Form 56-1 2017/18

Page 1

แบบ 56-1 ปี 2560/61

แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี (แบบ 56-1) สาหรับรอบระยะเวลาบัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2561 บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จากัด (มหาชน)


สารบัญ หน้า คานิยาม ส่วนที่ 1

ส่วนที่ 2

การประกอบธุรกิ จ 1. นโยบายและภาพรวมการประกอบธุรกิจ

1-24

2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ

25-82

3. ปั จจัยความเสีย่ ง

83-94

4. ทรัพย์สนิ ทีใ่ ช้ในการประกอบธุรกิจ

95-102

5. ข้อพิพาททางกฎหมาย

103-105

6. ข้อมูลทัวไปและข้ ่ อมูลสาคัญอื่น

106-165

การจัดการและการกากับดูแลกิ จการ 7. ข้อมูลหลักทรัพย์และผูถ้ อื หุน้

1-17

8. โครงสร้างการจัดการ

18-47

9. การกากับดูแลกิจการ

48-79

10. ความรับผิดชอบต่อสังคม ชุมชน และสิง่ แวดล้อม

ส่วนที่ 3

i-iv

80

11. การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสีย่ ง

81-89

12. รายการระหว่างกัน

90-95

ฐานะการเงิ นและผลการดาเนิ นงาน 13. ข้อมูลทางการเงินทีส่ าคัญ 14. Management Discussion and Analysis (MD&A)

การรับรองความถูกต้องของข้อมูล เอกสารแนบ เอกสารแนบ 1

รายละเอียดเกีย่ วกับกรรมการ ผูบ้ ริหาร ผูม้ อี านาจควบคุมและเลขานุการบริษทั

เอกสารแนบ 2

รายละเอียดเกีย่ วกับกรรมการของบริษทั ย่อย

เอกสารแนบ 3

รายละเอียดเกีย่ วกับหัวหน้างานตรวจสอบภายใน

เอกสารแนบ 4

รายละเอียดเกีย่ วกับรายการประเมินราคาทรัพย์สนิ

เอกสารแนบ 5

อื่นๆ (ถ้ามี)

1-9 10-26


คานิ ยาม เว้นแต่จะกาหนดไว้เป็ นอย่างอื่น ให้คาต่อไปนี้มคี วามหมายดังนี้ คา

ความหมาย

EBITDA

กาไรจากการดาเนิน งานก่อ นค่า ใช้จ่ายดอกเบี้ย ภาษีเ งิน ได้และค่าเสื่อม ราคาหรือค่าตัดจาหน่าย

MACO

บริษทั มาสเตอร์ แอด จากัด (มหาชน)

Rabbit Group

บีเอสเอส และบีเอสเอส โฮลดิง้ ส์ และบริษทั ย่อยของบีเอสเอส โฮลดิง้ ส์

กทม.

หน่วยงานกรุงเทพมหานคร

กรุงเทพธนาคม

บริษทั กรุงเทพธนาคม จากัด ซึง่ เป็ นบริษทั ทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ โดย กทม. และมี กทม. เป็ นผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่

กรุงเทพฯ

จังหวัดกรุงเทพมหานคร

กลุ่มบริษทั หรือ กลุ่มบริษทั บีทเี อส

บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยของบริษทั ฯ

กลุ่มวีจไี อ

วีจไี อและบริษทั ย่อยของวีจไี อ

กองทุน BTSGIF หรือ BTSGIF หรือ กองทุน

กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานระบบขนส่งมวลชนทางราง บีทีเอสโกรท ซึ่ง บริหารจัดการกองทุนโดยบริษทั หลักทรัพย์จดั การกองทุนรวม บัวหลวง จากัด

โครงการรถไฟฟ้ าสายสีชมพู

ระบบขนส่งมวลชนสายรองประเภทรถไฟฟ้ ารางเดีย่ ว (Straddle Monorail) (ช่วงแคราย-มีนบุร)ี ซึง่ ครอบคลุมระยะทาง 34.5 กิโลเมตร

โครงการรถไฟฟ้ าสายสีเหลือง

ระบบขนส่งมวลชนสายรองประเภทรถไฟฟ้ ารางเดีย่ ว (Straddle Monorail) (ช่วงลาดพร้าว- สาโรง) ซึง่ ครอบคลุมระยะทาง 30.4 กิโลเมตร

งานโครงสร้างระบบ

งานโครงสร้า งที ก่ ่อ สร้า งขึน้ (Civil Works) ได้แ ก่ เสาโครงสร้า งทาง ยกระดับ อาคารโรงจอดและซ่อมบารุง และสิง่ ปลูกสร้างอื่น ๆ

ซีเมนส์

ซีเมนส์ ลิมเิ ต็ด (Siemens Limited)

ซีอาร์อาร์ซี

บริษทั ซีอาร์อาร์ซี ชางชุน เรลเวย์ วีฮเี คิล จากัด

ตลาดหลักทรัพย์

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

บริษทั ฯ หรือ บีทเี อสจี

บริษทั บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์ จากัด (มหาชน)

บอมบาร์เดียร์

บริษทั บอมบาร์ดเิ อร์ ทรานสปอร์เทชัน่ ซิกแนล (ประเทศไทย) จากัด

บีทเี อสซี

บริษทั ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จากัด (มหาชน)

บีอเี อ็ม

บริษัท ทางด่วนและรถไฟฟ้ ากรุงเทพ จากัด (มหาชน) ซึ่งเกิดจากการควบ รวมบริษัทระหว่าง บริษัท ทางด่วนกรุงเทพ จากัด (มหาชน) และบริษัท รถไฟฟ้ ากรุงเทพ จากัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2558

บีเอสเอส

บริษทั บางกอก สมาร์ทการ์ด ซิสเทม จากัด -i-


คา

ความหมาย

บีเอสเอส โฮลดิง้ ส์

บริษทั บีเอสเอส โฮลดิง้ ส์ จากัด

ใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-W3

ใบสาคัญแสดงสิทธิทจ่ี ะซือ้ หุน้ สามัญเพิม่ ทุนของบริษทั บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์ จากัด (มหาชน) ครัง้ ที่ 3 (BTS-W3)

ใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-WA

ใบสาคัญแสดงสิทธิท่จี ะซื้อหุ้นสามัญของบริษัท บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ จากัด (มหาชน) ทีอ่ อกให้แก่พนักงานของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ครัง้ ที่ 1 (BTS-WA)

ใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-WB

ใบสาคัญแสดงสิทธิท่จี ะซื้อหุ้นสามัญของบริษัท บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ จากัด (มหาชน) ทีอ่ อกให้แก่พนักงานของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ครัง้ ที่ 2 (BTS-WB)

ใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-WC

ใบสาคัญแสดงสิทธิท่จี ะซื้อหุ้นสามัญของบริษัท บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ จากัด (มหาชน) ทีอ่ อกให้แก่พนักงานของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ครัง้ ที่ 3 (BTS-WC)

ใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-WD

ใบสาคัญแสดงสิทธิท่จี ะซื้อหุ้นสามัญของบริษัท บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ จากัด (มหาชน) ทีอ่ อกให้แก่พนักงานของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ครัง้ ที่ 4 (BTS-WD)

ปี บญ ั ชี

ปี บญ ั ชีเริม่ ต้นวันที่ 1 เมษายน และสิน้ สุดวันที่ 31 มีนาคม ของปี ถดั ไป (เช่น ปี 2552/53 หมายถึง ปี บญ ั ชีเริม่ ต้นวันที่ 1 เมษายน 2552 และสิน้ สุดวันที่ 31 มีนาคม 2553)

ยู ซิต้ี

บริษทั ยู ซิต้ี จากัด (มหาชน) (เดิมชื่อบริษทั แนเชอรัล พาร์ค จากัด (มหาชน))

ยูนิคอร์น

บริษัท ยูนิคอร์น เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด

รถโดยสารด่วนพิเศษ BRT

รถโดยสารประจาทางด่วนพิเศษ (Bus Rapid Transit) ซึ่งมีการจัดช่องทาง พิเศษโดยเฉพาะ สามารถให้บริการได้รวดเร็วกว่ารถโดยสารประจาทาง ทัวไป ่ ให้บริการครอบคลุม 12 สถานี (สถานีสาทรถึงสถานีราชพฤกษ์ ) เป็ น ระยะทาง 15 กิโลเมตร จากบริเวณช่องนนทรี ถนนนราธิวาสราชนครินทร์ ข้ามสะพานกรุงเทพ ไปจนถึงบริเวณถนนราชพฤกษ์

รถไฟฟ้ าใต้ดนิ MRT

รถไฟฟ้ ามหานครสายเฉลิมรัชมงคล (รถไฟฟ้ าสายสีน้ าเงิน ) ระยะทาง 20 กิโลเมตร เริ่มตัง้ แต่สถานีรถไฟหัวลาโพงไปจนถึงบางซื่อ จานวนรวม 18 สถานี ซึ่งดาเนินงานโดยบีอีเอ็ม ภายใต้สญ ั ญาสัมปทานกับ การรถไฟฟ้ า ขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.)

รฟม.

การรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย

- ii -


คา

ความหมาย

ระบบไฟฟ้ าและเครื่องกล

ระบบไฟฟ้ า และเครื่อ งกล (Electrical and Mechanical Works) ซึ่ง รวมถึง รถไฟฟ้ า รางรถไฟฟ้ า อุปกรณ์ แหล่งพลังงาน ระบบควบคุมคอมพิวเตอร์ ระบบอาณัติสญ ั ญาณ ระบบจัดเก็บค่าโดยสารและระบบสื่อสาร ของระบบ รถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลัก

ระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพ ส่วนต่อขยาย หรือ โครงการรถไฟฟ้ า ส่วนต่อขยายสายสีเขียว

ส่ ว นต่ อ ขยายจากระบบรถไฟฟ้ า ขนส่ ง มวลชนกรุ ง เทพสายหลัก ได้แ ก่ (1) ส่วนต่ อขยายสายสีลม ระยะทาง 7.5 กิโลเมตร (2) ส่วนต่ อขยายสาย สุ ขุ ม วิท ระยะทาง 5.25 กิโ ลเมตร (3) ส่ ว นต่ อ ขยายสายสีเ ขีย วเหนื อ ระยะทาง 18.20 กิโลเมตร และ (4) ส่วนต่ อขยายสายสีเขียวใต้ ระยะทาง 12.58 กิโลเมตร

ระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพ ระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพสายแรกเริ่ม ซึ่งครอบคลุมระยะทาง สายหลัก หรือ โครงการรถไฟฟ้ าสายสี 23.5 กิโลเมตร ได้แก่ สายสุขุมวิท ระยะทาง 17 กิโลเมตรจากสถานีหมอชิต เขียวสายหลัก ถึงสถานีอ่อนนุ ช และสายสีลม ระยะทาง 6.5 กิโลเมตรจากสถานีสนามกีฬา แห่งชาติถงึ สถานีสะพานตากสิน ตามสัญญาสัมปทาน ระบบรถไฟฟ้ าบีทเี อส หรือ ระบบ รถไฟฟ้ า หรือ รถไฟฟ้ าบีทเี อส

โครงการระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพ บนทางวิง่ ยกระดับสองสาย คือสายสุขุมวิทและส่วนต่อขยายสายสุขุมวิท และสายสีลมและส่วนต่อขยาย สายสีลม ส่วนต่อขยายสายสีเขียวเหนือ และส่วนต่อขยายสายสีเขียวใต้ ที่ รูจ้ กั เป็ นการทัวไปว่ ่ า สายสีเขียว ซึง่ ให้บริการเดินรถเหนือพืน้ ทีบ่ างส่วนของ ถนนสาธารณะสายหลักของใจกลางกรุงเทพมหานคร

แรบบิท รีวอร์ดส

บริษทั แรบบิท รีวอร์ดส จากัด

วีจไี อ

บริษทั วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย จากัด (มหาชน)

สนข.

สานักนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร

ส่วนต่อขยายสายสีเขียวใต้

โครงการรถไฟฟ้ าส่วนต่อขยายสายสีเขียวใต้ ระยะทาง 12.58 กิโลเมตร ซึง่ ประกอบด้ว ยสถานี ท งั ้ หมด 9 สถานี เชื่อ มต่ อ สถานี แ บริ่ง – สถานี เ คหะ สมุทรปราการ

ส่วนต่อขยายสายสีเขียวเหนือ

โครงการรถไฟฟ้ าส่วนต่อขยายสายสีเขียวเหนือ ระยะทาง 18.20 กิโลเมตร ซึง่ ประกอบด้วยสถานีทงั ้ หมด 16 สถานี เชื่อมต่อสถานีหมอชิต – สถานีคคู ต

ส่วนต่อขยายสายสีลม

โครงการรถไฟฟ้ าส่วนต่อขยายสายสีเขียว สายสีลม ตอนที่ 1 ระยะทาง 2.2 กิโลเมตร ซึ่งประกอบด้วยสถานี ทงั ้ หมด 2 สถานี เชื่อมต่อสถานีสะพานตาก สิน – สถานีวงเวียนใหญ่ และส่วนต่อขยายสายสีลม ตอนที่ 2 ระยะทาง 5.3 กิโลเมตร ซึง่ ประกอบด้วยสถานีทงั ้ หมด 4 สถานี เชื่อมต่อสถานีวงเวียนใหญ่ – สถานีบางหว้า

ส่วนต่อขยายสายสุขมุ วิท

โครงการรถไฟฟ้ า ส่ว นต่ อ ขยายสายสีเ ขีย ว สายสุขุม วิท ระยะทาง 5.25 กิโลเมตร ซึ่งประกอบด้วยสถานีทงั ้ หมด 5 สถานี เชื่อมต่อสถานีอ่อนนุ ช – สถานีแบริง่

- iii -


คา

ความหมาย

สัญญาการให้บริการเดินรถและซ่อม บารุงระยะยาว

สัญ ญาการให้บ ริก ารเดิน รถและซ่ อ มบ ารุ ง ระบบรถไฟฟ้ า ขนส่ ง มวลชน กรุง เทพส่วนต่อขยาย และระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลัก (เมื่อสัมปทานภายใต้สญ ั ญาสัมปทานสิน้ อายุ) ฉบับลงวันที่ 3 พฤษภาคม 2555 ระหว่างกรุงเทพธนาคม ในฐานะผูบ้ ริหารระบบ และบีทเี อสซี ในฐานะ ผูใ้ ห้บริการ

สัญญาซือ้ และโอนสิทธิรายได้สทุ ธิ

สัญญาซือ้ และโอนสิทธิรายได้สุทธิ ฉบับลงวันที่ 17 เมษายน 2556 ระหว่าง บีทเี อสซี ในฐานะผูข้ าย และกองทุน BTSGIF ในฐานะผูซ้ อ้ื เพื่อการโอนและ ขายรายได้ค่าโดยสารสุทธิในอนาคตทีบ่ ที เี อสซีจะได้รบั จากการดาเนินงาน ระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลักให้แก่กองทุน BTSGIF

สัญญาสัมปทาน

สัญญาสัมปทานฉบับลงวันที่ 9 เมษายน 2535 ซึง่ ทาขึน้ ระหว่าง กทม. และ บีทีเ อสซี เกี่ย วกับ สัม ปทานการดาเนิ น งานระบบรถไฟฟ้ า ขนส่ง มวลชน กรุงเทพสายหลัก ตลอดจนสัญญาที่แก้ไขเพิม่ เติม ซึ่งมีอายุสมั ปทานเป็ น เวลา 30 ปี นับจากวันเริ่มดาเนินการในเชิงพาณิชย์เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2542 และสิน้ สุดลงในวันสิน้ สุดอายุสญ ั ญาสัมปทานเว้นแต่ จะมีการต่อ อายุ สัญญาสัมปทาน

สายสีลม

โครงการระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร สายสีลม ระยะทาง 6.5 กิโ ลเมตร ซึ่ง ประกอบด้วยสถานี ท งั ้ หมด 7 สถานี (รวมสถานีสยาม) เชื่อมต่อสถานีสนามกีฬาแห่งชาติ – สถานีสะพานตากสิน

สายสุขมุ วิท

โครงการระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร สายสุขมุ วิท ระยะทาง 17 กิโลเมตร ซึ่งประกอบด้วยสถานีทงั ้ หมด 17 สถานี (รวมสถานีสยาม) เชื่อมต่อสถานีหมอชิต – สถานีอ่อนนุช

สานักงาน ก.ล.ต.

สานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

- iv -


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ส่วนที่ 1 : กำรประกอบธุรกิจ 1.

นโยบำยและภำพรวมกำรประกอบธุรกิ จ

บริษัท บีทีเอส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ จากัด (มหาชน) (เดิมชื่อ บริษัท ธนายง จากัด (มหาชน)) ( “บริษัทฯ”) จด ทะเบีย นก่อ ตัง้ ขึ้น ครัง้ แรกในรูป แบบบริษัท จากัด ชื่อ บริษัท ธนายง จากัด เมื่อ วัน ที่ 27 มีน าคม 2511 ด้ว ยทุน จดทะเบียนเริ่มแรก 5,000,000 บาท เพื่อดาเนินธุรกิจด้านการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ บริษัทฯ ได้พฒ ั นาโครงการ อสัง หาริม ทรัพ ย์ขนาดใหญ่ โครงการแรกในปี 2531 ชื่อ “โครงการธนาซิต้ี” บนถนนบางนา-ตราด กม.14 ซึ่ง เป็ น โครงการทีป่ ระกอบไปด้วยบ้านเดีย่ ว ทาวน์เฮ้าส์ คอนโดมิเนียม และทีด่ นิ เปล่าจัดสรร บริษัทฯ ได้นากิจการเข้าจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์และเริม่ ทาการซือ้ ขายหลักทรัพย์ครัง้ แรกในวันที่ 1 มีนาคม 2534 โดยใช้ช่อื ย่อในการซื้อ ขายหลักทรัพย์ว่า “TYONG” ต่อมา เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2536 บริษัทฯ ได้ จดทะเบียนแปรสภาพจากบริษทั จากัดเป็ นบริษทั มหาชนจากัด และได้ขยายลักษณะการประกอบธุรกิจออกไปหลาย ประเภท เช่น โครงการอสังหาริมทรัพย์ อาคารพักอาศัยใจกลางเมือง เซอร์วสิ อพาร์ทเม้นท์ อาคารสานักงาน โรงแรม และโครงการสาธารณูปโภคขนาดใหญ่ ในปี 2535 บริษทั ฯ ได้จดั ตัง้ บริษทั ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จากัด ซึง่ ต่อมาได้จดทะเบียนแปรสภาพจาก บริษทั จากัดเป็ นบริษทั มหาชนจากัด ชื่อ บริษทั ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จากัด (มหาชน) (“บีทเี อสซี”) เมื่อปี 2539 โดยบีทเี อสซีได้เข้าทาสัญญาสัมปทานเพื่อดาเนินงานระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลัก หรือ “โครงการ รถไฟฟ้ าสายสีเขียวสายหลัก” กับกรุงเทพมหานคร (“กทม.”) เมื่อวันที่ 9 เมษายน 2535 และได้เปิ ดให้บริการรถไฟฟ้ า บีทเี อสแก่ประชาชนโดยทัวไปเป็ ่ นครัง้ แรกเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2542 ผลกระทบจากวิกฤติเศรษฐกิจในปี 2540 ซึง่ ส่งผลโดยตรงต่อภาคธุรกิจ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ผูป้ ระกอบการที่ กูย้ มื เงินจากต่างประเทศ การลอยตัว ของค่าเงินบาทส่งผลให้เงินกูย้ มื ทีเ่ ป็ นสกุลเงินตราต่างประเทศมีมูลค่าเพิม่ สูงขึน้ อย่างมากเมื่อเทียบเป็ นสกุลเงินบาท และบริษัทฯ ก็เป็ นหนึ่งในผู้ประกอบการที่ได้รบั ผลกระทบจากวิกฤติเศรษฐกิจ ดังกล่าว โดยในระหว่างปี 2545-2549 บริษทั ฯ ได้ทาการปรับปรุงโครงสร้างหนี้และเข้าสู่กระบวนการฟื้ นฟูกจิ การ และ บริษัทฯ ได้สูญเสียหุ้นบีทเี อสซีให้แก่เจ้าหนี้ทงั ้ จากกระบวนการปรับโครงสร้างหนี้นอกการฟื้ นฟูกจิ การและตามแผน ฟื้ นฟูกจิ การ จนกระทังในปลายปี ่ 2549 บริษทั ฯ สามารถปฏิบตั ติ ามแผนฟื้ นฟูกจิ การได้สาเร็จและศาลล้มละลายกลาง ได้มคี าสังยกเลิ ่ กการฟื้ นฟูกจิ การของบริษทั ฯ ตัง้ แต่ ปี 2550 เป็ นต้นมา บริษัทฯ ได้ขยายธุรกิจอย่างต่อเนื่อง และเมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม 2553 บริษัทฯ สามารถเข้าซือ้ กิจการรถไฟฟ้ าบีทเี อสโดยการเข้าซื้อหุน้ บีทเี อสซีร้อยละ 94.60 ของหุน้ ทีจ่ าหน่ ายได้แล้วทัง้ หมดของ บีทเี อสซีได้สาเร็จ โดยชาระค่าตอบแทนรวมทัง้ สิน้ 40,034.53 ล้านบาท ทัง้ นี้ ธุรกิจของบีทเี อสซี นอกจากสัมปทาน รถไฟฟ้ าบีทเี อสแล้ว บีทเี อสซียงั มีธุรกิจสือ่ โฆษณาซึง่ ดาเนินการโดยกลุ่มวีจไี อ และทีด่ นิ และโครงการอสังหาริมทรัพย์ท่ี อยู่ในทาเลดี ๆ อีกจานวนหนึ่ง จากการได้มาซึง่ หุน้ บีทเี อสซีดงั กล่าว บริษทั ฯ จึงได้เปลีย่ นชื่อจาก บริษทั ธนายง จากัด (มหาชน) เป็ น บริษทั บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์ จากัด (มหาชน) และเปลีย่ นธุรกิจหลักจากอสังหาริมทรัพย์เป็ นธุรกิจระบบ ขนส่งมวลชน และเพื่อให้สอดคล้องกับธุรกิจหลักใหม่ของบริษทั ฯ เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2553 บริษทั ฯ จึงได้เปลีย่ น หมวดธุรกิจในตลาดหลักทรัพย์เป็ น “ขนส่งและโลจิสติกส์” ภายใต้กลุ่มอุตสาหกรรม “บริการ” และได้เปลี่ยนชื่อย่อใน การซือ้ ขายหลักทรัพย์เป็ น “BTS” ส่วนที่ 1 หน้า 1


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ในปี 2555 ธุรกิจสื่อโฆษณาซึง่ ดาเนินการโดยบริษทั ย่อย ชื่อ บริษัท วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย จากัด (มหาชน) (“วีจไี อ”) ได้เสนอขายหุน้ ต่อประชาชนเป็ นครัง้ แรก และได้เข้า จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์และเริม่ ทาการซือ้ ขาย ครัง้ แรกเมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2555 ในหมวดธุรกิจ “สื่อและสิง่ พิมพ์” ภายใต้กลุ่มอุตสาหกรรม “บริการ” และใช้ช่อื ย่อใน การซือ้ ขายหลักทรัพย์ว่า “VGI” ต่ อมา เมื่อวันที่ 17 เมษายน 2556 ได้มีการจัดตัง้ กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานกองแรกของประเทศไทย ชื่อ กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐานระบบขนส่งมวลชนทางราง บีทเี อสโกรท (“กองทุน BTSGIF หรือ BTSGIF”) ซึ่ง มี ขนาดกองทุน (Fund Size) ถึง 62,510.4 ล้า นบาท โดยกองทุน BTSGIF ได้เ ข้า จดทะเบีย นในตลาดหลักทรัพย์ และเริ่ม ท าการซื้อ ขายครัง้ แรกเมื่อ วัน ที่ 19 เมษายน 2556 ในหมวดธุ ร กิจ “ขนส่ ง และโลจิส ติก ส์ ” ภายใต้ ก ลุ ่ม อุตสาหกรรม “บริการ” และใช้ช่อื ย่อในการซื้อขายหลักทรัพย์ว่า “BTSGIF” โดยบีทเี อสซีได้ขายรายได้ค่าโดยสาร สุทธิของระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลัก ระยะทางรวม 23.5 กิโลเมตร ภายใต้สญ ั ญาสัมปทานให้แก่ กองทุน BTSGIF ที่ราคาขายสุทธิ 61,399 ล้านบาท และบริษัทฯ ได้เข้าจองซื้อและเป็ นผู้ถือหน่ วยลงทุนจานวน 1/3 (ร้อยละ 33.33) ของกองทุน BTSGIF ธุรกิ จของบริษทั ฯ ประกอบด้วย 4 กลุ่มธุรกิ จ ได้แก่  ธุรกิ จระบบขนส่งมวลชน เป็ นธุรกิจหลักของบริษัทฯ ซึ่งดาเนินการโดยบีทเี อสซี (บริษัทย่อยซึ่ง ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561 บริษัทฯ ถือหุ้นร้อยละ 97.46) ให้บริการเดินรถและซ่อมบารุงโครงการระบบรถไฟฟ้ า (O&M) รวมถึงขายและติดตัง้ ระบบไฟฟ้ าและเครื่องกล (E&M) บริหารโครงการและควบคุมการก่อสร้างระบบรถไฟฟ้ า และ ให้บริการเดินรถระบบรถโดยสารด่วนพิเศษ BRT (Bus Rapid Transit) โดยปั จจุบนั กลุ่มบริษทั เป็ นผูใ้ ห้บริการโครงการ ต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ (1) โครงการระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลัก ซึง่ เป็ นระบบรถไฟฟ้ าบนทางวิง่ ยกระดับสายแรก ของกรุงเทพฯ ครอบคลุมสายสุขุมวิทและสายสีลม โดยได้รบั สัมปทานจาก กทม. เป็ นระยะเวลา 30 ปี ระยะทางรวม 23.5 กิโลเมตร อนึ่ง เมื่อวันที่ 17 เมษายน 2556 บีทเี อสซีได้ขายรายได้ค่าโดยสารสุทธิ (ตัง้ แต่วนั ที่ 17 เมษายน 2556 จนถึงวันสิน้ สุดสัญญาสัมปทาน) ของระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพ สายหลักนี้ ให้แก่กองทุน BTSGIF และบริษทั ฯ ได้เข้าจองซือ้ และเป็ นผูถ้ อื หน่ วยลงทุนจานวน 1/3 (ร้อยละ 33.33) ของกองทุน BTSGIF (2) โครงการระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร เป็ น ระยะเวลา 30 ปี ซึ่งมีเส้นทางประกอบด้วย ส่วนต่อ ขยายสายสีลม ตอนที่ 1 ช่วงสะพานตากสิน-วงเวียนใหญ่ ระยะทาง 2.2 กิโลเมตร ส่วนต่อขยายสายสีลม ตอนที่ 2 ช่วงวงเวียนใหญ่-บางหว้า ระยะทาง 5.3 กิโลเมตร และส่วนต่อขยายสายสุขมุ วิท ช่วงอ่อนนุชแบริง่ ระยะทาง 5.25 กิโลเมตร (3) โครงการระบบรถโดยสารด่วนพิเศษ BRT ระยะทางรวม 15 กิโลเมตร จานวน 12 สถานี จากบริเวณช่อง นนทรีจนถึงบริเวณถนนราชพฤกษ์ (4) โครงการรถไฟฟ้ าส่วนต่อขยายสายสีเขียว ช่วงหมอชิต-สะพานใหม่-คูคต (“โครงการรถไฟฟ้ าส่วนต่อ ขยายสายสีเขียวเหนือ ”) ระยะทาง 18.20 กิโลเมตร และช่วงแบริง่ -สมุทรปราการ (“โครงการรถไฟฟ้ า ส่วนต่อขยายสายสีเขียวใต้”) ระยะทาง 12.58 กิโลเมตร เป็ นระยะเวลา 25 ปี ซึง่ ปั จจุบนั ได้เปิ ดให้บริการ เดินรถสถานีแรกของช่วงแบริง่ -สมุทรปราการ (สถานีสาโรง) แล้ว เมื่อวันที่ 3 เมษายน 2560 ส่วนที่ 1 หน้า 2


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

(5) โครงการรถไฟฟ้ าสายสีชมพู (ช่วงแคราย-มีนบุร)ี ระยะทาง 34.5 กิโลเมตร (“โครงการรถไฟฟ้ าสายสี ชมพู”) และโครงการรถไฟฟ้ าสายสีเหลือง (ช่วงลาดพร้าว- สาโรง) ระยะทาง 30.4 กิโลเมตร (“โครงการ รถไฟฟ้ าสายสีเหลือง”) โดยให้บริการร่วมกับบริษทั ซิโน-ไทย เอ็นจีเนียริง่ แอนด์ คอนสตรัคชัน่ จากัด (มหาชน) (“STEC”) และบริษทั ผลิตไฟฟ้ าราชบุรโี ฮลดิง้ จากัด (มหาชน) (“RATCH”) โดยบริษทั นอร์ ทเทิรน์ บางกอกโมโนเรล จากัด และบริษทั อีสเทิรน์ บางกอกโมโนเรล จากัด ซึง่ แต่ละบริษทั เป็ นบริษทั ย่ อ ยที่บ ริษัท ฯ บริษัท STEC และ RATCH ถือ หุ้น ในสัด ส่ ว นร้อ ยละ 75 ร้อ ยละ 15 และร้อ ยละ 10 ตามลาดับ ได้รบั สัมปทานจากการรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (“รฟม.”) ให้เป็ นผูใ้ ห้บริการ โครงการรถไฟฟ้ าสายสีชมพูและโครงการรถไฟฟ้ าสายสีเหลือง ตามลาดับ ปั จจุบนั อยู่ระหว่างดาเนินการ และยัง ไม่ ไ ด้เ ปิ ด ให้บริก าร ทัง้ นี้ บริษัท นอร์ท เทิร์น บางกอกโมโนเรล จ ากัด และบริษัท อีสเทิร์น บางกอกโมโนเรล จากัด ได้ว่าจ้างบีทีเอสซีให้เป็ นผู้บ ริหารโครงการและควบคุมการก่อ สร้า งระบบ รถไฟฟ้ าดังกล่าว ตัง้ แต่เปิ ดให้บ ริก ารมา จานวนผู้โ ดยสารของระบบรถไฟฟ้ า บีท เี อสมีก ารเติบ โตอย่า งต่อ เนื่ อ ง โดยในปี 2560/61 ระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลักได้ให้บริก ารผู้โดยสารเป็ น จานวนรวมทัง้ สิน้ 241.91 ล้าน เที่ยวคน และหากนับรวมจานวนผู้โดยสารที่ใช้บริการทัง้ ในระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลัก และระบบ รถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพส่วนต่อขยายแล้ว จะมีจานวนผู้โดยสารสูงถึง 252.83 ล้านเที่ยวคน ในปี 2560/61 หรือคิดเป็ นจานวนผู้โดยสารเฉลี่ย 692,680 เที่ยวคนต่อวัน ทัง้ นี้ จานวนผู้โดยสารสูงสุดในวันทางานคือปี 2560/61 คือ 918,109 เที่ยวคน (รวมสายหลักและส่วนต่อขยาย) ในวันที่ 3 พฤศจิกายน 2560  ธุรกิ จสื่ อโฆษณำ ดาเนิ น การโดยกลุ่ ม วีจีไ อ ซึ่ง ดาเนิ น ธุ ร กิจ หลัก ในการเป็ น ผู้ใ ห้บ ริก ารเครือ ข่ า ย สื่อโฆษณาที่มเี อกลักษณ์เฉพาะตัว ด้วยการผสมผสานสื่อออฟไลน์และออนไลน์ไว้ด้วยกัน จนเกิดเป็ นบริการ O2O Solutions ทีส่ ามารถตอบโจทย์ทุกความต้องการของลูกค้าในการโฆษณาและการสือ่ สาร และเข้าถึงกลุ่มลูกค้าเป้ าหมาย ในทุก ๆ จุดของการเดินทางผ่านการวิเ คราะห์ข้อมูลที่มีประสิทธิภ าพ โดยปั จจุบนั ธุรกิจหลักของกลุ่มวีจีไอแบ่ ง ออกเป็ น 2 ประเภท ได้แก่ (1) ธุรกิจสื่อโฆษณานอกบ้าน ครอบคลุม 5 พื้นที่สาคัญ ได้แก่ สื่อโฆษณาในระบบขนส่ง มวลชนทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ สือ่ โฆษณากลางแจ้ง สือ่ โฆษณาในอาคารสานักงาน สือ่ โฆษณาในสนามบิน และ การสาธิตสิน ค้า โดยวีจีไ อเป็ น ผู้บ ริหารงานโดยตรงในสื่อ โฆษณาในระบบขนส่งมวลชนและสื่อ โฆษณาในอาคาร สานักงาน สาหรับสื่อโฆษณานอกบ้านประเภทอื่น ๆ นัน้ วีจีไอประกอบธุรกิจผ่านบริษัทย่อยและบริษัทร่วม และ (2) ธุรกิจบริการด้านดิจิทลั ผ่านการลงทุนใน บริษัท บีเอสเอส โฮลดิ้งส์ จากัด (“บีเอสเอส โฮลดิ้งส์”) และบริษ ทั บางกอก สมาร์ทการ์ด ซิสเทม จากัด (“บีเอสเอส”) (รวมเรียกว่า “Rabbit Group”) โดยวีจไี อแบ่งธุรกิจหลักของ Rabbit Group เป็ น 3 ประเภท ได้แก่ ธุรกิจเงินอิเล็กทรอนิกส์ (E-money) ธุรกิจบริการ และธุรกิจสือ่ โฆษณาแบบผสมผสานสือ่ ออฟไลน์และออนไลน์  ธุรกิ จอสังหำริ มทรัพย์ กลุ่มบริษัทดาเนินธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ โดยแบ่งออกเป็ น 3 ประเภท ได้แก่ (1) อสังหาริมทรัพย์เชิงทีพ่ กั อาศัย ประกอบด้วยบ้านเดีย่ ว ทาวน์เฮ้าส์ และคอนโดมิเนียม (2) อสังหาริมทรัพย์ เชิง พาณิ ชย์ ประกอบด้วย เซอร์วิสอพาร์เมนท์ อาคารสานัก งาน โรงแรม และสนามกอล์ฟ และสปอร์ตคลับ และ (3) ที่ดนิ ทัง้ นี้ กลุ่มบริษัทมุ่งพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ในหลายรูปแบบ ภายใต้ความร่วมมือกับพันธมิตรทาง ธุ ร กิจ ต่ า ง ๆ เพื่อ เพิ่ม ศัก ยภาพการแข่ง ขัน ในตลาด และความคล่ อ งตัว ในการบริห ารให้เ กิด ประสิท ธิภ าพสูง สุ ด อย่างไรก็ดี บริษทั ฯ ได้เปลีย่ นแปลงนโยบายและแนวทางในการประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ของกลุ่มบริษัท โดยบริษทั ฯ จะไม่ประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์โดยตรงหรือผ่านบริษทั ย่อยในสายธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ แต่จะ ส่วนที่ 1 หน้า 3


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ลงทุนในธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ผ่านการถือหุน้ ของบริษัท ยู ซิต้ี จากัด (มหาชน) (“ยู ซิต้ี”) แทนโดยมีผลตัง้ แต่ วันที่ 16 มีนาคม 2561 เป็ นต้นไป  ธุรกิ จบริกำร เป็ นธุรกิจให้บริการทีส่ นับสนุนการดาเนินงานในธุรกิจหลักของกลุ่มบริษทั ในด้านต่าง ๆ ซึง่ ประกอบด้ว ย ธุ ร กิจ บริก ารซึ่ง ด าเนิ น การโดย Rabbit Group ภายใต้ ก ารบริห ารงานของวีจีไ อ ได้แ ก่ ธุ ร กิจ เงิน อิเล็กทรอนิกส์ (E-money) ทัง้ แบบออฟไลน์ ในชื่อ “บัตรแรบบิท (rabbit)” และแบบออนไลน์ ในชื่อ “แรบบิท ไลน์ เพย์ (Rabbit LINE Pay)” ธุ ร กิจ Web Portal หรือ เว็บ ท่ า ในชื่อ “แรบบิท เดลี่ (Rabbit Daily)” ธุ ร กิจ นายหน้ าประกันภัย โดยให้บริการเปรียบเทียบราคาผลิตภัณฑ์ประกัน และผลิตภัณฑ์ทางการเงินอื่น ๆ ออนไลน์ ในชื่อ “แรบบิท ไฟแนนซ์ (Rabbit Finance)” ธุรกิจเทเลมาร์เก็ตติง้ โดยส่วนใหญ่ให้บริการเทเลเซลเพื่อสนับสนุนการดาเนินงานของธุรกิจนายหน้า ประกันภัย และธุรกิจสือ่ โฆษณาแบบผสมสานสือ่ ออฟไลน์และออนไลน์ ผ่านการวิเคราะห์ขอ้ มูลพฤติกรรมของผูบ้ ริโภค นอกจากนี้ ธุ ร กิจ บริก ารของกลุ่ ม บริษัท ยัง มีธุ ร กิจ ให้บ ริก ารลูก ค้า สัม พัน ธ์ ภายใต้ช่ือ “แรบบิท รีว อร์ด ส (Rabbit Rewards)” และโปรแกรมส่ ง เสริม การขายด้ว ยตู้ พิม พ์คู ป องอัต โนมัติ (Coupon Kiosks) และธุ ร กิจ ให้บ ริก ารทาง เทคโนโลยี นอกจากนี้ ธุรกิจบริการยังครอบคลุมถึง ธุรกิจรับเหมาและบริหารโครงการก่อสร้าง และธุรกิจร้านอาหาร ภายใต้แบรนด์ต่าง ๆ ได้แก่ “ChefMan” “Man Kitchen” “M Krub” และ “Chairman by Chef Man” อย่างไรก็ดี ในปี 2560/61 บริษทั ฯ ได้ลงนามในสัญญาร่วมทุนกับบริษทั บางกอกแร้นช์ จากัด (มหาชน) และ นาย ไว ยิน มาน เพื่อร่วม ลงทุนในธุรกิจร้านอาหารและภัตตาคาร โดยการจัดตัง้ บริษัทร่วมทุนชื่อบริษัท แมน ฟู้ ด โฮลดิ้งส์ จากัด และปรับ โครงสร้างการถือหุน้ ภายในกลุ่มบริษทั โดยการขายหุน้ ทัง้ หมดทีบ่ ริษทั ฯ ถืออยู่ในกลุ่มบริษทั ธุรกิจร้านอาหารจีน ให้กบั บริษัท แมน ฟู้ ด โฮลดิ้งส์ จากัด จึงทาให้ปัจจุบนั บริษัทฯ ไม่ได้ประกอบธุรกิจร้านอาหารจีนภายใต้แบรนด์ ต่าง ๆ ข้างต้น แต่ยงั คงลงทุนผ่านบริษทั แมน ฟู้ด โฮลดิง้ ส์ จากัด โดยการถือหุน้ ในสัดส่วนร้อยละ 41.18 1.1

วิ สยั ทัศน์ พันธกิ จ ค่ำนิ ยม กลยุทธ์ และเป้ ำหมำยระยะยำวของกลุ่มบริษทั วิ สยั ทัศน์

: นาเสนอแนวคิด “ซิต้ี โซลูชนส์ ั ่ ” ทีย่ งยื ั ่ น อันจะนามาซึง่ วิถชี วี ติ ทีด่ ขี น้ึ

พันธกิ จ

: เรามุ่งมันที ่ จ่ ะส่งมอบแนวคิด “ซิต้ี โซลูชนส์ ั ่ ” ทีโ่ ดดเด่นและยังยื ่ นแก่ชุมชนเมือง ทัว่ เอเชีย ผ่ า น 4 ธุ ร กิจ หลัก ของเรา ได้แ ก่ ธุ ร กิจ ขนส่ง มวลชน สื่อ โฆษณา อสังหาริมทรัพย์ และบริการ

ค่ำนิ ยม

: การส่งมอบความพึงพอใจให้ลกู ค้า: ความสาเร็จของเราขึน้ อยู่กบั ความสามารถ ของเราในการพัฒนาความสัมพันธ์กบั ลูกค้าให้ยนื ยาว ซึง่ จะสาเร็จได้ดว้ ยการ รับฟั ง เข้าใจ และคาดการณ์ ความต้องการของลูกค้า และส่งมอบสินค้าหรือ บริการที่ตอบสนองความต้องการเหล่านัน้ ได้ เราเป็ นองค์กรที่ มคี วามเป็ นมือ อาชีพ รับผิดชอบ โปร่งใส และมุ่งมันที ่ ่จะตอบสนองความต้องการของลูกค้า ตลอดเวลา การสร้างมูลค่าของผู้ถอื หุ้น: เรามีความมุ่งมันที ่ ่จะเพิม่ มูลค่าของผู้ถอื หุน้ ผ่าน การเติบโตของรายได้ และการปรับปรุงประสิทธิภาพในการปฏิบตั ิงาน เรามี จุดมุ่งหมายที่จะให้ผลตอบแทนระยะยาวที่ดีกว่าการลงทุนอื่นที่มคี วามเสีย่ ง คล้ายกันแก่ผถู้ อื หุน้ ของเรา ส่วนที่ 1 หน้า 4


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

การสนับสนุ นการเติบโตอย่างยังยื ่ น: ลูกค้ าและผู้ถือหุ้นจะได้รบั ประโยชน์ท่ี เพิม่ พูนขึน้ อย่างยังยื ่ น เราดาเนินธุรกิจในแนวทางปฏิบตั ทิ ช่ี ่วยลดผลกระทบต่อ สิง่ แวดล้อมเมื่อเปรียบเทียบกับสินค้าหรือบริการของคู่แข่ง การพัฒ นาชุมชน: เราเป็ น ส่ว นสาคัญของชุมชนที่ดาเนิ น ธุรกิจด้วยแนวคิด “ซิต้ี โซลูชนส์ ั ่ ” ที่ทาให้ลูกค้ามีจติ สานึกที่ดตี ่อชุมชน เราสนับสนุ นรายได้และ ทรัพยากรต่าง ๆ เพื่อทางานร่วมกับชุมชนและท้องถิ่นในเรื่องการศึกษาและ สวัสดิก ารของเด็ก รวมทัง้ ส่ง เสริม ในด้า นสุข ภาพและความเป็ น อยู่ท่ดี ีของ พนักงานและครอบครัว : กลุ่มบริษทั บีทเี อสมุ่งหมายเป็ นผูน้ าในการพัฒนาและให้บริการระบบรถไฟฟ้ า กลยุ ทธ์และ ขนส่งมวลชนทีด่ ที ส่ี ุดของไทย เสริมสร้างความเป็ นผูน้ าในธุรกิจโฆษณาทีม่ อี ยู่ เป้ ำหมำยระยะยำว ในวิถกี ารดาเนินชีวติ และขยายเครือข่ายสือ่ โฆษณาในภูมภิ าค ASEAN ดาเนิน ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์อย่างระมัดระวัง และนาพากรุงเทพฯ สู่สงั คมไร้เงินสด ผ่านบริการ Micro Payment ในระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ เรากาหนดกล ยุทธ์อยู่บนพืน้ ฐานสาคัญ 5 ประการคือ 1.

ประสบการณ์ในธุรกิจขนส่งมวลชนทางรางทีย่ าวนาน

2.

การประสานงานภายในอย่างใกล้ชดิ ระหว่าง 4 กลุ่มธุรกิจ โดยมีธุรกิจ ระบบขนส่งมวลชนทางรางเป็ นหลัก

3.

ความแข็งแกร่งด้านการเงิน

4.

การใช้นวัตกรรม

5.

ความพึงพอใจของผูม้ สี ว่ นได้เสีย

กลุ่มบริษัทจะขยายธุรกิจทัง้ 4 ด้านอย่างสอดคล้องกับการพัฒนาสังคมเมือง ของประเทศไทย และนาเสนอแนวคิด “ซิต้ี โซลูชนส์ ั ่ ” ทีค่ รบวงจรและโดดเด่น แก่ชุมชน อันจะนามาซึง่ วิถชี วี ติ ทีด่ ขี น้ึ 1.2 2549

กำรเปลี่ยนแปลงและพัฒนำกำรที่สำคัญ  

2550

2551

ศาลล้มละลายกลางมีคาสังให้ ่ ยกเลิกการฟื้ นฟูกจิ การ เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2549 ตลาดหลักทรัพย์อนุ ญาตให้หลักทรัพย์ของบริษทั ฯ ซือ้ ขายได้ในหมวดพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ตัง้ แต่วนั ที่ 28 ธันวาคม 2549 เป็ นต้นไป บริษัทฯ จัดตัง้ บริษัทร่วมทุน ชื่อ บริษัท กมลา บีช รีสอร์ท แอนด์ โฮเต็ล แมนเนจเม้นท์ จากัด เพื่อประกอบกิจการโรงแรมและพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในจังหวัดภูเก็ต บริษทั ฯ จัดตัง้ บริษทั ร่วมทุน ชื่อ บริษทั ฮิบเฮง คอนสตรัคชัน่ (ประเทศไทย) จากัด (ปั จจุบนั ชื่อ บริษทั เอชเอชที คอนสตรัคชัน่ จากัด) เพื่อดาเนินธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง บริษทั ฯ จัดตัง้ บริษทั ร่วมทุน ชื่อ บริษทั แอ๊บโซลูท โฮเต็ล เซอร์วสิ จากัด เพื่อดาเนินธุรกิจ รับบริหารจัดการโรงแรม ส่วนที่ 1 หน้า 5


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

2552

2553

แบบ 56-1 ปี 2560/61

เมื่อเดือนพฤษภาคม 2552 รถไฟฟ้ าส่วนต่อขยายสายสีลม ช่วงสะพานตากสิน-วงเวียนใหญ่ ระยะทาง 2.2 กิโลเมตร เปิ ดให้บริการ โดยบีทเี อสซีเป็ นผูใ้ ห้บริการเดินรถและซ่อมบารุงใน ส่วนต่อขยายนี้ ภายใต้สญ ั ญาให้บริการเดินรถและซ่อมบารุง เมื่อ เดือ นกรกฎาคม 2552 บริษัท ฯ ซื้อ หุ้น ของบริษัท กมลา บีช รีสอร์ ท แอนด์ โฮเต็ล แมนเนจเม้นท์ จากัด ในส่วนทีถ่ อื โดย Winnington Capital Limited ในราคา 648.4 ล้านบาท โดยบริษทั ฯ ได้ชาระราคาเป็ นหุน้ ออกใหม่ของบริษทั ฯ จานวน 1,034.8 ล้านหุน้ และเงินสด จานวน 100 ล้านบาท เมื่อเดือนสิงหาคม 2552 บริษทั ฯ ออกและจัดสรรใบสาคัญแสดงสิทธิ TYONG-W1 จานวน 856,016,666 หน่วย ให้แก่ผถู้ อื หุน้ เดิมของบริษทั ฯ ตามสัดส่วนการถือหุน้ เมื่อ เดือ นพฤศจิก ายน 2552 มีก ารใช้สทิ ธิต ามใบสาคัญ แสดงสิท ธิ TYONG-W1 ทาให้ ทุนจดทะเบียนชาระแล้วของบริษัทฯ เพิ่มขึ้นจาก 6,848,133,333 บาท เป็ น 7,614,391,803 บาท เมื่อเดือนมีนาคม 2553 บริษทั ฯ จัดตัง้ บริษทั ย่อย ชื่อ ธนายง ฮ่องกง ลิมเิ ต็ด ในฮ่องกง เพื่อ ดาเนินธุรกิจลงทุนในหลักทรัพย์ เมื่อเดือนเมษายน 2553 บริษทั ฯ จัดตัง้ บริษทั ร่วมทุน ชื่อ แอ๊บโซลูท โฮเต็ล เซอร์วสิ ฮ่องกง ลิมเิ ต็ด ในฮ่องกง เพื่อดาเนินธุรกิจรับบริหารจัดการโรงแรม เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม 2553 บริษทั ฯ ได้มาซึง่ หุน้ สามัญร้อยละ 94.60 ของหุน้ ทีจ่ าหน่ายได้ แล้วทัง้ หมดของบีทเี อสซี ณ ขณะนัน้ โดยบริษทั ฯ ได้ชาระค่าตอบแทนส่วนหนึ่งเป็ นเงินสด จานวนรวม 20,655.7 ล้านบาท (คิดเป็ นร้อยละ 51.59 ของค่าตอบแทน) ซึ่งบริษัทฯ ได้ใช้ เงิน กู้ยืม จากสถาบัน การเงิน ทัง้ จ านวน และออกหุ้น สามัญ เพิ่ม ทุ น ของบริษัท ฯ จ านวน 28,166,879,984 หุ้น ที่ราคาหุ้นละ 0.688 บาท (รวมเป็ นเงิน 19,378.8 ล้านบาท หรือคิด เป็ น ร้อ ยละ 48.41 ของค่ า ตอบแทน) ดัง นัน้ ท าให้ทุ น จดทะเบีย นชาระแล้ว ของบริษัทฯ เพิ่ ม ขึ้ น จาก 7,614,391,803 บาท เป็ น 35,781,271,787 บาท โดยเป็ นหุ้ น สามั ญ ที่ ออกจาหน่ายแล้วจานวน 35,781,271,787 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 1 บาท เมื่อวันที่ 4 พฤษภาคม 2553 บริษทั ฯ ได้เปลีย่ นชื่อบริษทั เป็ น “บริษทั บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์ จากัด (มหาชน)” เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2553 บริษัทฯ ได้เปลี่ยนหมวดในตลาดหลักทรัพย์เป็ น “ขนส่ง และโลจิสติกส์” ภายใต้กลุ่มอุตสาหกรรม “บริการ” และเปลีย่ นชื่อย่อในการซือ้ ขายหลักทรัพย์ เป็ น “BTS” เมื่อวันที่ 29 พฤษภาคม 2553 รถโดยสารประจาทางด่วนพิเศษเส้นทางช่องนนทรี-ราชพฤกษ์ เริม่ ให้บริการ โดยบีทเี อสซีเป็ นผูใ้ ห้บริการเดินรถและบริหารสถานี ภายใต้สญ ั ญาจ้างผูเ้ ดินรถ พร้อมจัดหารถโดยสารและสัญญาจ้างผูบ้ ริหารสถานี ระหว่างเดือนมิถุนายนถึงเดือนสิงหาคม 2553 บริษัทฯ ได้เสนอขายหุ้นสามัญเพิม่ ทุนของ บริษัทฯ จานวนรวม 20,108,004,098 หุ้น ให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิมของบริษัทฯ และกลุ่มผู้ลงทุน ประเภทสถาบันการเงินหรือกลุ่มลูกค้าของบริษัทหลักทรัพย์ท่ที าหน้าที่เป็ นผู้จดั จาหน่ าย หลักทรัพย์ของบริษทั ฯ โดยได้รบั เงินค่าจองซือ้ หุน้ ทัง้ สิน้ รวม 12,872.5 ล้านบาท และได้นา เงินส่วนใหญ่ใช้คนื เงินกู้จากสถาบันการเงินที่ใช้ในการได้มาซึ่งหุ้นบีทเี อสซี ดังนัน้ ทุนจด ส่วนที่ 1 หน้า 6


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

2554

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ทะเบียนชาระแล้วของบริษทั ฯ จึงเพิม่ ขึน้ จาก 35,781,271,787 บาท เป็ น 55,889,275,885 บาท โดยเป็ นหุน้ สามัญทีอ่ อกจาหน่ายแล้วจานวน 55,889,275,885 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 1 บาท เมื่อเดือนมิถุนายน 2553 วีจีไอจัดตัง้ บริษัทย่อย ชื่อ วี จี ไอ แอดเวอร์ไทซิ่ง ไชน่ า คอมพานี ลิมเิ ต็ด ในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน เพื่อดาเนินธุรกิจให้บริการสื่อโฆษณาในโมเดิรน์ เทรด ในต่างประเทศ เมื่อ เดือ นกรกฎาคม 2553 บริษัท ฯ จัด ตัง้ บริษัท ย่ อ ยชื่อ บริษัท บางกอก สมาร์ท การ์ด เทคโนโลยี่ จากัด (ปั จจุบนั ชื่อ บริษทั แรบบิท รีวอร์ดส จากัด) เพื่อดาเนินธุรกิจให้การสนับสนุ น และบริการด้านเทคโนโลยี เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน 2553 บริษัทฯ ได้ออกและจัดสรรใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-W2 จานวน 5,027,000,448 หน่วย ให้แก่ผถู้ อื หุน้ เดิมของบริษทั ฯ ทีม่ กี ารจองซือ้ หุน้ เพิม่ ทุน และ กลุ่มผู้ลงทุนประเภทสถาบันการเงินหรือกลุ่มลูกค้าของบริษัทหลักทรัพย์ท่ที าหน้ าที่เป็ น ผูจ้ ดั จาหน่ายหลักทรัพย์ของบริษทั ฯ เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2553 ตลาดหลักทรัพย์ประกาศให้หลักทรัพย์ BTS ได้รบั เลือกเข้า คานวณในดัชนี SET50

เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2554 บริษัทฯ ได้ออกและขายหุ้นกู้แปลงสภาพ มูลค่ารวม 10,000 ล้านบาท อายุ 5 ปี แก่นักลงทุนในต่างประเทศ ซึง่ หุน้ กูแ้ ปลงสภาพนี้มอี ตั ราดอกเบีย้ ร้อยละ 1 ต่อปี ใน 2 ปี แรก และไม่มดี อกเบีย้ ใน 3 ปี หลัง ซึง่ บริษทั ฯ ได้นาเงินทีไ่ ด้จากการขายหุน้ กู้ แปลงสภาพนี้ไปใช้คนื เงินกูแ้ ก่สถาบันการเงิน

เมื่อวันที่ 26 มกราคม 2554 บริษทั ฯ ได้จดทะเบียนลดทุนโดยลดมูลค่าทีต่ ราไว้ของหุน้ ของ บริษทั ฯ จาก 1 บาทต่อหุน้ เป็ น 0.64 บาทต่อหุน้ เพื่อล้างส่วนต่ามูลค่าหุน้ และลดผลขาดทุน สะสมของบริษัทฯ ทาให้ทุนจดทะเบียนชาระแล้วของบริษัทฯ ลดลงจาก 55,889,275,885 บาท เป็ น 35,769,136,566.40 บาท และทาให้ต่อมาในเดือนมีนาคม 2554 บริษทั ฯ สามารถ จ่ า ยเงิน ปั น ผลให้แก่ผู้ถือ หุ้นเป็ น ครัง้ แรกนับ ตัง้ แต่ บริษัทฯ ออกจากแผนฟื้ นฟู กิจการใน ปี 2549 เมื่ อ วั น ที่ 15 กุ ม ภาพัน ธ์ 2554 ได้ มี ก ารปรับ โครงสร้ า งการถื อ หุ้ น ภายในกลุ่ ม ธุ ร กิจ อสัง หาริมทรัพย์ โดยบริษทั ฯ ได้เ ข้า ซือ้ หุน้ ทัง้ หมดของบริษทั บีท เี อส แอสเสทส์ จากัด (“BTSA”) และบริษั ท บีทีเ อส แลนด์ จ ากัด จากบีทีเ อสซี นอกจากนี้ บริษั ท ฯ ยัง ได้ แลกเปลี่ยนหุ้นทัง้ หมดที่ถอื ในบริษทั กมลา บีช รีสอร์ท แอนด์ โฮเต็ล แมนเนจเม้นท์ จากัด กับหุน้ ร้อยละ 80 ทีบ่ ที เี อสซีถอื อยู่ในบริษทั นูโว ไลน์ เอเจนซี่ จากัด เมื่อวันที่ 6 มิถุนายน 2554 บริษัทฯ ได้ออกและจาหน่ ายหุน้ จานวน 1,298,998,791 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 0.64 บาท ให้แก่ผถู้ อื หุน้ ของบีทเี อสซีในราคา 0.91 บาทต่อหุน้ เพื่อเป็ น ค่าตอบแทนทีผ่ ถู้ อื หุน้ ของบีทเี อสซีได้นาหุน้ ทีต่ นถืออยู่ในบีทเี อสซีจานวนรวม 472,827,433 หุ้ น มาช าระเป็ นค่ า หุ้ น สามั ญ เพิ่ ม ทุ น ของบริ ษั ท ฯ แทนการช าระด้ ว ยเงิ น สด (คิดเป็ นสัดส่วนการแลกเปลี่ยนหุ้นที่ 1 หุ้นสามัญบีทเี อสซี ต่อ 2.7473 หุ้นสามัญเพิม่ ทุน ของบริษทั ฯ) ทาให้ทุนจดทะเบียนชาระแล้วของบริษทั ฯ เพิม่ จาก 35,769,136,566.40 บาท เป็ น 36,600,495,792.64 บาท โดยเป็ นหุน้ สามัญทีอ่ อกจาหน่ายแล้วจานวน 57,188,274,676

ส่วนที่ 1 หน้า 7


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

2555

แบบ 56-1 ปี 2560/61

หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 0.64 บาท และทาให้สดั ส่วนการถือหุ้นของบริษัทฯ ในบีทีเอสซี เพิม่ ขึน้ เป็ นร้อยละ 96.44 เมื่อวันที่ 12 สิงหาคม 2554 รถไฟฟ้ าบีทเี อสเปิ ดให้บริการแก่ประชาชนในส่วนต่อขยายสาย สุขุมวิท ช่วงอ่อนนุ ช-แบริง่ จานวน 5 สถานี ได้แก่ สถานีบางจาก สถานีปุณณวิถี สถานีอุดมสุข สถานีบางนา และสถานีแบริง่

เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2554 บริษทั ฯ ได้จดั สรรใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-WA ให้แก่พนักงานของ บริษัทฯ และบริษัทย่อยที่ไม่ได้ดารงตาแหน่ งกรรมการ ภายใต้โครงการ BTS Group ESOP 2011

เมื่อ วัน ที่ 20 กุ ม ภาพันธ์ 2555 BTAS ได้โ อนหุ้น ทัง้ หมดในบริษัท ก้า มกุ้ง พร็อ พเพอร์ต้ี จากัด (“ก้ามกุง้ ”) และบริษทั ก้ามปู พร็อพเพอร์ต้ี จากัด ให้บริษทั ฯ แทนการชาระคืนหนี้เงิน กูย้ มื ระหว่างบริษทั เป็ นเงินสด ทาให้บริษทั ฯ ถือหุน้ ก้ามกุง้ และบริษทั ก้ามปู พร็อพเพอร์ต้ี จากัด โดยตรง เมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2555 จานวนผู้โดยสารรถไฟฟ้ าบีทีเอสทาสถิติสูงสุดในวันธรรมดาที่ 714,575 เทีย่ วคน เมื่อวันที่ 2 เมษายน 2555 วีจไี อได้จดทะเบียนแปรสภาพจากบริษัทจากัดเป็ นบริษัทมหาชน จากัด เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2555 บริษทั บางกอก สมาร์ทการ์ด ซิสเทม จากัด ได้เริม่ ให้บริการ เงินอิเล็กทรอนิกส์ (E-money) และบัตรแรบบิท (Rabbit) ซึง่ บัตรแรบบิทสามารถใช้โดยสาร รถไฟฟ้ าบีทเี อส รถโดยสารด่วนพิเศษ BRT และซื้อสินค้าและบริการจากร้านค้าที่ร่วมรับ บัตรนี้ พร้อมด้วยโปรแกรมส่งเสริมการขายด้วยตู้พิมพ์คูปองอัตโนมัติ (Coupon Kiosks) และธุ ร กิจ การให้บ ริก ารลู ก ค้า สัม พัน ธ์ ภายใต้ ช่ือ แครอท รีว อร์ด ส (Carrot Rewards) (ปั จจุบนั ใช้ช่อื แรบบิท รีวอร์ดส (Rabbit Rewards)) เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2555 บีทเี อสซีได้เข้าลงนามในสัญญาการให้บริการเดินรถและซ่อม บารุง โครงการระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานครกับกรุงเทพธนาคม ในการให้บริการ เดินรถและซ่อมบารุงโครงการระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร เป็ นระยะเวลา 30 ปี นับแต่วนั ที่ 8 พฤษภาคม 2555 ถึง 2 พฤษภาคม 2585 ซึง่ เส้นทางประกอบด้วย ส่วนต่อขยาย สายสีลม ช่วงสะพานตากสิน-วงเวียนใหญ่ และช่วงวงเวียนใหญ่-บางหว้า และส่วนต่อขยาย สายสุขุมวิท ช่วงอ่อนนุ ช -แบริง่ และจะรวมเส้นทางเดิมของสัมปทานภายหลังครบกาหนด อายุสมั ปทานในวันที่ 4 ธันวาคม 2572 เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม 2555 บริษทั ฯ จดทะเบียนเปลีย่ นแปลงจานวนหุน้ และมูลค่าทีต่ ราไว้ของ บริษัทฯ ทาให้มูลค่าทีต่ ราไว้ของบริษทั ฯ เปลี่ยนจากเดิมหุ้นละ 0.64 บาท เป็ นหุ้นละ 4 บาท โดยมีท ุน จดทะเบีย นช าระแล้ว จ านวน 36,641,907,568.00 บาท แบ่ง เป็ น หุ น้ สามัญ ที่ออกจาหน่ ายแล้วจานวน 9,160,476,892 หุ้น ทัง้ นี้ บริษัทฯ ได้ดาเนินการปรับราคาการใช้ สิทธิและอัตราการใช้สทิ ธิของใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-W2 และ BTS-WA เป็ นใบสาคัญแสดง สิทธิ 1 หน่วย มีสทิ ธิซอ้ื หุน้ สามัญของบริษทั ฯ ได้ 0.16 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 4 บาท) ใน ราคาใช้สทิ ธิท่ี 4.375 บาทต่อหุ้น โดยหุ้นของบริษัทฯ เริม่ ซื้อขายในตลาดหลักทรัพย์ดว้ ย มูลค่าทีต่ ราไว้ใหม่เมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 2555

ส่วนที่ 1 หน้า 8


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน) 

2556

แบบ 56-1 ปี 2560/61

เมื่อวันที่ 12 กันยายน 2555 บีทเี อสซีได้จาหน่ายเงินลงทุนในบริษทั กมลา บีช รีสอร์ท แอนด์ โฮเต็ล แมนเนจเม้นท์ จากัด บริษทั ย่อยทีถ่ อื ครองกรรมสิทธิที์ ด่ นิ ทีห่ าดกมลา จังหวัดภูเก็ต เดือ นกัน ยายน-ตุลาคม 2555 วีจ ไี อและบีท เี อสซีไ ด้เ สนอขายหุ น้ วีจ ไี อต่อ ผูถ้ อื หุ น้ ของ บริษทั ฯ และผูถ้ อื หุน้ ของบีทเี อสซี และต่อประชาชนเป็ นครัง้ แรก เป็ นจานวนรวม 88 ล้าน หุ้น ในราคาเสนอขายหุน้ ละ 35 บาท (มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 1 บาท) โดยหุ้นวีจไี อได้เข้าจด ทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์และเริม่ ทาการซือ้ ขายครัง้ แรกในวันที่ 11 ตุลาคม 2555 โดยใน วันเดียวกัน บริษทั ฯ ได้ซอ้ื หุน้ วีจไี อจานวน 59 ล้านหุน้ จากบีทเี อสซีในราคา 35 บาทต่อหุน้ ตามสัญญาซือ้ ขายหุน้ ฉบับลงวันที่ 20 สิงหาคม 2555 เมื่อวันที่ 26 ตุลาคม 2555 และ 10 มกราคม 2556 บริษทั ฯ ได้เข้าซือ้ หุน้ ในบีทเี อสซีเพิม่ เติม อีกจานวนร้อยละ 1.02 จากผูถ้ อื หุน้ รายย่อย ทาให้สดั ส่วนการถือหุน้ ของบริษทั ฯ ในบีทเี อสซี เพิม่ ขึน้ จากร้อยละ 96.44 เป็ นร้อยละ 97.46 ของหุน้ ทีจ่ าหน่ายได้แล้วทัง้ หมดของบีทเี อสซี เมื่อวันที่ 30 ตุ ลาคม 2555 บริษัทฯ ได้จาหน่ ายเงินลงทุนใน บริษัท ก้ามปู พร็อพเพอร์ต้ี จากัด บริษทั ย่อยทีถ่ อื ครองกรรมสิทธิที์ ด่ นิ บริเวณสถานีรถไฟฟ้ าบีทเี อสนานา ในเดือนตุลาคม 2555 BTSA ได้เปิ ดให้บริการอย่างเป็ นทางการ โรงแรม อีสติน แกรนด์ สาทร กรุงเทพฯ บนถนนสาทรใต้ ติดกับสถานีรถไฟฟ้ าบีทเี อสสุรศักดิ ์ เมื่อวันที่ 4 มกราคม 2556 บริษทั ฯ จดทะเบียนเพิม่ ทุนชาระแล้วของบริษทั ฯ อันเนื่องจาก การใช้สทิ ธิซอ้ื หุน้ สามัญตามใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-W2 ในวันกาหนดการใช้สทิ ธิครัง้ แรก ทาให้ทุนชาระแล้วของบริษทั ฯ เพิม่ จาก 43,701,282,432 บาท เป็ น 43,707,025,888 บาท แบ่งเป็ นหุ้นสามัญที่ออกจาหน่ ายแล้วจานวน 10,926,756,472 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 4 บาท เมื่อวันที่ 12 มกราคม 2556 รถไฟฟ้ าบีทเี อสเปิ ดให้บริการประชาชนในสถานีโพธินิ์ มติ รของ ส่วนต่อขยายสายสีลม (วงเวียนใหญ่-บางหว้า) เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2556 รถไฟฟ้ าบีทเี อสเปิ ดให้บริการประชาชนในสถานีตลาดพลูของ ส่วนต่อขยายสายสีลม (วงเวียนใหญ่-บางหว้า) ในช่วงระหว่างเดือนพฤษภาคม 2555 ถึงเดือนมีนาคม 2556 ได้มผี ู้ถือหุน้ กูแ้ ปลงสภาพใช้ สิทธิแปลงสภาพหุน้ กูแ้ ปลงสภาพเป็ นหุน้ สามัญเพิม่ ทุนของบริษทั ฯ ครบถ้วนแล้วทัง้ จานวน จึงมีผลทาให้หนุ้ กูแ้ ปลงสภาพของบริษทั ฯ สิน้ สภาพลง โดยหุน้ กูแ้ ปลงสภาพทีอ่ อกและเสนอ ขายจานวน 10,000 ล้านบาท ได้แปลงสภาพเป็ นหุ้น สามัญเพิ่มทุนของบริษัท ฯ จานวน 64,705,877 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 0.64 บาท และจานวน 1,944,721,838 หุ้น มูลค่าที่ ตราไว้หนุ้ ละ 4 บาท เมื่อวันที่ 29 มีนาคม 2556 จานวนผู้โดยสารรถไฟฟ้ า บีทเี อสทาสถิตสิ ูงสุดในวันธรรมดาที่ 770,305 เทีย่ วคน เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2556 มีการปรับเพดานอัตราค่าโดยสารขัน้ สูงสุดที่อาจเรียกเก็บได้ (Authorized Fare) เป็ น 20.11 บาท ถึง 60.31 บาท เมื่อวันที่ 3 เมษายน 2556 บริษทั ฯ จดทะเบียนเพิม่ ทุนชาระแล้วของบริษทั ฯ อันเนื่องจากการ ใช้สทิ ธิซอ้ื หุน้ สามัญตามใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-W2 ในวันกาหนดการใช้สทิ ธิครัง้ ที่ 2 ทาให้

ส่วนที่ 1 หน้า 9


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ทุนชาระแล้วของบริษทั ฯ เพิม่ จาก 44,426,538,376 บาท เป็ น 45,611,174,124 บาท แบ่งเป็ น หุน้ สามัญทีจ่ าหน่ายแล้วจานวน 11,402,793,531 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 4 บาท เมื่อวันที่ 17 เมษายน 2556 ได้มกี ารจัดตัง้ กองทุน BTSGIF แล้วเสร็จ มีขนาดกองทุน (Fund Size) เท่ากับ 62,510.4 ล้านบาท (5,788 ล้านหน่ วยลงทุน ที่ราคา 10.80 บาทต่ อหน่ วย) โดยบีทเี อสซีได้ขายรายได้ค่าโดยสารสุทธิของระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลัก ระยะทางรวม 23.5 กิโลเมตร ภายใต้สญ ั ญาสัมปทานให้แก่กองทุน BTSGIF ทีร่ าคาขายสุทธิ 61,399 ล้า นบาท (เป็ น จ านวนเงิน สุ ท ธิภ ายหลัง การหัก ค่ า ใช้จ่ า ยในการจัด ตัง้ กองทุ น BTSGIF จานวนเงินประมาณ 1,111 ล้านบาท) นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้เข้าจองซื้อและเป็ น ผู้ถือหน่ วยลงทุนของกองทุน BTSGIF จานวน 1/3 (ร้อยละ 33.33) ของกองทุน BTSGIF (จานวน 1,929 ล้านหน่วยลงทุน ทีร่ าคา 10.80 บาทต่อหน่วย หรือ 20,833.2 ล้านบาท) โดย หน่ วยลงทุน BTSGIF เริม่ ทาการซื้อขายครัง้ แรกในตลาดหลักทรัพย์เมื่อวันที่ 19 เมษายน 2556 เมื่อ วัน ที่ 27 พฤษภาคม 2556 บริษัท ฯ ได้ป ระกาศเพิ่มนโยบายการจ่า ยเงิน ปั นผลของ บริษัท ฯ โดยบริษัท ฯ จะจ่ า ยเงิน ปั น ผลให้แ ก่ ผู้ถือ หุ้น เป็ น จ านวนรวมทัง้ สิ้น ไม่ น้ อ ยกว่า 21,000 ล้านบาท สาหรับ 3 รอบระยะเวลาบัญชี กล่าวคือ บริษทั ฯ จะจ่ายเงินปั นผลไม่น้อย กว่า 6,000 ล้านบาท, 7,000 ล้านบาท และ 8,000 ล้านบาท สาหรับรอบระยะเวลาบัญ ชี สิน้ สุดวันที่ 31 มีนาคม 2557, 31 มีนาคม 2558 และ 31 มีนาคม 2559 ตามลาด้บ เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2556 มีการปรับขึน้ ค่าโดยสารทีเ่ รียกเก็บได้ (Effective Fare) สาหรับ ค่าโดยสารที่เรียกเก็บในระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลัก จากเดิม 15 บาท ถึง 40 บาทต่อเทีย่ ว เป็ น 15 บาท ถึง 42 บาทต่อเทีย่ ว เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 2556 บริษทั ฯ ได้จดั สรรใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-WB ให้แก่พนักงาน ของบริษัทฯ และบริษัทย่อยที่ไม่ได้ดารงตาแหน่ งกรรมการ ภายใต้โครงการ BTS Group ESOP 2012 เมื่อวันที่ 3 กรกฎาคม 2556 บริษทั ฯ จดทะเบียนเพิม่ ทุนชาระแล้วของบริษทั ฯ อันเนื่องจาก การใช้สทิ ธิซอ้ื หุน้ สามัญตามใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-W2 ในวันกาหนดการใช้สทิ ธิครัง้ ที่ 3 ทาให้ทุนชาระแล้วของบริษทั ฯ เพิม่ จาก 45,611,174,124 บาท เป็ น 46,104,820,876 บาท แบ่งเป็ นหุน้ สามัญทีจ่ าหน่ายแล้วจานวน 11,526,205,219 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 4 บาท เมื่อวันที่ 27 กันยายน 2556 หลักทรัพย์ VGI ได้ทาการซือ้ ขายในตลาดหลักทรัพย์ภายหลัง การแตกมูลค่าทีต่ ราไว้จากเดิมหุน้ ละ 1 บาท เป็ น หุน้ ละ 0.10 บาท เมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2556 บริษทั ฯ จดทะเบียนเพิม่ ทุนชาระแล้วของบริษทั ฯ อันเนื่องจากการ ใช้สทิ ธิซอ้ื หุน้ สามัญตามใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-W2 ในวันกาหนดการใช้สทิ ธิครัง้ ที่ 4 ทา ให้ทุ น ช าระแล้วของบริษัท ฯ เพิ่ม จาก 46,104,820,876 บาท เป็ น 47,332,270,060 บาท แบ่งเป็ นหุน้ สามัญทีจ่ าหน่ายแล้วจานวน 11,833,067,515 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 4 บาท เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2556 บริษทั ฯ จดทะเบียนเพิม่ ทุนชาระแล้วของบริษทั ฯ อันเนื่องจากการ ใช้สทิ ธิซอ้ื หุน้ สามัญตามใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-WA ในวันกาหนดการใช้สทิ ธิครัง้ แรก ทา ให้ทุ น ช าระแล้วของบริษัท ฯ เพิ่ม จาก 47,332,270,060 บาท เป็ น 47,352,017,324 บาท แบ่งเป็ นหุน้ สามัญทีจ่ าหน่ายแล้วจานวน 11,838,004,331 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 4 บาท ส่วนที่ 1 หน้า 10


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน) 

2557

แบบ 56-1 ปี 2560/61

เมื่อวันที่ 16 ตุ ลาคม 2556 บริษัทฯ จัดตัง้ บริษัทย่อยชื่อบริษัท แมน คิทเช่น จากัด เพื่อ ประกอบธุรกิจร้านอาหารและธุรกิจเกีย่ วกับอาหาร รวมถึงธุรกิจอื่นทีเ่ กีย่ วข้อง โดยบริษทั ฯ ถือหุน้ ในสัดส่วนร้อยละ 70.0 เมื่อ วัน ที่ 1 พฤศจิก ายน 2556 บริษัท ฯ ได้อ อกและจัด สรรใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-W3 จานวน 3,944,626,464 หน่วย ให้แก่ผถู้ อื หุน้ เดิมของบริษทั ฯ ตามสัดส่วนการถือหุน้ (Rights Offering) โดยไม่คดิ มูลค่า ในอัตราการจัดสรรที่ 3 หุน้ สามัญเดิม ต่อ 1 หน่วยใบสาคัญแสดงสิทธิ โดยมีอตั ราการใช้สทิ ธิท่ี 1 หน่ วยใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-W3 ต่อ 1 หุน้ สามัญ ทีร่ าคาใช้สทิ ธิ 12 บาทต่อหุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 4 บาท เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน 2556 บีทเี อสซีได้จดทะเบียนลดทุนจานวน 12,050,350,239.75 บาท จากทุนชาระแล้วเดิมจานวน 16,067,133,653.00 บาท เป็ นจานวน 4,016,783,413.25 บาท โดยการลดมูลค่าทีต่ ราไว้จากหุน้ ละ 1 บาท เป็ นหุน้ ละ 0.25 บาท และบริษทั ฯ ในฐานะ ผูถ้ อื หุน้ บีทเี อสซีจานวนร้อยละ 97.46 จึงได้รบั เงินลดทุนจานวน 11,744.5 ล้านบาท คืนจาก บีทเี อสซีเมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2556 เมื่อ วัน ที่ 13 พฤศจิก ายน 2556 บริษัท ฯ จดทะเบีย นเพิ่ม ทุ น ช าระแล้ว ของบริษัท ฯ อัน เนื่องจากการใช้สทิ ธิซอ้ื หุน้ สามัญตามใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-W2 ในวันกาหนดการใช้สทิ ธิ ครั ง้ สุ ด ท้ า ย ท าให้ ทุ น ช าระแล้ ว ของบริ ษั ท ฯ เพิ่ ม จาก 47,352,017,324 บาท เป็ น 47,656,922,100 บาท แบ่ ง เป็ นหุ้ น สามัญ ที่ จ าหน่ า ยแล้ ว จ านวน 11,914,230,525 หุ้ น มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 4 บาท ทัง้ นี้ ใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-W2 ได้หมดอายุและสิน้ สุดการ เป็ นหลักทรัพย์จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แล้วตัง้ แต่เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2556 เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2556 MSCI ได้ประกาศให้หลักทรัพย์ BTS ได้รบั คัดเลือกให้เป็ น หลักทรัพย์ทถ่ี ูกคานวณในดัชนี MSCI Global Standard Indices มีผลวันที่ 27 พฤศจิกายน 2556 เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2556 รถไฟฟ้ าบีทเี อสเปิ ดให้บริการประชาชนในสถานีวุฒากาศและ สถานีบางหว้าของส่วนต่อขยายสายสีลม (วงเวียนใหญ่-บางหว้า) เมื่อวันที่ 13 มกราคม 2557 จานวนผูโ้ ดยสารรถไฟฟ้ าบีทเี อสทาสถิตสิ งู สุดในวันธรรมดาที่ 913,084 เทีย่ วคน เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2557 บริษัทฯ และ CITIC Construction Co., Ltd. ได้ร่วมกันจัดตัง้ กิจการร่วมค้าคอนซอเตียม (Consortium) (“BTS-CITIC คอนซอเตียม”) เพื่อเข้าร่วมประมูล โครงการสัมปทานเดินรถไฟฟ้ าใต้ดนิ กรุงปั กกิง่ สาย 16 (Beijing Subway Line 16 Franchise Project) ระยะเวลา 30 ปี โดย BTS-CITIC คอนซอเตียม ได้ย่นื เอกสารการประมูลเรียบร้อย แล้ว ต่อมา เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2557 Beijing MTR Corporation Limited เป็ นผู้ชนะ การประมูลและได้ลงนามในหนังสือแสดงเจตจานงในการทาโครงการนี้ แต่แม้ว่า BTS-CITIC คอนซอเตียม จะไม่ชนะการประมูลในโครงการนี้ แต่การได้รบั เชิญให้เข้าร่วมประมูลโครงการ ถือเป็ นการได้รบั การยอมรับในฐานะผูป้ ระกอบการระบบขนส่งมวลชนทางรางทีม่ คี ุณสมบัติ และความเชีย่ วชาญในระดับมาตรฐานสากล และเพิม่ พูนประสบการณ์ของบริษทั ฯ ในงาน ประมูลโครงการระดับสากล

ส่วนที่ 1 หน้า 11


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน) 

แบบ 56-1 ปี 2560/61

เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2557 วีจไี อได้ลดสัดส่วนการถือหุน้ บริษทั วี จี ไอ มัลติเทค อินเตอร์ เนชันแนล ่ จากัด (ปั จจุบนั ชื่อบริษทั ไมดาส โกลบอล มีเดีย จากัด) จากร้อยละ 100 เหลือ ร้อยละ 30 เมื่อ วัน ที่ 25 กุ ม ภาพัน ธ์ 2557 บริษัท ฯ จัด ตัง้ บริษัท ย่ อ ยชื่อ บริษัท มรรค๘ จ ากัด เพื่อ ประกอบธุรกิจพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ โดยบริษทั ฯ ถือหุน้ ในสัดส่วนร้อยละ 87.5 เมื่อวันที่ 18 มีนาคม 2557 บริษัทฯ ได้จดั ตัง้ บริษัทร่วมทุนในสัดส่วนร้อยละ 50 : 50 เพื่อ ประกอบธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ชื่อบริษทั เบย์วอเตอร์ จากัด โดยบริษทั ฯ ถือหุน้ ในสัดส่วน ร้อยละ 50 และบริษทั แกรนด์ คาแนล แลนด์ จากัด (มหาชน) ถือหุน้ ในอีกสัดส่วนร้อยละ 50 เมื่อวันที่ 30 เมษายน 2557 บริษัทฯ จัดตัง้ บริษัทร่วมทุน ชื่อ บริษัท บางกอก เพย์เมนต์ โซลูชนั ส์ จากัด เพื่อประกอบธุรกิจพัฒนาซอฟต์แวร์และให้บริการทางเทคโนโลยีต่าง ๆ รวมถึงเทคโนโลยีอนั เกีย่ วข้องกับระบบขนส่งมวลชนและระบบการชาระเงินในประเทศไทย โดยบริษัท บีทเี อส แลนด์ จากัด ถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 60 (ต่อมา เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2558 บริษัท บีทีเอส แลนด์ จ ากัด ได้โอนหุ้น ทัง้ หมดที่ถือในบริษัท บางกอก เพย์เ มนต์ โซลูชนั ส์ จากัด ให้กบั บีเอสเอส โฮลดิง้ ส์) บริษทั วิกซ์ เทคโนโลยี (แบงค็อก) จากัด ถือหุน้ ใน สัดส่วนร้อยละ 30 และบริษทั อินเทลชัน่ จากัด ถือหุน้ ในอีกสัดส่วนร้อยละ 10 เมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม 2557 วีจไี อได้เข้าซื้อหุน้ จานวน 73,500,000 หุน้ หรือคิดเป็ นร้อยละ 24.43 ใน MACO ซึ่งเป็ นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ซ่งึ ประกอบธุรกิจให้บริการ และรับจ้างผลิตสือ่ โฆษณาภายนอกทีอ่ ยู่อาศัย เมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม 2557 บริษัทฯ ได้เข้าซื้อหุ้นจานวน 4,002,000 หุ้น หรือคิดเป็ น ร้อยละ 20 ของหุ้นทัง้ หมดของบริษัท นู โว ไลน์ เอเจนซี่ จากัด ซึ่งเป็ นผู้พฒ ั นาโครงการ คอนโดมิเนียม Abstracts Phahonyothin Park ทาให้สดั ส่วนการถือหุน้ ของบริษทั ฯ ในบริษทั นูโว ไลน์ เอเจนซี่ จากัด เพิม่ ขึน้ จากเดิมในสัดส่วนร้อยละ 80 เป็ นสัดส่วนร้อยละ 100 เมื่อวันที่ 8 กรกฎาคม 2557 บริษัทฯ จัดตัง้ บริษัทร่วมทุน ชื่อ บริษัท ลิตเติ้ล คอร์นเนอร์ จ ากัด เพื่อ ประกอบธุร กิจ ร้า นอาหาร โดยบริษ ัท แมน คิท เช่น จ ากัด (บริษ ัท ย่อ ยที่ บริษ ัท ฯ ถือ หุ้น ในสัด ส่ ว นร้อ ยละ 70) ถือ หุ้น ในสัด ส่ ว นร้อ ยละ 50 ต่ อ มา เมื่อ วัน ที่ 22 กันยายน 2557 มีการเพิม่ ทุนในบริษทั ลิตเติ้ล คอร์นเนอร์ จากัด และบริษัท แมน คิทเช่น จากัด ได้จ องซื้อ หุ ้น สามัญเพิม่ ทุน เกิน สัดส่ว น ทาให้สดั ส่ว นการถือ หุ้น ของบริษทั แมน คิทเช่น จากัด ในบริษทั ลิตเติล้ คอร์นเนอร์ จากัด เพิม่ ขึน้ จากเดิมร้อยละ 50 เป็ นร้อยละ 75 เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2557 บริษัทฯ ได้เริม่ โครงการซื้อหุน้ คืนของบริษทั ฯ เพื่อการบริหาร ทางการเงิน (Treasury Stocks) โดยใช้วงเงินสูงสุดไม่เกิน 6,000 ล้านบาท เพื่อซือ้ หุน้ คืนใน จานวนไม่เกิน 600 ล้านหุน้ (ประมาณร้อยละ 5 ของหุน้ ทีจ่ าหน่ ายได้แล้วทัง้ หมด) ผ่านการ ซื้อ หุ ้น ในตลาดหลัก ทรัพ ย์ใ นช่ว งระยะเวลาตัง้ แต่ว นั ที่ 25 สิง หาคม 2557 ถึง วัน ที่ 24 กุมภาพันธ์ 2558 โดยภายหลังสิน้ สุดโครงการดังกล่าวในวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2558 บริษทั ฯ ได้ซ้อื หุ้นคืนตามโครงการนี้เป็ นจานวนรวม 95,839,900 หุ้น หรือคิดเป็ นร้อยละ 0.80 ของ หุน้ ทีจ่ าหน่ายได้แล้วทัง้ หมด โดยใช้เงินในการซือ้ หุน้ คืนรวมจานวนทัง้ สิน้ 925.2 ล้านบาท เมื่อวันที่ 4 กันยายน 2557 บริษัทฯ ได้จดั ตัง้ บริษัทย่อยชื่อบริษัท ไพรมารี่ คิทเช่น จากัด เพื่อประกอบธุรกิจลงทุนในทรัพย์สนิ (ทัง้ อสังหาริมทรัพย์และสังหาริมทรัพย์) ที่ใช้ ในการ ส่วนที่ 1 หน้า 12


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

2558

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ประกอบกิจการร้านอาหาร และให้เช่าทรัพย์สนิ ดังกล่าวแก่บริษัทที่เกี่ยวข้อง โดยบริษทั ฯ ถือหุน้ ในสัดส่วนร้อยละ 100 เมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2557 บริษทั ฯ จดทะเบียนเพิม่ ทุนชาระแล้วของบริษทั ฯ อันเนื่องจากการ ใช้สทิ ธิซอ้ื หุน้ สามัญตามใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-WA สาหรับวันกาหนดการใช้สทิ ธิงวดวันที่ 30 กัน ยายน 2557 ท าให้ทุ น ช าระแล้ว ของบริษัท ฯ เพิ่ม จาก 47,656,922,100 บาท เป็ น 47,677,000,644 บาท แบ่งเป็ นหุน้ สามัญทีจ่ าหน่ายแล้วจานวน 11,919,250,161 หุน้ มูลค่าที่ ตราไว้หนุ้ ละ 4 บาท เมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2557 บริษทั ฯ ได้ลงนามในสัญญาข้อตกลงกรอบความร่วมมือทางธุรกิจ กับ บริษัท แสนสิริ จ ากัด (มหาชน) (“SIRI”) ในการเป็ น Exclusive Partner เพื่อ ร่ ว มกัน พัฒ นาโครงการที่พ ัก อาศัย เพื่อ ขาย ซึ่ง ตัง้ อยู่ภ ายในรัศมี 500 เมตร จากสถานี ร ถไฟฟ้ า (ทัง้ สถานีทม่ี อี ยู่แล้วในปั จจุบนั และสถานีตามเส้นทางต่าง ๆ ในอนาคต) โดยโครงการทีพ่ กั อาศัยทีต่ กลงว่าจะพัฒนาร่วมกันนัน้ จะต้องเป็ นโครงการทีม่ ปี ระมาณการมูลค่าการขายขัน้ ต่า ที่ 3,000 ล้านบาท โดยจะพัฒนาและดาเนินการโดยบริษทั ร่วมทุนในสัดส่วนร้อยละ 50 : 50 ระหว่างบริษทั ฯ และ SIRI เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2557 บริษทั ฯ ได้จดั ตัง้ บริษทั ร่วมทุนในสัดส่วนร้อยละ 50 : 50 ระหว่าง บริษัทฯ และ SIRI ชื่อบริษัท บีทีเอส แสนสิริ โฮลดิ้ง วัน จากัด เพื่อพัฒนาโครงการที่พกั อาศัยบนที่ดนิ เนื้อที่ประมาณ 5 ไร่ ใกล้กบั สถานีรถไฟฟ้ าบีทเี อสหมอชิต ซึ่งเป็ นโครงการ พัฒนาอสังหาริมทรัพย์โครงการแรกภายใต้สญ ั ญาข้อตกลงกรอบความร่วมมือทางธุ ร กิจ ระหว่างบริษทั ฯ และ SIRI เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2558 บริษทั ฯ บริษทั บางกอก สมาร์ทการ์ด ซิสเทม จากัด และบริษทั อิออนธนสินทรัพย์ (ไทยแลนด์) จากัด มหาชน (“AEONTS”) ได้ลงนามในบันทึกข้อตกลงเพื่อ ความร่วมมือทางธุรกิจในระยะยาวระหว่างกลุ่มบริษัทบีทีเอส และ AEONTS เพื่อดาเนิน โครงการออกบัตรแรบบิทร่วม (Co-Branded Rabbit Program) และการดาเนินโครงการแปลง สินทรัพย์เป็ นหลักทรัพย์ (Securitization) เพื่อรับโอนสิทธิเรียกร้องในสินเชื่อเพื่อผูบ้ ริโภคที่ เกิดจากการเบิกใช้สนิ เชื่อผ่ านบัต รสมาชิกอิอ อน-แรบบิท ตามพระราชกาหนดนิติบุค คล เฉพาะกิจเพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็ นหลักทรัพย์ พ.ศ. 2540 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2558 บริษทั ฯ ได้จดั ตัง้ บริษทั ย่อยชื่อบีเอสเอส โฮลดิง้ ส์ เพื่อประกอบ ธุรกิจลงทุนในหลักทรัพย์ของบริษทั อื่น โดยบริษทั ฯ ถือหุน้ ในสัดส่วนร้อยละ 100 เมื่อ วัน ที่ 10 กุ ม ภาพัน ธ์ 2558 BSV Consortium (กิจ การร่ ว มค้า คอนซอเตีย มที่จดั ตัง้ ขึ้น ระหว่างบีทเี อสซี บริษัท สมาร์ทแทรฟิ ค จากัด และ VIX Mobility PTY. LTD) ได้ลงนามใน สัญญาโครงการจัดทาระบบศูนย์บริหารจัดการรายได้กลางกับสานักงานนโยบายและแผนการ ขนส่งและจราจร โดย BSV Consortium เป็ นผูพ้ ฒ ั นาระบบสาหรับโครงการจัดทาระบบศูนย์ บริหารจัดการรายได้กลาง (Central Clearing House: CCH) ซึ่งเป็ นหน่ วยกลางที่มีหน้าที่ หลักในการให้บริการหักบัญชี (Clearing) ระหว่างผูใ้ ห้บริการ (Operators) (ทัง้ ให้บริการระบบ ขนส่งและไม่ใช่ระบบขนส่ง) ในระบบตั ๋วร่วม เมื่อวันที่ 13 มีนาคม 2558 บริษทั ฯ ได้จดั ตัง้ บริษทั ร่วมทุนชื่อ บริษทั บีทเี อส แสนสิริ โฮลดิง้ ทู จากัด ในสัดส่วนร้อยละ 50 : 50 ระหว่างบริษัทฯ กับ SIRI ภายใต้สญ ั ญาข้อตกลงกรอบ ความร่วมมือทางธุรกิจ เพื่อประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ส่วนที่ 1 หน้า 13


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน) 

แบบ 56-1 ปี 2560/61

เมื่อ วัน ที่ 20 มีน าคม 2558 บีเ อสเอส โฮลดิ้ง ส์ และ AEONTS ได้ร่ ว มกัน จัด ตัง้ บริษัทชื่อ บริษทั เอทีเอส แรบบิท นิตบิ ุคคลเฉพาะกิจ จากัด โดย บีเอสเอส โฮลดิง้ ส์ ถือ หุน้ ในสัดส่วน ร้อยละ 51 และ AEONTS ถือหุน้ ในอีกสัดส่วนร้อยละ 49 โดยนิตบิ ุคคลเฉพาะกิจนี้จะประกอบ ธุรกิจแปลงสินทรัพย์เป็ นหลักทรัพย์ โดยการรับโอนสิทธิเรียกร้องที่ AEONTS มีสทิ ธิท่จี ะ ได้รบั ชาระคืนเงินกู้ยมื ที่ผู้ถือบัตรสมาชิกอิออน-แรบบิท ได้เบิกใช้สนิ เชื่อเพื่อผู้บริโภคของ AEONTS ผ่ า นบัต รสมาชิก อิอ อน-แรบบิท ตามโครงการแปลงสิน ทรัพ ย์เ ป็ น หลัก ทรัพ ย์ ภายใต้พระราชกาหนดนิตบิ ุคคลเฉพาะกิจเพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็ นหลักทรัพย์ พ.ศ. 2540 เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2558 บริษัทฯ ได้ปรับโครงสร้างองค์กรเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการ บริห ารจัด การของบริษั ท ฯ โดย (1) เพิ่ม ต าแหน่ ง กรรมการผู้ อ านวยการใหญ่ (Chief Executive Officer) โดยแต่ ง ตั ง้ นายกวิ น กาญจนพาสน์ เข้ า ด ารงต าแหน่ ง กรรมการ ผูอ้ านวยการใหญ่ (2) เพิม่ ตาแหน่งรองกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ (Deputy Chief Executive Officer) โดยแต่งตัง้ นายคง ชิ เคือง (Mr. Kong Chi Keung) เข้าดารงตาแหน่ งรองกรรมการ ผูอ้ านวยการใหญ่ และ (3) เพิม่ คณะกรรมการทีป่ รึกษา (Advisory Board) ในโครงสร้างองค์กร เมื่อวันที่ 20 เมษายน 2558 บริษทั ฯ ได้จาหน่ ายหุน้ สามัญทัง้ หมดทีบ่ ริษทั ฯ ถือใน BTSA และ ก้ามกุ้ง ให้แก่ ยู ซิต้ี ในราคารวมทัง้ สิน้ 9,404.08 ล้านบาท โดยบริษัทฯ ได้รบั ค่าตอบแทน เป็ นหุ้นสามัญเพิ่มทุนของยู ซิต้ี จานวน 200,086,877,212 หุ้น ในราคาหุ้นละ 0.047 บาท (คิดเป็ นการถือหุน้ ในสัดส่วนร้อยละ 35.64 ของหุน้ ทีจ่ าหน่ ายได้แล้วทัง้ หมดของยู ซิต้)ี และ ใบสาคัญแสดงสิทธิทจ่ี ะซือ้ หุน้ สามัญของยู ซิต้ี รุ่นที่ 2 ทีอ่ อกใหม่ จานวน 100,043,438,606 หน่วย เมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2558 วีจีไอได้ซ้อื หุ้นสามัญเพิ่มทุนในบริษัท แอลอีดี แอดวานซ์ จากัด (ปั จจุบนั ชื่อ แอโร มีเดีย กรุ๊ป จากัด) จานวน 15,000 หุ้น หรือคิดเป็ นร้อยละ 20.00 ของจานวนหุน้ ทัง้ หมดของบริษทั แอลอีดี แอดวานซ์ จากัด เมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2558 บริษทั ฯ ได้เข้าซือ้ หุน้ จานวน 300,000 หุน้ หรือคิดเป็ นร้อยละ 12.50 ของจานวนหุน้ ทัง้ หมดของบริษทั มรรค๘ จากัด บริษทั ย่อยซึง่ ประกอบธุรกิจถือครอง ทีด่ นิ และพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ทาให้สดั ส่วนการถือหุน้ ของบริษทั ฯ ในบริษทั มรรค๘ จากัด เพิม่ ขึน้ จากเดิมในสัดส่วนร้อยละ 87.5 เป็ นสัดส่วนร้อยละ 100 เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน 2558 วีจไี อได้จาหน่ายเงินลงทุนทัง้ หมดใน บริษทั 999 มีเดีย จากัด ซึง่ ประกอบธุรกิจให้บริการสือ่ วิทยุ ณ จุดขายในโมเดิรน์ เทรด เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2558 บริษทั ฯ ได้จดั ตัง้ บริษทั ร่วมทุนจานวน 4 บริษทั ชื่อ บริษทั บีทเี อส แสนสิริ โฮลดิง้ ทรี จากัด, บริษทั บีทเี อส แสนสิริ โฮลดิง้ โฟว์ จากัด , บริษทั บีทเี อส แสนสิริ โฮลดิง้ ไฟฟ์ จากัด และ บริษทั บีทเี อส แสนสิริ โฮลดิง้ ซิกซ์ จากัด ในสัดส่วนร้อยละ 50 : 50 ระหว่างบริษทั ฯ กับ SIRI ภายใต้สญ ั ญาข้อตกลงกรอบความร่วมมือทางธุรกิจ เพื่อประกอบ ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม 2558 บริษทั ฯ จดทะเบียนเพิม่ ทุนชาระแล้วของบริษัทฯ อันเนื่องจาก การใช้สทิ ธิซอ้ื หุน้ สามัญตามใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-WB สาหรับวันกาหนดการใช้สทิ ธิงวด วันที่ 30 มิถุนายน 2558 ทาให้ทุนชาระแล้วของบริษทั ฯ เพิม่ จาก 47,677,000,644 บาท เป็ น 47,696,313,964 บาท แบ่งเป็ นหุน้ สามัญทีจ่ าหน่ายแล้วจานวน 11,924,078,491 หุน้ มูลค่าที่ ตราไว้หนุ้ ละ 4 บาท ส่วนที่ 1 หน้า 14


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน) 

แบบ 56-1 ปี 2560/61

เมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม 2558 วีจไี อได้ลดสัดส่วนการถือหุ้นบริษัท ไมดาส โกลบอล มีเดีย จากัด จากร้อยละ 30 เหลือร้อยละ 22.62 เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2558 บริษัทฯ ได้จดั ตัง้ บริษัทร่วมทุนชื่อ บริษัท บีทีเอส แสนสิริ โฮลดิ้ง เซเว่น จากัด ในสัดส่วนร้อยละ 50 : 50 ระหว่างบริษัทฯ กับ SIRI ภายใต้สญ ั ญา ข้อตกลงกรอบความร่วมมือทางธุรกิจ เพื่อประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2558 บริษัทฯ ได้ดาเนินการปรับราคาการใช้สทิ ธิและอัตราการใช้ สิทธิของใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-WA เป็ นใบสาคัญแสดงสิทธิ 1 หน่ วย มีสทิ ธิซอ้ื หุน้ สามัญ ของบริษทั ฯ ได้ 0.166 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 4 บาท) ในราคาใช้สทิ ธิท่ี 4.220 บาทต่อหุน้ ซึ่ง เป็ นการปรับ สิท ธิต ามเงื่อ นไขในข้อ ก าหนดสิท ธิข องใบส าคัญ แสดงสิท ธิ BTS-WA เนื่องจากบริษทั ฯ จ่ายเงินปั นผลเกินกว่าอัตราร้อยละ 80 ของกาไรสุทธิตามงบการเงินเฉพาะ กิจการของบริษัทฯ หลังหักภาษีเงินได้นิติบุคคล สาหรับรอบระยะเวลาบัญชีสน้ิ สุดวันที่ 31 มีนาคม 2558 เมื่อวันที่ 8 กันยายน 2558 บริษทั ฯ ได้จดั ตัง้ บริษทั ร่วมทุนชื่อ บริษทั บีทเี อส แสนสิริ โฮลดิง้ เอท จากัด ในสัดส่วนร้อยละ 50 : 50 ระหว่างบริษทั ฯ กับ SIRI ภายใต้สญ ั ญาข้อตกลงกรอบ ความร่วมมือทางธุรกิจ เพื่อประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ เมื่อวันที่ 22 กันยายน 2558 วีจีไอได้สละสิทธิในการซื้อหุ้นสามัญเพิม่ ทุนของบริษัท ไมดาส โกลบอล มีเดีย จากัด ส่งผลให้สดั ส่วนการถือหุ้นของวีจไี อในบริษัท ไมดาส โกลบอล มีเดีย จากัด ลดลงจากร้อยละ 22.62 เป็ นร้อยละ 18.41 ซึง่ ต่อมาวีจไี อได้ลดสัดส่วนการถือหุน้ ในบริษทั ไมดาส โกลบอล มีเดีย จากัด เพิม่ เติมอีก จากร้อยละ 18.41 เหลือร้อยละ 11.11 เมื่อ วัน ที่ 28 กัน ยายน 2558 บริษัท ฯ ได้จ ัด ตัง้ บริษัท ร่ ว มทุ น ชื่อ บริษัท บีทีเ อส แสนสิริ โฮลดิ้ง ไนน์ จ ากัด ในสัด ส่ ว นร้อ ยละ 50 : 50 ระหว่ า งบริษัท ฯ กับ SIRI ภายใต้สญ ั ญา ข้อตกลงกรอบความร่วมมือทางธุรกิจ เพื่อประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2558 บริษัทฯ ได้จดั ตัง้ บริษัทย่อยชื่อ บริษัท ยูนิคอร์น เอ็นเตอร์ไพรส์ จากัด (“ยูนิคอร์น”) เพื่อประกอบธุรกิจลงทุนในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ โดยบริษทั ฯ ถือหุน้ ใน สัดส่วนร้อยละ 100 เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2558 บริษทั ฯ ได้จาหน่ ายหุน้ สามัญจานวน 7,500,000 หุน้ หรือคิดเป็ น ร้อยละ 50 ของหุ้นทัง้ หมดของบริษทั นู โว ไลน์ เอเจนซี่ จากัด ให้กบั SIRI ในราคาซือ้ ขาย ทัง้ สิน้ 769,018,703.50 บาท โดยมีวตั ถุประสงค์ให้บริษทั นูโว ไลน์ เอเจนซี่ จากัดเป็ นบริษทั ร่วมทุนในสัดส่วนร้อยละ 50 : 50 ระหว่างบริษัทฯ และ SIRI ภายใต้สญ ั ญาข้อตกลงกรอบ ความร่วมมือทางธุรกิจ เพื่อประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2558 บริษัทฯ ได้จดั ตัง้ บริษัทย่อยชื่อ บริษัท คีย์สโตน เอสเตท จากัด เพื่อประกอบธุรกิจลงทุนในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ โดยยูนิคอร์นถือหุน้ ในสัดส่วนร้อยละ 100 เมื่อวันที่ 13 ตุลาคม 2558 บริษัทฯ จดทะเบียนเพิม่ ทุนชาระแล้วของบริษัทฯ อันเนื่องจาก การใช้สทิ ธิซอ้ื หุน้ สามัญตามใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-WA และใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-WB สาหรับวันกาหนดการใช้สทิ ธิงวดวันที่ 30 กันยายน 2558 ทาให้ทุนชาระแล้วของบริษัทฯ เพิม่ จาก 47,696,313,964 บาท เป็ น 47,717,396,744 บาท แบ่งเป็ นหุน้ สามัญทีจ่ าหน่ายแล้ว จานวน 11,929,349,186 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 4 บาท ส่วนที่ 1 หน้า 15


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน) 

แบบ 56-1 ปี 2560/61

เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2558 บริษทั ฯ จัดตัง้ บริษทั ร่วมทุนชื่อ บริษทั แรบบิทเพย์ ซิสเทม จ ากัด เพื่ อ ประกอบธุ ร กิจ ให้ บ ริ ก ารเงิน อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ (E-money) การช าระเงิน ทาง อิเล็กทรอนิกส์ การชาระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านอุปกรณ์หรือผ่านเครือข่ายและการรับชาระ เงินแทน และลงทุนในหลักทรัพย์ของบริษทั อื่น โดยบีเอสเอส โฮลดิง้ ส์ ถือหุน้ ในสัดส่วนร้อย ละ 80 และบริษทั โลจิสติคส์ (ไทยแลนด์) จากัด ถือหุน้ ในสัดส่วนร้อยละ 20 เมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน 2558 บีเอสเอส โฮลดิง้ ส์ ได้เข้าซือ้ หุน้ ของกลุ่มบริษทั ซึ่งประกอบ ธุรกิจให้บริการเว็บไซต์ในการขายผลิตภัณฑ์ประกันภัยและผลิตภัณฑ์ทางด้านการเงิน ได้แก่ (1) หุน้ บุรมิ สิทธิเพิม่ ทุนของบริษทั อาสค์ หนุ มาน จากัด (“ASKH”) (ปั จจุบนั ชื่อ บริษทั แรบ บิท อินเตอร์เน็ต จากัด) จานวน 1,001 หุน้ หรือคิดเป็ นร้อยละ 25 ของหุน้ ทัง้ หมดของ ASKH (2) หุน้ สามัญของบริษทั เอเอสเค ไดเร็ค กรุ๊ป จากัด (“ASKD”) จานวน 501 หุน้ หรือคิดเป็ น ร้อยละ 51 ของหุน้ ทัง้ หมดของ ASKD และ (3) หุน้ สามัญของบริษทั เอเอสเค โบรคเกอร์ แอส โซซิเอชัน่ จากัด (“ASKB”) (ปั จจุบนั ชื่อ บริษทั แรบบิท อินชัวรันส์ โบรคเกอร์ จากัด) จานวน 21,900 หุน้ หรือคิดเป็ นร้อยละ 51 ของหุน้ ทัง้ หมดของ ASKB ซึง่ ภายหลังการเข้าทาธุรกรรม ดังกล่าว ASKH ASKD และ ASKB มีสภาพเป็ นบริษทั ย่อยของบีเอสเอส โฮลดิง้ ส์ และบริษทั ฯ เมื่อ วัน ที่ 14 ธัน วาคม 2558 บริษัท ฯ ได้จ ัด ตัง้ บริษัท ร่ ว มทุ น จ านวน 2 บริษัท ชื่อ บริษัท บีทเี อส แสนสิริ โฮลดิง้ อีเลฟเว่น จากัด และ บริษทั บีทเี อส แสนสิริ โฮลดิง้ ทเวล์ฟ จากัด ใน สัดส่วนร้อยละ 50 : 50 ระหว่างบริษทั ฯ กับ SIRI ภายใต้สญ ั ญาข้อตกลงกรอบความร่วมมือ ทางธุรกิจ เพื่อประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม 2558 บริษัทฯ ได้จดั ตัง้ บริษทั ย่อย 2 บริษัทชื่อ บริษัท ราษฎร์บูรณะ พร็อพเพอร์ต้ี จากัด และบริษัท กิ่งแก้ว แอสเสทส์ จากัด เพื่อประกอบธุรกิจพัฒนาธุรกิจ อสังหาริมทรัพย์ โดยยูนิคอร์นถือหุน้ ในสัดส่วนร้อยละ 100 ในทัง้ สองบริษทั เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2558 บริษทั ฯ ได้ทาการโอนหุ้นทัง้ หมดที่บริษัทฯ ถืออยู่ในบริษทั ย่อย และบริษัทร่วมดังต่ อไปนี้ (1) บริษัท ปราณคีรี แอสเซ็ทส์ จากัด (2) บริษัท บีทีเอส แลนด์ จากัด (3) บริษทั สยาม เพจจิง้ แอนด์ คอมมิวนิเคชัน่ จากัด (4) บริษทั ดีแนล จากัด (5) บริษทั เมืองทอง แอสเซ็ทส์ จากัด (6) บริษทั ธนายง ฟู๊ ด แอนด์ เบเวอเรจ จากัด (7) บริษทั ธนายง พร็อพเพอร์ต้ี แมเนจเม้นท์ จากัด (8) บริษัท ยงสุ จากัด (9) บริษัท ธนาซิต้ี กอล์ฟ แอนด์ สปอร์ต คลับ จากัด (10) บริษทั มรรค๘ จากัด (11) บริษทั เอชเอชที คอนสตรัคชัน่ จากัด (12) บริษัท แอ๊บโซลูท โฮเต็ล เซอร์วสิ จากัด (13) บริษัท บีทเี อส แสนสิริ โฮลดิ้ง วัน จากัด (14) บริษัท บีทเี อส แสนสิริ โฮลดิ้ง ทู จากัด (15) บริษัท บีทเี อส แสนสิริ โฮลดิ้ง ทรี จากัด (16) บริษทั บีทเี อส แสนสิริ โฮลดิง้ โฟร์ จากัด (17) บริษทั บีทเี อส แสนสิริ โฮลดิง้ ไฟฟ์ จากัด (18) บริษัท บีทเี อส แสนสิริ โฮลดิ้ง ซิกซ์ จากัด (19) บริษัท บีทเี อส แสนสิริ โฮลดิ้ง เซเว่น จากัด (20) บริษทั บีทเี อส แสนสิริ โฮลดิง้ เอท จากัด (21) บริษทั บีทเี อส แสนสิริ โฮลดิง้ ไนน์ จากัด (22) บริษัท บีทีเอส แสนสิริ โฮลดิ้ง อีเลฟเว่ น จ ากัด (23) บริษัท บีทีเอส แสนสิริ โฮลดิ้ง ทเวลฟ์ จากัด รวมทัง้ สิน้ 23 บริษัทให้แก่ยูนิคอร์นเพื่อดาเนินการปรับโครงสร้างภายในกลุ่ม ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ของบริษทั ฯ เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2558 บริษัทฯ ได้จ ัดตัง้ บริษัทย่ อยใหม่ 2 บริษัทชื่อ บริษัท เดอะ คอมมูนิต้ี วัน จากัด และ บริษัท เดอะ คอมมูนิต้ี ทู จากัด เพื่อประกอบธุรกิจพัฒนาธุ รกิจ อสังหาริมทรัพย์ โดยยูนิคอร์นถือหุน้ ในสัดส่วนร้อยละ 100 ในทัง้ สองบริษทั ส่วนที่ 1 หน้า 16


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

2559

แบบ 56-1 ปี 2560/61

เมื่อวันที่ 29 ธันวาคม 2558 บริษัทฯ ได้โอนหุ้นทัง้ หมดที่บริษัทฯ ถืออยู่ในบริษัท นู โว ไลน์ เอเจนซี่ จ ากัด ให้ แ ก่ ยู นิ ค อร์ น ทัง้ นี้ เพื่อ ด าเนิ น การปรับ โครงสร้ า งภายในกลุ่ ม ธุ ร กิจ อสังหาริมทรัพย์ของบริษทั ฯ

เมื่อ วัน ที่ 8 กุ ม ภาพัน ธ์ 2559 บริษัท ฯ ได้จ ัด ตัง้ บริษัท ร่ว มทุน ชื่อ บริษัท บีทีเ อส แสนสิริ โฮลดิ้ง โฟร์ทีน จากัด ในสัดส่วนร้อยละ 50 : 50 ระหว่างบริษัทฯ กับ SIRI ภายใต้สญ ั ญา ข้อตกลงกรอบความร่วมมือทางธุรกิจ เพื่อประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2559 บริษัทฯ ได้จดั ตัง้ บริษัทย่อยชื่อ บริษัท ไนน์ สแควร์ พร็อพ เพอร์ต้ี จากัด เพื่อประกอบธุรกิจพัฒนาธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ โดยยูนิคอร์นถือหุน้ ในสัดส่วน ร้อยละ 100 เมื่อวันที่ 8 เมษายน 2559 บริษัทฯ ได้จดั ตัง้ บริษัทย่อยชื่อ บริษัท เค เอ็ม เจ 2016 จากัด เพื่อประกอบธุรกิจเกีย่ วกับร้านอาหาร อาหาร และเครื่องดื่ม โดยบริษัทฯ ถือหุ้นในสัดส่วน ร้อยละ 51และนางสาวจุฑามาศ สุขมุ วิทยา ถือหุน้ ในสัดส่วนร้อยละ 49 เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2559 บริษัท แรบบิทเพย์ ซิสเทม จากัด ได้เข้าซื้อหุ้นสามัญเพิม่ ทุน จากบริษัท ไลน์ บิซ พลัส จากัด (ปั จจุบนั ชื่อ บริษัท แรบบิท -ไลน์ เพย์ จากัด) ซึ่งประกอบ ธุรกิจบริการรับชาระเงินแทนผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์และออนไลน์ จานวน 1,999,998 หุน้ และจากผูถ้ อื หุน้ เดิมจานวน 1 หุน้ รวมเป็ นจานวนหุน้ ทัง้ สิน้ 1,999,999 หุน้ หรือคิดเป็ นร้อยละ 50 ของหุน้ ทัง้ หมดของบริษทั แรบบิท-ไลน์ เพย์ จากัด เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม 2559 บริษัทฯ ได้จดั ตัง้ บริษัทย่อยชื่อ บริษัท แมน ฟู๊ ด โปรดักส์ จากัด เพื่อประกอบกิจการผลิตและจาหน่ายอาหาร โดยบริษทั ฯ ถือหุน้ ในสัดส่วนร้อยละ 100 เมื่อ วัน ที่ 30 พฤษภาคม 2559 บริษัท ฯ ได้จ ัด สรรใบส าคัญ แสดงสิท ธิ BTS-WC ให้แ ก่ พนักงานของบริษทั ฯ และบริษัทย่อยที่ไม่ได้ดารงตาแหน่ งกรรมการ ภายใต้โครงการ BTS Group ESOP 2015 เมื่ อ วัน ที่ 31 พฤษภาคม 2559 วี จี ไ อได้ เ ข้ า ซื้ อ หุ้ น สามัญ ใน MACO เพิ่ ม เติ ม จ านวน 375,000,000 หุ้น ซึ่ง คิด เป็ น ร้อ ยละ 12.46 ของจ านวนหุ้น สามัญ ที่อ อกจ าหน่ า ยแล้ ว ใน MACO โดยคิดเป็ นจานวนเงินรวมทัง้ สิน้ 412,500,000 บาท ส่งผลให้วจี ไี อถือหุน้ ใน MACO รวมทัง้ สิ้น จานวน 1,125,967,400 หุ้น หรือคิดเป็ นร้อยละ 37.42 ของจานวนหุ้นสามัญ ที่ ออกจาหน่ายแล้วใน MACO เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2559 วีจไี อได้เข้าร่วมลงทุนในสัดส่วนร้อยละ 19 ในบริษทั ร่วมทุนชื่อ Titanium Compass Sdn Bhd เพื่อ ยื่น ข้อ เสนอในการทาสื่อโฆษณาในระบบรถไฟฟ้ าสาย SBK (MRT1) ซึง่ เป็ นรถไฟฟ้ าสายใหม่ในประเทศมาเลเซีย เมื่อ วัน ที่ 28 มิถุ น ายน 2559 บีทีเ อสซีไ ด้ลงนามในสัญญาขายและติดตัง้ ระบบไฟฟ้ าและ เครื่องกล (E&M) โครงการรถไฟฟ้ าส่วนต่อขยายสายสีเขียว ช่วงหมอชิต -สะพานใหม่-คูคต และช่วงแบริง่ -สมุทรปราการ กับกรุงเทพธนาคม เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม 2559 บริษทั ฯ จดทะเบียนเพิม่ ทุนชาระแล้วของบริษทั ฯ อันเนื่องจากการ ใช้สทิ ธิซอ้ื หุน้ สามัญตามใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-WA และใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-WB สาหรับ วันก าหนดใช้สิทธิงวดวันที่ 30 มิถุ นายน 2559 ท าให้ทุ นช าระแล้วของบริษัทฯ เพิ่มจาก

ส่วนที่ 1 หน้า 17


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

47,717,396,744 บาท เป็ น 47,739,517,248 บาท แบ่ งเป็ นหุ้นสามัญที่จ าหน่ ายแล้วจ านวน 11,934,879,312 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 4 บาท เมื่อวันที่ 28 กรกฏาคม 2559 บริษทั ฯ ได้ดาเนินการปรับราคาการใช้สทิ ธิและอัตราการใช้สทิ ธิ ของใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-WA เป็ นใบสาคัญแสดงสิทธิ 1 หน่ วย มีสทิ ธิซ้อื หุ้นสามัญของ บริษทั ฯ ได้ 0.170 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หุน้ ละ 4 บาท ในราคาใช้สทิ ธิท่ี 4.117 บาทต่อหุน้ ซึง่ เป็ น การปรับใช้สิทธิตามเงื่อนไขในข้อก าหนดสิทธิ ของใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-WA เนื่ องจาก บริษทั ฯ จ่ายเงินปั นผลเกินกว่าอัตราร้อยละ 80 ของกาไรสุทธิตามงบการเงินเฉพาะกิจการของ บริษทั ฯ หลังหักภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล สาหรับรอบระยะเวลาบัญชีสน้ิ สุดวันที่ 31 มีนาคม 2559 เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2559 บีทเี อสซีได้เข้าลงนามในสัญญาการให้บริการเดินรถและซ่อมบารุ ง โครงการรถไฟฟ้ าส่วนต่ อขยายสายสีเขียว ช่ วงหมอชิต-สะพานใหม่ -คูคต และช่ วงแบริ่งสมุทรปราการ กับกรุงเทพธนาคม เป็ นระยะเวลา 25 ปี นับตัง้ แต่วนั ที่ 3 เมษายน 2560 จนถึง วันที่ 2 พฤษภาคม 2585 ซึง่ ระยะเวลาการสิน้ สุดสัญญาดังกล่าวจะเป็ นระยะเวลาเดียวกันกับการ สิน้ สุดสัญญาการให้บริการเดินรถและซ่อมบารุงโครงการระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ เมื่อวันที่ 4 สิงหาคม 2559 วีจีไอได้สละสิทธิในการซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุนของบริษัท ไมดาส โกลบอล มีเดีย จากัด ส่งผลให้สดั ส่วนการถือหุ้นของวีจไี อในบริษัท ไมดาส โกลบอล มีเดีย จากัด ลดลงจากร้อยละ 11.11 เป็ นร้อยละ 9.09 เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม 2559 ยูนิ คอร์นได้เข้าซื้อหุ้นสามัญจานวน 500,000 หุ้น หรือคิดเป็ น สัดส่วนร้อยละ 50 ของทุนที่เรียกชาระแล้ว ของบริษัท พัฒนสิริ เอสเตท จากัด (ปั จจุบนั ชื่อ บริษัท บีทีเอส แสนสิริ โฮลดิ้ง ฟิ ฟทีน จากัด) จาก SIRI ในราคาซื้อขายทัง้ สิ้น 50,000,000 บาท โดยมีวตั ถุประสงค์ให้บริษทั พัฒนสิริ เอสเตท จากัด เป็ นบริษทั ร่วมทุนในสัดส่วนร้อยละ 50 : 50 ระหว่างบริษทั ฯ และ SIRI ภายใต้สญ ั ญาข้อตกลงกรอบความร่วมมือทางธุรกิจ เพื่อ ประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2559 บริษทั ฯ ได้จดั ตัง้ บริษทั ร่วมทุนจานวน 3 บริษทั ชื่อ บริษทั บีทเี อส แสนสิริ โฮลดิง้ ซิกซ์ทนี จากัด, บริษทั บีทเี อส แสนสิริ โฮลดิง้ เซเว่นทีน จากัด , และ บริษทั บีทเี อส แสนสิริ โฮลดิ้ง เอททีน จากัด ในสัดส่วนร้อยละ 50 : 50 ระหว่างบริษัทฯ กับ SIRI ภายใต้สญ ั ญาข้อตกลงกรอบความร่วมมือทางธุรกิจ เพื่อประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2559 ยูนิคอร์นได้เข้าซือ้ หุน้ สามัญจานวน 500,000 หุน้ หรือคิดเป็ นสัดส่วน ร้อยละ 50 ของทุนทีเ่ รียกชาระแล้วของบริษทั เอวา โฮลดิง้ จากัด (ปั จจุบนั ชื่อ บริษทั บีทเี อส แสนสิริ โฮลดิ้ง ทเวนที จ ากัด ) จาก SIRI ในราคาซื้อขายทัง้ สิ้น 50,000,000 บาท โดยมี วัตถุประสงค์ให้บริษทั เอวา โฮลดิง้ จากัด เป็ นบริษทั ร่วมทุนในสัดส่วนร้อยละ 50 : 50 ระหว่าง บริษัทฯ และ SIRI ภายใต้สญ ั ญาข้อตกลงกรอบความร่วมมือทางธุรกิจ เพื่อประกอบธุรกิจ พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ เมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2559 บริษทั ฯ ร่วมกับ STEC และ RATCH ในนามของ “กิจการร่วมค้า บีเอสอาร์” ได้ย่นื ข้อเสนอเข้าร่วมลงทุนเพื่อประมูลโครงการรถไฟฟ้ าสายสีชมพู (ช่วงแคราย – มีนบุรี) และโครงการรถไฟฟ้ าสายสีเหลือง (ช่วงลาดพร้าว – สาโรง) ต่ อการรถไฟฟ้ าขนส่ง มวลชนแห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2559 วีจไี อได้เข้าซื้อหุ้นสามัญในบริษัท เดโม เพาว์เวอร์ (ประเทศ ไทย) จากัด ซึง่ เป็ นผูใ้ ห้บริการจัดกิจกรรมทางการตลาด รวมถึงการแจกสินค้าตัวอย่างและสาธิต ส่วนที่ 1 หน้า 18


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

2560

แบบ 56-1 ปี 2560/61

การใช้สนิ ค้าเพื่อส่งเสริมการขาย จานวน 12,000 หุ้น หรือคิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 40 ของหุ้น ทัง้ หมดของบริษทั เดโม เพาว์เวอร์ (ประเทศไทย) จากัด จากเดโม เพาว์เวอร์ ลิมติ เต็ด เมื่อ วัน ที่ 2 ธัน วาคม 2559 บริษัท ฯ ได้จ ัด ตัง้ บริษัท ร่ ว มทุ น ชื่อ บริษัท บีทีเ อส แสนสิริ โฮลดิ้ง ไนน์ ทีน จากัด ในสัดส่วนร้อยละ 50 : 50 ระหว่างบริษัทฯ กับ SIRI ภายใต้สญ ั ญา ข้อตกลงกรอบความร่วมมือทางธุรกิจ เพื่อประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2559 การรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย ได้มหี นังสือเลขที่ รฟม. 004/3227 และ รฟม. 004/3228 แจ้งว่ากิจการร่วมค้า บีเอสอาร์ เป็ นผูย้ ่นื ข้อเสนอที่ดี ทีส่ ดุ สาหรับโครงการรถไฟฟ้ าสายสีชมพู และโครงการรถไฟฟ้ าสายสีเหลือง เมื่อ วัน ที่ 22 ธัน วาคม 2559 บริษัท ฯ ได้จ ัด ตัง้ บริษัท ร่ ว มทุ น ชื่อ บริษัท บีทีเ อส แสนสิริ โฮลดิง้ ทเวนที วัน จากัด ในสัดส่วนร้อยละ 50 : 50 ระหว่างบริษทั ฯ กับ SIRI ภายใต้สญ ั ญา ข้อตกลงกรอบความร่วมมือทางธุรกิจ เพื่อประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ เมื่อวันที่ 10 มกราคม 2560 บริษทั ฯ จดทะเบียนเพิม่ ทุนชาระแล้วของบริษทั ฯ อันเนื่องจากการ ใช้สทิ ธิซอ้ื หุน้ สามัญตามใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-W3 ในวันกาหนดการใช้สทิ ธิครัง้ แรก ซึง่ ตรง กับวันที่ 30 ธันวาคม 2559 ทาให้ทุนชาระแล้วของบริษทั ฯ เพิม่ จาก 47,739,517,248 บาท เป็ น 47,739,817,248 บาท แบ่งเป็ นหุ้นสามัญที่จาหน่ ายแล้วจานวน 11,934,954,312 หุ้น มูลค่าที่ ตราไว้หนุ้ ละ 4 บาท เมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2560 บริษทั ฯ ได้จดั ตัง้ บริษทั ย่อยชื่อ บริษทั อาร์บี เซอร์วสิ เซส จากัด เพื่อประกอบธุรกิจลงทุนในหลักทรัพย์ของบริษทั อื่น โดยบริษทั ฯ ถือหุน้ ในสัดส่วนร้อยละ 100 เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2560 บีเอสเอส โฮลดิ้งส์ ได้โอนหุ้นทัง้ หมดที่ถอื อยู่ในบริษัท บางกอก เพย์เมนต์ โซลูชนั ส์ จากัด ให้แก่บริษทั อาร์บี เซอร์วสิ เซส จากัด ทัง้ นี้ เพื่อดาเนินการปรับ โครงสร้างภายในกลุ่มธุรกิจบริการของบริษทั ฯ เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2560 บริษัทฯ ได้จดั ตัง้ บริษัทร่วมทุนชื่อ บริษัท บีทีเอส แสนสิริ โฮลดิง้ ทเวนที ทู จากัด ในสัดส่วนร้อยละ 50 : 50 ระหว่างบริษทั ฯ กับ SIRI ภายใต้สญ ั ญา ข้อตกลงกรอบความร่วมมือทางธุรกิจ เพื่อประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ เมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2560 บริษทั ฯ ได้โอนหุน้ ทัง้ หมดทีบ่ ริษทั ฯ ถืออยู่ในบริษทั แรบบิท รีวอร์ดส จากัด ให้แก่บริษทั อาร์บี เซอร์วสิ เซส จากัด ทัง้ นี้ เพื่อดาเนินการปรับโครงสร้างภายในกลุ่ม ธุรกิจบริการของบริษทั ฯ เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2560 ยูนิคอร์นได้จาหน่ายหุน้ สามัญจานวนทัง้ สิน้ 9,370,000 หุน้ หรือคิด เป็ นสัดส่วนร้อยละ 50 ของหุ้นทัง้ หมดของบริษัท คีย์สโตน เอสเตท จากัด ให้กบั ผู้ร่วมทุน โครงการโรงเรียนนานาชาติ ซึ่งได้แก่ Gold Diamond Holding Limited และนายประเสริฐ อารยะการกุล ในราคาซือ้ ขายทัง้ สิน้ 946,370,000 บาท โดยมีวตั ถุประสงค์ให้บริษทั คียส์ โตน เอสเตท จากัด เป็ นบริษัทร่วมทุนในสัดส่วนร้อยละ 50 : 50 ระหว่างบริษัทฯ และผู้ร่วมทุน ดังกล่าว นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้จดั ตัง้ บริษัทร่วมทุน ชื่อ บริษัท คีย์สโตน แมเนจเม้นท์ จากัด เพื่อใช้ประกอบธุรกิจโครงการโรงเรียนนานาชาติ โดยยูนิคอร์น ถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 50 Fortune Hand Ventures Limited ถือหุน้ ในสัดส่วนร้อยละ 49 และนายประเสริฐ อารยะการกุล ถือหุน้ ในอีกสัดส่วนร้อยละ 1

ส่วนที่ 1 หน้า 19


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน) 

แบบ 56-1 ปี 2560/61

เมื่อวันที่ 14 มีนาคม 2560 วีจีไอได้จดั ตัง้ บริษัทย่อยในประเทศมาเลเซีย ชื่อ VGI Global Media (Malaysia) Sdn Bhd เพื่อ ประกอบธุ ร กิจ ให้บ ริก ารสื่อ โฆษณา โดยวีจีไ อถือ หุ้น ใน สัดส่วนร้อยละ 100 เมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2560 บริษทั ฯ ได้จาหน่ายหุน้ สามัญของบริษทั ย่อยให้แก่วจี ไี อ เพื่อการ ปรับโครงสร้างภายในกลุ่มบริษทั ดังนี้ (1) จาหน่ายหุน้ สามัญทีบ่ ริษทั ฯ ถือใน บีเอสเอส โฮลดิง้ ส์ จานวน 10,800,000 หุ้น หรือคิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 90.00 ของหุ้นที่จาหน่ ายแล้วทัง้ หมดของ บีเอสเอส โฮลดิง้ ส์ ในราคาซือ้ ขายทัง้ สิน้ 1,292,652,000 บาท ซึง่ จะทาให้วจี ไี อเข้าเป็ นผูถ้ อื หุน้ ทางอ้อมในบริษทั ย่อยของบีเอสเอส โฮลดิง้ ส์ จานวนทัง้ สิน้ 6 บริษทั ได้แก่ บริษทั แรบบิทเพย์ ซิสเทม จากัด, บริษัท แรบบิท-ไลน์ เพย์ จากัด, บริษัท เอทีเอส แรบบิท นิติบุคคลเฉพาะกิจ จากัด, บริษทั แรบบิท อินเตอร์เน็ต จากัด, บริษทั เอเอสเค โบรคเกอร์ แอสโซซิเอชัน่ จากัด และ บริษัท เอเอสเค ไดเร็ค กรุ๊ป จากัด (2) จาหน่ ายหุ้นสามัญที่บ ที เี อสซีถือในบีเอสเอส จานวน 3,600,000 หุน้ หรือคิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 90.00 ของหุน้ ทีจ่ าหน่ายแล้วทัง้ หมดของบีเอสเอส ใน ราคาซือ้ ขายทัง้ สิน้ 663,804,000 บาท นอกจากนี้ บริษทั ฯ ได้จาหน่ ายหุน้ สามัญทีบ่ ริษทั ฯ ถือ ในบีเ อสเอส โฮลดิ้ง ส์ จ านวน 1,200,000 หุ้น หรือคิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 10.00 ของหุ้นที่ จาหน่ ายแล้วทัง้ หมดของบีเอสเอส โฮลดิ้งส์ ในราคาซื้อขายทัง้ สิ้น 143,628,000 บาท ให้กบั ธนาคารกรุงเทพ จากัด (มหาชน) เมื่อวันที่ 8 มิถุนายน 2560 บริษัทฯ ได้ลงนามในสัญญาร่วมทุนกับบริษัท บางกอกแร้นช์ จากัด (มหาชน) (“BR”) เพื่อร่วมลงทุนในธุรกิจร้านอาหารและภัตตาคาร โดยการจัดตัง้ บริษทั ร่วมทุนชื่อบริษทั แมน ฟู้ด โฮลดิ้งส์ จากัด และปรับโครงสร้างการถือหุ้นภายในกลุ่มบริษทั โดยการขายหุน้ ทัง้ หมดที่บริษทั ฯ ถืออยู่ในบริษทั แมน คิทเช่น จากัด ในสัดส่วนร้อยละ 70 บริษทั ไพรมารี่ คิทเช่น จากัด ในสัดส่วนร้อยละ 100 และบริษทั เค เอ็ม เจ 2016 จากัด ใน สัดส่วนร้อยละ 51 ให้กบั บริษัท แมน ฟู้ด โฮลดิ้งส์ จากัด ในการนี้ บริษัทฯ BR และนายไว ยิน มาน ถือหุ้นในบริษัท แมน ฟู้ด โฮลดิ้งส์ จากัด ในสัดส่วนร้อยละ 41.18 ร้อยละ 41.18 ร้อยละ 17.64 ตามลาดับ เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2560 บริษทั ฯ ได้ร่วมกับได้ร่วมกับ STEC และRATCH จัดตัง้ บริษทั ชื่อ บริษทั นอร์ทเทิรน์ บางกอกโมโนเรล จากัด เพื่อเป็ นประกอบธุรกิจโครงการรถไฟฟ้ าสาย สีชมพู และบริษทั อีสเทิรน์ บางกอกโมโนเรล จากัด เพื่อเป็ นประกอบธุรกิจโครงการรถไฟฟ้ า สายสีเหลือง โดยบริษัทฯ STEC และ RATCH ถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 75 ร้อยละ 15 และ ร้อยละ 10 ตามลาดับ เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2560 บริษทั นอร์ทเทิรน์ บางกอกโมโนเรล จากัด ซึง่ เป็ นบริษทั ย่อย ของบริษัทฯ ได้ลงนามในสัญญาร่วมลงทุนโครงการรถไฟฟ้ าสายสีชมพู รวมถึงข้อผูกพัน เกีย่ วกับส่วนต่อขยายของโครงการรถไฟฟ้ าสายสีชมพู และบริษทั อีสเทิรน์ บางกอกโมโนเรล จากัด ซึ่งเป็ นบริษทั ย่อยของบริษทั ฯ ได้ลงนามในสัญญาร่วมลงทุนโครงการรถไฟฟ้ าสายสี เหลือง รวมถึงข้อผูกพันเกีย่ วกับส่วนต่อขยายของโครงการรถไฟฟ้ าสายสีเหลือง กับ รฟม. เมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม 2560 บริษทั ฯ จดทะเบียนเพิม่ ทุนชาระแล้วของบริษทั ฯ อันเนื่องจาก การใช้สทิ ธิซอ้ื หุน้ สามัญตามใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-WB สาหรับวันกาหนดใช้สทิ ธิงวดวันที่ 30 มิถุ น ายน 2560 ท าให้ทุ น ช าระแล้ว ของบริษัท ฯ เพิ่ม จาก 47,739,817,248 บาท เป็ น

ส่วนที่ 1 หน้า 20


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

2561

แบบ 56-1 ปี 2560/61

47,761,475,816 บาท แบ่งเป็ นหุน้ สามัญทีจ่ าหน่ายแล้วจานวน 11,940,368,954 หุน้ มูลค่าที่ ตราไว้หนุ้ ละ 4 บาท เมื่อวันที่ 14 กันยายน 2560 บริษัทฯ ได้จดั ตัง้ บริษัทย่อยชื่อบริษัท ยูนิซนั วัน จากัด เพื่ อ ประกอบธุรกิจให้เช่าทรัพย์สนิ โดยยูนิคอร์นถือหุน้ ในสัดส่วนร้อยละ 100 เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2560 บริษัทฯ ได้ปรับโครงสร้างการถือหุน้ ภายในกลุ่มธุรกิจร้านอาหาร และภัต ตาคารของบริษัทฯ เพิ่ม เติม โดยการจาหน่ า ยหุ้นสามัญทัง้ หมดที่บ ริษัทฯ ถืออยู่ จานวน 1,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 100 บาท หรือคิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 100 ของ หุ้นทัง้ หมดของบริษัท แมน ฟู๊ ด โปรดักส์ จากัด ให้กบั บริษัท แมน ฟู้ด โฮลดิ้งส์ จากัด ใน ราคาซื้อขายทัง้ สิน้ 104,960,000 บาท โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อเพิม่ ประสิทธิภาพและความ สมบูรณ์ในการบริหารจัดการธุรกิจร้านอาหารและการผลิตและจาหน่ายอาหาร เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2560 ยูนิคอร์นได้โอนหุ้นทัง้ หมดที่ถืออยู่ในบริษทั ดังต่อไปนี้ (1) บริษทั ดีแนล จากัด (2) บริษทั เดอะ คอมมูนิต้ี วัน จากัด (3) บริษทั เดอะ คอมมูนิต้ี ทู จากัด (4) บริษทั กิง่ แก้ว แอสเสทส์ จากัด (5) บริษทั เอชเอชที คอนสตรัคชัน่ (6) บริษทั ยงสุ จากัด ให้แก่บริษทั ฯ โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อดาเนินการปรับโครงสร้างภายในของยูนิคอร์นก่อนการ โอนกิจ การทัง้ หมด (Entire Business Transfer : EBT) ของยู นิ ค อร์น ให้แ ก่ ยู ซิต้ี ตามที่ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 9/2560 เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2560 ได้มมี ติอนุ มตั กิ าร โอนกิจการดังกล่าว (“ธุรกรรมการโอนกิจการทัง้ หมด”) เมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2560 บริษทั ฯ ได้จดั ตัง้ บริษทั ย่อยชื่อบริษทั บีทเี อส อินฟราสตรัค เจอร์ ดีเวลลอปเม้นท์ จากัด เพื่อประกอบธุรกิจให้บริการรับเป็ นที่ปรึกษาให้คาแนะนางาน ด้านสถาปั ตยกรรมและวิศวกรรม โดยบริษทั ฯ ถือหุน้ ในสัดส่วนร้อยละ 100 เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2560 วีจไี อได้ออกและเสนอขายหุน้ สามัญเพิม่ ทุนจานวน 340,000,000 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หุน้ ละ 0.10 บาท เพื่อเสนอขายต่อบุคคลในวงจากัดตามแบบมอบอานาจ ทัวไป ่ (General Mandate) ในราคา 6 บาทต่อหุน้ คิดเป็ นเงินทัง้ สิน้ 2,040,000,000 บาท เมื่อวันที่ 26 ธันวาคม 2560 บริษทั ฯ ได้ออกและเสนอขายหุน้ กู้ ครัง้ ที่ 1/2560 มูลค่ารวมทัง้ สิ้น 7,000,000,000 บาท โดยเสนอขายให้แ ก่ ผู้ลงทุน สถาบัน และผู้ลงทุน รายใหญ่ โดยมี วัตถุ ประสงค์เพื่อใช้ชาระคืนหนี้เดิม และ/หรือ เพื่อใช้ในการลงทุน และ/หรือ เพื่อใช้เป็ น เงินทุนหมุนเวียนในการดานินกิจการของบริษทั ฯ เมื่อวันที่ 29 ธันวาคม 2560 ยูนิคอร์นได้โอนหุน้ ทัง้ หมดทีถ่ อื อยู่ในบริษทั เบย์วอเตอร์ จากัด ให้แก่บริษทั ฯ โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อดาเนินการปรับโครงสร้างภายในของยูนิคอร์นก่อนการ เข้าทาธุรกรรมการโอนกิจการทัง้ หมด เมื่อวันที่ 10 มกราคม 2561 บริษทั ฯ ได้จดั ตัง้ บริษทั ย่อยชื่อบริษทั บีทเี อส อินฟราสตรัคเจอร์ เซอร์วิสเซส จ ากัด เพื่อประกอบธุ รกิจระบบขนส่ งมวลชน โดยบีทีเอสซีถือหุ้นในสัดส่วน ร้อยละ 100 เมื่อวันที่ 26 มกราคม 2561 วีจไี อได้ขยายธุรกิจในประเทศมาเลเซีย ผ่าน VGI Global Media (Malaysia) Sdn Bhd โดยเข้าซือ้ หุน้ ในสัดส่วนร้อยละ 25 ของหุน้ ทีจ่ าหน่ ายแล้วทัง้ หมดของ Puncak Berlian Sdn Bhd ผูใ้ ห้บริการสือ่ โฆษณานอกบ้านอันหลากหลายในประเทศมาเลเซีย

ส่วนที่ 1 หน้า 21


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน) 

แบบ 56-1 ปี 2560/61

เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2561 บริษัทฯ ได้โอนหุ้นทัง้ หมดที่ถืออยู่ในธนายง ฮ่องกง ลิมเิ ต็ด ให้แก่ยนู ิคอร์น โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อดาเนินการปรับโครงสร้างภายในของยูนิคอร์นก่อนการ เข้าทาธุรกรรมการโอนกิจการทัง้ หมด เมื่อวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2561 วีจีไอได้เข้าซื้อหุ้นสามัญเพิ่มทุ นในบริษัท กรุ๊ปเวิร์ค จากัด จานวน 12,500 หุ้น หรือคิดเป็ นร้อยละ 20.00 ของจานวนหุน้ ทัง้ หมดของ บริษัท กรุ๊ปเวิรค์ จากัด เมื่อ วัน ที่ 26 กุ ม ภาพัน ธ์ 2561 บริษั ท ฯ ได้ จ ัด สรรใบส าคัญ แสดงสิท ธิ BTS-WD ให้แ ก่ พนักงานของบริษทั ฯ และบริษัทย่อยที่ไม่ได้ดารงตาแหน่ งกรรมการ ภายใต้โครงการ BTS Group ESOP 2017 เมื่อวันที่ 5 มีนาคม 2561 บริษทั แรบบิทเพย์ ซิสเทม จากัด ได้สละสิทธิการจองซือ้ หุ้นเพิม่ ทุนในบริษทั แรบบิท-ไลน์ เพย์ จากัด จึงทาให้สดั ส่วนการถือหุน้ ลดลงจากร้อยละ 50.00 เป็ น ร้อยละ 33.33 อันเนื่องมาจากการเข้าร่วมลงทุนของบริษทั แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จากัด ซึง่ เป็ น พันธมิตรรายใหม่ทจ่ี ะเข้าร่วมลงทุนในบริษทั แรบบิท-ไลน์ เพย์ จากัด เมื่อวันที่ 16 มีนาคม 2561 (1) ยูนิคอร์นได้ดาเนินธุรกรรมการโอนกิจการทัง้ หมดให้แก่ ยู ซิต้ี ซึง่ รวมถึงการโอนทรัพย์สนิ หนี้สนิ สิทธิ หน้าที่ และความรับผิดทัง้ หมดของยูนิคอร์น ณ วัน โอนกิจการ โดยได้รบั ชาระค่าตอบแทนจากธุรกรรมการโอนกิจการทัง้ หมดเป็ นหุน้ บุรมิ สิทธิ เพิม่ ทุนของ ยู ซิต้ี จานวน 63,882,352,942 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 1 บาท ในราคาหุน้ ละ 0.034 บาท พร้อมกับใบสาคัญแสดงสิทธิทจ่ี ะซือ้ หุน้ สามัญของ ยู ซิต้ี รุ่นที่ 3 (“ใบสาคัญแสดง สิทธิ U-W3”) จานวน 31,941,176,471 หน่ วย โดยไม่มคี ่าตอบแทน (Sweetener) จากยู ซิต้ี (2) ยูนิคอร์นได้ดาเนินการจดทะเบียนเลิกบริษทั ต่อกรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ และได้เริม่ ดาเนินการชาระบัญชีตามขัน้ ตอนทางกฎหมาย ซึง่ เป็ นไปตามขัน้ ตอนของธุรกรรม การโอนกิจการทัง้ หมด และ (3) ตามที่ ยู ซิต้ี ได้ออกและเสนอขายหุน้ บุรมิ สิทธิเพิม่ ทุนให้แก่ ผู้ถือหุ้นเดิมตามสัดส่วนการถือหุน้ (Rights Offering) ในอัตรา 5 หุ้นสามัญเดิมและ/หรือหุน้ บุริมสิทธิเดิม ต่ อ 4 หุ้นบุริมสิทธิเพิ่มทุน ในราคาเสนอขายหุ้นละ 0.031 บาท และจัดสรร ใบสาคัญแสดงสิทธิทจ่ี ะซือ้ หุน้ สามัญของ ยู ซิต้ี รุ่นที่ 4 (“ใบสาคัญแสดงสิทธิ U-W4”) ให้แก่ผู้ ถือหุ้นที่จองซื้อและได้รบั จัดสรรหุ้นบุริมสิทธิเพิม่ ทุน ในอัตรา 2 หุ้นบุริมสิทธิเพิ่มทุนต่อ 1 หน่ วยใบสาคัญแสดงสิทธิ U-W4 โดยไม่มคี ่าตอบแทน (Sweetener) นัน้ บริษทั ฯ ได้จองซือ้ หุ้ น บุ ริม สิท ธิเ พิ่ม ทุ น ของ ยู ซิต้ี จ านวน 100,000,000,000 หุ้ น และสละสิท ธิจ องซื้อ หุ้น บุรมิ สิทธิเพิม่ ทุนจานวน 60,069,501,769 หุน้ โดยบริษทั ฯ ได้รบั จัดสรรหุน้ บุรมิ สิทธิเพิม่ ทุน ตามจานวนทีจ่ องซือ้ และได้รบั ใบสาคัญแสดงสิทธิ U-W4 จานวน 50,000,000,000 หน่วย เมื่อวันที่ 4 เมษายน 2561 บริษัทฯ ได้จดทะเบียนลดทุนชาระแล้วจานวน 383,359,600.00 บาท โดยวิธกี ารตัดหุน้ จดทะเบียนทีซ่ ้อื คืนและยังไม่ได้จาหน่ ายตามโครงการซือ้ หุน้ คืนเพื่อ บริหารทางการเงิน (Treasury Stocks) จานวน 95,839,900 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 4 บาท ซึง่ ทาให้บริษทั ฯ มีทุนจดทะเบียนจานวน 65,671,897,428.00 บาท และทุนจดทะเบียนชาระ แล้วจานวน 47,378,116,216.00 บาท ซึง่ เป็ นหุน้ สามัญจดทะเบียนจานวน 16,417,974,357 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 4 บาท

ส่วนที่ 1 หน้า 22


โครงสร้ำงกลุ่มธุรกิ จและกำรถือหุ้นของกลุ่มบริษทั บีทีเอส ณ วันที่ 31 มีนำคม 2561 บมจ. บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ ธุรกิ จระบบขนส่งมวลชน 97.46 %

บมจ. ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ 100 %

100 % 75 % 75 %

บจ. บีทเี อส อินฟราสตรัคเจอร์ เซอร์วสิ เซส

บจ. บีทเี อส อินฟราสตรัคเจอร์ ดีเวลลอปเม้นท์ บจ. นอร์ทเทิรน์ บางกอกโมโนเรล บจ. อีสเทิรน์ บางกอกโมโนเรล

ธุรกิ จอสังหำริ มทรัพย์

ธุรกิ จสื่อโฆษณำ 25.02 % 48.59 %

บมจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย 100 % บจ. วีจไี อ แอดเวอร์ไทซิง่ มีเดีย บจ. 888 มีเดีย

100 %

บจ. พอยท์ ออฟ วิว (พีโอวี) มีเดีย กรุ๊ป

100 %

VGI Global Media (Malaysia) Sdn Bhd

40 % 30.38 %

Puncak Berlian Sdn Bhd

100 %

100 %

บจ. กิง่ แก้ว แอสเสทส์ บจ. ยงสุ

41.18 %

บจ. ดีแนล

50 %

บจ. เบย์วอเตอร์

38.97 %

บมจ. ยู ซิต้ี

ธนายง อินเตอร์เนชั ่นแนล ลิมเิ ต็ด บจ. อาร์บี เซอร์วสิ เซส 100 %

บจ. แรบบิท รีวอร์ดส

60 %

บจ. บางกอก เพย์เมนต์ โซลูชนั ส์

บจ. แมน ฟู้ด โฮลดิง้ ส์ 100 %

บจ. แมน ฟู๊ ด โปรดักส์

100 %

บจ. ไพรมารี่ คิทเช่น

100 %

บจ. แมน คิทเช่น 69 %

51 %

บจ. มาสเตอร์ แอนด์ มอร์ 80 %

บจ. โอเพ่น เพลย์

51 %

บจ. เค เอ็ม เจ 2016

บจ. เอชเอชที คอนสตรัคชั ่น

EyeBalls Channel Sdn Bhd

90 %

บจ. อาย ออน แอดส์

บจ. บีเอสเอส โฮลดิง้ ส์ 80 %

70 % 100 %

บจ. โคแมส บจ. กรีนแอด

70 %

33.33 %

กองทุนรวมโครงสร้างพืน้ ฐาน ระบบขนส่งมวลชนทางราง บีทเี อสโกรท

บจ. ลิตเติล้ คอร์นเนอร์

MACO Outdoor Sdn Bhd 40 %

100 %

บจ. เดอะ คอมมูนิต้ี ทู

100 %

18.09 %

บมจ. มาสเตอร์ แอด

100 %

100 %

100 %

บจ. เดโม เพาเวอร์ (ประเทศไทย)

100 %

บจ. เดอะ คอมมูนิต้ี วัน

100 %

100 %

25 %

100 %

ธุรกิ จบริ กำร

บจ. อิงค์เจ็ท อิมเมจเจส (ประเทศไทย)

48.87 %

บจ. แลนดี้ ดีเวลลอปเม้นท์

30 %

บจ. แอโร มีเดีย กรุ๊ป

25 %

บจ. ดิ ไอคอน วี จี ไอ

25 %

บจ. ซูพรีโม มีเดีย

20 %

บจ. กรุ๊ปเวิรค์

33.33 %

บจ. มัลติ ไซน์

50 %

บจ. แรบบิทเพย์ ซิสเทม

90 %

บจ. แรบบิท-ไลน์ เพย์

51 %

บจ. เอทีเอส แรบบิท นิตบิ ุคคลเฉพาะกิจ

51 %

บจ. เอเอสเค ไดเร็ค กรุ๊ป

49 %

51 %

บจ. แรบบิท อินชัวรันส์ โบรคเกอร์ 49 %

30 %

บจ. แรบบิท อินเตอร์เน็ต

บจ. บางกอก สมาร์ทการ์ด ซิสเทม


หมำยเหตุ: ธุรกิ จขนส่งมวลชน (1) บจ. นอร์ทเทิรน์ บางกอกโมโนเรล ถือหุน้ โดย บมจ. บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์ 75% บมจ. ซิโน-ไทย เอ็นจีเนียริง่ แอนด์ คอนสตรัคชั ่น 15% และบมจ. ผลิตไฟฟ้ าราชบุรโี ฮลดิง้ 10% (2) บจ. อีสเทิรน์ บางกอกโมโนเรล ถือหุน้ โดย บมจ. บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์ 75% บมจ. ซิโน-ไทย เอ็นจีเนียริง่ แอนด์ คอนสตรัคชั ่น 15% และบมจ. ผลิตไฟฟ้ าราชบุรโี ฮลดิง้ 10% ธุรกิ จสื่อโฆษณำ (1) Puncak Berlian Sdn Bhd ถือหุน้ โดย VGI Global Media (Malaysia) Sdn Bhd 25% และ Redberry Sdn Bhd 75% (2) บจ. เดโม เพาเวอร์ (ประเทศไทย) ถือหุน้ โดย บจ. โอเอ็มจี โฮลดิง้ ส์ (ประเทศไทย) 49%, บมจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย 40% และเดโม เพาเวอร์ ลิมเิ ต็ด (ฮ่องกง) 11% (3) บมจ. มาสเตอร์ แอด ถือหุน้ โดย บมจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย 30.38% บมจ. บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์ 18.09 และอื่น ๆ 51.53% (4) บจ. โอเพ่น เพลย์ ถือหุน้ โดย บจ. มาสเตอร์ แอนด์ มอร์ 80%, นายหลิว เดอะ คัง 10% และนายทัพพ์ฐพนธ์ กล้ายบุญณะ 10% (5) EyeBalls Channel Sdn Bhd ถือหุน้ โดย MACO Outdoor Sdn Bhd 40% และอื่น ๆ 60% (6) บจ. โคแมส ถือหุน้ โดย บจ. อาย ออน แอดส์ 70% และบจ. ทรานส์.แอด โซลูช ั ่นส์ (เอชเค) 30% (7) บจ. มัลติ ไซน์ ถือหุน้ โดย บจ. กรีนแอด 70% นายอิศญพงศ์ เข็มทอง 9.9% นายจักรกฤษณ์ เข็มทอง 9.9% นายกวิน สุทธิรกั ษ์ 9.6% และนายพรชัย สุทธิรกั ษ์ 0.6% (8) บจ. อิงค์เจ็ท อิมเมจเจส (ประเทศไทย) ถือหุน้ โดย บมจ. มาสเตอร์ แอด 50% บมจ. ปิ โก (ไทยแลนด์) 22.2% นายลิม ซี มิน 16.7% และน.ส. พรทิพย์ โล่หร์ ตั นเสน่ห์ 11.1% (9) บจ. แลนดี้ ดีเวลลอปเม้นท์ ถือหุน้ โดย บมจ. มาสเตอร์ แอด 48.87% บจ. แลนดี้ โฮม (ประเทศไทย) 36.24% และบมจ. เนอวานา ไดอิ กรุ๊ป 14.89% (10) บจ. แอโร มีเดีย กรุ๊ป ถือหุน้ โดย น.ส. ณิชมน เคารพกิตติวงศ์ 36.23% บมจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย 30% และอื่น ๆ 33.77% (11) บจ. ดิ ไอคอน วี จี ไอ ถือหุน้ โดย บจ. ไอคอนสยาม รีเทล 75% และบมจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย 25% (12) บจ. ซูพรีโม มีเดีย ถือหุน้ โดย บจ. ซูพรีโม 75% และบมจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย 25% (13) บจ. กรุ๊ปเวิรค์ ถือหุน้ โดย นายกาณฑ์ สมบัตศิ ริ ิ 59% บมจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย 20% นายปณัสย์ หงส์รพิพฒั น์ 9% นายธนกร จ๋วงพานิช 9% และนายภวินท์ สิงหละชาติ 3% ธุรกิ จอสังหำริมทรัพย์ (1) บจ. เบย์วอเตอร์ ถือหุน้ โดย บมจ. บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์ 50% และบจ. รัชดา แอสเซทส์ โฮลดิง้ 50% (2) บมจ. ยู ซิต้ี ถือหุน้ โดย บมจ. บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์ 38.97% และอื่น ๆ 61.03% ธุรกิ จบริกำร (1) บจ. บางกอก เพย์เมนต์ โซลูชนั ส์ ถือหุน้ โดย บจ. อาร์บี เซอร์วสิ เซส 60% บจ. วิกซ์ เทคโนโลยี (แบงค็อก) 30% และบจ. อินเทลชั ่น 10% (2) บจ. แมน ฟู้ด โฮลดิง้ ส์ ถือหุน้ โดย บมจ. บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์ 41.18% บมจ. บางกอกแร้นช์ 41.18% และนายไว ยิน มาน 17.64% (3) บจ. ลิตเติล้ คอร์นเนอร์ ถือหุน้ โดย บจ. แมน คิทเช่น 69%, นายอนุฤทธิ ์ เกิดสินธ์ชยั 25%, นายกิตติศกั ดิ ์ จิวะวัฒนาศักดิ ์ 2%, น.ส. มัณฑนา เนียมก้องกิจ 1%, นายโกศิลป์ ภัทรธีรานนท์ 1%, นายอดิศกั ดิ ์ สุขมุ วิทยา 1% และน.ส. ศิรมิ า เจนจินดาวงศ์ 1% (4) บจ. เค เอ็ม เจ 2016 ถือหุน้ โดย บจ. แมน ฟู้ด โฮลดิง้ ส์ 51% และน.ส. จุฑามาศ สุขมุ วิทยา 49% (5) บจ. เอชเอชที คอนสตรัคชั ่น ถือหุน้ โดย บมจ. บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์ 51% และบจ. ลี เค เอ็นจิเนียริง่ 49% (6) บจ. บีเอสเอส โฮลดิง้ ส์ ถือหุน้ โดย บมจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย 90% และบมจ. ธนาคารกรุงเทพ 10% (7) บจ. แรบบิทเพย์ ซิสเทม ถือหุน้ โดย บจ. บีเอสเอส โฮลดิง้ ส์ 80% และบจ. โลจิสติคส์ (ไทยแลนด์) 20% (8) บจ. แรบบิท-ไลน์ เพย์ ถือหุน้ โดย บจ. แรบบิทเพย์ ซิสเทม 33.33% ไลน์ เพย์ คอร์ปอเรชั ่น 33.33% และบจ. แอดวานซ์ เอ็มเปย์ 33.33% (9) บจ. เอทีเอส แรบบิท นิตบิ ุคคลเฉพาะกิจ ถือหุน้ โดย บจ. บีเอสเอส โฮลดิง้ ส์ 51% และบมจ. อิออน ธนสินทรัพย์ (ไทยแลนด์) 49% (10) บจ. เอเอสเค ไดเร็ค กรุ๊ป ถือหุน้ โดย บจ. บีเอสเอส โฮลดิง้ ส์ 51% และบจ. แรบบิท อินเตอร์เน็ต 49% (11) บจ. แรบบิท อินชัวรันส์ โบรคเกอร์ ถือหุน้ โดย บจ. บีเอสเอส โฮลดิง้ ส์ 51% และบจ. แรบบิท อินเตอร์เน็ต 49 % (12) บจ. แรบบิท อินเตอร์เน็ต ถือหุน้ โดย บจ. บีเอสเอส โฮลดิง้ ส์ 30% เธียริ ลิมเิ ต็ด 48.7% มาเวอริคส์ 1988 ลิมเิ ต็ด 9.8% ส้มโอ 1984 ลิมเิ ต็ด 9.8% และนายพงษ์ไพชยนต์ ทองเจือ 1.7% (13) บจ. บางกอก สมาร์ทการ์ด ซิสเทม ถือหุน้ โดย บมจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย 90% และบมจ. ธนาคารกรุงเทพ 10%

ส่วนที่ 1 หน้า 24


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

2.

