Word3

Page 1

ขอบังคับเกี่ยวกับการทํางาน ของ ใครก็ไมรู สารบัญ หมวดที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12

เรื่อง บททั่วไป การวาจาง วันทํางาน เวลาทํางานปกติ และเวลาพัก วันลา และหลักเกณฑการลา วันหยุดและหลักเกณฑการหยุด หลักเกณฑการทํางานลวงเวลา และทํางานในวันหยุด วันและสถานที่ที่จายคาจาง คาลวงเวลา คาทํางานในวันหยุด และคาลวงเวลาในวันหยุด วินัยและโทษทางวินัย การรองทุกข การเลิกจาง การพนสภาพการเปนพนักงานและการจายคาชดเชย สุขภาพอนามัยเพื่อความปลอดภัย สภาพการบังคับและการประกาศใช

หนา 1 2 7 9 13 15 17 18 26 28 32 34


-1หมวด 1 บททั่วไป 1.

วัตถุประสงค เพื่อใหการดําเนินการของบริษัทฯ เปนไปดวยความเรียบรอย เหมาะสม และ บรรลุตามวัตถุประสงค บริษัทจึงไดกําหนดขอบังคับนี้ขึ้นโดยมีความมุงหมายจะใหพนักงาน ของบริษัทฯ ไดนําไปยึดถือเปนแนวทางในการปฏิบัติ ตลอดจนมีความเขาใจอยางถองแทและ ตระหนักถึงหนา ที่ค วามรับผิดชอบของตนในฐานะที่เปนพนักงานของบริษัท ฯ รวมทั้งกา ร ปฏิบัติของบริษัทฯ ตอพนักงานและสิ่งที่ซึ่งบริษัทฯ คาดหวังจากพนักงานเปนการตอบแทนการ จาง ทั้งนี้เพื่อเปนการเสริมสรางและรักษาไวซึ่งความเขาใจอันดี ความสมัครสมานสามัคคีและ ความสัมพันธอันดีระหวางพนักงานดวยกันเองระหวางพนักงานกับผูบังคับบัญชา และระหวาง ผูบังคับบัญชา อันจะนํามาซึ่งความสงบเรียบรอยและประสิทธิภาพในการทํางานรวมกันอยางมี ความสุขประสบความสําเร็จ และบรรลุเปาหมายตามวัตถุประสงคของบริษัทฯ ทุกประการ

2.

คําจํากัดความ ตามขอบังคับนี้ 2.1 “ บริษัทฯ ” หมายถึง บริษัท .......................................................... จํากัด 2.2 “ พนักงาน ” หมายถึง บุคคลผูไดรับการจางใหทํางานกับบริษัทฯโดยไดรั บ การแตง ตั้ง ใหดํ า รงตํา แหน งและปฏิบัติ หน า ที่ต ามที่ ไดรับมอบหมาย 2.3 “ ผูบังคับบัญชา ” หมายถึง พนักงานที่ไดรับแตงตั้งจากบริษัทฯ ใหดํารงตําแหนง หัวหนางานสวนใดสวนหนึ่งทั้ง ในดานการปฏิบัติงาน และการควบคุมการดําเนินงานใหเปน ไปตามระเบียบ ขอบังคับของบริษัทฯ และระเบียบปฏิบัติ ซึ่งผูบังคับ บัญชาระดับสูงขึ้นไปกําหนด


-2หมวด 2 การวาจาง 1.

นโยบาย ขอความในหมวดนี้รวมถึงกระบวนการวาจาง อันไดแก การสรรหา คัดเลือก บรรจุ แตงตั้ง และโยกยายพนักงานเมื่อมีตําแหนงวาง บริษัทฯ จะพยายามสรรหา คัดเลือก และบรรจุ แตงตั้งบุคคลใหดํารงตําแหนงที่วางนั้น โดยพิจารณาบุคคลภายในที่มีคุณสมบัติเหมาะสมกอน แตอยางไรก็ตามบริษัทฯ ทรงไวซึ่งสิทธิและอํานาจในการที่จะพิจารณา สรรหา คัดเลือก และ บรรจุแตงตั้งบุคคลในตําแหนงตาง ๆ จากบุคคลภายนอกไดตามที่เห็นสมควรและเหมาะสม

2.

ขอกําหนดเกี่ยวกับการจางงาน 2.1 การจางบุคคลเขาทํางานตองเปนไปตามอัตรากําลังคนที่ไดกําหนดไวเทานั้น การเพิ่มหรือ การลดอัตรากําลังคนใหเปนไปตามที่ไดรับอนุมัติโดยกรรมการผูจัดการ หรือบุคคลใดที่ ไดรับมอบหมาย 2.2 กรรมการผู จัดการหรื อผูที่ไ ดรับ มอบอํา นาจโดยแตง ตั้งเปนผูมี อํา นาจในการสรรหา ทดสอบ สัมภาษณ คัดเลือก บรรจุ แตงตั้ง ใหเขาทํางาน โยกยาย เปลี่ยนแปลงหนาที่ การงาน หรือใหออกจากงาน 2.3 บริษัทฯ ทรงไวซึ่งสิทธิจะใหพนักงานไปทํางานนอกสถานที่ได โดยบริษัทฯ จะปฏิบัติ ใหเปนไปตามเงื่อนไขของจําเปน, ความเหมาะสม หรือการจางงานของแตละตําแหนง โดยไมขัดตอ กฎหมายแรงงาน 3.

ประเภทของพนักงาน เพื่อประโยชนในการบริหารงานบริษัทฯจําแนกประเภทของพนักงานไว ดังนี้ 3.1 พนักงานรายเดือน คือ พนักงานที่บริษัทฯ ตกลงจางโดยกําหนดคาจางเปนรายเดือน 3.2 พนักงานรายวัน คือ พนักงานที่บริษัทฯ ตกลงจางโดยกําหนดคาจางเปนรายวัน 3.3 พนักงานตามผลงาน คือ พนักงานที่บริษัทฯ ตกลงจา งโดยกํา หนดคาจางตามผลงาน โดยคํานวณเปนหนวย 3.4 พนักงานทดลองงาน คือ พนักงานที่บริษัทฯ มีหนังสือใหทดลองงาน 3.5 พนักงานตามสัญญาจางพิเศษ คือ พนักงานที่บริษัทฯ ทําสัญญาจางกับพนักงานใน กรณีตาง ๆ

4.

พนักงานใหมจะตองยื่นหลักฐานตอไปนี้ 4.1 รูปถายปจจุบันขนาด 2 นิ้ว 2 ใบ


-34.2 4.3 4.4 4.5 4.6 4.7

ใบรับรองแพทย สําเนาบัตรประจําตัวประชาชนพรอมฉบับจริง สําเนาทะเบียนบานพรอมฉบับจริง หนังสือค้ําประกันพรอมฉบับจริง หลักฐานการศึกษาพรอมฉบับจริง หลักฐานอื่น ๆ เชน ใบอนุญาตขับขี่รถยนตหรือรถจักรยานยนต ใบรับรองการอบรม ตาง ๆ เปนตน

5. ทะเบีย นประวัติพ นักงาน บริษัท ฯ เนนความสํา คัญในการเก็บ รักษาทะเบีย นประวัติข อง พนั ก งานให ทั นต อ เหตุก ารณ อยู เ สมอ บริ ษัท ฯ จึ งกํ า หนดให พ นั กงานทุ กท า นนํ า หลั ก ฐานต า งๆ ดังตอไปนี้มามอบใหเจาหนาที่แผนกทรัพยากรบุคคลเพื่อจัดแฟมประวัติพนักงาน 5.1.ใบสมัครงาน ตามแบบที่บริษัทฯ กําหนดพรอมรูปถายสีขนาด 1 นิ้ว (3 รูป) 5.2.สําเนาบัตรประจําตัวประชาชน (ฉบับที่ใชเปนปจจุบันตลอดระยะเวลาที่ ยังเปนพนักงาน ของบริษัทฯ) 5.3.สําเนาทะเบียนบาน 5.4.สําเนาทะเบียนสมรส (หากมี) 5.5.สําเนาเอกสารการศึกษาและการอบรมที่เกี่ยวของ 5.6.สําเนาทะเบียนทหาร (กรณีที่เปนพนักงานชาย) 5.7.สําเนาบัตรประจําตัวผูเสียภาษี และเอกสารใบรับรองการหักภาษี ณ ที่จายจากบริษัทฯ เดิม (หากมี) 5.8.สําเนาบัตรประกันสังคม (หากมี) 5.9.สําเนาหนังสือรับรองการทํางาน (หากมี) 5.10.แผนที่แสดงที่ตั้งของที่อยูตามภูมิลําเนาและที่อยูปจจุบัน พรอมหมายเลขโทรศัพทที่ สามารถติดตอไดในกรณีฉุกเฉิน 5.11.เอกสารการตรวจสุขภาพ หรือใบรับรองแพทยแผนป จจุบันชั้นหนึ่ง ตามรายละเอียดการ ตรวจสุขภาพที่บริษัทฯ กําหนด 5.12.หากมีการเปลี่ยนแปลงสถานภาพสวนบุคคล (ไดแก ทางครอบครัว, การศึกษา, ที่อยู, ทะเบียนราษฎร และหมายเลขโทรศัพท ) จะตองแจงพรอมทั้งมอบหลักฐานที่มีการเปลี่ยนแปลงให บริษัทฯ ทราบภายใน 15 วันนับแตวันที่มีการเปลี่ยนแปลง) อนึ่ง หากพนักงานไมรายงานการ เปลี่ยนแปลงดังกลาวขางตนนี้ใหบริษัทฯ ทราบ บริษัทฯ อาจพิจารณาลงโทษทางวินัยแกพนักงานนั้น ไดตามที่บริษัทฯ เห็นสมควร


-46. ผลงานหรือสิ่งประดิษฐใด ๆ อันสืบเนื่องจากการทํางาน หรือที่คนพบในระหวางเปนพนักงาน ของบริ ษั ท ฯ ทุ ก กรณี จ ะตกเป น สมบั ติ ข องบริ ษั ท ฯ ทั้ ง หมด โดยพนั ก งานไม มี สิ ท ธิ ไ ด รั บ ผลตอบแทนใดๆ เปนพิเศษ อีกทั้งไมมีสิทธิจําหนายจายโอนใหแกบุคคลหรือนิติบุคคลอื่นใด เวนแต จะไดรับความยินยอมเปนลายลักษณอักษรจากบริษัทฯ กอน 7.

การโยกยาย การแตงตั้ง หรือการถอดถอนพนักงาน เพื่อใหการดําเนินงานของบริษัทฯ เปนไปอยางราบรื่น มีประสิทธิภาพ บริษัทฯ มีอํานาจ ใชดุลพินิจโดยเด็ดขาด ในการโยกยายพนักงานใดๆ จากหนวยงานหรือสวนใดสวนหนึ่งไปยังอีก หนวยงานหรือสวนอื่นๆ ภายในบริษัทฯ (ทุกสาขาและทุกสถานประกอบการ) นอกจากนี้บริษัทฯ มี อํานาจเปลี่ยนแปลงความรับผิดชอบของพนักงาน และอาจแตงตั้งพนักงาน หรือถอดถอนพนักงานจาก ตําแหนงใดๆ ตามที่บริษัทฯ เห็นสมควร พนักงานซึ่งทางบริษัทฯ ไดโยกยาย แตงตั้ง หรือถอดถอนนี้ มี สิทธิไดรับคาจางผลประโยชนและสวัสดิการตามตําแหนงใหมของพนักงานนั้น โดยบริษัทฯ จะปฏิบัติ ตามกฎหมายแรงงาน 8.

การลาออก พนักงานที่มีความประสงคจะลาออกจากการเปนพนักงานจะตองแสดงความจํานงคดวยการ เขียนแบบแจงการลาออกลวงหนาอยางนอย 30 วัน โดยยื่นตอผูบังคับบัญชาโดยตรง และการลาออก จะมีผลบังคับใชเมื่อไดรับการอนุมัติจากประธานของบริษัทฯ 9.

