:: Form 56-1 2012/2013 ::

Page 1

แบบ 56-1 ป 2555/56

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2555/56 สําหรับรอบระยะเวลาบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2556

บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน) BTS Group Holdings Public Company Limited


สารบัญ หนา สวนที่ 1

บริษัทที่ออกหลักทรัพย คํานิยาม ขอ มูลสรุป (Executive Summary)

i

1. ขอ มูลทั่วไป

1

2. ปจจัยความเสี่ยง

9

3. ลักษณะการประกอบธุร กิจ

29

4. การประกอบธุร กิจในแตละสายผลิตภัณฑ

45

4.1 ธุร กิจระบบขนสง มวลชน

46

4.2 ธุร กิจสื่อ โฆษณา

80

4.3 ธุร กิจอสัง หาริมทรัพย

94

4.4 ธุร กิจบริการ

120

5. ทรัพยส ินที่ใชในการประกอบธุร กิจ

123

6. ขอ พิพาททางกฎหมาย

134

7. โครงสรางเงินทุน

137

8. การจัดการ

150

9. การควบคุมภายใน

220

10. รายการระหวางกัน

232

11. ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน

239

12. ขอ มูลอื่นที่เกี่ยวขอ ง

265

สวนที่ 2

การรับรองความถูกตองของขอมูล

308

เอกสารแนบ 1

รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผูบริหาร

312

เอกสารแนบ 2

ขอ มูลการดํารงตําแหนง ของกรรมการและผูบริหารในบริษัทยอ ยและบริษัทรวม

328

เอกสารแนบ 3

รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอย

330


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

คํานิยาม เวนแตจะกําหนดไวเ ปนอยางอื่น ใหคําตอ ไปนี้มีความหมายดัง นี้ คํา

ความหมาย

EBITDA

กําไรจากการดําเนินงานกอ นคาใชจายดอกเบี้ย ภาษีเงินไดและคาเสือ่ ม ราคาหรือ คาตัดจําหนาย

กทม.

หนวยงานกรุง เทพมหานคร

กรุง เทพธนาคม

บริษัท กรุง เทพธนาคม จํากัด ซึ่ง เปนบริษัทที่ จัดตั้ง ขึ้นโดย กทม. และมี กทม. เปนผูถือ หุนรายใหญ

กรุง เทพฯ

จัง หวัดกรุง เทพมหานคร

กลุมบริษัท หรือ กลุมบริษัทบีที เอส

บริษัทฯ และบริษัทยอ ยของบริษัทฯ

กลุมวีจีไอ

วีจีไอและบริษัทยอ ยของวีจีไอ

กองทุน BTSGIF หรือ กองทุนฯ

กองทุนรวมโครงสรางพื้นฐานระบบขนสง มวลชนทางราง บีทีเอสโกรท ซึ่ง บริหารจัดการกองทุนโดยบริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย จั ด การ กอ ง ทุ น ร วม บัวหลวง จํากัด

แครอท รีวอรดส

บริษัท แครอท รีวอรดส จํากัด

งานโครงสรางระบบ

งานโครงสรางที่กอ สร า ง ขึ้ น (Civil Works) ได แ ก เส าโคร ง ส ร า ง ทางยกระดับ อาคารโรงจอดและซอ มบํารุง และสิ่ง ปลูกสรางอื่นๆ

ซีเมนส

ซีเมนส ลิมิเต็ด (Siemens Limited)

ซีอ ารซี

Changchun Railway Vehicles Co., Ltd.

นูโวไลน

บริษัท นูโว ไลน เอเจนซี่ จํากัด

บริษัทฯ หรือ บีทีเอสจี

บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้ง ส จํากัด (มหาชน)

บีทีเอส แอสเสทส

บริษัท บีทีเอส แอสเสทส จํากัด

บีทีเอสซี

บริษัท ระบบขนสง มวลชนกรุง เทพ จํากัด (มหาชน)

บีเอ็มซีแอล

บริษัท รถไฟฟากรุง เทพ จํากัด (มหาชน)

บีเอสเอส

บริษัท บางกอก สมารทการด ซิส เทม จํากัด


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

คํา

ความหมาย

ใบสําคัญแสดงสิทธิ BTS-W2

ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อ หุนสามัญเพิ่มทุนของบริษั ท บี ที เ อ ส กรุ ป โฮลดิ้ง ส จํากัด (มหาชน) ครั้ง ที่ 2 (BTS-W2)

ใบสําคัญแสดงสิทธิ BTS-WA

ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อ หุนสามัญของบริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้ ง ส จํากัด (มหาชน) ที่อ อกใหแกพนักงานขอ ง บริ ษั ท ฯ และ บริ ษั ท ย อ ย ครั้ง ที่ 1 (BTS-WA)

ใบสําคัญแสดงสิทธิ BTS-WB

ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อ หุนสามัญของบริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้ ง ส จํากัด (มหาชน) ที่อ อกใหแกพนักงานขอ ง บริ ษั ท ฯ และ บริ ษั ท ย อ ย ครั้ง ที่ 2 (BTS-WB)

ป 2550/51

ปบัญชีเริ่มตนวันที่ 1 เมษายน 2550 และสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2551

ป 2551/52

ปบัญชีเริ่มตนวันที่ 1 เมษายน 2551 และสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2552

ป 2552/53

ปบัญชีเริ่มตนวันที่ 1 เมษายน 2552 และสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2553

ป 2553/54

ปบัญชีเริ่มตนวันที่ 1 เมษายน 2553 และสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2554

ป 2554/55

ปบัญชีเริ่มตนวันที่ 1 เมษายน 2554 และสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2555

ป 2555/56

ปบัญชีเริ่มตนวันที่ 1 เมษายน 2555 และสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2556

ป 2556/57

ปบัญชีเริ่มตนวันที่ 1 เมษายน 2556 และสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2557

ป 2557/58

ปบัญชีเริ่มตนวันที่ 1 เมษายน 2557 และสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2558

ป 2558/59

ปบัญชีเริ่มตนวันที่ 1 เมษายน 2558 และสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2559

ป 2559/60

ปบัญชีเริ่มตนวันที่ 1 เมษายน 2559 และสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2560

พื้นที่ Non-Sales Floor

พื้นที่โมเดิร นเทรด บริเวณดานนอกบริเ วณชั้ น วาง ขายส ร ร พสิ น ค า ทั้ง หมด ซึ่ง นับรวมตั้ง แตถนนเขาหาง ที่จอดรถ บริ เ วณทาง เข า ห า ง บริเวณรานอาหาร รานคา ศูนยอ าหาร และหอ งน้ํา (สวนใหญเปนพื้นที่ บริเวณดานนอกที่หางลงทุนพื้นที่และใหเจาของสินคาและบริการมาเชา หนาราน)

พื้นที่ Sales Floor

พื้นที่โมเดิร นเทรด บริเวณดานในที่เป น ศู น ย ร วมขอ ง สิ น ค า อุ ป โภ ค บริโภคขนาดใหญ ซึ่ง หางเปนเจาของพื้นที่และ เป น ผู จั ด หาสิ น ค า มา วางขาย รวมพื้นที่ตั้ง แตบริเวณหลัง จุ ด ชํ า ร ะ เงิ น (Cashier Counter) เปนพื้นที่บริเวณชั้ น วาง ขายสิ น ค า ขอ ง ห า ง แบ ง เป น โซน ได แ ก


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

คํา

แบบ 56-1 ป 2555/56

ความหมาย (1) ผลิตภัณฑส ุขภาพและความง าม (Health & Beauty) (2) สิ น ค า อาหารสด (Fresh Food) (3) ผลิตภัณฑที่ทําจากนมและอาหารแชแ ข็ ง (Daily & Frozen Food) (4) สินคาอาหารและเครื่อ งดื่ม และสินคาใชใน บาน (Food & Beverage, Household & Club Pack)

โมเดิร นเทรด

หางคาปลีกสมัยใหมที่มีลักษณะเปนเครือ ขายสาขาทั่ ว ปร ะ เทศ เช น Tesco Lotus Big C (รวม Carrefour เดิม) และ Watsons

รถโดยสารดวนพิเศษ BRT

รถโดยสารประจําทางดวนพิเ ศษ (Bus Rapid Transit) ซึ่ ง มี ก าร จั ด ชอ งทางพิเศษโดยเฉพาะ สามารถใหบริการไดร วดเร็วกวารถโดยสาร ประจําทางทั่วไป ใหบริการครอบคลุม 12 สถานี (สถานีส าทรถึง สถานี ราชพฤกษ) เปนระยะทาง 15 กิโลเมตร จากบริเวณช อ ง นนทรี ถนน นราธิวาสราชนครินทร ขามสะพานกรุ ง เทพ ไปจนถึ ง บริ เ วณถนน ราชพฤกษ

รถไฟฟาใตดิน MRT

รถไฟฟามหานครสายเฉลิมรัชมงคล (รถไฟฟาสายสีน้ําเงิน) ระยะทาง 20 กิโลเมตร เริ่มตั้ง แตส ถานีร ถไฟหัวลําโพงไปจนถึง บาง ซื่ อ จํ า นวน รวม 18 สถานี ซึ่ง ดําเนินงานโดยบีเอ็มซีแอล ภายใตส ัญญาสัมปทาน กับรฟม.

รฟม.

การรถไฟฟาขนสง มวลชนแหง ประเทศไทย

ระบบไฟฟาและเครื่อ งกล

ระบบไฟฟาและ เครื่ อ ง กล (Electrical and Mechanical Works) ซึ่ ง รวมถึง รถไฟฟา รางรถไฟฟา อุปกรณแหลง พลัง งาน ร ะ บบควบคุ ม คอมพิวเตอร ระบบอาณัติส ั ญ ญาณ ร ะ บบจั ด เก็ บ ค า โดยส าร และ ระบบสื่อ สาร ของระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลัก

ระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสวนตอ ขยาย

สวนตอ ขยายจากระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุ ง เทพส ายหลั ก ซึ่ ง บีทีเอสซี เปนผูใหบริการ ดําเนินการและบํารุง รักษาแกกรุง เทพธนาคม ซึ่ง ครอบคลุมสวนตอ ขยายสายสีลมระยะทาง 2.2 กิโลเมตร จากสถานี สะพานตากสินถึง สถานี ว ง เวี ย นใหญ ส ว นต อ ขยายส ายสุ ขุ ม วิ ท ระยะทาง 5.25 กิโลเมตร จากสถานีอ อ นนุชถึง สถานีแบริ่ง และสวนตอ ขยายสายสีลมระยะทาง 5.3 กิโลเมตรตามถนนเพชรเกษม จากสถานี วงเวียนใหญถึง สถานีบางหวา ตามสัญญาการใหบริการเดินรถและซอม บํารุง ระยะยาว


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

คํา

ความหมาย

ระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสาย หลัก

ระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุ ง เทพส ายแร กเริ่ ม ซึ่ ง คร อ บคลุ ม ระยะทาง 23.5 กิโลเมตร ไดแก สายสุขุมวิท ระยะทาง 17 กิ โ ลเมตร จากสถานีหมอชิตถึง สถานี อ  อ นนุ ช และ ส ายสี ล ม ร ะ ยะ ทาง 6. 5 กิโลเมตรจากสถานีส นามกีฬาแหง ชาติถึง สถานีส ะพานตากสิ น ตาม สัญญาสัมปทาน

ระบบรถไฟฟาบีทีเอส หรือ ระบบรถไฟฟา

ระบบขนสง มวลชนกรุง เทพซึ่ง ไดแกร ถไฟฟาบนทางวิ่ง ยกร ะ ดั บ ส อ ง สาย คือ สายสุขุมวิทและสายสีลม ตลอดจนสวนตอ ขยายส ายสุ ขุ ม วิ ท และสวนตอ ขยายสายสีลม ทั้ง ในสว นร ะ บบร ถไฟฟ า ขนส ง มวลชน กรุง เทพสายหลักและระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสวนตอ ขยาย (ที่ร ูจักเปนการทั่วไปวา สายสีเขียว) ซึ่ง ใหบ ริ ก าร เดิ น ร ถเหนื อ พื้ น ที่ บางสวนของถนนสาธารณะสายหลักของใจกลางกรุง เทพมหานคร

วีจีไอ

บริษัท วี จี ไอ โกลบอล มี เดีย จํากัด (มหาชน)

สนข.

สํานักงานนโยบายและแผนการขนสง และจราจร

สวนตอ ขยายสายสีลม

โครงการระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพมหานคร สวนต อ ขยาย สายสีลม ตอนที่ 1 ระยะทาง 2.2 กิโลเมตร ซึ่ ง ปร ะ กอ บด ว ยส ถานี ทั้ง หมด 2 สถานี เชื่อ มตอ สะพานตากสินและวงเวียนใหญ และตอนที่ 2 ระยะทาง 5.3 กิโลเมตร ซึ่ง ประกอบดวยสถานีทั้ง หมด 4 สถานีเชือ่ มตอ สถานีวงเวียนใหญ – สถานีบางหวา โครงการระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพมหานคร สวนต อ ขยาย สายสุขุมวิท ระยะทาง 5.25 กิโลเมตร ซึ่ง ประกอบดวยสถานีทั้ง หมด 5 สถานี เชื่อ มตอ สถานีอ อ นนุช - สถานีแบริ่ง สัญญาการใหบริการเดินรถและซอ มบํารุง ระบบรถไฟฟาขนสง มวลชน กรุง เทพสวนตอ ขยาย และระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุ ง เทพส าย หลัก (เมื่อ สัมปทานภายใตส ัญญาสัมปทานสิ้ น อ ายุ ) ฉบั บ ลง วั น ที่ 3 พฤษภาคม 2555 ระหวางกรุง เทพธนาคมในฐานะผูบริหารระบบ และ บีทีเอสซี ในฐานะผูใหบริการ สัญญาซื้อ และโอนสิทธิร ายไดส ุทธิ ฉบับลง วั น ที่ 17 เมษายน 2556 ระหวางบีทีเอสซี ในฐานะผูขาย และกอง ทุ น BTSGIF ในฐานะ ผู ซื้ อ เพื่อ การโอนและขายรายไดคาโดยสารสุทธิในอนาคตที่บีทีเอสซีจะไดรบั

สวนตอ ขยายสายสุขุมวิท

สัญญาการใหบริการเดินรถและซอ มบํารุง ระยะยาว

สัญญาซื้อ และโอนสิทธิร ายไดส ุทธิ


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

คํา

แบบ 56-1 ป 2555/56

ความหมาย จากการดําเนินงานระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลักใหแ ก กองทุน BTSGIF

สัญญาสัมปทาน

สัญญาสัมปทานฉบับลงวันที่ 9 เมษายน 2535 ซึ่ง ทําขึ้นระหวาง กทม. และบีทีเอสซี เกี่ยวกับสัมปทานการดําเนินงานร ะ บบร ถไฟฟ า ขนส ง มวลชนกรุง เทพสายหลัก ตลอดจนสัญญาที่แ ก ไ ขเพิ่ ม เติ ม ซึ่ ง มี อ ายุ สัมปทานเปนเวลา 30 ปนับจากวันเริ่มดําเนินการ ในเชิ ง พาณิ ช ย เ มื่ อ วันที่ 5 ธันวาคม 2542 และสิ้นสุดลงในวันสิ้นสุดอายุส ั ญ ญาสั ม ปทาน เวนแตจะมีการตอ อายุส ัญญาสัมปทาน

สายสีลม

โครงการระบบรถไฟฟาขนส ง มวลชนกรุ ง เทพมหานคร ส ายสี ล ม ระยะทาง 6.5 กิโลเมตร ซึ่ง ประกอบดวยสถานีทั้ง หมด 7 สถานี (ร วม สถานีส ยาม) เชื่อ มตอ สนามกีฬาแหง ชาติและสะพานตากสิน

สายสุขุมวิท

โครงการระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพมหานคร ส ายสุ ขุ ม วิ ท ระยะทาง 17 กิโลเมตร ซึ่ง ประกอบดวยสถานีทั้ง หมด 17 สถานี (ร วม สถานีส ยาม) เชื่อ มตอ บริเวณหมอชิตและออ นนุช


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ขอมูลสรุป (Executive Summary) บริษัทฯ เริ่มตนจากธุร กิจอสัง หาริมทรัพย และไดขยายกิจการไปยัง ธุร กิจอื่น โดยบริษัทฯ ไดขยายธุร กิ จ ไปยั ง ธุร กิจระบบขนสง มวลชนเมื่อ เดือ นพฤษภาคม 2553 โดยการไดมาซึ่ง หุนบีทีเอสซีจํานวนรอ ยละ 94.60 ของหุนที่จําหนาย ไดแลวทั้ง หมดของบีทีเอสซี และธุร กิจสื่อ โฆษณาผานกลุมวีจีไอซึ่ง บีทีเอสซีถือ หุนรอ ยละ 100 ทําใหภ าพรวมธุ ร กิ จ ขอ ง บริษัทฯ เปลี่ยนไป บริษัทฯ จึง ไดเปลี่ยนชื่อ เปน “บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้ง ส จํากัด (มหาชน)” และเปลี่ยนชื่อ ยอ ในการซือ้ ขายหลักทรัพยเปน “BTS” และไดยายหมวดการซื้อ ขายไปเปนหมวดขนสง และโลจิส ติกส ภายใตอ ุตสาหกรรมบริการ โดย ตอ มา บริษัทฯ ไดมาซึ่ง หุนบีทีเอสซีจากผูถือ หุนรายยอ ยเพิ่มเติมจนในปจจุบันบริษัทฯ ถื อ หุ น บี ที เ อ ส ซี จํ า นวนร อ ยละ 97.46 ของหุนที่จําหนายไดแลวทั้ง หมดของบีทีเอสซี ธุร กิจของบริษัทฯ ประกอบดวย 4 กลุมธุร กิจ ไดแก 

ธุรกิจระบบขนสงมวลชน เปนธุร กิจหลักของบริษัทฯ โดยบีทีเอสซีซึ่ง เปนบริษัทยอ ยไดร ับสัมปทาน จากกทม. ในป 2535 ใหเปนผูใหบริการรถไฟฟาบนทาง วิ่ ง ยกร ะ ดั บ ส ายแร กขอ ง กรุ ง เทพฯ ซึ่ ง ครอบคลุมสายสุขุมวิทและสายสีลม ระยะทางรวม 23.5 กิโลเมตร เปนระยะเวลา 30 ป โดยรถไฟฟ า บีทีเอสเปดใหบริการตอ ประชาชนเปนครั้ง แรกในวันที่ 5 ธั น วาคม 2542 และ ต อ มา เมื่ อ วั น ที่ 3 พฤษภาคม 2555 บีทีเอสซีไดร ับวาจางจากกรุ ง เทพธนาคมให เ ป น ผู ใ ห บ ริ ก าร เดิ น ร ถและ ซ อ ม บํารุง รักษาระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสวนตอ ขยาย ซึ่ง มีเสนทางประกอบดวย สวนตอขยาย สายสีลม ชวงสะพานตากสิน-วงเวียนใหญ และ ชวงวงเวียนใหญ -บาง หว า (ร ะ ยะ ทาง ร วม 7. 50 กิโลเมตร) และสวนตอ ขยายสายสุขุมวิท ชวงออ นนุช-แบริ่ง (ระยะทางรวม 5.25 กิโลเมตร) และจะรวม เสนทางเดิมของสัมปทานภายหลัง ครบกําหนดอายุส ัมปทานในวันที่ 4 ธันวาคม 2572 (ระยะทาง ร วม 23.50 กิโลเมตร) นอกจากนี้แลว บีทีเอสซียัง ไดร ับจางจากกรุง เทพธนาคมใหเปนผูใ ห บ ริ ก าร เดิ น ร ถ โดยสารดวนพิเศษ BRT ตั้ง แตเมื่อ วันที่ 29 พฤษภาคม 2553 ตั้ง แตเปดใหบริการมา จํานวนผูโดยสารของระบบรถไฟฟาบีทีเอสมีการ เติ บ โตอ ย า ง ต อ เนื่ อ ง ใน ป 2555/56 ระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลักไดใหบริการผูโดยสารเปนจํานวนรวมทั้ง สิ้ น 197.2 ลานเที่ยวคน และหากนับรวมจํานวนผูโดยสารที่ใชบริการทั้ง ในระบบรถไฟฟ า ขนส ง มวลชน กรุง เทพสายหลัก และระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสวนตอ ขยายแลว จะมีจํานวนผูโดยสารสูงถึง 202.4 ลานเที่ยวคน ในป 2555/56 ตอ มา เมื่อ วันที่ 17 เมษายน 2556 บีทีเอสซีไดขายรายไดคาโดยสารสุทธิของระบบร ถไฟฟ า ขนส ง มวลชนกรุง เทพสายหลักซึ่ง ครอบคลุมสายสุขุมวิทและสายสีลม ระยะทางรวม 23.5 กิโลเมตร ภายใต สัญญาสัมปทาน ตลอดระยะเวลาอายุส ัมปทานที่เหลือ อยูอ ีกประมาณ 17 ป ใหแกกอ ง ทุ น BT SGI F โดยบีทีเอสซีและกองทุน BTSGIF ไดเขาลงนามในสัญญาซื้อ และโอนสิทธิร ายไดคาโดยสารสุทธิ ฉบับ ลงวันที่ 17 เมษายน 2556 โดยราคาขายของรายไดคาโดยสารสุทธิที่ขายใหแกกองทุน BTSGIF เปน จํานวนเงินเทากับ 61,399 ลานบาท (เปนจํานวนเงินสุทธิภ ายหลั ง การ หั ก ค า ใช จ า ยในการ จั ด ตั้ ง BTSGIF จํานวนเงินประมาณ 1,111 ลานบาท) ทั้ง นี้ บีทีเอสซียัง เปนผูบริหารจัดการในการดําเนินงาน ระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลักหลัง จากการเขาทําสัญญาซื้อ และโอนสิ ท ธิ ร ายได ส ุ ท ธิ ทั้ง นี้ หลัง จากการเขาทําสัญญาซื้อ และโอนสิทธิร ายไดส ุทธิ บีทีเอสซียัง เปนผู บ ริ ห าร จั ด การ ในการ ดําเนินงานระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลัก เพื่อ ประโยชนของกองทุน BTSGIF ภายใต -i-


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

การกํากับดูแลและควบคุมของกองทุน BTSGIF ตามขอ กําหนดและเงื่อ นไขของสั ญ ญาซื้ อ และ โอ น สิทธิร ายไดส ุทธินอกจากนี้ บริษัทฯ ไดเขาจองซื้อ และเป น ผู ถื อ หน ว ยลง ทุ น ขอ ง กอ ง ทุ น BTSGIF จํานวน 1/3 (รอ ยละ 33.33) ของกองทุน BTSGIF (จํานวน 1,929 ลานหน ว ยลง ทุ น ที่ ร าคา 10.80 บาทตอ หนวย หรือ 20,833.2 ลานบาท) โดยหนวยลงทุนของกองทุน BTSGIF นั้น เริ่มทําการซื้อ ขาย ครั้ง แรกในวันที่ 19 เมษายน 2556 

ธุรกิจสื่อโฆษณา ดําเนินการโดยกลุมวีจีไอ ซึ่ง ดําเนินธุร กิจหลักในการเปนผูใหบริการเครื อ ข า ยสื่ อ โฆษณา โดยเนนเครือ ขายสื่อ โฆษณาที่ส อดคลอ งกับรูปแบบการดําเนินชีวิตในยุคสมัยใหม (Lifestyle Media) โดย ณ ปจจุบัน เครือ ขายสื่อ โฆษณาของ กลุ ม วี จี ไ อ ส ามาร ถเข า ถึ ง ชี วิ ต ปร ะ จํ า วั น ขอ ง กลุมเปาหมายไดในทุกที่ เริ่มตั้ง แตการเดินทางโดยรถไฟฟาบีทีเอส การทํางานในอาคาร สํ า นั ก ง าน และการจับจายใชส อยในโมเดิร นเทรด ซึ่ง เครือ ขายสื่อ โฆษณาที่กลุมวีจีไอใหบริการประกอบด ว ย 1) สื่อ โฆษณาในระบบรถไฟฟาบีทีเอส 2) สื่อ โฆษณาในโมเดิร นเทรด (Modern Trade) ชั้นนํา 3 ราย ซึ่ง มีส าขากร ะ จายอ ยู ทั่ ว ปร ะ เทศไทย ได แ ก Tesco Lotus Big C (ร วมถึ ง Carrefour เดิ ม ที่ ถู ก เปลี่ยนเปน Big C) และ Watsons และ 3) สื่อ โฆษณาในอ าคาร สํ า นั ก ง านชั้ น นํ า อี ก 51 แห ง ใน กรุง เทพฯ โดยปจจุบันรายไดของกลุมวีจีไอประมาณรอ ยละ 50 มาจากธุร กิจในระบบรถไฟฟาบีทีเอส และประมาณรอ ยละ 50 มาจากธุร กิจในโมเดิร นเทรด อาคารสํานักงาน และอื่นๆ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย เดิมเปนธุร กิจหลักของบริษัทฯ นับตั้ง แตเริ่ม ดํ า เนิ น การ ในป 2511 ป จ จุ บั น บริษัทฯ ไดเนนการประกอบธุร กิจระบบขนสง มวลชนแทน แตยัง คงใหธุร กิจอสัง หาริมทรัพยเปนกลไก ในการเสริมสรางชุมชนเมือ งที่กําลัง เติบโตและขยายตัวไปตามแนวเส น ทาง ร ถไฟฟ า โดยเฉพาะ รถไฟฟาบีทีเอส ซึ่ง จะชวยกระตุนทั้ง การเติบโตของผูใชบริการรถไฟฟาบีทีเอสโดยรวมให เ พิ่ ม มาก ยิ่ง ขึ้นโดยเร็ว และยัง ชวยเสริมมูลคาเพิ่มใหกับธุร กิจสื่อ โฆษณาอีกทางหนึ่ง ดวย และ ด ว ยแนวคิ ด นี้ คอนโดมิเนียมแบรนด “ABSTRACTS” จึง ถูกสรางขึ้น เพื่อ ใหเปนตนแบบของการใชชีวิตในเมือ งดวย ที่พักอาศัยที่ไดมาตรฐาน คุณภาพคุมราคา และมีการเดินทางที่ ส ะ ดวกด ว ยร ถไฟฟ า บี ที เ อ ส ที่ ไ ม กอ ใหเกิดมลพิษ ธุรกิจบริการ ดําเนินการโดยกลุมบริษัท เพื่อ ใหบริการที่ส นับสนุนการดําเนินงานในธุ ร กิ จ หลั ก ขอ ง กลุมบริษัทในดานตางๆ ซึ่ง รวมถึง การใหบริการเงินอิเล็ ก ทร อ นิ ก ส (e-money) ที่ มี ร ะ บบตั๋ ว ร ว ม (common ticketing system) ภายใตชื่อ “rabbit (แรบบิท)” ซึ่ง ปจจุบันบัตร rabbit สามารถใชโดยสาร รถไฟฟาบีทีเอส รถโดยสารดวนพิเศษ BRT รวมทั้ง เครือ ขายระบบขนสง มวลชนอื่นๆ ในอนาคต เชน รถไฟฟาใตดิน MRT ซึ่ง ผูถือ บัตร rabbit สามารถใชบัตรนี้เพื่อ ซื้อ สินคาและบริการจากรานคาทีร่ ว มรับ บัตรนี้ พรอ มดวยโปรแกรมสง เสริมการขายดวยเครื่อ งพิมพคูปอ ง อั ต โนมั ติ (coupon kiosks) และ ธุร กิจการใหบริการลูกคาสัมพันธ ภายใตชื่อ “แครอท รีวอรดส (Carrot Rewards)” นอกจากนี้ ธุร กิ จ บริการยัง ครอบคลุมถึง การใหคําปรึกษาดานการบริหารจัดการโรงแรม ภายใตแบรนด “U Hotels & Resorts” และ “Eastin” ทั้ง สําหรับโครงการโรงแรมของกลุมบริษัทเองและของบุคคลอื่น นอ กจากนี้ แลว ธุร กิจบริการของกลุมบริษัทยัง รวมถึง บริการรับเหมากอ สราง และบริหารโครงการกอ สราง การ ใหบริการรับจัดการและ บริ ห าร โคร ง การ อ สั ง หาริ ม ทรั พ ย ทั้ ง โคร ง การ ที่ พั ก อ าศั ย แนวร าบ คอนโดมิเนียม และอาคารสํานักงาน

- ii -


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ในป 2555/56 รายไดจากการดําเนินงาน (ไมร วมกําไรจากการขายเงินลงทุนในบริษัทยอ ย รายไดคาชดเชยตาม คําสั่ง ศาล เงินปนผลรับ ดอกเบี้ยรับและรายไดอ ื่น) ของบริษัทฯ และบริษัทยอ ย เป น จํ า นวน 10,375.5 ล า นบาท โดย รายไดจากการดําเนินงานหลักนั้นมาจากรายไดจากธุร กิจระบบขนสง มวลชน (รายไดจากคาโดยสาร และรายไดจากการ ใหบริการเดินรถในสวนตอ ขยายสายสีลมและสายสุขุมวิท และรถโดยสารดวนพิเศษ BRT) คิดเปน ร อ ยละ 58. 0 ขอ ง รายไดจากการดําเนินงาน รองลงมาคือ รายไดจากธุร กิจสื่อ โฆษณา (รายไดจากการใหเชาและบริการโฆษณาบนรถไฟฟา สถานีร ถไฟฟา และในรานคา Modern Trade) ธุร กิจอสัง หาริมทรัพย (รายไดจากการขายอสัง หาริมทรัพย รายไดจากการ รับเหมากอ สราง รายไดคาเชาและการบริการ และรายไดจากกิจการสนามกอลฟ) และธุร กิจบริการ ซึ่ ง คิ ด เป น ร อ ยละ 26.9, 14.7 และ 0.4 ของรายไดจากการดําเนินงาน ตามลําดับ ทั้ง นี้ รายไดจากการดําเนินงานเพิ่มขึ้นรอ ยละ 34 จาก ป 2554/55 สาเหตุหลักเกิดจากการเติบโตของรายไดจากธุร กิจระบบขนสง มวลชนและธุร กิจสื่อ โฆษณา บริษัทฯ และบริษัทยอ ย มีกําไรขั้นตนเปนจํานวน 5,058.1 ลานบาท คิ ด เป น อั ต ร ากํ า ไร ขั้ น ต น ร อ ยละ 48.8 (เพิ่มขึ้นจากป 2554/55 ที่มีอ ัตรากําไรขั้นตนรอ ยละ 47.2) และมีกําไรจากการดําเนินงานกอ นดอกเบี้ยจาย ภาษี เ งิ น ได คาเสื่อ มราคาและคาตัดจําหนาย (Operating EBITDA) (ไมร วมรายการที่ไมเกิดขึ้นเปนประจํา ซึ่ ง ร ายการ หลั ก ได แ ก กําไรจากการขายเงินลงทุนในบริษัทยอ ย รายไดคาชดเชยตามคําสั่ง ศาล กําไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยน) จํานวน 5,273.0 ลานบาท ซึ่ง เพิ่มขึ้นรอ ยละ 27.3 จากป 25554/55 หรือ คิดเปนรอ ยละ 50.8 ขอ ง ร ายได จ ากการ ดํ า เนิ น ง าน สาเหตุหลักเกิดจากการเติบโตของรายไดจากธุร กิจระบบขนสง มวลชนและธุร กิจสื่อ โฆษณา คาใชจายทางการเงินลดลงประมาณ 184.1 ลานบาท เมื่อ เทียบกับป 2554/55 สาเหตุหลักเนื่อ งจาก หุนกู แ ปลง สภาพที่บริษัทฯไดอ อกไปเมื่อ เดือ นมกราคม 2554 ไดถูกแปลงสภาพครบถวนภายในป 2555/56 ทั้ง นี้ เมื่อ รวมคาใชจา ย ทางการเงินและรายไดที่ไมเกิดขึ้นเปนประจําซึ่ง มีจํานวนประมาณ 900.2 ลานบาท ทําใหบริษัทฯ มี กํ า ไร สุ ท ธิ ป ร ะ จํ า ป เพิ่มขึ้น 22.4% มาอยูที่ 2,736.1 ลานบาทเมื่อ เทียบกับ 2,235.6 ลานบาท ในปกอ น และกําไรสุทธิส วนที่เปนของผู ถื อ หุ น บริษัทใหญเพิ่มขึ้น 18.2% เมื่อ เทียบกับป 2554/55 มาอยูที่ 2,488.3 ลานบาท เนื่อ งจากที่ประชุ ม วิ ส ามั ญ ผู ถื อ หุ น ขอ ง บริษัทฯ เมื่อ วันที่ 18 ธันวาคม 2555 มีมติอ นุมัติใหบีทีเอสซีขายรายไดคาโดยสาร สุ ท ธิ ใ นอ นาคตที่ จ ะ ได ร ั บ จากการ ดําเนินงานระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลัก และตอ มาเมื่อ วันที่ 17 เมษายน 2556 บี ที เ อ ส ซี แ ละ กอ ง ทุ น BTSGIF ลงนามในสัญญาซื้อ และโอนสิทธิร ายไดส ุทธิเรียบรอ ยแลว ดัง นั้น ในงบการเงินสําหรับปส ิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2556 บริษัทฯ จึง ไดจัดประเภทสินทรัพยที่จะถูกตัดรายการออกจากบัญชี ณ วันที่ 17 เมษายน 2556 และ ร ายได แ ละ คาใชจายสุทธิที่เกี่ยวขอ งกับสินทรัพยที่จะถูกตัดรายการออกจากบัญชีดัง กลาว และแยกแสดงไวเปนรายการตางหากใน งบการเงินภายใตชื่อ สินทรัพยไมหมุนเวียนที่จัดประเภทเปนสินทรัพยที่ถือ ไวเพื่อ ขาย ในงบแสดงฐานะการเงิน และกําไร สําหรับปจากการดําเนินงานที่ยกเลิก ในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ ตามลําดับ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2556 บริษัทฯ และบริษัทยอ ย มีส ินทรัพยร วม 67,031.1 ลานบาท หนี้ ส ิ น ร วม 16,428.4 ลานบาท และสวนของผูถือ หุนรวม 50,602.7 ลานบาท โดยสินทรัพยหลักของบริษัทฯ และบริษัทยอ ย คือ ที่ดิน อาคารและ อุปกรณมูลคา 9,590.8 ลานบาท ตนทุนการพัฒนาอสัง หาริมทรัพยมูลคา 3,510.3 ลานบาท อสัง หาริ ม ทรั พ ย เ พื่ อ การ ลงทุน 2,867.6 ลานบาท และเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด 3,513.3 ลานบาท นอกจากนี้ ตามที่กลาวในวร ร คก อ น หนา ตนทุนโครงการรถไฟฟาและสินทรัพยที่เกี่ยวขอ ง ไดถูกจัดประเภทใหมในงบแสดงฐานะการเงิน เปน สิ น ทรั พ ย ไ ม หมุนเวียนที่จัดประเภทเปนสินทรัพยที่ถือ ไวเพื่อ ขาย เปนจํานวน 42,172.0 ลานบาท ซึ่ง จะถูกตัดรายการออกจากบัญชี ใน วันที่ 17 เมษายน 2556

- iii -


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ณ วันที่ 31 มีนาคม 2556 หนี้ส ินหลักของบริษัทฯ และบริษัทยอ ยปร ะ กอ บด ว ยหุ น กู ข อ ง บี ที เ อ ส ซี จํ า นวน 8,479.6 ลานบาท เงินกูยืมระยะยาว 2,364.0 ลานบาท เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน 1,117.0 ลานบาท และ หนี้ ตามแผนฟนฟูกิจการของบริษัทฯ จํานวน 797.2 ลานบาท ซึ่ง สําหรับหนี้ตามแผนฟนฟูกิจการนั้น บริษัทฯ ไดวาง เงิ น ส ด และมีทรัพยส ิน หลักประกันเพื่อ ชําระหนี้ดัง กลาวโดยสวนใหญแลว

- iv -


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

สวนที่ 1 บริษัทที่ออกหลักทรัพย 1.

ขอมูลทั่วไป

ขอมูลบริษัท ชื่อบริษัท

บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริษัท ธนายง จํากัด (มหาชน)) ชื่อภาษาอังกฤษ BTS Group Holdings Public Company Limited (formerly known as Tanayong Public Company Limited) ประเภทธุรกิจ 1. ธุร กิจระบบขนสง มวลชน 2. ธุร กิจสื่อ โฆษณา 3. ธุร กิจอสัง หาริมทรัพย 4. ธุร กิจบริการ เลขทะเบียนบริษัท 0107536000421 ทุนจดทะเบียน 47,945,776,096 บาท ทุนจดทะเบียนชําระแลว 44,426,538,376 บาท ณ วันที่ 31 มีนาคม 2556 45,611,174,124 บาท ณ วันที่ 27 พฤษภาคม 2556 จํ า นว นหุ น จดทะเบี ย น 11,986,444,024 หุน ณ วันที่ 31 มีนาคม 2556 (หุนสามัญ) จํ า นว น หุ น ที่ อ อ กแ ล ะ 11,106,634,594 หุน ณ วันที่ 31 มีนาคม 2556 จําหนายแลว (หุนสามัญ) 11,402,793,531 หุน ณ วันที่ 27 พฤษภาคม 2556 มูลคาหุนที่ตราไว หุนละ 4 บาท หลักทรัพยอื่น 1. ใบสําคัญแสดงสิทธิ BTS-W2 จํานวน 5,027,000,448 หนวย ซึ่ง เปน หลั ก ทรั พ ย จดทะเบียนกับตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทย (ณ วันที่ 27 พฤษภ าคม 2556 ใบสําคัญแสดงสิทธิ BTS-W2 มีจํานวนคงเหลือ 3,167,032,866 หนวย) 2. ใบสําคัญแสดงสิทธิ BTS-WA จํานวน 100,000,000 หนวย ซึ่ง ออกใหกับพนักงาน ของบริษัทฯ และบริษัทยอ ย และ ไม ไ ด เ ป น หลั ก ทรั พ ย จ ดทะ เบี ย นกั บ ตลาด หลักทรัพยแหง ประเทศไทย 3. ใบสําคัญแสดงสิทธิ BTS-WB จํานวน 16,000,000 หนวย ซึ่ง ออกใหกับพนักงาน ของบริษัทฯ และบริษัทยอ ย และ ไม ไ ด เ ป น หลั ก ทรั พ ย จ ดทะ เบี ย นกั บ ตลาด หลักทรัพยแหง ประเทศไทย ที่ตั้งสํานักงานใหญ ชั้น 14 -15 ทีเอสทีทาวเวอร 21 ซอยเฉยพวง ถนนวิภ าวดี-รัง สิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุง เทพมหานคร 10900

สวนที่ 1 หนา 1


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

ที่ตั้งสํานักงานสาขา

แบบ 56-1 ป 2555/56

สาขาที่ 1: 2-2/399 ซอยมหาดเล็กหลวง 1 ถนนราชดําริ แขวง ลุ ม พิ นี เขตปทุ ม วั น กรุง เทพมหานคร 10330 สาขาที่ 2: 6-6/429 ซอยมหาดเล็กหลวง 2 ถนนราชดําริ แขวง ลุ ม พิ นี เขตปทุ ม วั น กรุง เทพมหานคร 10330 สาขาที่ 3: 2-2/399 ซอยมหาดเล็กหลวง 2 ถนนราชดําริ แขวง ลุ ม พิ นี เขตปทุ ม วั น กรุง เทพมหานคร 10330 สาขาที่ 4: 100-100/1 หมูที่ 4 ถนนบางนา-ตราด กม. 14 ตํ า บลบาง โฉลง อํ า เภ อ บางพลี จัง หวัดสมุทรปราการ 10540 โทรศัพท 0 2273-8511-5, 0 2273-8611-5 โทรสาร 0 2273-8610, 0 2273-8616 Home Page www.btsgroup.co.th สํานักเลขานุการบริษัท โทรศัพท: 0 2273-8611-5 ตอ 1525, 1531 โทรสาร: 0 2273-8610 E-mail: CompanySecretary@btsgroup.co.th ฝายนักลงทุนสัมพันธ โทรศัพท: 0 2273-8631, 0 2273-8636, 0 2273-8637 โทรสาร: 0 2273-8610 E-mail: ir@btsgroup.co.th ฝายสื่อสารองคกร โทรศัพท: 0 2617 7300 ตอ 1832 โทรสาร: 0 2617 7135 E-mail: corpcomm@btsgroup.co.th สํานัก ตรว จสอบภายใน โทรศัพท: 0 2273-8611-5 ตอ 1552 โทรสาร: 0 2273-8616 E-mail: InternalAudit@btsgroup.co.th นายทะเบียนหลักทรัพย บริษัท ศูนยร ับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด (หุนและใบสําคัญแสดงสิทธิ) 62 อาคารตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุง เทพฯ 10110 โทรศัพท: 0 2229-2800 โทรสาร: 0 2359-1259 TSD Call center: 0 2229-2888 E-mail: TSDCallCenter@set.or.th Websit e: http://www.tsd.co.th

สวนที่ 1 หนา 2


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

ผูสอบบัญชี

ที่ปรึกษากฎหมาย

แบบ 56-1 ป 2555/56

บริษัท สํานักงาน เอินสท แอนด ยัง จํากัด ชั้น 33 อาคารเลครัชดา 193/136-137 ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุง เทพฯ 10110 โทรศัพท: 0 2264-0777 โทรสาร: 0 2264-0789-90 นางสาวศิร าภรณ เอื้อ อนันตกุล ผูส อบบัญชีร ับอนุญาต เลขทะเบียน 3844 บริษัท วีร ะวงค, ชินวัฒน และเพียงพนอ จํากัด ชั้น 22 อาคารเมอรคิวรี่ ทาวเวอร 540 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุง เทพฯ 10330 โทรศัพท: 0 2264-8000 โทรสาร: 0 2657-2222

ขอมูลบริษัทยอยและบริษัทรวม บริษัท 1. ธุรกิจระบบขนสงมวลชน บมจ. ระบบขนสงมวลชน กรุงเทพ

ประเภทธุรกิจ ระบบขนสง มวลชน

สถานที่ตั้ง 1000 อาคารบีท ีเอส ถ. พหลโยธิน แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท: 0 2617-7300 โทรสาร: 0 2617-7133

ชื่อนิติบุคคล

ประเภทธุรกิจ

สถานที่ตั้ง

กองทุนรวมโครงสรางพื้นฐาน ระบบขนสงมวลชนทางราง บีท ีเอสโกรท (BTSGIF) ซึ่ง บริห ารจัดการกองทุนโดย บริษัท หลักทรัพยจัดการ กองทุนรวม บัวหลวง จํากัด

ธุรกิจลงทุนใน รายไดคาโดยสาร สุท ธิของระบบ รถไฟฟาขนสง มวลชนกรุงเทพ สายหลัก (รถไฟฟ า บีท ีเอส) ภายใต สัญญาสัมปทาน ซึ่งครอบคลุม ระยะทางรวม 23.5 กิโลเมตร

175 อาคารสาธรซิต้ที าวเวอร ชั้น 7, 21 และ 26 ถนนสาทรใต แขวง ทุงมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท: 0 2674-6488 โทรสาร: 0 2679-5955

สวนที่ 1 หนา 3

ทุนชําระแลว (บาท)

การถือหุน (รอยละ)

16,067,133,653

97.46

จํานวนหนวย ลงทุนทั้งหมด (หนวย) 5,788,000,000 หนวย มูลคาที่ตรา ไวห นวยละ 10.80 บาท

การถือหนวย ลงทุน (รอยละ) 33.33


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน) บริษัท

แบบ 56-1 ป 2555/56 ทุนชําระแลว (บาท)

การถือหุน (รอยละ)

21 อาคารทีเอสที ทาวเวอร ชั้น 9 ถ. วิภ าวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท: 0 2273-8884 โทรสาร: 0 2273-8883

300,000,000

65.67 (หุนรอยละ 51 ถือโดย บมจ. ระบบขนสง มวลชนกรุงเทพ และหุนรอยละ 14.67 ถือโดย บมจ. บีท ีเอส กรุป โฮลดิ้งส)

21 อาคารทีเอสที ทาวเวอร ชั้น 9 ถ. วิภ าวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท: 0 2273-8884 โทรสาร: 0 2273-8883 21 อาคารทีเอสที ทาวเวอร ชั้น 9 ถ. วิภ าวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท: 0 2273-8884 โทรสาร: 0 2273-8883 21 อาคารทีเอสที ทาวเวอร ชั้น 9 ถ. วิภ าวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท: 0 2273-8884 โทรสาร: 0 2273-8883 21 อาคารทีเอสที ทาวเวอร ชั้น 9 ถ. วิภ าวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท: 0 2273-8884 โทรสาร: 0 2273-8883

10,000,000

100.00 (ถือหุนโดย บมจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย)

7,500,000

100.00 (ถือหุนโดย บมจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย)

20,000,000

100.00 (ถือหุนโดย บมจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย)

40,000,000

100.00 (ถือหุนโดย บมจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย)

ประเภทธุรกิจ

สถานที่ตั้ง

ธุรกิจใหบริการ เครือขายสื่อ โฆษณาในระบบ ขนสงมวลชน (ระบบรถไฟฟาบีท ี เอส) สื่อโฆษณาใน โมเดิรนเทรด (Tesco Lotus, Big C และ Watsons) และสือ่ โฆษณาใน อาคารสํานักงาน และอื่นๆ ธุรกิจใหบริการสื่อ โฆษณาใน Tesco Lotus

2. ธุรกิจสื่อ โฆษณา บมจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย (เดิมชื่อ บจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย และจดทะเบียนแปร สภาพเปนบริษัท มหาชนจํากัด และเปลี่ยนชื่อเปน บมจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย เมื่อวันที่ 2 เมษายน 2555)

บจ. วี จีไอ แอดเวอรไทซิ่ง มีเดีย

บจ. 999 มีเดีย

ธุรกิจใหบริการสื่อ วิท ยุ ณ จุดขาย ในโมเดิรนเทรด

บจ. 888 มีเดีย (เดิมชื่อ บจ. วี จี ไอ พรอพเพอรตี้ และไดเปลี่ยนชื่อ บริษัท เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ 2552)

ธุรกิจใหบริการ พื้นที่ Non-Sales Floor ใน Big C และสื่อโฆษณาใน Watsons

บจ. พอยท ออฟ วิว (พีโอวี) มีเดีย กรุป

ธุรกิจใหบริการสื่อ โฆษณาในอาคาร สํานักงาน

สวนที่ 1 หนา 4


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

บริษัท

ประเภทธุรกิจ

สถานที่ตั้ง

บจ. วี จี ไอ มัลติเทค อินเตอร เนชั่นแนล (เดิมชื่อ บจ. วี จี ไอ กรุป และ ไดเปลี่ยนชื่อบริษัท เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ 2552)

ธุรกิจใหเชาจอ ดิจิตอลแกบริษัท ในกลุมวีจีไอ

วี จี ไอ แอดเวอรไทซิ่ง ไชนา คอมพานี ลิมิเต็ด (VGI Advertising China Co., Ltd.)

ธุรกิจใหบริการรับ โฆษณาสินคาจาก สาธารณรัฐ ประชาชนจีน เพื่อ โฆษณาใน ประเทศไทย

21 อาคารทีเอสที ทาวเวอร ชั้น 9 ถ. วิภ าวดีรังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท: 0 2273-8884 โทรสาร: 0 2273-8883 Room 43A13, 4 Fl, Building B, No. 666 Beijing East Road, Huangpu, Shanghai, China โทรศัพท:+ 862152401333 โทรสาร:+862152400910

3. ธุรกิจอสั งหาริมทรัพ ย บจ. บีท ีเอส แอสเสทส (เดิมชื่อ บจ. ยูนิโฮลดิ้ง และได เปลี่ยนชื่อบริษัท เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ 2553)

ถือครองที่ดนิ โรงแรม และพัฒ นา อสังหาริมทรัพย

บจ. ปราณคีรี แอสเซ็ท ส ถือครองที่ดนิ (เดิมชื่อ บจ. เมืองทองเลคไซด และพัฒ นา เรสเตอรรอง และไดเปลี่ยนชื่อ อสังหาริมทรัพย บริษัท เมื่อวันที่ 18 มกราคม 2553) บจ. บีท ีเอส แลนด

พัฒ นาแบรนด สําหรับธุรกิจ อสังหาริมทรัพย และบริการ

บจ. สยาม เพจจิ้ง แอนด คอมมิวนิเคชั่น

ถือครองที่ดนิ และพัฒ นา อสังหาริมทรัพย

21 ซอยเฉยพวง ถ. วิภ าวดี- รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท: 0 2273-8511-5 โทรสาร: 0 2273-8516 21 ซอยเฉยพวง ถ. วิภ าวดี- รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท: 0 2273-8511-5 โทรสาร: 0 2273-8516 21 ซอยเฉยพวง ถ. วิภ าวดี- รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท: 0 2273-8511-5 โทรสาร: 0 2273-8516 21 ซอยเฉยพวง ถ. วิภ าวดี- รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท: 0 2273-8511-5 โทรสาร: 0 2273-8516

สวนที่ 1 หนา 5

ทุนชําระแลว (บาท) 6,000,000

การถือหุน (รอยละ) 100.00 (ถือหุนโดย บมจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย)

USD 2,000,000

100.00 (ถือหุนโดย บมจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย)

800,000,000

100.00

311,000,000

100.00

10,000,000

100.00

5,000,000

100.00


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน) บริษัท

ประเภทธุรกิจ

บจ. กามกุง พร็อพเพอรต้ี

ถือครองที่ดนิ และพัฒ นา อสังหาริมทรัพย

บจ. ดีแนล

อาคารสํานักงาน ใหเชา

บจ. เมืองทอง แอสเซ็ท ส (เดิมชื่อ บจ. เมืองทองอพารท เมนท และไดเปลี่ยนชื่อบริษัท เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2551)

โรงแรม

บจ. ธนายง ฟูด แอนด เบเวอเรจ

ถือครองที่ดนิ และพัฒ นา อสังหาริมทรัพย

บจ. ธนายง พร็อพเพอรต้ี แมเนจเมนท

บริห ารอาคาร

บจ. ยงสุ

หยุดประกอบ กิจการ

บจ. ธนาซิต้ี กอลฟ แอนด สปอรต คลับ (เดิมชื่อ บจ. ธนาซิตี้ กอลฟ แอนด คันทรี คลับ และได เปลี่ยนชื่อบริษัท เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ 2553)

บริห ารและดําเนิน กิจการสนาม กอลฟและกีฬา

แบบ 56-1 ป 2555/56 สถานที่ตั้ง

21 ซอยเฉยพวง ถ. วิภ าวดี- รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท: 0 2273-8511-5 โทรสาร: 0 2273-8516 21 ซอยเฉยพวง ถ. วิภ าวดี- รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท: 0 2273-8833 โทรสาร: 0 2273-8131 21 ซอยเฉยพวง ถ. วิภ าวดี- รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท: 0 2273-8511-5 โทรสาร: 0 2273-8516 100-100/1 หมู 4 ถ. บางนา-ตราด กม.14 ต. บางโฉลง อ. บางพลี จ. สมุท รปราการ 10540 โทรศัพท: 0 2336-1938-9 โทรสาร: 0 2336-1985 100-100/1 หมู 4 ถ. บางนา-ตราด กม.14 ต. บางโฉลง อ. บางพลี จ. สมุท รปราการ 10540 โทรศัพท: 0 2336-1938-9 โทรสาร: 0 2336-1985 21 ซอยเฉยพวง ถ. วิภ าวดี- รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท: 0 2273-8511-5 โทรสาร: 0 2273-8516 100-100/1 หมู 4 ถ. บางนา-ตราด กม.14 ต. บางโฉลง อ. บางพลี จ. สมุท รปราการ 10540 โทรศัพท: 0 2336-1968-75 โทรสาร: 0 2336-1980

สวนที่ 1 หนา 6

ทุนชําระแลว (บาท) 375,000,000

การถือหุน (รอยละ) 100.00

50,000,000

100.00

125,000,000

100.00

1,000,000

100.00

1,000,000

100.00

234,000,000

100.00

20,000,000

100.00


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน) บริษัท

ประเภทธุรกิจ

บจ. สําเภาเพชร

ถือครองที่ดนิ

บจ. นูโ ว ไลน เอเจนซี่

ถือครองที่ดนิ และพัฒ นา อสังหาริมทรัพย

แบบ 56-1 ป 2555/56 สถานที่ตั้ง

100-100/1 หมู 4 ถ. บางนา-ตราด กม.14 ต. บางโฉลง อ. บางพลี จ. สมุท รปราการ 10540 โทรศัพท: 0 2336-1938-9 โทรสาร: 0 2336-1985 21 ซอยเฉยพวง ถ. วิภ าวดี- รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท: 0 2273-8511-5 โทรสาร: 0 2273-8516

ทุนชําระแลว (บาท) 1,000,000

การถือหุน (รอยละ) 100.00

2,001,000,000

80.00

หมายเหตุ: (1) เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2555 บริษัท ฯ ในฐานะเจาหนี้ ไดยื่นฟอง บจ. สําเภาเพชร ในฐานะลูกหนี้ ในมูลหนี้กูยืมเงินตอศาลลมละลาย กลาง ขอใหศาลลมละลายกลางมีพิพากษาให บจ. สําเภาเพชร เปนบุคคลลมละลาย โดยในวัน ที่ 29 พฤศจิ ก ายน 2555 ศาล ลมละลายกลางไดมีคําสั่งพิท ักษท รัพยเด็ดขาด บจ. สําเภาเพชร (2) บจ. สระบุรี พร็อพเพอรตี้ (ทุนชําระแลว 25,000,000 บาท และหยุดประกอบกิจการ) เปนบริษัท รวมที่บริษัท ฯ ถือหุนรอยละ 30.00 โดยวันที่ 29 มิถุนายน 2554 ศาลลมละลายกลางไดมีคําสั่งพิท ักษท รัพยเด็ดขาด บจ. สระบุรี พร็อพเพอร ตี้ แ ล ะบริ ษั ท ฯ ไ ด ตั ด จําหนายเงินลงทุนในบริษัท รวมนี้ตั้งแตงวดไตรมาสที่ 2 ของป 2554/55 (งวดสิ้นสุด 30 กันยายน 2554) ตอมา ในวันที่ 18 เมษายน 2555 ศาลลมละลายกลางไดมีคําพิพากษาให บจ. สระบุรี พร็อพเพอรตี้ ลมละลาย และเมื่อวันที่ 9 ตุลาคม 2555 เ จ า พนั ก งาน พิท ักษท รัพยไดยื่นขออนุญาตขยายระยะเวลาการแบงทรัพยสินครั้งที่ 1 นับตั้งแตวันที่ 18 ตุลาคม 2555 ตอไปอีก 6 เดือน โดยศาล ลมละลายกลางไดมีคําสั่งอนุญาตเมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2555 (3) บจ. กมลา บีช รีสอรท แอนด โฮเต็ล แมนเนจเมนท (ทุนชําระแลว 859,000,000 บาท) เปนบริษัท ยอยที่ บมจ. ระบบขนสงมวล ชน กรุงเทพ ถือหุนรอยละ 100.00 โดยในวันที่ 12 กันยายน 2555 บมจ. ระบบขนสงมวลชนกรุง เ ท พ ไ ด จํ า ห น า ยเ งิ น ล งทุ น ในหุ น ทั้งหมดที่ถือใน บจ. กมลา บีช รีสอรท แอนด โฮเต็ล แมนเนจเมนท โดยไดรับคาตอบแทน 1,643.0 ลานบาท มีผลทําให บจ. กมลา บีช รีสอรท แอนด โฮเต็ล แมนเนจเมนท สิ้นสภาพการเปนบริษัท ยอยของบริษัท ฯ (4) บจ. กามปู พร็อพเพอรตี้ (ทุนชําระแลว 1,075,000,000 บาท) เปนบริษัท ยอยที่บริษัท ฯ ถือหุนรอยละ 100.00 โดยวันที่ 30 ตุลาคม 2555 บริษัท ฯ ไดจําหนายเงินลงทุนในหุนทั้งหมดที่บริษัท ฯ ถือใน บจ. กามปู พร็อพเพอรตี้ โดยไดรับคาตอบแทน 1,811.0 ล า น บาท มีผลทําให บจ. กามปู พร็อพเพอรตี้ สิ้นสภาพการเปนบริษัท ยอยของบริษัท ฯ 4. ธุรกิจบริก าร ธนายง อินเตอรเนชั่นแนล หยุดประกอบ Wilmington Trust Corporate USD 1,000 100.00 ลิมิเต็ด กิจการ Services (Cayman) Lim ited (Tanayong International P.O. Box 32322 SM Limited) 4th Floor, Century Yard, Cricket Square, Elgin Avenue George Town, Cayman Islands ธนายง ฮองกง ลิมิเต็ด ลงทุนใน 11F Malahon Centre, HK $10,000 100.00 (Tanayong Hong Kong หลักทรัพย 10-12 Stanley St. Central, Limited) Hong Kong

สวนที่ 1 หนา 7


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56 ทุนชําระแลว (บาท) 2,000,000

การถือหุน (รอยละ) 100.00

21 อาคารทีเอสทีท าวเวอร ชั้น 19 และ 24 ถ. วิภ าวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท 0 2617-8338 โทรสาร 0 2617-8339

400,000,000

90.00 (ถือหุนโดย บมจ. ระบบขนสง มวลชนกรุงเทพ)

21 ซอยเฉยพวง ถ. วิภ าวดี- รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท: 0 2273-8733 โทรสาร: 0 2273-8730 21 ซอยเฉยพวง ถ. วิภ าวดี- รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท: 0 2273-8507 โทรสาร: 0 2273-8509 Unit 2602, 26th Floor, Office Tower Convention Plaza, 1 Harbour RoadWanchai, Hong Kong โทรศัพท: +852 2588 0018 โทรสาร: +852 2519 3591

25,000,000

51.00

8,000,000

50.00

HK$ 600,000

50.00 (ถือหุนโดย ธนายง ฮองกง ลิมิเต็ด)

บริษัท

ประเภทธุรกิจ

สถานที่ตั้ง

บจ. แครอท รีวอรดส (เดิมชื่อ บจ. บางกอก สมารท การด เทคโนโลยี่ และได เปลี่ยนชื่อบริษัท เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2554)

ใหบริการดานงาน ลูกคาสัมพันธ (CRM loyalty program) และ เครือขาย เครื่องพิมพคูปอง อัตโนมัติ (coupon kiosks) ใหบริการเงิน อิเล็กทรอนิกส (e-money) และ ระบบตั๋วรวม (common ticketing system) สําหรับระบบขนสง มวลชนและรานคา รับเหมาและ บริห ารงาน กอสราง

21 อาคารทีเอสทีท าวเวอร ชั้น 24 ถ. วิภ าวดี- รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท 0 2618-3799 โทรสาร 0 2618-3798

บจ. บางกอก สมารท การด ซิสเทม

บจ. เอชเอชที คอนสตรัคชั่น (เดิมชื่อ บจ. ฮิบเฮง คอนสตรัคชั่น (ประเทศไทย) และไดเปลี่ยนชื่อบริษทั เมื่อ วันที่ 30 พฤศจิกายน 2554)

บจ. แอบโซลูท โฮเต็ล เซอรวิส บริห ารจัดการ โรงแรม

แอบโซลูท โฮเต็ล เซอรวิส ฮองกง ลิมิเต็ด (Absolute Hotel Services Hong Kong Limited)

บริห ารจัดการ โรงแรม

สวนที่ 1 หนา 8


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

2.

แบบ 56-1 ป 2555/56

ปจจัยความเสี่ยง

ในหัวขอ นี้ บริษัทฯ ไดทําการชี้แจงบรรดาความเสี่ยงตาง ๆ ที่บริษัทฯ เชื่อ วามีนัยสําคัญ แตอ ยางไรก็ดี อาจมี ความเสี่ยงอื่นที่บริษัทฯ มิอ าจคาดหมาย หรือ ความเสี่ยงอื่นที่บริษัทฯ คิดวาเปนความเสี่ ย ง ที่ ไ ม มี นั ย สํ า คั ญ ที่ ส  ง ผล กระทบในทางลบตอ ธุร กิจ ฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน และโอกาสทางธุร กิจของบริษัทฯ ดวย สําหรับขอ มูลในสวน นี้ที่อ างถึง หรือ เกี่ยวขอ งกับรัฐบาลหรือ เศรษฐกิจในภาพรวมของประเทศ ไดมาจากขอ มูลที่มีการเปดเผยหรือ คัดยอจาก สิ่ง พิมพของรัฐบาลหรือ จากแหลง ขอ มูลอื่นๆ โดยที่บริษัทฯ มิไดทําการตรวจสอบหรือ รับรองความถูกตอ งขอ ง ข อ มู ล ดัง กลาวแตประการใด เมื่อ วันที่ 17 เมษายน 2556 บีทีเอสซีไดขายและโอนสิทธิในรายได ค า โดยส าร สุ ท ธิ ที่ จ ะ เกิ ด ขึ้ น จากการ ดําเนินงานระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลักระยะทางรวม 23.5 กิโลเมตร ภายใตส ัญญาสัมปทาน นับจาก วันที่ทําการซื้อ ขายเสร็จสิ้น (17 เมษายน 2556) จนถึง วันสิ้นสุดอายุส ัญญาสัมปทาน (4 ธันวาคม 2572) ใหแกกอ ง ทุ น BTSGIF (โปรดพิจารณารายละเอียดใน หัวขอ 3.4 ธุร กรรมกองทุนรวมโครงสรางพื้นฐาน และ หัวขอ 12 ขอ มู ล อื่ น ที่ เกี่ยวขอ ง) ทั้ง นี้ การซื้อ ขายรายไดคาโดยสารสุทธินี้ เปนการโอนความเสี่ยงและผลประโยชน (risks and rewards) จาก การดําเนินงานระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลักจากบี ที เ อ ส ซี ไ ปให แ ก ก อ ง ทุ น BTSGIF อ ย า ง ไร ก็ ดี บีทีเอสซียัง คงเปนคูส ัญญาตามสัญญาสัมปทานกับกทม. และบีทีเอสซียัง คงเปนผูบริหารจัดการในการดําเนินงานระบบ รถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลัก เพื่อ ประโยชนของกองทุน BTSGIF ภายใตการกํากับดูแ ลและ ควบคุ ม ขอ ง กองทุน BTSGIF ตามขอ กําหนดและเงื่อ นไขของสัญญาซื้อ และโอนสิทธิร ายไดส ุทธิ ตลอ ดจนมี ห น า ที่ นํ า ส ง ร ายได คาโดยสารสุทธิใหแกกองทุน BTSGIF ตลอดอายุส ัญญาสัมปทาน นอกจากนี้ บริษัทฯ ไดจองซื้อ และเปนผูถือ หนวยลงทุนของกองทุน BTSGIF จํานวน 1/3 (รอ ยละ 33.33) ซึ่ ง รายไดของกองทุน BTSGIF มาจากรายไดคาโดยสารสุทธิจากการดําเนินงานระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสาย หลัก ดัง นั้น บริษัทฯ จึง มีความเสี่ยงตางๆ อันเกี่ยวเนื่อ งกับความสามารถในการทํากําไรจากการ ดํ า เนิ น ง านร ะ บบ รถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลัก โดยหากกองทุน BTSGIF มีผลประกอบการที่ดี ก็จะสง ผลให บ ริ ษั ท ฯ ได ร ั บ ผลตอบแทนที่ดีในรูปเงินปนผลตามสัดสวนการถือ หนว ยลง ทุ น ในกอ ง ทุ น BTSGIF ในทาง กลั บ กั น หากกอ ง ทุ น BTSGIF มีผลประกอบการที่ไมดี ก็จะสง ผลตอ ความสามารถในการจายเงินปนผลของกองทุน BTSGIF ซึ่ ง จะ ส ง ผล กระทบในทางลบตอ บริษัทฯ เชนเดียวกัน ดัง นั้น นอกจากความเสี่ยงตางๆ ที่จะกลาวในหัวขอ นี้แ ล ว โปร ดพิ จ าร ณา ความเสี่ยงเกี่ยวกับกองทุนหรือ โครงสรางของกองทุน และความเสี่ยงเกี่ยวกับการลงทุนในหนวยลงทุน ตามหนั ง สื อ ชี้ชวนเสนอขายหนวยลงทุน กองทุน BTSGIF เพิ่มเติมไดที่เว็บไซตของกองทุน BTSGIF ที่ www.btsgif.com นอกจากการดําเนินงานระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลั ก แล ว บี ที เ อ ส ซี ยั ง ได ร ั บ ว า จ า ง จาก กรุง เทพธนาคมใหเปนผูใหบริการเดินรถและซอ มบํารุง รถไฟฟาในระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสว นต อ ขยาย (สวนตอ ขยายสายสีลม ชวงสะพานตากสิน-วงเวียนใหญ และชวงวงเวียนใหญ-บางหวา และสวนตอ ขยายสายสุขุมวิท ชวงออ นนุช-แบริ่ง และจะรวมเสนทางเดิมของสัมปทานภายหลัง ครบกําหนดอายุส ัมปทานในวันที่ 4 ธันวาคม 2572) ภายใตส ัญญาใหบริการเดินรถและซอ มบํารุง ระยะยาว และไดร ับจางจากกรุง เทพธนาคมใหเ ป น ผู บ ริ ห าร ส ถานี แ ละ ใหบริการเดินรถโดยสารดวนพิเศษ BRT เปนระยะเวลา 7 ป ตั้ง แตเดือ นพฤษภาคม 2553 (โปรดพิจารณารายละเอียด ใน หัวขอ 4.1.1 ธุร กิจใหบริการรถไฟฟา และ หัวขอ 4.1.2 รถโดยสารดวนพิเศษ BRT) ดัง นั้น แมบีทีเอสซีจะไดขายรายไดคาโดยสารสุทธิจากการดําเนินงานระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุ ง เทพ สายหลักใหแกกองทุน BTSGIF แลว ความเสี่ยงตางๆ อันเกี่ยวกับธุร กิจระบบขนสง มวลชนยัง คงอยู แต อ าจมี ร ะ ดั บ ผลกระทบจากความเสี่ยงแตกตางออกไป โดยความเสี่ยงบางประการอาจลดลง และความเสี่ยงบางประการอาจเพิม่ ขึน้ สวนที่ 1 หนา 9


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

เนื่อ งจากขอ กําหนดและเงื่อ นไขตางๆ ตามที่ร ะบุไวในสัญญาที่เกี่ยวขอ งกับการเขาทําธุร กรรมกองทุนรวมโครงส ร า ง พื้นฐาน (โปรดพิจารณารายละเอียดใน หัวขอ 3.4 ธุร กรรมกองทุนรวมโครงสรางพื้นฐาน และ หัวขอ 12 ข อ มู ล อื่ น ที่ เกี่ยวขอ ง) บริษัทฯ มีการประกอบธุร กิจหลัก คือ (1) ธุ ร กิ จ ร ะ บบขนส ง มวลชน (2) ธุ ร กิ จ สื่ อ โฆษณา (3) ธุ ร กิ จ อสัง หาริมทรัพย และ (4) ธุร กิจบริการ บริษัทฯ มีความเสี่ยงในการดําเนินธุร กิจแตละประเภท เชนเดียวกับความเสี่ ย ง ทั่วไปที่อ าจเกิดขึ้นกับธุร กิจทุกประเภท โดยมีความเสี่ยงที่ส ําคัญตางๆ ดัง นี้ 2.1

ความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับธุรกิจการดําเนินการระบบขนสงมวลชน

2.1.1

ปริมาณผูโดยสารและรายไดจากคาโดยสารในระบบรถไฟฟาขนสงมวลชนกรุงเทพสายหลัก

บีทีเอสซีมีขอ จํากัดในการปรับเพิ่มอัตราคาโดยสารเพื่อ ใหส อดคลอ งกับการเปลี่ยนแปลง ขอ ง ภ าวะ ตลาด แนวโนมของตลาด หรือ เหตุการณอ ื่นๆ และในการปรับเพิ่มอัตราคาโดยสารเพื่อ ชดเชยกับตนทุนในการดําเนินการและ ตนทุนอื่นๆ อันเปนผลมาจาก (1) ผลของพลวัตของการแขง ขันและ ความพอ ใจขอ ง ผู โ ดยส าร และ (2) ผลขอ ง ขอ กําหนดในสัญญาสัมปทาน การปรับอัตราคาโดยสารขึ้นอยูกับ เงื่ อ นไขที่ ร ะ บุ ไ ว ใ นสั ญ ญาสั ม ปทาน กล า วคื อ บีทีเอสซีมีส ิทธิปรับคาโดยสารที่เรียกเก็บได (Effective Fare) ไดไมเกิน 1 ครั้ง ในทุกร ะ ยะ เวลา 18 เดื อ น แต ทั้ ง นี้ จะตอ งไมเกินเพดานอัตราคาโดยสารสูง สุดที่อ าจเรียกเก็บได (Authorized Fare) โดยหากดั ช นี ร าคาผู บ ริ โ ภ คชุ ด ประจําเดือ นทั่วไปสําหรับเขตกรุง เทพฯ (Bangkok consumer price index) ซึ่ง ประกาศโดยกระทรวงพาณิชยในเดื อ น ใดก็ตามเมื่อ เปรียบเทียบกับระยะเวลาอยางนอ ย 12 เดือ นกอ นหนานั้น เพิ่มขึ้ น ร อ ยละ 5 หรื อ มากกว า บี ที เ อ ส ซี สามารถขอใหปรับขึ้นเพดานอัตราคาโดยสารสูง สุดที่อ าจเรียกเก็บได (Authorized Fare) ในอัตราไมเกินรอ ยละ 7 จาก อัตราเดิม นอกจากนี้ ในกรณีพิเศษบางกรณี บีทีเอสซีอ าจขอปรับเพดานอัตราคาโดยสาร สู ง สุ ด ที่ อ าจเรี ย กเก็ บ ได (Authorized Fare) ได เชน ในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยนของเงินบาทตอ เงินเหรียญสหรัฐสูง หรือต่าํ กวาอัตราแลกเปลี่ยนอางอิง ที่กําหนด การเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ยในตางประเทศหรือ ภายในประเทศสูง หรือ ต่ํา กวาอัตราดอกเบี้ยอางอิง ที่กําหนด ความผันผวนของตนทุนคากระแสไฟฟา หรื อ มี ค วามเสี่ ย ง เป น พิ เ ศษ (certain exceptional risk) เกิดขึ้น ซึ่ง หากเกิดกรณีดัง กลาวนี้ขึ้น บีทีเอสซีส ามารถเสนอขอใหมีการเพิ่มเพดานอัตราคาโดยสาร สูง สุดที่อ าจเรียกเก็บได ในขณะเดียวกัน กทม. ก็ส ามารถที่จะขอใหมีการปรับลดเพดานอัตราคาโดยสารขั้นสูง สุดทีอ่ าจ เรียกเก็บไดเชนเดียวกัน ทั้ง นี้ ในกรณีที่คูส ัญญาตกลงกันไมไดภ ายใน 30 วั น บี ที เ อ ส ซี ห รื อ กทม. อ าจร อ ง ขอ ให คณะกรรมการที่ปรึกษา (Advisory Committee) ซึ่ง จัดตั้ง ขึ้นตามสัญญาสัมปทานตัดสินวาขอ เสนอปรับราคาขึ้นหรือลง ดัง กลาวเปนที่ยอมรับไดหรือ ไม อยางไรก็ดี หากการอนุมัติใหข้นึ คาโดยสารในขณะนั้นเปนการขัดแยง กับนโยบายของรัฐบาลแลว บีทีเอสซีจะ ไมไดร ับอนุญาตใหเพิ่มอัตราคาโดยสาร แตร ัฐบาลจะจัดหามาตรการชดเชยบางประการเพื่อ บรรเทาความเสียหายทีเ่ กิด แกบีทีเอสซี อยางไรก็ตาม บริษัทฯ ไมอ าจรับประกันไดวารัฐบาลจะ จั ด หาหรื อ จั ด ให มี ก าร ชดเชยดั ง กล า ว ทั้ ง นี้ ขอ กําหนดเกี่ยวกับการชดเชยนี้เขียนไวอ ยางกวาง ยัง ไมมีการทดสอบ และยัง ไมมีขอ กําหนดเฉพาะสําหรับการชดเชย ดัง กลาวอยูในสัญญาตางๆ นอกเหนือ จากนั้น ถึง แมวาสัญญาสัมปทานจะ อ นุ ญ าตให บี ที เ อ ส ซี ส ามาร ถขึ้ น อั ต ร า คาโดยสารไดก็ตาม บีทีเอสซีหรือ กองทุน BTSGIF อาจเลือ กที่จะไมขึ้นอัตราคาโดยสารเนื่อ งจากเหตุผลทางการเมือ ง สัง คม เหตุผลอื่นๆ ที่เกี่ยวกับพลวัตในการแขง ขันในอุตสาหกรรมการขนสง มวลชนและความพึง พอใจของ ผู โ ดยส าร หรือ เหตุอ ื่นๆ นอกจากนี้ เหตุผลอื่นๆ อาจรวมถึง แนวโนมผูโดยสาร ทั้ง นี้ การปรับขึ้นคาโดยส าร อ าจทํ า ให จํ า นวน ผูโดยสารลดลงซึ่ง อาจสง ผลกระทบในทางลบอยางมีนัยสําคัญตอ รายไดคาโดยสาร สวนที่ 1 หนา 10


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

แนวโนมของจํานวนผูโดยสารไดร ับผลกระทบจากปจจัยหลายประการ ซึ่ง สวนใหญอ ยูนอกเหนือ การควบคุ ม ของภาคเอกชน เชน ระดับการพัฒนาโครงขายดานการขนสง อื่นๆ ที่จะเชื่อ มตอ กับร ะ บบร ถไฟฟ า บี ที เ อ ส ความ ตอ งการของผูโดยสาร ความเชื่อ มั่นในดานความปลอดภัย สภาพการจราจร สภาพเศรษฐกิจโดยรวม ราคาน้ํามัน การ พัฒนาอสัง หาริมทรัพยในบริเวณใกลกับสถานีร ถไฟฟาบีทีเอส แผนการของรัฐบาลที่จะขยายระบบขนส ง อื่ น ๆ การ ชุมนุมประทวงทางการเมือ ง และความเสี่ยงดานการกอ การราย นอกจากนี้แลว แนวโนมของจํานวนผูโดยสารยังอาจจะ ไดร ับผลกระทบ เนื่อ งจากการเผชิญหนากับการแขง ขันจากการขนสง สาธารณะรูปแบบอื่ น ๆ ซึ่ ง อ าจส ง ผลต อ การ กําหนดอัตราคาโดยสาร จํานวนผูโดยสาร และรายไดคาโดยสารที่ลดลง ตลอดจนการพึ่ง พาระบบการสง ตอ ผูโดยสาร จากระบบการขนสง รูปแบบอื่น (feeder system) และสถานีเชื่อ มตอ (interchange station) ที่จํากัด ซึ่ง อ าจจะ ส ง ผล กระทบในทางลบหากระบบการสง ตอ ผูโดยสารจากระบบการขนสง รูปแบบอื่นตอ งหยุดใหบริการ เกิ ด ร ะ บบขั ด ข อ ง มีการพัฒนาที่ลาชา หรือ หากการขยายพื้นที่ใหบริการของเครือ ขายระบบการสง ตอ ผูโดยสารไมประสบความสําเร็จ ดัง นั้น หากปริมาณผูโดยสารของระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุ ง เทพส ายหลั ก และ / หรื อ ร ายได จ าก คาโดยสารลดลงหรือ ไมเพิ่มขึ้นแลว ธุร กิจ ฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน และโอกาสทางธุร กิจของกองทุน BTSGIF จะไดร ับผลกระทบในทางลบอยางมีนัยสําคัญ ซึ่ง อาจจะสง ผลกระทบตอ ความสามารถในการจายเงินปนผลของกองทุน BTSGIF ใหแกผูถือ หนวยลงทุน โดยกองทุน BTSGIF อาจไมส ามารถจายเงินปนผลในหนวยลง ทุ น หรื อ ไม ส ามาร ถ รักษาระดับการจายเงินปนผลได ซึ่ง จะสง ผลกระทบในทางลบตอ ธุร กิจ ฐานะทางการเงิน และผลการดําเนิ น ง านขอ ง บริษัทฯ ในฐานะผูถือ หนวยลงทุนรายใหญในสัดสวนรอ ยละ 33.33 อยางไรก็ตาม นับตั้ง แตร ะบบรถไฟฟาบีที เ อ ส เป ด ใหบริการมานั้น รายไดจากคาโดยสารจากระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลักมีการเติบโตอยางตอ เนื่อ ง 2.1.2 สัญญาสัมปทาน และสัญญาใหบริการเดินรถและซอมบํารุงระยะยาวอาจถู ก ยกเลิ ก โดย กทม. และ กรุงเทพธนาคม ตามลําดับ หากมีเหตุบางประการตามที่ระบุไวในสัญญาดังกลาวเกิดขึ้น ตามสัญญาสัมปทาน หากมีเหตุการณบางประการ หรือ เหตุการณที่กอ ขึ้นโดยกทม. กทม. หรื อ บี ที เ อ ส ซี ตามลําดับ อาจบอกเลิกสัญญาสัมปทานได เวนแตเหตุการณดัง กลาวจะไดร ับการเยียวยาหรือ แกไขภายในระยะเวลาที่ กําหนดไว ทั้ง นี้ กทม. มีส ิทธิบอกเลิกสัญญาสัมปทานไดในกรณีที่บีทีเอสซีลมละลาย หรือ ในกร ณี ที่ บี ที เ อ ส ซี จ ง ใจผิ ด สัญญาสัมปทานในสาระสําคัญอยางตอ เนื่อ ง ซึ่ง ในกรณีดัง กลาวนี้ กทม. จะตอ งมีหนัง สือ บอกกลาวการยกเลิกสัญญา สัมปทานลวงหนาหนึ่ง เดือ น (ในกรณีที่แกไขไมได) หรือ กทม. จะตอ งมีหนัง สือ บอกกลาวไปยั ง บี ที เ อ ส ซี ล ว ง หน า ไม นอ ยกวาหกเดือ น (ในกรณีที่แกไขได) หากบีทีเอสซีไมส ามารถแกไขเหตุผิดสัญญาได ใ นเวลาดั ง กล า ว เจ า หนี้ ข อ ง บีทีเอสซี (ซึ่ง รวมถึง กองทุน BTSGIF) มีส ิทธิหาบุคคลภายนอกมารับโอนสิทธิและหนาที่ภ ายใต ส ั ญ ญาสั ม ปทานได ภายในระยะเวลาอีกหกเดือ นถัดไป หากเจาหนี้ไมส ามารถหาบุคคลภายนอกที่เหมาะ ส มมารั บ โอ นสิ ท ธิ แ ละ หน า ที่ ภายในระยะเวลาดัง กลาว กทม. มีส ิทธิบอกเลิกสัญญาสัมปทาน โดยบีทีเอสซีจะตอ งชดใชคาเสียหายใหแกกทม. และ กรรมสิทธิ์ในอุปกรณ อุปกรณควบคุม และทรัพยส ินอื่นๆ ซึ่ง ตั้ง อยูบนที่ดินที่ใชส ําหรับระบบร ถไฟฟ า ขนส ง มวลชน กรุง เทพสายหลักจะถูกโอนใหแก กทม. ในกรณีที่ส ัญญาสัมปทานถูกยกเลิก บีทีเอสซีจะไมส ามารถดํา เนิ น ง านร ะ บบ รถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลักได ซึ่ง จะมีผลกระทบในทางลบอยา ง ร า ยแร ง ต อ ธุ ร กิ จ ฐานะ ทาง การ เงิ น ผลการดําเนินงาน และแนวโนมการดําเนินการในอนาคตของบีทีเอสซี บริษัทฯ และกองทุน BTSGIF อย า ง ไร ก็ ดี ใน อดีตที่ผานมา ไมเคยเกิดเหตุการณที่เปนเหตุในการบอกเลิกสัญญาสัมปทาน ซึ่ง สง ผลใหกทม. ต อ ง แจ ง บี ที เ อ ส ซี ใ ห ทราบถึง การกระทําผิดสัญญาสัมปทาน นอกจากนี้ หากสัญญาสัมปทานถูกยกเลิก จะถือ เปนเหตุผิดนัดผิดสัญญาตามสัญญาซื้อ และโอนสิท ธิ ร ายได สุทธิ ซึ่ง เปนเหตุใหกองทุน BTSGIF สามารถบัง คับใหบริษัทฯ ชําระหนี้ตามภาระค้ําประกันโดยบัง คับจํานําหุนบีทีเอสซี สวนที่ 1 หนา 11


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ทั้ง หมดตามสัญญาจํานําหุน หรือ ใหบริษัทฯ โอนหุนบีทีเอสซีทั้ง หมดใหแกกองทุน BTSGIF ตามสัญญาจะซื้อ จะขายหุน ได นอกจากนี้ กองทุน BTSGIF ยัง อาจสามารถใชส ิทธิในการรับโอนสัญญาสั ม ปทาน (step-in right) ในฐานะ เป น ตัวแทนเจาหนี้ของบีทีเอสซี ตามเงื่อ นไขและขอ กําหนดในสัญญาสัมปทาน (โปรดพิจารณารายละเอีย ดใน หั ว ข อ 12 ขอ มูลอื่นที่เกี่ยวขอ ง) สําหรับสัญญาใหบริการเดินรถและซอ มบํารุง ระยะยาวนั้น มีขอ สัญญาเกี่ยวกับ เหตุ ก าร บอ กเลิ ก สั ญ ญาที่ คลายคลึง กับสัญญาสัมปทาน โดยกรุง เทพธนาคมมีส ิทธิบอกเลิกสัญญาใหบริการเดินรถและซอ มบํารุง ระยะยาวได ใ น กรณีที่บีทีเอสซีลมละลาย หรือ ในกรณีที่บีทีเอสซีไมปฏิบัติตามหนาที่ตามสัญญาใหบริการเดินรถและ ซ อ มบํ า รุ ง ร ะ ยะ ยาวในสวนที่เปนสาระสําคัญและไมทําการแกไขภายในเวลาอันสมควร ซึ่ง หากมีการบอกเลิกสัญญาดัง กลาว บีทีเอส ซี จะไมส ามารถดําเนินการระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพในสวนตอ ขยายสายสีลมและสวนตอ ขยายส ายสุ ขุ ม วิ ท ทั้ง นี้ หากมีผูประกอบการรายอื่นมาดําเนินการระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพในสวนตอ ขยายดัง กลาว ผูโดยสาร อาจประสบกับความไมส ะดวกในกรณีที่ผูโดยสารเริ่มตนการเดินทางในสวนตอ ขยายและสิ้นสุดการเดินทาง ในร ะ บบ รถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลัก หรือ ในทางกลับกัน ความไมส ะดวกดัง กลาวอาจสง ผลให จํ า นวนผู โ ดยส าร ภายในเสนทางการเดินทางของระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลักลดลง ซึ่ง อาจสง ผลกระทบในทาง ลบต อ รายไดคาโดยสารและผลการดําเนินงานของกองทุน BTSGIF และบริษัทฯ นอกจากนี้ หากสัญญาใหบริการเดินรถและ ซอ มบํารุง ระยะยาวถูกบอกเลิก จะทําใหบีทีเอสซีไมไดร บั คาจางตามสัญญาใหบริการเดินรถและซอ มบํารุง ระยะยาวอีก ตอ ไป และบีทีเอสซียัง อาจตอ งรับผิดตอ ความเสียหายที่เกิดจากการผิดสัญญาหรือ การเลิกสัญญาดัง กลาว ซึ่ง อาจสงผล กระทบในทางลบอยางมีนัยสําคัญตอ รายได ธุร กิจ ฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน และโอกาสทางธุร กิจของบีทีเอสซี และบริษัทฯ 2.1.3

ความเสี่ยงจากการผันผวนของการปรับตัวเพิ่มขึ้นของตนทุนการดําเนินงาน

ในการดําเนินระบบรถไฟฟาบีทีเอส มีตนทุนการดําเนินงานตางๆ ซึ่ง อาจมีความผันผวนและ อ ยู เ หนื อ การ ควบคุมของบีทีเอสซี เชน คาใชจายทางดานการซอ มบํารุง คาไฟฟาที่ใชตามสถานีร ถไฟฟาและสําหรับการปร ะ กอ บ กิจการเดินรถของบีทีเอสซี ผลประโยชนและสวัส ดิการของพนักงานบีทีเอสซี คาเบี้ยประกันภัย เปนตน ซึ่ง การปรับตัว เพิ่มขึ้นของตนทุนการดําเนินงานอาจสง ผลกระทบในทางลบตอ ผลการดําเนินงานของระบบรถไฟฟาบีทีเอส สําหรับการดําเนินงานระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลัก ซึ่ง บีทีเอสซีไดขายรายไดคาโดยสารสุทธิ จากการดําเนินงานระบบดัง กลาวใหแกกองทุน BTSGIF แลว หากตนทุนการดําเนินงานระบบขนสง มวลชนกรุ ง เทพ สายหลักปรับตัวสูง ขึ้น แตบีทีเอสซีหรือ กองทุน BTSGIF ไมส ามารถเพิ่มอัตราคาโดยสารเพื่อ สะทอ นตนทุนที่เพิ่มสูงขึน้ ได จะสง ผลใหร ายไดคาโดยสารสุทธิจากการดําเนินงานระบบขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลักที่บีทีเอสซีตอ งนําสง ใหแก กองทุน BTSGIF ลดลง และอาจสง ผลกระทบในเชิง ลบตอ ธุร กิจ ผลประกอบการ ผลการดําเนินงาน และแนวโนมในการ ทําธุร กิจของกองทุน BTSGIF และบริษัทฯ ได ถึง แมวาในอดีตที่ผานมา จะยัง ไมเคยมีเหตุการณที่เปนสาเหตุใหต น ทุ น การดําเนินงานของบีทีเอสซีเพิ่มขึ้นอยางมีนัยสําคัญและสง ผลตอ ความสามารถในการสรางผลกํา ไร และ ในสั ญ ญา สัมปทานไดกําหนดใหบีทีเอสซีส ามารถปรับคาโดยสารเปนกรณีพิเศษไดเมื่อ เกิดเหตุการณบางประการตามที่กําหนดไว อยางไรก็ดี ตนทุนการดําเนินงานอาจเพิ่มสูง ขึ้นเพราะปจจัยที่อ ยูนอกเหนือ การควบคุม รวมถึง จากการที่บีทีเอสซีตอ ง ปฏิบัติหนาที่ตามสัญญาในการซอ มบํารุง ตอ อายุ หรือ ทดแทนทรัพยส ินหรือ โครงสรางที่ใชในการ ปร ะ กอ บการ เดิ น รถไฟฟาเพื่อ ใหเปนไปตามมาตรฐาน ซึ่ง กทม. อาจเรียกใหบีทีเอสซีดํ า เนิ น การ ตามมาตร ฐานที่ ส ู ง ขึ้ น เช น การ กําหนดใหมีร ถไฟฟาใหบริการตามระยะเวลาขั้นต่ํา และการกําหนดจํานวนเที่ยวขั้นต่ําในแตละวัน หรือ ผลประโยชนและ สวัส ดิการของพนักงานบีทีเอสซีอ าจตอ งมีการปรับเพิ่มขึ้น หรือ บีทีเอสซีอ าจตอ งจายคาตอบแทนให กั บ ซี เ มนส ต าม สวนที่ 1 หนา 12


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

สัญญาซอ มบํารุง เพิ่มขึ้น หรือ อาจมีการเปลี่ยนแปลงนโยบายทางการเงินหรือ นโยบายอื่นใดของรัฐบาลที่มีผ ลต อ การ ดําเนินกิจการหรือ ความตอ งการดานการขนสง และไมมีหลักประกันใดๆ วาบีทีเอสซีจะมีส ิทธิไดร ับการชดเชยคาใชจา ย ใดๆ จากรัฐบาล หรือ จากกทม. หรือ บีทีเอสซีจะสามารถเรียกเก็บคาโดยสารในอัตราที่ส ูง ขึ้นได เพื่อ ชดเชยกับตนทุนที่ เพิ่มสูง ขึ้น ดัง นั้นคาใชจายในอนาคตอาจเพิ่มขึ้นในอัตราที่ส ูง กวารายไดคาโดยสารในอนาคต เหตุการณเชนนัน้ จะสงผล ใหร ายไดคาโดยสารสุทธิจากการดําเนินงานระบบขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลักที่บีทีเอสซีจะตอ งนําสง ใหแกกอ ง ทุ น BTSGIF ลดลง และอาจสง ผลกระทบในเชิง ลบตอ ธุร กิจ ฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน และ โอ กาส ทาง ธุ ร กิ จ ขอ ง กองทุน BTSGIF และบริษัทฯ สําหรับการดําเนินงานระบบขนสง มวลชนกรุง เทพสวนตอ ขยาย แมบีทีเอสซีจะไดร ับคาจางจากการใหบริการ เดินรถไฟฟาบีทีเอสสวนตอ ขยายจากกรุง เทพธนาคมตามสัญญาใหบริการเดินรถและซอ มบํารุง ระยะยาว อยางไร ก็ ดี การปรับตัวเพิ่มขึ้นของตนทุนการดําเนินงานไมวาจะเปนคาใชจายทางดานการซอ มบํ า รุ ง ต น ทุ น ค า ไฟฟ า ต น ทุ น ผลประโยชนและสวัส ดิการของพนักงาน เปนตน อาจสง ผลกระทบในทางลบตอ ความสามาร ถในการ ทํ า กํ า ไร ขอ ง บีทีเอสซี และอาจสง ผลกระทบในเชิง ลบตอ ธุร กิจ ฐานะทางการเงิน ผลประกอบการ และแนวโนม การ ดํ า เนิ น ง านใน อนาคตของบีทีเอสซีและบริษัทฯ อยางไรก็ดี ในอดีตที่ผานมา ยั ง ไม เ คยมี เ หตุ ก าร ณ ที่ เ ป น ส าเหตุ ใ ห ต น ทุ น การ ดําเนินงานของบีทีเอสซีเพิ่มขึ้นอยางมีนัยสําคัญและสง ผลตอ ความสามารถในการสรางผลกําไร และในสัญญาใหบริการ เดินรถและซอ มบํารุง ระยะยาวมีขอ สัญญาระบุวาบีทีเอสซีส ามารถเสนอขอปรับคาจางกับกรุง เทพธนาคมได ในกรณีที่ คาใชจายในการเดินรถมีการเปลี่ยนแปลงอันเกิดจากปจจัยภายนอก เชน คาจัดหาขบวนร ถไฟฟ า เพิ่ ม ดั ช นี ร าคา ผูบริโภคทั้ง ในและตางประเทศ อัตราคาพลัง งานไฟฟา อัตราดอกเบี้ยเงิ น กู อั ต ร าแลกเปลี่ ย น หรื อ อั ต ร าค า แร ง ขั้นต่ํา 2.1.4

ไฟฟาเปนสิ่งสําคัญตอการดําเนินงานระบบรถไฟฟ า บี ที เ อส และบี ที เ อสซี ต อ งพึ่ ง พาการไฟฟ า นครหลวง (กฟน.) ในการจัดสงไฟฟา

การดําเนินงานของระบบรถไฟฟาบีทีเอสขึ้นอยูกับพลัง งานไฟฟาซึ่ง จัดสง โดยการไฟฟานครหลวง (กฟน. ) โดยมีการใชส ถานีจายกระแสไฟฟา 2 สถานี คือ ที่โรงเก็บและซอ มบํารุง ที่หมอชิตสถานีหนึ่ง และที่ซอยไผส ิง โต ถนน พระราม 4 อีกสถานีหนึ่ง ทั้ง นี้ ระบบรถไฟฟาถูกออกแบบใหดําเนินงานโดยใชไฟฟาจากสถานีจายกระแสไฟฟาสถานี ใดสถานีหนึ่ง หรือ ทั้ง สองสถานี และมีการจัดไฟฟาสํารองเพื่อ ใชในกรณีที่ร ะบบจายไฟลมเหลว แตไฟฟาสํารองดัง กลาว จะถูกใชเพื่อ วัตถุประสงคในการดําเนินการระบบที่เกี่ยวขอ งกับความปลอดภัย การรักษาขอ มูล ระบบที่จําเปนสําหรับ การเริ่มการบริการอีกครั้ง และเพื่อ นํารถไฟฟาไปจอด ณ สถานีที่ใกลที่ส ุดในกรณีที่เกิดความขัด ข อ ง ในการ จ า ยไฟ ตามปกติเทานั้น อยางไรก็ตาม การจัดสง พลัง งานไฟฟาสํารองดัง กลาวไมเพียงพอสําหรับการเริ่มเดินเครือ่ งรถไฟฟาอีก ครั้ง ทั้ง นี้ เนื่อ งจากการไฟฟานครหลวง (กฟน.) เปนผูจัดสง พลัง งานไฟฟาเพียงรายเดียว ดัง นั้ น การ ไม มี พ ลั ง ง าน ไฟฟา หรือ การหยุดชะงักชั่วคราว หรือ ลาชาอยางมากในการจัดสง พลัง งานไฟฟา หรือ การไมส ามารถจัดสง พลัง งาน ไฟฟาในปริมาณที่ตอ งการ ณ เวลาที่ตอ งการใชจะทําใหการทํางานของระบบร ถไฟฟ า หยุ ด ชะ งั ก ทั้ ง นี้ หากเกิ ด เหตุการณใดๆ ขางตนอาจสง ผลกระทบในทางลบตอ ธุร กิจ และผลการดําเนินงานของบีทีเอสซี กองทุน BTSGIF และ บริษัทฯ

สวนที่ 1 หนา 13


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

2.1.5

แบบ 56-1 ป 2555/56

บีทีเอสซียังตองพึ่งพาซีเมนสในการใหบริการดูแลรักษารถไฟฟาจํานวน 35 ขบว น และระบบไฟฟ า และเครื่องกลอื่นๆ

บีทีเอสซียัง ตอ งพึ่ง พาซีเมนสในการใหบริการดูแลรักษารถไฟฟาจํานวน 35 ขบวน และ ร ะ บบไฟฟ า และ เครื่อ งกลอื่นๆ อยางไรก็ตาม เมื่อ วันที่ 30 กันยายน 2552 บีที เ อ ส ซี ไ ด ล ง นามในสั ญ ญาแก ไ ขสั ญ ญาดู แ ลรั ก ษา เครื่อ งจักรและอุปกรณกับซีเมนส โดยมีวัตถุประสงคหลักในการปรับเปลี่ยนขอบเขตการใหบริการดูแลรักษาเครื่อ งจักร และอุปกรณของซีเมนส รวมถึง การปรับลดคาจางดูแลรักษาลง และเพื่อ เป น การ ลดการ พึ่ ง พาซี เ มนส ใ นการ ดู แ ล บํารุง รักษาเครื่อ งจักรและอุปกรณลง โดยปจจุบันบีทีเอสซีไดดําเนินการบํารุง รักษาระบบรถไฟฟาบางสวนดวยบุคลากร ของบีทีเอสซีเอง เชนระบบจัดเก็บคาโดยสารอัตโนมัติ ระบบวิทยุส ื่อ สาร และ ร ะ บบอ าณั ติ ส ั ญ ญาณ นอ กจากนั้ น บีทีเอสซียัง มีนโยบายในการเพิ่มศักยภาพของหนวยงานวิศวกรรมและ หน ว ยง านบํ า รุ ง รั ก ษา ในการ ซ อ มบํ า รุ ง เครื่อ งจักรและอุปกรณที่เกี่ยวกับระบบรถไฟฟาเพื่อ เปนการลดการพึ่ง พาบริษัทผูผลิตรถไฟฟา ทั้ง นี้ บีทีเ อ ส ซี อ าจจะ พิจารณาทําการบํารุง รักษาขบวนรถไฟฟาจํานวน 35 ขบวน และระบบไฟฟาและเครื่อ งกลอื่นๆ หลัง จากสั ญ ญาซ อ ม บํารุง ที่มีกับซีเมนสหมดอายุลงในเดือ นธันวาคม 2557 ทั้ง นี้ ขึ้นอยูกับผลประโยชนที่จะเกิดขึ้นกับ บี ที เ อ ส ซี แ ละ ความ เสี่ยงที่อ าจจะเกิดขึ้น อยางไรก็ตาม กอ นที่บีทเี อสซีจะสามารถดําเนินการซอ มบํารุง รถไฟฟาจํานวน 35 ขบวน และระบบไฟฟาและ เครื่อ งกลอื่นๆ ไดเองโดยไมตอ งพึ่ง พาซีเมนส ในกรณีที่ซีเมนสไมส ามารถที่จะใหบริการไดอ ยางเปน ที่ น า พอ ใจตาม ขอ กําหนดในสัญญาที่เกี่ยวขอ ง หรือ เลิกสัญญา หรือ ตอ งการที่จะแกไขขอ กําหนดในสัญญาดัง กลาวในลักษณะที่ไมเปน ประโยชนตอ บีทีเอสซี อาจสง ผลกระทบในทางลบตอ การดําเนินงานระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลัก และ อาจสง ผลกระทบในเชิง ลบตอ ผลการดําเนินงานของกองทุน BTSGIF และบริษัทฯ 2.1.6 กลุมบริษัทอาจไมสามารถดําเนินการตามกลยุทธการเจริญเติบโตในธุรกิจ ขนส ง มว ลชนให ป ระสบ ความสําเร็จได ทั้งนี้เพราะขึ้นอยูกับปจจัยตางๆ รวมถึงการเห็นชอบของรัฐบาลดวย กลยุทธการเจริญเติบโตของกลุมบริษัทในธุร กิจขนสง มวลชนมีหลายประการ ไมวาจะเปนการเขารวมปร ะ มู ล เพื่อ บริหารงานในสวนตอ ขยายของระบบรถไฟฟาบีทีเอส การมีส วนรวมในการดําเนินงานของโครงการขนสง มวลชน ระบบใหม หรือ การดําเนินการเพื่อ เชื่อ มตอ กับเครือ ขายโครงการขนสง มวลชนใหม การที่จะประสบความสําเร็จในการ ดําเนินการตามกลยุทธดัง กลาวนี้ นอกเหนือ จากสิ่ง อื่นแลวยัง ขึ้นอยูกับการตัดสินใจและการ ดํ า เนิ น การ ขอ ง รั ฐ บาล เกี่ยวกับแผนการขยายตัวดัง กลาว ความสามารถของกลุมบริษัทในการสรรหาและประเมินผูร วมลงทุนทางธุร กิจ การ ลงทุนที่เปนไปได การสนับสนุนทางการเงิน การดําเนินการใหมีข อ ส รุ ป การ ลง ทุ น การ ได ร ั บ ความเห็ น ชอ บและ สิทธิในสัมปทานที่จําเปน และการควบคุมทางการเงินและการดําเนินการอย า ง เพี ย ง พอ กลยุ ท ธ ก าร เจริ ญ เติ บ โต ดัง กลาวนี้ตอ งการการสนับสนุนจากผูบริหารและตอ งใชทรัพยากรอื่นๆ ของกลุมบริษัทเปนอยางมาก รวมถึง ปจจัยอื่น บางอยางที่อ ยูนอกเหนือ การควบคุมของกลุมบริษัท อาทิเชน ปจจัยทางดานการเมือ ง ซึ่ง ไมส ามารถรับปร ะ กั น ได ว า รัฐบาลจะดําเนินการตามแผนการขยายระบบขนสง มวลชนของกรุง เทพฯ และปริมณฑลที่ มี อ ยู ใ นป จ จุ บั น หรื อ หาก รัฐบาลตัดสินใจที่จะดําเนินการดัง กลาว ก็ไมอ าจรับประกันไดวากลุมบริษัทจะเปนผูไดร ับสัมปทานดัง กลาว ดัง นั้ น การ เจริญเติบโตในอนาคตของกลุมบริษัทในธุร กิจขนสง มวลชน จึง อาจไดร ับผลกระทบในทางลบหากกลุมบริษัทไมส ามารถ ลงทุนหรือ เขารวมดําเนินงานดัง กลาวนี้ได หรือ การลงทุนหรือ เขารวมดําเนินงานดัง กลาวไมประสบความสําเร็จ หรือ ไม ประสบความสําเร็จเทาที่คาด

สวนที่ 1 หนา 14


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

2.1.7

แบบ 56-1 ป 2555/56

บีทีเอสซีตองพึ่งพากรรมการ ผูบริหารระดับสูง และบุคลากรที่มีความชํานาญในการประกอบการเดิ น รถไฟฟาซึ่งประเทศไทยยังมีอยูอยางจํากัด

กรรมการและสมาชิกในทีมผูบริหารระดับสูง เปนสวนสําคัญของความสําเร็จของบี ที เ อ ส ซี เ พร าะ เป น ผู ที่ มี ประสบการณ ความรูส ายสัมพันธทางธุร กิจและความชํานาญ และหากมีเหตุใหส ูญเสียบุคลากรดัง กลาวไป ก็เปน เรื่ อ ง ยากที่จะหาบุคลากรที่มีความสามารถในระดับเดียวกันมาแทนที่ และอาจสง ผลใหประสิทธิภ าพในการดําเนินการและผล การดําเนินงานลดลง บีทีเอสซีตอ งพึ่ง พาบุคลากรซึ่ง มีความชํานาญและทุมเทในการบริหารและจัดการระบบ เนื่อ งจาก บีทีเอสซีเปนผูประกอบการระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนรายแรกในประเทศไทย ดัง นั้น บีทีเอสซีจึง ตอ งมีคาใชจายสูง ใน การคัดเลือ กวาจาง ตลอดจนฝกอบรมทักษะใหแกบุคลากรเพื่อ ใหมีความรู ความชํ า นาญในการ ปร ะ กอ บการ เดิ น รถไฟฟาได นอกจากนี้ บีทีเอสซีอ าจตอ งเผชิญกับการแขง ขันกับผูประกอบการขนสง มวลชนร ายอื่ น ๆ เพื่ อ แย ง ชิ ง บุคลากรผูเชี่ยวชาญของบีทีเอสซี ความสามารถในการจูง ใจบุคลากรของบีทีเอสซีอ าจลดลงจากการที่ผูประกอ บการ ขนสง มวลชนเหลานี้ขยายการดําเนินงานและการเกิดขึ้นของระบบการขนสง มวลชนใหม ๆ ในกร ณี ที่ บี ที เ อ ส ซี ต อ ง ประสบกับการสูญเสียบุคลากรที่มีความชํานาญจํานวนมาก บีทีเอสซีอ าจที่จะตอ งพิจารณาการวาจา ง เจ า หน า ที่ จ าก ตางประเทศหรือ รับบุคลากรใหมซึ่ง จะตอ งมีการฝกอบรมทักษะความชํานาญซึ่ง จะทําใหตนทุนการดําเนินงานเพิ่ ม ขึ้ น และจะทําใหร ายไดคาโดยสารสุทธิที่กองทุน BTSGIF จะไดร ับจากการดําเนินงานระบบขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลัก ลดลง และอาจสง ผลกระทบในเชิง ลบตอ ธุร กิจ ฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน และ โอ กาส ทาง ธุ ร กิ จ ขอ ง กอ ง ทุ น BTSGIF และบริษัทฯ ตลอดจนอาจสง ผลใหความสามารถในการทํากําไรจากการดําเนินงานระบบขนสง มวลชนกรุงเทพ สวนตอ ขยายตามสัญญาใหบริการเดินรถและซอ มบํารุง ระยะยาวของบีทีเอสซีลดลง และอาจสง ผลกระทบในเชิง ลบตอ ธุร กิจ ฐานะทางการเงิน ผลการดําเนินงาน และแนวโนมการดําเนินงานในอนาคตของบีทีเอสซีและบริษัทฯ 2.1.8

ผลกระทบจากการนัดหยุดงาน หรือการเรียกรองคาจางเพิ่มขึ้นจากพนักงานหรือการขั ด แย ง ใดๆ ก็ ตามกับพนักงานของบีทีเอสซี

ณ วันที่ 31 มีนาคม 2556 บีทีเอสซีไดจางลูกจางเต็มเวลา (full-time employee) จํานวน 1,969 คน ถึง แม ว า พนักงานของบีทีเอสซีไมมีการรวมตัวกันเปนสหภาพแรงงาน และบีทีเอสซียัง ไมเคยมีประสบการณเกี่ยวกับการนัดหยุด งานรวมกันของพนักงานก็ตาม แตไมมีอ ะไรทําใหมั่นใจไดวาการดําเนินงานของระบบร ถไฟฟ า บี ที เ อ ส จะ ไม มี ก าร หยุดชะงักเนื่อ งจากขอ ขัดแยง หรือ ปญหาอื่นๆ กับพนักงานของบีทีเอสซี นอกจากนี้ การที่ส หภาพแรงงานพยายามที่ จะรวมกลุมพนักงานของบีทีเอสซีขึ้น (คลายกับที่เกิดขึ้นกับพนักงานของบริษัทขนสง มวลชนทั่วโลก) อาจหั น เหความ สนใจของผูบริหารและเพิ่มคาใชจายในการดําเนินงาน และบีทีเอสซีอ าจจะไมส ามารถที่จะเจรจาขอ ตกลงที่ตอ ร อ ง จน เปนที่ยอมรับสําหรับบุคคลที่ส หภาพเลือ กใหเปนตัวแทนของตนได ปจจัยดัง กลาวนี้อ าจนําไปสูการหยุ ด ง านที่ เ กิ ด ขึ้ น จากสหภาพ รวมถึง การนัดหยุดงาน (strike) ซึ่ง จะสง ผลกระทบในทางลบตอ การดําเนินงานระบบรถไฟฟาบีทีเอส และ อาจสง ผลกระทบตอ การปฏิบัติหนาที่ของบีทีเอสซีเพื่อ ใหเปนไปตามมาตรฐานการใหบริการขั้นต่ําตามขอ กําหนดขอ ง สัญญาสัมปทานและสัญญาใหบริการเดินรถและซอ มบํารุง ระยะยาว และอาจสง ผลกระทบในทางลบตอ จํานวนร ายได คาโดยสารสุทธิที่กองทุน BTSGIF จะไดร ับจากการดําเนินงานระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลัก ตลอดจน ธุร กิจ การประกอบการ ผลการดําเนินงาน และโอกาสทางธุร กิจของกองทุน BTSGIF และบริษัทฯ

สวนที่ 1 หนา 15


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

2.1.9 การกอการราย ขาวลือ หรือการขูวาจะมีการกอการราย สงคราม ภั ย ธรรมชาติ หรื อ คว ามขั ด แย ง หรืออุบัติเหตุ เมื่อ วันที่ 31 ธันวาคม 2549 จนเข า สู วั น ที่ 1 มกร าคม 2550 ได เ กิ ด เหตุ ร ะ เบิ ด หลายจุ ด ในใจกลาง กรุง เทพมหานครและเขตปริมณฑล ทําใหมีผูเสียชีวิตอยางนอ ย 3 คน และมีผูไดร ับบาดเจ็ บ มากกว า 35 คน แม ว า ระบบรถไฟฟาบีทีเอสจะไมใชเปาหมายของการกอ วินาศกรรมนี้ แตก็มีเหตุร ะเบิดบางสวนเกิดขึ้นใกลกับเสนทางเดินรถ ของระบบรถไฟฟาบีทีเอส หางสรรพสินคา แหลง ธุร กิจ โรงแร ม แหล ง ที่ พั ก อ าศั ย และ แหล ง ท อ ง เที่ ย วใจกลาง กรุง เทพมหานคร นอกจากนี้ ในชวงเดือ นมีนาคม 2553 กลุมผูประทวงตอ ตานรัฐบาลไดจัดใหมีการชุมนุมประทวงเพื่ อ ถอดถอนรัฐบาล และเรียกรอ งใหมีการเลือ กตั้ง ใหม ซึ่ง ในชวงแรกกลุมผูประทวงไดยึดพื้นที่บริเวณรอบรัฐสภาและ ได ยายมาปกหลักใจกลางกรุง เทพมหานคร ในชวงสองเดือ นตอ มา การชุมนุมประทวงเริ่มรุนแรงขึ้นและรัฐบาลไดประกาศ ภาวะฉุกเฉินในกรุง เทพมหานครเมื่อ วันที่ 7 เมษายน 2553 ซึ่ง ทําใหบีทีเอสซีตอ งหยุดใหบริการของ ร ะ บบร ถไฟฟ า บีทีเอสเปนระยะเวลา 8 วันเต็มและใหบริการอยางจํากัดเปนระยะเวลา 19 วันในระหวางเดือ นเมษายนถึง พฤษภ าคม 2553 โดยหากในอนาคตมีเหตุการณใดๆ ในลักษณะเดียวกันเกิดขึ้น บีทีเอสซีอ าจตอ งหยุดใหบริการ ร ะ บบร ถไฟฟ า บีทีเอสหรือ ใหบริการอยางจํากัด ซึ่ง เหตุการณเชนนั้นจะสง ผลใหร ายไดคาโดยสารสุทธิจากการดําเนินงานระบบขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลักที่บีทีเอสซีจะตอ งนําสง ใหแกกองทุน BTSGIF ลดลง และอาจสง ผลกระทบในเชิง ลบต อ ธุ ร กิ จ ฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน และโอกาสทางธุร กิจของกองทุน BTSGIF และบริษัทฯ นอกจากนี้ กลุมผูกอ การรายไดวางเปาหมายและโจมตีร ะบบขนสง สาธารณะตาง ๆ ทั่วโลก รวมถึง ระบบขนสง สาธารณะในกรุง ลอนดอนและกรุง มาดริด โดยเมื่อ วันที่ 11 มีนาคม 2547 ไดเกิดเหตุร ะเบิดบนรถไฟ 4 ขบวนในกรุ ง มาดริด ทําใหมีผูเสียชีวิตมากกวา 190 คน และไดร ับบาดเจ็บมากกวา 1,700 คน ตอ มาในเดือ นกรกฎาคม 2548 ได เกิดเหตุร ะเบิดในระบบขนสง รถไฟใตดินและรถโดยสารประจําทางในกรุง ลอนดอน ทําใหมีผูเสียชีวิตมากกวา 50 คน และมีผูไดร ับบาดเจ็บมากกวา 700 คน ซึ่ง มีความเปนไปไดที่ผูกอ การรายจะหาโอกาสที่จะโจมตี ร ะ บบขนส ง มวลชน กรุง เทพโดยตรง หรือ ทําใหเกิดผลกระทบตอ ระบบขนสง มวลชนกรุง เทพ ซึ่ง รวมถึง ระบบรถไฟฟาบีทีเอส นอ กจากนี้ การโจมตีร ะบบรถไฟฟาบีทีเอสอาจทําใหมีผูไดร ับบาดเจ็บและเสียชีวิตได ซึ่ง จํานวนเงินเอาประกันภัยความรับผิดของ บีทีเอสซีอ าจจะไมเพียงพอกับความเสียหายที่เกิดขึ้นจากเหตุการณดัง กลาว ไมวาจะเปนในสวนขอ ง ร ะ บบร ถไฟฟ า ขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลัก หรือ ระบบขนสง มวลชนกรุง เทพสวนตอ ขยาย การก อ การ ร า ยหรื อ เหตุ ก าร ณ ใ ดๆ ดัง กลาว จะสง ผลกระทบในทางลบอยางมีนัยสําคัญตอ ธุร กิจ ฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน และโอกาสทางธุร กิจของ บีทีเอสซี กองทุน BTSGIF และบริษัทฯ 2.1.10

บีทีเอสซีอาจไดรับผลกระทบอันเนื่องมาจากประเด็นขอโตแยงเกี่ยวกับความไมสมบูรณข องสั ญ ญา การใหบริการเดินรถและซอมบํารุงระยะยาว

เมื่อ วันที่ 3 พฤษภาคม 2555 บีทีเอสซีไดเขาทําสัญญาใหบริการเดินรถและซอ มบํารุง ระยะยาว โดยบีทีเอสซี ไดร ับการวาจางจากกรุง เทพธนาคมให เ ป น ผู ใ ห บ ริ ก าร เดิ น ร ถและ ซ อ มบํ า รุ ง โคร ง การ ร ะ บบขนส ง มวลชน กรุง เทพมหานคร สวนตอ ขยายสายสีลม ชวงสะพานตากสิน-วงเวียนใหญ และชวงวงเวียนใหญ-บางหวา ระยะทางรวม 7.50 กิโลเมตร และสวนตอ ขยายสายสุขุมวิท ชวงออ นนุช-แบริ่ง ระยะทาง 5.25 กิโลเมตร เปนระยะเวลา 30 ป และจะ รวมเสนทางเดิมของสัมปทาน ระยะทาง 23.50 กิโลเมตร เปนระยะเวลา 13 ป โดยจะเริ่มใหบริการเดินรถในสวนนี้หลัง หมดอายุส ัญญาสัมปทานในป 2572

สวนที่ 1 หนา 16


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ในวันที่ 2 มกราคม 2556 กรมสอบสวนคดีพิเศษไดประกาศวาจะดําเนินการสอบสวนผูบริหารกทม. กรุง เทพ ธนาคมและผูบริหารของกรุง เทพธนาคม บีทีเอสซีและผูบริหารของบีทีเอสซี ซึ่ง รวมถึง หมอ มราชวงศส ุขุมพันธุ บริพัตร ผูวาราชการกรุง เทพมหานคร นายคีร ี กาญจนพาสน และนายสุร พงษ เลาหะอัญญา กรรมการผูมีอ ํานาจของบีทีเอสซี โดยกลาวหาวาการเขาทําสัญญาใหบริการเดินรถและซอ มบํารุง ระยะยาวไมชอบดวยกฎหมาย ดัง นั้น บุคคลขางตนจึง ประกอบกิจการคาขายอันเปนสาธาร ณู ป โภ ค โดยไม ไ ด ร ั บ อ นุ ญ าตหรื อ ได ร ั บ สั ม ปทานจากรั ฐ มนตรี ว า การ กระทรวงมหาดไทย ซึ่ง เปนการฝาฝนประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 58 พ.ศ. 2515 ทั้ง นี้ หากภายหลัง การสอ บส วน แลว กรมสอบสวนคดีพิเศษไดขอ สรุปวามีการกระทําความผิด กรมสอบสวนคดีพิเศษจะสง ผลการสอบสวนใหอ ัยการ พิจารณา ซึ่ง หากอัยการพิจารณาแลวมีความเห็นสอดคลอ งกับกรมสอ บส วนคดี พิ เ ศษ ทาง อั ย การ มี อ ํ า นาจที่ จ ะ ดําเนินการฟอ งตอ ศาลที่เกี่ยวขอ ง ตอ มา เมื่อ วันที่ 11 มิถุนายน 2556 กรมสอบสวนคดีพิเศษไดนําสํานวนการ ส อ บส วนและ พยานหลั ก ฐาน พรอ มความเห็นสมควรสั่ง ฟอ งคดีหมอ มราชวงศส ุขุมพันธุ บริพัตร ผูวาราชการกรุง เทพมหานคร กับพวกร วม 9 คน และอีก 1 นิติบุคคล คดีการตอ สัญญาเดินรถไฟฟาบีทีเอส สวนตอ ขยายออกไปอีก 13 ป โดยไม ช อ บด ว ยกฎหมาย มาสง มอบใหอ ธิบดีอ ัยการสํานักงานคดีพิเศษ เพื่อ พิจารณาสั่ง ในความผิดขอ หารวมกันประกอบกิจการคาขายอันเปน สาธารณูปโภค โดยไมไดร ับอนุญาตหรือ ไดร ับสัมปทานจากรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย อันเปนความผิ ด ตาม ประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 58 พ.ศ. 2515 ขอ 4 และขอ 16 ประกอบประมวลกฎหมายอ าญา มาตร า 83, 84 และ มาตรา 86 และกรมสอบสวนคดีพิเศษมีความเห็นสมควรสั่ง ไมฟอ งบุคคล 2 ราย และนิติบุคคล 1 ราย ปร ะ กอ บด ว ย นายคีร ี กาญจนพาสน และนายสุร พงษ เลาหะอัญญา กรรมการผูมีอ ํานาจของบีทีเอสซี และบีทีเอสซี ทั้ง นี้ หากศาลมีคําพิพากษาในทางที่ไมเปนคุณในเรื่อ งที่เกี่ยวขอ งกับอํานาจของกรุง เทพธนาคมในการเขาทํา สัญญาใหบริการเดินรถและซอ มบํารุง ระยะยาวแลว ก็อ าจสง ผลตอ ความสมบูร ณและการมีผลบัง คับใชของสัญญา หรือ อาจสง ผลใหส ัญญาดัง กลาวตกเปนโมฆะหรือ ถูกยกเลิกได และอาจทําใหคูส ัญญาไมส ามารถดําเนินการตามเงื่อ นไขที่ กําหนดในสัญญาได หากเกิดกรณีดัง กลาวขึ้น ก็จะสง ผลกระทบในทางลบตอ รายไดค า จ า ง เดิ น ร ถและ ซ อ มบํ า รุ ง ที่ บีทีเอสซีจะไดร ับตามสัญญาใหบริการเดินรถและซอ มบํารุง ระยะยาวดัง กลาว รวมทั้ง ความเสี่ยงในกรณีที่บีที เ อ ส ซี ไ ด ลงทุนจัดหารถไฟฟาเพื่อ นํามาใหบริการตามสัญญาแลว ซึ่ง อาจมีผลกระทบในทางลบอยางมีนัยสําคัญตอ ธุร กิจ ฐานะ การเงิน ผลการดําเนินงาน และโอกาสทางธุร กิจของบีทีเอสซีและบริษัทฯ 2.2

ความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับธุรกิจสื่อโฆษณา

2.2.1

การประกอบธุรกิจของบริษัทพึ่งพิงคูสัญญาทางธุรกิจนอยราย

สัญญาใหส ิทธิบริหารจัดการดานการตลาดในระบบรถไฟฟาบีทีเอสระหวางวีจีไอกับบีทีเอสซีอ าจสิ้นผลหรือถูก ยกเลิก หากสัญญาสัมปทานระหวางบีทีเอสซีกับกทม. ถูกยกเลิก หากสัญญาสัมปทานสิ้นผลหรื อ ถู ก ยกเลิ ก (โปร ด พิจารณาในหัวขอ 2.1.2 สัญญาสัมปทาน และสัญญาใหบริการเดินรถและซอ มบํารุง ระยะยาวอาจถูกยกเลิกโดย กทม. และกรุง เทพธนาคม ตามลําดับ หากมีเหตุบางประการตามที่ร ะบุไวในสัญญาดัง กลาวเกิดขึ้น) สั ญ ญาให ส ิ ท ธิ บ ริ ห าร จัดการดานการตลาดในระบบรถไฟฟาบีทีเอสระหวางวีจีไอกับบีทีเอสซีก็จะถูกยกเลิกไปโดยปริยาย ซึ่ง อ าจจะ ส ง ผล กระทบในทางลบตอ ธุร กิจและฐานะทางการเงินของวีจีไอ และอาจสง ผลตอ ความสามารถในการจายเงินปนผลของวีจไี อ ใหแกผูถือ หุน ซึ่ง บีทีเอสซีและบริษัทฯ ในฐานะผูถือ หุนรายใหญ ก็จะไดร ับผลกระทบในทางลบดวย นอกจากนี้ ผูประกอบการโมเดิร นเทรดอาจไมตอ อายุส ัญญาใหส ิทธิโฆษณาในโมเดิร นเทรด สั ญ ญาให ส ิ ท ธิ โฆษณาในโมเดิร นเทรดของกลุมวีจีไอกับผูประกอบการโมเดิร นเทรด โดยสวนใหญมีร ะยะเวลาของสัญญาประมาณ 3 – สวนที่ 1 หนา 17


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

5 ป ซึ่ง จะทยอยสิ้นสุดลงในป 2556-2559 โดยเมื่อ สัญญาดัง กลาวสิ้นสุดลง และหากกลุมวี จี ไ อ ไม ไ ด ร ั บ การ ต อ อ ายุ สัญญาใหส ิทธิโฆษณากับผูประกอบการโมเดิร นเทรดรายที่ส ําคัญรายใดรายหนึ่ง ก็อ าจจะสง ผลกระทบในทาง ลบต อ ธุร กิจและฐานะทางการเงินของวีจีไอ และอาจสง ผลกระทบตอ ความสามารถในการจายเงินปนผลของวีจีไอใหแกผถู อื หุน ซึ่ง บีทีเอสซีและบริษัทฯ ในฐานะผูถือ หุนรายใหญ ก็จะไดร ับผลกระทบในทางลบดวย อยางไรก็ ดี โดยส ว นใหญ ก ลุ ม วีจีไอที่เปนคูส ัญญากับผูประกอบการโมเดิร นเทรดมีส ิทธิจะเจรจาขอตอ สัญญา หรือ เขารวมปร ะ มู ล สั ญ ญาใหม ก อ น สัญญาแตละฉบับจะหมดอายุลง โดยวีจีไอเชื่อ มั่นวาคาตอบแทนสิทธิที่กลุมวีจีไอใหแกผูประกอบการโมเดิร นเทรดแตละ รายนั้นอยูในระดับสูง ซึ่ง เปนการยากที่บริษัทอื่นที่ประกอบธุร กิจลักษณะเดียวกันกับกลุมวีจีไอจะแขง ขันได ตลอ ดจน กลุมวีจีไอไดใชกลยุทธที่หลากหลาย ทั้ง การจัดกิจกรรมสง เสริมการขายรวมเพื่อ กระตุนยอดขายของสินคาที่ลงโฆษณา การชวยประชาสัมพันธเพื่อ สง เสริมภาพลักษณของรานคา การบริหารจัดการและติดตามการวางสื่อ โฆษณาอยางเปน ระบบ ประกอบกับประสบการณและความชํานาญของกลุมวีจีไอโดยผลงานในอดีตที่ผานมา กลุ ม วี จี ไ อ ได ร ั บ ความ ไววางใจจากผูประกอบการโมเดิร นเทรด อยางไรก็ดี เพื่อ ลดความเสี่ยงในการพึ่ง พิง รายไดจากการพึ่ง พิง คูส ัญญาทางธุร กิ จ น อ ยร าย กลุ ม วี จี ไ อ มี นโยบายการขยายการดําเนินธุร กิจไปยัง สื่อ โฆษณาในพื้นที่ใหม ๆ เพิ่มเติมใหครอบคลุมกลุมลูกคาผูร ับชมสื่อ โฆษณา ไดมากขึ้น เพื่อ ใหลูกคาผูลงสื่อ โฆษณามีทางเลือ กในการลงสื่อ โฆษณามากยิ่ง ขึ้น 2.2.2

การพึ่งพิงบริษัทตัวแทนโฆษณารายใหญ

ลูกคาของวีจีไอแบง ออกเปน 2 กลุมหลัก คือ กลุมเอเจนซี่ และกลุมลูกคาซึ่ง เปนเจาของสินคาและบริก าร ซึ่ ง โดยทั่วไป นโยบายของบริษัทเจาของสินคาและบริการจะใหลูกคากลุมเอเจนซี่เปนผูใหบริการวางแผนกลยุทธการใชสอื่ ในรูปแบบตางๆ รวมทั้ง กําหนดแผนการใชง บโฆษณาและการตัดสินใจเลือ กใชส ื่อ โฆษณาของบริษัทเจาของสินคาและ บริการ โดยปจจุบัน วีจีไอมีลูกคากลุมเอเจนซี่กวา 40 ราย โดยเปนเอเจนซี่ร ายใหญประมาณ 10-15 ราย และมีร ายได จากการใหบริการสื่อ โฆษณาผานทางเอเจนซี่คิดเปนสัดสวนที่คอ นขาง สู ง ดั ง นั้ น วี จี ไ อ จึ ง อ าจมี ค วามเสี่ ย ง หาก เอเจนซี่ร ายใหญไมแนะนําใหเจาของสินคาและบริการใชเครือ ขายสื่อ โฆษณาของวีจีไอ อยางไรก็ดี วีจีไอไมมีการพึง่ พิง เอเจนซี่ร ายใดรายหนึ่ง เกินกวารอ ยละ 20 ของรายไดคาโฆษณาทั้ง หมดของวีจีไอ อีกทั้ง วีจีไอมีความเชื่อ มั่นวา การ ที่ เครือ ขายสื่อ โฆษณาของวีจีไอครอบคลุมพื้นที่โฆษณาทั้ง ในเครือ ขายรถไฟฟาบีทีเอสและโมเดิร นเทรด ซึ่ง มีฐ านผู ช ม จํานวนมาก ครอบคลุมกลุมเปาหมายของสินคาและบริการทุกกลุม อาชีพ เพศ วัย ฐานะ ความโดดเดนและการ ดึ ง ดู ด ความสนใจของผูชมสื่อ โฆษณาที่มีขอ ไดเปรียบกวาสื่อ ประเภทอื่น รวมทั้ง ประสิทธิภ าพในการเขาถึง กลุมผู ร ั บ ชมสื่ อ เปาหมายและการพบเห็นไดในการดํารงชีวิตประจําวัน ซึ่ง เปนจุดแข็ง ของสื่อ โฆษณาของวีจีไอที่ส ามาร ถตอ บส นอ ง ลูกคาผูซื้อ 2.2.3

ธุรกิจสื่อโฆษณาแปรผันตรงกับภาวะเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ

แนวโนมธุร กิจสื่อ โฆษณาจะผันแปรในทิศทางเดียวกันกับภาวะเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศเปนสําคัญ โดย หากเศรษฐกิจของประเทศโดยรวมอยูในภาวะที่ดี งบประมาณการใชส ื่อ โฆษณาของเจาของสินคาและบริการจะอยูใน ระดับสูง ตามการใชจายของผูบริโภค ซึ่ง จะสง ผลใหร ายไดของผูใหบริการสื่อ โฆษณาเพิ่มขึ้นเปนลําดับ ในทางกลับกัน หากเศรษฐกิจของประเทศอยูในภาวะที่ไมดีหรือ มีความไมแนนอนจากปจจัยอื่นที่ส  ง ผลกร ะ ทบในทาง ลบต อ ความ เชื่อ มั่นหรือ กําลัง ซื้อ ของผูบริโภค อาจสง ผลใหการใชจายของประชาชนลดลง และอาจทําใหเจาของสินคาและบริก าร ปรับลดงบประมาณโฆษณาประชาสัมพันธในสื่อ โฆษณาตางๆ ซึ่ง อาจสง ผลกระทบทําใหร ายได ข อ ง ผู ใ ห บ ริ ก าร สื่ อ โฆษณาลดลงได ตัวอยางเชน เหตุการณวิกฤติเศรษฐกิจถดถอยในประเทศสหรัฐอเมริกาเมื่อ ป 2551 – 2552 ที่ ส  ง ผล สวนที่ 1 หนา 18


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

กระทบทั่วโลก ทําใหการเติบโตของอุตสาหกรรมสื่อ โฆษณาในประเทศไทยอ ยู ใ นร ะ ดั บ ต่ํ า อ ย า ง ไร ก็ ดี หลั ง จาก เหตุการณดัง กลาว อุตสาหกรรมสื่อ โฆษณามีการขยายตัวเพิ่มขึ้นอยางตอ เนื่อ ง และโครงสรางอุตสาหกรรมสือ่ โฆษณา เริ่มมีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม โดยผูลงสื่อ โฆษณามีแนวโนมที่จะจัดส ร ร ง บโฆษณาให กั บ สื่ อ ปร ะ เภ ทใหม ๆ ที่ สามารถครอบคลุมกลุมเปาหมายไดในวงกวางและมีโอกาสพบเห็นไดบอ ยครั้ง ในชีวิตประจําวัน เช น สื่ อ โฆษณาใน ระบบขนสง มวลชน (Mass Transit Media) และสื่อ โฆษณาในหางสรรพสินคา/โมเดิร นเทรด (In-Store Media) เป น ที่ นิยมมากขึ้นและมีอ ัตราการเติบโตสูง กวาอุตสาหกรรมสื่อ โฆษณาโดยรวมอยางมีนัยสําคัญ ซึ่ง สอดคลอ งกับลักษณะการ ประกอบธุร กิจของกลุมวีจีไอที่มีเครือ ขายสื่อ โฆษณาที่ครอบคลุมตลอดการดําเนินชีวิตประจําวันของผูร ับชมสื่อ โฆษณา (Modern Lifestyle Media) กลาวคือ การเดินทางดวยรถไฟฟาบีทีเอส การทํางานในอาคารสํานักงาน และการเลือกซือ้ สินคาในโมเดิร นเทรด 2.2.4 การเติบโตของรายไดจากการใหบริการสื่อโฆษณาของกลุมวีจีไอแปรผันตรงกั บ จํ า นว นผู ใ ช บ ริ ก าร ของคูสัญญาผูใหสิทธิโฆษณา การเพิ่มขึ้นของจํานวนผูโดยสารรถไฟฟาบีทีเอส และลูกคาโมเดิร นเทรด เปนหนึ่ง ในป จ จั ย ที่ ส ํ า คั ญ ในการ พิจารณาเพิ่มงบประมาณโฆษณาของผูลงสื่อ โฆษณา ทั้ง ในดานการใชพื้นที่ส ื่อ โฆษณาและการจายคาโฆษณาในอัตรา ที่ส ูง ขึ้น ดัง นั้น ปจจัยใดๆ ที่มีผลกระทบตอ จํานวนผูโดยสารรถไฟฟาบีทีเอส และจํานวนลูกค า โมเดิ ร  น เทร ดอ ย า ง มี นัยสําคัญ (เชน การประทวงหรือ ชุมนุมทางการเมือ ง ภัยพิบัติธรรมชาติที่ร ุนแรง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริโภค ของลูกคาโมเดิร นเทรด การมีผลใชบัง คับของรางพระราชบัญญัติการประกอบธุร กิจคาปลีกหรือ คาสง ที่อ าจมีขอ จํากัด บางประการในการขยายสาขาของโมเดิร นเทรด เปนตน) ก็อ าจสง ผลกระทบตอ จํานวนรายได ตลอดจนการ ปรั บ ขึ้ น อัตราคาโฆษณาของกลุมวีจีไอ อยางไรก็ดี วีจีไอเชื่อ มั่นวาเครือ ขายสื่อ โฆษณาของกลุมวีจีไอมีความแข็ง แกรงจากการที่ เสนทางเดินรถไฟฟาบีทีเอสในปจจุบันผานพื้นที่ศูนยกลางธุร กิจของกรุง เทพฯ ทํ า ให ร ะ บบร ถไฟฟ า บี ที เ อ ส มี ก าร เชื่อ มตอ กับเครือ ขายระบบขนสง มวลชนในรูปแบบตางๆ เชน รถไฟฟ า ใต ดิ น MRT ร ถโดยส าร ด ว นพิ เ ศษ BRT รถไฟฟาแอรพอรต เรล ลิง ค เปนตน อีกทั้ง การพัฒนาโครงการอสัง หาริมทรัพยใหมๆ ตามแนวเสนทางเดินร ถไฟฟ า ประกอบกับในปจจุบันผูบริโภคหันมาเลือ กซื้อ สินคาและใชบริการตาง ๆ ในโมเดิร นเทรดเพิ่มขึ้น 2.2.5 การดําเนินธุรกิจของวีจีไอตองพึ่งพิงบุคลากรที่มีความชํานาญเฉพาะดานและมีความสัมพันธอันดีกับ ลูกคา ธุร กิจใหบริการสื่อ โฆษณาของกลุมวีจีไอเปนธุร กิจบริการซึ่ง ตอ งพึ่ง พิง บุคลากรในการ ติ ด ต อ และ นํ า เส นอ ผลิตภัณฑใหแกเอเจนซี่และเจาของสินคาและบริการโดยตรง ดัง นั้น บุคลากร ในฝ า ยขายและ การ ตลาดตลอ ดจน ผูบริหารของกลุมวีจีไอจําเปนตอ งมีความสัมพันธอ ันดีกับเอเจนซี่และเจาของสินคาและบริการ นอกจากนี้ การ บริ ห าร จัดการอยางมีประสิทธิภ าพเพื่อ กอ ใหเกิดประโยชนส ูง สุดในการใชพื้นที่โฆษณา และการสรางสรรคร ู ป แบบขอ ง สื่ อ โฆษณาเพื่อ นําเสนอตอ กลุมลูกคาเปาหมายเพื่อ ใหตรงตามวัตถุประสงคของเจาของสินคาและบริการ ยั ง ต อ ง อ าศั ย ผูบริหารและบุคลากรที่มีความรู ความชํานาญและประสบการณในการวางแผนบริหารจัดการสื่อ โฆษณา ดั ง นั้ น หาก กลุมวีจีไอไมส ามารถรักษาผูบริหารและบุคลากรที่มีความรู ความชํานาญไวได กลุมวีจีไออาจไดร ับผลกระทบในทางลบ ตอ การดําเนินธุร กิจของกลุมวีจีไอได กลุมวีจีไอจึง ไดใหความสําคัญตอ การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกลุ ม วีจีไออยางตอ เนื่อ ง โดยแบง ลักษณะการทํางานเปนทีมงาน ซึ่ง บุคลากรภายในทีมจะสามาร ถทํ า ง านทดแทนกั น ได ตลอดเวลา นอกจากนี้ กลุมวีจีไอไดกําหนดใหมีโครงการอบรมสําหรับบุคลากรของกลุมวีจีไอเปนประจําทุกป เพื่ อ เป น การเสริมสรางศักยภาพของบุคลากร และมีนโยบายสนับสนุนใหทีมงานผูบริหารระดับกลางไดมีส วนรวมในการวางแผน

สวนที่ 1 หนา 19


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

บริหารจัดการของกลุมวีจีไอ เพื่อ เปนการสรางความพึง พอใจในการทํางาน (Job Satisfaction) และเพื่อ เพิ่มพูนความรู และประสบการณ ซึ่ง จะเปนการลดความเสี่ยงดานการพึ่ง พิง ตัวบุคคลในการดําเนินธุร กิจของกลุมวีจีไอได ตลอดจนให ความสําคัญตอ คาตอบแทนและผลประโยชนของบุคลากร เพื่อ เทียบเคียงกับบริษัทในธุร กิจเดียวกัน สําหรั บ ผู บ ริ ห าร ระดับสูง กลุมวีจีไออยูร ะหวางจัดเตรียมแผนการสรรหาบุคลากรทดแทน (Succession Plan) เพื่อ เตรียมความพรอ มใน การสรางผูบริหารรุนถัดไปเพื่อ รักษาการเจริญเติบโตขององคกรในระยะยาว 2.2.6 การพึ่งพิงผูใหบริการนอยรายในการบํารุงรักษาเครือขายเทคโนโลยี สื่อ โฆษณาที่กลุมวีจีไอใหบริการทั่วประเทศนั้น มีทั้ง สื่อ โฆษณาที่เปนภาพนิ่ง (Static) และ ที่ เ ป น มั ล ติ มี เ ดี ย (Multimedia) ในสวนของสื่อ มัลติมีเดียนั้น กลุมวีจีไอใชร ะบบควบคุมจากสวนกลาง (Central Control) ซึ่ง บางระบบเปน เทคโนโลยีที่มาจากตางประเทศ อันอยูในรูปแบบของการบํารุง รักษาอยางตอ เนื่อ ง ทําใหกลุมวีจีไอมีภ าระคาใชจายใน การบํารุง รักษาที่คอ นขางสูง อีกทั้ง บุคลากรของกลุมวีจีไอยัง ไมมีความชํานาญในการบํารุง รักษาและซอ มแซมงานทีถ่ กู ออกแบบมาเฉพาะดาน เชน ระบบงาน (System) งานพัฒนาซอฟทแวรและเครือ ขาย เปนตน กลุมวีจีไอจึง จําเปนต อ ง พึ่ง พิง ผูใหบริการในการบํารุง รักษาเครือ ขายเทคโนโลยีดัง กลาว ดัง นั้น กลุมวีจีไอจึง มีความเสี่ยงหากผูใหบริการละทิ้ง งาน หรือ ทํางานไมเปนไปตามขอ ตกลงระหวางกลุมวีจีไอกับผูใหบริการ จนทําใหร ะบบของกลุมวีจีไอหยุ ด ชะ งั ก และ สูญเสียรายไดอ ยางไรก็ดี ในแตละสายธุร กิจ กลุมวีจีไอใชร ะบบควบคุมสื่อ โฆษณามัลติมีเดียจากผูใหบริการตางรายกัน ซึ่ง หากเกิดปญหากับระบบหนึ่ง ระบบใด จะไมส ง ผลกระทบไปยัง ระบบอื่น นอกจากนี้ กลุมวีจีไออยูร ะหวาง การ จั ด ทํ า แผนสํารอง ทั้ง ระยะสั้นและระยะยาว โดยจัดหาผูใหบริการรายอื่นนอกเหนือ จากรายที่กลุมวีจีไอใชบริการอยูในปจจุบนั และ/หรือ จัดจางพนักงานประจํา ที่มีความรูความสามารถในการแกไขปญหาขอ ง ร ะ บบควบคุ ม ป จ จุ บั น ตลอ ดจน สามารถออกแบบนวัตกรรมเทคโนโลยี ดานซอฟแวรใหม เพื่อ รองรับการขยายตัวของธุร กิจในอนาคตได รวมทั้ง เชิ ญ ผูชํานาญเฉพาะทางในเรื่อ งดัง กลาวมาจัดอบรมและใหความรูแกพนักงานในสายงานที่เกี่ยวขอ งอีกดวย 2.3

ความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับธุรกิจอสังหาริมทรัพย

2.3.1

ความเสี่ยงจากภาวะการแขงขัน

ภาวะการแขง ขันในธุร กิจอสัง หาริมทรัพยในกรุง เทพฯ และปริ ม ณฑ ล ซึ่ ง เป น ผลมาจากผู ป ร ะ กอ บการ อสัง หาริมทรัพยร ายใหญ และรายยอ ยหลายรายที่มีขอ ไดเปรียบทางทรัพยากร ที่ดิน บุคลากร เงินทุน เทคโนโลยีก าร กอ สราง หรือ ความแข็ง แกรง ของชื่อ เสียงที่มีอ ยูเดิม อยางใดอยางหนึ่ง หรือ หลายอยางรวมกัน อาจสง ผลใหผลการขาย โครงการของกลุมบริษัทไมเปนไปตามที่ไดคาดการณไว นอกจากนี้ การขยายตัวของเมือ งและโครงขายการสัญจรที่ครอบคลุมพื้นที่เมือ งมากขึ้น เปนรูปธรรมชัดเจนใน ปที่ผานมา ทําใหเกิดทําเลใหมๆ ที่มีศักยภาพเพิ่ม ขึ้ น ส ง ผลให มี ผู ป ร ะ กอ บการ ใหม ห ลายร ายก า วเข า สู ธุ ร กิ จ อสัง หาริมทรัพย รวมทั้ง บางรายเปนผูประกอบการที่มีความพรอ มดานเงินทุนที่ไดจากการดําเนินธุร กิจปร ะ เภ ทอื่ น ๆ มากอ น การเขาสูตลาดมากขึ้นของผูประกอบการหลายรายพรอ มกัน เปนตัวเรง การเพิ่มอุปทาน (Supply) จํานวนหนึง่ ใหกับตลาด ซึ่ง สง ผลตอ ทั้ง ภาวะราคาของตลาดโดยรวม และอาจมีผลตอ ราคาขายและ ร ายรั บ จากโคร ง การ ขอ ง กลุมบริษัท การขยายตัวของอุตสาหกรรมอสัง หาริมทรัพยเกิดจากความตอ งการ (Demand) และกําลัง ซื้อ (Purchasing Power) ซึ่ง อิง อยูกับสภาวะเศรษฐกิจ ความมีเสถียรภาพทางการเมือ งของประเทศ และนโยบายของภาครัฐ ซึ่ง ในปที่

สวนที่ 1 หนา 20


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ผานมา การขยายตัวของตลาดอสัง หาริมทรัพยในภาพรวมมีการเติบโตในอัตราที่ลดลง อันเนื่อ งมาจากความผันผวนใน หลายปจจัย เชน เหตุการณความไมแนนอนทางการเมือ ง นโยบายรัฐในการสง เสริมธุ ร กิ จ อ สั ง หาริ ม ทรั พ ย ที่ ยั ง ไม ชัดเจน และภัยพิบัติทางธรรมชาติ เปนตน ทั้ง นี้ สภาวะของธุร กิจโรงแร ม หรื อ คอ นโดมิ เ นี ย ม ร วมไปถึ ง อ าคาร สํานักงาน จะมีลักษณะความผันผวนที่แตกตางกันไป แตปจจัยตางๆ เหลานี้กระทบกับผลประกอบการของกลุมบริ ษั ท โดยตรง 2.3.2

ความมีชื่อเสียงและการมีแบรนดที่เปนที่ยอมรับเปนสิ่งสําคัญสําหรับธุรกิจอสังหาริมทรัพย

การกําหนดกลยุทธการแขง ขันของกลุมบริษัทที่ใหความสําคัญกับการสรางแบรนดใหเป น ที่ ร ู จั ก และ เป น ที่ ยอมรับ เนื่อ งจากแบรนดที่แข็ง แกรง จะสามารถทําใหเจาของแบรนดเปนผูกําหนดราคา งายตอ การสรางความแตกตาง (Differentiation) และงายตอ การสรางความภักดีตอ ตัวสินคา (Brand Loyalty) สามารถดึง ดูดลูกคารายใหม และรักษา ฐานลูกคาเดิมเอาไวได ซึ่ง สิ่ง เหลานี้จะทําใหกลุมบริษัทไดเปรียบดานการแขง ขันในระยะยาว แตทั้ง นี้การสรางแบรนด ขึ้นมาใหมทามกลางคูแขง อื่นๆ ที่มีอ ยูแลว ยอ มตอ งใชทรัพยากรเปนจํานวนมาก และใชร ะยะเวลาที่ยาวนานเปนเครื่อง พิส ูจน ในขณะที่กลุมบริษัทกําลัง อยูในระหวางการสรางแบรนดขึ้นมาใหมเพิ่มเติม สําหรับโครงการที่มี อ ยู ใ นป จ จุ บั น หรือ โครงการที่อ าจเกิดขึ้นในอนาคต ซึ่ง ทําใหกลุมบริษัทอาจจะตอ งรับภาระ ค า ใช จ า ยที่ เ พิ่ ม ขึ้ น และ ไม ส ามาร ถ รับประกันไดวาแบรนดใหมของกลุมบริษัทจะเปนแบรนดที่ไดร ับการยอมรับจากบรรดาลูกคาทั้ง หลายของกลุมบริษัทใน ปจจุบันและลูกคาในอนาคต การที่กลุมบริษัทอาจไมส ามารถรักษาไวซึ่ง ชื่อ เสียงและแบรนดซึ่ง ไดร ับการยอมรับดังกลาว หรือ การที่กลุมบริษัทไมส ามารถที่จะทําใหแบรนดที่ส รางขึ้นมาใหมไดร ับการยอมรับจากบรรดาลูกคาไดนั้น ยอ มสง ผล กระทบในทางลบอยางมีนัยสําคัญตอ ความสําเร็จของโครงการตางๆ ของกลุมบริ ษั ท ทั้ ง ในป จ จุ บั น และ ในอ นาคต สวนแบง การตลาด ธุร กิจ ฐานะทางการเงิน ผลการดําเนินงาน และแนวโนมการดําเนินงานในอนาคตของกลุมบริษัท 2.3.3

ความเสี่ยงจากความผันผวนหรือการปรับตัวเพิ่มขึ้นของตนทุนโครงการ

ความเสี่ยงจากตนทุนที่ดิน การมีผูประกอบการเพิ่มมากขึ้น มีการแขง ขันที่ส ูง จากผูประกอบการทั้ง รายใหม และรายเดิม อาจทําใหร าคาที่ดินที่จะนําไปพัฒนามีร าคาสูง ขึ้นโดยเฉพาะในบางทําเล และในทางกลับกัน การแขง ขันที่ สูง จะทําใหร าคาเฉลี่ยของอสัง หาริมทรัพยต่ําลง ซึ่ง จะสง ผลกระทบตอ ผลการดําเนินงานทําใหไมเปนไปตามประ มาณ การที่กําหนดไวได ความเสี่ยงจากตนทุนการกอ สราง ซึ่ง วัส ดุกอ สรางและคาแรงงานถือ เปนตนทุนการกอ สรางที่ส ําคัญ ในการ พัฒนาโครงการ ราคาวัส ดุกอ สรางจะมีความผันแปรไปตามปจจัยตางๆ เชน อุปสงคและอุปทานของวัส ดุกอ สรางแตละ ชนิด ภาวะราคาน้ํามันที่ปรับตัวสูง ขึ้น และการขาดแคลนของวัส ดุกอ สรางบางรายการซึ่ง เปนผลมาจากภัยธรรมชาติ รวมถึง การเติบโตของภาคอสัง หาริมทรัพยทั้ง ภาครัฐและภาคเอกชน กอ ใหเกิดการ ขาดแคลนแร ง ง านและ ต น ทุ น คาแรงงานสูง ขึ้น เพื่อ รองรับความเสี่ยงดัง กลาว ในการบริหารโครงการอสัง หาริมทรัพย กลุมบริษัทไดใชนโยบายการว า จ า ง ผูร ับเหมาแบบที่ร วมคาวัส ดุและคาแรงของทั้ง โครงการไวในสัญญาวาจางแลว ซึ่ง ผูร ับเหมาจะเปนผูร ับภาระราคาวัสดุที่ เปลี่ยนไป แตความผันผวนของราคาวัส ดุกอ สรางก็อ าจสง ผลใหตนทุนในการกอ สรางโครงการของกลุมบริษัทเพิม่ ขึน้ ได ในกรณีที่กลุมบริษัททําการจัดซื้อ จัดจางวัส ดุที่มีมูลคาสูง บางรายการดวยตนเอง ดัง นั้น ความผันผวนและการ ปรั บ ตั ว ขึ้นของราคาวัส ดุกอ สรางจึง อาจสง ผลตอ ความสามารถในการทํากําไร ธุร กิจ ฐานะทางการเงิน และผลการดําเนินงาน ของกลุมบริษัท สวนที่ 1 หนา 21


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

2.3.4

แบบ 56-1 ป 2555/56

ความเสี่ยงจากความลาชาและการไมสามารถควบคุมโครงการใหเปนไปตามประมาณการ

ณ วันที่ 31 มีนาคม 2556 กลุมบริษัทมีโครงการอสัง หาริมทรัพยที่อ ยูในระหวางการพัฒนาจํานวน 2 โครงการ ไดแก โครงการ ABSTRACTS Phahonyothin Park (เฉพาะอาคาร Tower A และอาคารจอดรถ) และโครงการโรงแรม ยู สาทร ซึ่ง มูลคาเงินลงทุนสําหรับโครงการทั้ง สองดัง กลาวเปนเงินประมาณ 3,490 ลานบาท โดยการพัฒนาและการ กอ สรางอสัง หาริมทรัพยอ าจประสบกับความเสี่ยงทางดานความลาชา ความไมส มบูร ณของโครงการหรือ ผลตอบแทน ของโครงการอสัง หาริมทรัพยที่นอ ยกวาประมาณการที่ตั้ง ไว ซึ่ง อาจเกิดขึ้นจากเหตุการณตางๆ เชน ค า ใช จ า ยและ ตนทุนทางการเงินที่เกิดขึ้นจริง เกินกวางบประมาณที่กําหนด การกอ สรางโครงการ ที่ ใ ช เ วลานานกว า ที่ กํ า หนดไว ความเปนไปไดที่จะไมไดร ับการสนับสนุนทางการเงินภายใตเงื่อ นไขที่เอื้อ ประโยชนตอ ธุร กิจ และ/หรือ ความเปนไปได ที่จะไมไดร ับเงินในจํานวนตามที่คาดวาจะไดร ับจากลูกคาจากการเสนอขายโครงการอสัง หาริ ม ทรั พ ย ก อ นเริ่ ม การ กอ สราง (Pre-sales) หรือ การที่ตอ งปฏิบัติตามกฎหมายเกี่ยวกับสิ่ง แวดลอ มและกฎหมายอื่นๆ เปนตน ซึ่ง เหตุ ก าร ณ หนึ่ง หรือ หลายเหตุการณดัง กลาวอาจสง ผลกระทบในทางลบอยางมีนัยสําคัญตอ ธุร กิ จ ฐานะ ทาง การ เงิ น ผลการ ดําเนินงานและแนวโนมในการดําเนินงานในอนาคตของกลุมบริษัท 2.3.5

ความเสี่ยงที่เกิดจากผูรับเหมากอสรางและผูใหบริการตางๆ แกกลุมบริษัท

กลุมบริษัทไดทําสัญญากับผูร ับเหมากอ สรางและผูใหบริการซึ่ง เปนบุคคลภายนอ ก เพื่ อ ให บ ริ ก าร ต า ง ๆ กับกลุมบริษัท โดยระยะเวลาและคุณภาพในการกอ สรางโครงการตาง ๆ ที่กลุมบริษัททํา การ พั ฒ นาอ ยู ขึ้ น อ ยู กั บ ความสามารถและความพรอ มในการทํางานของบุคคลภายนอกเหลานี้ ทั้ง นี้ รวมถึง เหตุการณอ ันไมคาดคิดที่อ าจสงผล กระทบตอ บุคคลภายนอกเหลานี้ อันไดแก การขาดแคลนแรงงานและวัตถุดิบ เปนตน โดยปกติกลุมบริษัทจะจัดใหมีการเสนอราคาจากผูร ับเหมากอ สรางและ ให ส ิ ท ธิ ใ นการ เข า ทํ า สั ญ ญาโดย พิจารณาจากประสบการณและมูลคาของสัญญาที่เสนอโดยผูเสนอราคาเหลานั้น อยางไรก็ตาม กลุมบริษัทไมส ามารถ รับประกันไดวา กลุมบริษัทจะสามารถจัดจางผูร ับเหมากอ สรางที่มีประสบการณเหลานี้มาไดในอัตราที่เหมาะสม หรื อ สามารถรับประกันไดวากลุมบริษัทจะสามารถจัดหาผูร ับ เหมาก อ ส ร า ง ที่ ส ามาร ถทํ า ง านได ต ามลั ก ษณะ ง านที่ กลุมบริษัทไดร ับรองที่จะดําเนินการตามโครงการไดอ ยางตอ เนื่อ งและตลอดเวลา ทั้ง นี้ กลุมบริษัทมีความเสี่ยงสําหรั บ การที่ผูร ับเหมากอ สรางจะเรียกรอ งใหมีการชําระมูลคาตนทุนในการทํา ง านเพิ่ ม เติ ม ในจํ า นวนที่ เ กิ น กว า ร าคาที่ ผูร ับเหมากอ สรางไดเสนอไวแตเดิมสําหรับการดําเนินการตามโครงการใหเสร็จลุลวง ดวยเหตุ ดั ง กล า ว กลุ ม บริ ษั ท อาจจะตอ งทําการลงทุนเพิ่มเติมหรือ ทําการใหบริการเพิ่มเติมเพื่อ ทําใหแนใจได ว า ผู ร ั บ เหมาก อ ส ร า ง จะ ส ามาร ถ ปฏิบัติง านไดในระดับที่เพียงพอและสามารถปฏิบัติหนาที่ตางๆ ตามสัญญาเพื่อ ที่จะดําเนินการตามโครงการ ให เ ส ร็ จ ลุลวงได นอกจากนี้ กลุมบริษัทยัง มีความเสี่ยงจากการที่ผูร ับเหมากอ สรางหลักอาจจะประสบกับปญหาทางการเงินหรือ ปญหาอื่น ๆ ที่อ าจสง ผลกระทบตอ ความสามารถในการปฏิบัติง านกอ สรางตาง ๆ ใหเสร็จลุลวง ซึ่ง จะสง ผลใหกําหนด เสร็จสมบูร ณของโครงการที่ทําการพัฒนามีความลาชาออกไป หรือ สง ผลใหกลุมบริษัทตอ งรับภาระคาใชจายเพิ่มเติม ทั้ง นี้ กลุมบริษัทไมส ามารถรับประกันไดวาการใหบริการของผูร ับเหมากอ สรางซึ่ง เปนบุคคลภายนอกเหลานี้จ ะ อ ยู ใ น ระดับที่นาพึง พอใจหรือ อยูในระดับเทียบเทากับระดับคุณภาพที่กลุ ม บริ ษั ท ตั้ ง เป า เอ าไว ซึ่ ง โคร ง การ ที่ ไ ม ไ ด ร ั บ การกอ สรางตามมาตรฐานคุณภาพที่เหมาะสมเหลานี้ อาจจะสง ผลใหกลุมบริษัทมีกําไรลดลง หรือ ในบางกรณี อ าจจะ กอ ใหเกิดความสูญเสียที่ร ุนแรง และในสถานการณเหลานี้ กลุมบริษัทอาจจําเปนตอ งแบกรับภาระคาใชจายเพิ่มเติมเพือ่ ทําการแกไขความบกพรอ งดัง กลาวและทําการปรับปรุง อสัง หาริมทรัพยใหอ ยูในมาตรฐานคุณภาพที่เหมาะสมเพื่ อ ให เปนไปตามวัตถุประสงคในการพัฒนาโครงการของกลุมบริษัท ซึ่ง ปจจัยอันหนึ่ง อันใดหรือ หลายปจจัยเหลานี้อ าจสง ผล กระทบในทางลบตอ ธุร กิจ ฐานะทางการเงิน ผลการดําเนินงาน และแนวโนมดําเนินการในอนาคตของกลุมบริษัทได สวนที่ 1 หนา 22


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

2.3.6

แบบ 56-1 ป 2555/56

ความเสี่ยงจากความลาชาในการขออนุญาตจากหนวยงานของรัฐที่เกี่ยวของ

ในฐานะที่กลุมบริษัทเปนผูพัฒนาอสัง หาริมทรัพย กลุมบริษัทตอ งดําเนินการเพื่อ ใหไดใบอนุญาต ใบรั บ ร อ ง และการไดร ับอนุญาตตางๆ จากหนวยงานของรัฐที่เกี่ยวขอ ง ในแตละขั้นตอนการดําเนินการ เพื่อ ที่จะทําการ พั ฒ นา และดําเนินการพัฒนาอสัง หาริมทรัพยใหเสร็จลุลวงไปได ซึ่ง การไดร ับอนุญาตดัง กลาวอาจจะประสบกับป ญ หาต า ง ๆ หรือ ประสบกับความลาชาในการปฏิบัติตามเงื่อ นไขที่กําหนดไวเพื่อ ใหไดร ับอนุญาต นอกจากนี้ กลุมบริษัทอาจไมส ามารถที่ จ ะ ปฏิ บั ติ ต ามกฎหมาย กฎร ะ เบี ย บ หรื อ นโยบายที่ ถู ก แก ไ ข เปลี่ยนแปลงใหมและอาจมีผลใชบัง คับเปนการทั่วไปกับธุร กิจอสัง หาริมทรัพยในแตละชวงเวลา โดยหากกลุ ม บริ ษั ท ประสบปญหาความลาชาหรือ ไมส ามารถที่จะขอและรักษาไวซึ่ง ใบอนุญาตที่เกี่ยวขอ ง หรื อ ไม ส ามาร ถปฏิ บั ติ ต าม กฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวขอ งได กลุมบริษัทอาจถูกลงโทษ ประสบปญหาความลาชาในการพัฒนาโครงการขอ ง กลุมบริษัท ถูกเพิกถอนใบอนุญาต หรือ สูญเสียกรรมสิทธิ์หรือ สิทธิในการพัฒนาหรือ บริหารจัดการทรัพยส ินขอ ง กลุ ม บริษัท ซึ่ง เหตุการณอ ันหนึ่ง อันใดหรือ หลายเหตุการณเหลานี้อ าจสง ผลกระทบในทางลบตอ ธุร กิจ ฐานะ ทาง การ เงิ น ผลการดําเนินงาน และแนวโนมดําเนินการในอนาคตของกลุมบริษัทได 2.4

ความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับธุรกิจบริการ

2.4.1

การถูกเพิกถอนหรือไมไดรับการตอใบอนุญาตประกอบกิจการเงินอิเล็กทรอนิกส

เนื่อ งจากบีเอสเอสไดร ับอนุญาตใหประกอบธุร กิจเงินอิเล็กทรอนิกสซึ่ง เปนธุร กิจที่ไดร ับการควบคุมดู แ ลโดย ธนาคารแหง ประเทศไทย ภายใตพระราชกฤษฎีกาวาดวยการควบคุมดูแลธุร กิจบริการการชําระเงินทางอิเล็กทรอนิกส พ.ศ. 2551 และประกาศกระทรวงการคลัง เรื่อ งกิจการที่จะตอ งขออนุญาตตามขอ 5 แหง ประกาศคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 58 (การประกอบธุร กิจบัตรเงินอิเล็กทรอนิกส) ดัง นั้น บีเอสเอสจึง ตอ งปฏิบัติตามกฎหมาย และกฎร ะ เบี ย บที่ เ กี่ ย วข อ ง ทั้ง หมด โดยเฉพาะอยางยิ่ง ในสวนที่เกี่ยวขอ งกับการรักษาความปลอ ดภั ย ขอ ง ร ะ บบส าร ส นเทศ ตลอ ดจนการ ควบคุมดูแลเงินอิเล็กทรอนิกส หากไมปฎิบัติตามกฎดัง กลาว บีเอสเอสจะมีความเสี่ยงที่จะถูกเพิกถอนใบอนุญาต อันมี ผลใหบีเอสเอสไมอ าจดําเนินธุร กิจเงินอิเล็กทรอนิกสไดอ ีกตอ ไป นอกจากนี้ ใบอนุญาตที่บีเอสเอสไดร ับ จากธนาคาร แหง ประเทศไทยนั้นมีอ ายุ 10 ป ดัง นั้น ถึง แมจะสามารถยื่นคํารอ งขอตอ อายุได แตก็อ าจมีความเสี่ยง ที่ บี เ อ ส เอ ส จะ ไมไดร ับการตอ อายุใบอนุญาตดัง กลาว อันมีผลใหบีเอสเอสไมอ าจดําเนินธุร กิจเงินอิเล็กทรอนิกสไดอ ีกตอ ไปเชนกัน 2.4.2

รายไดของบีเอสเอส

รายไดหลักและความสามารถในการสรางผลกําไรของบีเอสเอสเกิดจากคาธรรมเนียมที่บีเอสเอส ได ร ั บ จาก ผูเขารวมใหบริการ ทั้ง ผูใหบริการระบบขนสง มวลชนและรานคาที่เขารวมใหบริการ โดยคํานวณจากมูลคาในการใชงาน บัตรเงินอิเล็กทรอนิกส ดัง นั้น ปจจัยใดๆ ที่มีผลกระทบในทางลบในเรื่อ งดัง ตอ ไปนี้ จะมีผลกระทบอยางมีนยั สําคัญ ต อ รายไดหลักของบีเอสเอส

สวนที่ 1 หนา 23


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

จํานวนผูถือ บัตรเงินอิเล็กทรอนิกส

เนื่อ งจากรายไดของบีเอสเอสเกิดจากการที่ผูใชบริการใชง านบัตรเงินอิเล็กทรอนิกสกับผูใหบริการระบบขนสง หรือ รานคาที่เขารวมใหบริการ ดัง นั้น ปจจัยตางๆ ที่มีผลกระทบในทางลบต อ จํ า นวนขอ ง ผู ใ ช บ ริ ก าร และ มู ล ค า ที่ ผูใชบริการใชบัตรเงินอิเล็กทรอนิกสจึง มีผลกระทบในทางลบโดยตรงตอ รายไดหลัก และฐานะทางการเงินของบีเอสเอส 

จํานวนผูเขารวมใหบริการ

จํานวนของผูเขารวมใหบริการที่ร ับบัตรเงินอิเล็กทรอนิกสก็เปนปจจัยหลั ก อั น มี ผ ลกร ะ ทบต อ ร ายได ข อ ง บีเอสเอส เนื่อ งจากรายไดหลักของบีเอสเอสจะไดร ับจากผูเขารวมใหบริการเมื่อ ผูใชบริการใชบัตรเงินอิเล็กทรอนิกสกบั ผูเขารวมใหบริการนั้นๆ ดัง นั้น หากมีผูเขารวมใหบริการมากขึ้น รายไดของบีเอสเอสก็จะสูง ขึ้นดวย หากผู เ ข า ร ว ม ใหบริการมีจํานวนนอ ย หรือ เพิ่มขึ้นเปนจํานวนนอ ย ก็จะมีผลใหร ายไดของบีเอสเอสที่จะไดร ับจากผูเขารวมใหบริ ก าร นอ ยลงดวย เชนกัน นอกจากนี้ หากบีเอสเอสมีพันธมิตรเขารวมใหบริการมากและมีโปรแกรมสง เสริมการขายที่นาสนใจ ก็จะทําให จํานวนผูใชบริการที่ส นใจใชบัตรเงินอิเล็กทรอนิกสส ูง ขึ้น เนื่อ งจากเปนการอํานวยความส ะ ดวกให กั บ ผู ใ ช บ ริ ก าร อยางไรก็ตาม หากผูเขารวมใหบริการมีปริมาณนอ ยลง ก็อ าจเปนปจจัยที่ส ง ผลใหผูใชบริการบัตรเงิน อิ เ ล็ ก ทร อ นิ ก ส นอ ยลง อันมีผลกระทบตอ รายไดของบีเอสเอสดวยเชนกัน 

อัตราคาโดยสารของผูใหบริการระบบขนสง มวลชนและคาสินคาหรือ บริการของผูใหบริการที่เปน รานคา

นอกจากจํานวนผูใชบริการและผูเขารวมใหบริการแลว อัตราคาโดยสารหรือ ราคาคาสินค า หรื อ บริ ก าร ก็ มี ผลกระทบอยางมีนัยสําคัญตอ รายไดหลักของบีเอสเอสดวยเชนกัน เนื่อ งจากรายไดหลักของบีเอสเอสจะคํานวณจาก มูลคาที่ผูใชบริการใชบัตรเงินอิเล็กทรอนิกสกับผูเขารวมใหบริการ และรายไดของบีเอสเอสจะแปรผันตรงกับทั้ง จํานวน ธุร กรรม และมูลคาที่ใชบัตรเงินอิเล็กทรอนิกสดัง กลาว ดัง นั้น อัตราคาโดยสาร คาสินคาหรือ บริการที่ผูเขารวมใหบริการ เรียกเก็บจากผูใชบริการจึง มีผลกระทบโดยตรงตอ รายไดของบีเอสเอส ดวยเหตุดัง กลาว หากมีป จ จั ย ที่ มี ผ ลกร ะ ทบ ในทางลบตอ อัตราคาโดยสารหรือ คาสินคาหรือ บริการดัง กลาว รายไดและฐานะทางการเงินของบีเอสเอสจะลดต่ํ า ลง ดวย นอกจากนี้ หากราคาของสินคาหรือ บริการของผูเขารวมใหบริการไมดึง ดูดใจเพียงพอใหผูถือ บัตรซื้อ สินคาหรื อ บริการ และเปลี่ยนไปซื้อ สินคาหรือ บริการจากผูใหบริการอื่นที่ไมไดเขารวมกับบีเอสเอ ส ก็ อ าจส ง ผลในทาง ลบต อ รายไดของบีเอสเอสไดเชนกัน 2.4.3

การลมละลายของสถาบันการเงินที่รับฝากเงินอิเล็กทรอนิกส

ตามประกาศของธนาคารแหง ประเทศไทย เมื่อ ผูถือ บัตรเติมมูลคาลงในบัตรเงินอิเล็กทรอนิ ก ส บี เ อ ส เอ ส มี หนาที่และความรับผิดชอบที่จะตอ งนําเงินจํานวนดัง กลาวทั้ง หมดเขาไปฝากไวในบัญชีของส ถาบั น การ เงิ น ซึ่ ง ตาม พระราชบัญญัติส ถาบันคุมครองเงินฝาก พ.ศ. 2551 การประกันเงินฝากจะกําหนดวงเงินไวเพียง 1 ลานบาทต อ หนึ่ ง รายตอ หนึ่ง สถาบันการเงิน มีผลตั้ง แตวันที่ 11 สิง หาคม 2555 เปนตนไป เวนแตจะมีพระ ร าชกฤษฎี ก ากํ า หนดเป น อยางอื่น อยางไรก็ดี วิกฤตการณทางการเงินในประเทศสหรัฐอเมริกาที่เกิดขึ้นในชวงปลายป 2551 ไดส ง ผลกระทบตอ ภาวะเศรษฐกิจและการเงินของประเทศตางๆ ทั่วโลกรวมถึง ประเทศไทย คณะรัฐมนตรีจึง ไดมีมติเมื่อ วันที่ 28 ตุล าคม 2551 เห็นชอบใหเพิ่มวงเงินคุมครองเปนเต็มจํานวนจนถึง วันที่ 10 สิง หาคม 2554 และเปนไมเกิน 50 ลานบาท ในช ว ง สวนที่ 1 หนา 24


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

11 สิง หาคม 2554 ถึง 10 สิง หาคม 2555 เพื่อ เปนการปอ งกันผลกระทบไวลวงหนาโดยเสริมสรางความเชื่อ มั่ น ให กั บ ผูฝากเงิน และรักษาเสถียรภาพของระบบการเงินโดยเฉพาะในสวนที่เกี่ยวขอ งกับการเคลื่อ นย า ยเงิ น ตร าร ะ หว า ง ประเทศ ตอ มา เมื่อ วันที่ 26 มิถุนายน 2555 คณะรัฐมนตรีมีมติใหขยายระยะเวลาคุมครองเงินฝากจํานวน 50 ลานบาท ออกไปจนถึง วันที่ 10 สิง หาคม 2558 และปรับวงเงินคุมครองเปน 25 ลานบาท ร ะ หว า ง 11 สิ ง หาคม 2558 - 10 สิง หาคม 2559 และ 1 ลานบาท ตั้ง แต 11 สิง หาคม 2559 เปนตนไป โดยพระราชกฤษฎีกากําหนดจํ า นวนเงิ น ฝากที่ ไดร ับการคุมครองเปนการทั่วไป พ.ศ. 2555 มีผลบัง คับใชตั้ง แตวันที่ 11 สิง หาคม 2555 ระยะเวลาที่สถาบันการเงินปดกิจการ 11 สิง หาคม 2555 - 10 สิง หาคม 2558 11 สิง หาคม 2558 - 10 สิง หาคม 2559 11 สิง หาคม 2559 เปนตนไป

จํานวนเงินที่คุมครอง : ไมเกิน 50 ลานบาท : ไมเกิน 25 ลานบาท : ไมเกิน 1 ลานบาท

ดวยเหตุดัง กลาว ความมั่นคงของสถาบันการเงินจึง เปนปจจัยที่ส ง ผลกระทบตอ สภาพคลอ งและอาจสง ผลถึง ความสามารถในการชําระเงินใหแกทั้ง ผูใหบริการและผูใชบริการซึ่ง บีเอสเอสมีภ าระผูกพันอยู 2.4.4

ความเสี่ยงอื่นที่เกี่ยวของกับธุรกิจเงินอิเล็กทรอนิกส

ปจจัยความสําเร็จของธุร กิจบัตรเงินอิเล็กทรอนิกสของบีเอสเอสนั้น สวนหนึ่ง มาจากผูใหบริการระบบขนส ง มวลชน โดยเฉพาะรถไฟฟาสายตางๆ ซึ่ง จํานวนผูใชบริการบัตรเงินอิเล็กทรอนิกสจะมาจากฐานผูถือ บัตรโดยสารเปน สวนใหญ แตเนื่อ งจากผูใหบริการบางรายอยูภ ายใตการควบคุมดูแลหรือ ไดร ับสัมปทานจากภาครัฐ รวมทั้ง อาจได ร ั บ ผลกระทบจากนโยบายภาครัฐ เชน โครงการบริหารจัดการระบบตั๋วรวม ซึ่ง อาจมีผลใหโครงสรางสภาพแวดลอ มทาง ธุร กิจไมส อดคลอ งกับสมมุติฐานของแผนธุร กิจที่วางไว อีกทั้ง รัฐยัง ไมมีการกําหนดวิธีการที่ชัดเจนในการ ดํ า เนิ น การ ตามโนบายการกําหนดอัตราราคาคาโดยสารรวม หากนโยบายของภาครัฐดัง กลาวสนั บ ส นุ น การ ดํ า เนิ น การ ขอ ง บีเอสเอสก็จะทําใหบีเอสเอสสามารถบรรลุวัตถุประสงคตามที่ตั้ง ไว แตหากนโยบายดั ง กล า วไม ส นั บ ส นุ น หรื อ ไม สอดคลอ งกับแนวทางธุร กิจของบีเอสเอส ก็อ าจจะเปนอุปสรรคสําคัญในการดําเนินงานของบีเอสเอส นอกจากนี้แลว ในดานความตอ เนื่อ งในการใหบริการ ระบบการใหบริการเงินอิเล็กทรอนิกสของบีเอสเอสไดรบั การพัฒนาขึ้นโดยบริษัทที่มีประสบการณและเปนที่ยอมรับในระดับสากลและมีประสบการณในการพัฒนาในระ บบที่ มี ลักษณะเดียวกันในหลายประเทศ แตอ ยางไรก็ตาม ระบบยัง คงตอ งพึ่ง พาองคประกอบอื่นในการปฏิบัติการ โดยเฉพาะ ระบบไฟฟา ระบบโทรคมนาคม และระบบการชําระดุลของธนาคารพาณิชย ดัง นั้นหากเกิดเหตุขัดขอ งหรือ ภัยพิบัติใน ระบบใดระบบหนึ่ง ก็อ าจสง ผลใหเกิดความชะงักงันในการใหบริการแกผูที่เกี่ยวขอ ง อยางไรก็ตาม เพื่อ บรรเทาความ เสี่ยงดัง กลาว บีเอสเอสไดอ อกแบบระบบงานที่ผูใหบริการก็ยัง คงใหบริการแกผูถือ บัตรได เพียงแตจะมีผลกระ ทบต อ การชําระดุลระหวางบีเอสเอสกับผูใหบริการเทานั้น 2.4.5

ความเสี่ยงที่เกี่ยวของกับธุรกิจการใหบริการลู ก ค า สั ม พั น ธ แ ละโปรแกรมส ง เสริ ม การขายด ว ย เครื่องพิมพคูปองอัตโนมัติ (coupon kiosks)

ธุร กิจหลักของแครอท รีวอรดส คือ การจัดการเกี่ยวกับการรวมในการใหบริการลูกคาสัมพันธ (CRM loyalty program) และเครือ ขายเครื่อ งพิมพคูปองอัตโนมัติ (coupon kiosks) ซึ่ง ความสําเร็จทางธุร กิจ คือ จํานวนสมาชิ ก ซึ่ ง

สวนที่ 1 หนา 25


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

เปนสวนหนึ่ง ของผูถือ บัตรเงินอิเล็กทรอนิกสที่อ อกโดยบีเอสเอส จากปจจัยความสําเร็จขางตน หากจํานวนผูถือ บัตรเงิน อิเล็กทรอนิกสซึ่ง เปนฐานสมาชิกของแครอท รีวอรดส ไมเปนไปตามเปาหมาย ก็จะสง ผลใหธุร กิจไมบรรลุวัตถุประสงค ตามที่กําหนดไว และสง ผลกระทบในทางลบอยางมีนัยสําคัญตอ จํานวนรายไดที่แครอท รีวอรดส ตั้ง เป า ไว ซึ่ ง ความ นาสนใจของธุร กิจลูกคาสัมพันธ (CRM loyalty program) ขึ้นอยูกับจํานวนและความนาสนใจของโปรแกรมสะสมแต ม ของพันธมิตรที่เขารวมโครงการ หากจํานวนพันธมิตรที่เขารวมโครงการมีจํานวนนอ ย หรือ มีข อ เส นอ ที่ ไ ม น า ส นใจ ก็อ าจสง ผลกระทบในทางลบตอ ทั้ง การดึง ความสนใจของสมาชิกที่มีศักยภาพใหมาเขารวมโครงการ และความสามารถ ของแครอท รีวอรดสที่จะสรางรายไดผานการออกจํานวนแตม ในสวนของธุร กิจเครื่อ งพิมพคูปองอัตโนมัติ (coupon kiosks) ของแครอท รีวอรดสนั้น ก็มีความเสี่ยงในเรือ่ ง ของคูแขง อยูดวย หากบริษัทอื่นไดเริ่มมีตูพิมพคูปองที่คลายคลึง กันก็จะกอ ใหเกิดความเสี่ยงในเรื่อ งการปรั บ ลดขอ ง อัตราคาธรรมเนียมในการโฆษณาและรายไดของแครอท รีวอรดส การบรรเทาความเสี่ยงดัง กลาวอาจทําไดโดยการ เจรจาตอ รองเพื่อ ใหไดส ถานที่ตั้ง เครื่อ งพิมพคูปองอัตโนมัติที่ดีที่ส ุด เชน ที่ร ะบบขนสง มวลชน ศูนยการคา และอาคาร สํานักงาน ธุร กิจพื้นฐานของแครอท รีวอรดส ทั้ง ธุร กิจลูกคาสัมพันธ (CRM loyalty program) และ เครื่ อ ง พิ ม พ คู ป อ ง อัตโนมัติ (coupon kiosks) ขึ้นอยูกับซอฟตแวรและเทคโนโลยีของบุคคลภายนอก ดัง นั้น การชะงักงันในการใหบริการ ของระบบที่เปนสาระสําคัญอาจทําใหส มาชิกมีความเชื่อ มั่นในรูปแบบการใหบริการนอ ยลง และ อ าจส ง ผลต อ ความ พึง พอใจในการใหบริการลดลงดวย 2.5

ปจจัยความเสี่ยงทั่วไปที่อาจมีผลกระทบตอบริษัทฯ

2.5.1

บริษัทฯ ตองพึ่งพาเงินปนผลจากบริษัทยอย และอาจไดรับผลกระทบจากการลดสัดสวนการถือหุน ใน บริษัทยอย

บริษัทฯ ตอ งพึ่ง พาเงินปนผลจากบริษัทยอ ย ทั้ง นี้ บีทีเอสซีและวีจีไอมีนโยบายการจายเงินปนผลไมนอ ยกว า รอ ยละ 50 ของกําไรจากการดําเนินงาน ซึ่ง ไมร วมรายการพิเศษบางรายการ (โปรดพิจารณารายละเอีย ดใน หั ว ข อ 7.4.2 นโยบายการจายเงินปนผลของบริษัทยอ ย) อยางไรก็ตาม การจายเงินปนผลและการกําหนดจํานวนเงินปน ผลที่ บริษัทยอ ยจะจายใหกับบริษัทฯ ขึ้นอยูกับปจจัยตางๆ ซึ่ง บริษัทฯ ตอ งคํานึง ถึง นอกเหนือ จากความตอ งการใชเงินของ บริษัทฯ เชน เงื่อ นไขในการกอ หนี้ของแตละบริษัทยอ ย ฐานะทางการเงิน ผลการดําเนินงาน กระแสเงินสด แผนการ ลงทุนและแนวโนมทางธุร กิจของบริษัทยอ ยแตละบริษัท ทั้ง นี้ หากบริษัทฯ ไมไดร ับเงินปนผลในจํานวนที่เพี ย ง พอ จาก บริษัทยอ ย ก็อ าจสง ผลกระทบในทางลบตอ ธุร กิจ ฐานะทางการเงิน ผลการดําเนินงาน และความสามารถในการ จ า ย เงินปนผลของบริษัทฯ 2.5.2

กองทุน BTSGIF อาจไมสามารถจายเงินปนผลในหนวยลงทุนหรือไมสามารถรักษาระดับการจายเงิ น ปนผลได

รายไดคาโดยสารสุทธิที่กองทุน BTSGIF ไดร ับขึ้นอยูกับหลายปจจัย ซึ่ง รวมถึง จํานวนเงินคาโดยสารที่ไดร ับ รวมทั้ง คาใชจายในการดําเนินงานและคาใชจายอื่นๆ ที่เกิดขึ้นจากการดําเนินงานระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพ สายหลัก ในกรณีที่ร ายไดคาโดยสารสุทธิจากการดําเนินงานระบบรถไฟฟ า ขนส ง มวลชนกรุ ง เทพส ายหลั ก และ ทรัพยส ินอื่นๆ ที่กองทุน BTSGIF อาจไดมาหรือ ถือ ครองในภายหลัง ไมส ามารถสรางรายไดเพียงพอ จะทําใหร ายได สวนที่ 1 หนา 26


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

กระแสเงินสด และความสามารถของกองทุน BTSGIF ในการจายเงินปนผลไดร ับผลกระทบในทางลบ ตลอดจนกองทุน BTSGIF อาจไมส ามารถรักษาระดับของอัตราการจายเงินปนผลตามนโยบายการจายเงินปนผลที่กําหนดไว (กอ ง ทุ น BTSGIF มีนโยบายการจายเงินปนผลใหแกผูถือ หนวยลงทุนมากกวาปละ 1 ครั้ง และไมนอ ยกวารอ ยละ 90 ของกํ า ไร สุทธิที่ปรับปรุง แลว) ดัง นั้น จึง อาจสง ผลกระทบในทาง ลบต อ ธุ ร กิ จ ฐานะ ทาง การ เงิ น ผลการ ดํ า เนิ น ง าน และ ความสามารถในการจายเงินปนผลของบริษัทฯ 2.5.3 การสูญเสียหุนบีทีเอสซี กรณีเกิดเหตุผิดนัดผิดสัญญาตามสัญญาซื้อและโอนสิ ท ธิ ร ายได สุ ท ธิ และ กองทุน BTSGIF ใชสิทธิบังคับจํานําหุนบีทีเอสซี หรือใชสิทธิซ ื้อหุนบีทีเอสซี ในการเขาทําธุร กรรมการขายและโอนสิทธิในรายไดคาโดยสารสุทธิที่จะเกิดขึ้นจากการ ดํ า เนิ น ง านร ะ บบ รถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลักใหแกกองทุน BTSGIF บริษัทฯ ในฐานะผูส นับสนุน ไดเขาทําสัญญาสนับ ส นุ น และค้ําประกันของผูส นับสนุน เพื่อ ที่จะค้ําประกันการปฏิบัติตามภาระผูกพันของบีทีเอสซีภ ายใตส ัญญาซื้อ และโอนสิทธิ รายไดส ุทธิ รวมถึง หนาที่ของบีทีเอสซีในการชําระเงินตามสัญญาซื้อ และโอนสิทธิในรายไดส ุทธิ การค้ําประกันภายใต สัญญาสนับสนุนและค้ําประกันของผูส นับสนุนซึ่ง บริษัทฯ ใหแกกองทุน BTSGIF จะใหโดยจํากัด โดยกองทุน BTSGIF จะไมส ามารถบัง คับใหบริษัทฯ ชําระหนี้ตามภาระค้ําประกันไดโดยวิธีการอื่นใดนอกจากการบัง คับเอาจากหุนบีทีเอสซี ซึ่ง ถือ หรือ จะไดถือ โดยบริษัทฯ เทานั้น โดยการบัง คับเอาจากหุนบีทีเอสซีดัง กลาวจะสามารถทําไดโดยการบัง คับจํานํา หุนบีทีเอสซีทั้ง หมดโดยการขายทอดตลาดตามสัญญาจํานําหุน หรือ ใหบริษัทฯ โอนหุนบีทีเอสซีทั้ง หมดให แ ก ก อ ง ทุ น BTSGIF ตามสัญญาจะซื้อ จะขายหุน อยางไรก็ตาม การค้ําประกันตามสัญญาสนับสนุนและค้ําประกันของผูส นับสนุน ดัง กลาวจํากัดอยูที่การโอนหุนทั้ง หมดที่บริษัทฯ ถือ อยูในบีทีเอสซี แตไมร วมทรัพยส ินของบีทีเอสซีที่กองทุน BTSGIF ไมไดซื้อ ซึ่ง จะโอนคืนบริษัทฯ หรือ บุคคลที่บริษัทฯ กําหนดตามเงื่อ นไขสัญญาซื้อ และโอนสิทธิร ายไดส ุทธิ และ สั ญ ญา สนับสนุนและค้ําประกันของผูส นับสนุน ซึ่ง เมื่อ หากกองทุน BTSGIF ใชส ิทธิบัง คับจํานําหุนบีทีเอสซี หรือ ใชส ิทธิบัง คับ ซื้อ หุนบีทีเอสซีแลว แมภ าระค้ําประกันของบริษัทฯ จะสิ้นสุดลง แตบริษัทฯ จะสูญเสียหุนบีทีเอสซีและอํานาจควบคุมใน บีทีเอสซีไป และจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอํานาจการควบคุมในบีทีเอสซีจากบริษัทฯ ไปเปนกองทุน BTSGIF หรือ บุ ค คล อื่นที่ไดมาซึ่ง หุนบีทีเอสซีไมวาจะจากการขายทอดตลาดตามการบัง คับจํานําหุนตามสัญญาจํานําหุน หรือ เป น บุ ค คลที่ กองทุน BTSGIF ไดกําหนดใหเปนผูร ับโอนหรือ ซื้อ หุนบีทีเอสซีตามสัญญาจะซื้อ จะขายหุ น ซึ่ ง หากเกิ ด เหตุ ก าร ณ ดัง กลาวขึ้น จะสง ผลกระทบในทางลบอยางมีนัยสําคัญตอ ธุร กิจ ฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน และโอกาสทางธุร กิจ ของบีทีเอสซี และบริษัทฯ อยางไรก็ดี ในกรณีของเหตุผิดนัดผิดสัญญาบางประการตามที่กําหนดไวในสัญญาซื้อ และโอนสิทธิร ายไดสทุ ธิ บีทีเอสซีส ามารถเสนอแผนการเพื่อ แกไขเยียวยาเหตุผิดนัดผิดสัญญาตอ กองทุน BTSGIF ได และหากกองทุน BTSGIF เห็นชอบดวยกับแผนการเยียวยา กองทุน BTSGIF จะไมใชส ิทธิเรียกใหบีทีเอสซีชําระหนี้ตามสัญญาซื้อ และโอ นสิ ท ธิ รายไดส ุทธิ หรือ เรียกใหบริษัทฯ ในฐานะผูส นับสนุนปฏิบัติตามสัญญาสนับสนุนและค้ําประกันของผูส นับสนุน หรือใชสทิ ธิ อื่นใดที่กองทุน BTSGIF มีส ําหรับกรณีเกิดเหตุผิดนัดผิดสัญญาดัง กลาว โดยในระหวางระยะเวลาการแก ไ ขเยี ย วยา บริษัทฯ จะใหส ิทธิแกกองทุน BTSGIF ในการใชส ิทธิอ อกเสียงในหุนบีทีเอสซีตามเงื่อ นไขที่กําหนดไวในสัญญาซือ้ และโอน สิทธิร ายไดส ุทธิ และหากมีการจายเงินปนผลจากบีทีเอสซี บริษัทฯ ตกลงจะนําเงินปนผลที่ตนเองจะไดร ับจากการถือ หุน บีทีเอสซีมาชําระจํานวนเงินที่คางจายและถึง กําหนดชําระภายใตเอกสารธุร กรรมใหแกกองทุน BTSGIF

สวนที่ 1 หนา 27


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

2.5.4

แบบ 56-1 ป 2555/56

บีทีเอสซีอาจไดรับผลกระทบจากความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ

ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนของบีทีเอสซีเกิดจากตนทุนคาบํารุง รักษาและการ ซื้ อ ขบวนร ถไฟฟ า และ อะไหลตลอดจนตนทุนคาบํารุง รักษาตามสัญญาซอ มบํารุง และคาใชจายซอ มบํารุง ที่เกี่ยวขอ งหรือ จัดสรรใหกับระบบ รถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสวนตอ ขยาย โดยบีทีเอสซีมีภ าระผูกพันของรายจายฝายทุนในสวนที่เกี่ยวขอ งกับการ ดําเนินงานสวนตอ ขยายเปนเงินตราตางประเทศ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2555 เปนจํานวนเงิน 0.1 ลานยูโร และ ณ วั น ที่ 31 มีนาคม 2556 เปนจํานวนเงิน 3.5 ลานยูโร และ 110.3 ลานเรนมินบิ ตามลําดับ ดัง นั้น หากคาเงินบาทอ อ นตั ว ลง เมื่อ เทียบกับเงินสกุลตางประเทศในอนาคต บีทีเอสซีไมอ าจรับรองไดวาบีทีเอสซีจะสามารถสรางรายได ใ นจํ า นวนที่ เพียงพอตอ การเพิ่มขึ้นของภาระผูกพันดัง กลาวได ดัง นั้น ความผันผวนของอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศอาจ สง ผลกระทบในทางลบตอ ธุร กิจ ฐานะทาง การ เงิ น ผลปร ะ กอ บการ และ ศั ก ยภ าพในการ ปร ะ กอ บธุ ร กิ จ ขอ ง บีทีเอสซีและบริษัทฯ 2.5.5

การออกและเสนอขายหุนสามัญเพิ่มทุน เพื่อรองรับการใชสิท ธิ ต ามใบสํ า คั ญ แสดงสิ ท ธิ B T S-W 2 ใบสําคัญแสดงสิทธิ BTS-WA และใบสําคัญแสดงสิทธิ BTS-WB ของบริษัท ฯ อาจส ง ผลกระทบให สัดสวนการถือหุนของผูลงทุนในหุนของบริษัทฯ ลดลง (Control Dilution)

ปจจุบัน บริษัทฯ มีใบสําคัญแสดงสิทธิ BTS-W2 คงเหลือ จํานวน 3,167,032,866 หนวย ใบสําคัญ แส ดง สิ ท ธิ BTS-WA จํานวนทั้ง สิ้น 100,000,000 หนวย และใบสําคัญแสดงสิทธิ BTS-WB จํานวนทั้ง สิ้น 16,000,000 หนวย โดย มีหุนรองรับใบสําคัญแสดงสิทธิ BTS-W2 จํานวน 506,725,271 หุน หุนรองรับใบสําคัญแสดง สิ ท ธิ BTS-WA จํ า นวน 16,000,000 หุน และหุนรองรับใบสําคัญแสดงสิทธิ BTS-WB จํานวน 16,000,000 หุน ดัง นั้น หากมี ก าร ใช ส ิ ท ธิ ต าม ใบสําคัญแสดงสิทธิ BTS-W2 ใบสําคัญแสดงสิทธิ BTS-WA และใบสําคัญแสดงสิทธิ BTS-WB เต็ม จํ า นวน จะ ทํ า ให สัดสวนการถือ หุนของผูถือ หุนเดิมลดลงไมเกินรอ ยละ 4.25 รอ ยละ 0.14 และ รอ ยละ 0.14 ตามลําดับ (คํานวณโดยใช ฐานหุนที่อ อกและจําหนายแลวทั้ง หมด ณ ปจจุบันที่ 11,402,793,531 หุ น ) ซึ่ ง นั บ ร วมเป น สั ด ส ว นการ ถื อ หุ น ขอ ง ผูถือ หุนเดิมลดลงทั้ง หมดไมเกินรอ ยละ 4.51

สวนที่ 1 หนา 28


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

3.