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ลักษณะกำรประกอบธุรกิ จ

การดาเนินธุรกิจของบริษัทฯ แบ่งออกเป็ น 4 ประเภทหลัก ได้แก่ (1) ธุรกิจระบบขนส่งมวลชน (2) ธุรกิจ สือ่ โฆษณา (3) ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ และ (4) ธุรกิจบริการ ธุรกิ จ

ผูด้ ำเนิ นกำร

1. ธุรกิ จระบบขนส่งมวลชน ให้บริการเดินรถและซ่อมบารุงโครงการระบบรถไฟฟ้ า (O&M) รวมถึงขายและ บีทีเอสซี และบริษัทย่อยใน ติดตัง้ ระบบไฟฟ้ าและเครื่องกล (E&M) บริหารโครงการและควบคุมการก่อสร้าง สายธุรกิจระบบขนส่งมวลชน ระบบรถไฟฟ้ า และให้บ ริก ารเดิน รถระบบรถโดยสารด่ ว นพิเ ศษ BRT (Bus Rapid Transit) 2. ธุรกิ จสื่อโฆษณำ ให้บริการเครือข่ายสื่อโฆษณานอกบ้าน ประกอบด้วย (1) สื่อโฆษณาในระบบ วีจไี อ และบริษัทย่อยในสาย ขนส่งมวลชนทัง้ ในประเทศและต่ างประเทศ (2) สื่อโฆษณากลางแจ้ง (3) สื่อ ธุรกิจสือ่ โฆษณา โฆษณาในอาคารสานักงาน (4) สือ่ โฆษณาในสนามบิน และ (5) การสาธิตสินค้า ในพืน้ ทีห่ า้ งสรรพสินค้า 3. ธุรกิ จอสังหำริมทรัพย์ พัฒนาอสังหาริมทรัพย์ โดยแบ่งออกเป็ น 3 ประเภท ได้แก่ (1) อสังหาริมทรัพย์ บริษัทฯ และบริษัทย่อยใน เชิงทีพ่ กั อาศัย เช่น บ้านเดีย่ ว ทาวน์เฮ้าส์ และคอนโดมิเนียม (2) อสังหาริมทรัพย์ สายธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ เชิงพาณิชย์ เช่น เซอร์วสิ อพาร์เมนท์ อาคารสานักงาน โรงแรม และสนามกอล์ฟ และสปอร์ตคลับ และ (3) ทีด่ นิ ทั ง้ นี้ ตั ง้ แต่ ว ั น ที่ 16 มี น าคม 2561 เป็ นต้ น ไป บริ ษั ท ฯ จะด าเนิ น ธุ ร กิ จ อสังหาริมทรัพย์ผ่านการถือหุน้ ของ ยู ซิต้ี และ/หรือ โดยการบริหารของยู ซิต้ี 4. ธุรกิ จบริกำร ธุรกิจบริการด้านดิจทิ ลั ได้แก่ (1) ธุรกิจเงินอิเล็กทรอนิกส์ (2) ธุรกิจ Web Portal Rabbit Group ภายใต้ ก าร ธุ ร กิจ นายหน้ า ประกัน ธุ ร กิจ เทเลมาร์เ ก็ต ติ้ง และ (3) ธุ ร กิจ สื่อ โฆษณาแบบ บริหารงานของวีจไี อ ผสมผสานสือ่ ออฟไลน์และสือ่ ออนไลน์ ธุ รกิจให้บริการลู กค้าสัมพันธ์และโปรแกรมส่ งเสริมการขายด้วยตู้ พิมพ์คู ปอง บริษัท ย่ อ ยและบริษัท ร่ ว ม อัตโนมัติ (Coupon Kiosks) ธุรกิจให้บริการทางเทคโนโลยี ธุรกิจรับเหมาและบริหาร ในสายธุรกิจบริการ โครงการก่อสร้าง และธุรกิจร้านอาหาร โครงสร้ำงรำยได้ ในปี 2560/61 รายได้จากการดาเนินงาน(1) ของบริษทั ฯ มาจากรายได้จากธุรกิจระบบขนส่งมวลชน(2) (รายได้ จากการให้บริการเดินรถในส่วนต่อขยายสายสีลมและสายสุขมุ วิท รถโดยสารด่วนพิเศษ BRT รายได้จากการให้บริการ ติดตัง้ งานระบบและจากการจัดหารถไฟฟ้ า ดอกเบีย้ รับภายใต้ขอ้ ตกลงสัมปทานบริการและสัญญาซือ้ ขายพร้อมติดตัง้ ระบบการเดิน รถ และส่ว นแบ่ ง ก าไรจากการลงทุ น ในกองทุ น BTSGIF) คิด เป็ น ร้อ ยละ 64.6 ของรายได้จ ากการ ส่วนที่ 1 หน้า 25


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ดาเนินงาน รองลงมาคือ รายได้จากธุรกิจสื่อโฆษณา (รายได้จากการให้เช่าและบริการโฆษณาบนรถไฟฟ้ า สถานี รถไฟฟ้ า กลางแจ้ง อาคารสานักงาน ด้านดิจิทลั และอื่น ๆ) รายได้จากธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ (รายได้จากการขาย อสังหาริมทรัพย์ รายได้ค่าเช่าและการบริการ และรายได้จากกิจการสนามกอล์ฟ) และรายได้จากธุรกิจบริการ ซึง่ คิด เป็ นร้อยละ 27.7, 4.5 และ 3.2 ของรายได้จากการดาเนินงาน ตามลาดับ รายได้จากการดาเนินงานเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 63.9 จากปี 2559/60 สาเหตุหลักเกิดจากการเพิม่ ขึน้ ของรายได้จากการดาเนินงานของธุรกิจระบบขนส่งมวลชน และธุรกิจ สือ่ โฆษณา บริษัทฯ จาหน่ ายหุน้ สามัญในบริษทั ย่อยภายใต้ธุ รกิจร้านอาหารให้แก่ บริษัท แมน ฟู้ด โฮลดิ้งส์ จากัด ซึ่ง เป็ นไปตามสัญญาร่วมทุนกับบริษัท บางกอกแร้นช์ จากัด (มหาชน) และนายไว ยิน มาน ทาให้บริษัทย่อยเหล่านัน้ เปลี่ยนสถานะจากการเป็ นบริษัทย่อยเป็ นบริษัทที่ควบคุมร่วมกัน บริษัทฯ แยกแสดงผลการดาเนินงานของธุรกิจ ร้านอาหารเป็ น “ขาดทุนสาหรับปี จากการดาเนินงานที่ยกเลิก ” ในส่วนของกาไรขาดทุนรวมสาหรับปี สน้ิ สุดวันที่ 31 มีนาคม 2561 และสาหรับปี สน้ิ สุดวันที่ 31 มีนาคม 2560 ตามตารางเปรียบเทียบด้านล่าง ทีป่ ระชุมคณะกรรมการของบริษทั ฯ เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2560 และวันที่ 4 ธันวาคม 2560 ได้มมี ติอนุมตั กิ าร โอนกิจการทัง้ หมด (Entire Business Transfer) ของยูนิคอร์นซึง่ เป็ นบริษทั ย่อยทีบ่ ริษทั ฯ ถือหุน้ ในสัดส่วนร้อยละ 100 ของหุน้ ทัง้ หมด ให้แก่ ยู ซิต้ี ซึง่ เป็ นบริษทั ร่วมของบริษทั ฯ โดยบริษทั ฯ แยกแสดงผลการดาเนินงานของกลุ่มยูนิคอร์น (รวมเรียกว่า “ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์”) เป็ น “กาไร (ขาดทุน) สาหรับปี จากการดาเนินงานทีย่ กเลิก” ในส่วนของกาไรขาดทุน รวมสาหรับปี สน้ิ สุดวันที่ 31 มีนาคม 2561 และสาหรับปี สน้ิ สุดวันที่ 31 มีนาคม 2560 ตามตารางเปรียบเทียบด้านล่าง

รายได้จากการให้บริการเดินรถ (รายได้จากการให้บริการเดินรถในส่วนต่อขยายสายสีลม และสายสุขมุ วิทและรถโดยสารด่วนพิเศษ BRT) รายได้จากการให้บริการติดตัง้ งานระบบและจากการ จัดหารถไฟฟ้ า รายได้จากการให้เช่าและบริการโฆษณา (รายได้จากธุรกิจให้เช่าพืน้ ทีร่ า้ นค้าและให้บริการสือ่ โฆษณาบนรถไฟฟ้ าบีทเี อส สถานีรถไฟฟ้ าบีทเี อส กลางแจ้ง อาคารสานักงาน ด้านดิจทิ ลั และอื่น ๆ) รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ (รายได้จากโครงการ Abstracts พหลโยธิน พาร์ค โครงการธนาซิต้ี และทีด่ นิ นอกโครงการธนาซิต้)ี รายได้ค่าเช่าและบริการ (รายได้ค่าเช่าและบริการจากธุรกิจโรงแรม อาคารทีพ่ กั อาศัย อาคารสานักงาน และสนามกอล์ฟ) รายได้จากการบริการอื่น (รายได้จากธุรกิจร้านอาหาร รายได้จากแรบบิท รีวอร์ดส และตูพ้ มิ พ์คปู องอัตโนมัติ (Coupon Kiosks) รายได้ จากการรับเหมาก่อสร้าง และอื่น ๆ)

งวดปี บัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนำคม 2561 2560 2559 งบกำรเงิ นรวม งบกำรเงิ นรวม งบกำรเงิ นรวม (ปรับปรุงใหม่) ล้ำนบำท ร้อยละ ล้ำนบำท ร้อยละ ล้ำนบำท ร้อยละ 1,864.9 10.1 1,661.0 15.8 1,593.3 14.6

5,795.0

31.5

1,444.1

13.7

-

-

3,902.4

21.2

3,009.6

28.6

2,318.4

21.2

23.5

0.1

33.2

0.3

297.7

2.7

615.6

3.4

583.9

5.5

598.8

5.5

448.8

2.4

742.9

7.0

492.0

4.5

ส่วนที่ 1 หน้า 26


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

งวดปี บัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนำคม 2561 2560 2559 งบกำรเงิ นรวม งบกำรเงิ นรวม งบกำรเงิ นรวม (ปรับปรุงใหม่) ล้ำนบำท ร้อยละ ล้ำนบำท ร้อยละ ล้ำนบำท ร้อยละ 949.0* 5.2 945.0* 9.0 847.4* 7.7 502.9 2.7 186.5 1.8 132.8 1.2

ส่วนแบ่งกาไรจากเงินลงทุนในกองทุน BTSGIF ดอกเบีย้ รับภายใต้ขอ้ ตกลงสัมปทานบริการและสัญญา ซื้อขายพร้อมติดตัง้ ระบบการเดินรถ รวมรายได้จากการดาเนินงาน(1) 14,102.1 76.6 8,606.2 81.7 6,280.3 57.4 รายได้อ่นื ๆ กาไรจากการขายและปรับมูลค่ายุตธิ รรมของเงิน 667.9 3.6 357.2 3.3 183.4 1.7 ลงทุน กาไรจากการโอนกิจการทัง้ หมดของบริษทั ย่อย 1,880.0 10.2 กาไรจากการขายและเปลีย่ นสถานะเงินลงทุน 251.1 1.4 207.4 2.0 กาไรจากการเปลีย่ นแปลงสัดส่วนการถือหุน้ ในการ 63.5 0.3 ร่วมค้า กาไรจากการแลกหุน้ 3,458.6 31.7 กาไรจากการชาระ/โอนกลับเจ้าหนี้ตามแผนฟื้ นฟู 149.4 1.4 95.6 0.9 กิจการ เงินปั นผลรับ 145.8 0.8 271.3 2.6 280.8 2.6 (3) ดอกเบีย้ รับ 931.5 5.1 574.7 5.5 368.6 3.4 อื่น ๆ 377.0 2.0 374.0 3.5 249.0 2.3 รำยได้รวม 18,418.9 100.0 10,540.2 100.0 10,916.3 100.0 *(หัก) ส่วนแบ่งกาไรจากเงินลงทุนในกองทุน BTSGIF (949.0) (945.0) (847.4) ซึง่ แสดงรวมใน “ส่วนแบ่งกาไรจากเงินลงทุนในบริษทั ร่วม” ในงบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ **(หัก) รายได้ซง่ึ ถูกจัดประเภทเป็ นกาไร (ขาดทุน) จาก การดาเนินงานทีย่ กเลิกในงบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ - รายได้จากการบริการ (464.5) (713.2) - ดอกเบี้ยรับ (1.7) (2.6) - รายได้อ่นื (17.0) (64.1) รำยได้รวมตำมงบกำรเงิ น 16,986.7 8,815.3 10,068.9 หมายเหตุ : (1) รายได้จากการดาเนินงาน คานวณจากรายได้จากการดาเนินงานจาก 4 หน่ วยธุรกิจ, ส่วนแบ่งกาไรจากการลงทุนใน BTSGIF และ ดอกเบี้ยรับภายใต้ขอ้ ตกลงสัมปทานบริการและสัญญาซื้อขายพร้อมติดตัง้ ระบบการเดินรถ แต่ไม่รวมถึงดอกเบี้ยรับ เงินปั นผลรับ รายได้อ่นื และรายการทีไ่ ม่เกิดขึน้ เป็ นประจา (Non-recurring Items) (2) รายได้จากธุรกิจระบบขนส่งมวลชน รวมส่วนแบ่งกาไรจากการลงทุนในกองทุน BTSGIF จานวนเงิน 949.0 ล้านบาท, 945.0 ล้านบาท และ 847.4 ล้านบาท ซึ่งแสดงรวมอยู่ใน “ส่วนแบ่งกาไรจากเงินลงทุนในบริษัทร่วม” และรวมดอกเบี้ยรับภายใต้ขอ้ ตกลงสัมปทาน บริการและสัญญาซื้อขายพร้อมติดตัง้ ระบบการเดินรถ จานวนเงิน 502.9 ล้านบาท, 186.5 ล้านบาท และ 132.8 ล้านบาท ซึ่งแสดง รวมอยู่ใน “ดอกเบีย้ รับ” ในงบกาไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ สาหรับปี บญ ั ชีสน้ิ สุดวันที่ 31 มีนาคม 2561, 2560 และ 2559 ตามลาดับ (3) ดอกเบีย้ รับ ไม่รวมดอกเบีย้ รับภายใต้ขอ้ ตกลงสัมปทานบริการและสัญญาซื้อขายพร้อมติดตัง้ ระบบการเดินรถ ซึง่ ได้รวมอยู่ในรายได้ จากการดาเนินงานแล้ว

ส่วนที่ 1 หน้า 27


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

2.1

ธุรกิ จระบบขนส่งมวลชน

2.1.1

ลักษณะผลิ ตภัณฑ์หรือบริกำร

แบบ 56-1 ปี 2560/61

2.1.1.1 ธุรกิ จให้บริกำรรถไฟฟ้ ำ บีทีเอสซีได้รบั สัมปทานจาก กทม. ในปี 2535 ให้เป็ นผู้ให้บริการรถไฟฟ้ าบนทางวิ่งยกระดับสายแรกของ กรุงเทพฯ ซึ่งครอบคลุมสายสุขุมวิทและสายสีลม (ระยะทางรวม 23.5 กิโลเมตร) เป็ นระยะเวลา 30 ปี โดยรถไฟฟ้ า บีทเี อสเปิ ดให้บริการต่อประชาชนเป็ นครัง้ แรกในวันที่ 5 ธันวาคม 2542 และต่อมาเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2555 บีทเี อสซี ได้รบั การว่าจ้างจากกรุงเทพธนาคมให้เป็ นผูใ้ ห้บริการเดินรถและซ่อมบารุงระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพส่วนต่อ ขยาย ซึง่ มีเส้นทางประกอบด้วย ส่วนต่อขยายสายสีลม ช่วงสะพานตากสิน-วงเวียนใหญ่ และช่วงวงเวียนใหญ่-บางหว้า (ระยะทางรวม 7.5 กิโลเมตร) และส่วนต่อขยายสายสุขมุ วิท ช่วงอ่อนนุช-แบริง่ (ระยะทางรวม 5.25 กิโลเมตร) และจะรวม เส้นทางเดิมของสัมปทานภายหลังครบกาหนดอายุสมั ปทานในวันที่ 4 ธันวาคม 2572 (ระยะทางรวม 23.5 กิโลเมตร) ตัง้ แต่เปิ ดให้บริการ จานวนผูโ้ ดยสารของระบบรถไฟฟ้ าบีทเี อสมีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง ในปี 2560/61 ระบบ รถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลักให้บริการผู้โดยสารเป็ นจานวนรวมทัง้ สิน้ 241.91 ล้านเที่ยวคน หรือคิดเป็ น จานวนผูโ้ ดยสารเฉลีย่ 660,790 เทีย่ วคนต่อวัน และหากนับรวมจานวนผูโ้ ดยสารทีใ่ ช้บริการทัง้ ในระบบรถไฟฟ้ าขนส่ง มวลชนกรุงเทพสายหลัก และระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพส่วนต่อขยายแล้ว จะมีจานวนผูโ้ ดยสารสูงถึง 252.83 ล้านเทีย่ วคน หรือคิดเป็ นจานวนผูโ้ ดยสารเฉลีย่ 692,680 เทีย่ วคนต่อวัน เมื่อวันที่ 17 เมษายน 2556 บีทเี อสซีได้ขายรายได้ค่าโดยสารสุทธิของระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพ สายหลัก ซึ่ง ครอบคลุ ม สายสุขุม วิท และสายสีลม (ระยะทางรวม 23.5 กิโ ลเมตร) ภายใต้สญ ั ญาสัม ปทาน ตลอด ระยะเวลาอายุสมั ปทานทีเ่ หลืออยู่ประมาณ 17 ปี ให้แก่กองทุน BTSGIF เป็ นจานวนเงิน 61,399 ล้านบาท (จานวนเงิน สุทธิภายหลังจากการหักค่าใช้จ่ายในการจัดตัง้ กองทุน BTSGIF จานวนเงินประมาณ 1,111 ล้านบาท) โดยบีทเี อสซี และกองทุน BTSGIF ได้เข้าลงนามในสัญญาซื้อและโอนสิทธิรายได้ค่าโดยสารสุทธิ ฉบับลงวันที่ 17 เมษายน 2556 ทัง้ นี้ หลังจากการเข้าทาสัญญาซือ้ และโอนสิทธิรายได้สุทธิ บีทเี อสซียงั คงเป็ นผูใ้ ห้บริการเดินรถและซ่อมบารุง ระบบ รถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลัก เพื่อประโยชน์ของกองทุน BTSGIF ภายใต้การกากับดูแลและควบคุมของ กองทุน BTSGIF ตามข้อกาหนดและเงื่อนไขของสัญญาซื้อและโอนสิทธิรายได้สุทธิ โปรดพิจารณารายละเอียดใน หัวข้อ 2.1.1.3 กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2559 บีทีเอสซีได้ลงนามในสัญญาขายและติดตัง้ ระบบไฟฟ้ าและเครื่องกล (E&M) โครงการรถไฟฟ้ าส่วนต่อขยายสายสีเขียวเหนือ ช่วงหมอชิต-สะพานใหม่-คูคต (ระยะทางรวม 18.20 กิโลเมตร) และ โครงการรถไฟฟ้ าส่วนต่อขยายสายสีเขียวใต้ ช่วงแบริง่ -สมุทรปราการ (ระยะทางรวม 12.58 กิโลเมตร) กับกรุงเทพ ธนาคม และต่อมาเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2559 บีทเี อสซีได้รบั การว่าจ้างเพิม่ เติมจากกรุงเทพธนาคมให้เป็ นผูใ้ ห้บริการ เดินรถและซ่อมบารุงโครงการรถไฟฟ้ า ดังกล่าว เป็ นระยะเวลา 25 ปี นับตัง้ แต่วนั ที่ 3 เมษายน 2560 จนถึงวันที่ 2 พฤษภาคม 2585 ซึง่ เป็ นระยะเวลาเดียวกันกับการสิน้ สุดสัญญาการให้บริการเดินรถและซ่อมบารุงระบบรถไฟฟ้ าขนส่ง มวลชนกรุงเทพส่วนต่ อขยาย (สายสีลมและสายสุขุมวิท) โดยได้เริ่มเปิ ดให้บริการเดินรถสถานีแรกของช่วงแบริ่งสมุทรปราการ (สถานีสาโรง) แล้ว เมื่อวันที่ 3 เมษายน 2560 เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2560 บริษทั นอร์ทเทิรน์ บางกอกโมโนเรล จากัด (บริษทั ย่อยทีบ่ ริษทั ฯ STEC และ RATCH ถือหุน้ ในสัดส่วนร้อยละ 75 ร้อยละ 15 และร้อยละ 10 ตามลาดับ) ได้เข้าลงนามในสัญญาร่วมลงทุนโครงการ รถไฟฟ้ าสายสีชมพู (ช่วงแคราย-มีนบุร)ี ระยะทาง 34.5 กิโลเมตร รวมถึงข้อผูกพันเกีย่ วกับส่วนต่อขยายของโครงการ ส่วนที่ 1 หน้า 28


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

รถไฟฟ้ าสายสีชมพู และบริษทั อีสเทิรน์ บางกอกโมโนเรล จากัด (บริษทั ย่อยทีบ่ ริษทั ฯ STEC และ RATCH ถือหุน้ ใน สัดส่วนร้อยละ 75 ร้อยละ 15 และร้อยละ 10 ตามลาดับ) ได้ลงนามในสัญญาร่วมลงทุนโครงการรถไฟฟ้ าสายสีเหลือง (ช่วงลาดพร้าว-สาโรง) ระยะทาง 30.4 กิโลเมตร รวมถึงข้อผูกพันเกีย่ วกับส่วนต่อขยายของโครงการรถไฟฟ้ าสายสี เหลืองกับ รฟม. ซึ่งโครงการรถไฟฟ้ าสายสีชมพู และโครงการรถไฟฟ้ าสายสีเหลืองมีระยะเวลาการดาเนินงานตาม สัญญาทัง้ สิน้ 33 ปี 3 เดือน ทัง้ นี้ เมื่อวันที่ 11 สิงหาคม 2560 บริษทั นอร์ทเทิรน์ บางกอกโมโนเรล จากัด และบริษทั อีสเทิรน์ บางกอกโมโนเรล จากัด ได้ทาสัญญาว่าจ้างบีทเี อสซีเป็ นผูบ้ ริหารและควบคุมการก่อสร้างโครงการรถไฟฟ้ า สายสีชมพูและโครงการรถไฟฟ้ าสายสีเหลือง เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2561 บีทเี อสซีได้ลงนามในสัญญาซื้อขายและติดตัง้ ระบบการเดินรถ (ไฟฟ้ าและ เครื่องกล) โครงการระบบขนส่งมวลชนขนาดรอง สายสีทอง ระยะที่ 1 กับกรุงเทพธนาคม โดยมีระยะเวลาดาเนินงาน 30 เดือน  เส้นทำงให้บริกำรของกลุ่มบริษทั ในปัจจุบนั ระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลักและส่วนต่ อขยาย ประกอบด้วย (1) สายสุขุมวิทและส่วนต่ อ ขยายสายสุขมุ วิท (2) สายสีลมและส่วนต่อขยายสายสีลม ตอนที่ 1 และตอนที่ 2 และ (3) ส่วนต่อขยายสายสีเขียว (ช่วง แบริง่ -สมุทรปราการ) โดยปั จจุบนั เส้นทางการให้บริการมีสถานียกระดับเหนือพืน้ ดินรวมทัง้ สิน้ 36 สถานี ดังนี้ สายสุขมุ วิทและส่วนต่อขยายสายสุขมุ วิท : สายสุขมุ วิทมีระยะทางทัง้ สิน้ 17 กิโลเมตร เริม่ ต้นจากสถานีอ่อนนุ ช ไปยังสถานีหมอชิต วิง่ ผ่านถนนสุขมุ วิท เพลินจิต พระราม 1 พญาไท และพหลโยธิน มีสถานีรวมทัง้ สิน้ 17 สถานี ได้แก่ สถานีหมอชิต สถานีสะพานควาย สถานีอารีย์ สถานีสนามเป้ า สถานีอนุ สาวรียช์ ยั สมรภูมิ สถานีพญาไท สถานีราชเทวี สถานีสยาม สถานีชดิ ลม สถานีเพลินจิต สถานีนานา สถานีอโศก สถานีพร้อมพงษ์ สถานีทองหล่อ สถานีเอกมัย สถานี พระโขนง และสถานีอ่อนนุช และส่วนต่อขยายสายสุขมุ วิทมีระยะทางทัง้ สิน้ 5.25 กิโลเมตร เริม่ ต้นจากสถานีอ่อนนุช มุ่ง หน้าไปทางทิศตะวันออกไปยังซอยแบริง่ มีสถานีรวมทัง้ สิน้ 5 สถานี ได้แก่ สถานีบางจาก สถานีปุณณวิถี สถานีอุดมสุข สถานีบางนา และสถานีแบริง่ โดยส่วนต่อขยายสายสุขมุ วิทเปิ ดให้บริการประชาชนเมื่อวันที่ 12 สิงหาคม 2554 สายสีลมและส่วนต่อขยายสายสีลม ตอนที่ 1 และตอนที่ 2 : สายสีลมมีระยะทางทัง้ สิน้ 6.5 กิโลเมตร เริม่ ต้น จากสะพานตากสินฝั ง่ ถนนเจริญกรุง วิง่ ผ่านถนนสาทร คลองช่องนนทรี สีลม ราชดาริ และพระราม 1 ก่อนสิน้ สุดทีฝ่ ั ง่ ตะวันออกของถนนบรรทัดทองใกล้กบั สนามกีฬาแห่งชาติท่อี ยู่บนถนนพระราม 1 มีสถานีรวมทัง้ สิน้ 7 สถานี ได้แก่ สถานีสนามกีฬาแห่งชาติ สถานีสยาม สถานีราชดาริ สถานีศาลาแดง สถานีช่องนนทรี สถานีสรุ ศักดิ ์ และสถานีสะพาน ตากสิน และส่วนต่อขยายสายสีลม ตอนที่ 1 และ ตอนที่ 2 มีระยะทางทัง้ สิน้ 7.5 กิโลเมตร จากสะพานตากสินมุ่งหน้า ไปทางทิศใต้มสี ถานีรวมทัง้ สิน้ 6 สถานี โดยส่วนต่อขยายสายสีลม ตอนที่ 1 มี 2 สถานี ได้แก่ สถานีกรุงธนบุรี และ สถานีวงเวียนใหญ่ ซึ่งเปิ ดให้บริการประชาชนเมื่อวันที่ 15 พฤษภาคม 2552 และส่วนต่ อขยายสายสีลม ตอนที่ 2 มี 4 สถานี ได้แก่ สถานีโพธินิ์ มติ ร สถานีตลาดพลู สถานีวุฒากาศ และสถานีบางหว้า ซึง่ เปิ ดให้บริการประชาชนครบ ทัง้ 4 สถานี เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2556 กทม. เป็ น ผู้ลงทุ น ก่ อ สร้า งงานโยธาและโครงสร้า งพื้น ฐาน (Civil Works) และระบบไฟฟ้ า และเครื่องกล (Electrical and Mechanical Works) ของส่วนต่อขยายสายสีลม ตอนที่ 1 (สะพานตากสิน-วงเวียนใหญ่) ส่วนต่อขยาย สายสุขุมวิท (อ่อนนุ ช -แบริง่ ) และส่วนต่อขยายสายสีลม ตอนที่ 2 (วงเวียนใหญ่-บางหว้า) และจัดหาเอกชนมาเป็ นผู้ รับจ้างเดินรถและซ่อมบารุงระบบผ่านกรุงเทพธนาคม โดยเมื่อเดือนพฤษภาคม 2552 พฤศจิกายน 2553 และตุลาคม 2554 กรุงเทพธนาคมได้ว่าจ้างให้บที เี อสซีดาเนินงานส่วนต่อขยายสายสีลม ตอนที่ 1 (สะพานตากสิน-วงเวียนใหญ่) ส่วนที่ 1 หน้า 29


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ส่วนต่อขยายสายสุขุมวิท (อ่อนนุ ช -แบริง่ ) และส่วนต่อขยายสายสีลม ตอนที่ 2 (วงเวียนใหญ่ -บางหว้า) ตามลาดับ ภายใต้สญ ั ญาการให้บริการเดินรถและซ่อมบารุงระยะสัน้ สามฉบับ ต่อมาเมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2555 สัญญาระยะสัน้ ทัง้ สามฉบับดังกล่าวได้ถูกแทนทีด่ ว้ ยสัญญาการให้บริการเดินรถและซ่อมบารุงระยะยาว ซึง่ มีระยะเวลา 30 ปี สิน้ สุดปี 2585 ทัง้ นี้ สัญญาการให้บริการเดินรถและซ่อมบารุงระยะยาวนี้ จะครอบคลุมถึงงานรับจ้างเดินรถและซ่อมบารุง ระบบ รถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลัก (สายสีลมและสายสุขมุ วิท ระยะทาง 23.5 กิโลเมตร) ภายหลังครบกาหนดอายุ สัญญาสัมปทานในเดือนธันวาคม 2572 โดย กทม. จะเป็ นผูร้ บั รายได้จากค่าโดยสารของส่วนต่อขยายทัง้ หมด รวมถึง รายได้จากค่าโดยสารของสายสีลมและสายสุขมุ วิทหลังจากเดือนธันวาคม 2572 โดยบีทเี อสซีจะได้รบั ค่าตอบแทนเป็ น ค่าจ้างการเดินรถและซ่อมบารุงตามสัญญาการให้บริการเดินรถและซ่อมบารุงระยะยาวดังกล่าว ส่วนต่อขยายสายสีเขียว (ช่วงแบริง่ -สมุทรปราการ) : ส่วนต่อขยายสายสีเขียวใต้มรี ะยะทางทัง้ สิน้ 12.58 กิโลเมตร เริม่ ต้นจากสถานีสาโรงไปยังสถานีเคหะสมุทรปราการ รวมทัง้ สิน้ 9 สถานี ได้แก่ สถานีสาโรง สถานีปเู่ จ้าสมิงพราย สถานี เอราวัณ สถานีโรงเรียนนายเรือ สถานีสมุทรปราการ สถานีศรีนครินทร์ สถานีแพรกษา สถานีสายลวด และสถานีเคหะ สมุทรปราการ โดยเมื่อวันที่ 3 เมษายน 2560 ได้เปิ ดให้บริการแล้ว 1 สถานี ได้แก่ สถานีสาโรง ระยะทาง 1.8 กิโลเมตร แผนที่ เส้นทำงกำรเดิ นรถของระบบรถไฟฟ้ ำขนส่งมวลชนกรุงเทพสำยหลักและส่วนต่อขยำย และเส้นทำงกำรเดิ นรถของรถโดยสำรด่วนพิ เศษ BRT

ส่วนที่ 1 หน้า 30


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

 เส้นทำงโครงกำรรถไฟฟ้ ำในอนำคตของกลุ่มบริษทั โครงกำรรถไฟฟ้ ำส่วนต่อขยำยสำยสีเขียว แผนการขยายเส้นทางของโครงการรถไฟฟ้ าส่วนต่อขยายสายสีเขียว มีดงั นี้ (1) ส่วนต่อขยายสายสุขุมวิท แบ่งออกเป็ น 3 ช่วง คือ ช่วงแบริง่ -สมุทรปราการ, ช่วงหมอชิต-สะพานใหม่ และ ช่วงสะพานใหม่-คูคต (ข้อมูลจากเว็บไซต์ ของกระทรวงคมนาคม http://www.mot.go.th และ รฟม. http://www.mrta.co.th) และ (2) ส่วนต่อขยายสายสีลม ตอนที่ 3 ช่วงบางหว้า-ตลิง่ ชัน (ข้อมูลจากเว็บไซต์ของ กทม. http://www.bangkok.go.th) ส่วนต่อขยายสายสีเขียวใต้ (ช่วงแบริง่ -สมุทรปราการ) : ระยะทาง 12.58 กิโลเมตร เป็ นทางวิง่ ยกระดับทัง้ หมด มี 9 สถานี แนวเส้นทางเริม่ ต้นต่อเนื่องจากแนวเส้นทางรถไฟฟ้ าบีทเี อส จากส่วนต่อขยายสายสุขุมวิท ตอนที่ 1 ช่วง อ่อนนุช-แบริง่ ทีบ่ ริเวณซอยสุขมุ วิท 107 (ซอยแบริง่ ) ไปตามแนวถนนสุขมุ วิท ผ่านแยกเทพารักษ์ แยกปู่ เจ้าสมิงพราย เลีย้ วซ้ายทีแ่ ยกศาลากลาง ผ่านแยกการไฟฟ้ า จนถึงแยกสายลวด แล้วเลีย้ วซ้ายออกไปทางบางปู จนสิน้ สุดโครงการที่ บริเวณซอยเทศบาล 55 ซึ่งจะเป็ นที่ตงั ้ ของโรงจอดและซ่อมบารุง โดย รฟม. เป็ นผู้รบั ผิดชอบดาเนินงานโยธาและ โครงสร้างพืน้ ฐานของโครงการ ณ เดือนมกราคม 2560 การก่อสร้างงานโยธาเสร็จเรียบร้อยแล้ว และอยู่ระหว่างการ ติดตัง้ อุปกรณ์งานระบบไฟฟ้ าและเครื่องกล โดยได้เปิ ดให้บริการสถานีแรก คือ สถานีสาโรง เมื่อวันที่ 3 เมษายน 2560 ส่วนต่ อขยายสายสีเขียวเหนือ (ช่วงหมอชิต -สะพานใหม่ -คูคต) : ระยะทาง 18.20 กิโลเมตร เป็ นทางวิ่ง ยกระดับทัง้ หมด มี 16 สถานี แนวเส้นทางเริม่ ต้นต่อเนื่องจากแนวเส้นทางรถไฟฟ้ าบีทเี อสที่สถานีหมอชิต ข้ามทาง ยกระดับดอนเมืองโทลล์เวย์บริเวณห้าแยกลาดพร้าว ผ่านแยกรัชโยธิน แยกเกษตร ไปจนถึงบริเวณซอยพหลโยธิน 55 จากนัน้ แนวเส้นทางจะเบีย่ งออกไปเลียบกับแนวถนนฝั ง่ ขวาจนถึงอนุ สาวรียพ์ ทิ กั ษ์ร ัฐธรรมนูญหรือวงเวียนหลักสี่ และ เบีย่ งกลับมาแนวเกาะกลางถนนทีบ่ ริเวณซอยหมู่บา้ นราชตฤณมัย ตรงมาทางสะพานใหม่ บริเวณหน้าตลาดยิง่ เจริญ และเมื่อถึงประมาณกิโลเมตรที่ 25 ของถนนพหลโยธินแนวเส้นทางจะเบีย่ งไปทางด้านทิศตะวันออก (ด้านเหนือของ พืน้ ทีป่ ระตูกรุงเทพฯ) ข้ามคลองสอง ผ่านบริเวณด้านข้างของสถานีตารวจภูธรคูคต เข้าสูบ่ ริเวณเกาะกลางของถนนลา ลูกกา และสิน้ สุดทีบ่ ริเวณคลองสอง (บริเวณสถานีคูคต) ซึง่ จะเป็ นทีต่ งั ้ ของศูนย์ซ่อมบารุงและศูนย์ควบคุมการเดินรถ โดย รฟม. เป็ นผูร้ บั ผิดชอบดาเนินงานโยธาและโครงสร้างพืน้ ฐานของโครงการ ณ เดือนเมษายน 2561 การก่อสร้าง งานโยธามีความก้าวหน้ารวมร้อยละ 63.27 ทัง้ นี้ เมื่อวันที่ 28 มีนาคม 2559 กระทรวงคมนาคม รฟม. และ กทม. ได้ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) เรื่อง การมอบหมายให้ กทม. เป็ นผูบ้ ริหารจัดการเดินรถโครงการรถไฟฟ้ าส่วนต่อขยายสายสีเขียวเหนือ และ โครงการรถไฟฟ้ าส่วนต่อขยายสายสีเขียวใต้ เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาลทีต่ อ้ งการให้ประชาชนเกิดความ สะดวกและปลอดภัยสูงสุด ในการเดิน ทางอย่ างต่ อเนื่ อง ต่ อ มาเมื่อ วัน ที่ 28 กรกฎาคม 2559 กทม. ได้ท าบันทึก ข้อตกลงมอบหมายให้กรุงเทพธนาคม เป็ นผู้บริหารจัดการเดินรถโครงการรถไฟฟ้ าดังกล่าว ซึ่งเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2559 กรุงเทพธนาคมได้ทาสัญญาว่าจ้างบีทเี อสซีเป็ นผู้ให้บริการเดินรถและซ่อมบารุง โครงการรถไฟฟ้ าส่วนต่อขยาย สายสีเขียวเหนือ และโครงการรถไฟฟ้ าส่วนต่อขยายสายสีเขียวใต้ โดยมีระยะเวลาตัง้ แต่วนั ที่ 3 เมษายน 2560 ถึงวันที่ 2 พฤษภาคม 2585 ส่วนต่อขยายสายสีเขียว (ช่วงบางหว้า-ตลิง่ ชัน) : จากผลการศึกษาคัดเลือกแนวเส้นทางทีเ่ หมาะสมทีส่ ุด จะ ก่อสร้างไปบนถนนราชพฤกษ์ โดยเริม่ ต้นทีจ่ ุดเชื่อมต่อกับโรงจอดปั จจุบนั ของโครงการรถไฟฟ้ าสายสีเขียวทีส่ ถานีบาง หว้า (S12) วิง่ ไปทางทิศเหนือตามแนวถนนราชพฤกษ์ ผ่านทางแยกตัดถนนบางแวก (ซอยจรัญสนิทวงศ์ 13) และทาง แยกตัดถนนพรานนก-พุทธมณฑลสาย 4 จากนัน้ จะยกระดับข้ามทางคู่ขนานลอยฟ้ าบรมราชชนนีและทางพิเศษสาย ส่วนที่ 1 หน้า 31


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ศรีร ัช -วงแหวนรอบนอกกรุ ง เทพมหานครด้า นตะวัน ตก ไปสิ้น สุด ที่สะพานข้า มโครงการรถไฟฟ้ า สายสีแ ดงอ่อน (ช่วงตลิง่ ชัน-บางซื่อ) บริเวณหน้าซอยราชพฤกษ์ 24 รวมระยะทาง 7.5 กม. จานวน 6 สถานี โครงกำรรถไฟฟ้ ำสำยสีชมพู เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2560 บริษัท นอร์ทเทิร์น บางกอกโมโนเรล จากัด ได้รบั สัมปทานจาก รฟม. ให้เป็ น ผูด้ าเนินงานออกแบบ และลงทุนค่าก่อสร้างงานโยธา งานระบบรถไฟฟ้ าและขบวนรถไฟฟ้ า รวมทัง้ ให้บริการเดินรถ และซ่อมบารุงรักษาระบบโครงการรถไฟฟ้ าสายสีชมพู ระยะทางรวม 34.5 กิโลเมตร โดยมีจุดเริม่ ต้นเชื่อมต่อกับแนว เส้นทางของโครงการรถไฟฟ้ าสายสีม่วง (บางใหญ่ -บางซื่อ) ช่วงบริเวณด้านหน้าศูนย์ราชการจังหวัดนนทบุรี บนถนน รัตนาธิเบศร์ เลีย้ วซ้ายผ่านแยกแคราย เข้าถนนติวานนท์ วิง่ ตามถนนติวานนท์เลีย้ วขวาทีท่ างแยกปากเกร็ด เข้าถนน แจ้งวัฒนะ ผ่านทางแยกหลักสี่เชื่อมต่อกับโครงการรถไฟฟ้ าสายสีแดง และผ่านวงเวียนอนุ สาวรียพ์ ทิ กั ษ์รฐั ธรรมนูญ เชื่อมต่อกับโครงการรถไฟฟ้ าสายสีเขียว จากนัน้ วิง่ เข้าถนนรามอินทราจนถึงทางแยกมีนบุรี แนวเส้นทางจะวิง่ ตรงเข้าสู่ ถนนสีหบุรานุ กจิ จากนัน้ เลีย้ วขวาไปทางทิศใต้ ข้ามคลองสามวาและข้ามคลองแสนแสบ มาวิง่ ตัดข้ามถนนรามคาแหง และลอดแนวโครงการรถไฟฟ้ าสายสีสม้ ช่วงศูนย์วฒ ั นธรรม-มีนบุรี (สุวนิ ทวงศ์) เข้าสถานีมนี บุรที เ่ี ชื่อมต่อกับโครงการ รถไฟฟ้ าสายสีสม้ มีสถานีจานวน 30 สถานี ศูนย์ซ่อมบารุง 1 แห่ง และอาคารจอดและจร 1 แห่ง นอกจากนี้ บริษัท นอร์ทเทิร์น บางกอกโมโนเรล จากัด ได้ย่นื ข้อเสนอเกี่ยวกับส่วนต่อขยายของโครงการ รถไฟฟ้ าสายสีชมพูแยกออกจากเส้นทางสายหลัก (Spur-line) เพื่อเชื่อมต่อและให้บริการเดินรถระหว่างสถานีของ โครงการรถไฟฟ้ าสายสีชมพูสใู่ จกลางเมืองทองธานี ระยะทางประมาณ 2.8 กิโลเมตร ประกอบด้วย 2 สถานี สถานีแรก ตัง้ อยู่บริเวณอาคารอิมแพ็คชาเลนเจอร์ และสถานีทส่ี องบริเวณริมทะเลสาบในเมืองทองธานี โดยส่วนต่อขยายนี้จะแยก ออกจากสถานี ศ รีร ัช (PK10) อย่ า งไรก็ดี ข้อ เสนอดัง กล่ า วจะขึ้น อยู่ก ับ เงื่อ นไขบางประการ เช่ น การอนุ ม ัติจ าก หน่วยงานของภาครัฐ และการประเมินผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม (EIA) เป็ นต้น โครงกำรรถไฟฟ้ ำสำยสีเหลือง เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2560 บริษัท อีสเทิร์น บางกอกโมโนเรล จากัด ได้รบั สัมปทานจาก รฟม. ให้เป็ น ผูด้ าเนินงานออกแบบ และลงทุนค่าก่อสร้างงานโยธา งานระบบรถไฟฟ้ าและขบวนรถไฟฟ้ า รวมทัง้ ให้บริการเดินรถ และซ่อมบารุงรักษาระบบโครงการรถไฟฟ้ าสายสีเหลือง ระยะทางรวม 30.4 กิโลเมตร โดยมีจุดเริม่ ต้นทีจ่ ุดเชื่อมต่อกับ ระบบรถไฟฟ้ ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล (โครงการรถไฟฟ้ าสายสีน้ าเงินระยะแรก) ทีแ่ ยกรัชดา-ลาดพร้าว ไปตาม แนวถนนลาดพร้าวจนถึงทางแยกบางกะปิ จากนัน้ แนวเส้นทางจะเบนไปทางทิศใต้ตามถนนศรีนครินทร์ เชื่อมต่อกับ โครงการรถไฟฟ้ าสายสีสม้ ที่ทางแยกลาสาลีเชื่อมต่อกับ Airport Rail Link บริเวณทางแยกพระรามเก้า ไปตามแนว ถนนศรีนครินทร์ ผ่านแยกพัฒนาการ แยกศรีนุช แยกศรีอุดมสุข แยกศรีเอีย่ ม จนถึงแยกศรีเทพา จากนัน้ แนวเส้นทาง จะเบนไปทางทิศ ตะวัน ตกตามแนวถนนเทพารัก ษ์ ผ่ า นจุ ด เชื่อ มต่ อ กับ โครงการรถไฟฟ้ า สายสีเ ขียว ช่ ว งแบริ่ง สมุทรปราการ โดยจุดสิน้ สุดของเส้นทางบริเวณสถานีสาโรง มีสถานีจานวน 23 สถานี ศูนย์ซ่อมบารุง 1 แห่ง และ อาคารจอดและจร 1 แห่ง นอกจากนี้ เพื่อให้เกิดการเชื่อมต่อกับโครงการรถไฟฟ้ าเส้นทางอื่นมากขึน้ บริษทั อีสเทิรน์ บางกอกโมโนเรล จ ากัด ได้เ สนอส่ว นต่ อ ขยายเส้น ทางด้า นทิศ เหนื อ ออกไปอีก เป็ น ระยะทางประมาณ 2.6 กิโ ลเมตร ไปตามถนน รัชดาภิเษกไปสิน้ สุดบริเวณแยกรัชโยธิน ซึง่ จะเชื่อมต่อกับสถานี N10 (บริเวณปากซอยพหลโยธิน 24) ของโครงการ รถไฟฟ้ าส่วนต่อขยายสายสีเขียว (ช่วงหมอชิต-สะพานใหม่-คูคต) ทีก่ าลังอยู่ระหว่างการดาเนินงานก่อสร้าง โดยเสนอ ให้มสี ถานีรบั ส่งผู้โดยสารเพิม่ ขึน้ อีก 2 สถานี สถานีแรกอยู่ประมาณกึ่งกลางของเส้นทางส่วนต่ อขยายนี้ และสถานี ส่วนที่ 1 หน้า 32


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

สุดท้ายบริเวณก่อนถึงแยกรัชโยธิน ซึ่งจาเป็ นต้องมีการจัดทาทางเดินเชื่อมต่อกับสถานี N10 ของโครงการรถไฟฟ้ า ส่วนต่อขยายสายสีเขียว อย่างไรก็ดี ข้อเสนอดังกล่าวจะขึน้ อยู่กบั เงื่อนไขบางประการ เช่น การอนุ มตั จิ ากหน่ วยงาน ของภาครัฐ และการประเมินผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม (EIA) เป็ นต้น เส้นทำงกำรเดิ นรถของโครงกำรรถไฟฟ้ ำสีเขียวสำยหลักและส่วนต่อขยำย โครงกำรรถไฟฟ้ ำสำยสีชมพู และโครงกำรรถไฟฟ้ ำสำยสีเหลือง

โปรดพิจารณารายละเอียดการดาเนินโครงการรถไฟฟ้ า 12 เส้นทาง ตามนโยบายของรัฐบาลเพิม่ เติมได้ ใน หัวข้อ 2.1.2.1 ภาพรวมของการขนส่งมวลชนทางรางในกรุงเทพฯ และปริมณฑล  อัตรำค่ำโดยสำร ระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลัก : ค่าโดยสารที่บที เี อสซีเรียกเก็บต่อเทีย่ วสาหรับการเดินทาง ระหว่างสองสถานีในระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลัก คือ ค่าโดยสารที่เรียกเก็บได้ ( Effective Fare) ภายใต้สญ ั ญาสัมปทาน โดยจะต้องไม่เกินกว่าเพดานอัตราค่าโดยสารสูงสุดทีอ่ าจเรียกเก็บได้ (Authorized Fare) ซึง่ มี ผลใช้บงั คับอยู่ในขณะนัน้ ปั จจุบนั บีทเี อสซีได้แจ้งปรับเพดานอัตราค่าโดยสารสูงสุดทีอ่ าจเรียกเก็บได้ต่อ กทม. ใน อัตรา 20.11 - 60.31 บาท ซึง่ เป็ นไปตามข้อกาหนดในสัญญาสัมปทาน โดยมีผลตัง้ แต่วนั ที่ 1 เมษายน 2556 เป็ นต้นไป ตามสัญญาสัมปทาน บีทเี อสซีอาจปรับขึน้ ค่าโดยสารทีเ่ รียกเก็บได้ โดยจะต้องมีระยะเวลาห่างจากการปรับค่า โดยสารทีเ่ รียกเก็บได้ในครัง้ ก่อนไม่น้อยกว่า 18 เดือน แต่ค่าโดยสารที่เรียกเก็บได้จะต้องไม่เกินกว่าเพดานอัตราค่า โดยสารสูงสุดทีอ่ าจเรียกเก็บได้และบีทเี อสซีได้ประกาศให้ กทม. และประชาชนทราบล่วงหน้า 30 วัน โดยบีทเี อสซีมี การปรับขึน้ ค่าโดยสารทีเ่ รียกเก็บได้จานวน 3 ครัง้ โดยครัง้ ที่ 1 ปรับขึน้ จาก 10 บาท ถึง 40 บาทต่อเทีย่ ว เป็ น 15 บาท ถึง 40 บาทต่อเทีย่ ว ในเดือนมีนาคม 2550 ครัง้ ที่ 2 ปรับขึน้ จาก 15 บาท ถึง 40 บาทต่อเทีย่ ว เป็ น 15 บาท ถึง 42 บาท ต่อเทีย่ ว ในเดือนมิถุนายน 2556 และครัง้ ที่ 3 ปรับขึน้ จาก 15 บาท ถึง 42 บาทต่อเทีย่ ว เป็ น 16 บาท ถึง 44 บาทต่อเทีย่ ว มีผลบังคับใช้ตงั ้ แต่วนั ที่ 1 ตุลาคม 2560 โดยอาจมีการให้สว่ นลดตามแผนการส่งเสริมการขาย ซึง่ จะมีการประกาศเป็ น ครัง้ คราวไป

ส่วนที่ 1 หน้า 33


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ตำรำงค่ำโดยสำรที่เรียกเก็บได้ จำนวนสถำนี ราคา (บาท)

0-1 16

2 22

3 25

4 28

5 31

6 34

7 37

8 ขึน้ ไป 44

ทัง้ นี้ บีทเี อสซีอาจปรับเพดานอัตราค่าโดยสารสูงสุดทีอ่ าจเรียกเก็บได้ (Authorized Fare) ใน 2 กรณี ดังนี้ การปรับปกติ บีทเี อสซีสามารถขอปรับเพดานอัตราค่าโดยสารสูงสุดที่อาจเรียกเก็บได้เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 7 ของ อัตราเดิม ในกรณีทด่ี ชั นีราคาผูบ้ ริโภคประจาเดือนทัวไปส ่ าหรับเขตกรุงเทพฯ ตามทีก่ ระทรวงพาณิชย์ประกาศ (“ดัชนี”) (Consumer Price Index: CPI for Bangkok) มีค่าเท่ากับหรือสูงกว่าร้อยละ 5 ของดัชนีอา้ งอิงของเดือนใดเดือนหนึ่งที่ ผ่านมาแล้วไม่น้อยกว่า 12 เดือน (ดัชนีอา้ งอิง หมายถึง ดัชนีทใ่ี ช้ในการปรับเพดานอัตราค่าโดยสารสูงสุดทีอ่ าจเรียก เก็บได้ครัง้ หลังสุด) การปรับกรณีพเิ ศษ เมื่อเกิดเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่งดังต่อไปนี้ - หากในระหว่างปี หนึ่งปี ใด ดัชนีของเดือนหนึ่งเดือนใดในปี นัน้ มีการเปลี่ยนแปลงเพิม่ ขึน้ หรือลดลงเกิน กว่าร้อยละ 9 เทียบกับดัชนีอา้ งอิงของเดือนใดเดือนหนึ่งทีผ่ ่านมาแล้วไม่น้อยกว่า 12 เดือน - อัตราแลกเปลี่ยนระหว่างสกุลเงินบาทและเงินเหรียญสหรัฐ สูงหรือต่ ากว่าอัตราแลกเปลี่ยนอ้างอิงเกิน กว่าร้อยละ 10 (อัตราแลกเปลี่ยนอ้างอิง หมายถึง อัตราแลกเปลี่ยนกลางทีธ่ นาคารแห่งประเทศไทยประกาศ ที่ใช้ใน การปรับเพดานอัตราค่าโดยสารสูงสุดทีอ่ าจเรียกเก็บได้ครัง้ หลังสุด ซึง่ เท่ากับ 39.884 บาท ต่อ 1 เหรียญสหรัฐ) - อัตราดอกเบีย้ สาหรับหนี้เงินตราในประเทศหรือเงินตราต่างประเทศของบีทเี อสซี สูงหรือต่ ากว่าอัตรา ดอกเบี้ยในประเทศอ้างอิงหรืออัตราดอกเบีย้ ต่างประเทศอ้างอิง (แล้วแต่กรณี) เกินกว่าร้อยละ 10 (อัตราดอกเบีย้ ใน ประเทศอ้างอิง หมายถึง อัตราดอกเบีย้ โดยเฉลีย่ ของอัตราดอกเบี้ ยลูกค้าชัน้ ดีของธนาคารกรุงเทพ ธนาคารกรุงไทย ธนาคารกสิกรไทย และธนาคารไทยพาณิชย์ ทีใ่ ช้ในการปรับเพดานอัตราค่าโดยสารสูงสุดทีอ่ าจเรียกเก็บได้ครัง้ หลังสุด และอัต ราดอกเบี้ย ต่ า งประเทศอ้า งอิง หมายถึง อัต ราดอกเบี้ย สาหรับ การกู้เ งิน ระหว่ า งธนาคารในตลาดเงิน ใน กรุงลอนดอน (LIBOR) ทีใ่ ช้ในการปรับเพดานอัตราค่าโดยสารสูงสุดทีอ่ าจเรียกเก็บได้ครัง้ หลังสุด) -

บีทเี อสซีรบั ภาระค่าไฟฟ้ าทีส่ งู ขึน้ หรือลดลงอย่างมาก

-

บีทเี อสซีลงทุนเพิม่ ขึน้ มากนอกเหนือขอบเขตของงานทีก่ าหนดไว้ในสัญญาสัมปทาน

-

บีทเี อสซีมคี วามเสีย่ งทีเ่ ป็ นข้อยกเว้น (Exceptional Risk) ตามทีร่ ะบุไว้ในสัญญาสัมปทานเกิดขึน้

การปรับเพดานอัตราค่าโดยสารสูงสุดทีอ่ าจเรียกเก็บได้ในกรณีพเิ ศษนัน้ คู่สญ ั ญาต้องเห็นชอบด้วยกันทัง้ สอง ฝ่ าย แต่ถ้าไม่สามารถตกลงกันได้ภายใน 30 วัน คู่สญ ั ญาที่ประสงค์ให้มกี ารปรับเพดานอัตราค่าโดยสารสูงสุดทีอ่ าจ เรียกเก็บได้อาจร้องขอให้เสนอเรื่องดังกล่าวไปยังคณะกรรมการทีป่ รึกษา (Advisory Committee) ให้เป็ นผูว้ นิ ิจฉัย และ หากคณะกรรมการทีป่ รึกษาเห็นชอบให้ปรับเพดานอัตราค่าโดยสารสูงสุดทีอ่ าจเรียกเก็บได้แล้ว แต่รฐั บาลมีนโยบายจะ ตรึงราคาค่าโดยสารเพื่อความเหมาะสมแก่สภาวการณ์ บีทเี อสซีจะยังไม่สามารถปรับขึน้ ค่าโดยสารทีเ่ รียกเก็บได้ โดย สัญญาสัมปทานกาหนดให้รฐั บาลจัดมาตรการทดแทนแก่บที เี อสซี ตามความเหมาะสมแก่ความเสียหายที่เกิดขึน้ แก่ บีทเี อสซีในขณะทีย่ งั ไม่ปรับขึน้ ค่าโดยสารทีเ่ รียกเก็บได้ ส่วนที่ 1 หน้า 34


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพส่วนต่อขยาย : อัตราค่าโดยสารสาหรับเส้นทางส่วนต่อขยายสายสีลม ส่วนต่อขยายสายสุขุมวิท และส่วนต่อขยายสายสีเขียว (ช่วงแบริง่ -สมุทรปราการ) เป็ นไปตามประกาศของ กทม. โดย บีทเี อสซีรบั จ้างเป็ นผูใ้ ห้บริการเดินรถและซ่อมบารุงระบบรถไฟฟ้ า  จำนวนผูโ้ ดยสำรและรำยได้ค่ำโดยสำรจำกระบบรถไฟฟ้ ำขนส่งมวลชนกรุงเทพสำยหลัก ตัง้ แต่เปิ ดให้บริการ จานวนผูโ้ ดยสารและรายได้ค่าโดยสารของระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลัก เพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนื่อง ในปี 2559/60 และปี 2560/61 จานวนผู้โดยสารเพิม่ ขึน้ ร้อยละ 2.4 และร้อยละ 1.3 ตามลาดับ จากปั จจัยของ (1) การเติบโตตามธรรมชาติอย่างต่อเนื่องของธุรกิจ (2) ความนิยมในการเดินทางโดยระบบรถไฟฟ้ าอัน เนื่องมาจากการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ตามแนวเส้นทางรถไฟฟ้ า (3) การเปิ ดให้บริการเต็มปี ของส่วนต่อขยายสายสุขุมวิท และส่วนต่อขยายสายสีลม และ (4) จานวนรถไฟฟ้ าทีใ่ ห้บริการเพิม่ ขึน้ โดยปรับเปลีย่ นเป็ นรถไฟฟ้ าแบบ 4 ตูต้ ่อขบวน ตำรำงแสดงข้อมูลผูโ้ ดยสำรและอัตรำค่ำโดยสำรเฉลี่ยของระบบรถไฟฟ้ ำขนส่งมวลชนกรุงเทพสำยหลัก

จานวนผูโ้ ดยสาร (ล้านเทีย่ วคน) อัตราการเติบโต (ร้อยละ) จานวนวันทีใ่ ห้บริการ (วัน) จานวนผูโ้ ดยสารเฉลีย่ ต่อวัน (เทีย่ วคน/วัน) อัตราการเติบโต (ร้อยละ) จานวนผูโ้ ดยสารในวันทางาน (ล้านเทีย่ วคน) อัตราการเติบโต (ร้อยละ) จานวนวันทางาน (วัน) จานวนผูโ้ ดยสารเฉลีย่ ต่อวันทางาน (เทีย่ วคน/วัน) อัตราการเติบโต (ร้อยละ) ค่าโดยสารก่อนหักส่วนลด (ล้านบาท) อัตราการเติบโต (ร้อยละ) อัตราค่าโดยสารเฉลีย่ ต่อคน (บาทต่อเทีย่ วคน) อัตราการเติบโต (ร้อยละ)

2557 214.7 8.9 365 588,335 8.9 160.9 8.8 245 656,770 8.8 5,681.6 15.9 26.46 6.4

งวดปี บัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนำคม 2558 2559 2560 218.7 232.5 238.04 1.9 6.3 2.4 365 366 365 599,250 637,087 652,156 1.9 6.3 2.4 164.3 172.5 176.4 2.1 5.0 0.7 244 242 240 673,162 720,155 735,081 2.5 7.0 2.1 5,878.7 6,401.4 6,639.20 3.47 8.9 3.7 26.88 27.53 27.89 1.6 2.4 1.3

2561 241.19 1.3 365 660,790 1.3 179.2 1.6 241 743,681 1.2 6,824.49 2.8 28.3 1.5

ตำรำงแสดงข้อมูลผูโ้ ดยสำรของระบบรถไฟฟ้ ำขนส่งมวลชนกรุงเทพสำยหลักและส่วนต่อขยำย

จานวนผูโ้ ดยสาร (ล้านเทีย่ วคน)* จานวนวันทีใ่ ห้บริการ (วัน) จานวนผูโ้ ดยสารเฉลีย่ ต่อวัน (เทีย่ วคน/วัน)* จานวนผูโ้ ดยสารในวันทางาน (ล้านเทีย่ วคน)* จานวนวันทางาน (วัน) จานวนผูโ้ ดยสารเฉลีย่ ต่อวันทางาน (เทีย่ วคน/วัน)

2557 222.2 365 608,692 166.6 245 680,011

งวดปี บัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนำคม 2558 2559 2560 229.0 243.9 249.8 365 366 365 627,472 666,504 684,492 172.1 181.1 185.3 244 242 240 705,502 748,440 772,132

2561 252.83 365 692,680 187.9 241 779,833

* นับรวมจานวนผู้โ ดยสารที่ใช้บริการทัง้ ในระบบรถไฟฟ้ าขนส่ งมวลชนกรุงเทพสายหลัก และระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพ ส่วนต่อขยาย

ส่วนที่ 1 หน้า 35


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

 กำรประเมิ นประสิ ทธิ ภำพในกำรดำเนิ นงำนในปี 2560/61 ในปี 2560/61 บีทเี อสซียงั คงรักษาความน่ าเชื่อถือของความปลอดภัยและการให้บริการทีไ่ ด้มาตรฐานอย่าง ต่อเนื่อง โดยตัวชีว้ ดั หลักในการประเมินประสิทธิภาพในการดาเนินงาน ได้แก่ (1) ความน่ าเชื่อถือของการให้บริการ (2) ความน่ าเชื่อถือของรถไฟฟ้ า และ (3) ความน่ าเชื่อถือของตั ๋วโดยสาร ซึง่ ความน่ าเชื่อถือของการให้บริการวัดจาก เปอร์เซ็นต์ค่าความตรงต่อเวลาในการเดินทางของผูโ้ ดยสาร (Passenger Journey On Time: PJOT) โดยมีเป้ าหมายใน การวัด คือ ผู้โดยสารจะต้องเดินทางได้ตรงเวลาไม่น้อยกว่าร้อยละ 99.5 เทียบกับความล่าช้าทีเ่ กิดขึน้ ที่มรี ะยะเวลา ตัง้ แต่ 5 นาทีขน้ึ ไป ทัง้ นี้ ความน่าเชื่อถือของการให้บริการในปี 2560/61 เฉลีย่ อยู่ทร่ี อ้ ยละ 99.85 ซึง่ ใกล้เคียงกับปี ก่อน และดีกว่าเป้ าหมายทีต่ งั ้ ไว้ ตัวชีว้ ดั ต่อมา คือ ความน่าเชื่อถือของรถไฟฟ้ า วัดจากระยะทางก่อนทีจ่ ะเกิดการขัดข้อง โดย เป้ าหมายทีต่ งั ้ ไว้ คือ ไม่น้อยกว่า 35,000 ตูก้ โิ ลเมตรต่อการขัดข้อง 1 ครัง้ โดยในปี 2560/61 อยู่ท่ี 87,960 ตูก้ โิ ลเมตรต่อ การขัดข้อง 1 ครัง้ ซึง่ ลดลงจากปี ก่อน แต่ดกี ว่าเป้ าหมายทีต่ งั ้ ไว้ ตัวชีว้ ดั สุดท้าย คือ ความน่าเชื่อถือของตั ๋วโดยสาร วัด ได้จากจานวนเทีย่ วการเดินทางก่อนพบความผิดพลาด รวมถึงการขัดข้องของอุปกรณ์และการใช้บตั รโดยสารผิดวิธี โดยเป้ าหมายที่ตงั ้ ไว้จะต้องไม่น้อยกว่า 15,000 ครัง้ ต่ อการพบความผิดพลาด 1 ครัง้ โดยความน่ าเชื่อถือของตั ๋ว โดยสาร สาหรับปี 2560/61 อยู่ท่ี 48,672 ครัง้ ต่อการพบความผิดพลาด 1 ครัง้ ซึง่ ดีกว่าปี ก่อนและดีกว่าเป้ าหมายทีต่ งั ้ ไว้ ในการนี้ บีทีเ อสซีย ัง คงพัฒ นาอุ ป กรณ์ แ ละเครื่อ งมือ อย่า งต่ อ เนื่ อ งเพื่อ ปรับ ปรุ งและเพิ่มประสิท ธิภ าพในการ ดาเนินงานต่อไป ตำรำงเปรียบเทียบประสิ ทธิ ภำพในกำรดำเนิ นงำนกับเป้ ำหมำย ตัวชี้วดั ประสิ ทธิ ภำพ ความน่าเชือ่ ถือของการให้บริการ : ความตรง ต่อเวลาในการเดินทางของผูโ้ ดยสาร ความน่าเชือ่ ถือของรถไฟฟ้ า ความน่าเชือ่ ถือของตั ๋วโดยสาร

เป้ ำหมำย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 99.5 ต่อความล่าช้าตัง้ แต่ 5 นาทีขน้ึ ไป ไม่น้อยกว่า 35,000 ตูก้ โิ ลเมตรต่อการขัดข้อง ไม่น้อยกว่า 15,000 ครัง้ ต่อการขัดข้อง

2559/60 ร้อยละ 99.86

2560/61 ร้อยละ 99.85

89,076 37,905

87,960 48,672

2.1.1.2 ธุรกิ จดำเนิ นกำรรถโดยสำรด่วนพิ เศษ BRT บีทเี อสซีเริม่ ดาเนินการรถโดยสารด่วนพิเศษ BRT (Bus Rapid Transit: BRT) เส้นทางแรกในนามของ กทม. ซึ่ง เป็ น โครงการที่ กทม. ริเ ริ่ม ขึ้น เพื่อ เชื่อ มต่ อ กับ ระบบรถไฟฟ้ า บีทีเ อส และเพื่อ ให้บ ริก ารขนส่ง สาธารณะแบบ บูรณาการสาหรับพืน้ ทีใ่ นเขตเมืองและชานเมือง รถโดยสารด่วนพิเศษ BRT สามารถให้บริการได้รวดเร็วกว่ารถโดยสาร ประจาทางทัวไป ่ โดยมีการจัดช่องทางพิเศษโดยเฉพาะ ให้บริการครอบคลุม 12 สถานี เป็ นระยะทาง 15 กิโลเมตร จาก บริเวณช่องนนทรี ถนนนราธิวาสราชนครินทร์ ข้ามสะพานกรุงเทพ ไปจนถึงบริเวณถนนราชพฤกษ์ โดยสถานีสาทร ของรถโดยสารด่วนพิเศษ BRT มีทางเชื่อมต่อกับสถานีช่องนนทรีของระบบรถไฟฟ้ าบีทีเอส โปรดพิจารณาแผนที่ เส้นทางการเดินรถของรถโดยสารด่วนพิเศษ BRT ใน หัวข้อ 2.1.1.1 ธุรกิจให้บริการรถไฟฟ้ า : แผนทีเ่ ส้นทางการเดิน รถของระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลักและส่วนต่อขยาย และเส้นทางการเดินรถของรถโดยสารด่วนพิเศษ BRT กทม. เป็ นผูล้ งทุนก่อสร้างทางวิง่ และสถานีทงั ้ หมด โดยว่าจ้างบีทเี อสซีเป็ นผูจ้ ดั หารถโดยสารและให้บริการ เดินรถตามสัญญาระหว่างบีทเี อสซีและกรุงเทพธนาคม ลงวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2553 (“สัญญาจ้างผูเ้ ดินรถพร้อมจัดหา รถโดยสาร”) อีกทัง้ กทม. ยังได้ว่าจ้างบีทเี อสซีเป็ นผูบ้ ริหารสถานีตามสัญญาระหว่างบีทเี อสซีและกรุงเทพธนาคม ลง วันที่ 11 พฤษภาคม 2553 (“สัญญาจ้างบริหารสถานี”) โดยเริม่ เปิ ดให้บริการเชิงพาณิชย์ในวันที่ 1 กันยายน 2553 ทัง้ นี้ อัตราค่าโดยสารของรถโดยสารด่วนพิเศษ BRT จะเป็ นไปตามอัตราทีป่ ระกาศโดย กทม. ส่วนที่ 1 หน้า 36


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ทัง้ นี้ ระยะเวลาตามสัญญาจ้างผูเ้ ดินรถพร้อมจัดหารถโดยสาร และสัญญาจ้างบริหารสถานีดงั กล่าวได้สน้ิ สุด ลงในวันที่ 28 พฤษภาคม 2560 โดย กทม. ได้ว่าจ้างบีทีเอสซีเป็ นผู้ให้บริการเดินรถและบริหารสถานีโครงการรถ โดยสารด่วนพิเศษ BRT ต่อเป็ นระยะเวลา 95 วัน ตัง้ แต่วนั ที่ 29 พฤษภาคม 2560 จนถึงวันที่ 31 สิงหาคม 2560 ซึง่ ต่อมาเมื่อวันที่ 24 สิงหาคม 2560 บีทเี อสซีได้เข้าทาสัญญากับกรุงเทพธนาคมในการรับสิทธิเดินรถโครงการรถโดยสาร ด่วนพิเศษ BRT ต่อเป็ นระยะเวลา 6 ปี นับแต่วนั ที่ 1 กันยายน 2560 จนถึงวันที่ 31 สิงหาคม 2566 นอกเหนือจากรายได้ท่จี ะได้รบั จากการรับจ้างเดินรถและบริหารสถานีแล้ว บีทเี อสซีคาดว่า ระบบรถไฟฟ้ า บีทเี อสจะได้รบั ผลประโยชน์จากโครงการรถโดยสารด่วนพิเศษ BRT ซึง่ จะช่วยเพิม่ ความสะดวกให้แก่ผโู้ ดยสารทีจ่ ะเข้า มาใช้บริการระบบรถไฟฟ้ าบีทเี อส จากเส้นทางรถโดยสารด่วนพิเศษ BRT ซึง่ ผ่านแหล่งทีอ่ ยู่อาศัยและย่านธุรกิจที่มี ประชากรหนาแน่นและการจราจรติดขัด และยังเชื่อมต่อโดยตรงกับสถานีช่องนนทรีอกี ด้วย 2.1.1.3 กองทุนรวมโครงสร้ำงพืน้ ฐำน เมื่อวันที่ 18 ธันวาคม 2555 ทีป่ ระชุมวิสามัญผูถ้ อื หุน้ ครัง้ ที่ 1/2555 ของบริษทั ฯ มีมติอนุ มตั ใิ ห้บที เี อสซีขาย รายได้ค่าโดยสารสุทธิในอนาคตทีบ่ ที เี อสซีจะได้รบั จากการดาเนินงานระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลัก ระยะทางรวม 23.5 กิโลเมตร ได้แก่ สายสุขุมวิทระยะทาง 17 กิโลเมตร จากสถานีหมอชิตถึงสถานีอ่อนนุ ช และสาย สีลมระยะทาง 6.5 กิโลเมตร จากสถานีสนามกีฬาแห่งชาติถึงสถานีสะพานตากสิน ภายใต้สญ ั ญาสัมปทาน ตลอด ระยะเวลาอายุสมั ปทานทีเ่ หลืออยู่ให้แก่กองทุน BTSGIF ต่ อมาเมื่อวันที่ 17 เมษายน 2556 สานักงาน ก.ล.ต. ได้อนุ มตั ิการจดทะเบียนกองทรัพย์สนิ ตามโครงการ กองทุนรวมโครงสร้างพืน้ ฐานระบบขนส่งมวลชนทางราง บีทเี อสโกรท (BTSGIF) เป็ นกองทุนรวมโครงสร้างพืน้ ฐาน บีทเี อสซีและกองทุน BTSGIF ได้เข้าลงนามในสัญญาซือ้ และโอนสิทธิรายได้สุทธิ ฉบับลงวันที่ 17 เมษายน 2556 โดยบีทีเ อสซีไ ด้ข ายรายได้ค่ า โดยสารสุท ธิของระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุ งเทพสายหลัก ให้แก่ กองทุน BTSGIF เป็ นจานวนเงิน 61,399 ล้านบาท (จานวนเงินสุทธิภายหลังจากการหักค่าใช้จ่ายในการจัดตัง้ กองทุน BTSGIF จานวนเงินประมาณ 1,111 ล้านบาท) ทัง้ นี้ บริษัทฯ ได้เข้าจองซื้อและเป็ นผู้ถือหน่ วยลงทุนของกองทุน BTSGIF จานวน 1,929 ล้านหน่วย ราคา 10.80 บาทต่อหน่วย เป็ นจานวนเงินทัง้ สิน้ 20,833.2 ล้านบาท หรือเท่ากับจานวน 1/3 (ร้อยละ 33.33) ของหน่ วยลงทุนทัง้ หมด 5,788 ล้านหน่ วย โดยหน่ วยลงทุน BTSGIF เริม่ ทาการซื้อขายครัง้ แรกใน ตลาดหลักทรัพย์เมื่อวันที่ 19 เมษายน 2556 นอกจากนี้ บริษทั ฯ ได้เข้าสนับสนุ นและค้าประกัน (โดยมีการจากัดความรับผิด) การปฏิบตั หิ น้าทีข่ องบีทเี อส ซีทม่ี ตี ่อกองทุน BTSGIF ตามสัญญาซือ้ และโอนสิทธิรายได้สทุ ธิดงั กล่าวข้างต้น โดยการเข้าทาสัญญาสนับสนุนและค้า ประกันของผูส้ นับสนุ น ฉบับลงวันที่ 17 เมษายน 2556 และสัญญาจานาหุน้ บีทเี อสซี ฉบับลงวันที่ 17 เมษายน 2556 และให้สทิ ธิแก่กองทุน BTSGIF ในการซือ้ หุน้ บีทเี อสซี โดยการเข้าทาสัญญาจะซือ้ จะขายหุน้ บีทเี อสซี ฉบับลงวันที่ 17 เมษายน 2556 เพื่อเป็ นหลักประกันภาระผูกพันทีบ่ ริษทั ฯ มีต่อกองทุน BTSGIF ภายใต้สญ ั ญาสนับสนุนและค้าประกัน ของผูส้ นับสนุน นอกจากนี้ บริษัทฯ และบีทีเอสซียงั ได้เข้าทาสัญญาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องหรือเกี่ยวเนื่องกับการทาธุรกรรม กองทุนรวมโครงสร้างพืน้ ฐาน โดยเป็ นการดาเนินการทีส่ อดคล้องกับสัญญาและข้อตกลงทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกรรมกองทุน รวมโครงสร้างพืน้ ฐานตามทีร่ ะบุขา้ งต้น โปรดพิจารณารายละเอียดเพิม่ เติมใน หัวข้อ 6.2 ข้อมูลสาคัญอืน่

ส่วนที่ 1 หน้า 37


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

2.1.2

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ตลำดและภำวะกำรแข่งขัน

ข้อมูลในส่วนนี้ ซึง่ รวมถึงข้อมูลทีเ่ กีย่ วข้องกับอุปสงค์ ความสามารถ จานวนผูโ้ ดยสาร จานวนเทีย่ ว และส่วน แบ่ ง การตลาดมาจากเอกสารที่เ ปิ ด เผยต่ อ สาธารณะ เอกสารของทางราชการ และเอกสารซึ่ง มีแ หล่ ง ที่ม าจาก ภาคอุตสาหกรรม บริษทั ฯ และบีทเี อสซีไม่รบั รองความถูกต้องของเนื้อหาของข้อมูลนี้ แหล่งข้อมูลเหล่านี้จดั ทาขึน้ บน สมมติฐานทางเศรษฐศาสตร์และสมมติฐานอื่น ๆ ซึ่งอาจพิสูจน์ได้ว่าไม่ถูกต้อง ข้อมูลภาวะอุตสาหกรรมบางส่วนซึง่ ปรากฏอยู่ในส่วนนี้ เป็ นการประมาณการโดยปราศจากการรับรองยืนยันอย่างเป็ นทางการจากแหล่งข้อมูลทีเ่ ชื่อถือได้ ในประเทศ 2.1.2.1 ภำพรวมของกำรขนส่งมวลชนทำงรำงในกรุงเทพฯ และปริมณฑล จากข้อมูลของธนาคารโลก ประเทศไทยมีการพัฒนาทางสังคมและเศรษฐกิจมาตลอดระยะเวลา 40 ปี ทผ่ี ่านมา ดังจะเห็นได้จากความมุ่งมันในการปรั ่ บเปลีย่ นจากประเทศทีม่ รี ายได้ระดับต่าไปสู่ประเทศทีม่ รี ายได้ระดับปานกลางถึง ระดับสูง อย่างไรก็ตาม จานวนประชากรทีห่ นาแน่ นในกรุงเทพฯ กลับเป็ นปั จจัยทีท่ าให้มกี ารจราจรติดขัดและยังคงทวี ความรุนแรงมากขึน้ เรื่อย ๆ โดยรายงานการประเมินสภาพจราจรทัวโลกประจ ่ าปี 2560 ของ INRIX ซึง่ เป็ นบริษทั ใน ประเทศสหรัฐอเมริกาทีเ่ ชีย่ วชาญด้านการคมนาคมบนท้องถนน ระบุว่ากรุงเทพฯ ถูกจัดอยู่ในอันดับที่ 11 ของเมืองทีม่ ี ปั ญหาการจราจรติดขัดที่สุดในบรรดาเมืองใหญ่ 1,360 เมือง ใน 5 ทวีปทัวโลก ่ นอกจากนี้ ยังพบว่าคนไทยใช้เวลา เฉลีย่ 56 ชัวโมงต่ ่ อปี อยู่บนท้องถนน และปั จจัยหนึ่งทีท่ าให้ปัญหาการจราจรบนท้องถนนยังคงเป็ นปั ญหาเรือ้ รังคือการ เพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนื่องของปริมาณรถยนต์ ซึ่งสวนทางกับความสามารถในการรองรับยานพาหนะบนท้องถนนทีม่ อี ยู่ อย่างจากัด โดยรายงานของกรมขนส่งทางบกพบว่า จานวนยานพาหนะส่วนบุคคลทีจ่ ดทะเบียนใหม่ของประเทศไทย ในช่วง 8 ปี ทผ่ี ่านมา มีอตั ราการเติบโตเฉลีย่ สะสมต่อปี อยู่ทร่ี อ้ ยละ 3.8 ในปี 2560 กรุ ง เทพฯ และปริม ณฑล (ประกอบด้ ว ย 5 จัง หวัด ได้ แ ก่ นครปฐม ปทุ ม ธานี นนทบุ รี สมุทรปราการ และสมุทรสาคร) มีจานวนประชากรรวมกันกว่า 10.8 ล้านคน แต่อตั ราการครอบคลุมพืน้ ทีข่ องรถไฟฟ้ า ในประเทศไทยยังคงเท่ากันกับปี ก่อน คือ 10.2 กิโลเมตรต่อประชากรล้านคน ซึง่ ยังคิดเป็ นสัดส่วนทีต่ ่าเมื่อเปรียบเทียบ กับประเทศอื่นในภูมภิ าคเดียวกัน โดยอัตราการครอบคลุมพืน้ ทีข่ องรถไฟฟ้ าในกรุงโตเกียว ประเทศญี่ป่ ุน อยู่ท่ี 42.1 กิโลเมตรต่อประชากรล้านคน สิงคโปร์อยู่ท่ี 39.4 กิโลเมตรต่อประชากรล้านคน และฮ่องกงอยู่ท่ี 34.9 กิโลเมตรต่อ ประชากรล้า นคน นอกจากนี้ ในปี 2560 ส่ ว นแบ่ ง ทางการตลาดของจ านวนเที่ยวโดยสารของระบบรถไฟฟ้ า ใน กรุงโตเกียวมีสดั ส่วนร้อยละ 48 สิงคโปร์รอ้ ยละ 46 และฮ่องกงร้อยละ 49 ในขณะทีก่ รุงเทพฯ มีเพียงร้อยละ 6 เท่านัน้ จากข้อมูลเชิงเปรียบเทียบที่กล่าวมาข้างต้น นับเป็ นปั จจัยหลักที่แสดงให้เห็นว่ากรุงเทพฯ ยังคงต้องพัฒนาอย่าง เร่งด่วนสาหรับโครงข่ายระบบรถไฟฟ้ าเพื่อรองรับสภาพการจราจรที่แออัดในปั จจุบนั และยังคงต้องพัฒนาต่อไปเมื่อ เทียบกับประเทศใกล้เคียง ปั จจุบนั รัฐบาลมีแผนขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศโดยการส่งเสริมนโยบายประเทศไทย 4.0 วัตถุประสงค์หลักของแผนงานนี้ไม่เพียงแต่จะช่วยยกระดับเศรษฐกิจไปสู่ “เศรษฐกิจทีข่ บั เคลื่อนด้วยนวัตกรรม” หรือ “ประเทศทีม่ รี ายได้สงู ” ผ่านอุตสาหกรรมทีม่ นี วัตกรรมและความก้าวหน้า แต่ยงั ช่วยในการพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานใน ประเทศเพื่อลดข้อจากัดในด้านต่าง ๆ รวมถึงช่วยลดสภาพการจราจรทีต่ ดิ ขัด อันจะนามาซึง่ ประสิทธิภาพและคุณภาพ ชีวติ ทีด่ ขี น้ึ ของประชาชน ทัง้ นี้ ในปี 2560 กระทรวงคมนาคมได้ออกแผนปฏิบตั กิ ารด้านคมนาคมขนส่ง ระยะเร่งด่วน พ.ศ. 2560 รวมทัง้ สิน้ 36 โครงการ คิดเป็ นมูลค่าประมาณ 896 พันล้านบาท

ส่วนที่ 1 หน้า 38


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

แผนปฏิ บตั ิ กำรด้ำนคมนำคมขนส่ง ระยะเร่งด่วน พ.ศ. 2560

การพัฒนาโครงข่ายระบบขนส่งมวลชนเป็ นสิง่ ทีร่ ฐั บาลให้ความสาคัญอย่างต่อเนื่อง ดังจะเห็นได้จากการที่ สานักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (“สนข.”) กระทรวงคมนาคม ได้กาหนดแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชน ทางรางในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล (M-Map) เพื่อเป็ นแนวทางการพัฒนาโครงข่ายระบบรถไฟฟ้ าในกรุงเทพฯ และ ปริมณฑล (รวมจังหวัดนครปฐม ปทุมธานี นนทบุรี สมุทรปราการ และสมุทรสาคร) ในช่วงระยะเวลา 20 ปี ขา้ งหน้า (2553-2572) โดยแผนแม่บทนี้ได้กาหนดโครงการรถไฟฟ้ า 12 สาย ครอบคลุมระยะทางรวม 515.2 กิโลเมตร จานวน 312 สถานี กำรดำเนิ นโครงกำรรถไฟฟ้ ำ 12 เส้นทำงตำมนโยบำยของรัฐบำล โครงกำร สายสีแดงเข้ม สายสีเขียวเข้ม สายสีน้าเงิน สายสีแดงอ่อน แอร์พอร์ต ลิงก์ สายสีมว่ ง สายสีสม้ สายสีชมพู สายสีเหลือง สายสีเทา สายสีเขียวอ่อน สายสีฟ้า

ช่วง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ศนู ย์รงั สิต – มหาชัย ลาลูกกา – บางปู บางซื่อ – หัวลาโพง – ท่าพระ – พุทธมณฑล สาย 4 ศิรริ าช – ศาลายา, ตลิง่ ชัน – หัวหมาก ดอนเมือง – สนามบินสุวรรณภูม ิ บางใหญ่ – ราษฎร์บรู ณะ ตลิง่ ชัน – มีนบุร ี แคราย – มีนบุร ี ลาดพร้าว – สาโรง วัชรพล – สะพานพระราม 9 ยศเส – ตลิง่ ชัน ดินแดง – สาทร

ข้อมูล : สนข. และ รฟม.

ส่วนที่ 1 หน้า 39

ระยะทำง 80.5 กม. 67.1 กม. 55.0 กม. 58.5 กม. 50.3 กม. 42.8 กม. 39.6 กม. 34.5 กม. 30.4 กม. 26.0 กม. 21.0 กม. 9.5 กม.


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

โครงข่ำยระบบรถไฟฟ้ ำตำมแผนแม่บทระบบขนส่งมวลชนทำงรำง ในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล (M-Map) (515.2 กิ โลเมตร)

ข้อมูล : สนข. และ รฟม.

อย่างไรก็ดี ตามแผนเร่งรัดของมติคณะรัฐมนตรี กาหนดให้มนี โยบายเร่งการดาเนินการก่อสร้างโครงการ ระบบรถไฟฟ้ า 10 สายหลักจากทัง้ หมด 12 โครงการ ระยะทางรวม 464 กิโลเมตร จากทัง้ หมด 515.2 กิโลเมตร ควำมคืบหน้ ำของกำรดำเนิ นงำนโครงกำรเร่งด่วน 10 สำยหลัก

ทัง้ นี้ เพื่อให้เกิดผลประโยชน์สงู สุดต่อสาธารณะและเพื่อเป็ นการขยายโครงข่ายระบบรถไฟฟ้ าให้ครอบคลุม มากยิง่ ขึน้ สนข. ประสานความร่วมมือกับองค์การความร่วมมือระหว่างประเทศของญี่ป่ ุน (JICA) ในการจัดทาแผน แม่บทระบบขนส่งมวลชนทางรางในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล (พืน้ ทีต่ ่อเนื่อง) ฉบับที่ 2 (M-Map 2) โดยคาดว่าจะมี ส่วนที่ 1 หน้า 40


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

การบรรจุโครงการรถไฟฟ้ าสายใหม่ 4 สาย ได้แก่ สายสีทอง (กรุงธนบุร-ี คลองสาน ระยะทาง 1.7 กิโลเมตร) สายสีเทา (วัชรพล-ทองหล่อ ระยะทาง 16.3 กิโลเมตร) LRT (บางนา-สนามบินสุวรรณภูมิ ระยะทาง 18.3 กิโลเมตร) และสาย สีน้ าตาล (แคราย-ลาสาลี ระยะทาง 22 กิโลเมตร) เข้าไปในแผนแม่บทฉบับใหม่ดงั กล่าว ซึง่ คาดว่า M-Map 2 จะแล้ว เสร็จในเดือนสิงหาคม 2561 โดยขณะนี้ สนข. อยู่ระหว่างการศึกษาความเป็ นไปได้ของการพัฒนา M-Map 2 โดยคาด ว่าจะได้รบั การอนุมตั จิ ากคณะรัฐมนตรีในต้นปี 2563  ระบบขนส่งมวลชนทำงรำงในกรุงเทพฯ และปริมณฑล นอกจากระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลักและส่วนต่อขยาย และระบบรถโดยสารด่วนพิเศษ BRT ซึง่ บีทเี อสซีเป็ นผูด้ าเนินงาน มีระบบขนส่งมวลชนทางรางอื่น ๆ ดังนี้ ระบบรถไฟฟ้ า MRT ระบบรถไฟฟ้ า MRT ประกอบด้วยโครงการรถไฟฟ้ าจานวน 2 โครงการ ดาเนินการโดยบริษทั ทางด่วนและ รถไฟฟ้ ากรุงเทพ จากัด (มหาชน) (“บีอเี อ็ม”) ภายใต้สญ ั ญาสัมปทานกับ รฟม. ได้แก่ (1) โครงการรถไฟฟ้ าสายสีน้าเงิน ประกอบด้วยโครงการรถไฟฟ้ ามหานคร สายเฉลิมรัชมงคล (ช่วงหัวลาโพง-บางซื่อ) เป็ นโครงการรถไฟฟ้ าทางวิง่ ใต้ดนิ สายแรกของประเทศไทย ระยะทางรวม 20 กิโลเมตร จานวน 18 สถานี และโครงการรถไฟฟ้ าสายสีน้ าเงินส่วนต่อขยาย (ช่วงหัวลาโพง-หลักสอง และ ช่วงบางซื่อ-ท่าพระ) เป็ นโครงการรถไฟฟ้ าทางวิง่ ใต้ดนิ และทางวิง่ ยกระดับ ระยะทางรวม 27 กิโลเมตร จานวน 20 สถานี โดยเมื่อวันที่ 11 สิงหาคม 2560 ได้เปิ ดให้บริการแล้ว 1 สถานี ได้แก่ สถานีเตาปูน ระยะทาง 1.2 กิโลเมตร และ (2) โครงการรถไฟฟ้ าสายสีม่วง ประกอบด้วยโครงการรถไฟฟ้ ามหานคร สายฉลองรัชธรรม บางใหญ่-ราษฎร์บูรณะ (ช่วงบางใหญ่ -บางซื่อ) เป็ นโครงการรถไฟฟ้ าทางวิ่งยกระดับ ระยะทางรวม 23 กิโลเมตร จานวน 16 สถานี เชื่อมต่อกับโครงการรถไฟฟ้ าสายสีน้าเงินทีส่ ถานีเตาปูน ทัง้ นี้ ในปี 2559 และปี 2560 ระบบรถไฟฟ้ า MRT ให้บริการผูโ้ ดยสารเป็ นจานวนทัง้ สิน้ 100.1 ล้านเทีย่ วคน และ 108.0 ล้านเทีย่ วคน ตามลาดับ ระบบรถไฟฟ้ าเชื่อมท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ รถไฟฟ้ าเชื่อมท่ าอากาศยานสุวรรณภูมิ (Suvarnabhumi Airport Rail Link) (“แอร์พอร์ตลิงก์ ”) เป็ นหนึ่ งใน โครงการรถไฟฟ้ าสายสีแดง ซึง่ ดาเนินการโดยการรถไฟแห่งประเทศไทย (“รฟท.”) ระยะทางรวม 28.5 กิโลเมตร จานวน 8 สถานี มีวตั ถุประสงค์เฉพาะในการรองรับการเดินทางเชื่อมโยงศูนย์กลางเมืองกับท่าอากาศยานเพื่อเพิ่มความสะดวก รวดเร็วแก่ผู้โดยสาร โดยเป็ นระบบรถไฟฟ้ าทัง้ ใต้ดินและยกระดับ มีสถานีใต้ดนิ ที่ท่าอากาศยานสุวรรณภูมิ เริม่ เปิ ด ให้บริการเมื่อวันที่ 23 สิงหาคม 2553 ระบบรถไฟฟ้ าแอร์พอร์ตลิงก์ เชื่อมต่อโดยตรงกับระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชน กรุงเทพสายหลักโดยมีทางเดินเชื่อมต่อกับสถานีพญาไท ระบบรถไฟฟ้ าชานเมือง ระบบรถไฟฟ้ าชานเมืองเป็ นหนึ่งในโครงการรถไฟฟ้ าสายสีแดง ดาเนินการโดย รฟท. ระยะทางรวม 15.3 กิโลเมตร จานวน 4 สถานี (บางซื่อ-ตลิง่ ชัน) ่ โดยเปิ ดทดลองเดินรถด้วยรถดีเซลราง ตัง้ แต่วนั ที่ 8 กันยายน 2555 ถึง วันที่ 30 พฤศจิกายน 2555 และเริม่ เปิ ดให้บริการชัวคราวในวั ่ นที่ 5 ธันวาคม 2555 ทัง้ นี้ ระบบรถไฟฟ้ าชานเมืองจะ เปิ ดให้บริการอย่างเต็มรูปแบบระหว่างสถานีบางซื่อและสถานีรงั สิต ในปี 2563

ส่วนที่ 1 หน้า 41


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

 ระบบขนส่งมวลชนอื่น ๆ ในกรุงเทพฯ และปริมณฑล หากพิจารณารูปแบบการเดินทางของประชาชนในกรุงเทพฯ อาจแบ่งออกได้เป็ น 2 รูปแบบหลัก ได้แก่ การ เดินทางโดยยานพาหนะส่วนบุคคลและการเดินทางโดยระบบขนส่งสาธารณะ ทัง้ นี้ ระบบขนส่งสาธารณะหลักทีจ่ ดั อยู่ ในบริการขนส่งมวลชน ซึง่ รองรับการเดินทางของประชาชนในกรุงเทพฯ ในปั จจุบนั ยังคงเป็ นรถโดยสารประจาทาง ในอดีตที่ผ่านมาจนถึงปั จจุบนั การเดินทางโดยรถโดยสารประจาทางในกรุงเทพฯ และปริมณฑลค่อนข้างมี ข้อจากัด เนื่องจากต้องใช้เส้นทางถนนในการสัญจรร่วมกับรถยนต์ส่วนบุคคล ซึง่ ต้องเผชิญกับสภาพการจราจรติดขัด โดยเฉพาะในช่วงชัวโมงเร่ ่ งด่วน ประกอบกับมีอตั ราความเร็วเฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์ต่ า จึงทาให้จานวนผู้ใช้บริการรถ โดยสารประจาทางลดลงอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ หากพิจารณาการเพิม่ ระยะทางของถนนในกรุงเทพฯ จะพบว่าตัง้ แต่ ปี 2548 จานวนระยะทางของถนนในกรุง เทพฯ มิได้มีการเพิ่มขึ้น อย่างมีนัยสาคัญ ในทางกลับกันจานวนรถที่จ ด ทะเบียนในกรุงเทพฯ กลับเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนื่อง โดยในปี 2560 มีอตั ราการเติบโตของรถทีจ่ ดทะเบียนในกรุงเทพฯ ถึง ร้อยละ 4.4 ซึง่ เพิม่ ขึน้ จากปี 2559 ทีม่ อี ตั ราการเติบโตอยู่ทร่ี อ้ ยละ 3.8 จากความแตกต่างระหว่างอุปสงค์ของผูใ้ ช้ระบบ คมนาคมทีพ่ ง่ึ พาถนนและอุปทานของถนนในกรุงเทพฯ ทาให้ปัญหาการจราจรทวีคณ ู ขึน้ ซึง่ ปั จจัยดังกล่าวเป็ นปั จจัยที่ สาคัญในการเปลีย่ นพฤติกรรมของผูเ้ ดินทางให้หนั มาใช้บริการของระบบขนส่งมวลชนทางรางเพิม่ มากขึน้ ทัง้ นี้ จานวนผู้ใช้บริการระบบขนส่งมวลชนทางราง เช่น ระบบรถไฟฟ้ าบีทเี อส และระบบรถไฟฟ้ า MRT มี ผูโ้ ดยสารเฉลีย่ ต่อวันเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนื่อง หน่ วย : คนต่อวัน ระบบรถไฟฟ้ าบีทเี อส(1)(2) อัตราการเติบโต (ร้อยละ) ระบบรถไฟฟ้ า MRT อัตราการเติบโต (ร้อยละ)

จำนวนและอัตรำกำรเติ บโตของจำนวนผูโ้ ดยสำรเฉลี่ยต่อวัน 2554 2555 2556 2557 2558 500,085 554,654 608,692 627,472 666,504 22.9 10.9 9.7 3.1 6.2 189,310 220,225 236,811 253,255 260,325 4.1 6.3 7.5 6.9 2.8

2559 684,492 2.7 274,302 5.4

2560 692,680 1.2 295,792 7.8

ทีม่ า: ข้อมูลจากบีอเี อ็มและบีทเี อสซี (1) นับรวมทัง้ ผูโ้ ดยสารทีใ่ ช้บริการระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลักและส่วนต่อขยาย (2) นับจานวนผูโ้ ดยสารตามรอบปี บญ ั ชีของบีทเี อสซี (ตัง้ แต่ 1 เมษายน ถึง 31 มีนาคม) เช่น ปี 2560 หมายถึง ปี บญ ั ชีส้นิ สุดวันที่ 31 มีนาคม 2561

 กำรเพิ่ มขึน้ ของรำยได้ แม้ว่าระบบขนส่งมวลชนทางรางจะเป็ นรูปแบบการขนส่งทีร่ วดเร็วและน่ าเชื่อถือ ค่าโดยสารของระบบขนส่ง มวลชนทางรางค่อนข้างสูงกว่าค่าโดยสารของการขนส่งในรูปแบบอื่น ตัวอย่างเช่น รถโดยสารประจาทางธรรมดาของ ขสมก. มีอตั ราค่าโดยสารขัน้ ต่ าอยู่ท่ี 6.50 บาท สาหรับเส้นทางส่วนใหญ่ ภายในกรุงเทพฯ และปริมณฑล และรถ โดยสารประจาทางปรับอากาศของ ขสมก. มีอตั ราค่าโดยสารขัน้ ต่ าอยู่ท่ี 10 บาท โดยจะเพิม่ ขึน้ ตามระยะทางการ เดินทาง ในขณะที่ระบบขนส่งมวลชนทางรางมีอตั ราค่าโดยสารขัน้ ต่ าที่ 16 บาท โดยค่าโดยสารจะเพิม่ ขึน้ ตามระยะ ทางการเดินทาง ในช่ ว งที่ผ่ า นมาระบบขนส่ งสาธารณะ โดยเฉพาะรถโดยสารประจ าทางธรรมดาหรือ ปรับ อากาศ มีก าร เปลี่ยนแปลงอัตราค่าโดยสารไม่มากนัก ถึงแม้ว่าราคาน้ ามันได้ปรับตัวสูงขึน้ แต่รฐั บาลได้ออกมาตรการเพื่อตรึงราคา

ส่วนที่ 1 หน้า 42


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ค่าโดยสารโดยการแบกรับต้นทุนค่าโดยสารทีเ่ พิม่ ขึน้ ผ่านเงินสนับสนุ น ดังนัน้ อัตราค่าโดยสารของระบบขนส่งมวลชน ส่วนใหญ่จงึ ไม่มกี ารปรับอัตราขึน้ มากนัก ค่าโดยสารของระบบขนส่งมวลชนต่างๆ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561 สรุปได้ดงั นี้ อัตรำค่ำโดยสำรของระบบขนส่งมวลชนในกรุงเทพฯ ประเภท อัตรำค่ำโดยสำร (บำท) หมำยเหตุ รถสองแถว 7.00 ราคาเดียวตลอดสาย รถธรรมดา ครีม-แดง 6.50 ราคาเดียวตลอดสาย รถบริการตลอดคืน ครีม – แดง 8.00 ราคาเดียวตลอดสาย รถบริการตลอดคืน ขาว – น้าเงิน 9.00 ราคาเดียวตลอดสาย รถธรรมดา ขาว – น้าเงิน 7.50 ราคาเดียวตลอดสาย รถทางด่วน ครีม – แดง 8.50 ราคาเดียวตลอดสาย รถทางด่วน ขาว – น้าเงิน 9.50 ราคาเดียวตลอดสาย รถโดยสารปรับอากาศ ครีม – น้าเงิน 10.00 – 18.00 ราคาตามระยะทาง รถปรับอากาศ (ยูโร II) 11.00 – 23.00 ราคาตามระยะทาง รถแท็กซี่ 35.00 เริม่ ต้นที่ 35 บาท สาหรับระยะทาง 1 กิโลเมตร แรก หลังจากนัน้ คิดตามระยะทาง กรณีรถไม่ สามารถเคลื่อนที่หรือเดินรถต่ อไปได้เกินกว่ า 6 กิโลเมตรต่อชัวโมง ่ อัตรานาทีละ 2 บาท รถไฟฟ้ าบีทเี อส 16.00 – 44.00 เริม่ ที่ 16 บาท และเพิม่ ขึน้ ตามจานวนสถานี รถไฟฟ้ า MRT 16.00 – 42.00 เริม่ ที่ 16 บาท และเพิม่ ขึน้ ตามจานวนสถานี รถไฟฟ้ าท่าอากาศยานสุวรรณภูม ิ SA City Line 15.00 – 45.00 เริม่ ที่ 15 บาท และเพิม่ ขึน้ ตามจานวนสถานี ทีม่ า: ข้อมูลจากองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพฯ กระทรวงคมนาคม บีอเี อ็ม บริษทั รถไฟฟ้ า ร.ฟ.ท. จากัด และบีทเี อสซี

อย่างไรก็ดี ในช่วงสองถึงสามทศวรรษทีผ่ ่านมา ประเทศไทยมีความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเป็ นอย่างมาก เนื่องจากประเทศไทยได้เปลีย่ นผ่านจากระบบเศรษฐกิจทีอ่ าศัยภาคเกษตรกรรมเป็ นหลักมาเป็ นระบบเศรษฐกิจทีอ่ าศัย การให้บริการและการส่งออกเป็ นหลัก จากข้อมูลของสานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ พบว่า อัตราการขยายตัวของผลผลิตมวลรวมทีแ่ ท้จริงของประเทศไทย (Real GDP Growth) มีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง โดย ในปี 2560 เฉลีย่ ทัง้ ปี อยู่ทร่ี อ้ ยละ 3.9 การเพิม่ ขึน้ ของรายได้ทาให้ผโู้ ดยสารในกรุงเทพฯ มีกาลังใช้จ่ายสาหรับการใช้บริการระบบขนส่งมวลชนทาง รางเพิม่ ขึน้ เนื่องจากการเพิม่ ขึน้ ของจานวนประชากร และการขยายตัวทางเศรษฐกิจของกรุงเทพฯ จึงมีการคาดการณ์ ว่าจะมีผโู้ ดยสารทีเ่ ดินทางด้วยระบบขนส่งสาธารณะทางถนนเปลีย่ นมาใช้ระบบขนส่งมวลชนทางรางทีค่ ่อนข้างรวดเร็ว และสะดวกสบายเพิม่ มากขึน้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ เมื่อมีแผนส่วนต่อขยายของระบบขนส่งมวลชนทางราง ซึง่ ครอบคลุม พืน้ ทีส่ ว่ นใหญ่ของกรุงเทพฯ และเขตปริมณฑล  กำรเพิ่ มขึน้ ของจำนวนประชำกร กรุงเทพฯ มีพน้ื ทีร่ วมทัง้ หมด 1,562.2 ตารางกิโลเมตร และมีประชากรอาศัยอยู่อย่างหนาแน่น การเปลีย่ นแปลง ของจานวนประชากรในกรุงเทพฯ เป็ นสาเหตุหนึ่งทีท่ าให้ มกี ารใช้ระบบขนส่งมวลชนทางรางเพิม่ มากขึน้ โดยเฉพาะ อย่างยิง่ เมื่อพิจารณาถึงการจราจรทีห่ นาแน่นตามทีไ่ ด้กล่าวมาข้างต้น ตามสถิตขิ องสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการ เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ จานวนประชากรในกรุงเทพฯ ยังคงเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนื่องในช่วง 10 ปี ทผ่ี ่านมา

ส่วนที่ 1 หน้า 43


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ปั จจุบนั การเดินทางในกรุงเทพฯ ถือได้ว่าเป็ นปั ญหาหลักทีเ่ กิดขึน้ เนื่องจากความหนาแน่ นของประชากรและ ระบบขนส่งมวลชนทีไ่ ม่ครอบคลุมเพียงพอ ณ สิน้ ปี 2560 จานวนประชากรทีอ่ าศัยอยู่ในกรุงเทพฯ เฉพาะตามสามะโน ประชากร มีจานวน 5.7 ล้านคน จำนวนและอัตรำกำรเติ บโตของประชำกรในกรุงเทพฯ ตำมสำมะโนประชำกร ณ วันที่ 31 ธันวำคม หน่ วย : คน 2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 ประชากรกรุงเทพฯ 5,701,394 5,674,843 5,673,560 5,686,252 5,692,284 5,696,409 5,686,646 5,682,415 อัตราการเติบโต (ร้อยละ) 0.0 -0.5 0.0 0.2 0.1 0.1 - 0.2 -0.0 ทีม่ า: กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย

พื้นที่ใ นเส้นทางของระบบรถไฟฟ้ าบีทีเอสซึ่งส่วนใหญ่ อยู่ภายในย่านศูนย์กลางธุรกิจ (Central Business District ซึง่ รวมถึงพืน้ ทีถ่ นนสีลม สาทร สุรวงศ์ พระราม 4 เพลินจิต วิทยุ สุขมุ วิทตอนต้น และอโศก) มีการเติบโตอย่าง ต่อเนื่อง โดยจะเห็นได้จากอัตราการเติบโตของอุปทานของคอนโดมิเนียมในใจกลางกรุงเทพฯ (พืน้ ทีใ่ จกลางกรุงเทพฯ รวมถึงพื้นที่ภายในย่านศูนย์กลางธุรกิจ ถนนสุขุมวิทตอนปลายและถนนพระราม 3) โดยอัตราการเติบโตในปี 2560 ยังคงอยู่ในระดับสูง จึงน่าจะเป็ นประโยชน์ต่อระบบรถไฟฟ้ าบีทเี อสทีใ่ ห้บริการครอบคลุมพืน้ ทีภ่ ายในย่านศูนย์กลางธุรกิจ อุปทำนของคอนโดมิ เนี ยมในใจกลำงกรุงเทพฯ

ข้อมูล : CBRE Research (ไตรมาส 3 ปี 2560)

2.1.2.2 ภำวะกำรแข่งขันและกลยุทธ์กำรแข่งขัน บีทเี อสซีต้องแข่งขันกับการให้บริการการเดินทางหลายรูปแบบในกรุงเทพฯ ได้แก่ รถโดยสารประจาทาง รถไฟฟ้ า MRT รถแท็กซี่ และรถยนต์ส่วนบุคคล โดยรถโดยสารประจาทางและรถไฟฟ้ า MRT จัดเป็ นคู่แข่งสาคัญของ บีทเี อสซีในการขนส่งมวลชนรายวัน อย่างไรก็ตาม แม้จะเป็ นคู่แข่ง แต่มบี ทบาทในฐานะเป็ นผูข้ นส่งและรับผูโ้ ดยสาร จากสถานีรถไฟฟ้ าบีทเี อสด้วยเช่นกัน รถโดยสารประจาทางเป็ นผูใ้ ห้บริการด้านการขนส่งมวลชนทีใ่ หญ่ท่สี ุดเมื่อวัดจากจานวนเทีย่ วโดยสาร โดย ในช่วงระยะเวลา 5 ปี ทผ่ี ่านมา ตัง้ แต่ปี 2556 – 2560 ไม่มกี ารเปลีย่ นแปลงอย่างมีนัยสาคัญต่อค่าโดยสารสาหรับการ ขนส่งมวลชนในรูปแบบต่าง ๆ ทัง้ นี้ แม้ว่าราคาน้ามันจะสูงขึน้ มาโดยตลอด แต่รฐั บาลมีนโยบายตรึงราคาค่าโดยสารไว้ โดยการเพิม่ เงินสนับสนุ น ดังนัน้ บริษัทรถโดยสารประจาทางส่วนใหญ่จงึ ไม่ได้ปรับขึน้ ราคาค่าโดยสารแต่ อย่ างใด นอกจากนี้ ในปั จจุบนั บริษทั รถโดยสารประจาทางบางบริษทั ให้บริการแก่ประชาชนโดยไม่คดิ ค่าบริการ บีทเี อสซีคาด ส่วนที่ 1 หน้า 44


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ว่าในอนาคต รถโดยสารประจาทางจะยังคงเป็ นผูใ้ ห้บริการระบบขนส่งมวลชนหลักอยู่ อย่างไรก็ดี การให้บริการของรถ โดยสารประจาทางได้รบั ผลกระทบจากสภาพจราจรที่ตดิ ขัด โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในช่วงชัวโมงเร่ ่ งด่วน ดังนัน้ บีทเี อสซี จึงสามารถแข่งขันกับรถโดยสารประจาทางได้จากระยะเวลาในการเดินทางที่รวดเร็วกว่าและมีความสะดวกสบาย มากกว่า เนื่องจากรถไฟฟ้ าบีทเี อสไม่ได้รบั ผลกระทบจากการจราจรทีต่ ดิ ขัด มีครื่องปรับอากาศภายในรถ และเดิน ทาง ด้วยความรวดเร็ว  กำรเพิ่ มศักยภำพในกำรให้บริกำรและกำรเพิ่ มจำนวนผูโ้ ดยสำร บีทีเอสซีมุ่งเน้ นการเพิ่มศักยภาพในการให้บริการและการเพิม่ จานวนผู้โดยสารด้วยการเพิม่ ตู้ รถโดยสาร เนื่องจากบีทเี อสซีคาดว่าจานวนผูโ้ ดยสารจะยังคงเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะเมื่อมีการเปิ ดให้บริการส่วนต่อขยาย ในอนาคต ทัง้ จากเส้นทางให้บริการเดิมและจากจุดเชือ่ มต่อไปยังจุดหมายปลายทางต่าง ๆ ทัง้ นี้ ปั จจุบนั ได้ปรับเปลีย่ น รถไฟฟ้ าทีใ่ ห้บริการทัง้ หมดจานวน 52 ขบวน เป็ นรถไฟฟ้ าแบบ 4 ตูต้ ่อขบวนทัง้ หมดแล้ว โดยในอนาคตบีทเี อสซีจะยัง สังซื ่ อ้ ขบวนรถไฟฟ้ าและตูโ้ ดยสารเพิม่ เติมเพื่อรองรับจานวนผูโ้ ดยสารทีเ่ พิม่ ขึน้ อย่างต่อเนื่อง สถานีรถไฟฟ้ าบีทเี อสมีการเชื่อมต่อทางเดินเข้าสูอ่ าคารต่าง ๆ ตลอดแนวเส้นทางระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชน กรุงเทพสายหลัก ไม่ว่าจะเป็ น โรงแรม ศูนย์การค้า และศูนย์ธุรกิจ รวมถึงระบบรถไฟฟ้ า MRT ทีบ่ ริเวณ 3 สถานี ได้แก่ สถานีหมอชิต อโศก และศาลาแดง, รถไฟฟ้ าแอร์พอร์ตลิง้ ก์ ทีส่ ถานีพญาไท และรถโดยสารด่วนพิเศษ BRT ทีส่ ถานี ช่องนนทรี ทัง้ นี้ เพื่อรองรับผูโ้ ดยสารจากอาคารต่าง ๆ และระบบขนส่งมวลชนรูปแบบอื่น เพื่อความสะดวกของผู้โ ดยสารที่เ ป็ นผู้พิก าร ในปี 2560/61 กทม. ได้จดั สร้างลิฟต์โ ดยสารสาหรับ ระบบ รถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลัก และในส่วนต่อขยายสายสีลม ตอนที่ 1 และตอนที่ 2 และส่วนต่อขยายสาย สุขุมวิท โดยบีทเี อสซีมหี น้าที่ในการดูแลรักษาลิฟต์โดยสารดังกล่าว ตลอดจนจัดเตรียมเจ้าหน้า ที่เพื่ออานวยความ สะดวกและให้ความช่วยเหลือ นอกจากนี้ บีทเี อสซีเล็งเห็นความสาคัญในการรณรงค์ให้นกั ท่องเทีย่ วมาใช้บริการระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชน กรุงเทพสายหลักสาหรับการเดินทางในกรุงเทพฯ ดังนัน้ บีทเี อสซีจงึ ได้ให้บริการศูนย์ขอ้ มูลสาหรับนักท่องเทีย่ วทีส่ ถานี สยาม สถานีพญาไท และสถานีสะพานตากสิน โดยนักท่องเทีย่ วสามารถขอบริการข้อมูลเกีย่ วกับสถานทีท่ ่องเทีย่ ว และ การเดินทางในกรุงเทพฯ รวมไปถึงบริการจาหน่ ายตั ๋วล่องเรือในแม่น้ าเจ้าพระยา บริการโทรศัพท์ทางไกล บริการ อินเตอร์เน็ต และการจาหน่ายสินค้าทีร่ ะลึก โดยเปิ ดทาการทุกวันตัง้ แต่ 8.00 น. ถึง 20.00 น. บีทเี อสซีและบีเอสเอส ซึง่ เป็ นบริษทั ย่อยทีป่ ั จจุบนั บริษทั ฯ ถือหุน้ ผ่านวีจไี อ ในสัดส่วนร้อยละ 90 ได้พฒ ั นา ระบบตั ๋วร่วมภายใต้ช่อื “บัตรแรบบิท (rabbit)” โดยระบบตั ๋วร่วมจะทาให้บตั รใบเดียวสามารถนาไปชาระค่าโดยสารของ ระบบขนส่งมวลชนหลายประเภททีแ่ ตกต่างกัน ปั จจุบนั บัตรแรบบิทสามารถใช้โดยสารรถไฟฟ้ าบีทเี อส รถโดยสารด่วน พิเ ศษ BRT และในอนาคตจะสามารถใช้ก ับ เครือ ข่า ยระบบขนส่ ง มวลชนอื่น ๆ ซึ่งบีทีเอสซีเชื่อว่ าจะเพิ่มความ สะดวกสบายให้แก่ผโู้ ดยสารและจะส่งผลให้มกี ารใช้รถไฟฟ้ าบีทเี อสมากขึน้ นอกจากนี้ การนาสมาร์ทการ์ดมาใช้ ยังจะทา ให้การบริหารค่าใช้จ่ายของบีทเี อสซีมปี ระสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้ เนื่องจากระบบของสมาร์ทการ์ดดังกล่าวไม่ต้องมีการ บารุงรักษามากเท่ากับระบบบัตรแถบแม่เหล็กเดิม  กำรเพิ่ มประสิ ทธิ ภำพในกำรดำเนิ นงำน แม้ว่าบีทเี อสซีจะมีประสิทธิภาพและความสามารถในการรักษาระดับต้นทุนในการดาเนินการ (Operational Leverage) บีทีเอสซียงั คงปรับปรุงและพัฒนาเพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพในการดาเนินงานอย่างต่อเนื่อง ซึ่งรวมถึงการ ส่วนที่ 1 หน้า 45


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

บารุงรักษาระบบทีม่ คี วามสาคัญต่าง ๆ ด้วยตนเองแทนการใช้บริการของบุคคลภายนอก เพื่อให้มนใจว่ ั ่ าบุคลากรของ บีทเี อสซีจะได้รบั การถ่ายทอดความรูม้ าจากผูข้ าย และเป็ นการเพิม่ ศักยภาพการบริหารต้นทุนการบารุงรักษา บีทเี อสซีได้ทาการบารุงรักษาระบบไฟฟ้ าและเครื่องกลที่สาคัญ ซึง่ รวมถึงระบบการเก็บค่าโดยสารอัตโนมัติ ในปี 2548 และระบบ TETRA Train Radio ทีไ่ ด้รบั การปรับปรุงในปี 2553 และได้บารุงรักษาขบวนรถไฟฟ้ าจานวน 17 ขบวน ทีซ่ อ้ื จากซีอาร์อาร์ซี (ซึง่ เป็ นบริษทั ย่อยของ China Northern Locomotive and Rolling Stock Industry Group Corp. ซึ่งเป็ นบริษัทผลิตรถไฟและรถไฟฟ้ าชัน้ นาในประเทศจีน) ด้วยตนเอง นอกจากนี้ บีทเี อสซียงั ดาเนินการซ่อม บารุงอุปกรณ์ต่าง ๆ ให้ดอี ยู่เสมอ (Preventive Maintenance) เพื่อเป็ นการเพิม่ ประสิทธิภาพในการทางานของอุปกรณ์ ตลอดจนเป็ นการยืดอายุการใช้งานของอุปกรณ์ให้ยาวนานขึน้ ซึง่ เป็ นการลดภาระค่าใช้จ่ายการลงทุนในอุปกรณ์  กำรยกระดับควำมปลอดภัยของผูโ้ ดยสำร สถานีรถไฟฟ้ าทุกสถานีได้ตดิ ตัง้ ระบบเตือน ป้ องกัน และระงับอัคคีภยั โดยเฉพาะส่วนของอาคารทีม่ คี วาม เสีย่ งต่ออัคคีภยั สูง เช่น ห้องเครื่องนัน้ มีการติดตัง้ ระบบดับเพลิงอัตโนมัตดิ ว้ ยการฉีดน้า (Sprinkler System) หรือแบบ ใช้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ สถานีทงั ้ หมดได้ตดิ ตัง้ เครื่องกาเนิดไฟฟ้ าสารองอยู่ภายในสถานี ทัง้ นี้ ประมาณครึง่ หนึ่ง ของสถานีทงั ้ หมดจะมีสถานีรบั ไฟฟ้ าเพื่อจ่ายให้กบั รางทีส่ าม (Third Rail) เพื่อใช้เป็ นพลังงานในการขับเคลื่อนรถไฟฟ้ า อีกด้วย ในแต่ละสถานีจะมีนายสถานีซง่ึ มีหน้าทีด่ ูแลให้ระบบดาเนินงานด้วยความปลอดภัยและมีประสิทธิภาพโดยจะ ติดตามข้อมูลจากโทรทัศน์วงจรปิ ด และสามารถติดต่อสือ่ สารกับผูโ้ ดยสารและผูค้ วบคุมเส้นทาง นอกจากนี้ บีทีเ อสซีไ ด้ดาเนิ น การให้ วีจีไ อท าการติด ตัง้ ประตู ช านชาลาอัต โนมัติ (Half Height Platform Screen Door) ในสถานีทม่ี ผี ใู้ ช้บริการจานวนมากและหนาแน่ น จานวน 9 สถานี ได้แก่ อนุ สาวรียช์ ยั สมรภูมิ พญาไท สยาม ชิดลม อโศก พร้อมพงษ์ อ่อนนุ ช ศาลาแดง และช่องนนทรี ทัง้ นี้ เพื่อลดความเสีย่ งต่ออันตรายที่อาจเกิดกับ ผูโ้ ดยสารทีร่ อขบวนรถไฟฟ้ าอยู่บนชัน้ ชานชาลา โดยระบบประตูชานชาลาอัตโนมัตนิ ้ีได้มกี ารออกแบบให้เชื่อมโยงกับ ระบบควบคุมขบวนรถไฟฟ้ า เพื่อให้มกี ารเปิ ดและปิ ดพร้อมๆ กัน และป้ องกันไม่ให้ขบวนรถไฟฟ้ าเคลื่อนทีใ่ นกรณีทม่ี ี เหตุขดั ข้องทีอ่ าจมีผลต่อความปลอดภัยของผูโ้ ดยสาร  ควำมตระหนักและห่วงใยต่อสังคมและสิ่ งแวดล้อม บีทเี อสซีมคี วามตระหนักและใส่ใจในสิง่ แวดล้อมตลอดแนวเส้นทางของระบบรถไฟฟ้ าบีทเี อส โดยได้จดั ทา ระบบจัดการสิง่ แวดล้อม ISO 14001:2004 ซึง่ เป็ นมาตรฐานสากลทีม่ คี วามสาคัญต่อการพัฒนาองค์กรให้กา้ วหน้าและ เป็ นทีย่ อมรับในเชิงพาณิชย์และทางสังคม และได้ผ่านการรับรองจากบริษทั บูโร เวอริทสั เซอทิฟิเคชัน่ (ประเทศไทย) จากัด ซึ่งเป็ นหน่ วยงานผูใ้ ห้การรับรอง เมื่อวันที่ 2 เมษายน 2557 และตลอดช่วง 3 ปี ท่ผี ่านมา บีทเี อสซียงั คงรักษา ระบบจัด การสิ่ง แวดล้อ ม ISO 14001:2004 อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง และยัง ได้พ ัฒนาระบบการจัด การพลัง งานเพื่อ ส่ง เสริม วัตถุประสงค์ในการดูแลสิง่ แวดล้อม โดยมีโครงการประหยัดพลังงานหลายโครงการ เช่น การเปลีย่ นครื่องปรับอากาศ แบบแยกส่วน (Split Type) การเปลี่ยนโคมไฟส่องสว่างใต้สถานีรถไฟฟ้ า (Street Light) 23 สถานีให้เป็ นแบบ LED จานวน 540 โคม การรณรงค์ ปิ ดไฟ ปิ ดคอมพิวเตอร์ และปรับอุณหภูมเิ ครื่องปรับอากาศจาก 24 เป็ น 25 องศาเซลเซียส ตลอดจนการซ้อมแผนฉุกเฉินด้านการป้ องกันผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมในกรณีเกิดอุบตั เิ หตุในโรงซ่อมบารุงรถไฟฟ้ า 2.1.2.3 กลุ่มลูกค้ำเป้ ำหมำย ด้วยจุดเด่นของรถไฟฟ้ าบีทเี อส ไม่ว่าจะเป็ นความรวดเร็ว ตรงต่อเวลา สะอาด มีความปลอดภัยสูง อัตราค่า โดยสารทีเ่ หมาะสม รวมถึงเส้นทางทีผ่ ่านจุดสาคัญในย่านศูนย์กลางของธุรกิจการค้า จึงทาให้เป็ นทีย่ อมรับว่ารถไฟฟ้ า ส่วนที่ 1 หน้า 46


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

บีทเี อสเป็ นผูน้ าในระบบการเดินทางทีม่ คี ุณภาพและเป็ นส่วนหนึ่งในชีวติ ประจาวันของคนกรุงเทพฯ ไม่ว่าจะเดินทางไป ทางาน เรียนหนังสือ ติดต่อธุรกิจ ประชุม สัมมนาต่าง ๆ รวมถึงเพื่อการท่องเทีย่ ว จับจ่ายซือ้ ของ รับประทานอาหาร และพักผ่อน ตามห้างสรรพสินค้า โรงแรมชัน้ นา หรือสถานทีท่ ่องเทีย่ วสาคัญ ซึง่ อยู่ตามแนวเส้นทางรถไฟฟ้ าบี ทเี อส ทัง้ นี้ กลุ่มลูกค้าของรถไฟฟ้ าบีทเี อส สามารถแยกแยะจากการสารวจความพึงพอใจประจาปี ได้ ดังนี้  ลักษณะทำงกำยภำพ จากผลการสารวจปี 2560 โดยสวนดุสติ โพล จากผูใ้ ช้บริการรถไฟฟ้ าบีทเี อสทีเ่ ป็ นกลุ่มตัวอย่างจานวน 2,727 คน สามารถแบ่งกลุ่มผูโ้ ดยสารตามเพศ อายุ การศึกษา อาชีพ และรายได้ของผูเ้ ดินทาง ได้ดงั นี้ ข้อมูล เพศ

อายุ

การศึกษา

อาชีพ

จำนวน (คน)

ชาย หญิง รวม ต่ากว่า 15 ปี 16-20 ปี 21-25 ปี 26-30 ปี 31-40 ปี 41 ปี ขน้ึ ไป รวม ประถมศึกษา มัธยมตอนต้น มัธยมตอนปลาย/ปวช. ปวส./อนุปริญญา ปริญญาตรี สูงกว่าปริญญาตรี ไม่แสดงความคิดเห็น รวม นักเรียน/นักศึกษา พนักงานบริษทั ข้าราชการ/รัฐวิสาหกิจ ค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว รับจ้างทัวไป ่ แม่บา้ น เกษียณอายุ/ว่างงาน พนักงานภาครัฐ อาชีพอิสระ อื่น ๆ เช่น เกษตรกร ไม่แสดงความคิดเห็น รวม

883 1,894 2,727 107 469 554 387 526 684 2,727 38 117 400 129 1,643 379 21 2,727 764 1,103 179 276 124 88 67 19 12 1 94 2,727

ส่วนที่ 1 หน้า 47

ร้อยละ 30.55 69.45 100 3.92 17.20 20.32 14.19 19.29 25.08 100 1.39 4.29 14.67 4.73 60.25 13.90 0.77 100 28.02 40.45 6.56 10.12 4.55 3.23 2.46 0.70 0.44 0.04 3.43 100


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

รายได้ต่อเดือน

ข้อมูล ไม่เกิน 10,000 บาท 10,001-20,000 บาท 20,001-30,000 บาท 30,001-40,000 บาท 40,001-50,000 บาท 50,001-75000 บาท 75,001-100,000 บาท มากกว่า 100,000 บาท ไม่มรี ายได้ ไม่แสดงความคิดเห็น รวม

แบบ 56-1 ปี 2560/61 จำนวน (คน)

ร้อยละ

569 613 521 320 165 132 71 62 262 12 2,727

20.87 22.48 19.11 11.73 6.05 4.84 2.60 2.27 9.61 0.44 100

 พฤติ กรรมและควำมถี่ในกำรใช้บริกำรรถไฟฟ้ ำบีทีเอส จากผลการสารวจปี 2560 โดยสวนดุสติ โพล จากผูใ้ ช้บริการรถไฟฟ้ าบีทเี อสทีเ่ ป็ นกลุ่มตัวอย่าง จานวน 2,727 คน เมื่อพิจารณาพฤติกรรมและความถี่ในการใช้บริการรถไฟฟ้ าบีทเี อส พบว่าผูโ้ ดยสารใช้บริการมากทีส่ ุด 4-5 วันต่อ สัปดาห์ ร้อยละ 38.80 รองลงมาคือ 2-3 วันต่ อสัปดาห์ ร้อยละ 20.61 และ 6-7 วันต่ อสัปดาห์ ร้อยละ 20.28 และมี ผู้โดยสารที่ใช้บริการรถไฟฟ้ าบีทเี อสน้อยกว่า 1-3 ครัง้ ต่อเดือน ร้อยละ 10.2 นาน ๆ ครัง้ ร้อยละ 3.6 1 วันต่อสัปดาห์ ร้อยละ 5.0 และไม่แน่นอนอีกร้อยละ 1.6 นอกจากนี้ ยัง พบว่ า กลุ่ ม อาชีพ นั ก เรีย น/นั ก ศึก ษา กลุ่ ม พนั ก งานบริษัท กลุ่ ม ข้า ราชการ/รัฐ วิส าหกิจ กลุ่มรับจ้าง และกลุ่มพนักงานภาครัฐ ใช้บริการ 4-5 วัน ต่ อสัปดาห์มากที่สุด ส่วนกลุ่มเจ้าของธุรกิจ/ค้าขาย กลุ่ม แม่บา้ น เกษียณอายุ/ว่างงาน ใช้บริการรถไฟฟ้ า 2-3 วันต่อสัปดาห์มากทีส่ ดุ 2.1.3

กำรจัดหำผลิ ตภัณฑ์หรือบริกำร  ระบบบัตรโดยสำรและประเภทของบัตรโดยสำร

ระบบจัดเก็บค่าโดยสารอัตโนมัตขิ องรถไฟฟ้ าบีทเี อสอยู่ภายใต้การควบคุมของระบบคอมพิวเตอร์ศูนย์กลาง ประกอบด้วยอุปกรณ์ประตูอตั โนมัติ ซึง่ สามารถรองรับบัตรโดยสารได้ทงั ้ บัตรแถบแม่เหล็ก และบัตรสมาร์ทการ์ดแบบ ไร้สมั ผัส (Contactless Smartcard) ปั จจุบนั บีทเี อสซีมปี ระเภทของบัตรโดยสาร ดังนี้ ประเภทบัตร บัตรประเภทเทีย่ วเดียว (Single Journey Ticket) ค่าโดยสารแตกต่างกันตามจานวนสถานี โดยค่าโดยสารอยูร่ ะหว่าง 16-44 บาท บัตรประเภทเติมเงิน บัตรประเภท 30 วัน (30 Day Smart Pass) สาหรับบุคคลทัวไป ่ บัตรมีการกาหนดจานวน เทีย่ วทีส่ ามารถใช้ได้โดยไม่จากัดระยะทาง อายุการใช้งาน 30 วัน บัตรประเภท 30 วัน (30 Day Smart Pass) สาหรับนักเรียน นักศึกษา บัตรมีการกาหนด จานวนเทีย่ วทีส่ ามารถใช้ได้โดยไม่จากัดระยะทาง อายุการใช้งาน 30 วัน บัตรประเภท 1 วัน (One Day Pass) เป็ นบัตรโดยสารไม่จากัดเทีย่ วการเดินทางใน 1 วัน บัตรแรบบิทสาหรับผูส้ งู อายุ (Senior Smart Pass) สาหรับผูโ้ ดยสารสัญชาติไทยอายุ ตัง้ แต่ 60 ปี บริบรู ณ์ขน้ึ ไป

ส่วนที่ 1 หน้า 48

ปี 2560/61 สัดส่วนรำยได้ (ร้อยละ) 38.2 27.8 26.8 4.5 1.5 1.4


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ตัง้ แต่วนั ที่ 1 พฤษภาคม 2555 บีทเี อสซีได้เปิ ดใช้บริการบัตรแรบบิทของบีเอสเอส โดยบัตรดังกล่าวเป็ นบัตร สมาร์ทการ์ด ซึง่ ผูถ้ อื บัตรสามารถใช้ชาระค่าโดยสารของระบบขนส่งมวลชนรูปแบบต่าง ๆ ได้แก่ รถไฟฟ้ าบีทเี อส รถ โดยสารด่วนพิเศษ BRT และในอนาคตจะสามารถใช้กบั เครือข่ายระบบขนส่งมวลชนอื่น ๆ นอกจากนี้ ยังสามารถใช้ ชาระค่าสินค้าและบริการในร้านค้าพันธมิตรในเครือข่ายของบัตรแรบบิท ทัง้ นี้ กลุ่มบริษทั ส่งเสริมให้ผโู้ ดยสารใช้บริการ บัตรแรบบิท โดยการจัดทาโปรแกรมสะสมคะแนน “แรบบิท รีวอร์ดส (Rabbit Rewards)” ซึ่งผู้ถือบัตรสามารถนา คะแนนสะสมมาแลกเป็ นเงินอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเติมเงินในบัตรแรบบิท ของกานัล หรือบัตรกานัลเงินสด โปรดพิจารณา รายละเอีย ดเกี่ยวกับ บัตรแรบบิทและโปรแกรมสะสมคะแนนแรบบิท รีว อร์ด ส เพิ่ม เติมใน หัวข้อ 2.4.1 ธุรกิจเงิน อิเล็กทรอนิกส์ (E-money) และ หัวข้อ 2.4.4 ธุรกิจให้บริการลูกค้าสัมพันธ์และโปรแกรมส่งเสริมการขายด้วยตู้พิมพ์ คูปองอัตโนมัติ (Coupon Kiosks)  ขบวนรถไฟฟ้ ำ (Rolling Stock) ในเริม่ แรก บีทเี อสซีมขี บวนรถไฟฟ้ าทัง้ สิน้ 35 ขบวน โดยขบวนรถไฟฟ้ าทัง้ หมดผลิตโดยกลุ่มบริษทั ซีเมนส์ ซึง่ ออกแบบให้ใช้งานกับสภาวะของกรุงเทพฯ โดยเฉพาะ โดยขบวนรถไฟฟ้ า 1 ขบวน ประกอบด้วยตูโ้ ดยสารจานวน 3 ตู้ แต่ละขบวนสามารถรับผูโ้ ดยสารได้สงู สุด 1,106 คน แบ่งเป็ นผูโ้ ดยสารนัง่ 126 คน และผูโ้ ดยสารยืน 980 คน ชาน ชาลาสถานีรถไฟฟ้ าบีทเี อสสามารถรองรับขบวนรถไฟฟ้ าทีม่ ตี ู้โดยสารถึง 6 ตูต้ ่อขบวน ขบวนรถไฟฟ้ าใช้มอเตอร์ไฟฟ้ า กระแสสลับในการขับเคลื่อน โดยจะรับกระแสไฟฟ้ าตรงจากรางทีส่ าม (Third Rail) และสามารถขับเคลื่อนด้วยความเร็ว สูงสุด 80 กิโลเมตรต่อชัวโมง ่ รถไฟฟ้ ามีความเร็วเฉลีย่ ในการให้บริการรวมเวลาจอดรับ -ส่งผูโ้ ดยสารอยู่ทป่ี ระมาณ 35 กิโลเมตรต่อชัวโมง ่ ตู้โดยสารทุกตู้ตดิ ตัง้ ทีน่ งั ่ จานวน 42 ทีน่ งั ่ ตามแนวยาวของขบวนรถไฟฟ้ าและเครื่องปรับอากาศ 2 เครื่อง ตู้โดยสารเชื่อมต่อกันด้วยทางเดินภายในขบวนรถ เพื่อให้ผโู้ ดยสารสามารถเดินระหว่างขบวนรถไฟฟ้ าได้ ล้อ ของขบวนรถจะมีชนั ้ ของยางอยู่ระหว่างขอบล้อกับแกนล้อ ซึง่ จะเพิม่ ประสิทธิภาพในการขับเคลื่อนและช่วยลดระดับ เสียงได้อย่างมีนยั สาคัญ รถไฟฟ้ าทุกขบวนควบคุมด้วยพนักงานขับรถ 1 คน ซึง่ สามารถเลือกบังคับรถด้วยระบบขับเคลื่อนอัตโนมัติ (Automatic Train Operation: ATO) หรือระบบควบคุมด้วยพนักงานขับรถ (Supervised Manual: SM) ระบบ ATO จะ ควบคุมการเดินรถโดยอัตโนมัติ และมีการบารุงรักษาตามตารางทีก่ าหนด ภายใต้ระบบนี้ พนักงานขับรถมีหน้าทีเ่ พียง ควบคุมการปิ ดประตูและสังการออกรถ ่ ระบบ ATO ทาให้รถไฟฟ้ าสามารถขับเคลื่อนได้หลายรูปแบบ ในชัวโมงเร่ ่ งด่วน ระบบ ATO จะปรับรูปแบบการวิง่ เพื่อให้สามารถรองรับปริมาณผูโ้ ดยสารได้สูงสุด ในขณะทีน่ อกเวลาเร่งด่วน ระบบ ATO จะปรับรูปแบบการวิง่ เพื่อลดการใช้พลังงาน ส่วนระบบ SM พนักงานขับรถจะมีหน้าทีค่ วบคุมดูแลการทางานของ รถไฟฟ้ าโดยตลอด และหากจาเป็ น ระบบป้ องกันรถไฟฟ้ าอัตโนมัติ (Automatic Train Protection: ATP) จะเข้ามา ควบคุมรถ โดยระบบ ATP จะควบคุมความปลอดภัยของการขับเคลื่อนทัง้ แบบ ATO และ SM และในกรณีทพ่ี นักงาน ขับรถอย่างไม่ปลอดภัย ระบบ ATP จะเข้าควบคุมรถและสังหยุ ่ ดรถไฟฟ้ าโดยอัตโนมัติ นอกจากนี้ ระบบ ATP ยังกากับ ดูแลให้เกิดความปลอดภัยระหว่างขบวนรถตลอดเวลา ในกรณีฉุกเฉิน รถไฟฟ้ าจะถูกควบคุมด้วยระบบขับเคลื่อนอย่าง จากัด (Restricted Manual: RM) ซึง่ ภายใต้ระบบนี้ ความเร็วของรถไฟฟ้ าจะถูกจากัดไว้ไม่เกิน 35 กิโลเมตรต่อชัวโมง ่ เพื่อรองรับจานวนผูโ้ ดยสารทีเ่ พิม่ ขึน้ ของโครงการรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลัก และส่วนต่อขยาย (สายสีลมและสายสุขุมวิท) บีทเี อสซีได้เพิม่ ขบวนรถไฟฟ้ า เป็ น 52 ขบวน ขบวนละ 4 ตู้ โดยรถไฟฟ้ า 1 ขบวน จะ สามารถรับผูโ้ ดยสารได้สงู สุด 1,490 คน แบ่งเป็ นผูโ้ ดยสารนัง่ 168 คน และผูโ้ ดยสารยืน 1,322 คน รายละเอียดของ การเพิ่มจานวนรถไฟฟ้ า มีดงั นี้ (1) เพิ่มขบวนรถไฟฟ้ าจากซีอาร์อาร์ซี จานวน 12 ขบวน ขบวนละ 4 ตู้ ในเดือน กุมภาพันธ์ 2554 (2) เพิม่ ตู้โดยสารจากกลุ่มบริษทั ซีเมนส์ จานวน 35 ตู้ ทาให้รถไฟฟ้ า 35 ขบวนเดิม ขบวนละ 3 ตู้ ส่วนที่ 1 หน้า 49


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

เปลีย่ นเป็ นขบวนละ 4 ตู้ ในเดือนพฤษภาคม 2556 และ (3) เพิม่ ขบวนรถไฟฟ้ าจากซีอาร์อาร์ซี จานวน 5 ขบวน ขบวน ละ 4 ตู้ ในเดือนธันวาคม 2556 นอกจากนี้ ในเดือนพฤษภาคม 2559 บีทีเอสซีได้ลงนามในสัญญาจัดซื้อรถไฟฟ้ า เพิ่มเติมอีก จานวน 46 ขบวน ขบวนละ 4 ตู้ รวมทัง้ อุปกรณ์ ท่เี กี่ยวข้อง จากกลุ่มบริษัทซีเมนส์ และซีอาร์อาร์ซี คิดเป็ นจานวนเงินทัง้ สิ้น ประมาณ 270 ล้านยูโร (ไม่รวมภาษีมลู ค่าเพิม่ ) เพื่อรองรับจานวนผูโ้ ดยสารทีเ่ พิม่ ขึน้ ของโครงการรถไฟฟ้ าข้างต้น และ โครงการรถไฟฟ้ าส่วนต่อขยายสายสีเขียวเหนือและสายสีเขียวใต้ ซึง่ อยู่ระหว่างดาเนินการก่อสร้าง และปั จจุบนั เปิ ด ให้บริการแล้ว จานวน 1 สถานี ได้แก่ สถานีสาโรง ในช่วงแบริ่ง -สมุทรปราการ โดยบริษัทฯ คาดว่าจะมีการนาส่ง รถไฟฟ้ ารอบแรกภายในเดือนมิถุนายน 2561 และรอบสุดท้ายภายในเดือนมีนาคม 2563  ระบบอำณัติสญ ั ญำณ (Signaling System) ระบบอาณัติสญ ั ญาณได้ถู ก ออกแบบเพื่อ ให้ร ะบบรถไฟฟ้ า มีค วามปลอดภัย และมีป ระสิท ธิภ าพในการ ดาเนินงาน ระบบอาณัตสิ ญ ั ญาณจะอาศัยเครือข่าย Internet Protocol - Based Network และส่งสัญญาณควบคุมผ่าน รางรถไฟฟ้ า ไปยัง รถไฟฟ้ า และแลกเปลี่ย นข้อ มูลกัน ทัง้ 2 ทิศ ทาง โดยข้อ มูลจะถู ก เชื่ อ มต่ อ และส่ง ไปยัง สถานี นอกจากนี้ ยังมีการใช้ระบบใยแก้วนาแสงในการถ่ ายทอดข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการเดินรถไปสู่ศูนย์ควบคุมการเดิน รถไฟฟ้ า ระบบอาณัติสญ ั ญาณมีคุณสมบัตปิ ้ องกันเหตุขดั ข้อง (Fail-safe) และระบบสารอง (Hot Standby) โดยหาก เกิดเหตุขดั ข้อง รถไฟฟ้ าจะยังคงสามารถปฏิบตั ิงานต่อไปได้ในทิศทางหรือเส้นทางใดเส้นทางหนึ่งได้อย่างปลอดภัย ด้วยความเร็วระดับปกติ ในเดือนกุมภาพันธ์ 2550 บีทเี อสซีได้ลงนามในสัญญากับกลุ่มบริษัทบอมบาร์เดียร์ เพื่อปรับเปลี่ยนระบบ อาณัติสญ ั ญาณเดิมทัง้ หมดเพื่อเพิม่ ประสิทธิภาพของระบบรถไฟฟ้ า ลดค่าซ่อ มบารุงรักษา และเตรียมความพร้อม สาหรับการขยายเส้นทางในอนาคต ระบบอาณัตสิ ญ ั ญาณใหม่เป็ นระบบการสื่อสารด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ซึง่ ได้ตดิ ตัง้ เมื่อเดือนกรกฎาคมและเดือนสิงหาคม 2554 ระบบอาณัติสญ ั ญาณใหม่ยงั ทาให้มคี วามยืดหยุ่นในการตัง้ ห้องควบคุม ระยะไกลชัว่ คราว (Remote Access Temporary Control Room) ในกรณี ท่ีห้องควบคุ มกลางเกิด เหตุ ขดั ข้อ ง ทัง้ นี้ ภายใต้สญ ั ญาดังกล่าว กลุ่มบริษทั บอมบาร์เดียร์จะต้องให้การสนับสนุ นทางเทคนิคและการฝึ กอบรมแก่บที เี อสซี และ เพื่อลดการพึง่ พาบุคคลภายนอก บีทเี อสซีตงั ้ ใจทีจ่ ะเป็ นผูด้ แู ลรักษาและซ่อมบารุงระบบดังกล่าวเองต่อไปภายหลังหมด ระยะเวลารับประกัน 104 สัปดาห์ การติดตัง้ ระบบอาณัติสญ ั ญาณนี้ จะช่วยลดระยะเวลาระหว่างขบวนรถไฟฟ้ าต่ าสุด จาก 2 นาที เหลือ 1 นาทีครึง่ โดยระบบดังกล่าวจะทาให้บที เี อสซีสามารถควบคุมการใช้พลังงานได้ดขี น้ึ โดยมีการใช้ ระบบอาณัตสิ ญ ั ญาณใหม่ทงั ้ ในสายสีลมและสายสุขมุ วิท  ระบบควำมปลอดภัยและกำรรักษำควำมปลอดภัย บี ที เ อสซี เ ชื่ อ ว่ า ระบบรถไฟฟ้ าบี ที เ อสเป็ นระบบการขนส่ ง มวลชนที่ ป ลอดภั ย ที่ สุ ด ระบบหนึ่ ง โดย บีทีเ อสซีไ ด้ร ับ การรับ รองระบบบริห ารจัด การคุ ณภาพ ISO 9001:2008 ระบบการจัด การอาชีว อนามัย และความ ปลอดภัย OHSAS 18001:2007 และระบบการบริหารจัดการความปลอดภัย ในการขนส่งระบบรางตาม Best Practice Model ของ Ricardo Rail ซึง่ เป็ นบริษทั ในระดับสากลทีเ่ ป็ นผูต้ รวจและให้การรับรองมาตราฐานด้านระบบรถไฟฟ้ า และ นับตัง้ แต่เปิ ดให้บริการ ไม่มอี ุบตั เิ หตุท่กี ่อให้เกิดการเสียชีวติ หรือการบาดเจ็บสาหัส บีทเี อสซีตงั ้ ใจเสมอมาในการใช้ กฎระเบียบข้อบังคับและวิธปี ฏิบตั ดิ า้ นความปลอดภัยในระบบทีเ่ คร่งครัด โดยรถไฟฟ้ าทุกขบวนและสถานีรถไฟฟ้ าทุก สถานีมกี ารติดตัง้ อุปกรณ์สาหรับเหตุฉุกเฉิน นอกจากนี้ บีทเี อสซีมคี ่มู อื ปฏิบตั กิ ารเกีย่ วกับกฎระเบียบ และแนวทางการ ปฏิบตั เิ พื่อดูแลผูโ้ ดยสารทุกรายสาหรับรองรับเหตุการณ์ฉุกเฉิน บีทเี อสซีได้ทดลองระบบเป็ นระยะเวลา 6 เดือนก่อน ส่วนที่ 1 หน้า 50


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

เปิ ดให้บริการเดินรถอย่างเป็ นทางการ เพื่อทดสอบให้แน่ ใจว่าไม่มขี อ้ บกพร่องในระบบความปลอดภัย และได้จดั ให้มี การอบรมพนักงานรวมถึงการทดสอบและฝึกซ้อมระบบความปลอดภัยอย่างสม่าเสมอ รถไฟฟ้ าทุกขบวนมีการติดตัง้ ระบบป้ องกันรถไฟฟ้ าอัตโนมัติ (Automatic Train Protection: ATP) ซึ่งทาให้ แน่ ใจว่าระยะห่างระหว่างขบวนรถไฟฟ้ าแต่ละขบวนอยู่ในระยะทีป่ ลอดภัยและควบคุมให้มกี ารใช้ความเร็วทีเ่ หมาะสม ตลอดเวลาทีร่ ถไฟฟ้ าปฏิบตั กิ าร นอกจากนี้ ประตู อตั โนมัตขิ องรถไฟฟ้ ามีระบบป้ องกันมิให้ผโู้ ดยสารได้รบั บาดเจ็บ ใน เหตุการณ์ฉุกเฉินผูโ้ ดยสารสามารถสือ่ สารกับพนักงานขับรถผ่านระบบอินเตอร์คอม และยังมีระบบวิทยุจากขบวนรถซึง่ พนักงานขับรถสามารถสือ่ สารกับศูนย์ควบคุมกลางได้ตลอดเวลา สถานีรถไฟฟ้ าทุกสถานีได้รบั การออกแบบโดยคานึงถึงความปลอดภัยของผูโ้ ดยสารเป็ นหลัก และได้ก่อสร้าง ตามมาตรฐานความปลอดภัยอย่างเคร่งครัด รวมถึงได้มกี ารออกแบบให้มที างออกฉุกเฉิน มีระบบกระจายเสียงสาหรับ ประกาศภาวะฉุ กเฉิน ระบบป้ องกันอัคคีภยั ตามมาตรฐาน (National Fire Protection Association: NFPA) และมีการ ติดตัง้ สายล่อฟ้ า นอกจากนี้ ทุกสถานียงั ติดตัง้ ระบบโทรทัศน์วงจรปิ ด ระบบควบคุมกลางสาหรับการควบคุมลิฟต์ และ บันไดเลื่อนในสถานี และระบบควบคุมจากศูนย์กลางสามารถควบคุมรถไฟฟ้ าอยู่ตลอดเวลา ขบวนรถไฟฟ้ าได้รบั การออกแบบมาเพื่อไม่ให้เกิดกรณีรถไฟฟ้ าล่าช้าหรือดาเนิ นงานไม่ได้มาตรฐานอันเป็ น ผลมาจากการขัดข้องด้านกระแสไฟฟ้ าหรือเครื่องจักรกล มอเตอร์ขบั เคลื่อนของรถไฟฟ้ านัน้ มีกาลังสูงเพียงพอที่ รถไฟฟ้ าแม้จะบรรทุกผู้โดยสารเต็มขบวนก็สามารถลาก หรือดันรถไฟฟ้ าอีกคันที่บรรทุกผู้โดยสารเต็มขบวนไปยัง สถานีทใ่ี กล้ทส่ี ดุ เพื่อทาการขนถ่ายผูโ้ ดยสารเมื่อระบบเกิดเหตุขดั ข้อง นอกจากนี้ เมื่อเกิดไฟฟ้ าดับ รถไฟฟ้ าจะมีระบบ ไฟฟ้ าสารองเพื่อให้ระบบทีเ่ กีย่ วข้องกับความปลอดภัยยังทางานต่อได้ ในส่วนของการรักษาความปลอดภัย บีทเี อสซีได้ (1) จัดเจ้าหน้าที่รกั ษาความปลอดภัยที่ผ่านการฝึ กอบรม เป็ นอย่างดี ปฏิบตั หิ น้าทีบ่ นสถานีรถไฟฟ้ าบีทเี อส อาคารศูนย์บริหารและควบคุมการเดินรถไฟฟ้ าบีทเี อส และโรงจอด ซ่อมบารุง ตลอด 24 ชัวโมง ่ โดยได้เสริมให้มเี จ้าหน้าทีร่ กั ษาความปลอดภัยผูห้ ญิง เพื่อคอยให้ความช่วยเหลือผูโ้ ดยสาร ทีเ่ ป็ นสุภาพสตรีในกรณีต่างๆ (2) กาหนดมาตรการการตรวจสัมภาระของผูโ้ ดยสาร โดยได้ตงั ้ จุดตรวจไว้ทช่ี นั ้ จาหน่ าย ตั ๋ว ในเขตชาระเงิน บริเวณใกล้ประตูทางเข้า -ออกอัตโนมัติทงั ้ 2 ฝั ง่ ทุกสถานี และกาหนดให้มกี ารตรวจสัมภาระ ผูโ้ ดยสารให้ได้มากทีส่ ดุ เพื่อป้ องปรามการก่ออาชญากรรมหรือการก่อวินาศกรรมในระบบรถไฟฟ้ าบีทเี อส ตลอดจนนา ระบบตรวจการณ์ อิเ ลกทรอนิ ก ส์ (Patrol Management System) ซึ่ง ประกอบด้ว ย แท่ ง ตรวจการณ์ (Guard Tour Reader) และจุดตรวจ (RFID Checkpoint) มาช่วยเสริมประสิทธิภาพการทางานของนายสถานี และ รปภ. เพื่อตรวจ ตราความเรียบร้อยของพืน้ ทีต่ ามเวลาและจุดตรวจที่กาหนดทัวทุ ่ กพืน้ ที่ (3) การประสานไปยังกองกากับการ 5 สุนัข และม้าตารวจ กองบังคับการตารวจปฏิบตั ิการพิเศษ เพื่อจัดเจ้าหน้าที่ตารวจและสุนัขตรวจค้นหาวัตถุระเบิด (K-9) ปฏิบตั ิหน้ าที่ตรวจหาวัตถุ ระเบิดในระบบรถไฟฟ้ าบีทีเ อสทุ กๆ วัน และ (4) จัดให้มีศูนย์เฝ้ าระวังและรักษาความ ปลอดภัย (CCTV Security Center) อยู่ทส่ี ถานีสยาม ซึง่ มีพนักงานปฏิบตั หิ น้าทีป่ ระจาศูนย์ฯ ดูแลความปลอดภัยของ ผู้โดยสารตลอดเวลาเปิ ดให้บริการ ทัง้ นี้ เมื่อตรวจพบวัตถุ หรือบุคคลต้องสงสัย จะประสานงานไปยังหน่ วยงานที่ เกีย่ วข้องดาเนินการทันที  งำนซ่อมบำรุง กลุ่มบริษทั ซีเมนส์ เป็ นผูใ้ ห้บริการงานซ่อมบารุงต่าง ๆ แก่บที เี อสซี ภายใต้สญ ั ญาซ่อมบารุงกับกลุ่มบริษทั ซี เมนส์ ลงวันที่ 15 กันยายน 2557 โดยเป็ นสัญญาซ่อมบารุงระยะยาว 15 ปี มีระยะเวลาเริม่ ตัง้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม 2558 ถึง 4 ธันวาคม 2572 (สิน้ สุดสัญญาสัมปทาน) ส่วนที่ 1 หน้า 51


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ขอบเขตการบริการภายใต้สญ ั ญาดังกล่าวรวมถึง งานซ่อมบารุงระบบไฟฟ้ าและเครื่องกล (ยกเว้นระบบวิทยุ TETRA ระบบอาณัตสิ ญ ั ญาณ ระบบการจัดเก็บเงินอัตโนมัติ ลิฟต์ และบันไดเลื่อน) งานซ่อมบารุงรถไฟฟ้ า 35 ขบวน ขบวนละ 4 ตู้ ซึ่งซื้อจากกลุ่มบริษัทซีเมนส์ และงานซ่อมบารุงใหญ่ (Overhaul) และการเปลี่ยนอุปกรณ์ต่าง ๆ ตาม แผนการทีว่ างไว้ (Planned Overhauls and Asset Replacements) ขอบเขตและก าหนดการซ่ อ มบารุ งจะถู กก าหนดไว้ล่ว งหน้ า ตามสัญญาซ่ อ มบ ารุ ง และจะมีก ารวางแผน จัดเตรียมจานวนขบวนรถไฟฟ้ าให้เพียงพอกับการให้บริการผูโ้ ดยสารปกติ นอกจากนี้ บีทเี อสซีมกี าหนดการซ่อมบารุง ใหญ่ (Overhaul) ทุก 7-8 ปี โดยจะทยอยทาการซ่อมแซมรถไฟฟ้ าเพื่อไม่ให้กระทบต่อการให้บริการ ทัง้ นี้ การซ่อม บารุงใหญ่แต่ละรอบจะใช้เวลาประมาณ 2 ปี โดยบีทเี อสซีได้จดั ทาการซ่อมบารุงใหญ่ครัง้ แรกเมื่อต้นปี 2549 ซึง่ แล้ว เสร็จในปลายปี 2551 และในปี 2557 ได้ดาเนินการซ่อมบารุงใหญ่ครัง้ ทีส่ อง โดยปั จจุบนั ได้ทาการซ่อมบารุงใหญ่กบั อุปกรณ์หลักเสร็จเรียบร้อยแล้วเมื่อเดือนมีนาคม 2559 ส่วนงานซ่อมบารุงใหญ่กบั อุปกรณ์อ่นื ๆ จาเป็ นต้องทาต่อเนื่อง แต่จะไม่มผี ลกระทบกับการให้บริการแต่อย่างใด ทัง้ นี้ ขอบเขตการให้บริการภายใต้สญ ั ญาซ่อมบารุงระยะยาวดังกล่าว จะไม่ครอบคลุมถึงรถไฟฟ้ าจานวน 17 ขบวน ทีส่ งซื ั ่ อ้ จากซีอาร์อาร์ซี ซึง่ พนักงานของบีทเี อสซีจะทาหน้าทีเ่ ป็ นผูใ้ ห้บริการดูแลรักษาและซ่อมบารุงรถไฟฟ้ าที่สงซื ั ่ ้อ เพิม่ เติมดังกล่าวเอง โดยตามสัญญาซือ้ รถไฟฟ้ า ซีอาร์อาร์ซจี ะต้องทาการฝึกอบรมให้แก่พนักงานของบีทเี อสซีสาหรับการ จัดการและดูแลรักษาระบบต่าง ๆ ของรถไฟฟ้ าให้เสร็จสิน้ ภายใน 1 เดือนก่อนรับมอบรถไฟฟ้ างวดแรก และการฝึกอบรม สาหรับการจัดการและซ่อมบารุงใหญ่ (Overhaul) ภายในระยะเวลา 18 เดือน ภายหลังการรับมอบรถไฟฟ้ างวดแรกแล้ว นอกจากนี้ พนักงานของบีทเี อสซีจะเป็ นผู้ดูแลรักษาและซ่อมบารุงระบบอาณัติสญ ั ญาณเอง โดย ผ่านการ ฝึกอบรมจากกลุ่มบริษทั บอมบาร์เดียร์  ประกันภัย รายละเอียดเกีย่ วกับวงเงินประกันภัย ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561 มีดงั นี้ 1.