ความลับ พนักงานจะรักษาไวเปนความลับซึ่งขาวสาร และขอมูลใดๆ ของบริษัทฯ รวมตลอดถึงขอมูล ที่เกี่ยวกับเทคนิค อุตสาหกรรม ธุรกิจการคา การเงินหรือเรื่องอื่นใดที่พนักงานไดทราบมาเนื่องจาก การเปนพนักงานของบริษัทฯ โดยพนักงานจะไมนําขาวสาร และขอมูลดังกลาวไปใช หรือเปดเผยให ผูอื่นใด หรือแสวงหาประโยชนไมวาจะดวยวิธีใด ในประการที่นาจะทําใหบริษัทฯ เสื่อมเสียชื่อเสียง ไดรับความเสียหาย หรือเสียประโยชนไมวาจะโดยทางตรงหรือทางออม ทั้งนี้ ใหการดังกลาวมีผล ผูกพันพนักงานทั้งในระหวางการเปนพนักงานของบริษัทฯ และรวมถึงระยะเวลาหลังจากที่สัญญาจาง ไดสิ้นสุดลงแลวไมวาจะดวยกรณีใดก็ตาม โดยใหมีกําหนดระยะเวลา 5 ป อนึ่ง หากพนักงานฝาฝนขอบังคับเกี่ยวกับการทํางานในสวนนี้ไมวาจะเปนกรณีใดก็ตาม อันเปนเหตุใหบริษัทฯ ไดรับความเสียหาย ตองเสื่อมเสียชื่อเสียง พนักงานจะถูกลงโทษทางวินัยใน สถานหนักหรืออาจถูกบริษัทฯ เลิกจางไดโดยไมจายคาชดเชย นอกจากนี้ พนักงานจะตองรับผิด ชดใชคาเสียหายที่เกิดจากการฝาฝนขอบังคับเกี่ยวกับการทํางานในสวนนี้ ตามความเสียหายที่เกิดขึ้น


-5จริงกับทางบริษัทฯ ใหแกบริษัทฯ ภายในระยะเวลา 30 วัน บริษัทฯ

นับแตวันที่ไดรับแจงเปนหนังสือจาก

10.

การคิดคนใหม พนักงานตกลงวาทรัพยสินทางปญญา ผลงาน สิ่งประดิษฐ หรือสิ่งตางๆ ที่ถูกประดิษฐหรือ คิดคนขึ้นโดยพนักงาน ไมวาจะเปนเพียงคนเดียวหรือเปนกลุมคณะ ในระหวางที่ยังเปนลูกจางของ บริษัทฯ ทุกกรณี พนักงานจะตองแจงตอบริษัทฯ โดยทันทีที่ผลงาน สิ่งประดิษฐใดๆ หรือสิ่งตางๆ ที่ถูกประดิษฐหรือคิดคนขึ้น อนึ่ง ทรัพยสินทางปญญา ผลงาน สิ่งประดิษฐ หรือสิ่ง ตางๆ ที่ถูก ประดิษฐหรือคิดคนขึ้นโดยพนักงานดังกลาว จะตกเปนสมบัติของบริษัทฯ ทั้งสิ้น โดยพนักงานไมมี สิทธิกลาวอางหรือดําเนินการตามกฎหมายใดๆ เพื่อใหไดมาซึ่งความเปนเจาของ ทั้งไมมีสิทธิไดรับ ผลตอบแทนใดๆ เปนพิเศษ และไมมีสิทธิจําหนายจายโอนทํา สําเนาคัดลอกไมวากรณีใดๆ เพื่อใหแก บุคคลหรือนิติบุคคลอื่นใด อนึ่ง หากพนักงานฝาฝนขอบังคับเกี่ยวกับการทํางานในสวนนี้ไมวาจะเปนกรณีใดก็ตาม อันเปนเหตุใหบริษัทฯ ไดรับความเสียหาย ตองเสื่อมเสียชื่อเสียง พนักงานจะถูกลงโทษทางวินัยใน สถานหนักหรืออาจถูกบริษัทฯ เลิกจางไดโดยไมจายคาชดเชย นอกจากนี้ พนักงานจะตองรับผิด ชดใชคาเสียหายที่เกิดจากการฝาฝนขอบังคับเกี่ยวกับการทํางานในสวนนี้ ตามความเสียหายที่เกิดขึ้น จริงกับทางบริษัทฯ ใหแกบริษัทฯ ภายในระยะเวลา 30 วัน นับแตวันที่ไดรับแจงเปนหนังสือจาก บริษัทฯ 11.

การบังคับใชตามบทบัญญัติในพระราชบัญญัติคุมครองแรง พ.ศ. 2541 ขอมูลใดซึ่งมิไดรวมอยูในขอบังคับนี้ ใหนําบทบัญญัติในพระราชบัญญัติคุมครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาใชบังคับ 12.

การไมเขาไปมีสวนรวมในกิจการที่ไมใชธุรกิจของบริษัทฯ ขณะที่พนักงานปฏิบัติงานใหกับบริษัทฯ หามพนักงานมีสวนรวมไมวาในลักษณะใดก็ตาม ในกิจการของธุรกิจอื่นๆ ในทํานองแขงขันกับบริษัทฯ ไมวาจะโดยไดรับคาตอบแทนหรือไมก็ตาม นอกจากนี้ พนักงานจะไมไดรับอนุญาตใหมีสวนเกี่ยวของหรือมีธุรกิจร วมทั้งทางตรงและทางออมกับ บริษัทอื่นๆ ที่อยูในลักษณะงานหรือประกอบธุรกิจประเภทเดียวกัน หรือที่มีลักษณะเปนการแขงขัน กับบริษัทฯ ไมวาจะเปนเจาของ ผูถือหุน ที่ปรึกษา หรือกรรมการ ภายในขอบเขตของประเทศ ไทยและญี่ปุน ภายในระยะเวลา 2 ป นับแตสัญญาจางสิ้นสุดลงไมวาจะสิ้นสุดลงดวยกรณีใดก็ตาม อนึ่ง หากพนักงานฝาฝนขอบังคับเกี่ยวกับการทํางานในสวนนี้ไมวาจะเปนกรณีใดก็ตาม อันเปนเหตุใหบริษัทฯ ไดรับความเสียหาย ตองเสื่อมเสียชื่อเสียง พนักงานจะถูกลงโทษทางวินัยใน


-6สถานหนักหรืออาจถูกบริษัทฯ เลิกจางไดโดยไมจายคาชดเชย นอกจากนี้ พนักงานจะตองรับผิด ชดใชคาเสียหายที่เกิดจากการฝาฝนขอบังคับเกี่ยวกับการทํางานในสวนนี้ ตามความเสียหายที่เกิดขึ้น จริงกับทางบริษัทฯ ใหแกบริษัทฯ ภายในระยะเวลา 30 วัน นับแตวันที่ไดรับแจงเปนหนังสือจาก บริษัทฯ 13.

การทดลองงาน บริษัทฯ กําหนดใหมีการทดลองงานโดยจะมีเงื่อนไขและหลักเกณฑ เปนไปตามสัญญาจาง ทดลองงาน 14. วันทํางานของพนักงานโรงงาน บริษัทฯ อาจปรับไดตามความเหมาะสม เชน ในกรณีที่ไมมี วัตถุดิบ โรงงานมีงานทํานอยอาจลดวันทํางานลงเหลือ 5 หรือ 4 วันทํางานในรอบสัปดาห โดยจะมี การแจงใหพนักงานทราบเปนคราวๆ ไป ทั้งนี้ บริษัทฯ จะปฏิบัติตามกฎหมายแรงงาน


-7หมวด 3 วันทํางาน เวลาทํางานปกติ และเวลาพัก 1.

บริษัทฯ กําหนดวันทํางาน เวลาทํางานปกติ และเวลาพักไวดังนี้ 1.1. สํานักงาน/โรงงาน (สําหรับพนักงานที่ทํางานประจํา)  วันทํางานปกติ คือ วันจันทร ถึง วันเสาร  เวลาทํางานปกติ คือ 08.00 – 17.00 น.  เวลาพัก คือ 12.00 – 13.00 น.  วันหยุดประจําสัปดาห คือ วันอาทิตย 1.2. สําหรับพนักงานที่ทํางานเปนกะ พนักงานกะจะมีชั่วโมงสลับกันไปโดยมีชั่วโมงการทํางานวันละไมเกิ น 8 ชั่วโมง การ ทํางานในรอบสัปดาหจะมีเวลาทํางานปกติรวมแลวไมเกินสัปดาหละ 48 ชั่วโมง และจะ มีวันหยุดประจําสัปดาหสลับกันไป 1.2.1. กะที่ 1.  เวลาทํางานปกติ คือ 07.00 – 15.00 น.  เวลาพัก คือ 11.00 – 12.00 น. 1.2.2. กะที่ 2.  เวลาทํางานปกติ คือ 15.00 – 23.00 น.  เวลาพัก คือ 19.00 – 20.00 น. 1.2.3. กะที่ 3.  เวลาทํางานปกติ คือ 23.00 – 07.00 น.  เวลาพัก คือ 03.00 – 04.00 น. หมายเหตุ : 1).บริษัท ฯ สามารถจะจัดทํา กํา หนดเวลาการทํา งาน ชนิดใหมที่แตกตางกับ ที่ กล า วมานี้ ไ ด ห ากมี ค วามจํ า เป น ที่จ ะตอ งกระทํ า เช น นั้น และในกรณีดั ง กลา วบริษั ท ฯ จะแจ ง ให พนักงานทราบลวงหนาถึงชั่วโมงการทํางานซึ่งจะตองไมเกินกวาชั่วโมงทํางานตามปกติ เชนนั้น โดย ไดรับความยินยอมจากลูกจาง 2. 3.

พนักงานทุกคนตองปฏิบัติตามกําหนดเวลาทํางานที่ บริษัทฯ แจงใหทราบอยางเครงครัด บริษัทฯ สงวนสิทธิในการเปลี่ยนแปลงแกไขวันทํางาน เวลาทํางาน วันหยุดและเวลาพักไดตาม ความเหมาะสมกับการบริหาร บางสวน บางแผนก หรือทั้งหมดได ถาบริษัทฯ เห็นวาการ เปลี่ยนแปลงเชนนั้นเปนการสมควรเพื่อเสริมสมรรถภาพในการทํางานเพื่อเหตุอื่นใด โดยแจง ใหพนักงานทราบลวงหนา โดยบริษัทฯ จะปฏิบัติใหถูกตองตามกฎหมายแรงงาน


-84. การมาทํางานสาย และการออกจากสถานที่ทํางานไปกอนเวลาเลิกงาน 4.1. การมาสาย พนักงานผูใดที่เกรงวาจะมาสายหรือมาทํางานชากวาเวลาเขางานที่กําหนด ไว จะตองติดตอทางโทรศัพทมายังผูบังคับบัญชาโดยดวน และหลังจากที่มาถึงบริษัทฯ แลวจะตอง ตองยื่นจดหมายแสดงถึงสาเหตุของการมาสายนั้นตอผูบังคับบัญชาทันที 4.2. การเลิกงานกอนเวลาที่กําหนด พนักงานที่ประสงคจะเลิกงานกอนเวลาเลิกงานนั้น จะตองไดรับอนุญาตจากผูบังคับบัญชาลวงหนา โดยกรอกแบบฟอรมขออนุญาตตามที่กําหนดไวทุก ครั้งไป 4.3. ชั่งโมงการทํางาน ในกรณีที่มาทํางานสาย หรือเลิกงานกอนเวลาเลิกงานนั้นใหปฏิบัติ โดยถือเอาเวลา 30 นาทีเปนเกณฑ (ในกรณีที่ไมครบ 30 นาทีนั้นใหถือวาเทากับ 30 นาที) และเมื่อ อนุญาตครบ 8 ชั่วโมงแลวใหถือวาไดขาดงาน 1 วัน


-9หมวด 4 วันลาและหลักเกณฑการลา 1.

ประเภทการลา บริษัทฯ กําหนดประเภทการลาไวดังนี้ 1.1 ลาปวย 1.2 ลาเพื่อคลอดบุตร 1.3 ลาเพื่อทําหมัน 1.4 ลาเพื่อรับราชการทหาร 1.5 ลาเพื่อการฝกอบรม หรือพัฒนาความรูความสามารถ 1.6 ลาเพื่ออุปสมบท 1.7 ลาหยุดในกรณีอื่นๆ

2.

