทํางานและ กระบวนการแกปญหาที่ดี โดยใชหลักการของวงจร PDCA และกิจกรรม ๕ ส มาใชประกอบกับ การทํางานอยางมีระบบ เพื่อมุงหวังใหการทํางานประสบความสําเเร็จและมีคุณภาพที่ดี

Evaluate

ครูตรวจแบบบันทึกการทํากิจกรรม 5 ส ที่บาน นักเรียนและสังเกตพฤติกรรมการตอบคําถามและ การรวมแสดงความคิดเห็นของนักเรียน

หลักฐานแสดงผลการเรียนรู 1. บันทึกการทํางานดวยการนําวงจร PDCA มาใช ในกระบวนการทํางานและแกปญหา 2. แบบบันทึกการทํากิจกรรม 5 ส

EB GUIDE http://www.aksorn.com/LC/Car/M5/02

๑0

เกร็ดแนะครู ครูเพิ่มเติมประโยชนจากการทํากิจกรรม 5 ส สงผลใหสถานที่ทํางาน บาน โรงเรียน เกิดความนาอยู นาทํางาน ผูทํางานหรือผูอาศัยจะมีจิตใจปลอดโปรง สดชื่น และกระตือรือรนที่จะปฏิบัติหนาที่อยางเต็มกําลัง นอกจากนี้ การทําความ สะอาดยังสงผลทางออม คือ เปนการตรวจสอบอุปกรณ เครื่องไมเครื่องมือตางๆ อยางใกลชิด ทําใหเราทราบถึงขอบกพรองที่มีอยู และแนะนําใหนักเรียนนําหลัก กิจกรรม 5 ส ไปใชในชีวิตประจําวัน เชน ใชที่บาน ที่โรงเรียน หรือสถานที่ สาธารณะทั่วๆไป เพื่อสรางความเปนระเบียบเรียบรอย ปลอดภัย ถูกสุขอนามัย นอกจากนี้ควรใหนักเรียนจัดกิจกรรมรณรงค 5 ส ในชุมชน

10

คูมือครู

ขอสอบเนน การคิด แนว O-NET

ขอใดตอไปนี้เปนวิธีการประเมินความกาวหนาของการทํา กิจกรรม 5 ส ไดดีที่สุด 1. ภาพถาย 2. แบบบันทึก 3. การนําเสนอ 4. แบบประเมิน วิเคราะหคําตอบ ตอบขอ 1. วิธีการประเมินความกาวหนาของ การทํากิจกรรม 5 ส ที่ไดผลดีที่สุด คือ การใชภาพถายกอนและ หลังการทํากิจกรรม เนื่องจากจะไดเห็นภาพความเปลี่ยนแปลง ของพื้นที่ไดอยางชัดเจน เพราะการประเมินในแบบประเมิน หรือแบบบันทึกอาจไมไดขอเท็จจริง ทําใหการทํากิจกรรมไมได ประสิทธิภาพอยางเต็มที่


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.