ลักษณะการประกอบธุรกิจ

3.1

ประวัติความเปนมาและการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่สําคัญ

แบบ 56-1 ป 2555/56

บริษัท ธนายง จํากัด จดทะเบียนกอ ตั้ง ขึ้นเมื่อ วันที่ 27 มีนาคม 2511 ดวยทุนจดทะเบียนเริ่มแรก 5,000, 000 บาท เพื่อ ดําเนินธุร กิจดานการพัฒนาอสัง หาริมทรัพย บริษัทฯ ไดเริ่มเปดโครงการพัฒนาอสัง หาริมทรัพยโครงการแรก คือ “โครงการธนาซิตี้” ซึ่ง ตั้ง อยูร ิมถนนบางนา-ตราด กม.14 ในป 2531 ซึ่ง เปนโครงการที่ประกอบไปดว ยบ า นเดี่ ย ว ทาวนเฮาส คอนโดมิเนียม และที่ดินเปลาจัดสรร บริษัทฯ ไดนํากิจการเขาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทยและเริ่มทํา การ ซื้ อ ขายหลั ก ทรั พ ย ครั้ง แรกในวันที่ 1 มีนาคม 2534 และตอ มาเมื่อ วันที่ 2 มิ ถุ น ายน 2536 บริ ษั ท ฯ ได จ ดทะ เบี ย นแปร ส ภ าพจาก บริษัทจํากัดเปนบริษัทมหาชนจํากัด และไดขยายลักษณะการประกอบธุร กิจออกไปหลายปร ะ เภ ท เช น โคร ง การ อสัง หาริมทรัพย อาคารพักอาศัยใจกลางเมือ ง เซอรวิส อพารทเมนท อ าคาร สํ า นั ก ง าน โร ง แร ม และ โคร ง การ สาธารณูปโภคขนาดใหญ บริษัทฯ ไดร ับผลกระทบจากวิกฤติเศรษฐกิจในป 2540 ซึ่ง สง ผลกระทบโดยตรงตอ ภาคธุร กิจ โดยเฉพาะอยาง ยิ่ง ผูประกอบการที่กูยืมเงินจากตางประเทศ การลอยตัวคาเงินบาทสง ผลใหเงินกูยืมที่เปนสกุลเงินตราตา ง ปร ะ เทศมี มูลคาเพิ่มสูง ขึ้นอยางมากเมื่อ เทียบเปนสกุลเงินบาท บริษัทฯ ก็ไดร ับผลกระทบตางๆ เหลานี้ดวยเชนกัน ในระ หว า ง ป 2545-2549 บริษัทฯ ไดทําการปรับปรุง โครงสรางหนี้ และเขาสูกระบวนการฟนฟูกิจการ ซึ่ง บริษัทฯ ไดปฏิบัติตามแผน ฟนฟูกิจการจนกระทั่ง ศาลลมละลายกลางไดมีคําสั่ง ยกเลิกการฟนฟูกิจการในปลายป 2549 เมื่อ วันที่ 4 พฤษภาคม 2553 บริษัทฯ ไดขยายธุร กิจอยางตอ เนื่อ ง โดยการไดมาซึ่ง หุนสามัญขอ ง บี ที เ อ ส ซี รอ ยละ 94.60 ของหุนที่จําหนายไดแลวทั้ง หมดของบีทีเอสซี และไดเปลี่ยนชื่อ บริษัทเปน บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้ ง ส จํากัด (มหาชน) ทําใหธุร กิจหลักของกลุมเปลี่ยนไปเปนธุร กิจระบบขนสง มวลชน ดัง นั้น เพื่อ ใหส อดคลอ งกับธุร กิ จ หลั ก ใหมของบริษัทฯ เมื่อ วันที่ 11 พฤษภาคม 2553 บริษัทฯ จึง ได เ ปลี่ ย นหมวดเป น “ขนส ง และ โลจิ ส ติ ก ส ” ภ ายใต อุตสาหกรรม “บริการ” และไดเปลี่ยนชื่อ ยอ ในการซื้อ ขายหลักทรัพยเปน “BTS” ทั้ง นี้ มีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่ส ําคัญ ดัง นี้ 2545

บริษัทฯ ไดทําการปรับปรุง โครงสรางหนี้ โดยเขาสูกระบวนการฟนฟูกิจการ

2549

ศาลลมละลายกลางมีคําสั่ง ใหยกเลิกการฟนฟูกิจการ เมื่อ วันที่ 14 พฤศจิกายน 2549 ตลาดหลักทรัพยอ นุญาตใหหลักทรัพยของบริษัทฯ ซื้อ ขายไดในหมวดพัฒนาอสัง หาริมทรัพย ตั้ง แตวันที่ 28 ธันวาคม 2549 เปนตนไป

2550

2551

บริษัทฯ จัดตั้ง บริษัทรวมทุน ชื่อ บริษัท กมลา บีช รีส อรท แอนด โฮเต็ล แมนเนจเมนท จํ า กั ด เพื่อ ประกอบกิจการโรงแรมและพัฒนาอสัง หาริมทรัพยในจัง หวัดภูเก็ต บริษัทฯ จัดตั้ง บริษัทรวมทุน ชื่อ บริษัท ฮิบเฮง คอนสตรัคชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (ป จ จุ บั น ชื่อ บริษัท เอชเอชที คอนสตรัคชั่น จํากัด) เพื่อ ดําเนินธุร กิจรับเหมากอ สราง บริษัทฯ จัดตั้ง บริษัทรวมทุน ชื่อ บริษัท แอบโซลูท โฮเต็ล เซอรวิส จํากัด เพื่อ ดําเนินธุร กิจรั บ บริหารจัดการโรงแรม สวนที่ 1 หนา 29


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

2552

2553

แบบ 56-1 ป 2555/56

เมื่อ เดือ นพฤษภาคม 2552 รถไฟฟาสวนตอ ขยายสายสีลม ชวงสะพานตากสิน-วงเวียนใหญ ระยะทาง 2.2 กิโลเมตร เปดใหบริการ โดยบีทีเอสซีเปนผูใหบริการเดินรถ และซอ มบํา รุ ง ใน สวนตอ ขยายนี้ ภายใตส ัญญาใหบริการเดินรถและซอ มบํารุง เมื่อ เดือ นกรกฎาคม 2552 บริษัทฯ ซื้อ หุนขอ ง บริ ษั ท กมลา บี ช รี ส อ ร ท แอ นด โฮเต็ ล แมนเนจเมนท จํากัด ในสวนที่ถือ โดย Winnington Capital Limited ในราคา 648.4 ลานบาท โดยบริษัทฯ ไดชําระราคาเปนหุนออกใหมของบริษัทฯ จํานวน 1,034.8 ลานหุน และ เงิ น ส ด จํานวน 100 ลานบาท เมื่อ เดือ นสิง หาคม 2552 บริษัทฯ ออกและจัดสรรใบสําคัญแสดงสิ ท ธิ TYONG-W1 จํ า นวน 856,016,666 หนวย ใหแกผูถือ หุนเดิมของบริษัทฯ ตามสัดสวนการถือ หุน เมื่อ เดือ นพฤศจิกายน 2552 มีการใชส ิทธิตามใบสําคั ญ แส ดง สิ ท ธิ TYONG-W1 ทํ า ให ทุ น จดทะเบียนชําระแลวของบริษัทฯ เพิ่มขึ้นจาก 6,848,133,333 บาท เป น 7, 614, 391, 803 บาท เมื่อ เดือ นมีนาคม 2553 บริษัทฯ จัดตั้ง บริษัทยอ ย ชื่อ ธนายง ฮอ งกง ลิมิเต็ด ในฮอ งกง เพื่ อ ดําเนินธุร กิจลงทุนในหลักทรัพย เมื่อ เดือ นเมษายน 2553 บริษัทฯ จัดตั้ง บริษัทรวมทุน ชื่อ แอบโซลูท โฮเต็ล เซอรวิส ฮ อ ง กง ลิมิเต็ด ในฮอ งกง เพื่อ ดําเนินธุร กิจรับบริหารจัดการโรงแรม เมื่อ วันที่ 4 พฤษภาคม 2553 บริษัทฯ ไดมาซึ่ง หุนสามัญรอ ยละ 94.60 ของหุนที่จําหน า ยได แลวทั้ง หมดของบีทีเอสซี ณ ขณะนั้น โดยบริษัทฯ ไดชําระคาตอบแทนสวนหนึ่ ง เป น เงิ น ส ด จํานวนรวม 20,655.7 ลานบาท (คิดเปนรอ ยละ 51.59 ของคาตอบแทน) ซึ่ง บริษัทฯ ไดใชเงิน กูยืมจากสถาบัน การ เงิ น ทั้ ง จํ า นวน และ อ อ กหุ น ส ามั ญ เพิ่ ม ทุ น ขอ ง บริ ษั ท ฯ จํ า นวน 28,166,879,984 หุน ที่ร าคาหุนละ 0.688 บาท (รวมเปนเงิน 19,378.8 ลานบาท หรือ คิด เป น รอ ยละ 48.41 ของคาตอบแทน) ดัง นั้น ทําใหทุนจดทะเบียนชําระแลวของบริ ษั ท ฯ เพิ่ ม ขึ้ น จาก 7,614,391,803 บาท เปน 35,781,271,787 บาท โดยเปนหุนสามัญที่อ อกจํา หน า ยแล ว จํานวน 35,781,271,787 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท เมื่อ วันที่ 4 พฤษภาคม 2553 บริษัทฯ ไดเปลี่ยนชื่อ บริษัทเปน “บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้ ง ส จํากัด (มหาชน)” เมื่อ วันที่ 11 พฤษภาคม 2553 บริษัทฯ ไดเปลี่ยนหมวดในตลาดหลักทรัพยแหง ปร ะ เทศไทย เปนขนสง และโลจิส ติกส ภายใตอ ุตสาหกรรม “บริการ” และ เปลี่ ย นชื่ อ ย อ ในการ ซื้ อ ขาย หลักทรัพยเปน “BTS” เมื่อ วันที่ 29 พฤษภาคม 2553 รถโดยส าร ปร ะ จํ า ทาง ด ว นพิ เ ศษเส น ทาง ช อ ง นนทรี ราชพฤกษ เริ่มใหบริการโดยบีทีเอสซีเปนผูใหบริการเดินรถและบริหารสถานี ภายใตส ัญญา จางผูเดินรถพรอ มจัดหารถโดยสารและสัญญาจางผูบริหารสถานี ระหวางเดือ นมิถุนายนถึง เดือ นสิง หาคม 2553 บริษัทฯ ไดเสนอขายหุน ส ามั ญ เพิ่ ม ทุ น ขอ ง บริษัทฯ จํานวนรวม 20,108,004,098 หุน ใหแกผูถือ หุนเดิมขอ ง บริ ษั ท ฯ และ กลุ ม ผู ล ง ทุ น ประเภทสถาบันการเงินหรือ กลุมลูกคาของบริษัทหลักทรัพย ที่ ทํ า หน า ที่ เ ป น ผู จั ด จํ า หน า ย หลักทรัพยของบริษัทฯ โดยไดร ับเงินคาจองซื้อ หุนทั้ง สิ้นรวม 12,872.5 ลานบาท และ ได นํ า สวนที่ 1 หนา 30


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

2554

แบบ 56-1 ป 2555/56

เงินสวนใหญใชคืนเงินกูที่ใชในการไดมาซึ่ง หุนบีทีเอสซี ดัง นั้น ทุนจดทะเบียนชําระแลว ขอ ง บริษัทฯ จึง เพิ่มขึ้นจาก 35,781,271,787 บาท เปน 55,889,275,885 บาท โดยเปนหุน ส ามั ญ ที่อ อกจําหนายแลวจํานวน 55,889,275,885 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท เมื่อ เดือ นมิถุนายน 2553 วีจีไอจัดตั้ง บริษัทยอ ย ชื่อ วี จี ไอ แอดเวอรไทซิ่ง ไชนา คอ มพานี ลิมิเต็ด ในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน เพื่อ ดําเนินธุร กิจใหบริการสื่อ โฆษณาในโมเดิ ร  น เทรดในตางประเทศ เมื่อ เดือ นกรกฎาคม 2553 บริษัทฯ จัดตั้ง บริษัทยอ ย ชื่ อ บริ ษั ท บาง กอ ก ส มาร ท การ ด เทคโนโลยี่ จํากัด (ปจจุบันชื่อ บริษัท แครอท รีว อ ร ด ส จํ า กั ด ) เพื่ อ ดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ให ก าร สนับสนุนและบริการดานเทคโนโลยี เมื่อ วันที่ 11 พฤศจิกายน 2553 บริษัทฯ ไดอ อกและจัด ส ร ร ใบสํ า คั ญ แส ดง สิ ท ธิ BTS-W2 จํานวน 5,027,000,448 หนวย ใหแกผูถือ หุนเดิมของบริษัทฯ ที่มีการจองซื้อ หุนเพิ่ม ทุ น และ กลุมผูลงทุนประเภทสถาบันการเงินหรือ กลุมลูกคา ขอ ง บริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย ที่ ทํ า หน า ที่ เ ป น ผูจัดจําหนายหลักทรัพยของบริษัทฯ เมื่อ วันที่ 14 ธันวาคม 2553 ตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทยปร ะ กาศให ห ลั ก ทรั พ ย BTS ไดร ับเลือ กเขาคํานวณในดัชนี SET 50 เมื่อ วันที่ 25 มกราคม 2554 บริษัทฯ ไดอ อกและขายหุนกูแปลงสภ าพ มู ล ค า ร วม 10, 000 ลานบาท อายุ 5 ป แกนักลงทุนในตางประเทศ ซึ่ง หุนกูแปลงสภาพนี้มีอ ัตราดอกเบี้ยรอ ยละ 1 ตอ ป ใน 2 ปแรก และไมมีดอกเบี้ยใน 3 ปหลัง ซึ่ง บริษัทฯ ไดนําเงิน ที่ ไ ด จ ากการ ขายหุ น กู แปลงสภาพนี้ไปใชคืนเงินกูแกส ถาบันการเงิน เมื่อ วันที่ 26 มกราคม 2554 บริษัทฯ ไดจดทะ เบี ย นลดทุ น โดยลดมู ล ค า หุ น ที่ ต ร าไว ข อ ง บริษัทฯ จาก 1 บาทตอ หุน เปน 0.64 บาทตอ หุน เพื่อ ลางสวนต่ํามูลคาหุนและลดผลขาดทุ น สะสมของบริษัทฯ ทําใหทุนจดทะเบียนชําระแลวขอ ง บริ ษั ท ฯ ลดลง จาก 55,889,275,885 บาท เปน 35,769,136,566.40 บาท และทําใหตอ มาในเดือ นมีนาคม 2554 บริษัทฯ ส ามาร ถ จายเงินปนผลใหแกผูถือ หุนเปนครั้ง แรกนับตั้ ง แต บ ริ ษั ท ฯ อ อ กจากแผนฟ น ฟู กิ จ การ ใน ป 2549 เมื่อ วันที่ 15 กุมภาพันธ 2554 ไดมีการปรับโครงสรางการถือ หุ น ภ ายในกลุ ม บริ ษั ท ธุ ร กิ จ อสัง หาริมทรัพย โดยบริษัทฯ ไดเขาซื้อ หุนทั้ง หมดของบีทีเอส แอสเสทส และบริษัท บี ที เ อ ส แลนด จํากัด จากบีทีเอสซี นอกจากนี้ บริษัทฯ ยัง ไดแลกเปลี่ ย นหุ น ทั้ ง หมดที่ ถื อ ในบริ ษั ท กมลา บีช รีส อรท แอนด โฮเต็ล แมนเนจเมนท จํากัด กับหุนรอ ยละ 80 ที่บีทีเ อ ส ซี ถื อ อ ยู ใ น นูโวไลน เมื่อ วันที่ 6 มิถุนายน 2554 บริษัทฯ ได อ อ กและ จํ า หน า ยหุ น จํ า นวน 1,298,998,791 หุ น มูลคาที่ตราไวหุนละ 0.64 บาท ใหแกผูถือ หุนของบีทีเอสซีในราคา 0.91 บาทตอ หุน เพื่อ เป น คาตอบแทนที่ผูถือ หุนของบีทีเอสซีไดนําหุนที่ตนถือ อยูในบีทีเอสซีจํานวนร วม 472,827,433 หุน มาชําระเปนคาหุนสามัญเพิ่มทุนของบริษัทฯ แทนการชําระดวยเงินสด (คิดเป น สั ด ส ว น การแลกเปลี่ยนหุนที่ 1 หุนสามัญบีทีเอสซี ตอ 2.7473 หุนสามัญเพิ่มทุนของบริ ษั ท ฯ) ทํ า ให ทุ น จดทะ เบี ย นชํ า ร ะ แล ว ขอ ง บริ ษั ท ฯ เพิ่ ม จาก 35, 769, 1 36, 566. 4 0 บาท เป น 36,600,495,792.64 บาท โดยเปนหุนสามัญที่อ อกจําหนายแลวจํานวน 57,188,274,676 หุ น สวนที่ 1 หนา 31


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

2555

แบบ 56-1 ป 2555/56

มูลคาที่ตราไวหุนละ 0.64 บาท และทําใหส ัดสวนการถือ หุนของบริษัทฯ ในบีที เ อ ส ซี เ พิ่ ม ขึ้ น เปนรอ ยละ 96.44 เมื่อ วันที่ 12 สิง หาคม 2554 รถไฟฟาสวนตอ ขยายสายสุขุมวิท ชวงออ นนุช-แบริ่ง ระยะทาง 5.25 กิโลเมตร เปดใหบริการ โดยบีทีเอสซีเปนผูใหบริการเดินรถ และซอ มบํารุง สวนตอ ขยาย นี้ ภายใตส ัญญาผูใหบริการเดินรถและซอ มบํารุง

เมื่อ วันที่ 18 สิง หาคม 2554 บริษัทฯ ไดแจกใบสําคัญแสดงสิทธิ BTS-WA ใหแกพนักงานของ บริษัทฯ และบริษัทยอ ยที่ไมไดดํารงตําแหนง กรรมการ ภายใตโครงการ BTS Group ESOP 2011

เมื่อ วันที่ 20 กุมภาพันธ 2555 บีทีเอ ส แอ ส เส ทส ได โ อ นหุ น ทั้ ง หมดในบริ ษั ท ก า มกุ ง พร็อ พเพอรตี้ จํากัด และบริษัท กามปู พร็อ พเพอรตี้ จํากัด ใหบ ริ ษั ท ฯ แทนการ ชํ า ร ะ คื น หนี้เงินกูยืมระหวางบริษัทเปนเงินสด ทําใหบริษัทฯ ถื อ หุ น บริ ษั ท ก า มกุ ง พร็ อ พเพอ ร ตี้ จํากัด และบริษัท กามปู พร็อ พเพอรตี้ จํากัด โดยตรง เมื่อ วันที่ 30 มีนาคม 2555 จํานวนผูโดยสารรถไฟฟาทําสถิติส ูง สุดในวันธรรมดาที่ 714, 575 เที่ยวคน เมื่อ วันที่ 2 เมษายน 2555 วีจีไอไดจดทะเบียนแปรสภาพจากบริษัทจํากัดเปนบริ ษั ท มหาชน จํากัด บริษัท บาง กอ ก ส มาร ท การ ด ซิ ส เทม จํ า กั ด ได เ ริ่ ม ให บ ริ ก าร เงิ น อิ เ ล็ ก ทร อ นิ ก ส (e-money) และบัตรแรบบิท (rabbit) ตั้ง แต 1 พฤษภาคม 2555 ซึ่ง บัตรแรบบิท ส ามาร ถใช โดยสารรถไฟฟาบีทีเอส รถโดยสารดวนพิเศษบีอ ารที และซื้อ สินคาและบริการจากรานค า ที่ รวมรับบัตรนี้ พรอ มดวยโปรแกรมสง เสริมการขายดวยเครื่อ งพิมพคูปองอัตโนมัติ (coupon kiosks) และธุร กิจการใหบริการลูกคาสัมพันธ ภายใตชื่อ แครอท รีวอรดส (Carrot Rewards) เมื่อ วันที่ 3 พฤษภาคม 2555 บีทีเอสซีไดเขาลงนามในสัญญาการใหบริการเดินร ถและ ซ อ ม บํารุง โครงการระบบขนสง มวลชนกรุง เทพมหานคร กับกรุง เทพธนาคม ในการ ให บ ริ ก าร เดินรถ และซอ มบํารุง โครงการระบบขนสง มวลชนกรุง เทพมหานคร เป น ร ะ ยะ เวลา 30 ป นับแตวันที่ 8 พฤษภาคม 2555 ถึง 2 พฤษภาคม 2585 ซึ่ง เสนทาง ปร ะ กอ บด ว ย ส ว นต อ ขยายสายสีลม ชวงสะพานตากสิน-วงเวียนใหญ และ ชวงวงเวียนใหญ-บางหวา และสวนต อ ขยายสายสุขุมวิท ชวงออ นนุช-แบริ่ง และจะรวมเสนทางเดิม ขอ ง สั ม ปทานภ ายหลั ง คร บ กําหนดอายุส ัมปทานในวันที่ 4 ธันวาคม 2572 เมื่อ วันที่ 7 สิง หาคม 2555 บริษัทฯ จดทะเบียนเปลี่ยนแปลงจํานวนหุนและมูลคา หุ น ที่ ต ร าไว ของบริษัทฯ ทําใหมูลคาหุนที่ตราไวของบริษัทฯ เปลี่ยนจากเดิมหุนละ 0.64 บาท เปนหุนละ 4 บาท โดยมีทุนจดทะเบียนชําระแลวจํานวน 36,641,907,568.00 บาท แบ ง เป น หุ น ส ามั ญ ที่ ออกจําหนายแลวจํานวน 9,160,476,892 หุน ทั้ง นี้ บริษัทฯ ไดดําเนินการปรับราคาการใชสทิ ธิ และอัตราการใชส ิทธิของใบสําคัญแสดงสิทธิ BTS-W2 และ BTS-WA เปนใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวย มีส ิทธิซื้อ หุนสามัญของบริษัทฯ ได 0.16 หุน (มูลคาที่ตราไวหุนละ 4 บาท) ในราคาใช สิทธิที่ 4.375 บาทตอ หุน โดยหุนของบริษัทฯ เริ่มทําการซื้อ ขายในตลาดหลักทรัพยในมู ล ค า ที่ตราไวหุนละ 4 บาท ในวันที่ 10 สิง หาคม 2555

สวนที่ 1 หนา 32


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน) 

2556

แบบ 56-1 ป 2555/56

เมื่อ วันที่ 12 กันยายน 2555 บีทีเอสซีไดจําหนายเงินลงทุนในบริษัท กมลา บีช รีส อรท แอนด โฮเต็ล แมนเนจเมนท จํากัด บริษัทยอ ยที่ถือ ครองกรรมสิทธิ์ที่ดิ น เนื้ อ ที่ ห าดกมลา จั ง หวั ด ภูเก็ต เดือ นกันยายน-ตุลาคม 2555 วีจีไอและ บี ที เ อ ส ซี ไ ด เ ส นอ ขายหุ น วี จี ไ อ ต อ ผู ถื อ หุ น ขอ ง บริษัทฯ และผูถือ หุนของบีทีเอสซี และตอ ประชาชน เปนจํานวนร วม 88 ล า นหุ น ในร าคา เสนอขายหุนละ 35 บาท (มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท) โดยหุ น วี จี ไ อ ได เ ข า จดทะ เบี ย นใน ตลาดหลักทรัพยและเริ่มทําการซื้อ ขายครั้ง แรกในวันที่ 11 ตุลาคม 2555 โดยในวั น เดี ย วกั น บริษัทฯ ไดซื้อ หุนวีจีไอจํานวน 59 ลานหุน จากบีทีเอสซีในราคา 35 บาทตอ หุ น ตามสั ญ ญา ซื้อ ขายหุนฉบับลงวันที่ 20 สิง หาคม 2555 เมื่อ วันที่ 26 ตุลาคม 2555 และ 10 มกราคม 2556 บริษัทฯ ไดเขาซื้อ หุนในบีทีเอสซี เ พิ่ ม เติ ม อีกจํานวนรอ ยละ 1.02 จากผูถือ หุนรายยอ ย ทําใหส ัดสวนการถือ หุนของบริษัทฯ ในบีทีเอสซี เพิ่มขึ้นจากรอ ยละ 96.44 เปนรอ ยละ 97.46 ของหุนที่จําหนายแลวทั้ง หมดของบีทีเอสซี เมื่อ วันที่ 30 ตุลาคม 2555 บริษัทฯ ไดจําหนายเงินลงทุน ใน บริ ษั ท ก า มปู พร็ อ พเพอ ร ตี้ จํากัด บริษัทยอ ยที่ถือ ครองกรรมสิทธิ์ที่ดินบริเวณสถานีร ถไฟฟาบีทีเอสนานา ในเดือ นตุลาคม 2555 บีทีเอส แอสเสทส ไดเปดใหบริการอยางเปนทางการ โรงแร ม อี ส ติ น แกรนด สาทร กรุง เทพฯ บนถนนสาทรใต ติดกับสถานีร ถไฟฟาสุร ศักดิ์ เมื่อ วันที่ 4 มกราคม 2556 บริษัทฯ จดทะเบียนเพิ่มทุนชําระแลวของบริ ษั ท ฯ อั น เนื่ อ ง จาก การใชส ิทธิซื้อ หุนสามัญตามใบสําคัญแสดงสิทธิ BTS-W2 ในวันกําหนดการใชส ิทธิครั้ ง แร ก ทําใหทุนชําระแลวของบริษัทฯ เพิ่มจาก 43,701,282,432 บาท เปน 43,707, 025, 888 บาท แบง ออกเปนหุนที่จําหนายไดทั้ง หมด 10,926,756,472 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 4 บาท 12 มกราคม 2556 บีทีเอสซีเปดใหบริการประชาชน ในสถานีโพธิ์นิมิตรของสวนตอ ขยายสาย สีลม (วงเวียนใหญ-บางหวา) 14 กุมภาพันธ 2556 บีทีเอสซีเปดใหบริการประชาชน ในสถานีตลาดพลูของ ส ว นต อ ขยาย สายสีลม (วงเวียนใหญ-บางหวา) ในชวงระหวางเดือ นพฤษภาคม 2555 ถึง เดือ นมีนาคม 2556 ไดมีผูถือ หุนกู แ ปลง ส ภ าพใช สิทธิแปลงสภาพหุนกูแปลงสภาพเปนหุนสามัญเพิ่มทุนของบริษัทฯ ครบถวนแล ว ทั้ ง จํ า นวน จึง มีผลทําใหหุนกูแปลงสภาพของบริษัทฯ สิ้นสภาพลง โดยหุนกูแปลงสภาพที่อ อกและเส นอ ขายจํานวน 10,000 ลานบาท ไดแปลงสภาพเป น หุ น ส ามั ญ เพิ่ ม ทุ น ขอ ง บริ ษั ท ฯ จํ า นวน 64,705,877 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 0.64 บาท และจํานวน 1,944,721,838 หุน มูลคา ที่ ต ร า ไวหุนละ 4 บาท เมื่อ วันที่ 29 มีนาคม 2556 จํานวนผูโดยสารรถไฟฟาทําสถิติส ูง สุดในวันธรรมดาที่ 770, 305 เที่ยวคน เมื่อ วันที่ 3 เมษายน 2556 บริษัทฯ จดทะเบียนเพิ่มทุนชําระแลวของบริษัทฯ อันเนื่อ งจากการ ใชส ิทธิซื้อ หุนสามัญตามใบสําคัญแสดงสิทธิ BTS-W2 ในวันกําหนดการใชส ิทธิครั้ง ที่ 2 ทําให ทุนชําระแลวของบริษัทฯ เพิ่มจาก 44,426,538,376 บาท เปน 45,611,174, 124 บาท แบ ง ออกเปนหุนที่จําหนายไดทั้ง หมด 11,402,793,531 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 4 บาท

สวนที่ 1 หนา 33


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

3.2

แบบ 56-1 ป 2555/56

เมื่อ วันที่ 17 เมษายน 2556 ไดมีการจัดตั้ง กองทุน BTSGIF แลวเส ร็ จ โดยจํ า นวนเงิ น ทุ น (Fund Size) ของกองทุน BTSGIF เทากับ 62,510.4 ลานบาท (5,788 ล า นหน ว ยลง ทุ น ที่ ราคา 10.80 บาทตอ หนวย) โดยบีทีเอสซีไดขายรายไดคาโดยสารสุทธิของ ร ะ บบร ถไฟฟ า ขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลัก ระยะทางรวม 23.5 กิโลเมตร ภายใตส ัญญาสัมปทานให แ ก กองทุน BTSGIF ที่ร าคาขายสุทธิ 61,399 ลานบาท (เปนจํานวนเงิ น สุ ท ธิ ภ ายหลั ง การ หั ก คาใชจายในการจัดตั้ง กองทุน BTSGIF จํานวนเงินประมาณ 1,111 ลานบาท) นอ กจากนี้ บริษัทฯ ไดเขาจองซื้อ และเปนผูถือ หนวยลงทุนของกอง ทุ น BTSGIF จํ า นวน 1/3 (ร อ ยละ 33.33) ของกองทุน BTSGIF (จํานวน 1,929 ลานหนวยลงทุน ที่ร าคา 10.80 บาทต อ หน ว ย หรือ 20,833.2 ลานบาท) โดยหนวยลงทุนของกองทุน BTSGIF นั้น เริ่มทําการซื้ อ ขายครั้ ง แรกในวันที่ 19 เมษายน 2556 เมื่อ วันที่ 1 มิถุนายน 2556 มีการปรับขึ้นคาโดยสารที่เรียกเก็บได (Effective Fare) สํ า หรั บ คาโดยสารที่เรียกเก็บในระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลัก จากเดิม 15 บาท ถึ ง 40 บาทตอ เที่ยว เปน 15 บาท ถึง 42 บาทตอ เที่ยว เมื่อ วันที่ 11 มิถุนายน 2556 บริษัทฯ ไดแจกใบสําคัญแสดงสิท ธิ BTS-WB ให แ ก พ นั ก ง าน ของบริษัทฯ และบริษัทยอ ยที่ไมไดดํารงตําแหนง กรรมการ ภายใต โ คร ง การ BTS Group ESOP 2012

ภาพรวมการประกอบธุรกิจของบริษัทฯ บริษัทยอย และบริษัทรวม

จากการที่บริษัทฯ ไดมาซึ่ง หุนสามัญรอ ยละ 94.60 ของบีทีเอสซี เมื่อ เดือ นพฤษภาคม 2553 (ณ ปจจุบัน ถื อ หุนเทากับรอ ยละ 97.46 ของบีทีเอสซี) ทําใหธุร กิจหลักของบริษัทฯ เปลี่ ย นไป จากเดิ ม ซึ่ ง ปร ะ กอ บธุ ร กิ จ พั ฒ นา อสัง หาริมทรัพยเปนธุร กิจหลัก โดยขณะนี้ ธุร กิจหลักของบริษัทฯ ไดแ ก (1) ธุ ร กิ จ ร ะ บบขนส ง มวลชน คื อ ร ะ บบ รถไฟฟาบีทีเอสและสวนตอ ขยาย และบีอ ารที (2) ธุร กิจสื่อ โฆษณา เชน ใหบริการเชาพื้นที่โฆษณาและพื้นที่ร านคาบน สถานีร ถไฟฟา พื้นที่โฆษณาบนชานชาลา และพื้นที่โฆษณาทั้ง ในและนอกตัวรถไฟฟา ร วมไปถึ ง การ ให บ ริ ก าร สื่ อ โฆษณาในเครือ ขายสาขาของโมเดิร นเทรด สื่อ โฆษณาในอาคารสํานักงานและอื่นๆ (3) ธุร กิจอสัง หาริม ทรั พ ย เช น อสัง หาริมทรัพยตามแนวเสนทางรถไฟฟาบีทีเอสและสวนตอ ขยาย โรงแรม อาคารสํานักงาน อาคารพั ก อ าศั ย และ ธุร กิจสนามกอลฟ และ (4) ธุร กิจใหบริการ เชน ธุร กิจบริหารโรงแรม ธุร กิจรับเหมากอ สรางและบริหารโครงการกอสราง ธุร กิจการใหบริการเงินอิเล็กทรอนิกส (e-money) ที่มีร ะบบตั๋วรวม (common ticketing system) และสามารถซื้อ สินคา และบริการจากรานคาที่ร วมรับบัตรนี้ ธุร กิจสง เสริมการขายดวยเครื่อ งพิมพคูปองอัตโนมัติ (coupon kiosks) และธุรกิจ การใหบริการลูกคาสัมพันธ ภายใตชื่อ “แครอท รีวอรดส (Carrot Rewards)” ทั้ง นี้ ภาพรวมโครงสรางกลุมของบริษัทฯ บริษัทยอ ย และ บริ ษั ท ร ว ม ณ วั น ที่ 31 มี น าคม 2556 เป น ดัง ตอ ไปนี้

สวนที่ 1 หนา 34


แบบ 56-1 ป 2555/56

บ ริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํา กัด (มหาชน)

โครงสรางการถือหุนของบริษัทฯ บริษัทยอย และบริษทั รวม ณ วันที่ 31 มีนาคม 2556

บมจ. บี ทีเ อส กรุป โฮลดิ้งส

ธุรกิจสื่อ โฆษณา

ธุรกิจระบบขนสงมวลชน * 97 .46%

บมจ. ระบบขนสง มวลชนกรุง เทพ

16.33% ** 51%

ธุรกิจอสังหาริมทรัพย

ธุรกิจบริการ

100 %

บจ. บีท ีเอส แอสเสทส

100 %

บจ. ดีแนล

100 %

100 %

บจ. ปราณคีร ี แอสเซ็ท ส

100 %

บจ. เมืองทอง แอสเซ็ท ส

100 %

100 %

บจ. บีท ีเอส แลนด

100 %

บจ. ธนายง ฟูด แอนด เบเวอเรจ

100 %

บจ. สยาม เพจจิ้ง แอนด คอมมิวนิเคชั่น

100 %

บจ. ธนายง พร็อพเพอรตี้ แมเนจเมน ท

100 %

บจ. กา มกุง พร็อพเพอรตี้

100 %

100 %

บจ. สํา เภาเพชร

100 %

80 %

บจ. นูโว ไลน เอเจนซี่

ธนายง อินเตอรเนชั่น แนล ลิมิเต็ด

บมจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย 100 %

บจ. วีจีไอ แอดเวอรไทซิ่ง มีเดีย

100 %

บจ. 999 มีเดีย

100 %

บจ. 888 มีเดีย

100 %

บจ. พอยท ออฟ วิว (พีโอวี) มีเดีย กรุป

100 %

บจ. วี จี ไอ มัลติเทค อิน เตอรเนชั่น แนล

100 %

วี จี ไอ แอดเวอรไทซิ่ง ไชนา คอมพานี ลิมิเต็ด

บจ. ยงสุ

บจ. ธนาซิตี้ กอลฟ แอนด สปอรต คลับ

ธนายง ฮองกง ลิมิเต็ด

50 %

แอบ โซลูท โฮเต็ล เซอรวิส ฮองกง ลิมิเต็ด

100 %

บจ. แครอท รีวอรดส

51%

บจ. เอชเอชที คอนสตรัคชั่น

50%

บจ. แอบ โซลูท โฮเต็ล เซอรวิส

90 %

บจ. บางกอก สมารท การด ซิสเทม

หมายเหตุ: * เมื่อวัน ที่ 17 เมษายน 2556 บมจ. บีท ีเอส กรุป โฮลดิ้ง ส ไดเขา จองซื้อและเปน ผูถือหนวยลงทุน ของกองทุน รวมโครงสรา งพื้น ฐานระบบขนสง มวลชนทางราง บีท ีเอสโกรท จํา นวน 1,929,000,000 หนวย หรือเทา กับ จํา นวน 1/3 (รอยละ 33.33) ของหนวยลงทุน ทั้ง หมดที่เสนอขาย ** เมื่อวัน ที่ 30 เมษายน 2556 บมจ. บีท ีเอส กรุป โฮลดิ้ง ส ไดขายหุน ที่ถือใน บมจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย จํา นวน 5,000,000 หุน ทํา ใหสัดสวนการถือหุนของ  บมจ. บีท ีเอส กรุป โฮลดิ้ง ส ใน บมจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย ลดลงจากเดิมรอยละ 16.33 เปนรอยละ 14.67 สง ผลให บมจ. บีท ีเอส กรุป โฮลดิ้ง ส ถือหุน ใน บมจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย ทั้ง ทางตรงและทางออมรวมกัน เปนรอยละ 65.67

สวนที่ 1 หนา 35


แบบ 56-1 ป 2555/56

บ ริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํา กัด (มหาชน)

3.3

โครงสรางรายได

ในป 2555/56 รายไดจากการดําเนินงานหลักของบริษัทฯ นั้น มาจากรายไดจากธุร กิ จ ร ะ บบขนส ง มวลชน (รายไดจากคาโดยสาร และรายไดจากการใหบริการเดินรถในสวนตอ ขยายสายสีลมและสายสุขุมวิท และรถโดยสารดวน พิเศษบีอ ารที) คิดเปนรอ ยละ 58.0 ของรายไดจากการดําเนินงาน รองลงมาคือ รายไดจากธุร กิจสื่อ โฆษณา (รายไดจาก การใหเชาและบริการโฆษณาบนรถไฟฟา สถานีร ถไฟฟา และในโมเดิร นเทรด) ธุร กิจอสัง หาริมทรัพย (รายไดจากการ ขายอสัง หาริมทรัพย รายไดจากการรับเหมากอ สราง รายไดคาเชาและการบริการ และรายไดจากกิจการสนามกอลฟ) และธุร กิจบริการ ซึ่ง คิดเปนรอ ยละ 26.9, 14.7 และ 0.4 ของรายไดจากการดําเนินงาน ตามลํ า ดั บ ร ายได จ ากการ ดําเนินงานเพิ่มขึ้นรอ ยละ 34 จากป 2554/55 สาเหตุหลักเกิดจากการเติบโตของรายไดจากธุร กิจระบบขนสง มวลชนและ ธุร กิจสื่อ โฆษณา เนื่อ งจากที่ประชุมวิส ามัญผูถือ หุนของบริษัทฯ เมื่อ วันที่ 18 ธันวาคม 2555 มีมติอ นุมัติใหบีทีเอสซีขายรายได คาโดยสารสุทธิในอนาคตที่จะไดร ับจากการดําเนินงานระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลัก และตอ มาเมือ่ วันที่ 17 เมษายน 2556 บีทีเอสซีและกองทุนรวมโครงสรางพื้นฐานระบบขนสง มวลชนทางราง บีทีเอสโกรท ได ล ง นามใน สัญญาซื้อ และโอนสิทธิร ายไดส ุทธิเรียบรอ ยแลว ดัง นั้น ในงบการเงินสําหรับปส ิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2556 บริษัทฯ จึง ไดจัดประเภทรายไดและคาใชจายสุทธิที่เกี่ยวขอ งกับสินทรัพยที่จะถูกตัดรายการออกจากบัญชี ณ วันที่ 17 เมษายน 2556 โดยไดแยกแสดงไวเปนรายการตางหากในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ เปนกําไรสําหรับปจากการดําเนินงานทีย่ กเลิก โครงสรางรายไดของบริษัทฯ งวดปบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม

รายไดจากการขายอสัง หาริมทรัพย (รายไดจากโครงการธนาซิตี้, ที่ดินนอกโครงการ ธนาซิตี้ โครงการแอ็บสแตรกสุขุมวิท 66/1 และ โครงการแอ็บสแตรกพหลโยธิน) รายไดจากการรับเหมากอสราง (รายไดจากโครงการบานเอือ้ อาทร และอื่นๆ) รายไดจากคาโดยสาร – สุทธิ (รายไดคาโดยสารจากระบบรถไฟฟาบีทีเอส ระยะทาง 23.5 กม.) รายไดจากการใหบริการเดินรถ (รายไดจากการใหบริการเดินรถในสวนตอ ขยาย สายสีลมและสายสุขุมวิทและรถโดยสารดวนพิเศษ บีอ ารที)

2556 งบการเงินรวม (ตรวจสอบ) ลานบาท % 787.9 6.8

2555 2554 (ปรับปรุงใหม) งบการเงินรวม งบการเงินรวม (ตรวจสอบ) (ตรวจสอบ) ลานบาท % ลานบาท % 325.5 3.5 144.4 2.1

9.2

0.1

72.8

0.8

261.8

3.8

4,895.8*

42.2

4,296.8*

46.4

3,544.8*

51.9

1,146.1

9.9

880.1

9.5

316.0

4.6

สวนที่ 1 หนา 36


แบบ 56-1 ป 2555/56

บ ริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํา กัด (มหาชน)

งวดปบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม

รายไดจากการใหเชาและบริการโฆษณา (รายไดจากธุร กิจใหเชาพื้นที่ร านคาและใหบริการ สื่อ โฆษณาบนรถไฟฟาบีทีเอส สถานีร ถไฟฟา บีทีเอส โมเดิร นเทรด และอาคารสํานักงาน) รายไดคาเชาและบริการ (รายไดคาเชาและบริการจากธุร กิจโรงแรม อาคารที่พักอาศัย อาคารสํานักงาน และสนาม กอลฟ) รายไดจากการบริการอื่น (รายไดจากธุร กิจบริการ ไดแก รายไดจากบัตรแรบ บิท แครอทรีวอรดส และเครื่องพิมพคูปองอัตโนมัติ (coupon kiosks)) รายไดอ ื่นๆ กําไรจากการชําระหนี้ กําไรจากการวางทรัพยเพื่อ เปนหลักประกันใน การชําระหนี้ รายไดจากการขายสิทธิในการเรียกรองหนี้ โอนกลับคาเผื่อ ผลขาดทุนจากการลดลงของ มูลคาตนทุนงานฐานรากรอโอน รายไดคาชดเชยตามคําสั่ง ศาล กําไรจากการขายเงินลงทุนในบริษัทยอ ย กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยน กําไรจากการรับคืนเงินจายลวงหนา เพื่อ ซื้อ เงินลงทุนในบริษัทยอ ย ดอกเบี้ยรับ อื่นๆ รายไดรวม *(หัก) รายไดคาโดยสาร–สุทธิ ซึ่ง ถูกจัดประเภท เปนกําไรจากการดําเนินงานที่ยกเลิกในงบกําไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จ รายไดรวมตามงบการเงิน

2556 งบการเงินรวม (ตรวจสอบ) ลานบาท % 2,794.7 24.0

2555 2554 (ปรับปรุงใหม) งบการเงินรวม งบการเงินรวม (ตรวจสอบ) (ตรวจสอบ) ลานบาท % ลานบาท % 1,958.8 21.2 1,370.6 20.1

734.8

6.3

330.1

3.6

254.9

3.7

33.4

0.3

0.7

0.0

-

-

-

-

-

-

14.8 708.5

0.2 10.4

-

-

705.3

7.6

3.0 -

0.0 -

7.2 999.7 -

0.1 8.6 -

367.0 36.9 44.0

4.0 0.4 0.5

48.1 -

0.7 -

58.9 0.5 141.6 1.2 11,609.3 100.0 (4,895.8)

39.7 194.1 9,251.8 (4,296.8)

0.4 2.1 100.0

6,713.5

ที่มา: งบการเงินบริษัทฯ

สวนที่ 1 หนา 37

4,955.0

28.7 0.4 133.1 2.1 6,828.7 100.0


แบบ 56-1 ป 2555/56

บ ริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํา กัด (มหาชน)

3.4

ธุรกรรมกองทุนรวมโครงสรางพื้นฐาน

เมื่อ วันที่ 18 ธันวาคม 2555 ที่ประชุมวิส ามัญผูถือ หุนครั้ง ที่ 1/2555 ของบริษัทฯ มีมติอ นุมัติใหบีทีเ อ ส ซี ข าย รายไดคาโดยสารสุทธิในอนาคตที่บีทีเอสซีจะไดร ับจากการดําเนินงานระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลัก ซึง่ ครอบคลุมระยะทางรวม 23.5 กิโลเมตร ไดแก สายสุขุมวิทระยะทาง 17 กิโลเมตรจากสถานีหมอชิต ถึง สถานีอ อ นนุ ช และสายสีลมระยะทาง 6.5 กิโลเมตรจากสถานีส นามกีฬาแหง ชาติ ถึง สถานีส ะพานตากสิน ภายใตส ัญญาสัมปทานฉบับ ลงวันที่ 9 เมษายน 2535 ตลอดจนสัญญาฉบับแกไขเพิ่มเติมซึ่ง ทําขึ้นระหวางกรุง เทพมหานคร และ บี ที เ อ ส ซี ตลอ ด ระยะเวลาอายุส ัมปทานที่เหลือ อยูใหแกกองทุนรวมโครงสรางพื้นฐานระบบขนสง มวลชนทางราง บีทีเอสโกรท (กองทุน BTSGIF) ตอ มาเมื่อ วันที่ 17 เมษายน 2556 สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยไดอ นุมัติการ จดทะเบียนกองทรัพยส ินตามโครงการกองทุนรวมโครงสรางพื้นฐานระบบขนสง มวลชนทางราง บี ที เ อ ส โกร ท เป น กองทุนรวมโครงสรางพื้นฐานแลว โดยมีจํานวนหนวยลงทุนที่เสนอขาย 5,788 ลานหนวย และราคาที่เสนอขายหน ว ย ลงทุนและมูลคาที่ตราไวเทากับ 10.80 บาทตอ หนวยลง ทุ น ร วมเป น จํ า นวน 62,510 ล า นบาท) โดยเมื่ อ วั น ที่ 17 เมษายน 2556 บีทีเอสซีและกองทุน BTSGIF ไดลงนามในสัญญาซื้อ และโอนสิทธิร ายไดส ุทธิของระบบรถไฟฟาขนส ง มวลชนสายหลัก ที่ร าคาขายสุทธิ 61,399 ลานบาท ทั้ง นี้ หลัง จากการ เข า ทํ า สั ญ ญาซื้ อ และ โอ นสิ ท ธิ ร ายได ส ุ ท ธิ บีทีเอสซียัง เปนผูบริหารจัดการในการดําเนินงานระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลั ก เพื่ อ ปร ะ โยชน ข อ ง กองทุน BTSGIF ภายใตการกํากับดูแลและควบคุมของกองทุน BTSGIF ตามขอ กําหนดและเงื่อ นไขของสัญญาซือ้ และ โอนสิทธิร ายไดส ุทธิ นอกจากนี้ ตามมติของที่ประชุมวิส ามัญผูถือ หุนครั้ง ที่ 1/2555 ของบริษัทฯ เมื่อ วันที่ 18 ธั น วาคม 2555 ได อนุมัติใหบริษัทฯ เขาทําธุร กรรมกองทุนรวมโครงสรางพื้นฐาน ซึ่ ง ป จ จุ บั น ได ดํ า เนิ น การ สํ า เร็ จ ลุ ล ว ง แล ว โดยมี รายละเอียดดัง นี้ ธุรกรรมการขายรายไดสุทธิ เมื่อ วันที่ 17 เมษายน 2556 บีทีเอสซีและกองทุน BTSGIF ไดลงนามในสัญญาซื้อ และโอนสิทธิร ายไดส ุทธิ ซึ่ง บีทีเอสซีไดขายรายไดคาโดยสารสุทธิของระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนสายหลักซึ่ง ครอบคลุมสายสุขุมวิทและสายสีลม ระยะทางรวม 23.5 กิโลเมตร ภายใตส ัญญาสัมปทานฉบับลงวันที่ 9 เมษายน 2535 ตลอดจนสัญญาฉบับแกไขเพิ่มเติม ซึ่ง ทําขึ้นระหวางกรุง เทพมหานครและบีทีเอสซี ตลอดระยะเวลาอายุส ัมปทานที่เหลือ อยู ใหแกกองทุน BTSGIF โดยมี ราคาขายเปนจํานวนเงินเทากับ 61,399 ลานบาท (เปนจํานวนเงินสุทธิภ ายหลัง จากหักคาใชจายในการจั ด ตั้ ง กอ ง ทุ น BTSGIF จํานวนเงินประมาณ 1,111 ลานบาท) โดยมีร ายละเอียดที่ส ําคัญตามสัญญาดัง ตอ ไปนี้ สัญญาซื้อและโอนสิทธิรายไดสุทธิ ก)

ภาระหนาที่หลักของบีทีเอสซี

บีทีเอสซีจะตอ งจัดหาและนําสง รายไดส ุทธิใหแกกองทุน BTSGIF และตกลงใหส ิทธิกองทุน BTSGIF ในการ รวมบริหารการจัดการกิจการของบีทีเอสซี โดยกองทุน BTSGIF มีส ิทธิเสนอชื่อ แตง ตั้ง กรรมการจํานวนหนึ่งในสามของ กรรมการทั้ง หมดของบีทีเอสซี และภาระหนาที่อ ื่นๆ ตามที่กําหนดไวในสัญญา

สวนที่ 1 หนา 38


แบบ 56-1 ป 2555/56

บ ริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํา กัด (มหาชน)

ข)

สิทธิในการซื้อ (Right to Purchase) และสิทธิในการปฏิเสธเปนรายแรกที่ จ ะซื้ อ (Right of First Refusal)

สิทธิของกองทุน BTSGIF ในการ ซื้ อ (Right to Purchase) ร ายได สิ ท ธิ สิ ท ธิ ป ร ะ โยชน กร ร มสิ ท ธิ์ ผลประโยชน และ/หรือ การลงทุนของบีทีเอสซีหรือ บริษัทยอ ยของบีทีเอสซีที่เกี่ยวกับโครงการรถไฟฟาที่กําหนด และ ในกรณีที่บีทีเอสซีหรือ บริษัทยอ ยของบีทีเอสซี (แลวแตกรณี) ไดร ับขอ เสนอจากบุคคลภายนอก สิทธิในการปฏิเสธเปน รายแรกที่จะซื้อ (Right of First Refusal) รายได สิทธิ สิทธิประโยชน กรรมสิทธิ์ ผลประโยชน และ/หรือ การลงทุนใดๆ ที่เกี่ยวกับโครงการรถไฟฟาที่กําหนด โครงการระบบขนสง มวลชนกรุง เทพและปริมณฑลที่ยัง ไมไดเริ่มดําเนินการ และ โครงการระบบขนสง มวลชนกรุง เทพและปริมณฑลที่แลวเสร็จที่บีทีเอสซีหรือ บริษัทยอ ยของบีทีเอสซี (แลวแตกรณี) ได เขาทําหรือ จะเขาทําสัญญาหรือ ดําเนินการหรือ จะดําเนินการโครงการที่เกี่ยวขอ งดัง กลาวซึ่ง รวมถึง โครงการรถไฟฟาที่ กําหนด โดยโครงการระบบขนสง มวลชนกรุง เทพและปริมณฑลที่แลวเสร็จ ใหหมายความรวมถึง สัญญาใหบริการ เดิ น รถและซอ มบํารุง ระยะยาว และสัญญาที่ไดตอ อายุส ัญญาสัมปทานใดๆ (ถามี) ดวย ค)

หนาที่หลักของกองทุน BTSGIF

ตราบเทาที่ไมมีเหตุผิดนัดผิดสัญญาภายใตส ัญญานี้ที่จะกระทบความสามารถของบีทีเอสซีในการนําสง รายได สุทธิใหแกกองทุน BTSGIF เกิดขึ้น กองทุน BTSGIF ตกลงชําระคาตอบแทนพิเศษใหแกบีทีเอสซีในอัตราดัง ตอ ไปนี้ 1. ในกรณีที่ร ายไดคาโดยสารสุทธิส ําหรับปใดสูง กวารอ ยละ 100 แตไมเกินรอ ยละ 125 ของเปาหมาย รายไดคาโดยสารสุทธิประจําปส ําหรับปนั้น บีทีเอสซีจะไดร ับคาตอบแทนพิเศษในอัตรารอ ยละ 10 ของจํานวนร ายได คาโดยสารสุทธิในสวนที่เกินกวารอ ยละ 100 แตไมเกินรอ ยละ 125 2. ในกรณีที่ร ายไดคาโดยสารสุทธิส ําหรับปใดสูง กวารอ ยละ 125 ขึ้นไปของเปาหมายรายไดคาโดยสาร สุทธิประจําปส ําหรับปนั้น บีทีเอสซีจะไดร ับคาตอบแทนพิเศษในอัตรารอ ยละ 15 ของจํานวนรายไดคาโดยสารสุ ท ธิ ใ น สวนที่เกินกวารอ ยละ 125 ง)

การประกันภัย

บีทีเอสซีตกลงทําประกันตามที่ทําเปนปกติ รวมถึง ประกันความรับผิดกรรมการ และ ตกลง ว า จะ คง ไว ซึ่ ง ประกันดัง กลาวตลอดเวลา และบีทีเอสซีตกลงเปนผูร ับผิดชอบชําระคาเสียหายใดๆ ที่เกินไปกวาสวนที่ประกันคุมครอง ทั้ง นี้ เฉพาะสวนของความเสียหายที่เกิดจากความจงใจ หรือ ประมาทเลินเลอ อยางรายแรงของบีทีเ อ ส ซี นอ กจากนี้ กองทุน BTSGIF ตกลงเปนผูร ับผิดชอบชําระคาเสียหายและความสูญเสียใดๆ ที่เกิดขึ้นแกร ะบบรถไฟฟาขนสง มวลชน กรุง เทพสายหลัก ในสวนที่ (ก) เกินไปกวาวงเงินประกัน (ข) เกี่ยวขอ งกับเหตุการณที่ไมไดร ับความคุมครอง และ (ค) กรมธรรมประกันภัยยกเวนหรือ ไมครอบคลุม และตราบเทาที่ความเสียหายหรือ ความสูญเสียดัง กลาวมิไดเกิดจากความ จงใจหรือ ประมาทเลินเลอ อยางรายแรงของบีทีเอสซี ทั้ง นี้ ตามขอ กําหนดและเงื่อ นไขที่กําหนดไวในสัญญานี้ แตไ ม ว า ในกรณีใดๆ หนาที่ของกองทุน BTSGIF ในการรับผิดชอบชําระคาเสียหายและความสูญเสียใดๆ ที่เกิ ด ขึ้ น แก ร ะ บบ รถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลักจะสิ้นสุดลงในวันสิ้นสุดอายุส ัญญาสัมปทาน สัญญาดัง กลาวขางตนไดร ะบุร ายละเอียดในหัวขอ ตามที่กลาวมา เรื่อ ง ส ง วนไว (Reserved Matters) และ ขอ ตกลงวาจะไมกระทําการ (Negative Undertakings) และเหตุแหง การผิด สั ญ ญาและ ผลแห ง การ ผิ ด สั ญ ญา ซึ่ ง บีทีเอสซีและกองทุน BTSGIF จะตอ งปฎิบัติตาม

สวนที่ 1 หนา 39


แบบ 56-1 ป 2555/56

บ ริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํา กัด (มหาชน)

ธุรกรรมการใหหลักประกัน บริษัทฯ เขาสนับสนุนและค้ําประกัน (โดยมีการจํากัดความรับผิด ) การ ปฏิ บั ติ ห น า ที่ ข อ ง บี ที เ อ ส ซี ที่ มี ต อ กองทุน BTSGIF ตามสัญญาซื้อ และโอนสิทธิร ายไดคาโดยสารสุทธิ ฉบับลงวันที่ 17 เมษายน 2556 ที่บีทีเอสซีเ ข า ทํ า กับกองทุน BTSGIF โดยการเขาทําสัญญาสนับสนุนและค้ําประกันของผูส นับสนุนฉบับลงวันที่ 17 เมษายน 2556 และ สัญญาจํานําหุนบีทีเอสซีฉบับลงวันที่ 17 เมษายน 2556 และใหส ิทธิแกกองทุนในการซื้อ หุนบีที เ อ ส ซี โ ดยการ เข า ทํ า ขอ ตกลงจะซื้อ ขายหุนบีทีเอสซีใหแกกองทุน เพื่อ เปนหลักประกันภาระผูกพันที่บริษัทฯ มีตอ กองทุน BTSGIF ภายใต สัญญาสนับสนุนและค้ําประกันของผูส นับสนุนที่บริษัทฯ เขาทํากับกองทุน BTSGIF โดยมีร ายละ เอี ย ดที่ ส ํ า คั ญ ตาม สัญญาดัง ตอ ไปนี้ สัญญาสนับสนุนและค้ําประกันของผูสนับสนุน ก)

ภาระหนาที่หลักของบริษัทฯ 1)

บริษัทฯ ตกลงรักษาสัดสวนการถือ หุ น ขอ ง ตนในบี ที เ อ ส ซี ไ ว ต ลอ ดเวลาตร าบเท า ที่ ภาระหนาที่ตามสัญญานี้ยัง คงมีอ ยู และจะไมโอนหรื อ ก อ ภ าร ะ ติ ด พั น ในหุ น บี ที เ อ ส ซี ดัง กลาว

2)

บริษัทฯ ตกลงใหกองทุน BTSGIF มีส วนรวมในคณะกรรมการของบีทีเอสซี โดย (ก) ใหมี การแตง ตั้ง กรรมการจํานวนหนึ่ง ในสามของกรรมการทั้ง หมดของบีทีเ อ ส ซี จ ากบุ ค คลที่ กองทุน BTSGIF เสนอชื่อ และ (ข) ใหมีการแตง ตั้ง กรรมการ จํ า นวนหนึ่ ง ในส ามขอ ง กรรมการทั้ง หมดของบีทีเอสซีซึ่ ง มี คุ ณ ส มบั ติ ต ามที่ กํ า หนดเป น กร ร มการ อิ ส ร ะ ใน คณะกรรมการบริษัทของบีทีเอสซี

3)

บริษัทฯ ตกลงที่จะมิใหบีทีเอสซีเขาทําธุร กรรมใดๆ ที่เป น เรื่ อ ง ส ง วนไว เว น เสี ย แต ว า คณะกรรมการของบีทีเอสซีมีเสียงสนับสนุนจากกรรมการของบีทีเอสซีซึ่ง กองทุน BTSGIF เปนผูเสนอชื่อ อยางนอ ยสองทานไดอ นุมัติใหบีทีเอสซีเขาทําได

4)

บริษัทฯ เห็นดวยกับขอ กําหนดและเงื่อ นไขของเอกสารธุร กรรม และตกลงที่จะกระทําการ ทุกประการที่จําเปนเพื่อ ใหบีทีเอสซีปฏิบัติตามภาระผูกพันทั้ง หลายของตนตามเอ กส าร ธุร กรรม ทั้ง นี้ ตามขอ กําหนดและเงื่อ นไขที่กําหนดไวในสัญญานี้

5)

บริษัทฯ ตกลงจํานําหุนที่ตนถือ อยูในบีทีเอสซี เพื่อ เปนประกันการปฏิบัติหนาที่ของตนตาม สัญญานี้

6)

บริษัทฯ ตกลงใหการค้ําประกันการปฏิบัติภ าระหนาที่ของบีทีเอสซีตามสัญญาซื้อ และโอ น สิทธิร ายไดส ุทธิ ทั้ง นี้ กองทุน BTSGIF จะไมส ามารถบัง คับใหบริษัทฯ ชําระหนี้ตามภาระ ค้ําประกันไดโดยวิธีการอื่นใด นอกจากการบัง คับเอาหุนบีทีเอสซีเทานั้น ภายใตส ัญญาจะ ซื้อ จะขายหุน หรือ สัญญาจํานําหุน และเมื่อ มีการโอนหุนบีทีเอสซีภ ายใตส ัญ ญาจะ ซื้ อ จะ ขายหุน หรือ สัญญาจํานําหุนแลว บริษัทฯ จะ หลุ ด พ น จากภ าร ะ หน า ที่ ข อ ง บริ ษั ท ฯ ที่ เกี่ยวขอ งกับการค้ําประกันและที่เกี่ยวขอ งกับความเปนผูถือ หุนของบีทีเอสซีภ ายใตส ัญญา นี้ทันที แตส ิ ท ธิ ข อ ง กอ ง ทุ น BTSGIF บาง ปร ะ การ เช น สิ ท ธิ ใ นการ ซื้ อ (Right to Purchase) และสิทธิในการปฏิเสธเปน ร ายแร กที่ จ ะ ซื้ อ (Right of First Refusal) ตาม ขอ กําหนดที่เกี่ยวขอ งในสัญญานี้ เปนตน ยัง คงมีอ ยูตามความของสัญญานี้ และหนาที่บาง สวนที่ 1 หนา 40


แบบ 56-1 ป 2555/56

บ ริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํา กัด (มหาชน)

ประการของบริษัทฯ ตามที่กําหนดไวในสัญญานี้ ยัง คงมีอ ยูจนกวาบีทีเอสซีและบริษัทฯ จะ ไดปฏิบัติหนาที่ตามภาระผูกพันของตนภายใตเ อ กส าร ธุ ร กร ร มที่ ต นเป น คู ส ั ญ ญาจน ครบถวน หรือ พนกําหนดเวลาอื่นตามที่กําหนดไวในสัญญานี้ 7)

หากบริษัทฯ มีส ิทธิเรียกรอ งใดๆ ตอ บีทีเอสซีไมวาภายใต เ อ กส าร ธุ ร กร ร มหรื อ อื่ น ใด บริษัทฯ ตกลงไมใชส ิทธิเรียกรอ งใดๆ เอาจากบีทีเอสซีจนกวาบริษัทฯ และบีทีเอส ซี จ ะ ได ปฏิบัติหนาที่ตามภาระผูกพันทั้ง หมดภายใตเอกสารธุร กรรมจนคร บถ ว นให แ ก ก อ ง ทุ น BTSGIF แลว เวนแตเปนไปตามขอ ยกเวนที่กําหนดไวในสัญญานี้

8)

ในกรณีที่กองทุน BTSGIF อนุญาตใหบีทีเอสซีดําเนินการตามแผนการเยียวยาเหตุผิด นั ด ผิดสัญญาภายใตส ัญญาซื้อ และโอนสิทธิร ายไดส ุทธินั้น ในช ว ง ร ะ หว า ง เวลาที่ ก อ ง ทุ น BTSGIF และบีทีเอสซีเริ่มดําเนินการปรึกษาหารือ แผนการเยียวยาดัง กลาวจนถึ ง เวลาที่ เหตุผิดนัดผิดสัญญาไดร ับการเยียวยาตามแผนที่กองทุน BTSGIF เห็ น ชอ บจนกอ ง ทุ น BTSGIF พอใจหรือ กองทุน BTSGIF (ยกเวนเหตุผิดนัดผิดสัญญาบางประการที่ร ะบุไวใ น สัญญานี้) คูส ัญญาตกลงกระทําการหรือ ไมกระทําการตามที่ กํ า หนดไว ใ นสั ญ ญานี้ ซึ่ ง รวมถึง (ก) การที่บริษัทฯ จะตอ งนําเงินปนผลที่ตนเองไดร ับจากการ ถื อ หุ น บี ที เ อ ส ซี ม า ชําระจํานวนเงินที่บีทีเอสซีคางจายและถึง กําหนดชําระภายใตเอกสารธุร กรรมใหแกกองทุน BTSGIF (ข) การใหส ิทธิแกกองทุน BTSGIF ในการใชส ิทธิอ อกเสียงในหุนที่ผูส นับ ส นุ น ถือ อยูในบีทีเอสซีตามเงื่อ นไขที่กําหนดไวในสัญญานี้ และ (ค) การที่กองทุน BTSGIF จะไม ใชส ิทธิเรียกใหบีทีเอสซีชําระหนี้ตามจํานวนและเงื่อ นไขที่กําหนดไวในสัญญาซื้อ และ โอ น สิทธิร ายไดส ุทธิ หรือ เรียกใหผูส นับสนุนปฏิบัติตามสัญญานี้ หรือ ใชส ิทธิอ ื่นใดที่ ก อ ง ทุ น BTSGIF มีส ําหรับกรณีเกิดเหตุผิดนัดผิดสัญญาดัง กลาว ในกรณีที่บีทีเอสซีหรือ ผูส นับสนุนไมปฏิบัติตามหนาที่ของตนที่ กํ า หนดไว ใ ห ต อ ง ปฏิ บั ติ ภายหลัง กองทุน BTSGIF อนุมัติใหมีการดําเนินการตามแผนการเยียวยา กรณีดัง กลาวจะ ถือ เปนเหตุผิดนัดผิดสัญญาภายใตส ัญญาซื้อ และโอนสิทธิร ายไดส ุทธิ ซึ่ง กองทุน BTSGIF มีส ิทธิใชส ิทธิที่ตนมีตามเอกสารธุร กรรมไดทุกประการ

9)

ข)

หากกองทุน BTSGIF ซื้อ หุนบีทีเอสซีจากบริษัทฯ ตามสัญญาจะซื้อ จะขายหุน หรือ เขาเปน เจาของหุนบีทีเอสซีจากการบัง คับสิทธิตามสัญญาจํานําหุน กองทุน BTSGIF ตกลง ที่ จ ะ ดําเนินการบางประการตามที่ร ะบุไวในสัญญา

สิทธิในการซื้อ (Right to Purchase) และสิทธิในการปฏิเสธเปนรายแรกที่ จ ะซื้ อ (Right of First Refusal)

บริษัทฯ ตกลงใหส ิทธิโดยเพิกถอนมิได แกกองทุน BTSGIF ดัง นี้ (ก) สิทธิของกองทุน BTSGIF ในการ ซื้ อ (Right to Purchase) รายได สิทธิ สิทธิประโยชน กรรมสิทธิ์ ผลประโยชน และ/หรือ การลงทุนของบริษัทฯ หรือ บริษทั ยอ ยของบริษัทฯ ที่เกี่ยวกับโครงการรถไฟฟาที่กําหนด และ (ข) ในกรณีที่บริษัทฯ หรือ บริษัทยอ ยของบริษัทฯ (แลวแต กรณี) ไดร ับขอ เสนอจากบุคคลภายนอก สิทธิในการปฏิเสธเปนรายแรกที่จะซื้อ (Right of First Refusal) รายได สิท ธิ สิทธิประโยชน กรรมสิทธิ์ ผลประโยชน และ/หรือ การลงทุนใดๆ ที่เกี่ยวกับโครงการรถไฟฟาที่กําหนด โครงการระบบ ขนสง มวลชนกรุง เทพและปริมณฑลที่ยัง ไมไดเริ่มดําเนินการ และ โครงการระบบขนสง มวลชนกรุง เทพและปริมณฑลที่

สวนที่ 1 หนา 41


แบบ 56-1 ป 2555/56

บ ริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํา กัด (มหาชน)

แลวเสร็จที่บริษัทฯ และ/หรือ บริษัทยอ ยของบริษัทฯ ไดเขาทําหรือ จะเขาทําสัญญา หรือ ดําเนินการหรือ จะดําเนิ น การ โครงการที่เกี่ยวขอ งดัง กลาวซึ่ง รวมถึง โครงการรถไฟฟาที่กําหนด ทั้ง นี้ ขอ กําหนดและเงื่อ นไขของสิทธิในการซื้อ (Right to Purchase) และสิทธิในการปฏิเสธเปนรายแรกที่ จ ะ ซื้อ (Right of First Refusal) ที่บริษัทฯ ใหแกกองทุน BTSGIF จะมีลักษณะเดียวกันกับที่กําหนดไวในสั ญ ญาซื้ อ และ โอนสิทธิร ายไดส ุทธิ ค)

สิทธิของบริษัทฯ ในการซื้อหุนบีทีเอสซี

ในกรณีที่ 1) กองทุน BTSGIF ใชส ิทธิซื้อ หุนที่บริษัทฯ ถือ อยูในบีทีเอสซีตามสัญญาจะซื้อ จะขายหุน และ กองทุน BTSGIF ประสงคจะขายหุนดัง กลาวใหแกบุคคลใดๆ ที่มายื่นขอ เสนอซื้อ ใหแกกองทุน BTSGIF หรือ 2) กองทุน BTSGIF ไมซื้อ หุนที่บริษัทฯ ถือ อยูในบีทีเอสซี ต ามสั ญ ญาจะ ซื้ อ จะ ขายหุ น ด ว ย ตนเองแตประสงคจะขายหุนนั้นใหแกบุคคลภายนอกที่เปนอิส ระ (นอกเหนือ จากบริษัทในเครือ ของกอ ง ทุ น BTSGIF) โดยกําหนดใหบุคคลภายนอกดัง กลาวเปนคนรับโอนหุนจากบริษัทฯตามสัญญาจะซื้อ จะขายหุน ในกรณีดัง กลาว กองทุน BTSGIF ตกลงที่จะใหส ิทธิแกบริษัทฯในการปฏิ เ ส ธเป น ร ายแร ก (Right of First Refusal) ที่จะซื้อ หุนดัง กลาวในราคาเทากับขอ เสนอที่กองทุน BTSGIF ไดร ับ (กรณี 1)) หรือ ชําระคาซื้อ หุ น ดั ง กล า ว ใหแกกองทุน BTSGIF เทากับราคาที่บุคคลภายนอกที่เปนอิส ระเส นอ ให แ ก ก อ ง ทุ น BTSGIF (กร ณี 2)) ภ ายใต ขอ กําหนดและเงื่อ นไขอื่นเกี่ยวกับการซื้อ ขายหรือ โอนอันเปนสาระสําคัญที่ไมใหส ิทธิแกผูเสนอซื้อ หรือ บุคคลภายนอกที่ เปนอิส ระนั้นดีไปกวาที่เสนอใหแกบริษัทฯ โดยกองทุน BTSGIF จะมีหนัง สือ แจง ไปยัง บริษัทฯ โดยระบุชื่อ ขอ ง ผู ที่ ม า เสนอซื้อ จากกองทุน BTSGIF หรือ บุคคลภายนอกที่เปนอิส ระที่บริษัทฯ ประสงคจะขายหุนให (แลวแตกรณี) ราคาเสนอ ซื้อ และขอ กําหนดและเงื่อ นไขอื่นที่เปนสาระสําคัญของขอ เสนอในการซื้อ นั้น ทั้ง นี้ การ ใช ส ิ ท ธิ ซื้ อ หุ น จากกอ ง ทุ น BTSGIF (กรณี 1)) หรือ ชําระคาซื้อ หุนดัง กลาวใหแกกองทุน BTSGIF (กรณี 2)) บริษัทฯ ตอ งดําเนินการตามวิ ธี ก าร และภายในเวลาที่กําหนดไวในสัญญานี้ ในกรณีที่บริษัทฯ ไมแสดงความประสงคซื้อ หุนจากกองทุน BTSGIF หรือ ชําระ คาซื้อ หุน (แลวแตกรณี) ภายในเวลาที่กําหนด หรือ ไมทําการซื้อ หุนดัง กลาวจากกองทุน BTSGIF หรือ ชําระ ค า ซื้ อ หุ น ใหแกกองทุน BTSGIF (แลวแตกรณี) ใหเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กําหนด กองทุน BTSGIF มี ส ิ ท ธิ ข ายหุ น ดั ง กล า วให บุคคลที่มาเสนอซื้อ จากกองทุน BTSGIF หรือ บุคคลอื่นในราคาที่เทากับหรือ สูง กวาราคาที่ใหส ิทธิแกบริษัทฯ ดัง กล า ว หรือ ดําเนินการใหมีการโอนหุนไปยัง บุคคลภายนอกที่เปนอิส ระ (แลวแตกรณี) ได ภายใตขอ กําหนดและ เงื่ อ นไขอื่ น เกี่ยวกับการซื้อ ขายหรือ โอนอันเปนสาระสําคัญที่ไมใหส ิทธิแกผูซื้อ หรือ บุคคลภายนอกที่เปนอิส ระนั้นดีไปกวา ที่ เ ส นอ ใหแกบริษัทฯ ทั้ง นี้ คูส ัญญาตกลงวาในกรณีที่บุคคลที่กองทุน BTSGIF กําหนดใหเปนผูร ับโอนหุนจากบริษัทฯ ตามสั ญ ญา จะซื้อ จะขายหุนนั้นเปนบริษัทในเครือ ของกองทุน BTSGIF การโอนหุนใหแก บ ริ ษั ท ในเครื อ ขอ ง กอ ง ทุ น BTSGIF สามารถกระทําไดโดยกองทุน BTSGIF ไมตอ งใหส ิทธิแกบริษัทฯ ในการปฏิเสธเปนรายแรก (Right of First Refusal) ดัง ที่กลาวไวขางตนกอ น โดยมีเงื่อ นไขวาเมื่อ บริษัทในเครือ ของกองทุน BTSGIF เขามาเปนเจาของหุนตามสัญญาจะ ซื้อ จะขายหุนแลว กองทุน BTSGIF จะดําเนินการใหบริษัทในเครือ ดัง กลาวทําความตกลงเปนหนัง สือ ไปยัง บริษัทฯ ว า จะใหส ิทธิแกบริษัทฯ ในการปฏิเสธเปนรายแรก (Right of First Refusal) ตามขอ กําหนดและเงื่อ นไขที่ร ะบุไวในสัญญานี้

สวนที่ 1 หนา 42


แบบ 56-1 ป 2555/56

บ ริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํา กัด (มหาชน)

ง)

ขอตกลงที่จะไมขายหนวยลงทุน

บริษัทฯ ตกลงที่จะไมขาย โอน หรือ จําหนายดวยประการอื่นใดซึ่ง หนวยลงทุนที่บริษัทฯ จองซื้อ ในจํา นวนไม นอ ยกวาหนึ่ง ในสามของหนวยลงทุนทั้ง หมด เปนระยะเวลา 10 ป นับจากวันที่ทําการซื้อ ขายเสร็จสิ้น เวน แต จ ะ ได ร ั บ ความยินยอมเปนลายลักษณอ ักษรลวงหนาจากกองทุน BTSGIF จ)

ขอตกลงวาจะไมกระทําการ (Negative Undertaking)

บริษัทฯ หามกระทํา เชน การควบรวมกิจการ การอนุญาตใหบีทีเอสซีอ อกหุนหรือ หลั ก ทรั พ ย แ ปลง ส ภ าพ ใหแกบุคคลใดที่เปนผลใหส ัดสวนการถือ หุนของบริษัทฯ ในบีทีเอสซีลดลง การอนุญาตใหบีทีเอสซีลดทุน (เว น แต เ ป น การลดทุนของบีทีเอสซีเพื่อ การคืนเงินทุนใหแกผูถือ หุน และการลดทุนนั้นไมทําใหทุนจดทะเบียนของบีทีเ อ ส ซี ต่ํ า กว า 3,000,000,000 บาท และไมทําใหส ัดสวนการถือ หุนของบริษัทฯ ลดลง) และการอนุญาตให บี ที เ อ ส ซี เ ปลี่ ย นบุ ค คลที่ ดํารงตําแหนง ประธานกรรมการบริหาร (Chief Executive Officer) ผูอ ํานวยการใหญฝายการ เงิ น (Chief Financial Officer) หรือ กรรมการผูอ ํานวยการใหญฝายปฏิบัติการ (Chief Operating Officer) ของบีทีเอสซี เปนตน สัญญาจํานําหุน ก)

ข)

สิทธิหนาที่หลักของบริษัทฯ 1)

บริษัทฯ ตกลงจํานําหุนที่ตนถือ ในบีทีเอสซีใหแกกองทุ น BTSGIF เพื่ อ เป น ปร ะ กั น การ ปฏิบัติหนาที่ของตนตามสัญญาสนับสนุนและค้ําประกันของผูส นับสนุน

2)

บริษัทฯ จะจัดใหบีทีเอสซีบันทึกการจํานําหุนไวในสมุดทะเบียนผูถือ หุนดวย

3)

บริษัทฯ ตกลงวาถาไมวาในเวลาใดๆ บริษัทฯไดหุนในบีทีเอสซีมาเพิ่มเติมอันเนื่อ งมาจาก การเปลี่ยนแปลงทุนจดทะเบียนของบีทีเอสซี บริษัทฯ จะจํานําหุนเพิ่มเติ ม ดั ง กล า วให แ ก กองทุน BTSGIF ทั้ง นี้ เพื่อ ใหหุนบีทีเอสซีที่บริษัทฯ ถือ อยูไดนํามาจํ า นํ า และ ส ง มอ บไว ใหแกกองทุน BTSGIF

4)

บริษัทฯ เปนผูมีส ิทธิอ อกเสียงและไดร ับเงินปนผลที่ไดจากหุนนั้น กอ นที่ก อ ง ทุ น BTSGIF จะบัง คับจํานําหุนและมีหนัง สือ แจง ไปยัง บีทีเอสซีและบริษั ท ฯ ในกร ณี ผิ ด นั ด ผิ ด สั ญ ญา ภายใตส ัญญาซื้อ และโอนสิทธิร ายไดส ุทธิ

สิทธิหนาที่หลักของกองทุน BTSGIF

กองทุน BTSGIF อาจใชส ิทธิหักกลบลบหนี้ร ะหวางหนี้ที่บริษัทฯ มีตอ กองทุน BTSGIF ตามสัญญาสนับส นุ น และค้ําประกันของผูส นับสนุนและเอกสารธุร กรรมอื่นที่บริษัทฯ เปน คู ส ั ญ ญากั บ หนี้ ที่ ก อ ง ทุ น BTSGIF เป น หนี้ ต อ บริษัทฯ ก็ได โดยไมคํานึง ถึง สถานที่ชําระเงิน ค)

การบังคับจํานํา

บริษัทฯ และ กองทุน BTSGIF ตกลงกําหนดเงื่อ นไขในการขายทอดตลาดหุนนั้น ใหบุคคลภายนอกที่ชนะการ ประมูลจะตอ งเขาทําสัญญาที่มีร ูปแบบ และเนื้อ หาเหมือ นกับสัญญาสนับสนุนและค้ําประกันของผูส นับสนุน

สวนที่ 1 หนา 43


แบบ 56-1 ป 2555/56

บ ริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํา กัด (มหาชน)

สัญญาจะซื้อจะขายหุน ก)

ข)

สิทธิหนาที่หลักของบริษัทฯ 1)

บริษัทฯ ตกลงขายหุนที่ตนถือ อยูในบีทีเอสซีใหแกกองทุน BTSGIF และกองทุ น BTSGIF ตกลงซื้อ หุนจากบริษัทฯ เมื่อ เกิดเหตุผิดนัดผิดสัญญาตามสัญญาซื้อ และโอ นสิ ท ธิ ร ายได สุทธิและกองทุน BTSGIF ไดส ง หนัง สือ ใหแกบริษัทฯ เพื่อ ใชส ิทธิในการซื้อ หุนดัง กลาว

2)

บริษัทฯ ตกลงแตง ตั้ง และมอบอํานาจโดยเพิกถอนมิไดใหผูดแู ลผลปร ะ โยชน และ / หรื อ ผูร ับโอนสิทธิของผูดูแลผลประโยชน ทําการโอนหุนนั้นใหแกกองทุน BTSGIF

3)

บริษัทฯ ตกลงวากองทุน BTSGIF อาจใชส ิทธิหักกลบลบหนี้ร าคาซื้อ หุนกับภาระผูกพันซึ่ง บริษัทฯ มีอ ยูตามสัญญาสนับสนุนและค้ําประกันของผูส นับสนุนได ทั้ง นี้ บริษัท ฯ ตกลง ที่ จะไมเรียกรอ งใหกองทุน BTSGIF ตอ งชําระราคาซื้อ หุนเปนเงิน

4)

บีทีเอสซีตกลงกระทําการทั้ง หมดเพื่อ ใหมีการโอนหุนใหแกกองทุน BTSGIF รวมถึง การ จัดใหบีทีเอสซีบันทึกการโอนหุนดัง กลาวไวในสมุดทะเบียนผูถือ หุน

สิทธิหนาที่หลักของกองทุน BTSGIF 1)

กองทุน BTSGIF มีส ิทธิซื้อ หุนจากบริษัทฯ เมื่อ เกิดเหตุผิดนัดผิดสัญญาตามสัญญาซื้อ และ โอนสิทธิร ายไดส ุทธิ

2)

ราคาคาซื้อ หุนดัง กลาวจะไดมีการกําหนดขึ้นตามวิธีการที่กําหนดไวในสัญญาจะซื้อ จะขาย หุน

3)

กองทุน BTSGIF อาจใชส ิทธิหักกลบลบหนี้ร ะหวางหนี้ที่บริษั ท ฯ มี ต อ กอ ง ทุ น BTSGIF ตามสัญญาสนับสนุนและค้ําประกันของผูส นับสนุนและเอกสารธุร กรรมอื่นที่บริ ษั ท ฯ เป น คูส ัญญากับหนี้ที่กองทุน BTSGIF เปนหนี้ตอ บริษัทฯ ก็ได โดยไมคํานึง ถึง สถานที่ชําระเงิน ทั้ง นี้ บริษัทฯ ตกลงที่จะไมเรียกรอ งใหกองทุน BTSGIF ตอ งชําระราคาซื้อ หุนเปนเงิน

ธุรกรรมการจองซื้อหนวยลงทุน บริษัทฯ ไดจองซื้อ หนวยลงทุนของกองทุน BTSGIF เปนจํานวน 1,929 ลานหนวย ราคาหนวยละ 10.80 บาท หรือ เทากับ 20,833 ลานบาท หรือ เทากับจํานวนหนึ่ง ในสาม (หรือ ประมาณรอ ยละ 33.33) ขอ ง จํ า นวนหน ว ยลง ทุ น ทั้ง หมดของกองทุน BTSGIF ที่จะมีการเสนอขาย โดยบริษัทฯ ไดใชแหลง เงินทุนจากการกูยืมจากธนาคารพาณิชย ซึง่ ปจจุบัน บริษัทฯ ไดกูยืมเงินจากบีทีเอสซีเพื่อ จายชําระคืนเงินกูยืมดัง กลาวเรียบรอ ยแลว นอกจากนี้ บริษัทฯ และบีทีเอสซียัง ไดเขาทําสัญญาตางๆ ที่เกี่ยวขอ งหรือ เกี่ ย วเนื่ อ ง กั บ การ ทํ า ธุ ร กร ร ม กองทุนรวมโครงสรางพื้นฐาน โดยเปนการดําเนินการที่ส อดคลอ งกับสัญญาและขอ ตกลงที่เกี่ยวขอ งกับธุร กรรมกองทุน รวมโครงสรางพื้นฐาน ตามที่ร ะบุขางตน (โปรดพิจารณารายละเอียดเพิ่มเติมไดใน หัวขอ 12 ขอ มูลอื่นที่เกี่ยวขอ ง)

สวนที่ 1 หนา 44


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

4.

แบบ 56-1 ป 2555/56

การประกอบธุรกิจในแตละสายผลิตภัณฑ

การดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ แบงออกเปน 4 ประเภทหลัก ไดแก (1) ธุรกิจระบบขนสงมวลชน (2) ธุรกิจสื่อ โฆษณา (3) ธุรกิจอสังหาริมทรัพย และ (4) ธุรกิจบริการ ธุรกิจ

ผูดําเนินการ

1. ธุรกิจระบบขนสงมวลชน (1) ใหบริการรถไฟฟาภายใตสัญญาสัมปทาน ระบบรถไฟฟาขนสงมวลชนกรุงเทพสายหลัก ระยะทาง 23.5 กิโลเมตร

เมื่อวันที่ 17 เมษายน 2556 บีทีเอสซีไดขายและโอนสิทธิใน รายไดคาโดยสารสุทธิในอนาคตที่จะเกิดขึ้นจากการดําเนินงาน ระบบรถไฟฟ า ขนส ง มวลชนกรุ ง เทพสายหลั ก แก ก องทุ น BTSGIF อยางไรก็ตาม หลังจากการเขาทําสัญญาซื้อและโอน สิ ท ธิ ร ายได สุ ท ธิ บี ที เ อสซี ยั ง เป น ผู บ ริ ห ารจั ด การในการ ดําเนินงานระบบรถไฟฟาขนสงมวลชนกรุงเทพสายหลัก เพื่อ ประโยชนของ BTSGIF ภายใตการกํากับดูแลและควบคุมของ BTSGIF ตามขอกําหนดและเงื่อนไขของสัญญาซื้อและโอนสิทธิ รายไดสุทธิ

(2) รับจางใหบริการเดินรถและซอมบํารุงรถไฟฟา บีทีเอสซี ภายใตสัญญาใหบริการเดินรถและซอมบํารุง ระยะยาว - ระบบรถไฟฟาขนสงมวลชน กรุงเทพสวนตอขยาย : สวนตอขยายสายสีลม ชวงสะพานตากสิน-วงเวียนใหญ และชวง วงเวียนใหญ-บางหวา และสวนตอขยายสาย สุขุมวิท ชวงออนนุช-แบริ่ง และจะรวมเสนทาง เดิมของสัมปทานภายหลังครบกําหนดอายุ สัมปทานในวันที่ 4 ธันวาคม 2572 (3) รับจางบริหารระบบรถโดยสารประจําทางดวน พิเศษ (Bus Rapid Transit: BRT)

บีทีเอสซี

2. ธุรกิจสื่อโฆษณา

กลุมวีจีไอ

(1) สื่อโฆษณาในระบบรถไฟฟาบีทีเอส (2) สื่อโฆษณาในโมเดิรนเทรด และ (3) สื่อโฆษณาในอาคารสํานักงานและอื่น ๆ ซึ่ง รวมถึงการใหบริการสื่อโฆษณาในระบบรถ โดยสารในจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย การเปน ตัวแทนขายสื่อโฆษณาประเภทจอ LED และ การรับผลิตงานโฆษณา

สวนที่ 1 หนา 45


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

3. ธุรกิจอสังหาริมทรัพย

แบบ 56-1 ป 2555/56

บริษัทฯ และบริษัทยอยในสายธุรกิจอสังหาริมทรัพย

คอนโดมิเนียม อาคารพักอาศัย ที่ดินและบาน จัดสรร โรงแรม อาคารสํานักงาน สนามกอลฟ และสปอรตคลับ และรานอาหาร 4. ธุรกิจการใหบริการ

บริษัทยอยและบริษัทรวมในสายธุรกิจบริการ

ธุรกิจเงินอิเล็กทรอนิกส (e-money) พรอมระบบ ตั๋วรวม (common ticketing system), ธุรกิจการ ใหบริการลู กคาสัม พันธและโปรแกรมสงเสริ ม การขายด ว ยเครื่ อ งพิ ม พ คู ป องอั ต โนมั ติ (coupon kiosks), ธุรกิจบริหารโรงแรม และ ธุรกิจรับเหมาและรับบริหารงานกอสราง 4.1

ธุรกิจระบบขนสงมวลชน

4.1.1

ธุรกิจใหบริการรถไฟฟา จุดเดนของรถไฟฟาบีทีเอส คือ 

มีความรวดเร็ว และตรงตอเวลา

มีความสะอาด

มีความปลอดภัยสูง เมื่อเทียบกับระบบขนสงมวลชนอื่นๆ

คาโดยสารเปนที่ยอมรับไดของผูใชบริการ

เสนทางอยูยานศูนยกลางธุรกิจการคา ซึ่งเปนจุดหมายในการเดินทางของประชาชนเปนจํานวนมาก

4.1.1.1 เสนทางการใหบริการ เสนทางใหบริการปจจุบัน ระบบรถไฟฟาขนสงมวลชนกรุงเทพสายหลักและสวนตอขยายประกอบดวยเสนทางที่ใหบริการสองสาย โดย มีสถานียกระดับเหนือพื้นดินรวมทั้งสิ้น 32 สถานี (ซึ่งรวม 2 สถานีที่เชื่อมกับสวนตอขยายสายสีลม ตอนที่ 1 และ 5 สถานีที่เชื่อมกับสวนตอขยายสายสุขุมวิท และสวนตอขยายสายสีลม ตอนที่ 2 จํานวน 2 สถานี) โดยในจํานวนดังกลาว มี 1 สถานีที่เปนสถานีเชื่อมตอระหวางเสนทางรถไฟฟาทั้งสองสาย ดังนี้ 

สายสุขุมวิทและสวนตอขยายสายสุขุมวิท สายสุขุมวิทมีระยะทางทั้งสิ้น 17 กิโลเมตร เริ่มตนจาก สถานีออนนุชไปยังสถานีหมอชิต วิ่งผานถนนสุขุมวิท เพลินจิต พระราม 1 พญาไท และพหลโยธิน มี สถานีรวมทั้งสิ้น 17 สถานี สวนตอขยายสายสุขุมวิทมีระยะทางทั้งสิ้น 5.25 กิโลเมตร เริ่มตนจากสถานี สวนที่ 1 หนา 46


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ออนนุช มุงหนาไปทางทิศตะวันออกไปยังซอยแบริ่ง มีสถานีรวมทั้งสิ้น 5 สถานี ไดแก สถานีบางจาก สถานีปุ ณ ณวิถี สถานี อุ ด มสุ ข สถานีบ างนา และสถานี แ บริ่ ง โดยส ว นต อ ขยายสายสุ ขุม วิ ท ได เ ป ด ใหบริการประชาชนเมื่อวันที่ 12 สิงหาคม 2554 

สายสีลมและสวนตอขยายสายสีลม ตอนที่ 1 สายสีลมมีระยะทางทั้งสิ้น 6.5 กิโลเมตร เริ่มตนจาก สะพานตากสินฝงถนนเจริญกรุง วิ่งผานถนน สาทร คลองชองนนทรี สีลม ราชดําริ และพระราม 1 กอน สิ้นสุดที่ฝงตะวันออกของถนนบรรทัดทองใกลกับสนามกีฬาแหงชาติที่อยูบนถนนพระราม 1 มีสถานีรวม ทั้งสิ้น 7 สถานี สวนตอขยายสายสีลม ตอนที่ 1 มีระยะทางทั้งสิ้น 2.2 กิโลเมตร จากสะพานตากสินมุง หนาไปทางทิศตะวันตกไปยังสองสถานี ไดแก สถานีกรุงธนบุรีและสถานีวงเวียนใหญ โดยสวนตอขยาย สายสีลม ตอนที่ 1 ไดเปดใหบริการประชาชนเมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2552

สายสุขุมวิทและสายสีลม วิ่งขนานกันเปนระยะทาง 800 เมตร บนถนนพระราม 1 ซึ่งในเสนทางบนชวงนี้มี สถานีเชื่อมตอระหวางสองสายที่สถานีสยามซึ่งอยูใกลกับสยามสแควร ดังแผนที่ที่แสดงไวดานลาง ซึ่งแสดงเสนทาง การเดินรถของระบบรถไฟฟาขนสงมวลชนกรุงเทพสายหลัก และสวนตอขยายตางๆ

สวนที่ 1 หนา 47


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

สวนตอขยายสายสีลม ตอนที่ 1 (สะพานตากสิน -วงเวียนใหญ) สวนตอขยายสายสุขุมวิท (ออนนุช-แบริ่ง) และสวนตอขยายสายสีลม ตอนที่ 2 (วงเวียนใหญ-บางหวา) กทม. เปนผูลงทุนกอสรางงานโครงสรางระบบ (Civil Works) และระบบไฟฟาและเครื่องกล (Electrical and Mechanical Works) และจัดหาเอกชนมาเปนผูรับจางเดินรถ และซอมบํารุงระบบผานกรุงเทพธนาคม เมื่อเดือนพฤษภาคม 2552 พฤศจิกายน 2553 และตุลาคม 2554 กรุงเทพ ธนาคมไดวาจางใหบีทีเอสซีดําเนินงานสวนตอขยายสายสีลม ตอนที่ 1 (สะพานตากสิน-วงเวียนใหญ) สวนตอขยาย สายสุขุมวิท (ออนนุช-แบริ่ง) และสวนตอขยายสายสีลม ตอนที่ 2 (วงเวียนใหญ-บางหวา) ตามลําดับ ภายใตสัญญาการ ใหบริการเดินรถและซอมบํารุงระยะสั้นสามฉบับ ตอมาเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2555 สัญญาระยะสั้นทั้งสามฉบับ ดังกลาวไดถูกแทนที่ดวยสัญญาใหบริการเดินรถและซอมบํารุงระยะยาวซึ่งมีระยะเวลา 30 ป สิ้นสุดในเดือนพฤษภาคม 2585 ซึ่งครอบคลุมทั้งสายสีลมหลักและสายสุขุมวิทหลักภายหลังครบกําหนดอายุสัญญาสัมปทานในเดือนธันวาคม สวนที่ 1 หนา 48


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

2572 โดยคาโดยสารที่ไดจากสวนตอขยาย และคาโดยสารที่ไดจากสายสีลมและสายสุขุมวิทเดิมหลังจากเดือนธันวาคม 2572 นั้น เปนรายไดของกทม. โดยบีทีเอสซีจะไดรับเพียงเงินคาจางในรูปตัวเงินตามสัญญาเดินรถและซอมบํารุงระยะ ยาวดังกลาว แผนการขยายเสนทางของสวนตอขยายรถไฟฟาสายสีเขียว เสนทางสวนตอขยายรถไฟฟาสายสีเขียวในอนาคต เปนดังนี้ 

สวนตอขยายสายสีลม ตอนที่ 2 มีระยะทาง 5.3 กิโลเมตร มุงไปทางทิศใตของสายสีลม จากสถานี วงเวียนใหญถึงสถานีบางหวา ซึ่งประกอบดวยสถานีจํานวน 4 สถานี ไดแก สถานีโพธิ์นิมิตร สถานี ตลาดพลู สถานีวุฒากาศ และสถานีบางหวา ทั้งนี้ สองสถานีแรก ไดแก สถานีโพธิ์นิมิตร และสถานี ตลาดพลู ไดเปดใหบริการประชาชนเมื่อวันที่ 12 มกราคม 2556 และ14 กุมภาพันธ 2556 ตามลําดับ และกทม. คาดว า อี ก สองสถานี ที่ เ หลื อ ได แ ก สถานี วุ ฒ ากาศ และสถานี บ างหว า จะเป ด ให บ ริ ก าร ประชาชนไดในชวงปลายป 2556 โดยบีทีเอสซีไดรับการวาจางจากกรุงเทพธนาคมใหบริการเดินรถ และซอมบํารุงรถไฟฟาในสวนนี้ ภายใตสัญญาใหบริการเดินรถและซอมบํารุงระยะยาว สวนตอขยายสายสุขุมวิท แบงออกเปน 3 ชวง คือ ชวงแบริ่ง - สมุทรปราการ ชวงหมอชิต - สะพาน ใหม และ ชวงสะพานใหม – คูคต (ขอมูลจากเว็บไซตของกระทรวงคมนาคม http://mot.go.th) ชวงแบริ่ง - สมุ ทรปราการ : ระยะทาง 13 กิโลเมตร เปนทางวิ่งยกระดับทั้ง หมด มี 9 สถานี แนว เสนทางเริ่มตนตอเนื่องจากแนวเสนทางรถไฟฟาบีทีเอส จากสวนตอขยายสายสุขุมวิท ตอนที่ 1 ชวง ออนนุช - แบริ่ง ที่บริเวณซอยสุขุมวิท 107 (ซอยแบริ่ง) ไปตามแนวถนนสุขุมวิท ผานแยกเทพารักษ แยกปูเจาสมิงพราย เลี้ยวซายที่แยกศาลากลาง ผานแยกการไฟฟา จนถึงแยกสายลวดแลวเลี้ยวซาย ออกไปทางบางปูจนสิ้นสุดโครงการที่บริเวณซอยเทศบาล 55 ซึ่งบริเวณสิ้นสุดโครงการจะเปนที่ตั้งของ โรงจอดและซอมบํารุง ทั้งนี้ ความคืบหนาโครงการ ณ สิ้นเดือนพฤษภาคม 2556 โครงการนี้อยูระหวาง การกอสรางงานโยธาและงานระบบราง โดยการรถไฟฟาขนสงมวลชนแหงประเทศไทย (รฟม.) ซึ่งเปน ผูรับผิดชอบดําเนินโครงการ ไดวาจาง บริษัท ช.การชาง จํากัด (มหาชน) ใหเปนผูดําเนินงาน สําหรับ การกอสรางงานโยธา การดําเนินงานมีความกาวหนารอยละ 10.50 สวนสัญญางานระบบราง ขณะนี้อยู ระหวางการพิจารณาแผนการดําเนินงานที่ผูรับจางเสนอ ชวงหมอชิต - สะพานใหม : ระยะทาง 12 กิโลเมตร เปนทางวิ่งยกระดับทั้งหมด มี 12 สถานี แนว เสนทางเริ่มตนตอเนื่องจากแนวเสนทางรถไฟฟาบีทีเอสที่สถานีหมอชิต ขามทางยกระดับดอนเมืองโทลล เวยบริเวณหาแยกลาดพราว ผานแยกรัชโยธิน แยกเกษตร ไปจนถึงบริเวณซอยพหลโยธิน 55 จากนั้น แนวเส น ทางจะเบี่ ย งออกไปเลี ย บกั บ แนวถนนฝ ง ขวาจนถึ ง อนุ ส าวรี ย พิ ทั ก ษ รั ฐ ธรรมนู ญ หรื อ วงเวียนหลักสี่ และเบี่ยงกลับมาแนวเกาะกลางถนนที่บริเวณซอยหมูบานราชตฤณมัย แลวไปสิ้นสุด บริเวณสะพานใหม ทั้งนี้ ความคืบหนาโครงการ ณ สิ้นเดือนพฤษภาคม 2556 โครงการนี้อยูระหวางการ ขออนุมัติดําเนินโครงการ โดยรถไฟฟาขนสงมวลชนแหงประเทศไทย (รฟม.) ซึ่งเปนผูรับผิดชอบดําเนิน โครงการ ไดนําเสนอโครงการตอกระทรวงคมนาคม และคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาตามขั้นตอนแลว ชวงสะพานใหม – คูคต : ระยะทาง 7 กิโลเมตร เปนทางวิ่งยกระดับทั้งหมด มี 4 สถานี ประกอบดวย สถานีโรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช สถานีพิพิธภัณฑกองทัพอากาศ สถานี กม.25 และสถานีคูค ต สวนที่ 1 หนา 49


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

เชื่อมตอกับจุดสิ้นสุดของโครงการรถไฟฟาสายสีเขียวชวงหมอชิต - สะพานใหม บริเวณหนาตลาด ยิ่งเจริญ มีแนวเสนทางสวนใหญอยูบริเวณเกาะกลางของถนนพหลโยธิน โดยเมื่อถึงประมาณกิโลเมตร ที่ 25 ของถนนพหลโยธินแนวเสนทางจะเบี่ยงไปทางดานทิศตะวันออก (ดานเหนือของพื้นที่ประตู กรุงเทพฯ) ขามคลองสอง ผานบริเวณดานขางของสถานีตํารวจภูธรคูคต เขาสูบริเวณเกาะกลางของ ถนนลําลูกกา และสิ้นสุดที่บริเวณคลองสอง (บริเวณสถานีคูคต) ซึ่งเปนที่ตั้งของศูนยซอมบํารุงและศูนย ควบคุมการเดินรถ ทั้งนี้ ความคืบหนาโครงการ ณ สิ้นเดือนพฤษภาคม 2556 โครงการนี้อยูระหวางการ ขออนุมัติดําเนินโครงการ โดยการรถไฟฟาขนสงมวลชนแหงประเทศไทย (รฟม.) ซึ่งเปนผูรับผิดชอบ ดําเนินโครงการ ไดนําเสนอโครงการตอกระทรวงคมนาคม และคณะรัฐมนตรีเพื่อพิจารณาตามขั้นตอน แลว นอกจากนี้ ยังมีสวนตอขยายในอนาคตที่จะเชื่อมตอกับสายสีเขียวนี้ ไดแก สวนตอขยายทางทิศเหนือ ของสายสุ ขุ ม วิ ท จากคู ค ตไปลํ า ลู ก กาและส ว นต อ ขยายทางทิ ศ ตะวั น ออกของสายสุ ขุ ม วิ ท จาก สมุทรปราการไปบางปู บีทีเอสซีเชื่อวาบีทีเอสซีมีขอไดเปรียบในการดําเนินงานในสวนตอขยายสายสีเขียวเหลานี้ เนื่องจากสามารถ สรางความสะดวกใหกับผูโดยสารในการเดินทาง ทําใหไมตองมีการเปลี่ยนถายขบวนรถได และบีทีเอสซีเชื่อวาบีทีเอสซี จะมีคาใชจายในการลงทุนและดําเนินการต่ํากวาผูประกอบการรายอื่น เนื่องจากเชื่อวาจะสามารถใชทรัพยากรและ อุปกรณบางอยางรวมกับโครงการเดิมได

สวนที่ 1 หนา 50


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 1 หนา 51

แบบ 56-1 ป 2555/56


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

แผนการขยายเสนทางรถไฟฟาสายอื่นๆ โปรดพิจารณารายละเอียดการดําเนินโครงการรถไฟฟา 10 4.1.3.1 ภาพรวมของการขนสงมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานคร

เสนทาง ตามนโยบายของรัฐบาล ใน หัวขอ

4.1.1.2 อัตราคาโดยสาร อัตราคาโดยสารในระบบรถไฟฟาขนสงมวลชนกรุงเทพสายหลัก ในชวงแรก สัญญาสัมปทานกําหนดโครงสรางคาโดยสารแบบราคาเดียว (Flat Fare) ซึ่งตอมาถูกแกไขใหเปน การเรียกเก็บแบบตามระยะทางของการเดินทาง (Distance Based Fare Structure) คาโดยสารที่บีทีเอสซีเรียกเก็บตอ เที่ยวสําหรับการเดินทางระหวางสองสถานีในระบบรถไฟฟาขนสงมวลชนกรุงเทพสายหลัก คือ คาโดยสารที่เรียกเก็บ ได (Effective Fare) ภายใตสัญญาสัมปทาน คาโดยสารที่เรียกเก็บไดจะตองไมเกินกวาเพดานอัตราคาโดยสารสูงสุดที่ อาจเรียกเก็บได (Authorized Fare) ซึ่งเปนคาโดยสารสูงสุดที่อาจเรียกเก็บไดที่มีผลใชบังคับอยูในขณะนั้นที่ถูกกําหนด ตามสัญญาสัมปทาน เพดานอัตราคาโดยสารสูงสุดที่อาจเรียกเก็บไดในปจจุบันซึ่งไดรับประโยชนจากการปรับขึ้น เพดานอัตราคาโดยสารเปนกรณีพิเศษตามหลักเกณฑที่ไดรับการอนุมัติเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ 2555 มีอัตราอยูที่ 18.79 บาท ถึง 56.36 บาท ตามสัญญาสัมปทาน บีทีเอสซีอาจปรับขึ้นคาโดยสารที่เรียกเก็บไดโดยจะตองมีระยะเวลาหางกับการปรับคา โดยสารที่เรียกเก็บไดในครั้งกอนไมนอยกวา 18 เดือน แตคาโดยสารที่เรียกเก็บไดจะตองไมเกินกวาเพดานอัตราคา โดยสารสูงสุดที่อาจเรียกเก็บไดและบีทีเอสซีไดประกาศให กทม. และประชาชนทราบลวงหนา 30 วัน โดยบีทีเอสซีมี การปรับคาโดยสารที่เรียกเก็บไดขึ้นจาก 10 บาท ถึง 40 บาทตอเที่ยว เปน 15 บาท ถึง 40 บาทตอเที่ยว ในเดือน มีนาคม 2550 และไดมีการปรับขึ้นคาโดยสารที่เรียกเก็บไดครั้งลาสุดมีผลบังคับใชตั้งแตวันที่ 1 มิถุนายน 2556 จาก 15 บาท ถึง 40 บาทตอเที่ยว เปน 15 บาท ถึง 42 บาทตอเที่ยว ดังตารางดานลาง โดยอาจมีการใหสวนลดตามแผน สงเสริมการขาย ซึ่งจะมีการประกาศเปนคราวๆ ไป จํานวนสถานี

0-1

2

3

4

5

6

7

8 ขึ้นไป

ราคา (บาท)

15

22

25

28

31

34

37

42

ตามสัญญาสัมปทาน บีทีเอสซีอาจปรับเพดานอัตราคาโดยสารสูงสุดที่อาจเรียกเก็บได (Authorized Fare) ใน 2 กรณี ดังนี้ 

การปรับปกติ บีทีเอสซีสามารถขอปรับขึ้นเพดานอัตราคาโดยสารสูงสุดที่อาจเรียกเก็บไดเพิ่มขึ้นรอยละ 7 ของอัตราเดิม ในกรณีที่ดัชนีราคาผูบริโภคประจําเดือนทั่วไปสําหรับเขตกรุงเทพมหานคร ตามที่ กระทรวงพาณิชยประกาศ (“ดัชนี”) (Consumer Price Index: CPI for Bangkok) มีคาเทากับหรือสูง กวารอยละ 5 ของดัชนีอางอิงของเดือนใดเดือนหนึ่งที่ผานมาแลวไมนอยกวา 12 เดือน (ดัชนีอางอิง หมายถึง ดัชนีที่ใชในการปรับเพดานอัตราคาโดยสารสูงสุดที่อาจเรียกเก็บไดครั้งหลังสุด)

สวนที่ 1 หนา 52


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

การปรับกรณีพิเศษ เมื่อเกิดเหตุการณใดเหตุการณหนึ่งดังตอไปนี้ (1) หากในระหวางปหนึ่งปใด ดัชนีของเดือนหนึ่งเดือนใดในปนั้นมีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นหรือลดลง เกินกวารอยละ 9 เทียบกับดัชนีอางอิงของเดือนใดที่ผานมาแลวไมนอยกวา 12 เดือน (2) อัตราแลกเปลี่ยนระหวางสกุลเงินบาทและเงินเหรียญสหรัฐ สูงหรือต่ํากวาอัตราแลกเปลี่ยนอางอิง เกินกวารอยละ 10 (อัตราแลกเปลี่ยนอางอิงหมายถึง อัตราแลกเปลี่ยนกลางที่ธนาคารแหง ประเทศไทยประกาศ ที่ใชในการปรับเพดานอัตราคาโดยสารสูงสุดที่อาจเรียกเก็บไดครั้งหลังสุด ซึ่งเทากับ 39.884 บาท ตอ 1 เหรียญสหรัฐ) (3) อัตราดอกเบี้ยสําหรับหนี้เงินตราในประเทศหรือเงินตราตางประเทศของบีทีเอสซี สูงหรือต่ํากวา อัตราดอกเบี้ยในประเทศอางอิงหรืออัตราดอกเบี้ยตางประเทศอางอิง (แลวแตกรณี) เกินกวา รอยละ 10 (อัตราดอกเบี้ยในประเทศอางอิงหมายถึง อัตราดอกเบี้ยโดยเฉลี่ยของอัตราดอกเบี้ย ลูกคาชั้นดีของธนาคารกรุงเทพ ธนาคารกรุงไทย ธนาคารกสิกรไทย และธนาคารไทยพาณิชย ที่ ใชในการปรับเพดานอัตราคาโดยสารสูงสุดที่อาจเรียกเก็บไดครั้งหลังสุด และอัตราดอกเบี้ย ตางประเทศอางอิง หมายถึง อัตราดอกเบี้ยสําหรับการกูเงินระหวางธนาคารในตลาดเงินใน กรุงลอนดอน (LIBOR) ที่ใชในการปรับเพดานอัตราคาโดยสารสูงสุดที่อาจเรียกเก็บไดครั้งหลังสุด) (4) บีทีเอสซีรับภาระคาไฟฟาที่สูงขึ้นหรือลดลงอยางมาก (5) บีทีเอสซีลงทุนเพิ่มขึ้นมากนอกเหนือขอบเขตของงานที่กําหนดไวในสัญญาสัมปทาน (6) บีทีเอสซีมีความเสี่ยงที่เปนขอยกเวน (Exceptional Risk) ตามที่ระบุไวในสัญญาสัมปทานเกิดขึ้น

ทั้งนี้ การปรับเพดานอัตราคาโดยสารสูงสุดที่อาจเรียกเก็บไดในกรณีพิเศษนั้น คูสัญญาตองเห็นชอบดวยกัน ทั้งสองฝาย แตถาไมสามารถตกลงกันไดภายใน 30 วัน คูสัญญาที่ประสงคใหมีการปรับเพดานอัตราคาโดยสารสูงสุดที่ อาจเรียกเก็บไดอาจรองขอใหเสนอเรื่องดังกลาวไปยังคณะกรรมการที่ปรึกษา (Advisory Committee) ใหเปนผูวินิจฉัย คณะกรรมการดังกลาวประกอบดวย กรรมการที่ไดรับแตงตั้งจากบีทีเอสซี 2 ทาน กรรมการที่ไดรับแตงตั้งจากกทม. 2 ทาน (โดยหาก กทม. ไมขัดของ บีทีเอสซีจะดําเนินการใหตัวแทนของกองทุน BTSGIF อยางนอยหนึ่งทานเขา สังเกตการณในการประชุมคณะกรรมการที่ปรึกษาดังกลาว) และกรรมการอิสระที่ไดรับแตงตั้งจากกรรมการทั้ง 4 ทาน ดังกลาว อีก 3 ทาน และหากคณะกรรมการที่ปรึกษาเห็นชอบใหปรับเพดานอัตราคาโดยสารสูงสุดที่อาจเรียกเก็บได แลว แตรัฐบาลมีนโยบายจะตรึงราคาคาโดยสารเพื่อความเหมาะสมแกสภาวการณ บีทีเอสซีจะยังไมสามารถปรับ คาโดยสารที่เรียกเก็บได โดยสัญญาสัมปทานกําหนดใหฝายรัฐบาลจัดมาตรการทดแทนแกบีทีเอสซี ตามความ เหมาะสมแกความเสียหายที่เกิดขึ้นแกบีทีเอสซีในขณะที่ยังไมปรับขึ้นคาโดยสารที่เรียกเก็บ อัตราคาโดยสารในระบบรถไฟฟาขนสงมวลชนกรุงเทพสวนตอขยาย สําหรับเสนทางสวนตอขยายสายสีลมและสวนตอขยายสายสุขุมวิทซึ่งเปนสวนของกทม. โดยบีทีเอสซีรับจาง บริหารใหบริการเดินรถและซอมบํารุงรถไฟฟาภายใตสัญญาใหบริการเดินรถและซอมบํารุงระยะยาว อัตราคาโดยสาร จะเปนไปตามประกาศของกทม. โดยในปจจุบันสถานีที่เปดใหบริการแลวไดแกจากสถานีออนนุชไปแบริ่งและจากสถานี สะพานตากสินไปตลาดพลู และในอนาคตจะเปดใหบริการเพิ่มอีก 2 สถานี คือ สถานีวุฒากาศ และสถานีบางหวา

สวนที่ 1 หนา 53


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

4.1.1.3 จํานวนผูโดยสารและรายไดคาโดยสารจากระบบรถไฟฟาขนสงมวลชนกรุงเทพสายหลัก ตั้งแตระบบรถไฟฟาบีทีเอสเริ่มเปดใหบริการ จํานวนผูโดยสารในระบบรถไฟฟาบีทีเอส และรายไดคาโดยสาร ไดเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง (ตามตารางแสดงขอมูลผูโดยสารที่แสดงไวดานลาง) ในป 2550/51 ซึ่งนับเปนปบัญชีแรกที่จํานวนผูโดยสารมีการปรับตัวลดลงนับแตระบบรถไฟฟาบีทีเอสให บริการตั้งแตป 2542 โดยสวนหนึ่งเปนผลมาจากความไมแนนอนทางการเมือง ซึ่งรวมถึงการทํารัฐประหารในเดือน กั น ยายน 2549 และเหตุ ก ารณ ร ะเบิ ด ในกรุ ง เทพฯ ในช ว งปลายป 2549 จํ า นวนผู โ ดยสารในช ว งป ป ฏิ ทิ น 2550 (มกราคม 2550 ถึงธันวาคม 2550) จึงลดลงจากชวงเวลาเดียวกันในปกอนหนา ทําใหป 2550/51 จํานวนผูโดยสาร ลดลงรอยละ 3.9 อยางไรก็ตาม ในป 2551/52 จํานวนผูโดยสารกลับมาเพิ่มสูงขึ้นอีกครั้ง โดยจํานวนผูโดยสารเพิ่มขึ้นรอยละ 2.1 เมื่อเทียบกับชวงเวลาเดียวกันในป 2550/51 เปนผลมาจากการคลายความกังวลของประชาชนตอสถานการณไม ปกติ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในช ว งก อ นหน า นี้ ประกอบกั บ ตลอดแนวเส น ทางรถไฟฟ า บี ที เ อสยั ง คงมี ก ารพั ฒ นาโครงการ อสังหาริมทรัพยเพิ่มขึ้น สวนในป 2552/53 นั้น จํานวนผูโดยสารเพิ่มขึ้นรอยละ 6.3 จากงวดเดียวกันในป 2551/52 ในป 2553/54 จํานวนผูโดยสารเพิ่มขึ้นรอยละ 0.5 จากงวดเดียวกันของปกอน แมวาบีทีเอสซีไดรับผลกระทบ จากปญหาความไมสงบทางการเมืองภายในประเทศ ทําใหรถไฟฟาตองหยุดเดินรถเปนเวลา 8 วันเต็ม และลดชวงเวลา การใหบริการลงเปนจํานวน 19 วัน หากแยกวิเคราะหงวด 3 เดือน ตั้งแตวันที่ 1 เมษายน 2553 ถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2553 และงวด 9 เดือน ตั้งแตวันที่ 1 กรกฎาคม 2553 ถึง 31 มีนาคม 2554 จะเห็นวาในงวด 3 เดือนสิ้นสุด 30 มิถุนายน 2553 จํานวนผูโดยสารลดลงรอยละ 16.2 จากงวดเดียวกันในปกอน สวนในงวด 9 เดือนสิ้นสุด 31 มีนาคม 2554 เริ่มเขาสูภาวะปกติ โดยจํานวนผูโดยสารเพิ่มขึ้นรอยละ 5.6 จากงวดเดียวกันของปกอน ในป 2554/55 จํานวนผูโดยสารเพิ่มขึ้นรอยละ 21.3 จากงวดเดียวกันของปกอน แมวาจะเกิดอุทกภัยในชวง เดือนตุลาคม – พฤศจิกายน 2554 โดยมีสถานีหมอชิตเพียงแหงเดียวที่ไดรับผลกระทบโดยตรงจากเหตุอุทกภัย ดังกลาว และบีทีเอสซีก็ยังคงสามารถเปดใหบริการตามปกติไดในชวงดังกลาว ในป 2555/56 จํานวนผูโดยสารเพิ่มขึ้นรอยละ 12.0 จากงวดเดียวกันของปกอน โดยมีจํานวนผูโดยสารรวม 197.2 ลานคน คิดเปนจํานวนผูโดยสารเฉลี่ย 603,696 คนตอวันทํางาน ซึ่งสูงที่สุดตั้งแตระบบรถไฟฟาบีทีเอสเปด ใหบริการมา ซึ่งปจจัยหลักที่ทําใหจํานวนผูโดยสารรวมเติบโตขึ้นมาจาก (1) การเติบโตตามธรรมชาติอยางตอเนื่อง ของธุรกิจ (2) ความนิยมในการเดินทางโดยระบบรถไฟฟาที่เพิ่มขึ้นอันเนื่องมาจากการพัฒนาอสังหาริมทรัพยตาม แนวรถไฟฟา (3) การเปดใหบริการเต็มปในสวนตอขยายสายสุขุมวิทออนนุช – แบริ่ง เมื่อเดือนสิงหาคม 2554 และ (4) จํานวนรถไฟฟาที่ใหบริการเพิ่มขึ้น (รถไฟฟาที่ใหบริการในสายสุขุมวิทปรับเปลี่ยนเปนรถไฟฟาแบบ 4 ตูตอขบวน ทั้งหมด)

สวนที่ 1 หนา 54


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ตารางแสดงขอมูลผูโดยสารและอัตราคาโดยสารเฉลี่ยของระบบรถไฟฟาขนสงมวลชนกรุงเทพสายหลัก 2547

2548

105.1 118.5 จํานวนผูโดยสาร (1) (ลานเที่ยวคน) 8.9 12.7 อัตราการเติบโต (รอยละ) 366 365 จํานวนวันที่ใหบริการ (วัน) จํานวนผูโดยสารเฉลี่ยตอวัน 287,140 324,561 (เที่ยวคน/วัน)(1) 8.6 13.0 อัตราการเติบโต (รอยละ) 81.2 91.2 จํานวนผูโดยสารในวันทํางาน (1) (ลานเที่ยวคน) 10.7 12.2 อัตราการเติบโต (รอยละ) 247 246 จํานวนวันทํางาน (วัน) จํานวนผูโดยสารเฉลี่ยตอวัน 328,852 370,547 ทํางาน (เที่ยวคน/วัน)(1) 9.4 12.7 อัตราการเติบโต (รอยละ) 2,293.5 2,573.4 คาโดยสารกอนหักสวนลด ตางๆ (ลานบาท) 8.1 12.2 อัตราการเติบโต (รอยละ) อัตราคาโดยสารเฉลี่ยตอคน 21.82 21.72 (บาทตอเที่ยวคน) (0.8) (0.5) อัตราการเติบโต (รอยละ)

2549

งวดปบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2550 2551 2552 2553

2554

2555

2556

131.9

138.6

145.2

176.0

197.2

133.1

135.9

144.5

11.3 5.1 (3.9) 2.1 6.3 0.5 21.3 12.0 (2) 365 365 366 365 365 357 366 365 (2) 361,335 379,610 363,737 372,438 395,820 406,693 480,996 540,233 11.3 101.2

5.1 104.8

(4.2) 102.0

2.4 104.1

6.3 110.1

2.7(2) 110.5(2)

18.3 132.7

12.3 147.9

11.0 3.5 (2.7) 2.1 5.7 0.4 20.1 11.4 (2) 246 241 246 245 244 238 245 245 (2) 411,437 434,812 414,595 425,076 451,300 464,475 541,701 603,696 11.0 2,817.4

5.7 3,065.8

(4.6) 2.5 3,224.2 3,292.3

6.2 3,488.5

2.7 16.6 11.4 3,547.7 4,300.4 4,903.7

9.5 21.36

8.8 22.13

5.2 24.22

6.0 24.15

1.7 24.44

2.1 24.22

21.2 24.43

14.0 24.87

(1.7) 3.6 9.5 0.0 (0.3) 1.3 0.0 1.8 (1) นับเฉพาะผูโดยสารที่ใชบริการระบบรถไฟฟาขนสงมวลชนกรุงเทพสายหลัก โดยไมรวมผูโดยสารที่เดินทางเฉพาะในสวนตอขยาย (2) ไมนับรวมวันทีป่ ดใหบริการระบบรถไฟฟาขนสงมวลชนกรุงเทพสายหลัก 8 วัน แตนับรวมวันที่ใหบริการแบบจํากัดอีก 19 วันในชวงการชุมนุม ระหวางเดือนเมษายน - พฤษภาคม 2553 ในกรุงเทพมหานคร

ตารางแสดงขอมูลผูโดยสารของระบบรถไฟฟาขนสงมวลชนกรุงเทพสายหลักและสวนตอขยาย งวดปบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2553 2554 2555 2556 จํานวนผูโดยสาร (ลานเที่ยวคน)(1) จํานวนวันที่ใหบริการ (วัน) จํานวนผูโดยสารเฉลี่ยตอวัน (เที่ยวคน/วัน)(1) จํานวนผูโดยสารในวันทํางาน (ลานเที่ยวคน)(1) จํานวนวันทํางาน (วัน) จํานวนผูโดยสารเฉลี่ยตอวันทํางาน (เที่ยวคน/วัน)

144.5 145.2 183.0 202.4 (2) 365 357 366 365 (2) 395,873 406,797 500,085 554,654 (2) 110.1 110.6 137.9 151.9 (2) 244 238 245 245 451,350 464,587(2) 562,930 620,002 (1) นับรวมจํานวนผูโดยสารที่ใชบริการทั้งในระบบรถไฟฟาขนสงมวลชนกรุงเทพสายหลัก และระบบรถไฟฟาขนสงมวลชนกรุงเทพสวนตอขยาย โดย เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2552 เปดใหบริการรถไฟฟาบีทีเอสในสวนตอขยายสายสีลม ตอนที่ 1 จํานวน 2 สถานี ไดแกสถานีกรุงธนบุรี และสถานี วงเวียนใหญ เมื่อวันที่ 12 สิงหาคม 2554 เปดใหบริการรถไฟฟาบีทีเอสในสวนตอสายสุขุมวิท จํานวน 5 สถานี ไดแก สถานีบางจาก สถานีปุณณ วิถี สถานีอุดมสุข สถานีบางนา และสถานีแบริ่ง เมื่อวันที่ 12 มกราคม 2556 และ 14 กุมภาพันธ 2556 เปดใหบริการรถไฟฟาสวนตอขยายสาย สีลม ตอนที่ 2 จํานวน 2 สถานี ไดแก สถานีโพธิ์นิมิตร และสถานีตลาดพลู ตามลําดับ (2) ไมนับรวมวันที่ปดใหบริการระบบรถไฟฟาขนสงมวลชนกรุงเทพสายหลัก 8 วัน แตนับรวมวันที่ใหบริการแบบจํากัดอีก 19 วันในชวงการชุมนุม ระหวางเดือนเมษายน - พฤษภาคม 2553 ในกรุงเทพมหานคร

สวนที่ 1 หนา 55


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

4.1.1.4 ระบบบัตรโดยสารและประเภทของบัตรโดยสาร ระบบจัดเก็บคาโดยสารอัตโนมัติของรถไฟฟาบีทีเอสอยูภายใตการควบคุมของระบบคอมพิวเตอรศูนยกลาง ประกอบดวยอุปกรณประตูอัตโนมัติ ซึ่งสามารถรองรับบัตรโดยสารไดทั้งบัตรแถบแมเหล็ก และบัตรสมารทการดแบบ ไรสัมผัส (Contactless Smartcard) เมื่อผูโดยสารเขาสูระบบ ผูโดยสารตองแสดงบัตรโดยสารที่เครื่องอานบัตร ระบบจะ บันทึกสถานีและเวลาที่ผูโดยสารเขาสูระบบ โดยบันทึกเปนรายการเพื่อสงเขาระบบบัญชีและระบบขอมูลสารสนเทศ ดานการดําเนินงานทันที ขอมูลการใชบัตรโดยสารแบบเติมเงินจะถูกเก็บไวในคอมพิวเตอรศูนยกลางของระบบ เพื่อให สามารถระงับเหตุการณผิดปกติไดทันทวงที เชน การปลอมแปลงบัตรหรือการนําบัตรโดยสารแบบเติมเงินไปใชในทาง ที่ผิด ณ ปจจุบัน บีทีเอสซีมีประเภทของบัตรโดยสารดังตอไปนี้

ประเภทบัตร บัตรประเภทเที่ยวเดียว (Single Journey Ticket) คาโดยสารแตกตางกันตามจํานวนสถานีโดยคา โดยสารอยูระหวาง 15-40 บาท บัตรประเภทเติมเงิน บัตรประเภท 30 วัน (30 Day Smart Pass) สําหรับบุคคลทั่วไป บัตรมีการกําหนดจํานวนเที่ยวที่ สามารถใชไดโดยไมจํากัดระยะทาง อายุการใชงาน 30 วัน บัตรประเภท 30 วัน (30 Day Smart Pass) สําหรับนักเรียน นักศึกษา บัตรมีการกําหนดจํานวนเที่ยว ที่สามารถใชไดโดยไมจํากัดระยะทาง อายุการใชงาน 30 วัน บัตรประเภท 1 วัน (One Day Pass) เปนบัตรโดยสารไมจํากัดเที่ยวการเดินทางใน 1 วัน

ป 2555/56 สัดสวนรายได (รอยละ) 49.88 16.79 25.51 6.27 1.55

ตั้งแตวันที่ 1 พฤษภาคม 2555 บีเอสเอสซึ่งเปนบริษัทยอยของบีทีเอสซี ไดเริ่มเปดใหบริการบัตร rabbit ใน เชิงพาณิชย โดยบัตรดังกลาวเปนบัตรสมารทการด ซึ่งผูถือบัตรสามารถใชบัตรดังกลาวเพื่อชําระคาโดยสารสําหรับ ระบบขนสงมวลชนรูปแบบตางๆ ซึ่งขณะนี้สามารถใชไดกับรถไฟฟาบีทีเอสและรถโดยสารดวนพิเศษ BRT และใน อนาคตจะสามารถใชกับเครือขายระบบขนสงมวลชนอื่นๆ เชน รถไฟฟาใตดิน MRT และบัตรนี้สามารถใชชําระ คาบริการหรือคาสินคาในรานคาที่รวมรับบัตร ผูถือบัตรสามารถใชมูลคาเงินในบัตรเดินทางหรือซื้อบัตรโดยสารประเภท 30 วันได ทั้งนี้ บีทีเอสซีมีแผนที่จะสงเสริมใหลูกคาที่ใชบัตรสมารทการดหรือบัตรแถบแมเหล็กเดิมเปลี่ยนมาใชบัตร rabbit และชักชวนผูถือบัตรใหมใหสมัครใชบัตร rabbit โดยการจัดทํารายการสะสมคะแนน “แครอท รีวอรดส (Carrot Rewards)” ผูถือบัตร rabbit จะไดรับคะแนนสะสมแครอท รีวอรดส เมื่อใชบัตร rabbit ชําระคาโดยสารรถไฟฟาบีทีเอส หรือรถโดยสารดวนพิเศษ BRT หรือเมื่อใชบัตร rabbit ในการซื้อสินคาหรือบริการจากรานคาที่รวมรับบัตร ทั้งนี้ ผูถือ บัตรมีสิทธินําคะแนนสะสมมาแลกเปนเงินเพื่อเติมบัตร rabbit แทนเงินสดหรือแลกเปนบัตรกํานัลเพื่อใชกับรานคาที่ รวมรับบัตร โดยบีทีเอสซีใชอุปกรณที่มีอยูเดิมและซอฟตแวรที่ไดรับการปรับปรุงในการอานขอมูลในบัตรโดยสารของ ระบบขนสงมวลชนทั้งสองระบบนี้ 4.1.1.5 โครงสรางรางรถไฟ (Trackwork) และสะพานทางวิ่ง (Viaduct) รถไฟฟาบีทีเอสวิ่งอยูบนรางคูยกระดับสูงประมาณ 12 เมตรเหนือพื้นถนน ยกเวนสถานีสะพานตากสินซึ่งเปน สถานีเดียวที่มีรางรถไฟฟารางเดี่ยว รางรถไฟวางอยูบนหมอนรับรางที่เปนคอนกรีตซึ่งหลออยูบนสะพานทางวิ่ง สวนที่ 1 หนา 56


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

(Viaduct) ซึ่งรองรับดวยเสาโครงสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก โดยเสาแตละตนนั้น ตั้งอยูบนเสาเข็มลึกประมาณ 55 เมตร มีรางที่สามวางขนานกับทางวิ่งรถไฟฟาเพื่อจายไฟฟาใหขบวนรถ ตัวรางจายกระแสไฟฟานั้นทําจากเหล็กปลอดสนิม และอลูมิเนียม ปดครอบดวยโลหะอีกชั้นหนึ่งเพื่อความปลอดภัย แมวาจะทําใหเกิดคาใชจายในการดําเนินงานเพิ่มขึ้นก็ ตาม นอกจากนี้ ยังมีการนําระบบรางที่สามมาใชเพื่อประโยชนดานความสวยงามอีกดวย หมอนรับรางทําจากคอนกรีต หลอและตั้งขึ้นดวยเสาค้ําและวางเขาล็อคกัน ระยะหางระหวางกันประมาณ 35 เมตร หรือมากกวาสําหรับเสาที่อยู บริเวณทางแยก ทั้งนี้ เพื่อความปลอดภัยของผูโดยสารและการดําเนินการ 4.1.1.6 ขบวนรถไฟฟา (Rolling Stock) ในเริ่มแรก บีทีเอสซีมีขบวนรถไฟฟาทั้งสิ้น 35 ขบวน โดยขบวนรถไฟฟาทั้งหมดผลิตโดยซีเมนสซึ่งออกแบบ ใหใชงานกับสภาวะของกรุงเทพมหานครโดยเฉพาะ ปจจุบันขบวนรถไฟฟา 1 ขบวน ประกอบดวยตูโดยสารจํานวน 3 ตู แตละขบวนสามารถรับผูโดยสารไดสูงสุด 1,106 คน แบงเปนผูโดยสารนั่ง 126 คน และผูโดยสารยืน 980 คน ชาน ชาลาสถานีรถไฟฟาบีทีเอสสามารถรองรับขบวนรถไฟฟาที่มีตูโดยสารถึง 6 ตูตอขบวน ขบวนรถไฟฟาใชมอเตอร ไฟฟากระแสสลับในการขับเคลื่อน โดยจะรับกระแสไฟฟาตรงจากรางที่สาม (Third Rail System) และสามารถ ขับเคลื่อนดวยความเร็วสูงสุด 80 กิโลเมตรตอชั่วโมง รถไฟฟามีความเร็วเฉลี่ยในการใหบริการรวมเวลาจอดรับ-สง ผูโดยสารอยูที่ประมาณ 35 กิโลเมตรตอชั่วโมง ตูโดยสารทุกตูติดตั้งที่นั่งจํานวน 42 ที่นั่งตามแนวยาวของขบวน รถไฟฟาและเครื่องปรับอากาศ 2 เครื่อง ตูโดยสารเชื่อมตอกันดวยทางเดินภายในขบวนรถ เพื่อใหผูโดยสารสามารถ เดินระหวางขบวนรถไฟฟาได ลอของขบวนรถจะมีชั้นของยางอยูระหวางขอบลอกับแกนลอ ซึ่งจะเพิ่มประสิทธิภาพใน การขับเคลื่อนและชวยลดระดับเสียงไปไดอยางมีนัยสําคัญ รถไฟฟาทุกขบวนนั้นควบคุมดวยพนักงานขับรถ 1 คน ซึ่งสามารถเลือกบังคับรถดวยระบบขับเคลื่อน อัตโนมัติ (Automatic Train Operation: ATO) หรือระบบควบคุมดวยพนักงานขับรถ (Supervised Manual: SM) ระบบ ATO จะควบคุมการเดินรถโดยอัตโนมัติ และสามารถที่จะบํารุงรักษาไดตามตารางที่กําหนด ทั้งนี้ เวนแตจะมี ปญหาเกิดขึ้น ภายใตระบบนี้ พนักงานขับรถมีหนาที่เพียงควบคุมการปดประตูและสั่งการออกรถ ระบบ ATO ทําให รถไฟฟาสามารถขับเคลื่อนไดหลายรูปแบบ ในชั่วโมงเรงดวนระบบ ATO จะปรับรูปแบบการวิ่งเพื่อใหสามารถรองรับ ปริมาณผูโดยสารไดสูงสุด ในขณะที่นอกเวลาเรงดวนระบบ ATO จะปรับรูปแบบการวิ่งเพื่อลดการใชพลังงาน สวน ระบบ SM พนักงานขับรถจะมีหนาที่ควบคุมดูแลการทํางานของรถไฟฟาโดยตลอด และหากจําเปน ระบบปองกัน รถไฟฟาอัตโนมัติ (Automatic Train Protection: ATP) จะเขามาควบคุมรถ โดยระบบ ATP จะควบคุมความปลอดภัย ของการขับเคลื่อนทั้งแบบ ATO และ SM และในกรณีที่พนักงานขับรถอยางไมปลอดภัย ระบบ ATP จะเขาควบคุมรถ และสั่งหยุดรถไฟฟาโดยอัตโนมัติ นอกจากนี้ ระบบ ATP ยังกํากับดูแลใหเกิดความปลอดภัยระหวางขบวนรถ ตลอดเวลา ในกรณีฉุกเฉิน รถไฟฟาจะถูกควบคุมดวยระบบขับเคลื่อนอยางจํากัด (Restricted Manual: RM) ซึ่งภายใต ระบบนี้ ความเร็วของรถไฟฟาจะถูกจํากัดที่ไมเกิน 35 กิโลเมตรตอชั่วโมง เพื่อรองรับจํานวนผูโดยสารที่เพิ่มขึ้น และรองรับผูโดยสารในสวนตอขยายสายสีลม ตอนที่ 1 ซึ่งมีระยะทาง 2.2 กิโลเมตรจากสะพานตากสินถึงวงเวียนใหญ ที่เริ่มเปดใหบริการในป 2552 บีทีเอสซีไดทําการสั่งซื้อขบวนรถไฟฟา เพิ่มเติมอีก 12 ขบวน ขบวนละ 4 ตู รวมจํานวน 48 ตูโดยสาร จากซีอารซี โดยเริ่มใหบริการในปลายเดือนกุมภาพันธ 2554 ซึ่งแตละขบวนรถไฟฟาจะมี 4 ตูโดยสาร สามารถบรรทุกผูโดยสารไดจํานวนสูงสุด 1,490 คน โดยแบงเปน ผูโดยสารนั่งจํานวน 168 คน และผูโดยสารยืนจํานวน 1,322 คน ซึ่งคุณลักษณะอื่นๆ ทั้งหมดของขบวนรถไฟฟานี้ คลายคลึงกับขบวนรถไฟฟาจากซีเมนสที่บีทีเอสซีมีอยู

สวนที่ 1 หนา 57


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

นอกจากนี้เพื่อเปนการรองรับแผนการขยายกิจการของบีทีเอสซี อีกทั้งเปนการรองรับจํานวนผูโดยสารที่ เพิ่มขึ้น 

เมื่ อ เดื อ นกั น ยายน 2553 บี ที เ อสซี ไ ด ล งนามสั ญ ญาซื้ อ ตู โ ดยสารเพิ่ ม เติ ม อี ก จํ า นวน 35 ตู จาก ซีเมนส เพื่อเพิ่มตูโดยสารของรถไฟฟา 35 ขบวนเดิมใหเปนแบบขบวนละ 4 ตู โดยบีทีเอสซีเริ่มรับมอบ ตูโดยสารใหมนี้ในเดือนสิงหาคม 2555 ตูโดยสารที่สั่งซื้อใหมนี้มีราคารวมทั้งสิ้น 43.2 ลานยูโร และ 81.9 ล า นบาท ณ วั น ที่ 31 มี น าคม 2556 บี ที เ อสซี ไ ด ชํ า ระค า ตู โ ดยสารรวมทั้ ง สิ้ น 36.4 ล า น ยูโร และ 75.1 ลานบาท และจะมีการจายเงินสวนที่เหลือภายในเดือนกุมภาพันธ 2557 โดยบีทีเอสซี ไดรับมอบตูโดยสารครบทั้งจํานวน 35 ตู แลวในเดือนพฤษภาคม 2556 โดยปจจุบันรถไฟฟาที่ ใหบริการไดปรับเปลี่ยนเปนแบบ 4 ตูตอขบวนแลว

เมื่อเดือนตุลาคม 2554 บีทีเอสซีไดลงนามสัญญาซื้อขบวนรถไฟฟาจํานวน 5 ขบวน ขบวนละ 4 ตู โดยสารเพิ่มเติมจากซีอารซีเพื่อสนับสนุนการดําเนินงานสวนตอขยายสายสีลม ราคาของขบวนรถใหม ทั้งหมดคิดเปนเงิน 14.2 ลานยูโร และ 110.3 ลานเรนมินบิ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2556 บีทีเอสซีไดชําระ คาตูโดยสารรวมทั้งสิ้น 11.4 ลานยูโร และจะมีการจายเงินสวนที่เหลือภายเดือนกุมภาพันธ 2557 โดยบีทีเอสซีคาดวาจะไดรับรถไฟฟาขบวนใหมนี้ภายในสิ้นป 2556

4.1.1.7 สถานีรถไฟฟา ระบบรถไฟฟาขนสงมวลชนกรุงเทพสายหลัก มีสถานียกระดับรวม 23 สถานี โดยมีสถานีเชื่อมตอหรือ สถานีกลางที่สถานีสยาม เมื่อรวมสถานีของสวนตอขยายซึ่งประกอบดวยสวนตอขยายสายสีลม ตอนที่ 1 จํานวน 2 สถานี สวนตอขยายสายสุขุมวิทจํานวน 5 สถานี และสวนตอขยายสายสีลม ตอนที่ 2 จํานวน 2 สถานี แลว จะมีสถานี ยกระดับรวมทั้งสิ้น 32 สถานี โดยทั่วไป สถานีแตละแหงจะมีความยาว 150 เมตร โดยสถานีกลางมีชานชาลาระหวาง รางรถไฟฟาทําใหผูโดยสารสามารถเปลี่ยนเสนทางจากสายหนึ่งไปอีกสายหนึ่งได สถานีร ะบบรถไฟฟา ขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลัก สวนใหญไดรับการออกแบบใหอยูเหนือพื้นดิน เพื่อ หลีกเลี่ยงสิ่งกอสรางบนพื้นถนน และไมทําใหจราจรติดขัด โดยรางรถไฟฟายกระดับ และสถานีเกือบทั้งหมดไดรับการ ออกแบบใหมีโครงสรางแบบเสาเดียว โครงสรางของสถานีแบงออกเปน 3 ชั้น ดวยกันคือ 

ชั้นพื้นถนน เปนชั้นลางสุดของสถานีอยูระดับเดียวกับพื้นถนน ซึ่งเปนทางเขาสูบริเวณสําหรับผูโดยสาร โดยมีทั้งบันได บันไดเลื่อน และลิฟท (บางสถานี) นําผูโดยสารขึ้นไปยังชั้นจําหนายบัตรโดยสาร นอกจากนี้ ยังเปนที่เก็บอุปกรณตางๆ ไดแก เครื่องกําเนิดไฟฟา ถังเก็บน้ํามันเชื้อเพลิง ปมการสงจายน้ํา และถังเก็บน้ํา เปนตน ชั้นจําหนายบัตรโดยสาร อยูสูงกวาระดับพื้นถนน และเปนสวนที่นําผูโดยสารไปยังชั้นชานชาลา โดยชั้น จําหนายบัตรโดยสารนี้จะแบงออกเปนสวนสาธารณะสําหรับผูโดยสารที่ยังไมเขาสูระบบผานประตูกั้น และพื้นที่ชั้นในสําหรับผูโดยสารทั้งหมดที่ไดเขาสูระบบแลว โดยพื้นที่สวนสาธารณะจะมีที่จําหนายบัตร ประเภทเติมเงิน เครื่องจําหนายบัตรโดยสารอัตโนมัติ และประตูกั้น อีกทั้งสิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ ไดแก รานขายหนังสือ รานคาเล็กๆ ตูเอทีเอ็ม รานขายอาหารเล็กๆ ชนิดนํากลับบาน ซึ่งบริเวณนี้เปน พื้นที่สําหรับผูโดยสารที่ยังไมไดชําระคาโดยสาร เมื่อผูโดยสารชําระคาโดยสารแลว จึงจะสามารถเขาสู สวนที่ 1 หนา 58


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

พื้นที่ชั้นในเพื่อไปยังบันไดและ/หรือบันไดเลื่อนที่นําไปสูชานชาลาชั้นบน รวมถึงพื้นที่หวงหามที่เขาได เฉพาะพนักงานของบีทีเอสซีเทานั้น 

ชั้นชานชาลา เปนชั้นที่สูงที่สุด ทุกสถานีจะมีหลังคาและมีชานชาลาอยูดานขาง และมีรางรถไฟฟาอยู ตรงกลาง ยกเวนสถานีสยาม ซึ่งจะมีชานชาลา 2 ชั้น โดยแตละชั้น ชานชาลาจะอยูตรงกลางระหวางราง รถไฟฟาสองราง เพื่อใหผูโดยสารสามารถเปลี่ยนเสนทางโดยสารระหวางสายสีลมและสายสุขุมวิทได

เพื่อความสะดวกของผูโดยสารที่เปนผูพิการ กทม. ไดจัดสรางลิฟตในสถานี 5 แหง ไดแก สถานีหมอชิต สถานีสยาม สถานีอโศก สถานีออนนุช และสถานีชองนนทรี โดยมีเจาหนาที่ของบีทีเอสซีคอยใหความชวยเหลือ บีทีเอสซีมีหนาที่ในการดูแลรักษาลิฟตดังกลาว กทม. อยูในระหวางการพิจารณาติดตั้งลิฟทเพิ่มเติมใหครบทุกสถานี โดยกทม.หรือ กรุงเทพธนาคมจะเปนผูรับผิดชอบตนทุนในการกอสรางลิฟทดังกลาว และบีทีเอสซีจะเปนผูรับผิดชอบ คาใชจายในการบํารุงรักษา ซึ่งคาใชจายในการบํารุงรักษาดังกลาวเฉพาะในสวนที่เกี่ยวกับระบบรถไฟฟา ขนสง มวลชนกรุงเทพสายหลักถือเปนสวนหนึ่งของคาใชจาย O&M ตามสัญญาซื้อและโอนสิทธิรายไดสุทธิ สถานีรถไฟฟาทุกสถานีไดติดตั้งระบบเตือน ปองกัน และระงับอัคคีภัย โดยเฉพาะสวนของอาคารที่มีความ เสี่ยงตออัคคีภัยสูง เชน หองเครื่องนั้น มีการติดตั้งระบบดับเพลิงอัตโนมัติดวยการฉีดน้ํา (Sprinkler System) หรือแบบ ใชกาซคารบอนไดออกไซด สถานีทั้งหมดไดติดตั้งเครื่องกําเนิดไฟฟาสํารองอยูภายในสถานี นอกจากนี้ ประมาณ ครึ่งหนึ่งของสถานีทั้งหมดจะมีสถานีรับไฟฟาเพื่อจายใหกับรางที่สาม (Third Rail) เพื่อใชเปนพลังงานในการขับเคลื่อน รถไฟฟาอีกดวย ในแตละสถานีจะมีนายสถานีซึ่งมีหนาที่ดูแลใหระบบดําเนินงานดวยความปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ โดยจะติดตามขอมูลจากโทรทัศนวงจรปด และสามารถติดตอสื่อสารกับผูโดยสารและผูควบคุมเสนทาง บีทีเ อสซีเ ล็ง เห็น ความสํา คัญ ในการรณรงคใ หนัก ทอ งเที่ย วมาใชบ ริก ารระบบรถไฟฟา ขนสง มวลชน กรุง เทพสายหลักสํา หรับ การเดินทางในกรุง เทพมหานคร ดัง นั้น ทางบีทีเอสซีจึงไดใหบริการศูนยขอมูลสํา หรับ นัก ทอ งเที่ย วที่ส ถานีส ยาม สถานีพ ญาไท และสถานีสะพานตากสิน โดยนักทองเที่ยวสามารถขอบริการขอมูล เกี่ยวกับสถานที่ทองเที่ยว และการเดินทางในกรุงเทพมหานคร บริการของศูนยขอมูลสําหรับนักทองเที่ยวนั้นรวมไปถึง บริการจําหนายตั๋วลองเรือในแมน้ําเจาพระยา บริการโทรศัพททางไกล บริการอินเตอรเน็ต และการจําหนายสินคาที่ ระลึก โดยศูนยขอมูลสําหรับนักทองเที่ยวนั้นจะเปดทําการทุกวันตั้งแต 8.00 น. ถึง 20.00 น. สถานีตางๆ ของบีทีเอสซีมีการเชื่อมตอทางเดินเขาสูอาคารตางๆ ในแนวทางเดินรถไฟฟา ไมวาจะเปน โรงแรม ศูนยการคา สถานีรถไฟฟาใตดิน MRT และศูนยธุรกิจ โดยบีทีเอสซีไดรับคาตอบแทนจากการอนุญาตให เชื่อมตอระหวางทางเชื่อมกับระบบรถไฟฟาขนสงมวลชนกรุงเทพสายหลักจากเจาของอาคารที่ทําการเชื่อมตอกับระบบ รถไฟฟาขนสงมวลชนกรุงเทพสายหลักนั้น โดยเจาของอาคารจะเปนผูออกคาใชจายกอสรางและการดูแลรักษาทาง เชื่อม ทั้งนี้ สัญญาสัมปทานไมครอบคลุมทางเชื่อมเหลานี้ และ กทม. มีนโยบายไมใหมีการจัดหาประโยชนเชิงพาณิชย ซึ่งรวมถึงการใหเชาที่โฆษณาและทําการคาขาย บนทางเชื่อมดังกลาว ตัวอยางทางเชื่อมที่สําคัญ เชน สถานี หมอชิต อนุสาวรียชัย สมรภูมิ

ศูนยการคา หางแฟชั่นมอลล เซ็นจูรี่ มูวี่พลาซา

โรงแรม -

สวนที่ 1 หนา 59

อาคาร และ อื่นๆ สถานีรถไฟฟาใตดิน MRT อาคารอุทุมพร


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน) สถานี พญาไท ราชเทวี สยาม

ชิดลม เพลินจิต

ศูนยการคา สยามเซ็นเตอร เซ็นทรัลเวิลด สยามพารากอน ดิจิตอลเกตเวย เซ็นทรัล ชิดลม เกษรพลาซา อัมรินทรพลาซา -

อโศก

หางเทอรมินัล 21 หางโรบินสัน

พรอมพงษ ทองหลอ ออนนุช ราชดําริ ชองนนทรี

ดิ เอ็มโพเรี่ยม เทสโกโลตัส สาขาออนนุช -

ศาลาแดง

สีลมคอมเพล็กซ

สุรศักดิ์

-

สนามกีฬาแหงชาติ เอกมัย

มาบุญครอง (MBK) เมเจอรซีเนเพล็กซ

แบบ 56-1 ป 2555/56 โรงแรม

โรงแรมเอเชีย -

อาคาร และ อื่นๆ แอรพอรตลิงค -

โรงแรมแกรนดไฮแอท เอราวัณ

มณียาเซ็นเตอร

-

อาคารปารค เวนเชอร อีโคเพล็กซ อาคารเวฟเพลส โรงแรมเชอราตันแกรนด สุขุมวิท สถานีรถไฟฟาใตดิน MRT อาคารไทมแสควรเอ็กซเชนจ ทาวเวอร อาคารอินเตอรเชนจ 21 โนเบิล รีมิกซ โรงแรมเซ็นตรีจิส อาคารสาธรสแควร อาคารสาธรนครทาวเวอร อาคารธนิยะพลาซา สถานีรถไฟฟาใตดิน MRT โรงแรมอีสติน แกรนด สาทร กรุงเทพฯ -

หอศิลปกรุงเทพฯ อาคารนุสาสิริ

นอกจากนี้ รถไฟฟาบีทีเอสยังมีการเชื่อมตอกับระบบรถไฟฟาใตดิน MRT ที่บริเวณ 3 สถานี ไดแก สถานี หมอชิต อโศก และศาลาแดง เชื่อมตอกับรถไฟแอรพอรตเรลลิ้งคที่สถานีพญาไท และเชื่อมตอกับรถโดยสารดวนพิเศษ BRT ที่สถานีชองนนทรี กทม. อยูระหวางการพิจารณาที่จะเพิ่มรางรถไฟรางที่สองที่สถานีสะพานตากสิน ซึ่งแรกเริ่มประสงคที่จะให เปนสถานีชั่วคราวจนกวาสวนตอขยายสายสีสมจะเปดใหบริการโดยสมบูรณ ทั้งนี้ ตั้งแตระบบรถไฟฟาขนสงมวลชน กรุงเทพสายหลักเริ่มเปดใหบริการมา สถานีรถไฟฟาสะพานตากสินเปนสถานีที่มีรางรถไฟเดี่ยวเนื่องจากมีพื้นที่ที่ จํากัด และเมื่อมีการเปดใหบริการสวนตอขยายสายสีลม ตอนที่ 2 จํานวน 2 สถานีในเดือนมกราคม และกุมภาพันธ 2556 และจะเปดใหบริการอีก 2 สถานีในชวงปลายป 2556 แลว รางเดี่ยวดังกลาวอาจเปนอุปสรรคในการดําเนินงาน ของบีทีเอสซีในการใหบริการรถไฟฟาที่ถี่ยิ่งขึ้น นอกจากนี้ รายงานขา วระบุ วา กทม. ไดข ออนุญ าตกรมทางหลวงชนบทในเบื้องตน ในการขยายสถานี รถไฟฟาสะพานตากสินเพื่อใหมีพื้นที่ในการเพิ่มรางรถไฟและขยายสถานี แต กทม. ยังมิไดรับอนุญาต หรืออาจไมได รับอนุญาต ดัง นั้น กทม. จึงอาจจําต องทําการรื้อถอนสถานีสะพานตากสิน เพื่อใชพื้นที่ของสถานี สะพานตากสิน สวนที่ 1 หนา 60


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ดังกลาวสําหรับรางที่สอง และกอสรางทางเดินเลื่อนอัตโนมัติ (travelator) ระหวางสถานีสุรศักดิ์ ถึง สถานีสะพาน ตากสิน เพื่ออํานวยสะดวกสบายใหแกผูโดยสารซึ่งจะตองขึ้นรถไฟฟาที่สถานีรถไฟฟาสุรศักดิ์ ทั้งนี้ บีทีเอสซียังไมได รับหนังสือแจงจาก กทม. เกี่ยวกับการปดใหบริการสถานีรถไฟฟาสะพานตากสิน หรือกําหนดการเกี่ยวกับการปด ใหบริการดังกลาว 4.1.1.8 กระแสไฟฟา ระบบรถไฟฟาบีทีเอสรับกระแสไฟฟาจากการไฟฟานครหลวง (กฟน.) จากสถานีจายกระแสไฟฟา 2 แหง คือ ที่สถานีหมอชิตและที่ซอยไผสิงหโต ระบบรถไฟฟาบีทีเอสไดรับการออกแบบใหสามารถใชกระแสไฟฟาจากทั้ง 2 สถานี หรือจากสถานีใดสถานีหนึ่งก็ได เพื่อใหระบบสามารถใหบริการไดหากสถานีจายกระแสไฟฟาสถานีใดสถานีหนึ่ง ไมสามารถจายกระแสไฟฟาได ตั้งแตบีทีเอสซีไดเปดใหบริการเดินรถอยางเปนทางการในเดือนธันวาคม 2542 นั้น บีทีเอสซีไมเคยตองหยุดเดินรถเนื่องจากสถานีจายกระแสไฟฟาไมสามารถจายไฟได และไมเคยมีเหตุการณที่ทั้ง 2 สถานีไมสามารถจายไฟไดในเวลาเดียวกันเกิดขึ้น นอกจากนี้ บีทีเอสซีใชเทคโนโลยีซึ่งเมื่อรถไฟฟาเบรก จะสามารถ สรางกระแสไฟฟาเพื่อนํากลับมาสูระบบเพื่อใชในรถไฟฟาขบวนอื่นไดตอไป นับเปนอีกทางหนึ่งที่เปนการลดการใช ไฟฟาในระบบ หากเกิดไฟฟาดับหรือการไฟฟานครหลวง (กฟน.) ไมสามารถจายไฟฟาไดนั้น ระบบไฟฟาสํารองจะ ทํางานทันที ซึ่งระบบไฟฟาสํารองนั้นไดถูกติดตั้งไวเพื่อปองกันการสูญเสียขอมูลอิเล็กทรอนิกสที่สําคัญ ลดระยะเวลา ในการกลับสูสภาพการใหบริการปกติและสรางความมั่นใจตอความปลอดภัยของผูโดยสาร 4.1.1.9 ศูนยควบคุมการเดินรถไฟฟา ระบบรถไฟฟาบีทีเอสถูกควบคุมจากศูนยกลางซึ่งอยูที่สํานักงานใหญของบีทีเอสซี บริเวณหมอชิต โดยมี เจาหนาที่ควบคุมการเดินรถไฟฟาประจําการอยูตลอด 24 ชั่วโมง ซึ่งเจาหนาที่แตละคนจะมีเครื่องมือควบคุมการเดิน รถไฟฟา คือ แผงควบคุมคอมพิวเตอรและจอภาพควบคุม ศูนยควบคุมนี้มีหนาที่ในการควบคุมดูแลการเดินรถไฟฟา ใหเปนไปตามกําหนดการเดินรถไฟฟาในแตละวันและควบคุมการเดินรถไฟฟาใหเปนไปตามเสนทางที่กําหนด ศูนยควบคุมจะกําหนดระยะหางของขบวนรถไฟฟาในระบบใหมีระยะหางที่อยูในระยะปลอดภัยตลอดเวลา โดยที่ศูนยควบคุมนี้จะมีจอภาพจากระบบโทรทัศนวงจรปดที่แสดงใหเห็นถึงตําแหนงของรถไฟฟาในระบบทั้งหมด ทํา ใหบีทีเอสซีสามารถควบคุมระบบรถไฟฟาบีทีเอสอยางมีประสิทธิภาพไดตลอดเวลา นอกจากนี้ ศูนยควบคุมยังมีวิทยุ สื่อสารเพื่อใชติดตอระหวางศูนยควบคุมกับพนักงานขับรถไฟฟาในแตละขบวน และติดตอระหวางศูนยควบคุมกับ นายสถานีแตละสถานีได ดังนั้น ศูนยควบคุมนี้จึงเปนศูนยกลางในการประสานงานเพื่อแกไขปญหาที่เกิดขึ้นในระบบได เปนอยางดี 4.1.1.10 ระบบอาณัติสัญญาณ (Signaling System) ระบบอาณั ติ สั ญ ญาณได ถู ก ออกแบบเพื่ อ ให ร ะบบรถไฟฟ า มี ค วามปลอดภั ย และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการ ดําเนินงาน ระบบอาณัติสัญญาณจะอาศัยเครือขาย Internet Protocol - Based Network และสงสัญญาณควบคุมผาน รางรถไฟฟาไปยังรถไฟฟา และแลกเปลี่ยนขอมูลกันทั้ง 2 ทิศทาง โดยขอมูลจะถูกเชื่อมตอและสงไปยังสถานี นอกจากนี้ยังมีการใชระบบใยแกวในการถายทอดขอมูลที่เกี่ยวของกับการเดินรถไปสูศูนยควบคุมการเดินรถไฟฟา ระบบอาณัติสัญญาณมีคุณสมบัติปองกันเหตุขัดของ (fail-safe) และระบบสํารอง (hot standby) โดยหากเกิด เหตุขัดของ รถไฟฟาจะยังคงสามารถปฏิบัติงานตอไปไดในทิศทางหรือเสนทางใดเสนทางหนึ่งไดอยางปลอดภัยดวย ความเร็วระดับปกติ สวนที่ 1 หนา 61


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ในเดือนกุมภาพันธ 2550 บีทีเอสซีไดลงนามในสัญญากับกลุมบริษัทบอมบารเดียร เพื่อปรับเปลี่ยนระบบ อาณั ติ สั ญ ญาณเดิ ม ทั้ ง หมดเพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพของระบบรถไฟฟ า ลดค า ซ อ มบํ า รุ ง รั ก ษาของบี ที เ อสซี และ เตรียมพรอมสําหรับเสนทางใหบริการสําหรับการขยายเสนทางในอนาคต ระบบอาณัติสัญญาณใหมเปนระบบการ สื่อสารดวยระบบคอมพิวเตอรซึ่งไดติดตั้งไปเมื่อเดือนกรกฎาคม และเดือนสิงหาคม 2554 ระบบอาณัติสัญญาณใหมยัง ทําใหมีความยืดหยุนในการตั้งหองควบคุมระยะไกลชั่วคราว (remote access temporary control room) ในกรณีที่ หองควบคุมกลางเกิดความขัดของ ทั้งนี้ ภายใตสัญญาดังกลาว กลุมบริษัทบอมบารเดียรจะตองใหการสนับสนุนทาง เทคนิคและการฝกอบรมแกบีทีเอสซี และเพื่อลดการพึ่งพาบริการจากบุคคลภายนอก บีทีเอสซีตั้งใจที่จะเปนผูดูแล รักษาและซอมบํารุงรักษาระบบดังกลาวเองตอไปภายหลังหมดระยะเวลารับประกัน 104 สัปดาห การติดตั้งระบบอาณัติ สัญญาณนี้ชวยลดระยะเวลาระหวางขบวนรถไฟฟาต่ําสุดจาก 2 นาทีเหลือ 1 นาทีครึ่ง และบีทีเอสซีคาดวาระบบ ดังกลาวจะทําใหบีทีเอสซีสามารถควบคุมการใชพลังงานไดดีขึ้น ทั้งนี้ โครงการปรับเปลี่ยนระบบอาณัติสัญญาณใช งบประมาณรวมทั้งสิ้น 16.9 ลานยูโร และ 583.7 ลานบาท ซึ่งบีทีเอสซีไดชําระครบถวนแลว โดยมีการใชระบบอาณัติ สัญญาณใหมทั้งในสายสีลมและสายสุขุมวิท 4.1.1.11 ระบบสื่อสาร (Communication System) ระบบรถไฟฟาบีทีเอสมีระบบสื่อสารที่ซับซอน ซึ่งติดตอผานโทรศัพท วิทยุ อินเตอรคอม ระบบโทรทัศนวงจร ปด และระบบกระจายเสียงสาธารณะ การสื่อสารหลักจะกระทําผานระบบใยแกวนําแสงโดยจะมีโทรศัพทติดตั้งอยูใน บริเวณสําคัญทุกจุด และจะมีอินเตอรคอมในรถไฟฟาเพื่อใหผูโดยสารสามารถติดตอกับพนักงานขับรถไดในกรณีฉุกเฉิน สําหรับระบบกระจายเสียงสาธารณะสามารถทําไดจากสถานีควบคุมถึงชานชาลา และจากพนักงานขับรถถึงผูโดยสาร 4.1.1.12 ระบบความปลอดภัยและการรักษาความปลอดภัย บีทีเอสซีเชื่อวาระบบรถไฟฟาบีทีเอสเปนระบบการขนสงมวลชนที่ปลอดภัยที่สุดระบบหนึ่งของโลก โดย บี ที เ อสซี ไ ด รั บ รางวั ล จากองค ก รต า งๆ เช น ประกาศนี ย บั ต รการรั ก ษาความสะอาดและความปลอดภั ย OHSAS 18001:2007 ISO 9001:2008 สําหรับการใหบริการบริหารจัดการ และประกาศนียบัตรสําหรับระบบการบริหารจัดการ ความปลอดภัยจากสถาบัน Lloyd’s Register และนับตั้งแตบีทีเอสซีไดเปดใหบริการเดินรถอยางเปนทางการเมื่อเดือน ธันวาคม 2542 ไมมีอุบัติเหตุที่กอใหเกิดการเสียชีวิตหรือการบาดเจ็บสาหัส บีทีเอสซีตั้งใจเสมอมาในการใชกฎระเบียบ ดานความปลอดภัยที่เครงครัดกับระบบ โดยรถไฟฟาทุกขบวนและสถานีรถไฟฟาทุกสถานีมีการติดตั้งอุปกรณสําหรับ ภาวะฉุ ก เฉิ น นอกจากนี้ บี ที เ อสซี มี คู มื อ ปฏิ บั ติ ก ารเกี่ ย วกั บ กฎระเบี ย บ และแนวทางการปฏิ บั ติ สํ า หรั บ รองรั บ เหตุการณฉุกเฉินใหแกผูโดยสารทุกราย บีทีเอสซีไดทดลองระบบเปนระยะเวลา 6 เดือนกอนเปดใหบริการเดินรถอยาง เปนทางการ เพื่อทดสอบใหแนใจวาไมมีขอบกพรองในระบบความปลอดภัย และตั้งแตบีทีเอสซีไดเปดใหบริการเดินรถ บีทีเอสซีไดจัดใหมีการอบรมพนักงานและซักซอมระบบความปลอดภัยอยางสม่ําเสมอ รถไฟฟาทุกขบวนไดมีการติดตั้งระบบปองกันรถไฟฟาอัตโนมัติ (Automatic Train Protection: ATP) ซึ่งทํา ให แ น ใ จว า ระยะห า งระหว า งขบวนรถไฟฟ า แต ล ะขบวนอยู ใ นระยะที่ ป ลอดภั ย และควบคุ ม ให มี ก ารใช ค วามเร็ ว ที่ เหมาะสมตลอดเวลาที่รถไฟฟาปฏิบัติการ นอกจากนี้ ประตูอัตโนมัติของรถไฟฟามีระบบปองกันมิใหผูโดยสารไดรับ บาดเจ็บ ในเหตุการณฉุกเฉินผูโดยสารสามารถสื่อสารกับพนักงานขับรถผานระบบอินเตอรคอม และยังมีระบบวิทยุจาก ขบวนรถซึ่งสามารถสื่อสารกับศูนยควบคุมกลางไดตลอดเวลา รถไฟฟาทุกขบวนมีอุปกรณดับเพลิงติดตั้งอยู นอกจากนี้ วัสดุหลักที่ใชในรถไฟฟาไดรับการทดสอบแลววาไมติดไฟ ไดรับการออกแบบมาเพื่อปองกันไมใหเกิดการลามของเปลว

สวนที่ 1 หนา 62


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

เพลิง หรือมีควันไฟทั่วรถในกรณีเกิดอัคคีภัย อีกทั้งยังมีทางออกฉุกเฉินจากขบวนรถไฟฟาที่บริเวณสวนตนและทาย ขบวน สถานีรถไฟฟาทุกสถานีไดรับการสรางขึ้นโดยคํานึงถึงความปลอดภัยของผูโดยสารเปนหลัก และไดสรางตาม มาตรฐานความปลอดภัยอยางเครงครัดรวมถึงไดมีการออกแบบใหมีทางออกฉุกเฉิน มีระบบกระจายเสียงสําหรับ ประกาศภาวะฉุกเฉิน ระบบปองกันอัคคีภัยตามมาตรฐาน (National Fire Protection Association: NFPA) และมีการ ติดตั้งสายลอฟา นอกจากนี้ ทุกสถานียังติดตั้งระบบโทรทัศนวงจรปด ระบบควบคุมกลางสําหรับการควบคุมลิฟท และ บันไดเลื่อนในสถานี และระบบควบคุมจากศูนยกลางสามารถควบคุมรถไฟฟาและประตูรถไฟฟาในเหตุการณฉุกเฉินได ขบวนรถไฟฟาไดรับการออกแบบมาเพื่อไมใหเกิดกรณีรถไฟฟาลาชาหรือดําเนินงานไมไดมาตรฐานอันเปน ผลมาจากการขัดของดานกระแสไฟฟาหรือเครื่องจักรกล มอเตอรขับเคลื่อนของรถไฟฟานั้นมีกําลังสูงพอที่รถไฟฟาที่ บรรทุกผูโดยสารเต็มคันจะสามารถลาก หรือดันรถไฟฟาอีกคันที่บรรทุกผูโดยสารเต็มขบวนไปยังสถานีที่ใกลที่สุดเพื่อ ทําการขนถายผูโดยสารลงไดเมื่อระบบเกิดเหตุขัดของ นอกจากนี้ เมื่อเกิดไฟฟาดับ รถไฟฟาจะมีระบบไฟฟาสํารอง เพื่อใหระบบที่เกี่ยวของกับความปลอดภัยยังทํางานตอได 4.1.1.13 ระบบปองกันอัคคีภัย เนื่องจากระบบรถไฟฟาบีทีเอสเปนระบบลอยฟา ผูโดยสารจึงมีความเสี่ยงจากอาการบาดเจ็บจากอัคคีภัยหรือ ควันไฟต่ํากวาระบบใตดิน ระบบรถไฟฟาบีทีเอสมีระบบปองกันอัคคีภัยตามมาตรฐานของ NFPA โดยไดติดตั้งระบบ ฉีดน้ําที่อาคารสํานักงานและศูนยซอมบํารุงตางๆ และยังไดทําการติดตั้งปมน้ําเพิ่มกําลังและถังเก็บน้ําสํารองดวย บีทีเอสซียังไดติดตั้งตูดับเพลิง (Fire Hose Cabinet) หัวจายน้ําดับเพลิง พรอมทั้งถังดับเพลิงชนิดมือตามจุดตางๆ ของ สถานี ทั้ง นี้ ในบริ เ วณที่ น้ํา อาจทําใหอุป กรณตา งๆ เสีย หายได บีทีเ อสซีได ติด ตั้ ง อุปกรณ ดั บเพลิง ชนิ ด กา ซแทน นอกจากนี้ บีทีเอสซีไดติดตั้งระบบสัญญาณเตือนอัคคีภัย ทั้งที่ใชมือดึงและอัตโนมัติไวทั่วบริเวณศูนยซอมรถ และตาม สถานี 4.1.1.14 งานซอมบํารุง ซี เ มนส เ ป น ผู ใ ห บ ริ ก ารแก บี ที เ อสซี สํ า หรั บ งานซ อ มบํ า รุ ง ต า งๆ ภายใต สั ญ ญาซ อ มบํ า รุ ง กั บ ซี เ มนส ลงวันที่ 30 ธันวาคม 2547 ซึ่งตอมามีการแกไขเพิ่มเติมในวันที่ 30 กันยายน 2552 (“สัญญาซอมบํารุง”) ซึ่งสัญญาซอม บํารุงจะหมดอายุในวันที่ 30 ธันวาคม 2557 อยางไรก็ตาม บีทีเอสซีสามารถใชสิทธิตออายุสัญญาดังกลาวไดอีก 10 ป ภายใตขอกําหนดและเงื่อนไขเดิม (ยกเวนขอบเขตของการใหบริการและคาธรรมเนียมการซอมบํารุง ซึ่งทั้งสองฝายจะ ตกลงรวมกันอีกครั้งหนึ่ง) โดยบีทีเอสซีตองแจงความประสงคดังกลาวใหซีเมนสทราบเปนหนังสือลวงหนาอยางนอย 12 เดือนกอนวันหมดอายุของสัญญา และคูสัญญาทั้งสองฝายจะตองเขาทําสัญญาฉบับใหมกอนครบกําหนดอายุของ สัญญาไมนอยกวา 6 เดือน ขอบเขตการบริการของซีเมนสภายใตสัญญาดังกลาวรวมถึง  

งานซอมบํารุงสําหรับระบบไฟฟาและเครื่องกล งานซอมบํารุงใหญและการเปลี่ยนอุปกรณตางๆ ตามแผนการที่วางไว (planned overhauls and asset replacements) การเปลี่ยนอุปกรณที่ไมไดมีการวางแผนไวลวงหนา (unplanned asset replacements) สวนที่ 1 หนา 63


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ขอบเขตและกํา หนดการซอ มบํา รุง จะถูก กํา หนดไวลว งหนา ตามสัญ ญาซอ มบํา รุง และจะมีก ารวางแผน จัด เตรีย มจํา นวนขบวนรถไฟฟา ใหเ พีย งพอกับ การใหบ ริก ารผูโ ดยสารปกติ นอกจากนี้ บีทีเ อสซีมีกําหนดการ ปรับปรุงครั้งใหญ (Overhaul) ทุก 7 - 8 ป โดยจะทยอยทําการซอมแซมรถไฟฟาเพื่อไมใหกระทบตอการใหบริการ ทั้งนี้ การปรับปรุงครั้งใหญแตละรอบจะใชเวลาประมาณ 2 ป โดยบีทีเอสซีไดจัดทําการปรับปรุงครั้งใหญครั้งแรกเมื่อ ตนป 2549 ซึ่งแลวเสร็จในปลายป 2551 ทั้งนี้ การปรับปรุงครั้งใหญนั้นไมสงผลกระทบตอการใหบริการแตอยางใด ในป 2555/56 บีทีเอสซีจายคาจางงานซอมบํารุงสําหรับระบบไฟฟาและเครื่องกล และคาจางสําหรับงานซอม บํารุงใหญและการเปลี่ยนอุปกรณตามแผนการที่วางไวเปนเงินจํานวน 290.6 ลานบาท ซึ่งจะจายเปนรายเดือนตาม ระยะทางที่รถไฟฟาวิ่ง ในอัตราที่ไดระบุไวลวงหนาใหแกซีเมนส ซึ่งอาจมีการปรับเพิ่มหากระยะทาง การเดินรถไฟฟา มากกวาระยะทางที่ระบุไว สวนคาจางที่บีทีเอสซีจะจายสําหรับการเปลี่ยนอุปกรณที่ไมไดมีการวางแผนหรือคาดการณ ไวลวงหนาจะขึ้นกับรายการเสนอราคาจากซีเมนส ภายใตเงื่อนไขและหลักเกณฑในสัญญาดังกลาวซีเมนสจะจายเงินชดเชยในปสัญญา (Contract year) ใด ก็ตามไมเกินรอยละ 5 ของคาธรรมเนียมการซอมบํารุงรายป หากระบบไฟฟาและเครื่องกลเกิดการขัดของสงผลให ผลการดําเนินงานไมเปนไปเงื่อนไขที่ระบุไว ทั้งนี้ ขอบเขตการใหบริการภายใตสัญญาซอมบํารุงนี้จะไมครอบคลุมถึงรถไฟฟาจํานวน 12 ขบวนที่สั่งซื้อ เพิ่มเติมจากซีอารซี ซึ่งพนักงานของบีทีเอสซีจะทําหนาที่เปนผูใหบริการดูแลรักษาและซอมบํารุงรถไฟฟา 12 ขบวนที่ สั่งซื้อเพิ่มเติมดังกลาวเอง โดยตามสัญญาซื้อรถไฟฟาจํานวน 12 ขบวนดังกลาว ซีอารซีจะตองทําการฝกอบรมใหแก พนักงานของบีทีเอสซี สําหรับการจัดการและดูแลรักษาระบบตางๆ ของรถไฟฟาใหเสร็จสิ้นภายใน 1 เดือนกอนรับมอบ รถไฟฟางวดแรก และการฝกอบรมสําหรับการจัดการและดูแลรักษาใหญ (Overhaul) ภายในระยะเวลา 18 เดือน ภายหลัง การรับมอบรถไฟฟางวดแรกแลว นอกจากนี้ พนักงานของบีทีเอสซีจะเปนผูดูแลรักษาและซอมบํารุงระบบอาณัติสัญญาณเอง โดยการฝกอบรม จากกลุมบริษัทบอมบารเดียร 4.1.1.15 ประกันภัย บีท ีเ อสซีม ีก รมธรรมป ระกัน วิน าศภัย สํา หรับ ระบบรถไฟฟา ขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลัก ประเภทที่ ครอบคลุมความเสียหายที่เกิดตอบุคคลที่สาม และความเสียหายที่เกิดจากสินคา (General Third Party Liability and Product Liability Insurance) และประกันภัยความเสียหายตอทรัพยสินของบีทีเอสซี ความเสียหายตอเครื่องจักร และความเสียหายในกรณีธุรกิจหยุดชะงัก (Property “All Risks”, Machinery Breakdown and Business Interruption Insurance) ซึ่งเปนไปตามขอกําหนดในสัญญาสัมปทาน รวมทั้งมีประกันภัยสําหรับภัยจากการกอการราย (Property Terrorism Insurance) โดยบีทีเอสซีมีนโยบายในการทํากรมธรรมประกันภัยเหลานี้อยางตอเนื่อง ยกเวนประกันภัย สําหรับภัยจากการกอการราย ซึ่งจะทําการประเมินสถานการณปตอป ทั้งนี้ ผูรับผลประโยชนหลักตามกรมธรรม ประกันภัยในปจจุบัน คือ กทม. และ บีทีเอสซี ทั้งนี้ ภายใตสัญญาซื้อและโอนสิทธิรายไดสุทธิ บีทีเอสซีจะตอง ดําเนินการใหไดมาซึ่งใบสลักหลัง (Endorsement) ของกรมธรรมประกันภัยทั้งหมดที่เกี่ยวของกับธุรกิจระบบรถไฟฟา ขนสงมวลชนกรุงเทพสายหลัก ซึ่งระบุใหกองทุนเปนผูรับประโยชนรวมและผูเอาประกันภัยรวมตามกรมธรรม

สวนที่ 1 หนา 64


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

รายละเอียดเกี่ยวกับวงเงินประกันภัย ณ วันที่ 1 มิถุนายน 2556 มีดังนี้ ประเภทของประกันภัย 1

2

วงเงินประกันภัย

1.1

ประกันภัยความเสียหายที่เกิดตอบุคคลที่สาม (General Third Party Liability)

25,000,000 เหรียญสหรัฐ (สําหรับแตละและทุกๆ เหตุการณ)

1.2

ประกันความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินคา (Product Liability)

25,000,000 เหรียญสหรัฐ (สําหรับแตละและทุกๆ เหตุการณและ รวมกันทั้งหมด)

2.1

ประกันภัยความเสียหายตอทรัพยสิน (Property “All Risks”)

300,000,000 เหรียญสหรัฐ (สําหรับแตละและทุกๆ เหตุการณ)

2.2

ประกันภัยความเสียหายตอเครื่องจักร (Machinery Breakdown)

25,000,000 เหรียญสหรัฐ (สําหรับแตละและทุกๆ เหตุการณ)

2.3

ประกันภัยในกรณีธุรกิจหยุดชะงัก (Business Interruption) (1) กรณีที่เกิดจาก 2.1 ขางตน

(1)

5,967,174,492 บาท (สําหรับแตละและทุกๆ เหตุการณ)

(2) กรณีที่เกิดจาก 2.2 ขางตน

(2)

25,000,000 เหรียญสหรัฐ (สําหรับแตละและทุกๆ เหตุการณ)

วงเงินประกันภัยที่ระบุไวในขอ 2.1 2.2 และ 2.3 จะมีวงเงินคุมครองยอยจํานวน 20,000,000 เหรียญสหรัฐ สําหรับความเสียหายจากอุทกภัย 3

ประกันภัยสําหรับภัยจากการกอการราย (Property Terrorism)

5,000,000 เหรียญสหรัฐ (สําหรับแตละและทุกๆ เหตุการณและ รวมกันทั้งหมดระหวางระยะเวลาเอาประกันภัย)

ทั้งนี้ โปรดพิจารณาขอมูลเกี่ยวกับการตกลงออกเงินเพื่อซอมแซมความเสียหายที่เกิดขึ้นกับระบบรถไฟฟา ขนสงมวลชนกรุงเทพสายหลัก ระหวางบีทีเอสซีและกองทุน BTSGIF ในกรณีที่บริษัทประกันจายเงินประกันลาชาใน หัวขอ 12 ขอมูลอื่นที่เกี่ยวของ บีทีเอสซีไดวาจางบริษัท เอออน (ประเทศไทย) จํากัด ดําเนินการตรวจสอบกรมธรรมประกันภัยที่เกี่ยวของ กับระบบรถไฟฟาขนสงมวลชนกรุงเทพสายหลักเพื่อใหแนใจวาไดรับความคุมครองที่เพียงพอ ในสวนที่เกี่ยวของกับ ความเสี่ยง ความพอเพียงทางการตลาด และเพื่อใหเปนไปตามสัญญาซื้อและโอนสิทธิรายไดสุทธิ บริษัท เอออน (ประเทศไทย) จํากัด ไดสรุปในรายงานวา กรมธรรมประกันภัยในปจจุบันเปนไปตามมาตรฐานของตลาดสําหรับ ประเภทและลักษณะของความเสี่ยง รวมทั้งครอบคลุมความเสี่ยงสําคัญที่อาจเอาประกันไดของระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุงเทพสายหลัก ตลอดจนสวนตอขยาย และเปนไปตามขอกําหนดของสัญญาซื้อและโอนสิทธิรายไดสุทธิ ในการประกันภัยความเสียหายตอทรัพยสินและความเสียหายตอเครื่องจักร บีทีเอสซีไดจัดทําประกันภัย ครอบคลุ ม ทรั พ ย สิ น ต า งๆ ซึ่ ง มี มู ล ค า ที่ ไ ด รั บ ความคุ ม ครองภายใต ก รมธรรม คื อ 1,837 ล า นเหรี ย ญสหรั ฐ (ประมาณ 56,226 ลานบาท) ซึ่งประเมินโดยวิธีตนทุนทดแทน (Replacement Cost) วงเงินประกันภัยความ เสีย หายตอ ทรัพ ยส ิน และความเสีย หายตอ เครื่อ งจัก ร กํา หนดไวที ่ 300 ลา นเหรีย ญสหรัฐ ตอ เหตุก ารณ (สํา หรับ แตล ะและทุก ๆ เหตุก ารณ) และ ขยายความคุม ครองถึง เครื่อ งจัก รหยุด ชะงัก ในวงเงิน 25 ลา น เหรียญสหรัฐตอเหตุการณ (สําหรับแตละและทุกๆ เหตุการณ) ซึ่งวงเงินประกันนี้ สูงกวาความเสียหายสูงสุด ที่นาจะเปน (Maximum Foreseeable Loss) ที่กลุมบริษัทเอออน ประเมินเหตุการณ รวมถึงภัยพิบัติตางๆ ที่ อาจทําใหเกิดความเสียหายรายแรง เชน แผนดินไหว พายุเฮอริเคน ไฟไหม เปนตนสว นประกัน ภัย ในกรณี ธุร กิจ หยุด ชะงัก อัน เนื่อ งมาจากความเสีย หายตอ ทรัพ ยสิน และเครื่อ งจัก ร บีทีเอสซีไดจัดทําประกันภัยไวที่ วงเงิน 5,967 ลานบาท ซึ่งคํานวณจากประมาณการผลกําไรจากคาโดยสารของระบบรถไฟฟาขนสงมวลชน กรุงเทพสายหลักใน 12 เดือนขางหนาบวกกับคาใชจายคงที่ โดยไดมีการขยายความคุมครองถึงกรณีธุรกิจ หยุดชะงักอันเนื่องมาจากเครื่องจักรหยุดชะงักในวงเงิน 25 ลานเหรียญสหรัฐตอเหตุการณ (สําหรับแตละและ ทุกๆ เหตุการณ) สวนที่ 1 หนา 65


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

นอกจากนี้ บีทีเอสซีมีกรมธรรมประกันวินาศภัยสําหรับระบบรถไฟฟาขนสงมวลชนกรุงเทพสายสวนตอขยาย ประเภทที่ครอบคลุมความเสียหายที่เกิดตอบุคคลที่สาม และความเสียหายที่เกิดจากสินคา (General Third Party Liability and Product Liability Insurance) และประกันภัยความเสียหายตอทรัพยสินของบีทีเอสซี ความเสียหายตอ เครื่องจักร และความเสียหายในกรณีธุรกิจหยุดชะงัก (Property “All Risks”, Machinery Breakdown and Business Interruption Insurance) ซึ่งเปนไปตามขอกําหนดในสัญญาใหบริการเดินรถและซอมบํารุงระยะยาว ทั้งนี้ ผูรับ ผลประโยชนตามกรมธรรมประกั นภัย คือ กทม. กรุงเทพธนาคม และ บีทีเอสซี โดยรายละเอี ยดเกี่ ย วกั บ วงเงิน ประกันภัย ณ วันที่ 1 มิถุนายน 2556 มีรายละเอียดความคุมครองเชนเดียวกันกับการประกันภัยของบีทีเอสซี เวนแต การประกันภัยความเสียหายตอทรัพยสินและความเสียหายตอเครื่องจักรของสวนตอขยายสายสีลม และสวนตอขยาย สายสุขุมวิท บีทีเอสซีไดจัดทําประกันภัยครอบคลุมทรัพยสินตางๆ ซึ่งมีมูลคาที่ไดรับความคุมครองภายใตกรมธรรมคือ 284 ลานเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 7,688 ลานบาท) สวนการประกันภัยในกรณีธุรกิจหยุดชะงัก อันเนื่องมาจากความ เสียหายตอทรัพยสินและเครื่องจักร บีทีเอสซีไดจัดทําประกันภัยไวที่วงเงิน 1,398.77 ลานบาท ซึ่งคํานวณจากประมาณ การรายได จ ากค า โดยสารของส ว นต อ ขยายสายสี ล มและส ว นต อ ขยายสายสุ ขุ ม วิ ท ใน 12 เดื อ นข า งหน า บวกกั บ คาใชจายคงที่ 4.1.1.16 กฎหมายและหนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของ บีทีเอสซีไดรับสัมปทานแตเพียงผูเดียวจากกทม. ในการบริหารระบบรถไฟฟาขนสงมวลชนกรุงเทพสายหลัก ระยะทาง 23.5 กิโลเมตร ในการหารายไดจากรถไฟฟาและกิจกรรมทางธุรกิจที่เกี่ยวของ รวมถึงโฆษณาการใหสิทธิตอ และการจัดเก็บคาโดยสาร ภายใตสัญญาสัมปทานเปนระยะเวลา 30 ปจากวันที่ระบบเปดใหบริการเปนวันแรก (5 ธันวาคม 2542) อั น เป น เรื่ อ งปกติ วิ สั ย สํ า หรั บ โครงการที่ มี ข นาดใหญ บี ที เ อสซี ต อ งได รั บ ใบอนุ ญ าตและการอนุ มั ติ จ าก หนวยงานราชการหลายแหงกอนที่จะสามารถเปดดําเนินการได ซึ่งบีทีเอสซีไดรับการอนุมัติและไดรับใบอนุญาตในการ ดําเนินงานที่เกี่ยวของ รวมถึงสิ่งแวดลอม การดําเนินงานและการบํารุงรักษาระบบแลว บีทีเอสซีดําเนินงานภายใตกฎหมาย รวมทั้งกฎระเบียบ และขอบังคับที่เกี่ยวของหลายฉบับ รวมถึง กฎหมาย ทั่วไป กฎหมายเกี่ยวกับการธุรกิจขนสง ประกาศคณะปฏิวัติฉบับที่ 58 พระราชบัญญัติสงเสริมการลงทุน พ.ศ. 2520 รวมทั้งกฎหมายที่เกี่ยวของกับการประกอบธุรกิจโรงงาน และในฐานะที่บีทีเอสซีเปนบริษัทมหาชน บีทีเอสซีจึงอยู ภายใตพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 และพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 นอกจากนี้ เนื่ อ งจากบี ที เ อสซี ถื อ เป น ผู ป ระกอบธุ ร กิ จ ในฐานะผู ใ ห บ ริ ก ารตามคํ า จํ า กั ด ความของ พระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ. 2522 บีทีเอสซีจึงตกอยูภายใตขอกําหนดที่คุมครองสิทธิของผูบริโภคที่จะไดรับ ความปลอดภัยจากการใชสินคาหรือบริการตามที่กําหนดไวในพระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ. 2522 และ พระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผูบริโภค พ.ศ. 2551 รวมทั้งกฎกระทรวง ขอบังคับ คําสั่ง หรือประกาศที่ออกตาม พระราชบัญญัติดังกลาว (1)

กรุงเทพมหานคร (กทม.)