2.

3.

ประเภทของประกันภัย 1.1 ประกันภัยความเสียหายทีเ่ กิดต่อบุคคลทีส่ าม (General Third Party Liability) 1.2 ประกันความเสียหายทีเ่ กิดขึน้ จากสินค้า (Product Liability)

วงเงิ นประกันภัย 25,000,000 เหรียญสหรัฐ (สาหรับแต่ละและทุก ๆ เหตุการณ์)

2.1 ประกันภัยความเสียหายต่อทรัพย์สนิ (Property “All Risks”) 2.2 ประกันภัยความเสียหายต่อเครือ่ งจักร (Machinery Breakdown) 2.3 ประกันภัยในกรณีธุรกิจหยุดชะงัก (Business Interruption)

300,000,000 เหรียญสหรัฐ (สาหรับแต่ละและทุก ๆ เหตุการณ์)

ประกันภัยสาหรับภัยจากการก่อการร้าย (Property Terrorism)

25,000,000 เหรียญสหรัฐ (สาหรับแต่ละและทุก ๆ เหตุการณ์และ รวมกันทัง้ หมด)

25,000,000 เหรียญสหรัฐ (สาหรับแต่ละและทุก ๆ เหตุการณ์) (1) กรณีทเ่ี กิดจาก 2.1 ข้างต้น 8,945,290,000 บาท (สาหรับแต่ละและทุก ๆ เหตุการณ์) (2) กรณีทเ่ี กิดจาก 2.2 ข้างต้น 25,000,000 เหรียญสหรัฐ (สาหรับแต่ละและทุก ๆ เหตุการณ์) วงเงินประกันภัยที่ระบุไว้ในข้อ 2.1, 2.2 และ 2.3 จะมีวงเงินคุ้มครอง ย่อยจานวน 15,000,000 เหรียญสหรัฐ สาหรับความเสียหายจากอุทกภัย 10,000,000 เหรียญสหรัฐ (สาหรับแต่ละและทุก ๆ เหตุการณ์และ รวมกันทัง้ หมดระหว่างระยะเวลาเอาประกันภัย)

ส่วนที่ 1 หน้า 52


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

โปรดพิจารณารายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับข้อตกลงเรื่องการประกันภัยของระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชน กรุงเทพสายหลัก ระหว่างบีทเี อสซีและกองทุน BTSGIF ใน หัวข้อ 6.2 ข้อมูลสาคัญอืน่ ในการประกันภัยความเสียหายต่ อทรัพย์สนิ และความเสียหายต่อเครื่องจักร บีทีเอสซีได้จดั ทาประกันภัย ครอบคลุมทรัพย์สนิ ต่าง ๆ ซึ่งมีมูลค่าที่ได้รบั ความคุ้มครองภายใต้กรมธรรม์คอื 1,663 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 58,205 ล้านบาท) ซึง่ ประเมินโดยวิธตี ้นทุนทดแทน (Replacement Cost) วงเงินประกันภัยความเสียหายต่อทรัพย์สนิ และความเสียหายต่อเครื่องจักร กาหนดไว้ท่ี 300 ล้านเหรียญสหรัฐต่อเหตุการณ์ (สาหรับแต่ละและทุก ๆ เหตุการณ์) และขยายความคุ้มครองถึงความเสียหายต่อเครื่องจักรในวงเงิน 25 ล้านเหรียญสหรัฐต่อเหตุการณ์ (สาหรับแต่ละ เหตุการณ์ และทุก ๆ เหตุการณ์) รวมถึงภัยพิบตั ติ ่าง ๆ ทีอ่ าจทาให้เกิดความเสียหายร้ายแรง เช่น แผ่นดินไหว พายุ เฮอริเคน ไฟไหม้ เป็ นต้น ส่วนประกันภัยในกรณีธุรกิจหยุดชะงักอันเนื่องมาจากความเสียหายต่อทรัพย์สนิ และเครื่องจักร บีทเี อสซีได้ จัด ทาประกัน ภัย ไว้ที่ว งเงิน 8,945.29 ล้า นบาท ซึ่ง คานวณจากประมาณการผลกาไรจากค่า โดยสารของระบบ รถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลักใน 12 เดือนข้างหน้าบวกกับค่าใช้จ่ายคงที่ โดยได้มีการขยายความคุม้ ครอง ถึงกรณีธุรกิจหยุดชะงักอันเนื่องมาจากเครื่องจักรหยุดชะงักในวงเงิน 25 ล้านเหรียญสหรัฐต่อเหตุการณ์ (สาหรับแต่ละ เหตุการณ์ และทุก ๆ เหตุการณ์) นอกจากนี้ บีทเี อสซีมกี รมธรรม์ประกันวินาศภัยสาหรับระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพสายส่วนต่อขยาย ประเภทที่ครอบคลุมความเสียหายที่เกิดต่ อบุคคลที่สาม และความเสียหายที่เกิดจากสินค้า ( General Third Party Liability and Product Liability Insurance) และประกันภัยความเสียหายต่อทรัพย์สนิ ของบีทเี อสซี ความเสียหายต่อ เครื่องจักร และความเสียหายในกรณีธุรกิจหยุดชะงัก (Property “All Risks”, Machinery Breakdown and Business Interruption Insurance) ซึ่งเป็ นไปตามข้อกาหนดในสัญญาการให้บริการเดินรถและซ่อมบารุงระยะยาว ทัง้ นี้ ผู้รบั ผลประโยชน์ ตามกรมธรรม์ประกันภัย คือ กทม. กรุงเทพธนาคม บีทีเอสซี และกองทุน BTSGIF โดยรายละเอียด เกี่ยวกับวงเงินประกันภัย ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561 มีรายละเอียดความคุ้มครองเช่นเดียวกันกับการประกันภัยของ ระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลัก เว้นแต่การประกันภัยความเสียหายต่อทรัพย์สนิ และความเสียหายต่อ เครื่องจักรของส่วนต่อขยายสายสีลม ส่วนต่อขยายสายสุขุมวิท และส่วนต่อขยายสายสีเขียว บีทเี อสซีได้จดั ทาประกันภัย ครอบคลุมทรัพย์สนิ ต่างๆ ซึง่ มีมลู ค่าทีไ่ ด้รบั ความคุม้ ครองภายใต้กรมธรรม์คอื 470 ล้านเหรียญสหรัฐ (ประมาณ 16,444 ล้านบาท) ส่วนการประกันภัยในกรณีธุรกิจหยุดชะงัก อันเนื่องมาจากความเสียหายต่อทรัพย์สนิ และเครื่องจักร บีทเี อสซี ได้จดั ทาประกันภัยไว้ทว่ี งเงิน 1,526 ล้านบาท ซึง่ คานวณจากประมาณการรายได้จากค่าโดยสารของส่วนต่อขยายสาย สีลมและส่วนต่อขยายสายสุขมุ วิทใน 12 เดือนข้างหน้าบวกกับค่าใช้จ่ายคงที่

ส่วนที่ 1 หน้า 53


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

2.2

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ธุรกิ จสื่อโฆษณำ

บริษทั ฯ ประกอบธุรกิจสือ่ โฆษณาผ่านกลุ่มวีจไี อ ทัง้ นี้ ในแบบ 56-1 นี้ จะแสดงข้อมูลเกีย่ วกับธุรกิจสือ่ โฆษณา โดยสังเขป สาหรับรายละเอียดเพิม่ เติม โปรดพิจารณาแบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี 2559/60 (แบบ 56-1) ของวีจไี อ 2.2.1

ลักษณะผลิ ตภัณฑ์หรือบริกำร

ในรอบระยะเวลาบัญชีสน้ิ สุดวันที่ 31 มีนาคม 2560 และวันที่ 31 มีนาคม 2561 วีจไี อได้ขบั เคลื่อนธุรกิจ โดย การขยายเครือข่ายสื่อโฆษณาไปยังหลากหลายพื้นที่ส่อื โฆษณานอกบ้านที่สาคัญ รวมถึงการเข้าลงทุนในสื่อโฆษณา ออนไลน์และดิจทิ ลั ทัง้ นี้ วีจีไอประสบความสาเร็จในการสร้างธุรกิจที่แข็งแกร่งและก้าวขึน้ เป็ นผู้นาธุรกิจที่ให้บริการ อย่างมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว ผ่านการผสมผสานสื่อโฆษณาออฟไลน์และออนไลน์ เข้าด้วยกัน จนเกิดเป็ นบริการ O2O Solutions ทีส่ ามารถตอบโจทย์ความต้องการของลูกค้าในการโฆษณาและการสือ่ สาร และเข้าถึงกลุ่มลูกค้าเป้ าหมายใน ทุกๆ จุดของการเดินทางผ่านการวิเคราะห์ขอ้ มูลทีม่ ปี ระสิทธิภาพของ Rabbit Group โดย 2 ธุรกิจหลักที่วจี ไี อมุ่งเน้น คือธุรกิจสือ่ โฆษณานอกบ้าน และธุรกิจบริการด้านดิจทิ ลั 2.2.1.1 ธุรกิ จสื่อโฆษณำนอกบ้ำน ธุรกิจสื่อโฆษณานอกบ้านครอบคลุม 5 พืน้ ทีส่ าคัญ ประกอบด้วย (ก) สื่อโฆษณาในระบบขนส่งมวลชนทัง้ ใน ประเทศและต่างประเทศ (ข) สื่อโฆษณากลางแจ้ง (ค) สื่อโฆษณาในอาคารสานักงาน (ง) สื่อโฆษณาในสนามบิน และ (จ) การสาธิตสินค้าในพืน้ ทีห่ า้ งสรรพสินค้า โดยวีจไี อเป็ นผูบ้ ริหารงานโดยตรงในสื่อโฆษณาในระบบขนส่งมวลชนและ สื่อโฆษณาในอาคารสานักงาน สาหรับสื่อโฆษณานอกบ้านประเภทอื่นๆ นัน้ วีจไี อประกอบธุรกิจผ่านบริษทั ย่อยและ บริษทั ร่วมของวีจไี อ นอกจากนี้ วีจไี อได้ขยายธุรกิจสื่อโฆษณานอกบ้านไปยังต่างประเทศ โดยได้จดั ตัง้ บริษทั ย่อยชื่อ VGI Global Media (Malaysia) Sdn Bhd (“VGM”) เพื่อให้บริการสื่อโฆษณานอกบ้านในประเทศมาเลเซีย โดยในเดือนมกราคม 2561 VGM ได้เข้าลงทุนใน Puncak Berlian Sdn Bhd (“PBSB”) ในสัดส่วนร้อยละ 25 โดยธุรกิจของ PBSB ครอบคลุม การให้บริการเครือข่ายสื่อโฆษณานอกบ้านหลายรูปแบบ ทัง้ สื่อโฆษณาในระบบขนส่งมวลชน สื่อโฆษณาในอาคาร สานักงาน สื่อโฆษณากลางแจ้ง สื่อโฆษณาในสนามบิน และสื่อโฆษณาในห้างสรรพสินค้า นอกจากนี้ VGM ยังอยู่ ระหว่ างการเข้าลงทุนใน Meru Utama Sdn Bhd ผู้ให้บริการสื่อโฆษณาในสนามบินทัง้ สนามบินหลักและสนามบิน สาหรับสายการบินราคาประหยัดในประเทศมาเลเซีย ทัง้ นี้ เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม 2561 คณะกรรมการบริษทั ของวีจี ไอได้มมี ติอนุ มตั กิ ารจาหน่ ายหุน้ ของ VGM จานวนร้อยละ 75 ให้แก่ MACO ทีม่ ูลค่าซือ้ ขายรวมทัง้ สิน้ 360 ล้านบาท เพื่อปรับโครงสร้างธุรกิจของกลุ่ม วีจไี อในประเทศมาเลเซียให้มคี วามชัดเจนยิง่ ขึน้ โดยวีจไี อมีแผนจะให้ MACO เป็ น ผูบ้ ุกตลาดสือ่ โฆษณานอกบ้านในต่างประเทศในอนาคต (ก)

สื่อโฆษณำในระบบขนส่งมวลชน

วีจไี อเป็ นผู้นาอันดับ 1 ในสื่อโฆษณาในระบบขนส่งมวลชน โดยมีอตั รารายได้เติบโตเฉลี่ยร้อยละ 19.6 ใน ระยะเวลา 16 ปี ท่ผี ่านมา โดยในปี ทผ่ี ่านมา วีจไี อมีรายได้จากสื่อโฆษณาในระบบขนส่งมวลชนประมาณ 2,262 ล้าน บาท คิดเป็ นร้อยละ 57.5 ของรายได้จากการให้บริการรวม วีจีไอได้รบั สิทธิให้บริการสื่อโฆษณาและการให้เช่าพื้นที่เชิงพาณิชย์ในโครงการรถไฟฟ้ าสายสีเขียวหลัก จานวน 23 สถานี ตามสัญญาให้สทิ ธิบริหารจัดการด้านการตลาดในระบบรถไฟฟ้ าบีทเี อส และในโครงการรถไฟฟ้ าส่วน ส่วนที่ 1 หน้า 54


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ต่อขยายสายสีเขียว จานวน 7 สถานี ได้แก่ สถานีกรุงธนบุรี วงเวียนใหญ่ บางจาก ปุณณวิถี อุดมสุข บางนา และแบริง่ ตามสัญญาบริหารจัดการพืน้ ทีส่ ง่ เสริมการเดินทางโครงการระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร ซึง่ วีจไี อได้รบั สิทธิแต่ เพียงผูเ้ ดียวจากบีทเี อสซี จนถึงเดือนธันวาคม 2572 ซึง่ เป็ นช่วงเวลาเดียวกับการสิน้ สุดของสัญญาสัมปทานระหว่าง บีทีเอสซี กับ กทม. ทัง้ นี้ บีทีเอสซีเป็ นผู้ลงทุนในการจัดหาและติดตัง้ เครือข่ายสื่อโฆษณาพร้อมวัสดุอุปกรณ์ ท่ีใ ช้ ดาเนินการต่าง ๆ รวมไปถึงรับผิดชอบค่าใช้จ่ายทีเ่ กีย่ วกับการติดตัง้ ป้ ายโฆษณา การบารุงรักษาซ่อมแซมอุปกรณ์ให้ คงสภาพดีตลอดระยะเวลาของสัญญา นอกจากนี้ ในปี 2560/61 Titanium Compass Sdn Bhd บริษัทร่วมทุนทีว่ จี ไี อจัดตัง้ ขึน้ ในประเทศมาเลเซีย และถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 19 ได้เข้าบริหารจัดการสื่อโฆษณาในระบบรถไฟฟ้ าสาย Sungai Buloh- Kajang Line จานวน 19 สถานีและขบวนรถไฟฟ้ า 25 ขบวน (ข)

สื่อโฆษณำในอำคำรสำนักงำน

วีจไี อได้ขยายเครือข่ายสื่อโฆษณานอกบ้านไปยังสื่อโฆษณาในอาคารสานักงานในปี 2552 ผ่านการลงทุนใน บริษัท พอยท์ ออฟ วิว (พีโอวิว) มีเดีย กรุ๊ป จากัด โดยตลอด 8 ปี ของการก้าวเข้ามาในธุรกิจนี้ วีจไี อสามารถสร้าง เครือข่ายอาคารสานักงานทีแ่ ข็งแกร่ง รวมถึงปรับปรุงกลยุทธ์ในการขายสื่อโฆษณาจนสามารถพิสจู น์ความเป็ นผูน้ าใน ธุรกิจสื่อโฆษณาในอาคารสานักงานและมีส่วนแบ่งการตลาดมากกว่าร้อยละ 80 ในอาคารสานักงานเกรด A และ B ทัว่ พื้นที่กรุงเทพฯ ทัง้ นี้ ในปี 2560/61 วีจไี อมีรายได้จากสื่อโฆษณาในอาคารสานักงานประมาณ 238 ล้านบาท คิดเป็ น สัดส่วนร้อยละ 6.0 ของรายได้จากการให้บริการรวม โดยมีอตั รารายได้เติบโตเฉลีย่ ร้อยละ 37.2 ในระยะเวลา 8 ปี ทผ่ี ่าน มา สือ่ โฆษณาในอาคารสานักงานภายใต้การบริหารจัดการของวีจไี อ ครอบคลุม 2 พืน้ ทีห่ ลัก ได้แก่ สือ่ โฆษณาใน อาคารสานักงานและสือ่ โฆษณาในทีพ่ กั อาศัยประเภทคอนโดมิเนียม ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561 วีจไี อมีอาคารสานักงาน ภายใต้การบริหารจัดการ จานวน 174 อาคาร โดยเป็ นสื่อประเภทจอดิจทิ ลั ทัง้ หมด 1,340 จอ นอกจากนี้ ยังได้รบั การ แต่งตัง้ จากห้างหุน้ ส่วนจากัด อาร์ทสิ ต้า มีเดีย ให้เป็ นตัวแทนขายแต่เพียงผูเ้ ดียวสาหรับสือ่ โฆษณาประเภทจอดิจทิ ลั ซึง่ ติดตัง้ ในลิฟต์โดยสารในทีพ่ กั อาศัยประเภทคอนโดมิเนียม ภายใต้แบรนด์ของบริษทั เอพี (ไทยแลนด์) จากัด (มหาชน) บริษัท แอล.พี.เอ็น. ดีเวลลอปเมนท์ จากัด (มหาชน) และบริษัท แกรนด์ ยูนิต้ี ดิเวลล็อปเมนท์ จากัด จานวน 455 อาคาร และมีจานวนหน้าจอทัง้ สิน้ 1,990 จอ (ค)

สื่อโฆษณำกลำงแจ้ง

วีจไี อประกอบธุรกิจสื่อโฆษณากลางแจ้งผ่าน MACO โดย MACO ถือเป็ นผูใ้ ห้บริการสื่อโฆษณากลางแจ้งที่ ใหญ่เป็ นอันดับสองของประเทศไทย ด้วยเครือข่ายสือ่ โฆษณามากกว่า 2,000 จุด ครอบคลุมทุกจังหวัดทัวประเทศ ่ ทัง้ นี้ ในปี 2560/61 วีจไี อมีรายได้จากสื่อโฆษณากลางแจ้งทัง้ สิน้ 958 ล้านบาท คิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ 24.3 ของรายได้จาก การให้บริการรวม นับเป็ นสื่อโฆษณาที่สร้างรายได้ให้กบั วีจไี อมากที่สุดเป็ นอันดับสอง ทัง้ นี้ สินค้าและบริการของ MACO สามารถแบ่งตามประเภทของสือ่ โฆษณาได้ 3 ประเภทหลักดังนี้ 

ป้ ายบิลบอร์ด ได้แก่ (1) ป้ ายบิลบอร์ดขนาดใหญ่ ซึง่ ติดตัง้ ในพืน้ ทีย่ ุทธศาสตร์สาคัญ จานวนมากกว่า 254 ป้ าย (2) ป้ ายบิลบอร์ดบริเวณต่างจังหวัด ครอบคลุมทุกจังหวัดของประเทศไทย มีจานวนทัง้ สิน้ 735 ป้ าย (3) ป้ ายโฆษณาภายในสถานีบริการน้ามัน ปตท. มีจานวนมากกว่า 240 ป้ าย และ (4) ดิจทิ ลั บิลบอร์ด ซึง่ ประกอบด้วยป้ ายดิจทิ ลั บิลบอร์ดขนาดใหญ่จานวน 35 ป้ าย และจอดิจทิ ลั ประเภทแอลซีดี จานวน 250 จอ ส่วนที่ 1 หน้า 55


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ป้ ายโฆษณาที่ติดตัง้ อยู่ตามท้องถนน (Street Furniture) ประกอบด้วยป้ ายโฆษณาขนาดเล็กจนถึง ขนาดกลาง ซึง่ ติดตัง้ ในใจกลางเมืองและบริเวณทีม่ กี ารจราจรหนาแน่น โดย MACO ได้รบั (1) สิทธิใน การบริหารจัดการแต่เพียงผูเ้ ดียวจากบีทเี อสซีสาหรับการติดตัง้ และบริหารป้ ายโฆษณา จานวน 188 ป้ าย และ (2) สิทธิในการบริหารจัดการจาก กทม. สาหรับติดตัง้ และบริหารป้ ายโฆษณา จานวน 306 ป้ าย

งานโฆษณาสร้างสรรค์ ประกอบด้วยการก่อสร้างโครงสร้างป้ ายขนาดใหญ่ งานออกแบบและดีไซน์ การสร้างสีสนั ประกอบเรื่องราวให้กบั อาคารโดยการฉายภาพผ่านโปรเจคเตอร์ การสร้างแบบจาลอง (Mock up) รวมถึงการจัดกิจกรรมทางการตลาด

(ง)

สื่อโฆษณำในสนำมบิ น

สือ่ โฆษณาในสนามบินเป็ นสื่อโฆษณานอกบ้านอีกประเภทหนึ่งทีม่ ปี ระสิทธิภาพในการเข้าถึงผูช้ มสื่อโฆษณา โดยเฉพาะอย่างยิง่ กลุ่มเป้ าหมายทีม่ กี าลังซือ้ สูงทัง้ ชาวไทยและชาวต่างชาติ วีจไี อได้ขยายฐานธุรกิจไปยังสือ่ โฆษณาใน สนามบินผ่านการลงทุนในบริษัท แอโร มีเดีย กรุ๊ป จากัด โดยการถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 30 ปั จจุบนั บริษัท แอโร มีเดีย กรุ๊ป จากัด เป็ นบริษทั สื่อโฆษณาในสนามบินทีใ่ หญ่ทส่ี ุดเป็ นอันดับสองของประเทศไทย โดยเป็ นผูใ้ ห้บริการสือ่ โฆษณาใน 14 สนามบินทัวประเทศ ่ รวมทัง้ สนามบินสุวรรณภูมแิ ละสนามบินดอนเมือง ซึง่ สนามบิน ทัง้ หมดในประเทศ ไทยมีผโู้ ดยสารใช้บริการมากกว่า 148 ล้านคนต่อปี และยังเป็ นผูใ้ ห้บริการสื่อโฆษณาในสนามบินย่างกุง้ ประเทศพม่า ที่มจี านวนผู้โดยสารประมาณ 6 ล้านคนต่อปี โดยได้รบั สิทธิในการบริหารจัดการสื่อโฆษณาหลากหลายประเภท ซึ่ง ประกอบด้วย (1) จอดิจทิ ลั ประเภทแอลอีดี จานวน 343 จอ (2) สะพานเทียบเครื่องบินหรืองวงช้าง จานวน 57 ชุด (3) สือ่ โฆษณาบนรถเข็นกระเป๋ า จานวน 2,500 คัน ในแต่ละสนามบินหลัก (4) สือ่ โฆษณาในเครื่องบินของสายการบิน แอร์ เอเชีย สายการบินไทยไลอ้อนแอร์ และสายการบินนกแอร์ รวมทัง้ สิน้ จานวน 80 ลา และ (5) งานบริหารเว็บไซต์ ให้แก่ท่าอากาศยาน ซึง่ รวมถึง แอพพลิเคชันบนโทรศั ่ พท์เคลื่อนทีข่ องท่าอากาศยาน และเว็บไซต์สาหรับการให้บริการ อินเทอร์เน็ตไร้สายความเร็วสูงฟรี (จ)

กำรสำธิ ตสิ นค้ำ

วีจไี อได้ขยายธุรกิจเข้าไปยังธุรกิจการสาธิตสินค้า หรือธุรกิจการแจกสินค้าทดลอง (Product Sampling) ผ่าน การลงทุนใน บริษทั เดโม เพาเวอร์ (ประเทศไทย) จากัด ผูใ้ ห้บริการสาธิตสินค้าและผลิตภัณฑ์ทใ่ี หญ่ทส่ี ุดในภูมภิ าค เอเชียและในประเทศไทย โดยการถือหุน้ ในสัดส่วนร้อยละ 40 ทัง้ นี้ ณ วันที่ 31 เมษายน 2561 บริษทั เดโม เพาเวอร์ (ประเทศไทย) จากัด มีเครือข่ายร้านค้าครอบคลุมมากกว่า 1,000 ร้านค้าทัวประเทศไทย ่ ประกอบด้วยสิทธิแต่เพียง ผูเ้ ดียวในการบริหารและจัดกิจกรรมทีเ่ กีย่ วข้องกับการสาธิตสินค้าในห้างสรรพสินค้ าชัน้ นา จานวน 360 แห่ง ในเครือ ของกลุ่มค้าปลีก เทสโก้ โลตัส, บิก๊ ซี, ท็อปส์ ซูเปอร์มาร์เก็ต และวิลล่า มาร์เก็ต และสิทธิในการบริหารและจัดกิจกรรมที่ เกีย่ วข้องกับการสาธิตสินค้าในพืน้ ที่ 650 สาขาของห้างสรรพสินค้าแม็คโคร แม็กซ์แวลู ฟู้ดแลนด์ซเู ปอร์มาร์เก็ต เซเว่น อีเลฟเว่น วัตสัน บู๊ทส์ และแฟมิลม่ี าร์ท นอกจากนี้ ยังได้ขยายเครือข่ายจุดสาธิตสินค้าไปยังพืน้ ทีอ่ ่นื ๆ ทีม่ ปี ริมาณผูค้ น สัญจรไปมาหนาแน่น เช่น บริเวณสถานีรถไฟฟ้ าบีทเี อส อาคารสานักงาน และสวนสนุกชัน้ นา ทาให้ปัจจุบนั สามารถสร้าง ปฏิสมั พันธ์กบั ลูกค้าได้มากกว่า 40 ล้านคนต่อวัน

ส่วนที่ 1 หน้า 56


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

2.2.1.2 ธุรกิ จบริกำรด้ำนดิ จิทลั ธุรกิจบริการด้านดิจทิ ลั สามารถจาแนกออกเป็ น 3 ประเภท ได้แก่ (ก) ธุรกิ จเงิ นอิ เล็กทรอนิ กส์ (E-money) ซึง่ ประกอบด้วยธุรกิจเงินอิเล็กทรอนิกส์ประเภทการชาระเงิน แบบออฟไลน์ หรือทีเ่ รียกว่าบัตรแรบบิท ซึง่ ดาเนินการโดยบีเอสเอส และธุรกิจเงินอิเล็กทรอนิกส์ประเภทการชาระเงิน ค่าสินค้าหรือบริการแบบออนไลน์ แทนการใช้เงินสด ซึง่ ดาเนินการโดยบริษทั แรบบิท-ไลน์ เพย์ จากัด โดยบริษทั แรบ บิทเพย์ ซิสเทม จากัด ซึง่ เป็ นบริษทั ย่อยทีบ่ เี อสเอส โฮลดิง้ ส์ ถือหุน้ ในสัดส่วนร้อยละ 33.33 (ข) ธุรกิ จบริ กำร ได้แก่ ธุรกิ จ Web Portal หรือเว็บท่ ำ ธุรกิ จนำยหน้ ำประกัน และธุรกิ จเทเล มำร์เก็ตติ้ ง ผ่านการลงทุนใน บีเอสเอส โฮลดิง้ ส์ (ค) ธุรกิ จสื่อโฆษณำแบบผสมผสำนสื่อออฟไลน์ และสื่อออนไลน์ ภายใต้ช่อื Rabbit Media ซึ่ง เป็ นการวิเคราะห์ขอ้ มูลพฤติกรรมของผูบ้ ริโภคบนฐานข้อมูลอันหลากหลายจากบริการต่าง ๆ ของ Rabbit Group รวม กับ การเลือ กใช้ ส่ือ โฆษณาของวีจีไ อ เพื่อ น าเสนอการโฆษณาทัง้ แบบออฟไลน์ แ ละออนไลน์ ท่ี ส ามารถเจาะ กลุ่มเป้ าหมายและวัดผลได้ ทัง้ นี้ โปรดพิจารณาข้อมูลเพิม่ เติมได้ใน หัวข้อ 2.4 ธุรกิจบริการ 2.2.2

ตลำดและภำวะกำรแข่งขัน 2.2.2.1 ภำพรวมธุรกิ จสื่อโฆษณำ

ในช่วง 2-3 ปี ทผ่ี ่านมา อุตสาหกรรมสื่อโฆษณาในประเทศไทยเกิดการเปลีย่ นแปลงอย่างเห็นได้ชดั โดยสื่อ โฆษณาแบบดัง้ เดิม เช่น โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ นิตยสาร และวิทยุ มียอดการใช้ส่อื ลดลงอย่างต่อเนื่อง ในขณะทีส่ ่อื โฆษณานอกบ้าน สือ่ ออนไลน์และสือ่ ดิจทิ ลั ได้กลายเป็ นตัวเลือกทีส่ าคัญสาหรับการโฆษณาในยุคปั จจุบนั การขยายตัวของสื่อโฆษณานอกบ้านและสื่อออนไลน์ ในช่วงที่ผ่านมา เป็ นผลมาจากรูปแบบการใช้ชวี ติ ที่ เปลี่ยนไปของคนยุคใหม่ ผู้ค นตามเมืองหลวงและหัวเมืองใหญ่นิยมใช้เวลาอยู่นอกบ้านกันมากขึน้ การเพิม่ ขึน้ อย่าง รวดเร็วของผูใ้ ช้งานอินเตอร์เน็ตและโทรศัพท์สมาร์ทโฟน รวมไปถึงความนิยมในการใช้ส่อื ทัง้ สองประเภททีไ่ ด้รบั การ ยอมรับว่าเป็ นเครื่องมือการสือ่ สารด้านโฆษณาและการตลาดทีม่ ปี ระสิทธิภาพ สาหรับสื่อโฆษณานอกบ้าน การเปลี่ยนแปลงทีเ่ ห็นได้ชดั คือการมุ่งเน้นผสมผสานและเชื่อมต่อสื่อออฟไลน์ และออนไลน์ เข้าไว้ด้วยกันแทนการโฆษณาบนแพลตฟอร์ม สื่อ นอกบ้านเพียงอย่ างเดียว การใช้ส่อื รูปแบบใหม่ น้ี สามารถช่วยให้การโฆษณาเข้าถึงกลุ่มเป้ าหมายอย่างมีประสิทธิภาพและเฉพาะเจาะจงกว่าสื่อโฆษณาในรูปแบบเดิม ท าให้ ผู้ล งโฆษณาสามารถสร้ า งการรับ รู้ ใ นสิน ค้า (Awareness) สร้ า งความสัม พัน ธ์ร ะหว่ า งสิน ค้า กับ ผู้บ ริโ ภค (Engagement) และยังสามารถกระตุ้นให้ผบู้ ริโภคซือ้ สินค้าหรือสมัครใช้บริการของแบรนด์นนั ้ ได้ (Conversion) ซึง่ ใน ยุคแห่งการเปลีย่ นผ่านนี้ บริษทั ทีส่ ามารถปรับตัวให้ตอบสนองความต้องการของตลาดและผู้บริโภคได้ก่อน จึงจะอยู่ รอดและมีผลงานทีโ่ ดดเด่นมากกว่าผูเ้ ล่นรายอื่นในธุรกิจเดียวกัน การเปลี่ยนแปลงต่ างๆ เหล่านี้ ทาให้ วจี ไี อปฏิวตั ิตนเองจนกลายเป็ นผู้เล่นรายแรกที่สามารถให้บริการสื่อ รูปแบบออฟไลน์ แ ละออนไลน์ ท่ีสมบูร ณ์ แบบ ปั จจุบนั วีจีไอเป็ นผู้ให้บริการสื่อโฆษณาที่สามารถตอบโจทย์ค วาม ส่วนที่ 1 หน้า 57


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ต้องการของลูกค้าในการโฆษณาและการสือ่ สารได้ครบทุกรอบด้าน เพื่อเข้าถึงกลุ่มลูกค้าเป้ าหมายในทุก ๆ จุดของการ เดินทาง อนึ่ง ด้วยข้อจากัดของข้อมูลทาให้วจี ไี อไม่สามารถประเมินมูลค่าของตลาดสือ่ โฆษณาทีต่ ่อเนื่องและสอดคล้อง กันได้ อย่างไรก็ตาม วีจไี อประเมินว่า ในปี 2560 วีจไี อมีส่วนแบ่งตลาดประมาณร้อยละ 50 ของตลาดสื่อโฆษณาใน ประเทศไทย โดยพิจารณาจากผลประกอบการของบริษทั สือ่ โฆษณานอกบ้านทีจ่ ดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ 2.2.2.2 แนวโน้ มของสื่อโฆษณำ 

สื่อโฆษณำนอกบ้ำน

สื่อโฆษณานอกบ้านมีการเปลี่ยนแปลงที่น่าสังเกตจากรูปแบบการดาเนินชีวติ ประจาวันของผู้บริโภค ใน ปั จจุบนั ผูบ้ ริโภคใช้เวลากับโทรศัพท์เคลื่อนทีแ่ ละใช้เวลานอกบ้านมากขึน้ โดยใช้เวลาไปกับการเดินทางไม่ว่าจะเป็ น รถยนต์ รถไฟฟ้ า รถโดยสารประจาทาง อาคารสานักงานและห้างสรรพสินค้า ทัง้ นี้ รูปแบบการเดินทางของคนใน กรุงเทพฯ เปลีย่ นไปใช้บริการระบบรถไฟฟ้ าเพิม่ มากขึน้ เนื่องจากผูใ้ ช้งานสามารถกาหนดระยะเวลาการเดินทางได้ อย่างมีประสิทธิภาพและช่วยย่นเวลาการเดินทาง ปั จจุบนั ระบบขนส่งมวลชนหลักของประเทศไทยประกอบด้วยระบบรถไฟฟ้ าบีทเี อสและระบบรถไฟฟ้ า MRT โดยระบบขนส่งมวลชนเหล่านี้ได้รบั ความนิยมเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนื่อง สะท้อนให้เห็นจากการเติบโตของจานวนผูโ้ ดยสาร ที่เพิม่ ขึน้ จาก 134 ล้านเที่ยวคน ในปี 2547/48 เป็ น 362 ล้านเที่ยวคน ในปี 2560/61 คิดเป็ นอัตราการเติบโตเฉลี่ย ร้อยละ 8.6 ต่อปี นอกจากระบบรถไฟฟ้ าแล้ว การเดินทางโดยเครื่องบินถือเป็ นอีกหนึ่งทางเลือกทีไ่ ด้รบั ความนิยมซึง่ การเดินทางด้วยสายการบินราคาประหยัดนับเป็ นทางเลือกใหม่ทส่ี ะดวกและมีราคาทีส่ มเหตุสมผล โดยในช่วง 13 ปี ท่ี ผ่านมา ยอดผูใ้ ช้บริการสนามบินในประเทศเติบโตมากกว่าร้อยละ 10.7 ต่อปี ซึง่ มีความสัมพันธ์ต่อการเติบโตของมูลค่า การใช้จ่ายสือ่ โฆษณานอกบ้านเป็ นอย่างมาก 

สื่อโฆษณำออนไลน์และดิ จิทลั

การตลาดแบบออนไลน์และดิจทิ ลั เป็ นหนึ่งช่องทางทีส่ าคัญสาหรับตลาดสือ่ โฆษณา โดยมีปัจจัยสนับสนุนจาก การใช้งานอินเทอร์เน็ตทีเ่ พิม่ มากขึน้ รวมไปถึงความนิยมในการใช้งานโทรศัพท์สมาร์ทโฟน ซึง่ นักการตลาดสามารถใช้ ช่องทางนี้ในการเข้าถึงผูช้ มในวงกว้างและครอบคลุมทุกพืน้ ที่ การเติบ โตที่ร วดเร็วของการใช้ง านดิจิทลั ทัง้ ในด้า นการใช้งานอิน เทอร์เน็ ตในหลากหลายรูป แบบ และ ระยะเวลาการใช้งานอินเทอร์เน็ตโดยเฉลีย่ ทีย่ าวขึน้ กลายเป็ นโอกาสทีส่ าคัญสาหรับธุรกิจดิจทิ ลั ปั จจุบนั อัตราการใช้ งานอินเทอร์เน็ตในประเทศไทยคิดเป็ นร้อยละ 82.0 เทียบกับจานวนประชากรทัง้ หมด โดยมีระยะเวลาการใช้งาน อินเทอร์เน็ตผ่านอุปกรณ์สอ่ื สารต่าง ๆ มากกว่า 550 นาทีต่อวัน เติบโตอย่างเห็นได้ชดั ภายในระยะเวลาไม่กป่ี ี ทผ่ี ่านมา ซึง่ มีผใู้ ช้งานอินเทอร์เน็ตเพียง 300 นาทีต่อวัน การเติบโตของสื่อโฆษณาดิจทิ ลั นัน้ ถูกสนับสนุ นด้วยความสามารถในการปรับเปลี่ยน แก้ไข หรือเพิม่ เติม ข้อมูลได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว ซึ่งส่งผลให้เกิดเป็ นสื่อที่ให้ความหลากหลาย ตลอดจนเข้าถึงผู้รบั สารอย่างตรง เป้ าหมายและกว้างขวางมากที่สุด เนื่องจากความสามารถในการปรับเปลี่ยนของสื่อโฆษณาดิจทิ ลั จึงทาให้ผู้จดั ทา โฆษณาเลือกใช้ส่อื ดิจทิ ลั ในการจัดกิจกรรมทางการตลาดแทนสื่อภาพนิ่ง และถือได้ว่าสื่อโฆษณาดิจทิ ลั กาลังกลายเป็ น

ส่วนที่ 1 หน้า 58


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

สื่อโฆษณาที่ประหยัดเวลาและค่าใช้จ่ายมากกว่าสื่อโฆษณารูปแบบเดิม สิง่ นี้เป็ นหนึ่งในส่วนประกอบสาคัญที่จ ะ สามารถก้าวขึน้ มาอยู่แนวหน้าในอุตสาหกรรมสือ่ โฆษณาทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงอยู่ตลอดเวลาในอนาคตได้ 2.2.2.3 ภำวะกำรแข่งขันและกลยุทธ์กำรแข่งขัน ผูใ้ ห้บริการสือ่ นอกบ้านรายใหญ่ซง่ึ อยู่ในตลาดหลักทรัพย์ มีดงั นี้ โดยแสดงรายชื่อตามรายได้ในปี 2560 บริษทั บริษทั วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย จากัด (มหาชน)* บริษทั แพลน บี มีเดีย จากัด (มหาชน) บริษทั อควา คอร์เปอเรชัน่ จากัด (มหาชน)** บริษทั มาสเตอร์ แอด จากัด (มหาชน) บริษทั ทรีซกิ ตีไ้ ฟว์ จากัด (มหาชน)

รำยได้ (ล้ำนบำท) 3,936 3,016 1,379 965 387

กำไรสุทธิ (ล้ำนบำท) 846 461 487 221 (259)

* รอบปี บญ ั ชีสน้ิ สุดวันที่ 31 มีนาคม 2561 และไม่รวมรายได้อ่นื ** รวมกาไรจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่ ายุติธรรมในอสังหาริมทรัพย์จานวน 293 ล้านบาท และกาไรจากการขายเงินลงทุน จานวน 34 ล้านบาท แหล่งข้อมูลของวีจไี อ และ www.set.or.th

ในช่วง 3-4 ปี ท่ผี ่านมา แนวโน้มการใช้งบประมาณโฆษณาสินค้าจะถูกจัดสรรไปในสื่อโฆษณาหลากหลาย ประเภท เนื่องจากสื่อโฆษณาแต่ละประเภทมีจุดเด่นและประสิทธิภาพในการส่งสารเข้าถึงผูบ้ ริโภคทีแ่ ตกต่างกัน อันจะ ทาให้ทุกสื่อโฆษณาทีเ่ ลือกใช้มปี ระสิทธิภาพสูงขึน้ เอเจนซีแ่ ละเจ้าของสินค้าและบริการจึงมีการเลือกใช้ส่อื โฆษณาที่ หลากหลายผสมผสานกันตามความเหมาะสมกับกลุ่มเป้ าหมายและงบประมาณ เพื่อให้เกิดความต่อเนื่องในการสร้าง การรับรู้แบรนด์และสรรพคุณสินค้า ตลอดจนขยายฐานผูร้ บั ชมหรือลูกค้าให้กว้างขวางขึน้ พร้อมทัง้ การตอกย้าสร้าง ความภักดีในสินค้า (Brand Loyalty) ด้วยเหตุน้ี การแข่งขันในอุตสาหกรรมสื่อโฆษณาทุกวันนี้ จึงไม่ได้เป็ นเพียงการ แข่งขันชิงส่วนแบ่ง การตลาดในรูปแบบเดิม ที่แย่งชิงส่วนแบ่ง การตลาดจากสื่อโฆษณาประเภทเดียวกัน แต่เป็ นการ แข่งขันทีต่ อ้ งแข่งกับสือ่ โฆษณาทุกประเภท นอกจากนี้ ผูบ้ ริโภคยุคปั จจุบนั มีพฤติกรรมในการทากิจกรรมหลายอย่างใน ช่วงเวลาเดียวกัน ทาให้การใช้ส่อื โฆษณาประเภทเดียว (Stand-Alone) แบบยุคเดิม ไม่ตอบสนองพฤติกรรมของ ผู้บริโภคที่เปลี่ยนไป ดังนัน้ สื่อโฆษณาในปั จจุบนั จึงมีการผสมผสานการใช้ส่อื โฆษณาทัง้ ในรูปแบบดัง้ เดิมและแบบ ดิจทิ ลั มากขึน้ กระแสของการสร้างสรรค์สอ่ื โฆษณาแบบผสมผสานจึงได้รบั การตอบรับทีด่ แี ละเติบโตอย่างต่อเนื่อง โดย มีลูกเล่นใหม่ ๆ ผสมสื่อโฆษณารูปแบบดัง้ เดิมไปกับสื่อโฆษณาดิจทิ ลั เพื่อให้ได้รบั ประสบการณ์ความแปลกใหม่ทท่ี า ให้การเข้าถึงเนื้อหาต่าง ๆ มีความสนุกและน่าสนใจ การเปลีย่ นแปลงทีส่ าคัญอย่างต่อเนื่องในการปรับเปลีย่ นไปสู่ส่อื โฆษณาดิจทิ ลั บรอดแบนด์ไร้สาย และการ เคลื่อนย้ายของประชากรที่เพิม่ มากขึน้ จะช่วยยกระดับการให้บริการสื่อโฆษณานอกบ้านและธุรกิจบริการด้านดิจทิ ลั ของวีจไี อ ให้กลายเป็ นศูนย์กลางการโฆษณาอย่างครบวงจร (One-stop Solution) และส่งผลให้วจี ไี อสามารถครองส่วน แบ่งการตลาดได้มากขึ้น เช่น กัน กลุ่มวีจีไอได้ริเริ่มการผสมผสานสื่อออฟไลน์ แ ละสื่อออนไลน์ เข้าไว้ด้วยกัน เพื่อ สร้างสรรค์ส่อื โฆษณาทีส่ ามารถเจาะกลุ่มเป้ าหมายอย่างตรงจุดและสามารถวัดผลได้อย่างแม่นยา และเชื่อมันว่ ่ า ด้วย เครือข่ายสื่อโฆษณานอกบ้านที่ครบวงจรของวีจีไอซึ่ง สามารถเชื่อมโยงและเป็ น ส่วนของหนึ่งของการเติบโตของ อินเทอร์เน็ตและบรอดแบนด์ไร้สาย จะเป็ นโอกาสสาคัญให้วจี ไี อสามารถครองส่วนแบ่ง การตลาดเพิม่ ขึน้ ในการแข่งขัน ระดับแนวหน้าและทาให้มคี วามได้เปรียบมากกว่าคู่แข่งรายอื่น

ส่วนที่ 1 หน้า 59


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ในการนี้ วีจีไ อได้ พ ัฒนากลยุท ธ์ก ารแข่งขันเพื่อ ความยังยื ่ น ภายใต้ วิสยั ทัศ น์ “โซลูช นั ่ ส์สาหรับ อนาคต” รายละเอียดมีดงั นี้

OFFLINE – ออฟไลน์ ทุกวันนี้ช่องทางการสื่อสารแบ่งแยกออกเป็ นหลายทางมากกว่าในอดีต การให้บริการสื่อแบบครบวงจรที่ สามารถเชื่อมโยงช่องทางการสือ่ สารต่างๆ ให้สมั พันธ์กนั ได้อย่างมีประสิทธิภาพนัน้ ถือเป็ นกุญแจแห่งความสาเร็จทีท่ า ให้วจี ไี อเป็ นผูน้ าสือ่ โฆษณานอกบ้านในประเทศไทย ทัง้ นี้ สือ่ โฆษณานอกบ้านของวีจไี อครอบคลุมทุกประเภท ไม่ว่าจะ เป็ นสื่อโฆษณาในระบบขนส่งมวลชน สื่อโฆษณากลางแจ้ง สื่อโฆษณาในอาคารสานักงาน และสื่อ โฆษณาในสนามบิน ซึ่งวีจีไอคาดว่าธุรกิจสื่อโฆษณาทัง้ หมดของวีจไี อจะเติบโตอย่างต่อเนื่อง โดยสื่อโฆษณาในระบบขนส่งมวลชน จะ เติบโตจากการขยายเส้นทางเดินรถไฟฟ้ าทีเ่ พิม่ มากขึน้ สื่อโฆษณาในอาคารสานักงานจะเติบโตจากการเพิม่ จานวน อาคารสานักงานและทีพ่ กั อาศัยประเภทคอนโดมิเนี ยมในเมือง สื่อโฆษณากลางแจ้งเติบโตผ่านการได้รบั ใบอนุ ญาตที่ มากขึน้ และสื่อในสนามบินจะขยายเพิม่ จากจานวนของสายการบินราคาประหยัดทีเ่ ปิ ดให้บริการมากขึน้ นอกจากนัน้ วีจไี อยังมุ่งเน้นทีจ่ ะขยายการเติบโตในตลาดสือ่ โฆษณาของประเทศในภูมภิ าคตะวันออกเฉียงใต้ โดยเริม่ จากประเทศที่ เป็ นตลาดหลักในภูมภิ าคนี้ เช่น มาเลเซีย อินโดนีเซีย และประเทศใกล้เคียงอื่นๆ นอกจากนี้ เพื่อสร้างความมันใจว่ ่ า วีจไี อคือผูน้ าอันดับหนึ่งของธุรกิจสื่อโฆษณานอกบ้านอย่างแท้จริง วีจไี อจึงมุ่งมันที ่ จ่ ะเพิม่ มูลค่าสื่อโฆษณาภายใต้การ บริหารจัดการทัง้ หมดผ่านระบบดิจทิ ลั แบบบูรณาการ เพื่อนาเสนอนวัตกรรมสื่อใหม่ ๆ ทีด่ ที ส่ี ุดให้กบั อุตสาหกรรมสือ่ โฆษณา DATA – ข้อมูล ในยุคนี้ การกาหนดกลุ่มเป้ าหมายไม่สามารถกาหนดขึน้ โดยข้อมูลทางประชากรศาสตร์เพียงอย่างเดียวได้อกี ต่อไป วีจไี อต้องเข้าใจถึงระดับข้อมูลในด้านจิตวิทยาและพฤติกรรมศาสตร์ต่าง ๆ ของผูบ้ ริโภค เพื่อสร้างความสัมพันธ์ และดึงดูดใจผูบ้ ริโภคด้วยรูปแบบโฆษณาทีเ่ หมาะสม ส่งออกไปถึงผูบ้ ริโภคได้ถูกเวลา และเข้าถึงจุดทีผ่ บู้ ริโภคดาเนิน ชีวติ หรือเข้าไปใช้บริการให้ได้มากทีส่ ดุ วีจไี อมีแนวคิดหลักในการขยายเครือข่ายการชาระเงินผ่าน Rabbit Group และ พันธมิตรทางธุรกิจ ซึง่ จะช่วยเพิม่ ศักยภาพในการดาเนินธุรกิจ เพิม่ ประสิทธิภาพให้กบั ผลิตภัณฑ์และบริการของวีจไี อ ทีจ่ ะเป็ นทางออกของทีด่ ที ส่ี ุดในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ให้กบั ลูกค้า วีจไี อยังคงทดสอบการใช้ขอ้ มูลอย่างต่อเนื่องและใช้ เทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการกาหนดกลุ่มเป้ าหมายต่ าง ๆ ให้ชดั เจนยิง่ ขึน้ จากการทุ่มเทดังกล่าว ทาให้วจี ไี อมีทมี นักวิจยั และพัฒนาข้อมูลทีม่ ากความสามารถ และสามารถสร้างทีม Data Scientist ทีม่ ปี ระสิทธิภาพขึน้ ในวีจไี อได้

ส่วนที่ 1 หน้า 60


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ONLINE – ออนไลน์ การตลาดดิจทิ ลั และออนไลน์ได้กลายเป็ นช่องทางสื่อสารทีส่ าคัญสาหรับการโฆษณาในยุคนี้ เพราะอัตราการ เติบโตอย่างก้าวกระโดดของจานวนผู้ใช้อนิ เทอร์เน็ตและการใช้งานสมาร์ทโฟน ผู้ลงโฆษณานิยมใช้ช่องทางเหล่านี้ เพราะเข้าถึงผู้บริโภคได้กว้างกว่า และสามารถเข้าถึงได้ทุกจุดไม่ว่าจะอยู่ใจกลางเมืองหรือพื้นที่ห่างไกล วีจไี อคือผู้ บุกเบิกการใช้ฐานข้อมูลที่สามารถน ามาผสานใช้ร่วมกับสื่อออนไลน์ แ ละออฟไลน์ วีจีไอสามารถรวมทัง้ หมดเป็ น แพลตฟอร์มโฆษณารูปแบบเดียวทีม่ ปี ระสิทธิภาพสูงสุดในการสือ่ สารเพื่อเข้าถึงกลุ่มเป้ าหมายได้อย่างรวดเร็วและทรงพลัง SOLUTIONS – โซลูชนส์ ั่ ในช่วงทีก่ ารใช้งบโฆษณาไปทีส่ ่อื แบบดัง้ เดิมลดน้อยลง ตลอดจนความเปลีย่ นแปลงในพฤติกรรมการเสพสือ่ ของผูบ้ ริโภคยุคนี้ ส่งผลให้การแข่งขันในธุรกิจสื่อโฆษณาเพิม่ ขึน้ และทาให้ส่อื โฆษณานอกบ้านมีการขยายตัวเติบโต อย่างรวดเร็วเพื่อรองรับพฤติกรรมผูบ้ ริโภคที่เ ปลี่ยนไป วีจไี อได้ปรับแนวคิดและกระบวนทัศน์ในการดาเนินธุรกิจให้ สอดคล้อง คล่องตัวกับโอกาสทีเ่ กิดขึน้ วีจไี อปรับการให้บริการให้มปี ระสิทธิภาพ สามารถวัดผลได้ตรงตามเป้ าหมาย มากยิ่งขึ้น เพื่อเป็ นทางออกที่ดีท่สี ุดในทุกด้านให้กบั ลูกค้า กลยุทธ์ในการดาเนินงานของวีจีไอ มีความชัดเจนและ แข็งแกร่ง วีจไี อมีฐานข้อมูลพฤติกรรมผูบ้ ริโภคทีส่ ามารถเพิม่ ประสิทธิภาพและขยายผลการวางแผนสื่อจากออฟไลน์สู่ ออนไลน์ เพื่อให้ลกู ค้าได้รบั บริการทีด่ แี ละมีประสิทธิภาพสูงสุด 2.2.2.4 กลุ่มลูกค้ำเป้ ำหมำย ผลิตภัณฑ์สอ่ื โฆษณาของวีจไี อสามารถเข้าถึงและครอบคลุมกลุ่มผูช้ มทุกประเภท ทัง้ ในกรุงเทพฯ และจังหวัด ต่าง ๆ ทัวประเทศ ่ โดยลูกค้าทีซ่ อ้ื สื่อโฆษณาส่วนใหญ่ มีวตั ถุประสงค์ในการใช้ส่อื โฆษณาเพื่อส่งเสริมการตลาดและ การขาย สร้างการรับรูแ้ บรนด์สนิ ค้า (Brand Awareness) และประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์เพื่อสร้างความต้องการในการ บริโภค รวมทัง้ สร้างภาพลักษณ์ทด่ี ใี ห้แก่องค์กร ซึง่ กลุ่มลูกค้าเหล่านี้จะเป็ นบริษทั หรือองค์กรขนาดใหญ่ทม่ี ศี กั ยภาพใน การเติบโตอย่างต่อเนื่อง ลูกค้าของวีจไี อ สามารถจาแนกได้ 2 ประเภทหลัก คือ ลูกค้าประเภทเอเจนซี่ และลูกค้าทีเ่ ป็ นเจ้าของสินค้า และบริการ เช่น บริษทั เอกชน หน่วยงานรัฐ เป็ นต้น วีจไี อมีสดั ส่วนลูกค้าประเภทเอเจนซี่ และลูกค้าทีเ่ ป็ นเจ้าของสินค้าและบริการอยู่ทป่ี ระมาณร้อยละ 78.37 และ ร้อยละ 21.63 ตามลาดับ (ข้อมูล ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561) โดยวีจไี อเล็งเห็นว่าการขายสื่อโฆษณาผ่านเอเจนซีน่ นั ้ มี ประสิทธิผลมากกว่า เนื่องจากเอเจนซีม่ ลี กู ค้าทีเ่ ป็ นเจ้าของสินค้าและบริการจานวนหลายราย จึงมีความคล่องตัวในการ สลับ สับ เปลี่ย นแผนการใช้ง บโฆษณาหรือ ปรับ เปลี่ย นงวดเวลาการใช้ส่อื โฆษณาของวีจีไ อ ท าให้วีจีไ อไม่ ไ ด้ร ับ ผลกระทบเมื่อเจ้าของสินค้าและบริการบางรายมีการเปลีย่ นแปลงแผนการลงโฆษณา ทัง้ นี้ สัดส่วนลูกค้ารายใหญ่ 10 รายแรกต่อรายได้รวม ในช่วงปี 2559 – 2561 คิดเป็ นร้อยละ 74.72 ร้อยละ 77.34 และร้อยละ 79.61 ตามลาดับ โดย ตลอดระยะเวลา 3 ปี ทผ่ี ่านมา กลุ่มวีจไี อไม่มสี ดั ส่วนการขายให้แก่ลกู ค้ารายใดรายหนึ่งเกินกว่าร้อยละ 25 ของรายได้รวม ในปี นนั ้ ๆ

ส่วนที่ 1 หน้า 61


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

2.2.3

แบบ 56-1 ปี 2560/61

กำรจัดหำผลิ ตภัณฑ์หรือบริกำร 2.2.3.1 กำรจัดหำสถำนที่ติดตัง้ สื่อโฆษณำ

วีจไี อจัดหาพืน้ ทีต่ ดิ ตัง้ สือ่ โฆษณาโดยเข้าเจรจากับเจ้าของพืน้ ที่ เพื่อให้ได้มาซึง่ สิทธิในการบริหารจัดการพืน้ ที่ โฆษณา ทัง้ นี้ วีจไี อมุ่งเน้นการเป็ นผูไ้ ด้รบั สิทธิแต่เพียงผูเ้ ดียวในการบริหารจัดการพืน้ ทีโ่ ฆษณา 2.2.3.2 กำรผลิ ตงำนโฆษณำ 

สื่อมัลติ มีเดีย

การผลิตงานโฆษณาสาหรับสื่อมัลติมเี ดียนัน้ โดยส่วนใหญ่เจ้าของสินค้าและบริการจะเป็ นผูส้ ่งไฟล์ของงาน โฆษณาในรูปแบบดิจทิ ลั มาให้วจี ไี อ อย่างไรก็ดี วีจไี อสามารถให้บริการออกแบบงานโฆษณาร่วมกับเจ้าของสินค้าและ บริการได้ โดยผลิตงานออกมาในรูปแบบของกราฟฟิ ก (Graphic) ภาพเคลื่อนไหวได้ 

สื่อภำพนิ่ ง

วีจไี อจะเป็ นผู้รบั แบบงานโฆษณา (Artwork) จากเจ้าของสินค้า เพื่อนาไปดาเนินการผลิตและติดตัง้ ให้แล้ว เสร็จ หากเจ้าของสินค้าไม่มแี บบงานโฆษณา วีจไี อสามารถให้บริการออกแบบสื่อโฆษณาร่วมกับเจ้าของสินค้าได้ และ หลังจากแบบโฆษณาเรียบร้อยแล้ว วีจไี อจะจ้างให้บริษทั สิง่ พิมพ์ (Printing Suppliers) ทีเ่ ป็ นคู่คา้ หลักทีว่ จี ไี อวางใจใน ผลงาน ดาเนินการผลิตให้ภายใต้ระบบควบคุมคุณภาพของวีจไี อ เพื่อให้ตรงตามแบบที่ลูกค้าต้องการ และตรงตาม มาตรฐานของจุดติดตัง้ ต่าง ๆ 2.2.3.3 กำรจัดหำอุปกรณ์ ซอฟต์แวร์และอุปกรณ์ควบคุมกำรบริหำรสื่อมัลติ มีเดีย 

สื่อมัลติ มีเดียในระบบรถไฟฟ้ ำบีทีเอส

วีจไี อได้ว่าจ้างผูร้ บั เหมาในการออกแบบ จัดหาอุปกรณ์ ติดตัง้ รวมถึงจัดหาซอฟต์แวร์ควบคุมระบบ โดยทา เป็ นสัญญาจ้างเหมาแบบเบ็ดเสร็จ (Turnkey) ซึง่ ระบบดังกล่าวเป็ นระบบควบคุมบริหารสือ่ โฆษณามัลติมเี ดียทีส่ ามารถ ตรวจสอบและควบคุ ม สถานะของเครื่อ งเล่ น และการท างานของจอภาพจากส่ว นกลาง (Central Control) ในการ ปรับเปลี่ยนสัญญาณภาพ ปรับระดับเสียง เปิ ด -ปิ ดสัญญาณได้ตลอดเวลา (Real-Time Monitor) โดยการส่งคาสัง่ ควบคุมผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตไปยังสือ่ มัลติมเี ดียในทีต่ ่างๆ 

สื่อมัลติ มีเดียในอำคำรสำนักงำน

สาหรับระบบควบคุมบริหารสื่อโฆษณามัลติมเี ดียในอาคารสานักงานนัน้ วีจไี อใช้ซอฟต์แวร์ทส่ี ามารถควบคุม สถานะการท างานของสื่อ โฆษณาผ่ านระบบออนไลน์ จากสานัก งานใหญ่ ได้ ซึ่ง ในกรณี ร ะบ บควบคุ มส่วนกลางที่ สานักงานใหญ่เกิดการขัดข้อง วีจไี อยังสามารถควบคุมระบบการส่งสัญญาณผ่านระบบควบคุมจากอาคารสานักงานอื่น ใดทีม่ สี อ่ื โฆษณาของวีจไี อติดตัง้ อยู่ได้ 2.2.3.4 กำรจัดหำบัตรแรบบิ ท ร้ำนค้ำพันธมิ ตร และช่องทำงกำรเติ มเงิ น โปรดพิจารณาข้อมูลเพิม่ เติมได้ใน หัวข้อ 2.4 ธุรกิจบริการ ส่วนที่ 1 หน้า 62


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

2.3

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ธุรกิ จอสังหำริมทรัพย์

บริ ษั ท ฯ ด าเนิ น ธุ ร กิ จ อสัง หาริ ม ทรั พ ย์ นั บ ตั ง้ แต่ เ ริ่ ม ด าเนิ น การในปี 2511 โดยได้ พ ัฒ นาโครงการ อสังหาริมทรัพย์หลายประเภท เช่น บ้านเดีย่ ว ทาวเฮ้าส์ คอนโดมิเนียม อาคารพักอาศัย โรงแรม อาคารสานักงานและ สนามกอล์ฟ แม้ภายหลังบริษัทฯ จะได้มาซึ่งกิจการโดยการถือครองหุน้ ส่วนใหญ่ของบีทเี อสซี ผู้ให้บริการรถไฟฟ้ า บีทเี อส แต่กลุ่มบริษทั ยังคงดาเนิ นธุรกิจอสังหาริมทรัพย์มาอย่างต่อเนื่อง โดยมุ่งพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ใน หลายรูปแบบ ทัง้ จากทีด่ นิ ทีก่ ลุ่มบริษทั ถือครองกรรมสิทธิอยู ์ ่แล้ว และดาเนินการบริหารงานผ่านบริษทั ย่อย และบริษทั ร่วมทุนต่าง ๆ เพื่อเพิม่ ศักยภาพการแข่งขันในตลาด และเพิม่ ความคล่องตัวในการบริหารให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ธุ ร กิ จ อสัง หาริ ม ทรัพ ย์ ข องกลุ่ ม บริ ษั ท แบ่ ง ออกเป็ น 3 ประเภทหลัก คื อ (1) อสัง หาริ ม ทรัพ ย์ เ ชิง ที่พ ัก อาศัย (2) อสังหาริมทรัพย์เชิงพาณิชย์ และ (3) ทีด่ นิ อย่างไรก็ดี ปั จจุบนั บริษทั ฯ ได้เปลีย่ นแปลงนโยบายและแนวทางในการประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ของกลุ่มบริษัท โดยบริษัทฯ จะไม่ ประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ โดยตรงหรือผ่านบริษัทย่อยในสายธุ ร กิจ อสังหาริมทรัพย์ แต่จะลงทุนในธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ผ่านการถือหุน้ ของ ยู ซิต้ี แทน ดังนัน้ เมื่อวันที่ 16 มีนาคม 2561 บริษทั ฯ จึงได้โอนกิจการทัง้ หมด (Entire Business Transfer) ซึง่ รวมถึงการโอนทรัพย์สนิ หนี้สนิ สิทธิ หน้าทีแ่ ละ ความรับผิดทัง้ หมดของยูนิคอร์น (เดิมเป็ นบริษัทย่อยที่บริษัทฯ ถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 100 ของหุ้นทัง้ หมด) ซึ่ง ประกอบธุรกิจโดยการถือหุ้นในนิติบุคคลอื่น (Holding Company) และประกอบธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ให้แก่ ยู ซิต้ี (“ธุรกรรมการโอนกิจการทัง้ หมด”) โดยได้รบั ชาระค่าตอบแทนจากธุรกรรมการโอนกิจการทัง้ หมดเป็ นหุน้ บุรมิ สิทธิเพิม่ ทุนของ ยู ซิต้ี จานวน 63,882,352,942 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 1 บาท ในราคาหุน้ ละ 0.034 บาท พร้อมกับใบสาคัญ แสดงสิทธิทจ่ี ะซือ้ หุน้ สามัญของ ยู ซิต้ี รุ่นที่ 3 จานวน 31,941,176,471 หน่วย โดยไม่มคี ่าตอบแทน (Sweetener) จาก ยู ซิต้ี ทัง้ นี้ ก่อนการเข้าทาธุรกรรมการโอนกิจการทัง้ หมด ยูนิคอร์นได้ดาเนิน การปรับโครงสร้างภายในเพื่อให้ เป็ นไปตามข้อกาหนดในสัญญาโอนกิจการทัง้ หมด ตามรายละเอียดดังนี้ (ก) การจาหน่ายทรัพย์สนิ บางรายการของยูนิคอร์น ให้แก่บริษทั ฯ (1)

หุน้ สามัญของบริษทั เอชเอชที คอนสตรัคชัน่ จากัด จานวน 2,550,000 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 5 บาท คิดเป็ นร้อยละ 51.00 ของหุน้ ทัง้ หมดของบริษทั เอชเอชที คอนสตรัคชัน่ จากัด

(2)

หุน้ สามัญของบริษทั เบย์วอเตอร์ จากัด จานวน 50,000 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 100 บาท คิด เป็ นร้อยละ 50.00 ของหุน้ ทัง้ หมดของบริษทั เบย์วอเตอร์ จากัด

(3)

หุน้ สามัญของบริษทั เดอะ คอมมูนิต้ี วัน จากัด จานวน 100,000 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 100 บาท คิดเป็ นร้อยละ 100.00 ของหุน้ ทัง้ หมดของบริษทั เดอะ คอมมูนิต้ี วัน จากัด

(4)

หุน้ สามัญของบริษทั เดอะ คอมมูนิต้ี ทู จากัด จานวน 100,000 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หุน้ ละ 100 บาท คิดเป็ นร้อยละ 100.00 ของหุน้ ทัง้ หมดของบริษทั เดอะ คอมมูนิต้ี ทู จากัด

(5)

หุน้ สามัญของบริษทั กิง่ แก้ว แอสเสทส์ จากัด จานวน 100,000 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หุน้ ละ 100 บาท คิดเป็ นร้อยละ 100.00 ของหุน้ ทัง้ หมดของบริษทั กิง่ แก้ว แอสเสทส์ จากัด

(6)

หุน้ สามัญของบริษทั ยงสุ จากัด จานวน 2,340,000 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 100 บาท คิดเป็ น ร้อยละ 100.00 ของหุน้ ทัง้ หมดของบริษทั ยงสุ จากัด

ส่วนที่ 1 หน้า 63


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

(7)

หุน้ สามัญของบริษทั ดีแนล จากัด จานวน 500,000 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 100 บาท คิดเป็ น ร้อยละ 100.00 ของหุน้ ทัง้ หมดของบริษทั ดีแนล จากัด

(8)

สิทธิเรียกร้องตามตั ๋วสัญญาใช้เงินทัง้ หมดระหว่างยูนิคอร์น (ในฐานะเจ้าหนี้) และนิตบิ ุคคลใน ข้อ (1) ถึงข้อ (7) ข้างต้น (ในฐานะลูกหนี้) พร้อมดอกเบีย้ โดย ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2560 มี มูลค่ารวม 4,636 ล้านบาท

(ข) การโอนหุน้ ของธนายง ฮ่องกง ลิมเิ ต็ด (Tanayong Hong Kong Limited) จานวนรวมทัง้ สิน้ 10,000 หุน้ มูล ค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 1 ดอลล่าร์ฮ่องกง คิดเป็ นร้อยละ 100.00 ของหุน้ ทัง้ หมดทีถ่ อื โดยบริษทั ฯ ให้แก่ ยูนิคอร์น รายละเอียดของบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วมทีถ่ อื หุน้ โดยยูนิคอร์นทีโ่ อนให้แก่ ยู ซิต้ี ตามธุรกรรมการโอนกิจการ ทัง้ หมด มีดงั นี้ ที่

รำยชื่อบริ ษทั ที่ ยนู ิ คอร์นถือหุ้น

ทุน จดทะเบียน (ล้ำนบำท) 340.00

จำนวนหุ้น (หุ้น) 3,400,000

สัดส่วน กำรถือหุ้น (ร้อยละ) 100.00

125.00

1,250,000

100.00

311.00 5.00

3,110,000 50,000

100.00 100.00

1.00

10,000

100.00

10.00 10.00 151.00 1.00

100,000 100,000 1,510,000 10,000

100.00 100.00 100.00 100.00

10.00 20.00

100,000 200,000

100.00 100.00

10,000 10,000 ดอลลาร์ฮ่องกง บริษทั แอ๊บโซลูท โฮเต็ล เซอร์วสิ จากัด บริหารอสังหาริมทรัพย์ ประเภทโรงแรม 25.00 1,250,000 บริษทั คียส์ โตน เอสเตท จากัด ถือครองทีด่ นิ และพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ 1,874.00 9,370,000 บริษทั คียส์ โตน แมเนจเม้นท์ จากัด บริหารและดาเนินธุรกิจโรงเรียนนานาชาติ 500.00 2,500,000 บริษทั บีทเี อส แสนสิร ิ โฮลดิง้ ถือครองทีด่ นิ และพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ 100.00 500,000 วัน จากัด เพือ่ ขาย บริษทั บีทเี อส แสนสิร ิ โฮลดิง้ ถือครองทีด่ นิ และพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ 100.00 500,000 ทู จากัด เพือ่ ขาย

100.00

1 บริษทั ยูนิซนั วัน จากัด 2 บริษทั เมืองทอง แอสเซ็ทส์ จากัด 3 บริษทั ปราณคีร ี แอสเซ็ทส์ จากัด 4 บริษทั สยาม เพจจิง้ แอนด์ คอมมิวนิเคชัน่ จากัด 5 บริษทั ธนายง ฟู๊ ด แอนด์ เบเวอเรจ จากัด 6 บริษทั บีทเี อส แลนด์ จากัด 7 บริษทั ไนน์ สแควร์ พร็อพเพอร์ต้ี จากัด 8 บริษทั มรรค๘ จากัด 9 บริษทั ธนายง พร็อพเพอร์ต้ี แมเนจเม้นท์ จากัด

ประเภทธุรกิ จ/ โครงกำรที่พฒ ั นำ อาคารสานักงานให้เช่า (อาคารทีเอสที ทาวเวอร์ ดาเนินธุรกิจโรงแรม (โรงแรมยู สาทร, โรงแรมยู เชียงใหม่ และโรงแรมยู อินจันทรี) ถือครองทีด่ นิ และพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ถือครองทีด่ นิ และพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ถือครองทีด่ นิ และพัฒนาอสังหาริมทรัพย์

ถือครองทีด่ นิ และพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ถือครองทีด่ นิ และพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ถือครองทีด่ นิ และพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ บริห ารอสัง หาริม ทรัพ ย์ (อาคารทีเอสที ทาวเวอร์ และเดอะรอยัล เพลส 1/2 และ เดอะแกรนด์) 10 บริษทั ราษฎร์บรู ณะ พร็อพเพอร์ต้ี จากัด ถือครองทีด่ นิ และพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ 11 บริษทั ธนาซิต้ี กอล์ฟ แอนด์ สปอร์ต บริหารและดาเนินกิจการสนามกอล์ฟและ คลับ จากัด ศูนย์กฬี า (สนามกอล์ฟธนาซิต)้ี 12 ธนายง ฮ่องกง ลิมเิ ต็ด ลงทุนในหลักทรัพย์ของบริษทั อืน่ 13 14 15 16 17

ส่วนที่ 1 หน้า 64

50.00 50.00 50.00 50.00 50.00


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน) ที่

รำยชื่อบริ ษทั ที่ ยนู ิ คอร์นถือหุ้น

18 บริษทั บีทเี อส แสนสิร ิ โฮลดิง้ ทรี จากัด 19 บริษทั บีทเี อส แสนสิร ิ โฮลดิง้ โฟร์ จากัด 20 บริษทั บีทเี อส แสนสิร ิ โฮลดิง้ ไฟฟ์ จากัด 21 บริษทั บีทเี อส แสนสิร ิ โฮลดิง้ ซิกส์ จากัด 22 บริษทั บีทเี อส แสนสิร ิ โฮลดิง้ เซเว่น จากัด 23 บริษทั บีทเี อส แสนสิร ิ โฮลดิง้ เอท จากัด 24 บริษทั บีทเี อส แสนสิร ิ โฮลดิง้ ไนน์ จากัด 25 บริษทั นูโว ไลน์ เอเจนซี่ จากัด 26 บริษทั บีทเี อส แสนสิร ิ โฮลดิง้ อีเลฟเว่น จากัด 27 บริษทั บีทเี อส แสนสิร ิ โฮลดิง้ ทเวลฟ์ จากัด 28 บริษทั บีทเี อส แสนสิร ิ โฮลดิง้ โฟร์ทนี จากัด 29 บริษทั บีทเี อส แสนสิร ิ โฮลดิง้ ฟิ ฟทีน จากัด 30 บริษทั บีทเี อส แสนสิร ิ โฮลดิง้ ซิกซ์ทนี จากัด 31 บริษทั บีทเี อส แสนสิร ิ โฮลดิง้ เซเว่นทีน จากัด 32 บริษทั บีทเี อส แสนสิร ิ โฮลดิง้ เอททีน จากัด 33 บริษทั บีทเี อส แสนสิร ิ โฮลดิง้ ไนน์ทนี จากัด 34 บริษทั บีทเี อส แสนสิร ิ โฮลดิง้ ทเวนที จากัด 35 บริษทั บีทเี อส แสนสิร ิ โฮลดิง้ ทเวนที วัน จากัด 36 บริษทั บีทเี อส แสนสิร ิ โฮลดิง้ ทเวนที ทู จากัด

ประเภทธุรกิ จ/ โครงกำรที่พฒ ั นำ ถือครองทีด่ นิ และพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ เพือ่ ขาย ถือครองทีด่ นิ และพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ เพือ่ ขาย ถือครองทีด่ นิ และพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ เพือ่ ขาย ถือครองทีด่ นิ และพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ เพือ่ ขาย ถือครองทีด่ นิ และพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ เพือ่ ขาย ถือครองทีด่ นิ และพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ เพือ่ ขาย ถือครองทีด่ นิ และพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ เพือ่ ขาย ถือครองทีด่ นิ และพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ เพือ่ ขาย ถือครองทีด่ นิ และพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ เพือ่ ขาย ถือครองทีด่ นิ และพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ เพือ่ ขาย ถือครองทีด่ นิ และพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ เพือ่ ขาย ถือครองทีด่ นิ และพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ เพือ่ ขาย ถือครองทีด่ นิ และพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ เพือ่ ขาย ถือครองทีด่ นิ และพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ เพือ่ ขาย ถือครองทีด่ นิ และพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ เพือ่ ขาย ถือครองทีด่ นิ และพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ เพือ่ ขาย ถือครองทีด่ นิ และพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ เพือ่ ขาย ถือครองทีด่ นิ และพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ เพือ่ ขาย ถือครองทีด่ นิ และพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ เพือ่ ขาย

แบบ 56-1 ปี 2560/61 ทุน จดทะเบียน (ล้ำนบำท) 100.00

จำนวนหุ้น (หุ้น) 500,000

สัดส่วน กำรถือหุ้น (ร้อยละ) 50.00

100.00

500,000

50.00

100.00

500,000

50.00

100.00

500,000

50.00

100.00

500,000

50.00

100.00

500,000

50.00

100.00

500,000

50.00

100.00

500,000

50.00

100.00

500,000

50.00

100.00

500,000

50.00

100.00

500,000

50.00

100.00

500,000

50.00

100.00

500,000

50.00

100.00

500,000

50.00

100.00

500,000

50.00

100.00

500,000

50.00

100.00

500,000

50.00

100.00

500,000

50.00

100.00

500,000

50.00

ภายหลังธุรกรรมการโอนกิจการทัง้ หมดสาเร็จลุล่วงแล้วเสร็จ ยูนิคอร์นได้ดาเนินการจดทะเบียนเลิกบริษทั ต่อ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ และดาเนินการชาระบัญชีตามขัน้ ตอนทางกฎหมายแล้ว ทัง้ นี้ การเลิกบริษทั ดังกล่าวไม่ได้สง่ ผลกระทบต่อการดาเนินงานของบริษทั ฯ แต่อย่างใด ส่วนที่ 1 หน้า 65


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

สาหรับข้อตกลงในสัญญาข้อตกลงกรอบความร่วมมือทางธุรกิจ (Strategic Alliance Framework Agreement) ระหว่างบริษัทฯ และบริษัท แสนสิริ จากัด (มหาชน) (“แสนสิริ”) ซึ่งตกลงให้มีการจัดตัง้ บริษัทร่วมทุน เพื่อพัฒนา โครงการอสังหาริมทรัพย์ตามแนวเส้นทางรถไฟฟ้ าในปั จจุบนั และทีจ่ ะมีขน้ึ ในอนาคต (ปั จจุบนั มีจานวน 21 บริษทั ) นัน้ บริษทั ฯ และแสนสิรไิ ด้ตกลงให้ยู ซิต้ี เป็ นผูถ้ อื หุน้ ในบริษทั ร่วมทุนแทนบริษทั ฯ แต่เพียงผูเ้ ดียว ประโยชน์ทบ่ี ริษทั ฯ ได้รบั จากการเข้าทาธุรกรรมการโอนกิจการทัง้ หมดของยูนิคอร์นให้แก่ ยู ซิต้ี มีดงั นี้ (1) ยู ซิต้ี และยูนิคอร์นดาเนินธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ในประเภทและอาณาเขตเดียวกัน ดังนัน้ เพื่อขจัด ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในการประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ จึงทาการโอนกิจการทัง้ หมดระหว่างบริษทั ฯ และยู ซิต้ี (2) เพิม่ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการและจัดสรรทรัพยากรขององค์กร จากการรวมธุรกิจเป็ นองค์รวม และลดการทางานหลายขัน้ ตอน (3) เพิม่ ความสามารถในการดาเนินธุรกิจจากการขยายพอร์ตของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ เช่น สามารถ เพิม่ อานาจการต่อรองค่าบริการและค่าธรรมเนียมกับบริษทั ผูใ้ ห้บริการด้านการจองทีพ่ กั โรงแรมและบริการด้านการ ท่องเทีย่ วทางออนไลน์ หรือ Online Travel Agencies (OTA) บริษทั ก่อสร้างและจัดหาวัสดุก่อสร้าง (4) เป็ นการเสริมการทางานร่วมกัน อาทิ การนาธุรกิจบริหารจัดการโรงแรมภายใต้แบรนด์ Vienna House ของ ยู ซิต้ี มาขยายในทวีปเอเชีย และนาแบรนด์ แอ๊บโซลูท โฮเทล เซอร์วสิ (AHS) ของกลุ่มบริษทั ขยายไปยัง ทวีปยุโรป และเป็ นการร่วมมือกันระหว่างสถานทีใ่ ห้บริการและโปรแกรมส่งเสริมการขาย (Loyalty Programme) (5) เป็ น การสร้า งอิสรภาพการลงทุน ในอนาคตของกลุ่ มบริษัทบีทีเ อส จากการได้ร ับคืน หนี้ สนิ ของ ยูนิคอร์น และ ยู ซิต้ี จะมีอสิ ระในการลงทุนมากยิง่ ขึน้ จากกระแสเงินสดรับในสินทรัพย์ทม่ี อี ยู่ของกิจการและจากการ เพิม่ ทุนของ ยู ซิต้ี ส่งผลให้ บริษทั ฯ สามารถลดปริมาณเงินลงทุนในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ทัง้ นี้ เพื่อป้ องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ บริษัทฯ และยู ซิต้ี ได้กาหนดนโยบายการประกอบธุ รกิจ อสังหาริมทรัพย์ โดยตลอดระยะเวลาทีบ่ ริษทั ฯ ถือหุน้ ใน ยู ซิต้ี ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อมรวมกันในสัดส่วนไม่น้อยกว่า ร้อยละ 10 ของจานวนหุน้ ทีอ่ อกและจาหน่ ายได้แล้วทัง้ หมดของ ยู ซิต้ี บริษทั ฯ และ/หรือบริษทั ย่อยของบริษทั ฯ จะไม่ ประกอบธุ ร กิจ พัฒ นาอสัง หาริมทรัพย์ ท่ีแข่ง ขัน หรือ ทับซ้อ น หรือ น่ า จะแข่ง ขัน หรือ น่ า จะทับ ซ้อ นกับ ธุร กิจ พัฒนา อสังหาริมทรัพย์ของ ยู ซิต้ี ทัง้ นี้ บริษทั ฯ และ/หรือบริษทั ย่อยของบริษทั ฯ ยังคงสามารถประกอบธุรกิจดังต่อไปนี้ (ก) ธุรกิจค้าที่ดนิ และเข้าลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ตราบเท่าที่การดาเนินการดังกล่าวมิใช่เพื่อการพัฒนา โครงการอสังหาริมทรัพย์ (ข) การเข้าลงทุนในหลักทรัพย์ของนิตบิ ุคคลอื่นทีป่ ระกอบธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ในสัดส่วนไม่เกินร้อยละ 10 ของหุน้ ทีจ่ าหน่ ายแล้วทัง้ หมดของนิตบิ ุคคลดังกล่าว และบริษทั ฯ ไม่มอี านาจควบคุมในนิตบิ ุคคลนัน้ ทัง้ นี้ ไม่รวมถึง การถือหุน้ ในนิตบิ ุคคลทีป่ ระกอบธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ของบริษทั ฯ ก่อนวันทีโ่ อนกิจการ นอกจากนี้ เนื่ อ งจากภายหลัง การเข้า ท าธุ ร กรรมการโอนกิจ การทัง้ หมดบริษั ท ฯ จะยัง คงถื อ ครอง อสังหาริมทรัพย์บางส่วนที่ใช้ในการประกอบธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ด้วยตนเองและผ่านบริษทั ย่อยของบริษทั ฯ ดังนัน้ เพื่อเป็ นการป้ องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ในการประกอบธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ระหว่างบริษัทฯ และ ยู ซิต้ี ภายหลังการเข้าทาธุรกรรมการโอนกิจการทัง้ หมดและตลอดระยะเวลาทีบ่ ริษั ทฯ ถือหุน้ ใน ยู ซิต้ี ไม่ว่าทางตรง ส่วนที่ 1 หน้า 66


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

หรือทางอ้อมรวมกันในสัดส่วนไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของจานวนหุ้นที่ออกและจาหน่ ายได้แล้วทัง้ หมดของ ยู ซิต้ี บริษทั ฯ ตกลงทีจ่ ะให้สทิ ธิแก่ ยู ซิต้ี ใน 3 ลักษณะ ดังนี้ (1) สิทธิในการซือ้ หรือเช่าทีด่ นิ และ/หรือสิง่ ปลูกสร้างทีใ่ ช้ในการประกอบธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ของบริษทั ฯ และ/หรือบริษทั ย่อยของบริษทั ฯ และสิทธิในการซื้อหุน้ ในบริษทั ย่อยทีถ่ ือครองทีด่ นิ และ/หรือสิง่ ปลูกสร้างทีใ่ ช้ในการ ประกอบธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ก่อนบุคคลภายนอก (Right of First Refusal: “ROFR”) ในกรณีทบ่ี ริษทั ฯ หรือบริษทั ย่อยของบริษทั ฯ มีความประสงค์จะ (ก) ขายหรือให้เช่าทีด่ นิ และ/หรือสิง่ ปลูกสร้าง ทีใ่ ช้ในการประกอบธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ หรือ (ข) ขายหุน้ ในบริษทั ย่อยซึง่ ถือครองทีด่ นิ และ/หรือสิง่ ปลูกสร้างทีใ่ ช้ในการ ประกอบธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ซึ่งบริษัทฯ และ/หรือบริษัทย่อยของบริษทั ฯ ถือครองอยู่ ณ ปั จจุบนั หรือที่จะได้มาใน อนาคตให้แก่บุคคลภายนอก บริษทั ฯ ตกลงให้หรือดาเนินการให้บริษทั ย่อยทีเ่ กีย่ วข้องให้สทิ ธิแก่ ยู ซิต้ี และ/หรือบริษทั ย่อยของ ยู ซิต้ี ซือ้ หรือเช่าทีด่ นิ และ/หรือสิง่ ปลูกสร้าง หรือซือ้ หุน้ ในบริษทั ย่อยดังกล่าว (แล้วแต่กรณี) ภายใต้เงื่อนไข และราคาทีไ่ ม่ดอ้ ยไปกว่าข้อเสนอทีบ่ ริษทั ฯ หรือบริษทั ย่อยทีเ่ กีย่ วข้องจะเสนอแก่บุคคลภายนอก (2) สิทธิในการซื้อหรือเช่าทีด่ นิ และ/หรือสิง่ ปลูกสร้าง และสิทธิในการซื้อหุน้ ในบริษทั ย่อยทีถ่ ือครองทีด่ นิ และ/หรือสิง่ ปลูกสร้างในลักษณะ Call Option (“Call Option”) ในกรณีท่ี ยู ซิต้ี และ/หรือบริษทั ย่อยของ ยู ซิต้ี ประสงค์จะ (ก) ซือ้ หรือเช่าทีด่ นิ และ/หรือสิง่ ปลูกสร้างที่ใช้ใน การประกอบธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ หรือ (ข) ซื้อหุ้นในบริษัทย่อยซึ่งถือครองที่ดินและ/หรือสิง่ ปลูกสร้างที่ใช้ในการ ประกอบธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ซึง่ บริษทั ฯ หรือบริษทั ย่อยของบริษทั ฯถือครองอยู่ ณ ปั จจุบนั หรือทีจ่ ะได้มาในอนาคต บริษทั ฯ ตกลงขายหรือให้เช่า หรือดาเนินการให้บริษทั ย่อยทีเ่ กีย่ วข้องขายหรือให้เช่าทีด่ นิ และ/หรือสิง่ ปลูกสร้าง หรือขาย หุ้นในบริษัทย่อยดังกล่าว (แล้วแต่กรณี) ให้แก่ ยู ซิต้ี และ/หรือบริษัทย่อยของยู ซิต้ี ในราคายุติธรรมที่ประเมินโดยผู้ ประเมินราคาอิสระซึง่ อยู่ในรายชื่อทีไ่ ด้รบั อนุญาตจากสานักงาน ก.ล.ต. ทีบ่ ริษทั ฯ และ ยู ซิต้ี ร่วมกันแต่งตัง้ ทัง้ นี้ ภายใต้ เงื่อนไขว่า การใช้สทิ ธิ Call Option ของยู ซิต้ี จะต้องเกิดขึน้ ก่อนทีบ่ ริษทั ฯ หรือบริษทั ย่อยทีเ่ กีย่ วข้องจะได้รบั ข้อเสนอ ซื้อหรือเช่ าที่ดินและ/หรือสิ่งปลูกสร้าง หรือข้อเสนอซื้อหุ้นในบริษัทย่อยที่ถือครองที่ดินและ/หรือสิ่งปลูกสร้างจาก บุคคลภายนอก ในกรณีทบ่ี ริษทั ฯ และ ยู ซิต้ี ไม่สามารถตกลงร่วมกันแต่งตัง้ ผูป้ ระเมินราคาอิสระได้ภายใน 7 วันนับแต่วนั ที่ ยู ซิต้ี ได้ใช้สทิ ธิ Call Option ให้บริษัทฯ และ ยู ซิต้ี แต่งตัง้ ผู้ประเมินราคาอิสระซึ่งอยู่ในรายชื่อที่ได้รบั อนุ ญาตจาก สานักงาน ก.ล.ต. ฝ่ ายละ 1 แห่งเพื่อทาหน้าทีเ่ ป็ นผูป้ ระเมินราคายุตธิ รรม โดยให้ราคายุตธิ รรมของทรัพย์สนิ ทีเ่ กีย่ วข้อง นัน้ มีมลู ค่าเท่ากับราคาเฉลีย่ ของราคายุตธิ รรมทีป่ ระเมินโดยผูป้ ระเมินอิสระทัง้ 2 แห่งดังกล่าว (3) สิท ธิใ นการได้ร ับ แต่ ง ตัง้ เป็ น ผู้บ ริห ารภายใต้ ส ัญ ญาจ้า งบริห ารทรัพ ย์สิน ( Property Management Agreement) และสิท ธิใ นการได้ ร ับ แต่ ง ตัง้ เป็ นตัว แทนขายอสัง หาริม ทรัพ ย์ ภ ายใต้ ส ัญ ญาแต่ ง ตัง้ ตัว แทนขาย อสังหาริมทรัพย์ (Real Estate Agency Agreement) สาหรับโครงการอสังหาริมทรัพย์ทบ่ี ริษทั ฯ หรือบริษทั ย่อยของบริษทั ฯ ถือครองอยู่ ณ ปั จจุบนั (และไม่ได้จาหน่ าย ให้แก่ ยู ซิต้ี ภายใต้ธุรกรรมการโอนกิจการทัง้ หมด) บริษทั ฯ ตกลงจะแต่งตัง้ หรือดาเนินการให้บริษทั ย่อยทีเ่ กีย่ วข้องแต่งตัง้ ให้ ยู ซิต้ี และ/หรือบริษัทย่อยของ ยู ซิต้ี ทาหน้ าที่เป็ นผู้บริหารอสังหาริมทรัพย์นัน้ ๆ โดยบริษัทฯ หรือบริษัทย่อยที่ เกี่ยวข้องจะเข้าทาสัญญาจ้างบริหารทรัพย์สนิ กับ ยู ซิต้ี และ/หรือบริษัทย่อยของ ยู ซิต้ี โดยมีข้อตกลงและเงื่อนไขที่มี ลักษณะทางการค้าปกติทวไปเสมื ั่ อนเป็ นการทาธุรกรรมกับคู่คา้ ทีไ่ ม่มคี วามเกีย่ วข้องกันเป็ นพิเศษ (Arm’s Length Basis) ส่วนที่ 1 หน้า 67


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

นอกจากนี้ สาหรับทีด่ นิ และ/หรือสิง่ ปลูกสร้างทีบ่ ริษทั ฯ หรือบริษทั ย่อยของบริษทั ฯ ถือครองอยู่ ณ ปั จจุบนั หรือทีจ่ ะได้มาในอนาคต รวมทัง้ โครงการอสังหาริมทรัพย์ทบ่ี ริษทั ฯ หรือบริษทั ย่อยของบริษทั ฯ ถือครองอยู่ ณ ปั จจุบนั (และไม่ได้จาหน่ ายให้แก่ ยู ซิต้ี ภายใต้ธุรกรรมการโอนกิจการทัง้ หมด) ซึ่งมีไว้เพื่อขายหรือให้เช่า บริษัทฯ ตกลงจะ แต่งตัง้ หรือดาเนินการให้บริษทั ย่อยทีเ่ กีย่ วข้องแต่งตัง้ ให้ยู ซิต้ี และ/หรือบริษทั ย่อยของ ยู ซิต้ี ทาหน้าทีเ่ ป็ นตัวแทนใน การขายหรือให้เช่าอสังหาริมทรัพย์นัน้ ๆ โดยบริษทั ฯ หรือบริษทั ย่อยทีเ่ กีย่ วข้องจะเข้าทาสัญญาแต่งตัง้ ตัวแทนขาย อสังหาริมทรัพย์กบั ยู ซิต้ี และ/หรือบริษทั ย่อยของ ยู ซิต้ี โดยมีขอ้ ตกลงและเงื่อนไขทีม่ ลี กั ษณะทางการค้าปกติทวไป ั่ เสมือนเป็ นการทาธุรกรรมกับคู่คา้ ทีไ่ ม่มคี วามเกีย่ วข้องกันเป็ นพิเศษ (Arm’s Length Basis) อย่างไรก็ตาม ในกรณีท่ี (ก) ยู ซิต้ี ปฏิเสธการเป็ นผูบ้ ริหารอสังหาริมทรัพย์หรือทาหน้าทีเ่ ป็ นตัวแทนในการ ขายหรือให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ดงั กล่าวข้างต้น หรือ (ข) ยู ซิต้ี และ/หรือบริษัทย่อยของ ยู ซิต้ี ไม่ปฏิบตั ิหน้าที่ตาม สัญญาจ้างบริหารทรัพย์สนิ หรือสัญญาแต่งตัง้ ตัวแทนขายอสังหาริมทรัพย์ (แล้วแต่กรณี) อันเป็ นเหตุให้บริษทั ฯ และ/ หรือบริษทั ย่อยทีเ่ กีย่ วข้องเลิกสัญญาดังกล่าว บริษทั ฯ และ/หรือบริษทั ย่อยทีเ่ กีย่ วข้อง มีสทิ ธิในการบริหาร และ/หรือ ขายหรือให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ดงั กล่าวด้วยตนเอง และ/หรือแต่งตัง้ ให้บุคคลภายนอกเป็ นผูบ้ ริหารทรัพย์สนิ หรือเป็ น ตัวแทนในการขายหรือให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ของตนได้ (แล้วแต่กรณี) 2.3.1

ลักษณะผลิ ตภัณฑ์หรือบริกำร

ภายหลังการโอนกิจการของยูนิคอร์นให้แก่ ยู ซิต้ี การดาเนินงานธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ของบริษัทฯ จะมี ประสิทธิภาพมากขึน้ เนื่องจาก ยู ซิต้ี จะเป็ นผูล้ งทุนและพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ของบริษทั ฯ โดยสมบูรณ์ ครอบคลุม การพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ตามแนวเส้นทางรถไฟฟ้ าภายในประเทศ พร้อมกับการบริหารอสังหาริมทรัพย์หลากหลาย ประเภททัวโลกที ่ ส่ ามารถสร้างรายได้อย่างต่อเนื่อง ปั จจุบนั ยู ซิต้ี ดาเนินงานในกลุ่มธุรกิจโรงแรมและบริการ ธุรกิจให้ เช่าอาคารสานักงานและธุรกิจทีพ่ กั อาศัย โดยบริษทั ฯ จะรับรูผ้ ลการดาเนินงานส่วนใหญ่ของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ของ ยู ซิต้ี ตามวิธสี ว่ นได้เสีย (Equity Income) ในรูปแบบของ “กาไรสุทธิจากเงินลงทุนใน ยู ซิต้ี ซึง่ เป็ นบริษทั ร่วม” เครือข่ำยธุรกิ จของ ยู ซิ ตี้ ณ วันที่ 31 มีนำคม 2561

ส่วนที่ 1 หน้า 68


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

นอกจากนี้ ภายหลังการเข้าทาธุรกรรมการโอนกิจการทัง้ หมด กลุ่มบริษัท ยังคงถือครองอสังหาริมทรัพย์ บางส่วนทีส่ ามารถสร้างรายได้ให้กบั กลุ่มบริษทั ได้ โดย ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561 กลุ่มบริษทั ถือครองอสังหาริมทรัพย์ ดังต่อไปนี้ ที่

สิ นทรัพย์

บริ ษทั เจ้ำของ กรรมสิ ทธิ

ประเภท

จำนวน

พืน้ ที่รวม

บริษทั ฯ

คอนโดมิเนียม

1 ยูนิต

59 ตารางเมตร

บริษทั ฯ

คอนโดมิเนียม

3

ธนาเพลส คอนโดมิเนียม เพรสทิจเฮาส์ II

บริษทั ฯ

บ้านจัดสรร

4

เพรสทิจเฮาส์ III

บริษทั ฯ

บ้านจัดสรร

5

ทาวน์เฮาส์ ฮาบิแทต

บริษทั ฯ

บ้านจัดสรร

6

พาร์วนั

บริษทั ฯ

บ้านจัดสรร

57 แปลง

8 ไร่ 1 งาน สัญญาแต่งตัง้ ผูบ้ ริหารหรือ 77.10 ตารางวา ตัวแทนขาย

บริษทั ฯ

ทีด่ นิ

4 แปลง

บริษทั ฯ

ทีด่ นิ

4 แปลง

บริษทั ฯ

ทีด่ นิ

4 แปลง

บริษทั ฯ

ทีด่ นิ

3 แปลง

บริษทั ฯ

ทีด่ นิ

1 แปลง

21 ไร่ 3 งาน 60 ตารางวา 95 ไร่ 93 ตารางวา 37 ไร่ 2 งาน 8.5 ตารางวา 207 ไร่ 1 งาน 80.60 ตารางวา 7 ไร่ 8 ตารางวา 19 ไร่ 75 ตารางวา 11 ไร่ 2 งาน 17 ตารางวา 24 ไร่ 2 ตารางวา 26 ไร่ 11 ตารางวา 10 ไร่ 2 งาน 6 ตารางวา 48 ไร่ 3 งาน 12.8 ตารางวา

อสังหำริ มทรัพย์เพื่อขำย 1 นูเวลคอนโดมิเนียม 2

ที่ดินเปล่ำรอกำรพัฒนำ 7 ทีด่ นิ ริมกก จังหวัดเชียงราย 8 ทีด่ นิ แก่งคอย จังหวัดสระบุร ี 9 ทีด่ นิ เกาะแก้ว จังหวัดภูเก็ต 10 ทีด่ นิ ด้านหน้า โครงการธนาซิต้ี 11 ทีด่ นิ ด้านหลัง โครงการธนาซิต้ี 12 ทีด่ นิ ภายใน โครงการธนาซิต้ี 13 ไพร์มแลนด์ โซนเอ โครงการธนาซิต้ี 14 ไพร์มแลนด์ โซนเอ โครงการธนาซิต้ี 15 ทีด่ นิ สามโคก จังหวัดปทุมธานี 16 ทีด่ นิ ซอยกิง่ แก้ว 17

ทีด่ นิ บริเวณถนน พหลโยธิน**

ประเภทของสิ ทธิ ที่ ให้แก่ ยู ซิ ตี้

สัญญาแต่งตัง้ ผูบ้ ริหารหรือ ตัวแทนขาย 2 ยูนิต 128 สัญญาแต่งตัง้ ผูบ้ ริหารหรือ ตารางเมตร ตัวแทนขาย 38 แปลง 27 ไร่ 1 งาน สัญญาแต่งตัง้ ผูบ้ ริหารหรือ 15.90 ตารางวา ตัวแทนขาย 206 แปลง 59 ไร่ สัญญาแต่งตัง้ ผูบ้ ริหารหรือ 4.20 ตารางวา ตัวแทนขาย 16 แปลง 1 ไร่ 3 งาน สัญญาแต่งตัง้ ผูบ้ ริหารหรือ 68.80 ตารางวา ตัวแทนขาย

บริษทั ฯ

ทีด่ นิ จัดสรร

15 แปลง

บจ. เดอะ คอมมูนิต้ี วัน บจ. เดอะ คอมมูนิต้ี ทู บจ. ยงสุ

ทีด่ นิ

1 แปลง

ทีด่ นิ

1 แปลง

ทีด่ นิ

1 แปลง

บจ. กิง่ แก้ว แอสเสทส์ บจ. เบย์วอเตอร์

ทีด่ นิ

1 แปลง

ทีด่ นิ

35 แปลง

ส่วนที่ 1 หน้า 69

ROFR / Call Option / สัญญา แต่งตัง้ ผูบ้ ริหารหรือตัวแทนขาย ROFR / Call Option / สัญญา แต่งตัง้ ผูบ้ ริหารหรือตัวแทนขาย ROFR / Call Option / สัญญา แต่งตัง้ ผูบ้ ริหารหรือตัวแทนขาย ROFR / Call Option / สัญญา แต่งตัง้ ผูบ้ ริหารหรือตัวแทนขาย ROFR / Call Option / สัญญา แต่งตัง้ ผูบ้ ริหารหรือตัวแทนขาย ROFR / Call Option / สัญญา แต่งตัง้ ผูบ้ ริหารหรือตัวแทนขาย ROFR / Call Option / สัญญา แต่งตัง้ ผูบ้ ริหารหรือตัวแทนขาย ROFR / Call Option / สัญญา แต่งตัง้ ผูบ้ ริหารหรือตัวแทนขาย ROFR / Call Option / สัญญา แต่งตัง้ ผูบ้ ริหารหรือตัวแทนขาย ROFR / Call Option / สัญญา แต่งตัง้ ผูบ้ ริหารหรือตัวแทนขาย -

มูลค่ำตำม บัญชี*

496.3 ล้านบาท

752.7 ล้านบาท

4,296.2 ล้านบาท


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน) ที่

บริ ษทั เจ้ำของ กรรมสิ ทธิ

ประเภท

จำนวน

พืน้ ที่รวม

ประเภทของสิ ทธิ ที่ ให้แก่ ยู ซิ ตี้

มูลค่ำตำม บัญชี*

อสังหำริ มทรัพย์เชิ งพำณิ ชย์ 18 เดอะ รอยัลเพลส II

บริษทั ฯ

54 ยูนิต

19

บริษทั ฯ

คอนโดมิเนียม ให้เช่า คอนโดมิเนียม ให้เช่า สนามกอล์ฟ และคลับเฮาส์ สนามกอล์ฟ

4,514.50 ตารางเมตร 1,616 ตารางเมตร 452 ไร่ 3 งาน 59.5 ตารางวา 22 ไร่ 64 ตารางวา

สัญญาแต่งตัง้ ผูบ้ ริหารหรือ ตัวแทนขาย สัญญาแต่งตัง้ ผูบ้ ริหารหรือ ตัวแทนขาย ROFR / Call Option / สัญญา แต่งตัง้ ผูบ้ ริหารหรือตัวแทนขาย ROFR / Call Option / สัญญา แต่งตัง้ ผูบ้ ริหารหรือตัวแทนขาย

2,473.8 ล้านบาท

20

สิ นทรัพย์

แบบ 56-1 ปี 2560/61

เดอะ แกรนด์

26 ยูนิต

สนามกอล์ฟธนาซิต้ี บริษทั ฯ 4 แปลง และคลับเฮ้าส์*** 21 สนามซ้อมกอล์ฟ บริษทั ฯ 1 แปลง (Driving Range) หมายเหตุ : * มูลค่าตามบัญชีคานวณตามสัดส่วนการถือหุน้ ของบริษทั ฯ ในบริษทั เจ้าของกรรมสิทธิอสังหาริมทรัพย์ ** ทีด่ นิ บริเวณถนนพหลโยธิน - ในปี 2557/58 บริษทั ฯ และบริษทั แกรนด์ คาแนล แลนด์ จากัด (มหาชน) ได้รว่ มกันจัดตัง้ บริษทั ร่วมทุน ซึง่ มีสดั ส่วนการถือหุน้ 50:50 ชือ่ บริษทั เบย์วอเตอร์ จากัด โดยเมือ่ วันที่ 15 ตุลาคม 2558 บริษทั เบย์วอเตอร์ จากัด ได้ชนะการประมูล ซื้อทีด่ นิ บริเวณถนนพหลโยธิน ใกล้กบั สีแ่ ยกรัชโยธิน เนื้อที่ 48-2-96.8 ไร่ มูลค่า 7,350 ล้านบาท ซึง่ อยู่ห่างจากสถานี N10 ของ โครงการรถไฟฟ้ าส่วนต่อขยายสายสีเขียวเหนือเพียง 200 เมตร ทัง้ นี้ ในปี 2560/61 โครงการดังกล่าวอยู่ระหว่างการปรับพืน้ ทีแ่ ละเริม่ พัฒนาระบบสาธารณูปโภคในโครงการ นอกจากนี้ ยังได้แบ่งทีด่ นิ จานวน 10 ไร่ ช่วงระหว่างกลางเพือ่ ก่อสร้างเป็ นถนนขนาด 30 เมตร ประมาณ 7-8 ช่องจราจร เพือ่ เชือ่ มการเดินทางจากถนนพหลโยธินซอย 19/1 ถึงถนนวิภาวดีรงั สิต ระยะทางกว่า 1 กิโลเมตร *** สนามกอล์ฟธนาซิต้ี และคลับเฮ้าส์ - ธนาซิต้ี กอล์ฟ แอนด์ สปอร์ตคลับ ตัง้ อยู่ ในโครงการธนาซิต้ี บนถนนบางนา-ตราด กม.14 ดาเนินงานผ่านบริษทั ย่อย ชือ่ บริษทั ธนาซิต้ี กอล์ฟ แอนด์ สปอร์ต คลับ จากัด ซึง่ ให้บริการสโมสรและสนามกอล์ฟมาตรฐาน 18 หลุม ซึง่ เป็ นสนามเพียงแห่งเดียวในประเทศไทยทีอ่ อกแบบโดย Greg Norman โดยได้ว่าจ้าง บริษทั แอ๊บโซลูท กอล์ฟ เซอร์วสิ จากัด เป็ น ผูบ้ ริหารจัดการสนามกอล์ฟ ปั จจุบนั สนามกอล์ฟธนาซิต้ไี ด้รบั การตอบรับเป็ นอย่างดี ทัง้ จากสมาชิกและบุคคลทัวไป ่ นอกจากนี้ กลุ่ม บริษทั ได้ปรับปรุงและดาเนินการตกแต่งภายในธนาซิต้สี ปอร์ตคลับ และสร้าง Racquet Center ใหม่ขน้ึ ซึ่งภายในประกอบด้วยสนาม ฟุตซอล สนามแบดมินตันในร่ม 5 คอร์ท สนามเทนนิสแบบพื้นแข็ง (Hard Court) 2 คอร์ท พื้นทีส่ นั ทนาการสาหรับเด็กทีม่ ชี ่อื ว่า We Play ห้องจัดเลีย้ ง ห้องเอนกประสงค์ และลานสควอช 3 คอร์ท ซึง่ เปิ ดให้บริการเต็มรูปแบบแล้วตัง้ แต่วนั ที่ 1 มีนาคม 2558 เป็ นต้นมา

ข้อมูลอสังหำริมทรัพย์ที่กลุม่ บริษทั ถือครอง ณ วันที่ 31 มีนำคม 2561

ส่วนที่ 1 หน้า 70


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

2.3.2

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ตลำดและภำวะกำรแข่งขัน ภำพรวมเศรษฐกิ จโดยรวมของประเทศไทย

อัตราการเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) ปี 2560 เติบโตอยู่ท่รี อ้ ยละ 3.9 (เทียบกับร้อยละ 3.2 ในปี ก่อน) ปั จจัยสาคัญของการเติบโตคือภาคการส่งออกทีเ่ พิม่ ขึน้ ถึง ร้อยละ 9.7 รวมถึงการบริโภคในภาคเอกชน ขยายตัว ถึง ร้อ ยละ 3.2 และการลงทุ น ในภาคเอกชนอยู่ ท่ี ร้อ ยละ 1.7 ในขณะที่ก ารลงทุ น ในภาครัฐ กลับ ลดลง ร้อยละ 1.2 นอกจากนี้ การขยายตัวทางเศรษฐกิจของคู่คา้ รายใหญ่โดยเฉพาะประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศในแถบ ยุโรป จีน และญีป่ ่ นุ ทาให้มคี วามต้องการสินค้าของไทยรวมถึงสินค้าเกษตรมากขึน้ อัตราเงินเฟ้ อในปี น้อี ยู่ท่รี อ้ ยละ 0.7 แต่ยงั มีแนวโน้มทีส่ งู ขึน้ และธนาคารแห่งประเทศไทยยังคงอัตราดอกเบีย้ นโยบายไว้ทร่ี อ้ ยละ 1.5 ตลอดปี ค่าเงินบาทยังคงแข็งค่าร้อยละ 3.9 มาเป็ นอัตรา 33.93 บาทต่อ 1 เหรียญสหรัฐฯ ซึง่ การแข็งค่าขึน้ ของเงินบาทยังคงเป็ นเรื่องทีน่ ่ าวิตกสาหรับผูส้ ่งออกและการท่องเทีย่ ว เนื่องจากจะทาให้สนิ ค้าและการ บริการของไทยมีราคาสูงขึน้ เมื่อเทียบเป็ นเงินเหรียญสหรัฐฯ การแข็งค่าขึน้ ของเงินบาทเกิดจากการทีบ่ ญ ั ชีเดินสะพัด เกินดุลประมาณร้อยละ 10.8 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) ในปี 2560 

ภำพรวมธุรกิ จคอนโดมิ เนี ยม

จากรายงานของคอลลิเออร์ส อินเตอร์เนชันแนล ่ ประเทศไทย (Colliers International Thailand) พบว่ายอด คอนโดมิเนียมเปิ ดขายใหม่เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 49.6 จากปี ก่อน เป็ น 58,424 ยูนิต ในขณะทีอ่ ตั ราการขายลดลงเล็กน้อยเป็ น ร้อยละ 57 จากร้อยละ 60 ในปี ท่ผี ่านมา สาหรับ คอนโดมิเนียมที่เปิ ดขายในปี น้ี ร้อยละ 47 เป็ นกลุ่ม ที่มีราคาขาย ระดับสูง ซึง่ มีราคาต่อตารางเมตรสูงกว่ า 100,000 บาทขึน้ ไป ร้อยละ 46 เป็ นกลุ่มทีม่ รี าคาขายเฉลีย่ ระดับกลาง ซึง่ มี ราคาต่ อตารางเมตรอยู่ระหว่าง 50,000 - 100,000 บาท และอีกร้อยละ 7 เป็ นกลุ่มที่มีราคาต่ อตารางเมตรต่ า กว่ า 50,000 บาท ทัง้ นี้ ผูพ้ ฒ ั นาโครงการยังคงเน้นการพัฒนาโครงการทีอ่ ยู่ใกล้กบั สถานีรถไฟฟ้ า เนื่องจากมีการตอบรับที่ ดีกว่าจากผู้ซ้อื เพราะมีความสะดวกสบายและสามารถเข้าถึง ได้ง่ายกว่า แม้ราคาจะสูงกว่าก็ตาม ซึ่ง เห็นได้จาก คอนโดมิเนียมทีต่ งั ้ อยู่ในระยะประมาณ 200 เมตรจากสถานีรถไฟฟ้ า มียอดขายถึงร้อยละ 82 (เพิม่ ขึน้ จากร้อยละ 75 ในปี ทแ่ี ล้ว) และสาหรับคอนโดมิเนียมซึง่ ตัง้ อยู่ระหว่าง 500 ถึง 1,000 เมตรจากสถานีรถไฟฟ้ า มียอดขายร้อยละ 61 จำนวนคอนโดมิ เนี ยมที่ออกจำหน่ ำยในกรุงเทพมหำนครและอัตรำยอดขำยเฉลี่ย (Average Take-Up Rates) จำนวนห้ อง 25,000

50,105 56%

34,666 61%

39,046 60%

58,424

2558

2559

2560

57%

20,000 15,000

10,000 5,000 0

2557 1Q

2Q

3Q

4Q

ข้อมูล : คอลลิเออร์ส อินเตอร์เนชันแนล ่ ประเทศไทย

ส่วนที่ 1 หน้า 71

อัตรายอดขายเฉลี่ย (Average Take-up rate)


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

จำนวนคอนโดมิ เนี ยมที่ออกจำหน่ ำย จำแนกตำมรำคำเฉลี่ยต่อตำรำงเมตร จำนวนห้ อง 35,000

46%

30,000 25,000

45%

49%

20,000

29%

15,000 10,000 5,000

42%

22% 28% 13%

2%

7%

12%

5%

0 น้ อยกว่า 50,000 บาท ต่อตารางเมตร 50,000-1000,000 บาท ต่อตาราง เมตร

2558

2559

100,001-200,000 บาท ต่อตาราง เมตร

2560

มากกว่า 200,000 บาท ต่อตาราง เมตร

ข้อมูล : คอลลิเออร์ส อินเตอร์เนชันแนล ่ ประเทศไทย

ภำพรวมธุรกิ จโรงแรม

จากข้อมูลของกระทรวงการท่องเทีย่ วและกีฬา พบว่ามีจานวนนักท่องเทีย่ วต่างชาติรวมทัง้ สิน้ 35.4 ล้านคน เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 8.6 จากปี ก่อน ซึง่ มีจานวนนักท่องเทีย่ วจานวน 32.6 ล้านคน โดยมีรายรับจากการท่องเทีย่ วรวมทัง้ สิน้ 1.82 แสนล้านบาท เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 11.7 จากปี ก่อนหน้า นักท่องเทีย่ วต่างชาติหลัก ๆ ยังคงมาจาก 3 ประเทศคือ จีน มาเลเซีย และเกาหลีใ ต้ แม้ว่ า ตลอดช่ ว งระยะเวลา 10 เดือ นแรกของปี จ ะอยู่ใ นช่ ว งการถวายอาลัย พระบรมศพ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช และได้ยกเลิกงานเฉลิมฉลอง งานแต่งงาน และงานอื่น ๆ อย่างไร ก็ต าม จากการที่ร ัฐบาลมีก ารส่ง เสริม การท่อ งเที่ยวภายในประเทศจึง ทาให้เ กิด ประโยชน์ โดยรวมโดยเฉพาะต่ อ ผูป้ ระกอบการโรงแรม และส่งผลให้ภาคการท่องเทีย่ วยังดาเนินต่อไปด้วยดี ดังเห็นได้จากในปี 2560 คนไทยเดินทาง ท่องเทีย่ วภายในประเทศประมาณ 156.2 ล้านเทีย่ ว และใช้จ่ายโดยรวมประมาณ 930 พันล้านบาท 

ภำพรวมธุรกิ จอำคำรสำนักงำน

จากรายงานวิจยั ของซีบีอ าร์อี (CBRE) อัต ราว่ าง (Vacancy Rate) โดยรวมของอาคารสานัก งานเพิ่มขึ้น เล็กน้อยจากร้อยละ 7.7 ในปี 2559 เป็ นร้อยละ 7.8 ในปี 2560 และอาคารสานักงานมีพ้นื ที่ว่างสาหรับปล่อยเช่ารวม 8.8 ล้านตารางเมตร ซึง่ เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 2.6 จากปี ทผ่ี ่านมาซึง่ มีพน้ื ทีว่ ่าง 8.56 ล้านตารางเมตร ซึง่ มีสาเหตุจากการเปิ ด ให้บริการอาคารสานักงานเพิม่ ขึน้ โดยเฉพาะพืน้ ทีน่ อกเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล นอกจากนี้ จากอุปสงค์ทม่ี อี ย่าง ต่อเนื่องในอาคารสานักงานในเขตใจกลางเมือง จึงส่งผลให้อตั ราค่าเช่าสานักงานในใจกลางเมือง เพิม่ ขึน้ ร้อยละ 4.3 จากปี ก่อนเป็ นราคาเฉลีย่ อยู่ท่ี 994 บาทต่อตารางเมตรต่อเดือน สาหรับอัตราการเติบโตของอัตราค่าเช่าทีส่ งู ทีส่ ุด คือ อัตราค่าเช่าอาคารสานักงานเกรด A ในพืน้ ทีน่ อกเขตศูนย์กลางธุรกิจทีเ่ พิม่ ขึน้ ร้อยละ 5.2 จากปี ก่อนหน้า เป็ น 810 บาท ต่ อ ตารางเมตรต่ อ เดือ น โดยส่ว นใหญ่ สานักงานใหม่ ๆ จะตัง้ อยู่ใ นอาคารสานัก งานเกรด A เหล่ า นี้ ซึ่ง ส่ง ผลให้ อุปสงค์ของผูเ้ ช่าอยู่ในระดับสูง จึงทาให้ผใู้ ห้เช่าเป็ นผูม้ อี านาจในการต่อรองและกาหนดค่าเช่าดังกล่าว

ส่วนที่ 1 หน้า 72


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ยอดขำย ยอดซื้อ และอัตรำว่ำงรวม (vacancy rate) ของอำคำรเช่ำสำนักงำน หน่ วย: ล้ านตารางเมตร 10 9.6% 8.6% 9.5

12.0%

7.7%

9 8.5 8

8.32

7.5

7.52

7

2557

7.9

7.72

8.99

8.78

8.56

8.45

9.10

9.34

9.36

8.0% 6.0% 4.0%

8.09

2.0% 0.0%

2558

2559

2560

จานวนพื ้นที่วา่ งปล่อยเช่า

2.3.3

10.0%

7.8%

2561F

2562F

2563F

จานวนความต้ องการเช่าพื ้นที่

2564F อัตราห้ องว่าง

งำนที่อยู่ระหว่ำงกำรส่งมอบ

ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561 กลุ่มบริษัทมีโครงการที่อยู่ระหว่างการขาย ซึ่งได้มกี ารลงนามในสัญญาจะซื้อจะ ขายกับลูกค้าแล้วและอยู่ระหว่างการส่งมอบกรรมสิทธิจ์ านวน 1 โครงการ ดังนี้ โครงกำร พาร์ วัน บายธนาซิต้ี

2.4

บริ ษทั เจ้ำของโครงกำร

สถำนที่ตงั ้

บริษทั ฯ

ธนาซิต้,ี บางนา-ตราด กม.14

ยูนิตที่ รอกำรส่งมอบ จำนวน มูลค่ำขำย (ยูนิต/หลัง) (ล้ำนบำท) 2 10.21

ธุรกิ จบริกำร

ธุรกิจบริการของกลุ่มบริษทั เป็ นธุรกิจให้บริการทีส่ นับสนุนการดาเนินงานในธุรกิจหลักของกลุ่มบริษทั ในด้าน ต่าง ๆ ซึง่ ประกอบด้วย ธุรกิจบริการซึง่ ดาเนินการโดย Rabbit Group ได้แก่ ธุรกิจเงินอิเล็กทรอนิกส์ (E-money) ธุรกิจ Web Portal หรือเว็บท่า ธุรกิจนายหน้ า ประกันภัย ธุรกิจเทเลมาร์เก็ตติ้ง และธุรกิจสื่อโฆษณาแบบผสมผสานสื่อ ออฟไลน์และสื่อออนไลน์ ผ่านการวิเคราะห์ขอ้ มูลพฤติกรรมของผูบ้ ริโภค นอกจากนี้ ยังมีธุรกิจให้บริการลูกค้าสัมพันธ์ และโปรแกรมส่งเสริมการขายด้วยตูพ้ มิ พ์คปู องอัตโนมัติ (Coupon Kiosks) และธุรกิจให้บริการทางเทคโนโลยี อนึ่ง เมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2560 บริษทั ฯ และบีทเี อสซีได้จาหน่ ายหุน้ ใน Rabbit Group ให้แก่วจี ไี อ เพื่อการ ปรับโครงสร้างภายในกลุ่มบริษัท ดังนี้ (1) หุ้นที่บริษัทฯ ถือในบีเอสเอส โฮลดิ้งส์ ในสัดส่วนร้อยละ 90.00 ของหุ้น ทัง้ หมดของบีเอสเอส โฮลดิ้งส์ ซึ่งทาให้วจี ไี อเข้าเป็ นผู้ถือหุ้นทางอ้อมในบริษัทย่อยของบีเอสเอส โฮลดิ้งส์ จานวน ทัง้ สิน้ 6 บริษัท ได้แก่ บริษัท แรบบิทเพย์ ซิสเทม จากัด , บริษัท แรบบิท -ไลน์ เพย์ จากัด, บริษัท เอทีเอส แรบบิท นิตบิ ุคคลเฉพาะกิจ จากัด, บริษทั แรบบิท อินเตอร์เน็ต จากัด , บริษทั เอเอสเค โบรคเกอร์ แอสโซซิเอชัน่ จากัด และ บริษทั เอเอสเค ไดเร็ค กรุ๊ป จากัด และ (2) หุน้ ทีบ่ ที เี อสซีถอื ในบีเอสเอส ในสัดส่วนร้อยละ 90.00 ของหุน้ ทัง้ หมดของ บีเอสเอส ทัง้ นี้ ผลสาเร็จจากการเข้าทาธุรกรรมดังกล่าว ทาให้โครงสร้างของธุรกิจบริการของกลุ่มบริษทั เปลีย่ นแปลงไป โดยปั จจุบนั ธุรกิจบริการซึง่ ดาเนินการโดย Rabbit Group ตามทีก่ ล่าวมาแล้วข้างต้น จะอยู่ภายใต้การบริหารจัดการ

ส่วนที่ 1 หน้า 73


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ของวีจีไอ ยกเว้นธุรกิจให้บริการลูกค้าสัม พันธ์และโปรแกรมส่งเสริมการขายด้วยตู้พิมพ์คูปองอัตโนมัติ (Coupon Kiosks) และธุรกิจให้บริการทางเทคโนโลยี ซึง่ บริษทั ฯ จะเป็ นผูด้ าเนินการผ่านบริษทั ย่อย นอกจากนี้ ธุร กิจ บริการของกลุ่มบริษัท ยังครอบคลุมถึงธุร กิจรับเหมาและบริหารโครงการก่อ สร้า ง และ ธุรกิจร้านอาหารจีน ซึ่งปั จจุบนั บริษัทฯ ลงทุนผ่านการถือหุ้นในบริษัทร่วมทุนแทนการดาเนินการด้วยตนเอง 2.4.1

ธุรกิ จเงิ นอิ เล็กทรอนิ กส์ (E-money) 2.4.1.1 ลักษณะผลิ ตภัณฑ์หรือบริกำร

ธุรกิจเงินอิเล็กทรอนิกส์ (E-money) ของกลุ่มบริษทั ประกอบด้วยธุรกิจเงินอิเล็กทรอนิกส์ประเภทการชาระ เงินแบบออฟไลน์ และธุรกิจเงินอิเล็กทรอนิกส์ประเภทการชาระเงินแบบออนไลน์ ธุรกิจเงินอิเล็กทรอนิกส์ประเภทการชาระเงินแบบออฟไลน์ เป็ นการให้บริการชาระเงินผ่านบัตรแรบบิท ซึง่ ดาเนินการโดยบีเอสเอส ภายใต้ใบอนุ ญาตให้ประกอบธุรกิจเป็ นผูใ้ ห้บริการการชาระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์และหนังสือ อนุ ญาตให้ประกอบธุรกิจบัตรเงินอิเล็กทรอนิกส์ (E-money) และพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการควบคุมดูแลธุรกิจบริการ การช าระเงิน ทางอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ พ.ศ. 2551 ซึ่ ง อยู่ ภ ายใต้ ก ารก ากับ ดู แ ลของธนาคารแห่ ง ประเทศไทยและ กระทรวงการคลัง บีเอสเอสได้เปิ ดตัวบัตรเงินอิเล็กทรอนิกส์อย่างเป็ นทางการเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2555 ภายใต้ช่อื ทางการค้าว่า “แรบบิท (rabbit)” โดยเป็ นการให้บริการระบบการใช้จ่ายในระดับย่อยแบบ E-payment สาหรับระบบ ขนส่งมวลชน ธุรกิจค้าปลีก ตลอดจนธุรกิจบริการและการท่องเทีย่ ว ผลิตภัณฑ์หลักของบีเอสเอส คือ เงินอิเล็กทรอนิกส์ทอ่ี ยู่ในบัตรแรบบิทรูปแบบต่าง ๆ ซึง่ สามารถใช้เดินทางใน ระบบขนส่งมวลชน และชาระค่าสินค้าและบริการกับร้านค้าพันธมิตรในเครือข่ายของบัตรแรบบิทได้ บัตรแรบบิทมี 4 ประเภทหลัก คือ (1) บัต รแรบบิท มาตรฐาน (Standard Rabbit) แบ่ ง ออกเป็ น 3 ประเภท ได้ แ ก่ (1) บุ ค คลทัว่ ไป (2) นักเรียน-นักศึกษา และ (3) ผู้สูงอายุ ซึ่งบัตรแรบบิทมาตรฐานนี้ ผู้ถือบัตรสามารถออกบัตรได้ท่หี อ้ งจาหน่ ายตั ๋ว โดยสารรถไฟฟ้ าบีทีเอสทุกสถานี ในปั จจุบนั สามารถออกบัตรแรบบิทมาตรฐานได้ในราคา 200 บาท (ราคารวม ค่าธรรมเนียมการออกบัตรแรบบิท 100 บาท และมูลค่าเริม่ ต้น 100 บาท สาหรับการพร้อมใช้งาน) (2) บัตรแรบบิทธุรกิจ (Corporate Rabbit) คือ บัตรแรบบิทรูปแบบเฉพาะทีท่ าขึน้ ตามความต้องการของ องค์กรต่าง ๆ ทีต่ ้องการรวมคุณสมบัตขิ องบัตรแรบบิทเข้ากับวัตถุประสงค์เฉพาะขององค์กรนัน้ ๆ เช่น บัตรประจาตัว พนักงาน บัตรนักเรียน-นักศึกษา หรือบัตรสมาชิกสาหรับสินค้านัน้ ๆ เป็ นต้น (3) บัต รแรบบิท พิเ ศษ (Special Rabbit) คื อ บัต รแรบบิท รู ป แบบพิเ ศษที่ อ อกและจ าหน่ า ยโดย บีเอสเอส ซึ่งเป็ นผู้ให้บริการระบบบัตรแรบบิท โดยจะออกวางจาหน่ ายเป็ นของทีร่ ะลึกหรือของสะสมเนื่องในโอกาส พิเศษต่าง ๆ ในหลากหลายรูปแบบ อาทิ บัตร สินค้า หรืออุปกรณ์ต่าง ๆ ตัวอย่างเช่น บัตรแรบบิทพิเศษ รุ่นคิตตี้ หรือ รุ่นคุมามง อิดชิ นั ่ ทีบ่ เี อสเอสทาขึน้ มาเพื่อจาหน่ายในปี ทผ่ี ่านมา เป็ นต้น (4) บัต รแรบบิท ร่ ว ม (Co-branded Rabbit) คือ บัต รแรบบิท ที่อ อกโดยสถาบัน การเงิน หรือ องค์ก ร ต่าง ๆ ทีต่ ้องการผนวกประโยชน์ใช้สอยของบัตรแรบบิทเข้ากันกับการทางานของบัตรขององค์กรนัน้ เช่น บัตรเครดิต บัตรเดบิต หรือบัตรหรืออุปกรณ์ชนิดอื่น ๆ ตัวอย่างเช่น ส่วนที่ 1 หน้า 74


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

-

บัตรแรบบิท ร่วมกับ ธนาคารกรุงเทพ จากัด (มหาชน) ซึ่งมีทงั ้ ประเภทบัตรเดบิตและบัตรเครดิต โดยบัตร ดังกล่าวสามารถทางานในฐานะที่เป็ นบัตรเดบิตหรือบัตรเครดิตของธนาคารกรุงเทพ จากัด (มหาชน) และ สามารถทางานในฐานะทีเ่ ป็ นบัตรแรบบิททีใ่ ช้เดินทางในระบบขนส่งมวลชน และใช้ชาระค่าสินค้าและบริการ ในร้านค้าพันธมิตรในเครือข่ายของบัตรแรบบิทได้

-

บัตรแรบบิท ร่วมกับ บริษทั อิออน ธนสินทรัพย์ จากัด (มหาชน) ในการออกบัตรสมาชิกอิออนแรบบิท (AEON Rabbit Member Card) ซึ่ง นับ เป็ น นวัต กรรมทางการเงิน รูป แบบใหม่ ท่ีไ ด้น าฟั ง ก์ช นั ่ การใช้ง านและสิท ธิ ประโยชน์ หลากหลายทัง้ ของบีเอสเอสและอิออนมารวมไว้ในบัตรเดียว โดยเป็ นบัตรที่สามารถใช้ชาระค่า โดยสารในระบบขนส่งมวลชน และใช้ชาระค่าสินค้าและบริการในร้านค้าพันธมิตรในเครือข่ายของบัตรแรบบิท ได้ นอกจากนี้ ผูถ้ อื บัตรยังสามารถกูย้ มื เงินในลักษณะสินเชื่อส่วนบุคคล กดเงินสด และผ่อนชาระค่าสินค้าที่ อยู่ในเครือข่ายให้บริการของอิออนได้อกี ด้วย

-

เอไอเอส เอ็มเพย์ แรบบิท ซิมการ์ด ที่ใช้กบั เครื่องโทรศัพท์ท่มี ี NFC โดยบีเอสเอส และบริษัท แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จากัด (บริษทั ย่อยของบริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จากัด (มหาชน) หรือ AIS) ได้ร่วมมือกันพัฒนา ซิมการ์ดของ บริษทั แอดวานซ์ อินโฟเซอร์วสิ จากัด (มหาชน) ให้สามารถใช้งานบัตรแรบบิทได้ รวมถึงพัฒนา ระบบเพิม่ เติมในส่วนของการเติมเงินกลางอากาศ (Over the Air - OTA) และลูกค้ายังสามารถเรียกดูประวัติ การใช้งานผ่านหน้าจอโทรศัพท์เคลื่อนทีไ่ ด้ ทัง้ นี้ เพื่อตอบสนองไลฟ์ สไตล์ของคนสมัยใหม่ท่ตี ้องการความ ทันสมัย สะดวก และรวดเร็ว

