:: Form 56-1 2009/2010 Thai ::

Page 1

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2552/2553 สิ้นสุด ณ วันที่ 31 มีนาคม 2553

บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริษัท ธนายง จํากัด (มหาชน))


สารบัญ หนา สวนที่ 1

บริษัทที่ออกหลักทรัพย ขอมูลสรุป (Executive Summary)

i

1. ขอมูลทั่วไป

1

2. ปจจัยความเสี่ยง

7

3. ลักษณะการประกอบธุรกิจ

17

4. การประกอบธุรกิจในแตละสายผลิตภัณฑ

25

4.1 ธุรกิจระบบขนสงมวลชน

25

4.2 ธุรกิจอสังหาริมทรัพย

44

4.3 ธุรกิจสื่อโฆษณา

54

4.4 ธุรกิจใหบริการ

58

4.5 โครงการในอนาคต

59

5. ทรัพยสินที่ใชในการประกอบธุรกิจ

64

6. ขอพิพาททางกฎหมาย

75

7. โครงสรางเงินทุน

78

8. การจัดการ

80

9. การควบคุมภายใน

103

10. รายการระหวางกัน

111

11. ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

118

12. ขอมูลอื่นที่เกี่ยวของ

135

12.1 การเปลี่ยนแปลงที่สําคัญของบริษัทฯ ภายหลังวันที่ 31 มีนาคม 2553

135

12.2 คําอธิบายและการวิเคราะหฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของ บีทีเอสซี

138

สวนที่ 2

การรับรองความถูกตองของขอมูล

156

เอกสารแนบ 1

รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผูบริหาร

157

เอกสารแนบ 2

ขอมูลการดํารงตําแหนงของกรรมการและผูบริหารในบริษัทยอยและบริษัทรวม

166


คํานิยาม เวนแตจะกําหนดไวเปนอยางอื่น ใหคําตอไปนีม้ ีความหมายดังนี้ คํา

ความหมาย

กทม.

หนวยงานกรุงเทพมหานคร

กรุงเทพธนาคม

บริษัท กรุงเทพธนาคม จํากัด ซึ่งเปนบริษัทที่จัดตั้งขึ้นโดย กทม.

กลุมบริษัท

บริษัทฯ และบริษัทในเครือ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2553

กลุมวีจีไอ

วีจีไอและบริษัทในเครือ

งานโครงสรางระบบ

งานโครงสรางที่กอสรางขึ้น (Civil Works) ไดแก เสาโครงสราง ทาง ยกระดับ อาคารโรงจอดและซอมบํารุง และสิ่งปลูกสรางอื่น ๆ

ซีอารซี

บริษัท ชางชุน เรลเวย วีฮิเคิล จํากัด (Changchun Railway Vehicles Co., Ltd.)

นูโวไลน

บริษัท นูโว ไลน เอเจนซี่ จํากัด

บริษัทฯ

บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

บีทีเอส แอสเสทส

บริษัท บีทีเอส แอสเสทส จํากัด

บีทีเอสซี

บริษัท ระบบขนสงมวลชนกรุงเทพ จํากัด (มหาชน)

บีอารที

รถโดยสารประจําทางดวนพิเศษ (Bus Rapid Transit)

ปบัญชี 2551

ปบัญชีเริ่มตนวันที่ 1 เมษายน 2550 และสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2551

ปบัญชี 2552

ปบัญชีเริ่มตนวันที่ 1 เมษายน 2551 และสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2552

ปบัญชี 2553

ปบัญชีเริ่มตนวันที่ 1 เมษายน 2552 และสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2553

พีโอวี

บริษัท พอยท ออฟ วิว (พีโอวี) มีเดีย กรุป จํากัด

ระบบรถไฟฟาบีทีเอส

โครงการระบบรถไฟฟาขนสงมวลชนกรุงเทพมหานครสายสุขุมวิทและ สายสีลม รวมถึง งานโตรงสรางระบบและระบบไฟฟาและเครื่องกล ซึ่ง ดําเนินการและบํารุงรักษาโดยบีทีเอสซีตามสัญญาสัมปทาน

ระบบไฟฟาและเครื่องกล

ระบบไฟฟาและเครื่องกล (Electrical and Mechanical Works) ซึ่ง รวมถึง รถไฟฟา รางรถไฟฟา อุปกรณแหลงพลังงาน ระบบควบคุม คอมพิ ว เตอร ระบบอาณั ติ สั ญ ญาณ ระบบจั ด เก็ บ ค า โดยสารและ


คํา

ความหมาย

วีจีไอ

บริษัท วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย จํากัด

สัญญาสัมปทาน

สัญญาสัมปทานระบบขนสงมวลชนกรุงเทพระหวาง กทม. กับบีทีเอสซี

สวนตอขยายสายสีลม

โครงการระบบรถไฟฟาขนสงมวลชนกรุงเทพมหานครสายสีลมสวนตอ ขยาย ระยะทาง 2.2 กิโลเมตร ซึ่งประกอบดวยสถานีทั้งหมด 2 สถานี เชื่อมตอสะพานตากสินและวงเวียนใหญ (ซึ่งเปนสวนที่กทม. วาจาง บี ที เ อสซี ใ ห เ ป น ผู จั ด หารถไฟฟ า ให บ ริ ก ารเดิ น รถและซ อ มบํ า รุ ง รถไฟฟา)

สายสีลม

โครงการระบบรถไฟฟ า ขนส ง มวลชนกรุ ง เทพมหานครสายสี ล ม ระยะทาง 6.5 กิ โ ลเมตร ซึ่ ง ประกอบด ว ยสถานี ทั้ ง หมด 7 สถานี (รวมถึงสถานีสยาม) เชื่อมตอสนามกีฬาแหงชาติและสะพานตากสิน

สายสุขุมวิท

โครงการระบบรถไฟฟ า ขนส งมวลชนกรุ ง เทพมหานครสายสุ ขุ ม วิ ท ระยะทาง 23.5 กิ โ ลเมตร ซึ่ ง ประกอบด ว ยสถานี ทั้ ง หมด 17 สถานี (รวมถึงสถานีสยาม) เชื่อมตอบริเวณหมอชิตและออนนุช

แอบโซลูท

บริษัท แอบโซลูท โฮเต็ล เซอรวิส จํากัด

ฮิบเฮง

บริษัท ฮิบเฮง คอนสตรัคชั่น (ประเทศไทย) จํากัด

EBITDA

กําไรจากการดําเนินงานกอนคาใชจายดอกเบี้ย ภาษีเงินไดและคาเสื่อม ราคาหรือคาตัดจําหนาย


บริษัทบริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

ขอมูลสรุป (Executive Summary) บริษัทฯ (เดิมชื่อบริษัท ธนายง จํากัด (มหาชน)) กอตั้งขึ้น เมื่อป 2511 เพื่อประกอบธุรกิจอสังหาริมทรัพย และ ประสบความสําเร็จในการพัฒนาโครงการตางๆ หลายโครงการ เชน โครงการธนาซิตี้ เดอะรอยัลเพลส และ เดอะแกรนด และหลังจากออกจากการฟนฟูกิจการในป 2549 ยังไดเริ่มดําเนินโครงการใหมๆ นอกจากการสานตอโครงการที่มีอยูเดิม อีกหลายโครงการ ทั้งการรวมดําเนินการบานเอื้ออาทร และการพัฒนาเครือขายโรงแรมภายใตแบรนด “U” รวมถึงการ พัฒนาโครงการโรงแรม Four Points by Sheraton ที่ถนนสาทร ติดกับสถานีรถไฟฟาสุรศักดิ์ บริษัทฯ ไดดําเนินการขยายธุรกิจอยางตอเนื่อง ทั้งที่เกี่ยวของกับธุรกิจอสังหาริมทรัพย และอื่นๆ ดังที่ไดขยาย ธุรกิจไปยังธุรกิจระบบขนสงมวลชน โดยการไดมาซึ่งหุนสามัญของบีทีเอสซี ในอัตราสวนรอยละ 94.60 ของหุนทั้งหมด ของบีทีเอสซี ซึ่งทําใหภาพรวมธุรกิจของบริษัทฯ เปลี่ยนไป บริษัทฯ จึงไดดําเนินการเปลี่ยนชื่อบริษัทเปน “บริษัท บีที เอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)” และดําเนินการเปลี่ยนชื่อยอในการซื้อขายหลักทรัพย เปน “BTS” และไดยายหมวด การซื้อขายไปเปนหมวดขนสงและโลจิสติกส ภายใตอุตสาหกรรมบริการ ทั้งนี้ บริษัทฯ ไดมาซึ่งหุนสามัญของบีทีเอสซี จํานวน 15,022,335,992 หุน ที่ราคาหุนละ 2.665 บาทตอหุน โดยบริ ษั ท ฯ ชํ า ระค า ตอบแทนการได ม าซึ่ ง หุ น ดั ง กล า วโดยการออกหุ น สามั ญ เพิ่ ม ทุ น ของบริ ษั ท ฯ จํ า นวน 28,166,879,984 ลานหุน ที่ราคาหุนละ 0.688 บาทตอหุน รวมกับการชําระดวยเงินสดเปนจํานวน 20,655.7 ลานบาท ซึ่ง บริษัทฯ ไดกูยืมเงินจากธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) เพื่อชําระคาหุนบีทีเอสซี ในสวนที่เปนเงินสดดังกลาว โดยการ ไดมาซึ่งหุนสามัญของบีทีเอสซี นั้น ไดเสร็จสิ้นเมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม 2553 หลังการไดมาซึ่งหุนสามัญของบีทีเอสซี ธุรกิจของบริษัทฯ ประกอบดวยธุรกิจ 4 กลุมไดแก o

ธุรกิจระบบขนสงมวลชน ดําเนินการโดยบีทีเอสซี ซึ่งเปนผูใหบริการระบบรถไฟฟาบีทีเอส ซึ่งมี เสนทางผานใจกลางกรุงเทพมหานคร เชื่อมตอเขตธุรกิจเขากับศูนยการคา โรงแรม และจุดมุงหมาย สํ า คั ญ อื่ น ๆ ในกรุ ง เทพ นอกจากนี้ บี ทีเ อสซี ยั ง เป น ผู ให บ ริ ก ารในส ว นต อ ขยายสายสี ล มเป น ระยะทาง 2.2 กิโลเมตร และใหบริการเดินรถโดยสารดวนพิเศษบีอารทีอีกดวย

o

ธุรกิจอสังหาริมทรัพย กลุมบริษัทประกอบธุรกิจอสังหาริมทรัพยทั้งที่อยูในแนวเสนทางระบบขนสง มวลชน และที่อยูในบริเวณอื่น โดยใหความสําคัญและมุงเนนโครงการที่อยูในแนวเสนทางใหบริการ ระบบขนส ง มวลชนต า งๆ ก อ น เพื่ อ ใช ข อ ได เ ปรี ย บของบริ ษั ท ฯ จากการที่ ส ามารถเชื่ อ มต อ อสังหาริมทรัพยเหลานั้น เขากับระบบขนสงมวลชนไดโดยตรง ดังเชนโครงการตางๆ ที่บริษัทฯ และ บริษัทในเครือดําเนินการอยู เชน โครงการโรงแรม Four Points by Sheraton ติดกับสถานีสุรศักดิ์ และ โครงการคอนโดมิ เ นี ย ม อี ก 2 โครงการที่ จ ะดํ า เนิ น งานภายใต ชื่ อ “Abstracts” ซึ่ ง เป น เครื่องหมายทางการคาใหมที่บริษัทฯ กําลังดําเนินการจัดตั้งขึ้น

o

ธุรกิจสื่อโฆษณา ดําเนินการโดยกลุมวีจีไอ ซึ่งเปนบริษัทยอยของบีทีเอสซี โดยเปนผูใหบริการเชา พื้นที่โฆษณา และพื้นที่รานคาบนสถานีรถไฟฟา ในและนอกตัวรถไฟฟา รวมไปถึงรานคา Modern Trade เชน เทสโกโลตัส และ คารฟูร เปนตน

o

ธุรกิจบริการ ดําเนินการโดยกลุมบริษัท เพื่อใหบริการที่สนับสนุนการดําเนินงานในธุรกิจหลักของ กลุม ไดแก การใหบริการบัตรสมารทการด ซึ่งจะสามารถใชเปนบัตรโดยสารรวมกับระบบขนสง i


บริษัทบริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

หลังการไดมาซึ่งหุนสามัญของบีทีเอสซีดังกลาว บริษัทฯ ไดดําเนินการเสนอขายหุนสามัญเพิ่มทุนใหกับผูถือ หุนเดิมของบริษัทฯ ตามสัดสวนจํานวนหุนที่ผูถือหุนแตละรายถืออยู (Rights Offering) โดยหุนในสวนที่ไมไดมีการจอง ซื้อใน Rights Offering นั้น บริษัทฯ ไดเสนอขายใหแกกลุมผูลงทุนประเภทสถาบันการเงินและกลุมลูกคาของบริษัท หลักทรัพยที่ทําหนาที่เปนผูจัดจําหนายหลักทรัพยของบริษัทฯ ในแบบเฉพาะเจาะจง (Private Placement) ซึ่งบริษัทฯ ไดรับเงินเพิ่มทุนการเสนอขายดังกลาวเปนจํานวน ประมาณ 11,990.2 ลานบาท ซึ่งบริษัทฯ ไดนําเงินที่ไดรับนี้ไปชําระ คืนเงินกูที่เกิดจากการไดมาซึ่งหุนสามัญของบีทีเอสซี ซึ่งทําใหหนี้ดังกลาว เหลือยอดคงคางประมาณ 8,656.7 ลานบาท นอกจากนี้ บริษัทฯ จะไดมีการออกใบสําคัญแสดงสิทธิท่ีจะซื้อหุนสามัญเพิ่มทุนของบริษัทฯ ใหกับผูที่ไดรับการจัดสรร หุนจาก Rights Offering และ Private Placement ในอัตราสวน 4 หุนที่ไดรับการจัดสรรตอ 1 ใบสําคัญแสดงสิทธิ และ บริษัทฯ ยังมีแผนที่จะซื้อหุนสามัญของบีทีเอสซี ในสวนที่เหลือที่บริษัทฯ ยังไมไดซื้อในอนาคต เนื่องจากการไดมาซึ่งหุนสามัญของบีทีเอสซี เกิดขึ้นในเดือนพฤษภาคม 2553 งบการเงินของบริษัทฯ ที่แสดง ไวนี้ จะยังไมไดแสดงถึงผลที่เกิดขึ้นจากการไดมาซึ่งหุนสามัญของบีทีเอสซีดังกลาว ดังนั้น คําอธิบายและการวิเคราะห ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน ในขอ 11 นี้ จึงเปนเพียงสําหรับผลการดําเนินงานและฐานะทางการเงินของบริษัทฯ และบริษัทยอย สําหรับปบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2553 เทานั้น โดยขอมูลที่เกี่ยวของกับการไดมาซึ่งหุนสามัญของบี ทีเอสซี และ ผลการดําเนินงานและฐานะทางการเงินของบีทีเอสซีและบริษัทยอย สําหรับปบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2553 ไดแสดงไวในขอ 12 ขอมูลอื่นที่เกี่ยวของ อยางไรก็ตาม ในสวนที่เกี่ยวกับภาพรวมการประกอบธุรกิจของบริษัทฯ นั้น ไดแสดงถึงภาพรวมของบริษัทฯ หลังการซื้อธุรกิจระบบขนสงมวลชนแลว ในงบปบัญชี 2553 กําไรสุทธิของบริษัทฯ เพิ่มขึ้นเนื่องจากการสงมอบโครงการบานเอื้ออาทร รายไดจากคา รับเหมากอสรางและออกแบบโรงแรม Four Points by Sheraton และรายไดคาปรึกษาบริหารจัดการของโครงการ คอนโดมิเนียม Abstracts Phahonyothin Park อีกทั้งบริษัทฯ มีกําไรจากการปรับโครงสรางหนี้จํานวน 142.7 ลานบาท บริษัทฯ มีหนี้ทั้งหมด ประมาณ 2,312.7 ลานบาท ณ วันที่ 31 มีนาคม 2553 ซึ่งรวมหนี้ภายใตแผนฟนฟูกิจการจํานวน 1,752.5 ลานบาท ซึ่งบริษัทฯ ไดวางเงินสดและมีทรัพยสินเปนหลักประกันเพื่อชําระหนี้ดังกลาวโดยสวนใหญแลว ทั้งนี้ หนี้ทั้งหมดที่ไดกลาวถึงขางตนไมไดรวมถึงหนี้ใหมที่เกิดจากการไดมาซึ่งหุนสามัญของบีทีเอสซี สําหรับบีทีเอสซีนั้น มีรายไดทั้งหมด 4,913.8 ลานบาทในงบปบัญชี 2553 ซึ่งเพิ่มขึ้นจาก 4,835.9 ลานบาท ใน ปบัญชี 2552 เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของรายไดธุรกิจระบบขนสงมวลชนซึ่งเกิดจากจํานวนผูโดยสารที่เพิ่มขึ้นจากการเปด ใหบริการสวนตอขยายสายสีลม และรายไดจากการใหบริการเดินรถและซอมบํารุงของสวนตอขยายสายสีลมจาก กทม. จากรายไดทั้งหมด 4,835.9 ลานบาท ประมาณ 1,100.2 ลานบาทมาจากการบริการพื้นที่โฆษณาและพื้นที่รานคาบน รถไฟฟาและสถานีรถไฟฟาบีทีเอสและในรานคาปลีกของกลุมวีจีไอ ในปบัญชี 2553 EBITDA ของบีทีเอสซีเพิ่มขึ้นเปน 2,580.7 ลานบาทจาก 2,222.2 ลานบาท ในปบัญชี 2552 เนื่องจากรายไดที่เพิ่มขึ้นของคาโดยสารและการบริการพื้นที่ โฆษณาและพื้นที่รานคา บีทีเอสซีมีกําไรสุทธิสําหรับปบัญชี 2553 จํานวน 5,510.3 ลานบาท ซึ่งรวมถึงกําไรจากการปรับ โครงสรางหนี้ตามแผนฟนฟูกิจการจํานวน 4,528.0 ลานบาท

ii


บริษัท บีทเี อส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

สวนที่ 1 บริษัทที่ออกหลักทรัพย 1.

ขอมูลทั่วไป

ขอมูลบริษัท: ชื่อบริษัท ชื่อภาษาอังกฤษ ที่ตั้งสํานักงานใหญ

ประเภทธุรกิจ

Home Page โทรศัพท โทรสาร เลขทะเบียนบริษัท ทุนจดทะเบียน ทุนจดทะเบียนชําระแลว จํานวนหุนจดทะเบียน (หุนสามัญ) มูลคาหุน นายทะเบียนหลักทรัพย

ผูสอบบัญชี

ที่ปรึกษากฎหมาย

บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริษัท ธนายง จํากัด (มหาชน)) BTS Group Holdings Public Company Limited (formerly known as Tanayong Public Company Limited) ชั้น 14 ทีเอสทีทาวเวอร 21 ซอยเฉยพวง ถนนวิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 1. ธุรกิจระบบขนสงมวลชน 2. ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย 3. ธุรกิจสื่อโฆษณา 4. ธุรกิจบริการ www.btsgroup.co.th 0 2273-8511-5 0 2273-8516 0107536000421 7,704,149,999 บาท ณ วันที่ 31 มีนาคม 2553 และ 65,142,190,902 บาท ณ วันที่ 14 มิถุนายน 2553 7,614,391,803 บาท ณ วันที่ 31 มีนาคม 2553 และ 54,813,275,885บาท ณ วันที่ 14 มิถุนายน 2553 7,614,391,803 หุน ณ วันที่ 31 มีนาคม 2553 และ 54,813,275,885 หุน ณ วันที่ 14 มิถุนายน 2553 มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท บริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด 62 อาคารตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท : 0 2229-2800 โทรสาร : 0 2359-1259 บริษัท สํานักงาน เอินสท แอนด ยัง จํากัด ชั้น 33 อาคารเลครัชดา 193/136-137 ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท : 0 2264-0777 โทรสาร : 0 2264-0789-90 นายเติมพงษ โอปนพันธุ ผูสอบบัญชีรับอนุญาตทะเบียนเลขที่ 4501 บริษัท วีระวงค, ชินวัฒน และเพียงพนอ จํากัด ชั้น 22 อาคารเมอรคิวรี่ ทาวเวอร 540 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท : 0 2264-8000 โทรสาร : 0 2657-2222

สวนที่ 1 หนา 1


บริษัท บีทเี อส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

ขอมูลบริษัทยอยและบริษัทรวม: ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2553 บริษัท 1. ธุรกิจระบบขนสงมวลชน บมจ. ระบบขนสงมวลชน กรุงเทพ*

ประเภทธุรกิจ ระบบขนสง มวลชน

2. ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย บจ. สยาม เพจจิ้ง แอนด ถือครองที่ดิน คอมมิวนิเคชั่น และพัฒนา อสังหาริมทรัพย

บจ. สําเภาเพชร

ถือครองที่ดิน

บจ. ปราณคีรี แอสเซ็ทส (เดิมชื่อ บจ. เมืองทองเลคไซด เรสเตอรรอง)

ถือครองที่ดิน และพัฒนา อสังหาริมทรัพย

บจ. บีทีเอส แลนด*

ถือครองที่ดิน และพัฒนา อสังหาริมทรัพย

บจ. บีทีเอส แอสเสทส*

ถือครองที่ดิน และพัฒนา อสังหาริมทรัพย

บจ. กามปู พร็อพเพอรตี้*

ถือครองที่ดิน และพัฒนา อสังหาริมทรัพย

ทุนชําระแลว (บาท)

การถือหุน (รอยละ)

1000 อาคารบีทีเอส ถ. พหลโยธิน แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท 0 2617-7300 โทรสาร 0 2617-7133

15,879,516,393

94.6

21 ซอยเฉยพวง ถ. วิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท 0 2273-8511-5 โทรสาร 0 2273-8516 100-100/1 หมู 4 ถ. บางนา-ตราด กม.14 ต. บางโฉลง อ. บางพลี จ. สมุทรปราการ โทรศัพท 0 2336-1938 โทรสาร 0 2336-1985 21 ซอยเฉยพวง ถ. วิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท 0 2273-8511-5 โทรสาร 0 2273-8516 1000 อาคารบีทีเอส ถ. พหลโยธิน แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท 0 2617-7300 โทรสาร 0 2617-7143 1058/126 ถ. พหลโยธิน แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท 0 2617 7300 โทรสาร 0 2617 7133 1000 อาคารบีทีเอส ถ. พหลโยธิน แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท 0 2617 7300 โทรสาร 0 2617 7143

5,000,000

100.00

1,000,000

100.00

311,000,000

100.00

10,000,000

100.00 (ถือหุนโดย บมจ. ระบบขนสง มวลชนกรุงเทพ)

800,000,000

100.00 (ถือหุนโดย บมจ. ระบบขนสง มวลชนกรุงเทพ)

1,075,000,000

100.00 (ถือหุนโดย บจ. บีทีเอส แอส เสทส)

สถานที่ตั้ง

สวนที่ 1 หนา 2


บริษัท บีทเี อส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

บริษัท บจ. กามกุง พร็อพเพอรตี้*

บจ. ดีแนล

บจ. เมืองทอง แอสเซ็ทส

บจ. ยงสุ

บจ. ธนายง ฟูด แอนด เบเวอเรจ

บจ. ธนายง พร็อพเพอรตี้ แมเนจเมนท

บจ. กมลา บีช รีสอรท แอนด โฮเต็ล แมนเนจเมนท

ประเภทธุรกิจ

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553 สถานที่ตั้ง

ถือครองที่ดิน และพัฒนา อสังหาริมทรัพย

1000 อาคารบีทีเอส ถ. พหลโยธิน แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท 0 2617 7300 โทรสาร 0 2617 7143 อาคารสํานักงาน 21 ซอยเฉยพวง ใหเชา ถ. วิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท 0 2273-8833 โทรสาร 0 2273-8131 โรงแรม 21 ซอยเฉยพวง ถ. วิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท 0 2273-8511-5 โทรสาร 0 2273-8516 หยุดประกอบ 21 ซอยเฉยพวง กิจการ ถ. วิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท 0 2273-8511-5 โทรสาร 0 2273-8516 ถือครองที่ดิน 100-100/1 หมู 4 และพัฒนา ถ. บางนา-ตราด กม.14 อสังหาริมทรัพย แขวงบางโฉลง เขตบางพลี จ. สมุทรปราการ โทรศัพท 0 2336-0889 โทรสาร 0 2336-1985 บริหารอาคาร 100-100/1 หมู 4 ถ. บางนา-ตราด กม.14 แขวงบางโฉลง เขตบางพลี จ. สมุทรปราการ โทรศัพท 0 2336- 0889 โทรสาร 0 2336-1985 โรงแรมและพัฒนา 21 ซอยเฉยพวง อสังหาริมทรัพย ถ. วิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท 0 2273-8511-5 โทรสาร 0 2273-8516

สวนที่ 1 หนา 3

ทุนชําระแลว (บาท) 375,000,000

การถือหุน (รอยละ) 100.00 (ถือหุนโดย บจ. บีทีเอส แอส เสทส)

50,000,000

100.00

125,000,000

100.00

234,000,000

100.00

1,000,000

100.00

1,000,000

100.00

859,000,000

100.00


บริษัท บีทเี อส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

บริษัท

ประเภทธุรกิจ

บจ. นูโว ไลน เอเจนซี่*

ถือครองที่ดิน และพัฒนา อสังหาริมทรัพย

บจ. สระบุรี พร็อพเพอรตี้

ถือครองที่ดิน

3. ธุรกิจสื่อโฆษณา บจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย*

โฆษณาบน รถไฟฟาและสถานี รถไฟฟา รวมถึง บริเวณรานคาปลีก ชั้นนํา

บจ. วี จี ไอ แอดเวอรไทซิ่ง มีเดีย*

โฆษณาบริเวณ รานคาปลีกชั้นนํา

บจ. 999 มีเดีย*

โฆษณาบริเวณ รานคาปลีกชั้นนํา

บจ. 888 มีเดีย*

โฆษณาบริเวณ รานคาปลีกชั้นนํา

บจ. พอยท ออฟ วิว (พีโอวี) มีเดีย กรุป*

โฆษณาบริเวณ อาคารสํานักงาน และอื่นๆ

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553 สถานที่ตั้ง

1210/7-8 ถนนพหลโยธิน แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท 0 2617-7300 โทรสาร 0 2617-7143 100-100/1 หมู 4 ถ. บางนา-ตราด กม.14 ต. บางโฉลง อ. บางพลี จ. สมุทรปราการ โทรศัพท 0 2336-1938 โทรสาร 0 2336-1985 21 อาคารทีเอสที ทาวเวอร ชั้น 9 ถ. วิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท 0 2273-8884 โทรสาร 0 2273-8883 21 อาคารทีเอสที ทาวเวอร ชั้น 9 ถ. วิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท 0 2273-8884 โทรสาร 0 2273-8883 21 อาคารทีเอสที ทาวเวอร ชั้น 9 ถ. วิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท 0 2273-8884 โทรสาร 0 2273-8883] 21 อาคารทีเอสที ทาวเวอร ชั้น 9 ถ. วิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท 0 2273-8884 โทรสาร 0 2273-8883 2 อาคารสีลมเซ็นเตอร ชั้น 21 หอง 2101 ถ. สีลม แขวงสุริยวงศ เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท 0 2273-8884 โทรสาร 0 2273-8883

สวนที่ 1 หนา 4

ทุนชําระแลว (บาท) 2,001,000,000

การถือหุน (รอยละ) 80.00 (ถือหุนโดย บมจ. ระบบขนสง มวลชนกรุงเทพ)

25,000,000

30.00

100,000,000

100.00 (ถือหุนโดย บมจ. ระบบขนสง มวลชนกรุงเทพ)

10,000,000

100.00 (ถือหุนโดย บจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย)

30,000,000

100.00 (ถือหุนโดย บจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย)

20,000,000

100.00 (ถือหุนโดย บจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย)

40,000,000

100.00 (ถือหุนโดย บจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย)


บริษัท บีทเี อส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

บริษัท

ประเภทธุรกิจ

สถานที่ตั้ง

บจ. วี จี ไอ มัลติเทค อินเตอร เนชั่นแนล*

ใหเชาจอแอลซีดี กับบริษัทในกลุมวี จีไอ

21 อาคารทีเอสที ทาวเวอร ชั้น 9 ถ. วิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท 0 2273-8884 โทรสาร 0 2273-8883

บริหารและ ดําเนินการสนาม กอลฟ

100-100/1 หมู 4 ถ. บางนา-ตราด กม.14 ต. บางโฉลง อ. บางพลี จ. สมุทรปราการ โทรศัพท 0 2336-1938 โทรสาร 0 2336-1985 Wilmington Trust Corporate Services (Cayman) Limited P.O. Box 32322 SM 4th Floor, Century Yard, Cricket Square, Elgin Avenue George Town, Cayman Islands 11F Malahon Centre 10-12 Stanley St. Central Hong Kong Tel: 0 2273-8511-5 Fax: 0 2273-8516 21 อาคารทีเอสที ทาวเวอร ชั้น 19 ถ. วิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท 0 2617-7300 โทรสาร 0 2617-7133 21 ซอยเฉยพวง ถ. วิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท 0 2273-8733 โทรสาร 0 2273-8730 21 ซอยเฉยพวง ถ. วิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท 0 2273-8507 โทรสาร 0 2273-8509

4. ธุรกิจบริการ บจ. ธนาซิตี้ กอลฟ แอนด สปอรต คลับ (เดิมชื่อ บจ. ธนาซิตี้ กอลฟ แอนด คันทรี คลับ) ธนายง อินเตอรเนชั่นแนล ลิมิเต็ด (Tanayong International Limited)

หยุดประกอบ กิจการ

ธนายง ฮองกง ลิมเิ ต็ด (Tanayong Hong Kong Limited)

ลงทุนใน หลักทรัพย

บจ. บางกอก สมารทการด ซิสเทม*

ใหบริการบัตรเงิน อิเล็กทรอนิกส (EMoney)

บจ. ฮิบเฮง คอนสตรัคชั่น (ประเทศไทย)

รับเหมากอสราง

บจ. แอบโซลูท โฮเต็ล เซอรวิส บริหารจัดการ โรงแรม

สวนที่ 1 หนา 5

ทุนชําระแลว (บาท) 90,000,000

การถือหุน (รอยละ) 100.00 (ถือหุนโดย บจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย)

20,000,000

100.00

1,000 USD

100.00

HK $10,000

100.00

200,000,000

90.00

25,000,000

51.00

8,000,000

50.00


บริษัท บีทเี อส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

บริษัท แอบโซลูท โฮเต็ล เซอรวิส ฮองกง ลิมิเต็ด (Absolute Hotel Services Hong Kong Limited)

ประเภทธุรกิจ บริหารจัดการ โรงแรม

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553 สถานที่ตั้ง

Unit 2602, 26 Floor, Office Tower Convention Plaza, 1 Harbour Road Wanchai, Hong Kong Tel: +852 2588 0018 Fax: +852 2519 3591

ทุนชําระแลว (บาท) HK $600,000

การถือหุน (รอยละ) 50.00 (ถือหุนโดย ธนายง ฮองกง ลิมิเต็ด)

หมายเหตุ * บริษัทฯ ไดมาซึ่งหุนสามัญในบีทีเอสซี เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม 2553 ทําใหบีทีเอสซี และบริษัทอื่นๆ เขาเปนบริษัทยอยของบริษัทฯ

สวนที่ 1 หนา 6


บริษัท บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

2.

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

ปจจัยความเสี่ยง

ในหัวขอนี้ บริษัทฯ ไดทําการชี้แจงบรรดาความเสี่ยงตาง ๆ ที่บริษัทฯ เชื่อวามีนัยสําคัญ แตอยางไรก็ดี อาจมี ความเสี่ยงอื่นที่บริษัทฯ มิอาจคาดหมายหรือความเสี่ยงอื่นที่บริษัทฯ คิดวาเปนความเสี่ยงที่ไมมีนัยสําคัญที่สงผล กระทบในทางลบตอธุรกิจ และผลการดําเนินงานทางการเงินของบริษัทฯ ดวย ณ ปจจุบัน บริษัทฯ มีการประกอบธุรกิจหลัก คือ (1) ธุรกิจระบบขนสงมวลชน (2) ธุรกิจอสังหาริมทรัพย (3) ธุรกิจสื่อโฆษณา และ (4) ธุรกิจบริการ บริษัทฯ มีความเสี่ยงในการดําเนินธุรกิจแตละประเภท เชนเดียวกับความเสี่ยง ทั่วไปที่อาจเกิดขึ้นกับธุรกิจทุกประเภท และความเสี่ยงที่สําคัญตางๆ ดังมีรายละเอียดดังนี้ 2.1

ความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับธุรกิจการดําเนินการระบบขนสงมวลชน

2.1.1

รายไดของบีทีเอสซี ขึ้นอยูกับคาโดยสารซึ่งเปนแหลงที่มาของรายไดหลัก

รายไดและความสามารถในการสรางผลกําไรของธุรกิจระบบขนสงมวลชน ขึ้นอยูกับรายไดคาโดยสารจาก ผูโดยสารของระบบรถไฟฟาเปนหลัก ดังนั้น ปจจัยใดๆ ที่มีผลกระทบในทางลบตอปริมาณผูโดยสารหรือคาโดยสาร อาจสงผลกระทบในทางลบตอธุรกิจ และผลการดําเนินงานทางการเงินของบริษัทฯ ได อยางไรก็ตาม นับตั้งแตเปดใหบริการมานั้น รถไฟฟาบีทีเอสมีการเติบโตของรายไดจากคาโดยสารมาโดย ตลอด รวมถึงในป 2551 ซึ่งเปนปที่ไดรับผลกระทบจากเหตุการณความไมสงบในกรุงเทพฯ และสภาวะเศรษฐกิจทําให จํานวนผูโดยสารลดลงเมื่อเทียบกับปกอนหนาก็ตาม ซึ่งแสดงใหวาความออนไหวตอผลกระทบจากปจจัยตาง ๆ มี คอนขางนอย เนื่องจากบีทีเอสเปนระบบขนสงมวลชนหลักที่ใหบริการในศูนยกลางธุรกิจการคาของกรุงเทพฯ 2.1.2

บีทีเอสซีมีขอจํากัดในการปรับเพิ่มอัตราคาโดยสาร

บีทีเอสซีมีขอจํากัดในการปรับเพิ่มอัตราคาโดยสารเพื่อใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงของภาวะตลาด แนวโนมของตลาด หรือปรับเพิ่มอัตราคาโดยสารเพื่อชดเชยกับตนทุนในการดําเนินการและตนทุนอื่นๆ จากการแขงขัน ของอุตสาหกรรม และผลของขอกําหนดในสัญญาสัมปทาน (Concession Agreement) ของบีทีเอสซี ในอดีตที่ผานมา บีทีเอสซีมีการปรับเพิ่มเพดานอัตราคาโดยสารสูงสุดที่อาจเรียกเก็บได (Authorized Fare) จํานวน 1 ครั้ง ในป 2542 และมีการปรับขึ้นคาโดยสารที่เรียกเก็บ (Effective Fare) จํานวน 1 ครั้ง ในป 2551 ซึ่งการ ปรับเพิ่มอัตราคาโดยสารดังกลาวเปนไปตามขั้นตอนและสิทธิของบีทีเอสซี ทั้งหมดตามที่ระบุไวในสัญญาสัมปทาน 2.1.3

กทม. มีสิทธิบอกเลิกสัญญาสัมปทานไดหากมีเหตุผิดนัดบางอยางตามที่ระบุไวในสัญญาสัมปทาน เกิดขึ้น

กทม. มีสิทธิบอกเลิกสัญญาสัมปทานได ในกรณีที่บีทีเอสซีลมละลาย หรือในกรณีที่บีทีเอสซีจงใจผิดสัญญา สัมปทานในสาระสําคัญอยางตอเนื่อง ในกรณีที่สัญญาสัมปทานถูกบอกเลิก บีทีเอสซีอาจจะไมสามารถดําเนินการกับ ระบบรถไฟฟาบีทีเอส ได ซึ่งจะมีผลกระทบในทางลบอยางมีนัยสําคัญตอธุรกิจ และผลการดําเนินการทางการเงินของ บีทีเอสซี

สวนที่ 1 หนา 7


บริษัท บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

ในอดีตที่ผานมา ไมเคยเกิดเหตุการณที่เปนเหตุในการบอกเลิกสัญญา ซึ่งสงผลใหกทม. ตองแจงบีทีเอสซีให ทราบถึงการกระทําผิดสัญญา 2.1.4

การที่บีทีเอสซีไมไดรับตออายุสัมปทานสําหรับการใหบริการรถไฟฟาในเสนทางปจจุบัน การที่บีที เอสซีไมไดรับสัมปทานในโครงการสวนตอขยายหรือความลาชาของรัฐบาลในการอนุมัติและการ ลงทุนในสวนตอขยายอาจมีผลกระทบในทางลบตอแนวโนมการเติบโตของบีทีเอสซี

ในกรณีที่กทม. มีความประสงคจะสรางเสนทางรถไฟฟาใหมหรือเพิ่มเติมในระหวางอายุของสัญญาสัมปทาน หรือมีความประสงคจะขยายหรือใหบริการในสวนขยายระบบรถไฟฟาปจจุบัน บีทีเอสซีมีสิทธิตามสัญญาสัมปทานที่จะ เจรจาเปนรายแรกกับกทม. เพื่อขอรับสิทธิดําเนินการเสนทางสายใหม ทั้งนี้ภายใตเงื่อนไขวาบีทีเอสซีสามารถยอมรับ เงื่ อ นไขที่ดีที่สุ ดที่กทม. ไดรั บ จากผู เสนอรายอื่น ได อยา งไรก็ต าม บีที เอสซีไ ม ส ามารถรั บประกัน ไดวา รั ฐ บาลจะ ดํ า เนิ น การตามแผนการขยายระบบขนส ง มวลชนของกรุ ง เทพฯ ที่ มี อ ยู ใ นป จ จุ บั น หรื อ หากรั ฐ บาลตั ด สิ น ใจที่ จ ะ ดําเนินการดังกลาว ก็ไมอาจรับประกันไดวาบีทีเอสซีจะเปนผูไดรับสัมปทานสําหรับการดําเนินธุรกิจการเดินรถในสวน ตอขยายดังกลาว นอกจากนั้น บีทีเอสซีจะตองมีหนังสือแจงตอกทม. ลวงหนาอยางนอย 3 ป แตไมเกิน 5 ป เพื่อตออายุสัญญา สัมปทาน ซึ่งตามกําหนดจะสิ้นสุดลงในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2572 ทั้งนี้การตออายุสัมปทานดังกลาวจะตองไดรับความ เห็นชอบจากกระทรวงมหาดไทย ซึ่งไมอาจรับประกันไดวาบีทีเอสซีจะไดรับการตออายุสัมปทานตอไปอีกในอนาคต และหากสัญญาสัมปทานไมไดรับการตออายุหรือไดรับการตออายุโดยมีขอกําหนดอันเปนที่นาพอใจนอยกวาสัญญา ฉบับปจจุบัน อาจสงผลกระทบในทางลบตอธุรกิจ และผลการดําเนินการทางการเงินของบีทีเอสซี ทั้งนี้ บีทีเอสซีมีขอไดเปรียบกวาเอกชนรายอื่นในการเสนอขอรับสัมปทานในสวนตอขยาย ซึ่งขอไดเปรียบ ดังกลาวรวมถึง ประสบการณในการดําเนินงาน ความเปนไปไดที่จะมีตนทุนที่ต่ํากวาเอกชนรายอื่น เนื่องจากไดลงทุน ศูนยจอดและซอมบํารุง และศูนยควบคุมการเดินรถ ซึ่งสามารถใชงานรวมกันกับสวนตอขยายได ดังนั้น ในการที่จะมี เอกชนรายอื่นยื่นขอเสนอดีกวาบีทีเอสซี คงเปนไปไดยาก และที่ผานมา กทม. ไดดําเนินโครงการสวนตอขยายเสนทาง การใหบริการของระบบรถไฟฟาบีทีเอส (สายสีเขียว) ซึ่งสวนตอขยายสายแรกที่มีการกอสรางแลวเสร็จ และไดมีการ เปดใหบริการแลว ไดแก สวนตอขยายสายสีลมระยะทาง 2.2 กิโลเมตร ซึ่งบีทีเอสซีไดรับการแตงตั้งใหทําการใหบริการ เดินรถและซอมบํารุงรักษาสวนตอขยายสายสีลมดังกลาว 2.1.5

บีทีเอสซีอาจไมสามารถดําเนินการตามกลยุทธการเจริญเติบโตของบีทีเอสซีในธุรกิจขนสงมวลชน ใหประสบความสําเร็จได ทั้งนี้เพราะขึ้นอยูกับปจจัยตางๆ รวมถึงการเห็นชอบของรัฐบาลดวย

กลยุทธการเจริญเติบโตของบีทีเอสซีมีหลายประการไมวาจะเปนการเขารวมประมูลเพื่อบริหารงานในสวนตอ ขยายของระบบรถไฟฟาของบีทีเอสซี หรือแนวคิดที่จะมีสวนรวมในการดําเนินงานของโครงการขนสงมวลชนระบบใหม การที่จะประสบความสําเร็จในการดําเนินการตามกลยุทธดังกลาวนี้ นอกเหนือจากสิ่งอื่นแลวยังขึ้นอยูกับการตัดสินใจ และการดําเนินการของรัฐบาล ในกรณีที่บีทีเอสซีไมสามารถดําเนินการตามกลยุทธการเจริญเติบโตไดอาจสงผลกระทบ ในทางลบตอธุรกิจในอนาคตและผลการดําเนินการทางการเงินของบีทีเอสซีได อยางไรก็ดี ไมวาบีทีเอสซีจะไดเขาไปมีสวนรวมในการดําเนินงานในโครงการขนสงมวลชนระบบใหมหรือไมก็ ตาม บีทีเอสซีอาจยังคงไดรับประโยชนในเชิงรายไดจากระบบขนสงมวลชนที่เพิ่มขึ้น เนื่องจากจํานวนผูโดยสารที่

สวนที่ 1 หนา 8


บริษัท บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

2.1.6

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

บีทีเอสซีตองเผชิ ญหนา กับการแขงขันจากการขนสงสาธารณะรูปแบบอื่นๆ ซึ่งอาจสงผลใหเกิด ความกดดันในการกําหนดราคาคาโดยสาร

รูปแบบการขนสงที่อาจเปนการแขงขันกับระบบรถไฟฟาของบีทีเอส รวมถึงแตไมจํากัดเพียง รถโดยสาร ประจําทางที่ไดรับเงินชวยเหลือจากรัฐบาล (Government-subsidized buses) รถไมโครบัส รถตู ซึ่งบางสวนที่กลาวมา นี้ อาจเปนทางเลือกในการเดินทางที่ถูกกวาระบบรถไฟฟาบีทีเอส การแขงขันดังกลาวนี้อาจสงผลกระทบในทางลบ อยางมีนัยสําคัญตอธุรกิจ และผลการดําเนินการทางการเงินของบีทีเอสซี อยางไรก็ตาม เมื่อเทียบกับระบบขนสงมวลชนอื่นๆ ในปจจุบัน ระบบรถไฟฟาบีทีเอส ถือวาเปนระบบขนสง มวลชนที่มี ค วามเร็ว นา เชื่อ ถือ ตรงต อ เวลา สะดวกสบาย มี ค วามปลอดภั ยสูง และมีเส น ทางใหบ ริก ารผ า นยา น ศูนยกลางธุรกิจการคาของกรุงเทพฯ 2.1.7

ระบบรถไฟฟาบีทีเอส ปจจุบันมีเสนทางการใหบริการและสถานีเชื่อมตอ (interchange station) ที่ จํากัด และตองพึ่งพาระบบการสงตอผูโดยสารจากระบบการขนสงรูปแบบอื่น (feeder system)

ระบบรถไฟฟาบีทีเอส รวมสวนตอขยายสายสีลม ปจจุบันมีความยาว 25.7 กม. ซึ่งมีสถานีลอยฟา (elevated stations) จํานวนทั้งสิ้น 25 สถานี รวมสถานีเชื่อมตอ (interchange station) หรือสถานีรวมที่สถานีสยามจํานวน 1 สถานี ระบบรถไฟฟาบีทีเอสมีขอจํากัดเกี่ยวกับเสนทางการใหบริการ และตองพึ่งพาระบบการสงตอผูโดยสารจากระบบ การขนสงรูปแบบอื่น (feeder system) ในการรับสงผูโดยสาร การเติบโตของบีทีเอสซีในอนาคตอาจไดรับผลกระทบ ในทางลบอยางมีนัยสําคัญ หากมีกรณีที่ระบบการขนสงรูปแบบอื่นตองหยุดใหบริการ ใหบริการไดลาชาหรือไดรับความ เสียหายซึ่งสงผลใหจํานวนผูโดยสารและรายไดลดลง อยางไรก็ตาม ปจจุบัน รถไฟฟาบีทีเอสไมไดมีการพึ่งพาระบบการสงตอผูโดยสารจากระบบการขนสงอื่น รูปแบบใดรูปแบบหนึ่งอยางมีนัยสําคัญแตพึ่งพาการขนสงในหลายรูปแบบ นอกจากนี้ บีทีเอสซี จะยังคงดําเนินการเพิ่ม จุดเชื่อมตอกับอาคารพาณิชยและเพิ่มจํานวนสถานีรถไฟฟาที่เชื่อมตอกับระบบขนสงมวลชนอื่น ๆ เชน สถานีของ โครงการบีอารที และ สถานีของโครงการระบบขนสงทางรถไฟเชื่อมทาอากาศยานสุวรรณภูมิ (Airport Rail Link) เพื่อ เปนการอํานวยความสะดวกและเพิ่มจํานวนผูโดยสาร 2.1.8

ปจจุบันบีทีเอสซีตองพึ่งพาซีเมนสในการใหบริการดูแลรักษาในบางสวน ซึ่งการทําสัญญาระยะยาว ทําใหบีทีเอสซีอาจมีอํานาจตอรองที่ลดลง

ซีเมนสเปนคูสัญญาหลักตามสัญญาดูแลรักษาเครื่องจักรและอุปกรณสําหรับระยะเวลา 10 ป ซึ่งจะสิ้นสุดใน เดือนธันวาคม 2557 ในกรณีที่ซีเมนสไ มสามารถที่จะใหบริการไดอยางเปน ที่นาพอใจตามขอกําหนดในสัญญาที่ เกี่ยวของ หรือมีการเลิกสัญญา หรือตองการที่จะแกไขขอกําหนดในสัญญาดังกลาวในลักษณะที่ไมเปนประโยชนตอบีที เอสซี อาจสงผลกระทบในทางลบตอธุรกิจ และผลการดําเนินการทางการเงินของบีทีเอสซีได ปจจุบัน บีทีเอสซี ไดดําเนินการบํารุงรักษาระบบรถไฟฟาบางสวนดวยบุคคลากรของบีทีเอสซีเอง เชนระบบ จัดเก็บคาโดยสารอัตโนมัติ ระบบวิทยุสื่อสาร งานโยธา และระบบอาณัติสัญญาณในสวนตอขยายสายสีลม 2.2. กม.

สวนที่ 1 หนา 9


บริษัท บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

2.1.9

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

บีทีเอสซีมีความเสี่ยงจากการผันผวนของตนทุนการดําเนินงานซึ่งอยูเหนือการควบคุมของบีทีเอสซี และการปรับตัวเพิ่มขึ้นของตนทุนการดําเนินงานอาจสงผลกระทบในทางลบตอผลการดําเนินการ ทางการเงิน

บีทีเอสซีมีหนาที่ตองปฏิบัติหนาที่ตามสัญญาสัมปทานในการซอมบํารุง ตออายุ หรือทดแทนทรัพยสินหรือ โครงสรางที่ใชในการประกอบการเดินรถไฟฟา เพื่อใหเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนดโดยกทม. ซึ่งการดังกลาวประกอบ กับการปรับเพิ่มขึ้นของผลประโยชนและสวัสดิการของพนักงาน การเปลี่ยนแปลงนโยบายทางการเงินหรือนโยบายอื่น ใดของรัฐบาลที่มีผลตอการดําเนินกิจการ การจางงานหรือกรณีอื่น ๆ ซึ่งสงผลกระทบในทางลบตอความตองการหรือ การดําเนินการดานการขนสงอาจสงผลใหผลกําไรของบีทีเอสซีลดลง ในอดีตที่ผานมา เหตุการณดังกลาวขางตนยังไมเคยเปนสาเหตุใหตนทุนการประกอบการของบีทีเอสซีเพิ่มขึ้น อยางมีนัยสําคัญตอความสามารถในการสรางผลกําไรของบีทีเอสซี ประกอบกับบีทีเอสซีไดดําเนินการใหมีการลด ต น ทุ น การประกอบการบางรายการลงเช น การดํ า เนิ น การซ อ มบํ า รุ ง และรั ก ษาระบบบางส ว นด ว ยบุ ค ลากรของ บีทีเอสซีเอง แทนการจางผูใหบริการจากภายนอก เปนตน นอกจากนั้น ในสัญญาสัมปทานไดกําหนดใหบีทีเอสซี สามารถปรับคาโดยสารเปนกรณีพิเศษได หากมีตนทุนในการดําเนินงานเพิ่มขึ้น นอกเหนือจากการปรับตามดัชนี ผูบริโภค 2.1.10 พลังงานไฟฟา (Power) เปนสิ่งสําคัญตอการประกอบการของบีทีเอสซี และบีทีเอสซีตองพึ่งพาการ ไฟฟานครหลวง (กฟน.) สําหรับการจัดสงพลังงาน การดําเนินงานของระบบรถไฟฟาขึ้นอยูกับการมีอยูของพลังงานไฟฟา ปจจุบันพลังงานไฟฟาสําหรับระบบ รถไฟฟาจัดสงโดย กฟน. สถานีจายกระแสไฟฟามี 2 สถานี ไดแกที่โรงเก็บและซอมบํารุงที่หมอชิตสถานีหนึ่งและอีก สถานีหนึ่งที่ซอยไผสิงโต ถนนพระราม 4 ระบบรถไฟฟาไดถูกออกแบบใหดําเนินงานจากสถานีจายกระแสไฟฟาทั้งสอง สถานีหรือจากสถานีใดสถานีหนึ่ง เพื่อใหสามารถใหบริการไดหากสถานีจายกระแสไฟฟาสถานีใดสถานีหนึ่งไมสามารถ ทําการจายกระแสไฟฟาได นอกจากนี้ ในกรณีที่ไฟฟาจากสถานีจายกระแสไฟฟาทั้ง 2 สถานีดับ จะมีไฟฟาสํารอง เพื่อใหระบบที่เกี่ยวของกับความปลอดภัยทํางานตอได เพื่อการรักษาขอมูลและเครือขายที่จําเปนสําหรับการเริ่มการ บริการอีกครั้ง และเพื่อนํารถไฟฟาไปจอด ณ สถานีที่ใกลที่สุด อยางไรก็ตาม การจัดสงพลังงานไฟฟาสํารองดังกลาว นั้นไมเพียงพอสําหรับการเริ่มเดินเครื่องของรถไฟฟา เนื่องจาก กฟน. เปนผูจัดสงพลังงานไฟฟาเพียงรายเดียว ดังนั้น การหยุดการจัดสงพลังงานไฟฟา (Power Outage) หรือการเกิดการหยุดชะงักชั่วคราว หรือลาชาในการจัดสงพลังงาน ไฟฟา หรือไมสามารถจัดสงพลังงานไฟฟาในปริมาณที่ตองการ ณ เวลาที่ตองการใชจะทําใหการทํางานของระบบ รถไฟฟาขัดของและหยุดชะงัก

สวนที่ 1 หนา 10


บริษัท บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

ทั้งนี้ กระแสไฟฟาจากสถานีจายกระแสไฟฟาเพีย งหนึ่งสถานีมีพลังงานเพียงพอตอการใหบริการระบบ รถไฟฟาบีทีเอส ดังนั้น หากเกิดปญหากับสถานีจายกระแสไฟฟาสถานีใดสถานีหนึ่ง ระบบรถไฟฟาบีทีเอสจะยังคง ให บ ริ ก ารได ต ามปกติ นอกจากนี้ ยั ง ไม เ คยปรากฏเหตุ ก ารณ ที่ แ หล ง จ า ยกระแสไฟฟ า ที่ จ า ยไฟให แ ก ส ถานี จ า ย กระแสไฟฟาทั้ง 2 สถานีมีปญหาสงไฟฟาไมไดพรอมกัน 2.2

ความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับธุรกิจอสังหาริมทรัพย

2.2.1

ธุรกิจอสังหาริมทรัพยเปนธุรกิจที่มีการแขงขันสูง

ธุรกิจอสังหาริมทรัพยเปนธุรกิจที่มีการแขงขันสูง มีผูประกอบการจํานวนมากในขณะที่ความตองการอาจมี จํากัดหรือเพิ่มขึ้นชากวาจํานวนอสังหาริมทรัพยที่มีเพิ่มเติม ไมวาจะเปนในสวนของโรงแรม อาคารชุดพักอาศัย หรือ คอนโดมิเนียม รวมไปถึงอาคารสํานักงาน บริษัทฯ ตองเผชิญกับสภาวะแขงขันที่รุนแรงทั้งในกรุงเทพฯ และปริมณฑล คูแขงทางธุรกิจของบริษัทฯ บางรายเปนบริษัทที่มีขนาดใหญ หรือมีแหลงทรัพยากรทางการเงิน เทคนิค และการตลาด ที่มากกวาบริษัทฯ การแขงขันที่สูงอาจทําใหราคาที่ดินที่จะนําไปพัฒนา หรืออสังหาริมทรัพยที่มีไวเพื่อขายมีมูลคาที่ สูงขึ้น ทําใหมีการแขงขันดานราคาขายสูงขึ้นหรือทําใหเกิดการแขงขันกันในการจัดหาแหลงเงินทุนหรือทรัพยากรอื่นๆ สําหรับพัฒนาโครงการ ซึ่งไมวาจะเปนกรณีใด นอกจากบริษัทฯ อาจเสียเปรียบคูแขงที่มีขนาดใหญหรือมีทรัพยากร มากแลวยังอาจกอใหเกิดผลในทางลบอยางมีนัยสําคัญตอธุรกิจ สถานะทางการเงิน ผลการดําเนินงาน และแนวโนมการ ดําเนินงานในอนาคตของบริษัทฯ ผูบริหารของบริษัทฯ ไดพิจารณาถึงความเสี่ยงนี้ในการประกอบธุรกิจ อยางไรก็ตาม เนื่องจากบริษัทฯ ได ประกอบธุรกิจเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพยมาตั้งแตเริ่มประกอบกิจการ รวมถึงการที่บริษัทฯ ไดมาซึ่งหุนของบีทีเอสซีใน ปจจุบัน บริษัทฯ สามารถที่จะนําเสนอโครงการที่มีความแตกตางจากคูแขงทางธุรกิจของบริษัทฯ ได 2.2.2

ความมีชื่อเสียงและการมีแบรนดที่เปนที่ยอมรับเปนสิ่งสําคัญสําหรับธุรกิจอสังหาริมทรัพย

ความมีชื่อเสียงและการมีแบรนดที่เปนที่ยอมรับเปนสิ่งที่มีความสําคัญเปนอยางยิ่งสําหรับการดึงดูดและรักษา ไวซึ่งลูกคาของบริษัทฯ คูแขงอื่นๆ หลายรายเปนที่รูจักและเปนที่ยอมรับในกลุมลูกคาอยูแลว ในขณะที่บริษัทฯ กําลัง อยูในระหวางการสรางแบรนดขึ้นมาใหมเพิ่มเติมสําหรับโครงการที่มีอยูในปจจุบันหรือโครงการที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต ซึ่งทําใหบริษัทฯ อาจจะตองรับภาระคาใชจายที่เพิ่มขึ้นเพิ่มเติม และบริษัทฯ ไมสามารถรับประกันไดวาแบรนดใหมของ บริษัทฯ จะเปนแบรนดที่ไดรับการยอมรับจากบรรดาลูกคาทั้งหลายของบริษัทฯในปจจุบันและลูกคาในอนาคต การที่ บริษัทฯ อาจไมสามารถรักษาไวซึ่งชื่อเสียงและแบรนดซึ่งไดรับการยอมรับดังกลาว หรือการที่บริษัทฯ ไมสามารถที่จะ ทําใหแบรนดที่สรางขึ้นมาใหมไดรับการยอมรับจากบรรดาลูกคาไดนั้น ยอมสงผลกระทบในทางลบอยางมีนัยสําคัญตอ ความสําเร็จของโครงการตางๆ ของบริษัทฯ ทั้งในปจจุบันและในอนาคต สวนแบงการตลาด ธุรกิจ สถานะทางการเงิน ผลการดําเนินงาน และแนวโนมการดําเนินงานในอนาคตของบริษัทฯ 2.2.3

ความเสี่ยงจากความผันผวนหรือการปรับตัวเพิ่มขึ้นของราคาวัสดุกอสราง

วัสดุกอสรางถือเปนตนทุนการกอสรางที่สําคัญในการพัฒนาโครงการ ราคาวัสดุกอสรางจะมีความผันแปรไป ตามปจจัยตางๆ เชน อุปสงคและอุปทานของวัสดุกอสรางแตละชนิด ภาวะราคาน้ํามันที่ปรับตัวสูงขึ้น รวมถึงการเติบโต ของภาคอสังหาริมทรัพย ความผันผวนของราคาวัสดุกอสรางอาจสงผลใหตนทุนในการกอสรางโครงการของบริษัทฯ

สวนที่ 1 หนา 11


บริษัท บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

อยางไรก็ตาม บริษัทฯ มีการบริหารควบคุมคากอสราง โดยใชนโยบายการวาจางที่รวมคาวัสดุและคาแรงของ ทั้งโครงการไวในสัญญาวาจางของบริษัทฯ ไวแลว โดยผูรับเหมาจะเปนผูรับภาระราคาวัสดุที่เปลี่ยนไป ทั้งนี้ ผูรับเหมา รายใหญเปนบริษัทในเครือที่บริษัทฯถือหุนรอยละ 50 สําหรับวัสดุกอสรางที่บริษัทฯ เปนผูจัดหานั้น เนื่องจากบริษัทฯ มีฝายพัฒนาโครงการซึ่งมีประสบการณและมีความสัมพันธที่ดีกับผูขายวัสดุกอสราง และมีอํานาจในการตอรองกับผูคา วัสดุกอสรางคอนขางสูง ทําใหบริษัทฯ สามารถควบคุมตนทุนของวัสดุกอสรางใหอยูในระดับที่เหมาะสมได โดยบริษัทฯ จะวางแผนการกอสรางและทําการประเมินปริมาณการใชวัสดุแตละประเภทรวมทั้งโครงการกอน และจะสั่งซื้อวัสดุ ดังกลาวตามปริมาณที่ไดประเมินไว 2.2.4

โครงการอสังหาริมทรัพยของบริษัทฯ อาจประสบปญหาความลาชาและความไมสมบูรณ

โครงการอสังหาริมทรัพยของบริษัทฯ หลายโครงการอยูในระหวางการพัฒนา โดยในการพัฒนาและการ กอสรางอสังหาริมทรัพยอาจประสบกับความเสี่ยงทางดานความลาชาและความไมสมบูรณของโครงการ ซึ่งอาจเกิดขึ้น จากเหตุการณตางๆ เชน •

คาใชจายที่เกิดขึ้นจริงเกินกวางบประมาณที่กําหนด

ความเปนไปไดที่จะไมไดรับการสนับสนุนทางการเงินภายใตเงื่อนไขที่เอื้อประโยชนตอธุรกิจ

การปฏิบัติตามกฎหมายเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมและกฎหมายอื่นๆ

เหตุการณหนึ่งหรือหลายเหตุการณขางตนอาจสงผลกระทบในทางลบอยางมีนัยสําคัญตอธุรกิจ สถานะทาง การเงิน ผลการดําเนินงานและแนวโนมในการดําเนินงานในอนาคตของบริษัทฯ 2.2.5

ความเสี่ยงจากการบริหารโครงการบานเอื้ออาทร

บริษัทฯ ไดรวมจัดทําโครงการบานเอื้ออาทรจํานวน 20,000 หนวย โดยทําสัญญากับการเคหะแหงชาติเมื่อ วันที่ 25 เมษายน 2549 แตเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงในนโยบายรัฐ ทําใหไมมีการดําเนินโครงการใหมเพิ่มขึ้นและมี ผลกระทบโดยตรงตอรายไดและผลประกอบการในอนาคต จากจํานวนหนวยทั้งหมด 20,000 หนวย ตามสัญญา บริษัทฯ ไดรับอนุมัติใหดําเนินการสรางบานเอื้ออาทรจํานวน 9,584 หนวย ซึ่งในป 2551 การเคหะแหงชาติไดยกเลิก โครงการที่บางบอ จํานวน 1,536 หนวย ทําใหเหลือจํานวนที่ดําเนินการเพียง 8,048 หนวย โดยในปจจุบัน บริษัทฯ ได ดําเนินการกอสรางและโอนใหการเคหะแหงชาติแลวจํานวน 4,216 หนวย อยูระหวางกอสรางจํานวน 2,108 หนวย และ รอการเคหะแหงชาติอนุมัติการสรางหนวยที่เหลืออีกจํานวน 1,724 หนวย ทั้งนี้ บริษัทฯ คาดวาจะสามารถสงมอบงาน ไดตามกําหนดระยะเวลา

สวนที่ 1 หนา 12


บริษัท บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

2.3

ความเสี่ยงเกี่ยวของกับธุรกิจสื่อโฆษณา

2.3.1

หากมีการบอกเลิกสัญญาสัมปทานอาจกอใหเกิดผลกระทบในทางลบตอรายไดธุรกิจสื่อโฆษณา

วีจีไอ ไดเขาทําสัญญาใหสิทธิในการบริหารจัดการดานการตลาดกับบีทีเอสซี (“สัญญาใหสิทธิ”) ซึ่งภายใต สัญญาดังกลาวนี้ บีทีเอสซีใหสิทธิวีจีไอในการบริหารจัดการดานการตลาดเปนระยะเวลา 10 ป (นับตั้งแตป พ.ศ. 2542) วีจีไอ ไดใชสิทธิขอขยายระยะเวลาตามสัญญาออกไปอีก 5 ป จนถึงป พ.ศ. 2557 และคณะกรรมการ บีทีเอสซี ไดอนุมัติขยายอายุสัญญาใหสิทธิใหสิ้นสุดพรอมกับสัญญาสัมปทาน คือในเดือนธันวาคม 2572 และขณะนี้อยูในระหวาง การดําเนินการแกไขสัญญาใหสิทธิดังกลาว ทั้งนี้ ตามสัญญาใหสิทธิ บีทีเอสซีใหสิทธิเด็ดขาดแกวีจีไอ ในการบริหาร จัดการดานการตลาดเกี่ยวกับพื้นที่โฆษณาทั้งพื้นที่ภายในและภายนอกขบวนรถไฟฟา รวมถึงพื้นที่รานคาในบริเวณ สถานี ดังนั้น หากมีการบอกเลิกสัญญาสัมปทานกับ กทม. บีทีเอสซี จะไมสามารถหารายไดจากการบริหารพื้นที่ โฆษณาและพื้นที่เชิงพาณิชยบนระบบรถไฟฟาบีทีเอส สัญญาใหสิทธิในการบริหารจัดการดานการตลาดที่ทํากับบีทีเอส ซี ก็จะตองถูกบอกเลิกตามไปดวย ซึ่งผลของการบอกเลิกสัญญาดังกลาวยอมสงผลกระทบในทางลบอยางมีนัยสําคัญ ตอ ธุรกิจ สถานะทางการเงิน ผลการดําเนินงาน และแนวโนมในการดําเนินงานในอนาคตของวีจีไอ อยางไรก็ตาม ในการบอกเลิกสัญญาสัมปทานจะตองเกิดเหตุการณและมีการดําเนินการตามที่ระบุไวในสัญญา สัมปทาน ตามที่กลาวไวในขอ 2.1.3 ขางตน 2.3.2

รายไดจากธุรกิจสื่อโฆษณามีความเกี่ยวพันกับรายไดจากธุรกิจการดําเนินการระบบขนสงมวลชน เปนอยางมาก ซึ่งจะทําใหรายไดจากธุรกิจสื่อโฆษณาไดรับผลกระทบในทางลบจากการลดลงของ จํานวนผูโดยสารรถไฟฟาบีทีเอส

ธุรกิจสวนใหญของวีจีไอ มาจากการบริหารพื้นที่โฆษณาบนเสนทางเดินรถไฟฟาบีทีเอส (บนรถไฟและสถานี ตางๆ) หากจํานวนผูโดยสารรถไฟฟาบีทีเอสลดลงไมวาดวยเหตุผลใดๆ อาจสงผลใหมีการปรับลดแผนการโฆษณาหรือ งบประมาณสําหรับการโฆษณาที่ลูกคาจะจัดสรรไวเพื่อใชในการโฆษณาบนระบบขนสงมวลชน และอาจหันไปทําการ โฆษณาผานสื่อโฆษณาอื่นๆ แทน ซึ่งจะสงผลใหรายไดที่วีจีไอ จะไดรับตองปรับลดลงตามไปดวย และสงผลกระทบ ในทางลบตอแนวโนมในการดําเนินงานในอนาคตของ วีจีไอ และบริษัทฯ นับตั้งแตรถไฟฟาบีทีเอสเปดใหบริการมานั้น จํานวนผูโดยสารรถไฟฟาบีทีเอสมีจํานวนลดลงเพียงปเดียว เทานั้น นอกจากนี้ ในชวง 5 ปที่ผานมา วีจีไอไดทําการขยายธุรกิจ ดานการโฆษณา โดยไดรับสิทธิในการใหบริการ โฆษณาพื้นที่โฆษณาในรานคา Modern Trade หลายแหง เชน เทสโก โลตัส บิ๊กซี ซุปเปอรเซ็นเตอร และคารฟูร เปน ตน 2.4

ปจจัยความเสี่ยงทั่วไปที่อาจมีผลกระทบตอบริษัทฯ

2.4.1

บริษัทฯ ตองพึ่งพาเงินปนผลจากบริษัทยอย

บริษัทฯ ตองพึ่งพาเงินปนผลจากบริษัทยอย การกําหนดจํานวนเงินปนผล ที่บริษัทยอยจะตองชําระใหกับ บริษัทฯ ขึ้นอยูกับปจจัยตางๆ รวมถึงเงื่อนไขในการกอหนี้ของแตละบริษัท สถานะทางการเงิน ผลการดําเนินงาน กระแสเงินสด แผนการลงทุนและแนวโนมทางธุรกิจของบริษัทยอยแตละบริษัท ทั้งนี้ หากบริษัทฯ ไมไดรับเงินปนผลใน

สวนที่ 1 หนา 13


บริษัท บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

2.4.2

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

ความสามารถในการชําระหนี้

บริษัทฯ และบริษัทยอยมีภาระหนี้สิน ณ วันที่ 31 มีนาคม 2553 จํานวน 2,312.7 ลานบาท และบีทีเอสซีมี หนี้สินจํานวนประมาณ 12,474.5 ลานบาท (ประกอบดวยหุนกูระยะยาวเปนหลัก) นอกจากนี้ ในเดือนพฤษภาคม 2553 บริษัทฯไดกูเงินเพื่อใชในการไดมาซึ่งหุนสามัญของบีทีเอสซี ซึ่งหลังจากบริษัทฯนําเงินที่ไดจากการเสนอขายหุนใหแก ผูถือหุนเดิมของบริษัทฯตามสัดสวนจํานวนหุนที่ผูถือหุนแตละรายถืออยู (Rights Offering) และการเสนอขายหุนแบบ เฉพาะเจาะจง (Private Placement) ไปชําระคืนบางสวน หนี้สินจํานวนดังกลาวลดเหลือประมาณ 8,655.7 ลานบาท กรณีกลุมบริษัทไมสามารถชําระหรือกูเงินมาชําระหนี้สินและดอกเบี้ยที่คางชําระของบริษัทฯ บริษัทฯอาจจะไมสามารถ ดําเนินการตามแผนพัฒนาตางๆ และอาจกอใหเกิดผลกระทบในทางลบตอสถานะทางการเงิน ผลการดําเนินงาน และ แนวโนมการดําเนินงานในอนาคตของบริษัทฯ นอกจากนี้ ภายหลังจากบริษัทฯ ประสบความสําเร็จในการปฏิบัติตามแผนฟนฟูกิจการ บริษัทฯ มีภาระหนี้คง คางอีกจํานวนหนึ่ง อยางไรก็ดี ภาระหนี้ดังกลาวไมมีการคิดดอกเบี้ย ดังนั้นจึงไมไดรับผลกระทบจากความเสี่ยงจาก การผันผวนของอัตราดอกเบี้ย บริษัทฯ ตองพึ่งพารายไดจากการดําเนินงานเปนหลักในการชําระภาระหนี้ทั้งหลายในเวลาที่ถึงกําหนดชําระ และพึ่ง พารายไดที่ไ ด รั บ จากการเพิ่ ม ทุน (โดยการใชสิ ทธิตามใบสํ า คั ญ แสดงสิทธิ) และการขายทรั พยสิน ที่ไ มใ ช ทรัพยสินหลกในการประกอบกิจการ เปนลําดับรอง เพื่อทําการชําระคืนหนี้ดังกลาว ทั้งนี้ หากสภาพตลาดไมอํานวยตอ การจัดหาแหลงเงินทุนในการชําระหนี้ตาง ๆ เหลานั้น ทําใหกลุมบริษัทไมไดรับเงินทุน หรือไดรับในจํานวนที่ไมเพียง พอที่จะทําการชําระหนี้ตามกําหนด บริษัทฯ ก็จะตองหาแหลงเงินทุนในการชําระหนี้อื่น ซึ่งไมจํากัดเพียงแคการหา เงินกูอื่นเพื่อมาชําระหนี้เงินกูที่มีอยูปจจุบัน ซึ่งแหลงเงินกูเหลานั้นอาจมีตนทุนทางการเงินที่สูงหรือมีเงื่อนไขที่ไมเปน ประโยชนตอกลุมบริษัท และอาจสงผลกระทบในทางลบตอธุรกิจ สถานะทางการเงิน ผลการดําเนินงาน และแนวโนม การดําเนินงานในอนาคตของบริษัทฯ 2.4.3

เหตุการณความไมสงบในประเทศไทย

ในชวงปที่ผานมา ไดเกิดการชุมนุมขึ้นหลายครั้งในเขตกรุงเทพมหานคร และเกิดเหตุการณความรุนแรง ในชวงเดือนเมษายนถึงพฤษภาคม 2553 ซึ่ง ทําใหบีทีเอสซีตองหยุดใหบริก ารและลดระยะเวลาการใหบริการใน ชวงเวลาหนึ่งแมวาทรัพยสินของบีทีเอสซีจะไมไดรับความเสียหายอยางมีนัยสําคัญ อยางไรก็ตาม บริษัทฯ ไมสามารถ รับประกันไดวาเหตุการณประทวงหรือความไมสงบทางการเมืองตางๆ จะเกิดขึ้นในอนาคตอีกหรือไม หรือหากเกิดขึ้น จะมีความเสียหายใดๆ เกิดขึ้นกับระบบรถไฟฟา บีทีเอส อยางไรหรือรุนแรงเพียงใด นอกจากนี้ ยังไมสามารถรับรองได วาจะไมเกิดผลกระทบในเชิงลบตอธุรกิจอื่นๆ ของบริษัทฯ ไมวาจะเปนจํานวนนักทองเที่ยวและผูเดินทางเขาประเทศ ไทย ดานการใชจายโฆษณาของบริษัทตางๆ สภาวะตลาดเงิน ตลาดทุน และความสามารถของบริษัทฯ ในการจัดหา เงินทุน ฯลฯ ซึ่งอาจกอใหเกิดผลกระทบในทางลบอยางมีนัยสําคัญตอธุรกิจ สถานะทางการเงิน ผลการดําเนินงาน และ แนวโนมการดําเนินงานในอนาคตของกลุมบริษัท

สวนที่ 1 หนา 14


บริษัท บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

นอกจากนี้ ในระยะหลายปที่ผานมา กลุมผูกอการรายมักมีเปาหมายโจมตีระบบขนสงสาธารณะตาง ๆ ทั่วโลก ดังที่เกิดเหตุกอการรายในกรุงลอนดอนและกรุงมาดริด ในป 2548 หากมีการกอการรายดังกลาวในประเทศไทยอาจ กอใหเกิดผลกระทบในทางลบอยา งมีนัยสําคัญ ตอธุรกิจ สถานะทางการเงิน ผลการดําเนินงาน และแนวโน มการ ดําเนินงานในอนาคตของบีทีเอสซีและบริษัทฯ อยางไรก็ตาม บีทีเอสซีไดทําประกันภัยเพื่อคุมครองความเสี่ยงจากภัย จากการกอการราย (Terrorism Insurance) ซึ่งคลอบคลุมถึง ความเสียหายตอทรัพยสินที่เกิดจากภัยจากการกอการ ราย (Act of Terrorism) และความเสียหายในกรณีธุรกิจหยุดชะงัก (Business Interruption) ซึ่งความคุมครองดังกลาว ชวยลดผลกระทบที่จะมีตอกลุมบริษัทไดอยางมีนัยสําคัญ นอกจากนั้นบีทีเอสซียังไดจัดใหมีมาตรการในการปองกันภัย เชน การจําลองเหตุการณในสถาณการณตาง ๆ เพื่อเตรียมความพรอมของบุคคลากร อีกทั้งยังไดเพิ่มมาตรการในกา รักษาความปลอดภัยเชน การติดตั้งระบบทีวีวงจรปด การเพิ่มจํานวนเจาหนาที่รักษาความปลอดภัย และการสุม ตรวจสอบสัมภาระดวยเครื่ องตรวจจับโลหะ ณ ทางเขาออกสถานี เปนตน อีก ทั้งยังไดดําเนินการซักซอมรวมกับ พนักงานเจาหนาที่และหนวยงานที่เกี่ยวของกับการปองกัน และบรรเทาสาธารณะภัย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการ แกไขสถานการณอีกดวย 2.4.4

ความผันผวนของอัตราดอกเบี้ยที่อาจสงผลใหตนทุนในการกูยืมของบริษัทฯ ปรับตัวสูงขึ้นและทําให ความสามารถในการสรางผลกําไรของบริษัทฯ ลดลง

ในการไดมาซึ่งหุนสามัญของบีทีเอสซี เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม 2553 บริษัทฯ ไดยืมเงินจํานวน 20,655.7 ลาน บาท เพื่อที่จะนํามาใชเปนทุนในการไดมาซึ่งหุนสามัญของบีทีเอสซี โดยภายหลังการนําเงินที่ไดจากการเสนอขายหุน ใหแกผูถือหุนเดิมของบริษัทฯตามสัดสวนจํานวนหุนที่ผูถือหุนแตละรายถืออยู (Rights Offering) และการเสนอขายหุน แบบเฉพาะเจาะจง (Private Placement) ไปชําระหนี้บางสวน จํานวนเงินกูคางชําระไดลดลงเหลือประมาณ 8,655.7 ลานบาท ทั้งนี้ รายจายดอกเบี้ยที่เกิดจากเงินกูจํานวนดังกลาวมีอัตราอางอิงตามอัตราดอกเบี้ยสําหรับลูกคาชั้นดี (Minimum Lending Rate (MLR)) ดังนั้น หากอัตราดอกเบี้ยสําหรับลูกคาชั้นดีมีการปรับตัวเพิ่มขึ้นก็จะทําใหรายจายที่ ใชในการดําเนินกิจการของบริษัทฯ ปรับตัวเพิ่มขึ้นตามไปดวย และอาจสงผลกระทบในทางลบตอผลการดําเนินงาน ของบริษัทฯได อยางไรก็ตาม บริษัทฯ ไดพิจารณาถึงความเสี่ยงนี้ในการประเมินโครงการและไดดําเนินการวิเคราะหถึง ผลกระทบทางดานดอกเบี้ยที่สูงขึ้นของโครงการ 2.4.5

กลุมบริษัทอาจประสบภาวะขาดสภาพคลองหากกลุมบริษัทไมสามารถจัดหาสินเชื่อเงินกูหรือแหลง เงินทุนสําหรับการดําเนินกิจการหรือการลงทุนของกลุมบริษัทได

บริษัทฯ และ/หรือ บริษัทยอยมีหรืออาจจะมีแผนการลงทุนเพิ่มเติมในสวนที่เกี่ยวกับธุรกิจของแตละบริษัท ซึ่ง จําเปนตองมีการจัดหาเงินทุนเพิ่มเติม หากบริษัทฯ และ/หรือบริษัทยอย ไมสามารถจัดหาแหลงเงินทุนเพิ่มเติมผาน ทางการออกตราสารหนี้ การกูยืมเงินจากสถาบันการเงิน หรือการเพิ่มทุน ภายในกําหนดระยะเวลาที่คาดหมายไว อาจ ทําใหสภาพคลอง สถานะทางการเงินและแผนการลงทุนขยายธุรกิจของกลุมบริษัท ไดรับผลกระทบในทางลบได

สวนที่ 1 หนา 15


บริษัท บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

อยางไรก็ดี ในการลงทุนในสวนที่เกี่ยวกับธุรกิจของแตละบริษัทซึ่งอาจจําเปนตองมีการจัดหาเงินทุนเพิ่มเติม บริษัทฯ และ/หรือ บริษัทยอยจะทําการศึกษาความเปนไปไดและจัดทําแผนของโครงการ รวมถึงการจัดหาแหลงเงินทุน กอนการตัดสินใจดําเนินการ ดังนั้น หากบริษัทฯ และ/หรือ บริษัทยอยไมสามารถจัดหาแหลงเงินทุนหรือสินเชื่อที่ เพียงพอกอนการดําเนินการ บริษัทฯ และ/หรือ บริษัทยอยอาจพิจารณาชะลอ แกไขหรือไมดําเนินการตามแผนลงทุน ดังกลาวเลย

สวนที่ 1 หนา 16


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

3.