กทม. เปนหนวยงานที่ควบคุมดูแลพื้นที่จังหวัดกรุงเทพฯ หนาที่ของกทม. ไดแก การดูแลรักษากฎหมายและ ความสงบเรียบรอย การวางผังเมือง การสรางและดูแลรักษาถนน ทางน้ําและระบบระบายน้ํา การจัดหาระบบขนสง การบริ ห ารจราจร งานสวั ส ดิ ก ารสั ง คม และการให บ ริ ก ารอื่ น ๆ ผู บ ริ ห ารสู ง สุ ด ของกทม. คื อ ผู ว า ราชการ สวนที่ 1 หนา 66


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

กรุงเทพมหานคร ซึ่งไดมาจากการเลือกตั้ง และอยูในตําแหนงคราวละ 4 ป ผูวาราชการกรุงเทพมหานครมีอํานาจ แตงตั้งรองผูวาราชการเปนผูชวย ซึ่งอยูในตําแหนงคราวละ 4 ป เชนกัน กทม.ยังมีสภากรุงเทพมหานคร (สก.) ทํา หน า ที่ เ ป น ตั ว แทนของประชาชน ซึ่ ง สมาชิ ก มาจากการเลื อ กตั้ ง ภายใต พ ระราชบั ญ ญั ติ ร ะเบี ย บบริ ห ารราชการ กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528 กทม. แบงโครงสรางการบริหารเปน 19 สํานักงานและ 50 เขต กทม.มี ร ายได จ าก 2 ประเภท ได แ ก รายได ป ระจํ า และรายได พิ เ ศษ รายได ป ระจํ า มาจากภาษี ท อ งถิ่ น คาธรรมเนียม คาปรับ คาใบอนุญาต คาบริการ คาเชาทรัพยสินของกทม. รายไดพิเศษมาจากเงินสมทบจากรัฐบาลที่ เกี่ยวของกับโครงการที่รัฐบาลกําหนดไว ตามที่กําหนดไวในสัญญาสัมปทาน กทม. เปนผูรับผิดชอบการกํากับดูแลใหการดําเนินงานของบีทีเอสซี เปนไปตามสัญญาสัมปทาน นอกจากนี้ กทม.ยังเปนผูรับผิดชอบการอนุมัติแบบกอสรางตางๆ ที่เกี่ยวของกับระบบ รถไฟฟาบีทีเอสรวมถึงทางเชื่อมระหวางสถานีรถไฟฟากับอาคารขางเคียง (2)

สํานักงานคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติ (สวล.)

ภายใต พ ระราชบั ญ ญั ติ ส ง เสริ ม และรั ก ษาคุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล อ มแห ง ชาติ พ.ศ. 2535 โครงการที่ เ กี่ ย วกั บ โครงสรางสาธารณูปโภคพื้นฐานขนาดใหญที่อาจมีผลกระทบตอสิ่งแวดลอมจําเปนจะตองไดรับความเห็นชอบจาก คณะกรรมการสิ่ง แวดล อมแห ง ชาติ กอนดํา เนินการกอสราง เนื่องจากพระราชบัญญัติฉบับนี้มีผ ลบังคับใชวันที่ 9 เมษายน 2535 ซึ่งเปนวันเดียวกับวันลงนามในสัญญาสัมปทานและภายหลังสัมปทานไดรับการอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี บีทีเอสซีจึงไมจําเปนที่จะตองไดรับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสิ่งแวดลอมแหงชาติสําหรับโครงการ อยางไรก็ตาม พระราชบั ญ ญั ติ ฉ บั บ นี้ จ ะมี ผ ลบั ง คั บ ใช กั บ โครงการส ว นต อ ขยาย รวมถึ ง ส ว นเพิ่ ม เติ ม ภายใต สั ญ ญาแก ไ ขสั ญ ญา สัมปทานทั้งสองฉบับ (3)

สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ (สศช.)

พระราชบัญญัติวาดวยการใหเอกชนเขารวมงานหรือดําเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2535 ใหอํานาจสศช. ในการอนุมัติหรือไมอนุมัติโครงการที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจหรือสังคม เนื่องจากบีทีเอสซีไดรับสัมปทานกอนที่ พระราชบัญญัติฉบับนี้มีผลบังคับใช บีทีเอสซีจึงไมจําเปนตองไดรับการอนุมัติจากสศช. สําหรับโครงการที่ใหบริการแลว ในปจจุบัน อย างไรก็ตาม กทม. อาจตองทําการขออนุมัติจากสศช. สําหรับโครงการสวนตอขยายในอนาคตตาม พระราชบัญญัติฉบับนี้ โดยขึ้นอยูกับขนาดของโครงการ 4.1.2

รถโดยสารดวนพิเศษ BRT (Bus Rapid Transit: BRT)

บีทีเอสซีเริ่มดําเนินการรถโดยสารดวนพิเศษ BRT เสนทางแรกในนามของ กทม. ซึ่งเปนโครงการที่ กทม. ริเริ่มขึ้นเพื่อเชื่อมตอกับระบบรถไฟฟาบีทีเอส และเพื่อใหบริการขนสงสาธารณะแบบบูรณาการสําหรับพื้นที่ในเขตเมือง และชานเมือง รถโดยสารดวนพิเศษ BRT สามารถใหบริการไดรวดเร็วกวารถโดยสารประจําทางทั่วไป โดยมีการจัด ชองทางพิเศษโดยเฉพาะ รถโดยสารดวนพิเศษ BRT ใหบริการครอบคลุม 12 สถานี เปนระยะทาง 15 กิโลเมตร จาก บริเวณชองนนทรี ถนนนราธิวาสราชนครินทร ขามสะพานกรุงเทพ ไปจนถึงบริเวณถนนราชพฤกษ โดยสถานีสาทร ของรถโดยสารดวนพิเศษ BRT มีทางเชื่อมตอกับสถานีชองนนทรี ดังแผนที่ดานลาง

สวนที่ 1 หนา 67


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

1. สถานีสาทร 2. สถานีอาคารสงเคราะห 12. สถานีราชพฤกษ 3. สถานีเย็นอากาศ 4. สถานีถนนจันทน

5. สถานีนราราม3 11. สถานีสะพานพระราม 3 10. สถานีเจริญราษฎร 9. สถานีสะพานพระราม 9 8. สถานีวัดดอกไม 7. สถานีวัดปริวาส

6. สถานีวัดดาน

กทม. เปนผูลงทุนกอสรางทางวิ่งและสถานีทั้งหมด โดยวาจางบีทีเอสซีใหเปนผูจัดหารถโดยสารและใหบริการ เดินรถโดยสารดวนพิเศษ BRT ตามสัญญาระหวางบีทีเอสซีและกรุงเทพธนาคม ลงวันที่ 10 กุมภาพันธ 2553 (“สัญญา จางผูเดินรถพรอมจัดหารถโดยสาร”) อีกทั้ง กทม. ยังไดวาจางบีทีเอสซีใหเปนผูบริหารสถานีตามสัญญาระหวางบีทีเอสซี และกรุงเทพธนาคม ลงวันที่ 11 พฤษภาคม 2553 (“สัญญาจางบริหารสถานี”) การกอสรางทางวิ่งและสถานีรถโดยสาร ดวนพิเศษ BRT เสร็จสิ้นแลว และไดทดลองเปดใหบริการเมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม 2553 และเริ่มเปดใหบริการเชิง พาณิชยในวันที่ 1 กันยายน 2553 อัตราคาโดยสารของรถโดยสารดวนพิเศษ BRT จะเปนไปตามอัตราที่ประกาศโดย กทม. ทั้งนี้ ตั้งแตวันที่ 15 เมษายน 2556 อัตราคาโดยสารปรับเปน 5 บาท ตลอดสาย โดยบุคคลบางกลุมไดรับยกเวน คาโดยสาร ไดแก คนพิการ นักเรียนในเครื่องแบบ พระภิกษุและสามเณร และผูสูงอายุ 60 ป ขึ้นไป ภายใตสัญญาจางผูเดินรถพรอมจัดหารถโดยสาร กทม. เปนผูไดรับรายไดจากคาโดยสารของรถโดยสาร ดวนพิเศษ BRT ทั้งหมด ในขณะที่บีทีเอสซีจะไดรับคาตอบแทนเปนเงินจํานวนทั้งหมด 529.6 ลานบาท โดยไมขึ้นกับ จํานวนผูโดยสาร ตลอดอายุสัญญา 7 ปนับแตวันที่ 29 พฤษภาคม 2553 โดยในปแรก บีทีเอสซีจะไดรับคาตอบแทน (ไมรวมคาใชจายกอนเริ่มดําเนินงาน) จํานวน 61 ลานบาทตอป และคาตอบแทนดังกลาวจะคอยๆ เพิ่มขึ้นเปนจํานวน 84.1 ลานบาทตอไปในปที่ 7 ตามตารางคาตอบแทนที่กําหนดไวในสัญญา นอกจากนี้ ในปแรก บีทีเอสซียังมีสิทธิไดรับ คาใชจายกอนเริ่มดําเนินงานจํานวน 5.4 ลานบาทเพื่อชดเชยคาใชจายเริ่มตนของบีทีเอสซี ทั้งนี้ ตามสัญญาจางผูเดิน รถพรอมจัดหารถโดยสาร บีทีเอสซีจะเปนผูชําระคาใชจายในการดําเนินงาน คาซอมบํารุง และเงินลงทุนในการซื้อรถ โดยสารประจําทาง ซึ่งบีทีเอสซีไดสั่งซื้อรถโดยสารจํานวน 25 คัน จากบริษัท สยาม สแตนดารด เอ็นจิเนียริ่ง จํากัด ซึ่ง ผลิตโดยบริษัทในประเทศจีนชื่อบริษัท Shanghai Shenlong Bus รถโดยสารดังกลาวเปนรถโดยสารปรับอากาศซึ่งใช กาซธรรมชาติเปนเชื้อเพลิง และมีคุณลักษณะเฉพาะสูงกวารถโดยสารทั่วไปที่ใชอยูในประเทศไทย โดยไดมีการนํารถ ทั้งหมดเขามาในประเทศไทยกอนสิ้นเดือนพฤษภาคม 2553 และบีทีเอสซีไดชําระคารถโดยสารทั้ง 25 คัน จํานวนรวม ทั้งสิ้น 174.8 ลานบาท สําหรับรถโดยสารอีกจํานวน 5 คันที่บีทีเอสซีจะตองสงมอบภายในป 2556 นั้น ทางกรุงเทพ ธนาคมไดมีหนังสือแจงใหทางบีทีเอสซีชะลอการสั่งซื้อออกไป เนื่องจากการใหบริการเดินรถจํานวน 25 คัน ยังสามารถ รองรับปริมาณความตองการเดินทางของประชาชนไดอยางเพียงพอ ซึ่งบีทีเอสซีและกรุงเทพธนาคมอยูระหวางการ สวนที่ 1 หนา 68


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

เจรจาปรับลดคาตอบแทนนับจากปที่ 3 ถึง ปที่ 7 ตามสัญญาจางผูเดินรถพรอมจัดหารถโดยสารอันเนื่องจากการชะลอ การสั่งซื้อรถโดยสารเพิ่มอีก 5 คันดังกลาวนี้ ภายใตสัญญาจางบริหารสถานี บีทีเอสซีจะไดรับคาตอบแทนเปนเงินจํานวนทั้งหมด 737 ลานบาทตลอดอายุ สัญญา 7 ปนับแตวันที่ 29 พฤษภาคม 2553 เพื่อใหบริการบริหารสถานีรถโดยสาร พื้นที่ลานจอดรถและเดินรถ พื้นที่ ควบคุมสวนกลาง และสถานีบริการเติมกาซ และการใหบริการซอมบํารุงรถโดยสารดวนพิเศษ BRT โดยคาตอบแทน ดังกลาวประกอบดวยคาใชจายเริ่มตนจํานวน 13.7 ลานบาท และคาตอบแทนสวนที่เหลือจะชําระใหเปนรายงวด งวดละตั้งแต 84.2 ลานบาทถึง 112.9 ลานบาท ตลอดอายุสัญญา 7 ป นอกเหนือจากรายไดที่จะไดรับจากการรับจางเดินรถและบริหารสถานีแลว บีทีเอสซีคาดวาระบบรถไฟฟา บีทีเอสจะไดรับผลประโยชนจากโครงการรถโดยสารดวนพิเศษ BRT ซึ่งจะชวยเพิ่มความสะดวกใหผูโดยสารที่จะเขามา ใชบริการระบบรถไฟฟาบีทีเอส จากเสนทางรถโดยสารดวนพิเศษ BRT ซึ่งผานแหลงที่อยูอาศัยและยานธุรกิจที่มี ประชากรหนาแนนและการจราจรติดขัด และยังเชื่อมตอโดยตรงกับสถานีชองนนทรีอีกดวย ทําใหผูโดยสารไดรับความ สะดวกสบายมากขึ้น 4.1.3

ภาวะอุตสาหกรรมของระบบขนสงมวลชน

ขอมูลและเนื้อหาทั้งหมดในสวนนี้ (ทั้งที่เปนจริง ที่เปนการประมาณการ และการคาดการณ) ไมเพียงแต เฉพาะที่เกี่ยวของกับอุปสงค ความสามารถ จํานวนผูโดยสาร จํานวนเที่ยว และสวนแบงตลาดนั้นมาจากเอกสารที่ เปดเผยตอสาธารณะ เอกสารของทางราชการ และเอกสารซึ่งมีแหลงที่มาจากภาคอุตสาหกรรม บีทีเอสซีไมรับรอง ความถูกตองของเนื้อหาของขอมูลนี้ แหลงขอมูลเหลานี้จัดทําขึ้นบนสมมติฐานทางเศรษฐศาสตรและสมมติฐานอื่นๆ ซึ่ งอาจพิสูจ น ไดวาไมถู กต อง ข อมู ล ภาวะอุ ต สาหกรรมบางสวนซึ่งปรากฏอยู ในสวนนี้ เปน การประมาณการโดย ปราศจากการรับรองยืนยันอยางเปนทางการจากแหลงขอมูลที่เชื่อถือไดในประเทศ 4.1.3.1 ภาพรวมของการขนสงมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานคร (1)

โครงขายในปจจุบันนอกจากระบบรถไฟฟาขนสงมวลชนกรุงเทพสายหลักและสวนตอขยาย

ระบบรถไฟฟาใตดิน MRT รถไฟฟาใตดิน MRT เปนระบบรถไฟฟาขนสงมวลชนใตดินระบบแรกของประเทศไทย และเริ่มเปดให ดําเนินการอยางเปนทางการในวันที่ 3 กรกฎาคม 2547 เสนทางของระบบรถไฟฟาใตดินคิดเปนระยะทาง 20 กิโลเมตร โดยมีสถานีตลอดสายจํานวนทั้งสิ้น 18 สถานี เริ่มตั้งแตสถานีรถไฟหัวลําโพงไปจนถึงบางซื่อ ระบบรถไฟฟาใตดิน MRT ใหบริการโดยขบวนรถไฟฟาขนาด 3 ตูโดยสารจํานวน 19 ขบวน ซึ่งสามารถรองรับจํานวนผูโดยสารสูงสุดเทากับ 122.9 ลานเที่ยว และ 123.2 ลานเที่ยว ในป 2554 และป 2555 ตามลําดับ ระบบรถไฟฟาใตดิน MRT ใหบริการ ผูโดยสารคิดเปนรอยละ 56.2 และรอยละ 65.4 ของจํานวนผูโดยสารที่ระบบรถไฟฟาใตดิน MRT สามารถรองรับได ใน ป 2554 และป 2555 ตามลําดับ ระบบสงตอผูโดยสารของระบบรถไฟฟาใตดิน MRT ประกอบดวยระบบขนสงหลาย รูปแบบ เชน ระบบรถไฟฟาขนสงมวลชนกรุงเทพสายหลัก และรถโดยสารประจําทาง ในป 2554 และ ป 2555 ระบบ รถไฟฟาใตดิน MRT ไดใหบริการผูโดยสารจํานวนทั้งสิ้น 69.1 ลานเที่ยว 80.6 ลานเที่ยว ตามลําดับ ระบบรถไฟฟาใต ดิน MRT มีสถานีเชื่อมตอกับระบบรถไฟฟาขนสงมวลชนกรุงเทพสายหลักจํานวนทั้งสิ้น 3 สถานี ไดแก สถานีศาลา แดง สถานีอโศก และสถานีหมอชิต สวนที่ 1 หนา 69


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ระบบรถไฟฟาใตดิน MRT ดําเนินงานโดยบริษัท รถไฟฟากรุงเทพ จํากัด (มหาชน) (“บีเอ็มซีแอล”) แตเพียงผู เดียว ภายใตสัญญาสัมปทานกับการรถไฟฟาขนสงมวลชนแหงประเทศไทย (รฟม.) โดยเปนผูดําเนินงานแตเพียงผู เดียวของโครงขายระบบรถไฟฟามหานครสายเฉลิมรัชมงคล (รถไฟฟาสายสีน้ําเงิน) สัมปทานดังกลาวประกอบดวย สิทธิแตเพียงผูเดียวในการดําเนินงานระบบรถไฟฟาใตดิน MRT ในปจจุบัน และสิทธิในการบริหารจัดการพื้นที่ในเชิง พาณิชยและพื้นที่โฆษณาภายในระบบเปนระยะเวลา 25 ป ซึ่งสิ้นสุดในป 2572 โดย รฟม.เปนผูรับผิดชอบการลงทุน งานกอสรางโครงสราง ในขณะที่บีเอ็มซีแอลรับผิดชอบงานระบบไฟฟาและวิศวกรรม และลงทุนในการซื้อขบวนรถ ภายใตสัญญาสัมปทาน บีเอ็มซีแอลตองจายสวนแบงรายไดคาโดยสารและรายไดจากการประกอบธุรกิจ ในอัตรารอยละ ตามที่ไดกําหนดไว รวมทั้งคาธรรมเนียมรายปใหแกการรถไฟฟาขนสงมวลชนแหงประเทศไทย (รฟม.) ระบบรถไฟฟาแอรพอรต เรล ลิงคทาอากาศยานสุวรรณภูมิ (Suvarnabhumi Airport Link) รถไฟฟาแอรพอรต เรล ลิงคทาอากาศยานสุวรรณภูมิ (“แอรพอรต ลิงค”) เปนระบบขนสงระบบหนึ่งซึ่ง เชื่อมตอระหวางทาอากาศยานสุวรรณภูมิไปจนถึงสถานีพญาไทซึ่งตั้งอยูในใจกลางกรุงเทพมหานคร โดยมีระยะทาง รวมทั้งสิ้น 28.5 กิโลเมตร และเปนรางยกระดับเหนือทางรถไฟสายภาคตะวันออกเดิม มีสถานีใตดินที่ทาอากาศยาน สุวรรณภูมิ การรถไฟแหงประเทศไทย (รฟท.) เปนเจาของและผูดําเนินงานระบบรถไฟฟาแอรพอรต ลิงค สายสีแดง โดยระบบรถไฟฟาแอรพอรต ลิงค สายสีแดง เริ่มเปดใหบริการเมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 2553 โดยใหบริการ 2 เสนทาง ไดแก รถไฟฟาดวนทาอากาศยานสุวรรณภูมิ-มักกะสัน (Makkasan Express Line) ซึ่งใชเวลาในการเดินทางเพียง 15 นาทีโดยไมมีการหยุดจอดระหวางสถานีมักกะสันกับสถานีทาอากาศยานสุวรรณภูมิ รถไฟฟาดวนทาอากาศยาน สุวรรณภูมิ-พญาไท (Phaya Thai Express Line) ซึ่งใชเวลาในการเดินทางเพียง 17 นาทีโดยไมมีการหยุดจอดระหวาง สถานีพญาไทกับสถานีทาอากาศยานสุวรรณภูมิ และรถไฟฟาธรรมดา (City Line) ซึ่งใชเวลาการเดินทางประมาณ 30 นาทีโดยหยุดจอดรับผูโดยสารรายทางทั้งหมด 8 สถานีตั้งแตสถานีทาอากาศยานสุวรรณภูมิจนถึงสถานีพญาไท ระบบรถไฟฟาแอรพอรต ลิงค สายสีแดง เชื่อมตอโดยตรงกับระบบรถไฟฟาขนสงมวลชนกรุงเทพสายหลักโดยมี ทางเดินเชื่อมตอกับสถานีพญาไท (2)

แผนการขยายระบบขนสงมวลชนทางรางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

ในป 2552 สํานักงานนโยบายและแผนการขนสงและจราจร (“สนข.”) ไดจัดทําโครงขายตามแผนแมบทระบบ ขนส ง มวลชนทางรางในเขตกรุ ง เทพมหานครและปริ ม ณฑล (Mass Rapid Transit Master Plan in Bangkok Metropolitan Region : M-Map) เพื่อดําเนินการในชวงระยะเวลา 20 ปขางหนา (ป 2553 – ป 2572) ระยะทางรวม 508 กิโลเมตร ประกอบดวยเสนทาง 12 เสนทาง ไดแก (1) สายสีแดงเขม (ธรรมศาสตร-มหาชัย) ระยะทาง 80.8 กิโลเมตร (2) สายสีแดงออน (ศาลายา-ตลิ่งชัน-หัวหมาก และเพิ่มเติมชวงบางบําหรุ-มักกะสัน) ระยะทางรวม 58.5 กิโลเมตร (3) รถไฟฟาเชื่อมทาอากาศยานสุวรรณภูมิ (Airport Link) (พญาไท-มักกะสัน-สุวรรณภูมิ และสวนตอขยาย ชวงพญาไท-บางซื่อ-ดอนเมือง) ระยะทางรวม 49.5 กิโลเมตร (4) สายสีเขียวเขม (ลําลูกกา-สะพานใหม-หมอชิต-ออนนุช - แบริ่ง-สมุทรปราการ-บางปู) ระยะทางรวม 66.5 กิโลเมตร (5) สายสีเขียวออน (ยศเส-สะพานตากสิน-บางหวา) ระยะทางรวม 15.5 กิโลเมตร (6) สายสีน้ําเงิน (บางซื่อ-ทาพระ, หัวลําโพง-บางแค- พุทธมณฑลสาย 4) ระยะทางรวม 55 กิโลเมตร (7) สายสีมวง (บางใหญ-ราษฎรบูรณะ) ระยะทาง 42.8 กิโลเมตร (8) สายสีสม (ตลิ่งชัน-มีนบุรี) ระยะทาง รวม 37.5 กิโลเมตร (9) สายสีชมพู (แคราย-ปากเกร็ด-มีนบุรี) ระยะทาง 36 กิโลเมตร (10) สายสีเหลือง (ลาดพราวสําโรง) ระยะทาง 30.4 กิโลเมตร (11) สายสีเทา (วัชรพล-สะพานพระราม 9) ระยะทาง 26 กิโลเมตร (12) สายสีฟา (ดินแดง-สาทร) ระยะทาง 9.5 กิโลเมตร โดยแบงแผนงานเปน 3 ระยะ ไดแก (1) แผนโครงขายเรงรัดตามมติ ครม. (2) แผนโครงขายเพิ่มเติมภายในป พ.ศ. 2562 และ (3) แผนโครงขายเพิ่มเติมภายในป พ.ศ. 2572 ซึ่งเมื่อการดําเนินการ สวนที่ 1 หนา 70


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ตามแผนดังกลาวแลวเสร็จ ความยาวของระบบรถไฟฟาในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลจะเพิ่มขึ้นจากปจจุบัน 79.5 กิโลเมตร เปน 236 กิโลเมตร 390 กิโลเมตร และ 508 กิโลเมตร ภายในป 2559 2562 และ 2572 ตามลําดับ (ขอมูล จากเว็บไซตของ สนข. http://www.otp.go.th) ตอมา รัฐบาลไดแถลงนโยบายรัฐบาลตอรัฐสภา ภายใตคําแถลงนโยบายคณะรัฐมนตรี ลงวันที่ 23 สิงหาคม 2554 ใหเรงรัดโครงการรถไฟฟา 10 เสนทางในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ใหสามารถเริ่มกอสรางไดครบใน 4 ป (พ.ศ. 2554 – 2558 ) ซึ่งกระทรวงคมนาคม โดยสนข. ไดใหความสําคัญกับการดําเนินโครงการรถไฟฟา 10 เสนทาง ตามนโยบายของรัฐบาล โดยสนข.ไดประสานกับหนวยงานรับผิดชอบโครงการ ประกอบดวย การรถไฟแหงประเทศ ไทย (รฟท.) และการรถไฟฟาขนสงมวลชนแหงประเทศไทย (รฟม.) และกทม. เพื่อบูรณาการจัดทําแผนดําเนิน โครงการระบบขนสงมวลชนทางรางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ใหมีความเหมาะสมและสอดคลองในการ จัดทําแผนการกอสรางโครงการรถไฟฟา ทั้งนี้ โครงการรถไฟฟา 10 เสนทาง ระยะทาง 464 กิโลเมตร ประกอบดวย (1) สายสีแดงเขม (ม.ธรรมศาสตร ศูนยรังสิต - มหาชัย) ระยะทาง 80.8 กิโลเมตร (2) สายสีแดงออน (ศาลายา หัวหมาก) ระยะทาง 54 กิโลเมตร (3) Airport Rail Link (สนามบินดอนเมือง - สุวรรณภูมิ) ระยะทาง 50.3 กิโลเมตร (4) สายสีเขียวเขม (ลําลูกกา - บางปู) ระยะทาง 66.5 กิโลเมตร (5) สายสีเขียวออน (ยศเส – บางหวา) ระยะทาง 15.5 กิโลเมตร (6) สายสีน้ําเงิน (บางซื่อ-หัวลําโพง-ทาพระ-พุทธมณฑล สาย 4) ระยะทาง 55 กิโลเมตร (7) สายสีมวง (บางใหญ – ราษฎรบูรณะ) ระยะทาง 42.8 กิโลเมตร (8) สายสีสม (จรัญสนิทวงศ – มีนบุรี) ระยะทาง 32.5 กิโลเมตร (9) สายสีชมพู (แคราย – มีนบุรี) ระยะทาง 36 กิโลเมตร และ (10) สายสีเหลือง (ลาดพราว – สําโรง) ระยะทาง 30.4 กิโลเมตร (ขอมูลจากเว็บไซต http://www.bkkmrt.com/ ซึ่งเปนเว็บไซตในความรับผิดชอบของสนข.) โดยโครงการ พัฒนารถไฟฟา 10 สายทางนี้ มีแผนการเปดใหประชาชนไดใชบริการระยะทางรวม 410 กิโลเมตร ภายในป 2562 และ ดําเนินการตอเนื่องใหครบ 464 กิโลเมตรภายในป 2572 (ขอมูลในรายงานผลการดําเนินงานตามนโยบายรัฐบาลและ การสั่งการของนายกรัฐมนตรี นางสาวยิ่งลักษณ ชินวัตร ระหวางวันที่ 23 กุมภาพันธ 2555 – 22 พฤษภาคม 2555 ของกระทรวงคมนาคม)

สวนที่ 1 หนา 71


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ทั้งนี้ เพื่อดําเนินการตามนโยบายที่รัฐบาลแถลงตอรัฐสภาและยุทธศาสตรของประเทศ ในเดือนมีนาคม 2556 นายกรัฐมนตรีไดนําเสนอรางพระราชบัญญัติใหอํานาจกระทรวงการคลังกูเงินเพื่อการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดาน คมนาคมขนสงของประเทศ พ.ศ. .... ตอสภาผูแทนราษฎรเปนเรื่องดวน เพื่อใหมีกฎหมายวาดวยการใหอํานาจ กระทรวงการคลังกูเงินเพื่อการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานคมนาคมขนสงของประเทศ มูลคารวมกันไมเกินสองลาน ลานบาท ทั้งนี้ แผนงานพัฒนาระบบขนสงในเขตเมือง สําหรับโครงขายรถไฟฟาทั้งหมด 10 สายทาง จะมีวงเงิน 472,448.12 ลานบาท (ขอมูลจากเอกสารประกอบการพิจารณารางพระราชบัญญัติใหอํานาจกระทรวงการคลังกูเงินเพื่อ การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานคมนาคมขนสงของประเทศ พ.ศ. .... รายละเอียดโครงการภายใตแผนงานตาม ยุ ท ธศาสร ก ารพั ฒ นาโครงสร า งพื้ น ฐานด า นคมนาคมขนส ง ของประเทศ ซึ่ ง เผยแพร ใ นเว็ บ ไซต ข องสนข. http://www.otp.go.th) ความคืบหนาการดําเนินงานระบบขนสงมวลชนทางรางในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล (รูปและขอมูล จากสนข.) สําหรับโครงการที่อยูระหวางการกอสราง 5 โครงการ (ระยะทาง 94 กิโลเมตร) โครงการที่เปดประกวดราคา ป 2556 10 โครงการ (ระยะทาง 159 กิโลเมตร) โครงการที่เปดประกวดราคาป 2556 7 โครงการ (ระยะทาง 118.4 กิโลเมตร) และโครงการที่เปดประกวดราคาป 2557 4 โครงการ (ระยะทาง 62.7 กิโลเมตร) เปนดังนี้

สวนที่ 1 หนา 72


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

4.1.3.2 โครงขายระบบขนสงมวลชนทางรางของกรุงเทพฯ ในปจจุบัน อยูในสภาวะที่คอนขางไมสมบูรณ ระบบขนสงมวลชนทางรางไดรับการยอมรับวาเปนระบบขนสงที่มีประสิทธิภาพสําหรับระยะเวลาที่ใชในการ เดิ น ทาง มี ค วามน า เชื่ อ ถื อ และความปลอดภั ย อี ก ทั้ ง เป น ระบบขนส ง ที่ ใ ช กั น โดยทั่ ว ไปในประเทศที่ พั ฒ นาแล ว เนื่องจากระบบขนสงทางรางในประเทศที่พัฒนาแลว ไดรับการพัฒนาอยางสมบูรณกอนระบบขนสงมวลชนทางรางใน กรุงเทพฯ ระบบขนสงทางรางในประเทศที่พัฒนาแลวจึงอยูในสภาพที่สมบูรณและครอบคลุมพื้นที่มากกวา (หมายถึง ระยะทางของระบบขนสงมวลชนทางรางตอประชากร 1 ลานคน) ถึงแมวาจะมีการลงทุนพัฒนาโครงการการใหบริการ รถไฟฟาทั้งบนดินและใตดินมากกวา 10 ปแลว กรุงเทพฯ ก็ยังคงมีระยะทางของระบบขนสงมวลชนทางรางที่ต่ํามาก เมื่อเทียบกับระบบขนสงมวลชนทางรางของโตเกียว สิงคโปร และฮองกง แสดงใหเห็นวาอัตราการเขาถึงบริการระบบ ขนสงมวลชนทางรางของประชากรในกรุงเทพฯ ยังคงต่ํามาก ดังนั้นโอกาสในการขยายระบบขนสงมวลชนทางรางให เทียบเทาหรือสอดคลองกับมาตรฐานของประเทศดังกลาวยังคงมีสูง

สวนที่ 1 หนา 73


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ตารางขางลางนี้แสดงการเปรียบเทียบความหนาแนนของประชากร และระยะทางของระบบขนสงมวลชนทางราง ภูมิภาค / เมือง กรุงเทพฯ โตเกียว ฮองกง สิงคโปร

ความหนาแนนของ ประชากร (ตอ 1 ตาราง กิโลเมตร) ในป 2523 3,001 5,388 5,114 3,603

ความหนาแนนของ ประชากร (ตอ 1 ตาราง กิโลเมตร) ในป 2553 5,259 6,017 7,139 7,252

ระยะทางของระบบขนสง มวลชนทางราง (กิโลเมตร) 79.5 320.0 218.2 148.9

ที่มา: กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย, สํานักงานสถิติแหงชาติ, แผนกสถิติ สหประชาชาติ, เอ็มทีอาร คอรปอเรชั่น ลิมิเต็ด, เอสเอ็มอารที คอรปอเรชั่น ลิมิเต็ด, บีทีเอสซี, บีเอ็มซีแอล, บริษัท เว็บไซตทางการของระบบขนสงมวลชนทางรางในเมืองใหญ

4.1.3.3 ระบบขนสงมวลชนอื่นๆ ในกรุงเทพฯ หากพิจารณารูปแบบการเดินทางของประชาชนกรุงเทพฯ อาจแบงออกไดเปน 2 รูปแบบหลักๆ ไดแก การ เดินทางโดยยานพาหนะสวนบุคคลและการเดินทางโดยระบบขนสงสาธารณะ ทั้งนี้ ระบบขนสงสาธารณะหลักที่จัดอยู ในบริการขนสงมวลชน ซึ่งรองรับการเดินทางของประชาชนในกรุงเทพฯ ในปจจุบันยังคงเปนรถโดยสารประจําทาง ในอดีตที่ผานมากระทั่งถึงปจจุบัน การเดินทางโดยรถโดยสารประจําทางในกรุงเทพฯ และปริมณฑลคอนขาง จะมีขอจํากัด เนื่องจากตองใชเสนทางถนนในการสัญจรรวมกับรถยนตสวนบุคคล ซึ่งตองเผชิญกับสภาพการจราจร ติดขัด โดยเฉพาะในชวงชั่วโมงเรงดวน หากพิจารณาการเพิ่มระยะทางของถนนในเขตกรุงเทพฯ พบวา ตั้งแตป 2548 จํานวนระยะทางของถนนใน กรุงเทพฯ มิไดมีการเพิ่มเติมอยางมีนัยสําคัญ ในทางกลับกันจํานวนรถที่จดทะเบียนในกรุงเทพฯ กลับเพิ่มขึ้นอยาง ตอเนื่องตั้งแตป 2549 จากความแตกตางระหวางอุปสงคของผูใชระบบคมนาคมที่พึ่งพาถนนและอุปทานของถนนใน กรุงเทพฯ ทําใหปญหาการจราจรทวีคูณขึ้น ซึ่งปจจัยดังกลาวเปนปจจัยที่สําคัญในการชวยใหจํานวนผูโดยสารของ รถไฟฟาบีทีเอสสามารถเพิ่มขึ้นไดในอนาคต ตามการเปลี่ยนพฤติกรรมของผูเดินทางที่หันมาใชทางเลือกที่รวดเร็วและ สะดวกขึ้น หนวย : คัน รถที่จดทะเบียน อัตราการเติบโต (รอยละ)

จํานวนและอัตราการเติบโตของรถที่จดทะเบียนในกรุงเทพฯ ในป 2548 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 4,899,969 5,557,111 5,715,078 5,911,696 6,103,719 6,444,631 6,849,213 7,523,381 13.4 2.8 3.4 3.2 5.6 6.3 9.8

ที่มา: ฝายสถิติ กลุมวิชาการและวางแผน สํานักจัดระบบการขนสงทางบก กรมการขนสงทางบก

การเดินทางโดยรถโดยสารประจําทางยังตองเผชิญกับสภาพการจราจรที่ติดขัดมากขึ้นโดยเฉพาะในชั่วโมง เรงดวน ระบบขนสงประเภทรถประจําทาง ขสมก.ในเขตกรุงเทพฯ จึงมีอัตราความเร็วเฉลี่ยอยูในเกณฑต่ํา จํานวน ผูใชบริการรถโดยสารประจําทางรวมลดลงจาก 1.8 ลานคนตอวันในป 2549 เปน 1.0 ลานคนตอวันในป 2555 หรือ ลดลงกวารอยละ 44.9

สวนที่ 1 หนา 74


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

หนวย : คนตอวัน รถโดยสาร ขสมก. ธรรมดา รถโดยสาร ขสมก. ปรับอากาศ รวมรถโดยสาร ประจําทาง อัตราการเติบโต (รอยละ)

แบบ 56-1 ป 2555/56

จํานวน และ อัตราการเติบโตของจํานวนผูโดยสารเฉลี่ยตอวันในเขตกรุงเทพฯ ในป 2549 2550 2551 2552 2553 2554 766,545 932,947 894,937 505,639 480,353 482,655

2555 413,019

999,846

747,805

708,241

607,717

568,090

544,485

559,951

1,766,391

1,680,752

1,603,178

1,113,356

1,048,444

1,027,140

972,970

-

(4.8)

(4.6)

(30.6%)

(5.8%)

(2.0%)

(5.3%)

ที่มา: สําหรับป 2549-2555 กระทรวงคมนาคม โดยนําขอมูลมาเฉลี่ยตามจํานวนวันปฏิทินซึ่งเทากับ 365 วันตอป

ในขณะที่จํานวนผูโดยสารของรถโดยสารประจําทางลดลงนั้น จํานวนผูใชบริการที่เลือกใชบริการคมนาคมใน ระบบเดินทางที่ใหมกวา และมีความสะดวกสบายมากขึ้น เชน ระบบรถไฟฟาใตดิน และระบบรถไฟฟาบีทีเอส กลับมี ผูโดยสารเฉลี่ยตอวันเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง จํานวนและอัตราการเติบโตของจํานวนผูโดยสารเฉลี่ยตอวันในป หนวย:คนตอวัน รถไฟฟาใตดินMRT อัตราการเติบโต (รอยละ) รถไฟฟาบีทีเอส(1)(2) อัตราการเติบโต (รอยละ)

2549 158,396 1.1

2550 164,507 3.9

2551 170,279 3.5

2552 174,657 2.6

2553 177,884 1.8

2554 189,310 6.4

2555 220,828 16.6

379,610 5.1

363,737 (4.2)

372,438 2.4

395,873 6.3

406,797 2.8

500,085 22.9

554,654 10.9

ที่มา: ขอมูลจากบีเอ็มซีแอล และบีทีเอสซี (1) นับรวมทั้งผูโดยสารที่ใชบริการระบบรถไฟฟาขนสงมวลชนกรุงเทพสายหลักและผูโดยสารที่เดินทางเฉพาะในสวนตอขยาย (2) นับจํานวนผูโดยสารตามรอบปบัญชีของบีทีเอสซี (ตั้งแต 1 เมษายน ถึง 31 มีนาคม) โดยป 2549 หมายถึงปบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2550 และ ป 2555 หมายถึง ปบญ ั ชีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2556

4.1.3.4 การเพิ่มขึ้นของรายไดทําใหผูโดยสารสามารถใชบริการการขนสงทางรางเพิ่มขึ้น แมวาโครงขายการขนสงทางรางเปนรูปแบบการขนสงที่รวดเร็วและนาเชื่อถือ คาโดยสารของการขนสงทาง รางคอ นข า งสูง กว าค า โดยสารของการขนสง ในรู ป แบบอื่น ตั ว อย า งเช น รถโดยสารประจํา ทางธรรมดาแบบไม มี เครื่ อ งปรั บ อากาศของ ขสมก. มี อั ต ราค า โดยสารขั้ น ต่ํ า อยู ที่ 6.50 บาท สํ า หรั บ เส น ทางส ว นใหญ ภ ายในเขต กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล และรถโดยสารประจําทางแบบมีเครื่องปรับอากาศของ ขสมก. มีอัตราคาโดยสารขั้น ต่ําอยูที่ 10 บาท โดยคาโดยสารจะเพิ่มขึ้นไปตามระยะทางการเดินทาง ในขณะที่โครงขายการขนสงทางรางมีอัตราคา โดยสารขั้นต่ําที่ 15 บาท โดยคาโดยสารจะเพิ่มขึ้นไปตามระยะทางการเดินทาง ในชวงระหวางป 2547 ถึง ป 2555 ระบบขนสงสาธารณะ โดยเฉพาะรถโดยสารประจําทางธรรมดาหรือปรับ อากาศ มีการเปลี่ยนแปลงอัตราคาโดยสารไมมากนัก ถึงแมวาราคาน้ํ ามันไดป รับตัว สูง ขึ้นแตทางรัฐบาลไดออก มาตรการเพื่อตรึงราคาคาโดยสารโดยการแบกรับตนทุนคาโดยสารที่เพิ่มขึ้นผานเงินสนับสนุน ดังนั้นอัตราคาโดยสาร

สวนที่ 1 หนา 75


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ของระบบขนสงมวลชนสวนใหญจึงไมไดมีการปรับอัตราขึ้นมากนัก คาโดยสารของระบบขนสงมวลชนตาง ๆ ณ ปจจุบัน (วันที่ 1 มิถุนายน 2556) สามารถสรุปไดดังตารางขางลาง ประเภท รถมินิบัส รถสองแถว รถครีมแดง รถขาว – นํ้าเงิน รถโดยสารทางดวน รถโดยสารปรับอากาศ รถปรับอากาศ (ยูโร II) รถแท็กซี่ รถไฟฟาบีทีเอส รถไฟฟาใตดิน MRT

อัตราคาโดยสารของระบบขนสงมวลชนในกรุงเทพฯ อัตราคาโดยสาร (บาท) หมายเหตุ 8.00 ราคาเดียวตลอดสาย 7.00 ราคาเดียวตลอดสาย 6.50 ราคาเดียวตลอดสาย 8.00 ราคาเดียวตลอดสาย 9.50 ราคาเดียวตลอดสาย 10.00 – 18.00 ราคาตามระยะทาง 11.00 – 23.00 ราคาตามระยะทาง ≥ 35.00 เริ่มตนที่ 35 บาท สําหรับระยะทาง 1 กิโลเมตรแรก หลังจากนั้นคิดตามระยะทาง 15.00 – 42.00 เริ่มที่ 15 บาท และเพิ่มขึ้นตามจํานวนสถานี 16.00 – 40.00 เริ่มที่ 15 บาท และเพิ่มขึ้นตามจํานวนสถานี

ที่มา: ขอมูลจากองคการขนสงมวลชนกรุงเทพฯ บีเอ็มซีแอล และบีทีเอสซี

อยางไรก็ดี ในชวงสองถึงสามทศวรรษที่ผานมา ประเทศไทยมีความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเปนอยางมาก เนื่องจากประเทศไทยไดเปลี่ยนผานจากระบบเศรษฐกิจที่อาศัยภาคเกษตรกรรมเปนหลักมาเปนระบบเศรษฐกิจที่อาศัย การใหบริการและการสงออกเปนหลัก จากขอมูลของธนาคารโลก ผลผลิตมวลรวมในประเทศตอหัว (GDP per capita) ที่แทจริงของประเทศไทยเพิ่มขึ้นในอัตราการเติบโตรวมอยูที่รอยละ 9.8 ในระหวางป 2545 ถึง 2554 นอกจากนี้ จาก ขอมู ลของสํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสัง คมแหง ชาติ และสํานั กสถิติพยากรณ (สํานักงานสถิติ แหงชาติ) ของประเทศไทย ในป 2553 กรุงเทพมหานคร มีประชากรคิดเปนรอยละ 10.7 ของประชากรทั้งหมดของ ประเทศ และมีผลผลิตมวลรวมคิดเปนประมาณรอยละ 24.9 ของผลผลิตมวลรวมในประเทศ (GDP) ของประเทศ โดย ผลผลิตมวลรวมจังหวัดตอหัว (gross provincial product per capital) สําหรับกรุงเทพมหานคร อยูที่ประมาณ 365,619 บาท ในป 2553 โดยเพิ่ ม ขึ้ น จาก 254,087 บาท เมื่ อ ป 2545 คิ ด เป น อั ต ราการเติ บ โตรวมอยู ที่รอยละ 4.7

สวนที่ 1 หนา 76


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ที่มา: Economic Intelligence Unit, Euromonitor

การเพิ่มขึ้นของรายไดทําใหผูโดยสารในกรุงเทพมหานคร มีกําลังใชจายสําหรับการใชบริการการขนสงมวลชน ทางรางเพิ่มขึ้น เนื่องจากการเพิ่มขึ้นของจํานวนประชากร และการขยายตัวทางเศรษฐกิจของกรุงเทพมหานคร ประกอบกับผูที่อาศัยในกรุงเทพมหานคร มีกําลังใชจายมากขึ้น จึงมีการคาดการณวาจะมีผูโดยสารที่เดินทางดวยการ ขนสงสาธารณะทางถนนเปลี่ยนมาใชการขนสงทางรางที่คอนขางรวดเร็วและสะดวกสบายมากขึ้นในจํานวนมากขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อมีแผนสวนตอขยายของการขนสงทางรางซึ่งครอบคลุมพื้นที่สวนใหญของกรุงเทพมหานครและ เขตปริมณฑล 4.1.3.5 การเพิ่มขึ้นของจํานวนประชากร กรุงเทพฯ เปนเมืองหลวงของประเทศไทย มีพื้นที่รวมทั้งหมด 1,562.2 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรอาศัยอยู อยางหนาแนน การเปลี่ยนแปลงของจํานวนประชากรในกรุงเทพมหานคร เปนสาเหตุหนึ่งที่ทําใหการใชระบบขนสง มวลชนทางรางเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื่อพิจารณาถึงการจราจรที่หนาแนนตามที่ไดกลาวมาขางตน ตามสถิติของ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ จํานวนประชากรในกรุงเทพมหานคร ยังคงเพิ่มขึ้น อยางตอเนื่องในชวง 10 ปที่ผานมา ปจจุบันการเดินทางในกรุงเทพฯ ถือไดวาเปนปญหาหลักที่เกิดขึ้น เนื่องจากความหนาแนนของประชากรและ ระบบขนสงมวลชนที่ไมครอบคลุมเพียงพอ ณ สิ้นป 2555 จํานวนประชากรที่อาศัยอยูในกรุงเทพฯ เฉพาะตามสํามะโน ประชากร มีจํานวน 5.7 ลานคน และจํานวนประชากรรวมอาจสูงถึงประมาณ 8 ลานคน หากนับรวมจํานวนประชากร แฝง (ประชากรที่อาศัยอยูโดยมิไดมีรายชื่อในทะเบียนบาน) จํานวน และ อัตราการเติบโตของประชากรอาศัยอยูกรุงเทพฯ ตามสํามะโนประชากร ณ 31 ธันวาคม หนวย : คน 2549 2550 2551 2552 2553 2554 2555 ประชากรกรุงเทพฯ 5,695,956 5,716,248 5,710,883 5,702,595 5,701,394 5,674,843 5,673,560 อัตราการเติบโต (รอยละ) 0.4 (0.0) (0.1) (0.0) (0.5) (0.0) ที่มา : กระทรวงมหาดไทย

สวนที่ 1 หนา 77


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

พื้นที่ในเสนทางของระบบรถไฟฟาบีทีเอสซึ่งสวนใหญอยูภายในบริเวณยานศูนยกลางธุรกิจ (Central Business District ที่รวมถึงพื้นที่ถนนสีลม สาทร สุรวงศ พระราม 4 เพลินจิต วิทยุ สุขุมวิทตอนตน และอโศก) มีการเติบโตอยาง ตอเนื่อง โดยจะเห็นไดจากอัตราการเติบโตของอุปทานของคอนโดมิเนียมในใจกลางกรุงเทพฯ (พื้นที่ใจกลางกรุงเทพฯ รวมถึงพื้นที่ภายในยานศูนยกลางธุรกิจ ถนนสุขุมวิทตอนปลายและถนนพระราม 3 โดยอัตราการเติบโตในป 2555 ยังคงอยูในระดับสูง จึงนาจะเปนประโยชนตอระบบรถไฟฟาบีทีเอสที่ใหบริการครอบคลุมพื้นที่ภายในยานศูนยกลาง ธุรกิจ (Central Business District) จํานวน และ อัตราการเติบโตของคอนโดมีเนียมในใจกลางกรุงเทพฯ ณ 31 ธันวาคม หนวย : ยูนิต 2550 2551 2552 2553 2554 จํานวนคอนโดมิเนียมรวม (ยูนิต) 178,309 209,965 248,972 282,566 309,513 อัตราการเติบโต (รอยละ) 17.8 18.6 13.5 9.5 จํานวนคอนโดมิเนียมที่เพิ่งกอสรางเสร็จ (ยูนิต) 18,276 31,656 39,007 33,594 26,947 อัตราการเติบโต (รอยละ) 73.2 (23.2) (13.9) (19.8) ในใจกลางกรุงเทพฯ (ยูนิต) 6,334 6,023 9,580 7,027 5,208 อัตราการเติบโต (รอยละ) (4.9) 59.1 (26.6) (25.9) ในยานกลางเมือง (ยูนิต) 11,942 25,633 29,427 26,567 21,739 อัตราการเติบโต (รอยละ) 114.6 14.8 (9.7) (18.2)

2555 346,590 12.0 37,077 37.6 8,476 62.7 28,601 31.6

ที่มา: ซีบี ริชารด เอลลิส ประเทศไทย ณ ธันวาคม 2555

4.1.4

การแขงขัน

บีทีเอสซีตองแขงขันกับการใหบริการการเดินทางหลายรูปแบบในกรุงเทพมหานคร ไดแก รถโดยสารประจํา ทาง รถไฟฟาใตดิน MRT รถแท็กซี่ และรถยนตสวนบุคคล โดยรถโดยสารประจําทางและรถไฟฟาใตดิน MRT จัดเปน คูแขงสําคัญของบีทีเอสซีในสวนของการขนสงมวลชนรายวัน อยางไรก็ตาม แมจะเปนคูแขง แตมีบทบาทในฐานะเปน ผูขนสงและรับผูโดยสารจากสถานีรถไฟฟาบีทีเอส รถโดยสารประจําทางเปนผูใหบริการดานการขนสงมวลชนที่ใหญที่สุดเมื่อวัดจากจํานวนเที่ยวโดยสาร โดย ในชวงระยะเวลา 9 ปที่ผานมา ตั้งแตป 2547 – 2555 ไมมีการเปลี่ยนแปลงอยางมีนัยสําคัญตอคาโดยสารสําหรับการ ขนสงมวลชนในรูปแบบตางๆ โดยเฉพาะอยางยิ่งรถโดยสารประจําทางธรรมดาหรือรถโดยสารประจําทางปรับอากาศ ทั้งนี้ แมวาราคาน้ํามันจะสูงขึ้นมาโดยตลอด แตรัฐบาลมีนโยบายตรึงราคาคาโดยสารไวโดยการเพิ่มเงินอุดหนุน ดังนั้น บริ ษั ท รถโดยสารประจํ า ทางส ว นใหญ จึ ง ไม ไ ด ป รั บ ขึ้ น ราคาค า โดยสารแต อ ย า งใด นอกจากนี้ ในป จ จุ บั น บริ ษั ท รถโดยสารประจําทางบางบริษัทใหบริการแกประชาชนโดยไมคิดคาบริการ บีทีเอสซีคาดวาในอนาคต รถโดยสารประจํา ทางยังคงเปนผูใหบริการการขนสงมวลชนหลักอยู อยางไรก็ดี การใหบริการของรถโดยสารประจําทางไดรับผลกระทบ จากสภาพจราจรที่ติดขัด โดยเฉพาะอยางยิ่งระหวางระยะเวลาเรงดวน ดังนั้น บีทีเอสซีจึงสามารถแขงขันกับรถโดยสาร ประจําทางไดจากระยะเวลาในการเดินทางที่รวดเร็วกวาและมีความสะดวกสบายมากกวา เนื่องจากรถไฟฟาบีทีเอส ไมไดรับผลกระทบจากการจราจรที่ติดขัด มีเครื่องปรับอากาศภายในรถ และเดินทางดวยความรวดเร็ว 4.1.5

กลยุทธของธุรกิจรถไฟฟาบีทีเอส กลยุทธดังตอไปนี้ จะทําใหธุรกิจรถไฟฟาบีทีเอสมีแนวโนมที่ดี สวนที่ 1 หนา 78


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

การเพิ่มศักยภาพของบีทีเอสซีในการใหบริการลูกคาและการเพิ่มจํานวนผูโดยสาร บีทีเอสซีมุงที่จะเพิ่มศักยภาพในการใหบริการลูกคาและการเพิ่มจํานวนผูโดยสารดวยการเพิ่มตูโดยสาร เนื่องจากบีทีเอสซีคาดวาจํานวนผูโดยสารจะยังคงเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง โดยเฉพาะเมื่อมีการเปดสวนตอขยายใน อนาคต (ไมวาจะดําเนินงานโดยบีทีเอสซีหรือไมก็ตาม) ทั้งจากเสนทางใหบริการเดิมและจากสวนเชื่อมตอไปยัง จุดหมายปลายทางตางๆ ตลอดเสนทางที่เพิ่มขึ้น ทั้งนี้ บีทีเอสซีไดเพิ่มตูโดยสารอีกหนึ่งตูในขบวนรถไฟฟาขนาด 3 ตูโดยสารทั้ง 35 ขบวน (ซึ่งไดรับมอบครบถวนแลว) ซึ่งจากเดิมที่ขบวนรถไฟฟาที่ใหบริการเปนขนาด 3 ตูโดยสาร จํานวน 35 ขบวน และขนาด 4 ตูโดยสารจํานวน 12 ขบวน ปจจุบันรถไฟฟาที่ใหบริการปรับเปลี่ยนเปนรถไฟฟาแบบ 4 ตูตอขบวนทั้งหมด นอกจากนี้ บีทีเอสซียังไดสั่งซื้อขบวนรถไฟฟาขนาด 4 ตูโดยสารอีก 5 ขบวน จากซีอารซี ซึ่งคาดวา จะไดรับมอบขบวนรถไฟฟาใหมในปลายป 2556 โดยในอนาคตบีทีเอสซีก็จะยังมีการสั่งซื้อขบวนรถไฟฟาและตูโดยสาร เพิ่มเติมเพื่อรองรับจํานวนผูโดยสารที่เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง บีทีเอสซียังคงเพิ่มจุดเชื่อมตอกับอาคารตางๆ ตลอดเสนทางระบบรถไฟฟาขนสงมวลชนกรุงเทพสายหลัก โดยเจาของอาคารจะเปนผูออกคาใชจายกอสรางและการดูแลรักษาทางเชื่อม และไดพัฒนาการใหบริการการออกตั๋ว รวมโดยบริษัทยอย บีเอสเอส ภายใตชื่อบัตร “rabbit” ซึ่งสามารถใชเพื่อการชําระราคาสินคาดวยบัตรอิเล็กทรอนิกส ตามรานคาที่รวมรับบัตรนี้ ระบบการออกตั๋วรวมจะทําใหบัตรใบเดียวสามารถนําไปใชชําระคาโดยสารของระบบ ขนสงมวลชนหลายประเภทที่แตกตางกัน โดยในปจจุบัน บัตร rabbit สามารถใชโดยสารรถไฟฟาบีทีเอส รถโดยสาร ด วนพิ เ ศษ BRT และในอนาคตจะสามารถใช กับ เครื อขา ยระบบขนสง มวลชนอื่น ๆ เชน รถไฟฟ าใตดิ น MRT ซึ่ ง บีทีเอสซีเชื่อวาจะเพิ่มความสะดวกสบายใหแกผูโดยสารและจะสงผลใหมีการใชรถไฟฟาบีทีเอสมากขึ้น นอกจากนี้ การนํ าสมารท การด มาใชนอกจากจะชว ยเพิ่ ม ความสะดวกใหกับผูใชบริการรถไฟฟาแลว ยั ง จะทําใหการบริห าร คาใชจายของบีทีเอสซีมีประสิทธิภาพดีขึ้น เนื่องจากระบบที่ใชกับสมารทการดดังกลาวไมตองมีการบํารุงรักษามาก เทากับระบบบัตรแมเหล็กที่บีทีเอสซีใชอยู การเพิ่มประสิทธิภาพในการดําเนินงาน แมวาบีทีเอสซีจะมีประสิทธิภาพและความสามารถในการรักษาระดับตนทุนในการดําเนินการ (Operational Leverage) บีทีเอสซีก็ยังคงหาทางที่จะเพิ่มประสิทธิภาพในการดําเนินงานอยางตอเนื่อง ซึ่งรวมถึงการบํารุงรักษาระบบ ที่มีความสําคัญตางๆ ดวยตนเองแทนที่จะใชบริการบุคคลภายนอก เพื่อใหมั่นใจวาบุคคลกรของบีทีเอสซีจะไดรับ การถายทอดความรูมาจากผูขาย และเปนการเพิ่มศักยภาพการบริหารตนทุนการบํารุงรักษา บีที เ อสซี ได เ ข าทํ า การบํา รุ ง รัก ษาระบบไฟฟา และเครื่ อ งกลที่สํ าคั ญ ซึ่ง รวมถึ ง ระบบการเก็ บค า โดยสาร อัตโนมัติในป 2548 และระบบ TETRA train radio ที่ไดรับการปรับปรุงในป 2553 และไดบํารุงรักษาขบวนรถไฟฟา ใหมจํานวน 12 ขบวนที่ไดซื้อมาจากซีอารซี (ซึ่งเปนบริษัทยอยของ China Northern Locomotive and Rolling Stock Industry Group Corp. ซึ่งเปนบริษัทผลิตรถไฟและรถไฟฟาชั้นนําในประเทศจีน) ดวยตนเอง นอกจากนี้ บีทีเอสซี อาจจะพิจารณาทําการบํารุงรักษาขบวนรถไฟฟาจํานวน 35 ขบวน และระบบไฟฟาและเครื่องกลอื่นๆ หลังจากสัญญา ซอมบํารุงที่มีกับซีเมนสหมดอายุลงในเดือนธันวาคม 2557 ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับผลประโยชนที่จะเกิดขึ้นกับบีทีเอสซีและ ความเสี่ยงที่อาจจะเกิดขึ้น

สวนที่ 1 หนา 79


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

4.2

ธุรกิจสื่อโฆษณา

4.2.1

ลักษณะการดําเนินธุรกิจ

แบบ 56-1 ป 2555/56

บริษัทฯ ประกอบธุรกิจสื่อโฆษณาผานกลุมวีจีไอ ในปจจุบันเครือขายสื่อโฆษณาภายใตการบริหารจัดการของ กลุมวีจีไอแบงออกเปน 3 เครือขายหลัก คือ (1) สื่อโฆษณาในระบบรถไฟฟาบีทีเอส (2) สื่อโฆษณาในโมเดิรนเทรด และ (3) สื่อโฆษณาในอาคารสํานักงานและอื่น ๆ ซึ่งรวมถึงการใหบริการสื่อโฆษณาในระบบรถโดยสารในจุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย การเปนตัวแทนขายสื่อโฆษณาประเภทจอ LED และการรับผลิตงานโฆษณา โดยรายละเอียดเครือขาย สื่อโฆษณาและการใหบริการของกลุมวีจีไอ มีดังแสดงในแผนภาพดานลางนี้

ทั้งนี้ ในแบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2555/56 (แบบ 56-1) นี้ จะแสดงขอมูลเกี่ยวกับธุรกิจสื่อโฆษณา โดยสังเขป สําหรับรายละเอียดเพิ่มเติม โปรดพิจารณาแบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2555/56 (แบบ 56-1) ของ บริษัท วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย จํากัด (มหาชน) (วีจีไอ) 4.2.1.1 ในระบบรถไฟฟาบีทีเอส (1)

สื่อโฆษณาในระบบรถไฟฟาบีทีเอส

วีจีไอมีรายไดจากการใหบริการสื่อโฆษณาในระบบรถไฟฟาบีทีเอส และใหเชาพื้นที่เชิงพาณิชยบนสถานี รถไฟฟาบีทีเอส (เฉพาะสถานีในระบบรถไฟฟาขนสงมวลชนกรุงเทพสายหลัก 23 สถานี) ตามสัญญาใหสิทธิบริหาร จัดการดานการตลาดในระบบรถไฟฟาบีทีเอส ซึ่งใหสิทธิวีจีไอแตเพียงผูเดียวในการบริหารจัดการพื้นที่อันประกอบดวย สื่อโฆษณาบนขบวนรถไฟฟา สื่อโฆษณาบนสถานี และชานชาลา และพื้นที่เชาสําหรับรานคาบนสถานีรถไฟฟา โดย สัญญาใหสิทธิดังกลาวมีอายุถึงเดือนธันวาคม 2572 ซึ่งเปนเวลาเดียวกับเวลาการสิ้นสุดของสัญญาสัมปทานระหวาง บีทีเอสซี กับ กทม. โดยวีจีไอเปนผูลงทุนในการจัดหาและติดตั้งเครือขายสื่อโฆษณาพรอมวัสดุอุปกรณที่ใชดําเนินการ ตางๆ รวมไปถึงรับผิดชอบคาใชจายที่เกี่ยวกับการติดตั้งปายโฆษณา การบํารุงรักษาซอมแซมอุปกรณใหคงสภาพดี ตลอดระยะเวลาของสัญญา

สวนที่ 1 หนา 80


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

สื่อโฆษณาในระบบรถไฟฟาบีทีเอสของวีจีไอครอบคลุมพื้นที่โฆษณาประมาณ 27,000 ตารางเมตร ใน 23 สถานี ระยะทางรวม 23.5 กิโลเมตร และรถไฟฟาบีทีเอสจํานวน 47 ขบวน ปจจุบันวีจีไอไดติดตั้งสื่อโฆษณาครอบคลุม พื้นที่ทั้งหมดใน 20 สถานีหลัก (Prime Stations) ที่มีความหนาแนนในการสัญจรของผูโดยสารในสถานีจํานวนมาก ประกอบไปดวยสถานีหมอชิต สะพานควาย อารีย อนุสาวรียชัยสมรภูมิ พญาไท ราชเทวี สยาม ชิดลม เพลินจิต นานา อโศก พรอมพงษ ทองหลอ เอกมัย ออนนุช สนามกีฬาแหงชาติ ราชดําริ ศาลาแดง ชองนนทรี และสุรศักดิ์ สวนอีก 3 สถานีที่จัดเปนสถานีรอง (Non-Prime Stations) เนื่องจากมีอัตราความหนาแนนในการสัญจรของผูโดยสารในสถานี นอยกวาสถานีหลัก ไดแก สถานีสนามเปา สะพานตากสิน และพระโขนง ซึ่งวีจีไอไดติดตั้งสื่อโฆษณาครอบคลุมพื้นที่ เพียงบางสวนของสถานีและชานชาลา ทั้งนี้ สื่อโฆษณาในระบบรถไฟฟาบีทีเอส แบงเปน 2 ประเภทหลัก คือ สื่อมัลติมีเดีย (Multimedia) และสื่อ ภาพนิ่ง (Static) (1.1) สื่อมัลติมีเดีย (Multimedia) ประกอบไปดวยสื่อโฆษณาที่สามารถนําเสนอไดทั้งภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียง ซึ่งบริษัทนําเสนอสื่อดังกลาวบนจอดิจิตอลบนสถานีรถไฟฟาบริเวณชานชาลาที่รอรถไฟฟา และจอดิจิตอลภายใน รถไฟฟา (1.2) สื่อภาพนิ่ง (Static Media) โดยสื่อโฆษณาภาพนิ่งกระจายอยูทั่วไปตั้งแตบันไดทางขึ้น หองขายตั๋ว โดยสาร บริเวณชานชาลารถไฟฟาบีทีเอส ภายในรถไฟฟา และพื้นผิวดานนอกของรถไฟฟา ทั้งนี้ พื้นที่ติดตั้งของสื่อ โฆษณาประเภทนี้แบงออกไดดังนี้ สื่อภาพนิ่งภายนอกบนตัวรถไฟฟาบีทีเอส (Train Body Wrap Media) และสื่อ ภาพนิ่งภายในรถไฟฟาบีทีเอส (In-Train Media) สื่อภาพนิ่งบนสถานีและบริเวณชานชาลารถไฟฟาบีทีเอส (2)

พื้นที่เชิงพาณิชยบนสถานีรถไฟฟาบีทีเอส

วีจีไอไดรับสิทธิในการดําเนินการใหเ ชาพื้นที่เชิงพาณิชยบนสถานีตามสัญญาใหสิทธิบริหารจัดการดาน การตลาดในระบบรถไฟฟาบีทีเอสจากบีทีเอสซี โดยวีจีไอไดรับสิทธิแตเพียงผูเดียวในการบริหารจัดการพื้นที่เชารานคา ภายในระบบรถไฟฟ า ขนส ง มวลชนกรุ ง เทพสายหลั ก ป จ จุ บั น วี จี ไ อบริ ห ารพื้ น ที่ เ ชิ ง พาณิ ช ย บ นสถานี ร ถไฟฟ า บีทีเอส ประมาณ 6,000 ตารางเมตร ซึ่งมีรานคา (Shop) และซุมจําหนายสินคา (Kiosk) รวมเปนจํานวนเกือบ 1,000 ราน ใน 23 สถานี 4.2.1.2 สื่อโฆษณาในโมเดิรนเทรด ปจจุบันวีจีไอใหบริการสื่อโฆษณาในโมเดิรนเทรด 3 ราย ซึ่งไดแก Tesco Lotus Big C และ Watsons ซึ่งมี สาขาครอบคลุมทั่วประเทศไทย ทําใหสื่อโฆษณาสามารถเขาถึงผูบริโภคที่มีฐานกวางครอบคลุมทุกกลุมเปาหมาย โดยเฉพาะผูที่มีระดับรายไดนอยถึงปานกลางทั่วประเทศ สื่อโฆษณาในโมเดิรนเทรดนั้นถือเปนสื่อที่มีประสิทธิภาพใน การโนมนาวผูบริโภคใหเกิดการตัดสินใจซื้อสินคาแบบฉับพลันโดยไมไดวางแผนลวงหนา (Impulse Buying) เนื่องจาก เปนการโฆษณา ณ จุดขายสินคาและเปนการย้ําเตือนการระลึกถึงสินคาครั้งสุดทายกอนที่ผูบริโภคจะตัดสินใจและเลือก ซื้อสินคา จึงถือไดวาเปนสื่อที่อยูถูกสถานที่ ถูกเวลา ถูกกลุมเปาหมาย ณ วั น ที่ 31 มี น าคม 2556 จํ า นวนสาขาที่ ก ลุ ม วี จี ไ อได สิ ท ธิ จ ากโมเดิ ร น เทรดในการเข า ไปบริ ห ารพื้ น ที่ สื่อโฆษณา มีดังนี้

สวนที่ 1 หนา 81


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

จํานวนสาขาโมเดิรนเทรด ณ วันที่ 31 มีนาคม 2556 1) สื่อภาพนิ่ง - จํานวนสาขาที่บริษัทไดสิทธิจากโมเดิรนเทรด - จํานวนสาขาที่บริษัทติดตั้งสื่อโฆษณาแลว

แบบ 56-1 ป 2555/56

Tesco Lotus ใหญ กลาง เล็ก 106

214

ทุกสาขา ทุกสาขา 102 112

ใหญ

Big C กลาง

เล็ก

114

21

164

1,144 250 250

ทุกสาขา ทุกสาขา ทุกสาขา 105 8 -

Watsons 250 -

2) สื่อวิทยุ ณ จุดขาย - จํานวนสาขาที่บริษัทไดสิทธิจากโมเดิรนเทรด ทุกสาขา ทุกสาขา ทุกสาขา ทุกสาขา ทุกสาขา ทุกสาขา - จํานวนสาขาที่บริษัทติดตั้งสื่อโฆษณาแลว 106 214 1,144 114 21 164 3) สื่อมัลติมีเดีย - จํานวนสาขาที่บริษัทไดสิทธิจากโมเดิรนเทรด 31 ทุกสาขา ทุกสาขา ทุกสาขา ทุกสาขา - จํานวนสาขาที่บริษัทติดตั้งสื่อโฆษณาแลว 31 45 239 หมายเหตุ: - ทุกสาขา รวมถึงสาขาที่จะเกิดขึ้นในอนาคต - สาขาขนาดใหญของ Tesco Lotus รวม Tesco Lotus Hypermarket และ Extra, Big C รวม Big C Hypermarket Extra และ Jumbo - สาขาขนาดกลางของ Tesco Lotus รวม Tesco Lotus Value และ Talad, Big C หมายถึง Big C Market - สาขาขนาดเล็กของ Tesco Lotus หมายถึง Tesco Lotus Express, Big C หมายถึง Mini Big C

กลุมวีจีไอไดรับสิทธิแตเพียงผูเดียวในพื้นที่ตามที่ระบุในสัญญาใหสิทธิโฆษณาในโมเดิรนเทรด ซึ่งสวนใหญมี ระยะเวลาประมาณ 3-5 ป ทั้งนี้ ลักษณะการจายคาตอบแทนสิทธิใหแกเจาของโมเดิรนเทรดมีทั้งการจายในลักษณะของ สวนแบงรายไดตามอัตราที่ตกลงกันในสัญญา ซึ่งมีการกําหนดคาธรรมเนียมขั้นต่ํารายป ซึ่งอาจมีการปรับเพิ่มขึ้นตาม สัญญา และการจายในลักษณะอัตราคงที่ตลอดอายุสัญญา ขึ้นอยูกับขอตกลงในแตละสัญญา พื้นที่ในโมเดิรนเทรดทั้งใน Tesco Lotus และ Big C แบงเปนพื้นที่ Sales Floor และพื้นที่ Non-Sales Floor โดยพื้นที่ Sales Floor คือ พื้นที่ตั้งแตบริเวณหลังจุดชําระเงิน (Cashier Counter) ซึ่งรวมไปถึงพื้นที่บริเวณชั้นวางขาย สินคาของหาง สวนพื้นที่ Non-Sales Floor คือ พื้นที่ดานนอก ซึ่งรวมถึงบริเวณรานอาหาร รานคา ธนาคาร บริเวณ ทางเขาหาง และที่จอดรถ ทั้งนี้กลุมวีจีไอไดรับสิทธิแตเพียงผูเดียว (Exclusive Rights) จาก Tesco Lotus และ Big C ใหบริหารพื้นที่โฆษณาในทั้งสองสวนครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศไทย สื่อโฆษณาในโมเดิรนเทรดที่กลุมวีจีไอใหบริการสามารถแบงตามประเภทของสื่อโฆษณาไดเปน 2 ประเภท คือ สื่อดิจิตอล (Digital) และสื่อภาพนิ่ง (Static) (1)

สื่อดิจิตอล (Digital)

แบงไดเปน สื่อมัลติมีเดีย และสื่อวิทยุ ณ จุดขาย โดยมีรายละเอียดดังนี้ (1.1) สื่อมัลติมีเดีย - สื่อมัลติมีเดียที่ติดตั้งในพื้นที่โมเดิรนเทรด ไดแก จอดิจิตอลซึ่งติดตั้งในบริเวณศูนย รวมของผูคน เชน บริเวณศูนยอาหาร (Food Court) จุดชําระเงิน (Cashier Counters) และบริเวณที่จัดวางสินคา จําเปนในชีวิตประจําวัน เชน ผลิตภัณฑสุขภาพและความงาม (Health and Beauty Products) อาหารแหงและ เครื่องดื่ม (Food and Beverage) และสินคาที่ใชในบาน (Household Products)

สวนที่ 1 หนา 82


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

(1.2) สื่อวิทยุ ณ จุดขาย (Point Of Purchase Radio: POP Radio) – กลุมวีจีไอเปนผูไดรับสิทธิดานเสียง แตเพียงผูเดียวใน Tesco Lotus และ Big C ทุกสาขา โดยมี บริษัท 999 มีเดีย จํากัด ซึ่งเปนบริษัทยอย เปนผูบริหาร และผลิตรายการวิทยุจํานวน 2 รายการ ไดแก Tesco Lotus Radio และ Big C Radio ซึ่งทั้งสองรายการเนนการหา รายไดจากการขายเวลาโฆษณา (2)

สื่อภาพนิ่ง (Static)

สื่อโฆษณาภาพนิ่งมีหลากหลายรูปแบบซึ่งออกแบบโดยกลุมวีจีไอ และจะถูกติดตั้งทั่วบริเวณของหาง ทั้งใน พื้นที่ Sales Floor และพื้นที่ Non-Sales Floor เพื่อใหเขาถึงผูบริโภค ณ จุดขาย และทุก ๆ จุดที่เปนทางเดินผาน เพื่อใหเกิดประสิทธิผลสูงสุดในการโฆษณาประชาสัมพันธสินคา ทั้งนี้ สื่อโฆษณาภาพนิ่งที่ถูกติดตั้งในพื้นที่ Sales Floor และพื้นที่ Non-Sales Floor มีลักษณะดังนี้ (2.1) สื่อโฆษณา ณ จุดขายบนพื้นที่ Sales Floor (POP Media on Sales Floor Area) - สื่อโฆษณาใน พื้นที่ Sales Floor ถือวาเปนสื่อที่มีความสําคัญในการโนมนาวและสรางการตัดสินใจในการซื้อ ณ จุดขายของผูบริโภค เปนอยางยิ่ง เหตุเพราะสื่อนั้นทําใหสินคามีความโดดเดน ชวยกระตุนเตือนใหผูบริโภคตัดสินใจเลือกซื้อสินคานั้น ๆ ซึ่ง โดยทั่วไปผูบริโภคจะใหความสําคัญกับสิ่งรอบตัวในระหวางการจับจายใชสอย และใหความสําคัญกับสื่อที่พบเห็น กลุม วีจีไอจะดําเนินการติดตั้งสื่อโฆษณาในรูปแบบตาง ๆ ที่มีความนาสนใจในบริเวณชั้นวางสินคาอุปโภคบริโภค ไดแก Shelf Frame, Shelf Divider, Shelf Pop-Up, ปายโฆษณาบริเวณตูแชเย็น (Chiller Ad) ปายโฆษณาเหนือชั้นวาง สินคา (Top Gon) และที่อื่น ๆ ในบริเวณชั้นวางสินคาประเภทตาง ๆ ไดแก (1) ผลิตภัณฑสุขภาพและความงาม (Health & Beauty Products) (2) สินคาอาหารสด (Fresh Food) (3) ผลิตภัณฑที่ทําจากนมและอาหารแชแข็ง (Dairy & Frozen Food) (4) สินคาอาหารและเครื่องดื่ม และสินคาใชในบาน (Food & Beverage, Household & Club Pack) (5) เครื่องใชไฟฟา (Electrical) และ (6) เสื้อผาเครื่องแตงกาย (Apparel) (2.2) สื่อโฆษณาบนพื้นที่ Non-Sales Floor - สื่อโฆษณาบนพื้นที่ Non-Sales Floor ประกอบดวยสื่อ โฆษณาปายภาพนิ่งในพื้นที่บริเวณดานนอกบริเวณชั้นวางขายสินคาทั้งหมดตั้งแตถนนทางเขาหาง ที่จอดรถ บริเวณ ทางเขาหาง บริเวณรานอาหาร รานคา ศูนยอาหาร หองน้ํา ที่จอดรถเข็น ประตูเซ็นเซอร ทั้งนี้ การติดตั้งสื่อในบริเวณ พื้นที่ Non-Sales Floor นี้ จะติดตั้งตามแนวเสนทางการเดินเขาสูพื้นที่ Sales Floor ซึ่งเปนการกระตุนใหผูบริโภคนึก ถึงสินคาไดตลอดทาง โดยเจาของสินคาสามารถเลือกใชสื่อไดหลาย ๆ ตําแหนงในแตละจุดติดตั้ง เพื่อเปนการย้ําให ผูบริโภคจดจําภาพสินคาได และนําผูบริโภคไปจนถึงชั้นวางขายสินคานั้น 4.2.1.3 สื่อโฆษณาในอาคารสํานักงานและอื่นๆ (1)

สื่อโฆษณาในอาคารสํานักงาน

กลุมวีจีไอดําเนินธุรกิจใหบริการสื่อโฆษณาในอาคารสํานักงานผานบริษัทยอย คือ บริษัท พอยท ออฟ วิว (พีโอวี) มีเดีย กรุป จํากัด (“POV”) โดย ณ วันที่ 31 มีนาคม 2556 POV ไดรับสิทธิในการบริหารสื่อโฆษณาในอาคาร สํานักงานจํานวน 51 อาคารทั่วกรุงเทพฯ โดยมีสื่อจอดิจิตอลติดตั้งในอาคารสํานักงานอยูทั้งหมด 451 จอ POV ติดตั้ง จอดิจิตอลขนาด 15 นิ้ว ในลิฟทโดยสารของอาคารสํานักงานชั้นนําในกรุงเทพฯ โดยจํานวนจอที่ติดตั้งในลิฟทโดยสาร ของแตละอาคารมีจํานวน 1-17 จอ แตกตางกันตามจํานวนลิฟทและขนาดของอาคาร สวนเนื้อหาโฆษณามีเนื้อหาที่สั้น กระชับ และสื่อสารเฉพาะขอความสําคัญ เพื่อใหผูชมรับสารไดอยางครบถวน เนื่องจากระยะเวลาในการโดยสารลิฟท นั้นเฉลี่ยอยูที่เพียง 1 นาทีเทานั้น สวนที่ 1 หนา 83


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

(2)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ธุรกิจอื่น

นอกเหนือจากการดําเนินธุรกิจหลักในการเปนผูใหบริการสื่อโฆษณาในระบบรถไฟฟาบีทีเอส สื่อโฆษณาใน โมเดิรนเทรด และสื่อโฆษณาในอาคารสํานักงานแลว กลุมวีจีไอยังดําเนินธุรกิจอื่นที่เปนการสรางรายไดอื่นใหกับกลุม ไดแก (2.1) รับผลิตงานโฆษณา กลุมวีจีไอใหบริการรับผลิตงานโฆษณาที่เปนสื่อภาพนิ่ง และ Spot โฆษณาของ สื่อวิทยุ ณ จุดขาย จากลูกคา โดยวีจีไอจะดําเนินการวาจางบริษัทสิ่งพิมพเพื่อดําเนินการผลิต ซึ่งวีจีไอจะเปนผูรวม ควบคุมคุณภาพทั้งในกระบวนการผลิต ติดตั้ง และบํารุงรักษา (2.2)

ตัวแทนขายสื่อโฆษณา

(ก) ตัวแทนขายสื่อโฆษณาบนจอ LED ขนาดใหญ (Mega LED) และจอ LED กลางแจง (Outdoor LED) วีจีไอใหบริการเปนตัวแทนขายสื่อโฆษณาจอ LED ขนาดใหญ ซึ่งมีขนาด 200 ตารางเมตรขึ้นไป บริเวณแยกประตูน้ํา พระรามเกา อนุสาวรียชัยสมรภูมิ และแยกถนนพระรามสี่ตัดกับถนนสาทร และขนาดเล็กกวา 110 ตารางเมตร อีก 6 แหงในกรุงเทพฯ โดยวีจีไอไดรับผลตอบแทนในรูปแบบของการแบงรายได (Revenue Sharing) จาก เจาของสื่อโฆษณาดังกลาว (ข) ตัวแทนขายสื่อโฆษณาในระบบรถไฟฟาแอรพอรตลิ้งค วีจีไอไดรับสิทธิแตเพียงผูเดียวจาก บริษัท โคอะ-ฉะ มีเดีย (ประเทศไทย) จํากัด ในการเปนตัวแทนขายสื่อโฆษณาในระบบรถไฟฟาแอรพอรตลิ้งค ซึ่ง รวมถึงโฆษณาภายในและภายนอกตัวรถไฟฟา และบนสถานีรถไฟฟา โดยวีจีไอไดรับผลตอบแทนในรูปแบบคาบริหาร จัดการเปนรายเดือน (Monthly Management Fee) และสวนแบงรายได (Revenue Sharing) จากผูไดรับสัมปทาน (2.3) สื่อโฆษณาบนรถโดยสารดวนพิเศษ BRT วีจีไอไดรับสิทธิจากบีทีเอสซีในการบริหารจัดการพื้นที่ โฆษณาบนรถโดยสารดวนพิเศษ BRT โดยอัตราคาตอบแทนการใหสิทธิเปนไปตามสัญญาใหสิทธิบริหารจัดการดาน การตลาด โดยระยะเวลาใหสิทธิดังกลาวมีอายุถึงเดือนพฤษภาคม 2560 ทั้งนี้ ในการดําเนินธุรกิจนี้ วีจีไอใหสิทธิแก บริษัท แพลน บี มีเดีย จํากัด โดยระยะเวลาใหสิทธิสิ้นสุดในเดือนพฤษภาคม 2560 สําหรับการใหสิทธิใชพื้นที่โฆษณา บนรถโดยสารดวนพิเศษ BRT ประกอบดวย พื้นที่โฆษณาดานนอกตัวรถ ดานในตัวรถ บริเวณหลังเบาะรถ บริเวณทาง ขึ้นลง บริเวณใตชองแอร บริเวณประตูเขาออกผูโดยสาร กระจกในตัวรถ และจอ LCD ในรถ โดยบริษัท แพลน บี มีเดีย จํากัด เปนผูรับผิดชอบการลงทุนในอุปกรณสื่อโฆษณาทั้งหมด (2.4) สื่อโฆษณาในระบบรถโดยสารในจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย วีจีไอไดเชาสื่อโฆษณาในโครงการเดินรถ โดยสารภายในจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย จากกิจการรวมคาบริษัท สิขร จํากัด และบริษัท พลังงานเพื่อสิ่งแวดลอม จํากัด โดยสัญญาเชาสื่อโฆษณาดังกลาวมีอายุถึงเดือนกันยายน 2556 ทั้งนี้ สื่อโฆษณาภายใตสัญญาเชาโฆษณา ดังกลาว ไดแก สื่อโฆษณา ณ ปายรอรถ สื่อโฆษณาภายในและภายนอกตัวรถ และจอ LCD ในรถโดยสาร

สวนที่ 1 หนา 84


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

4.2.2

แบบ 56-1 ป 2555/56

โครงสรางรายได โครงสรางรายไดแบงตามลักษณะการประกอบธุรกิจของกลุมวีจีไอ แสดงตามตัวเลขในงบการเงินรวมของวีจีไอ ลานบาท สําหรับงวดปสนิ้ สุดวันที่ 31 มีนาคม 2554 2555 2556

รายไดจากธุรกิจสื่อโฆษณาและการ ใหเชาพื้นที่เชิงพาณิชย: ธุรกิจในระบบรถไฟฟาบีทีเอส ธุรกิจในโมเดิรนเทรด ธุรกิจในอาคารสํานักงานและอื่น ๆ รวมรายไดจากธุรกิจสื่อโฆษณาและ การใหเชาพื้นที่เชิงพาณิชย รายไดอื่น รวมรายได

4.2.3

รอยละตอรายไดรวม สําหรับงวดปสนิ้ สุดวันที่ 31 มีนาคม 2554 2555 2556

934.40 390.91 75.73

1,143.18 754.10 80.06

1,422.50 1,249.56 165.75

66.18 27.68 5.36

57.02 37.61 3.99

49.53 43.51 5.77

1,401.03 10.97 1,412.01

1,977.34 27.48 2,004.82

2,837.81 34.03 2,871.84

99.22 0.78 100.00

98.63 1.37 100.00

98.82 1.19 100.00

ภาวะอุตสาหกรรม 4.2.3.1 อุตสาหกรรมสื่อโฆษณาในประเทศไทย

อุตสาหกรรมสื่อโฆษณาเปนอุตสาหกรรมขนาดใหญที่มีมูลคาตลาดรวมทุกสื่อประมาณแสนลานบาทตอป บริษัทดําเนินธุรกิจสื่อโฆษณาในระบบขนสงมวลชน (Mass Transit Media) และสื่อโฆษณาในโมเดิรนเทรด (In-Store Media) ซึ่งในป 2555 มีมูลคาการตลาด 2,960 ลานบาท และ 2,732 ลานบาท ตามลําดับ คิดเปนสัดสวนรอยละ 2.60 และ 2.40 ของมูลคาการตลาดของอุตสาหกรรมโฆษณารวมในป 2555 ตามลําดับ มูลคาการใชจายโฆษณาในอุตสาหกรรม สื่อโฆษณาในประเทศไทย ป 2555

สวนแบงการตลาดการใชจายโฆษณาในอุตสาหกรรม สื่อโฆษณาในประเทศไทย ป 2555

หนวย : ลานบาท ที่มา: บริษัท เดอะนีลเส็น คอมปะนี (ประเทศไทย) จํากัด ที่เปดเผยผานเว็บไซตสมาคมโฆษณาแหงประเทศไทย

สวนที่ 1 หนา 85


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

มูลคาการใชจายโฆษณาในอุตสาหกรรมสื่อโฆษณาในประเทศไทย ป 2551 – ป 2555 ป 2551 ประเภทสื่อ

ป 2552

มูลคา

สวนแบง ตลาด

โทรทัศน

51,137

56.74%

วิทยุ

6,931

7.69%

หนังสือพิมพ

15,282

16.96%

นิตยสาร

5,997

6.66%

5,425

โรงภาพยนตร

4,173

4.63%

สื่อกลางแจง

4,228

ระบบขนสง มวลชน

มูลคา

ป 2553

สวนแบง ตลาด

ป 2554

สวนแบง ตลาด

ป 2555

มูลคา

สวนแบง ตลาด

มูลคา

สวนแบง ตลาด

60,766

60.16%

62,238

59.41%

68,105

59.87%

6.83%

6,113

6.05%

5,918

5.65%

6,358

5.59%

14,147 15.66%

14,987

14.85%

14,541

13.88%

15,183

13.35%

6.01%

5,692

5.64%

5,824

5.56%

5,401

4.75%

4,856

5.38%

5,987

5.93%

7,224

6.90%

7,906*

6.95%

4.69%

3,964

4.39%

3,851

3.81%

4,278

4.08%

4,532

3.98%

1,372

1.52%

1,766

1.95%

2,188

2.17%

2,643

2.52%

2,960

2.60%

โมเดิรนเทรด

826

0.92%

819

0.91%

1,121

1.11%

1,618

1.54%

2,732

2.40%

อินเตอรเน็ต

172

0.19%

259

0.29%

290

0.29%–

470

0.45%

573

0.50%

100.00%

90,320

100.00%

100,993

100.00%

104,754

100.00%

113,751

100.00%

90,118

ทั้งหมด

52,935 58.59%

มูลคา

หนวย : ลานบาท

6,150

ที่มา: บริษัท เดอะนีลเส็น คอมปะนี (ประเทศไทย) จํากัด ที่เปดเผยผานเว็บไซตสมาคมโฆษณาแหงประเทศไทย หมายเหตุ: ณ วันที่ 8 กุมภาพันธ 2556 บริษัท เดอะนีลเส็น คอมปะนี (ประเทศไทย) จํากัด ไดประกาศการปรับเปลี่ยนการคํานวนอัตราคาโฆษณาใน สื่อโรงภาพยนตใหม โดยทําการแกไขขอมูลตั้งแตป 2555 เปนตนไป

จากขอมูล บริษัท เดอะนีลเส็น คอมปะนี (ประเทศไทย) จํากัด สื่อโฆษณาที่ครองสวนแบงตลาดงบโฆษณาสูง ที่สุดยังคงเปนการโฆษณาผานโทรทัศน ซึ่งมีสวนแบงการตลาดรอยละ 59.87 ในป 2555 อันดับสองไดแก หนังสือพิมพ ซึ่งมีสวนแบงการตลาดรอยละ 13.35 โดยสวนใหญเจาของสินคาจะซื้อสื่อโฆษณาผานเอเจนซี่ สําหรับบริษัทเจาของ สินคาที่ใชจายในอุตสาหกรรมสื่อโฆษณาในประเทศไทยรายใหญที่สุด 5 รายในป 2555 เปนบริษัทผูผลิตสินคาอุปโภค บริโภคจากตางประเทศ ซึ่งมีคาใชจายโฆษณารวมกันเปนเงินทั้งสิ้น 15,934 ลานบาท คิดเปนรอยละ 14.01 ของมูลคา ตลาดรวมของสื่อโฆษณาทั้งหมด โดยมีรายชื่อดังนี้ 1. 2. 3. 4. 5.

บริษัท ยูนิลีเวอรไทยโฮลดิ้งส จํากัด บริษัท โตโยตา มอเตอร ประเทศไทย จํากัด บริษัท โคคา-โคลา (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท พรอคเตอรแอนดแกมเบิลโฮลดิ้ง (ประเทศไทย) จํากัด บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชัน่ จํากัด (มหาชน) รวมสวนแบงตลาดงบโฆษณา

5.84% 2.21% 2.12% 1.97% 1.88% 14.01%

จากขอมูลงบโฆษณาที่ บริษัท เดอะนีลเส็น คอมปะนี (ประเทศไทย) จํากัด เปดเผยผานเว็บไซตสมาคม โฆษณาแหงประเทศไทย ตั้งแตป 2550 ถึงป 2555 พบวาบริษัท ยูนิลีเวอรไทยโฮลดิ้งส จํากัด ครองตําแหนงอันดับ 1 มาอยางตอเนื่อง

สวนที่ 1 หนา 86


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

อัตราการเติบโตของสื่อแตละประเภทในอุตสาหกรรมสื่อโฆษณา 2550

2551

2552

2553

2554

2555

โทรทัศน

0.03%

-4.40%

3.52%

14.79%

2.42%

9.43%

วิทยุ

-4.21%

9.73%

-11.03%

-0.84%

-3.24%

7.45%

หนังสือพิมพ

2.49%

-3.33%

-7.41%

6.01%

-3.06%

4.42%

นิตยสาร

-1.81%

-1.14%

-9.54%

4.94%

2.29%

-7.27%

โรงภาพยนตร

108.10%

-3.87%

16.37%

23.29%

20.66%

9.44%

สื่อกลางแจง

-3.99%

-5.62%

-6.24%

-2.93%

11.14%

5.94%

ระบบขนสง มวลชน

-3.82%

43.51%

28.57%

24.04%

20.79%

12.00%

โมเดิรนเทรด

81.53%

44.91%

-0.85%

36.87%

44.36%

68.85%

อินเตอรเน็ต

-

-

50.58%

11.97%

62.07%

21.81%

2.56%

-2.08%

0.24%

11.81%

3.71%

8.59%

ทั้งหมด ที่มา:

บริษัท เดอะนีลเส็น คอมปะนี (ประเทศไทย) จํากัด ที่เปดเผยผานเว็บไซตสมาคมโฆษณาแหงประเทศไทย

เนื่องจากงบโฆษณาเปนผลรวมของกิจกรรมการตลาดของธุรกิจทุกภาคสวนของประเทศ ดังนั้น งบโฆษณาจึง มีแนวโนมที่จะเพิ่มขึ้นหรือลดลงตามสภาวะการณเศรษฐกิจของประเทศ ปจจัยทางการเมือง พิบัติภัยทางธรรมชาติ และสภาวะเศรษฐกิจ โลกที่ สง ผลต อ เศรษฐกิจ ไทย ดัง เชน ผลจากการเร ง รั ด ฟนฟู ค วามเสี ย หายจากอุ ท กภัย ของ ภาคเอกชน ประกอบกับแรงสนับสนุนจากมาตรการกระตุนเศรษฐกิจของภาครัฐ ทําใหสื่อโฆษณาโดยรวมเริ่มกลับมา มีอัตราการเติบโตที่สูงขึ้น เทากับรอยละ 8.59 ในป 2555 จากรอยละ 3.71 ในปกอน ทั้งนี้ สื่อโฆษณาแนวใหม เชน สื่อโฆษณาในโรงภาพยนตร สื่อโฆษณาในระบบขนสงมวลชน สื่อโฆษณาในโมเดิรนเทรด และสื่อโฆษณาอินเตอรเน็ต ยังคงรักษาอัตราการเติบโตสูงเทียบกับป 2554 เทากับรอยละ 9.44 รอยละ 12.00 รอยละ 68.85 และรอยละ 21.81 ตามลําดับ จากตัวเลขการเติบโตของสื่อตาง ๆ ตั้งแตป 2550 จะพบวาสื่อโฆษณารูปแบบเดิม (Conventional Media) เชน โทรทัศน (ยกเวนป 2553) วิทยุ หนังสือพิมพ และนิตยสาร มีการหดตัวหรือขยายตัวในอัตราที่ลดลง แตสื่อ โฆษณาใหมๆ (New Media) ซึ่งเปนสื่อที่เฉพาะเจาะจงกลุมเปาหมายมากขึ้น เชน สื่อโฆษณาโรงภาพยนตร สื่อ โฆษณาในระบบขนสงมวลชน สื่อโฆษณาในโมเดิรนเทรด และสื่อโฆษณาอินเตอรเน็ต กลับมีการเติบโตอยางตอเนื่อง ในอัตราที่เพิ่มขึ้นทุกป สาเหตุหลักมาจากโครงสรางอุตสาหกรรมโฆษณามีการเปลี่ยนแปลง ผูลงโฆษณามีแนวโนมที่จะ จัดสรรงบโฆษณาโดยเลือกใชสื่อแนวใหมที่มีประสิทธิภาพสูง มีความคุมคา สามารถครอบคลุมและเขาถึงกลุมเปาหมาย ไดทั้งกลุมเฉพาะเจาะจงและกลุมลูกคาฐานกวาง (Mass Market) ในสัดสวนที่เพิ่มมากขึ้น จากขอมูล บริษัท เดอะนีลเส็น คอมปะนี (ประเทศไทย) จํากัด จะเห็นไดวา สื่อโฆษณาในระบบขนสงมวลชน และสื่อในโมเดิรนเทรดมีมูลคาเพิ่มขึ้นทุก ป ซึ่งไมไดเปนการเติบโตตามการขยายตัวของเศรษฐกิจเทานั้น แตยังเปนการเติบโตของสวนแบงตลาดที่เพิ่มมากขึ้น โดยในป 2555 สื่อโฆษณาในระบบขนสงมวลชนและสื่อโฆษณาในโมเดิรนเทรดมีสวนแบงตลาดประมาณรอยละ 2.60 และรอยละ 2.40 ของมูลคาการใชสื่อโฆษณารวมตามลําดับ เพิ่มขึ้นจากสวนแบงตลาดในป 2554 ซึ่งเทากับรอยละ 2.52 และรอยละ 1.54 ตามลําดับ

สวนที่ 1 หนา 87


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

4.2.3.2 อุตสาหกรรมสื่อโฆษณาในระบบขนสงมวลชน และสื่อโฆษณาในโมเดิรนเทรด คาใชจายสื่อโฆษณาในระบบขนสงมวลชนและโมเดิรนเทรดเทียบกับอุตสาหกรรมสื่อโฆษณาโดยรวม ลานบาท

ลานบาท

ที่มา: บริษัท เดอะนีลเส็น คอมปะนี (ประเทศไทย) จํากัด ที่เปดเผยผานเว็บไซตสมาคมโฆษณาแหงประเทศไทย

ในชวงป 2548 - 2555 ธุรกิจสื่อโฆษณาในระบบขนสงมวลชนและสื่อโฆษณาในโมเดิรนเทรดมีอัตราการ เติบโตสูงกวาภาพรวมอุตสาหกรรมโฆษณาอยางมาก โดยอุตสาหกรรมสื่อโฆษณาในประเทศไทยมีอัตราการเติบโต เฉลี่ยรายป (Compound Annual Growth Rate : CAGR) เทากับรอยละ 4.2 ตอป ในขณะที่อัตราการเติบโตของสื่อ โฆษณาในระบบขนสงมวลชนและสื่อโฆษณาในโมเดิรนเทรดอยูในระดับสูง คือ รอยละ 22.7 ตอป และรอยละ 57.4 ตอป ตามลําดับ 4.2.4

ภาวะการแขงขัน

เครือขายสื่อโฆษณาของกลุมวีจีไอไดเปรียบคูแขงจากการเปนเครือขายสื่อโฆษณาที่เกาะติดวิถีชีวิตประจําวัน ของผูบริโภคอยางทันสมัย และแทรกตัวไปกับการดําเนินชีวิตนอกบานของผูบริโภคไมวาจะเปนในระบบรถไฟฟา บีทีเอส ในโมเดิรนเทรด หรือในอาคารสํานักงาน ซึ่งจากผลสํารวจของกลุมวีจีไอพบวา เหตุผลที่เจาของสินคาและ เอเจนซี่เลือกใชสื่อโฆษณาของกลุมวีจีไอเนื่องจากตองการเสริมภาพพจนที่มีความทันสมัย ยกระดับภาพลักษณสินคา ตอกย้ําความถี่ในการรับชมเพื่อสรางความภักดีในตัวสินคา สรางความโดดเดนใหสินคา และเห็นวาสื่อของกลุมวีจีไอมี ศั ก ยภาพเข า ถึ ง ผู บ ริ โ ภคกลุ ม เป า หมายได ดี อี ก ทั้ ง ยั ง กระตุ น ความต อ งการของผู บ ริ โ ภค ณ จุ ด ขายได อ ย า งมี ประสิทธิภาพ และบรรยายสรรพคุณผลิตภัณฑ/บริการไดตอเนื่องสม่ําเสมอ ปจจุบันกลุมวีจีไอเปนผูใหบริการสื่อโฆษณารายใหญที่ครองสวนแบงการตลาดมากที่สุดในธุรกิจสื่อโฆษณาใน ระบบขนสงมวลชนและสื่อโฆษณาในโมเดิรนเทรด โดยมีสวนแบงการตลาด ณ ป 2555 เทากับรอยละ 55 และ 91 ตามลําดับ (คํานวณโดยไมหักสวนลดมาตรฐานเฉลี่ยของสื่อแตละประเภท) สวนที่ 1 หนา 88


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

(1)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ตัวอยางบริษัทที่ดําเนินธุรกิจสื่อโฆษณาในระบบรถไฟฟา ชื่อบริษัท

ประเภทสื่อโฆษณา สื่อโฆษณาภาพนิ่ง และสื่อมัลติมีเดีย บนสถานีรถไฟฟา และขบวนรถไฟฟา สื่อโฆษณาภาพนิ่งบริเวณตอมอรถไฟฟา (บริเวณเกาะกลางถนน) สื่อโฆษณาภาพนิ่ง และสื่อมัลติมีเดีย บนสถานีรถไฟฟา และขบวนรถไฟฟา สื่อโฆษณาภาพนิ่ง บนสถานีรถไฟฟา และขบวนรถไฟฟา

กลุมวีจีไอ ระบบรถไฟฟาบีทเี อส MACO ระบบรถไฟฟาใตดิน MRT

BMN

ระบบรถไฟฟาแอรพอรต เรล ลิงค

กลุมวีจีไอ

ที่มา: MACO = BMN =

บริษัท มาสเตอรแอด จํากัด (มหาชน) บริษัท แบงคอกเมโทรเน็ทเวิรคส จํากัด

(2)

ตัวอยางบริษัทที่ดําเนินธุรกิจสื่อโฆษณาในโมเดิรนเทรด ประเภท

โมเดิรนเทรด

ชื่อบริษัท

Tesco Lotus

กลุมวีจีไอ

Big C

กลุมวีจีไอ

TOPs Central

R.S.-In-Store SFG

The Mall

AIM

7-eleven

ทีวีซ ออดิซิ

Watsons

กลุมวีจีไอ

ไฮเปอรมารเก็ต ซุปเปอรมารเก็ต หางสรรพสินคา

รานสะดวกซื้อ ที่มา: RS In-Store SFG AIM ทีวิซ ออดิซิ

4.2.5

= = = =

ประเภทสื่อโฆษณา สื่อโฆษณาภาพนิ่ง สื่อวิทยุ ณ จุดขาย และสื่อมัลติมีเดีย ภายใน/นอกหาง สื่อโฆษณาภาพนิ่ง สื่อวิทยุ ณ จุดขาย และสื่อมัลติมีเดีย ภายใน/นอกหาง สื่อวิทยุ ณ จุดขายภายในหาง สื่อมัลติมีเดียภายในหาง สื่อโฆษณาภาพนิ่ง และสื่อมัลติมีเดียภายในหาง สื่อโฆษณาภาพนิ่ง และสื่อมัลติมีเดียภายในรานคา สื่อมัลติมีเดียภายในรานคา

บริษัท อารเอส อินสโตร มีเดีย จํากัด บริษัท เอส เอฟ จี จํากัด (มหาชน) บริษัท แอปโซลูท อิมแพค จํากัด (มหาชน) บริษัท ทีวีซ ออดิซิ (ประเทศไทย) จํากัด

กลุมลูกคาเปาหมาย กลุมผูชมสื่อโฆษณาเปาหมายในเครือขายสื่อโฆษณาของกลุมวีจีไอ มีดังนี้ 

สื่อโฆษณาในอาคารสํานักงาน เปนกลุมคนที่มีรายไดระดับกลางไป จนถึงระดับสูงที่อาศัยในกรุงเทพฯ สื่อโฆษณาในระบบรถไฟฟาบีทีเอส เปนกลุมคนที่มีรายได ระดับกลาง กลุมคนทํางาน คนรุนใหมที่อาศัยในกรุงเทพฯ สื่ อ โฆษณาในโมเดิ ร น เทรด (Tesco Lotus Big C และ Watsons) จะเป น กลุ ม คนที่ มี ฐ านรายได ระดับกลางจนถึงระดับลาง ซึ่งเปนคนสวนใหญของประเทศและมีที่อยูอาศัยกระจายอยูทั่วประเทศ สวนที่ 1 หนา 89


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ผลิตภัณฑสื่อโฆษณาของกลุมวีจีไอครอบคลุมกลุมผูชมทุกระดับชั้นทั้งในกรุงเทพฯ และจังหวัดตางๆ ทั่ว ประเทศ โดยลูกคาที่ซื้อสื่อโฆษณากับกลุมวีจีไอโดยสวนใหญเปนการใชสื่อเพื่อสงเสริมการตลาดและการขาย สราง การรับรูแบรนดสินคา (Brand Awareness) และประชาสัมพันธผลิตภัณฑเพื่อสรางความตองการในการบริโภค และการ สรางภาพพจนที่ดีใหแกองคกร โดยกลุมลูกคาสวนใหญจะเปนบริษัทหรือองคกรขนาดใหญที่มีศักยภาพในการเติบโต อยางตอเนื่อง โดยสามารถจําแนกได 2 ประเภทหลัก ดังนี้ (1) ลูกคาประเภทเอเจนซี่ เนื่องจากเจาของสินคาและบริการที่ซื้อสื่อโฆษณาสวนใหญมักใชบริการผาน เอเจนซี่ ซึ่งใหบริการครบวงจรตั้งแตการออกแบบและผลิตชิ้นงานโฆษณา รวมทั้งจัดหาสื่อประเภทตาง ๆ หลาย ประเภท เพื่อออกแคมเปญโฆษณาไดพรอมกันหลาย ๆ สื่อ ดังนั้น กลุมลูกคาประเภทเอเจนซี่จึงเปนกลุมที่ถือครองงบ โฆษณาเปนจํานวนมากจากสินคาและบริการหลากหลายชนิด จึงมีขีดความสามารถในการลงโฆษณากับสื่อตาง ๆ ได อยางตอเนื่อง และมีงบโฆษณาจํานวนมาก (2) ลูกคาที่เปนเจาของสินคาและบริการ คือ บริษัทเอกชน หรือองคกรของรัฐบาล และรัฐวิสาหกิจทั่วไป ซึ่งเปนเจาของสินคาและบริการโดยตรง และตองการติดตอซื้อสื่อโฆษณากับบริษัทโดยตรงโดยไมผานเอเจนซี่ ธุรกิจสื่อโฆษณามีสัดสวนลูกคาที่เปนเอเจนซี่ และลูกคาที่เปนเจาของสินคาและบริการอยูที่ประมาณรอยละ 65.6 และรอยละ 34.4 ตามลําดับ (ขอมูล ณ วันที่ 31 มีนาคม 2556) โดยวีจีไอเล็งเห็นวาการขายผานลูกคาประเภท เอเจนซี่นั้นมีประสิทธิผลกวา เนื่องจากเอเจนซี่มีลูกคาที่เปนเจาของสินคาและบริการจํานวนหลายราย จึงมีความ คลองตัวในการสลับสับเปลี่ยนแผนการใชงบโฆษณาหรือปรับเปลี่ยนงวดเวลาใชสื่อโฆษณาของกลุมวีจีไอ ทําให กลุมวีจีไอไมไดรับผลกระทบเมื่อเจาของสินคาและบริการบางรายมีการเปลี่ยนแปลงแผนการลงโฆษณา สัดสวนลูกคารายใหญ 10 รายแรกตอรายไดรวม ในชวงป 2554 – 2556 ตามงบการเงินรวมของวีจีไอ สําหรับ ปบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2554 2555 และ 2556 เปน รอยละ 67.68 รอยละ 63.48 และรอยละ 65.14 ตามลําดับ ทั้งนี้ ตลอดระยะเวลา 3 ปที่ผานมา วีจีไอไมมีสัดสวนการขายใหแกลูกคารายใดรายหนึ่งเกินกวารอยละ 30 ของรายได รวมในปนั้นๆ 4.2.6

ปจจัยแหงความสําเร็จของธุรกิจ

ธุรกิจสื่อโฆษณาในระบบขนสงมวลชน สื่อโฆษณาในโมเดิรนเทรด และสื่อโฆษณาในอาคารสํานักงาน นับเปน สื่อทางเลือกแนวใหมที่สอดคลองกับรูปแบบการดําเนินชีวิตของผูบริโภคในยุคปจจุบันที่ใชเวลาอยูนอกบานมากขึ้นได เปนอยางดี โดยปจจัยแหงความสําเร็จของธุรกิจ (Key Success Factors) ทั้งการเลือกพื้นที่ติดตั้งสื่อโฆษณาที่มี ศักยภาพสูงในการเขาถึงกลุมเปาหมาย (Location) และการพัฒนารูปแบบการนําเสนอสื่อโฆษณาใหนาสนใจ และมี ความคิดสรางสรรค (Creative) 4.2.7

กลยุทธการแขงขัน

เปาหมายของกลุมวีจีไอ คือ การคงความเปนผูนําในธุรกิจเครือขายสื่อโฆษณาที่ครอบคลุมรูปแบบการดําเนิน ชีวิตสมัยใหมในประเทศไทยและภาคพื้นเอเชีย โดยเนนการเชื่อมตอผูบริโภคกับเจาของสินคาและบริการใหใกลชิดกัน มากขึ้น ในการที่จะบรรลุเปาหมายนี้ กลุมวีจีไอจึงมุงมั่นดําเนินการตามกลยุทธดังตอไปนี้ (1)

ผนึกความแข็งแกรงในความเปนผูนําสื่อโฆษณา Lifestyle Media ดวยการขยายเครือขายพื้นที่ โฆษณาอยางตอเนื่อง สวนที่ 1 หนา 90


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

(2)

แบบ 56-1 ป 2555/56

บริหารจัดการสื่อโดยมุงเนนการตอบสนองความตองการที่แตกตางกันของลูกคาแตละราย เพื่อให เกิดประสิทธิภาพและความพึงพอใจสูงสุด 

การนําเสนอผลิตภัณฑสื่อโฆษณาแบบแพ็คเกจเดี่ยว (Package)

การนําเสนอผลิตภัณฑสื่อโฆษณาแบบเปนแพ็คเกจรวม (Bundle)

(3)

การบริหารงานลูกคาสัมพันธ (Effective CRM System) เพื่อรักษาฐานลูกคาเดิมและขยายฐานไปสู ลูกคากลุมใหม

(4)

ติดตามความเคลื่อนไหวของนวัตกรรมเทคโนโลยีทั้งทางดานสื่อโฆษณา ดานการจัดการ และดาน อื่น ๆ ที่เกี่ยวของเพื่อสรางสรรคสื่อที่มีความนาสนใจ และเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน

(5)

แสวงหาและคัดสรรพันธมิตรทางธุรกิจ และควบรวมกิจการเพื่อการเติบโตแบบยั่งยืนในระยะยาว

ในระยะแรกของการดําเนินธุรกิจ กลุมวีจีไอมุงสรางการเจริญเติบโตจากภายใน (Organic Growth) คือ ขยาย ธุรกิจที่มีความเชี่ยวชาญเปนทุนเดิม ซึ่งเปนการขยายฐานยอดขายของสินคาเดิมในตลาดเดิม และการขายสินคาเดิมใน ตลาดใหม โดยสินคาและบริการของวีจีไอที่เปนพื้นฐานเดิม คือ สื่อโฆษณาในระบบรถไฟฟาบีทีเอส และในโมเดิรน เทรด ตอมากลุมวีจีไอเริ่มปรับกลยุทธการขยายธุรกิจโดยการกระจายการลงทุนไปในสื่อโฆษณาอื่นที่มีความเกี่ยวพัน กับเครือขายพื้นที่สื่อโฆษณาเดิมที่กลุมวีจีไอมีอยูในปจจุบันเพื่อที่กลุมวีจีไอจะไดรับประโยชนจากความเกื้อหนุนกันของ ธุรกิจ (Synergy) เปนการใชจุดแข็งของสื่อโฆษณาของกลุมวีจีไอชวยขยายผลใหกับเครือขายสื่อโฆษณาใหมโดยใชวิธี สรางพันธมิตรทางธุรกิจ (Strategic Alliance) ซึ่งการดําเนินการในปที่ผานมาคือ กลุมวีจีไอไดเริ่มดําเนินธุรกิจการเปน ตัวแทนขายสื่อโฆษณาแตเพียงผูเดียวบนจอ LED ขนาดใหญบริเวณอนุสาวรียชัยสมรภูมิ แยกพระราม 9 แยกพระราม 4 และแยกประตูน้ํา และสื่อโฆษณาบนจอ outdoor LED อีก 6 ตําแหนงในกรุงเทพฯ นอกจากนี้ยังไดรับสิทธิแตเพียง ผูเดียวในการจําหนายสื่อโฆษณาในระบบรถไฟฟาแอรพอรตลิ้งค ทั้งนี้ ธุรกิจการเปนตัวแทนขายสื่อโฆษณาดังกลาว สามารถเสริมความแข็งแกรงของเครือขายเดิมของกลุมวีจีไอไดอยางลงตัว 4.2.8

ความคืบหนาโครงการและแผนงานในอนาคต

ความคืบหนาของโครงการตามแผนงานป 2555/56 และแผนงานซึ่งจะดําเนินการในป 2556/57 ของกลุม วีจีไอ มีดังนี้ (1)

โครงการติดตั้งรั้วและประตูกั้นชานชาลาและสื่อโฆษณา (Platform Screen Doors and Media) บนสถานีรถไฟฟาบีทีเอส

ในปที่ผานมา บีทีเอสซีมีโครงการที่จะติดตั้งรั้วและประตูกั้นขอบชานชาลา เพื่อเพิ่มมาตรการดานความ ปลอดภัยสําหรับผูโดยสารใหมากยิ่งขึ้น โดยประตูกั้นขอบชานชาลาจะเปดเมื่อรถไฟฟาจอดสนิทโดยจะเปดพรอมๆ กับ การเปดประตูของรถไฟฟา และจะปดกอนที่ประตูรถไฟฟาจะปด ทั้งนี้ ประตูรถไฟฟาจะไมเปดหากรถไฟฟายังไมจอด อยูในตําแหนงที่กําหนด โดยวีจีไอมีแผนที่จะเขารวมโครงการโดยการติดตั้งสื่อโฆษณาบนพื้นที่บางสวนของรั้วและผนัง ประตูกั้นชานชาลาดังกลาว และเพื่อปองกันผลกระทบที่อาจจะเกิดกับรายไดจากสื่อโฆษณาบนขบวนรถไฟฟา วีจีไอจึง ไดเสนอเขารวมในโครงการดังกลาวกับบีทีเอสซีโดยเปนผูลงทุนติดตั้งรั้วและประตูกั้นขอบชานชาลาและสื่อโฆษณา เพื่อควบคุมสัญญาณการแพรภาพขาวสารและโฆษณาใหสอดคลองสัมพันธไปกับสื่อโฆษณาบนขบวนรถไฟฟาและ ได รับสิทธิในการหารายได จากการโฆษณาบนพื้นที่บางสวนของรั้วและผนังประตู กั้นชานชาลาดังกลาว ทั้ง นี้ ใน สวนที่ 1 หนา 91


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ระยะแรกจะดําเนินการติดตั้งรั้วและประตูกั้นชานชาลาบนสถานีที่มีผูโดยสารหนาแนนจํานวน 9 สถานีกอน ไดแก สถานีสยาม ออนนุช ศาลาแดง อโศก อนุสาวรียชัยสมรภูมิ พญาไท ชิดลม พรอมพงษ และชองนนทรี โดยวีจีไอได สั่ง ซื้ อ อุ ป กรณ รั้ ว และประตู กั้ น ชานชาลา และดํ า เนิ น การติ ด ตั้ ง ที่ บ ริ เ วณชานชาลาชั้ น บนของสถานี ส ยามเสร็ จ สิ้ น เรียบรอยแลว และขณะนี้อยูระหวางการทดสอบระบบการเผยแพรโฆษณาและขาวสารใหมีความเสถียร ทั้งนี้ วีจีไอคาด วาจะดําเนินการติดตั้งอุปกรณรั้วและประตูกั้นชานชาลาที่บริเวณชานชาลาชั้นลางของบนสถานีสยาม และอีก 8 สถานีที่ เหลือไดแลวเสร็จภายในป 2556/57 (2)

โครงการลงทุนติดตั้งสื่อโฆษณาดิจิตอล (Digital) และสื่อโฆษณาภาพนิ่ง (Static) เพิ่มเติมใน เครือขายรถไฟฟาบีทีเอสและโมเดิรนเทรด

(2.1)

โครงการลงทุนในเครือขายบีทีเอส

ในปที่ผานมา วีจีไอมีแผนการลงทุนติดตั้งสื่อโฆษณาดิจิตอล (Digital) เพิ่มเติมจํานวน 35 ตู สําหรับรถไฟฟา 35 ขบวน ซึ่งจะทําใหจํานวนตูโดยสารเพิ่มขึ้นจาก 105 ตู เปน 140 ตู สามารถรองรับปริมาณผูโดยสารตอเที่ยวได เพิ่มขึ้น โดยในปจจุบัน วีจีไอไดดําเนินการติดตั้งสื่อโฆษณาดิจิตอล (Digital) ในตูรถไฟฟาใหมแลวและรถไฟฟาที่ ใหบริการไดปรับเปลี่ยนเปนแบบขบวนละ 4 ตูแลว นอกจากนี้ วีจีไอมีแผนการเปลี่ยนแปลงสื่อโฆษณาภาพนิ่ง (Static) บนชานชาลาบริเวณจุดรอรถไฟฟา เปนสื่อ โฆษณามัลติมีเดีย (Multimedia) ไดแก จอ LED แทน โดยวีจีไอจะเริ่มดําเนินการติดตั้งประมาณเดือนกรกฎาคม 2556 (2.2)

โครงการลงทุนในโมเดิรนเทรด

ในปที่ผานมา กลุมวีจีไอมีโครงการติดตั้งสื่อโฆษณาดิจิตอล (Digital) และสื่อโฆษณาภาพนิ่ง (Static) ในพื้นที่ Non Sales floor โมเดิรนเทรดอีกจํานวน 50 สาขา ไดแก 

ลงทุนติดตั้งปายภาพนิ่งบริเวณบันไดเลื่อน (Escalator Lightbox) ปายภาพนิ่งบริเวณที่เก็บรถเข็น (Cart Lightbox) และปายภาพนิ่งบริเวณทางเขาหางโมเดิรนเทรด (Entrance Lightbox) สําหรับสาขา ใหมของโมเดิรนเทรด 30 สาขา

ลงทุนติดตั้งสื่อโฆษณาจอดิจิตอลขนาดใหญเพื่อเปลี่ยนแทนปายหมุนสลับ 3 ภาพ (Trivision) ที่ติดตั้ง บริเวณทางเขาหางโมเดิรนเทรดจํานวน 20 สาขา

ในป 2555/56 กลุมวีจีไอไดเริ่มทยอยดําเนินการติดตั้งสื่อโฆษณาดิจิตอล (Digital) และสื่อโฆษณาภาพนิ่ง (Static) ในโมเดิรนเทรด ไดแก การลงทุนติดตั้งสื่อโฆษณาจอดิจิตอลขนาดใหญเพื่อเปลี่ยนแทนภาพหมุนสลับ 3 ภาพ (Trivision) ที่ติดตั้งบริเวณทางเขาหางโมเดิรนเทรด และวีจีไอไดดําเนินการติดตั้งสื่อโฆษณาจอดิจิตอลขนาดใหญที่ Tesco Lotus Extra สาขาพระรามสี่ แลว นอกจากนี้ วีจีไอมีโครงการเปลี่ยนแปลงสื่อโฆษณาในโมเดิรนเทรดใหมีความ ทันสมัยมากยิ่งขึ้น เชน E-Poster เปนตน ทั้งนี้ ในปจจุบัน รูปแบบของโมเดิรนเทรดมีการเปลี่ยนแปลง โดยจะมีการ แบงประเภทตามขนาดของโมเดิรนเทรด สื่อโฆษณาของวีจีไอที่จะติดตั้งในโมเดิรนเทรดจะมีความหลากหลายมาก ยิ่งขึ้น เพื่อใหสอดคลองกับประเภทของโมเดิรนเทรด โดยการลงทุนติดตั้งปายภาพนิ่งบริเวณบันไดเลื่อน (Escalator Lightbox) ป า ยภาพนิ่ ง บริ เ วณที่ เ ก็ บ รถเข็ น (Cart Lightbox ) และป า ยภาพนิ่ ง บริ เ วณทางเข า ห า งโมเดิ ร น เทรด (Entrance Lightbox) จะเริ่มดําเนินการในป 2556/57

สวนที่ 1 หนา 92


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

(3)

แบบ 56-1 ป 2555/56

โครงการลงทุนในซอฟตแวรระบบงานทางธุรกิจและพัฒนาปรับปรุงโครงขายไอทีใหรองรับ การเติบโตของธุรกิจ

กลุ ม วี จี ไ อมี ก ารว า จ า งบริ ษั ท ภายนอกเพื่ อ พั ฒ นาซอฟต แ วร สํ า หรั บ ควบคุ ม ระบบงานด า นขายและ ระบบปฏิบัติการใหเชื่อมตอกันกับระบบงานบัญชี และยังมีแผนการลงทุนในระบบเครือขายสารสนเทศ (Information Technology) เพื่อใหระบบภายในของกลุมวีจีไอสามารถเชื่อมตอกันไดอยางมีประสิทธิภาพ รวมทั้งมีระบบสํารอง ฉุกเฉินเพื่อใหการดําเนินธุรกิจมีความตอเนื่องไมหยุดชะงัก และยังสามารถรองรับเทคโนโลยีใหมๆ และรองรับการ เติบโตของกลุมวีจีไอ ในป 2555/56 วีจีไอไดดําเนินการติดตั้งศูนยคอมพิวเตอรสํารอง เพื่อลดความเสี่ยงในการดําเนินธุรกิจและเพื่อ รองรับการเติบโตของธุรกิจ ในลําดับตอไป วีจีไอจะดําเนินการปรับปรุงศูนยขอมูลใหมีมาตรฐานระดับสากล ซึ่งวีจีไอ คาดวาการปรับปรุงดังกลาวจะแลวเสร็จประมาณเดือนมีนาคม 2557

สวนที่ 1 หนา 93


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

4.3

แบบ 56-1 ป 2555/56

ธุรกิจอสังหาริมทรัพย

ในชวงป 2555 ที่ผานมา เปนที่เห็นไดอยางชัดเจนวาชุมชนเมืองและตลาดอสังหาริมทรัพยในกรุงเทพฯ และ ปริมณฑลขยายตัวและเติบโตขึ้นอยางตอเนื่อง โดยเฉพาะอยางยิ่งตามแนวเสนทางรถไฟฟา ทั้งเสนทางในปจจุบันที่ เปดใหบริการและเสนทางในอนาคต ที่ปจจุบันนี้มีแผนงานในการกอสรางโครงการที่เปนรูปธรรมมากยิ่งขึ้น กลุ ม บริ ษั ท ได ดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ อสั ง หาริ ม ทรั พ ย นั บ ตั้ ง แต เ ริ่ ม ดํ า เนิ น การในป 2511 โดยได พั ฒ นาโครงการ อสังหาริมทรัพยหลายประเภท เชน อาคารพักอาศัย คอนโดมิเนียม สนามกอลฟ โรงแรม และอาคารสํานักงาน ตอมา ภายหลังจากที่บริษัทฯ ไดมาซึ่งกิจการโดยการถือครองหุนสวนใหญของบีทีเอสซี ซึ่งเปนผูใหบริการรถไฟฟาบีทีเอส ซึ่ง ในปจจุบันมีเสนทางที่ใหบริการครอบคลุมพื้นที่เขตเมืองชั้นในไปยังเขตเมืองชั้นนอก ซึ่งกลุมบริษัทไดนําความรูความ ชํานาญเพื่อพัฒนาที่ดินที่มีอยูในทําเลตางๆ ของกลุมบริษัท เพื่อเปนการกระตุนการสรางชุมชนเมืองตามแนวคิด “ซิตี้ โซลูชั่นส” ซึ่งเปนกลยุทธอยางหนึ่งที่จะชวยเพิ่มความหนาแนนของชุมชนเมือง และเปนการเพิ่มจํานวนผูโดยสารเขาสู ระบบรถไฟฟาบีทีเอสใหเพิ่มมากยิ่งขึ้นอีกทางหนึ่งดวย ปจจุบัน กลุมบริษัทมีโครงการอสังหาริมทรัพยตางๆ ที่อยูภายใตการบริหาร ซึ่งสามารถแบงแยกโครงการ ตางๆ ออกเปน 2 ประเภท คือ (1) โครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพยตามแนวเสนทางรถไฟฟา และ (2) โครงการพัฒนา อสังหาริมทรัพยนอกเสนทางรถไฟฟา และธุรกิจอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่อง 4.3.1

โครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพยตามแนวเสนทางรถไฟฟา

กลุมบริษัทไดใหความสําคัญกับโครงการตางๆ ที่อยูบริเวณเสนทางการใหบริการของรถไฟฟา เนื่องจาก โครงการที่อยูใกลกับระบบรถไฟฟาจะชวยใหผูโดยสารในระบบหนาแนนขึ้น และกระตุนใหเกิดมูลคาเพิ่มกับสื่อโฆษณา ของกลุมบริษัทโดยทางออม เพื่อเปนการกระตุนการสรางชุมชนในแนวรถไฟฟา และเปนการสรางความแตกตางใหกับ โครงการอสังหาริมทรัพยของกลุมบริษัท คอนโดมิเนียมภายใตแบรนด ABSTRACTS จึงถูกสรางขึ้นเพื่อเปนตัวอยาง การเสริมสรางชุมชนเมืองตามแนวคิดขางตน ซึ่งนับเปนแนวคิดหลักในการดําเนินธุรกิจอสังหาริมทรัพยของกลุมบริษัท ในปจจุบัน ทั้งนี้ คอนโดมิเนียมภายใตแบรนด ABSTRACTS เปนโครงการคอนโดมิเนียมเพียงรายเดียวในปจจุบันที่มอบ สิทธิโดยสารรถไฟฟาบีทีเอส ฟรีเปนเวลา 10 ป โดยไมจํากัดจํานวนเที่ยว สําหรับ 25 สถานี (ไดแก หมอชิต สะพาน ควาย อารีย สนามเปา อนุสาวรียชัยสมรภูมิ พญาไท ราชเทวี สยาม ชิดลม เพลินจิต นานา อโศก พรอมพงษ ทองหลอ เอกมัย พระโขนง ออนนุช สนามกีฬาแหงชาติ ราชดําริ ศาลาแดง ชองนนทรี สุรศักดิ์ สะพานตากสิน กรุงธนบุรี และ วงเวียนใหญ) ใหแกผูซื้อหองชุดของโครงการ ปจจุบันกลุมบริษัทมีโครงการคอนโดมิเนียมภายใตแบรนด ABSTRACTS อยูระหวางการขาย 2 โครงการ คือ โครงการคอนโดมิเนียม ABSTRACTS Phahonyothin Park และโครงการคอนโดมิเนียม ABSTRACTS Sukhumvit 66/1 นอกจากนี้ กลุมบริษัทยังมีโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพยตามแนวเสนทางรถไฟฟาอีก 2 โครงการ ซึ่งทุก โครงการตั้งอยูในบริเวณสถานีรถไฟฟาที่มีอยูในปจจุบันหรือกําลังจะมีในอนาคต (โปรดพิจารณารายละเอียดใน หัวขอ 4.1.3.1 ภาพรวมของการขนสงมวลชนทางรางในกรุงเทพมหานคร)

สวนที่ 1 หนา 94


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

4.3.1.1 ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย 

คอนโดมิเนียม ABSTRACTS Phahonyothin Park

โครงการคอนโดมิเนียม ABSTRACTS Phahonyothin Park เปนโครงการอาคารชุดพักอาศัยสูง 34 ชั้น จํานวน 3 อาคาร และอาคารจอดรถสูง 16 ชั้น (ชั้นใตดิน 2 ชั้น) จํานวน 1 อาคาร บนที่ดินเนื้อที่ประมาณ 22 ไร ตั้งอยู บนถนนพหลโยธิน เยื้องกับหางสรรพสินคาเซ็นทรัลสาขาลาดพราว และอยูในแนวสวนตอขยายรถไฟฟาสายสีเขียวเขม ซึ่งนูโวไลนเปนผูลงทุนและพัฒนาโครงการ นู โ วไลน ไ ด ทํ า การเป ด ขายห อ งชุ ด ของอาคารแรกในเดื อ นกรกฎาคม 2553 ภายใต ชื่ อ อาคารชุ ด ABSTRACTS Phahonyothin Park Tower A ซึ่งมีจํานวนหองชุด 1,012 หนวย โครงการมุงเนนลูกคาที่ใชบริการ รถไฟฟาในชีวิตประจําวัน ซึ่งอาจมีกําลังซื้อตั้งแตระดับกลางถึงกลางสูง ณ วันที่ 31 มีนาคม 2556 โครงการคอนโดมิเนียม ABSTRACTS Phahonyothin Park Tower A มียอดขาย หองชุด (จํานวนสัญญาจะซื้อจะขายหองชุด) ทั้งหมด 764 หนวย คิดเปนมูลคาประมาณ 2,433 ลานบาท ซึ่งจํานวน ดังกลาวรวมจํานวนหองชุดทีไ่ ดจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ใหแกลูกคาแลวจํานวน 198 ยูนิต คิดเปนมูลคาประมาณ 628 ลานบาท ทั้งนี้ โครงการคอนโดมิเนียม ABSTRACTS Phahonyothin Park Tower A ไดเริ่มโอนกรรมสิทธิ์ใหลูกคาเมือ่ เดือนธันวาคม 2555 ทั้งนี้ โครงการคอนโดมิเนียม ABSTRACTS Phahonyothin Park Tower A มีมูลคาโครงการรวมทั้งสิ้น ประมาณ 3,235 ลานบาท นูโวไลนมีแผนการที่จะทยอยพัฒนาคอนโดมิเนียมในโครงการคอนโดมิเนียม ABSTRACTS Phahonyothin Park อีก 2 อาคารที่เหลือ โดยมีแผนการที่จะเริ่มดําเนินการขายหองชุดในโครงการคอนโดมิเนียม ABSTRACTS Phahonyothin Park Tower B ซึ่งมีจํานวนหองชุด 1,012 หนวย ในป 2556 

คอนโดมิเนียม ABSTRACTS Sukhumvit 66/1

โครงการคอนโดมิเนียม ABSTRACTS Sukhumvit 66/1 เปนโครงการคอนโดมิเนียมแนวราบสไตลบูติค ซึ่ง บริษัทฯ เปนผูพัฒนา ประกอบดวยโครงการยอย 2 โครงการ คือ The Moon และ The Sun แตละโครงการมีหองชุด 56 หนวย รวมทั้งสองโครงการมีหองชุดทั้งสิ้น 112 หนวย โครงการทั้งสองตั้งอยูบนที่ดินเนื้อที่รวม 1 ไร 3 งาน 89 ตารางวา ในซอยสุขุมวิท 66/1 โดยอยูหางจากสถานีรถไฟฟาบีทีเอสอุดมสุขประมาณ 250 เมตร โครงการมุงเนนกลุม ลูกคาที่ใชบริการรถไฟฟาในชีวิตประจําวัน ซึ่งมีกําลังซื้อตั้งแตลูกคาระดับกลางถึงสูง และตองการความเงียบสงบ โครงการคอนโดมิเนียม ABSTRACTS Sukhumvit 66/1 ไดเริ่มเปดขายหองชุดของโครงการในเดือน กรกฎาคม 2553 ปจจุบันโครงการยอยทั้งสองไดกอสรางเสร็จสมบูรณแลว โดย ณ วันที่ 31 มีนาคม 2556 มียอดขาย หองชุด (จํานวนสัญญาจะซื้อจะขายหองชุด) รวมทั้งสองโครงการ เทากับ 96 หนวย ซึ่งคิดเปนมูลคาประมาณ 322 ลาน บาท ซึ่งจํานวนดังกลาวรวมจํานวนหองชุดที่ไดจดทะเบียนโอนกรรมสิทธิ์ใหแกลูกคาแลวจํานวน 93 ยูนิต คิดเปนมูลคา ประมาณ 315 ลานบาท ทั้งนี้ โครงการคอนโดมิเนียม ABSTRACTS Sukhumvit 66/1 มีมูลคาโครงการรวมทัง้ สิ้นประมาณ 380 ลาน บาท สวนที่ 1 หนา 95


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

อาคารพักอาศัย เดอะรอยัลเพลส 2 และเดอะแกรนด

เดอะรอยัลเพลส 2 และเดอะแกรนด เปนโครงการอาคารพักอาศัยตั้งอยูในซอยมหาดเล็กหลวง 2 ถนน ราชดําริ ใกลสถานีรถไฟฟาบีทีเอสราชดําริ และใกลศูนยกลางการคาของกรุงเทพฯ ซึ่งตั้งอยูบนที่ดินภายใตสัญญาเชา ระหวางบริษัทฯ และสํานักพระคลังขางที่ โครงการเริ่มแรกประกอบดวยอาคารพักอาศัยจํานวน 3 อาคาร ไดแก อาคาร เดอะรอยัลเพลส 1 (มีหองพักอาศัยจํานวน 394 หนวย) อาคารเดอะรอยัลเพลส 2 (มีหองพักอาศัยจํานวน 371 หนวย) และอาคารเดอะแกรนด (มีหองพักอาศัยจํานวน 338 หนวย) โดยมุงเนนกลุมลูกคาที่ใชบริการรถไฟฟาในชีวิตประจําวัน และชาวตางชาติที่มาทํางานในกรุงเทพมหานคร โดยบริษัทฯ ไดเริ่มเปดขายในรูปแบบสิทธิการเชาชวงหองพักอาศัย ระยะเวลา 30 ป ตั้งแตป 2536 ปจจุบันบริษัทฯ ไดขายสิทธิการเชาชวงหองพักอาศัยของอาคารเดอะรอยัลเพลส 1 ทั้งหมดแลว สําหรับอีก 2 อาคาร คือ อาคารเดอะรอยัลเพลส 2 และอาคารเดอะแกรนดนั้น ยังคงเหลือหองพักอาศัย (ซึ่งตกแตงพรอมอยู) ที่ยัง ไมไดขายสิทธิการเชาชวงจํานวนรวม 63 หนวยมีพื้นที่รวม 4,323 ตารางเมตร และหองเชาระยะสั้นเพื่อการพาณิชย บริเวณชั้นลางของอาคารอีก 13 หนวยมีพื้นที่รวม 1,807.9 ตารางเมตร สําหรับป 2555/56 บริษัทฯ มีรายไดคาเชาและคาบริการจากโครงการดังกลาวจํานวน 18.6 ลานบาท 4.3.1.2 ธุรกิจโรงแรม 

โรงแรมอีสติน แกรนด สาทร กรุงเทพฯ

โรงแรมอีสติน แกรนด สาทร กรุงเทพฯ เปนโครงการโรงแรมระดับ 4 ดาว สูง 33 ชั้นที่มีหองพักจํานวน 396 หอง ซึ่งบีทีเอส แอสเสทสเปนผูลงทุนและพัฒนา โครงการตั้งอยูบนที่ดินเนื้อที่ 2 ไร 1 งาน 57 ตารางวา บนถนนสาทรใต ติดกับสถานีรถไฟฟาสุรศักดิ์ ซึ่งเปนหนึ่งในไมกี่โรงแรมในแนวเสนทางรถไฟฟาบีทีเอสที่สามารถเชื่อมตอกับสถานี รถไฟฟาบีทีเอสโดยตรงและมุงเนนกลุมลูกคานักธุรกิจและนักเดินทางชาวตางประเทศ โดยไดทําการกอสรางแลวเสร็จ และเปดดําเนินการตั้งแตเดือนตุลาคม 2555 สําหรับป 2555/56 โรงแรม อีสติน แกรนด สาทร กรุงเทพฯ มีอัตราการเขาพักเฉลี่ยรอยละ 59.4 และมีรายได จากกิจการโรงแรมจํานวน 303.3 ลานบาท 4.3.2

โครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพยนอกเสนทางรถไฟฟาและธุรกิจอื่นๆ ที่เกี่ยวเนื่อง

โครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพยนอกแนวเสนทางรถไฟฟาของกลุมบริษัทสวนมากเปนโครงการที่กลุมบริษัท ได เ ริ่ ม ดํ า เนิ น การก อ นการได ม าซึ่ ง หุ น สามั ญ ของบี ที เ อสซี โดยโครงการดั ง กล า วมี ทั้ ง ที่ ตั้ ง อยู ใ นกรุ ง เทพฯ และ ตางจังหวัด ซึ่งโครงการตางๆ สามารถแยกตามประเภทธุรกิจไดดังนี้ 4.3.2.1 ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย 

โครงการธนาซิตี้

โครงการธนาซิตี้เปนโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพยของบริษัทฯ ซึ่งเริ่มดําเนินการในป 2531 ตั้งอยูบนถนน บางนา-ตราด กม. 14 บนพื้นที่รวมทั้งสิ้นกวา 1,600 ไร สวนที่ 1 หนา 96


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

โครงการธนาซิตี้เปนโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพยขนาดใหญพรอมดวยสาธารณูปโภคครบครันและมี ศักยภาพที่สามารถรองรับความตองการของลูกคาทุกประเภท และเพื่อตอบสนองความตองการที่หลากหลายของลูกคา นั้น บริษัทฯ จึงไดพัฒนาอสังหาริมทรัพยหลากหลายรูปแบบเพื่อตอบสนองความตองการที่ตางกัน เชน บานเดี่ยว พรอมที่ดิน ทาวนเฮาส คอนโดมิเนียม และที่ดินเปลาจัดสรร ซึ่งโครงการโดยสวนใหญไดพัฒนาเสร็จและปดการขายไป เรียบรอยแลว ตั้งแตป 2552/53 บริษัทฯ เริ่มพัฒนาปรับปรุงคอนโดมิเนียมในโครงการธนาซิตี้ที่สรางเสร็จแลว และยัง เหลืออยูเพื่อดําเนินการขายอีกครั้ง โดยในป 2555/56 บริษัทฯ มีรายได 45.8 ลานบาท ซึ่งรายไดดังกลาวสวนใหญมา จากการขายโครงการคอนโดมิเนียม 2 โครงการคือ นูเวลคอนโดมิเนียม และ กิ่งแกวคอนโดมิเนียม นอกจากนี้ บริษัทฯ ไดนําที่ดินในโครงการธนาซิตี้ จํานวน 90 แปลงคิดเปนพื้นที่ 14-0-94 ไร มาพัฒนาเปน โครงการบานเดี่ยวสั่งสราง รูปแบบโมเดิรนรวมสมัย โดยใชชื่อโครงการวา พาร วัน (Par 1) โดยบริษัทฯ เริ่มเปดขาย โครงการเมื่อเดือนธันวาคม 2555 และมียอดขาย (จํานวนสัญญาจะซื้อจะขาย) ของโครงการ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2556 เทากับ 5 ยูนิต คิดเปนมูลคาประมาณ 18.1 ลานบาท ทั้งนี้ โครงการพาร วัน (Par 1) มูลคาโครงการประมาณ 405 ลานบาท ทั้งนี้ โครงการตางๆ ในธนาซิตี้ที่สรางเสร็จแลว สามารถแยกตามประเภท ณ วันที่ 31 มีนาคม 2556 ไดดังนี้ ชื่อโครงการ ประเภทผลิตภัณฑ พื้นที่โครงการ มูลคาเงินลงทุน มูลคาโครงการ รายละเอียดหนวย

จํานวนหนวย ราคาขายตอหนวย ราคาขายตอตารางวา/ เมตร มูลคาที่ขายแลว จํานวนที่ทําสัญญาซื้อขาย และโอนกรรมสิทธิ์แลว มูลคาที่รอโอนชําระหนี้ ตามแผนฟนฟูกิจการ จํานวนหนวยที่รอโอน ชําระหนี้ตามแผนฟนฟู กิจการ จํานวนคงเหลือ (1) (2) (3) (4)

(1)

บานเดี่ยวและที่ดินเปลา 217-0-93.7 ไร 677.34 ลานบาท 1,856.66 ลานบาท 50 – 250 ตารางวา

463 หนวย 1.4-18 ลานบาท 27,000 - 91,000 บาท/ ตร.ว. 943.32 ลานบาท 250 หนวย

โครงการธนาซิตี้ ทาวนเฮาส(2) คอนโดมิเนียม(3) 2-3-20 ไร 31-2-10 ไร 15.23 ลานบาท 1,410.16 ลานบาท 24.74 ลานบาท 1,461.78 ลานบาท 3-4 ชั้น, อาคารที่มีระดับ 40-70 ตารางวา ความสูงคอนขางต่ํา – กลาง 20 หนวย 1,361 หนวย 1.2 ลานบาท 0.8-7.9 ลานบาท 13,000 – 15,000 บาท/ตร.ม. 5.5 ลานบาท 1,417.46 ลานบาท 4 หนวย 1,282 หนวย

ที่ดินเปลาจัดสรร(4) 120-3-7.5 ไร 214.4 ลานบาท 1,342.71 ลานบาท ที่ดินเปลาจัดสรร

186 หนวย 1.2-23.20 ลานบาท 23,000 - 28,000 บาท/ตร.ว. 1,062.42 ลานบาท 127 หนวย

39.92 ลานบาท 73 หนวย

213 หนวย

16 หนวย

เพรสทีจเฮาส II, เพรจทีจเฮาส III(HABITAT), และพารวัน (Par 1) ทาวนเฮาส II (ฮาบิแทต) นูเวลคอนโดมิเนียม และกิ่งแกวคอนโดมิเนียม ไฟรมแลนดโซนบี ซี ดี และ แคลิฟอรเนียน

สวนที่ 1 หนา 97

6 หนวย

59 หนวย


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

4.3.2.2 ธุรกิจโรงแรม กลุมบริษัทมีประสบการณเกี่ยวกับธุรกิจโรงแรมมาตั้งแตในอดีต โดยเคยเปนผูถือหุนของโรงแรมรีเจนท (Regent Hotel) บนถนนราชดํ า ริ และโรงแรมดิ เ อ็ ม เพรส (The Empress Hotel) จั ง หวั ด เชี ย งใหม นอกจากนี้ กลุมบริษัทยังมีประสบการณเปนผูบริหารจัดการโรงแรม Eastin Lakeside แจงวัฒนะ ตั้งแตป 2534 - 2552 ปจจุบันกลุมบริษัทมีธุรกิจโรงแรมระดับ 4 ดาวภายใตเครือโรงแรม U Hotels & Resorts ที่บริหารจัดการโดย บริษัท แอบโซลูท โฮเต็ล เซอรวิส จํากัด ซึ่งเปนบริษัทรวมทุนระหวางกลุมบริษัทกับพันธมิตรที่มีประสบการณในธุรกิจ โรงแรม ทั้งนี้ โรงแรมของกลุมบริษัทภายใตเครือ U Hotels & Resorts ไดเปดดําเนินการไปแลวสองแหงที่จังหวัด เชียงใหม และจังหวัดกาญจนบุรี และคาดวาจะเปดดําเนินการอีกหนึ่งแหงในกรุงเทพมหานครในป 2558 

โรงแรม ยู เชียงใหม (U Chiang Mai)

โรงแรม ยู เชียงใหมเปนโรงแรมในเครือโรงแรม U Hotels & Resorts โดยเริ่มดําเนินการเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2551 เปนโรงแรมระดับมาตรฐาน 4 ดาว ที่ไดรับการพัฒนาในรูปแบบบูติคโฮเต็ล (Boutique Hotel) ตั้งอยูบนถนน ราชดําเนิน โรงแรม ยู เชียงใหมมีหองพักจํานวน 41 หอง โดยมีกลุมเปาหมายคือนักทองเที่ยวและนักธุรกิจชาวไทย และชาวตางชาติ สําหรับป 2555/56 โรงแรม ยู เชียงใหม มีอัตราการเขาพักเฉลี่ยรอยละ 73.8 และมีรายไดจากกิจการโรงแรม ทั้งสิ้น 42.2 ลานบาท 

โรงแรม ยู อินจันทรี กาญจนบุรี (U Inchantree Kanchanaburi)

โรงแรม ยู อินจันทรี กาญจนบุรี เปนโครงการโรงแรมสไตลบูติค (Boutique Hotel) ระดับ 4 ดาว มีหองพัก จํานวน 26 หอง พรอมหองประชุมสัมมนา และสิ่งอํานวยความสะดวกอื่นๆ ตั้งอยูบนที่ดินประมาณ 5 ไร ริมฝงแมน้ํา แคว ใกลกับสะพานขามแมน้ําแคว เปดใหบริการเมื่อวันที่ 6 พฤศจิกายน 2553 โดยมีกลุมเปาหมายคือนักทองเที่ยว และนักธุรกิจชาวไทยและชาวตางชาติ สําหรับป 2555/56 โรงแรม ยู อินจันทรี กาญจนบุรี มีอัตราการเขาพักเฉลี่ยรอยละ 77.1 และมีรายไดจาก กิจการโรงแรมจํานวน 24.1 ลานบาท 

โรงแรม ยู สาธร (U Sathorn)

โรงแรม ยู สาธร เปนโครงการโรงแรมสไตลบูติค (Boutique Hotel) ระดับ 4 ดาว มีหองพักจํานวน 86 หอง พรอมหองอาหารชั้นดี ไวน บาร หองประชุมขนาด 250 ทาน รวมทั้งคอรทยารดและสิ่งอํานวยความสะดวกอื่นๆ ตั้งอยู บนที่ดินประมาณ 16 ไร ตั้งอยูบริเวณถนนสาทร โดยมีกลุมเปาหมายคือนักธุรกิจและนักทองเที่ยวชาวไทยและตางชาติ โรงแรม ยู สาธร มีกําหนดการเปดดําเนินการเดือนมกราคม 2558

สวนที่ 1 หนา 98


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

4.3.2.3 ธุรกิจอาคารสํานักงานใหเชา 

อาคารทีเอสทีทาวเวอร

อาคารทีเอสทีทาวเวอรเปนอาคารสํานักงานสูง 24 ชั้น มีพื้นที่ใหเชาทั้งหมดประมาณ 15,670 ตารางเมตร ประกอบไปดวยสวนสํานักงาน 16 ชั้น และพื้นที่จอดรถ 8 ชั้น ตั้งอยูบนถนนวิภาวดี-รังสิต ฝงขาออก ใกลกับหาแยก ลาดพราว ในปบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2556 อาคารทีเอสทีทาวเวอรมีอัตราการเชาเฉลี่ยรอยละ 94.6 โดยผูเชา รายใหญ ไดแก สํานักงานสงเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (สสว.) และมหาวิทยาลัยรังสิตศูนยศึกษาวิภาวดี และมีรายไดคาเชาจํานวน 97.4 ลานบาท หมายเหตุ: ทีเอสทีทาวเวอรเปนสวนหนึ่งของทรัพยสินที่เปนหลักประกันตามแผนฟนฟูกิจการของบริษัทฯ ซึ่งศาลลมละลาย กลางไดมีคําสั่งใหประมูลขายทรัพยดังกลาว โดยรายไดทั้งหมดจากการประมูลจะถูกจัดสรรใหเจาหนี้ตามสัดสวนหนี้ กลุมบริษัทไดทําการ ประมูลขายทรัพยและไดผูชนะการประมูลแลวเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2552 อยางไรก็ตาม เจาหนี้สองรายของกลุมบริษัทไดยื่นคํารองตอ ศาลลมละลายกลางเพื่อใหยกเลิกการประมูลดังกลาว ซึ่งศาลลมละลายกลางไดมีคําสั่งยกคํารองดังกลาวแลวในวันที่ 9 มิถุนายน 2553 แต เจาหนี้ทั้งสองรายไดยื่นอุทธรณคําสั่งดังกลาวตอศาลฎีกา อยางไรก็ตาม เมื่อวันที่ 26 มกราคม 2554 ศาลฎีกาไดมีคําสั่งยกคํารองดังกลาว แลว และขณะนี้อยูระหวางการดําเนินการเพื่อโอนทรัพยสินใหแกผูชนะการประมูล นอกจากนี้ บริษัทฯ ไดนําอาคารทีเอสทีทาวเวอร ไปวาง ไวที่ศาลลมละลายกลางเพื่อเปนหลักประกันในการชําระหนี้ใหกับเจาหนี้ตามแผนฟนฟูกิจการ และไดบันทึกตัดบัญชีมูลคาของสินทรัพย และยอดคงเหลือของเจาหนี้ตามแผนฟนฟูกิจการออกจากบัญชี และบันทึกผลตางเปนกําไรจากการวางทรัพยเพื่อเปนหลักประกันในการ ชําระหนี้ ในปบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2554

4.3.2.4 ธุรกิจสนามกอลฟและสปอรตคลับ 

ธนาซิตี้ กอลฟ แอนด สปอรต คลับ

กลุมบริษัทดําเนินธุรกิจสนามกอลฟในโครงการธนาซิตี้ ตั้งอยูบนถนน บางนา-ตราด ขาออก กม.14 ผาน บริษัทยอย ชื่อบริษัท ธนาซิตี้ กอลฟ แอนด สปอรต คลับ จํากัด ซึ่งใหบริการสโมสร และสนามกอลฟมาตรฐาน 18 หลุม ซึ่งเปนสนามกอลฟเพียงแหงเดียวในประเทศไทยที่ออกแบบโดย Greg Norman โดยไดวาจางผูบริหารสนาม กอลฟซึ่งเปนบุคคลภายนอกที่มีความชํานาญพิเศษชื่อ บริษัท แอบโซลูท กอลฟ เซอรวิส จํากัด เปนผูบริหารจัดการ กลุมบริษัทไดปรับปรุงสภาพสนาม พื้นที่สวนกอลฟคลับ รวมทั้งดําเนินการตกแตงภายในใหม และไดเปด บริการเต็มรูปแบบแลวตั้งแตเดือนตุลาคม 2553 เปนตนมา ปจจุบันสนามกอลฟธนาซิตี้ไดรับการตอบรับเปนอยางดี ทั้ง จากสมาชิกและบุคคลทั่วไป โดยไดรับรางวัล "BEST GOLF COURSE RENOVATION in ASIA 2011" (2nd Runner Up) จากนิตยสาร ASIAN GOLF MONTHLY และยังเปนสถานที่จัดการแขงขันกอลฟไทยแลนด โอเพน 2013 เมื่อ เดือนมีนาคม 2556 ตั้งแตป 2555 ทางกลุมบริษัทไดปรับปรุง และดําเนินการตกแตงภายในธนาซิตี้ สปอรตคลับรวมทั้งสรางสนาม ฟุตซอล สนามแบดมินตัน และสิ่งอํานวยความสะดวกอื่นๆ โดยมีแผนเปดใหบริการเต็มรูปแบบในเดือนพฤศจิกายน 2556 สําหรับป 2555/56 บริษัท ธนาซิตี้ กอลฟ แอนด สปอรต คลับ จํากัด มีรายไดจากการดําเนินงานจํานวน 159.6 ลานบาท

สวนที่ 1 หนา 99


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

4.3.2.5 ธุรกิจรานอาหาร 

ภัตตาคารเชฟแมน (Chef Man)

บีทีเอส แอสเสทสไดเริ่มดําเนินกิจการภัตตาคารเชฟแมน ซึ่งเปนภัตตาคารอาหารจีนชั้นดี เนนรสชาติอาหาร แบบกวางตุงที่โดดเดนและแตกตาง โดยคัดสรรวัตถุดิบที่มีคุณภาพปรุงโดยพอครวที่มีความชํานาญในป 2555 โดย บีทีเอส แอสเสทสไดวาจางใหบริษัทแมน แคเทอริ่ง จํากัด บริษัทเปนผูบริหารจัดการภัตตาคารเชฟแมน ปจจุบัน ภัตตาคารเชฟแมนไดเปดดําเนินการไปแลว 2 สาขา ไดแกสาขาโรงแรมอีสติน แกรนด สาทร ซึ่งเปนสาขาแรก มีขนาด 135 ที่นั่ง และสาขาโรงแรมอีสติน มักกะสัน มีขนาด 35 ที่นั่ง และบีทีเอส แอสเสทสมีแผนจะเปดดําเนินการอีก 2 สาขา ไดแก (1) สาขาธนาซิตี้สปอรตคลับ มีขนาด 220 ที่นั่ง โดยคาดวาจะเปดดําเนินการในเดือนมิถุนายน 2556 และ (2) สาขาเดอะรอยัลเพลส 2 ซอยมหาดเล็กหลวง ถนนราชดําริ มีขนาด 190 ที่นั่ง โดยคาดวาจะเปดดําเนินการในเดือน สิงหาคม 2556 สําหรับป 2555/56 ภัตตาคารเชฟแมน สาขาโรงแรมอีสติน แกรนด สาทร กรุงเทพฯ และสาขาโรงแรมอีสติน มักกะสัน มีรายไดจากการดําเนินงานรวมจํานวน 81.2 ลานบาท 4.3.3

อุตสาหกรรมอสังหาริมทรัพย

สภาวะอุตสาหกรรมที่อยูอาศัยในกรุงเทพฯ (ทีม่ า: ซีบี ริชารด เอลลิส ประเทศไทย) อุปทานที่อยูอาศัยในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล ระหวางป 2544 – ไตรมาส 4 ป 2555

ที่มา : ซีบี ริชารด เอลลิส ประเทศไทย

ที่อยูอาศัยสรางเสร็จในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล ในชวงไตรมาสที่ 4 ป 2555 มีจํานวน 33,974 หนวย เพิ่มขึ้นรอยละ 41 เทียบกับไตรมาสเดียวกันของปกอน และเพิ่มขึ้นรอยละ 135 เมื่อเทียบกับป 2554 โดยในชวง ไตรมาส 4 ป 2555 ที่อยูอาศัยแนวราบมีจํานวนลดลงรอยละ 19 ในขณะที่หองชุดมีจํานวนเพิ่มขึ้นรอยละ 125 เมื่อ เทียบกับไตรมาสเดียวกันของปกอนหนา ณ สิ้นป 2555 ที่อยูอาศัยสรางเสร็จใหมมีจํานวนทั้งสิ้น 111,573 หนวย เพิ่มขึ้นรอยละ 37.5 จากปที่ผานมา ซึ่งมีเพียง 81,119 หนวย โดยที่อยูอาศัยแนวราบสรางเสร็จในป 2555 มีจํานวน 46,857 หนวย เพิ่มขึ้นเล็กนอยเพียง สวนที่ 1 หนา 100


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

รอยละ 0.7 จากจํานวน 46,511 หนวย ในป 2554 ในขณะที่ หองชุดสรางเสร็จในป 2555 มีจํานวน 64,716 หนวย เพิ่มขึ้นอยางมีนัยสําคัญถึงรอยละ 87 จากจํานวน 34,608 หนวย ในปกอนหนานี้ อุปทานบานเดี่ยวสรางเสร็จโดยผูประกอบการในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล ระหวางป 2544 – ไตรมาส 4 ป 2555

ที่มา : ซีบี ริชารด เอลลิส ประเทศไทย

ชวงไตรมาส 4 ป 2555 ผูประกอบการรายใหญเปดตัวโครงการบานทั้งสิ้น 28 โครงการ ประกอบดวย โครงการบานประเภทบานเดี่ยว จํานวน 3,586 หนวย ทาวเฮาส จํานวน 3,417 หนวย และบานแฝด จํานวน 24 หนวย ซึ่งลดลงจากจํานวน 31 โครงการในไตรมาส 3 ป 2555 ในจํานวนนี้ ผูประกอบการที่เปดตัวโครงการบานมากที่สุด คือ พฤกษา จํานวน 2,384 หนวย (9 โครงการ) รองลงมา คือ แลนด แอนด เฮาส จํานวน 1,636 หนวย (4 โครงการ) ทั้งนี้ ผูประกอบการนิยมพัฒนาโครงการบานประเภททาวนเฮาสทางโซนตะวันออกของกรุงเทพฯ โดยเฉพาะ อยางยิ่ง รามคําแหง พัฒนาการ และรามอินทรา ในขณะที่โครงการบานเดี่ยวเปนที่นิยมอยางมากทางโซนตะวันตก ไมวาจะเปนติวานนท แจงวัฒนะ ราชพฤกษ รัตนาธิเบศร และปนเกลา รองลงมาเปนพื้นที่ โซนตะวันออก ไดแก พัฒนาการ รามคําแหง และศรีนครินทร ภาพรวมตลาดคอนโดมิเนียมในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล (ที่มา: คอลลิเออรส อินเตอรเนชั่นแนล ประเทศไทย) บทสรุปผูบริหารตลาดคอนโดมิเนียม ตลาดคอนโดมิเนียมยังคงไดรับความนิยมอยางตอเนื่องในเขตกรุงเทพมหานคร ดวยราคาหองชุดที่ปรับตัว เพิ่มสูงขึ้น รวมถึงผูประกอบการยังคงเปดโครงการใหมออกมาเพื่อพยุงความตองการไว โครงขายระบบขนสงมวลชนของกรุงเทพมหานครที่ขยายตัว นับเปนน้ํามันหลอเลี้ยงการเติบโตของตลาด ทั้ง โครงการสวนตอขยายรถไฟฟาบีทีเอสและรถไฟฟาใตดิน MRT สงผลใหพื้นที่ในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑลหลายๆ สวน กลายเปนทําเลที่นาดึงดูดสําหรับผูใชบริการระบบขนสงมวลชน หองชุดมากกวา 47,300 หนวยเปดตัวขายในป 2555 เพิ่มขึ้นประมาณ 16,600 หนวย จากปกอนหนา ทําใหมี จํานวนอุปทานหองชุดคอนโดมิเนียมทั้งหมด 335,300 หนวยในกรุงเทพฯ สวนที่ 1 หนา 101