นอกจากนี้ กลุ่มบริษทั ได้ขยายธุรกิจเงินอิเล็กทรอนิกส์ (E-money) ไปยังธุรกิจเงินอิเล็กทรอนิกส์ประเภทการ ช าระเงิน แบบออนไลน์ โดยเมื่อ วัน ที่ 25 เมษายน 2559 บริษัท แรบบิท เพย์ ซิสเทม จ ากัด ซึ่ง เป็ น บริษัท ย่ อ ยที่ บีเอสเอส โฮลดิง้ ส์ ถือหุน้ ในสัดส่วนร้อยละ 80 ได้เข้าซือ้ หุน้ ของบริษทั ไลน์ บิซ พลัส จากัด หรือทีม่ ชี ่อื ทางการค้าว่า “ไลน์ เพย์ (LinePay)” ในสัดส่วนร้อยละ 50 และได้มกี ารเปลี่ยนชื่อบริษัทเป็ น บริษัท แรบบิ ท-ไลน์ เพย์ จากัด และ เปลีย่ นชื่อทางการค้าเป็ น “แรบบิท ไลน์ เพย์ (Rabbit LINE Pay)” ผลสาเร็จของการเข้าทาธุรกรรมดังกล่าว ทาให้เกิด การให้บริการร่วมกันระหว่างระบบการชาระเงินทัง้ แบบออฟไลน์และออนไลน์ เป็ นครัง้ แรกในประเทศไทย ต่อมา เมื่อ วันที่ 5 มีนาคม 2561 บริษัท แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จากัด ได้เข้าร่วมลงทุนในบริษัท แรบบิท -ไลน์ เพย์ จากัด ทาให้ สัดส่วนการถือหุ้นของบริษัท แรบบิทเพย์ ซิสเทม จากัด ในบริษัท แรบบิท -ไลน์ เพย์ จากัด ลดลงจากร้อยละ 50.00 เป็ น ร้อยละ 33.33 ทัง้ นี้ เพื่อขยายฐานผูใ้ ช้บริการธุรกิจเงิน อิเล็กทรอนิกส์ และฐานร้านค้าออนไลน์ให้แพร่หลายมาก ยิง่ ขึน้ ตลอดจนสามารถผลักดันสังคมไทยไปสู่สงั คมไร้เงินสด (Cashless Society) เพื่อก้าวสู่การเป็ นประเทศไทย 4.0 ตามนโยบายของรัฐบาล Rabbit LINE Pay เป็ นช่องทางการชาระเงินรูปแบบหนึ่ง โดยระบบการชาระเงินออนไลน์ของ Rabbit LINE Pay นัน้ เป็ นส่วนหนึ่งของ LINE Application ซึ่งมีผู้ใช้บริการ messaging มากที่สุดในประเทศไทย โดยผู้ลงทะเบียน สามารถใช้ Rabbit LINE Pay ในการชาระเงินได้ทงั ้ แบบออนไลน์และออฟไลน์ (ผ่าน QR Reader ที่ติดตัง้ ในร้านค้า พันธมิตรในเครือข่ายของแรบบิท) โดยสามารถเลือกชาระเงินผ่านบัตรเครดิตทีไ่ ด้ลงทะเบียนไว้ หรือผ่าน E-wallet โดย การเติมเงินเข้าไปในบัญชีของตนเอง ซึง่ รายได้หลักของบริษทั แรบบิท-ไลน์ เพย์ จากัด จะมาจาก MDR (Merchant Discount Rate) Fee ซึง่ เป็ นการคิดค่าธรรมเนียมส่วนลดจากร้านค้า เมื่อลูกค้ามีการใช้บริการและชาระเงินผ่าน Rabbit LINE Pay โดยเรียกเก็บเป็ นสัดส่วนร้อยละของจานวนเงินทีล่ กู ค้าชาระให้แก่รา้ นค้านัน้ ๆ

ส่วนที่ 1 หน้า 75


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

กลุ่มลูกค้าเป้ าหมายของ Rabbit LINE Pay คือผู้ใช้โทรศัพท์สมาร์ทโฟนในช่วงอายุ 15-45 ปี ที่อาศัยอยู่ใน บริเวณกรุงเทพฯ และปริมณฑล โดยปั จจุบนั การชาระเงินผ่าน Rabbit LINE Pay ครอบคลุมถึงธุรกิจ E-commerce การจัดส่งพัสดุ เกมส์ การเติมเงินโทรศัพท์เคลื่อนที่ และ Bill Payment 2.4.1.2 ตลำดและภำวะกำรแข่งขัน ในปั จจุบนั ประเทศไทยมีปริมาณการใช้เงินสดทัง้ สิน้ กว่าล้านล้านบาท ประชาชนส่วนใหญ่ยงั คงถอนเงินจาก บัตรเอทีเอ็มหรือบัตรเดบิตเพื่อนามาใช้จ่าย โดยข้อมูลจากธนาคารแห่งประเทศไทย ณ สิน้ เดือนธันวาคม 2560 พบว่า จานวนบัตรพลาสติกในประเทศไทยมีมากกว่า 82 ล้านใบ ในจานวนนี้ 53 ล้านใบเป็ นบัตรเดบิต ในขณะที่ 8.8 ล้านใบ เป็ นบัตรเอทีเอ็ม และอีก 20 ล้านใบเป็ นบัตรเครดิต ทัง้ นี้ การใช้บตั รพลาสติกเพื่อชาระค่าสินค้าและบริการ มีมลู ค่ากว่า 14,315 พันล้านบาท ในจานวนนี้ เป็ นการใช้จ่ายผ่านบัตรเดบิต 11,373 พันล้านบาท การใช้จ่ายผ่านบัตรเอทีเอ็ม 1,032 พันล้านบาท และการใช้จ่ายผ่านบัตรเครดิตอีก 1,909 พันล้านบาท จะเห็นได้ว่าจานวนบัตรพลาสติกทีอ่ ยู่ในรูป ของบัตรเดบิตนัน้ อยู่ในระดับสูงมาก แต่การใช้จ่ายผ่านบัตรเดบิตเพื่อชาระค่าสินค้าและบริการ ณ จุดขายมีเพียง 184 พันล้านบาทเท่านัน้ คนส่วนใหญ่ยงั คงนิยมใช้บตั รเดบิตเพื่อกดเงินสดหรือโอนเงินเป็ นส่วนใหญ่ อย่างไรก็ตาม จากการ ทีภ่ าครัฐให้การสนับสนุ นนโยบายสังคมไร้เงินสด (Cashless Society) นัน้ ปั จจุบนั ได้มอี งค์กรธุรกิจภาคเอกชนเข้ามา ดาเนินธุรกิจเงินอิเล็กทรอนิกส์ (E-money) ประเภทผูใ้ ห้บริการทีไ่ ม่ใช่สถาบันการเงินเพิม่ มากขึน้ โดยข้อมูลจากธนาคาร แห่งประเทศไทย ณ สิน้ เดือนธันวาคม 2560 เปิ ดเผยว่า บัตร/บัญชีเงินอิเล็กทรอนิกส์ (E-money) ของผู้ให้บริการที่ ไม่ใช่สถาบันการเงินมีจานวน 50.59 ล้านบัญชี ซึ่งเพิม่ ขึน้ จากปี 2559 ซึ่งมีจานวน 37.09 ล้านบัญชี คิดเป็ นร้อยละ 36.40 และมีมูลค่าการใช้จ่ายจานวน 115,519.47 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ จากปี 2559 ซึง่ มีจานวน 84,607.16 ล้านบาท คิด เป็ นร้อยละ 36.54 จากอัตราการเติบโตของธุรกิจ เงินอิเล็กทรอนิกส์ (E-money) ซึ่งมีอตั ราการเติบโตค่อนข้างสูงทัง้ ในแง่ของ จานวนบัตร/บัญชี และมูลค่าการใช้จ่าย และยังคงมีแนวโน้มทีจ่ ะเติบโตเพิม่ ขึน้ อย่างมีนัยสาคัญ ทัง้ นี้ เนื่องจากการ สนับสนุนของภาครัฐผ่านนโยบายทางการเงินทีอ่ อกมาอย่างต่อเนื่อง และการเปลีย่ นแปลงทางด้านเทคโนโลยี ซึง่ ทาให้ ประชาชนทัวไปหั ่ นมาพึง่ พาเทคโนโลยีในการทาธุรกรรมทางการเงิน เพื่อเพิม่ ความสะดวกและความรวดเร็วมากขึน้ บีเอสเอสจึงได้ขยายผลิตภัณต์หลากหลายรูปแบบเพื่อให้ครอบคลุมกลุ่มลูกค้าทุกกลุ่มอย่างรวดเร็ว ทัง้ นี้ ภายในระยะเวลา 6 ปี นับตัง้ แต่บตั รแรบบิทเปิ ดให้บริการ มีจานวนผู้ถือบัตรแรบบิทอยู่ในตลาดแล้ว มากกว่า 8.95 ล้านใบ โดยมีร้านค้าพันธมิตรในเครือข่ายมากกว่า 157 แบรนด์ จากหลากหลายประเภทธุรกิจ และ ครอบคลุมจุดให้บริการมากกว่า 5,680 จุด สามารถตอบสนองความต้องการและไลฟ์ สไตล์ของคนเมือง ทัง้ ร้านอาหาร และเครื่องดื่ม เช่น แม็คโดนัลด์ โอบองแปง ฮ่องกงนู้ ดเดิ้ล คามู โอชายา และธุ รกิจที่เกี่ยวข้องกับความบันเทิง เช่น เมเจอร์ซนี ีเพล็กซ์ และเอสเอฟซีนีม่า รวมทัง้ ร้านค้าต่าง ๆ และศูนย์อาหารในห้างสรรพสินค้ากลุ่มเดอะมอลล์ เช่น ดิเอ็ม โพเรียม สยามพารากอน เดอะมอลล์ และศูนย์อาหารเอ็มบีเคฟู้ดไอแลนด์ และร้านสะดวกซือ้ เช่น มินิบก๊ิ ซีและเทสโก้ โลตัส เอ็ก ซ์เ พรส เป็ น ต้น โดยในปี 2561/62 บีเ อสเอสคาดว่ า จะมีร้า นค้า พัน ธมิต รในเครือ ข่า ยของบัต รแรบบิท ครอบคลุ ม จุ ด ให้บ ริก ารมากกว่ า 7,440 จุ ด และมีแ ผนที่จ ะขยายฐานผู้ถือ บัต รแรบบิท ในตลาดเป็ น 10.5 ล้า นใบ นอกจากนี้ ในปี 2560/61 บีเอสเอสได้ขยายฐานการให้บริการไปยังจังหวัดใหญ่เพิม่ เติม เช่น ภูเก็ตและเชียงใหม่ โดยการ ให้บริการยังคงเน้นการชาระค่าโดยสารในระบบขนส่งมวลชน และจะขยายไปยังการชาระค่าสินค้าและบริการต่อไปใน อนาคต

ส่วนที่ 1 หน้า 76


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ปั จจุบนั มีรายการทีเ่ กิดจากการใช้บตั รแรบบิททัง้ ในระบบขนส่งมวลชน และร้านค้าพันธมิตรในเครือข่ายของ บัตรแรบบิทมากกว่า 700,000 รายการต่อวัน โดยคาดว่าจะมีอตั ราเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนื่องตามจานวนบัตรแรบบิทและ ร้านค้าพันธมิตรทีเ่ พิม่ ขึน้ ส าหรับ Rabbit LINE Pay นั น้ มีผู้ล งทะเบีย นใช้ง านผ่ า น Rabbit LINE Pay แล้ว ทัง้ สิ้น 3 ล้า นบัญ ชี ใน ปี 2560/61 และคาดว่าจะมีผู้ลงทะเบียนเพิม่ ขึน้ เป็ น 5.3 ล้านบัญชี ในปี 2561/62 ปั จจุบนั ได้มกี ารนา Rabbit LINE Pay เข้าให้บริการในร้านค้าพันธมิตรในเครือข่ายของบัตรแรบบิท และยังให้บริการในร้านค้าออนไลน์กว่า 678 ร้านค้า และมีบริการผ่านระบบ QR Code กว่า 1,861 ร้านค้า ซึง่ จะขยายเป็ น 1,017 ร้านค้า และ 5,461 ร้านค้า ตามลาดับ ใน ปี 2561/62 ทัง้ นี้ ได้มกี ารติดตัง้ QR Reader ร่วมกับเครื่องอ่านบัตรแรบบิทแล้วเสร็จกว่า 2,800 จุด ในปี 2560/61 และ จะขยายเป็ น 5,000 จุดในปี 2561/62 ครอบคลุมทัง้ การให้บริการเติมเงินเข้าบัญชี Rabbit LINE Pay และการชาระค่า สินค้าและบริการ ซึง่ จะทาให้ Rabbit LINE Pay ก้าวขึน้ สู่การเป็ นผูน้ าในธุรกิจเงินอิเล็กทรอนิกส์ (E-money) ประเภท การชาระเงินแบบออนไลน์และออฟไลน์ ทัง้ นี้ ในระยะเริม่ ต้นนี้ Rabbit LINE Pay ได้ออกรายการส่งเสริมการขาย โดยการให้สว่ นลดเมื่อลูกค้าชาระค่า สินค้าและบริการผ่าน Rabbit LINE Pay โดยจะคืนเงินเข้าบัญชี E-wallet ในบัญชี Rabbit LINE Pay ของลูกค้า เพื่อ เป็ นการสร้างประสบการณ์ และความคุ้นเคย รวมถึงกระตุ้นให้ลูกค้ากลับมาใช้บริการของ Rabbit LINE Pay อย่าง สม่าเสมอ ซึง่ ได้รบั กระแสการตอบรับเป็ นอย่างดี 2.4.1.3 กำรจัดหำผลิ ตภัณฑ์หรือบริกำร 

กำรจัดหำบัตรแรบบิ ท

บีเอสเอสใช้ชพิ ทีเ่ ป็ นมาตรฐานสากล คือ MIFARE DESFire EV1 ในการผลิตบัตรแรบบบิท ซึง่ ผลิตโดยกลุ่ม บริษทั NXP ทีไ่ ด้รบั การยอมรับทัวโลกในมาตรฐานและความน่ ่ าเชื่อถือ โดยคุณสมบัตขิ อง MIFARE DESFire EV1 จะ มีการประมวลผลทีร่ วดเร็ว มีความปลอดภัยสูง และรองรับแอพพลิเคชันได้ ่ หลากหลาย ในการสังซื ่ ้อบัตรแรบบิทนัน้ บีเอสเอสจะเปิ ดประมูลกับผู้ท่อี ยู่ในอุตสาหกรรมผลิตบัตรซึ่งส่วนใหญ่เป็ นผู้ผลิตบัตรประเภทต่าง ๆ ให้กบั ธนาคาร พาณิชย์ โดยบีเอสเอสจะเลือกผูผ้ ลิตบัตรทีเ่ สนอราคาและคุณภาพทีด่ ที ส่ี ดุ 

กำรจัดหำร้ำนค้ำพันธมิ ตร

บีเอสเอสมีแผนที่จะขยายฐานร้านค้าพันธมิตรในเครือข่ายของบัต รแรบบิทในธุรกิจต่าง ๆ เช่น ธุรกิจศูนย์ อาหาร ธุรกิจร้านสะดวกซือ้ และธุรกิจสถานศึกษา เป็ นต้น เพื่อให้ผถู้ อื บัตรแรบบิทมีช่องทางในการใช้บริการเพิม่ มาก ขึน้ บีเอสเอสได้แต่งตัง้ ให้ธนาคารกรุงเทพ จากัด (มหาชน) เป็ นตัวแทนในการจัดหาร้านค้าพันธมิตร ซึง่ ส่วนใหญ่จะ เป็ นลูกค้าของธนาคารกรุงเทพ จากัด (มหาชน) อยู่แล้ว จึงทาให้จานวนร้านค้าพันธมิตรเพิม่ ขึน้ อย่างรวดเร็ว อย่างไรก็ ตาม หากลูกค้าใดไม่ต้องการติดต่อผ่านธนาคารกรุงเทพ จากัด (มหาชน) บีเอสเอสจะดาเนินการติดต่อกับลูกค้าเอง โดยตรง 

กำรจัดหำช่องทำงกำรเติ มเงิ น

เนื่องจากการเติมเงินเป็ นอีกปั จจัยหนึ่งที่จะทาให้ ธุรกิจเงินอิเล็กทรอนิกส์ (E-money) ของบีเอสเอสประสบ ความสาเร็จ บีเอสเอสจึงได้วางกลยุทธ์ทจ่ี ะเพิม่ ช่องทางการเติมเงิน โดยในระยะต้นจะเน้นไปทีร่ า้ นสะดวกซือ้ รายใหญ่ ในกรุงเทพฯ และปริมณฑล และจะขยายไปยังต่างจังหวัดต่อไป ส่วนที่ 1 หน้า 77


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ปั จจุบนั บีเอสเอสได้เพิม่ ช่องทางการเติมเงินเพื่ออานวยความสะดวกแก่ผถู้ ือบัตรแรบบิทที่อยู่นอกเส้นทาง รถไฟฟ้ าบีทเี อส และรถโดยสารด่วนพิเศษ BRT โดยได้ขยายช่องทางการเติมเงินบัตรแรบบิทที่ มินิบก๊ิ ซี เทสโก้ โลตัส ทุกสาขาในกรุงเทพฯ และปริมณฑล ห้างสรรพสินค้ากลุ่มเดอะมอลล์ เฉพาะสาขาในกรุงเทพฯ และศูนย์อาหารเอ็มบี เคฟู้ดไอแลนด์ เป็ นต้น นอกจากนี้ บีเอสเอสได้มกี ารทดลองตลาดต่างจังหวัดอยู่ในขณะนี้ โดยผูถ้ อื บัตรแรบบิทสามารถ เติมเงินได้ทแ่ี มคโดนัลด์ทุกสาขาทัง้ ในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด โดยบีเอสเอสคาดว่าในปี 2561/62 ผูถ้ อื บัตรแรบบิทจะ สามารถเติมเงินบัตรแรบบิทได้ทร่ี า้ นค้าพันธมิตรทีห่ ลากหลายขึน้ ทัง้ ในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด นอกจากนี้ บีเอสเอสได้มกี ารพัฒนาช่องทางการเติมเงินอื่น ๆ ดังต่อไปนี้ (1) การเติมเงินอัตโนมัติ (Auto Top-up) โดยสามารถทาได้ในบัตรแรบบิทร่วมระหว่างบีเอสเอสกับ ธนาคารกรุงเทพ จากัด (มหาชน) ทัง้ บัตรเดบิตและบัตร เครดิต และบัตรสมาชิกอิออนแรบบิท (AEON Rabbit Member Card) ซึ่งเป็ นบัตรแรบบิทร่วมระหว่างบีเอสเอสและ อิออน (2) การเติมเงินโดยตู้อตั โนมัติ และ (3) การเติมเงินที่ตู้เอทีเอ็ม ซึ่งปั จจุบนั อยู่ระหว่างการเจรจากับสถาบั น การเงิน เพื่อเพิม่ ช่องทางการเติมเงินทีต่ ูเ้ อทีเอ็มของธนาคารพาณิชย์อกี หนึ่งช่องทาง 2.4.2

ธุรกิ จ Web Portal หรือเว็บท่ำ ธุรกิ จนำยหน้ ำประกัน และธุรกิ จเทเลมำร์เก็ตติ้ ง

เมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2558 กลุ่มบริษัทได้เข้าลงทุนเพิม่ ในธุรกิจ Web Portal หรือเว็บท่า ธุรกิจนายหน้า ประกัน และธุรกิจเทเลมาร์เก็ตติง้ โดย บีเอสเอส โฮลดิง้ ส์ ได้เข้าซือ้ หุน้ ในกลุ่มบริษทั อาสค์หนุมาน ซึง่ ทาให้บเี อสเอส โฮล ดิ้งส์ เป็ นผู้ถือหุ้นของบริษัท อาสค์ หนุ มาน จากัด (ปั จจุบนั เปลี่ยนชื่อเป็ น บริษัท แรบบิท อินเตอร์เน็ต จากัด) ใน อัตราส่วนร้อยละ 25 บริษทั เอเอสเค โบรคเกอร์ แอสโซซิเอชัน่ จากัด (ปั จจุบนั ชื่อ บริษทั แรบบิท อินชัวรันส์ โบรคเกอร์ จากัด) ในอัตราส่วนร้อยละ 51 และบริษทั เอเอสเค ไดเร็ค กรุ๊ป จากัด ในอัตราส่วนร้อยละ 51 (รวมเรียกว่า “กลุ่มแรบบิท อินเตอร์เน็ต”) ธุรกิจหลักของกลุ่มแรบบิท อินเตอร์เน็ต ประกอบด้วย (1) ธุรกิจ Web Portal หรือเว็บท่า ดาเนินการโดย บริษทั แรบบิท อินเตอร์เน็ต จากัด ภายใต้ช่อื “แรบบิท เดลี่ (Rabbit Daily)” ซึง่ นาเสนอและรวบรวมเว็บไซต์ และบทความต่าง ๆ ทีน่ ่าสนใจ ครอบคลุมไลฟ์ สไตล์ของคนในยุค สมัย ใหม่ โดยในช่วงแรก แรบบิท เดลี่ มีก ารบริการ 6 หมวดหมู่ ประกอบไปด้วย ไลฟ์ สไตล์ ไอที ผู้ห ญิง ผู้ชาย ท่องเที่ยว และบันเทิง นอกจากนี้ ยังมีบริการให้เช่าซอฟต์แวร์บนหน้ าเว็บไซต์ (Web-base Application) ผ่านทาง อินเตอร์เน็ต รวมถึงการออกแบบ การพัฒนาระบบซอฟต์แวร์ และการทาสือ่ โฆษณาออนไลน์ดว้ ย ทัง้ นี้ รายได้หลักของ ธุรกิจนี้ ประกอบด้วย รายได้ค่าโฆษณา มาร์เก็ตติง้ และรายได้ค่าบริการ IT (2) ธุรกิจนายหน้าประกัน ดาเนินการโดย บริษทั แรบบิท อินชัวรันส์ โบรคเกอร์ จากัด ซึง่ ได้รบั อนุญาต เป็ นนายหน้าประกันวินาศภัย ตามพระราชบัญญัตปิ ระกันวินาศภัย พ.ศ. 2535 ประเภทการจัดการให้มกี ารประกันภัย โดยตรง เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2557 ทะเบียนเลขที่ ว00021/2557 และนายหน้าประกันชีวติ ตามพระราชบัญญัตปิ ระกัน ชีวติ พ.ศ. 2535 ประเภทจัดการให้มกี ารประกันภัยโดยตรง เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2559 ทะเบียนเลขที่ ช00011/2559 โดยให้บริการเปรียบเทียบราคาผลิตภัณฑ์ประกัน และผลิตภัณฑ์ทางการเงินอื่นๆ ออนไลน์ ภายใต้ช่อื “แรบบิท ไฟแนนซ์ (Rabbit Finance)” ทัง้ นี้ รายได้หลักของธุรกิจนี้ คือ ค่านายหน้ าและการตลาดจากการขายประกัน และ ผลิตภัณฑ์ทางการเงินอื่นๆ (3) ธุรกิจเทเลมาร์เก็ตติง้ ดาเนินการโดย บริษทั เอเอสเค ไดเร็ค กรุ๊ป จากัด ส่วนใหญ่เป็ นการให้บริการ เทเลเซลให้กบั บริษทั แรบบิท อินชัวรันส์ โบรคเกอร์ จากัด ในการติดต่อลูกค้าทีส่ นใจซื้อประกัน ติดตามลูกค้าเก่าที่ ส่วนที่ 1 หน้า 78


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

กรมธรรม์ครบกาหนด และรวมถึงกระบวนการในการชาระเงินด้วย ทัง้ นี้ รายได้หลักของธุรกิจนี้ คือ รายได้ค่าบริการ เทเลเซลหรือเทเลมาร์เก็ตติง้ 2.4.3

ธุรกิ จสื่อโฆษณำแบบผสมผสำนสื่อออฟไลน์และสื่อออนไลน์ ผ่ำนกำรวิ เครำะห์ข้อมูลพฤติ กรรมของ ผูบ้ ริโภค

ในปี 2559/60 วีจีไ อและ Rabbit Group ได้ร่ ว มมือ กัน เปิ ด ตัว Rabbit Media เพื่อ สร้า งสรรค์ส่อื โฆษณาที่ สามารถเจาะกลุ่มเป้ าหมายอย่างตรงจุดและสามารถวัดผลได้อย่างแม่นยาผ่านการวิเคราะห์พฤติกรรมของผูบ้ ริโภคและ ข้อมูลบนฐานข้อมูลอันหลากหลายจากบริการต่าง ๆ ของ Rabbit Group ร่วมกับการโฆษณาในสื่อโฆษณาของวีจไี อ เพื่อให้เกิดเป็ นสือ่ โฆษณาทีต่ อบโจทย์ทงั ้ ด้านออฟไลน์และออนไลน์ให้แก่ลูกค้า โดย Rabbit Media จะช่วยส่งเสริมและ เชื่อมโยงธุรกิจสื่อโฆษณานอกบ้านของวีจไี อทีม่ กี าลังการผลิตสื่อโฆษณารวมกันทัง้ สิน้ 7,000 ล้านบาท กับฐานข้อมูล จากธุรกิจดิจทิ ลั และผูล้ งทะเบียนอีกกว่า 3.5 ล้านราย ตัวอย่างของสือ่ โฆษณารูปแบบใหม่ทว่ี จี ไี อนาเสนอแก่ลกู ค้าได้แก่ สื่อโฆษณาแบบเหมาทัง้ สถานี (Station Sponsorship) ซึ่ง Rabbit Media ได้ใช้ความสามารถในการวิเคราะห์ขอ้ มูล พฤติกรรมรายวันของผูเ้ ดินทางร่วมกับการนาเสนอสื่อโฆษณาของวีจไี อ ทาให้ลูกค้าสามารถสร้างการรับรู้ถงึ แบรนด์ สินค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีการใช้ช่องทางออนไลน์ผ่านโทรศัพท์เคลื่อนทีท่ ่สี ามารถดึงดูดผู้เดินทางได้ตลอด การเดินทาง ซึ่งได้รบั ผลตอบรับที่ดจี ากการกระตุ้นให้เกิด Call-to-Actions ที่ร้านค้าหรือผ่านช่องทาง E-Commerce ทัง้ นี้ แคมเปญทีร่ วมสือ่ ออฟไลน์และสือ่ ออนไลน์ดงั กล่าว ไม่เพียงแต่แสดงให้เห็นถึงความสามารถในการพัฒนาผลลัพธ์ ให้ดยี งิ่ ขึน้ แต่ยงั สามารถปรับปรุงและวัดผลตอบแทนจากการลงทุนของลูกค้าและนักโฆษณา รวมถึงยังช่วยเพิม่ อัตรา การใช้สอ่ื โฆษณาในกลุ่มต่างๆ ได้อกี ด้วย 2.4.4

ธุรกิ จให้ บริ กำรลูกค้ำสัมพันธ์และโปรแกรมส่ งเสริ มกำรขำยด้วยตู้พิมพ์คูปองอัตโนมัติ (Coupon Kiosks)

ธุรกิจให้บริการลูกค้าสัมพันธ์และโปรแกรมส่ง เสริมการขายด้วยตู้พิมพ์คูป องอัตโนมัติ (Coupon Kiosks) ดาเนินการโดยบริษัท แรบบิท รีวอร์ดส จากัด (เดิมชื่อบริษัท แครอท รีวอร์ดส จากัด) (“แรบบิท รีวอร์ดส”) ปั จจุบนั บริษทั อาร์บี เซอร์วสิ เซส จากัด ซึง่ เป็ นบริษทั ย่อยของบริษทั ฯ เป็ นผูถ้ อื หุน้ ทัง้ หมดในแรบบิท รีวอร์ดส อันเป็ นผลมา จากการปรับโครงสร้างภายในกลุ่มบริษทั แรบบิท รีว อร์ด ส ให้บ ริก ารด้า นงานลูก ค้า สัม พัน ธ์ (CRM Loyalty Program) ที่เ กี่ย วข้อ งกับ บัต รแรบบิท ภายใต้ช่อื “แรบบิท รีวอร์ดส (Rabbit Rewards)” ซึง่ เป็ นโปรแกรมสะสมคะแนนและสิทธิพเิ ศษสาหรับผูถ้ อื บัตรแรบบิท เพื่อดึงดูดให้ผู้ถือบัตรร่วมเติมเงินและใช้บริการบัตรแรบบิท โดยผู้ถือบัตรแรบบิทที่ลงทะเบียนเป็ นสมาชิกแรบบิท รีวอร์ดส จะได้รบั คะแนนสะสม “แรบบิท พ้อยท์ (Rabbit Point)” เมื่อใช้บตั รแรบบิทชาระค่าโดยสารรถไฟฟ้ าบีทเี อส หรือรถโดยสารด่วนพิเศษ BRT หรือค่าสินค้าหรือบริการในร้านค้าพันธมิตรในเครือข่ายบัตรแรบบิท รวมถึง Rabbit LINE Pay ทัง้ นี้ ผูถ้ อื บัตรสามารถนาคะแนนสะสมมาแลกเป็ นเงินอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเติมเงินในบัตรแรบบิท ของกานัล หรือบัตรกานัลเงินสด โดยรายได้ของแรบบิท รีวอร์ดส จะมาจากการขายคะแนนสะสมให้แก่รา้ นค้าพันธมิตรเพื่อแลก กับข้อความและโปรแกรมส่งเสริมการขายให้แก่สมาชิกแรบบิท รีวอร์ดส ทัง้ นี้ โปรแกรมลูกค้าสัมพันธ์ของแรบบิท รีวอร์ดส นัน้ สามารถเป็ นสือ่ กลางรองรับความต้องการขององค์กรที่ ต้องการให้สทิ ธิประโยชน์แก่ลูกค้าของตน โดยเป็ นโปรแกรมส่งเสริมการขายทีม่ ตี ้นทุนต่ า วัดประสิทธิผลได้จริง และ สามารถนามาประกอบการวิเคราะห์ทางการตลาดได้อกี ทางหนึ่งด้วย นอกจากนี้ ลูกค้าขององค์กรเหล่านัน้ ยังได้รบั สิทธิ ประโยชน์มากขึน้ เนื่องจากสามารถสะสมคะแนนแรบบิท พ้อยท์ ได้จากหลายช่องทาง ส่วนที่ 1 หน้า 79


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

แรบบิท รีวอร์ดส เปิ ดให้บริการด้านงานลูกค้าสัมพันธ์ เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2555 ปั จจุบนั มีสมาชิกแรบบิท รีวอร์ดส กว่า 3.2 ล้านราย และคาดว่าจะมียอดสมาชิกรวมถึง 4 ล้านราย ภายในปี 2561/62 โดยแรบบิท รีวอร์ดส มีแผนที่ จะขยายฐานสมาชิกแรบบิท รีวอร์ดส โดยไม่จากัดเพียงผูถ้ อื บัตรแรบบิทเท่านัน้ อีกทัง้ จะขยายฐานร้านค้าพันธมิตรใน โปรแกรมลูกค้าสัมพันธ์ให้ครอบคลุมสายธุรกิจต่างๆ ให้มากขึน้ โดยมี แรบบิท รีวอร์ดส เป็ นตัวกลาง หรือที่เรียกว่า “Coalition Model” เพื่อให้สมาชิกแรบบิท รีวอร์ดส สามารถได้รบั คะแนนสะสมจากหลากหลายเครือข่ายร้านค้าพันธมิตร สาหรับตูพ้ มิ พ์คปู องอัตโนมัติ (Coupon Kiosks) นัน้ จะให้บริการแก่สมาชิกแรบบิท รีวอร์ดส ในการตรวจสอบ คะแนนคงเหลือ แลกคะแนนสะสม และพิมพ์คูปองส่งเสริมการขายจากร้านอาหารประเภท QSR - Quick Service Restaurants หรือสินค้าประเภท FMCG – Fast Moving Consumer Goods โดยรายได้จะมาจากการขายคูปองและ การโฆษณารายเดือนปั จจุบนั แรบบิท รีวอร์ดส ได้ติดตัง้ ตู้พมิ พ์คูปองอัตโนมัติแล้วจานวน 240 ตู้ โดยจะมุ่งเน้นการ ติดตัง้ บนสถานีรถไฟฟ้ าบีทเี อส เพื่อเจาะกลุ่มลูกค้าทีใ่ ช้บริการรถไฟฟ้ าบีทเี อสเป็ นหลัก โดยจะทาเป็ นศูนย์กลางการให้ ข้อมูลผูโ้ ดยสาร หรือ Touch Point ทีผ่ โู้ ดยสารสามารถอ่านข้อมูลต่าง ๆ หรือประกาศของรถไฟฟ้ าบีทเี อสได้ดว้ ย ทัง้ นี้ แรบบิท รีวอร์ดส คาดว่าจะมีผโู้ ดยสารจานวนมากเข้ามาใช้บริการ Touch Point ดังกล่าว จึงถือเป็ นโอกาสทางธุรกิจ ของแรบบิท รีวอร์ดส ในการนาเสนอสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ ต่อผูบ้ ริโภคโดยตรง 2.4.5

ธุรกิ จกำรให้บริกำรทำงเทคโนโลยี

บริษทั บางกอก เพย์เมนต์ โซลูชนั ส์ จากัด (“บีพเี อส”) เป็ นบริษทั ร่วมทุนระหว่างบริษทั อาร์บี เซอร์วสิ เซส จากัด ซึง่ เป็ นบริษทั ย่อยของบริษทั ฯ บริษทั วิกซ์ เทคโนโลยี (แบงค็อก) จากัด ซึง่ เป็ นผูน้ าด้านการพัฒนาเทคโนโลยีระบบศูนย์ จัดการรายได้รวม (Central Clearing House) และระบบจัดเก็บค่าโดยสารอัตโนมัติ (Automatic Fare Collection) และ บริษัท อินเทลชัน่ จากัด ในสัดส่วนร้อยละ 60 ร้อยละ 30 และร้อยละ 10 ตามลาดับ โดยมีจุดมุ่งหมายร่วมกันทีจ่ ะให้ บีพเี อส เป็ นเครื่องจักรสาคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนาโปรแกรมซอฟต์แวร์ และเทคโนโลยีต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับระบบ ขนส่งมวลชน และการชาระเงินของประเทศไทย บีพเี อส มีรายได้หลัก 3 ช่องทาง ได้แก่ (1) การพัฒนาระบบบริหารจัดการรายได้กลางและระบบจัดเก็บรายได้ (2) การให้บริการสาหรับงานต่อเนื่องและงานบารุงรักษาต่าง ๆ และ (3) การจาหน่ ายอุปกรณ์เครื่องรับบัตร โดยใน ปี 2560/61 บีพเี อส มีการรับรู้รายได้จากการขายอุปกรณ์รบั ชาระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ (EDC) และรายได้จากการ ให้บริการพัฒนาระบบซอฟต์แวร์ บีพเี อส ได้รบั การว่าจ้างจาก BSV Consortium (กิจการร่วมค้าทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ ระหว่างบีทเี อสซี บริษทั สมาร์ทแทรฟิ ค จากัด และ VIX Mobility PTY LTD) ซึง่ เป็ นผูช้ นะการประกวดราคาโครงการจัดทาระบบศูนย์บริหารจัดการรายได้กลาง (Central Clearing House) ของ สนข. และได้ดาเนินการส่งมอบงานระบบบริหารจัดการรายได้กลางและระบบการ จัดเก็บรายได้สาหรับโครงการพัฒนาระบบตั ๋วร่วม หรือบัตรแมงมุม ให้แก่ สนข. แล้ว ทัง้ นี้ โครงการระบบตั ๋วร่วมเป็ น ระบบที่ สนข. ก่ อ ตัง้ ขึ้น เพื่อ ให้ ป ระชาชนทัว่ ไปสามารถใช้บ ัตรโดยสารใบเดีย วในการเข้า ถึง ระบบขนส่ง มวลชน ต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพเทียบเท่ากับการใช้จ่าย ณ ร้านค้าปลีกทัวไป ่ นอกจากนี้ บีพเี อสยังได้ให้บริการในโครงการต่าง ๆ ได้แก่ งานศูนย์ร ะบบจัดการรายได้รวมสาหรับ โครงการ รถไฟฟ้ าสายสีเขียว โครงการรถไฟฟ้ าสายสีชมพู โครงการรถไฟฟ้ าสายสีเหลือง โครงการรถไฟฟ้ า สายสีม่วง งาน บารุงรักษาระบบจัดการรายได้รวมของบีเอสเอส งานบารุงรักษาตูพ้ มิ พ์คปู องอัตโนมัตขิ องแรบบิท รีวอร์ดส งานพัฒนา และปรับปรุงระบบจัดการรายได้รวมของบีเอสเอส รวมถึงงานพัฒนาปรับปรุงและขายอุปกรณ์เครื่องรับบัตร เป็ นต้น

ส่วนที่ 1 หน้า 80


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

2.4.6

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ธุรกิ จร้ำนอำหำร

ห้องอาหาร ChefMan เป็ นร้านอาหารจีนระดับพรีเมีย่ มที่ดาเนินการโดยบริษทั แมน คิทเช่น จากัด ซึ่งเป็ น บริษัทย่อยที่บริษัทฯ ถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ 70 โดยให้บริการอาหารจีนกวางตุ้ง ซึ่งประกอบด้วยติ่มซา บาร์บคี วิ อาหารซีฟ้ ูด เน้นรสชาติอาหารแบบสูตรดัง้ เดิมทีโ่ ดดเด่นและแตกต่าง โดยคัดสรรวัตถุดบิ ทีม่ คี ุณภาพและปรุงอาหาร โดยพ่อครัวทีม่ คี วามชานาญ ในปี 2560/61 บริษทั ฯ ได้ปรับแผนการดาเนินธุรกิจห้องอาหาร Chefman โดยการเข้าร่วมทุนกับบริษทั บางกอก แร้นช์ จากัด (มหาชน) ซึง่ เป็ นผูน้ าในธุรกิจผลิตอาหารจากเนื้อเป็ ดแบบครบวงจร เพื่อร่วมลงทุนในธุรกิจร้านอาหารและ ภัตตาคาร โดยการจัดตัง้ บริษทั ร่วมทุนชื่อบริษทั แมน ฟู้ด โฮลดิง้ ส์ จากัด และขายหุน้ ทัง้ หมดทีบ่ ริษทั ฯ ถืออยู่ใน (1) บริษทั แมน คิทเช่น จากัด ในสัดส่วนร้อยละ 70 (รวมถึงหุน้ ในสัดส่วนร้อยละ 69 ของบริษทั ลิตเติ้ล คอร์เนอร์ จากัด ซึง่ เป็ นบริษทั ย่อยของบริษัท แมน คิทเช่น จากัด) (2) บริษัท ไพรมารี่ คิทเช่น จากัด ในสัดส่วนร้อยละ 100 (3) บริษัท เค เอ็ม เจ 2016 จากัด ในสัดส่วนร้อยละ 51 และ (4) บริษทั แมน ฟู๊ ด โปรดักส์ จากัด ในสัดส่วนร้อยละ 100 ให้กบั บริษทั แมน ฟู้ด โฮลดิง้ ส์ จากัด โดยปั จจุบนั บริษทั ฯ บริษทั บางกอกแร้นช์ จากัด (มหาชน) และนายไว ยิน มาน ถือหุน้ ในบริษทั แมน ฟู้ด โฮลดิง้ ส์ จากัด ในสัดส่วนร้อยละ 41.2 ร้อยละ 41.2 และร้อยละ 17.6 ตามลาดับ ณ วัน ที่ 31 พฤษภาคม 2561 ห้อ งอาหาร ChefMan มีส าขาทัง้ หมด 7 สาขา ซึ่ง เป็ น สาขาที่ร ับ ลู ก ค้า ที่ รับ ประทานอาหารในร้าน (Dine-in) จ านวน 3 สาขา, ประเภทซื้อ กลับ (Take Away) จ านวน 1 สาขา, ห้อ งอาหาร Chairman by Chef Man (อาหารจีนสไตล์ฮ่องกงคาเฟ่ ) จานวน 2 สาขา, และห้องอาหาร M Krub (อาหารจีนแนวใหม่ ระดับพรีเมีย่ ม ผสมผสานระหว่างตะวันตกและตะวันออก) จานวน 1 สาขา ชื่อร้ำน ChefMan

สำขำ โรงแรม อีสติน แกรนด์ สาทร กรุงเทพฯ ธนาซิต้ี บางนา-ตราด กม.14 เดอะ รอยัลเพลส 2 ถนนราชดาริ Chef Man Take Away เดอะ รอยัลเพลส 2 ถนนราชดาริ Chairman by Chef Man ดิเอ็มควอเทียร์ อาคารแอทธินี ทาวเวอร์ M Krub อาคารมหานคร คิวบ์

ลักษณะกำรบริ กำร รับประทานในร้าน ซื้อกลับ รับประทานในร้าน รับประทานในร้าน

จำนวนที่นัง่ 150 220 155 42 71 45

เวลำให้บริ กำร 11:00 – 14:00 น. และ 18:00 – 22:00 น. 11:00 – 23:00 น. 10:00 – 22:00 น. 11:00 – 21:00 น. 18:00 – 22:00 น.

กลุ่มลูกค้าเป้ าหมายของห้องอาหาร ChefMan แบ่งเป็ น 2 กลุ่ม ได้แก่ (1) กลุ่มลูกค้าเป้ าหมายของห้องอาหาร ChefMan และห้องอาหาร M Krub คือ ลูกค้าองค์กร ข้าราชการ กลุ่มครอบครัว กลุ่มคนทางาน และกลุ่มนักธุรกิจที่มี รายได้ค่อนข้างสูง ทีช่ ่นื ชอบอาหารจีนแบบกวางตุง้ เกรดพรีเมีย่ ม และเลือกใช้หอ้ งอาหาร ChefMan และห้องอาหาร M Krub เป็ นทีพ่ บปะสังสรรค์ หรือเจรจาธุรกิจ และ (2) กลุ่มลูกค้าเป้ าหมายของห้องอาหาร Chairman by Chef Man และ Man Kitchen คือ กลุ่มคนทางาน กลุ่มครอบครัวเดีย่ วขนาดเล็ก กลุ่มผูเ้ ริม่ ทางาน นักเรียน นักศึกษา ทีม่ รี ายได้ปาน กลางขึ้นไป รวมทัง้ ชาวต่างชาติท่อี าศัยอยู่ในประเทศไทย ซึ่งเน้ นความหลากหลายของอาหาร และต้องการความ สะดวกรวดเร็วบนพืน้ ฐานแห่งความอร่อย 2.4.7

ธุรกิ จบริหำรจัดกำรโรงแรม

บริษัท แอ๊ บโซลูท โฮเท็ล เซอร์วิส จ ากัด (“AHS”) เป็ นบริษัทร่ วมทุ นระหว่ างกลุ่ มบริษัทกับพันธมิตรที่มี ประสบการณ์ในธุรกิจบริหารจัดการโรงแรม โดยยูนิคอร์น ซึง่ เดิมเป็ นบริษทั ย่อยของบริษทั ฯ ถือหุน้ ในสัดส่วนร้อยละ 50 ส่วนที่ 1 หน้า 81


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

AHS เป็ นหนึ่งใน 4 อันดับสูงสุดของบริษทั ทีด่ าเนินธุรกิจบริหารจัดการโรงแรมในประเทศไทย พิจารณาจาก จานวนห้องพักภายใต้การบริหารจัดการเอง และจานวนห้องพักที่บริหารจัดการร่วมกับไมเนอร์ (Minor) เซนทารา (Centara) และโอนิกซ์ (Onyx) ทัง้ นี้ AHS นับเป็ นบริษทั ทีม่ อี ตั ราการเติบโตอย่างก้าวกระโดด ทัง้ ในด้านจานวนโรงแรม และจานวนห้องพักทีอ่ ยู่ภายใต้การบริหารจัดการ อีกทัง้ ยังมีการบริหารจัดการในต่างประเทศ เช่น เวียดนามและอินเดีย มากทีส่ ุด เมื่อเปรียบเทียบกับบริษทั อื่นๆ ในกลุ่มธุรกิจนี้ AHS มีเป้ าหมายในการดาเนินธุรกิจ ในการให้คาปรึกษาและ ให้บริการห้องพักตามความต้องการของลูกค้าทุกกลุ่ม ทัง้ กลุ่มลูกค้าที่เข้าพักและใช้บริการโรงแรม กลุ่มลูกค้าที่เป็ น เจ้าของโรงแรม และลูกค้าทีต่ อ้ งการพัฒนากิจการโรงแรม อย่างไรก็ดี ภายหลังจากการปรับโครงสร้างธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ผ่านธุรกรรมการโอนกิจการทัง้ หมดของ ยูนิคอร์นให้แก่ ยู ซิต้ี เมื่อวันที่ 16 มีนาคม 2561 ทีผ่ ่านมา ส่งผลให้ปัจจุบนั AHS มีสถานะเป็ นบริษทั ย่อยของ ยู ซิต้ี ทัง้ นี้ ภาคธุรกิจโรงแรมและการบริการ (Hospitality) ของ ยู ซิต้ี จะมีความแข็งแกร่งและขยายตัวมากขึน้ จากความ ร่วมมือและการผนึกกาลังทางธุรกิจระหว่าง AHS และ Vienna House อาทิเช่น การผสานการขายและโฆษณาแบรนด์ ของทัง้ สองฝ่ ายทัง้ ในทวีปเอเชียและยุโรป โปรดพิจารณารายละเอียดเกี่ยวกับธุรกรรมการโอนกิจการทัง้ หมดของ ยูนิคอร์นใน หัวข้อ 2.3 ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ 2.4.8

ธุรกิ จรับเหมำและบริหำรโครงกำรก่อสร้ำง

บริษทั ฯ ได้จดั ตัง้ บริษทั เอชเอชที คอนสตรัคชัน่ จากัด (“HHT”) เพื่อดาเนินธุรกิจรับเหมาและบริหารโครงการ ก่อสร้าง โดยพันธกิจของบริษทั คือ มุ่งมันที ่ จ่ ะบริการและสร้างความพึงพอใจสูงสุดให้กบั ลูกค้า โดยตระหนักเรื่องของ คุณภาพ มาตรฐานด้านความปลอดภัยและสิง่ แวดล้อม ในราคายุตธิ รรม ส่งมอบงานตรงเวลา และมุ่งเน้นพัฒนาทักษะ และความเชีย่ วชาญของแรงงาน ผลงานที่ผ่ า นมาของ HHT ได้แ ก่ โครงการโรงแรมอีสติน แกรนด์ สาทร กรุ ง เทพฯ โครงการ ยู สาทร กรุ ง เทพฯ โครงการ Abstracts Sukhumvit 66/1 Condominium โครงการ Abstracts Phahonyothin Park โครงการ ปรับปรุงสนามกอล์ฟ ธนาซิต้ี แอนด์ สปอร์ตคลับ และห้องอาหาร ChefMan สาขาต่าง ๆ ซึ่งเป็ นโครงการของกลุ่ม บริ ษั ท นอกจากนี้ HHT ยัง ได้ ร ับ ความไว้ ว างใจจากองค์ ก รภายนอก โดยได้ ด าเนิ น การก่ อ สร้ า งอาคารใน สถาบันการศึกษาทีม่ ชี ่อื เสียงอย่าง โรงเรียนนานาชาติฮาร์โรว์ และตกแต่งภายในโครงการ The Legend Condominium และ Supreme Garden เป็ นต้น ในปี 2560/61 HHT มีโครงการอยู่ระหว่างดาเนินงานก่อสร้างหลายโครงการ มูลค่ารวม 1,387.77 ล้านบาท ได้แก่ โครงการ The Eastin Residence (Plot 1 – 3) โครงการ TC Master Plan Renovation และโครงการโรงเรียน นานาชาติ ORB ของกลุ่มบริษทั และในปี 2561/62 HHT คาดว่าจะมีโครงการก่อสร้างภายใต้การดาเนินงาน มูลค่ารวม 810.94 ล้านบาท ซึง่ เป็ นโครงการต่อเนื่องจากการดาเนินงานในปี 2560/61

ส่วนที่ 1 หน้า 82


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

3.

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ปัจจัยควำมเสี่ยง

ในหัวข้อนี้ บริษทั ฯ ได้ชแ้ี จงปั จจัยความเสีย่ งต่าง ๆ ของธุรกิจหลักของบริษทั ฯ ทัง้ 4 ธุรกิจ โดยวิเคราะห์ตาม ประเภทของความเสีย่ งซึง่ แบ่งเป็ น ความเสีย่ งด้านกลยุทธ์ ความเสีย่ งด้านการปฏิบตั กิ าร ความเสีย่ งด้านการเงิน ความ เสีย่ งด้านการปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับ และความเสีย่ งด้านการทุจริต ทัง้ นี้ ปั จจัยความเสีย่ งทีร่ ายงานนี้ เป็ นเพียงปั จจัยความเสีย่ งสาคัญบางประการทีบ่ ริษทั ฯ พิจารณาว่ามีนัยสาคัญทีอ่ าจส่งผลกระทบต่อบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ตลอดจนสิทธิและการลงทุนของผูถ้ อื หลักทรัพย์ของบริษทั ฯ อย่างไรก็ดี อาจมีปัจจัยความเสีย่ งอื่นทีบ่ ริษทั ฯ มิอาจ คาดหมายในขณะนี้ หรือทีบ่ ริษทั ฯ พิจารณาว่าไม่มนี ยั สาคัญในปั จจุบนั ซึง่ อาจส่งผลกระทบต่อบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ในอนาคตได้ สาหรับรายละเอียดเกี่ยวกับปั จจัยความเสีย่ งของธุรกิจสื่อโฆษณา โปรดพิจารณาแบบแสดงรายการข้อมูล ประจาปี (แบบ 56-1) ของบริษทั วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย จากัด (มหาชน) เพิม่ เติม 3.1

ควำมเสี่ยงด้ำนกลยุทธ์

3.1.1

ควำมเสี่ยงจำกภำวะเศรษฐกิ จ

ผลการดาเนินงานของกลุ่มบริษทั ขึน้ อยู่กบั อุปสงค์ภายในประเทศเป็ นหลัก ซึง่ อาจได้รบั ผลกระทบจากการ ปรับตัวของเศรษฐกิจในประเทศ เช่น การชะลอตัวของอัตราการเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) อัตราเงินเฟ้ อทีอ่ ยู่ในระดับสูง และความสามารถในการใช้จ่ายของผูบ้ ริโภคปรับตัวลดลง เป็ นต้น ภาวะเศรษฐกิจดังกล่าว อาจส่งผลกระทบต่อการกาหนดอัตราค่าโดยสาร และแนวโน้มของจานวนผูโ้ ดยสาร ในธุรกิจระบบขนส่งมวลชน นอกจากนี้ ยังส่งผลกระทบต่องบประมาณทางการตลาด และการใช้งบประมาณสือ่ โฆษณา ให้ชะลอตัวลง กลุ่มบริษัทเชื่อว่า ถึงแม้เศรษฐกิจจะชะลอตัว แต่ การกาหนดราคาการให้บริการที่เหมาะสม ประกอบกับ คุณภาพการให้บริการที่ดี จะช่วยรักษาอัตราการเติบโตของกลุ่มบริษทั ได้ ดังจะเห็นได้จากผลการดาเนินงานในอดีต ของการให้บริการระบบรถไฟฟ้ าบีทเี อสทีเ่ ติบโตอย่างแข็งแกร่งท่ามกลางความท้าทายต่าง ๆ 3.1.2

ควำมเสี่ยงจำกกลยุทธ์กำรดำเนิ นธุรกิ จ

กลยุทธ์การดาเนินธุรกิจของกลุ่มบริษทั ไม่ว่าจะเป็ นการเข้าร่วมประมูล โครงการรถไฟฟ้ าสายต่างๆ การร่วม ลงทุนและการเชื่อมต่อกับ โครงการระบบขนส่งมวลชนใหม่ การขยายเครือข่ายสื่อโฆษณา รวมถึงการผสมผสานสื่อ โฆษณาออฟไลน์และออนไลน์จนเกิดเป็ นบริการ O2O Solutions และการลงทุนในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ผ่านการถือหุน้ ใน บริษทั อื่น เป็ นต้น อาจต้องเผชิญกับความไม่แน่ นอน และขึน้ อยู่กบั ปั จจัยทีส่ าคัญต่าง ๆ เช่น ความผันผวนของภาวะ เศรษฐกิจ ปั จจัยทางการเมือง การแข่งขันในตลาด การเปลีย่ นแปลงของกฎหมาย และนโยบายของภาครัฐ ซึง่ อาจทาให้ กลุ่มบริษทั ไม่สามารถบรรลุเป้ าหมายการดาเนินธุรกิจตามที่กาหนดไว้ เหตุดงั กล่าวอาจส่งผลกระทบต่อธุรกิจ ผลการ ดาเนินงาน และโอกาสทางธุรกิจของกลุ่มบริษทั สาหรับธุรกิจระบบขนส่งมวลชน ปั จจัยความสาเร็จของกลยุทธ์การดาเนินธุรกิจขึน้ อยู่กบั การตัดสินใจและการ ดาเนินการของภาครัฐเกีย่ วกับแผนการขยายตัวของระบบขนส่งมวลชนของประเทศ ความสามารถของกลุ่มบริษทั ใน ส่วนที่ 1 หน้า 83


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

การสรรหาและประเมินผูร้ ่วมลงทุนทางธุรกิจ การลงทุนทีเ่ ป็ นไปได้ การสนับสนุ นทางการเงิน การได้รบั สัมปทาน และ การควบคุมทางการเงินและการดาเนินงาน รวมถึงปั จจัยอื่นทีอ่ ยู่นอกเหนือการควบคุมของกลุ่มบริษทั อาทิเช่น ปั จจัย ทางการเมือง ซึ่งบริษัทฯ ไม่สามารถรับรองได้ว่า ภาครัฐจะดาเนินการตามแผนการขยายระบบขนส่งมวลชนของ กรุงเทพฯ และปริมณฑลทีม่ อี ยู่ในปั จจุบนั หรือกลุ่มบริษทั จะเป็ นผูไ้ ด้รบั สัมปทานโครงการระบบขนส่งมวลชนตามกล ยุทธ์การดาเนินธุรกิจดังกล่าว ในการนี้ กลุ่มบริษัทมีการกาหนดและทบทวนกลยุทธ์การดาเนินธุรกิจของกลุ่มบริษัท อย่างสม่ าเสมอ โดย ติดตามสถานการณ์ทางการเมืองและการเปลีย่ นแปลงด้านนโยบายของภาครัฐอย่างใกล้ชดิ เพื่อปรับเปลีย่ นกลยุทธการ ดาเนินธุรกิจให้เหมาะสม 3.1.3

ควำมเสี่ยงด้ำนรำยได้

การดาเนินธุรกิจระบบขนส่งมวลชนของบีทเี อสซี มีขอ้ จากัดในการปรับอัตราค่าโดยสารของระบบรถไฟฟ้ า ขนส่ง มวลชนกรุง เทพสายหลัก โดยการปรับอัตราค่ าโดยสารที่เ รียกเก็บได้ (Effective Fare) และเพดานอัตราค่า โดยสารสูงสุดทีอ่ าจเรียกเก็บได้ (Authorized Fare) นัน้ จะขึน้ อยู่กบั เงื่อนไขต่าง ๆ ทีร่ ะบุไว้ในสัญญาสัมปทาน และอาจ ขึน้ อยู่กบั นโยบายของรัฐบาลในขณะนัน้ ๆ ซึง่ หากบีทเี อสซีไม่ได้รบั อนุ ญาตให้ปรับอัตราค่าโดยสาร รัฐบาลอาจจัดหา มาตรการชดเชยบางประการเพื่อบรรเทาความเสียหายให้แก่บที เี อสซี อย่างไรก็ดี บริษทั ฯ ไม่อาจรับรองได้ว่ารัฐบาลจะ จัดหาหรือจัดให้มกี ารชดเชยดังกล่าว ทัง้ นี้ ข้อกาหนดเกีย่ วกับการชดเชยนี้เขียนไว้ค่อนข้างกว้าง ยังไม่มกี ารทดสอบ และยังไม่มขี อ้ กาหนดเฉพาะสาหรับการชดเชยดังกล่าวในสัญญาต่าง ๆ นอกจากนี้ บีทเี อสซีหรือกองทุน BTSGIF อาจ เลือกทีจ่ ะไม่ปรับอัตราค่าโดยสารเนื่องจากเหตุผลทางการเมือง สังคม การแข่งขันในอุตสาหกรรมระบบขนส่งมวลชน และเหตุผลอื่น ๆ ซึ่งอาจรวมถึงความพึงพอใจของผู้โดยสาร และแนวโน้มของจานวนผู้โดยสาร ซึ่งเหตุดงั กล่าวอาจ ส่งผลกระทบในทางลบต่อรายได้จากค่าโดยสาร ทัง้ นี้ แนวโน้มของจานวนผู้โดยสารขึน้ อยู่กบั ปั จจัยหลายประการ ซึ่งส่วนใหญ่อยู่นอกเหนือการควบคุม ของ บริษัทฯ เช่น ความต้องการของผู้โดยสาร การแข่งขันในอุตสาหกรรมระบบขนส่งมวลชน สภาพการจราจร สภาพ เศรษฐกิจโดยรวม ราคาน้ า มัน การพัฒ นาอสัง หาริมทรัพย์บ ริเ วณสถานี ร ถไฟฟ้ า บีทีเ อส การชุ ม นุ มประท้วงทาง การเมือง และความเสีย่ งด้านการก่อการร้าย นอกจากนี้ แนวโน้มของจานวนผูโ้ ดยสารยังอาจได้รบั ผลกระทบจากการ พึง่ พาระบบการส่งต่อผูโ้ ดยสาร (Feeder System) และสถานีเชื่อมต่อ (Interchange Station) ทีจ่ ากัด ซึง่ หากการพัฒนา โครงข่ายระบบขนส่งมวลชนเป็ นไปอย่างล่าช้า หรือระบบขนส่งมวลชนรูปแบบอื่นเกิดการขัดข้องหรือหยุดชะงัก อาจจะ ส่งผลกระทบในทางลบต่อระบบการส่งต่อผูโ้ ดยสาร (Feeder System) และแนวโน้มของจานวนผูโ้ ดยสาร ดังนัน้ หากรายได้จากค่าโดยสารหรือปริมาณผู้โดยสารของระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลัก ลดลงหรือไม่เพิม่ ขึน้ แล้ว อาจส่งผลกระทบต่อรายได้และความสามารถในการจ่ายเงินปั นผลของกองทุน BTSGIF โดย กองทุน BTSGIF อาจไม่สามารถจ่ายเงินปั นผลในหน่วยลงทุนหรือไม่สามารถรักษาระดับอัตราการจ่ายเงินปั นผลได้ ซึง่ อาจส่งผลกระทบต่อผลการดาเนินงานของบริษทั ฯ ในฐานะผูถ้ อื หน่วยลงทุนรายใหญ่ในสัดส่วนร้อยละ 33.33 อย่างไรก็ ตาม นับตัง้ แต่ระบบรถไฟฟ้ าบีทเี อสเปิ ดให้บริการมานัน้ รายได้ค่าโดยสารจากระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพสาย หลักมีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง สาหรับกองทุน BTSGIF มีนโยบายการจ่ายเงินปั นผลให้แก่ผถู้ อื หน่ วยลงทุนมากกว่าปี ละ 1 ครัง้ และไม่น้อย กว่าร้อยละ 90 ของกาไรสุทธิท่ปี รับปรุงแล้ว ทัง้ นี้ รายได้ค่าโดยสารสุทธิทก่ี องทุน BTSGIF จะได้รบั ขึน้ อยู่กบั ปั จจัย ส่วนที่ 1 หน้า 84


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

หลายประการ ซึ่งรวมถึงจานวนเงินค่าโดยสาร ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานและค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นจากการ ดาเนินงานระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลัก ในกรณีทร่ี ายได้ค่าโดยสารสุทธิ และทรัพย์สนิ อื่น ๆ ทีก่ องทุน BTSGIF อาจได้มาหรือถือครองในภายหลังไม่สามารถสร้างรายได้อย่างเพียงพอ อาจทาให้รายได้ กระแสเงินสด และ ความสามารถของกองทุน BTSGIF ในการจ่ายเงินปั นผลได้รบั ผลกระทบ ตลอดจนอาจทาให้กองทุน BTSGIF ไม่ สามารถรักษาระดับอัตราการจ่ายเงินปั นผลตามนโยบายการจ่ายเงินปั นผลทีก่ าหนดไว้ 3.1.4

ควำมเสี่ยงด้ำนตลำด

กลุ่มบริษทั ดาเนินงานในธุรกิจ ระบบขนส่งมวลชน สื่อโฆษณา อสังหาริมทรัพย์ และธุรกิจบริการอื่น ๆ ซึง่ มี กลุ่มลูกค้าทีห่ ลากหลาย โดยแต่ละธุรกิจมีลกั ษณะการประกอบธุรกิจทีแ่ ตกต่างกัน จึงทาให้ได้รบั ผลกระทบจากปั จจัย ความเสีย่ งด้านตลาดแตกต่างกันไป ดังนัน้ การเปลีย่ นแปลงของปั จจัยด้านตลาดต่าง ๆ เช่น สภาวะอุปสงค์และอุปทาน ระดับการแข่งขัน ผลกระทบจากนโยบายภาครัฐ อาจทาให้ กลุ่มบริษัทไม่สามารถสร้างผลประกอบการได้ตรงตาม เป้ าหมายทีต่ งั ้ ไว้ในบางช่วงเวลา กลุ่มบริษัทได้จดั ให้มรี ะบบการบริหารความเสีย่ งทีเ่ หมาะสมกับแต่ละหน่ วยธุรกิจเพื่อวางแนวปฏิบตั ิในการ บริหารความเสีย่ งต่าง ๆ ทีอ่ าจเกิดขึน้ อีกทัง้ ยังคงมุ่งมันที ่ จ่ ะพัฒนาธุรกิจหลักเพื่อให้เกิดผลประโยชน์ทางธุรกิจทีเ่ กือ้ กูล กันเพื่อเสริมสร้างความแข็งแกร่งของกลุ่มบริษทั 3.1.5

ควำมเสี่ยงด้ำนกำรลงทุน

บริษทั ฯ ยังคงแสวงหาโอกาสในการลงทุน หรือการเข้าซือ้ กิจการทีน่ ่าสนใจอย่างต่อเนื่อง ทัง้ ในธุรกิจทีบ่ ริษทั ฯ ดาเนินการเอง และลงทุนผ่านกลุ่มบริษทั เพื่อขยายธุรกิจของกลุ่มอย่างยังยื ่ น อย่างไรก็ดี การลงทุนดังกล่าวอาจทาให้ บริษทั ฯ ต้องเผชิญกับความเสีย่ งด้านการลงทุน ทัง้ จากอัตราผลตอบแทนจากการลงทุนที่ไม่เป็ นไปตามคาดการณ์ การ ดาเนินโครงการล่าช้ากว่ากาหนด และเงินลงทุนในโครงการสูงกว่างบประมาณทีต่ งั ้ ไว้ จากความเสีย่ งด้านการลงทุนดังกล่าว และความไม่แน่ นอนของปั จจัยต่าง ๆ ในการดาเนินธุรกิจ ผูถ้ อื หุน้ อาจ เผชิญกับความเสีย่ งด้านสัดส่วนผลกาไรทีล่ ดลง ในกรณีทบ่ี ริษทั ฯ มีการเพิม่ ทุน รวมทัง้ อาจเผชิญกับความเสีย่ งด้าน ผลตอบแทนจากการลงทุนในธุรกิจใหม่ ซึง่ อาจทาให้อตั ราผลตอบแทนจากการลงทุนของกลุ่มบริษทั โดยรวมไม่บรรลุ ตามเป้ าหมายทีก่ าหนดไว้ และอาจส่งผลกระทบต่อการเติบโตของกลุ่มบริษทั ในระยะยาว บริษทั ฯ มุ่งเน้นพิจารณาโครงการลงทุนทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจหลักทัง้ 4 ธุรกิจของกลุ่มบริษทั โดยจะต้องมีระดับ อัตราผลตอบแทน (IRR) ทีส่ งู กว่าระดับทีบ่ ริษทั กาหนดไว้ และจะต้องมีผลประโยชน์เกือ้ หนุ นต่อธุรกิจของกลุ่มบริษทั ด้วยกันอีกด้วย 3.2

ควำมเสี่ยงด้ำนกำรปฏิ บตั ิ กำร

3.2.1

ควำมเสี่ยงด้ำนต้นทุนกำรดำเนิ นงำน

ต้นทุนการดาเนินงานหลักของธุรกิจในกลุ่มบริษทั คือ ค่าใช้จ่ายด้านพนักงาน ค่าไฟฟ้ าและค่าซ่อมบารุง ซึง่ อาจมีความผันผวนและอาจทาให้อตั รากาไรจากการดาเนินงานของกลุ่มบริษทั ลดลง

ส่วนที่ 1 หน้า 85


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

กลุ่มบริษทั มีการติดตามดูแลต้นทุนการดาเนินงานอย่างต่อเนื่อง ทัง้ นี้ ในการดาเนินงานระบบรถไฟฟ้ าขนส่ง มวลชนกรุงเทพสายหลักและส่วนต่อขยาย ต้นทุนการดาเนินงานดังกล่าวอาจปรับตัวเพิม่ ขึน้ เนื่องจากปั จจัยต่าง ๆ ซึง่ รวมถึงการปฏิบตั ิหน้ าที่ตามสัญญาในการซ่อมบารุงทรัพย์สนิ หรือโครงสร้างเพื่อให้เป็ นไปตามมาตรฐาน การปรับ เพิ่มขึ้นของค่าตอบแทน สวัสดิการ และผลประโยชน์ ของพนักงาน หรือการเปลี่ยนแปลงนโยบายทางการเงินหรือ นโยบายอื่นใดของรัฐบาลทีอ่ าจส่งผลกระทบต่อการดาเนินงานหรือความต้องการด้านระบบขนส่งมวลชน อย่างไรก็ตาม ในสัญญาสัมปทานหรือสัญญาการให้บริการเดินรถและซ่อมบารุงระยะยาว (แล้วแต่กรณี) ได้กาหนดให้บที เี อสซีสามารถ เสนอขอปรับอัตราค่าโดยสาร หรือค่าจ้างจากการให้บริการเดิน รถและซ่อมบารุงได้ ตามการปรับตัวเพิม่ ขึน้ ของดัชนี ราคาผูบ้ ริโภค หรือปั จจัยอื่น ๆ ตามเงื่อนไขทีร่ ะบุไว้ในสัญญา ทัง้ นี้ ในอดีตทีผ่ ่านมา ยังไม่เคยมีเหตุการณ์ทเ่ี ป็ นสาเหตุ ให้ตน้ ทุนการดาเนินงานของบีทเี อสซีเพิม่ ขึน้ อย่างมีนยั สาคัญ 3.2.2

ควำมเสี่ยงจำกกำรหยุดชะงักของกำรดำเนิ นธุรกิ จ

การดาเนินธุรกิจของกลุ่มบริษทั มีความเสีย่ งจากปั จจัยภายนอกทีอ่ าจเป็ นอุปสรรคในการดาเนินงานและอาจ ทาให้ธุรกิจหยุดชะงักได้ เช่น สถานการณ์ ความไม่สงบทางการเมือง การก่อการร้าย ภัยธรรมชาติต่างๆ ดังเช่น เหตุการณ์การก่อการร้ายในไตรมาส 1 ปี 2553/54 ทาให้รถไฟฟ้ าบีทเี อสต้องหยุดการดาเนินงานเป็ นเวลา 8 วันเต็ม และลดชัวโมงการด ่ าเนินงานลงเป็ นเวลาหลายวัน ซึง่ เป็ นผลให้ กลุ่มบริษทั สูญเสียรายได้เป็ นมูลค่าประมาณ 180 ล้าน บาท ต่อมาในช่วงไตรมาส 3 ปี 2554/55 ได้เกิดอุทกภัยครัง้ ใหญ่ในกรุงเทพฯ ส่งผลให้จานวนผูโ้ ดยสารรถไฟฟ้ าลดลง เล็กน้อยในช่วงเวลาดังกล่าว และในช่วงครึง่ ปี แรกของปี 2557/58 บีทเี อสซีได้ปรับลดช่วงเวลาการให้บริการลงในช่วง การประกาศเคอร์ฟิวอันเป็ นผลมาจากความไม่สงบทางการเมืองในกรุงเทพฯ ทัง้ นี้ หากมีเหตุการณ์ใด ๆ ในลักษณะ เดียวกันเกิดขึน้ ในอนาคต การดาเนินธุรกิจของกลุ่มบริษทั ไม่ว่าจะเป็ นระบบรถไฟฟ้ าบีทเี อส หรือระบบสื่อโฆษณาบน รถไฟฟ้ า บีทีเ อส อาจต้อ งหยุด ชะงักหรือ ให้บริก ารอย่ างจากัด ซึ่ง เหตุ ด ัง กล่ า วอาจส่ง ผลกระทบต่ อ ธุร กิจ ผลการ ดาเนินงาน และโอกาสทางธุรกิจของกลุ่มบริษทั อย่างไรก็ตาม กลุ่มบริษทั ได้ทาประกันภัยในกรณีธุรกิจหยุดชะงักและ ประกันภัยความเสียหายต่อทรัพย์สนิ จากสาเหตุต่างๆ รวมถึงการก่อการร้าย การชุมนุมทางการเมือง และภัยธรรมชาติ เพื่อป้ องกันความเสียหายทีอ่ าจเกิดขึน้ จากเหตุการณ์อนั ไม่คาดคิด ทัง้ นี้ ตามเงื่อนไขมูลค่าความเสียหายขัน้ ต่าทีร่ ะบุไว้ ในสัญญา 3.2.3

ควำมเสี่ยงจำกกำรพึ่งพำผูใ้ ห้บริกำรน้ อยรำย

กลุ่มบริษทั อาจต้องพึง่ พาผูใ้ ห้บริการจากภายนอกองค์กรหรือจากต่างประเทศ ในการดูแลรักษาและซ่อมบารุง ระบบและอุปกรณ์ ตลอดจนการฝึ กอบรมทักษะความชานาญทีใ่ ช้ในการดาเนินงานดังกล่าว อาทิเช่น ในธุรกิจระบบ ขนส่งมวลชน บีทเี อสซียงั คงต้องพึง่ พาซีเมนส์ในการดูแลรักษาและซ่อมบารุง รถไฟฟ้ าจานวน 35 ขบวน ขบวนละ 4 ตู้ ซึ่งซื้อจากซีเมนส์ และระบบไฟฟ้ าและเครื่องกลอื่น ๆ โดยในปี 2557/58 บีทเี อสซีได้ลงนามในสัญญาซ่อมบารุงฉบับ ใหม่กบั ซีเมนส์ ซึ่งเป็ นสัญญาซ่อมบารุงระยะยาว 15 ปี มีระยะเวลาเริม่ ตัง้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม 2558 ถึง 4 ธันวาคม 2572 (วันสิน้ สุดสัญญาสัมปทาน) ตามสัญญาซ่อมบารุงฉบับใหม่น้ี คู่สญ ั ญาไม่สามารถบอกเลิกสัญญาได้ก่อนครบกาหนดอายุสญ ั ญา ดังนัน้ หากซีเมนส์ไม่สามารถบารุงรักษารถไฟฟ้ า ตลอดจนระบบไฟฟ้ าและเครื่องกล ให้เป็ นไปตามมาตรฐานทีก่ าหนดไว้ใน สัญญาแล้ว บีทเี อสซีกไ็ ม่สามารถบอกเลิกสัญญาดังกล่าวได้ ซึ่งเหตุดงั กล่าวอาจส่งผลกระทบต่อการให้บริการระบบ รถไฟฟ้ าบีทเี อส อย่างไรก็ตาม บีทเี อสซีสามารถเรียกร้องให้ซเี มนส์ชาระค่าเสียหายให้แก่บที เี อสซีตาม Performance Index ได้ตลอดอายุของสัญญา สาหรับรถไฟฟ้ าอีกจานวน 17 ขบวน ขบวนละ 4 ตู้ ที่บที เี อสซีซ้อื จากซีอาร์อาร์ซนี นั ้ ส่วนที่ 1 หน้า 86


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

บีทเี อสซีจะเป็ นผูด้ ูแลรักษาและซ่อมบารุงรถไฟฟ้ าดังกล่าวเอง โดยตามสัญญาซือ้ รถไฟฟ้ า ซีอาร์อาร์ซจี ะต้องทาการ ฝึ กอบรมให้แก่พนักงานของบีทีเอสซีสาหรับการจัดการและดูแลรักษาระบบต่าง ๆ ของรถไฟฟ้ า และการฝึ กอบรม สาหรับการจัดการและงานซ่อมบารุงใหญ่ (Overhaul) ปั จจุบนั บีทเี อสซีได้ดาเนินการบารุงรักษาระบบรถไฟฟ้ าบางส่วนด้วยบุคลากรของบีทเี อสซีเอง เช่น ระบบ จัดเก็บค่าโดยสารอัตโนมัติ ระบบวิทยุส่อื สาร และระบบอาณัตสิ ญ ั ญาณ นอกจากนัน้ บีทเี อสซี ยงั มีนโยบายในการเพิม่ ศักยภาพของหน่ วยงานวิศวกรรมและหน่ วยงานซ่อมบารุงในการซ่อมบารุง เครื่องมือและอุป กรณ์ที่เ กี่ย วกับ ระบบ รถไฟฟ้ า เพื่อเป็ นการลดการพึ่งพาบริษัทผู้ผลิตรถไฟฟ้ า 3.2.4

ควำมเสี่ยงด้ำนบุคลำกร

การด าเนิ น งานของกลุ่ ม บริษัท โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ง ธุ ร กิจ ระบบขนส่ ง มวลชน ต้ อ งพึ่ง พาบุ ค ลากรที่มี ประสบการณ์ ความรู้ ความชานาญ หรือทักษะเฉพาะทาง ซึง่ อาจทาให้การสรรหาบุคลากรทีเ่ หมาะสมเป็ นเรื่องท้าทาย และมีค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูง นอกจากนี้ กลุ่มบริษทั อาจต้องเผชิญกับการแข่งขันกับผูป้ ระกอบการรายอื่นในการแย่งชิง บุคลากรผู้เชี่ยวชาญ ซึ่งอาจทาให้กลุ่มบริษัทต้องพึ่งพาผู้ให้บริการจากภายนอกองค์กรหรือจากต่างประเทศในการ ดาเนินงานดังกล่าว ดังนัน้ หากกลุ่มบริษทั ไม่สามารถจัดเตรียมและพัฒนาบุคลากรได้เพียงพอและทันเวลา อาจส่งผล กระทบต่อประสิทธิภาพในการดาเนินงาน และการบรรลุเป้ าหมายในระยะยาว นอกจากนี้ แม้ว่ากลุ่มบริษัทจะไม่มีการจัดตัง้ สหภาพแรงงานและไม่ เคยประสบปั ญหาการหยุด งานของ พนักงาน แต่กลุ่มบริษทั ไม่สามารถรับรองได้ว่าปั ญหาความขัดแย้งด้านบุคลากรจะไม่เกิดขึน้ กับกลุ่มบริษทั ในอนาคต ด้วยเหตุน้ี กลุ่มบริษทั จึงให้ความสาคัญต่อการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลอย่างต่อเนื่อง โดยจัดให้มี หลักสูตรการฝึ กอบรมสาหรับบุคลากรของกลุ่ม บริษทั และสนับสนุ นให้ผู้บริหารระดับกลางมีส่วนร่วมในการวางแผน บริหารจัดการเพื่อเสริมสร้างศักยภาพ และเพิม่ พูนความรูแ้ ละประสบการณ์ของบุคลากร ตลอดจนให้ความสาคัญต่อ ค่าตอบแทน สวัสดิการ และผลประโยชน์ระยะยาวของบุคลากร ทัง้ ในรูปของตัวเงิน และรูปแบบอื่น ๆ รวมถึงการจัดตัง้ กองทุนสารองเลี้ยงชีพ สหกรณ์ ออมทรัพย์พนักงาน และการออกและจัดสรรใบสาคัญสิทธิท่จี ะซื้อหุ้นของบริษัทฯ (ESOP) ให้แก่พนักงาน ซึง่ จะเป็ นการลดความเสีย่ งด้านบุคลากรในการดาเนินงานของกลุ่มบริษทั ได้ นอกจากนี้ กลุ่ม บริษทั ยังได้จดั ให้มแี ผนสืบทอดตาแหน่ ง (Succession Plan) เพื่อเตรียมความพร้อมในการสร้างผูบ้ ริหารรุ่นถัดไปเพื่อ รักษาและเสริมสร้างการเติบโตขององค์กรในระยะยาว 3.2.5

ควำมเสี่ยงทำงด้ำนเทคโนโลยี

การดาเนินธุรกิจของกลุ่มบริษัท ไม่ว่าจะเป็ น การให้บริการระบบรถไฟฟ้ าบีทเี อส การให้บริการสื่อโฆษณา หรือการให้บริการเงินอิเล็กทรอนิกส์ ล้วนจาเป็ นต้องพึ่งพาเทคโนโลยีและระบบควบคุมที่มีเสถียรภาพ ปลอดภัย สามารถรองรับการดาเนินงาน และควบคุมระบบบริหารจัดการต่างๆ ให้ดาเนินไปอย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ ด้วย เหตุน้ี กลุ่มบริษัทจึงตระหนักถึงความสาคัญของปั จจัยเสีย่ งทางด้านเทคโนโลยี ซึ่งสามารถสร้างความเสียหายให้แก่ ธุรกิจ และส่งผลกระทบต่อการดาเนินงาน ความเชื่อมันของผู ่ ใ้ ช้บริการ ความน่าเชื่อถือ และชื่อเสียงของกลุ่มบริษทั กลุ่มบริษัทมีการลงทุนทางด้านเทคโนโลยีอย่างต่อเนื่อง เช่น ระบบอาณัตสิ ญ ั ญาณของระบบรถไฟฟ้ า ระบบ การจาหน่ ายตั ๋วโดยสารอัตโนมัติ ระบบการชาระเงินอิเล็กทรอนิกส์ รวมถึงระบบสื่อโฆษณามัลติมเี ดีย นอกจากนี้ เพื่อ เตรียมความพร้อมในการรับมือกับความเสีย่ งทางด้านเทคโนโลยี กลุ่มบริษทั ได้กาหนดกรอบแนวทางการดาเนินงานใน ส่วนที่ 1 หน้า 87


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ด้านต่าง ๆ ได้แก่ (1) ประเมินความเสีย่ งและปรับเปลี่ยนกรอบการประเมินความเสีย่ งตามสถานการณ์อย่างเหมาะสม (2) ปรับปรุงแผนการเตรียมความพร้อมเพื่อลดผลกระทบต่อการดาเนินงานและการให้บริการ รวมถึงสามารถควบคุม สถานการณ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว (3) กาหนดแนวทางและมาตรการรองรับเหตุฉุกเฉินและการหยุดชะงัก ของการดาเนินงานและการให้บริการ (4) ติดตามและเฝ้ าระวังสถานการณ์เพื่อลดความเสีย่ งต่าง ๆ พร้อมหาแนวทางและ มาตรการป้ องกัน (5) ฝึ กอบรมและพัฒนาความรู้ทางด้านเทคโนโลยีให้แก่ พนักงานอย่ างสม่ าเสมอ (6) ปรับปรุ ง เทคโนโลยีและระบบการดาเนินงานต่าง ๆ ให้มคี วามปลอดภัยและทันสมัยอยู่เสมอ และ (7) ส่งเสริมความร่วมมือกับ หน่ วยงานภายนอกเพื่อเตรียมความพร้อมในการรับมือ และสามารถบริหารจัดการความเสีย่ งทางเทคโนโลยีได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ทัง้ นี้ ในปี 2560/61 บีทีเอสซีได้ศึกษาและเตรียมการน าระบบการจัดการความปลอดภัยข้อมูลสารสนเทศ ISO 27001:2013 เข้าดาเนินการกับระบบควบคุมการเดินรถไฟฟ้ า ระบบการจาหน่ ายตั ๋วโดยสารอัตโนมัติ และระบบ ข้อมูลสารสนเทศของบริษัท เพื่อความมันคงปลอดภั ่ ยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ (Cyber Security) (โปรดพิจารณา รายละเอียดเพิม่ เติมใน หัวข้อ 3.5.1.1 ความเสียงจากภั ่ ยคุกคามทางเทคโนโลยีสารสนเทศ) จากแนวทางการดาเนินงานดังกล่าวข้างต้น กลุ่มบริษทั เชื่อมันว่ ่ าจะสามารถดาเนินธุรกิจและให้บริการต่าง ๆ ของ กลุ่มบริษทั ได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ผใู้ ช้บริการได้รบั การบริการทีม่ คี ุณภาพ และมีความปลอดภัยสูงสุด 3.2.6

ควำมเสี่ยงด้ำนชื่อเสียงองค์กร

แบรนด์บที เี อสก้าวขึน้ มาเป็ นแบรนด์ท่สี งั คมไทยรู้จกั กันอย่างกว้างขวาง อีกทัง้ จากผลการสารวจความพึง พอใจของลูกค้า แสดงให้เห็นว่าสาธารณชนมีการรับรู้ในเชิงบวกต่อแบรนด์บที เี อส โดยฝ่ ายลูกค้าสัมพันธ์ของกลุ่ม บริษทั มีการวิเคราะห์และติดตามผลความพึงพอใจของลูกค้าอย่างสม่าเสมอ อย่างไรก็ดี ธุรกิจของกลุ่มบริษทั ยังมีความ เสีย่ งด้านชื่อเสียงองค์กร โดยเฉพาะอย่างยิง่ ธุรกิจระบบขนส่งมวลชน หากความพึงพอใจของผูโ้ ดยสารรถไฟฟ้ าบีทเี อส ในด้านต่างๆ ลดลง ซึง่ จะส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์ ความเชื่อมันต่ ่ อการดาเนินธุรกิจ และก่อให้เกิดอุปสรรคต่อการ ดาเนินงานและโอกาสทางธุรกิจของกลุ่มบริษทั ในอนาคต กลุ่มบริษทั ได้กาหนดทิศทางการดาเนินธุรกิจตามหลักการกากับดูแลกิจการทีด่ ี และมีเจตนารมณ์ทช่ี ดั เจนใน การต่อต้านการทุจริต โดยยึดมันในเป้ ่ าหมาย หลักการ และคุณค่าในการดาเนินธุรกิจ บนความซื่อตรงและรับผิดชอบ เสมอมา ทัง้ นี้ เพื่อสร้างความสมดุลและมูลค่าเพิม่ ร่วมกันระหว่างธุรกิจ สังคม ชุมชน และสิง่ แวดล้ อม โดยคานึงถึง ประโยชน์สงู สุดของผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกฝ่ าย 3.3

ควำมเสี่ยงด้ำนกำรเงิ น

3.3.1

ควำมเสี่ยงด้ำนสภำพคล่อง

การบริหารสภาพคล่อง คือ ความสามารถในการบริหารกระแสเงินสดของบริษทั ฯ เพื่อชาระดอกเบีย้ จ่ายและ ชาระคืนหนี้ในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง ซึ่งหากบริษัทฯ มีความจาเป็ นต้องใช้เงินทุนหมุนเวียนเพิม่ ขึน้ หรือรายได้ของ บริษทั ฯ ลดลง อาจทาให้บริษทั ฯ ต้องประสบปั ญหาด้านสภาพคล่อง และมีต้นทุนทางการเงินเพิม่ มากขึน้ นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังต้องพึง่ พิงเงินปั นผลจากบริษทั ย่อยและบริษทั ในเครือ รวมถึงกองทุน BTSGIF ดังนัน้ หากบริษทั ย่อยและ บริษัทในเครือ และกองทุน BTSGIF มีผลการดาเนินงานไม่เป็ นไปตามคาดการณ์ อาจส่งผลกระทบต่อ สภาพคล่อง ตลอดจนผลการดาเนินงาน และความสามารถในการจ่ายเงินปั นผลให้แก่ผถู้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ ได้ ส่วนที่ 1 หน้า 88


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ทัง้ นี้ บีทเี อสซีและวีจไี อมีนโยบายการจ่ายเงินปั นผลไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของกาไรสุทธิจากการดาเนินงาน ซึง่ ไม่รวมรายการพิเศษบางรายการ (โปรดพิจารณารายละเอียดใน หัวข้อ 7.4.2 นโยบายการจ่ายเงินปั นผลของบริษทั ย่อย) อย่างไรก็ตาม การจ่ายเงินปั นผลและการกาหนดจานวนเงินปั นผลทีบ่ ริษทั ย่อยจะจ่ายให้กบั บริษทั ฯ ขึน้ อยู่กบั ปั จจัย ต่าง ๆ เช่น เงื่อนไขในการก่อหนี้ของบริษทั ย่อย ฐานะการเงิน ผลการดาเนินงาน กระแสเงินสด แผนการลงทุน และ แนวโน้มทางธุรกิจของบริษทั ย่อย สาหรับกองทุน BTSGIF มีนโยบายการจ่ายเงินปั นผลให้แก่ผถู้ อื หน่ วยลงทุนมากกว่าปี ละ 1 ครัง้ และไม่น้อย กว่าร้อยละ 90 ของกาไรสุทธิท่ปี รับปรุงแล้ว ทัง้ นี้ รายได้ค่าโดยสารสุทธิทก่ี องทุน BTSGIF จะได้รบั ขึน้ อยู่กบั ปั จจัย หลายประการ ซึ่งรวมถึงจานวนเงินค่าโดยสาร ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานและค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นจากการ ดาเนินงานระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลัก ในกรณีทร่ี ายได้ค่าโดยสารสุทธิ และทรัพย์สนิ อื่น ๆ ทีก่ องทุน BTSGIF อาจได้มาหรือถือครองในภายหลังไม่สามารถสร้างรายได้ อย่างเพียงพอ อาจทาให้รายได้ กระแสเงินสด และ ความสามารถของกองทุน BTSGIF ในการจ่ายเงินปั นผลได้รบั ผลกระทบ ตลอดจนอาจทาให้กองทุน BTSGIF ไม่ สามารถรักษาระดับอัตราการจ่ายเงินปั นผลตามนโยบายการจ่ายเงินปั นผลทีก่ าหนดไว้ บริษทั ฯ มีการดูแลความเสีย่ งด้านสภาพคล่องอย่างใกล้ชดิ โดยพิจารณาความต้องการเงินทุนหมุนเวียนของ กลุ่มบริษทั จากกระแสเงินสดไหลเข้าและกระแสเงินสดไหลออก จากข้อมูลภายในและการประมาณการทางการเงินใน อนาคตของกลุ่มบริษัท โดยในการวิเคราะห์นัน้ บริษัทฯ ให้ความสาคัญกับวงจรการหมุนเวียนของเงินสด (Cash Conversion Cycle) เช่น บัญชีเจ้าหนี้การค้าและลูกหนี้การค้า รวมไปถึงอัตราส่วนชีว้ ดั ความสามารถในการชาระหนี้ (Debt-service Coverage Ratio) นอกจากนี้ กลุ่มบริษัทยังมีวงเงินทุนหมุนเวียนจากธนาคารพาณิชย์เพื่อช่วยในการ บริหารกระแสเงินสดอีกด้วย 3.3.2

ควำมเสี่ยงด้ำนเครดิ ต

ความเสี่ยงด้านเครดิตส่งผลต่ อความสามารถในการระดมทุนหรือความสามารถในการจัดหาเงินทุ น ของ บริษทั ฯ หากบริษทั ฯ ถูกปรับลดระดับความน่ าเชื่อถือ อาจทาให้บริษทั ฯ อยู่ในสภาวะทีล่ าบากขึน้ ในการเข้าถึงตลาด ทุนต่างๆ อีกทัง้ ยังมีโอกาสทีต่ น้ ทุนทางการเงินของบริษทั ฯ จะเพิม่ สูงขึน้ อีกด้วย บริษัทฯ และบีทีเอสซี ได้รบั การจัดอันดับเครดิตขององค์กร ที่ระดับ “A” และแนวโน้มอันดับเครดิต “คงที่ (Stable)” จากบริษทั ทริสเรทติ้ง จากัด (TRIS) แม้ว่าบีทเี อสซีจะมีการระดมทุนโดยการขายหุน้ กูป้ ระเภทไม่ดอ้ ยสิทธิ ไม่มปี ระกัน จานวนไม่เกิน 22,000 ล้านบาท ในเดือนพฤศจิกายน 2559 และบริษทั ฯ มีการระดมทุนโดยการขายหุน้ กู้ ประเภทไม่ดอ้ ยสิทธิ ไม่มปี ระกัน จานวนไม่เกิน 7,000 ล้านบาท ในเดือนธันวาคม 2560 ก็ตาม 3.3.3

ควำมเสี่ยงด้ำนอัตรำดอกเบี้ย

กลุ่มบริษทั มีหนี้สนิ ทีม่ ภี าระดอกเบีย้ จ่าย ได้แก่ หุน้ กู้ เงินกูย้ มื จากธนาคารและตั ๋วแลกเงิน ซึง่ ล้วนเชื่อมโยง กับการเปลีย่ นแปลงของอัตราดอกเบีย้ กล่าวคือ หากอัตราดอกเบีย้ เพิม่ สูงขึน้ ภาระดอกเบีย้ จ่ายของบริษทั ฯ จะเพิม่ สูงขึน้ สาหรับเงินกูท้ ต่ี ้องชาระอัตราดอกเบีย้ ลอยตัว นอกจากนี้ กลุ่มบริษทั มีความเสีย่ งด้านอัตราดอกเบี้ยในส่วนของ การลงทุนเช่นกัน โดยเฉพาะการลงทุนในหุน้ กู้ระยะยาว โดยมูลค่าของเงินลงทุนจะลดลงเมื่ออัตราดอกเบีย้ ในตลาด ปรับตัวสูงขึน้ และกลุ่มบริษทั อาจสูญเสียโอกาสในการได้รบั รายได้จากดอกเบีย้ ทีส่ งู ขึน้ หากกลุ่มบริษทั ได้ลงทุนในตรา สารหนี้ระยะยาว

ส่วนที่ 1 หน้า 89


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

กลุ่มบริษทั บริหารความเสีย่ งด้านอัตราดอกเบีย้ โดยการบริหารสัดส่วนของเงินกูอ้ ตั ราดอกเบีย้ คงทีแ่ ละเงินกู้ อัตราดอกเบี้ยลอยตัวให้เหมาะสม ตลอดจนติดตามสภาวะเศรษฐกิจโลกและสภาวะเศรษฐกิจภายในประเทศและ แนวโน้มอัตราดอกเบีย้ อย่างสม่าเสมอ เพื่อบริหารระดับหนี้สนิ และการลงทุนอย่างมีประสิทธิภาพ 3.3.4

ควำมเสี่ยงจำกอัตรำแลกเปลี่ยน

กลุ่ ม บริษัท มีร ายได้ห ลัก เป็ น สกุ ล เงิน บาท แต่ ธุ ร กรรมบางอย่ า งจ าเป็ น ต้อ งด าเนิ น งานในสกุ ล เงิน ตรา ต่างประเทศ เช่น การจัดซือ้ ขบวนรถไฟฟ้ าและอะไหล่ และค่าซ่อมบารุง ซึง่ กลุ่มบริษทั ต้องสังซื ่ อ้ หรือว่าจ้างจากผูผ้ ลิต ต่างประเทศโดยตรง ทาให้กลุ่มบริษทั ไม่สามารถหลีกเลีย่ งความเสีย่ งด้านอัตราแลกเปลีย่ นได้ทงั ้ หมด ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561 กลุ่มบริษทั มีภาระผูกพันของรายจ่ายฝ่ ายทุนในส่วนทีเ่ กีย่ วข้องกับการดาเนินงาน เป็ นสกุลเงินตราต่างประเทศ จานวน 524 ล้านยูโร ซึ่งเป็ นรายจ่ายในการจัดซื้อขบวนรถไฟฟ้ าและอะไหล่ โดยกลุ่ม บริษทั ได้ปิดความเสีย่ งจากอัตราแลกเปลีย่ นดังกล่าวแล้วทัง้ หมดโดยการเข้าทาสัญญาซือ้ เงินสกุลเงินตราต่างประเทศ ล่วงหน้า (Forward) นอกจากนี้ ยังมีรายจ่ายจากต้นทุนค่าซ่อมบารุง จานวน 3.4 ล้านยูโร ซึง่ บีทเี อสซีได้เข้าทาสัญญา ซือ้ เงินสกุลเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า (Forward) ไว้บางส่วน และจะถูกปั นส่วนเพื่อเรียกเก็บจากกองทุน BTSGIF ตามข้อกาหนดและเงื่อนไขในสัญญาซือ้ และโอนสิทธิรายได้สทุ ธิ อย่างไรก็ดี หากค่าเงินบาทอ่อนตัวลงมากเมื่อเทียบกับ สกุลเงินตราต่างประเทศในอนาคต อาจทาให้ตน้ ทุนในการประกอบธุรกิจของบีทเี อสซีเพิม่ ขึน้ ได้ ทัง้ นี้ กลุ่มบริษทั จะพิจารณาเข้าทาสัญญาเพื่อลดความเสีย่ งจากอัตราแลกเปลีย่ นต่าง ๆ ตามความเหมาะสม โดยพิจารณาจากขนาดของผลกระทบของความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยน และค่าใช้จ่ายในการบริหารความเสีย่ ง นอกจากนี้ กลุ่ ม บริษัท ได้ก ระจายความเสี่ย งในการบริห ารจัด การเงิน สดสภาพคล่ อ งส่ ว นเกิน โดยการลงทุ น ใน ต่างประเทศ ซึง่ นอกจากจะเพิม่ ผลตอบแทนจากการลงทุนแล้ว ยังสามารถสร้างรายได้เป็ นสกุลเงินตราต่างประเทศเพื่อ นามาชาระค่าใช้จ่ายสกุลเงินตราต่างประเทศดังกล่าวได้อกี ด้วย 3.3.5

ควำมเสี่ยงจำกกำรบริหำรจัดกำรเงิ นสดสภำพคล่องส่วนเกิ น

บริษทั ฯ มีเงินสดสภาพคล่องส่วนเกินจานวนมาก โดยบริษทั ฯ จะรักษาเงินสดสภาพคล่องส่วนเกินนี้ไว้เพื่อ วัตถุ ประสงค์ในการลงทุนในอนาคต ซึ่งบริษัทฯ มีนโยบายบริหารจัดการเงินสดสภาพคล่องส่วนเกินเหล่ านี้ อ ย่ า ง ระมัดระวัง โดยมีเป้ าหมายหลักเพื่อรักษามูลค่าเงินไว้ อย่างไรก็ดี นโยบายบริหารจัดการเงินสดสภาพคล่องส่วนเกิน ของกลุ่ มบริษัท ขึ้น กับ ปั จจัย ภายนอกหลายประการ เช่ น อัต ราดอกเบี้ย อัต ราแลกเปลี่ยน และผลตอบแทนของ สินทรัพย์ทล่ี งทุน นอกจากนี้ ด้วยนโยบายการลงทุนแบบระยะยาวของบริษทั ฯ อาจทาให้ในช่วงระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง เกิดกาไรหรือขาดทุนจากเป้ าหมายทีว่ างไว้ ดังนัน้ บริษทั ฯ จึงอาจมีความเสีย่ งจากการขาดทุนของเงินต้นและไม่ได้รบั ผลตอบแทนจากการบริหารจัดการเงินสดสภาพคล่องส่วนเกินของบริษทั ฯ ตามทีค่ าดการณ์ไว้ ทัง้ นี้ บริษัทฯ มีการบริหารจัดการเงินสดสภาพคล่องส่วนเกิน โดยการลงทุนในสินทรัพย์ทางการเงินหลาย ประเภท ส่วนใหญ่เป็ นเงินฝากธนาคารและสถาบันการเงิน ตั ๋วแลกเงิน ตราสารหนี้ทเ่ี หมาะสมสาหรับการลงทุนระยะ ยาว ทัง้ ในสถาบันการเงินในประเทศและต่างประเทศ และผ่านกองทุนรวมตราสารทุนในประเทศและต่างประเทศ เพื่อ กระจายความเสีย่ งในการลงทุน

ส่วนที่ 1 หน้า 90


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

3.4

ควำมเสี่ยงด้ำนกำรปฏิ บตั ิ ตำมกฎหมำย ระเบียบ และข้อบังคับ

3.4.1

ควำมเสี่ยงจำกกำรยกเลิ กสัญญำสัมปทำน และสัญญำกำรให้บริกำรเดิ นรถและซ่อมบำรุงระยะยำว

รายได้ของธุรกิจระบบขนส่งมวลชนของบริษทั ฯ นัน้ อิงกับสัญญาสัมปทานและรายได้จากการให้บริการเดินรถ และซ่อมบารุงตามสัญญาให้บริการเดินรถและซ่อมบารุงระยะยาว 30 ปี เป็ นหลัก อย่างไรก็ตาม แม้ว่าบีทเี อสซีจะได้ขาย รายได้ค่าโดยสารสุทธิจากการดาเนินงานตามสัญญาสัมปทานให้แก่กองทุน BTSGIF (รวมถึงการโอนผลประโยชน์และ ความเสีย่ งทีเ่ กีย่ วข้องภายใต้สญ ั ญาซือ้ และโอนสิทธิรายได้สุทธิให้แก่ผถู้ อื หน่ วยลงทุน ) บีทเี อสซียงั คงเป็ นผู้ให้บริการ เดินรถและซ่อมบารุงระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลักอยู่ ดังนัน้ หากสัญญาสัมปทานหรือสัญญาการ ให้บริการเดินรถและซ่อมบารุงระยะยาวถูกยกเลิก กระแสเงินสดในอนาคตของบริษัทฯ จะได้รบั ผลกระทบอย่างมี นัยสาคัญ เหตุดงั กล่าวอาจส่งผลกระทบในทางลบต่อธุรกิจ ฐานะการเงิน ผลการดาเนินงาน และโอกาสทางธุรกิจของ บีทเี อสซี และบริษทั ฯ ทัง้ นี้ ตามสัญญาสัมปทาน กทม. หรือบีทเี อสซี อาจบอกเลิกสัญญาสัมปทานได้ เว้นแต่เหตุการณ์ดงั กล่าวจะ ได้รบั การเยียวยาหรือแก้ไขภายในระยะเวลาทีก่ าหนด โดย กทม. มีสทิ ธิบอกเลิกสัญญาสัมปทานได้ในกรณีทบ่ี ที เี อสซี ล้มละลาย หรือจงใจผิดสัญญาสัมปทานในสาระสาคัญอย่ างต่ อ เนื่ อง โดยบีทีเ อสซีจะไม่สามารถดาเนิน การระบบ รถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลักได้ และจะต้องชดใช้ค่าเสียหาย และโอนกรรมสิทธิในอุ ์ ปกรณ์ อุปกรณ์ควบคุม และทรัพย์สนิ อื่น ๆ ซึง่ ตัง้ อยู่บนทีด่ นิ ทีใ่ ช้สาหรับระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลักให้แก่ กทม. นอกจากนี้ หากสัญญาสัมปทานถูกยกเลิก จะถือเป็ นเหตุผดิ นัดผิดสัญญาตามสัญญาซื้อและโอนสิทธิรายได้สุทธิ ซึ่งเป็ นเหตุให้ กองทุน BTSGIF สามารถบังคับให้บริษทั ฯ ชาระหนี้ตามภาระค้าประกันโดยบังคับจานาหุน้ บีทเี อสซีทงั ้ หมดตามสัญญา จานาหุน้ หรือให้บริษทั ฯ โอนหุน้ บีทเี อสซีทงั ้ หมดให้แก่กองทุน BTSGIF ตามสัญญาจะซือ้ จะขายหุน้ ได้ (โปรดพิจารณา รายละเอียดเพิม่ เติมใน หัวข้อ 3.4.2 ความเสียงจากการสู ่ ญเสียหุน้ บีทเี อสซี กรณีเกิดเหตุผดิ นัดผิดสัญญาตามสัญญาซื้อ และโอนสิทธิรายได้สทุ ธิ) สาหรับ สัญญาการให้บริการเดินรถและซ่อมบารุงระยะยาวนัน้ มีข้อสัญญาเกี่ยวกับเหตุ บอกเลิกสัญญาที่ คล้ายคลึงกับสัญญาสัมปทาน โดยกรุงเทพธนาคมมีสทิ ธิบอกเลิกสัญญาการให้บริการเดินรถและซ่อมบารุงระยะยาวได้ ในกรณีทบ่ี ที เี อสซีลม้ ละลาย หรือ ไม่ปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามสัญญาการให้บริการเดินรถและซ่อมบารุงระยะยาวในส่วนทีเ่ ป็ น สาระสาคัญและไม่ทาการแก้ไขภายในเวลาอันสมควร ซึ่งหากมีการบอกเลิกสัญญาดังกล่าว บีทเี อสซีจะไม่สามารถ ดาเนินการระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพในส่วนต่อขยายสายสีลมและสายสุขมุ วิท ทัง้ นี้ หากมีผปู้ ระกอบการราย อื่นมาดาเนินการระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพในส่วนต่อขยายดังกล่าว ผูโ้ ดยสารอาจประสบกับความไม่สะดวก ในกรณีท่ผี ู้โดยสารเริม่ ต้นการเดินทางในส่วนต่อขยายและสิน้ สุดการเดินทางในระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพ สายหลัก หรือในทางกลับกัน ความไม่สะดวกดังกล่าวอาจส่งผลให้จานวนผูโ้ ดยสารของระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชน กรุงเทพสายหลักลดลง ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่ อรายได้ ค่าโดยสารและผลการดาเนินงานของกองทุน BTSGIF และ บริษัทฯ นอกจากนี้ บีทเี อสซียงั อาจต้องรับผิดต่อความเสียหายที่เกิ ดขึน้ จากการผิดสัญญาหรือการบอกเลิก สัญญา ดังกล่าวด้วย

ส่วนที่ 1 หน้า 91


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

3.4.2

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ควำมเสี่ ยงจำกกำรสูญเสี ยหุ้นบีทีเอสซี กรณี เกิ ดเหตุผิดนั ดผิ ดสัญญำตำมสัญญำซื้อและโอนสิ ทธิ รำยได้สุทธิ

ในการเข้าทาธุรกรรมการขายและโอนสิทธิรายได้สุทธิท่จี ะเกิดขึน้ จากการดาเนินงานระบบรถไฟฟ้ าขนส่ง มวลชนกรุงเทพสายหลักให้แก่กองทุน BTSGIF บริษทั ฯ ในฐานะผูส้ นับสนุ น ได้เข้าทาสัญญาสนับสนุ นและค้าประกัน ของผูส้ นับสนุน เพื่อค้าประกันการปฏิบตั ติ ามภาระผูกพันของบีทเี อสซีภายใต้สญ ั ญาซือ้ และโอนสิทธิรายได้สทุ ธิ รวมถึง หน้าทีข่ องบีทเี อสซีในการชาระเงินตามสัญญาซือ้ และโอนสิทธิรายได้สุทธิ ทัง้ นี้ ภายใต้สญ ั ญาสนับสนุ นและค้าประกัน ของผูส้ นับสนุน กองทุน BTSGIF ไม่สามารถบังคับให้บริษทั ฯ ชาระหนี้ตามภาระค้าประกันได้โดยวิธกี ารอื่นใดนอกจาก การบังคับเอาจากหุ้นบีทเี อสซีซ่งึ ถือหรือจะได้ถือโดยบริษัทฯ เท่านัน้ โดยการบังคับเอาจากหุ้นบีทเี อสซีดงั กล่าวจะ สามารถทาได้โดยการบังคับจานาหุน้ บีทเี อสซีทงั ้ หมดโดยการขายทอดตลาดตามสัญญาจานาหุน้ หรือให้บริษทั ฯ โอน หุน้ บีทเี อสซีทงั ้ หมดให้แก่กองทุน BTSGIF ตามสัญญาจะซือ้ จะขายหุน้ อย่างไรก็ตาม การค้าประกันตามสัญญาสนับสนุนและค้าประกันของผูส้ นับสนุนดังกล่าวจากัดอยู่ทก่ี ารโอนหุน้ ทัง้ หมดทีบ่ ริษทั ฯ ถืออยู่ในบีทเี อสซี แต่ไม่รวมถึงทรัพย์สนิ ของบีทเี อสซีทก่ี องทุน BTSGIF ไม่ได้ซอ้ื ซึง่ จะต้องโอนคืน ให้แก่บริษทั ฯ หรือบุคคลทีบ่ ริษทั ฯ กาหนดตามเงื่อนไขในสัญญาซือ้ และโอนสิทธิรายได้สุทธิ และสัญญาสนับสนุ นและ ค้าประกันของผูส้ นับสนุ น ซึง่ เมื่อหากกองทุน BTSGIF ใช้สทิ ธิบงั คับจานาหุน้ บีทเี อสซี หรือใช้สทิ ธิบงั คับซือ้ หุน้ บีทเี อส ซีแล้ว แม้ภาระค้าประกันของบริษทั ฯ จะสิน้ สุดลง แต่บริษทั ฯ จะสูญเสียหุน้ บีทเี อสซีและอานาจควบคุมในบีทเี อสซีไป และจะเกิดการเปลีย่ นแปลงอานาจควบคุมในบีทเี อสซีจากบริษทั ฯ ไปเป็ นกองทุน BTSGIF หรือบุคคลอื่นทีไ่ ด้มาซึง่ หุน้ บีทีเ อสซีจ ากการขายทอดตลาดตามการบัง คับ จ าน าหุ้น ตามสัญ ญาจ าน าหุ้น หรือ เป็ น บุ ค คลที่ก องทุ น BTSGIF กาหนดให้เป็ นผูร้ บั โอนหรือซือ้ หุน้ บีทเี อสซีตามสัญญาจะซือ้ จะขายหุน้ ซึง่ เหตุดงั กล่าวอาจส่งผลกระทบในทางลบอย่าง มีนยั สาคัญต่อธุรกิจ ฐานะการเงิน ผลการดาเนินงาน และโอกาสทางธุรกิจของบีทเี อสซี และบริษทั ฯ อย่างไรก็ดี ในกรณีท่มี ีเหตุ ผิดนัดผิดสัญญาบางประการตามที่กาหนดในสัญญาซื้อและโอนสิทธิรายได้สุทธิ บีทีเอสซีสามารถเสนอแผนการแก้ไขเยียวยาเหตุ ผิดนัดผิดสัญญาต่ อกองทุ น BTSGIF ได้ และหากกองทุ น BTSGIF เห็นชอบด้วยกับแผนการแก้ไขเยียวยาดังกล่าว กองทุน BTSGIF จะไม่ใช้สทิ ธิเรียกร้องให้บที เี อสซีชาระหนี้ตามสัญญาซื้อ และโอนสิทธิรายได้สทุ ธิ หรือเรียกให้บริษทั ฯ ในฐานะผูส้ นับสนุนปฏิบตั ติ ามสัญญาสนับสนุ นและค้าประกันของผูส้ นับสนุ น หรือใช้สทิ ธิอ่นื ใดของกองทุน BTSGIF โดยในระหว่างระยะเวลาการแก้ไขเยียวยา บริษทั ฯ จะให้สทิ ธิแก่กองทุน BTSGIF ในการใช้สทิ ธิออกเสียงในหุน้ บีทเี อสซี และหากมีการจ่ายเงินปั นผลจากบีทเี อสซี บริษทั ฯ ตกลงจะนาเงินปั นผลดังกล่าวมา ชาระจานวนเงินทีค่ ้างจ่ายและถึงกาหนดชาระให้แก่กองทุน BTSGIF ทัง้ นี้ ตามเงื่อนไขทีก่ าหนดไว้ในสัญญาซื้อและโอน สิทธิรายได้สทุ ธิ และสัญญาสนับสนุนและค้าประกันของผูส้ นับสนุน 3.4.3

ควำมเสี่ยงจำกกำรถูกเพิ กถอนหรือไม่ได้รบั กำรต่ออำยุใบอนุญำตประกอบธุรกิ จเงิ นอิ เล็กทรอนิ กส์

กลุ่มบริษัทดาเนินธุรกิจเงินอิเล็กทรอนิกส์ผ่านบีเอสเอส โดยบีเอสเอสได้รบั ใบอนุ ญาตให้ประกอบธุรกิจเงิน อิเล็กทรอนิกส์ ซึง่ เป็ นธุรกิจทีอ่ ยู่ภายใต้การกากับดูแลของธนาคารแห่งประเทศไทย ภายใต้พระราชกฤษฎีกาว่าด้วย การควบคุมดูแลธุรกิจบริการการชาระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2551 และประกาศกระทรวงการคลัง เรื่องกิจการที่ จะต้องขออนุ ญาตตามข้อ 5 แห่งประกาศคณะปฏิวตั ิ ฉบับที่ 58 (การประกอบธุรกิจบัตรเงินอิเล็กทรอนิกส์) ดังนัน้ หากบีเอสเอสไม่สามารถปฎิบตั ติ ามกฎหมายและกฎระเบียบที่เกีย่ วข้องได้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในส่วนทีเ่ กีย่ วข้องกับ การรักษาความปลอดภัยของระบบสารสนเทศ ตลอดจนการควบคุมดูแลเงินอิเล็กทรอนิกส์ บีเอสเอสอาจมีความเสีย่ ง จากการถูกเพิกถอนใบอนุญาต นอกจากนี้ ใบอนุญาตทีบ่ เี อสเอสได้รบั จากธนาคารแห่งประเทศไทยมีอายุ 10 ปี ดังนัน้ ส่วนที่ 1 หน้า 92


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

บีเอสเอสจึงอาจมีความเสีย่ งที่จะไม่ได้รบั การต่ออายุใบอนุ ญาต ซึ่งจะมีผลให้บเี อสเอสไม่ สามารถดาเนินธุรกิจ เงิน อิเล็กทรอนิกส์ได้อกี ต่อไป 3.4.4

ควำมเสี่ยงด้ำนสิ่ งแวดล้อม

การดาเนินงานของกลุ่มบริษทั นัน้ เกีย่ วข้องกับกฎหมายด้านสิง่ แวดล้อมโดยตรง เช่น การควบคุมมลพิษและ การวิเคราะห์ผลกระทบสิง่ แวดล้อม (EIA) ดังนัน้ กลุ่มบริษทั อาจต้องลงทุนเพิม่ เติมหรือต้องมีการปรับปรุงกระบวนการ ดาเนินงาน หากกฎหมายด้านสิง่ แวดล้อมมีความเข้มงวดมากขึน้ ซึ่งอาจทาให้ต้นทุนในการประกอบธุรกิจของกลุ่ม บริษทั เพิม่ ขึน้ ได้ อนึ่ง ระบบรถไฟฟ้ าของกลุ่มบริษทั มีความเป็ นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม โดยมีการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ในระดับทีต่ ่ากว่ายานพาหนะทัวไปค่ ่ อนข้างมาก อีกทัง้ การเพิม่ ขึน้ ของจานวนผูโ้ ดยสารในระบบรถไฟฟ้ านัน้ จะเป็ นผลดี ต่อสิง่ แวดล้อม เนื่องจากจะส่งผลให้การใช้พลังงานและปริมาณมลพิษต่อคนลดลง 3.5

ควำมเสี่ยงอื่น ๆ

3.5.1

ควำมเสี่ยงที่อำจเกิ ดขึน้ ในอนำคต (Emerging Risk)

3.5.1.1 ควำมเสี่ยงจำกภัยคุกคำมทำงเทคโนโลยีสำรสนเทศ ด้วยวิวฒ ั นาการความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี การดาเนินธุรกิจของกลุ่มบริษัท ไม่ว่าจะเป็ นการให้บริการ ระบบรถไฟฟ้ าบีทเี อส การให้บริการสื่อโฆษณา หรือการให้บริการเงินอิเล็กทรอนิกส์ ล้วนจาเป็ นต้องพึง่ พาเทคโนโลยี สารสนเทศ การถูกคุกคามความปลอดภัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ (Cyber Security Attacks) อาจเป็ นเหตุให้เกิดการ ขัดข้องหรือ หยุดชะงักของการดาเนินงานและการให้บริการ ตลอดจนการสูญเสียหรือการรัวไหลของข้ ่ อมูลอันเป็ น ความลับ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อธุรกิจ ความน่ าเชื่อถือ ชื่อเสียงของกลุ่มบริษทั ตลอดจนค่าใช้จ่ายในการดาเนินการ ทางกฎหมายและการกูค้ นื ข้อมูลสารสนเทศและระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ กลุ่มบริษทั จึงให้ความสาคัญกับการกากับดูแลด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อป้ องกันและลดความเสีย่ งจากภัย คุกคามดังกล่าว โดยกลุ่มบริษทั มีมาตรการควบคุมความปลอดภัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเข้มงวดเพื่อป้ องกันมิ ให้บุคคลทีไ่ ม่ได้รบั อนุญาตเข้าถึงหรือนาข้อมูลของกลุ่มบริษทั ไปใช้หรือเผยแพร่โดยมิชอบ ได้แก่ (1) กาหนดระบบการ จัดการความปลอดภัยข้อมูลสารสนเทศ และขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ านเมื่อเกิดการคุกคามความปลอดภัยทางเทคโนโลยี สารสนเทศ (2) กาหนดมาตรการกูค้ นื ข้อมูลสารสนเทศ (3) ทดสอบระบบการจัดการความปลอดภัย ข้อมูลสารสนเทศ อย่างสม่ าเสมอ เพื่อตรวจสอบและปรับปรุงมาตรการต่ าง ๆ และ (4) ฝึ กอบรมและให้ความรู้แก่พนักงานเกี่ยวกับ นโยบายและขัน้ ตอนด้านความมันคงปลอดภั ่ ยของเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างสม่าเสมอ ทัง้ นี้ ในปี 2560/61 บีทีเอสซีได้ศึกษาและเตรียมการน าระบบการจัดการความปลอดภัยข้อมูลสารสนเทศ ISO 27001:2013 เข้าดาเนินการกับระบบควบคุมการเดินรถไฟฟ้ า ระบบการจาหน่ ายตั ๋วโดยสารอัตโนมัติ และระบบ ข้อมูลสารสนเทศของบริษัท เพื่อให้เกิดความมันใจต่ ่ อความปลอดภัยทางเทคโนโลยีสารสนเทศ รวมถึงความไว้วางใจ จากผูม้ สี ว่ นได้เสีย

ส่วนที่ 1 หน้า 93


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

3.5.1.2 ควำมเสี่ยงจำกกำรเปลี่ยนแปลงด้ำนประชำกรศำสตร์ โครงสร้างทางด้านประชากรศาสตร์โลกมีการเปลีย่ นแปลง โดยมีแนวโน้มการเพิม่ ขึน้ ของจานวนผูส้ งู อายุอย่าง ต่ อ เนื่ อ ง การเปลี่ย นแปลงดัง กล่ า วน ามาซึ่ง ประเด็น ด้า นความสะดวกและความปลอดภัย ในการใช้บ ริก าร โดย สมรรถภาพทางร่างกายอาจส่งผลกระทบต่อความคล่องตัวในการเคลื่อนไหว การมองเห็นป้ ายและจอประชาสัมพันธ์ ตลอดจนความสามารถในการได้ยนิ ประกาศต่าง ๆ ซึง่ อาจเป็ นอุปสรรคต่อการใช้บริการหรือทาให้ไม่สามารถเข้าถึงการ ให้บริการได้ เหตุดงั กล่าวอาจส่งผลต่อจานวนผูโ้ ดยสารของระบบรถไฟฟ้ าบีทเี อสในอนาคต ดังนัน้ เพื่อลดความเสีย่ งทีอ่ าจเกิดจากความต้องการใช้บริการของระบบรถไฟฟ้ าบีทเี อส บีทเี อสซีจงึ จัดให้มี สิง่ อานวยความสะดวกอย่างเพียงพอต่อผูโ้ ดยสารทุกกลุ่ม โดยสนับสนุนให้ผสู้ งู อายุและผูพ้ กิ ารเข้าถึงการให้บริการของ ระบบรถไฟฟ้ าบีทเี อสได้อย่างเท่าเทียมกัน ด้วยการติดตัง้ อุปกรณ์อานวยความสะดวก เช่น การติดตัง้ ลิฟต์โดยสาร การ ก่อสร้างทางลาด การติดตัง้ แผงบริการในลิฟต์จุดทีส่ อง และเครื่องออกบัตรโดยสารอัตโนมัตเิ พื่อรองรับ ผูโ้ ดยสารที่ใช้ รถเข็น การสร้างพื้นผิวต่ างสัมผัสบนพื้นและอักษรเบรลล์ บนแผงบริการในลิฟต์สาหรับผู้พิการทางสายตา รวมถึง มาตรการให้ความช่วยเหลือผู้สงู อายุและผู้พกิ ารโดยพนักงานประจาสถานีทผ่ี ่านการอบรมด้านการดูแลและช่วยเหลือ เบือ้ งต้นแก่ผใู้ ช้บริการในสถานีอย่างเหมาะสม 3.5.2

ควำมเสี่ยงจำกกำรออกหุ้นสำมัญเพิ่ มทุน เพื่อรองรับกำรใช้สิทธิ ตำมใบสำคัญแสดงของบริ ษัทฯ อำจ ส่งผลกระทบต่อสัดส่วนกำรถือหุ้นของผูล้ งทุน (Control Dilution)

ณ วัน ที่ 31 มีน าคม 2561 บริษัท ฯ มีใ บสาคัญ แสดงสิท ธิ BTS-W3 จ านวนทัง้ สิ้น 3,944,551,464 หน่ วย ใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-WB จานวนทัง้ สิน้ 893,839 หน่ วย ใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-WC จานวนทัง้ สิน้ 16,000,000 หน่ ว ย และใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-WD 16,000,000 หน่ ว ย โดยมีหุ้น รองรับ การใช้สิทธิต ามใบสาคัญ แสดงสิทธิ BTS-W3 จ านวน 3,944,551,464 หุ้ น ใบส าคัญ แสดงสิท ธิ BTS-WB จ านวน 893,839 หุ้ น ใบส าคัญ แสดงสิท ธิ BTS-WC จานวน 16,000,000 หุน้ และใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-WD จานวน 16,000,000 หุน้ ดังนัน้ หากมีการใช้สทิ ธิ ตามใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-W3 ใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-WB ใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-WC และใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-WD เต็มจานวน จะทาให้สดั ส่วนการถือหุน้ ของผูถ้ อื หุน้ เดิมลดลงไม่เกินร้อยละ 24.83 ร้อยละ 0.007 ร้อยละ 0.13 และร้อยละ 0.13 ตามลาดับ หรือในกรณีมกี ารใช้สทิ ธิตามใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-W3 ใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-WB ใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-WC และใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-WD ครบทัง้ หมด จะทาให้สดั ส่วนการถือหุน้ ของผูถ้ อื หุน้ เดิมลดลงทัง้ หมดไม่เกินร้อยละ 24.99 (คานวณโดยใช้ฐานหุน้ ทีอ่ อกและจาหน่ ายได้แล้วทัง้ หมด ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561 จานวน 11,940,368,954 หุน้ ) 3.5.3

ควำมเสี่ยงจำกกำรมีผถู้ ือหุ้นรำยใหญ่ >25%

ณ วันปิ ดสมุดทะเบียนหุน้ เมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2561 กลุ่มนายคีรี กาญจนพาสน์ (โปรดพิจารณารายละเอียด ใน หัวข้อ 7.2 ผูถ้ อื หุน้ ) ถือหุน้ ในบริษทั ฯ จานวนรวม 4,868,397,239 หุน้ คิดเป็ นร้อยละ 41.10 ของจานวนหุน้ ทีม่ สี ทิ ธิ ออกเสียงทัง้ หมดของบริษัทฯ แม้กลุ่มนายคีรี กาญจนพาสน์ จะถือหุ้นไม่เกินร้อยละ 50 ของจานวนหุ้นที่มสี ทิ ธิออก เสียงทัง้ หมดของบริษัทฯ ซึ่ง ยัง ไม่อาจถือ ได้ว่าสามารถควบคุมมติที่ประชุมผู้ถือ หุ้นที่ต้องใช้เสียงส่วนใหญ่ของที่ ประชุม ผูถ้ อื หุน้ ได้ อย่างไรก็ตาม กลุ่มนายคีรี กาญจนพาสน์ เป็ นกลุ่มผูถ้ อื หุน้ ใหญ่กลุ่มเดียวทีถ่ อื หุน้ ในบริษทั ฯ เกินกว่า ร้อยละ 25 ดังนัน้ ผูถ้ อื หุน้ รายอื่นอาจมีความลาบากในการรวบรวมคะแนนเสียงเพื่อถ่วงดุลเรื่องที่กลุ่มผูถ้ อื หุน้ ใหญ่เสนอได้

ส่วนที่ 1 หน้า 94


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

4.

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ทรัพย์สินที่ใช้ในกำรประกอบธุรกิ จ ทรัพย์สนิ สาคัญทีใ่ ช้ในการประกอบธุรกิจของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย มีรายละเอียดดังต่อไปนี้

4.1

ทรัพย์สินถำวรหลักที่ใช้ในกำรประกอบธุรกิ จของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย

ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561 ทรัพย์สนิ ถาวรหลักทีใ่ ช้ในการประกอบธุรกิจของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย สามารถ แบ่งออกเป็ น 2 กลุ่ม ได้แก่ (1) ต้นทุนโครงการ และอุปกรณ์ และ (2) ทีด่ นิ โครงการอสังหาริมทรัพย์ และสิทธิการเช่า ดังนี้ 4.1.1

ต้นทุนโครงกำร และอุปกรณ์ รำยกำรทรัพย์สินถำวร

ต้นทุนโครงการ – โฆษณา อุปกรณ์ – ขนส่งมวลชน อุปกรณ์สอ่ื โฆษณา สินทรัพย์ระหว่างติดตัง้ – โฆษณา ต้นทุนโครงการ – แรบบิท อุปกรณ์ – แรบบิท อุปกรณ์ – แรบบิท รีวอร์ดส อุปกรณ์ – สนามกอล์ฟและคลับเฮ้าส์ รวม

ลักษณะกรรมสิ ทธิ์ สัมปทาน เป็ นเจ้าของ เป็ นเจ้าของ เป็ นเจ้าของ เป็ นเจ้าของ เป็ นเจ้าของ เป็ นเจ้าของ เป็ นเจ้าของ

ส่วนที่ 1 หน้า 95

มูลค่ำตำมบัญชี ณ วันที่ 31 มีนำคม 2561 (ล้ำนบำท) 2,138.7 124.4 1,412.7 76.9 107.1 18.6 32.7 82.4 3,993.5

ภำระผูกผัน ไม่ม ี ไม่ม ี ไม่ม ี ไม่ม ี ไม่ม ี ไม่ม ี ไม่ม ี ไม่ม ี


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

4.1.2

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ที่ดิน โครงกำรอสังหำริมทรัพย์และสิ ทธิ กำรเช่ำ 4.1.2.1 รำยละเอียดโครงกำรอสังหำริมทรัพย์ที่ดำเนิ นกำรอยู่ ณ วันที่ 31 มีนำคม 2561 ขนำดที่ ดิน/ห้องชุด รำยละเอียด

ที่ตงั ้

ทรัพย์สินภำยใต้กรรมสิ ทธิ์ ของบริ ษทั ฯ 1. โครงกำรธนำซิ ตี้ ถนนบำงนำ – ตรำด กม.14 1.1 บ้ำนพร้อมที่ ดิน 1.1.1 เพรสทีจเฮ้าส์ II ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 1.1.2 เพรสทีจเฮ้าส์ III ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 1.1.3 พาร์วนั ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 1.1.4 ทีด่ นิ เปล่าไพร์มแลนด์โซนบี, ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ โซนซี และโซนดี 1.1.5 แคลิฟอร์เนียน ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 1.2 ทำวน์ เฮ้ำส์ 1.2.1 ทาวน์เฮ้าส์ฮาบิแทต ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 1.3 คอนโดมิ เนี ยม 1.3.1 นูเวลคอนโดมิเนียม ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 1.3.2 ธนาเพลสคอนโดมิเนียม ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 1.4 ที่ดินเปล่ำจัดสรร 1.4.1 ทีด่ นิ เปล่า กิง่ แก้ว ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 1.4.2 ทีด่ นิ แปลงใหญ่ใกล้ฮาบิแทต ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 1.4.3 ทีด่ นิ ข้างไพร์มแลนด์ โซนบี ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 1.4.4 ทีด่ นิ เปล่าใกล้สะพาน 1 ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ หน้าโครงการธนาซิต้ี

จำนวน

รำคำประเมิ น วันที่ทำกำร (ล้ำนบำท) ประเมิ น

รำคำตำมบัญชี ณ 31 มี.ค. 61 (ล้ำนบำท)

ภำระผูกพัน

ไร่

งำน

ตำรำงวำ

38 แปลง 206 แปลง 57 แปลง 29 แปลง

27 59 8 21

1 1 1

15.90 4.20 77.1 55.80

327.50 708.13 127.71 256.70

30 มี.ค. 61 30 มี.ค. 61 30 มี.ค. 61 30 มี.ค. 61

91.02 302.65 85.58 71.34

-

30 แปลง

7

1

82.60

89.50

30 มี.ค. 61

24.87

-

16 แปลง

1

3

68.80

23.06

30 มี.ค. 61

14.79

-

58.57 ตารางเมตร 127.64 ตารางเมตร

1.46 1.91

30 มี.ค. 61 30 มี.ค. 61

0.82 1.48

-

-

3 1 -

57.20 91.30 39.50 28.02

30 มี.ค. 61 30 มี.ค. 61 30 มี.ค. 61 30 มี.ค. 61

7.13 30.46 10.97 4.85

-

1 ห้องชุด 2 ห้องชุด 12 แปลง 1 แปลง 1 แปลง 1 แปลง

4 9 3 2

ส่วนที่ 1 หน้า 96

5.50 53.00 16.00 0.50


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

4.1.2.2 รำยละเอียดอสังหำริมทรัพย์เพื่อกำรลงทุน ณ วันที่ 31 มีนำคม 2561 (ก)

โครงการเพื่อให้เช่า ขนำดห้องชุด รำยละเอียด

ที่ตงั ้

จำนวน

รำคำประเมิ น วันที่ทำกำร (ล้ำนบำท) ประเมิ น

ตำรำงเมตร

ทรัพย์สินภำยใต้กรรมสิ ทธิ์ ของบริ ษทั ฯ 1. อำคำรพักอำศัยโครงกำรเดอะรอยัลเพลส 2 และเดอะแกรนด์ (เพื่อให้เช่ำ) 1.1 เดอะรอยัลเพลส 2 * ซอยมหาดเล็กหลวง 2 ถนนราชดาริ 54 ห้อง 4,514.85 141.00 30 มี.ค. 61 แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 1.2 เดอะแกรนด์ * ซอยมหาดเล็กหลวง 2 ถนนราชดาริ 26 ห้อง 1,616.00 47.00 30 มี.ค. 61 แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ * ทีด่ นิ และอาคารเดอะรอยัลเพลส 2 และเดอะแกรนด์ เป็ นการเช่าระยะยาวกับสานักงานพระคลังข้างที่ โดยสัญญาเช่าจะสิน้ สุดวันที่ 30 พฤศจิกายน 2570

(ข)

รำคำตำมบัญชี ณ 31 มี.ค. 61 (ล้ำนบำท)

ภำระผูกพัน

116.47

-

30.92

-

ภำระผูกพัน

ทีด่ นิ เปล่า ขนำดที่ ดิน

รำยละเอียด

ที่ตงั ้

ทรัพย์สินภำยใต้กรรมสิ ทธิ์ ของบริ ษทั ฯ 1. ทีด่ นิ เปล่า ถนนบ้านน้าลัด – บ้านแม่ยาว ต.ริมกก อ.เมืองเชียงราย จ.เชียงราย 2. ทีด่ นิ เปล่า ถนนเทพกษัตรีย์ ต.เกาะแก้ว อ.เมือง ภูเก็ต จ.ภูเก็ต 3. ทีด่ นิ เปล่า ถนนสายบ้านนา-แก่งคอย ต.ชะอม อ.แก่งคอย จ.สระบุร ี 4. ทีด่ นิ เปล่า แขวงลาดพร้าว เขตลาดพร้าว กรุงเทพฯ

รำคำประเมิ น

ไร่

งำน

ตำรำงวำ

(ล้ำนบำท)

วันที่ทำกำร ประเมิ น

รำคำตำมบัญชี ณ 31 มี.ค.61 (ล้ำนบำท)

4 แปลง

21

3

60.00

14.20

20 มี.ค. 61

11.00

-

4 แปลง

37

2

8.50

150.00

28 มี.ค. 61

33.77

-

4 แปลง

95

-

93.00

10.50

30 มี.ค. 61

7.60

-

6 แปลง

-

42.00

-

-

1.47

-

จำนวน

ส่วนที่ 1 หน้า 97


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61 ขนำดที่ ดิน

รำยละเอียด

ที่ตงั ้

5. ทีด่ นิ เปล่า หน้าโครงการธนาซิต้ี ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 6. ทีด่ นิ เปล่า หลังโครงการธนาซิต้ี ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ ทรัพย์สินภำยใต้กรรมสิ ทธิ์ ของบริ ษทั ย่อย 1. ทีด่ นิ เปล่า (กรรมสิทธิ ์ของ บจ. ยงสุ) ต.คลองควาย อ.สามโคก จ.ปทุมธานี 2. ทีด่ นิ เปล่า (กรรมสิทธิ ์ของ บมจ. ต.บึงคาพร้อม อ.ลาลูกกา จ.ปทุมธานี มาสเตอร์ แอด) 3. ทีด่ นิ เปล่า (กรรมสิทธิ ์ของ บมจ. ต.ทับคาง อ.เขาย้อย จ.เพชรบุร ี มาสเตอร์ แอด)

จำนวน

รำคำประเมิ น

รำคำตำมบัญชี ณ 31 มี.ค.61 (ล้ำนบำท)

ภำระผูกพัน

398.28 2.39

-

ไร่

งำน

ตำรำงวำ

(ล้ำนบำท)

3 แปลง 1 แปลง

207 7

1 -

80.60 8.00

2,604.94 21.06

วันที่ทำกำร ประเมิ น 30 มี.ค. 61 30 มี.ค. 61

1 แปลง 3 แปลง

26 16

3

11.00 90.00

39.00 30.52

30 มี.ค. 61 30 มี.ค. 61

14.16 30.52

-

3 แปลง

26

1

93.00

34.40

30 มี.ค. 61

34.40

-

รำคำตำมบัญชี ณ 31 มี.ค. 61 (ล้ำนบำท)

ภำระผูกพัน

4.1.2.3 รำยละเอียดอสังหำริมทรัพย์เพื่อใช้ในกำรดำเนิ นธุรกิ จ ณ วันที่ 31 มีนำคม 2561 ขนำดที่ ดิน / พืน้ ที่ รำยละเอียด

ที่ตงั ้

ทรัพย์สินภำยใต้กรรมสิ ทธิ์ ของบริ ษทั ฯ 1. สนามกอล์ฟและคลับเฮ้าส์ ถนนบางนา-ตราด กม.14 ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ

จำนวน

5 แปลง

ไร่

งำน

ตำรำงวำ

475

-

23.50

ส่วนที่ 1 หน้า 98

รำคำประเมิ น วันที่ทำกำร (ล้ำนบำท) ประเมิ น 3,198.00

30 มี.ค. 61

3,010.17

จานองทีด่ นิ พร้อม สิง่ ปลูกสร้าง มูลค่าจานอง 420 ล้านบาท


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

4.1.2.4 รำยละเอียดที่ดินและโครงกำรรอกำรพัฒนำในอนำคต ณ วันที่ 31 มีนำคม 2561 ขนำดที่ ดิน/ห้องชุด รำยละเอียด

ที่ตงั ้

ทรัพย์สินภำยใต้กรรมสิ ทธิ์ ของบริ ษทั ย่อย 1. ทีด่ นิ เปล่า (กรรมสิทธิ ์ของ ต.บางโฉลง อ.บางพลี บจ.เดอะ คอมมูนิต้ี วัน) จ.สมุทรปราการ 2. ทีด่ นิ เปล่า (กรรมสิทธิ ์ของ ต.บางโฉลง อ.บางพลี บจ.เดอะ คอมมูนิต้ี ทู) จ.สมุทรปราการ 3. ทีด่ นิ เปล่า (กรรมสิทธิ ์ของ ต.ราชาเทวะ อ.บางพลี (บางพลีใหญ่) บจ. กิง่ แก้ว แอสเสทส์) จ.สมุทรปราการ

รำคำประเมิ น

ไร่

งำน

ตำรำงวำ

(ล้ำนบำท)

วันที่ทำกำร ประเมิ น

รำคำตำมบัญชี ณ 31 มี.ค. 61 (ล้ำนบำท)

1 แปลง

11

2

17.00

115.40

30 มี.ค. 61

38.50

1 แปลง

24

-

2

240.10

30 มี.ค. 61

80.07

-

1 แปลง

10

2

6

36.80

30 มี.ค. 61

15.80

-

จำนวน

ส่วนที่ 1 หน้า 99

ภำระผูกพัน


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ทรัพย์สินที่ไม่มีตวั ตนที่ใช้ในกำรประกอบธุรกิ จของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย

4.2

ณ วัน ที่ 31 มีน าคม 2561 ทรัพ ย์สิน ที่ไ ม่ มีตัว ตนที่ใ ช้ใ นการประกอบธุ ร กิจ ของบริษัท ฯ และบริษัท ย่ อ ย สามารถแบ่ ง ออกเป็ น 3 กลุ่ ม ได้แ ก่ (1) สัญ ญาสัม ปทาน (2) เครื่อ งหมายการค้า และเครื่อ งหมายบริก าร และ (3) โปรแกรมคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์ ดังนี้ 4.2.1

สัญญำสัมปทำน

บีทีเอสซีได้ลงนามในสัญญาสัมปทานกับ กทม. เมื่อวันที่ 9 เมษายน 2535 ซึ่งมีการแก้ไขเพิม่ เติม 2 ครัง้ ภายใต้สญ ั ญาสัมปทาน บีทเี อสซีมสี ทิ ธิแต่เพียงผูเ้ ดียวในการดาเนินงาน และมีสทิ ธิรบั รายได้จากการจัดเก็บค่าโดยสาร จากผู้ใช้บริการระบบรถไฟฟ้ า ขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลัก รวมทัง้ รายได้จากการให้เช่าพื้นที่โฆษณา รายได้จาก ธุรกิจทีเ่ กีย่ วเนื่องภายในสถานี และธุรกรรมทางพาณิชย์ในรูปแบบอื่นเป็ นระยะเวลา 30 ปี นับตัง้ แต่วนั ทีร่ ะบบรถไฟฟ้ า ขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลักเปิ ดให้บริการเชิงพาณิชย์ (5 ธันวาคม 2542) อนึ่ง เมื่อวันที่ 17 เมษายน 2556 บีทีเอสซีได้ขายรายได้ค่าโดยสารสุทธิทงั ้ หมดของระบบรถไฟฟ้ าขนส่ง มวลชนกรุงเทพสายหลักให้แก่กองทุน BTSGIF ทัง้ นี้ ไม่รวมถึงรายได้จากการให้เช่าพืน้ ทีโ่ ฆษณา รายได้จากธุรกิจที่ เกีย่ วเนื่องภายในสถานี และธุรกรรมทางพาณิชย์ในรูปแบบอื่น ตามสัญญาสัมปทาน แต่อย่างใด โปรดพิจารณารายละเอียดของสัญญาสัมปทาน และสัญญาซื้อและโอนสิทธิรายได้สุทธิใน หัวข้อ 6.2 ข้อมูล สำคัญอืน่ 4.2.2

เครือ่ งหมำยกำรค้ำและเครือ่ งหมำยบริกำร

ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561 บริษัทฯ และบริษัทย่อย มีเครื่องหมายการค้าและเครื่องหมายบริการที่สาคัญต่อ การประกอบธุรกิจซึง่ ได้จดทะเบียนในประเทศไทย ดังนี้ ลำดับ 1.

รูปแบบเครื่องหมำยกำรค้ำ / เครื่องหมำยบริ กำร เครือ่ งหมายการค้า / เครือ่ งหมาย บริการ

ชื่อเจ้ำของ บีทเี อสซี

ประเภทสิ นค้ำ / บริ กำร

ระยะเวลำคุ้มครอง

การขนส่ ง (โดยรถไฟฟ้ า) การขนส่ ง ตัง้ แต่ปี 2542 - 2562 ผู้โ ดยสาร การขนส่ ง ทางรถ การให้ข ้อ มูล เกี่ยวกับการเดินทาง การให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับ การขนส่ ง การรับขนของ การให้เช่าเนื้อที่ โฆษณา การให้เช่าวัสดุโฆษณา การโฆษณา สิน ค้าที่ระลึกหรือส่งเสริมการขายประเภท ต่ างๆ เช่น ตั ๋ว พวงกุญแจ ตุ๊ กตา นาฬิกา เสือ้ เน็คไท หมวก ดินสอ ปากกา แก้วน้า

ส่วนที่ 1 หน้า 100


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน) ลำดับ

รูปแบบเครื่องหมำยกำรค้ำ / เครื่องหมำยบริ กำร

ชื่อเจ้ำของ

แบบ 56-1 ปี 2560/61 ประเภทสิ นค้ำ / บริ กำร

ระยะเวลำคุ้มครอง

2.

เครื่องหมายการค้า / เครื่องหมาย บริการ หนูด่วนในอิรยิ าบถต่างๆ : หนู ด่วนพนมมือ หนู ด่วนแบมือ 2 ข้าง หนู ด่ว นหลับตาขวาพนมมือ หนู ด่ ว นแบมือ ขวา หนู ด่ ว นชวน แวะ

บีทเี อสซี

การขนส่ ง (โดยรถไฟฟ้ า) การขนส่ ง ตัง้ แต่ปี 2543 - 2563 ผู้โ ดยสาร การขนส่ ง ทางรถ การให้ข ้อ มูล เกี่ยวกับการเดินทาง การให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับ การขนส่ ง การรับขนของ การให้เช่าเนื้อที่ โฆษณา การให้เช่าวัสดุโฆษณา การโฆษณา การให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับการท่องเที่ยว การให้ ข้อมูลข่าวสารในเรือ่ งทีไ่ ด้รบั ความสนใจทัว่ ๆ ไป ผ่านทางเว็บไซต์ บริการตรวจสอบและ รับ รองคุ ณ ภาพของสิน ค้า และบริก ารแก่ บุคคลอื่น จัดการขายสินค้า การจัดการขาย อาหารและเครื่อ งดื่ม สิน ค้ า ที่ร ะลึก หรือ ส่งเสริมการขายประเภทต่าง ๆ เช่น ตั ๋ว พวง กุญแจ ตุ๊ กตา นาฬิกา เสื้อ เน็ ค ไท หมวก ดิน สอ ปากกา สติกเกอร์ แก้ว น้ า ชุดถ้ว ย กาแฟ

4.

เครือ่ งหมายการค้า / เครือ่ งหมาย บริการ

บีเอสเอส

ให้บริการบัตรเงินสดและสมาร์ทการ์ดทาง ตัง้ แต่ปี 2554 - 2564 การเงิน บริการทางการเงินเกี่ยวกับเครดิต บริก ารรวบรวมข้อ มูล การใช้จ่ ายผ่ านบัต ร บริการให้ขอ้ มูลการใช้จ่ายผ่านบัตร บริการ หัก บัญ ชี บริก ารส่ ง เสริม การขาย บริก าร จัด การธุ ร กิจ ด้า นการจัด จ าหนายบัต รใช้ ช าระสิ น ค้ า /บริ ก าร การจัด การค้ า ปลี ก บริการเข้าถึงฐานข้อ มูล บริการโปรแกรม ข้อมูลสาเร็จรูปบนบัตร บริการการควบคุม ระบบการเข้า ออกของบุ ค คลด้ ว ยระบบ อิเล็กทรอนิกส์ สินค้าทีร่ ะลึกหรือส่งเสริมการ ขายประเภทต่ า ง ๆ เช่ น พวงกุ ญ แจ เสื้อ หมวก แถบรัดข้อมือ

ส่วนที่ 1 หน้า 101


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน) ลำดับ 5.

แบบ 56-1 ปี 2560/61

รูปแบบเครื่องหมำยกำรค้ำ / เครื่องหมำยบริ กำร

ชื่อเจ้ำของ

เครือ่ งหมายการค้า / เครือ่ งหมาย บริการ

แครอท รีวอร์ดส

ประเภทสิ นค้ำ / บริ กำร

ระยะเวลำคุ้มครอง

บริการส่งเสริมการขาย บริการลูกค้าสมาชิก ตัง้ แต่ปี 2554 - 2564 สัมพันธ์ บริการให้ขอ้ มูลทางการค้าเกีย่ วกับ การสะสมและให้คะแนนสะสมสาหรับสมาชิก ทางการค้า บริการทางการค้าโดยการตรวจสอบ คะแนนสะสม และแลกคูปองส่ว นลดให้แก่ สมาชิกทางการค้า เครือ่ งออกคูปองอัตโนมัติ ซอฟต์แวร์ค อมพิวเตอร์ บัต รสมาร์ทการ์ด แผ่นซีดี แผ่นดีวดี ี แฟลชไดรฟ์ สื่อสิง่ พิมพ์ อิเล็กทรอนิกส์ สินค้าทีร่ ะลึกหรือส่งเสริมการ ขายประเภทต่ า ง ๆ เช่ น พวงกุ ญ แจ เสื้อ หมวก แถบรัด ข้อ มือ สายคล้อ ง ปากกา ดินสอ แฟ้ มเอกสาร สิง่ พิมพ์ สมุด ป้ ายติ ด กระจกทาด้วยกระดาษ สายคล้องคอพร้อม กับป้ ายชือ่ โทรศัพท์มอื ถือ ซองและหน้ากาก ใส่ โ ทรศัพ ท์ม ือ ถือ กล่ อ งใส่ ซีดี กระเป๋ าใส่ ของ ร่ ม นาฬิก า สร้อ ยข้อ มือ สร้อ ยคอ จี้ ประดับ

หมายเหตุ: เครื่องหมายการค้าและเครื่องหมายบริการมีอายุ 10 ปี นับตัง้ แต่วนั ทีไ่ ด้จดทะเบียนต่อกรมทรัพย์สนิ ทางปั ญญา กระทรวงพาณิชย์ ทัง้ นี้ เมือ่ สิ้นสุดอายุเครื่องหมายการค้า / เครื่องหมายบริการ เจ้าของเครื่องหมายการค้า / เครื่องหมายบริการ สามารถต่ออายุได้ครัง้ ละ 10 ปี โดยยืน่ คาขอต่ออายุภายใน 90 วันก่อนวันสิน้ อายุต่อกรมทรัพย์สนิ ทางปั ญญา

4.2.3

โปรแกรมคอมพิ วเตอร์และซอฟต์แวร์ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561 บริษทั ฯ และบริษทั ย่อย มีโปรแกรมคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์ ดังนี้ รำยกำร

ลักษณะกรรมสิ ทธิ์

มูลค่ำตำมบัญชี (ล้ำนบำท) 346.0

ภำระผูกพัน

โปรแกรมคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์ เป็ นเจ้าของ ไม่ม ี หมายเหตุ: โปรแกรมคอมพิว เตอร์และซอฟต์แวร์ ได้แก่ โปรแกรมคอมพิว เตอร์ และซอฟต์แวร์ธุรกิจระบบขนส่งมวลชน ธุร กิจสื่อ โฆษณา ธุร กิจ ทีเ่ กีย่ วเนื่องกับบัตรแรบบิท ซอฟต์แวร์ระบบบัญชี และซอฟต์แวร์สานักงาน เป็ นต้น

4.3

นโยบำยกำรลงทุนในบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วม

โปรดพิจารณานโยบายการลงทุนในบริษัทย่อยและบริษัทร่วมใน หัวข้อ 9.3 กำรกำกับดูแลบริษัทย่อยและ บริษทั ร่วม 4.4

สรุปสำระสำคัญของสัญญำที่มีนัยสำคัญต่อกำรประกอบธุรกิ จ โปรดพิจารณาสัญญาทีม่ นี ยั สาคัญต่อการประกอบธุรกิจใน หัวข้อ 6.2 ข้อมูลสำคัญอืน่

ส่วนที่ 1 หน้า 102


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

5.