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

3.1

ประวัติความเปนมาและการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่สําคัญ

บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริษัท ธนายง จํากัด (มหาชน)) จดทะเบียนกอตั้งขึ้น เมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2511 ดวยทุนจดทะเบียนเริ่มแรก 5,000,000 บาท เพื่อดําเนินธุรกิจดานการพัฒนา อสังหาริมทรัพย บริษัทฯ ไดเริ่มเปดโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพยโครงการแรก คือ “โครงการธนาซิตี้” ซึ่งตั้งอยูริม ถนนบางนา-ตราด กม.14 ในป 2531 ซึ่งเปนโครงการที่ประกอบไปดวย บานเดี่ยว ทาวนเฮาส อาคารชุดพักอาศัย และ ที่ดนิ เปลาจัดสรร บริษัทฯ ไดนํากิจการเขาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยและเริ่มทําการซื้อขายหลักทรัพยครั้ง แรกในวันที่ 1 มีนาคม 2534 และตอมาเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2536 บริษัทฯ ไดจดทะเบียนแปรสภาพจากบริษัทจํากัด เปนบริษัทมหาชน จํากัด และไดขยายลักษณะการประกอบธุรกิจออกไปหลายประเภท เชน โครงการอสังหาริมทรัพย อาคารพักอาศัยใจกลางเมือง เซอรวิสอพารทเมนท อาคารสํานักงาน โรงแรม และโครงการสาธารณูปโภคขนาดใหญ บริษัทฯ ไดรับผลกระทบจากวิกฤติเศรษฐกิจ ในป 2540 ซึ่งสงผลกระทบโดยตรงตอภาคธุรกิจ โดยเฉพาะ อย า งยิ่ ง ผู ป ระกอบการที่ กู ยื ม เงิ น จากต า งประเทศ การลอยตั ว ค า เงิ น บาท ส ง ผลให เ งิ น กู ยื ม ที่ เ ป น สกุ ล เงิ น ตรา ตางประเทศมีมูลคาเพิ่มสูงขึ้นอยางมากเมื่อเทียบเปนสกุลเงินบาท บริษัทฯ ก็ไดรับผลกระทบตาง ๆ เหลานี้ดวยเชนกัน ในระหวางป 2545-2549 บริษัทฯ ไดทําการปรับปรุงโครงสรางหนี้ และเขาสูกระบวนการฟนฟูกิจการ ซึ่ง บริษัทฯ ไดปฏิบัติตามแผนฟนฟูกิจการจนกระทั่งศาลลมละลายกลางไดมีคําสั่งยกเลิกการฟนฟูกิจการในปลายป 2549 ในป 2550 บริษัทฯ ไดกลับมาดําเนินธุรกิจโดยปกติ ดวยวิสัยทัศนของผูบริหารในการเสริมสรางศักยภาพใน การดําเนินธุรกิจในอนาคต บริษัทฯ ไดเริ่มปรับโครงสรางองคกรใหม ทั้งในสวนโครงสรางผูถือหุน ทีมงานผูบริหาร ตลอดจนไดมีการรวมมือกับพันธมิตรมารวมลงทุนในบริษัทฯ ระหวางป 2550-2551 บริษัทฯ และบริษัทในกลุม ไดลงทุนในอสังหาริมทรัพยสําหรับการพัฒนาโครงการใน อนาคต โดยไดซื้อที่ดินที่หาดกมลา จังหวัดภูเก็ต, ถนนสุขุมวิท กรุงเทพฯ, กาญจนบุรี และเขาใหญ อีกทั้งไดเชาที่ดินที่ เชียงใหม และทําการเปดใหบริการโรงแรมบูติคแหงแรก ภายใตชื่อ “โรงแรม ยู เชียงใหม” โดยมีบริษัท แอบโซลูท โฮเต็ล เซอรวิส จํากัด ซึ่งเปนบริษัทในกลุมเปนผูบริหาร นอกจากนี้ บริษัทฯ ไดรับจางเหมาแบบเบ็ดเสร็จ (Turnkey) เพื่อออกแบบและกอสรางโครงการ Four Points by Sheraton บริเวณถนนสาทร กรุงเทพฯ กับบริษัท บีทีเอส แอส เสทส จํากัด ซึ่งเปนเจาของโครงการ โดยมีบริษัท ฮิบเฮง คอนสตรัคชั่น (ประเทศไทย) จํากัด ซึ่งเปนบริษัทรวมทุน ระหวางบริษัทฯ และ ฮิบเฮง คอนสตรัคชั่น โอเวอรซีร ลิมิเต็ดเปนผูรับเหมากอสรางโครงการนี้ เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม 2553 บริษัทฯ ไดขยายธุรกิจอยางตอเนื่อง โดยการไดมาซึ่งหุนสามัญของบีทีเอ สซีรอยละ 94.60 ของหุนที่จําหนายไดแลวทั้งหมดของบีทีเอสซี และไดเปลี่ยนชื่อบริษัทเปนบริษัท บีทีเอส กรุป โฮล ดิ้งส จํากัด (มหาชน) ทําใหธุรกิจหลักของกลุมเปลี่ยนไปเปนธุรกิจระบบขนสงมวลชน ดังนั้น เพื่อใหสอดคลองกับธุรกิจ หลักใหมของบริษัทฯ เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2553 บริษัทฯ จึงไดเปลี่ยนหมวดเปน “ขนสงและโลจิสติกส” ภายใต อุตสาหกรรม “บริการ” และไดเปลี่ยนชื่อยอในการซื้อขายหลักทรัพยเปน “BTS”

สวนที่ 1 หนา 17


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2553 บริษัทฯ ประสบความสําเร็จในการออกและเสนอขายหุนสามัญเพิ่มทุนใหแกผูถือ หุนเดิมของบริษัทฯ ตามสัดสวนจํานวนหุนที่ผูถือหุนแตละรายถืออยู (Rights Offering) และออกและเสนอขายหุน สามัญเพิ่มทุนที่เหลือบางสวนใหแกกลุมผูลงทุนประเภทสถาบันการเงินและกลุมลูกคาของบริษัทหลักทรัพยที่ทําหนาที่ เปนผูจําหนายหลักทรัพยของบริษัทฯ โดยไดรับชําระเงินคาซื้อหุนสามัญเพิ่มทุนรวมจํานวนประมาณ 11,990.2 ลาน บาท ซึ่งบริษั ทฯ ไดนําเงิน ทั้ง หมดไปชําระหนี้เงิน กูยืม ที่กูม าเพื่อ ไดมาซึ่ งหุนสามัญของบีทีเอสซีจํา นวนประมาณ 20,656 ลานบาท และยังคงเหลือเงินกูอีกจํานวนประมาณ 8,656 ลานบาท นับตั้งแตป 2545 เปนตนมา บริษัทฯ มีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่สําคัญในสวนที่เกี่ยวกับการประกอบ ธุรกิจ การบริหารงาน และการเปลี่ยนแปลงทุน ดังนี้ 2545

บริษัทฯ ไดทําการปรับปรุงโครงสรางหนี้ โดยเขาสูกระบวนการฟนฟูกิจการ

2548

แปลงมูลคาหุนที่ตราไวจากหุนละ 10 บาท เปนหุนละ 1 บาท และลดทุนจดทะเบียนชําระแลว จากเดิม 4,684,557,000 บาท เหลือ 533,333,333 บาท ซึ่งเปนการดําเนินการตามแผนฟนฟู กิจการซึ่งผานความเห็นชอบของศาลลมละลายกลาง เพิ่ ม ทุ น จดทะเบี ย นเป น 5,333,333,333 บาท โดยการออกหุ น สามั ญ ใหม จํ า นวน 4,800,000,000 หุน

2549

2550

2551

จัดสรรหุนสามัญจํานวน 4,800,000,000 หุน ใหแกเจาหนี้และผูรวมลงทุนใหม และเพิ่มทุน ชําระแลวจากเดิม 533,333,333 บาท เปน 5,333,333,333 บาท ซึ่งเปนการดําเนินการตาม แผนฟนฟูกิจการซึ่งผานความเห็นชอบของศาลลมละลายกลาง

ศาลลมละลายกลางมีคําสั่งใหยกเลิกการฟนฟูกิจการ เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2549

ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยอนุญาตใหหลักทรัพยของบริษัทฯ ซื้อขายไดในหมวดพัฒนา อสังหาริมทรัพย ตั้งแตวันที่ 28 ธันวาคม 2549 เปนตนไป

เพิ่ ม ทุ น จดทะเบี ย นชํ า ระแล ว เป น 5,813,333,333 บาท โดยออกหุ น สามั ญ จํ า นวน 480,000,000 หุ น และจัด สรรให พัน ธมิ ต รทางธุ ร กิจ ด ว ยวิ ธี ก ารเสนอขายให แ ก บุ ค คลใน วงจํากัด

เพิ่มทุนจดทะเบียนจากเดิม 5,813,333,333 บาท เปน 8,056,923,076 บาท โดยการออกหุน จํานวน 2,243,589,743 หุน เพื่อรองรับการใชสิทธิของหุนกูแปลงสภาพ

จัดตั้งบริษัทรวมทุน คือ บริษัท กมลา บีช รีสอรท แอนด โฮเต็ล แมนเนจเมนท จํากัด เพื่อ ประกอบกิจการโรงแรมและพัฒนาอสังหาริมทรัพยในจังหวัดภูเก็ต

จัดตั้งบริษัทรวมทุน คือ บริษัท ฮิบเฮง คอนสตรัคชั่น (ประเทศไทย) จํากัด เพื่อดําเนินธุรกิจ รับเหมากอสราง

จัดตั้งบริษัทรวมทุน คือ บริษัท แอบโซลูท โฮเต็ล เซอรวิส จํากัด เพื่อดําเนินธุรกิจรับบริหาร จัดการโรงแรม

ยกเลิกการออกหุนกูแปลงสภาพ และเปลี่ยนแปลงวิธีการจัดสรรหุนจํานวน 2,243,589,743 หุน โดยใหเสนอขายใหแกผูถือหุนเดิมและบุคคลในวงจํากัด และ/หรือ นักลงทุนสถาบัน

สวนที่ 1 หนา 18


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

2552

2553

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม 2552 บริษัทฯ ไดซื้อหุนสามัญและหุนบุริมสิทธิของบริษัท กมลา บีช รีสอรท แอนด โฮเต็ล แมนเนจเมนท จํากัด จาก Winnington Capital Limited ซึ่งสงผลให บริษัทฯ เปนผูถือหุนทั้งหมด ในราคา 648,444,000 บาท โดยแบงชําระเปนสองสวน คือ ชําระดวยเงินจํานวน 100,000,000 บาท และสวนที่เหลืออีก 548,444,000 บาท บริษัทฯ ชําระดวยการออกหุนสามัญเพิ่มทุนของบริษัทฯ จํานวน 1,034,800,000 หุน

บริษัทฯ ไดจัดสรรใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญ (TYONG-W1) ใหแกผูถือหุนเดิมตาม สั ด ส ว นการถื อ หุ น จํ า นวน 854,848,533 หน ว ย ใบสํ า คั ญ แสดงสิ ท ธิ ดั ง กล า วได ค รบ กําหนดการใชสิทธิเมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2552 และมีผูใชสิทธิรวม 766,258,470 หนวย ซึ่งบริษัทฯ ไดออกหุนสามัญเพิ่มทุน จํานวน 766,258,470 หุน ใหแกผูใชสิทธิแลว

เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม 2553 บริษัทฯ ไดมาซึ่งหุนสามัญรอยละ 94.60 ของหุนที่จําหนายได แลวทั้งหมดของบีทีเอสซี โดยบริษัทฯ ไดชําระคาตอบแทนสวนหนึ่งเปนเงินสดจํานวนรวม 20,655,711,989.69 บาท และออกหุนสามัญเพิ่มทุนของบริษัทฯ จํานวน 28,166,879,984 หุน ที่ราคาหุนละ 0.688 บาท เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม 2553 บริษัทฯ ไดเปลี่ยนชื่อเปน “บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้ง จํากัด (มหาชน)” และเมื่ อ วั น ที่ 11 พฤษภาคม 2553 ได เ ปลี่ ย นหมวดในตลาดหลั ก ทรั พ ย แ ห ง ประเทศไทยเปนขนสงและโลจิสติกส ภายใตอุตสาหกรรมบริการ และเปลี่ยนชื่อยอในการซื้อ ขายหลักทรัพยเปน “BTS” ระหวางวันที่ 31 พฤษภาคม ถึง 7 มิถุนายน 2553 บริษัทฯ ไดทําการเสนอขายหุนสามัญเพิ่ม ทุนของบริษัทฯ จํานวน 20,150,704,709 หุน ใหแกผูถือหุนเดิมของบริษัทฯ โดยมีผูใชสิทธิ ตามสิทธิและเกินสิทธิรวมกันจํานวน 14,572,185,252 หุน ในสวนของหุนที่เหลืออีก จํานวน 5,578,519,457 หุน บริษัทฯ ไดทําการเสนอขายตอกลุมผูลงทุนประเภทสถาบันการเงินหรือ กลุมลูกคาของบริษัทหลักทรัพยที่ทําหนาที่เปนผูจัดจําหนายหลักทรัพยของบริษัทฯ ระหวาง วันที่ 8 มิถุนายน ถึง 11 มิถุนายน 2553 เปนจํานวนทั้งสิ้น 4,459,818,846 หุน และบริษัทฯ ไดจดทะเบียนเพิ่มทุนชําระแลวตอกระทรวงพาณิชยจากเดิม 35,781,271,787 บาท เปน 54,813,275,885 บาท เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2553 โดยบริษัทฯ ไดรับเงินชําระคาหุนเพิ่มทุน ดังกลาวทั้งหมดประมาณ 11,990.2 ลานบาท และบริษัทฯ ไดนําเงินดังกลาวทั้งหมดไปคืน เงินกูที่ใชในการไดมาซึ่งหุนสามัญบีทีเอสซีจํานวนประมาณ 20,656 ลานบาท และยังคงเหลือ เงินกูคางชําระอีกจํานวนประมาณ 8,656 ลานบาท นอกจากนี้ ที่ประชุมวิสามัญผูถือหุนของบริษัทฯ เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2553 ไดอนุมัติการ จัดสรรหุนสามัญเพิ่มทุนของบริษัทฯ อีกจํานวน 8,914,478,093 หุน โดยมีวัตถุประสงคดังนี้

-

จํานวนไมเกิน 5,111,610,256 หุน เพื่อรองรับการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุน สามัญเพิ่มทุนของบริษัทฯ (BTS-W2) ที่ออกและเสนอขายใหแกผูถือหุนและกลุมผูลงทุน ประเภทสถาบันการเงินและกลุม ลูก คาของบริษัทหลัก ทรัพยที่ทําหนา ที่เปนผูจัดจําหนา ย หลักทรัพยที่มี ก ารจองซื้อหุนสามัญเพิ่ม ทุนของบริษัทฯ จากหุน ที่ อ อกและจั ดสรรจํ า นวน 20,150,704,709 หุน ซึ่งบริษัทฯ คาดวาจะออกใบสําคัญแสดงสิทธิ BTS-W2 ในอัตราสวน 4 หุนที่จองซื้อตอ 1 หนวยใบสําคัญแสดงสิทธิ ภายในประมาณเดือนตุลาคม 2553

-

จํานวนไมเกิน 3,802,867,837 หุน เพื่อเสนอขายใหแกผูถือหุนบีทีเอสซี สวนที่เหลือรอยละ สวนที่ 1 หนา 19


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

3.2

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

ภาพรวมการประกอบธุรกิจของบริษัทฯ บริษัทยอย และบริษัทรวม

จากการที่บริษัทฯ ไดมาซึ่งหุนสามัญรอยละ 94.60 ของบีทีเอสซี ทําใหธุรกิจหลักของบริษัทฯ เปลี่ยนไป จาก เดิมซึ่งประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพยเปนธุรกิจหลัก ขณะนี้ ธุรกิจหลักของบริษัทฯ และบริษัทในกลุม ไดแก (1)

ธุรกิจระบบขนสงมวลชน เชน ระบบรถไฟฟาบีทีเอส และบีอารที

(2) ธุรกิจอสังหาริมทรัพย เชน อสังหาริมทรัพยทั้งที่อยูในแนวเสนทางระบบขนสงมวลชนและนอกแนว เสนทางระบบขนสงมวลชน โรงแรม และเซอรวิสอพารทเมนท ฯลฯ (3)

ธุรกิจสื่อโฆษณา

(4)

ธุรกิจใหบริการ เชน ธุรกิจบริหารโรงแรม ธุรกิจสมารทการด ธุรกิจรับเหมากอสราง และธุรกิจสนาม

กอลฟ ทั้งนี้ ภาพรวมโครงสรางกลุมของบริษัทฯ บริษัทยอย และบริษัทรวมภายหลังการไดมาซึ่งหุนในบีทีเอสซีโดย บริษัทฯ เปนดังตอไปนี้

สวนที่ 1 หนา 20


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

ภาพรวมการประกอบธุรกิจของบริษัทฯ บริษัทยอยและบริษัทรวม (ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2553) บริษัท บีทเี อส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

ธุรกิจระบบขนสงมวลชน 94.6%

ธุรกิจสื่อโฆษณา

บมจ. ระบบขนสง มวลชนกรุงเทพ 100%

ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย 100%

บจ. สยาม เพจจิ้ง แอนด คอมมิวนิเคชั่น

100%

บจ. ดีแนล

100%

บจ. ธนาซิตี้ กอลฟ แอนด สปอรต คลับ(3)

บจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย 100%

บจ. วี จี ไอ แอดเวอร ไทซิ่ง มีเดีย

100%

บจ. สําเภาเพชร

100%

บจ. เมืองทอง แอสเซ็ทส

100%

ธนายง อินเตอรเนชั่นแนล ลิมิเต็ด(4)

100%

บจ. 999 มีเดีย

100%

บจ. ปราณคีรี แอสเซ็ทส(1)

100%

100%

ธนายง ฮองกง ลิมิเต็ด

100%

บจ. ธนายง ฟูด แอนด เบเวอเรจ

บจ. 888 มีเดีย

100%

บจ. ธนายง พร็อพเพอรตี้ แมเนจเมนท

100%

บจ. กมลา บีช รีสอรท แอนด โฮเต็ล แมนเนจเมนท

51%

บจ. ฮิบเฮง คอนสตรัคชั่น (ประเทศไทย)

100%

บจ. ยงสุ(2)

50%

บจ. แอบโซลูท โฮเต็ล เซอรวิส

30%

บจ. สระบุรี พร็อพเพอรตี้

90%

บจ. บางกอก สมารทการด ซิสเทม

บจ. พอยท ออฟ วิว (พีโอวี) มีเดีย กรุป 100% บจ. วี จี ไอ มัลติเทค อินเตอรเนชั่นแนล 100%

100% 100%

80%

(1) (2) (3) (4)

ธุรกิจบริการ

บจ. บีทีเอส แลนด บจ. บีทีเอส แอสเสทส 100%

บจ. กามปู พร็อพ เพอรตี้

100%

บจ. กามกุง พร็อพเพอรตี้

50%

แอบโซลูท โฮเต็ล เซอรวิส ฮองกง ลิมิเต็ด

บจ. นูโว ไลน เอเจนซี่

เดิมชื่อ บจ. เมืองทองเลคไซด เรสเตอรรอง หยุดประกอบกิจการ เดิมชื่อ บจ. ธนาซิตี้ กอลฟ แอนด คันทรี่ คลับ หยุดประกอบกิจการ

สวนที่ 1 หนา 21


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

3.3

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

โครงสรางรายได

ภายหลังการไดมาซึ่งหุนสามัญของบีทีเอสซี บริษัทฯ ไมมีนโยบายที่จะเปลี่ยนแปลงลักษณะการประกอบ ธุรกิจของบริษัทฯ หรือของบีทีเอสซี คือ บริษัทฯ จะยังคงดําเนินธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย และบีทีเอสซีจะยังคง ดําเนินธุรกิจระบบขนสงมวลชน ดังนั้น จึงคาดวา ภายหลังการไดมาซึ่งหุนสามัญของบีทีเอสซี รายไดจากคาโดยสาร จากการใหบริการรถไฟฟาของบีทีเอสซีจะเปนรายไดหลักของกลุมบริษัทในอนาคต และมีรายไดจากโครงการพัฒนา อสังหาริมทรัพยในสัดสวนที่นอยกวา เนื่องจากโครงการสวนใหญอยูในชวงเริ่มตนพัฒนาโครงการ

(ลานบาท)

งวดปบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2553 รายไดจากการดําเนินงาน กําไรขั้นตน (ตรวจสอบ)

บริษัทฯ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย โรงแรม ใหเชาและ การบริการ ธุรกิจรับเหมากอสราง โครงการบานเอื้ออาทร โครงการ Four Points by Sheraton รวม

304.9

546.2 209.4 1,060.4 (ตรวจสอบ) (1)

บีทีเอสซี ธุรกิจระบบขนสงมวลชน ธุรกิจการใหเชาพื้นที่และการใหบริการ (2) รวม

3,679.6 1,102.4 4,782.1

74.1

30.4 24.0 128.5

1,551.9 750.7 2,302.6

(1) ปรับยอนหลังงบการเงินรวมโดยถือเสมือนวาวีจีไอ และบริษัทยอยของวีจีไอ ที่ซื้อเขามาใน เดือนกันยายน 2552 เปนบริษัทยอยของบีทีเอสซี ตั้งแต วันที่ 1 เมษายน 2552 (2) รวมรายไดจากคาสาธารณูปโภค

สวนที่ 1 หนา 22


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

3.3.1

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

โครงสรางรายไดของบริษัทฯ บริษัทฯ มีรายไดหลักจากธุรกิจอสังหาริมทรัพย รายละเอียดโครงสรางรายไดดังตารางดานลาง

รายได/ชื่อโครงการ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย ธุรกิจบริหารโครงการ ธุรกิจโรงแรม การเชาและบริการ รายไดอื่น โอนกลับคาเผื่อการดอยคาของ สินทรัพย กําไรจากการชําระหนี้ โอนกลับคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ อื่นๆ รวมรายไดทั้งสิ้น

งวดปบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2553 2552 2551 (ตรวจสอบ) (ตรวจสอบ) (ตรวจสอบ) ลานบาท รอยละ ลานบาท รอยละ ลานบาท รอยละ 100.9 6.4 48.8 4.6 10.2 0.4 755.5 48.0 547.4 51.1 976.0 39.2 204.0 13.0 204.7 19.1 175.6 7.1 167.0

10.6

0.0

0.0

0.0

0.0

142.7 0.0 202.7 1,572.7

9.1 0.0 12.9 100.0

195.1 0.0 74.8 1,070.7

18.2 0.0 7.0 100.0

1,149.2 114.4 65.6 2,491.0

46.1 4.6 2.6 100.0

สวนที่ 1 หนา 23


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

3.3.2

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

โครงสรางรายไดของบีทีเอสซี

บีทีเอสซีมีรายไดหลักจากการใหบริการรถไฟฟา โดยเก็บคาโดยสารจากผูใชบริการสําหรับการใชบริการในแต ละเที่ยว นอกจากนี้ บีทีเอสซียังมีรายไดจากการใหเชาพื้นที่โฆษณา ทั้งพื้นที่ภายในและพื้นที่รอบนอกขบวนรถไฟฟา และพื้นที่ในสถานี รายไดจากการใหเชาพื้นที่รานคาที่สถานี รายไดจากการใหเชาพื้นที่โฆษณาในรานคาปลีก รายได จากการใหบริการเดินรถไฟฟา รายไดจากการใหบริการ รวมไปถึงรายไดจากการดําเนินการในการเชื่อมทางเดินจาก สถานีไปยังอาคารตางๆ (Sky-Bridge) รายละเอียดโครงสรางรายไดดังตารางดานลาง

รายไดจากคาโดยสารสุทธิ รายไดจากการใหบริการเดินรถ รายไดอื่น รายไดจากการใหบริการ รายไดจากพื้นที่ใหเชาโฆษณา และรานคา รายไดคาบริการสาธารณูปโภค โอนกลับคาเผื่อการลดลงของ มูลคาตนทุนโครงการ อื่นๆ รวมรายได

งบการเงินรวม งบการเงินเฉพาะกิจการ งวดปบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม (1) 2553 2552(1) 2551 (ตรวจสอบ) (ตรวจสอบ) (ตรวจสอบ) (ปรับปรุงใหม) ลานบาท รอยละ ลานบาท รอยละ ลานบาท รอยละ 3,484.7 70.9 3,288.1 68.0 3,221.1 38.5 195.0 4.0 0.0 0.0 0.0 0.00 106.0

2.2

45.4

0.9

0.0

0.00

994.2

20.2

901.8

18.6

277.3

3.3

2.3

0.0

1.9

0.0

31.3

0.4

0.0

0.0

0.0

0.0

4,688.7

56.0

131.8 4,913.8

2.7 100.0

598.7 4,835.9

12.4 100.0

158.4 8,376.7

1.9 100.00

(1) ปรับยอนหลังงบการเงินรวมโดยถือเสมือนวาวีจีไอ และบริษัทยอยของวีจีไอ ที่ซื้อเขามาใน เดือนกันยายน 2552 เปนบริษัทยอยของบีทีเอสซี ตั้งแต วันที่ 1 เมษายน 2551

สวนที่ 1 หนา 24


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

4

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

การประกอบธุรกิจในแตละสายผลิตภัณฑ

การดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ แบงออกเปน 4 ประเภทหลัก ไดแก (1) ธุรกิจระบบขนสงมวลชน (2) ธุรกิจ อสังหาริมทรัพย (3) ธุรกิจสื่อโฆษณา และ (4) ธุรกิจใหบริการ 4.1

ธุรกิจระบบขนสงมวลชน

4.1.1

ธุรกิจใหบริการรถไฟฟา จุดเดนของระบบรถไฟฟาบีทีเอส คือ

มีความรวดเร็ว และตรงตอเวลา

มีความสะอาด

มีความปลอดภัยสูง เมื่อเทียบกับระบบขนสงมวลชนอื่นๆ

คาโดยสารเปนที่ยอมรับไดของผูใชบริการ

เสนทางอยูยานศูนยกลางธุรกิจการคา ซึ่งเปนจุดหมายในการเดินทางของประชาชนเปนจํานวนมาก

4.1.1.1 เสนทางการใหบริการในปจจุบัน และอัตราคาโดยสาร บริษัทฯ ประกอบธุรกิจใหบริการรถไฟฟาผานบีทีเอสซี ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัทฯ โดยบริษัทฯ ถือหุนใน บีทีเอสซีเปนสัดสวนรอยละ 94.6 บีทีเอสซีประกอบธุรกิจใหบริการรถไฟฟาภายใตสัมปทานจากกทม. และเปนเจาของ สิทธิใ นการใชแ ละให บริก ารระบบรถไฟฟา บีทีเ อสระยะทางรวมทั้งสิ้น 23.5 กิโ ลเมตร ประกอบดวย สายสุขุม วิท ระยะทาง 17 กิโลเมตร และสายสีลมระยะทาง 6.5 กิโลเมตร ทั้งสองสายมีสถานีรวม 23 สถานี ซึ่งหนึ่งในสถานีเหลานี้ เปนสถานีรวมสําหรับเชื่อมตอระหวางสองสาย

สายสุขุมวิท เริ่มตนจาก ถนนสุขุมวิทซอย 77 วิ่งผานถนนสายหลัก เชน สุขุมวิท เพลินจิต พระราม 1 พญาไท พหลโยธิน และสิ้นสุดที่หมอชิต รวมทั้งสิ้น 17 สถานี สายสีลม เริ่มตนจาก สะพานตากสินฝงเจริญกรุง วิ่งผานถนนสายหลัก เชน สาทร สีลม ราชดําริ พระราม 1 และสิ้นสุดที่สนามกีฬาแหงชาติใกลถนนบรรทัดทอง รวมทั้งสิ้น 7 สถานี

สายสุขุมวิท และ สายสีลม วิ่งขนานกันทั้งหมดเปนระยะทาง 800 เมตร บนถนนพระราม 1 ซึ่งในเสนทางบน ชวงนี้มีสถานีเชื่อมตอระหวาง 2 สายที่สถานีสยาม ดังแผนที่ที่แสดงไวดานลาง ซึ่งแสดงเสนทางการเดินรถของระบบ รถไฟฟาบีทีเอสและการเชื่อมตอกับระบบการขนสงสาธารณะอื่นๆ

สวนที่ 1 หนา 25


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

สวนตอขยายของ กทม.

สําหรับสวนตอขยายสายสีลม ตอจากสถานีสะพานตากสิน ระยะทาง 2.2 กิโลเมตร มีสถานีรวม 2 สถานี ไดแก สถานีกรุงธนบุรี และ สถานีวงเวียนใหญ กทม. เปนผูลงทุนกอสรางงานโครงสรางระบบ (Civil Works) และระบบ ไฟฟาและเครื่องกล (Electrical and Mechanical Works) (รายละเอียดตาม ขอ 4.1.1.2 สวนตอขยายในปจจุบัน) รถไฟฟาสวนตอขยายไดเริ่มเปดใหบริการประชาชนแลว เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2552 โดยบีทีเอสซีเปนผูใหบริการ เดินรถในสวนตอขยายดังกลาว ในรอบบัญชี 2553 ระบบรถไฟฟาบีทีเอส ใหบริการผูโดยสาร 144.5 ลานคน คิดเปนจํานวนผูโดยสารเฉลี่ย 451,300 คนต อวั นทํ างาน ซึ่ งสู งที่ สุ ดตั้ งแต ระบบรถไฟฟ าบี ที เอสเป ดให บริ การมา ตั้ งแต ระบบรถไฟฟ า บีทีเอสเริ่มเปดใหบริการ จํานวนผูโดยสารในระบบรถไฟฟาบีทีเอสและรายไดคาโดยสารไดเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง (ตามตาราง แสดงขอมูลผูโดยสารที่แสดงไวดานลาง) ในป 2551 ซึ่งนับเปนงวดปบัญชีแรกที่จํานวนผูโดยสารมีการปรับตัวลดลงนับแต ระบบรถไฟฟาบีทีเอสใหบริการตั้งแตป 2542 โดยสวนหนึ่งเปนผลมาจากความไมแนนอนทางการเมือง ซึ่งรวมถึงการทํา รัฐประหารในเดือนกันยายน 2549 และเหตุการณระเบิดในกรุงเทพฯ ในชวงปลายป 2549 จํานวนผูโดยสารในชวงปปฏิทิน 2550 (มกราคม 2550 ถึงธันวาคม 2550) จึงลดลงจากชวงเวลาเดียวกันในปกอนหนา ทําใหงวดปบัญชี 2551 จํานวน ผูโดยสารลดลงรอยละ 3.9 อยางไรก็ตามในงวดปบัญชี 2552 จํานวนผูโดยสารกลับมาเพิ่มสูงขึ้นอีกครั้ง โดยจํานวนผูโดยสารเพิ่มขึ้นรอยละ 2.1 เมื่อเทียบกับชวงเวลาเดียวกันในงวดป 2551 เปนผลมาจากการคลายความกังวลของประชาชนตอสถานการณไมปกติที่ เกิดขึ้นในชวงกอนหนานี้ ประกอบกับตลอดแนวเสนทางรถไฟฟาบีทีเอสยังคงมีการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพยเพิ่มขึ้น สวนในรอบบัญชี 2553 นั้น จํานวนผูโดยสารเพิ่มขึ้นรอยละ 6.3 จากงวดเดียวกันของปกอนเนื่องจากการเปดใหบริการสวน ตอขยายสายสีลม

สวนที่ 1 หนา 26


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

ตารางแสดงขอมูลผูโดยสารและอัตราคาโดยสารเฉลี่ย 2543 จํานวนผูโดยสาร (พันคน) อัตราการเติบโต (รอยละ) จํานวนวันที่ใหบริการ จํานวนผูโดยสารเฉลี่ย ตอวัน (คน/วัน) อัตราการเติบโต (รอยละ) จํานวนผูโดยสารใน วันทํางาน (พันคน) อัตราการเติบโต (รอยละ) จํานวนวันทํางาน จํานวนผูโดยสาร เฉลี่ยตอวันทํางาน (คน/วัน) อัตราการเติบโต (รอยละ) คาโดยสาร กอนหัก สวนลดตางๆ (ลานบาท) อัตราการเติบโต (รอยละ) อัตราคาโดยสารเฉลี่ย ตอคน (บาทตอคน) อัตราการเติบโต (รอยละ)

2544

งวดปบัญชีส้นิ สุดวันที่ 31มีนาคม 2546 2547 2548 2549 2550

2545

2551

2552

2553

17,540 58,818 79,253 96,491 105,093 118,465 131,887 138,558 133,128 135,939 144,474 118

235.3 365

34.7 365

21.8 365

8.9 366

12.7 365

11.3 365

5.1 365

(3.9) 366

2.1 365

6.3 365

148,641 161,146 217,133 264,360 287,140 324,561 361,335 379,610 363,737 372,438 395,820 8.4

34.7

21.8

8.6

13.0

11.3

5.1

(4.2)

2.4

6.3

11,778 43,004 59,172 73,367 81,226 91,155 101,214 104,790 101,990 104,143 110,117 80

265.1 244

37.6 243

24.0 244

10.7 247

12.2 246

11.0 246

3.5 241

(2.7) 246

2.1 245

5.7 244

147,227 176,246 243,507 300,683 328,852 370,547 411,437 434,812 414,595 425,076 451,300 19.7

2.5

6.2

477.4 1,419.0 1,779.9 2,122.2 2,293.5 2,573.4 2,817.4 3,065.8 3,224.2 3,292.3

3,488.5

27.22

ที่มา: งบการเงินของบีทีเอสซี

38.2

23.5

9.4

12.7

11.0

5.7

(4.6)

197.3

25.4

19.2

8.1

12.2

9.5

8.8

5.2

2.1

6.0

24.13

22.46

21.99

21.82

21.72

21.36

22.13

24.22

24.22

24.15

-11.4

-6.9

-2.1

-0.8

-0.5

-1.7

3.6

9.5

0.0

-0.3

อัตราคาโดยสาร บีทีเอสซี จัดเก็บคาโดยสารตามระยะทางของการเดินทาง (Distance Related Fare) ปจจุบันอัตราคาโดยสาร ที่เรียกเก็บได (Effective Fare) ถูกกําหนดเปนขั้นบันไดตามจํานวนสถานีที่ผูโดยสารเดินทาง ซึ่งกําหนดอยูระหวาง 15 ถึง 40 บาท ดังตารางดานลาง โดย บีทีเอสซี อาจใหสวนลดตามแผนสงเสริมการขายเปนคราวๆ ไป สถานี 0 คาโดยสาร (บาท)

1 15

2

3 20

4

5 25

สวนที่ 1 หนา 27

6

7 30

8

9 35

10

11 12 ขึ้นไป 40


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

อัตราคาโดยสารที่บีทีเอสซีเรียกเก็บได (Effective Fare) ถูกกําหนดไวภายใตสัญญาสัมปทาน ซึ่งอนุญาตใหบี ทีเอสซีคิดคาโดยสารตามระยะทาง และไดกําหนดเพดานอัตราคาโดยสารสูงสุดที่อาจเรียกเก็บได (Authorized Fare) ขณะนี้กําหนดไวที่ 15-45 บาท อยางไรก็ตาม บีทีเอสซีอาจกําหนดคาโดยสารที่เรียกเก็บไดต่ํากวาอัตราเพดานคา โดยสารสูงสุ ดที่อาจเรี ยกเก็บ ได (Authorized Fare) ตามอัตราที่ผูบริ ห ารของบีทีเอสซี พิจ ารณาวา เหมาะสมกับ สภาวการณ ภายใต ข อ กํ า หนดในสั ญ ญาสั ม ปทาน การปรั บ ขึ้ น ค า โดยสารที่ เ รี ย กเก็ บ ได (Effective Fare) จะต อ งมี ระยะเวลาหางกับการปรับคาโดยสารที่เรียกเก็บไดในครั้งกอนหนาไมนอยกวา 18 เดือน โดย บีทีเอสซี สามารถปรับคา โดยสารที่เรียกเก็บได ไดไมเกินเพดานอัตราคาโดยสารสูงสุดที่อาจเรียกเก็บได (Authorized Fare) แตถาบีทีเอสซี ตองการปรับคาโดยสารที่เรียกเก็บไดในชวงเวลานอยกวาระยะเวลา 18 เดือน บีทีเอสซีตองไดรับการอนุมัติการปรับ จากกทม. กอน อนึ่ง ในการปรับราคาคาโดยสารที่เรียกเก็บได บีทีเอสซีจะตองแจงใหกทม. และประชาชนทั่วไปทราบ เปนลายลักษณอักษรถึงคาโดยสารที่จะเรียกเก็บลวงหนาอยางนอย 30 วันกอนวันที่คาโดยสารที่เรียกเก็บไดใหมนั้นจะ มีผลบังคับใช ทั้งนี้ตามสัญญาสัมปทาน เพดานอัตราคาโดยสารสูงสุดที่บีทีเอสซีอาจเรียกเก็บได (Authorized fare) สามารถ ปรับได 2 วิธี คือ

การปรับปกติ บีทีเอสซีสามารถขอปรับขึ้นเพดานอัตราคาโดยสารสูงสุดที่เรียกเก็บไดเพิ่มขึ้นไมเกิน รอยละ 7 ของอัตราเดิม ในกรณีที่ดัชนีราคาผูบริโภคชุดประจําเดือนทั่วไปสําหรับเขตกรุงเทพฯ (“ดัชนี”) (Consumer Price Index: CPI for Bangkok) จากการสํารวจของกระทรวงพาณิชยเดือนใด มีคาเทากับหรือสูงกวารอยละ 5 ของดัชนีอางอิงของเดือนใดที่ผานมาแลวไมนอยกวา 12 เดือน (ดัชนีอางอิง หมายถึง ดัช นีที่ใ ชในการปรับเพดานอัตราคาโดยสารสู งสุดที่ อาจเรียกเก็บ ไดค รั้ง หลังสุด) การปรับกรณีพิเศษ เมื่อเกิดเหตุการณใดเหตุการณหนึ่งดังตอไปนี้ z

z

z

ดัชนีของเดือนหนึ่งเดือนใดมีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นหรือลดลงเกินกวารอยละ 9 เทียบกับ ดัชนีอางอิงของเดือนใดที่ผานมาแลวไมนอยกวา 12 เดือน อัตราแลกเปลี่ยนระหวางสกุลเงินบาทและเงินเหรียญสหรัฐ สูงหรือต่ํากวาอัตราแลกเปลี่ยน อางอิงเกินกวารอยละ 10 (อัตราแลกเปลี่ยนอางอิงหมายถึง อัตราแลกเปลี่ยนที่ธนาคาร แหงประเทศไทยประกาศ ที่ใชในการปรับเพดานอัตราคาโดยสารสูงสุดที่อาจเรียกเก็บได ครั้งหลังสุด ซึ่งเทากับ 39.884 บาท ตอ 1 เหรียญสหรัฐ) อัตราดอกเบี้ยเงินกูเงินตราตางประเทศและในประเทศของบีทีเอสซี สูงหรือต่ํากวาอัตรา ดอกเบี้ยอางอิงเกินกวารอยละ 10 (อัตราดอกเบี้ยในประเทศอางอิงหมายถึง อัตราดอกเบี้ย โดยเฉลี่ยของอัตราดอกเบี้ยลูกคาชั้นดีของธนาคารกรุงเทพ ธนาคารกรุงไทย ธนาคาร กสิกรไทย และธนาคารไทยพาณิชย ที่ใชในการปรับเพดานอัตราคาโดยสารสูงสุดที่อาจ เรียกเก็บไดครั้งหลังสุด และอัตราดอกเบี้ยตางประเทศอางอิง หมายถึง อัตราดอกเบี้ย สําหรับการกูเงินระหวางธนาคารในตลาดเงินในกรุงลอนดอน (LIBOR) ที่ใชในการปรับ เพดานอัตราคาโดยสารสูงสุดที่อาจเรียกเก็บไดครั้งหลังสุด)

z

บีทีเอสซีรับภาระคาไฟฟาที่สูงขึ้นหรือลดลงอยางมาก

z

บีทีเอสซีลงทุนเพิ่มขึ้นมากนอกเหนือขอบเขตของงานที่กําหนดไวในสัญญาสัมปทานหรือ สวนที่ 1 หนา 28


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน) z

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

บีทีเอสซีมีความเสี่ยงที่เปนขอยกเวน (Exceptional Risk) ตามที่ระบุไวในสัญญาสัมปทาน เกิดขึ้น

ทั้งนี้ การปรับเพดานอัตราคาโดยสารสูงสุดที่อาจเรียกเก็บไดในกรณีพิเศษนั้น คูสัญญาตองเห็นชอบดวยกัน ทั้ ง สองฝ า ย แต ถ า ไม ส ามารถตกลงกั น ได ภ ายใน 30 วั น ให เ สนอเรื่ อ งไปยั ง คณะกรรมการที่ ป รึ ก ษา (Advisory Committee) เปนผูวินิจฉัย คณะกรรมการดังกลาวประกอบดวย กรรมการจากบีทีเอสซี 2 ทาน คณะกรรมการจาก กทม. 2 ทาน และกรรมการอิสระที่ไดรับแตงตั้งจากกรรมการทั้ง 4 ทานดังกลาว อีก 3 ทาน และหากคณะกรรมการที่ ปรึกษาเห็นชอบใหปรับเพดานอัตราคาโดยสารสูงสุดที่อาจเรียกเก็บไดแลว แตรัฐบาลมีนโยบายจะตรึงราคาคาโดยสาร เพื่อความเหมาะสมแกสภาวการณ บีทีเอสซีก็จะยังไมสามารถปรับเพดานอัตราคาโดยสารสูงสุดที่อาจเรียกเก็บได โดย ฝายรัฐบาลจะจัดมาตรการทดแทน ตามความเหมาะสมแกความเสียหายที่เกิดขึ้นแกบีทีเอสซีจากการที่บีทีเอสซีไมปรับ คาโดยสารที่เรียกเก็บขึ้น 4.1.1.2 สวนตอขยายในปจจุบัน จากความสําเร็จของระบบรถไฟฟาบีทีเอส ทางรัฐบาลและกทม.ไดมีนโยบายที่จะลงทุนในโครงการกอสราง ระบบขนสงมวลชน เพื่อใหบริการแกประชาชนในกรุงเทพฯ และปริมณฑล ซึ่งโครงการลงทุนเหลานี้ รวมไปถึงสวนตอ ขยายเสนทางการใหบริการของระบบรถไฟฟาบีทีเอส (สายสีเขียว) โดยสวนตอขยายแรกที่แลวเสร็จและเปดใหบริการ แลวคือ สวนตอขยายสายสีลมระยะทาง 2.2 กิโลเมตร สวนตอขยายสายสีลมระยะทาง 2.2 กิโลเมตร จากสถานีสะพานตากสินขามแมน้ําเจาพระยาสูวงเวียนใหญ มี กทม. เปนผูลงทุนกอสรางงานโครงสรางระบบ (Civil Works) และระบบไฟฟาและเครื่องกล (Electrical and Mechanical Works) ในสวนตอขยายสายสีลมมีสถานีรวม 2 สถานี ไดแก สถานีกรุงธนบุรีและสถานีวงเวียนใหญ ซึ่งบี ทีเอสซีไดรับผลประโยชนจากการสงตอผูโดยสารเขามายังระบบรถไฟฟาบีทีเอส ทําใหจํานวนผูโดยสารที่เพิ่มขึ้นตาม การขยายเสนทางในสวนตอขยายสายสีลม นอกจากนี้บีทีเอสซียังไดรับแตงตั้งจากกรุงเทพธนาคม ใหดําเนินการเตรียมความพรอมในการใหบริการของ สวนตอขยายสายสีลมไมวาจะเปนการเตรียมเครื่องมือและอุปกรณรวมทั้งรถไฟฟาหรือคัดเลือกและอบรมพนักงาน บีที เอสซีไดรับการแตงตั้งใหทําการใหบริการเดินรถและซอมบํารุงรักษาสวนตอขยายสายสีลม เพื่อการใหบริการเชิง พาณิชย โดยไดเขาทําสัญญาใหบริการเดินรถและซอมบํารุงกับกทม. เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม 2552 ภายใตสัญญา ดังกลาว บีทีเอสซีมีหนาที่ใหบริการบริหารและบํารุงรักษาสวนตอขยายสายสีลมดังกลาวตามมาตรฐานการใหบริการที่ ระบุไวในสัญญา ทั้งนี้บีทีเอสซีจะตองจัดหารถไฟฟามาใหบริการในสวนตอขยายดังกลาวและจะตองดูแลรักษาและซอมแซม ขบวนรถไฟเหลานั้นดวย โดยที่บีทีเอสซีจะไดรับคาตอบแทนสําหรับการใหบริการเปนเงินจํานวนประมาณ 184.2 ลาน บาทตอป และอาจมีการปรับไดตามเงื่อนไขที่ระบุไวในสัญญา ซึ่งสัญญานี้มีอายุ 28 เดือนโดยเริ่มจากวันที่เริ่มการ ใหบริการ และบีทีเอสซีสามารถขยายระยะเวลาตามสัญญาใหถึง 21 ปตามสัญญาสัมปทาน ในสวนคาโดยสารนั้นจะมีการจัดสรรรายไดในกรณีที่ผูโดยสารใชบริการทั้งในระบบรถไฟฟาบีทีเอสและในสวน ตอขยายของกทม. โดยจะแบงรายไดตามระยะทางที่ผูโดยสารใชบริการจริงและไดมีการลงนามในบันทึกขอตกลง กับ กทม. เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2552 ตามบันทึกการจัดสรรคาโดยสารดังกลาว ไดกําหนดรายละเอียดการจัดสรรคา โดยสารตามสิทธิของคูสัญญาแตละฝายสําหรับผูโดยสารที่ใชบริการทั้งสวนตอขยายสายสีลมโดยการคํานวณรายรับคา โดยสารตามสิทธิของกทม. จะแตกตางกันตามประเภทของบัตร โดยใชหลักการจัดสรรตามระยะทางการเดินทางจริง สวนที่ 1 หนา 29


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

4.1.1.3 แผนการขยายเสนทางการเดินรถของกทม. และภาครัฐในสวนที่ตอจากเสนทางในปจจุบันของระบบ รถไฟฟาบีทีเอส (สายสีเขียว)

สวนต อ ขยายของสายสุขุม วิท ระยะทาง 5.2 กิโ ลเมตร จากสถานีออ นนุช สูซ อยแบริ่ ง กทม. มี นโยบายในการดําเนินงานเชนเดียวกันกับสวนตอขยายสวนแรกจากสะพานตากสินสูวงเวียนใหญ โดยกทม.จะเปนผูลงทุนในงานโครงสรางและระบบไฟฟาและเครื่องกล และจะจัดหาเอกชนมาเปนผู รับจางเดินรถ และซอมบํารุงระบบ โดยเอกชนที่ไดรับการวาจางจะตองเปนผูจัดหาขบวนรถไฟฟามา ใชในการใหบริการ ซึ่งบีทีเอสซีเชื่อวาบีทีเอสซี นาจะเปนผูที่มีความพรอมและมีความเหมาะสมที่สุด ในการเปนผูเดินรถในสวนตอขยายนี้ ขณะนี้กทม. ไดดําเนินการกอสรางงานโครงสรางรวมถึงงาน วางรางเสร็จแลว ปจจุบันอยูระหวางการจัดหาผูดําเนินการระบบไฟฟาและเครื่องกล และคาดวาจะ ดําเนินการทั้งหมดแลวเสร็จและสามารถเปดใหบริการประชาชนไดประมาณกลางป 2554 สวนตอขยายของสายสีลมระยะทาง 5.3 กิโลเมตร จากวงเวียนใหญสูถนนเพชรเกษม แขวงบางหวา กทม. มีนโยบายในการดําเนินงานเชนเดียวกันกับสวนตอขยายสวนแรกจากสะพานตากสินสูวงเวียน ใหญ ปจจุบัน กทม. ไดดําเนินการกอสรางทางวิ่งเสร็จสิ้นแลวและอยูระหวางการดําเนินงานในสวน งานกอสรางสถานี งานวางรางระบบไฟฟาและเครื่องกล โดยคาดวาจะสามารถเปดใหบริการได ปลายป 2554 สวนตอขยายของสายสุขุมวิท จากสถานีหมอชิตสูสะพานใหม ระยะทาง 12 กิโลเมตร และจากสถานี แบริ่งสูสมุทรปราการ ระยะทาง 13 กิโลเมตร ไดรับการอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีแลว โดยทางรัฐบาล มอบหมายให การรถไฟฟาขนสงมวลชนแหงประเทศไทย (“รฟม.”) เปนผูลงทุนในงานโครงสรางและ คาดวาจะใหผูประกอบการภาคเอกชนลงทุนในสวนของระบบไฟฟาและเครื่องกล การเดินรถ การ จัดเก็บคาโดยสาร และการซอมบํารุง ในรูปแบบเดียวกับรถไฟฟาใตดินสายสีน้ําเงิน ซึ่งกทม.มี แผนการที่จะรวมบริหารการเดินรถและจะจัดใหมีการเชื่อมตอกับระบบขนสงมวลชนอื่นเพื่อใหเกิด ความสะดวกแกผูโดยสาร ซึ่งบีทีเอสซีมีขอไดเปรียบในการดําเนินงานในสวนตอขยายทั้ง 2 เสนนี้ เนื่องจากสามารถสรางความสะดวกใหกับผูโดยสารในการเดินทางทําใหไมตองมีการเปลี่ยนถาย ขบวนรถและบีทีเอสซีเชื่อวาบริษัทฯ หรือ บีทีเอสซีจะมีคาใชจายในการลงทุนและดําเนินการต่ํากวา ผูประกอบการรายอื่นที่ตองมีการลงทุนศูนยควบคุมและระบบตางๆ ใหมทั้งหมด ในขณะที่บีทีเอสซี สามารถใชประโยชนรวมกันกับระบบที่มีอยูเดิมได

สวนที่ 1 หนา 30


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

BTS Sukhumvit Line Extension Existing MTR Blue Line 19.7 Km

Existing BTS Sukhumvit Line 17 Km

Existing BTS Silom Line 6.5 Km

BTS Sukhumvit Line Extension 5.2 Km

BTS Silom Line Extension 5.3 Km

BTS Silom Line Extension 2.2 Km

BTS Sukhumvit Line Extension 13 Km

4.1.1.4 ระบบการดําเนินการและการใหบริการรถไฟฟา 4.1.1.4.1

รางรถไฟ (Trackwork)

รถไฟฟาบีทีเอสวิ่งอยูบนรางคูยกระดับสูงประมาณ 12 เมตรเหนือพื้นถนน รางรถไฟวางอยูบนหมอนรับรางที่ เปนคอนกรีตซึ่งหลออยูบนคานสะพาน (Viaduct) ซึ่งรองรับดวยเสาโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยเสาแตละตนนั้น ตั้งอยูบนเสาเข็มลึกประมาณ 55 เมตร และมีระยะหางระหวางกันประมาณ 30-35 เมตร หรือมากกวาสําหรับเสาที่อยู บริเวณทางแยก สวนรางนั้นทําดวยเหล็ก และมีรางที่สามวางขนานกับทางวิ่งรถไฟฟาเพื่อจายไฟฟาใหขบวนรถ ตัวราง จายกระแสไฟฟานั้นทําจากเหล็กปลอดสนิมและอลูมิเนียม ปดครอบดวยโลหะอีกชั้นหนึ่ง เพื่อความสวยงามและความ ปลอดภัย 4.1.1.4.2

ขบวนรถไฟฟา (Rolling Stock)

ในปจจุบันบีทีเอสซีมีขบวนรถไฟฟาทั้งสิ้น 35 ขบวน โดยขบวนรถไฟฟาทั้งหมดผลิตโดยบริษัทซีเมนสซึ่ง ออกแบบใหใชงานกับสภาวะของกรุงเทพมหานครโดยเฉพาะ ปจจุบันขบวนรถไฟฟา 1 ขบวน ประกอบดวยตูโดยสาร จํานวน 3 ตู แตละขบวนสามารถรับผูโดยสารไดสูงสุด 1,106 คน แบงเปนผูโดยสารนั่ง 126 คน และผูโดยสารยืน 980 คน รถไฟฟ า สามารถเพิ่ ม ตู โ ดยสารขึ้ น ได เ ป น 6 ตู ต อ ขบวน ตู โ ดยสารทุ ก ตู ติ ด ตั้ ง ที่ นั่ ง จํ า นวน 42 ที่ นั่ ง และ เครื่องปรับอากาศ ตูโดยสารเชื่อมตอกันดวยทางเดินภายในขบวนรถ เพื่อใหผูโดยสารสามารถเดินระหวางขบวน รถไฟฟาได ขบวนรถไฟฟาใชมอเตอรไฟฟากระแสสลับในการขับเคลื่อน โดยจะรับกระแสไฟฟาตรงที่แรงดันไฟฟา 750 โวลต จากรางที่สาม (Third Rail System) ซึ่งวางขนานกับทางวิ่งรถไฟฟา รถไฟฟามีความเร็วเฉลี่ยในการใหบริการ รวมเวลาจอดรับ-สงผูโดยสารอยูที่ประมาณ 35 กิโลเมตรตอชั่วโมง และสามารถขับเคลื่อนดวยความเร็วสูงสุด 80 กิโลเมตรตอชั่วโมง ระบบลอใชลอชนิดที่มีการติดตั้งอุปกรณชวยลดเสียง

สวนที่ 1 หนา 31


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

เพื่อรองรับจํานวนผูโดยสารที่เพิ่มขึ้น และรองรับสวนตอขยายสายสีลมระยะทาง 2.2 กิโลเมตรจากสะพาน ตากสินสูวงเวียนใหญ ที่เริ่มเปดใหบริการในป 2552 บีทีเอสซี ไดทําการสั่งซื้อขบวนรถไฟฟาเพิ่มเติมอีก 12 ขบวน ขบวนละ 4 ตู รวมจํานวน 48 ตูโดยสาร จากซีอารซี ซึ่งเปนบริษัทผลิตรถไฟและรถไฟฟาชั้นนําในประเทศจีน โดย ขบวนรถไฟฟาที่ บีทีเอสซี สั่งซื้อนั้นจะใชอุปกรณจากยุโรปเปนหลัก ซึ่งบีซีอารซีจะทยอยนํารถไฟฟาทั้งหมดเขามา ประเทศไทยภายในเดือนมิถุนายน 2553 โดยคาดวารถไฟฟาใหมทั้งหมดจะพรอมใหบริการเชิงพาณิชยภายในเดือน ธันวาคม 2553 ทั้งนี้สาเหตุที่ บีทีเอสซีตัดสินใจเลือกซื้อขบวนรถไฟฟาเพิ่มเติมจากซีอารซีแทนที่จะซื้อจากซีเมนสนั้น เปนผลมาจากการประมูลขอเสนอทางดานราคาและเทคนิคของซีอารซี รวมทั้งเงื่อนไขเกี่ยวกับการซอมบํารุงรถไฟฟา จะเปนประโยชนตอบีทีเอสซีมากกวา 4.1.1.4.3

สถานีรถไฟฟา

ระบบรถไฟฟา บีทีเอส มีสถานียกระดับรวม 23 สถานี ทั้งสองสายนั้นมีจุดเชื่อมตอที่สถานี สยาม สถานี รถไฟฟา บีทีเอส ไดรับการออกแบบใหหลบเลี่ยงสาธารณูปโภคทั้งใตดินและบนดิน โดยที่ยังคงรักษาผิวการจราจรบน ถนนไวมากที่สุด ตัวสถานีไดรับการออกแบบใหมีโครงสรางแบบเสาเดียว มีความยาวประมาณ 150 เมตรโครงสราง ของสถานีแบงออกเปน 3 ชั้น ดวยกันคือ

ชั้น พื้นถนน เปน ชั้นลา งสุดของสถานีอยูระดับเดียวกับพื้ น ถนน ซึ่ งเปนทางเข า สูบริ เวณสํา หรับ ผูโดยสาร โดยมีทั้งบันได บันไดเลื่อน และลิฟท (บางสถานี) นําผูโดยสารไปยังชั้นจําหนายบัตร โดยสาร นอกจากนี้ ยังเปนที่เก็บอุปกรณตางๆ ไดแก เครื่องกําเนิดไฟฟา ถังเก็บน้ํามันเชื้อเพลิง ปม การสงจายน้ํา และถังเก็บน้ํา เปนตน ชั้นจําหนายบัตรโดยสาร อยูสูงกวาระดับพื้นถนน และเปนสวนที่นําผูโดยสารไปยังชั้นชานชาลา โดย พื้ น ที่สวนนี้ จะมีที่ติ ดตอสอบถาม ที่จํ า หนา ยบัตรประเภทเติม เงิ น เครื่องจํา หน า ยบั ตรโดยสาร อัตโนมัติ รานคา ตูเอทีเอ็ม รานขายอาหารเล็กๆ ชนิดนํากลับบาน รวมถึงสิ่งอํานวยความสะดวก ตางๆ ใหบริการอยู ซึ่งบริเวณนี้เปนพื้นที่สําหรับผูโดยสารที่ยังไมไดชําระคาโดยสาร เมื่อผูโดยสาร ชําระคาโดยสารแลว จึงจะสามารถเขาสูพื้นที่ชั้นใน นอกเหนือจากสวนบันไดและบันไดเลื่อนไปยัง ชานชาลาชั้นบนแลว ในสวนนี้ยังมีรานคาอีก เชน รานขายหนังสือพิมพและนิตยสาร รวมถึงพื้นที่ที่ เขาไดเฉพาะพนักงานของบีทีเอสซี เชน หองควบคุม ชั้นชานชาลา เปนชั้นที่สูงที่สุด สถานีทั่วไปจะมีชานชาลาอยูดานขาง และมีรางรถไฟฟาอยูตรงกลาง ยกเวนสถานีสยาม ซึ่งจะมีชานชาลา 2 ชั้น โดยแตละชั้น ชานชาลาจะอยูตรงกลางระหวางราง รถไฟฟาสองราง เพื่อใหผูโดยสารสามารถเปลี่ยนเสนทางโดยสารระหวาง 2 สายได

เพื่อความสะดวกของผูโดยสารที่เปนผูพิการ กทม. ไดจัดสรางลิฟตในสถานี 5 แหง ไดแก สถานีหมอชิต สยาม อโศก ออนนุช และชองนนทรี โดย บีทีเอสซี มีหนาที่ในการดูแลรักษาลิฟตดังกลาว และอยูระหวางดําเนินการ เพื่อกอสรางและติดตั้งเพิ่มเติมใหครบทุกสถานีโดยกทม. สถานีทุกสถานีของ บีทีเอสซี ไดติดตั้งระบบเตือน ปองกัน และระงับอัคคีภัย โดยเฉพาะสวนของอาคารที่มี ความเสี่ยงตออัคคีภัยสูง เชน หองเครื่องนั้น มีการติดตั้งระบบดับเพลิงอัตโนมัติดวยการฉีดน้ํา (Sprinkler System) หรือแบบใชกาซคารบอนไดออกไซด (โปรดดูรายละเอียดในหัวขอ 4.1.1.4.10 ระบบความปลอดภัย) สถานีทั้งหมดได ติดตั้งเครื่องกําเนิดไฟฟาสํารองอยูภายในสถานี นอกจากนี้ประมาณครึ่งหนึ่งของสถานีทั้งหมดจะมีสถานีรับไฟฟาเพื่อ จายใหกับรางที่สาม (Third Rail) เพื่อใชเปนพลังงานในการขับเคลื่อนรถไฟฟาอีกดวย ในแตละสถานีจะมีนายสถานีซึ่ง สวนที่ 1 หนา 32


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

บีทีเอสซี เล็งเห็นความสําคัญในการรณรงคใหนักทองเที่ยวมาใชบริการรถไฟฟา สํ าหรับการเดินทางใน กรุงเทพฯ ทาง บีทีเอสซี จึงไดใหบริการศูนยขอมูลสําหรับนักทองเที่ยวที่สถานีสยาม นานา และ สะพานตากสิน โดย นักทองเที่ยวสามารถขอบริการขอมูลเกี่ยวกับสถานที่ทองเที่ยว และการเดินทางในกรุงเทพฯ บริการของศูนยขอมูล สําหรับนักทองเที่ยวนั้นรวมไปถึงบริการลองเรือในแมน้ําเจาพระยา บริการโทรศัพททางไกล บริการอินเตอรเน็ต และ การจําหนายสินคาที่ระลึก โดยศูนยขอมูลสําหรับนักทองเที่ยวเปดทําการทุกวันตั้งแต 8.00 น. ถึง 20.00 น. สถานีตางๆ ของบีทีเอสซีมีการเชื่อมตอทางเดินเขาสูอาคารตางๆ ในแนวทางเดินรถไฟฟา ไมวาจะเปน โรงแรม ศูนยการคายานธุรกิจ โดยบีทีเอสซีไดรับคาตอบแทนจากการอนุญาตใหเชื่อมตอระหวางทางเชื่อมกับระบบ รถไฟฟาบีทีเอสจากเจาของอาคารที่ทําการเชื่อมตอกับระบบรถไฟฟาบีทีเอส โดยเจาของอาคารที่ทําการเชื่อมตอเปนผู ออกคาใชจายกอสรางและการดูแลรักษาทางเชื่อม ทั้งนี้ กทม. มีนโยบายไมใหมีการหาประโยชนเชิงพาณิชยบนทาง เชื่อมดังกลาว ตัวอยางการเชื่อมตอที่สําคัญ เชน สถานี หมอชิต อนุสาวรียชยั สมรภูมิ ราชเทวี สยาม ชิดลม

ศูนยการคา

โรงแรม

หางแฟชั่นมอลล และเซ็นจูรี่ มูวี่พลาซา

อาคาร และ อื่นๆ สถานีรถไฟฟาใตดิน อาคารอุทุมพร

โรงแรมเอเชีย สยามเซ็นเตอร เซ็นทรัลเวิลด สยามพารา กอน และดิจิตอลเกตเวย เซ็นทรัล ชิดลม เกษรพลาซา อัมรินทรพลาซา

เพลินจิต อโศก

หางโรบินสัน

พรอมพงษ ออนนุช ศาลาแดง

เอ็มโพเรีย่ ม เทสโกโลตัส สีลมคอมเพล็กซ

สนามกีฬาแหงชาติ เอกมัย

มาบุญครอง เมเจอรซีนีเพล็กซ

โรงแรมแกรนดไฮแอท เอราวัณ โรงแรมเชอราตันแกรนด  สุขุมวิท

มณียาเซ็นเตอร อาคารเวฟเพลส สถานีรถไฟฟาใตดิน อาคารไทมแสควร และ เอ็กซเชนจ ทาวเวอร

อาคารธนิยะพลาซา สถานีรถไฟฟาใตดิน หอศิลปกรุงเทพฯ อาคารณุศาศิริ

ระบบรถไฟฟา บีทีเอสยังมีการเชื่อมตอกับระบบรถไฟฟาใตดิน MRT ที่บริเวณ 3 สถานี ไดแก สถานีหมอชิต อโศก และศาลาแดง

สวนที่ 1 หนา 33


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

4.1.1.4.4

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

ระบบไฟฟา

ระบบรถไฟฟาบีทีเอสนั้นรับกระแสไฟฟาจากการไฟฟานครหลวง (“กฟน.”) จากสถานีจายกระแสไฟฟา 2 แหง คือ ที่สถานีหมอชิตและที่ซอยไผสิงหโต ระบบไดรับการออกแบบใหสามารถใชกระแสไฟฟาจากทั้ง 2 สถานี หรือ สถานีใดสถานีหนึ่งก็ได เพื่อใหระบบสามารถใหบริการไดหากสถานีจายกระแสไฟฟาสถานีใดสถานีหนึ่งไมสามารถจาย กระแสไฟฟาได อยางไรก็ตาม ตั้งแตบีทีเอสซีไดเปดใหบริการเดินรถอยางเปนทางการในเดือนธันวาคม 2542 นั้น บีทีเอสซีไมเคยตองหยุดเดินรถเนื่องจากสถานีจายกระแสไฟฟาไมสามารถจายไฟได และไมเคยมีเหตุการณที่ทั้ง 2 สถานีไมสามารถจายไฟไดในเวลาเดียวกัน นอกจากนี้ เมื่อเบรคระหวางการใหบริการปกติ ระบบขับเคลื่อนรถไฟฟา ของบี ที เ อสซี จ ะทํ า การเบรคด ว ยไฟฟ า ที่ ค วามเร็ ว สู ง ซึ่ ง จะช ว ยหน ว งให ข บวนรถไฟฟ า หยุ ด ได เ ร็ ว ขึ้ น และใน ขณะเดียวกันยังสามารถสรางกระแสไฟฟาเพื่อนํากลับมาสูระบบเพื่อใชในรถไฟฟาขบวนอื่นไดตอไป นับเปนการลด การใชไฟฟาในระบบ และลดการสึกหรอสิ้นเปลืองของระบบเบรค หากเกิดไฟฟาดับหรือกฟน.ไมสามารถจายไฟฟาไดนั้น ระบบไฟฟาสํารองจะทํางานทันที ซึ่งระบบไฟฟา สํารองนั้นไดติดตั้งไวเพื่อปองกันการสูญเสียขอมูลอิเล็กทรอนิกสที่สําคัญ ลดระยะเวลาในการกลับสูสภาพการใหบริการ ปกติและสรางความมั่นใจตอความปลอดภัยของผูโดยสาร โดยรถไฟฟาสามารถเคลื่อนไปจอด ณ สถานีที่ใกลที่สุด อยางไรก็ตามบีทีเอสซีไมเคยมีความจําเปนในการใชระบบไฟฟาสํารองดังกลาว 4.1.1.4.5

ศูนยควบคุมการเดินรถไฟฟา

ระบบรถไฟฟาบีทีเอสถูกควบคุมจากศูนยกลางซึ่งอยูที่สํานักงานใหญของบีทีเอสซีบริเวณหมอชิต โดยมี เจาหนาที่ควบคุมการเดินรถไฟฟาประจําการอยูตลอด 24 ชั่วโมง ซึ่งเจาหนาที่แตละคนจะมีเครื่องมือควบคุมการเดิน รถไฟฟา คือ แผงควบคุมคอมพิวเตอรและจอภาพควบคุม ศูนยควบคุมนี้มีหนาที่ในการควบคุมดูแลการเดินรถไฟฟาให เปนไปตามกําหนดการเดินรถไฟฟาในแตละวันและควบคุมการเดินรถไฟฟาใหเปนไปตามเสนทางที่กําหนด ศูนยควบคุมจะกําหนดระยะหางของขบวนรถไฟฟาในระบบใหมีระยะหางที่อยูในระยะปลอดภัยตลอดเวลา โดยที่ศูนยควบคุมนี้จะมีจอภาพจากระบบโทรทัศนวงจรปดที่แสดงใหเห็นถึงตําแหนงของรถไฟฟาในระบบทั้งหมด ทํา ใหการควบคุมการเดินรถเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ศูนยควบคุมยังมีวิทยุสื่อสารเพื่อใชติดตอระหวางศูนย ควบคุมกับพนักงานขับรถไฟฟาในแตละขบวน และติดตอระหวางศูนยควบคุมกับนายสถานีแตละสถานีได ซึ่งเปน ศูนยกลางในการประสานงานเพื่อแกไขปญหาที่เกิดขึ้นในระบบไดเปนอยางดี 4.1.1.4.6

ระบบอาณัติสัญญาณ (Signaling)

ระบบอาณั ติ สั ญ ญาณได ถู ก ออกแบบเพื่ อ ให ร ะบบรถไฟฟ า มี ค วามปลอดภั ย และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการ ดําเนินงาน ระบบอาณัติสัญญาณจะสงสัญญาณควบคุมผานรางรถไฟฟาไปยังรถไฟฟา และแลกเปลี่ยนขอมูลกันทั้ง 2 ทิศทาง โดยขอมูลจะถูก เชื่อมตอและสง ไปยังสถานี นอกจากนี้ยังมีการใชระบบใยแกวในการถ ายทอดขอมูลที่ไ ม เกี่ยวของกับระบบความปลอดภัยไปสูศูนยควบคุมการเดินรถไฟฟา หากเกิดเหตุขัดของ รถไฟฟาจะยังคงสามารถ ปฏิบัติงานตอไปไดในทิศทางหรือเสนทางใดเสนทางหนึ่ง โดยมีความปลอดภัยสูงสุดดวยความเร็วระดับปกติ ปจจุบัน บีทีเอสซี กําลังทําการปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพของระบบอาณัติสัญญาณ โดยไดลงนามในสัญญา กับกลุมบริษัท บอมบารดิเอร (Bombardier) เพื่อปรับเปลี่ยนระบบอาณัติสัญญาณทั้งหมดจากระบบเดิมที่ใชอยูเปน ระบบที่ทันสมัยมากขึ้นและตองการการซอมบํารุงนอยลง (โปรดดูรายละเอียดในหัวขอ 4.5: โครงการในอนาคต)

สวนที่ 1 หนา 34


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

4.1.1.4.7

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

ระบบสื่อสาร (Communication System)

การสื่อสารของระบบรถไฟฟาจะติดตอผานโทรศัพท วิทยุ อินเตอรคอม ระบบโทรทัศนวงจรปด และระบบ กระจายเสียงสาธารณะ การสื่อสารหลักจะกระทําผานระบบใยแกวนําแสงโดยจะมีโทรศัพทติดตั้งอยูในบริเวณสําคัญทุก จุดและจะมีอินเตอรคอมในรถไฟฟาเพื่อใหผูโดยสารสามารถติดตอกับพนักงานขับรถไดในกรณีฉุกเฉิน สําหรับระบบ กระจายเสียงสาธารณะสามารถทําไดหลายรูปแบบ เชน จากสถานีควบคุมถึงชานชาลา และจากพนักงานขับรถถึง ผูโดยสาร 4.1.1.4.8

ระบบบัตรโดยสารและประเภทของบัตรโดยสาร

ระบบจัดเก็บคาโดยสารอัตโนมัติของระบบรถไฟฟาบีทีเอสอยู ภายใตการควบคุมของระบบคอมพิวเตอร ศูนยกลางประกอบดวยอุปกรณประตูอัตโนมัติ ซึ่งสามารถรองรับบัตรโดยสารไดทั้งบัตรแถบแมเหล็ก และบัตรสมารท การดแบบไรสัมผัส (Contactless Smartcard) เมื่อผูโดยสารเขาสูระบบ ผูโดยสารตองแสดงบัตรโดยสารที่เครื่องอาน บัตร ระบบจะบันทึกสถานีและเวลาที่ผูโดยสารเขาสูระบบ โดยบันทึกเปนรายการเพื่อสงเขาระบบบัญชีและระบบขอมูล สารสนเทศดานการดําเนินงานทันที ขอมูลการใชบัตรโดยสารแบบเติมเงินจะถูกเก็บไวในคอมพิวเตอรศูนยกลางของ ระบบ เพื่อใหสามารถระงับเหตุการณผิดปกติไดทันทวงที เชน การปลอมแปลงบัตรหรือการนําบัตรโดยสารแบบเติม เงินไปใชในทางที่ผิด ณ ปจจุบัน บีทีเอสซีมีประเภทของบัตรโดยสารดังตอไปนี้

ประเภทบัตร บัตรประเภทเที่ยวเดียว (Single Journey Ticket) คาโดยสารแตกตางกันตามจํานวนสถานีโดยคา โดยสารอยูระหวาง 15-40 บาท บัตรประเภทเติมเงิน บัตรประเภท 30 วัน (30 Day Smart Pass) สําหรับบุคคลทั่วไป บัตรมีการกําหนดจํานวนเที่ยวที่ สามารถใชไดโดยไมจํากัดระยะทาง อายุการใชงาน 30 วัน บัตรประเภท 30 วัน (30 Day Smart Pass) สําหรับนักเรียน นักศึกษา บัตรมีการกําหนดจํานวนเที่ยว ที่สามารถใชไดโดยไมจํากัดระยะทาง อายุการใชงาน 30 วัน บัตรประเภท 1 วัน (One Day Pass) เปนบัตรโดยสารไมจํากัดเที่ยวการเดินทางใน 1 วัน

4.1.1.4.9

งวดปบัญชี 2553 สัดสวนรายได (รอยละ) 49.7 16.3 26.3 6.1 1.6

การประกันภัย

บีทีเอสซี มีกรมธรรมประกันวินาศภัยระบบรถไฟฟา บีทีเอส ประเภทที่ครอบคลุมความเสียหายที่เกิดตอ บุคคลที่สาม (Third Party) และความเสียหายที่เกิดจากสินคา (General Third Party Liability and Product Liability Insurance) และประกันภัยความเสียหายตอทรัพยสินของ บีทีเอสซี ความเสียหายตอเครื่องจักร และความเสียหายใน กรณีธุรกิจหยุดชะงัก (Property “All Risks”, Machinery Breakdown and Business Interruption Insurance) ซึ่ง เปนไปตามขอกําหนดในสัญญาสัมปทาน รวมทั้งมีประกันภัยสําหรับภัยจากการกอการราย (Property Terrorism Insurance) โดย บีทีเอสซี มีนโยบายในการทํากรมธรรมประกันภัยเหลานี้อยางตอเนื่อง ยกเวนประกันภัยสําหรับภัย จากการกอการราย ซึ่งจะทําการประเมินสถานการณปตอป ทั้งนี้ผูไดรับผลประโยชนหลักคือ กทม. และ บีทีเอสซี

สวนที่ 1 หนา 35


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

รายละเอียดเกี่ยวกับวงเงินประกันภัย มีดังนี้ 1

2

ประเภทของประกันภัย 1.1 ประกันภัยความเสียหายที่เกิดตอบุคคลที่สาม (General Third Party Liability) 1.2 ประกันความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคา (Product Liability) 2.1 ประกันภัยความเสียหายตอทรัพยสิน (Property “All Risks”) 2.2 ประกันภัยความเสียหายตอเครื่องจักร (Machinery Breakdown) 2.3 ประกันภัยในกรณีธุรกิจหยุดชะงัก (Business Interruption) (1) กรณีทเี่ กิดจาก 2.1 ขางตน (2) กรณีทเี่ กิดจาก 2.2 ขางตน

3

ประกันภัยสําหรับภัยจากการกอการราย (Property Terrorism)

วงเงินประกันภัย 25,000,000 เหรียญสหรัฐ (สําหรับแตละและทุกๆ เหตุการณ) 25,000,000 เหรียญสหรัฐ (สําหรับแตละและทุกๆ เหตุ การณ และรวมกันทั้งหมด) 250,000,000 เหรียญสหรัฐ (สําหรับแตละและทุกๆ เหตุการณ) 25,000,000 เหรียญสหรัฐ (สําหรับแตละและทุกๆ เหตุการณ)

(1) 93,500,000 เหรียญสหรัฐ (สําหรับแตละและทุกๆ เหตุการณ) (2) 25,000,000 เหรียญสหรัฐ (สําหรับแตละและทุกๆ เหตุการณ) 10,000,000 เหรียญสหรัฐ (สําหรับแตละและทุกๆ เหตุ การณ และรวมกันทั้งหมด)

4.1.1.4.10 ระบบความปลอดภัย นับตั้งแตบีทีเอสซีไดเปดใหบริการเดินรถอยางเปนทางการเมื่อธันวาคม 2542 บีทีเอสซีไดใหบริการผูโดยสาร มากกวา 1,160 ลานเที่ยวโดยไมมีการเสียชีวิตหรือการบาดเจ็บสาหัส บีทีเอสซีตั้งใจเสมอมาในการใชกฎระเบียบดาน ความปลอดภัยในระบบอยางเครงครัด รถไฟฟาทุกขบวนและสถานีรถไฟฟาทุกสถานีมีอุปกรณสําหรับภาวะฉุกเฉิน นอกจากนี้บี ทีเ อสซีมี คูมื อปฏิบั ติก าร กฎระเบีย บ และแนวทางการปฏิ บัติ สํ า หรับ รองรั บ เหตุ ก ารณ ฉุก เฉิ น ใหแ ก ผูโดยสารที่ตองการทุกราย บีทีเอสซีไดทดลองระบบเปนระยะเวลามากกวา 6 เดือนกอนเปดใหบริการเดินรถอยางเปน ทางการ เพื่อทดสอบใหแนใจวาไมมีขอบกพรองในระบบความปลอดภัย และตั้งแตบีทีเอสซี ไดเปดใหบริการเดินรถ บีทีเอสซี ไดจัดใหมีการอบรมพนักงานและซักซอมระบบความปลอดภัยอยางสม่ําเสมอ รถไฟฟ า ทุ ก ขบวนนั้ น ควบคุ ม ด ว ยพนั ก งานขั บ รถ 1 คน ซึ่ ง สามารถเลือ กบั ง คั บ รถด ว ยระบบขับ เคลื่ อ น อัตโนมัติ (Automatic Train Operation: ATO) หรือระบบควบคุมดวยพนักงานขับรถ (Supervised Manual: SM) โดย ปกติแลว รถไฟฟาจะขับเคลื่อนภายใตระบบ ATO ซึ่งจะควบคุมการเดินรถตลอดเวลา ภายใตระบบนี้ พนักงานขับรถมี หนาที่เพียงควบคุมการปดประตูและสั่งการออกรถ เพื่อใหแนใจวาผูโดยสารขึ้นขบวนรถกอนประตูรถปด ในชั่วโมง เรงดวน ระบบ ATO จะปรับรูปแบบการวิ่งเพื่อใหสามารถรองรับปริมาณผูโดยสารไดสูงสุด ในขณะที่นอกเวลาเรงดวน ระบบ ATO จะปรับรูปแบบการวิ่งเพื่อลดการใชพลังงาน อยางไรก็ตามรถไฟฟาทุกขบวนไดมีการติดตั้งระบบปองกันรถไฟฟาอัตโนมัติ (Automatic Train Protection: ATP) เพื่อใหเกิดความปลอดภัยตลอดเวลาที่รถไฟฟาปฏิบัติการ โดยระบบ ATP จะควบคุมความปลอดภัยของการ ขับเคลื่อนทั้งแบบ ATO และ SM ซึ่งหากเกิดเหตุการณที่อาจกอใหเกิดอันตราย ระบบ ATP จะเขาควบคุมรถและสั่ง หยุดรถไฟฟาโดยอัตโนมัติ ในกรณีฉุกเฉิน รถไฟฟาจะถูกควบคุมดวยระบบขับเคลื่อนอยางจํากัด (Restricted Manual: RM) ซึ่ ง ภายใต ร ะบบนี้ ความเร็ ว ของรถไฟฟ า จะถู ก จํ า กัด ที่ ไ ม เ กิน 25 กิโ ลเมตรต อ ชั่ว โมง ในเหตุ ก ารณ ฉุก เฉิ น สวนที่ 1 หนา 36