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

เนื่องจากภาวะขาดแคลนแรงงาน โครงการหลายๆ โครงการตองเลื่อนกําหนดสรางเสร็จออกไป สงผลใหมี จํานวนหองชุดสรางเสร็จจํานวนทั้งสิ้น 82,600 หนวย เขาสูตลาดกรุงเทพมหานครในป 2556 ราคาหองชุดปรับตัวสูงขึ้นประมาณรอยละ 12 ในปที่ผาน ตอเนื่องจากป 2554 และมีแนวโนมเพิ่มสูงขึ้นอีก ประมาณรอยละ 10 ในป 2556 ซึ่งเปนผลมาจากตนทุนคาแรงงานและวัสดุกอสรางที่ปรับตัวเพิ่มขึ้น เนื่องจากราคาที่ดินในเขตเมืองมีราคาสูงขึ้น ประกอบกับที่ดินเปลาในกรุงเทพฯ มีจํานวนจํากัด บังคับให ผูประกอบการหลายรายหันมาพัฒนาโครงการใหมๆ บนทําเลที่ไกลจากถนนสายหลักออกไป นอกจากนี้ ความไม แนนอนจากระเบียบขอบังคับการจัดวางผังเมืองรวมกรุงเทพมหานครฉบับใหม ทําใหผูประกอบการบางรายเรงเปดขาย โครงการกอน ในขณะที่ผูประกอบการบางสวนลังเลที่จะลงทุนซื้อที่ดิน กอนที่ผังเมืองใหมดังกลาวจะเริ่มบังคับใชใน ปลายปนี้ ผูประกอบการสวนหนึ่งประสบความสําเร็จจากการพัฒนาโครงการคอนโดมิเนียมในจังหวัดอื่นๆ หลายราย กําลังมองหาโอกาสทางการลงทุนในตางประเทศ ถึงแมวาหลายๆ โครงการยังไมมีความคืบหนาเกินจากแผนการที่วางไว หองชุดคอนโดมิเนียมที่เปดขายใหมระหวางป 2554 -2555 จําแนกตามรายไตรมาส

ที่มา : คอลลิเออรส อินเตอรเนชั่นแนล ประเทศไทย

หองชุดประมาณ 13,200 หนวย เปดขายในชวงไตรมาสสุดทายของป 2555 สงผลใหยอดรวมหองชุดเปดขาย ในป 2555 มีจํานวนมากกวา 47,300 หนวย ซึ่งมีจํานวนเกินกวาป 2554 ถึงรอยละ 54 หรือ 16,600 หนวย หองชุดคอนโดมิเนียมที่เปดขายใหมในไตรมาสที่ 3 ป 2555 จําแนกตามทําเลที่ตั้ง

ที่มา : คอลลิเออรส อินเตอรเนชั่นแนล ประเทศไทย

สวนที่ 1 หนา 102


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

เกือบรอยละ 46 ของจํานวนหองชุดคอนโดมิเนียมที่เปดขายในชวงไตรมาสที่ 4 ตั้งอยูในพื้นที่กรุงเทพชั้นใน (Urban Bangkok Area) และมากกวา 1,800 หนวย (หรือรอยละ 14) เปดขายในพื้นที่เมืองชั้นใน (City Area) เนื่องจาก พื้นที่กรุงเทพชั้นใน (Urban Bangkok Area) มีความหนาแนนในระดับสูง ในป 2555 พื้นที่รอบเมืองดานทิศเหนือ (Northern Fringe Area) ไดรับความนิยมสูงสุดจากผูประกอบการ เห็นไดจากขอมูลที่วา ประมาณรอยละ 15 ของ จํานวนหองชุดคอนโดมิเนียมที่เปดตัวในป 2555 ตั้งอยูในบริเวณนี้ รองลงมา คือ พื้นที่เมืองชั้นใน (City Area) เกือบ ร อ ยละ 10 หรื อ ประมาณ 5,000 หน ว ย และส ว นใหญ ไ ม ไ ด ตั้ ง อยู บ น หรื อ ใกล กั บ ถนนเส น หลั ก ในพื้ น ที่ นั้ น โดย ผูประกอบการจะมุงเนนพัฒนาโครงการบนพื้นที่ในซอย และถนนเสนรอง เนื่องจากราคาที่ดินในบริเวณนั้นถูกกวามาก อุปทานที่เพิ่มขึ้นในแตละป ตั้งแตป 2537-2555

ที่มา : คอลลิเออรส อินเตอรเนชั่นแนล ประเทศไทย หมายเหตุ: จํานวนหนวยของหองชุด ไมรวมโครงการของการเคหะแหงชาติ

ในป 2555 หองชุดคอนโดมิเนียมมีประมาณ 31,100 หนวย สรางเสร็จและจดทะเบียนกับกรมที่ดิน ซึ่งเปน จํานวนที่ต่ํากวาที่คาดการณไว เนื่องจากภาวะการขาดแคลนแรงงาน สงผลกระทบตอความคืบหนาในการกอสราง และ หลายโครงการตองเลื่อนกําหนดการกอสรางแลวเสร็จออกไปเปนป 2556 ทั้งนี้ อุปทานจํานวนหองชุดคอนโดมิเนียม ทั้งหมดที่มีอยูในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล มีประมาณ 354,900 หนวย อุปทานของหองชุดจําแนกตามทําเลที่ตั้ง ณ ไตรมาสที่ 4 ป 2555

ที่มา : คอลลิเออรส อินเตอรเนชั่นแนล ประเทศไทย

สวนที่ 1 หนา 103


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

หองชุดมากกวา 218,400 หนวย หรือประมาณ 62% ของอุปทานทั้งหมดในกรุงเทพมหานคร อยูในพื้นที่ กรุงเทพชั้นนอก (Suburban Bangkok) และภายในพื้นที่กรุงเทพชั้นใน (Urban Bangkok Area) นั้น พื้นที่รอบเมืองดาน ทิศเหนือ (Nothern Fringe Area) มีจํานวนหองชุดมากที่สุด รองลงมา คือ พื้นที่เมืองชั้นใน (City Area) และพื้นที่รอบ เมืองดานทิศใต (Southern Fringe Area) เนื่องจากอยูใกลกับศูนยกลางธุรกิจ และสามารถเชื่อมตอระบบขนสงมวลชนได อุปทานคอนโดมิเนียมในอนาคต อุปทานในอนาคตสะสมที่มีกําหนดแลวเสร็จตั้งแต ป 2556 – 2558 จําแนกตามทําเลที่ตั้งในเขตกรุงเทพชั้นใน ณ ไตรมาสที่ 4 ป 2555

ที่มา : คอลลิเออรส อินเตอรเนชั่นแนล ประเทศไทย

คาดการณวาในป 2556 จะมีหองชุดสรางเสร็จในพื้นที่กรุงเทพชั้นใน (Urban Bangkok Area) ประมาณ 42,900 หนวย โดยยานที่มีจํานวนหองชุดสรางเสร็จจํานวนมากที่สุด คือ พื้นที่รอบเมืองดานทิศเหนือ (Northern Fringe Area) มีประมาณ 15,300 หนวย รองลงมาคือ พื้นที่สวนตอขยายเมืองดานทิศตะวันออก (Outer City -East Area) มีประมาณ 6,900 หนวย หองชุดคอนโดมิเนียมในพื้นที่กรุงเทพชั้นนอก (Suburban Bangkok Area) ประมาณ 39,700 หนวย คาดวา จะสรางเสร็จในป 2556 โดยผูประกอบการตองเลื่อนกําหนดการสรางเสร็จออกไปเปนป 2556 เนื่องมาจากการขาด แคลนแรงงาน และผูประกอบการรายใหญ เริ่มลงทุนทําโรงงานพื้นสําเร็จรูปเองมากขึ้น เพื่อนํามาใชกอสรางในโครงการ ของตนเอง

สวนที่ 1 หนา 104


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

อัตราการขายไดเฉลี่ยของหองชุดที่เปดขายใหมใน ป พ.ศ. 2555 จําแนกตามรายไตรมาส

ที่มา : คอลลิเออรส อินเตอรเนชั่นแนล ประเทศไทย

อัตราการขายไดเฉลี่ยของหองชุดของทั้งกรุงเทพฯ ที่เปดขายในไตรมาส 4 ป 2555 นั้นสูงกวาไตรมาสอื่นของ ป ประกอบกับหองชุดคอนโดมิเนียมที่เปดตัวใหมในชวงไตรมาสสุดทายของมีจํานวนสูง นี่เปนผลมาจากความจริงที่วา ไมมีปจจัยลบอยางมีนัยสําคัญสงผลกระทบตอตลาดในป 2555 ดังนั้น จึงถือเปนการชวยเสริมความมั่นใจของลูกคา ราคาขายเฉลี่ยของโครงการที่เปดขายใหมในป 2555 จําแนกตามที่ตั้ง

ที่มา : คอลลิเออรส อินเตอรเนชั่นแนล ประเทศไทย

ในป 2555 ราคาขายเฉลี่ยหองชุดที่สูงที่สุดอยูในพื้นที่เมืองชั้นใน (City Area) โดยมีราคาขายเฉลี่ยประมาณ 130,000 บาทตอตารางเมตร ตามมาดวยพื้นที่รอบเมืองดานทิศใต (Southern Fringe Area) มีราคาขายเฉลี่ยประมาณ 88,000 บาท ตอตารางเมตร อันไดแก โครงการที่ติดกับริมแมน้ําเจาพระยา และโครงการที่อยูบนถนนนราธิวาสราช นครินทร ราคาขายเฉลี่ยหองชุดที่ต่ําที่สุดอยูในพื้นที่กรุงเทพชั้นนอก (Suburban Bangkok Area) โดยมีราคาขาย ประมาณ 55,000 บาท ตอตารางเมตร

สวนที่ 1 หนา 105


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ราคาขายเฉลี่ยของโครงการที่เปดขายใหมโดยจําแนกตามระยะทางจากระบบขนสงมวลชนระบบราง ป 2555 จําแนกตามรายไตรมาส

ที่มา : คอลลิเออรส อินเตอรเนชั่นแนล ประเทศไทย

ราคาขายเฉลี่ยของโครงการที่เปดขายในป 2555 เพิ่มขึ้น อยูที่ประมาณรอยละ 12 จากป 2554 โดยเฉพาะ โครงการที่ตั้งอยูในระยะหางระหวาง 201 ถึง 500 เมตร จากสถานีรถไฟฟาบีทีเอส และสถานีรถไฟฟาใตดิน MRT ซึ่งมี ราคาขายเฉลี่ยสูงกวาป 2554 ถึงรอยละ 19 อัตราการขายไดเฉลี่ยของคอนโดมิเนียมที่เปดขายใหมโดยจําแนกตามระยะทางจากระบบขนสงมวลชน ระบบราง ป 2555 จําแนกตามรายไตรมาส

ที่มา : คอลลิเออรส อินเตอรเนชัน่ แนล ประเทศไทย

หองชุดที่เปดขายในชวงไตรมาส 3 และไตรมาส 4 ของป 2555 ในทุกพื้นที่ มีอัตราการขายไดสูงกวาชวงครึ่ง ปแรก ทั้งนี้ เนื่องจากความมั่นใจในตลาดอสังหาริมทรัพยมีเพิ่มมากขึ้นในชวงครึ่งปหลัง ประกอบกับผูประกอบการยัง เปดขายโครงการจํานวนมากในชวงเดียวกัน

สวนที่ 1 หนา 106


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

คาดการณในอนาคต ผลกระทบของระบบขนสงมวลชนระบบราง ในไตรมาสสุดทายของป 2549 รัฐบาลประกาศโครงการสวนตอขยายของรถไฟฟาสายตางๆ อีก 5 สาย เริ่มตนดวยการเริ่มกอสรางสวนตอขยายรถไฟฟาสายสีมวง บางซื่อ-บางใหญ และสายสีน้ําเงิน บางซื่อ-ทาพระ และ หัวลําโพง-บางแค ในป 2552 และ 2554 ตามลําดับ หลังจากที่มีการประกาศโครงการสวนตอขยายของรถไฟฟาอยางเปนทางการ ตลาดคอนโดมิเนียมที่เปดขาย บน 2 เสนทางใหมมีการเปลี่ยนแปลงอยางเห็นไดชัด โดยที่มีผูประกอบการหลายรายเปดขายโครงการ จะเห็นไดจาก กราฟสถิติจากกรมที่ดิน แสดงใหเห็นถึงอุปทานสะสมที่ผานมา ตั้งแตป 2535 ถึง 2555 และประมาณการจํานวนหอง ชุดคอนโดมิเนียมที่มีกําหนดสรางเสร็จในชวงป 2556 และ 2558

ที่มา : คอลลิเออรส อินเตอรเนชั่นแนล ประเทศไทย

โครงการคอนโดมิเนียมมากมายเกิดขึ้นตามแนวเสนทางรถไฟฟาสายสีมวง บางซื่อ-บางใหญ ผูประกอบการ เริ่มเปดขายโครงการตั้งแตป 2548 และโครงการเหลานั้นก็ทยอยสรางเสร็จในป 2550 เปนตนไป ซึ่งขณะนั้นมีจํานวน หองชุดคอนโดมิเนียมสรางเสร็จและจดทะเบียนแลวประมาณ 22,600 หนวย เพิ่มขึ้น 8,700 หนวย นับตั้งแตป 2540 ในขณะที่ยังมีหองชุดคอนโดมิเนียมอีกเกือบ 10,000 หนวย ที่อยูระหวางการกอสราง และจะสรางเสร็จภายในป 2558 ยิ่งไปกวานั้น ผูประกอบการหลายรายยังวางแผนที่จะเปดโครงการใหมในป 2556 นี้ โครงการคอนโดมิเนียมในพื้นที่รอบสวนตอขยายเสนทางรถไฟฟาสายสีน้ําเงิน บางซื่อ-ทาพระ และหัวลําโพงบางแค เริ่มจะเติบโตอยางรวดเร็วหลังจากที่บริเวณรอบเสนทางรถไฟฟาสายสีมวงนั้นเติบโตขึ้นกอนแลว 2 ป เนื่องจาก รัฐบาลไดประกาศแผนพัฒนารถไฟฟาเสนนี้อยางเปนทางการ เมื่อป 2540 มีจํานวนหองชุดคอนโดมิเนียมบนแนว เสนทางรถไฟฟาสวนตอขยายสายสีน้ําเงิน 3,500 หนวย และมีจํานวนเพิ่มขึ้นเพียงเล็กนอยตั้งแตป 2542 ถึง 2551 จนกระทั่งระหวางป 2553 ถึง 2555 มีจํานวนหองชุดสรางเสร็จและจดทะเบียนกับกรมที่ดินแลว 12,300 หนวย ขณะนี้ จึงมีจํานวนหองชุดสรางเสร็จบนเสนนี้ 17,500 หนวย และมีอีก 8,000 หนวย ที่จะสรางเสร็จภายในป 2558 ยิ่งไปกวา นั้น โครงการใหมหลายโครงการมีกําหนดเปดขายในป 2556 นี้ สวนที่ 1 หนา 107


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

สรุปภาพรวมตลาดคอนโดมิเนียม ป 2555 และคาดการณตลาดคอนโดมิเนียม ป 2556 ตลาดคอนโดมิเนียมยังคงเติบโตในชวงครึ่งหลังของป 2555 เมื่อเทียบกับครึ่งปแรก แมวาจํานวนหองชุด คอนโดมิเนียมที่เปดขายในไตรมาส 3 ต่ํากวาไตรมาส 2 อยางไรก็ตาม ในไตรมาส 4 มีจํานวนหองชุดเปดขายมากที่สุด ในป 2555 คาดการณวา ตลาดคอนโดมิเนียมในป 2556 นั้น จะมีการเติบโตเทียบเทากับป 2555 โดยราคาขายเฉลี่ยของ หองชุดคอนโดมิเนียมป 2556 ควรจะสูงกวาป 2555 ประมาณรอยละ 10 เนื่องจากหลายปจจัยที่ทําใหเกิดผลกระทบกับ ตนทุนคากอสราง รวมถึงการเพิ่มคาแรง และตนทุนวัสดุกอสรางที่สูงขึ้น เนื่ อ งจากที่ ดิ น ในบริ เ วณพื้ น ที่ เ มื อ งชั้ น ในมี จํ า กั ด โดยเฉพาะบริ เ วณสองฝ ง ของถนนสุ ขุ ม วิ ท ทํ า ให ผูประกอบการเลือกพัฒนาคอนโดมิเนียมแบบ Low Rise บนที่ดินผืนเล็ก ในถนนรอง หรือซอยยอย จํานวน คอนโดมิเนียมแบบ Low Rise จะมีมากขึ้นในอนาคตทั้งในซอยเล็กๆ ยานสุขุมวิท และยานอื่นๆ ยิ่งไปกวานั้น ความไม ชัดเจนของผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร ฉบับใหม จะเปนตัวผลักดันใหผูประกอบการเลือกที่จะพัฒนาที่ดินผืนเล็กใน ซอยกอนที่ผังเมืองใหมจะประกาศใชในป 2556 ผูประกอบการหลายบริษัทในตลาดหลักทรัพยเริ่มเปดตัวโครงการคอนโดมิเนียมในเขตพื้นที่นอกกรุงเทพฯ และไดรับผลตอบรับที่ดีจากลูกคาทองถิ่น ทําใหเกิดตลาดใหมในอนาคต ขณะเดียวกันผูประกอบการแตละรายยังคง พยายามจะรักษาส วนแบงทางการตลาดในกรุงเทพฯ ไว เชียงใหม พัทยา หัว หิน ภูเก็ต ขอนแกน เขาใหญ และ หาดใหญ นับเปนเมืองเศรษฐกิจที่สําคัญของประเทศไทย และจะกลายเปนพื้นที่การแขงขันแหงใหม นอกเหนือจาก ตลาดในกรุงเทพมหานคร ในป 2555 นี้ ผูประกอบการรายใหญ กําลังมองหาชองทางการลงทุนในตลาดตางประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่ง ประเทศในอาเซียน เชน อินโดนีเซีย ฟลิปปนส เวียดนาม และพมา แตยังเปนชวงที่ตองทําการสํารวจตลาด วิจัยและหา หุนสวนที่เหมาะสมกับการประกอบธุรกิจของประเทศนั้น อยางไรก็ตาม ในป 2556 ผูประกอบการบางรายมีแผนที่จะ เริ่มพัฒนาโครงการอยางจริงจังแลวเพื่อกระจายการลงทุนออกนอกประเทศ ผังเมืองรวมกรุงเทพมหานครฉบับใหม ยังคงเปนสิ่งที่ผูประกอบการใหความสําคัญ เนื่องจากขอบังคับใน ผังเมืองรวมฉบับใหมจะทําใหเกิดผลกระทบราคาที่ดิน สงผลใหผูประกอบการลังเลที่จะซื้อที่ดินใหมในกรุงเทพฯ โดยเฉพาะอยางยิ่งที่ดินในซอยยอย กอนที่ผังเมืองรวมฉบับใหมจะประกาศใชอยางเปนทางการในป 2556

สวนที่ 1 หนา 108


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ทําเลทีต่ ั้งของคอนโดมิเนียม

(1)

พื้นที่กรุงเทพชั้นใน (Urban Bangkok Area)

แบงออกเปน 3 บริเวณไดแก พื้นที่เมืองชั้นใน (City Area) พื้นที่รอบเมือง (City Fringe Area) และ พื้นที่สวนตอขยายเมือง (Outer City Area) (1.1) พื้นที่เมืองชั้นใน (City Area): พื้นที่ 4 สวนเดนๆ ไดแก บริเวณสุขุมวิท เริ่มตั้งแตสุขุมวิท ซอย 1-55 และซอย 2-38 ไปทางใต บริเวณสวนลุมพินี รวมไปถึงบริเวณ ถนนเพลินจิต ถนนพระราม 1 ซอยหลังสวน ซอยสารสิน ถนนชิดลม ถนนราชดําริ ถนนวิทยุ และถนนราชประสงค บริเวณสีลม-สาทร และบริเวณติดริมแมน้ํา เจาพระยา ถนนเจริญกรุง และถนนเจริญนคร สวนที่ 1 หนา 109


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

(1.2)

แบบ 56-1 ป 2555/56

พื้นที่รอบเมือง (City Fringe Area): แบงออกเปน 3 บริเวณ ไดแก

 พื้นที่รอบเมืองดานทิศเหนือ (Northern Fringe): เริ่มจากบริเวณ สถานีรถไฟฟา บีทีเอส ราชเทวี ไลเรียงบริเวณรอบเสนรถไฟฟาบีทีเอส ไปทางทิศเหนือ ถึงสถานีรถไฟฟาบีทีเอส หมอชิต และบริเวณ รอบสถานีรถไฟฟาใตดิน MRT เพชรบุรี ไลเรียงบริเวณรอบเสนรถไฟฟาใตดิน MRT ไปทางทิศเหนือ จนถึงบริเวณ สถานีรถไฟฟาใตดิน MRT บางซื่อ  พื้นที่รอบเมืองดานทิศใต (Southern Fringe): บริเวณถนนนราธิวาสราชนครินทร ถนนจันทน ถนนสาธุประดิษฐ ถนนเจริญกรุง ถนนพระราม 3 สวนที่ติดกับแมน้ําเจาพระยา  พื้นที่รอบเมืองดานทิศตะวันออก (Eastern Fringe): เริ่มจากบริเวณ สถานีรถไฟฟา บีทีเอส ทองหลอ ไลเรียงบริเวณรอบเสนรถไฟฟาบีทีเอส ไปทางตะวันออกจนถึงสถานีรถไฟฟาบีทีเอส ออนนุช รวมทั้งบริเวณถนนพระราม 4 และถนนเพชรบุรี (1.3)

พื้นที่สวนตอขยายเมือง (Outer City Area): แบงออกเปน 2 บริเวณ ไดแก

 พื้นที่สวนตอขยายเมืองดานตะวันออก (Outer City-East) เริ่มจากสวนตอขยายของ รถไฟฟาบีทีเอส เริ่มบริเวณสถานีรถไฟฟาบีทีเอส ออนนุช ไปจนถึงสุดเสนเขตแบงจังหวัดกรุงเทพดานตะวันออก  พื้นที่สวนตอขยายเมืองดานตะวันตก (Outer City-West) เริ่มจากสวนตอขยายของ รถไฟฟาบีทีเอส เริ่มบริเวณสถานีรถไฟฟาบีทีเอส ตากสิน ไปทางตะวันตกสิ้นสุดที่สถานีรถไฟฟาบีทีเอส บางหวา รวมถึงบริเวณถนน กรุงธนบุรี จนถึงถนนราชพฤกษใกลกับแยกเพชรเกษม (2)

พื้นที่กรุงเทพชั้นนอก (Suburban Bangkok) ไดแก บริเวณอื่นๆ ที่ยังไมไดกลาวถึงขางตนของกรุงเทพฯ

ภาพรวมตลาดอุตสาหกรรมโรงแรมในกรุงเทพฯ และภาพรวมตลาดนักทองเที่ยวทั้งประเทศ (ที่มา: ซีบี ริชารด เอลลิส ประเทศไทย) อัตราคาเชาหองพักเฉลี่ย (ADR) และอัตราการเขาพักของโรงแรมในกรุงเทพฯ ตั้งแตป 2552-2555

ที่มา : ซีบี ริชารด เอลลิส ประเทศไทย

สวนที่ 1 หนา 110


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

สภาวะทางการเมืองที่มั่นคงของประเทศไทยในป 2555 ทําใหมีอัตราการเติบโตของจํานวนนักทองเที่ยวอยาง เห็นไดชัด อัตราการเขาพักเฉลี่ยของโรงแรมในกรุงเทพฯ เพิ่มขึ้นเปนรอยละ 70.6 เมื่อเทียบกับป 2554 ที่มีอัตราการ เขาพักเฉลี่ยเพียงรอยละ 63.5 ในขณะที่คาหองพักเฉลี่ยตอหองทั้งหมดที่มี (Revenue Per Available Room หรือ RevPAR) เพิ่มขึ้นรอยละ 11.9 จากป 2554 อุตสาหกรรมโรงแรมขณะนี้กําลังประสบปญหาเนื่องจากสภาวะตนทุนที่เพิ่มขึ้น และ เมื่อพิจารณาอัตราคาเชา หองพักเฉลี่ยของโรงแรมทุกระดับในกรุงเทพฯ (ADR- Average Daily Rate) ที่เพิ่มขึ้นเพียงรอยละ 0.9 อยูที่อัตรา 3,019 บาท เมื่อเทียบกับป 2554 จํานวนนักทองเที่ยวตางชาติจากทาอากาศยานสุวรรณภูมิ และทาอากาศยานดอนเมือง

ที่มา : ซีบี ริชารด เอลลิส ประเทศไทย

จํานวนนักทองเที่ยวตางชาติเพิ่มรอยละ 15.9 จากป 2554 คิดเปน 20,339,990 คน จํานวนนักทองเที่ยว ตางชาติที่เพิ่มขึ้น ยังคงเปนนักทองเที่ยวชาวเอเชีย โดยที่มีนักทองเที่ยวจากจีนมาอันดับ 1 คิดเปนจํานวนรอยละ 12.4 ของจํานวนนักทองเที่ยวทั้งหมดรองลงมาเปนนักทองเที่ยวชาวรัสเซีย และอินเดีย อุปทานของหองพักโรงแรมในใจกลางเมืองกรุงเทพฯ จําแนกตามระดับของโรงแรม ป 2555

ที่มา : ซีบี ริชารด เอลลิส ประเทศไทย

สวนที่ 1 หนา 111


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

จํานวนหองพักของโรงแรมทั้งหมดในกรุงเทพฯ คือ 34,971 หอง เพิ่มขึ้นรอยละ 10 จากป 2554 ในไตรมาส 4 ป 2555 มี จํานวนหองพักเพิ่มขึ้น 1,124 หอง มาจากโรงแรมที่สรางเสร็ จในไตรมาสนี้ ไดแก W hotel, The Siam, The Continent Hotel Bangkok, Mercure Bangkok Siam, the Riva Surya , the Ibis Bangkok Siam และ The Citrus สุขุมวิท 13 อุปทานของหองพักโรงแรมในใจกลางเมืองของกรุงเทพฯ จําแนกตามทําเลที่ตั้ง ป 2555

ที่มา : ซีบี ริชารด เอลลิส ประเทศไทย

จํานวนหองพักของโรงแรมสวนใหญอยูในยานเพลินจิต/สุขุมวิท เปนจํานวน 63% ของจํานวนหองพักทั้งหมด รองลงมาคือสีลม/สาทร 22% และ ริมแมน้ําเจาพระยา 15% ตามลําดับ อุปทานของหองพักโรงแรมในใจกลางเมืองของกรุงเทพฯ ในอนาคต

ที่มา : ซีบี ริชารด เอลลิส ประเทศไทย

สวนที่ 1 หนา 112


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ในป 2556 คาดการณวาจะมีหองพักของโรงแรมเพิ่มขึ้นอีกประมาณ 5,100 หอง ประกอบดวยหองของ โรงแรมชั้นดี 300 หอง โรงแรมระดับบน 1,700 หอง โรงแรมระดับกลาง 2,800 หอง และโรงแรมระดับลาง 300 หอง ซึ่งภายในป 2558 จะมีหองพักเพิ่มขึ้นจากป 2555 เปนจํานวน 7,238 หอง มีผลใหจํานวนหองพักโรงแรมทั้งหมดใน กรุงเทพฯ เทากับ 42,209 หอง เพิ่มขึ้นรอยละ 21 ของจํานวนหองพัก ณ สิ้นป 2555 การจัดแบงระดับของโรงแรมในกรุงเทพ โรงแรมชั้นดี (Luxury) เปนโรงแรมที่มีอัตราคาเชาหองพักเฉลี่ย (ADR- Average Daily Rate) มากกวา 5,500 บาท (ประมาณ 170 ดอลลารสหรัฐ) สวนใหญตั้งอยูบนถนนหลัก ในศูนยกลางธุรกิจ (CBD) และบริหารโดยเชน โรงแรมตางชาติระดับหรู โรงแรมระดับบน (First Class) เปนโรงแรมที่มีอัตราคาเชาหองพักเฉลี่ย (ADR- Average Daily Rate) ที่อยู ระหวาง 4,500 - 5,500 บาท (ประมาณ 140 -170 ดอลลารสหรัฐ) สวนใหญตั้งอยูบนถนนหลักในศูนยกลางธุรกิจ (CBD) และบริหารโดยเชนโรงแรมตางชาติระดับดี หรือบริหารโดยเจาของโรงแรมเอง โรงแรมระดับกลาง (Mid Range) เปนโรงแรมที่มีอัตราคาเชาหองพักเฉลี่ย (ADR- Average Daily Rate) ที่ อยูระหวาง 2,500 - 4,500 บาท (ประมาณ 80 -140 ดอลลารสหรัฐ) สวนใหญตั้งอยูบนถนนหลักในศูนยกลางธุรกิจ (CBD) และบริเวณใกลเคียง บริหารโดยเชนโรงแรมตางชาติระดับกลาง หรือบริหารโดยเจาของโรงแรมเอง โรงแรมระดับลาง (Economy Range) เปนโรงแรมที่มีอัตราคาเชาหองพักเฉลี่ย (ADR- Average Daily Rate) ที่อยูระหวาง 1,000 - 2,500 บาท (ประมาณ 30 - 80 ดอลลารสหรัฐ) สวนใหญตั้งอยูบนถนนซอยในศูนยกลาง ธุรกิจ (CBD) และบริเวณใกลเคียง บริหารโดยเชนโรงแรมตางชาติระดับตน หรือบริหารโดยเจาของโรงแรมเอง ที่ตั้งของโรงแรม ยานกลางเมือง (Downtown Bangkok) แบงออกเปน 3 บริเวณ (1) บริเวณเพลินจิต/สุขุมวิท ไดแกบริเวณถนนพระราม1 ถนนพญาไท ถนนราชดําริ ถนนหลังสวน ถนน วิทยุ ถนนเพลินจิต และถนนสุขุมวิท (ซอย 1-39 และซอย 2-26) และถนนซอยบริเวณนั้น (2) บริเวณสีลม/สาทร ไดแก บริเวณถนนสีลม ถนนสาทร และถนนสุรวงศและถนนซอยบริเวณนั้น รวมทั้งบริเวณตนถนนพระราม 4 ตั้งแตสามยาน จนถึงแยกสาทรตัดพระราม 4 และถนนซอยบริเวณนั้น (3) บริเวณริมแมน้ําเจาพระยา บริเวณถนนพระราม 3 ตั้งแตสะพานตากสิน ถึงสะพานพระราม 9 และ บริเวณรอบถนนเจริญกรุงตั้งแตสะพานตากสิน ถึงถนนสีลม และริมแมน้ําเจาพระยาฝงธนบุรีบริเวณถนนเจริญนคร

สวนที่ 1 หนา 113


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ภาพรวมตลาดอาคารสํานักงานใหเชาในกรุงเทพฯ (ที่มา: ซีบี ริชารด เอลลิส ประเทศไทย) สภาพตลาดอาคารสํานักงาน ป 2543-2558

ที่มา : ซีบี ริชารด เอลลิส ประเทศไทย

สภาพตลาดของอาคารสํานักงาน เปนภาวะที่ดีขึ้นอยางตอเนื่อง สาเหตุจากอุปทานในอนาคตมีจํากัด ทําให อัตราวางลดลง และคาเชาสูงขึ้น ทั้งในสํานักงานเกรด A และ B ในทุกบริเวณของกรุงเทพฯ อุปทานสํานักงานเพิ่มขึ้น เปน 8,093,818 ตร.ม.และอุปสงคในตลาดเทากับ 7,110,598 ตร.ม. เพิ่มขึ้นรอยละ 0.2 และรอยละ 0.9 เมื่อเทียบกับ ไตรมาส 4 ป 2554 ตามลําดับ อัตราการเชา (Occupancy Rate) ในป 2555 เพิ่มขึ้นเพียงเล็กนอยเปนรอยละ 87.9 จากเดิมรอยละ 87.3 ใน ป 2554 ไตรมาส 4 ป 2555 อุปสงคที่เกิดใหมของทั้งตลาดสํานักงานทั้งหมดในกรุงเทพฯ เทากับ 47,108 ตร.ม. เพิ่มขึ้นรอยละ 16.3 เมื่อเทียบกับป 2554 ไตรมาสเดียวกัน และอุปสงคที่เกิดใหมทั้งหมดของป 2555 เทากับ 159,876 ตร.ม. นับเปนอัตราเพิ่มขึ้นรอยละ 93.1 เมื่อเทียบกับอุปสงคที่เกิดใหมทั้งหมดของป 2554 สภาพตลาดอาคารสํานักงานในกรุงเทพฯ ไตรมาส 4 ป 2555

ที่มา : ซีบี ริชารด เอลลิส ประเทศไทย

สวนที่ 1 หนา 114


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

อุปสงคในตลาดอาคารสํานักงานมีเพิ่มมากขึ้น แตอุปทานในอนาคตมีจํากัดทําใหคาเชาเพิ่มสูงขึ้น อัตราวาง ของสํานักงานใหเชาทั้งหมดในกรุงเทพฯ เทากับรอยละ 12.1 ในขณะที่อัตราวางใหเชาของสํานักงานเกรด A ในบริเวณ ศูนยกลางธุรกิจ (CBD-Central Business District) เทากับรอยละ 14 พื้นที่สํานักงานที่ถูกเชาเพิ่มขึ้นในป 2555 ประมาณ 160,000 ตร.ม. ซึ่งมีปริมาณเปน 2 เทาของพื้นที่ สํานักงานที่ถูกเชาเพิ่มในป 2554 สภาพตลาดอาคารสํานักงาน - อุปสงค อุปทาน และอัตราวาง ไตรมาส 4 ป 2555

ป 2555 พื้นที่สํานักงานสะสมทั้งหมดเพิ่มขึ้นเปน 8,093,818 ลานตารางเมตร ลดลงรอยละ 0.3 เมื่อเทียบกับ ป 2554 ซึ่งในภาพรวม ในไตรมาส 4 ป 2555 นี้ มีอุปสงคเทากับ 7,110,598 ตารางเมตร เพิ่มขึ้นรอยละ 0.9 เมื่อเทียบ กับไตรมาสเดียวกันป 2554 และเพิ่มขึ้นรอยละ 2 เมื่อเทียบกับอุปสงคของป 2554 อุปทานอาคารสํานักงานที่เกิดใหม คิดตามพื้นที่ (ตารางเมตร) ตั้งแตป 2552-2558

ที่มา : ซีบี ริชารด เอลลิส ประเทศไทย

คาดการณวาระหวางป 2556 ถึงป 2558 จะมีจํานวนพื้นที่อาคารสํานักงานเกิดใหม ประมาณ 438,449 ตาราง เมตร ซึ่งรอยละ 74.1 ของจํานวนพื้นที่อาคารสํานักงานเกิดใหมนี้ เปนออฟฟศเกรด A และรอยละ 20.2 ของพื้นที่ สํานักงานที่อยูในระหวางการกอนสรางนั้นอยูในบริเวณศูนยกลางธุรกิจ (CBD)

สวนที่ 1 หนา 115


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

อัตราการเชา ไตรมาส 4 ป 2555

ที่มา : ซีบี ริชารด เอลลิส ประเทศไทย

อัตราการเชา (Occupancy rate) ของตลาดสํานักงานในกรุงเทพฯ เทากับเปนรอยละ 87.9 เพิ่มขึ้นจาก ไตรมาส 3 ที่รอยละ 87.2 โดยอัตราการเชา เพิ่มขึ้นรอยละ 2 เมื่อเทียบกับป 2554 อัตราวางของสํานักงานเกรด A ที่อยูในศูนยกลางธุรกิจ (CBD) เทากับรอยละ 14 ลดลงจาก ไตรมาส 3 ซึ่งมี คาเทากับรอยละ 15.5 เนื่องจากมีผูเชายายเขามาอยูที่อาคารสํานักงานปารคเวนเจอร อุปทานของตลาดสํานักงาน ไตรมาส 4 ป 2555

ที่มา : ซีบี ริชารด เอลลิส ประเทศไทย

ณ สิ้นไตรมาส 4 ป 2555 พื้นที่สํานักงานสะสมทั้งหมดเพิ่มขึ้นเปน 8,093,818 ลานตารางเมตร ลดลงรอยละ 0.3 เมื่ อ เที ย บกั บ ป 2554 เนื่ อ งจากอาคารสํ า นั ก งานบางส ว นถู ก ทุ บ รวมถึ ง สํ า นั ก งานบางส ว นถู ก เปลี่ ย นการใช ประโยชน อุปทานสํานักงานเกรด B มีจํานวนประมาณรอยละ 78.3 ของพื้นที่สํานักงานทั้งหมดในกรุงเทพฯ และ สํานักงานเกรด A ใน ศูนยกลางทางธุรกิจ (CBD) มีจํานวนรอยละ 15.1 ของพื้นที่สํานักงานทั้งหมดในกรุงเทพฯ สวนที่ 1 หนา 116


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

อุปสงคของตลาดสํานักงาน ไตรมาส 4 ป 2555

ที่มา : ซีบี ริชารด เอลลิส ประเทศไทย

ไตรมาส 4 ป 2555 มีจํานวนสํานักงานที่ถูกเชาในกรุงเทพฯ ทั้งหมดเทากับ 7,110,598 ตร.ม. เพิ่มขึ้นรอยละ 0.9 เมื่อเทียบกับไตรมาส 4 ป 2554 และ เพิ่มขึ้นรอยละ 2 เมื่อเทียบกับอุปสงคทั้งป ของป 2554 พื้นที่วางที่ไมถูกเชา จึงเทากับ 983,220 ตร.ม. นอยลงจากไตรมาส 3 ที่เทากับ 1,030,328 ตร.ม. โดยภาพรวมของตลาด อุปสงคคอยๆ เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง อัตราคาเชา ไตรมาส 4 ป 2555

ที่มา : ซีบี ริชารด เอลลิส ประเทศไทย

อัตราคาเชาสูงขึ้นทั้งสํานักงานเกรด A และ เกรด B ทั้งในบริเวณศูนยกลางธุรกิจ (CBD) และบริเวณที่ไมใช ศูนยกลางธุรกิจ (Non-CBD) สําหรับในป 2555 อัตราคาเชาเฉลี่ยของสํานักงานเกรด A ที่ตั้งอยูบริเวณศูนยกลางธุรกิจ (CBD) เทากับ 766 บาท ตอตารางเมตร ตอเดือน เพิ่มขึ้นรอยละ 9.1 เมื่อเทียบกับป 2554 ดังนั้นจึงคาดการณไดวา คาเชาอาคารสํานักงานมีแนวโนมสูงขึ้นรอยละ 10 - 15 ในป 2556

สวนที่ 1 หนา 117


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

อัตราคาเชาเฉลี่ยของสํานักงานเกรด A บริเวณศูนยกลางธุรกิจ (CBD) เพิ่มขึ้นรอยละ 2.2 เมื่อเทียบกับ ไตรมาสเดียวกัน และเพิ่มขึ้นรอยละ 9.1 เมื่อเทียบกับป 2554 มาอยูที่ 766 บาทตอตารางเมตรตอเดือน ในขณะที่ อัตราคาเชาเฉลี่ยของสํานักงานเกรด B บริเวณศูนยกลางธุรกิจ (CBD) เพิ่มขึ้นมาอยูที่ 530 บาทตอตารางเมตรตอ เดือน หรือรอยละ 2.5 เมื่อเทียบกับป 2554 อัตราคาเชาเฉลี่ยของสํานักงานเกรด A บริเวณที่ไมใชศูนยกลางธุรกิจ (Non-CBD) เพิ่มขึ้นเล็กนอยรอยละ 0.7 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกัน และเพิ่มขึ้นรอยละ 2.7 เมื่อเทียบกับป 2554 มาอยูที่ 577 บาทตอตารางเมตรตอ เดือน ในขณะที่ อัตราคาเชาเฉลี่ยของสํานักงานเกรด B บริเวณที่ไมใชศูนยกลางธุรกิจ (Non-CBD) เพิ่มขึ้นรอยละ 3.7 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกัน และรอยละ 10.8 เมื่อเทียบกับปที่ผานมา มาอยูที่ 501 บาทตอตารางเมตรตอเดือน ระดับชั้นของอาคารสํานักงาน ซีบี ริชารด เอลลิส ประเทศไทย ไดใหคุณสมบัติของอาคารสํานักงานเกรด A ไวดังนี้  รูปรางของผังพื้นแตละชั้น ควรเปนรูปรางปกติ และไมมีโครงสรางกีดขวาง และสามารถจัดแบงพื้นที่ได โดยงาย  ระบบปรับอากาศ เปนแบบ Central Chiller และ สามารถปรับอุณหภูมิได มากกวาที่จะเปนระบบ Water-Cooled ที่ไมสามารถปรับอุณหภูมิได และควรมีระบบปรับอากาศที่ทํางานตลอด 24 ชั่วโมงแยก ใหสําหรับผูเชาที่มีหองคอมพิวเตอร  ใชเวลารอลิฟทนอย ลิฟทควรที่จะมีการจัดการใหไปไดในทุกชวงชั้น ควรมีลิฟทบริการแยกออกไป ตางหาก  สวนบริการสาธารณะ เชน ทางเขาหลัก หรือ ล็อบบี้ควรมีการออกแบบที่สวยงาม และมีคุณภาพสูง  ฝาเพดานในบริเวณพื้นที่เชาสํานักงานควรสูงกวา 2.7 เมตร  ควรมีทีมบริหารอาคารที่เปนมืออาชีพทางดานนี้  สวนจอดรถตองมีประสิทธิภาพ และสามารถเขาถึง และหาทางออกไดงาย สําหรับอาคารสํานักงานที่มีคุณสมบัติต่ํากวาที่ไดกลาวไวขางตน จะเปนอาคารสํานักงานเกรด B ที่ตั้งของอาคารสํานักงานในกรุงเทพฯ ยานศูนยกลางทางธุรกิจ (CBD) ไดแก บริเวณสีลม สาทร สุรวงศ พระราม 4 เพลินจิต ถนนวิทยุ สุขุมวิท (ซอย 3-39 และซอย 2-24) และถนนอโศก ยานที่ไมใชศูนยกลางทางธุรกิจ (Non-CBD) ไดแก บริเวณสุขุมวิท ชวงปลายรัชดา พหลโยธิน วิภาวดีรังสิต เพชรบุรี พระราม 3 และถนนบางนา-ตราด

สวนที่ 1 หนา 118


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

4.3.4

แบบ 56-1 ป 2555/56

ความคืบหนาโครงการและแผนงานในอนาคต (1)

อสังหาริมทรัพยที่อยูในแนวเสนทางรถไฟฟา 

โครงการอาคารใชสอยหลายรูปแบบ บริเวณสถานีรถไฟฟาพญาไท

บริษัท กามกุง พร็อพเพอรตี้ จํากัด มีแผนการที่จะพัฒนาโครงการใหเปนอาคารใชสอยหลายรูปแบบ อาทิ อาคารสํานักงาน พื้นที่เพื่อการพาณิชย และโรงแรม เปนตน บนที่ดินเนื้อที่ประมาณ 2 ไร ติดกับสถานีรถไฟฟาพญาไท อันเปนสถานีเดียวในปจจุบันที่เปนจุดเชื่อมตอของรถไฟฟา 3 ระบบ กลาวคือ รถไฟฟาบีทีเอส รถไฟฟาแอรพอรต เรล ลิงค และรถไฟฟาสายสีแดง ซึ่งขณะนี้อยูในระหวางการศึกษาความเปนไปไดโครงการ 

โครงการ BTS Square ถนนพหลโยธิน จตุจกั ร

บีทีเอส แอสเสทส เปนเจาของที่ดินเนื้อที่กวา 15 ไร ตั้งอยูบนถนนพหลโยธิน ตรงขามสวนจตุจักร ใกลที่ตั้ง สํานักงานใหญของบีทีเอสซี ซึ่งขณะนี้อยูในระหวางการออกแบบแนวความคิด (Conceptual Design) ในรูปแบบตางๆ เพื่ อ ศึ ก ษาและพิ จ ารณาความเป น ไปได ใ นการสร า งกลุ ม อาคารเนื้ อ ที่ ร วมประมาณ 200,000 ตารางเมตร ซึ่ ง จะ ประกอบดวยอาคารสํานักงาน อาคารที่พักอาศัย พื้นที่เพื่อการพาณิชย และอาคารจอดรถ โดยอาคารทั้งหมดจะมี ทางเดินถึงกันและเชื่อมตอเขากับสถานีรถไฟฟาหมอชิตได โดยคาดวาจะตองใชเงินลงทุนสําหรับทั้งโครงการกวา 7,000 ลานบาท ณ เดือนพฤษภาคม 2556 ราคาประเมินที่ดนิ ดังกลาว เปน 1,266 ลานบาท (2)

อสังหาริมทรัพยที่อยูในทําเลอื่นๆ 

โรงแรม ยู เขาใหญ

ที่ดินโครงการโรงแรม ยู เขาใหญ มีเนื้อที่ประมาณ 20 ไร ตั้งอยูที่ตําบลโปงตาลอง อําเภอปากชอง จังหวัด นครราชสีมา ใกลกับเขตวนอุทยานแหงชาติเขาใหญ โดยบริษัท เมืองทอง แอสเซ็ทส จํากัด เปนเจาของที่ดิน และมี แผนการที่จะพัฒนาที่ดินนี้เปนโรงแรมในเครือโรงแรม “U Hotels and Resorts” โดยโครงการดังกลาวยังอยูในขั้นตอน การออกแบบและวางผัง เพื่อรอความพรอมของสภาวะตลาด ณ เดือนมีนาคม 2556 ราคาประเมินที่ดินดังกลาว เปน 9 ลานบาท 

โครงการปราณคีรี

ที่ดินบริเวณ ตําบลโปงตาลอง อําเภอปากชอง จังหวัดนครราชสีมา เนื้อที่กวา 600 ไร โดยกลุมบริษัทเปน เจาของที่ดิน และมีแผนการจะพัฒนาใหเปนโครงการที่พักอาศัยบนเนินเขาที่มีภูมิทัศน ทามกลางสิ่งแวดลอมที่ดี รายลอมรอบโครงการโรงแรม ยู เขาใหญ โดยขณะนี้ยังอยูในระหวางดําเนินการเพื่อขอจัดสรรกับทางหนวยงานที่ เกี่ยวของ ณ เดือนมีนาคม 2556 ราคาประเมินที่ดินดังกลาว เปน 318 ลานบาท

สวนที่ 1 หนา 119


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

4.4

ธุรกิจบริการ

4.4.1

ธุรกิจเงินอิเล็กทรอนิกส (e-money)

แบบ 56-1 ป 2555/56

บีทีเอสซีไดจัดตั้งบีเอสเอสเพื่อใหบริการเงินอิเล็กทรอนิกส (e-money) พรอมระบบตั๋วรวม (common ticketing system) สําหรับระบบขนสงตางๆ เชน รถไฟฟาบีทีเอส และรถโดยสารดวนพิเศษ BRT เพื่อเปนการอํานวย ความสะดวกแก ผู โ ดยสาร ให ส ามารถใช บั ต รโดยสารเพี ย งใบเดี ย วเดิ น ทางกั บ ระบบขนส ง มวลชนทั้ ง สองระบบ นอกจากนี้ บีเอสเอสยังเปดโอกาสใหธนาคารพาณิชย รานคา และผูใหบริการตางๆ เขารวมใชระบบเงินอิเล็กทรอนิกสนี้ ได เพื่อใหเกิดการใชงานระบบอยางกวางขวางมากขึ้น และทําใหผูโดยสารไดรับความสะดวกมากขึ้นตามไปดวย บีเอสเอสไดรับอนุญาตใหประกอบกิจการที่เกี่ยวของกับเงินอิเล็กทรอนิกส (e-money) โดยไดรับใบอนุญาต จากกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในวันที่ 24 มิถุนายน 2554 และจากกระทรวงการคลังในวันที่ 1 กรกฎาคม 2554 โดยบีเอสเอสไดเริ่มใหบริการเงินอิเล็กทรอนิกส (e-money) ภายใตชื่อ “แรบบิท (rabbit)” แกบุคคล เฉพาะกลุมในวันที่ 28 กุมภาพันธ 2555 และไดใหบริการแกบุคคลทั่วไปในวันที่ 1 พฤษภาคม 2555 ภายในระยะเวลา 1 ป มีฐานผูถือบัตร “แรบบิท” อยูในตลาดแลวมากกวาหนึ่งลานใบ และมีพันธมิตรใน เครือขายมากกวา 40 แบรนด กวา 700 แหง จากหลากหลายประเภทธุรกิจที่สามารถตอบสนองความตองการและไลฟ สไตลของคนเมือง เชน แม็คโดนัลด สตารบัคส โอบองแปง เบอรเกอรคิงส แบล็คแคนยอน โออิชิ กูรเมตมารเก็ต เมเจอรซีนีเพล็กซ เอสเอฟซีนีมา รานคาตางๆ ในหางดิเอ็มโพเรียม สยามพารากอนและเดอะมอลล เปนตน โดยคาดวา ในสิ้นป 2556 จะมีรานคาและสถานประกอบการที่รวมรับบัตรแรบบิทมากกวา 1,500 แหง ปจจุบันนี้ ในแตละวันมีรายการที่เกิดจากการใชบัตรแรบบิททั้งจากระบบขนสงมวลชนและที่รานคาพันธมิตรที่ รวมรับบัตรแรบบิทมากวา 400,000 รายการ โดยจํานวนการใชบัตรดังกลาวมีอัตราเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องตามจํานวน บัตรแรบบิทและเครือขายที่เพิ่มขึ้น โดยตั้งแตตนป 2556 ที่ผานมา บีเอสเอสเปดตัวโครงการที่สําคัญดังนี้ 

บัตรรวมแรบบิทธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน)

บีเอสเอสไดรวมมือกับธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) โดยรวมกันออกบัตร ทั้งประเภทเดบิตและเครดิตที่มี ชื่อวา บัตรบีเฟสต สมารท แรบบิท และบัตรเครดิต ธนาคารกรุงเทพ แรบบิท 

AIS mPay Rabbit หรือ เอไอเอส เอ็มเปย แรบบิท

บีเอสเอสไดรวมมือกับบริษัท แอดวานซ อินโฟร เซอรวิส จํากัด (มหาชน) หรือ เอไอเอส และ บริษัท แอดวานซ เอ็มเปย จํากัด หรือ เอ็มเปย ในการพัฒนาระบบการใชบริการแรบบิทบนโทรศัพทมือถือ ในชื่อ AIS mPay Rabbit หรือ เอไอเอส เอ็มเปย แรบบิท เพื่อใหลูกคาผูถือบัตรแรบบิทที่ใชโทรศัพทมือถือในเครือขายของเอไอเอส สามารถใชโทรศัพทมือถือรุนที่รองรับเทคโนโลยีดังกลาวกับระบบของแรบบิทได โดยไดเปดใหบริการแกบุคคลเฉพาะ กลุมแลวเมื่อเดือนเมษายน 2556 และคาดวาจะเปดใหบริการอยางเต็มรูปแบบไดภายในไตรมาสที่ 3 ของป 2556 นี้

สวนที่ 1 หนา 120


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ขยายเครือขายสูอุตสาหกรรมบันเทิง

บีเอสเอสไดรวมมือกับพันธมิตรในอุตสาหกรรมบันเทิง ในการออกบัตรแรบบิทพิเศษ รุนวันพีซ ฟลมแซด ลิมิเต็ดอิดิชั่น (One Piece Film Z Limited Edition) ซึ่งใชภาพบัตรจากคาแรกเตอรของการตูนแอนิเมชั่นชื่อดังซึ่งเปนที่ นิยมมากที่สุดของประเทศญี่ปุนในขณะนี้ โดยบัตรแรบบิทพิเศษดังกลาวมีวางขายที่สถานีบีทีเอสทุกสถานี นอกจากนี้ บัตรแรบบิทยังมีการทําโปรโมชั่นรวมกันกับพันธมิตรที่ทําธุรกิจโรงภาพยนตรเพื่อกระตุนยอดใชจายผานบัตรแรบบิท บีเอสเอสคาดวาในระหวางป 2556 จะมีการออกบัตรแรบบิทลายพิเศษหรือบัตรแรบบิทในรูปแบบอื่นๆ โดยรวมกับ พันธมิตรในอุตสาหกรรมบันเทิงอยางตอเนื่อง บีเอสเอสมีวัตถุประสงคและนโยบายที่ชัดเจนที่ตองการใหบัตรแรบบิทเปนสวนหนึ่งในชีวิตประจําวันของคน เมือง ที่ทําใหชีวิตงาย สะดวกสบาย รวดเร็ว และสนุกสนานมากขึ้น บีเอสเอสจึงไดรวมมือกับพันธมิตรทางธุรกิจใน หลากหลายอุตสาหกรรมเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑและบริการใหมๆ ออกสูตลาด รวมทั้งมีแผนในการเพิ่มชองทางการเติม เงินเพื่ออํานวยความสะดวกแกผูถือแรบบิทที่อยูนอกเสนทางรถไฟฟาบีทีเอสและรถโดยสารดวนพิเศษ BRT โดยคาด วาภายในป 2556 ผูถือบัตรแรบบิทจะสามารถเติมเงินไดที่รานคาพันธมิตร ตูเติมเงิน และเติมเงินผานโทรศัพทมือถือ นอกจากนี้ บีเอสเอสยังมีแผนที่จะเปดใหบริการเติมเงินอัตโนมัติ (auto top-up) กับกลุมผูถือบัตรแรบบิทรวมที่ออก รวมกับธนาคารกรุงเทพ และจะพรอมใหบริการเติมเงินอัตโนมัติกับบัตรแรบบิทประเภทอื่นๆ ไดในอนาคต 4.4.2

ธุรกิ จการให บ ริการลูกคาสัมพันธและโปรแกรมสงเสริ มการขายดวยเครื่องพิมพคู ปองอั ตโนมัติ (coupon kiosks)

แครอท รีวอรดส จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม 2553 เพื่อใหบริการดานงานลูกคาสัมพันธ (CRM loyalty program) ที่เกี่ยวของกับบัตรเงินอิเล็กทรอนิกสแรบบิท โดย แครอท รีวอรดส (Carrot Rewards) บริการโปรแกรม สะสมแตมเพื่อดึงดูดใหผูถือบัตรเขามารวมเติมมูลคาและใชงานบัตรเงินอิเล็กทรอนิกสแรบบิทกับผูเขารวมใหบริการ โดยแตมที่สะสมนั้นสามารถนํามาแลกเปนเงินเติมกลับไปยังบัตรแรบบิท รวมถึงของรางวัลตางๆ ที่ประชาสัมพันธบน เว็บไซตของ แครอท รีวอรดส รายไดของ แครอท รีวอรดส จะมาจากการขายแตมแกพันธมิตรเพื่อแลกกับขอความและ โครงการสงเสริมการขายใหแกสมาชิก ทั้งนี้ แครอท รีวอรดส ไดเริ่มใหบริการในสวนของลูกคาสัมพันธในวันที่ 1 พฤษภาคม 2555 และตั้งเปาวาจะมีสมาชิก 700,000 ราย ภายในสองปแรกของการใหบริการ แครอท รีวอรดส ไดทําการติดตั้งตูพิมพคูปองอัตโนมัติจํานวน 60 ตูบนสถานีรถไฟฟาบีทีเอส โดยตูพิมพ คูปองอัตโนมัตินี้จะใหบริการแกสมาชิก แครอท รีวอรดส ในการตรวจสอบแตมคงเหลือ แลกคะแนนสะสม และพิมพ คูปองสงเสริมการขายจากรานอาหารประเภท QSR - Quick Service Restaurants หรือสินคาประเภท FMCG – Fast Moving Consumer Goods โดยรายไดจะมาจากการขายคูปองและการโฆษณารายเดือน ทั้งนี้ แครอท รีวอรดส มีแผน ที่จะขยายเครือขายตูพิมพคูปองอัตโนมัติจํานวน 200 ตูในป 2556 ไปยังสถานีระบบขนสงมวลชนอื่นๆ รานคา อาคาร สํานักงานและศูนยการคาตางๆ อีกดวย 4.4.3

ธุรกิจบริหารโรงแรม

กลุ ม บริ ษั ท ได ร ว มทุ น กั บ ผู ร ว มทุ น ซึ่ ง มี ป ระสบการณ บ ริ ห ารโรงแรมมาอย า งยาวนาน เพื่ อ จั ด ตั้ ง บริ ษั ท แอบโซลูท โฮเต็ล เซอรวิส จํากัด และ แอบโซลูท โฮเต็ล เซอรวิส ฮองกง ลิมิเต็ด เพื่อใหบริการใหคําปรึกษา และ บริหารจัดการเครือโรงแรม “U Hotels & Resorts” และ “Eastin” ทั้งที่อยูในประเทศและตางประเทศ นอกจากโรงแรม ยู เชียงใหม โรงแรม ยู อินจันทรี กาญจนบุรี และโรงแรมอีสติน แกรนด สาทร กรุงเทพฯ แลว บริษัท แอบโซลูท โฮเต็ล สวนที่ 1 หนา 121


บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

เซอรวิส จํากัด ยังมีแผนการที่จะบริหารโรงแรมของกลุมบริษัทอีก 2 แหง ภายใตแบรนด “U Hotels & Resorts” คือ โรงแรม ยู สาทร ที่ซอยอรรถการประสิทธิ์ ถนนสาทร ซึ่งอยูระหวางการกอสราง และโรงแรม ยู เขาใหญ ซึ่งอยูระหวาง การรอความพรอมของตลาด นอกจากนี้ แอ็บโซลูทยังไดลงนามในสัญญาบริหารโรงแรมกับบริษัทอื่นๆ ทั้งในและ ตางประเทศ ซึ่ง ณ ปจจุบัน ไดลงนามในสัญญาบริหารโรงแรมไปแลว 47 แหง นับรวมประมาณ 4,895 หอง ภายใต แบรนด “U Hotels & Resorts” และ “Eastin” โดยในปจจุบันไดเปดใหบริการแลว 17 แหง 4.4.4

ธุรกิจรับเหมาและรับบริหารงานกอสราง

บริษัท ฯ ได จั ด ตั้ งบริษัท ฮิ บ เฮง คอนสตรัค ชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (ภายหลังไดเ ปลี่ย นชื่อเปน บริ ษั ท เอชเอชที คอนสตรัคชั่น จํากัด) เพื่อดําเนินธุรกิจรับเหมาและรับบริหารงานกอสรางโครงการตางๆ ของกลุมบริษัท เชน โครงการโรงแรมอีสติน แกรนด สาทร กรุงเทพฯ โครงการ ABSTRACTS Phahonyothin Park โครงการ ABSTRACTS Sukhumvit 66/1 โครงการปรับปรุงสโมสรกีฬาและกอลฟ ธนาซิตี้ (Thana City Golf and Sports Club) และโครงการโรงแรม ยู สาทร เปนตน

สวนที่ 1 หนา 122


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

5.

ทรัพยสินที่ใชในการประกอบธุรกิจ

5.1

ทรัพยสินสําคัญที่ใชในการประกอบธุรกิจของบริษัทฯ และบริษัทยอย

ทรัพยส ินสําคัญที่ใชในการประกอบธุร กิจของบริษัทฯ และบริษัทยอ ย ได แ ก ต น ทุ น โคร ง การ ร ถไฟฟ า บี ที เ อ ส ที่ดินเปลา ที่ดินพรอ มสิ่ง ปลูกสราง และอาคารที่ส รางไวเพื่อ ขายและใหเชาในโครงการตางๆ มีร ายละเอียดดัง ตอ ไปนี้ 5.1.1

ตนทุนโครงการรถไฟฟาบีทีเอส

ภายใตส ัญญาสัมปทาน กรรมสิทธิ์ในงานโครงสรางตางๆ ที่บีทีเอสซีกอ สรางขึ้น ไดแก เสาโครงสราง ทางยกระดับ อาคารโรงจอดและซอ มบํารุง และสิ่ง ปลูกสรางอื่นๆ ซึ่ง รวมเรียกวา งานโครงสรางระบบ (Civil Works) นั้น เปนลักษณะ BTO (Build Transfer and Operate) กลาวคือ บีทีเอสซีเปนผูลงทุนในการออกแบบและกอ สรางงานโครงสราง โดยเมื่อ ดําเนินการ กอ สรางเสร็จแลว กรรมสิทธิ์ในงานโครงสรางระบบตกเปนของ กทม. โดยบีทีเอสซีมีส ิทธิและหนาที่แตเพียง ผู เ ดี ย วในการ ครอบครอง และใชส อยงานโครงสรางระบบดัง กลาว ทั้ง นี้ บีทีเอสซีไดดําเนินการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพยส ินดัง กลาวใหกทม. ไปแลวเมื่อ วันที่ 29 พฤศจิกายน 2542 สวนกรรมสิทธิ์ในระบบไฟฟาและเครื่อ งกลที่ใชกับระบบรถไฟฟาบีทีเอสซี (Electrical and Mechanic al Work s ) ไดแก รถไฟฟา รางรถไฟฟา อุปกรณแหลง พลัง งาน ระบบควบคุ ม คอ มพิ ว เตอ ร ร ะ บบอ าณั ติ ส ั ญ ญาณ ร ะ บบจั ด เก็ บ คาโดยสาร และระบบสื่อ สาร ซึ่ง รวมเรียกวา ระบบไฟฟาและเครื่อ งกลนั้น เปนลักษณะ BOT (Build Operate and Transfer) กลาวคือ บีทีเอสซีเปนผูลงทุนในการออกแบบ กอ สราง และบริหารโครงการ โดยบีทีเอสซีจะโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย นั้ น เป น ของกทม. เมื่อ สัญญาสัมปทานสิ้นสุดลง นอกจากนี้ กทม. มีส ิทธิที่จะขอรับโอนกรรมสิทธิ์ในเครื่อ งใชส ํานักงานของบีทีเอสซี ที่เปนสัง หาริมทรัพย โดยกทม. จะตอ งแจง ใหบีทีเอสซีทราบลวงหนาเปนเวลาอยางนอ ย 1 ปกอ นวันสิ้นสุดสัญญาสัมปทาน ณ วันที่ 31 มีนาคม 2555 และ 2556 บีทีเอสซีมีทรัพยส ินถาวรหลักที่ใชในการประกอบธุร กิจ โดยมีมลู คาตามบัญชีสทุ ธิ หลัง หักคาเสื่อ มราคาสะสมตามที่ปรากฏในงบการเงินเฉพาะกิจการของบีทีเอสซีร วมทั้ง สิ้น 45,144.2 ลานบาท และ 41,676.7 ลานบาท ตามลําดับ และเนื่อ งจากวันที่ 17 เมษายน 2556 บีทีเอสซีไดเขาทําสัญญาซื้อ และโอนสิทธิร ายไดส ุทธิ กั บ กอ ง ทุ น BTSGIF บีทีเอสซีจึง จัดประเภทรายการทรัพยส ินถาวรดัง กลาวสําหรับปบญ ั ชีส ิ้นสุด 31 มีนาคม 2556 เปน สินทรัพยไมหมุนเวียน ที่จัดประเภทเปนสินทรัพยที่ถือ ไวเพื่อ ขาย โดยมีร ายละเอียดดัง นี้

รายการทรัพย สินถาวร สิทธิในการใชทรัพยส ินที่โอนใหกับหนวยงานที่ควบคุม ระบบไฟฟาและเครื่อ งกล - รถไฟฟา - อุปกรณอ ื่นๆ ตนทุนโครงการอื่นๆ อะไหลร อสง มอบ รวม หัก คาตัดจําหนายตนทุนโครงการสะสม

ลักษณะ กรรมสิทธิ์

ภาระผูก ผัน

เปนผูร ับ สัมปทาน

ไมมี

เปนเจาของ เปนเจาของ เปนเจาของ เปนเจาของ

ไมมี ไมมี ไมมี ไมมี

สวนที่ 1 หนา 123

มูลคา (ลานบาท) ณ วันที่ 31 ณ วันที่ 31 มีนาคม มีนาคม 2555 2556 20,565.8 20,760.1

10,952.7 16,879.6 5,453.5 132.4 53,984.0 (9,564.9)

10,428.4 16,879.6 5,453.5 132.4 53,654.0 (10,905.8)


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

รายการทรัพย สินถาวร หัก คาเผื่อ การลดลงของมูลคาตนทุนโครงการ ตนทุนโครงการ - สุทธิ งานระหวางกอสราง ดอกเบี้ยจายที่ถือ เปนตนทุน รวม โอนเปนสินทรัพยไมหมุนเวียนที่จัดประเภทเปนสินทรัพยที่ ถือ ไวเพื่อ ขาย รวมตนทุนโครงการ - สุทธิ

แบบ 56-1 ป 2555/56

ลักษณะ กรรมสิทธิ์

ภาระผูก ผัน

เปนเจาของ

ไมมี

เปนเจาของ

ไมมี

สวนที่ 1 หนา 124

มูลคา (ลานบาท) ณ วันที่ 31 ณ วันที่ 31 มีนาคม มีนาคม 2555 2556 (1,147.0) (1,147.0) 43,272.1 41,601.2 1,814.9 54.2 57.2 21.3 45,144.2 41,676.7 (41,676.7) 45,144.2

-


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

5.1.2

แบบ 56-1 ป 2555/56

รายละเอียดโครงการอสังหาริมทรัพยที่ดําเนินการอยู ณ วันที่ 31 มีนาคม 2556 ขนาดที่ดิน/หองชุด รายละเอียด

ที่ตั้ง

ทรัพยสินภายใตกรรมสิทธิ์ บมจ. บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส 1. โครงการธนาซิตี้ ถนนบางนา – ตราด กม.14 1.1 บานพรอมที่ดิน 1.1.1 เพรสทีจเฮาส II ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุท รปราการ 1.1.2 เพรสทีจเฮาส III ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุท รปราการ 1.1.3 พารวัน ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุท รปราการ 1.2 ทาวนเฮ าส 1.2.1 ทาวนเฮาสฮาบิแทต ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุท รปราการ 1.3 คอนโดมิเนียม 1.3.1 นูเ วลคอนโดมิเนียม ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุท รปราการ 1.3.2 ธนาเพลสคอนโดมิเนียม ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุท รปราการ 1.4 ที่ดินเปลาจัดสรร 1.4.1 ที่ดินเปลาไพรมแลนดโซนบี,ซีและดี ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุท รปราการ 1.4.2 แคลิฟอรเนียน ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุท รปราการ 1.4.3 ที่ดินเปลา ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุท รปราการ 1.4.4 ที่ดินเปลา ไพรมแลนด โซนเอ 1.4.5 ที่ดินแปลงใหญ ฮาบิแทต 1.4.6 ที่ดินตรงขามเพรสทีจคอนโดมิเนียม 1.4.7 ที่ดินตรงขามเพรสทีจเฮาส 1.4.8 ที่ดนิ ขางไพรมแลนด โซนบี 2. ที่ดินเปลานอกโครงการธนาซิตี้ ที่ดินซอยทางเดินเลียบคลองลาดกระบัง

จํานวน

ราคาประเมิน วันที่ทําการ (ลานบาท) ประเมิน

ราคาตามบัญชี (ลานบาท) ณ 31 มี.ค. 56

ภาระ ผูกพัน

ไร

งาน

ตารางวา

40 แปลง 83 แปลง 90 แปลง

28 22 14

2 -

91.9 73.1 93.7

321.77 248.45 163.65

31 มี.ค. 56 31 มี.ค. 56 31 มี.ค. 56

97.33 73.65 102.7

-

16 แปลง

1

3

68.80

21.53

31 มี.ค. 56

14.79

-

91.37 ตารางเมตร 233.08 ตารางเมตร

2.28 3.05

31 มี.ค. 56 31 มี.ค. 56

1.32 2.43

-

2 หองชุด 4หองชุด 29 แปลง 30 แปลง 12 แปลง

21 7 4

1 1 3

55.80 82.6 5.5

256.67 83.51 53.35

31 มี.ค. 56 31 มี.ค. 56 31 มี.ค. 56

71.34 24.87 7.13

-

ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุท รปราการ ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุท รปราการ ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุท รปราการ ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุท รปราการ ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุท รปราการ

2 แปลง 1 แปลง 1 แปลง 1 แปลง 1 แปลง

35 9 4 3 11

2 3 3

19 53 44 38 34

213.29 54.8 29.16 18.57 71.0

31 มี.ค. 56 31 มี.ค. 56 31 มี.ค. 56 31 มี.ค. 56 31 มี.ค. 56

118.57 30.46 16.21 10.32 39.48

-

ต. ราชาเทวะ อ. บางพลี

1 แปลง

10

2

6

26.3

31 มี.ค. 56

15.80

-

สวนที่ 1 หนา 125


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ขนาดที่ดิน/หองชุด รายละเอียด

ที่ตั้ง

จํานวน

ไร

งาน

ตารางวา

ราคาประเมิน วันที่ทําการ (ลานบาท) ประเมิน

ราคาตามบัญชี (ลานบาท) ณ 31 มี.ค. 56

ภาระ ผูกพัน

(บางพลีใหญ) จ. สมุท รปราการ 3.โครงการ Abstracts Sukhumvit 66/1 3.1 Abstracts Sukhumvit 66/1 The ถนนสุขุมวิท แขวงบางนา Moon เขตบางนา กรุงเทพฯ 3.2 Abstracts Sukhumvit 66/1 The Sun ถนนสุขุมวิท แขวงบางนา เขตบางนา กรุงเทพฯ ทรัพยสินภายใตกรรมสิทธิ์ข องบริษัทย อย 4. โครงการ Abstracts Phahonyothin Park 4.1 หองชุดของโครงการ Abstracts ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขต Phahonyothin Park อาคาร A บางเขน (บางซื่อ) กรุงเทพฯ (กรรมสิท ธิ์ของ บจ. นูโว ไลน เอเจน ซี่) 4.2 ที่ดินของโครงการ Abstracts ถนนพห ล โยธิ น แ ขวงล าดยาว เ ขต Phahonyothin Park อาคาร B และ C บางเขน (บางซื่อ) กรุงเทพฯ (อยูระหวางกอสราง) (กรรมสิท ธิ์ของ บจ. นูโ ว ไลน เอเจนซี่)

8 หองชุด

358.60 ตารางเมตร

28.6

31 มี.ค. 56

15.75

-

11 หองชุด

528.90 ตารางเมตร

42.2

31 มี.ค. 56

24.30

-

814 หองชุด

33,946.70 ตารางเมตร

2,848

31 มี.ค. 56

1,634.01

ธนาคาร กรุงเทพ จํากัด (มหาชน)

-

814.25

30 ก.ย. 53

921

ธนาคาร กรุงเทพ จํากัด (มหาชน)

250.68

ธนาคาร กรุงเทพ จํากัด (มหาชน)

2 แปลง

4

4.3 ที่ดินและสิ่งปลูกสรางสวนกล าง ป น ถนนพห ล โยธิ น แ ขวงล าดยาว เ ขต สวนใหอาคาร B & C (กรรมสิท ธิ์ของ บางเขน (บางซื่อ) กรุงเทพฯ นิ ติ บุ ค ค ล อ า ค า ร ชุ ด Abstracts Phahonyothin Park อาคารเ อ แ ล ะ นิ ติ บุ ค คล อ าค าร ชุ ด ใ นอ นา ค ต (บีและซี) )

สวนที่ 1 หนา 126

72


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

5.1.3

แบบ 56-1 ป 2555/56

รายละเอียดอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน ณ วันที่ 31 มีนาคม 2556 5.1.3.1 โครงการเพื่อ ใหเชา ขนาดหองชุด รายละเอียด

ที่ตั้ง

1. อาค ารพัก อาศัยโครงการเดอะรอยั ลเพลส และเดอะแกรนด (เพื่อใหเชา) 1.1 เดอะรอยัลเพลส 2 ซ.มหาดเล็กหลวง 2 ถนนราชดําริ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 1.2 เดอะแกรนด ซ.มหาดเล็กหลวง 2 ถนนราชดําริ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ

จํานวน

ราคาประเมิน วันที่ทําการ ตารางเมตร (ลานบาท) ประเมิน

ราคาตามบัญชี (ลานบาท) ณ 31 มี.ค. 56

ภาระผู กพัน

-

-

54 หอง

-

-

4,514.85

148

31 มี.ค. 56

134.18

-

26 หอง

-

-

1,616

54

31 มี.ค. 56

47.01

-

ที่ด ินและอาคารเดอะรอยัลเพลส 2 และเดอะแกรนด เปนการเชาระยะยาวกับสํานักงานพระคลัง ขางที่ โดยสัญญาเชา เดอะรอยัลเพลส 2 และเดอะแกรนดจะสิ้นสุด วันที่ 30 พฤศจิก ายน 2570

5.1.3.2 ที่ดินเปลา ขนาดที่ดิน รายละเอียด

ที่ตั้ง

ทรัพยสินภายใตกรรมสิทธิ์ บมจ. บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส 1. ที่ดินเปลา ถนนราษฎรบูรณะ แขวงราษฎรบูรณะ กรุงเทพฯ 2. ที่ดินเปลา ถนนบา นน้ําลัด – บานแมยาว ต.ริมกก อ.เมืองเชียงราย จ.เชียงราย 3. ที่ดินเปลา ต. จันจวาใต (ทาขาวเปลือก) อ.แมจัน จ. เชียงราย 4. ที่ดินเปลา ถนนเทพกษัตรีย ต.เกาะแกว อ.เมืองภูเก็ต จ.ภูเก็ต 5. ที่ดินเปลา ถนนสายบานนา-แกงคอย ต.ชะอม อ.แกงคอย จ.สระบุรี

จํานวน

ราคาประเมิน วันที่ทําการ (ลานบาท) ประเมิน

ราคาตามบัญชี (ลานบาท) ณ 31 มี.ค. 56

ภาระผู กพัน

ไร

งาน

ตารางวา

1 แปลง

27

2

10

991

31 มี.ค. 56

660.75

-

4 แปลง

21

3

60

12.0

31 มี.ค. 56

11.0

-

28แปลง

180

3

60

8.2

31 มี.ค. 56

7.27

-

2 แปลง

37

1

35

119

31 มี.ค. 56

29.75

-

4 แปลง

95

-

93

10.5

31 มี.ค. 56

7.6

-

สวนที่ 1 หนา 127


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ขนาดที่ดิน รายละเอียด 6. ที่ดินเปลา

ที่ตั้ง แขวงลาดพราว เขตลาดพราว กรุงเทพฯ

ทรัพยสินภายใตกรรมสิทธิ์ข องบริษัทย อย 1. ที่ดินเปลา (กรรมสิท ธิ์ของ บจ. ต. โปงตาลอง อ. ปากชอง จ. นครราชสีมา ปราณคีรี แอสเซ็ท ส) 2. ที่ดินเปลา (กรรมสิท ธิ์ของ บจ. ต. โปงตาลอง อ. ปากชอง จ. นครราชสีมา ธนายง ฟูด แอนด เบเวอเรจ) 3. ที่ดินเปลา (กรรมสิท ธิ์ของ บจ. ต. โปงตาลอง อ. ปากชอง จ. นครราชสีมา สยาม เพจจิ้ง แอนด คอมมิวนิเคชั่น) 4. ที่ดินเปลา (กรรมสิท ธิ์ของ บจ. เมือง ต. โปงตาลอง อ. ปากชอง จ. นครราชสีมา ทอง แอสเซ็ทส) 5. ที่ดินเปลา (กรรมสิท ธของ บจ. ถนนวิภ าวดีรังสิต แขวงจอมพล สยาม เพจจิ้ง แอนด คอมมิวนิเคชั่น) เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 6. ที่ดินเปลา (กรรมสิท ธิ์ของ บจ. ยงสุ) ต. คลองควาย อ.สามโคก จ.ปทุมธานี 7. ที่ดินและสิ่งปลูกสรางเดิมบางสวน ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตบางเขน (กรรมสิท ธิ์ของ บจ. บีท ีเอส แอส (บางซื่อ) กรุงเทพฯ เสทส) 8. ที่ดินและสิ่งปลูกสรางเดิมบางสวน ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตบางเขน (กรรมสิท ธิ์ของ บจ. บีท ีเอส แอส (บางซื่อ) กรุงเทพฯ เสทส) 9. ที่ดินเปลา (กรรมสิท ธิ์ของ ถนนพญาไท แขวงถนนพญาไท เขตราชเทวี บจ. กามกุง พร็อพเพอรตี้) กรุงเทพฯ 10. ที่ดนิ เปลา (กรรมสิท ธิ์ของ ถนนพญาไท แขวงถนนพญาไท เขตราชเทวี บจ. กามกุง พร็อพเพอรตี้) กรุงเทพฯ 11. ที่ดนิ เปลา (กรรมสิท ธิ์ของ ถนนพญาไท แขวงประแจจีน เขตดุสิต

จํานวน

ราคาประเมิน วันที่ทําการ (ลานบาท) ประเมิน 12.3 31 มี.ค. 56

ราคาตามบัญชี (ลานบาท) ณ 31 มี.ค. 56 12.3

ภาระผู กพัน

ไร

งาน

ตารางวา

13 แปลง

-

3

51

15 แปลง 1 แปลง

447

3

2

240.1

31 มี.ค. 56

192.02

-

87

3

94

39.6

31 มี.ค. 56

33.33

-

2 แปลง

56

1

76

25.4

31 มี.ค. 56

21.82

-

1 แปลง

20

-

-

9

31 มี.ค. 56

16.05

-

2 แปลง

-

-

71

15.6

31 มี.ค. 56

14.20

-

1 แปลง 87แปลง

26 15

2

11 63.5

26.0 1,258.99

31 มี.ค. 56 31 มี.ค. 56

14.16 1,072.7

ธนาคารทิสโก จํากัด (มหาชน)

3 แปลง

-

-

54.8

11.01

31 มี.ค. 56

43.54

2 แปลง

1

2

64.4

564.63

31 มี.ค. 56

264.68

-

1 แปลง

1

-

1

340.78

31 มี.ค. 56

150.50

-

3 แปลง

-

3

49

296.59

31 มี.ค. 56

94.78

-

สวนที่ 1 หนา 128

-


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ขนาดที่ดิน รายละเอียด บจ. กามกุง พร็อพเพอรต้)ี 12 ที่ดนิ เปลา (กรรมสิท ธิ์ของ บจ.นูโ ว ไลน เอเจนซี่)

5.1.4

ที่ตั้ง กรุงเทพฯ ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตบางเขน (บางซื่อ) กรุงเทพฯ

จํานวน

2 แปลง

ไร

งาน

ตารางวา

-

2

84

ราคาประเมิน วันที่ทําการ (ลานบาท) ประเมิน 34

ราคาตามบัญชี (ลานบาท) ณ 31 มี.ค. 56

31 มี.ค. 56

39.98

ภาระผู กพัน

ธนาคาร กรุงเทพ จํากัด (มหาชน)

รายละเอียดอสังหาริมทรัพยเพื่อใชในการดําเนินธุรกิจ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2556 5.1.4.1 ธุร กิจโรงแรม รายละเอียด

ทรัพยสินภายใตกรรมสิทธิ์ข องบริษัทย อย 1. โรงแรม ยู เชียงใหม (กรรมสิท ธของ บจ. เมืองทอง แอสเซ็ท ส) 2. โรงแรม ยู อินจันทรี กาญจนบุรี (กรรมสิท ธิ์ของ บจ. เมืองทอง แอสเซ็ท ส) 3. โรงแรมอีสติน แกรนด สาทร (กรรมสิท ธิ์ของ บจ. บีท ีเอส แอสเสทส)

ที่ตั้ง ถนนราชดําเนิน ต.ศรีภ ูมิ อ. เมือง จ. เชียงใหม ต.ทามะขาม อ.เมือง จ.กาญจนบุรี ถนนสาทรใต แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพฯ

ขนาดที่ดิน

จํานวน

ราคาประเมิน ที่ทําการ (ลานบาท) วันประเมิ น

ราคาตามบัญชี (ลานบาท) ณ 31 มี.ค. 56

ภาระผู กพัน

ไร

งาน

ตารางวา

1 แปลง

1

1

38

-

-

75.06

-

13 แปลง

5

1

30

77

31 มี.ค. 56

75.59

-

1 แปลง

2

1

57

2,932

31 มี.ค. 56

2,529.08

ธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน)

ที่ด ินและโรงแรม ยู เชียงใหม เปนการเชา ระยะยาวจากนางสาวจารุณ ี มณีก ุล โดยสัญญาเชาจะสิ้นสุด วันที่ 31 มกราคม 2571

สวนที่ 1 หนา 129


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

5.1.4.2 สนามกอลฟ ขนาดที่ดิน รายละเอียด

ที่ตั้ง

ทรัพยสินภายใตกรรมสิทธิ์ บมจ. บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส สนามกอลฟและคลับเฮาส ถนนบางนา-ตราด กม.14 ต.บางโฉลง อ. บางพลี จ. สมุท รปราการ

5.1.5

จํานวน

5 แปลง

ไร

งาน

ตารางวา

475

0

23.5

ราคาประเมิน วันที่ทําการ (ลานบาท) ประเมิน 2,966

ราคาตามบัญชี (ลานบาท) ณ 31 มี.ค. 56

31 มี.ค. 56

2,475.87

ภาระผู กพัน

ธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน)

รายละเอียดเงินจายลวงหนาคาที่ดิน ณ วันที่ 31 มีนาคม 2556 ขนาดที่ดิน รายละเอียด

1. ที่ดินเปลา (จายโดย บจ.ปราณคีรี แอสเซ็ท ส)

ที่ตั้ง ต. โปงตาลอง อ. ปากชอง จ. นครราชสีมา

จํานวน 1 แปลง

ไร

งาน

ตารางวา

28

2

28

สวนที่ 1 หนา 130

ราคาประเมิน วันที่ทําการ (ลานบาท) ประเมิน 12.9 31 มี.ค. 56

ราคาตามบัญชี (ลานบาท) ณ 31 มี.ค. 56 10.86

ภาระผู กพัน -


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

5.2

แบบ 56-1 ป 2555/56

ทรัพยสินที่รอโอนชําระหนี้ตามแผนฟนฟูกิจการ ตาราง วา

(ลาน บาท)

วันที่ทําการ ประเมิน

ราคาตาม บัญชี (ลานบาท) ณ 31 มี.ค. 56

73 หอง ชุด 3 หองชุด

3,774.21 ตารางเมตร

39.92

2 เม.ย. 47

39.92

438.05 ตารางเมตร

13.56

2 เม.ย. 47

0.072

1 แปลง

2

-

96.7

2.24

18 มี.ค. 47

2.24

3 แปลง

6

-

60

0.74

1 มิ.ย. 47

0.74

4 แปลง

12

-

-

36.0

2 เม.ย. 47

25.34

19 แปลง

117

2

15

4.7

19 มี.ค. 47

4.7

ขนาดที่ดิน/หองชุด รายละเอียด

ที่ตั้ง

ทรัพยสินภายใตกรรมสิทธิ์ บมจ. บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส 1. กิ่งแกวคอนโดมิเนียม ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุท รปราการ 2. บานมิตราคอนโดมิเนียม ถนนสุขุมวิท 39 แขวงคลองตัน เขตพระโขนง กรุงเทพฯ 3. ที่ดินเปลา ต.ทับไทร อ.โปงน้ํารอน จ. จันทบุรี 4. ที่ดินเปลา ทล. 108 กม. 77 ต.แมสอย อ.จอมทอง จ. เชียงใหม 5. ที่ดินเปลา บริเวณนอกโครงการธนาซิต้ี ถนนบางนา-ตราด ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุท รปราการ ทรัพยสินภายใตกรรมสิทธิ์ข องบริษัทย อย ที่ดินเปลา ต.นาเตย อ.ทายเหมือง จ.พังงา (กรรมสิท ธิ์ของ บจ. สําเภา เพชร)

จํานวน

ไร

งาน

สวนที่ 1 หนา 131

ราคาประเมิน

ภาระผู กพัน

บจก.บริห ารสินทรัพยกรุงเทพ พาณิชย บจก.บริห ารสินทรัพยกรุงเทพ พาณิชย บจก.บริห ารสินทรัพยกรุงเทพ พาณิชย บจก.บริห ารสินทรัพยกรุงเทพ พาณิชย บจก.บริห ารสินทรัพยกรุงเทพ พาณิชย

บจก.บริห ารสินทรัพยกรุงเทพ พาณิชย


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

5.3

แบบ 56-1 ป 2555/56

สินทรัพยที่ไมมีตัวตน

สินทรัพยไมมีตัวตนที่ส ําคัญของบีทีเอ ส ซี คื อ สั ญ ญาสั ม ปทาน ซึ่ ง บี ที เ อ ส ซี ไ ด ล ง นามกั บ กทม. เมื่ อ วั น ที่ 9 เมษายน 2535 ซึ่ง มีการแกไขเพิ่มเติม 2 ครั้ง ครั้ง ที่ 1 เมื่อ วันที่ 25 มกราคม 2538 เพื่ อ ปรั บ ขยายเส น ทาง ขอ ง ร ะ บบ รถไฟฟาบีทีเอส และครั้ง ที่ 2 เมื่อ วันที่ 28 มิถุนายน 2538 เพื่อ เปลี่ยนแปลงพื้นที่ตามสัญญาสัมปทานบางส ว นเพิ่ ม เติ ม จาก สัญญาแกไขเพิ่มเติมครั้ง ที่ 1 ภายใตส ัญญาสัมปทาน บีทีเอสซีมีส ิทธิแตเพียงผูเดียวในการดําเนินงาน และ มี ส ิ ท ธิ ร ั บ ร ายได จ ากการ จั ด เก็ บ คาโดยสารจากผูเขาใชบริการระบบรถไฟฟาบีทีเอส รวมทั้ง รายไดจากการใหเชาพื้นที่โฆษณา รายไดจากธุร กิจที่เกี่ยวเนื่อ ง ภายในส ถานี และ ธุ ร กร ร มทาง พาณิ ช ย ใ นรู ป แบบอื่ น เป น ร ะ ยะ เวลา 30 ป นั บ ตั้ ง แต วั น แร กที่ ร ะ บบร ถไฟฟ า บีทีเอสเริ่มเปดดําเนินการในเชิง พาณิชย (5 ธันวาคม 2542) เมื่อ วันที่ 17 เมษายน 2556 บีทีเอสซีไดเขาทําสัญญาซื้ อ และ โอ นสิ ท ธิ ร ายได ส ุ ท ธิ กั บ กอ ง ทุ น BTSGIF โดย บีทีเอสซีตกลงที่จะ ขายและโอนสิทธิ ในรายไดคาโดยสารทั้ง หมดที่จะเกิดขึ้นจากการดําเนินงานระบบรถไฟฟาขนสง มวลชน กรุง เทพสายหลัก นับจากวันที่ทําการซื้อ ขายเสร็จสิ้นจนถึง วันสิ้นสุดอายุส ัญญาสัมปทาน หักดวยคาใชจาย O&M ทั้ง นี้ รายได สุทธิร วมถึง เงินที่ไดร ับจากการใชส ิทธิเรียกรอ ง คําตัดสิน คําพิพากษา คดีความที่ตัดสินใหแกบีทีเอสซี รวมทั้ง การดําเนินการ หรือ สิทธิอ ื่นใดซึ่ง บีทีเอสซีมีส ิทธิไดร ับที่เกิดขึ้นจากหรือ เกี่ยวกับรายไดส ุทธิ และสัญญาสัมปทานที่เกี่ยวกั บ การ ดํ า เนิ น ง าน ระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลัก (แตไมร วมถึง สิทธิเรียกรอ งหรือ สิทธิในการไดร ับเงิน ที่ เ กี่ ย วกั บ เหตุ ก าร ณ ที่ เกิดขึ้นกอ นวันที่ทําการซื้อ ขายเสร็จสิ้น ไมวาการเรียกรอ งเงินหรือ การไดร ับเงินดัง กลาวจะเกิดขึ้นกอ นหรือ หลัง วันที่ทํา การ ซื้อ ขายเสร็จสิ้น) ทั้ง นี้ หลัง จากการเขาทําสัญญาซื้อ และโอนสิทธิร ายไดส ุทธิ บีทีเอสซียัง เปนผูบริหารจัดการในการดําเนินงาน ระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลัก เพื่อ ประโยชนของกองทุน BTSGIF ภายใตการกํากับดู แ ลและ ควบคุ ม ขอ ง กองทุน BTSGIF ตามขอ กําหนดและเงื่อ นไขของสัญญาซื้อ และโอนสิทธิร ายไดส ุทธิ 5.4

นโยบายการลงทุนและการบริหารงานในบริษัทยอยและบริษัทรวม บริษัทฯ มีนโยบายการลงทุนในบริษัทยอ ยและบริษัทรวมในลักษณะดัง ตอ ไปนี้

5.4.1

นโยบายการลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวม 5.4.1.1 นโยบายการลงทุนในบริษัทยอ ย

บริษัทฯ มีนโยบายลงทุนในกิจการที่ส อดคลอ งหรือ สนับสนุนธุร กิจหลักของแตละสายธุร กิจ โดยใช บ ริ ษั ท ย อ ยเป น ตั ว กํ า ห นดตํ า แหน ง ทา ง การ ตลาดแล ะ ความชั ด เจนข อ ง แต ล ะ ส ายธุ ร กิ จ และ เพิ่ ม ปร ะ สิ ท ธิ ภ าพใ น การประกอบธุร กิจและความคลอ งตัวในการเติบโตในแตละสายธุร กิจ โดยเฉพาะการลงทุนในกิจการที่ส ามารถเอื้อ ประโยชน ใหกับธุร กิจอื่นๆ ที่อ ยูในกลุมบริษัทดวยกันได 5.4.1.2 นโยบายการลงทุนในบริษัทรวม บริษัท ฯ มี น โยบายร ว มลง ทุ น กั บ บริ ษั ท ที่ มี ค วามชํ า นาญเฉพาะ ด า นเพื่ อ เส ริ ม ธุ ร กิ จ หลั ก ขอ ง กลุมบริษัท โดยจะรวมลงทุนไมต่ํากวารอ ยละ 25

สวนที่ 1 หนา 132


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

5.4.2

แบบ 56-1 ป 2555/56

นโยบายการบริหารงานในบริษัทยอยและบริษัทรวม 5.4.2.1 นโยบายการบริหารงานในบริษัทยอ ย

บริษัทฯ จะกําหนดแนวนโยบายในการ ดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ที่ บ ริ ษั ท ฯ พิ จ าร ณาแล ว เห็ น ว า เป น การ เส ริ ม ประสิทธิภ าพและการดําเนินธุร กิจของกลุมบริษัทใหแกบริษัทยอ ย เพื่อ ใหเปนแนวทางเดี ย วกั น และ เพื่ อ ให บ ริ ษั ท ย อ ยได พิจารณาดําเนินงานในสวนของการปฏิบัติการดวยตนเอง โดยบริษัทฯ จะสง ตัวแทนของบริษัทฯ เข า ไปเป น กร ร มการ ใน บริษัทยอ ย เพื่อ ติดตามการทํางานของบริษัทยอ ยวาไดดําเนินตามแนวทางที่บริษัทฯ ไดกําหนดไว 5.4.2.2 นโยบายการบริหารงานของบริษัทรวม เมื่อ บริษัทฯ ไดเขารวมทุนกับบริษัทอื่นแลว บริษัทฯ จะสง ตัวแทนเขาไปเปนกรรมการในบริ ษั ท ร ว มนั้ น ๆ เพื่อ เปนการติดตามการทํางานของบริษัทรวมวาไดดําเนินงานตามแนวทางที่บริษัทฯ ไดคาดหวัง ไว

สวนที่ 1 หนา 133


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

6.

แบบ 56-1 ป 2555/56

ขอพิพาททางกฎหมาย

ณ วันที่ 31 มีนาคม 2556 บริษัทฯ และ/หรือ บริษัทยอ ย มีขอ พิพาททางกฎหมาย ซึ่ง เปนคดีหรือ ขอ พิพาททีย่ งั ไมส ิ้นสุด โดย (ก) เปนคดีที่อ าจมีผลกระทบดานลบตอ สินทรัพยของบริษัทฯ หรื อ บริ ษั ท ย อ ย หรื อ (ข) เป น คดี ที่ มี ผลกระทบตอ การดําเนินธุร กิจของบริษัทฯ อยางมีนัยสําคัญ หรือ (ค) เปนคดีที่มิไดเกิดจากการประกอบธุร กิจโดยปกติ ดัง นี้ 1. คดีของศาลแพง ธนาคารกสิกรไทย จํากัด (มหาชน) เปนโจทก ในฐานะผูแทนผูถือ หุนกู (ฟ อ ง แทน ผูถือ หุนกู) ฟอ งบริษัทฯ เปนจําเลยที่ 1 ในฐานะผูอ อกหุนกู และฟอ งบริษัทยอ ย 2 แหง คือ บริษัท ยงสุ จํากัด และบริษทั ดีแนล จํากัด เปนจําเลยที่ 2 และที่ 3 ในฐานะผูจํานองสินทรัพยค้ําประกันการออกหุนกูของบริษัทฯ โดยโจทกฟอ งรอ ง จําเลยทั้ง 3 เพื่อ เรียกใหชําระหนี้หุนกูชนิดมีหลักประกันพรอ มดอกเบี้ยและคาใชจายที่เกี่ยวขอ งเปนจํานวนเงินรวมทัง้ สิน้ 4,251,016,476.33 บาท โดยเหตุแหง การฟอ งรอ งมาจากการที่บริษัทฯ ไดอ อกและเสนอขายหุนกูชนิด มี ห ลั ก ปร ะ กั น ใหกับบุคคลในวงจํากัด โดยบริษัท ยงสุ จํากัด และบริษัท ดีแนล จํากัด ไดนําสินทรัพยของตน อั น ได แ ก โฉนดที่ ดิ น เลขที่ 7284 ตําบลคลองเตย อําเภอพระโขนง กรุง เทพมหานคร พรอ มสิ่ง ปลูกสรางบนที่ดิน และโฉนดที่ดินเลขที่ 35752 ตําบลลาดยาว อําเภอบางเขน กรุง เทพมหานคร พรอ มสิ่ง ปลูกสรางบนที่ดิน ตามลําดับ (“ทรัพยจํานอง”) มาจดจํานอง เปนประกันการออกหุนกู ตอ มาบริษัทฯ ผิดนัดไมทําการไถถอนหุนกูดัง กลาวตามระยะเวลาที่กําหนด โจทก ใ นฐานะ ผูแทน ผูถือ หุนกูจึง ไดฟอ งบริษัทฯ บริษัท ยงสุ จํากัด และบริษัท ดีแนล จํากัด เปนจําเลยในคดีนี้ ในระหวางการพิจารณาคดี ศาลชั้นตนมีคําสั่ง จําหนายคดีในสวนบริ ษั ท ฯ ไว ชั่ ว คร าวเพื่ อ ร อ ผล การพิจารณาคดีฟนฟูกิจการของบริษัทฯ และมีคําพิพากษาเมื่อ วันที่ 20 กันยายน 2545 ให บริษัท ยงสุ จํากัด และบริษทั ดีแนล จํากัด ชําระหนี้คาหุนกูใหแกโจทกตามคําฟอ ง หากไมชําระจะยึดทรัพยจํานองของบริษัท ยงสุ จํากัด และบริษัท ดีแนล จํากัด ออกขายทอดตลาด ตอ มาบริษัท ยงสุ จํากัด และบริษัท ดีแนล จํากัด ไดยื่นอุทธรณตอ ศาล และเมื่อวันที่ 28 กันยายน 2549 ศาลชั้นตนไดอ านคําพิพากษาของศาลอุทธรณ ซึ่ง พิพากษายืนตามศาลชั้นตน อยางไร ก็ ต าม จนถึ ง ปจจุบัน โจทกยัง ไมไดบัง คับคดีตามคําพิพากษากับบริษัท ยงสุ จํากัด และบริษัท ดีแนล จํากัด แตอ ยางใด คดีความดัง กลาวขางตนเปนคดีความที่เจาหนี้ไดยื่นคําขอรับชําระหนี้ในคดีฟนฟูกิจการของบริษัทฯ เรียบรอ ยแลว และเมื่อ วันที่ 14 พฤศจิกายน 2549 ศาลลมละลายกลางไดมีคําสั่ง ยกเลิกการฟนฟูกิ จ การ ขอ ง บริ ษั ท ฯ ทั้ง นี้ ตามมาตรา 90/75 แหง พระราชบัญญัติลมละลาย พ.ศ. 2483 (ที่แกไขเพิ่มเติม) เมื่อ ศาลมีคําสั่ง ยกเลิ ก การ ฟ น ฟู กิจการของบริษัทฯ แลว บริษัทฯ จะหลุดพนจากหนี้ทั้ง ปวงซึ่ง เกิดขึ้นกอ นวันที่ศาลมีคําสั่ง ใหฟนฟูกิจการ เวนแตเจา หนี้ จะไดยื่นคําขอรับชําระหนี้ในการฟนฟูกิจการ 2. คดีของศาลแพง นายมิตการ เศกปทาน เปนโจทก ฟอ งนายคีร ี กาญจนพาสน เปนจําเลยที่ 1 บริษัท สําเภาเพชร จํากัด เปนจําเลยที่ 2 (ซึ่ง เปนบริษัทยอ ยของบริษัทฯ) และบริษัทฯ เป น จํ า เลยที่ 3 ในมู ล คดี เ รี ย กร อ ง คาเสียหายจากการผิดสัญญาจะซื้อ จะขายที่ดิน ซึ่ง ทําขึ้นระหวางโจทกและบริษัท สําเภาเพชร จํากัด (จําเลยที่ 2) โดย โจทกอ างวาบริษัท สําเภาเพชร จํากัด ผิดสัญญาดัง กลาว คดีมีทุนทรัพย 436,872,351 บาท ในระหวางการพิจารณาคดี ศาลชั้นตนมีคําสั่ง จําหนายคดีของบริษัทฯ ออกจากสารบบความเนือ่ งจาก โจทกไดยื่นคําขอรับชําระหนี้เขามาในคดีฟนฟูกิจการของบริษัทฯ และเจาพนักงานพิทักษทรัพยไดมีคําสั่ง ยกคําขอรับ ชําระหนี้ดัง กลาวและคดีถึง ที่ส ุดแลว ตอ มาเมื่อ วันที่ 14 ตุลาคม 2552 ศาลชั้นตนมีคําพิพากษาใหบริษัท สํ า เภ าเพชร จํากัด (จําเลยที่ 2) ชําระหนี้คา เสียหายแกโจทกเปนเงินจํานวน 38,019,825 บาท พรอ มดอกเบี้ยในอัตรารอ ยละ 7.5 ตอป สวนที่ 1 หนา 134


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ของตนเงินดัง กลาวนับแตวันที่ 28 พฤศจิกายน 2541 เปนตนไปจนกวาจะชําระเสร็จ ในสวนของนายคีร ี กาญจนพาสน (จําเลยที่ 1) ศาลมีคําพิพากษายกฟอ งเนื่อ งจากเห็นวาโจทกไมมีอ ํานาจฟอ งเพราะนายคีร ี กาญจนพาสน ไมไดกระทํา การเปนสวนตัว แตกระทําแทนบริษัท สําเภาเพชร จํากัด บริษัท สําเภาเพชร จํากัด และโจทกตางไดยื่นอุทธรณคําพิพากษาของ ศาลชั้ น ต น ดั ง กล า ว และ ปจจุบันคดีอ ยูร ะหวางการพิจารณาของศาลอุทธรณ 3. คดีผูบริโภคของศาลแพง นายแบรร ี่ ลี คีน เป น โจทก ฟ อ ง บริ ษั ท ฯ เป น จํ า เลย คดี มี ทุ น ทรั พ ย 11,737,030 บาท ในคดีนี้นายแบรร ี่ ลี คีน ซึ่ง เปนผูพักอาศัยในโครงการอาคารพักอาศัย เดอะแกรนด ที่บริษทั ฯ เปนผูใ ห เชาชวงและใหบริการหอ งพักอาศัย ไดฟอ งรอ งเพื่อ เรียกคาเสียหายจากการที่บริษัทฯ เพิกเฉยตอ การที่ผูเชาหรือ ผูพัก อาศัยรายอื่นปฏิบัติผิดกฎระเบียบตามคูมือ พักอาศัยของอาคารอันเปนการปฏิบัติผิดสัญญาบริการ โดยเมื่ อ วั น ที่ 29 เมษายน 2556 ศาลแพง มีคําพิพากษายกฟอ งเนื่อ งจากเห็นวาบริษัทฯ มิไดละเลยปลอ ยใหผูเชาหรือ ผูพักอาศัยรายอื่ น ปฏิบัติผิดกฎระเบียบตามคูมือ พักอาศัยของอาคาร และเมื่อ วันที่ 17 มิถุนายน 2556 โจทกยื่นอุทธรณตอ ศาลอุ ท ธร ณ แผนกคดีผูบริโภค ปจจุบัน อยูร ะหวางศาลชั้นตนแผนกคดีผูบริโภคพิจารณาวาจะมีคําสั่ง รับอุทธรณหรือ ไม 4. คดีของศาลแพง บริษัท ขนสง น้ํามันทางทอ จํากัด เป น โจทก ที่ 1 ในฐานะ ผู ถู ก ละ เมิ ด บริ ษั ท ทิพยประกันภัย จํากัด (มหาชน) โจทกที่ 2 และบริษัท สามัคคีประกันภัย จํากัด (มหาชน) เปนโจทกที่ 2 และ ที่ 3 ในฐานะ ผูร ับประกันภัยของโจทกที่ 1 ฟอ ง บีทีเอสซี เปนจําเลยที่ 2 ในฐานะผูวาจาง รวมกับบริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวลอ ปเมนต จํากัด (มหาชน) เปนจําเลยที่ 1 ในฐานะผูร ับจาง และบริษัท ไทยมารุเคน จํากัด เปนจําเลยที่ 3 ในฐานะผูร ับจางชวงในคดี แพง ฐานประกันภัย รับชวงสิทธิอ ื่นๆ ละเมิดและเรียกคาเสียหาย ซึ่ง คดีมีทุนทรัพย 108,602,702 บาท บริษัท ขนสง น้ํามันทางทอ จํากัด ฟอ งรอ งเนื่อ งจากทอ ขนสง น้ํามันซึ่ง อยูใตพื้นดินของบริษัท ขนสง น้ํามันทางทอ จํากัด ไดร ับความเสียหายจากการที่บริษัท ไทยมารุเคน จํากัด ตอกชีทไพลลงไปในดินเพื่อ ทําการกอสราง สถานีร ถไฟฟาใหแกบีทีเอสซี ซึ่ง บริษัท ทิพยประกันภัย จํากัด (มหาชน) และบริษัท สามัคคีประกันภัย จํากัด (มหาชน) ในฐานะผูร ับประกันภัยของบริษัท ขนสง น้ํามันทางทอ จํากัด ไดชําระคาเสียหายใหบริษัท ขนสง น้ํามันทางทอ จํ า กั ด ไปบางสวนจึง รับชวงสิทธิเรียกรอ งดัง กลาว โดยศาลแพง ไมร ับฟอ งในสวนที่ฟอ งรอ งบริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวลอปเมนต จํากัด (มหาชน) เนื่อ งจากบริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวลอ ปเมนต จํากัด (มหาชน) อยูในระหวา ง การ ฟ น ฟู กิ จ การ และ ในระหวางการพิจารณา ศาลแพง ไดมีคําสั่ง จําหนายคดีของบีทีเอสซีไวชั่วคราว เมื่อ วันที่ 22 กันยายน 2549 ศาลแพง ไดมีคําพิพากษาใหบริษัท ไทยมารุเคน จํากัด (จําเลยที่ 3) ชําระ หนี้ใหแกบริษัท ขนสง น้ํามันทางทอ จํากัด (โจทกที่ 1) จํานวน 34,835,065.51 บาท พรอ มดอกเบี้ย บริษทั ทิพยประกันภัย จํากัด (มหาชน) (โจทกที่ 2) จํานวน 16,800,000 บาท พรอ มดอกเบี้ย และบริษัท สามัคคีประกันภัย จํากั ด (มหาชน) (โจทกที่ 3) จํานวน 7,200,000 บาท พรอ มดอกเบี้ย ทั้ง นี้ บริษัท ไทยมารุเคน จํากัด (จําเลยที่ 3) ไดยื่นอุทธรณตอ ศาล อุทธรณ โดยเมื่อ วันที่ 2 กุมภาพันธ 2555 ศาลอุทธรณกลับคําพิพากษาของศาลชั้นตน ใหยกฟอ งโจทกทั้ง สาม จําเลยที่ 3 จึง ไมตอ งรับผิดละเมิดตอ โจทกทั้ง สาม อนึ่ง โจทกทั้ง สามไดนําหนี้ในมูลคดีนี้ไปยื่นขอรับชําระ หนี้ ใ นคดี ฟ น ฟู กิ จ การ ขอ ง บี ที เ อ ส ซี ซึ่ ง เจาพนักงานพิทักษทรัพยไดยกคําขอรับชําระหนี้ของโจทกทั้ง สามเนื่อ งจากเห็นวาบีทีเอส ซี มิ ใ ช ผู ก ร ะ ทํ า ละ เมิ ด ต อ โจทกทั้ง สาม ตอ มาโจทกทั้ง สามโตแยง คําสั่ง เจาพนักงานพิทักษทรัพยตอ ศาลลมละลายกลาง ศาลล ม ละ ลายกลาง มี คําพิพากษายกคํารอ ง โจทกทั้ง สามไดยื่นอุทธรณตอ ศาลฎีกา ปจจุบันคดีอ ยูร ะหวางการพิจารณาของศาลฎีกา สวนที่ 1 หนา 135


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

5. คดีของศาลปกครองกลาง นายสุภ รธรรม มงคลสวัส ดิ์ เป น ผู ฟ อ ง คดี ที่ 1 นาง ส าวเส าวลั ก ษณ ทองกวย เปนผูฟอ งคดีที่ 2 และนายพิเชฎฐ รักตะบุตร เปนผูฟอ งคดีที่ 3 ยื่นฟอ งกรุง เทพมหานครเปนผูถูกฟอ งคดีที่ 1 ผูวาราชการกรุง เทพมหานคร เป น ผู ถู ก ฟ อ ง คดี ที่ 2 และ บี ที เ อ ส ซี เ ป น ผู ถู ก ฟ อ ง คดี ที่ 3 ในมู ล ความผิ ด ตาม พระราชบัญญัติร ะเบียบบริหารราชการกรุง เทพมหานคร พ.ศ. 2528 และพระราชบัญญัติการฟนฟูส มรรถภาพคนพิการ พ.ศ. 2534 และกฎกระทรวงที่เกี่ยวขอ งกับการจัดใหมีลิฟตและอุปกรณที่อ ํานวยความสะดวกแก ค นพิ ก าร โดยคดี นี้ ผูฟอ งคดีทั้ง สามเปนคนพิการ ไดฟอ งขอใหผูถูกฟอ งคดีจัดทําลิฟตและอุปกรณอ ํานวยความสะดวกแกคนพิการที่ส ถานี รถไฟฟา พรอ มทั้ง จัดทําสิ่ง อํานวยความสะดวกบนรถไฟฟา เพื่ อ ให เ ป น ไปตามกฎกร ะ ทร วง อ อ กตามความใน พระราชบัญญัติการฟนฟูส มรรถภาพคนพิการ พ.ศ. 2534 อยางไรก็ดี บีทีเอสซีไดร ับแจง วาเมื่อ วันที่ 15 มกราคม 2552 ตุลาการผูแถลงคดีในคดีนี้ ไดมีความเห็นในประเด็นที่ผูถูกฟอ งมีหนาที่ตามกฎหมายที่ตอ งดําเนินการตามฟอ งหรื อ ไม นั้น โดยเห็นวาในขณะทําสัญญาสัมปทานยัง ไมมีประกาศกฎกระทรวงกําหนดใหผูถูกฟอ งคดีตอ งดําเนินการจั ด ส ร า ง ลิฟตและสิ่ง อํานวยความสะดวกแกคนพิการตามฟอ ง ซึ่ง ตอ มาเมื่อ วันที่ 22 กันยายน 2552 ศาลปกคร อ ง กลาง ได พิพากษายกฟอ ง ผูฟอ งคดีท้งั สามยื่นอุทธรณคําสั่ง ตอ ศาลปกครองสูง สุด ปจจุบันคดีอ ยูร ะหวา ง การ พิ จ าร ณาขอ ง ศาลปกครองสูง สุด 6. คดีในศาลลมละลายกลาง (คดีส าขาของคดีฟนฟูกิจการ) กทม. ยื่นคําขอ รั บ ชํ า ร ะ หนี้ ใ นคดี ฟ น ฟู กิจการของบีทีเอสซีตอ เจาพนักงานพิทักษทรัพย เปนจํานวน 306,518,379.21 บาท แบ ง เป น มู ล หนี้ อ ั น ดั บ ที่ 1 – 3 มูลหนี้คาภาษีโรงเรือ นและที่ดิน ตั้ง แตป 2543 จนถึง ป 2545 โดยมีขอ โตแยง ภายใตส ัญญาสัมปทานในเรื่อ งภาระภาษี โรงเรือ นและที่ดินของพื้นที่ในเชิง พาณิชย มูลหนี้อ ันดับที่ 4 คาธรรมเนียมการออกหนัง สือ ค้ําประกัน เนื่ อ ง จากกทม. จะตอ งวางหลักประกันใหกับกระทรวงการคลัง เปนหนัง สือ ค้ําประกันความเสี ย หายในการ ก อ ส ร า ง อ าคาร ซึ่ ง มี คาธรรมเนียมการออกหนัง สือ ค้ําประกันดัง กลาวกับธนาคารกรุง ไทย จํากัด (มหาชน) และมูลหนี้อ ันดับที่ 5 คาตอบแทน การใชที่ดินราชพัส ดุ คาตอบแทนการใชที่ดินระหวางกอ สรางและคาเชาอาคาร โดยเจาพนักงานพิทักษทรัพยมีคําสั่ง อนุญาตให กทม. ไดร ับชําระหนี้ในการฟนฟูกิจการ ในมู ล หนี้ ลําดับที่ 5 คาตอบแทนการใชที่ดินราชพัส ดุ เปนเงิน 8,330,667 บาท และ มู ล หนี้ ลํ า ดั บ ที่ 4 ค า ธร ร มเนี ย มหนั ง สื อ ค้ําประกัน เปนเงิน 12,296,700 บาท เนื่อ งจากยัง ไมปรากฏหลักฐานวา กทม. ไดชําระคาธรรมเนี ย มดั ง กล า วให กั บ ธนาคารกรุง ไทย จํากัด (มหาชน) เจาพนักงานพิทักษทรัพยจึง มีคําสั่ง โดยมีเงื่อ นไขวา กทม. จะไดร ับชําระคาธรรมเนียม หนัง สือ ค้ําประกันจากบีทีเอสซีเมื่อ กทม. ไดชําระคาธรรมเนียมใหแกธนาคารกรุง ไทยจํากัด (มหาชน) เทาที่จายไปจริง แตไมเกินวงเงินค้ําประกัน และยกคํารอ งในสวนมูลหนี้ในลําดับที่ 1-3 คาภาษีโรงเรือ นและที่ดินจํานวน 72,352,502.02 บาท เนื่อ งจากกทม.ไมส ามารถแสดงใหเห็นไดอ ยางชัดเจนถึง การคิดคํานวณคาภาษีโรงเรื อ นและ ที่ ดิ น ที่ เ กิ ด ขึ้ น ได ประกอบกับบีทีเอสซีไดชําระคาภาษีโรงเรือ นและที่ดินในสวนที่ตนตอ งรับผิดแก กทม. แลว และ มู ล หนี้ ลํ า ดั บ ที่ 5 หนี้ คาเชาอาคารจํานวน 201,440,705.60 บาท เนื่อ งจากไมปรากฏขอ เท็จจริง วา กทม. ไดร ับความเสียหายในคาเชาอาคาร ตามที่กลาวอาง ตอ มา กทม. ไดยื่นคํารอ งโตแยง คําสั่ง เจาพนักงานพิทักษทรัพยดัง กลาวตอ ศาลลมละลาย และบีทเี อสซี ไดยื่นคํารอ งขอคัดคานคําโตแยง ของ กทม. ตอ มาเมื่อ วันที่ 27 เมษายน 2554 ศาลลมละลายกลางมีคําสั่ง ยกคํ า ร อ ง ของ กทม. ซึ่ง เทากับใหยืนตามคําสั่ง ของเจาพนักงานพิทักษทรัพย ทั้ง นี้ เมื่อ วันที่ 31 พฤษภาคม 2554 กทม. ได ยื่ น อุทธรณคําสั่ง ศาลลมละลายกลาง โดยศาลลมละลายกลางมีคําสั่ง รับอุทธรณเมื่อ วันที่ 9 มิถนุ ายน 2554 ปจจุ บั น คดี อ ยู ระหวางการพิจารณาของศาลฎีกาแผนกคดีลมละลาย

สวนที่ 1 หนา 136


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

7.

โครงสรางเงินทุน

7.1

หลักทรัพยของบริษัทฯ

7.1.1

ทุนจดทะเบียน

แบบ 56-1 ป 2555/56

ณ วันที่ 31 มีนาคม 2555 บริษัทฯ มีทุนจดทะเบียน 47,881,776,079.36 บาท และทุนจดทะ เบี ย นชํ า ร ะ แล ว 36,600,495,792.64 บาท ซึ่ง เป น หุ น ส ามั ญ จดทะ เบี ย น 74,815,275,124 หุ น มู ล ค า ที่ ต ร าไว หุ น ละ 0. 64 บาท โดยแบง เปน หุนสามัญที่อ อกจําหนายแลวจํานวน 57,188,274,676 หุน และหุนสามัญที่ยัง ไมไดอ อกจําหนายอีกจํานวน 17,627,000,448 หุน เมื่อ วันที่ 7 สิง หาคม 2555 บริษัทฯ จดทะเบียนเปลี่ยนแปลงจํานวนหุนและมูลคาหุนที่ตราไว ข อ ง บริ ษั ท ฯ ทํ า ใหมูลคาหุนที่ตราไวของบริษัทฯ เปลี่ยนจากเดิมหุนละ 0.64 บาท เปนหุนละ 4 บาท ส ง ผลให จํ า นวนหุ น ส ามั ญ ขอ ง บริษัทฯ มีจํานวนลดลงในอัตรา 25 หุนเดิม ตอ 4 หุนใหม (หรือ เทากับ 6.25 หุนเดิม ตอ 1 หุน ใหม ) ทํ า ให บ ริ ษั ท ฯ มี ทุนจดทะเบียนชํ า ร ะ แล ว จํ า นวน 36,641,907,568. 00 บาท แบ ง เป น หุ น ส ามั ญ ที่ อ อ กจํ า หน า ยแล ว จํ า นวน 9,160,476,892 หุน โดยหุนของบริษัทฯ เริ่มทําการซื้อ ขายในตลาดหลักทรัพยในมูลคาที่ตราไวหุนละ 4 บาท ในวั น ที่ 10 สิง หาคม 2555 ในชวงระหวางเดือ นพฤษภาคม 2555 ถึง เดือ นมีนาคม 2556 ไดมีผูถือ หุนกูแปลงสภาพใชส ิทธิ แ ปลง ส ภ าพ หุนกูแปลงสภาพเปนหุนสามัญเพิ่มทุนของบริษัทฯ ครบถวนแลวทั้ง จํานวน จึง มีผลทําใหหุนกูแปลงสภาพขอ ง บริ ษั ท ฯ สิ้นสภาพลง โดยหุนกูแปลงสภาพที่อ อกและเสนอขายจํานวน 10,000 ลานบาท ไดแปลงสภาพเปนหุ น ส ามั ญ เพิ่ ม ทุ น ของบริษัทฯ จํานวน 64,705,877 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 0.64 บาท และจํานวน 1,944,721,838 หุ น มู ล ค า ที่ ต ร าไว หุนละ 4 บาท เมื่อ วันที่ 4 มกราคม 2556 บริษัทฯ ไดมีการจัดสรรหุนสามัญเพิ่มทุนตามการใชส ิทธิตามใบสําคัญแสดง สิ ท ธิ BTS-W2 สําหรับการใชส ิทธิครั้ง แรก จํานวนรวมทั้ง สิ้น 1,435,864 หุ น มู ล ค า ที่ ต ร าไว หุ น ละ 4 บาท ทํ า ให ทุ น จดทะเบียนชําระแลวของบริษัทฯ เพิ่มจาก 43,701,282,432 บาท เปน 43,707,025, 888 บาท โดยเป น หุ น ส ามั ญ ที่ ออกจําหนายแลวจํานวน 10,926,756,472 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 4 บาท และหุนที่ยั ง ไม ไ ด อ อ กและ จํ า หน า ยเพื่ อ รองรับการใชส ิทธิที่จะซื้อ หุนสามัญเพิ่มทุนของบริษัทฯ ตามใบสําคัญแสดงสิทธิ BTS-W2 ลดลงเหลือ 802,884,208 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 4 บาท และใบสําคัญแสดงสิทธิ BTS-W2 มีจํานวนคงเหลือ ทั้ง สิ้น 5,018,026,281 หนวย ณ วันที่ 31 มีนาคม 2556 บริษัทฯ มีทุนจดทะเบียน 47,945,776,096 บาท และ ทุ น จดทะ เบี ย นชํ า ร ะ แล ว 44,426,538,376 บาท ซึ่ง เปนหุนสามัญจดทะเบียน 11,986,444,024 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 4 บาท โดยแบ ง เป น หุ น สามัญที่อ อกจําหนายแลวจํานวน 11,106,634,594 หุน และหุนสามัญที่ยัง ไมไดอ อกจําหนายอีกจํานวน 879,809,430 หุน 

หุนที่ยัง ไมไดอ อกและจําหนายจํานวนไมเกิน 44,925,222 หุน มูลคาที่ตราไว 4 บาทต อ หุ น ซึ่ ง เป น หุนคงเหลือ จากการใชส ิทธิแปลงสภาพของหุนกูแปลงสภาพ มูลคารวม 10,000,000,000 บาท ซึ่ ง ปจจุบันไดมีการใชส ิทธิแปลงสภาพครบทั้ง จํานวนแลว จึง มีผลใหหุนกูแปลงสภาพขอ ง บริ ษั ท ฯ สิ้ น สภาพลง (ตามรายละเอียดในขอ 7.1.2) โดยบริษัทฯ จะดําเนินการตัดหุนสามัญเพิ่มทุนที่เหลือ จาก การรองรับการใชส ิทธิแปลงสภาพของหุนกูแปลงสภาพจํานวน 44,925,222 หุน มูล ค า ที่ ต ร าไว 4 บาทตอ หุน ดวยการลดทุนจดทะเบียนของบริษัทฯ ตอ ไป

สวนที่ 1 หนา 137


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

หุนที่ยัง ไมไดอ อกและจําหนายจํานวนไมเกิน 802,884,208 หุน มูลคาที่ตราไว 4 บาทต อ หุ น เพื่ อ รองรับการใชส ิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิ BTS-W2 ซึ่ง มีจํานวนคงเหลื อ ทั้ ง สิ้ น 5,018,026,281 หนวย (ตามรายละเอียดในขอ 7.1.3)

หุนที่ยัง ไมไดอ อกและจําหนายจํานวนไมเกิน 16,000,000 หุน มูลค า ที่ ต ร าไว 4 บาทต อ หุ น เพื่ อ รองรับการใชส ิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิ BTS-WA จํานวน 100,000,000 หนวย (ตามรายละเอียด ในขอ 7.1.4)

หุนที่ยัง ไมไดอ อกและจําหนายจํานวนไมเกิน 16,000,000 หุน มูลค า ที่ ต ร าไว 4 บาทต อ หุ น เพื่ อ รองรับการใชส ิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิ BTS-WB จํานวน 16,000,000 หนวย (ตามรายละเอี ย ด ในขอ 7.1.5)

ทั้ง นี้ ในวันที่ 3 เมษายน 2556 บริษัทฯ ไดมีการจัดสรรหุนสามัญเพิ่มทุนตามการใชส ิทธิตามใบสํ า คั ญ แส ดง สิทธิ BTS-W2 สําหรับการใชส ิทธิครั้ง ที่ 2 จํานวนรวมทั้ง สิ้น 296,158,937 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 4 บาท ทํ า ให ทุ น จดทะเบียนชําระแลวของบริษัทฯ เพิ่มจาก 44,426,538,376 บาท เปน 45,611,174,124 บาท โดยเป น หุ น ส ามั ญ ที่ ออกจําหนายแลวจํานวน 11,402,793,531 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 4 บาท และหุนที่ยั ง ไม ไ ด อ อ กและ จํ า หน า ยเพื่ อ รองรับการใชส ิทธิที่จะซื้อ หุนสามัญเพิ่มทุนของบริษัทฯ ตามใบสําคัญแสดงสิทธิ BTS-W2 ลดลงเหลือ 506,725,271 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 4 บาท และใบสําคัญแสดงสิทธิ BTS-W2 มีจํานวนคงเหลือ ทั้ง สิ้น 3,167,032,866 หนวย 7.1.2

หุนกูแปลงสภาพ

เมื่อ วันที่ 25 มกราคม 2554 บริษัทฯ ไดอ อกและเสนอขายหุนกูแปลงสภาพที่มีอ ายุ 5 ป ให แ ก นั ก ลง ทุ น ใน ตางประเทศ มูลคาเสนอขายรวมจํานวน 10,000 ลานบาท โดยกําหนดวันครบกําหนดไถ ถ อ นในวั น ที่ 25 มกร าคม 2559 หุนกูแปลงสภาพที่อ อกมีการกําหนดมูลคาในสกุลเงินบาท แตมีการไถถอนเปนสกุ ล เงิ น ดอ ลล า ร ส หรั ฐ ฯ ตาม มูลคาที่กําหนด (Thai Baht denominated U.S. Dollar settled) โดยหุนกูแปลงสภาพนี้ไดจดทะเบียนเปนหลักทรัพยจด ทะเบียนกับตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศสิง คโปร หุนกูแปลงสภาพนี้มีการกําหนดอัตราดอ กเบี้ ย สํ า หรั บ 2 ป แ ร กที่ รอ ยละ 1 ตอ ป และสําหรับ 3 ปหลัง ที่ร อ ยละ 0 ตอ ป โดยหุนกูแปลงสภาพมีร าคาแปลงสภาพตั้ง ตนที่ 0.9266 บาทต อ หุนและราคาแปลงสภาพสุดทายที่ 5.00 บาทตอ หุน ในชวงระหวางเดือ นพฤษภาคม 2555 ถึง เดือ นมีนาคม 2556 ไดมีผูถือ หุนกูแปลงสภาพใชส ิทธิ แ ปลง ส ภ าพ หุนกูแปลงสภาพเปนหุนสามัญเพิ่มทุนของบริษัทฯ ครบถวนแลวทั้ง จํานวน 10,000 ลานบาท จึง มี ผ ลทํ า ให หุ น กู แ ปลง สภาพของบริษัทฯ สิ้นสภาพลง โดยหุนกูแปลงสภาพที่อ อกและเสนอขายจํานวน 10,000 ลานบาท ไดแปลงสภาพเป น หุนสามัญเพิ่มทุนของบริษัทฯ จํานวน 64,705,877 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 0.64 บาท และจํานวน 1,944,721,838 หุ น มูลคาที่ตราไวหุนละ 4 บาท ในการนี้ บริษัทฯ ไดทําการเพิกถอนหุนกูแปลงสภาพดัง กลาวออกจากตลาดหลั ก ทรั พ ย แหง ประเทศสิง คโปรแลว

สวนที่ 1 หนา 138


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

7.1.3

แบบ 56-1 ป 2555/56

ใบสําคัญแสดงสิทธิ BTS-W2 ชื่อ

:

ใบสํ า คั ญ แส ดง สิ ท ธิ ที่ จ ะ ซื้ อ หุ น ส ามั ญ เพิ่ ม ทุ น ขอ ง บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้ง ส จํากัด (มหาชน) ครั้ ง ที่ 2 (BTS-W2)

ลักษณะการเสนอขาย

:

ออกและจัดสรรใบสําคัญแสดงสิทธิใหแกผูถือ หุนเดิมของ บริษัทฯ ที่มีการจองซื้ อ หุ น เพิ่ ม ทุ น ขอ ง บริ ษั ท ฯ ตาม สัดสวนการถือ หุน (Rights Offering) และ กลุ ม ผู ล ง ทุ น ประเภทสถาบั น การ เงิ น หรื อ กลุ ม ลู ก ค า ขอ ง บริ ษั ท หลักทรัพยที่ทําหนาที่เปนผูจัดจําหนายหลักทรัพย

จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิคงเหลือ

:

3,167,032,866 หนวย

หุนรองรับคงเหลือ

:

506,725,271 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 4 บาท

วันที่อ อกใบสําคัญแสดงสิทธิ

:

11 พฤศจิกายน 2553

วันที่เริ่มซื้อ ทําการซื้อ ขายในตลาด หลักทรัพย

:

25 พฤศจิกายน 2553

อายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ

:

3 ป นับแตวันที่อ อกใบสําคัญแสดงสิทธิ ทั้ง นี้ ภ ายหลั ง การออกใบสําคัญแสดงสิทธิ บริษัทฯ จะ ไม ข ยายอ ายุ ใบสําคัญแสดงสิทธิ

วันครบกําหนดใบสําคัญแสดงสิทธิ

:

11 พฤศจิกายน 2556

อัตราการใชส ิทธิ

ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวย : 0.16 หุน* เว น แต ก ร ณี มี การปรับอัตราการใชส ิทธิตามเงื่อ นไขการปรับสิทธิ *โดยหากจํานวนใบสําคัญแสดงสิท ธิท ี่แสดงความจํานงการใชสิ ท ธิ คํานวณไดจํานวนหุนออกมาเปนเศษหุน บริษัท ฯ จะตั ด เ ศษขอ ง หุนนั้นทิ้ง

ราคาการใชส ิทธิ

:

4.375 บาทตอ หุน* เวนแตกรณีมีการปรั บ ร าคาการ ใช สิทธิตามเงื่อ นไขการปรับสิทธิ *สําหรับจํานวนเงินที่คํานวณไดจากการใชสิท ธิ ในกรณีมีเ ศษขอ ง บาท ใหตัดเศษของบาททิ้ง

สวนที่ 1 หนา 139


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

ระยะเวลาการใชส ิทธิ

การใชสิทธิ

แบบ 56-1 ป 2555/56

:

ผูถือ ใบสําคัญแสดงสิทธิส ามารถใชส ิทธิตามใบสําคัญแสดง สิทธิครั้ง แรกเมื่อ ครบ 2 ปนับแตวันที่อ อกใบสําคัญแสดง สิทธิ โดยวันกําหนดการใชส ิทธิตามใบสําคัญแสดง สิ ท ธิ คือ วันทําการสุดทายของทุกๆ ไตรมาส (เดือ นมี น าคม มิถุนายน กันยายน และ ธันวาคม) ขอ ง แต ล ะ ป ป ฏิ ทิ น จนถึง วันกําหนดใชส ิทธิครั้ง สุดทายซึ่ง จะตรงกับวัน คร บ กําหนดใบสําคัญแสดงสิทธิ ทั้ง นี้ วันกําหนดการ ใช ส ิ ท ธิ ระยะเวลาแจง ความจํานงในการใชส ิทธิ และผลของการใช สิทธิตามใบสําคัญแสดงสิทธิ BTS-W2 เปนดัง นี้

ครั้งแรก

ครั้งที่ 2

ครั้งที่ 3

ครั้งที่ 4

ครั้งสุ ดทาย

28 ธ.ค. 2555

29 มี.ค. 2556

28 มิ.ย. 2556

30 ก.ย. 2556

11 พ.ย. 2556

21 – 27 ธ.ค. 55

22 – 28 มี.ค. 56

21 - 27 มิ.ย. 56

23 - 27 ก.ย. 56

18 ต.ค. – 8 พ.ย. 56

14

236

N/A

จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิ ที่ใชสิทธิ (หนวย)

8,974,167

1,850,993,415

N/A

จํานวนหุนสามัญที่ไดจากการ ใชสิทธิ (หุน)

1,435,864

296,158,937

N/A

จํานวนเงินที่ไดรับจากการใช สิทธิ (ลานบาท)

6.3

1,295.7

N/A

5,018,026,281

3,167,032,866

N/A

802,884,208

506,725,271

N/A

วันกําหนดการใช สิทธิ ระยะเวลาการแจง ความจํานง ในการใชสิทธิ จํานวนผูใชสิทธิ (ราย)

จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิ คงเหลือ (หนวย) จํานวนหุน สามัญเพื่อรองรับการ ใชสิทธิคงเหลือ (หุน)

7.1.4 ใบสําคัญแสดงสิทธิ BTS-WA ชื่อ หลักทรัพย

:

ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อ หุนสามัญของบริ ษั ท บี ที เ อ ส กรุป โฮลดิ้ง ส จํากัด (มหาชน) ที่อ อกใหแกพนักงานขอ ง บริษัทฯ และบริษัทยอ ยครั้ง ที่ 1 (BTS-WA)

ชนิด

:

ระบุชื่อ ผูถอื และโอนเปลี่ยนมือ ไมได

ลักษณะการเสนอขาย

:

ใบสําคัญแสดงสิทธิ BTS-WA ออกให แ ก พ นั ก ง านขอ ง บริษัทฯ และบริษัทยอ ยที่ไมไดดํารงตําแหนง กรรมการ

สวนที่ 1 หนา 140


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ทั้ง นี้ พนักงานจะไดร ับใบสําคัญแสดงสิทธิจํานวน 3 ฉบั บ พรอ มกันในวันที่อ อกใบสําคัญแสดงสิทธิ โดยใบสํ า คั ญ แสดงสิทธิแตละฉบับจะมีส ั ด ส ว นเท า กั บ 1 ใน 3 ขอ ง จํานวนหนวยของใบสําคัญแส ดง สิ ท ธิ ที่ บุ ค คลดั ง กล า ว ไดร ับจัดสรรทั้ง หมด จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิที่อ อกและ คงเหลือ

:

100,000,000 หนวย

หุนรองรับ

:

16,000,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 4 บาท

อายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ

:

5 ป นับแตวันที่อ อกใบสําคัญแสดงสิทธิ

วันที่อ อกใบสําคัญแสดงสิทธิ

:

18 สิง หาคม 2554

วันครบกําหนดใบสําคัญแสดงสิทธิ

:

18 สิง หาคม 2559

อัตราการใชส ิทธิ

ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวย : 0.16 หุน* เว น แต ก ร ณี มี การปรับอัตราการใชส ิทธิตามเงื่อ นไขการปรับสิทธิ *โดยหากจํานวนใบสําคัญแสดงสิท ธิท ี่แสดงความจํานงการใชสิ ท ธิ คํานวณไดจํานวนหุนออกมาเปนเศษหุน บริษัท ฯ จะตั ด เ ศษขอ ง หุนนั้นทิ้ง

ราคาการใชส ิทธิ

:

4.375 บาทตอ หุน* เวนแตกรณีมีการปรั บ ร าคาการ ใช สิทธิตามเงื่อ นไขการปรับสิทธิ *สําหรับจํานวนเงินที่คํานวณไดจากการใชสิท ธิ ในกรณีมีเ ศษขอ ง บาท ใหตัดเศษของบาททิ้ง

เหตุการณที่ทําใหตอ งดําเนินการ ปรั บ สิทธิ

(ก) เมื่อ มีการเปลี่ยนแปลงมูลคาที่ตราไวของหุนส ามั ญ ของบริษัทฯ อันเปนผลมาจากการรวมหุนหรือ แบง แยกหุน (ข) เมื่อ บริษัทฯ ไดเสนอขายหุนสามั ญ ให แ ก ผู ถื อ หุ น เดิม และ/หรือ ประชาชนทั่วไป และ/หรือ บุคคลในวงจํา กั ด ในราคาสุทธิตอ หุนของหุนสามัญที่อ อกใหมคํานวณไดต่ํ า กวารอ ยละ 90 ของ “ราคาตลาดตอ หุนของหุนสามัญของ บริษัทฯ” (ค) เมื่อ บริษัทฯ เสนอขายหลั ก ทรั พ ย อ อ กใหม ใ ดๆ ใหแกผูถือ หุนเดิม และ/หรือ ประ ชาชนทั่ ว ไป และ / หรื อ บุคคลในวงจํากัด โดยที่หลักทรัพยนั้นให ส ิ ท ธิ ที่ จ ะ แปลง สภาพ/เปลี่ยนเปนหุนสามัญ หรื อ ให ส ิ ท ธิ ใ นการ ซื้ อ หุ น สามัญ (เชน หุนกูแปลงสภาพ หรือ ใบสําคัญแสดง สิ ท ธิ ที่

สวนที่ 1 หนา 141


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

จะซื้อ หุนสามัญ) โดยที่ร าคาสุทธิตอ หุนขอ ง หุ น ส ามั ญ ที่ ออกใหมเพื่อ รองรับสิทธิดัง กลาวต่ํากวารอ ยละ 90 ขอ ง “ราคาตลาดตอ หุนของหุนสามัญของบริษัทฯ” (ง) เมื่อ บริษัทฯ จายปนผลทั้ง หมดหรือ บางสวนเปน หุ น สามัญใหแกผูถือ หุนของบริษัทฯ (จ) เมื่อ บริษัทฯ จายเงินปนผลเปนเงิ น เกิ น กว า อั ต ร า รอ ยละ 80 ของกําไรสุท ธิ ต ามง บการ เงิ น เฉพาะ ขอ ง บริษัทฯ หลัง หักภาษีเงินได สําหรับการดําเนินงานในรอบ ระยะเวลาบัญชีใดๆ (ฉ) ในกรณีที่มีเหตุการณใดๆ อันทําใหผู ถื อ ใบสํ า คั ญ แสดงสิทธิเสียสิท ธิ แ ละ ผลปร ะ โยชน อ ั น พึ ง ได โดยที่ เหตุ ก าร ณ ใ ดๆ นั้ น ไม ไ ด กํ า หนดอ ยู ใ นข อ (ก)–(จ ) คณะกรร มการ บริ ห าร จะ พิ จ าร ณาเพื่ อ กํ า หนดการ เปลี่ยนแปลงราคาการใชส ิทธิ และ/หรือ อัตราการใชส ิท ธิ ใหม (หรือ ปรับจํานวนหนวยใบสําคัญแสดงสิทธิแทนอัตรา การใชส ิทธิ) อยางเปนธรรม โดยไมทําให ส ิ ท ธิ ข อ ง ผู ถื อ ใบสําคัญแสดงสิทธิดอ ยไปกวาเดิม ทั้ง นี้ใหถือ ว า ผลการ พิจารณานั้นเปนที่ส ุด เงื่อ นไขและระยะเวลาการใชส ิทธิ

:

(ก) ใบสําคัญแสดงสิทธิฉบับที่ 1: ผูถือ ใบสําคัญแส ดง สิ ท ธิ ส ามาร ถใช ส ิ ท ธิ ซื้ อ หุ น สามัญของบริษัทฯ ตามใบสําคัญแสดงสิทธิฉบับที่ 1 ไดทั้ง หมดหรือ บางสวน ในวันกํา หนดการ ใช ส ิ ท ธิ เมื่อ ครบระยะเวลา 2 ปนับจากวัน ที่ อ อ กใบสํ า คั ญ แสดงสิทธิจนกวาจะครบอายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ (ข) ใบสําคัญแสดงสิทธิฉบับที่ 2: ผูถือ ใบสําคัญแสดงสิทธิส ามารถใชส ิทธิซื้อ หุนสามัญ ของบริษัทฯ ตามใบสําคัญแสดงสิ ท ธิ ฉ บั บ ที่ 2 ได ทั้ง หมดหรือ บางสวน ในวันกําหนดการใช ส ิ ท ธิ เ มื่ อ ครบระยะเวลา 3 ปนับจากวันที่อ อกใบสําคัญแส ดง สิทธิจนกวาจะครบอายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ (ค) ใบสําคัญแสดงสิทธิฉบับที่ 3: ผูถือ ใบสําคัญแส ดง สิ ท ธิ ส ามาร ถใช ส ิ ท ธิ ซื้ อ หุ น

สวนที่ 1 หนา 142


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

สามัญของบริษัทฯตามใบสําคัญแสดงสิทธิฉบับที่ 3 ไดทั้ง หมดหรือ บางสวน ในวันกํา หนดการ ใช ส ิ ท ธิ เมื่อ ครบระยะเวลา 4 ปนับจากวัน ที่ อ อ กใบสํ า คั ญ แสดงสิทธิจนกวาจะครบอายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ

7.1.5

30 ธ.ค. 56 30 Dec 13

31 มี.ค. 57 31 Mar 14

30 มิ.ย. 57 30 Jun 14

30 ก.ย. 57 30 Sep 14

30 ธ.ค. 57 30 Dec 14

31 มี.ค. 58 31 Mar 15

30 มิ.ย. 58 30 Jun 15

30 ก.ย. 58 30 Sep 15

30 ธ.ค. 58 30 Dec 15

31 มี.ค. 59 31 Mar 16

30 มิ.ย. 59 30 Jun 16

18 ส.ค. 59 18 Aug 16

ใบสําคัญแสดงสิท ธิฉบับที่ 1 Warrant Certificate No. 1 ใบสําคัญแสดงสิท ธิฉบับที่ 2 Warrant Certificate No. 2 ใบสําคัญแสดงสิท ธิฉบับที่ 3 Warrant Certificate No. 3

30 ก.ย. 56 30 Sep 13

วันกําหนด การใชสิท ธิ Exercise Date

วันกําหนดการใชส ิทธิครั้ง แรก (สําหรับใบสําคัญแสดงสิทธิ ฉบับที่ 1) จะตรงกับวันที่ 30 กั น ยายน 2556 ซึ่ ง เป น วั น ทําการสุดทายของสิ้นไตรมาสแรกภายหลัง จากวั น คร บ กําหนด 2 ป นับจากวันที่อ อกใบสําคัญแสดงสิทธิ และ วั น กําหนดการใชส ิทธิครั้ง สุดทาย (สําหรั บ ใบสํ า คั ญ แส ดง สิทธิทั้ง 3 ฉบับ) จะตรงกับ วั น ที่ 18 สิ ง หาคม 2559 ซึ่ ง ตรงกับวันที่ใบสําคัญแสดงสิทธิมีอ ายุค ร บ 5 ป นั บ จาก วันที่อ อกใบสําคัญแสดงสิทธิ โดยหากวันกํา หนดการ ใช สิ ท ธิ ค รั้ ง สุ ด ท า ย ไม ต ร ง กั บ วั น ทํ า การ ให เ ลื่ อ นวั น กําหนดการใชส ิทธิดัง กลาวเปนวันทําการถัดไป

ใบสําคัญแสดงสิทธิ BTS-WB ชื่อ หลักทรัพย

:

ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อ หุนสามัญของบริ ษั ท บี ที เ อ ส กรุป โฮลดิ้ง ส จํากัด (มหาชน) ที่อ อกใหแกพนักงานขอ ง บริษัทฯ และบริษัทยอ ยครั้ง ที่ 2 (BTS-WB)

ชนิด

:

ระบุชื่อ ผูถอื และโอนเปลี่ยนมือ ไมได

ลักษณะการเสนอขาย

:

ใบสําคัญแสดงสิทธิ BTS-WB ออกให แ ก พ นั ก ง านขอ ง บริษัทฯ และบริษัทยอ ยที่ไมไดดํารงตําแหนง กรรมการ ทั้ง นี้ พนักงานจะไดร ับใบสําคัญแสดงสิทธิจํานวน 3 ฉบั บ พรอ มกันในวันที่อ อกใบสําคัญแสดงสิทธิ โดยใบสํ า คั ญ แสดงสิทธิแตละฉบับจะมีส ั ด ส ว นเท า กั บ 1 ใน 3 ขอ ง จํานวนหนวยของใบสําคัญแส ดง สิ ท ธิ ที่ บุ ค คลดั ง กล า ว ไดร ับจัดสรรทั้ง หมด

สวนที่ 1 หนา 143


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิที่อ อก

:

16,000,000 หนวย

หุนรองรับ

:

16,000,000 หุน มูลคาที่ตราไวหุน ละ 4 บาท

อายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ

:

5 ป นับแตวันที่อ อกใบสําคัญแสดงสิทธิ

วันออกใบสําคัญแสดงสิทธิ

:

11 มิถุนายน 2556

วันที่ครบกําหนดใบสําคัญแสดงสิทธิ :

11 มิถุนายน 2561

อัตราการใชส ิทธิ

:

ราคาการใชส ิทธิ

:

ใบสําคัญแสดงสิทธิ 1 หนวย มีส ิทธิซื้อ หุนสามัญได 1 หุ น เวนแตกรณีมีการปรับอัตราการใชส ิทธิตามเงื่ อ นไขการ ปรับสิทธิ 5.01 บาทตอ หุน เวน แตกรณีมีการปรับราคาการใชส ิทธิ ตามเงื่อ นไขการปรับสิทธิ (ก) เมื่อ มีการเปลี่ยนแปลงมูลคาที่ตราไวของหุนส ามั ญ ของบริษัทฯ อันเปนผลมาจากการรวมหุนหรือ แบง แยกหุน

เหตุการณที่ทําให ต อ ง ดํ า เนิ น การ : ปรับสิทธิ

(ข) เมื่อ บริษัทฯ ไดเสนอขายหุนสามั ญ ให แ ก ผู ถื อ หุ น เดิม และ/หรือ ประชาชนทั่วไป และ/หรือ บุคคลในวงจํา กั ด ในราคาสุทธิตอ หุนของหุนสามัญที่อ อกใหมคํานวณไดต่ํ า กวารอ ยละ 90 ของ “ราคาตลาดตอ หุนของหุนสามัญของ บริษัทฯ” (ค) เมื่อ บริษัทฯ เสนอขายหลั ก ทรั พ ย อ อ กใหม ใ ดๆ ใหแกผูถือ หุนเดิม และ/หรือ ประ ชาชนทั่ ว ไป และ / หรื อ บุคคลในวงจํากัด โดยที่หลักทรัพยนั้นให ส ิ ท ธิ ที่ จ ะ แปลง สภาพ/เปลี่ยนเปนหุนสามัญ หรื อ ให ส ิ ท ธิ ใ นการ ซื้ อ หุ น สามัญ (เชน หุนกูแปลงสภาพ หรือ ใบสําคัญแสดง สิ ท ธิ ที่ จะซื้อ หุนสามัญ) โดยที่ร าคาสุทธิตอ หุนขอ ง หุ น ส ามั ญ ที่ ออกใหมเพื่อ รองรับสิทธิดัง กลาวต่ํากวารอ ยละ 90 ขอ ง “ราคาตลาดตอ หุนของหุนสามัญของบริษัทฯ” (ง) ในกรณีที่มีเหตุการณใดๆ อันทําใหผู ถื อ ใบสํ า คั ญ แสดงสิทธิเสียสิท ธิ แ ละ ผลปร ะ โยชน อ ั น พึ ง ได โดยที่ เหตุ ก าร ณ ใ ดๆ นั้ น ไม ไ ด กํ า หนดอ ยู ใ นข อ (ก)–(ค) คณะกรรมการบริหารมีส ิทธิที่จะพิจารณาเพื่อ กําหนดการ เปลี่ยนแปลงราคาการใชส ิทธิ และ/หรือ อัตราการใชส ิท ธิ ใหม (หรือ ปรับจํานวนหนวยใบสําคัญแสดงสิทธิแทนอัตรา การใชส ิทธิ) อยางเปนธรรม ทั้ง นี้ ใหถือ วาผลการพิจารณา สวนที่ 1 หนา 144


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

นั้นเปนที่ส ุด อยางไรก็ตาม คณะกรรมการ บริ ห าร จะ ไม พิจารณาเปลี่ยนแปลงราคาการใชส ิทธิ และ/หรือ อัตราการ ใชส ิทธิใหมใหแกผูถือ ใบสําคัญแสดงสิทธิในเหตุ ก าร ณ ที่ เกิดจากการจายเงินปนผลของบริษัทฯ ไมวา จะ เป น การ จายเงินปนผลเปนเงินหรือ เปนหุนปนผลก็ตาม เงื่อ นไขและระยะเวลาการใชส ิทธิ

:

เวนแตในกรณีที่พนักงานไมส ามารถใชส ิทธิตามใบสําคั ญ แสดงสิทธิไดดัง ที่กําหนดไวเปนการเฉพาะ (ก) ใบสําคัญแสดงสิทธิฉบับที่ 1: ผูถือ ใบสําคัญแสดงสิทธิส ามารถใชส ิทธิซื้อ หุนสามัญ ของบริษัทฯ ตามใบสําคัญแสดงสิ ท ธิ ฉ บั บ ที่ 1 ได ทั้ง หมดหรือ บางสวน ในวันกําหนดการใช ส ิ ท ธิ เ มื่ อ ครบระยะเวลา 2 ปนับจากวันที่อ อกใบสําคัญแส ดง สิทธิจนกวาจะครบอายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ (ข) ใบสําคัญแสดงสิทธิฉบับที่ 2: ผูถือ ใบสําคัญแสดงสิทธิส ามารถใชส ิทธิซื้อ หุนสามัญ ของบริษัทฯ ตามใบสําคัญแสดงสิ ท ธิ ฉ บั บ ที่ 2 ได ทั้ง หมดหรือ บางสวน ในวันกําหนดการใช ส ิ ท ธิ เ มื่ อ ครบระยะเวลา 3 ปนับจากวันที่อ อกใบสําคัญแส ดง สิทธิจนกวาจะครบอายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ (ค) ใบสําคัญแสดงสิทธิฉบับที่ 3: ผูถือ ใบสําคัญแสดงสิทธิส ามารถใชส ิทธิซื้อ หุนสามัญ ของบริษัทฯตามใบสําคัญแส ดง สิ ท ธิ ฉ บั บ ที่ 3 ได ทั้ง หมดหรือ บางสวน ในวันกําหนดการใช ส ิ ท ธิ เ มื่ อ ครบระยะเวลา 4 ปนับจากวันที่อ อกใบสําคัญแส ดง สิทธิจนกวาจะครบอายุของใบสําคัญแสดงสิทธิ วันกําหนดการใชส ิทธิครั้ง แรก (สําหรับใบสําคัญแสดงสิทธิ ฉบับที่ 1) จะตรงกับวันที่ 30 มิถุนายน 2558 ซึ่ง เปนวันทํา การสุดทายของสิ้นไตรมาสแรกภายหลัง จากวันครบกําหนด 2 ป นับจากวันที่อ อกใบสําคัญแสดงสิทธิ และวันกําหนดการ ใชส ิทธิครั้ง สุดทาย (สําหรับใบสําคัญแสดงสิทธิทั้ง 3 ฉบับ) จะตรงกับวันที่ 11 มิถุนายน 2561 ซึ่ง ตรงกับวันที่ใบสําคัญ แสดงสิทธิมีอ ายุครบ 5 ป นับจากวันที่อ อกใบสําคัญแสดง สิทธิ โดยหากวันกําหนดการใชส ิทธิครั้ง สุดทายไมตรงกับวัน ทําการใหเลื่อ นวันกําหนดการใชส ิทธิครั้ง สุดทายดัง กลา ว เปนวันทําการถัดไป

สวนที่ 1 หนา 145


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

7.2

แบบ 56-1 ป 2555/56

ผูถือหุน

รายชือ่ ผูถือ หุนที่ถือ หุนสูง สุด 10 รายแรกของบริษัทฯ ณ วัน ปดสมุดทะเบียนหุน เมื่อ วันที่ 9 เมษายน 2556 (หุนที่อ อกและจําหนายแลว ทั้ง หมดจํานวน 11,402,793,531 หุน จํานวนผูถือ หุนรวมทั้ง สิ้น 51,657 ราย) เปนดัง นี้

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

รายชื่อผูถอื หุน กลุมนายคีรี กาญจนพาสน ธนาคารกรุงเทพ จํา กัด (มหาชน) บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร จํา กัด นายนเรศ งามอภิ ชน UOB KAY HIAN (HONG KONG) LIMITED - Client Account HSBC (SINGAPORE) NOMINEES PTE LTD STATE STREET BANK EUROPE LIMITED นายเฉลิมชัย มหากิจศิริ CITIGROUP GLOBAL MARKETS LIMITED-IPB CUSTOMER COLLATERAL ACCOUNT NORBAX INC.,13

จํานวนหุ น 4,657,144,515 476,527,462 364,172,249 198,735,209 133,003,919 103,158,268 98,046,684 91,500,000

รอยละ 40.84 4.18 3.19 1.74 1.17 0.90 0.86 0.80

86,589,471

0.76

78,672,700

0.69

หมายเหตุ: (1) กลุมนายคีรี กาญจนพาสน ประกอบดวย (1) นายคีรี กาญจนพาสน ถือหุนในชื่อตนเองจํานวน 3,652,634,128 หุน และถือหุนผา นท าง คัสโตเดียนชื่อ UBS AG HONG KONG BRANCH จํานวน 350,000,000 หุน และคัสโตเดียนชื่อ CREDIT SUISSE AG, SINGAPORE BRANCH อีกจํานวน 260,000,000 หุน (2) นายกวิน กาญจนพาสน ถือหุนจํานวน 2,459,295 หุน (3) นางสาวซูซาน กาญจนพาสน ถื อ หุนจํานวน 32,000,000 หุน (4) บริษัท เค ทู เจ โฮลดิ้ง จํากัด ถือหุนจํานวน 360,000,000 หุน และ (5) Amsfield Holdings Pte. Ltd. ถือ หุนจํานวน 51,092 หุน (2) บริษัท ธนายง ฟูด แอนด เบเวอเรจ จํากัด ซึ่งเปนบริษัท ยอย ถือหุนของบริษัท ฯ จํานวน 39,650,550 หุน (รอยละ 0.35) แทนเจาหนีต้ าม แผนฟนฟูกิจการของบริษัท ฯ ซึ่งอยูระหวางรอโอนชําระใหแกเจาหนี้ (3) รายชื่อผูถือหุนที่ถือหุนสูงสุด 10 รายแรกของบริษัท ฯ ณ วันปดสมุดทะเบียนหุน เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2556 (หุนที่ออกและจําหนาย แลวทั้งหมดจํานวน 11,402,793,531 หุน จํานวนผูถือหุนรวมทั้งสิ้น 59,711 ราย) เปนดังนี้ 1) กลุมนายคีรี กาญจนพาสน ถือหุนจํานวน 4,657,144,515 หุน (รอยละ 40.84) 2) ธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) ถือหุนจํานวน 476,527,462 หุน (รอยละ 4.18) 3) บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร จํากัด ถือหุนจํานวน 353,818,397 หุน (รอยละ 3.10) 4) UOB KAY HIAN (HONG KONG) LIMITED - Client Account ถือหุนจํานวน 133,003,919 หุน (รอยละ 1.17) 5) นายนเรศ งามอภิชน ถือหุนจํานวน 128,490,000 หุน (รอยละ 1.13) 6) HSBC (SINGAPORE) NOMINEES PTE LTD ถือหุนจํานวน 101,290,507 หุน (รอยละ 0.89) 7) STATE STREET BANK EUROPE LIMITED ถือหุนจํานวน 94,882,684 หุน (รอยละ 0.83) 8) นายเฉลิมชัย มหากิจศิริ ถือหุนจํานวน 91,500,000 หุน (รอยละ 0.80) 9) CITIGROUP GLOBAL MARKETS LIMITED-IPB CUSTOMER COLLATERAL ACCOUNT ถือหุนจํานวน 83,000,000 หุน (รอยละ 0.73) 10) นายวันชัย พันธุวิเชียร ถือหุนจํานวน 74,600,000 หุน (รอยละ 0.65) (4) รายชื่อผูถือหุนที่ถือหุนสูงสุด 10 รายแรกของบริษัท ฯ ณ วันปดสมุดทะเบียนหุน เมื่อวันที่ 19 มิถุนายน 2556 (หุนที่ออกและจําหนา ย แลวทั้งหมดจํานวน 11,402,793,531 หุน จํานวนผูถือหุนรวมทั้งสิ้น 66,487 ราย) เปนดังนี้ 1) กลุมนายคีรี กาญจนพาสน ถือหุนจํานวน 4,956,119,415 หุน (รอยละ 43.46) 2) ธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) ถือหุนจํานวน 476,527,462 หุน (รอยละ 4.18) 3) บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร จํากัด ถือหุนจํานวน 351,439,385 หุน (รอยละ 3.08) 4) UOB KAY HIAN (HONG KONG) LIMITED - Client Account ถือหุนจํานวน 241,203,919 หุน (รอยละ 2.12)

สวนที่ 1 หนา 146


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

5) นายวันชัย พันธุวิเชียร ถือหุนจํานวน 110,700,000 หุน (รอยละ 0.97) 6) HSBC (SINGAPORE) NOMINEES PTE LTD ถือหุนจํานวน 92,136,060 หุน (รอยละ 0.81) 7) STATE STREET BANK EUROPE LIMITED ถือหุนจํานวน 81,176,912 หุน (รอยละ 0.71) 8) STATE STREET BANK AND TRUST COMPANY ถือหุนจํานวน 71,314,337 หุน (รอยละ 0.63) 9) นายเฉลิมชัย มหากิจศิริ ถือหุนจํานวน 65,000,000 หุน (รอยละ 0.57) 10) กองทุนสํารองเลี้ยงชีพพนักงานการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย ซึ่งจดทะเบียนแลว โดยบลจ.ไอเอ็นจี (ประเทศไทย) จํากัด ถือหุนจํานวน 55,490,800 หุน (รอยละ 0.49)

7.3

ผูถือใบสําคัญแสดงสิทธิ BTS-W2

รายชือ่ ผูถือใบสําคัญแสดงสิทธิ BTS-W2 สูง สุด 10 รายแรกของบริษัทฯ ณ วันปดสมุดทะเบียนใบสําคัญแสดง สิทธิ BTS-W2 เมื่อ วันที่ 9 เมษายน 2556 (ใบสําคัญแสดงสิทธิ BTS-W2 ทั้ง หมดจํานวน 3,167,032,866 หนวย จํานวนผูถือ ใบสําคัญแสดงสิทธิ BTS-W2 รวมทั้ง สิ้น 3,153 ราย) มีดัง นี้ รายชื่อผูถอื ใบสําคัญแสดงสิทธิ BTS-W2 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

นายวันชัย พันธุวิเชียร ธนาคาร กรุงเทพ จํา กัด (มหาชน) UOB KAY HIAN PRIVATE LIMITED บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร จํา กัด นายสมบูรณเกียรติ เกษมสุวรรณ นายวิทูร สุริยวนากุล Mr. Wing Fat Leung นางรมยกมล สุรัสวดี นายประสิทธิ์ วงศส กุลเกษม นายสหนันท เชนตระกูล

7.4

นโยบายการจายเงินปนผล

7.4.1

นโยบายการจายเงินปนผลของบริษัทฯ

จํานวน

รอยละ

454,100,000 430,870,448 400,000,000 97,847,241 91,200,000 90,000,000 78,929,200 35,600,000 35,287,200 31,250,000

14.34 13.60 12.63 3.09 2.88 2.84 2.49 1.12 1.11 0.99

บริษัทฯ มีนโยบายจายเงินปนผลใหแกผูถือ หุนในอัตราไมนอ ยกวารอ ยละ 50 ขอ ง กํ า ไร สุ ท ธิ ห ลั ง หั ก ภ าษี เงินไดตามงบการเงินเฉพาะกิจการ โดยบริษัทฯ จะจายเงินปนผลในรอบระยะเวลาบัญชีถัดไป โดยคํ า นึ ง ถึ ง กร ะ แส เงินสดจากการประกอบการ และการประกาศจายเงินปนผลประจําปจะตอ งไดร ับความเห็นชอบจากที่ ป ร ะ ชุ ม ส ามั ญ ผูถือ หุนประจําป ทั้ง นี้ คณะกรรมการบริษัทอาจเห็นสมควรใหมีการจายเงินปนผลระหวางกาลหากเห็ น ว า บริ ษั ท ฯ มี กําไรและสามารถดํารงเงินทุนหมุนเวียนที่ใชในการดําเนินการไดอ ยางเพียงพอภายหลัง การจายเงินปนผลระหวางกาล นั้นซึ่ง คณะกรรมการบริษัทมีหนาที่แจง ใหที่ประชุมผูถือ หุนรับทราบในการประชุมผูถือ หุนครั้ง ถัดไป ในการพิจารณาจายเงินปนผลใหแกผูถือ หุนนั้น คณะกรรมการบริษัทจะคํานึง ถึง ปจจัยหลายประการ ดัง นี้ 

ผลการดําเนินงานของบริษัทฯ สภาพคลอ ง กระแสเงินสดหมุนเวียน และสถานะการเงินของบริษัทฯ

สวนที่ 1 หนา 147


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ขอ บัง คับหรือ เงื่อ นไขที่เกี่ยวกับการจายเงินปนผลที่กําหนดโดยสัญญาเงิ น กู ยื ม หุ น กู สั ญ ญาซึ่ ง กอ ใหเกิดภาระหนี้ส ินของบริษัทฯ หรือ ขอ ตกลงหรือ สัญญาอื่นๆ ที่บริษัทฯ ตอ งปฏิบัติตาม

แผนการดําเนินงานในอนาคตและความตอ งการในการใชเงินลงทุน

ปจจัยอื่นๆ ที่คณะกรรมการบริษัทเห็นสมควร

นอกจากนี้ บริษัทฯ ยัง อยูภ ายใตบัง คับของพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ. ศ. 2535 ที่ กํ า หนดให บริษัทฯ ไมส ามารถจายเงินปนผลไดหากบริษัทฯ ยัง มีผลขาดทุนสะสมอยู แมวาบริษัทฯ จะมีกําไรสุทธิ ส ํ า หรั บ ป นั้ น ๆ ก็ตาม และพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 ยัง กําหนดใหบริษัทฯ สํารองเงินตามกฎหมายในจํานวนไม นอ ยกวารอ ยละ 5 ของกําไรสุทธิประจําปหักดวยยอดขาดทุนสะสมยกมา (ถามี) จนกวาเงินสํารองตามกฎหมายจะ มี จํานวนไมนอ ยกวารอ ยละ 10 ของทุนจดทะเบียน และนอกจากเงินสํารองที่กฎหมายกําหนดใหบริษัทฯ ตอ งจัดสรรแลว คณะกรรมการบริษัทอาจพิจารณาจัดสรรเงินสํารองประเภทอื่นไดอ ีกตามที่เห็นสมควร *ภายใตบัง คับของพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 (รวมทั้ง ที่มีการแกไขเพิ่มเติม) และภายใต สถานการณที่ไมมีการเปลี่ยนแปลงอันสง ผลกระทบในทางลบอยางมีนัยตอ การดําเนินกิจการหรือ สถานะทาง การ เงิ น ของบริษัทฯ สําหรับรอบระยะเวลาบัญชีถัดไปอีก 3 รอบ ไดแก รอบระยะเวลาบัญชีส ิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2557 – 31 มีนาคม 2559 บริษัทฯ มีนโยบายที่จะจายเงินปนผลใหแกผูถือ หุนจากกําไรสุทธิ และ/หรื อ กํ า ไร ส ะ ส ม เป น จํ า นวน ดัง ตอ ไปนี้ 1. ไมนอ ยกวา 6,000 ลานบาท สําหรับรอบระยะเวลาบัญชีส ิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2557 2. ไมนอ ยกวา 7,000 ลานบาท สําหรับรอบระยะเวลาบัญชีส ิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2558 3. ไมนอ ยกวา 8,000 ลานบาท สําหรับรอบระยะเวลาบัญชีส ิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2559 ทั้ง นี้ ความสามารถของบริษัทฯ ในการจายเงินปนผลเปนจํานวนรวมทั้ง สิ้นไมนอ ยกวา 21,000 ลา นบาท ใน 3 รอบระยะเวลาบัญชีนั้น จะมาจากกําไรจากการดําเนินงานและกําไรพิเศษจากธุร กรรมกองทุนรวมโครงสรางพื้นฐาน *หมายเหตุ: ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2556 ไดมีมติอนุมัติใหเพิ่มเติมนโยบายการจายเงินปนผลของบริษั ท ฯ ในสวนนี้

ขอมูลการจายเงินปนผลของบริษัทฯ ในป 2555/56 ป 2554/55 และ ป 2553/54 รายละเอียด 1. 2. 3. 3.1 3.2 3.3 4. 4.1 4.2

กําไรสุทธิ (ลานบาท) กําไรสะสม (ลานบาท) จํานวนหุน จํานวนหุน : เงินปนผลระหวางกาลครั้งที่ 1 จํานวนหุน : เงินปนผลระหวางกาลครั้งที่ 2 จํานวนหุน : เงินปนผลประจําป รวมเงินปนผลจายตอหุน (บาทตอหุน) เงินปนผลระหวางกาล ครั้ งที่ 1 (บาทตอหุน) เงินปนผลระหวางกาล ครั้ งที่ 2 (บาทตอหุน)

ป 2555/56

ป 2554/55

ป 2553/54

5,469.8 5,639.7

3,443.2 3,615.5

4,840 3,006.9

11,006,834,594 หุน* 11,402,793,531 หุน* 11,402,793,531 หุน* 0.3880 0.163 0.180

57,188,274,676 หุน** 57,252,980,553 หุน** 0.04803 0.02393 -

55,889,275,885 หุน** 57,188,274,676 หุน** 0.03554 0.01290 -

สวนที่ 1 หนา 148


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน) 4.3 เงินปนผลประจําป (บาทตอหุน) 5. รวมเงินปนผลจายทั้งสิ้น (ลานบาท) 6. อัต ราเงินปนผลจายตอกําไรสุทธิ

แบบ 56-1 ป 2555/56 0.045*** 4,359.1 79.7%

0.02410 2,747.6 79.8 %

หมายเหตุ: * มูลคาหุนที่ตราไวห ุนละ 4 บาท ** มูลคาหุนที่ตราไวห ุนละ 0.64 บาท *** ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2556 ไดมีมติอนุมัติใหเสนอตอที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2556 ที่จะจัดให มีขึ้นในวันที่ 26 กรกฎาคม 2556 เพื่อพิจารณาอนุมัติจายเงินปนผลสําหรับรอบระยะเวลาบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2556 ใหแก ผู ถื อ หุน เพิ่มเติมจากเงินปนผลระหวางกาลครั้งที่ 1 และ 2 รวมเปนเงินทั้งสิ้นไมเกิน 513.1 ลานบาท หรือคิดเปนอัตราเงินปนผลจาย 0.045 บาทตอหุน (4.5 สตางคตอหุน) อยางไรก็ดี สิท ธิในการรับเงินปนผลนี้ยังมีความไมแนนอน เนื่องจากยังไมไดรับ อ นุ มั ติ จ ากที่ ป ระชุ ม ผูถือหุน

7.4.2

นโยบายการจายเงินปนผลของบริษัทยอย บีทีเอสซี

บีทีเอสซีมีนโยบายจะจายเงินปนผลในอัตราไมนอ ยกวารอ ยละ 50 ของกําไรจากการดําเนินงาน ซึ่ ง ไม ร วม รายการพิเศษ เชน กําไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลี่ยน กําไร (ขาดทุน) จากการฟนฟูกิจการ ดอกเบี้ยจายตามแผน ฟนฟูกิจการ และคาเสื่อ มราคา ซึ่ง ในการจายเงินปนผล บีทีเอสซีจะพิจารณา (1) เงินสํารองตามกฎหมาย (2) ขอ จํากัด ในการกอ หนี้ของบีทีเอสซีตามที่ไดตกลงไวกับเจาหนี้ และ (3) คาใชจายและเงินลงทุนที่ตอ งการ สํ า หรั บ ป ถั ด ไปโดย พิจารณารวมกับประมาณการกระแสเงินสด วีจีไอ วีจีไอมีนโยบายจายเงินปนผลใหแกผูถือ หุนในอัตราไมนอ ยกวารอ ยละ 50 ของกําไรสุทธิหลัง หักภ าษี เ งิ น ได นิติบุคคลของงบการเงินเฉพาะ และหลัง หักสํารอง ตามกฎหมาย ทั้ ง นี้ อั ต ร าการ จ า ยเงิ น ป น ผลดั ง กล า ว อ าจ เปลี่ยนแปลงขึ้นอยูกับผลการดําเนินการ ฐานะการเงิน สภาพคลอ ง แผนการลง ทุ น ความจํ า เป น ในการ ใช เ งิ น ทุ น หมุนเวียนในการดําเนินงาน การขยายธุร กิจ และปจจัยอื่ น ๆ ที่ เ กี่ ย วข อ ง ในการ บริ ห าร ง านขอ ง บริ ษั ท ตามที่ คณะกรรมการบริษัท และ/หรือ ผูถือ หุนของบริษัทเห็นสมควร บริษัทยอยอื่น บริษัทยอ ยอื่นมีนโยบายในการจายเงินปนผลโดยพิจารณาจากศักยภาพการเติบโตของผลการ ดํ า เนิ น ง าน แผนการลงทุน การขยายงาน ขอ กําหนดตามสัญญาเงินกูหรือ หุนกูของบริษัทฯ และบริษัทยอ ย รวมถึง ความจําเปนและ ความเหมาะสมในอนาคต โดยมีนโยบายจายเงินปนผลไมนอ ยกวารอ ยละ 50 ของกําไรสุทธิหลัง หักภาษีและสํารองเงิน ตามกฎหมาย หากไมมีเหตุจําเปนอื่นใดและการจายเงินปนผลนั้นไมมีผลกระทบตอ การดําเนินงานปกติของบริษัทย อ ย ดัง กลาว

สวนที่ 1 หนา 149

0.02264 2,015.1 41.6%


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

8.

การจัดการ โครงสรางองคกรของบริษัทฯ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2556 เปนดัง นี้ โครงสรางองคกร

สวนที่ 1 หนา 150

แบบ 56-1 ป 2555/56


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

8.1

แบบ 56-1 ป 2555/56

โครงสรางการจัดการ

ณ วันที่ 31 มีนาคม 2556 โครงสรางการจัดการของบริษัทฯ ประกอบดวยคณะกรรมการบริษัทและ คณะกรรมการชุดยอ ยรวม 4 ชุด ไดแก คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน คณะกรรมการบรรษัทภิบาล และคณะกรรมการบริหาร โครงสรางการจัดการของบริษัทฯ เปนดัง นี้ 8.1.1

คณะกรรมการบริษัท ณ วันที่ 31 มีนาคม 2556 ประกอบดวยกรรมการจํานวน 12 ทาน แบง เป น กรรมการที่เปนผูบริหาร 6 ทาน กรรมการที่มิไดเปนผูบริหาร 6 ทาน (เปนกรรมการอิส ระ 5 ทาน) รายชือ่ คณะกรรมการ มีดัง นี้

ลําดับ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12.

รายชื่อกรรมการ นายคีรี กาญจนพาสน นายพอล ทง (Mr. Paul Tong) นายอาณัต ิ อาภาภิรม นายสุรพงษ เลาหะอัญญา นายกวิน กาญจนพาสน นายรังสิน กฤตลักษณ นายคง ชิ เคือง (Mr. Kong Chi Keung) พลโทพิศาล เทพสิทธา นายอมร จันทรสมบูรณ นายสุจินต หวั่งหลี นายเจริญ วรรธนะสิน นาย ชอง ยิง ชิว เฮนรี่ (Mr. Cheong Ying Chew, Henry)

ตําแหนง ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

วันที่ไดรับแตงตั้ง 26 กรกฎาคม 2554 29 กรกฎาคม 2553 26 กรกฎาคม 2555 26 กรกฎาคม 2554 26 กรกฎาคม 2555 26 กรกฎาคม 2554 26 กรกฎาคม 2554

กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ

26 กรกฎาคม 2555 29 กรกฎาคม 2553 29 กรกฎาคม 2553 26 กรกฎาคม 2555 26 กรกฎาคม 2555

กรรมการผูมีอํานาจลงนามผูกพันบริษัท กรรมการผูมีอ ํานาจกระทําการแทนบริษัทฯ มี 6 ทาน ดัง นี้ กรรมการกลุม ก

1. นายคีรี กาญจนพาสน 2. นายกวิน กาญจนพาสน 3. นายสุรพงษ เลาหะอั ญญา

กรรมการกลุม ข

4. นายอาณัต ิ อาภาภิรม 5. นายรังสิน กฤตลักษณ 6. นายคง ชิ เคือง (Mr. Kong Chi Keung)

สวนที่ 1 หนา 151


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ชื่อ และจํานวนกรรมการซึ่ง มีอ ํานาจลงลายมือ ชื่อ แทนบริษัทฯ คื อ กร ร มการ คนใดคนหนึ่ ง จาก กรรมการกลุม ก ลงลายมือ ชื่อ รวมกันกับกรรมการคนใดคนหนึ่ง จากกรรมการกลุม ข รวมเป น ส อ ง คนและ ประทับตราสําคัญของบริษัทฯ อํานาจหนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท 1.

ปฏิบัติหนาที่ใหเปนไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค และขอ บัง คับขอ ง บริ ษั ท ฯ ตลอ ดจนมติ ที่ประชุมผูถือ หุนดวยความซื่อ สัตย สุจริต และระมัดระวัง รักษาผลประโยชนของบริษัทฯ

2.

กําหนดวิส ัยทัศน นโยบาย และทิศทางการดําเนินงานของบริษัท ฯ และ กํ า กั บ ดู แ ลให ฝ า ย บริหารดําเนินการใหเปนไปตามนโยบายที่กําหนดไวอ ยางมีประสิทธิ ภ าพและ ปร ะ สิ ท ธิ ผ ล เพื่อ เพิ่มมูลคาสูง สุดใหแกบริษัทฯ และผูถือ หุน

3.

กําหนดนโยบาย ยุทธศาสตรการทําธุร กิจ แผนงาน และงบประมาณปร ะ จํ า ป ข อ ง บริ ษั ท ฯ รวมทั้ง ผลงานและผลประกอบการประจําเดือ นและประจําไตรมาสของบริษัทฯ เทียบกับแผน และงบประมาณ และพิจารณาแนวโนมในชวงถัดไป

4.

ประเมินผลงานของฝายบริหารอยางสม่ําเสมอและดูแลระ บบกลไกการ จ า ยค า ตอ บแทน ผูบริหารระดับสูง ที่เหมาะสม โดยมีคณะกรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทนเป น ผู ดู แ ล อยางมีประสิทธิภ าพ

5.

ดําเนินการใหฝายบริหารจัดใหมีร ะบบบัญชี การรายงานทางการเงิน และ การ ส อ บบั ญ ชี ที่ เชื่อ ถือ ได ตลอดจนดูแลใหมีร ะบบการควบคุมภายในที่เพียงพอเหมาะสม

6.

พิจารณาอนุมัติการไดมาหรือ จําหนายไปซึ่ง ทรัพย ส ิ น การ ลง ทุ น ในธุ ร กิ จ ใหม และ การ ดําเนินการใดๆ ที่กฎหมายกําหนด เวนแตเรื่อ งที่กฎหมายกํ า หนดให ต อ ง ได ร ั บ มติ จ ากที่ ประชุมผูถือ หุน

7.

พิจารณา และ/หรือ ใหความเห็นตอ รายการที่เกี่ยวโยงกันของบริษั ท ฯ และ บริ ษั ท ย อ ยให เปนไปตามกฎหมาย ประกาศ ขอ กําหนด และระเบียบขอ บัง คับที่เกี่ยวขอ งตาง ๆ

8.

ดูแลไมใหเกิดปญหาความขัดแยง ทางผลประโยชนร ะหวางผูมีส วนไดเสียของบริษัทฯ

9.

พิจารณาเรื่อ งตาง ๆ โดยคํานึง ถึง ผลประโยชนของผูถือ หุนและผูมีส วนไดเสีย ทุ ก กลุ ม ขอ ง บริษัทฯ อยางเปนธรรม โดยกรรมการตอ งแจง ใหบริษัทฯ ทราบโดยไม ชั ก ช า หากมี ส  ว น ไดเสียในสัญญาที่ทํากับบริษัทฯ หรือ ถือ หุนเพิ่มขึ้นหรือ ลดลงในบริษัทฯ หรือ บริษัทยอ ย ทั้ง นี้ สําหรับรายการที่ทํากับกรรมการหรือ บุคคลที่อ าจมีความขัดแยง หรือ มีส วนไดเสีย หรือ อาจมี ความขัดแยง ทางผลประโยชนอ ื่นใดกับบริษัทฯ หรือ บริษัทยอ ย กรรมการซึ่ง มีส วนไดเสียไมมี สิทธิอ อกเสียงลงคะแนนอนุมัติการทํารายการในเรื่อ งนั้น

สวนที่ 1 หนา 152


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

10.

กํากับดูแลกิจการอยางมีจรรยาบรรณและจริยธรรมทางธุร กิจ และทบทวนนโยบายการกํากับ ดูแลกิจการและคูมือ จริยธรรมของบริษัทฯ และประเมินผลการปฏิบัติตามนโยบายดั ง กล า ว เปนประจําอยางนอ ยปละ 1 ครั้ง

11.

กําหนดนโยบายและกรอบการบริหารความเสี่ยง ประเมินความเหมาะสมของนโยบายและ กรอบการบริหารความเสี่ยงอยางสม่ําเสมอ และดูแลใหมีการนํานโยบายการบริ ห าร ความ เสี่ยงและการควบคุมภายในไปปฏิบัติจริง

12.

กําหนดนโยบายความรับผิดชอบตอ สัง คม ชุมชน และ สิ่ ง แวดล อ ม (C orporat e Soc ial Responsibility : CSR) ตลอดจนดูแลใหมีการปฏิบัติตามนโยบายความรับผิดชอบตอ สั ง คม ชุมชน และสิ่ง แวดลอ มดัง กลาว

13.

รายงานความรับผิดชอบของตนในการจัดทํารายงานทางการเงิน โดยแสดงควบคูกับรายงาน ของผูส อบบัญชีไวในรายงานประจําปและครอบคลุมในเรื่อ งสําคัญๆ ตามนโยบายเรื่อ งขอพึง ปฏิบัติที่ดีส ําหรับกรรมการบริษัทจดทะเบียนของตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทย

14.

มอบหมายใหกรรมการคนหนึ่ง หรือ หลายคนหรือ บุคคลอื่นใดปฏิบัติการอยาง หนึ่ ง อ ย า ง ใด แทนคณะกรรมการได การมอบอํานาจแกกรรมการดัง กลาวจะตอ งไมเปนการ มอ บอํ า นาจ หรือ การมอบอํานาจชวงที่ทําใหกรรมการหรือ ผูร ับมอบอํานาจจากกรรมการสามารถอนุ มั ติ รายการที่ตนหรือ บุคคลที่อ าจมีความขัดแยง มีส วนไดเสีย หรือ มี ผ ลปร ะ โยชน ใ นลั ก ษณะ อื่นใดขัดแยง กับผลประโยชนของบริษัทฯ หรือ บริษัทยอ ย

15.