หลักเกณฑการลา 2.1 การลาปวย 2.1.1 พนักงานมีสิทธิลาปวยไดเทาที่ปวยจริงโดยไดรับคาจางเทากับคาจางในวัน ทํางานปหนึ่งไมเกิน 30 วันทํางาน 2.1.2. วันลาปวยของพนักงาน ซึ่งจะเกิดขึ้นไดตอเมื่อพนักงานเจ็บปวย บาดเจ็บ หรือ ปวยดวยเหตุอื่น ๆ จนทําใหไมสามารถทํางานไดโดยไมทราบลวงหนา 2.1.3. การลาปวยตองแจงโดยเร็วที่สุดเทาที่จะทําไดซึ่งโดยปกติแลว จะตองกระทํา ภายใน 2 ชั่วโมงแรกของเวลาทํางานปกติในวันแรกที่ตองหยุดงาน โดยให พนักงานหรือบุคคลอื่นติดตอแจงใหบริษัทฯ หรือผูบังคับบัญชาของตนทราบ ดวยวิธีหนึ่งวิธีใด ถาไมอาจทําไดจะตองแจงโดยเร็วที่สุดและตองยื่นใบลาตาม แบบฟอรมของบริษัท ฯ ตอผูบังคับบัญชาโดยตรงของตนภายใน 2 ชั่วโมง หลังจากเริ่มงานในวันแรกที่กลับเขาทํางาน 2.1.4 กรณีการลาปวยเกิดขึ้นภายหลังจากที่มาทํางานแลว ใหขออนุมัติการลาตอ ผูบังคับบัญชาโดยตรงของตน 2.1.5. การลาปวยตั้งแต 3วันทํางานขึ้นไปจะมีวันหยุดคั่นหรือไมก็ตามจะตองมีหนังสือ รับรองจากแพทยแผนปจจุบันชั้นหนึ่งมาแสดง (ตนฉบับ) ถาพนักงานไมอาจ สามารถแสดงใบรับรองแพทยไดใหพนักงานชี้แจงใหบริษัทฯ ทราบ และ บริษัทฯ สงวนสิทธิจะใหแพทยประจําบริษัทฯ ตรวจรักษาอีกครั้งในกรณีที่เห็น สมควรเพื่อประกอบการพิจารณา 2.1.6. พนักงานที่ลาปวยโดยไมมีเหตุผลอันสมควรบอยครั้งและบริษัทฯพิสูจนไดวาไม


- 10 ปวยจริงบริษัทฯ จะพิจารณาโทษทางวินัยตามความเหมาะสมซึ่งจะพิจารณาเป น กรณีไป 2.1.7. การลาปวยที่เปนเท็จ นอกจากจะเปนการแจงรายงานขอมูลไมจริงตอผูบังคับบัญชาแลว ยังถือวาเปนความผิดที่รายแรงตอบริษัทฯ ฐานกระทําทุจริตซึ่งบริษัท ฯ จะพิจารณาลงโทษตามระเบียบ 2.1.8 การลาปวยหรือจํา นวนวันลาป วย จะนําไปประกอบการพิจารณาเงินเดือน/ คาจางประจําป 2.1.9. ในกรณีลาปวยและไมไดนอนพักที่หองพยาบาลของบริษัทฯ พนักงานสามารถ ลาไดครั้งละอยางนอย 4 ชั่วโมง 2.2 การลาเพื่อคลอดบุตร 2.2.1. พนักงานหญิงที่มีครรภ มีสิทธิลาเพื่อคลอดบุตรกอนและหลังคลอดครรภหนึ่ง ไมเกินเกาสิบวัน (รวมวันหยุด) บริษัทฯ จายคาจางในวันทํางานใหแกพนักงาน ซึ่งลาคลอดตลอดระยะเวลาที่ลาแตไมเกินสี่สิบหาวัน โดยลาลวงหนาอยางนอย 30 วัน 2.2.2. เนื่องจากการคลอดแมวาจะไดหยุดตามเวลาที่ไดรับอนุญาตให ลาคลอดตามขอ 1 แลวก็ตาม แตยังไมสามารถจะมาปฏิบัติงานได บริษัทฯ จะ อนุญาตใหลาหยุดเพิ่มเติมไดอีกไมเกิน 30 วัน โดยไมไดรับคาจาง 2.2.3. กรณีฉุกเฉิน พนักงานไมสามารถยื่นใบลาลวงหนาไดตามระเบียบ ใหพนักงาน แจงใหผูบังคับบัญชาทราบถึงเหตุผลโดยวิธีใดวิธีหนึ่งทันที เชน ทางโทรศัพท หรือ จะใหญาติหรือคูสมรสมาแจงการลาแทน 2.2.4. ถาพนักงานหญิงมีครรภมีใบรับรองของแพทยแผนปจจุบันชั้นหนึ่ง แสดงวาไม อาจทํางานในหนาที่เดิมไดใหมีสิทธิขอใหบริษัทฯ เปลี่ยนงานในหนาที่เปนการ ชั่ ว คราวกอ นหรือ หลัง คลอดไดโ ดยบริ ษัท ฯ จะพิจารณาเปลี่ย นงานใหแ ก พนักงานนั้นตามที่เห็นสมควร 2.3 การลาเพื่อทําหมัน 2.3.1. บริษัทฯ อนุญาตใหพนักงานลาเพื่อทําหมันได และมีสิทธิลาเนื่องจากการ ทําหมันโดยไดรับคาจาง ทั้งนี้จํานวนวันลาใหเปนไปตามระยะเวลาที่แพทยแผน ปจจุบันชั้นหนึ่งเปนผูกําหนด 2.3.2 พนักงานที่จะลาเพื่อทําหมัน จะตองแจงใหผูบังคับบัญชาทราบลวงหนาไมนอย กวา 15 วัน เมื่อไดรับอนุมัติจึงจะลาได


- 11 2.3.3 เมื่อกลับเขา ทํางานในวันแรก พนักงานจะตองยื่ นหนังสือรับ รองแพทยตอ ผูบังคับบัญชาเพื่อเปนหลักฐานประกอบการลา 2.4 การลาเพื่อรับราชการทหาร 2.4.1. ในกรณีที่ทางราชการไดออกหมายเรียกตัวพนักงาน เพื่อเขารับราชการทหารใน การเรียกพล เพื่อตรวจสอบ เพื่อการฝกวิชาทหาร หรือเพื่อทดสอบความพรั่ง พรอมโดยพนักงานจะไดรับคาจางในวันทํางานตลอดระยะเวลาที่ลา แตปหนึ่ง ไมเกิน 60 วัน (โดยนับตอเนื่องและรวมทั้งวันหยุด) 2.4.2. การลาเพื่อรับราชการทหาร พนักงานจะตองแจงใหบริษัทฯ ทราบภายใน 3 วัน นับจากวันที่ไดรับหมายเรีย ก การลาเพื่อรับราชการทหาร พนักงานตองลา ลวงหนา 30 วัน กรณีพนักงานที่ถูกเกณฑทหาร จะตองลาออกจากการเปน พนักงานของบริษัทฯ 2.4.3. และตองกลับเขาทํางานภายใน 3 วัน นับจากวันที่พนักงานพนหนาที่ทางราชการ ทหาร หากพนกําหนดระยะเวลาดังกลาวแลวพนักงานไมมีการติดตอกับบริษัทฯ โดยไมมีเหตุอันสมควร หรือปฏิเสธที่จะเขาทํางานในตําแหนงที่บริษัทฯ เสนอ ให (โดยตําแหนงและ คาจางไมต่ํากวาเดิม) ใหถือวาพนักงานผูนั้นไดสละสิทธิ ในการที่จะทํางานกับ บริษัทฯ และถือวา พนักงานผูนั้นลาออกจากการเปน พนักงานของบริษัทฯ โดยสมัครใจ 2.5 การลาเพื่อการฝกอบรมและพัฒนาความรูความสามารถ 2.5.1 พนักงานมีสิทธิลาโดยไมไดรับคาจาง เพื่อการฝกอบรม หรือพัฒนาความรู ความสามารถในกรณี ดังตอไปนี้ - เพื่อประโยชนตอการแรงงาน และสวัสดิการสังคม รวมทั้งการฝกอบรมหรือ พัฒนาเกี่ยวกับทักษะเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน - การสอบวัดผลทางการศึกษาที่ทางราชการจัดหรืออนุญาตใหจัดขึ้น 2.5.2. ลูกจางซึ่งเปนเด็กอายุต่ํากวา 18 ป มีสิทธิ์ลาเพื่อเขาประชุมสัมมนา รับการอบ รม รับการฝกหรือลาเพื่อการอื่น ซึ่งจัดโดยสถานศึกษา หรือหนวยงานของรัฐ หรือเอกชน ที่ไดรับการเห็นชอบจากอธิบดีกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน โดยใหลูกจางเปนผูแจงขออนุญาตเพื่อเขารับการอบรมนั้นๆ พรอมทั้งแสดง หลักฐานที่เกี่ยวของ (หากมี) และบริษัทฯ จะพิจารณาอนุมัติ โดยจายคาจางให ปละ 30 วัน 2.5.3. พนักงานที่มีสิทธิลา จะตองเปนพนักงานที่ผานการทดลองงานแลว


- 12 2.5.4. พนักงานตองยื่นใบลาลวงหนาเพื่อใหผูบังคับบัญชาพิจารณาอนุมัติ เปนเวลาไม นอยกวา 7 วัน โดยจะตองระบุถึงเหตุที่ลาโดยชัดแจง รวมทั้งมีเอกสาร ประกอบการขออนุ มั ติ เช น หนั ง สื อ ตอบรั บ การเข า ฝ ก อบรม รายละเอี ย ด หลักสูตร ฯลฯ ทั้งนี้รวมตลอดปพนักงานมีสิทธิลาไดไมเกิน 30 วันหรือ 3 ครั้ง อยางใด อยางหนึ่ง 2.5.5 บริษัทฯ มีสิทธิไมอนุมัติใหลา หากการลานั้นจะกอใหเกิดความเสียหายแกการ ดําเนินงานของบริษัทฯ 2.6. การอุปสมบท 2.6.1. พนักงานที่ผานการทดลองงานแลว สามารถขอลาอุปสมบทไดไมเกิน 15 วัน โดยไดรับคาจาง โดยสามารถลาไดเพียงครั้งเดียวเทานั้น อยางไรก็ตาม การลา อุปสมบทดังกลาวนี้ พนักงานตองใชสิทธิลาหยุดพักผอนประจําปที่มีสิทธิกอน ที่เหลือเปนลากิจที่บริษัทฯ จะพิจารณาอนุมัติให 2.6.2. การลาอุปสมบท บริษัทฯ จะอนุมัติหรือไมขึ้นอยูกับการพิจารณาของผูบังคับ บัญชา ซึ่งจะตองไมเปนผลเสียหายตองานของบริษัทฯ 2.6.3. ในปหนึ่งๆ บริษัทฯ มีสิทธิจํากัดจํานวนผูลาอุปสมบทไดตามความจําเปน 2.6.4. ในวันที่พนักงานกลับมาปฏิบัติงานตามปกติแลว พนักงานตอ งนําหลักฐานหรือ หนังสือรับรองการอุปสมบท (ใบสุทธิ) มาแสดงตอเจาหนาที่ฝายบุคคลเพื่อ บันทึกไวเปนหลักฐาน 2.7. การลาหยุดในกรณีอื่นๆ บริษัทฯ จะอนุญาตใหพนักงานลาหยุดไดในกรณีตางๆ ดังตอไปนี้ โดยไดรับคาจาง 2.7.1 การลาเพื่อจัดพิธีฌาปนกิจศพ เมื่อบิดา มารดา คูสมรส พี่นองรวมบิดามารดา และบุตรโดยชอบดวยกฎหมายของตนถึงแกกรรม โดยยื่นใบลาลวงหนาไมนอยกวา 1 วัน เมื่อไดรับอนุมัติจากบริษัทฯ แลวจึงหยุดได ทั้งนี้ ลาไดไมเกินครั้งละ 5 วัน 2.7.2. ลาเพื่อประกอบพิธีสมรสของพนักงาน โดยยื่นใบลาลวงหนาไมนอยกวา 15 วัน เมื่อไดรับอนุมัติจากบริษัทฯ แลวจึงหยุดได ทั้งนี้ ลาไดไมเกิน 3 วัน โดยมีสิทธิลาได เพียง 1 ครั้งตอคน 2.7.3. ในกรณีเกิดอัคคีภัย อุทกภัยตางๆ ซึ่งเปนภัยพิบัติทางธรรมชาติทําใหบานเรือน ที่พักอาศัยเกิดเสียหายเกินวาครึ่งหนึ่งขึ้นไป โดยยื่นใบลา และเมื่อไดรับอนุมัติจากบริษัท ฯ แลวจึงหยุดได ทั้งนี้ ลาไดไมเกิน 3 วัน


- 13 หมวด 5 วันหยุดและหลักเกณฑการหยุด 1.

วันหยุดประจําสัปดาห 1 .1 วันอาทิตย 1.2 บริษัทฯ สามารถจะจัดทํากําหนดเวลาการทํางาน ชนิดใหมที่แตกตางกับที่กลาวมานี้ได หากมีความจํา เปนที่จะตองกระทํา เชนนั้น และในกรณีดังกลา วบริษัทฯ จะแจงใหพนักงานทราบ ลวงหนาถึงชั่วโมงการทํางานซึ่งจะตองไมเกินกวาชั่วโมงทํางานตามปกติ เชนนั้น โดยไดรับความ ยินยอมจากลูกจาง 2.