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

สถานีรถไฟฟา ทุก สถานีไ ดสรางขึ้นโดยคํา นึงถึงความปลอดภัยของผูโดยสารเปน หลัก และไดสรางตาม มาตรฐานความปลอดภัยอยางเครงครัดรวมถึงไดมีการออกแบบใหมีทางออกฉุกเฉิน มีระบบกระจายเสียงสําหรับ ประกาศภาวะฉุกเฉิน ระบบปองกันอัคคีภัยตามมาตรฐาน (National Fire Protection Association: NFPA) และมีการ ติดตั้งสายลอฟา นอกจากนี้ทุกสถานียังติดตั้งระบบโทรทัศนวงจรปด ระบบควบคุมกลางสําหรับการควบคุมลิฟท และ บันไดเลื่อนในสถานี ซึ่งระบบควบคุมจากศูนยกลางสามารถควบคุมรถไฟฟา และประตูรถไฟฟาในเหตุการณฉุกเฉินได มอเตอรขับเคลื่อนของรถไฟฟานั้นมีกําลังสูงพอที่รถไฟฟาที่บรรทุกผูโดยสารเต็มคันจะสามารถลาก หรือดัน รถไฟฟาอีกคันที่บรรทุกผูโดยสารเต็มขบวนไปยังสถานีที่ใกลที่สุดเพื่อทําการขนถายผูโดยสารลงไดเมื่อระบบเกิด เหตุขัดของ เมื่อเกิดไฟฟาดับรถไฟฟาจะมีระบบไฟฟาสํารองเพื่อใหระบบที่เกี่ยวของกับความปลอดภัยยังทํางานตอได 4.1.1.4.11

ระบบปองกันอัคคีภัย

เนื่องจากระบบรถไฟฟาบีทีเอสเปนระบบลอยฟาและเปนระบบเปด ผูโดยสารจึงมีความเสี่ยงตออัคคีภัยหรือ ควันไฟต่ํากวาระบบปดบีทีเอสซีไดทําการออกแบบระบบปองกันอัคคีภัยตามมาตรฐานของ NFPA โดยไดติดตั้งระบบ ฉีดน้ําที่อาคารสํานักงานและศูนยซอมบํารุงตางๆ และยังไดทําการติดตั้งปมน้ําเพิ่มกําลังและถังเก็บน้ําสํารองไวดวย บีทีเอสซียังไดติดตั้งตูดับเพลิง (Fire Hose Cabinet) หัวจายน้ําดับเพลิง พรอมทั้งถังดับเพลิงชนิดมือตามจุดตางๆ ของ สถานี ในบริเวณที่น้ําอาจทําใหอุปกรณตางๆ เสียหายได บีทีเอสซีไดติดตั้งอุปกรณดับเพลิงชนิดกาซแทน นอกจากนี้ บีทีเอสซีก็ไดติดตั้งระบบสัญญาณเตือนอัคคีภัย ทั้งที่ใชมือดึงและอัตโนมัติไวทั่วบริเวณศูนยซอมรถ และสถานี 4.1.1.4.12

สัญญาซอมบํารุง

งานซอมบํารุงตางๆ นั้น ในขณะนี้ซีเมนสเปนผูใหบริการ ดวยพนักงานของซีเมนสเอง ตามที่บีทีเอสซีไดลง นามในสัญญาซอมบํารุงกับซีเมนส เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2547 อยางไรก็ตาม บีทีเอสซีไดจัดใหมีพนักงานของบีทีเอสซี ทํางานรวมกับซีเมนสดวย เพื่อใหบีทีเอสซีสามารถดูแลรักษาและซอมบํารุงเองได หากบีทีเอสซีเลือกที่จะไมตออายุ สัญญาซอมบํารุงกับซีเมนส ขอบเขตการบริการของซีเมนสภายใตภายใตสัญญาดังกลาวรวมถึง

งานซอมบํารุงสําหรับระบบไฟฟาและเครื่องกล งานซอมบํารุงใหญและการเปลี่ยนอุปกรณตางๆ ตามแผนการที่วางไว (planned overhauls and asset replacements) การเปลี่ยนอุปกรณที่ไมไดมีการวางแผนไวลวงหนา (unplanned asset replacements)

สําหรับงวดปบัญชี 2553 บีทีเอสซีจายคาจางงานซอมบํารุงสําหรับระบบไฟฟาและเครื่อ งกล และคา จา ง สําหรับงานซอมบํารุงใหญและการเปลี่ยนอุปกรณตามแผนการที่วางไวเปนเงินจํานวน 345.6 ลานบาท และ 59.3 ลาน บาท (ตอป) ตามลําดับ ซึ่งจะจายเปนรายเดือนตามระยะทางที่รถไฟฟาวิ่ง ในอัตราที่ไดระบุไวลวงหนาใหแกซีเมนส ซึ่ง สวนที่ 1 หนา 37


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

ภายใตเงื่อนไขและหลักเกณฑในสัญญาดังกลาวซีเมนสจะจายเงินชดเชยในปสัญญา (Contract year) ใดก็ ตามไมเกินรอยละ 5 ของคาธรรมเนียมการซอมบํารุงรายป หากระบบไฟฟาและเครื่องกลเกิดการขัดของสงผลใหผล การดําเนินงานไมเปนไปเงื่อนไขที่ระบุไว สัญญาซอมบํารุงกับซีเมนสมีผลตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2548 และจะหมดอายุในวันที่ 30 ธันวาคม 2557 บีทีเอสซี สามารถรองขอตออายุสัญญาดังกลาวไดอีก 10 ป ภายใตขอกําหนดและเงื่อนไขเดิม (ยกเวนขอบเขตของการ ใหบริการและคาธรรมเนียมการซอมบํารุง ซึ่งทั้งสองฝายจะตกลงรวมกันอีกครั้งหนึ่ง) โดยแจงความประสงคดังกลาวให ซีเมนสทราบเปนหนังสือลวงหนาอยางนอย 12 เดือนกอนวันหมดอายุของสัญญา และคูสัญญาทั้งสองฝายจะตองเขาทํา สัญญาฉบับใหมกอนครบกําหนดอายุของสัญญาไมนอยกวา 6 เดือน กําหนดการซอมบํารุงในแตละปจะถูกกําหนดไวลวงหนาตามสัญญาซอมบํารุง และจะมีการวางแผนจัดเตรียม จํานวนขบวนรถไฟฟาใหเพียงพอกับการใหบริการผูโดยสารปกติ นอกจากนี้ บีทีเอสซีมีกําหนดการปรับปรุงครั้งใหญ (Overhaul) ทุกประมาณ 7-8 ป โดยจะทยอยทําการซอมแซมรถไฟฟาเพื่อไมใหกระทบตอการใหบริการ ทั้งนี้ การ ปรับปรุงครั้งใหญแตละรอบจะใชเวลาประมาณ 2 ป โดยบีทีเอสซีไดจัดทําการปรับปรุงครั้งใหญครั้งแรกเมื่อตนป 2549 ซึ่งแลวเสร็จในปลายป 2551 การปรับปรุงครั้งใหญนั้นไมสงผลกระทบตอการใหบริการแตอยางใด ทั้งนี้ ขอบเขตการใหบริการภายใตสัญญาซอมบํารุงนี้จะไมครอบคลุมถึงรถไฟฟาจํานวน 12 ขบวนที่สั่งซื้อ เพิ่มเติมจากซีอารซีซึ่งพนักงานของบีทีเอสซีจะทําหนาที่เปนผูใหบริการดูแลรักษาและซอมบํารุงรถไฟฟา 12 ขบวนที่ สั่งซื้อเพิ่มเติมดังกลาวเอง โดยตามสัญญาซื้อรถไฟฟาจํานวน 12 ขบวนดังกลาว ซีอารซีจะตองทําการฝกอบรมใหแก พนักงานของบีทีเอสซี สําหรับการจัดการและดูแลรักษาระบบตางๆ ของรถไฟฟาใหเสร็จสิ้นภายใน 1 เดือนกอนรับมอบ รถไฟฟางวดแรก และการฝกอบรมสําหรับการจัดการและดูแลรักษาใหญ (Overhaul) ภายในระยะเวลา 18 เดือน ภายหลังการรับมอบรถไฟฟางวดแรกแลว 4.1.2

รถโดยสารประจําทางดวนพิเศษ (Bus Rapid Transit: BRT)

รถโดยสารประจําทางดวนพิเศษ (Bus Rapid Transit: บีอารทีหรือ BRT) เปนโครงการที่กทม. ริเริ่มในสมัยที่ นายอภิรักษ โกษะโยธิน เปนผูวาราชการกรุงเทพมหานคร เพื่อใหบริการรถโดยสารประจําทางซึ่งสามารถใหบริการได อยางรวดเร็วกวารถโดยสารประจําทางทั่วไป โดยการจัดชองทางพิเศษโดยเฉพาะสําหรับบีอารที บีอารทีใหบริการครอบคลุม 12 สถานี เปนระยะทาง 15 กิโลเมตร จากบริเวณชองนนทรี ถนนนราธิวาสราช นครินทร ขามสะพานกรุงเทพ ไปจนถึงบริเวณถนนราชพฤกษ ดังแผนที่ดานลาง ที่สถานีเริ่มตนของบีอารทีนั้น มีทาง เชื่อมตอกับสถานีชองนนทรีของบีทีเอสซี ระบบบีอารทีนั้น กทม. เปนผูลงทุนกอสรางทางวิ่งและสถานีทั้งหมด โดยจาง เอกชนเปนผูบริหาร จัดหารถโดยสาร ใหบริการเดินรถ และบริหารสถานี ซึ่งการกอสรางทางวิ่งและสถานีเหลานี้เสร็จ สิ้นเกือบทั้งหมดแลว และไดเริ่มทดลองใหบริการในวันที่ 29 พฤษภาคม 2553

สวนที่ 1 หนา 38


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

1. สถานีสาทร 2. สถานีอาคารสงเคราะห 12. สถานีราชพฤกษ 3. สถานีเย็นอากาศ 4. สถานีถนนจันทน

5. สถานีนราราม3 11. สถานีสะพานพระราม 3 10. สถานีเจริญราษฎร 9. สถานีสะพานพระราม 9 8. สถานีวัดดอกไม 7. สถานีวัดปริวาส

6. สถานีวัดดาน

บีทีเอสซีไดรับเลือกจาก กทม.ใหเปนผูบริหารระบบบีอารทีทั้งในสวนการเดินรถ และการบริหารสถานี เมื่อ วันที่ 10 กุมภาพันธ 2553 กรุงเทพธนาคมไดเขาทําสัญญาวาจางบีทีเอสซีในสัญญาจางผูเดินรถพรอมจัดหารถโดยสาร ประจําทางดวนพิเศษ (BRT) สายชองนนทรี – ราชพฤกษ กทม. เปนผูไดรับรายไดจากคาโดยสารบีอารทีทั้งหมด ในขณะที่บีทีเอสซีจะไดรับคาตอบแทนสําหรับการ ใหบริการเดินรถพรอมจัดหารถจาก กทม. ผานกรุงเทพธนาคม เปนเงินจํานวนทั้งหมด 535 ลานบาท ตลอดอายุสัญญา โดยไมขึ้นกับจํานวนผูโดยสาร โดยในปแรกๆ บีทีเอสซีจะไดรับคาตอบแทนประมาณ 55 ลานบาทตอป ทั้งนี้อาจมีการ ปรับไดตามเงื่อนไขที่ระบุไวในสัญญา สัญญานี้มีอายุ 7 ปเริ่มจากวันที่เริ่มการใหบริการเดินรถ ทั้งนี้ตามสัญญาจางผู เดินรถพรอมจัดหารถ บีทีเอสซีจะเปนผูชําระคาใชจายในการดําเนินงาน คาซอมบํารุงและเงินลงทุนในการซื้อรถ โดยสารประจําทางดวย ซึ่งบีทีเอสซี ไดสั่งซื้อรถโดยสาร จํานวน 25 คัน จากผูผลิตชั้นนําในประเทศจีน บีทีเอสซีคาดวา จะใชเงินลงทุนทั้งหมดในการซื้อรถประมาณ 187 ลานบาท รถโดยสารที่สั่งซื้อนั้น เปนรถโดยสารปรับอากาศซึ่งใชกาซ NGV เปนเชื้อเพลิง และมีคุณลักษณะเฉพาะสูงกวารถโดยสารทั่วไปที่ใชอยูในประเทศไทย นอกจากสัญญาวาจางผูเดินรถพรอมจัดหารถแลว เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2553 บีทีเอสซีไดลงนามในสัญญา จางผูบริหารสถานีบีอารทีกับกรุงเทพธนาคมมูลคาประมาณ 737 ลานบาท มีอายุสัญญา 7 ป นับจากวันเริ่มเปด ตาม สัญญาดังกลาว บีทีเอสซีจะไดรับคาจางในการใหบริการตามสัญญา และยังมีโอกาสที่จะไดบริหารพื้นที่โฆษณาบน สถานีบีอารทีดวย นอกเหนือจากรายไดที่จะไดรับจากการรับจางเดินรถและบริหารสถานีนั้น บีทีเอสซีคาดวาระบบรถไฟฟาบีที เอสจะไดรับผลประโยชนจากโครงการบีอารทีซึ่งจะชวยเพิ่มความสะดวกใหผูโดยสารที่จะเขามาใชบริการระบบรถไฟฟา บีทีเอส จากเสนทางบีอารทีซึ่งผานแหลงที่อยูอาศัยและยานธุรกิจที่มีประชากรหนาแนนและการจราจรติดขัด และยัง เชื่อมตอโดยตรงกับสถานีชองนนทรีอีกดวย ทําใหผูโดยสารไดรับความสะดวกสบายมากขึ้น จึงนาจะชวยเพิ่มจํานวน ผูโดยสารในระบบรถไฟฟา บีทีเอสได นอกจากนี้ บีทีเอสซีเห็นโอกาสในการใหเชาพื้นที่โฆษณาบนรถโดยสารและบน สถานี สวนที่ 1 หนา 39


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

กทม. ยังมีแผนการขยายการดําเนินการบีอารทีอีก 2 เสนทาง คือ สายหมอชิต ไปยังศูนยราชการ ซึ่งตั้งอยู บนถนนแจงวัฒนะ ระยะทาง 13.5 กม. มีสถานีจํานวน 7 สถานี และสายชองนนทรี ไปยังประชาอุทิศ ระยะทาง 19.5 กม. มีสถานีจํานวน 7 สถานี เนื่องจากทั้ง 2 เสนทางสามารถเชื่อมตอกับสถานีของระบบรถไฟฟาบีทีเอสได บีทีเอสซีจึง มีความสนใจในโครงการเหลานี้ และจะไดติดตามพัฒนาการของโครงการทั้งสองอยางใกลชิด เพื่อพิจารณาโอกาสที่จะ รับเปนผูเดินรถและจัดหารถโดยสารของโครงการดังกลาว ซึ่งจะตองพิจารณารายละเอียดตางๆ ความเหมาะสมของ โครงการ รวมถึงผลตอบแทนของโครงการตอไป 4.1.3

ภาวะอุตสาหกรรมของระบบขนสงในกรุงเทพฯ

กรุงเทพฯ เปนเมืองหลวงของประเทศไทย มีพื้นที่รวมทั้งหมด 1,562.2 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรอาศัย อยูอยางหนาแนน ปจจุบันการเดินทางในกรุงเทพฯ ถือไดวาเปนปญหาหลักที่เกิดขึ้น เนื่องจากความหนาแนนของ ประชากรและระบบขนสงมวลชนที่ไมครอบคลุมเพียงพอ ณ สิ้นป 2551 จํานวนประชากรที่อาศัยอยูในกรุงเทพฯเฉพาะ ตามสํามะโนประชากร มีจํานวน 5.7 ลานคน และอาจสูงถึงประมาณ 7 ลานคน หากนับรวมจํานวนประชากรแฝง (ประชากรที่อาศัยอยูโดยมิไดมีรายชื่อในทะเบียนบาน) จํานวนประชากรดังกลาวมีการเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง สงผลตอการเพิ่มอุปสงคของระบบขนสงภายในกรุงเทพฯ อันกอใหเกิดความตองการในการพัฒนาระบบขนสงมวลชนใหมีประสิทธิภาพในทายที่สุด จํานวน และ อัตราการเติบโตของประชากรอาศัยอยูกรุงเทพฯ ณ 31 ธันวาคม หนวย : คน 2547 2548 2549 2550 ประชากรกรุงเทพฯ 5,634,132 5,658,953 5,695,956 5,716,248 อัตราการเติบโต (รอยละ) 0.4 0.7 0.4

2551 5,710,883 (0.0)

ที่มา: กระทรวงมหาดไทย

พื้ น ที่ ใ นสายทางของระบบรถไฟฟ า บี ที เ อสซึ่ ง ส ว นใหญ อ ยู ภ ายในบริ เ วณย า นศู น ย ก ลางธุ ร กิ จ (Central Business District ที่รวมถึงพื้นที่ถนนสีลม สาทร สุรวงศ พระราม 4 เพลินจิต วิทยุ สุขุมวิทตอนตน และอโศก) มีการ เติบโตอยางตอเนื่อง โดยจะเห็นไดจากอัตราการเติบโตของอุปทานของคอนโดมิเนียมในใจกลางกรุงเทพฯ (พื้นที่ใจ กลางกรุงเทพฯ รวมถึงพื้นที่ภายในยานศูนยกลางธุรกิจ ถนนสุขุมวิทตอนปลายและถนนพระราม 3) โดยอัตราการ เติบโตในป 2552 ยังคงอยูในระดับสูง จึงนาจะเปนประโยชนตอระบบรถไฟฟาบีทีเอสที่ใหบริการครอบคลุมพื้นที่ภายใน ยานศูนยกลางธุรกิจ (Central Business District) จํานวน และ อัตราการเติบโตของคอนโดมิเนียมในใจกลางกรุงเทพฯ ณ 31 ธันวาคม หนวย : ยูนิต 2547 2548 2549 2550 2551 2552 คอนโดมิเนียม 38,148 42,878 46,548 51,270 56,269 65,067 อัตราการเติบโต (รอยละ) 12.4 8.6 10.1 9.8 15.6 ยานศูนยกลางธุรกิจ 3,505,647 3,530,147 3,655,933 3,721,960 3,858,715 3,906,015 อัตราการเติบโต (รอยละ) 0.7 3.6 1.8 3.7 1.2 นอกยานศูนยกลางธุรกิจ 3,679,529 3,679,529 3,806,509 3,828,809 3,938,420 4,077,420 อัตราการเติบโต (รอยละ) 0.0 3.5 0.6 2.9 3.5 รวมพื้นที่ 7,185,176 7,209,676 7,462,502 7,550,769 7,797,135 7,983,435 ที่มา: ซีบี ริชารด เอลลิส ประเทศไทย ณ ธันวาคม 2552

สวนที่ 1 หนา 40


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

4.1.3.1 ระบบรถไฟฟา ถึงแมวาจะมีการลงทุนพัฒนาโครงการการใหบริการรถไฟฟาทั้งบนดินและใตดินมากกวา 10 ปแลว กรุงเทพฯ ก็ยังคงมีสัดสวนระยะทางของระบบรถไฟฟาตอจํานวนประชากรเพียง 8.0 กิโลเมตรตอประชากร 1 ลานคน ซึ่งถือวา เปนอัตราที่ต่ํามากเมื่อเทียบกับระบบรถไฟฟาของประเทศสิงคโปร และ ฮองกง แสดงใหเห็นวาอัตราการเขาถึงบริการ ระบบรถไฟฟาของประชากรในกรุงเทพฯ ยังคงต่ํามาก ดังนั้นโอกาสในการขยายระบบรถไฟฟาใหเที ยบเท าหรือ สอดคลองกับมาตรฐานของประเทศดังกลาวยังคงมีสูง

ฮองกง (MRT) สิงคโปร (SMRT) กรุงเทพฯ (BTS & MRT)

รายละเอียดระบบรถไฟฟาของเมืองในประเทศสําคัญ ประชากร ความยาว ขนาดของเมือง ความยาวของระบบ ขนาดของเมืองตอ (ลานคน) ของระบบ (กิโลเมตร2) รถไฟฟาตอ ความยาวของระบบ (กิโลเมตร) ประชากร รถไฟฟา (กิโลเมตร2/ กิโลเมตร) 1 ลานคน(กิโลเมตร) 7.0 209.9 1,104.4 30.0 5.3 5.0 118.9 710.3 23.8 6.0 5.7 45.7 1,568.7 8.0 34.3

ที่มา: ขอมูลบริษัท MTR Corporation Limited, SMRT Corporation Limited, บริษัท รถไฟฟากรุงเทพ จํากัด (มหาชน), บริษัท ระบบขนสงมวลชน กรุงเทพ จํากัด (มหาชน) และ สํานักงานสถิติ ฮองกง และ สิงคโปร ณ ธันวาคม 2552

การใหบริการรถไฟฟาตอจํานวนประชากรของกรุงเทพฯ ยังคงอยูในระดับต่ําเมื่อเทียบกับฮองกง และสิงคโปร เนื่องจากระบบรถไฟฟาในกรุงเทพฯ ยังคงไมครอบคลุมพื้นที่ใหบริการที่มากเพียงพอ ซึ่งทําใหการเดินทางโดยระบบ รถไฟฟ า ไมสะดวกเมื่อเทีย บกับฮ องกง และสิ ง คโปร ความไมค รอบคลุ ม พื้น ที่ใ ห บริก ารที่ ม ากเพี ย งพอของระบบ รถไฟฟานั้นเปนหนึ่งในเหตุผลที่ของจํานวนผูโดยสารของระบบยังคงต่ําอยู ในปพ.ศ. 2552 รัฐบาลโดยสํานักงานนโยบายและแผนการขนสงและจราจร (สนข.) ไดจัดทําโครงการศึกษา ปรับแผนแมบทระบบขนสงมวลชนทางรางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล หรือที่มีชื่อเรียกวา “M-MAP” โดย จัดทําแผนงานโครงขายรถไฟฟาในระยะ 20 ป (พ.ศ. 2553 – 2572) แบงเปน 2 ระยะไดแก แผนโครงขายระยะ 10 ป (2553 – 2562) และแผนโครงขายระยะ 20 ป (2563 – 2572) ที่หากดําเนินการแลวเสร็จจะมีระยะทางของเสนทางรวม 362.5 ก.ม. และ 487 ก.ม. ตามลําดับ (ปจจุบันเสนทางรถไฟฟาที่กอสรางแลวเสร็จประมาณ 43.5 ก.ม.) นอกจากนี้ รัฐบาลยังไดมีนโยบายสําหรับการกระตุนเศรษฐกิจและแกไขปญหาการเดินทางในกรุงเทพฯ โดยมี แผนการลงทุนในโครงการระบบขนสงรถไฟฟาที่มีความชัดเจนมากขึ้น ซึ่งแผนการลงทุนนี้เปนสวนหนึ่งของโครงการ ลงทุนขนาดใหญของภาครัฐ หรือ เมกะโปรเจค (Mega Project) 4.1.3.2 ระบบขนสงมวลชนอื่นๆ ในกรุงเทพฯ จํานวน และ อัตราการเติบโตของรถที่จดทะเบียนในกรุงเทพฯ ในป หนวย : คัน 2547 2548 2549 2550 รถที่จดทะเบียน 4,288,468 4,899,969 5,557,111 5,715,078 อัตราการเติบโต (รอยละ) 14.3 13.4 2.8 ที่มา: ฝายสถิติ กลุมวิชาการและวางแผน สํานักจัดระบบการขนสงทางบก กรมการขนสงทางบก

สวนที่ 1 หนา 41

2551 5,911,696 3.4


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

หากพิจารณารูปแบบการเดินทางของประชาชนกรุงเทพฯ อาจแบงออกไดเปน 2 รูปแบบหลักๆ ไดแก การ เดินทางโดยยานพาหนะสวนบุคคลและการเดินทางโดยระบบขนสงสาธารณะ ทั้งนี้ระบบขนสงสาธารณะหลักที่จัดอยูใน บริการขนสงมวลชน รองรับการเดินทางของประชาชนกรุงเทพฯ ปจจุบันไดแก รถโดยสารประจําทาง ในอดีตที่ผานมากระทั่งถึงปจจุบัน การเดินทางโดยรถโดยสารประจําทางในกรุงเทพฯ และปริมณฑลคอนขาง จะมีขอจํากัด เนื่องจากตองใชเสนทางถนนในการสัญจรรวมกับรถยนตสวนบุคคล ซึ่งตองเผชิญกับสภาพการจารจร ติดขัด โดยเฉพาะในชวงชั่วโมงเรงดวน หากพิจารณาการเพิ่มระยะทางของถนนในเขตกรุงเทพ พบวา ตั้งแตป 2548 จํานวนระยะทางของถนนใน กรุงเทพฯ มิไดมีการเพิ่มเติมอยางมีนัยสําคัญ ในทางกลับกันจํานวนรถที่จดทะเบียนในกรุงเทพฯ กลับเพิ่มขึ้นอยาง ตอเนื่องตั้งแตป 2547 จากความแตกตางระหวางอุปสงคของผูใชระบบคมนาคมที่พึ่งพาถนนและอุปทานของถนนใน กรุงเทพฯ ทําใหปญหาการจราจรทวีคูณขึ้น ซึ่งปจจัยดังกลาวเปนปจจัยที่สําคัญในการชวยใหจํานวนผูโดยสารของ ระบบรถไฟฟาบีทีเอสสามารถเพิ่มขึ้นไดในอนาคต ตามการเปลี่ยนพฤติกรรมของผูเดินทางที่หันมาใชทางเลือกที่ รวดเร็วและสะดวกขึ้น จํานวน และ อัตราการเติบโตของจํานวนผูโดยสารเฉลี่ยตอวันในเขตกรุงเทพฯ ในป หนวย : คนตอวัน 2547 2548 2549 2550 รถโดยสาร ขสมก.ธรรมดา 1,168,055 830,792 766,545 932,947 รถโดยสาร ขสมก.ปรับอากาศ 902,926 1,124,345 999,846 747,805 รวมรถโดยสารประจําทาง 2,070,981 1,955,137 1,766,391 1,680,752 อัตราการเติบโต (รอยละ) (6.0) (10.0) (5.0) รถไฟ 137,611 134,457 121,144 123,656 อัตราการเติบโต (รอยละ) (2.0) (10.0) 2.0 รถไฟใตดิน 73,263 156,720 158,428 163,523 (1) อัตราการเติบโต (รอยละ) n.m. 1.1 3.2 (2) รถไฟฟา 316,070 348,904 383,695 361,837 อัตราการเติบโต (รอยละ) 10.4 10.0 (5.7)

2551 894,937 708,241 1,603,178 (4.6) 131,055 6.0 162,099 (0.9) 373,562 3.2

ที่มา: กระทรวงคมนาคม โดยนําขอมูลมาเฉลี่ยตามจํานวนวันปฏิทินซึ่งเทากับ 365 วันตอป (1) เปดดําเนินการเมื่อ 3 กรกฎาคม 2547 (2) สําหรับเดือน มกราคม ถึง ธันวาคม

นอกจากนี้ การเดินทางโดยรถโดยสารประจําทางยังตองเผชิญกับสภาพการจราจรที่ติดขัดมากขึ้นโดยเฉพาะ ในชั่วโมงเรงดวน ระบบขนสงประเภทรถประจําทาง ขสมก.ในเขตกรุงเทพฯ จึงมีอัตราความเร็วเฉลี่ยอยูในเกณฑต่ํา จํานวนผูใชบริการรถโดยสารประจําทางรวมลดลงจาก 2.0 ลานคนตอวันในป 2547 เปน 1.6 ลานคนตอวันในป 2551 หรือลดลงกวารอยละ 22.6 ทั้งนี้ทางเลือกอื่น เชน ระบบรถไฟมีแนวโนมจํานวนผูใชบริการลดลงเชนเดียวกัน โดยในป 2547 ป 2548 ป 2549 ป 2550 และป 2551 การรถไฟแหงประเทศไทยมีจํานวนผูโดยสารตอวันประมาณ 137,611 คน 134,457 คน 121,144 คน 123,656 คน และ 131,055 คนตอวันตามลําดับ หรือลดลงรอยละ 4.8 จากป 2547 ถึง 2551 ในขณะที่จํานวนผูโดยสารของ รถโดยสารประจําทาง และรถไฟลดลงนั้น จํานวนผูใชบริการที่เลือกใชบริการ คมนาคมในระบบเดินทางที่ใหมกวา และมีความสะดวกสบายมากขึ้น เชน ระบบรถไฟฟาใตดิน และระบบรถไฟฟา บีที เอส กลับมีผูโดยสารเฉลี่ยตอวันเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง สวนที่ 1 หนา 42


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

ในชวง 5 ปที่ผานมา หรือระหวางป 2547 ถึง ป 2551 ระบบขนสงสาธารณะโดยเฉพาะรถโดยสารประจําทาง ธรรมดาหรือปรับอากาศ มีการเปลี่ยนแปลงอัตราคาโดยสารไมมากนัก ถึงแมวาราคาน้ํามันไดปรับตัวสูงขึ้นแตทาง รัฐบาลไดออกมาตรการเพื่อตรึงราคาคาโดยสารโดยการแบกรับตนทุนคาโดยสารที่เพิ่มขึ้นผานเงินสนับสนุน ดังนั้น อัตราคาโดยสารของระบบขนมวลชนสวนใหญจึงไมไดมีการปรับอัตราขึ้นมากนัก คาโดยสารของระบบขนสงมวลชน ตางๆ ณ ปจจุบันสามารถสรุปไดดังตารางขางลาง อยางไรก็ตาม ถึงแมจะมีการตรึงราคาคาโดยสารก็มิไดสงผลกระทบ ใหความตองการในการใชรถไฟฟาลดลงยกเวนป 2550 ซึ่งไดรับผลกระทบจากการปฏิวัติ และเหตุการณระเบิดในชวง ปลายป 2549 อัตราคาโดยสารของระบบขนสงมวลชนในกรุงเทพฯ ในเดือน ธันวาคม 2552 ประเภท อัตราคาโดยสาร (บาท) หมายเหตุ รถมินิบัส 6.50 ราคาเดียวตลอดสาย รถสองแถว 5.50 ราคาเดียวตลอดสาย รถครีมแดง 7.00 ราคาเดียวตลอดสาย รถขาว – นํ้าเงิน 8.00 ราคาเดียวตลอดสาย รถโดยสารทางดวน 9.00 ราคาเดียวตลอดสาย รถโดยสารปรับอากาศ 11.00 – 19.00 ราคาตามระยะทาง รถปรับอากาศ (ยูโร II) 12.00 – 24.00 ราคาตามระยะทาง รถแท็กซี่ ≥35 เริ่มตนที่ 35 บาท สําหรับระยะทาง 1 กิโลเมตร แรก หลังจากนั้นคิดตามระยะทาง รถไฟฟาบีทีเอส 15 – 40 เริ่มที่ 15 บาท และเพิ่มขึ้นตามจํานวนสถานี รถไฟฟาใตดิน บีเอ็มซีแอล 16 – 41 เริ่มที่16 บาท และเพิ่มขึ้นตามจํานวนสถานี ที่มา: องคการขนสงมวลชน กรุงเทพฯ และ ขอมูล บริษัท รถไฟฟากรุงเทพ จํากัด (มหาชน)

4.1.3.3 กฎหมายและหนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของ บีทีเอสซีไดรับสัมปทานแตเพียงผูเดียวจากกทม. ในการบริหารระบบรถไฟฟาบีทีเอสในการหารายไดจาก ระบบรถไฟฟาและกิจกรรมทางธุรกิจที่เกี่ยวของ รวมถึงโฆษณาการใหสิทธิตอและการจัดเก็บคาโดยสาร ภายใตสัญญา สัมปทานเปนระยะเวลา 30 ปจากวันที่ระบบเปดใหบริการเปนวันแรก (5 ธันวาคม 2542) อั น เป น เรื่ อ งปกติ วิ สั ย สํ า หรั บ โครงการที่ มี ข นาดใหญ บี ที เ อสซี ต อ งได รั บ ใบอนุ ญ าตและการอนุ มั ติ จ าก หนวยงานราชการหลายแหงกอนที่จะสามารถเปดดําเนินการได ซึ่งบีทีเอสซีไดรับการอนุมัติและไดรับใบอนุญาตในการ ดําเนินงานที่เกี่ยวของ รวมถึงสิ่งแวดลอม การดําเนินงานและการบํารุงรักษาระบบแลว บีทีเอสซีดําเนินงานภายใตกฎหมาย รวมทั้งกฎระเบียบ และขอบังคับที่เกี่ยวของหลายฉบับ รวมถึง กฎหมาย ทั่วไป (law of general application) กฎหมายเกี่ยวกับการธุรกิจขนสง ประกาศคณะปฏิวัติฉบับที่ 58 พระราชบัญญัติ สงเสริมการลงทุน รวมทั้งกฎหมายที่เกี่ยวของกับการประกอบธุรกิจโรงงานและในฐานะที่บีทีเอสซีเปนบริษัทมหาชน บี ทีเอสซีจึงอยูภายใตพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 (PLCA) และพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาด หลักทรัพย พ.ศ. 2535 นอกจากนี้ เนื่ อ งจากบี ที เ อสซี ถื อ เป น ผู ป ระกอบธุ ร กิ จ ในฐานะผู ใ ห บ ริ ก ารตามคํ า จํ า กั ด ความของ พระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ. 2522 บีทีเอสซีจึงตกอยูภายใตขอกําหนดที่คุมครองสิทธิของผูบริโภคที่จะไดรับ ความปลอดภัยจากการใชสินคาหรือบริการตามที่กําหนดไวในพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภคและพระราชบัญญัติวิธี พิจารณาคดีผูบริโภค พ.ศ. 2551 รวมทั้งกฎกระทรวง ขอบังคับ คําสั่ง หรือประกาศที่ออกตามพระราชบัญญัติดังกลาว สวนที่ 1 หนา 43


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

4.1.3.3.1 กรุงเทพมหานคร (กทม.) กทม.เปนหนวยงานที่ควบคุมดูแลพื้นที่จังหวัดกรุงเทพฯ หนาที่ของกทม. ไดแก การดูแลรักษากฎหมายและ ความสงบเรียบรอย การวางผังเมือง การสรางและดูแลรักษาถนน ทางน้ําและระบบระบายน้ํา การจัดหาระบบขนสง การบริ ห ารจราจร งานสวั ส ดิ ก ารสั ง คม และการให บ ริ ก ารอื่ น ๆ ผู บ ริ ห ารสู ง สุ ด ของกทม. คื อ ผู ว า ราชการ กรุงเทพมหานคร ซึ่งไดมาจากการเลือกตั้ง และอยูในตําแหนงคราวละ 4 ป ผูวาฯ มีอํานาจแตงตั้งรองผูวาราชการเปน ผู ช ว ย ซึ่ ง อยู ใ นตํ า แหน ง คราวละ 4 ป เช น กั น กทม.ยั ง มี ส ภากรุ ง เทพมหานคร (สก.) ทํ า หน า ที่ เ ป น ตั ว แทนของ ประชาชน ซึ่งสมาชิกมาจากการเลือกตั้ง ภายใตพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528 (Bangkok Metropolitan Administration Act) กทม.แบงโครงสรางการบริหารเปน 19 สํานักงานและ 50 เขต กทม.มี ร ายได จ าก 2 ประเภท ได แ ก รายได ป ระจํ า และรายได พิ เ ศษ รายได ป ระจํ า มาจากภาษี ท อ งถิ่ น คาธรรมเนียม คาปรับ คาใบอนุญาต คาบริการ คาเชาทรัพยสินของกทม. รายไดพิเศษมาจากเงินสมทบจากรัฐบาลที่ เกี่ยวของโครงการที่รัฐบาลกําหนดไว ตามที่กําหนดไวในสัญญาสัมปทาน กทม. เปนผูรับผิดชอบการกํากับดูแลใหการดําเนินงานของบีทีเอสซี เปนไปตามสัญญาสัมปทาน นอกจากนี้ กทม.ยังเปนผูรับผิดชอบการอนุมัติแบบกอสรางตางๆ ที่เกี่ยวของกับระบบ ไฟฟาบีทีเอสรวมถึงทางเชื่อมระหวางสถานีรถไฟฟากับอาคารขางเคียง 4.1.3.3.2 สํานักงานคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ (สวล.) ภายใต พ.ร.บ. ส ง เสริ ม และรั ก ษาคุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล อ มแห ง ชาติ พ.ศ. 2535 (Enhancement and Conservation of the National Environmental Quality Act) โครงการที่เกี่ยวกับโครงสรางสาธารณูปโภคพื้นฐานขนาด ใหญที่อาจมีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมจําเปนจะตองไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติกอน ดําเนินการกอสราง เนื่องจาก พ.ร.บ. ฉบับนี้มีผลบังคับใชวันที่ 9 เมษายน 2535 ซึ่งเปนวันเดียวกับวันลงนามในสัญญา สัมปทานและภายหลังสัมปทานไดรับการอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี บีทีเอสซีจึงไมจําเปนที่จะตองไดรับความเห็นชอบ จากคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติสําหรับโครงการ อยางไรก็ตามพรบ.ฉบับนี้จะมีผลบังคับใชกับโครงการสวนตอ ขยาย รวมถึงสวนเพิ่มเติมภายใตสัญญาแกไขสัญญาสัมปทานทั้งสองฉบับ 4.1.3.3.3 สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.) พ.ร.บ. วาดวยการใหเอกชนเขารวมงาน หรือดําเนินงานในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2535 (The Act Governing the Consent for the Private Sector to Participate in or Operate State Business) ใหอํานาจสศช. ในการอนุมัติ หรือไมอนุมัติโครงการที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจหรือสังคม เนื่องจากบีทีเอสซีไดรับสัมปทานกอนที่พ.ร.บ. ฉบับนี้มี ผลบังคับใช บีทีเอสซีจึงไมจําเปนตองไดรับการอนุมัติจากสศช.สําหรับโครงการที่ใหบริการแลวในปจจุบัน อยางไรก็ ตาม กทม.อาจตองทําการขออนุมัติจากสศช. สําหรับโครงการสวนตอขยายในอนาคตตาม พ.ร.บ. ฉบับนี้ โดยขึ้นอยูกับ ขนาดของโครงการ 4.2

ธุรกิจอสังหาริมทรัพย

ธุรกิจอสังหาริมทรัพยเปนธุรกิจของบริษัทฯ นับตั้งแตบริษัทฯ เริ่มดําเนินการในป 2511 โดยบริษัทฯไดพัฒนา โครงการอสังหาริมทรัพยหลายประเภท เชน คอนโดมิเนียม โรงแรม และอาคารสํานักงาน โดยปจจัยสําคัญของการ ตัดสินใจในการสรางโครงการแตละประเภทนั้นคือ ทําเลที่ตั้งของที่ดิน ซึ่งรวมถึงการเชื่อมตอกับระบบขนสงมวลชน บริษัทฯ จึงเปดโอกาสที่จะรวมมือหรือรับบุคคลภายนอกที่มีประสบการณเพื่อการพัฒนาโครงการตางๆในอนาคตของ บริษัทฯ ใหมีศักยภาพมากยิ่งขึ้น

สวนที่ 1 หนา 44


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

หลังจากที่บริษัทฯ ไดมาซึ่งหุนสามัญของบีทีเอสซี บริษัทฯ มีแผนที่จะใชความรูความชํานาญเพื่อพัฒนาที่ดิน ที่บีทีเอสซีถือครองอยู เพื่อใหสามารถเปนแหลงรายไดอีกทางหนึ่งของบริษัทฯ หากสัมปทานรถไฟฟาสิ้นสุดลงในเดือน ธันวาคมของป 2572 การไดมาซึ่งหุนสามัญของบีทีเอสซีครั้งนี้สงผลใหบริษัทฯ มีที่ดินตามเสนทางขนสงมวลชนมากขึ้น นอกเหนือจากที่ดินเดิมของบริษัทฯ ในตางจังหวัด ดังนั้นบริษัทฯ จึงแบงแยกโครงการอสังหาริมทรัพยตางๆ เปน โครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพยตามแนวเสนทางระบบขนสงมวลชน และโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพยในสถานที่ อื่นๆ ทั้งนี้การลงทุนในโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพยมีความเสี่ยงมากกวาการใหระบบบริการรถไฟฟาบีทีเอส ดังนั้นบริษัทฯ จึงมีนโยบายที่จะพัฒนาโครงการตางๆ ภายใตนิติบุคคลอื่นโดยแยกออกจากบีทีเอสซี 4.2.1

โครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพยตามแนวเสนทางระบบขนสงมวลชน

บริษัทฯ ไดใหความสําคัญกับโครงการตางๆ ที่อยูบริเวณเสนทางการใหบริการของรถไฟฟาบีทีเอส เนื่องจาก บริษัทฯ มีขอไดเปรียบจากการที่สามารถเลือกเชื่อมตออาคารของโครงการกับสถานีรถไฟฟาใกลเคียงได นอกจากนี้ การพัฒนาอาคารที่พักอาศัย อาคารสํานักงาน หรือโรงแรมตางๆ ยังชวยเพิ่มจํานวนผูโดยสารของรถไฟฟาไดอีกดวย ในปจจุบันบริษัทฯ มีแผนพัฒนาโครงการตามแนวเสนทางระบบขนสงมวลชนทั้งหมด 6 โครงการ ซึ่งทุก โครงการตั้งอยูในบริเวณสถานีรถไฟฟาที่มีอยูในปจุบันหรือกําลังจะมีในอนาคต โครงการเหลานี้เปนโครงการในระยะ เริ่มแรก ซึ่งรายละเอียดจะปรากฏในขอ 4.5 โครงการในอนาคต โครงการ โครงการระหวางกอสรางและดําเนินการ Four Points by Sheraton • • Abstracts Phahonyothin Park • • Abstracts Sukhumvit 66/1 โครงการระหวางศึกษา The Langham Sukhumvit Langham Place Phayathai JJ Park

รายละเอียด

• •

โรงแรมระดับ 4 ดาว ใกลสถานีรถไฟฟาบีทีเอส สุรศักดิ์ คอนโดมิเนียมภายใตแบรนด Abstracts ใกลหางสรรพสินคาเซ็นทรัล ลาดพราว ตั้งอยูใกลสถานีในอนาคตในแนวรถไฟฟาสายสีเขียว ใน สวนตอขยายใหมไปยังสะพานใหม คอนโดมิเนียมจํานวน 2 อาคาร ใกลสถานีรถไฟฟาอุดมสุข ซึ่งเปนสวนตอขยายรถไฟฟาสายสุขุมวิท

• • • • • •

โรงแรมระดับ 5 ดาว และเซอรวิสอพารทเมนท ติดกับสถานีรถไฟฟาบีทีเอส นานา โรงแรมระดับ 4 ดาว ติดกับสถานีรถไฟฟาบีทีเอส พญาไท และสถานีรถไฟฟาแอรพอรตลิงค ศึกษาและวางแผนในการพัฒนาเปนอาคารที่พักอาศัยและอาคารสํานักงาน ติดกับสํานักงานใหญของบีทีเอสซีและสถานีรถไฟฟาบีทีเอส หมอชิต

สวนที่ 1 หนา 45


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

4.2.2

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

โครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพยในสถานที่อื่นๆ

โครงการที่ไมไดอยูในแนวเสนทางระบบขนสงมวลชน ซึ่งสวนมากเปนโครงการเดิมของบริษัทฯ กอนการ ไดมาซึ่งหุนสามัญของบีทีเอสซีโดยโครงการมีทั้งที่ตั้งอยูในกรุงเทพฯและตางจังหวัด ซึ่งโครงการตางๆ สามารถแยก ตามประเภทธุรกิจไดดังนี้

ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย

โครงการธนาซิตี้ตั้งอยูบนถนนบางนา-ตราด กม. 14 ซึ่งสามารถเดินทางไดสะดวกดวยเสนทางถนนบางนาตราด ทางดวนยกระดับ ถนนออนนุช และมอเตอรเวย กรุงเทพฯ-ชลบุรีอีกทั้งโครงการเหลานี้ยังอยูใกลสิ่งอํานวยความ สะดวกตางๆ อาทิเชน หางสรรพสินคา มหาวิทยาลัย โรงพยาบาล ทาอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิ และแอรพอรต ลิงคสําหรับการเดินทางเขาเมืองโดยรถไฟฟาในอนาคต โครงการธนาซิตี้มีพื้นที่รวมทั้งสิ้นกวา 1,600 ไร เปนโครงการขนาดใหญพรอมดวยสาธารณูปโภคครบครัน ทามกลางสิ่งแวดลอมที่ดีจากธรรมชาติของตนไมรายรอบโครงการ นอกจากนี้ ผูอยูอาศัยสามารถสมัครเปนสมาชิก สปอรตคลับซึ่งมีสนามหรือสถานที่สําหรับกีฬากลางแจง ไดแก สนามเทนนิส สระวายน้ํา และสนามหรือสถานที่สําหรับ กี ฬ าในร ม ได แ ก สนามแบตมิ น ตั น สนามบาสเก็ ต บอล ซาวน า พื้ น ที่ เ ล น สํ า หรั บ เด็ ก ฟ ต เนส และห อ งแอโรบิ ค นอกจากนี้ผูอยูอาศัยยังสามารถสมัครเปนสมาชิกของสนามกอลฟที่มี 18 หลุม 72 พาร และสนามไดรฟกอลฟที่อยูใน พื้ น ที่ โ ครงการ โครงการสามารถรองรั บ ความต อ งการของลู ก ค า ทุ ก ประเภทและเพื่ อ ตอบสนองความต อ งการที่ หลากหลายของลูกคา บริษัทฯ ไดพัฒนาอสังหาริมทรัพยหลากหลายรูปแบบเพื่อตอบสนองความตองการที่ตางกัน เชน บานเดี่ยวพรอมที่ดิน ทาวนเฮาส คอนโดมิเนียม และที่ดินเปลาจัดสรร ซึ่งโครงการบางสวนไดพัฒนาเสร็จและปดการ ขายไปเรียบรอยแลว เชน โครงการบานเดี่ยวเพรสทีจเฮาส 1 ซึ่งเปนบานเดี่ยวพรอมที่ดินขนาด 400 ตารางวาขึ้นไป ในปบัญชี 2553 บริษัทฯ เริ่มพัฒนาปรับปรุงโครงการธนาซิตี้ที่ยังเหลืออยูเพื่อดําเนินการขายอีกครั้ง ทําใหใน ปนี้บริษัทฯ มีรายไดสูงถึง 100.9 ลานบาทจาก 48.8 ลานบาทในปบัญชี 2552 หรือคิดเปนเพิ่มขึ้น 106.8% ซึ่งรายได ทั้งหมดนี้มาจากการขายคอนโดมิเนียม 2 โครงการคือนูเวลคอนโดมิเนียมและกิ่งแกวคอนโดมิเนียม โครงการตางๆ ในธนาซิตี้แยกตามประเภท ณ วันที่ 31 มีนาคม 2553 มีดังนี้ ชื่อโครงการ ประเภทผลิตภัณฑ พื้นที่โครงการ มูลคาเงินลงทุน มูลคาโครงการ รายละเอียดหนวย

จํานวนหนวย ราคาขายตอหนวย ราคาขายตอตารางเมตร มูลคาที่ขายแลว จํานวนที่ทําสัญญาซื้อขายและ โอนกรรมสิทธิ์แลว จํานวนคงเหลือ

บานเดี่ยว 304-2-80 ไร 618.3 ลานบาท 1,946.1 ลานบาท 100 - 250 ตารางวา

โครงการธนาซิตี้ ทาวนเฮาส คอนโดมิเนียม 14-3-20 ไร 55-2-10 ไร 133.9 ลานบาท 2,579.9 ลานบาท 212.8 ลานบาท 2,680.6 ลานบาท 3-4 ชั้น, 40-60 อาคารที่มีระดับความสูง ตารางวา คอนขางต่ํา - กลาง

680 หนวย 29,000-42,000 บาท ตอตารางวา 1,159.6 ลานบาท 461 หนวย

92 หนวย 3.0 - 5.1 ลานบาท

1,701 หนวย 0.8 - 15.0 ลานบาท

ที่ดินเปลาจัดสรร 120-3-7.5 ไร 214.4 ลานบาท 1,384.9 ลานบาท ที่ดินสําหรับขายและ สรางตามที่ลูกคา ตองการ 186 หนวย 1.2 - 23.2 ลานบาท

139.9 ลานบาท 58 หนวย

12,550-27,805 บาท 2,175.1 ลานบาท 1,499 หนวย

10,000-40,000 บาท 1,045.7 ลานบาท 123 หนวย

219 หนวย

34 หนวย

202 หนวย

63 หนวย

สวนที่ 1 หนา 46


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

ธุรกิจโรงแรมและอาคารที่พักอาศัย

บริษัทฯ มีประสบการณเกี่ยวกับธุรกิจโรงแรมมาอยางตอเนื่อง เพราะในอดีตบริษัทฯ เปนผูถือหุนของโรงแรม รีเจนท (Regent Hotel) บนถนนราชดําริ และโรงแรมดิเอ็มเพรส (The Empress Hotel) จังหวัดเชียงใหม นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังมีประสบการณเปนผูบริหารจัดการโรงแรม Eastin Lakeside แจงวัฒนะ ตั้งแตป พศ. 2534 - 2552 ปจจุบันบริษัทฯ มีธุรกิจโรงแรมระดับ 4 ดาวภายใตเครือขายโรงแรมภายใตแบรนด U Hotel & Resorts ที่ บริหารจัดการโดยแอบโซลูท ซึ่งเปนบริษัทรวมทุนระหวางบริษัทฯ กับพันธมิตรที่มีประสบการณในธุรกิจโรงแรม โดย ไดเปดดําเนินการไปแลวหนึ่งแหงที่จังหวัดเชียงใหม และกําลังเตรียมการเพื่อเปดเพิ่มอีกหนึ่งแหง ที่ริมแมน้ําแควใหญ จังหวัดกาญจนบุรี ในปลายป 2553 นี้ โรงแรม ยู เชียงใหม โรงแรม ยู เชียงใหมเปนโรงแรมในเครือโรงแรม U Hotel & Resorts ของบริษัทฯ โดยเริ่มดําเนินการเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2551 เปนโรงแรมระดับมาตรฐาน 4 ดาว ที่ไดรับการพัฒนาในรูปแบบบูติคโฮเต็ล (Boutique Hotel) และ กอสรางในรูปแบบสถาปตยกรรมอาคารไทยลานนา ตั้งอยูบนถนนราชดําเนินซึ่งเปนถนนคนเดินที่มีชื่อเสียงในใจกลาง เมืองจังหวัดเชียงใหม โรงแรมมีหองพักจํานวน 41 หอง ซึ่งตกแตงอยางหรูหรา โดยมีกลุมเปาหมายคือนักทองเที่ยว และนักธุรกิจชาวไทยและชาวตางชาติ นอกจากนี้ โ รงแรม ยู เชี ย งใหม ยั ง เป น สั ญ ลั ก ษณ ที่ สํ า คั ญ ของเครื อ ข า ยโรงแรมแบรนด “U” ในอนาคต เนื่องจากเปนโรงแรมตนแบบที่ชวยใหแอบโซลูทสามารถวางรากฐานและทําการตลาดเครือขายไดอยางมีประสิทธิภาพ จนสามารถเติบโตและประสบความสําเร็จอยางรวดเร็ว นับถึงปจจุบันนี้มีผูรวมลงนามสัญญาการบริหาร ทั้งที่จะใชแบ รนด “U” และที่จางบริหารอยางเดียว สําหรับโรงแรมตางๆ ทั้งในและตางประเทศรวม 43 แหง นับรวมเปน 4,108 หอง ในปบัญชี 2553 โรงแรม ยู เชียงใหมมีอัตราการเขาพักเฉลี่ยรอยละ 45.3 โดยมีรายได 16.9 ลานบาท เพิ่มขึ้น จาก 14 ลานบาทในปบัญชี 2552 อาคารพักอาศัย เดอะรอยัลเพลส 2 และเดอะแกรนด เดอะรอยัลเพลส 2 และเดอะแกรนด เปนอาคารพักอาศัยตั้งอยูใกลสถานีรถไฟฟาบีทีเอส ราชดําริ และใกล ศูนยกลางการคาของกรุงเทพฯ โครงการนี้ตั้งอยูในซอยมหาดเล็กหลวง 2 ถนนราชดําริ ซึ่งเปนที่ดินภายใตสัญญาเชา จากสํานักพระคลังขางที่ โครงการเริ่มแรกประกอบดวยอาคารพักอาศัยจํานวน 3 อาคาร เดอะรอยัลเพลส 1 เดอะรอยัล เพลส 2 และเดอะแกรนด ซึ่งเริ่มเปดขายสิทธิการเชาระยะเวลา 30 ป ตั้งแตป 2536 ในปจจุบันบริษัทฯ ไดเสร็จสิ้นการขายสิทธิการเชาอาคารแรก เดอะรอยัลเพลส 1 แลว คงเหลือเพียงหองพัก อาศัยวางจํานวนหนึ่งในอีกสองอาคารที่เหลือซึ่งไดนํามาตกแตงพรอมอยู และพื้นที่เพื่อการพาณิชยใหเชาบริเวณ ดานลางของอาคารสําหรับทําสัญญาเชาระยะสั้น ในปบัญชี 2553 บริษัทฯมีรายได 23.1 ลานบาท จากเดอะรอยัลเพลส 2 และ 16.5 ลานบาท จากเดอะแกรนด

สวนที่ 1 หนา 47


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

อาคารสํานักงาน

อาคารทีเอสทีทาวเวอรตั้งอยูบนถนนวิภาวดี-รังสิต ฝงตรงขามอาคารสํานักงานใหญการบินไทย เปนอาคารสูง 24 ชั้น มีพื้นที่ใหเชาทั้งหมดประมาณ 15,875.5 ตารางเมตร ซึ่งประกอบไปดวยสวนสํานักงาน 16 ชั้น และพื้นที่จอด รถ 8 ชั้น ปจจุบันมีผูเชาคิดเปนอัตราการเชารอยละ 91 โดยผูเชารายใหญ ไดแก สํานักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดยอม (สสว.) และมหาวิทยาลัยรังสิตศูนยศึกษาวิภาวดี ทีเอสทีทาวเวอรเปนสวนหนึ่งของทรัพยสินที่เปนหลักประกันตามแผนฟนฟูกิจการ ซึ่งศาลลมละลายกลางไดมี คําสั่งใหประมูลขายทรัพยดังกลาว โดยรายไดจากการประมูลจะจัดสรรใหเจาหนี้ตามสัดสวนหนี้ บริษัทฯ ไดทําการ ประมูลขายทรัพยและไดผูชนะการประมูลแลวเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2552 โดยบริษัทฯ ไดทําสัญญาซื้ออาคารทีเอสที ทาวเวอรจากผูชนะการประมูล อยางไรก็ตามบริษัทฯ ยังไมโอนกรรมสิทธิ์ดังกลาว เนื่องจากเจาหนี้สองรายของบริษัทฯ ไดยื่นคํารองตอศาลลมละลายกลางเพื่อใหยกเลิกการประมูลดังกลา ว ซึ่ งศาลลมละลายกลางไดมีคําสั่งยกคํารอง ดังกลาวแลวในวันที่ 9 มิถุนายน 2553 ขณะนี้ ยังอยูในระยะเวลาที่เจาหนี้สามารถอุทธรณคําสั่งของศาลลมละลาย ดังกลาวได

อื่นๆ

นอกจากโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย โรงแรม และอาคารสํานักงานแลว บริษัทฯ ยังเปนผูรวมดําเนินการ จัดทําโครงการบานเอื้ออาทร ซึ่งเปนโครงการที่พักอาศัยตนทุนต่ําใหแกการเคหะแหงชาติ (กคช.) แรกเริ่มในป 2549 บริ ษั ท ฯ ได ล งนามสั ญ ญาดํ า เนิ น การสร า งบ า นเอื้ อ อาทรจํ า นวน 20,000 หน ว ยในจั ง หวั ด ชลบุ รี (นาจอมเที ย น) ประจวบคีรีขันธ (หัวหิน) และสระบุรี (โคกแย) อยางไรก็ดี บริษัทฯ ไดรับการอนุมัติใหสรางบานเอื้ออาทรจํานวน 8,048 หนวย ซึ่งบริษัทฯ ไดทําสัญญารับเหมาตอกับคูสัญญา ซึ่งจํานวนบานที่สรางเสร็จสมบูรณและมอบใหกคช.แลวมี ทั้งหมด 4,216 หนวย ปจจุบันบานจํานวน 2,108 หนวยอยูในระหวางการกอสรางเพื่อสงมอบภายในเดือนธันวาคม 2554 โดยที่เหลืออีก 1,724 หนวยจะมีการกอสรางในภายภาคหนา อยางไรก็ตามบริษัทฯ ยังไมมีแผนที่จะขยายโอกาส ทางธุรกิจของที่พักอาศัยตนทุนต่ํา เวนแตจะพิสูจนไดวาธุรกิจนี้สามารถสรางมูลคาเพิ่มใหแกบริษัทฯ ได 4.2.3

อุตสาหกรรมอสังหาริมทรัพย

การพัฒนาอสังหาริมทรัพย

ในป 2552 อุตสาหกรรมการพัฒนาอสังหาริมทรัพยเริ่มฟนตัวจากวิกฤติเศรษฐกิจโลก โดยอาศัยแรงกระตุน จากปจจัยบวกตางๆ อันไดแกราคาวัสดุกอสรางที่ลดลง การปรับลดของอัตราดอกเบี้ย และเศรษฐกิจไทยที่ปรับตัวดีขึ้น ในชวงครึ่งหลังของป ถึงแมวาแนวโนมของอุตสาหกรรมการพัฒนาอสังหาริมทรัพยที่ดีขึ้นในชวงป 2552 จะสงผลให ความมั่นใจของผูซื้อบานฟนตัวขึ้น อยางไรก็ตาม การเขาถึงแหลงเงินทุนสําหรับผูประกอบการพัฒนาอสังหาริมทรัพย และผูซื้อบานยังคงมีขอจํากัดอยู ทั้งนี้ รัฐบาลไดขยายเวลาการใชมาตรการทางภาษีเพื่อกระตุนตลาดอสังหาริมทรัพยที่ เดิมสิ้นสุดในเดือนมีนาคม 2552 ออกไปเปนเดือนมิถุนายน 2553 การฟนตัวของธุรกิจอสังหาริมทรัพยในประเทศไทย ในชวงครึ่งหลังของป 2552 จึงเริ่มปรากฏใหเห็นในไตรมาสแรกของป 2553 จากการประกาศความสําเร็จในดาน ยอดขาย Presales ของผูประกอบการที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย อยางไรก็ตาม ความไมมั่นคงทางการเมืองและ เหตุการณความรุนแรงในกรุงเทพฯที่เกิดขึ้นในชวงไตรมาสที่ 2 ของป 2553 อาจสงผลกระทบโดยตรงตอความเชื่อมั่น ของนักลงทุนและผูบริโภค และทําใหผูบริโภคมีแนวโนมที่จะชะลอการตัดสินใจซื้ออสังหาริมทรัพย

สวนที่ 1 หนา 48


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

การจดทะเบียนที่อยูอาศัยใหมในเขตกรุงเทพฯ และ ปริมณฑล จํานวนหนวย 50,000

46,643

46,452 42,764

45,000

38,705

40,000

34,618

35,000

31,535

29,721

30,000 25,000 17,421

20,000 15,000 10,000

13,858

17,461

17,837 17,012

14,616

13,670

9,229

5,000

2,296

1,556

965

678

1,128

0 2005 บานเดี่ยว

ที่อยูอาศัยสรางโดยผูประกอบการ จํานวน

2006

2007

2008

ทาวนเฮาสและอาคารพาณิชย

2009

คอนโดมิเนียม

2548

2549

บานแฝด

2550

2551

2552

45,164

49,167

49,769

59,048

69,938

-6.8

8.9

1.2

18.6

18.4

25,244

28,949

25,341

24,017

21,033

เพิ่ม / ลด (รอยละ) 27.1 14.7 -12.5 รวม 70,408 78,116 75,110 ที่มา: ศูนยขอมูลอสังหาริมทรัพย หมายเหตุ: กรุงเทพฯและปริมณฑล ไดแก สมุทรปราการ นนทบุรี ปทุมธานี นครปฐม และสมุทรสาคร

-5.2 83,065

-12.4 90,971

เพิ่ม / ลด (รอยละ) ที่อยูอาศัยสรางโดยเจาของ จํานวน

ระหวางชวงป 2548 ถึงป 2552 จะเห็นไดวาจํานวนบานเดี่ยวจดทะเบียนใหมมีแนวโนมลดลง อยางไรก็ตาม ผูประกอบการที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยขยายสวนแบงทางการตลาดมากขึ้น เนื่องจากผูซื้อใหความไววางใจกับ ผูประกอบการรายใหญที่มีชื่อเสียงที่จะสามารถพัฒนาโครงการตางๆ ใหเสร็จสมบูรณได ในป 2552 จํานวนการจด ทะเบียนใหมของบานเดี่ยวลดลงอยางตอเนื่องคิดเปนรอยละ 14.2 จากป 2551 นอกจากนี้อุปทานของทาวนเฮาสและ อาคารพาณิช ยลดลงรอยละ 6.5 และอุปทานของบา นแฝดลดลงรอยละ 50.9 ในทางตรงขามการจดทะเบียนของ คอนโดมิเนียมมีจํานวนสูงสุดเปนครั้งแรกในรอบทศวรรษที่ผานมาและยังคงเปนประเภทของที่อยูอาศัยในกรุงเทพฯและ ปริมณฑลที่มีอัตราการเติบโตสูงที่สุด คอนโดมิเนียมที่จดทะเบียนในป 2552 มีจํานวน 46,452 ยูนิต คิดเปนสัดสวนรอยละ 51.1 ของจํานวนการจด ทะเบียนที่อยูอาศัยทั้งหมด ปจจุบันมีการเปดขายคอนโดมิเนียมจํานวน 82,421 ยูนิตในพื้นที่ใจกลางกรุงเทพฯ และ พื้นที่โดยรอบ ซึ่งคาดวาจะดําเนินการสรางแลวเสร็จภายในสองถึงสามปนี้ ในไตรมาสที่ 4 ของป 2552 อัตรายอดขาย (take up rate) ในใจกลางเมืองอยูที่รอยละ 79.6 กลาวคือมีจํานวนของหองคอนโดมิเนียมคงเหลือ 3,769 ยูนิตจาก จํ า นวน 18,478 ยู นิ ต ในขณะที่ อั ต รายอดขายในปริ ม ณฑลอยู ที่ ร อ ยละ 68.5 โดยความสนใจในการซื้ อ ห อ ง คอนโดมิ เ นี ย มมี เ พิ่ ม มากขึ้ น เนื่ อ งจากการเปลี่ ย นแปลงวิ ถี ก ารดํ า เนิ น ชี วิ ต ของคนไทย กล า วคื อ ชาวไทยและ ชาวตางชาตินิยมซื้อคอนโดมิเนียมเพื่อการอยูอาศัยและเพื่อการลงทุน เนื่องจากคอนโดมิเนียมเหลานี้ตั้งอยูใกลสถานที่ สวนที่ 1 หนา 49


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

ในป 2551 และ 2552 แนวโนมของคอนโดมิเนียมจะขยายตัวในพื้นที่ตามแนวรถไฟฟาบีทีเอส และรถไฟฟา ใตดินเอ็มอารที ทั้งสายที่มีอยูในปจจุบันและสายที่กําลังดําเนินการกอสรางใหม โดยพื้นที่การพัฒนาโครงการที่ไดรับ ความนิยมสูงสุดอยูตามแนวสวนตอขยายของรถไฟฟาบีทีเอส เชน สวนตอขยายสายสีเขียวออน (ออนนุช-อุดมสุข–แบ ริ่ง) และสีเขียวเขม (สะพานตากสิน-วงเวียนใหญ และอื่นๆ) และรถไฟฟาใตดินเอ็มอารที เชน สายสีมวง (บางซื่อ-บาง ใหญ) และสายสีน้ํา เงิน (บางซื่อ-ตลิ่งชัน) ทั้ งนี้ในไตรมาสที่ 4 ของป 2552 มีการประกาศขายคอนโดมิเนียมกวา 63,943 ยูนิตในพื้นที่รอบนอก โดยรอยละ 21.5 อยูในพื้นที่รัชดาภิเษก พระราม 9 ลาดพราว รอยละ 14.7 อยูในพื้นที่ สุขุมวิทตอนบน รอยละ13.3 อยูในพื้นที่พหลโยธิน และรอยละ 8.8 ในพื้นที่ธนบุรี นอกจากนี้ แนวโนมความตองการของตลาดคือคอนโดมิเนียมที่มีขนาดเล็กลงซึ่งจะเห็นไดจากการเปดตัว คอนโดมิเนียมใหมที่สวนใหญจะเปนหองสตูดิโอและหองชุดหนึ่งหองนอน หองชุดเหลานี้มีขนาดเล็กลงในขณะที่ราคา ต อ ตารางเมตรปรั บ ตั ว สู ง ขึ้ น พื้ น ที่ ใ จกลางเมื อ งจะยั ง คงเป น บริ เ วณที่ มี ก ารแข ง ขั น สู ง โดยจะไม เ น น การขาย คอนโดมิเนียมที่หรูหรา ราคาแพง

ธุรกิจโรงแรม

อุตสาหกรรมการทองเที่ยวไดรับผลกระทบจากปจจัยลบตางๆในชวงหลายปที่ผานมา เริ่มจากการระบาดของ โรคซารส (SARS) ในป 2546 โรคไขหวัดนก ในป 2547 เหตุการณสึนามิ ในป 2548 สถานการณความไมแนนอนทาง การเมืองโดยเริ่มจากการทํารัฐประหารในป 2549 ซึ่งนําไปสูการปดทาอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิ และการจราจล ในป 2553 อยางไรก็ตามถึงแมวาจะมีปจจัยลบหลายดาน จํานวนนักทองเที่ยวตางชาติที่มายังประเทศไทยในป 2552 ยังขยายตัวประมาณรอยละ 30 จากป 2545 ในป 2552 จํานวนนักทองเที่ยวตางประเทศโดยรวมลดลงรอยละ 3.5 เนื่ องจากความผั นผวนของภาวะ เศรษฐกิจโลก ความกลัวสืบเนื่องจากการแพรกระจายของไวรัส H1N1 สถานการณความไมแนนอนทางการเมืองใน ประเทศที่นําไปสูการปดทาอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิ ในเดือนธันวาคม 2551 และการกอความไมสงบในชวงของ การประชุมสุดยอดผูนําอาเซียนในเดือนเมษายน 2552 ถึงแมในไตรมาสที่ 4 ของป 2552 และไตรมาสที่ 1 ของป 2553 จํานวนนักทองเที่ยวเพิ่มขึ้นรอยละ 40 และรอยละ 20 ตามลําดับเมื่อเทียบกับชวงเดียวกันของปกอนหนา แตภาวะ ความไมแนนอนทางการเมืองในกรุงเทพฯ ชวงปลายไตรมาสที่ 1 ของป 2553 ตอเนื่องไปจนถึงไตรมาสที่ 2 ของป 2553 ทําใหการฟนตัวของการทองเที่ยวในป 2553 มีอุปสรรคมากขึ้น โดยไตรมาสที่ 1 ของป 2553 การทองเที่ยวแหง ประเทศไทยคาดวาจะมีนักทองเที่ยวตางชาติจํานวน 14.5 ลานคน ซึ่งลดลงจากเปาหมายเดิมที่ตั้งไว 15.0-15.5 ลาน คน

สวนที่ 1 หนา 50


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553 การปดทาอากาศยานนานาชาติ สุวรรณภูมิ และการจลาจล

จํานวนนักทองเที่ยวตางประเทศ ลานคน 16.0 14.0 12.0

วิกฤตการณ

9.5

2540

2543

10.0 ทางการเงินเอเชีย 8.6 7.8 8.0 7.2

10.8

10.1

สึนามิ

โรคซารส 11.7

14.5

14.5

2550

2551 2552 2553F

13.8

14.0

14.5

11.5

10.0

6.0 4.0 2.0 0.0 2541 2542

2544 2545

2546

2547

2548 2549

E=การประมาณการ; F=การคาดคะเน ที่มา : การทองเที่ยวแหงประเทศไทยและสํานักงานพัฒนาการทองเที่ยว

การทองเที่ยวจังหวัดเชียงใหม จํานวนหองและอัตราการเขาพักเฉลี่ยในเชียงใหม จํา นวนหองพัก (หอง) 25,000

20,816

18,820

20,000

อัตราการเขาพักเฉลี่ย (รอยละ) 100.0% 22,493

22,493

80.0%

16,673

15,000

46.8%

47.9%

42.0%

60.0%

41.5% 31.3%

10,000

40.0%

5,000

20.0%

0

0.0% 2548

2549

2550

2551

จํานวนหองพัก

ม.ค. - มิ.ย. 2552

อัตราการเข าพักเฉลี่ย

ที่มา: สํานักงานพัฒนาการทองเที่ยว

จํานวนนักทองเที่ยวแยกตามสัญชาติ และระยะเวลาพํานักเฉลี่ยในเชียงใหม ลานคน 2.00 1.80 1.60 1.40

วัน 3.00 1.72 1.69

1.62

1.66 1.41

1.36

1.20 1.00

1.75

1.92

1.80

1.65

2.50

1.35 2.03

2.11

2.00 1.50

0.71

0.80 0.47

0.60 0.40

1.00 0.50

0.20

0.00

0.00 2548

2549

2550

นักทองเที่ยวตางชาติ

นักทองเที่ยวไทย

ที่มา: สํานักงานพัฒนาการทองเที่ยว

สวนที่ 1 หนา 51

2551

ม.ค. - มิ.ย. 2552 ระยะเวลาพํานักเฉลี่ย


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

ธุรกิจการโรงแรมในจังหวัดเชียงใหมไดรับความเสียหายจากการปดทาอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิ เมื่อ ปลายป 2551 ซึ่งสงผลใหชวงฤดูกาลการทองเที่ยว (High Season) ในไตรมาสที่ 1 ของป 2552 ไมคึกคักเทาที่ควร ทํา ใหจํานวนผูเขาพักในโรงแรมในจังหวัดเชียงใหมลดลงจากรอยละ 41.5 ในป 2551 เปนรอยละ 31.3 ในป 2552 ในขณะ ที่โรงแรมระดับ 5 ดาวในกรุงเทพฯ มีอัตราการเขาพักถึงรอยละ 55 และรอยละ 44 ในไตรมาสที่ 1 และ 2 ของป 2552 ตามลําดับ สวนครึ่งปหลังนั้น การทองเที่ยวมีการปรับตัวดีขึ้น โดยเห็นไดจากการเพิ่มขึ้นของนักทองเที่ยวตางชาติ และ การฟนตัวของตลาดภายในประเทศ ทําใหอัตราการเขาพักเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 45 และรอยละ 57 ในไตรมาสที่ 3 และ 4 ตามลําดับ อยางไรก็ตามโรงแรมสวนใหญมีการลดราคาหองพัก และเพิ่มการทําการตลาดเพื่อดึงดูดนักทองเที่ยว ดังนั้น รายไดเฉลี่ยตอหองพัก (RevPar) ในไตรมาสที่ 4 ของป 2552 จึงลดลงเปนเพียง 2,677 บาทตอคืน ซึ่งต่ํากวาปกอน ประมาณรอยละ 30

การทองเที่ยวของกรุงเทพฯ สาเหตุสํา คัญของผลกระทบในเชิงลบตออุตสาหกรรมการทองเที่ ยว เปนผลสื บเนื่องจากความไมสงบใน ปลายป 2551 ถึงไตรมาสที่ 1 ของป 2553 ทําใหอัตราการเขาพักเฉลี่ยในกรุงเทพฯ ลดลงอยางมากในป 2552 และ ลดลงต่ําสุดเมื่อเกิดเหตุการณความรุนแรงในไตรมาสที่ 1 ของป 2553

จํานวนหองและอัตราการเขาพักเฉลี่ยในกรุงเทพฯ จํา นวนหองพัก (หอง) 70,000 58,804 60,000 69.7% 50,000

58,718

60,593

67.6%

68.0%

63,823

80.0% 70.0%

53.8%

40,000

อัตราการเขาพักเฉลี่ย (รอยละ) 100.0% 63,823 90.0%

51.4%

60.0% 50.0%

30,000

40.0% 30.0% 20.0%

20,000 10,000

10.0%

0

0.0% 2548

2549

2550

2551

จํานวนหองพัก

ม.ค. - มิ.ย. 2552

อัตราการเข าพักเฉลี่ย

ที่มา : สํานักงานพัฒนาการทองเที่ยว

จํานวนนักทองเที่ยวแยกตามสัญชาติ และระยะเวลาพํานักเฉลี่ยในกรุงเทพฯ ลานคน 12.00

ระยะเวลาพํานักเฉลี่ย (วัน) 2.50

10.67

10.52

9.85

10.00 8.00

8.90 1.97

1.83

1.81

2.00

1.86

1.82

1.50

6.00 4.00

2.87

3.20

3.47

4.06

1.00

3.74 2.31

2.00

0.50 0.00

0.00 2548

2549 นักทองเที่ยวตางชาติ

2550 นักทองเที่ย วไทย

ที่มา : สํานักงานพัฒนาการทองเที่ยว

สวนที่ 1 หนา 52

2551

ม.ค. - มิ.ย. 2552 ระยะเวลาพํานักเฉลี่ย


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

โรงแรมตางๆ ไดใหสวนลดเพื่อดึงดูดนักทองเที่ยว สงผลใหราคาเฉลี่ยตอหองพัก (ADR) และรายไดเฉลี่ยตอ หองพัก (RevPar) ลดลงรอยละ 22.8 และรอยละ 31.9 ตามลําดับ ทั้งนี้แรงกดดันทางดานราคานั้น คาดวาจะยังคง สงผลกระทบตอเนื่อง จากจํานวนหองที่คาดวาจะสรางแลวเสร็จในสี่ปขางหนา ซึ่งมีจํานวนมากถึง 9,452 หอง

รายไดเฉลี่ยตอหองพัก (RevPar) และราคาเฉลี่ยหองพักตอวัน (ADR) ของโรงแรมชั้นนําในกรุงเทพฯ 2548

2549

2550

2551

2552

ราคาเฉลี่ยหองพักตอวัน (บาท)

5,349

5,607

5,669

6,030

4,658

รายไดเฉลี่ยตอหองพัก (บาท)

4,102

4,167

4,012

3,929

2,677

75

75

71

63

57

อัคตราการเขาพัก (รอยละ) ที่มา: CB Richard Ellis (Thailand)

โรงแรมที่คาดวาจะมีการเปดใหมในกรุงเทพฯ (จํานวนหอง) ประเภท โรงแรมระดับหรู (5 ดาว) โรงแรมระดับบน (4 ดาว) โรงแรมระดับปานกลาง (3 ดาว) โรงแรมระดับลาง (2 ดาว) รวม ที่มา: CB Richard Ellis (Thailand)

ชวงราคา 5,500 บาท ตอ คืน ขึ้นไป 4,500-5,500 บาท ตอ คืน 2,500-4,500 บาท ตอ คืน 1,000-2,500 บาท ตอ คืน