แตง ตั้ง คณะกรรมการชุดยอ ยเพื่อ ชวยดูแลระบบบริหาร และระบบควบคุมภายในให เ ป น ไป ตามนโยบายที่กําหนดไว เชน คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการ สรรหาและกําหนดคาตอบแทน และคณะกรรมการบรรษัทภิบาล

16.

จัดใหมีเลขานุการบริษัทเพื่อ ดูแลใหคณะกรรมการและบริษัทฯ ปฏิบัติใหเปนไปตามกฎหมาย และระเบียบขอ บัง คับที่เกี่ยวขอ งตางๆ

การสรรหาและถอดถอนกรรมการบริษัท บริษัทฯ มีคณะกรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทนซึ่ง ทําหนาที่ในการส ร ร หากร ร มการ ใหม ทั้ง นี้ การแตง ตั้ง และถอดถอนกรรมการบริษัทจะเปนไปตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดอ ยู ใ นกฎหมาย และขอ บัง คับของบริษัทฯ โดยมีส าระสําคัญดัง นี้ 1.

ในการประชุมสามัญประจําปทุกครั้ง ใหกรรมการจํานวนไมนอ ยกวา 1 ใน 3 ขอ ง จํ า นวน กรรมการทั้ง หมดในคณะกรรมการพนจากตําแหนง ตามวาระ ถาจํานวนกรรมการที่จ ะ แบ ง ออกใหตรงเปน 3 สวนไมได ก็ใหอ อกโดยจํานวนที่ใกลที่ส ุดกับสวน 1 ใน 3 และ กร ร มการ ผูพนจากตําแหนง มีส ิทธิไดร ับเลือ กตั้ง ใหมไดอ ีก

2.

ใหที่ประชุมผูถือ หุนมีส ิทธิแตง ตั้ง กรรมการตามหลักเกณฑและวิธีการดัง ตอ ไปนี้

สวนที่ 1 หนา 153


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

3.

แบบ 56-1 ป 2555/56

ผูถือ หุนแตละคนมีคะแนนเสียงเทากับหนึ่ง หุนตอ หนึ่ง เสียง

ผูถือ หุนแตละคนจะใชคะแนนเสียงที่มีอ ยูทั้ง หมดเลือ กตั้ง บุคคลคนเดียวหรือ หลายคน เปนกรรมการก็ได แตจะแบง คะแนนเสียงใหแกบุคคลใดมากนอ ยเพียงใดไมได

บุคคลซึ่ง ไดร ับคะแนนเสียงสูง สุดตามลําดับลงมาเปนผูไดร ับการเลือ กตั้ง เปนกรรมการ เทาจํานวนกรรมการที่จะพึง เลือ กตั้ง ในครั้ง นั้น ในกรณีที่บุคคลซึ่ง ไดร ับการเลือ กตั้ง ใน ลําดับถัดลงมามีคะแนนเสียงเทากันเกินจํานวนกรรมการที่จะพึง มีหรือ จะพึง เลื อ กตั้ ง ในครั้ง นั้น ใหผูเปนประธานเปนผูอ อกเสียงชี้ขาด

นอกจากการพนตําแหนง ตามวาระแลว กรรมการพนจากตําแหนง เมื่อ     

ตาย ลาออก ขาดคุณสมบัติหรือ มีลักษณะตอ งห า มตามพร ะ ร าชบั ญ ญั ติ บ ริ ษั ท มหาชนจํ า กั ด พ.ศ. 2535 ที่ประชุมผูถือ หุนมีมติใหอ อก ศาลมีคําสั่ง ใหอ อก

4.

ในกรณีที่ตําแหน ง กร ร มการ ว า ง ลง เพร าะ เหตุ อ ื่ น นอ กจากถึ ง คร าวอ อ กตามวาร ะ ใหคณะกรรมการมีมติดวยคะแนนเสียงไมนอ ยกวา 3 ใน 4 ของจํานวนกรรมการที่เ หลื อ อ ยู เลือ กบุคคลซึ่ง มีคุณสมบัติและไมมีลักษณะตอ งหามตามพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํ า กั ด พ.ศ. 2535 เขาเปนกรรมการแทนในการประชุมคณะกรรมการคราวตอ ไป เวนแตวาระ ขอ ง กรรมการจะเหลือ นอ ยกวา 2 เดือ น

5.

ที่ประชุมผูถือ หุนอาจลงมติใหกรรมการคนใดออกจากตําแหนง กอ นถึง คราวออกตามวาระได ดวยคะแนนเสียงไมนอ ยกวา 3 ใน 4 ของจํานวนผูถือ หุนซึ่ง มาประชุมและมี ส ิ ท ธิ อ อ กเสี ย ง และมีหุนนับรวมกันไดไมนอ ยกวากึ่ง หนึ่ง ของจํานวนหุนที่ถือ โดยผูถือ หุนที่ม าปร ะ ชุ ม และ มี สิทธิอ อกเสียง

นอกจากนี้ บุคคลที่จะไดร ับการสรรหาใหเปนกรรมการบริษัท จะตอ งเปนผูทรงคุณวุฒิและมีความรู ความสามารถ มีคุณสมบัติครบถวนในการดํารงตําแหนง กรรมการบริษัท ตามพระราชบัญญัติบริษัทมหาชน จํากัด พ.ศ. 2535 (รวมทั้ง ที่ไดมีการแกไขเพิ่มเติม) พระราชบัญญัติหลักทรัพยและ ตลาดหลั ก ทรั พ ย พ. ศ. 2535 (รวมทั้ง ที่ไดมีการแกไขเพิ่มเติม) ประกาศคณะกรรมการตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทย และประกาศ คณะกรรมการกํากับตลาดทุนที่เกี่ยวขอ ง ในกรณีที่เปนการสรรหาบุคคลเพื่อ ดํารงตําแหนง กรรมการอิส ระของบริษัทฯ บุคคลดัง กลา วต อ ง มี คุณสมบัติตามนิยามกรรมการอิส ระของบริษัทฯ ทั้ง นี้ นิยามกรรมการอิส ระของบริษัทฯ มีหลักเกณฑที่ “เขม กวา” ขอ กําหนดของสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลัก ทรั พ ย (ก. ล. ต. ) และ ตลาด หลักทรัพยแหง ประเทศไทย กลาวคือ มีการกําหนดสัดสวนการถือ หุนของกรรมการอิส ระอยูที่ “ไมเกินรอ ยละ 0.75” ของจํานวนหุนที่มีส ิทธิอ อกเสียงทั้ง หมดของบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอ ย บริษัทรว ม ผู ถื อ หุ น ร าย ใหญ หรือ ผูมีอ ํานาจควบคุมของบริษัทฯ สวนที่ 1 หนา 154


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

นิยามกรรมการอิส ระของบริษัทฯ เปนดัง นี้ 1.

ถือ หุนไมเกินรอ ยละ 0.75 ของจํานวนหุนที่มีส ิทธิอ อกเสียงทั้ง หมดของบริษัทฯ บริ ษั ท ใหญ บริษัทยอ ย บริษัทรวม ผูถือ หุนรายใหญ หรือ ผูมีอ ํานาจควบคุมของบริษัทฯ ทั้ง นี้ ใหนั บ ร วม การถือ หุนของผูที่เกี่ยวขอ งของกรรมการอิส ระรายนั้นๆ ดวย

2.

ไมเปนหรือ เคยเปนกรรมการที่มีส วนรวมในการบริหารงาน ลูกจา ง พนั ก ง าน ที่ ป รึ ก ษาที่ ไดร ับเงินเดือ นประจํา หรือ ผูมีอ ํานาจควบคุมของบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอ ย บริษัทร ว ม บริษัทยอ ยลําดับเดียวกัน ผูถือ หุนรายใหญ หรือ ผูมีอ ํานาจควบคุมของบริษัทฯ เวน แต จ ะ ได พนจากการมีลักษณะดัง กลาวมาแลวไมนอ ยกวา 2 ป

3.

ไมเปนบุคคลที่มีความสัมพันธทางสายโลหิต หรื อ โดยการ จดทะ เบี ย นตามกฎหมายใน ลักษณะที่เปนบิดามารดา คูส มรส พี่นอ ง และบุตร รวมทั้ง คูส มรสขอ ง บุ ต ร ขอ ง ผู บ ริ ห าร ผูถือ หุนรายใหญ ผูมีอ ํานาจควบคุม หรือ บุคคลที่จะไดร ับการเสนอใหเป น ผู บ ริ ห าร หรื อ ผู มี อํานาจควบคุมของบริษัทฯ หรือ บริษัทยอ ย

4.

ไมมีหรือ เคยมีความสัมพันธทางธุร กิจกับบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอ ย บริษัทรวม ผูถือ หุ น รายใหญ หรือ ผูมีอ ํานาจควบคุมของบริษัทฯ ในลั ก ษณะ ที่ อ าจเป น การ ขั ด ขวาง การ ใช วิจารณญาณอยางอิส ระของกรรมการอิส ระ รวมทั้ง ไมเปนหรือ เคยเปนผูถือ หุนที่มีนัย หรือผูม ี อํานาจควบคุมของผูที่มีความสัมพันธทางธุร กิจกับบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอ ย บริษัทรวม ผูถือ หุนรายใหญ หรือ ผูมีอ ํานาจควบคุมของบริษัทฯ เว น แต จ ะ ได พ น จากการ มี ลั ก ษณะ ดัง กลาวมาแลวไมนอ ยกวา 2 ป

5.

ไมเปนหรือ เคยเปนผูส อบบัญชีของบริษัทฯ บริษัทใหญ บริ ษั ท ย อ ย บริ ษั ท ร ว ม ผู ถื อ หุ น รายใหญ หรือ ผูมีอ ํานาจควบคุมของบริษัทฯ และไมเปนผูถือ หุนที่มี นั ย ผู มี อ ํ า นาจควบคุ ม หรือ หุนสวนของสํานักงานสอบบัญชีซึ่ง มีผูส อบบัญชีของบริษัทฯ บริ ษั ท ใหญ บริ ษั ท ย อ ย บริษัทรวม ผูถือ หุนรายใหญ หรือ ผูมีอ ํานาจควบคุมของบริษัทฯ สัง กัดอยู เว น แต จ ะ ได พ น จากการมีลักษณะดัง กลาวมาแลวไมนอ ยกวา 2 ป

6.

ไมเปนหรือ เคยเปนผูใหบริการทางวิชาชีพใด ๆ ซึ่ ง ร วมถึ ง การ ให บ ริ ก าร เป น ที่ ป รึ ก ษา กฎหมายหรือ ที่ปรึกษาทางการเงินซึ่ง ไดร ับคาบริการเกินกวา 2 ลานบาทต อ ป จ ากบริ ษั ท ฯ บริษัทใหญ บริษัทยอ ย บริษัทรวม ผูถือ หุนรายใหญ หรือ ผูมีอ ํานาจควบคุมของบริษัทฯ และ ไมเปนผูถือ หุนที่มีนัย ผูมีอ ํานาจควบคุม หรือ หุนสวนของผูให บ ริ ก าร ทาง วิ ช าชี พ นั้ น ด ว ย เวนแตจะไดพนจากการมีลักษณะดัง กลาวมาแลวไมนอ ยกวา 2 ป

7.

ไมเปนกรรมการที่ไดร ับการแตง ตั้ง ขึ้นเพื่อ เปนตัวแทนของกรรมการขอ ง บริ ษั ท ฯ ผู ถื อ หุ น รายใหญ หรือ ผูถือ หุนซึ่ง เปนผูที่เกี่ยวขอ งกับผูถือ หุนรายใหญ

8.

ไมประกอบกิจการที่มีส ภาพอยางเดียวกันและเปนการแขง ขันที่มีนัยกับกิจการขอ ง บริ ษั ท ฯ หรือ บริษัทยอ ย หรือ ไมเปนหุนสวนที่มีนัยในหางหุนสวน หรื อ เป น กร ร มการ ที่ มี ส  ว นร ว ม บริหารงาน ลูกจาง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ไดร ับเงินเดือ นประจําหรือ ถือ หุนเกินรอ ยละ 1 ขอ ง สวนที่ 1 หนา 155


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

จํานวนหุนที่มีส ิทธิอ อกเสียงทั้ง หมดของบริษัทอื่นซึ่ง ประกอบกิจการที่มีส ภาพอยางเดียวกัน และเปนการแขง ขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัทฯ หรือ บริษัทยอ ย 9.

ไมมีลักษณะอื่นใดที่ทําใหไมส ามารถใหความเห็นอยางเปนอิส ระเกี่ยวกับการดําเนินงานของ บริษัทฯ

ทั้ง นี้ เพื่อ สง เสริมหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี บริษัทฯ ไดเปดโอกาสใหผูถือ หุนสวนนอ ยส ามาร ถ เสนอชื่อ บุคคลเพื่อ เขารับการเลือ กตั้ง เปนกรรมการในการประชุมสามัญผูถือ หุนประจําปไดตั้ง แตป 2554 เปน ตนมา สําหรับการประชุมสามัญผูถือ หุนประจําป 2556 ผูถือ หุนสวนนอ ยซึ่ง ถือ หุนรวมกันไมนอ ยกวารอ ยละ 3 ของจํานวนหุนที่อ อกจําหนายแลวทั้ง หมดของบริษัทฯ ซึ่ง ถือ หุนตอ เนื่อ งมาแลวไมนอ ยกวา 6 เดือ น สามาร ถ เสนอชื่อ บุคคลเพื่อ เขารับการเลือ กตั้ง เปนกรรมการไดในชวงระหวางวันที่ 28 ธันวาคม 2555 ถึ ง วั น ที่ 31 มีนาคม 2556 (ซึ่ง เปนระยะเวลาเกินกวา 3 เดือ นลวงหนากอ นสิ้นรอบปบัญชี) อยางไรก็ดี ไมมีผูถือ หุนรายใด เสนอชื่อ บุคคลเพื่อ เขารับการเลือ กตั้ง เปนกรรมการเปนการลวงหนาสําหรับการประชุมสามัญผูถือ หุนประจําป 2556 แตอ ยางใด นอกจากนี้ บริษัทฯ ยัง ไดส ง เสริมและสนับสนุนใหกรรมการเขาฝกอบรมตางๆ ที่จัดขึ้นโดยสมาคม สง เสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (Thai Institute of Directors Association) ทั้ ง ในหลั ก สู ต ร Director Certification Program (DCP), หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP), หลั ก สู ต ร Role of the Compensation Committee (RCC), หลั ก สู ต ร Audit Committee Program (ACP), หลั ก สู ต ร AntiCorruption Training Program, หลั ก สู ต ร Role of the Nomination and Governance Committee (RNG) และการฝกอบรมที่จัดขึ้นโดยสถาบันวิทยาการตลาดทุน ในหลักสูตรผูบริหารระดับสูง และบริษัทฯ ไดจัดให มี การปฐมนิเทศเพื่อ ใหกรรมการที่เขารับตําแหนง ในคณะกรรมการไดร ับ ทร าบนโยบายธุ ร กิ จ ขอ ง บริ ษั ท ฯ ตลอดจนขอบเขตอํานาจหนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ และคณะ กร ร มการ ชุ ด ย อ ยต า ง ๆ รวมทั้ง ขอ มูลที่เกี่ยวขอ ง เชน รายงานประจําป นโยบายการ กํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การ (Corporate Governance Policy) และคูมือ จริยธรรม (Code of Conduct) นอกจากนี้ บริษัทฯ ยัง ไดจัดใหมีคูมือ สําหรับกร ร มการ ซึ่ ง รวบรวมขอ มูลที่เปนประโยชนส ําหรับการเปนกรรมการบริษัทจดทะเบียน เชน พระราชบัญญัติบริษัทมหาชน จํากัด พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 ขอ เตือ นใจในการ ปฏิบัติหนาที่ของกรรมการในการกํากับดูแลกิจการ (Director Fiduciary Duty Check List) หลัก การ กํ า กั บ ดูแลกิจการที่ดีส ําหรับบริษัทจดทะเบียน คูมือ กรรมการบริษัทจดทะเบียน ขอ แนะนําการใหส ารสนเทศสําหรับ ผูบริหารบริษัทจดทะเบียน กฎระเบียบขอ บัง คับเกี่ยวกับการไดมาหรือ จําหนายไปซึ่ง สินทรัพยและรายการ ที่ เกี่ยวโยงกัน เปนตน 8.1.2 ลําดับ 1. 2. 3.

คณะกรรมการตรวจสอบ ณ วัน ที่ 31 มีนาคม 2556 มีจํานวน 3 ทาน ดัง นี้ รายชื่อ พลโทพิศาล เทพสิทธา นายสุจินต หวั่งหลี นายเจริญ วรรธนะสิน

ตําแหนง ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ

โดยมีนายพิภ พ อินทรทัต ผูอํานวยการสํานักตรวจสอบภายใน ทําหนาที่เปนเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ หมายเหตุ: พลโทพิศาล เทพสิท ธา เปนกรรมการตรวจสอบที่มีความรูและประสบการณในการสอบทานงบการเงินของบริษัท ฯ

สวนที่ 1 หนา 156


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

หนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ 1.

สอบทานใหบริษัทฯ มีการรายงานทางการเงินถูกตอ งตามที่ควร ตามหลักการบัญชีที่ร ับรอง โดยทั่วไป และมีการเปดเผยอยางเพียงพอ

2.

สอบทานใหบริษัทฯ มีร ะบบการควบคุมภายใน (Internal Control) และระบบการตร วจส อ บ ภายใน (Internal Audit) และนโยบายการประเมินความเสี่ยงที่เหมาะสม มีประสิทธิผ ล และ พิจารณาความเปนอิส ระของสํานักตรวจสอบภายใน ตลอ ดจนให ค วามเห็ น ชอ บในการ พิจารณาแตง ตั้ง โยกยาย เลิกจางหัวหนาสํานักตรวจสอบภายใน หรื อ หน ว ยง านอื่ น ใดที่ รับผิดชอบเกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน

3.

สอบทานใหบริษัทฯ ปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ข อ กํ า หนด ของตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทย และกฎหมายที่เกี่ยวขอ งกับธุร กิจของบริษัทฯ

4.

พิจารณา คัดเลือ ก เสนอแตง ตั้ง บุคคลซึ่ง มีความเปนอิส ระเพื่อ ทําหนาที่เปนผูส อบบั ญ ชี ข อ ง บริษัทฯ และเสนอคาตอบแทนของบุคคลดัง กลาว รวมทั้ ง เข า ร ว มปร ะ ชุ ม กั บ ผู ส อ บบั ญ ชี โดยไมมีฝายจัดการเขารวมประชุมดวยอยางนอ ยปละ 1 ครั้ง

5.

พิจารณารายการที่เกี่ยวโยงกันหรือ รายการที่อ าจมีความขัดแยง ทางผลประโยชน ใหเปนไป ตามกฎหมายและขอ กําหนดของตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทย ทั้ ง นี้ เพื่ อ ให มั่ น ใจว า รายการดัง กลาว สมเหตุส มผลและเปนประโยชนส ูง สุดตอ บริษัทฯ

6.

จัดทํารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยเปดเผยไวในรายงานประจําปของบริษทั ฯ ซึง่ รายงานดัง กลาวตอ งลงนามโดยประธานกรรมการตรวจสอบ และตอ งประกอ บด ว ยข อ มู ล อยางนอ ยดัง ตอ ไปนี้ (1) ความเห็นเกี่ยวกับความถูกตอ ง ครบถวน เชื่อ ถือ ไดขอ ง ร ายง านทาง การ เงิ น ขอ ง บริษัทฯ (2) ความเห็นเกี่ยวกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริษัทฯ (3) ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลั ก ทรั พ ย แ ละ ตลาดหลั ก ทรั พ ย ขอ กําหนดของตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทย หรือ กฎหมายที่เกี่ยวขอ งกับธุร กิจของ บริษัทฯ (4) ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผูส อบบัญชี (5) ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อ าจมีความขัดแยง ทางผลประโยชน (6) จํานวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการเขารวมปร ะ ชุ ม ขอ ง กร ร มการ ตรวจสอบแตละทาน

สวนที่ 1 หนา 157


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

(7) ความเห็นหรือ ขอ สัง เกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบไดร ับจากการปฏิบัติหน า ที่ ตามกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ (8) รายการอื่นที่เห็นวาผูถือ หุนและผูลงทุนทั่วไปควรทราบ ภ ายใต ข อ บเขตหน า ที่ แ ละ ความรับผิดชอบที่ไดร ับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท 7.

สอบทานและใหความเห็นตอ แผนการตรวจส อ บภ ายใน และ การ ปฏิ บั ติ ง านขอ ง สํ า นั ก ตรวจสอบภายใน ในการปฏิบัติง านตามขอบเขตอํานาจหนาที่ ใหคณะกรรมการตรวจสอบมี อํานาจเชิญใหฝายจัดการ ผูบริหารหรือ พนักงานของบริษัทฯ ที่เกี่ยวขอ งมาใหความเห็น รวม ประชุม หรือ สง เอกสารตามที่เห็นวาเกี่ยวขอ งจําเปน

8.

ในการปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ หากพบหรือ มีขอ สงสัยวา มีร ายการหรือการ กระทําดัง ตอ ไปนี้ ซึ่ง อาจมีผลกระทบอยางมีนัยสําคัญตอ ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน ของบริษัทฯ ใหคณะกรรมการตรวจสอบรายงานตอ คณะกรรมการบริษัท เพื่ อ ดํ า เนิ น การ ปรับปรุง แกไขภายในเวลาที่คณะกรรมการตรวจสอบเห็นสมควร (1) รายการที่อ าจมีความขัดแยง ทางผลประโยชน (2) การทุจริตหรือ มีส ิ่ง ผิดปกติหรือ มีความบกพรอ งที่ส ําคัญในระบบควบคุมภายใน (3) การฝาฝนกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลั ก ทรั พ ย ข อ กํ า หนดขอ ง ตลาด หลักทรัพยแหง ประเทศไทย หรือ กฎหมายที่เกี่ยวขอ งกับธุร กิจของบริษัทฯ หากคณะกรรมการของบริษัทฯ หรือ ผูบริหารไมดําเนินการใหมีการปรับปรุง แกไขภายในเวลา ที่คณะกรรมการตรวจสอบเห็นสมควร กรรมการตรวจสอบทานใดทานหนึ่ง อาจรายงานวา มี รายการหรือ การกระทํานั้นตอ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย (ก.ล.ต.) หรือ ตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทย

9.

พิจารณาทบทวนและปรับปรุง กฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ และนําเสนอตอ คณะกรรมการ บริษัทเพื่อ พิจารณาอนุมัติ

10.

ปฏิบัติการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมายดวยความเห็นชอบจากคณะกรรมการ ตรวจสอบ

คุณสมบัติของกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบของบริษัทฯ ตอ งเปนกรรมการอิส ระซึ่ง มีคุณสมบัติเปนไปตามนิยามกรรมการ อิส ระของบริษัทฯ โดยคณะกรรมการตรวจสอบประกอบดวยกรรมการอิส ระทั้ง หมดและมีจํานวนไมนอ ยกวา 3 ทาน ทั้ง นี้ กรรมการตรวจสอบของบริษัทฯ ตอ งมีคุณสมบัติเพิ่มเติ ม ในฐานะ กร ร มการ ตร วจส อ บจาก คุณสมบัติทั่วไปของกรรมการอิส ระ ดัง ตอ ไปนี้

สวนที่ 1 หนา 158


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

1.

ไดร ับการแตง ตั้ง จากคณะกรรมการบริษัทใหเปนกรรมการตรวจสอบ

2.

ไมเปนกรรมการที่ไดร ับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทใหตัดสินใจในการดําเนินกิจการ ของบริษัทฯ บริษัทใหญ บริษัทยอ ย บริษัทรวม บริษัทยอ ยลําดับเดียวกัน ผูถือ หุน ร ายใหญ หรือ ผูมีอ ํานาจควบคุมของบริษัทฯ และไมเปนกรรมการของบริษัทใหญ บริ ษั ท ย อ ย หรื อ บริษัทยอ ยลําดับเดียวกันเฉพาะที่เปนบริษัทจดทะเบียน

3.

มีความรูและประสบการณเพียงพอที่จะสามารถทําหนาที่ในฐานะกรรมการตรวจส อ บ ทั้ ง นี้ ตอ งมีกรรมการตรวจสอบอยางนอ ย 1 คนที่มีความรูและประสบการณเพียงพอที่จะสามารถ ทําหนาที่ในการสอบทานความนาเชื่อ ถือ ของงบการเงินได

4.

มีคุณสมบัติอ ื่นๆ ครบถวนและเหมาะสมตามกฎหมาย และขอ กําหนดของหนวยงานทางการ

8.1.3 คณะกรรมการสรรหาและกํ า หนดค า ตอบแทน ณ วั น ที่ 31 มี น าคม 2556 มี ส มาชิ ก คณะกรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทนจํานวน 5 ทาน ดัง นี้ ลําดับ 1. 2. 3. 4. 5.

รายชื่อ พลโทพิศาล เทพสิทธา นายสุจินต หวั่งหลี นายเจริญ วรรธนะสิน นายรังสิน กฤตลักษณ นายคง ชิ เคือง (Mr. Kong Chi Keung)

ตําแหนง ประธานกรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน กรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน กรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน กรรมการสรรหาและกํ าหนดค าตอบแทน กรรมการสรรหาและกํ าหนดค าตอบแทน

โดยมีนางสาวชญาดา ยศยิ่งธรรมกุล เลขานุการบริษัท และผูอํานวยการฝายกฎหมาย ทําหนาที่เปนเล ขานุ ก ารคณะกรรมการ สรรหาและกําหนดคาตอบแทน

หนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน 1.

พิจารณาและใหความเห็นในเรื่อ งโครงสร า ง คณะ กร ร มการ บริ ษั ท อั น ได แ ก ขนาดและ องคประกอบของคณะกรรมการบริษัทที่ควรจะเปนเมื่อ พิจารณาตามขนาดและ กลยุ ท ธ ท าง ธุร กิจของบริษัทฯ เปรียบเทียบกับขนาดและองคประกอบของคณะกรรมการบริษัทในปจจุ บั น รวมทั้ง พิจารณาความเปนอิส ระของกรรมการอิส ระแตละคน เพื่อ ปรับเปลี่ ย นอ ง ค ป ร ะ กอ บ คณะกรรมการบริษัทใหส อดคลอ งกับยุทธศาสตรของบริษัทฯ

2.

กําหนดวิธีการสรรหาบุคคลเพื่อ ดํารงตําแหนง กรรมการ โดยพิจารณาจาก -

คุณสมบัติของกรรมการที่เหมาะสมกับยุทธศาส ตร ข อ ง บริ ษั ท ฯ และ เป น ไปตาม โครงสรางขนาด และองคประกอบของคณะกรรมการบริษัทตามที่ ค ณะ กร ร มการ บริษัทกําหนดไว

-

ความเหมาะสมของความรู ประสบการณ ความเชี่ยวชาญ การอุทิศเวลาของกรรมการ รวมถึง คุณสมบัติตามกฎหมายหรือ ขอ กําหนดของหนวยงานทางการ

สวนที่ 1 หนา 159


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

3.

แบบ 56-1 ป 2555/56

สรรหาผูมาดํารงตําแหนง กรรมการที่มีคุณสมบัติส อดคลอ งกับเกณฑคุณสมบัติที่กําหนดไว -

ในกรณีที่กรรมการตอ งออกจากตําแหนง ตามวาระ เพื่อ ใหคณะกรร มการ บริ ษั ท ให ความเห็นชอบและนําเสนอตอ ที่ประชุมผูถือ หุนเพื่อ พิจารณาอนุมัติแตง ตั้ง

-

ในกรณีที่มีกรรมการพนจากตําแหนง โดยเหตุอ ื่นใด (นอกจากการออกจากตํ า แหน ง ตามวาระ) เพื่อ ใหคณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติแ ต ง ตั้ ง กร ร มการ ใหม แ ทน ตําแหนง กรรมการที่วางลง

-

ในกรณีที่ตอ งแต ง ตั้ ง กร ร มการ ใหม เ พิ่ ม เติ ม เพื่ อ ให ส อ ดคล อ ง กั บ โคร ง ส ร า ง คณะกรรมการบริษัท เพื่อ ใหคณะกรรมการบริษัทใหความเห็นชอบและ นํ า เส นอ ต อ ที่ประชุมผูถือ หุนเพื่อ พิจารณาอนุมัติแตง ตั้ง

4.

พิจารณาโครงสราง จํานวน รูปแบบ และหลักเกณฑการจายคาตอบแทนทุกประเภท ทั้ง ที่เป น ตัวเงินและมิใชตัวเงินที่เหมาะสม ใหแก ประธานกรรมการ กรรมการบริษั ท และ ส มาชิ ก ใน คณะกรรมการชุดยอ ย โดยทบทวนความเหมาะสมของหลักเกณฑที่ใชอ ยูในปจจุบัน พิจารณา เปรียบเทียบกับขอ มูลการจายคาตอบแทนของบริษัทอื่นที่อ ยู ใ นอุ ต ส าหกร ร มเดี ย วกั น กั บ บริษัทฯ และบริษัทจดทะเบียนอื่นในตลาดหลักทรัพยที่มีมูลคาตลาด (Market Capitalization) ใกลเคียงกับบริษัทฯ เพื่อ จูง ใจและรักษาไวซึ่ง กรรมการ ที่ มี คุ ณ ปร ะ โยชน กั บ บริ ษั ท ฯ และ นําเสนอตอ คณะกรรมการบริษัทเพื่อ ใหความเห็นชอบและนําเสนอตอ ที่ประ ชุ ม ผู ถื อ หุ น เพื่ อ พิจารณาอนุมัติ

5.

พิจารณาเกณฑในการประเมินผลการปฏิบัติง านของประธานกรรมการบริหาร และนําเสนอผล การประเมินตามเกณฑนั้นๆ ใหคณะกรรมการบริษัทพิจารณาให ค วามเห็ น ชอ บ ตลอ ดจน นําเสนอจํานวนและรูปแบบการจายคาตอบแทนของประธานกรรมการบริหารที่ส อดคล อ ง กั บ ผลการประเมินการปฏิบัติง านเพื่อ ใหคณะกรรมการบริษัทพิจารณาอนุมัติตอ ไป

6.

พิจารณาความเหมาะสมและเงื่อ นไขตางๆ เกี่ยวกับการเสนอขายหุน ใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะ ซื้อ หุน หรือ หลักทรัพยอ ื่น ใหแกกรรมการและ พนั ก ง าน เพื่ อ ช ว ยจู ง ใจให ก ร ร มการ และ พนักงานปฏิบัติหนาที่เพื่อ ใหเกิดการสรางมูลคาเพิ่ ม ให แ ก ผู ถื อ หุ น ในร ะ ยะ ยาว และ เพื่ อ สามารถรักษาบุคลากรที่มีคุณภาพไดอ ยางแทจริง ภายใตเกณฑที่เปนธรรมตอ ผูถือ หุน

7.

รายงานผลการปฏิบัติหนาที่ตอ คณะกรรมการบริษัท และ/หรือ ที่ประชุมผูถือ หุน

8.

ปฏิบัติการอื่นใดในเรื่อ งที่เกี่ยวขอ งกับการสรรหาและกําหนดคาตอบแทนตามที่คณะกรรมการ บริษัทมอบหมาย และปฏิบัติการใดๆ ตามที่ กํ า หนดโดยกฎหมายหรื อ ข อ กํ า หนดขอ ง หนวยงานราชการ

สวนที่ 1 หนา 160


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

8.1.4 คณะกรรมการบรรษัทภิบาล ณ วันที่ 31 มีนาคม 2556 มีส มาชิกคณะ กร ร มการ บร ร ษั ท ภิ บ าล จํานวน 4 ทาน ดัง นี้ ลําดับ 1. 2. 3. 4.

รายชื่อ นายคีรี กาญจนพาสน นายอาณัต ิ อาภาภิรม นายเจริญ วรรธนะสิน นายรังสิน กฤตลักษณ

ตําแหนง ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการบรรษัทภิบ าล

โดยมีนางสาวชญาดา ยศยิ่งธรรมกุล เลขานุการบริษัท และผูอํานวยการฝายกฎหมาย ทําหนาที่เปนเล ขานุ ก ารคณะกรรมการ บรรษัท ภิบาล

หนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบรรษัทภิบาล 1. พิจารณา กําหนด ทบทวน และปรับปรุง นโยบาย คูมือ และแนวทาง ปฏิ บั ติ ใ นการ กํ า กั บ ดู แ ล กิจการที่ดี จริยธรรมในการดําเนินธุร กิจ และจริยธรรมของพนักงาน ในลักษณะที่ส อดคลอ งกับ แนวปฏิบัติส ากล เพื่อ เสนอตอ คณะกรรมการบริษัทเพื่อ พิจารณาอนุมัติ ตลอดจนกํากับดูแลใหมี การปฏิบัติตามนโยบาย คูมือ และแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการกํากับดูแลกิจการที่ดี จริยธรรมใน การดําเนินธุร กิจ และจริยธรรมของพนักงานดัง กลาว 2. พิจารณา กําหนด ทบทวน และปรับปรุ ง นโยบายความรั บ ผิ ด ชอ บต อ สั ง คม ชุ ม ชน และ สิ่ง แวดลอ ม (Corporate Social Responsibility : CSR) เพื่อ เสนอตอ คณะกรรมการบริษัทเพือ่ พิจารณาอนุมัติ ตลอดจนดูแลใหมีการปฏิบัติตามนโยบายความรับผิดชอบตอ สัง คม ชุมชน และ สิ่ง แวดลอ มดัง กลาว 3. พิจารณา กําหนด ทบทวน และปรับปรุง นโยบายและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการตอ ตา นทุ จ ริ ต และ การติดสินบน (Anti-Corruption) เพื่อ เสนอตอ คณะ กร ร มการ บริ ษั ท เพื่ อ พิ จ าร ณาอ นุ มั ติ ตลอดจนดูแลใหมีการปฏิบัติตามนโยบายและแนวปฏิบัติเกี่ยวกั บ การ ต อ ต า นทุ จ ริ ต และ การ ติดสินบนดัง กลาว 4. แตง ตั้ง คณะทํางาน เพื่อ ชวยเหลือ การปฏิบัติง านตางๆ ขอ ง คณะ กร ร มการ บร ร ษั ท ภิ บ าล ตลอดจนแตง ตั้ง ที่ปรึกษาอิส ระที่มีความรูและความเชี่ยวชาญ เพื่อ ใหคําปรึกษาและใหคําแนะนํา ตลอดจนชวยเหลือ การปฏิบัติง านของคณะกรรมการบรรษัทภิบาล 5. ปฏิบัติหนาที่หรือ ดําเนินการอื่นใดตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย

สวนที่ 1 หนา 161


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

8.1.5

แบบ 56-1 ป 2555/56

สรุปการเขาประชุมของคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรว จสอบ คณะกรรมการ สรรหาและกําหนดคาตอบแทน และคณะกรรมการบรรษัทภิบาล ในป 2555/56 (1 เมษายน 2555 – 31 มีนาคม 2556)

รายชื่อกรรมการ

1. นายคีรี กาญจนพาสน 2. นายพอล ทง 3. นายอาณัติ อาภาภิรม 4. นายสุรพงษ เลาหะอัญญา 5. นายกวิน กาญจนพาสน 6. นายรังสิน กฤตลักษณ

7. นายคง ชิ เคือง 8. นาย คิน ชาน* 9. พลโทพิศาล เทพสิท ธา

10. นายอมร จันทรสมบูรณ 11. นายสุจินต หวั่งหลี

12. นายเจริญ วรรธนะสิน

13. นายชอง ยิง ชิว เฮนรี่

ตําแหนง

ประธานกรรมการ ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการ กรรมการ กรรมการบรรษัท ภิบาล กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการสรรหาและกําหนด คาตอบแทน กรรมการบรรษัท ภิบาล กรรมการ กรรมการสรรหาและกําหนด คาตอบแทน กรรมการ กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการสรรหาและ กําหนดคาตอบแทน กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและกําหนด คาตอบแทน กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและกําหนด คาตอบแทน กรรมการบรรษัท ภิบาล กรรมการอิสระ

ประชุม ประชุม ประชุม ประชุม คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ คณะกรรมการ รวม 8 ครั้ง ตรวจสอบ สรรหาและ บรรษัทภิบาล รวม 7 ครั้ง กําหนด รวม 2 ครั้ง คาตอบแทน รวม 1 ครั้ง 8/8 2/2 3/8 8/8

-

-

2/2

7/8 7/8 8/8

-

1/1

2/2

8/8

-

1/1

-

2/5 8/8

7/7

1/1

-

8/8 6/8

6/7

1/1

-

8/8

7/7

1/1

2/2

8/8

-

-

-

หมายเหตุ: *นายคิน ชาน (Mr. Kin Chan) เปนกรรมการเดิมที่ไดลาออกจากตําแหนงมีผลเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2555

นอกจากนี้ ในป 2555/56 กรรมการที่ไมเปนผูบริหารยัง ไดประชุมกันเองโดยไมมีฝายบริหารเข า ร ว มปร ะ ชุ ม จํานวน 1 ครั้ง

สวนที่ 1 หนา 162


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

8.1.6

แบบ 56-1 ป 2555/56

คณะกรรมการบริหาร ณ วั นที่ 31 มีนาคม 2556 มีจํานวน 6 ทาน ดัง นี้

ลําดับ 1. 2. 3. 4. 5. 6.

รายชื่อ นายคีรี กาญจนพาสน นายอาณัต ิ อาภาภิรม นายสุรพงษ เลาหะอัญญา นายกวิน กาญจนพาสน นายรังสิน กฤตลักษณ นายคง ชิ เคือง (Mr. Kong Chi Keung)

ตําแหนง ประธานกรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหารและผูอํานวยการใหญสายปฏิบัต ิการ กรรมการบริหาร

โดยมีนางสาวชญาดา ยศยิ่ ง ธรรมกุ ล เ ล ขานุ ก ารบริ ษั ท แ ล ะผู อํ า นวยการฝ า ยกฎ ห มาย ทํ า ห น า ที่ เ ป น เ ล ขานุ ก าร คณะกรรมการบริห าร

อํานาจหนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริหาร

8.1.7 ลําดับ 1. 2. 3. 4. 5. 6.

1.

กําหนดนโยบาย ทิศทาง กลยุทธ และโครงสรางการบริหารงาน ในการ ดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ขอ ง บริษัทฯ ใหส อดคลอ งและเหมาะสมตอ สภ าวะ เศร ษฐกิ จ และ การ แข ง ขั น เพื่ อ เส นอ ให คณะกรรมการบริษัทเห็นชอบ

2.

กําหนดแผนธุร กิจ งบประมาณ และอํานาจการบริห าร ต า ง ๆ ขอ ง บริ ษั ท ฯ เพื่ อ เส นอ ให คณะกรรมการบริษัทเห็นชอบ

3.

ตรวจสอบและติดตามผลการดําเนินงานของบริษัทฯ ใหเปนไปตามนโยบายและแผนธุ ร กิ จ ที่ ไดร ับอนุมัติไว และใหเปนไปอยางมีประสิทธิภ าพและประสิทธิผล

4.

พิจารณาอนุมัติการดําเนินการโครงการตาง ๆ ของบริษัทฯ และรายงานตอ คณะกรร มการ บริษัทถึง ความคืบหนาของโครงการ

5.

บริหารความเสี่ยงในภาพรวมทั้ง องคกร ประเมินความเสี่ยง และวางรูปแบบโครงสรา ง การ บริหารความเสี่ยงขององคกร ติดตามและควบคุมความเสี่ยงหลักและปจจัยตางๆ ที่ อ าจจะ สง ผลกระทบอยางมีนัยสําคัญตอ บริษัทฯ และรายงานตอ คณะกรรมการบริษัท

6.

ดําเนินการอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการบริษัทมอบหมาย

ผูบริหาร ที่ไมใชกรรมการบริษัท ณ วันที่ 31 มีนาคม 2556 มีจํานวน 6 ทาน ดัง นี้ รายชื่อ

ตําแหนง

นายสุรยุทธ ทวีกุลวัฒน นางดวงกมล ชัยชนะขจร นางพัชนีย า พุฒมี นายดาเนียล รอสส (Mr. Daniel Ross) นางสาวชวดี รุงเรือง นางสาวชญาดา ยศยิ่งธรรมกุล

ผูอํานวยการใหญสายการเงิน ผูอํานวยการฝายบัญชี ผูอํานวยการฝายสื่อสารองคกร ผูอํานวยการฝายการเงิน ผูอํานวยการฝายการเงิน ผูอํานวยการฝายกฎหมาย/เลขานุการบริษัท

สวนที่ 1 หนา 163


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

หนาที่และความรับผิดชอบของคณะผูบริหาร

8.1.8

1.

ดําเนินการตามนโยบาย ทิศทาง กลยุทธ และโครงสรางการบริหารงานในการดําเนินธุร กิจ ของบริษัทฯ ที่กําหนดใหมีประสิทธิภ าพและประสิทธิผล

2.

ดําเนินการจัดทําแผนธุร กิจ งบประมาณ และอํานาจการบริหารตาง ๆ ของ บริ ษั ท ฯ เพื่ อ เสนอใหคณะกรรมการบริหารเห็นชอบ

3.

บริหารงานบริษัทฯ ตามแผนงานหรือ งบประมาณที่ไดร ับอนุมัติจากคณะกรรมการบริ ห าร อยางซื่อ สัตย สุจริต และระมัดระวัง รักษาผลประโยชนของบริษัทฯ และผูถือ หุนอยางดีทสี่ ดุ

4.

ติดตามผลการดําเนินงานของบริษัทฯ ใหเปนไปตามนโยบายแผนงาน และงบปร ะ มาณที่ ไดร ับอนุมัติ

5.

รายงานผลการดําเนินงานของบริษัทฯ ตอ ที่ประชุมคณะกรรมการบริหารเปนประจํา

6.

ดําเนินการอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการบริหารมอบหมาย

7.

กํากับการบริหารงานทั่วไปตามที่กําหนดไวในระเบียบขอ บัง คับของบริษัทฯ

รายงานการถือหลักทรัพยของกรรมการและผูบริหาร

บริษัทฯ มีนโยบายใหกรรมการและผูบริหารของบริษัทฯ รายงานการเปลี่ ย นแปลง การ ถื อ คร อ ง หลักทรัพยของบริษัทฯ ตอ ที่ประชุมคณะกรรมการเปนรายไตรมาส โดยใหนําสง สํ า เนาแบบร ายง านการ เปลี่ยนแปลงการถือ หลักทรัพย (แบบ 59-2) ใหแกส ํานักเลขานุการบริษัทเพื่อ รวบรวม ทําสรุป และ นํ า เส นอ ตอ ที่ประชุมคณะกรรมการเปนรายไตรมาส รายงานการเปลี่ยนแปลงการถือ ครองหลักทรัพยของกรรมการและผูบริหารในชวงระหวางวันที่ 31 มีนาคม 2555 – 9 เมษายน 2556 ซึ่ง แสดงโดยรวมหลักทรัพยของคูส มรสและบุตรที่ยัง ไมบรรลุนติ ภิ าวะ เปนดังนี้ ลําดับ

รายชื่อ

จํานวนหุ น (BTS) 31 มี.ค. 2555 31 มี.ค. 2555 9 เม.ย. 2556 ปรับปรุงใหม

(พาร 0.64 บาท)

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11.

นายคีรี กาญจนพาสน นายพอล ทง (Mr. Paul Tong) นายอาณัต ิ อาภาภิรม นายสุรพงษ เลาหะอั ญญา นายกวิน กาญจนพาสน นายรังสิน กฤตลักษณ นายคง ชิ เคือง (Mr. Kong Chi Keung) พลโทพิศาล เทพสิทธา นายอมร จันทรสมบูรณ นายสุจินต หวั่งหลี นายเจริญ วรรธนะสิน

25,779,117,139 189,674,297 34,703,916 10,961,009 20,000,000 500,000 25,500,014 1,728,571

สวนที่ 1 หนา 164

จํานวนหุ น เพิ่ม (ลด)

(พาร 4.00 บาท)

4,124,658,742 4,262,634,128 30,347,888 30,347,888 5,552,627 5,552,627 1,753,761 2,459,295 3,200,000 3,200,000 80,000 80,000 4,080,003 5,157,166 276,571 276,571

137,975,386 0 0 705,534 0 0 1,077,163 0


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน) 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18.

นาย ชอง ยิง ชิว เฮนรี่ (Mr. Cheong Ying Chew, Henry) นายสุรยุทธ ทวีกุลวัฒน นางดวงกมล ชัย ชนะขจร นางพัชนีย า พุฒมี นายดาเนียล รอสส (Mr. Daniel Ross) นางสาวชวดี รุ งเรือง นางสาวชญาดา ยศยิ่งธรรมกุล

แบบ 56-1 ป 2555/56 -

-

-

-

106,250 1,276,300 200,000 -

17,000 204,208 32,000 -

17,000 166,000 32,000 -

0 (38,208) 0 -

หมายเหตุ : (1) บริษัท ฯ ไดรวมหุนและเปลี่ยนแปลงมูลคาหุนที่ตราไวจากเดิม 0.64 บาทตอหุน เปน 4.00 บาท ต อ หุ น โดยมี ผ ล ตั้ ง แ ต วั น ที่ 7 สิงหาคม 2555 (2) ณ วันปดสมุดทะเบียนหุน เมื่อวันที่ 19 มิถุนายน 2556 นายคีรี กาญจนพาสน ถือหุนจํานวน 4,561,609,028 หุ น นางพั ช นี ย า พุฒ มี ถือหุนจํานวน 206,200 หุน และนางสาวชญาดา ยศยิ่งธรรมกุล ถือหุนจํานวน 70,000 หุน

จํานวนใบสําคัญแสดงสิทธิ BTS-W2 ลําดับ

รายชื่อ

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11.

นายคีรี กาญจนพาสน นายพอล ทง (Mr. Paul Tong) นายอาณัต ิ อาภาภิรม นายสุรพงษ เลาหะอั ญญา นายกวิน กาญจนพาสน นายรังสิน กฤตลักษณ นายคง ชิ เคือง (Mr. Kong Chi Keung) พลโทพิศาล เทพสิทธา นายอมร จันทรสมบูรณ นายสุจินต หวั่งหลี นายเจริญ วรรธนะสิน นาย ชอง ยิง ชิว เฮนรี่ (Mr. Cheong Ying Chew, Henry) นายสุรยุทธ ทวีกุลวัฒน นางดวงกมล ชัย ชนะขจร นางพัชนีย า พุฒมี นายดาเนียล รอสส (Mr. Daniel Ross) นางสาวชวดี รุ งเรือง นางสาวชญาดา ยศยิ่ งธรรมกุล

12. 13. 14. 15. 16. 17. 18.

31 มี. ค. 2555

จํานวนใบสําคัญ แสดงสิทธิเพิ่ม (ลด)

9 เม.ย. 2556

-

2,401,260,792 2,678,834 4,409,588 2,625,130 157,142

2,678,834 142,857 157,142

(2,401,260,792) 0 (4,409,588) (2,482,273) 0

-

-

-

-

300,000 -

300,000 -

หมายเหตุ : (1) เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2556 นางพัชนียา พุฒ มี ไดจําหนายใบสําคัญแสดงสิท ธิ BTS-W2 จํานวน 300,000 ห น ว ย แ ล ะเ มื่ อ วันที่ 7 มิถุนายน 2556 นายคีรี กาญจนพาสน ไดซื้อใบสําคัญแสดงสิท ธิ BTS-W2 จํานวน 3,461,400 หนวย (2) สําหรับสวนของผูบริห าร ยังมีการถือใบสําคัญแสดงสิท ธิ BTS-WA และ BTS-WB ที่ออกใหแกพนักงานของบริ ษั ท ฯ แ ล ะ บริษัท ยอย โดยการถือใบสําคัญแสดงสิท ธิ BTS-WA และ BTS-WB ของผูบริห าร ไ ด แ ส ดงข อ มู ล ไ ว ใ นหั ว ข อ 8.2.2.2 คาตอบแทนที่ไมเปนตัวเงิน

สวนที่ 1 หนา 165


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

8.1.9 เลขานุการบริษัท นางสาวชญาดา ยศยิ่ง ธรรมกุล ผูอ ํานวยการ ฝ า ยกฎหมาย ดํ า ร ง ตํ า แหน ง เลขานุการบริษัท มีหนาที่ในการดูแลใหบริษัทฯ ปฏิบัติตามกฎหมายและขอ กําหนดที่ เ กี่ ย วข อ ง กั บ บริ ษั ท ฯ และใหเปนไปตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีของบริษัทฯ ดัง ตอ ไปนี้ 1.

จัดการประชุมคณะกรรมการบริษัท และการประชุมผูถือ หุนใหเปนไปตามกฎหมาย และ ขอ กําหนดที่เกี่ยวขอ งกับบริษัทฯ รวมทั้ง ติดตามใหมีการปฏิบัติตามมติที่ประชุม

2.

จัดทําและเก็บรักษาทะเบียนกรรมการ หนัง สือ เชิญประชุมคณะกรรมการ ร ายง านการ ประชุมคณะกรรมการ หนัง สือ เชิญประชุมผูถือ หุน และรายงานการประชุมผูถือ หุน

3.

ดูแลใหมีการเปดเผยขอ มูลสารสนเทศตางๆ ใหเปนไปตามขอ กําหนดของตลาดหลักทรัพย แหง ประเทศไทย สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย นโยบาย การกํากับดูแลกิจการที่ดี และหนวยงานกํากับดูแลอื่นที่เกี่ยวขอ ง

4.

เก็บรักษารายงานการมีส วนไดเสียที่ร ายงานโดยกรรมการหรือ ผูบริหาร และจัดสง สําเนา รายงานการมีส วนไดเสียใหประธานกรรมการและประธานกรรมการตรวจสอบ

5.

เก็บรักษาสําเนารายงานการเปลี่ยนแปลงการถือ หลักทรัพยของกรรมการหรือ ผูบริหาร

6.

ใหคําแนะนําแกกรรมการเกี่ยวกับขอ กฎหมายและระเบียบขอ บัง คับตางๆ ที่เกี่ยวกั บ การ กํากับดูแลกิจการที่ดี การดํารงสถานะเปนบริษั ท จดทะ เบี ย นในตลาดหลั ก ทรั พ ย แ ห ง ประเทศไทย และขอ กฎหมายและระเบียบขอ บัง คับตางๆ ที่เกี่ยวกับการดําเนินธุร กิ จ ขอ ง บริษัทฯ

7.

ดําเนินการอื่น ๆ ตามที่คณะกรรมการกํ า กั บ ตลาดทุ น ปร ะ กาศกํ า หนด หรื อ ที่ ไ ด ร ั บ มอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท

ทั้ง นี้ เลขานุการบริษัทไดผานการอบร มหลั ก สู ต ร Corporate Secretary Development Program ป 2551 ซึ่ง จัดขึ้นโดยสมาคมบริษัทจดทะเบี ย นไทย (Thai Listed Companies Association) และ เข า ร ว ม ฝกอบรมและสัมมนาตางๆ ที่จัดขึ้นโดยตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทยและสํานักงานคณะกรรมการ กํ า กั บ หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยอ ยางสม่ําเสมอและตอ เนื่อ ง และเพื่อ ใหเลขานุการบริษัทส ามาร ถเข า ใจถึ ง บทบาทหนาที่ของกรรมการบริษัทและสนับสนุนการปฏิบัติหนาที่ของคณะกรร มการ บริ ษั ท ได อ ย า ง เต็ ม ที่ เลขานุการบริษัทจึง ไดเขารวมการฝกอบรมในหลักสูตร Director Certification Program (DCP) ที่จัดขึ้นโดย สมาคมสง เสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (Thai Institute of Directors Association) ในป 2554

สวนที่ 1 หนา 166


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

8.2

คาตอบแทนกรรมการและผูบริหาร

8.2.1

คาตอบแทนกรรมการ

แบบ 56-1 ป 2555/56

8.2.1.1 คาตอบแทนที่เปนตัวเงิน คณะกรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทนไดกําหนดคาตอบแทนของกรรมการปร ะ จํ า ป 2555 จากขนาดธุร กิจ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ โดยไดเปรียบเทียบกับบริษัทจดทะ เบี ย นในตลาด หลักทรัพยแหง ประเทศไทยที่มีมูลคาตลาด (Market Capitalization) ในขนาดที่ ใ กล เ คี ย ง กั บ บริ ษั ท ฯ โดย คาตอบแทนของกรรมการประจําป 2555 ไดร ับการอนุมัติโดยที่ประชุมสามัญผูถือ หุนประจําป 2555 เมื่อ วันที่ 26 กรกฎาคม 2555 ทั้ง นี้ สามารถแสดงเปรียบเทียบคาตอบแทนกรรมการปร ะ จํ า ป 2555 ป 2554 และ ป 2553 ไดดัง นี้ (1)

คาตอบแทนประจํา

คาตอบแทนรายเดือน ประธานกรรมการ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการ เบี้ยประชุม คณะกรรมการ คณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการชุ ดยอ ยอื่นๆ

(2)

ประจําป 2555 60,000 บาท / เดือน 50,000 บาท / เดือน 30,000 บาท / คน / เดือน ประจําป 2555 ไมมี ประธานกรรมการ ตรวจสอบ 20,000 บาท / ครั้ง กรรมการตรวจสอบ 20,000 บาท / คน / ครั้ง ไมมี

ประจําป 2554 60,000 บาท / เดือน 50,000 บาท / เดือน 30,000 บาท / คน / เดือน ประจําป 2554 ไมมี ประธานกรรมการ ตรวจสอบ 20,000 บาท / ครั้ง กรรมการตรวจสอบ 20,000 บาท / คน / ครั้ง ไมมี

ประจําป 2553 60,000 บาท / เดือน 50,000 บาท / เดือน 30,000 บาท / คน / เดือน ประจําป 2553 ไมมี ประธานกรรมการ ตรวจสอบ 20,000 บาท / ครั้ง กรรมการตรวจสอบ 20,000 บาท / คน / ครั้ง ไมมี

โบนัสกรรมการ

เพื่อ ใหส ะทอ นและเชื่อ มโยงกับผลการปฏิบัติง านของคณะกรรมการ ที่ประชุมสามัญผูถือ หุนประจําป 2555 เมื่อ วันที่ 26 กรกฎาคม 2555 ไดมีมติอ นุมัติใหจายโบนัส กรรมการในอัตรารอ ยละ 0.5 ของ เงิ น ป น ผล สําหรับรอบระยะเวลาบัญชีส ิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2555 โดยใหคณะกรรมการ นํ า มาจั ด ส ร ร กั น เอ ง ทั้ ง นี้ สามารถแสดงเปรียบเทียบโบนัส กรรมการประจําป 2555 ป 2554 และป 2553 ไดดัง นี้ ประจําป 2555 รอยละ 0.5 ของเงินปนผล สําหรับรอบ ระยะเวลาบัญ ชีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2555 (13.7 ลานบาท)

ประจําป 2554 รอยละ 0.5 ของเงินปนผล สําหรับรอบ ระยะเวลาบัญ ชีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2554 (10.1 ลานบาท)

สวนที่ 1 หนา 167

ประจําป 2553 ไมมี


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

รายละเอียดคาตอบแทนที่กรรมการไดร ับเปนรายบุคคลในป 2555/56 (วันที่ 1 เมษายน 2555 ถึ ง 31 มีนาคม 2556) เปนดัง นี้ รายชื่อ

จํานวนวั น

1. นายคีรี กาญจนพาสน 2. นายพอล ทง (Mr. Paul Tong) 3. นายอาณัต ิ อาภาภิรม 4. นายสุรพงษ เลาหะอัญ ญา 5. นายกวิน กาญจนพาสน 6. นายรังสิน กฤตลักษณ 7. นายคง ชิ เคื อง (Mr. Kong Chi Keung) 8. นาย คิน ชาน (Mr. Kin Chan) 9. พลโทพิศาล เทพสิทธา 10. นายอมร จันทรสมบูรณ 11. นายสุจินต หวั่งหลี 12. นายเจริญ วรรธนะสิน 13. นายชอง ยิง ชิว เฮนรี่ (Mr. Cheong Ying Chew,Henry) รวม

365 365 365 365 365 365 365

คาตอบแทน รายเดือน 720,000 360,000 360,000 360,000 360,000 360,000 360,000

197 365 365 365 365 365

เบี้ยประชุม โบนัสกรรมการ

รวม

-

1,962,541.89 981,270.93 981,270.93 981,270.93 981,270.93 981,270.93 981,270.93

2,682,541.89 1,341,270.93 1,341,270.93 1,341,270.93 1,341,270.93 1,341,270.93 1,341,270.93

180,000 600,000 360,000 360,000 360,000 360,000

140,000 120,000 140,000 -

981,270.93 981,270.93 981,270.93 981,270.93 981,270.93 981,270.93

1,161,270.93 1,721,270.93 1,341,270.93 1,461,270.93 1,481,270.93 1,341,270.93

5,100,000

400,000

13,737,793.05 19,237,793.05

สรุปเปรียบเทียบคาตอบแทนกรรมการป 2555/56 ป 2554/55 และ ป 2553/54 ป 2555/56 (1 เมษายน 2555 – 31 มีนาคม 2556) ป 2554/55 (1 เมษายน 2554 – 31 มีนาคม 2555) ป 2553/54 (1 เมษายน 2553 – 31 มีนาคม 2554)

จํานวนราย 13* 13 21**

คาตอบแทน 19.2 ลานบาท 15.7 ลานบาท 5.0 ลานบาท

หมายเหตุ: * นายคิน ชาน (Mr. Kin Chan) ไดลาออกจากตําแหนงกรรมการมีผลเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2555 ** ในป 2553/54 กรรมการชุดเดิมจํานวน 13 ทาน ไดลาออกมีผลเมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2553 แล ะที่ ป ระชุ ม ส ามั ญ ผู ถื อ หุ น ประจําป 2553 เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2553 ไดเลือกตั้งกรรมการชุดใหมจํานวน 15 ทาน โดยมีกรรมการเ ดิ ม จํ า นวน 7 ท า น ไดรับเลือกตั้งเปนคณะกรรมการชุดใหม ดังนั้น ในป 2553/54 จึงมีกรรมการซึ่งไดรับคาตอบแทนรวม 21 ทาน

8.2.1.2 คาตอบแทนที่ไมเปนตัวเงิน และสิทธิประโยชนอ ื่น ๆ -ไมมี8.2.2

คาตอบแทนผูบริหาร

คณะกรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทนเปนผูพิจารณากําหนดจํา นวนและ รู ป แบบการ จ า ย คาตอบแทนของประธานกรรมการบริหาร โดยใชตัวชี้วั ด ต า ง ๆ เป น เกณฑ ซึ่ ง ร วมถึ ง ผลปร ะ เมิ น การ

สวนที่ 1 หนา 168


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ปฏิบัติง านของประธานกรรมการบริหาร ผลสําเร็จทางธุร กิจ ตลอดจนเปรียบเทียบกับบริษัทจดทะเบียนอื่ น ๆ ในตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทย เพื่อ นําเสนอตอ ที่ประชุมคณะกรรมการเพื่อ พิจารณาอนุมัติ สําหรับผูบริหารระดับสูง ประธานกรรมการบริหารจะเปนผูพิจารณาความเหมาะสมในการกํ า หนด คาตอบแทนเปนรายบุคคลจากผลการบริหารงานของผูบริหารแตละทาน โดยใชดัชนีชี้วัดตางๆ เป น ตั ว บ ง ชี้ ทั้ง นี้ การปรับอัตราเงินเดือ นประจําปโดยรวมจะสอดคลอ งกับสภาวะเศรษฐกิจและผลการ ดํ า เนิ น ง านขอ ง บริษัทฯ 8.2.2.1 คาตอบแทนแกกรรมการบริหาร (ในสวนคาตอบแทนในฐานะผูบริหารของ บริ ษั ท ฯ) และ ผูบริหารของบริษัทฯ ที่ไมใชกรรมการ สําหรับป 2555/56 ป 2554/55 และป 2553/54 เปนดัง นี้ ป 2555/56 (1 เมษายน 2555 – 31 มี น าคม 2556) ซึ่ ง ประกอบด ว ย เงินเดือน โบนัส และเงินสมทบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ป 2554/55 (1 เมษายน 2554 – 31 มี น าคม 2555) ซึ่ ง ประกอบด ว ย เงินเดือน โบนัส และเงินสมทบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ป 2553/54 (1 เมษายน 2553 – 31 มี น าคม 2554) ซึ่ ง ประกอบด ว ย เงินเดือน โบนัส และเงินสมทบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ

จํานวนราย 9

คาตอบแทน 54.3 ลานบาท

9

37.7 ลานบาท

17

39.4 ลานบาท

หมายเหตุ: บริษัท ฯ ไดเขารวมกองทุนสํารองเลี้ยงชีพตั้งแต 1 พฤศจิกายน 2553 เปนตนมา

8.2.2.2 คาตอบแทนที่ไมเปนตัวเงิน ในป 2554 และ ป 2555 ผูบริหารของบริษัทฯ ที่ไมใชกรรมการไดร ับคา ตอ บแทนที่ ไ ม เ ป น ตั ว เงิ น เปนใบสําคัญแสดงสิทธิ BTS-WA เปนจํานวนรวมทั้ง สิ้น 11.6 ลานหนวย และในป 2556 ผูบริหารของบริษัทฯ ที่ไมใชกรรมการไดร ับคาตอบแทนที่ไมเปนตัวเงิน เปนใบสําคัญแสดงสิทธิ BTS-WB เปน จํ า นวนร วมทั้ ง สิ้ น 1.7 ลานหนวย

สวนที่ 1 หนา 169


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

8.3

แบบ 56-1 ป 2555/56

การกํากับดูแลกิจการ

บริษัทฯ มีร ะบบการบริหารจัดการที่ดี ซึ่ง ประกอบไปดวยการ มี ค ณะ กร ร มการ และ ผู บ ริ ห าร ที่ มี วิส ัยทัศนและมีความรับผิดชอบตอ หนาที่ มีกลไกการควบคุมและการถวงดุลอํานาจ เพื่อ ให ก าร บริ ห าร ง าน เปนไปอยางโปรง ใส ตรวจสอบได การเคารพในสิทธิความเทาเทียมกันของผูถือ หุน และมีความรับผิดชอบตอ ผูมีส วนไดเสีย ซึ่ง เปนปจจัยสําคัญในการเพิ่มมูลคาและผลตอบแทนสูง สุดใหแกผูถือ หุนของบริษัทฯ ในร ะ ยะ ยาว คณะกรรมการบริษัทไดกําหนดนโยบายการกํากับดูแลกิจการ โดยมีหลักการและแนวปฏิบัติที่ส อดคลอ ง กับหลักการการกํากับดูแลกิจการที่ดีของตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทย และขอ แนะนําของสมาคมสง เสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) และไดมีการสื่อ สารใหผูบริหารและพนักงานรับทราบและถือ ปฏิบัติ อ ย า ง ตอ เนื่อ ง นอกจากนี้คณะกรรมการจะมีการทบทวนนโยบายการกํากับดูแลกิจการ เป น ปร ะ จํ า ทุ ก ป เพื่ อ ให นโยบายดัง กลาวเหมาะสมกับสภาวการณและการดําเนินธุร กิจของบริษัทฯ อยูเสมอ และเพื่อ เปนการสง เสริมการกํากับดูแลกิจการที่ดีขององคกร บริษัทฯ ไดจัดทําคูมือ จริยธรรม (Code of Conduct) เพื่อ ใชเปนแนวทางในการปฏิบัติตนของกรรมการ ผู บ ริ ห าร และ พนั ก ง านในทุ ก ร ะ ดั บ ชั้ น ตลอดจนการจัดทํานโยบายความรับผิดชอบตอ สัง คม ชุมชน และสิ่ง แวดล อ ม (CSR Policy) เพื่ อ แส ดง ถึ ง ความมุง มั่นและตั้ง ใจของคณะกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานในการรวมเปนสวนหนึ่ง ของการดําเนินธุร กิจ เพื่อ สัง คม และเพื่อ เปนการสนับสนุนการปฏิบัติง านของคณะกรรมการบริษัทดานการกํากับดูแลกิจการ และ ชวยเหลือ คณะกรรมการบริษัทในการกํากับดูแลใหการดําเนินงานของบริษัทฯ เปนไปตามหลักการกํากับดูแล กิจการที่ดี ในป 2555 คณะกรรมการบริษัทไดแตง ตั้ง คณะกรรมการบรรษัทภิบาล เพื่ อ ทํ า หน า ที่ พิ จ าร ณา กําหนด ทบทวน และปรับปรุง นโยบาย คูมือ และแนวทางปฏิบัติในการกํากับดูแลกิจการที่ดี จริยธรรมในการ ดําเนินธุร กิจ และจริยธรรมของพนักงาน นโยบายความรับผิดชอบตอ สัง คม ชุมชน และ สิ่ ง แวดล อ ม (CSR Policy) ตลอดจนนโยบายและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการตอ ตานทุจริตและการติ ด สิ น บน (Anti-Corruption and Bribery) เพื่อ เสนอตอ คณะกรรมการบริษัทเพื่อ พิจารณาอนุมัติ ตลอ ดจนกํ า กั บ ดู แ ลให มี ก าร ปฏิ บั ติ ต าม นโยบาย คูมือ และแนวทางปฏิบัติตางๆ ดัง กลาว นโยบายการกํากับดูแลกิจการของบริษัทฯ แบง ออกเปน 5 หมวด ครอบคลุ ม หลั ก การ กํ า กั บ ดู แ ล กิจการที่ดี ดัง นี้ 1.

สิทธิของผูถือ หุน (Right of Shareholders)

2.

การปฏิบัติตอ ผูถือ หุนอยางเทาเทียมกัน (Equitable Treatment of Shareholders)

3.

การคํานึง ถึง บทบาทของผูมีส วนไดเสีย (Role of Stakeholders)

4.

การเปดเผยขอ มูลและความโปรง ใส (Disclosure and Transparency)

5.

ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ (Board Responsibilities)

สวนที่ 1 หนา 170


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

สิทธิของผูถือหุน (Right of Shareholders) บริษัทฯ ไดใหความสําคัญตอ สิทธิของผูถือ หุนในฐานะเจาขอ ง บริ ษั ท ฯ โดยส ง เส ริ ม ให ผู ถื อ หุ น ทุกกลุมไมวาจะเปนนักลงทุนรายยอ ยหรือ นักลงทุนสถาบัน ไดใชส ิทธิของตนตามสิทธิขั้นพื้นฐานของผูถือ หุ น อาทิเชน การซื้อ ขายหรือ การโอนหุน การมีส วนแบง ในกําไรของกิจการ การไดร ับขอ มูลสารสนเทศของกิจการ อยางเพียงพอไมวาจะผานทางเว็บไซตของตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทย เว็ บ ไซต ข อ ง บริ ษั ท ฯ หรื อ ชอ งทางอื่นๆ การเขารวมประชุมผูถือ หุนเพื่อ รับทราบผลการดําเนินงานประจําปและการออกเสียงลงคะแนน ในที่ประชุมผูถือ หุนเพื่อ พิจารณาอนุมัติเรื่อ งตางๆ ที่ส ําคัญตามที่กฎหมายกําหนด ไมวาจะเปนการแตง ตัง้ หรือ ถอดถอนกรรมการ การกําหนดคาตอบแทนกรรมการ การแตง ตั้ง ผูส อบบัญชีและพิจารณาคาตอบแทนผูส อบ บัญชี การจายหรือ งดจายเงินปนผล การเพิ่มทุนและออกหุนใหม ตลอดจนการซักถามหรือ แสดงความเห็น ใน เรื่อ งตางๆ ที่คณะกรรมการไดร ายงานใหทราบหรือ ไดขอความเห็นชอบจากที่ประชุมผูถือ หุน เปนตน  การจัดการประชุมผูถือหุน บริษัทฯ ไดกําหนดใหมีการประชุมสามัญผูถือ หุนประจําปภ ายใน 120 วันนับแตวันสิ้นสุดรอบปบัญชี ของบริษัทฯ และการประชุมผูถือ หุนคราวอื่นซึ่ง เรียกวาการประชุมวิส ามัญ บริษัทฯ จะจัด ปร ะ ชุ ม เพิ่ ม ตาม ความจําเปนและเหมาะสม โดยบริษัทฯ ไดจัดใหมีส ํานักเลขานุการบริษัทในการปฏิบัติตามนโยบายที่จะเรี ย ก และจัดการประชุมผูถือ หุนใหเปนไปตามกฎหมาย และแนวทาง การ ปร ะ ชุ ม ผู ถื อ หุ น ที่ กํ า หนดโดยตลาด หลักทรัพยแหง ประเทศไทย ทั้ง นี้ ในการประชุมผูถือ หุน บริษัทฯ จะจัดใหมีที่ปรึกษากฎหมายทํ า หน า ที่ เ ป น ผูใหความเห็นทางกฎหมายและเปนคนกลางในการตรวจสอบและการลงคะแนนเสียงกรณีมีขอ โต แ ย ง ตลอ ด การประชุม ตลอดจนเปดโอกาสใหผูถือ หุนรายยอ ยสง ตัวแทนเขารวมเปนพยานในการตรวจนับการลงคะแนน ในกรณีที่มีการเสนอวาระเกี่ยวกับธุร กรรมที่ซับซอ นและเขาใจยาก บริษัทฯ จะจัดใหมีที่ปรึกษาทาง การ เงิ น เพื่อ ตอบคําถามและชี้แจงในที่ประชุม นอกจากนี้ บริษัทฯ ยัง ไดจัดใหผูส อบบัญชีของบริ ษั ท ฯ เข า ร ว มการ ประชุมสามัญผูถือ หุนประจําปซึ่ง พิจารณาอนุมัติง บการเงินของบริษัทฯ ทุกครั้ง  การสงหนังสือเชิญประชุมและการอํานวยความสะดวกแกผูถือหุน บริษัทฯ ไดมอบหมายให บริษัท ศูนยร ับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด ซึ่ง เปน นายทะ เบี ย น หลักทรัพยของบริษัทฯ เปนผูดําเนินการจัดสง หนัง สือ เชิญประชุมใหแกผูถือ หุน ทั้ง นี้ หนัง สือ เชิญ ปร ะ ชุ ม จะ ระบุส ถานที่ วัน และเวลาประชุม ตลอดจนวาระการประชุมพรอ มทั้ง ขอ มูลประกอบการประชุมวาร ะ ต า ง ๆ อยางเพียงพอ เพื่อ ใหผูถือ หุนไดมีเวลาศึกษาขอ มูลลวงหนากอ นการประชุมไมนอ ยกวา 7 วันตามที่กฎหมาย กําหนดทุกครั้ง รวมทั้ง การระบุถึง วัตถุประสงคและเหตุผลขอ ง แต ล ะ วาร ะ ที่ เ ส นอ โดยมี ค วามเห็ น ขอ ง คณะกรรมการในทุกวาระ และไมมีวาระซอ นเรนหรือ เพิ่มเรื่อ งประชุมใดไวในวาร ะ อื่ น ๆ ที่ ไ ม ไ ด ร ะ บุ ไ ว ใ น หนัง สือ เชิญประชุมใหที่ประชุมผูถือ หุนพิจารณาอนุมัติ เวนแตเปนกรณีจําเปนเรง ดวนที่ท ร าบภ ายหลั ง การ ออกหนัง สือ เชิญประชุมแลว และไดมีการจัดสง หนัง สือ เชิญประชุมและเอ กส าร ปร ะ กอ บการ ปร ะ ชุ ม เป น ภาษาอัง กฤษใหกับผูถือ หุนตางชาติ รวมทั้ง ไดนําขอ มูลหนัง สือ เชิญประชุมและเอกสารประกอบเผยแพรไวบน เว็บไซตของบริษัทฯ ลวงหนากอ นการประชุม และไดประกาศลงหนัง สือ พิมพการเรียกประชุมใหผูถือ หุนทราบ ลวงหนาเปนเวลา 3 วันติดตอ กันกอ นวันประชุม นอกจากนี้ บริษัทฯ ยัง ไดเปดโอกาส ให ผู ถื อ หุ น ส ง คํ า ถาม ลวงหนากอ นการประชุม เพื่อ อํานวยความสะดวกแกผูถือ หุน และในกรณีที่ผูถือ หุนตางชาติมีคําถาม บริษัทฯ จะไดส ามารถดําเนินการแปลเปนภาษาไทย เพื่อ สรุปคําถามและคําตอบใหแกที่ประชุมไดเขาใจ สวนที่ 1 หนา 171


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

นอกจากนี้ บริษัทฯ ไดใชร ะบบ Barcode ของบริษัท ศูนยร ับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํ า กั ด ในการลงทะเบียน และนับคะแนนเสียง เพื่อ เพิ่มความโปรง ใส และอํานวยความสะดวกใหแกผูถือ หุน โดยเปด ใหผูถือ หุนลงทะเบียนลวงหนากอ นการประชุม 2 ชั่วโมง และขยายระยะเวลาลงทะเบียนจนถึง เวลาก อ นการ พิจารณาวาระสุดทาย และมีเจาหนาที่ของบริษัทฯ คอยดูแลตอ นรับและใหความสะดวก ตลอดจนไดจัดเตรียม อากรแสตมปไวใหบริการสําหรับผูที่เขารวมประชุมโดยหนัง สือ มอบฉันทะจากผูถือ หุน  การดําเนินการระหวางและภายหลังการประชุมผูถือหุน กอ นการเริ่มประชุม เลขานุการที่ประชุมจะแนะนําคณะกรรมการ คณะผูบริหาร ผูส อ บบั ญ ชี ข อ ง บริษัทฯ และที่ปรึกษากฎหมายซึ่ง ทําหนาที่เปนคนกลางใหที่ประชุมรับทราบ และจะแจง ใหที่ประชุ ม รั บ ทร าบ ถึง หลักเกณฑการออกเสียงลงคะแนนและวิธีการนับคะแนนเสียงในที่ประชุม ทั้ง นี้ เมื่ อ มี ก าร ให ข อ มู ล ตาม ระเบียบวาระการประชุมแลว ประธานฯ จะเปดโอกาสใหผูเขารวมประชุมแส ดง ความคิ ด เห็ น และ ซั ก ถาม คําถามเกี่ยวกับวาระนั้นๆ อยางเทาเทียมกัน และจะมีการตอบคําถามนั้นๆ อยางตรงประเด็น และ ให เ วลา อภิปรายพอสมควร สําหรับวาระการเลือ กตั้ง กรรมการ จะมีการใหผูถือ หุ น ลง มติ เ ลื อ กตั้ ง กร ร มการ เป น รายบุคคล บริษัทฯ ไดจัดใหมีการบันทึกรายงานการประชุมอยางถูกตอ งครบถวนเพื่อ ใหผูถือ หุนตรวจสอ บได โดยมีการบันทึกมติที่ประชุมไวอ ยางชัดเจน พรอ มทั้ง คะแนนเสียงที่เห็นดวย ไมเห็นดวย และงดออกเสีย ง ใน ทุกๆ วาระที่ตอ งมีการลงคะแนนเสียง ตลอดจนมีการบันทึกสรุปความคิดเห็น ขอ ซักถาม และ การ ตอ บข อ ซักถามที่เปนสาระสําคัญและเกี่ยวขอ งกับการประชุมในแตละวาระ โดยบริษัทฯ จะแจง รายงานสรุปผลการลง มติผานเว็บไซตของตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทยภายในวันเดียวกันกับวันประชุม หรือ อย า ง ช า ภ ายใน 9.00 น. ของวันทําการถัดไป และจะจัดสง รายงานการประชุมผูถือ หุนใหแกตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทย ภายใน 14 วัน รวมทั้ง เผยแพรร ายงานการประชุมบนเว็บไซตของบริษัทฯ การปฏิบัติตอผูถือหุนอยางเทาเทียมกัน (Equitable Treatment of Shareholders)  การเสนอวาระการประชุมและชื่อบุคคลเพื่อเขารับการเลือกตั้งเปนกรรมการ บริษัทฯ ไดเปดโอกาสใหผูถือ หุนรายยอ ยใชส ิทธิของตนเสนอวาระการประชุมและชื่อ บุคคลเพื่อ เขา รับการเลือ กตั้ง เปนกรรมการเปนการลวงหนา เพื่อ สง เสริมใหมีการปฏิบัติตอ ผู ถื อ หุ น อ ย า ง เป น ธร ร มและ เทาเทียมกัน โดยใหส ิทธิผถู ือ หุนรายยอ ย สามารถเสนอวาระการประชุมและชื่อ บุคคลเพื่อ เขารับการเลือ กตั้ง เปนกรรมการในการประชุมสามัญผูถือ หุน ตามหลักเกณฑที่ไดเผยแพรบนเว็บไซตของบริษัทฯ และแจ ง ข า ว ผานเว็บไซตของตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทย สําหรับการประชุมสามัญผูถือ หุนประจําป 2556 บริษัทฯ ไดเปดโอกาสให ผู ถื อ หุ น ร ายเดี ย วหรื อ หลายรายรวมกัน ที่มีส ัดสวนการถือ หุนไมนอ ยกวารอ ยละ 3 ของจํานวนหุนที่อ อกจําหนายแลว ทั้ ง หมดขอ ง บริษัทฯ และถือ หุนตอ เนื่อ งมาแลวไมนอ ยกวา 6 เดือ น นับจากวันที่ถือ หุนจนถึง วันที่เสนอ วาร ะ การ ปร ะ ชุ ม หรือ ชื่อ กรรมการ เสนอวาระหรือ เสนอชื่อ กรรมการไดในชวงระหวางวันที่ 28 ธันวาคม 2555 ถึ ง วั น ที่ 31 มีนาคม 2556 (ซึ่ง เปนระยะเวลาเกินกวา 3 เดือ นลวงหนากอ นสิ้นรอบปบัญชี) อยางไรก็ดี ไมมีผูถือ หุนรายใด เสนอวาระการประชุมหรือ ชื่อ บุคคลเพื่อ เขารับการเลือ กตั้ง เปนกรรมการเปนการลวงหนาสําหรับการประชุ ม สามัญผูถือ หุนประจําป 2556 แตอ ยางใด สวนที่ 1 หนา 172


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

 การมอบฉันทะใหผูอื่นเขารวมประชุมแทน เพื่อ รักษาสิทธิใหผูถือ หุนที่ไมส ะดวกเขาประชุมดวยตนเอง บริษัท ฯ ได จั ด ส ง แบบหนั ง สื อ มอ บ ฉันทะไปพรอ มกับหนัง สือ เชิญประชุม และไดมีการระบุถึง เอกสารและหลักฐานที่ตอ งใชในการมอบฉันทะอยาง ชัดเจน ซึ่ง ผูถือ หุนสามารถมอบหมายใหตัวแทนของผูถือ หุนหรือ กรรมการอิส ระของบริษัทฯ เขารวมประชุ ม และออกเสียงลงคะแนนแทนตนในการประชุมผูถือ หุนได โดยบริษัทฯ จะมีการแจง ในหนัง สือ เชิญ ปร ะ ชุ ม ถึ ง รายชื่อ กรรมการอิส ระที่ผูถือ หุนสามารถมอบฉันทะไดอ ยางนอ ย 1 ทาน นอกจากนี้ บริ ษั ท ฯ ได เ ผยแพร หนัง สือ เชิญประชุม และหนัง สือ มอบฉันทะแบบตางๆ พรอ มทั้ง รายละเอียดและขั้นตอนตางๆ บนเว็บไซตของ บริษัทฯ  การเขาถึงขอมูลของบริษัทฯ บริษัทฯ ไมเลือ กปฏิบัติตอ ผูถือ หุนกลุมใดกลุมหนึ่ง เปนพิเศษ โดยผูถือ หุนมีส ิ ท ธิ เ ข า ถึ ง ข อ มู ล ขอ ง บริ ษั ท ฯ ซึ่ ง เป ด เผยต อ ผู ถื อ หุ น และ ปร ะ ชาชน ได อ ย า ง เท า เที ยมกั น ผ านเว็ บ ไซต ข อ ง บริ ษั ท ฯ www.btsgroup.co.th หรือ ฝายนักลงทุนสัมพันธของบริษัทฯ ที่ โทรศัพท: 0 2273-8631, 0 2273-8636, 0 2273-8637 โทรสาร: 0 2273-8610 E-mail: ir@btsgroup.co.th การคํานึงถึงบทบาทของผูมีสวนไดเสีย (Role of Stakeholders) บริษัทฯ คํานึง ถึง บทบาทของผูมีส วนไดเสียและใหความสํ า คั ญ กั บ สิ ท ธิ ข อ ง ผู มี ส  ว นได เ สี ย ขอ ง บริษัทฯ ทุกกลุม โดยไดมีการดูแลใหผูมีส วนไดเสียกลุมตางๆ ของบริษัทฯ เชน ผูถือ หุน พนักงาน ลูกคา คูคา ตลอดจนสาธารณชน และสัง คมไดร ับการปฏิบัติอ ยางเหมาะสม เสมอภาค และเปนธรรม โดยบริษัทฯ เชื่อ ว า ความสัมพันธอ ันดีกับผูมีส วนไดเสียทุกกลุมมีความสําคัญตอ การพัฒนาอยางยั่ง ยืนและความสําเร็จในร ะ ยะ ยาวของกลุมบริษัท โดยไดมีการกําหนดนโยบายเปนลายลักษณอ ักษรไวในคูมือ จริยธรรมซึ่ง จัดให ผู บ ริ ห าร และพนักงานของบริษัทฯ ทุกคนรับรูและปฏิบัติตาม  การปฏิบัติตอผูมีสวนไดเสียกลุมตางๆ ผูถือ หุน

:

บริษัทฯ มีการดําเนินธุร กิจอยางโปรง ใส ถูกตอ ง และ ยุ ติ ธ ร ร ม เพื่อ พัฒนากิจการใหมั่นคงและเติบโต โดยคํ า นึ ง ถึ ง การ ส ร า ง ผลตอบแทนในอัตราที่ส ูง กวาการลงทุนอื่นที่มีความเสี่ยงคลายกัน ใหแกผูถือ หุนอยางตอ เนื่อ งและเทาเทียมกัน (โปรดดูร ายละเอียด เพิ่มเติมในหัวขอ สิทธิของผูถือ หุน และ การ ปฏิ บั ติ ต อ ผู ถื อ หุ น อยางเทาเทียมกัน)

ลูกคา

:

บริษัทฯ มุง มั่นสรางความพึง พอใจและความมั่ น ใจให กั บ ลู ก ค า โดยเนน ที่ ค วามเอ าใจใส แ ละ ความรั บ ผิ ด ชอ บ ซึ่ ง มี ผ ลต อ ความสําเร็จของธุร กิจ โดยพัฒนาคุณภาพและรูปแบบของสิน ค า และบริการเพื่อ ตอบสนองความต อ ง การ ขอ ง ลู ก ค า ได อ ย า ง ตอ เนื่อ งและสม่ําเสมอ เพื่อ รักษาความสัมพันธที่ดี ใ นร ะ ยะ ยาว โดยบริษัทฯ ไดมีการสํารวจความพึง พอใจของลูกคา เพื่อ รั บ ฟ ง สวนที่ 1 หนา 173


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ความคิดเห็นหรือ ขอ รอ งเรียน และไดมีการนํามาเปนแนวทาง ใน การปรับปรุง การบริการและบริหารงานใหดีขึ้น นอกจากนี้ ยั ง มี การพัฒนาบุคลากรที่จะมาใหบริการกับลูกคา โดยมี ก าร อ บร ม และใหความรูความเขาใจกับพนักงานทั้ง กอ นการปฏิบัติง านจริ ง และพัฒนาเพิ่มพูนทักษะและความรูใหแกพนักงานอยางตอ เนื่อ ง เพื่อ ใหลูกคาไดร ับประโยชนส ูง สุดจากการใหบริการ บริษัทฯ ยัง มุง เนนเรื่อ งความปลอดภัยของลูกคา เป น หลั ก อ าทิ เชน ในการบริหาร จั ด การ ธุ ร กิ จ ขนส ง มวลชนขอ ง บี ที เ อ ส ซี บีทีเอสซีไดร ับการรับรองระบบบริหารจัด การ ด า นต า ง ๆ ตาม มาตรฐาน ISO 9001, ระบบการจัดการดา นอ าชี ว อ นามั ย และ ความปลอดภัยตามมาตร ฐาน OHSAS 18001 และ ร ะ บบการ จัดการความปลอดภัยจาก Lloyds Register Rail เปนตน พนักงาน

:

บริษัทฯ เชื่อ วาพนักงานเปนปจจั ย หลั ก และ เป น ทรั พ ยากร ที่ มี คุณคาในการดําเนินธุร กิจ บริษัทฯ จึง ใหความสําคัญตอ พนักงาน เปนอยางมาก โดยใหความเปนธรรมตอ พนักงานทุกระดับโดยไม เลือ กปฏิบัติ เคารพสิทธิข อ ง พนั ก ง านตามสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนขั้ น พื้นฐานตามหลักสากลและตามกฎหมายและ ร ะ เบี ย บข อ บั ง คั บ ตางๆ รวมทั้ง ยัง ใหความสําคัญกับสุขภาพ อาชีวอนามัย ความ ปลอดภัยในชีวิตและทรัพยส ิน และสภาพแวดลอ มในการทํ า ง าน ของพนักงาน ตลอดจนเสริมสรางวัฒนธรรมและบรรยากาศการ ทํางานที่ดีและสง เสริมการทํางานเปนทีม นอกจากนี้ บริษัทฯ ยั ง ไดมอบโอกาสในการสรางความกาวหน า ในการ ทํ า ง านให แ ก พนักงานทุกคนโดยเทาเทียมกัน และเห็ น ความสํ า คั ญ ในเรื่ อ ง ศักยภาพของพนักงาน จึง มุง เน น การ พั ฒ นาบุ ค ลากร มี ก าร ฝกอบรมพนักงานอยางตอ เนื่อ งทั้ง ภายในและภายนอกอ ง ค ก ร รวมทั้ง มีการจัดกิจกรรมเพื่อ เสริมส ร า ง ความสั ม พั น ธ อ ั น ดี ใ น องคกร ทั้ง ระหวางพนักงานกันเองและ ร ะ หว า ง พนั ก ง านและ ผูบริหาร (โปรดดูร ายละเอียดเพิ่มเติมในหัวขอ 8.5 บุคลากร)

คูคา

:

บริษัทฯ คํา นึ ง ถึ ง ความสํ า คั ญ ขอ ง คู ค า ในฐานะ ที่ เ ป น ผู ที่ มี ความสําคัญในการใหความชวยเหลือ การดําเนินธุร กิจของบริษทั ฯ โดยบริษัทฯ ยึดหลักการปฏิบัติที่เสมอภาคและการแขง ขั น ที่ เ ป น ธรรมตอ คูคาทุกราย บริษัทฯ เนนความโปรง ใส และความตรงไปตรงมาในการดํา เนิ น ธุร กิจ และการ เจร จาตกลง เข า ทํ า สั ญ ญากั บ คู ค า โดยให ไ ด ผลตอบแทนที่เปนธรรมทั้ง สองฝาย โดยบริษัทฯ จะปฏิบัติตอ คูคา

สวนที่ 1 หนา 174


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ใหเปนไปตามขอ ตกลงในสัญญาและจรรยาบรรณของบริษัทฯ คูแขง

:

บริษัทฯ จะปฏิบัติตอ คู แ ข ง ทาง การ ค า ภ ายใต ก ฎหมายและ จรรยาบรรณทางการคาที่ดี โดยจะเนนที่การแขง ขันที่ ส ุ จ ริ ต ไม ทําลายชื่อ เสียงของคูแขง ดวยการกลาวหาในทางไมดี รวมทั้ง ไม แสวงหาขอ มูลหรือ ความลับของคูแขง ดวยวิธีการไมส ุจริตหรือ ไม เหมาะสม บริษัทฯ จะดําเนินธุร กิจดวยความซื่อ ตร ง และ เป น มื อ อาชีพ

เจาหนี้

:

บริษัทฯ เนนการสรางความเชื่อ มั่นใหแกเจาหนี้ของบริษัทฯ โดย เนนที่ความสุจริตและยึดมั่นตามเงื่อ นไขและ สั ญ ญาที่ ทํ า ไว กั บ เจาหนี้อ ยางเครง ครัด บริษัทฯ ไดมีการชําระเงินกูแ ละ ดอ กเบี้ ย ถูกตอ ง ตรงตอ เวลา และครบถวนมาโดยตลอด รวมทั้ง ไมนําเงิ น ที่กูยืมมาไปใชในทางที่ขัดตอ วัตถุประสงคการกูยืม นอกจากนั้ น บริษัทฯ ยัง ไมปกปดขอ มูลหรือ ขอ เท็ จ จริ ง อั น ทํ า ให เ กิ ด ความ เสียหายแกเจาหนี้ของบริษัทฯ อีกดวย

สัง คม ชุมชน และ สิ่ง แวดลอ ม

:

บริษัทฯ มุง เนนการดําเนินธุร กิจใหเติบโตอยางยั่ง ยืนควบคูไปกั บ การพัฒนาสัง คม ชุมชน สิ่ง แวดล อ ม และ คุ ณ ภ าพชี วิ ต ที่ ดี ใ น สัง คมไทย ดวยสํานึกวาความรับผิดชอบขอ ง สั ง คมเกิ ด ขึ้ น อ ยู ตลอดเวลา บริษัทฯ จึง ผลักดันนโยบายความรั บ ผิ ด ชอ บขอ ง สัง คมใหมีอ ยูในทุกภาคสวนขององคกรตั้ง แตร ะดับนโยบายหลัก ของบริษัทฯ ไปจนถึง ระดับปฏิบัติการ และดํ า เนิ น อ ยู ใ นทุ ก อ ณู ขององคกร โดยบริษัทฯ เชื่อ วาการดําเนินธุร กิจอยางมีจิตสํานึ ก ตอ สัง คมและสวนรวม จะเปนพลัง ขับเคลื่อ นที่ ส ํ า คั ญ อั น นํ า ไปสู การพัฒนาที่ยั่ง ยืนทั้ง ในระดับชุมชนและระดับประเทศ บริษัทฯ ถือ เปนภาระหนาที่และความรับผิดชอบที่ส ํ า คั ญ ในการ สนับสนุนและจัดใหมีกิจกรรมที่เปนประ โยชน ต อ สั ง คมในด า น ตางๆ เสมอมา โดยบริษัทฯ ไดจัดกิจกรรมบางลักษณะมาอ ย า ง ตอ เนื่อ ง และไดจัดกิจกรรมเฉพาะกิจตามความเหมาะ ส มขอ ง บริบททางสัง คม ครอบคลุมทั้ง กิจกรรมที่เปนประโยชนตอ สั ง คม ในระดับมหภาค ระดับชุมชน และระดับปฏิบัติการ เพื่อ ตอบแทน และคืนผลกําไรกลับคืนสูส ัง คม (โปรดดูร ายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ใน หัวขอ 8.6 กิจกรรมความรับผิดชอบตอ สัง คมขององคกร)

 นโยบายเกี่ยวกับจริยธรรมทางธุรกิจ บริษัทฯ มีนโยบายเกี่ยวกับจริยธรรมทางธุร กิจ ซึ่ง เปนนโยบายที่ส ง เสริมการกํากับดูแ ลกิ จ การ ที่ ดี ของกลุมบริษัท อันไดแก นโยบายและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิมนุษยชน นโยบายและ แนวปฏิ บั ติ สวนที่ 1 หนา 175


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

เกี่ยวกับการตอ ตานการทุจริตและหามจายสินบน นโยบายและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการไมลวงละเมิดทรัพย ส ิ น ทางปญญาหรือ ลิขสิทธิ์ และนโยบายและระเบียบปฏิบัติในการใชง านระบบเทคโนโลยีส ารสนเทศ โดยสามารถ สรุปไดดัง นี้ การละเมิดสิทธิมนุษยชน

:

บริษัทฯ มีนโยบายที่จะใหความเป น ธร ร มต อ ผู มี ส  ว นได เ สี ย ทุ ก ร าย โดยปฏิบัติตามกฎหมายและขอ บัง คั บ ที่ เ กี่ ย วข อ ง กั บ พนั ก ง าน และ หลักการเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐานตามเกณฑ ส ากล โดยไม แบง แยกถิ่นกําเนิด เชื้อ ชาติ เพศ อายุ สีผิว ศาสนา ความพิการ ฐานะ ชาติตระกูล สถานศึกษา หรือ สถานะอื่นใดที่มิไดเกี่ยวขอ งโดยตร ง กั บ การปฏิบัติง าน รวมทั้ง ใหความเคารพตอ ความเปนปจเจกชนและศักดิ์ศรี ของความเปนมนุษย บริษัทฯ มีนโยบายที่จะดํารงตนให เ ป น อ ง ค ก ร ที่ ดํ า เนิ น กิ จ การ ตาม ครรลองของกฎหมายและเปนประโยชนตอ สัง คม สนับสนุนใหพนักงาน ของกลุมบริษัทดําเนินงานอยางมีคุณธรร มและ เป น พลเมื อ ง ที่ ดี ข อ ง ประเทศชาติ รวมทั้ง สง เสริมใหคูคาของกลุมบริษัทดําเนินธุร กิจที่ถูกตอง ดวยความโปรง ใสดวยเชนกัน เพื่อ ใหส ัง คมโดยรวมดํ า เนิ น ไปได โ ดย สันติส ุข

การตอ ตานการทุจริตและ การติดสินบน

บริษัทฯ จึง กําหนดใหการต อ ต า นการ ทุ จ ริ ต และ การ ติ ด สิ น บนเป น นโยบายที่ส ําคัญอีกนโยบายหนึ่ง ของกลุมบริษัท โดยบริษัทฯ ไดกําหนด นโยบายและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการรับ การใหของขวัญหรื อ ทรั พ ย ส ิ น ขึ้น เพื่อ สรางความมั่นใจวานโยบายการตอ ตานการทุจริต และ การ ติ ด สินบนไดร ับการปฏิบัติอ ยางเปนรูปธรรมอยางเพียงพอ ทั้ง นี้ คณะกรรมการบรรษัทภิบาลอยูร ะหวางการดําเนินการ พิ จ าร ณา และกําหนดนโยบาย แนวทางการปฏิบัติ และรายละเอียดแผนง านและ การดําเนินงาน รวมทั้ง กรอบเวลาตางๆ ที่เกี่ยวกับการตอ ตานการทุจริต และการติดสินบน ใหเหมาะสมกับสภาวการณของกลุมบริษัท อาทิ เชน การกําหนดนโยบาย การวางแนวทางและกลยุทธ สาสนจากผูนําองคกร การจัดตั้ง คณะทํางาน การวางแผนปฏิบัติการ การวางแผนการสื่อ ส าร ในองคกร การประเมินผล รวมทั้ง การจัดทํารายงานตางๆ เพื่อ ใหบรรลุ วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค ส อ ด คล อ ง กั บ แนวร ว ม ปฏิ บั ติ (Collective Action Coalition) ของภาคเอกชนไทยในการตอ ตานการทุจริตที่บริษัทฯ ไดเขา รวมประกาศเจตนารมณ การไมลวงละเมิดทรัพยส ิน ทางปญญาหรือ ลิขสิทธิ์

:

บริษัทฯ กําหนดใหการไมลวงละเมิดทรัพยส ินทางป ญ ญาหรื อ ลิ ข สิ ท ธิ์ เปนนโยบายสําคัญที่กรรมการ ผูบริหาร และพนักงานของบริษั ท ฯ ทุ ก คนตอ งปฏิบัติตามอยางเครง ครัด และกําหนดให ฝ า ยเทคโนโลยี แ ละ สารสนเทศตรวจสอบเพื่อ ป อ ง กั น การ ละ เมิ ด ลิ ข สิ ท ธิ์ ใ นซอ ฟต แ วร สวนที่ 1 หนา 176


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

คอมพิวเตอร การใชเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร

:

บริษัทฯ ใหความสําคัญกับการใชเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ ส าร โดยกําหนดมาตรการรักษาความปลอดภัย ขอ ง ข อ มู ล ข า วส าร เพื่ อ ปอ งกันและลดโอกาสที่ขอ มูลสําคัญหรือ เปนความลับถูกเผยแพรอ อกไป ภายนอกโดยเจตนาหรือ โดยความประมาท โดยกําหนดแนวปฏิบัติด า น การดูแลการใชเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่ อ ส าร ซึ่ ง อ า ง อิ ง จาก มาตรฐานที่เปนที่ยอมรับระดับนานาชาติ ไดแก มาตรฐาน ISO 12207 ซึ่ง ไดจัดทําและเผยแพร โ ดย Institute of Electrical and Electronics Engineers (IEEE), Control Objectives for Information and Related Technology (COBIT) ซึ่ง เผยแพรโดย IT Governance Institute นอกจากนี้ บริษัทฯ ยัง กําหนดใหฝายเทคโนโลยีและสารสนเทศจั ด เก็ บ ขอ มูลการใชง านของพนักงานไว ตามที่กําหนดไวในพระราชบัญญัติว า ดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 และประกาศ กระทรวงเทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่อ สาร เรื่อ ง หลักเกณฑการเก็บ รักษาขอ มูลจราจรทางคอมพิวเตอรของผูใหบริการ พ.ศ. 2550

 การแจงเรื่องรองเรียน บริษัทฯ ไดจัดใหมีชอ งทางที่ผูมีส วนไดเสียทุกกลุมสามารถติดตอ หรือ รอ งเรียนในเรื่ อ ง ที่ อ าจเป น ปญหาหรือ รอ งเรียนการละเมิดสิทธิกับคณะกรรมการไดโดยตรง โดยสามารถแจง เรื่อ งรอ ง เรี ย นต อ สํ า นั ก เลขานุ ก าร บริ ษั ท โทร ศั พ ท : 0 2273-8611-5 ต อ 1525, 1531 โทร ส าร : 0 2273-8610 E-mail: CompanySecretary@btsgroup.co.th หรือ สง เรื่อ งรอ งเรียนทางไปรษณียไปยัง สํานักเลขานุการบริษัทตามที่ อยูของบริษัทฯ ทั้ง นี้ ผูร อ งเรียนสามารถมั่นใจไดวา บริษัทฯ จะเก็บขอ มูลของผูร อ งเรียนไวเปนความลับ โดย เลขานุการบริษัทจะรวบรวมขอ รอ งเรียนเพื่อ นําเสนอตอ คณะกรรมการตอ ไป การเปดเผยขอมูลและความโปรงใส (Disclosure and Transparency)  การรายงานของคณะกรรมการทั้งที่เปนการเงินและไมใชการเงิน คณะกรรมการมีหนาที่ในการเปดเผยสารสนเทศทั้ง ที่เปนสารสนเทศทางการเงิ น และ ที่ ไ ม ใ ช ทางการเงินอยางครบถวน เพียงพอ เชื่อ ถือ ได และทันเวลา เพื่อ ใหผูถือ หุนและผูมีส วนได เ สี ย ขอ ง บริ ษั ท ฯ ไดร ับสารสนเทศอยางเทาเทียมกัน รวมทั้ง จัดทําและปรับปรุ ง ข อ มู ล บนเว็ บ ไซต ข อ ง บริ ษั ท ฯ ให มี ค วาม ครบถวนอยางสม่ําเสมอและรวดเร็วทันเหตุการณ โดยสารสนเทศของบริษัทฯ จะตอ งจัดทําขึ้นอยางรอบคอบ มีความชัดเจน ถูกตอ ง และโปรง ใส ดวยภาษาที่กระชับและเขาใจงาย  นักลงทุนสัมพันธ บริษัทฯ ไดใหความสําคัญกับฝายนักลงทุนสัมพันธเปนอยางมาก โดยหนาที่ของฝายนัก ลง ทุ น สัมพันธคือ การสรางและคงไวซึ่ง การสื่อ สารที่ถูกตอ ง เกี่ยวเนื่อ ง สมํ่าเสมอ และทันตอ เวลากั บ ผู ถื อ หุ น และ สวนที่ 1 หนา 177


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ผูที่ส นใจจะลงทุนในบริษัทฯ เจาหนาที่นักลงทุนสัมพันธจะตอ งรายงานขึ้นตรงตอ ผูอ ํานวยการ ฝ า ยการ เงิ น และจะตอ งทํางานอยางใกลชิดกับสมาชิกทุกคนในกลุมบริษัทซึ่ง รวมถึง ฝายการเงินและผูบริห าร ขอ ง แต ล ะ ธุร กิจ ฝายนักลงทุนสัมพันธมีแผนการดําเนินงานระยะ 1 ป และ 3 ป โดยมีการจัดเตรียมและนําเส นอ ข อ มู ล ใหแกคณะกรรมการบริหารหรือ คณะกรรมการบริษัทอยางตอ เนื่อ ง นอกจากนี้ ยัง มีการจัดทําดัชนีชี้วัดผลการ ดําเนินงานของฝายนักลงทุนสัมพันธ เพื่อ ใหวัตถุประสงคในการดํ า เนิ น ง านขอ ง ฝ า ยเป น ไปในแนวทาง เดียวกับจุดมุง หมายของบริษัทฯ โดยดัชนีชี้วัดผลการดําเนินงานจะเกี่ยวเนื่อ งกับพัฒนาการ ที่ เ ห็ น ได อ ย า ง ชัดเจน เชน จํานวนครั้ง ของการประชุม จํานวนครั้ง ของกิจกรรม Roadshow ที่เขารวม ปริมาณคนเขา - ออก และเยี่ยมชมเว็บไซต (Website traffic) และคุณภาพของการใหบริการแกนักลงทุนและผูถือ หุน บริษัทฯ ไดมีการติดตอ สื่อ สารและจัดกิจกรรมใหกับผูถือ หุนและผูที่ส นใจจะ ลง ทุ น ในบริ ษั ท ฯ รวมทั้ง นักวิเคราะหจากบริษัทหลักทรัพยตางๆ เพิ่มมากขึ้นอยางเห็นไดชัดในแต ล ะ ป โดยในป 2555/ 56 บริษัทฯ ไดพบปะบริษัทจัดการการลงทุนทั้ง ในประเทศและตางประเทศ แบ ง เป น ในปร ะ เทศ 114 บริ ษั ท (เทียบกับ 79 บริษัท ในป 2554/55) และตางประ เทศทั้ ง หมด 183 บริ ษั ท (เที ย บกั บ 110 บริ ษั ท ในป 2554/55) นอกจากนี้ บริษัทฯ จัดการประชุมเฉพาะแกบริษัทหลักทรัพยทั้ง หมด 79 บริ ษั ท (เที ย บกั บ 66 บริษัท ในป 2554/55) โดยมีผูบริหารระดับสูง เขารวมประชุมทุกครั้ง คิดเปน 100% (เที ย บกั บ 100% ในป 2554/55) อีกทั้ง บริษัทฯ ไดมีการยกระดับการจัดกิจกรรมทางการตลาดในตางประเทศมากขึ้ น โดยมี ก าร เดินทางไปใหขอ มูลแกนักลงทุน (Non-deal roadshows/ Conferences) ในตางประเทศ 5 ครั้ง (เที ย บกั บ 7 ครั้ง ในป 2554/55) ประกอบดวยการเขารวมงาน Infrastructure Corporate Access day ซึ่ ง จั ด โดย J.P. Morgan ที่ประเทศสิง คโปร, งาน ASEAN London Forum ซึ่ง จัดโดย J.P. Morgan ที่กรุง ลอนดอน สหร าช อาณาจักร, งาน ASEAN Rising Dragons Investor Forum ซึ่ง จัดโดย J.P. Morgan ที่ประเทศสิง คโปร, งาน Thai Investor Forum ซึ่ง จัดโดย Bank of America Merrill Lynch ที่ประเทศสิง คโปร, งาน NDR ซึ่ง จัดโดย UBS ที่ฮอ งกงและประเทศสิง คโปร นอกจากนี้ ในป 2555/ 56 บริ ษั ท ฯ ยั ง ได เ ข า ร ว มกิ จ กร ร มพบปะ นักลงทุนในประเทศ อีก 8 ครั้ง (เทียบกับ 5 ครั้ง ในป 2554/55) โดยงานทั้ง หมดจัดขึ้นที่กรุง เทพมหานคร อั น ได แ ก ง าน Tisco Corporate Day ซึ่ ง จั ด โดย Tisco/Deutsche Bank, ง าน CEO Talk ซึ่ ง จั ด โดย Tisco/Deutsche Bank, งาน SCB Transportation Day ซึ่ง จัดโดยบริษัทหลักทรัพย ไทยพาณิ ช ย จํ า กั ด , งาน Thailand Focus ซึ่ง จั ด โดย Bank of America Merrill Lynch, ง าน Transportation Day ซึ่ ง จั ด โดย บริษัทหลักทรัพย ภัทร จํากัด (มหาชน), งาน CEO Forum ซึ่ง จัดโดยบริษัทหลักทรัพย เอเซี ย พลั ส จํ า กั ด (มหาชน), งาน NDR ซึ่ง จัดโดยบริษัทหลักทรัพย บัวหลวง จํากัด และบริษัทหลักทรัพย ไทยพาณิชย จํากัด สําหรับการจัดตั้ง กองทุนรวมโครงสรางพื้ น ฐาน หรื อ BTSGIF นั้ น บริ ษั ท ฯ ตร ะ หนั ก ถึ ง ความสําคัญในการใหขอ มูลที่ถูกตอ งและทันตอ เวลาแกผูถือ หุนและผูที่ส นใจจะลงทุนใน BTSGIF และเพื่ อ ให บรรลุถึง วัตถุประสงคที่ตั้ง ไว บริษัทฯ ไดจัดกิจกรรมทางตลาดกับนักลงทุนสถาบันตางประเทศทั้ง สิ้น 3 ครั้ง ที่ ฮอ งกง, ประเทศสิง คโปร, กรุง กัวลาลัมเปอร ประเทศมาเลเซีย, กรุง ลอนดอน สหราชอาณาจักร, นครนิวยอรค ประเทศสหรัฐอเมริกา และนครบอสตัน ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่ง จัดโดย Morgan Stanley และ UBS และยัง มีการจัดกิจกรรมทางตลาดกับนักลงทุนสถาบันในประเทศที่กรุง เทพมหานคร 2 ครั้ง และกิจกรรมทาง ตลาด กับนักลงทุนรายยอ ยในประเทศ 1 ครั้ง ที่กรุง เทพมหานคร, หาดใหญ, เชียงใหม, ขอนแก น และ ชลบุ ร ี ซึ่ ง กิจกรรมทางตลาดในประเทศทั้ง หมดจัดโดยบริษัทหลักทรัพย ภัทร จํากัด (มหาชน) นอกจากนี้ ภายใน 3 วันทําการหลัง จากวันที่ประกาศงบการ เงิ น บริ ษั ท ฯ มี ก าร จั ด ปร ะ ชุ ม รายงานผลประกอบการประจําไตรมาส ซึ่ง จะสามารถดูขอ มูลเอกสารและวีดีโอบันทึกการประชุม (Webcast) สวนที่ 1 หนา 178


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ของการประชุมรายงานผลประกอบการประจําไตรมาสไดผานทางเว็บไซตของบริษัทฯ หรือ เว็บไซตของตลาด หลักทรัพยแหง ประเทศไทย ในป 2556/57 บริษัทฯ คาดวาจะเพิ่มการติดตอ สื่อ สารและกิจกรรมในทุกๆ ด า น ใหมากขึ้น สถิติของฝายนัก ลงทุนสัมพันธ

2555/56

2554/55

114

% การเขารวม โดยผูบริหาร ระดับสูง 100%

79

% การเขารวม โดยผูบริหาร ระดับสูง 100%

กลุมบริษัทภายในประเทศที่มีจุดประสงค เพื่อ การลงทุนดวยตนเอง กลุมบริษัทตางประเทศที่มีจุดประสงคเพือ่ การลงทุนดวยตนเอง กลุมบริษัทในประเทศที่มีจุดประสงคเพื่อ บริการการซื้อ ขายหลักทรัพย กลุมบริษัทตางประเทศที่มีจุดประสงคเพือ่ บริการการซื้อ ขายหลักทรัพย การประชุมรายงานผลประกอบการประจํา ไตรมาส จํานวนครั้ง ของการประชุมเฉพาะราย บริษัท จํานวนครั้ง ของ Roadshow/ การสัมมนา จํานวนครั้ง ของ Roadshow / การสัมมนา สําหรับ BTSGIF เพื่อ นักลงทุนสถาบัน ตางประเทศ จํานวนครั้ง ของ Roadshow/ การสัมมนา สําหรับ BTSGIF เพื่อ นักลงทุนสถาบันใน ประเทศ จํานวนครั้ง ของ Roadshow/ การสัมมนา สําหรับ BTSGIF เพื่อ นักลงทุนรายยอ ยใน ประเทศ

183

100%

110

100%

15

100%

11

100%

2

100%

1

100%

4

100%

4

100%

79

100%

66

100%

13 3

100% 100%

12 N.A.

100% N.A.

2

100%

N.A.

N.A.

1

100%

N.A.

N.A.

ณ วันที่ 10 พฤษภาคม 2556 มีนักวิเคราะหจากบริษัทหลักทรัพยที่จั ด ทํ า บทวิ เ คร าะ ห ใ นตั ว บริษัทฯ จํานวนทั้ง หมด 19 บริษัท (เทียบกับ 18 บริษัท ในป 2554/ 55) โดยมี 2 บริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย ไ ด แ ก บริษัทหลักทรัพย อารเอชบี โอเอสเค (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) และบริษัทหลัก ทรั พ ย กรุ ง ศรี จํ า กั ด (มหาชน) ไดเขียนบทวิเคราะหในตัวบริษัทฯ ครั้ง แรกในรอบป 2555/56 ทั้ง นี้อ ีก 17 บริษัทหลักทรัพย ได แ ก บริษัทหลักทรัพย เมยแบงก กิมเอ็ง (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน), บริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย บั ว หลวง จํ า กั ด , บริษัทหลักทรัพย ทิส โก จํากัด, บริษัทหลักทรัพย ซีไอเอ็มบี (ประเทศไทย) จํากัด, บริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย เจ. พี มอรแกน (ประเทศไทย) จํากัด, บริษัทหลักทรัพย เอเซีย พลัส จํ า กั ด (มหาชน), บริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย ไทย พาณิชย จํากัด, บริษัทหลักทรัพย ฟลลิป (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน), บริษัทหลักทรัพย ฟนั น เซี ย ไซรั ส จํากัด (มหาชน), บริษัทหลักทรัพย เคที ซีมิโก จํากัด, บริษัทหลักทรัพย ธนชาต จํ า กั ด (มหาชน), บริ ษั ท สวนที่ 1 หนา 179


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

หลักทรัพย ดีบีเอส วิคเคอรส (ประเทศไทย) จํากัด, บริษัทหลักทรัพย เคจีไอ (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน), บริษัทหลักทรัพย ภัทร จํากัด (มหาชน), บริษัทหลักทรัพย เกียรตินาคิน จํากัด, บริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย โนมู ร ะ พัฒนสิน จํากัด (มหาชน) และบริษัทหลักทรัพย ไอ วี โกลบอล จํากัด (มหาชน) เคยเขียนบทวิเ คร าะ ห ใ นตั ว บริษัทฯ ในป 2554/55 และยัง คงเขียนถึง บริษัทฯ ในป 2555/56 ทั้ง นี้ บริษัทหลักทรัพย เกียรติ น าคิ น จํ า กั ด ยัง คงใชบทวิเคราะหฉบับเดิมตั้ง แตเดือ นกุมภาพันธ 2555, บริษัทหลักทรัพย ไอ วี โกลบอล จํากัด (มหาชน) ยัง คงใชบทวิเคราะหฉบับเดิมตั้ง แตเดือ นสิง หาคม 2555, บริษัทหลักทรัพย ภัทร จํากัด (มหาชน) ยั ง คง ใช บทวิเคราะหฉบับเดิมตั้ง แตเดือ นพฤศจิกายน 2555 และบริษัทหลักทรัพย โนมูร ะ พัฒนสิน จํา กั ด (มหาชน) ยัง คงใชบทวิเคราะหฉบับเดิมตั้ง แตเดือ นพฤศจิกายน 2555 ซึ่ง บริษัทฯ จะไม ร วมทั้ ง 4 บริ ษั ท หลั ก ทรั พ ย ดัง กลาวในการคํานวนราคาเปาหมายเฉลี่ย โดย ณ วันที่ 10 พฤษภาคม 2556 มี 14 บริษั ท หลั ก ทรั พ ย จ าก 15 บริษัทหลักทรัพยใหความเห็นตอ ตัวบริษัทฯ วา ควร ซื้ อ / หรื อ สู ง กว า ที่ ค าดการ ณ และ อี ก 1 บริ ษั ท หลักทรัพยใหความเห็นตอ ตัวบริษัทฯ วา ควรถือ /หรือ เปนกลาง ราคาเปาหมายเฉลี่ยอยูที่ 9.68 บาทตอ หุน

คําแนะนําของนักวิเคราะห เว็บไซตเปนหนึ่ง ในชอ งทางการสื่อ สารหลักกับนักลงทุน โดยเว็บไซตนี้จะเปนแหล ง ข อ มู ล ที่ ส ํ า คั ญ และถูกออกแบบโดยใชหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีเปนหลัก ในสวนของเนื้อ หาจะ ปร ะ กอ บไปด ว ยร าคา หลักทรัพยลาสุด สิ่ง ตีพิมพใหดาวนโหลด (ประกอบไปดวยรายงานประจําป เอกสารนําเสนอของบริษัทฯ และ วารสารนักลงทุนสัมพันธ) ปฏิทินหลักทรัพยและวีดีโอ (Webcast) จากการประชุมนักวิเคราะห ร วมทั้ ง ยั ง มี การเผยแพรขอ มูลสถิติผูโดยสารรถไฟฟาบีทีเอสรายเดือ น และบริการสง อีเมลลอ ัตโนมัติเมื่อ มีขาวสาร หรื อ การเพิ่มเติมขอ มูลในเว็บไซต ในป 2555/56 จํานวนครั้ง ของการเข า มาเยี่ ย มชมเว็ บ ไซต เ พิ่ ม ขึ้ น อ ย า ง มี นัยสําคัญ เฉลี่ยอยูที่ 293,161 ครั้ง คิดเปนการเพิ่มขึ้น 82.3% และเมื่อ วัดจากจํานวนครั้ง ของการเขามาเยีย่ ม ชมเว็บไซตของผูเยี่ยมชมจากเครื่อ งคอมพิวเตอรตางหมายเลข (IP) เพิ่มขึ้น 22.8% เฉลี่ยอยูที่ 5,206 ครั้ง นอกจากนี้ ในเดือ นธันวาคม 2555 บริษัทฯ เปนหนึ่ง ในผูที่ร ับการคัดเลือ กในสาขารางวัล The Best Investor Relations Company จากงาน 3rd Asian Excellence Recognition Awards 2013 โดยเกณฑ ใ น การคัดเลือ กจะเนนถึง การดําเนินงานที่โดดเดนในดานนักลงทุนสัมพันธ และการปฏิบัติตอ บริษัท ภาครัฐ และ เอกชน ตลอดจนองคกรที่ไมแสวงหากําไรในภูมิภ าคเอเชีย โดยมีการรวบรวมคะ แนนจากผู อ  า นวาร ส าร Corporate Governance Asia และจากการสัมภาษณโดยตรงกับนักลงทุน

สวนที่ 1 หนา 180


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ทั้ง นี้ ผูถือ หุนและผูที่ส นใจจะลงทุนในบริษัทฯ หรือ มีขอ สงสัยและตอ งการสอ บถาม ส ามาร ถ ติดตอ มายัง ที่ฝายนักลงทุนสัมพันธ หัวหนาฝายนักลงทุนสัมพันธ ดาเนียล รอสส (ผูอ ํานวยการฝายการเงิน) เจาหนาที่ฝายนักลงทุนสัมพันธ สิณัฏฐา เกี่ยวขอ ง, ชามา เศวตบดี เบอรโทรศัพท +66 (0) 2 273 8631, +66 (0) 2 273 8636, +66 (0) 2 273 8637 อีเมลล ir@btsgroup.co.th Website http://www.btsgroup.co.th  นโยบายเปดเผยสารสนเทศที่สําคัญตอสาธารณชน บริษัทฯ มีนโยบายเปดเผยสารสนเทศที่ส ําคัญตอ สาธารณชน อาทิเชน วัตถุประ ส ง ค ข อ ง บริ ษั ท ฯ ฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของบริษัทฯ โครงสรางการถือ หุน และสิทธิในการออกเสียง รายชื่ อ และ ขอ มูลการถือ หุนของคณะกรรมการ คณะกรรมการชุดยอ ยตางๆ และคณะ ผู บ ริ ห าร ป จ จั ย และ นโยบาย เกี่ยวกับการจัดการความเสี่ยงที่ส ามารถคาดการณได (Material Foreseeable Risk Factors) ทั้ง ที่เกี่ยวกั บ การดําเนินงานและการเงิน นโยบายและ โคร ง ส ร า ง การ กํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การ (Corporate Gov ernanc e Structures and Policies) รวมทั้ง ความรับผิดชอบของคณะกรรมการในการรายงานทางการเงิน และรายงาน ของประธานคณะกรรมการตรวจสอบ การเปดเผยในรายงานประจําปเกี่ยวกับจํานวนครั้ ง ที่ ก ร ร มการ และ กรรมการชุดยอ ยแตละทานเขารวมประชุม ตลอดจนประวัติของคณะกรรมการและผูบริหาร การเปด เผยใน รายงานประจําปเกี่ยวกับหลักเกณฑการจายคาตอบแทนคณะ กร ร มการ และ ผู บ ริ ห าร ร ะ ดั บ สู ง ร วมทั้ ง คาตอบแทนคณะกรรมการเปนรายบุคคล รายงานขอ มูลเกี่ยวกับการ ดํ า เนิ น ง านขอ ง บริ ษั ท ฯ ข อ มู ล ที่ มี ผลกระทบตอ ราคาซื้อ ขายหลักทรัพยของบริษัทฯ หรือ ตอ การตัดสินใจลงทุน หรื อ ต อ สิ ท ธิ ป ร ะ โยชน ข อ ง ผูถือ หุนตามประกาศของตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทยและกฎหมายอื่นๆ ที่เกี่ยวขอ ง ขอ มูลตามขอ บัง คับ หรือ กฎหมายที่เกี่ยวขอ ง งบการเงิน และรายงานประจําป เพื่อ ใหนักลงทุนและผูที่เกี่ยวขอ งทั้ง ที่เปนผู ถื อ หุ น และ ผูที่ส นใจจะถือ หุนในอนาคตไดใชประกอบการตัดสินใจลงทุน ผานชอ งทางและสื่ อ การ เผยแพร ข อ มู ล ตางๆ ของตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทย ตลอดจนผานเว็บไซตของบริษัทฯ เปนตน ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ (Board Responsibilities) บริษัทฯ ไดกําหนดใหมีคณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการ ส ร ร หาและ กําหนดคาตอบแทน คณะกรรมการบรรษัทภิบาล และคณะกรรมการบริหาร ในการ กลั่ น กร อ ง และ ศึ ก ษา แนวทางการกํากับและการบริหารงานของบริษัทฯ กรรมการทุกคนมีอ ิส ระในการแสดงความคิดเห็น ต อ การ ดําเนินงานของบริษัทฯ เพื่อ กํากับดูแลใหการดําเนินงานของฝายบริหารเปนไปอยางมีประสิทธิภ าพ ถูกต อ ง และโปรง ใส  องคประกอบคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษัทมีจํานวน 12 ทาน (ณ วัน ที่ 31 มีนาคม 2556) ประกอบดวย กรรมการที่เปนผูบริหาร

6

ทาน

กรรมการที่มิไดเปนผูบริหาร

6

ทาน (เปนกรรมการอิสระจํานวน 5 ทาน)

สวนที่ 1 หนา 181


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ทั้ง นี้ โครงสรางคณะกรรมการบริษัทจะประกอบดวยกรรมการอิส ระอยางนอ ย 1/ 3 ขอ ง จํ า นวน กรรมการทั้ง หมด แตไมนอ ยกวา 3 ทาน และคณะกรรมการบริษัทไดจัดตั้ง คณะกรรมการชุดยอ ยตาง ๆ เพื่อ บริหารและดําเนินกิจการใหเปนไปตามนโยบายการกํากับดูแลกิจการที่ดี ไดแก คณะ กร ร มการ ตร วจส อ บ คณะกรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน คณะกรรมการบรรษัทภิบาล และคณะกรรมการบริห าร ทั้ ง นี้ คณะกรรมการตรวจสอบประกอบดวยกรรมการอิส ระทั้ง หมดและมีจํานวนไมนอ ยกวา 3 ทาน โดยมีกรรมการ ตรวจสอบอยางนอ ย 1 ทาน ที่มีความรูและประสบการณเพื่อ ทําหนาที่ในการสอบทานความน า เชื่ อ ถื อ ขอ ง งบการเงิน สําหรับคณะกรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทนจะประกอบดวยกรรมการไมนอ ยกวา 3 ทาน แตไมเกิน 5 ทาน และเปนกรรมการอิส ระเป น ส ว นใหญ ในส ว นขอ ง คณะ กร ร มการ บร ร ษั ท ภิ บ าล จะ ประกอบดวยกรรมการไมนอ ยกวา 4 ทาน แตไมเกิน 6 ทาน สําหรับอํานาจหนาที่และความรับผิ ด ชอ บขอ ง คณะกรรมการและคณะกรรมการชุดยอ ยแตละชุด โปรดพิจารณารายละเอียดในหัวขอ 8.1 โครง ส ร า ง การ จัดการ  ภาวะผูนําและวิสัยทัศน คุ ณ สมบั ติ ข องกรรมการ กรรมการอิ ส ระ และกรรมการ ตรวจสอบ คณะกรรมการมีความมุง มั่นที่จะใหบริษัทฯ เปนองคกรชั้นนําที่ไดร ับการยอมรับในระดับสากลวาเปน บริษัทฯ ที่ประสบความสําเร็จมากที่ส ุดแหง หนึ่ง ในประเทศไทย โดยดําเนินธุร กิจที่มีความหลากหลาย ด ว ย การบริหารจัดการที่แข็ง แกรง และดวยบุคลากรที่ลวนแตมีความสามารถและมีส วนรวมในการกําหนดวิส ัยทัศน ภารกิจ และกลยุทธ คณะกรรมการมีภ าวะผูนํา วิส ัยทัศน มีความอิส ระในการตัดสินใจและรับผิด ชอ บตาม หนาที่ในการกํากับดูแลกิจการใหเกิดประโยชนส ูง สุดตอ ผูถือ หุนโดยรวม คณะกรรมการ มี ห น า ที่ แ ละ ความ รับผิดชอบตอ ผูถือ หุนของบริษัทฯ ที่จะกํากับดูแลการบริหารงานของฝายบริหารและ มี ก าร แบ ง แยกหน า ที่ ระหวางคณะกรรมการและฝายบริหารไวอ ยางชัดเจน โปรดพิจารณารายละเอียดเกี่ยวกับคุณสมบัติของกรรมการ กรรมการอิส ระ และกรรมการตรวจสอบ ในหัวขอ 8.1.1 คณะกรรมการบริษัท และหัวขอ 8.1.2 คณะกรรมการตรวจสอบ  คาตอบแทนกรรมการและผูบริหาร โปรดพิจารณารายละเอียดในหัวขอ 8.2 คาตอบแทนกรรมการและผูบริหาร  การประชุมคณะกรรมการ และคณะกรรมการชุดยอย คณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการตรวจสอบจะมีการประ ชุ ม เป น ปร ะ จํ า ทุ ก ไตร มาส เพื่ อ รับทราบและติดตามผลการดําเนินงานในเรื่อ งตางๆ ของบริษัทฯ โดยมีกรรมการอิส ระมาถวงดุลและสอบทาน การบริหารงานของคณะกรรมการ โดยบริษัทฯ มีการกําหนดตารางนัดการประชุมคณะกรรมการบริษัทและ คณะกรรมการตรวจสอบไวลวงหนาตลอดทั้ง ป และอาจมีการประชุมเพิ่มเติมตามความจําเปนและเหมาะสม สําหรับคณะกรรมการบริหารจะมีการประชุมเปนประจําทุกเดือ นและ ปร ะ ชุ ม เพิ่ ม เติ ม ตามความ จําเปนและเหมาะสมเพื่อ พิจารณาอนุมัติการดําเนินงานของบริษัทฯ ในเรื่อ งสําคัญตางๆ ที่อ ยูในอํานาจการ ตัดสินใจของคณะกรรมการบริหาร และรายงานผลการดําเนินงานใหคณะกรรมการบริษัททราบเปนประจําทุก ไตรมาส สวนที่ 1 หนา 182


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

สําหรับคณะกรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทน จะมีการประชุมอยางนอ ยป ล ะ 1 ครั้ ง และ เพิ่มเติมตามความเหมาะสม และสําหรับคณะกรรมการบรรษัทภิบาล จะมีการประชุมอยางนอ ยป ล ะ 2 ครั้ ง และเพิ่มเติมตามความเหมาะสม นอกจากนี้ กรรมการที่ไมเปนผูบริหารยัง สามารถประชุมกันเองไดตามความ เหมาะสม ซึ่ง จะมีการประชุมอยางนอ ยปละ 1 ครั้ง ทั้ง นี้ เพื่อ เปดโอกาสใหกรรมการ ที่ ไ ม ไ ด เ ป น ผู บ ริ ห าร สามารถอภิปรายปญหาตางๆ ที่อ ยูในความสนใจรวมกัน โดยไมมีกรรมการที่เปนผูบริหารหรือ ฝายบริหารเขา รวมประชุม สําหรับจํานวนครั้ง และการเขาประชุมคณะกรรมการ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหา และกําหนดคาตอบแทน และคณะกรรมการบรรษัทภิบาล ตลอดจนการประชุมรวมกันของกรรมการที่ไมเ ป น ผูบริหารในป 2555/56 โปรดพิจารณารายละเอียดในหัวขอ 8.1.5  การดูแลเรื่องการใชขอมูลภายในและความขัดแยงทางผลประโยชน โปรดพิจารณารายละเอียดในหัวขอ 8.4 การดูแลเรื่อ งการใชขอ มูลภายในและ ความขั ด แย ง ทาง ผลประโยชน  การประเมินการปฏิบัติหนาที่ของคณะกรรมการ คณะกรรมการไดจัดใหมีการประเมินผลการปฏิบัติง านของคณะกรรมการทั้ง คณะ ในการ ปร ะ ชุ ม คณะกรรมการบริษัทเมื่อ วันที่ 27 พฤษภาคม 2556 เพื่อ ใหคณะกรรมการไดพิจารณาทบทวนผลงาน ป ญ หา และอุปสรรคในการดําเนินงานระหวางป 2555/56 เพื่อ ใหนํามาแกไข และเพิ่มเติมประสิทธิภ าพการ ทํ า ง าน โดยการประเมินยัง คงใชหลักเกณฑเดิมที่ใชประเมินในป 2554/55 กลาวคือ ไดประเมิ น โดยพิ จ าร ณาใน 6 หัวขอ ไดแก (1) โครงสรางและคุณสมบัติของคณะกรรมการ (2) บทบาท หนาที่ และความรั บ ผิ ด ชอ บขอ ง คณะกรรมการ (3) การประชุมคณะกรรมการ (4) การทําหนาที่ของกรรมการ (5) ความสัมพันธกับฝายจัดการ และ (6) การพัฒนาตนเองของกรรมการและการพัฒนาผูบริหาร ทั้ง นี้ หลักเกณฑการประเมิน และผลคะแนน จากการประเมินในแตละหัวขอ เปนดัง นี้ คะแนนรวม ต่ํากวา 50%

=

50 – 65% 66 - 75% 76 - 89% 90 - 100%

= = = =

ความหมาย ควรปรับปรุง/ไมเห็นดวย/ไมมีการดําเนินการในเรื่องนั้ น หรื อ มี ก ารดํ า เนิ น การในเรื่ อ งนั้ น เพียงเล็กนอย พอใช /เห็นดวยบางสวน/มีก ารดําเนินการในเรื่องนั้นพอสม ควร แตยังสามารถปรับปรุงได ดี /เห็นดวย/มีก ารดํ าเนินการในเรื่องนั้นอยา งเหมาะสม ดีมาก/เห็นดวยคอนขา งมาก/มี การดําเนินการในเรื่องนั้นอย างเหมาะสมและดีมาก ดีเลิศ/เห็นดวยอยางยิ่ง/มีก ารดํ าเนินการในเรื่องนั้นอยา งเหมาะสมและดีเยี่ ยม

1. โครงสรางและคุณสมบัติของคณะกรรมการ - จํานวนกรรมการทั้ง หมดในคณะกรรมการมีความเหมาะสมกับลักษณะการประกอบธุร กิจของบริ ษั ท ฯ ชวยใหการทําหนาที่โดยรวมของคณะกรรมการมีประสิทธิภ าพ - คณะกรรมการประกอบดวยบุคคลที่มีความรูและประสบการณหลากหลายเพียงพอที่จะชวยใหก าร ทํ า หนาที่โดยรวมของคณะกรรมการมีประสิทธิภ าพ - กรรมการอิส ระในคณะกรรมการมีจํานวนที่เหมาะสม ชวยใหการทําหนาที่โดยรวมของคณะกรรมการมี สวนที่ 1 หนา 183


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

2. -

แบบ 56-1 ป 2555/56

ประสิทธิภ าพ กรรมการที่ไมเปนผูบริหารในคณะกรรมการมีจํานวนที่เหมาะสม ชวยใหการ ทํ า หน า ที่ โ ดยร วมขอ ง คณะกรรมการมีประสิทธิภ าพ กรรมการที่เปนผูบริหารในคณะกรรมการมีจํานวนที่เหมาะส ม ช ว ยให ก าร ทํ า หน า ที่ โ ดยร วมขอ ง คณะกรรมการมีประสิทธิภ าพ นิยามกรรมการอิส ระที่บริษัทฯ กําหนดมีความเหมาะสมกับลักษณะเฉพาะของบริษัทฯ กระบวนการสรรหาบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมมาเปนกรรมการบริ ษั ท มี ค วามโปร ง ใส ยุ ติ ธ ร ร ม ไมอ ยูภ ายใตอ ิทธิพลของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง คณะกรรมการตรวจสอบมีคุณสมบัติเหมาะสมกับการปฏิบัติหนาที่ตามกฎบัตร (Charter) ที่กําหนดไว ไดอ ยางมีประสิทธิภ าพ คณะกรรมการพิจารณาคาตอบแทนมีคุณสมบัติเหมาะสมกับการปฏิบัติหนา ที่ ต ามที่ ค ณะ กร ร มการ มอบหมายไดอ ยางมีประสิทธิภ าพ คณะกรรมการสรรหามีคุณสมบัติเหมาะสมกับการปฏิบัติหนาที่ตามที่คณะกรรมการมอบหมายไดอ ยาง มีประสิทธิภ าพ บทบาท หนาที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ คณะกรรมการไดใหความสําคัญและใชเวลาอยางเพียงพอในการ พิ จ าร ณาเรื่ อ ง สํ า คั ญ ที่ เ กี่ ย วกั บ ทิศทางการดําเนินธุร กิจของบริษัทฯ คณะกรรมการไดใหความสําคัญและใชเวลาอยางเพียงพอในการพิจารณาหรือ ทบทวนนโยบายการ กํากับดูแลกิจการของบริษัทฯ คณะกรรมการไดใหความสําคัญและใชเวลาอยางเพียงพอในการกํากับดูแลใหมีการปฏิบัติตามนโยบาย การกํากับดูแลกิจการที่คณะกรรมการกําหนด คณะกรรมการไดใหความสําคัญและใชเวลาอยางเพียงพอในการพิจารณาหรือ ทบทวนจร ร ยาบร ร ณ ธุร กิจของบริษัทฯ คณะกรรมการไดใหความสําคัญและใชเวลาอยางเพีย ง พอ ในการ กํ า กั บ ดู แ ลให มี ก าร ปฏิ บั ติ ต าม จรรยาบรรณธุร กิจที่คณะกรรมการกําหนด คณะกรรมการไดใหความสําคัญและใชเวลาอยางเพียงพอในการพิจารณาหรือ ทบทวนนโยบายความ รับผิดชอบตอ สัง คม ชุมชน และสิ่ง แวดลอ มของบริษัทฯ คณะกรรมการไดใหความสําคัญและใชเวลาอยางเพียงพอในการกํากับดูแลใหมีการปฏิบัติตามนโยบาย ความรับผิดชอบตอ สัง คม ชุมชน และสิ่ง แวดลอ มของบริษัทฯ คณะกรรมการไดกําหนดกระบวนการพิจารณารายการที่มีความขัดแยง ทางผลประโยชนใหมีความเปน ธรรม (Arm-Length Basis) คณะกรรมการไดพิจารณาวา การทํารายการที่มีความขัดแยง ทางผลปร ะ โยชน ไ ด ดํ า เนิ น การ ตาม กระบวนการที่กําหนดไวและเปนประโยชนส ูง สุดตอ บริษัทฯ คณะกรรมการไดใหความสําคัญและใชเวลาอยางเพียงพอในการ ทบทวนเพื่ อ ให มั่ น ใจว า บริ ษั ท ฯ มีร ะบบควบคุมภายในที่ดีพอ ทําใหการดําเนินงานของบริษัทฯ ประสบความสําเร็จ คณะกรรมการไดใหความสําคัญและใชเวลาอยางเพียงพอในการพิจารณาหรือ ทบทวนนโยบายด า น ความเสี่ยงและการจัดการความเสี่ยงของบริษัทฯ คณะกรรมการไดใหความสําคัญและใชเวลาอยางเพียงพอในการประเมินประสิทธิผลของการ จั ด การ ความเสี่ยงที่ดําเนินการโดยฝายจัดการ สวนที่ 1 หนา 184


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

- คณะกรรมการไดติดตามการปฏิบัติหนาที่ของฝายจัดการอยางสม่ําเสมอ เพื่อ ใหเปนไปตามนโยบาย หรือ มติของคณะกรรมการ - คณะกรรมการไดใหความสําคัญและใชเวลาอยางเพียงพอในการดูแลใหการจัดทํางบการเงินเปนไปตาม มาตรฐานการบัญชีที่ร ับรองโดยทั่วไป - คณะกรรมการไดใหความสําคัญและใชเวลาอยางเพียงพอในการดูแลใหบริษัทฯ เปดเผยขอ มู ล สํ า คั ญ ตามกฎเกณฑที่กําหนด - คณะกรรมการไดใหความสําคัญและใชเวลาอยางเพียง พอ ในการ กํ า หนดกร ะ บวนการ พิ จ าร ณา คาตอบแทนกรรมการใหเหมาะสมและโปรง ใส - คณะกรรมการไดใหความสําคัญและใชเวลาอยางเพียงพอในการพิจารณาคาตอบแทนกรรมการ ตาม กระบวนการที่กําหนดเพื่อ นําเสนอผูถือ หุน - คณะกรรมการไดใหความสําคัญและใชเวลาอยางเพีย ง พอ ในการ กํ า หนดเกณฑ ป ร ะ เมิ น ผลการ ปฏิบัติง านของประธานกรรมการบริหาร - คณะกรรมการไดใหความสําคัญและใชเวลาอยางเพียงพอในการประเมินผลการปฏิบัติง านของประธาน กรรมการบริหารตามเกณฑที่กําหนดไว และการพิจารณาคาตอบแทนของประธานกรรมการบริหารให สอดคลอ งกับผลการประเมิน - คณะกรรมการไดกําหนดหลักเกณฑและเปดโอกาสใหผูถือ หุนสวนนอ ยเสนอเรื่อ งเพื่อ บรรจุ เ ป น วาร ะ การประชุมและชื่อ บุคคลเพื่อ เขารับการเลือ กตั้ง เปนกรรมการในการประชุมสามัญผูถอื หุนประจําป 3. การประชุมคณะกรรมการ - กรรมการไดร ับทราบกําหนดการประชุมคณะกรรมการในแตละปลวงหนา ชวยใหกรรมการ ส ามาร ถ จัดสรรเวลามาประชุมไดทุกครั้ง - จํานวนครั้ง ของการประชุมคณะกรรมการมีความเหมาะสมที่จะชวยใหคณะกรรมการปฏิบัติ ห น า ที่ ไ ด อยางมีประสิทธิภ าพและสามารถกํากับดูแลใหบริษัทฯ ดําเนินธุร กิจอยางประสบความสําเร็จ - วาระการประชุมคณะกรรมการมีความเหมาะสม ช ว ยให ค ณะ กร ร มการ ปฏิ บั ติ ห น า ที่ ไ ด อ ย า ง มี ประสิทธิภ าพ - กรรมการไดร ับเอกสารประกอบการประชุมลวงหนาและมีเวลาเพียงพอในการศึกษาขอ มูลเพือ่ เตรียมตัว เขาประชุม - ขอ มูลในเอกสารประกอบการประชุมเพียงพอตอ การตัดสินใจของกรรมการ - คณะกรรมการสามารถขอขอ มูลที่จําเปนเพิ่มเติมเพื่อ ประกอบการตัดสินใจใหเปนประโยชนตอ บริษัทฯ - บรรยากาศในการประชุมคณะกรรมการเอื้อ อํานวยใหเกิดการแสดงความคิดเห็นอยางสรางสรรคของ กรรมการทุกคน และไมถูกครอบงําโดยบุคคลใดบุคคลหนึ่ง - กรรมการสามารถอภิปรายปญหาสําคัญอยางเต็มที่ในที่ประชุมคณะกรรมการ 4. การทําหนาที่ของกรรมการ - กรรมการมีการเตรียมตัวและศึกษาขอ มูลอยางเพียงพอมากอ นการประชุมคณะกรรมการ - กรรมการเขาประชุมคณะกรรมการอยางสม่ําเสมอ - กรรมการแสดงความคิดเห็นอยางเปนอิส ระ - กรรมการมีความเปนกลางในการพิจารณาเรื่อ งตางๆ และมีอ ิส ระในการตัดสินใจลงมติ ไมถูกโนมนาว โดยไมมีเหตุผลสมควร - กรรมการใหความเห็นที่เปนประโยชนตอ การดําเนินงานของบริษัทฯ - กรรมการเขาใจวาประเด็นใดมีความสําคัญและใชเวลาในการพิจารณาประเด็นนั้นๆ อยา ง เหมาะ ส ม สวนที่ 1 หนา 185


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

5. 6. -

-

แบบ 56-1 ป 2555/56

โดยไมเสียเวลากับประเด็นที่ไมส ําคัญ กรรมการยอมรับความเห็นที่แตกตางระหวางกัน โดยไมเกิดความขัดแยง ความสัมพันธกับฝายจัดการ กรรมการสามารถหารือ กับประธานกรรมการบริหารไดอ ยางตรงไปตรงมา คณะกรรมการมีความสัมพันธที่ดีกับฝายจัดการ ประธานกรรมการบริหารสามารถขอคําแนะนําจากกรรมการไดเมื่อ จําเปน คณะกรรมการไมไดเขาไปแทรกแซงการปฏิบัติหนาที่ของฝายจัดการ คณะกรรมการไดเขามามีส วนรวมในการพิจารณาแกไขปญหาอยางเหมาะสม ในกร ณี ที่ ก าร ปฏิ บั ติ หนาที่ของฝายจัดการไมเปนไปตามแผนธุร กิจและงบประมาณที่กําหนด ในปที่ผานมา กรรมการที่ไมเปนผูบริหารไดมีการประชุมปรึกษาหารือ ระหวางกันเองอยางอิสระโดยไมมี ผูบริหารหรือ ฝายจัดการเขารวมประชุมดวย การพัฒนาตนเองของกรรมการและการพัฒนาผูบริหาร กรรมการมีความเขาใจบทบาทหนาที่และความรับผิดชอบของการเปนกรรมการ กรรมการมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับธุร กิจของบริษัทฯ อ ย า ง เพี ย ง พอ ที่ จ ะ ช ว ยให ป ฏิ บั ติ ห น า ที่ กรรมการอยางมีประสิทธิภ าพ กรรมการใสใจหาข อ มู ล หรื อ ติ ด ตามข า วที่ ส ํ า คั ญ เกี่ ย วกั บ ภ าวะ เศร ษฐกิ จ และ อุ ต ส าหกร ร ม การเปลี่ยนแปลงดานกฎระเบียบตางๆ และสภาพการแขง ขัน ซึ่ง จะชวยใหการปฏิบัติหนาที่กรรมการมี ประสิทธิภ าพ คณะกรรมการมีการสง เสริมใหกรรมการไดร ับการฝกอบรม เพื่อ ใหเขาใจการปฏิ บั ติ ห น า ที่ ใ นฐานะ กรรมการ เมื่อ มีกรรมการใหม คณะกรรมการไดดูแลใหฝายจัดการจัดเอกสารหรือ จั ด บร ร ยายส รุ ป (Briefing) เพื่อ ใหกรรมการเขาใจธุร กิจและการปฏิบัติหนาที่ของกรรมการ คณะกรรมการไดกําหนดแผนการสืบทอดงาน เพื่อ ใหการทําหนาที่ในตําแหนง ผูบริหาร ร ะ ดั บ สู ง ขอ ง บริษัทฯ เปนไปอยางตอ เนื่อ งการดําเนินธุร กิจของบริษัทฯ ไมตอ งหยุดชะงัก ทั้ง นี้ ในป 2555/56 ผลคะแนนจากการประเมินในแตละหัวขอ อยูในชวงคะแนน 90-100%  การประเมินผลการปฏิบัติงานและพิจารณาคาตอบแทนของประธานกรรมการบริหาร

คณะกรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทนไดกําหนดหลักเกณฑการประเมินผลการ ปฏิ บั ติ ง าน ของประธานกรรมการบริหารเพื่อ ใชเปนกรอ บในการ พิ จ าร ณาค า ตอ บแทนที่ เ หมาะ ส มขอ ง ปร ะ ธาน กรรมการบริหาร และนําเสนอตอ คณะกรรมการบริษัท ในการประชุมคณะกรรมการสรรหาและกําหนดคาตอบแทนเมื่อ วันที่ 23 พฤษภาคม 2556 ไดมีการ ประเมินผลการปฏิบัติง านของประธานกรรมการบริหารสําหรับป 2555/56 โดยการประเมินแบง เปน 3 หมวด ไดแก หมวดที่ 1 - ผลสําเร็จทางธุร กิจ หมวดที่ 2 – การวัดผลการปฏิ บั ติ ง าน และ หมวดที่ 3 - การ พั ฒ นา ประธานกรรมการบริหาร สําหรับการวัดผลการปฏิบัติง านในหมวดที่ 2 ยัง คงใชหลักเกณฑเดิมที่ใ ช ป ร ะ เมิ น ในป 2554/ 55 กลาวคือ ไดแบง เปน 10 หัวขอ ไดแก 1. ความเปนผูนํา 2. การกําหนดกลยุท ธ 3. การ ปฏิ บั ติ ต ามกลยุ ท ธ 4. การวางแผนและผลปฏิบัติทางการเงิน 5. ความสัมพันธกับคณะกรรมการ 6. ความสัมพั น ธ กั บ ภ ายนอ ก สวนที่ 1 หนา 186


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

7. การบริหารงานและความสัมพันธกับบุคลากร 8. การสืบทอดตําแหนง 9. ความรูดานผลิตภัณฑและบริการ และ 10. คุณลักษณะสวนตัว คะแนนรวม ต่ํากวา 50%

=

50 – 65% 66 - 75% 76 - 89% 90 - 100%

= = = =

ความหมาย ควรปรับปรุง/ไมเห็นดวย/ไมมีการดําเนินการในเรื่องนั้ น หรื อ มี ก ารดํ า เนิ น การในเรื่ อ งนั้ น เพียงเล็กนอย พอใช /เห็นดวยบางสวน/มีก ารดําเนินการในเรื่องนั้นพอสม ควร แตยังสามารถปรับปรุงได ดี /เห็นดวย/มีก ารดํ าเนินการในเรื่องนั้นอยา งเหมาะสม ดีมาก/เห็นดวยคอนขา งมาก/มี การดําเนินการในเรื่องนั้นอย างเหมาะสมและดีมาก ดีเลิศ/เห็นดวยอยางยิ่ง/มีก ารดํ าเนินการในเรื่องนั้นอยา งเหมาะสมและดีเยี่ ยม

โดยผลคะแนนจากการประเมินใน 10 หัวขอ อยูในชวงคะแนน 90-100% ทั้ง นี้ คณะกรรมการสรรหา และกําหนดคาตอบแทนไดนําเสนอผลการประเมินประธานกรรมการบริหารตอ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท เมื่อ วันที่ 27 พฤษภาคม 2556 และคณะกรรมการบริษัทไดพิจารณาและเห็ น ชอ บด ว ยกั บ ผลการ ปร ะ เมิ น ดัง กลาว  นโยบายในการไปดํารงตําแหนงกรรมการที่บริษัทอื่นของประธานกรรมการบริหาร บริษัทฯ ไดมีการกําหนดนโยบายในการไปดํ า ร ง ตํ า แหน ง กร ร มการ ที่ บ ริ ษั ท อื่ น ขอ ง ปร ะ ธาน กรรมการบริหาร ซึ่ง สรุปสาระสําคัญไดวาประธานกรรมการบริหารไมควรไปดํารงตําแหนง กรรมการที่บริษทั อื่นนอกกลุมบริษัทบีทีเอส เวนแตในกรณีที่เขาขอ ยกเวนที่กําหนดไว  เลขานุการบริษัท โปรดพิจารณารายละเอียดในหัวขอ 8.1.9 เลขานุการบริษัท  การควบคุมภายใน (Internal Control) คณะกรรมการไดจัดใหมีและรักษาไวซึ่ง ระบบการควบคุมภายใน เพื่อ ปกปอ งเงินลงทุนของผูถือ หุน และทรัพยส ินของบริษัทฯ คณะกรรมการมีหนาที่ส อบทานความมีประสิทธิภ าพของระบบการควบคุมภายใน อยางนอ ยปละครั้ง และรายงานใหผูถือ หุนทราบวาไดกระทําการดัง กลาวแลวในรายงานประจําป การสอบทาน ตอ งครอบคลุมการควบคุมภายในดานตางๆ ไดแก องคกรและสภาพแวดลอ ม (Organizational Control and Environment Measure) การบริหารความเสี่ยง (Risk Management Measure) การควบคุมการปฏิบั ติ ก าร ของฝายบริหาร (Management Control Activities) ระบบสารสนเทศและการสื่อ สารขอ มูล (Information and Communication Measure) และระบบการติดตาม (Monitoring) เพื่อ ใหเ ป น ไปอ ย า ง มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ าพและ ประสิทธิผล โปรดพิจารณารายละเอียดเพิ่มเติมในหัวขอ 9 การควบคุมภายใน  สํานักตรวจสอบภายใน

สํานักตรวจสอบภายในไดทําหนาที่ตรวจสอบและประเมินขอ มูลทั้ง ที่เปนขอ มูลทางการเงิน และไมใช ขอ มูลทางการเงินอยางสม่ําเสมอ รวมทั้ง สอบทานการปฏิบัติตามกฎเกณฑภ ายในตางๆ ของอ ง ค ก ร โดย รายงานผลการตรวจสอบไปยัง คณะกรรมการตรวจสอบโดยตรง ทั้ง นี้ เพื่อ ใหมั่นใจวาบริษัทฯ ไดปฏิบั ติ ต าม

สวนที่ 1 หนา 187


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ระเบียบและขอ บัง คับของกฎหมายที่เกี่ยวขอ งอยางครบถวน และสนับสนุนการ กํ า กั บ ดู แ ลกิ จ การ ที่ ดี ข อ ง องคกร ทั้ง นี้ สํานักตรวจสอบภายในจะเปนอิส ระจากหนวยงานอื่นๆ ในบริษัทฯ และสามารถเขา ถึ ง ข อ มู ล และทรัพยส ินของบริษัทฯ ในสวนที่เกี่ยวขอ งกับการปฏิบัติง านของผูตรวจสอบ และสามารถเรียกใหผูร ับการ ตรวจสอบใหขอ มูล และใหคําชี้แจงในเรื่อ งที่ไดร ับมอบหมายจากคณะกรรมการตรวจสอบใหทําการตรวจสอบ ได โดยจะทําหนาที่ในการตรวจสอบ ติดตาม ควบคุม ทดสอบ สอบทาน และประเมินผลการปฏิ บั ติ ง านขอ ง หนวยงานตางๆ ในบริษัทฯ ตามที่คณะกรรมการตรวจสอบเปนผูกําหนดบทบาทหน า ที่ นอ กจากนั้ น ยั ง สนับสนุนใหหนวยงานตางๆ ในบริษัทฯ มีการประเมินความเสี่ยงดวยตนเอง ทั้ง นี้ เพื่อ ใหร ะบบการควบคุ ม ภายในและการดําเนินงานของบริษัทฯ มีประสิทธิภ าพและประสิทธิผล รายงานทางการเงินมีความนาเชื่อ ถือ การปฏิบัติง านเปนไปตามขอ กําหนดของกฎหมาย ระเบียบขอ บัง คับของทางราชการ หนวยงานกํ า กั บ ดู แ ล และตามมาตรฐาน นโยบาย แผนงาน ขอ บัง คับ ระเบียบคําสั่ง และประ กาศต า ง ๆ ขอ ง บริ ษั ท ฯ ร วมทั้ ง ปกปอ งทรัพยส ินของบริษัทฯ และปอ งกันความเสียหายอันอาจเกิดขึ้นกับบริษัทฯ ตลอ ดจนทํ า ให เ กิ ด การ ถวงดุล และตรวจสอบระหวางกันอยางเหมาะสมที่จะใหเกิดความเชื่อ มั่นอยางสมเหตุส มผลในการปฏิบัติง าน ของบริษัทฯ ที่จะบรรลุผลสําเร็จตามเปาหมายที่กําหนดไว ขอบเขตการทํางานของสํานักตรวจสอบภายใน ครอบคลุมถึง การทดสอบ สอบทาน และ ปร ะ เมิ น ความเพียงพอ และความมีประสิทธิภ าพของระบบการควบคุมภายในของบริษัทฯ รวมทั้ง คุณภาพขอ ง การ ปฏิบัติง านในเรื่อ งดัง ตอ ไปนี้ -

ความเชื่อ ถือ ไดของระบบการควบคุมภายใน ตลอดจนการปฏิบัติตามมาตรฐาน และนโยบาย ดานการบัญชี และการเงิน เพื่อ ใหขอ มูลทางบัญ ชี แ ละ การ เงิ น มี ค วามถู ก ต อ ง เชื่ อ ถื อ ได แผนการจัดองคกร วิธีการ และมาตรการตางๆ ที่นํามาใชในการปอ งกันทรัพยส ินใหปลอดภัย จากการทุจริตผิดพลาดทั้ง ปวง

-

ความเชื่อ ถือ ไดของระบบการควบคุมภายในดานการบริหาร และการปฏิบัติง านว า ได มี ก าร ปฏิบัติที่ส อดคลอ งกับนโยบาย แผนงานที่วางไว และเปนไปตามขอ กําหนดของกฎหมาย และ ระเบียบขอ บัง คับของทางราชการ และหนวยงานกํากับดูแล และระเบียบขอ บัง คับของบริษัทฯ ซึ่ง ครอบคลุมกิจกรรมในดานตางๆ ไดแก การจัดการ การปฏิบัติการ การจัด หา การ ตลาด การบริหาร การเงิน การบัญชี และทรัพยากรบุคคล

-

ความเชื่อ ถือ ไดของระบบการควบคุมภายในดานสารสนเทศ สอบทานการควบคุมภายในของ โครงสรางฝายที่ดูแลระบบคอมพิวเตอร การเขาถึง ขอ มูล การเขาสูโปรแกรม การประมวลผล การพัฒนาระบบ การจัดทําขอ มูลสํารอง การจัดทําแผนการดําเนินการสํา ร อ ง กร ณี ฉุ ก เฉิ น อํานาจการปฏิบัติง านในระบบ การจัดทําเอกสารจากระบบ รวมทั้ง การเก็บรักษาเอกสาร คูม อื ตลอดจนผัง ระบบงานคอมพิวเตอร

 จริยธรรมและจรรยาบรรณ คณะกรรมการไดกําหนดนโยบายใหบริษัทฯ ดําเนินการประกอบธุร กิจดวยความซื่อ สัตยส ุจริ ต และ เที่ยงธรรมตามหลักปรัชญาและจริยธรรมและจรรยาบรรณของบริษัทฯ โดยไดร วบรวมไวเปนลายลักษณอกั ษร สวนที่ 1 หนา 188


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ในคูมือ จริยธรรม (Code of Conduct) ซึ่ง ไดกําหนดเรื่อ งการปฏิบัติตอ ผูถือ หุน พนักงาน ผูมีส วนได เ สี ย ทุ ก กลุม สาธารณชน สัง คม และผูที่เกี่ยวขอ ง ทั้ง นี้ บริษัทฯ ไดติดตามการปฏิบัติต ามแนวทาง ดั ง กล า วอ ย า ง สม่ําเสมอ รวมทั้ง ไดมีการอบรมทําความเขาใจใหกับผูบริหารและพนักงาน ซึ่ง ผูบริหารและผูบั ง คั บ บั ญ ชามี หนาที่ในการสอดสอ ง ดูแล และสง เสริมผูใตบัง คับบัญชาใหปฏิบัติตามจรรยาบรรณที่กําหนดและประพฤติตน ใหเปนแบบอยาง

สวนที่ 1 หนา 189


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

8.4

แบบ 56-1 ป 2555/56

การดูแลเรื่องการใชขอมูลภายในและความขัดแยงทางผลประโยชน 8.4.1

การใชขอมูลภายใน

บริษัทฯ ไดตระหนักถึง ความสําคัญในการปอ งกันการใชขอ มูลภายในเพื่อ ประโยชนตอ ตนเอง หรื อ ผูอ ื่นของกรรมการ ผูบริหาร และพนักงานของบริษัทฯ ดัง นั้น จึง ไดกําหนดแนวทางปฏิ บั ติ เ กี่ ย วกั บ การ ใช ขอ มูลภายใน โดยรวบรวมอยูในคูมือ จริยธรรม (Code of Conduct) ทั้ง นี้ เพื่อ ใหกรรมการ ผู บ ริ ห าร และ พนักงานทั้ง หลายปฏิบัติตามกฎเกณฑและระเบียบของสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพ ย แ ละ ตลาด หลักทรัพย และเปนไปตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี โดยมีส าระสําคัญสรุปไดดัง นี้  กําหนดใหกรรมการ และผูบริหาร (ซึ่ง หมายความรวมถึง คูส มรสและบุตรที่ยัง ไมบรรลุนิติภ าวะ) ตอ งรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือ หลักทรัพยตอ สํานักงานคณะกรรมการกํากับ หลั ก ทรั พ ย และตลาดหลักทรัพย ตามมาตรา 59 แหง พระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 ภายใน 3 วันทําการนับจากวันที่มีการเปลี่ยนแปลงการถือ หลั ก ทรั พ ย ตลอ ดจนจั ด ส ง สําเนาใหแกส ํานักเลขานุการบริษัทเพื่อ รวบรวม ทําสรุป และนําเสนอตอ ที่ประชุมคณะกรรมการ เปนรายไตรมาส  กําหนดหามมิใหกรรมการ ผูบริหาร และพนักงาน ใชขอ มูลภายในเพื่อ ประโยชนในการซื้อ ขาย หลักทรัพยของบริษัทฯ และหามมิใหเปดเผยขอ มูลภายในตอ บุคคลภายนอกหรือ ผูที่มิไดมีส  ว น เกี่ยวขอ ง กอ นที่จะมีการเปดเผยใหประชาชนทราบโดยทั่วถึง กัน ผ า นตลาดหลั ก ทรั พ ย แ ห ง ประเทศไทย โดยบริษัทฯ มีนโยบายปอ งกันการใชขอ มูลภายในโดยมิชอบดัง นี้ -

หามบุคคลที่ลวงรูขอ มูลภายในดัง กลาวซื้อ ขายหลักทรัพยของบริษัทฯ ก อ นมี ก าร เปดเผยงบการเงินรายไตรมาสและงบการเงินประจําป และภายใน 24 ชั่วโมง หลั ง การเปดเผยงบการเงินดัง กลาว ในกรณีที่ขอ มูลภายในที่เป ด เผยต อ ปร ะ ชาชนมี ความซับซอ น บุคคลที่ลวงรูขอ มูลภายในดัง กลาวควรตอ งรออยางนอ ย 48 ชั่วโมง นับแตไดมีการเปดเผยขอ มูลนั้นตอ ประชาชนแลว

-

ในกรณีที่กรรมการ ผูบริหาร และพนักงาน ทราบขอ มูลภายในที่ยัง ไมเปดเผย และมี ความสําคัญซึ่ง อาจมีผลกระทบตอ ราคาหลักทรัพยของบริษัทฯ บุคคลที่ลวงรูขอ มู ล ภายในดัง กลาวตอ งละเวนการซื้อ ขายหลักทรัพยของบริษัทฯ จนกวาจะพนระยะเวลา 24 ชั่วโมง หลัง การเปดเผยขอ มูลนั้นตอ ประชาชน แตหากขอ มูลมีความซับซอ นมาก ควรตอ งรอถึง 48 ชั่วโมง นับแตไดมีการเปดเผยขอ มูลนั้นตอ ประชาชนแลว

ทั้ง นี้ หากผูบริหารหรือ พนักงานของบริษัทฯ ฝาฝนขอ กําหนดในเรื่ อ ง การ ใช ข อ มู ล ภ ายใน ดัง กลาว นอกจากจะมีโทษตามพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยแลว ยัง ถือ วาได กระทําผิดขอ บัง คับการทํางานของบริษัทฯ และมีโทษทางวินัย โดยบทลง โทษทาง วิ นั ย มี 4 ลําดับ โดยขึ้นกับลักษณะแหง ความผิดหรือ ความหนักเบาของการกร ะ ทํ า ผิ ด หรื อ ตามความ รายแรงที่เกิดขึ้นตั้ง แต (1) ตักเตือ นเปนลายลักษณอ ักษร (2) ตักเตือ นเปนลายลั ก ษณ อ ั ก ษร และพักงาน (3) เลิกจางโดยจายคาชดเชย และ (4) เลิกจางโดยไมจายคาชดเชย

สวนที่ 1 หนา 190


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

8.4.2

แบบ 56-1 ป 2555/56

ความขัดแยงทางผลประโยชน

คณะกรรมการไดกําหนดนโยบายและแนวทางปฏิบัติในเรื่อ งความขัดแยง ทางผลปร ะ โยชน ไ ว เ ป น ลายลักษณอ ักษร โดยรวบรวมอยูในคูมือ จริยธรรม (Code of Conduct) ทั้ง นี้ บริษัทฯ มีนโยบายที่ จ ะ ปฏิ บั ติ ตามแนวทางของตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทยและพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลัก ทรั พ ย เพื่ อ ผลประโยชนส ูง สุดของบริษัทฯ โดยถือ เปนหนาที่ของบุคลากรทุกระดับที่จะพิจารณาแกไขปญหาความขัดแยง ทางผลประโยชนอ ยางรอบคอบ ยึดหลักความซื่อ สัตย สุจริต มีเหตุมีผล และเปนอิส ระภายในกรอบจริยธรรมที่ ดี ตลอดจนมีการเปดเผยขอ มูลอยางครบถวนเพื่อ ผลประโยชนของบริษัทฯ โดยรวมเปนสําคัญ การจัดทํารายงานการมีสวนไดเสียของกรรมการและผูบริหาร บริษัทฯ ไดกําหนดใหกรรมการและผูบริหารจัดสง รายงานการมีส วนไดเสีย ขอ ง ตนและ บุ ค คลที่ มี ความเกี่ยวขอ งใหกับบริษัทฯ และแจง ทุกครั้ง ที่มีการเปลี่ยนแปลง โดยใหเลขานุการ บริ ษั ท เป น ผู เ ก็ บ รั ก ษา รายงานการมีส วนไดเสียที่ร ายงานโดยกรรมการหรือ ผูบริหาร และจัดสง สําเนารายงานการมีส วนได เ สี ย ให ประธานกรรมการและประธานกรรมการตรวจสอบ เพื่อ ใชในการตรวจสอบและกํากับดูแลดานความขั ด แย ง ทางผลประโยชน นโยบายเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแยงกับผลประโยชนของบริษัทฯ โปรดพิจารณารายละเอียดในหัวขอ 10 รายการระหวางกัน

สวนที่ 1 หนา 191


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

8.5

แบบ 56-1 ป 2555/56

บุคลากร จํานวนบุคลากรและคาตอบแทนบุคลากร

บริษัทฯ และบริษัทยอ ยในแตละสายธุร กิจ มีจํานวนบุคลากร ณ วันที่ 31 มีนาคม 2556 ร วมทั้ ง สิ้ น 3,420 คน และมีการใหผลตอบแทนแกพนักงาน ซึ่ง ประกอบดวยเงินเดือ น โบนัส และเงินสมทบกองทุนสํารอง เลี้ยงชีพ ในป 2555/56 จํานวนรวม 1,380.8 ลานบาท ทั้ง นี้ ไดแสดงตารางเปรียบเทียบจํานวนบุคลากร ขอ ง บริษัทฯ และบริษัทยอ ยในแตละสายธุร กิจ ตลอดจนจํานวนคาตอบแทนบุคลากร ขอ ง ป 2555/56 ป 2554/55 และป 2553/54 ไวดัง นี้

63 คน

76.8

จํานวน พนักงาน ณ 31 มี.ค. 55 50 คน

1,969 คน

765.1

1,915 คน

628.8

1,805 คน

598.1

475 คน

233.4

443 คน

161.4

277 คน

134.1

763 คน

210.8

501 คน

139.9

321 คน

71.2

150 คน

94.8

136 คน

69.5

96 คน

42.9

3,420 คน

1,380.8

3,045 คน

1,057.3

2,545 คน

918.5

จํานวนพนักงาน ผลตอบแทน ณ 31 มี.ค. 56 ป 2555/56 บริษัทฯ ธุรกิจระบบขนสง มวลชน (1 บริษัท) ธุรกิจสื่อโฆษณา (7 บริษัท) ธุรกิจอสังหาริมทรั พย (13 บริษัท) ธุรกิจบริการ (5 บริษัท) รวม 27 บริษ ัท

หนวย : ลานบาท จํานวน ผลตอบแทน ผลตอบแทน พนักงาน ป 2553/54 ป 2554/55 ณ 31 มี.ค. 54 57.7 46 คน 72.2

หมายเหตุ: (1) ในป 2555/56 จํานวน 27 บริษัท ประกอบดวย บมจ. บีท ีเอส กรุป โฮลดิ้งส บริษัท ในกลุมธุรกิจระบบขนสงมวล ชน ( 1 บริ ษั ท ) ไดแก บมจ. ระบบขนสงมวลชนกรุงเทพ บริษัท ในกลุมธุรกิจสื่อโฆษณา (7 บริษัท ) ไดแก บมจ. วี จี ไอ โกล บอ ล มี เ ดี ย บจ. วีจีไอ แอดเวอรไทซิ่ง มีเดีย บจ. 999 มีเดีย บจ. 888 มีเดีย บจ. พอยท ออฟ วิว (พีโอวี) มีเดีย กรุป บจ. วี จี ไอ มัลติเทค อินเตอร เนชั่นแนล และ วี จี ไอ แอดเวอรไทซิ่ง ไชนา คอมพานี ลิมิเต็ด บริษัท ในกลุมธุรกิจอสังหาริมทรัพย (13 บริษัท ) ไ ด แ ก บจ. บีท ีเอส แอสเสทส (สํานักงานใหญ และโรงแรม อีสติน แกรนด สาทร กรุงเทพฯ) บจ. ปราณคีรี แอสเซ็ท ส บจ. บีท ีเอส แลนด บจ. สยาม เพจจิ้ง แอนด คอมมิวนิเคชั่น บจ. กามกุง พร็อพเพอรตี้ บจ. ดีแนล บจ. เมืองทอง แอสเซ็ท ส (โรงแรม ยู เชียงให ม และโรงแรม ยู อินจันทรี กาญจนบุรี) บจ. ธนายง ฟูด แอนด เบเวอเรจ บจ. ธนายง พร็อ พเ พอ ร ตี้ แ มเ นจเ ม น ท บจ. ยงสุ บจ. ธนาซิตี้ กอลฟ แอนด สปอรต คลับ บจ. สําเภาเพชร และบจ. นูโว ไลน เอเจนซี่ และบริษัท ในกลุมธุรกิจบริการ (5 บริษัท ) ไดแก ธนายง อินเตอรเนชั่นแนล ลิมิเต็ด ธนายง ฮองกง ลิมิเต็ด บจ. แครอท รีวอรดส บจ. บางกอก สมารท การด ซิสเทม และ บจ. เอชเอชที คอนสตรัคชั่น (2) ในป 2555/56 ไดมีการจําหนายเงินลงทุนทั้งหมดใน บจ. กมลา บีช รีสอรท แอนด โฮเต็ล แมนเนจเมนท และบจ. กามปู พร็อพเพอรตี้ สงผลใหจํานวนบริษัท ในกลุมธุรกิจอสังหาริมทรัพยลดลงจากเดิม 15 บริษัท ในป 2553/54 และป 2554/55 เปน 13 บริษัท ในป 2555/56 และจํานวนรวมของบริษัท ลดลงจาก 29 บริษัท ในป 2553/54 และป 2554/55 เปน 27 บริษัท ในป 2555/56 อ ย า งไ รก็ ดี บจ. กมลา บีช รีสอรท แอนด โฮเต็ล แมนเนจเมนท และบจ. กามปู พร็อพเพอรตี้ ไมไดมีการวาจางพนักงาน ดั ง นั้ น จึ ง ไ ม สงผลกระทบตอการเ ปรี ย บเ ที ย บจํ า นวนพนั ก งานแ ล ะค า ตอ บแ ท นขอ งป 2555/56 ป 2554/55 แ ล ะป 2553/54

สวนที่ 1 หนา 192


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

นอกจากนี้แลว บริษัทฯ ไดมีการมอบใบสําคัญแสดงสิทธิ BTS-WA และ BTS-WB ให แ ก พ นั ก ง าน ของบริษัทฯ และบริษัทยอ ย รายละเอียดดัง ตอ ไปนี้ 

ใบสําคัญแสดงสิทธิ BTS-WA

ในป 2554 และป 2555 บริษัทฯ ไดมีการมอบใบสําคัญแสดงสิทธิ BTS-WA ใหแกพนักงานขอ ง บริ ษั ท ฯ และบริษัทยอ ย จํานวน 146 คน เปนจํานวนรวม 100.0 ลานหนวย โดยอัตราการใชส ิทธิของใบสําคั ญ แส ดง สิ ท ธิ BTS-WA อยูที่ 1 หนวย ตอ หุนสามัญ 0.16 หุน ที่ร าคาการใชส ิทธิ 4.375 บาทตอ หุน 

ใบสําคัญแสดงสิทธิ BTS-WB

ในป 2556 บริษัทฯ ไดมีการมอบใบสําคัญแสดงสิทธิ BTS-WB ใหแกพนักงานของบริ ษั ท ฯ และ บริ ษั ท ยอ ย จํานวน 188 คน เปนจํานวนรวม 16.0 ลานหนวย โดยอัตราการใชส ิทธิของใบสํ า คั ญ แส ดง สิ ท ธิ BTS-WB อยูที่ 1 หนวย ตอ หุนสามัญ 1 หุน ที่ร าคาการใชส ิทธิ 5.01 บาทตอ หุน สวัสดิการพนักงาน นอกจากคาตอบแทนในรูปของเงินเดือ นและโบนัส แล ว กลุ ม บริ ษั ท ได จั ด ให มี ผ ลปร ะ โยชน แ ละ ผลตอบแทนใหกับพนักงานในรูปแบบอื่นๆ อีกหลายประการดัง นี้ 

การจัดใหมีกองทุนสํารองเลี้ยงชีพเพื่อ เปนหลักประกันที่มั่นคงของพนักงานและครอบครัว โดยแตละบริษัทในกลุมบริษัทจะจายเงินสมทบเขากองทุนสํารองเลี้ยงชีพใหกั บ พนั ก ง าน ประจําของตน ซึ่ง สมัครใจเขารวมกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ

การจัดใหมีส หกรณอ อมทรัพยบีทีเอส กรุป จํ า กั ด ซึ่ ง เป น ส หกร ณ ที่ จ ดทะ เบี ย นตาม พระราชบัญญัติส หกรณ พ.ศ. 2542 เพื่อ เปนทางเลือ กในการออมทรัพย การลงทุน และให ความชวยเหลือ ดานสินเชื่อ กับพนักงานที่ไดร ับการบรรจุเป น พนั ก ง านปร ะ จํ า ขอ ง กลุ ม บริษัท และสมัครใจที่จะเขารวมเปนสมาชิกสหกรณ โดย ณ วั น ที่ 31 ธั น วาคม 2555 สหกรณอ อมทรัพยบีทีเอส กรุป จํากัด มีส มาชิกจํานวน 2,049 ราย และ มี ส ิ น ทรั พ ย ร วม จํานวน 202.79 ลานบาท

การจัดใหมีส วัส ดิการสินเชื่อ เพื่อ ที่อ ยูอ าศัย เพื่อ เปนการสง เสริมใหพนักงานมีที่อ ยูอ าศั ย เปนของตนเองอยางมั่นคง อันเปนการสง เสริมขวัญ และ กํ า ลั ง ใจในการ ทํ า ง านให กั บ พนักงาน และกอ ใหเกิดความภักดีตอ องคกร กลุมบริษัทจึง ไดจัดให มี ส วั ส ดิ ก าร สิ น เชื่ อ เพื่อ ที่อ ยูอ าศัยกับธนาคารอาคารสงเคราะห และธนาคารออมสิน เปนตน เพื่อ อํานวยความ สะดวกใหกับพนักงานที่มีความประสงคจะขอสินเชื่อ เพื่อ ที่อ ยูอ าศัยโดยไดร ับอัตราดอกเบีย้ ที่เหมาะสม และไดร ับความสะดวกเนื่อ งจากส ามาร ถชํ า ร ะ คื น สิ น เชื่ อ จากยอ ดบั ญ ชี เงินเดือ นโดยตรง

การจัดใหมีผลประโยชนในรูปเงินชวยเหลือ ในวาระตางๆ อาทิเชน การมอบเงินชวยเหลื อ การสมรส การมอบเงินชวยเหลือ งานศพสําหรับพนักงาน พอ แม บุตร และคูส มร ส การ มอบเงินชวยเหลือ เมื่อ คลอดบุตร การมอบเงินชวยเหลือ การศึกษาบุตร เปนตน ตลอ ดจน สวนที่ 1 หนา 193


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

การจัดใหมีเงินบําเหน็จที่พนักงานจะไดร ับในอัตราที่ส ูง กวาที่กฎหมายแรงงานไดกําหนดไว สําหรับกรณีที่พนักงานทํางานจนครบเกษียณอายุและมีอ ายุง านมากกวา 10 ปขึ้นไป 

การจัดใหมีกรมธรรมประกันชีวิต ประกันสุขภาพแบบกลุมและประกันอุบัติเหตุกลุม ที่ ช ว ย เอื้อ ประโยชนและอํานวยความสะดวกดานการเขารับการรักษาพยาบาล รวมทั้ง เป น การ สรางความมั่นคงใหกับทั้ง ตัวพนักงานเอง และครอบครัว รวมทั้ง การจัดใหมีส โมสรกีฬาและ ศูนยอ อกกําลัง กาย เพื่อ ใหเปนแหลง สันทนาการในการจัดกิจกรรมทางกี ฬ าขอ ง บร ร ดา พนักงานและผูบริหาร และจัดใหมีการตรวจสุขภาพประจําป เพื่อ เปนการสง เสริมการดูแ ล ตนเองใหมีส ุขภาพที่ดีแบบยั่ง ยืนและมีคุณภาพชีวิตที่ดีในระยะยาว

กลุมบริษัทไดจัดใหมีการมอบใบสําคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อ หุน ส ามั ญ เพิ่ ม ทุ น ขอ ง บริ ษั ท ฯ ใหแกพนักงานของกลุมบริษัท เพื่อ เปนขวัญกําลัง ใจใหกับพนักงาน และ ส ร า ง แร ง จู ง ใจ เพื่อ ใหพนักงานรวมมือ กันในการสรางความเจริญเติบโตในอนาคตของกลุ ม บริ ษั ท เพื่ อ ใหผลประกอบการของกลุมบริษัทดียิ่ง ขึ้น

กลุมบริษัทไดจัดใหมีมาตรการและงบประมาณสําหรับการใหความชวยเหลือ พนั ก ง านซึ่ ง ประสบภัยน้ําทวมในชวงปลายป 2554 ซึ่ง แบง ออกเปนรูปของเงินชวยเหลือ แบบให เ ปล า 5,000 บาทตอ คน จํานวน 641 ราย รวม 3.2 ลานบาท และเงินกูเพื่อ ซอ มแซมที่ พั ก อ าศั ย โดยปลอดดอกเบี้ยชําระคืนเมื่อ ครบ 3 ป จํานวน 392 ราย รวมเปนเงินกู 26.3 ลานบาท