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ข้อพิ พำททำงกฎหมำย

ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561 บริษทั ฯ และ/หรือ บริษทั ย่อย มีขอ้ พิพาททางกฎหมาย ซึง่ เป็ นคดีหรือข้อพิพาทที่ ยังไม่สน้ิ สุด ซึง่ เป็ นคดีทอ่ี าจมีผลกระทบต่อการดาเนินธุรกิจของบริษทั ฯ หรือบริษทั ย่อยอย่างมีนยั สาคัญ หรือเป็ นคดีท่ี มิได้เกิดจากการประกอบธุรกิจโดยปกติของบริษทั ฯ หรือบริษทั ย่อย ดังนี้ (1)

กทม. ยื่นคาขอรับชาระหนี้ในคดีฟ้ื นฟูกจิ การของบีทเี อสซีเป็ นจานวนประมาณ 306.5 ล้านบาท เจ้าพนักงาน พิทกั ษ์ทรัพย์มคี าสังอนุ ่ ญาตให้ กทม. ได้รบั ชาระหนี้ค่าตอบแทนการใช้ทด่ี นิ ราชพัสดุ เป็ นเงินประมาณ 8.3 ล้านบาท และค่าธรรมเนียมหนังสือค้าประกัน เป็ นเงินประมาณ 12.3 ล้านบาท และยกคาร้องในส่วนมูลหนี้ค่า ภาษีโรงเรือนและทีด่ นิ จานวนประมาณ 72.4 ล้านบาท และหนี้ค่าเช่าอาคารจานวนประมาณ 201.4 ล้านบาท กทม. ได้ย่นื คาร้องโต้แย้งคาสังเจ้ ่ าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ต่อศาลล้มละลายกลาง ซึง่ ศาลล้มละลายกลางมีคาสัง่ ยกคาร้องของ กทม. และ กทม. ได้ย่นื อุทธรณ์คาสังศาลล้ ่ มละลายกลางต่อศาลฎีกา ซึง่ เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2560 ศาลฎีกามีคาพิพากษาแก้ให้ กทม. ได้รบั ชาระหนี้ในการฟื้ นฟูกจิ การ มูลหนี้ค่าภาษีโรงเรือนและที่ดนิ 63.01 ล้านบาท ค่าตอบแทนการใช้ทด่ี นิ ราชพัสดุ 8.3 ล้านบาท ดอกเบีย้ สาหรับค่าตอบแทนการใช้ทด่ี นิ ราช พัสดุ 3.56 ล้านบาท ค่าเช่าอาคาร 30.44 ล้านบาท และค่าธรรมเนียมหนังสือค้าประกัน 12.3 ล้านบาท รวม เป็ นเงินประมาณ 117.61 ล้านบาท พร้อมดอกเบีย้ ในอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี ต่อมา เมื่อเดือนมกราคม 2561 บี ทีเอสซีได้ชาระหนี้ให้แก่ กทม. ในมูลหนี้ค่าตอบแทนการใช้ท่ดี นิ ราชพัสดุ 8.3 ล้านบาท และค่าธรรมเนียม หนังสือค้าประกัน 12.3 ล้านบาท รวมเป็ นเงินประมาณ 20.6 ล้านบาท (โดยไม่รวมดอกเบีย้ เนื่องจากตาม แผนฟื้ นฟู กิจการของบีทีเอสซี กาหนดให้เจ้าหนี้ราย กทม. ได้รบั ชาระหนี้คืน โดยไม่มีดอกเบี้ย) ปั จจุบนั บีทเี อสซีอยู่ระหว่างเจรจาเกีย่ วกับมูลหนี้ในส่วนทีเ่ หลือ กล่าวคือหนี้ค่าตอบแทนการใช้ทด่ี นิ ราชพัสดุและค่า เช่าอาคาร ซึง่ เป็ นมูลหนี้เดียวกันกับคดีอนุญาโตตุลาการตาม (2)

(2)

บีทเี อสซีถูกเรียกร้องในคดีอนุญาโตตุลาการให้ชาระเงินค่าตอบแทนการใช้ทด่ี นิ ราชพัสดุและค่าเช่าอาคารจาก กทม. เป็ นจานวนเงินประมาณ 132 ล้านบาท รวมถึงค่าปรับและเงินเพิม่ ของเงินทีค่ า้ งชาระในอัตราร้อยละ 18 ต่อปี และค่าธรรมเนียมหนังสือค้าประกัน (ตัง้ แต่ปี 2549-2555) เป็ นจานวนเงินประมาณ 8.2 ล้านบาท พร้อม ดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี โดยบีทเี อสซีได้โต้แย้งคัดค้านว่า บีทเี อสซีไม่มหี น้าทีต่ ้องชาระค่าใช้จ่าย ดัง กล่ า ว เนื่ อ งจากตามสัญญาสัมปทาน บีทีเ อสซีมีสิท ธิใ ช้ท่ีดิน ดังกล่ า วในโครงการระบบขนส่ง มวลชน กรุงเทพมหานคร โดยไม่ตอ้ งรับภาระค่าใช้จ่าย ค่าเช่า ค่าธรรมเนียม และค่าใช้จ่ายอื่นใดทีเ่ กิดขึน้ ซึง่ สถาบัน อนุ ญ าโตตุ ลาการได้มีค าสังจ ่ าหน่ า ยข้อ พิพาทนี้ อ อกจากสารบบความเป็ น การชัว่ คราว เพื่อ รอฟั ง ผลคา พิพากษาศาลฎีกาในคดีฟ้ื นฟูกจิ การที่ กทม. ได้ย่นื อุทธรณ์ต่อศาลฎีกาแผนกคดีลม้ ละลาย เนื่องจากเป็ นมูล หนี้รายเดียวกัน (คดีตาม (1)) เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2560 ศาลฎีกามีคาพิพากษาแก้ให้ กทม. ได้รบั ชาระหนี้ ในการฟื้ นฟูกจิ การ รวมเป็ นเงินประมาณ 117.61 ล้านบาท พร้อมดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี ต่อมา เมื่อวันที่ 5 กันยายน 2560 บีทเี อสซีได้ชาระหนี้ค่าธรรมเนียมหนังสือค้าประกันให้แก่ กทม. เป็ นเงินประมาณ 18 ล้านบาท (รวมค่าธรรมเนียมหนังสือค้าประกันภายหลังจากยื่นข้อเรียกร้องตัง้ แต่ปี 2555-2558) พร้อม ดอกเบี้ย ให้แ ก่ กทม. และ กทม. ได้ถ อนข้อ เรีย กร้อ งเรื่อ งค่ า ธรรมเนี ย มหนั ง สือ ค้ า ประกัน ออกจากคดี อนุ ญาโตตุลาการแล้ว คงเหลือข้อเรียกร้องเรื่องเงินค่าตอบแทนการใช้ท่ดี นิ ราชพัสดุและค่าเช่าอาคาร โดย สถาบันอนุญาโตตุลาการได้นดั พิจารณาในวันที่ 24 กันยายน 2561

ส่วนที่ 1 หน้า 103


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

(3)

บีทเี อสซีถูกฟ้ องเป็ นจาเลยร่วมกับ กทม. โดยผูฟ้ ้ องคดี 3 ราย ซึง่ เป็ นคนพิการ ฟ้ องขอให้มกี ารจัดทาลิฟต์และ อุปกรณ์สงิ่ อานวยความสะดวกแก่คนพิการทีส่ ถานีรถไฟฟ้ า ให้เป็ นไปตามกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้อง ศาลปกครอง กลางพิพากษายกฟ้ อง โดยเห็นว่าขณะทาสัญญาสัมปทานยังไม่มกี ฎกระทรวงกาหนดให้มกี ารจัดทาลิฟต์และ อุปกรณ์สงิ่ อานวยความสะดวกแก่คนพิการ ต่อมา ผูฟ้ ้ องคดีทงั ้ 3 ได้ย่นื อุทธรณ์ต่อศาลปกครองสูงสุด โดยเมื่อ วันที่ 21 มกราคม 2558 ศาลปกครองสูงสุดได้มคี าพิพากษากลับคาพิพากษาศาลปกครองกลาง โดยพิพากษา ให้ กทม. จัดทาลิฟต์และอุปกรณ์สงิ่ อานวยความสะดวกแก่คนพิการทีส่ ถานีรถไฟฟ้ าบีทเี อสทัง้ 23 สถานี และ จัดทาอุปกรณ์สงิ่ อานวยความสะดวกบนรถไฟฟ้ าแก่คนพิการ โดยจัดให้มที ว่ี ่างสาหรับเก้าอีเ้ ข็นคนพิการ ราว จับสาหรับคนพิการบริเวณทางขึน้ ลง และติดสัญลักษณ์คนพิการทัง้ ในและนอกตัวรถคันที่จดั ไว้สาหรับคน พิการ ทัง้ นี้ ให้ดาเนินการให้แล้วเสร็จภายใน 1 ปี นับแต่วนั ทีม่ คี าพิพากษา โดยให้บที เี อสซีให้ความร่วมมือ สนับสนุ น กทม. ในการจัดให้มอี ุปกรณ์สงิ่ อานวยความสะดวกแก่คนพิการ รวมทัง้ สัญลักษณ์ทแ่ี สดงให้เห็นว่า มีอุปกรณ์ สงิ่ อานวยความสะดวกแก่คนพิการ ในฐานะที่บีทเี อสซีเป็ นบุคคลผู้มสี ทิ ธิครอบครองและใช้สอย อสังหาริมทรัพย์ท่ี กทม. จัดสร้างขึ้น และเป็ นเจ้าของอุปกรณ์ และเครื่องมือควบคุมตามสัญญาสัมปทาน ปั จจุบนั กทม. ได้ดาเนินการติดตัง้ ลิฟต์และอุปกรณ์สงิ่ อานวยความสะดวกแก่คนพิการและเปิ ดให้บริการเป็ นที่ เรียบร้อยแล้ว

(4)

บริษัทร่วมทุนแห่งหนึ่ง (บริษัท เบย์วอเตอร์ จากัด ) ได้ประมูลซื้อที่ดนิ จากการขายทอดตลาดทรัพย์สนิ ของ ลูกหนี้ในคดีลม้ ละลายจากกรมบังคับคดี และรับโอนกรรมสิทธิที์ ด่ นิ ดังกล่าว พร้อมชาระราคาแก่เจ้าพนักงาน บังคับคดีแล้วเป็ นเงินจานวน 7,350 ล้านบาท ปรากฏว่าลูกหนี้ในคดีลม้ ละลายได้รอ้ งขอต่อศาลล้มละลายกลาง ขอให้ศาลมีคาสัง่ ยกเลิกการประกาศขายทอดตลาดทรัพย์สนิ ของลูกหนี้ ซึ่งศาลมีคาสังยกค ่ าร้องดังกล่าว ลูกหนี้จงึ ได้ย่นื คาร้องเพื่อขออุทธรณ์ต่อศาลฎีกา และต่อมาเมื่อวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2559 ศาลฎีกาได้มคี าสัง่ ยกคาร้องในประเด็นดังกล่าว โดยไม่อนุญาตให้ลกู หนี้อุทธรณ์ ต่อมา เมื่อวันที่ 14 ตุลาคม 2558 ลูกหนี้ได้ร้องขอต่อศาลล้มละลายกลาง ขอให้ศาลมีคาสังให้ ่ เจ้าพนักงาน พิทกั ษ์ทรัพย์รบั คาขอประนอมหนี้ และขอให้ศาลมีคาสังให้ ่ เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์เลื่อนหรืองดการขาย ทอดตลาดทรัพย์สนิ และศาลมีคาสังยกค ่ าร้องเมื่อวันที่ 28 มกราคม 2559 ดังนัน้ ลูกหนี้จงึ ได้ย่นื คาร้องเพื่อขอ อุทธรณ์ต่อศาลฎีกา และศาลฎีกามีคาสังยกค ่ าร้อง เมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2560 นอกจากนี้ เมื่อวันที่ 29 ตุ ลาคม 2558 ลูกหนี้และเจ้าหนี้ไม่มีประกันในคดีล้ม ละลายได้ย่นื ค าร้องต่ อ ศาล ล้มละลายกลาง เพื่อขอให้ศาลเพิกถอนการขายทอดตลาดทรัพย์สนิ ดังกล่าวและขอให้ศาลงดการบังคับคดีใน ระหว่างการพิจารณาคาร้องนัน้ ต่อมาศาลล้มละลายกลางมีคาสังจ ่ าหน่ายคาร้องดังกล่าวไว้ชวคราว ั่ เพื่อรอฟั ง ผลของคดีใ นส่ว นที่เ กี่ยวข้อ ง โดยปั จ จุ บ ัน ศาลฎีก าได้มีค าพิพ ากษาของคดีใ นส่วนที่เ กี่ย วข้อ งแล้ว ศาล ล้มละลายกลางจึงได้ยกคาร้องในประเด็นดังกล่าวขึน้ พิจารณา และขณะนี้คดีอยู่ในระหว่างการพิจารณาของ ศาลล้มละลายกลาง นอกจากนี้ เมื่อวันที่ 17 สิงหาคม 2560 กลุ่มบุคคลธรรมดาจานวน 49 ราย (กลุ่มที่ 1) และเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2560 กลุ่มบุคคลธรรมดาจานวน 3 ราย (กลุ่มที่ 2) ได้ย่นื คาฟ้ องต่ อศาลแพ่ง ขอใช้ทางเข้าออกของที่ดนิ พิพาท (ซึง่ เป็ นส่วนหนึ่งของทีด่ นิ ทีไ่ ด้มาจากการประมูลซือ้ ทีด่ นิ จากการขายทอดตลาดทรัพย์สนิ ของลูกหนี้ใน คดีล้มละลายจากกรมบังคับคดี) เป็ นภาระจายอม หรือขอให้ศาลพิพากษาให้ทางพิพาทดังกล่าวเป็ นทาง สาธารณะ โดย ณ ปั จจุบนั ศาลแพ่งได้มคี าพิพากษายกฟ้ องคดีกลุ่มที่ 1 แล้ว ส่วนคดีกลุ่มที่ 2 ยังอยู่ระหว่าง การพิจารณาของศาลแพ่ง ส่วนที่ 1 หน้า 104


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

(5)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

เมื่อวันที่ 30 สิงหาคม 2560 บริษัท ไมดาส โกลบอล มีเดีย จากัด (“ไมดาส”) ยื่นฟ้ องวีจไี อเรียกค่าเสียหาย เป็ นจานวนเงินประมาณ 230 ล้านบาท จากการที่วจี ไี อผิดข้อตกลงและสัญญาทีท่ าไว้กบั ไมดาส ต่อมาเมื่อ วันที่ 31 มกราคม 2561 ไมดาสได้ย่นื คาร้องขอแก้ไขเพิม่ เติมคาฟ้ องเกีย่ วกับทุนทรัพย์ โดยเรียกค่าเสียหาย เพิม่ เป็ นจานวนเงินประมาณ 995 ล้านบาท นอกจากนี้ เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2561 ไมดาสยื่นฟ้ องวีจไี อ และ MACO เรีย กค่ า เสีย หายเป็ น จ านวนเงิน ประมาณ 24 ล้า นบาท จากรายการที่เ กี่ย วข้อ งกับ สัญ ญา ให้บริการเวลาโฆษณาออกอากาศของสือ่ โฆษณาบนโครงป้ ายโฆษณา 4 จุดติดตัง้ ปั จจุบนั คดีอยู่ระหว่างการ พิจารณาของศาลแพ่ง

ส่วนที่ 1 หน้า 105


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

6.

ข้อมูลทัวไปและข้ ่ อมูลสำคัญอื่น

6.1

ข้อมูลทัวไป ่

ชื่อบริษทั ชื่อภำษำอังกฤษ ชื่อย่อหลักทรัพย์ ประเภทธุรกิ จ

เลขทะเบียนบริษทั ทุนจดทะเบียน ทุนจดทะเบียนชำระแล้ว จำนวนหุ้นที่ออกจำหน่ ำยแล้ว มูลค่ำที่ตรำไว้ สิ ทธิ ออกเสียงของหุ้น หุ้นบุริมสิ ทธิ ที่ตงั ้ สำนักงำนใหญ่ ที่ตงั ้ สำนักงำนสำขำ

โทรศัพท์ โทรสำร เว็บไซต์ สำนักเลขำนุกำรบริษทั

แบบ 56-1 ปี 2560/61

บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน) (เดิ มชื่อ บริษทั ธนำยง จำกัด (มหำชน)) BTS Group Holdings Public Company Limited (formerly known as Tanayong Public Company Limited) BTS 1. ธุรกิจระบบขนส่งมวลชน 2. ธุรกิจสือ่ โฆษณา 3. ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ 4. ธุรกิจบริการ 0107536000421 66,055,257,028 บาท ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561 47,761,475,816 บาท ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561 หุน้ สามัญจานวน 11,940,368,954 หุน้ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561 หุน้ ละ 4 บาท 1 หุน้ สามัญ มี 1 เสียง -ไม่ม-ี ชัน้ 14 -15 ทีเอสทีทาวเวอร์ 21 ซอยเฉยพ่วง ถนนวิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุงเทพมหานคร 10900 สาขาที่ 1: 2-2/399 ซอยมหาดเล็กหลวง 1 ถนนราชดาริ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 สาขาที่ 2: 6-6/429 ซอยมหาดเล็กหลวง 2 ถนนราชดาริ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 สาขาที่ 3: 2-2/399 ซอยมหาดเล็กหลวง 2 ถนนราชดาริ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 สาขาที่ 4: 100-100/1 หมู่ท่ี 4 ถนนบางนา-ตราด กม.14 ตาบลบางโฉลง อาเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ 10540 +66 (0) 2273 8511-5, +66 (0) 2273 8611-5 +66 (0) 2273 8610, +66 (0) 2273 8616 www.btsgroup.co.th โทรศัพท์: +66 (0) 2273 8611-5 ต่อ 1525, 1534 โทรสาร: +66 (0) 2273 8610 อีเมล: CompanySecretary@btsgroup.co.th

ส่วนที่ 1 หน้า 106


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

ฝ่ ำยนักลงทุนสัมพันธ์

นำยทะเบียนหลักทรัพย์ (หุ้นและใบสำคัญแสดงสิ ทธิ )

ผูส้ อบบัญชี

ที่ปรึกษำกฎหมำย

แบบ 56-1 ปี 2560/61

โทรศัพท์: +66 (0) 2273 8631, +66 (0) 2273 8637 โทรสาร: +66 (0) 2273 8610 อีเมล: ir@btsgroup.co.th บริษทั ศูนย์รบั ฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จากัด 93 อาคารตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก เขตดินแดง กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์: +66 (0) 2009 9000, Call Center: +66 (0) 2009 9999 โทรสาร: +66 (0) 2009 9991 อีเมล: SETContactCenter@set.or.th เว็บไซต์: http://www.set.or.th/tsd บริษทั สานักงาน อีวาย จากัด (เดิมชื่อ บริษทั สานักงาน เอินส์ท แอนด์ ยัง จากัด) ชัน้ 33 อาคารเลครัชดา 193/136-137 ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท์: +66 (0) 2264 0777 โทรสาร: +66 (0) 2264 0789-90 นางสาววราพร ประภาศิรกิ ุล ผูส้ อบบัญชีรบั อนุญาตเลขทะเบียน 4579 บริษทั สานักงานกฎหมาย แคปปิ ตอล จากัด 44 อาคารสมูทไลฟ์ ชัน้ 18 ถนนสาทรเหนือ แขวงสีลม เขตบางรัก กรุงเทพฯ 10500 โทรศัพท์: +66 (0) 2633 9088 โทรสาร: +66 (0) 2633 9089 บริษทั วีระวงค์, ชินวัฒน์ และพาร์ทเนอร์ส จากัด ชัน้ 22 อาคารเมอร์ควิ รี่ ทาวเวอร์ 540 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์: +66 (0) 2264 8000 โทรสาร: +66 (0) 2657 2222 บริษทั ลิง้ ค์เลเทอร์ส (ประเทศไทย) จากัด 87/1 แคปปิ ตอล ทาวเวอร์ ออลซีชนส์ ั ่ เพลส ชัน้ 20 ถนนวิทยุ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์: +66 (0) 2305 8000 โทรสาร: +66 (0) 2305 8010

ส่วนที่ 1 หน้า 107


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ข้อมูลบริษทั ย่อย บริษทั ร่วม และกิ จกำรที่ควบคุมร่วมกัน (ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561) นิ ติ บคุ คล

ประเภทธุรกิ จ

สถำนที่ตงั ้

ทุนชำระแล้ว (บำท)

จำนวนหุ้นทัง้ หมด / หุ้นที่ จำหน่ ำยได้แล้วทัง้ หมด

ประเภท

สัดส่วนกำรถือหุ้น (ร้อยละ)

1. ธุรกิ จระบบขนส่งมวลชน บมจ. ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ

ธุรกิจระบบขนส่งมวลชน

1000 อาคารบีทเี อส 4,016,783,413.25 16,067,133,653 หุน้ หุน้ สามัญ 97.46 ถนนพหลโยธิน แขวงจอมพล (มูลค่าทีต่ ราไว้ เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 หุน้ ละ 0.25 บาท) โทรศัพท์: +66 (0) 2617 7300 โทรสาร: +66 (0) 2617 7133 หมายเหตุ: เมือ่ วันที่ 15 พฤษภาคม 2561 บริษทั ฯ ได้เข้าซื้อหุน้ สามัญเพิม่ เติมในบมจ. ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จานวน 3,560,000 หุน้ ซึง่ ทาให้สดั ส่วนการถือหุน้ ของบริษทั ฯ ในบมจ. ระบบขนส่งมวลชน เพิม่ ขึน้ จากร้อยละ 97.46 เป็ นร้อยละ 97.48 กองทุนรวมโครงสร้างพืน้ ฐานระบบ ธุรกิจลงทุนในรายได้ค่าโดยสาร 175 อาคารสาธรซิต้ที าวเวอร์ 61,416,468,000 5,788,000,000 หน่วย หน่วย 33.33 ขนส่งมวลชนทางราง บีทเี อสโกรท สุทธิของระบบรถไฟฟ้ าขนส่ง ชัน้ 7, 21 และ 26 ถนน สาทรใต้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ ลงทุน (BTSGIF) มวลชนกรุงเทพสายหลัก แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร หน่วยละ 10.611 บาท) (รถไฟฟ้ าบีทเี อส) ภายใต้สญ ั ญา กรุงเทพฯ 10120 สัมปทานซึง่ ครอบคลุมระยะทาง โทรศัพท์: +66 (0) 2674 6488 กด 8 รวม 23.5 กิโลเมตร โทรสาร: +66 (0) 2679 5955 บจ. บีทเี อส อินฟราสตรัคเจอร์ ธุรกิจระบบขนส่งมวลชน 1000 อาคารบีทเี อส 250,000 10,000 หุน้ หุน้ สามัญ 100.00 เซอร์วสิ เซส ถนนพหลโยธิน แขวงจอมพล (มูลค่าทีต่ ราไว้ (ถือโดย บมจ. ระบบ เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 หุน้ ละ 100 บาท) ขนส่งมวลชนกรุงเทพ) โทรศัพท์: +66 (0) 2617 7300 โทรสาร: +66 (0) 2617 7133 บจ. บีทเี อส อินฟราสตรัคเจอร์ ธุรกิจให้บริการเป็ นทีป่ รึกษา และให้ 21 อาคารทีเอสที ทาวเวอร์ 250,000 10,000 หุน้ หุน้ สามัญ 100.00 ดีเวลลอปเม้นท์ คาแนะนางานด้านสถาปั ตยกรรม ถนนวิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล (มูลค่าทีต่ ราไว้ และวิศวกรรม เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 หุน้ ละ 100 บาท) โทรศัพท์: +66 (0) 2273 8611-5 โทรสาร: +66 (0) 2273 8616

ส่วนที่ 1 หน้า 108


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน) นิ ติ บคุ คล

ประเภทธุรกิ จ

บจ. นอร์ทเทิรน์ บางกอกโมโนเรล

ธุรกิจระบบขนส่งมวลชน

บจ. อีสเทิรน์ บางกอกโมโนเรล

ธุรกิจระบบขนส่งมวลชน

แบบ 56-1 ปี 2560/61 สถำนที่ตงั ้ 21 อาคารทีเอสที ทาวเวอร์ ถนนวิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์: +66 (0) 2273 8611-5 โทรสาร: +66 (0) 2273 8616 21 อาคารทีเอสที ทาวเวอร์ ถนนวิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์: +66 (0) 2273 8611-5 โทรสาร: +66 (0) 2273 8616

ส่วนที่ 1 หน้า 109

ทุนชำระแล้ว (บำท) 4,500,000,000

จำนวนหุ้นทัง้ หมด / หุ้นที่ จำหน่ ำยได้แล้วทัง้ หมด 55,000,000 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ 100 บาท

4,500,000,000

55,000,000 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ 100 บาท

ประเภท หุน้ สามัญ

สัดส่วนกำรถือหุ้น (ร้อยละ) 75.00

หุน้ สามัญ

75.00


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน) นิ ติ บคุ คล

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ประเภทธุรกิ จ

สถำนที่ตงั ้

ทุนชำระแล้ว (บำท)

จำนวนหุ้นทัง้ หมด / หุ้นที่ จำหน่ ำยได้แล้วทัง้ หมด

ประเภท

สัดส่วนกำรถือหุ้น (ร้อยละ)

บมจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย

ธุรกิจให้บริการเครือข่ายสือ่ โฆษณา ในระบบขนส่งมวลชน (ระบบรถไฟฟ้ า บีทเี อส) สือ่ โฆษณาในอาคาร สานักงานและอื่น ๆ

21 อาคารทีเอสที ทาวเวอร์ ชัน้ 9 ถนนวิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์: +66 (0) 2273 8884 โทรสาร: +66 (0) 2273 8883

720,433,290.20

7,204,332,902 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ 0.10 บาท)

หุน้ สามัญ

บจ. วีจไี อ แอดเวอร์ไทซิง่ มีเดีย

ธุรกิจให้บริการสื่อโฆษณา (ปั จจุบนั 21 อาคารทีเอสที ทาวเวอร์ ชัน้ 9 หยุดประกอบกิจการ เนื่องจากการ ถนนวิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล สิน้ สุดสัญญาใน Tesco Lotus) เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์: +66 (0) 2273 8884 โทรสาร: +66 (0) 2273 8883 ธุรกิจให้บริการและรับจ้างผลิตสือ่ 21 อาคารทีเอสที ทาวเวอร์ ชัน้ 9 โฆษณา ถนนวิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์: +66 (0) 2273 8884 โทรสาร: +66 (0) 2273 8883 ธุรกิจให้บริการสือ่ โฆษณาในอาคาร 21 อาคารทีเอสที ทาวเวอร์ ชัน้ 9 สานักงาน ถนนวิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์: +66 (0) 2273 8884 โทรสาร: +66 (0) 2273 8883

10,000,000

100,000 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ 100 บาท)

หุน้ สามัญ

73.61 (48.59 ถือโดย บมจ. ระบบขนส่ง มวลชนกรุงเทพ และ 25.02 ถือโดย บริษทั ฯ) 100.00 (ถือโดย บมจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย)

20,000,000

2,000,000 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ 10 บาท)

หุน้ สามัญ

100.00 (ถือโดย บมจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย)

10,000,000

1,000,000 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ 10 บาท)

หุน้ สามัญ

100.00 (ถือโดย บมจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย)

2. ธุรกิ จสื่อโฆษณำ

บจ. 888 มีเดีย

บจ. พอยท์ ออฟ วิว (พีโอวี) มีเดีย กรุ๊ป

ส่วนที่ 1 หน้า 110


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน) นิ ติ บคุ คล

ประเภทธุรกิ จ

VGI Global Media (Malaysia) Sdn Bhd

ธุรกิจให้บริการสือ่ โฆษณา

Puncak Berlian Sdn Bhd

ธุรกิจให้บริการสือ่ โฆษณาภายนอก ทีอ่ ยู่อาศัย

บจ. เดโม เพาเวอร์ (ประเทศไทย)

ธุรกิจให้บริการสาธิตสินค้า

บมจ. มาสเตอร์ แอด

ธุรกิจให้บริการและรับจ้างผลิตสือ่ โฆษณาภายนอกทีอ่ ยู่อาศัย

บจ. มาสเตอร์ แอนด์ มอร์

ธุรกิจให้บริการและรับจ้างผลิตสือ่ ป้ ายโฆษณาขนาดเล็ก

แบบ 56-1 ปี 2560/61 สถำนที่ตงั ้ Lot 6.05, Level 6, KPMG Tower, 8 First Avenue, Bandar Utama, 47800 Petaling Jaya, Selangor Darul Ehsan, Malaysia โทรศัพท์: +60 3 7495 5000 Unit C508, Block C, Kelena Square, Jalan SS7/26, Kelana Jaya, 47301 Petaling Jaya, Selangor Darul Ehsan, Malaysia โทรศัพท์: +60 3780 51817 โทรสาร: +60 3780 41316 1126/2 ถนนเพชรบุรตี ดั ใหม่ แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์: +66 (0) 2023 7077 โทรสาร: +66 (0) 2250 7102 1 ชัน้ 4-6 ซอยลาดพร้าว 19 ถนนลาดพร้าว แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์: +66 (0) 2938 3388 โทรสาร: +66 (0) 2938 3489 1 ซอยลาดพร้าว 19 ถนนลาดพร้าว แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์: +66 (0) 2938 3388 โทรสาร: +66 (0) 2938 3489

ส่วนที่ 1 หน้า 111

ทุนชำระแล้ว (บำท) MYR 29,154,175

จำนวนหุ้นทัง้ หมด / หุ้นที่ จำหน่ ำยได้แล้วทัง้ หมด 29,154,175 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ MYR 1)

ประเภท

MYR 17,125,105

17,125,105 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ MYR 1)

หุน้ สามัญ

25.00 (ถือโดย VGI Global Media (Malaysia) Sdn Bhd)

3,000,000

30,000 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ 100 บาท)

หุน้ สามัญ

40.00 (ถือโดย บมจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย)

343,891,036.60

3,438,910,366 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ 0.10 บาท)

หุน้ สามัญ

20,000,000

2,000,000 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ 10 บาท

หุน้ สามัญ

48.47 (30.38 (ถือโดย บมจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย และ 18.09 ถือโดยบริษทั ฯ) 100.00 (ถือโดย บมจ. มาสเตอร์ แอด)

หุน้ สามัญ

สัดส่วนกำรถือหุ้น (ร้อยละ) 100.00 (ถือโดย บมจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย)


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน) นิ ติ บคุ คล บจ. โอเพ่น เพลย์

MACO Outdoor Sdn Bhd

Eyeballs Channel Sdn Bhd

บจ. อาย ออน แอดส์ (เดิมชือ่ บจ. มาโก้ ไรท์ซายน์ และ ได้เปลีย่ นชือ่ บริษทั เมือ่ วันที่ 28 ตุลาคม 2559) บจ. โคแมส

บจ. กรีนแอด

ประเภทธุรกิ จ

แบบ 56-1 ปี 2560/61 สถำนที่ตงั ้

ธุรกิจให้บริการและผลิตสือ่ โฆษณา ทุกประเภท

1 ซอยลาดพร้าว 19 ถนนลาดพร้าว แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์: +66 (0) 2938 3388 โทรสาร: +66 (0) 2938 3489 ธุรกิจลงทุนในหลักทรัพย์ของ No. 52, 1st Floor, Jalan SS 21/58, บริษทั อื่นในประเทศมาเลเซีย Damansara Utama, 47400 Petaling Jaya, Selangor Malaysia ธุรกิจให้บริการและผลิตสือ่ โฆษณา G-1-11, Jalan PJU 1A/3 Taipan ภายนอกทีอ่ ยู่อาศัยในประเทศ Damansara 47301, Petaling Jaya มาเลเซีย Selangor Malaysia ธุรกิจบริหารสือ่ โฆษณาบิลบอร์ด และ 28/43-45 ถนนวิภาวดี-รังสิต สือ่ โฆษณาดิจทิ ลั แขวงลาดยาว เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์: +66 (0) 2938 3388 โทรสาร: +66 (0) 2938 3486-7 ธุรกิจให้บริการสือ่ โฆษณาภายนอก 1 ชัน้ 4-6 ซอยลาดพร้าว 19 ทีอ่ ยู่อาศัย ถนนลาดพร้าว แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์: +66 (0) 2938 3388 โทรสาร: +66 (0) 2938 3489 ธุรกิจลงทุนในหลักทรัพย์ของ 1 ชัน้ 6 ซอยลาดพร้าว 19 บริษทั อื่น ถนนลาดพร้าว แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์: +66 (0) 2938 3388 โทรสาร: +66 (0) 2938 3486-7

ส่วนที่ 1 หน้า 112

ทุนชำระแล้ว (บำท) 5,000,000

จำนวนหุ้นทัง้ หมด / หุ้นที่ จำหน่ ำยได้แล้วทัง้ หมด 50,000 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ 100 บาท

MYR 200,000

200,000 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ MYR 1) 500,000 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ MYR 1) 500,000 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ 10 บาท

หุน้ สามัญ

5,625,000

56,250 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ 100 บาท

หุน้ สามัญ

70.00 (ถือโดย บจ. อาย ออน แอดส์)

444,599,600

100,000,000 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ 5 บาท

หุน้ สามัญ

100.00 (ถือโดย บมจ. มาสเตอร์ แอด)

MYR 500,000

5,000,000

ประเภท หุน้ สามัญ

หุน้ สามัญ

หุน้ สามัญ

สัดส่วนกำรถือหุ้น (ร้อยละ) 80.00 (ถือโดย บจ.มาสเตอร์ แอนด์ มอร์)

100.00 (ถือโดย บมจ. มาสเตอร์ แอด) 40.00 (ถือโดย MACO Outdoor Sdn Bhd) 100.00 (ถือโดย บมจ. มาสเตอร์ แอด)


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน) นิ ติ บคุ คล บจ. มัลติ ไซน์

บจ. อิงค์เจ็ท อิมเมจเจส (ประเทศไทย)

บจ. แลนดี้ ดีเวลลอปเม้นท์

บจ. แอโร มีเดีย กรุ๊ป (เดิมชือ่ บจ. แอลอีดี แอดวานซ์ และได้เปลีย่ นชือ่ บริษทั เมือ่ วันที่ 1 ตุลาคม 2558) บจ. ดิ ไอคอน วี จี ไอ

ประเภทธุรกิ จ

แบบ 56-1 ปี 2560/61 สถำนที่ตงั ้

ธุรกิจให้บริการและผลิตสือ่ โฆษณา ภายนอกทีอ่ ยู่อาศัย

34/13-14 ซอยบรมราชชนนี 123 ถนนบรมราชชนนี แขวงศาลาธรรมสพน์ เขตทวีวฒ ั นา กรุงเทพฯ 10170 โทรศัพท์: +66 (0) 2441 1761-2 โทรสาร: +66 (0) 2441 1763 ธุรกิจผลิตสือ่ โฆษณาด้วยระบบ 28/43-45 ถนนวิภาวดี-รังสิต อิงค์เจ็ท แขวงลาดยาว เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์: +66 (0) 2936 3366 โทรสาร: +66 (0) 2936 3636 ธุรกิจให้บริการเช่าอาคารสานักงาน 1 ชัน้ 4-6 ซอยลาดพร้าว 19 ถนนลาดพร้าว แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์: +66 (0) 2938 3388 ธุรกิจให้บริการด้านการตลาดและการ 115/1-3 อาคารสุโขทัยแกรนด์ ให้เช่าพืน้ ทีโ่ ฆษณาภายในบริเวณ ถนนสุโขทัย แขวงดุสติ เขตดุสติ พืน้ ทีข่ องสนามบิน กรุงเทพฯ 10300 โทรศัพท์: +66 (0) 2697 9944 โทรสาร: +66 (0) 2697 9945 ธุรกิจให้บริการสือ่ โฆษณา 989 อาคารสยามพิวรรธน์ทาวเวอร์ ชัน้ 20 ยูนิตเอ 1 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์: +66 (0) 2658 1000 โทรสาร: +66 (0) 2658 1022

ส่วนที่ 1 หน้า 113

ทุนชำระแล้ว (บำท) 14,000,000

จำนวนหุ้นทัง้ หมด / หุ้นที่ จำหน่ ำยได้แล้วทัง้ หมด 140,000 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ 100 บาท)

ประเภท

6,000,000

600,000 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ 10 บาท

หุน้ สามัญ

50.00 (ถือโดย บมจ. มาสเตอร์ แอด)

40,000,000

4,000,000 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ 10 บาท

หุน้ สามัญ

48.87 (ถือโดย บมจ. มาสเตอร์ แอด)

85,700,000

85,700 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ 1,000 บาท)

หุน้ สามัญ

30.00 (ถือโดย บมจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย)

1,000,000

10,000 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ 100 บาท)

หุน้ สามัญ

25.00 (ถือโดย บมจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย)

หุน้ สามัญ

สัดส่วนกำรถือหุ้น (ร้อยละ) 70.00 (ถือโดย บจ. กรีนแอด)


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน) นิ ติ บคุ คล

ประเภทธุรกิ จ

บจ. ซูพรีโม มีเดีย

ธุรกิจให้บริการสือ่ โฆษณา

บจ. กรุ๊ปเวิรค์

ธุรกิจให้เช่าอสังหาริมทรัพย์เพือ่ ใช้ เป็ นพืน้ ทีส่ านักงาน และ/หรือ พืน้ ที่ ทางานชัวคราว ่

แบบ 56-1 ปี 2560/61 สถำนที่ตงั ้ 989 อาคารสยามพิวรรธน์ทาวเวอร์ ชัน้ 20 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์: +66 (0) 2658 1000 โทรสาร: +66 (0) 2658 1022 219/2 อาคารอโศกทาวเวอร์ส ชัน้ 2 ซอยอโศก ถนนสุขมุ วิท 21 แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพฯ 10110

ส่วนที่ 1 หน้า 114

ทุนชำระแล้ว (บำท) 1,000,000

จำนวนหุ้นทัง้ หมด / หุ้นที่ จำหน่ ำยได้แล้วทัง้ หมด 10,000 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ 100 บาท)

6,250,000

62,500 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ 100 บาท)

ประเภท หุน้ สามัญ

หุน้ สามัญ

สัดส่วนกำรถือหุ้น (ร้อยละ) 25.00 (ถือโดย บมจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย)

20.00 (ถือโดย บมจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย)


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน) นิ ติ บคุ คล

ประเภทธุรกิ จ

แบบ 56-1 ปี 2560/61 สถำนที่ตงั ้

ทุนชำระแล้ว (บำท)

จำนวนหุ้นทัง้ หมด / หุ้นที่ จำหน่ ำยได้แล้วทัง้ หมด

ประเภท

สัดส่วนกำรถือหุ้น (ร้อยละ)

หุน้ สามัญ 561,371,695,976 หุน้ และ หุน้ บุรมิ สิทธิ 374,057,516,140 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ 1 บาท) 125,000 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ 100 บาท)

หุน้ สามัญ และ หุน้ บุรมิ สิทธิ

38.97

หุน้ สามัญ

100.00

234,000,000

2,340,000 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ 100 บาท)

หุน้ สามัญ

100.00

10,000,000

100,000 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ 100 บาท)

หุน้ สามัญ

100.00

3. ธุรกิ จอสังหำริ มทรัพย์ บมจ. ยู ซิต้ี (เดิมชือ่ บมจ. แนเชอรัล พาร์ค และ ได้เปลีย่ นชือ่ บริษทั เมือ่ วันที่ 20 เมษายน 2558)

ถือครองทีด่ นิ และพัฒนาอสังหาริมทรัพย์

21 อาคารทีเอสที ทาวเวอร์ ถนนวิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์: +66 (0) 2273 8838 โทรสาร: +66 (0) 2273 8868-9

935,429,212,116

บจ. ดีแนล

อาคารสานักงานให้เช่า

12,500,000

บจ. ยงสุ

หยุดประกอบกิจการ

บจ. กิง่ แก้ว แอสเสทส์

พัฒนาธุรกิจอสังหาริมทรัพย์

21 อาคารทีเอสที ทาวเวอร์ ถนนวิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์: +66 (0) 2273 8833 โทรสาร: +66 (0) 2273 8131 21 อาคารทีเอสที ทาวเวอร์ ถนนวิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์: +66 (0) 2273 8511-5 โทรสาร: +66 (0) 2273 8516 21 อาคารทีเอสที ทาวเวอร์ ถนนวิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์: +66 (0) 2273 8511-5 โทรสาร: +66 (0) 2273 8516

ส่วนที่ 1 หน้า 115


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน) นิ ติ บคุ คล

ประเภทธุรกิ จ

บจ. เดอะ คอมมูนิต้ี วัน

พัฒนาธุรกิจอสังหาริมทรัพย์

บจ. เดอะ คอมมูนิต้ี ทู

พัฒนาธุรกิจอสังหาริมทรัพย์

บจ. เบย์วอเตอร์

ถือครองทีด่ นิ และพัฒนาอสังหาริมทรัพย์

แบบ 56-1 ปี 2560/61 สถำนที่ตงั ้ 21 อาคารทีเอสที ทาวเวอร์ ถนนวิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์: +66 (0) 2273 8511-5 โทรสาร: +66 (0) 2273 8516 21 อาคารทีเอสที ทาวเวอร์ ถนนวิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์: +66 (0) 2273 8511-5 โทรสาร: +66 (0) 2273 8516 21 อาคารทีเอสที ทาวเวอร์ ถนนวิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์: +66 (0) 2273 8511-5 โทรสาร: +66 (0) 2273 8516

ส่วนที่ 1 หน้า 116

ทุนชำระแล้ว (บำท) 10,000,000

จำนวนหุ้นทัง้ หมด / หุ้นที่ จำหน่ ำยได้แล้วทัง้ หมด 100,000 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ 100 บาท)

10,000,000

10,000,000

ประเภท หุน้ สามัญ

สัดส่วนกำรถือหุ้น (ร้อยละ) 100.00

100,000 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ 100 บาท)

หุน้ สามัญ

100.00

100,000 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ 100 บาท)

หุน้ สามัญ

50.00


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน) นิ ติ บคุ คล

ประเภทธุรกิ จ

แบบ 56-1 ปี 2560/61 สถำนที่ตงั ้

ทุนชำระแล้ว (บำท)

จำนวนหุ้นทัง้ หมด / หุ้นที่ จำหน่ ำยได้แล้วทัง้ หมด

ประเภท

สัดส่วนกำรถือหุ้น (ร้อยละ)

Wilmington Trust Corporate Services (Cayman) Limited P.O. Box 32322 SM 4th Floor, Century Yard, Cricket Square, Elgin Avenue George Town, Cayman Islands 21 อาคารทีเอสที ทาวเวอร์ ถนนวิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์: +66 (0) 2618 3799 โทรสาร: +66 (0) 2618 3798 21 อาคารทีเอสที ทาวเวอร์ ชัน้ 19 ถนนวิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์: +66 (0) 2618 3799 โทรสาร: +66 (0) 2618 3798 21 อาคารทีเอสที ทาวเวอร์ ชัน้ 24 ถนนวิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์: +66 (0) 2617 9880 โทรสาร: +66 (0) 2617 9881

USD 1,000

1,000 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ USD 1)

หุน้ สามัญ

100.00

295,000,000

2,950,000 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ 100 บาท)

หุน้ สามัญ

100.00

195,802,500

1,958,025 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ 100 บาท)

หุน้ สามัญ

100.00 (ถือโดย บจ. อาร์บี เซอร์วสิ เซส)

50,000,000

10,000,000 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ 5 บาท)

หุน้ สามัญ

60.00 (ถือโดย บจ. อาร์บี เซอร์วสิ เซส)

4. ธุรกิ จบริ กำร ธนายง อินเตอร์เนชันแนล ่ ลิมเิ ต็ด (Tanayong International Limited)

หยุดประกอบกิจการ

บจ. อาร์บี เซอร์วสิ เซส

ลงทุนในหลักทรัพย์ของบริษทั อื่น

บจ. แรบบิท รีวอร์ดส (เดิมชือ่ บจ. แครอท รีวอร์ดส และ ได้เปลีย่ นชือ่ บริษทั เมือ่ วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2559)

ให้บริการด้านงานลูกค้าสัมพันธ์ (CRM Loyalty Program) และ เครือข่ายเครือ่ งพิมพ์คปู องอัตโนมัติ (Coupon Kiosks)

บจ. บางกอก เพย์เมนต์ โซลูชนั ส์

ประกอบกิจการค้า นาเข้า ส่งออก ซ่อมแซมเครือ่ งวิทยุการคมนาคม เครือ่ งมือสือ่ สาร และอุปกรณ์ท่ี เกีย่ วข้อง รวมถึงพัฒนาซอฟต์แวร์ และให้บริการทางเทคโนโลยี

ส่วนที่ 1 หน้า 117


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน) นิ ติ บคุ คล

ประเภทธุรกิ จ

บจ. แมน ฟู้ด โฮลดิง้ ส์

ลงทุนในธุรกิจร้านอาหารและ ภัตตาคาร

บจ. แมน ฟู๊ ด โปรดักส์

ประกอบกิจการผลิตและจาหน่าย อาหาร

บจ. ไพรมารี่ คิทเช่น

ธุรกิจร้านอาหาร และธุรกิจเกีย่ วกับ อาหาร

บจ. แมน คิทเช่น

ธุรกิจร้านอาหาร และธุรกิจเกีย่ วกับ อาหาร

แบบ 56-1 ปี 2560/61 สถำนที่ตงั ้ 21 อาคารทีเอสที ทาวเวอร์ ชัน้ 15 ถนนวิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์: +66 (0) 2273 8511-5 โทรสาร: +66 (0) 2273 8516 5 ซอยเฉลิมพระเกียรติ ร.9 ซอย 21 ถ. เฉลิมพระเกียรติ ร.9 แขวงหนอง บอน เขตประเวศ กรุงเทพฯ 10250 โทรศัพท์: 063 724 8535 21 อาคารทีเอสที ทาวเวอร์ ถนนวิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ +66 (0) 2273 8511-5 โทรสาร: +66 (0) 2273 8516 21 อาคารทีเอสที ทาวเวอร์ ถนนวิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์: +66 (0) 2273 8511-5 โทรสาร: +66 (0) 2273 8516

ส่วนที่ 1 หน้า 118

ทุนชำระแล้ว (บำท) 329,800,000

จำนวนหุ้นทัง้ หมด / หุ้นที่ จำหน่ ำยได้แล้วทัง้ หมด 3,298,000 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ 100 บาท)

ประเภท

100,000,000

1,000,000 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ 100 บาท)

หุน้ สามัญ

100.00 (ถือโดย บจ. แมน ฟู้ด โฮลดิง้ ส์)

83,844,013.68

900,000 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ 100 บาท)

หุน้ สามัญ

100.00 (ถือโดย บจ. แมน ฟู้ด โฮลดิง้ ส์)

114,080,000

2,482,800 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ 100 บาท)

หุน้ สามัญ

100.00 (ถือโดย บจ. แมน ฟู้ด โฮลดิง้ ส์)

หุน้ สามัญ

สัดส่วนกำรถือหุ้น (ร้อยละ) 41.18


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน) นิ ติ บคุ คล

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ประเภทธุรกิ จ

สถำนที่ตงั ้

บจ. ลิตเติ้ล คอร์นเนอร์

ธุรกิจร้านอาหาร และธุรกิจเกีย่ วกับ อาหาร

บจ. เค เอ็ม เจ 2016

ธุรกิจเกีย่ วกับร้านอาหาร อาหาร และเครือ่ งดืม่

บจ. เอชเอชที คอนสตรัคชัน่

รับเหมาและบริหารงานก่อสร้าง

บจ. บีเอสเอส โฮลดิง้ ส์

ลงทุนในหลักทรัพย์ของบริษทั อื่น

บจ. แรบบิทเพย์ ซิสเทม

ลงทุนในหลักทรัพย์ของบริษทั อื่น

21 อาคารทีเอสที ทาวเวอร์ ถนนวิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์: +66 (0) 2273 8511-5 โทรสาร: +66 (0) 2273 8516 87 อาคารโครงการเดอะ แจส รามอินทรา ห้องเลขที่ เอ 220 ถนนลาดปลาเค้า แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220 21 อาคารทีเอสที ทาวเวอร์ ถนนวิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์: +66 (0) 2273 8733 โทรสาร: +66 (0) 2273 8730 21 อาคารทีเอสที ทาวเวอร์ ชัน้ 19 ถนนวิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์: +66 (0) 2617 8338 โทรสาร: +66 (0) 2617 8339 21 อาคารทีเอสที ทาวเวอร์ ชัน้ 19 ถนนวิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์: +66 (0) 2617 8338 โทรสาร: +66 (0) 2617 8339

ส่วนที่ 1 หน้า 119

ทุนชำระแล้ว (บำท) 60,000,000

จำนวนหุ้นทัง้ หมด / หุ้นที่ จำหน่ ำยได้แล้วทัง้ หมด 600,000 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ 100 บาท)

ประเภท

67,000,000

670,000 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ 100 บาท)

หุน้ สามัญ

51.00 (ถือโดย บจ. แมน ฟู้ด โฮลดิง้ ส์)

25,000,000

5,000,000 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ 5 บาท)

หุน้ สามัญ

51.00

1,200,000,000

12,000,000 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ 100 บาท)

หุน้ สามัญ

90.00 (ถือโดย บมจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย)

800,000,000

8,000,000 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ 100 บาท)

หุน้ สามัญ

80.00 (ถือโดย บจ. บีเอสเอส โฮลดิง้ ส์)

หุน้ สามัญ

สัดส่วนกำรถือหุ้น (ร้อยละ) 69.00 (ถือโดย บจ. แมน คิทเช่น)


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน) นิ ติ บคุ คล บจ. แรบบิท-ไลน์ เพย์ (เดิมชือ่ บจ. ไลน์ บิซ พลัส และได้เปลีย่ นชือ่ บริษทั เมือ่ วันที่ 25 พฤษภาคม 2559) บจ. เอทีเอส แรบบิท นิตบิ ุคคล เฉพาะกิจ

บจ. เอเอสเค ไดเร็ค กรุ๊ป

ประเภทธุรกิ จ

ทุนชำระแล้ว (บำท) 599,999,400

จำนวนหุ้นทัง้ หมด / หุ้นที่ จำหน่ ำยได้แล้วทัง้ หมด 5,999,994 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ 100 บาท)

สถำนที่ตงั ้

40,000

400 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ 100 บาท)

1,000,000

1,000 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ 1,000 บาท)

1032/1-5 ตึกกริต ชัน้ 2 ถนนพระราม 4 แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์: +66 (0) 2022 1222

31,300,000

313,000 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ 100 บาท)

ให้บริการระบบบนหน้าเว็บเพจ และ 1032/1-5,14 ตึกกริต ชัน้ 2 ให้บริการผ่านช่องทางเทเลมาร์เก็ตติ้ง ถนนพระราม 4 แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์: +66 (0) 2022 1222

4,002,000

4,002 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ 1,000 บาท)

บริการรับชาระเงินแทนและบริการ เงินอิเล็กทรอนิกส์และออนไลน์

อาคารเกษร ทาวเวอร์ ชัน้ ที่ 18 ถนนราชดาริ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท์: +66 (0) 2022 8497 นิตบิ ุคคลเฉพาะกิจเพือ่ การแปลง 388 อาคารเอ็กเชน ทาวเวอร์ ชัน้ 27 สินทรัพย์เป็ นหลักทรัพย์ ภายใต้ ถนนสุขมุ วิท แขวงคลองเตย พระราชกาหนดนิตบิ ุคคลเฉพาะกิจ เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 เพือ่ การแปลงสินทรัพย์เป็ นหลักทรัพย์ โทรศัพท์: +66 (0) 2689 7000 พ.ศ. 2540 โทรสาร: +66 (0) 2689 7010 ให้บริการขายสินค้า ผลิตภัณฑ์ 1032/14 ตึกกริต ชัน้ 2 ทุกประเภท โดยเทเลเซล และ ถนนพระราม 4 แขวงทุ่งมหาเมฆ เทเลมาร์เก็ตติ้ง เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 โทรศัพท์: +66 (0) 2022 1222

บจ. แรบบิท อินชัวรันส์ โบรคเกอร์ ธุรกิจนายหน้าประกันวินาศภัยและ (เดิมชือ่ บจ. เอเอสเค โบรคเกอร์ ประกันชีวติ แอสโซซิเอชัน่ และได้เปลีย่ นชือ่ บริษทั เมือ่ วันที่ 22 สิงหาคม 2559)

บจ. แรบบิท อินเตอร์เน็ต (เดิมชือ่ บจ. อาสค์ หนุมาน และได้เปลีย่ นชือ่ บริษทั เมือ่ วันที่ 3 มีนาคม 2559)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ส่วนที่ 1 หน้า 120

ประเภท หุน้ สามัญ

สัดส่วนกำรถือหุ้น (ร้อยละ) 33.33 (ถือโดย บจ. แรบบิท เพย์ ซิสเทม)

หุน้ สามัญ 51.00 และ (ถือโดย บจ. บีเอสเอส หุน้ บุรมิ สิทธิ โฮลดิง้ ส์)

หุน้ สามัญ

51.00 (ถือโดย บจ. บีเอสเอส โฮลดิง้ ส์) และ 49.00 (ถือโดย บจ. แรบบิท อินเตอร์เน็ต) หุน้ สามัญ 51.00 (ถือโดย บจ. บีเอส เอส โฮลดิง้ ส์) และ 49.00 (ถือโดย บจ. แรบบิท อินเตอร์เน็ต) หุน้ สามัญ 30.00 และ (ถือโดย บจ. บีเอสเอส หุน้ บุรมิ สิทธิ โฮลดิง้ ส์)


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน) นิ ติ บคุ คล บจ. บางกอก สมาร์ทการ์ด ซิสเทม

ประเภทธุรกิ จ ให้บริการเงินอิเล็กทรอนิกส์ (E-money)

แบบ 56-1 ปี 2560/61 สถำนที่ตงั ้ 21 อาคารทีเอสที ทาวเวอร์ ชัน้ 19 และ ชัน้ 24 ถนนวิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท์ +66 (0) 2617 8338 โทรสาร +66 (0) 2617 8339

ส่วนที่ 1 หน้า 121

ทุนชำระแล้ว (บำท) 400,000,000

จำนวนหุ้นทัง้ หมด / หุ้นที่ จำหน่ ำยได้แล้วทัง้ หมด 4,000,000 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ 100 บาท)

ประเภท หุน้ สามัญ

สัดส่วนกำรถือหุ้น (ร้อยละ) 90.00 (ถือโดย บมจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย)


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ข้อมูลนิ ติบคุ คลอื่นที่ บริ ษทั ฯ ถือหุ้นตัง้ แต่ร้อยละ 10 ขึ้นไป นิ ติ บคุ คล

ประเภทธุรกิ จ

บจ. ช้างคลานเวย์

โรงแรมและภัตตาคาร

บจ. จัดการทรัพย์สนิ และชุมชน

บริหารจัดการโครงการ อสังหาริมทรัพย์

Titanium Compass Sdn Bhd

ธุรกิจให้บริการสือ่ โฆษณา

สถำนที่ตงั ้ 199/42 ถนนช้างคลาน ตาบล ช้างคลาน อาเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 50100 โทรศัพท์: +66 (0) 5325 3199 โทรสาร: +66 (0) 5325 3025 144/2 ถนนเสรีไทย แขวงคลองจัน่ เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 โทรศัพท์: +66 (0) 2733 1500 โทรสาร: +66 (0) 2733 1500 ต่อ 30 Unit C508, Block C, Kelana Square, Jalan SS7/26, Kelana Jaya, 47301 Petaling Jaya, Selangor Darul Ehsan, Malaysia โทรศัพท์: +60 3780 51817 โทรสาร: +60 3780 41316

ส่วนที่ 1 หน้า 122

ทุนชำระแล้ว (บำท) 338,000,000

จำนวนหุ้นทัง้ หมด

ประเภท

6,760 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ 50,000 บาท)

หุน้ สามัญ

สัดส่วนกำรถือหุ้น (ร้อยละ) 15.15

20,000,000

2,000,000 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ 10 บาท)

หุน้ สามัญ

15.00

MYR 1,000,000

1,000,000 หุน้ (มูลค่าทีต่ ราไว้ หุน้ ละ MYR 1)

หุน้ สามัญ

19.00 (ถือโดย บมจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย)


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

6.2

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ข้อมูลสำคัญอื่น สรุปสาระสาคัญของสัญญาทีส่ าคัญของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย เป็ นดังนี้

1.

สัญญำสัมปทำนระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพมหำนคร ระหว่ำง บีทีเอสซี และ กรุงเทพมหำนคร (กทม.) ฉบับลงวันที่ 9 เมษำยน 2535 และแก้ไขเพิ่ มเติ มเมื่อวันที่ 25 มกรำคม 2538 และวันที่ 28 มิ ถนุ ำยน 2538

บีทีเอสซีเป็ นผู้ออกแบบ ก่อสร้าง ดาเนินงาน และบารุงรักษาระบบ เป็ นระยะเวลา 30 ปี หลังจากที่ระบบ รถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลัก เริม่ ดาเนินงานในเชิงพาณิชย์ ซึ่งภายใต้เงื่อนไขของสัญญา บีทีเอสซีมสี ทิ ธิ ได้รบั รายได้จากกิจการทีเ่ กี่ยวเนื่องกับระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลัก อันรวมถึง การโฆษณา การให้ สิทธิ และการเก็บค่าโดยสารในระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลัก เป็ นระยะเวลา 30 ปี นับแต่วนั แรกทีร่ ะบบ รถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลักเริม่ ดาเนินงานในเชิงพาณิชย์ สิทธิและหน้าที่ : การดาเนินงานและการบารุงรักษา (Operation and Maintenance) บีทเี อสซีจะเป็ นผูป้ ระกอบการ ของบีทเี อสซี และบารุงรักษาระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลักตลอดระยะเวลาที่ได้รบั สัมปทาน ตามสัญญา ในการดาเนินงานของบีทีเอสซี หากปริมาณผู้ใช้บริการมีมากเกินกว่าความสามารถของระบบ รถไฟฟ้ าขนส่ ง มวลชนกรุ ง เทพสายหลัก บี ทีเ อสซีส ามารถขยายการลงทุ น ได้ อีก แต่ ห าก ความสามารถของระบบรถไฟฟ้ า ขนส่ง มวลชนกรุ ง เทพสายหลัก สูง กว่ า ปริม าณผู้ใช้บ ริก าร บีทเี อสซีอาจลดความถีข่ องการให้บริการรถไฟฟ้ าได้โดยต้องแจ้งให้กทม. ทราบก่อน และหากเป็ น การขยายการให้บริการของระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลักโดยความต้องการของ กทม. บีทเี อสซีจะได้รบั ผลตอบแทนซึง่ เป็ นทีย่ อมรับกันทัง้ จากกทม. และบีทเี อสซี บีทเี อสซีมสี ทิ ธิทจ่ี ะกาหนดกฎระเบียบในการดาเนินงานได้ ขณะทีก่ ทม. มีสทิ ธิกาหนดกฎระเบียบ เกีย่ วกับความปลอดภัยและสิง่ แวดล้อมของระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลัก แต่หาก กฎระเบียบดังกล่าวมีผลกระทบทางลบต่อบีทเี อสซี เช่น สถานะทางการเงินของบีทเี อสซี หรือทา ให้บที เี อสซีตอ้ งลงทุนเพิม่ ขึน้ กทม. จะต้องได้รบั ความเห็นชอบจากบีทเี อสซีก่อน การโอนกรรมสิทธิ์ (Transfer of Rights) แบ่งออกเป็ น 2 ส่วน คือ 

อสังหาริมทรัพย์ท่เี กิด จากการก่อสร้างหรืองานโครงสร้าง (Civil Works) จะโอนในลักษณะ BTO (Build Transfer and Operate) คือ บีทีเอสซีจะต้องโอนกรรมสิทธิเป็ ์ นของกทม. เมื่อ การก่อสร้างเสร็จสมบูรณ์

ระบบไฟฟ้ าและเครื่อ งกล (Electrical and Mechanical Works) ซึ่งรวมถึงขบวนรถไฟฟ้ า จะโอนในลักษณะ BOT (Build Operate and Transfer) คือ บีทีเอสซีจะโอนกรรมสิทธิเ์ ป็ น ของกทม. เมื่อสัมปทานสิน้ สุดลง

สถานภาพของบีทเี อสซี (Status of the Company) 

กลุ่มธนายงจะต้องถือหุ้นบีทีเอสซีไม่ต่ ากว่าร้อยละ 51 ของหุ้นทัง้ หมด ตัง้ แต่ วนั ที่บที ีเอสซี ได้รบั สัมปทานจนกระทังวั ่ นที่รถไฟฟ้ าบีทีเอสเปิ ดให้บริการเชิงพาณิชย์ และหลังจากระบบ รถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลักเปิ ดให้บริการเชิงพาณิชย์ บีทเี อสซีจะดาเนินการให้หุน้ ของบีทเี อสซีถอื โดยประชาชนและเป็ นบุคคลสัญชาติไทยไม่ต่ากว่าร้อยละ 51 ของหุน้ ทัง้ หมด

ส่วนที่ 1 หน้า 123


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

สิทธิและหน้าที่ : กทม. เป็ น ผู้รบั ผิดชอบในการจัดหาที่ดินที่ใช้ในการก่อสร้างให้แก่บีทีเอสซี โดยบีทีเอสซีได้รบั ของกทม. ตาม อนุญาตเป็ นการเฉพาะให้ใช้ทด่ี นิ เพื่อก่อสร้างและดาเนินงาน สาหรับการเคลื่อนย้ายสาธารณูปโภค สัญญา ทีเ่ กีย่ วข้องกับพืน้ ทีก่ ่อสร้างทัง้ หมด (ยกเว้นส่วนอนุสาวรียช์ ยั สมรภูมถิ งึ สถานีขนส่งตลาดหมอชิต) บีทเี อสซีจะเป็ นผู้รบั ผิดชอบภายในวงเงินไม่เกิน 500 ล้านบาท ค่าใช้จ่ายส่วนเกินจากจานวนนี้ กทม. จะเป็ นผูร้ บั ภาระ สาหรับพืน้ ทีก่ ่อสร้างส่วนอนุสาวรียช์ ยั สมรภูมถิ งึ สถานีขนส่งตลาดหมอชิต บีทเี อสซีจะเป็ นผูร้ บั ผิดชอบค่าใช้จ่ายในการเคลื่อนย้ายสาธารณู ปโภค รวมทัง้ บีทเี อสซีมสี ทิ ธิทจ่ี ะ ใช้สงิ่ ปลูกสร้างทีเ่ กิดขึน้ บนพืน้ ทีน่ ้ี ไม่ว่าจะสาหรับระบบหรือเพื่อวัตถุประสงค์อ่นื ทางพาณิชย์ หาก บีทเี อสซีมขี อ้ ผูกพันกับบุคคลภายนอกเป็ นระยะเวลาเกินอายุสมั ปทาน บีทเี อสซีจะต้องขออนุ มตั ิ จากกทม. ก่อน กทม. จะประสานงานให้บที เี อสซีได้ซอ้ื ไฟฟ้ าจากการไฟฟ้ านครหลวงในราคาทีไ่ ม่ สูงเกินกว่าราคาทีก่ ารไฟฟ้ านครหลวงขายให้แก่บริษทั อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ หรือหากบีทเี อสซี ต้องการตัง้ สถานีผลิตไฟฟ้ าเอง กทม. จะให้ความสะดวกแก่บีทีเอสซีในขอบเขตเท่าที่กทม. มี อานาจกระทาได้ โดยการอนุญาตให้บที เี อสซีจดั ตัง้ สถานีผลิตไฟฟ้ าดังกล่าวได้ในกทม. อัตราค่า โดยสาร

: การเก็บค่าโดยสาร จะเรียกเก็บจากผูโ้ ดยสารสาหรับการเข้าออกระบบต่อหนึ่งครัง้ รวมทัง้ สิทธิผ่าน ออกเพื่อต่อเปลี่ยนสายทางระหว่างสายสีลมและสายสุขุมวิท (ค่าโดยสารที่เรียกเก็บได้ (Effective Fare)) บีทเี อสซีอาจปรับเพดานอัตราค่าโดยสารทีเ่ รียกเก็บได้เป็ นคราว ๆ ไป โดยค่าโดยสารทีเ่ รียก เก็บจะต้องไม่เกินกว่าเพดานอัตราค่าโดยสารสูงสุดทีอ่ าจเรียกเก็บได้ (Authorized Fare) ทีม่ ผี ลใช้ บังคับอยู่ในขณะนัน้ บีทเี อสซีอาจปรับค่าโดยสารที่เรียกเก็บได้ไม่เกิน 1 ครัง้ ในทุกระยะเวลา 18 เดือน (เว้นแต่กทม. ยินยอมให้ปรับได้บ่อยกว่านัน้ ) และบีทเี อสซีจะต้องแจ้งให้กทม. และประชาชน ทัวไปทราบถึ ่ งค่าโดยสารที่เรียกเก็บใหม่ล่วงหน้าอย่างน้อย 30 วัน ทัง้ นี้ บีทเี อสซีอาจปรับเพดาน อัตราค่าโดยสารสูงสุดทีอ่ าจเรียกเก็บได้ใน 2 กรณี ได้แก่ การปรับปกติ และการปรับกรณีพเิ ศษ 

การปรับปกติ สามารถปรับได้ในกรณีทด่ี ชั นีราคาผูบ้ ริโภคชุดทัวไปประจ ่ าเดือนของกรุงเทพฯ (Bangkok Consumer Price Index) (“ดัช นี ”) (จากการส ารวจโดยกระทรวงพาณิ ช ย์ ) เมื่อ เทียบกับดัชนีอา้ งอิงย้อนหลังไม่น้อยกว่า 12 เดือน สูงขึน้ เท่ากับหรือมากกว่าร้อยละ 5 บีทเี อสซี จะสามารถปรับเพดานอัตราค่าโดยสารสูงสุดที่อาจเรียกเก็บได้เพิ่มขึ้นไม่เกินร้อยละ 7 (ดัชนี อ้างอิง หมายถึง ดัชนี ท่ใี ช้ในการปรับ เพดานอัต ราค่าโดยสารสูงสุด ที่อาจเรีย กเก็บ ได้ครัง้ หลังสุด) โดยบีทเี อสซีจะแจ้งให้ กทม. ทราบถึงการปรับดังกล่าว หากกทม. ไม่ได้โต้แย้งการ ปรับเพดานอัตราค่าโดยสารสูงสุดทีอ่ าจเรียกเก็บได้ดงั กล่าวเป็ นหนังสือภายใน 30 วันนับแต่ วันที่บที เี อสซีแจ้ง ให้ถือว่ากทม. เป็ นอันตกลงด้วยกับการปรับดังกล่าว อย่างไรก็ตาม หาก กทม. และบีทเี อสซีไม่สามารถตกลงกันได้ ให้เสนอปั ญหาดังกล่าวแก่คณะกรรมการทีป่ รึกษา (Advisory Committee) เพื่อวินิจฉัย

การปรับกรณีพเิ ศษ เมื่อเกิดเหตุการณ์ดงั ต่อไปนี้ -

ดัช นี มีก ารเปลี่ย นแปลงเพิ่ม ขึ้น หรือ ลดลงเกิน กว่าร้อ ยละ 9 เมื่อ เทีย บกับ ดัช นี อ้างอิง ย้อนหลังไม่น้อยกว่า 12 เดือน

ส่วนที่ 1 หน้า 124


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

-

อัต ราแลกเปลี่ย นระหว่ า งสกุ ล เงิน บาทและเงิน เหรีย ญสหรัฐ สู ง หรือ ต่ า กว่ า อัต รา แลกเปลี่ ย นอ้ า งอิ ง เกิ น กว่ า ร้ อ ยละ 10 (อัต ราแลกเปลี่ย นอ้ า งอิ ง หมายถึ ง อัต รา แลกเปลีย่ นที่ธนาคารแห่งประเทศไทยประกาศที่ใช้ในการปรับเพดานอัตราค่าโดยสาร สูงสุดทีอ่ าจเรียกเก็บได้ครัง้ หลังสุด ซึง่ เท่ากับ 39.884 บาทต่อ 1 เหรียญสหรัฐ)

-

อัตราดอกเบีย้ เงินกูเ้ งินตราต่างประเทศและในประเทศของบีทเี อสซี สูงหรือต่ ากว่าอัตรา ดอกเบี้ยอ้างอิงเกินกว่าร้อยละ 10 (อัตราดอกเบี้ยอ้างอิง หมายถึง อัตราดอกเบี้ยโดย เฉลีย่ ของอัตราดอกเบีย้ ลูกค้าชัน้ ดีของธนาคารกรุงเทพ ธนาคารกรุงไทย ธนาคารกสิกร ไทย และธนาคารไทยพาณิชย์ ทีใ่ ช้ในการปรับเพดานอัตราค่าโดยสารสูงสุดที่อาจเรียก เก็บได้ครัง้ หลังสุด และอัตราดอกเบีย้ ต่างประเทศอ้างอิง หมายถึง อัตราดอกเบีย้ สาหรับ การกู้เงินระหว่างธนาคารในตลาดเงินในกรุงลอนดอน (LIBOR) ที่ใช้ในการปรับเพดาน อัตราค่าโดยสารสูงสุดทีอ่ าจเรียกเก็บได้ครัง้ หลังสุด)

-

บีทเี อสซีตอ้ งรับภาระค่าไฟฟ้ าสูงขึน้ หรือลดลงอย่างมาก

-

บีทเี อสซีตอ้ งมีการลงทุนนอกเหนือจากขอบเขตของงานทีก่ าหนดไว้

-

บีที เอสซี มีค วามเสี่ย งที่ เป็ นกรณี ย กเว้ น (Exceptional Risk) การปรับ เพดานอัต รา ค่าโดยสารสูงสุดทีอ่ าจเรียกเก็บได้ในกรณีพเิ ศษนัน้ คู่สญ ั ญาจะต้องเห็นชอบด้วยกันทัง้ 2 ฝ่ าย ถ้าไม่ สามารถตกลงกัน ได้ภ ายใน 30 วัน ให้เสนอไปยังคณะกรรมการที่ป รึกษา (Advisory Committee) เป็ นผูต้ ดั สิน ถ้าหากรัฐบาลมีนโยบายตรึงราคาค่าโดยสาร รัฐบาล จะจัดหามาตรการมาชดเชยตามความเหมาะสมแก่สว่ นทีบ่ ที เี อสซีตอ้ งเสียหาย ในขณะที่ ยังไม่ปรับค่าโดยสารทีเ่ รียกเก็บ

คณะกรรมการ : บีทีเอสซี และกทม. จะต้องจัดตัง้ คณะกรรมการที่ปรึกษา ประกอบด้วย กรรมการจากบีทีเอสซี ทีป่ รึกษา จานวน 2 คน กรรมการจาก กทม. จ านวน 2 คน และกรรมการอิสระที่ได้รบั การแต่ ง ตัง้ จาก (Advisory กรรมการทัง้ 4 คนดังกล่าวจานวน 3 คน ซึง่ คณะกรรมการทีป่ รึกษานี้มหี น้าทีใ่ ห้ความเห็นเกีย่ วกับ Committee) การดาเนินงานเชิงพาณิชย์ของระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลัก พิจารณาการปรับ เพดานอัตราค่าโดยสารสูงสุดในกรณีพเิ ศษ และหน้าทีอ่ ่นื ๆ ตามทีจ่ ะตกลงกันระหว่าง กทม. และ บีทเี อสซี ภาษี (Taxation)

: กทม. จะเป็ นผูร้ บั ผิดชอบภาระภาษีโรงเรือนและภาษีทด่ี นิ ตามกฎหมายในส่วนของระบบรถไฟฟ้ า ขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลัก ยกเว้นในส่วนทีบ่ ที เี อสซีใช้ในกิจการเชิงพาณิชย์ซง่ึ บีทเี อสซีจะต้อง รับ ผิ ด ชอบ ส่ ว นบี ที เ อสซี จ ะรับ ผิ ด ชอบภาระอื่ น ๆ ได้ แ ก่ ภาษี ป้ ายและภาษี อ่ื น ๆ ใน การประกอบการระบบขนส่งมวลชนตามสัญญานี้

การประกันภัย : บีทเี อสซีจะต้องจัดให้มกี ารประกันวินาศภัย ประเภท All Risks รวมถึงประกันภัยเพื่อความรับผิด (Insurance) ต่ อบุค คลที่สาม (Third Party Liability) ภายใต้เงื่อนไขทานองเดียวกับ ที่ผู้ป ระกอบกิจการแบบ เดียวกันในสิง่ แวดล้อมเดียวกันเอาประกัน ซึง่ บีทเี อสซีได้แต่งตัง้ ทีป่ รึกษาทางด้านการประกันภัย เพื่อให้คาปรึกษาเกีย่ วกับข้อเสนอเงื่อนไขความคุม้ ครองทีเ่ หมาะสม

ส่วนที่ 1 หน้า 125


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

กรรมสิทธิ ์ : อสังหาริมทรัพย์ทก่ี ่อสร้างบนทีด่ นิ ของกทม. หรือบนที่ดนิ ทีก่ ทม. จัดหามาให้หรือสิง่ ปลูกสร้างจะ และการโอน เป็ น กรรมสิท ธิข์ องกทม. เมื่อ การก่อ สร้างเสร็จ ทัง้ นี้ กทม. ตกลงให้บีทีเอสซีมีสิทธิและหน้ าที่ กรรมสิทธิ ์ แต่เพียงผู้เดียวในการครอบครองและใช้อสังหาริมทรัพย์ดงั กล่าว สาหรับอุปกรณ์ (เช่น รถไฟฟ้ า (Ownership, ระบบควบคุม หรือ อะไหล่) และเครื่องมือควบคุมที่ใช้กบั ระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพ Transfer of สายหลัก ระบบไฟฟ้ าและเครื่องกลควบคุมต่าง ๆ ซึง่ ติดตัง้ บนอสังหาริมทรัพย์ดงั กล่าวจะตกเป็ น Ownership กรรมสิทธิข์ อง กทม. เมื่อสัญ ญาสัมปทานสิ้นสุดลง ในส่วนของอุปกรณ์ และเครื่องมือควบคุมที่ and Security) ติดตัง้ นอกบริเวณที่ดินของกทม. และเครื่องใช้สานักงาน หาก กทม. แจ้งความประสงค์ไปยัง บีทเี อสซี บีทเี อสซีจะโอนกรรมสิทธิให้ ์ แก่ กทม. เมื่อสัญญาสิน้ สุดลง เมื่อสัญญาสิน้ สุดลง บีทเี อสซีจะโอนสิทธิและข้อผูกพันใด ๆ ทีม่ กี บั เจ้าของทรัพย์สนิ ทีต่ ่อเชื่อมเข้า กับระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลัก หรือเจ้าของทรัพย์สนิ อื่นที่เกี่ยวข้องกับระบบ รถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลัก รวมทัง้ สิท ธิและข้อผูกพัน ในซอฟต์แ วร์ ลิขสิท ธิ ์ และ สิท ธิบ ัต รที่เป็ นของบีทีเอสซี หรือ บีทีเอสซีมีสิท ธิใ ช้ในระบบรถไฟฟ้ าขนส่ ง มวลชนกรุ ง เทพ สายหลักให้แก่ กทม. ตราบเท่าทีย่ งั ไม่มกี ารโอนกรรมสิทธิ ์ บีทเี อสซียงั คงเป็ นเจ้าของกรรมสิทธิในอุ ์ ปกรณ์และทรัพย์สนิ อื่น ๆ นอกจากอสังหาริมทรัพย์ทก่ี ่อสร้างบนทีด่ นิ กทม. หรือทีด่ นิ ทีก่ ทม. จัดหามาให้ และมีสทิ ธิใน การก่อภาระติดพันและใช้เป็ นหลักประกันกับเจ้าหนี้ได้ เหตุการณ์ท่ี : บีทเี อสซีไม่ต้องรับผิดชอบในความเสียหายใด ๆ อันเกิดขึน้ เนื่องจากความเสีย่ งที่เป็ นข้อยกเว้น เป็ นความเสีย่ ง เหตุการณ์ทเ่ี ป็ นความเสีย่ งทีเ่ ป็ นข้อยกเว้น ได้แก่ ทีเ่ ป็ น  เหตุสด ุ วิสยั ทีอ่ ยู่นอกเหนือความควบคุมของบีทเี อสซี ทีไ่ ม่สามารถเอาประกันภัยได้ในราคาปกติ ข้อยกเว้น  การชะงักงันอย่างมีนย ั สาคัญในธุรกิจก่อสร้างภายในประเทศ หรืออุตสาหกรรมวัสดุก่อสร้าง (Exceptional Risks)  การกระท าของรัฐ บาล ซึ่ง รวมถึ ง การเข้า มาแทรกแซงโครงการโดยรัฐ บาลโดยไม่ ช อบ การเปลี่ยนเส้นทางของโครงการ หรือการให้บุคคลอื่นประกอบการขนส่งมวลชนทับเส้นทาง ของบีทเี อสซี ซึง่ ส่งผลกระทบอย่างร้ายแรงต่อบีทเี อสซี 

ความล่าช้าอย่างมากในการเคลื่อนย้ายหรือเปลีย่ นแปลงสิง่ สาธารณูปโภค

ความเปลีย่ นแปลงทางเศรษฐกิจอย่างรุนแรงในประเทศไทย

การนัดหยุดงานอันไม่เกีย่ วข้องกับบีทเี อสซี

การเลิกสัญญา : กทม. มีสทิ ธิบอกเลิกสัญญา ในกรณีดงั ต่อไปนี้ 

บีทเี อสซีไม่สามารถดาเนินการทดสอบระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลักให้เสร็จ สิน้ ได้ภายในกาหนดเวลาของสัญญาสัมปทาน หรือตามกาหนดเวลาอื่นทีต่ กลงกันติดต่อกันไม่ น้อยกว่า 2 ครัง้ และเป็ นที่ชดั แจ้งว่าบีทีเอสซีไม่สามารถปฏิบตั ิตามสัญญาสัมปทานให้แล้ว เสร็จในเวลาทีก่ าหนดได้

บีทเี อสซีถูกศาลสังพิ ่ ทกั ษ์ทรัพย์เด็ดขาดในคดีลม้ ละลาย

ส่วนที่ 1 หน้า 126


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

บีทเี อสซีจงใจผิดสัญญาในสาระสาคัญอย่างต่อเนื่องก่อนจะใช้สทิ ธิบอกเลิกสัญญา หากเป็ น กรณีทแ่ี ก้ไขไม่ได้ กทม. จะมีหนังสือถึงบีทเี อสซี ล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 1 เดือน หากเป็ นกรณีท่ี แก้ไขได้ กทม. จะมีหนังสือให้บที เี อสซีแก้ไขภายในกาหนดเวลา แต่ต้องไม่น้อยกว่า 6 เดือน ในกรณี ฉุกเฉิน กทม. อาจร่วมกับเจ้าหนี้ของบีทีเอสซีในการเข้าดาเนินการระบบรถไฟฟ้ า ขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลัก เป็ น การชัว่ คราว และหากบีทีเอสซีไม่ สามารถแก้ไขได้ใน ระยะเวลาที่กาหนดให้แ ก้ไข และหากกทม. มีเจตนาจะบอกเลิก สัญ ญา กทม. จะแจ้งเป็ น หนังสือไปยังกลุ่มเจ้าหนี้ เพื่อให้กลุ่มเจ้าหนี้ดาเนินการจัดหาบุคคลอื่นมารับโอนจากบีทเี อสซี ทัง้ สิทธิและหน้าทีต่ ามสัญญาสัมปทานของบีทเี อสซี โดยกทม. ต้องให้เวลากลุ่มเจ้าหนี้ไม่น้อย กว่ า 6 เดือน แต่ ห ากกลุ่ ม เจ้าหนี้ ไม่ จ ัด หาบุ ค คลอื่น มารับ โอนสิท ธิแ ละหน้ าที่ภ ายในเวลา ดังกล่าว กทม. มีสทิ ธิบอกเลิกสัญญาสัมปทานนี้ได้ โดยบีทเี อสซีจะต้องชดเชยความเสียหาย ให้แ ก่ กทม. พร้อ มทัง้ โอนกรรมสิท ธิใ์ นอุป กรณ์ ให้แ ก่ กทม. โดยตรง และยิน ยอมให้ก ทม. เรียกร้องเงินจากธนาคารผูอ้ อกหนังสือค้าประกันการปฏิบตั ติ ามสัญญาสัมปทาน

ในกรณีทก่ี ทม. บอกเลิกสัญญาสัมปทานนี้กบั บีทเี อสซี กทม. จะจ่ายเงินสาหรับส่วนของระบบ รถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลักทีต่ กเป็ นกรรมสิทธิของกทม. ในราคาเท่ากับมูลค่าทาง ์ บัญชี (Book Value)

บีทเี อสซีมสี ทิ ธิบอกเลิกสัญญาสัมปทาน ในกรณีดงั ต่อไปนี้ 

กทม. จงใจผิดสัญญาในสาระสาคัญอย่างต่อเนื่อง จนเป็ นเหตุให้บที เี อสซีไม่อาจปฏิบตั ิตาม สัญญาต่อไปได้

รัฐบาลไทย หรือรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย หรือหน่ วยงานราชการ หรือกทม. แก้ไข หรือยกเลิกการอนุ ญาตการก่อสร้างและการดาเนินงาน หรือปรับเปลีย่ นเงื่อนไข หรือยกเลิก สิท ธิโดยไม่ ใช่ ค วามผิด ของบีทีเอสซี ซึ่งส่งผลกระทบอย่ างมีนัย สาคัญ ต่ อบีทีเอสซี จนไม่ สามารถดาเนินงานต่อไปได้

การแทรกแซงของรัฐ บาลในกรณี เ หตุ ก ารณ์ ท่ี เป็ น “ความเสี่ย งที่ เ ป็ นข้อ ยกเว้น ” ตาม ความหมายทีก่ ล่าวไว้แล้วข้างต้น

หากเป็ นความผิดพลาดทีส่ ามารถแก้ไขได้ บีทเี อสซีจะต้องส่งหนังสือแจ้งกทม. ทาการแก้ไขหรือ ปฏิบตั ใิ ห้ถูกต้องหรือปรับปรุงการดาเนินการภายในเวลาที่กาหนดซึง่ ต้องไม่น้อยกว่า 6 เดือน ทัง้ นี้ ถ้า กทม. ไม่สามารถปรับปรุงหรือแก้ไขการดาเนินการได้ภายในเวลาดังกล่าว บีทเี อสซีจะแจ้งเป็ น หนังสือบอกเลิกสัญญาไปยังกทม. หากเป็ นกรณีทไ่ี ม่สามารถแก้ไขได้ บีทเี อสซีกต็ อ้ งมีหนังสือแจ้ง กทม. ล่วงหน้าภายใน 1 เดือน การยกเลิกสัญญาดังกล่าว กทม. จะต้องชดเชยความเสียหายแก่บีทีเอสซี ซึ่งครอบคลุมถึงเงิน ลงทุน และค่าใช้จ่ายของบีทีเอสซีท่เี กิดขึ้นจากการดาเนิ นงานของระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชน กรุงเทพสายหลัก โดยจ่ายเงินสาหรับส่วนของระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลักใน ราคาเท่ากับมูลค่าทางบัญชี (Book Value) ของทรัพย์สนิ และค่าเสียหายอื่นใดทีบ่ ที เี อสซีพงึ ได้รบั เพราะเหตุจากการเลิกสัญญานี้

ส่วนที่ 1 หน้า 127


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

การขยายอายุ สัญญาและ สิทธิในการ ดาเนินงานใน เส้นทางสาย ใหม่ก่อน บุคคลอื่น

: หากบีทีเอสซีประสงค์จะขยายอายุ สญ ั ญา บีทีเอสซีจะต้องแจ้งความประสงค์ด ังกล่ าวในเวลาไม่ มากกว่า 5 ปี และไม่น้อยกว่า 3 ปี ก่อนวันสิน้ อายุของสัญญา ทัง้ นี้ การขยายอายุของสัญญาจะต้อง ผ่านความเห็นชอบของรัฐมนตรี กระทรวงมหาดไทยก่อน นอกจากนี้ หากกทม. มีความประสงค์ท่จี ะ ดาเนินการสายทางเพิม่ เติมในระหว่างอายุสญ ั ญาสัมปทาน หรือจะขยายเส้นทางของระบบรถไฟฟ้ า ขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลัก บีทเี อสซีจะมีสทิ ธิเป็ นรายแรกทีจ่ ะเจรจากับกทม. ก่อน เพื่อขอรับสิทธิ ทาการและดาเนินการเส้นทางสายใหม่ดงั กล่าว หากบีทีเอสซียนิ ดีรบั เงื่อนไขที่ดที ่สี ุดที่มผี ู้เสนอต่ อ กทม.

การใช้สญ ั ญา เป็ น หลักประกัน

: กทม. ยินยอมให้บที เี อสซีโอนสิทธิตามสัญญานี้เพื่อเป็ นหลักประกันให้แก่บุคคลผูใ้ ห้ความสนับสนุ น ทางการเงินแก่บที เี อสซี เพื่อสนับสนุ นระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลัก โดยทีต่ อ้ งไม่เป็ น การก่อภาระทางการเงินแก่กทม.

เขตอานาจการ : สัญญานี้อยู่ภายใต้บงั คับของกฎหมายไทย กรณีมขี อ้ พิพาทระหว่างคู่สญ ั ญาอันเกี่ยวกับข้อกาหนด พิจารณาข้อ ของสัญญานี้ หรือเกีย่ วเนื่องกับการปฏิบตั ติ ามสัญญานี้ ให้เสนอข้อพิพาทนัน้ ต่ออนุ ญาโตตุลาการ พิพาท ตามข้อบังคับอนุ ญ าโตตุ ลาการของสถาบันอนุ ญ าโตตุ ลาการ สานักงานศาลยุติธรรม หรือตาม ข้อบังคับอื่นทีค่ ่สู ญ ั ญาเห็นชอบ วันทีส่ ญ ั ญามี ผลบังคับใช้

2.

: สัญ ญาจะมีผลบังคับใช้เมื่อบีทีเอสซีลงนามในสัญ ญาทางการเงิน กับ สถาบัน การเงินที่ให้กู้เพื่อ สนับสนุนสัญญานี้ และบีทเี อสซีได้รบั การส่งเสริมการลงทุนจาก BOI รวมทัง้ กทม. ได้สง่ มอบพืน้ ที่ แก่บที เี อสซี ซึง่ เงื่อนไขบังคับก่อนนี้ได้เกิดขึน้ ครบถ้วนแล้ว และสัญญาเริม่ มีผลบังคับใช้ตงั ้ แต่วนั ที่ 9 เมษายน 2536

สัญ ญำกำรให้ บ ริ ก ำรเดิ น รถและซ่ อ มบ ำรุง โครงกำรระบบขนส่ งมวลชนกรุงเทพมหำนคร เลขที่ กธ.ส.006/55 ระหว่ำง กรุงเทพธนำคม (“ผู้บริ หำรระบบ”) และ บี ทีเอสซี (“ผู้ให้ บริ กำร”) ฉบับลงวันที่ 3 พฤษภำคม 2555 และแก้ ไขเพิ่ มเติ มเมื่ อวันที่ 5 กุมภำพันธ์ 2557 วันที่ 29 กรกฎำคม 2557 วันที่ 27 มกรำคม 2558 วันที่ 24 กันยำยน 2558 วันที่ 1 เมษำยน 2559 และวันที่ 9 มีนำคม 2560

วัตถุประสงค์

: ผู้บริหารระบบมีความประสงค์ท่จี ะว่าจ้างผู้ท่มี ีความชานาญเพื่อให้บริการเดินรถและซ่อมบารุง ระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพส่วนต่อขยาย รวมทัง้ เก็บเงินค่าโดยสารของระบบรถไฟฟ้ า ขนส่งมวลชนกรุงเทพส่วนต่อขยายตามทีก่ าหนดไว้ในสัญญาฉบับนี้

ระยะเวลาตาม : 30 ปี เริม่ ตัง้ แต่วนั ที่ 3 พฤษภาคม 2555 ถึงวันที่ 2 พฤษภาคม 2585 โดยแบ่งออกเป็ น 2 ระยะ ดังนี้ สัญญา  ระยะที่ 1 ก่อนหมดระยะเวลาสัมปทานของเส้นทางสัมปทาน (ตัง้ แต่วน ั ที่ 8 พฤษภาคม 2555 ถึงวันที่ 4 ธันวาคม 2572) แบ่งช่วงเวลาการดาเนินงานเป็ น 3 ช่วง ดังนี้ (1) ช่วงที่ 1 นับจากวันที่ 8 พฤษภาคม 2555 ถึงวันที่ 4 ธันวาคม 2555 ผูใ้ ห้บริการดาเนินงาน ในเส้นทางส่วนต่อขยาย 2 เส้นทาง ได้แก่ -

ส่วนต่อขยายสายสีลม จากสะพานตากสิน-ถนนสมเด็จพระเจ้าตากสิน ระยะทาง 2.2 กม.

-

ส่วนต่อขยายสายสุขมุ วิท จากซอยสุขมุ วิท 85-ซอยสุขมุ วิท 107 ระยะทาง 5.25 กม.

ส่วนที่ 1 หน้า 128


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

(2) ช่วงที่ 2 นับจากวันที่ 5 ธันวาคม 2555 ถึงวันที่ 11 สิงหาคม 2556 ผูใ้ ห้บริการดาเนินงาน ในเส้นทางส่วนต่อขยาย 3 เส้นทาง ได้แก่ -

ส่วนต่อขยายสายสีลม จากสะพานตากสิน-ถนนสมเด็จพระเจ้าตากสิน ระยะทาง 2.2 กม.

-

ส่วนต่อขยายสายสุขมุ วิท จากซอยสุขมุ วิท 85-ซอยสุขมุ วิท 107 ระยะทาง 5.25 กม.

-

ส่วนต่อขยายสายสีลม (ตากสิน-เพชรเกษม) ระยะทาง 5.3 กม.

(3) ช่วงที่ 3 นับจากวันที่ 12 สิงหาคม 2556 ถึงวันที่ 4 ธันวาคม 2572 ผูใ้ ห้บริการดาเนินงาน ในเส้นทางส่วนต่อขยาย 3 เส้นทาง ได้แก่

ความรับผิด ตามสัญญา

-

ส่วนต่อขยายสายสีลม จากสะพานตากสิน-ถนนสมเด็จพระเจ้าตากสิน ระยะทาง 2.2 กม.

-

ส่วนต่อขยายสายสุขมุ วิท จากซอยสุขมุ วิท 85-ซอยสุขมุ วิท 107 ระยะทาง 5.25 กม.

-

ส่วนต่อขยายสายสีลม (ตากสิน-เพชรเกษม) ระยะทาง 5.3 กม.

ระยะที่ 2 หลังหมดระยะเวลาสัมปทานของเส้นทางสัมปทาน (ตัง้ แต่วนั ที่ 5 ธันวาคม 2572 ถึง 2 พฤษภาคม 2585) ผูใ้ ห้บริการดาเนินงานในเส้นทาง 4 เส้นทาง ได้แก่ -

ส่วนต่อขยายสายสีลม จากสะพานตากสิน-ถนนสมเด็จพระเจ้าตากสิน ระยะทาง 2.2 กม.

-

ส่วนต่อขยายสายสุขมุ วิท จากซอยสุขมุ วิท 85-ซอยสุขมุ วิท 107 ระยะทาง 5.25 กม.

-

ส่วนต่อขยายสายสีลม (ตากสิน-เพชรเกษม) ระยะทาง 5.3 กม.

-

เส้นทางสัมปทาน ระยะทาง 23.5 กม.

: ผูใ้ ห้บริการต้องจัดให้บริการเดินรถมีมาตรฐานการตรงต่อเวลาไม่ต่ ากว่าร้อยละ 97.5 (ค่าเฉลีย่ ราย เดือน) ประเมินผลความตรงต่อเวลา ณ สถานีปลายทางของแต่ละเส้นทาง ซึง่ ความล่าช้าจะต้องไม่ เกิน 5 นาที นับจากระยะเวลาห่างระหว่างขบวนถัดไป (Headway) หลักเกณฑ์การประเมินความ ตรงต่อเวลาจะเป็ นไปตามทีก่ าหนดไว้ในสัญญา หากให้บริการเดินรถต่ ากว่ามาตรฐานการตรงต่ อเวลาที่กาหนด โดยมีสาเหตุโดยตรงจากความ บกพร่องโดยจงใจหรือโดยประมาทเลินเล่อของผูใ้ ห้บริการ หรือไม่เข้าข้อยกเว้นตามทีก่ าหนดไว้ใน สัญญา ผูใ้ ห้บริการจะต้องจ่ายค่าปรับในอัตราร้อยละ 0.6 (ศูนย์จุดหก) ของค่าจ้างรายเดือนในเดือน นัน้ ๆ สาหรับเส้นทางส่วนทีเ่ กีย่ วข้อง

การสิน้ สุดของ : กำรยกเลิ กสัญญำโดยผูบ้ ริหำรระบบ สัญญา  หากผูใ้ ห้บริการไม่ปฏิบต ั หิ น้าทีต่ ามสัญญาฉบับนี้ในส่วนทีเ่ ป็ นสาระสาคัญ (ซึง่ ไม่รวมกรณีการ ชาระค่าปรับเนื่องจากการเดินรถต่ากว่ามาตรฐานการตรงต่อเวลา) และไม่ทาการแก้ไขภายใน เวลาอันสมควรที่ผู้บริหารระบบแจ้งให้ทราบเป็ นหนังสือ ผู้บริหารระบบมีสทิ ธิท่จี ะบอกเลิก สัญญาฉบับนี้ได้โดยไม่ตอ้ งแจ้งให้ผใู้ ห้บริการทราบอีก 

หากผู้ให้บ ริก ารล้ม ละลาย หรือ ตัง้ เรื่อง หรือ เตรีย มการกับ เจ้าหนี้ หรือ มีข้อเสนอที่จ ะขอ ล้มละลายโดยสมัครใจ หรือได้ย่นื เรื่องขอแต่งตัง้ ผูจ้ ดั การหนี้ หรือมีคาสังช ่ าระบัญชี หรือมีมติ ให้ชาระหนี้โดยสมัครใจ (ยกเว้นวัตถุประสงค์สาหรับการฟื้ นฟูกิจการ) หรือได้มกี ารแต่งตัง้

ส่วนที่ 1 หน้า 129


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ หรือมีการยึดทรัพย์สนิ ที่เกีย่ วข้องโดยหรือในนามของเจ้าหนี้ หรือ ถู ก ด าเนิ น การใดในลัก ษณะข้างต้น ตามกฎหมายที่ใช้บ ัง คับ อัน มีผ ลถึงการให้บ ริก าร ให้ ผูบ้ ริหารระบบมีสทิ ธิทจ่ี ะบอกเลิกสัญญาฉบับนี้ได้ทนั ทีโดยไม่ตอ้ งแจ้งให้ผใู้ ห้บริการทราบ การยกเลิกสัญญาโดยผูใ้ ห้บริการ หากผู้บ ริห ารระบบไม่ ชาระค่ าจ้างที่มิได้มีข้อ พิพ าทใดตามสัญ ญาภายใน 30 วัน หลังจากครบ กาหนดชาระ ผูใ้ ห้บริการมีสทิ ธิทจ่ี ะทาหนังสือแจ้งว่าผูบ้ ริหารระบบผิดสัญญาเพื่อให้ผบู้ ริหารระบบ ชาระหนี้คงค้างภายใน 60 วันนับแต่วนั ทีไ่ ด้รบั หนังสือหรือเกินกว่านัน้ ตามแต่ทผ่ี ใู้ ห้บริการจะระบุ ในหนังสือแจ้ง หากผูบ้ ริหารระบบไม่ชาระค่าจ้างตามหนังสือแจ้งก่อนสิน้ สุดช่วงเวลาทีก่ าหนดไว้ใน หนังสือแจ้งแล้ว ผูใ้ ห้บริการอาจบอกเลิกสัญญาได้โดยแจ้งให้ผบู้ ริหารระบบทราบเป็ นหนังสือซึง่ จะ มีผลบังคับทันที 3.

สัญญำซื้อขำยพร้อมติ ดตัง้ ระบบกำรเดิ นรถ (ไฟฟ้ ำและเครื่องกล) โครงกำรรถไฟฟ้ ำสำยสีเขียว ช่ วง หมอชิ ต-สะพำนใหม่-คูคต และช่วงแบริ่ ง-สมุทรปรำกำร เลขที่ กธ.ส.018/59 ระหว่ำง กรุงเทพธนำคม (“ผู้ซื้ อ ”) และ บี ที เอสซี (“ผู้ข ำย”) ฉบับ ลงวัน ที่ 28 มิ ถ ุน ำยน 2559 และแก้ ไขเพิ่ ม เติ ม เมื่ อ วัน ที่ 16 ธันวำคม 2559 วันที่ 13 ธันวำคม 2560 และวันที่ 14 ธันวำคม 2560

วัตถุประสงค์

: ผูซ้ อ้ื มีความประสงค์ทจ่ี ะซือ้ ระบบการเดินรถ (ไฟฟ้ าและเครื่องกล) เพื่อรองรับการให้บริการเดินรถ และซ่อมบารุงระบบรถไฟฟ้ าโครงการรถไฟฟ้ าส่วนต่อขยายสายสีเขียว ช่วงหมอชิต-สะพานใหม่คูคต และช่วงแบริง่ -สมุทรปราการ ตามทีก่ าหนดไว้ในสัญญาฉบับนี้

ระยะเวลาตาม : แบ่งออกเป็ น 2 ช่วง ดังนี้ สัญญา  ช่วงแบริง่ -สมุทรปราการ แบ่งเป็ น 2 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 : สถานีสาโรง (E15) ส่งมอบและติดตัง้ โดยเริม่ ทดลองเดินรถในวันที่ 5 ธันวาคม 2559 และเปิ ดให้บริการเดินรถ ภายใน 243 วันนับแต่ได้รบั แจ้งให้เริม่ งาน ระยะที่ 2 : สถานีสาโรง (E15) - สมุทรปราการ (E23) ส่งมอบและติดตัง้ แล้วเสร็จ โดยกาหนด เปิ ดให้บริการเดินรถ ภายใน 887 วันนับแต่ได้รบั แจ้งให้เริม่ งาน 

ช่วงหมอชิต-สะพานใหม่-คูคต แบ่งเป็ น 2 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 : สถานีหา้ แยกลาดพร้าว (N9) ส่งมอบและติดตัง้ โดยเริม่ ทดลองเดินรถภายในเดือน กุมภาพันธ์ 2562 และเปิ ดให้บริการเดินรถ ภายใน 973 วันนับแต่ได้รบั แจ้งให้เริม่ งาน ระยะที่ 2 : สถานีหา้ แยกลาดพร้าว (N9) - สถานีคูคต (N24) ส่งมอบและติดตัง้ แล้วเสร็จ โดย กาหนดเปิ ดให้บริการเดินรถ ภายใน 1,461 วันนับแต่ได้รบั แจ้งให้เริม่ งาน

ความรับผิด ตามสัญญา

: หากผู้ขายไม่สามารถส่งมอบทรัพย์สนิ ที่ซ้อื ขายได้ภายในระยะเวลาที่กาหนด ผู้ขายจะต้องจ่าย ค่าปรับในอัตราร้อยละ 0.05 (ศูนย์จุดศูนย์หา้ ) ของราคาซือ้ ขายในทรัพย์สนิ ทีซ่ อ้ื ขายแต่ละส่วนจาก ช่วงหมอชิต-สะพานใหม่-คูคต และช่วงแบริง่ -สมุทรปราการ โดยแยกปรับตามมูลค่าและกาหนดส่ง มอบในส่วนนัน้ ๆ

ส่วนที่ 1 หน้า 130


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

การสิน้ สุดของ : การยกเลิกสัญญาโดยผูซ้ อ้ื สัญญา  หากผูข ้ ายไม่สามารถส่งมอบทรัพย์สนิ ที่ซ้อื ขายได้ภายในกาหนด และเงินค่าปรับสะสมเกิน กว่าร้อยละ 10 ของราคาซือ้ ขายทรัพย์สนิ ในส่วนนัน้ 

หากผูข้ ายล้มละลาย หรือตัง้ เรื่อง หรือเตรียมการกับเจ้าหนี้ หรือมีขอ้ เสนอทีจ่ ะขอล้มละลาย โดยสมัครใจ หรือได้ย่นื เรื่องขอแต่งตัง้ ผูจ้ ดั การหนี้ หรือมีคาสังช ่ าระบัญชี หรือมีมติให้ชาระหนี้ โดยสมั ค รใจ (ยกเว้ น วั ต ถุ ป ระสงค์ ส าหรั บ การฟื้ นฟู กิ จ การ) หรื อ ได้ มี ก ารแต่ ง ตั ้ง เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ หรือมีการยึดทรัพย์สนิ ที่เกีย่ วข้องโดยหรือในนามของเจ้าหนี้ หรือ ถูกดาเนินการใดในลักษณะข้างต้นตามกฎหมายทีใ่ ช้บงั คับอันมีผลถึงการให้บริการ

การยกเลิกสัญญาโดยผูข้ าย 

4.

หากผู้ซ้อื ไม่ป ฏิบ ัติห น้ าที่ต ามสัญ ญาเป็ นระยะเวลามากกว่า 90 วัน ผู้ข ายมีสทิ ธิบ อกเลิก สัญญาโดยทาหนังสือแจ้งล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 30 วัน

สัญญำกำรให้บริ กำรเดิ นรถและซ่อมบำรุง โครงกำรรถไฟฟ้ ำสำยสีเขียว ช่วงหมอชิ ต-สะพำนใหม่-คูคต และช่ วงแบริ่ ง-สมุ ท รปรำกำร เลขที่ กธ.ส.024/59 ระหว่ำง กรุงเทพธนำคม (“ผู้รบั มอบหมำย”) และ บีทีเอสซี (“ผูใ้ ห้บริกำร”) ฉบับลงวันที่ 1 สิ งหำคม 2559 และแก้ไขเพิ่ มเติ มเมื่อวันที่ 31 มีนำคม 2560

วัตถุประสงค์

: ผู้รบั มอบหมายมีความประสงค์ท่จี ะว่าจ้างผู้ท่มี คี วามชานาญเพื่อให้บริการเดินรถและซ่อมบารุ ง โครงการรถไฟฟ้ าส่ ว นต่ อ ขยายสายสีเขีย วช่ ว งหมอชิต -สะพานใหม่ -คู ค ต และช่ ว งแบริ่ง สมุทรปราการ รวมทัง้ เก็บเงินค่าโดยสารตามทีก่ าหนดไว้ในสัญญาฉบับนี้

ระยะเวลาตาม : เริม่ ตัง้ แต่วนั ที่ 1 สิงหาคม 2559 ถึงวันที่ 2 พฤษภาคม 2585 โดยแบ่งออกเป็ น 2 ช่วง ดังนี้ สัญญา  ช่วงแบริง่ -สมุทรปราการ แบ่งเป็ น 2 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 : สถานี แ บริ่ง (E14) - สถานี ส าโรง (E15) ในวัน ที่ 1 มี น าคม 2560 โดยผู้ ร ับ มอบหมายจะแจ้งยืนยันกาหนดวันเริม่ งานให้ผู้ให้บริการเป็ นหนังสือล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 2 เดือนก่อนวันเริม่ งาน ระยะที่ 2 : สถานีแบริง่ (E14) - สถานีเคหะสมุทรปราการ (E23) ในวันที่ 5 ธันวาคม 2561 โดย ผูร้ บั มอบหมายจะแจ้งยืนยันกาหนดวันเริม่ งานให้ผใู้ ห้บริการเป็ นหนังสือล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 9 เดือนก่อนวันเริม่ งาน 

ช่วงหมอชิต-สะพานใหม่-คูคต แบ่งเป็ น 2 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 : สถานีหมอชิต (N8) - สถานีหา้ แยกลาดพร้าว (N9) ในวันที่ 1 มีนาคม 2562 โดย ผูร้ บั มอบหมายจะแจ้งยืนยันกาหนดวันเริม่ งานให้ผใู้ ห้บริการเป็ นหนังสือล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 9 เดือนก่อนวันเริม่ งาน ระยะที่ 2 : สถานี ห มอชิต (N8) - สถานี คู ค ต (N24) ในวัน ที่ 1 กรกฎาคม 2563 โดยผู้ร ับ มอบหมายจะแจ้งยืนยันกาหนดวันเริม่ งานให้ผู้ให้บริการเป็ นหนังสือล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 9 เดือนก่อนวันเริม่ งาน

ส่วนที่ 1 หน้า 131


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ทัง้ นี้ กาหนดวันให้บริการเชิงพาณิชย์ของแต่ละเส้นทางอาจมีการปรับเปลีย่ นตามความจาเป็ น ซึง่ ผูร้ บั มอบหมายจะแจ้งให้ผใู้ ห้บริการทราบล่วงหน้าเป็ นหนังสือโดยเร็ว ความรับผิด ตามสัญญา

: ผูใ้ ห้บริการต้องจัดให้บริการเดินรถมีมาตรฐานการตรงต่อเวลาไม่ต่ ากว่าร้อยละ 97.5 (ค่าเฉลีย่ ราย เดือน) ประเมินผลความตรงต่อเวลา ณ สถานีปลายทางของแต่ละเส้นทาง ซึง่ ความล่าช้าจะต้องไม่ เกิน 5 นาที นับจากระยะเวลาห่างระหว่างขบวนถัดไป (Headway) หลักเกณฑ์การประเมินความ ตรงต่อเวลาจะเป็ นไปตามทีก่ าหนดไว้ในสัญญา หากให้บริการเดินรถต่ ากว่ามาตรฐานการตรงต่ อเวลาที่กาหนด โดยมีสาเหตุโดยตรงจากความ บกพร่องโดยจงใจหรือโดยประมาทเลินเล่อของผูใ้ ห้บริการ หรือไม่เข้าข้อยกเว้นตามทีก่ าหนดไว้ใน สัญญา ผูใ้ ห้บริการจะต้องจ่ายค่าปรับในอัตราร้อยละ 0.6 (ศูนย์จุดหก) ของค่าจ้างรายเดือนในเดือน นัน้ ๆ สาหรับเส้นทางส่วนทีเ่ กีย่ วข้อง

การสิน้ สุดของ : การยกเลิกสัญญาโดยผูร้ บั มอบหมาย สัญญา  หากผูใ้ ห้บริการไม่ปฏิบต ั หิ น้าทีต่ ามสัญญาฉบับนี้ในส่วนทีเ่ ป็ นสาระสาคัญ (ซึง่ ไม่รวมกรณีการ ชาระค่าปรับเนื่องจากการเดินรถต่ากว่ามาตรฐานการตรงต่อเวลา) และไม่ทาการแก้ไขภายใน เวลาอันสมควรที่ผู้รบั มอบหมายแจ้งให้ทราบเป็ นหนังสือ ผู้รบั มอบหมายมีสทิ ธิท่จี ะบอกเลิก สัญญาฉบับนี้ได้โดยไม่ต้องแจ้งให้ผใู้ ห้บริการทราบอีก 

หากผู้ให้บ ริก ารล้ม ละลาย หรือ ตัง้ เรื่อง หรือ เตรีย มการกับ เจ้าหนี้ หรือ มีข้อเสนอ ที่จ ะขอ ล้มละลายโดยสมัครใจ หรือได้ย่นื เรื่องขอแต่งตัง้ ผูจ้ ดั การหนี้ หรือมีคาสังช ่ าระบัญชี หรือมีมติ ให้ชาระหนี้โดยสมัครใจ (ยกเว้นวัตถุประสงค์สาหรับการฟื้ นฟูกิจการ) หรือได้มกี ารแต่งตัง้ เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ หรือมีการยึดทรัพย์สนิ ที่เกีย่ วข้องโดยหรือในนามของเจ้าหนี้ หรือ ถูกดาเนินการใดในลักษณะข้างต้นตามกฎหมายที่ใช้บงั คับอันมีผลถึงการให้บริการ ให้ผู้ รบั มอบหมายมีสทิ ธิทจ่ี ะบอกเลิกสัญญาฉบับนี้ได้ทนั ทีโดยไม่ตอ้ งแจ้งให้ผใู้ ห้บริการทราบ

การยกเลิกสัญญาโดยผูใ้ ห้บริการ 

5.

หากผูร้ บั มอบหมายไม่ชาระค่าจ้างทีม่ ไิ ด้มขี อ้ พิพาทใดตามสัญญาภายใน 30 วันหลังจากครบ กาหนดชาระ ผู้ให้บริการมีสทิ ธิท่จี ะทาหนังสือแจ้งว่า ผู้รบั มอบหมายผิดสัญญาเพื่อให้ผู้รบั มอบหมายชาระหนี้คงค้างภายใน 60 วันนับแต่วนั ทีไ่ ด้รบั หนังสือหรือเกินกว่านัน้ ตามแต่ทผ่ี ใู้ ห้ บริการจะระบุในหนังสือแจ้ง หากผู้รบั มอบหมายไม่ชาระค่าจ้างตามหนังสือแจ้งก่อนสิน้ สุด ช่วงเวลาที่กาหนดไว้ในหนังสือแจ้งแล้ว ผู้ให้บริการอาจบอกเลิกสัญ ญาได้โดยแจ้งให้ ผู้รบั มอบหมายทราบเป็ นหนังสือซึง่ จะมีผลบังคับทันที

สัญ ญำให้ สิท ธิ เดิ น รถ โครงกำรรถโดยสำรประจำทำงด่วนพิ เศษ (BRT) สำยช่ องนนทรี-รำชพฤกษ์ เลขที่ กธ.ส. 013/60 ระหว่ำง บีทีเอสซี (ในฐำนะ “ผูร้ บั สิ ทธิ ”) และ กรุงเทพธนำคม (ในฐำนะ “ผูใ้ ห้สิทธิ ”) ฉบับลงวันที่ 24 สิ งหำคม 2560

วัตถุประสงค์

: ผู้รบั สิทธิตกลงรับ สิทธิในการให้บริการเดินรถ บริหารจัดการสถานี การบารุงรักษา การบริหาร จัดการพื้นที่เชิงพาณิชย์ การบริหารศูนย์ ควบคุมการเดินรถ โครงการรถโดยสารประจาทางด่วน พิเศษ (BRT) สายช่องนนทรี-สะพานกรุงเทพ (ช่องนนทรี-ราชพฤกษ์) ส่วนที่ 1 หน้า 132


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ระยะเวลาตาม สัญญา

: 6 ปี นับแต่วนั ที่ 1 กันยายน 2560

ความรับผิด ตามสัญญา

: จัด ให้ บ ริก ารเดิน รถมีม าตรฐานการตรงต่ อ เวลาไม่ ต่ า กว่ า ร้อ ยละ 97.5 (ค่ า เฉลี่ย รายเดื อ น) ประเมินผลความตรงต่อเวลาจากระยะห่างรถแต่ละเที่ยวที่สถานีต้นทางและปลายทาง ซึ่งความ ล่าช้าจะต้องไม่เกิน 7 นาที นับจากระยะเวลาห่างระหว่างขบวนถัดไป (Headway) หากให้บริการเดินรถต่ ากว่ามาตรฐานการตรงต่ อเวลาที่กาหนด โดยมีสาเหตุโดยตรงจากความ บกพร่องโดยจงใจหรือโดยประมาทเลินเล่อของผูใ้ ห้บริการ ต้องจ่ายค่าปรับในอัตราร้อยละ 0.5 ของ รายได้ค่าโดยสารในเดือนนัน้ ๆ หากหยุด ให้บ ริก ารเดิน รถทัง้ วัน ต้อ งจ่ายค่าปรับ วันละ 100,000 บาท กรณี ท่ีไม่ ถึง 1 วัน คิด ค่าปรับ ตามสัด ส่วน (โดย 1 วัน = ระยะเวลาให้บ ริก าร 18 ชัวโมง) ่ กรณี ห ยุดให้บ ริการเดิน รถ ต่อเนื่องกันเกิน 5 ชัวโมง ่ ให้คดิ ค่าปรับเต็มวัน

การสิน้ สุดของ สัญญา

: ผูใ้ ห้สทิ ธิมสี ทิ ธิบอกเลิกสัญญาได้ หากผูร้ บั สิทธิไม่สามารถปฏิบตั ติ าม หรือไม่ปฏิบตั ติ ามสัญญาข้อ ใดข้อหนึ่ง หรือตกเป็ นบุคคลล้มละลาย กรณีท่ี กทม. ยกเลิกโครงการ หรือยกเลิกการมอบหมายโครงการแก่ผใู้ ห้สทิ ธิ หรือผูใ้ ห้สทิ ธิบอก เลิกสัญญาก่อนครบอายุสญ ั ญา ผู้รบั สิทธิมสี ทิ ธิเรียกร้องค่าเสียหาย ค่าสินไหมทดแทนจากผู้ให้ สิทธิได้

6.

สัญ ญำร่ว มลงทุ น โครงกำรรถไฟฟ้ ำสำยสี ช มพู ช่ ว งแครำย - มี น บุ รี ระหว่ ำ ง บริ ษัท นอร์ท เทิ ร ์น บำงกอกโมโนเรล จำกัด (ผูร้ บั สัมปทำน – ประกอบด้วย บีทีเอสจี ถือหุ้นร้อยละ 75 บมจ. ซิ โน-ไทย เอ็น จิ เนี ยริ่ง แอนด์ คอนสตรัคชัน่ ถือหุ้นร้อยละ 15 และ บมจ. ผลิ ตไฟฟ้ ำรำชบุรี โฮลดิ้ ง ถือหุ้นร้อยละ 10) และ กำรรถไฟฟ้ ำขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) ฉบับลงวันที่ 16 มิ ถนุ ำยน 2560

วัตถุประสงค์

: ดาเนินงานโครงการรถไฟฟ้ าสายสีชมพู ช่วงแคราย-มีนบุรี รวมระยะทาง 34.5 กม. มีสถานีจานวน 30 สถานี เป็ นระบบรถไฟฟ้ ารางเดีย่ ว Monorail ในรูปแบบ PPP Net Cost โดยภาครัฐลงทุนค่าจัด กรรมสิทธิที์ ่ดนิ และเอกชนลงทุนค่างานโยธา ระบบรถไฟฟ้ าและขบวนรถไฟฟ้ า รวมทัง้ บริการการ เดินรถไฟฟ้ าและซ่อมบารุงรักษา โดยให้เอกชนร่วมลงทุนรวมเป็ นเวลา 33 ปี 3 เดือน ประกอบด้วย ระยะเวลาก่ อสร้าง 3 ปี 3 เดือน และระยะเวลาเดินรถ 30 ปี และอนุ ม ัติวงเงินสนับสนุ น ไม่ เกิน 22,500 ล้านบาท

ระยะเวลาตาม : งำนระยะที่ 1 งานออกแบบและก่อสร้างงานโยธา สิง่ อานวยความสะดวก ศูนย์ซ่อมบารุง อาคาร สัญญา จอดรถและอาคารต่ างๆ ผลิต จัด หา และติด ตัง้ อุป กรณ์ ง านระบบเครื่อ งกลและไฟฟ้ า ขบวน รถไฟฟ้ าและระบบอุปกรณ์ อ่นื ๆ การทดสอบระบบต่ าง ๆ และการทดลองเดิน รถ (Trial Run) รวมถึงการฝึกอบรมและการถ่ายทอดเทคโนโลยี ระยะเวลา 3 ปี 3 เดือน งำนระยะที่ 2 งานบริหารจัดการการเดินรถและบารุงรักษาระบบรถไฟฟ้ าและการปรับปรุงวัสดุอุปกรณ์ และงานโยธา การจัดเก็บค่าโดยสาร ค่าบริการทีจ่ อดรถ การพัฒนาเชิงพาณิชย์ ระยะเวลา 30 ปี

ส่วนที่ 1 หน้า 133


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

การออก : หนังสือรับรองกำรให้บริกำรเดิ นรถไฟฟ้ ำบำงส่วน (Partial Commissioning Certificate) หนังสือรับรอง - ผูร้ บั สัมปทานมีสทิ ธิขอให้ รฟม. ออกหนังสือ (กรณีท่ี รฟม. ส่งมอบพืน้ ทีไ่ ม่เป็ นไปตามแผนที่ การให้บริการ กาหนด) เมื่องานระยะที่ 1 มีความปลอดภัยและพร้อมให้ดาเนินการบางส่วน เดินรถ - โอนกรรมสิทธิในทรั ์ พย์สนิ ส่วนทีแ่ ล้วเสร็จให้ รฟม. -

ดาเนินการจัดเก็บรายได้ค่าโดยสาร ค่าบริการทีจ่ อดรถ การพัฒนาเชิงพาณิชย์ โดยไม่ถอื ว่า เป็ นการเริม่ ต้นงานในระยะที่ 2

-

ดาเนินงานส่วนทีเ่ หลือให้แล้วเสร็จตามระยะเวลางานระยะที่ 1

หนังสือรับรองกำรให้บริกำรเดิ นรถไฟฟ้ ำในส่วนที่เป็ นสำระสำคัญ (Substantial Commissioning Certificate) -

งานระยะที่ 1 ส่วนทีเ่ ป็ นสาระสาคัญแล้วเสร็จ

-

โอนกรรมสิทธิในทรั ์ พย์สนิ ส่วนทีแ่ ล้วเสร็จให้ รฟม.

-

จัดเก็บรายได้ค่าโดยสาร ค่าบริการทีจ่ อดรถ การพัฒนาเชิงพาณิชย์ โดยถือว่าเป็ นการเริม่ ต้น งานในระยะที่ 2 แล้ว

-

ดาเนินงานส่วนทีเ่ หลือให้แล้วเสร็จตามระยะเวลางานระยะที่ 1

-

รฟม. เริม่ จ่ายเงินสนับสนุนจานวน 10 งวดทุกปี

-

หากผู้รบั สัม ปทานไม่ผ่านการประเมินดัชนีช้วี ดั ประจาปี (Yearly KPI) รฟม. มีสทิ ธิห ักเงิน สนับสนุ นไม่เกิน ร้อยละ 5 ของเงินสนับสนุ นที่ต้องชาระในงวดปี นัน้ และหากผู้รบั สัมปทาน แก้ไขและผ่ า นการประเมิน ได้ภ ายในไตรมาสถัด ไป รฟม. จะจ่ า ยเงิน ที่ห ัก ไว้ คืน แก่ ผู้ร ับ สัมปทาน

หนังสือรับรองกำรให้บริกำรเดิ นรถไฟฟ้ ำทัง้ ระบบ (Commissioning Certificate) -

งานระยะที่ 1 แล้วเสร็จ

-

โอนกรรมสิทธิในทรั ์ พย์สนิ ทัง้ หมดให้ รฟม.

-

จัดเก็บรายได้ค่าโดยสาร ค่าบริการทีจ่ อดรถ การพัฒนาเชิงพาณิชย์ โดยถือว่าเป็ นการเริม่ ต้น งานในระยะที่ 2 แล้ว

-

รฟม. เริม่ จ่ายเงินสนับสนุนจานวน 10 งวดทุกปี

-

หากผู้รบั สัม ปทานไม่ผ่านการประเมินดัชนีช้วี ดั ประจาปี (Yearly KPI) รฟม. มีสทิ ธิห ักเงิน สนับสนุ นไม่เกิน ร้อยละ 5 ของเงินสนับสนุ นที่ต้องชาระในงวดปี นัน้ และหากผู้รบั สัมปทาน แก้ไขและผ่ า นการประเมิน ได้ภ ายในไตรมาสถัด ไป รฟม. จะจ่ า ยเงิน ที่ห ัก ไว้คืน แก่ ผู้ร ับ สัมปทาน

ส่วนที่ 1 หน้า 134


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

เงินสนับสนุน

: รฟม. จะเริม่ จ่ายเงินสนับสนุ น จานวนรวม 22,500 ล้านบาท แบ่งจ่ายรายปี เป็ นจานวนสิบงวด งวดแรก หลังจากเริม่ งานระยะที่ 2 และงวดถัดไปจะจ่ายภายหลังจากการประเมินผลของตัวดัชนีช้วี ดั ประจาปี (Yearly KPI) เรียบร้อยแล้ว

เงินตอบแทน ให้ รฟม.

: จานวนรวม 250 ล้านบาท แบ่งจ่ายรายปี โดยเริม่ จ่ายให้ รฟม. ตัง้ แต่ปีท่ี 11 ของงานระยะที่ 2 และส่วนแบ่งรายได้เนื่องจากปริมาณผู้โดยสารสูงกว่าผลการศึกษาที่คาดการณ์ เป็ นพิเศษ ตาม เงื่อนไขทีร่ ะบุในสัญญา

ค่าปรับสาหรับ : กรณีก่อสร้างล่าช้า งานไม่แล้วเสร็จตามทีก่ าหนดในระยะที่ 1 ค่าปรับวันละ 5,000,000 บาท โดย งานระยะที่ 1 นับ ถัด จากวัน ที่ก าหนดแล้วเสร็จ ตามสัญ ญาหรือ วัน ที่ได้ร ับ การขยายออกไป จนถึงวัน ที่ผู้ร ับ สัม ปทานได้ ร ับ หนั ง สื อ รับ รองการเริ่ ม ให้ บ ริ ก ารเดิ น รถไฟฟ้ าทั ง้ ระบบ (Commissioning Certificate) หรือ หนั ง สื อ รับ รองการเริ่ ม ให้ บ ริ ก ารเดิ น รถไฟฟ้ าในส่ ว นที่ เ ป็ นสาระส าคั ญ (Substantial Commissioning Certificate) ทัง้ นี้ หากค่าเสียหายเกิน กว่าค่าปรับ ผู้รบั สัม ปทาน จะต้องชดใช้ค่าเสียหายส่วนเกิน การเปลีย่ นแปลง : (1) การเปลีย่ นแปลงงานตามข้อเสนอในซองที่ 3 (ส่วนขยาย) งานและการ (2) รฟม. อาจออกคาสังเปลี ่ ย่ นแปลงงาน ทัง้ ในระยะที่ 1 และในระยะที่ 2 โดยผูร้ บั สัมปทานต้อง ชดเชย ทาตาม เว้นแต่ - ไม่สามารถหาวัสดุ / อุปกรณ์ได้ - การเปลีย่ นแปลงจะทาให้ความปลอดภัยหรือประสิทธิภาพลดลง หรือ - การเปลีย่ นแปลงจะส่งผลเสียต่อการดาเนินการตามสัญญา โดยผูร้ บั สัมปทานต้องแจ้งเหตุดงั กล่าวไปยัง รฟม. และ รฟม. อาจยกเลิก ยืนยัน หรือเปลีย่ นแปลงได้ (3) ผูร้ บั สัมปทานขอเปลีย่ นแปลงงาน แต่ รฟม. มีสทิ ธิอนุมตั หิ รือไม่กไ็ ด้ ค่ำชดเชยจำกกำรเปลี่ยนแปลงงำน กำรเปลี่ยนแปลงงำน ระยะที่ 1 หรือระยะที่ 2 (เหตุจาเป็ นเพื่อประโยชน์สาธารณะ) ระยะที่ 1 (เหตุอ่นื ๆ และทีเ่ ป็ นสาระสาคัญ) ระยะที่ 2 (เหตุอ่นื ๆ และทีเ่ ป็ นสาระสาคัญ) ประกันภัย

ชดเชยเวลำ  เฉพาะระยะที่ 1  X

ชดเชยเงิ น X  

: งำนระยะที่ 1 จัดให้มปี ระกันภัยภายใน 30 วันนับแต่วนั ทีล่ งนามในสัญญา (1) ความเสีย่ งภัยทุกชนิ ด รวมถึงกรณีของภัยจลาจล ภัยนัดหยุดงานและการก่อความไม่สงบ (Contractor All Risks & Strikes, Riots and Civil Commotion) ครอบคลุมค่าเสียหายทีเ่ กิดขึน้ ทัง้ หมด (2) ความรับผิดต่อบุคคลภายนอก (Third Party Liability) วงเงินไม่น้อยกว่า 500,000,000 บาท ต่ออุบตั เิ หตุต่อครัง้ โดยไม่จากัดจานวนครัง้

ส่วนที่ 1 หน้า 135


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

งำนระยะที่ 2 จัดให้มปี ระกันภัยก่อนวันเริม่ ให้บริการเดินรถไฟฟ้ าไม่น้อยกว่า 90 วัน (1) ความเสีย่ งภัยทุกชนิด รวมถึงกรณีของภัยจลาจล ภัยนัดหยุดงานและการก่อความไม่สงบ (Contractor All Risks & Strikes, Riots and Civil Commotion) ครอบคลุมค่าเสียหายทีเ่ กิดขึน้ ทัง้ หมด (2) ความรับผิดต่อบุคคลภายนอก (Third Party Liability) วงเงินไม่น้อยกว่า 500,000,000 บาท ต่ออุบตั เิ หตุต่อครัง้ โดยไม่จากัดจานวนครัง้ (3) การประกันภัยสาหรับการหยุดชะงักงันของธุรกิจ (Business Interruption Insurance) การเลิกสัญญา : กรณี ที่ 1 เหตุผิดสัญญำโดยผูร้ บั สัมปทำน และสิน้ สุด (1) เงินค่าปรับช่วงงานระยะที่ 1 สะสมเกินกว่าร้อยละ 10 ของมูลค่าสัญญา สัญญา (2) ผูร้ บั สัมปทานไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินดัชนีชว้ี ดั ประจาปี (Yearly KPI) ติดต่อกัน 5 ปี (3) ผูร้ บั สัมปทานผิดคารับประกันในส่วนทีเ่ ป็ นสาระสาคัญถึงขนาดว่าไม่สามารถดาเนินการอย่าง มีประสิทธิภาพตามเงื่อนไขของสัญญา (4) เกิดเหตุผดิ สัญญาโดยผูร้ บั สัมปทาน 4.1 ไม่สามารถดาเนินการให้ได้มาซึง่ ความสาเร็จในการระดมทุน (Financial Close) ภายใน 120 วัน นับจากวันลงนามสัญญา 4.2 ไม่ได้ลงนามผูกพันกับผูร้ บั จ้างช่วงหรือผูผ้ ลิต (Subcontractor/Supplier) ภายใน 60 วัน นับจากวันลงนามสัญญา 4.3 งานระยะที่ 1 (ก) ไม่ดาเนินงาน หรือระงับการปฏิบตั งิ าน เป็ นเวลา 180 วัน (ข) ไม่ดาเนินงานระยะที่ 1 ให้แล้วเสร็จ และจัดให้มบี ริการทีก่ ่อให้เกิดรายได้ภายใน 180 วัน นับจากวันทีไ่ ด้รบั หนังสือรับรองการเริม่ ให้บริการเดินรถไฟฟ้ าทัง้ ระบบ (Commissioning Certificate) หรือหนังสือรับรองการเริม่ ให้บริการเดินรถไฟฟ้ า ในส่วนทีเ่ ป็ นสาระสาคัญ (Substantial Commissioning Certificate) (ค) ฝ่ าฝื นการปฏิบตั ิหน้าที่ทเ่ี กีย่ วกับงานในส่วนที่มสี าระสาคัญ ถึงขัน้ ที่ไม่สามารถ ดาเนินงานให้แล้วเสร็จตามกาหนดเวลาของงานระยะที่ 1 และไม่ได้ปฏิบตั กิ าร แก้ไขภายใน 180 วัน นับจากวันทีไ่ ด้รบั หนังสือแจ้ง 4.4 งานระยะที่ 2 (ก) ฝ่ าฝืนการปฏิบตั หิ น้าทีท่ เ่ี กีย่ วกับการบริหารจัดการการเดินรถและบารุงรักษาใน ส่ ว นที่ มี ส าระส าคั ญ ถึ ง ขั น้ ที่ ไ ม่ ส ามารถด าเนิ นงานตามสั ญ ญ าอย่ า งมี ประสิทธิภาพ และไม่ได้ปฏิบตั กิ ารแก้ไขภายใน 60 วันนับจากวันทีไ่ ด้รบั หนังสือ แจ้ง

ส่วนที่ 1 หน้า 136


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

(ข) ปฏิบตั ิผดิ สัญญาในสาระสาคัญในส่วนที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการการเดินรถ และบารุงรักษา จนเป็ นเหตุให้เห็นว่ามีอนั ตรายอย่างมากต่อสุขอนามัยและความ ปลอดภัยของประชาชน และมิได้เข้าดาเนินการแก้ไขเยียวยาภายใน 3 วัน นับ จากวันทีไ่ ด้รบั แจ้ง ทัง้ นี้ ก่อนใช้สทิ ธิเลิกสัญญาตามข้อ 4. รฟม. จะมีหนังสือแจ้งผูร้ บั สัมปทานให้แก้ไขเยียวยาภายใน ระยะเวลาไม่น้อยกว่า 90 วัน กรณี ที่ 2 เหตุสุดวิ สยั และเหตุกำรณ์ที่เป็ นข้อยกเว้น เหตุสุดวิสยั และเหตุการณ์ ท่เี ป็ นข้อยกเว้นถึงขัน้ ไม่สามารถดาเนินการตามสัญญาต่อไปได้ หรือ คู่สญ ั ญายินยอมกันให้มกี ารยกเลิกสัญญา กรณี ที่ 3 เหตุตำมกฎหมำย หรือกำรสังกำรของ ่ รฟม. หรือเหตุผิดสัญญำโดย รฟม. (1) เหตุทก่ี ฎหมายกาหนด (2) การสังการของ ่ รฟม. (3) เกิดเหตุผดิ สัญญาโดย รฟม. 3.1 รฟม. ไม่สามารถส่งมอบพืน้ ทีก่ ่อสร้างได้จนมีผลกระทบร้ายแรงอย่างมีนยั สาคัญ 3.2 อัตราค่าโดยสารทีก่ าหนดไว้ตามสัญญาไม่มผี ลบังคับใช้ 3.3 รฟม. สิน้ สภาพ หรือไม่มอี านาจหน้าทีท่ ่จี ะดาเนินการตามสัญญา โดยไม่มหี น่ วยงาน หรือองค์กรอื่นใดเข้ามาแทนทีเ่ พื่อรับโอนสิทธิและหน้าทีข่ อง รฟม. ตามบทบัญญัตแิ ห่ง กฎหมาย ทัง้ นี้ ก่อนใช้สทิ ธิเลิกสัญญาตามข้อ 3. ผูร้ บั สัมปทานจะมีหนังสือแจ้ง รฟม. ให้แก้ไขเยียวยาภายใน ระยะเวลาไม่น้อยกว่า 270 วัน ค่าชดเชยจาก : กรณี ที่ 1 เหตุผิดสัญญำโดยผูร้ บั สัมปทำน การเลิกสัญญา งานระยะที่ 1 - ชดเชยเท่ากับมูลค่าทางบัญชี (Book Value) โดยค่าชดเชยสาหรับงานโยธาต้องไม่ เกินวงเงินสนับสนุน งานระยะที่ 2 มูลค่าทีน่ ้อยกว่าระหว่าง (ก) ผลรวมของ (1) ค่าชดเชยงานโยธา (มูลค่าทางบัญชี (Book Value) หักด้วยเงินสนับสนุ นที่ ได้รบั ไปแล้ว ซึ่งต้องหักด้วยค่าเสื่อมราคาสะสม ณ วัน ที่วดั มูลค่าค่ าชดเชย) ทัง้ นี้ ไม่เกิน วงเงิน สนับ สนุ น และ (2) ค่ าชดเชยงานอุป กรณ์ งานระบบเครื่อ งกลและไฟฟ้ าและขบวน รถไฟฟ้ ารางเดีย่ ว (M&E และ Monorail) เท่ากับมูลค่าทางบัญชี (Book Value) (ข) มูลค่าตลาดยุตธิ รรม (Fair Market Value) และเงินสนับสนุนส่วนทีเ่ หลือ ทัง้ นี้ รฟม. จะไม่ชาระค่าชดเชย ในส่วนที่ รฟม. สังให้ ่ รอ้ื ถอนสิง่ ปลูกสร้างและระบบรถไฟฟ้ าทีไ่ ม่ สามารถใช้งานได้ และไม่สามารถรับสืบสิทธิหรือโอนสิทธิในเงื่อนไขเดิมหรือดีกว่า

ส่วนที่ 1 หน้า 137


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

กรณี ที่ 2 เหตุสุดวิ สยั และเหตุกำรณ์ที่เป็ นข้อยกเว้น งานระยะที่ 1 - ชดเชยเท่ากับมูลค่าทางบัญชี (Book Value) โดยค่าชดเชยสาหรับงานโยธาต้องไม่ เกินวงเงินสนับสนุน รวมทัง้ ชดเชยค่าใช้จ่ายเกีย่ วกับการเงิน (Financing Costs) ทีไ่ ม่ได้รวมอยู่ใน มูลค่าทางบัญชี งานระยะที่ 2 ผลรวมของ (ก) งานโยธา ชดเชยเท่ากับมูลค่าทางบัญชี (Book Value) หักด้วยเงินสนับสนุ นที่ได้รบั ไปแล้ว (ซึง่ ต้องหักด้วยค่าเสือ่ มราคาสะสม ณ วันทีว่ ดั มูลค่าค่าชดเชย) ทัง้ นี้ไม่เกินวงเงินสนับสนุน (ข) งานอุปกรณ์งานระบบเครื่องกลและไฟฟ้ าและขบวนรถไฟฟ้ ารางเดีย่ ว (M&E และ Monorail) ชดเชยเท่ากับมูลค่าทางบัญชี (Book Value) (ค) ชดเชยค่าใช้จ่ายเกีย่ วกับการเงิน (Financing Costs) ทีไ่ ม่ได้รวมอยู่ในมูลค่าทางบัญชี ทัง้ นี้ การจ่ายค่าชดเชยต้องอยู่ภายใต้เงื่อนไขที่ รฟม. สามารถสืบสิทธิหรือรับโอนสิทธิในฐานะ ผูว้ ่าจ้างกับผูร้ บั จ้างช่วงงานระบบต่าง ๆ ได้ในเงื่อนไขเดิมหรือดีกว่า แต่ถา้ สืบสิทธิไม่ได้ ให้รอ้ื ถอน สิง่ ปลูกสร้างและระบบรถไฟฟ้ า กรณี ที่ 3 เหตุตำมกฎหมำย หรือกำรสังกำรของ ่ รฟม. หรือเหตุผิดสัญญำโดย รฟม. งานระยะที่ 1 - ชดเชยเท่ากับมูลค่าทางบัญชี (Book Value) โดยค่าชดเชยสาหรับงานโยธาต้องไม่ เกินวงเงินสนับสนุน รวมทัง้ ชดเชยค่าใช้จ่ายเกีย่ วกับการเงิน (Financing Costs) ทีไ่ ม่ได้รวมอยู่ใน มูลค่าทางบัญชี งานระยะที่ 2 ผลรวมของ (ก) มูลค่าตลาดยุตธิ รรม (Fair Market Value) (ข) ค่าใช้จ่ายเกีย่ วกับการเงิน (Financing Costs) ทีไ่ ม่ได้รวมอยู่ในมูลค่าทางบัญชี (ค) เงินสนับสนุนส่วนทีเ่ หลือ ทัง้ นี้ การจ่ายค่าชดเชยต้องอยู่ภายใต้เงื่อนไขที่ รฟม. สามารถสืบสิทธิหรือรับโอนสิทธิในฐานะ ผูว้ ่าจ้างกับผูร้ บั จ้างช่วงงานระบบต่าง ๆ ได้ในเงื่อนไขเดิมหรือดีกว่า แต่ถา้ สืบสิทธิไม่ได้ ให้รอ้ื ถอน สิง่ ปลูกสร้างและระบบรถไฟฟ้ า 7.

สัญ ญำร่ว มลงทุ น โครงกำรรถไฟฟ้ ำสำยสี เหลื อง ช่ วงลำดพร้ำว – ส ำโรง ระหว่ำง บริ ษัท อี ส เทิ รน์ บำงกอกโมโนเรล จำกัด (ผู้รบั สัมปทำน – ประกอบด้วย บี ทีเอสจี ถือหุ้นร้อยละ 75 บมจ. ซิ โน-ไทย เอ็นจิ เนี ยริ่ง แอนด์ คอนสตรัคชัน่ ถือหุ้นร้อยละ 15 และ บมจ.ผลิ ตไฟฟ้ ำรำชบุรี โฮลดิ้ ง ถือหุ้นร้อยละ 10) และกำรรถไฟฟ้ ำขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) ฉบับลงวันที่ 16 มิ ถนุ ำยน 2560

วัตถุประสงค์

: ดาเนินงานโครงการรถไฟฟ้ าสายสีเหลือง ช่วงลาดพร้าว-สาโรง รวมระยะทาง 30 กม. มีสถานี จานวน 23 สถานี เป็ นระบบรถไฟฟ้ ารางเดี่ยว Monorail ในรูปแบบ PPP Net Cost โดยภาครัฐ ลงทุนค่าจัดกรรมสิทธิที์ ่ดนิ และเอกชนลงทุนค่างานโยธา ระบบรถไฟฟ้ าและขบวนรถไฟฟ้ า รวมทัง้ บริการการเดินรถไฟฟ้ าและซ่อมบารุงรักษา โดยให้เอกชนร่วมลงทุนรวมเป็ นเวลา 33 ปี 3 เดือน ส่วนที่ 1 หน้า 138


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ประกอบด้ว ย ระยะเวลาก่ อ สร้าง 3 ปี 3 เดือ น และระยะเวลาเดิน รถ 30 ปี และอนุ ม ัติ วงเงิน สนับสนุนไม่เกิน 25,050 ล้านบาท ระยะเวลาตาม : งำนระยะที่ 1 งานออกแบบและก่อสร้างงานโยธา สิง่ อานวยความสะดวก ศูนย์ซ่อมบารุง อาคาร สัญญา จอดรถและอาคารต่ า งๆ ผลิต จัด หา และติด ตัง้ อุป กรณ์ งานระบบเครื่อ งกลและไฟฟ้ า ขบวน รถไฟฟ้ าและระบบอุ ป กรณ์ อ่ืน ๆ การทดสอบระบบต่ างๆ และการทดลองเดิน รถ (Trial Run) รวมถึงการฝึกอบรมและการถ่ายทอดเทคโนโลยี ระยะเวลา 3 ปี 3 เดือน งำนระยะที่ 2 งานบริหารจัดการการเดินรถและบารุงรักษาระบบรถไฟฟ้ าและการปรับปรุงวัสดุอุปกรณ์ และงานโยธา การจัดเก็บค่าโดยสาร ค่าบริการทีจ่ อดรถ การพัฒนาเชิงพาณิชย์ ระยะเวลา 30 ปี การออก : หนังสือรับรองกำรให้บริกำรเดิ นรถไฟฟ้ ำบำงส่วน (Partial Commissioning Certificate) หนังสือรับรอง - ผูร้ บั สัมปทานมีสทิ ธิขอให้ รฟม. ออกหนังสือ (กรณีท่ี รฟม. ส่งมอบพืน้ ทีไ่ ม่เป็ นไปตามแผนที่ การให้บริการ กาหนด) เมื่องานระยะที่ 1 มีความปลอดภัยและพร้อมให้ดาเนินการบางส่วน เดินรถ - โอนกรรมสิทธิในทรั ์ พย์สนิ ส่วนทีแ่ ล้วเสร็จให้ รฟม. -

ดาเนินการจัดเก็บรายได้ค่าโดยสาร ค่าบริการที่จอดรถ การพัฒนาเชิงพาณิชย์ โดยไม่ถอื ว่า เป็ นการเริม่ ต้นงานในระยะที่ 2

-

ดาเนินงานส่วนทีเ่ หลือให้แล้วเสร็จตามระยะเวลางานระยะที่ 1

หนังสือรับรองกำรให้บริกำรเดิ นรถไฟฟ้ ำในส่วนที่เป็ นสำระสำคัญ (Substantial Commissioning Certificate) -

งานระยะที่ 1 ส่วนทีเ่ ป็ นสาระสาคัญแล้วเสร็จ

-

โอนกรรมสิทธิในทรั ์ พย์สนิ ส่วนทีแ่ ล้วเสร็จให้ รฟม.

-

จัดเก็บรายได้ค่าโดยสาร ค่าบริการทีจ่ อดรถ การพัฒนาเชิงพาณิชย์ โดยถือว่าเป็ นการเริม่ ต้น งานในระยะที่ 2 แล้ว

-

ดาเนินงานส่วนทีเ่ หลือให้แล้วเสร็จตามระยะเวลางานระยะที่ 1

-

รฟม. เริม่ จ่ายเงินสนับสนุนจานวน 10 งวดทุกปี

-

หากผู้รบั สัมปทานไม่ผ่านการประเมินดัชนี ช้วี ดั ประจาปี (Yearly KPI) รฟม. มีสทิ ธิหกั เงิน สนับสนุ นไม่เกิน ร้อยละ 5 ของเงินสนับสนุ นที่ต้องชาระในงวดปี นัน้ และหากผู้รบั สัมปทาน แก้ไ ขและผ่ า นการประเมิน ได้ภ ายในไตรมาสถัด ไป รฟม. จะจ่ ายเงิน ที่ห ัก ไว้คืน แก่ ผู้ร ับ สัมปทาน

หนังสือรับรองกำรให้บริกำรเดิ นรถไฟฟ้ ำทัง้ ระบบ (Commissioning Certificate) -

งานระยะที่ 1 แล้วเสร็จ

-

โอนกรรมสิทธิในทรั ์ พย์สนิ ทัง้ หมดให้ รฟม.

ส่วนที่ 1 หน้า 139


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

-

จัดเก็บรายได้ค่าโดยสาร ค่าบริการทีจ่ อดรถ การพัฒนาเชิงพาณิชย์ โดยถือว่าเป็ นการเริม่ ต้น งานในระยะที่ 2 แล้ว

-

รฟม. เริม่ จ่ายเงินสนับสนุนจานวน 10 งวดทุกปี

หากผู้ร ับ สัม ปทานไม่ ผ่ า นการประเมิน ดัช นี ช้ีว ัด ประจ าปี (Yearly KPI) รฟม. มีสิท ธิห ัก เงิน สนับสนุ นไม่เกินร้อยละ 5 ของเงินสนับสนุ นที่ต้องชาระในงวดปี นัน้ และหากผู้รบั สัมปทานแก้ไข และผ่านการประเมินได้ภายในไตรมาสถัดไป รฟม. จะจ่ายเงินทีห่ กั ไว้คนื แก่ผรู้ บั สัมปทาน เงินสนับสนุน

: รฟม. จะเริม่ จ่ายเงินสนับสนุ น จานวนรวม 25,050 ล้านบาท แบ่งจ่ายรายปี เป็ นจานวนสิบงวด งวดแรก หลังจากเริม่ งานระยะที่ 2 และงวดถัดไปจะจ่ายภายหลังจากการประเมินผลของตัวดัชนีช้วี ดั ประจาปี (Yearly KPI) เรียบร้อยแล้ว

เงินตอบแทน ให้ รฟม.