2553F 736 1,486 866 562 3,650

25541F 730 1,438 899 860 3,927

2555F 245 780 ไมมี ไมมี 1,025

2556F 150 700 ไมมี ไมมี 850

ประมาณการจํานวนหองพักที่จะเพิ่มขึ้นอีกจํานวน 9,452 หองภายในสี่ปขางหนานี้ คิดเปนรอยละ 35 ของ จํานวนหองทั้งหมดที่มีอยูในปจจุบัน ซึ่งจะเปนการเพิ่มแรงกดดันใหกับโรงแรม โดยเฉพาะโรงแรมที่อยูระดับบน สวน โรงแรมที่อยูระดับต่ํา-กลางคาดวาจะมีแนวโนมที่ดี เห็นไดจากอัตราผลตอบแทนที่สูงขึ้นของการเปดโรงแรม 2 ดาวหรือ 3 ดาว ลักษณะการทองเที่ยวในประเทศไทยเริ่มเปลี่ยนแปลงไป โดยมีนักทองเที่ยวจากทวีปเอเชียมากขึ้น โดยเฉพาะ ชาวอินเดียและชาวจีน ที่มีความตองการที่แตกตางกันในดานที่พักและจุดหมายปลายทาง ซึ่งจะเปนการเปดโอกาสใหม ใหกับธุรกิจการโรงแรม ประเทศไทยยังคงเปนจุดหมายในการทองเที่ยวที่นาสนใจ โดยประเทศไทยไดรับรางวัลจากนานาประเทศ อาทิเชน รางวัลเมืองทองเที่ยวที่ดีที่สุดของโลกในป 2553 (Best Tourist Destination 2010) จาก แกรนด ทราเวล อวอรด ประเทศสวีเดน (Swedish Grand Travel Award) ติดตอกันเปนปที่ 8 อีกทั้งยังไดรับเลือกเปนเมืองยอดนิยม (Most Popular Destination) จากชมรมโรงแรม (Hotel Club Award) ในป 2552 และยังไดรับรางวัลโรงแรมที่คุมคา ที่สุด ป 2553 (Best Value Hotels 2010) จากนิตยสารซันเดย ไทมส ทราเวล (Sunday Times Travel) การทองเที่ยว ยังคงจัดเปนภาคธุรกิจที่มีความสําคัญที่สุดภาคหนึ่งตอเศรษฐกิจไทย ดังนั้นรัฐบาลจึงใหการสนับสนุนเพื่อฟนฟูการ ทองเที่ยว และไดประกาศกําหนดมาตรการตางๆ เพื่อชวยเหลือธุรกิจการทองเที่ยว เชน การใหบุคคลธรรมดาสามารถ นําใบเสร็จคาใชจายหองพักในโรงแรมมาลดหยอนภาษีเงินไดถึง 15,000 บาท

สวนที่ 1 หนา 53


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

4.3

ธุรกิจสื่อโฆษณา

4.3.1

ลักษณะการดําเนินธุรกิจ

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

ภายใตสัญญาสัมปทานระบบขนสงมวลชนกรุงเทพกับกทม. บีทีเอสซี มีสิทธิในการดําเนินกิจการพาณิชย ใน หรือที่เกี่ยวกับระบบรถไฟฟา บีทีเอส ซึ่งรวมถึงการโฆษณาภายในระบบรถไฟฟาบีทีเอสทั้งบนสถานี และบนรถไฟฟา การพัฒนาพื้นที่บนสถานีเพื่อใหเชาเพื่อการพาณิชยตางๆ ซึ่ง บีทีเอสซี ไดใหสัมปทานแก วีจีไอ เปนผูดําเนินการ ภายใตสัญญาใหสิทธิ โดยมีสวนแบงรายไดให บีทีเอสซี ทุกวันนี้ การโฆษณาบนระบบรถไฟฟาบีทีเอสสามารถเขาถึงผูชมกลุมเปาหมายประมาณ 450,000 คนตอวัน ทํางาน ซึ่งเปนชองทางที่สามารถเขาถึงกลุมลูก คาไดสูงสุดชองทางหนึ่ง ระบบรถไฟฟาบีทีเอสมีพื้นที่สําหรับการ โฆษณาประมาณ 17,000 ตารางเมตรประกอบดวย ปายโฆษณาภาพนิ่ง 6,000 ปาย จอ Plasma 56 จอ จอ LCD ใน รถไฟฟา 630 จอ และ สื่อโฆษณาบนพื้นผิวรถไฟฟา 35 ตู นอกจากนี้ ยังมีพื้นที่เชิงพาณิชยใหเชาประมาณ 6,000 ตารางเมตร สําหรับรานคา 475 รานและซุมจําหนายสินคา(Kiosk) 262 ซุม บีทีเอสซีเห็นวาธุรกิจสื่อโฆษณาบนรถไฟฟาเปนธุรกิจที่มีความเกี่ยวของ และสามารถสรางมูลคาเพิ่มใหกับ บีทีเอสซีได รวมทั้งผลประกอบการตลอด 10 ปที่ผานมามีการเติบโตของรายไดและผลกําไรอยางตอเนื่องมาโดยตลอด บีทีเอสซีจึงไดเขาซื้อหุนทั้งหมดของวีจีไอเมื่อวันที่ 30 กันยายน 2552 โดยยังคางชําระคาหุนจํานวน 500 ลานบาท ซึ่ง ตามสัญญาซื้อหุนวีจีไอจะตองออกหุนเพิ่มทุนของบีทีเอสซี ใหกับผูขายหุนวีจีไอ ทั้งนี้ บีทีเอสซีและผูขายไดตกลงใน หลักการที่จะอางอิงราคาเสนอขายตอหุนที่จะออกใหแกผูขายกับราคาการเสนอขายหุนแกประชาชนทั่วไปเปนครั้งแรก ของบีทีเอสซี (Initial Public Offering) หรือราคาที่จะไดตกลงกัน อยางไรก็ตาม เนื่องจากบีทีเอสซีเปนบริษัทยอยของ บริษัทฯ แลว บีทีเอสซีจึงตกลงกับผูขายใหใช ราคาซื้อขายที่บริษัทฯ ไดมาซึ่งหุนบีทีเอสซี ในราคาหุนละ 2.665 บาท เปนราคาอางอิงแทนราคา IPO และในวันที่ 27 พฤษภาคม 2553 ที่ประชุมคณะกรรมการของบีทีเอสซี ไดมีมติอนุมัติ ใหจัดสรรหุนที่เหลือจากการรองรับการใชสิทธิแปลงสภาพหุนกูแปลงสภาพจํานวน 187,617,260 หุน ที่ราคาหุนละ 2.665 บาท เพื่อชําระคาหุนวีจีไอที่คางจาย ใหกับผูขายหุนวีจีไอ อยางไรก็ตาม ผูขายหุนวีจีไอตามสัญญาซื้อขายหุนที่ ทํากับบีทีเอสซี ไดโอนสิทธิในการรับหุนบีทีเอสซีจํานวนนี้ใหกับ บริษัท ไนซเทรดเดอร จํากัด ซึ่งเคยเปนผูถือหุนของ วี จีไอ ตามที่ปรากฏหลักฐานทางทะเบียนที่กระทรวงพาณิชย ณ วันที่ 19 มีนาคม 2552 บีทีเอสซี จึงจะไดออกหุนใหแก บริษัท ไนซเทรดเดอร จํากัด อยางไรก็ตาม การจัดสรรหุนดังกลาวจะตองไดรับการอนุมัติจากผูถือหุนบีทีเอสซีกอน วีจีไอยังคงดําเนินธุรกิจใหบริการโฆษณาและใหเชาพื้นที่เชิงพาณิชยบนระบบรถไฟฟาบีทีเอสตามสัญญาให สิทธิซึ่งจะหมดอายุในป 2557 โดยตลอดอายุของสัญญาบีทีเอสซีใหสิทธิ (License) วีจีไอแตเพียงผูเดียวในการบริหาร จัดการพื้นที่เชา รานคาและพื้นที่โฆษณาภายในโครงการระบบรถไฟฟาบีทีเอสซึ่งประกอบดวยพื้นที่สําหรับรานคายอย บนสถานีขายตั๋วผูโดยสาร และพื้นที่โฆษณาบนชานชาลารถไฟฟา และพื้นที่ผิวทั้งภายนอกและภายในขบวนรถไฟฟา อยางไรก็ตาม เมื่อวันที่ 11 กุมภาพันธ 2553 ที่ประชุมคณะกรรมการของบีทีเอสซี ไดมีมติใหขยายอายุของสัญญาให สิทธิ ไปจนถึงเวลาสิ้นสุดอายุสัญญาสัมปทานของบีทีเอสซี หรือธันวาคม 2572 โดยขณะนี้อยูในระหวางการแกไข สัญญาดังกลาว

สวนที่ 1 หนา 54


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

ขอบเขตการใหบริการของวีจีไอรวมถึง

การบริหารภาพรวมของการตลาดและการสงเสริมการขาย

การออกแบบพื้นที่

การกอสรางและติดตั้งอุปกรณที่ใชในการโฆษณา

การวางแผนการตลาดและแผนการขายสําหรับพื้นที่ใหบริการโฆษณาและพื้นที่ขายสินคา

การดําเนินการขาย

วีจีไอเปนผูรับผิดชอบคาใชจายในการลงทุนและการดําเนินการทั้งหมด รวมถึงคาวัสดุอุปกรณ (เชน จอ LCD) คาใชจายตางๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับการกอสรางรานคายอย คาติดตั้งระบบสาธารณูปโภค และคาใชจายที่เกี่ยวกับการติดตั้ง ปายโฆษณา นอกจากนี้วีจีไอยังมีหนาที่ในการบํารุงรักษาซอมแซมอุปกรณตลอดระยะเวลาของสัญญา คาธรรมเนียมที่วีจีไอจายใหแกบีทีเอสซีขึ้นอยูกับอัตราสวนของรายไดดังตอไปนี้

รอยละ 50 ของรายไดที่เกิดขึ้นจากการใหบริการพื้นที่เพื่อการโฆษณาและขายสินคา รอยละ 60 ของรายไดที่เกิดขึ้นจากการใหบริการพื้นที่เพื่อการโฆษณาบริเวณพื้นผิวรอบนอกของ ขบวนรถไฟฟา รอยละ 50 ของรายไดที่เกิดจากการใหบริการพื้นที่โฆษณาในบริเวณอื่นๆ นอกเหนือจากบริเวณที่ ตกลงไวในสัญญาใหสิทธิ

หากในปใดพื้นที่เพื่อการโฆษณาและขายสินคาที่จัดสรรใหแกวีจีไอมีขนาดลดนอยลงกวาจํานวนของพื้นที่ ทั้งหมดที่ระบุไวในสัญญา ทั้งสองฝายจะตองเจรจาตกลงกันเพื่อปรับลดคาธรรมเนียมขั้นต่ําของปนั้นๆ ตามสัดสวนของ พื้นที่ที่ลดนอยลง โดยคาธรรมเนียมขั้นต่ําที่กําหนดไวแตละปจะมีการปรับเพิ่มขึ้นตามการเพิ่มขึ้นของจํานวนผูโดยสาร ของรถไฟฟาบีทีเอส แตคาธรรมเนียมขั้นต่ําตลอดอายุสัญญาจะตองไมเกินกวา 200 ลานบาท หากในปใดคาธรรมเนียม ที่วีจีไอจะตองชําระใหแกบีทีเอสซีตามสัดสวนรายไดที่ระบุไวในสัญญา มีจํานวนสูงกวาคาธรรมเนียมขั้นต่ําที่กําหนดไว วีจีไอจะตองจายคาธรรมเนียมตามสัดสวนรอยละของรายไดจริง ในงวดปบัญชี 2551 2552 และ 2553 บีทีเอสซีมีรายได ตามสัญญาใหสิทธิจากวีจีไอจํานวน 277.3 ลานบาท 344.8 ลานบาท และ 416.6 ลานบาท ตามลําดับ ในชวง 5 ปที่ผานมา กลุมวีจีไอไดขยายขอบเขตการดําเนินธุรกิจ โดยมุงเนนการใหบริการโฆษณาพื้นที่ โฆษณาปายภาพนิ่งและจอแอลซีดีในรานคา Modern Trade ไดแก เทสโก โลตัส และเทสโกโลตัส เอ็กซเพรส บิ๊กซี ซูเปอรเซ็นเตอร คารฟูร และวั ตสัน โดยวีจีไอไดรับสิทธิแตเพียงผูเดียวในพื้น ที่ตามที่ ระบุในสัญญาซึ่ งสวนใหญมี ระยะเวลาประมาณ 4-5 ป ในปจจุบัน กลุมวีจีไอบริหารพื้นที่โฆษณาในเทสโกโลตัสจํานวน 188 สาขา เทสโกเอ็กซเพรสจํานวน 528 สาขา บิ๊กซีจํานวน 67 สาขา คารฟูรจํานวน 36 สาขา และวัตสันจํานวน 150 สาขาทั่วประเทศ ในป 2552 กลุมวีจีไอได ติดตั้งจอ LCD จํานวน 1,321 จอ ในซุปเปอรมารเก็ต ในเทสโกโลตัส 31 สาขาทั่วกรุงเทพและปริมณฑล ซึ่งกลุมบริษัท วีจีไอ จัดเปนผูประกอบการที่มีเครือขายสื่อโฆษณาภาพเคลื่อนไหวในระบบดิจิตอล ณ จุดขายที่มีเทคโนโลยีทันสมัย และมีเครือขายการใหบริการใหญที่สุดแหงหนึ่งและครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศไทย นอกจากนี้ เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม 2552 วีจีไอยังไดเขาลงทุนในหุนสามัญทั้งหมดของพีโอวี ซึ่งเปนผูใหบริหาร สื่อโฆษณาในอาคารสํานักงานชั้นนําขนาดใหญ และสถานบันเทิงตางๆ ดวยมูลคาเงินลงทุนจํานวน 90 ลานบาท เปาหมายของการซื้อ พีโอวีคือ การจับตลาดผูชมระดับกลางถึงสูง เพื่อเจาะฐานงบโฆษณาที่ใหญขึ้นและเพื่อที่จะเปนผู สวนที่ 1 หนา 55


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

ดวยสิทธิแตเพียงผูเดียวในพื้นที่ระบบรถไฟฟาบีทีเอส ประกอบกับการมีพื้นที่ในหางคาปลีกขนาดใหญชั้นนํา 4 แบรนด ซึ่ ง มี ส าขาทั่ ว ประเทศและมี ส ว นแบ ง การตลาดตามยอดขายถึ ง ร อ ยละ 75 ของร า นค า ปลี ก และอาคาร สํานักงานชั้นนํา 41 แหงในกรุงเทพ วีจีไอจึงเปนหนึ่งในผูประกอบการที่ใหญที่สุดแหงหนึ่งในตลาดสื่อ “Out-of-Home” โดยสื่อของกลุมวีจีไอมีขีดความสามารถในการเขาถึงผูชมตลอดทั้งวันและทุกวันในเสนทางขนสงมวลชนขนาดใหญตาม แนวรถไฟฟาและในสถานที่ที่มีผูบริโภคสื่อทั่วประเทศออกไปใชชีวิตประจําวันนอกบาน หลังจากที่บีทีเอสซีไดถือหุนในวีจีไอทั้งหมดแลวเมื่อวันที่ 30 กันยายน 2552 แลว จากนั้น บีทีเอสซีไดรับรู รายไดและคาใชจายของกลุมวีจีไอทั้งหมด แทนการรับรูตามสวนแบงรายไดที่บีทีเอสซีไดรับแบงจากวีจีไอ ตามสัญญา ใหสิทธิ สําหรับงวดปบัญชีสิ้นสุด 31 ธันวาคม 2552 รายไดของกลุมวีจีไอประมาณรอยละ 80 มาจากการบริหารพื้นที่ โฆษณาบนระบบรถไฟฟา บีทีเอส และอีกประมาณรอยละ 20 จากการบริหารพื้นที่โฆษณาใหรานคาปลีก และรายได อื่นๆ 4.3.2

ภาวะอุตสาหกรรม

ธุรกิจโฆษณาเปนธุรกิจใหญธุรกิจหนึ่ง โดยมีคาใชจายโฆษณาในป 2552 เปนมูลคา 90,217 ลานบาท และมี การเติบโตอยางทั้งจากการเติบโตในชองทางโฆษณาเดิม และชองทางการโฆษณาใหมๆ เชน สื่อโฆษณาในระบบขนสง มวลชน สื่อโฆษณาในหางสรรพสิน คาและรานคาปลีก และสื่อโฆษณาในอินเตอรเนท ชองทางการโฆษณาใหมๆ เหลานี้ เปนชองทางที่มีการเติบโตอยางรวดเร็วในระยะ 3 ปที่ผานมา ยอดการใชงบโฆษณาในอุตสาหกรรมสื่อโฆษณา ในประเทศไทย

TV อัตราการเติบโต Radio อัตราการเติบโต Newspapers อัตราการเติบโต Magazines อัตราการเติบโต Cinema อัตราการเติบโต Outdoor อัตราการเติบโต Transit อัตราการเติบโต In store

2549 53,473 6,596 15,425 6,179 2,086 4,667 994 314

มกราคม - ธันวาคม 2550 2551 53,491 51,137 0.03% (4.40%) 6,318 6,933 (4.21%) 9.73% 15,809 15,282 2.49% (3.33%) 6,067 5,998 (1.81%) (1.14%) 4,341 4,173 108.10% (3.87%) 4,481 4,229 (3.99%) (5.62%) 956 1,372 (3.82%) 43.51% 570 826

สวนที่ 1 หนา 56

2552 52,935 3.52% 6,165 (11.08%) 14,149 (7.41%) 5,227 (12.85%) 4,947 18.55% 3,960 (6.36%) 1,755 27.92% 820

มกราคม - เมษายน 2552 2553 16,441 18,892 14.91% 1,813 1,818 0.28% 4,184 4,611 10.21% 1,627 1,595 (1.97%) 1,274 1,619 27.08% 1,355 1,245 (8.12%) 606 683 12.71% 277 346


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

2549 อัตราการเติบโต Internet อัตราการเติบโต Total อัตราการเติบโต

89,735

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

มกราคม - ธันวาคม 2550 2551 81.53% 44.91% 172 92,035 2.56%

90,120 (2.08%)

2552 (0.73%) 259 50.58% 90,217 0.11%

มกราคม - เมษายน 2552 2553 24.91% 60 88 46.67% 27,636 30,898 11.80%

แหลงขอมูลโดย The Nielsen Company (Thailand)

จากผลการสรุปรายงานการสํารวจของบริษัท นิลสัน (ประเทศไทย) แสดงใหเห็นวา โครงสรางอุตสาหกรรม โฆษณามีการเปลี่ยนแปลง โดยผูลงโฆษณามีแนวโนมที่จะจัดสรรงบโฆษณาโดยเลือกใชสื่อแนวใหมๆ ที่ใหความคุมคา และมีขีดความสามารถที่จะครอบคลุมและเขาถึงกลุมเปาหมายไดทั้งกลุมเปาหมายไดทั้งกลุมเฉพาะเจาะจง (Selected profile) และกลุมลูกคาฐานกวาง (Mass market) ในสัดสวนที่เพิ่มมากขึ้น ซึ่งจากขอมูล The Nielsen Company (Thailand) ขางตน จะเห็นไดวาสื่อโฆษณาประเภทสื่อเคลื่อนที่ หรือประเภท Transit และสื่อโฆษณาประเภท In-store มีการเติบโตในอัตราการที่สูงตอเนื่องแมในสภาวะเศรษฐกิจถดถอยในชวง 2 ปที่ผานมา บริษัทผูใชจายดานการโฆษณา รายใหญที่สุด 5 ราย ในป 2552 นั้น เปนผูผลิตสินคาอุปโภคบริโภคจากตางประเทศ ไดแก Unilever (Thai) Holdings, Procter & Gamble (Thailand), L'Oreal, Beiersdorf (Thailand) และ Coca-Cola โดยในป 2552 นั้น 5 บริษัทนี้ มี คาใชจายโฆษณารวมกันเปนเงิน 11,751 ลานบาท คิดเปนรอยละ 13 ของคาใชจายโฆษณาทั้งหมดในป 2552 การเลือกใชสื่อในอุตสาหกรรมสื่อโฆษณาในประเทศไทยโดยรวมเปรียบเทียบระหวางชวงตนป (ม.ค.-เม.ย.) 2553 กับชวงเวลาเดียวกันของป 2552 มีการปรับตัวเพิ่มขึ้น แมวาจะไดรับผลกระทบจากปจจัยภายนอกทั้งจากดาน ภาวะเศรษฐกิจโลกและภาวะการเมืองในประเทศ อัตราการเติบโตของคาใชจายโฆษณาคิดเปนอัตรารอยละ 12.71 ใน สื่อเคลื่อนที่ และ อัตรารอยละ 24.91 สื่อในหางสรรพสินคา / รานคา Modern Trade (อินสโตร) อยางไรก็ตาม ปจจัย ลบจากการจราจลทางการเมืองที่เกิดขึ้นในเดือนพฤษภาคม 2553 นี้ รวมถึงผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจในกลุมยูโร โซน ที่อาจสงผลกระทบตอผูประกอบการจํานวนมาก และเศรษฐกิจมหภาคของประเทศ อาจทําใหผูลงโฆษณาบางกลุม อาจจําเปนตองลดคาใชจายโฆษณาลงและอาจมีผลกระทบตอการโฆษณาผานสื่อตางๆ ไดในชวงครึ่งปหลังของป 2553

อุตสาหกรรมสื่อเคลื่อนที่ / ระบบขนสงมวลชน

ระบบรถไฟฟาบีทีเอส เปนอีกทางเลือกไดรับความนิยมเพิ่มสูงขึ้นอยางตอเนื่อง ตลอดในระยะ 5 ปที่ผานมา เนื่องจากระบบรถไฟฟาบีทีเอส และรถไฟใตดิน เปนระบบขนสงมวลชนที่อยูใจกลางยานธุรกิจในกรุงเทพฯ และ ทําให เปนสื่อโฆษณาที่สามารถเขาถึงกลุมเปาหมายแบบเจาะจงเฉพาะกลุมไดดี ทั้งยังไดความถี่ในการสื่อสารถึงผูบริโภค โดยตรงอีกดวย นอกจากนี้ ยังเปนสื่อที่เขาถึงผูชมที่มีจํานวนเฉลี่ยผูโดยสารในแตละวันที่ใหบริการเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง การปรับตัวสูงขึ้นตอเนื่องของจํานวนผูโดยสารเฉลี่ยตอวัน สาเหตุมาจากการที่ระบบขนสงมวลชนในกรุงเทพฯ ปจจุบัน สามารถตอบสนองการเดินทางในชีวิตประจําวันที่สะดวกยิ่งขึ้น รวมถึงสาเหตุจากการเชื่อมตอขยายเสนทางไปฝงธนบุรี และทางเชื่อมตอกับรถไฟฟาใตดินหรือเอ็มอารที ทั้งนี้ การเพิ่มฐานผูรับชมสื่อยิ่งมากขึ้นเทาไร ความนิยมและมูลคาการ โฆษณาของสื่อนั้นๆ ก็จะเพิ่มมากยิ่งขึ้นดวยเชนกัน ดังนั้นเมื่อมีการเชื่อมตอกับระบบขนสงมวลชนหลักอื่นๆเชน แอร พอรตลิ้งค และ รถดวนพิเศษบีอารที ก็จะสงผลดีตออัตราการเติบโตของอุตสาหกรรมสื่อเคลื่อนที่ หรือ สื่อบนระบบ ขนสงมวลชน

อุตสาหกรรมสื่อในหางสรรพสินคา / รานคา Modern Trade

จากการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผูบริโภค ทําใหการแขงขันในธุรกิจสื่อโฆษณาในหางสรรพสินคา / รานคา Modern Trade มีการปรับตัว การเลือกวางสื่อในหางสรรพสินคา / รานคา Modern Trade เปนปจจัยที่สําคัญในการ สวนที่ 1 หนา 57


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

ปจจุบันรานคา Modern Trade ชั้นนําในประเทศไทย ประกอบดวย เทสโก บิ๊กซี คารฟูร และ ทอปส ซุปเปอร มาเก็ต โดยคูแขงที่สําคัญของวีจีไอสําหรับสื่อในหางสรรพสินคา / รานคา Modern Trade คือ RS In-store ซึ่งเนนการ โฆษณาผานวิทยุและ จอ LCD ภายในรานคา (In-store LCD) สื่อโฆษณาในหางสรรพสินคา / รานคา Modern Trade (In-store) ประเภท เทสโก บิ๊กซี วิทยุ วีจีไอ RS In-Store LCD ภายในรานคา วีจีไอ Absolute Impact Visual Signboard / Lightbox วีจีไอ วีจีไอ On-Shelf ACT Media Demo Tasting Demo Power Demo Power

คารฟู RS In-Store RS In-Store วีจีไอ IMS Demo Power

ทอปส RS In-Store RS In-Store ACT Media Demo Power

ขอมูล ณ 15 พฤษภาคม 2553

4.4

ธุรกิจใหบริการ

4.4.1

ธุรกิจสมารทการด

บี ที เ อสซี ได จั ด ตั้ ง บริ ษั ท บางกอก สมาร ท การ ด ซิ ส เทม จํ า กั ด เพื่ อ ให บ ริ ก ารบั ต รเงิ น อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส (E-Money) และไดรวมลงนามสัญญาพัฒนาระบบบัตรโดยสารรวมกับ บริษัท รถไฟฟากรุงเทพ จํากัด (มหาชน) (“บีเอ็ม ซีแอล”) ซึ่งเปนผูเดินรถไฟฟาใตดิน เพื่อรวมกันดําเนินงานระบบบัตรโดยสารรวมสําหรับระบบขนสงมวลชนของทั้งสอง ฝาย ทั้งนี้ เพื่อเปนการอํานวยความสะดวกแกผูโดยสารใหสามารถใชบัตรโดยสารเพียงใบเดียวเดินทางกับระบบขนสง มวลชนทั้งสองระบบ นอกจากนี้ ในอนาคต บีทีเอสซี อาจใหธนาคารพาณิชย รานคา และผูใหบริการตางๆ เขารวมใช ระบบสมารทการดนี้ไดเพื่อใหบัตรเปนที่ยอมรับอยางกวางขวางมากขึ้น และทําใหผูโดยสารไดรับความสะดวกมากขึ้น ตามไปดวย ในปจจุบันบริษัท บางกอก สมารทการด ซิสเทม จํากัด อยูระหวางการเตรียมการขอใบอนุญาตประกอบ กิจการที่เกี่ยวของกับบัตรเงินอิเล็กทรอนิกส (E-Money) จากธนาคารแหงประเทศไทย ทั้งนี้ บีทีเอสซีตกลงใหสิทธิบีเอ็มซีแอลเขาลงทุน และถือหุนในบริษัท บางกอก สมารทการด ซิสเทม จํากัด ได ตามสัดสวนจํานวนผูโดยสารเฉลี่ยรายวันของบีทีเอสซี และบีเอ็มซีแอลในรอบ 6 เดือนลาสุดกอนวันที่บีเอ็มซีแอลจะเขา ซื้อหุน นอกจากนี้ภายในกําหนดเวลา 3 เดือนนับจากวันที่บีเอ็มซีแอลไดเขาเปนผูถือหุนในบริษัท บางกอก สมารท การด ซิสเทม จํากัด หรือระยะเวลาอื่นใดที่คูสัญญาจะเห็นชอบรวมกัน คูสัญญาตกลงใหสิทธิธนาคารพาณิชยไทยที่บีที เอสซี และบีเอ็มซีแอลเสนอชื่อฝายละหนึ่งราย เขาเปนผูรวมลงทุน และถือหุนในบริษัท บางกอก สมารทการด ซิสเทม จํากัด ไดในสัดสวนการเขาถือหุนรวมกันแลวไมเกินรอยละ 10 ของทุนจดทะเบียนทั้งหมด ในราคาหุนที่คูสัญญาจะได ตกลงรวมกันตอไป

สวนที่ 1 หนา 58


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

ทั้งนี้เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2553 บีทีเอสซี ไดขายหุนรอยละ 10 ใน บริษัท บางกอก สมารทการด ซิสเทม จํากัด ใหกับ ธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) ในราคา 20 ลานบาท ทําใหบีทีเอสซีถือหุนใน บริษัท บางกอก สมารท การด ซิสเทม จํากัด ลดลงเหลือรอยละ 90 4.4.2

ธุรกิจบริหารโรงแรม

บริษัทฯ ไดรวมทุนกับผูรวมทุนซึ่งมีประสบการณบริหารโรงแรมมาอยางยาวนาน เพื่อจัดตั้งแอบโซลูท เพื่อ ใหบริการและคําปรึกษา และใหบริหารจัดการโรงแรมภายใตแบรนด “U” และ “Eastin” ซึ่งแอบโซลูทเปนเจาของ ทั้งนี้ นอกจาก ยู เชียงใหม แอ บโซลูท มีขอตกลงที่จ ะบริหารโรงแรมของบริษั ทฯ อีก 2 แหง ภายในแบรนด “U” คือที่ กาญจนบุรี ซึ่งอยูระหวางการปรับปรุงใหม และที่เขาใหญซึ่งอยูระหวางออกแบบโครงการ ในเดื อนกุมภาพันธ 2553 บริษัทฯ ไดจัดตั้งบริษัทรวมทุนในฮองกงกับผูรวมทุนกลุมเดียวกัน ภายใตชื่อ บริษัท แอบโซลูท โฮเต็ล เซอรวิส ฮองกง ลิมิเต็ด เพื่อประกอบธุรกิจบริหารจัดการโรงแรมและใหบริการที่ปรึกษาใน ภูมิภาคเอเชียแปซิฟค และเปนบริษัทลงทุนในหุนของบริษัทในภูมิภาคเอเชียแปซิฟคซึ่งดําเนินกิจการบริหารจัดการ โรงแรมและใหบริการที่ปรึกษา 4.4.3

ธุรกิจรับเหมากอสราง

บริษัทฯ ไดรวมลงทุนกับฮิบเฮง โอเวอรซี ลิมิเต็ด ซึ่งเปนบริษัทที่เชี่ยวชาญดานการกอสรางจากฮองกงซึ่งมี ประสบการณในการกอสรางโครงการขนาดใหญในตางประเทศและมีความรูและเทคโนโลยีการกอสรางเปนอยางดี เพื่อ จัดตั้งฮิบเฮง ซึ่งดําเนินธุรกิจรับเหมากอสราง โดยโครงการแรกของฮิบเฮง คือ โครงการโรงแรม Four Points by Sheraton ซึ่ง บีทีเอส แอสเสทส เปนเจาของโครงการ 4.4.4

ธุรกิจสนามกอลฟ

บริษัทฯ ดําเนินธุรกิจกอลฟคลับในโครงการธนาซิตี้ บนถนน บางนา-ตราด ผานบริษัทยอย ชื่อบริษัท ธนาซิตี้ กอลฟ แอนด สปอรต คลับ จํากัด ซึ่งใหบริการกอลฟคลับ และสนามกอลฟมาตรฐาน 18 หลุม 4.5

โครงการในอนาคต

4.5.1

ธุรกิจระบบขนสงมวลชน 4.5.1.1 ระบบอาณัติสัญญาณ

ปจจุบันบีทีเอสซีมีแผนการที่จะเพิ่มประสิทธิภาพของระบบอาณัติสัญญาณ และไดลงนามในสัญญากับกลุม บริษัท บอมบารดิเอร (Bombardier) ในเดือนกุมภาพันธ 2550 เพื่อปรับเปลี่ยนระบบอาณัติสัญญาณของระบบรถไฟฟา บีทีเอสทั้งหมด ซึ่งระบบใหมนี้จ ะสามารถรองรับการใหบริการในสวนตอขยายของระบบรถไฟฟาไดดีขึ้น ช วยลด คาใชจายในการซอมบํารุงเนื่องจากเปนระบบที่ทันสมัยขึ้น นอกจากนี้ ระบบใหมนี้ยังทําใหบีทีเอสซีพึ่งพาผูใหบริการ นอยลงเนื่องจากตามสัญญาบีทีเอสซีจะไดรับขอมูลทางเทคนิคที่จําเปนตอการดําเนินงานมากขึ้น ทั้งยังจะไดรับการ ฝกอบรมจากบริษัท บอมบารดิเอร ซึ่งทําใหบีทีเอสซีสามารถดําเนินการตางๆ ไดดวยตนเอง

สวนที่ 1 หนา 59


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

การติดตั้งระบบอาณัติสัญญาณใหมนี้ บีทีเอสซีจะตองใชเงินลงทุนทั้งหมดประมาณ 16.86 ลานยูโร และ 583.67 ลานบาท ซึ่ง ณ วันที่ 31 มีนาคม 2553 บีทีเอสซีมีกําหนดชําระเงินลงทุนที่เหลือในการเปลี่ยนแปลงและ ปรับปรุงระบบอาณัติสัญญาณการเดินรถเปนจํานวนเงินประมาณ 243.2 ลานบาท 1.9 ลานเหรียญยูโร และ 0.9 ลาน เหรียญสหรัฐฯ ภายในเดือนธันวาคม 2553 ทั้งนี้ ระบบใหมจะเริ่มใชงานในสายสีลมกอน และใชงานไดทั้งสองเสนทาง ภายในเดือนธันวาคม 2553 4.5.1.2 การสั่งซื้อขบวนรถไฟฟาเพิ่มเติม เพื่อรองรับความตองการของผูโดยสารที่เพิ่มขึ้นสําหรับโครงการรถไฟฟาสายปจจุบัน และเพื่อใหบริการ โครงการรถไฟฟาสวนตอขยายสายสีลมและสายอื่นๆ บีทีเอสซีไดสั่งซื้อรถไฟฟาอีก 12 ขบวนจากซีอารซีซึ่งเปนบริษัท ผลิตรถไฟและรถไฟฟาชั้นนําในประเทศจีน โดยรถไฟฟาแตละขบวนจะมี 4 ตูรวมเปน 48 ตู ซึ่งจะนําไปใหบริการใน สายสีลม พรอมทั้งนํารถที่ใชอยูเดิมทั้งหมดมาใหบริการในสายสุขุมวิทเพิ่ม โดยซีอารซีจะทยอยนําขบวนรถไฟฟา ทั้งหมดเขามาในประเทศไทยภายในมิถุนายน 2553 โดยจะทดลองวิ่ง และคาดวาจะพรอมใหบริการในเดือนธันวาคม 2553 ณ วันที่ 31 มีนาคม 2553 บีทีเอสซียังคงตองชําระคารถไฟฟาดังกลาวเพิ่มเติมอีกเปนจํานวนเงินประมาณ 42.5 ลานเหรียญสหรัฐฯ และ 26 ลานบาท ตามลําดับ จากเงินลงทุนที่คาดวาจะใชทั้งหมดเปนจํานวน 65.42 ลานเหรียญ สหรัฐ ในสวนการตอเติมศูนยจอดและซอมบํารุงเพื่อรองรับจํานวนรถไฟฟาที่เพิ่มขึ้นนั้น บีทีเอสไดลงทุนไปแลวเต็ม จํานวน 4.5.1.3 ระบบขนสงมวลชนอื่นๆ นอกเหนือจากที่บีทีเอสซีไดรับการวาจางเปนผูใหบริการเดินรถและซอมบํารุงรถไฟฟาสวนตอขยายสายสีลม นั้น บีทีเอสซีก็ยังมีความสนใจจะรับเปนผูดําเนินการของโครงการรถไฟฟาในอนาคตทั้งที่เปนสวนตอขยายจากระบบ รถไฟฟาบีทีเอส และระบบขนสงมวลชนอื่นๆ ไมวาจะเปนแบบรับจางบริหารและดําเนินงาน หรือแบบที่บีทีเอสซีเปนผู ลงทุนบางสวนหรือทั้งหมด ทั้งนี้ บริษัทฯ และบีทีเอสซี จะพิจารณารายละเอียด ความเสี่ยง และคํานึงถึงประโยชนแกบี ทีเอสซี และผูถือหุนของบีทีเอสซี สวนตอขยายที่บีทีเอสมีความสนใจเปนพิเศษคือเสนทางรถไฟฟาสวนตอขยายสายวงเวียนใหญ - บางหวา และออนนุช - แบริ่ง ซึ่งมีลักษณะตอเนื่องกับระบบรถไฟฟาบีทีเอส ขณะนี้ กทม. ยังไมไดมีการกําหนดคัดเลือก ผูดําเนินการที่ชัดเจน อยางไรก็ตาม บีทีเอสซี เชื่อวาบีทีเอสซีมีโอกาสที่ดีในการไดรับการคัดเลือกเปนผูบริหารเสนทาง สว นต อ ขยายหรื อรั บ สั ม ปทาน เนื่ อ งจากโดยสภาพของรางรถไฟฟ า ที่ต อ เนื่ อ งกั น เป น สายเดี ย ว การบริห ารด ว ย ผูประกอบการรายเดียวยอมมีประสิทธิภาพสูงกวา สํ า หรั บ โครงการอื่ น ๆ โดยเฉพาะส ว นต อ ขยายสายสี เ ขี ย วจากหมอชิ ต ไปสะพานใหม และจากแบริ่ ง ไป สมุทรปราการ ซึ่งภาครัฐยังอยูระหวางการเตรียมการ และยังไมมีการสรุปแนวทางและบทบาทที่จะใหภาคเอกชนมีสวน รวมนั้น บีทีเอสซีมีแผนการที่จะติดตามอยางใกลชิด และจะประเมินโอกาสในการเขารวมประมูลไมวาจะเปนแบบที่บีที เอสซีเปนผูบริหารและดําเนินงานเทานั้น หรือแบบที่บีทีเอสซี ตองลงทุนกอสรางโครงสรางพื้นฐานเอง หากโอกาส ดังกลาวกอใหเกิดมูลคาเพิ่มแกบีทีเอสซี บีทีเอสซีก็จะพิจารณาลงทุน นอกจากนี้ บีทีเอสซี ยังมีความสนใจที่จะประกอบธุรกิจระบบขนสงมวลชนอื่นๆ อาทิเชน รถไฟฟาขนาดเบา (Light Rail) อีกทั้ง บีทีเอสซียังมีความสนใจที่จะประกอบธุรกิจระบบขนสงมวลชนในตางประเทศ โดยใชประโยชนจาก ประสบการณของบีทีเอสซี โดยอาจเปนการทําธุรกิจในรูปแบบตางๆ กัน ไมวาจะเปนการรับจางดําเนินการ การลงทุน หรือการเปนที่ปรึกษา สวนที่ 1 หนา 60


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

4.5.2

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

ธุรกิจอสังหาริมทรัพย 4.5.2.1 อสังหาริมทรัพยที่อยูในแนวเสนทางระบบขนสงมวลชน (1)

Four Points by Sheraton

โครงการโรงแรม 4 ดาว สูง 29 ชั้น จํานวน 430 หอง ตั้งอยูบนที่ดินเนื้อที่ 2 ไร 1 งาน 57 ตารางวา บนถนน สาทรใต ซึ่งสามารถเชื่อมตอกับสถานีรถไฟฟาสุรศักดิ์ได และเปนหนึ่งในไมกี่โรงแรมในบริเวณนี้ที่สามารถเชื่อมตอกับ สถานีรถไฟฟาบีทีเอสโดยตรง โครงการไดทําสัญญาวาจางกลุมโรงแรมสตารวูดเปนผูบริหารโรงแรมภายใตชื่อ “Four Points by Sheraton” โดยกลุมบริษัท ไดลงนามในสัญญากอสรางกับฮิบเฮงในแบบเหมารวมเบ็ดเสร็จ (turnkey) ทั้งนี้ ในเดือน มิถุนายน 2553 โครงการไดดําเนินการกอสรางแลวเสร็จกวารอยละ 20 และคาดวาจะสามารถกอสรางเสร็จ และพรอมเปดใหบริการภายในสิ้นป 2554 โดยมีเงินลงทุนที่จะตองใชสําหรับกอสรางประมาณ 3,000 ลานบาท โดย กลุมบริษัท ไดลงเงินลงทุนไปแลวประมาณ 1,200 ลานบาท และสวนที่เหลืออีกประมาณ 1,800 บาทนั้น กลุมบริษัท ไดรับอนุมัติวงเงินกูจากธนาคารแหงหนึ่งเปนที่เรียบรอยแลว ณ วันที่ 27 พฤศจิกายน 2551 ราคาประเมินที่ดินดังกลาวเปน 574 ลานบาท (2)

The Langham, Sukhumvit, Bangkok

โครงการโรงแรม 5 ดาว ประมาณ 210 หอง และเซอรวิสอพารทเมนท ประมาณ 128 หนวย ซึ่งไดทําสัญญา วาจางกลุมโรงแรม Langham เปนผูบริหารโรงแรมภายใตชื่อ “The Langham” และเซอรวิสอพารทเมนทภายใตชื่อ “The Langham Residence” โดยโครงการนี้ตั้งอยูบนถนนสุขุมวิท มีเนื้อที่ 3 ไร 1 งาน 69 ตารางวา ซึ่งสามารถ เชื่อมตอกับสถานีรถไฟฟานานาได Langham เปนแบรนดที่กอตั้งขึ้นเมื่อป 2408 และปจจุบันเปนแบรนดที่ไดรับการ ยอมรับอยางกวางขวางจากนักทองเที่ยวและผูเดินทางนานาชาติ The Langham Sukhumvit, Bangkok จะเปนโรงแรม แรกที่ใชแบรนด The Langham ในประเทศไทย โดยผูพักจะไดรับการตอนรับอยางหรูหราและคลาสสิก ทั้งนี้บริษัทฯ ไดวาจางสถาปนิกแลว ณ วันที่ 26 ธันวาคม 2550 ราคาประเมินของที่ดินดังกลาวเปน 822 ลานบาท (3)

The Langham Place, Phayathai, Bangkok

โครงการโรงแรม 4 ดาว ประมาณ 400 หอง ซึ่งไดทําสัญญาวาจางกลุมโรงแรม Langham เปนผูบริหาร โรงแรมภายใตชื่อ “Langham Place” โรงแรมตั้งอยูบนที่ดินบนถนนพญาไท เนื้อที่ 2 ไร 2 งาน 67 ตารางวา ซึ่ง สามารถเชื่อมตอกับสถานีรถไฟฟาพญาไท และสถานีรถไฟฟา Airport Link ได และอยูหางจากแหลงชอปปงและแหลง บันเทิงเพียงไมกี่นาที โดยแบรนด The Langham Place มีลักษณะรวมสมัยและ casual chic มากกวาแบรนดหลัก อยางเชน The Langham ทั้งนี้โครงการไดวาจางสถาปนิกแลว ณ 15 ธันวาคม 2551 ราคาประเมินที่ดินดังกลาวเปน 384 ลานบาท (4)

Abstracts Phahonyothin Park

โครงการคอนโดมิเนียมบนที่ดินเนื้อที่ประมาณ 22 ไร 2 งาน 18 ตารางวา ซึ่งเปนสินทรัพยอยางเดียวของ นูโวไลน ซึ่งบีทีเอสซี ถือหุนรอยละ 80 ที่ดินผืนดังกลาวตั้งอยูบนถนนพหลโยธิน ใกลหางสรรพสินคาเซ็นทรัลสาขา ลาดพราว อยูในแนวสวนตอขยายรถไฟฟาสายสีเขียวเขม และมีสิ่งปลูกสรางบนที่ดิน ปจจุบันนูโวไลนไดทําสัญญา สวนที่ 1 หนา 61


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

ณ เดือนพฤศจิกายน 2551 ราคาประเมินของที่ดินดังกลาวเปนที่ 2,023 ลานบาท (5)

Abstracts Sukhumvit 66/1

Abstracts Sukhumvit 66/1 เปนหนึ่งใน 2 โครงการที่ใชแบรนด “Abstracts” ของกลุมบริษัท โครงการ คอนโดมิเนียมแนวราบสไตลบูติคจํานวน 2 อาคาร แตละอาคารมีหองพัก 55 หอง ในรูปแบบ 1 หองนอน และ 2 หองนอน พรอมสิ่งอํานวยความสะดวก เชน สระวายน้ําและฟตเนส โดยโครงการตั้งอยูบนที่ดินรวมประมาณ 2 ไร ซึ่ง อยูหางจากสถานีรถไฟฟาบีทีเอสอุดมสุขบนสวนตอขยายสายสีเขียวเพียง 250 เมตร ทั้งนี้บริษัทฯ คาดวาจะเปดขาย โครงการครั้งแรกไดในชวง กลางป 2553 ณ วันที่ 29 มีนาคม 2553 ราคาประเมินของที่ดินดังกลาวเปน 51 ลานบาท (6)

JJ Park Phahonyothin

ที่ดินเนื้อที่ 15 ไร 2 งาน 63.3 ตารางวา ตั้งอยูบนถนนพหลโยธิน ใกลที่ตั้งสํา นักงานใหญข องบีทีเอสซี ขณะนี้อยูในระหวางการพิจารณาความเปนไปไดในการสรางอาคารที่พักอาศัย และอาคารสํานักงานบนที่ดินแปลงนี้ ณ วันที่ 29 มีนาคม 2553 ราคาประเมินของที่ดินดังกลาวเปนที่ 978 ลานบาท 4.5.2.2 อสังหาริมทรัพยที่อยูนอกแนวเสนทางระบบขนสงมวลชน (1)

โรงแรม ยู อินจันทรี

โครงการโรงแรมสไตลบูติค (Boutique Hotel) ระดับ 4 ดาว บนที่ดินประมาณ 5 ไร ริมฝงแมน้ําแคว ภายใต ชื่อ “โรงแรม ยู อินจันทรี” ในเครือ U Hotel & Resorts เปนโครงการที่มีโรงแรมเดิมอยูแลว ปจจุบันโครงการอยูใน ระหวางขั้นตอนปรับปรุงซอมแซมอาคารเดิม ภายในโครงการมีตนอินจันอายุมากกวา 100 ป ซึ่งจะเปนจุดเดนของ โรงแรม บริษัทฯ คาดวาโครงการจะเปดใหบริการภายใตแบรนด “U” ไดในเดือน พฤศจิกายน 2553 ณ วันที่ 29 มีนาคม 2553 ราคาประเมินของที่ดินดังกลาวเปน 59 ลานบาท (2)

โรงแรม ยู สาธร

โรงแรมภายใตแบรนด “U” บนที่ดินเนื้อที่ประมาณ 16.5 ไร ตั้งอยูในซอยอรรถการประสิทธิ์ ใกลถนนสาทร และศูนยกลางธุรกิจ เปนโครงการพัฒนาเปนโรงแรมแนวราบบนที่ดินเชาระยะเวลา 30 ป จากกรมธนารักษ ซึ่งขณะนี้ โครงการกําลังอยูในขั้นตอนการออกแบบรายละเอียดเพื่อเตรียมการกอสราง ในระหวางที่รอการอนุมัติจากหนวยงาน ราชการเพื่อที่จะเริ่มกอสราง โดยคาดวาจะเริ่มกอสรางไดภายในไตรมาสที่สามของป 2553

สวนที่ 1 หนา 62


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

(3)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

โรงแรม ยู เขาใหญ / ปราณคีรี

ที่ดินสําหรับโครงการโรงแรม ยู เขาใหญ มีเนื้อที่ประมาณ 20 ไร ตั้งอยูที่เขาใหญ จังหวัดนครราชสีมา โดย โครงการดังกลาวยังอยูในขั้นตอนการศึกษารูปแบบของโรงแรมระดับ 4 ดาว ณ วันที่ 29 พฤษภาคม 2553 ราคาประเมินของที่ดินดังกลาวเปน 8 ลานบาท โครงการปราณคีรีเปนพื้นที่ติดกับโครงการ ยู เขาใหญ โครงการดังกลาวมีเนื้อที่ประมาณ 625 ไร โดยบริษัทฯ กําลังศึกษาโอกาสในการพัฒนาโครงการในรูปแบบตางๆ ณ วันที่ 29 มีนาคม 2553 ราคาประเมินของที่ดินดังกลาวเปน 270 ลานบาท (4)

ที่ดินอื่นๆ

บริษัทฯ ยังมีที่ดินอื่นที่บริษัทฯ กําลังศึกษาทางเลือกในการขายที่ดินเหลานี้ถาไมสามารถพัฒนาเปนโครงการ ที่สรางผลตอบแทนใหกับผูถือหุน โดยที่ดินหลัก 2 แหงซึ่งอยูระหวางการพิจราณา คือ 1) ที่ดินบนหาดกมลา จังหวัด ภูเก็ต ซึ่งเปนที่ดินติดชายหาด ซึ่งมีเนื้อที่ประมาณ 455-3-59 ไร และมีราคาประเมินที่ 1,630 ลานบาท ณ วันที่ 29 มีนาคม 2553 และ 2) ที่ดินใกลสะพานพระรามเกา ซึ่งเปนที่ดินริมแมน้ําเจาพระยามีเนื้อที่ประมาณ 27-2-10 ไร และมี ราคาประเมิน 660 ลานบาท 4.5.3

ธุรกิจสื่อโฆษณา

สําหรับธุรกิจสื่อโฆษณาบนระบบรถไฟฟาบีทีเอสนั้น วีจีไอมีแผนที่จะสรรหาพื้นที่โฆษณาเพิ่มเติม โดยการเขา บริหารพื้นที่โฆษณาบนรถไฟฟาขบวนใหมของบีทีเอสซีอีก 12 ขบวน ซึ่งบีทีเอสซีมีแผนที่จะเริ่มนํามาใหบริการภายใน สิ้นป 2553 นอกจากนี้แลว ในสวนของสถานีนั้น วีจีไอจะติดตามโอกาสในการบริหารพื้นที่โฆษณาและรานคาบนสถานี รถไฟฟาซึ่งกอสรางโดยกทม. เชน สถานีกรุงธนบุรี และสถานีวงเวียนใหญ รวมถึงสถานีตอขยายในอนาคต โดยจะตอง มีการเจรจากับหนวยงานที่เกี่ยวของตอไป วีจไี อยังมีแนวคิดที่จะเขาบริหารพื้นที่โฆษณาของโครงการบีอารทีสายแรก (ชองนนทรี-ราชพฤกษ) ทั้งบริเวณ 12 สถานีและบนรถโดยสารบีอารทีจํานวน 25 คัน ซึ่งบีทีเอสซีไดรับเลือกเปนผูรับสัมปทานในการใหบริการจัดหารถ และเดินรถและบริหารสถานี สําหรับธุรกิจสื่อโฆษณาในรานคาปลีก วีจีไอมีโอกาสในการขยายพื้นที่โฆษณาตามจํานวนรานคาปลีก ที่ เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง โดยวีจีไอจะพิจารณาถึงความคุมคาในการลงทุนพัฒนาพื้นที่โฆษณาของแตละโครงการ

สวนที่ 1 หนา 63


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

การวิจัยและพัฒนา ประกาศของคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ.11/2552 เรื่อง หลักเกณฑ เงื่อนไข และวิธีการรายงานการ เปดเผยขอมูลเกี่ยวกับฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของบริษัทที่ออกหลักทรัพย ไดยกเลิกหัวขอนี้


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

5.

ทรัพยสินที่ใชในการประกอบธุรกิจ

5.1

ทรัพยสินสําคัญที่ใชในการประกอบธุรกิจของบริษัทฯ ทรัพยสินสําคัญที่ใชในการประกอบธุรกิจ ไดแก ที่ดินเปลา ที่ดินพรอมสิ่งปลูกสราง และอาคารที่สรางไวเพื่อขายและใหเชาในโครงการตางๆ มีรายละเอียดดังตอไปนี้

5.1.1

รายละเอียดโครงการที่ดําเนินการอยู ณ วันที่ 31 มีนาคม 2553 สถานที่ตั้งและราคาประเมิน ซึ่งประเมินโดย บริษัท บรูค เรียลเอสเตท จํากัด 5.1.1.1 โครงการเพื่อขาย จํานวนที่ดิน รายละเอียด

ที่ตั้ง

ทรัพยสินภายใตกรรมสิทธิ์ บมจ. บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส 1. โครงการธนาซิตี้ ถนนบางนา – ตราด กม.14 1.1 ทาวนเฮาสริมน้ําและริมสวน ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 1.2 ที่ดินเปลา ไพรมแลนด โซน เอ ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 1.3 ที่ดินเปลา ไพรมแลนด โซนบี,ซี ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ และดี 1.4 นูเวลคอนโดมิเนียม ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 1.5 เพรสทีจเฮาส II ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 1.6 เพรสทีจเฮาส III ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 1.7 ทาวนเฮาสฮาบิแทต ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 1.8 แคลิฟอรเนียน ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 1.9 เพรสทีจคอนโดมิเนียม ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ

จํานวน

18 หลัง 2 แปลง 32 แปลง 99 หองชุด 43 แปลง 84 แปลง 16 แปลง 31 แปลง 2 หองชุด

ราคาประเมิน

ไร

งาน

ตารางวา

(ลานบาท)

วันที่ทําการ ประเมิน

ราคาตาม บัญชี (ลานบาท) ณ 31 มี.ค. 53

2 35 23

2 -

15 19 60.50

54.60 213.50 277.80

29 มี.ค. 53 29 มี.ค. 53 29 มี.ค. 53

19.78 118.57 77.22

-

10,484.24 ตารางเมตร 30 3 90 22 1 82.40 1 3 68.80 7 2 70.30 856.36 ตารางเมตร

256.80 322.10 233.51 19.99 79.80 30.0

29 มี.ค. 53 29 มี.ค. 53 29 มี.ค. 53 29 มี.ค. 53 29 มี.ค. 53 29 มี.ค. 53

235.91 106.16 74.56 14.79 25.60 10.28

-

สวนที่ 1 หนา 64

ภาระผูกพัน


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

จํานวนที่ดิน รายละเอียด

ที่ตั้ง

ทรัพยสินภายใตกรรมสิทธิ์ บมจ. บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส 2. โครงการธนาเพลสกิ่งแกว 2.1 ที่ดินเปลา ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 2.2 คอนโดมิเนียม ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 3. ที่ดินเปลาในธนาซิตี้ 3.1 ที่ดินแปลงใหญ ฮาบิแทต ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 3.2 ที่ดินตรงขามเพรสทีจคอนโดมิเนียม ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ (ใกลศาลพระพรหม) 3.3 ที่ดินตรงขาม เพรสทีจเฮาส I ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 3.4 ขางที่ดิน ไพรมแลนด โซนบี ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 4. ที่ดินเปลานอกโครงการธนาซิตี้ 4.1ที่ดินซอยทางเดินเลียบคลองลาดกระบัง ตําบลราชาเทวะ อําเภอบางพลี (บางพลีใหญ) จังหวัดสมุทรปราการ 5. โครงการสุขุมวิท 66/1 5.1 ที่ดินพรอมสิ่งปลูกสราง (อยูระหวาง ถนนสุขุมวิท แขวงบางนา กอสราง) เขตบางนา กทม.

จํานวน

ไร

งาน

102 แปลง 99 หองชุด

18

1 แปลง 1 แปลง

9 4

3

1 แปลง 1 แปลง

3 11

1 แปลง

2 แปลง

ราคาประเมิน ตารางวา

3 99.20 5,972.62 ตารางเมตร

(ลานบาท)

ราคาตาม บัญชี ภาระผูกพัน วันที่ทําการ (ลานบาท) ประเมิน ณ 31 มี.ค. 53

197.5 79.9

29 มี.ค. 53 29 มี.ค. 53

99.87 80.30

-

53 44

54.8 29.0

29 มี.ค. 53 29 มี.ค. 53

30.46 16.21

-

3

38 34

18.5 71.0

29 มี.ค. 53 29 มี.ค. 53

10.32 39.47

-

10

2

6

15.80

29 มี.ค. 53

15.80

-

1

3

89

51.30

29 มี.ค. 53

66.10

-

สวนที่ 1 หนา 65


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

5.1.1.2 โครงการเพื่อใหเชา จํานวนที่ดิน รายละเอียด

ที่ตั้ง

1. โครงการธนาซิตี้ ถนนบางนา – ตราด กม. 14 (เพื่อใหเชา) 1.1 นูเวลคอนโดมิเนียม ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 2. อาคารพักอาศัยโครงการเดอะรอยัลเพลส และเดอะแกรนด (เพื่อใหเชา) 2.1 เดอะรอยัลเพลส 1* ซ.มหาดเล็กหลวง 1 ถ.ราชดําริ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กทม. 2.1 เดอะรอยัลเพลส 2* ซ.มหาดเล็กหลวง 2 ถ.ราชดําริ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กทม. 2.2 เดอะแกรนด* ซ.มหาดเล็กหลวง 2 ถ.ราชดําริ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กทม.

จํานวน

ราคาประเมิน วันที่ทําการ (ลานบาท) ประเมิน

ราคาตามบัญชี (ลานบาท) ณ 31 มี.ค. 53

ภาระผูกพัน

-

-

ตารางเมตร

2 หองชุด

-

--

195.64

4.50

29 มี.ค. 53

3.76

-

-

-

-

-

-

-

-

-

56 หองชุด

-

-

4,675.85

171.00

29 มี.ค. 53

171.00

-

26 หองชุด

-

-

1,616

58.50

29 มี.ค. 53

58.50

-

*ที่ดินซึ่งเปนที่ตั้งของเดอะรอยัลเพลส 1 & 2 และ เดอะแกรนด เปนที่ดินเชาสัญญาเชาระยะยาวกับสํานักงานพระคลังขางที่ โดยสัญญาเชาที่เดอะรอยัลเพลส 1 จะหมดสัญญา ณ 30 มิถุนายน 2570 สวนเดอะรอยัลเพลส 2 และเดอะแกรนดจะหมดสัญญา ณ 30 พฤศจิกายน 2570

5.1.1.3 ธุรกิจโรงแรม จํานวนที่ดิน รายละเอียด

ที่ตั้ง

ทรัพยสินภายใตกรรมสิทธิ์ ของบริษัทยอย 1. โรงแรม ยู เชียงใหม ถ.ราชดําเนิน ต.ศรีภูมิ อ. เมือง (กรรมสิทธของ บจ. เมืองทอง แอสเซ็ทส) ** จ. เชียงใหม

จํานวน

-

ไร

งาน

ตารางวา

1

1

38

**ที่ดินและสิ่งกอสราง เปนการเชาระยะยาว โดยสัญญาจะหมด ณ 31 มกราคม 2571

สวนที่ 1 หนา 66

ราคาประเมิน วันที่ทําการ (ลานบาท) ประเมิน -

-

ราคาตามบัญชี (ลานบาท) ณ 31 มี.ค. 53 89.36

ภาระผูกพัน

ธนาคาร กรุงเทพ จํากัด (มหาชน)


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

5.1.1.4 สนามกอลฟ จํานวนที่ดิน รายละเอียด

ที่ตั้ง

ทรัพยสินภายใตกรรมสิทธิ์ บมจ. บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส 1. สนามกอลฟและคลับเฮาส ถ.บางนาตราด กม.14 ต.บางโฉลง อ. บางพลี จ. สมุทรปราการ

5.1.2

จํานวน

5

ไร

งาน

ตารางวา

475

0

23.5

ราคาประเมิน วันที่ทําการ (ลานบาท) ประเมิน 2,652.3

29 มี.ค. 53

ราคาตามบัญชี (ลานบาท) ณ 31 มี.ค. 53 2,273.44

ภาระผูกพัน

ธนาคาร กรุงเทพ จํากัด (มหาชน)

รายละเอียดทรัพยสินที่ถือครองเพื่อการพัฒนาในอนาคต ณ วันที่ 31 มีนาคม 2553 สถานที่ตั้งและราคาประเมิน ซึ่งประเมินโดย บริษัท บรูค เรียลเอสเตท จํากัด จํานวนที่ดิน รายละเอียด

ที่ตั้ง

จํานวน

ทรัพยสินภายใตกรรมสิทธิ์ บมจ. บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส 1. ที่ดินเปลา ถนนราษฎรบูรณะ แขวงราษฎรบูรณะ กทม. 2. ที่ดินเปลา 3. ที่ดินเปลา 4. ที่ดินเปลา

ถนนบานน้ําลัด – บานแมยาว ต.ริมกก อ.เมืองเชียงราย จ.เชียงราย ต. จันจวาใต (ทาขาวเปลือก) อ.แมจัน จังหวัดเชียงราย ถนนเทพกษัตรีย ต.เกาะแกว อ.เมืองภูเก็ต จ.ภูเก็ต

ราคาประเมิน วันที่ทําการ (ลานบาท) ประเมิน

ราคาตามบัญชี (ลานบาท) ณ 31 มี.ค. 53

ภาระผูกพัน

ไร

งาน

ตารางวา

1 แปลง

27

2

10

660.60

29 มี.ค. 53

660.60

4 แปลง

21

3

60

11.0

29 มี.ค. 53

11.0

ธนาคาร กรุงเทพ จํากัด (มหาชน) -

82 แปลง 2 แปลง

1,162

3

56

30.30

29 มี.ค. 53

30.30

-

37

1

35

104.50

29 มี.ค. 53

29.75

-

สวนที่ 1 หนา 67


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

จํานวนที่ดิน รายละเอียด

ที่ตั้ง

ทรัพยสินภายใตกรรมสิทธิ์ของบริษัทยอย 1. ที่ดินเปลา ต. กมลา อ. กระทู จ. ภูเก็ต (กรรมสิทธิ์ของ บจ. กมลา บีช รีสอรท แอนด โฮเต็ล แมนเนจเมนท) 2. ที่ดินเปลา ต. โปงตาลอง อ. ปากชอง จ. นครราชสีมา (กรรมสิทธิ์ของ บจ. ปราณคีรี แอสเซ็ทส) 3. ที่ดินเปลา ต. โปงตาลอง อ. ปากชอง จ. นครราชสีมา (กรรมสิทธิ์ของ บจ.ธนายง ฟูด แอนด เบเวอเรจ) 4. ที่ดินเปลา ต. โปงตาลอง อ. ปากชอง (กรรมสิทธิ์ของ บจ.เมืองทอง จ. นครราชสีมา แอสเซ็ทส) 5. ที่ดินเปลา ต. โปงตาลอง อ. ปากชอง (กรรมสิทธิ์ของ บจ. สยาม เพจจิ้ง จ. นครราชสีมา แอนด คอมมิวนิเคชั่น) 6. ที่ดินเปลา 21 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล (กรรมสิทธของ บจ. สยาม เพจจิ้ง เขตจตุจักร กทม. แอนด คอมมิวนิเคชั่น) 7. ที่ดินพรอมสิ่งปลูกสราง ต.ทามะขาม อ.เมือง จ.กาญจนบุรี (กรรมสิทธิ์ของ บจ. เมืองทอง แอสเซ็ทส) 8. ที่ดินเปลา (กรรมสิทธิ์ของ บจ. ยงสุ) ต.คลองควาย อ.สามโคก จ.ปทุมธานี

จํานวน

ราคาประเมิน วันที่ทําการ (ลานบาท) ประเมิน

ราคาตามบัญชี (ลานบาท) ณ 31 มี.ค. 53

ภาระผูกพัน

ไร

งาน

ตาราง เมตร

40 แปลง

455

3

5.90

1,630.0

29 มี.ค.53

1,235.93

-

17 แปลง

482

-

41

212.5

29 มี.ค.53

186.48

-

1 แปลง

87

3

94

35.2

29 มี.ค.53

34.99

1 แปลง

20

-

-

8.0

29 มี.ค.53

16.03

2 แปลง

56

1

76

22.6

29 มี.ค.53

22.43

2 แปลง

-

-

71

14.2

29 มี.ค.53

14.20

-

13 แปลง

5

1

30

59.0

29 มี.ค.53

50.51

-

1 แปลง

26

0

11

26.0

29 มี.ค.53

14.16

-

สวนที่ 1 หนา 68


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

5.2

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

ทรัพยสินสําคัญที่ใชในการประกอบธุรกิจในสวนที่รอโอนชําระหนี้ตามแผนฟนฟูกิจการของบริษัทฯ ทรัพยสินสําคัญที่ใชในการประกอบธุรกิจในสวนที่รอโอนชําระหนี้ตามแผนฟนฟูกิจการไดแก ที่ดินเปลา ที่ดินพรอมสิ่งปลูกสราง และอาคาร สถานที่ตั้งและราคาประเมิน ซึ่งประเมินโดย บริษัท พสุพัฒน เรียลตี้ จํากัด จํานวนที่ดิน รายละเอียด

ที่ตั้ง

ทรัพยสินภายใตกรรมสิทธิ์ บมจ. บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส 1. กิ่งแกวคอนโดมิเนียม ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 2. บานมิตราคอนโดมิเนียม ถนนสุขุมวิท 39 แขวงคลองตัน เขตพระโขนง กทม.

ราคาประเมิน

-

-

ตารางเมตร

(ลานบาท)

วันที่ทําการ ประเมิน

ราคาตามบัญชี (ลานบาท) ณ 31 มี.ค. 53

73 หองชุด

-

-

3,774.21

39.92

2 เม.ย.47

39.92

3 หองชุด

-

-

438.05

13.56

2 เม.ย.47

2.16

จํานวน

ภาระผูกพัน

บรรษัทบริหาร สินทรัพยไทย บรรษัทบริหาร สินทรัพยไทย

สถานที่ตั้งและราคาประเมิน ซึ่งประเมินโดย บริษัท พสุพัฒน เรียลตี้ จํากัด จํานวนที่ดิน รายละเอียด

ที่ตั้ง

จํานวน

ไร

งาน

ตารางวา

ราคาประเมิน วันที่ทําการ (ลานบาท) ประเมิน

ราคาตามบัญชี (ลานบาท) ณ 31 มี.ค. 53

ภาระผูกพัน

ทรัพยสินภายใตกรรมสิทธิ์ บมจ. บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส 1. ที่ดินเปลา

ต.ทับไทร อ.โปงน้ํารอน จ.จันทบุรี

1 แปลง

2

-

96.7

2.24

18 มีค.47

2.24

2. ที่ดินเปลา

ทล. 108 กม. 77 ต.แมสอย อ.จอมทอง จ. เชียงใหม บริเวณนอกโครงการธนาซิตี้ ถ.บางนา-ตราด ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ

3 แปลง

6

-

60

0.74

1 มิย.47

0.74

4 แปลง

12

-

-

36.00

2 เม.ย.47

25.34

3. ที่ดินเปลา

สวนที่ 1 หนา 69

บรรษัทบริหาร สินทรัพยไทย บรรษัทบริหาร สินทรัพยไทย บรรษัทบริหาร สินทรัพยไทย


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

จํานวนที่ดิน รายละเอียด ทรัพยสินภายใตกรรมสิทธิ์บริษัทยอย 1. ที่ดินเปลา (กรรมสิทธิ์ของ บจ.สําเภาเพชร)

ที่ตั้ง

ต.นาเตย อ.ทายเหมือง จ.พังงา

จํานวน

19 แปลง

ราคาประเมิน

ไร

งาน

ตารางวา

(ลานบาท)

วันที่ทําการ ประเมิน

ราคาตามบัญชี (ลานบาท) ณ 31 มี.ค. 53

117

2

15

4.7

19 มีค. 47

4.7

จํานวนพื้นที่ใหเชา รายละเอียด ทรัพยสินภายใตกรรมสิทธิ์บริษัทยอย 1. ทีเอสทีทาวเวอร* (กรรมสิทธิ์ของ บจ.ดีแนล)

2. ยงสุ อพารทเมนท* (กรรมสิทธิ์ของ บจ.ยงสุ)

ที่ตั้ง

จํานวน

-

-

ตารางเมตร

ราคาประเมิน วันที่ทําการ (ลานบาท) ประเมิน

ราคาตามบัญชี (ลานบาท) ณ 31 มี.ค. 53

ถ.วิภาวดี-รังสิต เขตจตุจักร กทม.

1 แปลง

-

-

15,875.50

478.92

16 มี.ค.47

86.97

ซอยสุขุมวิท 39 เขตพระโขนง กทม.

1 แปลง

-

-

11,060.00

378.0

8 เม.ย.47

63.50

ภาระผูกพัน

บรรษัทบริหาร สินทรัพยไทย

ภาระผูกพัน

ธนาคารกสิกร ไทยในฐานะ ผูแทน ผูถือหุนกู ธนาคารกสิกร ไทยในฐานะ ผูแทน ผูถือหุนกู

* ทีเอสทีทาวเวอร และ ยงสุ อพารทเมนท เปนสวนหนึ่งของสินทรัพยหลักประกันตามแผนฟนฟูกิจการ ซึ่งศาลลมละลายกลางไดมีคําสั่งใหประมูลสินทรัพยดังกลาว โดยรายไดจากการประมูลจะจัดสรรใหเจาหนี้ตามสัดสวนหนี้ ทั้งนี้ บริษัทฯ ไดทําการประมูลขายทรัพย และไดผูชนะการประมูลแลวเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2552 ปจจุบันบริษัทฯ และผูชนะการประมูลอยูระหวางปฏิบัติตามขอกําหนดและเงื่อนไขของสัญญาระหวางกัน อนึ่งเจาหนี้สองรายไดยื่นคํารอง ตอศาลลมละลายกลางเพื่อใหยกเลิกการประมูลดังกลาว อยางไรก็ตาม ศาลลมละลายกลางไดมีคําสั่งยกคํารองดังกลาวแลวในวันที่ 9 มิถุนายน 2553 ขณะนี้ ยังอยูในระยะเวลาที่เจาหนี้สามารถอุทธรณคําสั่งของศาลลมละลายดังกลาวได

สวนที่ 1 หนา 70


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

5.3

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

นโยบายการลงทุนและการบริหารงานในบริษัทยอยและบริษัทรวม บริษัทฯ มีนโยบายการลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวมในลักษณะดังตอไปนี้

5.3.1

นโยบายการลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวม 5.3.1.1 นโยบายการลงทุนในบริษัทยอย

บริษัทฯ มีนโยบายลงทุนในกิจการที่สอดคลองหรือสนับสนุนธุรกิจหลักของแตละสายธุรกิจ เพื่อใช บริษัทยอยเปนตัวกําหนดตําแหนงทางการตลาดและความชัดเจนของแตละสายธุรกิจ และเพิ่มประสิทธิภาพในการ ประกอบธุรกิจและความคลองตัวในการเติบโตในแตละสายธุรกิจ โดยเฉพาะการลงทุนในกิจการที่สามารถเอื้อประโยชน ใหกับธุรกิจอื่นๆ ที่อยูในกลุมบริษัทดวยกันได 5.3.1.2 นโยบายการลงทุนในบริษัทรวม บริษัทฯ มีนโยบายรวมลงทุนกับบริษัทที่มีความชํานาญเฉพาะดานเพื่อเสริมธุรกิจหลักของกลุม บริษัท โดยจะรวมลงทุนไมต่ํากวารอยละ 25 5.3.2

นโยบายการบริหารงานในบริษัทยอยและบริษัทรวม 5.3.2.1 นโยบายการบริหารงานในบริษัทยอย

บริษัทฯ จะกําหนดแนวนโยบายในการดําเนินธุรกิจที่บริษัทฯ พิจารณาแลวเห็นวาเปนการเสริม ประสิทธิภาพและการดําเนินธุรกิจของกลุมบริษัทใหแกบริษัทยอย เพื่อใหเปนแนวทางเดียวกันและเพื่อใหบริษัทยอยได พิจารณาดําเนินงานในสวนของการปฏิบัติการดวยตนเอง 5.3.2.2 นโยบายการบริหารงานของบริษัทรวม เมื่อบริษัทฯ ไดเขารวมทุนกับบริษัทอื่นแลว บริษัทฯ จะสงตัวแทนเขาไปเปนกรรมการในบริษัทรวม นั้นๆ เพื่อเปนการติดตามการทํางานของบริษัทรวมวาไดดําเนินงานตามแนวทางที่บริษัทฯ ไดคาดหวังไว 5.4

ทรัพยสินที่ใชในการประกอบธุรกิจของบีทีเอสซี

5.4.1

ทรัพยสินถาวรหลักของบีทีเอสซี

ภายใตสัญญาสัมปทาน กรรมสิทธิ์ในงานโครงสรางตางๆ ที่บีทีเอสซีกอสรางขึ้น ไดแก เสาโครงสราง ทาง ยกระดับ อาคารโรงจอดและซอมบํารุง และสิ่งปลูกสรางอื่นๆ ซึ่งรวมเรียกวา งานโครงสรางระบบ (Civil Works) นั้น เปนลักษณะ BTO (Build Transfer and Operate) กลาวคือ บีทีเอสซีเปนผูลงทุนในการออกแบบและกอสรางงาน โครงสราง โดยเมื่อดําเนินการกอสรางเสร็จแลว กรรมสิทธิ์ในงานโครงสรางระบบตกเปนของกทม. โดยบีทีเอสซีมีสิทธิ และหนาที่แตเพียงผูเดียวในการครอบครอง และใชสอยงานโครงสรางระบบดังกลาว ทั้งนี้บีทีเอสซีไดดําเนินการโอน กรรมสิทธิ์ในทรัพยสินดังกลาวใหกทม. ไปแลวเมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2542

สวนที่ 1 หนา 71


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

สวนกรรมสิทธิ์ในระบบไฟฟาและเครื่องกลที่ใชกับระบบรถไฟฟาบีทีเอสซี (Electrical and Mechanical Works) ไดแก รถไฟฟา รางรถไฟฟา อุปกรณแหลงพลังงาน ระบบควบคุมคอมพิวเตอร ระบบอาณัติสัญญาณ ระบบ จัดเก็บคาโดยสาร และระบบสื่อสาร ซึ่งรวมเรียกวา ระบบไฟฟาและเครื่องกลนั้น เปนลักษณะ BOT (Build Operate and Transfer) กลาวคือ บีทีเอสซีเปนผูลงทุนในการออกแบบ กอสราง และบริหารโครงการ โดยบีทีเอสซีจะโอน กรรมสิทธิ์ในทรัพยนั้นเปนของกทม. เมื่อสัญญาสัมปทานสิ้นสุดลง นอกจากนี้ กทม. มีสิทธิที่จะขอรับโอนกรรมสิทธิ์ใน เครื่องใชสํานักงานของบีทีเอสซีที่เปนสังหาริมทรัพย โดยกทม. จะตองแจงใหบีทีเอสซีทราบลวงหนาเปนเวลาอยางนอย 1 ปกอนวันสิ้นสุดสัญญาสัมปทาน ณ วันที่ 31 มีนาคม 2552 และ 2553 บีทีเอสซีมีทรัพยสินถาวรหลักที่ใชในการประกอบธุรกิจ โดยมีมูลคาตาม บัญชีสุทธิหลังหักคาเสื่อมราคาสะสมตามที่ปรากฏในงบการเงินเฉพาะกิจการของบีทีเอสซีรวมทั้งสิ้น 43,304.1 ลานบาท 43,443.0 ลานบาท ตามลําดับ รายละเอียดดังนี้ รายการทรัพยสินถาวร

ลักษณะกรรมสิทธิ์

ภาระผูกผัน

สิทธิในการใชทรัพยสินที่โอนใหกับ หนวยงานที่ควบคุม ระบบไฟฟาและเครื่องกล - รถไฟฟา - อุปกรณอื่นๆ ตนทุนโครงการอื่นๆ อะไหลรอสงมอบ รวม หัก คาตัดจําหนายตนทุนโครงการ สะสม หัก คาเผื่อการลดลงของมูลคาตนทุน โครงการ ตนทุนโครงการ - สุทธิ ตนทุนงานฐานรากรอโอน หัก คาเผื่อการลดลงของมูลคา ตนทุนงานฐานรากรอโอน ตนทุนงานฐานรากรอโอน – สุทธิ งานระหวางกอสราง รวมตนทุนโครงการ - สุทธิ

เปนผูรับสัมปทาน

ไมมี

เปนเจาของ เปนเจาของ เปนเจาของ เปนเจาของ

ไมมี ไมมี ไมมี ไมมี

เปนเจาของ

เปนเจาของ

สวนที่ 1 หนา 72

มูลคา (ลานบาท) ณ วันที่ 31 ณ วันที่ 31 มีนาคม 2552 มีนาคม 2553 20,210.99 20,545.99

8,855.37 15,125.45 5,453.53 132.43 49,777.77 (6,510.47)

8,855.37 15,125.45 5,453.53 132.43 50,112.77 (7,447.26)

(1,146.98)

(1,146.98)

ไมมี

42,120.32 705.25 (705.25)

41,518.52 705.25 (705.25)

ไมมี

0.00 1,183.78 43,304.10

0.00 1,924.50 43,443.02


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

5.4.2

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

ที่ดิน บีทีเอสซีและบริษัทยอยเปนเจาของที่ดิน 5 แปลง ไดแก จํานวนที่ดิน รายละเอียด

ที่ตั้ง

จํานวน

1. ที่ดิน (กรรมสิทธิ์ของ บจ. กามปู พรอพเพอรตี้) 2. ที่ดิน (กรรมสิทธิ์ของ บจ. กามกุง พรอพเพอรตี้) 3. ที่ดินและสิ่งปลูกสราง (กรรมสิทธิ์ของ บจ. นูโว ไลน เอเจนซี่)

ถนนสุขุมวิท แขวงคลองตัน เขตพระโขนง กรุงเทพฯ ถนนพญาไท แขวงทุงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตบางเขน (บางซื่อ) กรุงเทพฯ ถนนสาธรใต แขวงสาธร เขต บางรัก กรุงเทพฯ ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตบางเขน (บางซื่อ) กรุงเทพฯ

4. ที่ดินและสิ่งปลูกสราง (กรรมสิทธิ์ของ บจ. บีทีเอส แอสเสทส) 5. ที่ดิน (กรรมสิทธิ์ของ บจ. บีทีเอส แอสเสทส)

ราคาประเมิน

ราคาตามบัญชี (ลานบาท) ณ 31 มี.ค. 53

ภาระผูกพัน

1,079.27

-

ไร

งาน

ตารางวา

(ลานบาท)

1 แปลง

3

1

69.8

822.0

วันที่ทําการ ประเมิน 26 พ.ย. 2550

1 แปลง

2

2

67

384.0

15 ธ.ค. 2551

377.21

-

1 แปลง

22

2

18

2.023.2

27 พ.ย. 2550

1,855.53

-

1 แปลง

2

1

57

574.0

27 พ.ย. 2551

692.31

1 แปลง

15

2

63.3

978.0

30 พ.ย. 2551

1,035.58

ธนาคาร กรุงเทพ จํากัด (มหาชน) ธนาคาร กรุงเทพ จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 1 หนา 73


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

5.4.3

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

สินทรัพยที่ไมมีตัวตน

สินทรัพยไมมีตัวตนที่สําคัญของบีทีเอสซี คือ สัญญาสัมปทาน ซึ่ง บีทีเอสซี ไดลงนามกับกทม. เมื่อวันที่ 9 เมษายน 2535 ซึ่งมีการแกไขเพิ่มเติม 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2538 เพื่อปรับขยายเสนทางของระบบ รถไฟฟา บีทีเอส และครั้งที่ 2 เมื่อวั น ที่ 28 มิถุนายน 2538 เพื่อ เปลี่ ย นแปลงพื้ น ที่ ต ามสัญ ญาสั ม ปทานสั ม ปทาน บางสวนเพิ่มเติมจากสัญญาแกไขเพิ่มเติมครั้งที่ 1 ภายใตสัญญาสัมปทาน บีทีเอสซีมีสิทธิแตเพียงผูเดียวในการดําเนินงาน และมีสิทธิรับรายไดจากการจัดเก็บ คาโดยสารจากผูเขาใชบริการระบบรถไฟฟาบีทีเอส รวมทั้งรายไดจากการใหเชาพื้นที่โฆษณา รายไดจากธุรกิจที่ เกี่ยวเนื่องภายในสถานี และธุรกรรมทางพาณิชยในรูปแบบอื่นเปนระยะเวลา 30 ป นับตั้งแตวันแรกที่ระบบรถไฟฟาบีที เอส เริ่มเปดดําเนินการในเชิงพาณิชย (5 ธันวาคม 2542) ตามสัมปทาน บีทีเอสซีจะตองโอนกรรมสิทธิ์งานโครงสรางระบบใหแกกทม. เมื่อกอสรางแลวเสร็จ สําหรับ ระบบไฟฟาและเครื่องกลนั้น บีทีเอสซีตองโอนใหกทม. เมื่อสิ้นสุดอายุสัมปทานพรอมทั้งตองจัดเตรียมอะไหลตางๆ ให เพียงพอสําหรับการดําเนินการเปนระยะเวลา 2 ป ภายหลังจากที่ครบอายุสัมปทาน สัมปทานไดกําหนดเพดานอัตราคาโดยสารสูงสุดที่บีทีเอสซีสามารถเรียกเก็บได โดยเพดานอัตราคาโดยสาร สูงสุดดังกลาวจะปรับตามปจจัยตางๆ เชน อัตราเงินเฟอในกรุงเทพฯ นอกจากนี้สัมปทานยังกําหนดวิธีการ รวมถึง ความถี่ในการขอปรับขึ้นราคาคาโดยสาร 5.4.4

นโยบายการลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวม

นโยบายการลงทุนในบริษัทยอย และบริษัทอื่นในอนาคต ตลอดจนการกํากับดูแลการดําเนินงานของบริษัท ยอยของบีทีเอสซี จะเปนไปตามแนวทางที่กําหนดโดยบริษัทฯ ตามขอ 5.3

สวนที่ 1 หนา 74


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

โครงการในอนาคต ประกาศของคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ.11/2552 เรื่อง หลักเกณฑ เงื่อนไข และวิธีการรายงานการ เปดเผยขอมูลเกี่ยวกับฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของบริษัทที่ออกหลักทรัพย ไดยกเลิกหัวขอนี้


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

6.