ขอพิพาททางดานแรงงานในปที่ผานมา - ไมมี นโยบายการพัฒนาบุคลากร เนื่อ งจากพนักงานทุกคนเปนทรัพยากรที่มีคาที่จะชวยผลักดันใหกลุมบริษัทสามารถบรรลุเปาหมาย และแผนธุร กิจที่วางไวได ดัง นั้น กลุมบริษัทจึง มีการกําหนดแนวทางในการบริหาร ทรั พ ยากร มนุ ษ ย ตั้ ง แต กระบวนการสรรหา การพัฒนาความสามารถ การสรางสภาวะที่ดีในการทํางาน การรักษาไวซึ่ง พนักงานทีม่ ี คุณภาพ และการสรางสํานึกใหพนักงานตระหนักถึง การเปนหนวยหนึ่ง ของสัง คม ดัง ตอ ไปนี้  การสรรหาและความกาวหนาในอาชีพของพนักงาน กลุมบริษัทไดใหความสําคัญในการพัฒนาบุคลากรตั้ง แตกระบวนการสรรหา โดยไดยึดถือ หลักการ วากระบวนการสรรหาและคัดเลือ กพนักงานตอ งมีความโปรง ใส และดําเนินการดวยระบบความเสมอภาคและ เปนธรรม (Merit System) โดยจะมีการกําหนดคุณลักษณะของพนักงานจากลักษณะงาน พรอ มทั้ ง ร ะ บุ วุ ฒิ การศึกษา ประสบการณ ความเชี่ยวชาญ และขอ กําหนดอื่นๆ ของแตละตําแหนง งานอยาง ชั ด เจน และ จะ คัดเลือ กผูที่มีคุณสมบัติที่เหมาะ ส มเพื่ อ เข า สู ก ร ะ บวนการ ทดส อ บข อ เขี ย น และ การ สั ม ภ าษณ โ ดย ผูบัง คับบัญชาตามสายงานที่เกี่ยวขอ ง เพื่อ ที่จะไดมาซึ่ง พนักงานที่มีคุณสมบัติถู ก ต อ ง และ เหมาะ ส มตาม ตําแหนง หนาที่ ทั้ง นี้ เมื่อ มีตําแหนง งานที่วางหรือ ตําแหนง งานใหมๆ เกิดขึ้น เพื่ อ ให โ อ กาส ในการ พั ฒ นา

สวนที่ 1 หนา 194


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ความกาวหนาในการทํางานกับพนักงานเดิม กลุมบริษัทจะเปดโอกาสใหกับพนักงานภายในเป น อั น ดั บ แร ก หากไมมีผูใดเหมาะสม จึง จะพิจารณาคัดเลือ กจากบุคคลภายนอก นอกจากนี้ พนักงานใหมทุกคนจะไดเขารับการปฐมนิเทศ เพื่อ ใหพนักงานไดร ูจั ก และ รั บ ทร าบถึ ง กระบวนการและขั้นตอนการทํางานของตนเอง รวมไปถึง ฝายตางๆ ในองคกร ซึ่ง จะมีส วนชวยใหพนั ก ง าน เขาใจบทบาทและหนาที่ของตนเองและสามารถปฏิบัติง านไดตรงตามวัตถุประสงค อีกทั้ ง กลุ ม บริ ษั ท ยั ง ให ความสําคัญในการใหโอกาสเติบโตในหนาที่การงานแกพนักงานตามเสนทางความกาวหน า ในอ าชี พ เพื่ อ รักษาคนเกง และคนดีใหอ ยูกับองคกร  การพัฒนาความสามารถ กลุมบริษัทมีนโยบายที่จะสนับสนุนการฝกอบรมและการพัฒนาพนักงาน ทั้ง นี้เพื่อ พัฒนาทั ก ษะ ใน การทํางานของพนักงานอยางสม่ําเสมอ เพิ่มพูน และตอ เนื่อ ง โดยไดจัดใหมีการ ฝ ก อ บร มทั้ ง ภ ายในและ ภายนอกองคกร โดยหลักสูตรการฝกอบรมแตละหลักสูตร กลุมบริษัทจะพิจารณาตามความเหมาะ ส มตาม ตําแหนง หนาที่ของพนักงานแตละคน และสอดคลอ งกับความรูความสามารถและลักษณะ ง าน เพื่ อ ให ก าร ฝกอบรมเปนไปอยางมีประสิทธิภ าพและเหมาะสมที่ส ุด สําหรับการฝกอบรมภายในองคกร นอกจากจะไดจัดใหมีการฝกอบรมในเรื่อ ง ทั ก ษะ การ ทํ า ง าน ตางๆ แลว ยัง ไดจัดใหมีการแลกเปลี่ยนความรูเชิง ประสบการณร ะหวางพนักงานฝายตางๆ ไมวาจะโดยการ ประชุมรวมกัน หรือ การแลกเปลี่ยนความรูผานสื่อ ระบบ Intranet สําหรับการ ฝ ก อ บร มภ ายนอ กอ ง ค ก ร กลุมบริษัทจะใหพนักงานกรอกแบบสอบถามความตอ งการฝกอบรมและสง ใหเขาอบรมในสถาบันตาง ๆ ทั้ ง หนวยงานภาครัฐและองคกรเอกชนตามความเหมาะสม โดยมีการติดตามผลหรือ วัดผลการเรี ย นรู ใ นแต ล ะ หลักสูตรอยางตอ เนื่อ ง เพื่อ ใหเกิดประโยชนร วมกันทั้ง บริษัทและตัวพนักงานเอง โดยกลุมบริษัทมุง หวั ง และ สนับสนุนใหพนักงานที่เขารับการฝกอบรมหลักสูตรตางๆ ไมวาจะเปนการฝกอบรมภายในองคกร หรื อ การ ฝกอบรมภายนอกองคกรไดมีโอกาสแบง ปนความรูและประสบการณที่ไดร ับจากการฝกอบรมไปยัง พนักงาน คนอื่นดวย เพื่อ ใหเกิดการถายทอดความรูและประสบการณภ ายในองคกรในรูปแบบของการบริหารจัด การ ความรู (Knowledge Management) ในป 2555/56 กลุมบริษทั ไดจัดใหมีการฝ ก อ บร มหลั ก สู ต ร ภ ายในอ ง ค ก ร หลายหลั ก สู ต ร ซึ่ ง ครอบคลุมหลักสูตรในดานตางๆ  หลักสูตรดานวิศวกรรมและซอ มบํารุง o หลักสูตร Basic Course for Rolling Stock Course 01-01/2012 o หลักสูตร Basic Course for EGV Staff 16-01/2012 o หลักสูตร Basic Course for IFD Staff 01-01/2012 o หลักสูตร Engineering Controller 12-01/2012 o หลักสูตร Maintenance Driving Licence 06-01/2012 o หลักสูตร Driver Cab Basic Operations Course for BES Siemens Staff 0101/2012 o หลักสูตร Look Out Man 01-01/2012 สวนที่ 1 หนา 195


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

o หลักสูตร Maintenance Driving Licence 07-02/2012, 08-03/2012 o หลักสูตร Driver Cab Basic Operations Course for BES Siemens Staff 0202/2012 o หลักสูตร Maintenance Driving Licence 09-04/2012, 10-05/2012 o หลักสูตร Basic Course for MTV/LPV/EGV o หลักสูตร Engineering Controller Refresher Course 11-01/2012 o หลักสูตร Refresher Maintenance Driving License 03-01/2012 o หลักสูตร Preventive Maintenance and Spare/Inventory Control System 01/2012  หลักสูตรดานการปฏิบัติการเดินรถไฟฟา o หลักสูตร Train Controller Course 11-01/2012 o หลักสูตร CNR Drivers Operating Manual for Key Instructor o หลักสูตร CNR Driving License for Train Controller o หลักสูตร Engineering Controller o หลักสูตร BRT Traffic Controller 02-01/2012 o หลักสูตร New C-Car for TC 01-01/2012, 02-02/2012 o หลักสูตร S9-S10 Extension Course for TC 01-01/2012 o หลักสูตร New C-CAR for TCS 01-01/2012 o หลักสูตร Train Controller 08-01/2012 o หลักสูตร New C-Car for TC 03-03/2012 o หลักสูตร Train Crew Supervisor 13-01/2012 o หลักสูตร Line / Depot Controller o หลักสูตร New C-Car for CCR 01-01/2012, 02-02/2012 o หลักสูตร Information Controller o หลักสูตร Sr. / Chief Supervis or o หลักสูตร BRT Traffic Controller Refresher Course 02-01/2012 o หลักสูตร BRT Driver Refresher Course 04-01/2012 o หลักสูตร BRT Chief Controller 02-01/2012 o หลักสูตร S9-S10 Extension Course for TC 02-02/2012 o หลักสูตร S9-S10 Extension For TCS 01-01/2012 o หลักสูตร Refresher Course for Chief Supervisor o หลักสูตร Refresher Course for Line Controller/Depot Controller o หลักสูตร Refresher Course for Information Controller o หลักสูตร S9 – S10 Extension Course for TC 02-02/2012 o หลักสูตร Shunting Vehicle o หลักสูตร Basic Knowledge of BTS System 01-01/2012  หลักสูตรดานการปฏิบัติการสถานี o หลักสูตร Station Supervisor 16-01/2012, 17-02/2012

สวนที่ 1 หนา 196


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

o หลักสูตร Station Person 74-01/2012, 75-02/2012, 76-03/2012, 77-04/2012, 7805/2012, 79-06/2012 o หลักสูตร Service Staff 63-01/2012, 64-02/2012, 65-03/2012, 66-04/2012, 6705/2012 o หลักสูตร Station Revenue Officer 28-01/2012, 29-02/2012, 30-03/2012, 3104/2012 o หลักสูตร Station Revenue Supervisor 05-01/2012 o หลักสูตร Station Controller 05-01/2012, 06-02/2012, 07-03/2012 o หลักสูตร Station Offic er 07-01/2012, 08-02/2012, 09-03/2012 o หลักสูตร Ticket Inspector 02-01/2012, 03-02/2012 o หลักสูตร Station Person 80-07/2012, 81-08/2012 o หลักสูตร Service Staff 68-06/2012 o หลักสูตร Refresher Training Course for Station Supervisor 25-01/2012 o หลักสูตร Refresher Training Course for Station Person 22-01/2012 o หลักสูตร Refresher Training Course for Station Controller 05-01/2012 o หลักสูตร Refresher Training Course for Station Officer 03-01/2012 o หลักสูตร Refresher for Tic ket Inspector 01-01/2012 o หลักสูตร การออกบัตร SJF และ SFC สําหรับ BRT  หลักสูตรดานการเสริมสรางและพัฒนาการบริหารจัดการ o หลักสูตร การรับมือ กับคนที่ทํางานดวยยาก o หลักสูตร การใชประโยชนจากความคิดสรางสรรคของทีมผูบริหาร o หลักสูตร การนําเสนอภาพลักษณของตนเองในเชิง บวก o หลักสูตร วิธีจางงานฝกอบรมและใหร างวัลพนักงาน o หลักสูตร การพัฒนากลยุทธดานการใชเวลา o หลักสูตร การเพิ่มประสิทธิผลโดยกระตุนและสรางแรงจูง ใจใหพนักงาน o หลักสูตร คิดเชิง กลยุทธ เพื่อ การทําแผนกลยุทธ o หลักสูตร ขั้นตอน 7 ขอ เพื่อ การมอบหมายงานอยางมีประสิทธิภ าพ o หลักสูตร การกระตุนและการสรางแรงจูง ใจโดยการสื่อ สารเชิง บวก o หลักสูตร วิธีส รางและรักษาสายสัมพันธ o หลักสูตร การวางแผนอยางมีประสิทธิภ าพดวยขั้นตอน 7 ขอ o หลักสูตร ผูนําทําใหการเปลี่ยนแปลงไดผล o หลักสูตร วิธีชวยใหพนักงานแสดงความสามารถไดเต็มที่ o หลักสูตร ชั่วโมงที่มี 70 นาที o กิจกรรมพิเศษสําหรับเจาหนาที่ควบคุมรถไฟฟา o Meeting with OPDI o หลักสูตร จิตสํานึกเพื่อ งานบริการ 01-01/2012 o หลักสูตร พัฒนาบุคลิกภาพเพื่อ ความสัมพันธที่ดีตอ ลูกคา 01-01/2012 o หลักสูตร การสรางภาพลักษณผูบริหารเพื่อ รองรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน o หลักสูตร Team Building 24-01/2012 (รุน 1/3, 2/3, 3/3) สวนที่ 1 หนา 197


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

o หลักสูตร การจัดการความรู สูการปฏิบัติในองคกร 01/2012, 02/2012 o หลักสูตร Train the Trainer 03-01/2012 o หลักสูตร การเขียนดัชนีวัดผลงานอยางมีประสิทธิภ าพ รุนที่ 3-6 o หลักสูตร การพัฒนาความคิดสรางสรรคและนวัตกรรมในการทํางาน o หลักสูตร การบริหารงาน รุนที่ 2 o หลักสูตร การบริหารคน รุนที่ 2 o หลักสูตร การสอนงาน o หลักสูตร การจูง ใจ o หลักสูตร Enterprise Risk Management 01/2012 o หลักสูตร การสรางผูนําโดยการเปนพี่เลี้ยงใหคําปรึกษา o หลักสูตร Leadership in Action 01/2012 o หลักสูตร ทักษะการเปนหัวหนางาน 01/2012, 02/2012, 03/2012  หลักสูตรการบริหารจัดการระบบคุณภาพและความปลอดภัย o หลักสูตร APOSTLE 54-01/2012, 55-01/2012, 56-02/2012, 57-03/2012, 5804/2012, 59-05/2012, 60-06/2012, 61-07/2012, 62-08/2012, 63-09/2012, 6410/2012, 65-11/2012, 66-12/2012 o หลักสูตร APOSTLE Refresher 12-01/2012, 13-02/2012, 14-03/2012, 1504/2012 o หลักสูตร First Aid 48-01/2012, 49-02/2012, 50-03/2012, 51-04/2012, 5205/2012 o หลักสูตร Fire Fighting & Fire Prevention-Basic 50-01/2012, 51-02/2012, 5203/2012, 53-04/2012 o หลักสูตร Safety Officer in Supervisor Level 18-01/2012 o หลักสูตร Fire Drill & Evacuation o หลักสูตร Safety & Quality Course (OT004003:Basic Knowledge of Safety Management) o หลักสูตร Safety & Quality Course (ขอ กําหนด ISO 9001 และการควบคุมเอกสาร (03/2012) o หลักสูตร ISO 9001:2008 & OHSAS 18001:2007 01-01/2012 o หลักสูตร Audit Technique 01-01/2012 o หลักสูตร Basic Safety for Staff 01-01/2012 o หลักสูตร หลักการทํางาน การตรวจสอบระบบปอ งกัน ระงับอัคคีภ ัย 01/2012 o หลักสูตร ความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอ มในการทํางาน สําหรับ ลูกจางทั่วไปและลูกจางเขาทํางานใหมตาม พรบ. 2554 01/2012, 02-02/2012, 0303/2012 o หลักสูตร เจาหนาที่ความปลอดภัย ระดับหัวหนางาน 19-02/2012 o หลักสูตร การพัฒนาศักยภาพในการทํางานของพนักงานฝาย Modern Trade Operation o หลักสูตร Security Guard (BRT) 05-01/2012, 06-02/2012 สวนที่ 1 หนา 198


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

o หลักสูตร Security Guard 67-01/2012, 68-02/2012, 69-03/2012, 70-04/2012, 7105/2012, 72-06/2012, 73-07/2012, 74-08/2012, 75-09/2012, 76-10/2012, 7711/2012, 78-12/2012, 79-13/2012 o หลักสูตร Security Guard (Depot) 18-01/2012, 19-02/2012 o หลักสูตร Security Control Center Officer 06-01/2012 o หลักสูตร ความรูพื้นฐานของระบบรถไฟฟาบีทีเอส สําหรับ รปภ. 80-14/2012, 8115/2012  หลักสูตรสําหรับธุร กิจโฆษณาและบริการ o หลักสูตร วิธีร ับมือ ลูกคาที่เอาใจยาก o หลักสูตร การสื่อ สารทางโทรศัพทอ ยางมีประสิทธิภ าพ o หลักสูตร Marketing & Sales Strategy to Increase Customer o หลักสูตร การบริการอยางมือ อาชีพ รุนที่ 3-4 o หลักสูตร การเพิ่มประสิทธิภ าพงานตรวจส อ บสื่ อ Radio และ วิ ธี ก าร ติ ด ตั้ ง กล อ ง ควบคุมเสียง o หลักสูตร เทคนิคการจัดโตะ อาหารและการบริการเพื่อ สรางความประทับใจ 01/2012 o หลักสูตร พัฒนาบุคลิกภาพและการสื่อสารเพือ่ การบริการที่เปนเลิศ 01-01/2012 o หลักสูตร Customer Relations Officer 04-01/2012, 05-02/2012  หลักสูตรพื้นฐานทั่วไป o หลักสูตร การเขาถึง จิตใจผูอ ื่น-การสื่อ สารในระดับที่ส ูง ขึ้น o ภาษาอัง กฤษ หลักสูตร "Strong Base for Structure" o หลักสูตร English Training Course for Station Staff 50-10/2012 o หลักสูตร English for Station Staff 41-01/2012, 42-02/2012, 43-03/2012, 4404/2012, 45-05/2012, 46-06/2012, 47-07/2012 o หลักสูตร พัฒนาพนักงานขับรถมือ อาชีพ o งานสัมมนาประจําป 2555 o หลักสูตร Review of Business English Writ ing o หลักสูตร การคิดเชิง ระบบ o หลักสูตร BTS Orientation 01/2012, 02/2012, 03/2012, 04/2012, 05/2012 o หลักสูตร คิดใหเปนสุข สนุกกับการทํางาน 01-01/2012 o โครงการศึกษาดูง านนอกสถานที่ กฟผ. o โครงการศึกษาดูง านนอกสถานที่ กสท. o หลักสูตร New E-Learning for Report Viewer 01-01/2012 o หลักสูตร Microsoft Access 01-01/2012 o หลักสูตร Advance Excel 2010 นอกจากนี้ กลุมบริษัทไดจัดสง พนักงานไปฝกอบรมภายนอ กอ ง ค ก ร หลายหลั ก สู ต ร ตามความ เหมาะสมในแตละสาขาวิชาชีพ ซึ่ง ครอบคลุมหลักสูตรในดานตางๆ ดัง นี้  หลักสูตรดานวิศวกรรมและซอ มบํารุง o หลักสูตรโดยวิศวกรรมสถานแหง ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ สวนที่ 1 หนา 199


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

 หลักสูตร บทเรียน BRT จากเมือ งสูภ ูมิภ าค  หลักสูตร วิศวกรรมขนสง กับการทาทายในการเพิ่มจํานวนผูใชร ถไฟฟา  หลักสูตร การบริหารงานซอ มบํารุง แบบมือ อาชีพ  หลักสูตร การออกแบบระบบทอ ภายในอาคาร  หลักสูตร วัส ดุกันซึมกับการปกปอ งอาคารและปญหาจากการใชที่ไมถูกตอ ง o หลักสูตร REL 05 : Maintenance Strategic Information Report โดยบริษัท โปรดักติวิตี้ แอสโซซิเอทส จํากัด o หลักสูตรโดยสํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหง ชาติ สวทช.  หลักสูตร โครงการพัฒนาบุคลากรดานวิศวกรรมระบบขนสง ทางราง รุนที่ 2  หลักสูตร วิศวกรรมระบบขนสง ทางรางแบบเขมขน เรื่อ ง Railway Elextrification  หลักสูตร Steel and Corrosion Protection in Railway Application o หลั ก สู ต ร Practical Training of Workshop Equipment (Shunting Vehicle) โดย บริษัท ซีเมนต (ประเทศไทย) จํากัด o หลักสูตร การสรางผูจัดการบํารุง รักษามือ อาชีพโดยบริษัท โปรดักติวิตี้ แอสโซซิเอทส จํากัด  หลักสูตรดานการเสริมสรางและพัฒนาการบริหารจัดการ o หลักสูตร The Supervisor 25 โดย MPI : Management & Psychology Institute o หลักสูตร ปรับธุร กิจ เพิ่มประสิทธิภ าพการทํางาน ดวยเครื่อ งมือ ใกล ตั ว โดยบริ ษั ท ไมโครซอฟท (ประเทศไทย) จํากัด o หลักสูตร 2012 Key Challenges for CFO โดยสมาคมนิส ิตเกาคณะพาณิชยศาส ตร และการบัญชี แหง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย o Risk Management Conference 2012 โดยสมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย o หลักสูตรโดยบริษัท บีเอสไอ กรุป (ประเทศไทย) จํากัด  หลักสูตร Societal Security Business Continuty Management System  หลักสูตร BS ISO 22301:2012 (ขอ กําหนดมาตรฐานการบริหาร จั ด การ ความ ตอ เนื่อ งทางธุร กิจ) o หลักสูตร ภูมิพลัง แผนดิน โดยฝายพัฒนาทรัพยากรมนุษย ศูนยบริการวิชาการ แห ง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย o หลักสูตร แนวทางแหง หัวหนางานยุคใหมโดยสถาบันคอรส ดีดี o หลักสูตรโดย วิศวกรรมสถานแหง ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ  หลักสูตร โครงการสัมมนา การเตรียมความพรอ มอาคาร เพื่อ รับมือ น้ํ า ท ว มใน อนาคต  หลักสูตร การประเมินราคาแบบมือ อาชีพ  หลักสูตร เคล็ดลับความสําเร็จเลขานุการในหนวยงานวิศวกรรม  หลักสูตร Contract Administration & Project Management รุนที่ 2 o หลักสูตรโดย บริษัท เอช อาร เซ็นเตอร จํากัด  หลักสูตร เทคนิคการออกแบบ และคัดเลือ กเกมและ กิ จ กร ร มเพื่ อ ใช ป ร ะ กอ บ หลักสูตรการฝกอบรม สวนที่ 1 หนา 200


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

 หลักสูตร กลยุทธการพัฒนาทรัพยากรมนุษย  หลักสูตร การออกแบบหลักสูตร และเขียนโครงการฝกอบรมแบบมือ อาชีพ  หลักสูตร การพัฒนาบุคลิกภาพสูความเปนเลิศ  หลักสูตร การสรรหาคัดเลือ กพนักงานโดยใชกิจกรรม o หลักสูตรโดยสถาบันเพิ่มผลผลิตแหง ชาติ  หลักสูตร การจัดการความรูอ ยางไรใหใชไดผลกับทุกระบบ  หลักสูตร คนเกง รักองคกร องคกรรักษคนเกง  หลักสูตร เทคนิคการแกปญหาและตัดสินใจ  หลักสูตร การบริการเชิง คุณภาพในระบบงานบริหารทรัพยากรมนุษย  หลักสูตร 3Q เพื่อ การพัฒนาตนเอง  หลักสูตร Knowledge Management for Performance Improvement  หลักสูตร เจาะลึกการจัดการกระบวนการอยางเหนือ ชั้น  หลักสูตร การบริหารความขัดแยง อยางสรางสรรค  หลักสูตร การบริหารเวลาและจัดความสําคัญ  หลักสูตร จิตวิทยาจูง ใจเพื่อ ผลงานที่ดี o หลักสูตร หลักจิตวิทยาการบริหารคนที่แตกตางโดย บริษัท ศูนยพัฒนากลยุ ท ธ ท าง ธุร กิจ จํากัด o หลักสูตรโดยสํานักเสริมศึกษาและบริการสัง คม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร  หลักสูตร มนุษยสัมพันธและจิตวิทยาในการทํางาน  หลักสูตร ทฤษฎีเกมกับกลยุทธส ูความสําเร็จขององคกร o หลักสูตร ศิลปะการจุดแรงบันดาลใจสําหรับผูนํา เพื่อ ความสําเร็จของทีมโดย บริ ษั ท พีเพิล ซินเนอจี จํากัด o หลักสูตร การบริหารและวางแผนโคร ง การ ด ว ย Primavera Project Planner (P5) อยางมือ อาชีพ รุนที่ 1 โดย Tumcivil.com Training Center o หลักสูตร กลยุทธและเทคนิคการสอนงานลูกทีมอยางไรใหเกง งานโดย สถาบันพัฒนา บุคคลากรทรูเลิร นนิ่ง o หลักสูตร การบริหารและการพัฒนาระบบงานธุร การโดย บริษัท ฝกอบรมและสัมมนา ธรรมนิติ จํากัด o หลักสูตร การบริหารและการพัฒนาระบบงานธุ ร การ อ ย า ง มื อ อ าชี พ โดย บริ ษั ท พรอมท โซลูชั่น จํากัด o หลักสูตร Project Management โดยบริษัท การจัดการธุร กิจ จํากัด  หลักสูตรดานสิ่ง แวดลอ ม o หลักสูตร ผูร ับผิดชอบดานพลัง งานสามัญ (อาคาร) โดยบริษัท ไบร ท แมเนจเมนท คอนซัลติ้ง จํากัด o หลักสูตร การประหยัดพลัง งานดวยระบบการจัดการพลัง งานในอาคาร และการสํารวจ การใชพลัง งาน โดยกรมพัฒนาพลัง งานทดแทนและอนุร ักษพลัง งาน o แนวทางการปฏิบัติตาม พรบ. การสง เสริม การ อ นุ ร ั ก ษ พ ลั ง ง าน พ. ศ. 2535 โดย หอการคาไทย สวนที่ 1 หนา 201


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

 หลักสูตรการบริหารจัดการระบบคุณภาพและความปลอดภัย o หลักสูตรโดยบริษัท คิด เพื่อ ความปลอดภัยและสิ่ง แวดลอ ม จํากัด  หลักสูตร หัวหนาหนวยงานความปลอดภัย  เจาะประเด็นกฎหมายใหม : ระบบการจําแนกและการสื่อ สารความเปนอัน ตร าย ของวัตถุอ ันตราย (GHS)  หลักสูตร การประเมินความเสี่ยงดานสุขภาพ และการตรวจสุขภ าพตามป จ จั ย เสี่ยง  หลักสูตร การจัดหอ งพยาบาลในโรงงาน ใหส อดคลอ งตามที่กฎหมายกําหนด o หลักสูตร เจาหนาที่ความปลอดภัยในการทํางาน ระดับบริหารโดย บริษัท ปนทองกรุป แมเนจเมนท แอนด คอนซัลแตนท จํากัด o หลักสูตร การจัดทําแผนการปอ งกันระงับอัคคีภ ัยตามกฎหมายและแผนการตอบสนอง ตอ เหตุฉุกเฉินประเภทตางๆ โดยบริษัท วาโซ จํากัด o หลักสูตรโดยวิศวกรรมสถานแหง ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ  หลักสูตร การออกแบบเสนทางหนีไฟและการคํานวณเวลาการอพยพ  หลักสูตร งานวิศวกรรมแหง ชาติ 2555  หลักสูตร ความปลอดภัยนั่ง รานและการตรวจสอบ o หลักสูตรโดยสมาคมสง เสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทํางาน (ประเทศไทย)  คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล อ มในการ ทํ า ง าน (คปอ.)  หลักสูตร สัปดาหความปลอดภัยในการทํางานแหง ชาติ ครั้ง ที่ 26  หลักสูตร เจาหนาที่ความปลอดภัยในการทํางานระดับหัวหนางาน รุนที่ 3-4  หลักสูตร ความรูทั่วไปเกี่ยวกับความปลอดภัยและการขับขี่ o หลักสูตร ความปลอดภัยในการทํางานในที่อ ับอากาศโดย บริษัท 3 เอ็ม (ประเทศไทย) จํากัด o หลั ก สู ต ร ISO 22301 : Societal Security Business Continuity Management System Implementation Courses o หลักสูตร การบริหารพัส ดุและคลัง โรงงานโดย Productivity Association  หลักสูตรดานการเงินการบัญชีและการตรวจสอบภายใน o หลักสูตรโดยศาลภาษีอ ากรกลาง  หลักสูตร ปญหาภาษีเงินไดนิติบุคคลตามแนวคําพิพากษาศาลฎีกา  หลักสูตร เรื่อ งที่ควรรูเกี่ยวกับภาษีเงินไดบุคคลธรรมดา และภาษีโ ร ง เรื อ นและ ที่ดิน  หลักสูตร การสง เสริมและพัฒนาความรูเกี่ยวกับภาษีอ ากรป 2555 o หลักสูตรโดยบริษัท สํานักพัฒนาการบริหารธรรมนิติ จํากัด  หลักสูตร เจาะประเด็นมาตรฐาน NPAEs เกี่ยวกับสินทรัพยที่ตอ งระมัดระวัง  หลักสูตร 15 แนวปฏิบัติการจัดทําบัญชีใหถูกตอ งตามมาตรฐานการบัญชี  หลักสูตร ถอดรหัส ภาษีพรอ มการวางแผนภาษีของธุร กิจโรงแรม,รีส อรท  หลักสูตร Update มาตรฐานการบัญชีใหม สวนที่ 1 หนา 202


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

   

o o

o o

o o

o

แบบ 56-1 ป 2555/56

หลักสูตร ปญหาและแนวปฏิบัติบัญชีทรัพยส ินทั้ง ระบบ หลักสูตร 80 ประเด็นปญหาการบันทึกบัญชี ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ หลักสูตร แนวการปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 ภาษีเงินได หลักสูตร ปญหาการจัดทํางบการเงินรวมและแนวปฏิบัติที่ถูกตอ งในการจัดทํา ง บ การเงินรวม  หลักสูตร การคํานวณกําไรสุทธิ ปญหาที่นักบัญชีอ าจคาดไมถึง จากการเสียภ าษี เงินไดนิติบุคคล  หลักสูตร ปญหาการจัดทํางบการเงินรวมและแนวปฏิบัติ  หลักสูตร การจัดทํางบกระแสเงินสด หลักสูตรบัญชีและการเงินสําหรับผูบริหารไมมีพื้นฐาน โดยโคร ง การ บริ ก าร ทาง วิชาการและสัง คม คณะพาณิชยศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร หลักสูตรโดยสมาคมผูตรวจสอบภายในแหง ประเทศไทย  หลักสูตร Operational Auditing  หลักสูตร การตรวจสอบการทุจริต  หลักสูตร การเตรี ย มความพร อ มด า น Internal Audit Compliance and Risk Management กับการเปดเสรี AEC  หลักสูตร Skill for New Auditor-in-Charge  หลักสูตร Creative Problem Solving Techniques for Auditors  หลักสูตร CEO & Integrated Management – Audit หลักสูตร การตรวจสอบกิจการสหกรณอ อมทรัพยอ ยางผูชํานาญการ โดยส ถาบั น วิชาการดานสหกรณ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร หลักสูตรโดยกรมสรรพากร  หลักสูตร คาแรงวันนี้ภ าษีชวยได  หลักสูตร กุญแจสูมาตรฐานการบัญชี  หลักสูตร ภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาแนวใหม หลักสูตร การบัญชีเพื่อ ผูบริหาร "รุนที่ 12" โดยคณะพาณิชยศาส ตร แ ละ การ บั ญ ชี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย หลักสูตรโดยสภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ  หลักการและขอ กําหนดสําคัญที่เปลี่ยนแปลงของมาตรฐานการสอบบัญชีใหม  หลักสูตร ภาษีอ ากรสําหรับธุร กรรมระหวางประเทศ  หลักสูตร วิธีการประเมินความเสี่ยงเพื่อ การวางแผนการตรวจสอบภายใน "ปรับปรุง ใหม"  หลักสูตร เทคนิคการเขียนรายงานการตรวจสอบภายใน หลักสูตรโดย บริษัท เอ็น วาย ซี แมนเนจเมนท จํากัดหลักสูตร การ บั ญ ชี เ กี่ ย วกั บ ภาษีเงินได  หลักสูตร การบัญชีเกี่ยวกับภาษีเงินได  หลักสูตร ภาษีจากการจายเงินไปตางประเทศทั้ง ระบบและอนุส ัญญาภาษีซอ น  หลักสูตร การบัญชีเกี่ยวกับภาษีเงินได (Deferred Tax Workshop) สวนที่ 1 หนา 203


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

 หลักสูตร ภาษีหัก ณ ที่จาย o หลักสูตรโดยบริษัท นิดา โปรเฟสชันแนลเทรนนิ่ง จํากัด  หลักสูตร การจัดทําแผนงบประมาณประจําป (ภาคปฏิบัติ)  หลักสูตร การจัดทํางบประมาณเงินสด o เทคนิคการติดตามหนี้และเจรจาเรง รัดหนี้แบบครบวงจร โดยบริษัท วาโซ จํากัด  หลักสูตรดานการบริหารจัดการเทคโนโลยีส ารสนเทศ o หลักสูตรโดย Oracle Corporation (Thailand) Co., Ltd.  หลักสูตร Oracle Technology Network Developer Day (OTN)  หลักสูตร Reduce Complexity Optimize Your Infrastructure and Database  หลักสูตร Oracle Solaris o หลักสูตร Vmware Technology Day 2012 โดย Vmware o หลักสูตร Smart Regulatory for Enterprise โดยบริษัท ไอบีเอ็ม ประเทศไทย จํากัด o หลักสูตรโดยศูนยเทคโนโลยีอ ิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหง ชาติ  หลักสูตร IT Risk Management  หลักสูตร Fundamentals Wireless LAN Security o หลักสูตร Cisco (CCNA) โดยบริษัท โจดอย ไอที แอนด เซอรวิส จํากัด o หลักสูตร Fortigate & Fortianalyzer Training โดยบริษัท เค เอส ซี คอมเมอ ร เ ชี ย ล อินเตอรเนต จํากัด o หลักสูตรโดยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร (บางเขน)  หลักสูตร Enterprise Linux System  หลักสูตร MongoDB  หลักสูตร Javascript และ Ext US Framework  หลักสูตร Ruby on Rails o หลักสูตรโดยสํานักงานสง เสริมอุตสาหกรรมซอฟตแวรแหง ชาติ (องคการมหาชน)  หลักสูตร Titanium Mobile  โครงการอบรมเชิง ปฏิบัติการ การออกแบบรายงานและการสรางร ายง านด ว ย iReport with Jasper Serve  โครงการอบรมเชิง ปฏิบัติการ การบริหารจัดการเอกสารในองคกรดวย Alfresco  หลักสูตร Zimbra Collaboration Suite Administration o หลักสูตรโดยบริษัทไมโครซอฟท (ประเทศไทย) จํากัด  Training Basic - Microsoft Officer  หลักสูตร Lauching New Windows Server 2012 & Windows 8 o หลักสูตร การบริหารระบบเซิร ฟเวอรภ ายในองคกร โดยบริษัท ซินเน็ค (ประเทศไทย) จํากัด (มหาชน) o หลั ก สู ต ร K2 Blackpearl Developer Training Program โดย Training Venue Professional Training Service Co., Ltd. o หลักสูตรโดย Software Park Thailand  หลักสูตร iPhone Application Development – Basic สวนที่ 1 หนา 204


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

 หลักสูตร Enterprise Architecture Intensive Course o หลั ก สู ต ร K2 Infrastructure & Administration K2 Connect Training โด ย Sourcecode Asia Pacific Pte.Ltd o หลักสูตรโดยโรงเรียนอินเทอรเน็ตและการออกแบบ (NetDesign)  หลักสูตร ปูพื้นฐานการพัฒนา Website ดวย HTML5  หลักสูตร การออกแบบเว็บไซตขั้นสูง  หลักสูตร Digital Photography o หลักสูตรโดย บริษัท ไอที เซอรติฟเคชั่น (ไทยแลนด) จํากัด  หลักสูตร Basic Network Installation and Troubleshooting  หลักสูตร Windows Server 2008 Administration workshop o Fujitsu Days 2012 โดย Fujitsu Systems Business (Thailand) Ltd.  หลักสูตรทั่วไป o หลักสูตรที่จัดขึ้นโดยตลาดหลั ก ทรั พ ย แ ห ง ปร ะ เทศไทย และ /หรื อ สํ า นั ก ง าน คณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย  หลักสูตร Smart Dissolved Program (SDF)  อบรมเชิง ปฏิบัติการ “การจัดทํารายงานแหง ความยั่ง ยืน”  มี อ ะ ไร ใหม ใ น หลั ก การ กํ า กั บดู แ ลกิ จ การ ที่ ดี ส ํ า หรั บ บริ ษั ท จดทะ เบี ย น ป 2555 (ฉบับลาสุด)  แนวทางการจัดทํารายงานการกํากับดูแลกิจการที่ดีส ําหรับบริษัทจดทะเบียน ป 2556  ASEAN Capital Market Integration  จับทิศ ETF โลก เพิ่มโอกาสลงทุนดวย ETF ไทย  สัมมนาเชิง ปฏิบัติการ “IR Tools & Its meaning” o Vision on "Thailand Amid Global Challenged" A Historic Showcase of Two Greatest Finance Ministers โดยสภาธุร กิจตลาดทุนไทย o หลั ก สู ตร Business English โดย ภ าค วิ ช าภ าษา ตะ วั นตก มห าวิ ท ยาลั ย ศรีนครินทรวิโรฒ o Global Borrowers & Asia Investors Forum 2012 โดย Euromoney Conferences o หลักสูตรที่จัดขึ้นโดยโดย Thai Institute of Directors (IOD)  การอธิบายขั้นตอนการปฏิบัติกระบวนการใหการรับร อ ง เป น ส มาชิ ก แนวร ว ม ปฏิบัติของภาคเอกชนไทยในการตอ ตานทุจริต  ขั้นตอนการปฏิบัติของกระบวนการใหการรับรองแกส มาชิกแนวรวมปฏิ บั ติ ข อ ง ภาคเอกชนไทยในการตอ ตานทุจริต  The Responsibilities of Company Directors in Fighting Corruption  Company Secretary Program  Moving Corporate Government Forward : Challenge for Thai Directors  Board Reporting Program  Effective Minute Taking Program สวนที่ 1 หนา 205


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

o o

o o o o

o o

o

o o o

แบบ 56-1 ป 2555/56

 Company Reporting Program ILCA Leadership Development Program (LDP) โดย Thai Listed Companies Limited หลักสูตรโดยสมาคมบริษัทจดทะเบียนไทย (Thai Listed Companies Association : TLCA)  TLCA Executive Development Program รุนที่11  การปรับปรุง เกณฑของตลาดหลักทรัพยในสวนที่เกี่ยวขอ งกับบริษัทจดทะ เบี ย น และ REIT  ASEAN CG Scorecard  Fund Raising Strategy in 2013: Risks and Opportunities for Thai Companies  หลักสูตรผูปฏิบัติง านเลขานุการบริษัท  TLCA Excutive Development Program หลักสูตรผูบริหารระดับสูง สถาบันวิทยาการตลาดทุน (หลักสูตร วตท.) โดยส ถาบั น วิทยาการตลาดทุน Clean & Clear Standard for AEC โดยหอการคาไทยและสภาหอการคาแหง ประเทศ ไทย และสมาคมสง เสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย การใชโปรแกรม Subscription และ SET Portal (บทบาทสมาชิก Issuer) โดยบริ ษั ท ศูนยร ับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด หลักสูตรโดยสํานักเสริมศึกษาและบริการสัง คม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร  หลักสูตร เทคนิคการเขียนเพื่อ นําเสนออยางมีประสิทธิภ าพ  หลักสูตร การพัฒนาความคิดอยางเปนระบบ  หลักสูตร กลยุทธการเปนวิทยากรมือ อาชีพ  หลักสูตร หัวหนางานกับการบริหารทรัพยากรมนุษย หลักสูตร การบริการงานฝกอบรมอยางมือ อาชีพโดย บริษัท อิ น โนเวชั่ น เทร นนิ่ ง เซ็นเตอร จํากัด หลักสูตรโดยศูนยฝกอบรมเทคโนโลยีการพิมพแหง ชาติมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช  หลักสูตร การผลิตสิ่ง พิมพ  หลักสูตร เทคโนโลยีการเพิ่มมูลคาสิ่ง พิมพ หลักสูตรโดยบริษัท วาโซ จํากัด  หลักสูตร การสํารวจและวิเคราะหความจํา เป น และ การ จั ด ทํ า แผนการ อ บร ม ประจําป 2013  หลักสูตร เทคนิคการจัดทําวารสารพนักงานและสื่อ ประชาสัมพันธในองคกร หลักสูตร การบริหารงานพัส ดุ แ ละ การ จั ด ซื้ อ จั ด จ า ง ภ าครั ฐ เชิ ง บู ร ณาการ โดย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุร ี หลักสูตร มาตรฐานการจัดซื้อ แบบมือ อาชีพโดย บริษัท ฝกอบรมและสัมมนาธรรมนิติ จํากัด หลักสูตรโดยบริษัท เอช อาร เซ็นเตอร จํากัด สวนที่ 1 หนา 206


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

o o o o o o o o o o o o o o o o o o o

o

o

แบบ 56-1 ป 2555/56

 หลักสูตร 20 Tactics ในการเจรจาตอ รอง  หลักสูตร กฎหมายการจางคนพิการที่นายจางตอ งทราบ โดยบริษัท เอช อาร เซ็น เตอร จํากัด หลักสูตร PMAT สัญจร 2555 โดยสมาคมการจัดการงานบุคคลแหง ประเทศไทย หลักสูตร การคํานวณและวางแผนเพื่อ ลดตนทุนการกัดกรอ นของหนวยงาน โดยศูนย เทคโนโลยีโลหะและวัส ดุแหง ชาติ หลักสูตร ความรูเรื่อ งกฎหมายการกอ สรางโดยวิศวกรรมสถานแหง ประเทศไทย ใน พระบรมราชูปถัมภ หลักสูตร เลขานุการมือ อาชีพ โดย Motivation Training Co., Ltd. หลักสูตร กระบวนทัศนใหมกับการทํางานเพื่อ สัง คม โดยมูลนิธิโกมลคีมทอง หลักสูตร การบริหารขอ รอ งเรียนจากลูกคาใหอ ยูหมัด โดยบริษัท การ จั ด การ ธุ ร กิ จ จํากัด หลักสูตรวุฒิบัตรดานการบริหารทรัพยากร มนุ ษ ย โดยศู น ย บ ริ ก าร วิ ช าการ และ การศึกษาตอ เนื่อ ง คณะเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย หลักสูตร เจรจาตอ รองอยางมีกลยุทธ โดยสถาบันเพิ่มผลผลิตแหง ชาติ หลักสูตร คิดบวกเชิง สรางสรรคเพื่อ การปฏิบัติง านที่ทรงประสิทธิผล โดยบริษัท ศูน ย ฝกอบรมความเปนเลิศทางกลยุทธธุร กิจ จํากัด หลักสูตร ซาเทียร : แปรเปลี่ยนและเติบโตสูความมั่ น คง ภ ายใน โดยมู ล นิ ธิ เ ส ฐี ย ร โกเศศ-นาคะประทีป หลักสูตร กระบวนการแกไขปญหาโดยอาศัยการวิเคราะหขอ มูล โดยสมาคมสง เส ริ ม เทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุน) หลักสูตร โรคออฟฟศซินโดรม โดยสถาบันการจัดการปญญาภิวัฒน หลักสูตร จาวแหง การสื่อ สาร โดยหางหุนสวนสามัญ เพาเวอรทีม หลักสูตร Social Network ประยุกตใชอ ยางไรในงาน HR โดยส ถาบั น เพิ่ ม ผลผลิ ต แหง ชาติ การสัมมนาอบรมงานปลายป 2555 โดย HUMAN CONSULTING Co.,Ltd หลักสูตร Happy Work Place โดยสมาพันธโลจิส ติกสไทย หลักสูตร กฎหมายแรงงานเกี่ยวกับการเลิกจาง โดยบริษัท สเพลนดิด (ไทยแลนด) จํากัด หลักสูตร Design & Implementing Sale Incentive โดย OMEGA WORLD CLASS CO.,LTD หลักสูตร โดยบริษัท ซี พี ออลล จํากัด (มหาชน)  หลักสูตร Mind Mapping for Strategic Management  หลักสูตร The Key Successful beyond Business strategy หลักสูตรโดยคณะเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย  หลักสูตร Digital Marketing-Mini MBA  หลักสูตร การเปนนักยุทธศาสตรการตลาด หลักสูตรโดยบริษัท การจัดการธุร กิจ จํากัด  หลักสูตร การเขียนเชิง ธุร กิจ สวนที่ 1 หนา 207


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

 หลักสูตร เลขานุการมือ อาชีพ o หลักสูตร การจัดประชุมชี้แจงใหความรูง านประกันสัง คม โดยสํานักงานประกันสัง คม กรุง เทพมหานคร พื้นที่ 2  การประเมินผลงานอยางชัดเจนและเปนธรรม กลุมบริษัทมีการประเมินความรูความสามารถของพนักงานในการปฏิบัติง าน โดยมี ก าร กํ า หนด เกณฑในการประเมินพนักงานทุกระดับอยางชัดเจนและเปนธรรม โดยจะประเมินจากความสามารถ ศักยภาพ และสมรรถนะของพนักงานใน 4 สวน คือ ทักษะ (Skill) ความรู (Knowledge) คุณสมบัติ (Attributes) และผล การปฏิบัติง าน (Performance) และไดมีการสื่อ สารเกณฑตางๆ ในการประเมินใหพนักงานทร าบล ว ง หน า อยางทั่วถึง ทั้ง นี้ ในการพิจารณากําหนดคาตอบแทนแกพนักงาน นอกจากจะคํานึง ถึง ผลการประกอบการขอ ง กลุมบริษัทและสถานการณทางเศรษฐกิจในแตละปแลว ผลการประเมินก็ เ ป น ส ว นสํ า คั ญ ในการ พิ จ าร ณา กําหนดคาตอบแทนแกพนักงานรายบุคคล ซึ่ง การจัดใหมีร ะบบการประเมินผลง านขอ ง พนั ก ง านและ การ พิจารณากําหนดคาตอบแทนแกพนัก ง านตามผลการ ปร ะ เมิ น นี้ จะ ส ง ผลให พ นั ก ง านส ามาร ถทุ ม เท ความสามารถในการทํางานและพัฒนาศักยภาพของตนเองไดอ ยางเต็มที่  การปฏิบัติตอ พนักงานอยางเทาเทียมกัน กลุมบริษัทตระหนักถึง ความสําคัญของการปฏิบัติอ ยางเทาเทียมกันกับพนักงานทุ ก คนในอ ง ค ก ร ตั้ง แตกระบวนการคัดเลือ กบุคคล ตลอดจนการเลื่อ นตําแหนง ใหเหมาะสมกั บ หน า ที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอ บตาม ความรูความสามารถ ผลการปฏิบัติง าน และศักยภาพของพนักงาน โดยไมมีอ คติหรือ ใชร ะบบเครือ ญาติ ใ น การวัดผลงาน  การสื่อ สารขอ คิดเห็นของพนักงาน เพื่อ ใหทราบถึง ความพึง พอใจหรือ ความสุขในการปฏิบัติหนาที่ของพนักงานแตละคน กลุมบริษัทได กําหนดใหมีชอ งทางในการสื่อ สารขอ คิดเห็นและขอ เสนอแนะตางๆ ของพนักงานทุกระดับ ซึ่ง ขอ มูลทีไ่ ดรบั มา นั้นจะสามารถนํามาปรับปรุง แกไขขอ บกพรอ งและชวยพัฒนาและปรับปรุง ประสิทธิภ าพในการบริหารจัดการ องคกรและทรัพยากรทั้ง ในระยะสั้นและระยะยาว รวมทั้ง กลุมบริษัทยัง ไดกําหนดระเบียบปฏิบัติวาดวยการยืน่ คํารอ งทุกขเพื่อ ใหพนักงานไดใชในการยื่นเรื่อ งราวรอ งทุกข เพื่อ เปนแนวทางในการแกไขขอ คับขอ งใจในการ ทํางานของพนักงานอยางเสมอภาคและเปนธรรม โดยกลุมบริษัทมีความเชื่อ มั่นวาการสื่อ สารและแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นและประสบการณในการทํางานของพนักงานภายในองคกร จะนําไปสูส ัมพันธภ าพที่ ดี (Good Relationship) ระหวางพนักงานทุกระดับ  การสรางคุณภาพชีวิตที่ดีในการทํางาน กลุมบริษัทเห็นความสําคัญของคุณภาพชีวิตที่ดีของพนักงาน ซึ่ง จะชวยสง เสริมใหพนักงานทํางาน อยางเต็มที่และมีประสิทธิภ าพ กลุมบริษัทจึง เอาใจใสดูแลรักษาสถานที่ทํางานใหมี ค วามปลอ ดภั ย และ ถู ก สุขลักษณะ ทั้ง ในแงการจัดหาวัส ดุ อุปกรณ และเครื่อ งใชส ํานักงานที่ไดมาตรฐาน ถูกตอ งตามหลักสรีร ะ ไม สวนที่ 1 หนา 208


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

กอ ใหเกิดผลเสียตอ สุขภาพ ไมกอ ใหเกิดมลพิษ รวมไปถึง การสรางบรรยากาศของสถานที่ทํางานใหเหมาะสม รวมทั้ง การรักษาความสะอาดในสถานที่ทํางานอยางสม่ําเสมอ เพื่อ สวัส ดิภ าพที่ดีและสุขพลามัยทีส่ มบูรณของ พนักงาน นอกจากนี้ กลุมบริษัทไดตระหนักถึง การกําหนดปริมาณงานในหนวยงานใหส อดคลอ ง กั บ จํ า นวน พนักงานที่มีอ ยู ดัง นั้น หากจํานวนพนักงานในหนวยงานใดไมเพียงพอตอ ปริมาณงานที่เพิ่มขึ้น กลุมบริษัทก็ จะจัดจางพนักงานที่เหมาะสมกับตําแหนง งานเพิ่มเติม เพื่อ ใหปริมาณงานในหนวยงานสอดคลอ งกับ จํ า นวน พนักงานและสรางคุณภาพชีวิตที่ดีในการทํางานแกพนักงาน  การสรางระบบบริหารและการทํางานรวมกันที่ดี กลุมบริษัทไดเล็ง เห็นความสําคัญในระบบการทํางานใหมีความตอ เนื่อ งตั้ง แตตนทางไปยัง ปลายทาง และกอ ใหเกิดผลงานที่มีคุณภาพ ไดมาตรฐาน ขจัดและลดความขัดแยง ในการทํ า ง าน จึ ง ได ใ ห ทุ ก ฝ า ยใน องคกรรวมกันจัดทําคูมือ ระบบการทํางานรวมกัน (Operational Manual) เพื่อ เปนระเบียบวิ ธี ป ฏิ บั ติ ง านใน การติดตอ ประสานงานกันระหวางหนวยงานภายในองคกรและไดมีการเผยแพรร ะบบการทํางานรวมกันนีผ้ า น ระบบ Intranet โดยกลุมบริษัทไดจัดใหมีการทบทวนและแกไขตามความเหมาะส มเป น ร ะ ยะ ๆ นอ กจากนี้ กลุมบริษัทไดส นับสนุนการสรางวัฒนธรรมและบรรยากาศในการทํางานที่ดีร วมกัน เพื่อ ใหพนักงานทุกระดับ สัมผัส ไดถึง ความรูส ึกถึง ความเปนสมาชิกในครอบครัวเดียวกัน  การสรางสัมพันธที่ดีร ะหวางผูบริหารและพนักงาน กลุมบริษัทไดตระหนักถึง ความสําคัญของความสัมพันธที่ดีในการทํางานรวมกันระหวางผูบริหารและ พนักงาน ซึ่ง จะมีผลดีตอ ประสิทธิภ าพในการทํางานรวมกัน ดัง นั้น จึง ได จั ด ให มี กิ จ กร ร มนอ กเหนื อ จาก ภาระหนาที่ทางการงานรวมกันระหวางพนักงานและผูบริหาร ซึ่ง จะเปนปจจัยที่ส ามารถพัฒนาความสัมพันธที่ ดีและเปนการสนับสนุนใหเกิดความสุขใจในการทํางาน เชน งานสัง สรรควันปใหม งานทํา บุ ญ ร ว มกั น ง าน Sports & Family Day งานเลี้ยงสัง สรรคนอกสถานที่ (Outing) งานกิจกรรมทางดาน CSR เปนตน นอกจากนี้ ผูบริหารไดจัดประชุมรวมกันกับพนักงานอยางสม่ําเสมอ เพื่อ เปนการ แลกเปลี่ ย นความคิ ด เห็ น ร ะ หว า ง ผูบริหารและพนักงาน ซึ่ง จะนําพาองคกรไปสูเปาหมายการทํางานในทิศทางเดียวกัน  การสรางสํานึกใหพนักงานเปนคนดีขององคกรและสัง คม เพื่อ ใหพนักงานยึดถือ ปฏิบัติตามและเพื่อ ประโยชนแหง ความมี วิ นั ย อั น ดี ง ามขอ ง หมู ค ณะ เมื่ อ พนักงานผูใดหลีกเลี่ยงหรือ ฝาฝนระเบียบขอ บัง คับการทํางานจะถือ วาพนักงานผูนั้นกร ะ ทํ า ผิ ด ซึ่ ง จะ ต อ ง ไดร ับการพิจารณาและดําเนินการตามมาตรการแกไขอยางใดอยางหนึ่ง ตามระเบียบขอ บัง คับการทํางานอยาง เหมาะสมแกกรณี โดยยึดหลักธรรมาภิบาลที่ดี (Corporate Governance) ที่กลุมบริษัทกําหนด ซึ่ง เปนกรอ บ ใหผูบริหารและพนักงานถือ ปฏิบัติ ทั้ง นี้ กลุมบริษัทเชื่อ มั่นวาการพัฒนาพนักงานใหเปนคนดี และ คนเก ง นั้ น จะชวยใหอ งคกรเจริญเติบโตอยางมั่นคงและยั่ง ยืน และกรอบการปฏิบัตดิ ัง กลาวจะชวยยกระดับคุณภาพของ สัง คมโดยรวมไดในที่ส ุด  การสรางความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการทํางาน กลุมบริษัทใสใจในความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของพนักงานและผูเกี่ยวข อ ง ทุ ก ฝ า ยเป น สิ่ ง ที่ สําคัญที่ส ุด ดัง นั้น กลุมบริษัทจึง ไดกําหนดนโยบายดานความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการทํางาน เพื่อให สวนที่ 1 หนา 209


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ความมั่นใจและความเชื่อ มั่นตอ พนักงานถึง ความปลอดภัยและอาชี ว อ นามั ย สํ า หรั บ การ ปฏิ บั ติ ห น า ที่ ใ น สถานที่ทํางาน และใหความมั่นใจและความเชื่อ มั่นตอ ผูโดยสารรถไฟฟาบีทีเอสและผูเกี่ยวขอ งทุกฝายในการ ใชบริการ ตามคุณภาพและมาตรฐานความปลอดภัยในระดับสากล และเปนไปตามกฎหมายความปลอ ดภั ย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ มในการทํางาน ทั้ง นี้ กลุมบริษัทตระหนักดีวาความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ในการทํางานเปนความรับผิดชอบขั้นพื้นฐานตอ พนักงานและ ผู เ กี่ ย วข อ ง ทุ ก ฝ า ย โดยกลุ ม บริ ษั ท ได ใ ช มาตรการตางๆ เพื่อ ควบคุมและปอ งกันความสูญเสียในรูปแบบตางๆ อันเนื่อ งมาจากอุบัติเหตุ ความประมาท อัคคีภ ัย การบาดเจ็บจากการทํางาน ตลอดจนรักษาสภาพแวดล อ มในที่ ทํ า ง านให มี ค วามปลอ ดภั ย ต อ พนักงาน และมีการทบทวนและซักซอ มแผนการรักษาความปลอดภัยใหทันตอ สถานการณอ ย า ง ส ม่ํ า เส มอ อาทิเชน การจําลองและซอ มแผนกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน การซอ มแผนอพยพหนีไฟ การอบรมวิธีการใชอ ุปกรณ ดานความปลอดภัย ตลอดจนการจัดใหมีการประชาสัมพันธและเผยแพรขอ มูลโดยการสื่อ สารแนวปฏิ บั ติ ใ ห เปนที่เขาใจทั่วทั้ง องคกรและใหยึดถือ ปฏิบัติอ ยางเครง ครัด

สวนที่ 1 หนา 210


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

8.6

แบบ 56-1 ป 2555/56

กิจกรรมความรับผิดชอบตอสังคมขององคกร (Corporate Social Responsibility หรือ CSR)

สําหรับกลุมบริษัทแลว ความรับผิดชอบตอ สัง คมดําเนินไปดวยความสํานึกวาความรับผิดชอ บขอ ง สัง คมเกิดขึ้นอยูตลอดเวลา ตั้ง แตนโยบายหลักของกลุมบริษัทไปจนถึง ระดับปฏิบัติการ และดําเนินอยูในทุกๆ อณูขององคกร เพราะกลุมบริษัทเชื่อ วาองคกรทางธุร กิจนั้นเปนเพียงหนวยเล็กๆ หนวยหนึ่ง ของสัง คมไทย มี จํานวนพนักงานในกลุมบริษัทเพียงหลักพันคน และมีผูถือ หุนของกลุมบริษัทจํานวนหลักหมื่นคน ซึ่ง เมื่อ เที ย บ กับจํานวนประชากรของทั้ง ประเทศแลวถือ วาเปนจํานวนที่นอ ยมาก แตกลุมบริษัทมีความเชื่อ วาหากอ ง ค ก ร ทางธุร กิจทั้ง หลายแตละองคกรไดผนึกกําลัง รวมกันผลักดันการดําเนินธุร กิจอยางมีจิ ต สํ า นึ ก ต อ สั ง คมและ สวนรวมไปรวมกัน เพื่อ ผลระยะยาวในทิศทางเดียวกันทุกภาคสวนแลว พลัง การขับเคลื่ อ นดั ง กล า วจะ เป น ประโยชนกับสวนรวมไดอ ยางมีนัยสําคัญ อันนําไปสูการพัฒนาที่ยั่ง ยืนทั้ง ในระดับชุมชนและระดับประเทศ

กลุมบริษัท

ดัง นั้น คณะกรรมการบริษัทจึง ไดกําหนดนโยบายความรับผิดชอบตอ สัง คม ชุมชน และสิ่ง แวดล อ ม (CSR Policy) ของกลุมบริษัทขึ้นมา โดยกําหนดกรอบความรับผิดชอบตอ สัง คมเพื่อ ใหทั้ง 4 ธุร กิจหลัก ไมวา จะเปนระบบขนสง มวลชน สื่อ โฆษณา อสัง หาริมทรัพย และบริการ รวมกันดําเนินใหเปนไปในทิศทางเดียวกัน และครอบคลุมในทุกๆ ดานตามความเหมาะสม ความชํานาญเฉพาะ ทาง และ ส อ ดคล อ ง กั บ ธุ ร กิ จ แต ล ะ ประเภท ความรับผิดชอบตอ ชุมชน และสัง คมของกลุมบริษัทบีทีเอส เริ่มตั้ง แตภ ายในหน ว ยธุ ร กิ จ หลั ก อั น ไดแก ระบบขนสง มวลชน ทั้ง นี้นับตั้ง แตเริ่มเปดดําเนินการ บีทีเอสซีไดใหความสําคัญและเป น ลํ า ดั บ แร กใน เรื่อ งของชีวอนามัยและความปลอดภัยของผูโดยสาร พนักงาน และผูร ับเหมา โดยไดกําหนดนโยบายด า น คุณภาพ และความปลอดภัยไวดัง นี้ คุณภาพ 

ใหบริการเดินรถไฟฟาอยางปลอดภัย เชื่อ ถือ ได มีประสิทธิภ าพและความส ะ อ าด ในร ะ ดั บ มาตรฐานโลก

รับฟง ลูกคา และทําใหดีกวาลูกคาคาดหวัง

ทําการทบทวนกระบวนการในการดําเนินธุร กิจอยางสม่ําเสมอและมีการปรับปรุง อยางตอ เนือ่ ง เพื่อ ใหเกิดประสิทธิภ าพสูง สุด

สวนที่ 1 หนา 211


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน) 

แบบ 56-1 ป 2555/56

ใหความสําคัญกับการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของบริษัท

ความปลอดภัย 

ใหความปลอดภัยสูง สุดกับทั้ง ผูโดยสารและในการทํางานของพนักงาน และผูร ับจางของบริษทั

บริหารจัดการดานความปลอดภัยในเชิง รุก โดยการตรวจหาสิ่ง ที่ลอ แหลมตอ ความปลอ ดภั ย และวิธีการลดความเสี่ยงใหนอ ยที่ส ุดตลอดเวลา

ใหความสําคัญกับการฝกอบรม และการดูแลดานสุขภาพของพนักงาน และผูร ับจางของบริษทั เพื่อ เปนการลดความเสี่ยงที่อ าจจะเกิดขึ้น

จะไมมีวัตถุประสงคเชิง ธุร กิจใดสําคัญกวาเรื่อ งความปลอดภัย

ดวยการดําเนินการอยางเครง ครัดในการจัดการ ทําใหร ถไฟฟาบีทีเอสไดร ับประกาศนียบัตรสําหรับ ระบบการบริหารจัดการความปลอดภัยในการขนสง ระบบรางจาก Lloyd’s Register และ ประกาศนี ย บั ต ร สําหรับการดูแลสุขภาพขอ ง พนั ก ง านและ ความปลอ ดภั ย OHSAS 18001:2007 และ ISO 9000:2008 ประกาศนียบัตรการใหบริการบริหารจัดการ เปนเวลา 13 ป ที่ร ะบบขนสง มวลชนได ใ ห บ ริ ก าร คร บ 1,500 ลานเที่ยวคนในเดือ นเมษายน 2555 โดยไมมีอ ุบัติเหตุร ายแรงถึง ขั้นเสียชีวิต การฝกอบรมในดานความปลอดภัย ซึ่ง เปนหัวใจสําคัญของระบบขนสง มวลชน ไดมีการฝกอบรม ดับเพลิง การอบรมปฐมพยาบาลเบื้อ งตน การชวยเหลือ เคลื่อ นยายผูบาดเจ็บ การอพยพผูโดยสาร นอกจากนี้ ยัง มีการฝกซอ มการปฏิบัติในสถานการณฉุกเฉินรวมกับหนวยงานภายนอกปละ 2 ครั้ง ซึ่ ง ในป 2555 ได มี การฝกซอ มกรณีเกิดอัคคีภ ัยบริเวณสถานีร ถไฟฟา โดยไดร วมกับหน ว ยง านภ ายนอ กที่ เ กี่ ย วข อ ง อ าทิ เจาหนาที่ส ถานีตํารวจลุมพินี เจาหนาที่ศูนยกูชีพเอราวัณ โรงพยาบาลเลิดสิ น สํ า นั ก ป อ ง กั น และ บร ร เทา สาธารณภัย กรุง เทพมหานคร บริษัท G4S Security ฯลฯ สําหรับการฝกซอ มกรณีเกิดอัคคีภ ัยบริเวณสถานีร ถไฟฟา เปนสถานการณจํา ลอ ง จํ า เป น ต อ ง อพยพผูโดยสารออกจากสถานีและขอความช ว ยเหลื อ จากดั บ เพลิ ง ตํ า ร วจท อ ง ที่ หน ว ยแพทย กู ชี พ วัตถุประสงคเพื่อ ใหพนักงานไดมีความเขาใจและชํานาญในขั้นตอนการปฏิบัติเมื่อ เกิดเหตุฉุกเฉิน รวมทั้ง การ ประสานงานกับเจาหนาที่หนวยงานภายนอก ซึ่ง การฝกซอ มนั้นไดจําลองเหตุการณและการแกไขสถานการณ อยางละเอียดเริ่มตั้ง แต

สวนที่ 1 หนา 212


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ซึ่ง หลัง การฝกซอ มสถานการณ ไดมีการสรุปและประเมินผลรวมกับ หน ว ยง านภ ายนอ กที่ ร  ว ม ฝกซอ มเพื่อ นําไปปรับปรุง แกไขการปฏิบัติง านในครั้ง ตอ ๆ ไปใหเกิดประสิทธิภ าพสูง สุด การจัดใหมีการตรวจสภาพแวดลอ มดานชีวอนามัยในพื้นที่ทํางานของพนักงาน และการตรวจสอบ ความปลอดภัยของอาคาร เพื่อ ใหมั่นใจวาการบาดเจ็บของผูโดยสาร พนักงาน และคนอื่ น ๆ จะ ได ร ั บ การ ชวยเหลือ อยางทันทวงที อันเปนการตอกย้ําถึง การยอมรับถึง ผลการดําเนินงานอยางตอ เนื่อ ง

สวนที่ 1 หนา 213


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

กิจกรรมหลักดานสิ่งแวดลอม ของธุร กิจหลักในกลุมบริษัทซึ่ง เปนกระบวนการในการเดินรถไฟฟา ในช ว ง เดือ นเมษายน 2555 ถึง มีนาคม 2556 รถไฟฟาบีทีเอสมีผูมาใชบริการเปนจํ า นวน 202,448,790 เที่ ย วคน คิดเปนระยะทางกวา 1,400 ลานกิโลเมตร ซึ่ง สามารถชวยลดการใชเชื้อ เพลิ ง ที่ ก อ ให เ กิ ด การ ปล อ ยก า ซ คารบอนไดออกไซดจากยานพาหนะ ซึ่ง ไดแกร ถยนตส วนบุคคล และรถโดยสารประจําทางไดเปนจํานวนมาก โดยปริมาณเชื้อ เพลิง ที่ลดลงไปนี้คิดเปนปริมาณกาซคารบอนไดออกไซดที่ถูกปล อ ยอ อ กสู ชั้ น บร ร ยากาศ ประมาณ 200,000 ตัน ซึ่ง รถไฟฟาบีทีเอสมีความภูมิใจที่ไดมีส วนชวยลดภาวะโลกรอ น การประหยัดพลังงาน คือ การเพิ่มประสิทธิภ าพและลดการใชพลัง งานไฟฟาของระบบขับเคลื่อ น ดวยการปรับตารางการเดินรถในวันหยุดเสาร-อาทิตย และวันหยุดนักขัตฤกษ นอ กจากนี้ การ อ อ กแบบ ตารางการเดินรถที่แตกตางกันในแตละชวงเวลา เชน ชวงเวลาเรง ดวน ใชร ูปแบบ Fast Strategy ซึ่ ง ขบวน รถไฟฟามีอ ัตราเรง สูง สุดเพื่อ ใหบริการถึง ปลายทางดวยความปลอดภัยและใชเวลานอ ยสุด ในขณะที่ชวงเวลา ไมเรง ดวน ใชร ูปแบบการเดินรถแบบ Normal Strategy เพื่อ ประหยัดพลัง งานในการขับเคลื่อ น การควบคุ ม การทํางานของระบบปรับอากาศในขบวนรถ การลดการใชพลัง งานไฟฟาในสถานีทั้ง 23 สถานี บริษัท ได ใ ช เ ทคโนโลยี อ ั น ทั น ส มั ย และ นํ า มาตรการการประหยัดพลัง งานมาใชเพื่อ เพิ่มประสิทธิภ าพ เชน การติดตั้ง บันไดเลื่อ น เปด–ปดอัตโนมัติ และ มีการควบคุมการใชง านหลอดไฟแสงสวางที่ไมไดใชง าน การลดการใชพลัง งานไฟฟาในอาคารสํานักงาน มีการเปลี่ยนหลอดไฟแสงสวางจากหลอ ดชนิ ด ฮาโลเจนเปนหลอดชนิด LED เพื่อ ประหยัดพลัง งาน พรอ มทั้ง ติดตั้ง ระบบประหยัดพลัง งานสําหรั บ Air Cool Chiller ดาดฟาของอาคาร เพื่อ เพิ่มประสิทธิภ าพเครื่อ งทําน้ําเย็นโดยการพนน้ําใหเปนละอองขนาดประมาณ 10 ไมครอน ลงบนคอยลความรอ นเพื่อ ลดอุณหภูมิส ารทําความเย็นที่อ ยูภ ายใน ซึ่ง การลดอุณหภูมิมีผลทําให ความดันของสารทําความเย็นลดลง จึง ทําใหคอมเพรสเซอรใชพลัง งานลดลง และสามารถทําความเย็นไดมาก กวาเดิมซึ่ง ทําใหพลัง งานไฟฟาที่ใชลดลง 20-25 % จากความมุง มั่นตั้ง ใจ รวมถึง การเปนระบบขนสง มวลชนที่ชวยในการลดปญหาการจราจรและ ลด การใชน้ํามัน อันเปนผลโดยตรงจากการดําเนินงานของกลุมธุร กิจ ซึ่ง สง ผลใหกาซเรือ นกระจกและ การ เกิ ด มลภาวะลดนอ ยลง นํามาซึ่ง ความสะอาด และสุขภาพที่ดีกวา ขอ ง ทุ ก ผู ค นที่ อ ยู ใ นเมื อ ง จึ ง ทํ า ให ค วาม รับผิดชอบตอ สัง คมของธุร กิจหลักในกลุมบริษัทบีทีเอสยัง คงดําเนินไปอยางไมหยุดยั้ง เพื่อ คุณภาพชีวิตทีด่ ี ซึง่ เปนไปตามวิส ัยทัศนของกลุมบริษัทบีทีเอส “ซิตี้ โซลูชั่นส” นอกจากนี้ นโยบายหลักของกลุมบริษัทบีทีเอส ไดกําหนดเรื่อ งความรั บ ผิ ด ชอ บต อ สั ง คม และ ดําเนินการมาดวยแนวความคิด 2 ประการที่วา ธุร กิจควรมีการสรางความเชื่อ มโยงของชีวิตในเมือ งและผืนปา กับสรางความเชื่อ มโยงสัง คมชนบทและสัง คมเมือ ง โดยผานโครงการตางๆ ในดานการศึกษา สาธาร ณสุ ข กีฬา และการประหยัดพลัง งาน ซึ่ง กลุมบริษัทบีทีเอสไดดําเนินการอยางตอ เนื่อ ง เพื่อ ทําประโยชน ใ ห ส ั ง คม อยางยั่ง ยืน

สวนที่ 1 หนา 214


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

สําหรับในป 2555 - 2556 บริษัทฯ ยัง คงสานตอ โครงการตางๆ ตามแนวทางที่ไ ด กํ า หนดไว ทั้ ง โครงการตอ เนื่อ งในระดับมหภาค คือ โครงการอนุร ักษชางไทยที่เปนโครงการระยะยาว และโครงการตอเนือ่ ง ในดานพัฒนาสัง คมและชุมชน โครงการตอเนื่องในระดับมหภาค 

โครงการอนุร ักษชางไทย ซึ่ง เปนโครงการระยะยาว อันเนื่อ งมาจากการที่บริษัทฯ ไดใหการ สนับสนุนโรงพยาบาลชางแหง ใหมที่จัง หวัดกระบี่ของศูนยอ นุร ักษชางไทย สถาบั น คชบาล แหง ชาติ ในพระอุปถัมภของสมเด็จพระเจาพี่นางเธอ เจ า ฟ า กั ล ยาณิ วั ฒ นา กร มหลวง นราธิวาสราชนครินทร ซึ่ง กําลัง อยูในระหวางการกอ สรางยัง ไมแลวเสร็จ และยัง ขาดร ะ บบ บําบัดน้ํา ดัง นั้นบริษัทฯ จึง ไดส นับสนุนการติดตั้ง ระบบบําบัดน้ําให กั บ โร ง พยาบาลมู ล ค า 1,000,000 บาท โดยไดทําพิธีส ง มอบเปนที่เรียบรอ ยแลว เมื่อ วัน ที่ 12 มี น าคม 2556 ซึ่ ง ระบบบําบัดน้ําดัง กลาว เปนระบบน้ําดีที่ไวใชในการบริหารจัดการทั้ง หมดของโรงพยาบาล

โครงการตูยาชาง ที่บริษัทฯ จัดสง เวชภัณฑ ที่จําเปนเชน แอ ลกอ ฮอ ลล และ ยาล า ง แผล เบตาดีน เปนตน ในการรักษาชางเจ็บปวยทั่วประเทศที่ถูกสง มารักษายัง โรง พยาบาลช า ง จัง หวัดลําปาง ทําใหส ามารถชวยลดอัตราการเสียชีวิต ขอ ง ช า ง ลง ได และ นั บ จากที่ เ ริ่ ม โครงการในป 2555 จนถึง มีนาคม 2556 บริษัทฯ ไดเปลี่ยนการจัดสง เวชภัณฑดัง กลาวใหกับ สวนที่ 1 หนา 215


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

โรงพยาบาล ทุกๆ 3 เดือ น ซึ่ง จากเดิมที่เคยจัดสง ตามความจําเปนที่เรง ดวนแลวแตกรณี ซึ่ ง โครงการตูยาชางนับเปนการชวยลดอัตราการสูญเสียประชากรชางไดอ ีกทางหนึ่ง เพราะการ รักษาชางที่บาดเจ็บ หรือ เจ็บปวยดวยสาเหตุตางๆ จําเปนตอ งใชยาในปริมาณที่มาก

โครงการตอเนื่องในดานพัฒนาสังคม และชุมชน ดานกีฬา 

บริษัทฯ ไดส ง เสริมการกีฬาติดตอ กันมาเปนปที่ 2 โดยร ว มเป น เจ า ภ าพในการ แข ง ขั น แบดมินตัน 9th BTS-CARLTON-SENA Badminton Championships 2012 ซึ่ง จัดโดยชมรม แบดมินตันเสนานิคม และ สมาคมแบดมินตันแหง ปร ะ เทศไทย ในพร ะ บร มร าชิ นู ป ถั ม ภ ระหวางวันที่ 2 - 6 สิง หาคม 2555 ทั้ง นี้เพื่อ คัดเลือ กนักกีฬาระดับเยาวชนสูทีมชาติและ เป น การยกระดับการแขง ขันใหเปนมาตรฐานของวงการแบดมินตันระดับเยาวชน ซึ่ง งบประมาณ ที่ใชในการสนับสนุนการแขง ขันในครั้ง นี้เปนเงินจํานวน 182,000 บาท

ดานพุทธศาสนา 

เสถียรธรรมสถาน ไดเปดโครงการบัณฑิตศึกษา สาขาพุทธศาสตร และ ศิ ล ปแห ง ชี วิ ต มา ตั้ง แตป 2551 โดยไดดําเนินการกอ สรางอาคารสาวิกาสิกขาลัย เพื่ อ ใช ใ นการ เรี ย นรู ม า บางสวน จนถึง ปจจุบัน แตยัง ไมแลวเสร็จ ซึ่ง บริษัทฯ เห็นความสําคัญของสถานที่ส ําหรั บ ใช เผยแพรธรรมะสูส ัง คม โดยมุง หวัง ที่จะสง เสริมใหคนรูจักใชปญญาในการดําเนินชีวิตอยางรู ตื่น และเบิกบาน จึง ไดส นับสนุนงบประมาณ ในการกอ สรางอาคารดัง กลาวเปนเงิ น จํ า นวน 1,000,000 บาท เมื่อ วันที่ 26 ตุลาคม 2555 ณ เสถียรธรรมสถาน

สวนที่ 1 หนา 216


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ดานการศึกษา 

ไดมอบทุนการศึกษาประจําปอ ยางตอ เนื่อ ง แกนักเรียนที่เรียนดีแตขาดแคลนทุ น ทรั พ ย ใน ป 2555 เปนครั้ง ที่ 8 รวม 54 ทุนๆ ละ 3,000 บาท ให นั ก เรี ย น จํ า นวน 14 โร ง เรี ย นใน จัง หวัดอางทอง ประกอบดวยโรงเรียนโพธิ์ทองวิทยาคม โรงเรียนชุ ม ชนวั ด ศี ล ขั น ธาร าม (วิทยาคม) โรงเรียนวัดสวาง โรงเรียนวัดขอ ย โรงเรียนวัดโพธิ์เกรียบ โรงเรียนวัด ท า โขลง มิตรภาพที่ 135 โรงเรียนวัดปามุนี โรงเรียนวัด ท า ตลาด โร ง เรี ย นวั ด บุ ญ ศิ ร ิ วิ ท ยาร าม โรงเรียนวัดทาอิฐ โรงเรียนวัดน้ําอาบ โรงเรียนอนุบาลโพธิ์ทอง โรงเรี ย นวั ด บุ ญ เกิ ด และ โรงเรียนโพธิ์ทองจินดามณี จากทุนการศึกษาที่กลุมบริษัทไดมอบใหกับโรงเรียนตางๆ ทั่วประเทศมาแลวรวม 8 ป เป น จํานวน 432 ทุน รวมเปนเงินทั้ง สิ้น 1,296,000 บาท ซึ่ง เป น การ หยิ บ ยื่ น โอ กาส ทาง การ ศึกษาใหกับเยาวชนเพื่อ เติบโตเปนกําลัง ที่ส ําคัญของชาติตอ ไป

สวนที่ 1 หนา 217


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

จากอุทกภัยในป 2554 ที่ส ง ผลใหโรงเรียนไดร ับความเสียหาย บริษัทฯ ไดเปนเจาภาพในการ ฟนฟูโรงเรียนวัดอินทร ต.เสาธงหิน อ.บางใหญ จ.นนทบุร ี ตามโคร ง การ คื น โร ง เรี ย นให ลูกหลาน สานสัมพันธชุมชน ของกองทุนตลาดหุนรวมใจ ชว ยภั ย น้ํ า ท ว ม และ จากการ ที่ บริษัทฯ ไดมอบเงินผานกองทุนเปนจํานวน 2,000,000 ลานบาทเพื่อ ใชในการฟนฟูโรงเรี ย น ตางๆ ซึ่ง ใชเวลานานพอสมควร โดยที่ บ ริ ษั ท ฯ ได ล ง พื้ น ที่ ติ ด ตามความก า วหน า การ ซอ มแซมโรงเรียนมาตามลําดับ จนแลวเสร็จ เมื่อ เดือ นมกราคม 2556 พร อ มกั บ ส นั บ ส นุ น งบประมาณเพิ่มเติมอีกจํานวน 190,000 บาทในการติดตั้ง กันสาดอาคาร เรี ย น และ เทพื้ น คอนกรีต

นอกจากนี้ในวันเด็กแหง ชาติ 11 มกราคม 2556 บริษัทฯ ไดมอบกระเปาเป ให กั บ นั ก เรี ย น ชั้นอนุบาล ถึง ประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนวัดซองพลู ซึ่ง เปนโรงเรียนที่ บริษัทฯ ไดใหความ ชวยเหลือ อันเนื่อ งมาจากไดร ับผลกระทบน้ําทวม

ไดมอบเงินสมทบทุนมูลนิธิไทยรัฐ เพื่อ สนับสนุนการศึกษา ประจําป 2555 ครั้ ง ที่ 2 จํ า นวน 100,000 บาท สวนที่ 1 หนา 218


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ทิศทางการดําเนินงาน CSR ในป 2555 – 2556

สําหรับโครงการตางๆ ในระดับชุมชน และสิ่ง แวดลอ มของกลุมบริษัทก็ยัง คงดําเนินไปดวยความ สํานึกในหนาที่ของความเปนพลเมือ งที่ดี ซึ่ง ในปที่ผานมา ธุร กิจหลักไดดําเนินกิจกรรมที่ส ําคัญในดานตางๆ     

งานคลินิกลอยฟา ครั้ง ที่ 10 งานหนูดวนชวนกินเจ ครั้ง ที่ 6 การเลี้ยงอาหารเด็กที่มูลนิธิตางๆ การบริจาคโลหิต กิจกรรมรณรงคดานประหยัดพลัง งานในสํานักงาน เชน ปดไฟฟ า แส ง ส ว า ง และ ป ด หน า จอคอมพิวเตอรชวงพักกลางวันระหวางเวลา 12.00-13.00 น. นอกเหนือ ไปจากการใหความ รวมมือ กับหนวยงานภายนอกจัดงาน Car Free Day และการดําเนินงานในดานสิ่ง แวดลอ ม ดวยการเพิ่มประสิทธิภ าพ และลดการใชพลัง งานเทาที่จะเปนไปได โดยใช เ ทคโนโลยี อ ั น ทันสมัย และนํามาตราการประหยัดพลัง งานมาใช นอกเหนือ จากการดําเนินงานขอ ง ร ะ บบ ขนสง มวลชนที่ชวยลดการใชน้ํามันเชื้อ เพลิง และนํามาซึ่ง คุณภาพชีวิตที่ดีของ ผู ค นที่ อ ยู ใ น เมือ ง นับเปนครั้ง แรกในประเทศที่ธุร กิจหลักในกลุมบริษัทไดใหความร ว มมื อ ในการ ศึ ก ษาด า น วิศวกรรมระบบรางแกคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตร ศาส ตร ในการ พั ฒ นา ศักยภาพดานเทคนิควิศวกรรมระบบราง เพื่อ รองรับการเติบโตในอุตสาหกรรมระบบรางทีจ่ ะ เกิดขึ้นในอนาคต ทั้ง ในดานการจัดอบรมเบื้อ งตนใหแกคณาจารยของมหาวิทยาลัย พรอมทัง้ ใหบุคลากรของบีทีเอสซีที่มีความเชี่ยวชาญในดานวิศวกรรมระบบรางไปเปนอาจารยพิเ ศษ สอนรายวิชาใหกับนิส ิตคณะวิศวกรรมศาสตร โดยเป ด ให บุ ค คลภ ายนอ กที่ มี คุ ณ ส มบั ติ เหมาะสมสามารถเขาเรียนรวมโดยไมคิดคาใชจาย ถือ เปนการใหการศึกษาแกส าธารณะ โดย ไมหวัง ผลกําไรอยางแทจริง

นอกจากนี้ ในป 2556 นี้ บริษัท ฯ ยัง ไดมีการจัดทํารายงานการพัฒนาอยางยัง่ ยืน (Sustainability Report) และจัดสง ใหแกผูถือ หุนพรอ มกับรายงานประจําปของบริษัทฯ

สวนที่ 1 หนา 219


บริษัท บริษัทฯ โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

9.

แบบ 56-1 ป 2555/56

การควบคุมภายใน

บริษัทฯ ไดใหความสําคัญตอการควบคุมภายในมาอยางตอเนื่อง โดยคณะกรรมการบริษัทไดมอบหมายให คณะกรรมการตรวจสอบสอบทานและประเมินระบบการควบคุมภายใน และเสนอตอคณะกรรมการบริษัทเพื่อกําหนด แนวทางการกํากับดูแลกิจการ ตลอดจนการควบคุมภายในดานตางๆ ไดแก องคกรและสภาพแวดลอม การบริหาร ความเสี่ยง การควบคุมการปฏิบัติการของฝายบริหาร ระบบสารสนเทศและการสื่อสารขอมูล และระบบการติดตาม เพื่อใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลดังนี้ 9.1

องคกรและสภาพแวดลอม

บริษัทฯ คํานึงถึงการมีโครงสรางองคกรและสภาพแวดลอมที่ดีซึ่งเปนรากฐานที่สําคัญของระบบควบคุม ภายในที่มีประสิทธิผล ดังนั้น จึงมีความจําเปนที่ตองสรางภาวะหรือปจจัยตางๆ ซึ่งเอื้อใหระบบการควบคุมภายใน ดําเนินไปไดตามที่บริษัทฯ มุงหวัง และสงเสริมใหทุกคนรับทราบและเขาใจถึงรายละเอียดหลักๆ ของระบบการควบคุม ภายในดังตอไปนี้ 

คณะกรรมการไดกําหนดวิสัยทัศน ภารกิจ และคุณคาของบริษัทฯ ไวอยางชัดเจน และประกาศให พนั ก งานทราบโดยทั่ ว กั น เพื่ อ เป น แนวทางในการดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ให กั บ พนั ก งานทุ ก คน โดย คณะกรรมการไดจัดการดูแลใหมีการกําหนดเปาหมายการดํา เนินธุร กิจอยา งชัดเจน และมีการ ประชุมรวมกันของฝายบริหาร เพื่อกําหนดเปาหมายของการดําเนินธุรกิจ และจัดทําเปนแผนธุรกิจ ที่สอดคลองกับวิสัยทัศน ภารกิจ และคุณคาที่กําหนดไวเปนสํา คัญ ทั้งในระยะยาวและระยะสั้น เพื่อที่จะนําเอาแผนธุรกิจดังกลาวไปกําหนดเปนงบประมาณประจําป นอกจากนี้ บริษัทฯ ไดมีการ วั ด ผลการดํ า เนิ น งานทุ ก ไตรมาส เพื่ อ ประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านและนํ า มาปรั บ ปรุ ง แผนการ ดําเนินการ โดยจะมีการทบทวนงบประมาณประจําปและปรับปรุงตามความจําเปนและเหมาะสม

บริษัทฯ มีการประชุมรวมกันทุกฝายงานภายในบริษัทฯ โดยทบทวนถึงผลการดําเนินงานที่ผานมา สภาวะเศรษฐกิจ และปจจัยตางๆ เพื่อกําหนดเปาหมายการปฏิบัติงานในระดับที่กระตุนใหเกิด ความกระตือรือรนและมีความเปนไปได ตลอดจนมีการกําหนดผลตอบแทนเพื่อจูงใจพนักงานอยาง เหมาะสม เพื่อผลการดําเนินงานที่ดีของบริษัทฯ ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว

บริษัทฯ มีการกําหนดโครงสรางองคกร โดยคํานึงถึงประสิทธิภาพในการบริหารจัดการองคกรและมี การประกาศใหพนักงานทราบโดยทั่วกัน รวมทั้งมีการกําหนดอํานาจการอนุมัติตามระดับตําแหนง งาน เพื่อชวยใหฝายบริหารสามารถดําเนินงานไดอยางมีประสิทธิภาพ

บริษัทฯ มีการจัดทําคูมือจริยธรรม (Code of Conduct) สําหรับพนักงานในกลุมบริษัท โดยคูมือ จริยธรรมประกอบดวยเนื้อหาเกี่ยวกับวิสัยทัศน ภารกิจ และคุณคาของบริษัทฯ นโยบายการกํากับ ดูแลกิจการ นโยบายและจรรยาบรรณทางธุร กิจ นโยบายเกี่ยวกับบุค ลากรในดานผลตอบแทน สวั ส ดิ ก าร และการพั ฒ นาบุ ค ลากร ตลอดจนนโยบายความรั บ ผิ ด ชอบต อ สั ง คม ชุ ม ชน และ สิ่งแวดลอม โดยบริษัทฯ ไดเผยแพรคูมือจริยธรรมนี้ผานทางระบบ Intranet เพื่อเปนแนวทางปฏิบัติ ของพนักงาน และสรางความมั่นใจวาไดมีการปฏิบัติตามนโยบายดานการกํากับดูแลกิจการของ บริษัทฯ อยางเปนรูปธรรม

สวนที่ 1 หนา 220


บริษัท บริษัทฯ โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

9.2

แบบ 56-1 ป 2555/56

บริษัทฯ มีการกําหนดนโยบายและระเบียบปฏิบัติในการอนุมัติธุรกรรมดานการเงิน การจัดซื้อ และ การบริหารงานเปนลายลักษณอักษรไวอยางชัดเจน บริษัทฯ เชื่อวานโยบายดังกลาวจะสามารถชวย ปองกันการทุจริตได โดยมีการนําระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (ProMis) มาใชในการควบคุม ธุรกรรมดานการเงิน การจัดซื้อ และการบริหาร เชน Budget, Purchase Requisition (PR), Purchase Order (PO) โดยจะมีการแบงหนาที่ในสวนของผูจัดทําและผูอนุมัติ โดยผูมีอํานาจในการ อนุมัติรายการ จะเปนไปตามลําดับขั้นตามที่ระบุไวใน Chart of Delegation of Authority

บริษัทฯ มีนโยบายเกี่ยวกับหลักการกํากับกิจการและมีการกําหนดหลักเกณฑพรอมทั้งแผนการ ปฏิบัติงาน ทั้งนี้ บริษัทฯ ตระหนักดีวาความสัมพันธอันดีกับผูมีสวนไดเสียทุกกลุมมีความสําคัญตอ การพัฒนาและความสําเร็จในระยะยาว บริษัทฯ จึงไดคํานึงถึงบทบาทของผูมีสวนไดเสีย และให ความสํา คัญ กับสิทธิของผูมีสว นไดเสียของบริษัทฯ ทุก กลุม โดยไดมีก ารดู แลใหผูมีสว นไดเสีย กลุมตางๆ ของบริษัทฯ เชน ผูถือหุน พนักงาน ลูกคา คูคา ตลอดจนสังคมและชุมชนไดรับการ ปฏิบัติอยางเหมาะสม เสมอภาพ และเปนธรรม นอกจากนี้ บริษัทฯ ไดจัดใหมีชองทางที่ผูมีสวนได เสียทุกกลุมสามารถติดตอหรือรองเรียนในเรื่องที่อาจเปนปญหากับคณะกรรมการบริษัทไดโดยตรง ผานสํานักเลขานุการบริษัท

การบริหารความเสี่ยง

บริษัทฯ มีนโยบายที่จะบริหารความเสี่ยงตางๆ ที่มีผลกระทบตอบริษัทฯ ทั้งที่เปนปจจัยภายในและภายนอกให มีความเสี่ยงที่เหลืออยูในระดับที่เหมาะสมและยอมรับได การบริหารความเสี่ยงเปนสวนหนึ่งของการจัดทําแผนธุรกิจ (Business Plan) ประจําป เพื่อใหการกําหนดแนวทางการจัดการความเสี่ยงนั้นสอดคลองกับวัตถุประสงค เปาหมาย และ แผนกลยุทธตางๆ ของบริษัทฯ ทั้งนี้ ผูบริหารและพนักงานทุกคนในบริษัทฯ เปนเจาของความเสี่ยง และมีหนาที่ในการ ประเมินความเสี่ยงของแตละหนวยงาน และกระบวนการประเมินประสิทธิภาพของมาตรการควบคุมที่มีอยู และนําเสนอ แผนและวิธีการในการลดความเสี่ยง และรายงานตอคณะกรรมการบริษัท ทั้งนี้ คณะกรรมการบริหารมีบทบาทหนาที่ บริหารความเสี่ยงในภาพรวมทั้งองคกร ประเมินความเสี่ยงและวางรูปแบบโครงสรางการบริหารความเสี่ยงขององคกร เพื่อจัดการความเสี่ยงใหอยูในระดับที่สามารถยอมรับได เชน ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks) ความเสี่ยงใน การปฏิบัติงาน (Operation Risks) ความเสี่ยงในธุรกิจ (Business Risks) ความเสี่ยงในเหตุการณ (Event Risks) เปนตน รวมทั้งใหมีการจัดทําการวิเคราะหประเมินความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น แนวโนมซึ่งมีผลกระทบตอบริษัทฯ ทั้งภายในและ ภายนอก บริษัทฯ มีการกําหนดวัตถุประสงคที่ชัดเจน ทั้งวัตถุประสงคระดับองคกรและวัตถุประสงคระดับกิจกรรมให สอดคลองกันเพื่อที่จะสามารถทํางานใหสําเร็จดวยงบประมาณประจําปที่ไดรับการอนุมัติและทรัพยากรที่มีอยูอยาง เหมาะสม โดยบริ ษั ท ฯ มี ก ารวิ เ คราะห ค วามเสี่ ย งและการบริ ห ารความเสี่ ย งที่ เ หมาะสมกั บ สถานการณ ป จ จุ บั น ฝายบริหารจึงกําหนดใหมีการดําเนินการอยางสม่ําเสมอดังตอไปนี้ 

บริษัทฯ ไดมีการประชุมเพื่อประเมินถึงความเสี่ยงในการดําเนินธุรกิจอยางสม่ําเสมอและวิเคราะหถึง สาเหตุและปจจัยที่ทําใหเกิดเปนความเสี่ยง ทั้งที่เปนปจจัยภายในและภายนอก ตลอดจนมีการ ติดตามสถานการณที่เปนสาเหตุของความเสี่ยง เพื่อกําหนดมาตรการปองกันหรือลดความเสี่ยง ดังกลาว

สวนที่ 1 หนา 221


บริษัท บริษัทฯ โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

บริษัทฯ ไดแจงใหผูบังคับบัญชาของแตละฝายงานทราบถึงแนวทางปฏิบัติตามมาตรการบริหาร ความเสี่ยง เพื่อนําไปถายทอดแกพนักงานทุกคนเพื่อปฏิบัติใหถูกตอง นอกจากนี้แลว บริษัทฯ ยังได จัด ให พนัก งานประเมิน ความเสี่ย งดว ยตนเองอี ก ทางหนึ่ ง ทั้ง นี้ เพื่อ ให พนัก งานได ต ระหนัก ถึ ง ความรับผิดชอบในการบริหารความเสี่ยง

นโยบายการบริหารความเสี่ยง เนื้อหาในสวนนี้จะนําเสนอภาพรวมวิธีการบริหารความเสี่ยงของกลุมบริษัท และหนวยงานที่รับผิดชอบใน แตละขั้นตอน ในป 2555/56 บริษัทฯ ไดดําเนินการตามนโยบายการบริหารความเสี่ยงอยางเต็มรูปแบบ โดยนโยบาย การบริหารความเสี่ยงนี้ไดปฏิบัติตามมาตรฐานของ Committee of the Sponsoring Organisations of the Treadway Commission (COSO) วัตถุประสงคของนโยบายการบริหารความเสี่ยง การรับความเสี่ยงเปนสวนหนึ่งในพฤติกรรมการลงทุน ดังนั้นจุดประสงคของการบริหารความเสี่ยงนั้นไมใช เพื่อการลดความเสี่ยงออกไปทั้งหมด แตเปนกระบวนการในการบริหารเพื่อใหมั่นใจวาแตละธุรกิจทราบถึงความเสี่ยงที่ เกี่ยวของและจัดใหมีวิธีการบริหารความเสี่ยงอยางเหมาะสม นอกจากนั้นผูบริหารจะใชความรูความเขาใจในความเสี่ยง เหลานี้ในการตัดสินใจทางธุรกิจ จุดประสงคของนโยบายการบริหารความเสี่ยง คือ การสื่อสารใหทุกหนวยงานเขาใจกรอบการบริหารความ เสี่ยง และแนวทางในการบริหารความเสี่ยงใหอยูในระดับที่ยอมรับได เพื่อใหมั่นใจวาแตละธุรกิจมีการระบุความเสี่ยง การประเมินความเสี่ยง การรายงานความเสี่ยง การควบคุมความเสี่ยง และการติดตามความเสี่ยงที่เปนมาตรฐาน เดียวกัน นโยบายการบริหารความเสี่ยง กลุมบริษัท เชื่อวาการบริหารความเสี่ยงเปนหนึ่งในกลยุทธหลักที่จะชวยใหองคกรบรรลุเปาประสงคได บริษัทฯ มีการดูแลใหแตละธุรกิจปฏิบัติตามกรอบการบริหารความเสี่ยงขององคกรในการจัดการกับความเสี่ยงอยางเหมาะสม โดยมีการระบุ ติดตามและรายงานความเสี่ยงตอผูบริหารเพื่อจะไดจัดใหมีการควบคุมความเสี่ยงไดอยางมีประสิทธิภาพ และจะไดตัดสินใจทางธุรกิจไดอยางถูกตอง นโยบายการบริหารความเสี่ยงของกลุมบริษัท ยังใหความสําคัญเปนอยางยิ่งกับการปฏิบัติตามขอกําหนดของ กฏหมายและความถูกตองของการรายงานงบการเงิน นอกจากนี้ แนวทางบริหารความเสี่ยงของกลุมบริษัท ยังไดทํา ควบคูไปกับการกํากับดูแลกิจการและระบบการควบคุมภายในที่ดี

สวนที่ 1 หนา 222


บริษัท บริษัทฯ โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

การบริหารความเสี่ยงของกลุมบริษัท กลุมบริษัท ไดใชวิธีการบริหารความเสี่ยงทั้ง จากบนลงลาง และจากลางขึ้นบน คณะกรรมการบริ ษั ท เป นผู ดู แลและ รับผิดชอบความเสี่ยงจากระดับบนลงลาง โดยมีบทบาท หนาที่ในการ ก) กําหนดนโยบายและกรอบการบริหาร ความเสี่ยง ข) ประเมินความเหมาะสมของนโยบายและ กรอบการบริหารความเสี่ยงอยางสม่ําเสมอ และ ค) ดูแล ให มี ก ารนํ า นโยบายการบริ ห ารความเสี่ ย งและการ ควบคุมภายในไปปฏิบัติจริง และเพื่อที่จะสามารถบรรลุ วัตถุประสงคในการบริหารความเสี่ยงนี้ได คณะกรรมการ ตรวจสอบมีบทบาทหนาที่ในการประเมินความพอเพียง ของนโยบายการบริหารความเสี่ยงและใหคําแนะนําตอ คณะกรรมการบริษัทและฝายบริหาร ศูนยกลางการบริหารความเสี่ยงของบริษัทฯ คือ คณะกรรมการบริหาร โดยคณะกรรมการบริหารมีบทบาท หนาที่ในการติดตามและควบคุมความเสี่ยงหลักและปจจัยตางๆ ที่อาจจะสงผลกระทบอยางมีนัยสําคัญตอบริษัทฯ คณะกรรมการบริหารเปนศูนยรวมการบริหารความเสี่ยงเพราะมีศักยภาพในการเขาถึงทุกหนวยงานภายในองคกร พนักงานทุกคนในองคกร ไดรับการสงเสริมใหตระหนักถึงความรับผิดชอบของตนซึ่งอาจสงผลกระทบตอ องคกรโดยรวม ทั้งนี้ วิธีการบริหารความเสี่ยงจากระดับลางขึ้นบน คือการที่บริษัทฯ มอบหมายใหแตละหนวยงาน ดําเนินการประเมินความเสี่ยง และเสนอวิธีการจัดการและควบคุมความเสี่ยงเหลานั้นเอง โดยบริษัทฯ ไดใหบริษัทที่ ปรึกษาที่มีความเชี่ยวชาญดานการบริหารความเสี่ยงเขามาจัดอบรมเพื่อใหทุกหนวยงานเขาใจถึงกระบวนการวิเคราะห ความเสี่ยงของธุรกิจ ซึ่งมีวัตถุประสงคเพื่อชวยใหแตละหนวยงานเรียนรูและตระหนักถึงความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นภายใน หนวยงานของตน และสามารถควบคุมและจัดการความเสี่ยงใหอยูในกรอบความเสี่ยงที่บริษัทฯ ยอมรับได นอกจากนั้น คณะกรรมการบริหารยังไดตั้งคณะทํางานการบริหารความเสี่ยง ซึ่งประกอบดวยตัวแทนจากทุก ธุรกิจในกลุมบริษัท โดยคณะทํางานมีหนาที่รวบรวมความเสี่ยงของแตละหนวยงานและประเมินความเสี่ยงของกลุมบริษัท คณะทํางานยังมีหนาที่สนับสนุนการดําเนินการตามกรอบการบริหารความเสี่ยง และรายงานตอคณะกรรมการบริหารทุก ไตรมาส และตอคณะกรรมการบริษัททุกป นอกจากบทบาทหนาที่ในการประเมินความมีประสิทธิภาพและความเชื่อถือไดของระบบการควบคุมภายใน แลว สํานักตรวจสอบภายในยังมีบทบาทหนาที่สําคัญในการตรวจสอบกระบวนการบริหารความเสี่ยงอยางเปนอิสระ

สวนที่ 1 หนา 223


บริษัท บริษัทฯ โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

กรอบการบริหารความเสี่ยง กรอบการบริหารความเสี่ยงนี้จะมีการพัฒนาอยางตอเนื่อง ซึ่งเปนสิ่งสําคัญในการบริหารจัดการเชิงกลยุทธของกลุมบริษัท และ ออกแบบมาเพื่ อ ให มั่ น ใจว า บริ ษั ท ฯ มี ก ารบริ ห ารความเสี่ ย งที่ เพียงพอและเหมาะสม คณะกรรมการบริษัทไดอนุมัตินโยบายบริหารความเสี่ยง และกรอบการบริหารความเสี่ยงของ กลุมบริษัทเพื่อใหแตละธุรกิจมี การจัดการและการบริหารความเสี่ยงอยางเปนระบบ มีประสิทธิภาพ และเป น ไปในรู ป แบบเดี ย วกั น นอกจากนั้ น ยั ง ได ม อบหมายให คณะกรรมการบริหารติดตามและควบคุมใหแตละหนวยงานบริหาร ความเสี่ยงใหอยูในกรอบการบริหารความเสี่ยงที่กําหนดไว กรอบการบริหารความเสี่ยงนี้สามารถชวยในการติดตาม เพื่อใหมั่นใจวาธุรกิจสามารถบรรลุวัตถุประสงคในดานการรายงาน และตรวจสอบตามที่กําหนดไว สําหรับวัตถุประสงคในดานกลยุทธ และการดํ า เนิ น งาน (ซึ่ ง ได รั บ ผลจากป จ จั ย ภายนอก) กรอบการ บริ ห ารความเสี่ ย งถู ก ออกแบบเพื่ อ ให มั่ น ใจได ว า ผู บ ริ ห ารและ คณะกรรมการได ท ราบความคื บ หน า ของการดํ า เนิ น การของ กลุมบริษัท ในการปฏิบัติตามวัตถุประสงคตางๆ 1. การกําหนดความเสี่ยง เพื่อระบุปจจัยความไมแนนอนซึ่งมีผลกระทบในแงลบตอองคกร กลุมบริษัท ไดพัฒนาขั้นตอนและวิธีการในการระบุปจจัยความเสี่ยงซึ่งแตละธุรกิจมีหนาที่ระบุปจจัยความเสี่ยง และผลกระทบที่อาจ เกิดขึ้น โดยจะมีการตรวจสอบปจจัยเหลานี้เปนประจําทุกป นอกจากนี้ กลุมบริษัทจะรวบรวมความเสี่ยงและผลกระทบที่ อาจเกิดขึ้นเพื่อใหเห็นภาพรวมความเสี่ยงของกลุมบริษัท โดยจะแบงประเภทของความเสี่ยงออกเปน 4 ประเภทดวยกัน คือ ความเสี่ยงดานกลยุทธ ความเสี่ยงดานการดําเนินงาน ความเสี่ยงดานการเงิน และความเสี่ยงดานการกํากับดูแล กลุมบริษัท เชื่อวาการบริหารความเสี่ยงดวยตนเองนั้นเปนวิธีที่มีประสิทธิภาพที่สุด 2. การประเมินความเสี่ยง บริษัทฯ ไดจัดทํา “แผนผังความเสี่ยง” ขึ้น โดยแผนผังความเสี่ยงนี้จะสรุป ความเสี่ย งหลัก ซึ่ ง อาจมีผลกระทบตอเปา หมายและผลการดํ าเนิ นงานของบริ ษัทฯ เชน ผลประกอบการและการ ดําเนินงานอยางตอเนื่องของธุรกิจ ความเสี่ยงที่มีผลกระทบเกินกวาระดับที่บริษัทฯ กําหนดไวจะถือวาเปนความเสี่ยง หลัก ซึ่งความเสี่ยงเหลานี้จะถูกวิเคราะหและประมาณการในแงโอกาสในการเกิดและความรายแรงของผลกระทบ 3. การรายงานความเสี่ยง การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพในการรายงานความเสี่ยงนั้นมีความสําคัญ อยางยิ่งต อการบริห ารความเสี่ยง ซึ่งการกํากับดูแลกิจการที่ดีจะชวยสงเสริมกระบวนการรายงานความเสี่ยงใหมี ประสิทธิภาพ บริษัทฯ กําหนดใหแตละธุรกิจจัดทํารายงานเพื่อสรุปตัวชี้วัดที่จําเปนตอการติดตามความเสี่ยงของธุรกิจ อยางสม่ําเสมอ

สวนที่ 1 หนา 224


บริษัท บริษัทฯ โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

4. การควบคุม ความเสี่ย ง บริษัทฯ มีการจัดทํา ขั้นตอนและวิธีก ารบริห ารความเสี่ยงเพื่อลดหรือ ควบคุมความเสี่ยงใหอยูในระดับที่บริษัทฯ กําหนดไว สําหรับความเสี่ยงที่ยังสูงกวาระดับที่กําหนดไว แตละธุรกิจจะ เสนอมาตรการในการควบคุมความเสี่ยงเพิ่มเติมพรอมกับการศึกษาประโยชนและคาใชจายที่เพิ่มขึ้น และปฏิบัติตาม มาตรการนั้นเมื่อไดรับอนุมัติจากคณะกรรมการบริหาร 5. การติดตามความเสี่ยง การติดตามความเสี่ยงนี้จะเกี่ยวของกับทั้งการประเมินความเสี่ยงและการ ประเมินระบบที่ใชในการบริหารความเสี่ยง โดยมีจุดประสงคเพื่อใหการบริหารความเสี่ยงมีประสิทธิภาพอยูเสมอ ถึงแมวาปจจัยภายนอกและปจจัยภายในจะมีการเปลี่ยนแปลงไปก็ตาม โดยแตละหนวยงานจะจัดทํารายงานเพื่อสรุป ตัวชี้วัดพรอมเกณฑที่จะบงชี้วาธุรกิจไดรับ/อาจไดรับผลกระทบจากความเสี่ยงสูงกวาเกณฑที่กําหนดไวหรือไม เพื่อ ติดตามและเฝาระวังความเสี่ยงอยางใกลชิด กรณีที่ตัวชี้วัดถึงเกณฑที่กําหนด หนวยงานจะตองแจงผูบริหารเพื่อจัดการ กั บ ความเสี่ ย งนั้ น ทั น ที นอกจากนั้ น หน ว ยงานจะรายงานการประเมิ น ระบบที่ ใ ช ใ นการบริ ห ารความเสี่ ย งต อ คณะกรรมการบริหารทุกไตรมาส และคณะกรรมการบริษัทมีหนาที่ในการประเมินความนาเชื่อถือของกระบวนการ บริหารความเสี่ยงโดยรวมเปนประจําทุกป ผานการประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายใน 9.3

การควบคุมการปฏิบัติงานของฝายบริหาร

บริษัทฯ มีนโยบายและวิธีปฏิบัติงานของฝายบริหารที่ทําใหมั่นใจวานโยบายที่ฝายบริหารไดกําหนดไวไดรับ การตอบสนองและปฏิบัติตามจากทุกคนในบริษัทฯ ซึ่งแนวทางดังกลาว ไดแก 

บริษัทฯ มีการกําหนดขอบเขตอํานาจหนาที่และวงเงินอํานาจอนุมัติของฝายบริหารในแตละระดับไว อยางชัดเจนเปนลายลักษณอักษร

บริษัทฯ มีการแบงแยกหนาที่ความรับผิดชอบในงาน 3 ดานคือ (1) หนาที่อนุมัติ (2) หนาที่บันทึก รายการขอมูลทางบัญชี และ (3) หนาที่ในการดูแลจัดเก็บทรัพยสิน โดยแยกออกจากกันอยางชัดเจน เพื่อใหสามารถดูแลตรวจสอบไดอยางมีประสิทธิภาพ

บริ ษั ท ฯ ไม มี น โยบายในการเข า ทํ า ธุ ร กิ จ ร ว มกั บ กรรมการ ผู บ ริ ห าร ผู ถื อ หุ น รายใหญ หรื อ ผูเกี่ยวของกับบุค คลดังกล าว เวนแตมีเหตุจํา เปน หรือเปนการสนับสนุน ธุรกิ จของบริษัทฯ และ เปนไปเพื่อผลประโยชนที่ดีที่สุดของบริษัทฯ และผูถือหุนโดยรวมเปนหลัก ในกรณีที่มีเหตุเชนวา บริษัทฯ ไดจัดใหมีมาตรการดูแลการทําธุรกรรมกับผูถือหุนรายใหญ กรรมการ ผูบริหาร หรือผูที่ เกี่ยวของอยางรัดกุมและชัดเจน โดยมีการกําหนดใหการทํารายการระหวางกันของบริษัทฯ หรือ บริษัทยอยกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยงจะตองเปนไปภายใตเงื่อนไขที่สมเหตุสมผล หรือเงื่อนไข การคาปกติหรือราคาตลาด โดยจะตองนําเสนอการทํารายการดังกลาวตอคณะกรรมการตรวจสอบ เปนรายไตรมาส เพื่อใหคณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาใหความเห็นเกี่ยวกับความสมเหตุสมผล ในการทํ ารายการนั้น ๆ กรณีท่ีมีการทํารายการระหวางกัน ที่ไมเปนรายการทางการคาปกติ จะ กําหนดใหตองนําเสนอตอคณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาความเหมาะสมกอนเขาทํารายการ ทั้งนี้ การพิจารณาอนุมัติการทํารายการระหวางกันดังกลาวตองปฏิบัติใหเปนไปตามกฎหมายวาดวย หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ซึ่งการอนุมัติจะกระทําโดยผูที่ไมมีสวนไดเสียในธุรกรรมนั้นเทานั้น หากคณะกรรมการตรวจสอบไมมีความชํานาญในการพิจารณารายการดังกลาว บริษัทฯ จะพิจารณา ให ผู ป ระเมิ น ราคาอิ ส ระ หรื อ ผู เ ชี่ ย วชาญเฉพาะด า นนั้ น ๆ เป น ผู ใ ห ค วามเห็ น เกี่ ย วกั บ รายการ สวนที่ 1 หนา 225


บริษัท บริษัทฯ โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ระหว า งกั น ดั ง กล า วต อ คณะกรรมการตรวจสอบ เพื่ อ ให ค ณะกรรมการตรวจสอบใช ใ นการ ประกอบการตัดสินใจและใหความเห็นตอคณะกรรมการบริษัท หรือผูถือหุนตามแตกรณีเพื่ออนุมัติ รายการกอนการเขาทํารายการ

9.4

ในกรณีที่มีการทําธุรกรรมกับผูที่เกี่ยวของในลักษณะที่มีผลผูกพันบริษัทฯ ในระยะยาว บริษัทฯ กําหนดใหตองมีการติดตามการปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ไดตกลงกันไว และใหผูบริหารของบริษัทฯ รายงานตอคณะกรรมการตรวจสอบไดรับทราบเปนระยะ เพื่อทบทวนความเหมาะสมของรายการ ตลอดระยะเวลาของสัญญา อีกทั้งคณะกรรมการตรวจสอบจะพิจารณาครอบคลุมถึงการปองกัน ไมใหผูเกี่ยวของนําโอกาสหรือผลประโยชนของบริษัทฯ ไปใชเพื่อประโยชนสวนตัวดวย

บริษัทฯ ไดกําหนดให มีการติดตามดูแลการบริหารจัดการในบริษัทยอยและบริษัทรวมอยูเสมอ รวมทั้ ง มี ก ารกํ า หนดทิ ศ ทางให บุ ค คลที่ บ ริ ษั ท ฯ แต ง ตั้ ง ให เ ป น กรรมการหรื อ ผู บ ริ ห ารในบริ ษั ท ดังกลาวถือปฏิบัติ เพื่อใหการดําเนินการของบริษัทยอยและบริษัทรวมเปนไปตามเปาหมายของ บริษัทฯ ตลอดจนมีการกําหนดนโยบายตรวจสอบติดตามการดําเนินงานของบริษัทฯ บริษัทยอย และบริษัทรวม ใหสอดคลองเปนไปตามกฎหมายที่เกี่ยวของ โดยมีฝายกฎหมาย สํานักตรวจสอบ ภายใน ตลอดจนสํานักเลขานุการบริษัท รวมกันปฏิบัติหนาที่ในสวนนี้

ระบบสารสนเทศและการสื่อสารขอมูล

บริษัทฯ มีการจัดการระบบขอมูลสารสนเทศใหครอบคลุมการปฏิบัติงาน ทั้งในระดับองคกร ระดับการรายงาน ทางการเงิน ระดับหนวยปฏิบัติการ และระดับการปฏิบัติตามนโยบาย และระเบียบปฏิบัติตางๆ ที่ใชในการควบคุม เพื่อใหมั่นใจวามีการติดตอสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ เพื่อการบรรลุวัตถุประสงคและเปาหมายขององคกรไดดียิ่งขึ้น ดังนั้นการสื่อสารขอมูลดังกลาวไปยังผูที่เกี่ยวของจึงเปนสิ่งจําเปนอยางยิ่งและเปนสิ่งที่จะชวยใหเกิดความมีประสิทธิผล ของระบบการควบคุมภายใน ดังนี้ 

บริษัทฯ ไดจัดใหมีขอมูลที่สําคัญตางๆ อยางเพียงพอเพื่อใหคณะกรรมการใชประกอบการตัดสินใจ โดยเฉพาะขอมูลที่มีนัยสําคัญ โดยจะจัดสงหนังสือเชิญประชุมและเอกสารประกอบการพิจารณา ลวงหนาไมนอยกวา 7 วัน เพื่อใหคณะกรรมการมีเวลาศึกษาขอมูลตางๆ อยางเพียงพอ เวนแตใน กรณีมีความจําเปนเรงดวนซึ่งทําใหไมสามารถจัดสงเอกสารลวงหนาไมนอยกวา 7 วันได

บริษัทฯ กําหนดใหมีการบันทึกรายงานการประชุมคณะกรรมการโดยมีเนื้อหารายละเอียดตามควร ซึ่งเปนเนื้อหาสําคัญตอการตัดสินใจในแตละเรื่อง อีกทั้งยังมีการบันทึกขอซักถาม ความเห็น และ ขอสังเกตของกรรมการในเรื่องที่พิจารณา รวมทั้งความเห็นของกรรมการในการประชุม

บริษัทฯ มีการจัดเก็บเอกสารประกอบการบันทึกบัญชีและบัญชีตางๆ ไวครบถวนเปนหมวดหมู สะดวกตอการตรวจสอบ และมีการกําหนดนโยบายบัญชีของบริษัทฯ และบริษัทยอยใหสอดคลองกับ การดําเนินธุรกิจหลักของบริษัทฯ และบริษัทยอยเปนสําคัญ และไมขัดตอหลักการบัญชีที่รับรอง ทั่วไป

สวนที่ 1 หนา 226


บริษัท บริษัทฯ โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

9.5

แบบ 56-1 ป 2555/56

ระบบการติดตาม

บริษัทฯ มีการติดตามอยางสม่ําเสมอเกี่ยวกับการปฏิบัติตามเปาหมายที่วางไว และระบบควบคุมภายในยังคง มีการตรวจสอบ และมีการปรับปรุงแกไขอยางตอเนื่อง เพื่อใหสอดคลองกับสถานการณที่เปลี่ยนแปลงไป และเพื่อให ขอบกพรองตางๆ ไดรับการแกไขอยางทันทวงที โดยมีสาระสําคัญดังตอไปนี้ 

บริ ษั ท ฯ มี ก ารติ ด ตามประเมิ น ผลระบบควบคุ ม ภายในโดยพิ จ ารณาจากผลการปฏิ บั ติ ง านจริ ง บริษัทฯ ไดจัดการประชุมอยางสม่ําเสมอ เพื่อพิจารณาผลการดําเนินงานที่เกิดขึ้นวาเปนไปตามที่ แผนธุรกิจและงบประมาณที่ไดกําหนดไวและเปนไปตามเปาหมายการดําเนินธุรกิจของบริษัทฯ หรือไม ตลอดจนเสนอแนวทางการปฏิบัติท่ีจําเปน เพื่อที่บริษัทฯ จะไดดําเนินการแกไขขอบกพรอง ภายในระยะเวลาที่เหมาะสม

บริษัทฯ ไดกําหนดใหสํานักตรวจสอบภายในตรวจสอบการปฏิบัติตามระบบการควบคุมภายในที่วาง ไวอยางสม่ําเสมอ โดยมีการกําหนดใหสํานักตรวจสอบภายในขึ้นตรงตอคณะกรรมการตรวจสอบ และรายงานผลการตรวจสอบภายในโดยตรงตอคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อใหผูตรวจสอบภายใน สามารถปฏิบัติงานไดอยางตรงไปตรงมา

หากมีการตรวจพบขอบกพรองที่เปนสาระสําคัญ ผูที่เกี่ยวของจะตองรายงานตอคณะกรรมการ หรือ คณะกรรมการตรวจสอบเพื่ อชี้ แ จงสาเหตุ และเสนอแนะแนวทางการแกไ ขข อ บกพร อ ง อีก ทั้ ง บริ ษั ท ฯ กํ า หนดให มี ก ารติ ด ตามความคื บ หน า ในการแก ไ ขข อ บกพร อ ง และรายงานต อ คณะกรรมการบริษัทหรือคณะกรรมการตรวจสอบภายในระยะเวลาที่กําหนด

สวนที่ 1 หนา 227


บริษัท บริษัทฯ โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

สวนที่ 1 หนา 228


บริษัท บริษัทฯ โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

สวนที่ 1 หนา 229


บริษัท บริษัทฯ โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

สวนที่ 1 หนา 230


บริษัท บริษัทฯ โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

สวนที่ 1 หนา 231


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

10.

แบบ 56-1 ป 2555/56

รายการระหวางกัน (ณ วันที่ 31 มีนาคม 2556)

การเปดเผยรายการระหวางกันในแบบแสดงรายการขอ มูลประจําป (แบบ 56-1) ของบริษัทฯ นี้ ไดจัดทําตามหลักเกณฑของประกาศคณะกรรมการกํ า กั บ ตลาดทุ น ที่ ทจ. 11/2552 เรื่อ ง หลักเกณฑ เงื่อ นไข และวิธีการรายงานการเปดเผยขอ มูลเกี่ยวกับฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของบริษัทที่อ อกหลักทรัพย (ฉบับประมวล) ลงวันที่ 13 มีนาคม 2552 และแบบ 56-1 ทายประกาศ กลาวคือ บริษัทฯ ไดเปดเผยและอธิบายลักษณะของรายการระหวางกันที่ผานมา และนโยบายในการทํารายการระหวางบริษัทฯ และบริษัทยอ ย กับบุคคลที่ อาจมีความขัดแยง ในอนาคต โดยไมเปดเผยขอ มูลรายการระหวางกันกับบริษัทรวมหรือ บริษัทยอ ยที่มีกรรมการ ผูบริหาร ผูถือ หุนรายใหญ ผูมีอ ํานาจควบคุมของบริษทั ฯ ถือหุน รวมกันไม เกินรอ ยละสิบ ทั้ง นี้ การเปดเผยขอ มูลรายการระหวางกันของบริษัทฯ ตามแบบ 56-1 นี้ จะไมเหมือ นกับการเปดเผยขอ มูลในงบการเงิน ที่ไดทําตามมาตรฐานการบัญชีเรื่อ งการเปดเผย ขอ มูลเกี่ยวกับบุคคลหรือ กิจการที่เกี่ยวขอ งกัน ซึ่ง ไดร วมการเปดเผยขอ มูลการทํารายการกับบริษัทยอ ยและบริษัทรวมซึ่ง ไมไดเปนบุคคลที่อ าจมีความขัดแยง ดวย บุคคลที่อาจมี ความขัดแยง

บริษ ัทที่เกิด รายการ

บจ. วาเคไทย (ไทยแลนด)

บริษัทฯ บมจ.วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย และ บจ. บางกอก สมารทการ ด ซิสเทม

ลักษณะความสัมพันธ

ลักษณะรายการ

- เดิม บจ. วาเคไทย (ไทยแลนด) - คาห อ งพั ก และห อ งจั ด เลี้ ย งที่ โ รงแรม อิ ส ติ น มักกะสัน กรุงเทพฯ เปนบริษัทยอยของบริษัทฯ แต บริษัทฯ ไดโอนหุน ทั้งหมดของ บจ. วาเคไทย (ไทยแลนด) ชําระหนี้ใหแกเจาหนี้ - นายแมน กา โฮ โดนัล ซึ่ง เปนลูกเขยของนายคีรี กาญจนพาสน ประธาน กรรมการ/ประธาน กรรมการบริหาร และผูถ ือหุน รายใหญของบริ ษัทฯ มี ผลประโยชนและมีอํานาจ ควบคุมมากกวารอยละ 10 ใน Oriental Field Ltd. ซึ่ง

สวนที่ 1 หนา 232

มูลคารายการ ป 2555/56 (ลานบาท) 0.1

มูลคารายการ ป 2554/55 (ลานบาท) 2

ความจําเปน / หมายเหตุ เปนรายการที่เกิด ขึ้น ตามความจําเปน โดยมี เงื่อนไขและคาบริการ เปนไปตามอัต ราที่ โรงแรมอิสติน มักกะสัน กรุงเทพฯ คิด กับบุคคล ภายนอก โดยการทํ า รายการนี้ เปนไปตาม นโยบายในการทํ า รายการเกี่ ยวโยงที่ เปนไปตามราคาตลาด และมีขอตกลงทาง การค าในลั กษณะ เดียวกับที่วิญูชนพึง กระทํา กับคูสัญ ญาทั่วไป


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน) บุคคลที่อาจมี ความขัดแยง

บริษ ัทที่เกิด รายการ

ลักษณะความสัมพันธ

แบบ 56-1 ป 2555/56

ลักษณะรายการ

มูลคารายการ ป 2555/56 (ลานบาท)

มูลคารายการ ป 2554/55 (ลานบาท)

Oriental Field Ltd. เปน ผูถ ือหุน รอยละ 49 ใน บจ. วาเคไทย (ไทยแลนด)

บจ. เมืองทอง แอสเซ็ทส และ บจ. ปราณคีรี แอสเซ็ทส

- เงินใหกูยืม โดยเปนเงินตน 26 ล า นบาท และ สวนที่เหลือเปนดอกเบี้ ย โ ดย บจ. เมื อ งทอง แอสเซ็ทส และ บจ. ปราณคีรี แอสเซ็ทส ยังคงคิ ด ดอกเบี้ยจาก บจ. วาเคไทย (ไทยแลนด) ในอั ต รา ต าม ต น ทุ น ทางการเงิ น ของบริ ษั ท ฯ ต อ ไ ป อย า งไรก็ ดี บจ. เมื อ งทอง แอสเซ็ ท ส และ บจ. ปราณคีรี แอสเซ็ทส ไดต ั้งสํารองค า เผื่ อ หนี้ สงสัยจะสูญทั้งจํานวนแลว - บจ. เมืองทอง แอสเซ็ ท ส และ บจ. ปราณคี รี แอสเซ็ ท ส ได ใ ห เ งิ น กู ยื ม แก บจ. วาเคไทย (ไทยแลนด) ในป 2538 โ ดยคิ ด อั ต ราดอกเบี้ ย ตามตนทุนทางการเงิน ซึ่งการกูยืมเงินนี้ เกิ ด ขึ้ น ในขณะที่ บจ. วาเคไทย (ไทยแลนด ) ยั ง เป น บริษัทยอยของบริษัทฯ ซึ่งในการบริ ห ารเงิ น ทุ น หมุนเวียนของกลุมบริษัท จะมีการใหกูยืมเงิ น กั น ระหวางบริษัทในกลุม - บริษัทฯ ไดนําหุน บจ. วาเคไทย (ไทยแลนด )

สวนที่ 1 หนา 233

55

55

ความจําเปน / หมายเหตุ ซึ่งคณะกรรมการได อนุมัต ินโยบายใน หลักการสําหรับ การเข า ทํารายการที่เ กี่ยวโยง กันของบริษัทฯ /บริษัท ยอย กับบุค คลที่เกี่ยว โยงในลักษณะดังกล าว ไวแลว เปนรายการที่เกิด ขึ้นมา นานแลว และเปน ธุรกรรมปกติ โดย บริษัทฯ คิด ดอกเบี้ย ตามตนทุนการกูยืมของ บจ. เมืองทอง แอสเซ็ทส และ บจ. ปราณคีรี แอสเซ็ทส


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน) บุคคลที่อาจมี ความขัดแยง

บริษ ัทที่เกิด รายการ

ลักษณะความสัมพันธ

แบบ 56-1 ป 2555/56

ลักษณะรายการ

มูลคารายการ ป 2555/56 (ลานบาท)

มูลคารายการ ป 2554/55 (ลานบาท)

11

11

ความจําเปน / หมายเหตุ

ทั้งหมดไปวางเปนหนึ่งในสินทรัพยท่ใี ชค้ําประกั น วงเงินกูของบริ ษั ท ฯ และบริ ษั ท ฯ ได โ อนหุ น บจ. วาเคไทย (ไทยแลนด) ทั้งหมดใหเจาหนี้ต าม แผนฟนฟูกิจการของบริษัทฯ ในป 2549 - บจ. เมืองทอง แอสเซ็ ท ส และ บจ. ปราณคี รี แอสเซ็ ท ส บริ ษั ท ย อ ยทั้ ง สองได ดํ า เนิ น การ ติดตามทวงถามหนี้ บจ. วาเคไทย (ไทยแลนด ) มาอยางตอเนื่อง โดยขณะนี้ ยั ง อยู ร ะหว า งการ เจรจาเพื่อหาขอตกลงรวมกัน แตมีความ คื บ หน า ไปบางแลว บจ. อีจีวี

บริษัทฯ

- นายคีรี กาญจนพาสน ประธานกรรมการ/ประธาน กรรมการบริหาร และผูถ ือหุน รายใหญของบริ ษัทฯ เปน กรรมการและผูถ ือหุนราย ใหญใน บจ. อีจีวี รอยละ 40

- เงินใหกูยืม โดยเปนเงินตน 4 ลานบาท และส ว น ที่ เ หลื อ เป น ดอกเบี้ ย โ ดยบริ ษั ท ฯ ยั ง คงคิ ด ดอกเบี้ย จาก บจ. อี จี วี ในอั ต ราต าม ต น ทุ น ทางการเงินของบริษัทฯ ตอไป แตบริษัทฯ ได ต ั้ ง สํารองค า เผื่ อ หนี้ ส งสั ย จะสู ญ ทั้ ง จํ า นวนแล ว เนื่องจาก บจ. อีจีวี ไมไดมีการประกอบกิจการใดๆ และบริษัทฯ เห็นวามีโอกาสในการไดรับ ชํ า ระหนี้ นอย - บจ. อีจีวีเปนบริษัทที่จัดตั้งขึ้นเมื่อป 2537 เพือ่ รวม ลงทุนเปนผูกอตั้ง บจ. สยามอินโฟเทนเม น ท ซึ่ ง ตอมาเปลี่ยนชื่อเปน บมจ. ไอทีวี (“ไอทีวี”) - บจ. อีจีวี ไดกูยืมเงินจากบริษัทฯ เมื่อป 2538 โดย คิดดอกเบี้ยที่อัต ราตนทุนทางการเงินของบริ ษั ท ฯ เพื่อลงทุนในไอทีวี และบจ. อีจีวี ไ ด นํ า หุ น ไอที วี

สวนที่ 1 หนา 234

เปนรายการที่เกิด ขึ้นมา นานแลว และเปน ธุรกรรมปกติ โดย บริษัทฯ คิด ดอกเบี้ย ตามตนทุนการกูยืมของ บริษัทฯ


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน) บุคคลที่อาจมี ความขัดแยง

บริษ ัทที่เกิด รายการ

ลักษณะความสัมพันธ

แบบ 56-1 ป 2555/56

ลักษณะรายการ ทั้งหมดไปจํานําเพื่อประกันหนี้ของบริษัทฯ ตอม า ในป 2545 บริษัทฯ เขาสูกระบวนการฟนฟูกิจการ เจาหนี้ซึ่งเปนสถาบันการเงินที่รับจํานําหุนไอทีวี จึง ไดยื่นขอรับชําระหนี้ต อเจาพนักงานพิทั ก ษ ท รั พ ย และเจาพนักงานพิทักษทรัพยไดมีคําสั่งให เ จ า หนี้ สถาบันการเงินไดรับชําระหนี้เพียงบางสวนตาม ที่ ไดยื่นขอรับชําระหนี้ไ ว อย า งไรก็ ต าม เจ า หนี้ ดังกลาวไดยื่นคํารองคั ด ค า นคํ า สั่ ง เจ า พนั ก งาน พิทักษทรัพยต อศาลลมละลายกลาง และขณะนี้ ค ดี ยังไมเปนที่สุดและอยูในระหวางการพิจารณาของ ศาลฎีกา - เนื่องจากบจ. อีจีวี มีทรัพยสินเปนเพียงหุน ไอที วี ซึ่งจํานําเปนประกันใหแกสถาบันการเงิ น ซึ่ ง เป น เจาหนี้ของบริษัทฯ โดยไมไดคิดคาตอบแทนใดๆ ดังนั้น บริษัทฯ จะดําเนินการให บจ. อีจีวี โอนหุน เหลานี้เพื่อตีทรัพยชําระหนี้ทั้งหมดใหแ ก บ ริ ษั ท ฯ เมื่อคดีระหวางสถาบันการเงินดังกลาวกับบริ ษั ท ฯ ในศาลฎีกาเปนที่สุด - ปจจุบัน สถาบันการเงินดังกลาวอยู ร ะหว า งการ ชําระบัญชี โดยบริษัทฯ อยูระหวางการติดตาม ผ ล การพิ จ าร ณาของคณ ะกรรม กา รชํ า ระบั ญ ชี ที่เกี่ยวของกับคดี ร ะหว า งบริ ษั ท ฯ กั บ สถ าบั น การเงินดังกลาวตอไป

สวนที่ 1 หนา 235

มูลคารายการ ป 2555/56 (ลานบาท)

มูลคารายการ ป 2554/55 (ลานบาท)

ความจําเปน / หมายเหตุ


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ความจําเปนและความสมเหตุสมผลของรายการระหวางกัน รายการระหวางกันของบริษัทฯ เปนยอดคงคางของรายการที่เกิดขึ้นในอดีตเมื่อ นานมาแลว ซึ่ง คณะกรรมการ ตรวจสอบไดส อบทานรายการดัง กลาวถึง ความเหมาะสมของการติดตามผลและดําเนินการ การประเมินสถานะ ขอ ง รายการ การประเมินศักยภาพในการชําระหนี้ของลูกหนี้ ตลอดจนความเหมาะสมของการตั้ง สํารองคาเผื่อ หนีส้ งสัยจะ สูญไวใหเพียงพอตอ ความเสียหายที่อ าจจะเกิดขึ้นแลว มาตรการหรือขั้นตอนการอนุมัติการทํารายการระหวางกันของบริษัทฯ การทํารายการระหวางกันจะตอ งผานการพิจารณาอนุมัติเห็น ชอ บจากคณะ กร ร มการ ตร วจส อ บ และ คณะกรรมการบริษัทหรือ ผานการอนุมัติเห็นชอบจากที่ประชุมผูถือ หุนตามแตกรณี ทั้ง นี้ จะ มี ก าร ดํ า เนิ น การ ตาม หลักเกณฑในประกาศคณะกรรมการตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทย เรื่อ ง การเปดเผยขอ มูลและการปฏิบัติการของ บริษัทจดทะเบียนในรายการที่เกี่ยวโยงกัน พ.ศ. 2546 (รวมถึง ที่มีการแกไขเพิ่มเติม) และประกาศคณะกรรมการกํากับ ตลาดทุนที่ ทจ. 21 /2551 เรื่อ ง หลักเกณฑในการทํารายการที่เกี่ยวโยงกัน (รวมถึง ที่มีการแกไขเพิ่มเติ ม ) ตลอ ดจน กฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอ บัง คับ ประกาศ คําสั่ง หรือ ขอ กําหนดของตลาดหลั ก ทรั พ ย แ ห ง ประเทศไทยที่เกี่ยวขอ งกับขอ กําหนดในเรื่อ งการทํารายการเกี่ยวโยงกัน หรื อ ร ายการ ที่ อ าจมี ค วามขั ด แย ง ทาง ผลประโยชน หรือ กฎเกณฑที่เกี่ยวขอ งในขณะนั้น (“ประกาศและกฎเกณฑที่เกี่ยวขอ งกับการทํารายการ ที่ เ กี่ ย วโยง กัน”) นโยบายหรือแนวโนมการทํารายการระหวางกัน บริษัทฯ อาจมีความจําเปนในการทํารายการระหวางกันกับบุคคลที่เกี่ยวโยง กั น หรื อ บุ ค คลที่ อ าจมี ค วาม ขัดแยง ทางผลประโยชนในอนาคต อยางไรก็ตาม บริษัทฯ จะกําหนดเงื่อ นไขตางๆ ให เ ป น ไปตามเงื่ อ นไขการ ค า โดยทั่วไป และในราคาตลาด ซึ่ง สามารถเปรียบเทียบไดกับราคาและเงื่อ นไขที่ใหกับบุคคลภายนอก และจะปฏิบัติตาม หลักเกณฑและขอ กําหนดของตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทยและกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรั พ ย ที่ เกี่ยวขอ ง ทั้ง นี้ หากมีร ายการระหวางกันของบริษัทฯ หรือ บริษัทยอ ยเกิดขึ้นกับบุคคลที่เกี่ยวโยงกันหรือ บุคคลที่อ าจมี ความขัดแยง ทางผลประโยชน มีส วนไดเสีย หรือ อาจมี ค วามขั ด แย ง ในลั ก ษณะ อื่ น บริ ษั ท ฯ จะ ดํ า เนิ น การ ให คณะกรรมการตรวจสอบเปนผูใหความเห็นเกี่ยวกับความจําเปนและความเหมาะ ส มขอ ง ร ายการ นั้ น ๆ ในกร ณี ที่ คณะกรรมการตรวจสอบไมมีความชํานาญในการพิจารณารายการระหวางกันที่อ าจเกิดขึ้น บริษัทฯ จะใหผูเชี่ยวชาญ อิส ระ ที่ปรึกษาทางการเงินอิส ระ หรือ ผูส อบบัญชีของบริษัทฯ เปนผูใหความเห็นเกี่ยวกับรายการระหวางกันดัง กลาว เพื่อ นําไปใชประกอบการตัดสินใจของคณะกรรมการหรือ ผูถือ หุนตามแตกรณี และในกร ณี ที่ มี ก าร ขอ ให ที่ ป ร ะ ชุ ม ผูถือ หุนพิจารณาเพื่อ อนุมัติร ายการระหวางกัน ก็จะมีการแตง ตั้ง ที่ปรึกษาทางการเงินอิส ระเพื่อ จัดทํารายงานและให ความเห็นเกี่ยวกับการเขาทํารายการตอ ผูถือ หุน ทั้ง นี้ บริษัทฯ จะเปดเผยรายการระหวางกันไวในหมายเหตุประกอ บ งบการเงินที่ไดร ับการตรวจสอบจากผูส อบบัญชีของบริษัทฯ แบบแสดงรายการ ข อ มู ล ปร ะ จํ า ป (แบบ 56-1) และ รายงานประจําปของบริษัทฯ

สวนที่ 1 หนา 236


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

นโยบายเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแยงกับผลประโยชนของบริษัทฯ เพื่อ มิใหเกิดรายการที่อ าจมีความขัดแยง กับผลประโยชนที่ดีที่ส ุดของกิจการและผูถือ หุน และเพื่อ ดํารงไว ซึ่ ง การกํากับดูแลกิจการที่ดี คณะกรรมการไดกําหนดนโยบายเกี่ยวกับรายการที่อ าจมีความขัดแยง กับผลประโยชน ข อ ง บริษัทฯ ดัง นี้ 

นโยบายในการทําธุร กิจใหม บริษัทฯ จะตอ งนําเสนอรายละเอียดของแผนการเขาทําธุร กิจเหลานั้นตอ คณะกรร มการ หรื อ บุ ค คลที่ คณะกรรมการมอบหมายใหดําเนินการ และจัดใหมีการพิ จ าร ณาแผนการ ลง ทุ น เหล า นั้ น โดยต อ ง พิจารณาถึง ผลตอบแทนและประโยชนที่จะเกิดขึ้นตอ บริษัทฯ และผูถือ หุ น โดยร วมเป น หลั ก อ ย า ง ไร ก็ตาม บริษัทฯ ไมมีนโยบายในการเขาทําธุร กิจรวมกับกร ร มการ ผู บ ริ ห าร ผู ถื อ หุ น ร ายใหญ หรื อ ผูเกี่ยวขอ งกับบุคคลดัง กลาว เวนแตมีเหตุจําเปนหรือ เปนการสนับสนุนธุร กิจของบริษัทฯ และเปนไปเพื่ อ ผลประโยชนที่ดีที่ส ุดของบริษัทฯ และผูถือ หุนโดยรวมเปนหลัก และ บริ ษั ท ฯ จะ ต อ ง ดํ า เนิ น การ ตาม ประกาศและกฎเกณฑที่เกี่ยวขอ งกับการทํารายการที่เกี่ยวโยงกัน

นโยบายในการถือ หุนในบริษัทที่บริษัทฯ ลงทุน ในการลงทุนตางๆ บริษัทฯ มีนโยบายที่จะถือ หุนดวยตนเอง ยกเวนวาจะมีความจําเปนและ เป น ไปเพื่ อ ประโยชนที่ดีที่ส ุดสําหรับบริษัทฯ หรือ ผูถือ หุนโดยรวม โดยจะตอ งนําเสนอใหคณะกรรมการตร วจส อ บ และคณะกรรมการบริษัทไดพิจ าร ณาอ นุ มั ติ และ บุ ค คลที่ มี ส  ว นได เ สี ย จะ ต อ ง ไม อ ยู ใ นที่ ป ร ะ ชุ ม คณะกรรมการบริษัทขณะการพิจารณารายการดัง กลาวและจะไมมสี ิทธิอ อกเสียงลงคะแนน

นโยบายในการใหกูยืมแกบริษัทที่ร วมทุน การใหกูยืมไมใชธุร กิจของบริษัทฯ อยางไรก็ตาม หากบริษัทฯ มีความจําเปนตอ งใหบริษัทที่ร วมทุนกูยืม เงิน เพื่อ ใหการสนับสนุนทางการเงินแกบริษัทที่ร วมทุนในลักษณะเงินกูยืมจากผูถือ หุน บริษัทฯ จะ ให กู ตามสัดสวนการลงทุน เวนแตในกรณีมีเหตุอ ันจําเปน และ ส มควร ตามที่ ค ณะ กร ร มการ บริ ษั ท จะ ได พิจารณาอนุมัติเปนแตละกรณีไป อยางไรก็ตาม บริษัทฯ ไม มี น โยบายในการ ให กู ยื ม แก ก ร ร มการ ผูบริหาร หรือ ผูถือ หุนรายใหญของบริษัทฯ และ/หรือ ผูเกี่ยวขอ งกับบุคคลดัง กลาว หรือ ธุร กิจที่บริษัทรวม ทุนกับบุคคลดัง กลาว เวนแตเปนการใหกูตามสัดสวนการลงทุน หรือ เปนไปเพื่อ ประโยชนที่ดีที่ส ุดสําหรั บ บริษัทฯ หรือ ผูถือ หุนโดยรวมเปนหลัก และบริษัทฯ จะตอ งดํ า เนิ น การ ตามปร ะ กาศและ กฎเกณฑ ที่ เกี่ยวขอ งกับการทํารายการที่เกี่ยวโยงกัน รวมถึง หากรายการมีขนาดต่ํากวาเกณฑ ที่ จ ะ ต อ ง เป ด เผย บริษัทฯ จะรายงานการเขาทํารายการใหคณะกรรมการตรวจสอบรับทราบดวย

นโยบายในการจัดทําเอกสารที่เปนลายลักษณอ ักษร บริษัทฯ จะจัดทําตั๋วสัญญาใชเงิน สัญญาเงินกู และ/หรือ สัญญาที่มีการใหความชวยเหลือ ทางการเงินให รัดกุมและจัดทําเปนลายลักษณอ ักษร และจัดเก็บหลักฐานใหเรียบรอ ย ถึง แมว า จะ เป น การ ให กู ยื ม แก บริษัทในเครือ ของบริษัทฯ

นโยบายในการทํารายการเกี่ยวโยงที่มีขอ ตกลงทางการคาในลักษณะเดียวกับที่วิญูชนพึง กร ะ ทํ า กั บ คูส ัญญาทั่วไปในสถานการณเดียวกัน

สวนที่ 1 หนา 237


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

คณะกรรมการอนุมัตินโยบายในหลักการสําหรับการเขาทํารายการที่เกี่ยวโยงกันของบริษัทฯ /บริษทั ยอย กับกรรมการ ผูบริหาร หรือ บุคคลที่เกี่ยวโยงกัน ที่มีลักษณะเงื่อ นไขการคาโดยทั่วไป และ/หรื อ เป น ไป ตามราคาตลาด ตามขอ ตกลงทางการคาในลักษณะเดียวกับที่วิญูชนพึง กระทํากั บ คู ส ั ญ ญาทั่ ว ไปใน สถานการณเดียวกัน ดวยอํานาจตอ รองทางการคาที่ปราศจากอิทธิพลในการที่ตนมีส ถานะเปนกรรมการ ผูบริหาร หรือ บุคคลที่เกี่ยวโยงกัน ตามมาตร า 89/12 แห ง พร ะ ร าชบั ญ ญั ติ ห ลั ก ทรั พ ย แ ละ ตลาด หลักทรัพย (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2551 สําหรับรายการ ที่ เ กี่ ย วโยง กั น ที่ ไ ม ไ ด มี ลั ก ษณะ เงื่ อ นไขการ ค า โดยทั่วไป และ/หรือ เปนไปตามราคาตลาด ใหบริษัทฯ ปฏิบัติตามระเบียบกฎเกณฑ ข อ ง หน ว ยง านที่ เกี่ยวขอ ง

สวนที่ 1 หนา 238


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

11.

แบบ 56-1 ป 2555/56

ฐานะทางการเงินและผลการดําเนินงาน

การวิเคราะหฐานะทางการเงินและผลการดําเนินงานในสวนนี้ ควรอานคูกับงบการ เงิ น สํ า หรั บ ป 2555/56 งบการเงินสําหรับป 2554/55 และงบการเงิน (ปรับปรุง ใหม) สําหรับป 2553/54 พรอ มทั้ง หมายเหตุประกอบงบการเงิน สําหรับงวดนั้นๆ 11.1

งบการเงิน

11.1.1 สรุปรายงานการสอบบัญชี บริษัท สํานักงาน เอินสท แอนด ยัง จํากัด โดยนางสาวศิร าภรณ เอื้อ อนันตกุ ล (ผู ส อ บบั ญ ชี ร ั บ อ นุ ญ าต เลขทะเบียน 3844) เปนผูส อบบัญชีส ําหรับปส ิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2556 และ 2555 นายเติมพงษ โอปนพันธุ (ผูส อ บ บัญชีร ับอนุญาต เลขทะเบียน 4501) เปนผูส อบบัญชีส ําหรับปส ิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2554 ไดดํ า เนิ น ง านตร วจส อ บ บัญชีตามมาตรฐานการสอบบัญชี สําหรับงบการเงินสําหรับปส ิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2556 ผูส อบบัญชีเห็นวางบการเงินแสดงฐานะการ เงิ น ณ วันที่ 31 มีนาคม 2556 ผลการดําเนินงานและกระแสเงินสดสําหรับปส ิ้นสุดวันเดียวกันของบริษัทฯ และบริษัทยอ ยและ เฉพาะของบริษัทฯ โดยถูกตอ งตามที่ควรในสาระสําคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน แต ไ ด ใ ห ข อ สั ง เกต เกี่ยวกับการปฏิบัติตามแผนฟนฟูกิจการของบริษัทฯ และการอธิบายถึง ธุร กรรมกองทุนรวมโครงสรางพื้นฐาน สําหรับงบการเงินสําหรับปส ิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2555 ผูส อบบัญชีเห็นวางบการเงินแสดงฐานะการเงิน ณ วันที่ 31 มีนาคม 2555 ผลการดําเนินงานและกระแสเงินสดสําหรับปส ิ้นสุดวันเดียวกันของบริษัทฯ และบริษัทยอ ยและ เฉพาะของบริษัทฯ โดยถูกตอ งตามที่ควรในสาระสําคัญตามหลักการบัญชีที่ร ับรองทั่วไป แตไดใหขอ สัง เกตเกีย่ วกับการ ปฏิบัติตามแผนฟนฟูกิจการของบริษัทฯ และการปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีฉบับปรับปรุง และมาตร ฐานการ บั ญ ชี ใหมที่อ อกโดยสภาวิชาชีพบัญชี สําหรับงบการเงินสําหรับปส ิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2554 ผูส อบบัญชีเห็นวางบการเงินแสดงฐานะการ เงิ น ณ วันที่ 31 มีนาคม 2554 ผลการดําเนินงานและกระแสเงินสดสําหรับปส ิ้นสุดวันเดียวกันของบริษัทฯ และบริษัทยอ ยและ เฉพาะของบริษัทฯ โดยถูกตอ งตามที่ควรในสาระสําคัญตามหลักการบัญชีที่ร ับรองทั่วไป แตไดใหขอ สัง เกตเกีย่ วกับการ ปฏิบัติตามแผนฟนฟูกิจการของบริษัทฯ การลงทุนในหุนสามัญของบริษัทยอ ย และ การ นํ า มาตร ฐานการ บั ญ ชี ม า ถือ ปฏิบัติกอ นวันที่มีผลบัง คับใช 11.1.2 ตารางสรุปงบการเงิน บริษัทฯ ไดมีการจัดทํางบการเงินสําหรับปส ิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2556 ตามมาตรฐานการบัญชีที่กํา หนดใน พระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ.ศ.2547 โดยแสดงรายการในงบการเงินตามขอ กําหนดในประกาศกร มพั ฒ นาธุ ร กิ จ การคาลงวันที่ 28 กันยายน 2554 ออกตามความในพระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ.2543 โดยได มี ก าร ปรั บ ปรุ ง ง บ การเงินยอ นหลัง สําหรับปส ิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2554 เพื่อ ใชในการเปรียบเทียบดวย

สวนที่ 1 หนา 239


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

งบแสดงฐานะการเงิน

หนวย : ลา นบาท 2556 สินทรัพย สินทรัพยหมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินลงทุนชั่ว คราว เงินที่ไดรับ ลว งหนาจากผู ถือบัตร ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่น รายไดท ี่ยังไมไ ดเรียกชําระ - กิจการที่ไมเกี่ยวของกัน อะไหลสิ้นเปลือง - ระบบรถไฟฟา เงินจายลว งหนาแกผูรับ เหมา กิจการที่ไมเกี่ยวของกัน เงินใหกูยืมระยะสั้นแกกิจการที่เกี่ยวของกัน ตนทุนการพัฒ นาอสังหาริมทรัพย สินทรัพยรอการโอ นตามแ ผนฟ นฟูกิจการ เงินลงทุนในบริษัท ยอยรอการโอนตามแผนฟ นฟูกิจการ รายไดคา งรับ คาใชจายจายลว งหนา สินทรัพยห มุนเวียนอื่ น สินทรัพยไมห มุนเวีย นที่จัดประเภทเปนสินทรัพยท ี่ถือไวเพื่อขาย รวมสินทรัพยหมุนเวียน สินทรัพยไมหมุนเวียน เงินฝากที่มีภ าระผูกพัน เงินสดที่นําไปวางทรัพยเพื่อเปนหลักประกันในการชํา ระหนี้ เงินลงทุนในบริษัท รว ม เงินลงทุนระยะยาวอื่น ตนทุนโครงการรถไฟฟา อะไหลเปลี่ยนแทน - ระบบรถไฟฟา อะไหล - สัญ ญาซอมบํารุง ที่ดินและโครงการรอการพัฒ นาในอนาคต อสังหาริมทรัพยเพื่อการล งทุน ที่ดิน อาคารและอุป กรณ สิท ธิการเชา สินทรัพยไมมีตัว ตน ลูกหนี้เงินประกันผลงาน กิจการที่ไมเกี่ยวของกัน คาความนิยม เงินจายลว งหนาเพื่อ ซื้อเงินลงทุนในบริษัท ยอย เงินมัดจําและเงินจายลว งหนาเพื่อซื้อสินทรัพย เงินจายลว งหนาแกผูรับ เหมา สิท ธิเรียกรองในมูลหนี้จากการซื้อหนี้ ตามแผนฟนฟูกิจการ สินทรัพยไมห มุนเวีย นอื่น รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน รวมสินทรัพย

งบการเงินรวม ณ 31 มีนาคม (ตรวจสอบ) % ของ % ของ สินทรัพย 2555 สินทรัพย รวม รวม

% ของ สินทรัพย รวม

2554

3,513.3 993.8 78.9 945.6 29.2

5.2% 1.5% 0.1% 1.4% 0.0% 0.0%

1,333.2 1.1 1,106.7 93.0

2.0% 0.0% 0.0% 1.7% 0.0% 0.1%

1,825.4 608.3 31.9 34.0

2.9% 0.0% 0.0% 1.0% 0.1% 0.1%

25.6 3,510.3 73.0 224.3 247.8 100.6 315.9 10,058.3 42,172.0 52,230.3

0.0% 0.0% 5.2% 0.1% 0.3% 0.4% 0.2% 0.5% 15.0% 62.9% 77.9%

13.8 3,349.1 73.0 224.3 1,202.6 128.0 342.9 7,867.7 7,867.7

0.0% 0.0% 5.0% 0.1% 0.3% 1.8% 0.2% 0.5% 11.8% 0.0% 11.8%

2,855.3 73.9 224.3 14.3 106.3 250.7 6,024.4 6,024.4

0.0% 0.0% 4.5% 0.1% 0.4% 0.0% 0.2% 0.4% 9.5% 0.0% 9.5%

88.5 232.7 10.0 367.5 22.4 2,867.6 9,590.8 81.5 50.2

0.1% 0.3% 0.0% 0.5% 0.0% 0.0% 0.0% 0.0% 4.3% 14.3% 0.1% 0.1%

323.8 232.7 7.0 148.8 45,144.2 81.2 292.8 2,676.3 2,461.0 6,039.2 90.0 26.7

0.5% 0.3% 0.0% 0.2% 67.5% 0.1% 0.4% 4.0% 3.7% 9.0% 0.1% 0.0%

323.9 232.7 7.2 144.2 44,443.0 52.9 292.8 2,659.7 2,497.3 5,311.4 87.9 21.6

0.5% 0.4% 0.0% 0.2% 69.8% 0.1% 0.5% 4.2% 3.9% 8.3% 0.1% 0.0%

2.1 78.7 469.7 0.2 545.1 393.8 14,800.8 67,031.1

0.0% 0.1% 0.0% 0.7% 0.0% 0.8% 0.6% 22.1% 100.0 %

2.2 78.7 496.9 79.6 741.5 98.6 59,021.2 66,888.9

0.0% 0.1% 0.0% 0.7% 0.1% 1.1% 0.1% 88.2% 100.0 %

9.3 78.7 250.0 1,190.2 30.9 44.5 57,678.2 63,7 02.6

0.0% 0.1% 0.4% 1.9% 0.0% 0.0% 0.1% 90.5% 100.0 %

สวนที่ 1 หนา 240


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน) หนี้สินและสวนของผูถือ หุน หนี้สินหมุนเวียน เงินเบิกเกินบัญ ชีและเงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น เงินรับ ลว งหนาจากผู ถือบัตร ตนทุนงานกอสรางคา งจาย กิจการที่ไมเกี่ยวของกัน สว นของเจาหนี้ตามแผนฟ นฟูกิจการที่ถึง กําหนดชําระภายในหนึ่ งป สว นของเงินกู ยืมระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป สว นของหุนกูระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป หนี้สินรอคําสั่งอันเปนที่สุดของศาล รายไดรับ ลว งหนา ภาษีเงินไดคางจาย หนี้สินหมุนเวียนอื่ น รวมหนี้สินหมุนเวียน หนี้สินไมหมุนเวียน เจาหนี้ตามแผนฟนฟูกิจการ - สุท ธิจากสว นที่ถึงกําหนดชําระภายใน หนึ่งป เงินกูยืมระยะยาว - สุท ธิจากสว นที่ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งป หุนกูระยะยาว - สุท ธิจากสว นที่ถึงกําหนดชําระภายใ นหนึ่งป หุนกูแปลงสภาพ - องคป ระกอบที่เปนหนี้สิน เจาหนี้เงินประกันผลงาน กิจการที่ไมเกี่ยวของกัน สํารองผลประโยชนระยะยาวของพนักงาน หนี้สินไมห มุนเวีย นอื่น รวมหนี้สินไมหมุนเวียน รวมหนี้สิน สวนของผูถือ หุน ทุนเรือนหุน ทุนจดทะเบียน หุนสามัญ 11,986,4 44,024 หุน มูลคาหุ นละ 4 บาท (2555: หุนสามัญ 74,815,2 75,124 หุน มูลคาหุนละ 0.64 บาท) ทุนที่ออกจําหนายและชําระเต็มมูลคาแลว หุนสามัญ 11,106,6 34,594 หุน มูลคาหุ นละ 4 บาท (2555: หุนสามัญ 57,188,2 74,676 หุน มูลคาหุนละ 0.64 บาท) สว นเกินมูลคาหุนสามัญ เงินรับ ลว งหนาคาหุน สว นต่ํากวาทุนจากการรวมธุรกิจภายใตก ารควบคุมเดียวกัน สว นเกิน (ต่ํากวา) ทุนจากการเปลี่ยนแปลงสัดสว นการถือหุนใน บริษัท ยอย กําไรสะสม จัดสรรแลว - สํารองตามกฎหมาย กําไรสะสม (ขาดทุน) องคป ระกอบอื่นของสว นของผู ถือหุน สว นของผูถือหุนของบริษัท ฯ สว นของผูมีสว นไดเสียที่ไมมีอํา นาจควบคุมของบริษัท ยอย รวมสวนของผูถือ หุน รวมหนี้สินและสวนของผูถือ หุน

แบบ 56-1 ป 2555/56

1,117.0 1,862.1 77.8

1.7% 2.8% 0.1%

1,941.5 1,452.4 1.1

2.9% 2.2% 0.0%

500.0 1,170.2

0.8% 1.8% 0.0%

152.3 745.4 1,967.2 2,078.7 80.8 565.4 148.0 227.2 9,021.9

0.2% 1.1% 2.9% 3.1% 0.1% 0.8% 0.2% 0.3% 13.5%

351.9 745.4 583.4 2,495.8 297.9 55.8 412.8 8,338.0

0.5% 1.1% 0.9% 3.7% 0.0% 0.4% 0.1% 0.6% 12.5%

387.9 745.3 151.7 257.8 32.3 416.5 3,661.7

0.6% 1.2% 0.2% 0.0% 0.0% 0.4% 0.1% 0.7% 5.7%

51.9

0.1%

52.1

0.1%

52.6

0.1%

396.7 6,401.0 -

0.6% 9.5% 0.0%

2,934.0 9,443.8 8,648.3

4.4% 14.1% 12.9%

1,785.3 11,906.6 8,363.2

2.8% 18.7% 13.1%

68.0 481.7 7.2 7,406.5 16,428.4

0.1% 0.7% 0.0% 11.0% 24.5%

127.5 400.2 12.7 21,618.6 29,956.6

0.2% 0.6% 0.0% 32.3% 44.8%

67.4 349.8 6.5 22,531.4 26,193.1

0.1% 0.5% 0.0% 35.4% 41.1%

47,945.8

71.5%

47,881.8

71.6%

49,420.3

77.6%

44,426.5 1,486.1 1,295.6 (3,372.0 ) 3,357.5

66.3% 2.2% 1.9% -5.0% 5.0%

36,600.5 350.7 (3,372.0 ) (123.1)

54.7% 0.5% 0.0% -5.0% -0.2%

35,769.1 (3,372.0 ) -

56.2% 0.0% 0.0% -5.3% 0.0%

1,750.5 (4,506.4 ) 4,262.4 48,700.2 1,902.5 50,602.7 67,031.1

2.6% -6.7% 6.4% 72.7% 2.8% 75.5% 100.0 %

1,476.0 (3,508.6 ) 3,866.3 35,289.8 1,642.5 36,932.3 66,888.9

2.2% -5.2% 5.8% 52.8% 2.5% 55.2% 100.0 %

1,303.9 (2,779.7 ) 3,853.8 34,775.1 2,734.4 37,509.5 63,7 02.6

2.0% -4.4% 6.0% 54.6% 4.3% 58.9% 100.0 %

สวนที่ 1 หนา 241


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

งบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ

หนวย : ลา นบาท 2556 การดําเนินงานตอ เนื่อ ง รายได รายไดจากคาโดยสาร-สุท ธิ รายไดจากการบริการ รายไดจากการขายอสังหาริมทรัพย รายไดจากการรับ เหมากอส ราง รายไดอื่น กําไรจากการวางทรัพยเพื่อเปนหลักประกันใ นการชําระหนี้ เงินปนผลรับ ดอกเบี้ยรับ โอนกลับ คาเผื่อการลดลงของมูลคา ตนทุนงานฐานรากรอโอน รายไดคาชดเชยตามคําสั่ งศาล กําไรจากการขายเงินลงทุนในบริษัท ยอย กําไรจากอัตราแลกเปลี่ยน อื่น ๆ รวมรายได คา ใชจา ย ตนทุนคาโดยส าร ตนทุนการบริการ ตนทุนขายอสังหาริมทรัพย ตนทุนการรับ เหมากอสราง คาใชจายในการขายและบริการ คาใชจายในการบริห าร คาใชจายในการรวมธุรกิจภายใตการควบคุมเดียวกัน ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน รวมคา ใชจา ย กํา ไรกอนสวนแบงกํา ไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุนในบริษัทรวม คา ใชจา ยทางการเงินและคา ใชจา ยภาษีเงินได สว นแบงกําไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุนใ นบริษัท รว ม กํา ไรกอนคาใชจา ยทางการเงินและคา ใชจา ยภาษีเงินได คาใชจายทางการเงิน กํา ไรกอนคาใชจา ยภาษีเงินได คาใชจายภาษีเงินได กํา ไรสํา หรับปจากการดํา เนินงานตอ เนือ่ ง การดําเนินงานที่ยกเลิก กําไรสําหรับ ปจากการดําเนินงานที่ยกเลิก กํา ไรสํา หรับป

กํา ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น: ผลกําไร (ขาดทุน) จ ากการประมาณการตามหลักคณิตศาส ตร ประกันภัย ผลตางของอัต ราแลกเปลี่ยนจากการแปลงคา งบการเงิน ที่เปนเงินตราตางประเทศ สว นเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย ผลกําไรจากการวัดมูลคาเงินลงทุนในหลักทรัพยเผื่อขาย

% ของ รายไดรวม

งบการเงินรวม ณ 31 มีนาคม (ตรวจสอบ) % ของ 2555 รายไดรวม

% ของ รายไดรวม

2554

4,787.6 787.9 9.2

0.0% 71.3% 11.7% 0.1%

3,281.2 325.5 72.8

0.0% 66.2% 6.6% 1.5%

3,544.8 1,940.9 144.3 261.8

51.9% 28.4% 2.1% 3.8%

1.8 59.0 7.3 999.7 61.0 6,713.5

0.0% 0.0% 0.9% 0.0% 0.1% 14.9% 0.0% 0.9% 100.0 %

0.4 39.7 705.3 367.0 36.9 126.2 4,955.0

0.0% 0.0% 0.8% 14.2% 7.4% 0.0% 0.7% 2.5% 100.0 %

708.5 28.7 48.1 151.6 6,828.7

10.4% 0.0% 0.4% 0.0% 0.0% 0.0% 0.7% 2.2% 100.0 %

2,346.8 527.3 8.3 223.1 1,048.0 34.5 4,188.0

0.0% 35.0% 7.9% 0.1% 3.3% 15.6% 0.0% 0.5% 62.4%

1,586.1 226.8 83.4 132.1 740.1 2,768.5

0.0% 32.0% 4.6% 1.7% 2.7% 14.9% 0.0% 0.0% 55.9%

2,051.2 830.8 215.4 259.2 249.6 1,033.7 171.4 4,811.3

30.0% 12.2% 3.2% 3.8% 3.7% 15.1% 2.5% 0.0% 70.5%

2,525.5 3.0 2,528.5 (1,247.8 ) 1,280.7 (439.2) 841.5

37.6% 0.0% 37.7% -18.6% 19.1% -6.5% 12.5%

2,186.5 (2.3) 2,184.2 (1,431.9 ) 752.3 (172.7) 579.6

44.1% 0.0% 44.1% -28.9% 15.2% -3.5% 11.7%

2,017.4 1.3 2,018.7 (1,601.9 ) 416.8 (106.3) 310.5

29.5% 0.0% 29.6% -23.5% 6.1% -1.6% 4.5%

1,894.6 2,736.1

28.2% 40.8%

1,656.0 2,235.6

33.4% 45.1%

310.5

0.0% 4.5%

(39.1)

-

-

11.9 351.1 18.7

0.9 4.3

(0.7) 1.2

สวนที่ 1 หนา 242


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

กํา ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสํา หรับป

342.6

5.2

0.5

กํา ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวมสํา หรับป

3,078.7

2,240.8

311.0

624.9 1,863.4 2,488.3

509.5 1,596.1 2,105.6

252.2 252.2

216.5 31.3 247.8 2,736.1

70.1 59.9 130.0 2,235.6

58.3 58.3 310.5

968.2 1,863.4 2,831.6

514.7 1,596.1 2,110.8

252.7 252.7

215.8 31.3 247.1 3,078.7

70.1 59.9 130.0 2,240.8

58.3 58.3 311.0

กํา ไรตอหุน (บาท) กําไรตอหุนขั้ นพื้นฐาน กําไรสว นที่เปนของผูถือหุนบริษัท ฯ กําไรตอหุนปรับ ลด กําไรสว นที่เปนของผูถือหุนบริษัท ฯ

0.24904

0.23107

0.00485

กํา ไรตอหุนจากการดํา เนินงานตอเนื่อ ง (บาท) กําไรตอหุนขั้ นพื้นฐาน กําไรสว นที่เปนของผูถือหุนบริษัท ฯ กําไรตอหุนปรับ ลด กําไรสว นที่เปนของผูถือหุนบริษัท ฯ

0.06255

การแบงปนกําไร สว นที่เปนของผูถือหุนของบริษัท ฯ กําไรจากการดํา เนินงานตอเนื่อ ง กําไรจากการดํา เนินงานที่ยกเลิก สว นที่เปนของผูมีสว นไดเสียที่ไมมีอํา นาจควบคุมของบริษัท ยอย กําไรจากการดํา เนินงานตอเนื่อ ง กําไรจากการดํา เนินงานที่ยกเลิก

การแบงปนกํา ไรขาดทุนเบ็ดเสร็จรวม สวนที่เปนของผูถือ หุนของบริษัทฯ กํา ไรจากการดํา เนินงานตอ เนื่อ ง กํา ไรจากการดํา เนินงานที่ยกเลิก สวนที่เปนของผูมีสวนไดเสียที่ไมมีอ ํา นาจควบคุมของบริษัท ยอ ย กําไรจากการดําเนิน งานตอเนื่อง กําไรจากการดําเนิน งานที่ยกเลิก

0.23729

0.05591

0.06077

งบกระแสเงินสด งบการเงินรวม ณ 31 มีนาคม (ตรวจสอบ)

หนวย : ลา นบาท 2556

2555

2554

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดํา เนินงาน กําไรกอนภ าษีจากการดําเนินงานตอ เนื่อง

1,280.6

752.3

416.8

บวก กําไรกอนภาษีจากการดําเนินงานที่ยกเลิก

1,894.7

1,656.0

-

กําไรกอนภ าษี

3,175.3

2,408.3

416.8

รายการปรับ กระทบยอดกําไรกอนภาษีเปน เงินส ดรับ (จาย)

สวนที่ 1 หนา 243


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

จากกิจกรรมดํา เนินงาน คาเสื่อมราคาและคา ตัดจําหนาย

409.2

284.2

260.6

1,353.9

1,219.2

926.6

สว นแบงขาดทุน (กําไร) จากเงินลงทุนในบริษัท รว ม

(3.0)

2.3

(1.3)

คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ

19.1

6.4

(0.6)

คาเผื่อการดอยคาของสินทรัพย (โอนกลับ )

-

5.3

68.0

ภาษีห ัก ณ ที่จายตัดจําหนาย

-

27.5

-

คาปรับ จาย

-

15.5

-

คาเผื่อผลขาดทุนจ ากการลดลงของมูลคาเงินลงทุน (โอนกลับ )

-

-

(23.9)

18.1

(2.3)

(1.2)

รายไดจากการขายสิท ธิใ นการเรียกรอ งหนี้

-

-

(2.9)

คาใชจายจากการรวมธุร กิจภายใตการควบคุมเดียวกัน

-

-

171.4

(0.2)

(0.5)

(14.8)

-

-

(708.5)

ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไมเกิดขึ้นจริง

25.6

30.6

(81.5)

สํารองผลประโยชนร ะยะยาวของพ นักงาน

60.9

55.1

50.0

ตัดจําหนายตนทุนใ นการออกหุน กู

26.8

33.0

32.9

องคป ระกอบที่เปนหนี้สินของหุนกูแปลงสภาพตัดบัญ ชี

170.8

297.4

48.8

ตัดจําหนายคาธรรมเนียมการออกเลตเตอรออฟเครดิตสําหรับ การออกหุน กูแปลงสภาพ

135.9

151.2

27.3

-

(705.2)

-

รายไดคาชดเชยตามคําสั่ งศาล

(7.3)

(367.0)

-

เงินปนผลรับ

(1.8)

(0.4)

-

รายจายโดยใชห ุนเปนเกณฑ

14.6

7.4

-

-

(44.0)

-

กําไรจากการขายเงินลงทุนในบริษัท ยอย

(999.7)

-

-

ดอกเบี้ยรับ

(58.9)

(39.7)

(28.7)

คาใชจายดอกเบี้ย

902.8

940.6

1,486.9

5,242.1

4,324.9

2,625.9

เงินที่ไดรับ ลว งหนาจากผูถือบัตร

(77.7)

-

-

ลูกหนี้การคาและลูกหนี้อื่ น

144.4

(507.5)

(56.0)

รายไดท ี่ยังไมไดเ รียกชํา ระ

-

31.9

(0.3)

(7.3)

(101.4)

(14.4)

(108.4)

(463.5)

(141.8)

67.6

(62.4)

19.1

962.1

(116.0)

-

12.8

(115.6)

(136.3)

(291.8)

(48.6)

28.0

เจาหนี้การคาและเจาหนี้อื่น

217.7

(3.6)

135.4

เงินรับ ลว งหนาจากผูถือบัตร

76.6

-

-

คาตัดจําหนายอะไหลและตนทุนโครงการรถไฟฟา

ขาดทุน (กําไร) จากการจําหนายที่ดิน อาคารและอุป กรณ/ ตัดจําหนายสินทรัพย

กําไรจากการชําระหนี้ กําไรจากการวางทรัพยเพื่อเปนหลักประกันใ นการชําระหนี้

โอนกลับ คาเผื่อการลดลงของมูลคา ตนทุนงานฐานรากรอโอน

กําไรจากการรับ คืนเงินจายลว งหนา เพื่อซื้อเงินลงทุนในบริษัท ยอย

กําไร (ขาดทุน) จากการดําเนินงานกอ นการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพยและหนี้สินดําเนินงาน สินทรัพยดําเนินงานลดลง (เพิ่มขึ้น)

อะไหล - ระบบจัดเก็บ คาโดยสารอัตโนมัติ ตนทุนการพัฒ นาอสังหาริมทรัพย เงินจายลว งหนาแกผู รับ เหมา รายไดคางรับ สินทรัพยห มุนเวียนอื่น สินทรัพยไมห มุนเวียนอื่ น หนี้สินดําเนินงานเพิ่ มขึ้น (ลดลง)

สวนที่ 1 หนา 244


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ตนทุนงานกอสรางคางจาย

(199.6)

(36.0)

335.8

เงินประกัน ผลงาน

(50.7)

61.9

42.7

รายไดคาโดยส ารรับ ลว งหนา

267.5

40.1

69.6

สํารองผลประโยชนร ะยะยาวของพ นักงาน

(18.4)

(4.6)

-

หนี้สินหมุนเวียนอื่น

(196.0)

(0.8)

121.9

6,040.9

2,998.8

3,029.6

จายดอกเบี้ย

(1,064.1 )

(1,108.9 )

(1,522.7)

จายภาษีเงินได

(371.1)

(208.9)

(145.9)

รับ คืนภาษีเงินได

26.5

35.1

-

ดอกเบี้ยรับ

51.0

39.9

28.7

เงินสดสุท ธิจาก (ใชไปใน) กิจกรรมดํา เนินงาน

4,683.2

1,756.0

1,389.7

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินลงทุนชั่ว คราวลดลง(เพิ่มขึ้ น)

(993.8)

-

10.1

เงินฝากที่มีภ าระผูกพันลดลง (เพิ่มขึ้น)

235.3

0.1

140.0

-

-

180.5

196.4

(741.5)

-

-

-

0.5

เงินสดรับ จากการขายเงินล งทุนในบริษัท ยอย

6,628.1

-

-

เงินสดจายเพื่อ ซื้อเงินลงทุนในบริษัท ยอย

(465.2)

-

(20,655.7)

เงินลงทุนในบริษัท ยอยลดลง

-

-

20.0

เงินจายลว งหนาเพื่อ ซื้อเงินลงทุนในบริษัท ยอยเพิ่มขึ้น

-

-

(250.0)

เงินสดจายเพื่อ ซื้อเงินลงทุนในบริษัท รว ม

-

-

(1.3)

เงินสดรับ จากการออกจําหนายหุนสามัญ เพิ่มทุน ของบริษัท ยอย

882.1

-

-

เงินสดจายซื้อเงินลงทุนระยะยาวอื่น

(200.0)

-

-

-

294.0

-

1.8

-

-

เงินสดรับ จากสว นไดเสียที่ไมมีอํา นาจควบคุมของบริษัท ยอยจากการล งทุนในบริษัท ยอย

-

-

20.0

เงินสดจายสําหรับ คาใชจายจากการรวมธุรกิจภายใตการควบคุมเดียวกัน

-

-

(171.4)

เงินมัดจําและเงินจายลว งหนาเพื่อซื้อสินทรัพยเพิ่มขึ้ น

(39.3)

(472.9)

(1,103.9)

ตนทุนโครงการรถไฟฟาเพิ่มขึ้ น

(20.3)

(577.6)

(1,325.1)

-

(16.6)

(34.5)

(1,180.2 )

(805.0)

(1,620.0)

13.6

9.1

5.8

(71.6)

(27.9)

(24.4)

10.6

43.3

5.1

(17.8)

(15.4)

(4.4)

-

(9.3)

-

4,979.7

(2,319.7 )

(24,808.7)

-

-

14.8

(824.5)

1,741.5

-

เงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน

เงินสดรับ จากการขายสิท ธิใ นการเรียกรองหนี้ สิท ธิเรียกรองในมูลหนี้จากการซื้อหนี้ ตามแผนฟนฟูกิจการลดลง (เพิ่มขึ้น) เงินใหกูยืมแกกิจการที่เกี่ยวของกันลดลง

เงินสดรับ คืนเงินจายลว งหนาเพื่อซื้อ เงินลงทุนใ นบริษัท ยอย เงินปนผลรับ

ที่ดินและโครงการรอการพัฒ นาในอนาคตเพิ่ มขึ้น เงินสดจายซื้อที่ดิน อาคารและอุป กรณ เงินสดรับ จากการจําหนายที่ดิน อาคารและอุป กรณ เงินสดจายซื้ออสังหาริมทรัพยเพื่อ การลงทุน เงินสดรับ จากการจําหนายอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน เงินสดจายซื้อสินทรัพยไมมีตัว ตน เงินสดจายซื้อสิท ธิการเชา เงินสดสุท ธิจาก (ใชไปใน) กิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดที่นําไปวางทรัพยเพื่อเปนหลักประกันในการชํา ระหนี้ลดลง เงินกูยืมระยะสั้ นจากสถาบันการเงิน เพิ่มขึ้น (ลดลง)

สวนที่ 1 หนา 245


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

เงินสดจายชําระเงินกูยืมระยะสั้นจากส ถาบันการเงิน

-

(300.0)

(500.0)

เงินกูยืมระยะยาวเพิ่มขึ้ น

-

1,732.1

22,541.4

(1,153.4 )

(151.8)

(20,760.9)

-

-

10,000.0

6.3

-

-

เงินสดจายคาธรรมเนียมการออกเลตเตอรออฟ เครดิตสําหรับ การออกหุนกูแปลงสภาพ

-

(163.5)

(150.9)

เงินสดจายสําหรับ คาใชจายในการออกหุน กูแปลงสภาพ

-

-

(183.5)

เงินสดรับ จากการออกหุนสามัญ

-

-

12,837.5

จายเงินปนผล

(3,159.1 )

(2,647.1 )

(717.6)

ชําระคืนหุนกูระยะยาว

(3,486.7 )

-

-

(253.7)

(140.6)

(305.3)

-

-

24.4

80.8

-

-

-

-

(32.5)

เงินรับ ลว งหนาคาหุน เพิ่มขึ้น

1,295.6

-

-

เงินสดสุท ธิจาก (ใชไปใน) กิจกรรมจัดหาเงิน

(7,494.7 )

70.6

22,767.4

11.9

0.9

(0.7)

เงินสดและรายการเทียบเทา เงินสดเพิ่มขึ้น (ลดลง) สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดตนป

2,180.0

(492.2)

(652.3)

1,333.2

1,825.4

2,477.7

เงินสดและรายการเทียบเทา เงินสดปลายป

3,513.3

1,333.2

1,825.4

ออกหุนสามัญ เพื่อซื้อหุนของบีท ีเอสซี

-

1,182.1

19,378.8

ออกหุนสามัญ ของบีท ีเอสซีเพื่อจายชําระเจาหนี้จากการซื้อบริษัท ยอย

-

-

500.0

8,955.1

-

-

วางสินทรัพยรอการโอนตามแ ผนฟนฟูกิจการเพื่อเปนหลักประกันในการชําระหนี้

-

-

150.5

โอนที่ดิน อาคารและอุป กรณเปนที่ดินและโครงการรอ การพัฒ นาใ นอนาคต

-

-

388.6

โอนอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุนเปนที่ดิน อาคาร และอุป กรณ

-

-

50.5

21.5

-

-

3.1

-

-

โอนเงินจายลว งหนาเพื่อ ซื้อสินทรัพยเปนตนทุนโครงการรถไฟฟา

13.7

1,133.5

613.9

โอนเงินจายลว งหนาเพื่อ ซื้อสินทรัพยเปนที่ดิน อาคารและอุป กรณ

2,171.6

-

38.3

โอนที่ดินและโครงการรอการพัฒ นาในอนาคตเปนอสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน

1,440.4

-

-

โอนตนทุนโครงการรถไฟฟาเปนที่ดิน อ าคาร และอุป กรณ

-

-

41.7

หนี้สินจากการซื้อตนทุนโครงการรถไฟฟา เพิ่มขึ้ นสุท ธิ

-

138.0

-

หนี้สินจากการซื้อที่ดิน อาคารและอุป กรณเพิ่ มขึ้นสุท ธิ

242.8

95.6

-

-

-

48.2

-

-

20,120.1

เงินสดจายชําระเงินกูยืมระยะยาว เงินสดรับ จากการออกหุนกูแปลงสภาพ เงินสดรับ จากการใชสิท ธิใ บสําคัญ แสดงสิท ธิ

จายเงินปนผลของบริษัท ยอยใหแกสว นไดเสียที่ไมมีอํา นาจควบคุมของบริษัท ยอย เงินสดรับ จากการจําหนายหุ นของบริษัท ฯที่ถือโดยบริษัท ยอย หนี้สินรอคําสั่งอันเปนที่สุดของศาลเพิ่มขึ้ น จายชําระเจาหนี้ ตามแ ผนฟนฟูกิจการ