: จานวนรวม 250 ล้านบาท แบ่งจ่ายรายปี โดยเริม่ จ่ายให้ รฟม. ตัง้ แต่ปีท่ี 11 ของงานระยะที่ 2 และส่วนแบ่งรายได้เนื่องจากปริมาณผู้โดยสารสูงกว่าผลการศึกษาที่คาดการณ์ เป็ นพิเศษ ตาม เงื่อนไขทีร่ ะบุในสัญญา

ค่าปรับสาหรับ : กรณีก่อสร้างล่าช้า งานไม่แล้วเสร็จตามทีก่ าหนดในระยะที่ 1 ค่าปรับวันละ 5,000,000 บาท โดย งานระยะที่ 1 นับ ถัด จากวัน ที่ก าหนดแล้ว เสร็จตามสัญ ญาหรือ วัน ที่ได้ร ับ การขยายออกไป จนถึงวัน ที่ผู้ร ับ สัมปทานได้รบั หนังสือรับรองการเริม่ ให้บริการเดินรถไฟฟ้ าทัง้ ระบบ (Commissioning Certificate) หรือ หนั ง สื อ รับ รองการเริ่ม ให้ บ ริก ารเดิ น รถไฟฟ้ าในส่ ว นที่ เ ป็ นสาระส าคั ญ (Substantial Commissioning Certificate) ทัง้ นี้ หากค่ าเสียหายเกิน กว่ าค่ าปรับ ผู้รบั สัม ปทานจะต้องชดใช้ ค่าเสียหายส่วนเกิน การเปลีย่ นแปลง : (1) การเปลีย่ นแปลงงานตามข้อเสนอในซองที่ 3 (ส่วนขยาย) งานและการ (2) รฟม. อาจออกคาสังเปลี ่ ย่ นแปลงงาน ทัง้ ในระยะที่ 1 และในระยะที่ 2 โดยผูร้ บั สัมปทานต้อง ชดเชย ทาตาม เว้นแต่ - ไม่สามารถหาวัสดุ / อุปกรณ์ได้ - การเปลีย่ นแปลงจะทาให้ความปลอดภัยหรือประสิทธิภาพลดลง หรือ - การเปลีย่ นแปลงจะส่งผลเสียต่อการดาเนินการตามสัญญา โดยผูร้ บั สัมปทานต้องแจ้งเหตุดงั กล่าวไปยัง รฟม. และ รฟม. อาจยกเลิก ยืนยัน หรือเปลีย่ นแปลงได้ (3) ผูร้ บั สัมปทานขอเปลีย่ นแปลงงาน แต่ รฟม. มีสทิ ธิอนุมตั หิ รือไม่กไ็ ด้ ค่ำชดเชยจำกกำรเปลี่ยนแปลงงำน กำรเปลี่ยนแปลงงำน ระยะที่ 1 หรือระยะที่ 2 (เหตุจาเป็ นเพื่อประโยชน์สาธารณะ) ระยะที่ 1 (เหตุอ่นื ๆ และทีเ่ ป็ นสาระสาคัญ) ระยะที่ 2 (เหตุอ่นื ๆ และทีเ่ ป็ นสาระสาคัญ)

ส่วนที่ 1 หน้า 140

ชดเชยเวลำ  เฉพาะระยะที่ 1  X

ชดเชยเงิ น X  


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

ประกันภัย

แบบ 56-1 ปี 2560/61

: งำนระยะที่ 1 จัดให้มปี ระกันภัยภายใน 30 วันนับแต่วนั ทีล่ งนามในสัญญา (1) ความเสีย่ งภัยทุกชนิด รวมถึง กรณีของภัยจลาจล ภัยนัดหยุดงานและการก่อความไม่สงบ (Contractor All Risks & Strikes, Riots and Civil Commotion) ครอบคลุมค่าเสียหายทีเ่ กิดขึน้ ทัง้ หมด (2) ความรับผิดต่อบุคคลภายนอก (Third Party Liability) วงเงินไม่น้อยกว่า 500,000,000 บาท ต่ออุบตั เิ หตุต่อครัง้ โดยไม่จากัดจานวนครัง้ งำนระยะที่ 2 จัดให้มปี ระกันภัยก่อนวันเริม่ ให้บริการเดินรถไฟฟ้ าไม่น้อยกว่า 90 วัน (1) ความเสีย่ งภัยทุกชนิด รวมถึงกรณีของภัยจลาจล ภัยนัดหยุดงานและการก่อความไม่สงบ (Contractor All Risks & Strikes, Riots and Civil Commotion) ครอบคลุ ม ค่ า เสี ย หายที่ เกิดขึน้ ทัง้ หมด (2) ความรับผิดต่อบุคคลภายนอก (Third Party Liability) วงเงินไม่น้อยกว่า 500,000,000 บาท ต่ออุบตั เิ หตุต่อครัง้ โดยไม่จากัดจานวนครัง้ (3) การประกันภัยสาหรับการหยุดชะงักงันของธุรกิจ (Business Interruption Insurance)

การเลิกสัญญา : กรณี ที่ 1 เหตุผิดสัญญำโดยผูร้ บั สัมปทำน และสิน้ สุด (1) เงินค่าปรับช่วงงานระยะที่ 1 สะสมเกินกว่าร้อยละ 10 ของมูลค่าสัญญา สัญญา (2) ผูร้ บั สัมปทานไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินดัชนีชว้ี ดั ประจาปี (Yearly KPI) ติดต่อกัน 5 ปี (3) ผูร้ บั สัมปทานผิดคารับประกันในส่วนทีเ่ ป็ นสาระสาคัญถึงขนาดว่าไม่สามารถดาเนินการอย่าง มีประสิทธิภาพตามเงื่อนไขของสัญญา (4) เกิดเหตุผดิ สัญญาโดยผูร้ บั สัมปทาน 4.1 ไม่สามารถดาเนินการให้ได้มาซึง่ ความสาเร็จในการระดมทุน (Financial Close) ภายใน 120 วัน นับจากวันลงนามสัญญา 4.2 ไม่ได้ลงนามผูกพันกับผูร้ บั จ้างช่วงหรือผูผ้ ลิต (Subcontractor/Supplier) ภายใน 60 วัน นับจากวันลงนามสัญญา 4.3 งานระยะที่ 1 (ก) ไม่ดาเนินงาน หรือระงับการปฏิบตั งิ าน เป็ นเวลา 180 วัน (ข) ไม่ดาเนินงานระยะที่ 1 ให้แล้วเสร็จ และจัดให้มบี ริการที่ก่อให้เกิดรายได้ภายใน 180 วัน นับจากวันที่ได้รบั หนังสือรับรองการเริม่ ให้บริการเดินรถไฟฟ้ าทัง้ ระบบ (Commissioning Certificate) หรือหนังสือรับรองการเริม่ ให้บริการเดินรถไฟฟ้ าใน ส่วนทีเ่ ป็ นสาระสาคัญ (Substantial Commissioning Certificate) (ค) ฝ่ าฝื นการปฏิบตั ิหน้ าที่ท่ีเกี่ยวกับงานในส่วนที่มีสาระสาคัญ ถึงขัน้ ที่ไม่สามารถ ดาเนิ นงานให้แล้วเสร็จตามก าหนดเวลาของงานระยะที่ 1 และไม่ ได้ปฏิบตั ิการ แก้ไขภายใน 180 วัน นับจากวันทีไ่ ด้รบั หนังสือแจ้ง

ส่วนที่ 1 หน้า 141


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

4.4 งานระยะที่ 2 (ก) ฝ่ าฝื นการปฏิบตั ิหน้าทีท่ ่เี กี่ยวกับการบริหารจัดการการเดินรถและบารุงรักษาใน ส่วนทีม่ สี าระสาคัญถึงขัน้ ทีไ่ ม่สามารถดาเนินงานตามสัญญาอย่างมีประสิทธิภาพ และไม่ได้ปฏิบตั กิ ารแก้ไขภายใน 60 วันนับจากวันทีไ่ ด้รบั หนังสือแจ้ง (ข) ปฏิบตั ผิ ดิ สัญญาในสาระสาคัญในส่วนทีเ่ กีย่ วกับการบริหารจัดการการเดินรถและ บารุงรักษา จนเป็ นเหตุ ให้เห็น ว่ามีอ ันตรายอย่างมากต่ อ สุข อนามัยและความ ปลอดภัยของประชาชน และมิได้เข้าดาเนินการแก้ไขเยียวยาภายใน 3 วัน นับ จากวันทีไ่ ด้รบั แจ้ง ทัง้ นี้ ก่อนใช้สทิ ธิเลิกสัญญาตามข้อ 4. รฟม. จะมีหนังสือแจ้งผูร้ บั สัมปทานให้แก้ไขเยียวยาภายใน ระยะเวลาไม่น้อยกว่า 90 วัน กรณี ที่ 2 เหตุสุดวิ สยั และเหตุกำรณ์ที่เป็ นข้อยกเว้น

เหตุสุดวิสยั และเหตุการณ์ ท่เี ป็ นข้อยกเว้นถึงขัน้ ไม่สามารถดาเนินการตามสัญญาต่อไปได้ หรือคูส่ ญ ั ญายินยอมกันให้มกี ารยกเลิกสัญญา กรณี ที่ 3 เหตุตำมกฎหมำย หรือกำรสังกำรของ ่ รฟม. หรือเหตุผิดสัญญำโดย รฟม. (1) เหตุทก่ี ฎหมายกาหนด (2) การสังการของ ่ รฟม. (3) เกิดเหตุผดิ สัญญาโดย รฟม. 3.1 รฟม. ไม่สามารถส่งมอบพืน้ ทีก่ ่อสร้างได้จนมีผลกระทบร้ายแรงอย่างมีนยั สาคัญ 3.2 อัตราค่าโดยสารทีก่ าหนดไว้ตามสัญญาไม่มผี ลบังคับใช้ 3.3 รฟม. สิน้ สภาพ หรือไม่มอี านาจหน้าทีท่ จ่ี ะดาเนินการตามสัญญา โดยไม่มหี น่ วยงาน หรือองค์กรอื่นใดเข้ามาแทนที่เพื่อรับโอนสิทธิและหน้าที่ของ รฟม. ตามบทบัญญัติ แห่งกฎหมาย ทัง้ นี้ ก่อนใช้สทิ ธิเลิกสัญญาตามข้อ 3. ผูร้ บั สัมปทานจะมีหนังสือแจ้ง รฟม. ให้แก้ไขเยียวยาภายใน ระยะเวลาไม่น้อยกว่า 270 วัน ค่าชดเชยจาก : กรณี ที่ 1 เหตุผิดสัญญำโดยผูร้ บั สัมปทำน การเลิกสัญญา งานระยะที่ 1 - ชดเชยเท่ากับมูลค่าทางบัญชี (Book Value) โดยค่าชดเชยสาหรับงานโยธาต้องไม่ เกินวงเงินสนับสนุน งานระยะที่ 2 มูลค่าทีน่ ้อยกว่าระหว่าง (ก) ผลรวมของ (1) ค่าชดเชยงานโยธา (มูลค่าทางบัญชี (Book Value) หักด้วยเงินสนับสนุ นที่ ได้รบั ไปแล้ว ซึ่งต้องหักด้วยค่าเสื่อมราคาสะสม ณ วันที่วดั มูลค่าค่ าชดเชย) ทัง้ นี้ไม่ เกิน วงเงิน สนับ สนุ น และ (2) ค่ าชดเชยงานอุป กรณ์ งานระบบเครื่องกลและไฟฟ้ าและขบวน รถไฟฟ้ ารางเดีย่ ว (M&E และ Monorail) เท่ากับมูลค่าทางบัญชี (Book Value) ส่วนที่ 1 หน้า 142


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

(ข) มูลค่าตลาดยุตธิ รรม (Fair Market Value) และเงินสนับสนุนส่วนทีเ่ หลือ ทัง้ นี้ รฟม. จะไม่ชาระค่าชดเชย ในส่วนที่ รฟม. สังให้ ่ รอ้ื ถอนสิง่ ปลูกสร้างและระบบรถไฟฟ้ าทีไ่ ม่ สามารถใช้งานได้ และไม่สามารถรับสืบสิทธิหรือโอนสิทธิในเงื่อนไขเดิมหรือดีกว่า กรณี ที่ 2 เหตุสุดวิ สยั และเหตุกำรณ์ที่เป็ นข้อยกเว้น งานระยะที่ 1 - ชดเชยเท่ากับมูลค่าทางบัญชี (Book Value) โดยค่าชดเชยสาหรับงานโยธาต้องไม่เกินวงเงิน สนับสนุน รวมทัง้ ชดเชยค่าใช้จ่ายเกีย่ วกับการเงิน (Financing Costs) ทีไ่ ม่ได้รวมอยู่ในมูลค่าทางบัญชี งานระยะที่ 2 ผลรวมของ (ก) งานโยธา ชดเชยเท่ากับมูลค่าทางบัญชี (Book Value) หักด้วยเงินสนับสนุ นที่ได้รบั ไปแล้ว (ซึง่ ต้องหักด้วยค่าเสือ่ มราคาสะสม ณ วันทีว่ ดั มูลค่าค่าชดเชย) ทัง้ นี้ไม่เกินวงเงินสนับสนุน (ข) งานอุปกรณ์ งานระบบเครื่องกลและไฟฟ้ าและขบวนรถไฟฟ้ ารางเดี่ยว (M&E และ Monorail) ชดเชยเท่ากับมูลค่าทางบัญชี (Book Value) (ค) ชดเชยค่าใช้จ่ายเกีย่ วกับการเงิน (Financing Costs) ทีไ่ ม่ได้รวมอยู่ในมูลค่าทางบัญชี ทัง้ นี้ การจ่ายค่าชดเชยต้องอยู่ภายใต้เงื่อนไขที่ รฟม. สามารถสืบสิทธิหรือรับโอนสิทธิในฐานะ ผูว้ ่าจ้างกับผูร้ บั จ้างช่วงงานระบบต่าง ๆ ได้ในเงื่อนไขเดิมหรือดีกว่า แต่ถา้ สืบสิทธิไม่ได้ ให้รอ้ื ถอน สิง่ ปลูกสร้างและระบบรถไฟฟ้ า กรณี ที่ 3 เหตุตำมกฎหมำย หรือกำรสังกำรของ ่ รฟม. หรือเหตุผิดสัญญำโดย รฟม. งานระยะที่ 1 - ชดเชยเท่ากับมูลค่าทางบัญชี (Book Value) โดยค่าชดเชยสาหรับงานโยธาต้องไม่ เกินวงเงินสนับสนุ น รวมทัง้ ชดเชยค่าใช้จ่ายเกีย่ วกับการเงิน (Financing Costs) ทีไ่ ม่ได้รวมอยู่ใน มูลค่าทางบัญชี งานระยะที่ 2 ผลรวมของ (ก) มูลค่าตลาดยุตธิ รรม (Fair Market Value) (ข) ค่าใช้จ่ายเกีย่ วกับการเงิน (Financing Costs) ทีไ่ ม่ได้รวมอยู่ในมูลค่าทางบัญชี (ค) เงินสนับสนุนส่วนทีเ่ หลือ ทัง้ นี้ การจ่ายค่าชดเชยต้องอยู่ภายใต้เงื่อนไขที่ รฟม. สามารถสืบสิทธิหรือรับโอนสิทธิในฐานะ ผูว้ ่าจ้างกับผูร้ บั จ้างช่วงงานระบบต่าง ๆ ได้ในเงื่อนไขเดิมหรือดีกว่า แต่ถา้ สืบสิทธิไม่ได้ ให้รอ้ื ถอน สิง่ ปลูกสร้างและระบบรถไฟฟ้ า

ส่วนที่ 1 หน้า 143


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

8.

แบบ 56-1 ปี 2560/61

สัญญำซื้อขำยพร้อมติ ดตัง้ ระบบกำรเดิ นรถ (ไฟฟ้ ำและเครื่องกล) โครงกำรระบบขนส่งมวลชนขนำด รอง สำยสีทอง ระยะที่ 1 เลขที่ กธ.ส. 23/61 ระหว่ำง กรุงเทพธนำคม (“ผูซ้ ื้อ”) และ บีทีเอสซี (“ผู้ขำย”) ฉบับลงวันที่ 27 กุมภำพันธ์ 2561

วัตถุประสงค์

: ผูซ้ อ้ื มีความประสงค์ทจ่ี ะซือ้ ระบบการเดินรถ (ไฟฟ้ าและเครื่องกล) เพื่อรองรับการให้บริการเดินรถ และซ่อมบารุงระบบรถไฟฟ้ า โครงการระบบขนส่งมวลชนขนาดรอง สายสีทอง ระยะที่ 1 ตามที่ กาหนดไว้ในสัญญาฉบับนี้

ระยะเวลาตาม : 30 เดือน นับแต่แจ้งให้เริม่ งาน สัญญา ความรับผิด ตามสัญญา

: หากผู้ขายไม่สามารถส่งมอบทรัพย์สนิ ที่ซ้อื ขายได้ภายในระยะเวลาที่กาหนด ผู้ขายจะต้องจ่าย ค่าปรับในอัตราร้อยละ 0.05 ของราคาซือ้ ขายทรัพย์สนิ

การสิน้ สุดของ : การยกเลิกสัญญาโดยผูซ้ อ้ื สัญญา  หากผูข ้ ายไม่สามารถส่งมอบทรัพย์สนิ ที่ซ้อื ขายได้ภายในกาหนด และเงินค่าปรับสะสมเกิน กว่าร้อยละ 10 ของราคาซือ้ ขายทรัพย์สนิ ในส่วนนัน้ 

หากผูข้ ายล้มละลาย หรือตัง้ เรื่อง หรือเตรียมการกับเจ้าหนี้ หรือมีขอ้ เสนอทีจ่ ะขอล้มละลาย โดยสมัครใจ หรือได้ย่นื เรื่องขอแต่งตัง้ ผูจ้ ดั การหนี้ หรือมีคาสังช ่ าระบัญชี หรือมีมติให้ชาระหนี้ โดยสมั ค รใจ (ยกเว้ น วั ต ถุ ป ระสงค์ ส าหรั บ การฟื้ นฟู กิ จ การ) หรื อ ได้ มี ก ารแต่ ง ตั ้ง เจ้าพนักงานพิทกั ษ์ทรัพย์ หรือมีการยึดทรัพย์สนิ ที่เกีย่ วข้องโดยหรือในนามของเจ้าหนี้ หรือ ถูกดาเนินการใดในลักษณะข้างต้นตามกฎหมายทีใ่ ช้บงั คับอันมีผลถึงการให้บริการ

การยกเลิกสัญญาโดยผูข้ าย หากผูซ้ ้อื ไม่ปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามสัญญาเป็ นระยะเวลามากกว่า 120 วัน ผูข้ ายมีสทิ ธิบอกเลิกสัญญา โดยทาหนังสือแจ้งล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 30 วัน 9.

สัญ ญำให้ สิ ท ธิ บ ริ ห ำรจัด กำรด้ ำนกำรตลำด (License to Manage Marketing Services Agreement) ระหว่ำง บีทีเอสซี และ วีจีไอ ฉบับลงวันที่ 18 พฤษภำคม 2555

วัตถุประสงค์

: บีทเี อสซีให้สทิ ธิวจี ไี อแต่เพียงผูเ้ ดียวในการบริหารจัดการพืน้ ทีโ่ ฆษณา พืน้ ทีโ่ ฆษณาภายนอกตัว รถไฟ พืน้ ทีว่ างขายสินค้า และพืน้ ทีเ่ พิม่ เติม ภายในระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลัก ภายใต้ขอ้ ตกลงและเงื่อนไขทีร่ ะบุไว้ในสัญญา

ระยะเวลาของ : 18 พฤษภาคม 2555 - 4 ธันวาคม 2572 (“ช่วงเวลาเริม่ แรก”) และในกรณีทบ่ี ที เี อสซีมสี ทิ ธิขยาย สัญญา สัญ ญาสัมปทานกับ กทม. วีจีไอจะได้รบั สิท ธิเป็ นรายแรกในการขยายเวลาการให้สทิ ธิบริห าร จัดการดังกล่าวเพิม่ เติม เป็ นจานวนปี เท่ากับปี ท่บี ที เี อสซีได้สทิ ธิจาก กทม. ภายใต้ขอ้ ตกลงและ เงื่อนไขในช่วงเวลาเดียวกันกับช่วงเวลาเริม่ แรก

ส่วนที่ 1 หน้า 144


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ค่าตอบแทน : เพื่อตอบแทนการให้สทิ ธิใช้พน้ื ทีโ่ ฆษณา พืน้ ทีโ่ ฆษณาภายนอกตัวรถไฟ พื้นทีว่ างขายสินค้า และ การให้สทิ ธิ พืน้ ทีเ่ พิม่ เติม วีจไี อจะต้องชาระเงินค่าตอบแทนรายปี ให้แก่บที เี อสซี ดังนี้ บริหารจัดการ  ช่วง 18 พฤษภาคม 2555 ถึง 17 พฤษภาคม 2560 เป็ นจานวนเท่ากับร้อยละ 5 (ห้า) ของรายได้ รวมรายปี ทงั ้ หมดที่เกิดจากการใช้พ้นื ที่โฆษณา พื้นที่โฆษณาภายนอกตัวรถไฟ พื้นที่วางขาย สินค้า และพืน้ ทีเ่ พิม่ เติม (ไม่รวมภาษีมลู ค่าเพิม่ ) 

ช่ วง 18 พฤษภาคม 2560 ถึง 17 พฤษภาคม 2565 เป็ นจ านวนเท่ ากับร้อยละ 10 (สิบ) ของ รายได้รวมรายปี ทงั ้ หมดที่เกิดจากการใช้พ้นื ที่โฆษณา พื้นที่โฆษณาภายนอกตัวรถไฟ พื้นที่ วางขายสินค้า และพืน้ ทีเ่ พิม่ เติม (ไม่รวมภาษีมลู ค่าเพิม่ )

ช่วง 18 พฤษภาคม 2565 ถึง 17 พฤษภาคม 2570 เป็ นจานวนเท่ากับร้อยละ 15 (สิบห้า) ของรายได้รวมรายปี ทงั ้ หมดที่เกิดจากการใช้พ้นื ที่โฆษณา พื้นที่โฆษณาภายนอกตัวรถไฟ พืน้ ทีว่ างขายสินค้า และพืน้ ทีเ่ พิม่ เติม (ไม่รวมภาษีมลู ค่าเพิม่ )

ช่วง 18 พฤษภาคม 2570 ถึง 4 ธัน วาคม 2572 เป็ นจานวนเท่ากับร้อยละ 20 (ยี่สบิ ) ของ รายได้รวมรายปี ทงั ้ หมดทีเ่ กิดจากการใช้พน้ื ทีโ่ ฆษณาภายนอกตัวรถไฟ พืน้ ที่วางขายสินค้า และพืน้ ทีเ่ พิม่ เติม (ไม่รวมภาษีมลู ค่าเพิม่ )

ทัง้ นี้ ค่าตอบแทนรายปี ดงั กล่าวกาหนดให้แบ่งชาระเป็ นรายไตรมาส โดยกาหนดชาระภายใน 60 วัน นับจากวันสุดท้ายของแต่ละไตรมาสตามปี ปฏิทนิ ซึง่ งวดแรกกาหนดชาระภายในวันที่ 30 พฤศจิกายน 2555 การให้สทิ ธิ รายแรกแก่ วีจไี อ

: กรณี ท่ีบีทีเอสซีไ ด้สิท ธิใ ด ๆ จากรัฐบาล หน่ ว ยงานรัฐ องค์ก ร และ/หรือ เอกชนใด ๆ เพื่ อ การดาเนินโครงการการเดินรถไฟฟ้ า และ/หรือ รถประเภทใด ๆ และ/หรือ โครงการใด ๆ ก็ตาม บีทีเอสซีตกลงให้สทิ ธิรายแรกแก่ วจี ีไอในการเจรจาเพื่อสิทธิในการบริหารจัดการพื้นที่โฆษณา และ/หรือ พืน้ ทีว่ างขายสินค้า และ/หรือ พืน้ ทีเ่ ชิงพาณิชย์ใด ๆ ภายใต้เงื่อนไขทีเ่ หมาะสม

หน้าทีแ่ ละ ภาระผูกพัน ของวีจไี อ

: การลงทุนก่อสร้าง/การติดตัง้ 

ป้ ายโฆษณา การโฆษณานอกตัวรถไฟฟ้ า ร้านจาหน่ายสินค้า และส่งเสริมการขาย วีจไี อจะเป็ นผู้ลงทุนในวัสดุอุปกรณ์ทงั ้ หมดที่จาเป็ นสาหรับการก่อสร้าง/การติดตัง้ ป้ ายโฆษณา การโฆษณานอกตัวรถไฟฟ้ า ร้านจาหน่ ายสินค้า รวมถึงการติดตัง้ และการบารุงรักษามาตรวัด ไฟฟ้ า และชาระค่าใช้จ่ายในส่วนของค่าสาธารณูปโภคทัง้ หมดทีเ่ กีย่ วกับการก่อสร้าง/การติดตัง้

รัว้ และประตูอตั โนมัตบิ ริเวณขอบชานชาลา วีจไี อจะเป็ นผู้ลงทุนในวัสดุอุปกรณ์ ทงั ้ หมดที่จาเป็ นสาหรับการก่อสร้าง/การติดตัง้ รัว้ และประตู อัตโนมัติบริเวณขอบชานชาลา รวมถึงการติดตัง้ และการบารุงรักษามาตรวัดไฟฟ้ า และชาระ ค่าใช้จ่ายในส่วนของค่าสาธารณู ปโภคทัง้ หมดที่เกี่ยวกับการก่อสร้าง/การติดตัง้ จานวนไม่เกิน 23 สถานี ตลอดอายุสญ ั ญา

กรรมสิทธิในทรั ์ พย์สนิ สิ่ง อ านวยความสะดวก สิ่ง ติ ด ตัง้ แผ่ น ป้ าย แผง ดิส เพลย์ และเคาน์ เตอร์เพื่ อ การพาณิ ช ย์ สายไฟฟ้ า แผงสับเปลีย่ นไฟฟ้ า รัว้ และประตูอตั โนมัตบิ ริเวณขอบชานชาลา และอุปกรณ์อ่นื ๆ ที่ ส่วนที่ 1 หน้า 145


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ติดตัง้ โดยวีจไี อ รวมถึงป้ ายโฆษณา ร้านจาหน่ายสินค้า เฉพาะในส่วนทรัพย์เคลื่อนทีไ่ ม่ได้ (ทรัพย์ เคลื่อนทีไ่ ม่ได้ หมายถึง หากมีการเคลื่อนย้ายทรัพย์เคลื่อนทีไ่ ม่ได้ ทรัพย์เคลื่อนทีไ่ ม่ได้ดงั กล่าวจะ ก่ อ ให้เกิด ความเสีย หายแก่ ส ถานที่) จะตกเป็ น ทรัพ ย์สิน ของผู้ให้ส ัม ปทาน แก่ บีทีเอสซี หรือ บีทเี อสซี (แล้วแต่บที เี อสซีจะกาหนด) เมื่อหมดอายุหรือสิน้ สุดสัญญา การบารุงรักษาและซ่อมแซม วีจไี อจะทาการบารุงรักษาและซ่อมแซม ป้ ายโฆษณา โฆษณานอกตัวรถไฟฟ้ า ร้านจาหน่ายสินค้า รัว้ และประตูอตั โนมัตบิ ริเวณขอบชานชาลาด้วยค่าใช้จ่ายของวีจไี อแต่ฝ่ายเดียว การสิน้ สุด สัญญา

10.

: สัญญาจะสิน้ สุดลงในกรณีดงั ต่อไปนี้ 

เมื่อช่วงเวลาเริม่ แรกของสัญญาสิน้ สุดลงโดยไม่มกี ารแจ้งขอต่ออายุ/ขยายเวลาโดยวีจไี อ

เมื่อคู่สญ ั ญาฝ่ ายใดฝ่ ายหนึ่ งผิดสัญญาในส่วนที่เป็ นสาระสาคัญ หรือเป็ นการให้สญ ั ญาที่ไม่ ถูกต้องและคู่สญ ั ญาอีกฝ่ ายหนึ่งได้มหี นังสือบอกกล่าวให้คู่สญ ั ญาฝ่ ายที่ผิดสัญญาดาเนินการ แก้ไขเยียวยาเหตุ แห่งการผิดสัญญาดังกล่าวแล้ว แต่คู่สญ ั ญาฝ่ ายที่ผดิ สัญญามิได้ดาเนินการ แก้ไขเหตุแห่งการผิดสัญญาดังกล่าวภายในระยะเวลา 60 (หกสิบ) วันนับแต่วนั ที่ได้รบั หนังสือ บอกกล่าวเช่นว่านัน้ และคู่สญ ั ญาอีกฝ่ ายหนึ่งใช้สทิ ธิบอกเลิกสัญญา

ในกรณีทม่ี คี วามเสียหายหรือการถูกทาลายอย่างรุนแรงของอาคารและสิง่ ปลูกสร้างซึง่ เป็ นทีต่ งั ้ ของสถานี รถไฟฟ้ าในเส้นสายสีลม และสายสุขุมวิทรวม 23 สถานี ของระบบรถไฟฟ้ าขนส่ง มวลชนกรุงเทพสายหลัก และวิศวกรอิสระซึ่งเป็ นที่ยอมรับของทัง้ สองฝ่ ายมีคาตัดสินว่าความ เสียหาย หรือการถูกทาลายดังกล่าวไม่สามารถซ่อมแซมให้คนื ดีได้ภายในระยะเวลาอันควร

ในกรณี ท่ี วี จี ไ อกลายเป็ นบุ ค คลที่ มี ห นี้ สิน ล้ น พ้ น ตั ว หรือ ตกเป็ นบุ ค คลล้ ม ละลาย และ บีทเี อสซีใช้สทิ ธิบอกเลิกสัญญา

สรุปสำระสำคัญ สัญญำให้สิทธิ บริ หำรจัดกำรพื้นที่ ส่งเสริ มกำรเดิ นทำงโครงกำรระบบขนส่งมวลชน กรุงเทพมหำนคร ระหว่ำง บีทีเอสซี และ วีจีไอ ฉบับลงวันที่ 6 พฤษภำคม 2558

บีทเี อสซีตกลงให้สทิ ธิวจี ไี อแต่เพียงผู้เดียวในการบริหารจัดการพื้นที่โฆษณา พื้นที่วางขายสินค้า และพื้นที่อ่นื เพิม่ เติม ภายในระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพส่วนต่อขยายสายสุขุมวิทและสายสีลม จานวน 7 สถานี (ได้แก่ สถานี กรุงธนบุรี สถานีวงเวียนใหญ่ สถานีบางจาก สถานีปุณณวิถี สถานีอุดมสุข สถานีบางนา และสถานีแบริง่ ) เป็ นระยะเวลา รวม 13 ปี โดยสัญญาจะสิ้นสุดวันที่ 4 ธันวาคม 2572 วีจีไอได้ตกลงชาระค่าตอบแทนการให้สทิ ธิดงั กล่าวในอัตราคงที่ (Fixed Rate) และส่วนแบ่งรายได้ (Revenue Sharing) ตามอัตราทีต่ กลงกัน ทัง้ นี้ ข้อตกลงและเงื่อนไขทีร่ ะบุไว้ในสัญญามี สาระส าคั ญ เช่ น เดี ย วกั น กับ สัญ ญาให้ สิท ธิ บ ริห ารจัด การด้ า นการตลาด (License to Manage Marketing Services Agreement) ระหว่าง บีทเี อสซี และ วีจไี อ ฉบับลงวันที่ 18 พฤษภาคม 2555

ส่วนที่ 1 หน้า 146


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

11.

แบบ 56-1 ปี 2560/61

สัญ ญำซื้ อและโอนสิ ทธิ รำยได้ สุท ธิ ระหว่ำง บี ทีเอสซี (ในฐำนะผู้ข ำย) และ กองทุ นรวมโครงสร้ำง พืน้ ฐำนระบบขนส่งมวลชนทำงรำง บีทีเอสโกรท (“กองทุน”) (ในฐำนะผู้ซื้อ) ฉบับลงวันที่ 17 เมษำยน 2556

วัตถุประสงค์

: บีทีเอสซีตกลงที่จะขายและโอนรายได้สุท ธิให้แก่กองทุน และกองทุ น ตกลงที่จะซื้อและรับโอน รายได้สทุ ธิ ตามข้อกาหนดและเงื่อนไขทีก่ าหนดไว้ในสัญญานี้ (“วันทีท่ าการซือ้ ขายเสร็จสิน้ ”)

คาจากัดความ : ค่าใช้จ่าย O&M

: ต้น ทุน ค่าใช้จ่าย ภาษีสรรพสามิต ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีโรงเรือ นและ ทีด่ นิ ภาษีศุลกากร อากรแสตมป์ ภาษีอ่นื ใด ค่าใช้จ่ายสินทรัพย์ทุน และ ค่าธรรมเนียมรวมทัง้ ค่าใช้จ่ายทีเ่ กิดจากการดาเนินคดีทบ่ี ที เี อสซีก่อขึน้ อย่ างเหมาะสมเกี่ยวกับ การดาเนิน งานและบารุงรักษาระบบรถไฟฟ้ า ขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลัก (รวมถึงความเสียหายเกี่ยวกับการฟ้ อง คดีความที่เป็ นผลมาจากการดาเนินงานและบารุงรักษาระบบรถไฟฟ้ า ขนส่งมวลชนกรุง เทพสายหลัก) ภายหลังวัน ที่ทาการซื้อ ขายเสร็จสิ้น โดยไม่รวม (ก) ค่าใช้จ่ายในการจัดหาเงินทุนหมุนเวียนหรือสินเชื่ออื่นใด ทีบ่ ที เี อสซีตอ้ งใช้ (ข) ภาษีนิตบิ ุคคลของบีทเี อสซี และความรับผิดในทาง ภาษีอ่นื ใดอันเกิดจากความจงใจหรือประมาทเลินเล่อของบีทีเอสซี (ค) ค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับการดาเนินงานและบารุงรักษาทรัพย์สนิ ที่ไม่ได้ซ้อื (นอกเหนือไป จากค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวกับการดาเนินงานและบารุงรักษา ทรัพย์สนิ อุปกรณ์ และสิง่ อานวยความสะดวกที่เกี่ยวข้องของบีทเี อสซี ซึง่ มีการใช้และจาเป็ นสาหรับการดาเนินงานและบารุงรักษาระบบรถไฟฟ้ า ขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลักซึ่งมีก ารปั น ส่วนค่าใช้จ่ายกัน ระหว่า ง ระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลักและทรัพย์สนิ ที่ไม่ได้ซ้อื ) และ (ง) ค่าใช้จ่ายทีบ่ ที เี อสซีจะต้องรับผิดชอบตามทีก่ าหนดไว้ในเอกสาร ธุรกรรม

ค่าใช้จ่าย O&M ประมาณการ รายวัน

: งบประมาณค่าใช้จ่าย O&M สาหรับเดือนที่เกี่ยวข้อง หารด้วย จานวน วัน ของเดือนที่เกี่ย วข้องนัน้ โดยเศษสตางค์ท่ีเกิดขึ้น จากการคานวณ ดังกล่าว ให้นามาปรับในวันสุดท้ายของเดือน

โครงการรถไฟฟ้ า ทีก่ าหนด

: โครงการดั ง ต่ อไปนี้ : (ก) รถไฟ ฟ้ าสายสี เ ขี ย ว (ห มอชิ ต -คู ค ต) (ข) รถไฟฟ้ าสายสีเขียว (แบริ่ง-สมุ ทรปราการ) (ค) รถไฟฟ้ าสายสีเขียว (สนามกีฬาแห่งชาติ-ยศเส) (ง) รถไฟฟ้ าสายสีเขียว (คูคต-ลาลูกกา) (จ) รถไฟฟ้ าสายสีเขียว (สมุทรปราการ-บางปู) (ฉ) สัญญาให้บริการเดินรถ และซ่อมบารุงระยะยาว และ (ช) สัญญาต่ออายุสญ ั ญาสัมปทาน (หากมี) ที่บที เี อสซี บีทเี อสจี หรือบริษัทในเครือได้เข้าทาหรือเป็ นเจ้าของ และ/ หรือจะได้เข้าทาหรือเป็ นเจ้าของในอนาคต

งบประมาณ ค่าใช้จ่าย O&M

: งบประมาณค่ าใช้จ่ายดาเนิ นงานของบีทีเอสซี ซ่ึงแสดงค่ าใช้จ่าย O&M ประมาณการสาหรับปี หนึ่ง ๆ ซึง่ บีทเี อสซีต้องจัดส่งตามความทีก่ าหนด ไว้ในสัญญานี้และทีก่ องทุนอนุมตั ิ ส่วนที่ 1 หน้า 147


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

ทรัพย์สนิ ที่ ไม่ได้ซอ้ื

แบบ 56-1 ปี 2560/61

: ทรัพย์สนิ รายได้ สิทธิ สิทธิประโยชน์ กรรมสิทธิ ์ และ/หรือผลประโยชน์ของ บีทเี อสซี ซึง่ รวมถึง (แต่ไม่จากัดอยู่เพียง) หุน้ ในบีเอสเอสและหุน้ ในวีจไี อ สิทธิและประโยชน์ต่าง ๆ ภายใต้สญ ั ญาให้บริการเดินรถและซ่อมบารุง ระยะยาว และสิท ธิแ ละประโยชน์ ต่ า ง ๆ ภายใต้ ส ัญ ญาที่ เ กี่ย วกับ โครงการรถโดยสารด่วนพิเศษ (BRT) สายช่องนนทรี-สะพานกรุงเทพ (ช่องนนทรี ราชพฤกษ์) แต่ไม่รวมถึงรายได้สทุ ธิ

เป้ าหมายรายได้ค่า : เป้ าหมายรายได้ค่าโดยสารสุทธิประจาปี ทบ่ี ที เี อสซีมหี น้าทีต่ อ้ งจัดทาและ โดยสารสุทธิ นาส่งแก่กองทุนในแต่ละรอบปี บญ ั ชี โดยแสดงรายได้ค่าโดยสารสุทธิท่ี ประจาปี คาดว่าจะได้รบั สาหรับรอบปี บญ ั ชีนนั ้ ผูส้ นับสนุน หรือ บีทเี อสจี

: บริษทั บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์ จากัด (มหาชน)

ระบบขนส่งมวลชน : บริก ารขนส่งสาธารณะใด ๆ ที่เป็ น ทางเลือ กแทนการใช้รถยนต์ส่ว น กรุงเทพและ บุคคลเพื่อการเดินทางในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลซึง่ หมายความ ปริมณฑล ถึงจังหวัด นนทบุ รี จังหวัด สมุ ท รปราการ จังหวัด สมุ ท รสาคร จังหวัด ปทุมธานี และ จังหวัดนครปฐม ระบบรถไฟฟ้ า ขนส่งมวลชน กรุงเทพส่วนต่อ ขยาย

: ส่ว นต่ อ ขยายจากระบบรถไฟฟ้ า ขนส่ง มวลชนกรุ ง เทพสายหลัก ซึ่ง ขณะนี้มบี ที เี อสซี เป็ นผูใ้ ห้บริการ ดาเนินการและบารุงรักษาแก่กรุงเทพ ธนาคม ซึง่ ครอบคลุมส่วนต่อขยายสายสีลมระยะทาง 2.2 กิโลเมตร จาก สถานีสะพานตากสิน ถึงสถานีวงเวียนใหญ่ ส่วนต่ อขยายสายสุขุม วิท ระยะทาง 5.25 กิโลเมตร จากสถานีอ่อนนุ ชถึงสถานีแบริง่ และส่วนต่อ ขยายสายสีลมระยะทาง 5.3 กิโลเมตร ตามถนนเพชรเกษม จากสถานีวง เวียนใหญ่ถงึ สถานีบางหว้า

ระบบรถไฟฟ้ า ขนส่งมวลชน กรุงเทพสายหลัก

: ระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพสายแรกเริม่ ซึง่ ครอบคลุมระยะทาง 23.5 กิโลเมตร ได้แก่ สายสุขุมวิท ระยะทาง 17 กิโลเมตรจากสถานีหมอ ชิตถึงสถานีอ่อนนุ ช และสายสีลม ระยะทาง 6.5 กิโลเมตร จากสถานีสนาม กีฬาแห่งชาติถงึ สถานีสะพานตากสิน

รายได้ค่าโดยสาร สุทธิ

: รายได้ค่าโดยสารทัง้ หมดที่จะเกิดขึน้ จากการดาเนินงานระบบรถไฟฟ้ า ขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลัก นับจากวันทีท่ าการซือ้ ขายเสร็จสิน้ จนถึง วันสิน้ สุดอายุสญ ั ญาสัมปทาน หักด้วยค่าใช้จ่าย O&M

รายได้สทุ ธิ

: รายได้ค่าโดยสารทัง้ หมดที่จะเกิดขึน้ จากการดาเนินงานระบบรถไฟฟ้ า ขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลัก นับจากวันทีท่ าการซือ้ ขายเสร็จสิน้ จนถึง วันสิน้ สุดอายุสญ ั ญาสัมปทาน หักด้วยค่าใช้จ่าย O&M ทัง้ นี้ รายได้สุทธิ รวมถึ ง เงิน ที่ ไ ด้ ร ับ จากการใช้ สิท ธิเรีย กร้ อ ง ค าตัด สิน ค าพิพ ากษา คดีความทีต่ ดั สินให้แก่บที เี อสซี รวมทัง้ การดาเนินการหรือสิทธิอ่นื ใดซึง่ บีทีเอสซีมีสทิ ธิได้รบั ที่เกิดขึน้ จากหรือเกี่ยวกับรายได้สุทธิ และสัญญา สัมปทานทีเ่ กีย่ วกับการดาเนินงานระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพ ส่วนที่ 1 หน้า 148


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

สายหลัก (แต่ไม่รวมถึงสิทธิเรียกร้องหรือสิทธิในการได้รบั เงินทีเ่ กีย่ วกับ เหตุการณ์ ท่เี กิดขึน้ ก่อนวันที่ทาการซื้อขายเสร็จสิน้ ไม่ว่าการเรียกร้อง เงินหรือการได้รบั เงินดังกล่าวจะเกิดขึน้ ก่อนหรือหลังวันทีท่ าการซือ้ ขาย เสร็จสิน้ ) รายได้สทุ ธิรายวัน

: รายได้สุ ท ธิข องวัน ใดวัน หนึ่ ง (นั บ จากวัน ที่ ท าการซื้อ ขายเสร็จ สิ้น ) หลังจากการหักค่าใช้จ่าย O&M ประมาณการรายวัน

วันทาการของ คู่สญ ั ญา

: วัน เปิ ดท าการตามปกติ ข องธนาคารพาณิ ช ย์ ใ นกรุ ง เทพมหานคร (อันนอกเหนือไปจากวันเสาร์ วันอาทิตย์ และวันหยุดทาการของบริษัท จัดการกองทุนหรือบีทเี อสซี)

วันสิน้ สุดอายุ สัญญาสัมปทาน

: วันที่ 4 ธันวาคม 2572 ซึง่ เป็ นวันทีส่ ญ ั ญาสัมปทานจะสิน้ สุดลง

สัญญาโครงการ

: (ก) สัญญาสัมปทาน (ข) สัญ ญาบ ารุ ง รัก ษา ฉบั บ ลงวัน ที่ 30 ธัน วาคม 2547 ระหว่ า ง บีทเี อสซี และซีเมนส์ ตามทีไ่ ด้มกี ารแก้ไขเพิม่ เติม (ค) สัญญาระบบสัญญาณ ฉบับลงวันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2550 ระหว่าง บีทเี อสซี และบอมบาร์เดียร์ และ (ง) สัญญาให้บริการ BSS Card Scheme ฉบับลงวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2555 เกี่ยวกับการดาเนินการให้บริการบัตรสมาร์ทการ์ด ระหว่าง บีทเี อสซี และบีเอสเอส

สัญญาสัมปทาน

: สัญญาสัมปทานฉบับลงวันที่ 9 เมษายน 2535 ซึ่งทาขึน้ ระหว่าง กทม. และบีทีเอสซี เกี่ย วกับ สัม ปทานการดาเนิ น งานระบบรถไฟฟ้ า ขนส่ ง มวลชนกรุง เทพสายหลัก ตลอดจนสัญ ญาที่แ ก้ไขเพิ่ม เติม ซึ่งมีอ ายุ สัมปทานเป็ นเวลา 30 ปี นับจากวันเริม่ ดาเนินการในเชิงพาณิชย์เมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2542 และสิน้ สุดลงในวันที่ 4 ธันวาคม 2572

สัญญาให้บริการ เดินรถและซ่อม บารุงระยะยาว

: สัญญาการให้บริการเดินรถและซ่อมบารุงระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชน กรุงเทพส่วนต่อขยาย และ ระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลัก (เมื่ อ สั ม ปทานภายใต้ ส ั ญ ญ าสั ม ปทานสิ้ น อายุ ) ฉบั บ ลงวั น ที่ 3 พฤษภาคม 2555 ระหว่างกรุงเทพธนาคมในฐานะผูบ้ ริหารระบบ และบีที เอสซี ในฐานะผูใ้ ห้บริการ

หุน้ กูบ้ ที เี อสซี

: หุ้น กู้ของบีทีเอสซี ครัง้ ที่ 1/2552 ชุ ดที่ 1 ครบกาหนดไถ่ ถ อนปี 2555 ชุดที่ 2 ครบกาหนดไถ่ถอนปี 2556 ชุดที่ 3 ครบกาหนดไถ่ถอนปี 2557 ชุดที่ 4 ครบกาหนดไถ่ ถอนปี 2558 และ ชุดที่ 5 ครบก าหนดไถ่ ถ อนปี 2559

ส่วนที่ 1 หน้า 149


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

เอกสารธุรกรรม

แบบ 56-1 ปี 2560/61

: (1) สัญญาซือ้ และโอนสิทธิรายได้สทุ ธิ (2) สัญญาสนับสนุนและค้าประกันของผูส้ นับสนุน (3) สัญญาจานาหุน้ (4) สัญญาจะซือ้ จะขายหุน้ (5) สัญญาสลักหลังกรมธรรม์ประกันภัย (6) หนังสือบอกกล่าวไปยัง กทม. และ (7) สัญญาโอนสิทธิในบัญชีค่าใช้จ่าย O&M ทีม่ เี งื่อนไข

ค่าตอบแทน ตามสัญญา ภาระหน้าที่ หลักของ บีทเี อสซี

: 61,399,000,000 บาท 

บีทเี อสซีจะต้องจัดหาและนาส่งรายได้สุทธิให้แก่กองทุน โดยโอนรายได้สทุ ธิรายวันทัง้ หมดไว้ใน บัญชีรายได้ของกองทุนภายในเวลา 14.00 น. ของแต่ ละวันทาการของคู่สญ ั ญาถัดจากวันที่มี รายได้ค่าโดยสารเกิดขึน้

บีทีเอสซีจะต้ องน าฝากจ านวนเงินที่เท่ ากับค่ าใช้จ่ าย O&M ประมาณการรายวันไว้ในบัญ ชี ค่าใช้จ่าย O&M ภายในเวลา 14.00 น. ของแต่ ละวันท าการของคู่สญ ั ญาถัดจากวันที่มีรายได้ ค่าโดยสารเกิดขึน้ ทัง้ นี้ เป็ นไปตามข้อกาหนดและเงื่อนไขทีก่ าหนดไว้ในสัญญา

นับตัง้ แต่ วนั แรกของเดือนแต่ ละเดือนตัง้ แต่ เดือนหลังจากเดือนที่วนั ที่ทาการซื้อขายเสร็จสิ้น เกิดขึน้ เป็ นต้นไป หากกองทุนยังมิได้มจี ดหมายเรียกให้บที เี อสซีชาระหนี้กรณีมเี หตุผดิ นัดตาม สัญญานี้ บีทเี อสซีสามารถนาเงินในจานวนทีเ่ ท่ากับจานวนรวมของค่าใช้จ่าย O&M ประมาณการ รายวันสาหรับเดือนก่อนหน้าทีฝ่ ากไว้ในบัญชีค่าใช้จ่าย O&M ออกจากบัญชีค่าใช้จ่าย O&M ได้ เพื่อนาไปจ่าย ค่าใช้จ่าย O&M ตามทีอ่ นุญาต

บีทีเอสซีต้ องจัดส่ งรายงานประจ าวันแก่ กองทุ น และผู้ดู แลผลประโยชน์ ของกองทุ น โดย มี รายละเอียดตามทีก่ าหนดไว้ในสัญญา

หากจานวนรายได้สุทธิรายวันทีบ่ ที เี อสซีสง่ มอบให้แก่กองทุนในเดือนใดมีจานวนน้อยกว่าจานวน รายได้สทุ ธิรายวันทีแ่ สดงไว้ในรายงานประจาวันของเดือนนัน้ รวมกัน บีทเี อสซีจะต้องส่งมอบเงิน จานวนทีข่ าดของเดือนนัน้ ให้แก่กองทุนภายใน 15 วันถัดจากวันสิน้ เดือนของเดือนนัน้

บีทีเอสซีจะต้ องจัดท างบประมาณค่ าใช้จ่ าย O&M แสดงค่ าใช้จ่าย O&M ที่คาดว่ าจะเกิดขึ้น สาหรับแต่ ละรอบปี บญ ั ชี และจัดทาเป้ าหมายรายได้ค่าโดยสารสุทธิประจาปี โดยแสดงรายได้ ค่าโดยสารสุทธิทค่ี าดว่าจะได้รบั สาหรับแต่ละรอบปี บญ ั ชี และนาส่งแก่กองทุนภายในระยะเวลาที่ กาหนดก่อนวันเริม่ ต้นรอบปี บญ ั ชีแต่ละปี เพื่อให้กองทุนพิจารณาให้ความเห็นชอบ ทัง้ นี้ หาก กองทุ นไม่ ให้ความเห็นชอบ ให้คู่ สญ ั ญาร่วมกันแต่ งตัง้ ผู้เชี่ยวชาญเพื่อก าหนดงบประมาณ ค่าใช้จ่าย O&M หรือเป้ าหมายรายได้ค่ าโดยสารสุทธิประจาปี (แล้วแต่ กรณี ) และปฏิบ ัติตาม ขัน้ ตอนและเงื่อนไขทีก่ าหนดไว้ในสัญญานี้

ส่วนที่ 1 หน้า 150


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

:

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ณ สิน้ ไตรมาสของแต่ละไตรมาส บีทเี อสซีจะต้องจัดส่งสาเนาใบแจ้งหนี้และเอกสารประกอบแสดง ค่าใช้จ่าย O&M ทีเ่ กิดขึน้ จริงทีบ่ ที เี อสซีได้ชาระไปในระหว่างช่วงไตรมาสก่อนหน้า ทัง้ นี้ เพื่อให้ มีการกระทบยอดระหว่างค่าใช้จ่าย O&M ที่เกิดขึ้นจริงสาหรับไตรมาสนัน้ กับจานวนรวมของ ค่ าใช้จ่ าย O&M ประมาณการรายวันที่บีทีเอสซีได้ห ักไว้ก่ อนน าส่งรายได้สุ ทธิรายวันให้แก่ กองทุนในช่วงไตรมาสนัน้ ในกรณีท่คี ่าใช้จ่าย O&M ที่เกิดขึน้ จริงสาหรับช่วงไตรมาสนัน้ น้ อย กว่าจานวนรวมของค่าใช้จ่าย O&M ประมาณการรายวันสาหรับช่วงไตรมาสนัน้ ทีบ่ ที เี อสซีได้หกั ไว้ก่อนนาส่งรายได้สุทธิรายวันให้แก่กองทุน บีทเี อสซีจะชาระคืนส่วนทีเ่ กินให้แก่กองทุนภายใน 5 วันทาการของคู่สญ ั ญาหลังจากที่กองทุ นได้ตรวจทานค่าใช้จ่าย O&M ที่เกิดขึ้นจริงสาหรับ ไตรมาสนัน้ เสร็จสิน้ ในกรณี ท่ีค่ า ใช้จ่ า ย O&M ที่เกิด ขึ้น จริง ส าหรับ ช่ ว งไตรมาสนั น้ มากกว่ า จ านวนรวมของ ค่าใช้จ่าย O&M ประมาณการรายวันสาหรับ ช่วงไตรมาสนัน้ ที่บีทีเอสซีได้หกั ไว้ก่ อนนาส่ง รายได้สทุ ธิรายวันให้แก่กองทุน กองทุนจะชาระคืนส่วนทีข่ าดในไตรมาสนัน้ ๆ ให้แก่บที เี อสซี ตามเงื่อนไขและขัน้ ตอนทีร่ ะบุไว้ในสัญญานี้ ทัง้ นี้ การตรวจทานค่าใช้จ่าย O&M ทีเ่ กิดขึน้ จริง ในแต่ละไตรมาสโดยกองทุน จะต้องทาให้เสร็จภายใน 15 วันหลังจากทีไ่ ด้รบั สาเนาใบแจ้งหนี้ และเอกสารประกอบแสดงค่าใช้จ่าย O&M ทีเ่ กิดขึน้ จริงครบถ้วน

บีทเี อสซีตกลงให้สทิ ธิกองทุนในการร่วมบริหารการจัดการกิจการของบีทเี อสซีผ่านกระบวนการ ดังต่อไปนี้ (ก) กองทุ นมีสิทธิเสนอชื่อแต่ งตัง้ กรรมการจ านวนหนึ่ งในสามของกรรมการทัง้ หมดของ บีทเี อสซี และ (ข) กองทุนมีสทิ ธิเสนอชื่อบุคคลหนึ่งคนเข้าสังเกตการณ์ ในการประชุมของคณะกรรมการที่ ปรึกษาภายใต้สญ ั ญาสัมปทาน (หาก กทม. ไม่ขดั ข้อง)

บีทเี อสซีจะต้องรับผิดชอบภาษีธุรกิจเฉพาะที่กองทุนอาจต้องเสียเนื่องจากการได้รบั รายได้สุทธิ ภายใต้สญ ั ญานี้ โดยหน้าทีข่ องบีทเี อสซีดงั กล่าวจะสิน้ สุดลงเมื่อกองทุนไม่มหี น้าที่ต้องเสียภาษี ธุรกิจเฉพาะดังกล่าวแล้ว

สิทธิในการซือ้ : บีทเี อสซีตกลงให้สทิ ธิโดยเพิกถอนมิได้ แก่กองทุนดังนี้ (Right to  (ก) สิทธิของกองทุ นในการซื้อ (Right to Purchase) รายได้ สิทธิ สิท ธิประโยชน์ กรรมสิท ธิ ์ Purchase) ผลประโยชน์ และ/หรือ การลงทุนของบีทเี อสซีหรือบริษัทย่อยของบีทเี อสซีท่เี กี่ยวกับโครงการ และสิทธิใน รถไฟฟ้ าทีก่ าหนด และ (ข) ในกรณีทบ่ี ที เี อสซีหรือบริษัทย่อยของบีทเี อสซี (แล้วแต่กรณี) ได้รบั การปฏิเสธ ข้อเสนอจากบุ คคลภายนอก สิทธิในการปฏิเสธเป็ นรายแรกที่จะซื้อ (Right of First Refusal) เป็ นรายแรกที่ รายได้ สิทธิ สิทธิประโยชน์ กรรมสิท ธิ ์ ผลประโยชน์ และ/หรือ การลงทุ นใด ๆ ที่เกี่ยวกับ จะซือ้ (Right โครงการรถไฟฟ้ าที่กาหนด โครงการระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพและปริมณฑลที่ยงั ไม่ได้เริ่ม of First ดาเนินการ และ โครงการระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพและปริมณฑลที่แล้วเสร็จที่บที ีเอสซีหรือ Refusal) บริษัทย่อยของบีทีเอสซี (แล้วแต่ กรณี ) ได้เข้าท าหรือจะเข้าท าสัญญาหรือดาเนิ นการหรือจะ ดาเนินการโครงการทีเ่ กีย่ วข้องดังกล่าวซึ่งรวมถึงโครงการรถไฟฟ้ าทีก่ าหนด โดยโครงการระบบ ขนส่งมวลชนกรุงเทพและปริมณฑลทีแ่ ล้วเสร็จ ให้หมายความรวมถึงสัญญาให้บริการเดินรถและ ซ่อมบารุงระยะยาว และสัญญาทีไ่ ด้ต่ออายุสญ ั ญาสัมปทานใด ๆ (ถ้ามี) ด้วย ส่วนที่ 1 หน้า 151


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน) 

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ส าหรับ กรณี ที่ ก องทุ น ใช้ สิ ท ธิ ใ นการซื้ อ (Right to Purchase) ราคาซื้ อ ขายรายได้ สิ ท ธิ สิทธิประโยชน์ กรรมสิทธิ ์ ผลประโยชน์ และ/หรือ การลงทุนทีเ่ กีย่ วกับโครงการรถไฟฟ้ าทีก่ าหนด นัน้ ต้องมีการเจรจาตกลงกันโดยสุจริตระหว่างกองทุนและบีทเี อสซี และ/หรือ บริษทั ย่อยของบีที เอสซี หากตกลงราคาซื้อขายไม่ ได้ ให้คู่สญ ั ญาร่วมกันแต่ งตัง้ ผู้ประเมิ นค่าเพื่อประเมินมูลค่ า ยุติธรรมของทรัพย์สนิ ดังกล่าวและปฏิบตั ิตามขัน้ ตอนและเงื่อนไขที่กาหนดไว้ในสัญญานี้ ทัง้ นี้ ในกรณีท่รี าคาซื้อขายตามที่ผู้ประเมินค่าประเมินได้ ให้อตั ราผลตอบแทนต่อปี ท่บี ที ีเอสซีหรือ บริษทั ย่อยของบีทเี อสซี (แล้วแต่กรณี) ควรจะได้รบั ในฐานะผูถ้ อื หุน้ ต่ากว่าอัตราผลตอบแทนของ พันธบัตรรัฐบาลที่มรี ะยะเวลาครบกาหนด 10 ปี ตามทีป่ ระกาศโดยสมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย (หรือองค์กรอื่นทีเ่ ทียบเท่า) ณ หรือ ในเวลาใกล้เคียงกับวันคานวณราคาซือ้ ขาย บวกด้วยร้อยละ 3 (“อัตราผลตอบแทนขัน้ ต่ า”) กองทุนมีสทิ ธิ (แต่ไม่มหี น้าที)่ ทีจ่ ะซือ้ รายได้ สิทธิ สิทธิประโยชน์ กรรมสิทธิ ์ ผลประโยชน์ และ/หรือ การลงทุนทีเ่ กีย่ วกับโครงการรถไฟฟ้ าทีก่ าหนดดังกล่าวจากบี ทีเอสซี หรือบริษัทย่อยของบีทเี อสซี (แล้วแต่กรณี) ในราคาที่ให้อตั ราผลตอบแทนขัน้ ต่ า ทัง้ นี้ การคานวณอัตราผลตอบแทนขัน้ ต่าข้างต้นให้เป็ นไปตามทีก่ าหนดไว้ในสัญญานี้ ภายใน 30 วันหลังจากที่ผู้ประเมินค่าได้กาหนดราคาซื้อขายของรายได้ สิทธิ สิทธิประโยชน์ กรรมสิทธิ ์ ผลประโยชน์ และ/หรือ การลงทุ นที่เกี่ยวกับโครงการรถไฟฟ้ าที่ก าหนดดังกล่าว กองทุนและบีทีเอสซี และ/หรือ บริษัทย่อยของบีทีเอสซีจะแจ้งต่ อกันให้ ทราบเป็ นลายลักษณ์ อักษรว่าประสงค์จะทาการซือ้ ขายรายได้ สิทธิ สิทธิประโยชน์ กรรมสิทธิ ์ ผลประโยชน์ และ/หรือ การลงทุนที่เกี่ยวกับโครงการรถไฟฟ้ าที่กาหนดดังกล่าวระหว่างกันหรือไม่ หากในเวลา 30 วัน ดังกล่าว บีทเี อสซี และ/หรือ บริษทั ย่อยของบีทเี อสซีแจ้งเป็ นหนังสือต่อกองทุนว่าบีทเี อสซี และ/ หรือ บริษทั ย่อยของบีทเี อสซีประสงค์จะเจรจากับบุคคลภายนอกทีเ่ ป็ นอิสระเพื่อเสนอขายรายได้ สิทธิ สิทธิประโยชน์ กรรมสิทธิ ์ ผลประโยชน์ และ/หรือ การลงทุนทีเ่ กีย่ วกับโครงการรถไฟฟ้ าที่ กาหนดดังกล่าวให้แก่บุคคลภายนอก บีทเี อสซี และ/หรือ บริษทั ย่อยของบีทเี อสซีอาจดาเนินการ เจรจากับบุคคลภายนอกที่เป็ นอิสระนัน้ ได้ภายใน 60 วัน หลังจากผูป้ ระเมินค่ากาหนดราคาซื้อ ขายของรายได้ สิทธิ สิทธิประโยชน์ กรรมสิทธิ ์ ผลประโยชน์ และ/หรือ การลงทุ นที่เกี่ยวกับ โครงการรถไฟฟ้ าที่ ก าหนดดังกล่ าวเพื่อเสนอขายรายได้ สิท ธิ สิท ธิป ระโยชน์ กรรมสิท ธิ ์ ผลประโยชน์ และ/หรือ การลงทุ น ที่ เกี่ ย วกับ โครงการรถไฟฟ้ าที่ ก าหนดดังกล่ า วให้ แ ก่ บุคคลภายนอกนัน้ ในราคาที่สูงกว่าราคาประเมินของผู้ประเมินค่าได้ โดยหากภายในระยะเวลา 60 วัน ดังกล่ าว บีทีเอสซี และ/หรือ บริษั ท ย่ อยของบีทีเอสซี ได้ร ับ ข้อเสนอที่แน่ น อนจาก บุคคลภายนอกดังกล่าวว่าจะซื้อรายได้ สิทธิ สิทธิประโยชน์ กรรมสิทธิ ์ ผลประโยชน์ และ/หรือ การลงทุนที่เกี่ยวกับโครงการรถไฟฟ้ าที่กาหนดในราคาที่สงู กว่าราคาประเมินของผู้ประเมินค่า บีทเี อสซี และ/หรือ บริษทั ย่อยของบีทเี อสซีจะต้องแจ้งให้กองทุนทราบถึงข้อเสนอทีแ่ น่ นอนของ บุคคลภายนอกดังกล่าวและให้ส ิทธิกองทุ นในการซื้อรายได้ สิทธิ สิทธิประโยชน์ กรรมสิทธิ ์ ผลประโยชน์ และ/หรือ การลงทุนที่เกีย่ วกับโครงการรถไฟฟ้ าทีก่ าหนดดังกล่าวในราคาเดียวกัน ทัง้ นี้ หากกองทุ นปฏิเสธที่จะใช้สทิ ธิซ้อื ดังกล่าว บีทีเอสซี และ/หรือ บริษัทย่อยของบีทีเอสซี จะต้องขายรายได้ สิทธิ สิทธิประโยชน์ กรรมสิทธิ ์ ผลประโยชน์ และ/หรือ การลงทุนที่เกี่ยวกับ โครงการรถไฟฟ้ าทีก่ าหนดดังกล่าวให้แก่บุคคลภายนอกที่มาเสนอซื้อนัน้ ภายใต้ขอ้ กาหนดและ เงื่อนไขของข้อเสนอที่แน่ นอนของบุคคลภายนอกดังกล่าวให้แล้วเสร็จภายใน 120 วันนับจาก วันที่บีทีเอสซี และ/หรือ บริษัทย่อยของบีทีเอสซี ได้รบั คาปฏิเสธจากกองทุน หากการขายไม่ ส่วนที่ 1 หน้า 152


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

เสร็จสิน้ ภายในระยะเวลา 120 วันดังกล่าวหรือบีทเี อสซี และ/หรือ บริษัทย่อยของบีทีเอสซี ไม่ แจ้งข้อเสนอที่แน่ นอนของบุคคลภายนอกให้กองทุนทราบภายใน 60 วัน หลังจากผู้ประเมินค่า กาหนดราคาซือ้ ขายรายได้ สิทธิ สิทธิประโยชน์ กรรมสิทธิ ์ ผลประโยชน์ และ/หรือ การลงทุนที่ เกี่ยวกับโครงการรถไฟฟ้ าที่กาหนดดังกล่าว กองทุนจะมีสทิ ธิซ้อื รายได้ สิทธิ สิทธิประโยชน์ กรรมสิทธิ ์ ผลประโยชน์ และ/หรือ การลงทุนที่เกี่ยวกับโครงการรถไฟฟ้ าที่กาหนดดังกล่าวใน ราคาซื้อขายตามที่ผู้ประเมินค่าประเมินได้ ซึ่งต้องเป็ นราคาที่ให้อตั ราผลตอบแทนกับบีทเี อสซี หรือบริษทั ย่อยของบีทเี อสซี (แล้วแต่กรณี) ไม่ต่ากว่าอัตราผลตอบแทนขัน้ ต่า ทัง้ นี้ การใช้ สิท ธิในการซื้อหรือสิท ธิในการปฏิเสธเป็ นรายแรกที่จะซื้อ และกระบวนการที่ เกีย่ วข้องจะต้องดาเนินการตามวิธกี ารทีก่ าหนดไว้ในสัญญานี้

หน้าทีห่ ลัก ของกองทุน

:

สาหรับกรณีทก่ี องทุนใช้สทิ ธิในการปฏิเสธเป็ นรายแรกทีจ่ ะซือ้ (Right of First Refusal) ราคาซือ้ ขายของรายได้ สิทธิ สิทธิประโยชน์ กรรมสิทธิ ์ ผลประโยชน์ และ/หรือ การลงทุนใด ๆ ทีเ่ กีย่ วกับ โครงการรถไฟฟ้ าที่กาหนด โครงการระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพและปริมณฑลที่ยงั ไม่ได้เริ่ม ดาเนินการ และ โครงการระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพและปริมณฑลที่แล้วเสร็จที่บที ีเอสซีหรือ บริษัทย่อยของบีทีเอสซี (แล้วแต่ กรณี ) ได้เข้าท าหรือจะเข้าท าสัญญาหรือดาเนิ นการหรือจะ ดาเนินการโครงการที่เกี่ยวข้องดังกล่าวซึ่งรวมถึงโครงการรถไฟฟ้ าที่กาหนดนัน้ จะต้องเท่ากับ ราคาทีบ่ ุคคลภายนอกเสนอซือ้ จากบีทเี อสซี และ/หรือ บริษทั ย่อยของบีทเี อสซี

ระยะเวลาทีก่ องทุนสามารถใช้สทิ ธิในการซือ้ (Right to Purchase) และสิทธิในการปฏิเสธเป็ นราย แรก (Right of First Refusal) ดังกล่าวตามทีก่ าหนดไว้ในสัญญานี้ คือ 20 ปี นับจากวันทีท่ าการ ซือ้ ขายเสร็จสิน้ ทัง้ นี้ หากเกิดกรณีผดิ นัดตามสัญญานี้ขน้ึ และกองทุนได้มจี ดหมายเรียกให้ชาระ หนี้กรณีมเี หตุผดิ นัดตามสัญญา กองทุนจะไม่มสี ทิ ธิในการปฏิเสธเป็ นรายแรกที่จะซือ้ (Right of First Refusal) ในรายได้ สิทธิ สิทธิประโยชน์ กรรมสิทธิ ์ ผลประโยชน์ และ/หรือ การลงทุ นที่ เกี่ยวกับโครงการใด ๆ ที่บที เี อสซี และ/หรือ บริษัทย่อยของบีทเี อสซี ได้เข้าทา ได้มา หรือเข้า ลงทุนภายหลังจากที่กองทุนได้มจี ดหมายเรียกให้ชาระหนี้กรณีมเี หตุผดิ นัดตามสัญญาดังกล่าว เว้นแต่ รายได้ สิทธิ สิทธิประโยชน์ กรรมสิทธิ ์ ผลประโยชน์ และ/หรือ การลงทุ นที่เกี่ยวกับ โครงการรถไฟฟ้ าที่กาหนดซึ่งกองทุนสามารถใช้สทิ ธิในการซื้อ (Right to Purchase) และ/หรือ สิทธิในการปฏิเสธเป็ นรายแรกที่จะซื้อ (Right of First Refusal) จนกว่าจะสิ้นกาหนดระยะเวลา 20 ปี ขา้ งต้น

หากจานวนรายได้สทุ ธิรายวันทีบ่ ที เี อสซีสง่ มอบให้แก่กองทุนในเดือนใดมีจานวนมากกว่าจานวน รายได้สุทธิรายวันทีแ่ สดงไว้ในรายงานประจาวันของเดือนนัน้ รวมกัน กองทุนจะต้องคืนจานวน เงินทีเ่ กินของเดือนนัน้ ให้แก่บที เี อสซีภายใน 15 วันถัดจากวันสิน้ เดือนของเดือนนัน้

ณ สิ้น ไตรมาสของแต่ ละไตรมาส บี ที เอสซี จ ะมี ก ารกระทบยอดระหว่ า งค่ า ใช้ จ่ าย O&M ที่เกิดขึ้นจริงกับจานวนรวมของค่าใช้จ่าย O&M ประมาณการรายวันที่บีทีเอสซีได้หกั ไว้ก่อน นาส่งรายได้สุทธิรายวันให้แก่กองทุนในช่วงไตรมาสนัน้ ในกรณีทค่ี ่าใช้จ่าย O&M ทีเ่ กิดขึน้ จริง สาหรับช่วงไตรมาสนัน้ มากกว่าจานวนรวมของค่าใช้จ่าย O&M ประมาณการรายวันสาหรับช่วง ไตรมาสนัน้ ที่บที เี อสซีได้หกั ไว้ก่อนนาส่งรายได้สุทธิรายวันให้แก่กองทุน กองทุนจะจ่ายส่วนที่ ขาดในไตรมาสนัน้ ๆ ให้แก่บที เี อสซี ทัง้ นี้ ตามเงื่อนไขและขัน้ ตอนทีร่ ะบุไว้ในสัญญานี้

ส่วนที่ 1 หน้า 153


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน) 

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ตราบเท่ า ที่ ไ ม่ มี เ หตุ ผิ ด นั ด ผิ ด สัญ ญาภายใต้ ส ัญ ญานี้ ท่ี จ ะกระทบความสามารถของ บีทเี อสซีในการนาส่งรายได้สุทธิให้แก่กองทุนเกิดขึ้น กองทุนตกลงชาระค่าตอบแทนพิเศษ ให้แก่บที เี อสซีในอัตราดังต่อไปนี้ (ก) ในกรณีทร่ี ายได้ค่าโดยสารสุทธิสาหรับปี ใดสูงกว่าร้อยละ 100 แต่ไม่เกินร้อยละ 125 ของ เป้ าหมายรายได้ค่าโดยสารสุทธิประจาปี สาหรับปี นนั ้ บีทเี อสซีจะได้รบั ค่าตอบแทนพิเศษ ในอัตราร้อยละ 10 ของจานวนรายได้ค่าโดยสารสุทธิในส่วนทีเ่ กินกว่าร้อยละ 100 แต่ไม่ เกินร้อยละ 125 (ข) ในกรณี ท่ีรายได้ค่ าโดยสารสุท ธิสาหรับ ปี ใดสูงกว่ าร้อ ยละ 125 ขึ้น ไปของเป้ าหมาย รายได้ค่าโดยสารสุทธิประจาปี สาหรับปี นนั ้ บีทเี อสซีจะได้รบั ค่าตอบแทนพิเศษในอัตรา ร้อยละ 15 ของจานวนรายได้ค่าโดยสารสุทธิในส่วนทีเ่ กินกว่าร้อยละ 125

ประกันภัย

เรื่องสงวนไว้ (Reserved Matters) และ ข้อตกลงว่าจะ ไม่กระทาการ (Negative Undertakings)

:

บีทเี อสซีตกลงทาประกันตามทีท่ าเป็ นปกติ รวมถึงประกันความรับผิดกรรมการ และตกลงว่าจะ คงไว้ซง่ึ ประกันดังกล่าวตลอดเวลา

บีทเี อสซีตกลงเป็ นผู้รบั ผิดชอบชาระค่าเสียหายใด ๆ ที่เกินไปกว่าส่วนที่ประกันคุ้มครอง ทัง้ นี้ เฉพาะส่วนของความเสียหายทีเ่ กิดจากความจงใจ หรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงของบีทเี อสซี

กองทุนตกลงเป็ นผูร้ บั ผิดชอบชาระค่าเสียหายและความสูญเสียใด ๆ ทีเ่ กิดขึน้ แก่ระบบรถไฟฟ้ า ขนส่ งมวลชนกรุ งเทพสายหลัก ในส่ วนที่ (ก) เกิน ไปกว่ าวงเงิน ประกัน (ข) เกี่ย วข้อ งกับ เหตุการณ์ท่ไี ม่ได้รบั ความคุ้มครอง และ (ค) กรมธรรม์ประกันภัยยกเว้นหรือไม่ครอบคลุม และ ตราบเท่าทีค่ วามเสียหายหรือความสูญเสียดังกล่าวมิได้เกิดจากความจงใจหรือประมาทเลินเล่อ อย่างร้ายแรงของบีทเี อสซี ทัง้ นี้ ตามข้อกาหนดและเงื่อนไขที่กาหนดไว้ในสัญญานี้ แต่ไม่ว่าใน กรณีใด ๆ หน้าที่ของกองทุนในการรับผิดชอบชาระค่าเสียหายและความสูญเสียใด ๆ ที่เกิดขึน้ แก่ระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลักจะสิน้ สุดลงในวันสิน้ สุดอายุสญ ั ญาสัมปทาน

ในกรณีทบ่ี ริษทั ประกันจ่ายเงินประกันล่าช้า บีทเี อสซีตกลงจะจ่ายเงินล่วงหน้าเพื่อการซ่อมแซม ความเสียหายที่เกิดขึน้ สาหรับจานวนห้าสิบล้านบาทแรก และ กองทุนจะจ่ายส่วนที่เกินห้าสิบ ล้านบาทโดยไม่ล่าช้า

ไม่ว่ากรณีใดก็ตาม หากบีทเี อสซีได้จ่ายเงินล่วงหน้า กองทุนจะต้องชาระคืนเงินที่บที เี อสซีจ่าย ล่วงหน้าไปนัน้ ภายในระยะเวลาทีก่ าหนดในสัญญา ซึง่ ถือเป็ นส่วนหนึ่งของค่าใช้จ่าย O&M

: บีทีเอสซีจ ะกระท าเรื่อ งสงวนไว้ หรือ เรื่อ งที่ห้ า มได้ก็ต่ อ เมื่อ (1) ในกรณี ท่ีเป็ นเรื่อ งสงวนไว้ (Reserved Matters) บีทเี อสซีจะต้องได้รบั การอนุ มตั ิจากคณะกรรมการของบีทเี อสซีโดยมีเสียง สนับสนุ นอย่างน้อยสองเสียงจากกรรมการของบีทเี อสซีซง่ึ กองทุนเป็ นผูเ้ สนอชื่อ (โดยหนึ่งในสาม ของกรรมการของบีทีเอสซีเป็ นบุ ค คลที่ก องทุ น เสนอชื่อ ) และ (2) ในกรณี ท่ีเป็ นเรื่อ งที่ห้ า ม บีทีเอสซีก ระท าภายใต้ ข้อ ตกลงว่ าจะไม่ ก ระท าการ (Negative Undertakings) ที่ก าหนดไว้ใน สัญ ญานี้ บีทีเอสซีจะต้องได้รบั ความยินยอมจากกองทุ นตามความของสัญ ญานี้เสียก่ อน ทัง้ นี้ ภายใต้สญ ั ญานี้ ในกรณีทก่ี รรมการของบีทเี อสซีซง่ึ กองทุนเป็ นผูเ้ สนอชื่อ อย่างน้อยสองท่านได้ ให้ ความเห็นชอบให้บที เี อสซีเข้าทาเรื่องสงวนไว้ หากเรื่องสงวนไว้นนั ้ เป็ นเรื่องเดียวกันกับเรื่องทีห่ า้ ม บี ที เ อสซี ก ระท าภ ายใต้ ข้ อ ตกลงว่ า จะไม่ ก ระท าการ (Negative Undertakings) ให้ ถื อ ว่ า

ส่วนที่ 1 หน้า 154


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ความเห็นชอบของกรรมการดังกล่าวเป็ นการทีก่ องทุนยินยอมให้บที เี อสซีเข้าทาเรื่องที่หา้ มกระทา ภายใต้ขอ้ ตกลงว่าจะไม่กระทาการ (Negative Undertakings) เรื่องเดียวกันนัน้ ตัวอย่างของเรื่องสงวนไว้ เช่น 

การแต่งตัง้ หรือถอดถอนคณะผูบ้ ริหารระดับสูงของบีทเี อสซี ซึ่งได้แก่ ประธานกรรมการบริหาร (Chief Executive Officer) ผูอ้ านวยการใหญ่ฝ่ายการเงิน (Chief Financial Officer) หรือกรรมการ ผู้อ านวยการใหญ่ ฝ่ ายปฏิบ ัติการ (Chief Operating Offiicer) ของบีทีเอสซี และการก าหนด ค่าตอบแทนของผูบ้ ริหารดังกล่าว

การแก้ไขเพิม่ เติมหนังสือบริคณห์สนธิ หรือข้อบังคับบริษทั ของบีทเี อสซี

การที่ บี ที เอสซี เข้ า ร่ ว ม ด าเนิ น การ หรือ มี ผ ลประโยชน์ ในธุ รกิ จ หรือ กิ จ การใด (ยกเว้ น (ก) การประกอบการและการบารุงรักษาตามธุรกิจปกติของระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพ สายหลักและของธุรกิจอื่นของบีทเี อสซี (ข) การดาเนินการตามสัญญาให้บริการเดินรถและซ่อม บารุงระยะยาว (ค) ธุรกิจหรือกิจการใดทีล่ งทุนโดยบริษัทย่อยของบีทีเอสซีโดยใช้กระแสเงินสด คงเหลือของบีทเี อสซี (นอกเหนือจากรายได้สทุ ธิ) เงินที่ได้จากทรัพย์สนิ ทีไ่ ม่ได้ซอ้ื หรือเงินทีไ่ ด้ จากการเพิ่มทุนที่ได้รบั อนุ ญาตจากกองทุน (ง) การดาเนินการ และ/หรือ บารุงรักษาทรัพย์สนิ โครงการรถไฟฟ้ าที่กาหนด โครงการระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพและปริมณฑลที่ยงั ไม่ได้เริ่ม ดาเนินการ หรือโครงการระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพและปริมณฑลที่แล้วเสร็จ ที่บที เี อสซี หรือ บริษัทย่อยของบีทีเอสซี (แล้วแต่ กรณี ) ได้เข้าทาหรือจะเข้าทาสัญญาหรือดาเนิ นการหรือจะ ดาเนินการ ทัง้ นี้ เฉพาะกรณี ท่บี ที ีเอสซีได้รบั ค่าธรรมเนียมจากการให้บริการดาเนินการ และ/ หรือ บารุงรักษาดังกล่าว และผูว้ ่าจ้างของบีทเี อสซีได้ตกลงที่จะรับผิดและชดเชยความเสียหาย หรือความรับผิดของบีทเี อสซีทอ่ี าจเกิดขึน้ จากการให้บริการดังกล่าวเต็มจานวน หรือ (จ) กิจการ อื่นใดทีเ่ อกสารธุรกรรมอนุญาตให้กระทาได้)

การทีบ่ ที เี อสซีเข้าทาข้อผูกพัน ธุรกรรม หรือการดาเนินการใด ๆ ทัง้ ในปั จจุบนั และอนาคต ไม่ว่า ในลักษณะใดก็ตาม (เว้นแต่ (ก) ที่เอกสารธุรกรรมมุ่ งให้กระท า (ข) ตามที่ได้รบั อนุ ญาตจาก กองทุน หรือ (ค) การก่อหนี้ทอ่ี นุญาตให้ทาได้ตามทีไ่ ด้กาหนดไว้ในสัญญานี้)

การเข้าทาเอกสารหรือสัญญาใด ๆ (เว้นแต่ (ก) ที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินการที่ได้รบั อนุ ญาต ภายใต้เอกสารธุรกรรม (ข) การเข้าทาสัญญาเพื่อการดาเนินการและบารุงรักษาระบบรถไฟฟ้ า ขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลักซึ่งมีค่าใช้จ่ายตามที่ได้รบั อนุ มตั ิภายใต้งบประมาณค่ าใช้จ่าย O&M (ค) การเข้าทาสัญญาเกี่ยวกับทรัพย์สนิ ที่ไม่ได้ซ้อื ตามที่สญ ั ญานี้อนุ ญาตหรือในกรณี ท่ี มูลค่าไม่เกินกว่างบประมาณทีไ่ ด้รบั อนุ มตั โิ ดยคณะกรรมการของบีทเี อสซี (ง) การเข้าทาสัญญา นอกเหนือจาก (ก) (ข) หรือ (ค) ที่มีมูลค่าความรับผิดของบีทีเอสซีรวมทุ กสัญญาในปี หนึ่ง ๆ น้อยกว่า 50,000,000 บาท (จ) การเข้าทาสัญญาเกีย่ วกับธุรกรรมทีส่ ญ ั ญานี้อนุ ญาตให้เข้าทาได้ หรือไม่จากัดสิทธิในการเข้าทา หรือ (จ) กิจการอื่นใดทีก่ องทุนอนุญาตให้กระทาได้)

(ก) การที่บีทีเอสซีแก้ไข เปลี่ยนแปลง สละสิทธิ เพิ่มเติม หรือยกเลิก หรือตกลงที่จะแก้ไข เปลี่ยนแปลง สละสิทธิ เพิ่มเติม หรือยกเลิกสัญญาสัมปทาน หรือ (ข) การที่บีทีเอสซีแก้ไข เปลี่ยนแปลง สละสิทธิ หรือเพิ่มเติม หรือตกลงที่จะแก้ไข เปลี่ยนแปลง สละสิทธิ หรือเพิ่มเติม ข้อกาหนดทีเ่ ป็ นสาระสาคัญของสัญญาโครงการอื่น (ทีไ่ ม่ใช่สญ ั ญาสัมปทาน) ส่วนที่ 1 หน้า 155


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

การยกเลิก หรือตกลงทีจ่ ะยกเลิกสัญญาโครงการ หรือสัญญาให้บริการเดินรถและซ่อมบารุงระยะ ยาว

การตกลงหรือ ประนี ป ระนอมในสิท ธิ เรีย กร้ อ ง หรือ การฟ้ องคดี อนุ ญ าโตตุ ลาการ หรือ กระบวนการทางปกครองทีเ่ กีย่ วกับสัญญาโครงการในจานวนเกินกว่า 50,000,000 บาท

การที่บที เี อสซีโอนสิทธิหรือโอนภาระผูกพันใดตามสัญญาโครงการ ไม่ว่าทัง้ หมดหรือบางส่วน หรือตกลงกับคู่สญ ั ญาภายใต้สญ ั ญาโครงการเพื่อโอนสิทธิหรือโอนภาระผูกพันใด ๆ ของตน ภายใต้สญ ั ญาโครงการ ไม่ว่าทัง้ หมดหรือบางส่วน

การที่บที เี อสซีก่อหรือยอมให้ก่อหลักประกันเหนือทรัพย์สนิ ใด ๆ ของตน ซึง่ รวมถึงรายได้สุทธิ หรือขาย ให้เช่า โอน หรือจาหน่ ายไปซึง่ ทรัพย์สนิ หรือรายได้ของตน รวมถึงรายได้สุทธิ หรือเข้า ทาการดาเนินการให้บุรมิ สิทธิอั์ นมีผลเช่นเดียวกัน (ยกเว้น (ก) ในกรณีการขายรายได้สุทธิตาม สัญญานี้ (ข) หลักประกันที่ก่อขึน้ ตามเอกสารหลักประกันภายใต้สญ ั ญานี้ (ค) การโอนหุ้นตาม เอกสารธุรกรรม (ง) การขาย โอน หรือจาหน่ ายไปซึง่ ทรัพย์สนิ ทีไ่ ม่ได้ซอ้ื บางประเภท (จ) การก่อ หรือยอมให้ก่อหลักประกันเหนือทรัพย์สนิ ทีไ่ ม่ได้ซอ้ื บางประเภท หรือการก่อหลักประกันในบัญชี หุน้ กูบ้ ที เี อสซี (Baht Debentures Fund Account) และ/หรือ การลงทุนที่อนุ ญาตให้ทาได้โดยใช้ เงินจากบัญชีหุ้นกู้บที เี อสซี โดยเป็ นการให้หลักประกันแก่ธนาคารผูอ้ อกหนังสือค้าประกันเพื่อ เป็ นประกันการชาระหนี้ของบีทเี อสซีตามหนังสือค้าประกันทีธ่ นาคารผูอ้ อกหนังสือค้าประกันได้ ออกไว้ เ พื่ อค้ าประกั น การช าระหนี้ เงิ น ต้ น และดอกเบี้ ย ของบี ที เ อสซี ภ ายใต้ หุ้ น กู้ บีทเี อสซี (ฉ) การขายหรือโอนสัญญาให้บริการเดินรถและซ่อมบารุงระยะยาวหรือสัญญาที่เกีย่ ว ของกับเส้นทางเดินรถไฟฟ้ าหรือโครงการในอนาคตให้แก่บที เี อสจี หรือ (ช) ตามที่กองทุนได้ให้ คายินยอม)

การทีบ่ ที เี อสซีเข้าทาธุรกรรม เพื่อขาย ให้เช่า โอน หรือจาหน่ ายไปซึง่ ทรัพย์สนิ หรือรายได้ใด ๆ ของตน ซึ่งรวมถึงรายได้สุทธิ (ยกเว้นธุรกรรมดังต่อไปนี้ (ก) ธุรกรรมที่เป็ นการก่อหลักประกัน ตามเอกสารธุรกรรม (ข) ธุรกรรมที่เป็ นปกติธุรกิจของบีทเี อสซี ซึ่งอยู่ในขอบเขตการประกอบ ธุรกิจของบีทเี อสซีโดยมีขอ้ กาหนดในเชิงพาณิชย์ทเ่ี ป็ นปกติ และมีมูลค่าเมื่อนับทุกรายธุรกรรม รวมกันในรอบ 12 เดือนไม่เกิน 50,000,000 บาท (ค) การขาย ให้เช่า โอน หรือจาหน่ ายไปซึ่ง ทรัพย์สนิ ทีไ่ ม่ได้ซอ้ื บางประเภท (ง) การขายหรือโอนสัญญาให้บริการเดินรถและซ่อมบารุงระยะ ยาวหรือสัญญาที่เกี่ยวของกับเส้นทางเดินรถไฟฟ้ าหรือโครงการในอนาคตให้แก่บที เี อสจี หรือ บุคคลภายนอกตามความของสัญญานี้ (จ) ตามทีก่ องทุนได้อนุมตั )ิ

การที่บีทีเอสซีก่ อหนี้ หรือตกลงที่จะก่ อหนี้ หรือมีหนี้ คงค้าง (เว้นแต่ (ก) หนี้ ท่ีเกิดขึ้นตาม เอกสารธุรกรรม (ข) หนี้ทม่ี อี ยู่แล้วตามทีไ่ ด้กาหนดไว้ในสัญญานี้ (ค) ยอดเงินต้นรวมคงค้างของ หนี้ดงั กล่าว เมื่อรวมกับภาระหนี้อ่นื ๆ ของบีทเี อสซีไม่เกิน 3,000,000,000 บาท และอัตราส่วน หนี้สนิ ต่อทุนของบีทเี อสซีภายหลังจากการก่อหนี้ดงั กล่าวไม่เกิน 1 ต่อ 1 หรือ (ง) ตามทีก่ องทุน ได้อนุญาต)

การทีบ่ ที เี อสซีเข้าควบกิจการ แยกกิจการ หรือรวมกิจการ

การที่บีทีเอสซีเพิ่มทุ น ออกหุ้นหรือหลักทรัพย์แปลงสภาพแก่บุ คคลใด ซึ่งท าให้สดั ส่วนการ ถือหุน้ ของบีทเี อสจีลดลง ส่วนที่ 1 หน้า 156


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

การทีบ่ ที เี อสซีลดทุน ยกเลิก ชาระคืน ซือ้ หรือไถ่ถอนหุน้ ทุนของตน (เว้นแต่เป็ นการลดทุนของ บีทเี อสซีเพื่อการคืนเงินทุนให้แก่ผถู้ อื หุน้ และการลดทุนนัน้ ไม่ทาให้ทุนจดทะเบียนของบีทเี อสซี ต่ากว่า 3,000,000,000 บาท และการลดทุนนัน้ ไม่ทาให้สดั ส่วนการถือหุน้ ของบีทเี อสจีลดลง)

การทีบ่ ที เี อสซีจดทะเบียนหรือยอมให้จดทะเบียนโอนหุน้ ทีจ่ านาไว้อนั นอกเหนือไปจากทีก่ าหนด ไว้ในสัญญาจานาหุน้ หรือสัญญาจะซือ้ จะขายหุน้

การทีบ่ ที เี อสซีเปลีย่ นตัวผูส้ อบบัญชี

การจ่ายเงินปั นผลในระหว่างทีเ่ กิดเหตุผดิ นัดภายใต้สญ ั ญานี้

ตัว อย่ า งของกิจ กรรมที่ บีที เอสซี ห้ า มกระท าภายใต้ ข้อ ตกลงว่ า จะไม่ ก ระท าการ (Negative Undertakings) เช่น

เหตุผดิ นัดผิด : สัญญาและผล แห่งการผิดนัด ผิดสัญญา

การลงทุนในธุรกิจใหม่ (เว้นแต่การลงทุนในธุรกิจใหม่โดยบริษัทย่อยของบีทเี อสซีโดยใช้กระแส เงินสดคงเหลือของบีทเี อสซี (นอกเหนือไปจากรายได้สทุ ธิ) เงินทีไ่ ด้จากทรัพย์สนิ ทีไ่ ม่ได้ซอ้ื หรือ เงินทีไ่ ด้จากการเพิม่ ทุนซึง่ การลงทุนดังกล่าวได้รบั ความเห็นชอบจากกองทุน)

การลดทุ น (เว้นแต่ การลดทุ นนัน้ ไม่ ท าให้ทุ นจดทะเบียนของบีทีเอสซีต่ ากว่ าที่ก าหนดไว้ใน สัญญานี้)

การเพิ่มทุน (เว้นแต่ การออกหุ้นใหม่ของบีทีเอสซี ซึ่งไม่ทาให้สดั ส่วนการถือหุ้นของบีทีเอสจี ลดลงและต้องมีการจานาหุน้ ดังกล่าวกับกองทุน)

การแก้ไขข้อกาหนดของสัญญาสัมปทาน หรือข้อกาหนดที่เป็ นสาระสาคัญของสัญญาโครงการ อื่นหรือสัญญาให้บริการเดินรถและซ่อมบารุงระยะยาว

การยกเลิกสัญญาสัมปทาน

การก่อหนี้ในจานวนทีม่ ากกว่าจานวนหรือมิใช่ประเภททีอ่ นุญาตไว้

การลดอัตราค่าโดยสารในส่วนของระบบรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลัก เว้นแต่ เป็ น การกระทาการตามข้อกาหนดในสัญญาสัมปทาน

การก่อหลักประกันหรือภาระติดพันเหนือทรัพย์สนิ ของบีทเี อสซี (เว้นแต่การก่อหลักประกันตาม เอกสารธุรกรรม การก่อหลักประกันหรือภาระติดพันเหนือทรัพย์สนิ ทีไ่ ม่ได้ซอ้ื บางประเภท)

การจาหน่ ายไปซึง่ สินทรัพย์ (เว้นแต่ทรัพย์สนิ ทีไ่ ม่ได้ซอ้ื บางประเภท โดยเป็ นไปตามเงื่อนไขที่ กาหนดในสัญญานี้) เป็ นต้น

เมื่อเกิดเหตุผดิ นัดผิดสัญญาตามทีร่ ะบุไว้ในสัญญานี้ กองทุนอาจเรียกให้บที เี อสซีชาระหนี้ตาม จานวนและเงื่อนไขที่กาหนดไว้ในสัญญานี้ และ/หรือ เรียกให้ผู้สนับสนุ นปฏิบตั ิตามสัญญา สนับสนุ นและค้าประกันของผู้สนับสนุ น และ/หรือ ใช้สทิ ธิอ่นื ใดตามที่กาหนดไว้ในเอกสาร ธุรกรรม โดยในกรณีท่กี องทุนจะใช้สทิ ธิดงั กล่าว กองทุนจะมีหนังสือแจ้งไปยังบีทเี อสซีและ ผูส้ นับสนุ น โดยเมื่อกองทุนมีหนังสือแจ้งดังกล่าวแล้ว กองทุนมีสทิ ธิบงั คับตามสิทธิของตนไม่ ว่าบางส่วนหรือทัง้ หมดตามเอกสารธุรกรรม

ส่วนที่ 1 หน้า 157


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ทัง้ นี้ ในกรณีของเหตุผิดนัดผิดสัญญาบางประการตามที่กาหนดไว้ในสัญญานี้ กองทุนอาจให้ เวลาบีทเี อสซีในการแก้ไขเยียวยาได้ โดยบีทเี อสซีจะต้องจัดทาแผนในการแก้ไขเยียวยาเหตุผดิ นัดผิดสัญญาที่กาหนดดังกล่าวและนาส่งให้กองทุนเพื่อพิจารณา เมื่อกองทุนได้รบั แผนดังกล่าว จากบีทเี อสซีแล้ว คู่สญ ั ญาจะได้ดาเนินการปรึกษาหารือกันโดยสุจริตและพิจารณาแผนดังกล่าว หากกองทุนพอใจกับแผนที่บที เี อสซีเสนอ กองทุนอาจอนุ ญาตให้บที ีเอสซีดาเนินการตามแผน ดังกล่าวได้ภายในเวลาทีต่ กลงกัน ซึง่ ในช่วงระหว่างเวลาที่เริม่ ดาเนินการปรึกษาหารือดังกล่าว จนถึงเวลาที่เหตุผดิ นัดผิดสัญญาได้รบั การเยียวยาตามแผนที่กองทุนเห็นชอบจนกองทุนพอใจ หรือกองทุนยกเว้นเหตุผดิ นัดผิดสัญญาดังกล่าวให้ คู่สญ ั ญาตกลงกระทาการหรือไม่กระทาการ ตามที่ก าหนดไว้ในสัญ ญานี้ ซึ่งรวมถึ ง (ก) การที่บีทีเอสซีจะต้ องช าระหรือด าเนิ นการให้ ผูส้ นับสนุ นนาเงินปั นผลที่ตนเองได้รบั จากการถือหุ้นบีทเี อสซีมาชาระจานวนเงินที่คา้ งจ่ายและ ถึงกาหนดชาระภายใต้เอกสารธุรกรรมให้แก่กองทุน (ข) การให้สทิ ธิแก่กองทุนในการใช้สทิ ธิออก เสียงในหุ้นที่ผู้สนับสนุ นถืออยู่ในบีทีเอสซีตามเงื่อนไขที่กาหนดไว้ในสัญญานี้ และ (ค) การที่ กองทุนจะไม่ใช้สทิ ธิเรียกให้บีทีเอสซีชาระหนี้ตามจานวนและเงื่อนไขที่กาหนดไว้ในสัญญานี้ หรือ เรียกให้ผสู้ นับสนุ นปฏิบตั ิตามสัญญาสนับสนุ นและค้าประกันของผู้สนับสนุ น หรือ ใช้สทิ ธิ อื่นใดทีก่ องทุนมีสาหรับกรณีเกิดเหตุผดิ นัดผิดสัญญาดังกล่าว แต่ในกรณีทเ่ี ป็ นเหตุผดิ นัดผิดสัญญาทีส่ ญ ั ญานี้ มิได้กาหนดให้ต้องมีการเจรจาหารือระหว่าง กองทุนกับบีทเี อสซีก่อน (เช่น บีทเี อสซีไม่นาส่งรายได้สุ ทธิหรือชาระเงินอื่นใดให้แก่กองทุน ภายในเวลาที่กาหนด และยังคงไม่นาส่งหรือไม่ชาระเงินดังกล่าวเป็ นเวลา 5 วันทาการของ คู่สญ ั ญาติดต่อกันนับจากวันที่ครบกาหนดชาระ) หรือในกรณีท่บี ที ีเอสซีหรือผู้สนับสนุ นไม่ ปฏิบตั ติ ามหน้าทีข่ องตนทีก่ าหนดไว้ให้ต้องปฏิบตั ภิ ายหลังกองทุน อนุ มตั ใิ ห้มกี ารดาเนินการ ตามแผนการเยียวยาซึ่งกรณีดงั กล่าวจะถือเป็ นเหตุผดิ นัดผิดสัญญาภายใต้สญ ั ญานี้ หรือใน กรณี ท่ีกองทุนไม่อนุ มตั ิแผนในการแก้ไขเยียวยาเหตุ ผิดนัดผิดสัญญาตามที่บีทีเอสซีเสนอ ภายในเวลาทีก่ าหนด กองทุนมีสทิ ธิใช้สทิ ธิทต่ี นมีตามเอกสารธุรกรรมได้ทุกประการ 

สิทธิบงั คับของกองทุนตามเอกสารธุรกรรม เช่น สิทธิการบังคับจานาหุน้ ตามสัญญาจานาหุ้น สิทธิในการซือ้ หุน้ ในบีทเี อสซีทผ่ี สู้ นับสนุนถืออยู่ตามสัญญาจะซือ้ จะขายหุน้ สิทธิในการเพิกถอน การแต่ ง ตัง้ บีทีเอสซีจ ากการเป็ นตัว แทนของกองทุ น ในการจัด เก็บ รายได้ สุ ท ธิเพื่อ และ ในนามของกองทุ น และแต่ ง ตัง้ บุ ค คลอื่น ท าหน้ า ที่จ ัด เก็บ รายได้สุท ธิ เป็ น ต้ น นอกจากนี้ กองทุนอาจสามารถใช้สทิ ธิเข้ารับโอนสัญญาสัมปทาน ในฐานะตัวแทนของกลุ่มเจ้าหนี้ของ บีทีเอสซีต ามหนังสือบอกกล่าวไปยัง กทม. ในกรณี ท่ี กทม. มีเจตนาที่จะบอกเลิกสัญ ญา สัมปทานอันเนื่องมาจากบีทเี อสซีปฏิบตั ผิ ดิ สัญญาสัมปทาน

หากกองทุนซือ้ หุน้ บีทเี อสซีจากบีทเี อสจีตามสัญญาจะซือ้ จะขายหุน้ หรือเข้าเป็ นเจ้าของหุ้น บีทเี อสซีจากการบังคับสิทธิตามสัญญาจานาหุน้ กองทุนตกลงทีจ่ ะดาเนินการบางประการ เช่น (1) เมื่อ ผู้สนั บ สนุ น ร้อ งขอ จะด าเนิ น การให้บีทีเอสซีแ ยกรายได้ ข องบีทีเอสซีท่ีเกิด จาก ทรัพย์สนิ ทีไ่ ม่ได้ซอ้ื ออกจากกระแสเงินสดของบีทเี อสซีและโอนรายได้จากทรัพย์สนิ ที่ ไม่ได้ซอ้ื ดังกล่าวให้แก่ผสู้ นับสนุน หรือบุคคลใดทีผ่ สู้ นับสนุนจะกาหนด

ส่วนที่ 1 หน้า 158


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

(2) เมื่อผู้สนับสนุ นร้องขอ จะโอนทรัพย์สนิ ที่ไม่ได้ซ้อื บางประเภทซึ่งยังคงอยู่กบั บีที เอสซี ให้แก่ผสู้ นับสนุนหรือบุคคลใดทีผ่ สู้ นับสนุนจะกาหนด (3) หลังจากวันสิน้ สุดอายุสญ ั ญาสัมปทาน หากกองทุนยังคงถือหุน้ บีทเี อสซีทร่ี บั โอนมาจาก บีทเี อสจีอยู่ในช่วงเวลาดังกล่าว กองทุนจะต้องโอนหุน้ ดังกล่าวกลับไปยังผูส้ นับสนุนหรือ บุ ค คลใดที่ผู้สนับ สนุ น จะก าหนดตามเงื่ อ นไขที่ก าหนดไว้ในสัญ ญานี้ และในกรณี ท่ี บีทีเอสซียงั จัดส่งรายได้สุทธิให้แก่กองทุนซึ่งยังชาระไม่ครบถ้วนตามสัญญานี้ ก่อนที่ กองทุนจะโอนหุน้ ดังกล่าวให้แก่ผสู้ นับสนุนหรือบุคคลใดทีผ่ สู้ นับสนุนจะกาหนดดังกล่าว ผูส้ นับสนุนจะต้องเข้าทาสัญญากับกองทุน (ในรูปแบบทีก่ องทุนพอใจ โดยสมเหตุสมผล) ว่าผู้สนับสนุ น จะดาเนิน การให้บีทีเอสซีจดั ส่งรายได้สุท ธิซ่ึงยังชาระไม่ค รบถ้วนตาม สัญญานี้ให้แก่กองทุน (4) การดาเนินการอื่น ๆ ที่กองทุนจะตกลงเพื่อให้บที เี อสซีสามารถยังคงดาเนินกิจการและ เป็ นเจ้าของทรัพย์สนิ ทีไ่ ม่ได้ซอ้ื ได้ต่อไปอย่างเหมาะสม ทัง้ นี้ ตามเงื่อนไขทีก่ าหนดไว้ใน สัญญานี้ โดยผูส้ นับสนุนมีหน้าทีช่ าระต้นทุน ค่าใช้จ่ายและภาษีทงั ้ หมดทีเ่ กิดขึน้ จากการโอนรายได้หรือ ทรัพย์สนิ ทีไ่ ม่ได้ซอ้ื หรือหุน้ บีทเี อสซีดงั กล่าว 12.

สัญญำสนับสนุนและคำ้ ประกันของผู้สนับสนุน ระหว่ำง บีทีเอสจี บีทีเอสซี และ กองทุน ฉบับลงวันที่ 17 เมษำยน 2556

วัตถุประสงค์

: บีทเี อสจีในฐานะผู้ถือหุ้นใหญ่ของบีทเี อสซีตกลงค้าประกันการปฏิบตั ิหน้าที่ของบีทเี อสซีภายใต้ สัญ ญาซื้อและโอนสิท ธิรายได้สุท ธิ โดยการค้ าประกัน แบบจ ากัด ความรับ ผิด และเป็ น ไปตาม ข้อกาหนดและเงื่อนไขทีก่ าหนดไว้ในสัญญานี้ ทัง้ นี้ คาจากัดความใดที่มไิ ด้กาหนดไว้ในสัญ ญานี้ ให้มีความหมายเช่นเดียวกับที่กาหนดไว้ใน สัญญาซือ้ และโอนสิทธิรายได้สทุ ธิ

หน้าทีห่ ลัก ของบีทเี อสจี

:

บีทเี อสจีตกลงรักษาสัดส่วนการถือหุน้ ของตนในบีทเี อสซีไว้ตลอดเวลาตราบเท่าทีภ่ าระหน้าที่ ตามสัญญานี้ยงั คงมีอยู่ และจะไม่โอนหรือก่อภาระติดพันในหุน้ บีทเี อสซีดงั กล่าว

บีทเี อสจีตกลงให้กองทุนมีสว่ นร่วมในคณะกรรมการของบีทเี อสซี ดังนี้ (ก) ให้มกี ารแต่งตัง้ กรรมการจานวนหนึ่งในสามของกรรมการทัง้ หมดของบีทเี อสซีจากบุคคล ทีก่ องทุนเสนอชื่อ และ (ข) ให้มีก ารแต่ งตัง้ กรรมการจ านวนหนึ่งในสามของกรรมการทัง้ หมดของบีทีเอสซีซ่ึงมี คุณสมบัตติ ามทีก่ าหนดเป็ นกรรมการอิสระในคณะกรรมการบริษทั ของบีทเี อสซี

บีทีเอสจีต กลงที่จ ะมิให้ บีทีเอสซีเข้า ท าธุ ร กรรมใด ๆ ที่เป็ นเรื่อ งสงวนไว้ เว้น เสีย แต่ ว่ า คณะกรรมการของบีทีเอสซีโดยมีเสียงสนับสนุ นจากกรรมการของบีทีเอสซีซ่งึ กองทุนเป็ น ผูเ้ สนอชื่ออย่างน้อยสองท่านได้อนุมตั ใิ ห้บที เี อสซีเข้าทาได้

ส่วนที่ 1 หน้า 159


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

บีทเี อสจีเห็นด้วยกับข้อกาหนดและเงื่อนไขของเอกสารธุรกรรม และตกลงที่จะกระทาการทุก ประการทีจ่ าเป็ นเพื่อให้บที เี อสซีปฏิบตั ติ ามภาระผูกพันทัง้ หลายของตนตามเอกสารธุรกรรม ทัง้ นี้ ตามข้อกาหนดและเงื่อนไขทีก่ าหนดไว้ในสัญญานี้

บีทเี อสจีตกลงจานาหุน้ ทีต่ นถืออยู่ในบีทเี อสซี เพื่อเป็ นประกันการปฏิบตั หิ น้าทีข่ องตนตามสัญญานี้

บีทเี อสจีตกลงให้การค้าประกันการปฏิบตั ภิ าระหน้าทีข่ องบีทเี อสซีตามสัญญาซือ้ และโอนสิทธิ รายได้สุทธิ ทัง้ นี้ กองทุนจะไม่สามารถบังคับให้บีทเี อสจีชาระหนี้ตามภาระค้าประกันได้โดย วิธกี ารอื่นใด นอกจากการบังคับเอาหุ้นบีทเี อสซีเท่านัน้ ภายใต้สญ ั ญาจะซื้อจะขายหุ้น หรือ สัญญาจานาหุน้ และเมื่อมีการโอนหุน้ บีทเี อสซีภายใต้สญ ั ญาจะซือ้ จะขายหุน้ หรือสัญญาจานา หุ้นแล้ว บีทเี อสจีจะหลุดพ้นจากภาระหน้าที่ของบีทเี อสจีท่เี กี่ยวข้องกับการค้าประกันและที่ เกี่ยวข้องกับความเป็ น ผู้ถือหุ้น ของบีทีเอสซีภายใต้สญ ั ญานี้ทนั ที แต่ สทิ ธิของกองทุน บาง ประการ เช่น สิทธิในการซือ้ (Right to Purchase) และสิทธิในการปฏิเสธเป็ นรายแรกทีจ่ ะซือ้ (Right of First Refusal) ตามข้อกาหนดทีเ่ กีย่ วข้องในสัญญานี้ เป็ นต้น ยังคงมีอยู่ตามความ ของสัญ ญานี้ และหน้ าที่บ างประการของบีทีเอสจีต ามที่ก าหนดไว้ในสัญ ญานี้ ยังคงมีอ ยู่ จนกว่าบีทเี อสซีและบีทเี อสจีจะได้ปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามภาระผูกพันของตนภายใต้เอกสารธุรกรรม ทีต่ นเป็ นคู่สญ ั ญาจนครบถ้วน หรือพ้นกาหนดเวลาอื่นตามทีก่ าหนดไว้ในสัญญานี้

หากบีทเี อสจีมสี ทิ ธิเรียกร้องใด ๆ ต่อบีทเี อสซีไม่ว่าภายใต้เอกสารธุรกรรมหรืออื่นใดบีทเี อสจี ตกลงไม่ใช้สทิ ธิเรียกร้องใด ๆ เอาจากบีทเี อสซีจนกว่าบีทเี อสจีและบีทเี อสซีจะได้ปฏิบตั หิ น้าที่ ตามภาระผูกพันทัง้ หมดภายใต้เอกสารธุรกรรมจนครบถ้วนให้แก่กองทุนแล้ ว เว้นแต่เป็ นไป ตามข้อยกเว้นทีก่ าหนดไว้ในสัญญานี้

ในกรณี ท่กี องทุนอนุ ญ าตให้บีทีเอสซีดาเนินการตามแผนการเยียวยาเหตุ ผิดนัดผิดสัญ ญา ภายใต้สญ ั ญาซื้อและโอนสิทธิรายได้สุทธินัน้ ในช่วงระหว่างเวลาที่กองทุนและบีทเี อสซีเริม่ ดาเนินการปรึกษาหารือแผนการเยียวยาดังกล่าวจนถึ งเวลาที่เหตุผดิ นัดผิดสัญญาได้รบั การ เยียวยาตามแผนทีก่ องทุนเห็นชอบจนกองทุนพอใจหรือกองทุนยกเว้นเหตุผดิ นัดผิดสัญญา ดังกล่าวให้บที เี อสจีและกองทุนตกลงกระทาการหรือไม่กระทาการตามทีก่ าหนดไว้ในสัญญานี้ ซึง่ รวมถึง (ก) การทีบ่ ที เี อสจีจะต้องนาเงินปั นผลทีต่ นเองได้รบั จากการถือหุน้ บีทเี อสซีมาชาระ จานวนเงินที่บที ีเอสซีค้างจ่ายและถึงกาหนดชาระภายใต้เอกสารธุรกรรมให้แก่กองทุน (ข) การให้สทิ ธิแก่กองทุนในการใช้สทิ ธิออกเสียงในหุน้ ทีผ่ สู้ นับสนุนถืออยู่ในบีทเี อสซีตามเงื่อนไข ที่ก าหนดไว้ในสัญ ญานี้ และ (ค) การที่กองทุ นจะไม่ ใช้สิทธิเรียกให้ บีทีเอสซีชาระหนี้ต าม จานวนและเงื่อนไขทีก่ าหนดไว้ในสัญญาซือ้ และโอนสิทธิรายได้สุทธิ หรือ เรียกให้ผสู้ นับสนุ น ปฏิบตั ติ ามสัญญานี้ หรือ ใช้สทิ ธิอ่นื ใดทีก่ องทุนมีสาหรับกรณีเกิดเหตุผดิ นัดผิดสัญญาดังกล่าว ในกรณี ท่ีบีทีเอสซีห รือ ผู้สนั บ สนุ น ไม่ ป ฏิบ ัติต ามหน้ า ที่ข องตนที่ ก าหนดไว้ให้ต้อ งปฏิบ ัติ ภายหลังกองทุนอนุมตั ใิ ห้มกี ารดาเนินการตามแผนการเยียวยา กรณีดงั กล่าวจะถือเป็ นเหตุผดิ นัดผิดสัญ ญาภายใต้สญ ั ญาซื้อและโอนสิทธิรายได้สุทธิ ซึ่งกองทุนมีสทิ ธิใช้สทิ ธิท่ตี นมีตาม เอกสารธุรกรรมได้ทุกประการ

หากกองทุนซือ้ หุน้ บีทเี อสซีจากบีทเี อสจีตามสัญญาจะซือ้ จะขายหุน้ หรือเข้าเป็ นเจ้าของหุ้น บีทเี อสซีจากการบังคับสิทธิตามสัญญาจานาหุน้ กองทุนตกลงทีจ่ ะดาเนินการบางประการ เช่น ส่วนที่ 1 หน้า 160


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

(1) เมื่อ ผู้สนั บ สนุ น ร้อ งขอ จะด าเนิ น การให้บีทีเอสซีแ ยกรายได้ข องบีทีเอสซีท่ีเกิด จาก ทรัพย์สนิ ทีไ่ ม่ได้ซอ้ื ออกจากกระแสเงินสดของบีทเี อสซีและโอนรายได้จากทรัพย์สนิ ที่ ไม่ได้ซอ้ื ดังกล่าวให้แก่ผสู้ นับสนุน หรือบุคคลใดทีผ่ สู้ นับสนุนจะกาหนด (2) เมื่อผู้สนับสนุ นร้องขอ จะโอนทรัพย์สนิ ที่ไม่ได้ซ้อื บางประเภทซึ่งยังคงอยู่กบั บีทเี อสซี ให้แก่ผสู้ นับสนุนหรือบุคคลใดทีผ่ สู้ นับสนุนจะกาหนด (3) หลังจากวันสิน้ สุดอายุสญ ั ญาสัมปทาน หากกองทุนยังคงถือหุน้ บีทเี อสซีทร่ี บั โอนมาจาก บีทเี อสจีอยู่ในช่วงเวลาดังกล่าว กองทุนจะต้องโอนหุน้ ดังกล่าวกลับไปยังผูส้ นับสนุนหรือ บุ ค คลใดที่ผู้สนั บ สนุ น จะก าหนดตามเงื่อ นไขที่ก าหนดไว้ในสัญ ญานี้ และในกรณี ท่ี บีทเี อสซียงั จัดส่งรายได้สุทธิให้แก่กองทุนซึง่ ยังชาระไม่ครบถ้วนตามสัญญาซือ้ และโอน สิท ธิรายได้สุ ท ธิ ก่ อ นที่ก องทุ น จะโอนหุ้น ดัง กล่ า วให้ แ ก่ ผู้สนั บ สนุ น หรือ บุ ค คลใดที่ ผูส้ นับสนุ นจะกาหนดดังกล่าว ผูส้ นับสนุ นจะต้องเข้าทาสัญญากับกองทุน (ในรูปแบบที่ กองทุนพอใจ โดยสมเหตุสมผล) ว่าผูส้ นับสนุนจะดาเนินการให้บที เี อสซีจดั ส่งรายได้สทุ ธิ ซึง่ ยังชาระไม่ครบถ้วนตามสัญญาซือ้ และโอนสิทธิรายได้สทุ ธิให้แก่กองทุน (4) การดาเนินการอื่น ๆ ที่กองทุนจะตกลงเพื่อให้บีทีเอสซีสามารถยังคงดาเนินกิจการและเป็ น เจ้าของทรัพย์สนิ ทีไ่ ม่ได้ซอ้ื ได้ต่อไปอย่างเหมาะสม ทัง้ นี้ ตามเงื่อนไขทีก่ าหนดไว้ในสัญญานี้ โดยผูส้ นับสนุนมีหน้าทีช่ าระต้นทุน ค่าใช้จ่ายและภาษีทงั ้ หมดทีเ่ กิดขึน้ จากการโอนรายได้หรือ ทรัพย์สนิ ทีไ่ ม่ได้ซอ้ื หรือหุน้ บีทเี อสซีดงั กล่าว สิทธิทจ่ี ะซือ้ : บีทเี อสจีตกลงให้สทิ ธิโดยเพิกถอนมิได้ แก่กองทุน ดังนี้ (ก) สิทธิของกองทุนในการซื้อ (Right to (Right to Purchase) รายได้ สิทธิ สิทธิประโยชน์ กรรมสิทธิ ์ ผลประโยชน์ และ/หรือการลงทุนของบีทีเอสจี Purchase) หรือบริษัทในเครือของบีทีเอสจีท่เี กี่ยวกับโครงการรถไฟฟ้ าที่กาหนด และ (ข) ในกรณีท่บี ีทเี อสจี และสิทธิในการ หรือ บริษทั ในเครือของบีทเี อสจี (แล้วแต่กรณี) ได้รบั ข้อเสนอจากบุคคลภายนอก สิทธิในการปฏิเสธ ปฏิเสธเป็ นราย เป็ นรายแรกที่จะซื้อ (Right of First Refusal) รายได้ สิทธิ สิทธิประโยชน์ กรรมสิทธิ ์ ผลประโยชน์ แรกทีจ่ ะซือ้ และ/หรือ การลงทุนใด ๆ ทีเ่ กีย่ วกับโครงการรถไฟฟ้ าทีก่ าหนด โครงการระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ (Right of First และปริมณฑลที่ยงั ไม่ได้เริม่ ดาเนินการ และ โครงการระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพและปริมณฑลที่ Refusal) แล้วเสร็จที่บีทีเอสจี และ/หรือ บริษัทในเครือของบีทีเอสจี ได้เข้าท าหรือจะเข้าท าสัญ ญา หรือ ดาเนินการหรือจะดาเนินการโครงการทีเ่ กีย่ วข้องดังกล่าวซึง่ รวมถึงโครงการรถไฟฟ้ าทีก่ าหนด ทัง้ นี้ ข้อกาหนดและเงื่อนไขของสิทธิในการซื้อ (Right to Purchase) และสิทธิในการปฏิเสธเป็ น รายแรกทีจ่ ะซือ้ (Right of First Refusal) ทีบ่ ที เี อสจีให้แก่กองทุนจะมีลกั ษณะเดียวกันกับทีก่ าหนด ไว้ในสัญญาซือ้ และโอนสิทธิรายได้สทุ ธิ สิทธิของ : ในกรณีท่ี บีทเี อสจีในการ (ก) กองทุนใช้สทิ ธิซ้อื หุ้นที่บีทีเอสจีถืออยู่ในบีทเี อสซีตามสัญ ญาจะซื้อจะขายหุ้น และกองทุน ซือ้ หุน้ บีทเี อสซี ประสงค์จะขายหุน้ ดังกล่าวให้แก่บุคคลใด ๆ ทีม่ ายื่นข้อเสนอซือ้ ให้แก่กองทุน หรือ (ข) กองทุนไม่ซอ้ื หุน้ ทีบ่ ที เี อสจีถอื อยู่ในบีทเี อสซีตามสัญญาจะซือ้ จะขายหุน้ ด้วยตนเองแต่ประสงค์ จะขายหุน้ นัน้ ให้แก่บุคคลภายนอกทีเ่ ป็ นอิสระ (นอกเหนือจากบริษทั ในเครือของกองทุน) โดย กาหนดให้บุคคลภายนอกดังกล่าวเป็ นคนรับโอนหุน้ จากบีทเี อสจีตามสัญญาจะซือ้ จะขายหุน้ ส่วนที่ 1 หน้า 161


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ในกรณีดงั กล่าว กองทุนตกลงที่จะให้สทิ ธิแก่บที ี เอสจีในการปฏิเสธเป็ นรายแรก (Right of First Refusal) ทีจ่ ะซือ้ หุน้ ดังกล่าวในราคาเท่ากับข้อเสนอทีก่ องทุนได้รบั (กรณี (ก)) หรือชาระค่าซือ้ หุน้ ดังกล่าวให้แ ก่ก องทุ น เท่ ากับ ราคาที่บุ ค คลภายนอกที่เป็ นอิสระเสนอให้แก่ กองทุ น (กรณี (ข)) ภายใต้ขอ้ กาหนดและเงื่อนไขอื่นเกี่ยวกับการซื้อขายหรือโอนอันเป็ นสาระสาคัญทีไ่ ม่ให้สทิ ธิแก่ผู้ เสนอซือ้ หรือบุคคลภายนอกทีเ่ ป็ นอิสระนัน้ ดีไปกว่าทีเ่ สนอให้แก่บที เี อสจี โดยกองทุนจะมีหนังสือ แจ้งไปยังบีทีเอสจีโดยระบุช่ือของผู้ท่ีมาเสนอซื้อจากกองทุน หรือบุ คคลภายนอกที่เป็ น อิสระที่ กองทุนประสงค์จะขายหุ้นให้ (แล้วแต่กรณี) ราคาเสนอซื้อ และข้อกาหนดและเงื่อนไขอื่นที่เป็ น สาระสาคัญของข้อเสนอในการซือ้ นัน้ ทัง้ นี้ การใช้สทิ ธิซอ้ื หุน้ จากกองทุน (กรณี (ก)) หรือชาระค่า ซื้อหุ้น ดังกล่าวให้แก่กองทุน (กรณี (ข)) บีทีเอสจีต้องดาเนิ นการตามวิธีการและภายในเวลาที่ กาหนดไว้ในสัญญานี้ ในกรณีท่บี ที เี อสจีไม่แสดงความประสงค์ซอ้ื หุ้นจากกองทุนหรือชาระค่าซื้อ หุน้ (แล้วแต่กรณี) ภายในเวลาทีก่ าหนดเป็ นหนังสือ หรือไม่ทาการซือ้ หุน้ ดังกล่าวจากกองทุนหรือ ชาระค่าซือ้ หุน้ ให้แก่กองทุน (แล้วแต่กรณี) ให้เสร็จสิน้ ภายในเวลาทีก่ าหนด กองทุนมีสทิ ธิขายหุ้ น ดังกล่าวให้บุคคลทีม่ าเสนอซือ้ จากกองทุนหรือบุคคลอื่นในราคาทีเ่ ท่ากับหรือสูงกว่าราคาทีใ่ ห้สทิ ธิ แก่บที เี อสจีดงั กล่าว หรือดาเนินการให้มกี ารโอนหุน้ ไปยังบุคคลภายนอกทีเ่ ป็ นอิสระ (แล้วแต่กรณี) ได้ ภายใต้ขอ้ กาหนดและเงื่อนไขอื่นเกีย่ วกับการซือ้ ขายหรือโอนอันเป็ น สาระสาคัญทีไ่ ม่ให้สทิ ธิแก่ ผูซ้ อ้ื หรือบุคคลภายนอกทีเ่ ป็ นอิสระนัน้ ดีไปกว่าทีเ่ สนอให้แก่บที เี อสจี ทัง้ นี้ คู่สญ ั ญาตกลงว่าในกรณีทบ่ี ุคคลทีก่ องทุนกาหนดให้เป็ นผูร้ บั โอนหุน้ จากบีทเี อสจีตามสัญญา จะซื้อจะขายหุ้นนัน้ เป็ น บริษัทในเครือของกองทุน การโอนหุ้น ให้แก่บริษัทในเครือของกองทุ น ดังกล่าวสามารถกระทาได้โดยกองทุนไม่ต้องให้สทิ ธิแก่บที เี อสจีในการปฏิเสธเป็ นรายแรก (Right of First Refusal) ดังที่กล่าวไว้ขา้ งต้นก่อน โดยมีเงื่อนไขว่าเมื่อบริษัทในเครือของกองทุนเข้ามา เป็ นเจ้าของหุน้ ตามสัญญาจะซือ้ จะขายหุน้ แล้ว กองทุนจะดาเนินการให้บริ ษทั ในเครือดังกล่าวทา ความตกลงเป็ นหนังสือไปยังบีทเี อสจีว่าจะให้สทิ ธิแก่บที เี อสจีในการปฏิเสธเป็ นรายแรก (Right of First Refusal) ตามข้อกาหนดและเงื่อนไขทีร่ ะบุไว้ในสัญญานี้ ข้อตกลงทีจ่ ะ ไม่ขายหน่วย ลงทุน

: บีทเี อสจีตกลงทีจ่ ะไม่ขาย โอน หรือจาหน่ ายด้วยประการอื่นใดซึง่ หน่ วยลงทุนทีบ่ ที เี อสจีจองซือ้ ใน จานวนไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของหน่วยลงทุนทัง้ หมด เป็ นระยะเวลา 10 ปี นับจากวันทีท่ าการซือ้ ขายเสร็จสิน้ เว้นแต่จะได้รบั ความยินยอมเป็ นลายลักษณ์อกั ษรล่วงหน้าจากกองทุน

ข้อตกลงว่าจะ ไม่กระทาการ (Negative Undertakings)

: ตัวอย่างของกิจกรรมทีบ่ ที เี อสจีหา้ มกระทา เช่น การควบรวมกิจการ การอนุ ญาตให้บที เี อสซีออก หุน้ หรือหลักทรัพย์แปลงสภาพให้แก่บุคคลใดทีเ่ ป็ นผลให้สดั ส่วนการถือหุน้ ของบีทเี อสจีในบีทเี อสซี ลดลง การอนุ ญาตให้บที เี อสซีลดทุน (เว้นแต่เป็ นการลดทุนของบีทเี อสซีเพื่อการคืนเงินทุนให้แก่ ผูถ้ อื หุน้ และการลดทุนนัน้ ไม่ทาให้ทุนจดทะเบียนของบีทเี อสซีต่ ากว่า 3,000,000,000 บาท และ ไม่ทาให้สดั ส่วนการถือหุ้นของบีทีเอสจีลดลง) และการอนุ ญาตให้บีทีเอสซีเปลี่ยนบุคคลที่ดารง ตาแหน่งประธานกรรมการบริหาร (Chief Executive Officer) ผูอ้ านวยการใหญ่ฝ่ายการเงิน (Chief Financial Officer) หรือกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ฝ่ายปฏิบตั กิ าร (Chief Operating Officer) ของ บีทเี อสซี เป็ นต้น

ส่วนที่ 1 หน้า 162


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

13.

แบบ 56-1 ปี 2560/61

สัญญำจำนำหุ้นระหว่ำง บีทีเอสจี และ กองทุน ฉบับลงวันที่ 17 เมษำยน 2556

วัตถุประสงค์

: เพื่อจานาหุ้นที่บที เี อสจีถือในบีทเี อสซีให้แก่ก องทุน เพื่อเป็ นประกันการปฏิบตั ิหน้าทีข่ องตนตาม สัญญาสนับสนุนและค้าประกันของผูส้ นับสนุน

สิทธิหน้าที่ หลักของ บีทเี อสจี

:

สิทธิหลักของ กองทุน

บีทเี อสจีตกลงจานาหุน้ ทีต่ นถือในบีทเี อสซีให้แก่กองทุน เพื่อเป็ นประกันการปฏิบตั หิ น้าทีข่ อง ตนตามสัญญาสนับสนุนและค้าประกันของผูส้ นับสนุน

บีทเี อสจีจะจัดให้บที เี อสซีบนั ทึกการจานาหุน้ ไว้ในสมุดทะเบียนผูถ้ อื หุน้ ด้วย

บีทเี อสจีตกลงว่าถ้าไม่ว่าในเวลาใด ๆ บีทเี อสจีได้หุ้นในบีทเี อสซีมาเพิม่ เติมอันเนื่องมาจาก การเปลี่ย นแปลงทุน จดทะเบีย นของบีทีเอสซี บีทีเอสจีจะจ าน าหุ้น เพิ่มเติมดังกล่าวให้แ ก่ กองทุน ทัง้ นี้ เพื่อให้หนุ้ บีทเี อสซีทบ่ี ที เี อสจีถอื อยู่ได้นามาจานาและส่งมอบไว้ให้แก่กองทุน

บีทเี อสจีเป็ นผูม้ สี ทิ ธิออกเสียงและได้รบั เงินปั นผลทีไ่ ด้จากหุน้ นัน้ ก่อนทีก่ องทุนจะบังคับจานา หุน้ และมีหนังสือแจ้งไปยังบีทเี อสซีและบีทเี อสจีในกรณีผดิ นัดผิดสัญญาภายใต้สญ ั ญาซือ้ และ โอนสิทธิรายได้สทุ ธิ

: กองทุนอาจใช้สทิ ธิหกั กลบลบหนี้ระหว่างหนี้ทบ่ี ที เี อสจีมตี ่อกองทุนตามสัญญาสนับสนุ นและค้าประกัน ของผูส้ นับสนุ นและเอกสารธุรกรรมอื่นทีบ่ ที เี อสจีเป็ นคู่สญ ั ญากับหนี้ท่กี องทุนเป็ นหนี้ต่อบีทเี อสจี ก็ได้ โดยไม่คานึงถึงสถานทีช่ าระเงิน

การบังคับจานา : บีทเี อสจี และกองทุนตกลงกาหนดเงื่อนไขในการขายทอดตลาดหุ้นนัน้ ให้บุคคลภายนอกที่ชนะ การประมูลจะต้องเข้าทาสัญญาที่มรี ูปแบบ และเนื้อหาเหมือนกับสัญญาสนับสนุ นและค้าประกัน ของผูส้ นับสนุน 14.

สัญญำจะซื้อจะขำยหุ้น ระหว่ำง บีทีเอสจี บีทีเอสซี กองทุน และ ธนำคำรสแตนดำร์ดชำร์เตอร์ด (ไทย) จำกัด (มหำชน) (“ผูด้ แู ลผลประโยชน์ ”) ฉบับลงวันที่ 17 เมษำยน 2556

วัตถุประสงค์

: เพื่อทีจ่ ะขายหุน้ ทีบ่ ที เี อสจีถอื ในบีทเี อสซีให้แก่กองทุน เมื่อเป็ นตามข้อตกลงและเงื่อนไขทีก่ าหนด ไว้ในสัญญานี้

สิทธิหน้าที่ หลักของ บีทเี อสจี

:

บีทีเอสจีต กลงขายหุ้น ที่ต นถือ อยู่ในบีทีเอสซีให้แ ก่ ก องทุ น และกองทุ น ตกลงซื้อ หุ้น จาก บีทเี อสจีเมื่อเกิดเหตุผดิ นัดผิดสัญญาตามสัญญาซือ้ และโอนสิทธิรายได้สุทธิและกองทุนได้ส่ง หนังสือให้แก่บที เี อสจีเพื่อใช้สทิ ธิในการซือ้ หุน้ ดังกล่าว

บีทีเอสจีต กลงแต่ งตัง้ และมอบอ านาจโดยเพิก ถอนมิได้ให้ผู้ดู แ ลผลประโยชน์ และ/หรือ ผูร้ บั โอนสิทธิของผูด้ แู ลผลประโยชน์ ทาการโอนหุน้ นัน้ ให้แก่กองทุน

บีทเี อสจีตกลงว่ากองทุนอาจใช้สทิ ธิหกั กลบลบหนี้ราคาซือ้ หุน้ กับภาระผูกพันซึง่ บีทเี อสจีมอี ยู่ ตามสัญญาสนับสนุ นและค้าประกันของผูส้ นับสนุ นได้ ทัง้ นี้ บีทเี อสจีตกลงทีจ่ ะไม่เรียกร้องให้ กองทุนต้องชาระราคาซือ้ หุน้ เป็ นเงิน

บีทเี อสซีตกลงกระทาการทัง้ หมดเพื่อให้มกี ารโอนหุน้ ให้แก่กองทุน รวมถึงการจัดให้บที เี อสซี บันทึกการโอนหุน้ ดังกล่าวไว้ในสมุดทะเบียนผูถ้ อื หุน้ ส่วนที่ 1 หน้า 163


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

สิทธิและหน้าที่ : หลักของ กองทุน

15.

แบบ 56-1 ปี 2560/61

กองทุ นมีสทิ ธิซ้ือหุ้น จากบีทีเอสจีเมื่อเกิดเหตุ ผิดนัด ผิดสัญ ญาตามสัญ ญาซื้อและโอนสิท ธิ รายได้สทุ ธิ

ราคาค่าซือ้ หุน้ ดังกล่าวจะได้มกี ารกาหนดขึน้ ตามวิธกี ารทีก่ าหนดไว้ในสัญญาจะซือ้ จะขายหุน้

กองทุนอาจใช้สทิ ธิหกั กลบลบหนี้ระหว่างหนี้ทบ่ี ที เี อสจีมตี ่อกองทุนตามสัญญาสนับสนุ นและ ค้าประกันของผู้สนับสนุ นและเอกสารธุรกรรมอื่นที่บที เี อสจีเป็ นคู่สญ ั ญากับหนี้ท่กี องทุนเป็ น หนี้ต่อบีทเี อสจีกไ็ ด้ โดยไม่คานึงถึงสถานที่ชาระเงิน ทัง้ นี้ บีทเี อสจีตกลงที่จะไม่เรียกร้องให้ กองทุนต้องชาระราคาซือ้ หุน้ เป็ นเงิน

สัญญำโอนสิ ทธิ ในบัญชี ค่ำใช้ จ่ำย O&M อย่ำงมีเงื่อนไข ระหว่ำง บีทีเอสซี และ กองทุน ฉบับลงวันที่ 17 เมษำยน 2556

วัตถุประสงค์

: เพื่อโอนสิทธิในบัญชีค่าใช้จ่าย O&M ให้แก่กองทุนเมื่อบีทีเอสซีผดิ นัดภายใต้สญ ั ญาซื้อและโอน สิทธิรายได้สทุ ธิ

สิทธิหน้าที่ หลักของ บีทเี อสซี

: บีทเี อสซีตกลงทีจ่ ะโอนสิทธิในบัญชีค่าใช้จ่าย O&M ให้แก่กองทุนเมื่อเกิดเหตุผดิ นัดผิดสัญญาตาม สัญญาซือ้ และโอนสิทธิรายได้สทุ ธิ และกองทุนได้สง่ หนังสือให้แก่บที เี อสซีและธนาคาร

16.

สรุปสำระสำคัญข้อตกลงระหว่ำง บีทีเอสซี กองทุน และ บีเอสเอส ฉบับลงวันที่ 17 เมษำยน 2556

วัตถุประสงค์

17.

: เพื่อให้บเี อสเอสรับทราบถึงสิทธิของกองทุนในรายได้ค่าโดยสารสุทธิ และยอมรับทีจ่ ะทาหน้าทีเ่ ป็ น ตัวแทนกองทุนในการจัดเก็บรายได้ค่าโดยสารสุทธิ รวมทัง้ จะนาส่งรายได้ค่าโดยสารสุทธิทไ่ี ด้รบั ให้แก่กองทุนโดยผ่านบีทเี อสซี หรือในกรณีท่บี ที เี อสซีไม่สามารถส่งรายได้ ค่าโดยสารสุทธิให้แก่ กองทุนได้ตามปกติ (เช่น กรณีล้มละลาย) บีเอสเอสจะนาส่งรายได้ ค่าโดยสารสุทธิให้แก่กองทุน โดยตรง

สรุปสำระสำคัญของกำรสลักหลังกรมธรรม์ประกันภัย

ตามที่ได้กาหนดไว้ในสัญญาซื้อและโอนสิทธิรายได้สุทธิ จะมีการระบุช่อื ของกองทุนเป็ นผูเ้ อาประกันร่วมและ ผู้รบั ประโยชน์ร่วมภายใต้กรมธรรม์ประกันภัยที่เกี่ยวข้องที่บีทเี อสซีมีอยู่ ในการนี้ บีทเี อสซีจะส่งคาบอกกล่าวไปยัง บริษทั ประกันภัยทีเ่ กีย่ วข้องภายใน 30 วันนับจากวันทีท่ าการซือ้ ขายเสร็จสิน้ เพื่อให้มกี ารสลักหลังกรมธรรม์ประกันภัย ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้กองทุ น เข้าเป็ น ผู้เอาประกัน ร่วมและผู้ รบั ผลประโยชน์ ร่ว มในกรมธรรม์ป ระกันภัย ที่เกี่ย วข้อ งที่ บีทเี อสซีทาไว้ คาบอกกล่าวนัน้ จะส่งให้บริษทั ประกันภัยสาหรับกรมธรรม์ประกันภัยทุกฉบับที่บที เี อสซีทาไว้ 18.

สรุปสำระสำคัญสัญญำหลักเกี่ยวกับทรัพย์สินที่ กองทุนไม่ได้ซื้อ ระหว่ำง บีทีเอสจี และ บีทีเอสซี ฉบับ ลงวันที่ 17 เมษำยน 2556

เพื่อกาหนดรายละเอียดและเงื่อนไขหลัก และการเข้าทาสัญญาประกอบต่าง ๆ เพื่อดาเนินการกับทรัพย์สนิ ที่ กองทุนไม่ได้ซอ้ื จากบีทเี อสซีตามสัญญาซือ้ และโอนสิทธิรายได้สทุ ธิ โดยหากเกิดกรณีผดิ นัดผิดสัญญาซือ้ และโอนสิทธิ

ส่วนที่ 1 หน้า 164


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

รายได้สุ ท ธิ และกองทุ น ใช้สิท ธิ บ ัง คับ การค้ า ประกัน ที่ให้โดยบีทีเอสจีภ ายใต้ส ัญ ญาสนั บ สนุ น และค้ า ประกัน ของ ผูส้ นับสนุ น ไม่ว่าจะโดยการบังคับจานาหรือการซื้อหุ้นบีทเี อสซีท่ีบที เี อสจีถืออยู่ภายใต้สญ ั ญาจานาหุ้นบีทเี อสซี หรือ สัญญาจะซือ้ จะขายหุน้ บีทเี อสซี (แล้วแต่กรณี) ซึง่ ในกรณีดงั กล่าว บีทเี อสซีจะต้องโอนทรัพย์สนิ ของตนทีก่ องทุนไม่ได้ซอ้ื ให้แก่บที เี อสจีหรือบุคคลทีบ่ ที เี อสจีกาหนด ตามข้อกาหนดและเงื่อนไขในสัญญาหลักและสัญญาประกอบทีเ่ ข้าทาระหว่าง บีทเี อสจีและบีทเี อสซี เพื่อชดเชยความเสียหายที่บที เี อสจีสูญเสียหุ้นบีทีเอสซีตามสัญญาสนับสนุ นและค้าประกันของ ผูส้ นับสนุ น ทัง้ นี้ การค้าประกัน ตามสัญญาสนับสนุ นและค้าประกันของผู้สนับสนุ นจากัดอยู่ท่ี หุ้นบีทเี อสซี โดยไม่รวม ทรัพย์สนิ ของบีทเี อสซีทก่ี องทุนไม่ได้ซอ้ื ตามสัญญาซือ้ และโอนสิทธิรายได้สทุ ธิ สัญญาประกอบสัญญาหลักเกีย่ วกับทรัพย์สนิ ทีก่ องทุนไม่ได้ซอ้ื รวมถึง สัญญาเกี่ย วกับการซือ้ ขาย การโอน การโอนสิทธิ และ/หรือ การแปลงหนี้ใหม่ ในทรัพย์สนิ ทีก่ องทุนไม่ได้ซอ้ื แบบมีเงื่อนไขบังคับก่อนว่าจะมีผลบังคับต่อเมื่อ หุน้ บีทเี อสซีถูกบังคับตามสัญญาจานาหุน้ หรือสัญญาจะซือ้ จะขายหุน้ หรือมีเหตุอนั ควรเชื่อได้ว่าจะเกิดการบังคับกับหุน้ บีทีเอสซี ตลอดจนการให้ห ลักประกันโดยบีทีเอสซีแก่ บีทีเอสจี เพื่อการปฏิบ ัติตามสัญ ญาหลักเกี่ยวกับทรัพ ย์สนิ ที่ กองทุนไม่ได้ซอ้ื

ส่วนที่ 1 หน้า 165


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ส่วนที่ 2 : กำรจัดกำรและกำรกำกับดูแลกิจกำร 7.