วันหยุดตามประเพณี บริษัทฯ กําหนดใหมีวันหยุดตามประเพณีปหนึ่งไมนอยกวา 16 วัน ทั้งนี้ อาจมีการเปลี่ยนแปลงวันหยุดไดตามความเหมาะสมในแตละป โดยรวมวันแรงงานแหงชาติ ดวยและพนักงานจะไดรับคาจางเทากับคาจางในวันทํางาน ซึ่งบริษัทฯ จะประกาศใหทราบ ลวงหนาภายในเดือนธันวาคมของทุกป ถาวันหยุดตามประเพณีตรงกับวันหยุดประจําสัปดาห ใหหยุดชดเชยวันหยุดตามประเพณีวันนั้นไปหยุดในวันทํางานถัดไป

3.

วันหยุดพักผอนประจําป พนักงานมีสิทธิหยุดพักผอนประจําปโดยไดรับคาจางเทากับวันมาทํางาน ไดดังตอไปนี้ 3.1. ในปแรกของการทํางาน 3.1.1.พนั กงานที่เ ขา ทํา งานในเดือ นเมษายน ถึง เดื อนพฤษภาคม มีสิ ท ธิ หยุ ดพั กผ อ น ประจําปได 6 วันทํางาน 3.1.2.พนัก งานที่เข า ทํา งานในเดือนมิถุน ายน ถึง เดือ นกรกฎาคม มีสิท ธิหยุ ดพัก ผอ น ประจําปได 5 วันทํางาน 3.1.3.พนั ก งานที่ เ ข า ทํ า งานในเดื อ นสิ ง หาคม ถึ ง เดื อ นกั น ยายน มี สิ ท ธิ ห ยุ ด พั ก ผ อ น ประจําปได 4 วันทํางาน 3.1.4.พนักงานที่เขา ทํา งานในเดือนตุลาคม ถึงเดือนพฤศจิกายน มีสิท ธิหยุดพักผอน ประจําปได 3 วันทํางาน 3.1.5.พนั ก งานที่ เ ข า ทํ า งานในเดื อ นธั น วาคม ถึ ง เดื อ นมกราคม มี สิ ท ธิ ห ยุ ด พั ก ผ อ น ประจําปได 2 วันทํางาน 3.1.6.พนักงานที่เขาทํางานในเดือนกุมภาพัน ธ มีสิทธิหยุดพักผอนประจําปได 1 วัน ทํางาน 3.2. ในปที่สองเปนตนไป


- 14 3.2.1.ในปที่สองของการทํางาน พนักงานมีสิทธิหยุดพักผอนประจําปได ….. วันทํางาน 3.2.2.ในปที่สามของการทํางาน พนักงานมีสิทธิหยุดพักผอนประจําปได ……วันทํางาน 3.2.3.ในปที่สี่ของการทํางาน พนักงานมีสิทธิหยุดพักผอนประจําปได ……... วันทํางาน 3.2.4.ในปที่หาของการทํางาน พนักงานมีสิทธิหยุดพักผอนประจําปได …… วันทํางาน 3.2.5.ในปที่หกของการทํางาน พนักงานมีสิทธิหยุดพักผอนประจําปได …… วันทํางาน 3.2.6.พนักงานที่มีอายุงานตั้งแต 7 ปขึ้นไป มีสิทธิหยุดพักผอนประจําปได ….. วัน ทํางาน 3.3. การสะสม ในกรณีที่พนักงานไมสามารถใชวันหยุดพักผอนประจําปใดๆ ไดหมดสิ้นในปนั้นๆ ให ยกยอดนําไปใชในปถัดไปได อยางไรก็ตามเมื่อยกยอดมาแลว วันหยุดพักผอน ประจําปในปที่ยกยอดมารวมแลวตองไมเกิน 12 วันทํางาน สวนที่เหลือหากพนักงานไม 3.4. บริษัทฯ จะเปนผูกําหนดวันหยุดพักผอนประจําปใหแกพนักงานแตละคน โดยพนักงาน ที่ประสงคจะใชสิทธิจะตองยื่นใบลาลวงหนาไมนอยกวา 7 วันทํางาน และจะหยุดไดก็ ตอเมื่อไดรับการอนุมัติจากผูบังคับบัญชาเปนลายลักษณอักษรแลวเทานั้น มิฉะนั้น จะถือ วาขาดงานละทิ้งหนาที่ 3.5. การหยุดพักผอนประจําปแตละครั้งจะตองหยุดไมนอยกวา 1 วัน


- 15 หมวด 6 หลักเกณฑการทํางานลวงเวลา และทํางานในวันหยุด 1.

หลักทั่วไป 1.1 ในกรณีที่ลักษณะหรือสภาพของงานจําเปนตองทําติดตอกันไป ถาหยุดจะเสียหายแกงาน หรือเปนงานฉุกเฉินโดยจะหยุดเสียมิได บริษัทฯ โดยกรรมการผูจัดการหรือผูที่ไดรับ มอบหมาย อาจจะสั่งพนักงานคนใดคนหนึ่งหรือหลายคนหรือทั้งหมดใหทํางานเกินเวลา ทํางานปกติตามความในหมวด 3 หรือมาทํางานในวันหยุดตามหมวด 5 ได 1.2 เพื่อประโยชนแกการผลิต การจําหนาย และการบริการ พนักงานจะทํางานลวงเวลา หรือ ทํางานในวันหยุด หรือทํางานลวงเวลาในวันหยุดไดตามที่บริษัทฯ สั่งเทานั้น บริษัทฯ อาจใหพนักงานทํางานนอกหรือเกินเวลาทํางานปกติ หรือในวันหยุดเทาที่จําเปน

2.

อัตราคาลวงเวลา 2.1 คาลวงเวลา บริษัทฯ ใหพนักงานทํางานลวงเวลาในวันทํางาน พนักงานจะไดรับคาลวงเวลาใน อัตราไมนอยกวาหนึ่งเทาครึ่งของอัตราคาจางตอชั่วโมงในวันทํางานตามจํานวนชั่วโมง ที่ทํา หรือไมนอยกว า หนึ่งเท า ครึ่งของอัตราคา จา งตอหนวยในวั น ทํา งานตามจํา นวน ผลงานที่ทําไดสําหรับพนักงานซึ่งไดรับคาจางตามผลงานโดยคํานวณเปนหนวย

3.

คาทํางานในวันหยุด 3.1 พนักงานที่มีสิทธิไดรับคาจางในวันหยุด (เชน วันหยุดประจําสัปดาห วันหยุดตามประเพณี และวันหยุดพักผอนประจําป ) ถามาทํางานในวันหยุด จะไดรับคาทํางานในวันหยุดเพิ่มขึ้นอีกหนึ่ งเทาของคาจาง ในวันทํางานตามจํานวนชั่วโมงที่ทํางานในวันหยุ ด หรือตามผลงานที่ทําไดในวันหยุด สําหรับพนักงานตามผลงาน โดยคํานวณเปนหนวยตามที่ไดรับคําสั่งใหมาทํางานใน วันหยุด 3.2 พนักงานที่ไมมีสิทธิไดรับคาจางในวันหยุด (เชน วันหยุดประจําสัปดาหสําหรับพนักงาน รายชั่วโมง รายวัน และตามผลงาน) ถา มาทํา งานในวั นหยุด จะไดรั บ คา ทํ า งานในวั นหยุด สองเทา ของคา จ า งใน วันทํางานตามจํานวนชั่วโมงที่ทํางานในวันหยุด หรือตามผลงานที่ทําไดในวันหยุด


- 16 4.

คาทํางานลวงเวลาในวันหยุด พนักงานมีสิทธิไดรับคาทํางานลวงเวลาในวันหยุด เมื่อไดทํางานในวันหยุดเกินเวลา ทํางานปกติของวันทํางานในอัตราสามเทาของคาจางในวันทํางาน สําหรับจํานวนชั่วโมงที่ทํา เกินเวลาทํางานปกติ หรือตามผลงานที่ทําไดเกินสําหรับพนักงานที่ไดรับคาจางตามผลงานโดย คํานวณเปนหนวย ตามที่ไดรับคําสั่งใหมาทํางานลวงเวลาในวันหยุด

5.

พนักงานที่ไมมีสิทธิไดรับคาทํางานลวงเวลา คาทํางานในวันหยุด และคาลวงเวลาในวันหยุด พนักงานซึ่งมีอํานาจหนาที่ทําการแทนบริษัทฯ สําหรับกรณีการจาง การใหบําเหน็จ การลดคาจาง หรือการเลิกจาง ไมมีสิทธิไดรับคาทํางานลวงเวลา คาทํางานในวันหยุด และ คาลวงเวลาในวันหยุด

6.

พนักงานที่ทํางานลวงเวลาและทํางานลวงเวลาในวันหยุดในกรณีดังตอไปนี้ มีสิทธิไดรับคาตอบแทนเปนเงินเทากั บอัตราคาจางตอชั่วโมงในวันทํางานตามจํานวน ชั่วโมงที่ทํา 6.1 งานที่มีลักษณะหรือสภาพที่ตองออกไปทํางานนอกสถานที่ และโดยลักษณะหรือสภาพ ของงานไมอาจกําหนดเวลาทํางานที่แนนอนได 6.2 งานอยูเวรเฝาดูแลสถานที่หรือทรัพยสินอันมิใชหนาที่การทํางานตามปกติของพนักงาน 6.3 งานเฝาดูแลสถานที่หรือทรัพยสิน ทั้งนี้ เวนแตบริษัทฯ ตกลงจายคาลวงเวลาหรือคาลวงเวลาในวันหยุดใหแกพนักงาน

7.

เพื่อประโยชนแกการคํานวณคาลวงเวลา คาทํางานในวันหยุด และคาลวงเวลาในวันหยุด ในกรณีที่พนักงานไดรับคาจางเปนรายเดือน อัตราคาจางตอชั่วโมงในวันทํางาน หมายถึง คาจางรายเดือนหารดวยผลคูณของสามสิบและจํานวนชั่วโมงทํางานในวันทํางานตอวันโดยเฉลี่ย


- 17 หมวด 7 วันและสถานที่ที่จายคาจาง คาลวงเวลา คาทํางานในวันหยุด และคาลวงเวลาในวันหยุด บริษัทฯ กําหนดจายคาจางในวันทํางาน คาลวงเวลา คาทํางานในวันหยุด และคาลวงเวลา ในวันหยุด (ของวันที่ 21 ของเดือนนี้ถึงวันที่ 20 ของเดือนถัดไป) ใหแกพนักงานในวันทํางานปกติ เดือนละ 1 ครั้งในวันสิ้นเดือน โดยจายให ณ ที่ทําการของบริษัทฯ หรือจายผานธนาคาร ซึ่ งให พนักงานเปดบัญชีออมทรัพยกับธนาคารที่บริษัทฯ ไดแจงใหพนักงานทราบ โดยไดรับความ ยินยอม จากพนักงาน กรณีวันที่จายคาจางในวันทํางาน คาลวงเวลา คาทํางานในวันหยุด และคาลวงเวลาใน วันหยุดตรงกับวันหยุดธนาคาร หรือ วันหยุดของบริษัทฯ บริษัทฯ จะจายกอนวันหยุด 1 วันทํางาน ในกรณีเลิกจา งกอนถึงกํา หนดเวลาจา ยคา จา ง คา ลวงเวลา คา ทํา งานในวันหยุด และ คาลวงเวลาในวันหยุด บริษัทฯ จะจายเงินดังกลาวใหแกพนักงานภายใน 3 วันนับตั้งแตวันที่เลิกจาง


- 18 หมวด 8 วินัยและโทษทางวินัย 1.

วัตถุประสงค บริษัทฯ ไดกําหนดหลักเกณฑตาง ๆ ในหมวดนี้ขึ้นโดยมีวัตถุประสงคดังตอไปนี้ 1.1 เพื่อเปนแนวทางของผูบังคับบัญชาในการพิจารณา สงเสริม แกไข หรือปรับปรุงความ ประพฤติของผูใตบังคับบัญชา 1.2 เพื่อใหเกิดความเปนธรรมตอพนักงานในเรื่องวินัยในการปฏิบัติของบริษัทฯ 1.3 เพื่อเปนแนวทางในการปฏิบัติเกี่ย วกับ วินัย อันจะนํา ไปสูค วามเจริญกา วหนา ของ พนักงานและบริษัทฯ 1.4 เปนสวนชวยสงเสริมใหการดําเนินกิจการของบริษัทฯ บรรลุถึงวัตถุประสงคดวยความมี ระเบียบ เปนธรรม ถูกตองตามกฎหมายและกอใหเกิดความสงบสุขในการทํางานรวมกัน

2.