ผลตางจากการแปลงคางบการเงินเพิ่มขึ้ น

ขอ มูลกระแสเงินสดเปดเผยเพิ่มเติม รายการที่มิใ ชเ งินสด

แปลงสภาพหุนกูเปนหุนสามัญ

โอนที่ดิน อาคารและอุป กรณเปนสินทรัพยไมมีตัว ตน โอนสิท ธิการเชาเปนที่ดิน อ าคารและอุป กรณ

ชําระหนี้ตามแผนฟ นฟูกิจการดว ยเงินสดที่นําไปวางทรัพยเพื่อเปนหลักประกันในการ ชําระหนี้ ลดมูลคาหุนสามัญ เพื่อลางสว นต่ํามูลคาหุนสามัญ และขาดทุนสะสม

สวนที่ 1 หนา 246


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56 งบการเงินรวม ปบัญชีสิ้นสุด ณ 31 มีนาคม (ตรวจสอบ) 2556

2555

2554 (ปรับปรุงใหม)

ความสามารถในการทํากํา ไร *อัตรากําไรจากการดําเนินงานขั้ นตน ตอรายไดจ ากการดําเนินงาน *อัตรากําไรกอ นหักดอกเบี้ย ภาษี และคาเสื่อมตอ รายไดรวม

%

48.8

47.2

43.0

%

53.3

57.8

47.0

50.8

53.6

43.3

*อัตรากําไรจากการดําเนินงานกอ นหักดอกเบี้ย ภาษี และคาเสื่อมตอรายได จากการดําเนินงาน A

%

*อัตรากําไรสุท ธิ B

%

23.6

24.2

4.5

%

17.4

13.2

-5.5

%

4.1

3.3

0.5

%

5.4

6.1

0.8

อัตราสว นหนี้สิน ตอสินทรัพย

เทา

0.25

0.45

0.41

อัตราสว นหนี้สิน ตอทุน

เทา

0.32

0.81

0.70

อัตราสว นหนี้สินสุท ธิตอทุน

เทา

0.17

0.67

0.56

เทา

1.60

5.97

8.19

เทา

4.23

2.89

1.59

*กําไรตอหุน F

บาท

0.2490

0.2311

0.0302

*กระแสเงินสดจากการดําเนินงานตอหุน F

บาท

0.469

0.193

0.166

*กระแสเงินสดอิสระตอหุน F

บาท

0.272

-0.094

-0.368

มูลคาบริษัท ตอหุน

บาท

10.65

1.22

1.21

มูลคาตามบัญ ชีตอหุน F

บาท

5.06

4.05

4.48

*อัตรากําไรสุท ธิจากรายการที่เกิดขึ้นเปนประจํา *อัตราผลตอบแทนตอสินทรัพย

C

D

*อัตราผลตอบแทนตอสว นของผูถือหุน D ความสามารถในการชํา ระหนี้

*อัตราสว นหนี้สินสุท ธิตอกําไรจากการดําเนินงาน *ความสามารถในการชําระดอกเบี้ย

E

อัตราสวนตอหุน

หมายเหตุ: * รวมกําไรสําหรับ ปจากการดําเนินงานที่ยกเลิก (สามารถดูร ายละเอียดเพิ่มเติมไดใ นหมายเหตุป ระกอบงบการเงิ น 27) A ไมรวมรายไดและรายจายที่ไมเกิดขึ้นเปนประจํา (non-recurring items) B คํานวณจากกําไรสุท ธิท างบัญ ชีสําหรับ ป (กอนหักสว นที่เปนของผูมีสว นไดเสียที่ไมมีอํา นาจควบคุมของบริษัท ยอย) / รายไดท ั้งหมดทางบัญ ชี C คํานวณจากกําไรสุท ธิจากรายการที่เกิดขึ้น เปนประจํา (ไมรวมสว นที่เปนของผู มีสว นไดเสียที่ไม มีอํานาจควบคุมของบริษัท ยอย) / รายไดท ั้งหมดที่ เกิดขึ้นเปนประจํ า D คํานวณจากกําไรสุท ธิท างบัญ ชีสําหรับ ป (กอนหักสว นที่เปนของผูมีสว นไดเสียที่ไมมีอํา นาจควบคุมของบริษัท ยอย) E คํานวณจากกําไรจากการดําเนินงานกอ นหักดอกเบี้ย ภาษี และคาเสื่อม / คาใชจายทางการเงิน F คํานวณจากจํา นวนหุนสามัญ ถัว เฉลี่ย ณ มูลคาที่ตราไว ที่ 4.0 บาท ตอหุน

สวนที่ 1 หนา 247


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

11.2

แบบ 56-1 ป 2555/56

บทวิเคราะหผลประกอบการสําหรับปบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2556 และ 2555

หมายเหตุ: ณ วันที่ 17 เมษายน 2556 บริษัท ระบบขนสง มวลชนกรุง เทพ จํากัด (มหาชน) (บีทีเอสซี) ไดขาย รายไดคาโดยสารสุทธิในอนาคตที่จะเกิดขึ้นจากการเดินรถไฟฟาสายหลักในชวงระยะเวลาที่เหลือ อีก 17 ป ที่บีทีเอสซี ไดร ับสัมปทานจากกรุง เทพมหานครใหแกกองทุนรวมโครงสรางพื้นฐานระบบขนสง มวลชนทาง ร าง บี ที เ อ ส โกร ท (BTSGIF) อยางไรก็ตาม การทําธุร กรรมดัง กลาวเกิดขึ้นภายในไตรมาสที่ 1 ของป 56/57 ตามขอ กําหนดของมาตรฐาน การรายงานทางการเงินไทย เรื่อ ง ‘สินทรัพยไมหมุนเวียนที่ถือ ไวเพื่อ ขายและการดําเนินงานที่ยกเลิก’ (TFRS5) บัง คับ ใหบริษัทฯ แสดงสินทรัพย หนี้ส ิน และกําไรจากสินทรัพยดัง กลาวแยกตางหากในงบการเงิน ดัง นั้น ในงบแส ดง ฐานะ การเงิน ณ วันที่ 31 มีนาคม 2556 ‘ตนทุนโครงการรถไฟฟา’ ไดถูกจัดหมวดหมูใหม โดยถู ก บั น ทึ ก ภ ายใต ชื่ อ บั ญ ชี ‘สินทรัพยไมหมุนเวียนที่ถือ ไวเพื่อ ขาย’ และ ‘รายไดคาโดยสารจากระบบรถไฟฟาสายหลักหลัง หักตนทุนและคาใชจาย’ จะถูกบันทึกดวยยอดสุทธิในบัญชี ‘กําไรสําหรับปจากการดําเนินงานที่ยกเลิก’ ในงบกําไรขาดทุ น เบ็ ด เส ร็ จ สํ า หรั บ รายละเอียดเพิ่มเติม สามารถดูไดในหมายเหตุประกอบงบการเงินรวมขอ 27 และขอ 49 ในงบการเงิน อยางไรก็ต าม เพื่อ ใหบรรลุวัตถุประสงคในเชิง เปรียบเทียบกับผลการดําเนินงานของปกอ นหนา ในบทวิเคราะ ห นี้ ร ายได ส ุ ท ธิ จ าก ระบบรถไฟฟาสายหลักจะถูกรวมอยูในรายไดจากธุร กิจระบบขนสง มวลชน ภาพรวม งบกําไรขาดทุน บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้ง ส จํากัด (มหาชน) (“บริษัทฯ”) และบริษัทยอ ย (รวมเรียก “กลุมบริ ษั ท ”) ร ายง าน ผลประกอบการประจําป 2555/56 ดวยรายไดร วมจํานวน 6,713.5 ลานบาท เพิ่มขึ้น 35.5% หรื อ 1,758.5 ล า นบาท จาก 4,955.0 ลานบาท ในป 2554/55 เปนผลมาจากประสิทธิภ าพในการดําเนินงานที่แข็ง แกรง ขึ้น รวมถึ ง มี ก าร รั บ รู รายไดที่ไมเกิดขึ้นเปนประจําจากการจําหนายเงินลงทุนของสินทรัพยที่ไมใชส ินทรัพยหลักของธุร กิจอสัง หาริ ม ทรั พ ย (ที่ดินที่กรุง เทพฯ และภูเก็ต) ในสวนของรายไดจากการดําเนินงานรวม เพิ่มขึ้น 34.4% จากปกอ น เปน 10,375.5 ลา น บาท เปนผลมาจากการเพิ่มขึ้นของรายไดจากธุร กิจระบบขนสง มวลชน ธุร กิจสื่อ โฆษณา และธุร กิจ อ สั ง หาริ ม ทรั พ ย (โปรดดูร ายละเอียดในผลการดําเนินงานแยกตามสวนงาน) ทั้ง นี้ร ายไดจากธุร กิจระบบขนสง มวลชน ธุร กิจสื่อ โฆษณา ธุร กิจอสัง หาริมทรัพย และธุร กิจบริการ คิ ด เป น สั ด ส ว น 58.0%, 26.9%, 14.7% และ 0.4% ขอ ง ร ายได จ ากการ ดําเนินงานรวม ตามลําดับ รายได จากการ ด ําเนินงาน3 (ล านบาท)

ป  2555/56

% ของยอดรวม3

ป  2554/55

% ของยอด รวม 3

% เปล ยนแปลง ี่ (YoY)

อ ัตราก ําไร ขนต ั้ น

อ ัตราก ําไร ขนต ั้ น

ป  2555/56 4

ป  2554/55 4

ระบบขนส งมวลชน

6,015.5

58.0%

5,031.9

65.2%

19.5%

48.2%

45.7%

ส อโฆษณา ื่

2,794.7

26.9%

1,958.8

25.4%

42.7%

59.1%

59.0%

1,522.7

14.7%

728.3

9.4%

109.1%

36.8%

26.6%

42.6

0.4%

0.7

0.0%

N/A

N/A

N/A

10,375.5

100.0%

7,719.8

100.0%

34.4%

48.8%

47.2%

1

อส ังหาร ิมทร ัพย 

2

บร ิการ รวม

3

1

ในบทวิเคราะหนี้ รายไดจากธุร กิจระบบขนสงมวลชน ประกอบดว ยรายไดคาโดยสารและรายไดคาบริการจากการบริห ารการเดิน รถไฟฟา อยา งไรก็ต าม ในงบกําไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จ รายไดคาโดยสารสุท ธิจากระบบรถไฟฟาสายหลัก ถูกบันทึกใน ‘กําไรสําหรับ ปจากการดําเนิน งานที่ยกเลิก ’ เพื่อใหสอดคลองกับ TFRS5 (รายละเอียด เพิ่มเติม สามารถดูไ ดใ นหมายเหตุป ระกอบงบการเงินรวมขอ 27 และขอ 49 ในงบการเงินรวม) 2 รายไดธุรกิจอสังหาริมทรัพยป ระกอบดว ยยอดขายอสังหาริมทรัพย, คาเชาและคาบริการ ธุร กิจกอสรางและบริก าร, และรายไดคาบริการจากโครงการส นามกอลฟ ธนาซิตี้และสปอรตคลับ หมายเหตุ: ธุรกิจโครงการสนามกอลฟธนาซิตี้และสปอรตคลับ ไดถูกยายจากหนว ยธุรกิจบริการ มาอยูท ี่ห นว ยธุรกิจอสังหาริมทรัพย ในไตรมาส 4 ป 2554/55 3 ยอดรวมรายไดจ ากการดําเนิน งาน สําหรับ ป 2555/5 6 และ ป 2554/55 ไมรวมรายไดอื่น จากเงินปนผลรับ , ดอกเบี้ยรับ , รายไดจากการโอนกลับ คาเผื่อการลดลงของ มูลคาตนทุนงานฐานรากรอโอน, รายไดคาชดเชยตามคําสั่งศาล , กําไรจากการจําหนายเงินลงทุนในบริษัท ยอย, กําไร (ขาดทุน) จากอัต ราแลกเปลี่ยน และอื่ นๆ 4 อัตราสว นกําไรจากการดําเนิน งานขั้ นตนตอยอดขาย

สวนที่ 1 หนา 248


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

แมวาในปนี้ บริษัทฯ มีคาใชจายรวมเพิ่มขึ้น 51.3% จากปกอ น เปน 4,188.0 ลานบาท ซึ่ ง การ เพิ่ ม ขึ้ น ขอ ง คาใชจายสอดคลอ งไปกับการเติบโตของธุร กิจระบบขนสง มวลชน ธุร กิจสื่อ โฆษณา และธุร กิจอสัง หาริ ม ทรั พ ย ทั้ ง นี้ บริษัทฯ สามารถแสดงศักยภาพในการดําเนินงานที่แข็ง แกรง โดยมีอ ัตรากําไรจากการดําเนินงานขั้นตน (Operating gross margin) สูง ขึ้นเปน 48.8% จาก 47.2% ในปกอ น ซึ่ง เปนผลมาจากความสามารถในการบริหารง านขอ ง ธุ ร กิ จ ระบบขนสง มวลชน ธุร กิจสื่อ โฆษณา และธุร กิจอสัง หาริมทรัพย อยางไรก็ดี แมวาคาใชจายในการ ขายและ บริ ก าร เพิ่มขึ้น 45.7% หรือ เพิ่มขึ้น 398.9 ลานบาท จากปกอ น เปน 1,271.1 ลานบาท (มาจากคาใชจายในการขายและบริการ ที่เพิ่มขึ้นใน 3 ธุร กิจดัง กลาว) Operating EBITDA (กําไรจากการดําเนินงานกอ นคาเสื่อ มราคา คาตัดจําหนาย ดอกเบีย้ และภาษี ไมร วมรายการที่ไมเกิดขึ้นเปนประจํา (non-recurring items)) ของบริษัทฯ ยัง คงเพิ่มขึ้น 27.3% จากป ก อ น เปน 5,273.0 ลานบาท บริษัทฯ มีคาใชจายทางการเงินลดลง 12.9% หรือ 184.1 ลานบาท จากปกอ น เปน 1,247.8 ล า นบาท ส ว น ใหญเปนผลจาก i) ภาระหนี้ที่ลดลงจากการใชส ิทธิแปลงสภาพของหุนกูแปลงสภาพเปนหุนสามัญอยางตอ เนื่อ ง, ii) การ ชําระคืนหุนกูร ะยะยาวชุดที่ 1 ที่ครบกําหนดไถถอนป 2555 ของบริษัทบีทีเอสซีจํานวน 2,500.0 ลานบาท เมื่ อ เดื อ น สิง หาคม 2555 และ iii) การชําระหนี้อ ื่นๆ สําหรับภาษีเงินไดของกลุมบริษัทเพิ่มขึ้น 154.4% เปน 439.2 ลานบาท จาก กําไรที่มากขึ้น และภาษีเงินไดที่ส ูง ขึ้นของบีทีเอสซี อันเนื่อ งมาจากผลขาดทุนสะสมที่หมดอายุในเดือ นธันวาคม 2555 จากปจจัยทั้ง หมดขางตน กลุมบริษัทรายงานกําไรสุทธิ สําหรับป 2555/56 เทากับ 2,736.1 ลานบาท เพิ่ ม ขึ้ น 22.4% จากปกอ น และกําไรสุทธิส วนที่เปนของผูถือ หุนบริษัทฯ เทากับ 2,488.3 ลานบาท เพิ่มขึ้น 18.2% จากปกอ น งบแสดงฐานะการเงิน สินทรัพยร วม ณ วันที่ 31 มีนาคม 2556 มีมูลคา 67,031.1 ลานบาท เพิ่มขึ้น 0. 2% จากวั น ที่ 31 มี น าคม 2555 สินทรัพยไมหมุนเวียนทั้ง หมด ลดลง 74.9% เปน14,800.8 ลานบาท เปนผลมาจาก i) ตนทุนโคร ง การ ร ถไฟฟ า ถูกจัดหมวดหมูใหมใหส อดคลอ งกับ TFRS5 (ดูหมายเหตุประกอบการเงินรวมขอ 27 ในงบการเงิน) และ ii) ที่ ดิ น และ โครงการรอการพัฒนาในอนาคต ลดลง 100.0% หรือ 2,676.3 ลานบาท อันเนื่อ งมาจากการขายที่ดินที่ภ ูเก็ต และการ โอนยายที่ดินจํานวน 1,440.4 ลานบาท ไปบันทึกอยูในบัญชีอ สัง หาริมทรัพยเพื่อ การลงทุน หนี้ส ินรวมลดลง 45.2% หรือ 13,528.3 ลานบาท จากวันที่ 31 มีนาคม 2555 มาเป น 16,428. 4 ล า นบาท สาเหตุหลักมาจาก i) การใชส ิทธิแปลงสภาพของหุนกูแปลงสภาพทั้ง หมดเปนหุนสามัญ จํานวน 8,648. 3 ล า นบาท, ii) การชําระคืนหุนกูร ะยะยาวชุดที่ 1 ของบริษัทบีทีเอสซี จํานวน 2,500.0 ลานบาทเมื่อ เดือ นสิง หาคม 2555 และ iii) การชําระคืนเงินกูจากสถาบันการเงิน จํานวน 1,977.9 ลานบาท ในสวนของผูถือ หุนของบริษัทฯ มีจํานวน 50,602.7 ลานบาท เพิ่มขึ้น 13,670.5 ลานบาท หรือ 37.0% สาเหตุ หลักมาจาก i) บริษัทฯ มีทุนจดทะเบียนชําระแลวเพิ่มขึ้นเปน 44,426.5 ลานบาท สื บ เนื่ อ ง มาจากการ ใช ส ิ ท ธิ แ ปลง สภาพของหุนกูแปลงสภาพทั้ง หมดเปนหุนสามัญและการใชส ิทธิครั้ง ที่ 1 ในการซื้อ หุนสามัญตามใบสําคัญแส ดง สิ ท ธิ BTS-W2 ซึ่ง ทําใหมีหุนสามัญเพิ่มขึ้น 1,956.5 ลานหุน (รวมหุนสามัญที่อ อกจําหนายแลวทั้ง หมด 11,106. 6 ล า นหุ น ) และ ii) สวนเกินทุนจากการจําหนายเงินลงทุนในบริษัท วีจีไอ โกลบอล มีเดีย จํากัด (มหาชน) สํ า หรั บ กํ า ไร สุ ท ธิ จ าก การจําหนายเงินลงทุนในบริษัท วีจีไอ โกลบอล มีเดีย ซึ่ง เปนบริษัทยอ ยของบริษัทฯ ถูกบันทึกอยูในงบแสดงฐานะทาง การเงินรวมของบริษัทฯ ภายใตส วนของผูถือ หุน ในชื่อ บัญชี ‘สวนเกินทุนจากการเปลี่ยนแปลงสัดส ว นการ ถื อ หุ น ใน บริษัทยอ ย’ แตไมถูกบันทึกอยูในงบกําไรขาดทุน เพราะการเปลี่ยนแปลงสวนไดเสียของบริษัทฯ ในบริษัทย อ ย ไม ไ ด ทําใหบริษัทฯ สูญเสียอํานาจในการควบคุมบริษัทยอ ยดัง กลาว สวนที่ 1 หนา 249


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ณ วันที่ 31 มีนาคม 2556 บริษัทฯ และบริษัทยอ ยมีอ ัตราสวนหนี้ส ินสุทธิตอ ทุน (Net Debt to Equity) เทากับ 0.17 เทา ลดลงมากเมื่อ เทียบกับปกอ นหนา ซึ่ง เทากับ 0.67 เทา สาเหตุหลักเนื่อ งจาก การใชส ิทธิแปลงสภาพของหุนกู แปลงสภาพทั้ง หมดเปนหุนสามัญ และการจายชําระคืนหุนกูและเงินกูยืมจากสถาบันการเงิน ในสวนของสภาพคลอง ณ วันที่ 31 มีนาคม 2556 บริษัทฯ และบริษัทยอ ยมีอ ัตราสวนสภาพคลอ งเทากับ 1. 11 เท า (อั ต ร าส ว นส ภ าพคล อ ง คํานวณจากสินทรัพยหมุนเวียน โดยไมร วมรายการสินทรัพยไมหมุนเวียนที่จัดประเภทเปนสินทรัพยที่ถื อ ไว เ พื่ อ ขาย และหารดวยหนี้ส ินหมุนเวียน) เพิ่มขึ้นจากปกอ นหนา ซึ่ง เทากับ 0.94 เทา บริษัทฯ มีขอ กําหนดในการดํารงอัตราสวนทางการเงิน ตามสัญญาที่เกี่ยวขอ งกับการออกหุนกูแปลงส ภ าพ กลาวคือ ตอ งดํารงอัตราสวนหนี้ส ินรวมตอ สวนของผูถือ หุนรวมไมเกิน 0.75 เทา และอัตราสวนความสามารถในการ ชําระหนี้ส ินและดอกเบี้ย (Debts Service Coverage Ratio) ไมต่ํากวา 1.30 เทา อยางไรก็ตาม ณ วัน ที่ 31 มี น าคม 2556 หุนกูแปลงสภาพไดถูกแปลงสภาพเปนหุนสามัญของบริษัทฯ ทั้ ง หมดแล ว บริ ษั ท ฯ จึ ง ไม จํ า เป น ต อ ง ดํ า ร ง อัตราสวนทางการเงินตามขอ กําหนดดัง กลาวอีก บีทีเอสซีมีขอ กําหนดในการดํารงอัตราสวนทางการเงิน ตามขอ กําหนดวาดวยสิทธิและหนาที่ที่เกี่ยวข อ ง กั บ การออกหุนกู (“ขอ กําหนดสิทธิฯ”) และสัญญาเงินกูยืมระยะยาวกับสถาบันการ เงิ น กล า วคื อ บี ที เ อ ส ซี ต อ ง ดํ า ร ง อัตราสวนความสามารถในการชําระหนี้ส ินและดอกเบี้ย (Debt Service Coverage Ratio) ไมต่ํากวา 1.20 เทา (ยอ ด คงเหลือ ของหุนกูและเงินกูยืมระยะยาวของบีทีเอสซี ณ วันที่ 31 มีนาคม 2556 เปนจํานวน 8,479.6 ลา นบาท และ 0 บาท ตามลําดับ) โดย ณ วันที่ 31 มีนาคม 2556 บีทีเอสซีส ามารถดํารงอัตราสวนทางการเงินดัง กลาวไดตามขอ กําหนด ทั้ง นี้ ที่ประชุมผูถือ หุนกู ครั้ง ที่ 1/2555 เมื่อ วันที่ 27 ธันวาคม 2555 มีมติอ นุมัติใหแกไขเพิ่มเติมขอ กําหนดสิ ท ธิ ฯ โดย ยกเลิกการดํารงอัตราสวนความสามารถในการชําระหนี้ส ินและดอกเบี้ยดัง กล า ว เมื่ อ บี ที เ อ ส ซี ไ ด จั ด ให มี ห นั ง สื อ ค้ําประกันของธนาคารไวแลว เมื่อ วันที่ 17 เมษายน 2556 บีทีเอสซีไดวางหนัง สือ ค้ํ า ปร ะ กั น ขอ ง ธนาคาร เพื่ อ เป น หลักประกันหุนกูเปนจํานวนเงิน 9,422 ลานบาท (ซึ่ง ครอบคลุมยอดหนี้คงเหลือ และดอกเบี้ยที่ตอ งจายทั้ง หมดจนถึง วั น ครบกําหนดไถถอนหุนกู) ทําใหบีทีเอสซีไมจําเปนตอ งดํารงอัตราสวนทางการเงินดัง กลาวอีกตอ ไป งบกระแสเงินสด งบกระแสเงินสดสําหรับงวดปบัญชี 2555/56 บริษัทฯ มีเงินสดสุทธิจากการกิจกรรมดําเนินงานทั้ง สิ้น 4,683.1 ลานบาท เมื่อ เทียบกับ 1,755.8 ลานบาท ในปกอ นหนา สวนใหญเปนผลมาจากผลประกอบการ ที่ แ ข็ ง แกร ง ร วมถึ ง รายไดคางรับที่ลดลงจากเงินรับคาชดเชยตามคําสั่ง ศาล เงินสดสุทธิจากกิจกรร มลง ทุ น จํ า นวน 4,979.8 ล า นบาท รายการหลักมาจากการเงินสดรับจากการขายเงินลงทุนในบริษัทยอ ย (กมลา, นานา และวีจีไอ) และเงินสดรับจากการ ออกจําหนายหุนสามัญเพิ่มทุนของบริษัทยอ ย (การเสนอขายหุนวีจีไอในตลาดหลักทรัพยฯ เปนครั้ง แรก) และ เงิ น ส ด สุทธิใชไปในกิจกรรมจัดหาเงิน จํานวน 7,494.7 ลานบาท จากการชําระคืนหนี้และการจายเงินปนผล จากปจจัยทั้ง หมด ขางตน กลุมบริษัทรายงานเงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดในงบกระแสเงิ น ส ด เพิ่ ม ขึ้ น 2,180.0 ล า นบาท เป น 3,513.3 ลานบาท เทียบกับ 1,333.2 ลานบาท ในปที่ผานมา

สวนที่ 1 หนา 250


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ผลการดําเนินงานตามสวนงาน ธุรกิจระบบขนสงมวลชน รายไดของธุร กิจระบบขนสง มวลชนประจําป 2555/56 เพิ่มขึ้น 19.5% เมื่อ เทียบกับปกอ น เปน 6,015.5 ล า น บาท อันเปนผลมาจากการเติบโตของรายไดคาโดยสารและการเพิ่มขึ้นของรายไดคาบริการจากการบริหารการเดินรถ รายไดคาโดยสารสําหรับป 2555/56 เพิ่มขึ้น 13.9% หรือ 598.7 ลานบาท จากป ก อ นหน า เป น 4,895.5 ล า นบาท สาเหตุหลักมาจากการเพิ่มขึ้นของจํานวนผูโดยสารและอัตราคาโดยสารเฉลี่ย ซึ่ง เพิ่มขึ้น 1.7% จากป ก อ นหน า เป น 24.8 บาทตอ เที่ยว ในสวนของจํานวนผูโดยสารรวม เพิ่มขึ้น 12.0% เมื่อ เทียบกับปกอ น เปน 197.2 ลานเที่ ย วคน ซึ่ ง เปนสถิติจํานวนผูโดยสารสูง สุดตั้ง แตบีทีเอสซีดําเนินงานมา ปจจัยหลักที่ทําใหจํานวนผูโดยสารรวมเติบโตขึ้ น มาจาก i) การเติบโตตามธรรมชาติอ ยางตอ เนื่อ งของธุร กิจ, ii) ความนิยมในการเดินทาง โดยร ะ บบร ถไฟฟ า ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น อั น เนื่อ งมาจากการพัฒนาอสัง หาริมทรัพยตามแนวรถไฟฟา, iii) การเปดใหบริการเต็มปในสวนตอ ขยายออ นนุช – แบริ่ง เมื่อ เดือ นสิง หาคม 2554 และ iv) จํานวนรถไฟฟาที่ใหบริการเพิ่มขึ้น (รถไฟฟาที่ใหบริการในสายสุขุมวิ ท ปรั บ เปลี่ ย น เปนรถไฟฟาแบบ 4 ตูตอ ขบวนทั้ง หมด) นอกจากนี้ จํานวนผูโดยสารเฉลี่ยในวันธรรมดาในป 2555/56 เพิ่มขึ้นมาอ ยู ที่ 603,696 เที่ยวคน ยัง ทําสถิติส ูง สุดใหมและเพิ่มขึ้นเปนไปในทิศทางเดียวกั บ จํ า นวนผู โ ดยส าร ร วม นั่ น คื อ เพิ่ ม ขึ้ น 11.5% เมื่อ เทียบกับป 2554/55 ในสวนของรายไดจากการใหบริการเดินรถยัง แสดงใหเห็นถึง การเติบโตอันแข็ง แกร ง โดยมีอ ัตราการเติบโต 52.4% หรือ 384.9 ลานบาทเมื่อ เทียบกับปกอ นหนา เปน 1,120.0 ลานบาท ส ว นใหญ ม าจาก การรับรูผลเต็มปของสวนตอ ขยายสายสุขุมวิท (ออ นนุช – แบริ่ง ) และผลจากการปรับแกส ัญญาการใหบริการ เดิ น ร ถ และซอ มบํารุง ของสวนตอ ขยายสายสีลม ตนทุนและคาใชจายในการขายและบริการของธุร กิจระบบขนสง มวลชน เพิ่มขึ้น 14.8% หรือ 463.0 ลานบาท เมื่อ เทียบกับปกอ น เปนผลมาจากจํานวนผูโดยสารที่เพิ่มขึ้น ซึ่ง ตนทุนและคาใชจายในการขายและบริ ก าร เพิ่ ม ขึ้ น ใน อัตราที่นอ ยกวาการเพิ่มขึ้นของรายไดของธุร กิจ เนื่อ งจาก Economies of scale หรือ การประหยัดตอ ขนาด โดยตนทุน และคาใชจายในการขายและบริการหลัก ไดแก คาเสื่อ มราคาจากผูโดยสารที่เพิ่มขึ้น, ระบบอาณัติส ัญญาณใหม และ จํานวนรถที่เพิ่มขึ้น รวมถึง คาใชจายพนักงานที่เพิ่มขึ้นที่ส วนใหญมาจากการเพิ่มพนักงานสําหรับสวนตอ ขยาย ออนนุช - แบริ่ง รวมไปถึง นโยบายการปรับเพิ่มคาแรงขั้นต่ํา อยางไรก็ตาม การเพิ่มขึ้นของตนทุนและคาใชจายในการขายและ บริการไดถูกชดเชยดวยประสิทธิภ าพในการดําเนินงานของธุร กิจระบบขนสง มวลชนที่แข็ง แกรง สง ผลให Operating EBITDA margin รักษาระดับอยูที่ 65.9% เมื่อ เทียบกับ 66.6% ในป 2554/55 ธุรกิจสื่อโฆษณา ธุร กิจสื่อ โฆษณามีผลการดําเนินงานเติบโตอยางโดดเดนอีกปหนึ่ง โดยมีร ายไดร วมเพิ่มขึ้น 835.8 ล า นบาท จากปกอ น มาเปน 2,794.7 ลานบาท หรือ คิดเปน 42.7% ซึ่ง เปนผลมาจากการดําเนินงานที่แข็ง แกรง ของทุกธุร กิจ รายไดจากสื่อ โฆษณาในบีทีเอส เพิ่มขึ้น 22.6% หรือ 254.7 ลานบาท จากปกอ น เป น 1, 379. 4 ล า นบาท ปจจัยหลักเปนผลจาก i) รายไดจากสื่อ โฆษณาในขบวนรถไฟฟาที่เพิ่มขึ้นจากปกอ น ทั้ง จากสื่อ โฆษณาภาพนิ่ง และ สื่ อ ดิจิตอลบนรถไฟฟาขบวนเดิมและบนรถไฟฟา 12 ขบวนที่เพิ่มขึ้นใหมในชวงป 2554 โดยป 2555/ 56 เป น ป แ ร กที่ บริษัทรับรูร ายไดเต็มป, ii) การเพิ่มขึ้นของรายไดจากสื่อ โฆษณาบนสถานีร ถไฟฟาจากการใชพื้นที่โฆษณาเพิ่มขึ้น และ iii) การเพิ่มขึ้นของรายไดคาเชาพื้นที่ร านคาบนสถานีร ถไฟฟา จากการเพิ่มอัตราคาเชาสัญญาระยะยาวในปกอ นทีม่ ผี ล ในป 2555/56 เมื่อ สัญญาเดิมหมดอายุลง อีกทั้ง ปริมาณการใชพื้นที่ร านคาบนสถานีเพิ่มขึ้นตามการเพิ่มขึ้นของสถานีที่ สวนที่ 1 หนา 251


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

มีผูโดยสารใชบริการหนาแนนและจํานวนผูโดยสารรถไฟฟาบีทีเอสที่เพิ่มขึ้น (ในป 2555/56 จํานวนผูโดยสารรถไฟฟา บีทีเอสเพิ่มขึ้นรอ ยละ 12.0 จากปกอ น) รายไดจากสื่อ โฆษณาในโมเดิร นเทรด เพิ่มขึ้น 65.7% หรือ 495.5 ลานบาท เมื่อ เทียบกับปกอ น เปน 1,249.6 ลานบาท สืบเนื่อ งจาก i) ป 2555/56 บริษัทมีร ายไดจากสื่อ โฆษณาภาพนิ่ง การรับจางผลิตสื่อ โฆษณา และจากรายได จากสื่อ วิทยุ ณ จุดขายที่เพิ่มขึ้นอยางมีนัยสําคัญ จากสัญญาใหส ิทธิโฆษณาเพิ่มเติมบนพื้นที่ Sales Floor ของ Big C และ Tesco Lotus ที่ไดร ับสิทธิเพิ่มเติมตั้ง แตชวงครึ่ง หลัง ของป 2554/55 และ ii) ผลประกอบการในป 2554/ 55 ที่ ต่ํ า กวาปกติจากสถานการณน้ําทวม รายไดจากสื่อ โฆษณาในอาคารสํานักงานและสื่อ อื่นๆ ในป 2555/56 เพิ่มขึ้น 107.0% หรือ 85. 7 ล า นบาท จากปที่ผานมา เปน 165.8 ลานบาท โดยมีส าเหตุหลักจาก i) การไดร ับสิทธิโฆษณาในอ าคาร สํ า นั ก ง านเพิ่ ม เติ ม 4 อาคาร, ii) การปรับกลยุทธการขายสื่อ โฆษณาโดยขายรวมกับสื่อ โฆษณาจอดิจิตอลในบีทีเอส, iii) การขยายธุรกิจไปใน ดานการเปนตัวแทนขายสื่อ โฆษณาจอ LED ขนาดใหญบริเวณแยกประตูน้ํา พระราม 9 พระราม 4 และอนุส าวรี ย ชั ย สมรภูมิ และ iv) การไดร ับสิทธิโฆษณาในระบบรถโดยสารภายในจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ตนทุนจากธุร กิจสื่อ โฆษณาเพิ่มขึ้น 42.1% หรือ 338.2 ลานบาท จากป ก อ น เป น 1,141.7 ล า นบาท ซึ่ ง สอดคลอ งกับการเติบโตของรายได ในสวนของคาใชจายในการขายและบริหาร เพิ่มขึ้น 42.4% หรือ 109.2 ลานบาท จากชวงเดียวกันของปกอ น เปน 366.9 ลานบาท สืบเนื่อ งมาจาก i) การเพิ่มขึ้นของคาใช จ า ยที่ เ กี่ ย วกั บ การ ขายที่ เพิ่มขึ้นจากการเติบโตของรายได และ ii) การเพิ่มขึ้นของจํานวนพนักงานเพื่อ ตอบสนองการเพิ่มขึ้นของสัญญาใหสทิ ธิ โฆษณาเพิ่มเติมบนพื้นที่ Sales Floor ของ Big C และ Tesco Lotus และเนื่อ งจากในป 2555/56 สัดสวนรายไดจากสือ่ โฆษณาในโมเดิร นเทรด (ที่มี margin ต่ํากวา) มากกวาสัดสวนรายไดจากสื่อ โฆษณาในบี ที เ อ ส ส ง ผลให operating EBITDA margin ลดลงเปน 50.8% เมื่อ เทียบกับ 52.3% ในป 2554/55 ธุรกิจอสังหาริมทรัพย รายไดของธุร กิจอสัง หาริมทรัพยเพิ่มขึ้นอยางมีนัยสําคัญ โดยเพิ่มขึ้น 588.6% มาอ ยู ที่ 5,014.9 ล า นบาท สาเหตุหลักของการเพิ่มขึ้นสืบเนื่อ งมาจาก i) การจําหนายเงินลงทุนในบริษัทกมลา บีช รีส อรท แอนด โฮเต็ล แมนเนจเมนท จํากัด โดยบริษัทฯ ไดร ับคาตอบแทนจากการจําหนายเงินลงทุนทั้ง สิ้น 1,643.0 ลานบาท ในไตร มาส 2 ป 2555/56, ii) การจําหนายเงินลงทุนในบริษัทกามปู พร็อ พเพอรตี้ จํากัด (ที่ดินบริเวณสถานีร ถไฟฟานานา) ซึ่ง ไดร ับคาตอ บแทน ทั้ง สิ้น 1,849.2 ลานบาท ในไตรมาสที่ 3 ป 2555/56 และ iii) การเพิ่มขึ้นของรายไดจากกิจกรรมดําเนินงาน รายไดจากการดําเนินงานเพิ่มขึ้นจาก 794.4 ลานบาท เปน 1,522.7 ลานบาท เปนผลมาจาก i) ร ายได จ าก การโอนคอนโดมิเนียมโครงการ Abstracts พหลโยธิน พารค จํานวน 198 หอ ง (เริ่มโอนครั้ ง แร กในเดื อ นธั น วาคม 2555) และ ii) รายไดที่เพิ่มขึ้นจากโรงแรม อีส ติน แกรนด สาทร ซึ่ง มีการเปดตัวอย า ง เป น ทาง การ นั บ ตั้ ง แต เ ดื อ น ตุลาคมที่ผานมา ทั้ง นี้ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2556 มียอดขายในสวนโครงการของ Abstracts พหลโยธิ น พาร ค และ โครงการ Abstracts สุขุมวิท 66/1 อยูที่ 84% และ 86% ตามลําดับ ตนทุนจากการดําเนินงานของธุร กิจอสัง หาริมทรัพย เพิ่มขึ้นในสัดสวนที่นอ ยกวาการเพิ่มขึ้นของรายไดจ าก การดําเนินงาน โดยเพิ่มขึ้น 428.2 ลานบาท จากปกอ น เปน 962.6 ลานบาท สาเหตุส วนใหญมาจากต น ทุ น ขอ ง การ โอนคอนโดมิเนียม โครงการ Abstracts พหลโยธิน พารค และตนทุนของโรงแรมอีส ติน แกรนด สาทร สําหรับคาใชจา ย ในการ ขายและ บริ ห าร เพิ่ ม ขึ้ น 66.9% หรื อ 229.9 ล า นบาท เมื่ อ เที ย บกั บ ป ก อ น เป น 573. 8 ล า นบาท สวนที่ 1 หนา 252


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

สืบเนื่อ งมาจากการเพิ่มขึ้นของคาใชจายที่เกี่ยวเนื่อ งกับการโอนคอนโดมิเนียมโครงการ Abstracts พหลโยธิน พาร ค ไมวาจะเปน คาธรรมเนียมในการโอน คาใชจายทางการตลาด และคาคอมมิชชั่นของพนักงานขาย รวมถึง คาเสือ่ มราคา ของโรงแรม อีส ติน แกรนด สาทร จากผลการดําเนินงานตามปกติที่แข็ง แกรง ขึ้น ประกอบกับการจําหนายเงินลงทุนใน บริษัทยอ ยที่ถือ ครองที่ดินที่ภ ูเก็ตและ ที่ ดิ น บริ เ วณนานาที่ ก ล า วไปแล ว ข า ง ต น ส ง ผลให กํ า ไร สุ ท ธิ ข อ ง ธุ ร กิ จ อสัง หาริมทรัพยปรับตัวเปนบวกในป 2555/56 คิดเปนจํานวน 890.9 ลานบาท ธุรกิจบริการ ในสวนของธุร กิจบริการ บริษัทมีร ายไดร วมเพิ่มขึ้นจากปกอ น 41.8 ลานบาท เป น 42.6 ล า นบาท ร ายได ดัง กลาว มาจากการรับรูร ายไดอ ยางตอ เนื่อ งของแรบบิทการดที่ใชเปนตั๋วรวมสําหรับระบบขนสง มวลชน ทั้ง นี้ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2556 มียอดผูใชแรบบิทการดมากกวา 1 ลานใบ นอกจากนี้ยัง มีร ายไดจากคาธรรมเนียมชําระคาสินคาและ บริการที่ร านคา และการรับรูร ายไดจากการรับเหมากอ สรางของบริษัทเอชเอชที ในสวนของตนทุนของธุร กิจบริการ มี จํานวน 98.1 ลานบาท และคาใชจายในการขายและบริหารของการติดตั้ง ระบบตั๋วรวมแรบบิทการดสําหรับระบบขนสง มวลชนและเพื่อ ใชชําระคาสินคาและบริการที่ร านคา และการติดตั้ง ระบบ Carrot Rewards จํานวน 101.0 ลานบาท เหตุการณที่มีผลตอการดําเนินงานในอนาคต (Forward Looking) ธุรกรรมกองทุนรวมโครงสรางพื้นฐาน กองทุนรวมโครงสรางพื้นฐานระบบขนสง มวลชนทางราง บีทีเอสโกรท (“กองทุนฯ”) ไดร ับการอนุมัติก าร จด ทะเบียนกองทรัพยส ินเปนกองทุนรวมโครงสรางพื้นฐานจากสํานักงานคณะกรร มการ กํ า กั บ หลั ก ทรั พ ย แ ละ ตลาด หลักทรัพย เมื่อ วันที่ 17 เมษายน 2556 โดยมีจํานวนหนวยลงทุนที่เสนอขาย 5,788 ลานหนวย และราคาที่ เ ส นอ ขาย หนวยลงทุนและมูลคาที่ตราไวเทากับ 10.80 บาทตอ หนวยลงทุน (รวมเปนจํานวนเงิน 62,510 ลานบาท) โดยบริ ษั ท ฯ ไดลงทุนในกองทุนฯ เปนจํานวน 1,929 ลานหนวย หรือ คิดเปนรอ ยละ 33.33 ขอ ง จํ า นวนหน ว ยลง ทุ น ทั้ ง หมดขอ ง กองทุนฯ เมื่อ วันที่ 17 เมษายน 2556 บีทีเอสซีและกองทุนฯ ไดลงนามในสัญญาซื้อ และโอนสิทธิร ายไดส ุทธิ ซึ่ง บีทีเอสซี ไดขายรายไดคาโดยสารสุทธิของระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนสายหลักซึ่ง ครอบคลุมสายสุขุมวิทและสายสีลมระยะทาง รวม 23.5 กิโลเมตร ภายใตส ัญญาสัมปทานฉบับลงวันที่ 9 เมษายน 2535 ตลอดจนสัญญาฉบับแกไขเพิ่มเติมซึ่ง ทํา ขึ้ น ระหวางกรุง เทพมหานครและบีทีเอสซี ตลอดระยะเวลาอายุส ัมปทานที่เหลือ อยู ใหแกกองทุนฯ โดยมี ร าคาขายเป น จํานวนเงินเทากับ 61,399 ลานบาท (เปนจํานวนเงินสุทธิภ ายหลัง จากหักคาใชจายในการจัดตั้ง กอง ทุ น ฯ จํ า นวนเงิ น ประมาณ 1,111 ลานบาท) หลัง การเขาทําธุร กรรมกองทุนรวมโครงสรางพื้นฐานดัง กลาว บริษัทฯและบริษัทยอ ยมีหนี้ส ินสุทธิ (Net Debt) ลดลงเปนศูนย และมีส ภาพคลอ งสวนเกินเปนจํานวนเงินประมาณ 3 หมื่นลานบาท การเขาทําธุร กรรมกองทุนรวมโครงสรางพื้นฐานดัง กลาว มีส ัญญาที่เกี่ยวขอ งหลายสั ญ ญา บริ ษั ท ฯ และ บีทีเอสซีมีส ิทธิและหนาที่ตามสัญญาดัง กลาว ซึ่ง สามารถดูร ายละเอียดไดในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 49

สวนที่ 1 หนา 253


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

11.3

แบบ 56-1 ป 2555/56

นโยบายการบัญชีที่สําคัญ

11.3.1 การรับรูรายได รายไดจากคาโดยสาร รายไดจากคาโดยสารจะรับรูเมื่อ ไดใหบริการแกผูโดยสาร รายไดจากคาโดยสารแสดงมูลคาตามร าคาในตั๋ ว โดยสารหลัง จากหักสวนลดคาโดยสารแลว สําหรับรายไดจากการจําหนายตั๋วโดยสารประเภทสะสมมูลคาที่ยัง ไมไดร ับรูร ายไดจะบันทึกเปนรายไดร ับลวงหนาในหนี้ส ินหมุนเวียน เนื่อ งจากเมื่อ วันที่ 17 เมษายน 2556 บีทีเอสซีไดขายรายไดคาโดยส าร สุ ท ธิ ใ นอ นาคตให กั บ กอ ง ทุ น ร วม โครงสรางพื้นฐานระบบขนสง มวลชนทางราง บีทีเอสโกรท ดัง นั้น บริษัทฯ จึง แสดง ร ายได ค า โดยส าร ตาม รายละเอียดดัง กลาวไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 27 รายไดจากการบริการ รายไดคาโฆษณา รายไดคาโฆษณาจะรับรูเมื่อ ไดใหบริการแลว โดยพิจารณาถึง ขั้นความสําเร็จของงาน อัตราคาบริการ เป น ไป ตามขนาดของพื้นที่บริการ อัตราคาบริการตอ พื้นที่และระยะเวลาที่กําหนดในสัญญา รายไดจากการใหบริการเดินรถ รายไดจากการใหบริการเดินรถรับรูเมื่อ ไดใหบริการแลวโดยพิจารณาถึง ขั้นความสําเร็จของงาน โดยถื อ ตาม ราคาในใบกํากับสินคา (ไมร วมภาษีมูลคาเพิ่ม) สําหรับคาบริการหลัง จากหักสวนลดและคาบริการ ที่ บ วกเพิ่ ม แลว รายไดจากการใหบริการพื้นที่ รายไดจากการใหบริการพื้นที่ คือ รายไดจากการใหเชาพื้นที่เพื่อ ใชในการโฆษณาและเพื่อ ใหเชาสําหรับรานคา ยอ ย ซึ่ง รับรูตามเกณฑคงคางตามสัญญา อัตราคาเชาเปนไปตามขนาดของพื้นที่เชา อัตราคาเชาตอ พื้นที่และ ระยะเวลาที่กําหนดในสัญญา รายไดจากการใหบริการอื่น รายไดคาบริการรับรูเมื่อ ไดใหบริการแลวโดยพิจารณาถึง ขั้นความสําเร็จของงาน โดยไมร วมภาษีมูลคาเพิ่ม รายไดคาบริการสาธารณูปโภครับรูเมื่อ ไดใหบ ริ ก าร แล ว โดยถื อ ตามร าคาในใบกํ า กั บ สิ น ค า (ไม ร วม ภาษีมูลคาเพิ่ม) สําหรับคาบริการหลัง จากหักสวนลดและคาบริการที่บวกเพิ่มแลว และอางอิง ตามเงื่อ นไขขอ ง สัญญา คาเชาที่เกี่ยวเนื่อ งกับอพารทเมนทและอาคารชุดจะบันทึกเปนรายไดตามเกณฑคงคาง

สวนที่ 1 หนา 254


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

รายไดจากกิจการโรงแรมรับรูเปนรายไดเมื่อ ไดใหบริการแลวโดยสวนใหญประกอบดวยรายไดคาหอ งพัก และ รายไดจากภัตตาคารโดยถือ ตามราคาในใบกํากับสินคา (ไมร วมภาษีมูลคาเพิ่ม) สําหรับคาสินคาและ บริ ก าร หลัง จากหักสวนลดและคาบริการที่บวกเพิ่มแลว รายไดจากการขายอสังหาริมทรัพย รายไดจากการขายที่ดิน บานพรอ มที่ดินและหนวยในอาคารชุด รั บ รู เ ป น ร ายได ทั้ ง จํ า นวนเมื่ อ มี ก าร โอ น กรรมสิทธิ์ใหแกผูซื้อ รายไดจากการรับเหมากอสราง รายไดจากการรับเหมากอ สรางถือ เปนรายไดตามอัตราสวนของงานกอ สรางที่แลวเสร็จจากการประเมิน ขอ ง วิศวกรของบริษัทฯ รายไดที่ร ับรูแลวแตยัง ไมถึง กําหนดเรียกชําระตามสัญญาแสดงไวเปน “รายได ที่ ยั ง ไม ไ ด เรียกชําระ” ในงบแสดงฐานะการเงิน รายไดอื่น รายไดจากการบริหารจัดการรับรูเมื่อ ไดใหบริการโดยอางอิง กับอายุของสัญญา โดยไมร วมภาษีมูลคาเพิ่ม ดอกเบี้ยรับถือ เปนรายไดตามเกณฑคงคางโดยคํานึง ถึง อัตราผลตอบแทนที่แทจริง เงินปนผลรับถือ เปนรายไดเมื่อ บริษัทฯมีส ิทธิในการรับเงินปนผล 11.3.2 คาใชจาย ตนทุนขายอสังหาริมทรัพย ตนทุนขายอสัง หาริมทรัพย คํานวณขึ้นโดยการแบง สรรตนทุนการพัฒนาทั้ง หมดที่ ค าดว า จะ เกิ ด ขึ้ น ให กั บ โครงการที่ขายไดแลวตามเกณฑพื้นที่ที่ขาย แลวจึง รับรูเปนตนทุนขายในงบกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ ตนทุนการรับเหมากอสราง ตนทุนงานกอ สรางบันทึกตามอัตราสวนรอ ยละของงานที่ทําเสร็จของตนทุนโดยประมาณ โดยจะบันทึกสํารอง เผื่อ ผลขาดทุนสําหรับโครงการกอ สรางทั้ง จํานวนเมื่อ ทราบแนชัดวาโครงการกอ สรางนั้นจะประสบผลขาดทุ น ผลตางระหวางตนทุนที่บันทึกตามอัตราสวนรอ ยละของงานที่ทําเสร็จของราคาตนทุนโดยประมาณและ ต น ทุ น งานกอ สรางที่เกิดขึ้นจริง บันทึกเปนสินทรัพยหมุนเวียนหรือ หนี้ส ินหมุนเวียนในงบแสดงฐานะการเงิน คาใชจายอื่น ตนทุนการขายและบริการ และคาใชจายอื่นรับรูตามเกณฑคงคาง

สวนที่ 1 หนา 255


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

11.3.3 เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด หมายถึง เงินสดและเงินฝากธนาคาร และเงินลงทุนระยะสั้นที่มีส ภาพคลอง สูง ซึ่ง ถึง กําหนดจายคืนภายในระยะเวลาไมเกิน 3 เดือ นนับจากวันที่ไดมาและไมมีขอ จํากัดในการเบิกใช 11.3.4 ลูกหนี้การคา ลูกหนี้การคาแสดงมูลคาตามจํานวนมูลคาสุทธิที่จะไดร ับ บริษัทฯบั น ทึ ก ค า เผื่ อ หนี้ ส ง สั ย จะ สู ญ สํ า หรั บ ผล ขาดทุนโดยประมาณที่อ าจเกิดขึ้นจากการเก็บเงินจากลูกหนี้ไมได ซึ่ง โดยทั่วไปพิจารณาจากประสบการณการ เก็บเงินและการวิเคราะหอ ายุหนี้ 11.3.5 ตนทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย ตนทุนการพัฒนาอสัง หาริมทรัพยแสดงตามราคาทุนหรือ มูลคาสุทธิที่จะไดร ับแลวแตร าคาใดจะต่ํากวา ตนทุนการพัฒนาอสัง หาริมทรัพยประกอบดวยตนทุนที่ดิน คาพัฒนาที่ดิน คาธรรมเนียมการบริหารโคร ง การ คาออกแบบ คากอ สรางและดอกเบี้ยที่เกี่ยวขอ ง 11.3.6 เงินลงทุน ก)

เงินลงทุนในหลักทรัพยเผื่อ ขายแสดงตามมูลค า ยุ ติ ธ ร ร ม การ เปลี่ ย นแปลง ในมู ล ค า ยุ ติ ธ ร ร มขอ ง หลักทรัพยดัง กลาวบันทึกเปนรายการตางหากในสวนของผูถือ หุน และจะบันทึกเปนกําไรหรือ ขาดทุน ใน สวนของกําไรหรือ ขาดทุนเมื่อ ไดจําหนายหลักทรัพยนั้นออกไป

ข)

เงินลงทุนในตราสารหนี้ที่จะครบกําหนดชําระในหนึ่ง ป รวมทั้ง ที่จะถือ จนครบกําหนดแสดงมูลคาตามวิ ธี ราคาทุนตัดจําหนาย บริษัทฯตัดบัญชีส วนเกิน/รับรูส วนต่ํากวามูลคาตราสารหนี้ ต ามอั ต ร าดอ กเบี้ ย ที่ แทจริง ซึ่ง จํานวนที่ตัดจําหนาย/รับรูนี้จะแสดงเปนรายการปรับกับดอกเบี้ยรับ

ค)

เงินลงทุนในตราสารทุนที่ไมอ ยูในความตอ งการของตลาดถือ เปนเงินลงทุนทั่วไป ซึ่ง แส ดง ในร าคาทุ น สุทธิจากคาเผื่อ การดอ ยคา (ถามี)

ง)

เงินลงทุนในบริษัทรวมที่แสดงอยูในงบการเงินรวมแสดงมูลคาตามวิธีส วนไดเสีย

จ)

เงินลงทุนในบริษัทยอ ยและบริษัทรวมที่แสดงอยูในงบการเงินเฉพาะกิจการแสดงมูลคาตามวิธีร าคาทุน

มูลคายุติธรรมของหลักทรัพยในความตอ งการของตลาดคํานวณจากราคาเสนอซื้อ หลัง สุด ณ สิ้ น วั น ทํ า การ สุดทายของปและมูลคายุติธรรมของหนวยลงทุนคํานวณจากมูลคาสินทรัพยส ุทธิของหนวยลงทุน บริษัทฯใชวิธีถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนักในการคํานวณตนทุนของเงินลงทุน ในกรณีที่มีการโอนเปลี่ยนประเภทเงินลงทุนจากประเภทหนึ่ง ไปเปนอีกประเภทหนึ่ง บริษัทฯจะปรับมูลค า ขอ ง เงินลงทุนดัง กลาวใหมโดยใชมูลคายุติธรรม ณ วันที่โอนเปลี่ยนประเภทเงินลงทุน ผลแตกตางระหวางราคาตาม บัญชีและมูลคายุติธรรม ณ วันที่โอนจะบันทึกในสวนของกําไรหรือ ขาดทุนหรือ แสดงเปนสวนเกิน (ต่ํากวา) ทุ น จากการเปลี่ยนแปลงมูลคาในสวนของผูถือ หุนแลวแตประเภทของเงินลง ทุ น ที่ มี ก าร โอ นเปลี่ ย น เมื่ อ มี ก าร สวนที่ 1 หนา 256


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

จําหนายเงินลงทุน ผลตางระหวางสิ่ง ตอบแทนสุทธิที่ไดร ับกับมูลคาตามบัญชีของเงินลงทุน จะถูกบันทึกในสวน ของกําไรหรือ ขาดทุน 11.3.7 ตนทุนโครงการรถไฟฟาและการตัดจําหนายตามวิธีจํานวนผลผลิต (Unit of Throughput Amortisation Method/ unit of production) ตนทุนโครงการรถไฟฟาแสดงมูลคาตามราคาทุนหักคาตัดจําหนายสะสมและคาเผื่อ การดอ ยคาของสินทรั พ ย (ถามี) บริษัทยอ ยบันทึกตนทุนทั้ง หมดและคาใชจายที่เกี่ยวขอ งกับโครงการเปนสินทรั พ ย (ต น ทุ น โคร ง การ รถไฟฟา) และบันทึกคาตัดจําหนายของตนทุนโครงการรถไฟฟาเป น ส ว นหนึ่ ง ขอ ง ต น ทุ น ค า โดยส าร และ คาใชจายในการบริหารตลอดอายุส ัมปทาน ตนทุนโครงการรถไฟฟารวมถึง คาธรรมเนียมการจัดการและคาที่ปรึกษา คาออกแบบ งานโครงส ร า ง ร ะ บบ ไฟฟาและเครื่อ งกลและอุปกรณร ถไฟฟาที่ซื้อ ระหวางอายุส ัมปทาน ดอกเบี้ยจายและคาใชจายทางการเงินอื่นที่ เกี่ยวขอ ง รวมถึง กําไรและขาดทุนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลี่ยนที่เกิดขึ้นกอ นการดําเนินงาน คาตัดจําหนายของตนทุนโครงการรถไฟฟาคํานวณจากราคาทุนของสินทรัพยโดยวิธีจํานวนผลผลิต ตามสู ต ร ดัง นี้ คาตัดจําหนายสําหรับป

=

ตนทุนโครงการรถไฟฟาสุทธิ x อัตราสวนผูโดยสารสําหรับป

ตนทุนโครงการรถไฟฟาสุทธิดัง กลาวหมายถึง ตนทุนโครงการรถไฟฟาหักคาตัดจําหนายสะสม อัตราสวนผูโดยสารสําหรับป

จํานวนผูโดยสารจริง สําหรับป

=

(จํานวนผูโดยสารจริง สําหรับป + ประมาณการ จํานวนผูโดยสารตลอดอายุที่เหลือ ของสัมปทาน) 11.3.8 อะไหลและคาตัดจําหนาย อะไหล - ระบบจัดเก็บคาโดยสารอัตโนมัติประกอบดวย ก) อะไหลส ิ้นเปลือ งแสดงมูลคาตามราคาทุน (วิธีถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก) หรือ มูลคาสุทธิที่จะไดร ับแลวแต ร าคา ใดจะต่ํากวา และจะถือ เปนสวนหนึ่ง ของตนทุนคาโดยสารตามจํานวนที่เบิกใชจริง ข) อะไหลเปลี่ยนแทนแสดงมูลคาตามราคาทุนหักคาตัดจําหนายสะสม คาตัดจําหนายของอะไหลเปลี่ยนแทน คํานวณจากราคาทุนของสินทรัพยโดยวิธีจํานวนผลผลิตเชนเดียวกับตนทุนโครงการรถไฟฟา บริษัทยอ ย บันทึกคาตัดจําหนายของอะไหลเปลี่ยนแทนเปนสวนหนึ่ง ของตนทุนคาโดยสารตลอดอายุส ัมปทาน อะไหล - รอสง มอบ ถือ เปนสวนหนึ่ง ของตนทุนโครงการรถไฟฟา ซึ่ง แสดงมูลคาตามราคาทุนหักคาตัดจําหนาย สะสม คาตัดจําหนายของอะไหล - รอสง มอบคํานวณจากร าคาทุ น ขอ ง สิ น ทรั พ ย โ ดยวิ ธี จํ า นวนผลผลิ ต เชนเดียวกับตนทุนโครงการรถไฟฟา บริษัทยอ ยบันทึกคาตัดจําหนายของอะไหล - รอสง มอ บ เป น ส ว นหนึ่ ง ของตนทุนคาโดยสารตลอดอายุส ัมปทาน สวนที่ 1 หนา 257


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

อะไหล - สัญญาซอ มบํารุง แสดงมูลคาตามราคาทุนตามจํานวนที่ร ะบุไวในสัญญาซอ มบํารุง บริษัทยอ ยจะบันทึก เปนสวนหนึ่ง ของตนทุนคาโดยสารตามจํานวนที่เบิกใชจริง ภายหลัง สัญญาซอ มบํารุง สิ้นสุดลง 11.3.9 อสังหาริมทรัพยเพื่อการลงทุน บริษัทฯ บันทึกมูลคาเริ่มแรกของอสัง หาริมทรัพยเพื่อ การลงทุนในร าคาทุ น ซึ่ ง ร วมต น ทุ น การ ทํ า ร ายการ หลัง จากนั้น บริษัทฯ จะบันทึกอสัง หาริมทรัพยเพื่อ การลงทุนดวยราคาทุนหักคาเสื่อ มราคาสะสมและคาเผื่อการ ดอ ยคา (ถามี) คาเสื่อ มราคาของอสัง หาริมทรัพยเพื่อ การลงทุนคํานวณจากราคาทุนโดยวิธีเสนตรงตามอายุการใหประโยชน โดยประมาณ ดัง นี้ สนามกอลฟและสิ่ง ปลูกสราง

5 - 30 ป

อาคารใหเชา

20 ป

หอ งพักอาศัยใหเชา

ตามอายุส ัญญาเชา

คาเสื่อ มราคาของอสัง หาริมทรัพยเพื่อ การลงทุนรวมอยูในการคํานวณผลการดําเนินงาน ไมมีการคิดคาเสื่อ มราคาสําหรับที่ดินรอการขาย บริษัทฯ รับรูผลตางระหวางจํานวนเงินที่ไดร ับสุทธิจากการจําหนายกับมูลคาตามบัญชีของสินทรัพยในสวนของ กําไรหรือ ขาดทุนในงวดที่ตัดรายการอสัง หาริมทรัพยเพื่อ การลงทุนออกจากบัญชี 11.3.10 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ และคาเสื่อมราคา ที่ดินแสดงมูลคาตามราคาที่ตีใหม อาคารและอุปกรณแสดงมูลคาตามราคาทุนหักคาเสื่อ มร าคาส ะ ส ม และ คาเผื่อ การดอ ยคาของสินทรัพย (ถามี) บริษัทฯ บันทึกมูลคาเริ่มแรกของที่ดินในราคาทุน ณ วันที่ไดส ินทรัพยมา หลัง จากนั้ น บริ ษั ท ฯ จั ด ให มี ก าร ประเมินราคาที่ดิน โดยผูประเมินราคาอิส ระและบันทึกสินทรัพยดัง กลาวในราคาที่ตีใหม ทั้ง นี้บริษัทฯ จัดให มี การประเมินราคาสินทรัพยดัง กลาวเปนครั้ง คราวเพื่อ มิใหร าคาตามบัญชี ณ วันสิ้นรอบระ ยะ เวลาร ายง าน แตกตางจากมูลคายุติธรรมอยางมีส าระสําคัญ บริษัทฯ บันทึกสวนตางซึ่ง เกิดจากการตีร าคาสินทรัพยดัง ตอ ไปนี้ -

บริษัทฯ บันทึกราคาตามบัญชีของสินทรัพยที่เพิ่มขึ้นจากการตีร าคาใหมในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่นและ รับรูจํานวนสะสมในบัญชี “สวนเกินทุนจากการตีร าคาสินทรัพย” ในสวนของผูถือ หุน อยางไรก็ตาม หาก สินทรัพยนั้นเคยมีการตีร าคาลดลงและบริษัทฯ ไดร ับรูร าคาที่ลดลงในสวนของกําไรหรือ ขาดทุนแลว สวน ที่เพิ่มจากการตีร าคาใหมนี้จะถูกรับรูเปนรายไดไมเกินจํานวนที่เคยลดลงซึ่ง รับรูเปนคาใชจายปกอ นแลว

-

บริษัทฯ รับรูร าคาตามบัญชีของสินทรัพยที่ลดลงจากการตีร าคาใหมในสวนของกําไรหรือ ขาดทุน อยางไร ก็ตาม หากสินทรัพยนั้นเคยมีการตีร าคาเพิ่มขึ้นและยัง มียอดคงคางของบั ญ ชี “ส ว นเกิ น ทุ น จากการ สวนที่ 1 หนา 258


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ตีร าคาสินทรัพย” อยูในสวนของผูถือ หุน สวนที่ลดลงจากการตีร าคาใหม จ ะ ถู ก รั บ รู ใ นกํ า ไร ขาดทุ น เบ็ดเสร็จอื่นในจํานวนที่ไมเกินยอดคงเหลือ ของบัญชี “สวนเกินทุนจากการตีร าคาสินทรัพย” คาเสื่อ มราคาของอาคารและอุปกรณคํานวณจากราคาทุนของสินทรัพ ย โ ดยวิ ธี เ ส น ตร ง ตามอ ายุ ก าร ให ประโยชนโดยประมาณดัง นี้ รถไฟฟา

30 ป ตามอายุส ัญญาการใหบริการเดินรถและซอ มบํารุง

อาคารและสวนปรับปรุง

5 - 30 ป

สวนปรับปรุง อาคารเชา

5 ป หรือ ตามอายุส ัญญาเชา แลวแตร ะยะเวลาใดจะต่ํากวา

ตนทุนพัฒนาสนามกอลฟ

5 - 30 ป

เครื่อ งตกแตง และเครื่องใชส ํานักงาน

3 - 10 ป

เครื่อ งจักรและอุปกรณ

3 - 10 ป

ยานพาหนะ

5 ป

คาเสื่อ มราคารวมอยูในการคํานวณผลการดําเนินงาน ไมมีการคิดคาเสื่อ มราคาสําหรับที่ดินและงานระหวางกอ สราง บริษัทฯ ตัดรายการที่ดิน อาคาร และอุปกรณ ออกจากบัญชี เมื่อ จําหนายสินทรัพยหรือ คาดว า จะ ไม ไ ด ร ั บ ประโยชนเชิง เศรษฐกิจในอนาคตจากการใชหรือ การจําหนายสินทรัพย รายการผลกําไรหรือ ขาดทุนจากการ จําหนายสินทรัพย จะรับรูในสวนของกําไรหรือ ขาดทุนเมื่อ บริษัทฯ ตัดรายการสินทรัพยนั้นออกจากบัญชี 11.3.11 สิทธิการเชาและคาตัดจําหนาย สิทธิการเชาแสดงตามราคาทุนหักคาตัดจําหนายสะสมและคาเผื่อ การดอ ยคาของสินทรัพย (ถามี) คาตัดจําหนาย ของสิทธิการเชาคํานวณจากราคาทุนของสิทธิการเชาโดยใชวิธีเสนตรงตามอายุส ัญญาเชา คาตัดจําหนายรวมอยูในการคํานวณผลการดําเนินงาน 11.3.12 สินทรัพยไมมีตัวตน บริษัทฯ บันทึกตนทุนเริ่มแรกของสินทรัพยไมมีตัวตนที่ไดมาจากการ ร วมธุ ร กิ จ ตามมู ล ค า ยุ ติ ธ ร ร มขอ ง สินทรัพยนั้น ณ วันที่ซื้อ ธุร กิจ สวนสินทรัพยไมมีตัวตนที่ไดมาจากการอื่น บริษัทฯ จะ บั น ทึ ก ต น ทุ น เริ่ ม แร ก ของสินทรัพยนั้นตามราคาทุน ภายหลัง การรับรูร ายการเริ่มแรก สินทรัพยไมมีตัวตนแสดงมูลคาตามราคาทุน หักคาตัดจําหนายสะสมและคาเผื่อ การดอ ยคาสะสม (ถามี) ของสินทรัพยนั้น บริษัทฯ ตัดจําหนายสินทรัพยไมมีตัวตนที่มีอ ายุการใหประโยชนจํากัดอยางมีร ะบบตลอดอายุการใหประโยชน เชิง เศรษฐกิจของสินทรัพยนั้น และจะประเมินการดอ ยคาของสินทรัพยดัง กลาวเมื่อ มีขอ บง ชี้วาสินทรัพย นั้ น สวนที่ 1 หนา 259


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

เกิดการดอ ยคา บริษัทฯ จะทบทวนระยะเวลาการตัดจําหนายและวิธีการตัดจําหนายของสินทรัพยไมมีตั ว ตน ดัง กลาวทุกสิ้นปเปนอยางนอ ย คาตัดจําหนายรับรูเปนคาใชจายในสวนของกําไรหรือ ขาดทุน สินทรัพยไมมีตัวตนที่มีอ ายุการใหประโยชนจํากัดของบริษัทฯ คือ โปรแกรมคอมพิวเตอร โดยมีอ ายุ ก าร ให ประโยชน 3 ป ไมมีการคิดคาตัดจําหนายสําหรับสินทรัพยไมมีตัวตนที่กาํ ลัง พัฒนา 11.3.13 คาความนิยม บริษัทฯ บันทึกมูลคาเริ่มแรกของคาความนิยมในราคาทุน ซึ่ง เทากับตนทุนการรวมธุร กิจสวนที่ส ูง กว า มู ล ค า ยุติธรรมของสินทรัพยส ุทธิที่ไดมา หากมูลคายุติธรรมของสินทรัพยส ุทธิที่ไดมาสูง กวาตนทุนการ ร วมธุ ร กิ จ บริษัทฯ จะรับรูส วนที่ส ูง กวานี้เปนกําไรในสวนของกําไรหรือ ขาดทุนทันที บริษัทฯ แสดงคาความนิยมตามราคาทุนหักคาเผื่อ การดอ ยคาสะสมและจะทดสอบการดอ ยคาของคา ความ นิยมทุกปหรือ เมื่อ ใดก็ตามที่มีขอ บง ชี้ของการดอ ยคาเกิดขึ้น เพื่อ วัตถุประสงคในการทดสอบการดอ ยคา บริษัทฯ จะปนสวนคาความนิยมที่เกิดขึ้นจากการรวมกิจการใหกบั หนวยสินทรัพยที่กอ ใหเกิดเงินสด (หรือ กลุมของหนวยสิ น ทรั พ ย ที่ ก อ ให เ กิ ด เงิ น ส ด) ที่ ค าดว า จะ ได ร ั บ ประโยชนเพิ่มขึ้นจากการรวมกิจการ และบริษัทฯ จะทําการประเมินมูลคาที่คาดวาจะไดร ับคืนของหนวยขอ ง สินทรัพยที่กอ ใหเกิดเงินสดแตละรายการ (หรือ กลุมของหนวยของสินทรัพยที่กอ ใหเกิดเงินสด) หากมู ล ค า ที่ คาดวาจะไดร ับคืนของหนวยของสินทรัพยที่กอ ใหเกิดเงินสดต่ํากวามูลคาตามบัญชี บริษัทฯ จะรั บ รู ข าดทุ น จากการดอ ยคาในสวนของกําไรหรือ ขาดทุน และบริษัทฯ ไมส ามารถกลับบัญชีขาดทุนจากการดอ ยคา ได ใ น อนาคต 11.3.14 ตนทุนการกูยืม ตนทุนการกูยืมของเงินกูที่ใชในการไดมา การกอ สราง หรือ การผลิตสินทรัพยที่ตอ งใชร ะยะเวลานานในการ แปลงสภาพใหพรอ มใชหรือ ขาย ไดถูกนําไปรวมเปนราคาทุนของสินทรัพยจนกวาสินทรัพยนั้นจะอยูในสภาพ พรอ มที่จะใชไดตามที่มุง ประสงค สวนตนทุนการกูยืมอื่นถือ เปนคาใชจายในงวดที่เกิดรายการ ตนทุนการกูย มื ประกอบดวยดอกเบี้ยและตนทุนอื่นที่เกิดขึ้นจากการกูยืมนั้น 11.3.15 การดอยคาของสินทรัพย ทุกวันสิ้นรอบระยะเวลารายงาน บริษัทฯ จะทําการประเมินการดอ ยคาของที่ดิน อ าคาร และ อุ ป กร ณ ข อ ง บริษัทฯ หากมีขอ บง ชี้วาสินทรัพยดัง กลาวอาจดอ ยคา บริษัทฯ รับรูขาดทุนจากการดอ ยคาเมื่อ มูลคาที่คาดวา จะไดร ับคืนของสินทรัพยมีมูลคาต่ํากวามูลคาตามบัญชีของสินทรัพยนั้น ทั้ ง นี้ มู ล ค า ที่ ค าดว า จะ ได ร ั บ คื น หมายถึง มูลคายุติธรรมหักตนทุนในการขายของสินทรัพยหรือ มูลคาจากการใชส ินทรัพยแลวแตร าคาใดจะสูง กวา ในการประเมินมูลคาจากการใชส ินทรัพย บริษัทฯ ประมาณการกระแสเงินสดในอนาคตที่กิจการคาดว า จะไดร ับจากสินทรัพยและคํานวณคิดลดเปนมูลคาปจจุบันโดยใชอ ัตราคิดลดกอ นภาษีที่ส ะทอ นถึง การประเมิน ความเสี่ยงในสภาพตลาดปจจุบันของเงินสดตามระยะเวลาและความเสี่ยงซึ่ง เปนลักษณะเฉพาะของสินทรัพย ที่กําลัง พิจารณาอยู ในการประเมินมูลคายุติธรรมหักตนทุนในการขาย บริษัทฯ ใชแบบจํา ลอ ง การ ปร ะ เมิ น มูลคาที่ดีที่ส ุดซึ่ง เหมาะสมกับสินทรัพย ซึ่ง สะทอ นถึง จํานวนเงินที่กิจการสามารถจะไดมาจากการ จํ า หน า ย สวนที่ 1 หนา 260


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

สินทรัพยหักดวยตนทุนในการจําหนาย โดยการจําหนายนั้นผูซื้อ กับผูขายมีความร อ บรู แ ละ เต็ ม ใจในการ แลกเปลี่ยนและสามารถตอ รองราคากันไดอ ยางเปนอิส ระในลักษณะของผูที่ไมมีความเกี่ยวขอ งกัน บริษัทฯ จะรับรูร ายการขาดทุนจากการดอ ยคาในสวนของกําไรหรือ ขาดทุน หากในการประเมินการดอ ยคาของสินทรัพย มีขอ บง ชี้ที่แสดงใหเห็นวาผลขาดทุนจากการดอยคาของสินทรัพยที่ รับรูในงวดกอ นไดหมดไปหรือ ลดลง บริษัทฯ จะประมาณมูลคาที่คาดวาจะไดร ับคืนของสินทรัพยนั้น และจะกลับ รายการผลขาดทุนจากการดอ ยคาที่ร ับรูในงวดกอ นก็ตอ เมื่อ มีการเปลี่ยนแปลงประมาณการที่ใชกําหนดมูลคาที่ คาดวาจะไดร ับคืนภายหลัง จากการรับรูผลขาดทุนจากการดอ ยคาครั้ง ลาสุด โดยมูลคาตามบัญชีของสินทรัพยที่ เพิ่มขึ้นจากการกลับรายการผลขาดทุนจากการดอ ยคาตอ งไมส ูง กวามูลคาตามบัญชีที่ควรจะเปนหากกิจการไม เคยรับรูผลขาดทุนจากการดอ ยคาของสินทรัพยในงวดกอ นๆ บริษัทฯ จะบันทึกกลับรายการผลขาดทุนจากการ ดอ ยคาของสินทรัพยโดยรับรูไปยัง สวนของกําไรหรือ ขาดทุนทันที เวนแตส ินทรัพยนั้นแสดงดวยราคาที่ตีใหม การกลับรายการสวนที่เกินกวามูลคาตามบัญชีที่ควรจะเปนถือ เปนการตีร าคาสินทรัพยเพิ่ม 11.3.16 หุนกูแปลงสภาพ หุนกูแปลงสภาพแสดงองคประกอบที่เปนหนี้ส ินและทุนแยกจากกันในงบแสดงฐานะการเงิน บริษัทฯ ได แ ยก แสดงองคประกอบดัง กลาว โดยกําหนดราคาตามบัญชีของหนี้ส ินจากการคํานวณจากกระแสเงินสดของเงินตน และดอกเบี้ยและคาธรรมเนียมที่ตอ งจายในอนาคตคิดลดดวยอัตราดอกเบี้ยในตลาดที่เปนอยูในขณะนั้น และ กําหนดราคาตามบัญชีของตราสารทุน โดยหักราคาตามบัญชีของหนี้ส ินจากมูลคาทั้ง สิ้นของหุนกูแปลงสภาพ ผลตางระหวางราคาตามบัญชีของหนี้ส ินดัง กลาวขางตนและมูลคาหนาตั๋วของหุนกูแปลงสภาพจะตัดจําหนาย ตามอายุของหุนกูแปลงสภาพ 11.3.17 ประมาณการหนี้สิน บริษัทฯ จะบันทึกประมาณการหนี้ส ินไวในบัญชีเมื่อ ภาระผูกพันซึ่ง เปนผลมาจากเหตุการณในอดีตไดเกิดขึน้ แลว และมีความเปนไปไดคอ นขางแนนอนวาบริษัทฯ จะเสียทรัพยากรเชิง เศรษฐกิจไปเพื่อ ปลดเปลื้อ งภาระผูกพันนัน้ และบริษัทฯ สามารถประมาณมูลคาภาระผูกพันนั้นไดอ ยางนาเชื่อ ถือ 11.3.18 การจายโดยใชหุนเปนเกณฑที่ชําระดวยตราสารทุน บริษัทฯ บันทึกโครงการจายโดยใชหุนเปนเกณฑ ณ วันใหส ิทธิ ตามมูลคายุติธรรมของสิทธิซื้อ หุน โดยบันทึ ก เปนคาใชจายตามอายุของสิทธิซื้อ หุน และแสดงบัญชีส วนทุนจากการจายโดยใชหุนเปน เกณฑ ใ นส ว นขอ ง ผูถือ หุน ในการประมาณมูลคายุติธรรมของการจายโดยใชหุนเปนเกณฑดัง กลาว ตอ งใชดุลพินิจในการวัดมูลคารวมทัง้ สมมติฐานตางๆ ที่เหมาะสม เชน อายุของสิทธิซื้อ หุน ความผันผวนของราคาหุน และอัตราเงินปนผล เปนตน 11.3.19 สัญญาเชาระยะยาว สัญญาเชาที่ดิน อาคาร และอุปกรณที่ความเสี่ยงและผลตอบแทนของความเปนเจาของ ส ว นใหญ ไ ด โ อ นไป ใหกับผูเชาถือ เปนสัญญาเชาการเงิน สัญญาเชาการเงินจะบันทึกเปนรายจายฝายทุนดวยมูลคายุติธรรมขอ ง สินทรัพยที่เชาหรือ มูลคาปจจุบันสุทธิของจํานวนเงินที่ตอ งจายตามสัญญาเชาแลวแตมูลคาใดจะต่ํากวา ภาระ สวนที่ 1 หนา 261


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ผูกพันตามสัญญาเชาหักคาใชจายทางการเงินจะบันทึกเปนหนี้ส ินระยะยาว สวนดอกเบี้ยจายจะบันทึกในสวน ของกําไรหรือ ขาดทุนตลอดอายุของสัญญาเชา สินทรัพยที่ไดมาตามสัญญาเชาการเงินจะคิดคาเสื่อ มร าคา ตลอดอายุการใชง านของสินทรัพยที่เชา จํานวนเงินที่จายตามสัญญาเชาดําเนินงานรับรูเปนคาใชจายในสวนของกําไรหรือ ขาดทุนตามวิธีเสนตรงตลอด อายุของสัญญาเชา 11.3.20 รายการธุรกิจกับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวของกัน บุคคลหรือ กิจการที่เกี่ยวขอ งกันกับบริษัทฯ หมายถึง บุคคลหรือ กิจการที่มีอ ํานาจควบคุ ม บริ ษั ท ฯ หรื อ ถู ก บริษัทฯ ควบคุมไมวาจะเปนโดยทางตรงหรือ ทางออ ม หรือ อยูภ ายใตการควบคุมเดียวกันกับบริษัทฯ นอกจากนี้ บุคคลหรือ กิจการที่เกี่ยวขอ งกันยัง หมายรวมถึง บริษัทรวมและบุคคลที่มีส ิทธิอ อกเสียงโดยทางตรง หรือ ทางออ มซึ่ง ทําใหมีอ ิทธิพลอยางเปนสาระสําคัญตอ บริษัทฯ ผูบริหารสําคัญ กรรมการหรือ พนักงานขอ ง บริษัทฯ ที่มีอ ํานาจในการวางแผนและควบคุมการดําเนินงานของบริษัทฯ 11.3.21 เงินตราตางประเทศ รายการที่เปนเงินตราตางประเทศแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอ ัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ สินทรัพย และหนี้ส ินที่เปนตัวเงินซึ่ง อยูในสกุลเงินตราตางประเทศไดแปลงคาเปนเงินบาทโดยใชอ ัตราแลกเปลี่ยน ณ วัน สิ้นรอบระยะเวลารายงาน กําไรและขาดทุนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในอัตราแลกเปลี่ยนไดร วมอยูในการคํานวณผลการดําเนินงาน 11.3.22 สัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย (Interest Rate Swap agreements) บริษัทยอ ยจะรับรูจํานวนสุทธิของดอกเบี้ยที่ไดร ับจาก/จายใหแกคูส ัญญาตามสัญญาแลกเปลี่ยนอัตราดอกเบีย้ เปนรายได/ คาใชจายตามเกณฑคงคาง ความเสี่ยงที่เกี่ยวขอ งกับอัตราดอกเบี้ยและนโยบายการบริหารความเสี่ยงสํา หรั บ เครื่ อ ง มื อ ทาง การ เงิ น ดัง กลาวของบริษัทยอ ยไดกลาวไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 48.1 11.3.23 กําไรจากการปรับโครงสรางหนี้ที่มีปญหา บริษัทฯ ถือ ปฏิบัติตามนโยบายการบัญชีส ําหรับการปรับโครงสรางหนี้ที่มีปญหา โดยในกรณีการโอนสินทรัพย เพื่อ ชําระหนี้ บริษัทฯ จะบันทึกผลตางราคาตามบัญชีของหนี้ที่เกินกวามูลคายุติธรรมของสินทรัพยที่โอน เปน กําไรจากการปรับโครงสรางหนี้และบันทึกผลตางระหวางมูลคายุติธรรมกับราคาตามบัญชีของสินทรัพยที่โอน เปนกําไรหรือ ขาดทุนจากการโอนสินทรัพย ในกรณีที่เจาหนี้ลดหนี้ให บริษัทฯ บันทึกจํานวนหนี้ที่ ไ ด ร ั บ การ ลดหนี้ เ ฉพาะ ส ว นที่ เ กิ น กว า จํ า นวนขอ ง ดอกเบี้ยที่ตอ งจายทั้ง หมดตลอดอายุตามสัญญาใหมเปนกําไรจากการปรับโครงสรางหนี้

สวนที่ 1 หนา 262


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

11.3.24 ผลประโยชนพนักงาน ผลประโยชนระยะสั้นของพนักงาน บริษัทฯ รับรู เงินเดือ น คาจาง โบนัส และเงินสมทบกองทุนประกันสัง คมเปนคาใชจายเมื่อ เกิดรายการ ผลประโยชนหลังออกจากงานของพนักงาน โครงการสมทบเงิน บริษัทฯ และพนักงานไดร วมกันจัดตั้ง กองทุนสํารองเลี้ยงชีพ ซึ่ง ประกอบดวยเงินที่พนักงานจายสะสมและเงิน ที่บริษัทฯ จายสมทบใหเปนรายเดือ น สินทรัพยของกองทุนสํารองเลี้ยงชีพไดแ ยกอ อ กจากสิ น ทรั พ ย ข อ ง บริษัทฯ เงินที่บริษัทฯ จายสมทบกองทุนสํารองเลี้ยงชีพบันทึกเปนคาใชจายในปที่เกิดรายการ โครงการผลประโยชนหลัง ออกจากงาน บริษัทฯ มีภ าระสําหรับเงินชดเชยที่ตอ งจายใหแกพนักงานเมื่อ ออกจากงานตามกฎหมายแรงงาน ซึ่ง บริษัทฯ ถือ วาเงินชดเชยดัง กลาวเปนโครงการผลประโยชนหลัง ออกจากงานสําหรับพนักงาน บริษัทฯ คํานวณหนี้ส ินตามโครงการผลประโยชนหลัง ออกจากงานของพนักงาน โดยใชวิธีคิดลดแตละหนวยที่ ประมาณการไว (Projected Unit Credit Method) โดยผูเชี่ยวชาญอิส ระไดทําการประเมินภาระผูกพันดังกลาว ตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย ผลกําไรหรือ ขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตรประกันภัย สําหรับโครงการผลประโยชนหลัง ออกจากงานของพนักงานจะรับรูทันทีในกําไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ในการปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 19 เรื่อ ง ผลประโยชนของพนักงาน เปนครั้ง แร กในร ะ หว า ง ป สิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2555 บริษัทฯ เลือ กรับรูหนี้ส ินในชวงการเปลี่ยนแปลงที่มากกวาหนี้ ส ิ น ที่ ร ั บ รู ณ วั น เดียวกันตามนโยบายการบัญชีเดิม โดยวิธีปรับยอ นหลัง เสมือ นวาไดบันทึกคาใชจายผลประ โยชน พ นั ก ง าน ตามมาตรฐานการบัญชีฉบับนี้มาโดยตลอด 11.3.25 ภาษีเงินได บริษัทฯ บันทึกภาษีเงินไดตามจํานวนที่คาดวาจะจายใหกับหนวยงานจัดเก็บภาษีข อ ง รั ฐ โดยคํ า นวณจาก กําไรทางภาษีตามหลักเกณฑที่กําหนดในกฎหมายภาษีอ ากร

สวนที่ 1 หนา 263


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

11.4

แบบ 56-1 ป 2555/56

คาตอบแทนของผูสอบบัญชี 11.4.1 คาตอบแทนจากการสอบบัญชี (Audit Fee)

บริษัทฯ และบริษัทยอ ย 24 บริษัท ไดจายคาตอบแทนการตรวจสอบและสอบทานงบการเงิ น สํ า หรั บ ป บั ญ ชี สิ้นสุด 31 มีนาคม 2556 ใหแก บริษัท สํานักงาน เอินสท แอนด ยัง จํากัด เปนจํานวนรวมทั้ง สิ้น 11.5 ล า นบาท และ วี จี ไอ แอดเวอรไทซิ่ง ไชนา คอมพานี ลิมิเต็ด (VGI Advertising China Co., Ltd.) ซึ่ ง เป น บริ ษั ท ย อ ยที่ จั ด ตั้ ง ใน ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ไดจายคาตอบแทนการตรวจสอบและสอบทานงบการเงินสําหรับปบัญชีส ิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2556 ใหแก BDO China Shu Lun Pan CPAs Ltd ผูส อบบัญชีเปนจํานวนเงิน 0.7 ลานบาท ทั้ง นี้ ผูส อบบั ญ ชี ทั้ง สองรายไมมีส วนเกี่ยวขอ งกับบริษัทฯ ในดานอื่นๆ นอกจากการสอบบัญชีเทานั้น 11.4.2 คาบริการอื่น (Non Audit Fee) - ไมมี -

สวนที่ 1 หนา 264


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

12.

แบบ 56-1 ป 2555/56

ขอมูลอื่นที่เกี่ ยวของ

สรุปสาระสําคัญของสั ญญาตางๆ เปนดังนี้ 1. สัญญาสัมปทานระบบขนสงมวลชนกรุงเทพมหานคร ระหวาง บีทีเอสซี และ กรุงเทพมหานคร (กทม.) ฉบับลงวันที่ 9 เมษายน 2535 และแกไขเพิ่มเติมเมื่อวันที่ 25 มกราคม 2538 และวันที่ 28 มิถุนายน 2538 บีทีเอสซีเปนผูอ อกแบบ กอ สราง ดําเนินงาน และบํารุง รักษาระบบ เปนระยะเวลา 30 ป หลัง จากที่ร ะบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลักเริ่มดําเนินงานในเชิง พาณิชย ซึ่ง ภายใตเงื่อ นไขของสัญญา บีทีเอสซีมีส ิทธิไดร ับรายไดจาก กิจการที่เกี่ยวเนื่อ งกับระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลัก อันรวมถึง การโฆษณา การใหส ิทธิ และการเก็บ คาโดยสารในระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลัก เปนระยะเวลา 30 ป นับแตวั นแรกที่ร ะบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลักเริ่มประกอบดําเนินงานในเชิง พาณิชย สิทธิและหนาที่ : การดําเนินงานและการบํารุง รักษา (Operation and Maintenance) บีทีเอสซีจะเปนผูประกอบการ และบํารุง รักษาระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลักตลอดระยะเวลาที่ไดร ับสัมปทานใน ของ บีทีเอสซีตาม การดําเนินงานของบีทีเอสซี หากปริมาณผูใชบริการมีมากเกินกวาความสามารถของระบบ สัญญา รถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลัก บีทีเอสซีส ามารถขยายการลงทุนไดอ ีก แตหาก ความสามารถของระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลักสูง กวาปริมาณผูใชบริการบีทีเอสซี อาจลดความถี่ของการใหบริการรถไฟฟาไดโดยตองแจง ใหกทม. ทราบกอ น และหากเปนการ ขยายการใหบริการของระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลักโดยความตอ งการของกทม. บีทีเอสซีจะไดร ับผลตอบแทนซึ่ง เปนที่ยอมรับกันทั้ง จากกทม. และบี ทีเอสซี บีทีเอสซีมีส ิทธิที่จะกําหนดกฎระเบียบในการดําเนินงานได ขณะที่กทม. มีส ิทธิกําหนดกฎระเบียบ เกี่ยวกับความปลอดภัยและสิ่ง แวดลอ มของระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลัก แตหาก กฎระเบียบดัง กลาวมีผลกระทบทางลบตอ บีทีเอสซี เชน สถานะทางการเงินของบีทีเอสซี หรือ ทํา ใหบีทีเอสซีตอ งลงทุนเพิ่มขึ้น กทม. จะตอ งไดร ับความเห็นชอบจากบีทีเอสซีกอ น การโอนกรรมสิทธิ์ (Transfer of Rights) แบง ออกเปน 2 สวน คือ 

อสัง หาริมทรัพยที่เกิดจากการกอสรางหรือ งานโครงสราง (Civil Works) จะโอนในลักษณะ BTO (Build Transfer and Operate) คือ บีทีเอสซีจะตอ งโอนกรรมสิทธิ์เปนของกทม. เมื่อ การ กอ สรางเสร็จสมบูร ณ

ระบบไฟฟาและเครื่อ งกล (Electrical and Mechanical Works) ซึ่ง รวมถึง ขบวนรถไฟฟา จะโอนในลักษณะ BOT (Build Operate and Transfer) คือ บีทีเอสซีจะโอนกรรมสิทธิ์เปนของ กทม. เมื่อ สัมปทานสิ้นสุดลง

สถานภาพของบีทีเอสซี (Status of the Company) 

กลุมธนายงจะตอ งถือ หุนบีทีเอสซีไมต่ํากวารอยละ 51 ของหุนทั้ง หมด ตั้ง แตวันที่ บีทีเอสซีไดร ับสัมปทานจนกระทั่ง วันที่ร ถไฟฟาบีทีเอสเปดใหบริการเชิง พาณิชย และหลัง จาก ระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลักเปดใหบริการเชิง พาณิชย บีทีเอสซีจะดําเนินการ ใหหุนของบีทีเอสซีถือ โดยประชาชนและเปนบุคคลสัญชาติไทยไมต่ํากวารอ ยละ 51 ของ หุนทั้ง หมด

สวนที่ 1 หนา 265


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

สิทธิและหนาที่ : กทม. เปนผูร ับผิดชอบในการจัดหาที่ดินที่ใชในการกอ สรางใหแกบีทีเอสซี โดยบีทีเอสซีไดร ับ ของกทม. ตาม อนุญาตเปนการเฉพาะใหใชที่ดินเพื่อ กอสรางและดําเนินงาน สําหรับการเคลื่อ นยาย สัญญา สาธารณูปโภคที่เกี่ยวขอ งกับพื้นที่กอ สรางทั้ง หมด (ยกเวนสวนอนุส าวรียชัยสมรภูมิถึง สถานี ขนสง ตลาดหมอชิต) บีทีเอสซีจะเปนผูร ับผิดชอบภายในวงเงินไมเกิน 500 ลานบาท คาใชจาย สวนเกินจากจํานวนนี้ กทม.จะเปนผูร ับภาระ สําหรับพื้นที่กอ สรางสวนอนุสาวรียชยั สมรภูมิถึง สถานีขนสง ตลาดหมอชิต บีทีเอสซีจะเปนผูร ับผิดชอบคาใชจายในการเคลื่อ นยายสาธารณูปโภค รวมทั้ง บีทีเอสซีมีส ิทธิที่จะใชส ิ่ง ปลูกสรางที่เกิดขึ้นบนพื้นที่นี้ ไมวาจะสําหรับระบบหรือ เพื่อ วัตถุประสงคอ ื่นทางพาณิชย หากบีทีเอสซีมีขอ ผูกพันกับบุคคลภายนอกเปนระยะเวลาเกินอายุ สัมปทาน บีทีเอสซีจะตอ งขออนุมัติจากกทม. กอ น กทม. จะประสานงานใหบีทีเอสซีไดซื้อ ไฟฟา จากการไฟฟานครหลวงในราคาที่ไมสงู เกินกวาราคาที่การไฟฟานครหลวงขายใหแกบริษัท อุตสาหกรรมขนาดใหญ หรือ หากบีทีเอสซีตองการตัง้ สถานีผลิตไฟฟาเอง กทม. จะใหความ สะดวกแกบีทีเอสซีในขอบเขตเทาที่กทม. มีอ ํานาจกระทําได โดยการอนุญาตใหบีทีเอสซีจัดตั้ง สถานีผลิตไฟฟาดัง กลาวไดในกทม. อัตราคา โดยสาร

: การเก็บคาโดยสาร จะเรียกเก็บจากผูโดยสารสําหรับการเขาออกระบบตอ หนึ่ง ครัง้ รวมทั้งสิทธิผาน ออกเพือ่ ตอ เปลี่ยนสายทางระหวางสายสีลมและสายสุขุมวิท (คาโดยสารที่เรียกเก็บได (Effectiv e Fare)) บีทีเอสซีอ าจปรับเพดานอัตราคาโดยสารที่อ าจเรียกเก็บไดเปนคราวๆ ไป โดยคาโดยสารที่ เรียกเก็บจะตอ งไมเกินกวาเพดานอัตราคาโดยสารสูง สุดทีอ่ าจเรียกเก็บได (Authorized Fare) ที่มี ผลใชบัง คับอยูใ นขณะนั้น บีทีเอสซีอ าจปรับคาโดยสารที่เรียกเก็บไดไมเกิน 1 ครั้ง ในทุกระยะเวลา 18 เดือ น (เวนแตกทม. ยินยอมใหปรับไดบอ ยกวานั้น) และบีทีเอสซีจะตองแจง ใหกทม. และ ประชาชนทั่วไปทราบถึง คาโดยสารที่เรียกเก็บใหมลวงหนาอยางนอย 30 วัน ทั้ง นี้ บีทีเอสซีอ าจ ปรับเพดานอัตราคาโดยสารสูง สุดที่อ าจเรียกเก็บไดใน 2 กรณี ไดแก การปรับปกติ และการปรับ กรณีพเิ ศษ 

การปรับปกติ สามารถปรับไดในกรณีที่ดัชนีร าคาผูบริโภคชุดทั่วไปประจําเดือ นของกรุง เทพฯ (Bangkok Consumer Price Index) (“ดัชนี”) (จากการสํารวจโดยกระทรวงพาณิชย) เมื่อ เทียบ กับดัชนีอ างอิง ยอ นหลัง ไมนอ ยกวา 12 เดือ น สูงขึ้นเทากับหรือ มากกวารอ ยละ 5 บีทีเอสซีจะ สามารถปรับเพดานอัตราคาโดยสารสูง สุดที่อาจเรียกเก็บไดเพิ่มขึ้นไมเกินรอ ยละ 7 (ดัชนี อางอิง หมายถึง ดัชนีที่ใชในการปรับเพดานอัตราคาโดยสารสูง สุดที่อ าจเรียกเก็บไดครัง้ หลัง สุด) โดยบีทีเอสซีจะแจง ให กทม. ทราบถึง การปรับดัง กลาว หากกทม. ไมไดโตแยง การ ปรับเพดานอัตราคาโดยสารสูงสุดที่อ าจเรียกเก็บไดดัง กลาวเปนหนัง สือ ภายใน 30 วัน นับแต วันที่บี ทีเอสซีแจง ใหถือ วากทม. เปนอันตกลงดวยกับการปรับดัง กลาว อยางไรก็ตาม หาก กทม. และบีทีเอสซีไมส ามารถตกลงกันได ใหเสนอปญหาดัง กลาวแกคณะกรรมการที่ปรึกษา (Advisory Committee) เพื่อ วินิจฉัย

การปรับกรณีพิเศษ เมื่อ เกิดเหตุการณดัง ตอ ไปนี้ o ดัชนีมีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นหรือ ลดลงเกินกวารอ ยละ 9 เมื่อ เทียบกับดัชนีอ างอิง ยอ นหลัง ไมนอ ยกวา 12 เดือ น o อัตราแลกเปลี่ยนระหวางสกุลเงินบาทและเงินเหรียญสหรัฐ สูง หรือ ต่าํ กวาอัตราแลกเปลี่ยน อางอิง เกินกวารอ ยละ 10 (อัตราแลกเปลี่ยนอางอิง หมายถึง อัตราแลกเปลี่ยนที่ธนาคาร สวนที่ 1 หนา 266


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

แหง ประเทศไทยประกาศที่ใชในการปรับเพดานอัตราคาโดยสารสูง สุดเทาที่เรียกเก็บได ครั้ง หลัง สุด ซึ่ง เทากับ 39.884 บาทตอ 1 เหรียญสหรัฐ) o อัตราดอกเบี้ยเงินกูเงินตราตางประเทศและในประเทศของบีทีเอสซี สูง หรือ ต่ํากวาอัตรา ดอกเบี้ยอางอิง เกินกวารอ ยละ 10 (อัตราดอกเบี้ยอางอิง หมายถึง อัตราดอกเบี้ยโดยเฉลี่ย ของอัตราดอกเบี้ยลูกคาชั้นดีของธนาคารกรุง เทพ ธนาคารกรุง ไทย ธนาคารกสิกรไทย และธนาคารไทยพาณิชย ที่ใชในการปรับเพดานอัตราคาโดยสารสูง สุดที่อ าจเรียกเก็บได ครั้ง หลัง สุด และอัตราดอกเบี้ยตางประเทศอางอิง หมายถึง อัตราดอกเบี้ยสําหรับการกูเงิน ระหวางธนาคารในตลาดเงินในกรุง ลอนดอน (LIBOR) ที่ใชในการปรับเพดานอัตรา คาโดยสารสูงสุดที่อ าจเรียกเก็บไดครัง้ หลัง สุด) o บีทีเอสซีตอ งรับภาระคาไฟฟาสูง ขึ้นหรือ ลดลงอยางมาก o บีทีเอสซีตอ งมีการลงทุนนอกเหนือ จากขอบเขตของงานที่กําหนดไว o บีทีเอสซีมีความเสี่ยงที่เปนกรณียกเวน (Exceptional Risk) การปรับเพดานอัตรา คาโดยสารสูงสุดที่อ าจเรียกเก็บไดในกรณีพิเศษนั้น คูส ัญญาจะตอ งเห็นชอบดวยกันทั้ง 2 ฝาย ถาไมส ามารถตกลงกันไดภายใน 30 วัน ใหเสนอไปยัง คณะกรรมการที่ปรึกษา (Advisory Committee) เปนผูตัดสิน ถาหากรัฐบาลมีนโยบายตรึง ราคา คาโดยสาร รัฐบาลจะจัดหามาตรการมาชดเชยตามความเหมาะสมแกส วนที่บีทีเอสซีตอ ง เสียหาย ในขณะที่ยัง ไมปรับคาโดยสารที่เรียกเก็บ คณะกรรมการ : บีทีเอสซี และกทม. จะตอ งจัดตัง้ คณะกรรมการที่ปรึกษา ประกอบดวย กรรมการจากบีทีเอสซี ที่ปรึกษา จํานวน 2 คน กรรมการจาก กทม. จํานวน 2 คน และกรรมการอิสระที่ไดร ับการแตง ตัง้ จาก (Advisory กรรมการทั้ง 4 คนดัง กลาวจํานวน 3 คน ซึ่ง คณะกรรมการที่ปรึกษานี้มีหนาที่ใหความเห็นเกี่ยวกับ Commit tee) การดําเนินงานเชิง พาณิชยของระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลัก พิจารณาการปรับ เพดานอัตราคาโดยสารสูงสุดในกรณีพิเศษ และหนาที่อ ื่นๆ ตามที่จะตกลงกันระหวาง กทม. และ บีทีเอสซี ภาษี (Taxation)

: กทม. จะเปนผูร ับผิดชอบภาระภาษีโรงเรือ นและภาษีที่ดินตามกฎหมายในสวนของระบบรถไฟฟา ขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลัก ยกเวนในสวนที่บีทีเอสซีใชในกิจการเชิง พาณิชยซึ่ง บีทีเอสซี จะตอ งรับผิดชอบ สวนบีทีเอสซีจะรับผิดชอบภาระอื่นๆ ไดแก ภาษีปายและภาษีอ ื่นๆ ในการ ประกอบการระบบขนสง มวลชนตามสัญญานี้

การประกันภัย : บีทีเอสซีจะตอ งจัดใหมีการประกันวินาศภัย ประเภท All Risks รวมถึง ประกันภัยเพือ่ ความรับผิด (Insurance) ตอ บุคคลที่ส าม (Third Party Liability) ภายใตเงื่อ นไขทํานองเดียวกับที่ผูประกอบกิจการแบบ เดียวกันในสิ่ง แวดลอ มเดียวกันเอาประกัน ซึ่ง บีทีเอสซีไดแตง ตั้ง ที่ปรึกษาทางดานการประกันภัย เพื่อ ใหคําปรึกษาเกี่ยวกับขอ เสนอเงือ่ นไขความคุมครองที่เหมาะสม กรรมสิทธิ์ และ : อสัง หาริมทรัพยที่กอสรางบนที่ดินของกทม. หรือ บนที่ดินที่กทม. จัดหามาใหหรือ สิ่ง ปลูกสรางจะ การโอน เปนกรรมสิทธิ์ของกทม. เมื่อ การกอ สรางเสร็จ ทั้ง นี้กทม. ตกลงใหบีทีเอสซีมีส ิทธิและหนาที่แต กรรมสิทธิ์ เพียงผูเดียวในการครอบครองและใชอ สัง หาริมทรัพยดงั กลาว สําหรับอุปกรณ (เชน รถไฟฟา (Ownership, ระบบควบคุม หรือ อะไหล) และเครื่อ งมือ ควบคุมที่ใชกับระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพ สายหลัก ระบบไฟฟาและเครื่องกลควบคุมตางๆ ซึ่ง ติดตั้ง บนอสัง หาริมทรัพยดัง กลาวจะตกเปน Transfer of สวนที่ 1 หนา 267


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

Ownership and Security)

แบบ 56-1 ป 2555/56

กรรมสิทธิ์ของกทม. เมื่อ สัญญาสัมปทานสิ้นสุดลง ในสวนของอุปกรณและเครื่อ งมือ ควบคุมที่ ติดตั้ง นอกบริเวณที่ดินของกทม. และเครื่อ งใชส ํานักงาน หาก กทม. แจง ความประสงคไปยัง บีทีเอสซี บีทีเอสซีจะโอนกรรมสิทธิ์ใหแกกทม. เมื่อ สัญญาสิ้นสุดลง เมื่อ สัญญาสิ้นสุดลง บีทีเอสซีจะโอนสิทธิและขอ ผูกพันใดๆ ที่มีกับเจาของทรัพยส ินที่ตอ เชือ่ มเขา กับระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลัก หรือ เจาของทรัพยส ินอื่นที่เกี่ยวขอ งกับระบบ รถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลัก รวมทั้ง สิทธิและขอ ผูกพันในซอฟตแวร ลิขสิทธิ์ และ สิทธิบัตรที่เปนของบีทีเอสซี หรือ บีทีเอสซีมีส ิทธิใชในระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสาย หลักใหแก กทม. ตราบเทาที่ยัง ไมมีการโอนกรรมสิทธิ์ บีทีเอสซียัง คงเปนเจาของกรรมสิทธิ์ในอุปกรณและทรัพยส ิน อื่นๆ นอกจากอสัง หาริมทรัพยที่กอสรางบนที่ดินกทม. หรือ ที่ดินที่กทม. จัดหามาให และมีส ิทธิใน การกอภาระติดพันและใชเปนหลักประกันกับเจาหนี้ได

เหตุการณที่ : บีทีเอสซีไมตอ งรับผิดชอบในความเสียหายใดๆ อันเกิดขึ้นเนื่อ งจากความเสี่ยงที่เปนขอ ยกเวน เปนความเสี่ยง เหตุการณที่เปนความเสี่ยงที่เปนขอ ยกเวน ไดแก ที่เปน  เหตุส ุดวิส ัยที่อ ยูนอกเหนือ ความควบคุมของบีทีเอสซี ที่ไมส ามารถเอาประกันภัยไดใ นราคา ขอ ยกเวน ปกติ (Exceptional  การชะงักงันอยางมีนัยสํา คัญในธุร กิจกอ สรา งภายในประเทศ หรือ อุตสาหกรรมวัส ดุกอ สราง Risks)  การกระทํา ของรัฐบาล ซึ่ง รวมถึง การเขา มาแทรกแซงโครงการโดยรัฐบาลโดยไมชอบ การเปลี่ยนเสนทางของโครงการ หรือ การใหบุคคลอื่นประกอบการขนสง มวลชนทับเสนทาง ของบีทีเอสซี ซึ่ง สง ผลกระทบอยางรายแรงตอ บีทีเอสซี 

ความลาชาอยางมากในการเคลื่อ นยายหรือ เปลี่ยนแปลงสิ่ง สาธารณูปโภค

ความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจอยางรุนแรงในประเทศไทย

การนัดหยุดงานอันไมเกี่ยวของกับบีทีเอสซี

สวนที่ 1 หนา 268


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

การเลิกสัญญา : กทม. มีส ิทธิบอกเลิกสัญญา ในกรณีดัง ตอ ไปนี้ 

บีทีเอสซีไมส ามารถดําเนินการทดสอบระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลักใหเสร็จ สิ้นไดภ ายในกําหนดเวลาของสัญญาสัมปทาน หรือ ตามกําหนดเวลาอื่นที่ตกลงกันติดตอ กันไม นอ ยกวา 2 ครั้ง และเปนที่ชัดแจง วาบีทีเอสซีไมส ามารถปฏิบัติตามสัญญาสัมปทานใหแลว เสร็จในเวลาที่กําหนดได

บีทีเอสซีถูกศาลสั่ง พิทักษทรัพยเด็ดขาดในคดีลมละลาย

บีทีเอสซีจงใจผิดสัญญาในสาระสําคัญอยางตอ เนื่องกอ นจะใชส ิทธิบอกเลิกสัญญา หากเปน กรณีที่แกไขไมได กทม. จะมีหนัง สือ ถึง บีทีเอสซี ลวงหนาไมนอ ยกวา 1 เดือ น หากเปนกรณีที่ แกไขได กทม. จะมีหนัง สือใหบีทีเอสซีแกไขภายในกําหนด เวลา แตตอ งไมนอ ยกวา 6 เดือ น ในกรณีฉุกเฉิน กทม. อาจรวมกับเจาหนี้ของบีทีเอสซีในการเขาดําเนินการระบบรถไฟฟา ขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลักเปนการชั่วคราว และหากบีทีเอสซีไมส ามารถแกไขไดใน ระยะเวลาที่กําหนดใหแกไข และหากกทม. มีเจตนาจะบอกเลิกสัญญา กทม. จะแจง เปน หนัง สือ ไปยัง กลุมเจาหนี้ เพื่อ ใหกลุมเจาหนี้ดําเนินการจัดหาบุคคลอื่นมารับโอนจากบีทีเอสซี ทั้ง สิทธิและหนาที่ตามสัญญาสัมปทานของบีทีเอสซี โดยกทม. ตอ งใหเวลากลุมเจาหนี้ไมนอ ย กวา 6 เดือ น แตหากกลุมเจาหนี้ ไมจัดหาบุคคลอื่นมารับโอนสิทธิแ ละหนาที่ภ ายในเวลา ดัง กลาว กทม. มีส ิทธิบอกเลิกสัญญาสัมปทานนี้ได โดยบีทีเอสซีจะตองชดเชยความเสียหาย ใหแกกทม. พรอ มทั้ง โอนกรรมสิทธิ์ในอุปกรณใหแกกทม. โดยตรง และยินยอมใหกทม. เรียกรอ งเงินจากธนาคารผูอ อกหนัง สือ ค้ําประกันการปฏิบัติตามสัญญาสัมปทาน

ในกรณีที่กทม. บอกเลิกสัญญาสัมปทานนี้กับบีทีเอสซี กทม. จะจายเงินสําหรับสวนของระบบ รถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลักที่ตกเปนกรรมสิทธิ์ของกทม. ในราคาเทากับมูลคาทาง บัญชี (Book Value) บีทีเอสซีมีส ิทธิบอกเลิกสัญญาสัมปทาน ในกรณีดัง ตอ ไปนี้ 

กทม. จงใจผิดสัญญาในสาระสําคัญอยางตอ เนื่อง จนเปนเหตุใหบี ทีเอสซีไมอ าจปฏิบัติตาม สัญญาตอ ไปได

รัฐบาลไทย หรือ รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย หรือ หนวยงานราชการ หรือ กทม. แกไข หรือ ยกเลิกการอนุญาตการกอ สรางและการดําเนินงาน หรือ ปรับเปลี่ยนเงื่อ นไข หรือ ยกเลิก สิทธิโดยไมใชความผิดของบีทีเอสซี ซึ่ง สง ผลกระทบอยางมีนัยสําคัญตอ บีทีเอสซี จนไม สามารถดําเนินงานตอ ไปได

การแทรกแซงของรัฐบาลในกรณีเหตุการณที่เปน “ความเสี่ยงที่เปนขอ ยกเวน” ตาม ความหมายที่กลาวไวแล วขางตน

หากเปนความผิดพลาดที่ส ามารถแกไขได บีทีเอสซีจะตอ งสง หนัง สือ แจง กทม. ทําการแกไขหรือ ปฏิบัติใหถูกตอ งหรือ ปรับปรุง การดําเนินการภายในเวลาที่กําหนดซึ่ง ตอ งไมนอ ยกวา 6 เดือ น ทั้ง นี้ ถา กทม. ไมส ามารถปรับปรุง หรือ แกไขการดําเนินการไดภ ายในเวลาดัง กลาว บีทีเอสซีจะแจง เปน หนัง สือ บอกเลิกสัญญาไปยัง กทม. หากเปนกรณีที่ ไมส ามารถแกไขได บีทีเอสซีก็ตอ งมีหนัง สือ แจง กทม. ลวงหนาภายใน 1 เดือ น

สวนที่ 1 หนา 269


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

การยกเลิกสัญญาดังกลาว กทม. จะตอ งชดเชยความเสียหายแกบีทีเอสซี ซึ่ง ครอบคลุมถึง เงิน ลงทุนและคาใชจายของบีทีเอสซีที่เกิดขึ้นจากการดําเนินงานของระบบรถไฟฟาขนสง มวลชน กรุง เทพสายหลัก โดยจายเงินสําหรับสวนของระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลักใน ราคาเทากับมูลคาทางบัญชี (Book Value) ของทรัพยส ินและคาเสียหายอื่นใดที่บีทีเอสซีพึง ไดร ับ เพราะเหตุจากการเลิกสัญญานี้ การขยายอายุ สัญญาและ สิทธิในการ ดําเนินงานใน เสนทางสาย ใหมกอ น บุคคลอื่น

: หากบีทีเอสซีประสงคจะขยายอายุส ัญญา บีทีเอสซีจะตองแจง ความประสงคดังกลาวในเวลาไม มากกวา 5 ป และไมนอ ยกวา 3 ป กอ นวันสิ้นอายุของสัญญา ทั้ง นี้ การขยายอายุของสัญญาจะตอง ผานความเห็นชอบของรัฐมนตรี กระทรวงมหาดไทยกอ น นอกจากนี้ หากกทม. มีความประสงคที่จะ ดําเนินการสายทางเพิ่มเติมในระหวางอายุส ัญญาสัมปทาน หรือ จะขยายเสนทางของระบบรถไฟฟา ขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลัก บีทีเอสซีจะมีส ิทธิเปนรายแรกที่จะเจรจากับกทม. กอ น เพื่อ ขอรับสิทธิ ทําการและดําเนินการเสนทางสายใหมดงั กลาว หากบีทีเอสซียินดีร ับเงือ่ นไขที่ดีที่ส ุดที่มีผูเสนอตอ กทม.

การใชส ัญญา เปน หลักประกัน

: กทม. ยินยอมใหบีทีเอสซีโอนสิทธิตามสัญญานี้เพือ่ เปนหลักประกันใหแกบุคคลผูใหความสนับสนุน ทางการเงินแกบีทีเอสซี เพื่อสนับสนุนระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลัก โดยที่ตอ งไมเปน การกอภาระทางการเงินแกกทม.

เขตอํานาจการ : สัญญานี้อยูภ ายใตบัง คับของกฎหมายไทย กรณีมีขอ พิพาทระหวางคูส ัญญาอันเกี่ยวกับขอ กําหนด พิจารณาขอ ของสัญญานี้ หรือ เกี่ยวเนื่อ งกับการปฏิบัติตามสัญญานี้ ใหเสนอขอ พิพาทนั้นตออนุญาโตตุลาการ พิพาท ตามขอ บัง คับอนุญาโตตุลาการของสถาบันอนุญาโตตุลาการ สํานักงานศาลยุติธรรม หรือ ตาม ขอ บัง คับอื่นที่คูส ัญญาเห็นชอบ วันที่ส ัญญามี ผลบัง คับใช

: สัญญาจะมีผลบัง คับใชเมือ่ บีทีเอสซีลงนามในสัญญาทางการเงินกับสถาบันการเงินที่ใหกูเพื่อ สนับสนุนสัญญานี้ และบีทีเอสซีไดร ับการสง เสริมการลงทุนจาก BOI รวมทั้ง กทม. ไดส ง มอบ พื้นที่แกบี ทีเอสซี ซึ่ง เงื่อ นไขบัง คับกอ นนี้ไดเกิดขึ้นครบถวนแลว และสัญญาเริ่มมีผลบัง คับใชตงั้ แต วันที่ 9 เมษายน 2536

2. สัญญาการใหบริการเดินรถและซอมบํารุง โครงการระบบขนสงมวลชนกรุงเทพมหานคร เลขที่ กธ.ส.006/55 ระหวาง กรุงเทพธนาคม (“ผูบริหารระบบ”) และ บีทีเอสซี (“ผูใหบริการ”) ฉบับลงวันที่ 3 พฤษภาคม 2555 วัตถุประสงค

: ผูบริหารระบบมีความประสงคที่จะวาจางผูที่มีความชํานาญเพื่อ ใหบริการเดินรถและซอ มบํารุง ระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสวนตอขยาย รวมทั้ง เก็บเงินคาโดยสารของระบบรถไฟฟา ขนสง มวลชนกรุง เทพสวนตอขยายตามที่กําหนดไวในสัญญาฉบับนี้

ระยะเวลาตาม : 30 ป เริ่มตั้ง แตวันที่ 3 พฤษภาคม 2555 ถึง วันที่ 2 พฤษภาคม 2585 โดยแบง ออกเปน 2 ระยะ สัญญา ดัง นี้ 

ระยะที่ 1 กอ นหมดระยะเวลาสัมปทานของเสนทางสัมปทาน (ตั้ง แตวันที่ 8 พฤษภาคม 2555 ถึง วันที่ 4 ธันวาคม 2572) แบง ชวงเวลาการดําเนินงานเปน 3 ชวง ดัง นี้ (1) ชวงที่ 1 นับจากวันที่ 8 พฤษภาคม 2555 ถึง วันที่ 4 ธันวาคม 2555 ผูใหบริการดําเนินงานในเสนทางสวนตอขยาย 2 เสนทาง ไดแก

สวนที่ 1 หนา 270


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

o สวนตอ ขยายสายสีลม จากสะพานตากสิน-ถนนสมเด็จพระเจาตากสิน ระยะทาง 2.2 กม. o สวนตอ ขยายสายสุขุมวิท ตอนที่ 1 จากซอยสุขุมวิท 85-ซอยสุขุมวิท 107 ระยะทาง 5.25 กม. (2) ชวงที่ 2 นับจากวันที่ 5 ธันวาคม 2555 ถึง วัน ที่ 11 สิง หาคม 2556 ผูใหบริการดําเนินงานในเสนทางสวนตอขยาย 3 เสนทาง ไดแก o สวนตอ ขยายสายสีลม จากสะพานตากสิน-ถนนสมเด็จพระเจาตากสิน ระยะทาง 2.2 กม. o สวนตอ ขยายสายสุขุมวิท ตอนที่ 1 จากซอยสุขุมวิท 85-ซอยสุขุมวิท 107 ระยะทาง 5.25 กม. o สวนตอ ขยายสายสีลม (ตากสิน-เพชรเกษม) จากสถานีวงเวียนใหญถึงสถานี ตลาดพลู ระยะทาง 5.3 กม. (3) ชวงที่ 3 นับจากวันที่ 12 สิง หาคม 2556 ถึง วันที่ 4 ธัน วาคม 2572 ผูใหบริการดําเนินงานในเสนทางสวนตอขยาย 3 เสนทาง ไดแก o สวนตอ ขยายสายสีลม จากสะพานตากสิน-ถนนสมเด็จพระเจาตากสิน ระยะทาง 2.2 กม. o สวนตอ ขยายสายสุขุมวิท ตอนที่ 1 จากซอยสุขุมวิท 85-ซอยสุขุมวิท 107 ระยะทาง 5.25 กม. o สวนตอ ขยายสายสีลม (ตากสิน-เพชรเกษม) จากสถานีวงเวียนใหญถึงสถานี ตลาดพลู ระยะทาง 5.3 กม. 

ระยะที่ 2 หลัง หมดระยะเวลาสัมปทานของเสนทางสัมปทาน (ตั้ง แตวันที่ 5 ธันวาคม 2572 ถึง 2 พฤษภาคม 2585) ผูใหบริการดําเนินงานในเสนทาง 4 เสนทาง ไดแก o สวนตอ ขยายสายสีลม จากสะพานตากสิน-ถนนสมเด็จพระเจาตากสิน ระยะทาง 2.2 กม. o สวนตอ ขยายสายสุขุมวิท ตอนที่ 1 จากซอยสุขุมวิท 85-ซอยสุขุมวิท 107 ระยะทาง 5.25 กม. o สวนตอ ขยายสายสีลม (ตากสิน-เพชรเกษม) จากสถานีวงเวียนใหญถึงสถานี ตลาดพลู ระยะทาง 5.3 กม. o เสนทางสัมปทาน ระยะทาง 23.5 กม.

ความรับผิด ตามสัญญา

: ผูใหบริการตองจัดใหบริการเดินรถมีมาตรฐานการตรงตอ เวลาไมต่ํากวารอ ยละ 97.5 (คาเฉลี่ยราย เดือ น) ประเมินผลความตรงตอ เวลา ณ สถานีปลายทางของแตละเสนทาง ซึ่ง ความลาชาจะตองไม เกิน 5 นาที นั บจากระยะเวลาหางระหวางขบวนถัดไป (Headway) หลักเกณฑการประเมินความ ตรงตอ เวลาจะเปนไปตามที่กําหนดไวในสัญญา หากใหบริการเดินรถต่าํ กวามาตรฐานการตรงตอ เวลาที่กําหนด โดยมีส าเหตุโดยตรงจากความ สวนที่ 1 หนา 271


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

บกพรอ งโดยจงใจหรือ โดยประมาทเลินเลอ ของผูใหบริการ หรือ ไมเขาขอ ยกเวนตามที่กําหนดไวใน สัญญา ผูใหบริการจะตอ งจายคาปรับในอัตรารอ ยละ 0.6 (ศูนยจุดหก) ของคาจางรายเดือ นเดือ น นั้น ๆ สําหรับเสนทางสวนที่เกี่ยวของ การสิ้นสุดของ : การยกเลิกสัญญาโดยผูบริหารระบบ สัญญา  หากผูใ หบริการไมปฏิบัติหนา ที่ตามสัญญาฉบับนี้ใ นสวนที่เ ปนสาระสํา คัญ (ซึ่ง ไมร วมกรณี การชําระคาปรับเนื่อ งจากการเดินรถต่าํ กวามาตรฐานการตรงตอ เวลา) และไมทําการแกไข ภายในเวลาอันสมควรที่ผูบริหารระบบแจง ใหทราบเปนหนัง สือ ใหผูบริหารระบบมีส ิทธิที่จะ บอกเลิกสัญญาฉบับนี้ไดโดยไมตอ งแจง ใหผูใหบริการทราบอีก 

หากผูใหบริการลมละลาย หรือ ตัง้ เรื่อง หรือ เตรียมการกับเจาหนี้ หรือ มีขอ เสนอที่จะขอ ลมละลายโดยสมัครใจ หรือ ไดยื่นเรื่องขอแตง ตั้ง ผูจัดการหนี้ หรือ มีคําสัง่ ชําระบัญชี หรือ มีมติ ใหชําระหนี้โดยสมัครใจ (ยกเวนวัตถุประสงคส ําหรับการฟนฟูกิจการ) หรือ ไดมีการแตง ตั้ง เจาพนักงานพิทักษทรัพย หรือ มีการยึดทรัพยส ินที่เกี่ยวของโดยหรือ ในนามของเจาหนี้ หรือ ถูกดําเนินการใดในลักษณะขางตนตามกฎหมายที่ใชบัง คับอันมีผลถึง การใหบริการ ให ผูบริหารระบบมีส ิทธิที่จะบอกเลิกสัญญาฉบับนี้ไดทันทีโดยไมตอ งแจง ใหผูใหบริการทราบ

การยกเลิกสัญญาโดยผูใ หบริการ 

หากผูบริหารระบบไมชําระคาจางที่มิไดมีขอ พิพาทใดตามสัญญาภายใน 30 วันหลัง จากครบ กําหนดชําระ ผูใ หบริการมีส ิทธิที่จะทําหนัง สือ แจง วาผูบริหารระบบผิดสัญญาเพือ่ ใหผูบริหาร ระบบชําระหนี้คงคางภายใน 60 วันนับแตวัน ที่ไดร ับหนัง สือ หรือ เกินกวานั้นตามแตที่ ผูใหบริการจะระบุในหนัง สือ แจง

หากผูบริหารระบบไมชําระคาจางตามหนัง สือ แจง กอ นสิ้นสุดชวงเวลาที่กําหนดไวในหนัง สือ แจง แลว ผูให บริการอาจบอกเลิกสัญญาไดโดยแจง ใหผูบริหารระบบทราบเปนหนัง สือ ซึ่ง จะมี ผลบัง คับทัน ที

3. สัญญาสําหรับขบวนรถไฟฟา (Rolling Stock) ระหวาง บีทีเอสซี (“ผูซ ื้อ”) และ บริษัท ชางชุน เรลเวย วีฮิเคิล จํากัด (Changchun Railway Vehicles Co., Ltd.) และ บริษัท ซีไอทีไอซี อินเตอรเนชั่นแนล โคออปเปอรเรชั่น จํากัด (CITIC International Cooperation Co., Ltd) (“ผูจัดจําหนาย”) ฉบับลงวันที่ 20 มิถุนายน 2550 วัตถุประสงค

: ผูจัดจําหนายจะดําเนินการผลิต จัดหา และสง มอบขบวนรถไฟฟา (Rolling Stock) จํานวน 12 ขบวน ตามขอ กําหนดและเงื่อ นไขที่กําหนดไวในสัญญานี้ ความรับผิดชอบของผูจัดจําหนาย ภายใตส ัญญานีร้ วมถึง (แตไมจํากัดเฉพาะ) 

ดําเนินการตามขอ มูลจําเพาะ (specifications) และ (เวนแตส ัญญาจะระบุไวเปนประการอื่น) การคัดเลือ กวัสดุ อุปกรณ โรงงาน เครื่องจักรสินคา ขั้นตอน วิธีการทํางาน หรือ เทคโนโลยี

ดําเนินการทดสอบที่จําเปนทั้ง หมดของงาน

จัดหาการสนับสนุนดานเทคนิคที่เพียงพอใหแกทีมงานซอ มบํารุง ของผูซื้อ จัดหาอะไหล ทดแทน และอื่นๆ ที่จําเปนสําหรับการแกไขสวนที่บกพรอ งในระหวางระยะเวลาการรับประกัน ที่ร ะบุไวในสัญญานี้

สวนที่ 1 หนา 272


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ระยะเวลาตาม : ไมเกิน 36 เดือ นนับตั้ง แตที่ผูซื้อ ไดอ อก “คําสัง่ ใหเริ่มดําเนินการ” (Instruction to Proceed) หรือ สัญญา ภายในระยะเวลาที่ขยายออกไปตามที่อ นุญาตไวในสัญญานี้ เงื่อ นไขการ ชําระเงิน

: คาตอบแทนตามสัญญาจํานวน 65,420,000 เหรียญสหรัฐ โดยมีการชําระลวงหนาในอัตรารอ ยละ 25 ของคาตอบแทนตามสัญญา และสวนที่เ หลือ ชําระตามความคืบหนาของงานและเมื่อ มีการ สง มอบ

ความรับผิดใน : คาเสียหาย (Liquidated Damages) กรณีผิดสัญญา ในกรณีที่เกิดความลาชาโดยผูจัดจําหนาย ผูจัดจําหนายจะชําระคาเสียหาย (Liquidated Damages) (โดยไมถือ เปนคาปรับ (penalty)) ใหแกผูซื้อ ในจํานวนตามที่ร ะบุไวในสัญญา โดยการ ชําระคาเสียหายดัง กลาวถือ เปนการบรรเทาความเสียหายแตเพียงอยางเดียวเทานั้นของผูซื้อ ใน กรณีดัง กลาวนี้ ขอ จํากัดความรับผิด (Limit on Liability) ความรับผิดทั้ง หมดของผูจัดจําหนายตามสัญญานี้จะถูกจํากัดไมเกินรอ ยละ 10 ของคาตอบแทน ตามสัญญา (ไมร วมถึง คาเสียหาย (Liquidated Damages) ขางตน) ระยะเวลาการ รับประกัน

: ระยะเวลาการรับประกันของผลิตภัณฑ (Warranty Period of Products) ผูจัดจําหนายจะรับผิดชอบในการรับประกันผลิตภัณฑมีกําหนด 78 สัปดาห นับตั้ง แตวันที่ในใบรับ สินคา (Bill of Lading) ที่เกี่ยวขอ ง

การสิ้นสุดของ : สิทธิในการบอกเลิกสัญญาของผูซื้อ สัญญา ผูซื้อ มีส ิทธิบอกเลิกสัญญานี้ไดในกรณีที่มีเหตุผิดนัดผิดสัญญาของผูจัดจําหนาย (ตามที่ร ะบุไวใน สัญญา) เกิดขึ้น ทั้ง นี้ตอ งเปนไปตามวิธีการและเงื่อ นไขการบอกเลิกสัญญาที่ร ะบุไวในสัญญานี้ สิทธิในการบอกเลิกสัญญาของผูจัดจําหนาย ผูจัดจําหนายมีส ิทธิบอกเลิกสัญญานี้ไดในกรณีที่ผูซื้อ ผิดนัดไมชําระเงินตามสัญญาใหแกผูจัด จําหนาย และภายหลัง ที่ผูจัดจําหนายไดส ง (i) หนัง สือ แจง การไมชําระเงิน (Notice of NonPayment) ใหแกผูซื้อ ลวงหนาไมนอ ยกวา 14 วัน (หลัง ครบกําหนด 30 วันหลัง จากวันที่ครบกําหนด ชําระเงินแลว) และ (ii) หนัง สือ บอกเลิกสัญญา (Notic e of Termination) ใหแกผูซื้อ ลวงหนาไมนอ ย กวา 28 วัน แลว และปรากฏวาผูซอื้ ยัง คงไมส ามารถชําระเงินที่ถึง กําหนดชําระดัง กลาวใหแก ผูจัดจําหนายได การบอกเลิกสัญญาในกรณีชาํ ระเงินลาชา 

ในกรณีดัง ตอ ไปนี้ ผูจัดจําหนายมีส ิทธิบอกเลิกสัญญาหรือรองขอใหขยายระยะเวลาที่เกี่ยวของ ออกไปไดในกรณีที่ผูซื้อ ไมชําระเงินลวงหนา (Advance Payment) ภายใน 30 วันหลัง จากมี คําสั่งใหเริ่มดําเนินการ (Instruction to Proceed) หรือ

ในกรณีที่ผูซื้อ ไมส ามารถเปดเลตเตอรอ อฟเครดิต (L/C) ตามเงื่อ นไขที่ระบุในสัญญา และสง มอบใหแกผูจัดจําหนายไดภ ายใน 90 วัน หลัง จากออกคําสั่ง ใหเริ่มดําเนินการ (Instruction to Proceed)

สวนที่ 1 หนา 273


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

สิทธิในการการบอกเลิกสัญญาในกรณีเกิดเหตุส ุดวิสยั (Force Majeure) ในกรณีที่เหตุส ุดวิส ัย (Force Majeure) ตามสัญญาทําใหการปฏิบัติง านไมส ามารถกระทําไดเปน ระยะเวลาติดตอ กัน 120 วัน คูส ัญญาฝายใดฝายหนึ่ง อาจใชส ิทธิบอกเลิกสัญญาไดโดยบอกกลาว เปนหนัง สือ ใหคูส ัญญาอีกฝายหนึ่ง ทราบ อยางไรก็ดี ผูซื้อ มีส ิทธิขอขยายระยะเวลากอ นที่ ผูจัดจําหนายจะสามารถใชส ิทธิบอกเลิกสัญญาดวยเหตุนี้ไดอ ีกจนถึง 365 วัน ภายใตเงื่อ นไขวา ผูซื้อ จะตอ งชดใชตนทุนคาใชจา ย (Cost) ของผูจัดจําหนายที่เกิดขึ้นเนื่อ งจากการขยายระยะเวลา ดัง กลาว 4. สัญญาสําหรับขบวนรถไฟฟา (Rolling Stock) ระหวาง บีทีเอสซี (“ผูซ ื้อ”) และ บริษัท ชางชุน เรลเวย วีฮิเคิล จํากัด (Changchun Railway Vehicles Co., Ltd.) (“ผูจัดจําหนาย”) ฉบับลงวันที่ 7 ตุลาคม 2554 วัตถุประสงค

: ผูจัดจําหนายจะดําเนินการผลิต จัดหา และสง มอบขบวนรถไฟฟา (Rolling Stock) จํานวน 5 ขบวน ขบวนละ 4 ตู ตามขอ กําหนดและเงื่อ นไขที่กําหนดไวในสัญญานี้ ความรับผิดชอบของ ผูจัดจําหนายภายใตส ัญญานีร้ วมถึง (แตไมจํากัดเฉพาะ) 

ดําเนินการตามขอ มูลจําเพาะ (specif ic ations) และ (เวนแตส ัญญาจะระบุไวเปนประการอื่น) การคัดเลือกวัส ดุ อุปกรณ โรงงาน เครือ่ งจักรสินคา ขั้นตอน วิธีการทํางาน หรือ เทคโนโลยี

ดําเนินการทดสอบที่จําเปนทั้ง หมดของงาน

จัดหาการสนับสนุนดานเทคนิคที่เพียงพอใหแกทีมงานซอมบํารุง ของผูซื้อ จัดหาอะไหลทดแทน และอื่นๆ ที่จําเปนสําหรับการแกไขสวนที่บกพรองในระหวางระยะเวลาการรับประกันทีร่ ะบุไวใน สัญญานี้

ระยะเวลาตาม : ไมเกิน 26 เดือ นนับตั้ง แตที่ผูซื้อ ไดอ อก “คําสัง่ ใหเริ่มดําเนินการ” (Instruction to Commence) สัญญา หรือ ภายในระยะเวลาที่ขยายออกไปตามที่อ นุญาตไวในสัญญานี้ เงื่อ นไขการ ชําระเงิน

: คาตอบแทนตามสัญญาจํานวน 14,240,000 ยูโร และ 110,300,000 หยวน โดยมีการชําระ ลวงหนาจํานวน 11,392,000 ยูโร และสวนที่เ หลือ ชําระตามความคืบหนาของงานและเมื่อ มีการสง มอบ

ความรับผิดใน : คาเสียหาย (Liquidated Damages) กรณีผิดสัญญา ในกรณีที่เกิดความลาชาโดยผูจัดจําหนาย ผูจัดจําหนายจะชําระคาเสียหาย (Liquidated Damages) (โดยไมถือ เปนคาปรับ (penalty)) ใหแกผูซื้อ ในจํานวนตามที่ร ะบุไวในสัญญา โดยการ ชําระคาเสียหายดัง กลาวถือ เปนการบรรเทาความเสียหายแตเพียงอยางเดียวเทานั้นของผูซื้อ ใน กรณีดัง กลาวนี้ ขอ จํากัดความรับผิด (Limit on Liability) ความรับผิดทั้ง หมดของผูจัดจําหนายตามสัญญานี้ จะถูกจํากัดไมเกินรอยละ 10 ของคาตอบแทน ตามสัญญา (ไมร วมถึง คาเสียหาย (Liquidated Damages) ขางตน) ระยะเวลาการ รับประกัน

: ระยะเวลาการรับประกันของผลิตภัณฑ (Warranty Period of Products) ผูจัดจําหนายจะรับผิดชอบในการรับประกันผลิตภัณฑ มีกําหนด 78 สัปดาห นับตั้ง แตวันที่ใน

สวนที่ 1 หนา 274


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ใบรับสินคา (Bill of Lading) ที่เกี่ยวขอ ง การสิ้นสุดของ : สิทธิในการบอกเลิกสัญญาของผูซื้อ สัญญา ผูซื้อ มีส ิทธิบอกเลิกสัญญานี้ไดในกรณีที่มีเหตุผิดนัดผิดสัญญาของผูจัดจําหนาย (ตามที่ร ะบุไวใน สัญญา) เกิดขึ้น ทั้ง นี้ตอ งเปนไปตามวิธีการและเงื่อ นไขการบอกเลิกสัญญาที่ร ะบุไวในสัญญานี้ สิทธิในการบอกเลิกสัญญาของผูจัดจําหนาย ผูจัดจําหนายมีส ิทธิบอกเลิกสัญญานี้ไดในกรณีที่ผูซื้อ ผิดนัดไมชําระเงินตามสัญญาใหแก ผูจัดจําหนาย และภายหลัง ที่ผูจัดจําหนายไดส ง (i) หนัง สือ แจง การไมชาํ ระเงิน (Notice of NonPayment) ใหแกผูซื้อ ลวงหนาไมนอ ยกวา 14 วัน (หลัง ครบกําหนด 30 วันหลัง จากวันที่ครบกําหนด ชําระเงินแลว) และ (ii) หนัง สือ บอกเลิกสัญญา (Notic e of Termination) ใหแกผูซื้อ ลวงหนาไมนอ ย กวา 28 วัน แลว และปรากฏวาผูซอื้ ยัง คงไมส ามารถชําระเงินที่ถึง กําหนดชําระดัง กลาวใหแก ผูจัดจําหนายได การบอกเลิกสัญญาในกรณีชาํ ระเงินลาชา ในกรณีดัง ตอ ไปนี้ ผูจัดจําหนายมีส ิทธิบอกเลิกสัญญาหรือรองขอใหขยายระยะเวลาที่เกี่ยวของ ออกไปไดในกรณีที่ผูซื้อ ไมชําระเงินลวงหนา (Advance Payment) ภายใน 30 วันหลัง จากมีคําสั่ง ใหเริ่มดําเนินการ (Instruction to Proceed) หรือ ในกรณีที่ผูซื้อ ไมส ามารถเปดเลตเตอรออฟเครดิต (L/C) ตามเงื่อ นไขที่ร ะบุในสัญญา และสง มอบ ใหแกผูจัดจําหนายไดภ ายใน 90 วัน หลัง จากออกคําสัง่ ใหเริม่ ดําเนินการ (Instruction to Proceed) สิทธิในการบอกเลิกสัญญาในกรณีเกิดเหตุส ุดวิสยั (Force Majeure) ในกรณีที่เหตุส ุดวิส ัย (Force Majeure) ตามสัญญาทําใหการปฏิบัติง านไมส ามารถกระทําไดเปน ระยะเวลาติดตอ กัน 210 วัน คูส ัญญาฝายใดฝายหนึ่ง อาจใชส ิทธิบอกเลิกสัญญาไดโดยบอกกลาว เปนหนัง สือ ใหคูส ัญญาอีกฝายหนึ่ง ทราบ อยางไรก็ดี ผูซื้อ มีส ิทธิขอขยายระยะเวลากอ นที่ ผูจัดจําหนายจะสามารถใชส ิทธิบอกเลิกสัญญาดวยเหตุน้ไี ดอ ีกจนถึง 365 วัน ภายใตเงื่อ นไขวา ผูซื้อ จะตอ งชดใชตนทุน คาใชจาย (Cost) ของผูจัดจําหนายที่เกิดขึ้นเนื่อ งจากการขยายระยะเวลา ดัง กลาว 5. สัญญาสําหรับขบวนรถไฟฟา (Rolling Stock) ระหวาง บีทีเอสซี (“ผูซ ื้อ”) และ บริษัท ซีเมนส อัคเทียกี เซลสคราฟท ออสเตอรริกส (Siemens Aktiengesellschaft Osterreich) และ บริษัท ซีเมนส จํากัด (Siemens Thailand Ltd.) ( “ผูจัดจําหนาย”) ฉบับลงวันที่ 23 กันยายน 2553 วัตถุประสงค

: ผูจัดจําหนายจะดําเนินการผลิต จัดหา และสง มอบตูโดยสาร (vehicle-segment) จํานวน 35 ตู ใหแกผูซื้อ เพื่อ นําไปติดตั้ง เปนตูโดยสารที่ 4 ของขบวนรถไฟฟา (Rolling Stock) จํานวน 35 ขบวนของผูซื้อ โดยเปนไปตามขอ กําหนดและเงื่อ นไขที่กําหนดไวในสัญญา ทั้ง นี้ ความรับผิดชอบ ของผูจัดจําหนายภายใตส ัญญานี้ รวมถึง (แตไมจํากัดเฉพาะ) 

ดําเนินการตามขอ มูลจําเพาะ (specif ic ations) และ (เวนแตส ัญญาจะระบุไวเปนประการอื่น) การคัดเลือกวัส ดุ อุปกรณ โรงงาน เครือ่ งจักรสินคา ขั้นตอน วิธีการทํางาน หรือ เทคโนโลยี

ดําเนินการทดสอบที่จําเปนทั้ง หมดของงาน สวนที่ 1 หนา 275


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน) 

แบบ 56-1 ป 2555/56

จัดหาการสนับสนุนดานเทคนิคที่เพียงพอใหแกทีมงานซอมบํารุง ของผูซื้อ จัดหาอะไหลทดแทน และอื่นๆ ที่จําเปนสําหรับการแกไขสวนที่บกพรองในระหวางระยะเวลาการรับประกันทีร่ ะบุไวใน สัญญานี้

ระยะเวลาตาม : ผูจัดจําหนายจะเริ่มดําเนินงานตามสัญญา นับตั้ง แตผูซื้อ ไดออกหนัง สือ แจงใหเริ่มดําเนินการ สัญญา (Notice to Proceed) และดําเนินการใหเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาตามที่ร ะบุไวในสัญญา หรือ ภายในระยะเวลาที่ขยายออกไปตามที่กําหนดไวในสัญญา เงื่อ นไขการ ชําระเงิน

: คาตอบแทนตามสัญญาแบง เปน 2 สวน คือ คาตอบแทนสําหรับงานซึ่ง ทําโดยบริษัท ซีเมนส อัคเทียกีเซลสคราฟท ออสเตอรร ิกส (Siemens Aktiengesells chaft Osterreic h) เปนเงิน จํานวน 43,200,000 ยูโร และคาตอบแทนสําหรับงานซึ่ง ทําโดยบริษัท ซีเมนส จํากัด (Siemens Thailand Ltd.) จํานวน 81,900,000 บาท โดยแบง จายเปนงวดตามความคืบหนาของงาน

ความรับผิดใน : คาเสียหาย (Liquidated Damages) กรณีผิดสัญญา ในกรณีที่เกิดความลาชาโดยผูจัดจําหนายตามที่ร ะบุไวในสัญญา ผูจัดจําหนายจะชําระคาเสียหาย (Liquidated Damages) ใหแกผูซื้อ ในจํานวนตามที่ร ะบุไวในสัญญา ขอ จํากัดความรับผิด (Limit on Liability) ความรับผิดทั้ง หมดของผูจัดจําหนายตามสัญญานี้ จะถูกจํากัดไมเกินรอยละ 10 ของคาตอบแทน ตามสัญญา ระยะเวลาการ รับประกัน

: ผูจัดจําหนายจะรับผิดชอบซอ มแซม แกไข หรือ เปลี่ยนชิ้นสวนใหมส ําหรับสวนใดๆ ของงาน โดยไมคิดคาใชจายใดๆ หากขอ บกพรองดัง กลาวมีสาเหตุมาจากความบกพรอ งของการออกแบบ ซอฟตแวรทางวิศวกรรมที่ไมเหมาะสม (inadequate software engineering) ภายในระยะเวลา 52 สัปดาห (“ระยะเวลาสําหรับการแกไขความบกพรอง”) (Defects Correction Period) นับ แตวันที่ ผูซื้อ ไดอ อกใบรับรองการรับมอบ (Provisional Taking Over Certific ate) สําหรับตูโดยสารตูที่ 35 อยางไรก็ดี ผูจัดจําหนายไมตอ งรับผิดชอบสําหรับความบกพรอ งใดๆ เมื่อ พนกําหนดระยะเวลา 3 ปนับแตวั นที่ตามใบรับรองการรับมอบ (Provisional Taking Over Certific ate) สําหรับตูโดยสารตู ที่ 35 หากไดมีการออกใบรับรองการแกไขความบกพรอ ง (Defect Correction Certif icate) และ ขอ บกพรอ งทั้ง หมดไดแกไขใหเปนไปตามขอ กําหนดตามที่กําหนดไวในสัญญาและความพอใจของ ผูซื้อ

การสิ้นสุดของ : สิทธิในการบอกเลิกสัญญาของผูซื้อ สัญญา ผูซื้อ มีส ิทธิบอกเลิกสัญญานี้ไดในกรณีที่มีเหตุผิดนัดผิดสัญญาของผูจัดจําหนาย (ตามที่ร ะบุไวใน สัญญา) เกิดขึ้น ทั้ง นี้ตอ งเปนไปตามวิธีการและเงื่อ นไขการบอกเลิกสัญญาที่ร ะบุไวในสัญญานี้ สิทธิในการบอกเลิกสัญญาของผูจัดจําหนาย ในกรณีที่ผูซื้อ ผิดนัดชําระเงินตามที่ร ะบุไวในสัญญาภายในระยะเวลา 30 วันนับ แตวันครบกําหนด ชําระจํานวนเงินดัง กลาว และผูซื้อ ไมชําระเงินดัง กลาวภายใน 14 วันนับแตวัน ที่ผูซื้อ ไดร ับหนัง สือ แจง การไมชําระเงิน (Notice of Non-Payment) จากผูจัดจําหนาย ผูจัดจําหนายมีส ิทธิส ง หนัง สือ บอกเลิกสัญญา (Notice of Termination) ใหแกผูซื้อ และหากผูซื้อ ไมชําระเงินดัง กลาวภายใน สวนที่ 1 หนา 276


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ระยะเวลา 28 วันนับ แตวันที่ผู ซื้อ ไดร ับหนัง สือ บอกเลิกสัญญาดัง กลาว (Notice of Termination) ผูจัดจําหนายมีส ิทธิบอกเลิกสัญญาฉบับนี้ไดแ ละมีส ิทธิไดร ับชําระเงินตางๆ ตามที่ร ะบุไวในสัญญา ฉบับนี้ สิทธิในการบอกเลิกสัญญาในกรณีเกิดเหตุส ุดวิสยั (Uncontrollable Events) ในกรณีที่เหตุส ุดวิส ัย (Uncontrollable Events) ตามสัญญาทําใหการปฏิบัติง านไมส ามารถกระทํา ไดอ ยางมีนัยสําคัญเปนระยะเวลาติดตอ กัน 180 วัน คูส ัญญาฝายใดฝายหนึ่งอาจใชส ิทธิบอกเลิก สัญญาไดโดยบอกกลาวเปนหนัง สือ ใหคูส ัญญาอีกฝายหนึ่ง ทราบ อยางไรก็ดี ผูซอื้ มีส ิทธิขอขยาย ระยะเวลาดัง กลาวเปน 365 วันกอ นที่ผูจัดจําหนายจะใชส ิทธิบอกเลิกสัญญาดวยเหตุนี้ ภายใต เงื่อ นไขวา ผูซื้อ จะตอ งชดใชตนทุนคาใชจาย (Cost) ของผูจัดจําหนายที่เพิ่มขึ้นเนื่อ งจากการขยาย ระยะเวลาดัง กลาว 6. สัญญาซอมบํารุงเกี่ยวกับระบบขนสงกรุงเทพมหานคร (Maintenance Agreement Relating to the Bangkok Metropolitan Administration Transit System) ระหวาง บีทีเอสซี (“ผูวาจาง”) และ บริษัท ซีเมนส จํากัด (Siemens Limited) (“ผูซ อมบํารุง”) ฉบับลงวันที่ 30 ธันวาคม 2547 (แกไขเมื่อวันที่ 30 กันยายน 2552) วัตถุประสงค

: ผูซอ มบํารุง จะใหบริการซอ มบํารุง ระบบไฟฟาและเครือ่ งกล (E&M) ภายใตสญั ญานี้ “ระบบไฟฟา และเครื่องกล (E&M)” หมายถึง ระบบ (System) ซึ่ง ไมร วมถึงอาคารตางๆ(นอกเหนือ จากสวน ภายในของอาคารคลัง พัส ดุของผูวาจาง) และโครงสรางทางวิศวกรรมโยธาตางๆที่ประกอบกันเขา แตใหร วมถึง (ก) ระบบรางรถไฟ (Trackwork) (ซึ่ง นิยามไววา สวนประกอบและสิ่ง ติดตั้ง ถาวรของ รางรถไฟที่อยูบนโครงสรางของพื้นรองรางรถไฟรวมถึง แผนปรับระดับ) (ข) ระบบยอ ยทั้ง หมดที่การ ดําเนินการถูกเชื่อ มตอ ภายในเพื่อใหเขาเกณฑการดําเนินงาน (ซึ่ง ระบุไวในตารางในสัญญานี้และ ระบุเพิ่มเติมในตารางในสัญญาแกไขเพิ่มเติมสัญญาซอ มบํารุง) และระบบไฟฟาจากจุดสิ้นสุด ของเอ็มอีเอเคเบิลที่ตูจายไฟของบีทีเอสซี 24 กิโลโวลตติดตั้ง ไว ณ สถานียอยจตุจักร และไผส ิง โต ตามลําดับ ซึ่ง ซีเมนสเปนผูจัดหาภายใตส ัญญากอสราง ไมร วมเครือ่ งเก็บเงินคาโดยสารอัตโนมัติ ลิฟต และบันไดเลื่อ น

ระยะเวลาตาม : 10 ปนับ แตวันที่ ลงนามในสัญญานี้ สัญญา เงื่อ นไขการ ชําระเงิน

: ภายใตส ัญญานี้คา บริการซอ มบํารุง มีดัง นี้  คา ซอ มบํารุง พื้นฐานเปนเงินกอ น หรือ คา บริการรายปสาํ หรับแตละรอบปสญ ั ญาซึ่ง ประกอบดวย สวนที่เปนเงินบาท และสวนที่เปนเงินยูโร 

เงินเผื่อสํารอง (Provisional Sum) เงินเผื่อสํารองในสวนที่เกี่ยวกับการจัดหาแรงงานอะไหล และ เครือ่ งมือ เฉพาะสําหรับการยกเครื่อง และการเปลี่ยนชิ้นสวนเฉพาะอันเนือ่ งมาจากการสึกหรอ เสียหาย หรือ สิ้นสุดอายุการใชงาน โดยประมาณการคาตอบแทนในสวนนี้สาํ หรับระยะเวลาหาป แรกของสัญญา (2548-2552) ทั้ง ในสวนที่เปนเงินบาทและสวนที่เปนเงินยูโร

คาบริการทีอ่ าจเกิดขึ้นได (Contingency) การจัดหาแรงงาน อะไหล และเครื่องมือ เฉพาะสําหรับ งานที่ไมอาจคาดหมายได ซึ่ง ไมร วมถึง คาซอ มบํารุง พื้นฐาน และเงินเผือ่ สํารอง (Provis ional Sum) คาบริการทีอ่ าจเกิดขึ้นไดจะถูกชําระบนพื้นฐานของราคาสินคา บวกดวยอากรสง ออก คาขนสง คาประกันภัย คาอากรขาเขา และคาใชจายอื่นๆ จนกวาสินคาถึง ปลายทางของผูซอื้ สวนที่ 1 หนา 277


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ตามเงือ่ นไขทางการคาระหวางประเทศ พ.ศ. 2543 (DDP according to Incoterms 2000) บวก ดวยคาตอบแทนจํานวนรอ ยละ 5 สําหรับผูซอ มบํารุง โดยผูวา จางจะเปนผูชาํ ระภาษีมูลคาเพิ่ม 7. สัญญาจัดหาวัสดุระบบอาณัติสัญญาณ ระหวาง บีทีเอสซี (“ผูซ ื้อ”) และ บริษัท บอมบารดิเอร ทรานสปอร เทชั่น สวีเดน เอบี (BOMBARDIER TRANSPORTATION SWEDEN AB. (“ผูจําหนาย”) ฉบับลงวันที่ 15 กุมภาพันธ 2550 วัตถุประสงค

: ผูจําหนายตอ งจัดหาอุปกรณร ะบบอาณัติสญั ญาณ CBTC (CBTC Signaling System) ตามขอ กําหนดและเงื่อ นไขที่ไดกําหนดไวในสัญญา

ระยะเวลาตาม : สัญญาฉบับนี้จะมีผลบัง คับเมื่อ เงื่อ นไขบัง คับกอ นตางๆ ดัง ตอ ไปนี้ไดร ับการปฏิบัติจนครบถวน สัญญา หรือ ผูจําหนายไดส ละสิทธิในเงือ่ นไขบัง คับกอ นเหลานั้นเปน ลายลักษณอ ักษรแลว 

ผูซื้อ ไดสง หนัง สือ แจงใหดําเนินการตามสัญญา (Notic e to Proceed) ใหแกผูจําหนายและ ผูจําหนายไดร ับหนังสือ แจง และยอมรับที่จะดําเนินการดังกลาวแลว

ผูจําหนายไดร ับเงินคาตอบแทนลวงหนา (Advance Payment) จากผูซื้อ และผูซอื้ ไดร ับหนังสือ ค้ําประกันการชําระคาตอบแทนลวงหนา (Advance Payment Guarantee) ที่อ อกโดยธนาคาร หรือ บริษัทผูร ับประกันจากผูจําหนายแลว

ผูซื้อ และผูใหบริการไดลงนามในสัญญาเพือ่ การติดตัง้ อุปกรณร ะบบสงสัญญาณ (Installation Contract) แลว ภายใตสัญญาฉบับนี้ “สัญญาเพื่อการติดตั้งอุปกรณระบบสงสัญญาณ” (Installation Contract) หมายถึง สัญญา ที่ผูซื้อ และบริษัท บอมบารดิเอร ทรานสปอรเทชั่น ซิกแนล (ประเทศไทย) จํากัด ไดท ําขึ้นเพือ่ การดําเนินงาน ตามที่กําหนด ซึ่งรวมถึงงานติดตั้ง ตรวจสอบ และควบคุมอุปกรณระบบสงสัญญาณใหแกผูซื้อตามสัญญา

เงื่อ นไขการ ชําระเงิน

งานทั้ง หมดตามที่กําหนดจะตองดําเนินการใหเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาไมเกิน 36 เดือ นหลัง จาก วันที่ส ัญญาไดมีผลบัง คับใชหรือ ไมลาชากวาระยะเวลาที่ไดขยายออกไปตามสัญญา

: คาตอบแทนตามสัญญาจํานวน 16,860,000 เหรียญยูโร ซึ่ง เปนราคาเหมาจายสําหรับการ ดําเนินงานตามสัญญา (Execution of Works) โดยจะตอ งนําเขาอุปกรณและวัส ดุจากตางประเทศ ทั้ง หมดที่ตอ งสง มอบภายใตส ัญญาเกี่ยวกับการติดตั้งระบบอาณัติสญั ญาณ CBTS ตามเงื่อ นไข แบบ CIF Bangkok ภายใตระบบการสง มอบสินคา Incoterms 2000 โดยการชําระเงินจะตอง ปฏิบัติตามตารางการชําระคาตอบแทนที่กําหนดในเอกสารแนบทายสัญญาฉบับนี้

สวนที่ 1 หนา 278


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ความรับผิดใน : คาเสียหาย (Liquidated Damages) กรณีผิดสัญญา ในกรณีเกิดความลาชา ใหคํานวณในอัตรารอ ยละ 0.1 ของสวนของงานที่ลาชาตอ ระยะเวลาการ ดําเนินงานเต็มหนึ่ง สัปดาห แตไมเกินรอ ยละ 10 ของคาตอบแทนตามสัญญา การจํากัดความรับผิด (Limit on Liability) ผูจําหนายจะรับผิดชดใชคาเสียหายตอ ความเสียหายที่เกิดขึ้นภายใตหรือ เกี่ยวเนื่องกับสัญญา (ยกเวนกรณีประมาทเลินเลอ อยางรายแรงหรือ กระทําการไมชอบโดยจงใจ) ในจํานวนไมเกินความ เสียหายที่เปนผลโดยตรงจากการดําเนินงานภายใตหรือ ที่เกี่ยวเนื่อ งกับสัญญาตามความเปนจริง และสามารถพิส ูจนได หรือ รอ ยละ 25 ของคาตอบแทนตามสัญญา แลวแต จํานวนใดจะต่ํากวา ทั้ง นี้ ไมวาความเสียหายที่เกิดขึ้นนั้นจะสามารถคาดการณไดหรือ ไม และไมวาผูจําหนายจะไดร ับแจง ถึง ความเปนไปได ที่ความเสียหายอาจจะเกิดขึ้นหรือ ไมก็ตาม 8. สัญญาติดตัง้ ระบบอาณัติสัญญาณ CBTC ระหวาง บีทีเอสซี (“ผูวาจาง”) และ บริษัท บอมบารดิเอร ทราน สปอรเทชั่น ซิกแนล (ประเทศไทย) จํากัด (Bombardier Transportation Signal (Thailand) Ltd.) (“ผูรับจาง”) ฉบับลงวันที่ 22 กุมภาพันธ 2550 วัตถุประสงค

: ผูร ับจางจะดําเนินงานในสวนของการติดตัง้ ตรวจสอบ และทดสอบการใชงาน ของระบบที่เกี่ยวของ กับระบบอาณัติสญั ญาณ CBTC ซึ่ง ดําเนินการจัดหาภายใตส ัญญาจัดหาวัส ดุในตางประเทศ (Foreign Supply Contract) ความรับผิดชอบของผูร ับจางภายใตส ัญญานีร้ วมถึง (แตไมจํากัดเฉพาะ) 

ดําเนินการตรวจสอบสถานที่ สํารวจ ออกแบบ ดําเนินการตามขอ มูลจําเพาะ (Specification) และ (เวนแตจะระบุไวเปนประการอื่น) คัดเลือ กวัส ดุ อุปกรณ โรงงานเครื่องจักร สินคา ขั้นตอน วิธีการ ทํางาน และเทคโนโลยี

รวมมือ กับผูจัดจําหนายภายใตส ัญญาจัดหาวัส ดุในตางประเทศ (Foreign Supply Contract) เพื่อ การจัดสง ที่เหมาะสมและรวดเร็วของ “อุปกรณนําเขา” (Imported Equipment) ตามที่ร ะบุไวใน สัญญาจัดหาวัส ดุในตางประเทศดัง กลาว

ใหการสนับสนุนเกี่ยวกับอะไหลทดแทนในอนาคตตามที่กําหนดไวในสัญญานี้

รับมอบการขนสง “อุปกรณนําเขา” (Imported Equipment) ณ “จุดสง มอบ” (Deliv ery Point) และ ขนสง จนถึงสถานที่ดําเนินงาน (Site) และการจัดเก็บ “อุปกรณนําเขา” (Imported Equipment) ผูร ับจางมีหนาที่ในการดูแลและจัดใหผูจัดจําหนายภายใตส ัญญาจัดหาวัส ดุในตางประเทศปฏิบัติ หนาที่โดยถูกตอ งเหมาะสมตามที่กาํ หนดไวในสัญญาจัดหาวัสดุในตางประเทศดังกลาว โดยใน การนี้ ผูร ับจางจะตองรับผิดรวมกันและแทนกันกับผูจัดจําหนายภายใตสญั ญาจัดหาวัสดุใน ตางประเทศ

ระยะเวลาตาม : ผูร ับจางจะเริ่มตนดําเนินงานเมื่อ สัญญาเริ่มมีผลบัง คับใชแลว และจะดําเนินงานทั้ง หมดจนสําเร็จ สัญญา ครบถวนภายในระยะเวลาไมเกิน 36 เดือ น นับตั้ง แตส ัญญาเริ่มมีผลบัง คับ สัญญาจะมีผลบัง คับก็ ตอ เมื่อ เงือ่ นไขดัง ตอ ไปนี้เกิดขึ้นครบถวนแลว 

ผูซื้อ ไดออก “คําสัง่ ใหเริ่มดําเนินการ” (Instruction to Proceed)

ผูร ับจางไดร ับชําระเงินลวงหนา (Advance Payment) และผูวาจางไดร ับหนังสือค้ําประกันการ สวนที่ 1 หนา 279


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ชําระเงินลวงหนา (Advance Payment Guarantee) จากผูร ับจางแลว 

เงื่อ นไขการ ชําระเงิน

มีการลงนามทําสัญญาจัดหาวัส ดุในตางประเทศ (Foreign Supply Contract) แลว

: คาตอบแทนตามสัญญาจํานวน 529,123,270 บาท (รวมภาษีมูลคาเพิ่ม (VAT) และภาษี หัก ณ ที่จาย) เงื่อ นไขในการชําระเงิน คาตอบแทนตามสัญญาจะไดร ับการชําระตามเงื่อ นไขแหง ผลสําเร็จของงาน (Milestone) ที่ร ะบุไว ในเอกสารแนบทายสัญญา โดยการชําระเงินในแตละคราวผูวาจางจะหักเงินไวในจํานวนเทากับ รอ ยละ 5 ของเงินที่ถึง กําหนดชําระในแตละคราวจนกวาจํานวนเงินที่หักไวดัง กลาวจะครบจํานวน เทากับรอ ยละ 5 ของคาตอบแทนตามสัญญา (ในขณะนั้น)

ความรับผิดใน : คาเสียหาย (Liquidated Damages) กรณีผิดสัญญา ในกรณีที่เกิดความลาชาโดยผูร ับจาง ผูร ับจางจะชําระคาเสียหาย (Liquidated Damages) โดยไม ถือ เปนคาปรับ (Penalty) ใหแกผูวาจางในจํานวนตามที่ร ะบุไวในสัญญา โดยคํานวณตาม ระยะเวลาที่ลาชาเต็มหนึ่ง สัปดาหนับตั้ง แตวันที่ถึง กําหนดตามสัญญาจนถึง วันที่ง านสําเร็จ ครบถวน โดยการชําระคาเสียหายดังกลาว ถือ เปนการบรรเทาความเสียหายแตเพียงอยางเดียว เทานั้นของผูซื้อ ในกรณีดงั กลาวนี้ ขอ จํากัดความเสียหาย (Limit on Liability) จํานวนความเสียหายทัง้ หมดในกรณีเกิดความลาชา (Delay) และในกรณีเกิดการหยุดชะงัก (Dis ruption) แตจะไมเกิน 20% ของคาตอบแทนตามสัญญา ขอ จํากัดความรับผิดโดยรวม (Overall Limit on Liability) ความรับผิดทั้ง หมดของผูร ับจางตามสัญญานี้ (นอกเหนือ จากความรับผิดที่เกิดจากความประมาท เลินเลอ หรือ การกระทํามิชอบโดยเจตนาของผูร ับจาง) จะไมเกินรอ ยละ 25 ของคาตอบแทนตาม สัญญาหรือ ความเสียหายโดยตรงที่เกิดขึ้นจริง และพิส ูจนได (แลว แตวาจํานวนใดจะต่ํากวา) ไมวา ความเสียหายดัง กลาวจะสามารถเล็ง เห็นไดหรือ ไมก็ตาม และไมวาผูวาจางไดร ับคําแนะนําถึง ความเปนไปไดของความเสียหายดัง กลาวแลวหรือ ไมก็ตาม คาปรับสําหรับความลาชาในความสําเร็จตาม “ขอ กําหนดเกี่ยวกับความพรอ มของระบบ” (Availability Requirement) เทากับรอ ยละ 0.01 ของคาตอบแทนตามสัญญาโดยคํานวณตาม จํานวนวันที่เกิดความลาชา (แตไมเกินรอ ยละ 2 ของคาตอบแทนตามสัญญา) โดยถือ วาคาปรับ ดัง กลาวเปนการบรรเทาความเสียหายแตเพียงอยางเดียวเทานั้นของผูวา จางในกรณีดัง กลาว การสิ้นสุดของ : สิทธิในการบอกเลิกสัญญาของผูวาจาง สัญญา ผูวาจางมีส ิทธิบอกเลิกสัญญานี้ไดในกรณีที่มีเหตุผิดนัดผิดสัญญาของผูร ับจาง (ตามที่ร ะบุไวใน สัญญานี)้ เกิดขึ้น และผูร ับจางไมส ามารถแกไขเยียวยาเหตุผิดนัดดัง กลาวนั้นไดภ ายใน 14 วัน หลัง จากที่ผูวาจางไดส ง หนัง สือ แจง ใหผูร ับจางแกไขเยียวยาเหตุผิดนัดดัง กลาวแลว

สวนที่ 1 หนา 280


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

สิทธิในการบอกเลิกสัญญาของผูร ับจาง ผูร ับจางมีส ิทธิบอกเลิกสัญญานี้ได ในกรณีที่ผูวาจางผิดนัดไมชําระเงินตามสัญญาใหแก ผูร ับจาง และภายหลัง ที่ผูร ับจางไดส ง (i) หนัง สือ แจง การไมชําระเงิน (Notice of Non-Payment) ใหแกผูวาจางลวงหนาไมนอ ยกวา 14 วัน (หลัง ครบกําหนด 30 วันหลัง จากวันที่ครบกําหนดชําระ เงินแลว ) และ (ii) หนัง สือ บอกเลิกสัญญา (Notice of Termination) ใหแก ผูวาจางลวงหนาไมนอ ย กวา 28 วันแลว และปรากฏวาผูวาจางยัง คงไมส ามารถชําระเงินที่ถึง กําหนดชําระดัง กลาวใหแก ผูร ับจางได สิทธิในการบอกเลิกสัญญาในกรณีเกิดเหตุที่ไมส ามารถควบคุมได (Uncontrollable Event) ในกรณีที่เหตุที่ไมส ามารถควบคุมได (Uncontrollable Event) (ตามที่ร ะบุในสัญญา) ทําใหการ ปฏิบัติง านไมส ามารถทําไดเปนระยะเวลาติดตอ กัน 90 วัน คูส ัญญาฝายใดฝายหนึ่ง อาจใชส ิทธิ บอกเลิกสัญญาไดโดยบอกกลาวเปนหนัง สือ ใหคูส ัญญาอีกฝายหนึ่ง ทราบ อยางไรก็ดี ผูวาจางมี สิทธิขอขยายระยะเวลากอ นที่ผูร ับจางจะสามารถใชส ิทธิบอกเลิกสัญญาดวยเหตุนี้ไดอ ีกจนถึง 180 วัน ภายใตเงือ่ นไขวาผูซื้อ จะตอ งชดใชตนทุนคาใชจาย (Cost) ของผูร ับจางที่เกิดขึ้นเนื่องจากการ ขยายระยะเวลาดัง กลาว 9. สัญญาจัดหาบุคลากร (Secondment Contract) ระหวาง บีทีเอสซี (“ผูวาจาง”) และ CRC Import & Export Corporation Ltd. (“ผูรับจาง”) ฉบับลงวันที่ 12 กรกฎาคม 2550 วัตถุประสงค

: ผูร ับจางจะดําเนินการจัดหาบุคลากร (Seconded Personnel) ใหแก ผูวาจางเพื่อ การใหบริการ ตามขอ กําหนดและเงื่อ นไขที่กําหนดไวในสัญญานี้ ภายใตส ัญญานี้ “บริการ” (Services) หมายถึง การตรวจสอบ ดูแลและควบคุมกิจกรรมตามที่ร ะบุไวในสัญญาขนสง(Logistic Contract) ลงวันที่ 12 กรกฎาคม 2550 ระหวางผูวาจางและบริษัท มิตรสยาม อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด “สัญญา ขนสง” (รวมถึง การประกอบ การตอ การตรวจสอบ และทดสอบการทํางานของระบบที่เกี่ยวกับ ระบบรถไฟฟา (Rolling Stock System) การฝกอบรมการจัดการและการดูแลรักษาใหแกพนักงาน ของผูวาจาง การดูแลควบคุม การติดตั้ง วัส ดุอ ุปกรณตามที่ระบุไวในสัญญา ตลอดจนการแกไขให ถูกตอ ง รวมถึง การตรวจสอบและวิเคราะหขอ บกพรองในระหวางระยะเวลาการรับประกันและ ระยะเวลาการแกไขขอ บกพรอง (Defects Correction Period) ของระบบรถไฟฟา (Rolling Stock System) และอื่นๆ ตามที่ร ะบุไวในสัญญา

ระยะเวลาตาม : สัญญานี้เริ่มมีผลบัง คับนับตั้ง แตวันที่ลงนาม สัญญา การเริ่มตนใหบริการ การเริ่มตนใหบริการของบุคลากร (Seconded Personnel) ใหเปน ไปตามที่ทั้ง สองฝายจะตกลง รวมกัน การใหบริการเสร็จสิ้น การใหบริการจัดหาบุคลากร (Secondment) ตามสัญญานี้จะสิ้นสุดลงก็ตอ เมือ่ ผูวาจางออกหนังสือ รับรองการแกไขขอ บกพรอง (Defect Correction Certificate) ตามสัญญาจัดจําหนาย

สวนที่ 1 หนา 281


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

เงื่อ นไขการ ชําระเงิน

แบบ 56-1 ป 2555/56

: ผูวาจางจะชําระเงินใหแกบุคลากร (Seconded Personnel) เปนรายเดือ นในอัตราตามที่คูส ัญญา ทั้ง สองฝายจะตกลงรวมกันโดยยึดถือ ระบบเงินเดือ นของผูวาจางเปนเกณฑ

การสิ้นสุดของ : สิทธิในการบอกเลิกสัญญา สัญญา คูส ัญญาฝายที่ไมผิดสัญญาสามารถบอกเลิกการจางบุคลากร (Seconded Personnel) และบอก เลิกสัญญานี้ไดในกรณีที่คูส ัญญาอีกฝายหนึ่ง ผิดสัญญา และคูส ัญญาฝายที่ไมผิดสัญญาไดมีหนัง สือ บอกกลาวลวงหนา 7 วันแกคูส ัญญาฝายที่ผิดสัญญาแลว การบอกเลิกสัญญาในกรณีเกิด “ความเสี่ยงที่ถูกยกเวน” (Excepted Risk) หรือ ในกรณีที่เกิดเหตุที่ ไมส ามารถควบคุมได (Uncontrollable Event) ในกรณีที่ “ความเสี่ยงที่ถูกยกเวน” (Excepted Risk) หรือ เหตุที่ไมส ามารถควบคุมได (Uncontrollable Event) ตามที่ร ะบุไวในสัญญา ทําใหการใหบริการไมส ามารถทําไดเปนระยะเวลา ติดตอ กัน 210 วัน คูส ัญญาฝายใดฝายหนึ่งอาจใชส ิทธิบอกเลิกสัญญาได 10. สัญญาจางผูเดินรถพรอมจัดหารถโดยสาร โครงการรถโดยสารประจําทางดวนพิเศษ (BRT) สายชองนนทรี สะพานกรุงเทพ (ชองนนทรี - ราชพฤกษ) เลขที่ กธ.ส. 001/53 ระหวาง บีทีเอสซี (ในฐานะ “ผูรับจาง”) และ กรุงเทพธนาคม (ในฐานะ “ผูวาจาง”) ฉบับลงวันที่ 10 กุมภาพันธ 2553 วัตถุประสงค

: ผูร ับจางตกลงรับจางเดินรถโดยสารประจําทางดวนพิเศษ (BRT) สายชอ งนนทรี - สะพานกรุง เทพ (ชอ งนนทรี - ราชพฤกษ) พรอ มจัดหารถโดยสารมาวิ่ง ใหบริการ ตลอดจนจัดหาแรงงาน และวัส ดุ เครื่อ งมือ เครือ่ งใช ตลอดจนอุปกรณตาง ๆ เพื่อ ใชในการปฏิบัติตามสัญญา

ระยะเวลาตาม : สัญญานี้จะมีผลใชบัง คับภายหลัง จากวันที่ผูวาจางไดลงนามสัญญาจางบริหารจัดการเดินรถ สัญญา โครงการบริหารจัดการการใหบริการรถโดยสารประจําทางดวนพิเศษ (BRT) สายชองนนทรี สะพานกรุง เทพ (ชองนนทรี – ราชพฤกษ) กับกรุง เทพมหานคร แลว ทั้ง นี้ ผูร ับจางมีหนาที่ปฏิบัติตามสัญญาภายในระยะเวลาดัง ตอ ไปนี้ การจัดใหมีร ถโดยสาร ผูร ับจางจะตองดําเนินการจัดใหมีร ถโดยสารซึ่ง พรอ มสง มอบใหติดตั้งระบบอุปกรณระบบขนสง อัจฉริยะ (ITS) โดยผูร ับเหมาของกรุง เทพมหานคร และอุปกรณอ ื่นๆ โดยแบง เปน 2 ครั้ง คือ ครั้ง แรกเปนจํานวน 10 คัน ภายในวันที่ 24 เมษายน 2553 และครั้ง ที่ส องจํานวน 15 คัน ภายใน วันที่ 30 เมษายน 2553 ทั้ง นี้ ผูร ับจางอาจขอขยายเวลาการสง มอบออกไปอีกไมเกิน 15 วัน การบริหารจัดการเดินรถโดยสาร ผูร ับจางจะตองดําเนินการบริหารจัดการเดินรถเปนระยะเวลา 7 ป นับแตวั นที่ผูวาจางใหเริ่มเปด การเดินรถ นอกจากนี้ ผูร ับจางจะตอ งเอาประกันภัยประเภทตาง ๆ ในวงเงินตามที่กําหนดไวในสัญญา โดยสัญญาประกันภัยดัง กลาวจะตองมีผลใชบังคับตั้ง แตวันเริ่มปฏิบัติงานตามสัญญา และตลอด ระยะเวลาที่ส ัญญามีผลบัง คับใช เงื่อ นไขการ

: คาตอบแทนตามสัญญาจํานวน 535,000,000 บาท ประกอบดวยคาจางคงที่ประมาณ 450,000,000 บาท และคาจางผันแปรประมาณ 85,000,000 บาท (รวมภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีอ ากร สวนที่ 1 หนา 282


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

ชําระเงิน

แบบ 56-1 ป 2555/56

อื่น ๆ และคาใชจายอื่นๆ) โดยจะแบง ชําระเปนงวดตามผลสําเร็จของงานที่ไดส ง มอบจริง ซึ่ง จะตอ งไดร ับการตรวจสอบอนุมัติจากผูวา จางและกรุง เทพมหานคร

ความรับผิดใน : ผูร ับจางจะตองชําระคาปรับใหแกผูวาจางในกรณีดัง ตอ ไปนี้ กรณีผิดสัญญา การจัดใหมีร ถโดยสาร หากผูร ับจางไมส ามารถสง มอบรถโดยสารใหครบถวนตามเวลาที่กําหนด (รวมที่ร ะยะเวลาที่ไดร ับ ขยาย (ถามี)) โดยมีส าเหตุเกิดจากผูร ับจาง ผูร ับจางจะตองชําระคาปรับเปนรายวันคิดเปนรอ ยละ 0.1 ของคาตอบแทนตามสัญญา หรือ คิดเปนจํานวนเงินวันละ 535,000 บาท การบริหารจัดการเดินรถโดยสาร หากผูร ับจางไมส ามารถดําเนินการใหบริการเดินรถ ซึ่ง สง ผลกระทบอยางตอ เนื่อ งตอ ผูโดยสารและ ผูวาจางในวันดัง กลาวอยางรายแรง ผูร ับจางจะตองชําระคาปรับเปนรายวันคิดเปนวันละ 0.4 ของ คาตอบแทนตามสัญญา หรือ คิดเปนจํานวนเงินวันละ 2,104,000 บาท การควบคุมการตรงตอ เวลาของการใหบริการเดินรถ หากผูร ับจางไมส ามารถควบคุมการเดินรถโดยสารใหเปนไปตามมาตรฐานการตรงตอ เวลาตามที่ กําหนดไวในสัญญา โดยมีสาเหตุโดยตรงจากความบกพรอ งโดยจงใจหรือ ประมาทเลินเลอ ของ ผูร ับจาง ผูร ับจางจะตองชําระคาปรับในอัตรารอยละ 1.5 ของคาจางเดินรถในเดือ นนั้นๆ การไมปฏิบัติตามสัญญาของผูร ับจางในกรณีอ ื่น ๆ หากผูร ับจางไมส ามารถดําเนินการแกไขการไมดําเนินการใดๆ ตามสัญญาภายในระยะเวลาที่ ผูวาจางไดระบุไวในหนัง สือ บอกกลาว ผูร ับจางจะตองชําระคาปรับเปนรายวันคิดเปนรอ ยละ 0.1 ของคาตอบแทนตามสัญญา หรือคิดเปนจํานวนเงินวันละ 535,000 บาท นอกจากนี้ เวนแตกรณีที่ผูวาจางบอกเลิกสัญญาโดยเหตุผลกรณีพิเศษ ผูวาจางมีส ิทธิร ิบ หลักประกันการปฏิบัติตามสัญญาทั้ง หมดหรือ บางสวนตามที่เห็นสมควร และผูร ับจางจะตอ ง รับผิดชอบในคาเสียหายตาง ๆ ที่เกิดขึ้น รวมถึง คาใชจายที่เพิ่มขึ้นในการทํางานนั้นใหแลวเสร็จ ตามสัญญาและคาใชจายในการควบคุมงานเพิ่ม (ถามี) ในกรณีที่มีความเสียหายเกิดขึ้นกับผูวาจาง เนื่อ งมาจากผูร ับจางมีหนาที่และความรับผิดในการ ทํางานรวมกับผูร ับจางรายอื่นในโครงการ เชน งานบริหารระบบ งานระบบตั๋วโดยสารอัตโนมัติ (Automatic Fare Collection System-AFC) งานระบบขนสง อัจฉริยะ (Intelligent Transportation System: ITS) ผูร ับจางตกลงไมปฏิเสธความรับผิดและยินยอมเขารวมรับผิดชดใชคา เสียหายที่ เกิดขึ้นใหแกผูวาจางอยางลูกหนี้ร วม การสิ้นสุดของ : สิทธิในการบอกเลิกสัญญาของผูวาจางเนื่อ งจากผูร ับจางผิดสัญญา สัญญา ผูวาจางมีส ิทธิบอกเลิกสัญญาได หากผูร ับจางไมส ามารถปฏิบัติตาม หรือ ไมปฏิบัติตามสัญญาขอ ใดขอ หนึ่ง และผูร ับจางไมดําเนินการแกไขใหถูกตอ งในทันทีนับตั้ง แตวั นที่ไดร ับ แจง หรือ ในกรณี ผูร ับจาง ลูกจาง พนักงานหรือ ตัวแทนของผูร ับจาง กระทําการใดๆ ที่ไมเหมาะสมอันกอใหเกิด ความเสื่อ มเสียแกผูวาจางและกรุง เทพมหานคร และ/หรือ เปนการกระทําความผิดอาญา ทั้ง นี้ ผูร ับจางจะตองรับผิดชอบชดใชคา เสียหาย และคาใชจายใดๆ ที่อาจเกิดขึ้นแกผูวาจางในระยะเวลา สวนที่ 1 หนา 283