ข้อมูลหลักทรัพย์และผูถ้ ือหุ้น

7.1

หลักทรัพย์ของบริษทั ฯ

7.1.1

ทุนและหุ้น

ณ วัน ที่ 31 มีน าคม 2560 บริษ ัท ฯ มีทุน จดทะเบียน 63,715,644,348.00 บาท และทุนจดทะเบียนชาระ แล้ว 47,739,817,248 บาท ซึ่ง เป็ น หุ ้นสามัญจดทะเบียน 15,928,911,087 หุ ้น มูลค่า ที่ตราไว้หุ้น ละ 4 บาท โดย แบ่งเป็ น (1) หุ้นสามัญทีอ่ อกจาหน่ ายแล้วจานวน 11,934,954,312 หุ้น และ (2) หุ้นสามัญทีย่ งั ไม่ได้ออกจาหน่ าย อีกจานวน 3,993,956,775 หุ้น เมื่อ วัน ที่ 7 กรกฎาคม 2560 บริษัท ฯ ได้อ อกหุ้น สามัญเพิ่มทุน จากการใช้สทิ ธิตามใบสาคัญ แสดง สิท ธิ BTS-WB สาหรับ วัน ก าหนดการใช้ส ทิ ธิง วดวัน ที่ 30 มิถุ น ายน 2560 จ านวนรวมทัง้ สิน้ 5,414,642 หุ ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 4 บาท 

เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2560 ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจาปี 2560 ได้มมี ติอนุ มตั ิลดทุนจดทะเบียน ของบริษัทฯ จานวน 108,387,320.00 บาท จากทุนจดทะเบียนเดิมจานวน 63,715,644,348.00 บาท เป็ นจานวน 63,607,257,028.00 บาท โดยการตัดหุ้นจดทะเบียนทีย่ งั ไม่ได้ออกจาหน่ ายของบริษัทฯ จานวน 27,096,830 หุน้ มูลค่า ที่ต ราไว้หุ้น ละ 4 บาท และมีม ติอ นุ มตั เิ พิม่ ทุน จดทะเบียนของบริษ ัทฯ อีก จานวน 2,448,000,000.00 บาท จากทุน จดทะเบียนเดิมจานวน 63,607,257,028.00 บาท เป็ น จานวน 66,055,257,028.00 บาท โดยการออกหุน้ สามัญเพิม่ ทุนจานวน 612,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 4 บาท เพื่อ (ก) รองรับการใช้สทิ ธิตามใบสาคัญแสดง สิท ธิ BTS-WD จ านวนไม่ เ กิน 16,000,000 หุ้น และ (ข) เสนอขายต่ อ บุ ค คลในวงจ ากัด (Private Placement) ตาม แผนการเพิม่ ทุนจดทะเบียนของบริษทั ฯ แบบมอบอานาจทัวไป ่ (General Mandate) จานวนไม่เกิน 596,000,000 หุน้ 

ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561 บริษทั ฯ มีทุนจดทะเบียน 66,055,257,028.00 บาท และทุนจดทะเบียนชาระแล้ว 47,761,475,816.00 บาท ซึง่ เป็ นหุน้ สามัญจดทะเบียน 16,513,814,257 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 4 บาท โดยแบ่งเป็ น (1) หุ้นสามัญที่ออกจาหน่ ายแล้วจานวน 11,940,368,954 หุ้น และ (2) หุ้นสามัญที่ยงั ไม่ได้ออกจาหน่ ายอีกจานวน 4,573,445,303 หุน้ อนึ่ ง เมื่อ วัน ที่ 4 เมษายน 2561 บริษัท ฯ ได้ดาเนิ น การจดทะเบีย นลดทุ นช าระแล้วของบริษัท ฯ จ านวน 383,359,600.00 บาท โดยวิธกี ารตัดหุน้ จดทะเบียนทีซ่ อ้ื คืนและยังไม่ได้จาหน่ายตามโครงการซือ้ หุน้ คืนเพื่อบริหารทาง การเงินจานวน 95,839,900 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 4 บาท ตามมติทป่ี ระชุมคณะกรรมการบริษทั ครัง้ ที่ 3/2561 เมื่อ วันที่ 26 มีนาคม 2561 โดยภายหลังการจดทะเบียนลดทุนดังกล่าว บริษทั ฯ มีทุนจดทะเบียน 65,671,897,428.00 บาท และทุนจดทะเบียนชาระแล้ว 47,378,116,216.00 บาท ซึง่ เป็ นหุน้ สามัญจดทะเบียน 16,417,974,357 หุน้ มูลค่าทีต่ รา ไว้หุน้ ละ 4 บาท แบ่งเป็ น (1) หุน้ สามัญทีอ่ อกจาหน่ ายแล้วจานวน 11,844,529,054 หุน้ และ (2) หุน้ สามัญทีย่ งั ไม่ได้ ออกจาหน่ายอีกจานวน 4,573,445,303 หุน้

ส่วนที่ 2 หน้า 1


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน) 

แบบ 56-1 ปี 2560/61

หุน้ สามัญทีย่ งั ไม่ได้ออกจาหน่ายจานวน 4,573,445,303 หุน้ แบ่งเป็ น

 หุน้ ทีย่ งั ไม่ได้ออกจาหน่ายจานวน 3,944,551,464 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 4 บาท เพื่อรองรับการ ใช้สทิ ธิตามใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-W3 ซึ่ง มีจานวนคงเหลือ ทัง้ สิน้ 3,944,551,464 หน่ ว ย (ตามรายละเอียดใน หัวข้อ 7.1.2 ใบสำคัญแสดงสิทธิ BTS-W3)  หุ้นที่ยงั ไม่ได้ออกจาหน่ ายจานวน 893,839 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุ้นละ 4 บาท เพื่อรองรับการใช้ สิท ธิต ามใบสาคัญ แสดงสิท ธิ BTS-WB ซึง่ มีจานวนคงเหลือทัง้ สิน้ 893,839 หน่ ว ย (ตามรายละเอีย ดใน หัว ข้อ 7.1.3 ใบสำคัญแสดงสิทธิ BTS-WB)  หุ้นที่ยงั ไม่ได้ออกจาหน่ ายจานวน 16,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 4 บาท เพื่อรองรับการ ใช้สทิ ธิตามใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-WC จานวน 16,000,000 หน่ วย (ตามรายละเอียดใน หัวข้อ 7.1.4 ใบสำคัญ แสดงสิทธิ BTS-WC)  หุ้นที่ยงั ไม่ได้ออกจาหน่ ายจานวน 16,000,000 หุ้น มูลค่าที่ตราไว้หุน้ ละ 4 บาท เพื่อรองรับการ ใช้สทิ ธิตามใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-WD จานวน 16,000,000 หน่ วย (ตามรายละเอียดใน หัวข้อ 7.1.5 ใบสำคัญ แสดงสิทธิ BTS-WD)  หุ ้น ที่ย งั ไม่ไ ด้อ อกจาหน่ ายจานวน 596,000,000 หุ ้น มูลค่า ที่ต ราไว้หุน้ ละ 4 บาท เพื่อรองรับ การเสนอขายต่อบุคคลในวงจากัด (Private Placement) ตามแผนการเพิม่ ทุนจดทะเบียนของบริษทั ฯ แบบมอบอานาจ ทัวไป ่ (General Mandate) 7.1.2

ใบสำคัญแสดงสิ ทธิ BTS-W3 ชื่อหลักทรัพย์

: ใบสาคัญแสดงสิทธิทจ่ี ะซือ้ หุน้ สามัญเพิม่ ทุนของบริษทั บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์ จากัด (มหาชน) ครัง้ ที่ 3 (BTS-W3)

วิธกี ารจัดสรร

: ออกและจัดสรรใบสาคัญแสดงสิทธิให้แก่ผถู้ อื หุน้ เดิมของบริษทั ฯ ตาม สัดส่วนการถือหุน้ (Rights Offering) โดยไม่คดิ มูลค่า ในอัตราจัดสรร ที่ 3 หุน้ สามัญเดิมต่อ 1 หน่วยใบสาคัญแสดงสิทธิ

จานวนใบสาคัญแสดงสิทธิ ทีอ่ อก

: 3,944,626,464 หน่วย

จานวนใบสาคัญแสดงสิทธิ ทีใ่ ช้สทิ ธิไปแล้ว ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561

: 75,000 หน่วย

จานวนใบสาคัญแสดงสิทธิ คงเหลือ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561

: 3,944,551,464 หน่วย

จานวนหุน้ รองรับทีอ่ อก

: 3,971,617,378 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 4 บาท

ส่วนที่ 2 หน้า 2


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

จานวนหุน้ สามัญทีอ่ อกตาม การใช้สทิ ธิ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561

: 75,000 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 4 บาท

จานวนหุน้ รองรับคงเหลือ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561

: 3,944,551,464 หุ้น มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 4 บาท

วันทีอ่ อกใบสาคัญแสดงสิทธิ

: 1 พฤศจิกายน 2556

วันทีเ่ ริม่ ทาการซือ้ ขายใน ตลาดหลักทรัพย์

: 18 พฤศจิกายน 2556

อายุของใบสาคัญแสดงสิทธิ

: 5 ปี นั บ แต่ ว ัน ที่อ อกใบส าคัญ แสดงสิท ธิ ทัง้ นี้ ภายหลัง การออก ใบสาคัญแสดงสิทธิ บริษทั ฯ จะไม่ขยายอายุใบสาคัญแสดงสิทธิ

วันครบกาหนดใบสาคัญแสดง : 1 พฤศจิกายน 2561 สิทธิ อัตราการใช้สทิ ธิ

: ใบสาคัญแสดงสิทธิ 1 หน่ วย มีสทิ ธิซอ้ื หุน้ สามัญของบริษทั ฯ ได้ 1 หุน้ เว้นแต่กรณีมกี ารปรับอัตราการใช้สทิ ธิตามเงื่อนไขการปรับสิทธิ

ราคาการใช้สทิ ธิ

: 12 บาทต่ อหุ้น เว้นแต่ กรณีมีการปรับ ราคาการใช้สทิ ธิตามเงื่อนไข การปรับสิทธิ

ระยะเวลาการใช้สทิ ธิ

: ผูถ้ อื ใบสาคัญแสดงสิทธิสามารถใช้สทิ ธิตามใบสาคัญแสดงสิทธิได้ใน วันทาการสุดท้ายของทุก ๆ ไตรมาสของแต่ ละปี ปฏิทิน (กล่าวคือ วันทาการสุดท้ายของเดือนมีนาคม มิถุนายน กันยายน และธันวาคม) ภายหลังจากวันครบกาหนด 3 ปี นับจากวันทีอ่ อกใบสาคัญแสดงสิทธิ โดยวันกาหนดการใช้สทิ ธิครัง้ แรก คือ วันทาการสุดท้ายของสิน้ ไตรมาส แรกภายหลังจากวันครบกาหนด 3 ปี นับจากวันทีอ่ อกใบสาคัญแสดง สิทธิซ่งึ จะตรงกับวันที่ 30 ธันวาคม 2559 และวันกาหนดการใช้สทิ ธิ ครัง้ สุดท้าย คือ วันที่ใบสาคัญแสดงสิทธิมอี ายุครบ 5 ปี นับจากวันที่ ออกใบสาคัญแสดงสิทธิ ซึ่งจะตรงกับวันที่ 1 พฤศจิกายน 2561 โดย หากวันกาหนดการใช้สทิ ธิครัง้ สุดท้ายไม่ตรงกับวันทาการ ให้เลื่อน วันกาหนดการใช้สทิ ธิครัง้ สุดท้ายดังกล่าวเป็ นวันทาการถัดไป

ส่วนที่ 2 หน้า 3


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

การปรับสิทธิใบสาคัญแสดง สิทธิ

แบบ 56-1 ปี 2560/61

: บริษ ัท ฯ จะต้อ งดาเนิน การปรับ ราคาการใช้สทิ ธิ และ/หรือ อัต รา การใช้สทิ ธิ เมื่อเกิดเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่ง ดังต่อไปนี้ (ก) เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงมูลค่าทีต่ ราไว้ของหุน้ สามัญของบริษทั ฯ อันเป็ นผลมาจากการรวมหุน้ หรือแบ่งแยกหุน้ (ข) เมื่อบริษัทฯ ได้เสนอขายหุ้นสามัญให้แก่ผู้ถือหุ้นเดิม และ/หรือ ประชาชนทัวไป ่ และ/หรือ บุคคลในวงจากัด ในราคาสุทธิต่อหุน้ ของหุน้ สามัญทีอ่ อกใหม่คานวณได้ต่ ากว่าร้อยละ 90 ของราคา ตลาดต่อหุน้ ของหุน้ สามัญของบริษทั ฯ (ค) เมื่อบริษัทฯ เสนอขายหลักทรัพย์ออกใหม่ใ ด ๆ ให้แก่ผถู้ อื หุน้ เดิม และ/หรือ ประชาชนทัวไป ่ และ/หรือ บุคคลในวงจากัด โดย ที่หลักทรัพย์นัน้ ให้สทิ ธิทจ่ี ะแปลงสภาพ/เปลี่ยนเป็ นหุ้นสามัญ หรือให้สทิ ธิในการซื้อหุ้นสามัญ (เช่น หุ้นกู้แปลงสภาพ หรือ ใบสาคัญแสดงสิทธิท่จี ะซื้อหุ้นสามัญ) โดยที่ราคาสุทธิต่อหุ้น ของหุน้ สามัญทีอ่ อกใหม่เพื่อรองรับสิทธิดงั กล่าวต่ ากว่าร้อยละ 90 ของราคาตลาดต่อหุน้ ของหุน้ สามัญของบริษทั ฯ (ง) เมื่อบริษทั ฯ จ่ายปั นผลทัง้ หมดหรือบางส่วนเป็ นหุน้ สามัญให้แก่ ผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ (จ) เมื่อบริษัทฯ จ่ายเงินปั นผลเป็ นเงินเกินกว่าอัตราเงินปั นผลที่ กาหนดในแต่ละรอบระยะเวลาบัญชี ดังนี้ รอบระยะเวลาบัญชี สิน้ สุด วันที่ 31 มีนาคม 2557 (1 เมษายน 2556 31 มีนาคม 2557)

8,000 ล้านบาท ซึ่งจ่ ายจากก าไรสุทธิ และ/ หรือ กาไรสะสมตามงบการเงินเฉพาะกิจการ ของบริษัทฯ ของรอบระยะเวลาบัญชีส้ินสุด วันที่ 31 มีนาคม 2557

รอบระยะเวลาบัญชี สิน้ สุด วันที่ 31 มีนาคม 2558 (1 เมษายน 2557 31 มีนาคม 2558)

9,000 ล้านบาท ซึ่งจ่ ายจากก าไรสุทธิ และ/ หรือ กาไรสะสมตามงบการเงินเฉพาะกิจการ ของบริษัทฯ ของรอบระยะเวลาบัญชีส้ินสุด วันที่ 31 มีนาคม 2558

รอบระยะเวลาบัญชี สิน้ สุด วันที่ 31 มีนาคม 2559 (1 เมษายน 2558 31 มีนาคม 2559)

10,000 ล้านบาท ซึ่งจ่ายจากกาไรสุทธิ และ/ หรือ กาไรสะสมตามงบการเงินเฉพาะกิจการ ของบริษัทฯ ของรอบระยะเวลาบัญชีส้ินสุด วันที่ 31 มีนาคม 2559

ส่วนที่ 2 หน้า 4


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

ตัง้ แต่รอบระยะเวลา บัญชีสน้ิ สุดวันที่ 31 มีนาคม 2560 จนถึงวัน ครบกาหนดอายุของ ใบสาคัญแสดงสิทธิ

แบบ 56-1 ปี 2560/61

อัตราร้อยละ 95 ของกาไรสุทธิตามงบการเงิน เฉพาะกิจการของบริษัทฯ ของรอบระยะเวลา บัญชีใด ๆ ตัง้ แต่ รอบระยะเวลาบัญชีส้ินสุด วันที่ 31 มีนาคม 2560 จนถึงวันครบกาหนด อายุของใบสาคัญแสดงสิทธิ

(ฉ) ในกรณีทม่ี เี หตุการณ์ใด ๆ อันทาให้ผถู้ อื ใบสาคัญแสดงสิทธิเสีย สิทธิและผลประโยชน์อนั พึงได้ โดยทีเ่ หตุการณ์ใด ๆ นัน้ ไม่ได้ ก าหนดอยู่ ใ นข้อ (ก)–(จ) บริษั ท ฯ มีสิท ธิ จ ะพิจ ารณาเพื่ อ กาหนดการเปลีย่ นแปลงราคาการใช้สทิ ธิ และ/หรือ อัตราการใช้ สิทธิใหม่ (หรือปรับจานวนหน่ วยใบสาคัญแสดงสิทธิแทนอัตรา การใช้สทิ ธิ) อย่างเป็ นธรรม ทัง้ นี้ ค าจ ากัด ความ สูต รการค านวณเพื่อ การปรับ สิท ธิ ตลอดจน รายละเอียดเพิม่ เติมอื่น ๆ เป็ นไปตามทีร่ ะบุไว้ในข้อกาหนดสิทธิ 7.1.3

ใบสำคัญแสดงสิ ทธิ BTS-WB ชื่อหลักทรัพย์

: ใบสาคัญแสดงสิทธิทจ่ี ะซือ้ หุน้ สามัญของบริษทั บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์ จากัด (มหาชน) ทีอ่ อกให้แก่พนักงานของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยครัง้ ที่ 2 (BTS-WB)

ชนิด

: ระบุช่อื ผูถ้ อื และโอนเปลีย่ นมือไม่ได้

วิธกี ารจัดสรร

: ใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-WB ออกให้แก่พนักงานของบริษัทฯ และ บริษัทย่อยที่ไม่ได้ดารงตาแหน่ งกรรมการ ทัง้ นี้ พนักงานจะได้รบั ใบสาคัญแสดงสิทธิจานวน 3 ฉบับ พร้อมกันในวันที่ออกใบสาคัญ แสดงสิทธิ โดยใบสาคัญแสดงสิทธิแต่ละฉบับจะมีสดั ส่วนเท่ากับ 1 ใน 3 ของจานวนหน่ วยของใบสาคัญแสดงสิทธิท่บี ุ คคลดัง กล่ าวได้ร ับ จัดสรรทัง้ หมด

จานวนใบสาคัญแสดงสิทธิ ทีอ่ อก

: 16,000,000 หน่วย

จานวนใบสาคัญแสดงสิทธิ ทีใ่ ช้สทิ ธิไปแล้ว ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561

: 15,106,161 หน่วย

จานวนใบสาคัญแสดงสิทธิ คงเหลือ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561

: 893,839 หน่วย

จานวนหุน้ รองรับ

: 16,000,000 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 4 บาท ส่วนที่ 2 หน้า 5


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

จานวนหุน้ สามัญทีอ่ อกตาม การใช้สทิ ธิ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561

: 15,106,161 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 4 บาท

จานวนหุน้ รองรับคงเหลือ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561

: 893,839 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 4 บาท

อายุของใบสาคัญแสดงสิทธิ

: 5 ปี นับแต่วนั ทีอ่ อกใบสาคัญแสดงสิทธิ

วันทีอ่ อกใบสาคัญแสดงสิทธิ

: 11 มิถุนายน 2556

วันทีค่ รบกาหนดใบสาคัญ แสดงสิทธิ

: 11 มิถุนายน 2561

อัตราการใช้สทิ ธิ

: ใบสาคัญแสดงสิทธิ 1 หน่ วย มีสทิ ธิซ้อื หุ้นสามัญ ของบริษัทฯ ได้ 1 หุน้ เว้นแต่กรณีมกี ารปรับอัตราการใช้สทิ ธิตามเงื่อนไขการปรับสิทธิ

ราคาการใช้สทิ ธิ

: 5.01 บาทต่อหุน้ เว้นแต่กรณีมกี ารปรับราคาการใช้สทิ ธิตามเงื่อนไข การปรับสิทธิ

การปรับสิทธิใบสาคัญแสดง สิทธิ

: บริษ ัท ฯ จะต้อ งดาเนิน การปรับ ราคาการใช้สทิ ธิ และ/หรือ อัต รา การใช้สทิ ธิ เมื่อเกิดเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่ง ดังต่อไปนี้ (ก) เมื่อมีการเปลีย่ นแปลงมูลค่าที่ตราไว้ของหุน้ สามัญของบริษทั ฯ อันเป็ นผลมาจากการรวมหุน้ หรือแบ่งแยกหุน้ (ข) เมื่อบริษทั ฯ ได้เสนอขายหุน้ สามัญให้แก่ผถู้ อื หุน้ เดิม และ/หรือ ประชาชนทัวไป ่ และ/หรือ บุคคลในวงจากัด ในราคาสุทธิต่อหุน้ ของหุน้ สามัญทีอ่ อกใหม่คานวณได้ต่ากว่าร้อยละ 90 ของ ราคา ตลาดต่อหุน้ ของหุน้ สามัญของบริษทั ฯ (ค) เมื่อบริษทั ฯ เสนอขายหลักทรัพย์ออกใหม่ใด ๆ ให้แก่ผถู้ อื หุน้ เดิม และ/หรือ ประชาชนทัวไป ่ และ/หรือ บุคคลในวงจากัด โดย ที่หลักทรัพย์นัน้ ให้สทิ ธิท่จี ะแปลงสภาพ/เปลี่ยนเป็ นหุ้นสามัญ หรือให้สทิ ธิในการซื้อหุ้นสามัญ (เช่น หุ้นกู้แปลงสภาพ หรือ ใบสาคัญแสดงสิทธิท่จี ะซื้อหุ้นสามัญ) โดยที่ราคาสุทธิต่อหุ้น ของหุน้ สามัญทีอ่ อกใหม่เพื่อรองรับสิทธิดงั กล่าวต่ ากว่าร้อยละ 90 ของราคาตลาดต่อหุน้ ของหุน้ สามัญของบริษทั ฯ (ง) ในกรณีทม่ี เี หตุการณ์ใด ๆ อันทาให้ผถู้ อื ใบสาคัญแสดงสิทธิเสีย สิทธิและผลประโยชน์อนั พึงได้ โดยทีเ่ หตุการณ์ใด ๆ นัน้ ไม่ได้ ก าหนดอยู่ ใ นข้อ (ก)–(ค) คณะกรรมการบริห ารมีสิท ธิท่ีจ ะ พิจารณาเพื่อกาหนดการเปลี่ยนแปลงราคาการใช้สทิ ธิ และ/ หรือ อัตราการใช้สทิ ธิใหม่ (หรือปรับจานวนหน่ วยใบสาคัญ แสดงสิทธิแทนอัตราการใช้สทิ ธิ) อย่างเป็ นธรรม ทัง้ นี้ ให้ถอื ว่า ผลการพิจ ารณานัน้ เป็ น ที่สุด อย่ า งไรก็ต าม คณะกรรมการ ส่วนที่ 2 หน้า 6


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

บริหารจะไม่พจิ ารณาเปลี่ยนแปลงราคาการใช้สทิ ธิ และ/หรือ อัตราการใช้สทิ ธิใหม่ให้แก่ผถู้ อื ใบสาคัญแสดงสิทธิในเหตุการณ์ ที่เ กิด จากการจ่ า ยเงิน ปั น ผลของบริษัท ฯ ไม่ ว่ า จะเป็ น การ จ่ายเงินปั นผลเป็ นเงินหรือเป็ นหุน้ ปั นผลก็ตาม ระยะเวลาการใช้สทิ ธิ

: (ก) ใบสาคัญแสดงสิทธิฉบับที่ 1 ผู้ ถื อ ใบส าคัญ แสดงสิท ธิ ส ามารถใช้ สิท ธิ ซ้ื อ หุ้ น สามั ญ ของ บริษทั ฯ ตามใบสาคัญแสดงสิทธิฉบับที่ 1 ได้ทงั ้ หมดหรือบางส่วน ในวันกาหนดการใช้สทิ ธิเมื่อครบระยะเวลา 2 ปี นับจากวันทีอ่ อก ใบสาคัญแสดงสิทธิจนกว่าจะครบอายุของใบสาคัญแสดงสิทธิ (ข) ใบสาคัญแสดงสิทธิฉบับที่ 2 ผู้ ถื อ ใบส าคัญ แสดงสิท ธิ ส ามารถใช้ สิท ธิ ซ้ื อ หุ้ น สามั ญ ของ บริษทั ฯ ตามใบสาคัญแสดงสิทธิฉบับที่ 2 ได้ทงั ้ หมดหรือบางส่วน ในวันกาหนดการใช้สทิ ธิเมื่อครบระยะเวลา 3 ปี นับจากวันทีอ่ อก ใบสาคัญแสดงสิทธิจนกว่าจะครบอายุของใบสาคัญแสดงสิทธิ (ค) ใบสาคัญแสดงสิทธิฉบับที่ 3 ผู้ ถื อ ใบส าคัญ แสดงสิท ธิ ส ามารถใช้ สิท ธิ ซ้ื อ หุ้ น สามั ญ ของ บริษทั ฯ ตามใบสาคัญแสดงสิทธิฉบับที่ 3 ได้ทงั ้ หมดหรือบางส่วน ในวันกาหนดการใช้สทิ ธิเมื่อครบระยะเวลา 4 ปี นับจากวันทีอ่ อก ใบสาคัญแสดงสิทธิจนกว่าจะครบอายุของใบสาคัญแสดงสิทธิ ผูถ้ อื ใบสาคัญแสดงสิทธิสามารถใช้สทิ ธิตามใบสาคัญแสดงสิทธิได้ใน วันทาการสุดท้ายของทุก ๆ ไตรมาส (เดือนมีนาคม เดือนมิถุนายน เดือ นกัน ยายน และเดือ นธัน วาคม) นับ ตัง้ แต่ ไ ตรมาสแรกที่ผู้ถือ ใบสาคัญแสดงสิทธิสามารถใช้สทิ ธิตามใบสาคัญแสดงสิทธิแต่ละฉบับ ได้ ทัง้ นี้ วันกาหนดการใช้สทิ ธิครัง้ แรก (สาหรับใบสาคัญแสดงสิทธิ ฉบับที่ 1) จะตรงกับวันที่ 30 มิถุนายน 2558 ซึง่ เป็ นวันทาการสุดท้าย ของสิน้ ไตรมาสแรกภายหลังจากวันครบกาหนด 2 ปี นับ จากวัน ที่ ออกใบสาคัญ แสดงสิท ธิ และวัน ก าหนดการใช้ส ทิ ธิค รัง้ สุด ท้า ย (สาหรับใบสาคัญ แสดงสิทธิทงั ้ 3 ฉบับ) จะตรงกับวันที่ 11 มิถุนายน 2561 ซึง่ ตรงกับวันทีใ่ บสาคัญแสดงสิทธิมอี ายุครบ 5 ปี นับจากวันที่ ออกใบสาคัญแสดงสิทธิ โดยหากวันกาหนดการใช้สทิ ธิค รัง้ สุด ท้ายไม่ ตรงกับวันทาการให้เลื่อนวันกาหนดการใช้สทิ ธิครัง้ สุดท้ายดังกล่าว เป็ นวันทาการถัดไป

ส่วนที่ 2 หน้า 7


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

7.1.4

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ใบสำคัญแสดงสิ ทธิ BTS-WC ชื่อหลักทรัพย์

: ใบสาคัญแสดงสิทธิทจ่ี ะซือ้ หุน้ สามัญของบริษทั บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์ จากัด (มหาชน) ทีอ่ อกให้แก่พนักงานของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยครัง้ ที่ 3 (BTS-WC)

ชนิด

: ระบุช่อื ผูถ้ อื และโอนเปลีย่ นมือไม่ได้

ลักษณะการเสนอขาย

: ใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-WC ออกให้แก่พนักงานของบริษัทฯ และ บริษัทย่อยที่ไม่ได้ดารงตาแหน่ งกรรมการ ทัง้ นี้ พนักงานจะได้รบั ใบสาคัญแสดงสิทธิจานวน 3 ฉบับ พร้อมกันในวันที่ออกใบสาคัญ แสดงสิท ธิ โดยใบสาคัญ แสดงสิท ธิแ ต่ ละฉบับ จะมีสดั ส่ว นเท่ า กับ 1 ใน 3 ของจานวนหน่ วยของใบสาคัญแสดงสิทธิท่บี ุ คคลดัง กล่ า ว ได้รบั จัดสรรทัง้ หมด

จานวนใบสาคัญแสดงสิทธิ ทีอ่ อก

: 16,000,000 หน่วย

จานวนหุน้ รองรับ

: 16,000,000 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 4 บาท

อายุของใบสาคัญแสดงสิทธิ

: 5 ปี นับแต่วนั ทีอ่ อกใบสาคัญแสดงสิทธิ

วันทีอ่ อกใบสาคัญแสดงสิทธิ

: 30 พฤษภาคม 2559

วันทีค่ รบกาหนดใบสาคัญ แสดงสิทธิ

: 30 พฤษภาคม 2564

อัตราการใช้สทิ ธิ

: ใบสาคัญแสดงสิทธิ 1 หน่ วย มีสทิ ธิซ้อื หุ้นสามัญ ของบริษัทฯ ได้ 1 หุน้ เว้นแต่กรณีมกี ารปรับอัตราการใช้สทิ ธิตามเงื่อนไขการปรับสิทธิ

ราคาการใช้สทิ ธิ

: 10.19 บาทต่อหุน้ เว้นแต่กรณีมกี ารปรับราคาการใช้สทิ ธิตามเงื่อนไข การปรับสิทธิ

การปรับ สิท ธิใ บสาคัญ แสดง : บริษ ัท ฯ จะต้อ งดาเนิน การปรับ ราคาการใช้สทิ ธิ และ/หรือ อัต รา สิทธิ การใช้สทิ ธิ เมื่อเกิดเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่ง ดังต่อไปนี้ (ก) เมื่อมีการเปลีย่ นแปลงมูลค่าที่ตราไว้ของหุน้ สามัญของบริษทั ฯ อันเป็ นผลมาจากการรวมหุน้ หรือแบ่งแยกหุน้ (ข) เมื่อบริษทั ฯ ได้เสนอขายหุน้ สามัญให้แก่ผถู้ อื หุน้ เดิม และ/หรือ ประชาชนทัวไป ่ และ/หรือ บุคคลในวงจากัด ในราคาสุทธิต่อหุน้ ของหุน้ สามัญทีอ่ อกใหม่คานวณได้ต่ากว่าร้อยละ 90 ของ ราคา ตลาดต่อหุน้ ของหุน้ สามัญของบริษทั ฯ (ค) เมื่อบริษทั ฯ เสนอขายหลักทรัพย์ออกใหม่ใด ๆ ให้แก่ผถู้ อื หุน้ เดิม และ/หรือ ประชาชนทัวไป ่ และ/หรือ บุคคลในวงจากัด โดย ที่หลักทรัพย์นัน้ ให้สทิ ธิท่จี ะแปลงสภาพ/เปลี่ยนเป็ นหุ้นสามัญ ส่วนที่ 2 หน้า 8


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

หรือให้สทิ ธิในการซื้อหุ้นสามัญ (เช่น หุ้นกู้แปลงสภาพ หรือ ใบสาคัญแสดงสิทธิท่จี ะซื้อหุ้นสามัญ) โดยที่ราคาสุทธิต่อหุ้น ของหุน้ สามัญทีอ่ อกใหม่เพื่อรองรับ การใช้สทิ ธิดงั กล่าวต่ ากว่า ร้อยละ 90 ของ ราคาตลาดต่อหุน้ ของหุน้ สามัญของบริษทั ฯ (ง) ในกรณีทม่ี เี หตุการณ์ใด ๆ อันทาให้ผถู้ อื ใบสาคัญแสดงสิทธิเสีย สิทธิและผลประโยชน์อนั พึงได้ (ยกเว้นกรณีบริษัทฯ จ่ายเงิน ปั นผล) โดยทีเ่ หตุการณ์ใด ๆ นัน้ ไม่ได้กาหนดอยู่ในข้อ (ก)–(ค) ข้ า งต้ น คณะกรรมการบริ ห ารมี สิ ท ธิ ท่ี จ ะพิ จ ารณาเพื่ อ กาหนดการเปลี่ยนแปลงราคาการใช้สทิ ธิ และ/หรือ อัตราการ ใช้สทิ ธิใหม่ (หรือปรับจานวนหน่ วยใบสาคัญแสดงสิทธิแทน อัตราการใช้สทิ ธิ) อย่างเป็ นธรรม ทัง้ นี้ ให้ถอื ว่าผลการพิจารณา ของคณะกรรมการบริ ห ารนั ้น เป็ นที่ สุ ด อย่ า งไรก็ ต าม คณะกรรมการบริหารจะไม่พจิ ารณาเปลี่ยนแปลงราคาการใช้ สิทธิ และ/หรือ อัตราการใช้สทิ ธิใหม่ให้แก่ผู้ถอื ใบสาคัญแสดง สิทธิในเหตุการณ์ทเี่ กิดจากการจ่ายเงินปั นผลของบริษัทฯ ไม่ ว่าจะเป็ นการจ่ายเงินปั นผลเป็ นเงินหรือเป็ นหุน้ ปั นผลก็ตาม ระยะเวลาการใช้สทิ ธิ

: (ก) ใบสาคัญแสดงสิทธิฉบับที่ 1 ผู้ ถื อ ใบส าคัญ แสดงสิท ธิ ส ามารถใช้ สิท ธิ ซ้ื อ หุ้ น สามั ญ ของ บริษทั ฯ ตามใบสาคัญแสดงสิทธิฉบับที่ 1 ได้ทงั ้ หมดหรือบางส่วน ในวันกาหนดการใช้สทิ ธิเมื่อครบระยะเวลา 2 ปี นับจากวันทีอ่ อก ใบสาคัญแสดงสิทธิจนกว่าจะครบอายุของใบสาคัญแสดงสิทธิ (ข) ใบสาคัญแสดงสิทธิฉบับที่ 2 ผู้ ถื อ ใบส าคัญ แสดงสิท ธิ ส ามารถใช้ สิท ธิ ซ้ื อ หุ้ น สามั ญ ของ บริษทั ฯ ตามใบสาคัญแสดงสิทธิฉบับที่ 2 ได้ทงั ้ หมดหรือบางส่วน ในวันกาหนดการใช้สทิ ธิเมื่อครบระยะเวลา 3 ปี นับจากวันทีอ่ อก ใบสาคัญแสดงสิทธิจนกว่าจะครบอายุของใบสาคัญแสดงสิทธิ (ค) ใบสาคัญแสดงสิทธิฉบับที่ 3 ผู้ ถื อ ใบส าคัญ แสดงสิท ธิ ส ามารถใช้ สิท ธิ ซ้ื อ หุ้ น สามั ญ ของ บริษทั ฯ ตามใบสาคัญแสดงสิทธิฉบับที่ 3 ได้ทงั ้ หมดหรือบางส่วน ในวันกาหนดการใช้สทิ ธิเมื่อครบระยะเวลา 4 ปี นับจากวันทีอ่ อก ใบสาคัญแสดงสิทธิจนกว่าจะครบอายุของใบสาคัญแสดงสิทธิ ผูถ้ อื ใบสาคัญแสดงสิทธิสามารถใช้สทิ ธิตามใบสาคัญแสดงสิทธิได้ใน วันทาการสุดท้ายของทุก ๆ ไตรมาส (เดือนมีนาคม เดือนมิถุนายน เดือ นกัน ยายน และเดือ นธัน วาคม) นับ ตัง้ แต่ ไ ตรมาสแรกที่ผู้ถือ ใบสาคัญแสดงสิทธิสามารถใช้สทิ ธิตามใบสาคัญแสดงสิทธิแต่ละฉบับ ได้ ทัง้ นี้ วันกาหนดการใช้สทิ ธิครัง้ แรก (สาหรับใบสาคัญแสดงสิทธิ ส่วนที่ 2 หน้า 9


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ฉบับที่ 1) จะตรงกับวันที่ 30 มิถุนายน 2561 ซึง่ เป็ นวันทาการสุดท้าย ของสิ้นไตรมาสแรกภายหลังจากวันครบกาหนด 2 ปี นับจากวันที่ ออกใบส าคัญ แสดงสิท ธิ และวัน ก าหนดการใช้ สิท ธิค รัง้ สุ ด ท้า ย (สาหรับใบสาคัญแสดงสิทธิทงั ้ 3 ฉบับ) จะตรงกับวันที่ 30 พฤษภาคม 2564 ซึง่ ตรงกับวันทีใ่ บสาคัญแสดงสิทธิมอี ายุครบ 5 ปี นับจากวันที่ ออกใบสาคัญแสดงสิทธิ โดยหากวันกาหนดการใช้สทิ ธิครัง้ สุดท้ายไม่ ตรงกับวันทาการให้เลื่อนวันกาหนดการใช้สทิ ธิครัง้ สุดท้ายดังกล่าว เป็ นวันทาการถัดไป 7.1.5

ใบสำคัญแสดงสิ ทธิ BTS-WD ชื่อหลักทรัพย์

: ใบสาคัญแสดงสิทธิทจ่ี ะซือ้ หุน้ สามัญของบริษทั บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์ จากัด (มหาชน) ทีอ่ อกให้แก่พนักงานของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยครัง้ ที่ 4 (BTS-WD)

ชนิด

: ระบุช่อื ผูถ้ อื และโอนเปลีย่ นมือไม่ได้

ลักษณะการเสนอขาย

: ใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-WD ออกให้แก่พนักงานของบริษัทฯ และ บริษัทย่อยที่ไม่ได้ดารงตาแหน่ งกรรมการ ทัง้ นี้ พนักงานจะได้รบั ใบสาคัญแสดงสิทธิจานวน 3 ฉบับ พร้อมกันในวันที่ออกใบสาคัญ แสดงสิท ธิ โดยใบสาคัญ แสดงสิท ธิแ ต่ ละฉบับ จะมีสดั ส่ว นเท่ า กับ 1 ใน 3 ของจานวนหน่ วยของใบสาคัญแสดงสิทธิท่บี ุ คคลดัง กล่ า ว ได้รบั จัดสรรทัง้ หมด

จานวนใบสาคัญแสดงสิทธิ ทีอ่ อก

: 16,000,000 หน่วย

จานวนหุน้ รองรับ

: 16,000,000 หุน้ มูลค่าทีต่ ราไว้หนุ้ ละ 4 บาท

อายุของใบสาคัญแสดงสิทธิ

: 5 ปี นับแต่วนั ทีอ่ อกใบสาคัญแสดงสิทธิ

วันทีอ่ อกใบสาคัญแสดงสิทธิ

: 26 กุมภาพันธ์ 2561

วันทีค่ รบกาหนดใบสาคัญ แสดงสิทธิ

: 26 กุมภาพันธ์ 2566

อัตราการใช้สทิ ธิ

: ใบสาคัญแสดงสิทธิ 1 หน่ วย มีสทิ ธิซ้อื หุ้นสามัญ ของบริษัทฯ ได้ 1 หุน้ เว้นแต่กรณีมกี ารปรับอัตราการใช้สทิ ธิตามเงื่อนไขการปรับสิทธิ

ราคาการใช้สทิ ธิ

: 8.53 บาทต่อหุน้ เว้นแต่กรณีมกี ารปรับราคาการใช้สทิ ธิตามเงื่อนไข การปรับสิทธิ

ส่วนที่ 2 หน้า 10


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

การปรับ สิท ธิใ บสาคัญ แสดง : บริษ ัท ฯ จะต้อ งดาเนิน การปรับ ราคาการใช้สทิ ธิ และ/หรือ อัต รา สิทธิ การใช้สทิ ธิ เมื่อเกิดเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่ง ดังต่อไปนี้ (ก) เมื่อมีการเปลีย่ นแปลงมูลค่าที่ตราไว้ของหุน้ สามัญของบริษทั ฯ อันเป็ นผลมาจากการรวมหุน้ หรือแบ่งแยกหุน้ (ข) เมื่อบริษทั ฯ ได้เสนอขายหุน้ สามัญให้แก่ผถู้ อื หุน้ เดิม และ/หรือ ประชาชนทัวไป ่ และ/หรือ บุคคลในวงจากัด ในราคาสุทธิต่อหุน้ ของหุน้ สามัญทีอ่ อกใหม่คานวณได้ต่ากว่าร้อยละ 90 ของ ราคา ตลาดต่อหุน้ ของหุน้ สามัญของบริษทั ฯ (ค) เมื่อบริษทั ฯ เสนอขายหลักทรัพย์ออกใหม่ใด ๆ ให้แก่ผถู้ อื หุน้ เดิม และ/หรือ ประชาชนทัวไป ่ และ/หรือ บุคคลในวงจากัด โดย ที่หลักทรัพย์นัน้ ให้สทิ ธิท่จี ะแปลงสภาพ/เปลี่ยนเป็ นหุ้นสามัญ หรือให้สทิ ธิในการซื้อหุ้นสามัญ (เช่น หุ้นกู้แปลงสภาพ หรือ ใบสาคัญแสดงสิทธิท่จี ะซื้อหุ้นสามัญ) โดยที่ราคาสุทธิต่อหุ้น ของหุน้ สามัญทีอ่ อกใหม่เพื่อรองรับ การใช้สทิ ธิดงั กล่าวต่ ากว่า ร้อยละ 90 ของ ราคาตลาดต่อหุน้ ของหุน้ สามัญของบริษทั ฯ (ง) ในกรณีทม่ี เี หตุการณ์ใด ๆ อันทาให้ผถู้ อื ใบสาคัญแสดงสิทธิเสีย สิทธิและผลประโยชน์อนั พึงได้ (ยกเว้นกรณีบริษัทฯ จ่ายเงิน ปั นผล) โดยทีเ่ หตุการณ์ใด ๆ นัน้ ไม่ได้กาหนดอยู่ในข้อ (ก)–(ค) ข้ า งต้ น คณะกรรมการบริ ห ารมี สิ ท ธิ ท่ี จ ะพิ จ ารณาเพื่ อ กาหนดการเปลี่ยนแปลงราคาการใช้สทิ ธิ และ/หรือ อัตราการ ใช้สทิ ธิใหม่ (หรือปรับจานวนหน่ วยใบสาคัญแสดงสิทธิแทน อัตราการใช้สทิ ธิ) อย่างเป็ นธรรม ทัง้ นี้ ให้ถอื ว่าผลการพิจารณา ของคณะกรรมการบริ ห ารนั ้น เป็ นที่ สุ ด อย่ า งไรก็ ต าม คณะกรรมการบริหารจะไม่พจิ ารณาเปลี่ยนแปลงราคาการใช้ สิทธิ และ/หรือ อัตราการใช้สทิ ธิใหม่ให้แก่ผู้ถอื ใบสาคัญแสดง สิทธิในเหตุการณ์ทเี่ กิดจากการจ่ายเงินปั นผลของบริษัทฯ ไม่ ว่าจะเป็ นการจ่ายเงินปั นผลเป็ นเงินหรือเป็ นหุน้ ปั นผลก็ตาม ระยะเวลาการใช้สทิ ธิ

: (ก) ใบสาคัญแสดงสิทธิฉบับที่ 1 ผู้ ถื อ ใบส าคัญ แสดงสิท ธิ ส ามารถใช้ สิท ธิ ซ้ื อ หุ้ น สามั ญ ของ บริษทั ฯ ตามใบสาคัญแสดงสิทธิฉบับที่ 1 ได้ทงั ้ หมดหรือบางส่วน ในวันกาหนดการใช้สทิ ธิเมื่อครบระยะเวลา 2 ปี นับจากวันทีอ่ อก ใบสาคัญแสดงสิทธิจนกว่าจะครบอายุของใบสาคัญแสดงสิทธิ (ข) ใบสาคัญแสดงสิทธิฉบับที่ 2 ผู้ ถื อ ใบส าคัญ แสดงสิท ธิ ส ามารถใช้ สิท ธิ ซ้ื อ หุ้ น สามั ญ ของ บริษทั ฯ ตามใบสาคัญแสดงสิทธิฉบับที่ 2 ได้ทงั ้ หมดหรือบางส่วน

ส่วนที่ 2 หน้า 11


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ในวันกาหนดการใช้สทิ ธิเมื่อครบระยะเวลา 3 ปี นับจากวันทีอ่ อก ใบสาคัญแสดงสิทธิจนกว่าจะครบอายุของใบสาคัญแสดงสิทธิ (ค) ใบสาคัญแสดงสิทธิฉบับที่ 3 ผู้ ถื อ ใบส าคัญ แสดงสิท ธิ ส ามารถใช้ สิท ธิ ซ้ื อ หุ้ น สามั ญ ของ บริษทั ฯ ตามใบสาคัญแสดงสิทธิฉบับที่ 3 ได้ทงั ้ หมดหรือบางส่วน ในวันกาหนดการใช้สทิ ธิเมื่อครบระยะเวลา 4 ปี นับจากวันทีอ่ อก ใบสาคัญแสดงสิทธิจนกว่าจะครบอายุของใบสาคัญแสดงสิทธิ ผูถ้ อื ใบสาคัญแสดงสิทธิสามารถใช้สทิ ธิตามใบสาคัญแสดงสิทธิได้ใน วันทาการสุดท้ายของทุก ๆ ไตรมาส (เดือนมีนาคม เดือนมิถุนายน เดือ นกัน ยายน และเดือ นธัน วาคม) นับ ตัง้ แต่ ไ ตรมาสแรกที่ผู้ถือ ใบสาคัญแสดงสิทธิสามารถใช้สทิ ธิตามใบสาคัญแสดงสิทธิแต่ละฉบับ ได้ ทัง้ นี้ วันกาหนดการใช้สทิ ธิครัง้ แรก (สาหรับใบสาคัญแสดงสิทธิ ฉบับที่ 1) จะตรงกับวันที่ 31 มีนาคม 2563 ซึง่ เป็ นวันทาการสุดท้าย ของสิ้นไตรมาสแรกภายหลังจากวันครบกาหนด 2 ปี นับจากวันที่ ออกใบส าคัญ แสดงสิท ธิ และวัน ก าหนดการใช้ สิท ธิค รัง้ สุ ด ท้า ย (สาหรับใบสาคัญแสดงสิทธิทงั ้ 3 ฉบับ) จะตรงกับวันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2566 ซึง่ ตรงกับวันทีใ่ บสาคัญแสดงสิทธิมอี ายุครบ 5 ปี นับจากวันที่ ออกใบสาคัญแสดงสิทธิ โดยหากวันกาหนดการใช้สทิ ธิครัง้ สุดท้ายไม่ ตรงกับวันทาการให้เลื่อนวันกาหนดการใช้สทิ ธิครัง้ สุดท้ายดังกล่าว เป็ นวันทาการถัดไป 7.1.6

ตั ๋วแลกเงิ นระยะสัน้ ชื่อตราสาร

: ตั ๋วแลกเงินระยะสัน้ ของบริษทั บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ จากัด (มหาชน) อายุไม่เกิน 270 วัน

ผูอ้ อกตราสาร

: บริษทั บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์ จากัด (มหาชน)

ประเภทของตราสาร

: ตั ๋วแลกเงินระยะสัน้ สกุลเงินบาท ชนิดระบุช่อื ผูร้ บั เงิน

มูลค่าทีเ่ สนอขาย

: มูลค่ารวมทัง้ สิน้ ไม่เกิน 20,000,000,000 บาท (ณ ขณะใดขณะหนึ่ง เมื่อมี การไถ่ถอนตั ๋วแลกเงินระยะสัน้ แล้ว บริษัทฯ สามารถนามูลค่าที่ไถ่ถอน แล้วดังกล่ าวกลับมาเสนอขายได้อีก โดยมูลค่ าคงค้างรวมต้องไม่เกิน 20,000,000,000 บาท)

อายุของตราสาร

: ไม่เกิน 270 วัน

ราคาเสนอขาย

: ราคาตามที่ร ะบุ ห น้ า ตัว๋ แลกเงิน ระยะสัน้ หัก ส่ ว นลดหรือ บวกด้ ว ย ดอกเบีย้ (แล้วแต่กรณี)

ส่วนที่ 2 หน้า 12


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

7.1.7

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ผลประโยชน์ตอบแทน

: อัตราส่วนลดจากราคาหน้าตั ๋วแลกเงินระยะสัน้ หรืออัตราดอกเบีย้ ทีร่ ะบุ บนหน้าตั ๋วแลกเงินระยะสัน้ ซึ่งเป็ นไปตามอัตราตลาด ณ ขณะที่เสนอ ขาย (แล้วแต่กรณี)

มูลค่าทีต่ ราไว้ต่อฉบับ

: ไม่ต่ากว่า 10,000,000 บาท

ระยะเวลาการเสนอขาย

: ตัง้ แต่วนั ที่ 11 พฤษภาคม 2561 ถึงวันที่ 10 พฤษภาคม 2563

วันทีอ่ อกตั ๋วแลกเงินระยะสัน้

: ตามทีร่ ะบุไว้บนหน้าตั ๋วแลกเงินระยะสัน้ (ซึง่ อยู่ในระยะเวลาเสนอขาย)

วันทีค่ รบกาหนดอายุ

: ตามที่ระบุไว้บนหน้าตั ๋วแลกเงินระยะสัน้

การเสนอขาย

: เสนอขายต่อผู้ลงทุนสถาบัน

การจัดอันดับความน่าเชื่อถือ ของตั ๋วแลกเงิน

: A / Stable โดยบริษัท ทริสเรตติ้ง จากัด (ณ วันที่ 8 ธันวาคม 2560)

ยอดหนี้คงค้างของตั ๋วแลกเงิน ระยะสัน้ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561

: 15,480,000,000 บาท

หุ้นกู้ ชื่อตราสาร

: หุน้ กูบ้ ริษทั บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์ จากัด (มหาชน) ครัง้ ที่ 1/2560

ผูอ้ อกตราสาร

: บริษทั บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์ จากัด (มหาชน)

ประเภทของตราสาร

: หุน้ กูช้ นิดระบุช่อื ผูถ้ อื ไม่ดอ้ ยสิทธิ ไม่มปี ระกัน และไม่มผี แู้ ทนผูถ้ อื หุน้ กู้

มูลค่ารวมของหุน้ กู้

: 7,000 ล้านบาท แบ่งเป็ น - “หุ้ นกู้ บริษั ท บีทีเอส กรุ๊ ป โฮลดิ้งส์ จ ากัด (มหาชน) ครัง้ ที่ 1/2560 ชุดที่ 1 ครบกาหนดไถ่ ถอนปี พ.ศ. 2563” อายุ 3 ปี จานวน 1,500,000 หน่วย คิดเป็ นมูลค่า 1,500 ล้านบาท อัตราดอกเบีย้ คงทีร่ อ้ ยละ 2.24 ต่อปี - “หุ้ นกู้ บริษั ท บีทีเอส กรุ๊ ป โฮลดิ้งส์ จ ากัด (มหาชน) ครัง้ ที่ 1/2560 ชุดที่ 2 ครบกาหนดไถ่ ถอนปี พ.ศ. 2565” อายุ 5 ปี จานวน 1,500,000 หน่วย คิดเป็ นมูลค่า 1,500 ล้านบาท อัตราดอกเบีย้ คงทีร่ อ้ ยละ 2.64 ต่อปี - “หุ้ นกู้ บริษั ท บีทีเอส กรุ๊ ป โฮลดิ้งส์ จ ากัด (มหาชน) ครัง้ ที่ 1/2560 ชุดที่ 3 ครบกาหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2570” อายุ 10 ปี จานวน 2,000,000 หน่วย คิดเป็ นมูลค่า 2,000 ล้านบาท อัตราดอกเบีย้ คงทีร่ อ้ ยละ 3.65 ต่อปี - “หุ้ นกู้ บริษั ท บีทีเอส กรุ๊ ป โฮลดิ้งส์ จ ากัด (มหาชน) ครัง้ ที่ 1/2560 ชุดที่ 4 ครบกาหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2572” อายุ 12 ปี จานวน 2,000,000 หน่วย คิดเป็ นมูลค่า 2,000 ล้านบาท อัตราดอกเบีย้ คงทีร่ อ้ ยละ 3.78 ต่อปี

มูลค่าทีต่ ราไว้ต่อหน่วย

: 1,000 บาท

ส่วนที่ 2 หน้า 13


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

วันทีอ่ อกหุน้ กู้

: วันที่ 26 ธันวาคม 2560

วันกาหนดชาระดอกเบีย้

: ทุก 6 เดือน โดยเริม่ ชาระครัง้ แรกในวันที่ 26 มิถุนายน 2561 และชาระ ครัง้ สุดท้ายในวันครบกาหนดไถ่ถอนหุน้ กู้

สิทธิในการไถ่ถอนก่อนกาหนด

-ไม่ม-ี

การจัดอันดับความน่ าเชื่อถือ : A / Stable โดยบริษทั ทริสเรทติง้ จากัด (ณ วันที่ 8 ธันวาคม 2560) ของหุน้ กู้ 7.2

ผูถ้ ือหุ้น

รายชื่อผูถ้ อื หุน้ สูงสุด 10 รายแรกของบริษทั ฯ ณ วันปิ ดสมุดทะเบียนหุน้ เมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2561 (จานวน ผูถ้ อื หุน้ รวมทัง้ สิน้ 78,935 ราย) เป็ นดังนี้ รำยชื่อผูถ้ ือหุ้น 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

กลุ่มนายคีรี กาญจนพาสน์ บริษทั ไทยเอ็นวีดอี าร์ จากัด ธนาคารกรุงเทพ จากัด (มหาชน) สานักงานประกันสังคม STATE STREET EUROPE LIMITED SOUTH EAST ASIA UK (TYPE C) NOMINEES LIMITED CHASE NOMINEES LIMITED UOB KAY HIAN PRIVATE LIMITED นายมิน เธียรวร GIC PRIVATE LIMITED

จำนวนหุ้น

ร้อยละ

4,868,397,239 940,479,741 545,466,733 297,017,100 145,973,699 131,839,000 111,101,095 105,609,203 67,000,000 65,986,235

41.10 7.94 4.61 2.51 1.23 1.11 0.94 0.89 0.57 0.56

หมายเหตุ : (1) ณ วันปิ ดสมุดทะเบียนหุน้ เมือ่ วันที่ 30 มีนาคม 2561 บริษทั ฯ มีหุน้ ทีอ่ อกจาหน่ ายแล้วจานวน 11,940,368,954 หุน้ โดยเป็ นหุน้ ที่ ซื้อคืนตามโครงการซื้อหุน้ คืนเพื่อบริหารทางการเงินของบริษทั ฯ จานวน 95,839,900 หุน้ ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ได้แสดงสัดส่วนการถือหุน้ โดยคิดคานวณจากหุน้ ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงทัง้ หมดจานวน 11,839,114,412 หุน้ (หักหุน้ ทีซ่ ้อื คืนออกแล้ว) (2) กลุ่ มนายคีร ี กาญจนพาสน์ ประกอบด้วย (1) นายคีร ี กาญจนพาสน์ ถือหุ้นในชื่อตนเองจานวน 2,986,164,652 หุ้น และถือหุ้นผ่าน คัส โตเดีย นชื่อ UBS AG HONG KONG BRANCH จ านวน 350,000,000 หุ้น คัส โตเดีย นชื่อ CREDIT SUISSE AG, SINGAPORE BRANCH อี ก จ านวน 437,722,200 หุ้ น และคั ส โตเดี ย นชื่ อ THE HONGKONG AND SHANGHAI BANKING CORPORATION LIMITED, HONGKONG BRANCH จานวน 100,000,000 หุน้ (2) นายกวิน กาญจนพาสน์ ถือหุน้ จานวน 602,459,295 หุน้ (3) นางสาว ซู ซ าน กาญจนพาสน์ ถือ หุ้น จ านวน 32,000,000 หุ้น (4) บริษัท เค ทู เจ โฮลดิ้ง จ ากัด ถือ หุ้น จ านวน 360,000,000 หุ้น และ (5) AMSFIELD HOLDINGS PTE. LTD. ถือหุน้ จานวน 51,092 หุน้ (3) บริษทั ธนายง ฟู๊ ด แอนด์ เบเวอเรจ จากัด ซึง่ เป็ นบริษทั ย่อย ถือหุ้นของบริษทั ฯ จานวน 35,754,032 หุน้ (ร้อยละ 0.30) แทนเจ้าหนี้ ตามแผนฟื้ นฟูกจิ การของบริษทั ฯ ซึง่ อยู่ระหว่างรอโอนชาระให้แก่เจ้าหนี้

ส่วนที่ 2 หน้า 14


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

7.3

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ผูถ้ ือใบสำคัญแสดงสิ ทธิ BTS-W3

รายชื่อผูถ้ อื ใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-W3 สูงสุด 10 รายแรกของบริษทั ฯ ณ วันปิ ดสมุดทะเบียนใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-W3 เมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2561 (ใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-W3 จานวน 3,944,551,464 หน่ วย มีผู้ถือใบสาคัญ แสดงสิทธิ BTS-W3 รวมทัง้ สิน้ 23,328 ราย) เป็ นดังนี้ รำยชื่อผูถ้ ือใบสำคัญแสดงสิ ทธิ BTS-W3 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10.

กลุ่มนายคีรี กาญจนพาสน์ นายวันชัย พันธุว์ เิ ชียร ธนาคาร กรุงเทพ จากัด (มหาชน) นายสหนันท์ เชนตระกูล นายประสิทธิ ์ วงศ์สกุลเกษม บริษทั ไทยเอ็นวีดอี าร์ จากัด นายวิจติ ร เจียมวิจติ รกุล นายรัฐพล สิทธิศาสตร์สกุล นางสาวศิวพร ศรีชวาลา นางสมศรี เชาว์

จำนวน

ร้อยละ

1,160,122,933 655,000,000 181,822,244 140,007,000 126,867,400 68,908,957 41,716,100 39,878,900 33,000,000 31,500,000

29.41 16.61 4.61 3.55 3.22 1.75 1.06 1.01 0.84 0.80

หมายเหตุ : (1) กลุ่มนายคีร ี กาญจนพาสน์ ประกอบด้วย (1) นายคีร ี กาญจนพาสน์ ถือใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-W3 ในชือ่ ตนเองจานวน 885,952,832 หน่ ว ย และถือ ผ่ านคัส โตเดีย นชื่อ UBS AG HONG KONG BRANCH จ านวน 116,666,666 หน่ ว ย และคัส โตเดีย นชื่อ CREDIT SUISSE AG, SINGAPORE BRANCH อีกจานวน 86,666,666 หน่ วย (2) นายกวิน กาญจนพาสน์ ถือใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-W3 จ านวน 819,765 หน่ ว ย (3) บริษัท เค ทู เจ โฮลดิ้ง จ ากัด ถือ ใบส าคัญ แสดงสิท ธิ BTS-W3 จ านวน 69,999,974 หน่ ว ย และ (4) AMSFIELD HOLDINGS PTE. LTD. ถือใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-W3 จานวน 17,030 หน่วย]

7.4

นโยบำยกำรจ่ำยเงิ นปันผล

7.4.1

นโยบำยกำรจ่ำยเงิ นปันผลของบริษทั ฯ

บริษัท ฯ มีนโยบายจ่ายเงินปั นผลให้แก่ผู้ถือหุ้นในอัตราไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของกาไรสุทธิหลังหักภาษี เงินได้ตามงบการเงินเฉพาะกิจการ โดยบริษัท ฯ จะจ่ายเงินปั นผลในรอบระยะเวลาบัญชีถดั ไป โดยคานึงถึงกระแส เงินสดจากการประกอบการ และการประกาศจ่ายเงินปั นผลประจาปี จะต้องได้รบั ความเห็นชอบจากที่ประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้นประจาปี ทัง้ นี้ คณะกรรมการบริษทั อาจเห็นสมควรให้มกี ารจ่ายเงินปั นผลระหว่างกาลหากเห็นว่าบริษทั ฯ มี กาไรและสามารถดารงเงินทุนหมุนเวียนทีใ่ ช้ในการดาเนินการได้อย่างเพียงพอภายหลังการจ่ายเงินปั นผลระหว่างกาลนัน้ ซึง่ คณะกรรมการบริษทั มีหน้าทีแ่ จ้งให้ทป่ี ระชุมผูถ้ อื หุน้ รับทราบในการประชุมผูถ้ อื หุน้ ครัง้ ถัดไป ในการพิจารณาจ่ายเงินปั นผลให้แก่ผถู้ อื หุน้ นัน้ คณะกรรมการบริษทั จะคานึงถึงปั จจัยหลายประการ ดังนี้ 

ผลการดาเนินงานของบริษัทฯ สภาพคล่อง กระแสเงินสดหมุนเวียน และสถานะการเงินของบริษัทฯ

ส่วนที่ 2 หน้า 15


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ข้อ บัง คับ หรือ เงื่อ นไขที่เ กี่ย วกับ การจ่า ยเงิน ปั น ผลทีก่ าหนดโดยสัญ ญาเงิน กู ้ย มื หุ ้น กู ้ สัญ ญาซึ่ง ก่อให้เกิดภาระหนี้สนิ ของบริษัทฯ หรือข้อตกลงหรือสัญญาอื่น ๆ ที่บริษัทฯ ต้องปฏิบตั ิตาม

แผนการดาเนินงานในอนาคตและความต้องการในการใช้เงินลงทุน

ปั จจัยอื่น ๆ ที่คณะกรรมการบริษัทเห็นสมควร

นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังอยู่ภายใต้บงั คับของพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจากัด พ.ศ. 2535 (ตามทีม่ กี ารแก้ไข เพิม่ เติม) ที่กาหนดให้บริษัทฯ ไม่สามารถจ่ายเงินปั นผลได้หากบริษัท ฯ ยังมีผลขาดทุนสะสมอยู่ แม้ว่าบริษัทฯ จะมี กาไรสุทธิสาหรับปี นัน้ ๆ ก็ตาม และพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจากัด พ.ศ. 2535 (ตามที่มีการแก้ไขเพิ่มเติม ) ยังกาหนดให้บริษทั ฯ สารองเงินตามกฎหมายในจานวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ของกาไรสุทธิประจาปี หกั ด้วยยอดขาดทุน สะสมยกมา (ถ้ามี) จนกว่าเงินสารองตามกฎหมายจะมีจานวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของทุนจดทะเบียน และนอกจาก เงินสารองทีก่ ฎหมายกาหนดให้บริษทั ฯ ต้องจัดสรรแล้ว คณะกรรมการบริษทั อาจพิจารณาจัดสรรเงินสารองประเภทอื่น ได้อกี ตามทีเ่ ห็นสมควร รำยละเอียดกำรจ่ำยเงิ นปันผลเปรียบเทียบ 3 รอบระยะเวลำบัญชี รอบระยะเวลำบัญชี วันที่ 31 มีนำคม 2559 กาไรสุทธิ (งบการเงินเฉพาะกิจการ)

วันที่ 31 มีนำคม 2560

วันที่ 31 มีนำคม 2561

6,555.0 ล้านบาท

4,423.8 ล้านบาท

4,760.8 ล้านบาท

13,229.9 ล้านบาท

11,454.9 ล้านบาท

12,597.5 ล้านบาท

จานวนหุน้ - เงินปั นผลระหว่างกาล - เงินปั นผลงวดสุดท้าย

11,830.4 ล้านหุน้ 11,836.7 ล้านหุน้

11,837.1 ล้านหุน้ 11,842.5 ล้านหุน้

11,842.3 ล้านหุน้ ประมาณ 15,795.3 ล้านหุน้ (1)

เงินปั นผลจ่ายต่อหุน้ - เงินปั นผลระหว่างกาล - เงินปั นผลงวดสุดท้าย

0.68 บาทต่อหุน้ 0.34 บาทต่อหุน้ 0.34 บาทต่อหุน้

0.34 บาทต่อหุน้ 0.165 บาทต่อหุน้ 0.175 บาทต่อหุน้

0.35 บาทต่อหุน้ (2) 0.165 บาทต่อหุน้ 0.185 บาทต่อหุน้ (2)

รวมเงินปั นผลจ่ายทัง้ สิน้

8,046.8 ล้านบาท

4,025.6 ล้านบาท

ประมาณ 4,876.1 ล้านบาท(2)

กาไรสะสมทีย่ งั ไม่ได้จดั สรร (งบการเงินเฉพาะกิจการ)

อัตราเงินปั นผลจ่ายต่อกาไรสุทธิ ร้อยละ 122.8 ร้อยละ 91.0 ประมาณร้อยละ 102.4 หมายเหตุ : (1) หุน้ ทีอ่ อกจาหน่ายแล้วทัง้ หมดของบริษทั ฯ จานวน 11,844.5 หุน้ บวกด้วยหุน้ สามัญเพิม่ ทุนจาก (ก) การใช้สทิ ธิตามใบสาคัญแสดง สิทธิทอ่ี อกให้แก่พนักงานของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ครัง้ ที่ 2 (BTS-WB) ซึ่งหากพนักงานใช้สทิ ธิเต็มจานวนในวันกาหนดการใช้ สิทธิงวดวันที่ 11 มิถุนายน 2561 จะมีหุน้ สามัญเพิม่ ขึน้ จานวนประมาณ 0.9 ล้านหุน้ (ข) การใช้สทิ ธิตามใบสาคัญแสดงสิทธิท่จี ะซื้อ หุน้ สามัญเพิม่ ทุนของบริษทั ฯ ครัง้ ที่ 3 (BTS-W3) ซึ่งออกให้แก่ผถู้ อื หุน้ เดิมของบริษทั ฯ ตามสัดส่วนการถือหุน้ (Rights Offering) โดยไม่คดิ มูลค่า ซึง่ หากผูถ้ อื หุน้ ใช้สทิ ธิเต็มจานวนในวันกาหนดการใช้สทิ ธิงวดวันที่ 30 มิถุนายน 2561 จะมีหุน้ สามัญเพิม่ ขึน้ จานวน ประมาณ 3,944.6 ล้านหุน้ และ (ค) การใช้สทิ ธิตามใบสาคัญแสดงสิทธิทอ่ี อกให้แก่พนักงานของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ครัง้ ที่ 3 (BTS-WC) ซึ่งหากพนักงานใช้สทิ ธิเต็มจานวนในวันกาหนดการใช้สทิ ธิงวดวันที่ 30 มิถุนายน 2561 จะมีหุน้ สามัญเพิม่ ขึน้ จานวน ประมาณ 5.3 ล้านหุน้ อย่างไรก็ตาม บริษทั ฯ จะทราบจานวนทีแ่ น่นอนของหุน้ สามัญเพิม่ ทุนจากการใช้สทิ ธิดงั กล่าว ภายในวันที่ 13 กรกฎาคม 2561 โดยบริษทั ฯ จะแจ้งให้ทราบผ่านเว็บไซต์ของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยต่อไป อนึ่ง จานวนทีแ่ น่นอนของหุน้ สามัญเพิม่ ทุนจากการใช้สทิ ธิดงั กล่าวข้างต้น อาจทาให้จานวนเงินปั นผลจ่ายจริง และอัตราเงินปั นผลจ่ายต่อกาไรสุทธิเปลีย่ นแปลงไป

ส่วนที่ 2 หน้า 16


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน) (2)

7.4.2

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั เมือ่ วันที่ 28 พฤษภาคม 2561 ได้มมี ติอนุมตั ใิ ห้เสนอต่อทีป่ ระชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจาปี 2561 ทีจ่ ะจัด ขึน้ ในวันที่ 23 กรกฎาคม 2561 เพือ่ พิจารณาและอนุมตั ใิ ห้บริษทั ฯ จ่ายเงินปั นผลงวดสุดท้าย สาหรับรอบระยะเวลาบัญชีสน้ิ สุดวันที่ 31 มีนาคม 2561 ในอัตรา 0.185 บาท ต่อหุน้ (18.50 สตางค์ ต่อหุน้ ) ให้แก่ผถู้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ เพิม่ เติมจากเงินปั นผลระหว่างกาลที่ จ่ายไปแล้ว อย่างไรก็ดี การจ่ายเงินปั นผลดังกล่าวยังมีความไม่แน่นอน เนื่องจากยังไม่ได้รบั อนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้

นโยบำยกำรจ่ำยเงิ นปันผลของบริษทั ย่อย บีทีเอสซี

บีทเี อสซีมนี โยบายจะจ่ายเงินปั นผลในอัตราไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของกาไรจากการดาเนินงาน ซึ่งไม่รวม รายการพิเศษ เช่น กาไร (ขาดทุน) จากอัตราแลกเปลีย่ น กาไร (ขาดทุน) จากการฟื้ นฟูกจิ การ ดอกเบีย้ จ่ายตามแผน ฟื้ นฟูกจิ การ และค่าเสือ่ มราคา ซึง่ ในการจ่ายเงินปั นผล บีทเี อสซีจะพิจารณา (1) เงินสารองตามกฎหมาย (2) ข้อจากัด ในการก่อหนี้ของบีทเี อสซีตามทีไ่ ด้ตกลงไว้กบั เจ้าหนี้ และ (3) ค่าใช้จ่ายและเงินลงทุนที่ต้องการสาหรับปี ถดั ไปโดย พิจารณาร่วมกับประมาณการกระแสเงินสด วีจีไอ วีจไี อมีนโยบายจะจ่ายเงินปั นผลให้แก่ผถู้ อื หุน้ ในอัตราไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของกาไรสุทธิหลังหักภาษีเงินได้ นิตบิ ุคคลของงบการเงินเฉพาะ และหลังหักสารองตามกฎหมาย ทัง้ นี้ อัตราการจ่ายเงินปั นผลดังกล่าวอาจเปลีย่ นแปลง ขึน้ อยู่กบั ผลการดาเนินการ ฐานะการเงิน สภาพคล่อง แผนการลงทุน ความจาเป็ นในการใช้เงินทุนหมุนเวียนในการ ดาเนินงาน การขยายธุรกิจ และปั จจัยอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องในการบริหารงานของวีจไี อ ตามที่คณะกรรมการของวีจไี อ และ/หรือ ผูถ้ อื หุน้ ของวีจไี อเห็นสมควร MACO MACO และบริษัทย่อยของ MACO มีนโยบายจะจ่ายเงินปั นผลให้แก่ผู้ถอื หุน้ ในอัตราไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของกาไรสุทธิหลังหักภาษีเงินได้นิตบิ ุคคลและสารองตามกฎหมาย ทัง้ นี้ ขึน้ อยู่กบั ภาวะเศรษฐกิจและการดาเนินงานใน อนาคตเป็ นสาคัญ บริษทั ย่อยอื่น บริษัทย่อยอื่นมีนโยบายในการจ่ายเงินปั นผลโดยพิจารณาจากศักยภาพการเติบโตของผลการดาเนิ นงาน แผนการลงทุน การขยายงาน ข้อกาหนดตามสัญญาเงินกูห้ รือหุน้ กูข้ องบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย รวมถึงความจาเป็ นและ ความเหมาะสมในอนาคต โดยมีนโยบายจะจ่ายเงินปั นผลไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของกาไรสุทธิหลังหักภาษีและสารอง เงินตามกฎหมาย หากไม่มเี หตุจาเป็ นอื่นใดและการจ่ายเงินปั นผลนัน้ ไม่มผี ลกระทบต่อการดาเนินงานปกติของบริษทั ย่อยดังกล่าว

ส่วนที่ 2 หน้า 17


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้ งส์ จำกัด (มหำชน)

8.

แบบ 56-1 ปี 2560/61

โครงสร้ำงกำรจัดกำร

โครงสร้างการจัดการของบริษทั ฯ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561 เป็ นดังนี้ คณะกรรมกำรบริษทั

สานักตรวจสอบภายใน

คณะกรรมการทีป่ รึกษา

สานักเลขานุ การบริษทั

คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและ กาหนดค่าตอบแทน

สานักความรับผิดชอบต่อ สังคม ชุมชน และ สิง่ แวดล้อม

คณะกรรมการบรรษัทภิบาล

คณะกรรมการบริหาร

สานักประธาน คณะกรรมการบริหาร

กรรมการผู้อานวยการใหญ่*

สานักกรรมการ ผูอ้ านวยการใหญ่

รองกรรมการ ผู้อานวยการใหญ่*

ผู้อานวยการใหญ่ สายการเงิน*

ฝ่ ายบัญชี*

ฝ่ ายการเงิน*

ผู้อานวยการใหญ่ สายการลงทุน*

ฝ่ ายนักลงทุน สัมพันธ์

ฝ่ ายพัฒนาธุรกิจ

ผู้อานวยการใหญ่ สายปฏิบตั กิ าร*

ฝ่ ายกฎหมาย

ฝ่ ายสือ่ สารองค์กร

- ฝ่ ายทรัพยากรมนุ ษย์ และธุ รการ - ฝ่ ายเทคโนโลยี สารสนเทศ

ฝ่ ายดูแลสินทรัพย์

หมายเหตุ : * ผูบ้ ริหารตามบทนิยามของประกาศคณะกรรมการกากับตลาดทุน หมายถึง ผูจ้ ดั การหรือผูด้ ารงตาแหน่งระดับบริหารสี่รายแรกนับต่อ จากผูจ้ ดั การลงมา ผูซ้ ่งึ ดารงตาแหน่งเทียบเท่ากับผูด้ ารงตาแหน่งระดับบริหารรายที่ส่ที ุกราย และหมายความรวมถึงผูด้ ารงตาแหน่ ง ระดับบริหารในสายงานบัญชีหรือการเงินที่เป็ นระดับผูจ้ ดั การฝ่ ายขึน้ ไปหรือเทียบเท่า

ส่วนที่ 2 หน้า 18


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้ งส์ จำกัด (มหำชน)

8.1

แบบ 56-1 ปี 2560/61

คณะกรรมกำรบริ ษทั

โครงสร้างคณะกรรมการบริษทั ประกอบด้วยกรรมการในจานวนที่เหมาะสมกับขนาดและกลยุทธ์ในการดาเนิน ธุรกิจของบริษทั ฯ แต่ต้องไม่น้อยกว่า 5 ท่าน และกรรมการไม่น้อยกว่ากึง่ หนึ่งของจานวนกรรมการทัง้ หมดต้องมีถิ่นที่ อยู่ในราชอาณาจักร นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษัท จะต้องประกอบด้วยกรรมการอิสระอย่างน้ อย 1/3 ของจานวน กรรมการทัง้ หมด แต่จะต้องไม่น้อยกว่า 3 ท่าน โดยคณะกรรมการบริษทั จะมีการประชุมมากกว่า 6 ครัง้ ในหนึ่งปี บญ ั ชี ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561 คณะกรรมการบริษัทประกอบด้วยกรรมการจานวน 14 ท่าน เป็ นผู้หญิงจานวน 1 ท่าน (คิดเป็ นร้อยละ 7.14 ของกรรมการทัง้ คณะ) โดยแบ่งเป็ น -

กรรมการทีเ่ ป็ นผูบ้ ริหารจานวน 7 ท่าน คิดเป็ นร้อยละ 50 ของกรรมการทัง้ คณะ และ กรรมการทีม่ ไิ ด้เป็ นผูบ้ ริหารจานวน 7 ท่าน คิดเป็ นร้อยละ 50 ของกรรมการทัง้ คณะ โดยในจานวนนี้เป็ น กรรมการอิสระจานวน 5 ท่าน คิดเป็ นร้อยละ 35.71 ซึง่ มากกว่า 1/3 ของจานวนกรรมการทัง้ หมด

รายชือ่ กรรมการ มีดงั นี้ ลำดับ

รำยชื่อกรรมกำร

1.

นายคีรี กาญจนพาสน์

2. 3.

ดร.พอล ทง (Dr. Paul Tong) ดร.อาณัติ อาภาภิรม

4. 5.

นายสุรพงษ์ เลาหะอัญญา นายกวิน กาญจนพาสน์

6.

นายรังสิน กฤตลักษณ์

7.

นายคง ชิ เคือง (Mr. Kong Chi Keung)

8.

ศาสตราจารย์พเิ ศษ พลโท พิศาล เทพสิทธา

9.

นายสุจนิ ต์ หวั ่งหลี

ตำแหน่ ง

ประธานกรรมการ ประธานคณะกรรมการบริหาร ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการ กรรมการบริหาร กรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ กรรมการบริหาร กรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน กรรมการบรรษัทภิบาล ผูอ้ านวยการใหญ่สายปฏิบตั กิ าร กรรมการบริหาร กรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน รองกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการสรรหาและกาหนด ค่าตอบแทน กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน

ส่วนที่ 2 หน้า 19

วันจดทะเบียนแต่งตัง้ เป็ นกรรมกำรของ บริ ษทั ฯ 2 มิถุนายน 2536

ระยะเวลำที่ ดำรงตำแหน่ ง กรรมกำร 25 ปี

20 กุมภาพันธ์ 2550 7 พฤษภาคม 2541

11 ปี 20 ปี

30 กรกฎาคม 2553 23 มกราคม 2550

8 ปี 11 ปี

19 ธันวาคม 2540

21 ปี

23 มกราคม 2550

11 ปี

4 สิงหาคม 2543

18 ปี

30 กรกฎาคม 2553

8 ปี


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้ งส์ จำกัด (มหำชน) ลำดับ

รำยชื่อกรรมกำร

ตำแหน่ ง

10.

ศาสตราจารย์พเิ ศษ เจริญ วรรธนะสิน

11.

นายชอง ยิง ชิว เฮนรี่ (Mr. Cheong Ying Chew, Henry) นายจุลจิตต์ บุณยเกตุ ดร.การุญ จันทรางศุ นางพิจติ รา มหาพล

12. 13. 14.

แบบ 56-1 ปี 2560/61

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน กรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการอิสระ

กรรมการบริหาร กรรมการ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ เฉลี่ยระยะเวลำกำรดำรงตำแหน่ งของกรรมกำรทัง้ หมด

วันจดทะเบียนแต่งตัง้ เป็ นกรรมกำรของ บริ ษทั ฯ 30 กรกฎาคม 2553

ระยะเวลำที่ ดำรงตำแหน่ ง กรรมกำร 8 ปี

30 กรกฎาคม 2553

8 ปี

27 กรกฎาคม 2558 27 กรกฎาคม 2558 1 เมษายน 2559

3 ปี 3 ปี 2 ปี 11.21 ปี

คณะกรรมการบริษทั มีคุณสมบัตทิ เี่ หมาะสมและสอดคล้องกับกลยุทธ์ในการดาเนินธุรกิจของบริษทั ฯ ตลอดจน มีความหลากหลายทางความรู้ ความสามารถ ทักษะ ประสบการณ์ และความเชีย่ วชาญ อันเป็ นประโยชน์ ต่ อ การ ดาเนินงานของบริษทั ฯ ดังนี้

1. นายคีรี กาญจนพาสน์ 2. ดร.พอล ทง 3. ดร.อาณัติ อาภาภิรม 4. นายสุรพงษ์ เลาหะอัญญา 5. นายกวิน กาญจนพาสน์ 6. นายรังสิน กฤตลักษณ์ 7. นายคง ชิ เคือง 8. ศาสตราจารย์พเิ ศษ พลโท พิศาล เทพสิทธา 9. นายสุจนิ ต์ หวั ่งหลี 10. ศาสตราจารย์พเิ ศษ เจริญ วรรธนะสิน 11. นายชอง ยิง ชิว เฮนรี่ 12. นายจุลจิตต์ บุณยเกตุ 13. ดร. การุญ จันทรางศุ 14. นางพิจติ รา มหาพล

ส่วนที่ 2 หน้า 20

กำรบริ หำรควำมเสี่ยง

เทคโนโลยีสำรสนเทศ

วิทยำศำสตร์ / สิ่งแวดล้อม / ทรัพยำกรธรรมชำติ

กำรแพทย์ / สำธำรณสุข

สถำปัตยกรรม

วิศวกรรม

บริ หำรธุรกิจ / กำรตลำด / ธุรกิ จระหว่ำงประเทศ

บัญชี / กำรเงิ น / คณิ ตศำสตร์

กำรศึกษำและควำมเชี่ยวชำญ กฎหมำย / รัฐศำสตร์ / บริ หำรรัฐกิ จ

ธุรกิ จบริ กำร

ธุรกิ จอสังหำริ มทรัพย์

ธุรกิ จสื่อโฆษณำ

รำยชื่อกรรมกำร

ธุรกิ จระบบขนส่งมวลชน

ประสบกำรณ์ที่เกี่ยวข้อง กับธุรกิ จของบริ ษัทฯ


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้ งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ทัง้ นี้ บริษทั ฯ มีกรรมการทีไ่ ม่เป็ นผูบ้ ริหารทีม่ ปี ระสบการณ์การทางานทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจ ระบบขนส่งมวลชน จานวน 4 ท่าน ได้แก่ ดร.พอล ทง (Dr. Paul Tong) ศาสตราจารย์พเิ ศษ พลโท พิศาล เทพสิทธา นายการุญ จันทรางศุ และนางพิจติ รา มหาพล กล่าวคือ มีประสบการณ์ ความรู้ และความเชีย่ วชาญจากการดารงตาแหน่งกรรมการในบริษัท ที่ดาเนินธุรกิจระบบขนส่งมวลชน สามารถดูรายละเอียดเพิม่ เติมได้ใน เอกสารแนบ 1.1 ประวัติคณะกรรมการบริษทั และคณะผูบ้ ริหาร กรรมกำรผูม้ ีอำนำจลงนำมผูกพันบริ ษทั ชือ่ และจานวนกรรมการซึง่ มีอานาจลงลายมือชือ่ แทนบริษทั ฯ มี 6 ท่าน ดังนี้ กรรมการกลุ่ม ก

1. นายคีร ี กาญจนพาสน์ 2. นายกวิน กาญจนพาสน์ 3. นายสุรพงษ์ เลาหะอัญญา

กรรมการกลุ่ม ข

4. ดร.อาณัต ิ อาภาภิรม 5. นายรังสิน กฤตลักษณ์ 6. นายคง ชิ เคือง (Mr. Kong Chi Keung)

กรรมการคนใดคนหนึ่งจากกรรมการกลุ่ม ก ลงลายมือชือ่ ร่วมกันกับกรรมการคนใดคนหนึ่งจากกรรมการ กลุ่ม ข รวมเป็ น 2 คนและประทับตราสาคัญของบริษทั ฯ หน้ ำที่และควำมรับผิดชอบของคณะกรรมกำรบริ ษทั 1.

ปฏิบตั ิหน้ าที่ให้เป็ นไปตามกฎหมาย วัตถุ ประสงค์ และข้อบังคับของบริษัทฯ ตลอดจนมติทปี่ ระชุมผู้ ถือหุ้นด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต ความรับผิดชอบ และความระมัดระวังเพือ่ ประโยชน์ สงู สุดของบริษัทฯ และผูถ้ อื หุ้นเป็ นสาคัญ

2.

กาหนดนโยบาย วิสยั ทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม กลยุทธ์ และเป้ าหมายการดาเนินงานทัง้ ทีเ่ ป็ นตัวเงิน และ ไม่ใช่ตวั เงินของบริษทั ฯ และกากับ ติดตาม และดูแลให้ฝ่ายบริหารดาเนินการและปฏิบตั ใิ ห้เป็ นไปตาม นโยบายที่กาหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพือ่ สร้างคุณค่าและเพิม่ มูลค่าสูงสุดให้แก่ บริษัทฯ และผู้ถือหุ้นอย่างยังยื ่ น โดยให้พจิ ารณา ทบทวน และกาหนดนโยบาย วิสยั ทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม กลยุทธ์ และเป้ าหมายการดาเนินงานของบริษทั ฯ เป็ นประจาทุกปี ทงั ้ (1) ระยะสัน้ สาหรับ 1 ปี และ (2) ระยะกลางถึงระยะยาวสาหรับ 3-5 ปี ตลอดจนติดตามดูแลให้มกี ารนากลยุทธ์การดาเนินธุรกิจ ไปปฏิบตั ิ และทบทวนกลยุทธ์การดาเนินธุรกิจของบริษัทฯ ในรอบปี บญ ั ชีที่ผ่านมา เพื่อกาหนดกล ยุทธ์การดาเนินธุรกิจสาหรับปี บญ ั ชีถดั ไป

3.

กาหนดแผนธุรกิจและงบประมาณประจาปี ของบริษัทฯ รวมทัง้ พิจารณาและทบทวนผลงานและผล ประกอบการประจ าเดือ นและประจาไตรมาสของบริษัทฯ เทีย บกับแผนงานและงบประมาณ และ พิจารณาแนวโน้มในช่วงถัดไป

ส่วนที่ 2 หน้า 21


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้ งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

4.

กาหนดโครงสร้างค่าตอบแทนและสวัสดิการของพนักงานทุกระดับ ตลอดจนกากับดูแลให้มรี ะบบกลไก การจ่ายค่าตอบแทนที่เหมาะสม และสอดคล้องกับผลการดาเนินงานของบริษัทฯ ทัง้ ในระยะสัน้ และ ระยะยาว โดยมีคณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทนเป็ นผูด้ ูแลอย่างมีประสิทธิภาพ

5.

ดาเนินการให้ฝ่ายบริหารจัดให้มรี ะบบบัญชี การรายงานทางการเงิน และการสอบบัญชีที่เชื่อถือได้ รวมถึงติดตามดูแ ลความเพีย งพอของสภาพคล่ องทางการเงิน ตลอดจนจัดให้มรี ะบบการควบคุ ม ภายในทีด่ แี ละมีความเพียงพอเหมาะสม

6.

พิจารณาอนุ มตั กิ ารได้มาหรือจาหน่ายไปซึ่งทรัพย์สนิ การลงทุนในธุรกิจใหม่ และการดาเนินการใด ๆ ทีก่ ฎหมายกาหนด เว้นแต่เรือ่ งทีก่ ฎหมายกาหนดให้ต้องได้รบั มติจากทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุ้น

7.

พิจารณา และ/หรือ ให้ความเห็นต่อรายการที่เกีย่ วโยงกันของบริษัทฯ และบริษัทย่อย เพื่อให้เป็ นไป ตามกฎหมาย ประกาศ ข้อกาหนด และระเบียบข้อบังคับทีเ่ กีย่ วข้องต่าง ๆ

8.

ดูแลไม่ให้เกิดปั ญหาความขัดแย้งทางผลประโยชน์ระหว่างผูม้ สี ว่ นได้เสียของบริษทั ฯ

9.

พิจารณาเรื่องต่าง ๆ โดยคานึงถึงผลประโยชน์ ของผู้ถือหุ้นและผู้มสี ่วนได้เสียทุ กกลุ่มของบริษัท ฯ อย่างเป็ นธรรม โดยกรรมการต้องแจ้งให้บริษทั ฯ ทราบโดยไม่ชกั ช้า หากมีส่วนได้เสียในสัญญาทีท่ า กับบริษัท ฯ หรือ ถือ หุ้ น เพิม่ ขึ้นหรือ ลดลงในบริษัทฯ หรือ บริษัท ย่อ ย ทัง้ นี้ ส าหรับรายการที่ทากับ กรรมการหรือบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้งหรือมีส่วนได้เสีย หรืออาจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์ อ่นื ใดกับบริษัทฯ หรือบริษัทย่อย กรรมการซึ่งมีส่วนได้เสียไม่ม ีสทิ ธิออกเสียงลงคะแนนอนุ มตั ิก ารท า รายการในเรือ่ งนัน้

10.

ก ากับดูแ ลกิจการอย่า งมีจรรยาบรรณและจริย ธรรมทางธุร กิจ รวมถึงส่ง เสริม การสร้างวัฒนธรรม องค์กรให้พนักงานทุกระดับยึดมันและปฏิ ่ บตั หิ น้าทีอ่ ย่างมีคุณธรรมและจริยธรรม และทบทวนโยบาย การกากับดูแลกิจการและจริยธรรมทางธุรกิจของบริษัทฯ เป็ นประจาทุ กปี และประเมินผลการปฏิบตั ิ ตามนโยบายดังกล่าวเป็ นประจาอย่างน้อยปี ละ 1 ครัง้

11.

กาหนดนโยบายและกรอบการบริหารความเสีย่ ง ทบทวนและประเมินความเหมาะสมของนโยบายและ กรอบการบริหารความเสีย่ งอย่างสม่าเสมอ และติดตามดูแลให้มกี ารนานโยบายการบริหารความเสีย่ ง องค์กรและระบบการควบคุมภายในไปปฏิบตั จิ ริงเพือ่ ให้บรรลุวตั ถุประสงค์อย่างมีประสิทธิผล

12.

กาหนดนโยบายความรับผิดชอบต่อสังคม ชุมชน และสิง่ แวดล้อม (Corporate Social Responsibility: CSR) ตลอดจนดูแลให้มกี ารปฏิบตั ิตามนโยบายความรับผิด ชอบต่ อสังคม ชุมชน และสิง่ แวดล้ อ ม ดังกล่าว

13.

รายงานความรับผิด ชอบของตนในการจัดทารายงานทางการเงิน โดยแสดงควบคู่กับรายงานของ ผู้สอบบัญชีในรายงานประจาปี และครอบคลุ มเรื่องที่มนี ั ยสาคัญตามนโยบายเรื่อ งข้อพึง ปฏิบัติที่ดี สาหรับกรรมการบริษัทจดทะเบียนของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ตลอดจนเปิ ดเผยข้อมูลที่ สาคัญต่าง ๆ อย่างถูกต้อง เพียงพอ ทันเวลา โดยให้เป็ นไปตามกฎเกณฑ์ มาตรฐาน และแนวปฏิบตั ทิ ี่ เกีย่ วข้อง ส่วนที่ 2 หน้า 22


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้ งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

14.

มอบหมายให้ ก รรมการคนหนึ่ ง หรือ หลายคนหรือ บุ คคลอื่น ใดปฏิบัติก ารอย่า งหนึ่ ง อย่า งใดแทน คณะกรรมการบริษัทได้ การมอบอานาจแก่กรรมการดังกล่าวจะต้องไม่เป็ นการมอบอานาจหรือการ มอบอานาจช่วงที่ทาให้กรรมการหรือผู้รบั มอบอานาจจากกรรมการสามารถอนุ มตั ริ ายการที่ตนหรือ บุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้ง มีสว่ นได้เสีย หรือมีผลประโยชน์ในลักษณะอืน่ ใดทีข่ ดั แย้งกับผลประโยชน์ ของบริษทั ฯ หรือบริษทั ย่อย

15.

ประเมินผลการปฏิบตั ิงานของคณะกรรมการบริษัทประจาปี ทัง้ ในรูปแบบการประเมินของทัง้ คณะ และเป็ นรายบุคคล เพือ่ ใช้เป็ นกรอบในการทบทวนการปฏิบตั หิ น้าทีข่ องคณะกรรมการบริษทั ตลอดจน ทบทวนหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบตามกฎบัตรคณะกรรมการบริษทั เป็ นประจาทุกปี

16.

แต่งตัง้ คณะกรรมการชุดย่อยเพื่อช่วยติดตามดูแลระบบบริหารจัดการ และระบบควบคุมภายในให้ เป็ นไปตามนโยบายที่กาหนดไว้ เช่น คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการ สรรหาและกาหนดค่าตอบแทน และคณะกรรมการบรรษัทภิบาล และกาหนดให้มกี ารประเมินผลการ ปฏิบตั ิงานประจาปี และทบทวนหน้ าที่และความรับผิดชอบตามกฎบัตรของคณะกรรมการชุดย่อยทุก ชุด

17.

พิจารณามอบหมายอานาจ หน้ าที่ และความรับผิดชอบในการบริหารจัดการให้แก่ฝ่ายบริหาร เพื่อ แบ่งแยกบทบาทหน้ าที่ความรับผิดชอบระหว่า งคณะกรรมการบริษัทและฝ่ ายบริห ารอย่า งชัด เจน ตลอดจนกากับดูแลและติดตามให้ฝ่ายบริหารดาเนินการและปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามที่ได้รบั มอบหมาย และ ทบทวนการแบ่งแยกบทบาทหน้ าที่ดังกล่าว รวมถึงประเมินผลการปฏิบตั ิงานของฝ่ ายบริหารอย่ าง สม่าเสมอ เพื่อรักษาความสมดุ ลในการบริหารจัดการ เสริมสร้างอิสระในการปฏิบตั ิหน้ าที่ และเพิม่ ประสิทธิภาพในการดาเนินงาน

18.

กาหนดและทบทวนโครงสร้างองค์กร (Organization Chart) ตลอดจนแต่งตัง้ คณะกรรมการทีป่ รึกษา (Advisory Board) ซึ่งจะประกอบด้ วยผู้ท รงคุ ณ วุฒ ิ มีความรู้ความเชีย่ วชาญในเรื่อ งต่า ง ๆ เพื่อให้ คาปรึกษาและคาแนะนาทีเ่ ป็ นประโยชน์ในเรื่องเกีย่ วกับกิจการของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย อย่างไรก็ ตาม ความเห็นหรือคาแนะนาโดยคณะกรรมการที่ปรึกษานัน้ เป็ นการให้ความเห็นและคาแนะนาจาก บุคคลซึง่ มิได้เป็ นฝ่ ายบริหารจัดการของบริษทั ฯ ซึง่ จะทาให้บริษทั ฯ ได้ประโยชน์จากมุมมองเพิ่มเติม ของบุ คคลภายนอก โดยคาปรึก ษา ความเห็น หรือ คาแนะน าดัง กล่ า วนั น้ จะไม่ม ีผ ลผูก พัน ทาง กฎหมายต่อบริษทั ฯ

19.

จัดทาและทบทวนแผนสืบทอดตาแหน่ง (Succession Plan) เพือ่ กาหนดกระบวนการสืบทอดตาแหน่ง ของประธานคณะกรรมการบริหาร กรรมการผู้ อานวยการใหญ่ รองกรรมการผู้อานวยการใหญ่ และ ผูบ้ ริหารระดับสูงอืน่ ๆ

20.

จัดให้มเี ลขานุ การบริษัทเพือ่ ดูแลให้คณะกรรมการบริษัทและบริษัทฯ ปฏิบตั ิให้เป็ นไปตามกฎหมาย และระเบียบข้อบังคับทีเ่ กีย่ วข้องต่าง ๆ

ส่วนที่ 2 หน้า 23


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้ งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

บทบำทและหน้ ำที่ของประธำนกรรมกำร

8.2

1.

ประธานกรรมการในฐานะผูน้ าของคณะกรรมการบริษทั มีหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบในการกากับดูแล การปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการชุดย่อยให้เป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพและ บรรลุวตั ถุประสงค์ตามแผนงานทีก่ าหนดไว้ ตลอดจนดูแลให้มนใจว่ ั ่ ากรรมการทุกคนมีสว่ นร่วมในการ ส่งเสริมวัฒนธรรมองค์กรทีม่ จี ริยธรรมและการกากับดูแลกิจการทีด่ ี

2.

ประธานกรรมการเป็ นผู้เรียกประชุมคณะกรรมการบริษัท ในการเรียกประชุมคณะกรรมการบริษัท ให้ ประธานกรรมการหรือผู้ซึ่งได้รับมอบหมายเป็ นผู้ส่งหนังสือเชิญประชุมไปยังกรรมการ ในการประชุ ม คณะกรรมการบริษทั แต่ละครัง้ ให้สง่ คาบอกกล่าวเรียกประชุมถึงกรรมการทุกคนล่วงหน้าอย่างน้อย 7 วัน ก่อนวันประชุม เว้นแต่ในกรณีจาเป็ นรีบด่วน เพื่อรักษาสิทธิหรือประโยชน์ ของบริษัทฯ จะแจ้งการนัด ประชุมโดยวิธอี น่ื และกาหนดวันประชุมให้เร็วกว่านัน้ ก็ได้โดยให้สง่ คาบอกกล่าวนัน้ โดยให้คนนาไปส่งถึง กรรมการแต่ละคนหรือส่งทางโทรสารถึงกรรมการของบริษทั ฯ ทุกคน ในคาบอกกล่าวนัน้ ให้ระบุสถานที่ วันเวลา และสภาพแห่งกิจการที่ประชุมปรึกษาหารือกันนัน้ ด้วย นอกจากนี้ ประธานกรรมการต้องจัดสรร เวลาในการประชุมอย่างเพียงพอเพื่อให้ฝ่ายบริหารสามารถชี้แจงรายละเอียดได้อย่างครบถ้ วน และให้ กรรมการสามารถอภิปรายประเด็นสาคัญได้อย่างรอบคอบ ตลอดจนใช้ดุลยพินิจในการตัดสินใจได้อย่างอิสระ

3.

เป็ นประธานในการประชุมคณะกรรมการบริษัท และเป็ นผูล้ งคะแนนเสียงชีข้ าดในกรณีที่คะแนนเสียง เท่ากันในทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั

4.

เป็ นประธานในการประชุมผูถ้ อื หุ้นของบริษทั ฯ และควบคุมการประชุมให้เป็ นไปตามข้อบังคับของบริษัทฯ และระเบียบวาระทีก่ าหนดไว้ และเป็ นผูล้ งคะแนนเสียงชีข้ าดในกรณีทคี่ ะแนนเสียงเท่ากันในทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุ้น

5.

ปฏิบตั หิ น้าทีอ่ น่ื ใดตามทีก่ ฎหมายกาหนดไว้โดยเฉพาะว่าให้เป็ นหน้าทีข่ องประธานกรรมการ

คณะกรรมกำรตรวจสอบ

โครงสร้างคณะกรรมการตรวจสอบประกอบด้ วยกรรมการอิส ระทัง้ หมด ซึ่งมีคุณสมบัติเ ป็ น ไปตามนิ ย าม กรรมการอิสระของบริษทั ฯ ซึง่ มีหลักเกณฑ์ที่ “เข้มกว่า” ข้อกาหนดขัน้ ต่าตามประกาศของคณะกรรมการกากับตลาดทุน โดยมีจานวนไม่น้อยกว่า 3 ท่าน และมีกรรมการตรวจสอบอย่างน้อย 1 ท่าน ทีม่ คี วามรูแ้ ละประสบการณ์ ด้านการบัญชี เพือ่ ทาหน้าทีใ่ นการสอบทานความน่าเชือ่ ถือของงบการเงิน โดยคณะกรรมการตรวจสอบจะมีการประชุมเป็ นประจาทุ ก ไตรมาส และอาจมีการประชุมเพิม่ เติมตามความจาเป็ นและเหมาะสม ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561 มีสมาชิกคณะกรรมการตรวจสอบจานวน 4 ท่าน ลำดับ รำยชื่อ ตำแหน่ ง 1. ศาสตราจารย์พเิ ศษ พลโท พิศาล เทพสิทธา* ประธานกรรมการตรวจสอบ 2. นายสุจนิ ต์ หวั ่งหลี กรรมการตรวจสอบ 3. ศาสตราจารย์พเิ ศษ เจริญ วรรธนะสิน กรรมการตรวจสอบ 4. นางพิจติ รา มหาพล กรรมการตรวจสอบ * ศาสตราจารย์พิเศษ พลโท พิศาล เทพสิทธา เป็ นกรรมการตรวจสอบที่มคี วามรู้และประสบการณ์ เพียงพอในการสอบทานความ น่าเชื่อถือของงบการเงินของบริษทั ฯ

ส่วนที่ 2 หน้า 24


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้ งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

หน้ ำที่และควำมรับผิดชอบของคณะกรรมกำรตรวจสอบ 1.

สอบทานให้บริษทั ฯ มีการรายงานทางการเงินถูกต้องตามทีค่ วร ตามหลักการบัญชีทรี่ บั รองโดยทัว่ ไป และมีการเปิ ดเผยอย่างเพียงพอ

2.

สอบทานให้บริษัทฯ มีระบบการควบคุม ภายใน (Internal Control) และระบบการตรวจสอบภายใน (Internal Audit) และนโยบายการประเมินความเสีย่ งทีเ่ หมาะสม มีประสิทธิผล และพิจารณาความเป็ น อิสระของสานักตรวจสอบภายใน ตลอดจนให้ความเห็นชอบร่วมกับกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ใ นการ พิจ ารณาแต่ งตัง้ โยกย้า ย เลิกจ้างหัวหน้ าส านั กตรวจสอบภายใน หรือ หัวหน้ า หน่ วยงานอื่นใดที่ รับผิดชอบเกีย่ วกับการตรวจสอบภายใน

3.

สอบทานให้ บริษัทฯ ปฏิบัติต ามกฎหมายว่า ด้วยหลักทรัพ ย์แ ละตลาดหลัก ทรัพ ย์ ข้อ ก าหน ดของ ตลาดหลักทรัพย์ และกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั ฯ

4.

พิจารณา คัดเลือก เสนอแต่งตัง้ บุคคลซึ่งมีความเป็ นอิสระเพื่อทาหน้ าที่เป็ นผู้สอบบัญชีของบริษทั ฯ ตลอดจนเลิกจ้างผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ และเสนอค่าตอบแทนของบุคคลดังกล่าว รวมทัง้ เข้าร่วม ประชุมกับผูส้ อบบัญชี โดยไม่มฝี ่ ายจัดการเข้าร่วมประชุมด้วยอย่างน้อยปี ละ 1 ครัง้ และผูส้ อบบัญชีจะ พ้นจากการทาหน้าทีข่ องบริษทั ฯ ในกรณีดงั ต่อไปนี้ (1)

ผู้สอบบัญชี ฝ่ าฝื น และ/หรือ ไม่ปฏิบตั ิตามมาตรา 89/25 ตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (ตามทีไ่ ด้มกี ารแก้ไขเพิม่ เติม)

(2)

ใบอนุ ญาตเป็ นผูส้ อบบัญชีรบั อนุ ญาตไร้ผลตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพบัญชี

(3)

ผูส้ อบบัญชีประพฤติผดิ จรรยาบรรณ ฝ่ าฝืน ไม่ปฏิบตั ติ ามข้อบังคับจรรยาบรรณ สาหรับผูส้ อบ บัญชีใ นสาระสาคัญ และได้ ร ับโทษการพักใช้ใบอนุ ญาต หรือ ถู ก เพิกถอนใบอนุ ญาต ตาม กฎหมายว่าด้วยวิชาชีพบัญชี

(4)

ถูกคณะกรรมการสภาวิชาชีพบัญชีกาหนดว่า เป็ นผู้มพี ฤติกรรมอันนามาซึ่งความเสื่อมเสีย เกียรติศกั ดิแห่ ์ งวิชาชีพบัญชี

5.

พิจ ารณารายการที่เกี่ยวโยงกันหรือ รายการที่อ าจมีความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์ ให้ เ ป็ น ไปตาม กฎหมายและข้อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์ ทัง้ นี้ เพื่อให้มนใจว่ ั ่ ารายการดังกล่าวสมเหตุ สมผลและ เป็ นประโยชน์สงู สุดต่อบริษทั ฯ

6.

จัดทารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยเปิ ดเผยไว้ในรายงานประจาปี ของบริษทั ฯ ซึง่ รายงาน ดังกล่าวต้องลงนามโดยประธานกรรมการตรวจสอบและต้องประกอบด้วยข้อมูลอย่างน้อยดังต่อไปนี้ (1)

ความเห็นเกีย่ วกับความถูกต้อง ครบถ้วน เชือ่ ถือได้ของรายงานทางการเงินของบริษทั ฯ

(2)

ความเห็นเกีย่ วกับความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริษทั ฯ

ส่วนที่ 2 หน้า 25


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้ งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

(3)

ความเห็นเกีย่ วกับการปฏิบตั ติ ามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกาหนด ของตลาดหลักทรัพย์ หรือกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั ฯ

(4)

ความเห็นเกีย่ วกับความเหมาะสมของผูส้ อบบัญชี

(5)

ความเห็นเกีย่ วกับรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์

(6)

จานวนการประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ และการเข้าร่วมประชุมของกรรมการตรวจสอบแต่ละ ท่าน

(7)

ความเห็นหรือข้อ สังเกตโดยรวมที่ค ณะกรรมการตรวจสอบได้ร บั จากการปฏิบตั ิหน้ าที่ตาม กฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ

(8)

รายการอื่น ที ่เ ห็น ว่า ผู ้ถ ือ หุ ้ น และผู ้ล งทุ น ทั ว่ ไปควรทราบ ภายใต้ข อบเขตหน้ า ที ่ แ ละ ความรับผิดชอบทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั

7.

สอบทานและให้ความเห็นต่อแผนการตรวจสอบภายใน และการปฏิบตั งิ านของสานักตรวจสอบภายใน ในการปฏิบตั ิงานตามขอบเขตอานาจหน้ าที่ ให้คณะกรรมการตรวจสอบมีอานาจเชิญให้ฝ่ายจัดการ ผูบ้ ริหารหรือพนักงานของบริษทั ฯ ทีเ่ กีย่ วข้องมาให้ความเห็น ร่วมประชุม หรือส่งเอกสารตามทีเ่ ห็นว่า เกีย่ วข้องจาเป็ น

8.

ในการปฏิบตั ิหน้าทีข่ องคณะกรรมการตรวจสอบ หากพบหรือมีข้อสงสัยว่ามีรายการหรือการกระทา ดังต่อไปนี้ ซึง่ อาจมีผลกระทบอย่างมีนัยสาคัญต่อฐานะการเงินและผลการดาเนินงานของบริษทั ฯ ให้ คณะกรรมการตรวจสอบรายงานต่อคณะกรรมการบริษทั เพือ่ ดาเนินการปรับปรุงแก้ไขภายในเวลาที่ คณะกรรมการตรวจสอบเห็นสมควร (1)

รายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์

(2)

การทุจริตหรือมีสงิ่ ผิดปกติหรือมีความบกพร่องทีส่ าคัญในระบบควบคุมภายใน

(3)

การฝ่ าฝื นกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์ หรือกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องกับธุรกิจของบริษทั ฯ

หากคณะกรรมการบริษั ท หรือ ผู้ บ ริห ารไม่ ด าเนิ น การให้ ม ีก ารปรั บ ปรุ ง แก้ ไ ขภายในเวลาที่ คณะกรรมการตรวจสอบเห็นสมควร กรรมการตรวจสอบท่านใดท่านหนึ่งอาจรายงานว่ามีรายการหรือ การกระทานัน้ ต่อสานักงาน ก.ล.ต. หรือตลาดหลักทรัพย์ 9.

คณะกรรมการตรวจสอบมีหน้าทีใ่ นการประเมิน ความเพียงพอและความเหมาะสมของนโยบายบริหาร ความเสีย่ ง ด้านการทุจริตและระบบทีใ่ ช้ในการจัดการความเสีย่ ง โดยมีหน้าทีห่ ลักในการบริหารความ เสีย่ งองค์กรดังต่อไปนี้

ส่วนที่ 2 หน้า 26


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้ งส์ จำกัด (มหำชน)

8.3

แบบ 56-1 ปี 2560/61

(1)

ทบทวนแผนการตรวจสอบภายในของฝ่ ายตรวจสอบภายในเพื่อให้ครอบคลุมถึงการสอบทาน การควบคุมภายในของการดาเนินงานตามมาตรการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน่ และนโยบาย ต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง ตลอดจนความเสีย่ งจากการทาทุจริตในกระบวนการดาเนินงานอืน่ ๆ

(2)

รับทราบรายงานเกีย่ วกับการทุจริต อาทิเช่น การรายงานตามรอบระยะเวลาทัวไปเพื ่ อ่ ให้ขอ้ มูล รายละเอีย ดของ การบริห ารความเสี่ย งด้ า นการทุ จ ริต รายงานเรื่อ งการทุ จ ริต ตามรอบ ระยะเวลาทัว่ ไป รายงานด่วนเรื่องการทุ จริตร้ายแรง รายงานผลการสอบสวนและบทลงโทษ เป็ นต้น

(3)

ปรึกษาหารือกับผูส้ อบบัญชีในกรณีทบี่ ริษทั ฯ ประสบเหตุการณ์ทุจริตทีม่ นี ัยสาคัญ

10.

พิจารณาทบทวนและปรับปรุงกฎบัตรคณะกรรมการตรวจสอบ และนาเสนอต่อคณะกรรมการบริษทั เพือ่ พิจารณาอนุ มตั ิ

11.

ปฏิบตั กิ ารอืน่ ใดตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั มอบหมายด้วยความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมกำรสรรหำและกำหนดค่ำตอบแทน

โครงสร้างคณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทนประกอบด้วยกรรมการไม่น้อยกว่า 3 ท่าน แต่ไม่ เกิน 5 ท่าน และเป็ นกรรมการอิสระเป็ นส่วนใหญ่ โดยคณะกรรการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทนจะมีการประชุม อย่างน้ อยปี บญ ั ชีละ 2 ครัง้ และอาจมีการประชุมเพิม่ เติมตามความจาเป็ นและเหมาะสม ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561 มีสมาชิกคณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทนจานวน 5 ท่าน ลำดับ 1. 2. 3. 4. 5.

รำยชื่อ ศาสตราจารย์พเิ ศษ พลโท พิศาล เทพสิทธา นายสุจนิ ต์ หวั ่งหลี ศาสตราจารย์พเิ ศษ เจริญ วรรธนะสิน นายรังสิน กฤตลักษณ์ นายคง ชิ เคือง (Mr. Kong Chi Keung)

ตำแหน่ ง ประธานกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน กรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน กรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน กรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน กรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน

หน้ ำที่และควำมรับผิดชอบของคณะกรรมกำรสรรหำและกำหนดค่ำตอบแทน 1.

พิจารณาและให้ความเห็นในเรือ่ งโครงสร้างคณะกรรมการบริษทั อันได้แก่ ขนาดและองค์ประกอบของ คณะกรรมการบริษั ท ที่ ค วรจะเป็ น เมื่อ พิจ ารณาตามขนาดและกลยุ ท ธ์ท างธุ ร กิจ ของบริษัท ฯ เปรียบเทียบกับขนาดและองค์ประกอบของคณะกรรมการบริษทั ในปั จจุบนั รวมทัง้ พิจารณาความเป็ น อิสระของกรรมการอิสระแต่ละคน เพื่อปรับเปลี่ยนองค์ประกอบคณะกรรมการบริษัทให้สอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์ของบริษทั ฯ

2.

กาหนดวิธแี ละหลักเกณฑ์ในการสรรหาบุคคลเพือ่ ดารงตาแหน่งกรรมการ โดยพิจารณาจาก -

คุณสมบัตขิ องกรรมการทีเ่ หมาะสมและสอดคล้องกับกลยุทธ์ในการดาเนินธุรกิจของบริษทั ฯ และ เป็ นไปตามโครงสร้า งขนาด และองค์ประกอบของคณะกรรมการบริษัทตามที่คณะกรรมการ ส่วนที่ 2 หน้า 27


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้ งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

บริษัท ก าหนดไว้ ตลอดจนความหลากหลายในโครงสร้างของคณะกรรมการบริษัท (Board Diversity) และคุณสมบัติของกรรมการที่จาเป็ นและยังขาดอยู่ในคณะกรรมการบริษัท (Board Skill Matrix) 3.

ความเหมาะสมของความรู้ ประสบการณ์ ความเชีย่ วชาญ การอุทิศเวลาของกรรมการ รวมถึง คุณสมบัตติ ามกฎหมายหรือข้อกาหนดของหน่วยงานราชการ

สรรหาผูม้ าดารงตาแหน่งกรรมการทีม่ คี ุณสมบัตสิ อดคล้องกับเกณฑ์คุณสมบัตทิ กี่ าหนดไว้ -

ในกรณีทกี่ รรมการต้องออกจากตาแหน่งตามวาระ เพือ่ ให้คณะกรรมการบริษทั ให้ความเห็นชอบ และนาเสนอต่อทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุ้นเพือ่ พิจารณาอนุ มตั แิ ต่งตัง้

-

ในกรณีที่มกี รรมการพ้นจากตาแหน่ งโดยเหตุ อ่นื ใด (นอกจากการออกจากตาแหน่ งตามวาระ) เพือ่ ให้คณะกรรมการบริษทั พิจารณาอนุ มตั แิ ต่งตัง้ กรรมการใหม่แทนตาแหน่งกรรมการทีว่ า่ งลง

-

ในกรณีที่ต้องแต่งตัง้ กรรมการใหม่เพิม่ เติมเพื่อให้สอดคล้องกับโครงสร้างคณะกรรมการบริษทั เพื่อ ให้คณะกรรมการบริษัทให้ ความเห็นชอบและน าเสนอต่อ ที่ประชุ มผู้ถือ หุ้น เพื่อ พิจารณา อนุ มตั แิ ต่งตัง้

4.

พิจารณาโครงสร้าง จานวน รูปแบบ และหลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทนทุกประเภท ทั ง้ ทีเ่ ป็ นตัวเงิน และมิใช่ตวั เงินทีเ่ หมาะสม ให้แก่ ประธานกรรมการ กรรมการบริษทั และสมาชิกในคณะกรรมการชุด ย่อย โดยทบทวนความเหมาะสมของหลักเกณฑ์ทใี่ ช้อยูใ่ นปั จจุบนั พิจารณาเปรียบเทียบกับข้อมูลการ จ่ายค่าตอบแทนของบริษัทอื่นที่อยู่ในอุตสาหกรรมเดียวกันกับบริษัทฯ และบริษัทจดทะเบียนอื่นใน ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยทีม่ มี ลู ค่าตลาด (Market Capitalization) ใกล้เคียงกับบริษทั ฯ เพือ่ จูง ใจและรักษาไว้ซงึ่ กรรมการที่มคี ุณประโยชน์ กบั บริษัทฯ และนาเสนอต่อคณะกรรมการบริษัทเพือ่ ให้ ความเห็นชอบและนาเสนอต่อทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุ้นเพือ่ พิจารณาอนุ มตั ิ

5.

สรรหาผู้ม าด ารงต าแหน่ ง ผู้บริห ารระดับสู ง (ต าแหน่ ง ประธานคณะกรรมการบริห าร กรรมการ ผู้อานวยการใหญ่ รองกรรมการผู้อานวยการใหญ่ และผู้อานวยการใหญ่ ) ที่มคี ุณสมบัติอย่า งน้ อ ย ดังต่อไปนี้ -

มีคุณ สมบัติถู ก ต้ อ งและไม่ม ีลักษณะต้ อ งห้ามตามกฎหมายหลัก ทรัพ ย์แ ละตลาดหลั กทรัพย์ กฎระเบียบข้อบังคับของบริษทั ฯ และหน่วยงานกากับดูแลทีเ่ กีย่ วข้อง และการกากับดูแลกิจการ ทีด่ ขี องบริษทั ฯ

-

มีคุณสมบัติที่เหมาะสมและสอดคล้องกับกลยุทธ์ในการดาเนินธุรกิจของบริษัทฯ มีวสิ ยั ทัศน์ ใน การบริหารจัดการองค์กรขนาดใหญ่ มีภาวะผูน้ า ความเหมาะสมของความรู้ ประสบการณ์ ความ เชีย่ วชาญ และสามารถอุทิศเวลาของตนในในการทางานให้กับบริษัทฯ ได้อย่างเต็มที่ทัง้ ใน ประเทศและต่างประเทศในฐานะผูบ้ ริหารระดับสูงของบริษทั ฯ

ส่วนที่ 2 หน้า 28


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้ งส์ จำกัด (มหำชน)

8.4

แบบ 56-1 ปี 2560/61

6.

พิจารณาเกณฑ์ในการประเมินผลการปฏิบตั ิงานของประธานคณะกรรมการบริหาร และกรรมการ ผู้อานวยการใหญ่ และนาเสนอผลการประเมินตามเกณฑ์นัน้ ๆ ให้คณะกรรมการบริษัทพิจารณาให้ ความเห็นชอบ ตลอดจนนาเสนอโครงสร้าง จานวน และรูปแบบการจ่ายค่าตอบแทนของประธานคณะ กรรมการบริหารและกรรมการผู้อานวยการใหญ่ทงั ้ ระยะสัน้ และระยะยาว ที่ส อดคล้ อ งกับผลการ ประเมินการปฏิบตั งิ านเพือ่ ให้คณะกรรมการบริษทั พิจารณาอนุ มตั ติ ่อไป รวมถึงกาหนดและกากับดูแล ให้ ม ีก ารประเมิน ผลการปฏิบัติง านและระบบกลไกการจ่า ยค่า ตอบแทนและสวัส ดิการต่า ง ๆ แก่ พนักงานทุกระดับตามโครงสร้างค่าตอบแทนและสวัสดิการทีค่ ณะกรรมการบริษทั กาหนด

7.

พิจารณาจัดทาแผนการพัฒนากรรมการเพื่อพัฒนาความรูก้ รรมการปั จจุบนั และกรรมการเข้าใหม่ ให้ เข้าใจธุรกิจของบริษทั ฯ บทบาทหน้าทีข่ องกรรมการ และพัฒนาการต่าง ๆ ทีส่ าคัญ รวมถึงพิจารณา กาหนดแนวทางในการปฐมนิเทศกรรมการเข้าใหม่

8.

พิจารณาความเหมาะสมและเงื่อนไขต่าง ๆ เกี่ยวกับการเสนอขายหุ้น ใบสาคัญแสดงสิทธิทจี่ ะซื้อหุ้น หรือหลักทรัพย์อน่ื ให้แก่กรรมการและพนักงาน เพือ่ ช่วยจูงใจให้กรรมการและพนักงานปฏิบตั ิห น้ าที่ เพือ่ ให้เกิดการสร้างมูลค่าเพิม่ ให้แก่ผถู้ อื หุ้นในระยะยาว และเพือ่ สามารถรักษาบุคลากรทีม่ คี ุณภาพได้ อย่างแท้จริง ภายใต้เกณฑ์ทเี่ ป็ นธรรมต่อผูถ้ อื หุ้น

9.

รายงานผลการปฏิบตั หิ น้าทีต่ ่อคณะกรรมการบริษทั และ/หรือ ทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุ้น

10.

ประเมินผลการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทนประจาปี และรายงานผล การประเมินต่อคณะกรรมการบริษทั

11.

แต่ ง ตัง้ คณะท างานเพื่อ ช่ วยเหลือ การปฏิบัติ ง านต่ า ง ๆ ของคณะกรรมการสรรหาและก าหนด ค่า ตอบแทน ตลอดจนแต่ ง ตัง้ ที่ปรึก ษาอิส ระที่ม ีความรู้ความเชี่ย วชาญ เพื่อ ให้ คาปรึก ษาและให้ คาแนะนา ตลอดจนช่วยเหลือการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน

12.

ปฏิบตั ิการอื่นใดในเรื่องทีเ่ กีย่ วข้องกับการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทนตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั มอบหมาย และปฏิบตั กิ ารใด ๆ ตามทีก่ าหนดโดยกฎหมายหรือข้อกาหนดของหน่วยงานราชการ

คณะกรรมกำรบรรษัทภิ บำล

โครงสร้างคณะกรรมการบรรษัทภิบาลประกอบด้วยกรรมการไม่น้ อยกว่า 4 ท่า น แต่ไ ม่เกิน 6 ท่า น โดย คณะกรรมการบรรษัท ภิบาลจะมีก ารประชุม อย่างน้ อ ยปี บญ ั ชีล ะ 2 ครัง้ และอาจมีก ารประชุม เพิม่ เติม ตามความ จาเป็ นและเหมาะสม ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561 มีสมาชิกคณะกรรมการบรรษัทภิบาลจานวน 4 ท่าน ลำดับ 1. 2. 3. 4.

รำยชื่อ

ตำแหน่ ง ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการบรรษัทภิบาล

นายคีรี กาญจนพาสน์ ดร.อาณัติ อาภาภิรม ศาสตราจารย์พเิ ศษ เจริญ วรรธนะสิน นายรังสิน กฤตลักษณ์

ส่วนที่ 2 หน้า 29


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้ งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

หน้ ำที่และควำมรับผิดชอบของคณะกรรมกำรบรรษัทภิ บำล

8.5

1.

พิจารณา กาหนด ทบทวน และปรับปรุงนโยบาย คูม่ อื และแนวทางปฏิบตั ใิ นการกากับดูแลกิจการที่ดี จริยธรรมในการดาเนินธุรกิจ และจริยธรรมของพนักงาน ในลักษณะทีส่ อดคล้องกับแนวปฏิบตั สิ ากล เพือ่ เสนอต่อคณะกรรมการบริษทั เพือ่ พิจารณาอนุ มตั ิ ตลอดจนกากับดูแลให้มกี ารปฏิบตั ติ ามนโยบาย คูม่ อื และแนวทางปฏิบตั เิ กีย่ วกับการกากับดูแลกิจการทีด่ ี จริยธรรมในการดาเนินธุรกิจ และจริยธรรม ของพนักงานดังกล่าว

2.

พิจารณา กาหนด ทบทวน และปรับปรุงนโยบายความรับผิดชอบต่อสัง คม ชุมชน และสิง่ แวดล้อม (Corporate Social Responsibility : CSR) เพื่อ เสนอต่ อ คณะกรรมการบริษัท เพื่อ พิจ ารณาอนุ มัติ ตลอดจนดูแลให้มกี ารปฏิบตั ติ ามนโยบายความรับผิดชอบต่อสังคม ชุมชน และสิง่ แวดล้อมดังกล่าว

3.

พิจารณา กาหนด ทบทวน และปรับปรุงนโยบายและแนวปฏิบตั ิเกี่ย วกับการต่ อต้านทุ จ ริตและติด สินบน (Anti-Corruption and Bribery) เพือ่ เสนอต่อคณะกรรมการบริษทั เพือ่ พิจารณาอนุ มตั ิ ตลอดจน ดูแลให้มกี ารปฏิบตั ติ ามนโยบายและแนวปฏิบตั เิ กีย่ วกับการต่อต้านทุจริตและติดสินบนดังกล่าว

4.

รายงานผลการปฏิบตั หิ น้าทีต่ ่อคณะกรรมการบริษทั และ/หรือ ทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุ้น

5.

ประเมินผลการปฏิบตั ิงานของคณะกรรมการบรรษัทภิบาลประจาปี และรายงานผลการประเมินต่อ คณะกรรมการบริษทั

6.

แต่งตัง้ คณะทางาน เพื่อช่วยเหลือการปฏิบตั ิงานต่าง ๆ ของคณะกรรมการบรรษัทภิบาล ตลอดจน แต่ ง ตัง้ ที่ปรึก ษาอิส ระที่ม ีความรู้ ความเชี่ย วชาญ เพื่อ ให้ คาปรึก ษาและให้ คาแนะน า ตลอดจน ช่วยเหลือการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการบรรษัทภิบาล

7.

ปฏิบตั ิหน้ าที่หรือดาเนินการอื่นใดตามทีค่ ณะกรรมการบริษัทมอบหมาย และปฏิบตั ิการใด ๆ ตามที่ กาหนดโดยกฎหมายหรือข้อกาหนดของหน่วยงานราชการ

คณะกรรมกำรบริ หำร

โครงสร้างคณะกรรมการบริหารประกอบด้วยสมาชิกจานวนไม่น้อยกว่า 5 ท่าน โดยสมาชิกคณะกรรมการบริหาร ไม่จาเป็ นต้องเป็ นผูด้ ารงตาแหน่งกรรมการบริษทั คณะกรรมการบริหารมีกาหนดการประชุมเป็ นประจาตามความเหมาะสม ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561 คณะกรรมการบริหารประกอบด้วยสมาชิกจานวน 7 ท่าน ลำดับ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

รำยชื่อ

ตำแหน่ ง ประธานคณะกรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหารและกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ กรรมการบริหารและผูอ้ านวยการใหญ่สายปฏิบตั กิ าร กรรมการบริหารและรองกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ กรรมการบริหาร

นายคีรี กาญจนพาสน์ ดร.อาณัติ อาภาภิรม นายสุรพงษ์ เลาหะอัญญา นายกวิน กาญจนพาสน์ นายรังสิน กฤตลักษณ์ นายคง ชิ เคือง (Mr. Kong Chi Keung) นายจุลจิตต์ บุณยเกตุ

ส่วนที่ 2 หน้า 30


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้ งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

หน้ ำที่และควำมรับผิดชอบของคณะกรรมกำรบริ หำร 1.

กาหนดนโยบาย วิสยั ทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม กลยุทธ์ และเป้ าหมายการดาเนินงานทัง้ ทีเ่ ป็ นตัวเงิน และ ไม่ใช่ตัวเงิน ตลอดจนโครงสร้างการบริหารจัดการของบริษัทฯ ให้สอดคล้องและเหมาะสมต่อสภาวะ เศรษฐกิจและการแข่งขัน เพือ่ เสนอให้คณะกรรมการบริษทั เห็นชอบ

2.

ก าหนดแผนธุ รกิจ งบประมาณ และอ านาจการบริห ารจัด การต่ า ง ๆ ของบริษัท ฯ เพื่อ เสนอให้ คณะกรรมการบริษทั เห็นชอบ

3.

กากับดูแล ตรวจสอบ และติดตามผลการดาเนินงานของบริษัทฯ ให้เป็ นไปตามนโยบาย วิสยั ทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม กลยุทธ์ และเป้ าหมายการดาเนินงานทัง้ ทีเ่ ป็ นตัวเงินและไม่ใช่ตัวเงิน ตลอดจนแผน ธุรกิจและงบประมาณที่ได้รบั อนุ มตั ิไว้เป็ นประจาทุ กไตรมาส เพือ่ ให้มนใจว่ ั ่ าการดาเนินงานของบริษัทฯ เป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

4.

พิจ ารณาอนุ ม ัติ ก ารด าเนิ น การโครงการต่ า ง ๆ ของบริษั ท ฯ และบริษั ท ย่ อ ย และร ายงานต่ อ คณะกรรมการบริษทั ถึงความคืบหน้าของโครงการ

5.

บริหารความเสีย่ งในภาพรวมทัง้ องค์กร ประเมินความเสีย่ ง และวางรูปแบบโครงสร้างการบริหารความ เสี่ย งขององค์กร ติด ตามและควบคุ ม ความเสี่ย งหลักและปั จจัยต่ าง ๆ ที่อ าจส่ง ผลกระทบอย่างมี นัยสาคัญต่อบริษทั ฯ และรายงานต่อคณะกรรมการบริษทั

6.

รายงานผลการปฏิบตั หิ น้าทีต่ ่อคณะกรรมการบริษทั และ/หรือ ทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุ้น

7.

ประเมิน ผลการปฏิบัติง านของคณะกรรมการบริห ารประจ าปี และรายงานผลการประเมิน ต่ อ คณะกรรมการบริษทั

8.

แต่งตัง้ คณะทางาน เพือ่ ช่วยเหลือการปฏิบตั งิ านต่าง ๆ ของคณะกรรมการบริหาร ตลอดจนแต่งตัง้ ที่ ปรึกษาอิสระที่มคี วามรู้ความเชีย่ วชาญ เพื่อให้คาปรึกษาและให้คาแนะนา ตลอดจนช่วยเหลือการ ปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการบริหาร

9.

ด าเนิ น การอื่น ๆ ตามที่คณะกรรมการบริษัท มอบหมาย และปฏิบัติก ารใด ๆ ตามที่ก าหนดโดย กฎหมายหรือข้อกาหนดของหน่วยงานราชการ

หน้ ำที่และควำมรับผิดชอบของกรรมกำรผูอ้ ำนวยกำรใหญ่ 1.

ดาเนินงานอันเป็ นกิจวัตรประจาวันของบริษัทฯ กากับดูแลและบริหารจัดการงานในด้านต่าง ๆ ของ บริษทั ฯ ให้เป็ นไปตามนโยบาย วิสยั ทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม กลยุทธ์ และเป้ าหมายการดาเนินงานทัง้ ที่ เป็ น ตั ว เงิน และไม่ ใ ช่ ตั ว เงิน ตลอดจนแผนธุ ร กิ จ และงบประมาณของบริษั ท ฯ ที่ ก าหนดโดย คณะกรรมการบริษทั และ/หรือ คณะกรรมการบริหาร

2.

มีอานาจจ้าง แต่งตัง้ โยกย้าย ปลดออก และเลิกจ้าง พนักงานทุกระดับของบริษัทฯ ยกเว้น (1) การ แต่งตัง้ โยกย้าย หรือเลิกจ้าง ผู้บริหารระดับสูงที่ดารงตาแหน่ งรองกรรมการผู้อานวยกา รใหญ่ และ ส่วนที่ 2 หน้า 31


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้ งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ผู้อานวยการใหญ่จะต้องได้รบั การอนุ มตั โิ ดยคณะกรรมการบริษัท และ (2) การแต่งตัง้ โยกย้าย หรือ เลิกจ้างหัวหน้าสานักตรวจสอบภายใน จะต้องได้รบั ความเห็นชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบด้วย 3.

กาหนดเงินเดือนและค่าตอบแทน ปรับขึน้ เงินเดือน โบนัส บาเหน็จรางวัล และสวัสดิการของพนักงาน ทุ กระดับของบริษทั ฯ ซึ่งรวมถึงผู้บริหารระดับสูงที่ดารงตาแหน่ งรองกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ และ ผู้อานวยการใหญ่ โดยให้เป็ นไปตามระบบกลไกการจ่ายค่าตอบแทนและสวัสดิการซึง่ ผ่านการอนุ มัติ จากคณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน

4.

มีอานาจอนุ มตั กิ ารเข้าทาสัญญา หรือการเลิกสัญญาใด ๆ (ซึง่ ไม่ได้อยูใ่ นงบประมาณประจาปี ที่ได้รับ อนุ มตั แิ ล้ว) ระหว่างบริษทั ฯ หรือบริษทั ย่อย กับบุคคลภายนอก ซึง่ มูลค่ารวมของแต่ละสัญญาไม่เกิน วงเงินทีก่ าหนดไว้

5.

พิจารณาอนุ มตั กิ ารกู้ยมื เงินระหว่างบริษทั ฯ กับบริษทั ย่อย

6.

ออกคาสัง่ ระเบียบ ประกาศ และบันทึกต่าง ๆ ภายในบริษัทฯ เพื่อให้การดาเนินงานของบริษัท ฯ เป็ นไปตามนโยบายและเพือ่ ผลประโยชน์ของบริษทั ฯ รวมถึงรักษาระเบียบวินัยภายในองค์กร

7.

ด าเนิ น การอื่น ๆ ตามที่คณะกรรมการบริษัท และ/หรือ คณะกรรมการบริห ารมอบหมาย และ ปฏิบตั กิ ารใด ๆ ตามทีก่ าหนดโดยกฎหมายหรือข้อกาหนดของหน่วยงานราชการ

8.

มอบหมายให้บุคคลคนหนึ่งหรือหลายคนปฏิบตั ิการอย่างหนึ่งอย่างใดแทนตน โดยการมอบอานาจ ดังกล่าวจะต้องไม่เป็ นการมอบอานาจทีท่ าให้ผู้รบั มอบอานาจสามารถอนุ มตั ิรายการทีต่ นหรือบุค คลที่ อาจมีความขัดแย้ง มีส่วนได้เสีย หรือมีผลประโยชน์ ในลักษณะอื่นใดที่ขดั แย้งกับผลประโยชน์ ข อง บริษทั ฯ หรือบริษทั ย่อย

9.

ในกรณี ที่ ก รรมการผู้ อ านวยการใหญ่ ไ ม่ อ ยู่ หรือ ไม่ ส ามารถปฏิบัติ ห น้ า ที่ ไ ด้ ให้ ร องกรรมการ ผู้อ านวยการใหญ่เ ป็ น ผู้รัก ษาการและปฏิบัติห น้ า ที่ต่ าง ๆ แทนทุ กประการ และให้ ร องกรรมการ ผู้ อ านวยการใหญ่ ร ายงานหรือ เสนอเรื่อ งต่ า ง ๆ ที่ ต นได้ พ ิจ ารณาอนุ ม ัติ ไ ปแล้ ว ต่ อ กรรมการ ผูอ้ านวยการใหญ่ในทันทีทสี่ ามารถกระทาได้

ทัง้ นี้ การใช้อานาจของกรรมการผู้อานวยการใหญ่ จะต้องไม่มลี ักษณะที่ทาให้กรรมการผู้อานวยการใหญ่ สามารถอนุ มตั ิรายการที่ตนหรือบุคคลที่เกี่ยวข้อง อาจมีความขัดแย้ง มีส่วนได้เสีย หรือมีผลประโยชน์ ใ น ลักษณะอืน่ ใดทีข่ ดั แย้งกับผลประโยชน์ของบริษทั ฯ หรือบริษทั ย่อย

ส่วนที่ 2 หน้า 32


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้ งส์ จำกัด (มหำชน)

8.6

สรุปกำรเข้ำประชุ มของคณะกรรมกำรบริ ษัท คณะกรรมกำรตรวจสอบ คณะกรรมกำรสรรหำและ กำหนดค่ำตอบแทน คณะกรรมกำรบรรษัทภิ บำล และคณะกรรมกำรบริ หำร ในปี 2560/61 รำยชื่อกรรมกำร

คณะกรรมกำร รวม 11 ครัง้

นายคีรี กาญจนพาสน์ ดร.พอล ทง (Dr. Paul Tong) ดร.อาณัติ อาภาภิรม นายสุรพงษ์ เลาหะอัญญา นายกวิน กาญจนพาสน์ นายรังสิน กฤตลักษณ์ นายคง ชิ เคือง (Mr. Kong Chi Keung) 8. ศาสตราจารย์พเิ ศษ พลโท พิศาล เทพสิทธา 9. นายสุจนิ ต์ หวั ่งหลี 10. ศาสตราจารย์พเิ ศษ เจริญ วรรธนะสิน 11. นายชอง ยิง ชิว เฮนรี่ (Mr. Cheong Ying Chew, Henry) 12. นายจุลจิตต์ บุณยเกตุ 13. ดร.การุญ จันทรางศุ 14. นางพิจติ รา มหาพล อัตรำเฉลี่ยกำรเข้ำร่วมประชุม ของทัง้ คณะ (ร้อยละ)

11/11 9/11 10/11 10/11 11/11 11/11 11/11

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.

แบบ 56-1 ปี 2560/61

คณะกรรมกำร คณะกรรมกำร คณะกรรมกำร ตรวจสอบ สรรหำและกำหนด บรรษัทภิ บำล รวม 5 ครัง้ ค่ำตอบแทน รวม 2 ครัง้ รวม 2 ครัง้ 2/2 2/2 2/2 2/2 2/2 -

คณะกรรมกำร บริ หำร รวม 10 ครัง้ 10/10 10/10 10/10 7/10 10/10 10/10

11/11

5/5

2/2

-

-

11/11 10/11

5/5 5/5

2/2 1/2

2/2

-

9/11

-

-

-

-

11/11 11/11 11/11 95.5

5/5 100.0

90.0

100.00

8/10 92.9

ในปี 2560/61 บริษัทฯ จัดการประชุมคณะกรรมการบริษัท ทัง้ หมด 11 ครัง้ โดยมีกรรมการบริษัททัง้ คณะ เข้าร่วมประชุมร้อยละ 95.5 และกรรมการแต่ละท่านเข้าร่วมประชุมมากกว่าร้อยละ 75 ซึ่งเป็ นไปตามนโยบายการ กากับดูแลกิจการและจริยธรรมทางธุรกิจของบริษัทฯ ที่ส่งเสริมและสนับสนุ นให้กรรมการแต่ละท่านเข้าร่วมประชุม คณะกรรมการบริษัทอย่างน้ อยร้อยละ 75 ของการประชุมคณะกรรมการทัง้ หมดในรอบปี บญ ั ชี ทัง้ นี้ สาเหตุ ที่กรรมการไม่สามารถเข้าร่วมประชุมเนื่องจากติดภารกิจ อื่น ซึ่งรวมถึงภารกิจ ในต่างประเทศ โดยกรรมการทีไ่ ม่เข้าร่วมประชุ มได้แจ้งให้ประธานกรรมการทราบล่วงหน้ าก่อนวันประชุมเพื่อแจ้งต่อที่ประชุมแล้ว นอกจากนี้ ในปี 2560/61 บริษ ัท ฯ ได้จ ดั การประชุม กรรมการที่ไ ม่เป็ นผู้บริหาร โดยไม่ม ฝี ่ า ยบริหารเข้า ร่วมประชุมจานวน 1 ครัง้

ส่วนที่ 2 หน้า 33


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้ งส์ จำกัด (มหำชน)

8.7

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ผูบ้ ริ หำร ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561 มีผู้บริหารจานวน 11 ท่าน ดังนี้

ลำดับ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11.

รำยชื่อ

ตำแหน่ ง ประธานคณะกรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหาร กรรมการบริหารและกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ กรรมการบริหารและผูอ้ านวยการใหญ่สายปฏิบตั กิ าร กรรมการบริหารและรองกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ กรรมการบริหาร ผูอ้ านวยการใหญ่สายการเงิน ผูอ้ านวยการใหญ่สายการลงทุน ผูอ้ านวยการฝ่ ายบัญชี ผูอ้ านวยการฝ่ ายการเงิน

นายคีรี กาญจนพาสน์ ดร.อาณัติ อาภาภิรม นายสุรพงษ์ เลาหะอัญญา นายกวิน กาญจนพาสน์ นายรังสิน กฤตลักษณ์ นายคง ชิ เคือง (Mr. Kong Chi Keung) นายจุลจิตต์ บุณยเกตุ นายสุรยุทธ ทวีกลุ วัฒน์ นายดาเนียล รอสส์ (Mr. Daniel Ross) นางดวงกมล ชัยชนะขจร นางสาวชวดี รุง่ เรือง

หน้ ำที่และควำมรับผิดชอบของคณะผูบ้ ริ หำร

8.8

1.

ดาเนินการตามนโยบาย ทิศทาง กลยุทธ์ และโครงสร้างการบริหารงานในการดาเนินธุรกิจของบริษัทฯ ทีก่ าหนดให้มปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผล

2.

ด าเนิ น การจัดทาแผนธุรกิจ งบประมาณ และอ านาจการบริหารต่าง ๆ ของบริษัท ฯ เพื่อ เสนอให้ คณะกรรมการบริหาร และ/หรือ คณะกรรมการบริษทั เห็นชอบ

3.

บริหารงานบริษัทฯ ตามแผนงานหรืองบประมาณที่ได้รบั อนุ มตั ิจากคณะกรรมการบริหาร และ/หรือ คณะกรรมการบริษัท อย่างซื่อสัตย์ สุจริต และระมัดระวังรักษาผลประโยชน์ของบริษทั ฯ และผูถ้ อื หุ้น อย่างดีทสี่ ุด

4.

ติดตามผลการดาเนินงานของบริษทั ฯ ให้เป็ นไปตามนโยบายแผนงาน และงบประมาณทีไ่ ด้รบั อนุ มตั ิ

5.

รายงานผลการดาเนินงานของบริษัทฯ ต่อที่ประชุมคณะกรรมการบริหาร และ/หรือ คณะกรรมการ บริษทั เป็ นประจา

6.

ดาเนินการอืน่ ๆ ตามทีค่ ณะกรรมการบริหาร และ/หรือ คณะกรรมการบริษทั มอบหมาย

7.

กากับการบริหารงานทัวไปตามที ่ ก่ าหนดไว้ในระเบียบข้อบังคับของบริษทั ฯ

รำยงำนกำรถือครองหลักทรัพย์ของกรรมกำรและผูบ้ ริ หำร

บริษทั ฯ มีนโยบายให้กรรมการและผูบ้ ริหารของบริษทั ฯ รายงานการเปลีย่ นแปลงการถือครองหลักทรัพย์ของ บริษทั ฯ ซึง่ รวมถึงการเปลีย่ นแปลงการถือครองหลักทรัพย์ของคูส่ มรสและบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนิตภิ าวะของบุคคลดังกล่าว (ถ้ามี) ต่อทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั เป็ นรายไตรมาส โดยให้นาส่งสาเนาแบบรายงานการเปลีย่ นแปลงการถือ ครอง หลักทรัพย์ (แบบ 59-2) ให้แก่สานักเลขานุ การบริษทั เพือ่ รวบรวมและนาเสนอต่อทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั ส่วนที่ 2 หน้า 34


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้ งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ตำรำงสรุ ป กำรเปลี่ ย นแปลงกำรถื อ ครองหลักทรัพ ย์ข องกรรมกำรและผู้บ ริ ห ำร ระหว่ ำงปี 2559/60 และ ปี 2560/61 ลำดับ

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11.

12. 13. 14. 15. 16. 17. 18.

รำยชื่อ

นายคีรี กาญจนพาสน์ คูส่ มรส / บุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ ดร.พอล ทง (Dr. Paul Tong) คูส่ มรส / บุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ ดร.อาณัต ิ อาภาภิรม คูส่ มรส / บุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ นายสุรพงษ์ เลาหะอัญญา คูส่ มรส / บุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ นายกวิน กาญจนพาสน์ คูส่ มรส / บุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ นายรังสิน กฤตลักษณ์ คูส่ มรส / บุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ นายคง ชิ เคือง (Mr. Kong Chi Keung) คูส่ มรส / บุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ ศาสตราจารย์พเิ ศษ พลโท พิศาล เทพสิทธา คูส่ มรส / บุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ นายสุจนิ ต์ หวังหลี ่ คูส่ มรส / บุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ ศาสตราจารย์พเิ ศษ เจริญ วรรธนะสิน คูส่ มรส / บุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ นายชอง ยิง ชิว เฮนรี่ (Mr. Cheong Ying Chew, Henry) คูส่ มรส / บุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ นายจุลจิตต์ บุณยเกตุ คูส่ มรส / บุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ ดร.การุญ จันทรางศุ คูส่ มรส / บุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ นางพิจติ รา มหาพล คูส่ มรส / บุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ นายสุรยุทธ ทวีกุลวัฒน์ คูส่ มรส / บุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ นายดาเนียล รอสส์ (Mr. Daniel Ross) คูส่ มรส / บุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ นางดวงกมล ชัยชนะขจร คูส่ มรส / บุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ นางสาวชวดี รุ่งเรือง คูส่ มรส / บุตรที่ยงั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ

จำนวนหุ้น (BTS) 31 มี.ค. 2560 31 มี.ค. 2561 3,891,164,652 3,873,886,852 0 0 29,176,501 29,176,501 1,600,000 1,600,000 0 0 0 0 5,552,627 5,552,627 0 0 602,459,295 602,459,295 0 0 0 0 0 0 3,200,000 3,200,000 0 0 80,000 80,000 0 0 4,417,166 4,417,166 3,262,857 3,262,857 351,713 360,000 0 0 0 0 0 2,200,000 100,000 0 0 150,000 150,000 410,748 17,000 601,191 0 720,041 0 387,557 -

0 2,200,000 100,000 0 0 150,000 250,000 521,158 17,000 843,281 0 824,201 0 517,772 -

ส่วนที่ 2 หน้า 35

เปลี่ยนแปลง เพิ่ม/(ลด) (17,277,800) 8,287 100,000 110,410 242,090 104,160 130,215 -

จำนวนใบสำคัญแสดงสิทธิ เปลี่ยนแปลง BTS-W3 เพิ่ม/(ลด) 31 มี.ค. 2560 31 มี.ค. 2561 1,389,286,164 1,089,286,164 (300,000,000) 0 0 9,725,500 9,725,500 533,333 533,333 0 0 0 0 1,850,875 1,850,875 0 0 819,765 819,765 0 0 0 0 0 0 1,066,666 1,066,666 0 0 26,666 26,666 0 0 1,472,388 1,472,388 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 19,272 0 45,080 0 55,084 0 0 -

0 0 0 0 0 0 0 0 0 45,080 0 55,084 0 0 -

(19,272) -


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้ งส์ จำกัด (มหำชน)

8.9

แบบ 56-1 ปี 2560/61

เลขำนุกำรบริ ษทั

คณะกรรมการบริษัทกาหนดคุณ สมบัติข องผู้ปฏิบตั ิหน้ าที่ เลขานุ การบริษัท โดยจะต้องจบการศึกษาด้ า น กฎหมายหรือบัญชี และ/หรือ เคยผ่านการอบรมในหลักสูตรทีเ่ กีย่ วข้องกับการปฏิบตั หิ น้าทีเ่ ลขานุ การบริษทั เลขานุ การ บริษัทมีหน้ าที่ในการดูแลให้บริษัทฯ ปฏิบตั ิตามกฎหมายและข้อกาหนดที่เกี่ยวข้องกับบริษัทฯ เพื่อให้เป็ นไปตาม หลักการกากับดูแลกิจการทีด่ ขี องบริษทั จดทะเบียน ดังนี้ 1.

จัดการประชุมคณะกรรมการบริษัท และการประชุมผู้ถือหุ้นให้เป็ นไปตามกฎหมาย และข้อกาหนด ทีเ่ กีย่ วข้องกับบริษทั ฯ รวมทัง้ ติดตามให้มกี ารปฏิบตั ติ ามมติทปี่ ระชุม

2.

จัดทาและเก็บรักษาทะเบียนกรรมการ หนังสือ เชิญประชุมคณะกรรมการบริษัท รายงานการประชุม คณะกรรมการบริษทั หนังสือเชิญประชุมผูถ้ อื หุ้น และรายงานการประชุมผูถ้ อื หุ้น

3.

ดูแ ลให้ม กี ารเปิ ด เผยข้อ มูล สารสนเทศต่า ง ๆ ให้เ ป็ น ไปตามข้อ กาหนดของตลาดหลัก ทรัพ ย์ สานักงาน ก.ล.ต. และหน่วยงานกากับดูแลอืน่ ทีเ่ กีย่ วข้อง ตลอดจนหลักการกากับดูแลกิจการที่ดี

4.

เก็บรักษารายงานการมีส่วนได้เสียที่ร ายงานโดยกรรมการหรือ ผู้บริห าร และจัด ส่ง สาเนารายงาน การมีสว่ นได้เสียให้ประธานกรรมการและประธานกรรมการตรวจสอบ

5.

เก็บรักษาสาเนารายงานการเปลีย่ นแปลงการถือครองหลักทรัพย์ของกรรมการหรือผูบ้ ริหาร

6.

ให้คาแนะนาแก่กรรมการเกีย่ วกับข้อกฎหมายและระเบียบข้อบังคับต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการกากับดูแล กิจการที่ดี การดารงสถานะเป็ นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ และข้อกฎหมายและระเบียบ ข้อบังคับต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วกับการดาเนินธุรกิจของบริษทั ฯ

7.