นโยบาย บริษัทฯ ไดวางนโยบายในเรื่องวินัยของพนักงานไวดังนี้ 2.1 ผูบังคับบัญชาจะตองพยายามปองกันมิใหเกิดปญหาในการลงโทษทางวินัย ดวยการใช หลักเกณฑการบริหารบุคคล หรือการปกครองที่ดี 2.2 ตามปกติแลวการดําเนินการลงโทษทางวินัยจะทําเปนขั้นตอน เพื่อใหพนักงานไดมี โอกาสปรับปรุงตนเอง นอกเสียจากความผิดนั้นมีลักษณะรายแรง

3.

วินัยพนักงาน เพื่อความเปนระเบียบเรียบรอย และมีประสิทธิภาพในการทํางานรวมกัน พนักงานจะตองปฏิบัติตามระเบียบดังตอไปนี้ 3.1 วินัยทั่วไป 3.1.1 ประพฤติตนเปนพลเมืองดีอยูในระเบียบและกฎเกณฑของสังคมไมประพฤติชั่ว กระทําหรือรวมกันกระทําการใด ๆ อันเปนการผิดกฎหมายของบานเมืองทั้งใน และนอกบริเวณบริษัทฯ 3.1.2 เชื่อฟงและปฏิบัติตามคําสั่งของผูบังคับบัญชา 3.1.3 ปฏิบัติตามระเบียบขอบังคับและกฎเกณฑตาง ๆ ของบริษัทฯ ที่กําหนดไวโดย เครงครัด 3.1.4 แจงการเปลี่ยนแปลงสถานภาพของตนเองใหบริษัทฯ ทราบในกรณีเปลี่ยนชื่อ / นามสกุ ล ที่ อ ยู อ าศั ย สมรส/หย า ร า ง มี บุ ต ร บุ ค คลในครอบครั ว เสี ย ชี วิ ต เปลี่ยนบัตรประจําตัวประชาชน ทั้งนี้ภายในเจ็ดวันนับจากวันที่เปลี่ยนแปลงใน แตละกรณี


- 19 -

3.1.5 รักษาความสะอาด ไมทิ้งสิ่งของหรือสิ่งปฏิกูลใด ๆ นอกภาชนะที่บริษัทฯ จัดไว 3.1.6 ชวยกันดูแลประหยัดการใชวัสดุอุปกรณเครื่องมือเครื่องใชพลังงานและสิ่งอื่นๆ ใหสิ้นเปลืองนอยที่สุด 3.1.7 ไมมาทํางานสาย ไมกลับกอนเวลา หรือไมลาหยุดงานโดยไมมีเหตุอันสมควร หรือเปนการพร่ําเพรื่อ 3.1.8 ไมชวยเหลือ สนับสนุน ชักจูง รูเห็นเปนใจ หรือเพิกเฉยตอการกระทําความผิด ของพนักงานอื่น 3.1.9 หามรับจางทํางานใหผูอื่นหรือดําเนินธุรกิจใด ๆ อันอาจเปนผลกระทบกระเทือน เวลาทํางานหรือกิจการของบริษัทฯ 3.1.10 หามนําสิ่งของ เครื่องมือเครื่องใช หรือผลิตภัณฑของบริษัทฯ ไปใชประโยชน สวนตัวหรือใชเพื่อการอื่น ซึ่งไมเกี่ยวของกับกิจการของบริษัท ฯ โดยไมไดรับ อนุญาต 3.1.11 ไมประพฤติตนหรือกระทําการใด ๆ ใหบริษัทฯ เสื่อมเสียชื่อเสียงหรืออาจไดรับ ความเสียหาย 3.1.12 ระมัดระวังดูแลรักษาสิ่งของหรือทรัพยสินของบริษัทฯ และตองแจงใหผูบังคับ บัญชาทราบเมื่อทําสิ่งของหรือทรัพยสินของบริษัทฯ เสียหายหรือสูญหาย 3.1.13 หามปดประกาศ โฆษณา ขีดเขียนขอความ แจกใบปลิว เผยแพรเอกสาร หรือ สิ่งตีพิมพใด ๆ ในบริเวณของบริษัทฯ โดยมิไดรับอนุญาต รวมทั้งการปลด ทําลาย ขีดเขียน เพิ่มเติมเอกสาร ประกาศ หรือคําสั่งใด ๆ ของบริษัทฯ ดวย 3.1.14 ไมเปดเผยขอมูล หรือปกปดขอเท็จจริงอันอาจเปนเหตุใหบริษัทฯ ไดรับความ เสียหาย 3.1.15 ไมดูหมิ่นหรือหมิ่นประมาทบุคคลอื่น หรือเหยียดหยามผูบังคับบัญชา หรือลูกคา หรือผูมาติดตอ หรือกระทําอื่น ๆ ที่เปนการอันไมสมควร 3.1.16 หากพนักงานหญิงตั้งครรภใหแจงตอผูบังคับบัญชาเปนลายลักษณอักษร 3.1.17 พนักงานปฏิเสธไมยอมรับการตรวจโรคและตรวจสุขภาพโดยไมมีเหตุผลอัน สมควร 3.2 ระเบียบการเขาหรือออกบริเวณบริษัทฯ


3.2.1

3.2.2 3.2.3

3.2.4 3.2.5 3.2.6

3.2.8

3.2.9 3.2.10 3.2.11

- 20 พนักงานที่บ ริษัท ฯ กํา หนดใหบันทึกเวลาทํางาน ตองบันทึกเวลาดวยตนเอง ทุกครั้งเมื่อเขาทํางาน เลิกงาน และ/หรือ ตามระเบียบที่บริษัทฯ กําหนดหาม บันทึกเวลาแทนผูอื่น หรือรูเห็นเปนใจใหผูอื่นบันทึกเวลาให พนักงานที่เขามาในบริเวณของบริษัทฯ จะตองแตงกายใหสุภาพเรียบรอย พนักงานที่จะออกจากสถานที่ ทํางานในระหวางเวลาทํางาน และเวลาพักของ ตนเอง ไมวากรณีใดตองปฏิบัติตามระเบียบที่บริษัทฯ กําหนดทุกครั้ง และใน กรณีที่เปนการออกจากบริษัทฯ โดยไมกลับมาอีกใหบันทึกเวลาดวย ตองแสดงบัตรประจําตัวพนักงานตอยามรักษาการณเมื่อผานเขาบริษัทฯ หรือ เมื่อยามรักษาการณขอใหแสดง นอกจากการทํางานตามหนาที่ หามเขามาหรืออยูภายในสถานที่ทํางานโดย ไมไดรับอนุญาต การนําสิ่งของหรือทรัพยสินของบริษัทฯ ออกจากบริษัทฯ ไมวากรณีใดก็ตาม จะต อ งแสดงใบอนุ ญ าตนํ า สิ่ ง ของหรื อ ทรั พ ย สิ น ที่ จ ะนํ า ออกนั้ น ต อ ยาม รักษาการณ ตองใหยามรักษาการณตรวจสิ่งของที่นําติดตัวเขามา หรือเมื่อออกจากบริษัทฯ ไมใชเวลาทํางานตอนรับ หรือพบปะผูมาเยือนในธุรกิจสวนตัว หากจําเปนตอง ไดรับอนุญาตจากผูบังคับบัญชากอน และใหใชสถานที่ตามที่บริษัทฯ จัดไว โดยใชเวลาเทาที่จําเปน หามนําสัตวเลี้ยงใด ๆ เขามาในบริเวณบริษัทฯ หามนําเขาหรือใชเสพ หรือมีไวครอบครองซึ่งอาวุธ ยาเสพติด สิ่งมึนเมา หรือสิ่ง ที่ผิดกฎหมายภายในบริเวณบริษัทฯ หามพนักงานที่อยูในลักษณะมึนเมาเขามาภายในบริษัทฯ

3.3 การมาทํางาน 3.3.1 พนักงานตอ งมาทํ า งานอยา งปกติ และสม่ํา เสมอตามวัน เวลาทํา งานที่บ ริษัท ฯ กําหนด 3.3.2 พนักงานตองปฏิบัติตามระเบียบในเรื่องการลงเวลาเขาและออกงานโดยเครงครัด 3.3.3 พนักงานตองปฏิบัติตามระเบียบวาดวยการลา หรือการหยุดงานโดยเครงครัด 3.3.4 พนักงานตองปฏิบัติตามกําหนดการและเวลาในเรื่องการเขาทํางาน การออกไป และการกลับเขามาในการปฏิบัติงานนอกบริษัทฯ และการเลิกงาน 3.3.5 พนักงานหามทําบัตรบันทึกเวลาชํารุด สูญหาย หรือแกไขขอความใด ๆ


- 21 3.4 การปฏิบัติหนาที่ 3.4.1 พนักงานตองปฏิบัติตามคําสั่ง เมื่อบริษัทฯ มีคําสั่งใหโยกยายพนักงานไปประจํา หนวยงานใดไมวาจะเปนการชั่วคราวหรือเปนการถาวร 3.4.2 พนักงานตองปฏิบัติหนาที่อยางเต็มความสามารถ ดวยความซื่อสัตยสุจริตและ ขยันหมั่นเพียร 3.4.3 พนักงานตองปฏิบัติหนาที่ดวยความตั้งใจ สุขุมรอบคอบ และดวยความพรอมทั้ง รางกายและจิตใจ 3.4.4 พนักงานตองใชเวลาในการทํางานทั้งหมดของตนใหเปนประโยชนตองานตาม หนาที่ 3.4.5 พนักงานตองไมทํางานใหกับ บุค คลหรือองคกรอื่นใด อันอาจกระทบตอการ ทํา งานให แ กบ ริ ษัท ฯ ทั้ งนี้ ไ มว า จะไดรั บ ค า จา งหรื อ ผลประโยชนต อบแทน หรือไม 3.4.6 พนักงานตองไมเสพสุรา หรือยาเสพติด หรืออยูในอาการมึนเมาภายในบริเวณ บริษัทฯ หรือขณะปฏิบัติหนาที่ 3.4.7 หามพนักงานปดประกาศ นัดพบ ประชุม อภิปรายภายในบริษัทฯ รวมทั้ง จํา หน า ยจ า ยแจกเอกสารภายในบริ ษัท ฯ โดยไมไ ดรับ อนุญาตจากกรรมการ ผูจัดการ 3.4.8 หามนําบุคคลภายนอกเขามาภายในบริเวณบริษัทฯ โดยไมไดรับอนุญาต 3.4.9 หามสูบบุหรี่ภายในบริเวณบริษัทฯ เวนแตสถานที่ที่บริษัทฯ ไดกําหนดไว 3.4.10 หามฝาฝนระเบียบการแตงชุดทํางาน 3.4.11 หามใชเครื่องมือ เครื่องจักร โดยไมมีหนาที่เกี่ยวของ 3.4.12 หามรับประทานอาหาร หรือของขบเคี้ยวในเวลาทํางาน 3.4.13 หามละทิ้งหนาที่ หรือขาดงาน 3.4.14 หามทําประการอื่นอันไมสมควรแกการปฏิบัติหนาที่ของตนใหลุลวงไปโดย ถูกตองและสุจริต 3.4.15 พนักงานจะตองปฏิบัติหนาที่ หรือความรับผิดชอบตามที่ผูบังคับบัญชากําหนด 3.4.16 พนักงานจะตองปฏิบัติตามคํา สั่งของผูบังคับบัญชา ในกรณีเลื่อนตําแหนง โยกยาย หรือการมอบหมายงาน 3.4.17 พนักงานจะตองพึงรักษาสุขภาพของตนใหพรอมที่จะทํางานใหกับบริษัทฯ 3.4.18 พนักงานจะตองปฏิบัติตามระเบียบของพนักงานรักษาความปลอดภัย 3.4.19 พนักงานจะตองปฏิบัติตามที่ผูบังคับบัญชากําหนด วิธีการใชวัสดุอุปกรณในการ ทํางาน