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ดัง กลาว และจะตอ งรับผิดชอบหรือ ชดใชใหแกกรุง เทพมหานคร ตลอดจนผูร ับจางงานอื่นๆ และ ผูร ับจางชวงงานอื่นๆ ของโครงการ อยางไรก็ดี หากการไมปฏิบัติตามสัญญากอ ใหเกิดความ เสียหายตอ ผลประโยชนของประชาชนผูใชบริการ หรือ เกี่ยวกับความปลอดภัยของประชาชน หรือ มาตรฐานการยอมรับของสากลเกี่ยวกับความปลอดภัยของยานพาหนะ การขนสง ผูโดยสาร หรือ โครงสรางพื้นฐานอื่นๆ หรือ เกี่ยวกับการไมส ามารถสง มอบรถโดยสารใหครบถวนตามเวลาที่ กําหนด (รวมที่ร ะยะเวลาที่ไดร บั ขยาย (ถามี)) ผูวาจางมีส ิทธิบอกเลิกสัญญาไดทันที สิทธิในการบอกเลิกสัญญาของผูวาจางเนื่องจากผูร ับจางอยูในฐานะที่ไมส ามารถใหบริการเดินรถได ผูวาจางมีส ิทธิบอกเลิกสัญญาได หากผูร ับจางตกเปนบุคคลลมละลายหรือ มีหนี้ส ินลนพนตัว ซึ่ง อาจกอใหเกิดปญหากับการใหบริการเดินรถ สิทธิในการบอกเลิกสัญญาของผูวาจางโดยเหตุผลกรณีพิเศษ ผูวาจางมีส ิทธิบอกเลิกสัญญาได หากกรุง เทพมหานครสัง่ ยุติการเดินรถ หรือ ยกเลิกสัญญาจางเปน ผูบริการระบบกับผูวาจาง หรือ เนื่องจากเหตุผลทางดานความปลอดภัยของอูจอดรถ ความ ปลอดภัยของยานพาหนะ การขนสง ผูโดยสารหรือ เหตุผลอื่นๆ ในทํานองเดียวกัน ความสิ้นสุดลงของสัญญานี้หรือ สัญญาจางผูบริหารสถานีโครงการรถโดยสารดวนพิเศษ (BRT) สายชอ งนนทรี – สะพานกรุง เทพ (ชองนนทรี – ราชพฤกษ) เลขที่ กธ.ส. 003/53 ในกรณีที่ส ัญญาจางผูบริหารสถานีส ิ้นสุดลงไมวาดวยเหตุใด ๆ ก็ตาม ใหถือ วาสัญญานี้มีผลเปนอัน สิ้นสุดลง และในทางกลับกัน (ตามที่กําหนดในสัญญาจางผูบริหารสถานี) 11. สัญญาจางผูบ ริหารสถานี โครงการรถโดยสารประจําทางดวนพิเศษ (BRT) สายชองนนทรี-สะพานกรุงเทพ (ชองนนทรี-ราชพฤกษ) เลขที่ กธ.ส. 003/53 ระหวาง บีทีเอสซี (ในฐานะ “ผูรับจาง”) และ กรุงเทพธนาคม (ในฐานะ “ผูวาจาง”) ฉบับลงวันที่ 11 พฤษภาคม 2553 วัตถุประสงค

: ผูร ับจางตกลงรับจางบริหารจัดการงานสถานี พื้นที่จุดจอดแลวจร สํานักงานควบคุมกลาง สถานี กาซ และงานซอ มบํารุงของโครงการรถโดยสารประจําทางดวนพิเศษ (BRT) สายชอ งนนทรี สะพานกรุง เทพ (ชองนนทรี - ราชพฤกษ) ตลอดจนจัดหาแรงงาน และวัส ดุ เครื่องมือ เครื่อ งใช ตลอดจนอุปกรณตางๆ เพือ่ ใชในการปฏิบัติตามสัญญา นอกจากนี้ ผูร ับจางมีหนาที่ร ับผิดชอบเกี่ยวกับการบริหารและการดําเนินการตามขอบเขตงาน รวมถึง งานอื่นใดที่จําเปน เพื่อ ใหส ามารถดําเนินการไดตามวัตถุประสงคของกรุง เทพมหานคร ในกรณีที่ผูวาจางไดร ับสิทธิพัฒนาพื้นที่เชิง พาณิชยตามสัญญานี้จากกรุง เทพมหานคร ผูวาจางตกลงใหส ิทธิแกผูร ับจางในการยื่นขอ เสนอแผนพัฒนาพื้นที่เชิง พาณิชย และจะรับพิจารณา เปนรายแรกกอ นผูเสนอรายอื่น โดยผูร ับจางจะตองยื่นแผนพัฒนาพื้นที่เชิง พาณิชยเปนหนัง สือ แก ผูวาจางภายใน 60 วันนับ จากวันที่ไดร ับหนัง สือ แจง จากผูวาจาง

ระยะเวลาตาม : สัญญานี้มีผลใชบัง คับตั้ง แตวันที่ 7 เมษายน 2553 โดยแบง ระยะเวลาการดําเนินการเปน 2 ชวง สัญญา คือ ชวงเตรียมความสมบูร ณในการบริหารสถานี (เริ่มตัง้ แตวันที่ผูวาจางรับมอบพื้นที่ส ถานี พรอ ม อาคารสํานักงานตางๆ จากกรุง เทพมหานคร จนถึง วันกอ นเปดเดินรถ) และชวงเวลาดําเนินการ บริหารจัดการโครงการ 7 ปนับแต วันที่เริ่มเปดการเดินรถตามสัญญาจางผูเดินรถพรอ มจัดหา รถโดยสาร โครงการรถโดยสารประจําทางดวนพิเศษ (BRT) สวนที่ 1 หนา 284


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

สายชอ งนนทรี-สะพานกรุง เทพ (ชอ งนนทรี-ราชพฤกษ) เลขที่ กธ.ส. 001/53 ฉบับลงวันที่ 10 กุมภาพันธ 2553 (“สัญญาจางเดินรถ”) ทั้ง นี้ ผูร ับจางจะตองดําเนินการจัดเตรียมความสมบูร ณของโครงการและระบบการใหบริการทั้ง โครงการตามสัญญาใหพรอ มใหบริการในวันที่ 15 พฤษภาคม 2553 นอกจากนี้ ผูร ับจางจะตอ งเอาประกันภัยประเภทตาง ๆ ในวงเงินตามที่กําหนดไวในสัญญา โดย สัญญาประกันภัยดัง กลาวจะตองมีผลใชบัง คับตัง้ แตวันที่ไดร ับมอบสถานีจากกรุง เทพมหานครและ ผูวาจางซึ่ง ถือ วาเปนวันเริ่มปฏิบัติงานตามสัญญา และตลอดระยะเวลาที่ส ัญญามีผลบัง คับใช เงื่อ นไขการ ชําระเงิน

: คาตอบแทนตามสัญญาจํานวน 737,034,083 บาท ประกอบดวยคาจางชวงเตรียมความสมบูร ณ ประมาณ 13,729,705 บาท และคาจางชวงการเปดใหบริการประมาณ 723,304,378 บาท (รวม ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีอ ากรอื่นๆ และคาใชจายอื่นๆ) โดยจะแบง ชําระเปนงวดตามผลสําเร็จของงาน ที่ไดส ง มอบจริง ในแตละเดือ น ซึ่ง จะตอ งไดร ับการตรวจสอบอนุมัติจากผูวา จางและ กรุง เทพมหานคร

ความรับผิดใน : ผูร ับจางจะตองชําระคาปรับใหแกผูวาจางในกรณีดัง ตอ ไปนี้ กรณีผิดสัญญา ในชวงเตรียมความสมบูร ณ หากผูร ับจางไมส ามารถบริหารระบบเพื่อ เปดการใหบริการเดินรถไดตามกําหนดเวลาในสัญญา โดยมีสาเหตุเกิดจากผูร ับจาง ผูร ับจางจะตองชําระคาปรับใหแกผูวาจางเปนรายวันคิดเปนรอยละ 0.3 ของคาตอบแทนตามสัญญา หรือ คิดเปนจํานวนเงินวันละ 2,211,102 บาท ในชวงการเปดใหบริการเดินรถ หากผูร ับจางไมส ามารถดําเนินการใหบริการเดินรถ ซึ่ง สง ผลกระทบอยางตอ เนื่อ งตอ ผูโดยสารและ ผูวาจางในวันดัง กลาวอยางรายแรง ผูร ับจางจะตองชําระคาปรับเปนรายวันคิดเปนวันละ 0.3 ของ คาตอบแทนตามสัญญา หรือ คิดเปนจํานวนเงินวันละ 2,211,102 บาท การควบคุมการตรงตอ เวลาของการใหบริการเดินรถ หากผูร ับจางไมส ามารถควบคุมการเดินรถโดยสารใหเปนไปตามมาตรฐานการตรงตอ เวลาตามที่ กําหนดไวในสัญญา โดยมีสาเหตุโดยตรงจากความบกพรอ งโดยจงใจหรือ ประมาทเลินเลอ ของ ผูร ับจางตามสัญญานี้ หรือ ทั้ง ที่เกิดจากสัญญาจางเดินรถและสัญญานี้ร วมกัน ผูร ับจางจะตอ งชําระ คาปรับตามจํานวนเงินที่ผูวาจางจะตองชําระใหแกกรุง เทพมหานครอันเนื่อ งมาจากเหตุดัง กลาวทุก จํานวน การไมปฏิบัติตามสัญญาของผูร ับจางในกรณีอ ื่นๆ หากผูร ับจางไมส ามารถดําเนินการแกไขการไมดําเนินการใดๆ ตามสัญญาภายในระยะเวลาที่ ผูวาจางไดระบุไวในหนัง สือ บอกกลาว ผูร ับจางจะตองชําระคาปรับเปนรายวันคิดเปน รอ ยละ 0.1 ของคาตอบแทนตามสัญญา หรือ คิดเปนจํานวนเงินวันละ 737,034 บาท อยางไรก็ตาม ในกรณีที่ผูวาจางมีส ิทธิปรับผูร ับจางตามสัญญาจางเดินรถและสัญญานี้ ผูวาจางสามารถปรับผูร ับจางรวมกันทั้ง สองสัญญาไมเกินจํานวนเงินที่กรุง เทพมหานครมีส ิทธิปรับ ผูวาจางอันเนื่องมาจากเหตุดัง กลาว สวนที่ 1 หนา 285


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

นอกจากนี้ เวนแตกรณีที่ผูวาจางบอกเลิกสัญญาโดยเหตุผลกรณีพิเศษ ผูวาจางมีส ิทธิร ิบ หลักประกันการปฏิบัติตามสัญญาทั้ง หมดหรือ บางสวนตามที่เห็นสมควร และผูร ับจางจะตอ ง รับผิดชอบในคาเสียหายตางๆ ที่เกิดขึ้น รวมถึงคาใชจา ยที่เพิ่มขึ้นในการทํางานนั้นใหแลวเสร็จ ตามสัญญาและคาใชจายในการควบคุมงานเพิ่ม (ถามี) ในกรณีที่มีความเสียหายเกิดขึ้นกับผูวาจาง เนื่อ งมาจากผูร ับจางมีหนาที่และความรับผิดในการ ทํางานรวมกับผูร ับจางรายอื่นในโครงการ เชน งานบริหารระบบ งานระบบตั๋วโดยสารอัตโนมัติ (Automatic Fare Collection System-AFC) งานระบบขนสง อัจฉริยะ (Intelligent Transportation System: ITS) ผูร ับจางตกลงไมปฏิเสธความรับผิดและยินยอมเขารวมรับผิดชดใชคา เสียหายที่ เกิดขึ้นใหแกผูวาจางอยางลูกหนี้ร วม การสิ้นสุดของ : สิทธิในการบอกเลิกสัญญาของผูวาจางเนื่อ งจากผูร ับจางผิดสัญญา สัญญา ผูวาจางมีส ิทธิบอกเลิกสัญญาได หากผูร ับจางไมส ามารถปฏิบัติตาม หรือ ไมปฏิบัติตามสัญญาขอ ใดขอ หนึ่ง และผูร ับจางไมดําเนินการแกไขใหถูกตอ งในทันทีนับตั้ง แตวั นที่ไดร ับ แจง หรือ ในกรณี ผูร ับจาง ลูกจาง พนักงานหรือ ตัวแทนของผูร ับจาง กระทําการใด ๆ ที่ไมเหมาะสมอันกอใหเกิด ความเสื่อ มเสียแกผูวาจางและกรุง เทพมหานคร และ/หรือ เปนการกระทําความผิดอาญา ทั้ง นี้ ผูร ับจางจะตองรับผิดชอบชดใชคา เสียหาย และคาใชจายใดๆ ที่อาจเกิดขึ้นแกผูวาจางในระยะเวลา ดัง กลาว และจะตอ งรับผิดชอบหรือ ชดใชใหแกกรุง เทพมหานคร ตลอดจนผูร ับจางงานอื่นๆ และ ผูร ับจางชวงงานอื่นๆ ของโครงการ อยางไรก็ดี หากการไมปฏิบัติตามสัญญากอ ใหเกิดความ เสียหายตอ ผลประโยชนของประชาชนผูใชบริการ หรือ เกี่ยวกับความปลอดภัยของประชาชน หรือ มาตรฐานการยอมรับของสากลเกี่ยวกับความปลอดภัยของยานพาหนะ การขนสง ผูโดยสาร หรือ โครงสรางพื้นฐานอื่น ๆ หรือ เกี่ยวกับการไมส ามารถดําเนินการเปดการเดินรถโดยสารตามที่ กําหนดไวในสัญญา ผูวาจางมีส ิทธิบอกเลิกสัญญาไดทันที สิทธิในการบอกเลิกสัญญาของผูวาจางเนื่องจากผูร ับจางอยูในฐานะที่ไมส ามารถใหบริการเดินรถได ผูวาจางมีส ิทธิบอกเลิกสัญญาได หากผูร ับจางตกเปนบุคคลลมละลายหรือ มีหนี้ส ินลนพนตัว ซึ่ง อาจกอใหเกิดปญหากับการใหบริการเดินรถและงานตามสัญญานี้ สิทธิในการบอกเลิกสัญญาของผูวาจางโดยเหตุผลกรณีพิเศษ ผูวาจางมีส ิทธิบอกเลิกสัญญาได หากกรุง เทพมหานครสัง่ ยุติการเดินรถ หรือ ยกเลิกสัญญาจางเปน ผูบริการระบบกับผูวาจาง หรือ เนื่องจากเหตุผลทางดานความปลอดภัยของอูจอดรถ ความ ปลอดภัยของยานพาหนะ การขนสง ผูโดยสารหรือ เหตุผลอื่นๆ ในทํานองเดียวกัน ความสิ้นสุดลงของสัญญานี้หรือ สัญญาจางเดินรถ ในกรณีที่ส ัญญาจางเดินรถสิ้นสุดลงไมวาดวยเหตุใดๆ ก็ตาม ใหถือ วาสัญญานี้มีผลเปนอันสิ้นสุด ลง และในทางกลับกัน 12. สัญญาใหสิทธิบริหารจัดการดานการตลาด (License to Manage Marketing Services Agreement) ระหวาง บีทีเอสซี และ วีจีไอ ฉบับลงวันที่ 18 พฤษภาคม 2555 วัตถุประสงค

: บีทีเอสซีใหส ิทธิวีจีไอแตเพียงผูเดียวในการบริหารจัดการพื้นที่โฆษณา พื้นที่โฆษณาภายนอกตัว รถไฟพื้นที่วางขายสินคา และพื้นที่เพิ่มเติม ภายในระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลัก สวนที่ 1 หนา 286


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ภายใตขอ ตกลงและเงือ่ นไขที่ร ะบุไวในสัญญา “พื้นที่โฆษณา” หมายถึง พื้นที่ของอาคารและสิ่งปลูกสรางซึ่งเปนที่ตั้งของสถานีรถไฟฟาสายสีลมและสายสุขุมวิท รวม 23 สถานี ของระบบรถไฟฟาขนสงมวลชนกรุงเทพสายหลัก ตามที่ระบุไวในแบบแปลนเอกสารแนบทาย สัญญา ซึ่งบีท ีเอสซีอนุญาตใหวีจีไอใชเพื่อติดตั้งหรือจัดตั้งปายโฆษณาตางๆ เชน ปายบริเวณพื้นที่ชั้นจําหนายตั๋ว โดยสาร (Concourse Level) ปายแผงขายสินคาบริเวณพื้นที่ชั้นจําหนายตั๋ว โดยสาร กระดานปาย ปายหรือสื่อ อิเล็กทรอนิกสบริเวณชั้นชานชาลา (Platform Level) ปายหรือสื่ออิเล็กทรอนิกสภ ายในรถไฟหรือเคาเตอรจัดแสดง ในรูปแบบอื่นๆ เปนต น “พื้นที่โฆษณาภายนอกตัวรถไฟ” หมายถึง พื้นที่โฆษณาภายนอกตัวรถไฟ รวมถึงบริเวณหลังคาและตูโดยสารของ ตัวรถไฟทั้งหมดที่ บีท ีเอสซีเปนผูครอบครอง และ/หรือ เปนเจาของกรรมสิท ธิ์ ซึ่งใหบริการในระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุงเทพสายหลัก และ/หรือ ที่ไดรับสิท ธิในการเดินรถจากหนวยงานรัฐ และ/หรือ อื่นๆ ทั้งในปจจุบั นและ อนาคตในพื้นที่ไมนอยกวา 150 (หนึ่งรอยหาสิบ) ตารางเมตร ตอรถไฟ 1 ขบวน “พื้นที่วางขายสินคา” หมายถึง พื้นที่บริเวณชั้นจําหนายตั๋วโดยสารของสถานที่ตามที่ระบุไวในแบบแปลน เอกสารแนบทายสัญญา ซึ่งบีท ีเอสซีอนุญาตใหวีจีไอใชเพื่อติดตั้งรานวางขายสินคาและ/ห รือรานเพื่อการพาณิชย “พื้นที่เพิ่มเติม” หมายถึง พื้นที่นอกเหนือจากพื้นที่โฆษณา พื้นที่โฆษณาภายนอกตัวรถไฟ และพื้นที่วางขาย สินคา ที่บีท ีเอสซีเห็นวาเหมาะสมสําหรับใชเปนพื้นที่โฆษณาหรือเปนพื้นที่วางขายสินคาตามที่จะตกลงกับวีจีไอ เปนครั้งคราว ซึ่งบีท ีเอสซีตกลงใหวีจีไอเปนผูมีสิท ธิบริห ารจัดการแตเพียงผูเดียว ทั้งนี้ พื้นทีเ่ พิ่มเติมให หมายความรวมถึง รั้วและประตูอัตโนมัติบริเวณขอบชานชาลา

ระยะเวลาของ : 18 พฤษภาคม 2555 - 4 ธันวาคม 2572 (“ชวงเวลาเริ่มแรก”) และในกรณีที่บีทีเอสซีมีส ิทธิขยาย สัญญา สัญญาสัมปทานกับ กทม. วีจีไอจะไดร ับสิทธิเปนรายแรกในการขยายเวลาการใหส ิทธิบริหาร จัดการดัง กลาวเพิ่มเติม เปนจํานวนปเทากับป ที่บี ทีเอสซีไดส ิทธิจาก กทม. ภายใตขอ ตกลงและ เงื่อ นไขในชวงเวลาเดียวกันกับชวงเวลาเริ่มแรก คาตอบแทน การใหส ิทธิ บริหารจัดการ

: เพื่อ ตอบแทนการใหส ิทธิใชพื้นที่โฆษณา พื้นที่โฆษณาภายนอกตัวรถไฟ พื้นที่วางขายสินคา และ พื้นที่เพิ่มเติม วีจี ไอจะตอ งชําระเงินคาตอบแทนรายปใหแกบีที เอสซี ดัง นี้  ชวง 18 พฤษภาคม 2555 ถึง 17 พฤษภาคม 2560 เปนจํา นวนเทา กับรอยละ 5 (หา ) ของรายได รวมรายปทั้ง หมดที่เกิดจากการใชพื้นที่โฆษณา พื้นที่โฆษณาภายนอกตัวรถไฟ พื้นที่วางขาย สินคา และพื้นที่เพิ่มเติม (ไมร วมภาษีมูลคาเพิ่ม) 

ชวง 18 พฤษภาคม 2560 ถึง 17 พฤษภาคม 2565 เปนจํานวนเทากับรอยละ 10 (สิบ) ของ รายไดร วมรายปทั้ง หมดที่เกิดจากการใชพื้นที่โฆษณา พื้นที่โฆษณาภายนอกตัวรถไฟ พื้นที่ วางขายสินคา และพื้นที่เพิ่มเติม (ไมร วมภาษีมูลคาเพิ่ม)

ชวง 18 พฤษภาคม 2565 ถึง 17 พฤษภาคม 2570 เปนจํานวนเทากับรอยละ 15 (สิบหา) ของ รายไดร วมรายปทั้ง หมดที่เกิดจากการใชพื้นที่โฆษณา พื้นที่โฆษณาภายนอกตัวรถไฟ พื้นที่ วางขายสินคา และพื้นที่เพิ่มเติม (ไมร วมภาษีมูลคาเพิ่ม)

ชวง 18 พฤษภาคม 2570 ถึง 4 ธันวาคม 2572 เปนจํานวนเทากับรอยละ 20 (ยี่ส ิบ) ของรายได รวมรายปทั้ง หมดที่เกิดจากการใชพื้นที่โฆษณาภายนอกตัวรถไฟ พื้นที่วางขายสินคา และพื้นที่ เพิ่มเติม (ไมร วมภาษีมูลคาเพิม่ )

ทั้ง นี้ คาตอบแทนรายปดัง กลาวกําหนดใหแบง ชําระเปนรายไตรมาส โดยกําหนดชําระภายใน 60 วัน นับจากวันสุดทายของแตละไตรมาสตามปปฏิทิน ซึ่ง งวดแรกกําหนดชําระภายในวันที่ 30

สวนที่ 1 หนา 287


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

พฤศจิกายน 2555 การใหส ิทธิร าย : กรณีที่บีทีเอสซีไดส ิทธิใดๆ จากรัฐบาล หนวยงานรัฐ องคกร และ/หรือ เอกชนใดๆ เพื่อ การดําเนิน แรกแกวีจีไอ โครงการการเดินรถไฟฟา และ/หรือ รถประเภทใดๆ และ/หรือ โครงการใดๆ ก็ตามบีทีเอสซีตกลงให สิทธิร ายแรกแกวีจีไอในการเจรจาเพื่อ สิทธิในการบริหารจัดการพื้นที่โฆษณา และ/หรือ พื้นที่ วางขายสินคา และ/หรือ พื้นที่เชิง พาณิชยใดๆ ภายใตเงื่อ นไขที่เหมาะสม หนาที่แ ละ ภาระผูกพัน ของวีจีไอ

: การลงทุนกอ สราง/การติดตัง้ 

ปายโฆษณา การโฆษณานอกตัวรถไฟฟา รานจําหนายสินคา และสง เสริมการขาย วีจีไอจะเปนผูลงทุนในวัส ดุอ ุปกรณทั้ง หมดที่จําเปนสําหรับการกอสราง/การติดตั้ง ปายโฆษณา การโฆษณานอกตัวรถไฟฟา รานจําหนายสินคา รวมถึง การติดตัง้ และการบํารุง รักษามาตรวัด ไฟฟา และชําระคาใชจา ยในสวนของคาสาธารณูปโภคทั้ง หมดที่เกี่ยวกับการกอ สราง/การติดตั้ง

รั้วและประตูอตั โนมัติบริเวณขอบชานชาลา วีจีไอจะเปนผูลงทุนในวัส ดุอ ุปกรณทั้ง หมดที่จําเปนสําหรับการกอสราง/การติดตั้งรั้วและประตู อัตโนมัติบริเวณขอบชานชาลา รวมถึง การติดตัง้ และการบํารุง รักษามาตรวัดไฟฟา และชําระ คาใชจา ยในสวนของคาสาธารณูปโภคทั้ง หมดที่เกี่ยวกับการกอ สราง/การติดตั้ง จํานวนไมเกิน 23 สถานี ตลอดอายุส ัญญา

กรรมสิทธิ์ในทรัพยส ิน สิ่ง อํานวยความสะดวก สิง่ ติดตั้ง แผนปาย แผง ดิส เพลย และเคานเตอรเพือ่ การพาณิชย สายไฟฟา แผงสับเปลี่ยนไฟฟา รั้วและประตูอ ัตโนมัติบริเวณขอบชานชาลา และอุปกรณอ ื่นๆ ที่ ติดตั้ง โดยวีจีไอ รวมถึง ปายโฆษณา รานจําหนายสินคา เฉพาะในสวนทรัพยเคลื่อ นที่ไมได (ทรัพย เคลื่อ นที่ไมได หมายถึง หากมีการเคลื่อ นยายทรัพยเคลื่อ นที่ไมได ทรัพยเคลื่อ นที่ไมไดดัง กลาวจะ กอ ใหเกิดความเสียหายแกส ถานที่) จะตกเปนทรัพยส ินของผูใหส ัมปทานของบีทีเอสซี หรือ บีทีเอสซี (แลว แตบี ทีเอสซีจะกําหนด) เมื่อ หมดอายุหรือสิ้นสุดสัญญา การบํารุง รักษาและซอ มแซม วีจีไอจะทําการบํารุง รักษาและซอ มแซม ปายโฆษณา โฆษณานอกตัวรถไฟฟา รานจําหนายสินคา รั้วและประตูอ ัตโนมัติบริเวณขอบชานชาลาดวยคาใชจายของวีจีไอแตฝายเดียว ตนทุนและคาใชจาย วีจีไอจะตอ งรับภาระตนทุนและคาใชจายทั้ง หมดที่เกิดขึ้นเกี่ยวกับการบริหารจัดการปายโฆษณา การโฆษณานอกตัวรถไฟฟา รานจําหนายสินคา รั้วและประตูอ ัตโนมัติบริเวณขอบชานชาลา รวมถึง เงินลงทุน คาดําเนินการธุรกิจ คาทําความสะอาด คาใชจายสาธารณูปโภค เชน น้ําประปา ไฟฟา และโทรศัพท และภาษี คาธรรมเนียมของรัฐและคาอากรแสตมป (ถามี) ทุกชนิด การประกันภัย วีจีไอตอ งจัดใหมีกรมธรรมประกันความเสี่ยงภัยทุกประเภท (All Risk) และบุคคลที่ส าม (Third Party Insurance) อันจะเปนประโยชนแกและระบุชื่อ วีจีไอ บีทีเอสซี และบุคคลอื่นๆ ตามที่

สวนที่ 1 หนา 288


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

บีทีเอสซีอ าจกําหนดใหเปนผูเอาประกัน ดวยคาใชจายของวีจีไอ การสิ้นสุด สัญญา

: สัญญาจะสิ้นสุดลงในกรณีดัง ตอ ไปนี้ 

เมื่อ ชวงเวลาเริ่มแรกของสัญญาสิ้นสุดลงโดยไมมีการแจงขอตออายุ/ขยายเวลาโดยวีจีไอ

เมื่อ คูสญั ญาฝายใดฝายหนึง่ ผิดสัญญาในสวนที่เปนสาระสําคัญ หรือ เปนการใหสญั ญาที่ไม ถูกตองและคูสญั ญาอีกฝายหนึง่ ไดมีหนัง สือ บอกกลาวใหคูส ัญญาฝายที่ผิดสัญญาดําเนินการ แกไขเยียวยาเหตุแหง การผิดสัญญาดังกลาวแลว แตคูส ัญญาฝายที่ผิดสัญญามิไดดาํ เนินการ แกไขเหตุแหง การผิดสัญญาดังกลาวภายในระยะเวลา 60 (หกสิบ) วันนับแตวันที่ไดร ับหนัง สือ บอกกลาวเชนวานั้น และคูสญั ญาอีกฝายหนึ่ง ใชส ิทธิบอกเลิกสัญญา

ในกรณีที่มีความเสียหายหรือการถูกทําลายอยางรุนแรงของอาคารและสิง่ ปลูกสรางซึ่ง เปนที่ตั้ง ของสถานีร ถไฟฟาในเสนสายสีลม และสายสุขุมวิทรวม 23 สถานี ของระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลัก และวิศวกรอิส ระซึง่ เปนที่ยอมรับของทั้งสองฝายมีคําตัดสินวาความ เสียหาย หรือ การถูกทําลายดังกลาวไมสามารถซอ มแซมใหคืนดีไดภ ายในระยะเวลาอันควร

ในกรณีที่วีจีไอกลายเปนบุคคลที่มีหนี้ส ินลนพนตัว หรือ ตกเปนบุคคลลมละลาย และ บีทีเอสซีใชส ิทธิบอกเลิกสัญญา

13. สัญญาซื้อและโอนสิทธิรายไดสุทธิ ระหวาง บีทีเอสซี (ในฐานะผูขาย) และ กองทุนรวมโครงสรางพื้นฐาน ระบบขนสงมวลชนทางราง บีทีเอสโกรท (“กองทุน”) (ในฐานะผูซ ื้อ) ฉบับลงวันที่ 17 เมษายน 2556 วัตถุประสงค

: บีทีเอสซีตกลงที่จะขายและโอนรายไดส ุทธิใหแกกองทุน และกองทุนตกลงที่จะซื้อ และรับโอน รายไดส ุทธิ ตามขอ กําหนดและเงื่อ นไขที่กําหนดไวในสัญญานี้ (“วันที่ทําการซื้อ ขายเสร็จสิ้น”)

คําจํากัดความ :

คาใชจาย O&M

: ตนทุน คาใชจาย ภาษีส รรพสามิต ภาษีมูลคาเพิ่ม ภาษีโรงเรือ นและ ที่ดิน ภาษีศุลกากร อากรแสตมป ภาษีอ ื่นใด คาใชจายสินทรัพยทุน และคาธรรมเนียมรวมทั้ง คาใชจายที่เกิดจากการดําเนินคดีที่บีทีเอสซี กอ ขึ้นอยางเหมาะสมเกี่ยวกับการดําเนินงานและบํารุงรักษาระบบ รถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลัก (รวมถึง ความเสียหาย เกี่ยวกับการฟองคดีความที่เปนผลมาจากการดําเนินงานและ บํารุง รักษาระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลัก) ภายหลัง วันที่ทําการซื้อ ขายเสร็จสิ้น โดยไมร วม (ก) คาใชจายในการจัดหา เงินทุนหมุนเวียนหรือ สินเชื่อ อื่นใดที่บีทีเอสซีตองใช (ข) ภาษีนิติ บุคคลของบีทีเอสซี และความรับผิดในทางภาษีอ ื่นใดอันเกิดจาก ความจงใจหรือ ประมาทเลินเลอ ของบีทีเอสซี (ค) คาใชจา ยที่เกี่ยวกับ การดําเนินงานและบํารุง รักษาทรัพยส ินที่ไมไดซ้อื (นอกเหนือ ไป จากคาใชจายที่เกี่ยวกับการดําเนินงานและบํารุง รักษาทรัพยส ิน อุปกรณ และสิ่ง อํานวยความสะดวกที่เกี่ยวของของบีทีเอสซีซึ่ง มีการ ใชและจําเปนสําหรับการดําเนินงานและบํารุง รักษาระบบรถไฟฟา ขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลักซึ่ง มีการปนสวนคาใชจายกันระหวาง ระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลักและทรัพยส ินที่ไมได ซื้อ ) และ (ง) คาใชจายที่บีทีเอสซีจะตองรับผิดชอบตามที่กําหนดไว สวนที่ 1 หนา 289


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ในเอกสารธุร กรรม คาใชจาย O&M ประมาณการ รายวัน

: งบประมาณคาใชจาย O&M สําหรับเดือ นที่เกี่ยวของ หารดวย จํานวนวันของเดือ นที่เกี่ยวของนั้น โดยเศษสตางคที่เกิดขึ้นจากการ คํานวณดัง กลาว ใหนํามาปรับในวันสุดทายของเดือ น

โครงการ รถไฟฟาที่ กําหนด

: โครงการดัง ตอ ไปนี้: (ก) รถไฟฟาสายสีเขียว (หมอชิต–คูคต) (ข) รถไฟฟาสายสีเขียว (แบริ่ง -สมุทรปราการ) (ค) รถไฟฟาสายสีเขียว (สนามกีฬาแหง ชาติ-ยศเส) (ง) รถไฟฟาสายสีเขียว (คูคต-ลําลูกกา) (จ) รถไฟฟาสายสีเขียว (สมุทรปราการ-บางปู) (ฉ) สัญญาใหบริการ เดินรถและซอ มบํารุง ระยะยาว และ (ช) สัญญาตอ อายุส ัญญา สัมปทาน (หากมี) ที่บี ทีเอสซี บีทีเอสจี หรือ บริษัทในเครือ ไดเขาทํา หรือ เปนเจาของ และ/หรือ จะไดเขาทําหรือ เปนเจาของในอนาคต

งบประมาณ คาใชจาย O&M

: งบประมาณคาใชจายดําเนินงานของบีทีเอสซีซึ่ง แสดงคาใชจาย O&M ประมาณการสําหรับปหนึ่ง ๆ ซึ่ง บีทีเอสซีตองจัดสง ตามความที่ กําหนดไวในสัญญานี้และที่กองทุนอนุมัติ

ทรัพยส ินที่ ไมไดซื้อ

: ทรัพยส ิน รายได สิทธิ สิทธิประโยชน กรรมสิทธิ์ และ/หรือ ผลประโยชน ของบีทีเอสซี ซึ่ง รวมถึง (แตไมจํากัดอยูเพียง) หุนในบีเอสเอสและหุน ในบริษัท วีจีไอ โกลบอล มีเดีย จํากัด (มหาชน) สิทธิ และประโยชน ตางๆ ภายใตส ัญญาใหบริการเดินรถและซอ มบํารุงระยะยาว และ สิทธิและประโยชนตางๆ ภายใตส ัญญาที่เกี่ยวกับโครงการรถ โดยสารดวนพิเศษ (BRT) สายชอ งนนทรี-สะพานกรุง เทพ (ชอ ง นนทรี ราชพฤกษ) แตไมร วมถึง รายไดส ุทธิ

เปาหมายรายได : เปาหมายรายไดคาโดยสารสุทธิประจําปที่บีทีเอสซีมีหนาที่ตอ งจัดทํา และนําสง แกกองทุนในแตละรอบปบัญชี โดยแสดงรายไดคา โดยสาร คาโดยสารสุทธิ สุทธิท่คี าดวาจะไดร ับสําหรับรอบปบัญชีนั้น ประจําป ผูส นับสนุน หรือ : บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้ง ส จํากัด (มหาชน) บีทีเอสจี ระบบขนสง มวลชนกรุง เทพ และปริมณฑล

: บริการขนสง สาธารณะใดๆ ที่เปนทางเลือ กแทนการใชร ถยนตส วน บุคคลเพื่อ การเดินทางในกรุง เทพมหานครและปริมณฑลซึ่ง หมายความถึง จัง หวัดนนทบุร ี จัง หวัดสมุทรปราการ จัง หวัด สมุทรสาคร จัง หวัดปทุมธานี และ จัง หวัดนครปฐม

ระบบรถไฟฟา ขนสง มวลชน กรุง เทพสวนตอ ขยาย

: สวนตอ ขยายจากระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลัก ซึ่ง ขณะนี้มีบีทีเอสซี เปนผูใหบริการ ดําเนินการและบํารุง รักษาแก กรุง เทพธนาคม ซึ่ง ครอบคลุมสวนตอ ขยายสายสีลมระยะทาง 2.2 กิโลเมตร จากสถานีสะพานตากสินถึง สถานีวงเวียนใหญ สวนตอ ขยายสายสุขุมวิทระยะทาง 5.25 กิโลเมตร จากสถานีอ อ นนุชถึง สถานีแบริ่ง และสวนตอ ขยายสายสีลมระยะทาง 5.3 กิโลเมตรตาม สวนที่ 1 หนา 290


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ถนนเพชรเกษม จากสถานีวงเวียนใหญถงึ สถานีบางหวา ระบบรถไฟฟา ขนสง มวลชน กรุง เทพสาย หลัก

: ระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสายแรกเริ่ม ซึ่ง ครอบคลุม ระยะทาง 23.5 กิโลเมตร ไดแก สายสุขุมวิท ระยะทาง 17 กิโลเมตร จากสถานีหมอชิตถึง สถานีอ อ นนุช และสายสีลม ระยะทาง 6.5 กิโลเมตรจากสถานีส นามกีฬาแหง ชาติถึงสถานีสะพานตากสิน

รายไดคา โดยสารสุทธิ

: รายไดคาโดยสารทั้ง หมดที่จะเกิดขึ้นจากการดําเนินงานระบบ รถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลัก นับจากวันที่ ทําการซื้อ ขาย เสร็จสิ้นจนถึง วันสิ้นสุดอายุส ัญญาสัมปทาน หักดวยคาใชจาย O&M

รายไดส ุทธิ

: รายไดคาโดยสารทั้ง หมดที่จะเกิดขึ้นจากการดําเนินงานระบบ รถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลัก นับจากวันที่ ทําการซื้อ ขาย เสร็จสิ้นจนถึง วันสิ้นสุดอายุส ัญญาสัมปทาน หักดวยคาใชจาย O&M ทั้ง นี้ รายไดส ุทธิร วมถึง เงินที่ไดร ับจากการใชส ิทธิเรียกรอ ง คําตัดสิน คําพิพากษา คดีความที่ตัดสินใหแกบีทีเอสซี รวมทั้ง การดําเนินการ หรือ สิทธิอ ื่นใดซึ่ง บีทีเอสซีมีส ิทธิไดร ับที่เกิดขึ้นจากหรือ เกี่ยวกับ รายไดส ุทธิ และสัญญาสัมปทานที่เกี่ยวกับการดําเนินงานระบบ รถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลัก (แตไมร วมถึง สิทธิเรียกรอง หรือ สิทธิในการไดร ับเงินที่เกี่ยวกับเหตุการณที่เกิดขึ้นกอ นวันที่ทํา การซื้อ ขายเสร็จสิ้น ไมวาการเรียกรอ งเงินหรือ การไดร ับเงินดังกลาว จะเกิดขึ้นกอ นหรือ หลัง วันที่ทําการซื้อ ขายเสร็จสิ้น)

รายไดส ุทธิ รายวัน

: รายไดส ุทธิของวันใดวันหนึ่ง (นับจากวันที่ทําการซื้อ ขายเสร็จสิ้น) หลัง จากการหักคาใชจา ย O&M ประมาณการรายวัน

วันทําการของ คูส ัญญา

: วันเปดทําการตามปกติของธนาคารพาณิชยในกรุง เทพมหานคร (อันนอกเหนือ ไปจากวันเสาร วันอาทิตย และวันหยุดทําการของ บริษัทจัดการกองทุนหรือ บีทีเอสซี)

วันสิ้นสุดอายุ : วันที่ 4 ธั นวาคม พ.ศ. 2572 ซึ่ง เปนวันที่ส ัญญาสัมปทานจะสิ้นสุดลง สัญญาสัมปทาน สัญญาโครงการ

: (ก) สัญญาสัมปทาน (ข) สัญญาบํารุง รักษา ฉบับลงวันที่ 30 ธัน วาคม 2547 ระหวางบีที เอสซีและซีเมนส ตามที่ไดมีการแกไขเพิ่มเติม (ค) สัญญาระบบสัญญาณ ฉบับลงวันที่ 22 กุมภาพันธ 2550 ระหวางบีทีเอสซี และบอมบารเดียร และ (ง) สัญญาใหบริการ BSS Card Scheme ฉบับลงวัน ที่ 23 กุมภาพันธ พ.ศ. 2555 เกี่ยวกับการดําเนินการใหบริการบัตร สมารทการด ระหวางบีทีเอสซีและบีเอสเอส

สัญญาสัมปทาน : สัญญาสัมปทานฉบับลงวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2535 ซึ่ง ทําขึ้น สวนที่ 1 หนา 291


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ระหวาง กทม. และบีทีเอสซี เกี่ยวกับสัมปทานการดําเนินงานระบบ รถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลัก ตลอดจนสัญญาที่แกไข เพิ่มเติม ซึ่ง มีอ ายุส ัมปทานเปนเวลา 30 ป นับจากวันเริ่มดําเนินการ ในเชิง พาณิชยเมื่อ วันที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2542 และสิ้นสุดลงในวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2572 สัญญาใหบริการ : สัญญาการใหบริการเดินรถและซอ มบํารุง ระบบรถไฟฟาขนสง เดินรถและซอ ม มวลชนกรุง เทพสวนตอ ขยาย และ ระบบรถไฟฟาขนสง มวลชน กรุง เทพสายหลัก (เมื่อ สัมปทานภายใตส ัญญาสัมปทานสิ้นอายุ) บํารุง ระยะยาว ฉบับลงวันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 ระหวางกรุง เทพธนาคมใน ฐานะผูบริหารระบบ และบีทีเอสซี ในฐานะผูใหบริการ หุนกูบีทีเอสซี

: หุนกูของบีทีเอสซี ครั้ง ที่ 1/2552 ชุดที่ 1 ครบกําหนดไถถอนป พ.ศ. 2555 ชุดที่ 2 ครบกําหนดไถถอนป พ.ศ. 2556 ชุดที่ 3 ครบกําหนด ไถถอนป พ.ศ. 2557 ชุดที่ 4 ครบกําหนดไถถอนป พ.ศ. 2558 และ ชุดที่ 5 ครบกําหนดไถถอนป พ.ศ. 2559

เอกสารธุร กรรม : 1) สัญญาซื้อ และโอนสิทธิร ายไดส ุทธิ 2) สัญญาสนับสนุนและค้ําประกันของผูส นับสนุน 3) สัญญาจํานําหุน 4) สัญญาจะซื้อ จะขายหุน 5) สัญญาสลักหลัง กรมธรรมประกันภัย 6) หนัง สือ บอกกลาวไปยัง กทม. และ 7) สัญญาโอนสิทธิในบัญชีคาใชจาย O&M ที่มีเงื่อ นไข คาตอบแทน ตามสัญญา

: 61,399,000,000 บาท

ภาระหนาที่ หลักของ บีทีเอสซี

:

บีทีเอสซีจะตอ งจัดหาและนําสงรายไดส ุทธิใหแกกองทุน โดยโอนรายไดส ุทธิร ายวันทั้ง หมดไวใน บัญชีร ายไดของกองทุนภายในเวลา 14.00 น. ของแตละวันทําการของคูสญั ญาถัดจากวันที่มี รายไดคาโดยสารเกิดขึ้น

บีทีเอสซีจะตอ งนําฝากจํานวนเงินที่เทากับคาใชจาย O&M ประมาณการรายวันไวในบัญชี คาใชจา ย O&M ภายในเวลา 14.00 น. ของแตละวันทําการของคูส ัญญาถัดจากวันที่มีร ายได คาโดยสารเกิดขึ้น ทัง้ นี้ เปนไปตามขอ กําหนดและเงือ่ นไขที่กําหนดไวในสัญญา

นับตั้ง แตวันแรกของเดือ นแตละเดือ นตัง้ แตเดือ นหลัง จากเดือ นที่วันที่ทําการซื้อขายเสร็จสิ้น เกิดขึ้นเปนตนไป หากกองทุนยัง มิไดมีจดหมายเรียกใหบีทีเอสซีชาํ ระหนี้กรณีมีเหตุผิดนัดตาม สัญญานี้ บีทีเอสซีสามารถนําเงินในจํานวนที่เทากับจํานวนรวมของคาใชจา ย O&M ประมาณการ รายวันสําหรับเดือ นกอ นหนาที่ฝากไวในบัญชีคา ใชจาย O&M ออกจากบัญชีคา ใชจา ย O&M ได เพื่อ นําไปจาย คาใชจาย O&M ตามที่อ นุญาต

สวนที่ 1 หนา 292


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

บีทีเอสซีตองจัดสงรายงานประจําวันแกกองทุนและผูดูแลผลประโยชนของกองทุน โดยมี รายละเอียดตามที่กาํ หนดไวในสัญญา

หากจํานวนรายไดส ุทธิรายวันที่บีทีเอสซีสง มอบใหแกกองทุนในเดือ นใดมีจํานวนนอ ยกวาจํานวน รายไดส ุทธิรายวันที่แสดงไวในรายงานประจําวันของเดือ นนั้นรวมกัน บีทีเอสซีจะตองสง มอบเงิน จํานวนที่ขาดของเดือ นนั้นใหแกกองทุนภายใน 15 วันถัดจากวันสิ้นเดือ นของเดือ นนั้น

บีทีเอสซีจะตอ งจัดทํางบประมาณคาใชจา ย O&M แสดงคาใชจาย O&M ที่คาดวาจะเกิดขึ้น สําหรับแตละรอบปบัญชี และจัดทําเปาหมายรายไดคาโดยสารสุทธิประจําปโดยแสดงรายไดคา โดยสารสุทธิที่คาดวาจะไดร ับสําหรับแตละรอบปบัญชี และนําสง แกกองทุนภายในระยะเวลาที่ กําหนดกอ นวันเริ่มตนรอบปบัญชีแตละป เพือ่ ใหกองทุนพิจารณาใหความเห็นชอบ ทั้ง นี้ หาก กองทุนไมใหความเห็นชอบ ใหคสู ัญญารวมกันแตง ตัง้ ผูเชี่ยวชาญเพือ่ กําหนดงบประมาณ คาใชจา ย O&M หรือ เปาหมายรายไดคา โดยสารสุทธิประจําป (แลวแตกรณี) และปฏิบัติตาม ขั้นตอนและเงื่อ นไขที่กําหนดไวในสัญญานี้

ณ สิ้นไตรมาสของแตละไตรมาส บีทีเอสซีจะตองจัดสงสําเนาใบแจง หนี้และเอกสารประกอบแสดง คาใชจา ย O&M ที่เกิดขึ้นจริง ที่บีทีเอสซีไดชําระไปในระหวางชวงไตรมาสกอ นหนา ทั้ง นี้ เพือ่ ให มีการกระทบยอดระหวางคาใชจาย O&M ที่เกิดขึ้นจริง สําหรับไตรมาสนั้นกับจํานวนรวมของ คาใชจา ย O&M ประมาณการรายวันที่บีทีเอสซีไดหักไวกอ นนําสง รายไดส ุทธิร ายวันใหแก กองทุนในชวงไตรมาสนั้น ในกรณีที่คาใชจาย O&M ที่เกิดขึ้นจริง สําหรับชวงไตรมาสนั้นนอย กวาจํานวนรวมของคาใชจาย O&M ประมาณการรายวันสําหรับชวงไตรมาสนั้นที่บีทีเอสซีไดหัก ไวกอ นนําสงรายไดส ุทธิรายวันใหแกกองทุน บีทีเอสซีจะชําระคืนสวนที่เกินใหแกกองทุนภายใน 5 วันทําการของคูส ัญญาหลัง จากที่กองทุนไดตรวจทานคาใชจา ย O&M ที่เกิดขึ้นจริง สําหรับไตร มาสนั้นเสร็จสิ้น ในกรณีที่คาใชจาย O&M ที่เกิดขึ้นจริงสําหรับชวงไตรมาสนั้นมากกวาจํานวนรวมของคาใชจา ย O&M ประมาณการรายวันสําหรับชวงไตรมาสนั้นที่บีทีเอสซีไดหักไวกอ นนําสงรายไดส ุทธิรายวัน ใหแกกองทุน กองทุนจะชําระคืนสวนที่ขาดในไตรมาสนั้นๆ ใหแกบีทีเอสซี ตามเงือ่ นไขและ ขั้นตอนที่ระบุไวในสัญญานี้ ทั้ง นี้ การตรวจทานคาใชจาย O&M ที่เกิดขึ้นจริง ในแตละไตรมาส โดยกองทุน จะตอ งทําใหเสร็จภายใน 15 วันหลัง จากที่ไดร ับสําเนาใบแจง หนี้และเอกสารประกอบ แสดงคาใชจาย O&M ที่เกิดขึ้นจริง ครบถวน

บีทีเอสซีตกลงใหส ิทธิกองทุนในการรวมบริหารการจัดการกิจการของบีทีเอสซีผานกระบวนการ ดัง ตอ ไปนี้ (ก) กองทุนมีส ิทธิเสนอชื่อ แตง ตั้งกรรมการจํานวนหนึ่งในสามของกรรมการทั้ง หมดของ บีทีเอสซี และ (ข) กองทุนมีส ิทธิเสนอชื่อ บุคคลหนึ่ง คนเขาสัง เกตการณในการประชุมของคณะกรรมการที่ ปรึกษาภายใตสญั ญาสัมปทาน (หากกทม. ไมขัดของ)

บีทีเอสซีจะตอ งรับผิดชอบภาษีธรุ กิจเฉพาะที่กองทุนอาจตองเสียเนื่องจากการไดร ับรายไดส ุทธิ ภายใตส ัญญานี้ โดยหนาที่ของบีทีเอสซีดังกลาวจะสิ้นสุดลงเมือ่ กองทุนไมมีหนาที่ตองเสียภาษี

สวนที่ 1 หนา 293


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ธุร กิจเฉพาะดัง กลาวแลว สิทธิในการซื้อ : บีทีเอสซีตกลงใหส ิทธิโดยเพิกถอนมิได แกกองทุนดัง นี้ (Right to  (ก) สิทธิของกองทุนในการซื้อ (Right to Purchase) รายได สิทธิ สิทธิประโยชน กรรมสิทธิ์ Purchase) ผลประโยชน และ/หรือ การลงทุนของบีทีเอสซีหรือ บริษัทยอ ยของบีทีเอสซีที่เกี่ยวกับโครงการ และสิทธิใน รถไฟฟาที่กําหนด และ (ข) ในกรณีที่บีทีเอสซีหรือ บริษัทยอยของบีทีเอสซี (แลวแตกรณี) ไดร ับ การปฏิเสธ ขอ เสนอจากบุคคลภายนอก สิทธิในการปฏิเสธเปนรายแรกที่จะซือ้ (Right of First Refusal) เปนรายแรกที่ รายได สิทธิ สิทธิประโยชน กรรมสิทธิ์ ผลประโยชน และ/หรือ การลงทุนใดๆ ที่เกี่ยวกับ จะซื้อ (Right โครงการรถไฟฟาที่กําหนด โครงการระบบขนสงมวลชนกรุง เทพและปริมณฑลที่ยงั ไมไดเริ่ม of First ดําเนินการ และ โครงการระบบขนสง มวลชนกรุง เทพและปริมณฑลที่แลวเสร็จที่บีทีเอสซีหรือ Refusal) บริษัทยอยของบีทีเอสซี (แลวแตกรณี) ไดเขาทําหรือ จะเขาทําสัญญาหรือ ดําเนินการหรือ จะ ดําเนินการโครงการที่เกีย่ วขอ งดัง กลาวซึ่งรวมถึง โครงการรถไฟฟาที่กําหนด โดยโครงการระบบ ขนสง มวลชนกรุง เทพและปริมณฑลที่แลวเสร็จ ใหหมายความรวมถึงสัญญาใหบริการเดินรถและ ซอ มบํารุงระยะยาว และสัญญาที่ไดตอ อายุสญั ญาสัมปทานใดๆ (ถามี) ดวย 

สําหรับกรณีที่กองทุนใชส ิทธิในการซือ้ (Right to Purchase) ราคาซื้อขายรายได สิทธิ สิทธิประโยชน กรรมสิทธิ์ ผลประโยชน และ/หรือ การลงทุนที่เกี่ยวกับโครงการรถไฟฟาที่กําหนด นั้นตอ งมีการเจรจาตกลงกันโดยสุจริตระหวางกองทุนและบีทีเอสซี และ/หรือ บริษัทยอ ยของ บีทีเอสซี หากตกลงราคาซือ้ ขายไมได ใหคูส ัญญารวมกันแตง ตัง้ ผูประเมินคาเพื่อ ประเมินมูลคา ยุติธรรมของทรัพยส ินดังกลาวและปฏิบัติตามขั้นตอนและเงือ่ นไขที่กําหนดไวในสัญญานี้ ทั้ง นี้ ในกรณีที่ราคาซื้อขายตามที่ผูประเมินคาประเมินได ใหอ ัตราผลตอบแทนตอ ปที่บีทีเอสซีหรือ บริษัทยอยของบีทีเอสซี (แลวแตกรณี) ควรจะไดร ับในฐานะผูถอื หุนต่ํากวาอัตราผลตอบแทนของ พันธบัตรรัฐบาลที่มีร ะยะเวลาครบกําหนด 10 ปตามที่ประกาศโดยสมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย (หรือองคกรอื่นที่เทียบเทา) ณ หรือ ในเวลาใกลเคียงกับวันคํานวณราคาซื้อขาย บวกดวย รอยละ 3 (“อัตราผลตอบแทนขั้นต่ํา”) กองทุนมีส ิทธิ (แตไมมีหนาที่) ที่จะซื้อ รายได สิทธิ สิทธิประโยชน กรรมสิทธิ์ ผลประโยชน และ/หรือ การลงทุนที่เกี่ยวกับโครงการรถไฟฟาที่กาํ หนดดังกลาวจาก บีทีเอสซี หรือ บริษัทยอ ยของบีทีเอสซี (แลวแตกรณี) ในราคาที่ใหอ ัตราผลตอบแทนขั้นต่ํา ทั้ง นี้ การคํานวณอัตราผลตอบแทนขั้นต่ําขางตนใหเปนไปตามที่กําหนดไวในสัญญานี้ ภายใน 30 วันหลัง จากที่ผูประเมินคาไดกําหนดราคาซือ้ ขายของรายได สิทธิ สิทธิประโยชน กรรมสิทธิ์ ผลประโยชน และ/หรือ การลงทุนที่เกี่ยวกับโครงการรถไฟฟาที่กําหนดดัง กลาว กองทุนและบีทีเอสซี และ/หรือ บริษัทยอ ยของบีทีเอสซีจะแจง ตอ กันใหทราบเปนลายลักษณ อักษรวาประสงคจะทําการซื้อขายรายได สิทธิ สิทธิประโยชน กรรมสิทธิ์ ผลประโยชน และ/หรือ การลงทุนที่เกี่ยวกับโครงการรถไฟฟาที่กําหนดดัง กลาวระหวางกันหรือ ไม หากในเวลา 30 วัน ดัง กลาว บีทีเอสซีและ/หรือ บริษัทยอ ยของบีทีเอสซีแจง เปนหนัง สือ ตอกองทุนวาบีทีเอสซีและ/ หรือ บริษัทยอยของบีทีเอสซีประสงคจะเจรจากับบุคคลภายนอกที่เปนอิสระเพื่อ เสนอขายรายได สิทธิ สิทธิประโยชน กรรมสิทธิ์ ผลประโยชน และ/หรือ การลงทุนที่เกี่ยวกับโครงการรถไฟฟาที่ กําหนดดังกลาวใหแกบุคคลภายนอก บีทีเอสซี และ/หรือ บริษัทยอยของบีทีเอสซีอ าจดําเนินการ เจรจากับบุคคลภายนอกที่เปนอิสระนั้นไดภ ายใน 60 วัน หลัง จากผูประเมินคากําหนดราคาซื้อ ขายของรายได สิทธิ สิทธิประโยชน กรรมสิทธิ์ ผลประโยชน และ/หรือ การลงทุนที่เกี่ยวกับ สวนที่ 1 หนา 294


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

โครงการรถไฟฟาที่กําหนดดัง กลาวเพื่อ เสนอขายรายได สิทธิ สิทธิประโยชน กรรมสิทธิ์ ผลประโยชน และ/หรือ การลงทุนที่เกี่ยวกับโครงการรถไฟฟาที่กําหนดดัง กลาวใหแก บุคคลภายนอกนั้นในราคาที่สงู กวาราคาประเมินของผูประเมินคาได โดยหากภายในระยะเวลา 60 วันดัง กลาว บีทีเอสซีและ/หรือ บริษัทยอ ยของบีทีเอสซีไดร ับขอ เสนอที่แนนอนจาก บุคคลภายนอกดังกลาววาจะซื้อรายได สิทธิ สิทธิประโยชน กรรมสิทธิ์ ผลประโยชน และ/หรือ การลงทุนที่เกี่ยวกับโครงการรถไฟฟาที่กําหนดในราคาที่ส ูงกวาราคาประเมินของผูประเมินคา บีทีเอสซี และ/หรือ บริษัทยอยของบีทีเอสซีจะตอ งแจงใหกองทุนทราบถึง ขอ เสนอที่แนนอนของ บุคคลภายนอกดังกลาวและใหส ิทธิกองทุนในการซือ้ รายได สิทธิ สิทธิประโยชน กรรมสิทธิ์ ผลประโยชน และ/หรือ การลงทุนที่เกี่ยวกับโครงการรถไฟฟาที่กําหนดดัง กลาวในราคาเดียวกัน ทั้ง นี้ หากกองทุนปฏิเสธที่จะใชส ิทธิซื้อดังกลาว บีทีเอสซี และ/หรือ บริษัทยอยของบีทีเอสซี จะตองขายรายได สิทธิ สิทธิประโยชน กรรมสิทธิ์ ผลประโยชน และ/หรือ การลงทุนที่เกี่ยวกับ โครงการรถไฟฟาที่กําหนดดัง กลาวใหแกบุคคลภายนอกที่มาเสนอซื้อ นั้นภายใตขอ กําหนดและ เงื่อ นไขของขอ เสนอที่แนนอนของบุคคลภายนอกดัง กลาวใหแลวเสร็จภายใน 120 วันนับจาก วันที่บีทีเอสซีและ/หรือ บริษัทยอ ยของบีทีเอสซีไดร ับคําปฏิเสธจากกองทุน หากการขายไมเสร็จ สิ้นภายในระยะเวลา 120 วันดัง กลาวหรือ บีทีเอสซีและ/หรือ บริษัทยอยของบีทีเอสซีไมแจง ขอ เสนอที่แนนอนของบุคคลภายนอกใหกองทุนทราบภายใน 60 วัน หลัง จากผูประเมินคา กําหนดราคาซื้อขายรายได สิทธิ สิทธิประโยชน กรรมสิทธิ์ ผลประโยชน และ/หรือ การลงทุนที่ เกี่ยวกับโครงการรถไฟฟาที่กําหนดดัง กลาว กองทุนจะมีส ิทธิซื้อ รายได สิทธิ สิทธิประโยชน กรรมสิทธิ์ ผลประโยชน และ/หรือ การลงทุนที่เกี่ยวกับโครงการรถไฟฟาที่กาํ หนดดังกลาวในราคา ซื้อ ขายตามที่ผูประเมินคาประเมินได ซึง่ ตอ งเปนราคาที่ใหอ ัตราผลตอบแทนกับบีทีเอสซีหรือ บริษัทยอยของบีทีเอสซี (แลวแตกรณี) ไมตา่ํ กวาอัตราผลตอบแทนขั้นต่ํา ทั้ง นี้ การใชส ิทธิในการซือ้ หรือ สิทธิในการปฏิเสธเปนรายแรกที่จะซื้อ และกระบวนการที่เกี่ยวของ จะตองดําเนินการตามวิธีการที่กําหนดไวในสัญญานี้ 

สําหรับกรณีที่กองทุนใชส ิทธิในการปฏิเสธเปนรายแรกที่จะซื้อ (Right of First Refusal) ราคาซื้อ ขายของรายได สิทธิ สิทธิประโยชน กรรมสิทธิ์ ผลประโยชน และ/หรือ การลงทุนใดๆ ที่เกี่ยวกับ โครงการรถไฟฟาที่กําหนด โครงการระบบขนสงมวลชนกรุง เทพและปริมณฑลที่ยงั ไมไดเริ่ม ดําเนินการ และ โครงการระบบขนสง มวลชนกรุง เทพและปริมณฑลที่แลวเสร็จที่บีทีเอสซีหรือ บริษัทยอยของบีทีเอสซี (แลวแตกรณี) ไดเขาทําหรือ จะเขาทําสัญญาหรือ ดําเนินการหรือ จะ ดําเนินการโครงการที่เกีย่ วขอ งดัง กลาวซึ่งรวมถึง โครงการรถไฟฟาที่กําหนดนั้นจะตองเทากับ ราคาที่บุคคลภายนอกเสนอซื้อ จากบีทีเอสซี และ/หรือ บริษัทยอยของบีทีเอสซี

ทั้ง นี้ ระยะเวลาที่กองทุนสามารถใชส ิทธิในการซื้อ (Right to Purchase) และสิทธิในการปฏิเสธ เปนรายแรก (Right of First Refusal) ดัง กลาวตามที่กําหนดไวในสัญญานี้ คือ 20 ป นับจากวันที่ ทําการซื้อ ขายเสร็จสิ้น ทั้ง นี้ หากเกิดกรณีผิดนัดตามสัญญานี้ขึ้นและกองทุนไดมีจดหมายเรียก ใหชําระหนี้กรณีมีเหตุผิดนัดตามสัญญา กองทุนจะไมมีส ิทธิในการปฏิเสธเปนรายแรกที่จะซือ้ (Right of First Refusal) ในรายได สิทธิ สิทธิประโยชน กรรมสิทธิ์ ผลประโยชน และ/หรือ การ ลงทุนที่เกี่ยวกับโครงการใดๆ ที่บีทีเอสซีและ/หรือ บริษัทยอยของบีทีเอสซี ไดเขาทํา ไดมา หรือ เขาลงทุนภายหลัง จากที่กองทุนไดมีจดหมายเรียกใหชําระหนี้กรณีมีเหตุผิดนัดตามสัญญา

สวนที่ 1 หนา 295


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ดัง กลาว เวนแตร ายได สิทธิ สิทธิประโยชน กรรมสิทธิ์ ผลประโยชน และ/หรือ การลงทุนที่ เกี่ยวกับโครงการรถไฟฟาที่กําหนดซึ่งกองทุนสามารถใชส ิทธิในการซื้อ (Right to Purchase) และ/หรือ สิทธิในการปฏิเสธเปนรายแรกที่จะซือ้ (Right of First Refusal) จนกวาจะสิ้นกําหนด ระยะเวลา 20 ปขา งตน หนาที่ห ลัก ของกองทุน

:

หากจํานวนรายไดส ุทธิรายวันที่บีทีเอสซีสง มอบใหแกกองทุนในเดือ นใดมีจํานวนมากกวาจํานวน รายไดส ุทธิรายวันที่แสดงไวในรายงานประจําวันของเดือ นนั้นรวมกัน กองทุนจะตองคืนจํานวน เงินที่เกินของเดือ นนั้นใหแกบีทีเอสซีภายใน 15 วันถัดจากวันสิ้นเดือ นของเดือ นนั้น

ณ สิ้นไตรมาสของแตละไตรมาส บีทีเอสซีจะมีการกระทบยอดระหวางคาใชจา ย O&M ที่เกิดขึ้นจริงกับจํานวนรวมของคาใชจาย O&M ประมาณการรายวันที่บีทีเอสซีไดหักไวกอ น นําสงรายไดส ุทธิร ายวันใหแกกองทุนในชวงไตรมาสนั้น ในกรณีที่คาใชจาย O&M ที่เกิดขึ้นจริง สําหรับชวงไตรมาสนั้นมากกวาจํานวนรวมของคาใชจาย O&M ประมาณการรายวันสําหรับชวง ไตรมาสนั้นที่บีทีเอสซีไดหักไวกอ นนําสง รายไดส ุทธิร ายวันใหแกกองทุน กองทุนจะจายสวนที่ ขาดในไตรมาสนั้นๆ ใหแกบีทีเอสซี ทั้ง นี้ ตามเงือ่ นไขและขั้นตอนที่ร ะบุไวในสัญญานี้

ตราบเทาที่ไมมีเหตุผิดนัดผิดสัญญาภายใตส ัญญานี้ที่จะกระทบความสามารถของ บีทีเอสซีในการนําสง รายไดส ุทธิใหแกกองทุนเกิดขึ้น กองทุนตกลงชําระคาตอบแทนพิเศษ ใหแกบีทีเอสซีในอัตราดัง ตอ ไปนี้ (ก) ในกรณีที่ร ายไดคาโดยสารสุทธิส ําหรับปใดสูง กวารอยละ 100 แตไมเกินรอ ยละ 125 ของเปาหมายรายไดคา โดยสารสุทธิประจําปส ําหรับปนั้น บีทีเอสซีจะไดร ับคาตอบแทน พิเศษในอัตรารอ ยละ 10 ของจํานวนรายไดคา โดยสารสุทธิในสวนที่เกินกวารอ ยละ 100 แตไมเกินรอ ยละ 125 (ข)

ประกันภัย

:

ในกรณีที่ร ายไดคาโดยสารสุทธิส ําหรับปใดสูง กวารอยละ 125 ขึ้นไปของเปาหมาย รายไดคาโดยสารสุทธิประจําปส ําหรับปนั้น บีทีเอสซีจะไดร ับคาตอบแทนพิเศษในอัตรา รอ ยละ 15 ของจํานวนรายไดคาโดยสารสุทธิในสวนที่เกินกวารอ ยละ 125

บีทีเอสซีตกลงทําประกันตามที่ทําเปนปกติ รวมถึง ประกันความรับผิดกรรมการ และตกลงวาจะ คงไวซึ่ง ประกันดังกลาวตลอดเวลา

บีทีเอสซีตกลงเปนผูร ับผิดชอบชําระคาเสียหายใดๆ ที่เกินไปกวาสวนที่ประกันคุมครอง ทั้ง นี้ เฉพาะสวนของความเสียหายที่เกิดจากความจงใจ หรือ ประมาทเลินเลอ อยางรายแรงของบีทีเอสซี

กองทุนตกลงเปนผูร ับผิดชอบชําระคาเสียหายและความสูญเสียใดๆ ที่เกิดขึ้นแกระบบรถไฟฟา ขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลัก ในสวนที่ (ก) เกินไปกวาวงเงินประกัน (ข) เกีย่ วของกับเหตุการณ ที่ไมไดร ับความคุมครอง และ (ค) กรมธรรมประกันภัยยกเวนหรือ ไมครอบคลุม และตราบเทาที่ ความเสียหายหรือ ความสูญเสียดังกลาวมิไดเกิดจากความจงใจหรือ ประมาทเลินเลออยางรายแรง ของบีทีเอสซี ทัง้ นี้ ตามขอ กําหนดและเงื่อ นไขที่กําหนดไวในสัญญานี้ แตไมวาในกรณีใดๆ หนาที่ของกองทุนในการรับผิดชอบชําระคาเสียหายและความสูญเสียใดๆ ที่เกิดขึ้นแกระบบ รถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลักจะสิ้นสุดลงในวันสิ้นสุดอายุส ัญญาสัมปทาน

ในกรณีที่บริษัทประกันจายเงินประกันลาชา บีทีเอสซีตกลงจะจายเงินลวงหนาเพือ่ การซอ มแซม ความเสียหายที่เกิดขึ้น สําหรับจํานวนหาสิบลานบาทแรก และ กองทุนจะจายสวนที่เกินหาสิบ สวนที่ 1 หนา 296


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ลานบาทโดยไมลาชา 

ไมวากรณีใดก็ตาม หากบีทีเอสซีไดจายเงินลวงหนา กองทุนจะตองชําระคืนเงินที่บีทีเอสซีจาย ลวงหนาไปนั้น ภายในระยะเวลาที่กําหนดในสัญญา ซึง่ ถือ เปนสวนหนึ่ง ของคาใชจาย O&M

เรื่อ งสงวนไว : บีทีเอสซีจะกระทําเรือ่ งสงวนไว หรือ เรื่องที่หามไดก็ตอ เมื่อ (1) ในกรณีที่เปนเรื่อ งสงวนไว (Reserved (Reserved Matters) บีทีเอสซีจะตอ งไดร ับการอนุมัติจากคณะกรรมการของบีทีเอสซีโดยมีเสียง Matters) และ สนับสนุนอยางนอ ยสองเสียงจากกรรมการของบีทีเอสซีซึ่ง กองทุนเปนผูเสนอชื่อ (โดยหนึ่ง ในสาม ขอ ตกลงวาจะ ของกรรมการของบีทีเอสซีเปนบุคคลที่กองทุนเสนอชื่อ ) และ (2) ในกรณีที่เปนเรื่อ งที่หาม ไมกระทําการ บีทีเอสซีกระทําภายใตขอ ตกลงวาจะไมกระทําการ (Negative Undertakings) ที่กําหนดไวใน (Negative สัญญานี้ บีทเี อสซีจะตอ งไดร ับความยินยอมจากกองทุนตามความของสัญญานี้เสียกอ น ทั้ง นี้ ภายใตส ัญญานี้ ในกรณีที่กรรมการของบีทีเอสซีซึ่ง กองทุนเปนผูเสนอชื่อ อยางนอ ยสองทานไดให Undertakings) ความเห็นชอบใหบีทีเอสซีเขาทําเรื่อ งสงวนไว หากเรื่อ งสงวนไวนั้นเปนเรื่อ งเดียวกันกับเรื่องที่หาม บีทีเอสซีกระทําภายใตขอ ตกลงวาจะไมกระทําการ (Negative Undertakings) ใหถือ วาความ เห็นชอบของกรรมการดัง กลาวเปนการที่กองทุนยินยอมใหบีทีเอสซีเขาทําเรือ่ งที่หามกระทํา ภายใตขอ ตกลงวาจะไมกระทําการ (Negative Undertakings) เรื่อ งเดียวกันนั้น ตัวอยางของเรื่องสงวนไว เชน 

การแตง ตัง้ หรือ ถอดถอนคณะผูบริหารระดับสูงของบีทีเอสซี ซึ่ง ไดแก ประธานกรรมการบริหาร (Chief Executiv e Officer) ผูอ ํานวยการใหญฝา ยการเงิน (Chief Financial Offic er) หรือกรรมการ ผูอ ํานวยการใหญฝายปฏิบัติการ (Chief Operating Offiicer) ของบีทีเอสซี และการกําหนด คาตอบแทนของผูบริหารดัง กลาว

การแกไขเพิ่มเติมหนังสือ บริคณหส นธิ หรือ ขอ บังคับบริษัทของบีทีเอสซี

การที่บีทีเอสซีเขารวม ดําเนินการ หรือ มีผลประโยชนในธุร กิจหรือ กิจการใด (ยกเวน (ก) การ ประกอบการและการบํารุงรักษาตามธุรกิจปกติของระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลัก และของธุรกิจอื่นของบีทีเอสซี (ข) การดําเนินการตามสัญญาใหบริการเดินรถและซอ มบํารุงระยะ ยาว (ค) ธุร กิจหรือ กิจการใดที่ลงทุนโดยบริษัทยอ ยของบีทีเอสซีโดยใชกระแสเงินสดคงเหลือ ของ บีทีเอสซี (นอกเหนือ จากรายไดส ุทธิ) เงินที่ไดจากทรัพยส ินที่ไมไดซื้อ หรือ เงินที่ไดจากการเพิ่ม ทุนที่ไดร ับอนุญาตจากกองทุน (ง) การดําเนินการและ/หรือ บํารุงรักษาทรัพยส ินโครงการรถไฟฟา ที่กําหนด โครงการระบบขนสงมวลชนกรุง เทพและปริมณฑลที่ยงั ไมไดเริ่มดําเนินการ หรือ โครงการระบบขนสง มวลชนกรุง เทพและปริมณฑลที่แลวเสร็จ ที่บีทีเอสซี หรือ บริษัทยอยของ บีทีเอสซี (แลวแตกรณี) ไดเขาทําหรือ จะเขาทําสัญญาหรือ ดําเนินการหรือ จะดําเนินการ ทั้ง นี้ เฉพาะกรณีที่บีทีเอสซีไดร ับคาธรรมเนียมจากการใหบริการดําเนินการและ/หรือ บํารุงรักษา ดัง กลาว และผูวาจางของบีทีเอสซีไดตกลงที่จะรับผิดและชดเชยความเสียหายหรือ ความรับผิด ของบีทีเอสซีที่อาจเกิดขึ้นจากการใหบริการดัง กลาวเต็มจํานวน หรือ (จ) กิจการอื่นใดที่เอกสาร ธุร กรรมอนุญาตใหกระทําได)

การที่บีทีเอสซีเขาทําขอ ผูกพัน ธุรกรรม หรือ การดําเนินการใดๆ ทั้งในปจจุบันและอนาคต ไมวา ในลักษณะใดก็ตาม (เวนแต (ก) ที่เอกสารธุร กรรมมุงใหกระทํา (ข) ตามที่ไดร ับอนุญาตจาก กองทุน หรือ (ค) การกอ หนี้ที่อ นุญาตใหทําไดตามที่ไดกําหนดไวในสัญญานี้) สวนที่ 1 หนา 297


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

การเขาทําเอกสารหรือสัญญาใดๆ (เวนแต (ก) ที่เกี่ยวของกับการดําเนินการที่ไดร ับอนุญาต ภายใตเอกสารธุรกรรม (ข) การเขาทําสัญญาเพือ่ การดําเนินการและบํารุง รักษาระบบรถไฟฟา ขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลักซึ่ง มีคา ใชจายตามที่ไดร ับอนุมัติภายใตง บประมาณคาใชจา ย O&M (ค) การเขาทําสัญญาเกี่ยวกับทรัพยส ินที่ไมไดซื้อ ตามที่สญั ญานี้อ นุญาตหรือ ในกรณีที่ มูลคาไมเกินกวางบประมาณที่ไดร ับอนุมัติโดยคณะกรรมการของบีทีเอสซี (ง) การเขาทําสัญญา นอกเหนือ จาก (ก) (ข) หรือ (ค) ที่มีมูลคาความรับผิดของบีทีเอสซีร วมทุกสัญญาในปหนึ่งๆ นอย กวา 50,000,000 บาท (จ) การเขาทําสัญญาเกีย่ วกับธุร กรรมที่ส ัญญานี้อ นุญาตใหเขาทําได หรือ ไมจํากัดสิทธิในการเขาทํา หรือ (จ) กิจการอื่นใดที่กองทุนอนุญาตใหกระทําได)

(ก) การที่บีทีเอสซีแกไข เปลี่ยนแปลง สละสิทธิ เพิ่มเติม หรือยกเลิก หรือ ตกลงที่จะแกไข เปลี่ยนแปลง สละสิทธิ เพิ่มเติม หรือ ยกเลิกสัญญาสัมปทาน หรือ (ข) การที่บีทีเอสซีแกไข เปลี่ยนแปลง สละสิทธิ หรือ เพิ่มเติม หรือ ตกลงที่จะแกไข เปลี่ยนแปลง สละสิทธิ หรือ เพิม่ เติม ขอ กําหนดที่เปนสาระสําคัญของสัญญาโครงการอื่น (ที่ไมใชส ัญญาสัมปทาน)

การยกเลิก หรือ ตกลงที่จะยกเลิกสัญญาโครงการ หรือสัญญาใหบริการเดินรถและซอ มบํารุง ระยะ ยาว

การตกลงหรือ ประนีประนอมในสิทธิเรียกรอง หรือ การฟองคดี อนุญาโตตุลาการ หรือ กระบวนการทางปกครองที่เกีย่ วกับสัญญาโครงการในจํานวนเกินกวา 50,000,000 บาท

การที่บีทีเอสซีโอนสิทธิหรือ โอนภาระผูกพันใดตามสัญญาโครงการ ไมวาทั้ง หมดหรือ บางสวน หรือ ตกลงกับคูสญั ญาภายใตสญั ญาโครงการเพือ่ โอนสิทธิหรือ โอนภาระผูกพันใด ๆ ของตน ภายใตส ัญญาโครงการ ไมวา ทั้ง หมดหรือ บางสวน

การที่บีทีเอสซีกอ หรือยอมใหกอ หลักประกันเหนือ ทรัพยส ินใด ๆ ของตน ซึง่ รวมถึงรายไดส ุทธิ หรือ ขาย ใหเชา โอน หรือ จําหนายไปซึ่ง ทรัพยส ินหรือรายไดของตน รวมถึง รายไดส ุทธิ หรือเขา ทําการดําเนินการใหบุร ิมสิทธิ์อ ันมีผลเชนเดียวกัน (ยกเวน (ก) ในกรณีการขายรายไดส ุทธิตาม สัญญานี้ (ข) หลักประกันที่กอ ขึ้นตามเอกสารหลักประกันภายใตสญั ญานี้ (ค) การโอนหุนตาม เอกสารธุรกรรม (ง) การขาย โอน หรือ จําหนายไปซึ่ง ทรัพยส ินที่ไมไดซื้อ บางประเภท (จ) การกอ หรือ ยอมใหกอ หลักประกันเหนือ ทรัพยส ินที่ไมไดซื้อ บางประเภท หรือ การกอ หลักประกันในบัญชี หุนกูบีทีเอสซี (Baht Debentures Fund Account) และ/หรือ การลงทุนที่อ นุญาตใหทําไดโดยใช เงินจากบัญชีหุนกูบีทีเอสซี โดยเปนการใหหลักประกันแกธนาคารผูออกหนัง สือ ค้ําประกันเพื่อ เปนประกันการชําระหนี้ของบีทีเอสซีตามหนังสือ ค้าํ ประกันที่ธนาคารผูออกหนัง สือ ค้ําประกันได ออกไวเพื่อ ค้าํ ประกันการชําระหนี้เงินตนและดอกเบี้ยของบีทีเอสซีภายใตหุนกูบีทีเอสซี (ฉ) การ ขายหรือโอนสัญญาใหบริการเดินรถและซอมบํารุงระยะยาวหรือสัญญาที่เกี่ยวของกับเสนทางเดิน รถไฟฟาหรือ โครงการในอนาคตใหแกบีทีเอสจี หรือ (ช) ตามที่กองทุนไดใหคํายินยอม)

การที่บีทีเอสซีเขาทําธุร กรรม เพื่อขาย ใหเชา โอน หรือ จําหนายไปซึ่ง ทรัพยส ินหรือรายไดใดๆ ของตน ซึง่ รวมถึงรายไดส ุทธิ (ยกเวนธุร กรรมดัง ตอ ไปนี้ (ก) ธุร กรรมที่เปนการกอ หลักประกัน ตามเอกสารธุรกรรม (ข) ธุรกรรมที่เปนปกติธุร กิจของบีทีเอสซี ซึง่ อยูในขอบเขตการประกอบ ธุร กิจของบีทีเอสซีโดยมีขอ กําหนดในเชิง พาณิชยที่เปนปกติ และมีมูลคาเมือ่ นับทุกรายธุรกรรม รวมกันในรอบ 12 เดือ นไมเกิน 50,000,000 บาท (ค) การขาย ใหเชา โอน หรือ จําหนายไปซึ่ง

สวนที่ 1 หนา 298


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ทรัพยส ินที่ไมไดซื้อ บางประเภท (ง) การขายหรือ โอนสัญญาใหบริการเดินรถและซอ มบํารุงระยะ ยาวหรือ สัญญาที่เกี่ยวของกับเสนทางเดินรถไฟฟาหรือ โครงการในอนาคตใหแกบีทีเอสจี หรือ บุคคลภายนอกตามความของสัญญานี้ (จ) ตามที่กองทุนไดอ นุมัติ) 

การที่บีทีเอสซีกอ หนี้ หรือ ตกลงที่จะกอ หนี้ หรือ มีหนี้คงคาง (เวนแต (ก) หนี้ที่เกิดขึ้นตามเอกสาร ธุร กรรม (ข) หนี้ที่มีอ ยูแลวตามที่ไดกาํ หนดไวในสัญญานี้ (ค) ยอดเงินตนรวมคงคางของหนี้ ดัง กลาว เมือ่ รวมกับภาระหนี้อ ื่นๆ ของบีทีเอสซีไมเกิน 3,000,000,000 บาท และอัตราสวน หนี้ส ินตอ ทุนของบีทีเอสซีภายหลัง จากการกอ หนี้ดังกลาวไมเกิน 1 ตอ 1 หรือ (ง) ตามที่กองทุน ไดอ นุญาต)

การที่บีทีเอสซีเขาควบกิจการ แยกกิจการ หรือรวมกิจการ

การที่บีทีเอสซีเพิ่มทุน ออกหุนหรือ หลักทรัพยแปลงสภาพแกบุคคลใด ซึ่ง ทําใหส ัดสวนการ ถือ หุนของบีทีเอสจีลดลง

การที่บีทีเอสซีลดทุน ยกเลิก ชําระคืน ซือ้ หรือ ไถถอนหุนทุนของตน (เวนแตเปนการลดทุนของ บีทีเอสซีเพื่อ การคืนเงินทุนใหแกผูถือ หุน และการลดทุนนั้นไมทําใหทุนจดทะเบียนของบีทีเอสซี ต่ํากวา 3,000,000,000 บาท และการลดทุนนั้นไมทําใหส ัดสวนการถือ หุนของบีทีเอสจีลดลง)

การที่บีทีเอสซีจดทะเบียนหรือยอมใหจดทะเบียนโอนหุนที่จํานําไวอ ันนอกเหนือ ไปจากที่กําหนด ไวในสัญญาจํานําหุน หรือ สัญญาจะซือ้ จะขายหุน

การที่บีทีเอสซีเปลี่ยนตัวผูสอบบัญชี

การจายเงินปนผลในระหวางที่เกิดเหตุผิดนัดภายใตส ัญญานี้

ตัวอยางของกิจกรรมที่บีทีเอสซีหามกระทําภายใตขอ ตกลงวาจะไมกระทําการ (Negative Undertakings) เชน 

การลงทุนในธุร กิจใหม (เวนแตการลงทุนในธุร กิจใหมโดยบริษัทยอ ยของบีทีเอสซีโดยใชกระแส เงินสดคงเหลือ ของบีทีเอสซี (นอกเหนือ ไปจากรายไดส ุทธิ) เงินที่ไดจากทรัพยส ินที่ไมไดซื้อ หรือ เงินที่ไดจากการเพิ่มทุนซึ่ง การลงทุนดัง กลาวไดร ับความเห็นชอบจากกองทุน)

การลดทุน (เวนแตการลดทุนนั้นไมทําใหทุนจดทะเบียนของบีทีเอสซีต่ํากวาที่กําหนดไวใน สัญญานี้)

การเพิ่มทุน (เวนแตการออกหุนใหมของบีทีเอสซี ซึ่ง ไมทําใหสดั สวนการถือ หุนของบีทีเอสจี ลดลงและตองมีการจํานําหุนดังกลาวกับกองทุน)

การแกไขขอ กําหนดของสัญญาสัมปทาน หรือ ขอ กําหนดที่เปนสาระสําคัญของสัญญาโครงการอื่น หรือ สัญญาใหบริการเดินรถและซอ มบํารุงระยะยาว

การยกเลิกสัญญาสัมปทาน

การกอ หนี้ในจํานวนที่มากกวาจํานวนหรือ มิใชประเภทที่อ นุญาตไว

การลดอัตราคาโดยสารในสวนของระบบรถไฟฟาขนสง มวลชนกรุง เทพสายหลัก เวนแตเปนการ กระทําการตามขอ กําหนดในสัญญาสัมปทาน

สวนที่ 1 หนา 299


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

เหตุผิดนัดผิด : สัญญาและผล แหง การผิดนัด ผิดสัญญา

แบบ 56-1 ป 2555/56

การกอ หลักประกันหรือภาระติดพันเหนือ ทรัพยส ินของบีทีเอสซี (เวนแตการกอ หลักประกันตาม เอกสารธุรกรรม การกอ หลักประกันหรือภาระติดพันเหนือ ทรัพยส ินที่ไมไดซื้อ บางประเภท)

การจําหนายไปซึง่ สินทรัพย (เวนแตทรัพยส ินที่ไมไดซื้อ บางประเภท โดยเปนไปตามเงือ่ นไขที่ กําหนดในสัญญานี้) เปนตน

เมื่อ เกิดเหตุผิดนัดผิดสัญญาตามทีร่ ะบุไวในสัญญานี้ กองทุนอาจเรียกใหบีทีเอสซีชาํ ระหนี้ตาม จํานวนและเงื่อ นไขที่กําหนดไวในสัญญานี้ และ/หรือ เรียกใหผูส นับสนุนปฏิบัติตามสัญญา สนับสนุนและค้ําประกันของผูส นับสนุน และ/หรือ ใชส ิทธิอ ื่นใดตามที่กําหนดไวในเอกสาร ธุร กรรม โดยในกรณีที่กองทุนจะใชส ิทธิดัง กลาว กองทุนจะมีหนัง สือ แจง ไปยัง บีทีเอสซีและ ผูส นับสนุน โดยเมื่อ กองทุนมีหนัง สือ แจง ดัง กลาวแลว กองทุนมีส ิทธิบัง คับตามสิทธิของตนไม วาบางสวนหรือ ทั้ง หมดตามเอกสารธุร กรรม ทั้ง นี้ ในกรณีของเหตุผิดนัดผิดสัญญาบางประการตามที่กําหนดไวในสัญญานี้ กองทุนอาจให เวลาบีทีเอสซีในการแกไขเยียวยาได โดยบีทีเอสซีจะตอ งจัดทําแผนในการแกไขเยียวยาเหตุ ผิดนัดผิดสัญญาที่กําหนดดัง กลาวและนําสง ใหกองทุนเพื่อ พิจารณา เมื่อ กองทุนไดร ับแผน ดัง กลาวจากบีทีเอสซีแลว คูส ัญญาจะไดดําเนินการปรึกษาหารือ กันโดยสุจริตและพิจารณา แผนดัง กลาว หากกองทุนพอใจกับแผนที่บีทีเอสซีเสนอ กองทุนอาจอนุญาตใหบีทีเอสซี ดําเนินการตามแผนดัง กลาวไดภ ายในเวลาที่ตกลงกัน ซึ่ง ในชวงระหวางเวลาที่เริ่มดําเนินการ ปรึกษาหารือ ดัง กลาวจนถึง เวลาที่เหตุผิดนัดผิดสัญญาไดร ับการเยียวยาตามแผนที่กองทุน เห็นชอบจนกองทุนพอใจหรือ กองทุนยกเวนเหตุผิดนัดผิดสัญญาดัง กลาวให คูสญั ญาตกลง กระทําการหรือ ไมกระทําการตามที่กําหนดไวในสัญญานี้ ซึ่ง รวมถึง (ก) การที่บีทีเอสซีจะตอ ง ชําระหรือ ดําเนินการใหผูส นับสนุนนําเงินปนผลที่ตนเองไดร ับจากการถือ หุนบีทีเอสซีมาชําระ จํานวนเงินที่คางจายและถึง กําหนดชําระภายใตเอกสารธุร กรรมใหแกกองทุน (ข) การใหส ิทธิ แกกองทุนในการใชส ิทธิอ อกเสียงในหุนที่ผูส นับสนุนถือ อยูในบีทีเอสซีตามเงือ่ นไขที่กําหนด ไวในสัญญานี้ และ (ค) การที่กองทุนจะไมใชส ิทธิเรียกใหบีทีเอสซีชําระหนี้ตามจํานวนและ เงื่อ นไขที่กําหนดไวในสัญญานี้ หรือ เรียกใหผูส นับสนุนปฏิบัติตามสัญญาสนับสนุนและ ค้ําประกันของผูส นับสนุน หรือ ใชส ิทธิอ ื่นใดที่กองทุนมีส ําหรับกรณีเกิดเหตุผิดนัดผิดสัญญา ดัง กลาว แตในกรณีที่เปนเหตุผิดนัดผิดสัญญาที่ส ัญญานี้ มิไดกําหนดใหตอ งมีการเจรจาหารือ ระหวาง กองทุนกับบีทีเอสซีกอ น (เชน บีทีเอสซีไมนําสง รายไดส ุทธิหรือ ชําระเงินอื่นใดใหแกกองทุน ภายในเวลาที่กําหนด และยัง คงไมนําสง หรือ ไมชําระเงินดัง กลาวเปนเวลา 5 วันทําการของ คูส ัญญาติดตอ กันนับจากวันที่ครบกําหนดชําระ) หรือในกรณีที่บีทีเอสซีหรือ ผูส นับสนุนไม ปฏิบัติตามหนาที่ของตนที่กําหนดไวใหตอ งปฏิบัติภ ายหลัง กองทุนอนุมัติใหมีการดําเนินการ ตามแผนการเยียวยาซึง่ กรณีดังกลาวจะถือ เปนเหตุผิดนัดผิดสัญญาภายใตส ัญญานี้ หรือ ใน กรณีที่กองทุนไมอ นุมัติแผนในการแกไขเยียวยาเหตุผิดนัดผิดสัญญาตามที่บีทีเอสซีเสนอ ภายในเวลาที่กําหนด กองทุนมีส ิทธิใชส ิทธิที่ตนมีตามเอกสารธุร กรรมไดทุกประการ

สิทธิบัง คับของกองทุนตามเอกสารธุร กรรม เชน สิทธิการบัง คับจํานําหุนตามสัญญาจํานําหุน สิทธิในการซื้อ หุนในบีทีเอสซีที่ผูส นับสนุนถือ อยูตามสัญญาจะซือ้ จะขายหุน สิทธิในการเพิก ถอนการแตง ตัง้ บีทีเอสซีจากการเปนตัวแทนของกองทุนในการจัดเก็บรายไดส ุทธิเพื่อ และใน สวนที่ 1 หนา 300


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

นามของกองทุนและแตง ตั้ง บุคคลอื่นทําหนาที่จัดเก็บรายไดส ุทธิ เปนตน นอกจากนี้ กองทุน อาจสามารถใชส ิทธิเขารับโอนสัญญาสัมปทาน ในฐานะตัวแทนของกลุมเจาหนี้ของบีทีเอสซี ตามหนัง สือ บอกกลาวไปยัง กทม. ในกรณีที่ กทม. มีเจตนาที่จะบอกเลิกสัญญาสัมปทานอัน เนื่อ งมาจากบีทีเอสซีปฏิบัติผิดสัญญาสัมปทาน 

หากกองทุนซื้อ หุนบีทีเอสซีจากบีทีเอสจีตามสัญญาจะซือ้ จะขายหุน หรือ เขาเปนเจาของหุน บีทีเอสซีจากการบัง คับสิทธิตามสัญญาจํานําหุน กองทุนตกลงที่จะดําเนินการบางประการ เชน (1) เมื่อ ผูส นับสนุนรอ งขอ จะดําเนินการใหบีทีเอสซีแยกรายไดของบีทีเอสซีที่เกิดจาก ทรัพยส ินที่ไมไดซื้อ ออกจากกระแสเงินสดของบีทีเอสซีและโอนรายไดจากทรัพยส ินที่ ไมไดซื้อ ดัง กลาวใหแกผูส นับสนุน หรือ บุคคลใดที่ผูส นับสนุนจะกําหนด (2) เมื่อ ผูส นับสนุนรอ งขอ จะโอนทรัพยส ินที่ไมไดซื้อ บางประเภทซึ่ง ยัง คงอยูกับบีทีเอสซี ใหแกผูส นับสนุนหรือ บุคคลใดที่ผูส นับสนุนจะกําหนด (3) หลัง จากวันสิ้นสุดอายุส ัญญาสัมปทาน หากกองทุนยัง คงถือ หุนบีทีเอสซีที่ร ับโอนมาจาก บีทีเอสจีอ ยูในชวงเวลาดังกลาว กองทุนจะตองโอนหุนดัง กลาวกลับไปยัง ผูส นับสนุน หรือ บุคคลใดที่ผูส นับสนุนจะกําหนดตามเงื่อ นไขที่กําหนดไวในสัญญานี้ และในกรณีที่ บีทีเอสซียัง จัดสงรายไดส ุทธิใหแกกองทุนซึ่ง ยัง ชําระไมครบถวนตามสัญญานี้ กอ นที่ กองทุนจะโอนหุนดัง กลาวใหแกผูส นับสนุนหรือ บุคคลใดที่ผูส นับสนุนจะกําหนดดัง กลาว ผูส นับสนุนจะตอ งเขาทําสัญญากับกองทุน (ในรูปแบบที่กองทุนพอใจ โดยสมเหตุส มผล) วาผูส นับสนุนจะดําเนินการใหบีทีเอสซีจัดสงรายไดส ุทธิซึ่ง ยัง ชําระไมครบถวนตาม สัญญานี้ใหแกกองทุน (4) การดําเนินการอื่นๆ ที่กองทุนจะตกลงเพื่อใหบีทีเอสซีส ามารถยังคงดําเนินกิจการและ เปนเจาของทรัพยส ินที่ไมไดซื้อ ไดตอ ไปอยางเหมาะสม ทั้ง นี้ ตามเงื่อ นไขที่กําหนดไวใน สัญญานี้ โดยผูส นับสนุนมีหนาที่ชําระตนทุน คาใชจายและภาษีทั้ง หมดที่เกิดขึ้นจากการโอนรายไดหรือ ทรัพยส ินที่ไมไดซื้อ หรือ หุนบีทีเอสซีดัง กลาว

14. สัญญาสนับสนุนและค้ําประกันของผูสนับสนุน ระหวาง บีทีเอสจี บีทีเอสซี และ กองทุน ฉบับลงวันที่ 17 เมษายน 2556 วัตถุประสงค

: บีทีเอสจีในฐานะผูถือ หุนใหญของบีทีเอสซีตกลงค้ําประกันการปฏิบัติหนาที่ของบีทีเอสซีภ ายใต สัญญาซื้อ และโอนสิทธิร ายไดส ุทธิ โดยการค้ําประกันแบบจํากัดความรับผิด และเปนไปตาม ขอ กําหนดและเงื่อ นไขที่กําหนดไวในสัญญานี้ ทั้ง นี้ คําจํากัดความใดที่มิไดกําหนดไวในสัญญานี้ ใหมีความหมายเชนเดียวกับที่กําหนดไวใน สัญญาซื้อ และโอนสิทธิร ายไดส ุทธิ

หนาที่ห ลัก ของ บีทีเอสจี

:

บีทีเอสจีตกลงรักษาสัดสวนการถือ หุนของตนในบีทีเอสซีไวตลอดเวลาตราบเทาที่ภ าระหนาที่ ตามสัญญานี้ยงั คงมีอ ยู และจะไมโอนหรือ กอ ภาระติดพันในหุนบีทีเอสซีดัง กลาว

บีทีเอสจีตกลงใหกองทุนมีส วนรวมในคณะกรรมการของบีทีเอสซี ดัง นี้

สวนที่ 1 หนา 301


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

(ก) ใหมีการแตง ตั้ง กรรมการจํานวนหนึ่ง ในสามของกรรมการทั้ง หมดของบีทีเอสซีจากบุคคล ที่กองทุนเสนอชื่อ และ (ข) ใหมีการแตง ตั้ง กรรมการจํานวนหนึ่ง ในสามของกรรมการทั้ง หมดของบีทีเอสซีซึ่ง มี คุณสมบัติตามที่กําหนดเปนกรรมการ อิส ระในคณะกรรมการบริษัทของบีทีเอสซี 

บีทีเอสจีตกลงที่จะมิใหบีทีเอสซีเขาทําธุร กรรมใดๆ ที่เปนเรื่อ งสงวนไว เวนเสียแตวา คณะกรรมการของบีทีเอสซีโดยมีเสียงสนับสนุนจากกรรมการของบีทีเอสซีซึ่ง กองทุนเปน ผูเสนอชื่ออยางนอ ยสองทานไดอ นุมัติใหบีทีเอสซีเขาทําได

บีทีเอสจีเห็นดวยกับขอ กําหนดและเงื่อ นไขของเอกสารธุร กรรม และตกลงที่จะกระทําการทุก ประการที่จําเปนเพื่อ ใหบีทีเอสซีปฏิบัติตามภาระผูกพันทั้ง หลายของตนตามเอกสารธุรกรรม ทั้ง นี้ ตามขอ กําหนดและเงื่อ นไขที่กําหนดไวในสัญญานี้

บีทีเอสจีตกลงจํานําหุนที่ตนถือ อยูในบีทีเอสซี เพื่อ เปนประกันการปฏิบัติหนาที่ของตนตาม สัญญานี้

บีทีเอสจีตกลงใหการค้ําประกันการปฏิบัติภ าระหนาที่ของบีทีเอสซีตามสัญญาซื้อ และโอนสิทธิ รายไดส ุทธิ ทั้ง นี้ กองทุนจะไมส ามารถบัง คับใหบีทีเอสจีชําระหนี้ตามภาระค้าํ ประกันไดโดย วิธีการอื่นใด นอกจากการบัง คับเอาหุนบีทีเอสซีเทานั้น ภายใตส ัญญาจะซื้อ จะขายหุน หรือ สัญญาจํานําหุน และเมื่อ มีการโอนหุนบีทีเอสซีภ ายใตสญั ญาจะซื้อ จะขายหุน หรือ สัญญาจํานํา หุนแลว บี ทีเอสจีจะหลุดพนจากภาระหนาที่ของบีทีเอสจีที่เกี่ยวขอ งกับการค้าํ ประกันและที่ เกี่ยวขอ งกับความเปนผูถือ หุนของบีทีเอสซีภ ายใตสญั ญานี้ทันที แตส ิทธิของกองทุนบาง ประการ เชน สิทธิในการซื้อ (Right to Purchase) และสิทธิในการปฏิเสธเปนรายแรกที่จะซื้อ (Right of First Refusal) ตามขอ กําหนดที่เกี่ยวของในสัญญานี้ เปนตน ยัง คงมีอยูตามความ ของสัญญานี้ และหนาที่บางประการของบีทีเอสจีตามที่กําหนดไวในสัญญานี้ ยัง คงมีอ ยูจนกวา บีทีเอสซีและบีที เอสจีจะไดปฏิบัติหนา ที่ตามภาระผูกพันของตนภายใตเอกสารธุร กรรมที่ตน เปนคูส ัญญาจนครบถวน หรือ พนกําหนดเวลาอื่นตามที่กําหนดไวในสัญญานี้

หากบีทีเอสจีมีส ิทธิเรียกรองใดๆ ตอ บีทีเอสซีไมวาภายใตเอกสารธุร กรรมหรืออื่นใดบีทีเอ สจีตกลงไมใชส ิทธิเรียกรอ งใดๆ เอาจากบีทีเอสซีจนกวาบีทีเอสจีและบีทีเอสซีจะไดปฏิบัติ หนาที่ตามภาระผูกพันทั้ง หมดภายใตเอกสารธุร กรรมจนครบถวนใหแกกองทุนแลว เวน แต เปนไปตามขอ ยกเวนที่กําหนดไวในสัญญานี้

ในกรณีที่กองทุนอนุญาตใหบีทีเอสซีดําเนินการตามแผนการเยียวเหตุผิดนัดผิดสัญญาภายใต สัญญาซื้อ และโอนสิทธิร ายไดส ุทธินั้น ในชวงระหวางเวลาที่กองทุนและบีทีเอสซีเริ่มดําเนินการ ปรึกษาหารือ แผนการเยียวยาดัง กลาวจนถึง เวลาที่เหตุผิดนัดผิดสัญญาไดร ับการเยียวยาตาม แผนที่กองทุนเห็ นชอบจนกองทุนพอใจหรือ กองทุนยกเวนเหตุผิดนัดผิดสัญญาดัง กลาวให บีทีเอสจีและกองทุนตกลงกระทําการหรือ ไมกระทําการตามที่กําหนดไวในสัญญานี้ ซึ่ง รวมถึง (ก) การที่บีทีเอสจีจะตอ งนําเงินปนผลที่ตนเองไดร ับจากการถือ หุนบีทีเอสซีมาชําระจํานวนเงิน ที่บีทีเอสซีคางจายและถึง กําหนดชําระภายใตเอกสารธุร กรรมใหแกกองทุน (ข) การใหส ิทธิแก กองทุนในการใชส ิทธิออกเสียงในหุนที่ผูส นับสนุนถือ อยูในบีทีเอสซีตามเงือ่ นไขที่กําหนดไวใน สัญญานี้ และ (ค) การที่กองทุนจะไมใชส ิทธิเรียกใหบีทีเอสซีชําระหนี้ตามจํานวนและเงื่อ นไขที่

สวนที่ 1 หนา 302


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

กําหนดไวในสัญญาซื้อ และโอนสิทธิร ายไดส ุทธิ หรือ เรียกใหผูส นับสนุนปฏิบัติตามสัญญานี้ หรือ ใชส ิทธิอ ื่นใดที่กองทุนมีส ําหรับกรณีเกิดเหตุผิดนัดผิดสัญญาดัง กลาว ในกรณีที่บีทีเอสซีหรือ ผูส นับสนุนไมปฏิบัติตามหนาที่ของตนที่กําหนดไวใหตอ งปฏิบัติ ภายหลัง กองทุนอนุมัติใหมีการดําเนินการตามแผนการเยียวยา กรณีดัง กลาวจะถือ เปนเหตุ ผิดนัดผิดสัญญาภายใตส ัญญาซื้อ และโอนสิทธิร ายไดส ุทธิ ซึ่ง กองทุนมีส ิทธิใชส ิทธิที่ตนมีตาม เอกสารธุร กรรมไดทุกประการ 

หากกองทุนซื้อ หุนบีทีเอสซีจากบีทีเอสจีตามสัญญาจะซือ้ จะขายหุน หรือ เขาเปนเจาของหุน บีทีเอสซีจากการบัง คับสิทธิตามสัญญาจํานําหุน กองทุนตกลงที่จะดําเนินการบางประการ เชน (1) เมื่อ ผูส นับสนุนรอ งขอ จะดําเนินการใหบีทีเอสซีแยกรายไดของบีทีเอสซีที่เกิดจาก ทรัพยส ินที่ไมไดซื้อ ออกจากกระแสเงินสดของบีทีเอสซีและโอนรายไดจากทรัพยส ินที่ ไมไดซื้อ ดัง กลาวใหแกผูส นับสนุน หรือ บุคคลใดที่ผูส นับสนุนจะกําหนด (2) เมื่อ ผูส นับสนุนรอ งขอ จะโอนทรัพยส ินที่ไมไดซื้อ บางประเภทซึ่ง ยัง คงอยูกับบีทีเอสซี ใหแกผูส นับสนุนหรือ บุคคลใดที่ผูส นับสนุนจะกําหนด (3) หลัง จากวันสิ้นสุดอายุส ัญญาสัมปทาน หากกองทุนยัง คงถือ หุนบีทีเอสซีที่ร ับโอนมาจาก บีทีเอสจีอ ยูในชวงเวลาดังกลาว กองทุนจะตองโอนหุนดัง กลาวกลับไปยัง ผูส นับสนุน หรือ บุคคลใดที่ผูส นับสนุนจะกําหนดตามเงื่อ นไขที่กําหนดไวในสัญญานี้ และในกรณีที่ บีทีเอสซียัง จัดสงรายไดส ุทธิใหแกกองทุนซึ่ง ยัง ชําระไมครบถวนตามสัญญาซื้อ และโอน สิทธิร ายไดส ุทธิ กอ นที่กองทุนจะโอนหุนดัง กลาวใหแกผูส นับสนุนหรือ บุคคลใดที่ ผูส นับสนุนจะกําหนดดัง กลาว ผูส นับสนุนจะตอ งเขาทําสัญญากับกองทุน (ในรูปแบบที่ กองทุนพอใจ โดยสมเหตุส มผล) วาผูส นับสนุนจะดําเนินการใหบีทีเอสซีจัดสง รายได สุทธิซึ่ง ยัง ชําระไมครบถวนตามสัญญาซื้อ และโอนสิทธิร ายไดส ุทธิใหแกกองทุน (4) การดําเนินการอื่นๆ ที่กองทุนจะตกลงเพื่อ ใหบีทีเอสซีส ามารถยัง คงดําเนินกิจการและ เปนเจาของทรัพยส ินที่ไมไดซื้อ ไดตอ ไปอยางเหมาะสม ทั้ง นี้ ตามเงือ่ นไขที่กําหนดไวใน สัญญานี้ โดยผูส นับสนุนมีหนาที่ชําระตนทุน คาใชจายและภาษีทั้ง หมดที่เกิดขึ้นจากการโอนรายไดหรือ ทรัพยส ินที่ไมไดซื้อ หรือ หุนบีทีเอสซีดัง กลาว

สิทธิที่จะซื้อ (Right to Purchase) และสิทธิใน การปฏิเสธ เปนรายแรกที่ จะซื้อ (Right of First Refusal)

: บีทีเอสจีตกลงใหส ิทธิโดยเพิกถอนมิได แกกองทุน ดัง นี้ (ก) สิทธิของกองทุนในการซื้อ (Right to Purchase) รายได สิทธิ สิทธิประโยชน กรรมสิทธิ์ ผลประโยชน และ/หรือ การลงทุนของบีทีเอสจี หรือ บริษัทในเครือของบีทีเอสจีที่เกี่ยวกับโครงการรถไฟฟาที่กําหนด และ (ข) ในกรณีที่บีที เอสจี หรือ บริษัทในเครือของบีทีเอสจี (แลวแตกรณี) ไดร ับขอ เสนอจากบุคคลภายนอก สิทธิในการ ปฏิเสธเปนรายแรกที่จะซื้อ (Right of First Refusal) รายได สิทธิ สิทธิประโยชน กรรมสิทธิ์ ผลประโยชน และ/หรือ การลงทุนใดๆ ที่เกี่ยวกับโครงการรถไฟฟาที่กําหนด โครงการระบบขนสง มวลชนกรุง เทพและปริมณฑลที่ยัง ไมไดเริ่มดําเนินการ และ โครงการระบบขนสง มวลชนกรุง เทพ และปริมณฑลที่ แลวเสร็จที่บี ทีเอสจี และ/หรือ บริษัทในเครือ ของบีทีเอสจี ไดเขาทําหรือ จะเขาทํา สัญญา หรือดําเนินการหรือ จะดําเนินการโครงการที่เกี่ยวขอ งดัง กลาวซึ่งรวมถึง โครงการรถไฟฟา ที่กําหนด

สวนที่ 1 หนา 303


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ทั้ง นี้ ขอ กําหนดและเงื่อ นไขของสิทธิในการซือ้ (Right to Purchase) และสิทธิในการปฏิเสธเปน รายแรกที่จะซื้อ (Right of First Refusal) ที่บีที เอสจีใหแกกองทุนจะมีลักษณะเดียวกันกับที่ กําหนดไวในสัญญาซื้อ และโอนสิทธิร ายไดส ุทธิ สิทธิของ : ในกรณีที่ บีทีเอสจีในการ (ก) กองทุนใชส ิทธิซื้อ หุนที่บีทีเอสจีถือ อยูในบีทีเอสซีตามสัญญาจะซือ้ จะขายหุน และกองทุน ซื้อ หุนบีทีเอสซี ประสงคจะขายหุนดัง กลาวใหแกบุคคลใดๆ ที่มายื่นขอ เสนอซื้อ ใหแกกองทุน หรือ (ข) กองทุนไมซื้อ หุนที่บี ทีเอสจีถือ อยูใ นบีทีเอสซีตามสัญญาจะซื้อ จะขายหุนดวยตนเองแตประสงค จะขายหุนนั้นใหแกบุคคลภายนอกที่เปนอิส ระ (นอกเหนือ จากบริษัทในเครือ ของกองทุน) โดย กําหนดใหบุคคลภายนอกดัง กลาวเปนคนรับโอนหุนจากบีทีเอสจีตามสัญญาจะซื้อ จะขายหุน ในกรณีดัง กลาว กองทุนตกลงที่จะใหส ิทธิแกบีทีเอสจีในการปฏิเสธเปนรายแรก (Right of First Refusal) ที่จะซื้อ หุนดัง กลาวในราคาเทากับขอ เสนอที่กองทุนไดร ับ (กรณี (ก)) หรือ ชําระคาซื้อ หุน ดัง กลาวใหแกกองทุนเทากับราคาที่บุคคลภายนอกที่เปนอิส ระเสนอใหแกกองทุน (กรณี (ข)) ภายใตขอ กําหนดและเงื่อ นไขอื่นเกี่ยวกับการซื้อขายหรือ โอนอันเปนสาระสําคัญที่ไมใหส ิทธิแก ผูเสนอซื้อ หรือ บุคคลภายนอกที่เปนอิส ระนั้นดีไปกวาที่เสนอใหแกบีทีเอสจี โดยกองทุนจะมีหนัง สือ แจง ไปยัง บีทีเอสจีโดยระบุชื่อของผูที่มาเสนอซื้อ จากกองทุนหรือ บุคคลภายนอกที่เปนอิส ระที่ กองทุนประสงคจะขายหุนให (แลวแตกรณี) ราคาเสนอซื้อ และขอ กําหนดและเงื่อ นไขอื่นที่เปน สาระสําคัญของขอ เสนอในการซื้อ นั้น ทั้ง นี้ การใชส ิทธิซื้อ หุนจากกองทุน (กรณี (ก)) หรือ ชําระ คาซื้อ หุนดัง กลาวใหแกกองทุน (กรณี (ข)) บีทเี อสจีตอ งดําเนินการตามวิธีการและภายในเวลาที่ กําหนดไวในสัญญานี้ ในกรณีที่บีทีเอสจีไมแสดงความประสงคซื้อ หุนจากกองทุนหรือ ชําระคาซื้อ หุน (แลวแตกรณี) ภายในเวลาที่กําหนดเป นหนัง สือ หรือ ไมทําการซื้อ หุนดัง กลาวจากกองทุนหรือ ชําระคาซื้อ หุนใหแกกองทุน (แลวแตกรณี) ใหเสร็จสิ้นภายในเวลาที่กําหนด กองทุนมีส ิทธิขายหุน ดัง กลาวใหบุคคลที่มาเสนอซื้อ จากกองทุนหรือ บุคคลอื่นในราคาที่เทากับหรือ สูง กวาราคาที่ใหส ทิ ธิ แกบีทีเอสจีดัง กลาว หรือ ดําเนินการใหมีการโอนหุนไปยัง บุคคลภายนอกที่เปนอิสระ (แลวแตกรณี) ได ภายใตขอ กําหนดและเงื่อ นไขอื่นเกี่ยวกับการซื้อ ขายหรือโอนอันเปนสาระสําคัญที่ไมใหส ิทธิแก ผูซื้อ หรือ บุคคลภายนอกที่เปนอิส ระนั้นดีไปกวาที่เสนอใหแกบีทีเอสจี ทั้ง นี้ คูส ัญญาตกลงวาในกรณีที่บุคคลที่กองทุนกําหนดใหเปนผูร ับโอนหุ นจากบีทีเอสจีตามสัญญา จะซื้อ จะขายหุนนั้นเปน บริษัทในเครือ ของกองทุนการโอนหุนใหแกบริษัทในเครือ ของกองทุน ดัง กลาวสามารถกระทําไดโดยกองทุนไมตอ งใหส ิทธิแกบีทีเอสจีในการปฏิเสธเปนรายแรก (Right of First Refusal) ดัง ที่กลาวไวขางตนกอ น โดยมีเงื่อ นไขวาเมือ่ บริษัทในเครือของกองทุนเขามา เปนเจาของหุนตามสัญญาจะซือ้ จะขายหุนแลว กองทุนจะดําเนินการใหบริษัทในเครือ ดัง กลาวทํา ความตกลงเปนหนัง สือ ไปยัง บีทีเอสจีวาจะใหส ิทธิแกบีทีเอสจีในการปฏิเสธเปนรายแรก (Right of First Refusal) ตามขอ กําหนดและเงื่อ นไขที่ร ะบุไวในสัญญานี้ ขอ ตกลงที่จะ ไมขายหนวย ลงทุน

: บีทีเอสจีตกลงที่จะไมขาย โอน หรือ จําหนายดวยประการอื่นใดซึง่ หนวยลงทุนที่บี ทีเอสจีจะจองซื้อ ในจํานวนไมนอ ยกวาหนึ่ง ในสามของหนวยลงทุนทั้ง หมด เปนระยะเวลา 10 ป นั บจากวันที่ ทําการ ซื้อ ขายเสร็จสิ้น เวนแตจะไดร ับความยินยอมเปนลายลักษณอ ักษรลวงหนาจากกองทุน

สวนที่ 1 หนา 304


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ขอ ตกลงวาจะ : ตัวอยางของกิจกรรมที่บีทีเอสจีหามกระทํา เชน การควบรวมกิจการ การอนุญาตใหบีทีเอสซีอ อก ไมกระทําการ หุนหรือ หลักทรัพยแปลงสภาพใหแกบุคคลใดที่เปนผลใหส ัดสวนการถือ หุนของบีทีเอสจีใน (Negative บีทีเอสซีลดลง การอนุญาตใหบีทีเอสซีลดทุน (เวนแต เปนการลดทุนของบีทีเอสซีเพื่อ การคืน Undertakings) เงินทุนใหแกผูถือ หุน และการลดทุนนั้น ไมทําใหทุ นจดทะเบียนของบีทีเอสซีต่ํากวา 3,000,000,000 บาท และไมทําใหส ัดสวนการถือ หุนของบีทีเอสจีลดลง) และการอนุญาตให บีทีเอสซีเปลี่ยนบุคคลที่ดํารงตําแหนง ประธานกรรมการบริหาร (Chief Executiv e Offic er) ผูอ ํานวยการใหญฝายการเงิน (Chief Financial Officer) หรือ กรรมการผูอ ํานวยการใหญฝาย ปฏิบัติการ (Chief Operating Officer) ของบีทีเอสซี เปนตน 15. สัญญาจํานําหุนระหวาง บีทีเอสจี และ กองทุน ฉบับลงวันที่ 17 เมษายน 2556 วัตถุประสงค

: เพื่อ จํานําหุนที่บีทีเอสจีถือ ในบีทีเอสซีใหแกกองทุน เพื่อ เปนประกันการปฏิบัติหนาที่ของตนตาม สัญญาสนับสนุนและค้ําประกันของผูส นับสนุน

สิทธิหนาที่ หลักของ บีทีเอสจี

:

บีทีเอสจีตกลงจํานําหุนที่ตนถือ ในบีทีเอสซีใหแกกองทุน เพื่อ เปน ประกันการปฏิบัติหนาที่ของ ตนตามสัญญาสนับสนุนและค้ําประกันของผูส นับสนุน

บีทีเอสจีจะจัดใหบีทีเอสซีบันทึกการจํานําหุนไวในสมุดทะเบียนผูถือ หุนดวย

บีทีเอสจีตกลงวาถาไมวาในเวลาใดๆ บีทีเอสจีไดหุนในบีทีเอสซีมาเพิ่มเติมอันเนื่อ งมาจากการ เปลี่ยนแปลงทุน จดทะเบียนของบีทีเอสซี บีทีเอสจีจะจํานําหุนเพิ่มเติมดัง กลาวใหแกกองทุน ทั้ง นี้ เพื่อ ใหหุนบีที เอสซีที่บีทีเอสจีถือ อยูไดนํามาจํานําและสง มอบไวใหแกกองทุน

บีทีเอสจีเปนผูมีส ิทธิอ อกเสียงและไดร ับเงินปนผลที่ไดจากหุ นนั้น กอ นที่กองทุนจะบัง คับจํานํา หุนและมีหนัง สือ แจง ไปยัง บีทีเอสซีและบีทีเอสจีในกรณีผิดนัดผิดสัญญาภายใตส ัญญาซื้อ และ โอนสิทธิร ายไดส ุทธิ

สิทธิหลักของ กองทุน

: กองทุนอาจใชส ิทธิหักกลบลบหนี้ร ะหวางหนี้ที่บี ทีเอสจีมีตอ กองทุนตามสัญญาสนับสนุนและค้ํา ประกันของผูส นับสนุนและเอกสารธุร กรรมอื่นที่บีทีเอสจีเปนคูส ัญญากับหนี้ที่กองทุนเปนหนี้ตอ บีทีเอสจีก็ได โดยไมคํานึง ถึง สถานที่ชําระเงิน

การบัง คับ จํานํา

: บีทีเอสจี และกองทุนตกลงกําหนดเงื่อ นไขในการขายทอดตลาดหุนนั้น ใหบุคคลภายนอกที่ชนะ การประมูลจะตอ งเขาทําสัญญาที่มีร ูปแบบ และเนื้อ หาเหมือ นกับสัญญาสนับสนุนและค้ําประกัน ของผูส นับสนุน

16. สัญญาจะซื้อจะขายหุน ระหวาง บีทีเอสจี บีทีเอสซี กองทุน และ ธนาคารสแตนดารดชารเตอรด (ไทย) จํากัด (มหาชน) (“ผูดูแลผลประโยชน”) ฉบับลงวันที่ 17 เมษายน 2556 วัตถุประสงค : เพื่อ ที่จะขายหุนที่บีทีเอสจีถือ ในบีทีเอสซีใหแกกองทุน เมื่อ เปนตามขอ ตกลงและเงื่อ นไขที่กําหนด ไวในสัญญานี้ สิทธิหนาที่ หลักของ บีทีเอสจี

:

บีทีเอสจีตกลงขายหุนที่ตนถือ อยูในบีทีเอสซีใหแกกองทุน และกองทุนตกลงซื้อ หุนจาก บีทีเอสจีเมื่อ เกิดเหตุผิดนัดผิดสัญญาตามสัญญาซื้อ และโอนสิทธิร ายไดส ุทธิและกองทุนไดส ง หนัง สือ ใหแกบีทีเอสจีเพื่อ ใชส ิทธิในการซื้อ หุนดัง กลาว

บีทีเอสจีตกลงแตง ตั้ง และมอบอํานาจโดยเพิกถอนมิไดใหผูดูแลผลประโยชน และ/หรือ

สวนที่ 1 หนา 305


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

ผูร ับโอนสิทธิของผูด ูแลผลประโยชน ทําการโอนหุนนั้นใหแกกองทุน

สิทธิและหนาที่ : หลักของ กองทุน

บีทีเอสจีตกลงวากองทุนอาจใชส ิทธิหักกลบลบหนี้ร าคาซื้อ หุนกับภาระผูกพันซึ่ง บีทีเอสจีมีอ ยู ตามสัญญาสนับสนุนและค้ําประกันของผูส นับสนุนได ทั้ง นี้ บีทีเอสจีตกลงที่จะไมเรียกรองให กองทุนตอ งชําระราคาซื้อ หุนเปนเงิน

บีทีเอสซีตกลงกระทําการทั้ง หมดเพื่อ ใหมีการโอนหุนใหแกกองทุน รวมถึง การจัดใหบีทีเอสซี บันทึกการโอนหุนดัง กลาวไวในสมุดทะเบียนผูถือ หุน

กองทุนมีส ิทธิซื้อ หุนจากบีทีเอสจีเมื่อ เกิดเหตุผิดนัดผิดสัญญาตามสัญญาซื้อ และโอนสิทธิ รายไดส ุทธิ

ราคาคาซื้อ หุนดัง กลาวจะไดมีการกําหนดขึ้นตามวิธีการที่กําหนดไวในสัญญาจะซื้อ จะขายหุน

กองทุนอาจใชส ิทธิหักกลบลบหนี้ร ะหวางหนี้ที่บี ทีเอสจีมีตอ กองทุนตามสัญญาสนับสนุนและ ค้ําประกันของผูส นับสนุนและเอกสารธุร กรรมอื่นที่บีทีเอสจีเปนคูส ัญญากับหนี้ที่กองทุนเปน หนี้ตอ บีทีเอสจีก็ได โดยไมคํานึง ถึง สถานที่ชําระเงิน ทั้ง นี้ บีทีเอสจีตกลงที่จะไมเรียกรองให กองทุนตอ งชําระราคาซื้อ หุนเปนเงิน

17. สัญญาโอนสิทธิในบัญชีคาใชจาย O&M อยางมีเงื่อนไข ระหวาง บีทีเอสซี และ กองทุน ฉบับลงวันที่ 17 เมษายน 2556 วัตถุประสงค

: เพื่อ โอนสิทธิในบัญชีคาใชจาย O&M ใหแกกองทุนเมื่อ บีทีเอสซีผิดนัดภายใตส ัญญาซือ้ และโอน สิทธิร ายไดส ุทธิ

สิทธิหนาที่ หลักของ บีทีเอสซี

: บีทีเอสซีตกลงที่จะโอนสิทธิในบัญชีคาใชจาย O&M ใหแกกองทุนเมื่อ เกิดเหตุผิดนัดผิดสัญญาตาม สัญญาซื้อ และโอนสิทธิร ายไดส ุทธิและกองทุนไดส ง หนัง สือ ใหแกบีทีเอสซีและธนาคาร

18. สรุปสาระสําคัญขอตกลง ระหวาง บีทีเอสซี กองทุน และ บีเอสเอส ฉบับลงวันที่ 17 เมษายน 2556 วัตถุประสงค

: เพื่อ ใหบีเอสเอสรับทราบถึงสิทธิของกองทุนในรายไดคาโดยสารสุทธิ และยอมรับที่จะทําหนาที่ เปนตัวแทนกองทุนในการจัดเก็บรายไดคาโดยสารสุทธิ รวมทั้ง จะนําสงรายไดคาโดยสารสุทธิที่ ไดร ับใหแกกองทุนโดยผานบีทีเอสซี หรือ ในกรณีที่บีทีเอสซีไมส ามารถสงรายไดคา โดยสารสุทธิ ใหแกกองทุนไดตามปกติ (เชน กรณีลมละลาย) บีเอสเอสจะนําสง รายไดคาโดยสารสุทธิใหแก กองทุนโดยตรง

19. สรุปสาระสําคัญของการสลักหลังกรมธรรมประกันภัย ตามที่ไดกําหนดไวในสัญญาซื้อ และโอนสิทธิร ายไดส ุทธิ จะมีการระบุชื่อ ของกองทุนเปนผูเอาประกันรวมและ ผูร ับประโยชนร วมภายใตกรมธรรมประกันภัยที่เกี่ยวของที่บีทีเอสซีมีอ ยู ในการนี้ บีทีเอสซีจะสง คําบอกกลาวไปยัง บริษัทประกันภัยที่เกี่ยวขอ งภายใน 30 วันนับจากวัน ที่ทําการซื้อ ขายเสร็จสิ้น เพื่อ ใหมีการสลักหลัง กรมธรรมประกันภัยที่เกี่ยวขอ ง เพื่อใหกองทุนเขาเปนผูเอาประกันรวมและผูร ับผลประโยชนร วม ในกรมธรรมประกันภัยที่เกี่ยวขอ งที่บีทีเอสซีทําไว คําบอกกลาวนั้นจะสง ใหบริษัทประกันภัยสําหรับกรมธรรมประกันภัยทุกฉบับที่บีทีเอสซีทําไว

สวนที่ 1 หนา 306


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

20. สัญญาหลักเกี่ยวกับทรัพยสินที่ก องทุนไมไดซ ื้อ ระหวาง บีทีเอสจี และ บีทีเอสซี ฉบับลงวันที่ 17 เมษายน 2556 เพื่อ กําหนดรายละเอียดและเงื่อ นไขหลัก และการเขาทําสัญญาประกอบตางๆ เพื่อ ดําเนินการกับ ทรั พ ย ส ิ น ที่ ก อ ง ทุ น ไมไดซื้อ จากบีทีเอสซีตามสัญญาซื้อ และโอนสิทธิร ายไดส ุทธิ โดยหากเกิดกรณีผิดนัดผิดสัญญาซื้อ และโอนสิท ธิ ร ายได สุทธิ และกองทุนใชส ิทธิบัง คับการค้ําประกันที่ใหโดยบีทีเอสจีภ ายใตส ัญญาสนับสนุนและค้ําประกันของผูส นับสนุน โดย การบัง คับจํานําหรือ การขายหุนในบีทีเอสซีที่บีทีเอสจีถือ อยูภ ายใตส ัญญาจํานําหุนบีทีเอสซี หรือ สัญญาจะซื้อ จะขายหุน บีทีเอสซี แล ว แต ก ร ณี ทั้ ง นี้ การ ค้ํ า ปร ะ กั น ตามสั ญ ญาส นั บ ส นุ น และ ค้ํ า ปร ะ กั น ขอ ง ผู ส นั บ ส นุ น จํ า กั ด อ ยู ที่ หุนบีทีเอสซี แตไมร วมทรัพยส ินของบีทีเอสซีที่กองทุนไมไดซื้อ ตามสัญญาซื้อ และโอนสิทธิร ายไดส ิทธิ ซึ่ง จะตอ ง มี ก าร โอนใหบีทีเอสจี หรือ บุคคลที่บีทีเอสจีกําหนด สัญญาประกอบสัญญาหลักเกี่ยวกับทรัพยส ินที่กองทุนไมไดซื้อ รวมถึง สัญญาเกี่ยวกับการขาย โอน โอนสิทธิ และ/หรือ แปลงหนี้ใหม ในทรัพยส ินที่กองทุนไมไดซื้อ และการใหหลักประกันโดยบีทีเอสซีแกบีทีเอสจี เพื่อ เปนประกันการ ปฏิ บั ติ หนาที่ของบีทีเอสซีซึ่ง เกิดจากการที่กองทุนอาจบัง คับการค้ําประกันที่ใหโดยบี ที เ อ ส จี ภ ายใต ส ั ญ ญาส นั บ ส นุ น และ ค้ําประกันของผูส นับสนุน

สวนที่ 1 หนา 307


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

สวนที่ 2 การรับรองความถูกตองของขอมูล บริษัทฯ ไดส อบทานขอ มูลในแบบแสดงรายการขอ มูลประจําปฉบับ นี้ แ ล ว ด ว ยความร ะ มั ด ร ะ วั ง บริ ษั ท ฯ ขอรับรองวา ขอ มูลดัง กลาวถูกตอ งครบถวน ไมเปนเท็จ ไมทําใหผูอ ื่นสําคัญผิด หรือ ไมขาดขอ มู ล ที่ ค วร ต อ ง แจ ง ใน สาระสําคัญ นอกจากนี้ บริษัทฯ ขอรับรองวา (1) งบการเงินและขอ มูลทางการเงินที่ส รุปมาในแบบแสดงรายการขอ มูลประจําป ไดแสดงขอ มูลอยางถูกตอง ครบถวนในสาระสําคัญเกี่ยวกับฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน และกระแสเงินสดของบริษัทฯ และบริษัทยอ ยแลว (2) บริษัทฯ ไดจัดใหมีร ะบบการเปดเผยขอ มูลที่ดี เพื่อ ใหแนใจวาบริษัทฯ ได เ ป ด เผยข อ มู ล ในส ว นที่ เ ป น สาระสําคัญทั้ง ของบริษัทฯ และบริษัทยอ ยอยางถูกตอ งครบถวนแลว รวมทั้ง ควบคุมดูแลใหมีการปฏิบตั ติ ามระบบดังกลาว (3) บริษัทฯ ไดจัดใหมีร ะบบการควบคุมภายในที่ดี และควบคุมดูแลใหมีการปฏิบัติตามระบบดั ง กล า ว และ บริษัทฯ ไดแจง ขอ มูลการประเมินระบบการควบคุมภายใน ณ วันที่ 27 พฤษภาคม 2556 ตอ ผูส อบบัญชีและกรรมการ ตรวจสอบของบริษัทฯ แลว ซึ่ง ครอบคลุมถึง ขอ บกพรอ งและการเปลี่ยนแปลงที่ส ําคัญของระบบการ ควบคุ ม ภ ายใน รวมทั้ง การกระทําที่มิชอบที่อ าจมีผลกระทบตอ การจัดทํารายงานทางการเงินของบริษัทฯ และบริษัทยอ ย ในการนี้ เพื่อ เปนหลักฐานวาเอกสารทั้ง หมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับที่บริษัทฯ ไดร ับรองความถูกตอ งแล ว บริษัทฯ ไดมอบหมายให นายสุร ยุทธ ทวีกุลวัฒน หรือ นางสาวชญาดา ยศยิ่ง ธรรมกุล เปนผูลงลายมือ ชื่อ กํากับเอกสาร นี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไมมีลายมือ ชื่อ ของ นายสุร ยุทธ ทวีกุลวัฒน หรือ นาง ส าวชญาดา ยศยิ่ ง ธร ร มกุ ล กํากับไว บริษัทฯ จะถือ วาไมใชขอ มูลที่บริษัทฯ ไดร ับรองความถูกตอ งของขอ มูลแลวดัง กลาวขางตน ชื่อ

ตําแหนง

นายคีร ี กาญจนพาสน

ประธานกรรมการบริหาร

นายคง ชิ เคือง

กรรมการบริหาร

ชื่อผูรับมอบอํานาจ

ตําแหนง

นายสุรยุทธ ทวีกุลวัฒน

ผูอ ํานวยการใหญส ายการเงิน

นางสาวชญาดา ยศยิ่ง ธรรมกุล

เลขานุการบริษัท / ผูอ ํานวยการฝายกฎหมาย

สวนที่ 2 หนา 345

ลายมือชื่อ

ลายมือชื่อ


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2 หนา 346

แบบ 56-1 ป 2555/56


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2 หนา 347

แบบ 56-1 ป 2555/56


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

สวนที่ 2 หนา 348

แบบ 56-1 ป 2555/56


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

เอกสารแนบ 1 รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผูบริหาร ณ วันที่ 31 มีนาคม 2556 *การถือหุนโดยกรรมการ / ผูบริหาร ซึ่งรวมหุน ที่ถ ือโดยคูสมรส และบุต รที่ยังไมบรรลุนิต ิภาวะ ทั้งนี้ บริษัทฯ มีหุนที่ออกและจําหนายแลว ณ วันที่ 19 มิถ ุนายน 2556 จํานวนทั้งสิ้น 11,402,793,531 หุน

ชื่อ-สกุล/ตําแหนง 1. นายคีรี กาญจนพาสน ประธานกรรมการ / ประธานกรรมการบริห าร / ประธานกรรมการบรรษัท ภิบาล

อายุ (ป) 63

คุณวุฒิทางการศึกษา - หลักสูตรผูบริห ารระดับสูง (วตท.10) ป 2553 สถาบันวิท ยาการตลาดทุน - หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Accreditation Program (DAP) ป 2554 สมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัทไทย

การถือหุน ในบริษัทฯ (%) *

ความสัมพันธ ทางครอบครัว ระหวาง ผูบริหาร

4,561,609,028 (40.004%)

บิดานายกวิ น กาญจนพาสน

ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ชวงเวลา 2549-ปจจุ บัน 2553-ปจจุ บัน 2536-2549 2555-ปจจุ บัน 2553-ปจจุ บัน 2539-ปจจุ บัน 2553-ปจจุ บัน 2552-ปจจุ บัน

2537-ปจจุ บัน 2536-ปจจุ บัน 2535-ปจจุ บัน 2534-ปจจุ บัน 2533-ปจจุ บัน 2531-ปจจุ บัน 2553-2555

เอกสารแนบ 1 หนา 312

ตําแหนง ประธานกรรมการ ประธานกรรมการบริห าร กรรมการผูจัดการ ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ ประธานกรรมการบริห าร กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

ชื่อหนวยงาน/บริษัท บมจ. บีท ีเอส กรุป โฮลดิ้งส บมจ. บีท ีเอส กรุป โฮลดิ้งส บมจ. บีท ีเอส กรุป โฮลดิ้งส บมจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย บมจ. ระบบขนสงมวลชนกรุงเทพ บมจ. ระบบขนสงมวลชนกรุงเทพ บจ. กามกุง พร็อพเพอรต้ี บจ. แครอท รีวอรดส บจ. นูโ ว ไลน เอเจนซี่ บจ. บีท ีเอส แลนด บจ. บางกอก สมารท การด ซิสเทม บจ. บางกอก สมารท การด ซิสเทม ธนายง อินเตอรเนชั่นแนล ลิมิเต็ด บจ. ปราณคีรี แอสเซ็ท ส บจ. สําเภาเพชร บจ. ธนายง ฟูด แอนด เบเวอเรจ บจ. ธนาซิต้ี กอลฟ แอนด สปอรต คลับ บจ. สยาม เพจจิ้ง แอนด คอมมิวนิเคชั่น บจ. ธนายง พร็อพเพอรต้ี แมเนจเมนท บจ. เมืองทอง แอสเซ็ท ส บจ. กามปู พร็อพเพอรต้ี


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-สกุล/ตําแหนง

2. นายพอล ทง (Mr. Paul Tong) กรรมการ

3. นายอาณัติ อาภาภิรม กรรมการบริห าร / กรรมการบรรษัทภิบาล

อายุ (ป)

72

75

คุณวุฒิทางการศึกษา

แบบ 56-1 ป 2555/56

การถือหุน ในบริษัทฯ (%) *

- PhD. Engineering University of Manchester ประเทศสหราชอาณาจักร - Master of Science in Engineering, University of Hong Kong, ฮองกง - Bachelor of Science in Engineering, University of Hong Kong, ฮองกง

30,347,888 (0.266%)

- วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาภาควิศวกรรมโยธา Colorado State University ประเทศสหรัฐอเมริกา - วิศวกรรมศาสตรดุษฎี บัณฑิตกิตติ มศักดิ์ มหาวิท ยาลัยสงขลานครินทร

-

ความสัมพันธ ทางครอบครัว ระหวาง ผูบริหาร

-

ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ชวงเวลา 2552-2553 2550-2555

กรรมการ กรรมการ

2539-2552 2534-2552 2533-2554 2550-ปจจุ บัน 2553- ปจจุ บัน 2550-ปจจุ บัน 2551-2555

กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการ กรรมการผูจัดการ กรรมการ

2549-2554

กรรมการผูจัดการ กรรมการ ประธานกรรมการ กรรมการ

2549-2553 2548-2553 -

2553-ปจจุ บัน 2552-2553 2541-2552 2553-ปจจุ บัน 2552-ปจจุ บัน

เอกสารแนบ 1 หนา 313

ตําแหนง

กรรมการบริห าร กรรมการ กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ กรรมการ กรรมการ

ชื่อหนวยงาน/บริษัท บจ. บีท ีเอส แอสเสทส บจ. กมลา บีช รีสอรท แอนด โฮเต็ล แมนเนจเมนท บจ. ยงสุ บจ. ดีแนล บจ. สระบุรี พร็อพเพอรต้ี บมจ. บีท ีเอส กรุป โฮลดิ้งส บจ. บีท ีเอส แอสเสทส Hip Hing Construction (China) Co., Ltd. บจ. กมลา บีช รีสอรท แอนด โฮเต็ล แมนเนจเมนท Hip Hing Construction Co., Ltd. NW Project Management Limited บมจ. ระบบขนสงมวลชนกรุงเทพ Parsons Brinckerhoff Internati onal, Pte Ltd., Singapore บมจ. บีท ีเอส กรุป โฮลดิ้งส บมจ. บีท ีเอส กรุป โฮลดิ้งส บมจ. บีท ีเอส กรุป โฮลดิ้งส บจ. กามกุง พร็อพเพอรต้ี บจ. บีท ีเอส แลนด


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-สกุล/ตําแหนง

4. นายสุรพงษ เลาหะอัญญา กรรมการบริห าร

อายุ (ป)

51

คุณวุฒิทางการศึกษา - วิศวกรรมศาสตรดุษฎี บัณฑิตกิตติ มศักดิ์ ภาควิชา วิศวกรรมโยธา จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย - วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิศวกรรมแหลงน้ํา สถาบันเทคโนโลยีแหงเอเซีย (เอ ไอ ที) - วิศวกรรมศาสตรบัณ ฑิต สาขาวิศวกรรมโยธา จุฬาลงกรณมหาวิท ยาลัย - หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Accreditation Program (DAP) ป 2554 สมาคมสงเสริม สถาบันกรรมการบริษัท ไทย - วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิศวกรรมโยธา จุฬาลงกรณมหาวิท ยาลัย - วิศวกรรมศาสตรบัณ ฑิต สาขาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร

แบบ 56-1 ป 2555/56

การถือหุน ในบริษัทฯ (%) *

5,552,627 (0.049%)

ความสัมพันธ ทางครอบครัว ระหวาง ผูบริหาร

-

ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ชวงเวลา

ชื่อหนวยงาน/บริษัท

2551-2556 2539-2551 2553-2555 2552-2553

กรรมการ ที่ปรึกษาคณะกรรมการ กรรมการ กรรมการ

บมจ. ระบบขนสงมวลชนกรุงเทพ บมจ. ระบบขนสงมวลชนกรุงเทพ บจ. กามปู พร็อพเพอรต้ี บจ. บีท ีเอส แอสเสทส

2553-ปจจุ บัน

กรรมการบริห าร กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

บมจ. บีท ีเอส กรุป โฮลดิ้งส บจ. แครอท รีวอรดส บจ. กามกุง พร็อพเพอรตี้ บจ. นูโ ว ไลน เอเจนซี่ บจ. บีท ีเอส แลนด บจ. บางกอก สมารท การด ซิสเทม

2552-ปจจุ บัน

เอกสารแนบ 1 หนา 314

ตําแหนง


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-สกุล/ตําแหนง

อายุ (ป)

คุณวุฒิทางการศึกษา

แบบ 56-1 ป 2555/56

การถือหุน ในบริษัทฯ (%) *

ความสัมพันธ ทางครอบครัว ระหวาง ผูบริหาร

- หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Accreditation Program (DAP) ป 2553 สมาคมสงเสริม สถาบันกรรมการบริษัท ไทย 5. นายกวิน กาญจนพาสน กรรมการบริห าร

38

- Stonyhurst College ประเทศสหราชอาณาจักร - หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Accreditation Program (DAP) ป 2550 สมาคมสงเสริม สถาบันกรรมการบริษัท ไทย - กําลังศึกษาหลักสูตรผูบริห าร ระดับสูง (วตท.16) ป 2556 สถาบันวิท ยาการตลาดทุน

ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ชวงเวลา 2549-ปจจุ บัน

2,459,295 (0.022%)

บุตรของนายคีรี กาญจนพาสน

2553-2555 2552-2553 2553-ปจจุ บัน 2549-2553 2555-ปจจุ บัน 2546-2555 2553-ปจจุ บัน

2552-ปจจุ บัน

2545-2550

เอกสารแนบ 1 หนา 315

ตําแหนง กรรมการ ผูอํานวยการใหญสาย ปฏิบัติการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการบริห าร กรรมการผูจัดการ ประธานกรรมการบริห าร กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการบริห าร กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

ชื่อหนวยงาน/บริษัท บมจ. ระบบขนสงมวลชนกรุงเทพ

บมจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย บจ. กามปู พร็อพเพอรต้ี บจ. บีท ีเอส แอสเสทส บมจ. บีท ีเอส กรุป โฮลดิ้งส บมจ. บีท ีเอส กรุป โฮลดิ้งส บมจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย บมจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย ธนายง ฮองกง ลิมิเต็ด แอบโซลูท โฮเต็ล เซอรวิส ฮองกง ลิมิเต็ด บจ. 999 มีเดีย บจ. 888 มีเดีย บจ. แครอท รีวอรดส บจ. บีท ีเอส แลนด บจ. กามกุง พร็อพเพอรต้ี วีจีไอ แอดเวอรไทซิ่ง ไชนา ลิมเิ ต็ด บจ. บีท ีเอส แอสเสทส บมจ. ระบบขนสงมวลชนกรุงเทพ บจ. นูโ ว ไลน เอเจนซี่ บจ. บางกอก สมารท การด ซิสเทม บจ. พอยท ออฟ วิว (พีโอวี) มีเดีย กรุป บจ. วี จีไอ แอดเวอรไทซิ่ง มีเดีย บจ. วี จีไอ แอดเวอรไทซิ่ง มีเดีย


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-สกุล/ตําแหนง

อายุ (ป)

คุณวุฒิทางการศึกษา

แบบ 56-1 ป 2555/56

การถือหุน ในบริษัทฯ (%) *

ความสัมพันธ ทางครอบครัว ระหวาง ผูบริหาร

ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ชวงเวลา 2552-ปจจุ บัน 2547-2550 2551-ปจจุ บัน

2553-2555 2550-2555 2551-2554 2551-2552 6. นายรังสิน กฤตลักษณ กรรมการบริห าร / ผูอํานวยการใหญสายปฏิบัติการ / กรรมการสรรหาและกําหนด คาตอบแทน / กรรมการบรรษัท ภิบาล

51

- ปริญญาโทบริห ารธุรกิจ มหาวิท ยาลัยธรรมศาสตร - สถาปตยกรรมศาสตรบัณฑิต มหาวิท ยาลัยศิลปากร - หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Accreditation Program (DAP) ป 2546 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษทั ไทย

-

-

2553-ปจจุ บัน

2549-2553 2540-2549 2554- ปจจุ บัน 2553-ปจจุ บัน

เอกสารแนบ 1 หนา 316

ตําแหนง กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการบริห าร ผูอํานวยการใหญสาย ปฏิบัติการ รองกรรมการผูจัดการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

ชื่อหนวยงาน/บริษัท บจ. วี จี ไอ มัลติเทค อินเตอรเนชั่นแนล บจ. วี จี ไอ มัลติเทค อินเตอรเนชั่นแนล บจ. ธนาซิต้ี กอลฟ แอนด สปอรต คลับ บจ. ธนายง พร็อพเพอรต้ี แมเนจเมนท บจ. เมืองทอง แอสเซ็ท ส บจ. ปราณคีรี แอสเซ็ท ส บจ. สําเภาเพชร บจ. สยาม เพจจิ้ง แอนด คอมมิวนิเคชั่น บจ. ธนายง ฟูด แอนด เบเวอเรจ บจ. แอบโซลูท โฮเต็ล เซอรวิส บจ. กามปู พร็อพเพอรต้ี บจ. กมลา บีช รีสอรท แอนด โฮเต็ล แมนเนจเมนท บจ. สระบุรี พร็อพเพอรต้ี บจ. ดีแนล บจ. ยงสุ บมจ. บีท ีเอส กรุป โฮลดิ้งส

บมจ. บีท ีเอส กรุป โฮลดิ้งส บมจ. บีท ีเอส กรุป โฮลดิ้งส บจ. บีท ีเอส แลนด บจ. กามกุง พร็อพเพอรต้ี บจ. นูโ ว ไลน เอเจนซี่ บจ. บีท ีเอส แอสเสทส


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-สกุล/ตําแหนง

7. นายคง ชิ เคือง (Mr. Kong Chi Keung) กรรมการบริห าร / กรรมการสรรหาและกําหนดคา ตอบแทน

อายุ (ป)

38

คุณวุฒิทางการศึกษา - หลักสูตรประกาศนียบัตร Role of the Compensation Committee (RCC) ป 2554 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษทั ไทย - หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Certification Program (DCP) ป 2554 สมาคมสงเสริม สถาบันกรรมการบริษัท ไทย - Anti-Corruption for Executive Program ป 2555 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษทั ไทย - หลักสูตรประกาศนียบัตร Role of the Nomination and Governance Committee (RNG) ป 2555 สมาคมสงเสริม สถาบันกรรมการบริษัท ไทย - ปริญญาโทบริห ารธุรกิจ (Executive) สถาบันบัณฑิต บริห ารธุรกิจศศินทร แหงจุฬาลงกรณมหาวิท ยาลัย

แบบ 56-1 ป 2555/56

การถือหุน ในบริษัทฯ (%) *

ความสัมพันธ ทางครอบครัว ระหวาง ผูบริหาร

ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ชวงเวลา 2551-ปจจุ บัน

2541-ปจจุ บัน 2553-2555 2550-2555 2544-2555

กรรมการ

บจ. สยาม เพจจิ้ง แอนด คอมมิวนิเคชั่น บจ. แอบโซลูท โฮเต็ล เซอรวิส บจ. เมืองทอง แอสเซ็ท ส บจ. เอชเอชที คอนสตรัคชั่น บจ. ดีแนล บจ. ธนายง ฟูด แอนด เบเวอเรจ บจ. สําเภาเพชร บจ. ปราณคีรี แอสเซ็ท ส บจ. ธนายง พร็อพเพอรต้ี แมเนจเมนท บจ. ยงสุ บจ. ธนาซิต้ี กอลฟ แอนด สปอรต คลับ บจ. กามปู พร็อพเพอรต้ี บจ. กมลา บีช รีสอรท แอนด โฮเต็ล แมนเนจเมนท บจ. สระบุรี พร็อพเพอรต้ี

2553-ปจจุ บัน 2551-2553 2549-2551 2555-ปจจุ บัน 2553-2556 2553-ปจจุ บัน

กรรมการบริห าร รองกรรมการผูจัดการ กรรมการ ผูอํานวยการใหญสายการเงิน กรรมการ กรรมการ กรรมการ

บมจ. บีท ีเอส กรุป โฮลดิ้งส บมจ. บีท ีเอส กรุป โฮลดิ้งส บมจ. บีท ีเอส กรุป โฮลดิ้งส บมจ. ระบบขนสงมวลชนกรุงเทพ บมจ. ระบบขนสงมวลชนกรุงเทพ ธนายง ฮองกง ลิมิเต็ด วีจีไอ แอดเวอรไทซิ่ง ไชนา ลิมเิ ต็ด

2544-ปจจุ บัน

-

เอกสารแนบ 1 หนา 317

ชื่อหนวยงาน/บริษัท

กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

2550-ปจจุ บัน

3,200,000 (0.028%)

ตําแหนง


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-สกุล/ตําแหนง

8. พลโทพิศาล เทพสิท ธา กรรมการอิสระ / ประธานกรรมการตรวจสอบ / ประธานกรรมการสรรหาและ กําหนดคาตอบแทน

อายุ (ป)

81

คุณวุฒิทางการศึกษา - BA (Honorary Degree) Business Administrative, University of Greenwich, ประเทศสหราชอาณาจักร - หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Accreditation Program (DAP) ป 2550 สมาคมสงเสริม สถาบันกรรมการบริษัท ไทย - ปริญญาโทบริห ารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร - ปริญญาพาณิชยศาสตรบัณฑิต ปริญญาบัญชีบัณฑิต และ ประกาศนียบั ตรขั้นสูงทางการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร - นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิท ยาลัยธรรมศาสตร - ศึกษาศาสตรบัณฑิต เกียรตินิยม อันดับหนึ่ง มหาวิทยาลัยสุโขทัย ธรรมาธิราช - ทันตแพทยศาสตรบัณฑิต เกียรตินิยมอันดับสอง มหาวิท ยาลัยแพทยศาสตร - หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Certification Program

แบบ 56-1 ป 2555/56

การถือหุน ในบริษัทฯ (%) *

ความสัมพันธ ทางครอบครัว ระหวาง ผูบริหาร

ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ชวงเวลา 2551-ปจจุ บัน 2543-ปจจุ บัน

80,000 (0.001%)

-

2543-ปจจุ บัน 2544-ปจจุ บัน 2542-ปจจุ บัน 2552-2553 2548-2556

เอกสารแนบ 1 หนา 318

ตําแหนง

ชื่อหนวยงาน/บริษัท

กรรมการ กรรมการ กรรมการ

บจ. บีท ีเอส แอสเสทส บจ. แอบโซลูท โฮเต็ล เซอรวิส บมจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย

ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ

บมจ. บีท ีเอส กรุป โฮลดิ้งส บมจ. เพรซิเดนทไรซโปรดักส บมจ. ร็อคเวิธ บมจ. ระบบขนสงมวลชนกรุงเทพ บมจ. เพรสซิเดนท เบเกอรี่


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-สกุล/ตําแหนง

อายุ (ป)

คุณวุฒิทางการศึกษา

-

9. นายอมร จันทรสมบูรณ กรรมการอิสระ

83

-

-

-

-

-

(DCP) ป 2545 สมาคมสงเสริม สถาบันกรรมการบริษัท ไทย หลักสูตรประกาศนียบัตร Audit Committee Program (ACP) ป 2552 สมาคมสงเสริ ม สถาบั นกรรมการบริษัทไทย ปริญญาเอกทางกฎหมาย ระหวางประเทศ (แผนกคดีเมือง) Paris University, ประเทศฝรั่งเศส ปริญญาธรรมศาสตรบัณฑิต มหาวิท ยาลัยธรรมศาสตร ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์สาขา นิติศาสตร มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์สาขา นิติศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิท ยาลัย ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์สาขา นิติศาสตร มหาวิท ยาลัยรามคําแหง กิตติเมธี สาขานิติศาสตร มหาวิท ยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ปริญญาบัตร วิท ยาลัยปองกัน ราชอาณาจักร (รุนที่ 14)

แบบ 56-1 ป 2555/56

การถือหุน ในบริษัทฯ (%) *

ความสัมพันธ ทางครอบครัว ระหวาง ผูบริหาร

-

-

ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ชวงเวลา

ตําแหนง

2553-ปจจุ บัน 2533-ปจจุ บัน

กรรมการอิสระ กรรมการธนาคาร กรรมการบริห าร กรรมการสภาวิชาการ ศาสตราจารยภ ิชาน

2553-ปจจุ บัน

2543-ปจจุ บัน 2539-ปจจุ บัน 2527-ปจจุ บัน 2542-2547

2538-2547

เอกสารแนบ 1 หนา 319

กรรมการสภามหาวิท ยาลัย ผูท รงคุณวุฒ ิ กรรมการสภามหาวิท ยาลัย ผูท รงคุณวุฒ ิ กรรมการที่ปรึกษา กรรมการในคณะกรรมการ ปองกันและปราบปรามการ ฟอกเงิน (ป.ป.ง.) ประธานอนุกรรมการปรับปรุง โครงสรางสํานักงาน ป.ป.ง. กรรมการ

ชื่อหนวยงาน/บริษัท

บมจ. บีท ีเอส กรุป โฮลดิ้งส บมจ. ธนาคารกรุงเทพ สถาบันบัณ ฑิตพัฒ นบริห ารศาสตร (NIDA) คณะนิติศาสตร สถาบันบัณ ฑิตพัฒ นบริห ารศาสตร (NIDA) มหาวิท ยาลัยมหิดล มหาวิท ยาลัยอุบลราชธานี สถาบันบัณ ฑิตบริห ารธุรกิจศศิ นทร จุฬาลงกรณมหาวิท ยาลัย คณะกรรมการปองกันและปราบปรามการ ฟอกเงิน (ป.ป.ง.)

คณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาด หลักทรัพย (ก.ล.ต.)


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-สกุล/ตําแหนง

อายุ (ป)

คุณวุฒิทางการศึกษา

แบบ 56-1 ป 2555/56

การถือหุน ในบริษัทฯ (%) *

ความสัมพันธ ทางครอบครัว ระหวาง ผูบริหาร

- หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Certification Program (DCP) ป 2546, สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัท ไทย - Director Accreditation Program (DAP) ป 2546, สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัท ไทย - Finance of Non- Finance Director (FND) ป 2546, สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัท ไทย - Audit Committee Program (ACP) ป 2552, สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัท ไทย - Monitoring the System of Internal Control and Risk Management (MIR) ป 2552, สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัท ไทย - Monitoring the Internal Audit Function (MIA) ป 2552, สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัท ไทย

ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ชวงเวลา 2539-2543, 2528-2534, 2524-2528 2527-2531

เอกสารแนบ 1 หนา 320

ตําแหนง

ชื่อหนวยงาน/บริษัท

วุฒ ิสมาชิก

วุฒ ิสภา

กรรมการ

ธนาคารแหงประเทศไทย


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-สกุล/ตําแหนง

10. นายสุจินต หวั่งหลี กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ / กรรมการสรรหาและกําหนด คาตอบแทน

อายุ (ป)

77

คุณวุฒิทางการศึกษา - Monitoring the Quality of Financial Reporting (MFR) ป 2552 , สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัท ไทย - Financial Institutions Governance Program (FGP) ป 2554, สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัท ไทย - ปริญญาตรีวิศวกรรมไฟฟา Northrop Institute of Technology ประเทศสหรัฐอเมริกา - Executive Course, Harvard University ประเทศสหรัฐอเมริกา - หลักสูตรประกาศนียบัตร Role of the Chairman Program (RCP) ป 2544 สมาคมสงเสริมสถาบัน กรรมการบริษัท ไทย - หลักสูตรผูบริห ารระดับสูง (วตท.9) ป 2552 สถาบันวิท ยาการตลาดทุน

แบบ 56-1 ป 2555/56

การถือหุน ในบริษัทฯ (%) *

5,157,166 (0.045%)

ความสัมพันธ ทางครอบครัว ระหวาง ผูบริหาร

-

ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ชวงเวลา

ตําแหนง

2553-ปจจุ บัน

กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ รองประธานกรรมการ กรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ กรรมการอิสระ ประธานกรรมการ

2554-ปจจุ บัน 2553-ปจจุ บัน 2553-ปจจุ บัน 2532-ปจจุ บัน 2550-ปจจุ บัน 2549-ปจจุ บัน 2548-ปจจุ บัน 2544-ปจจุ บัน 2543-ปจจุ บัน 2537-ปจจุ บัน 2534-ปจจุ บัน

เอกสารแนบ 1 หนา 321

ชื่อหนวยงาน/บริษัท

บมจ. บีท ีเอส กรุป โฮลดิ้งส บมจ. เสริมสุข บมจ. เสริมสุข บมจ. อุตสาหกรรมถังโลหะไทย บมจ. อุตสาหกรรมถังโลหะไทย บจ. อาควา อินฟนิท บจ. หวั่งหลีพัฒ นา บมจ. โรงแรมราชดําริ บมจ. นวกิจ ประกันภัย บมจ. ไทยรีประกันชีวิต บมจ. วโรปกรณ บจ. รังสิตพลาซา


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-สกุล/ตําแหนง

อายุ (ป)

คุณวุฒิทางการศึกษา

แบบ 56-1 ป 2555/56

การถือหุน ในบริษัทฯ (%) *

ความสัมพันธ ทางครอบครัว ระหวาง ผูบริหาร

- หลักสูตรผูบริห ารระดับสูง ดานการคาและการพาณิชย สถาบันวิท ยาการการคา ป 2553 - หลักสูตรผูบริห ารระดับสูงดาน การบริห ารงานพัฒ นาเมือง “มหานคร” สถาบันพัฒ นาเมือง ป 2554 - หลักสูตรวิท ยาการประกันภัย ระดับสูง (วปส.2) ป 2555 สํานักงานคณะกรรมการกํากับ และสงเสริมการประกอบธุรกิจ ประกันภัย

ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ชวงเวลา 2533-ปจจุ บัน 2531-ปจจุ บัน 2525-ปจจุ บัน 2521-ปจจุ บัน 2513-ปจจุ บัน 2511-ปจจุ บัน 2550-2552, 2546-2548, 2544-2546, 2517-2519 2514-2553 2546-2548, 2544-2546, 2517-2519 2540-2548 2531-2553 2518-2519 2517-2519 2512-2556

เอกสารแนบ 1 หนา 322

ตําแหนง

ชื่อหนวยงาน/บริษัท

กรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ ประธานกรรมการ กรรมการ นายกสมาคม

บจ. นุชพล บจ. เดอะ เพ็ท บจ. สาธรธานี บมจ. ไทยรับประกันภัยตอ บมจ. ฟอลคอนประกันภัย บจ.หวั่งหลี สมาคมประกันวิ นาศภัย

กรรมการ กรรมการ

สมาคมประกันวิ นาศภัย สภาหอการคาแหงประเทศไทย

กรรมการ กรรมการตรวจสอบ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการอิสระ

บมจ. ไมเนอร ฟูด กรุป บจ. ไทยเพชรบูรณ Asian Reinsurance Pool การเคหะแหงชาติ East Asian Insurance Congress บมจ. ไทย-เยอรมัน เซรามิค อินดัสทรี่


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-สกุล/ตําแหนง 11. นายเจริญ วรรธนะสิน กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ / กรรมการสรรหาและกําหนด คาตอบแทน / กรรมการบรรษัทภิบาล

12. นายชอง ยิง ชิว เฮนรี่ (Mr. Cheong Ying Chew, Henry) กรรมการอิสระ

อายุ (ป) 76

65

คุณวุฒิทางการศึกษา - การบริห ารธุรกิจ City of Liverpool College of Commerce, ประเทศสหราชอาณาจักร - การจัดการ สถาบันการจัดการ แหงประเทศอังกฤษ (B.I.M.) London,ประเทศสหราชอาณาจักร - หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Accreditation Program (DAP) ป 2554 สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการ บริษัท ไทย - หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Certification Program (DCP) ป 2554 สมาคมสงเสริม สถาบันกรรมการบริษัท ไทย - หลักสูตรประกาศนียบัตร Audit Committee Program (ACP) ป 2554 สมาคมสงเสริม สถาบันกรรมการบริษัท ไทย - Master of Science in Operational Research and Management, Imperial College, University of London ประเทศสหราชอาณาจักร

แบบ 56-1 ป 2555/56

การถือหุน ในบริษัทฯ (%) * 276,571 (0.002%)

-

ความสัมพันธ ทางครอบครัว ระหวาง ผูบริหาร -

-

เอกสารแนบ 1 หนา 323

ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ชวงเวลา

ตําแหนง

2553-ปจจุ บัน

กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ 2546 – ปจจุ บัน รองประธานคณะกรรมการ 2545-ปจจุ บัน

นายกสมาคม

2530-ปจจุ บัน 2544-2550 2538-2541 2519-2538 2515-2519 2512 2505-2515

ศาสตราจารยพิเศษ สาขาวิชา การตลาด ประธานที่ปรึกษา ประธานที่ปรึกษา กรรมการผูจัดการ ผูจัดการใหญ ผูอํานวยการฝายขาย ผูจัดการฝายขายทั่วไป

2553-ปจจุ บัน 2553-ปจจุ บัน

กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ

2552-ปจจุ บัน

กรรมการอิสระ

ชื่อหนวยงาน/บริษัท บมจ. บีท ีเอส กรุป โฮลดิ้งส คณะกรรมการโอลิมปคแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ สมาคมแบดมินตันแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี จุฬาลงกรณมหาวิท ยาลัย บจ. แปซิฟคแปรรู ปสัตวน้ํา บมจ. มีเดีย ออฟ มีเดียส บจ. ไอเอฟเอฟ (ประเทศไทย) บจ. ไทยอมฤตบริวเวอรี่ บจ. ริชารดสัน – เมอรเรล (ประเทศไทย) ลีเวอรบราเธอร (ประเทศไทย) ในเครือยูนิลีเวอร

บมจ. บีท ีเอส กรุป โฮลดิ้งส Creative Energy Solutions Holdings Limited Hutchison Telecommunications Hong Kong Holdings Limited


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-สกุล/ตําแหนง

อายุ (ป)

คุณวุฒิทางการศึกษา

แบบ 56-1 ป 2555/56

การถือหุน ในบริษัทฯ (%) *

ความสัมพันธ ทางครอบครัว ระหวาง ผูบริหาร

ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ชวงเวลา

- Bachelor of Science (Mathematics), Chelsea College, University of London ประเทศสหราชอาณาจักร

ตําแหนง Member Member

2551-ปจจุ บัน 2550-ปจจุ บัน

กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ

2549-ปจจุ บัน 2547-ปจจุ บัน 2543-2555

กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ

2543-ปจจุ บัน 2540-ปจจุ บัน 2539-ปจจุ บัน

กรรมการอิสระ รองประธานกรรมการ กรรมการบริห าร กรรมการอิสระ

2548-2554

Member

2546-2549

Member of the Committee on Real Estate Investm ent Trust กรรมการอิสระ

2546-2548 2545-2549

เอกสารแนบ 1 หนา 324

Member of Main Board Listing Committee

ชื่อหนวยงาน/บริษัท Securities and Futures Appeals Tribunal, Hong Kong Advisory Committee of the Securities and Futures Commission, Hong Kong CNNC International Limited New World Department Store China Limited SPG Land (Holdings) Limited Cheung Kong (Holdings) Limited Excel Technology International (ปจจุบั นชื่อ Hong Kong Jewellery Holding Limited) TOM Group Limited Worldsec Limited Cheung Kong Infrastructure Holdings Limited The Disciplinary Panel (Panel A) of the Hong Kong Institute of Certified Public Accountants Securities and Futures Commission, Hong Kong Hutchison Global Communications Holdings Limited Hong Kong Exchanges and Clearing Limited


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-สกุล/ตําแหนง

อายุ (ป)

คุณวุฒิทางการศึกษา

แบบ 56-1 ป 2555/56

การถือหุน ในบริษัทฯ (%) *

ความสัมพันธ ทางครอบครัว ระหวาง ผูบริหาร

ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ชวงเวลา 2545-2549

2544-2550

Member of GEM Listing Committee Member of the Derivatives Market Consultative Panel กรรมการอิสระ

2543-2551

กรรมการอิสระ

2543-2549

2536-2542

Member of the Process Review Panel Member of Corporate Advisory Council Member

2543-2549

2545-2552

13. นางดวงกมล ชัยชนะขจร ผูอํานวยการฝายบัญชี

53

14. นางพัชนียา พุฒ มี ผูอํานวยการฝายสื่อสารองคกร

61

15. นายสุรยุท ธ ทวีกุลวัฒ น ผูอํานวยการใหญสายการเงิน

41

- ปริญญาโทบริห ารธุรกิจ มหาวิท ยาลัยธรรมศาสตร - ปริญญาตรีพาณิชยศาสตรและ การบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร - ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา ภาษาอังกฤษ มหาวิท ยาลัย รามคําแหง - MBA, Ross School of Business, University of Michigan – Ann Arbor, ประเทศสหรัฐอเมริกา

ตําแหนง

-

-

2544-ปจจุ บัน

ผูอํานวยการฝายบัญชี

206,200 (0.002%)

-

2553-ปจจุ บัน

-

2545- ปจจุ บัน 2554- ปจจุ บัน 2556-ปจจุ บัน

ผูอํานวยการฝายสื่อสาร องคกร ผูจัดการฝายสื่อสารองคกร ผูอํานวยการใหญสายการเงิน กรรมการชมรม นักลงทุนสัมพันธ

17,000 (0.0001%)

เอกสารแนบ 1 หนา 325

ชื่อหนวยงาน/บริษัท Hong Kong Exchanges and Clearing Limited Hong Kong Exchanges and Clearing Limited Forefront International Holdings Limited (ปจจุบั นชื่อ Forefront Group Limited) Jade Asia Pacific Fund Inc. (ป จจุ บันชื่อ FPP Golden Asia Fund Inc.) Securities and Futures Commission, Hong Kong Hong Kong Securities Institute Limited Advisory Committee of the Securities and Futures Commission, Hong Kong บมจ. บีท ีเอส กรุป โฮลดิ้งส

บมจ. บีท ีเอส กรุป โฮลดิ้งส บมจ. ระบบขนสงมวลชนกรุงเทพ บมจ. บีท ีเอส กรุป โฮลดิ้งส สมาคมบริษัท จดทะเบียนไทย


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-สกุล/ตําแหนง

อายุ (ป)

คุณวุฒิทางการศึกษา

แบบ 56-1 ป 2555/56

การถือหุน ในบริษัทฯ (%) *

ความสัมพันธ ทางครอบครัว ระหวาง ผูบริหาร

- ปริญญาตรีพาณิชยศาสตร และการบัญชี จุฬาลงกรณมหาวิท ยาลัย

ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ชวงเวลา 2553-2554

2541-2553

16. นายดาเนียล รอสส (Mr. Daniel Ross) ผูอํานวยการฝายการเงิน / หัวหนาฝายนักลงทุนสัมพันธ

17. นางสาวชวดี รุงเรือง ผูอํานวยการฝายการเงิน

37

36

- Bachelor of Science in Mathematics (First Class Honours) King’s College, University of London, ประเทศสหราชอาณาจักร - หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Certification Program (DCP) ป 2552

- ปริญญาโทบริห ารธุรกิจ จุฬาลงกรณมหาวิท ยาลัย - ปริญญาตรีพาณิชยศาสตรและ การบัญชี สาขาการบัญชี จุฬาลงกรณมหาวิท ยาลัย

32,000 (0.0003%)

-

2537-2539 2553-ปจจุ บัน 2551-2553 2550-2552 2549-2552

-

-

2545-2549 2545 2542-2544 2554-ปจจุ บัน 2546-2553 2541-2546

เอกสารแนบ 1 หนา 326

ตําแหนง รองกรรมการผูจัดการ ดูแล บัญชี การเงินและบริห าร ทั่วไป (CFO) SVP ผูจัดการฝายวางแผน และงบประมาณ ผูสอบบัญชีอาวุโส ผูอํานวยการฝายการเงิน / หัวหนาฝายนักลงทุนสัมพันธ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการบริห ารโครงการ กรรมการบริห ารโครงการ รองกรรมการผูจัดการ ผูอํานวยการฝายการลงทุน รองผูอํานวยการ เจาหนาที่ธุรกิจสัมพันธ เจาหนาที่วิเคราะหสินเชือ่ ผูอํานวยการฝายการเงิน ผูชวยผูอํานวยการฝายบัญชี และการเงิน ผูชวยผูสอบบัญชี

ชื่อหนวยงาน/บริษัท บมจ. ยูนิค ไมนิ่ง เซอรวิสเซส จํากัด

ธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) บจ. สํานักงาน เอินสท แอนด ยัง บมจ. บีท ีเอส กรุป โฮลดิ้งส บมจ. เอส เอฟ จี จํากัด บจ. เอพี แปซิฟค สตาร (รัชดา) บจ. เอพี แปซิฟค สตาร (สาทร) บจ. แปซิฟค สตาร อินเตอรเนชั่นแนล (ประเทศไทย) Mullis Partners ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย JPMorganChase, London บมจ. บีท ีเอส กรุป โฮลดิ้งส บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา บจ. สํานักงาน เอินสท แอนด ยัง


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

ชื่อ-สกุล/ตําแหนง 18. นางสาวชญาดา ยศยิ่งธรรมกุล ผูอํานวยการฝายกฎหมาย / เลขานุการบริษัท

อายุ (ป) 36

คุณวุฒิทางการศึกษา - Master of Laws (LL.M), Commercial Law, University of Bristol, ประเทศสหราชอาณาจักร - นิติศาสตรบัณฑิต มหาวิท ยาลัยธรรมศาสตร - หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Certification Program (DCP) ป 2554 สมาคมสงเสริม สถาบันกรรมการบริษัท ไทย

แบบ 56-1 ป 2555/56

การถือหุน ในบริษัทฯ (%) * 70,000 (0.0006%)

ความสัมพันธ ทางครอบครัว ระหวาง ผูบริหาร -

เอกสารแนบ 1 หนา 327

ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ชวงเวลา 2554-ปจจุ บัน 2551-2553 2550-ปจจุ บัน 2543-2550

ตําแหนง เลขานุการบริษัท เลขานุการบริษัท ผูอํานวยการฝายกฎหมาย ทนายความ

ชื่อหนวยงาน/บริษัท บมจ. บีท ีเอส กรุป โฮลดิ้งส บมจ. บีท ีเอส กรุป โฮลดิ้งส บมจ. บีท ีเอส กรุป โฮลดิ้งส บจ. เบเคอร แอนด แม็คเค็นซี่


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

บจ. ปราณคีร ี แอสเซ็ท ส

บจ. บีทีเอส แลนด

บจ. สยาม เพจจิ้ง แอนด คอมมิวนิเคชั่น

บจ. บีทีเอส แอสเสทส

วี จี ไอ แอดเวอรไทซิ่ง ไชนา ลิมิเต็ด

บจ. วี จี ไอ มัลติเทค อินเตอรเนชั่นแนล

บจ. พอยท ออฟ วิว (พีโ อวี) มีเดีย กรุป

บจ. 888 มีเดีย

A,D

บจ. 999 มีเดีย

A,B,D

บจ.สําเภาเพชร

A,B,D D C,D C,D C,D C,D C,D E,F F E,F E,F F G G G G G G

บมจ. วี จี ไอ โกลบอล มี เดีย

บริษ ัท นายคีร ี กาญจนพาสน นายพอล ทง นายอาณัติ อาภาภิร ม นายสุร พงษ เลาหะอัญญา นายกวิน กาญจนพาสน นายรัง สิน กฤตลัก ษณ นายคง ชิ เคือง พลโทพิศ าล เทพสิทธา นายอมร จันทรสมบูร ณ นายสุจินต หวั่ง หลี นายเจริญ วรรธนะสิน นายชอง ยิง ชิว เฮนรี่ นางดวงกมล ชัยชนะขจร นางพัช นียา พุฒมี นายสุร ยุทธ ทวีก ุลวัฒน นายดาเนียล รอสส นางสาวชวดี รุง เรือง นางสาวชญาดา ยศยิ่ง ธรรมกุล

บมจ. ระบบขนสงมวลชน กรุง เทพ

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18.

บมจ. บีทีเอส กรุป โฮลดิ้ง ส

กรรมการและผูบริหาร

บจ. วีจีไอ แอด เวอรไทซิ่ง มีเดีย

เอกสารแนบ 2 ขอมูลการดํารงตําแหนง ของกรรมการและผูบริหารในบริษัทยอยและบริษัทรวม ณ วันที่ 31 มีนาคม 2556

D

D

D

D

D D

D D D D

D D

A,D D* D D

D B,D,G

D*,G

D

D

D

D

D

D

D D

* นายอาณัติ อาภาภิร ม และนายคง ชิ เคือง ไดลาออกจากการเปนกรรมการของบมจ. ระบบขนสง มวลชนกรุง เทพ มีผลเมื่อวันที่ 9 เมษายน 2556

เอกสารแนบ 2 หนา 328

B,D D D

D D


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

บริษัท A=

ประธานกรรมการ

D

D

A,D

D D

D D D

D

ประธานกรรมการบริหาร

D D D

บริษัทรวม C=

กรรมการบริหาร

D=

กรรมการ

E=

เอกสารแนบ 2 หนา 329

กรรมการตรวจสอบ

F=

กรรมการอิสระ

G=

ผูบริหาร

แอบโซลูท โฮเต็ล เซอรวิส ฮองกง ลิมิเต็ด

D D

D D D

D

บจ. แอบโซลูท โฮเต็ล เซอรวิส

D

บจ. บางกอก สมารทการด ซิสเทม

D

ธนายง ฮองกง ลิมิเต็ด

D

บจ. แครอท รีวอรด ส

D D

ธนายง อินเตอรเนชั่นแนล ลิมิ เต็ด

D

D D

บจ. นูโว ไลน เอเจนซี่

D

บจ. ยงสุ

D

D D

บริษัทยอย B=

D

บจ. ธนาซิตี้ กอลฟ แอนด สปอรต คลับ

D D D D

บจ. ธนายง พร็อพเพอรตี้ แมเนจเมนท

D

บจ. ธนายง ฟูด แอนด เบเวอเรจ

บจ. ดีแนล

บริษ ัท นายคีร ี กาญจนพาสน นายพอล ทง นายอาณัติ อาภาภิร ม นายสุร พงษ เลาหะอัญญา นายกวิน กาญจนพาสน นายรัง สิน กฤตลัก ษณ นายคง ชิ เคือง พลโทพิศ าล เทพสิทธา นายอมร จันทรสมบูร ณ นายสุจินต หวั่ง หลี นายเจริญ วรรธนะสิน นายชอง ยิง ชิว เฮนรี่ นางดวงกมล ชัยชนะขจร นางพัช นียา พุฒมี นายสุร ยุทธ ทวีก ุลวัฒน นายดาเนียล รอสส นางสาวชวดี รุง เรือง นางสาวชญาดา ยศยิ่ง ธรรมกุล

บจ. เมืองทอง แอสเซ็ท ส

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. 18.

บจ. กามกุง พร็อพเพอรตี้

กรรมการและผูบริหาร

บจ. เอชเอชที คอนสตรัค ชั่น

แบบ 56-1 ป 2555/56

D


บริษ ัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส จํากัด (มหาชน)

แบบ 56-1 ป 2555/56

เอกสารแนบ 3 รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการของบริษัทยอย ณ วันที่ 31 มีนาคม 2556 บริษัทฯ มีบริษัทยอยทั้งหมด 26 บริษัท โดยมีบริษัทยอย 2 บริษัทที่มีนัยสําคัญ กลาวคือ มีรายไดเกินกวารอยละ 10 ของรายไดรวมตามงบกําไรขาดทุน รวมของป 2555/56 ไดแก บริษัท ระบบขนสงมวลชนกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) และบริษัท วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย จํากัด (มหาชน) ซึ่งมีรายชื่อกรรมการดังนี้ กรรมการ บริษัท 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14.

บมจ. ระบบขนสงมวลชนกรุงเทพ

บมจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย

A B A A* B A A* A* B

A

นายคีรี กาญจนพาสน นายจุลจิต ต บุณยเกตุ นายสุรพงษ เลาหะอั ญญา นายอาณัต ิ อาภาภิรม นายอนันต สันติชีวะเสถียร นายกวิน กาญจนพาสน พลตํารวจตรีวราห เอี่ยมมงคล นายคง ชิ เคือง นางพิจิต รา มหาพล นายมารุต อรรถไกวัลวที นายชาน คิน ตัค นางจารุพร ไวยนันท นางมณีภรณ สิริวัฒนาวงศ นายมานะ จันทนยิ่งยง

A A A A A B B B

* นายอาณัติ อาภาภิรม พลตํารวจตรีวราห เอี่ยมมงคล และนายคง ชิ เคืองไดลาออกจากการเปนกรรมการของ บมจ. ระบบขนสงมวลชนกรุงเทพ มีผลเมื่อวันที่ 9 เมษายน 2556 และไดมีการแตงตั้งกรรมการใหมซึ่งเปนบุคคลที่ไดรับการเสนอชื่อโดยกองทุนรวมโครงสรางพื้นฐานระบบขนสงมวลชนทางราง บีท ีเอสโกรท แทนที่กรรมการที่ลาออก 3 ทาน ไดแก นางวรวรรณ ธาราภูมิ นายวศิน วัฒ นวรกิจกุล และนายสุท ธิพงศ พัวพันธประเสริฐ มีผลเมื่อวันที่ 10 เมษายน 2556 A = กรรมการ

B=

กรรมการอิสระ

เอกสารแนบ 3 หนา 330


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.