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

ขอพิพาททางกฎหมาย

ณ วันที่ 31 มีนาคม 2553 บริษัทฯ และ/หรือบริษัทยอยมีขอพิพาททางกฎหมาย ซึ่งเปนคดีหรือขอพิพาทที่ยัง ไมสิ้นสุด โดย (ก) เปนคดีที่อาจมีผลกระทบดานลบตอสินทรัพยของบริษัทฯ หรือบริษัทยอย หรือ (ข) เปนคดีที่มี ผลกระทบตอการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ อยางมีนัยสําคัญ หรือ (ค) เปนคดีที่มิไดเกิดจากการประกอบธุรกิจโดยปกติ ดังนี้ 1. คดีของศาลแพง ธนาคารกสิกรไทย จํากัด (มหาชน) เปนโจทก ฟองบริษัทฯ เปนจําเลยที่ 1 ในฐานะผู กู บริษัท ยงสุ จํากัด และบริษัท ดีแนล จํากัด จําเลยที่ 2 และที่ 3 ในฐานะผูจํานองสินทรัพยค้ําประกันของบริษัทฯ เพื่อ เรียกใหชําระหนี้หุนกูชนิดมีหลักประกันเปนจํานวน 4,240,679,451 บาท พรอมดอกเบี้ยและคาใชจายที่เกี่ยวของเปน จํานวนเงินรวมทั้งสิ้น 4,251,016,476.33 บาท ในระหวางการพิจารณาคดี ศาลชั้นตนมีคําสั่งจําหนายคดีในสวนบริษัทฯ ไวชั่วคราวเพื่อรอผลการพิจารณาคดีฟนฟูกิจการ และศาลชั้นตนมีคําพิพากษาให บริษัท ยงสุ จํากัด และบริษัท ดีแนล จํากัด ชําระหนี้ ตอมาไดมีการยื่นอุทธรณและศาลอุทธรณพิพากษายืนตามศาลชั้นตน 2. คดีของศาลทรัพยสินทางปญญาและการคาระหวางประเทศ ธนาคารเอเชีย จํากัด (มหาชน) เปน โจทก ฟองบริษัท สยามแซ็ทเน็ทเวอรค จํากัด เปนจําเลยที่ 1 บริษัท สยามมีเดีย แอนด คอมมิวนิเคชั่น จํากัด จําเลยที่ 2 พ.ต.ท. อิทธิวัฒน เพียรเลิศ จําเลยที่ 3 บริษัทฯ จําเลยที่ 4 และบริษัท ล็อกซเลย อินเตอรเนชั่นแนล จําเลยที่ 5 โดย บริษัทฯ ถูก ฟองในฐานะเปน ผูค้ําประกันการกูยืม เงินเพื่อทํา สัญญาทรั สตรีซี ทของบริษัทเเหงหนึ่ง คดีมีทุนทรัพย 90,303,015.96 บาท ในระหวางการพิจารณาคดี ศาลชั้นตนมีคําสั่งจําหนายคดีในสวนบริษัทฯ ไวชั่วคราวเพื่อรอผลการ พิจารณาคดีฟนฟูกิจการ และศาลชั้นตนมีคําพิพากษาใหจําเลยที่ 1 ที่ 2 และที่ 3 ชําระหนี้ ทั้งนี้ ในสวนคดีฟนฟูกิจการ ของบริษัทฯ เจาพนักงานพิทักษทรัพยไดมีคําสั่งใหบริษัทฯ ชําระหนี้แทนจําเลยที่ 1 ในฐานะเปนผูค้ําประกัน โดย ปจจุบันจําเลยที่ 1 ไดลมละลายแลว ตอมาศาลลมละลายกลางอนุญาตใหบริษัท บริหารสินทรัพยเอแคป จํากัด เขาสวม สิทธิแทนธนาคารเอเชีย จํากัด (มหาชน) 3. คดีของศาลแพง ธนาคารไทยธนาคาร จํากัด (มหาชน) เปนโจทก ฟองนายวิเชษฐ บัณฑุวงศ เปน จําเลยที่ 1 ในฐานะผูกู นายคีรี กาญจนพาสน จําเลยที่ 2 ในฐานะผูค้ําประกัน และบริษัทฯ จําเลยที่ 3 ในฐานะผูจํานํา ในมูลคดีกูเงินโดยมีตั๋วสัญญาใชเงินเปนเอกสารประกอบ ค้ําประกัน จํ านํา และโอนสิทธิเรียกรอง คดีมีทุน ทรัพย 150,536,986.30 บาท ศาลชั้นตนมีคําพิพากษาใหจําเลยที่ 1 และที่ 2 รวมกันชําระหนี้ ทั้งนี้ เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2553 ศาลชั้นตนไดมีคําสั่งใหจําหนายคดีในสวนของจําเลยที่ 3 ออกจากสารบบความ เนื่องจากบรรษัทบริหารสินทรัพย ไทย ผูสวมสิทธิธนาคารไทยธนาคาร จํากัด (มหาชน) ไมยื่นคําขอรับชําระหนี้ในมูลหนี้ดังกลาวตอศาลลมละลายกลาง ภายในกําหนดระยะเวลาที่กฎหมายกําหนด ดังนั้น บรรษัทบริหารสินทรัพยไทยจึงหมดสิทธิที่จะไดรับชําระหนี้ในมูลหนี้ คดีนี้ 4. คดีของศาลแพง นายมิตรการ เศกปทาน เปนโจทก ฟองนายคีรี กาญจนพาสน เปนจําเลยที่ 1 บริษัท สําเภาเพชร จํากัด จําเลยที่ 2 และบริษัทฯ จําเลยที่ 3 ในมูลคดีเรียกรองคาเสียหายจากคาที่ดินเปนจํานวนเงิน 436,872,351 บาท เนื่องจากการผิดเงื่อนไขในสัญญาจะซื้อจะขายที่ดิน ซึ่งศาลชั้นตนมีคําพิพากษาใหจําเลยที่ 2 ชําระ หนี้เปนเงินจํานวน 38,019,925 บาท พรอมดอกเบี้ยในอัตรารอยละ 7.5 ตอป ของตนเงินดังกลาวนับแตวันที่ 28 พฤศจิกายน 2541 เปนตนไปจนกวาจะชําระเสร็จ ปจจุบันคดีอยูระหวางการพิจารณาของศาลอุทธรณ

สวนที่ 1 หนา 75


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

5. คดีของศาลแพง นายเซ็น ซิงเกียง เปนโจทกฟองบริษัท เมืองทอง แอสเซ็ทส จํากัด เปนจําเลยที่ 1 และบริษัท กรุปโฟร ซีเคียวริคอร แคช เซอรวิส (ประเทศไทย) จํากัด จําเลยที่ 2 ในมูลคดีเรียกรองคาเสียหาย เนื่องจากทรัพยสินของโจทกสูญหายขณะเขาพักในโรงแรมของบริษัท เมืองทอง แอสเซ็ทส จํากัด เปนจํานวนเงิน 6,014,250 บาท ปจจุบันคดีดังกลาวอยูระหวางการพิจารณาของศาลชั้นตน คดีความในขอ 1. และขอ 2. ดังกลาวขางตนเปนคดีความที่เจาหนี้ไดยื่นคําขอรับชําระหนี้ในคดีฟนฟูกิจการ ของบริษัทฯ เรียบรอยแลว และเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2549 ศาลลมละลายกลางไดมีคําสั่งยกเลิกการฟนฟูกิจการ ของบริษัทฯ ทั้งนี้ ตามมาตรา 90/75 แหงพระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. 2483 (ที่แกไขเพิ่มเติม) เมื่อศาลมีคําสั่ง ยกเลิกการฟนฟูกิจการของบริษัทฯ แลว บริษัทฯ จะหลุดพนจากหนี้ทั้งปวงซึ่งเกิดขึ้นกอนวันที่ศาลมีคําสั่งใหฟนฟู กิจการ เวนแตเจาหนี้จะไดยื่นคําขอรับชําระหนี้ในการฟนฟูกิจการ นอกเหนือจากขอพิพาททางกฎหมายของบริษัทฯ และบริษัทยอยที่ไดกลาวถึงขางตนแลว เนื่องจากบริษัทฯ ไดมาซึ่งหุนของบีทีเอสซีเมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม 2553 สงผลใหบีทีเอสซีเปนบริษัทยอยของบริษัทฯ นับตั้งแตบัดนั้น ซึ่ง ณ วันที่ 31 มีนาคม 2553 บีทีเอสซีมีขอพิพาททางกฎหมาย ซึ่งเปนคดีหรือขอพิพาทที่ยังไมสิ้นสุด โดย (ก) เปนคดีที่ อาจมีผลกระทบดานลบตอสินทรัพยของบีทีเอสซี หรือ (ข) เปนคดีที่มีผลกระทบตอการดําเนินธุรกิจของบีทีเอสซีอยางมี นัยสําคัญ หรือ (ค) เปนคดีที่มิไดเกิดจากการประกอบธุรกิจโดยปกติของบีทีเอสซี ดังนี้ 1. คดีของศาลแพง บีทีเอสซีถูกบริษัท ขนสงน้ํามันทางทอ จํากัด โจทกที่ 1 บริษัท ทิพยประกันภัย จํากัด (มหาชน) โจทกที่ 2 และบริษัท สามัคคีประกันภัย จํากัด (มหาชน) โจทกที่ 3 ฟอง บีทีเอสซี เปนจําเลยที่ 2 รวมกับบริษัท อิตาเลี่ยนไทย ดีเวลอปเมนต จํากัด (มหาชน) จําเลยที่ 1 และบริษัท ไทยมารูนเคน จํากัด จําเลยที่ 3 ใน คดีแพงฐานประกันภัย รับชวงสิทธิอ่ืนๆ ละเมิดและเรียกคาเสียหาย ซึ่งคดีมีทุนทรัพย 108,602,702 บาท โจทกทั้งสาม ไดนําหนี้ตามมูลคดีนี้ไปยื่นขอรับชําระหนี้ในการฟนฟูกิจการของบีทีเอสซีแลว ซึ่งศาลลมละลายกลางไดมีคําสั่งยกคํา ขอรับชําระหนี้ดังกลาว ขณะนี้อยูในระหวางการอุทธรณคําสั่งของศาลลมละลายกลาง 2. คดี ข องศาลปกครองกลาง บี ที เ อสซี ถู ก นายสุ ภ รธรรม มงคลสวั ส ดิ์ กั บ พวกฟ อ งโดยมี กรุงเทพมหานครเปนผูถูกฟองคดีที่ 1 ผูวาราชการกรุงเทพมหานครเปนผูถูกฟองคดีที่ 2 และ บีทีเอสซีเปนผูถูกฟองคดีที่ 3 ในมูลความผิดตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528 และพระราชบัญญัติการฟนฟู สมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. 2534 และกฎกระทรวงที่เกี่ยวของกับการจัดใหมีลิฟทและอุปกรณที่อํานวยความสะดวกแกคน พิการ อยางไรก็ดี บีทีเอสซีไดรับแจงวาเมื่อวันที่ 15 มกราคม 2552 ตุลาการผูแถลงคดีในคดีนี้ ไดมีความเห็นในประเด็น ที่ผูถูกฟองมีหนาที่ตามกฎหมายที่ตองดําเนินการตามฟองหรือไมนั้น โดยเห็นวาในขณะทําสัญญาสัมปทานยังไมมี ประกาศกฎกระทรวงกําหนดใหผูถูกฟองคดีตองดําเนินการจัดสรางลิฟทและสิ่งอํานวยความสะดวกแกคนพิการตามฟอง ซึ่งศาลปกครองกลางไดพิพากษายกฟอง ขณะนี้คดีอยูในระหวางการอุทธรณคําพิพากษาของศาลปกครองกลางตอศาล ปกครองสูงสุด 3. คดีในศาลลมละลายกลาง (คดีสาขาของคดีฟนฟูกิจการ) กทม. ยื่นคําขอรับชําระหนี้ในคดีฟนฟูกิจการ ของบีทีเอสซี ตอเจาพนักงานพิทักษทรัพย โดยเจาพนักงานพิทักษทรัพยมีคําสั่งอนุญาตใหกทม. ไดรับชําระหนี้ในการ ฟ นฟู กิ จการในมู ลหนี้ ลํ า ดั บที่ 5 ค าตอบแทนการใช ที่ ดิ นราชพั สดุ เป น เงิ น 8,330,667 บาท และมู ลหนี้ ลํ าดั บที่ 4 คาธรรมเนียมหนังสือค้ําประกัน เปนเงิน 12,296,700 บาท โดยมีเงื่อนไขวา กทม. จะไดรับชําระเมื่อกทม. ไดชําระใหแก ธนาคารกรุงไทยจํากัด (มหาชน) เทาที่จายไปจริงแตไมเกินวงเงินค้ําประกัน และยกคํารองในสวนมูลหนี้ในลําดับที่ 1-3 คาภาษีโรงเรือนและที่ดินจํานวน 72,352,502.02 บาท และมูลหนี้ลําดับที่ 5 หนี้คาเชาอาคารจํานวน 201,440,705.60 สวนที่ 1 หนา 76


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

ทั้งนี้ ตามมาตรา 90/75 แหงพระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. 2483 (ที่แกไขเพิ่มเติม) เมื่อศาลมีคําสั่งยกเลิกการ ฟนฟูกิจการของบีทีเอสซีแลว บีทีเอสซียอมหลุดพนจากหนี้ทั้งปวงซึ่งเกิดขึ้นกอนวันที่ศาลมีคําสั่งฟนฟูกิจการของบีทีเอส ซี (วันที่ 7 กรกฎาคม 2549) เวนแตเจาหนี้จะไดยื่นขอรับชําระหนี้ในการฟนฟูกิจการของบีทีเอสซี

สวนที่ 1 หนา 77


บริษทั บีทเี อส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

7.

โครงสรางเงินทุน

7.1

หลักทรัพยของบริษัทฯ

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

ณ วันที่ 31 มีนาคม 2553 บริษัทฯ มีทุนจดทะเบียน 7,704,149,999 บาท และทุนจดทะเบียนชําระแลว 7,614,391,803 บาท แบงเปนหุนสามัญ 7,614,391,803 หุน มูลคาหุนที่ตราไวหุนละ 1 บาท ณ วันที่ 17 มิถุนายน 2553 บริษัทฯ มีทุนจดทะเบียน 65,142,190,902 บาท และทุนจดทะเบียนชําระแลว 54,813,275,885 บาท แบงเปนหุนสามัญ 54,813,275,885 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท 7.2

ผูถือหุน รายชื่อผูถือหุนที่ถือหุนสูงสุด 10 รายแรกของบริษัทฯ ณ วันปดสมุดทะเบียน วันที่ 17 มิถุนายน 2553 มีดังนี้ รายชือ่ ผูถ ือหุน 1. กลุมนายคีรี กาญจนพาสน* 2. SIAM CAPITAL DEVELOPMENTS (HONG KONG) LIMITED 3. SIAM INFRASTRUCTURE LIMITED 4. UOB KAY HIAN (HONG KONG) LIMITED - Client Account 5. ธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) 6. MR. LO WING KONG 7. VMS PRIVATE INVESTMENT PARTNERS II LIMITED 8. นายวันชัย พันธุวิเชียร 9. บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร จํากัด 10. บริษัท ธนายง ฟูด แอนด เบเวอเรจ จํากัด**

จํานวนหุน

24,995,400,859 12,609,092,693 5,178,622,804 2,158,982,531 1,723,592,238 603,750,000 450,000,000 421,100,000 311,331,292 271,843,540

%

45.60 23.00 9.45 3.94 3.14 1.10 0.82 0.77 0.57 0.50

* กลุมนายคีรี กาญจนพาสน ประกอบดวย นายคีรี กาญจนพาสน นายกวิน กาญจนพาสน บริษัท เค ทู เจ โฮลดิ้ง จํากัด บริษัท สระบุรี พร็อพเพอรตี้ จํากัด Amsfield Holdings Pte. Ltd. และ Crossventure Holdings Limited ** บริษัทยอยซึ่งถือหุนของบริษัทฯ แทนเจาหนี้ตามแผนฟนฟูกิจการของบริษัทฯ ซึ่งอยูระหวางรอโอนชําระใหแกเจาหนี้ในอนาคต

7.3

นโยบายการจายเงินปนผล

7.3.1

นโยบายการจายเงินปนผลของบริษัทฯ

บริษัทฯ มีนโยบายจายเงินปนผลใหแกผูถือหุนในอัตราไมนอยกวารอยละ 50 ของกําไรสุทธิหลังหักภาษีเงิน ไดตามงบการเงินเฉพาะกิจการ โดยบริษัทฯ จะจายเงินปนผลในรอบระยะเวลาบัญชีถัดไป โดยคํานึงถึงกระแสเงินสด จากการประกอบการ และการประกาศจายเงินปนผลประจําปจะตองไดรับความเห็นชอบจากที่ประชุมสามัญผูถือหุน ประจําป ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทอาจเห็นสมควรใหมีการจายเงินปนผลระหวางกาลหากเห็นวาบริษัทฯ มีกําไรและ สามารถดํารงเงินลงทุนหมุนเวียนที่ใชในการดําเนินการไดอยางเพียงพอภายหลังการจายเงินปนผลระหวางกาลนั้น ซึ่ง คณะกรรมการบริษัทมีหนาที่แจงใหที่ประชุมผูถือหุนรับทราบในการประชุมผูถือหุนครั้งถัดไป

สวนที่ 1 หนา 78


บริษทั บีทเี อส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

ในการพิจารณาจายเงินปนผลใหแกผูถือหุนนั้น คณะกรรมการบริษัทจะคํานึงถึงปจจัยหลายประการ ดังนี้

ผลการดําเนินงานของบริษัทฯ สภาพคลอง กระแสเงินสดหมุนเวียน และสถานะการเงินของบริษัทฯ

ขอบังคับหรือเงื่อนไขที่เกี่ยวกับการจายเงินปนผลที่กําหนดโดยสัญญาเงินกูยืม หุนกู สัญญาซึ่ง กอใหเกิดภาระหนี้สินของบริษัทฯ หรือขอตกลงหรือสัญญาอื่นๆ ที่บริษัทตองปฏิบัติตาม

แผนการดําเนินงานในอนาคตและความตองการในการใชเงินลงทุน

ปจจัยอื่นๆ ที่คณะกรรมการบริษัทเห็นสมควร

นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังอยูภายใตบังคับของพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํ ากัด พ.ศ. 2535 ที่กําหนดให บริษัทฯ ไมสามารถจายเงินปนผลไดหากบริษัทฯ ยังมีผลขาดทุนสะสมอยูแมวาบริษัทฯ จะมีกําไรสุทธิสําหรับปนั้นๆ ก็ ตาม และพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 ยังกําหนดใหบริษัทฯ สํารองเงินตามกฎหมายในจํานวนไม นอยกวารอยละ 5 ของกําไรสุทธิประจําปหักดวยยอดขาดทุนสะสมยกมา (ถามี) จนกวาเงินสํารองตามกฎหมายจะมี จํานวนไมนอยกวารอยละ 10 ของทุนจดทะเบียน และนอกจากเงินสํารองที่กฎหมายกําหนดใหบริษัทฯ ตองจัดสรรแลว คณะกรรมการบริษัทอาจพิจารณาจัดสรรเงินสํารองประเภทอื่นไดอีกตามที่เห็นสมควร 7.3.2

นโยบายการจายเงินปนผลของบริษัทยอย บีทีเอสซี

บีทีเอสซีมีนโยบายจะจายเงินปนผลในอัตราไมนอยกวารอยละ 50 ของกําไรจากการดําเนินงาน ซึ่งไมรวม รายการพิเศษ เชน กําไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยน กําไร (ขาดทุน) จากการฟนฟูกิจการ ดอกเบี้ยจายตามแผน ฟนฟูกิจการ และคาเสื่อมราคา ซึ่งในการจายเงินปนผลบีทีเอสจะพิจารณา (1) สํารองตามกฎหมาย (2) ขอจํากัดในการ กอหนี้ของบีทีเอสซีตามที่ไดตกลงไวกับเจาหนี้ และ (3) คาใชจายและเงินลงทุนที่ตองการสําหรับปถัดไปโดยพิจารณา รวมกับประมาณการกระแสเงินสด บริษัทยอยอื่น บริษัทยอยอื่นมีนโยบายในการจายเงินปนผลโดยพิจารณาจากศักยภาพการเติบโตของผลการดําเนินงาน แผนการลงทุน การขยายงาน ขอกําหนดตามสัญญาเงินกูหรือหุนกูของบริษัทฯ และบริษัทยอย รวมถึงความจําเปนและ ความเหมาะสมในอนาคต โดยมีนโยบายจายเงินปนผลไมนอยกวารอยละ 50 ของกําไรสุทธิหลังหักภาษีและสํารองเงิน ตามกฎหมาย หากไมมีเหตุจําเปนอื่นใดและการจายเงินปนผลนั้นไมมีผลกระทบตอการดําเนินงานปกติของบริษัทยอย ดังกลาว

สวนที่ 1 หนา 79


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

8.

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

การจัดการ คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการพิจารณา คาตอบแทน คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหา

คณะกรรมการบริหาร

ฝายตรวจสอบภายใน

กรรมการผูจัดการ ฝายกฎหมาย

รองกรรมการผูจ ัดการ

8.1

รองกรรมการผูจ ัดการ

รองกรรมการผูจ ัดการ

ฝายบริหารทรัพยสนิ และ อสังหาริมทรัพย

ฝายพัฒนาธุรกิจ

ฝายพัฒนาอสังหาริมทรัพย

ฝายโครงการพิเศษ

ฝายบัญชี

ฝายบริหารโครงการ

ฝายโรงแรม

ฝายการเงิน

ฝายการตลาด การขายและประชาสัมพันธ

ฝายทรัพยากรบุคคล และธุรการ

ฝายเทคโนโลยีสารสนเทศ

โครงสรางการจัดการ

ณ วั น ที่ 16 มิ ถุ น ายน 2553 โครงสร า งการจั ด การของบริ ษั ท ฯ ประกอบด ว ยคณะกรรมการบริ ษั ท และ คณะกรรมการชุดยอยรวม 4 ชุด ไดแก

คณะกรรมการบริษัท

คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการพิจารณาคาตอบแทน

คณะกรรมการสรรหา

คณะกรรมการบริหาร

สวนที่ 1 หนา 80


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน) 8.1.1

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

คณะกรรมการบริษัท ประกอบดวยกรรมการจํานวน 13 ทาน ดังนี้ ลําดับ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13.

รายชื่อ นายคีรี กาญจนพาสน นายกวิน กาญจนพาสน นายสุธรรม ศิริทิพยสาคร นายรังสิน กฤตลักษณ Mr. Kong Chi Keung นายคม พนมเริงศักดิ์ Dr. Paul Tong Mr. Cheung Che Kin ดร. อาณัติ อาภาภิรม Mr. Lo Yun Sum พลโทพิศาล เทพสิทธา พลตํารวจตรีวราห เอี่ยมมงคล นายชัยสิทธิ์ ภูวภิรมยขวัญ

ตําแหนง ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ

โดยมีนายรังสิน กฤตลักษณ ทําหนาที่เปนเลขานุการคณะกรรมการบริษัท

กรรมการผูมีอํานาจกระทําการแทนบริษัทมี 6 ทาน ดังนี้ กรรมการกลุม ก U

1. นายคีรี กาญจนพาสน 2. นายกวิน กาญจนพาสน 3. นายรังสิน กฤตลักษณ

กรรมการกลุม ข U

4. นายสุธรรม ศิริทิพยสาคร 5. Mr. Kong Chi Keung 6. นายคม พนมเริงศักดิ์

ชื่อและจํานวนกรรมการซึ่งมีอํานาจลงลายมือชื่อแทนบริษัทฯ คือ กรรมการคนใดคนหนึ่งจากกรรมการกลุม ก ลงลายมือชื่อรวมกันกับกรรมการคนใดคนหนึ่งจากกรรมการกลุม ข รวมเปนสองคนและประทับตราสําคัญของบริษัทฯ อํานาจหนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท 1.

ปฏิบัติหนาที่ใหเปนไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค และขอบังคับของบริษัทฯ ตลอดจนมติที่ประชุมผู ถือหุนดวยความซื่อสัตย สุจริต และระมัดระวังรักษาผลประโยชนของบริษัทฯ

2.

กําหนดวิสัยทัศน นโยบาย และทิศทางการดําเนินงานของบริษัทฯ และกํากับดูแลใหฝายบริหาร ดําเนินการใหเปนไปตามนโยบายที่กําหนดไวอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อเพิ่มมูลคา สูงสุดใหแกบริษัทฯ และผูถอื หุน

สวนที่ 1 หนา 81


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

3.

กําหนดนโยบาย ยุทธศาสตรการทําธุรกิจ แผนงาน และงบประมาณประจําปของบริษัทฯ รวมทั้ง ผลงานและผลประกอบการประจํ า เดื อ นและประจํ า ไตรมาสของบริ ษั ท ฯ เที ย บกั บ แผนและ งบประมาณ และพิจารณาแนวโนมระยะตอไปของป

4.

ประเมินผลงานของฝายบริหารอยางสม่ําเสมอและดูแลระบบกลไกการจายคาตอบแทนผูบริหาร ระดับสูงที่เหมาะสม โดยมีคณะกรรมการพิจารณาคาตอบแทนเปนผูดูแลอยางมีประสิทธิภาพ

5.

ดําเนินการใหฝายบริหารจัดใหมีระบบบัญชี การรายงานทางการเงิน และการสอบบัญชีที่เชื่อถือได ตลอดจนดูแลใหมีระบบการควบคุมภายในที่เพียงพอเหมาะสม

6.

พิจารณาอนุมัติการไดมาหรือจําหนายไปซึ่งทรัพยสิน การลงทุนในธุรกิจใหม และการดําเนินการ ใดๆ ที่กฎหมายกําหนด เวนแตเรื่องที่กฎหมายกําหนดใหตองไดรบั มติจากที่ประชุมผูถือหุน

7.

พิจารณา และ/หรือ ใหความเห็นตอรายการที่เกี่ยวโยงกันของบริษัทฯ และบริษัทยอยใหเปนไปตาม กฎหมาย ประกาศ ขอกําหนด และระเบียบขอบังคับที่เกี่ยวของตาง ๆ

8.

ดูแลไมใหเกิดปญหาความขัดแยงทางผลประโยชนระหวางผูมีสวนไดเสียของบริษัทฯ

9.

พิจารณาเรื่องตาง ๆ โดยคํานึงถึงผลประโยชนของผูถือหุนและผูมีสวนไดเสียทุกกลุมของบริษัทฯ อยางเปนธรรม โดยกรรมการตองแจงใหบริษัทฯ ทราบโดยไมชักชา หากมีสวนไดเสียในสัญญาที่ ทํากับบริษัทฯ หรือถือหุนเพิ่มขึ้นหรือลดลงในบริษัทฯ หรือบริษัทยอย ทั้งนี้ สําหรับรายการที่ทํากับ กรรมการหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแยงหรือมีสวนไดเสีย หรืออาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน อื่นใดกับบริษัทฯ หรือบริษัทยอย กรรมการซึ่งมีสวนไดเสียไมมีสิทธิออกเสียงลงคะแนนอนุมัติการ ทํารายการในเรื่องนั้น

10.

กํากับดูแลกิจการอยางมีจรรยาบรรณและจริยธรรมทางธุรกิจ และทบทวนนโยบายการกํากับดูแล กิจการของบริษัทฯ และประเมินผลการปฏิบัติตามนโยบายดังกลาวเปนประจําอยางนอยปละ 1 ครั้ง

11.

รายงานความรับผิดชอบของตนในการจัดทํารายงานทางการเงิน โดยแสดงควบคูกับรายงานของ ผูสอบบัญชีไวในรายงานประจําปและครอบคลุมในเรื่องสําคัญ ๆ ตามนโยบายเรื่องขอพึงปฏิบัติที่ดี สําหรับกรรมการบริษัทจดทะเบียนของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

12.

มอบหมายใหกรรมการคนหนึ่งหรือหลายคนหรือบุคคลอื่นใดปฏิบัติการอยางหนึ่งอยางใดแทน คณะกรรมการได การมอบอํานาจแกกรรมการดังกลาวจะตองไมเปนการมอบอํานาจหรือการมอบ อํานาจชวงที่ทําใหกรรมการหรือผูรับมอบอํานาจจากกรรมการสามารถอนุมัติรายการที่ตนหรือบุคคล ที่อาจมีความขัดแยง มีสวนไดเสีย หรือมีผลประโยชนในลักษณะอื่นใดขัดแยงกับผลประโยชนของ บริษัทฯ หรือบริษัทยอย

13.

แตงตั้งกรรมการชุดยอยเพื่อชวยดูแลระบบบริหารและระบบควบคุมภายในใหเปนไปตามนโยบายที่ กําหนดไว เชน คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการพิจารณาคาตอบแทน คณะกรรมการสรรหา

สวนที่ 1 หนา 82


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน) 14. 8.1.2

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

จัดใหมีเลขานุการบริษัทเพื่อดูแลใหคณะกรรมการและบริษัทฯ ปฏิบัติใหเปนไปตามกฎหมายและ ระเบียบขอบังคับที่เกี่ยวของตาง ๆ

คณะกรรมการตรวจสอบ ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2553 มีจํานวน 3 ทาน ดังนี้ ลําดับ 1. 2. 3.

รายชื่อ พลโทพิศาล เทพสิทธา พลตํารวจตรีวราห เอี่ยมมงคล นายชัยสิทธิ์ ภูวภิรมยขวัญ

ตําแหนง ประธานกรรมการตรวจสอบ* กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ

โดยมีนางดวงกมล ชัยชนะขจร ทําหนาที่เปนเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ * พลโทพิศาล เทพสิทธา เปนกรรมการตรวจสอบที่มีความรูและประสบการณในการสอบทานงบการเงินของบริษัท

อํานาจหนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ 1.

สอบทานใหบริษัทฯ มีการรายงานทางการเงินอยางถูกตองและเพียงพอ

2.

สอบทานใหบริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายใน และระบบการตรวจสอบภายในที่เหมาะสมและมี ประสิทธิผล และพิจารณาความเปนอิสระของหนวยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนใหความเห็นชอบ ในการพิจารณาแตงตั้ง โยกยาย เลิกจางหัวหนาหนวยงานตรวจสอบภายใน หรือหนวยงานอื่นใดที่ รับผิดชอบเกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน

3.

สอบทานใหบริษัทฯ ปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกําหนดของ ตลาดหลักทรัพย และกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัทฯ

4.

พิจารณา คัดเลือก เสนอแตงตั้งบุคคลซึ่งมีความเปนอิสระเพื่อทําหนาที่เปนผูสอบบัญชีของบริษัทฯ และเสนอคาตอบแทนของบุคคลดังกลาวตอคณะกรรมการบริษัท รวมทั้งเขารวมประชุมกับผูสอบ บัญชีโดยไมมีฝายจัดการเขารวมประชุมดวยอยางนอยปละ 1 ครั้ง

5.

พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน ใหเปนไปตาม กฎหมายและขอกําหนดของตลาดหลักทรัพย ทั้งนี้ เพื่อใหมั่นใจวารายการดังกลาวสมเหตุสมผลและ เปนประโยชนสงู สุดตอบริษัทฯ

6.

จัดทํารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบโดยเปดเผยไวในรายงานประจําปของบริษัทฯ ซึ่งรายงาน ดังกลาวตองลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบและตองประกอบดวยขอมูลอยางนอย ดังตอไปนี้

ความเห็นเกี่ยวกับความถูกตอง ครบถวน เปนที่เชื่อถือไดของรายงานทางการเงินของ บริษัทฯ

ความเห็นเกี่ยวกับความพอเพียงของระบบควบคุมภายในของบริษัทฯ

สวนที่ 1 หนา 83


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

7.

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

ความเห็ น เกี่ ย วกั บ การปฏิ บั ติ ต ามกฎหมายว า ด ว ยหลั ก ทรั พ ย แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย ขอกําหนดของตลาดหลักทรัพย หรือกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัทฯ

ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผูสอบบัญชี

ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน

จํ า นวนการประชุ ม คณะกรรมการตรวจสอบ และการเข า ร ว มประชุ ม ของกรรมการ ตรวจสอบแตละทาน

ความเห็นหรือขอสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบไดรับจากการปฏิบัติหนาที่ตาม กฎบัตร

รายการอื่นที่เห็นวาผูถือหุนและผูลงทุนทั่วไปควรทราบ ภายใตขอบเขตหนาที่และความ รับผิดชอบ ที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท

ปฏิ บั ติ ก ารอื่ น ใดตามที่ ค ณะกรรมการบริ ษั ท มอบหมายด ว ยความเห็ น ชอบจากคณะกรรมการ ตรวจสอบ

ทั้งนี้ ในการปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการตรวจสอบหากพบหรือมีขอสงสัยวามีรายการหรือการกระทํา ดังตอไปนี้ ซึ่งอาจมีผลกระทบอยางมีนัยสําคัญตอฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของบริษัทฯ ใหคณะกรรมการ ตรวจสอบรายงานต อ คณะกรรมการบริ ษั ท เพื่ อ ดํ า เนิ น การปรั บ ปรุ ง แก ไ ขภายในเวลาที่ ค ณะกรรมการตรวจสอบ เห็นสมควร

รายการที่เกิดความขัดแยงทางผลประโยชน

การทุจริตหรือมีสิ่งผิดปกติหรือมีความบกพรองที่สําคัญในระบบควบคุมภายใน

การฝาฝนกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกําหนดของตลาดหลักทรัพย หรือ กฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัทฯ

คุณสมบัติของกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบของบริษัทฯ ตองเปนกรรมการอิสระและมีคุณสมบัติดังตอไปนี้ 1.

ถือหุนไมเกินรอยละ 1 ของจํานวนหุนที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัทฯ ทั้งนี้ ใหนับรวมการถือหุนของผูที่ เกี่ยวของของกรรมการตรวจสอบรายนั้นๆ ดวย

2.

ไมเปน หรือเคยเปนกรรมการที่มีสวนรวมในการบริหารงาน ลูกจา ง พนักงาน ที่ป รึกษาที่ไ ดรับ เงินเดือนประจํา หรือผูมีอํานาจควบคุมบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทยอยลําดับ เดียวกัน ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัทฯ เวนแตจะไดพนจากการมีลักษณะ ดังกลาวมาแลวไมนอยกวา 2 ป

3.

ไมเปนบุคคลที่มีความสัมพันธทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมายในลักษณะที่เปน บิดามารดา คูสมรส พี่นอง และบุตร รวมทั้งคูสมรสของบุตร ของผูบริหาร ผูถือหุนรายใหญ ผูมี สวนที่ 1 หนา 84


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

อํานาจควบคุม หรือบุคคลที่จะไดรับการเสนอใหเปนผูบริหารหรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัทฯ หรือ บริษัทยอย 4.

ไมมีหรือเคยมีความสัมพันธทางธุรกิจกับบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนราย ใหญ หรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัทฯ ในลักษณะที่อาจเปนการขัดขวางการใชวิจารณญาณอยาง อิสระของกรรมการตรวจสอบ รวมทั้งไมเปนหรือเคยเปนผูถือหุนที่มีนัย หรือผูมีอํานาจควบคุมของผู ที่มีความสัมพันธทางธุรกิจกับบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมี อํานาจควบคุมของบริษัทฯ เวนแตจะไดพนจากการมีลักษณะดังกลาวมาแลวไมนอยกวา 2 ป

5.

ไมเปนหรือเคยเปนผูสอบบัญชีของบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัท และไมเปนผูถือหุนที่มีนัย ผูมีอํานาจควบคุม หรือหุนสวนของ สํานักงานสอบบัญชี ซึ่งมีผูสอบบัญชีของบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนราย ใหญ หรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัทฯ สังกัดอยู เวนแตจะไดพนจากการมีลักษณะดังกลาวมาแลว ไมนอยกวา 2 ป

6.

ไมเปนหรือเคยเปนผูใหบริการทางวิชาชีพใด ๆ ซึ่งรวมถึงการใหบริการเปนที่ปรึกษากฎหมายหรือที่ ปรึกษาทางการเงิน ซึ่งไดรับคาบริการเกินกวา 2 ลานบาทตอปจากบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัทฯ และไมเปนผูถือหุนที่มีนัย ผูมีอํานาจ ควบคุม หรือหุนสวนของผูใหบริการทางวิชาชีพนั้นดวย เวนแตจะไดพนจากการมีลักษณะดังกลาว มาแลวไมนอยกวา 2 ป

7.

ไมเปนกรรมการที่ไดรับการแตงตั้งขึ้นเพื่อเปนตัวแทนของกรรมการของบริษัทฯ ผูถือหุนรายใหญ หรือผูถือหุนซึ่งเปนผูที่เกี่ยวของกับผูถือหุนรายใหญ

8.

ไมประกอบกิจการที่มีสภาพอยางเดียวกันและเปนการแขงขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัทฯ หรือ บริษัทยอย หรื อไม เป นหุ นสวนที่มีนัยในหางหุน สวน หรือเปนกรรมการที่มีสวนรวมบริหารงาน ลูกจาง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ไดรับเงินเดือนประจํา หรือถือหุนเกินรอยละ 1 ของจํานวนหุนที่มีสิทธิ ออกเสียงทั้งหมดของบริษัทอื่น ซึ่งประกอบกิจการที่มีสภาพอยางเดียวกันและเปนการแขงขันที่มีนัย กับกิจการของบริษัทฯ หรือบริษัทยอย

9.

ไมมีลักษณะอื่นใดที่ทําใหไมสามารถใหความเห็นอยางเปนอิสระเกี่ยวกับการดําเนินงานของบริษัทฯ

10.

ไดรับการแตงตั้งจากคณะกรรมการหรือที่ประชุมผูถือหุนของบริษัทฯ ใหเปนกรรมการตรวจสอบ

11.

ไมเปนกรรมการที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการใหตัดสินใจการดําเนินกิจการของบริษัทฯ บริษั ทใหญ บริษั ทยอ ย บริษั ทร วม บริษั ทย อยลํ า ดับ เดี ยวกั น ผูถือ หุน รายใหญ หรื อผู มีอํา นาจ ควบคุมของบริษัท และไมเปนกรรมการของบริษัทใหญ บริษัทยอย หรือบริษัทยอยลําดับเดียวกัน

12.

มีความรูและประสบการณเพียงพอที่จะสามารถทําหนาที่ในฐานะกรรมการตรวจสอบ ทั้งนี้ ตองมี กรรมการตรวจสอบอยางนอย 1 คนที่มีความรูและประสบการณเพียงพอที่จะสามารถทําหนาที่ใน การสอบทานความนาเชื่อถือของงบการเงินได

สวนที่ 1 หนา 85


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน) 13. 8.1.3

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

มีคุณสมบัติอื่นๆ ครบถวนและเหมาะสมตามกฎหมายหรือขอกําหนดของหนวยงานทางการ

คณะกรรมการพิจารณาคาตอบแทน ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2553 มีจํานวน 3 ทาน ดังนี้ ลําดับ 1. 2. 3.

รายชื่อ พลโทพิศาล เทพสิทธา พลตํารวจตรีวราห เอี่ยมมงคล นายรังสิน กฤตลักษณ

ตําแหนง ประธานกรรมการพิจารณาคาตอบแทน กรรมการพิจารณาคาตอบแทน กรรมการพิจารณาคาตอบแทน

อํานาจหนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการพิจารณาคาตอบแทน 1.

พิจารณารูปแบบและหลักเกณฑการจายคาตอบแทน (ทั้งที่เปนตัวเงินและมิใชตัวเงิน) ของกรรมการ และกรรมการผูจัดการ ตามภาระหนาที่ความรับผิดชอบและผลงาน โดยทบทวนความเหมาะสมของ หลักเกณฑที่ใชอยูในปจจุบัน พิจารณาเปรียบเทียบกับขอมูลการจายคาตอบแทนของบริษัทอื่นที่อยู ในอุตสาหกรรมเดียวกันกับบริษัทฯ และบริษัทจดทะเบียนอื่นในตลาดหลักทรัพยที่มีมูลคาตลาด (Market Capitalization) ใกลเคียงกับบริษัทฯ ตลอดจนกําหนดหลักเกณฑใหมีความเหมาะสม เพื่อใหเกิดผลงานตามที่คาดหวัง ใหมีความเปนธรรม และเปนการตอบแทนบุคคลที่ชวยใหงานของ บริษัทฯ ประสบผลสําเร็จ ทบทวนรูปแบบการจายคาตอบแทนทุกประเภท โดยพิจารณาจํานวนเงิน และสัดสวนการจายคาตอบแทนแตละรูปแบบใหมีความเหมาะสม

2.

พิจารณาเกณฑในการประเมินผลกรรมการผูจัดการและนําเสนอใหคณะกรรมการบริษัทพิจารณาให ความเห็นชอบ

3.

นําเสนอจํานวนและรูปแบบการจายคาตอบแทนตอคณะกรรมการบริษัท เพื่อใหอนุมัติคาตอบแทน ของกรรมการผูจัดการ สวนคาตอบแทนของกรรมการ คณะกรรมการบริษัทจะตองนําเสนอใหที่ ประชุมผูถือหุนอนุมัติ

4.

รายงานผลการปฏิบัติหนาที่ตอคณะกรรมการบริษัทและผูถือหุน

5.

พิจารณาความเหมาะสมและเงื่อนไขตาง ๆ เกี่ยวกับการเสนอขายหลักทรัพยใหม (หรือใบสําคัญ แสดงสิทธิที่จะซื้อหุน) ใหแกกรรมการและพนักงาน เพื่อชวยจูงใจใหกรรมการและพนักงานปฏิบัติ หนา ที่เพื่อ ใหเกิ ดการสรา งมูลคา เพิ่ม ใหแ กผูถือหุนในระยะยาวและสามารถรัก ษาบุค คลากรที่มี คุณ ภาพได อย า งแท จ ริ ง แต ตอ งไม สูง เกิ น ไปและเปน ธรรมต อผูถื อหุ น โดยหากกรรมการหรื อ พนักงานรายใดไดรับการจัดสรรหลักทรัพยมากกวารอยละ 5 ของจํานวนหลักทรัพยทั้งหมดที่จะ จัดสรร คณะกรรมการพิจารณาคาตอบแทนตองพิจารณาความเหมาะสมและใหความเห็นชอบ

สวนที่ 1 หนา 86


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน) 8.1.4

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

คณะกรรมการสรรหา ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2553 มีจํานวน 3 ทาน ดังนี้ ลําดับ รายชื่อ ตําแหนง 1. พลโทพิศาล เทพสิทธา ประธานกรรมการสรรหา 2. พลตํารวจตรีวราห เอี่ยมมงคล กรรมการสรรหา 3. นายรังสิน กฤตลักษณ กรรมการสรรหา อํานาจหนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการสรรหา

8.1.5

1.

กําหนดคุณสมบัติของกรรมการที่ตองการสรรหาใหเปนไปตามโครงสราง ขนาด และองคประกอบ ของคณะกรรมการตามที่คณะกรรมการกําหนดไว

2.

กําหนดวิธีการสรรหาบุคคลเพื่อดํารงตําแหนงกรรมการใหเหมาะสมกับลักษณะเฉพาะของบริษัทฯ

3.

สรรหากรรมการโดยพิจารณาความเหมาะสมของความรู ประสบการณ ความเชี่ยวชาญ การอุทิศ เวลาของกรรมการ รวมถึงคุณสมบัติตามกฎหมายหรือขอกําหนดของหนวยงานทางการ

4.

พิ จ ารณาความเป น อิ ส ระของกรรมการอิ ส ระแต ล ะคน เพื่ อ พิ จ ารณาว า กรรมการอิ ส ระคนใดมี คุณสมบัติครบถวนหรือคนใดขาดคุณสมบัติในการเปนกรรมการอิสระ รวมทั้งพิจารณาวาจําเปนตอง สรรหากรรมการอิสระเพิ่มเติมหรือไม

5.

คั ด เลื อ กกรรมการที่ มี คุ ณ สมบั ติ ส อดคล อ งกั บ เกณฑ คุ ณ สมบั ติ ที่ กํ า หนดไว และเสนอชื่ อ ให คณะกรรมการเพื่อพิจารณาแตงตั้ง หรือเสนอชื่อใหคณะกรรมการเพื่อพิจารณาและบรรจุชื่อใน หนังสือนัดประชุมผูถือหุน เพื่อใหที่ประชุมผูถือหุนพิจารณาแตงตั้งตอไป

6.

ชี้แจงและตอบคําถามกรณีเกิดขอสงสัยเกี่ยวกับนโยบายการสรรหากรรมการในที่ประชุมผูถือหุน

คณะกรรมการบริหาร ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2553 มีจํานวน 6 ทาน ดังนี้

ลําดับ รายชื่อ ตําแหนง 1. นายคีรี กาญจนพาสน ประธานกรรมการ 2. นายกวิน กาญจนพาสน กรรมการผูจัดการ 3. นายสุธรรม ศิริทิพยสาคร รองกรรมการผูจัดการ 4. นายรังสิน กฤตลักษณ รองกรรมการผูจัดการ 5. Mr. Kong Chi Keung รองกรรมการผูจัดการ 6. นายคม พนมเริงศักดิ์ กรรมการบริหาร โดยมี Mr. Bernardo Godinez Garcia ทําหนาที่เปนเลขานุการคณะกรรมการบริหาร

อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบริหาร 1.

กําหนดนโยบาย ทิศทาง กลยุทธ และโครงสรางการบริหารงานในการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ ให สอดคล อ งและเหมาะสมต อ สภาวะเศรษฐกิ จ และการแข ง ขั น เพื่ อ เสนอให ค ณะกรรมการบริษั ท เห็นชอบ สวนที่ 1 หนา 87


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน) 2. 3. 4. 5. 6. 8.1.6

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

กําหนดแผนธุรกิจ งบประมาณ และอํานาจการบริหารตางๆ ของบริษัทฯ เพื่อเสนอใหคณะกรรมการ บริษัทเห็นชอบ ตรวจสอบและติดตามผลการดําเนินงานของบริษัทฯ ใหเปนไปตามนโยบายและแผนธุรกิจที่ไดรับ อนุมัติไว และใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล พิจารณาอนุมัติการดําเนินการโครงการตาง ๆ ของบริษัทฯ และรายงานตอคณะกรรมการบริษัทถึง ความคืบหนาของโครงการ บริหารความเสี่ยงในภาพรวมทั้งองคกร ประเมินความเสี่ยงและวางรูปแบบโครงสรางการบริหาร ความเสี่ยงขององคกร ดําเนินการอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย

ผูบริหาร ที่ไมใชกรรมการบริษัท ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2553 มีจํานวน 12 ทาน ดังนี้ ลําดับ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11.

รายชื่อ Mr. Martin Harold Kyle นางดวงกมล ชัยชนะขจร นางสาวอัญชนา โรจนวิบูลยชัย Mr. Daniel Ross นายวิศิษฐ ชวลิตานนท Mr. Bernardo Godinez Garcia นายเสนอ รัตนวลี นางสาวธิติกรณ ยศยิ่งธรรมกุล นางสาวอาทิตยา เกษมลาวัณย นางสาวธัญญรวี พิพัฒนผลกุล นางศรีประไพ สินลือนาม

ตําแหนง ผูอํานวยการใหญสายการเงิน ผูอํานวยการฝายบัญชี ผูอํานวยการฝายการเงิน ผูอํานวยการฝายการเงิน ผูอํานวยการฝายพัฒนาโครงการ ผูอํานวยการฝายโรงแรม ผูอํานวยการโครงการธนาซิตี้ ผูอํานวยการฝายกฎหมาย ผูอํานวยการฝายขาย ผูอํานวยการฝายการตลาด ผูอํานวยการสวนลูกคาสัมพันธ

12.

นางกชพรรณ นุม ฤทธิ์

ผูอํานวยการฝายบริหารโครงการ พิเศษ

บทบาทและหนาที่ความรับผิดชอบของคณะผูบริหาร 1.

ดําเนินการตามนโยบาย ทิศทาง กลยุทธ และโครงสรางการบริหารงานในการดําเนินธุรกิจของ บริษัทฯ ที่กําหนดใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

2.

ดําเนินการจัดทําแผนธุรกิจ งบประมาณ และอํานาจการบริหารตาง ๆ ของบริษัทฯ เพื่อเสนอให คณะกรรมการบริหารเห็นชอบ

3.

บริหารงานบริษัทตามแผนงานหรืองบประมาณที่ไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการบริหารอยางซื่อสัตย สุจริต และระมัดระวังรักษาผลประโยชนของบริษัทฯ และผูถือหุนอยางดีที่สุด

4.

ติดตามผลการดําเนินงานของบริษัทฯ ใหเปนไปตามนโยบายแผนงาน และงบประมาณที่ไดรับอนุมัติ

5.

รายงานผลการดําเนินงานของบริษัทฯ ตอที่ประชุมคณะกรรมการบริหารเปนประจํา

สวนที่ 1 หนา 88


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

8.2

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

6.

ดําเนินการอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการบริหารมอบหมาย

7.

กํากับการบริหารงานทั่วไปตามที่กําหนดไวในระเบียบขอบังคับของบริษัทฯ

การสรรหาและถอดถอนกรรมการบริษัท

ตั้งแตวันที่ 28 พฤษภาคม 2552 คณะกรรมการบริษัทไดแตงตั้งคณะกรรมการสรรหาเพื่อใหทําหนาที่สรรหา กรรมการใหม ทั้งนี้ การแตงตั้งและถอดถอนกรรมการบริษัทจะเปนไปตามหลักเกณฑแ ละวิธี การที่กําหนดอยูใ น ขอบังคับของบริษัทฯ โดยมีสาระสําคัญดังนี้ 1.

ในการประชุมสามัญประจําปทุกครั้ง ใหกรรมการจํานวนไมนอยกวา 1 ใน 3 ของจํานวนกรรมการ ทั้งหมดในคณะกรรมการพนจากตําแหนงตามวาระ ถาจํานวนกรรมการที่จะแบงออกใหตรงเปน 3 สวนไมได ก็ใหออกโดยจํานวนที่ใกลที่สุดกับสวน 1 ใน 3 และกรรมการผูพนจากตําแหนงมีสิทธิ ไดรับเลือกตั้งใหมไดอีก

2.

ใหที่ประชุมผูถือหุนมีสิทธิแตงตั้งกรรมการตามหลักเกณฑและวิธีการดังตอไปนี้

3.

4.

2.1

ผูถือหุนแตละคนมีคะแนนเสียงเทากับหนึ่งหุนตอหนึ่งเสียง

2.2

ผูถือหุนแตละคนจะใชคะแนนเสียงที่มีอยูทั้งหมดเลือกตั้งบุคคลคนเดียวหรือหลายคนเปน กรรมการ ก็ได แตจะแบงคะแนนเสียงใหแกบุคคลใดมากนอยเพียงใดไมได

2.3

บุคคลซึ่งไดรับคะแนนเสียงสูงสุดตามลําดับลงมาเปนผูไดรับการเลือกตั้งเปนกรรมการเทา จํานวนกรรมการที่จะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณีที่บุคคลซึ่งไดรับการเลือกตั้งในลําดับถัด ลงมามีคะแนนเสียงเทากันเกินจํานวนกรรมการที่จะพึงมีหรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ใหผู เปนประธานเปนผูออกเสียงชี้ขาด

นอกจากการพนตําแหนงตามวาระแลว กรรมการพนจากตําแหนงเมื่อ 3.1

ตาย

3.2

ลาออก

3.3

ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามตามพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535

3.4

ที่ประชุมผูถือหุนมีมติใหออก

3.5

ศาลมีคําสั่งใหออก

ในกรณีที่ตําแหนงกรรมการวางลงเพราะเหตุอื่นนอกจากถึงคราวออกตามวาระ ใหคณะกรรมการมี มติดวยคะแนนเสียงไมนอยกวา 3 ใน 4 ของจํานวนกรรมการที่เหลืออยู เลือกบุคคลซึ่งมีคุณสมบัติ และไมมีลักษณะตองหามตามพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 เขาเปนกรรมการแทน ในการประชุมคณะกรรมการคราวตอไป เวนแตวาระของกรรมการจะเหลือนอยกวา 2 เดือน สวนที่ 1 หนา 89


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน) 5.

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

ที่ประชุมผูถือหุนอาจลงมติใหกรรมการคนใดออกจากตําแหนงกอนถึงคราวออกตามวาระไดดวย คะแนนเสียงไมนอยกวา 3 ใน 4 ของจํานวนผูถือหุนซึ่งมาประชุมและมีสิทธิออกเสียง และมีหุนนับ รวมกันไดไมนอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวนหุนที่ถือโดยผูถือหุนที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง

นอกจากนี้ บุ ค คลที่ จ ะได รั บ การสรรหาให เ ป น กรรมการบริ ษั ท จะต อ งเป น ผู ท รงคุ ณ วุ ฒิ แ ละมี ค วามรู ความสามารถ มีคุณสมบัติครบถวนในการดํารงตําแหนงกรรมการบริษัท ตามพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 (รวมทั้งที่ไดมีการแกไขเพิ่มเติม) พระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 (รวมทั้งที่ไดมีการ แกไขเพิ่มเติม) ประกาศคณะกรรมการตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุนที่ เกี่ยวของ 8.3

คาตอบแทนกรรมการและผูบริหาร

8.3.1

คาตอบแทนกรรมการ 8.3.1.1 คาตอบแทนที่เปนตัวเงิน

บริษัทฯ ไดจายคาตอบแทนคณะกรรมการบริษัทจํานวน 14 ทาน ในชวงเวลาตั้งแต 1 เมษายน 2552 ถึง 31 มีนาคม 2553 รวมทั้งสิ้น 3,585,000 บาท ซึ่งเปนคาตอบแทนที่ไดรับอนุมัติโดยที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2552 โดยคาตอบแทนสําหรับประธานกรรมการ 35,000 บาทตอเดือน คาตอบแทนสําหรับประธานกรรมการตรวจสอบ 30,000 บาทตอเดือน และคาตอบแทนสําหรับกรรมการอื่น ๆ ทานละ 20,000 บาทตอเดือน ทั้งนี้ สามารถแสดงเปน รายบุคคลไดดังนี้ คาตอบแทน 1. นายคีรี กาญจนพาสน 2. นายกวิน กาญจนพาสน 3. นายสุธรรม ศิริทิพยสาคร 4. นายรังสิน กฤตลักษณ 5. นายคม พนมเริงศักดิ์ 6. Mr. Kong Chi Keung 7. Dato’ Amin Rafie Othman* 8. Mr. Lo Yun Sum 9. นายชัยสิทธิ์ ภูวภิรมยขวัญ 10. Dr. Paul Tong 11. Mr. Cheung Che Kin 12. พลโทพิศาล เทพสิทธา 13. ดร. อาณัติ อาภาภิรม 14. พลตํารวจตรีวราห เอี่ยมมงคล รวม

ป 2552/2553 390,000 240,000 240,000 240,000 240,000 240,000 20,000 180,000 280,000 240,000 240,000 455,000 240,000 340,000 3,585,000

* Dato’ Amin Rafie Othman ไดลาออกจากตําแหนงกรรมการบริษัทเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม 2552

สวนที่ 1 หนา 90


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

8.3.1.2 คาตอบแทนที่ไมเปนตัวเงิน -ไมมี8.3.2

คาตอบแทนผูบริหาร 8.3.2.1 บริษัทฯ ได จา ยคาตอบแทนแกก รรมการที่ทํา หน า ที่เปน ผูบริห ารและผู บริห ารที่ไ ม ใ ชก รรมการ จํานวน 17 ราย ในชวงเวลาตั้งแต 1 เมษายน 2552 ถึง 31 มีนาคม 2553 รวมทั้งสิ้น 49,348,220 บาท 8.3.2.2 คาตอบแทนที่ไมเปนตัวเงิน -ไมมี-

8.4

การกํากับดูแลกิจการ

8.4.1

นโยบายการกํากับดูแลกิจการ

0B

บริษัทฯ มีระบบการบริหารจัดการที่ดี ซึ่งประกอบไปดวยการมีคณะกรรมการและผูบริหารที่มีวิสัยทัศนและมี ความรับผิ ด ชอบตอ หนา ที่ มีก ลไกการควบคุ ม และการถว งดุลอํ า นาจ เพื่ อ ใหก ารบริห ารงานเปน ไปอยา งโปร งใส ตรวจสอบได การเคารพในสิทธิความเทาเทียมกันของผูถือหุน และมีความรับผิดชอบตอผูมีสวนไดเสีย ซึ่งเปนปจจัย สําคัญในการเพิ่มมูลคาและผลตอบแทนสูงสุดใหแกผูถือหุนของบริษัทฯ ในระยะยาว คณะกรรมการบริษัทไดกําหนดนโยบายการกํากับดูแลกิจการ โดยมีหลักการและแนวปฏิบัติที่สอดคลองกับ หลักการการกํากับดูแลกิจการที่ดีของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และไดมีการสื่อสารใหผูบริหารและพนักงาน ของบริษัทฯ ไดรับทราบและถือปฏิบัติอยางตอเนื่อง นอกจากนี้คณะกรรมการจะมีการทบทวนนโยบายการกํากับดูแล กิจการเปนประจําทุกป เพื่อใหนโยบายดังกลาวเหมาะสมกับสภาวการณและการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ อยูเสมอ ซึ่ง ในการประชุมคณะกรรมการเมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2553 คณะกรรมการไดพิจารณาทบทวนและปรับปรุงนโยบายการ กํากับดูแลกิจการของบริษัทฯ โดยสรุปไดดังนี้ นโยบายการกํากับดูแลกิจการของบริษัทฯ แบงออกเปน 5 หมวด ครอบคลุมหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี ดังนี้ 1.

สิทธิและความเทาเทียมกันของผูถือหุน และการคํานึงถึงบทบาทของผูมสี วนไดเสีย

2.

โครงสราง บทบาท หนาที่ ความรับผิดชอบ และความเปนอิสระของคณะกรรมการ

3.

การเปดเผยขอมูลและความโปรงใส

4.

การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง

5.

จริยธรรมและจรรยาบรรณ

สวนที่ 1 หนา 91


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน) 8.4.2

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

สิทธิและความเทาเทียมกันของผูถือหุน และการคํานึงถึงบทบาทของผูมีสวนไดเสีย 8.4.2.1 สิทธิและความเทาเทียมกันของผูถือหุน

บริษัทฯ ไดใหความสําคัญตอสิทธิและความเทาเทียมกันของผูถือหุน โดยผูถือหุนทุกรายจะไดรับการปฏิบัติที่ เทาเทียมกันในเรื่องตางๆ เชน การรับทราบสารสนเทศของบริษัทฯ ไมวาจะผานทางเว็บไซตของตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทยหรือเว็บไซตของบริษัทฯ เอง การเขารวมประชุมผูถือหุนเพื่อรับทราบผลการดําเนินงานประจําปและการ ออกเสียงลงคะแนนในที่ประชุมผูถือหุนเพื่อพิจารณาอนุมัติเรื่องตาง ๆ ที่สําคัญตามที่กฎหมายกําหนด ไมวาจะเปนการ แตงตั้งหรือถอดถอนกรรมการ คาตอบแทนกรรมการ แตงตั้งผูสอบบัญชีและพิจารณาคาตอบแทนผูสอบบัญชี การจาย หรื อ งดจ า ยเงิ น ป น ผล การเพิ่ ม ทุ น และออกหุ น ใหม ตลอดจนการซั ก ถามหรื อ แสดงความเห็ น ในเรื่ อ งต า งๆ ที่ คณะกรรมการไดรายงานใหทราบหรือไดขอความเห็นชอบจากที่ประชุมผูถือหุน เปนตน ทั้งนี้ คณะกรรมการจะตองจัดใหมีการประชุมสามัญประจําปผูถือหุนภายใน 120 วันนับแตวันสิ้นสุดรอบป บัญชีของบริษัทฯ และการประชุมผูถือหุนคราวอื่นซึ่งเรียกวาการประชุมวิสามัญ บริษัทฯ จะจัดประชุมเพิ่มตามความ จําเปนและเหมาะสม โดยบริษัทฯ ไดจัดใหมีเลขานุการบริษัทและหนวยงานกํากับดูแลการปฏิบัติตามนโยบายที่จะเรียก และจัดการประชุมผูถือหุนใหเปนไปตามกฎหมาย และแนวทางการประชุมผูถือหุนที่กําหนดโดยตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทย ทั้งนี้ ในการประชุมผูถือหุน บริษัทฯ ตองจัดสงหนังสือเชิญประชุมซึ่งระบุสถานที่ วัน และเวลาประชุม ตลอดจนวาระการประชุมพรอมทั้งขอมูลประกอบการประชุมวาระตาง ๆ อยางเพียงพอ เพื่อใหผูถือหุนไดมีเวลาศึกษา ขอมูลลวงหนากอนการประชุมไมนอยกวา 7 วันตามที่กฎหมายกําหนดทุกครั้ง และรวมทั้งการระบุถึงวัตถุประสงคและ เหตุผลของแตละวาระที่เสนอ โดยมีความเห็นของคณะกรรมการในทุกวาระ และไมมีวาระซอนเรนหรือเพิ่มเรื่องประชุม ใดไวในวาระอื่น ๆ ที่ไมไดระบุไวในหนังสือนัดประชุม ใหที่ประชุมผูถือหุน พิจารณาอนุมัติ เวนแตเปนกรณีจําเปน เรงดวนที่ทราบภายหลังการออกหนังสือเชิญประชุมแลว และไดมีการจัดสงหนังสือนัดประชุมและเอกสารประกอบการ ประชุมเปนภาษาอังกฤษใหกับผูถือหุนตางชาติดวย นอกจากนี้ บริษัทฯ ตองจัดใหมีการบันทึกรายงานการประชุม อยางถูกตองครบถวนเพื่อใหผูถือหุนตรวจสอบได โดยมีการบันทึกมติที่ประชุมไวอยางชัดเจน พรอมทั้งคะแนนเสียงที่ เห็นดวย ไมเห็นดวย และงดออกเสียงในทุก ๆ วาระที่ตองมีการลงคะแนนเสียง ตลอดจนมีการบันทึกสรุปความคิดเห็น ขอซักถาม และการตอบขอซักถามที่เปนสาระสําคัญและเกี่ยวของกับการประชุมในแตละวาระ และไดมีการบันทึก รายชื่อกรรมการที่เขารวมประชุมอีกดวย โดยบริษัทฯ ไดอํานวยความสะดวกแกผูถือหุนที่ไมสามารถเขารวมประชุม ดวยตนเอง โดยการสงแบบการมอบฉันทะไปพรอมกับหนังสือนัดประชุม และไดมีการระบุถึงเอกสารและหลักฐานที่ตอง ใชในการมอบฉันทะอยางชัดเจน ซึ่งผูถือหุนสามารถมอบหมายใหตัวแทนของผูถือหุนหรือกรรมการอิสระเขารวม ประชุมและออกเสียงลงคะแนนแทนตนได โดยบริษัทฯ จะมีการแจงในหนังสือนัดประชุมถึงรายชื่อกรรมการอิสระที่ผูถือ หุนสามารถมอบฉันทะได อยางนอย 1 ทานใหเปนผูรับมอบฉันทะออกเสียงแทนผูถือหุนที่ไมสามารถเขารวมประชุมได ในการประชุ ม ผู ถื อ หุ น ผู ถื อ หุ น ทุ ก รายมี สิ ท ธิ แ ละความเท า เที ย มกั น ในการรั บ ทราบสารสนเทศ การแสดงความคิดเห็น และการตั้งคําถามใด ๆ ตอที่ประชุมตามระเบียบวาระการประชุมและเรื่องที่เสนอ รวมทั้งจะมี การแจงใหผูถือหุนรับทราบสิทธิในการลงคะแนนและวิธีการออกเสียงลงคะแนนในหนังสือนัดประชุมและชี้แจงทุกครั้ง กอนเริ่มการประชุม โดยประธานการประชุมมีหนาที่จัดสรรเวลาใหอยางเหมาะสม และสงเสริมใหมีการแสดงความ คิดเห็นและซักถามในที่ประชุม

สวนที่ 1 หนา 92


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

8.4.2.2 สิทธิของผูมีสวนไดเสีย บริ ษั ท ฯ คํ า นึ ง ถึ ง บทบาทของผู มี ส ว นได เ สี ย และให ค วามสํ า คั ญ กั บ สิ ท ธิ ข องผู มี ส ว นได เ สี ย ของ บริษัทฯ ทุกกลุม โดยไดมีการดูแลใหผูมีสวนไดเสียกลุมตาง ๆ ของบริษัทฯ เชน ผูถือหุน พนักงาน ลูกคา คูคา ตลอดจนสาธารณชนและสังคมไดรับการปฏิบัติอยางเหมาะสม เสมอภาค และเปนธรรม

8.4.3

ผูถือหุน

:

บริ ษั ท ฯ มี ก ารดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ อย า งโปร ง ใส ถู ก ต อ ง และยุ ติ ธ รรม เพื่ อ พั ฒ นากิ จ การให มั่ น คงและเจริ ญ เติ บ โต โดยคํ า นึ ง ถึ ง การสร า ง ผลตอบแทนที่ดีตอผูถือหุนอยางตอเนื่องและเทาเทียมกัน

ลูกคา

:

บริษัทฯ มุงมั่นสรางความพึงพอใจและความมั่นใจใหกับลูกคา ซึ่งมีผลตอ ความสําเร็จ ของธุร กิจ โดยพั ฒนาคุณภาพและรูปแบบของสิ น คาและ บริการเพื่อตอบสนองความตองการของลูกคาไดอยางมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลอยางสม่ําเสมอ เพื่อรักษาความสัมพันธที่ดีในระยะยาว

พนักงาน

:

บริษัทฯ ไดใหความเปนธรรมตอพนักงานทุกระดับโดยไมเลือกปฏิบัติ และมีการปฏิบัติตอพนักงานบนพื้นฐานของคุณภาพ โดยมีการพัฒนา ฝกอบรมพนักงานอยางตอเนื่องทั้งภายในและภายนอกบริษัทฯ และดูแล ในเรื่องผลตอบแทนและสวัสดิ การของพนัก งาน ใหมีค วามเหมาะสม ตลอดจนเสริ ม สร า งวัฒ นธรรมและบรรยากาศการทํ า งานที่ ดี รวมทั้ ง สงเสริมการทํางานเปนทีม

คูคา

:

บริษัทฯ ดําเนินธุรกิจโดยคํานึงถึงผลประโยชนของผูมีสวนไดเสีย และ การปฏิบัติที่เปนธรรมตอคูคาทุกรายของบริษัทฯ

สังคม ชุมชนและ สิ่งแวดลอม

:

บริษัทฯ ใหความความสําคัญตอกิจกรรมเพื่อสังคมและคุณภาพชีวิตที่ดี ตอสังคมไทย ดวยการมีสวนรวมพัฒนาชุมชนและตอบแทนกลับคืนสู สังคม

โครงสราง บทบาท หนาที่ ความรับผิดชอบ และความเปนอิสระของคณะกรรมการ

บริษัทฯ ไดกําหนดใหมีคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการ พิจารณาคาตอบแทน และคณะกรรมการบริหาร ในการกลั่นกรองและศึกษาแนวทางการกํากับและการบริหารงานของ บริ ษั ท ฯ กรรมการทุ ก คนมี อิ ส ระในการแสดงความคิ ด เห็ น ต อ การดํ า เนิ น งานของบริ ษั ท ฯ เพื่ อ กํ า กั บ ดู แ ลให ก าร ดําเนินงานของฝายบริหารเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ถูกตอง และโปรงใส

สวนที่ 1 หนา 93


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

8.4.3.1 คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการบริษัทมีจํานวน 13 ทาน (ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2553) ประกอบดวย กรรมการที่เปนผูบริหาร

6

ทาน

กรรมการที่มิไดเปนผูบริหาร

4

ทาน

กรรมการอิสระ

3

ทาน

8.4.3.2 ภาวะผูนําและวิสัยทัศน

คณะกรรมการมีความมุงมั่นที่จะใหบริษัทฯ และบริษัทยอยเปนองคกรชั้นนําที่ไดรับการยอมรับใน ระดับสากลวาเปนบริษัทฯ ที่ประสบความสําเร็จมากที่สุดแหงหนึ่งในประเทศไทย โดยดําเนินธุรกิจที่ มีความหลากหลาย ดวยการบริหารจัดการที่แข็งแกรงและดวยบุคลากรที่ลวนแตมีความสามารถ และมีสวนรวมในการกําหนดวิสัยทัศน ภารกิจ และกลยุทธ

คณะกรรมการมีภาวะผูนํา วิสัยทัศน มีความอิสระในการตัดสินใจและรับผิดชอบตามหนาที่ในการ กํากับดูแลกิจการใหเกิดประโยชนสูงสุดตอผูถือหุนโดยรวม

คณะกรรมการมีหนาที่และความรับผิดชอบตอผูถือหุนของบริษัทฯ ที่จะกํากับดูแลการบริหารงาน ของฝายบริหารและมีการแบงแยกหนาที่ระหวางคณะกรรมการและฝายบริหารไวอยางชัดเจน

8.4.3.3 ความขัดแยงทางผลประโยชน คณะกรรมการไดมีการกําหนดแนวทางในเรื่องความขัดแยงทางผลประโยชน โดยปฏิบัติตามแนวทางของ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยและพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย เพื่อผลประโยชนสูงสุดของบริษัท ฯ และถือเปนหนาที่ของบุคลากรทุกระดับที่จะพิจารณาแกไขปญหาความขัดแยงทางผลประโยชนอยางรอบคอบ ยึด หลั ก ความซื่อสั ตย สุจ ริ ต มีเ หตุ มีผ ล และเปน อิส ระภายในกรอบจริ ย ธรรมที่ดี ตลอดจนมีก ารเปด เผยขอมูลอยา ง ครบถวนเพื่อผลประโยชนของบริษัทฯ โดยรวมเปนสําคัญ 8.4.3.4 คาตอบแทนกรรมการและผูบริหาร คณะกรรมการพิจารณาคาตอบแทนจะเปนผูพิจารณาการจายคาตอบแทนแกคณะกรรมการเพื่อเสนอใหที่ ประชุมผูถือหุนพิจารณาอนุมัติ โดยมีหลักเกณฑการกําหนดคาตอบแทนตามกฎบัตรของคณะกรรมการพิจารณา คาตอบแทน สําหรับผูบริหารจะไดรับเงินเดือนประจําเปนปกติเหมือนพนักงานอื่นๆ ของบริษัทฯ 8.4.3.5 การประชุมคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการตรวจสอบจะมีการประชุมเปนประจําทุกไตรมาส เพื่อรับทราบและ ติดตามผลการดําเนินงานในเรื่องตางๆ ของบริษัทฯ โดยมีกรรมการอิสระมาถวงดุลและสอบทานการบริหารงานของ คณะกรรมการ สวนคณะกรรมการบริหารจะมีการประชุมเปนประจําทุกเดือนและประชุมเพิ่มเติมตามความจําเปนและ เหมาะสมเพื่ อ พิ จ ารณาอนุ มั ติ ก ารดํ า เนิ น งานของบริ ษั ท ฯ ในเรื่ อ งสํ า คั ญ ต า งๆ ที่ อ ยู ใ นอํ า นาจการตั ด สิ น ใจของ คณะกรรมการบริหารและรายงานผลการดําเนินงานใหคณะกรรมการบริษัททราบ

สวนที่ 1 หนา 94


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

จํ า นวนครั้ ง ของการประชุ ม คณะกรรมการบริ ษั ท และจํ า นวนครั้ ง ที่ ก รรมการแต ล ะท า นเข า ร ว มประชุ ม คณะกรรมการบริษัท ตั้งแตวันที่ 1 เมษายน 2552 ถึง 31 มีนาคม 2553 เปนดังนี้ รายชือ่ กรรมการ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13.

นายคีรี กาญจนพาสน นายกวิน กาญจนพาสน นายสุธรรม ศิริทิพยสาคร นายรังสิน กฤตลักษณ Mr. Kong Chi Keung นายคม พนมเริงศักดิ์ Dr. Paul Tong Mr. Cheung Che Kin Mr. Lo Yun Sum ดร. อาณัติ อาภาภิรม พลโทพิศาล เทพสิทธา พลตํารวจตรีวราห เอี่ยมมงคล นายชัยสิทธิ์ ภูวภิรมยขวัญ

ตําแหนง ประธานกรรมการบริษัท กรรมการผูจัดการ รองกรรมการผูจัดการ รองกรรมการผูจัดการ รองกรรมการผูจัดการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการอิสระ/ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ/กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ/กรรมการตรวจสอบ

การเขารวมประชุม/ การประชุมทั้งหมด (ครั้ง) 7/7 7/7 7/7 7/7 7/7 7/7 4/7 2/7 1/5 7/7 7/7 7/7 5/5

จํานวนครั้งของการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบและจํานวนครั้งที่กรรมการตรวจสอบแตละทานเขารวม ประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ ตั้งแตวันที่ 1 เมษายน 2552 ถึง 31 มีนาคม 2553 เปนดังนี้ รายชือ่ กรรมการตรวจสอบ 1. 2. 3. 4.