- 22 3.4.20 พนักงานจะตองสวมใสหรือใชอุปกรณความปลอดภัยและสุขอนามัย 3.4.21 กรณีที่พนักงานแสดงเจตนาที่จะทํางานลวงเวลา หรือทํางานในวันหยุดแลวแต กรณีแตไมมาปฏิบัติงานนั้นโดยไมมีเหตุผลอันสมควร และสงผลใหบริษัท ฯ ไดรับความเสียหาย บริษัทฯ อาจจะพิจารณาโทษทางวินัยตามขอบังคับเกี่ยวกับ การทํางาน 3.5 การรักษาความลับของบริษัทฯ 3.5.1 พนักงานตองรักษาความลับของลูกคาของบริษัทฯ และพนักงานอื่น หรือบุคคล ที่เกี่ยวของกับบริษัทฯ 3.5.2 พนักงานตองรักษาความลับและชื่อเสียงของบริษัทฯ 3.5.3 พนักงานตองไมเปดเผยคาจางหรือเงินเดือน อัตราการขึ้นเงินเดือนของตนเอง หรือ ของผูอื่น จะโดยเจตนาหรือไมเจตนาก็ตาม ทํา ใหพ นั กงานผูไ มมีห นา ที่ เกี่ยวของไดทราบ 3.6 การรักษาผลประโยชนของบริษัทฯ 3.6.1 พนักงานตองไมเขาไปเกี่ยวของในการประกอบธุรกิจอื่นใด อันอาจมีผลกระทบ กระเทือนถึงประโยชนของบริษัทฯ หรือเปนการแขงขันกับบริษัทฯ 3.6.2 พนักงานตองไมปฏิบัติสิ่งใดอันเปนการขัดตอผลประโยชนของบริษัทฯ ไมวา ทางตรงและทางออม 3.6.3 พนักงานตองรักษาและเสริมสรางชื่อเสียงอัน ดีงามของบริษัทฯ 3.6.4 พนักงานตองรักษาผลประโยชนของบริษัทฯ โดยถือเสมือนวาเปนผลประโยชน ของตนเอง 3.7 การใชและการระวังรักษาทรัพยสินของบริษัทฯ 3.7.1 พนักงานตองไมสูบบุหรี่ หรือกอใหเกิดประกายไฟในสถานที่ซึ่งเก็บวัตถุไวไฟ หรือวัตถุซึ่งเปนเชื้อเพลิงภายในบริเวณบริษัทฯ หรือขณะปฏิบัติหนาที่ ยกเวน สถานที่ซึ่งจัดไวให 3.7.2 พนักงานตองไมนํา อุป กรณทรัพยสินของบริษัทฯ ไปใชนอกเหนือจากการ ทํางานใหแกบริษัทฯ 3.7.3 พนักงานตองระวังทรัพยสินของบริษัทฯ มิใหสูญหายหรือถู กทําลายไป แมจะ ไมใชหนาที่โดยตรงของตน


- 23 3.7.4 พนักงานตองศึกษา และทําความเขาใจถึงวิธีการใช และคําแนะนําในดานความ ปลอดภัยของทรัพยสินของบริษัทฯ กอนที่จะใชเสมอ 3.7.5 พนักงานตองใช และบํารุงรักษาทรัพยสินของบริษัทฯ เสมือนบุคคลทั่วไปพึงใช และบํารุงรักษาทรัพยสินของตนเอง 3.7.6 พนักงานตองปฏิบัติตามคําสั่ง หรือระเบียบเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทํางาน 3.8 ความซื่อสัตยสุจริต 3.8.1 พนักงานตองไมเปลี่ยนแปลง ปลอม แกไข ตัดทอน หรือทําลายเอกสารตาง ๆ ของบริษัทฯ หรือเอกสารที่มีการเกี่ยวของระหวางบริษัทฯ กับพนักงานโดยไมมี อํานาจหนาที่ที่จะกระทําการดังกลาว 3.8.2 พนักงานตองแจงขอมูลสวนตัวของตนตามที่บริษัทฯ ตองการแกบริษัทฯ ตาม ความเปนจริงและถาขอมูลที่ไดแจงไวแลวไมถูกตองตามความเปนจริงไมวาดวย เหตุผลใด พนักงานตองรายงานขอมูลที่ถูกตองใหบริษัทฯ ทราบโดยเร็วที่สุด 3.8.3 พนักงานตองใหความรวมมือกับบริษัทฯ ในการสอบสวนเรื่องราวตาง ๆ ที่ บริษัทฯ ตองการ และในการรวมมือดังกลาวพนักงานจะตองกระทําการตาง ๆ ดวยความสุจริต 3.8.4 พนักงานตองไมอาศัยอํานาจหนาที่ หรือโอกาสในการทํางานกับบริษัทฯ เพื่อ แสวงหาประโยชนใด ๆ อันขัดตอจรรยาบรรณวิชาชีพของตน ระเบียบประเพณี ในการทํางาน กฎหมาย หรือขัดตอผลประโยชนของบริษัทฯ 3.8.5 พนักงานตองไมแจงขอความเท็จหรือลาปวยเท็จตอผูบังคับบัญชาหรือบริษัทฯ 3.8.6 พนักงานตองยินยอมใหยามรักษาการณของบริษัทฯ ตรวจในกรณีที่เกิดความ สงสัยวาจะมีสิ่งของที่ผิดกฎหมาย หรือไดมาจากการกระทําผิดกฎหมาย หรือ อาวุธอยูในตัวพนักงาน 3.8.7 พนักงานตองไมปกปด หรือบิดเบือนความจริงเพื่อไดมาซึ่งประโยชนของตน และผูอื่น 3.8.8 พนักงานตองไมแจงหรือใหขอความอันเปนเท็จตอผูบังคับบัญชา 3.8.9 พนักงานตองรักษาไวซึ่งงานในหนาที่ในลักษณะสรางเสริม หรือรักษาไวซึ่ง ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน และไมจงใจหรือเจตนาปฏิบัติงานใหลาชา 3.8.10 พนักงานจะตองบริการลูกคาเต็มความสามารถ หรือจะตองรักษาผลประโยชน ของบริษัทฯ อยางสูงสุด 3.9 ความประพฤติ


3.9.1

3.9.2 3.9.3 3.9.4 3.9.5 3.9.6 3.9.7

3.9.8

3.9.9 3.9.10

3.9.11

4.

- 24 พนักงานตองไมทําการทะเลาะวิวาท หรือใชกําลังประทุษรายซึ่งกันและกันใน บริเวณบริษัทฯ ความในขอนี้หมายความรวมถึงสถานที่อื่น เมื่อบริษัทฯ จัดงาน หรือมีงานนอกสถานที่บริษัทฯ หรือในขณะทํางานนอกสถานที่และรถรับ -สง พนักงานตองเปนผูตรงตอเวลาในการนัดหมายอันเกี่ยวกับการปฏิบัติงาน พนักงานตองใชจายเงินทองที่เหมาะสมกับสถานภาพทางการเงินของตน โดยไม ปลอยใหตนเองมีหนี้สินลนพนตัว พนักงานตองไมพกอาวุธ หรือครอบครองสิ่งผิดกฎหมายเขา มาในบริษัท ฯ หรือในขณะปฏิบัติหนาที่ พนักงานตองประพฤติ ตนใหอยูในศีลธรรมอันดี หรือไมประพฤติชั่วรายอยาง รายแรงทั้งในและนอกบริเวณบริษัทฯ พนักงานตองเชื่อฟง และปฏิบัติตามคําสั่งอันชอบธรรมของผูบังคับบัญชา หรือ บริษัทฯ ทั้งคําสั่งดวยวาจาลายลักษณอักษร และการสื่อขอความอื่น ๆ พนักงานตองเปนผูมีสัมมาคารวะ ไมพูดจาไมสุภาพ ก าวราว หรือแสดงขอความ หรือแสดงกิริยาอาการเปนการสอเสียด เหยียดหยาม ประณาม หรือดูหมิ่น พนักงานอื่น หรือผูบังคับบัญชา พนักงานตองไมยุยง สงเสริม หรือสนับสนุนใหเกิดการแตกแยกความสามัคคี การทะเลาะวิวาท หรือ การทํา รา ยร า งกายในหมู พ นั กงานของบริ ษัท ฯ หรื อ ระหวางพนักงานของบริษัทฯ กับบุคคลภายนอก พนักงานตองไมกระทําการใด ๆ อันเปนการผิดกฎหมายที่มีโทษทางอาญาโดย เจตนาถึงแมวาจะไมถูกดําเนินคดีก็ตาม เชน เลนการพนัน พนักงานตองไมเลนการพนันในบริเวณบริษัทฯ หรือในบริเวณบานพัก ของ บริษัทฯ ไมวาจะเปนเวลาทํางานหรือนอกเวลาทํางานก็ตาม หรือหามเลนการ พนันในขณะปฏิบัติหนาที่ไมวาในหรือนอกสถานที่ทํางาน หรือสงเสริมใหมีการ เลนการพนัน หรือมีหนี้สินจากการเลนการพนัน หรือถูกจับกุมเนื่องจากเลนการ พนันในสถานที่ทํางาน พนักงานตองไมกระทําการลวงเกินทางเพศซึ่งกันและกันในเวลาทํางาน หรือใน สถานที่ทํางาน หรือในบริเวณบานพักของบริษัทฯ หรือบนรถรับ - สงพนักงาน

บทลงโทษ วินัยของพนักงานตามที่ระบุมานี้พนัก งานมีหนาที่ตองปฏิบัติตามอยางเครงครัด และ อนุโลมบังคับใชถึงบานพักหรือรถรับ - สงพนักงานดวย ถาพนักงานผูใดปฏิบัติ หรือละเวนการ ปฏิบัติใด ๆ อันถือวาเปนการฝาฝนวินัยดังกลาวจะตองถูกพิจารณาลงโทษทางวินัยตามลักษณะ


- 25 แหงความผิด หรือความหนักเบาของการกระทําผิ ด หรือรายแรงเกิดขึ้น การลงโทษจะเปนไป ตามขอหนึ่งขอใด หรือหลายขอรวมกันก็ไดตามบทลงโทษทางวินัย บ ริ ษั ท ฯ กํ า ห น ด บทลงโทษทางวินัยไว 5 ประการดังนี้ 4.1 การตักเตือนดวยวาจา โดยบันทึกเปนหนังสือไวเปนหลักฐาน 4.2 การตักเตือนเปนหนังสือ 4.3 ลดตําแหนง 4.4 พักงานโดยไมจายคาจาง และไมจายสวัสดิการ 4.5 การเลิกจางโดยไมจายคาชดเชย 5.

การเลิ ก จ า งโดยไม จ า ยค า ชดเชย ผู มี อํ า นาจลงโทษมี ห ลั ก เกณฑ ใ นการพิ จ ารณาพนั ก งาน ผูกระทําผิด ดังนี้ 5.1 ทุจริตตอหนาที่หรือกระทําความผิดอาญาโดยเจตนาแกบริษัทฯ 5.2 จงใจทําใหบริษัทฯ ไดรับความเสียหาย 5.3 ประมาทเลินเลอเปนเหตุใหบริษัทฯ ไดรับความเสียหายอยางรายแรง 5.4 ฝา ฝนขอบังคับเกี่ยวกับการทํา งาน หรือระเบีย บ หรือคําสั่งของบริษัทฯ อันชอบดวย กฎหมายและเปนธรรมและบริษัทฯ ไดตักเตือนเปนหนังสือแลว เวนแตกรณีที่รายแรง นายจางไมจําเปนตองตักเตือน หนังสือเตือนใหมีผลบังคับไดไมเ กินหนึ่งปนับแตวันที่ ลูกจางไดกระทําผิด 5.5 ละทิ้งหนาที่เปนเวลาสามวันทํางานติดตอกัน ไมวาจะมีวันหยุดคั่นหรือไมก็ตามโดยไมมี เหตุอันสมควร 5.6 ไดรับโทษจําคุกตามคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก เวนแตเปนโทษสําหรับความผิดที่ ได กระทําโดยประมาทหรือความผิดลหุโทษ

6.

ในกรณีที่พนักงานทําผิดวินัย บริษัทฯ จะมีคําสั่งพักงานระหวางสอบสวนเปนหนังสือโดยระบุ สาเหตุความผิด และกําหนดระยะเวลาพักงานเพื่อสอบสวนไดไมเกินเจ็ดวัน โดยจะแจงให พนักงานทราบกอนพักงานในระหวางการพักงาน บริษัทฯ จะจายเงินใหแกพนักงานตามอัตราที่ กําหนดไวไมนอยกวารอยละหาสิบของคาจางในวันทํางานเมื่อการสอบสวนเสร็จสิ้น แลว ปรากฏวาพนักงานไมมีความผิด บริษัทฯ จะจายคาจางใหแกพนักงานเทากับรอยละหาสิบของ คาจางในวันทํางานนับแตวันที่พนักงานถูกสั่งพักงานพรอมดวยดอกเบี้ยรอยละสิ บหาตอป


7.