พลโทพิศาล เทพสิทธา ดร. อาณัติ อาภาภิรม* พลตํารวจตรีวราห เอี่ยมมงคล นายชัยสิทธิ์ ภูวภิรมยขวัญ**

ตําแหนง ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ

การเขารวมประชุม/ การประชุมทั้งหมด (ครั้ง) 5/5 0/1 5/5 4/4

*

ดร .อาณัติ อาภาภิรม ลาออกจากการเปนกรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบเมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2552 แตยังคงดํารง ตําแหนงเปนกรรมการบริษัท ** นายชัยสิทธิ์ ภูวภิรมยขวัญ ไดรับการแตงตั้งโดยที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2552 ใหเปนกรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ เมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2552

8.4.3.6 คณะกรรมการชุดยอย คณะกรรมการบริ ษัทไดจัดตั้ง คณะกรรมการชุดยอยตา ง ๆ เพื่ อบริห ารและดําเนิน กิ จ การให เปน ไปตาม นโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดี ไดแก คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการพิจารณาคาตอบแทน คณะกรรมการ สรรหา และคณะกรรมการบริ ห าร ทั้ ง นี้ คณะกรรมการตรวจสอบประกอบด ว ยกรรมการอิ ส ระทั้ ง หมด สํ า หรั บ คณะกรรมการพิจารณาคาตอบแทนและคณะกรรมการสรรหาจะประกอบดวยกรรมการอิสระเปนสวนใหญ 8.4.3.7 เลขานุการบริษัท

สวนที่ 1 หนา 95


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

คณะกรรมการบริ ษั ท ได จั ด ให มี เ ลขานุ ก ารบริ ษั ท เพื่ อ รั บ ผิ ด ชอบดํ า เนิ น การต า ง ๆ ตามพระราชบั ญ ญั ติ หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ดังนี้

8.4.4

จั ด ทํ า และเก็ บ รั ก ษาทะเบี ย นกรรมการ หนั ง สื อ นั ด ประชุ ม คณะกรรมการ รายงานการประชุ ม คณะกรรมการ และรายงานประจําปของบริษัทฯ หนังสือนัดประชุมผูถือหุน และรายงานการ ประชุมผูถือหุน

เก็บรักษารายงานการมีสวนไดเสียที่รายงานโดยกรรมการหรือผูบริหาร

ดําเนินการอื่น ๆ ตามที่คณะกรรมการกํากับตลาดทุนประกาศกําหนด

การเปดเผยขอมูลและความโปรงใส บทบาทหนาที่ของคณะกรรมการเกี่ยวกับการเปดเผยขอมูลและความโปรงใส 1.

คณะกรรมการมีหนาที่ในการเปดเผยสารสนเทศทั้งที่เปนสารสนเทศทางการเงิน และที่ไมใชทางการ เงินอยางครบถวน เพียงพอ เชื่อถือได และทันเวลา เพื่อใหผูถือหุนและผูมีสวนไดเสียของบริษัทฯ ไดรับสารสนเทศอยางเทาเทียมกัน

2.

บริษัทฯ มีหนวยงานนักลงทุนสัมพันธ (Investor Relations) เพื่อเปนตัวแทนบริษัทในการสื่อสาร ประชาสัมพันธขอมูลขาวสารที่เปนประโยชนใหแกผูถือหุน นักลงทุน นักวิเคราะหหลักทรัพยและผูที่ สนใจและเกี่ยวของไดรับทราบขอมูลของบริษัทฯ โดยสามารถติดตอสอบถามผานหนวยงานนัก ลงทุนสัมพันธที่หมายเลขโทรศัพท 0 2273-8511-5 อีกทั้งมีหนวยงาน Compliance ของบริษัทฯ ดูแลในดานการเปดเผยขอมูลแกตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยและสํานักงานคณะกรรมการ กํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย เพื่อใหมั่นใจวาบริษัทฯ ไดปฏิบัติตามระเบียบและขอบังคับ ของกฎหมายที่เกี่ยวของอยางครบถวน

3.

บริษัทฯ มีนโยบายเปดเผยสารสนเทศที่สําคัญตอสาธารณชน ดังนี้

วัตถุประสงคของบริษัทฯ

ฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของบริษัทฯ

โครงสรางการถือหุน และสิทธิในการออกเสียง

รายชื่อคณะกรรมการ คณะกรรมการชุดยอยตางๆ และคณะผูบริหาร

ป จ จั ย และนโยบายเกี่ ย วกั บ การจั ด การความเสี่ ย งที่ ส ามารถคาดการณ ไ ด (Material Foreseeable Risk Factors) ทั้งที่เกี่ยวกับการดําเนินงานและการเงิน

นโยบายและโครงสรางการกํากับดูแลกิจการ (Governance Structures and Policies) รวมทั้งความรับผิดชอบของคณะกรรมการในการรายงานทางการเงิน และรายงานของ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ สวนที่ 1 หนา 96


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

การเปดเผยในรายงานประจําปเกี่ยวกับจํานวนครั้งที่กรรมการและกรรมการตรวจสอบแต ละทานเขารวมประชุม โดยเปรียบเทียบกับจํานวนครั้งของการประชุมคณะกรรมการและ คณะกรรมการตรวจสอบในแตละป ตลอดจนประวัติของคณะกรรมการและผูบริหาร

รายงานขอมูลเกี่ยวกับการดําเนินงานของบริษัทฯ ขอมูลที่มีผลกระทบตอราคาซื้อขาย หลักทรัพยของบริษัทฯ หรือตอการตัดสินใจลงทุน หรือตอสิทธิประโยชนของผูถือหุนตาม ประกาศของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยและกฎหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ

นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังเปดเผยขอมูลตามขอบังคับหรือกฎหมายที่เกี่ยวของ งบการเงิน และรายงานประจําป เพื่อใหนักลงทุนและผูที่เกี่ยวของทั้งที่เปนผูถือหุนและผูที่สนใจจะถือหุนในอนาคตไดใชประกอบการตัดสินใจลงทุน ผาน ชองทางและสื่อการเผยแพรขอมูลตางๆ ของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ตลอดจนผานเว็บไซตของบริษัทฯ ที่ www.btsgroup.co.th HU

8.4.5

UH

การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง 8.4.5.1 การควบคุมภายใน (Internal Control)

คณะกรรมการตองจัดใหมีและรักษาไวซึ่งระบบการควบคุมภายใน เพื่อปกปองเงินลงทุนของผูถือหุน และทรัพยสินของบริษัทฯ

คณะกรรมการมีหนาที่สอบทานความมีประสิทธิภาพของระบบการควบคุมภายในอยางนอยปละครั้ง และรายงานใหผูถือหุนทราบวาไดกระทําการดังกลาวแลวในรายงานประจําป การสอบทานตอง ครอบคลุมในทุกเรื่อง รวมทั้งการควบคุมทางการเงิน การดําเนินงาน การกํากับดูแลการปฏิบัติงาน (Compliance Controls) และการบริหารความเสี่ยง (Risk Management)

8.4.5.2 การตรวจสอบภายใน ฝ า ยตรวจสอบภายในจะเป น อิ ส ระจากหน ว ยงานอื่ น ๆ ในบริ ษั ท ฯ และรายงานผลการปฏิ บั ติ ง านต อ คณะกรรมการตรวจสอบโดยตรง โดยจะทําหนาที่ในการตรวจสอบภายใน ติดตาม ควบคุม ทดสอบ สอบทาน และ ประเมินผลการปฏิบัติงานของหนวยงานตาง ๆ ในบริษัทฯ ตามที่คณะกรรมการตรวจสอบเปนผูกําหนดบทบาทหนาที่ ทั้งนี้ เพื่อใหระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ มีประสิทธิภาพ ปกปองทรัพยสินของบริษัทฯ ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับที่เกี่ยวของกับบริษัทฯ เกิดการถวงดุล และตรวจสอบระหวางกันอยางเหมาะสมที่จะใหเกิดความ เชื่อมั่นอยางสมเหตุสมผลในการปฏิบัติงานของบริษัทฯ ที่จะบรรลุผลสําเร็จตามเปาหมายที่กําหนดไว

8.4.5.3 การบริหารความเสี่ยง (Risk Management) บริษัทฯ มีนโยบายที่จะบริหารความเสี่ยงตางๆ ที่มีผลกระทบตอบริษัทฯ ทั้งที่เปนปจจัยภายในและภายนอก ใหมีความเสี่ยงที่เหลืออยูในระดับที่เหมาะสมและยอมรับได การบริหารความเสี่ยงเปนสวนหนึ่งของการจัดทําแผนธุรกิจ (Business Plan) ประจําป เพื่อใหการกําหนดแนวทางการจัดการความเสี่ยงนั้นสอดคลองกับวัตถุประสงค เปาหมาย และแผนกลยุทธตางๆ ของบริษัทฯ ทั้งนี้ ผูบริหารและพนักงานทุกคนในบริษัทฯ เปนเจาของความเสี่ยง และมีหนาที่ใน การประเมินความเสี่ยงของแตละหนวยงาน และกระบวนการประเมินประสิทธิภาพของมาตรการควบคุมที่มีอยู และ

สวนที่ 1 หนา 97


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

นําเสนอแผนและวิธีการในการลดความเสี่ยง และรายงานตอคณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริษัท ทั้งนี้ คณะกรรมการบริหารมีบทบาทหนาที่บริหารความเสี่ยงในภาพรวมทั้งองคก ร ประเมินความเสี่ยงและวางรูปแบบ โครงสรางการบริหารความเสี่ยงขององคกร เพื่อจัดการความเสี่ยงใหอยูในระดับที่สามารถยอมรับได เชน ความเสี่ยง ทางการเงิน (Financial Risks) ความเสี่ยงในการปฏิบัติงาน (Operation Risks) ความเสี่ยงในธุรกิจ (Business Risks) ความเสี่ยงในเหตุการณ (Event Risks) เปนตน รวมทั้งใหมีการจัดทําการวิเคราะหประเมินความเสี่ยงที่อาจ เกิดขึ้น แนวโนมซึ่งมีผลกระทบตอบริษัทฯ ทั้งภายในและภายนอก 8.4.6

จริยธรรมและจรรยาบรรณ

บริษัทฯ ไดดําเนินการประกอบธุรกิจดวยความซื่อสัตยสุจริตและเที่ยงธรรมตามหลักปรัชญาและจรรยาบรรณ ของบริษัทฯ ทั้งการปฏิบัติตอผูถือหุนของบริษัทฯ และผูมีสวนไดเสียทุกกลุม สาธารณชน สังคม และผูที่เกี่ยวของ ทั้งนี้ บริษัทฯ ไดติดตามการปฏิบัติตามแนวทางดังกลาวอยางสม่ําเสมอ รวมทั้งไดมีการอบรมทําความเขาใจใหกับ ผูบริหารและพนักงาน ซึ่งผูบริหารและผูบังคับบัญชามีหนาที่ในการสอดสอง ดูแล และสงเสริมผูใตบังคับบัญชาให ปฏิบัติตามจรรยาบรรณที่กําหนดและประพฤติตนเปนแบบอยางที่ดี 8.5

การดูแลเรื่องการใชขอมูลภายใน

บริษัทฯ ไดตระหนักถึงความสําคัญในการปองกันการใชขอมูลภายในของบริษัทฯ ดังนั้น จึงไดมีการแจงให กรรมการ ผู บ ริ ห าร และพนั ก งานทั้ ง หลายปฏิ บั ติ ต ามกฎเกณฑ แ ละระเบี ย บของสํ า นั ก งานคณะกรรมการกํ า กั บ หลั ก ทรัพ ยแ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย และประมวลข อกํ า หนดตลาดหลัก ทรั พย แ ห งประเทศไทยอย า งเครง ครั ด โดยมี สาระสําคัญสรุปไดดังนี้

1.

กําหนดใหกรรมการ ผูบริหาร รวมถึงคูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะของบุคคลดังกลาว ตอง รายงานการเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพยตอสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและ ตลาดหลักทรัพย ตามมาตรา 59 แหงพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 และจั ด ส ง สํ า เนารายงานนี้ ใ ห แ ก บ ริ ษั ท ฯ ในวั น เดี ย วกั น กั บ วั น ที่ ส ง รายงานต อ สํ า นั ก งาน คณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย

2.

แจงใหกรรมการ ผูบริหาร พนักงาน และบุคคลภายในอื่น ๆ เชน ทนายความ ที่ปรึกษากฎหมาย ผูสอบบัญชี ที่ปรึกษาทางการเงิน รับทราบถึงการไมใชขอมูลภายในเพื่อประโยชนในการซื้อขาย หลักทรัพยของบริษัทฯ และหามมิใหเปดเผยขอมูลภายในตอบุคคลภายนอกใด ๆ กอนที่จะมีการ เปด เผยให ป ระชาชนทราบโดยทั่ วถึ งกัน ผา นตลาดหลั กทรั พย แ หง ประเทศไทย โดยบริ ษัท ฯ มี นโยบายปองกันการใชขอมูลภายในโดยมิชอบดังนี้

หามบุคคลภายในซื้อขายหลักทรัพยของบริษัทฯ กอนมีการเปดเผยงบการเงินรายไตรมาส และงบการเงินประจําปและภายใน 24 ชั่วโมง หลังการเปดเผยงบการเงินดังกลาว ในกรณี ที่ขอมูลภายในที่เปดเผยตอประชาชนมีความซับซอน บุคคลภายในควรตองรออยางนอย 48 ชั่วโมง

ในกรณีที่ทราบขอมูลภายในที่ยังไมเปดเผย และมีความสําคัญซึ่งอาจมีผลกระทบตอราคา หลักทรัพยของบริษัทฯ บุคคลภายในตองละเวนการซื้อขายหลักทรัพยของบริษัทฯ จนกวา สวนที่ 1 หนา 98


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

จะพนระยะเวลา 24 ชั่วโมง แตหากขอมูลมีความซับซอนมากควรตองรอถึง 48 ชั่วโมง นับ แตไดมีการเปดเผยขอมูลนั้นตอประชาชนแลว ทั้งนี้ หากบุคคลภายในเปนพนักงานของบริษัทฯ การฝาฝนขอกําหนดในเรื่องเกี่ยวกับการใชขอมูลภายใน ดังกลาว นอกจากจะมีโทษตามพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยแลว ยังถือวาไดกระทําผิดขอบังคับการ ทํางานของบริษัทฯ และมีโทษทางวินัย โดยบทลงโทษทางวินัยในเรื่องนี้มี 4 ลําดับ โดยขึ้นกับลักษณะแหงความผิด หรือความหนักเบาของการกระทําผิดหรือตามความรายแรงที่เกิดขึ้น คือ

8.6

ตักเตือนเปนลายลักษณอักษร

ตักเตือนเปนลายลักษณอักษร และพักงานไมเกิน 5 วันทําการ

เลิกจางโดยจายคาชดเชย

เลิกจางโดยไมจายคาชดเชย

บุคลากร

จํานวนพนักงานและผูบริหารของบริษัทฯ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2553 มีจํานวน 124 คน โดยแยกตามฝาย ตางๆ ดังนี้ สํานักกรรมการผูจ ัดการ/รองกรรมการผูจัดการ ฝายกฎหมาย ฝายทรัพยากรมนุษยและธุรการ ฝายบริหารทรัพยสินและอสังหาริมทรัพย ฝายโครงการพิเศษ ฝายโรงแรม ฝายพัฒนาอสังหาริมทรัพย/ฝายบริหารโครงการ/ฝายพัฒนาธุรกิจ ฝายการตลาด การขาย และประชาสัมพันธ ฝายเทคโนโลยีสารสนเทศ ฝายบัญชี ฝายการเงิน รวม

11 คน 8 คน 8 คน 35 คน 8 คน 1 คน 21 คน 15 คน 3 คน 12 คน 2 คน 124 คน

1B

3B

2B

5B

4B

7B

6B

9B

8B

1B

10B

13B

12B

15B

14B

17B

16B

19B

18B

21B

20B

23B

25B

โดยมีคาตอบแทนประกอบดวยเงินเดือนและโบนัส รวมทั้งสิ้น 75,173,533 บาท ขอพิพาททางดานแรงงานในปที่ผานมา - ไมมี –

สวนที่ 1 หนา 99

24B

2BU

U


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน) 8.7

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

นโยบายการพัฒนาบุคลากร

บริษัทฯ ตระหนักดีวาพนักงานทุกคนเปนทรัพยากรที่มีคาที่จะทําใหบริษัทฯ สามารถบรรลุเปาหมายและแผน ธุรกิจ ดังนั้น บริษัทฯ จึงมีการกําหนดแนวทางในการบริหารทรัพยากรมนุษยตั้งแตกระบวนการสรรหา คัดเลือก พัฒนา สงเสริม และรักษาไวซึ่งพนักงานที่มีคุณภาพ ดังตอไปนี้

การสรรหาและความกาวหนาในอาชีพของพนักงาน

บริษัทฯ ไดใหความสําคัญในการพัฒนาบุคลากรตั้งแตกระบวนการสรรหา โดยบริษัทฯ จะกําหนดลักษณะของ วุฒิการศึกษา ประสบการณ ความเชี่ยวชาญ และขอกําหนดอื่นๆ ของแตละตําแหนงงานอยางชัดเจน เพื่อที่จะได เลือกสรรอยางถูกตองและเหมาะสม ทั้งนี้ บริษัทฯ จะพิจารณาพนักงานภายในเปนอันดับแรก เพื่อใหโอกาสในการ พัฒนาความกาวหนาในการทํางาน หากไมมีผูใดเหมาะสมจึงจะพิจารณาคัดเลือกจากบุคคลภายนอก นอกจากนี้ พนักงานใหมทุกคนจะไดเขารับการอบรมปฐมนิเทศเพื่อชวยใหพนักงานไดทราบถึงกระบวนการและขั้นตอนการทํางาน ของฝายตางๆ ในองคกร จึงทําใหพนักงานสามารถวางแผนและปฏิบัติงานไดตรงตามวัตถุประสงค อีกทั้งบริษัทฯ ยังใหความสําคัญในการใหโอกาสเติบโตในหนาที่การงานแกพนักงานตามเสนทางความกาวหนาในอาชีพ เพื่อรักษาคน เกงและคนดีใหอยูกับองคกรตลอดไป

โครงการฝกอบรมพนักงาน

บริษัทฯ มีนโยบายที่จะสนับสนุนการฝกอบรมและการพัฒนาพนักงาน ทั้งนี้เพื่อพัฒนาทักษะในการทํางาน ของพนักงานอยางสม่ําเสมอ เพิ่มพูน และตอเนื่อง โดยไดจัดใหมีการฝกอบรมทั้งภายในและภายนอกองคกร สําหรับ การฝกอบรมภายในองคกร นอกจากจะไดจัดใหมีการฝกอบรมในเรื่องทักษะการทํางานตาง ๆ แลว ยังไดจัดใหมีการ แลกเปลี่ยนความรูเชิงประสบการณระหวางพนักงานฝายตาง ๆ ไมวาจะโดยการประชุมรวมกัน หรือการแลกเปลี่ยน ความรูผานสื่อระบบ Intranet สําหรับการฝกอบรมภายนอกองคกร บริษัทฯ จะใหพนักงานกรอกแบบสอบถามความ ตองการฝกอบรมและสงใหเขาอบรมตามความเหมาะสม โดยมีการติดตามผลหรือวัดการเรียนรูในแตละหลักสูตร เพื่อใหเกิดประโยชนรวมกันทั้งบริษัทฯ และพนักงาน

จัดใหมีระบบการประเมินผลงานของพนักงาน

บริษัทฯ มีการประเมินความรูความสามารถของพนักงานในการปฏิบัติงาน โดยมีการกําหนดเกณฑในการ ประเมินพนักงานทุกระดับอยางชัดเจนและเปนธรรม โดยจะประเมินจากความสามารถ ศักยภาพ และสมรรถนะของ พนักงานใน 4 สวน คือ ทักษะ (Skill) ความรู (Knowledge) คุณสมบัติ (Attributes) และผลการปฏิบัติงาน (Performance) และบริษัทฯ ไดมีการสื่อสารเกณฑตางๆ ในการประเมินใหพนักงานทราบลวงหนาอยางทั่วถึง ทั้งนี้ ใน การพิจารณากําหนดคาตอบแทนแกพนักงาน นอกจากจะคํานึงถึงผลการประกอบการของบริษัทฯ และสถานการณทาง เศรษฐกิจในแตละปแลว ผลการประเมินก็เปนสวนสําคัญในการพิจารณากําหนดคาตอบแทนแกพนักงาน ซึ่งการจัดให มีระบบการประเมินผลงานของพนักงานและการพิจารณากําหนดคาตอบแทนแกพนักงานตามผลการประเมินนี้ จะ สงผลใหพนักงานสามารถทํางานและพัฒนาศักยภาพอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

สวนที่ 1 หนา 100


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

ความเทาเทียมในการปฏิบัติตอพนักงานในองคกร

บริ ษั ท ฯ ตระหนั ก ถึ ง ความสํ า คั ญ ของการปฏิ บั ติ อ ย า งเท า เที ย มกั น กั บ พนั ก งานทุ ก คนในองค ก ร ตั้ ง แต กระบวนการคัดเลือกบุคคล ตลอดจนการเลื่อนตําแหนงจากความสามารถ โดยไมมีอคติหรือใชระบบเครือญาติในการ วัดผลงาน การแสดงความคิดเห็นและแนวทางการปฏิบัติงาน

การสํารวจความพึงพอใจของพนักงาน

เพื่อใหทราบถึงความพึงพอใจหรือความสุขในการปฏิบัติหนาที่ของพนักงานแตละคน บริษัทฯ ไดกําหนดใหมี การสํารวจขอคิดเห็นและขอเสนอแนะตางๆ ของพนักงานทุกระดับ ซึ่งขอมูลที่ไดรับมานั้นจะสามารถนํามาปรับปรุง แกไขขอบกพรองในการบริหารจัดการองคกรและทรัพยากรทั้งในระยะสั้นและระยะยาว รวมทั้งบริษัทฯ ยังไดกําหนด ระเบียบปฏิบัติวาดวยการยื่นคํารองทุกขเพื่อใหพนักงานไดใชในการยื่นเรื่องราวรองทุกข เพื่อเปนแนวทางในการแกไข ขอคับของใจในการทํางานของพนักงานอยางเสมอภาคและเปนธรรม

สรางคุณภาพชีวิตที่ดีแกพนักงาน

บริษัทฯ เห็นความสําคัญของคุณภาพชีวิตที่ดีของพนักงาน ซึ่งจะชวยสงเสริมใหพนักงานทํางานอยางเต็มที่ และมีประสิทธิภาพ ดังนั้น บริษัทฯ จึงเอาใจใสดูแลรักษาสถานที่ทํางานใหมีความปลอดภัยและถูกสุขลักษณะ เพื่อ สวัสดิภาพที่ดีและสุขพลามัยที่สมบูรณของพนักงาน โดยบริษัทฯ ไดจัดใหมีการตรวจสุขภาพแกพนักงานเปนประจํา ทุกป นอกจากนี้ หากจํานวนพนักงานในหนวยงานใดไมเพียงพอตอปริมาณงานที่เพิ่มขึ้น บริษัทฯ ก็จะจัดจางพนักงาน ที่เหมาะสมกับตําแหนงงานเพิ่มเติม เพื่อใหปริมาณงานในหนวยงานสอดคลองกับจํานวนพนักงานและสรางคุณภาพ ชีวิตที่ดีในการทํางานแกพนักงาน

สรางระบบบริหารและการทํางานรวมกันที่ดี

บริ ษั ทฯ ได เล็งเห็ นความสํา คัญในระบบการทํางานใหมีค วามตอเนื่องตั้งแตตนทางไปยังปลายทาง และ กอใหเกิดผลงานที่มีคุณภาพ ไดมาตรฐาน ขจัดและลดความขัดแยงในการทํางาน จึงไดใหทุกฝายในองคกรรวมกัน จัดทําคูมือระบบการทํางานรวมกัน (Operational Manual) เพื่อเปนระเบียบวิธีปฏิบัติงานในการติดตอประสานงานกัน ระหวางหนวยงานภายในองคกรและไดมีการเผยแพรระบบการทํางานรวมกันนี้ผานระบบ Intranet โดยบริษัทฯ ไดจัด ใหมีการทบทวนและแกไขตามความเหมาะสม

สรางสัมพันธที่ดีระหวางผูบริหารและพนักงาน

บริษัทฯ ไดตระหนักถึงความสําคัญของความสัมพันธที่ดีในการทํางานรวมกันระหวางผูบริหารและพนักงาน เพื่อซึ่งมีผลกระทบตอประสิทธิภาพในการทํางานรวมกัน ดังนั้น จึงไดจัดใหมีกิจกรรมรวมกันระหวางพนักงานและ ผูบริหาร ซึ่งจะเปนปจจัยที่สามารถพัฒนาความสัมพันธที่ดีและเปนการสนับสนุนใหเกิดความสุขใจในการทํางาน เชน งานสังสรรควันปใหม งานทําบุญรวมกัน งานกีฬาสี นอกจากนี้ ผูบริหารไดจัดประชุมรวมกันกับพนักงานอยาง สม่ําเสมอ เพื่อเปนการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหวางผูบริหารและพนักงาน ซึ่งจะนําพาองคกรไปสูเปาหมายการ ทํางานในทิศทางเดียวกันอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

สวนที่ 1 หนา 101


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

สรางพนักงานใหเปนคนดีขององคกรและสังคม

เพื่อใหพนักงานยึดถือปฏิบัติตามและเพื่อประโยชนแหงความมีวินัยอันดีงามของหมูคณะ เมื่อพนักงานผูใด หลีกเลี่ยงหรือฝาฝนระเบียบขอบังคับการทํางานจะถือวาพนักงานผูนั้นกระทําผิด ซึ่งจะตองไดรับการพิจารณาและ ดําเนินการตามมาตรการแกไขอยางใดอยางหนึ่งตามระเบียบขอบังคับการทํางานอยางเหมาะสมแกกรณี โดยยึดหลัก ธรรมาภิบาลที่ดี (Corporate Governance) ที่บริษัทฯ กําหนด ซึ่งเปนกรอบใหผูบริหารและพนักงานถือปฏิบัติ ทั้งนี้ บริษัทฯ เชื่อมั่นวาการพัฒนาพนักงานใหเปนคนดี และคนเกงนั้น จะชวยใหองคกรเจริญเติบโตอยางมั่นคงและยั่งยืน

สวนที่ 1 หนา 102


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

9.

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

การควบคุมภายใน

บริษัทฯ ไดใหความสําคัญตอการควบคุมภายในมาอยางตอเนื่อง โดยคณะกรรมการบริษัทไดมอบหมายให คณะกรรมการตรวจสอบสอบทานและประเมินระบบการควบคุมภายใน เสนอตอคณะกรรมการบริษัทเพื่อกําหนดแนว ทางการกํากับดูแลกิจการ ตลอดจนการควบคุมภายในดานตางๆ ไดแก องคกรและสภาพแวดลอม การบริหารความ เสี่ยง การควบคุมการปฏิบัติการของฝายบริหาร ระบบสารสนเทศและการสื่อสารขอมูล และระบบการติดตาม เพื่อ เปนไปอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลดังนี้ 9.1

องคกรและสภาพแวดลอม

บริษัทฯ คํานึงถึงการมีโครงสรางองคกรและสภาพแวดลอมที่ดีซึ่ งเปนรากฐานที่สําคัญของระบบควบคุม ภายในที่มีประสิทธิผล ดังนั้นจึงมีความจําเปนที่ตองสรางภาวะหรือปจจัยตางๆ ซึ่งเอื้อใหระบบการควบคุมภายใน ดําเนินไปไดตามที่บริษัทฯ มุงหวัง และสงเสริมใหทุกคนรับทราบและเขาใจถึงรายละเอียดหลัก ๆ ของระบบการควบคุม ภายในดังตอไปนี้

คณะกรรมการไดจัดการดูแลใหมีการกําหนดเปาหมายการดําเนินธุรกิจอยางชัดเจน โดยบริษัทฯ มี การประชุมรวมกันของฝายบริหาร เพื่อแปรสภาพเปาหมายของการดําเนินธุรกิจใหกลายเปนแผน ธุร กิจ ทั้งในระยะยาวและระยะสั้น เพื่อที่จะนําเอาแผนธุร กิจดั งกล าวไปกําหนดเปนงบประมาณ ประจํา ป อีก ทั้งมีการแจ งใหผูบริหารแตละฝายรับทราบ เพื่ อบริห ารงานภายในใหสอดคลองกับ เปาหมายที่ตั้งไว นอกจากนี้บริษัทฯ ไดมีการวัดผลการดําเนินงานทุกไตรมาส เพื่อประเมินผลการ ปฏิบัติหนาที่และนํามาปรับปรุงแผนการดําเนินการ โดยจะมีการทบทวนงบประมาณประจําปใหม ทุก ๆ 6 เดือน

บริษัทฯ ไดพิจารณาทบทวนถึงการตั้งเปาหมายของการทํางานในแตละหนาที่อยางรอบคอบ โดย ทบทวนถึงผลการดําเนินงานที่ผานมา สภาวะเศรษฐกิจ และปจจัยตางๆ เพื่อการปฏิบัติหนาที่ซึ่ง ได รั บ มอบหมายได อ ย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และเกิ ด แรงจู ง ใจหรื อ ผลตอบแทนแก พ นั ก งานอย า ง เหมาะสม

บริษัทฯ มีการกําหนดโครงสรางองคกร โดยคํานึงถึงประสิทธิภาพในการบริหารจัดการองคกร และมี การประกาศใหพนักงานทราบโดยทั่วกัน

บริษัทฯ มีการจัดทําขอกําหนดเกี่ยวกับจริยธรรม (Code of Conduct) ขอกําหนด ระเบียบการ ปฏิบัติและบทลงโทษของฝายบริหารและพนักงาน

บริษัทฯ มีการกําหนดนโยบายและระเบียบในการอนุมัติธุรกรรมดานการเงิน การจัดซื้อ และการ บริหารสินทรัพย เพื่อปองกันการทุจริต

บริษัทฯ มีนโยบายเกี่ยวกับหลักการกํากับกิจการที่ดีและมีการกําหนดหลักเกณฑพรอมทั้งแผนการ ปฏิบัติงาน โดยคํานึงถึงความเปนธรรมในการดําเนินธุรกิจกับทุกฝายที่เกี่ยวของและผูมีสวนไดเสีย

สวนที่ 1 หนา 103


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

9.2

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

การบริหารความเสี่ยง

บริษัทฯ มีการกําหนดวัตถุประสงคที่ชัดเจน ทั้งวัตถุประสงคระดับองคกรและวัตถุประสงคระดับกิจกรรมให สอดคลองกันเพื่อที่จะสามารถทํางานใหสําเร็จดวยงบประมาณประจําปที่ไดรับการอนุมัติและทรัพยากรที่มีอยูอยาง เหมาะสม โดยบริษัทฯ มีการวิเคราะหความเสี่ยงและการบริหารความเสี่ยงที่เหมาะสมกับสถานการณปจจุบัน ฝาย บริหารจึงกําหนดใหมีการดําเนินการอยางสม่ําเสมอดังตอไปนี้

9.3

บริษัทฯ ไดมีการประชุมเพื่อประเมินถึงความเสี่ยงในการดําเนินธุรกิจอยางสม่ําเสมอและวิเคราะหถึง สาเหตุที่ทําใหเกิดเปนความเสี่ยง ตลอดจนมีการติดตามสถานการณที่เปนสาเหตุของความเสี่ยง เพื่อกําหนดมาตรการปองกันหรือลดความเสี่ยงดังกลาว

บริษัทฯ มีการแจงใหผูบังคับบัญชาของแตละฝายงานทราบถึงแนวทางการปฏิบัติตามนโยบายการ บริหารความเสี่ยง เพื่อนําไปถายทอดแกพนักงานทุกคนเพื่อปฏิบัติใหถูกตอง และไดติดตามผลการ ปฏิบัติตามแนวทางการบริหารความเสี่ยงที่กําหนดไว

การควบคุมการปฏิบัติงานของฝายบริหาร

บริษัทฯ มีนโยบายและวิธีปฏิบัติงานของฝายบริหารที่ทําใหมั่นใจวานโยบายที่ฝายบริหารไดกําหนดไวไดรับ การตอบสนองและปฏิบัติตามจากทุกคนในบริษัทฯ ซึ่งแนวทางดังกลาว ไดแก

บริษัทฯ มีการกําหนดขอบเขตอํานาจหนาที่และวงเงินอํานาจอนุมัติของฝายบริหารในแตละระดับไว อยางชัดเจนเปนลายลักษณอักษร

บริษัทฯ มีการแบงแยกหนาที่ความรับผิดชอบในงาน 3 ดานคือ (1) หนาที่อนุมัติ (2) หนาที่บันทึก รายการขอมูลทางบัญชี และ (3) หนาที่ในการดูแลจัดเก็บทรัพยสิน โดยแยกออกจากกันอยางชัดเจน เพื่อใหสามารถดูแลตรวจสอบไดอยางมีประสิทธิภาพ

บริษัทฯ มีมาตรการดูแลการทําธุรกรรมกับผูถือหุนรายใหญ กรรมการ ผูบริหารหรือกับบุคคลที่ เกี่ยวของอยางรัดกุมและชัดเจน โดยมีการกําหนดใหการทํารายการระหวางกันของบริษัทฯ หรือ บริษัทยอยกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยงจะตองเปนไปภายใตเงื่อนไขที่สมเหตุสมผล หรือเงื่อนไข การคาปกติหรือราคาตลาด โดยจะตองนําเสนอการทํารายการดังกลาวตอคณะกรรมการตรวจสอบ เปนรายไตรมาส เพื่อใหคณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาใหความเห็นเกี่ยวกับความสมเหตุสมผล ในการทํ า รายการนั้ น ๆ หากมี ก ารทํ า รายการระหว า งกั น ที่ ไ ม เ ป น รายการทางการค า ปกติ จะ กําหนดใหตองนําเสนอตอคณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาความเหมาะสม เพื่อเสนอความเห็นตอ คณะกรรมการบริษัทหรือผูถือหุนตามแตกรณี เพื่ออนุมัติรายการกอนเขาทํารายการ ซึ่งการอนุมัติ จะกระทําโดยผูที่ไมมีสวนไดเสียในธุรกรรมนั้นเทานั้น โดยคํานึงถึงประโยชนสูงสุดของบริษัทฯ เปน สําคัญ

ในกรณีที่มีการทําธุรกรรมกับผูที่เกี่ยวของในลักษณะที่มีผลผูกพันบริษัทฯ ในระยะยาว บริษัทฯ กําหนดใหตองมีการติดตามการปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ไดตกลงกันไว และใหรายงานตอคณะกรรมการ ตรวจสอบ เพื่อทบทวนความเหมาะสมของรายการตลอดระยะเวลาของสัญญา อีกทั้งคณะกรรมการ

สวนที่ 1 หนา 104


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

9.4

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

บริษัทฯ ไดกําหนดใหมี การติดตามดูแลการบริหารจัดการในบริษัทยอยและบริษัทรวมอยูเสมอ รวมทั้ ง มี ก ารกํ า หนดทิ ศ ทางให บุ ค คลที่ บ ริ ษั ท ฯ แต ง ตั้ ง ให เ ป น กรรมการหรื อ ผู บ ริ ห ารในบริ ษั ท ดังกลาวถือปฏิบัติ เพื่อใหการดําเนินการของบริษัทยอยและบริษัทรวมเปนไปตามเปาหมายของ บริษัทฯ ตลอดจนมีการกําหนดนโยบายตรวจสอบติดตามการดําเนินงานของบริษัทฯ บริษัทยอย และบริษัทรวม ใหสอดคลองเปนไปตามกฎหมายที่เกี่ยวของ และบริษัทฯ มีมาตรการแกไขและ ปองกันมิใหเกิดการฝาฝนกฎหมาย

ระบบสารสนเทศและการสื่อสารขอมูล

บริษัทฯ มีการจัดการระบบขอมูลสารสนเทศใหครอบคลุมการปฏิบัติงาน ทั้งในระดับองคกร ระดับการรายงาน ทางการเงิน ระดับหนวยปฏิบัติการ และระดับการปฏิบัติตามนโยบาย และระเบียบปฏิบัติตาง ๆ ที่ใชในการควบคุม เพื่อใหมั่นใจวามีการติดตอสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ เพื่อการบรรลุวัตถุประสงคและเปาหมายขององคกรไดดียิ่งขึ้น ดังนั้นการสื่อสารขอมูลดังกลาวไปยังผูที่เกี่ยวของจึงเปนสิ่งจําเปนอยางยิ่งและเปนสิ่งที่จะชวยใหเกิดความมีประสิทธิผล ของระบบการควบคุมภายใน ดังนี้

9.5

บริษัทฯ ไดจัดใหมีขอมูลที่สําคัญตาง ๆ อยางเพียงพอเพื่อใหคณะกรรมการใชประกอบการตัดสินใจ โดยเฉพาะขอมูลที่มีนัยสําคัญ โดยจะจัดสงหนังสือเชิญประชุมและเอกสารประกอบการพิจารณา ลวงหนาไมนอยกวา 7 วัน เพื่อใหคณะกรรมการมีเวลาศึกษาขอมูลตางๆ อยางเพียงพอ เวนแตใน กรณีมีความจําเปนเรงดวนซึ่งทําใหไมสามารถจัดสงเอกสารลวงหนาไมนอยกวา 7 วันได

บริษัทฯ กําหนดใหการบันทึกรายงานการประชุมคณะกรรมการโดยมีเนื้อหารายละเอียดตามควร ซึ่ง เปนเนื้อหาสําคัญ ตอการตัดสินใจในแตละเรื่อง อีกทั้งยังมีการบันทึกขอซั กถาม ความเห็น และ ขอสังเกตของกรรมการในเรื่องที่พิจารณา รวมทั้งความเห็นของกรรมการในการประชุม

บริษัทฯ มีการจัดเก็บเอกสารประกอบการบันทึกบัญชีและบัญชีตางๆ ไวครบถวนเปนหมวดหมู สะดวกตอการตรวจสอบ และมีการกําหนดนโยบายบัญชีของบริษัทฯ และบริษัทยอยใหสอดคลองกับ การดําเนินธุรกิจหลักของบริษัทฯ และบริษัทยอยเปนสําคัญ และไมขัดตอหลักการบัญชีที่รับรอง ทั่วไป

ระบบการติดตาม

บริษัทฯ มีการติดตามอยางสม่ําเสมอเกี่ยวกับการปฏิบัติตามเปาหมายที่วางไว และระบบควบคุมภายในยังคง มีการตรวจสอบ และมีการปรับปรุงแกไขอยางตอเนื่อง เพื่อใหสอดคลองกับสถานการณที่เปลี่ยนแปลงไป และเพื่อให ขอบกพรองตาง ๆ ไดรับการแกไขอยางทันทวงที โดยมีสาระสําคัญดังตอไปนี้

บริษัทฯ มีการติดตามประเมินผลระบบควบคุมภายในโดยพิจารณาจากผลการปฏิบัติงานจริง บริษัท ฯ ไดจัดการประชุมอยางสม่ําเสมอ เพื่อพิจารณาผลการดําเนินงานที่เกิดขึ้นวามีความแตกตางจาก เปาหมายที่กําหนดไวหรือไม ตลอดจนเสนอแนวทางการปฏิบัติการที่จําเปน เพื่อที่บริษัทฯ จะได ดําเนินการแกไขขอบกพรองภายในระยะเวลาที่เหมาะสม สวนที่ 1 หนา 105


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

บริษัทฯ จัดใหมีการตรวจสอบการปฏิบัติตามระบบการควบคุมภายในอยางนอย 1 ครั้งตอป โดย กํา หนดแผนการตรวจสอบอยางชัด เจน อีก ทั้งบริษัทฯ ยังมี ก ารกํา หนดใหห นวยงานตรวจสอบ ภายในขึ้ น ตรงต อ คณะกรรมการตรวจสอบและรายงานผลการตรวจสอบภายในโดยตรงต อ คณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อใหผูตรวจสอบภายในสามารถปฏิบัติงานไดอยางตรงไปตรงมา สําหรับ ปบัญชี 2553 นอกจากการตรวจสอบระบบการควบคุมภายในโดยผูตรวจสอบภายในตามปกติแลว บริษัทฯ ยังไดมอบหมายใหบริษัท สอบบัญชีธรรมนิติ จํากัด เปนผูตรวจสอบภายนอก เพื่อชวย ปรับปรุงระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ ใหมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น ซึ่งผูตรวจสอบภายนอก ดังกลาว ไดดําเนินการตรวจสอบระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ สําหรับรอบปบัญชี 2553 เปน รายไตรมาส และไดรายงานผลการตรวจสอบโดยตรงตอคณะกรรมการตรวจสอบของบริษัทฯ แลว

หากมีการตรวจพบขอบกพรองที่เปนสาระสําคัญ ผูที่เกี่ยวของจะตองรายงานตอคณะกรรมการ หรือ คณะกรรมการตรวจสอบเพื่อชี้แจงสาเหตุ และเสนอแนะแนวทางการแกไขขอบกพรอง อีกทั้งบริษัท ฯ กําหนดใหมีการติดตามความคืบหนาในการแกไขขอบกพร อง และรายงานตอคณะกรรมการ บริษัทหรือคณะกรรมการตรวจสอบภายในระยะเวลาที่กําหนด

สวนที่ 1 หนา 106


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 1 หนา 107

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 1 หนา 108

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 1 หนา 109

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 1 หนา 110

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

10.

รายการระหวางกัน (ณ. 31 มีนาคม 2553)

10.1

รายการระหวางกันของบริษัทฯ

บุคคลที่อาจมี ความขัดแยง

บริษทั ทีเ่ กิด รายการ

บจ. นูโว ไลน เอเจนซี(1)่

บริษัทฯ

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

ลักษณะความสัมพันธ

ลักษณะรายการ

- กลุมนายคีรี เปนผูถือหุนราย ใหญของทั้งบริษัทฯ และ บจ. นู โ ว ไลน เอเจนซี่ กล า วคื อ ก ลุ ม น า ย คี รี ถื อ หุ น โ ด ย ทางตรงร อ ยละ 31.31 ของ ทุ น ชํ า ระแล ว ทั้ ง หมดของ บ ริ ษั ท ฯ แ ล ะ ถื อ หุ น โ ด ย ทางอ อ มร อ ยละ 80 ของทุ น ชําระแลวทั้งหมดของ บจ. นู โว ไลน เอเจนซี่ ในขณะเขา ทํารายการ - Pacific Harbor Advisors Pte Ltd. เปนผูถือหุนของทั้ง บริษัทฯ และ บจ. นูโว ไลน เอเจนซี่ โดยขณะเข า ทํ า รายการ Pacific Harbor Advisors Pte Ltd. ถือหุนโดย ทางตรงรอยละ 12.70 ของ ทุ น ชํ า ระแล ว ทั้ ง หมดของ บ ริ ษั ท ฯ แ ล ะ ถื อ หุ น โ ด ย

- รายไดจากการรับเหมาออกแบบ - บริ ษั ท ฯ เข า ทํ า สั ญ ญาที่ ป รึ ก ษางาน บ ริ ห า ร จั ด ก า ร โ ค ร ง ก า ร (Project Management Consultancy Services Agreement) กับ บจ. นูโว ไลน เอเจนซี่ โดยมีการคิดคาบริการที่ปรึกษาดังกลาว เปนจํานวน 100 ลานบาท สําหรับการ พัฒนาอาคารชุดพหลโยธิน ซึ่งเปนการ นํ า โครงสร า งเดิ ม ที่ มี อ ยู แ ล ว กลั บ มา พั ฒ นาใหม ใ นส ว นของเฟสที่ 1 โดย บริ ษั ท ฯ จะเป น ที่ ป รึ ก ษางานบริ ห าร จั ด การงานออกแบบและก อ สร า ง งาน บริ ห ารจั ด การโครงการเกี่ ย วกั บ การ วางแผน และการบริ ห ารจั ด การของ โครงการเฟสที่ 1 สิ้นสุด ณ วันที่ 31 มีนาคม 2553 มี รายการตามบัญชีดังนี้ - รายไดรับลวงหนาจาก บจ. นูโว ไลน เอ เจนซี่ 76.8 ลานบาท

สวนที่ 1 หนา 111

มูลคารายการ งวดปสิ้นสุด วันที่ 31 มีนาคม 2552 (ลานบาท)

มูลคารายการ งวดปสิ้นสุด วันที่ 31 มีนาคม 2553 (ลานบาท)

0

37.3

ความจําเปน / หมายเหตุ - เป น รายการธุ ร กรรม ปกติ โดยค า บริ ก ารที่ บริ ษั ท ฯ จะได รั บ จาก บจ. นู โ ว ไลน เอเจนซี่ เ ป น ไ ป ต า ม อั ต ร าใ น ทองตลาด - ขนาดของรายการนี้ มากกว า ร อ ยละ 0.03 แต น อ ยกว า ร อ ยละ 3 ของมู ล ค า สิ น ทรั พ ย ที่ มี ตั ว ตนสุ ท ธิ ข องบริ ษั ท ฯ ตามงบการเงินรวมงวด 6 เดื อ นสิ้ น สุ ด วั น ที่ 30 กั น ยายน 2552 จึ ง ถื อ เปนรายการขนาดกลาง ที่ จ ะต อ งขออนุ มั ติ ก าร เ ข า ทํ า ร า ย ก า ร จ า ก คณะกรรมการ ซึ่ ง ที่ ประชุ ม คณะกรรมการ บริ ษั ท ครั้ ง ที่ 6/2552


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

บุคคลที่อาจมี ความขัดแยง

บริษทั ทีเ่ กิด รายการ

บริษัทฯ บจ. บีทีเอส แอสเสทส (เดิม ชื่อ บจ. ยูนิ โฮลดิ้ง) (2)

(1)

(2)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

ลักษณะความสัมพันธ

ลักษณะรายการ

- บจ. บีทีเอส แอสเสทส เปน บริษัทยอยของบีทีเอสซี - นายคี รี กาญจนพาสน เป น ประธานกรรมการบริหารของ บีทีเอสซี

- รายได จ ากการรั บ เหมาออกแบบและ กอสราง - บริษัทฯ เปนผูรับจางตามสัญญารับเหมา ออกแบบและก อ สร า งแบบเบ็ ด เสร็ จ (Turnkey) มีมูลคารวมตามสัญญา 2,200 ลานบาท สิ้นสุด ณ วันที่ 31 มีนาคม 2553 มี รายการตามบัญชี ดังนี้ - ลูกหนี้การคา 102.8 ลานบาท - รายไดที่ยังไมไดเรียกชําระ 31.4 ลาน บาท - ลูกหนี้เงินประกันผลงาน 5.7 ลานบาท - เงินรับลวงหนาจากผูวาจาง 279.6 ลาน บาท

มูลคารายการ งวดปสิ้นสุด วันที่ 31 มีนาคม 2552 (ลานบาท)

มูลคารายการ งวดปสิ้นสุด วันที่ 31 มีนาคม 2553 (ลานบาท)

107.3

209.4

ความจําเปน / หมายเหตุ

เปนรายการที่เกิดจากการ ทํ า ธุ ร กิ จ ร ว ม กั น ต า ม เงื่อนไขการคาโดยทั่วไป ที่ เ ข า ทํ า ตั้ ง แ ต เ ดื อ น สิงหาคม 2551 กอนที่ บี ที เ อ ส ซี จ ะ เ ข า ซื้ อ หุ น ในบจ. บีทีเอส แอสเสทส ในเดือนพฤษภาคม 2552 และทํ า ให บจ. บี ที เ อส แอสเสทส มี ส ถานะเป น บุ ค ค ล ที่ อ า จ มี ค ว า ม ขัดแยงกับบริษัทฯ

บริษัทฯ ไดมาซึ่งหุนรอยละ 94.60 ในบีทีเอสซีตั้งแตวันที่ 4 พฤษภาคม 2553 และบีทีเอสซีถือหุนรอยละ 80 ใน บจ. นูโว ไลน เอเจนซี่ ดังนั้น รายการในอนาคตจะไมถือเปนรายการระหวางกัน บริษัทฯ ไดมาซึ่งหุนรอยละ 94.60 ในบีทีเอสซีตั้งแตวันที่ 4 พฤษภาคม 2553 ซึ่งบีทีเอสซีถือหุนรอยละ 100 ใน บจ. บีทีเอส แอสเสทส ดังนั้น รายการในอนาคตจะไมถือเปนรายการระหวางกัน

สวนที่ 1 หนา 112


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

บุคคลที่ อาจมีความ ขัดแยง

บจ. อีจีวี

ลักษณะความสัมพันธ

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

ลักษณะรายการ

นายคีรีเ ปนกรรมการและผูถื อหุ น บริษัทฯ ใหเงินกูยืม บจ. อีจีวี เมื่อนานมาแลว โดย รายใหญในบจ. อีจีวี บจ. อีจีวี ไดนําเงินกูยืมนี้ไปซื้อหุนของ บมจ. ไอทีวี และไดจํานําหุนเหลานี้เปนหลักประกันหนี้ของบริษัทฯ ต อ มา เจ า หนี้ ข องบริ ษั ท ฯ ได ยื่ น ขอรั บ ชํ า ระหนี้ ดั ง กล า วนี้ ต ามแผนฟ น ฟู กิ จ การของบริ ษั ท ฯ และ ขณะนี้ อ ยู ร ะหว า งรอคํ า สั่ ง อั น เป น ที่ สุ ด ของศาล ลมละลายกลาง มีหนี้คงคางกอนหักคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สิ้นสุด ณ วันที่ 31 มีนาคม 2553 เปนจํานวน 10.9 ลานบาท คงเหลือมูลคาตามบัญชี 0 ลานบาท

สวนที่ 1 หนา 113

รายละเอียดของแตละรายการ ยอดสุทธิ สิ้นสุด ใหกูเพิ่ม/ วันที่ 31 มีนาคม (รับชําระคืน) 2552 หักคาเผือ่ (ลานบาท) หนี้สงสัยจะสูญ (ลานบาท) 0

0

ดอกเบีย้ สุทธิ จากคาเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญ (ลานบาท)

ยอดสุทธิ สิ้นสุด วันที่ 31 มีนาคม 2553 หักคาเผือ่ หนี้สงสัยจะสูญ (ลานบาท)

0

0


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

บุคคลที่ อาจมีความ ขัดแยง บจ. สระบุรี พร็อพเพอร ตี้ -

บจ. วาเค ไทย (ไทย แลนด)

-

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

รายละเอียดของแตละรายการ ยอดสุทธิ สิ้นสุด วันที่ 31 มีนาคม ใหกูเพิ่ม/ ลักษณะความสัมพันธ ลักษณะรายการ 2552 หักคาเผือ่ (รับชําระคืน) หนี้สงสัยจะสูญ (ลานบาท) (ลานบาท) บริษัทฯ ใหเงินกูยืม บจ. สระบุรี พร็อพเพอรตี้ เมื่อนาน 4.6 3.0 (เปนการกลับ บจ. สระบุ รี พร็ อ พเพอร ตี้ มาแลว โดยคิดอัตราดอกเบี้ยตามตนทุน บจ. สระบุรี รายการคาเผือ่ หนี้ เปนบริษัทรวมของบริษัท พร็อพเพอรตี้ ไดนําเงินกูดังกลาวไปซื้อที่ดินและนําที่ดิน สงสัยจะสูญ) นายคีรีเปนกรรมการและผูถือ ดังกล าวมาจํ านองประกั นหนี้ ของบริ ษั ทฯ โดยต อมา หุนรายใหญใน บจ. สระบุรี ที่ดินดังกลาวไดถูกโอนใชหนี้ใหแกเจาหนี้ของบริษัทฯ พร็อพเพอรตี้ ทั้งกอนการฟนฟูกิจการและตามแผนฟนฟูกิจการของ บริษัทฯ มีหนี้คงคางกอนหักคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สิ้นสุด ณ วันที่ 31 มีนาคม 2553 เปนจํานวน 500.9 ลานบาท และ 493.3 ลานบาท ตามลําดับ คงเหลือมูลคาตามบัญชี 7.6 บาท 0 เดิม บจ. วาเคไทย (ไทยแลนด) บจ. เมืองทอง แอสเซ็ทส และ บจ. ปราณคีรี แอส 0 เซ็ทส (เดิมชื่อ บจ. เมืองทองเลคไซด เรสเตอรรอง) เปนบริษัทยอยของบริษัทฯ ญ า ติ ส นิ ท ข อ ง น า ย คี รี เ ป น ซึ่งเปนบริษัทยอยของบริษัทฯ ไดใหกูยืมเงินแก บจ. กรรมการใน บจ. วาเคไทย (ไทย วาเคไทย (ไทยแลนด) เมื่อนานมาแลว มีหนี้คงคางกอนหักคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สิ้นสุด ณ แลนด) วันที่ 31 มีนาคม 2553 เปนจํานวน 53.6 ลานบาท และ 53.6 ล า นบาท ตามลํ า ดั บ คงเหลื อ มู ล ค า ตาม บัญชี 0 บาท

สวนที่ 1 หนา 114

0

ยอดสุทธิ สิ้นสุด วันที่ 31 มีนาคม 2553 หักคาเผือ่ หนี้สงสัยจะสูญ (ลานบาท) 7.6

0

0

ดอกเบีย้ สุทธิ จากคาเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญ (ลานบาท)


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

10.2

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

รายการระหวางกันของบริษัทฯ ที่เกิดขึ้นหลังจากวันที่ 31 มีนาคม 2553

บุคคลที่อาจมี ความขัดแยง

บริษทั ทีเ่ กิด รายการ

นายคีรี กาญ จนพาสน

บริษัทฯ

Keen Leader Investments Limited

บริษัทฯ

มูลคารายการ (ลานบาท)

ความจําเปน / หมายเหตุ

บริ ษั ท ฯ ซื้ อ หุ น บี ที เ อสซี จํ า นวน 400,000,000 หุน มูลคาหุนละ 2.665 บาท จาก นายคีรี โดย ชํ า ร ะ ค าหุ น ดั ง ก ล า ว เ ป น เ งิ น ส ด จํ า น ว น 550,000,000 บาท และออกหุนสามัญเพิ่มทุน ของบริษัทฯ จํานวน 750,000,000 หุน มูลคาหุน ที่ ต ราไว หุ น ละ 1 บาท ให แ ก น ายคี รี เพื่ อ เป น คาตอบแทนในการขายหุนสามัญบีทีเอสซีใหแก บริษัทฯ

1,066.00

การเข า ทํ า รายการซื้ อ หุ น บี ที เ อสซี เปนไปเพื่อประโยชนของบริษัทฯ โดย บริษัทฯ ไดดําเนินการเปดเผยขอมูล และขออนุ มั ติ จ ากที่ ป ระชุ ม วิ ส ามั ญ ผู ถื อ หุ น ครั้ ง ที่ 1 /2553 เมื่ อ วั น ที่ 29 เมษายน 2553

บริ ษั ท ฯ ซื้ อ หุ น บี ที เ อสซี จํ า นวน 508,408,723 หุน มูลคาหุนละ 2.665 บาท จาก Keen Leader โดยชํ า ระค า หุ น ดั ง กล า วเป น เงิ น สดจํ า นวน 699,061,994.56 บาท และออกหุนสามัญเพิ่ม ทุนของบริษัทฯ จํานวน 953,266,355 หุน มูลคา หุนที่ตราไวหุนละ 1 บาท ใหแก Keen Leader ในราคาหุนละ 0.688 บาท เพื่อเปนคาตอบแทน ในการขายหุนสามัญบีทีเอสซี ใหแกบริษัทฯ

1,354.90

การเข า ทํ า รายการซื้ อ หุ น บี ที เ อสซี เปนไปเพื่อประโยชนของบริษัทฯ โดย บริษัทฯ ไดดําเนินการเปดเผยขอมูล และขออนุ มั ติ จ ากที่ ป ระชุ ม วิ ส ามั ญ ผู ถื อ หุ น ครั้ ง ที่ 1 /2553 เมื่ อ วั น ที่ 29 เมษายน 2553

ลักษณะความสัมพันธ

ลักษณะรายการ

- ณ วันที่ทํารายการ กลุมนายคีรีถือหุน ในบริ ษั ท ฯ จํ า นวน 2,403,608,095 หุน หรือคิดเปนรอยละ 31.57 ของหุน ที่จําหนายไดแลวทั้งหมดของบริษัทฯ แ ล ะ น า ย คี รี ดํ า ร ง ตํ า แ ห น ง เ ป น กรรมการของบริษัทฯ ดวย - ก ลุ ม น า ย คี รี ห ม า ย ถึ ง น า ย คี รี , นายกวิน, บริษัท เคทูเจ โฮลดิ้ง จํากัด, Cross Venture Holdings Limited, Amsfield Holding Pte. Ltd. และ บริษัท สระบุรี พร็อพเพอรตี้ จํากัด - นายกวิน กาญจนพาสน เปนกรรมการ และกรรมการผู จั ด การของบริ ษั ท ฯ และเป น ผู ถื อ หุ น ทั้ ง หมดของ Keen Leader

สวนที่ 1 หนา 115


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

บุคคลที่อาจมี ความขัดแยง

บริษทั ทีเ่ กิด รายการ

บริษัท สยาม บริษัทฯ เรลล ทราน สปอรต แอนด อินฟราสตรัค เจอร จํากัด (“สยามเรลล”)(1)

(1)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

ลักษณะความสัมพันธ

ลักษณะรายการ

- บริษัทฯ และสยามเรลล มีผูถือหุนราย ใหญรายเดียวกัน คือ กลุมนายคีรี - บริ ษั ท ฯ และสยามเรลล มี ก รรมการ รวมกันคือนายคีรี นอกจากนี้ นายกวิน กาญจนพาสน เป น กรรมการและ กรรมการผูจัดการของบริษัทฯ

บริ ษัท ฯ รับ โอนกิ จการทั้ง หมดของสยามเรลล ซึ่ ง กิ จ การทั้ ง หมดดั ง กล า วประกอบด ว ยหุ น สามัญของบีทีเอสซี จํานวน 8,365,800,000 หุน มู ล ค า หุ น ละ 2.665 บาท และหนี้ สิ น จาก สยามเรลล ซึ่งบริษัทฯ ไดชําระหนี้สินดังกลาว แลว ในวันที่รับโอนกิจการ โดยบริษัทฯ มีการ ชําระเงิน สดรวมเป นจํานวน 11,502,975,000 บาท และออกหุ น สามั ญ เพิ่ ม ทุ น ของบริ ษั ท ฯ จํานวน 15,685,875,000 หุน มูลคาหุนที่ตราไว หุนละ 1 บาท ในราคาหุนละ 0.688 บาท เพื่อ เปนคาตอบแทนในการโอนกิจการทั้งหมด

อยูในระหวางการชําระบัญชี

สวนที่ 1 หนา 116

มูลคารายการ (ลานบาท)

ความจําเปน / หมายเหตุ

22,294.85

การเข า ทํ า รายการรั บ โอนกิ จ การ ทั้ ง หมดของสยามเรลล เป น ไปเพื่ อ ประโยชนของบริษัทฯ โดยบริษัทฯ ได ดําเนินการเปดเผยขอมูลและขออนุมัติ จากที่ ป ระชุ ม วิ ส ามั ญ ผู ถื อ หุ น ครั้ ง ที่ 1/2553 เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2553


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

ความจําเปนและความสมเหตุสมผลของรายการระหวางกัน รายการระหวางกันสวนใหญของบริษัทฯ เปนยอดคงคางของรายการที่เกิดขึ้นในอดีตเมื่อนานมาแลว อยางไร ก็ตาม คณะกรรมการตรวจสอบไดสอบทานรายการดังกลาวถึงความเหมาะสมของการติดตามผลและดําเนินการ การ ประเมินสถานะของรายการ การประเมินศักยภาพในการชําระหนี้ของลูกหนี้ ตลอดจนความเหมาะสมของการตั้ง สํารองคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญไวใหเพียงพอตอความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้น มาตรการหรือขั้นตอนการอนุมัติการทํารายการระหวางกันของบริษัทฯ การทํารายการระหวางกันจะตองผานการพิจารณาจากคณะกรรมการบริษัทที่มีคณะกรรมการตรวจสอบเขา รวมประชุม หรือผานการอนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุนตามแตกรณี ทั้งนี้ ตามประกาศคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย เรื่อง การเปดเผยขอมูลและการปฏิบัติการของบริษัทจดทะเบียนในรายการที่เกี่ยวโยงกัน พ.ศ. 2546 และประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 21 /2551เรื่อง หลักเกณฑในการทํารายการที่เกี่ยวโยงกัน ตลอดจนกฎหมายว า ด ว ยหลั ก ทรั พ ย แ ละตลาดหลั ก ทรั พ ย ข อ บั ง คั บ ประกาศ คํ า สั่ ง หรื อ ข อ กํ า หนดของตลาด หลักทรัพยแหงประเทศไทยที่เกี่ยวของกับขอกําหนดในเรื่องการทํารายการระหวางกัน นโยบายหรือแนวโนมการทํารายการระหวางกัน บริษัทฯ อาจมีความจําเปนในการทํารายการระหวางกันกับบุคคลที่เกี่ยวโยงกันในอนาคต อยางไรก็ตาม บริษัทฯ จะกําหนดเงื่อนไขตางๆ ใหเปนไปตามเงื่อนไขการคาโดยทั่วไป และในราคาตลาด ซึ่งสามารถเปรียบเทียบได กับราคาและเงื่อนไขที่ใหกับบุคคลภายนอก และจะปฏิบัติตามหลักเกณฑและขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทยและกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยที่เกี่ยวของ ทั้ ง นี้ หากมี ร ายการระหว า งกั น ของบริ ษั ท ฯ หรื อ บริ ษั ท ย อ ยเกิ ด ขึ้ น กั บ บุ ค คลที่ อ าจมี ค วามขั ด แย ง ทาง ผลประโยชน มีสวนไดเสีย หรืออาจมีความขัดแยงในลักษณะอื่น บริษัทฯ จะดําเนินการใหคณะกรรมการตรวจสอบเปน ผูใหความเห็นเกี่ยวกับความจําเปนและความเหมาะสมของรายการนั้นๆ ในกรณีที่คณะกรรมการตรวจสอบไมมีความ ชํานาญในการพิจารณารายการระหวางกันที่อาจเกิดขึ้น บริษัทฯ จะใหผูเชี่ยวชาญอิสระหรือผูสอบบัญชีของบริษัทฯ เปนผูใหความเห็นเกี่ยวกับรายการระหวางกันดังกลาว เพื่อนําไปใชประกอบการตัดสินใจของคณะกรรมการหรือผูถือ หุนตามแตกรณี และในกรณีท่ีมีการขอใหที่ประชุมผูถือหุนพิจารณาเพื่ออนุมัติรายการระหวางกัน ก็จะมีการแตงตั้งที่ ปรึกษาทางการเงินอิสระเพื่อจัดทํารายงานและใหความเห็นเกี่ยวกับการเขาทํารายการตอผูถือหุน ทั้งนี้ บริษัทฯ จะ เปดเผยรายการระหวางกันไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินที่ไดรับการตรวจสอบจากผูสอบบัญชีของบริษัทฯ และ รายงานประจําปของบริษัทฯ

สวนที่ 1 หนา 117


บริษทั บีทเี อส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

11.

ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

11.1

สรุปงบการเงิน

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

งบดุล U

(หนวย : ลานบาท)

2553 สินทรัพย เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ลูกหนี้การคา - สุทธิ รายไดที่ยังไมไดเรียกชําระ ลูกหนี้จากการขายสิทธิในการเรียกรองหนี้ เงินใหกูยืมระยะสั้นและเงินทดรองแกกิจการที่ เกี่ยวของกัน - สุทธิ ตนทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย – สุทธิ สินทรัพยรอการโอนตามแผนฟนฟูกิจการ - สุทธิ เงินลงทุนในบริษัทยอยรอการโอนตามแผนฟนฟู กิจการ - สุทธิ สินทรัพยหมุนเวียนอื่น

% ของ สินทรัพย รวม

งบการเงินรวม ณ 31 มีนาคม % ของ 2552 สินทรัพย รวม

2551

% ของ สินทรัพย รวม

314.4 106.2 63.0 177.6

4.0% 1.4% 0.8% 2.3%

61.3 50.3 79.9 257.6

0.9% 0.7% 1.2% 3.8%

153.9 8.5 146.8 -

2.3% 0.1% 2.2% 0.0%

6.7 1,041.4 225.6 224.3

0.1% 13.3% 2.9% 2.9%

8.3 1,028.4 226.7 224.3

0.1% 15.2% 3.3% 3.3%

1,082.7 227.9 224.3

0.0% 16.3% 3.4% 3.4%

111.9

1.4%

117.9

1.7%

123.6

1.9%

2,271.0

29.0%

2,054.9

30.4%

1,967.7

29.6%

123.7

1.6%

3.1

0.0%

3.2

0.0%

295.6 7.6 4.7 119.1 2,306.4 2,348.2

3.8% 0.1% 0.1% 1.5% 29.4% 30.0%

312.8 4.6 633.5 125.5 1,075.0 2,249.2

4.6% 0.1% 9.4% 1.9% 15.9% 33.2%

312.8 292.2 635.9 112.8 766.6 2,321.7

4.7% 4.4% 9.5% 1.7% 11.5% 34.9%

93.4 233.3 13.1 19.0

1.2% 3.0% 0.2% 0.2%

99.1 195.7 15.1

1.5% 2.9% 0.0% 0.2%

10.9 206.4 28.3

0.2% 3.1% 0.0% 0.4%

รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน

5,564.0

71.0%

4,714.0

69.6%

4,690.8

70.4%

รวมสินทรัพย

7,835.0

100.0%

6,768.5

100.0%

6,658.4

100.0%

รวมสินทรัพยหมุนเวียน เงินฝากที่มีภาระผูกพัน เงินสดที่นําไปวางทรัพยเพื่อเปนหลักประกันในการ ชําระหนี้ เงินใหกูยืมแกกิจการที่เกี่ยวของกัน - สุทธิ เงินลงทุนในบริษัทรวม - สุทธิ เงินลงทุนระยะยาวอื่น - สุทธิ ที่ดินและโครงการรอการพัฒนาในอนาคต - สุทธิ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ - สุทธิ สิทธิการเชา - สุทธิ หองพักอาศัยและเครื่องตกแตงใหเชา - สุทธิ ลูกหนี้เงินประกันผลงาน สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น

Part 1 Page 118


บริษทั บีทเี อส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

งบดุล (ตอ) U

(หนวย : ลานบาท)

2553 หนี้สินและสวนของผูถือหุน เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจาหนี้การคา ตนทุนงานกอสรางคางจาย เจาหนี้เงินมัดจํา เงินกูยืมระยะสั้นและเงินทดรองจากกิจการที่เกี่ยวของกัน สวนของเจาหนี้ตามแผนฟนฟูกิจการที่ถึงกําหนดชําระ ภายในหนึ่งป สวนของเงินกูยืมระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระภายในหนี่งป หนี้สินหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินหมุนเวียน เจาหนี้ตามแผนฟนฟูกิจการ - สุทธิจากสวนที่ถึงกําหนด ชําระภายในหนึ่งป เงินกูยืมระยะยาว - สุทธิจากสวนที่ถึงกําหนดชําระภายใน หนึ่งป เงินกูยืมจากกรรมการ เงินกูยืมจากกิจการที่เกี่ยวของกัน รายไดรับลวงหนาจากกิจการที่เกี่ยวของกัน - สุทธิจาก สวนที่ครบกําหนดภายในหนึ่งป เจาหนี้เงินประกันผลงาน หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไมหมุนเวียน รวมหนี้สิน สวนของผูถือหุน ทุนที่ออกจําหนายและชําระเต็มมูลคาแลว สวนเกิน (ต่ํา) มูลคาหุนสามัญ ผลกําไร (ขาดทุน) ที่ยังไมเกิดขึ้นจริง สวนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย สวนต่ํากวาทุนจากการเปลี่ยนแปลงมูลคาเงินลงทุน หุนของบริษัทที่ถือโดยบริษัทยอย สํารองจากการทํางบการเงินรวม ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน ขาดทุนสะสม สวนของผูถือหุนของบริษัท สวนของผูถือหุนสวนนอยของบริษัทยอย รวมสวนของผูถอื หุน รวมหนี้สินและสวนของผูถือหุน

% ของ สินทรัพย รวม

งบการเงินรวม ณ 31 มีนาคม % ของ 2552 สินทรัพย รวม

2551

% ของ สินทรัพย รวม

500.0 12.4 52.1 80.0 -

6.4% 0.2% 0.7% 1.0% 0.0%

400.0 17.5 35.7 26.9

5.9% 0.3% 0.5% 0.0% 0.4%

132.2 18.5 85.8 11.4

2.0% 0.3% 1.3% 0.0% 0.2%

1,681.6 7.2 449.1 2,782.4

21.5% 0.1% 5.7% 35.5%

1,971.8 65.0 226.1 2,743.0

29.1% 1.0% 3.3% 40.5%

1,888.6 187.9 2,324.4

28.4% 0.0% 2.8% 34.9%

70.9

0.9%

256.6

3.8%

580.3

8.7%

53.0 -

0.7% 0.0% 0.0%

1.4 9.2

0.0% 0.0% 0.1%

1.4 9.5

0.0% 0.0% 0.1%

38.5 24.9 9.7 197.1 2,979.4

0.5% 0.3% 0.1% 2.5% 38.0%

70.7 11.5 349.4 3,092

0.0% 1.0% 0.2% 5.2% 45.7%

72.1 13.7 677.1 3,001.5

0.0% 1.1% 0.2% 10.2% 45.1%

7,614.4 (735.1)

97.2% (9.4%)

5,813.3 134.4

85.9% 2.0%

5,813.3 134.4

87.3% 2.0%

29.8% 2,019.7 0.0% (0.3) (0.2%) (15.9) 0.0% 2.7 (2.0%) (134.1) (61.4%) (4,174.8) 54.1% 3,645.1 0.2% 11.9 54.3% 3,656.9 100.0% 6,658.4

30.3% 0.0% (0.2%) 0.0% (2.0%) (62.7%) 54.7% 0.2% 54.9% 100.0%

2,038.8 (0.4) (15.9) 2.7 (134.1) (3,929.8) 4,840.6 15.0 4,855.6 7,835.0

26.0% 2,019.7 0.0% (0.7) (0.2%) (15.9) 0.0% 2.7 (1.7%) (134.1) (50.2%) (4,154.5) 61.8% 3,664.9 0.2% 11.2 62.0% 3,676.1 100.0% 6,768.5

Part 1 Page 119


บริษทั บีทเี อส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

งบกําไร (ขาดทุน) U

(หนวย : ลานบาท)

2553 รายได รายไดจากการขายอสังหาริมทรัพย รายไดจากการจัดหาที่ดินโครงการบานเอื้ออาทร รายไดจากการรับเหมากอสราง รายไดคาเชาและการบริการ รายไดจากกิจการโรงแรม รายไดอื่น รายไดจากการบริหารจัดการ รายไดจากการขายสิทธิในการเรียกรอง หนี้ โอนกลับคาเผื่อผลขาดทุนจากการลดลงของ มูลคาโครงการ โอนกลับคาเผื่อการดอยคาของสินทรัพย กําไรจากการโอนทรัพยสินเพื่อชําระหนี้ กําไรจากการยกเลิกการค้ําประกัน กําไรจากการปรับโครงสรางหนี้ ดอกเบี้ยรับ อื่น ๆ รวมรายได คาใชจาย ตนทุนขายอสังหาริมทรัพย ตนทุนการจัดหาที่ดินโครงการบานเอื้ออาทร ตนทุนการรับเหมากอสราง ตนทุนการใหเชาและการบริการ ตนทุนจากกิจการโรงแรม คาใชจายในการขายและบริการ คาใชจายในการบริหาร คาตอบแทนผูบริหาร ขาดทุนจากการสํารองเผื่อการดอยคาของสินทรัพย รวมคาใชจาย

งบการเงินรวม ปบัญชี สิ้นสุด ณ 31 มีนาคม % ของ % ของ 2552 2551 รายได รายได รวม รวม

% ของ รายได รวม

100.9 755.5 169.4 34.5

6.4% 48.0% 10.8% 2.2%

48.8 547.4 167.9 36.8

4.6% 0.0% 51.1% 15.7% 3.4%

10.2 144.3 831.7 138.2 37.4

0.4% 5.8% 33.4% 5.5% 1.5%

25.4 59.0

1.6% 3.7%

1.4 -

0.1% 0.0%

-

0.0% 0.0%

45.6 167.0 142.7 2.3 70.5 1,572.7

2.9% 10.6% 0.0% 0.0% 9.1% 0.1% 4.5% 100.0%

195.1 1.2 72.3 1,070.7

0.0% 0.0% 0.0% 18.2% 0.0% 0.1% 6.7% 100.0%

1,149.2 12.2 5.5 162.3 2,491.0

0.0% 0.0% 46.1% 0.0% 0.5% 0.2% 6.5% 100.0%

106.3 701.2 114.4 10.1 16.6 280.0 50.0 25.0 1,303.6

6.8% 0.0% 44.6% 7.3% 0.6% 1.1% 17.8% 3.2% 1.6% 82.9%

66.2 536.5 105.1 23.4 17.5 215.9 37.8 10.6 1,012.9

6.2% 0.0% 50.1% 9.8% 2.2% 1.6% 20.2% 3.5% 1.0% 94.6%

6.9 144.8 845.0 92.9 21.6 15.6 226.1 23.5 19.8 1,396.4

0.3% 5.8% 33.9% 3.7% 0.9% 0.6% 9.1% 0.9% 0.8% 56.1%

Part 1 Page 120


บริษทั บีทเี อส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

งบกําไร (ขาดทุน) – (ตอ) U

2553 กําไรกอนสวนแบงกําไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุน ในบริษัทรวม สวนแบงกําไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุนในบริษัทรวม กําไรกอนคาใชจา ยทางการเงินและภาษีเงินได นิติบุคคล คาใชจายทางการเงิน กําไรกอนภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดนิติบุคคล กําไร (ขาดทุน) สุทธิสําหรับป การแบงปนกําไร (ขาดทุน) สุทธิ: สวนที่เปนของผู ถือหุนบริษัทใหญ สวนที่เปนของผูถือหุนสวนนอยของบริษัทยอย

กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน (บาท) จํานวนหุนสามัญถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก (หุน)

(หนวย : ลานบาท) งบการเงินรวม ปบัญชี สิ้นสุด ณ 31 มีนาคม % ของ % ของ % ของ 2552 2551 รายได รายได รายได รวม รวม รวม

269.1 0.5

17.1% 0.0%

57.9 (6.4)

5.4% (0.6%)

1,094.7 (4.3)

43.9% (0.2%)

269.7 (30.4) 239.3 (10.8) 228.5

17.1% (1.9%) 15.2% (0.7%) 14.5%

51.5 (23.4) 28.1 (8.5) 19.5

4.8% (2.2%) 2.6% (0.8%) 1.8%

1,090.4 (1.4) 1,089.1 1,089.1

43.8% 0.1% 43.7% 0.0% 43.7%

224.7 3.8 228.5

14.3% 0.2% 14.5%

20.3 (0.7) 19.5

1.9% (0.1%) 1.8%

1,089.4 (0.4) 1,089.1

43.7% 0.0% 43.7%

0.033 6,768,456,355

Part 1 Page 121

0.004 5,781,555,421

0.190 5,745,347,771


บริษทั บีทเี อส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

งบกระแสเงินสด U

(หนวย : ลานบาท)

2553 กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไรกอนภาษี รายการปรับกระทบยอดกอนภาษีเปนเงินสดรับ (จาย) จาก กิจกรรมดําเนินงาน คาเสื่อมราคาและตัดจําหนาย สวนแบงผลขาดทุน (กําไร) จากเงินลงทุนในบริษัทรวม โอนกลับหนี้สินสวนที่เกินกวาจํานวนหนี้สินตามคําสั่งจากเจา พนักงานพิทักษทรัพย รายไดจากการขายสิทธิในการเรียกรองหนี้ กําไรจากการปรับโครงสรางหนี้ กําไรจากการโอนสินทรัพยเพื่อชําระหนี้ กําไรจากการขายเงินลงทุนชั่วคราว กําไรจากการรับโอนสินทรัพยเพื่อชําระหนี้ โอนกลับคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ภาษีหัก ณ ที่จายตัดจําหนาย หนี้สงสัยจะสูญ ขาดทุนจากการสํารองเผื่อการดอยคาของสินทรัพย (โอนกลับ) ขาดทุนจากการสํารองเผื่อผลขาดทุนของโครงการบานเอื้ออาทร ขาดทุนจากการสํารองเผื่อผลขาดทุนจากการลดลงของมูลคา โครงการ ขาดทุนจากการสํารองเผื่อผลขาดทุนจากการลดลงของมูลคาเงิน ลงทุน (โอนกลับ) ขาดทุน (กําไร) จากการจําหนายที่ดิน อาคารและอุปกรณ กําไรจากการยกเลิกการค้ําประกัน กําไรจากการชําระหนี้ คาปรับจาย รายไดรับลวงหนาตัดบัญชี เงินปนผลรับ ดอกเบี้ยรับ คาใชจายดอกเบี้ย ขาดทุนจากการดําเนินงานกอนการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย และหนี้สินดําเนินงาน

Part 1 Page 122

งบการเงินรวม ปบัญชี สิ้นสุด ณ 31 มีนาคม 2552

2551

239.3

28.1

1,089.1

50.7 (0.5)

43.9 6.4

30.0 4.3

(59.0) (12.8) 23.7 25.3 (142.0) -

(3.4) (3.9) (11.8) 26.3 10.6 11.2

(12.2) (1,149.2) (1.0) (114.4) 1.1 11.7 19.8 -

(45.6)

-

-

(3.2) (0.3) (142.7) 9.9 (23.2) (3.3) (2.3) 30.4

0.8 (195.1)

(0.5) -

(1.2) 22.8

(5.5) 0.5

(55.5)

(65.4)

(126.6)


บริษทั บีทเี อส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

งบกระแสเงินสด (ตอ) U

(หนวย : ลานบาท)

2553 สินทรัพยดําเนินงานลดลง (เพิ่มขึ้น) :ลูกหนี้การคา รายไดที่ยังไมไดเรียกชําระ ตนทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย งานระหวางกอสราง เงินจายลวงหนาแกผูรับเหมา ลูกหนี้อื่น ลูกหนี้เงินประกันผลงาน สินทรัพยหมุนเวียนอื่น สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น หนี้สินดําเนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) :เจาหนี้การคา ตนทุนงานกอสรางคางจาย เงินรับลวงหนาจากผูวาจาง คาใชจายคางจาย เจาหนี้เงินประกันผลงาน รายไดรับลวงหนา เจาหนี้อื่น หนี้สินหมุนเวียนอื่น เงินสดจาก (ใชไปใน) กิจกรรมดําเนินงาน จายดอกเบี้ย จายภาษีเงินได ดอกเบี้ยรับ เงินสดสุทธิจาก (ใชไปใน) กิจกรรมดําเนินงาน

Part 1 Page 123

งบการเงินรวม ปบัญชี สิ้นสุด ณ 31 มีนาคม 2552

2551

(56.2) 16.9 82.5 (29.7) 30.7 (26.7) 4.3 (3.8)

(41.8) 66.8 54.3 26.3 (23.2) 3.7 (1.8) 0.5

3.0 (146.8) (7.9) 110.8 (13.8) (7.7) 14.4 (4.4)

(5.1) 16.5 220.5 2.0 (38.1) 100.0 (42.2) (33.0) 183.0 (31.3) (45.6) 2.3 108.5

(1.0) (50.1) 20.2 0.7 (1.5) 0.5 (23.8) (35.5) (21.7) (15.7) 1.2 (71.8)

10.2 85.8 (48.5) 5.1 66.1 29.0 29.6 (1.7) (0.5) (12.2) 5.5 (8.9)


บริษทั บีทเี อส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

งบกระแสเงินสด (ตอ) U

(หนวย : ลานบาท)

2553 กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินสดรับจากการขายสิทธิในการเรียกรองหนี้ เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนชั่วคราว เงินฝากที่มีภาระผูกพันลดลง (เพิ่มขึ้น) เงินใหกูยืมระยะสั้นและเงินทดรองแกกิจการที่เกี่ยวของกันลดลง (เพิ่มขึ้น) เงินใหกูยืมแกกิจการที่เกี่ยวของกันลดลง (เพิ่มขึ้น) เงินสดจายซื้อสุทธิเพื่อซื้อเงินลงทุนในบริษัทยอย เงินลงทุนในบริษัทรวมเพิ่มขึ้น เงินปนผลรับ เงินสดรับจากการโอนสิทธิในการซื้อที่ดิน เงินจายลวงหนาคาซื้อที่ดินและอาคารเพิ่มขึ้น ที่ดินและโครงการรอการพัฒนาในอนาคตลดลง (เพิ่มขึ้น) เงินสดจายซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ เงินสดจายซื้อสิทธิการเชา เงินสดจายซื้อหองพักอาศัยและเครื่องตกแตงใหเชา เงินสดรับจากการจําหนายที่ดิน อาคารและอุปกรณ เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดที่นําไปวางทรัพยเพื่อเปนหลักประกันในการชําระหนี้ลดลง เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น เงินกูยืมระยะยาวเพิ่มขึ้น (จายชําระ) เงินกูยืมระยะสั้นและเงินทดรองจากกิจการที่เกี่ยวของกันเพิ่มขึ้น (ลดลง) เจาหนี้เงินมัดจําเพิ่มขึ้น จายชําระเงินกูยืมจากกิจการที่เกี่ยวของกัน เงินกูยืมจากกรรมการเพิ่มขึ้น (จายชําระ) จายชําระเจาหนี้ตามแผนฟนฟูกิจการ เงินสดรับจากการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิ เงินสดรับจากการออกหุนเพิ่มทุน เงินสดรับจากผูถือหุนสวนนอยของบริษัทยอย เงินสดสุทธิจากกิจกรรมจัดหาเงิน ผลตางจากการแปลงคางบการเงินเพิ่มขึ้น (ลดลง) เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้น(ลดลง)สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดตนป เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดปลายป

Part 1 Page 124

งบการเงินรวม ปบัญชี สิ้นสุด ณ 31 มีนาคม 2552

2551

31.9 (120.0)

20.0 0.1

47.3 (0.0)

1.6 6.4 (63.9) 3.3 (20.7) (37.2) (0.4) 0.3 (198.6)

(8.3) 1.4 (4.0) (10.9) (264.7) (22.3) (25.9) (2.1) (316.7)

2.6 (640.2) 65.0 (23.5) (48.3) (98.3) (10.3) 0.6 (705.1)

17.2 100.0 (4.8)

267.8 65.0

48.2 132.2 -

(14.1) 80.0 (2.7) (1.4) (214.0) 383.1 343.2 0.0 253.1 61.3 314.4

5.5 (0.3) 0.0 (41.9) 296.1 0.0 (92.4) 153.8 61.3

(0.0) (0.1) (56.6) 614.4 12.3 750.4 0.1 36.5 117.3 153.8


บริษทั บีทเี อส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

อัตราสวนสําคัญทางการเงิน U

2553 อัตราสวนสภาพคลอง อัตราสวนสภาพคลอง อัตราสวนสภาพคลองหมุนเร็ว ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย(1) ระยะเวลาขายสินคาเฉลี่ย(2) ระยะเวลาชําระหนี(3) ้ วงจรเงินสด อัตราสวนแสดงความสามารถในการหากําไร อัตรากําไรขั้นตน อัตรากําไรจากการดําเนินงาน(4) อัตรากําไรอื่น อัตรากําไรสุทธิ อัตราผลตอบแทนผูถือหุน อัตราสวนแสดงประสิทธิภาพในการดําเนินงาน อัตราสวนผลตอบแทนจากสินทรัพย อัตราสวนผลตอบแทนจากสินทรัพยถาวร(5) อัตราการหมุนของสินทรัพย อัตราสวนวิเคราะหนโยบายทางการเงิน อัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุน อัตราสวนความสามารถในการชําระดอกเบี้ย อัตราสวนความสามารถชําระภาระผูกพัน (เกณฑเงินสด) อัตราสวนการจายเงินปนผล ขอมูลตอหุน จํานวนหุน ราคาพารตอหุน มูลคาตามบัญชีตอหุน(6) กําไรสสุทธิตอหุน

งบการเงินรวม ปบัญชี สิ้นสุด ณ 31 มีนาคม 2552

2551

U

เทา เทา วัน วัน วัน วัน

0.82 0.15 26.57 3,505.76 5.77 3,526.56

0.75 0.04 13.22 5,742.1 8.88 5,746.40

0.85 0.07 3.46 2,763.75 4.36 2,562.86

12.11 (20.58) 32.58 14.53 5.36

8.71 (25.16) 25.21 1.83 0.53

4.34 (18.48) 53.36 43.72 38.89

เทา

3.13 5.43 0.22

0.29 1.35 0.16

16.01 26.19 0.37

เทา เทา เทา

0.61 5.85 0.32

0.84 (1.64) (0.19)

0.82 (3.10) (0.01)

%

-

-

-

7,614,391,803 1.0 0.72 0.033

5,813,333,333 1.0 0.64 0.004

5,813,333,333 1.0 0.64 0.190

U

% % % % %

U

% %

U

U

ขอสังเกต

หุน บาท บาท บาท

(1)

360 / (รายไดจากธุรกิจหลัก / ลูกหนี้การคาเฉลี่ย) 360 / [(ตนทุนการขายอสังหาริมทรัพย + ตนทุนการจัดหาที่ดินโครงการบานเอื้ออาทร) / ตนทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพยเฉลี่ย] (3) 360 / (ตนทุนจากธุรกิจหลัก / เจาหนี้การคาเฉลี่ย) (4) (รายไดจากธุรกิจหลัก – ตนทุนการขายและบริการจากธุรกิจหลัก – คาใชจายในการขาย การบริการและบริหาร – คาตอบแทนผูบริหาร)/ รายไดจากธุรกิจหลัก (5) กําไรสุทธิ / สินทรัพยไมหมุนเวียนเฉลี่ย (6) รวมสวนของผูถือหุน / จํานวนหุนสามัญถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก (2)

Part 1 Page 125


บริษทั บีทเี อส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

11.2

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

บทวิเคราะหผลประกอบการปบัญชี สิ้นสุด ณ วันที่ 31 มีนาคม 2553 และวันที่ 31 มีนาคม 2552

11.2.1 รายไดรวมของบริษัทฯ ในปบัญชี 2553 บริษัทฯ มีรายไดรวม 1,572.7 ลานบาท ซึ่งประกอบดวยรายไดจากธุรกิจอสังหาริมทรัพยเปน จํานวน 1,060.4 ลานบาท รายไดอื่นๆ เปนจํานวน 369.7 ลานบาท และรายไดจากการฟนฟูกิจการหรือการชําระหนี้ เปนจํานวน 142.7 ลานบาท โดยรายไดรวมขยายตัวรอยละ 46.9 จากปบัญชี 2552 โดยมีสาเหตุหลักมาจากการที่ บริษัทฯ มีรายไดจากการดําเนินงาน และรายไดอื่นๆ เพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้รายไดจากธุรกิจอสังหาริมทรัพยคิดเปนรอยละ 67.4 รายไดอื่นๆ รอยละ 23.5 และรายไดจากการฟนฟูกิจการหรือการชําระหนี้รอยละ 9.1 ของรายไดรวมในปบัญชี 2553 ตามลําดับ โดยรายไดอื่นๆ สวนใหญนั้นประกอบดวยรายการโอนกลับ รายไดจากการบริหารจัดการกอสราง โครงการแอ็บสแตร็กส พหลโยธิน ปารค รายไดจากดอกเบี้ยและรายไดอื่นๆ เชน การโอนกลับรายการคาเผื่อหนี้สงสัย จะสูญ บริษัทฯ มีรายไดจากการดําเนินงานเพิ่มขึ้นจาก 800.8 ลานบาทในปบัญชี 2552 เปน 1,060.4 ลานบาทในป บัญชี 2553 โดยมีสาเหตุหลักมาจากความคืบหนาของงานกอสราง ตารางดานลางแสดงถึงองคประกอบหลักของรายได รวมในปบัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 มีนาคม 2553 และ 2552

รายได ธุรกิจอสังหาริมทรัพย: รายไดจากการขายอสังหาริมทรัพย รายไดจากอาคารสํานักงาน หรือ อพารทเมนทใหเชา รายไดจากกิจการโรงแรม รายไดจากการรับเหมากอสราง รายไดรวมจากธุรกิจหลัก รายไดอื่นๆ: รายไดจากการขายสิทธิในการเรียกรองหนี้ โอนกลับคาเผื่อผลขาดทุนจากการลดลงของมูลคา โครงการ โอนกลับคาเผื่อการดอยคาของสินทรัพย รายไดอื่น รายไดจากแผนฟนฟูกิจการหรือการชําระหนี้ รวมรายได

งบการเงินรวม รอบปบัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 มีนาคม 2553 2552 ลานบาท % ลานบาท

%

100.9 169.4

6.4% 10.8%

48.8 167.9

4.6% 15.7%

34.5 755.5 1,060.4

2.2% 48.0% 67.4%

36.8 547.4 800.8

3.4% 51.1% 74.8%

59.0

3.7%

-

0.0%

45.6 167.0 98.1 142.7 1,572.7

2.9% 10.6% 6.2% 9.1% 100.0%

74.8 195.1 1,070.7

0.0% 0.0% 7.0% 18.2% 100.0%

Part 1 Page 126


บริษทั บีทเี อส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

รายไดจากธุรกิจอสังหาริมทรัพย

รายไดจากการพัฒนาอสังหาริมทรัพย

ในปบัญชี 2553 ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพยมีรายได 100.9 ลานบาท ซึ่งเพิ่มขึ้น 52.1 ลานบาทจากปบัญชี 2552 หรือคิดเปนรอยละ 106.8 การเพิ่มขึ้นนี้มีสาเหตุจากยอดขายที่สูงขึ้นของโครงการคอนโดมิเนียม 2 โครงการ ไดแก นูเวลคอนโดมิเนียมและกิ่งแกวคอนโดมิเนียมซึ่งเปนสวนหนึ่งของโครงการธนาซิตี้ สวนโครงการที่เหลืออีก 7 โครงการในโครงการธนาซิตี้อยูระหวางการดําเนินการปรับปรุงหรือระหวางการเปลี่ยนแปลงยุทธศาสตรทางการตลาด ทั้งนี้บริษัทฯ จึงไดเนนการสรางแผนทางการตลาดที่นาสนใจเพื่อเพิ่มยอดขายของโครงการนูเวลคอนโดมิเนียมและกิ่ง แกวคอนโดมิเนียม ซึ่งเปนโครงการที่สรางเสร็จสมบูรณแลวและเพื่อใชประโยชนจากสิทธิพิเศษทางภาษีเกี่ยวกับการ โอนอสังหาริมทรัพยที่ไดรับจากรัฐบาลไทย นอกจากนี้บริษัทฯ ยังมีรายไดจํานวน 11.2 ลานบาทจากการขายที่ดินใน จังหวัดเชียงรายและกรุงเทพฯ

รายไดจากกิจการโรงแรม อาคารสํานักงาน และอพารทเมนทใหเชา (อาคารพักอาศัย)

รายไดจากกิจการโรงแรม อาคารสํานักงาน และอพารทเมนทใหเชา (อาคารพักอาศัย) สามารถจําแนกเปน รายไดจากการประกอบกิจการโรงแรม และรายไดจากการใหเชาและบริการ ซึ่งในปบัญชี 2553 บริษัทฯ มีรายไดจาก การประกอบกิจการของโรงแรม 2 แหงคือ โรงแรม ยู เชียงใหมและโรงแรมอิสติน เลคไซด ในขณะที่บริษัทฯ มีรายได จากการใหเชาและบริการจากอาคารสํานักงานทีเอสทีทาวเวอร เดอะรอยัลเพลส 1 เดอะรอยัลเพลส 2 เดอะแกรนด และธนาซิตี้ กอลฟ แอนด สปอรต คลับ ในปบัญชี 2553 บริษัทฯ มีรายไดจากกิจการโรงแรม อาคารสํานักงาน และอพารทเมนทใหเชา (อาคารพัก อาศัย) จํานวน 204.0 ลานบาท ซึ่งลดลงเพียง 0.7 ลานบาท หรือรอยละ 0.3 เมื่อเทียบกับปบัญชีกอน โดยการลดลง ของรายไดเปนผลจากการที่บริษัทฯ หยุดการประกอบกิจการของโรงแรมอิสติน เลคไซดในวันที่ 31 ธันวาคม 2552 เนื่องจากสัญญาเชาระหวางบริษัทยอยและบริษัทบริหารสินทรัพยทวี จํากัดไดสิ้นสุดลง โดยในระหวางปบัญชีนี้บริษัทฯ มีรายไดจากการประกอบกิจการโรงแรม ยู เชียงใหมจํานวน 16.9 ลานบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นคิดเปนรอยละ 20.0 จากปบัญชี สิ้นสุด ณ วันที่ 31 มีนาคม 2552 และมีรายไดจากการประกอบกิจการโรงแรมอิสติน เลคไซดจํานวน 17.7 ลานบาท ซึ่ง ลดลงจากปบัญชีกอนรอยละ 22.2 เนื่องจากบริษัทฯ ดําเนินงานบริหารเพียง 9 เดือนเทานั้น โดยรายไดที่ลดลงจากการ ประกอบกิจการโรงแรมในปบัญชี 2553 ไดถูกชดเชยดวยการปรับตัวสูงขึ้นของรายไดจากการใหเชาและบริการ ซึ่ง เพิ่มขึ้นเล็กนอยจาก 167.9 ลานบาทในปบัญชี 2552 เปน 169.4 ลานบาทในปบัญชี 2553 หรือคิดเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 0.9 โดยโครงการหลักที่ทําใหรายไดจากการใหเชาและบริการสูงขึ้นคือโครงการเดอะรอยัล เพลส 2 เนื่องจากโครงการนี้ เปนโครงการขนาดใหญ ทั้งนี้รายไดเฉลี่ย 3 ปจากกิจการโรงแรม อาคารสํานักงาน และอพารทเมนทใหเชา (อาคารพัก อาศัย) คิดเปนประมาณรอยละ 20.0 ของรายไดจากธุรกิจหลัก

รายไดจากการรับเหมากอสราง

ในปบัญชี 2553 บริษัทฯ มีรายไดจากการรับเหมากอสรางรวม 755.5 ลานบาท ซึ่งประกอบดวยรายไดจาก โครงการบานเอื้ออาทร 3 โครงการ รวม 546.2 ลานบาท และจากโครงการ Four Points by Sheraton จํานวน 209.4 ลานบาท ซึ่งรายไดจากการรับเหมากอสรางทั้งหมดนี้เพิ่มขึ้นคิดเปนรอยละ 38.0 เมื่อเทียบกับปกอน โดยโครงการที่ทํา

Part 1 Page 127


บริษทั บีทเี อส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

ใหบริษัทฯ มีรายไดสูงขึ้นคือโครงการบานเอื้ออาทร นอกจากนี้บริษัทฯ ยังเริ่มรับรูรายไดมากขึ้นจากโครงการ Four Points by Sheraton ในปบัญชี 2553 บริษัทฯ รับรูรายไดจากโครงการบานเอื้ออาทรเพิ่มขึ้นรอยละ 24.1 จากปบัญชี 2552 เนื่องจากมีความคืบหนาอยางมากในการกอสรางบานเอื้ออาทรชลบุรี (นาจอมเทียน) และบานเอื้ออาทรประจวบคีรีขันธ (หัวหิน 3) อยางไรก็ตามรายไดจากโครงการบานเอื้ออาทรยังคงลดลงรอยละ 22.6 จากปบัญชี 2551 เนื่องจากเมื่อ หลังจากที่บริษัทฯ ไดกอสรางเสาเข็มและฐานรากแลวเสร็จในป 2550 บริษัทฯ ไมไดกอสรางพรอมกันทั้งโครงการโดย ไดแบงการกอสรางออกเปนระยะ นอกจากนี้บริษัทฯ ยังขาดรายไดจากการจัดหาที่ดินสําหรับโครงการในปบัญชี 2553 เนื่องจากรายไดทั้งหมดไดรับรูไปแลวในปบัญชี 2551 โดยในปบัญชี 2553 บริษัทฯ มีรายไดจากโครงการบานเอื้ออาทร ชลบุรี (นาจอมเทียน) จํานวน 300.9 ลานบาท จากบานเอื้ออาทรประจวบคีรีขันธ (หัวหิน 3) จํานวน 121.6 ลานบาท และจากบานเอื้ออาทรสระบุรี (โคกแย) จํานวน 123.7 ลานบาท ซึ่งรายไดจากโครงการบานเอื้ออาทรทั้ง 3 โครงการนั้น คิดเปนรอยละ 72.3 ของรายไดจากธุรกิจรับเหมากอสรางทั้งหมด โดยสวนที่เหลืออีกรอยละ 27.7 มาจากโครงการ Four Points by Sheraton รายไดจากการรับเหมากอสรางเปนธุรกิจที่สรางรายไดมากที่สุดในกลุมธุรกิจอสังหาริมทรัพยของบริษัทฯ ตั้งแตปบัญชี 2551 โดยในชวงระยะเวลา 3 ปที่ผานมา รายไดจากธุรกิจนี้อยูในชวงรอยละ 68.4 ถึงรอยละ 84.0 และมี คาเฉลี่ย 3 ปที่รอยละ 74.6 ของรายไดจากธุรกิจอสังหาริมทรัพย

รายไดอื่น

ในปบัญชี 2553 บริษัทฯ มีรายไดอื่นทั้งหมด 512.3 ลานบาท ซึ่งประกอบดวยรายไดจากการประกอบการ กิจกรรมอื่นรวม 369.7 ลานบาท และรายไดจากการฟนฟูกิจการหรือการชําระหนี้รวม 142.7 ลานบาท โดยรายไดจาก การประกอบธุรกิจอื่นนั้นเพิ่มขึ้น 294.8 ลานบาทจากปบัญชี 2552 หรือคิดเปนรอยละ 393.9 ซึ่งมีสาเหตุหลักจากการ โอนกลับรายการสํารองคาเผื่ออันเกิดจากการประเมินตนทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพยในป 2550 ที่สูงกวามูลคาสุทธิ จากการโอนกลับคาเผื่อการดอยคาของสินทรัพยถาวรบางสวน และจากรายไดการบริหารจัดการโครงการ Abstracts Phahonyothin Park ที่มีการรับรูรายไดเปนครั้งแรก ทั้งนี้กําไรจากแผนฟนฟูกิจการหรือการชําระหนี้มีมูลคาลดลง โดย ลดลง 52.4 ลานบาทหรือคิดเปนรอยละ 26.9 เนื่องจากความสําเร็จของบริษัทฯ ในการออกจากแผนฟนฟูกิจการ นับตั้งแตปบัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 มีนาคม 2551 11.2.2 คาใชจายรวมของบริษัทฯ คาใชจายสําคัญของบริษัทฯ ประกอบดวย ตนทุนขายและบริการจากธุรกิจอสังหาริมทรัพย คาใชจายในการ ขาย การบริการและบริหาร รวมทั้งคาตอบแทนผูบริหาร โดยคาใชจายรวมในปบัญชี 2553 เทากับ 1,303.6 ลานบาท หรือคิดเปนอัตราการเพิ่มขึ้นรอยละ 28.7 จากปบัญชีกอน ซึ่งบริษัทฯ มีตนทุนขายและบริการเปนองคประกอบหลักของ คาใชจายทั้งหมด

Part 1 Page 128


บริษทั บีทเี อส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

รายจาย ตนทุนขายและบริการจากธุรกิจอสังหาริมทรัพย: ตนทุนขายอสังหาริมทรัพย ตนทุนการใหบริการอาคารสํานักงาน และอพารท เมนทใหเชา ตนทุนจากกิจการโรงแรม ตนทุนจากการรับเหมากอสราง รวมตนทุนขายและบริการจากธุรกิจอสังหาริมทรัพย คาใชจายในการขาย การบริการและบริหาร คาตอบแทนผูบริหาร ขาดทุนจากการสํารองเผื่อการดอยคาของสินทรัพย รวมคาใชจาย

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

งบการเงินรวม ปบัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 มีนาคม 2553 2552 ลานบาท % ลานบาท

%

106.3

8.2%

66.2

6.5%

114.4 10.1 701.2 932.0 296.6 50.0 25.0 1,303.6

8.8% 0.8% 53.8% 71.5% 22.7% 3.8% 1.9% 100.0%

105.1 23.4 536.5 731.1 233.4 37.8 10.6 1,012.9

10.4% 2.3% 53.0% 72.2% 23.0% 3.7% 1.0% 100.0%

ตนทุนขายและบริการจากธุรกิจอสังหาริมทรัพย ในปบัญชี 2553 ตนทุนขายและบริการจากธุรกิจอสังหาริมทรัพยมีมูลคารวม 932.0 ลานบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นจากป บัญชีกอนรวม 200.9 ลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 27.5 ทั้งนี้ตั้งแตบริษัทฯ เริ่มเนนการควบคุมตนทุนการประกอบการ ของแตละสายธุรกิจ จึงทําใหกําไรขั้นตนของบริษัทฯ เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง โดยเพิ่มขึ้นจากรอยละ 8.7 ในปบัญชี 2552 เปนรอยละ 12.1 ในปบัญชี 2553 ซึ่งความสามารถในการทํากําไรที่เพิ่มขึ้นของบริษัทฯ สวนใหญเกิดจากธุรกิจโรงแรม อาคารสํานักงาน และอพารทเมนท (อาคารพักอาศัย) และธุรกิจรับเหมากอสราง โดยมีรายละเอียดดังนี้

ตนทุนการขายอสังหาริมทรัพย

ในปบัญชี 2553 บริษัทฯ มีตนทุนขายอสังหาริมทรัพยรวม 106.3 ลานบาทและมีรายไดจากธุรกิจนี้ 100.9 ลานบาท สงผลใหบริษัทฯ ประสบภาวะขาดทุนขั้นตนรวม 5.4 ลานบาท หรือคิดเปนอัตราขาดทุนขั้นตนรอยละ 5.4 อยางไรก็ตามความสามารถในการทํากําไรจากธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพยมีแนวโนมในเชิงบวก เพราะอัตรากําไร ขั้นตนเพิ่มขึ้นรอยละ 85.0 จากปบัญชี 2552 ซึ่งเปนชวงที่บริษัทฯ ประสบภาวะขาดทุนขั้นตน 17.4 ลานบาท หรือคิด เปนอัตราขาดทุนขั้นตน รอยละ 35.7 สาเหตุที่บริษัทฯ มีผ ลขาดทุน ขั้นตนเนื่องจากบริษัทฯ ไดขายสินคาคงเหลือ บางสวนของอาคารชุดพักอาศัยในโครงการธนาซิตี้ต่ํากวามูลคาตามบัญชี เพื่อที่บริษัทฯ จะไดลดตนทุนในการเก็บ รักษาและเพิ่มเงินสดหมุนเวียน

ตนทุนการใหบริการโรงแรม อาคารสํานักงาน และอพารทเมนทใหเชา (อาคารพักอาศัย)

ในปบัญชี 2553 ตนทุนการใหบริการโรงแรม อาคารสํานักงาน และอพารทเมนทใหเชา (อาคารพักอาศัย) รวม เทากับ 124.5 ลานบาท จึงทําใหมีกําไรขั้นตนจํานวน 79.5 ลานบาท โดยตนทุนทั้งหมดจากธุรกิจนี้ประกอบดวยตนทุน กิจการโรงแรมรวม 10.1 ลานบาท ซึ่งลดลงจากปบัญชีกอนหนาเนื่องจากบริษัทฯ หยุดประกอบกิจการโรงแรมอิสติน Part 1 Page 129


บริษทั บีทเี อส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

เลคไซดเมื่อเดือนธันวาคม 2552 และตนทุนที่เหลืออีก 114.4 ลานบาทนั้นมาจากธุรกิจการใหเชาและบริการ เนื่องจาก รายไดรวมจากธุรกิจประเภทนี้ลดลงรอยละ 0.3 ในปบัญชี 2553 ในขณะที่ตนทุนการบริการลดลงรอยละ 3.1 สงผลให บริษัทฯ มีอัตรากําไรขั้นตนที่รอยละ 39 ซึ่งสูงกวาในปบัญชี 2552

ตนทุนการรับเหมากอสราง

ในปบัญชี 2553 บริษัทฯ มีตนทุนการรับเหมากอสรางรวม 701.2 ลานบาท ซึ่งคิดเปนกําไรขั้นตน 54.3 ลาน บาทและมีอัตรากําไรขั้นตนที่รอยละ 7.2 โดยเพิ่มขึ้นจากปบัญชี 2552 รอยละ 260.2 ในชวงปบัญชี 2553 ตนทุน โครงการกอสรางจากโครงการบานเอื้ออาทร 3 โครงการมีมูลคารวม 515.8 ลานบาท และจากโครงการ Four Points by Sheraton มูลคา 185.4 ลานบาท โดยในชวงปบัญชีนี้อัตรากําไรขั้นตนจากโครงการบานเอื้ออาทร เพิ่มขึ้นจากรอยละ 0.3 เปนรอยละ 5.6 ในขณะที่อัตรากําไรขั้นตนจากโครงการ Four Points by Sheraton เพิ่มขึ้นจากรอยละ 9.1 เปน รอยละ 11.4 โดยผลกําไรที่เพิ่มขึ้นนี้มาจากการขยายตัวของรายได การควบคุมตนทุนที่ดี และลักษณะการรับรูรายได โดยพิจราณาถึงขั้นความสําเร็จของงาน คาใชจายในการขาย การบริการและบริหาร ในปบัญชี 2553 คาใชจายในการขาย การบริการและบริหารมีมูลคารวม 296.6 ลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 18.9 ของรายไดรวม โดยคาใชจายสวนนี้เพิ่มขึ้น 63.2 ลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 27.1 เมื่อเทียบกับปบัญชี 2552 ซึ่ง มีมูลคา 233.4 ลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 21.8 ของรายไดรวม การเพิ่มขึ้นนี้เปนผลสืบเนื่องจากการสงเสริมกิจกรรม การดําเนินงานของบริษัทฯ ซึ่งสงผลใหบริษัทฯ มีการจางพนักงานมากขึ้น ดังจะเห็นไดจากการเพิ่มขึ้นของคาตอบแทน พนักงานเปนจํานวน 21.5 ลานบาท นอกจากนี้ยังมีคาใชจายที่ปรึกษาทางการเงินและคาใชจายเกี่ยวกับกฎหมายที่ เกิดขึ้นจากการออกใบสําคัญแสดงสิทธิจํานวน 26.6 ลานบาท และสวนอื่นที่เหลือซึ่งเกิดจากการเพิ่มขึ้นของคาใชจาย อื่นๆ ดอกเบี้ยจาย ในปบัญชี 2553 บริษัทฯ มีคาใชจายทางการเงินมูลคา 30.4 ลานบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นจากปบัญชี 2552 เปนเงิน 7.0 ลานบาท หรือเพิ่มขึ้นคิดเปนรอยละ 29.9 การเพิ่มขึ้นของคาใชจายทางการเงินนี้เปนผลมาจากการกูเงินเพิ่มเติม จากสถาบันการเงินเพื่อซื้อหุนของบริษัทยอย ซึ่งปกติแลวบริษัทฯ จะมีคาใชจายทางการเงินเฉพาะจากการกูยืมเงิน ระยะสั้นและระยะยาวจากสถาบันการเงินเทานั้น โดยบริษัทฯ จะไมมีภาระดอกเบี้ยจายสําหรับยอดคงคางตามแผน ฟนฟูกิจการ ภาษีเงินไดนิติบุคคล หนึ่งในบริษัทยอยของบริษัทฯ เสียภาษีเงินไดนิติบุคคลเปนมูลคา 10.8 ลานบาท และ 8.5 ลานบาท ในปบัญชี 2553 และ 2552 ตามลําดับ โดย ณ วันที่ 31 มีนาคม 2553 บริษัทฯ ยังคงมีผลขาดทุนทางภาษียกมาเปนจํานวน 786.6 ลานบาท ซึ่งจะทยอยหมดอายุจํานวน 479.2 ลานบาท 194.6 ลานบาท และ 112.8 ลานบาท ในเดือนมีนาคม 2554 2555 และ 2557 ตามลําดับ

Part 1 Page 130


บริษทั บีทเี อส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

กําไรสุทธิ ในปบัญชี 2553 บริษัทฯ มีกําไรสุทธิรวม 228.5 ลานบาท ซึ่งเพิ่มขึ้นจาก 19.5 ลานบาทในปบัญชี 2552 โดย การเติบโตของกําไรสุทธิและอัตรากําไรสุทธินั้นเปนผลจากอัตราการเติบโตของรายไดรวมที่สูงขึ้นเมื่อเทียบกับอัตรา การเติบโตของรายจายรวม สงผลใหบริษัทฯ มีผลกําไรที่สูงขึ้น นอกจากนี้การเติบโตของรายไดยังเปนผลมาจากการ เติบโตของรายไดจากธุรกิจอสังหาริมทรัพยของบริษัทฯ จึงสะทอนใหเห็นวาบริษัทฯ มีผลการดําเนินงานที่ดีขึ้นในป บัญชี 2553 ทั้งนี้จากกําไรสุทธิรวม 228.5 ลานบาทในปบัญชี 2553 กําไรสุทธิจํานวน142.7 ลานบาทเกิดจากรายได จากแผนฟนฟูกิจการหรือการชําระหนี้ และ กําไรสุทธิจํานวน167.0 ลานบาทเกิดจากการโอนกลับคาเผื่อการดอยคา ของสินทรัพย 11.2.3 บทวิเคราะหฐานะการเงินของบริษัทฯ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2553 บริษัทฯ มีสินทรัพยรวมมูลคา 7,835.0 ลานบาท โดยมีแหลงเงินทุนจากหนี้สินรวม มูลคา 2,979.4 ลานบาท และจากสวนของผูถือหุนรวมมูลคา 4,855.6 ลานบาท ทั้งนี้มูลคาสินทรัพยปรับตัวสูงขึ้นรอย ละ 15.8 จากวันที่ 31 มีนาคม 2552 ซึ่งมูลคาสินทรัพยที่เพิ่มขึ้นสวนใหญมาจากการเพิ่มขึ้นในสวนของเงินสดและที่ดิน และโครงการรอการพัฒนาในอนาคต 11.2.3.1

สภาพคลองและแหลงที่มาของเงินทุน

ในปบัญชี 2553 บริษัทฯ มีการพัฒนาทางดานสภาพคลอง โดยอัตราสวนสภาพคลองและอัตราสวนสภาพ คลองหมุนเร็วปรับตัวดีขึ้นเมื่อเทียบกับปบัญชี 2552 ทั้งนี้ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2553 บริษัทฯ มีสินทรัพยหมุนเวียนรวม จํานวน 2,271.0 ลานบาท หนี้สินหมุนเวียนรวมจํานวน 2,782.4 ลานบาท อัตราสวนสภาพคลองที่ 0.82 เทาและ อัตราสวนสภาพคลองหมุนเร็วที่ 0.15 เทา โดยการเติบโตของสินทรัพยหมุนเวียนสวนใหญมาจากเงินสดและรายการ เทียบเทาเงินสด 11.2.3.2

สินทรัพย

ณ วันที่ 31 มีนาคม 2553 บริษัทฯ มีสินทรัพยรวม 7,835.0 ลานบาท ซึ่งเพิ่มขึ้น 1,066.5 ลานบาท หรือคิด เปนการเพิ่มขึ้นรอยละ 15.8 จากปบัญชี 2552 ทั้งนี้ปจจัยหลักที่สงผลใหสินทรัพยมีมากขึ้นคือที่ดินและโครงการรอการ พัฒนาในอนาคตซึ่งมีมูลคาเพิ่มขึ้น 1,233.4 ลานบาทจากปบัญชี 2552 ซึ่งจะถูกนําไปใชในการพัฒนาทรัพยสินของ ธุ ร กิ จ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย ต อ ไป นอกจากนี้ ใ นป บั ญ ชี 2553 บริ ษั ท ฯ ได จั ด ให มี ก ารประเมิ น ราคาสิ น ทรั พ ย ซึ่ ง ทํ า ให สินทรัพยมีมูลคา 2,348.2 ลานบาท โดยเพิ่มขึ้นจากปกอน 99.0 ลานบาท 11.2.3.3

หนี้สิน

ณ วันที่ 31 มีนาคม 2553 บริษัทฯ มีหนี้สินรวม 2,979.4 ลานบาท ซึ่งประกอบดวยหนี้สินหมุนเวียนจํานวน 2,782.4 ลานบาท และหนี้สินไมหมุนเวียนจํานวน 197.1 ลานบาท โดยหนี้สินรวมลดลง 113.0 ลานบาทหรือคิดเปน การลดลงรอยละ 3.7 จากปกอนหนา เนื่องจากการการชําระหนี้สินตามแผนฟนฟูกิจการ ดังนั้น ณ วันที่ 31 มีนาคม 2553 หนี้คงคางตอเจาหนี้ภายใตแผนฟนฟูกิจการจึงมีมูลคาเพียง 1,752.5 ลานบาท หรือคิดเปนรอยละ 58.8 ของ หนี้สินทั้งหมด โดย ณ วันที่ 31 มีนาคม 2553 หนี้สินตามแผนฟนฟูกิจการแบงเปนหนี้สินตามแผนฟนฟูกิจการที่ถึง

Part 1 Page 131


บริษทั บีทเี อส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

กําหนดชําระภายในหนึ่งปจํานวน 1,681 ลานบาทและหนี้สินตามแผนฟนฟูกิจการระยะยาว - สุทธิจากสวนที่ถึงกําหนด ชําระภายในหนึ่งปจํานวน 71 ลานบาท สําหรับสวนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปนั้น เปนหนี้สินกับเจาหนี้มีประกัน จํานวน 1,316 ลานบาท และหนี้สินกับเจาหนี้ไมมีประกันจํานวน 365 ลานบาท สําหรับหนี้สินตามแผนฟนฟูกิจการ ระยะยาว – สุทธิจากสวนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปนั้น เปนหนี้สินกับเจาหนี้ไมมีประกันทั้งจํานวน โดยหนี้สินมี ประกันตามแผนฟนฟูกิจการจะไดรับการค้ําประกันโดยที่ดินหรืออสังหาริมทรัพยของบริษัทฯ ในขณะที่หนี้ไมมีประกัน ตามแผนฟนฟูกิจการจะถูกชําระโดยเงินสดและการแปลงหนี้เปนทุน รายละเอียดหนี้สินตามแผนฟนฟูกิจการและหนี้สินกับสถาบันการเงิน มีดังตอไปนี้ จํานวนหนี้คง อัตรา คาง ณ 31 มี.ค. ดอกเบี้ย 2553

เงื่อนไขการชําระหนี้

หลักทรัพยค้ําประกัน

ขายทรัพยหลักประกัน เพื่อชําระหนี้ ชําระหนี้เปนเงินสด และโอนทรัพยชําระหนี้

ทีเอสทีทาวเวอร และ ยงสุ อพารทเมนท ที่ดินเปลาในธนาซิตี้ พังงา เชียงใหม จันทบุรี คอนโดมิเนียมบานมิตรา และ กิ่งแกวคอนโดมิเนียม

เงินสดและแปลงหนี้ เปนทุน เงินสดและแปลงหนี้ เปนทุน เงินสด เงินสด

-

หนี้สินตามแผนฟนฟูกิจการ – สวนที่ถึง กําหนดชําระภายในหนึ่งป เจาหนี้มีประกัน หนี้ที่บริษัทฯ เปนตัวแทนในการจัดการ ขายทรัพยสินให หนี้สินที่รอคําสั่งอันเปนที่สุด

859.0

-

457.2

-

รวม เจาหนี้ไมมีประกัน หนี้ที่รอคําสั่งอันเปนที่สุด

1,316.2 284.0

-

หนี้ที่ถึงกําหนดชําระ

52.8

-

หนี้ที่ยังไมถึงกําหนดชําระ หนี้ที่แบงจายชําระเปนรายงวด รวม หนี้ตามแผนฟนฟูกิจการ – สุทธิจาก สวนที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป เจาหนี้ไมมีประกัน

11.4 17.2 365.4

-

70.9

-

เงินสด และหุนสามัญ ของบริษัทฯ ที่ไดจาก การแปลงหนี้เปนทุน

-

รวมหนี้สินตามแผนฟนฟูกิจการ เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน

1,752.5 500.0 53.0

MLR MLR1.50

ทบทวนวงเงินทุกป ผอนชําระ 76 งวด

ที่ดินถนนราษฎรบูรณะ 100% ค้ําประกันโดยบริษัทฯ

Part 1 Page 132

-


บริษทั บีทเี อส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

11.2.3.4

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

สวนของผูถือหุน

ในปบัญชี 2553 สวนของผูถือหุนเพิ่มขึ้น 1,179.5 ลานบาทซึ่งสวนหนึ่งมาจากขาดทุนสะสมลดลง โดยบริษัท ฯ มีกําไรสุทธิจํานวน 228.5 ลานบาท นอกจากนี้บริษัทฯ ยังไดออกหุนสามัญจํานวน 1,034.8 ลานบาท เพื่อซื้อหุนที่ เหลืออีกรอยละ 50.0 ของบริษัท กมลา บีช รีสอรท แอนด โฮเต็ล แมเนจเมนท จํากัด และหุนสามัญจํานวน 766.3 ลาน บาท ตามการใชสิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิ 11.2.4 บทวิเคราะหกระแสเงินสดของบริษัทฯ สรุปงบกระแสเงินสดสําหรับปบัญชี สิ้นสุด ณ วันที่ 31 มีนาคม 2553 และ 2552 งบการเงินรวมสําหรับปบัญชี

เงินสดสุทธิจาก (ใชไปใน) กิจกรรมดําเนินงาน เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมลงทุน เงินสดสุทธิจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ

ลานบาท 108.5 (198.6) 343.2

2553 % เปลี่ยนแปลง +251.1% (37.3%) +15.9%

253.1

373.8%

2552 ลานบาท % เปลี่ยนแปลง (71.8) (706.4%) (316.7) +55.1% 296.1 (60.5%) (92.4)

(353.2%)

สถานะดานเงินสดสุทธิของบริษัทฯ เพิ่มขึ้นอยางมีนัยสําคัญจาก -92.4 ลานบาท ในปบัญชี 2552 เปน 253.1 ลานบาท ในปบัญชี 2553 ซึ่งเพิ่มขึ้น 345.5 ลานบาท โดยมีเหตุผลหลักมาจากกําไรสุทธิที่มีมากขึ้น ซึ่งเปนผลสืบ เนื่องมาจากการที่บริษัทฯ สามารถประกอบธุรกิจหลักไดอยางมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ดังนั้นจึงสงผลใหเงินสดสุทธิ จากการดําเนินงานเปนบวกซึ่งมีมูลคารวม 108.5 ลานบาท รายการหลักจากกิจกรรมการดําเนินงานที่ทําใหเงินสดมี มากขึ้นไดแก เงินรับลวงหนาจากการกอสรางโครงการ Four Points by Sheraton จาก บีทีเอส แอสเสทส ซึ่งมีมูลคา 220.5 ลานบาท และรายไดรับลวงหนาของคาบริหารจัดการโครงการ Abstracts Phahonyothin Park มูลคา 100.0 ลานบาท จากนูโวไลน ทั้งนี้ เนื่องจากบริษัทฯ ใชเงินสดสุทธินอยลงในกิจกรรมการลงทุนในปบัญชี 2553 สงผลใหเงิน สดสุทธิในดานนี้ลดลงคิดเปนรอยละ 37.3 โดยเงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมนี้เหลือเพียง -198.6 เทานั้น โดยกิจกรรม การลงทุนสวนใหญเกิดจากการเพิ่มขึ้นของเงินฝากที่มีภาระผูกพัน และเงินสดจายซื้อสุทธิเพื่อซื้อเงินลงทุนในบริษัท กมลา บีช รีสอรท แอนด โฮเต็ล แมเนจเมนท จํากัด เปนหลัก ทั้งนี้ กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงินมีมูลคารวมที่ 343.2 ลานบาท ซึ่งสวนใหญมาจากใบสําคัญแสดงสิทธิ การกูยืมเงินระยะสั้นจากสถาบันการเงิน และเงินมัดจําที่ใหไว กับเจาหนี้ เพื่อที่จะนําไปชําระหนี้กับสถาบันการเงินและเจาหนี้ตามแผนฟนฟูกิจการเปนหลัก

Part 1 Page 133


บริษทั บีทเี อส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

11.2.5 ภาระผูกพัน ณ วันที่ 31 มีนาคม 2553

ภาระผูกพันเกี่ยวกับรายจายฝายทุนของบริษัทฯ และบริษัทยอย รายละเอียด

สัญญากอสรางโครงการบานเอื้ออาทร(1) สัญญาที่ปรึกษา ออกแบบและกอสรางโครงการ สัญญากอสรางโครงการกับบริษัทยอยแหงหนึ่ง สัญญาที่ปรึกษาในการกอสรางโครงการกับบริษัทที่เกี่ยวของกัน การปรับปรุงและพัฒนาสนามกอลฟ รวม (อัตราแลกเปลี่ยน 1 เหรียญฮองกงเทากับ 4.1373 บาท) ขอสังเกต:

(1)

11.3

คาตอบแทนของผูสอบบัญชี

จํานวนเงิน (ลานบาท) ณ วันที่ 31 มีนาคม 2553 1,282.4 763.9 1,687.8 ไมเกิน 2.9 ลานเหรียญฮองกง 11.8 3,757.9

สัญญากอสรางนี้เปนสัญญาระหวางบริษัทฯ และผูรับเหมา อยางไรก็ตามบริษัทฯ จะไมมีภาระผูกพันภายใตเงินจํานวน 509.3 ลานบาท หากกคช.เปนฝายยกเลิกสัญญาสรางบานที่เหลือจํานวน 1,724 หลังในโครงการบานเอื้อาทรสระบุรี (โคกแย)

ผูตรวจสอบบัญชีของบริษัทฯ และบริษัทยอยสําหรับปบัญชี 2553 คือ บริษัท สํานักงาน เอินสท แอนด ยัง จํากัด โดยบริษัทฯ และบริษัทยอยจายคาตอบแทนการสอบทานงบการเงินรายไตรมาสเปนจํานวน 0.6 ลานบาท และ งบการเงินประจําปเปนจํานวน 2.9 ลานบาท ดังนั้นคาตอบแทนจากการสอบบัญชีของบริษัทฯ และบริษัทยอยคิดเปน จํานวนรวมทั้งสิ้น 3.5 ลานบาท ซึ่งมีมูลคาเทากับปบัญชี 2552

Part 1 Page 134


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

12.

ขอมูลอื่นที่เกี่ยวของ

12.1

การเปลี่ยนแปลงที่สําคัญของบริษัทฯ ภายหลังจากวันที่ 31 มีนาคม 2553

เนื่ อ งจากบริ ษั ท ฯ เล็ ง เห็ น ถึ ง โอกาสในการเสริ ม สร า งความสามารถในการแข ง ขั น ในธุ ร กิ จ พั ฒ นา อสังหาริมทรัพย รวมถึงโอกาสในการลงทุนในบริษัทที่มีความสามารถในการดําเนินงานและมีกระแสเงินสดที่ตอเนื่อง ที่ จะชวยเพิ่มมูลคาตลาด (Maket Capitalization) ของบริษัทฯ ได ซึ่งจะสงผลดีตอสภาพคลองของหุนบริษัทฯ และเปน ผลดีตอผูถือหุน ดังนั้น ในวันที่ 22 มีนาคม 2553 และ 29 เมษายน 2553 ที่ประชุมคณะกรรมการ ครั้งที่ 2/2553 และที่ ประชุมวิสามัญผูถือหุน ครั้งที่ 1/2553 ของบริษัทฯ (ตามลําดับ) ไดมีมติอนุมัติใหบริษัทฯ ไดมาซึ่งหุนสามัญของบีทีเอส ซี ซึ่งเปนผูประกอบธุรกิจใหบริการเดินรถไฟฟาและเริ่มขยายธุรกิจไปยังธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพยในแนวเสนทาง รถไฟฟา โดยบริษัทฯ ไดดําเนินการที่เกี่ยวเนื่องกับการไดมาซึ่งหุนสามัญของบีทีเอสซีดังตอไปนี้ 12.1.1 การกูยืมเงินเพื่อใชในการไดมาซึ่งหุนสามัญของบีทีเอสซีและใชในการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2553 บริษัทฯ ไดเขาทําสัญญาสินเชื่อกับธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) เพื่อกูยืม เงินในวงเงินจํานวน 22,000 ลานบาท (”สัญญาสินเชื่อ”) เพื่อใชในการไดมาซึ่งหุนสามัญของบีทีเอสซี (วงเงินรวม 21,000 ลานบาท) และใชในการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ (วงเงินรวม 1,000 ลานบาท) และไดเบิกถอนจํานวนเงิน 20,656 ลานบาท เพื่อชําระคาหุนสามัญของบีทีเอสซีในสวนที่เปนเงินสด ณ วันที่ 14 มิถุนายน 2553 บริษัทฯ นําเงินที่ไดจากการออกหุนเพิ่มทุนใหแกผูถือหุนเดิมของบริษัทฯ ตาม สัดสวนจํานวนหุนที่ผูถือหุนแตละรายถืออยู (Rights Offering) และกลุมผูลงทุนประเภทสถาบันการเงินและกลุมลูกคา ของบริษัทหลักทรัพยที่ทําหนาที่เปนผูจัดจําหนายหลักทรัพยของบริษัทฯ จํานวนประมาณ 11,990.2 ลานบาท (ดังรายละเอียดปรากฏตามขอ 12.1.6) ไปชําระหนี้บางสวนตามสัญญาสินเชื่อใหแกผูใหกู โดย ณ วันดังกลาว บริษัทฯ มีหนี้ตามสัญญาสินเชื่อเปนเงินจํานวนประมาณ 8,656 ลานบาท 12.1.2 การลดทุนจดทะเบียนของบริษัทฯ เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2553 บริษัทฯ ไดจดทะเบียนลดทุนจดทะเบียนของบริษัทฯ จํานวน 89,758,196 หุน มูลคาหุนที่ตราไวหุนละ 1 บาท จากเดิมทุนจดทะเบียน 7,704,149,999 บาท เปน 7,614,391,803 บาท โดยการตัดหุน ที่ยังไมไดออกจําหนายของบริษัทฯ จํานวน 89,758,196 หุน ซึ่งหุนดังกลาวเปนหุนสามัญที่เหลือจากการใชสิทธิซื้อหุน สามัญตามใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุนสามัญของบริษัทฯ ที่ออกใหแกผูถือหุนเดิมของบริษัทฯ (TYONG-W1) โดย ใบสําคัญแสดงสิทธิดังกลาวไดหมดอายุลงเมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน 2552 12.1.3 การเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทฯ เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2553 บริษัทฯ ไดจดทะเบียนเพิ่มทุนจดทะเบียนของบริษัทฯ อีกจํานวน 57,527,799,099 บาท จากทุนจดทะเบียนเดิมจํานวน 7,614,391,803 บาท เปนจํานวน 65,142,190,902 บาท โดย การออกหุนสามัญเพิ่มทุนจํานวน 57,527,799,099 หุน มูลคาหุนที่ตราไวหุนละ 1 บาท บริษัทฯ ออกหุนสามัญเพิ่มทุนดังกลาว เพื่อรองรับ (1) การออกและเสนอขายหุนสามัญเพิ่มทุนใหแกผูถือหุน สามัญของบีทีเอสซีอันเนื่องมาจากการไดมาซึ่งหุนสามัญของบีทีเอสซี ดังรายละเอียดปรากฏตามขอ 12.1.4 (2) การ สวนที่ 1 หนา 135


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

12.1.4 การไดมาซึ่งหุนสามัญของบีทีเอสซี บริษัทฯ ไดเขาทําสัญญาเพื่อการไดมาซึ่งหุนสามัญของบีทีเอสซีจากผูถือหุนของบีทีเอสซีจํานวน 4 ราย กลาวคือ ไดเขาทําสัญญาซื้อหุนสามัญของบีทีเอสซีกับผูถือหุนของบีทีเอสซีจํานวน 3 รายและทําสัญญารับโอนกิจการ จากผูถือหุนของบีทีเอสซีจํานวน 1 ราย ซึ่งการไดมาซึ่งหุนสามัญของบีทีเอสซีและการรับโอนกิจการดังกลาวนั้น ทําให บริษัทฯ ไดรับหุนสามัญของบีทีเอสซีจากผูถือหุนของบีทีเอสซี จํานวนรวม 15,022,335,992 หุน มูลคาหุนที่ตราไวหุน ละ 1 บาท หรือคิดเปนรอยละ 94.60 ของหุนที่จําหนายไดแลวทั้งหมดของบีทีเอสซี ณ วันที่ทําสัญญาดังกลาว (โดยได กําหนดราคาซื้อขายหุนบีทีเอสซี ไวหุนละ 2.665 บาท คิดเปนคาตอบแทนรวมทั้งสิ้น 40,034,525,418.68 บาท (“การ ได ม าซึ่ ง หุ น สามั ญ ของบี ที เ อสซี ” ) โดยบริ ษั ท ฯ ได ชํ า ระค า ตอบแทนส ว นหนึ่ ง เป น เงิ น สดจํ า นวนรวม 20,655,711,989.69 บาท (คิ ด เป น ร อ ยละ 51.59 ของค า ตอบแทน) และค า ตอบแทนส ว นที่ เ หลื อ อี ก จํ า นวน 19,378,813,428.99 บาท (คิดเปนรอยละ 48.41 ของคาตอบแทน) บริษัทฯ ไดชําระโดยการออกหุนสามัญเพิ่มทุนของ บริษัทฯ จํานวน 28,166,879,984 หุน มูลคาหุนที่ตราไวหุนละ 1 บาท โดยกําหนดราคาหุนของบริษัทฯ ที่ 0.688 บาท ตอหุน ซึ่งการไดมาซึ่งหุนสามัญของบีทีเอสซีจากผูถือหุนของบีทีเอสซี มีรายละเอียดดังนี้ 1. บริษัทฯ เขาทําสัญญาซื้อหุนสามัญของบีทีเอสซีเปนจํานวนรวม 6,656,535,992 หุน ที่ราคา 2.665 บาทตอหุนกับผูถือหุนของบีทีเอสซีจํานวน 3 ราย ดังนี้ 1.1 บริ ษั ท ฯ ซื้ อ หุ น สามั ญ ของบี ที เ อสซี จํ า นวน 5,748,127,269 หุ น จาก Siam Capital Developments (Hong Kong) Limited (“Siam Capital”) โดยชํ า ระค า หุ น ดั ง กล า วเป น เงิ น สดจํ า นวน 7,903,674,995.13 บาท และออกหุนสามัญเพิ่มทุนของบริษัทฯ อีกจํานวน 10,777,738,629 หุน 1.2 บริ ษั ท ฯ ซื้ อ หุ น สามั ญ ของบี ที เ อสซี จํ า นวน 508,408,723 หุ น จาก Keen Leader Investments Limited (“Keen Leader”) โดยชําระคาหุนดังกลาวเปนเงินสดจํานวน 699,061,994.56 บาท และออกหุน สามัญเพิ่มทุนของบริษัทฯ อีกจํานวน 953,266,355 หุน 1.3 บริษัทฯ ซื้อหุนสามัญของบีทีเอสซีจํานวน 400,000,000 หุนจากนายคีรี กาญจนพาสน (“นายคีรี”) โดยชําระคาหุนดังกลาวเปนเงินสดจํานวน 550,000,000 บาท และออกหุนสามัญเพิ่มทุนของบริษัทฯ อีก จํานวน 750,000,000 หุน 2. บริษัทฯ เขาทําสัญญารับโอนกิจการทั้งหมดของบริษัท สยาม เรลล ทรานสปอรต แอนด อินฟรา สตรัคเจอร จํากัด (“สยามเรลล”) เปนมูลคา 22,294,857,000 บาท ซึ่งกิจการทั้งหมดดังกลาวประกอบดวยหุนสามัญ ของบีทีเอสซี จํานวน 8,365,800,000 หุน และหนี้สินจากสยามเรลล ซึ่งบริษัทฯ ไดชําระหนี้สินดังกลาวแลวในวันที่รับ

สวนที่ 1 หนา 136


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

สยามเรลลเปนบริษัทที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย มีทุนจดทะเบียนจํานวน 250,100,000 บาท โดย มีนายคีรี นายกวิน และ Siam Infrastructure Ltd. (“Siam Infrastructure”) ถือหุนรอยละ 50.90, 0.10 และ 49.00 ของ ทุนจดทะเบียนของสยามเรลล ตามลําดับ ทั้งนี้ Siam Infrastructure เปนบริษัทที่จัดตั้งขึ้นในฮองกงโดยมี Asian Transport and Infrastructure Limited ซึ่งเปนบริษัทที่จัดตั้งในประเทศ Cayman Islands ถือหุนทั้งหมด เนื่องจากการรับโอนกิจการทั้งหมดของสยามเรลลเปนการโอนกิจการทั้งหมดใหแกกันตามประมวล รัษฎากร ดังนั้น บริษัทฯ ในฐานะผูรับโอน มีหนาที่ตองถือราคาของทรัพยสินที่ไดรับโอนจากสยามเรลล (ซึ่งไดแกหุน สามัญของบีทีเอสซี) ตามราคาที่ปรากฏในบัญชีของสยามเรลล เพื่อใชเปนตนทุนที่ใชในการคํานวณภาษีเงินไดหาก บริษัทฯ ขายหุนดังกลาวในอนาคต โดยมูลคาของหุนสามัญของบีทีเอสซีตามราคาที่ปรากฏในบัญชีของสยามเรลล สามารถสรุปไดดังนี้ จํานวนหุน

มูลคาทางบัญชีของหุนสามัญ ของบีทีเอสซี (บาทตอหุน) ซึ่งบริษัทฯ รับมาจากสยามเรลล

6,985,800,000

1.00

1,380,000,000

1.60

ในวั น ที่ 4 พฤษภาคม 2553 ผูถือ หุนของบี ทีเอสซีทั้ ง 4 รายไดโ อนหุ น สามัญ ของบีทีเ อสซีจํา นวน 15,022,335,992 หุน ใหแกบริษัทฯ และบริษัทฯ ไดชําระคาตอบแทนทั้งที่เปนเงินสดจํานวน 20,655,711,989.69 บาท และการออกหุนสามัญของบริษัทฯ จํานวน 28,166,879,984 หุน ใหแกผูถือหุนของบีทีเอสซีทั้ง 4 ราย แลวเสร็จ ภายหลังบริษัทฯ ออกหุนสามัญเพิ่มทุนเพื่อการไดมาซึ่งหุนสามัญของบีทีเอสซีดังกลาว บริษัทฯ มีทุนชําระ แลวจํานวนทั้งสิ้น 35,781,271,787 บาท โครงสรางการถือหุนของบริษัทฯ และบีทีเอสซีหลังการไดมาซึ่งหุนสามัญของบีทีเอสซี (ณ วันที่ 17 พฤษภาคม 2553) (กอนการออกหุนเพิ่มทุนใหแกผูถือหุนเดิม รวมถึงการเสนอขายหุนสวนที่เหลือใหนักลงทุนแบบเฉพาะเจาะจง (Private Placement) เปนดังนี้ กลุมคุณคีรี 41.5%

Siam Infrastructure

Siam Capital 26.2%

ผูถือหุนอื่น

16.3%

บริษัทฯ 94.6%

บีทีเอสซี

สวนที่ 1 หนา 137

16.1%

ผูถือหุนอื่น 5.4%


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

12.1.5 การเปลี่ยนชื่อของบริษัทฯ เปน “บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)” เพื่อใหสอดคลองกับธุรกิจหลักของบริษัทฯ ภายหลังการไดมาซึ่งหุนสามัญของบีทีเอสซี ซึ่งประกอบธุรกิจระบบ ขนสงมวลชน และจะเปนธุรกิจที่สรางรายไดสวนใหญใหกับกลุมบริษัท บริษัทฯ จึงไดขออนุมตั ิตอที่ประชุมวิสามัญผูถือหุน ครั้งที่ 1/2553 เมื่อวันที่ 29 เมษายน 2553 เพื่อดําเนินการเปลี่ยนแปลงชื่อบริษัท และไดดําเนินการจดทะเบียนเปลี่ยนชื่อ ของบริษัทฯ จาก ”บริษัท ธนายง จํากัด (มหาชน)” เปน ”บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)” กับกระทรวง พาณิยชในวันที่ 4 พฤษภาคม 2553 และเปลี่ยนชื่อยอหลักทรัพยของบริษัทฯ จากเดิม “TYONG” เปน “BTS” ตอตลาด หลักทรัพยแหงประเทศไทย เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2553 12.1.6 การออกหุ น เพิ่ ม ทุ น ให แ ก ผู ถื อ หุ น เดิ ม รวมถึ ง การเสนอขายหุ น ส ว นที่ เ หลื อ ให นั ก ลงทุ น แบบ เฉพาะเจาะจง (Private Placement) ระหวางวันที่ 31 พฤษภาคม 2553 และ 7 มิถุนายน 2553 บริษัทฯ ไดออกและเสนอขายหุนสามัญเพิ่มทุน ใหแกผูถือหุนเดิมของบริษัทฯ ตามสัดสวนจํานวนหุนที่ผูถือหุนแตละรายถืออยู (Rights Offering) ในอัตราจัดสรร 7 หุน เดิมตอ 4 หุนใหม ในราคาหุนละ 0.63 บาท เปนจํานวนทั้งสิ้น 20,150,704,709 หุน ซึ่งผูถือหุนเดิมของบริษัทฯ ไดใช สิทธิซื้อหุนสามัญเพิ่มทุนดังกลาวเปนจํานวนทั้งสิ้น 14,572,185,252 หุน นอกจากนี้ ระหวางวันที่ 8 ถึง 11 มิถุนายน 2553 บริษัทฯ ไดเสนอขายหุนที่เหลือจากการจัดสรรใหแกผูถือหุนเดิม (Rights Offering) จํานวน 5,578,519,457 หุน ใหกับผูลงทุนประเภทสถาบันการเงินหรือกลุมลูกคาของบริษัทหลักทรัพยที่ทําหนาที่เปนผูจัดจําหนายหลักทรัพยของ บริษัทฯ (Private Placement) โดยบุคคลดังกลาวจะไมเปนบุคคลที่เกี่ยวโยงกันของบริษัทฯ ในราคาหุนละ 0.63 บาท ซึ่งกลุมผูลงทุนประเภทสถาบันการเงินและกลุมลูกคาของบริษัทหลักทรัพยไดจองซื้อหุนสามัญเพิ่มทุนดังกลาวบางสวน เปนจํานวนทั้งสิ้น 4,459,818,846 หุน ดังนั้น บริษัทฯ จึงไดจัดสรรหุนทั้งจาก Rights Offering และ Private Placement ในครั้งนี้จํานวนรวมทั้งสิ้น 19,032,004,098 หุน และไดรับเงินคาหุนดังกลาวทั้งหมดประมาณ 11,990.2 ลานบาท ทั้งนี้ บริษัทฯ ยังมีหุนคงเหลืออีกจํานวน 1,118,700,611 หุน ซึ่งยังไมไดจัดสรร โดยบริษัทฯ อาจพิจารณา ดําเนินการเสนอขายหุนสามัญเพิ่มทุนสวนที่เหลือนี้ใหแกกลุมผูลงทุนประเภทสถาบันการเงินหรือกลุมลูกคาของบริษัท หลักทรัพยที่ทําหนาที่เปนผูจัดจําหนายหลักทรัพยของบริษัทฯ โดยบุคคลดังกลาวจะไมเปนบุคคลที่เกี่ยวโยงกันของ บริษัทฯ ตอไป ในวันที่ 14 มิถุนายน 2553 บริษัทฯ ไดดําเนินการจดทะเบียนเพิ่มทุนชําระแลวของบริษัทฯ ตอกระทรวง พาณิชย อีกจํานวน 19,032,004,098 บาท ทําใหบริษัทฯ มีทุนชําระแลว เพิ่มขึ้นจากเดิม 35,781,271,787 บาท เปน 54,813,275,885 บาท 12.2

คําอธิบายและการวิเคราะหฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของบีทเี อสซี

12.2.1 งบการเงิน

ในเดือนพฤษภาคมและกันยายน 2552 บีทเี อสซี ไดเขาลงทุนในหุน สามัญทั้งหมดของ บีทีเอส แอส เสทส และวีจีไอตามลําดับ ซึ่งการเขาลงทุนในบริษัททั้งสองถือเปนการรวมธุรกิจภายใตการควบคุมเดียวกัน ดังนั้นจึงมีการรวมผลประกอบการของบริษทั ทั้งสองโดยถือเสมือนวาบริษัททั้งสองเปนบริษัทยอยของบีทีเอ สซีมาโดยตลอด งบการเงินรวมและงบการเงินเฉพาะกิจการของปบัญชี 2552 ไดปรับยอนหลังเพือ่ นํามาแสดง เปรียบเทียบ สําหรับงบการเงินของปบัญชี 2551 นั้นไมไดมีการปรับยอนหลังและไมไดรวมผลประกอบการของ บริษัททั้งสอง สวนที่ 1 หนา 138


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน) 12.2.1.1

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

ตารางสรุปงบการเงิน

งบดุล

(ลานบาท) สินทรัพยหมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินลงทุนชัวคราว - เงินฝากสถาบันการเงิน ลูกหนี้การคา เงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกัน และกรรมการ ตนทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย สินทรัพยหมุนเวียนอืน รวมสินทรัพยหมุนเวียน สินทรัพยไมหมุนเวียน เงินฝากสถาบันการเงินทีมีภาระค้ําประกัน ตนทุนโครงการ - สุทธิ ทีดิน อาคารและอุปกรณ - สุทธิ สินทรัพยไมหมุนเวียนอืน รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน รวมสินทรัพย หนี้สินหมุนเวียน เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจาหนี้การคา เงินกูยืมระยะสั้นจากกิจการทีเกียวของกัน สวนของหนี้สินตามแผนฟนฟูกิจการที่ถึง กําหนดชําระในหนึ่งป เจาหนี้ตามแผนฟนฟูกิจการ - สุทธิ หนี้สินหมุนเวียนอืน รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไมหมุนเวียน หนี้สินตามแผนฟนฟูกิจการ – สุทธิจาก สวนทีถึงกําหนดชําระในหนึงป หุนกูแปลงสภาพชนิดไมดอยสิทธิ องคประกอบที่เปนหนี้สิน เงินกูยืมระยะยาวจากสถาบันการเงิน หุนกูระยะยาว หนี้สินไมหมุนเวียนอืน รวมหนี้สินไมหมุนเวียน รวมหนี้สิน

งบการเงินรวม ณ วันที่ 31 มีนาคม (ตรวจสอบ) (ตรวจสอบ) (ปรับปรุงใหม) 2553 2552 รอยละของ รอยละของ สินทรัพย สินทรัพย รวม รวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ (ตรวจสอบ) 2551

รอยละของ สินทรัพย รวม

2,165 10 530

4.1 0.0 1.0

4,290 148 207

8.0 0.3 0.4

3,021 38 328

6.1 0.1 0.7

0 3,970 229 6,905

7.4 0.4 12.9

440 2,804 224 8,113

0.8 5.2 0.4 15.1

0 0 202 3,588

0.4 7.2

339 43,443 1,492 1,210 46,484 53,389

0.6 81.4 2.8 2.3 87.1 100.0

417 43,304 799 1,064 45,584 53,697

0.8 80.6 1.5 2.0 84.9 100.0

1,693 43,253 141 1,089 46,176 49,764

3.4 86.9 0.3 2.2 92.8 100.0

500 202 0

0.9 0.4 -

868 547 227

1.6 1.0 0.4

0 812 0

1.6 -

0 0 1,619 2,322

3.0 4.3

1,094 0 2,468 5,204

2.0 4.6 9.7

0 59,197 5,994 66,003

119.0 12.0 132.6

0

-

13,627

25.4

0

-

0 96 11,874 1 11,971 14,293

0.2 22.2 0.0 22.4 26.8

4,958 0 0 3 18,589 23,793

9.2 0.0 34.6 44.3

0 0 0 7 7 66,011

0.0 0.0 132.6

สวนที่ 1 หนา 139


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

หนี้สินและสวนของผูถือหุน

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

ณ วันที่ 31 มีนาคม (ตรวจสอบ) 2553

(ตรวจสอบ) (ปรับปรุงใหม) 2552

รอยละของ สินทรัพย รวม

(ลานบาท)

(ตรวจสอบ)

รอยละของ สินทรัพย รวม

2551

รอยละของ สินทรัพย รวม

สวนของผูถือหุน ทุนออกจําหนายและชําระเต็มมูลคาแลว

15,880

29.7

10,058

18.7

1,216

2.4

สวนเกินมูลคาหุน

16,889

31.6

16,639

31.0

0

-

สวนเกินทุนจากการรวมธุรกิจภายใตการ ควบคุมเดียวกัน

(2,517)

(4.7)

(2,517)

(4.7)

0

-

0

-

1,089

2.0

0

-

8,452

15.8

4,235

7.9

(17,462)

(35.1)

38,703

72.5

29,504

54.9

(16,247)

(32.6)

393

0.7

400

0.7

0

-

รวมสวนของผูถือหุน

39,097

73.2

29,904

55.7

(16,247)

(32.6)

รวมหนี้สินและสวนของผูถือหุน

53,389

100.0

53,697

100.0

49,764

100.0

หุนกูแปลงสภาพชนิดไมดอยสิทธิ องคประกอบที่เปนทุน กําไรสะสม สวนของผูถือหุนของบริษัท สวนของผูถือหุนสวนนอยของบริษัทยอย

สวนที่ 1 หนา 140


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

งบกําไรขาดทุน งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

สําหรับงวดปบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม (ตรวจสอบ) 2553

(ตรวจสอบ) (ปรับปรุงใหม)

รอยละของ สินทรัพย รวม

(ลานบาท)

2552

(ตรวจสอบ)

รอยละของ สินทรัพย รวม

2551

รอยละของ สินทรัพย รวม

รายได รายไดจากคาโดยสาร - สุทธิ

3,485

70.9

3,288

68.0

3,221

38.5

195

4.0

0

0.0

0

0.0

0

0.0

0

0.0

0

0.0

รายไดจากการใหบริการ

106

2.2

45

0.9

0

0.0

รายไดจากการใหเชาพื้นที่

994

20.2

902

18.6

277

3.3

2

0.0

2

0.0

31

0.4

30

0.6

139

2.9

127

1.5

โอนกลับคาเผื่อการลดลงของมูลคาตนทุนโครงการ

0

0.0

0

0.0

4,689

56.0

กําไรจากการขายเงินลงทุนในบริษัทยอย

0

0.0

167

3.4

0

0.0

เงินชดเชยคาความเสียหาย

0

0.0

257

5.3

0

0.0

อื่นๆ

102

2.1

35

0.7

31

0.4

รวมรายได

4,914

100.0

4,836

100.0

8,377

100.0

2,128

43.3

2,108

43.6

1,899

22.7

ตนทุนจากการใหเชาพื้นที่

251

5.1

103

2.1

0

0.0

ตนทุนการใหบริการ

100

2.0

70

1.4

0

0.0

คาใชจายในการขาย

80

1.6

72

1.5

95

1.1

750

15.3

657

13.6

430

5.1

47

1.0

60

1.2

9

0.1

1

0.0

83

1.7

-

0.0

รวมคาใชจาย

3,357

68.3

3,153

65.2

2,432

29.0

กําไรกอนคาใชจายทางการเงิน ภาษีเงินไดนิติ บุคคลและ กําไรจากการปรับโครงสรางหนี้ตาม แผนฟนฟูกิจการ

1,557

31.7

1,683

34.8

5,944

71.0

คาใชจายทางการเงิน

(515)

(10.5)

(2,266)

(46.9)

(3,544)

(42.3)

1,042

21.2

(583)

(12.0)

2,400

28.7

ภาษีเงินไดนิติบุคคล

(59)

(1.2)

(33)

(0.7)

0

0.0

กําไร(ขาดทุน)กอนกําไรจากการปรับโครงสราง หนี้ตามแผนฟนฟูกิจการ

982

20.0

(616)

(12.7)

2,400

28.7

กําไรจากการปรับโครงสรางหนี้ตามแผนฟนฟูกิจการ

4,528

92.1

22,447

464.2

0

0.0

กําไรสุทธิสําหรับป

5,510

112.1

21,831

451.4

2,400

28.7

รายไดจากการใหบริการเดินรถ รายไดอื่น

รายไดคาบริการสาธารณูปโภค ดอกเบี้ยรับ

คาใชจาย ตนทุนคาโดยสาร

คาใชจายในการบริหาร ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน คาใชจายอื่น

กําไร(ขาดทุน)กอนภาษีเงินไดนิติบุคคลและกําไร จากการปรับโครงสรางหนี้ตามแผนฟนฟูกิจการ

สวนที่ 1 หนา 141


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

สรุปงบกระแสเงินสด งบการเงินรวม

งบการเงินเฉพาะกิจการ

สําหรับงวดปบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม

(ลานบาท)

(ตรวจสอบ)

(ตรวจสอบ) (ปรับปรุงใหม)

(ตรวจสอบ)

2553

2552

2551

เงินสดสุทธิไดมา (ใชไป) จากกิจกรรมดําเนินงาน เงินสดสุทธิไดมา (ใชไป) จากกิจกรรมลงทุน

458

(384)

2,188

(2,632)

(576)

(1,088)

49

2,202

(5)

(2,125)

1,242

1,095

เงินสดสุทธิไดมา (ใชไป) จากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ

12.2.1.2 อัตราสวนทางการเงินที่สําคัญ งบการเงินเงินเฉพาะ กิจการ สําหรับงวดปบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม (ตรวจสอบ) (ตรวจสอบ) (ตรวจสอบ) (ปรับปรุงใหม) 2553 2552 2551 งบการรวม

อัตราสวนสภาพคลอง (Liquidity Ratios) 3.5 อัตราสวนสภาพคลอง(1) เทา 2.0 3.0 (1) 3.3 อัตราสวนสภาพคลองหมุนเร็ว เทา 1.2 1.2 2.7 อัตราสวนสภาพคลองกระแสเงินสด(1) เทา (0.1) 0.1 13.2 อัตราสวนหมุนเวียนลูกหนี้การคา เทา 15.8 13.0 27.3 ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย วัน 22.7 27.7 2.7 อัตราสวนหมุนเวียนเจาหนี้ เทา 2.9 4.7 132.3 ระยะเวลาชําระหนี้ วัน 124.4 77.0 อัตราสวนแสดงความสามารถในการหากําไร (Profitability Ratios) 41.0 อัตรากําไรขั้นตน % 46.2 48.1 (2) 31.3 อัตรากําไรจากการดําเนินงาน % 29.0 30.8 198.3 อัตราสวนเงินสดตอการทํากําไร % (31.3) 31.1 (27.3) อัตรากําไรสุทธิ(3) % (0.1) 0.2 อัตราสวนแสดงประสิทธิภาพในการดําเนินงาน (Efficiency Ratios) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย(3) % (4.9) 1.8 (1.2) (3) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพยถาวร % (3.4) 4.5 0.8 อัตราการหมุนของสินทรัพย เทา 0.2 0.1 0.1 อัตราสวนวิเคราะหนโยบายทางการเงิน (Financial Policy Ratios) 1.6 อัตราสวนความสามารถชําระดอกเบี้ย เทา 0.8 2.0 1.9 อัตราสวนความสามารถชําระภาระผูกพัน เทา (0.1) 0.1 อัตราการจายเงินปนผล % 0.0 87.4 0.0 หมายเหตุ (1) ไมรวมเจาหนี้ตามแผนฟนฟูกิจการและดอกเบี้ยคางจาย (2) รวมรายไดคาโดยสาร รายไดจากการใหบริการเดินรถ รายไดจากการใหบริการ รายไดจากการใหเชาพื้นที่ และ รายไดคาบริการสาธารณูปโภค หักดวยตนทุนคาโดยสาร ตนทุนจากการใหเชาพื้นที่ ตนทุนการใหบริการ และคาใชจายในการขายและบริหาร (3) คํานวณจากกําไรจายสุทธิหลังหักรายการพิเศษ ไดแก โอนกลับผลขาดทุนจากการลดลงของมูลคาตนทุนโครงการ ขาดทุนจากการลดลงของ มูลคาตนทุนโครงการ และขาดทุน(กําไร)จากการปรับปรุงหนี้สินตามแผนฟนฟูกิจการ

สวนที่ 1 หนา 142


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

12.2.2 ปจจัยที่สงผลกระทบตอการดําเนินงาน ฐานะทางการเงิน และกระแสเงินสดของบีทีเอสซี 12.2.2.1 ภาวะเศรษฐกิจในกรุงเทพฯ ขณะนี้ รายไดทั้งหมดของบีทีเอสซีมาจากในกรุงเทพฯ ดังนั้น ผลประกอบการของบีทีเอสซีจึงไดรับผลกระทบ จากปจจัยทางเศรษฐกิจของประเทศไทย และในกรุงเทพฯ โดยเฉพาะปจจัยที่กระทบตออัตราการเติบโตของประชากร และการทองเที่ยวในกรุงเทพฯ ซึ่งทําใหเกิดการลดลงของผลิตภัณฑมวลรวม การถดถอยของภาวะเศรษฐกิจโดยทั่วไป หรือการลดลงของจํานวนนักทองเที่ยวในกทม. อาจทําใหผูใชบริการรถไฟฟาบีทีเอสบางกลุมหันไปใชบริการระบบ ขนสงมวลชนอื่น ซึ่งจะเปนผลกระทบในทางลบตอผลการดําเนินงานของบีทีเอสซี นอกจากนี้การชะลอตัวของเศรษฐกิจ ไทยยังอาจสงผลใหการใชจายในการโฆษณาลดลงซึ่งจะสงผลเสียตอผลประกอบการของวีจีไอ 12.2.2.2 จํานวนผูโดยสาร รายไดจากธุรกิจขนสงมวลชนและสื่อโฆษณาของบีทีเอสซีไดรับผลกระทบโดยตรงจากการเปลี่ยนแปลงใน จํานวนผูโดยสาร จํานวนเที่ยวที่ใหบริการ จํานวนสถานีเฉลี่ยที่ผูโดยสารใชบริการ ซึ่งปจจัยเหลานี้ หลายประการอยู นอกเหนือการควบคุมของบีทีเอสซี ไมวาจะเปนปจจัยดานความตองการใชบริการระบบขนสงมวลชนของผูโดยสาร ความมั่นใจเกี่ยวกับความปลอดภัย สภาพการจราจรทางรถยนตที่ติดขัดรวมไปถึงภาวะเศรษฐกิจและภาวการณเมือง ทั่ ว ไป ราคาน้ํ า มั น ความสามารถในการรองรั บ ผู โ ดยสารและคุ ณ ภาพของระบบขนส ง มวลชนอื่ น ๆ การพั ฒ นา อสังหาริมทรัพยที่อยูใกล หรือเชื่อมตอกับสถานีรถไฟฟา รวมไปถึงนโยบายของภาครัฐในการลงทุนในสวนตอขยาย ของระบบขนสงมวลชนในปจจุบัน 12.2.2.3 โอกาสและทางเลือกในการเดินทางของผูโดยสาร ผูโดยสารปจจุบันมีโอกาสเลือกเดินทางไดหลากหลายวิธี เชน รถประจําทาง รถแท็กซี่ ซึ่งการเปลี่ยนแปลงใน จํานวนรถที่ใหบริการ ราคา คุณภาพของการใหบริการของทางเลือกอื่นเหลานี้ จะกระทบตอจํานวนผูโดยสารระบบ รถไฟฟาบีทีเอสและรายไดของบีทีเอสซีตอไปดวย 12.2.2.4 อัตราคาโดยสาร การปรับราคาคาโดยสารของบีทีเอสซีนั้น ทําไดเพียงภายใตกรอบที่กําหนดไวในสัญญาสัมปทานเทานั้น โดย บีทีเอสซีอาจปรับคาโดยสารไดเปนคราวๆ โดยราคาคาโดยสารที่ปรับในแตละครั้งจะมีผลบังคับใชไมนอยกวา 18 เดือน ทั้งนี้ราคาคาโดยสารดังกลาวจะตองไมเกินกวาเพดานอัตราคาโดยสารสูงสุดที่อาจเรียกเก็บได อยางไรก็ตาม บีทีเอสซี อาจปรับเพดานอัตราคาโดยสารสูงสุดที่อาจเรียกเก็บไดหากมีการเปลี่ยนแปลงในปจจัยตางๆ เชน มีการเปลี่ยนแปลง ในอัตราเงินเฟอในกรุงเทพฯ เกินกวาชวงที่กําหนดไวเปนตน ซึ่ งเงื่อนไขและขอกําหนดเหลานี้ ทําใหบีทีเอสซีไ ม สามารถเพิ่มอัตราคาโดยสารไดในทุกครั้งที่ตนทุนในการใหบริการเพิ่มขึ้น เชน คาบํารุงรักษา หรือคาใชจายพนักงาน นอกจากนี้ ในบางกรณีที่แมวาสัญญาสัมปทานจะอนุญาตใหปรับราคาคาโดยสารบีทีเอสซีอาจเลือกที่จะไมปรับก็ไดหาก เห็น วาการปรับราคาขึ้นนั้นจะสงผลกระทบในแงลบอยา งรายแรงกับความสามารถในการแขงขันของบีทีเอสซีกับ ทางเลือกในการเดินทางอื่นๆ และอาจสงผลใหจํานวนผูโดยสารลดลง