8.

- 26 ทางบริษัทฯ ขอสงวนสิทธิที่จะเปลี่ยนแปลง เพิ่มเติมกฎระเบียบขอบังคับในการทํางานของ บริษัทฯ เพื่อความเหมาะสม ตามสภาพของสถานการณภายหนา โดยบริษัทฯ จะปฏิบัติให ถูกตองตามกฎหมายแรงงาน ผูมีอํานาจพิจารณาและดําเนินการลงโทษทางวินัย คือ กรรมการผูจัดการ หรือผูบังคับบัญชา แตละแผนกเปนผูลงโทษ หรือ บุคคลที่ไดรับการมอบหมาย หมวด 9 การรองทุกข

1.

วัตถุประสงค บริษัทฯ กําหนดหลักเกณฑการรองทุกขโดยมีวัตถุประสงคดังนี้ 1.1 เพื่อเสริมสรางความสัมพันธอันดีระหวางบริษัทฯ กับพนักงาน 1.2 เพื่อลดหรือขจัดปญหาขอของใจอันจะสงผลกระทบตอขวัญและกําลังใจของพนักงาน 1.3 เพื่อใหมีการวินิจฉัยการลงโทษทางวินัยอยางเที่ยงธรรมและถูกตอง

2.

ระเบียบปฏิบัติวาดวยการรองทุกข 2.1 ขอบเขตและความหมายของขอรองทุกข บริษัทฯ มีความปรารถนาที่จะใหการทํางานของพนักงานเปนไปดวยความเขาใจ ที่ดีระหวางบริษัทฯ กับพนักงานอันจะยังประโยชนสุขดวยกันทั้งสองฝาย ดังนั้นในกรณี ที่พนักงานมีปญหาอยางใดอยางหนึ่ง ซึ่งเปนผลมาจากการทํางานหรือสภาพการทํางาน หรือไมไดรับความเปน ธรรมในเรื่องใด ๆ พนักงานมีสิทธิที่จะยื่นคํารองทุกขเปนการ สวนตัวได 2.2 วิธีการและขั้นตอนการรองทุกข พนักงานที่ตองการยื่นคํารองทุกข ใหดําเนินการดังตอไปนี้ 2.2.1 ใหพนักงานยื่นคํารองทุกขเปนหนังสือ ระบุถึงสาเหตุ ระบุถึงวิธีการแกไขคํารอง ทุกขและลงลายมือชื่อดวยตนเอง ยื่นตอผูบังคับบัญชาภายใน 7 วัน นับแตวันที่มี ขอรองทุกขเกิดขึ้น 2.2.2 พนักงานผูมีขอรองทุกขจะตองเปนผูยื่นขอรองทุกขดวยตนเอง ทั้งนี้บริษัทฯ จะ ไมรับพิจารณาในกรณีที่พนักงานผูอื่นเปนผูยื่นรองทุกขแทน 2.3 การสอบสวนและการพิจารณาขอรองทุกข 2.3.1 เมื่อผูบังคับบัญชาระดับสูงที่ไดรับคํารองทุกขจากพนักงานแลว จะดําเนินการ หาทางยุติและชี้แจงดวยวาจา หรืออาจตอบเปนหนังสือแกพนักงานผูยื่นคํา รอง ทุกขภายใน 14 วันทํางาน นับแตวันที่ไดรับคํารองทุกขนั้น


- 27 2.3.2 กรณีพ นักงานผูยื่นคํา รองทุกข ไมไดรับ คํา ตอบจากผูบังคับ บัญชาระดับ สูง ตามขอ 2.3.1 ภายในกําหนดเวลาดังกลาว หรือไดรับคําตอบแลวแตยังไมเปนที่ นาพอใจใหพนักงานยื่นอุทธรณรองทุกขตอผูบังคับบัญชาระดั บบริหารอีกครั้ง ภายใน 7 วัน นับตั้งแตวันที่ไดรับทราบผลตามขอ 2.3.1 โดยผูบังคับบัญชาระดับ บริหารที่ไดรับคําอุทธรณรองทุกขดังกลาวจะวินิจฉัยและแจงผลใหพ นักงาน ทราบภายใน 14 วันทํางาน นับแตวันที่ไดยื่นอุทธรณรองทุกขและผลการวินิจฉัย ของผูบังคับบัญชาระดับบริหารถือวาเปนอันสิ้นสุด 2.4 กระบวนการยุติขอรองทุกข 2.4.1 กรณีที่พนักงานไมดําเนินการภายในระยะเวลาที่กําหนดไวในระเบียบ ใหถือวา ไมมีขอรองทุกขหรืออุทธรณรองทุกขเกิดขึ้น หรือขอรองทุกข หรืออุทธรณนั้น เปนอันสิ้นสุดแลวแตกรณี แตอยางไรก็ดีระยะเวลาที่กําหนดไวในระเบียบนี้ อาจจะขยายออกไปไดเมื่อมีการตกลงยินยอมกันระหวางพนักงานผูรองทุกขกับ ผูบังคับบัญชาระดับบริหาร 2.4.2 ผูมีอํานาจในการวินิจฉัยขอรองทุกข ตามขอ 2.3.1, 2.3.2 จะตองพิจารณาแกไข ปญหาดวยความยุติธรรมเพื่อกอใหเกิดประโยชนรวมกัน ระหวางพนักงานกับ บริษัทฯ ทั้งนี้พนักงานอาจขอคําปรึกษาจากผูจัดการแผนกเกี่ยวกับปญหา และ คํารองทุกขของพนักงาน และแนวปฏิบัติในการรองทุกขที่ถูกตองไดตลอดเวลา 2.5 ความคุมครองผูยื่นรองทุกขและผูเกี่ยวของ บริ ษั ท ฯ ยึ ด หลั ก ความเสมอภาค และความยุ ติ ธ รรมตลอดจนมุ ง เน น ความสัมพันธอันดีภายในองคกรเปนสําคัญ ดังนั้นพนักงานผูยื่นรองทุกขและผูเกี่ยวของ กับ ขอรองทุกข บริษัทฯ จะใหการเอาใจใสและพิจารณาดวยความเปนธรรมเพื่อดํารง ไวซึ่งบรรยากาศการแรงงานสัมพันธที่ดี


- 28 หมวด 10 การเลิกจาง การพนสภาพการเปนพนักงาน คาชดเชย และคาชดเชยพิเศษ 1.

นโยบาย 1.1 ถึงแมวาบริษัทฯ มีความปรารถนาอยางยิ่งที่จะใหพนักงานทุกคนไดทํางานกับบริษัทฯ อยางผาสุกและประสบความสําเร็จในหนาที่การงาน แตอาจจะมีบางครั้งคราวที่พนักงาน ที่ประสงคจะออกจากบริษัทฯ หรือทางบริษัทฯ อาจมีความจําเปนที่จะตองเลิกจางดวย เหตุผลตาง ๆ ตามแตกรณี 1.2 เมื่อพนักงานผูใดพนสภาพการเปนพนักงานไมวากรณีใด ๆ ก็ตาม พนักงานจะตองสงคืน ทรัพยสินของบริษัทฯ ที่พนักงานไดเบิกไปใชในการปฏิบัติหนาที่ และพนักงานผูใดมี หนี้สินของบริษัทฯ จะตองใชหนี้สินตาง ๆ ตอบริษัทฯ 1.3 พนักงานที่ป ระสงคจะลาออกตองแจงเปนลายลักษณอักษรตอผูบังคับบัญชาโดยตรง ของตนลวงหนาไมนอยกวา 30 วัน

2.

การเลิกจางและการพนสภาพการเปนพนักงาน การเลิกจางและการพนสภาพการเปนพนักงานจะมี ขึ้นในกรณีตอไปนี้ 2.1 ตาย 2.2 ลาออก ในกรณีที่สัญญาจางไมมีกําหนดระยะเวลา บริษัทฯ หรือพนักงานอาจบอกเลิกสัญญาจาง โดยบอกกลาวลวงหนาเปนหนังสือใหอีกฝายหนึ่งทราบ ในเมื่อถึงหรือกอนจะถึงกําหนดจาย คา จ า งคราวหนึ่งคราวใด เพื่อ ใหเ ปน ผลเลิก สัญ ญากั นเมื่อถึ งกํ า หนดจ า ยคา จ า งคราวถั ดไป ขางหนาก็ไดแตไมจําเปนตองบอกกลาวลวงหนาเกินสามเดือน 2.3 เลิกจางในระหวางทดลองงาน 2.4 เลิกจางเพราะเหตุผิดวินัย 2.5 เลิกจางในกรณีใด กรณีหนึ่ง ดังตอไปนี้จะไดคาชดเชย 2.5.1 เลิกจางเนื่องจากคนลนงาน โดยปรากฏวามีคนมากกวางานและทําใหบริษัทฯ เกิด ความสูญเปลาหรือกรณีที่บริษัทฯ เห็นวามีความจําเปนที่จะตองยุบหนวยงานนั้น 2.5.2 เลิกจางเนื่องจากสุขภาพของพนักงานไมเหมาะสม 2.5.2.1 เมื่อพนักงานลาปวยเกิน 30 วันทํางานในรอบป ยกเวนการเจ็บปวยที่ เกิดขึ้นเนื่องจากการทํางาน 2.5.3 เลิกจางเนื่องจากผลงานไมเปนที่พอใจหรือไมอยูในมาตรฐานของบริษัทฯ 2.5.4 เลิกจางเนื่องจากมีพฤติกรรมไมนาไววางใจหรือขาดคุณสมบัติของพนักงาน 2.5.5 เลิกจางเนื่องจากพนักงานที่มีสุขภาพไมสมบูรณ หรือหยอนความสามารถ


- 29 2.5.6 เกษียณอายุ 60 ป (นับตามบัตรประชาชน) 2.5.7 พนักงานที่เปนโรคจิตหรือมีพฤติกรรมที่มีจิตบกพรอง 3.

คาชดเชย 3.1 พนักงานที่ถูกเลิกจางในกรณีดังตอไปนี้จะไมไดคาชดเชย 3.1.1 พนักงานที่ถูกเลิกจางเพราะการลงโทษทางวินัยตามความในขอ 5 ของหมวด 8 ในขอบังคับนี้ 3.1.2 พนักงานที่ถูกเลิกจางในระหวางทดลองงาน 3.1.3 การจางที่มีกําหนดระยะเวลาจะกระทําไดสําหรับการจางงานในโครงการ เฉพาะที่ มิใชงานปกติข องธุรกิจหรือการคา ของบริษัท ฯ ซึ่งตองมีร ะยะเวลาเริ่มตนและ สิ้นสุดของงานที่แนนอน หรือในงานอันมีลักษณะเปนครั้งคราวที่มีกําหนดการ สิ้นสุด หรือความสําเร็จของงาน หรือในงานที่เปนไปตามฤดูกาล และไดจางใน ชวงเวลาของฤดูกาลนั้น ซึ่งงานนั้นจะตองแลวเสร็จภายในเวลาไมเกินสองป โดย บริษัทฯ และพนักงาน ไดทําสัญญาเปนหนังสือไวตั้งแตเมื่อเริ่มจาง 3.2 พนักงานที่ถูกเลิกจางจะไดคาชดเชยตามอายุงานดังตอไปนี้ (1) พนักงานซึ่งทํางานติดตอกันครบหนึ่งรอยยี่สิบวันแตไมครบหนึ่งปใหจายไมนอย กวาคาจางอัตราสุดทายสามสิบวัน หรือไมนอยกวาคาจางของการทํางานสามสิบ วันสุดทายสําหรับพนักงานซึ่งไดรับคาจางตามผลงานโดยคํานวณเปนหนวย (2) พนักงานซึ่งทํางานติดตอกันครบหนึ่งปแต ไมครบสามป ใหจายไมนอยกวาคาจาง อัตราสุดทายเกาสิบวัน หรือไมนอยกวาคาจางของการทํางานเกาสิบวันสุดทาย สําหรับพนักงานซึ่งไดรับคาจางตามผลงานโดยคํานวณเปนหนวย (3) พนักงานซึ่งทํางานติดตอกันครบสามปแตไมครบหกป ใหจายไมนอยกว าคาจาง อัตราสุดทายหนึ่งรอยแปดสิบวัน หรือไมนอยกวาคาจางของการทํางานหนึ่งรอย แปดสิบวันสุดทาย สําหรับพนักงานซึ่งไดรับคาจางตามผลงานโดยคํานวณเปน หนวย (4) พนักงานซึ่งทํางานติดตอกันครบหกปแตไมครบสิบป ใหจายไมนอยกวาคาจาง อัตราสุดทายสองรอยสี่สิบวัน หรือไมนอยกวาคาจางของการทํางานสองรอยสี่สิบ วันสุดทายสําหรับพนักงานซึ่งไดรับคาจางตามผลงานโดยคํานวณเปนหนวย (5) พนักงานซึ่งทํางานติดตอกันครบสิบปขึ้นไป ใหจายไมนอยกวาคาจางอัตราสุดทาย สามรอยวัน หรื อไมนอยกวา คา จา งของการทํ า งานสามรอยวั นสุดทา ยสํา หรั บ พนักงานซึ่งไดรับคาจางตามผลงานโดยคํานวณเปนหนวย