สวนที่ 1 หนา 143


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

12.2.2.5 การเขารวมประมูลโครงการสวนตอขยายและรถไฟฟาสายใหมๆ ตามกลยุทธของบีทีเอสซี ที่จะเขารวมประมูลในโครงการสวนตอขยายและรถไฟฟาสายใหมๆ นั้น บีทีเอสซี เชื่อวาบีทีเอสซีมีโอกาสที่ดีในการประมูลดวยประสบการณของบีทีเอสซีจากการบริหารและดําเนินการระบบรถไฟฟาใน สายสุขุมวิท และสายสีลม ดวยการที่บีทีเอสซีมีโครงสรางตางๆ พรอมอยูแลวและเนื่องจากสัญญาสัมปทานไดใหสิทธิบี ทีเอสซีในการเจรจากับกทม. กอนผูสนใจรายอื่นภายใตเงื่อนไขบางประการ อยางไรก็ตาม ถึงแมวาบีทีเอสซีจะไมชนะ การประมูลในโครงการสวนตอขยาย หรือโครงการระบบขนสงมวลชนใหมๆ การลงทุนและใหบริการของโครงการ เหลานี้ก็จะชวยใหจํานวนผูโดยสารในระบบรถไฟฟา บีทีเอสซีเพิ่มขึ้นโดยการนําผูโดยสารใหมๆ มาใชบริการรถไฟฟา ของบีทีเอสซี (Feeder System) 12.2.2.6 นโยบายของภาครัฐ ทั้งกทม. และรัฐบาลไดแสดงเจตนาที่ชัดเจนเกี่ยวกับการลงทุนในโครงการระบบขนสงมวลชนใหมๆ ซึ่งบีที เอสซีเองก็มีความสนใจที่จะมีสวนรวมในโครงการเหลานี้ อยางไรก็ตามภาครัฐ และกทม. อาจเปลี่ยนแผนการ และ นโยบายไปตามภาวะเศรษฐกิจการเมืองที่อาจเปลี่ยนไปในอนาคต ซึ่งการเปลี่ยนแปลงเหลานี้ อาจสงผลกระทบตอผล การดําเนินงานของบีทีเอสซีได 12.2.2.7 ความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ บีทีเอสซีมีคาใชจายและเงินลงทุนบางสวนเปนเงินสกุลตางประเทศ เชน คาใชจายในการซอมบํารุง และจาก การที่บีทีเอสซีมีรายไดสวนใหญเปนเงินบาท ทําใหบีทีเอสซีไดรับผลกระทบในทางลบจากการดอยคาของเงินบาท เนื่องจากบีทีเอสซีจะมีคาใชจายเพิ่มขึ้น ทําใหกําไรของบีทีเอสซีลดลง ในขณะที่บีทีเอสซีจะไดประโยชนหากเงินบาท แข็งคาขึ้น อยางไรก็ตามบีทีเอสซีอาจไมสามารถปรับอัตราคาโดยสารเพิ่มขึ้นตามคาใชจายไดเสมอไป เนื่องจากการ ปรับราคาคาโดยสารสามารถทําไดเฉพาะตามระยะเวลาและเงื่อนไขที่กําหนดไวในสัมปทานเทานั้น 12.2.2.8 การลงทุนในโครงการในอนาคต บีทีเอสซีมีแผนการที่จะลงทุนในโครงการตางๆ หลายโครงการ ซึ่งรวมถึงโครงการในธุรกิจอสังหาริมทรัพย ซึ่งหากเงินลงทุนโครงการเหลานี้ต่ํากวาที่คาดไว หรือการกอสรางแลวเสร็จกอนกําหนด ก็จะสงผลดีตอฐานะทาง การเงินของบีทีเอสซีในทางกลับกัน หากโครงการมีความลาชา หรือเงินลงทุนจริงมากกวาประมาณการไว หรือผล ประกอบการของโครงการไมสําเร็จเทาที่คาดไว ผลประกอบการและฐานะทางการเงินของบีทีเอสซีก็จะไดรับผลกระทบ ในแงลบดวยเชนกัน นอกจากนี้ ในการพัฒนาอสังหาริมทรัพย บริษัทยอยของบีทีเอสซีมีหนี้สินบางสวนและอาจมีหนี้สิน เพิ่มขึ้นในอนาคตที่มีอัตราดอกเบี้ยลอยตัวซึ่งทําใหดอกเบี้ยจายของเปลี่ยนแปลงไปตามอัตราดอกเบี้ย 12.2.2.9 การเปลี่ยนแปลงของคาใชจายพนักงาน ไฟฟา และ อุปกรณอื่นๆ คาใชจายเกี่ยวกับพนักงานและคาไฟฟาเปนคาใชจายหลักอยางหนึ่งในการดําเนินงาน อยางไรก็ตาม บีทีเอส ซีอาจไมสามารถปรับอัตราคาโดยสารตามการเปลี่ยนแปลงของคาใชจายเหลานี้ไดเสมอไป นอกจากนี้ หากมีการ เปลี่ยนแปลงในราคาอุปกรณตางๆ รวมทั้งอะไหล ผลการดําเนินงาน และฐานะทางการเงินของบีทีเอสซีก็จะไดรับ ผลกระทบดวย 12.2.2.10 ความสามารถในการจัดหาเงินกูในอัตราดอกเบี้ยที่เหมาะสม การลงทุนในโครงการตางๆ เพื่อใหบรรลุแผนกลยุทธของบีทีเอสซีไมวาจะเปนโครงการอสังหาริมทรัพย หรือ ระบบขนสงมวลชนนั้น ลวนแตเปนโครงการที่ตองใชเงินลงทุนเปนจํานวนมาก และจําเปนตองใชเงินทุนประเภทหนี้สิน เปนจํานวนมากดวย ซึ่งหากผลการดําเนินงานของบีทีเอสซียังคงมีผลประกอบการที่ดี บีทีเอสซีเชื่อวาบีทีเอสซีจะมี สวนที่ 1 หนา 144


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

12.2.2.11 คาตัดจําหนายตนทุนโครงการสะสมที่เปลี่ยนแปลงตามจํานวนผูโดยสาร บีทีเอสซีมีการตัดจําหนายตนทุนโครงการตามอายุสัมปทาน 30 ป โดยคาตัดจําหนายนี้คํานวณดวยวิธีจํานวน ผลผลิต (Unit of Throughput Amortization Method/Unit of Production) ซึ่งตามวิธีนี้ คาตัดจําหนายในแตละปจะคิด เปนสัดสวนของตนทุนโครงการสุทธิตนป โดยสัดสวนดังกลาวคํานวณตามสัดสวนจํานวนผูโดยสารจริงในปนั้นๆ เทียบ กับจํานวนผูโดยสารจริงในปนั้นๆ บวกกับจํานวนผูโดยสารที่คาดวาจะใชระบบในอนาคตจนหมดอายุสัมปทาน ดังนั้น คาตัดจําหนายในแตละป จึงตางกันไดตามจํานวนผูโดยสารในปนั้นๆ และจํานวนผูโดยสารที่คาดวาจะใหบริการใน อนาคต และ เนื่องจากตนทุนโครงการสุทธิจะลดลงทุกป (หากไมมีการลงทุนเพิ่มเติม) จึงทําใหคาตัดจําหนายในบางป อาจต่ําลงกวาปกอน ถึงแมวาจะมีผูโดยสารมากขึ้น 12.2.2.12 การเปลี่ยนแปลงมูลคาตนทุนโครงการ บีทีเอสซีไดมีการวาจางผูประเมินราคาอิสระใหทําการประเมินตนทุนโครงการภายใตสัญญาสัมปทานทุกป โดยบริษัท อเมริกัน แอพเพรซัล (ประเทศไทย) จํากัด เปนผูประเมินตนทุนโครงการ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2553 โดยใน การประเมินมูลคายุติธรรมนั้นใชการประเมินมูลคาที่คาดวาจะไดรับคืนจากการใชทรัพยสินเพื่อกอใหเกิดกระแสเงินสด แกบริษัท (Income Approach) โดยอิงกับประมาณการรายไดและคาใชจายที่คาดวาจะเกิดขึ้นตลอดอายุที่เหลือของ สัญญา ซึ่งการประมาณรายไดและคาใชจายดังกลาวขึ้นอยูกับสมมติฐานหลัก ไดแก ประมาณการจํานวนผูโดยสาร ซึ่ง ขึ้นกับปจจัยหลายอยาง เชน การเปดใหบริการของสวนตอขยายหรือระบบขนสงมวลชนอื่นที่เปนคูแขงหรือสนับสนุน ระบบรถไฟฟาบีทีเอสรวมไปถึงผลกระทบจากความไมสงบทางการเมือง การปฏิวัติ และการกอการราย โดยหาก ประมาณการจํานวนผูโดยสารลดลง ทําใหรายไดจากการใหบริการที่ประมาณไวลดลง จะสงผลใหมูลคายุติธรรมต่ํากวา ตนทุนโครงการสุทธิตามบัญชี บีทีเอสซีจะตองทําการตั้งคาเผื่อการลดลงของมูลคาตนทุนโครงการ และบันทึกเปน รายจาย เพื่อเปนการสะทอนใหเห็นมูลคาที่แทจริงของบีทีเอสซีในขณะเดียวกัน หากการประเมินมูลคายุติธรรมสูงกวา ตนทุนโครงการสุทธิตามบัญชี บีทีเอสซีจะทําการโอนกลับคาเผื่อการลดลงของมูลคาตนทุนโครงการ และบันทึกเปน รายได อยางไรก็ตาม การบันทึกคาเผื่อการลดลงหรือโอนกลับคาเผื่อการลดลงของมูลคาตนทุนโครงการจะไมสงผล กระทบถึงกระแสเงินสดของบีทีเอสซี บีทีเอสซีไดเริ่มทําการประเมินมูลคายุติธรรมของมูลคาตนทุนโครงการกอนการ เขาสูแผนฟนฟูในป 2549 และจะมีการประเมินมูลคาตอเนื่องทุกป 12.2.3 การวิเคราะหผลการดําเนินงานของบีทีเอสซี สําหรับงวดปบัญชี 2552 และ 2553 12.2.3.1 รายไดรวมของบีทีเอสซี รายไดรวมของบีทีเอสซีในงวดปบัญ ชี 2552 และ 2553 เปน 4,835.9 ลานบาท และ 4,913.8 ล านบาท ตามลําดับ โดยรายไดหลักของบีทีเอสซีนั้นมาจากรายไดคาโดยสาร สวนรายไดอื่นๆ นั้นมาจากการใหเชาพื้นที่โฆษณา บนรถไฟฟาและตามสถานี การใหเชาพื้นที่เชิงพาณิชยในสถานี การใหเชาพื้นที่โฆษณาในรานคา Modern Trade การ ใหบริการเดินรถในสวนตอขยายสายสีลม การใหบริการ ดอกเบี้ยรับ และ รวมไปถึงรายไดอื่นๆ เชน คาธรรมเนียม ตางๆ จากธุรกรรมที่เกี่ยวของกับเสนทางเชื่อมตอกับสถานี

สวนที่ 1 หนา 145


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553 งบการเงินรวม

รายไดจากคาโดยสารสุทธิ รายไดการใหบริการเดินรถ รายไดการใหบริการ รายไดจากพื้นทีใ่ หเชา โฆษณาและรานคา รายไดคาบริการสาธารณูปโภค ดอกเบี้ยรับ โอนกลับคาเผือ่ การลดลงของมูลคาตนทุน โครงการ กําไรจากการขายเงินลงทุนในบริษัทยอย เงินชดเชยคาความเสียหายจากผูร ับเหมา อื่น

งบการเงินเฉพาะ กิจการ สําหรับงวดปบญ ั ชีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2553 2552 2551 (ลานบาท) (ลานบาท) (ลานบาท) (ตรวจสอบ) (ตรวจสอบ) (ตรวจสอบ) (ปรับปรุงใหม) 3,484.7 3,288.1 3,221.1 195.0 106.0 45.4 994.2 901.8 277.3 2.3 1.9 31.3 29.5 139.3 127.1 4,688.7

รายไดรวม

102.2

166.7 257.3 35.4

31.3

4,913.8

4,835.9

8,376.7

รายไดจากคาโดยสาร รายไดคาโดยสารสุทธิคือรายไดหลักของบีทีเอสซีซึ่งสําหรับงวดปบัญชี 2552 และ 2553 บีทีเอสซีมีรายได จากคาโดยสารสุทธิจํานวน 3,288.1 ลานบาท และ 3,484.7 ลานบาท ตามลําดับ ซึ่งคิดเปนรอยละ 74.5 และ 70.9 ของ รายไดทั้งหมดในแตละปตามลําดับ (ไมรวมกําไรจากการขายเงินลงทุนในบริษัทยอย และเงินชดเชยคาความเสียหาย จากผูรับเหมา) บีทีเอสซีมีรายไดคาโดยสารสุทธิเพิ่มขึ้นจาก 3,288.1 ลานบาท ในปบัญชี 2552 เปน 3,484.7 ลานบาท ในป บัญชี 2553 คิดเปนการเติบโตรอยละ 6.0 ซึ่งเกิดจากการเปดใหบริการสวนตอขยายสายสีลมเมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2552 ซึ่งสงผลใหจํานวนผูโดยสารเพิ่มขึ้นรอยละ 6.3 จากปบัญชี 2552 ทั้งนี้ นับเฉพาะผูโดยสารที่เขามาใชบริการใน ระบบรถไฟฟาบีทีเอสซีเทานั้น ในปบัญชี 2553 รายไดตอเที่ยว คอนขางคงที่โดยคิดเปน 24.15 บาท ตอเที่ยวเมื่อ เทียบกับ 24.22 บาท ในปบัญชี 2552 รายไดอื่น z

z

บีทีเอสซีเริ่มใหบริการเดินรถสําหรับสวนตอขยายรถไฟฟาสายสีลม 2.2 กิโลเมตร ตั้งแต 15 พ.ค. 2552 และเริ่มมีรายไดจากการใหบริการดังกลาว โดยไดรับคาจางในงวดดังกลาวเปนจํานวน 195.0 ลานบาท คิดเปนรอยละ 4.0 ของรายไดทั้งหมด ทั้งนี้ รายไดจากการใหบริการเดินรถรวมถึงรายได จากการจัดเตรียมความพรอมกอนเริ่มใหบริการจํานวน 43.7 ลานบาท รายไดจากการใหเชาพื้นที่และรายไดการใหบริการ คือรายไดที่เกี่ยวของกับธุรกิจใหบริการสื่อ โฆษณาบนรถไฟฟา สถานีรถไฟฟา และ ราน Modern Trade รวมไปถึง การใหเชาพื้นที่เชิง สวนที่ 1 หนา 146


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

รายไดจากการใหเชาพื้นที่และรายไดการใหบริการ เพิ่มขึ้นจาก 947.2 ลานบาท ในปบัญชี 2552 คิ ด เป น การเติ บ โตร อ ยละ 16.2 เนื่ อ งจากรายได จ ากบนสถานี แ ละในขบวนรถไฟฟ า เพิ่ ม ขึ้ น ประมาณ 63.6 ลานบาท ตามการเพิ่มขึ้นของจํานวนนาทีโฆษณาที่ขายไดและการปรับขึ้นราคาของ คาสื่อโฆษณาบนจอ LCD ในรถไฟฟา เปนหลัก รายไดจากการใหบริการสื่อโฆษณาในรานคา Modern Trade เพิ่มขึ้น เนื่องจากกลุมวีจีไอ เริ่มมีรายไดจากการใหบริการสื่อโฆษณาในหางคารฟูร ตั้งแตเดือนกรกฎาคม 2552 และจากการรับรูรายไดจากใหบริการสื่อโฆษณาในอาคารสํานักงาน หลังการเขาซื้อพีโอวี ในปลายเดือนตุลาคม 2552 รวมถึงการเพิ่มขึ้นของการรับจัดกิจกรรม การ รับจางผลิตสื่อโฆษณาและบํารุงรักษาสื่อโฆษณา z

z

z

ดอกเบี้ยรับ เกิดจากดอกเบี้ยที่บีทีเอสซีไดรับจากเงินฝากจากธนาคาร ซึ่งรายไดดังกลาวลดลงจาก 139.3 ลานบาทในปบัญชี 2552 เปน 29.5 ลานบาท ในปบัญชี 2553 เนื่องจากการลดลงของเงิน สดรายการเทียบเทาเงินสด เงินลงทุนระยะสั้น (เชน เงินฝากธนาคาร) และเงินฝากสถาบันการเงิน ที่มีภาระค้ําประกัน กําไรจากการขายเงินลงทุนในบริษัทยอยในปบัญชี 2552 เกิดจากกําไรการขายเงินลงทุนในสัดสวน รอยละ 20 ใน นูโวไลน เงินชดเชยคาความเสียหายจากผูรับเหมาในงวดปบัญชี 2552 จํานวน 257.3 ลานบาทเกิดจาก การ ที่บีทีเอสซีชําระหนี้ตามแผนฟนฟูกิจการ โดยบีทีเอสซีไดทําการหักมูลคาความเสียหายในการแกไข ปรับปรุงงานที่ชํารุดบกพรองจากเงินประกันผลงานกอสราง สงผลใหเงินประกันผลงานที่ตองชําระ แกเจาหนี้ลดลง

12.2.3.2 คาใชจายของบีทีเอสซี คาใชจายหลักของบีทีเอสซีไดแก ตนทุนคาโดยสาร ซึ่งคิดเปนรอยละ 68.2 และ 64.3 ของคาใชจายทั้งหมด กอนดอกเบี้ย (ไมรวมดอกเบี้ยจายและขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน) ในงวดปบัญชี 2552 และ 2553 ตามลําดับ และ คาใชจายในการขายและบริหาร คิดเปนรอยละ 26.2 และ 25.1 ของคาใชจายทั้งหมดกอนดอกเบี้ย (ไมรวมดอกเบี้ยจาย และขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน) ในงวดปบัญชี 2552 และ 2553 ตามลําดับ

สวนที่ 1 หนา 147


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

งบการเงินรวม

ตนทุนคาโดยสาร ตนทุนการใหเชาพื้นที่ ตนทุนการใหบริการ คาใชจายในการขายและบริหาร ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน รวมคาใชจาย คาใชจายทางการเงิน

งบการเงิน เฉพาะกิจการ สําหรับงวดปบญ ั ชีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2553 2552 2551 (ลานบาท) (ลานบาท) (ลานบาท) (ตรวจสอบ) (ตรวจสอบ) (ตรวจสอบ) (ปรับปรุงใหม) 2,127.7 2,108.2 1,899.2 251.5 102.7 100.3 69.7 830.7 811.8 524.1 46.9 59.1 8.9 3,357.1 3,152.8 2,432.2 515.1 2,265.7 3,544.5

ตนตนทุนคาโดยสาร ตน ทุ น คา โดยสารประกอบดวยค า ใชจา ยหลัก คือ คา ตัดจํา หนา ยโครงการ เงิ นเดื อนพนั ก งานปฏิบัติก าร คาใชจายซอมบํารุงและคาสาธารณูปโภค ตนทุนคาโดยสารคิดเปนรอยละ 64.1 และ 61.1 ของรายไดคาโดยสารสุทธิใน งวดปบัญชี 2552 และ 2553 ตามลําดับ ตารางดานลางแสดงถึงรายละเอียดตนทุนคาโดยสาร งบการเงินรวม

เงินเดือนและสวัสดิการพนักงานปฏิบัติการ คาสาธารณูปโภค คาใชจายซอมบํารุง คาตัดจําหนายตนทุนโครงการ คาใชจายอืน่ รวมตนทุนคาโดยสาร

งบการเงิน เฉพาะกิจการ สําหรับงวดปบญ ั ชีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2553 2552 2551 (ลานบาท) (ลานบาท) (ลานบาท) (ตรวจสอบ) (ตรวจสอบ) (ตรวจสอบ) (ปรับปรุงใหม) 445.8 381.1 333.1 210.8 182.7 175.5 476.6 607.5 557.6 937.5 881.8 774.7 57.0 55.2 233.8 2,127.7 2,108.2 1,899.2

สวนที่ 1 หนา 148


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน) z

z

z

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

เงินเดือนและผลประโยชนพนักงานปฏิบัติการ ประกอบดวย เงินเดือน สวัสดิการและผลประโยชน ตางๆ ของพนักงาน ในปบัญชี 2553 คาใชจายดังกลาวเพิ่มขึ้นรอยละ 17.0 ตามการเพิ่มขึ้นของ จํานวนพนักงานปฏิบัติการจาก 1,180 คน ณ สิ้นงวดปบัญชี 2552 เปน 1,321 คน ณ สิ้นงวดป บัญชี 2552 เพื่อรองรับการดําเนินการในสวนตอขยายสายสีลม และการปรับขึ้นเงินเดือนตามปกติ คาสาธารณูปโภค ประกอบดวยคาไฟและคาน้ํา โดยมีคาไฟเปนคาใชจายหลัก ในปบัญชี 2553 คา สาธารณูปโภคเพิ่มขึ้น 28.1 ลานบาท หรือรอยละ 15.4 เนื่องจากเนื่องจากการปรับขึ้นของอัตราคา ไฟ (Ft) และคาใชจายที่เพิ่มขึ้นจากสวนตอขยายรถไฟฟาสายสีลม 2.2 กิโลเมตร คาใชจายซอมบํารุง ประกอบดวยคาใชจายซอมบํารุงตามสัญญาซอมบํารุง รวมถึงคาใชจายในการ ปรับปรุงครั้งใหญ (Overhaul) ตางๆ และอะไหลทั้งหมด ซึ่งบีทีเอสซีไมสามารถบันทึกเปนตนทุน โครงการได ตามมาตรฐานบัญชีเนื่องจากสัมปทานมีอายุจํากัด โดยคาใชจายตามสัญญาซอมบํารุง จะมีการปรับขึ้นตามอัตราเงินเฟอของกรุงเทพฯ ทุกป โดยปกติแลวการปรับปรุงครั้งใหญ (Overhaul) จะมีขึ้นทุกๆ 7 ถึง 8 ป และแตละครั้งจะใชเวลา ประมาณ 2 ป โดยบีทีเอสซีไดทําการปรับปรุงครั้งใหญ (Overhaul) ในปบัญชี 2550 ถึง ปบัญชี 2552 ในปบัญชี 2553 คาใชจายซอมบํารุงจึงลดลง 130.9 ลานบาท จากปบัญชี 2552 โดยในปบัญชี 2553 มีคาใชจายจากการปรับปรุงครั้งใหญเพียง 26.4 ลานบาท ซึ่งคางจายจากการปรับปรุงครั้ง ใหญในป 2552 เทียบกับปบัญชี 2552 ที่มีคาใชจายจากการปรับปรุงครั้งใหญจํานวน 152.5 ลาน บาท

z

ในปบัญชี 2553 บีทีเอสซีมีคาตัดจําหนายโครงการ เพิ่มขึ้นจากปบัญชี 2552 เนื่องจากผูโดยสาร เพิ่มขึ้นรอยละ 6.3 (โปรดดูขอ 12.2.8.2 การคํานวณตนทุนโครงการและการตัดจําหนายตามวิธี จํานวนผลผลิต) ตนทุนจากการใหเชาพื้นที่ และตนทุนการใหบริการ

ตนทุนจากการใหเชาพื้น ที่และตนทุนการใหบริการ คือตนทุนที่เกี่ยวของกับการใหบริการสื่อโฆษณาบน รถไฟฟา สถานีรถไฟฟา การใหเชาพื้นที่เชิงพาณิชยในสถานี และการใหบริการสื่อโฆษณาในรานคา Modern Trade โดยคาใชจายหลักประกอบดวยสวนแบงรายไดจากการใหบริการสื่อโฆษณาในรานคา Modern Trade คาวิศวกรในการ ดูและบํารุงรักษาระบบสื่อโฆษณา และตนทุนในการผลิตสื่อโฆษณา ในปบัญชี 2553 มีตนทุนจากการใหเชาพื้นที่ และ ตนทุนการใหบริการ จํานวน 351.7 ลานบาท คาใชจายในการขายและบริหาร คาใชจายในการขายและบริหาร ประกอบดวยคาใชจายหลัก คือ เงินเดือนและสวัสดิการพนักงาน คาโฆษณา และแผนสงเสริมการขาย คาใชจายในการขายและบริหารทั้งหมด คิดเปนรอยละ 16.8 และ 16.9 ของรายไดทั้งหมด ของบีทีเอสซีในงวดปบัญชี 2552 และ 2553 ตามลําดับ โดยบีทีเอสซีมีคาใชจายเพิ่มขึ้นรอยละ 2.3 ในงวดปบัญชี 2553 เทียบกับงวดปบัญชีกอน ดังรายละเอียดในตาราง

สวนที่ 1 หนา 149


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

งบการเงินรวม

เงินเดือนและสวัสดิการพนักงาน คาตอบแทนกรรมการ คาโฆษณาและแผนสงเสริมการขาย คาสาธารณูปโภค และคารักษาความ ปลอดภัย คาบํารุงรักษา คาเสื่อมราคา คาที่ปรึกษา คาธรรมเนียมทางการเงิน คาใชจายอืน่

งบการเงิน เฉพาะกิจการ สําหรับงวดปบญ ั ชีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2553 2552 2551 (ลานบาท) (ลานบาท) (ลานบาท) (ตรวจสอบ) (ตรวจสอบ) (ตรวจสอบ) (ปรับปรุงใหม) 207.5 165.7 113.9 44.7 51.7 0.0 84.2 71.5 94.6 39.3 31.4 55.0

รวมคาใชจายในการขายและบริหาร z

z

z

z

48.3 59.4 134.2 19.2 193.8

44.2 53.6 181.6 1.3 210.7

44.8 42.8 108.6 0.0 64.3

830.7

811.8

524.1

เงิ น เดื อ นและสวั ส ดิ ก ารพนั ก งาน เป น ค า ใช จ า ยหลั ก โดยคิ ด เป น ร อ ยละ 20.4 และ 25.0 ของ คา ใช จ า ยในการขายและบริ ห ารทั้ งหมดในงวดปบั ญ ชี 2552 และ 2553 ตามลํา ดับ คา ใชจา ย ดังกลาวมีการเติบโตรอยละ 25.2 เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของจํานวนพนักงาน ทั้งของบีทีเอสซี และ บริษัทในเครือ เพื่อรองรับการขยายตัวของธุรกิจเชนเการเปดดําเนินงานของ BRT และ การรับ สัมปทานในการใหเชาพื้นที่รานคา และ โฆษณาในรานคา Modern Trade และการโฆษณาใน อาคารสํานักงาน นอกจากนี้ยังมีการปรับขึ้นเงินเดือนตามปกติ คาโฆษณาและแผนสงเสริมการขายไดแกคาใชจายเพื่อการโฆษณาตามสื่อตางๆ และคาใชจายจัด งานคาใชจาย ในงวดปบัญชี 2553 คาโฆษณาและแผนสงเสริมการขายเพิ่มขึ้นจากงวดปบัญชี 2552 เนื่องจากการประชาสัมพันธหุนกูและงานครบรอบ 10 ปของบีทีเอสซีและวีจีไอเปนหลัก คา โฆษณาดังกลาวรวมคาโฆษณาของวีจีไอประมาณ 34 ลานบาทซึ่งสวนใหญคือคาสงเสริมการขาย ปกติ คาสาธารณูปโภคและคารักษาความปลอดภัย ไดแก คาใชจายสาธารณูปโภค และคาใชจายในการ รักษาความปลอดภัยสําหรับสถานีและสํานักงานใหญ ในงวดปบัญชี 2553 คาสาธารณูปโภคและคา รักษาความปลอดภัยเพิ่มขึ้นเนื่องจากการปรับขึ้นของอัตราคาไฟ (Ft) ในปบัญชี 2552 บีทีเอสซีมีคาที่ปรึกษาจํานวน 181.6 ลานบาท ซึ่งประกอบดวยคาที่ปรึกษาสําหรับ การดําเนินงานปกติและคาที่ปรึกษาอื่นๆ เชน โครงการระบบอาณัติสัญญาณ โครงการซื้อรถไฟ ใหม คาปรึกษาดานแผนฟนฟูกิจการ การศึกษาการขายหุนใหแกประชาชนทั่วไปเปนครั้งแรก ฯลฯ สวนในปบัญชี 2553 บีทีเอสซีมีคาที่ปรึกษาจํานวน 134.2 ลานบาท ซึ่งประกอบดวยคาที่ปรึกษา สวนที่ 1 หนา 150


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

z

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

คาใชจายอื่นๆ ในปบัญชี 2553 ประกอบดวยคาใชจายที่เกี่ยวของกับการดําเนินงานสวนตอขยาย สายสีลม คาเชา ภาษีตางๆ และคาใชจายอื่นที่เกี่ยวของกับการดําเนินงาน คาใชจายทางการเงิน

ในปบัญชี 2553 คาใชจายทางการเงินลดลงเปน 515.5 ลานบาท เนื่องจากบีทีเอสซีชําระดอกเบี้ยตามอัตรา ดอกเบี้ยของหุนกู ซึ่งต่ํากวาอัตราดอกเบี้ยผิดนัดของหนี้ภายใตแผนฟนฟูมาก กําไรจากการดําเนินงาน กอนดอกเบี้ยจายภาษีเงินได คาเสื่อมราคา และคาตัดจําหนาย (EBITDA) ในปบัญชี 2552 และ 2553 EBITDA เปน 2,222.2 ลานบาท และ 2,580.7 ลานบาท ตามลําดับ คิดเปนการ เพิ่มขึ้นรอยละ 16.1 เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของผูโดยสารเนื่องจากการเปดบริการสวนตอขยายสายสีลม การเพิ่มขึ้นของ รายไดจากการใหเชาพื้นที่โฆษณาบนรถไฟฟา สถานีรถไฟฟา และรานคา Modern Trade การใหเชาพื้นที่รานคาบน สถานีรถไฟฟา และการเริ่มรับรูรายไดจากการรับจางบริหารสวนตอขยายสายสีลม กําไรสุทธิ บีทีเอสซีมีกําไรสุทธิ 5,510.3 ลานบาท ในปบัญชี 2553 ลดลง 16,321.2 ลานบาท จากปบัญชี 2552 ซึ่งเปน ผลมาจากการที่บีทีเอสซีไดกําไรจากการปรับโครงสรางหนี้ตามแผนฟนฟูกิจการลดลงจาก 22,447.1 ลานบาท ในป บัญชี 2552 เปน 4,528.0 ลานบาท ในปบัญชี 2553 เปนหลัก ขาดทุนสะสมทางภาษี จากผลกําไรและขาดทุนในชวงที่ผานมา ทําใหบีทีเอสซีมีขาดทุนสะสมทางภาษีเปนจํานวน 12,964.9 ลาน บาท ณ วันที่ 31 มีนาคม 2553 และมีจะหมดอายุในเดือนธันวาคม 2555 ทั้งจํานวน 12.2.4 การวิเคราะหฐานะทางการเงิน ณ วันที่ 31 มีนาคม 2553 ของบีทีเอสซีและบริษัทยอย 12.2.4.1 สภาพคลองและเงินทุน ณ วันที่ 31 มีนาคม 2553 บีทีเอสซีมีสินทรัพยหมุนเวียนทั้งสิ้นจํานวน 6,904.9 ลานบาท โดยมีเงินสดและ รายการเทียบเทาเงินสดทั้งสิ้น 2,165.0 ลานบาท หรือรอยละ 31.4 ของจํานวนสินทรัพยหมุนเวียนทั้งหมด นอกจากนี้ 3,970.3 ลานบาทของสินทรัพยหมุนเวียนนั้นคือเงินที่บีทีเอสซีและบริษัทยอยไดลงทุนเพื่อพัฒนาที่ดิน จํานวนดังกลาว รวมตนทุนที่ดินและคากอสราง โรงแรมและคอนโดมีเนียม ในขณะที่บีทีเอสซีมีหนี้สินหมุนเวียน จํานวน 2,321.9 ลานบาท ซึ่งรวมถึงภาระที่จะตองออกหุนเพิ่มทุนใหมของบีทีเอสซีใหกับผูถือหุนเดิมของวีจีไอในมูลคาเทียบเทา 500 ลานบาท บีทีเอสซีใชเงินทุนจากหุนกูระยะยาวและสวนของผูถือหุน ณ วันที่ 31 มีนาคม 2553 บีทีเอสซีมีหนี้สินทั้งหมด 12,470.0 ลานบาท และสวนของผูถือหุนทั้งหมด 39,096.6 ลานบาท 12.2.4.2 สินทรัพย สินทรัพยหลักของบีทีเอสซีคือ ตนทุนโครงการสุทธิ ซึ่ง ณ วันที่ 31 มีนาคม 2553 มีมูลคา 43,443.0 ลานบาท

สวนที่ 1 หนา 151


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

12.2.4.3 หนี้สิน หนี้สินของบีทีเอสซีประกอบดวย หนี้สินที่เกิดจากการออกเสนอขายหุนกูในเดือนสิงหาคม 2552 ซึ่งเปนหุนกู มูลคา 12,000 ลานบาท ดังรายละเอียดในตารางดานลาง มูลคาหุน กู (ลานบาท)

อายุหนุ กู (ป)

อัตราดอกเบี้ย

2,500

3

4.75%

2,500

4

5.25%

4,000

5

5.75%

1,500

6

6.25%

1,500

7

6.75%

ทั้งนี้หุนกูที่บีทีเอสซีเสนอขายนั้น มีเงื่อนไขกําหนดวาบริษัทจะดํารงอัตราสวนความสามารถในการชําระหนี้ (DSCR) ในอัตราไมต่ํากวา 1.2 (หนึ่งจุดสอง) เทา ณ วันที่ 31 มีนาคม 2553 DSCR ของบีทีเอสซีอยูที่ 1.99 เทา ในสวนบริษัทยอยของบีทีเอสซีนั้น มีหนี้สินกับบุคคลภายนอกรวม 596.3 ลานบาท ซึ่งประกอบดวย เงินกูจาก ธนาคารพาณิชยที่เกิดจากการซื้อที่ดินและการพัฒนาอสังหาริมทรัพย และเงินกูเพื่อพัฒนาโครงการโรงแรมบนที่ดินใกล สถานีรถไฟฟาสุรศักดิ์ โดยหนี้สินดังกลาวค้ําประกันโดยที่ดินของแตละโครงการเอง และบีทีเอสซีไมไดเปนผูค้ําประกัน หนี้สินเหลานี้ 12.2.5 การวิเคราะหกระแสเงินสดของบีทีเอสซีและบริษัทยอย สําหรับงวดปบัญชี 2552 และ 2553 12.2.5.1 กระแสเงินสดจากการดําเนินงาน บีทีเอสซีมีกระแสเงินสดสุทธิจากการดําเนินงาน สําหรับงวดปบัญชี 2552 และ 2553 เปนจํานวน -384.2 ลาน บาท และ 457.8 ลานบาท ตามลําดับ ซึ่งกระแสเงินสดดังกลาวเพิ่มขึ้น ในปบัญชี 2553 เนื่องจากกําไรที่เพิ่มขึ้นของ ธุรกิจรถไฟฟาและธุรกิจสื่อโฆษณา เงินสดที่ใชไปสําหรับการพัฒนาอสังหาริมทรัพยลดลง ลบกับการจายเจาหนี้การคา และการเพิ่มขึ้นของลูกหนี้การคา 12.2.5.2 กระแสเงินสดใชไปในกิจกรรมลงทุน ในปบัญชี 2553 บีทีเอสซีมีการใชเงินสดในกิจกรรมลงทุนเปนจํานวน 2,632.0 ลานบาท การลงทุนสวนใหญ เปน การลงทุ น ของบริษัทย อย คื อ วีจี ไ อ และบีทีเ อส แอสเสทส จํ านวน 1,338.8 ลา นบาท และการลงทุน ในงาน โครงสรางระบบและระบบไฟฟาและเครื่องกลของระบบรถไฟฟาบีทีเอสซีเปนจํานวน 1,075.7 ลานบาท 12.2.5.3 กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน ในปบัญชี 2553 บีทีเอสซีไดออกหุนกูระยะยาว 12,000 ลานบาท และบีทีเอสซีไดนําเงินสดดังกลาวไปเพื่อ ชําระหนี้สินคงคางกับเจาหนี้ไมมีประกันจากแผนฟนฟูกิจการจํานวนประมาณ 10,016 ลานบาท นอกจากนี้ บีทีเอสซีได จายเงินปนผลจํานวน 1,286.0 ลานบาท 12.2.6 ภาระผูกพัน ณ วันที่ 31 มีนาคม 2553 12.2.6.1 ภาระผูกพันเกี่ยวกับรายจายฝายทุน

สวนที่ 1 หนา 152


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

ตามทีก่ ําหนดในสัญญาทีเ่ กี่ยวของ

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

สําหรับงวดปบญ ั ชีสิ้นสุด วันที่ 31 มีนาคม

รายละเอียดรายการ การเปลี่ยนแปลงปรับปรุงระบบอาณัติสัญญาณและคาที่ปรึกษาที่ เกี่ยวของการเดินรถ

2554 (ลานบาท)

2555 (ลานบาท) 398.4

-

1,408.4

-

การปรับปรุงระบบสงสัญญาณคลืน่ วิทยุ

25.8

-

การซื้ออุปกรณเครื่องขายตั๋วอัตโนมัติ

11.6

-

การซื้ออุปกรณสาํ หรับการเดินรถไฟฟาและปรับปรุงสถานี รถไฟฟา

74.1

-

1,024.8

610.3

การพัฒนาระบบบัตรโดยสารรวม

44.6

52.3

คากอสรางและการออกแบบในโครงการอสังหาริมทรัพย

60.8

5.9

การออกแบบอาคาร

48.1

9.5

146.0

-

3,242.6

678.0

การซื้อรถไฟฟาจํานวน 12 ขบวน

คากอสรางตามสัญญาเหมารวมเบ็ดเสร็จ

การซื้อรถโดยสารบีอารทีจํานวน 25 คัน รวม

หมายเหตุ (1) คิดอัตราแลกเปลี่ยนที 23.3283 บาท / SIN, 32.5268 บาท / US, 43.74 บาท / Euro, 4.7982 บาท / Yuan (2) ยอดการจายตามตารางเปนยอดตาม Payment Milestone หักคืน เงินจายลวงหนา

12.2.6.2 ภาระผูกพันภายใตสัญญาซอมบํารุง เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2547 บีทีเอสซีไดทําสัญญาซอมบํารุงโครงการระบบขนสงมวลชนเปนระยะเวลาสิบป ทดแทนสัญญาเดิมที่หมดอายุลงกับผูรับเหมาเดิมรายหนึ่ง ภายใตสัญญาดังกลาว บีทีเอสซีมีภาระผูกพันเกี่ยวกับ คาใชจายในการบํารุงรักษาและคาธรรมเนียมการจัดหาอะไหลซอมบํารุงของโครงการฯตลอดระยะเวลา 10 ป โดย คาใชจายที่เกิดขึ้นในแตละป จะคํานวณโดยนํามูลคาของสัญญาฯในปที่ 1 ปรับเพิ่มขึ้นโดยอิงตามดัชนีราคาผูบริโภค ของแตละป โดยมูลคาของสัญญาฯในปที่ 1 มีจํานวนเงินประมาณ 195.7 ลานบาท และ 1.7 ลานเหรียญยูโร สําหรับป บัญชี 2553 บีทีเอสซีมีคาใชจายในการบํารุงรักษาและคาธรรมเนียมการจัดหาอะไหลซอมบํารุงเปนจํานวนเงินประมาณ 235.6 ลานบาท และ 1.9 ลานเหรียญยูโร (2552: 238.4 ลานบาท และ 2.1 ลานเหรียญยูโร) 12.2.6.3 การค้ําประกัน ณ วั น ที่ 31 มี น าคม 2553 บี ที เ อสซี มี ห นั ง สื อ ค้ํ า ประกั น ซึ่ ง ออกโดยธนาคารในนามของบี ที เ อสซี ใ ห กั บ กรุงเทพมหานครเปนจํานวนเงินประมาณ 37.5 ลานบาท (2552: 37.5 ลานบาท) ใหกับการไฟฟานครหลวงเปนจํานวน เงินประมาณ 28.2 ลานบาท (2552: 23.6 ลานบาท) ตามที่ระบุในสัญญาสัมปทานและเพื่อใชการดําเนินงานของบีทีเอส ซีอีกเปนจํานวนเงินประมาณ 116.8 ลานบาท และ 0.5 ลานเหรียญยูโร นอกจากนี้ บีทีเอสซีไดรับวงเงินเลตเตอร ออฟ เครดิต จากธนาคารพาณิชยในประเทศแหงหนึ่งจํานวน 36 ลานเหรียญสหรัฐฯ (2552: 49.1 ลานเหรียญสหรัฐฯ) เพื่อ

สวนที่ 1 หนา 153


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

หนังสือค้ําประกันและวงเงินสินเชื่อที่บีทีเอสซีไ ดรับดังกลา วขางตน มีห ลั กประกันเป น เงินฝากในสถาบัน การเงินจํานวน 338.5 ลานบาท (2552: 338.5 ลานบาท) 12.2.7 แผนการลงทุน (Capital Expenditure) ในสวนของเงินทุนที่จะตองใชเพิ่มเติมสําหรับการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพยตางๆ บีทีเอสซีมีนโยบายที่ จะใหบริษัทยอยจัดหาแหลงเงินทุนเอง ไมวาจะเปนในรูปหนี้สินหรือทุนจากบุคคลภายนอก เชนที่ บีทีเอส แอสเสทสได ดําเนินเขาทําสัญญากูเงินกับสถาบันการเงินสําหรับวงเงินสินเชื่อจํานวน 1,800 ลานบาท เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม 2552 ตามจํานวนที่คาดวาจะตองใชสําหรับการกอสรางโรงแรม Four Points ใหเสร็จสมบูรณ 12.2.8 นโยบายการบัญชีที่สําคัญ 12.2.8.1 การรับรูรายไดจากคาโดยสาร รายไดจากคาโดยสารจะรับรูเมื่อบีทีเอสซีใหบริการแกผูโดยสาร แสดงมูลคาตามราคาตั๋วโดยสารหลังจากหัก สวนลดตางๆ แลวสําหรับรายไดจากการจําหนายตั๋วโดยสารประเภทสะสมมูลคาที่ยังไมไดรับรูรายไดจะบันทึกเปน รายไดคาโดยสารรับลวงหนาในหนี้สินหมุนเวียน 12.2.8.2 ตนทุนโครงการและการตัดจําหนายตามวิธีจํานวนผลผลิต (Unit of Throughput Amortization Method/Unit of Production) ตนทุนโครงการแสดงมูลคาตามราคาทุนหักคาตัดจําหนายสะสมและคาเผื่อการดอยคาของสินทรัพย (ถามี) บี ที เ อสซี บั น ทึ ก ต น ทุ น ทั้ ง หมดและค า ใช จ า ยที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ โครงการเป น สิ น ทรั พ ย (“ต น ทุ น โครงการ”) ซึ่ ง รวมถึ ง คา ธรรมเนีย มการจัดการและคา ที่ป รึก ษา คาออกแบบงาน งานโครงสรา ง ระบบไฟฟ า และเครื่ อ งกลและอุ ป กรณ รถไฟฟาที่ซื้อระหวางอายุสัมปทาน ดอกเบี้ยจาย และคาใชจายทางการเงินอื่นที่เกี่ยวของ รวมถึงกําไรและขาดทุนที่เกิด จากอัตราแลกเปลี่ยนที่เกิดขึ้นกอนการดําเนินงานและบันทึกคาตัดจําหนายของตนทุนโครงการเปนสวนหนึ่งของตนทุน คาโดยสารตลอดอายุสัมปทาน คาตัดจําหนายของตนทุนโครงการคํานวณจากราคาตนทุนโครงการสุทธิโดยวิธีจํานวนผลผลิตตามสูตรดังนี้ คาตัดจําหนายสําหรับ = ป อัตราสวนผูโดยสารตอ = ป ตนทุนโครงการสุทธิ

=

ตนทุนโครงการสุทธิ x อัตราสวนผูโดยสารตอป จํานวนผูโดยสารจริงสําหรับป (จํานวนผูโดยสารจริงสําหรับป + ประมาณการจํานวนผูโดยสารตลอดอายุที่เหลือของสัมปทาน) ตนทุนโครงการทั้งหมด – คาตัดจําหนายสะสม – คาเผื่อการดอยคา ของสินทรัพย

สวนที่ 1 หนา 154


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

12.2.8.3 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ/ คาเสื่อมราคา ที่ดินแสดงมูลคาตามราคาทุน อาคารและอุปกรณแสดงมูลคาตามราคาทุนหักคาเสื่อมราคาสะสมและคาเผื่อ การดอยคาสะสมของสินทรัพย (ถามี) คาเสื่อมราคาของอาคารและอุปกรณคํานวณจากราคาทุนของสินทรัพยโดยวิธี เสนตรงตามอายุการใชงาน โดยคาเสื่อมราคารวมอยูในการคํานวณผลการดําเนินงาน 12.2.8.4 เงินตราตางประเทศ รายการที่เปนเงินตราตางประเทศแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สินทรัพย และหนี้สินที่เปนตัวเงินซึ่งอยูในสกุลเงินตราตางประเทศไดแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่ในงบ ดุล โดยกําไรและขาดทุนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลี่ยนไดรวมอยูในการคํานวณผลการดําเนินงาน 12.2.8.5 กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน กําไรตอหุนขั้นพื้นฐานคํานวณโดยหารกําไรสุทธิสําหรับปดวยจํานวนถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักของหุนสามัญที่ถือ โดยบุคคลภายนอกที่ออกอยูในระหวางป 12.2.8.6 การใชดุลยพินิจและประมาณการทางบัญชี ในการจัดทํางบการเงินตามมาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป ฝายบริหารจําเปนตองใชดุลยพินิจและการ ประมาณการในเรื่องที่มีความไมแนนอนเสมอ การใชดุลยพินิจและการประมาณการดังกลาวนี้สงผลกระทบตอจํานวน เงินที่แสดงในงบการเงินและตอขอมูลที่แสดงในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ผลที่เกิดขึ้นจริงอาจแตกตางไปจาก จํานวนที่ประมาณการไว 12.2.9 คาตอบแทนผูสอบบัญชี ในงวดปบัญชี 2553 บีทีเอสซีและบริษัทยอยมีการจายคาตอบแทนผูสอบบัญชีใหแกบริษัท สํานักงาน เอินสท แอนด ยัง จํากัด คิดเปนมูลคารวมทั้งสิ้น 6.7 ลานบาท โดยเปนคาตอบแทนการสอบบัญชี (Audit Fee) ทั้งจํานวน ทั้งนี้ บีทีเอสซีและบริษัทยอยไมมีภาระคาบริการอื่น (Non-Audit Fee) ที่ตองชําระใหแกผูสอบบัญชี สํานักงานสอบบัญชีที่ ผูสอบบัญชีสังกัด และบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกับผูสอบบัญชีและสํานักงานสอบบัญชีที่ผูสอบบัญชีสังกัดแตอยาง ใด

สวนที่ 1 หนา 155


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

สวนที่ 2 การรับรองความถูกตองของขอมูล บริษัทฯ ไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลวดวยความระมัดระวัง บริษัทฯ ขอรับรอง วา ขอมูลดั งกลา วถูกตองครบถวน ไมเปน เท็จ ไมทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือไมขาดขอมูลที่ค วรตอ งแจงในสาระสํา คัญ นอกจากนี้ บริษัทฯ ขอรับรองวา (1) งบการเงินและขอมูลทางการเงินที่สรุปมาในแบบแสดงรายการขอมูลประจําป ไดแสดงขอมูลอยาง ถูกตองครบถวนในสาระสําคัญเกี่ยวกับฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน และกระแสเงินสดของบริษัทฯ และบริษัทยอยแลว (2) บริษัทฯ ไดจัดใหมีระบบการเปดเผยขอมูลที่ดี เพื่อใหแนใจวาบริษัทฯ ไดเปดเผยขอมูลในสวนที่เปน สาระสําคัญทั้งของบริษัทฯ และบริษัทยอยอยางถูกตองครบถวนแลว รวมทั้งควบคุมดูแลใหมีการปฏิบัติตามระบบดังกลาว (3) บริษัทฯ ไดจัดใหมีระบบการควบคุมภายในที่ดี และควบคุมดูแลใหมีการปฏิบัติตามระบบดังกลาว และ บริษัทฯ ได แจงขอมูลการประเมินระบบการควบคุมภายใน ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2553 ตอผู สอบบั ญชี และกรรมการ ตรวจสอบของบริษัทฯ แลว ซึ่งครอบคลุมถึงขอบกพรองและการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญของระบบการควบคุมภายใน รวมทั้ง การกระทําที่มิชอบที่อาจมีผลกระทบตอการจัดทํารายงานทางการเงินของบริษัทฯ และบริษัทยอย ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับที่บริษัทฯ ไดรับรองความถูกตองแลว บริษัทฯ ไดมอบหมายให Mr. Martin Harold Kyle เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไมมี ลายมือชื่อของMr. Martin Harold Kyle กํากับไว บริษัทฯ จะถือวาไมใชขอมูลที่บริษัทฯ ไดรับรองความถูกตองของขอมูล แลวดังกลาวขางตน ชื่อ

ตําแหนง

นายคีรี กาญจนพาสน

ประธานกรรมการ

นายกวิน กาญจนพาสน

กรรมการผูจัดการ

นายสุธรรม ศิริทิพยสาคร

รองกรรมการผูจัดการ

นายรังสิน กฤตลักษณ

รองกรรมการผูจัดการ

Mr. Kong Chi Keung

รองกรรมการผูจัดการ

นายคม พนมเริงศักดิ์

กรรมการบริหาร

ชื่อผูรับมอบอํานาจ

ตําแหนง

Mr. Martin Harold Kyle

ผูอํานวยการใหญสายการเงิน สวนที่ 2 หนา 156

ลายมือชื่อ

ลายมือชื่อ


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

เอกสารแนบ 1 รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผูบริหาร ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2553 * ขอมูลการถือหุนของกรรมการ และผูบริหาร ซึ่งรวมหุนที่ถือโดยคูสมรส และบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ ณ วันที่ 17 มิถุนายน 2553 ความสัมพันธ การถือหุน ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป อายุ ทางครอบครัว คุณวุฒิทางการศึกษา ชื่อ-สกุล/ตําแหนง ในบริษัท (ป) ระหวาง ชวงเวลา ตําแหนง ชื่อหนวยงาน/บริษัท (%)* ผูบริหาร 0

1. นายคีรี กาญจนพาสน ประธานกรรมการบริษัท

60

-

39.37

บิดานายกวิน กาญจนพาสน

2549-ปจจุบัน 2536-2549 2553-ปจจุบัน 2552-ปจจุบัน

2550-ปจจุบัน 2539-ปจจุบัน 2537-ปจจุบัน 2536-ปจจุบัน 2535-ปจจุบัน 2534-ปจจุบัน 2533-ปจจุบัน

เอกสารแนบ 1 หนา 157

ประธานกรรมการ กรรมการผูจัดการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการบริหาร กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

บมจ. บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส บมจ. บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส บจ. กามปู พร็อพเพอรต้ี บจ. กามกุง พร็อพเพอรต้ี บจ. บีทีเอส แอสเสทส บจ. นูโว ไลน เอเจนซี่ บจ. บีทีเอส แลนด บจ. บางกอก สมารทการด ซิสเทม บจ. กมลา บีช รีสอรท แอนด โฮเต็ล แมนเนจเมนท บมจ. ระบบขนสงมวลชนกรุงเทพ บจ. ไทม สเตชั่น ธนายง อินเตอรเนชั่นแนล ลิมิเต็ด บจ. ปราณคีรี แอสเซ็ทส บจ. สําเภาเพชร บจ. ธนายง ฟูด แอนด เบเวอเรจ บจ. ดิ เอ็กซเชนจ สแควร บจ. ธนาซิตี้ กอลฟ แอนด สปอรต คลับ บจ. สระบุรี พร็อพเพอรต้ี บจ. สยาม เพจจิ้ง แอนด คอมมิวนิเคชั่น บจ. ธนายง พร็อพเพอรตี้ แมเนจเมนท


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-สกุล/ตําแหนง

2. นายกวิน กาญจนพาสน กรรมการผูจัดการ

อายุ (ป)

35

คุณวุฒิทางการศึกษา

- หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Accreditation Program (DAP) ป 2550 สมาคมสงเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

ความสัมพันธ การถือหุน ทางครอบครัว ในบริษัท ระหวาง (%)* ผูบริหาร

1.98

บุตรของนายคีรี กาญจนพาสน

0

ชวงเวลา

ตําแหนง

2550-ปจจุบัน

กรรมการ กรรมการ กรรมการผูจัดการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

2549-ปจจุบัน

กรรมการ

2531-ปจจุบัน 2549-ปจจุบัน 2553-ปจจุบัน 2552-ปจจุบัน

2551-ปจจุบัน

เอกสารแนบ 1 หนา 158

ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ชื่อหนวยงาน/บริษัท บจ. เทพประทาน พร็อพเพอรตี้ส บจ. เมืองทอง แอสเซ็ทส บมจ. บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส ธนายง ฮองกง ลิมเิ ต็ด แอบโซลูท โฮเต็ล เซอรวิส ฮองกง ลิมิเต็ด บมจ. ระบบขนสงมวลชนกรุงเทพ บจ. นูโว ไลน เอเจนซี่ บจ. บางกอก สมารทการด ซิสเทม บจ. วี จี ไอ แอดเวอรไทซิ่ง มีเดีย บจ. 999 มีเดีย บจ. 888 มีเดีย บจ. วี จี ไอ มัลติเทค อินเตอรเนชั่นแนล บจ. พอยส ออฟ วิว (พีโอวี) มีเดีย กรุป บจ. สระบุรี พร็อพเพอรต้ี บจ. ธนาซิต้ี กอลฟ แอนด สปอรต คลับ บจ. ธนายง พร็อพเพอรตี้ แมเนจเมนท บจ. เมืองทอง แอสเซ็ทส บจ. ปราณคีรี แอสเซ็ทส บจ. สําเภาเพชร บจ. สยาม เพจจิ้ง แอนด คอมมิวนิเคชั่น บจ. ธนายง ฟูด แอนด เบเวอเรจ บจ. แอบโซลูท โฮเต็ล เซอรวิส บจ. กมลา บีช รีสอรท แอนด โฮเต็ล แมนเนจเมนท บจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-สกุล/ตําแหนง

อายุ (ป)

3. นายสุธรรม ศิริทิพยสาคร รองกรรมการผูจัดการ

54

4. นายรังสิน กฤตลักษณ รองกรรมการผูจัดการ

48

คุณวุฒิทางการศึกษา - ปริญญาตรีสถาปตยกรรม ศาสตร เกียรตินิยมอันดับ 1 จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Accreditation Program (DAP) ป 2550 สมาคมสงเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย - ปริญญาโทบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร - หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Accreditation Program (DAP) ป 2546 สมาคมสงเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

ความสัมพันธ การถือหุน ทางครอบครัว ในบริษัท ระหวาง (%)* ผูบริหาร

0

ชวงเวลา

ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป

ตําแหนง

ชื่อหนวยงาน/บริษัท

-

-

2549-ปจจุบัน 2550-ปจจุบัน

รองกรรมการผูจัดการ กรรมการ

บมจ. บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส บจ. เมืองทอง แอสเซ็ทส

-

-

2549-ปจจุบัน 2540-2549 2551-ปจจุบัน

รองกรรมการผูจัดการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

บมจ. บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส บมจ. บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส บจ. สยาม เพจจิ้ง แอนด คอมมิวนิเคชั่น บจ. แอบโซลูท โฮเต็ล เซอรวิส บจ. เมืองทอง แอสเซ็ทส บจ. กมลา บีช รีสอรท แอนด โฮเต็ล แมนเนจเมนท บจ. ฮิบเฮง คอนสตรัคชั่น (ประเทศไทย) บจ. ดีแนล บจ. สระบุรี พร็อพเพอรต้ี บจ. ธนายง ฟูด แอนด เบเวอเรจ บจ. สําเภาเพชร บจ. ปราณคีรี แอสเซ็ทส บจ. ไทม สเตชั่น บจ. ธนายง พร็อพเพอรตี้ แมเนจเมนท บจ. ยงสุ บจ. ธนาซิตี้ กอลฟ แอนด สปอรต คลับ

2550-ปจจุบัน

2544-ปจจุบัน

2541-ปจจุบัน

เอกสารแนบ 1 หนา 159

กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-สกุล/ตําแหนง

อายุ (ป)

คุณวุฒิทางการศึกษา

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

ความสัมพันธ การถือหุน ทางครอบครัว ในบริษัท ระหวาง (%)* ผูบริหาร

0

ชวงเวลา 2540-ปจจุบัน

5. Mr. Kong Chi Keung รองกรรมการผูจัดการ

35

6. นายคม พนมเริงศักดิ์ กรรมการบริหาร

71

7. Dr. Paul Tong กรรมการ

69

- ปริญญาโทบริหารธุรกิจ (Executive) สถาบันบัณฑิต บริหารธุรกิจศศินทร แหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Accreditation Program (DAP) ป 2550 สมาคมสงเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย - ปริญญาโทพัฒนบริหารศาสตร มหาบัณฑิต สาขาการเงิน สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร - หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Accreditation Program (DAP) ป 2550 สมาคมสงเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย - PhD. Engineer University of Manchester สหราชอาณาจักร

ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป

ตําแหนง

ชื่อหนวยงาน/บริษัท

กรรมการ กรรมการ รองกรรมการผูจัดการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

บจ. เทพประทาน พร็อพเพอรตี้ส บจ. ดิ เอ็กซเชนจ สแควร บมจ. บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส บมจ. บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส ธนายง ฮองกง ลิมเิ ต็ด บจ. แอบโซลูท โฮเต็ล เซอรวิส บจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย

0.04

-

2551-ปจจุบัน 2549-2551 2553-ปจจุบัน 2551-ปจจุบัน 2542-ปจจุบัน

-

-

2549-ปจจุบัน 2544-2549 2552-ปจจุบัน 2550-ปจจุบัน

กรรมการบริหาร กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

บมจ. บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส บมจ. บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส บจ. วาเคไทย (ไทยแลนด) บจ. ฮิบเฮง คอนสตรัคชั่น (ประเทศไทย) บจ. เมืองทอง แอสเซ็ทส

0.02

-

2550-ปจจุบัน 2551-ปจจุบัน

กรรมการ กรรมการ

2549-ปจจุบัน ปจจุบัน

ประธานกรรมการ กรรมการผูจัดการ กรรมการ

บมจ. บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส บจ. กมลา บีช รีสอรท แอนด โฮเต็ล แมนเนจเมนท บมจ. ระบบขนสงมวลชนกรุงเทพ Hip Hing Construction Co., Ltd. NW Project Management Limited

เอกสารแนบ 1 หนา 160


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-สกุล/ตําแหนง

อายุ (ป)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

คุณวุฒิทางการศึกษา

ความสัมพันธ การถือหุน ทางครอบครัว ในบริษัท ระหวาง (%)* ผูบริหาร

0

ชวงเวลา

ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป

ตําแหนง กรรมการ

8. Mr. Cheung Che Kin กรรมการ

42

9. ดร.อาณัติ อาภาภิรม กรรมการ

72

-

- ปริญญาวิศวกรรมดุษฎีบัณฑิต สาขาภาควิศวกรรมโยธา University of Colorado, ประเทศสหรัฐอเมริกา

-

-

2550-ปจจุบัน ปจจุบัน

-

-

2552-ปจจุบัน 2541-2552 2553-ปจจุบัน 2552-ปจจุบัน

10. Mr. Lo Yun Sum กรรมการ

59

11. พลโทพิศาล เทพสิทธา ประธานกรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ

78

- Bachelor of Laws, University of London สหราชอาณาจักร - ปริญญาโทบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

-

-

2539-2551 2552-ปจจุบัน 2542-2553

0.001

-

2543-ปจจุบัน

เอกสารแนบ 1 หนา 161

กรรมการ ประธาน และ CEO ประธาน กรรมการ กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ ที่ปรึกษาคณะกรรมการ กรรมการ กรรมการ

ชื่อหนวยงาน/บริษัท Parsons Brinckerhoff International, Pte Ltd., Singapore บมจ. บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส Green Salt Group Limited Oinghai Province Salt Industry Limited บมจ.บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส บมจ. บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส บจ. กามปู พร็อพเพอรต้ี บจ. กามกุง พร็อพเพอรต้ี บจ. บีทีเอส แอสเสทส บจ. บีทีเอส แลนด บมจ. ระบบขนสงมวลชนกรุงเทพ บมจ. ระบบขนสงมวลชนกรุงเทพ บมจ. บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส บจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย

ประธานกรรมการตรวจสอบ บมจ. บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส กรรมการอิสระ


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-สกุล/ตําแหนง

อายุ (ป)

12. พลตํารวจตรีวราห เอี่ยมมงคล กรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ

75

13. นายชัยสิทธิ์ ภูวภิรมยขวัญ กรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ

67

14. Mr. Martin Harold Kyle ผูอํานวยการใหญสายการเงิน

คุณวุฒิทางการศึกษา - หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Certification Program (DCP) ป 2545 และ หลักสูตร ประกาศนียบัตร Audit Committee Program (ACP) รุน 26 ป 2552 สมาคม สงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย - ปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ร.ร. นายรอยพระจุลจอมเกลา วท.บ. (ทบ) สถาบันขาราชการตํารวจชั้นสูง - ปริญญารัฐศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

ความสัมพันธ การถือหุน ทางครอบครัว ในบริษัท ระหวาง (%)* ผูบริหาร

0

ชวงเวลา ปจจุบัน

2552-2553

-

-

2541-ปจจุบัน 2538-ปจจุบัน

-

-

2552-ปจจุบัน ปจจุบัน

57

- Master of Arts in Development Economics, Oxford University (Magdalen College), ประเทศสหราชอาณาจักร - Fellow Chartered Accountant, ประเทศออสเตรเลีย

-

-

2551-ปจจุบัน 2548-2551 2545-2548

เอกสารแนบ 1 หนา 162

ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป

ตําแหนง

ชื่อหนวยงาน/บริษัท

ประธานกรรมการตรวจสอบ บมจ. ร็อคเวิธ กรรมการอิสระ กรรมการ คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแหงชาติ กรรมการอิสระ บมจ. ระบบขนสงมวลชนกรุงเทพ กรรมการตรวจสอบ

กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ ที่ปรึกษา

บมจ. บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส

กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ กรรมการสภามหาวิทยาลัย ผูทรงคุณวุฒิ อุปนายกสมาคม ผูอํานวยการใหญสายการเงิน กรรมการบริหาร

บมจ. บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส

ผูอํานวยการ ฝายปฏิบัติการ - การเงิน และเทคโนโลยีสารสนเทศ

บมจ. ระบบขนสงมวลชนกรุงเทพ

มหาวิทยาลัยราชภัฏบานสมเด็จเจาพระยา สถาบันพระปกเกลา บมจ. บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส Australian-Thai Chamber of Commerce (AustCham Thailand) บจ. มี้ด จอหนสัน นิวทริชัน (ประเทศไทย)


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-สกุล/ตําแหนง 15. นางดวงกมล ชัยชนะขจร ผูอํานวยการฝายบัญชี 16. นางสาวอัญชนา โรจนวิบูลยชัย ผูอํานวยการฝายการเงิน

17. Mr. Daniel Ross ผูอํานวยการฝายการเงิน

อายุ (ป) 50 43

34

คุณวุฒิทางการศึกษา

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

ความสัมพันธ การถือหุน ทางครอบครัว ในบริษัท ระหวาง (%)* ผูบริหาร

0

ชวงเวลา

52

19. Mr. Bernardo Godinez Garcia ผูอํานวยการฝายโรงแรม

53

ตําแหนง

ชื่อหนวยงาน/บริษัท

- ปริญญาโทบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร - ปริญญาโทบริหารธุรกิจ University of California, ประเทศสหรัฐอเมริกา

-

-

2544-ปจจุบัน

ผูอํานวยการฝายบัญชี

บมจ. บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส

-

-

2550-ปจจุบัน 2549 2548

บมจ. บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส

- Bachelor of Science in Mathematics (First Class Honours) King’s College, University of London สหราชอาณาจักร

-

2551-ปจจุบัน 2553-ปจจุบัน 2552-ปจจุบัน 2551-ปจจุบัน 2550

ผูอํานวยการฝายการเงิน ที่ปรึกษาการเงินอิสระ รองประธานบริหาร ฝายการเงินและบัญชี ผูอํานวยการฝายการเงิน กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการ กรรมการบริหารโครงการ กรรมการ กรรมการบริหารโครงการ รองกรรมการผูจัดการและ ผูอํานวยการฝายการลงทุน ผูอํานวยการ ฝายพัฒนาโครงการ ผูจัดการ ฝายบริหารโครงการ ผูอํานวยการฝายโรงแรม กรรมการ กรรมการ กรรมการ ผูจัดการทั่วไป

2549-2550

ผูจัดการทั่วไป

-

2553-ปจจุบัน 2551-ปจจุบัน 2550-2552 2550-2552 2549-2552

18. นายวิศิษฐ ชวลิตานนท ผูอํานวยการ ฝายพัฒนาโครงการ

ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป

- ปริญญาโทการจัดการภาครัฐ และเอกชน สถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร

-

- College Degree in Hotel and Restaurant Management, Orange Coast College, ประเทศสหรัฐอเมริกา

-

-

2550-ปจจุบัน 2546-2550

-

เอกสารแนบ 1 หนา 163

บมจ. แกรนด แอสเสท ดีเวลลอปเมนท บมจ. บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส บมจ. เอส เอฟ จี จํากัด บจ. เอพี แปซิฟค สตาร (รัชดา) บจ. เอพี แปซิฟค สตาร (สาทร) บจ. แปซิฟค สตาร อินเตอรเนชั่นแนล (ประเทศ ไทย) บมจ. บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส บมจ. กรุงเทพดุสิตเวชการ (โรงพยาบาลกรุงเทพ) บมจ. บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส แอบโซลูท โฮเต็ล เซอรวิส ฮองกง ลิมิเต็ด บจ. วาเคไทย (ไทยแลนด) บจ. แอบโซลูท โฮเต็ล เซอรวิส โรงแรมแกรนด เมอรเคียว สวีท กรุงเทพฯ และ วี วิลลาส หัวหิน โรงแรมแกรนด สุขุมวิท และ


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-สกุล/ตําแหนง

20. นายเสนอ รัตนวลี ผูอํานวยการโครงการธนาซิตี้

อายุ (ป)

57

21. นางสาวธิตกิ รณ ยศยิง่ ธรรมกุล ผูอํานวยการฝายกฎหมาย / เลขานุการบริษัท

33

22. นางสาวอาทิตยา เกษมลาวัณย ผูอํานวยการฝายขาย

32

23. นางสาวธัญญรวี พิพัฒนผลกุล ผูอํานวยการฝายการตลาด

36

คุณวุฒิทางการศึกษา

- Bachelor of Arts in Hotel & Catering Management, Dartley University (U.K. Campus), ประเทศสหรัฐอเมริกา - Master of Laws (LL.M), Commercial Law, University of Bristol, ประเทศสหราชอาณาจักร - ปริญญาตรี ดานบริหารการจัดการ การโรงแรมและการทองเที่ยว มหาวิทยาลัยนานาชาติมหิดล - บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคําแหง

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

ความสัมพันธ การถือหุน ทางครอบครัว ในบริษัท ระหวาง (%)* ผูบริหาร

-

-

-

-

-

-

-

-

0

ชวงเวลา

ตําแหนง

2547-2549

ผูจัดการทั่วไป

2552-ปจจุบัน

2545-2551 2551-ปจจุบัน 2550-ปจจุบัน 2543-2550

ผูอํานวยการโครงการ ธนาซิตี้ กรรมการ กรรมการ ผูจัดการทั่วไป เลขานุการบริษัท ผูอํานวยการฝายกฎหมาย ทนายความ

2552-ปจจุบัน 2551-2552

ผูอํานวยการฝายขาย ผูอํานวยการฝายขาย

2547-2551 2552-ปจจุบัน 2549-2552

ผูจัดการฝายขาย ผูอํานวยการฝายการตลาด รองผูอํานวยการอาวุโส ฝายการตลาด ผูจัดการฝายขาย พนักงานขายอาวุโส

2548 2547

เอกสารแนบ 1 หนา 164

ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ชื่อหนวยงาน/บริษัท โรงแรมแกรนด เมอรเคียว ปารค อะเวนิว, กรุงเทพฯ โซฟเทล พีพี วิลลา แอนด สปา, กระบี่ ประเทศไทย บมจ. บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส บจ. ดีแนล บจ. ยงสุ อิสติน โฮเต็ล แอนด สปา, กรุงเทพฯ บมจ. บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส บมจ. บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส บจ. เบเคอร แอนด แม็คเค็นซี่ บมจ. บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส บจ. แปซิฟค สตาร อินเตอรเนชั่นแนล (ประเทศไทย) บจ. พี. อาร. ดี. ออสแพค เรียลตี้ (ไทยแลนด) บมจ. บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส บมจ. ไรมอน แลนด บจ. เดสติเนชั่น พร็อพเพอรต้ี บจ. พี. อาร. ดี. ออสแพค เรียลตี้ (ไทยแลนด)


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-สกุล/ตําแหนง 24. นางศรีประไพ สินลือนาม ผูอํานวยการสวนลูกคาสัมพันธ

อายุ (ป) 51

คุณวุฒิทางการศึกษา - ปริญญาตรีบริหารธุรกิจ (การ บัญชี) มหาวิทยาลัยรามคําแหง

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

ความสัมพันธ การถือหุน ทางครอบครัว ในบริษัท ระหวาง (%)* ผูบริหาร -

-

0

ชวงเวลา 2552-ปจจุบัน 2550-2551 2541-2549

25. นางกชพรรณ นุมฤทธิ์ ผูอํานวยการฝายบริหาร โครงการพิเศษ

47

- ปริญญาโทบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

-

-

2549-ปจจุบัน 2545-2549

เอกสารแนบ 1 หนา 165

ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป

ตําแหนง ผูอํานวยการสวนลูกคา สัมพันธ ผูจัดการโครงการธนาซิตี้ ผูอํานวยการฝายบริการ ลูกคา ผูอํานวยการฝายบริหาร โครงการพิเศษ ผูอํานวยการฝาย บริหารงานกอสราง

ชื่อหนวยงาน/บริษัท บมจ. บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส บมจ. บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส บมจ. บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส บมจ. บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส บมจ. กฤษดามหานคร


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

D

D

D

A,D

D

เอกสารแนบ 2 หนา 166

D D

D

D

D

D

ธนายง ฮองกง ลิมิเต็ด

D D

บจ. ธนายง อินเตอรเนชั่นแนล

D D

D D

D

D D

D

D

บจ. ธนายง ฟูด แอนด เบเวอเรจ

D

บจ. ธนายง พร็อพเพอรตี้ แมเนจเมนท

D

D D

บจ. ธนาซิตี้ กอลฟ แอนด สปอรต คลับ

D

D D D D

บจ. ยงสุ

D D

บจ. ปราณคีรี แอสเช็ทส

D D

บจ. เมืองทอง แอสเซ็ทส

D D

บจ. ดีแนล

บจ. สําเภาเพชร

A,D B,D C,D C,D C,D D D D D D E E E F F F F F F F F F F F F

บจ. สยาม เพจจิ้ง แอนด คอมมิวนิเคชั่น

บริษัท นายคีรี กาญจนพาสน นายกวิน กาญจนพาสน นายสุธรรม ศิริทิพยสาคร นายรังสิน กฤตลักษณ Mr. Kong Chi Keung นายคม พนมเริงศักดิ์ Dr. Paul Tong Mr. Cheung Che Kin ดร. อาณัติ อาภาภิรม Mr. Lo Yun Sum พลโทพิศาล เทพสิทธา พลตํารวจตรีวราห เอี่ยมมงคล นายชัยสิทธิ์ ภูวภิรมยขวัญ Mr. Martin Harold Kyle นางดวงกมล ชัยชนะขจร นางสาวอัญชนา โรจนวิบูลยชัย Mr. Daniel Ross นายวิศิษฐ ชวลิตานนท Mr. Bernardo Godinez Garcia นายเสนอ รัตนวลี นางสาวธิติกรณ ยศยิ่งธรรมกุล นางสาวอาทิตยา เกษมลาวัณย นางสาวธัญญรวี พิพัฒนผลกุล นางศรีประไพ สินลือนาม นางกชพรรณ นุมฤทธิ์

บมจ. ระบบขนสงมลชน กรุงเทพ

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18. 19. 20. 21. 22. 23. 24. 25.

บมจ. บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส

กรรมการและผูบริหาร

บจ. กมลา บีช รีสอรท แอนด โฮเต็ล แมนเนจเมนท

เอกสารแนบ 2 ขอมูลการดํารงตําแหนงของกรรมการและผูบริหารในบริษัทยอยและบริษทั รวม ณ วันที่ 16 มิถุนายน 2553

D


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553

A=

ประธานกรรมการ

D

D D

D D D

D

D D

D

D

D

D

D D

บริษัทยอย B=

กรรมการผูจัดการ

บริษัทรวม C=

รองกรรมการผูจัดการ

D=

เอกสารแนบ 2 หนา 167

กรรมการ

E=

กรรมการตรวจสอบ

F=

ผูบริหาร

D D D

D

D

บจ. สระบุรี พร็อพเพอรตี้

D

แอบโซลูท โฮเต็ล เซอรวิส ฮองกง ลิมิเต็ด

D

บจ. แอบโซลูท โฮเต็ล เซอรวิส

D

บจ. ฮิบเฮง คอนสตรัคชั่น (ประเทศไทย)

D

บจ. นูโว ไลน เอเจนซี่

D

บจ. บางกอก สมารทการด ซิสเทม

บจ. วี จี ไอ มัลติเทค อินเตอรเนชั่นแนล

D

บจ. กามกุง พร็อพเพอรตี้

บจ. พอยท ออฟวิว (พีโอวี) มีเดียกรุป

D

บจ. กามปู พร็อพเพอรตี้

บจ. 888 มีเดีย

D

บจ. บีทีเอส แอสเสทส

บจ. 999 มีเดีย

D

บจ. บีทีเอส แลนด

บจ. วี จี ไอ แอดเวอรไทซิ่ง มีเดีย

บริษัท 1. นายคีรี กาญจนพาสน 2. นายกวิน กาญจนพาสน 3. นายสุธรรม ศิริทิพยสาคร 4. นายรังสิน กฤตลักษณ 5. Mr. Kong Chi Keung 6. นายคม พนมเริงศักดิ์ 7. Dr. Paul Tong 8. Mr. Cheung Che Kin 9. ดร. อาณัติ อาภาภิรม 10. Mr. Lo Yun Sum 11. พลโทพิศาล เทพสิทธา 12. พลตํารวจตรีวราห เอี่ยมมงคล 13. นายชัยสิทธิ์ ภูวภิรมยขวัญ 14. Mr. Martin Harold Kyle 15. นางดวงกมล ชัยชนะขจร 16. นางสาวอัญชนา โรจนวิบูลยชัย 17. Mr. Daniel Ross 18. นายวิศิษฐ ชวลิตานนท 19. Mr. Bernardo Godinez Garcia 20. นายเสนอ รัตนวลี 21. นางสาวธิติกรณ ยศยิ่งธรรมกุล 22. นางสาวอาทิตยา เกษมลาวัณย 23. นางสาวธัญญรวี พิพัฒนผลกุล 24. นางศรีประไพ สินลือนาม 25. นางกชพรรณ นุมฤทธิ์ หมายเหตุ บริษัท

บจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย

กรรมการและผูบริหาร

D


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

เอกสารแนบ 3 อื่น ๆ - ไมมี -

แบบ 56-1 สําหรับปบัญชี 2553


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.