- 30 การเลิกจางตามขอ 3.2 หมายความวา การกระทําใดที่บริษัทฯ ไมใหพนักงานทํางาน ตอไป และไมจายคาจางใหไมวาจะเปนเพราะเหตุสิ้นสุดสัญญาจางหรือเหตุอื่นใด และหมายความ รวมถึงกรณีที่พนักงานไมไดทํางาน และไมไดรับคาจางเพราะเหตุที่บริษัทฯไมสามารถดําเนินกิจการ ตอไป 3.3 ในกรณี ที่ บ ริ ษั ท ฯ จะเลิ ก จ า งพนั ก งานเพราะเหตุ ที่ บ ริ ษั ท ฯ ปรั บ ปรุ ง หน ว ยงาน กระบวนการผลิ ต การจํ า หน า ย หรื อ การบริ ก าร อั น เนื่ อ งมาจากการนํ า เครื่ อ งจั ก รมาใช หรื อ เปลี่ยนแปลง เครื่องจักรหรือเทคโนโลยี ซึ่งเปนเหตุใหตองลดจํานวนพนักงาน ใหบริษัทฯ แจงวันที่ จะเลิกจาง เหตุผลของการเลิกจาง และรายชื่อพนักงานตอพนักงานตรวจแรงงาน และพนักงานที่จะ เลิกจางทราบลวงหนาไมนอยกวาหกสิบวันกอนวันที่จะเลิกจาง ในกรณีที่บริษัทฯ ไมแจงแกพนักงานที่จะเลิกจางทราบลวงหนา หรือแจงลวงหนานอย กวาระยะเวลาที่กําหนดตามขอ 3.3 ใหบริษัทฯ จายคาชดเชยพิเศษแทนการบอกกลาวลวงหนาแก พนักงานเทา กับ คา จา งอัตราสุด ทา ยหกสิบ วัน หรือเทา กับ คา จา งของการทํา งานหกสิบ วันสุดทา ย สําหรับพนักงานซึ่งไดรับคาจางตามผลงานโดยคํานวณเปนหนวย ในกรณีที่มีการจายคาชดเชยพิเศษแทนการบอกกลาวลวงหนาตามขอ 3.3 แลว ใหถือวา บริษัทฯ ไดจายสินจางแทนการบอกกลาวลวงหนาตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยดวย ในกรณีที่บริษัทฯ เลิกจางพนักงานตามขอ 3.3 หากพนักงานนั้นทํางานติดตอกันครบ หกปขึ้นไปโดยรวมวันหยุด วันลา และวันที่บริษัทฯ สั่งใหหยุดงานเพื่อประโยชนของบริษัทฯให บริษัทฯ จายคาชดเชยพิเศษเพิ่มขึ้นจากคาชดเชยตามขอ 3.2 สําหรับการทํางานที่เกินหกปแกพนักงาน ซึ่งเลิกจางนั้นไมนอยกวาคาจางอัตราสุดทายสิบหาวันตอการทํางานครบหนึ่งป หรือไมนอยกวาคาจาง ของการทํางานสิบหาวันสุดทายตอการทํางานครบหนึ่งป สําหรับพนักงานซึ่งไดรับคาจางตามผลงาน โดยคํานวณเปนหนวยแตคาชดเชยตามขอนี้ รวมแลวตองไมเกินคาจางอัตราสุดทายสามรอยหกสิบวัน หรือไมเกินคาจางของการทํางานสามรอยหกสิบวันสุดทาย สําหรับพนักงานซึ่งไดรับคาจางตามผลงาน โดยคํานวณเปนหนวย เพื่อประโยชนในการคํานวณคาชดเชยพิเศษ เศษของระยะเวลาทํางานที่มากกวาหนึ่งรอย แปดสิบวันใหนับเปนการทํางานครบหนึ่งป 3.4. ในกรณีที่บริษัทฯ ยายสถานประกอบกิจการไปตั้ง ณ สถานที่อื่น อันมีผลกระทบสําคัญ ตอการดํารงชีวิตตามปกติของพนักงานหรือครอบครัว บริษัทฯ จะแจงใหพนักงานทราบลวงหนาไม นอยกวาสามสิบวันกอนวันยายสถานประกอบกิจการ ในการนี้ ถาพนักงานไมประสงคจะไปทํางาน ดวยใหพนักงานบอกเลิกสัญญาได โดยพนักงานมีสิทธิไดรับคาชดเชยพิเศษไมนอยกวารอยละหาสิบ ของอัตราคาชดเชยที่พนักงานมีสิทธิไดรับตามขอ 3.2


- 31 ในกรณีที่บริษัทฯ ไมแจงใหพนักงานทราบการยายสถานประกอบกิจการลวงหนาตามขอ 3.4 วรรคหนึ่ง ใหบริษัทฯ จายคาชดเชยพิเศษแทนการบอกกลาวลวงหนาเทากับคาจางอั ตราสุดทาย สามสิบวัน หรือเทากับคาจางของการทํางานสามสิบวันสุดทายสําหรับพนักงานซึ่งไดรับคาจางตาม ผลงานโดยคํานวณเปนหนวยดวย พนักงานมีสิทธิยื่นคําขอใหคณะกรรมการสวัสดิการแรงงานพิจารณาภายในสามสิบวัน นับแตวันที่บริษัทฯ ยายสถานประกอบกิจการวา เปนกรณีที่บ ริษัทฯ ตองบอกกลาวลวงหนาหรือ พนักงานมีสิทธิบอกเลิกสัญญาโดยมีสิทธิไดรับคาชดเชยพิเศษตามขอ 3.4 วรรคหนึ่งหรือไม การบอกเลิกสัญญาตามขอ 3.4 วรรคหนึ่งดังกลาวนี้ พนักงานตองใชสิทธิภายในสามสิบ วันนับแตวันที่บริษัทฯ ยายสถานประกอบกิจการ หรือนับแตวันที่คําวินิจฉัยของคณะกรรมการ สวัสดิการแรงงานหรือคําพิพากษาของศาลเปนที่สุด


- 32 หมวด 11 สุขภาพอนามัยเพื่อความปลอดภัย 1.

บททั่วไป พนักงานจะตองใหความรวมมือกับบริษัทเกี่ยวกับการปฏิบัติตามขอเสนอและคําแนะนําตางๆ ที่ เกี่ยวกับสุขภาพอนามัยเพื่อความปลอดภัย เพื่อจะสามารถปองกันอันตรายและดํารงรักษาสุขภาพใหดี อยูเสมอ 2.

การตรวจเช็คสุขภาพอนามัย บริษัทฯ จะทําการตรวจเช็คสุขภาพอนามัยปละหนึ่งครั้งโดยจะมีแพทยแผนปจจุบันชั้นหนึ่งมา ทําการตรวจโรค และหากตรวจพบวาปวยเปนโรคจะสั่งหามมิใหปฏิบัติงาน หรือจํากั ดใหอยูภายใน ขอบเขตที่กําหนดไวตอไป หากพนักงานปฏิเสธไมยอมรับการตรวจโรคและตรวจสุขภาพโดยไมมี เหตุผลอันสมควร บริษัทฯ จะถือวาพนักงานฝาฝนขอบังคับฯ 3.

เกี่ยวกับอุปทวเหตุทางรถยนตตางๆ 3.1. พนักงานของบริษัทฯ สามารถใชรถของบริษัทฯ ไดในกรณีที่ผูบังคับบัญชาโดยตรงไดมี คําสั่งใหไปปฏิบัติงานใหสําเร็จลุลวงโดยเร็วเทานั้น และจะตองเปนกรณีที่ผู บังคับบัญชาชั้นสูง และ ฝายบริการธุรกิจทั่วไปเห็นชอบแลว 3.2.การเริ่มตน ปฏิบัติหนาที่นั้นใหนับเวลาที่ไดเริ่มออกจากสถานที่จอดรถที่กําหนดไว จนถึง เวลาที่ไดปฏิบัติธุรกิจเสร็จเรียบรอย และไดนําเอารถมาจอดไว ณ สถานที่ที่บริษัทกําหนดใหจอด เทานั้น 3.3.ในกรณีที่พนักงานนํารถไปใชโดยไมไดรับอนุญาตหรือนํารถไปตามที่ตางๆ นอกเสนทาง และนํากลับไปบานตนหากเกิดอุบัติเหตุขึ้น การซอมแซมใหคืนอยูในสภาพดีทั้งหมด ผู ขับขี่รถคันนั้น จะตองรับผิดชอบทั้งหมด บริษัทฯ จะไมรับผิดชอบซอมแซมใหเปนอันขาด 4.การรักษาความปลอดภัย เพื่อที่จะดํารงไวซึ่งความปลอดภัยของตนเองและของผูอื่น พนักงานตองเคารพและปฏิบัติตาม ขอกําหนดตางๆ ที่กลาวไวขางลาง และผูบริหารจะตองไมยอมใหพนักงานฝา ฝน ไมปฏิบัติตาม ขอกําหนดดังกลาวนี้เปนอันขาด กลาวคือ 4.1.พนักงานของบริษัทฯ ทุกคน จะตองใชเครื่องแบบ และหมวกที่บริษัทฯ กําหนดใหเสมอ 4.2.เพื่อความปลอดภัย หามพนักงานไวผมยาวเกินไป หรือในกรณีที่ไวผมยาว จะตองรวบมัด ไวใหเปนระเบียบ


- 33 4.3.สําหรับพนักงานที่ทํางานเกี่ยวกับเครื่องจักร ตามปกติโดยทั่วไปแลว สถานการณและ ลักษณะการปฏิบัติงานจําเปนจะตองใชหมวด เฮลเมท (Helmet) , แวนตาที่โปรงใส, ถุงมือ, ที่อุดหู และรองเทาที่มีความปลอดภัยที่บริษัทฯ กําหนดไว 4.4.สําหรับพนักงานที่ทํางานเกี่ยวกับการเชื่อมโลหะนั้น จะตองใชแวนตาที่ปองกันมิใหแสง จากการเชื่อม ARC เขาตา จะตองสวมถุงมือหนัง, เครื่องปองกันรางกาย, รองเทาที่มีความปลอดภัย และผากันเปอนที่ปดหนาอก เพื่อปองกันประกายไฟตางๆ อันอาจจะเกิดขึ้นอีกดวย 4.5.ในขณะที่พนักงานปฏิบัติงานโดยใชรถยก Fork Lift และปนจั่นตางๆ นั้น จําเปนที่จะตอง นํารถ Fork Lift และรถปนจั่นเหลานั้นออกไปใหหางจากพนักงานคนอื่นๆ คือ ใหอยูในความ ปลอดภัยนอกเขต 4.6.เกี่ยวกับเครื่องจักรและเครื่องมือในการขนสงจะใหทํางานไปไดดวยดี จะตองใชบุคคลที่มี คุณวุฒิ มาปฏิบัติงานนั้น หามมิใหใชพนักงานผูอื่นที่ไมมีคุณวุฒินั้นมาทํางานและใชเครื่องมือนั้นเปน อันขาด 4.7.รายละเอียดของการปฏิบัติงาน จําเปนจะตองใชเครื่องอุปกรณตางๆ ที่ผู บังคับบัญชาได กําหนดไว เปนมาตรการรักษาความปลอดภัยอีกดวย


- 34 หมวด 12 สภาพการบังคับและการประกาศใช 1. 2.

ระเบียบขอบังคับนี้ใชตอพนักงานทุกคน บรรดาระเบียบ ขอบังคับ ประกาศ หรือคําสั่งที่ซึ่งมีผลบังคับใชในบริษัทฯ กอนหนาวันที่ ประกาศใชบังคับ และมีขอความแตกตางไปจากขอบังคับนี้ใหยกเลิกขอความเฉพาะในสวนที่ ขัดแยงกับขอบังคับนี้ และใหใชระเบียบขอบังคับนี้แทน ประกาศ ณ วันที่

เปนตนไป

ลงชื่อ (

) กรรมการผูจัดการ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.