ดาเนินการอื่น ๆ ตามที่คณะกรรมการกากับตลาดทุ นประกาศกาหนด หรือที่ได้รบั มอบหมายจาก คณะกรรมการบริษทั

นางสาวตารเกศ ถาวรพานิช ทาหน้ าที่เป็ นเลขานุ การบริษัทตัง้ แต่วนั ที่ 1 ตุ ลาคม 2558 จนถึงปั จจุบนั โดย เลขานุ การบริษทั ได้ผา่ นการอบรมหลักสูตรของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย และเข้าร่วมฝึ กอบรมและ สัมมนาต่างๆ ทีจ่ ดั ขึน้ โดยตลาดหลักทรัพย์และสานักงาน ก.ล.ต. อย่างสม่าเสมอและต่อเนื่อง โดยสามารถดูรายละเอียด เกีย่ วกับประวัตขิ องเลขานุ การบริษทั ได้ใน เอกสารแนบ 1.2 ประวัตแิ ละหน้าทีค่ วามรับผิดชอบของเลขานุ การบริษทั 8.10

ค่ำตอบแทนกรรมกำรและผูบ้ ริ หำร

8.10.1 ค่ำตอบแทนกรรมกำร 8.10.1.1

ค่ำตอบแทนที่เป็ นตัวเงิ น

คณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทนพิจารณากาหนดค่าตอบแทนของกรรมการจากผลประกอบการ ของบริษัทฯ ขนาดธุรกิจ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท โดยเปรียบเทียบกับบริษัท จดทะเบีย นใน ตลาดหลักทรัพย์ทมี่ มี ลู ค่าตลาด (Market Capitalization) ในขนาดทีใ่ กล้เคียงกับบริษทั ฯ และบริษทั จดทะเบียนอืน่ ทีอ่ ยู่ ส่วนที่ 2 หน้า 36


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้ งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ในอุตสาหกรรมเดียวกันกับบริษทั ฯ และเสนอต่อทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั เพือ่ เสนอต่อที่ประชุมสามัญผูถ้ อื หุ้นเพื่อ พิจารณาและอนุ มตั ิเป็ น ประจาทุ ก ปี ทัง้ นี้ ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้น ประจาปี 2560 เมื่อวันที่ 25 กรกฎาคม 2560 ได้ พิจารณาและอนุ มตั ปิ รับขึน้ ค่าตอบแทนรายเดือนในแต่ละตาแหน่ง โดยให้เบีย้ ประชุม คงเดิมเหมือนปี ทผี่ า่ นมา และจ่าย โบนัสกรรมการเพื่อตอบแทนผลการปฏิบตั ิงานของคณะกรรมการบริษัท สาหรับรอบระยะเวลาบัญชีส้นิ สุด วันที่ 31 มีนาคม 2560 เป็ นจานวนรวม 22.0 ล้านบาท โดยให้คณะกรรมการบริษทั นามาจัดสรรระหว่างกันเอง หลักเกณฑ์กำรจ่ำยค่ำตอบแทนกรรมกำร ปี 2558 – 2560 ▪ ค่าตอบแทนรายเดือน ประธานกรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการชุดย่อยอื่น ๆ

2558 60,000 บาท / เดือน 30,000 บาท / คน / เดือน 50,000 บาท / เดือน ไม่มี ไม่มี

2559 60,000 บาท / เดือน 30,000 บาท / คน / เดือน 50,000 บาท / เดือน ไม่มี ไม่มี

2560 80,000 บาท / เดือน 40,000 บาท / คน / เดือน 67,000 บาท / เดือน ไม่มี ไม่มี

2558 ไม่มี ไม่มี 20,000 บาท / ครัง้ 20,000 บาท / คน / ครัง้ ไม่มี

2559 ไม่มี ไม่มี 20,000 บาท / ครัง้ 20,000 บาท / คน / ครัง้ ไม่มี

2560 ไม่มี ไม่มี 20,000 บาท / ครัง้ 20,000 บาท / คน / ครัง้ ไม่มี

▪ เบีย้ ประชุม ประธานกรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการชุดย่อยอื่น ๆ

ค่ำตอบแทนกรรมกำรเป็ นรำยบุคคล ปี 2560/61 ลำดับ

รำยชื่อ

1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. รวม

นายคีรี กาญจนพาสน์ ดร.พอล ทง (Dr. Paul Tong) ดร.อาณัต ิ อาภาภิรม นายสุรพงษ์ เลาหะอัญญา นายกวิน กาญจนพาสน์ นายรังสิน กฤตลักษณ์ นายคง ชิ เคือง (Mr. Kong Chi Keung) ศาสตราจารย์พเิ ศษ พลโท พิศาล เทพสิทธา นายสุจนิ ต์ หวังหลี ่ ศาสตราจารย์พเิ ศษ เจริญ วรรธนะสิน นายชอง ยิง ชิว เฮนรี่ (Mr. Chong Ying Chew, Henry) นายจุลจิตต์ บุณยเกตุ ดร.การุญ จันทรางศุ นางพิจติ รา มหาพล

ค่ำตอบแทน (บำท) 880,000.00 440,000.00 440,000.00 440,000.00 440,000.00 440,000.00 440,000.00 736,000.00 440,000.00 440,000.00 440,000.00 440,000.00 440,000.00 440,000.00 6,896,000.00

ส่วนที่ 2 หน้า 37

เบี้ยประชุม (บำท) 100,000.00 100,000.00 100,000.00 100,000.00 400,000.00

โบนัสกรรมกำร (บำท) 2,931,726.08 1,465,863.01 1,465,863.01 1,465,863.01 1,465,863.01 1,465,863.01 1,465,863.01 1,465,863.01 1,465,863.01 1,465,863.01 1,465,863.01 1,465,863.01 1,465,863.01 1,477,917.80 22,000,000.00

รวม (บำท) 3,811,726.08 1,905,863.01 1,905,863.01 1,905,863.01 1,905,863.01 1,905,863.01 1,905,863.01 2,301,863.01 2,005,863.01 2,005,863.01 1,905,863.01 1,905,863.01 1,905,863.01 2,017,917.80 29,296,000.00


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้ งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ค่ำตอบแทนกรรมกำร ปี 2558/59 - 2560/61 จำนวน (รำย)

ค่ำตอบแทน (ล้ำนบำท)

14

29.3 27.0 27.6

ปี 2560/61 ปี 2559/60 ปี 2558/59

8.10.1.2

14 15

ค่ำตอบแทนที่ไม่เป็ นตัวเงิ น และสิ ทธิ ประโยชน์ อื่น ๆ -ไม่ม-ี

8.10.2 ค่ำตอบแทนผูบ้ ริ หำร คณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทนพิจารณากาหนดจานวนและรูปแบบการจ่ายค่าตอบแทนของ ประธานคณะกรรมการบริหารและกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ทงั ้ ระยะสัน้ และระยะยาว โดยใช้ เกณฑ์ชว้ี ดั (KPI) ต่าง ๆ ตลอดจนเปรียบเทียบกับบริษัทจดทะเบียนอืน่ ๆ ในตลาดหลักทรัพย์ เพื่อนาเสนอต่อทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั เพือ่ พิจารณาและอนุ มตั ิ ซึง่ รวมถึงแต่ไม่จากัดเพียงเกณฑ์ชว้ี ดั ดังต่อไปนี้ ตำแหน่ ง ประธานคณะกรรมการบริหาร

กรรมการผูอ้ านวยการใหญ่

-

-

เกณฑ์ชี้วดั (KPI) ภาระ หน้าที่ ความรับผิดชอบ และผลประเมินการปฏิบตั งิ านประจาปี ความมั ่งคั ่งของผูถ้ อื หุน้ (Shareholders’ Wealth) การกากับดูแลกิจการที่ดี ความรับผิดชอบต่อสังคม ชุมชน และสิง่ แวดล้อม ภาพลักษณ์ขององค์กรต่อบุคคลภายนอก (Corporate Image) ภาระ หน้าที่ ความรับผิดชอบ และผลประเมินการปฏิบตั งิ านประจาปี ผลการดาเนินงานทางการเงิน (Financial Performance) เช่น อัตราการเติบโต ของผลตอบแทน, EBITDA margin, อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ , อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวม เกณฑ์ชวี้ ดั ทางการเงินเชิงเปรียบเทียบ (Relative Financial Metrics) เช่น การ จัดอันดับความน่าเชื่อถือ การบริหารจัดการ (Operational Excellence) การพัฒนาบุคลากร และผลสารวจความพึงพอใจและการมีส่วนร่วมของพนักงาน (Employees Engagement) ความรับผิดชอบต่อสังคม ชุมชน และสิง่ แวดล้อม

ทัง้ นี้ เพื่อให้ค่าตอบแทนของกรรมการผู้อ านวยการใหญ่และผู้บริห ารระดับสูง สอดคล้ องกับผลประโยชน์ ระยะยาวของผู้ถอื หุ้น บริษทั ฯ อาจกาหนดค่าตอบแทนระยะสัน้ ให้แก่กรรมการผูอ้ านวยการใหญ่และผู้บริหารระดับสูง ในรูปแบบของ Deferred Bonus โดยแบ่งจ่ายโบนัสเป็ นตัวเงินและเป็ นหุ้นสามัญเดิมของบริษทั ฯ ในสัดส่วนร้อยละ 50 ภายใต้เงือ่ นไขห้ามซื้อขายภายในระยะเวลาที่กาหนด นอกจากนี้ บริษัทฯ อยู่ระหว่างการจัดทาโครงการค่าตอบแทน ระยะยาว (Long-term Incentive Plan) ให้แก่กรรมการผูอ้ านวยการใหญ่และผูบ้ ริหารระดับสูง เพือ่ สร้างแรงจูงใจในการ บริหารจัดการธุรกิจเพือ่ ความสาเร็จที่ยงยื ั ่ นของกลุ่มบริษทั โดยมีขอ้ กาหนดและเงือ่ นไขของโครงการในเบื้องต้น ดังนี้ (1) ระยะเวลาการวัดผลการดาเนินงาน (Performance Period) 3 ปี (2) การแบ่งจ่ายค่าตอบแทน (Vesting Period) 2 ปี ส่วนที่ 2 หน้า 38


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้ งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

และ (3) ข้อกาหนดการเรียกคืนสิทธิที่จะได้รบั ค่าตอบแทน (Clawback Policy) ในกรณีที่ผลการดาเนินงานไม่เป็ นไป ตามเป้ าหมายทีก่ าหนด ทัง้ นี้ เกณฑ์ชว้ี ดั ทีใ่ ช้ในการกาหนดผลตอบแทนรวมถึงแต่ไม่จากัดเพียง อัตราผลตอบแทนต่อ ส่วนของผู้ถือหุ้น อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์รวม และการจัดอันดับความน่ าเชื่อถือ เปรียบเทียบกับบริษัทอื่นใน อุตสาหกรรมเดียวกัน ส าหรับผู้บริห ารระดั บสูง กรรมการผู้อ านวยการใหญ่ จ ะเป็ น ผู้พ ิจ ารณาความเหมาะสมในการก าหนด ค่าตอบแทนเป็ นรายบุคคลจากผลการบริหารงานของผู้บริหารแต่ละท่านโดยใช้ดัชนีช้วี ดั ต่าง ๆ เป็ นเกณฑ์ และให้ นาเสนอต่อคณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทนเพือ่ พิจารณอนุ มตั ิ ทัง้ นี้ ในส่วนของสิทธิประโยชน์ระยะสัน้ จะ มีการปรับอัตราเงินเดือนและโบนัสประจาปี ซึง่ จะสอดคล้องกับสภาวะเศรษฐกิจและผลการดาเนินงานของบริษทั ฯ และ ในส่วนของสิทธิประโยชน์ ระยะยาว จะมีการจัดสรรใบสาคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญเพิม่ ทุ นของบริษัทฯ เพื่อเป็ น การสร้างแรงจูงใจในการสร้างความเจริญเติบโตแก่บริษทั ฯ 8.10.2.1

ค่ำตอบแทนที่เป็ นตัวเงิ น

ค่าตอบแทนทีเ่ ป็ นตัวเงินของผูบ้ ริหารประกอบด้วยเงินเดือน โบนัส และเงินสมทบกองทุนสารองเลี้ยงชีพ โดย ในปี 2560/61 ค่าตอบแทนทีเ่ ป็ นตัวเงินของผูบ้ ริหารทัง้ หมด 8 ท่าน มีจานวนรวม 91.9 ล้านบาท ค่ำตอบแทนผูบ้ ริ หำร ปี 2558/59 - 2560/61 จำนวน (รำย)

ค่ำตอบแทน (ล้ำนบำท)*

ปี 2560/61 8 91.9 ปี 2559/60 8 84.4 ปี 2558/59 8 82.8 * ไม่นับรวมค่าตอบแทนของกรรมการบริหารบางท่านที่ได้รบั ค่าตอบแทนจากบริษทั ฯ ในฐานะกรรมการเพียงอย่างเดียว โดยไม่ได้รบั ค่าตอบแทนในฐานะผูบ้ ริหาร

8.10.2.2

ค่ำตอบแทนที่ไม่เป็ นตัวเงิ น

ในเดือนกุ มภาพันธ์ 2561 บริษัทฯ ได้จดั สรรใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-WD ให้แก่ผู้บริหารของบริษัทฯ ที่ไม่ใช่ กรรมการ จานวนรวม 0.7 ล้านหน่ วย ทัง้ นี้ ในปี 2560/61 บริษัทฯ ได้ออกหุ้นสามัญเพิม่ ทุ นจากการใช้สทิ ธิตามใบสาคัญ แสดงสิทธิ BTS-WB ให้แก่ผบู้ ริหารของบริษทั ฯ ทีไ่ ม่ใช่กรรมการ จานวนรวมทัง้ สิน้ 1.5 ล้านหุ้น มูลค่าทีต่ ราไว้หุ้นละ 4 บาท ณ วัน ที่ 31 มีน าคม 2561 จ านวนใบส าคัญแสดงสิท ธิ BTS-WB BTS-WC และ BTS-WD ที่ผู้บริห ารของ บริษัทฯ ถือครองอยู่มจี านวนคงเหลือ 0.22 ล้านหน่ วย 1.0 ล้านหน่ วย และ 0.7 ล้านหน่ วย ตามลาดับ อนึ่ง ใบสาคัญ แสดงสิทธิ BTS-WB ได้สน้ิ สภาพลงแล้วตัง้ แต่วนั ที่ 11 มิถุนายน 2561

ส่วนที่ 2 หน้า 39


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้ งส์ จำกัด (มหำชน)

8.11

แบบ 56-1 ปี 2560/61

บุคลำกร

8.11.1 จำนวนบุคลำกรและค่ำตอบแทนบุคลำกร บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยในแต่ละสายธุรกิจ มีจานวนบุคลากร ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561 รวมทัง้ สิน้ 4,518 คน ซึ่งแบ่งเป็ นเพศชาย 2,365 คน และเพศหญิง 2,153 คน โดยกลุ่มบริษัทมีการให้ผลตอบแทนแก่พนักงานทีส่ อดคล้อง กับผลการดาเนินงานของแต่ละบริษัททัง้ ในระยะสัน้ และระยะยาว ซึง่ ค่าตอบแทนพนักงานอันประกอบด้ วยเงินเดือ น โบนัส และเงินสมทบกองทุนสารองเลี้ยงชีพ ในปี 2560/61 เป็ นจานวนรวม 2,531.81 ล้านบาท ตำรำงเปรี ย บเที ย บจ ำนวนบุ คลำกรของบริ ษัท ฯ และบริ ษัท ย่ อ ยในแต่ ล ะสำยธุร กิ จ ตลอดจนจ ำนวน ค่ำตอบแทนบุคลำกร ปี 2558/59 - 2560/61

บริษทั ฯ ธุรกิจระบบขนส่งมวลชน (5 บริษทั ) ธุรกิจสื่อโฆษณา (16 บริษทั ) ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ (17 บริษทั ) ธุรกิจบริการ (18 บริษทั ) รวม

จานวนพนักงาน ผลตอบแทน จานวนพนักงาน ผลตอบแทน จานวนพนักงาน ผลตอบแทน ณ 31 มี.ค. 61 ปี 2560/61 ณ 31 มี.ค. 60 ปี 2559/60 ณ 31 มี.ค. 59 ปี 2558/59 (คน) (ล้านบาท) (คน) (ล้านบาท) (คน) (ล้านบาท) 148 259.81 139 212.8 129 171.5 2,372 1,165.00 2,165 899.4 2,144 667.6 495

530.36

481

378.1

236

259.6

548

170.88

464

121.1

476

114.3

955

405.76

999

362.1

767

298.6

4,518

2,531.81

4,248

1,973.5

3,752

1,511.6

นอกจากนี้ บริษัท ฯ ได้ ใ ห้ ผ ลตอบแทนที่ไม่เป็ น ตัวเงินแก่พนั กงาน อัน ได้ แ ก่ ใบส าคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อ หุ้นสามัญของบริษัทฯ โดยในเดือนกุมภาพันธ์ 2561 บริษัทฯ ได้จดั สรรใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-WD ให้แก่พนักงาน ของบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย จานวน 166 คน รวม 16.0 ล้านหน่วย ทัง้ นี้ ในปี 2560/61 บริษทั ฯ ได้ออกหุ้นสามัญเพิม่ ทุ นจากการใช้สทิ ธิตามใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-WB ให้แก่พนักงานของบริษัทฯ และบริษัทย่อย เป็ นจานวนรวมทัง้ สิน้ 5.4 ล้านหุ้น ตามลาดับ มูลค่าทีต่ ราไว้หุ้นละ 4 บาท ซึง่ แสดงให้เห็นว่ากลุ่มบริษทั มีการให้ผลตอบแทนทัง้ ทีเ่ ป็ นตัวเงิน และไม่เป็ นตัวเงินแก่พนักงานทีส่ อดคล้องกับผลการดาเนินงานของแต่ละบริษทั ทัง้ ในระยะสัน้ และระยะยาว ทัง้ นี้ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561 จานวนใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-WB BTS-WC และ BTS-WD ที่พ นักงาน ของบริษ ัท ฯ และบริษ ัท ย่อยถือ ครองอยู่ม จี านวนคงเหลือ 0.89 ล้า นหน่ วย 16.0 ล้า นหน่ วย และ 16.0 ล้า นหน่ วย ตามลาดับ อนึ่ง ใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-WB ได้สน้ิ สภาพลงแล้วตัง้ แต่วนั ที่ 11 มิถุนายน 2561

ส่วนที่ 2 หน้า 40


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้ งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

8.11.2 สวัสดิ กำรพนักงำน นอกจากค่าตอบแทนในรูปของเงินเดือนและโบนัสแล้ว กลุ่มบริษัทได้จดั ให้มผี ลประโยชน์ และผลตอบแทน ให้กบั พนักงานในรูปแบบอืน่ ๆ อีกหลายประการดังนี้ -

การจัดให้มกี องทุ นสารองเลี้ยงชีพเพื่อเป็ นหลักประกันที่มนคงของพนั ั่ กงานและครอบครัว โดยแต่ละ บริษทั ในกลุ่มบริษทั จะจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนสารองเลี้ยงชีพให้กบั พนักงานประจาของตน ซึง่ สมัครใจ เข้าร่วมกองทุนสารองเลี้ยงชีพ

-

การจัดให้มสี หกรณ์ ออมทรัพ ย์บที ีเ อส กรุ๊ป จากัด ซึ่งเป็ นสหกรณ์ ที่จดทะเบีย นตามพระราชบัญญัติ สหกรณ์ พ.ศ. 2542 เพื่อเป็ นทางเลือกในการออมทรัพย์ การลงทุ น และให้ความช่วยเหลือด้านสินเชือ่ กับพนักงานทีไ่ ด้รบั การบรรจุเป็ นพนักงานประจาของกลุ่มบริษัท และสมัครใจที่จะเข้าร่วมเป็ นสมาชิก สหกรณ์ โดย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2560 สหกรณ์ออมทรัพย์บที เี อส กรุ๊ป จากัด มีสมาชิกจานวน 2,340 ราย และมีสนิ ทรัพย์รวม จานวน 548.03 ล้านบาท

-

การจัดให้มสี วัสดิการสินเชือ่ เพือ่ ที่อยู่อาศัย เพือ่ เป็ นการส่งเสริมให้พนักงานมีที่อยู่อาศัยเป็ นของตนเอง อัน เป็ น การเสริม สร้า งความมัน่ คงและส่ง เสริม ขวัญและก าลัง ใจในการท างานให้ กับพนั กงาน และ ก่อให้เกิดความภักดีต่อองค์กรในระยะยาว โดยกลุ่มบริษทั ได้จดั ให้มสี วัสดิการสินเชือ่ เพื่อทีอ่ ยู่อาศัยกับ ธนาคารอาคารสงเคราะห์ และธนาคารออมสิน เป็ นต้น เพือ่ อานวยความสะดวกให้กบั พนักงานทีม่ คี วาม ประสงค์จะขอสินเชือ่ เพือ่ ทีอ่ ยูอ่ าศัยโดยได้รบั อัตราดอกเบี้ยทีเ่ หมาะสม และได้รบั ความสะดวกเนื่องจาก สามารถชาระคืนสินเชือ่ จากยอดบัญชีเงินเดือนโดยตรง

-

การจัด ให้ ม ีผ ลประโยชน์ ใ นรูปเงิน ช่วยเหลือ ในวาระต่ า ง ๆ อาทิเ ช่น เงิน ช่วยเหลือ การสมรส เงิน ช่วยเหลืองานศพสาหรับพนักงาน พ่อ แม่ บุตร และคูส่ มรส เงินช่วยเหลือการคลอดบุตร เงินช่วยเหลือ การศึก ษาบุต ร เป็ น ต้น ตลอดจนการจัด ให้ม เี งิน บาเหน็จ ที่พ นั ก งานจะได้ ร ับในอัต ราที่สูง กว่าที่ กฎหมายแรงงานได้กาหนดไว้ สาหรับกรณีทพี่ นักงานทางานจนครบเกษียณอายุและมีอายุงานมากกว่า 10 ปี ขึน้ ไป

-

การจัด ให้ม กี รมธรรม์ป ระกัน ชีว ติ ประกัน สุข ภาพแบบกลุ ่ม และประกัน อุบ ตั ิเ หตุ ก ลุ ่ม เพื่อ เอื้อ ประโยชน์ แ ละอานวยความสะดวกด้านการเข้า รับการรักษาพยาบาล และเป็ น การสร้า งความมันคง ่ ให้กบั พนักงานและครอบครัว รวมทัง้ การจัดให้มสี โมสรกีฬาและศูนย์ออกกาลังกาย เพือ่ ให้เป็ นแหล่งสันทนา การในการจัดกิจกรรมทางกีฬาของบรรดาพนักงานและผู้บริหาร และจัดให้ม ีการตรวจสุขภาพประจาปี เพื่อเป็ นการส่งเสริมการดูแลตนเองให้มสี ุขภาพที่ดีแบบยังยื ่ นและมีคุณภาพชีวติ ทีด่ ใี นระยะยาว

-

กลุ่มบริษทั ได้จดั ให้มกี ารออกและจัดสรรใบสาคัญแสดงสิทธิทจี่ ะซื้อหุ้นสามัญของบริษทั ฯ ให้แก่พนักงาน ของกลุ่มบริษทั เพื่อเป็ นขวัญ และกาลังใจให้กับพนักงาน และสร้างแรงจูงใจเพื่อให้พนักงานร่วมมือกัน ในการสร้างความเจริญเติบโตในอนาคตของกลุ่มบริษัท เพื่อให้ผลประกอบการของกลุ่มบริษทั ดียงิ่ ขึน้ นอกจากนี้ กลุ่มบริษทั ได้จดั ให้มกี ารมอบของทีร่ ะลึกสาหรับพนักงานทีม่ อี ายุงานครบ 10 ปี เพือ่ เป็ นการ แสดงความขอบคุณสาหรับการอุทศิ ตนในการทางานร่วมกับกลุ่มบริษทั

ส่วนที่ 2 หน้า 41


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้ งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

-

กลุ่ ม บริษัท ได้ จ ัด ให้ ม ีม าตรการและงบประมาณส าหรับการให้ ความช่วยเหลือ พนั ก งานซึ่ง ประสบ ภัยพิบตั ิ หรือเหตุ การณ์ ฉุกเฉินต่าง ๆ เช่น การช่วยเหลือกรณีเกิดเหตุ ไฟไหม้บ้าน และการช่วยเหลือ พนักงานทีป่ ระสบภัยน้ าท่วม เป็ นต้น

-

บริษัทฯ และบีทีเอสซีได้จดั ให้มโี ครงการ “หนู ด่วนชวนขยัน” ซึ่งเป็ นโครงการที่ส่งเสริมให้พ นั ก งาน ประพฤติต นและปฏิบัติง านอย่า งมีคุ ณ ภาพและเต็ม ความสามารถมีร ะเบีย บวินั ย มีความซื่อ สัต ย์ จงรักภักดีต่อองค์กร และมีความภาคภูมใิ จในความเป็ นพนักงานขององค์กร รวมทัง้ เพื่อเป็ นขวัญ และ กาลังใจ และเป็ นรางวัลแก่พนักงานทีม่ วี นิ ัย ความตัง้ ใจ ทุ่มเทแรงกายแรงใจ สร้างสรรค์งาน มีใจรักภักดี และมีความเสียสละทัง้ ต่อองค์กร ส่วนรวม และสังคม

8.11.3 ข้อพิ พำททำงด้ำนแรงงำนในปี ที่ผำ่ นมำ - ไม่ม ี -

8.11.4 นโยบำยกำรพัฒนำบุคลำกร เนื่องจากพนักงานทุ กคนเป็ นทรัพยากรที่ม ีค่าที่จ ะช่วยผลักดันให้กลุ่ มบริษัทสามารถบรรลุ เป้ า หมายและ แผนธุรกิจที่วางไว้ได้ ดังนัน้ กลุ่มบริษัทจึง ให้ความสาคัญกับการพัฒนาบุคลากรโดยได้กาหนดแนวทางในการบริหาร ทรัพยากรมนุ ษย์ตงั ้ แต่กระบวนการสรรหา การพัฒนาความสามารถ การสร้างสภาวะทีด่ ใี นการทางาน การรักษาไว้ซึ่ง พนักงานทีม่ คี ุณภาพ และการสร้างสานึกให้พนักงานตระหนักถึงการเป็ นหน่วยหนึ่งของสังคม ดังต่อไปนี้ ▪ กำรสรรหำและควำมก้ำวหน้ ำในอำชี พของพนักงำน กลุ่มบริษัทให้ความสาคัญในการพัฒนาบุคลากรตัง้ แต่กระบวนการสรรหา โดยยึดถือหลักการว่ากระบวนการ สรรหาและคัดเลือกพนักงานต้องมีความโปร่งใส และดาเนินการด้วยความเสมอภาคและเป็ นธรรม (Merit System) โดยมี การกาหนดคุณสมบัติ พร้อมทัง้ วุฒกิ ารศึกษา ประสบการณ์ ความเชีย่ วชาญ และข้อกาหนดอืน่ ๆ ของแต่ละตาแหน่ง งานอย่างชัดเจน เพื่อให้ได้มาซึ่งพนักงานทีม่ คี ุณสมบัติถูกต้องและเหมาะสมตามตาแหน่ งหน้ าที่ ทัง้ นี้ เมื่อมีตาแหน่ง งานว่างลงหรือตาแหน่งงานใหม่ ๆ เกิดขึน้ กลุ่มบริษทั จะเปิ ดโอกาสให้กบั พนักงานภายในเป็ นอันดับแรก เพือ่ ส่งเสริม ความก้าวหน้าในการทางานกับพนักงานเดิม หากไม่มผี ใู้ ดเหมาะสม จึงจะพิจารณาคัดเลือกจากบุคคลภายนอก นอกจากนี้ พนักงานใหม่ทุกคนจะได้เข้ารับการปฐมนิเทศ เพือ่ ให้พนักงานได้รจู้ กั และรับทราบถึงกระบวนการ และขัน้ ตอนการทางานของตนเอง รวมไปถึงฝ่ ายต่าง ๆ ในองค์กร ซึง่ จะมีสว่ นช่วยให้พนักงานเข้าใจบทบาทและหน้าที่ ของตนเองและสามารถปฏิบตั งิ านได้ตรงตามวัตถุ ประสงค์ อีกทัง้ กลุ่มบริษทั ยังให้ความสาคัญในการให้โอกาสเติบโตใน หน้าทีก่ ารงานแก่พนักงานตามเส้นทางความก้าวหน้าในอาชีพ เพือ่ รักษาคนเก่งและคนดีให้อยูก่ บั องค์กร ▪ กำรพัฒนำควำมสำมำรถ กลุ่มบริษทั มีนโยบายที่จะสนับสนุ นการฝึกอบรมและการพัฒนาพนักงาน เพือ่ พัฒนาทักษะในการทางานของ พนักงานอย่างสม่าเสมอและต่อเนื่อง โดยได้จดั ให้มกี ารฝึ กอบรมทัง้ ภายในและภายนอกองค์กร โดยกลุ่มบริษัทจะ พิจารณาหลักสูตรการฝึกอบรมตามความเหมาะสมตามตาแหน่ งหน้าทีข่ องพนักงานแต่ละคน และสอดคล้องกับความรู้ ความสามารถและลักษณะงาน เพือ่ ให้การฝึกอบรมเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสมทีส่ ุด ส่วนที่ 2 หน้า 42


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้ งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

▪ กำรฝึ กอบรมภำยในองค์กร กลุ่มบริษัทจัดให้มกี ารฝึกอบรมหลักสูตรต่าง ๆ ที่เป็ นประโยชน์ต่อการทางานของพนักงานตามหน้ าที่ความ รับผิดชอบ เพือ่ เพิม่ พูนความรูค้ วามสามารถและทักษะทางวิชาชีพให้กบั พนักงานในสายงานตามแต่ละสาขาวิชาชีพ ซึง่ พนักงานบรรจุใหม่จะได้รบั การฝึ กอบรมหลักสูตรต่าง ๆ ที่จาเป็ นสาหรับการทางาน เพื่อเตรียมความพร้อมและให้ ความรู้ความเข้าใจต่อพนักงานในการทางานในช่วงแรกของการปฏิบตั งิ านหน้ า ที่ สาหรับพนักงานประจาจะได้รบั การ ฝึกอบรมหลักสูตรต่าง ๆ ทีจ่ าเป็ นตามความเหมาะสม เพือ่ ทบทวนและซักซ้อมความเข้าใจเพื่อให้เกิดความชานาญใน การทางานให้มากยิง่ ขึน้ ซึง่ สามารถแบ่งหลักสูตรการฝึกอบรมภายในองค์กรเป็ น 3 หลักสูตร ได้แก่ (1) หลักสูตรกลาง (Core Course) ซึง่ เป็ นหลักสูตรการฝึกอบรมทีเ่ พิม่ ความรู้ ทักษะ และประสิทธิภาพในการทางาน ตลอดจนเสริมสร้าง ทัศนคติที่ดีในการทางานให้แ ก่พนัก งาน (2) หลัก สูตรบริหารจัดการ (Management Course) ซึ่ง เป็ น หลักสูตรการ ฝึ กอบรมสาหรับหัวหน้ างานในการบริหารงานและบริหารผู้ใต้บงั คับบัญชา และ (3) หลักสูตรเฉพาะสายงาน (Functional Course) ซึง่ เป็ นหลักสูตรฝึกอบรมเฉพาะทางทีเ่ กีย่ วข้องกับงานทีพ่ นักงานปฏิบตั ิอยู่ ทัง้ นี้ หลักสูตรของกลุ่มบริษัท ได้ ครอบคลุมทักษะในด้านต่าง ๆ ดังนี้ • • • • • • • • • •

หลักสูตรด้านการปฏิบตั กิ ารสถานี หลักสูตรด้านวิศวกรรมและซ่อมบารุง หลักสูตรด้านการปฏิบตั กิ ารเดินรถไฟฟ้ า หลักสูตรด้านการเสริมสร้างและพัฒนาการบริหารจัดการ หลักสูตรการบริหารจัดการระบบคุณภาพและความปลอดภัย หลักสูตรด้านสิง่ แวดล้อม หลักสูตรด้านการต่อต้านการทุจริตและคอร์รปั ชัน่ (Anti-Corruption) หลักสูตรสาหรับธุรกิจโฆษณาและบริการ หลักสูตรพืน้ ฐานทัวไป ่ เช่น ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ และภาษาอังกฤษ หลักสูตรอืน่ ๆ ซึง่ จัดขึน้ ตามความเหมาะสม

▪ กำรฝึ กอบรมภำยนอกองค์กร กลุ่มบริษทั ถือเป็ นนโยบายทีส่ าคัญในการพัฒนาความรูค้ วามสามารถของพนักงานในองค์กรให้มคี วามเป็ นมือ อาชีพตามแต่ละสาขาวิชาชีพ ดังนัน้ กลุ่มบริษัทจึงได้จดั ส่งพนักงานไปฝึ กอบรมภายนอกองค์กรในหลักสูตรต่าง ๆ ที่ เป็ นประโยชน์ต่อการทางาน ซึง่ เป็ นหลักสูตรทีจ่ ดั ขึน้ ทัง้ ในหน่วยงานภาครัฐและองค์กรเอกชน ซึง่ กลุ่มบริษทั เชือ่ ว่าการ ส่งพนักงานไปฝึกอบรมภายนอกองค์กรดังกล่าว จะทาให้เกิดองค์ความรูใ้ หม่ทเี่ ป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนาและปรับปรุง ระบบการทางานของกลุ่มบริษทั ให้มปี ระสิทธิภาพและประสิทธิผลเพิม่ ขึน้ อันเป็ นปั จจัยสาคัญประการหนึ่งในการนาพา องค์กรไปสูค่ วามสาเร็จอย่างยังยื ่ นซึง่ หลักสูตรของการฝึกอบรมภายนอกองค์กรนัน้ ครอบคลุมทักษะทางด้านต่าง ๆ เช่น • • • •

หลักสูตรด้านวิศวกรรมและซ่อมบารุง หลักสูตรด้านการเสริมสร้างและพัฒนาการบริหารจัดการ หลักสูตรสาหรับธุรกิจโฆษณาและบริการ หลักสูตรด้านการบริหารจัดการระบบคุณภาพและความปลอดภัย ส่วนที่ 2 หน้า 43


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้ งส์ จำกัด (มหำชน)

• • • • • • • • • • • • •

แบบ 56-1 ปี 2560/61

หลักสูตรด้านสิง่ แวดล้อม หลักสูตรด้านการต่อต้านการทุจริตและคอร์รปั ชัน่ (Anti-Corruption) หลักสูตรด้านการเงิน การบัญชี และการตลาด หลักสูตรด้านการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ หลักสูตรด้านกฎหมาย หลักสูตรเกีย่ วกับการตรวจสอบภายใน หลักสูตรเกีย่ วกับการบริหารจัดการความเสีย่ งองค์กร หลักสูตรเกีย่ วกับนักลงทุนสัมพันธ์ หลักสูตรเกีย่ วกับการบริหารทรัพยากรมนุ ษย์ หลักสูตรเกีย่ วกับความรับผิดชอบต่อสังคมของกิจการ (Corporate Social Responsibility) หลักสูตรเกีย่ วกับเลขานุ การบริษทั หลักสูตรเกีย่ วกับการพัฒนาผูบ้ ริหาร หลักสูตรทัวไปอื ่ น่ ๆ

จานวนชัวโมงการฝึ ่ กอบรมพนักงานของบริษัทฯ และบริษทั ย่อย ทัง้ จากหลักสูตรภายในองค์กรและหลัก สูตร ภายนอกองค์กร ปี 2560/61 สรุปได้ดงั นี้ จำนวนพนักงำน (คน)

จำนวนชั ่วโมงกำรฝึ กอบรม ของพนักงำนทัง้ ปี

จำนวนชั ่วโมงกำรฝึ กอบรม เฉลี่ยต่อคนต่อปี

บริษทั ฯ

148

843.0

5.7

ธุรกิจระบบขนส่งมวลชน (5 บริษทั )

2,372

291,210.7

122.8

ธุรกิจสื่อโฆษณา (16 บริษทั )

495

11,424.0

23.1

ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ (17 บริษทั )

548

6,857.6

12.5

ธุรกิจบริการ (18 บริษทั )

955

1,496.0

1.6

รวม

4,518

311,831.3

69.0

บริ ษทั / กลุ่มธุรกิ จ

▪ กำรประเมิ นผลงำนอย่ำงชัดเจนและเป็ นธรรม กลุ่มบริษทั มีการประเมินความรู้ความสามารถของพนักงานในการปฏิบตั ิงาน โดยมีการกาหนดเกณฑ์ในการ ประเมินพนักงานทุกระดับอย่างชัดเจนและเป็ นธรรม โดยจะประเมินจากความสามารถ ศักยภาพ และสมรรถภาพของ พนักงานใน 4 ส่วน คือ ทักษะ (Skill) ความรู้ (Knowledge) คุณสมบัติ (Attributes) และผลการปฏิบตั งิ าน (Performance) และได้มกี ารสือ่ สารเกณฑ์ต่าง ๆ ในการประเมินให้พนักงานทราบล่วงหน้าอย่างทัวถึ ่ ง กลุ่มบริษัท จะพิจารณากาหนดค่าตอบแทนแก่พนัก งานอย่า งเท่าเทีย ม เป็ นธรรม โดยไม่เลือกปฏิบตั ิ ซึ่ง นอกจากจะคานึงถึงผลประกอบการของกลุ่มบริษทั และสถานการณ์ทางเศรษฐกิจในแต่ละปี แล้ว ผลการประเมินก็เป็ น ส่วนสาคัญในการพิจารณากาหนดค่าตอบแทนแก่พนักงานรายบุคคล ทัง้ นี้ การจัดให้มรี ะบบการประเมินผลงานของ พนักงานและการพิจารณากาหนดค่าตอบแทนแก่พนักงานอย่างเป็ นธรรมตามผลการประเมิน จะส่งผลให้พนักงาน สามารถทุ่มเทความสามารถในการทางานและพัฒนาศักยภาพของตนเองได้อย่างเต็มที่ ส่วนที่ 2 หน้า 44


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้ งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

▪ กำรปฏิ บตั ิ ต่อพนักงำนอย่ำงเท่ำเทียมกัน กลุ่ ม บริษัท ตระหนักถึงความสาคัญของการปฏิบัติอ ย่า งเท่าเทียมกัน กับพนั กงานทุ กคนในองค์กร ตัง้ แต่ กระบวนการคัดเลือกบุคคล ตลอดจนการเลื่อนตาแหน่งให้เหมาะสมกับหน้าทีค่ วามรับผิดชอบตามความรูค้ วามสามารถ ผลการปฏิบตั งิ าน และศักยภาพของพนักงาน โดยไม่มอี คติหรือใช้ระบบเครือญาติในการวัดผลงาน ▪ กำรสื่อสำรข้อคิ ดเห็นของพนักงำน เพือ่ ให้ทราบถึงความพึงพอใจในการปฏิบตั หิ น้าทีข่ องพนักงานแต่ละคน กลุ่ มบริษทั ได้กาหนดให้มชี อ่ งทางใน การสื่อสารข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่าง ๆ ของพนักงานทุ กระดับ ซึ่งข้อมูลที่ได้รบั มานัน้ จะนามาปรับปรุง แก้ ไ ข ข้อบกพร่องและช่วยพัฒนาประสิทธิภาพในการบริหารจัดการองค์กรและทรัพยากรทัง้ ในระยะสัน้ และระยะยาว รวมทัง้ กลุ่มบริษทั ยังได้กาหนดระเบียบปฏิบตั ิวา่ ด้วยการยืน่ คาร้องทุกข์เพือ่ ให้พนักงานได้ใช้ในการยืน่ เรื่องร้องทุกข์ เพือ่ เป็ น แนวทางในการแก้ไขข้อคับข้องใจในการทางานของพนักงานอย่างเสมอภาคและเป็ นธรรม โดยกลุ่มบริษัทมีความ เชือ่ มันว่ ่ าการสือ่ สารและแลกเปลีย่ นความคิดเห็นและประสบการณ์ในการทางานของพนักงานภายในองค์กร จะนาไปสู่ สัมพันธภาพทีด่ ี (Good Relationship) ระหว่างพนักงานทุกระดับ กลุ่ ม บริษัท ส่ง เสริม และสนั บสนุ น ให้ พ นั ก งานมีส่ วนร่ว มในการสร้า งวัฒ นธรรมองค์ก รที่แ ข็ง แกร่ ง เพื่อ เสริมสร้างความเชื่อมัน่ และความโปร่งใสภายในองค์กร โดยเปิ ดโอกาสให้พนักงานทุ กคนสามารถแจ้งเรื่องร้องเรียน การกระทาความผิด การถูกละเมิดสิทธิ และ/หรือ เรื่องที่อาจเป็ นปั ญหา โดยผ่านช่องทางต่าง ๆ ตามแต่กรณี ได้แก่ ฝ่ ายทรัพยากรมนุ ษย์ สานักตรวจสอบภายใน หรือสานักเลขานุ การบริษทั ซึง่ มีกระบวนการในการรับเรื่อง บริหารเรือ่ ง ที่ไ ด้ ร ับแจ้ง และรายงานผลตามที่ร ะบุ ไ ว้ใ นนโยบายการก ากั บดู แ ลกิจ การและจริย ธรรมทางธุ ร กิ จ (Corporate Governance Policy and Code of Business Conduct) ของบริษทั ฯ ▪ กำรสร้ำงคุณภำพชี วิตที่ดีในกำรทำงำน กลุ่มบริษทั เห็นความสาคัญของคุณภาพชีวติ ทีด่ ขี องพนักงาน ซึง่ จะช่วยส่งเสริมให้พนักงานทางานอย่างเต็มที่ และมีประสิทธิภาพ กลุ่มบริษทั จึงเอาใจใส่ดูแลรักษาสถานทีท่ างานให้มคี วามปลอดภัยและถูกสุขลักษณะ ทัง้ ในแง่การ จัด หาวัส ดุ อุปกรณ์ และเครื่อ งใช้สานัก งานที่ไ ด้ม าตรฐาน ถูกต้อ งตามหลักสรีร ะ ไม่ก่อ ให้เ กิดผลเสียต่อ สุขภาพ ไม่ก่อให้เกิดมลพิษ รวมไปถึงการสร้างบรรยากาศของสถานที่ทางานให้เหมาะสม รวมทัง้ การรักษาความสะอาดใน สถานที่ทางานอย่างสม่าเสมอ เพื่อสวัสดิภาพที่ดีและสุขพลานามัยทีส่ มบูรณ์ ของพนักงาน นอกจากนี้ กลุ่มบริษัทได้ ตระหนักถึงการกาหนดปริมาณงานในหน่วยงานให้สอดคล้องกับจานวนพนัก งานทีม่ อี ยู่ และจะจัดจ้างพนักงานเพิม่ เติม ตามความเหมาะสม เพื่อให้ปริมาณงานในหน่ วยงานสอดคล้องกับจานวนพนักงานและสร้างคุณภาพชีวติ ที่ดีในการ ทางานแก่พนักงาน อัตราการลางานของพนักงานในบริษทั ฯ และบริษทั ย่อย ปี 2560/61 สรุปได้ดงั นี้ บริ ษทั / กลุ่มธุรกิ จ

จำนวนพนักงำน (คน)

บริษทั ฯ

148

กำรลำป่ วย (วัน) 2.5

ธุรกิจระบบขนส่งมวลชน (5 บริษทั )

2,372

2.3

ส่วนที่ 2 หน้า 45

(1)

อัตรำเฉลี่ยกำรลำงำนต่อปี กำรลำกิ จ กำรลำพักร้อน กำรลำอื่นๆ(2) (วัน) (วัน) (ครัง้ ) 1.0 5.8 1 0.4

10.8

64


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้ งส์ จำกัด (มหำชน) บริ ษทั / กลุ่มธุรกิ จ

จำนวนพนักงำน (คน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ธุรกิจสื่อโฆษณา (16 บริษทั )

495

กำรลำป่ วย (วัน) 4.4

ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ (17 บริษทั )

548

2.7

(1)

อัตรำเฉลี่ยกำรลำงำนต่อปี กำรลำกิ จ กำรลำพักร้อน กำรลำอื่นๆ(2) (วัน) (วัน) (ครัง้ ) 1.7 6.0 7 0.8

6.2

5

3.6 0.4 6.8 16 ธุรกิจบริการ (18 บริษทั ) 955 2.8 0.6 8.7 93 รวม 4,518 หมายเหตุ : (1) อัตราการลาป่ วย อันเนื่องมาจากการเจ็บป่ วยหรืออุบตั เิ หตุจากการทางานต่อปี เท่ากับ 0.02 วัน โดยไม่มพี นักงานที่ได้รบั อุบตั ิเหตุ บาดเจ็บ หรือเจ็บป่ วย อย่างร้ายแรงหรือรุนแรงเนื่องจากการทางาน (2) การลาประเภทอื่น ได้แก่ การลาคลอด การลาเพื่อทาหมัน การลาเพื่อรับราชการทหาร และการลาอุปสมบท

▪ กำรสร้ำงระบบบริ หำรและกำรทำงำนร่วมกันที่ดี กลุ่ ม บริษัท เล็งเห็น ความสาคัญในระบบการท างานให้ ม ีความต่ อ เนื่ องตัง้ แต่ ต้น ทางไปยัง ปลายทาง และ ก่อให้เกิดผลงานที่มคี ุณภาพ ได้มาตรฐาน ขจัดและลดความขัดแย้งในการทางาน จึงได้ส่งเสริมให้แต่ละบริษทั จัดทา คู่ม ือ ระบบการท างาน (Operational Manual) เพื่อ เป็ น ระเบียบวิธ ีปฏิบัติง านในการติด ต่อ ประสานงานกัน ระหว่าง หน่วยงานภายในองค์กร และได้มกี ารเผยแพร่คมู่ อื ระบบการทางานนี้ ผ่านระบบ Intranet โดยแต่ละบริษทั จะจัดให้มกี าร ทบทวนและแก้ไขตามความเหมาะสมเป็ นระยะ ๆ นอกจากนี้ กลุ่มบริษทั ได้สนับสนุ นการสร้างวัฒนธรรมและบรรยากาศ ในการทางานทีด่ รี ว่ มกัน เพือ่ ให้พนักงานทุกระดับสัมผัสได้ถงึ ความเป็ นสมาชิกในครอบครัวเดียวกัน ▪ กำรสร้ำงสัมพันธ์ที่ดีระหว่ำงผูบ้ ริ หำรและพนักงำน กลุ่มบริษทั ได้ตระหนักถึงความสาคัญของความสัมพันธ์ทดี่ ใี นการทางานร่วมกันระหว่างผูบ้ ริหารและพนักงาน ซึง่ จะมีผลดีต่อประสิทธิภาพในการทางานร่วมกัน ดังนัน้ จึงได้จดั ให้มกี จิ กรรมร่วมกันระหว่างพนักงานและผูบ้ ริหาร ซึง่ จะเป็ นปั จจัยทีส่ ามารถพัฒนาความสัมพันธ์ทดี่ แี ละเป็ นการสนับสนุ นให้เกิดความสุขในการทางาน เช่น งานสังสรรค์วนั ปี ใหม่ งานทาบุญร่วมกัน งาน Sports & Family Day งานเลี้ยงสังสรรค์นอกสถานที่ (Outing) งานกิจกรรมทางด้าน CSR เป็ นต้น นอกจากนี้ ผู้บริหารได้จดั ประชุมร่วมกันกับพนักงานอย่างสม่า เสมอ เพื่อ เป็ น การแลกเปลี่ย นความ คิดเห็นระหว่างผู้บริหารและพนักงาน ซึ่งจะนาพาองค์กรไปสู่เป้ าหมายการทางานในทิศทางเดียวกัน ▪ กำรสร้ำงสำนึ กให้พนักงำนเป็ นคนดีขององค์กรและสังคม เพื่อ ให้ พ นั กงานยึด ถือ ปฏิบัติแ ละเพื่อ ประโยชน์ แ ห่ง ความมีวินั ยอัน ดีง ามของหมู่คณะ เมื่อ พนั ก งานผู้ใด หลีกเลี่ยงหรือฝ่ าฝื นระเบียบข้อบังคับการทางานจะถือว่าพนักงานผู้นัน้ กระทาผิด ซึ่งจะต้องได้รบั การพิจารณาและ ดาเนินการตามมาตรการแก้ไขอย่างใดอย่างหนึ่งตามระเบียบข้อบังคับการทางานอย่างเหมาะสมแก่กรณี โดยยึดหลัก ธรรมาภิบาลทีด่ ี (Corporate Governance) ทีก่ ลุ่มบริษทั กาหนด ซึง่ เป็ นกรอบให้ผู้บริหารและพนักงานถือปฏิบตั ิ ทัง้ นี้ กลุ่มบริษทั เชือ่ มันว่ ่ าการพัฒนาพนักงานให้เป็ นคนดีและคนเก่งนัน้ จะช่วยให้องค์กรเจริญเติบโตอย่างมันคงและยั ่ ง่ ยืน และกรอบการปฏิบตั ดิ งั กล่าวจะช่วยยกระดับคุณภาพของสังคมโดยรวมได้ในทีส่ ุด

ส่วนที่ 2 หน้า 46


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้ งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

▪ กำรสร้ำงควำมปลอดภัยและอำชี วอนำมัยในกำรทำงำน กลุ่มบริษัทใส่ใจในความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของพนักงานและผูเ้ กีย่ วข้องทุ กฝ่ ายเป็ นสิง่ ทีส่ าคัญทีส่ ุด ดังนัน้ กลุ่มบริษัทจึงได้กาหนดนโยบายด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการทางาน เพื่อให้ความมันใจและ ่ ความเชื่อ มั ่นต่อ พนัก งานถึง ความปลอดภัย และอาชีวอนามัย สาหรับกา รปฏิบตั ิห น้ า ที่ใ นสถานที่ทางาน และให้ ความมันใจและความเชื ่ ่อมันต่ ่ อลูกค้า พนักงาน และผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ าย ตามคุณภาพและมาตรฐานความปลอดภัยใน ระดับสากล และเป็ นไปตามกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทางาน ทัง้ นี้ กลุ่มบริษัท ตระหนักดีวา่ ความปลอดภัยและอาชีวอนามัยในการทางานเป็ นความรับผิดชอบขัน้ พื้นฐานต่อพนักงานและผูเ้ กีย่ วข้อง ทุ กฝ่ าย โดยกลุ่มบริษัทได้ใช้มาตรการต่าง ๆ เพื่อควบคุมและป้ องกันความสูญเสียในรูปแบบต่าง ๆ อันเนื่องมาจาก อุบตั ิเหตุ ความประมาท อัคคีภยั การบาดเจ็บจากการทางาน ตลอดจนรักษาสภาพแวดล้อมในที่ทางานให้มคี วาม ปลอดภัยต่อพนักงาน และมีการทบทวนและซักซ้อมแผนการรักษาความปลอดภัยให้ทนั ต่อสถานการณ์อย่างสม่าเสมอ อาทิเช่น การจาลองและซ้อมแผนกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน การซ้อมแผนอพยพหนีไฟ การอบรมวิธกี ารใช้อุปกรณ์ด้านความ ปลอดภัย ตลอดจนการจัดให้มกี ารประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ข้อมูลโดยการสื่อสารแนวปฏิบตั ิให้เป็ นที่เข้าใจทัว่ ทัง้ องค์กรและให้ยดึ ถือปฏิบตั อิ ย่างเคร่งครัด

ส่วนที่ 2 หน้า 47


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

9.

กำรกำกับดูแลกิ จกำร

9.1

นโยบำยกำรกำกับดูแลกิ จกำร (Corporate Governance Policy)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

บริษทั ฯ มีโครงสร้างการประกอบธุรกิจ ระบบการบริหารจัดการ และการกากับดูแลกิจการ ซึง่ สนับสนุ น และ สอดคล้องกับหลักการกากับดูแลกิจการทีด่ ี และส่งเสริมเพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างยังยื ่ นของกลุ่มบริษทั บีทเี อส โดย ดาเนินงานผ่านโครงสร้างการบริหารจัดการของบริษทั ฯ ซึง่ ประกอบไปด้วยทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ คณะกรรมการบริษทั ซึง่ รวมถึงคณะกรรมการชุดย่อย และกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่และฝ่ ายบริหารทีม่ วี สิ ยั ทัศน์และความรับผิดชอบต่อหน้าที่ มีกลไกการควบคุมและการถ่วงดุลอานาจ เพื่อให้ มนใจได้ ั่ ว่าการบริหารจัดการของบริษทั ฯ เป็ นไปอย่างโปร่งใสและ ตรวจสอบได้ การเคารพในสิทธิความเท่าเทียมกันของผูถ้ อื หุน้ และมีความรับผิดชอบต่อผูม้ สี ่วนได้เสียทุกกลุ่ม ซึง่ เป็ น ปั จจัยสาคัญในการเพิม่ มูลค่าและผลตอบแทนสูงสุดให้แก่ผถู้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ ในระยะยาว โดยคณะกรรมการบริษทั ได้ กาหนดนโยบายต่าง ๆ เกีย่ วกับการกากับดูแลกิจการ โดยมีหลักการและแนวปฏิบตั ทิ ส่ี อดคล้องกับหลักการกากับดูแล กิจการที่ดขี องตลาดหลักทรัพย์ สานักงาน ก.ล.ต. และข้อแนะนาของสมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD) โดยได้ม กี ารสื่อสารให้ผบู้ ริหารและพนักงานรับทราบและถือปฏิบตั มิ าอย่างต่อเนื่อง และคณะกรรมการบริษัท ได้ทบทวนนโยบายต่าง ๆ เกีย่ วกับการกากับดูแลกิจการและจริยธรรมทางธุรกิจเป็ นประจาทุกปี รวมถึงติดตามดูแลให้ มีการนานโยบายดังกล่าวไปปรับใช้เพื่อให้เกิดการปฏิบตั อิ ย่างเหมาะสมกับบริบทธุรกิจของบริษทั ฯ และสภาวการณ์ และการดาเนินธุรกิจของบริษทั ฯ อยู่เสมอ เพื่อเป็ นการส่งเสริมการกากับดูแลกิจการที่ดขี ององค์กร บริษทั ฯ จึงได้จดั ทานโยบายการกากับดูแลกิจการ และจริยธรรมทางธุรกิจ (Corporate Governance Policy and Code of Business Conduct) ขึน้ เป็ นลายลักษณ์อกั ษร เพื่อใช้เป็ นแนวทางในการปฏิบตั ิตนของกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานในทุกระดับชัน้ ตลอดจนได้ประกาศและ สื่อสารให้ผู้บริหารและพนักงานทุกคนของบริษัทฯ ได้ลงนามรับทราบ และยึดถือเป็ นหลักปฏิบตั ิในการดาเนินงาน รวมทัง้ เผยแพร่นโยบายการกากับดูแลกิจการและจริยธรรมทางธุรกิจฉบับเต็ม ในระบบ Intranet และเผยแพร่ ต่อ บุคคลภายนอกผ่านทางเว็บไซต์ของบริษทั ฯ นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังได้จดั ทานโยบายความรับผิดชอบต่อสังคม ชุมชน และสิง่ แวดล้อม (CSR Policy) เพื่อแสดงถึงความมุ่งมันและตั ่ ง้ ใจของกรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานในการร่วมเป็ น ส่วนหนึ่งของการดาเนินธุรกิจเพื่อ การพัฒนาสังคมอย่างยังยื ่ น และนโยบายการบริหารความเสีย่ งองค์กร (Enterprise Risk Management Policy) เพื่อจัดให้มกี ารควบคุมและบริหารความเสีย่ งองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ มาตราการ ต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน (Anti-Corruption Measures) เพื่อแสดงถึงเจตนารมย์ของกลุ่มบริษทั ทีจ่ ะดาเนินธุรกิจด้วย ความซื่อ สัต ย์สุจ ริต โปร่ ง ใส และเป็ น ธรรม และจรรยาบรรณของนัก ลงทุ น สัม พัน ธ์ (Investor Relations Code of Conduct) เพื่อเป็ นแนวทางในการปฏิบตั ิงานและช่วยส่งเสริมให้การดาเนินงานของนักลงทุนสัมพันธ์ตงั ้ อยู่บนหลัก จริยธรรมและเป็ นไปตามหลักการกากับดูแลกิจการทีด่ ี จากการทีบ่ ริษทั ฯ มุ่งมันและให้ ่ ความสาคัญในการพัฒนาแนวทางการดาเนินงานของบริษทั ฯ ให้สอดคล้องกับ หลักการกากับดูแลกิจการทีด่ มี าโดยตลอด โดยให้ความสาคัญกับการพัฒนาองค์กรเพื่อให้ครอบคลุมทัง้ 5 ด้าน ได้แก่ สิทธิของผูถ้ อื หุน้ การปฏิบตั ติ ่อผู้ถอื หุน้ อย่างเท่าเทียมกัน การคานึงถึงบทบาทของผูม้ สี ่วนได้เสีย การเปิ ดเผยข้อมูล และความโปร่งใส และความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ผ่านระบบการบริหารจัดการและระบบการกากับดูแลกิจการที่ดี เป็ นผลให้ในปี ทผ่ี ่านมา บริษทั ฯ ได้รบั ผลการประเมินและรางวัลต่าง ๆ ดังนี้

ส่วนที่ 2 หน้า 48


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ผลการประเมิ นโครงการสารวจการกากับดูแลกิ จการบริ ษทั จดทะเบียนไทย ซึง่ ประเมิ นโดยสมาคม ส่งเสริ มสถาบันกรรมการบริ ษัทไทย (IOD) โดยบริษัทฯ เป็ นหนึ่งใน 110 บริษัทที่ได้รบั ผลการประเมิน การกากับ ดูแลกิจการ ประจาปี 2560 ในระดับ “ดีเลิศ” โดยจัดอยู่ในกลุ่มบริษทั 5 ดาว (ผลการประเมินระหว่างร้อยละ 90 ถึงร้อย ละ 100) จากบริษทั จดทะเบียนทีไ่ ด้รบั การประเมินการกากับดูแลกิจการ ทัง้ หมด 620 บริษทั ซึง่ นับเป็ นปี ท่ี 6 ติดต่อกัน นับตัง้ แต่ปี 2555 เป็ นต้นมา ซึง่ ถือเป็ นส่วนหนึ่งทีช่ ่วยยืนยันได้ว่าบริษทั ฯ ยึดมันในหลั ่ กการของการกากับดูแลกิจการที่ ดีเพื่อให้เกิดการพัฒนาขององค์กรอย่างยังยื ่ น ผลการประเมิ นคุณภาพการจัดประชุมสามัญผูถ้ ือหุ้นประจาปี ซึง่ ประเมิ นโดยสมาคมส่งเสริมผูล้ งทุน ไทย (Thai Investors Association) ซึ่งเป็ นการประเมินคุณภาพการจัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจาปี ของบริษัท จดทะเบียนจากสิง่ ทีบ่ ริษทั จดทะเบียนควรทาก่อนการประชุม ในวันประชุม และภายหลังการประชุม โดยบริษทั ฯ ได้ให้ ความสาคัญ และมีการปรับปรุงคุณภาพการจัดประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจาปี ของบริษัทฯ มาอย่างสม่ าเสมอและ ต่อเนื่อง ทาให้บริษทั ฯ ได้รบั ผลการประเมินคุณภาพการจัดประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจาปี 2560 98 คะแนน จากคะแนน เต็ม 100 คะแนน รางวัลสุดยอดองค์กรธุรกิ จไทย ประจาปี 2561 (Thailand Top Company Award 2018) ซึง่ จัดขึ้นโดยคณะ บริ หารธุรกิ จ มหาวิ ทยาลัยหอการค้าไทย ร่วมกับนิ ตยสาร Business Plus และบริ ษทั เออาร์ไอพี จากัด (มหาชน) บริษทั ฯ ได้รบั รางวัลสุดยอดองค์กรธุรกิจไทย ประจาปี 2561 จากบริษทั ทีไ่ ด้รบั รางวัลทัง้ หมด 13 บริษทั ซึง่ แสดงให้เห็นถึง ศักยภาพในการดาเนินธุรกิจของกลุ่มบริษทั บนหลักธรรมาภิบาลและความรับผิดชอบต่อสังคม อันเป็ นแบบอย่างทีด่ ขี องการ พัฒนาองค์กรอย่างยังยื ่ น บริษทั จดทะเบียนทีม่ ีความโดดเด่นในการดาเนิ นธุรกิ จอย่างยังยื ่ น (ESG100) ประเมิ นโดยหน่ วยงาน ESG Rating ของสถาบัน ไทยพัฒ น์ บริษัท ฯ ได้ร ับ การจัด อัน ดับ ให้เ ป็ น หนึ่ ง ใน 100 อัน ดับ หลัก ทรัพ ย์ท่ีมีก าร ด าเนิ น งานโดดเด่ น ด้า นสิ่ง แวดล้ อ ม สัง คม และธรรมาภิบ าล (ESG : Environmental, Social and Governance) ประจ าปี 2561 จากทัง้ หมด 683 บริษัท จดทะเบีย น ซึ่ง เป็ น การสะท้อ นให้เ ห็น ว่า บริษัท ฯ มุ่ ง เน้ น และแสดงความ รับผิดชอบต่อสิง่ แวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล สูก่ ารพัฒนาทีย่ งยื ั่ น นโยบายการกากับดูแลกิจการของบริษทั ฯ ครอบคลุมหลักการกากับดูแลกิจการทีด่ ี โดยแบ่งออกเป็ น 5 หมวด ดังนี้

9.1.1

1.

สิทธิของผูถ้ อื หุน้ (Rights of Shareholders)

2.

การปฏิบตั ติ ่อผูถ้ อื หุน้ อย่างเท่าเทียมกัน (Equitable Treatment of Shareholders)

3.

การคานึงถึงบทบาทของผูม้ สี ว่ นได้เสีย (Role of Stakeholders)

4.

การเปิ ดเผยข้อมูลและความโปร่งใส (Disclosure and Transparency)

5.

ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ (Board Responsibilities)

สิ ทธิ ของผูถ้ ือหุ้น (Rights of Shareholders)

บริษทั ฯ ให้ความสาคัญต่อสิทธิของผูถ้ อื หุน้ ในฐานะเจ้าของบริษทั ฯ โดยส่งเสริมให้ผถู้ อื หุน้ ทุกกลุ่มไม่วา่ จะเป็ น นักลงทุนรายย่อยหรือนักลงทุนสถาบัน ได้ใช้สทิ ธิของตนตามสิทธิขนั ้ พืน้ ฐานของผูถ้ อื หุน้ เช่น การซือ้ ขายหรือการโอน ส่วนที่ 2 หน้า 49


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

หุน้ การมีส่วนแบ่งในกาไรของกิจการ การได้รบั ข้อมูลสารสนเทศของกิจการอย่างเพียงพอ ผ่านทางเว็บไซต์ของตลาด หลักทรัพย์ เว็บไซต์ของบริษทั ฯ หรือช่องทางอื่น ๆ การเข้าร่วมประชุมผูถ้ อื หุน้ เพื่อรับทราบผลการดาเนินงานประจาปี และการออกเสียงลงคะแนนในที่ประชุมผู้ถือหุ้นเพื่อพิจารณาอนุ มตั ิเรื่องต่าง ๆ ที่สาคัญตามที่กฎหมายกาหนด ซึ่ง รวมถึงการแต่ งตัง้ หรือถอดถอนกรรมการ การกาหนดค่าตอบแทนกรรมการ การแต่ งตัง้ ผู้สอบบัญชีและพิจารณา ค่าตอบแทนผูส้ อบบัญชี การจ่ายหรืองดจ่ายเงินปั นผล การเพิม่ ทุนและออกหลักทรัพย์ใหม่ ตลอดจนการซักถามหรือ แสดงความเห็นในเรื่องต่าง ๆ ทีค่ ณะกรรมการบริษทั ได้รายงานให้ทราบหรือได้ขอความเห็นชอบจากทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ เป็ นต้น  กำรจัดกำรประชุมผูถ้ ือหุ้น บริษัทฯ จะจัดให้มกี ารประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจาปี ภายใน 120 วันนับแต่วนั สิน้ สุดรอบปี บญ ั ชี และบริษทั ฯ อาจจัดการประชุมผู้ถอื หุน้ คราวอื่นซึ่งเรียกว่าการประชุมวิสามัญผู้ถอื หุน้ เพิม่ เติมตามความจาเป็ นและเหมาะสม ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ได้จดั ให้มสี านักเลขานุ การบริษทั ในการปฏิบตั ติ ามนโยบายการจัดการประชุมผูถ้ ือหุ้นให้เป็ นไปตามกฎหมาย และหลักการกากับดูแลกิจการทีด่ ี โดยบริษทั ฯ จะจัดให้มที ป่ี รึกษากฎหมายทาหน้าทีเ่ ป็ นผูใ้ ห้ความเห็นทางกฎหมายและ เป็ นพยานในการตรวจนับการลงคะแนนตลอดการประชุม และเปิ ดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ ส่วนน้อยส่งตัวแทนเข้าร่วมเป็ นพยาน ในการตรวจนับการลงคะแนน ในกรณีทม่ี กี ารเสนอวาระเกีย่ วกับธุรกรรมทีซ่ บั ซ้อนและมีนัยสาคัญต่อการตัดสินใจของที่ ประชุมผู้ถือหุ้น บริษัทฯ จะจัดให้มที ่ปี รึกษาทางการเงินและที่ปรึกษากฎหมายเพื่อตอบคาถามและชี้แจงในที่ประชุม สาหรับการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจาปี ซง่ึ พิจารณาอนุ มตั งิ บการเงิน บริษทั ฯ จะจัดให้ผสู้ อบบัญชีเข้าร่วมการประชุม ด้วยทุกครัง้ นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังส่งเสริมให้กรรมการบริษทั สมาชิกในคณะกรรมการชุดย่อย และผูบ้ ริหารระดับสูง เข้า ร่วมการประชุมผูถ้ อื หุน้ ทุกครัง้ เว้นแต่ในกรณีมเี หตุอนั จาเป็ นหรือสมควรซึง่ ทาให้ไม่สามารถเข้าร่วมประชุมได้  กำรส่งหนังสือเชิ ญประชุมและกำรอำนวยควำมสะดวกแก่ผถู้ ือหุ้น เพื่อเป็ นการรักษาสิทธิของผูถ้ อื หุน้ ทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน และไม่จากัดสิทธิในการเข้าถึงสารสนเทศของผู้ ถือหุน้ ไม่ว่าจะเป็ นผูถ้ อื หุน้ ชาวไทยหรือชาวต่างชาติ บริษทั ฯ จะจัดให้มหี นังสือเชิญประชุมและเอกสารประกอบการ ประชุมทัง้ ฉบับภาษาไทยและภาษาอังกฤษ และมอบหมายให้ บริษทั ศูนย์รบั ฝากหลักทรัพย์ (ประเทศไทย) จากัด ซึง่ เป็ นนายทะเบียนหลักทรัพย์ของบริษทั ฯ เป็ นผูด้ าเนินการจัดส่งหนังสือเชิญประชุมดังกล่าวให้แก่ผถู้ อื หุน้ ทุกราย โดย หนังสือเชิญประชุมจะระบุสถานที่ วันและเวลาการประชุม ระเบียบวาระการประชุม วัตถุประสงค์และเหตุผลของแต่ละ วาระพร้อ มทัง้ ความเห็น ของคณะกรรมการบริษัท และคะแนนเสีย งในการลงมติใ นแต่ ล ะวาระ ตลอดจนข้อ มูล ประกอบการประชุมต่าง ๆ อย่างเพียงพอ เพื่อให้ผู้ถือหุ้นได้มเี วลาศึกษาข้อมูลล่วงหน้าก่อนการประชุม โดยจะไม่มี วาระซ่อนเร้นหรือเพิม่ เรื่องประชุมใดไว้ในวาระอื่น ๆ ที่ไม่ได้ระบุไว้ในหนังสือเชิญประชุม เว้นแต่ เป็ นกรณีจาเป็ น เร่งด่วน นอกจากนี้ บริษทั ฯ จะเผยแพร่หนังสือเชิญประชุมและเอกสารประกอบการประชุมไว้บนเว็บไซต์ของบริษทั ฯ และเปิ ดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ ส่งคาถามล่วงหน้าก่อนการประชุมเป็ นเวลาไม่น้อยกว่า 30 วัน และประกาศลงหนังสือพิมพ์ การเรียกประชุมให้ผถู้ อื หุน้ ทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 3 วันก่อนวันประชุม เป็ นเวลาติดต่อกัน 3 วัน บริษทั ฯ จะจัดงานประชุมในสถานทีท่ เ่ี หมาะสม เพียงพอต่อจานวนผูเ้ ข้าร่วมประชุม มีระบบการรักษาความ ปลอดภัยทีด่ ี และสะดวกต่อการเดินทางของผูถ้ อื หุ้น โดยจะใช้ระบบ Barcode ในการลงทะเบียนและนับคะแนนเสียง เพื่อเพิม่ ความโปร่งใสและอานวยความสะดวกให้แก่ผถู้ อื หุน้ และจะเปิ ดให้ผถู้ อื หุน้ ลงทะเบียนล่วงหน้าก่อนการประชุม ไม่น้อยกว่า 2 ชัวโมง ่ นอกจากนี้ บริษทั ฯ จะจัดให้มเี จ้าหน้าทีข่ องบริษทั ฯ คอยดูแลต้อนรับ และอานวยความสะดวก ตลอดจนจัด ให้มีโ ต๊ ะนัก ลงทุน สัมพัน ธ์ ซึ่ง มีเ จ้าหน้ า ที่นักลงทุ นสัมพัน ธ์ท่มี ีค วามรู้ค วามเชี่ย วชาญในการให้ข้อมูล ส่วนที่ 2 หน้า 50


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

สารสนเทศ ตลอดจนตอบคาถามต่าง ๆ เกี่ยวกับกิจการของบริษทั ฯ แก่ผู้ถือหุน้ นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังจะจัดเตรียม อากรแสตมป์ ไว้สาหรับผูท้ เ่ี ข้าร่วมประชุมโดยการรับมอบฉันทะจากผูถ้ อื หุน้ และเพื่ออานวยความสะดวกให้แก่ผถู้ อื หุน้ ทีเ่ ป็ นนักลงทุนสถาบัน และผูถ้ อื หุน้ ทีถ่ อื หุน้ ผ่านคัสโตเดียน บริษทั ฯ จะเปิ ดโอกาสให้มกี ารตรวจสอบรายชือ่ ข้อมูล และ เอกสารประกอบการลงทะเบียนเพื่อเข้าร่วมประชุมก่อนวันประชุมผูถ้ อื หุ้น เพื่อลดระยะเวลาและขัน้ ตอนการตรวจสอบ ข้อมูลและเอกสารในวันประชุม  กำรดำเนิ นกำรในกำรประชุมผูถ้ ือหุ้น บริษทั ฯ ยึดถือเป็ นธรรมเนียมปฏิบตั ใิ นการกากับดูแลกิจการที่ดี โดยก่อนเริม่ การประชุมผูถ้ ือหุน้ เลขานุ การที่ ประชุมจะแนะนาคณะกรรมการบริษัท ผู้บริหาร ผู้สอบบัญชี และที่ปรึกษากฎหมายของบริษัทฯ ที่เข้าร่วมประชุม และ จะแจ้งให้ทป่ี ระชุมผูถ้ อื หุน้ รับทราบถึงหลักเกณฑ์การออกเสียงลงคะแนนและวิธกี ารนับคะแนนเสียงในทีป่ ระชุม ทัง้ นี้ เมื่อมี การให้ขอ้ มูลตามระเบียบวาระการประชุมแล้ว ประธานในทีป่ ระชุมจะเปิ ดโอกาสให้ผเู้ ข้าร่วมประชุมแสดงความคิดเห็นและ ซักถามเกี่ยวกับวาระนัน้ ๆ อย่างเท่าเทียมกัน โดยจะมีการตอบคาถามและให้เวลาอภิปรายในแต่ ละเรื่องตามความ เหมาะสม สาหรับวาระการเลือกตัง้ กรรมการ ผูถ้ อื หุน้ จะลงมติเลือกตัง้ กรรมการเป็ นรายบุคคล และเพื่อส่งเสริมการปฏิบตั ิ ตามหลักการกากับดูแลกิจการทีด่ ี กรรมการทีค่ รบกาหนดออกจากตาแหน่ งตามวาระและได้รบั การเสนอชื่อเพื่อเลือกตัง้ เป็ นกรรมการของบริษทั ฯ ต่อไปอีกวาระหนึ่ง จะออกจากห้องประชุมเป็ นการชัวคราวในการพิ ่ จารณาวาระดังกล่าว บริษัทฯ จะจัดให้มกี ารบันทึกรายงานการประชุมอย่างถูกต้องครบถ้วนเพื่อให้ผู้ถือหุ้นตรวจสอบได้ โดยมีการ บันทึกมติทป่ี ระชุมไว้อย่างชัดเจน พร้อมทัง้ องค์ประชุม รายชื่อกรรมการ ผูบ้ ริหาร และทีป่ รึกษาทีเ่ ข้าร่วมประชุม พยานใน การตรวจนับคะแนน ผลการลงมติซ่งึ จะเปิ ดเผยทัง้ คะแนนเสียงที่เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย และงดออกเสียง ตลอดจนมีการ บันทึกสรุปความคิดเห็น ข้อซักถาม และการตอบข้อซักถามทีเ่ ป็ นสาระสาคัญและเกีย่ วข้องกับการประชุมในแต่ละวาระ โดย บริษทั ฯ จะแจ้งรายงานสรุปผลการลงมติผ่านเว็บไซต์ของตลาดหลักทรัพย์ภายในวันเดียวกันกับวันประชุม หรืออย่างช้า ภายใน 9.00 น. ของวันทาการถัดไป และจะจัดส่งรายงานการประชุมผูถ้ อื หุน้ ให้แก่ตลาดหลักทรัพย์ภายใน 14 วันนับแต่วนั ประชุม รวมทัง้ เผยแพร่รายงานการประชุมบนเว็บไซต์ของบริษทั ฯ 9.1.2

กำรปฏิ บตั ิ ต่อผูถ้ ือหุ้นอย่ำงเท่ำเทียมกัน (Equitable Treatment of Shareholders)

บริษ ัท ฯ จะปฏิบ ตั ิต่อ ผู ้ถ ือ หุ ้น ทุก คนอย่า งเท่า เทีย มและเป็ น ธรรม ไม่ว่า ผู ้ถ ือ หุ น้ รายนัน้ จะเป็ น ผูถ้ ือ หุน้ รายย่อย ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือนักลงทุนสถาบัน  กำรเสนอวำระกำรประชุมและชื่อบุคคลเพื่อเข้ำรับกำรเลือกตัง้ เป็ นกรรมกำร บริษทั ฯ เปิ ดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ ใช้สทิ ธิของตนเสนอวาระการประชุม และ/หรือ ชื่อบุคคลเพื่อเข้ารับการเลือกตัง้ เป็ นกรรมการเป็ นการล่วงหน้ า เพื่อส่งเสริมให้มกี ารปฏิบตั ิต่อผู้ถือหุ้นอย่างเป็ นธรรมและเท่าเทียมกัน โดยให้สทิ ธิ ผู้ถือหุ้นสามารถเสนอวาระการประชุม และ/หรือ ชื่อบุคคลเพื่อเข้ารับการเลือกตัง้ เป็ นกรรมการในการประชุมสามัญ ผู้ถือหุ้น ตามหลักเกณฑ์ท่เี ผยแพร่บนเว็บไซต์ของบริษัทฯ โดยบริษัทฯ จะแจ้งข่าวให้ทราบผ่านเว็บไซต์ของตลาด หลักทรัพย์ ทัง้ นี้ ในปี 2559 บริษัทฯ ได้ปรับปรุงหลักเกณฑ์เกี่ยวกับคุณสมบัติของผูถ้ ือหุน้ ที่สามารถเสนอวาระการ ประชุม และ/หรือ ชื่อบุคคลเพื่อเข้ารับการเลือกตัง้ เป็ นกรรมการในการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ ให้สอดคล้อง กับแนวปฏิบตั ขิ องสานักงาน ก.ล.ต. และให้มผี ลใช้บงั คับกับการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจาปี 2560 เป็ นต้นไป โดย กาหนดให้ผถู้ อื หุน้ ซึง่ มีคุณสมบัตดิ งั นี้ สามารถเสนอชื่อบุคคลเพื่อเข้ารับการเลือกตัง้ เป็ นกรรมการในการประชุมสามัญผู้

ส่วนที่ 2 หน้า 51


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ถือหุน้ ได้ (1) เป็ นผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ รายเดียวหรือหลายรายรวมกัน โดยมีสดั ส่วนการถือหุน้ รวมกันไม่น้อยกว่าร้อย ละ 5 ของจานวนสิทธิออกเสียงทัง้ หมดของบริษทั ฯ หรือ (2) เป็ นผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ รายเดียวหรือหลายรายรวมกัน โดยมีสดั ส่วนการถือหุน้ รวมกันไม่น้ อยกว่าร้อยละ 3 ของจานวนสิทธิออกเสียงทัง้ หมดของบริษทั ฯ โดยผูถ้ อื หุน้ ทุกคน ต้องถือหุน้ อย่างต่อเนื่องมาแล้วไม่น้อยกว่า 6 เดือน นับจากวันทีไ่ ด้มาซึง่ หุน้ จนถึงวันที่เสนอชื่อบุคคลเพื่อเข้ารับการ เลือกตัง้ เป็ นกรรมการ  กำรมอบฉันทะให้ผอู้ ื่นเข้ำร่วมประชุมแทน เพื่อรักษาสิทธิให้ผถู้ อื หุน้ ทีไ่ ม่สะดวกเข้าประชุมด้วยตนเอง บริษทั ฯ จะจัดส่งแบบหนังสือมอบฉันทะ (แบบ ข.) พร้อมกับหนังสือเชิญประชุม และระบุถงึ เอกสารและหลักฐานทีต่ อ้ งใช้ในการมอบฉันทะอย่างชัดเจน ซึง่ ผูถ้ อื หุน้ สามารถ มอบหมายให้ตวั แทนของผูถ้ อื หุน้ หรือกรรมการอิสระของบริษทั ฯ เข้าร่วมประชุมและออกเสียงลงคะแนนแทนตนในการ ประชุมผูถ้ อื หุน้ ได้ โดยบริษทั ฯ จะแจ้งในหนังสือเชิญประชุมถึงรายชื่อกรรมการอิสระทีผ่ ถู้ อื หุน้ สามารถมอบฉันทะได้ อย่างน้อย 1 ท่าน นอกจากนี้ บริษทั ฯ จะเผยแพร่หนังสือเชิญประชุม และหนังสือมอบฉันทะแบบต่าง ๆ (แบบ ก. แบบ ข. และแบบ ค.) พร้อมทัง้ รายละเอียดและขัน้ ตอนการมอบฉันทะบนเว็บไซต์ของบริษทั ฯ  กำรเข้ำถึงข้อมูลของบริษทั บริษทั ฯ ไม่เลือกปฏิบตั ติ ่อผูถ้ อื หุน้ กลุ่มใดกลุ่มหนึ่งเป็ นพิเศษ โดยผูถ้ อื หุน้ มีสทิ ธิเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศของ บริษัทฯ ซึ่งเปิ ดเผยต่อผู้ถือหุ้นและประชาชนอย่างเท่าเทียมกันผ่านเว็บไซต์ของบริษัทฯ www.btsgroup.co.th หรือ สามารถติดต่อฝ่ ายนักลงทุนสัมพันธ์ของบริษทั ฯ ที่ โทรศัพท์: +66 (0) 2273 8631, +66 (0) 2273 8623, +66 (0) 2273 8637 โทรสาร: +66 (0) 2273 8610 หรือ E-mail: ir@btsgroup.co.th บริษัทฯ กาหนดห้ามมิให้กรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานของกลุ่มบริษัท ตลอดจนผู้ท่เี กี่ยวข้อง ซึ่งอยู่ใน ตาแหน่ งหรือสายงานที่สามารถเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศของบริษัทฯ ใช้ข้อมูลภายในเพื่อประโยชน์ ในการซื้อขาย หลักทรัพย์ของบริษทั ฯ บริษัทย่อย และบริษัทร่วม และห้ามมิให้เปิ ดเผยข้อมูลภายในต่อบุคคลภายนอกหรือผูท้ ไ่ี ม่มี ส่วนเกีย่ วข้อง ก่อนทีจ่ ะมีการเปิ ดเผยให้ประชาชนทราบโดยทัวถึ ่ งกันผ่านตลาดหลักทรัพย์ ตามหลักเกณฑ์และวิธกี ารที่ กาหนดในนโยบายป้ องกันการใช้ขอ้ มูลภายใน บริษทั ฯ ยึดถือและปฏิบตั ิตามหลักการกากับดูแลกิจการที่ดใี นการรักษาสิทธิของผู้ถือหุน้ และการปฏิบตั ติ ่อ ผูถ้ อื หุน้ อย่างเท่าเทียมกันมาอย่างสม่าเสมอและต่อเนื่อง โดยมีขอ้ มูลเพิม่ เติมสาหรับปี 2560/61 ดังนี้ กำรประชุมสำมัญผูถ้ ือหุ้นประจำปี 2560 วันทีป่ ระชุม

25 กรกฎาคม 2560

สถานทีป่ ระชุม

ห้อ งบางกอก คอนเวนชัน่ เซ็น เตอร์ (BCC Hall) ศูน ย์ก ารค้า เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว

ระยะเวลาในการเสนอวาระการประชุม และ/หรือ ชื่อบุคคลเพื่อเข้า 26 ธันวาคม 2559 - 31 มีนาคม 2560 ไม่มผี ู้ถือหุ้นรายใดเสนอ รับการเลือกตัง้ เป็ นกรรมการ วาระการประชุม และ/หรือ เสนอชื่อบุคคลเพือ่ เข้ารับการเลือกตัง้ เป็ นกรรมการ วันทีเ่ ผยแพร่หนังสือเชิญประชุมบนเว็บไซต์ของบริษทั ฯ

21 มิถุนายน 2560

ส่วนที่ 2 หน้า 52


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

วันทีส่ ่งหนังสือเชิญประชุมทางไปรษณียล์ งทะเบียน

3 กรกฎาคม 2560

วันทีล่ งประกาศในหนังสือพิมพ์

12, 13 และ 14 กรกฎาคม 2560

เวลาเปิ ดให้ลงทะเบียน

11.30 น.

เวลาประชุม

13.30 น. - 16.35 น.

จานวนผูถ้ อื หุน้ เข้าร่วมประชุมด้วยตนเองและโดยการมอบฉันทะ 2,012 ราย ถือหุ้นรวมกันคิดเป็ นร้อยละ 51.25 ของจานวนหุน้ ที่ ณ ขณะเปิ ดประชุม (องค์ประชุม : ต้องมีผถู้ อื หุน้ และผูร้ บั มอบฉันทะ จาหน่ายได้แล้วทัง้ หมด จากผู้ถือหุ้นไม่น้อยกว่า 25 ราย และต้องมีหุ้นไม่น้อยกว่า 1/3 ของ จานวนหุน้ ทีจ่ าหน่ายได้ทงั ้ หมด) กรรมการเข้าร่วมประชุม

13 ท่าน *นายชอง ยิง ชิว เฮนรี่ (Mr. Cheong Ying Chew, Henry) ไม่สามารถเข้าร่วมประชุมเนื่องจากติดภารกิจในต่างประเทศ

พยานในการตรวจนับคะแนน

นายธีรภัทร อภิชาตอามฤต ตัวแทนผูถ้ อื หุน้ รายย่อยซึ่งเป็ นผูถ้ อื หุ้นที่มาเข้าร่วมประชุมด้วยตนเอง และนางสาวอณินาฏ ศิลานุ กจิ ตัวแทนจากบริษทั สานักงานกฎหมาย แคปปิ ตอล จากัด

วันทีร่ ายงานสรุปผลการลงมติทป่ี ระชุมผูถ้ อื หุน้ ผ่านตลาด หลักทรัพย์

25 กรกฎาคม 2560 เวลา 18.18 น.

วันทีส่ ่งสาเนารายงานการประชุมให้ตลาดหลักทรัพย์ (14 วัน นับจาก 8 สิงหาคม 2560 วันประชุม)

9.1.3

กำรคำนึ งถึงบทบำทของผูม้ ีส่วนได้เสีย (Roles of Stakeholders)

บริษทั ฯ คานึงถึงบทบาทของผูม้ สี ว่ นได้เสียและให้ความสาคัญกับสิทธิของผูม้ สี ว่ นได้เสียของบริษทั ฯ ทุกกลุ่ม โดยได้มกี ารดูแลให้ผมู้ สี ่วนได้เสียกลุ่มต่าง ๆ ของบริษัทฯ ได้รบั การปฏิบตั ิอย่างเหมาะสม เสมอภาค และเป็ นธรรม โดยบริษทั ฯ เชื่อว่าความสัมพันธ์อนั ดีกบั ผูม้ สี ่วนได้เสียทุกกลุ่มมีความสาคัญต่อการพัฒนาอย่างยังยื ่ นและความสาเร็จ ในระยะยาวของกลุ่มบริษทั โดยได้มกี ารกาหนดนโยบายเป็ นลายลักษณ์อกั ษรไว้ในนโยบายการกากับดูแลกิจการและ จริยธรรมทางธุรกิจเพื่อเป็ นแนวทางให้กบั บุคลากรของกลุ่มบริษัท ซึ่งรวมถึงกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานของ บริษทั ฯ ยึดถือและปฏิบตั ติ ามอย่างเคร่งครัด  กำรปฏิ บตั ิ ต่อผูม้ ีส่วนได้เสียกลุ่มต่ำงๆ ผูถ้ ือหุ้น

: บริษัทฯ มีการดาเนินธุรกิจอย่างโปร่งใส ถูกต้อง และยุติธรรม เพื่อพัฒนากิจการให้มนคง ั่ และเติบโต โดยคานึงถึงสิทธิของผู้ถือหุ้น และการสร้างผลตอบแทนในอัตราที่สูงกว่าการ ลงทุนอื่นทีม่ คี วามเสีย่ งคล้ายคลึงกันให้แก่ผถู้ อื หุน้ อย่างต่อเนื่อง และการปฏิบตั ติ ่อผูถ้ อื หุน้ ทุก กลุ่ ม อย่ า งเท่ า เทีย มกัน ไม่ ว่ า จะเป็ น นั ก ลงทุ น รายย่ อ ยหรือ นั ก ลงทุ น สถาบัน (โปรดดู รายละเอียดเพิม่ เติมใน หัวข้อ 9.1.1 สิทธิของผู้ถือหุ้น หัวข้อ 9.1.2 การปฏิบตั ิต่อผู้ถือหุน้ อย่างเท่าเทียมกัน และ หัวข้อ 9.1.4 การเปิ ดเผยข้อมูลและความโปร่งใส ในหัวข้อย่อย ฝ่ าย นักลงทุนสัมพันธ์)

ส่วนที่ 2 หน้า 53


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

ลูกค้ำ

แบบ 56-1 ปี 2560/61

: กลุ่มบริษทั บีทเี อสมุ่งมันสร้ ่ างความพึงพอใจและความมันใจให้ ่ กบั ลูกค้า โดยเน้นทีค่ วามเอา ใจใส่และความรับผิดชอบ ซึง่ มีผลต่อความสาเร็จของธุรกิจ โดยพัฒนาคุณภาพและรูปแบบ ของสินค้าและบริการเพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้อย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอ เพื่อรักษาความสัมพันธ์ท่ดี ใี นระยะยาว โดยกลุ่มบริษัทได้มกี ารสารวจความพึงพอใจของ ลูกค้าเพื่อรับฟั งความคิดเห็นหรือข้อร้องเรียน และนามาเป็ นแนวทางในการปรับปรุงการบริ การและบริหารงานให้ดยี งิ่ ขึน้ นอกจากนี้ ยังมีการพัฒนาบุคลากรทีจ่ ะมาให้บริการกับลูกค้า โดยมีการอบรมและให้ความรูค้ วามเข้าใจกับพนักงานทัง้ ก่อนการปฏิบตั งิ านจริงและพัฒนา เพิม่ พูนทักษะและความรูใ้ ห้แก่พนักงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้ลกู ค้าได้รบั ประโยชน์สงู สุดจาก การให้บริการ กลุ่มบริษัทบีทเี อสให้ความสาคัญเรื่องความปลอดภัยของลูกค้าเป็ นหลัก อาทิเช่น ในการ บริหารจัดการธุรกิจระบบขนส่งมวลชนของบีทเี อสซีนนั ้ บีทเี อสซีได้รบั การรับรองระบบการ บริหารงานคุณภาพ ISO 9001 ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย OHSAS 18001:2007 และระบบจัดการด้านความปลอดภัย (Safety Management System: SMS) ตามข้อกาหนด Best Practice Model (BPM) ของ Ricardo Rail เป็ นต้น นอกจากนี้ กลุ่มบริษทั บีทเี อสยังคานึงถึงการรับฟั งความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของลูกค้า ผ่านช่องทางต่าง ๆ ซึง่ ลูกค้าสามารถเข้าถึงได้อย่างสะดวกรวดเร็ว เช่น ศูนย์ฮอตไลน์ และ สือ่ สังคมออนไลน์ โดยกลุ่มบริษทั ได้นาข้อเสนอแนะและข้อร้องเรียนมาทบทวนและวิเคราะห์ หาสาเหตุ เพื่อนามาปรับปรุงการให้บริการ ตลอดจนสร้างความพึงพอใจสูงสุดให้แก่ลูกค้า และรักษาระดับมาตรฐานการให้บริการของกลุ่มบริษทั

พนักงำน

: กลุ่ม บริษ ัท บีทีเอสเชื่อ ว่า พนัก งานเป็ น ปั จ จัย หลัก และเป็ น ทรัพ ยากรที่ม คี ุณ ค่า ในการ ดาเนินธุรกิจ กลุ่มบริษทั บีทเี อสเคารพสิทธิของพนักงานตามสิทธิมนุ ษยชนขัน้ พืน้ ฐานตาม หลักสากลและตามกฎหมายและระเบียบข้อบังคับต่าง ๆ โดยให้ความเป็ นธรรมต่อพนักงาน ทุกระดับโดยไม่เลือกปฏิบตั ริ วมทัง้ ยังให้ความสาคัญกับสุขภาพ อาชีวอนามัย ความปลอดภัย ในชีวติ และทรัพย์สนิ และสภาพแวดล้อมในการทางานของพนักงาน ตลอดจนเสริมสร้าง วัฒนธรรมและบรรยากาศการทางานที่ดแี ละส่งเสริมการทางานเป็ นทีม นอกจากนี้ กลุ่ม บริษทั บีทเี อสยังได้มอบโอกาสในการสร้างความก้าวหน้าในการทางานให้แก่พนักงานทุกคน โดยเท่าเทียมกัน และเห็นความสาคัญในเรื่องศักยภาพของพนักงาน จึงมุ่งเน้นการพัฒนา บุคลากร มีการฝึ กอบรมพนักงานอย่างต่อเนื่องทัง้ ภายในและภายนอกองค์กร รวมทัง้ มีการ จัด กิจ กรรมเพื่อ เสริมสร้า งความสัมพันธ์อ ัน ดีในองค์ก ร ทัง้ ระหว่างพนักงานกัน เองและ ระหว่างพนักงานและผูบ้ ริหาร

คู่ค้ำ

: กลุ่มบริษัทบีทเี อสคานึงถึงความสาคัญของคู่คา้ ในฐานะที่เป็ นผูท้ ี่มคี วามสาคัญในการให้ ความช่วยเหลือการดาเนินธุรกิจของกลุ่มบริษทั โดยกลุ่มบริษทั บีทเี อสยึดหลักการปฏิบตั ิ ที่เ สมอภาคและการแข่งขันทีเ่ ป็ นธรรมต่อ คู่คา้ ทุก ราย นอกจากนี้ กลุ่ม บริษัท บีทเี อสยัง เน้น ความโปร่งใส และความตรงไปตรงมาในการดาเนินธุรกิจ การคัดเลือกคู่ค้าอย่างเป็ น ธรรม และการเจรจาตกลงเข้าทาสัญญากับคู่คา้ โดยให้ได้ผลตอบแทนทีเ่ ป็ นธรรมกับทัง้ สองฝ่ าย

ส่วนที่ 2 หน้า 54


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

โดยกลุ่มบริษทั บีทเี อสจะปฏิบตั ติ ่อคู่คา้ ให้เป็ นไปตามข้อตกลงในสัญญาและจรรยาบรรณใน การดาเนินธุรกิจของกลุ่มบริษทั คู่แข่ง

: กลุ่มบริษทั บีทเี อสจะปฏิบตั ติ ่อคู่แข่งทางการค้าภายใต้กฎหมายและจรรยาบรรณทางการค้าทีด่ ี โดยจะเน้นที่การแข่งขันที่สุจริต ไม่ทาลายชื่อเสียงของคู่แข่งด้วยการกล่าวหาในทางไม่ดี รวมทัง้ ไม่แสวงหาข้อมูลหรือความลับของคู่แข่งด้วยวิธกี ารไม่สุจริตหรือไม่เหมาะสม กลุ่ม บริษทั บีทเี อสจะดาเนินธุรกิจด้วยความซื่อตรงและเป็ นมืออาชีพ

เจ้ำหนี้

: กลุ่มบริษัทบีทเี อสเน้นการสร้างความเชื่อมันให้ ่ แก่เจ้าหนี้ของกลุ่มบริษทั โดยเน้นที่ความ สุจริตและยึดมันตามเงื ่ ่อนไขและสัญญาทีท่ าไว้กบั เจ้าหนี้อย่างเคร่งครัด กลุ่มบริษัท บีทเี อส ได้มกี ารชาระเงินกูแ้ ละดอกเบีย้ ถูกต้อง ตรงต่อเวลา และครบถ้วนมาโดยตลอด รวมทัง้ ไม่ นาเงินทีก่ ูย้ มื มาไปใช้ในทางทีข่ ดั ต่อวัตถุประสงค์การกูย้ มื นอกจากนัน้ กลุ่มบริษทั บีทเี อส ยังไม่ปกปิ ดข้อมูลหรือข้อเท็จจริงอันทาให้เกิดความเสียหายแก่เจ้าหนี้ของกลุ่มบริษทั อีกด้วย

: ภายใต้วิสยั ทัศน์ ท่นี าเสนอแนวคิด “ซิต้ี โซลูชนส์ ั ่ ” ที่ยงยื ั ่ นให้กบั สังคมและเจตนารมณ์ท่ี สังคม ชุมชน ต้องการสานต่อเป้ าหมายการพัฒนาอย่างยังยื ่ น (SDGs) ขององค์การสหประชาชาติ กลุ่ม และสิ่ งแวดล้อม บริษัทบีทเี อสตระหนักถึงบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบต่อชุมชนและสังคมในฐานะ องค์กรภาคเอกชน และมีเป้ าหมายทีจ่ ะยกระดับคุณภาพชีวติ และความเป็ นอยู่ทด่ี ขี องชุมชน และสัง คมโดยมุ่ ง เน้ น การพัฒ นาใน 3 ด้า น ได้แ ก่ การส่ง เสริม สุข ภาพ (Public Health) การศึก ษาที่มีคุ ณภาพ (Quality Education) และการอนุ รกั ษ์สิ่งแวดล้อ มและระบบนิเวศ (Environment and Ecosystem) ที่ไม่เพียงแต่ ตอบสนองต่อความต้องการของชุมชนและ สังคม รวมถึงความคาดหวังของผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสียทีเ่ กี่ยวข้อง แต่ยงั เป็ นการสนับสนุ นให้ พนักงานทุกระดับของกลุ่มบริษทั บีทเี อสได้มสี ่วนร่วมและรับรูถ้ งึ หน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบ ของตนทีม่ ตี ่อชุมชนและสังคมอย่างเป็ นรูปธรรม ในด้ า นของการดู แ ลสิ่ง แวดล้ อ ม กลุ่ ม บริษั ท บีทีเ อสมุ่ ง เน้ น การใช้ ท รัพ ยากรอย่ า งมี ประสิท ธิภ าพ รวมทัง้ ควบคุมและจัดการผลกระทบต่ อ สิ่ง แวดล้อ มอย่ างเหมาะสม โดย ดาเนินงานผ่านระบบบริหารจัดการด้านสิง่ แวดล้อมทีเ่ ป็ นมาตรฐานสากล ISO 14001 และ OHSAS 18001: 2007 รวมถึงกฎระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ ด้านสิง่ แวดล้อมและความ ปลอดภัยอย่างเคร่งครัด โปรดพิจารณารายละเอียดเพิม่ เติมใน รายงานความยังยื ่ น ประจาปี 2560/61 บนเว็บไซต์ ของบริษทั ฯ ที่ www.btsgroup.co.th  นโยบำยเกี่ยวกับจริยธรรมทำงธุรกิ จ บริษทั ฯ มีนโยบายเกีย่ วกับจริยธรรมทางธุรกิจของกลุ่มบริษทั บีทเี อส ซึง่ เป็ นนโยบายทีส่ ง่ เสริมการกากับดูแล กิจการทีด่ ขี องกลุ่มบริษทั ดังนี้

ส่วนที่ 2 หน้า 55


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

กำรเคำรพและไม่ : กลุ่มบริษทั บีทเี อสให้ความสาคัญกับการเคารพสิทธิมนุ ษยชน โดยคานึงถึงความเสมอภาค และความเท่าเทียมกัน ไม่แบ่งแยกเชือ้ ชาติ ศาสนา ถิน่ กาเนิด เพศ สีผวิ อายุ สมรรถภาพ ล่วงละเมิ ดต่อสิ ทธิ ทางร่างกาย รสนิยมทางเพศ ความคิดเห็นทางการเมือง ฐานะ การศึกษา หรือสถานภาพอื่น มนุษยชน ใด รวมทัง้ ให้ค วามเคารพต่ อ ความเป็ น ปั จ เจกชนและศัก ดิศ์ รีข องความเป็ น มนุ ษ ย์ ดัง หลักการแนวทางทีเ่ ป็ นบรรทัดฐานสากล เช่น นโยบายและแนวการบริหารทรัพยากรบุคคล อย่างยังยื ่ นที่ปฏิบตั ิตามสิทธิมนุ ษยชนและสิทธิแรงงาน ซึ่งพิจารณาตามกรอบ The UN “Protect, Respect and Remedy” Framework for Business and Human Rights 2011 และ กรอบของ OECD Guidelines for Multinational Enterprises กลุ่ ม บริษั ท บีทีเ อสตระหนั ก ดีว่ า การเคารพและไม่ ล่ ว งละเมิ ด ต่ อ สิท ธิม นุ ษ ยชนเป็ น องค์ประกอบหนึ่งในการเสริมสร้างความเจริญเติบโตอย่างยังยื ่ นของกิจการของกลุ่มบริษทั จึงได้มกี ารกาหนดนโยบายในเรื่องนี้ไว้ในนโยบายการกากับดูแลกิจการและจริยธรรมทาง ธุรกิจ และสื่อสารให้ผบู้ ริหารและพนักงานทุกคนได้รบั ทราบและถือปฏิบตั ิ รวมถึงเผยแพร่ เอกสารดัง กล่ า วไว้ใ นระบบ Intranet และเว็บ ไซต์ ข องบริษัท ฯ ด้ ว ย ทัง้ นี้ ตลอดการ ดาเนิ น งานที่ผ่า นมา กลุ่ ม บริษัท บีทีเ อสได้ป ฏิบ ัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อ งกับหลักสิทธิ มนุ ษยชนเสมอมา ไม่ว่าจะเป็ นการว่าจ้างและปฏิบตั ิต่อพนักงานชายและหญิงอย่างเท่า เทียมและเสมอภาค การไม่จ้างแรงงานเด็ก รวมถึงการปฏิบตั ิตามกฎหมายว่าด้วยการ ว่าจ้างคนพิการเข้าเป็ นพนักงานของกลุ่มบริษทั นอกจากนี้ ยังได้มกี ารกาหนดนโยบายการ ว่าจ้างพนักงานไว้ในคู่มอื การสรรหาบุคลากรของกลุ่มบริษทั บีทเี อสเอาไว้อย่างเป็ นรูปธรรม ตามแนวทางพระราชบัญ ญัติคุ้ม ครองแรงงาน พ.ศ. 2541 มาตรา 15 ซึ่งบัญญัติว่ า “ให้ นายจ้างปฏิบตั ิต่อลูกจ้างชายและหญิงโดยเท่าเทียมกันในการจ้างงาน เว้ นแต่ลกั ษณะหรือ สภาพของงานไม่อาจปฏิบตั ิเช่นนัน้ ได้ ” ซึ่งเป็ นบทบัญญัติท่สี อดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 มาตรา 30 วรรคสองทีว่ ่า “ชายและหญิงมีสทิ ธิเท่าเทียมกัน” นอกจากนี้ กลุ่มบริษัท บีทเี อสยังคานึงถึงความเท่าเทียมกันบนหลักสิทธิมนุ ษยชนโดยไม่ แบ่งแยกสถานภาพทางกายภาพหรือสุขภาพของบุคคลนัน้ ในการได้ร บั บริการจากกลุ่ม บริษ ัท อาทิเ ช่น การอานวยความสะดวกให้แก่ผู้ใช้บริการรถไฟฟ้ าบีทีเอสที่เป็ นผู้พิการ โดยให้พนักงานบนสถานีรถไฟฟ้ าให้บริการและคอยช่วยเหลือ เพื่ อป้ องกันอันตรายทีอ่ าจ เกิดขึน้ กับทัง้ ผูโ้ ดยสารทีเ่ ป็ นผูพ้ กิ ารและผูโ้ ดยสารท่านอื่น ๆ เป็ นต้น กำรต่อต้ำนกำร : เมื่อวันที่ 22 มกราคม 2559 บริษัทฯ ได้รบั การรับรองเป็ นสมาชิกของแนวร่วมปฏิบตั ิของ ภาคเอกชนไทยในการต่ อ ต้ า นการทุ จ ริ ต (Thailand's Private Sector Collective Action ทุจริตคอร์รปั ชัน Coalition Against Corruption : CAC) ซึ่งแสดงถึงเจตนารมณ์อนั แน่ วแน่ ของกลุ่มบริษทั บีที เอสที่จะดาเนินธุรกิจด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต โปร่งใส และเป็ นธรรม ตลอดจนยึดมันต่ ่ อ หลักการกากับดูแลกิจการทีด่ ตี ามกรอบและแนวปฏิบตั สิ ากล และไม่ยอมรับการทุจริตคอร์รปั ชันใด ๆ ในทุกรูปแบบ นอกจากนี้ บริษัทฯ ยังได้ขยายเจตนารมณ์อนั แน่ วแน่ ไปสู่บริษทั ใน กลุ่มโดยการส่งเสริมและสนับสนุ นให้บริษัทในกลุ่มมีการบริหารจัดการและการดาเนินธุรกิจ ด้วยความโปร่งใส และต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชันในทุกรูปแบบ ดังจะเห็นได้จากการที่ วีจไี อ ซึง่ เป็ นบริษทั ย่อยในสายธุรกิจสื่อโฆษณาได้ประกาศเจตนารมณ์เข้าเป็ นแนวร่วมปฏิบตั ขิ อง ส่วนที่ 2 หน้า 56


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต และได้รบั การรับรองเป็ นสมาชิกของแนวร่วมปฏิบตั ิ ของภาคเอกชนไทยในการต่อต้านการทุจริต (Thailand's Private Sector Collective Action Coalition Against Corruption : CAC) เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2560 ทัง้ นี้ เพื่อ เป็ นแนวทางที่ชดั เจนสาหรับกรรมการ ผู้บริหาร และพนักงานของบริษัทฯ ใน การดาเนินงานและปฏิบตั ิหน้ าที่ของตนเองโดยยึดหลัก “ความถูกต้อง” เป็ นเกณฑ์ ตาม กรอบแนวทาง “ท ำถูก ต้ อ ง (Do it Right)” ที ่ป ระธานกรรมการได้ใ ห้โ อวาทไว้ คณะกรรมการบริษัทได้กาหนด มำตรกำรต่ อต้ ำนกำรทุจริ ต คอร์ร ปั ชัน ของบริษัทฯ ขึ้น (ซึ่งมีการพิจารณาทบทวนเป็ นประจาทุกปี ) อัน ประกอบด้วย (1) นโยบายว่าด้วยการต่อต้านทุจริต คอร์รปั ชัน รวมถึงแนวทางและขัน้ ตอนปฏิบตั ิต่าง ๆ ซึง่ ครอบคลุมทัง้ กรณี การให้เงินสนับสนุ น การบริจาคเพื่อการกุศล การช่วยเหลือทาง การเมือง การให้ การรับ ของขวัญ ของกานัล และการใช้จ่าย การเลีย้ งรับรองทางธุรกิจ และค่าใช้จ่ายอื่นๆ (2) นโยบายว่าด้วยการแจ้งเบาะแสการกระทาผิดหรือข้อร้องเรียนและให้ความคุ้มครอง ผูแ้ จ้งเบาะแสหรือข้อร้องเรียน (3) คู่มือบริหารความเสี่ยงด้านการทุจริต ซึ่งจัดทาเป็ นฉบับเพิ่มเติมประกอบมาตรการ ต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมใน มาตรการต่ อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน (ฉบับสมบูรณ์ ) บน เว็บไซต์ของบริษทั ฯ ที่ www.btsgroup.co.th บริษัท ฯ กาหนดให้กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานของบริษทั ฯ ต้องปฏิบตั ติ ามมาตรการ ต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชันของบริษทั ฯ อย่างเคร่งครัด โดยไม่เข้าไปเกีย่ วข้องกับการทุจริต คอร์รปั ชันในทุกรูปแบบ ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม รวมทัง้ ไม่เพิกเฉยหรือละเลยต่อ การทุจริตที่เกี่ยวข้องกับบริษัทฯ ช่องทางการแจ้งเบาะแสหรือร้องเรียนการกระทาที่ไม่ถูกต้อง ปั จจุบนั บริษัทฯ กาหนดช่องทางในการแจ้งเหตุหรือเบาะแสสาหรับการกระทาทีอ่ าจทาให้ สงสัยได้ว่าเป็ นการทุจริตคอร์รปั ชันทีเ่ กีย่ วข้องกับบริษทั ฯ สาหรับบุคลากรและคู่คา้ ของบริษทั ฯ ไว้ 3 ช่องทางหลัก ดังนี้ (1) ผ่านช่องทาง “หนูด่วนชวนชีช้ ่อง” -

คลิกที่ Banner ในระบบ Intranet ซึง่ เป็ นระบบเครือข่ายภายในองค์กร หรือ อีเมล: DoItRight@btsgroup.co.th

-

“สายด่วน (Hotline) หนู ด่วนชวนชี้ช่อง” ซึ่งมีผู้เชี่ยวชาญอิสระภายนอกองค์กร เป็ นผูร้ บั เรื่องร้องเรียน ส่วนที่ 2 หน้า 57


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

(2) ผ่านผูบ้ งั คับบัญชา / ต้นสังกัดของพนักงานโดยตรง (3) ผ่านฝ่ ายทรัพยากรมนุษย์ ทัง้ นี้ ผู ้แ จ้ง เหตุห รือ เบาะแสไม่จาเป็ น ต้อ งเปิ ด เผยตัว ตน และเพื่อ คุ ้ม ครองสิท ธิข อง ผู้ร้องเรียนและผู้ให้ข้อมูล บริษัทฯ จะปกปิ ดชื่อ ที่อยู่ หรือข้อมูลใด ๆ ที่สามารถระบุตวั ผู้ร้อ งเรีย นหรือ ผู้ใ ห้ข้อ มูลได้ และเก็บ รัก ษาข้อ มูลของผู้ร้อ งเรีย นและผู้ใ ห้ขอ้ มูลไว้เป็ น ความลับ โดยจ ากัด เฉพาะผู ้ที่ม หี น้ า ที่ร บั ผิด ชอบในการดาเนิน การตรวจสอบเรื่อ ง ร้องเรียนเท่านัน้ ที่สามารถเข้าถึงข้อมูลดังกล่าวได้ การอบรมและสื่อสารนโยบายการต่ อต้านทุจริตคอร์รปั ชัน บริษัทฯ ให้ความสาคัญต่ อการสื่อสารและเผยแพร่มาตรการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน เพื่อสร้างความรู้และความเข้าใจแก่ ผูท้ ่เี กี่ยวข้อง ทัง้ ภายในและภายนอกองค์กร โดยใน ปี 2560/61 บริษัทฯ ได้มีการดาเนินการ ดังนี้ -

จัดอบรมหัวข้อ “การอบรมเพื่อสร้างความตระหนักเรื่องการทุจริตและนโยบายด้านการ ต่อต้านทุจริตและคอร์รปั ชันของบริษทั ฯ” ให้แก่ผบู้ ริหารและพนักงานของบริษทั ฯ เมื่อ วันที่ 27 ธันวาคม 2560

-

จัดอบรมให้ความรูเ้ รื่อง “นโยบายว่าด้วยการต่อต้านทุจริตคอร์รปั ชันและแนวทางปฏิบตั ิ ต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง” ในการปฐมนิเทศพนักงานใหม่ของบริษทั ฯ

-

จัดให้ผบู้ ริหารและพนักงานของบริษทั ฯ เข้าร่วมการอบรมและสัมมนาในหลักสูตรต่าง ๆ ซึง่ จัดโดยองค์กรภายนอก เพื่อนามาพัฒนาและปรับปรุงการบริหารความเสีย่ งและการ ต่อต้านทุจริตคอร์รปั ชันของบริษทั ฯ ให้มคี วามรัดกุมและมีประสิทธิภาพมากขึน้

-

เผยแพร่และสื่อสารกับบุคลากรของบริษัทฯ เพื่อสร้างความเข้าใจในการปฏิบตั ิตนที่ ถูกต้อง เกีย่ วกับการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชัน ผ่านระบบ Intranet แผ่นป้ าย และจอ ประชาสัมพันธ์ (Display Screen) ภายในบริษทั ฯ

-

แจ้งคู่คา้ ของบริษทั ฯ เป็ นลายลักษณ์อกั ษรถึงมาตรการและนโยบายต่อต้านทุจริตคอร์ รัปชัน รวมถึงช่องทางการแจ้งเบาะแสหรือร้องเรียนการกระทาทีไ่ ม่ถูกต้อง

-

เผยแพร่มาตรการต่อต้านการทุจริตคอร์รปั ชันและประเด็นที่เกีย่ วข้องบนเว็บไซต์ของ บริษทั ฯ เพื่อให้ผมู้ สี ว่ นได้เสียกลุ่มต่าง ๆ ได้รบั ทราบ

กำรไม่ล่วงละเมิ ด : กลุ่มบริษทั บีทเี อสกาหนดให้การไม่ล่วงละเมิดทรัพย์สนิ ทางปั ญญาหรือลิขสิทธิเป็ ์ นนโยบาย ส าคัญ ที่ก รรมการ ผู้บ ริห าร และพนั ก งานทุ ก คนต้ อ งปฏิบ ัติต ามอย่ า งเคร่ ง ครัด และ ทรัพย์สินทำง กาหนดให้มกี ารตรวจสอบเพื่อป้ องกันการละเมิดลิขสิทธิในซอฟต์ แวร์คอมพิวเตอร์ ์ ปัญญำหรือลิขสิ ทธิ์

ส่วนที่ 2 หน้า 58


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

กำรใช้เทคโนโลยี สำรสนเทศและ กำรสื่อสำร

แบบ 56-1 ปี 2560/61

: กลุ่มบริษทั บีทเี อสให้ความสาคัญกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร โดยกาหนด มาตรการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลข่าวสาร เพื่อป้ องกันและลดโอกาสทีข่ อ้ มูลสาคัญ หรือเป็ นความลับถูกเผยแพร่ออกไปภายนอกโดยเจตนาหรือโดยความประมาท โดยกาหนด แนวปฏิบตั ดิ า้ นการดูแลการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร ซึง่ อ้างอิงจากมาตรฐาน ทีเ่ ป็ นทีย่ อมรับระดับนานาชาติ ได้แก่ มาตรฐาน ISO 12207 ซึ่งได้จดั ทาและเผยแพร่โดย Institute of Electrical and Electronics Engineers (IEEE), Control Objectives for Information and Related Technology (COBIT) ซึง่ เผยแพร่โดย IT Governance Institute นอกจากนี้ กลุ่มบริษทั บีทเี อสยังกาหนดให้หน่วยงานเทคโนโลยีและสารสนเทศจัดเก็บข้อมูล การใช้งานของพนักงานตามทีก่ ฎหมายและประกาศของหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องกาหนดไว้

โปรดพิจารณารายละเอียดเพิม่ เติมใน นโยบายการกากับดูแลกิจการและจริยธรรมทางธุรกิจ บนเว็บไซต์ของ บริษทั ฯ ที่ www.btsgroup.co.th  กำรแจ้งเรือ่ งร้องเรียน บริษทั ฯ จัดให้มชี ่องทางทีผ่ มู้ สี ่วนได้เสียทุกกลุ่มสามารถติดต่อหรือร้องเรียนในเรื่องต่าง ๆ กับคณะกรรมการ บริษทั ได้โดยตรงผ่านสานักเลขานุการบริษทั สานักเลขานุการบริษทั

:

โทรศัพท์: +66 (0) 2273 8611-5 ต่อ 1525, 1531 โทรสาร: +66 (0) 2273 8610 อีเมล: CompanySecretary@btsgroup.co.th หรือทางไปรษณียไ์ ปยังสานักเลขานุการบริษทั ตามทีอ่ ยู่ของบริษทั ฯ

หรือติดต่อหรือร้องเรียนในเรื่องต่าง ๆ กับคณะกรรมการตรวจสอบได้โดยตรงผ่านสานักตรวจสอบภายใน สานักตรวจสอบภายใน

:

โทรศัพท์: +66 (0) 2273 8611-5 ต่อ 1553 โทรสาร: +66 (0) 2273 8616 อีเมล: InternalAudit@btsgroup.co.th หรือทางไปรษณียไ์ ปยังสานักตรวจสอบภายในตามทีอ่ ยู่ของบริษทั ฯ

นอกจากนี้ บริษทั ฯ ดาเนินโครงการ “สายด่วน (Hotline) หนูด่วนชวนชีช้ ่อง” เพื่อเป็ นหนึ่งในช่องทางการรับ เรื่องร้องเรียนทีเ่ กีย่ วกับการฝ่ าฝืนหรือการกระทาทีอ่ าจเป็ นการฝ่ าฝืนนโยบายและแนวปฏิบตั ใิ นจริยธรรมทางธุรกิจของ บริษทั ฯ ซึง่ เป็ นช่องทางทีผ่ เู้ ชีย่ วชาญอิสระภายนอกองค์กรเป็ นผูร้ บั เรื่องร้องเรียน โครงการหนูดว่ นชวนชีช้ ่อง

9.1.4

:

โทรศัพท์: 1 800 292 777 หรือ +66 (0) 2677 2800 อีเมล: tell@thailand-ethicsline.com ไปรษณีย:์ ตู้ ป.ณ. 2712 ไปรษณียบ์ างรัก กรุงเทพฯ 10500

กำรเปิ ดเผยข้อมูลและควำมโปร่งใส (Disclosure and Transparency)

บริษทั ฯ เปิ ดเผยข้อมูลสารสนเทศให้แก่ผถู้ อื หุน้ และผูม้ สี ่วนได้เสียทุกกลุ่มอย่างสม่าเสมอ โดยข้อมูลทีเ่ ปิ ดเผย จะต้องมีสาระสาคัญที่ถูกต้อง ครบถ้วน และทันเวลา ทัง้ ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ซึ่งสอดคล้องกับกฎหมายและ ส่วนที่ 2 หน้า 59


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

กฎระเบียบทีเ่ กีย่ วข้อง ตลอดจนหลักการกากับดูแลกิจการทีด่ ี ผ่านการเปิ ดเผยข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อแสดงถึงความ โปร่งใสในการดาเนินธุรกิจของกลุ่มบริษทั  กำรรำยงำนทำงกำรเงิ นและไม่ใช่ทำงกำรเงิ น คณะกรรมการบริษทั มีหน้าทีใ่ นการเปิ ดเผยสารสนเทศทัง้ ทีเ่ ป็ นสารสนเทศทางการเงิน และไม่ใช่ทางการเงิน อย่างครบถ้วน เพียงพอ เชื่อถือได้ และทันเวลา เพื่อให้ผถู้ อื หุน้ และผูม้ สี ่วนได้เสียของบริษทั ฯ ได้รบั สารสนเทศอย่าง เท่าเทียมกัน รวมทัง้ จัดทาและปรับปรุงข้อมูลบนเว็บไซต์ของบริษัทฯ ให้มคี วามครบถ้วนและทัน ต่อเหตุการณ์ โดย สารสนเทศของบริษัทฯ จะต้องจัดทาขึน้ อย่างรอบคอบ มีความชัดเจน ถูกต้อง และโปร่งใส ด้วยภาษาที่กระชับและ เข้าใจง่าย  ฝ่ ำยนักลงทุนสัมพันธ์ กลุ่ม บริษ ทั บีท เี อส ให้ค วามสาคัญ กับ ฝ่ ายนัก ลงทุน สัม พัน ธ์เ ป็ น อย่า งมาก โดยหน้า ทีข่ องฝ่ ายนัก ลงทุน สัมพันธ์คอื การสร้างและคงไว้ซ่งึ การสื่อสารที่ถูกต้อง ครบถ้วน และทันต่อเวลากับผู้ถือหุ้นและผู้ท่สี นใจจะลงทุนใน บริษ ัท ฯ ในรูป แบบต่า ง ๆ ไม่ว่า จะเป็ น คาอธิบายและการวิเ คราะห์ผลการดาเนิน งาน (MD&A) วารสารนัก ลงทุน สัมพันธ์ (IR Newsletter) รายไตรมาส รวมทัง้ เอกสารนาเสนอของบริษัทฯ (Presentation) โดยมีการนาเสนอผ่าน ทางเว็บไซต์ของตลาดหลักทรัพย์ เว็บไซต์ของบริษทั ฯ การส่งอีเมล์ อตั โนมัติ และกิจกรรม Roadshow ทัง้ นี้ ฝ่ ายนัก ลงทุ น สัม พัน ธ์ มีแ ผนการด าเนิ น งานระยะ 1 ปี และ 3 ปี โดยมี ก ารจัด เตรี ย มและน าเสนอข้อ มู ล ให้ แ ก่ ค ณะ กรรมการบริหารหรือคณะกรรมการบริษทั อย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ ยังมีการจัดทาดัชนีชว้ี ดั ผลการดาเนินงานของฝ่ าย นักลงทุนสัมพันธ์ เพื่อให้วตั ถุประสงค์ในการดาเนินงานเป็ นไปในแนวทางเดียวกับจุดมุ่งหมายของบริษทั ฯ เช่น จานวน ครัง้ ของการประชุม จานวนครัง้ ของกิจกรรม Roadshow ทีเ่ ข้าร่วม ปริมาณคนเข้า-ออกและเยีย่ มชมเว็บไซต์ (Website Traffic) และคุณภาพและการทันต่อเวลาในการให้บริการแก่นักลงทุนและผูถ้ อื หุน้ โดยบริษทั ฯ จะพิจารณาจากเวลาใน การส่งข้อมูลและการตอบคาถามแก่นกั ลงทุนและผูถ้ อื หุน้ รวมถึงจากการรวบรวมผลจากแบบสอบถามต่าง ๆ เนื่องจากนักลงทุนสัมพันธ์มหี น้าทีห่ ลักในการติดต่อสือ่ สารและประชาสัมพันธ์กบั ฝ่ ายต่าง ๆ ตลอดจนเปิ ดเผย ข้อมูลเกีย่ วกับกิจการและผลการดาเนินงานของกลุ่มบริษทั คณะกรรมการบริษทั จึงได้จดั ให้มจี รรยาบรรณของนักลงทุน สัมพันธ์ขน้ึ เพื่อเป็ นแนวทางในการปฏิบตั งิ านและช่วยส่งเสริมให้การดาเนินงานของนักลงทุนสัมพันธ์ของกลุ่มบริษทั ตัง้ อยู่บนหลักจริยธรรมและเป็ นไปตามหลักการกากับดูแลกิจการทีด่ ี โดยเน้นให้มกี ารเปิ ดเผยข้อมูลและการปฏิบตั ติ าม กฎหมายและกฎเกณฑ์ทเ่ี กี่ยวข้องอย่างเคร่งครัด และยึดถือผลประโยชน์ของผูถ้ ือหุน้ และผู้มสี ่วนได้เสียทุกฝ่ ายเป็ น สาคัญ ทัง้ นี้ นอกเหนือจากการปฏิบตั ิตามนโยบายการกากับดูแลกิจการและจริยธรรมทางธุรกิจของบริษัทฯ แล้ว นักลงทุนสัมพันธ์ กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานทุกคนทีเ่ กีย่ วข้องกับงานนักลงทุนสัมพันธ์ของกลุ่มบริษทั ยังต้อง ปฏิบตั ติ ามจรรยาบรรณของนักลงทุนสัมพันธ์อย่างเคร่งครัด ซึง่ มีหลักปฏิบตั ดิ งั ต่อไปนี้ 1.

ปฏิบตั หิ น้าทีน่ กั ลงทุนสัมพันธ์ดว้ ยความรูค้ วามสามารถอย่างเต็มที่ มีความรับผิดชอบ และมีความเป็ น มืออาชีพ ตลอดจนมีความซื่อสัตย์สุจริตในวิชาชีพ และดารงตนอยู่บนพืน้ ฐานของหลักความถูกต้อง และความเท่าเทียมกันโดยไม่มกี ารเลือกปฏิบตั ิ หรือเอือ้ ประโยชน์ต่อบุคคลใดบุคคลหนึ่ง

ส่วนที่ 2 หน้า 60


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

2.

ปฏิบตั ติ ามกฎหมาย ประกาศ กฎระเบียบ และแนวปฏิบตั ติ ่าง ๆ ของหน่ วยงานกากับดูแลทีเ่ กีย่ วข้อง อาทิเช่น สานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย รวมถึงข้อบังคับและนโยบายของกลุ่มบริษทั อย่างเคร่งครัด

3.

เปิ ดเผยข้อมูลทีส่ าคัญและจาเป็ นต่อการตัดสินใจลงทุนอย่างถูกต้อง ชัดเจน แม่นยา ครบถ้วน ทันเวลา และเป็ นธรรม โดยใช้ความระมัดระวังอย่างยิง่ เพื่อหลีกเลี่ยงความเข้าใจผิดหรือการตีความผิด และ ปฏิเสธการเปิ ดเผยข้อมูลซึ่งเป็ นความลับทางการค้าหรือข้อมูลลับที่อาจทาให้กลุ่มบริษัทเสียเปรียบ หรือสูญเสียความสามารถในการแข่งขัน

4.

เปิ ดโอกาสให้บุคคลทีเ่ กีย่ วข้องทุกกลุ่มสามารถเข้าถึงและสอบถามข้อมูลได้

5.

รัก ษาความลับ ไม่ เ ปิ ด เผย และไม่ ใ ช้ข้อ มูลภายในใด ๆ ของกลุ่ ม บริษัท ซึ่ง ยัง ไม่ ไ ด้เ ปิ ด เผยต่ อ สาธารณชน เพื่อแสวงหาผลประโยชน์แก่ตนเอง และ/หรือ บุคคลอื่นโดยมิชอบ

6.

ตอบคาถามและข้อสงสัยของผู้ถือหุ้น นักลงทุน นักวิเคราะห์ และผู้มีส่วนได้เสียทุกฝ่ าย ได้อย่าง รวดเร็วและทันท่วงที

7.

งดเว้นการจัดประชุมหรือชีแ้ จงข้อมูลให้กบั นักลงทุนและนักวิเคราะห์ภายในระยะเวลา 15 วัน ก่อนวัน ประกาศผลการดาเนินงานรายไตรมาสของกลุ่มบริษทั

8.

งดเว้ น การซื้อ ขายหลัก ทรัพ ย์ ข องบริษั ท ฯ ในช่ ว งเวลาห้ า มการซื้อ ขายหลัก ทรัพ ย์ (Blackout Period) ตามนโยบายป้ องกันการใช้ขอ้ มูลภายในของบริษทั ฯ

9.

ในกรณีรบั ทราบการฝ่ าฝื นหลักปฏิบตั ขิ อ้ ใดข้อหนึ่งของจรรยาบรรณนักลงทุนสัมพันธ์ ให้รายงานการ ฝ่ าฝื น และผลกระทบที่เ กิด ขึ้น โดยไม่ชกั ช้า ต่ อหัวหน้ า ฝ่ ายนักลงทุ นสัม พัน ธ์ และ/หรือ กรรมการ ผูอ้ านวยการใหญ่ และ/หรือ คณะกรรมการบริหารของบริษทั ฯ (แล้วแต่กรณี)

บริษัทฯ ให้ความสาคัญกับการติดต่อสื่อสารและจัดกิจกรรมให้กบั ผู้ถอื หุน้ และผู้ท่สี นใจจะลงทุนในบริษทั ฯ รวมทัง้ นักวิเคราะห์จากบริษทั หลักทรัพย์ต่างๆ อย่างต่อเนื่อง โดยในปี 2560/61 บริษทั ฯ ได้พบบริษทั จัดการกองทุน (buy-side) ทัง้ ในประเทศ และต่างประเทศทัง้ หมด 157 ครัง้ โดยแบ่งเป็ นการพบบริษัทจัดการกองทุนในประเทศ 54 ครัง้ (เทียบกับ 38 ครัง้ ในปี 2559/60) และบริษทั จัดการกองทุนต่างประเทศทัง้ หมด 103 ครัง้ (เทียบกับ 181 ครัง้ ในปี 2559/60) และบริษทั ฯ จัดการประชุมเฉพาะแก่บริษทั หลักทรัพย์ (one-on-one meeting) ทัง้ หมด 115 ครัง้ (เทียบกับ 102 ครัง้ ในปี 2559/60) โดยมีผบู้ ริหารระดับสูงเข้าร่วมประชุมทุกครัง้ คิดเป็ นร้อยละ 100 (เทียบกับร้อยละ 100 ในปี 2559/60) นอกจากนัน้ บริษัทฯ มีก ารเดิน ทางไปให้ข้อ มูลแก่ นัก ลงทุ น ในงาน Conferences/Non-deal Roadshows ทัง้ หมด 16 ครัง้ แบ่งเป็ นการร่วมงานในต่างประเทศ 7 ครัง้ (เทียบกับ 9 ครัง้ ในปี 2559/60) และในประเทศ 9 ครัง้ (เทียบกับ 13 ครัง้ ในปี 2559/60) ในปี 2560/61 นี้ บริษัทฯ จัดกิจกรรมต่ างๆ ให้แก่นักลงทุนและนักวิเคราะห์ ซึ่งรวมถึงการจัดงานประชุม ชีแ้ จงผลประกอบการประจาไตรมาสแก่นกั วิเคราะห์ ทัง้ หมด 4 ครัง้ (เทียบกับ 4 ครัง้ ในปี 2559/60) นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังเข้าร่วมกิจกรรม SET Opportunity Day ที่จดั ขึน้ โดยตลาดหลักทรัพย์ 2 ครัง้ (เทียบกับ 2 ครัง้ ในปี 2559/60) เพื่อ เข้าถึงนักลงทุนรายย่อยมากขึน้ ส่วนที่ 2 หน้า 61


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

บริษัทฯ ได้จดั งานประชุม ชี้แจงผลประกอบการประจาไตรมาสแก่นักวิเคราะห์อย่างต่อเนื่อง โดยได้จดั ขึน้ ภายใน 3 วันทาการหลังจากประกาศงบการเงิน ซึ่งข้อมูลเอกสารและวีดีโอบันทึกการประชุม (Webcast) ของการ ประชุมชีแ้ จงผลประกอบการประจาไตรมาสสามารถดูได้ผ่านทางเว็บไซต์ของบริษทั ฯ และเว็บไซต์ของตลาดหลักทรัพย์ ภายใน 24 ชัวโมงนั ่ บจากการประชุม สาหรับปี 2561/62 บริษทั ฯ คาดว่าจะมีการเพิม่ การติดต่อสื่อสารและกิจกรรมใน ทุก ๆ ด้านมากขึน้ เช่น บริษทั ฯ ยังคงมีความตัง้ ใจจะร่วมกิจกรรม SET Opportunity Day อย่างน้อย 2 ครัง้ และมีการ จัดให้มกี ารเข้าเยีย่ มชมกิจการอย่างต่อเนื่อง เว็บไซต์ของบริษทั ฯ นับเป็ นอีกช่องทางหนึ่งในการสื่อสารหลักกับนักลงทุน โดยเว็บไซต์ถอื เป็ นแหล่งข้อมูลที่ สาคัญ และถูกออกแบบโดยใช้หลักการกากับดูแลกิจการทีด่ เี ป็ นหลัก เนื้อหาในเว็บไซต์ประกอบด้วยราคาหลักทรัพย์ ล่าสุด สิง่ ตีพมิ พ์ให้ดาวน์โหลด (ประกอบด้วยรายงานประจาปี แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี (แบบ 56-1) งบการเงิน คาอธิบายและการวิเคราะห์ผลการดาเนินงาน เอกสารนาเสนอของบริษั ทฯ และวารสารนักลงทุนสัมพันธ์ เป็ นต้น) ปฏิทนิ หลักทรัพย์และวีดโี อ (Webcast) จากการประชุมนักวิเคราะห์และบริการส่งอีเมล์อตั โนมัตเิ มื่อมีขา่ วสารหรือการ เพิม่ เติมข้อมูลในเว็บไซต์ โดยในปี 2560/61 มีจานวนผูเ้ ข้ามาเยีย่ มชมเว็บไซต์รายใหม่ จานวน 51,395 ราย เพิม่ ขึน้ จากปี ก่อนร้อยละ 15.4 ในเดือนพฤศจิกายน 2560 บริษัทฯ ได้รบั รางวัล ‘Titanium Award of The Asset Corporate Award 2560’ จาก The Asset Magazine ผูน้ าด้านนิตยสารรายเดือนสาหรับผูอ้ อกหลักทรัพย์และนักลงทุนซึง่ ปี น้เี ป็ นปี ท่ี 4 ทีบ่ ริษทั ฯ ได้รบั รางวัลนี้ ซึ่งรางวัลนี้จะประเมินจากผลการดาเนินงานทางการเงินของบริษัท การบริหารจัดการ การกากับดูแล กิจการ ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิง่ แวดล้อมและนัก ลุงทุนสัมพันธ์ โดยเกณฑ์ในการคัดเลือกผูร้ บั รางวัลพิจารณา จากการตอบแบบสารวจโดยบริษัทฯ และจากการสัมภาษณ์โดยตรงกับนักลงทุน นอกจากนี้ ในเดือนมีนาคม 2561 บริษัท ฯ ยัง ได้ร ับรางวัล สุดยอดองค์ก รธุร กิจไทย ประจ าปี 2561 (Thailand Top Company Awards 2018) ในกลุ่ม ประเภทอุตสาหกรรมขนส่งและโลจิสติกส์ ซึง่ บริษทั ฯ เป็ นหนึ่งในบริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ทงั ้ สิน้ 25 บริษทั ทีไ่ ด้รบั รางวัลนี้ โดยรางวัลนี้สะท้อนให้เห็นถึงศักยภาพการดาเนินธุรกิจ การยึดมันในหลั ่ กธรรมาธิบาล ความรับผิดชอบ ต่อสังคม รวมถึงการปรับกลยุทธ์ขององค์กรเพื่อเพิม่ ขีดความสามารถในการดาเนินธุรกิจในโลกยุคดิจทิ ลั ณ วันที่ 14 พฤษภาคม 2561 มีนักวิเคราะห์จากบริษทั หลักทรัพย์จดั ทาบทวิเคราะห์บริษทั ฯ จานวนทัง้ หมด 19 บริษทั (เทียบกับ 20 บริษทั ในปี 2559/60) โดยเป็ นการเก็บข้อมูลในช่วงเดือนเมษายน 2560 ถึงเดือนพฤษภาคม 2561 ได้แก่ บริษัท หลักทรัพย์บวั หลวง จากัด (มหาชน) บริษัทหลักทรัพย์ บีเอ็นพี พาริบาส (ประเทศไทย) บริษัท หลัก ทรัพ ย์ ซีจีเ อส-ซีไ อเอ็ม บี (ประเทศไทย) จ ากัด บริษัท หลัก ทรัพ ย์เ ครดิต สวิส (ประเทศไทย) จ ากัด บริษัท หลักทรัพย์ ดีบเี อส วิคเคอร์ส (ประเทศไทย) จากัด บริษัทหลักทรัพย์ทป่ี รึกษาการลงทุน ดอยซ์ ทิสโก้ จากัด บริษทั หลักทรัพย์ ฟิ นันเซีย ไซรัส จากัด (มหาชน) บริษทั หลักทรัพย์ ไอ วี โกลบอล จากัด (มหาชน) บริษทั หลักทรัพย์ เจพี มอร์แกน (ประเทศไทย) จากัด บริษทั หลักทรัพย์ กสิกรไทย บริษทั หลักทรัพย์ เคจีไอ (ประเทศไทย) บริษทั หลักทรัพย์ เคที ซีมโิ ก้ จากัด บริษัทหลักทรัพย์ แมคควอรี (ประเทศไทย) จากัด บริษัท หลักทรัพย์ เมย์แบงก์ กิมเอ็ง (ประเทศ ไทย) จากัด (มหาชน) บริษทั หลักทรัพย์ ภัทร จากัด (มหาชน) บริษทั หลักทรัพย์ ฟิ ลลิป (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) บริษทั หลักทรัพย์ อาร์เอชบีโอเอสเค (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) บริษทั หลักทรัพย์ ไทยพาณิชย์ จากัด และ บริษทั หลักทรัพย์ ยูโอบี เคย์เฮียน (ประเทศไทย) จากัด (มหาชน) เขียนบทวิเคราะห์บริษทั ฯ ในปี 2559/60 และยังคงเขียนถึง บริษทั ฯ ในปี 2560/61 นอกจากนี้ ยังมีบทวิเคราะห์จาก 2 บริษทั หลักทรัพย์ ได้แก่ บริษทั หลักทรัพย์ ทรีนีต้ี จากัด และ บริษัท เอเซีย พลัส กรุ๊ป โฮลดิ้งส์ จากัด (มหาชน) คงใช้บทวิเคราะห์เดิมที่ออกมาตัง้ แต่เดือนกุมภาพันธ์ 2560 ซึ่ง บริษทั ฯ ไม่รวมรายงานของ 2 บริษทั หลักทรัพย์ดงั กล่าว ในการคานวณราคาหลักทรัพย์เฉลีย่ ส่วนที่ 2 หน้า 62


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

โดย ณ วันที่ 14 พฤษภาคม มี 16 บริษทั หลักทรัพย์จาก 19 บริษทั หลักทรัพย์ให้ความเห็นต่อตัวบริษทั ฯ ว่า ควรซือ้ /หรือดีกว่าทีค่ าดการณ์ 1 บริษทั หลักทรัพย์ให้ความเห็นต่อตัวบริษทั ฯ ว่าควรถือ/หรือเป็ นกลาง และ 1 บริษทั หลักทรัพย์ให้ความเห็นต่อตัวบริษทั ฯ ว่า ควรขาย โดยมีราคาเป้ าหมายเฉลีย่ อยู่ท่ี 10.16 บาทต่อหุน้ ทัง้ นี้ ผู้ถือหุ้นและผู้ท่สี นใจจะลงทุนในบริษัทฯ หรือมีข้อสงสัยและต้องการสอบถาม สามารถติดต่ อมายัง ฝ่ ายนักลงทุนสัมพันธ์ หัวหน้าฝ่ ายนักลงทุนสัมพันธ์

: ดาเนียล รอสส์ (ผู้อานวยการใหญ่ สายการลงทุน / หัวหน้ าฝ่ ายนักลงทุน สัมพันธ์ / หัวหน้าฝ่ ายพัฒนาธุรกิจ)

เจ้าหน้าทีฝ่ ่ ายนักลงทุนสัมพันธ์

: สิณฏั ฐา เกีย่ วข้อง, ดาเนียล คาสเนอร์, นพสร หวัง และศาตพร วงศ์ไพบูลย์

หมายเลขโทรศัพท์

: +66 (0) 2273 8637, +66 (0) 2273 8623, +66 (0) 2273 8611-14 ต่อ 1539 และ 1540

อีเมลล์

: ir@btsgroup.co.th

เว็บไซต์

: http://www.btsgroup.co.th

 กำรเปิ ดเผยสำรสนเทศที่สำคัญต่อสำธำรณชน บริษทั ฯ มีนโยบายเปิ ดเผยสารสนเทศทีส่ าคัญต่อสาธารณชน อาทิเช่น วัตถุประสงค์ของบริษทั ฯ ฐานะการเงิน และผลการดาเนินงานของบริษทั ฯ โครงสร้างองค์กร โครงสร้างกลุ่มธุรกิจและการถือหุน้ ของกลุ่มบริษทั บีทเี อส รายชื่อ ประวัติ และข้อมูลการถือหุน้ ของคณะกรรมการบริษทั และผูบ้ ริหาร ปั จจัยและนโยบายเกีย่ วกับการจัดการความเสีย่ งที่ สามารถคาดการณ์ได้ทงั ้ ที่เกี่ยวกับการดาเนินงานและการเงิน นโยบายการกากับดูแลกิจการและจริยธรรมทางธุรกิจ หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทและคณะกรรมการชุดย่อย ความรับผิดชอบของคณะกรรมการ บริษทั ในการรายงานทางการเงิน และรายงานของคณะกรรมการชุดย่อย การเข้าร่วมประชุมของกรรมการและกรรมการ ชุดย่อย หลักเกณฑ์การจ่ายค่าตอบแทนคณะกรรมการบริษทั และผูบ้ ริห ารระดับสูง รวมทัง้ ค่าตอบแทนกรรมการเป็ น รายบุคคล ข้อมูลทีม่ ผี ลกระทบต่อราคาซือ้ ขายหลักทรัพย์ของบริษทั ฯ หรือต่อการตัดสินใจลงทุน หรือต่อสิทธิประโยชน์ ของผู้ถือหุ้นตามประกาศของตลาดหลักทรัพย์และกฎหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนการเปิ ดเผยข้อบังคับบริษทั รายงานการประชุมผู้ถือหุ้น แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี (แบบ 56-1) รายงานประจาปี รายงานความยังยื ่ น (Sustainability Report) ตามกรอบแนวทางด้านการพัฒนาอย่างยังยื ่ นของ Global Reporting Initiative (GRI) นโยบาย การบริหารความเสีย่ งองค์กร และมาตรการต่อต้านการทุจริต คอร์รปั ชันของบริษทั ฯ เพื่อให้นักลงทุนและผูท้ เ่ี กีย่ วข้อง ทัง้ ที่เป็ นผู้ถือหุ้นและผู้ท่สี นใจจะถือหุ้นในอนาคตได้ใช้ประกอบการตัดสินใจลงทุนผ่านช่องทางและสื่อการเผยแพร่ ข้อมูลต่าง ๆ ของตลาดหลักทรัพย์ ตลอดจนผ่านเว็บไซต์ของบริษทั ฯ 9.1.5

ควำมรับผิดชอบของคณะกรรมกำร (Board Responsibilities)

หน้าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษทั รวมถึงการกาหนดนโยบาย วิสยั ทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม กลยุ ท ธ์ และเป้ า หมายการดาเนิ น งานของบริษัท ฯ การก ากับ ดูแ ล และการประเมิน ผลการบริห ารจัด การ โดยมี จุดประสงค์เพื่อเพิ่มมูลค่าให้แก่ผู้ถือหุ้นในระยะยาว ซึ่งการที่จะประสบความสาเร็จในการเพิม่ มูลค่าให้ผู้ถือหุ้นได้

ส่วนที่ 2 หน้า 63


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

คณะกรรมการบริษทั ต้องมันใจว่ ่ ามีการปฏิบตั หิ น้าทีภ่ ายใต้กฎหมาย วัตถุประสงค์ และข้อบังคับบริษทั รวมถึงยังต้อง ตระหนักถึงการกากับดูแลกิจการ ความขัดแย้งทางผลประโยชน์ จริยธรรมและจรรยาบรรณทางธุรกิจ คณะกรรมการบริษทั มีความมุ่งมันให้ ่ บริษทั ฯ เป็ นองค์กรชัน้ นาทีไ่ ด้รบั การยอมรับในระดับสากลว่าเป็ นบริษทั ทีป่ ระสบความสาเร็จมากทีส่ ุดแห่งหนึ่งในประเทศไทย โดยดาเนินธุรกิจทีม่ คี วามหลากหลาย ด้วยการบริหารจัดการที่ แข็งแกร่งและบุคลากรทีม่ คี วามรูค้ วามสามารถ ทัง้ นี้ คณะกรรมการบริษทั มีภาวะผูน้ า วิสยั ทัศน์ มีความเป็ นอิสระใน การตั ด สิน ใจ และรับ ผิ ด ชอบตามหน้ า ที่ ใ นการก ากับ ดู แ ลกิจ การให้ เ กิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด ต่ อ ผู้ ถื อ หุ้ น โดยรวม คณะกรรมการบริษทั มีหน้าทีแ่ ละความรับผิดชอบต่อผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ ในการกากับดูแลการบริหารจัดการของฝ่ าย บริหาร โดยมีการแบ่งแยกหน้าทีร่ ะหว่างคณะกรรมการบริษทั และฝ่ ายบริหารไว้อย่างชัดเจน ทัง้ นี้ ในปี 2560/61 ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครัง้ ที่ 3/2561 เมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2561 ได้มมี ติอนุ มตั ิ กลยุทธ์ แผนธุรกิจ และงบประมาณประจาปี ข องบริษัทฯ โดยได้ทบทวนวิสยั ทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม กลยุทธ์ และ เป้ าหมายระยะยาวในรอบปี บญ ั ชีทผ่ี ่านมาของ 4 ธุรกิจหลักของบริษทั ฯ อันได้แก่ ธุรกิจระบบขนส่งมวลชน ธุรกิจสื่อ โฆษณา ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ และธุรกิจบริการ รวมถึงเปรียบเทียบผลการดาเนินงานในรอบปี บญ ั ชีท่ผี ่านมากับ เป้ าหมายที่วางไว้ เพื่อกาหนดกลยุทธ์ แผนธุรกิจ และงบประมาณประจาปี ของบริษัทฯ สาหรับ รอบปี บญ ั ชีถัดไป นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษทั ได้ให้ความสาคัญในการติดตามดูแลให้มกี ารนากลยุทธ์ และแผนธุรกิจของบริษทั ฯ ไป ปฏิบตั ิ โดยคานึงถึงประโยชน์สงู สุดของบริษทั ฯ และผูถ้ อื หุน้ เป็ นสาคัญ  องค์ประกอบคณะกรรมกำรบริษทั และคณะกรรมกำรชุดย่อย คณะกรรมการบริษทั จะต้องประกอบด้วยกรรมการในจานวนทีเ่ หมาะสมกับขนาดและกลยุทธ์ในการดาเนิน ธุรกิจของบริษทั ฯ แต่ตอ้ งไม่น้อยกว่า 5 ท่าน และเป็ นกรรมการอิสระอย่างน้อย 1/3 ของจานวนกรรมการทัง้ หมด แต่ไม่ น้อยกว่า 3 ท่าน โดยคณะกรรมการบริษทั ได้จดั ตัง้ คณะกรรมการชุดย่อยต่าง ๆ เพื่อกากับดูแลและติดตามการดาเนิน กิจการต่าง ๆ ของบริษทั ฯ ตามหลักการกากับดูแลกิจการทีด่ ี ได้แก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและ กาหนดค่าตอบแทน คณะกรรมการบรรษัทภิบาล และคณะกรรมการบริหาร ทัง้ นี้ คณะกรรมการตรวจสอบจะต้อง ประกอบด้วยกรรมการอิสระทัง้ หมดและมีจานวนไม่น้อยกว่า 3 ท่าน โดยมีกรรมการตรวจสอบอย่างน้อย 1 ท่าน ทีม่ ี ความรูแ้ ละประสบการณ์เพื่อทาหน้าทีใ่ นการสอบทานความน่ าเชื่อถือของงบการเงิน คณะกรรมการสรรหาและกาหนด ค่าตอบแทนจะต้องประกอบด้วยกรรมการไม่น้อยกว่า 3 ท่าน แต่ไม่เกิน 5 ท่าน และเป็ นกรรมการอิสระเป็ นส่วนใหญ่ คณะกรรมการบรรษัทภิบาลจะต้องประกอบด้วยกรรมการไม่น้อยกว่า 4 ท่าน แต่ไม่เกิน 6 ท่าน และคณะกรรมการ บริหารจะต้องประกอบด้วยสมาชิกจานวนไม่น้อยกว่า 5 ท่าน โดยสมาชิกคณะกรรมการบริหารไม่จาเป็ นต้องเป็ นผูด้ ารง ตาแหน่ งกรรมการบริษัท นอกจากนี้ คณะกรรมการบริษัท ได้จ ัดตัง้ คณะกรรมการที่ปรึกษา (Advisory Board) ใน โครงสร้างองค์กร ซึง่ มีบทบาทในการให้คาปรึกษาและคาแนะนาทีเ่ ป็ นประโยชน์ในเรื่องที่เกีย่ วกับกิจการของบริษัทฯ และบริษทั ย่อย 

กำรแบ่งแยกอำนำจ หน้ ำที่ และควำมรับผิดชอบระหว่ำงคณะกรรมกำรบริษทั และฝ่ ำยบริหำร

บริษัทฯ มีโครงสร้างการจัดการที่แบ่งแยกอานาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบระหว่างคณะกรรมการบริษทั และฝ่ ายบริหารอย่างชัดเจน โดยคณะกรรมการบริษทั ในฐานะผูก้ ากับดูแลเชิงนโยบาย มีหน้าทีใ่ นการกาหนด วิสยั ทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม กลยุทธ์ และเป้ าหมายระยะยาวของบริษทั ฯ ตลอดจนควบคุมดูแล ติดตาม และประเมินผลการปฏิบตั ิ หน้ า ที่ข องฝ่ ายบริห าร โดยฝ่ ายบริห ารในฐานะผู้บ ริห ารงาน มีห น้ า ที่ใ นการปฏิบ ัติง านประจ าให้เ ป็ น ไปอย่ า งมี ส่วนที่ 2 หน้า 64


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ประสิทธิภาพ บรรลุผล และเป็ นไปตามนโยบาย วิสยั ทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม กลยุทธ์ และเป้ าหมายทีก่ าหนดไว้ รวมถึง รายงานผลการปฏิบตั งิ านต่อคณะกรรมการบริษทั อย่างสม่าเสมอ นอกจากนี้ เพื่อส่งเสริมการปฏิบตั หิ น้าทีข่ องคณะกรรมการบริษทั ตลอดจนเพิม่ ประสิทธิภาพของระบบการ บริหารจัดการ และก่อให้เกิดการถ่วงดุลอานาจระหว่างคณะกรรมการและฝ่ ายบริหารตามหลักการกากับดูแลกิจการที่ดี เพื่อประโยชน์สูงสุดแก่บริษัทฯ และผู้ถือหุ้นเป็ นสาคัญ ให้คณะกรรมการบริษัทแต่งตัง้ กรรมการอิสระ 1 ท่าน ดารง ตาแหน่งประธานกรรมการอิสระ โดยมีบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบ ดังต่อไปนี้ (1)

เป็ นตัวแทนของกรรมการอิสระในการหารือกับประธานกรรมการและฝ่ ายบริหาร ในเรื่องทีเ่ กีย่ วข้อง และมีความสาคัญต่อการดาเนินงานของบริษัทฯ รวมถึงเป็ นผู้ประสานการติดต่อระหว่างกรรมการ อิสระกับประธานกรรมการและฝ่ ายบริหาร

(2)

พิจารณากาหนดวาระการประชุมประจาปี ของคณะกรรมการบริษทั ล่วงหน้าร่วมกับประธานกรรมการ และกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่

(3)

เป็ นผูป้ ระสานการติดต่อระหว่างผูถ้ อื หุน้ กับคณะกรรมการบริษทั

(4)

ทาหน้าทีเ่ ป็ นประธานในการประชุมกรรมการทีไ่ ม่เป็ นผูบ้ ริหาร

 กำรประชุมของคณะกรรมกำรบริษทั และคณะกรรมกำรชุดย่อย คณะกรรมการบริษัทมีกาหนดการประชุมมากกว่า 6 ครัง้ ในหนึ่งปี บญ ั ชีตามตารางการประชุมที่กาหนดไว้ ล่วงหน้าทัง้ ปี นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังส่งเสริมและสนับสนุ นให้กรรมการแต่ละท่านเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการบริษทั อย่างน้อยร้อยละ 75 ของการประชุมคณะกรรมการทัง้ หมดในรอบปี บญ ั ชี เว้นแต่ในกรณีมเี หตุอนั จาเป็ นหรือสมควรซึง่ ทาให้ไม่สามารถเข้าร่วมประชุมได้ โดยบริษัทฯ ส่งเสริมให้มกี ารจัดส่ง เอกสารประกอบการประชุมให้แก่กรรมการ ล่วงหน้าอย่างน้อย 5 วันทาการก่อนวันประชุม เพื่อให้กรรมการมีเวลาในการศึกษาข้อมูล สาหรับคณะกรรมการชุดย่อย ต่าง ๆ นัน้ คณะกรรมการตรวจสอบมีกาหนดการประชุมเป็ นประจาทุกไตรมาสและเพิม่ เติมตามความเหมาะสม สาหรับ คณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน และคณะกรรมการบรรษัทภิบาลนัน้ มีกาหนดการประชุมอย่างน้อยปี บัญชีละ 2 ครัง้ และเพิม่ เติมตามความเหมาะสม สาหรับคณะกรรมการบริหาร มีกาหนดการประชุมเป็ นประจาตาม ความเหมาะสม นอกจากนี้ กรรมการที่ไม่เป็ นผู้บริหารยังสามารถประชุมกันเองได้ตามความเหมาะสม ซึ่งจะมีการ ประชุมอย่างน้อยปี ละ 1 ครัง้ ทัง้ นี้ เพื่อเปิ ดโอกาสให้กรรมการทีไ่ ม่เป็ นผูบ้ ริหารสามารถอภิปรายเรื่องต่าง ๆ ทีอ่ ยู่ใน ความสนใจร่วมกัน โดยไม่มกี รรมการทีเ่ ป็ นผูบ้ ริหารหรือฝ่ ายบริหารเข้าร่วมประชุม  กำรพัฒนำควำมรูค้ วำมสำมำรถของกรรมกำร บริษทั ฯ ส่งเสริมให้กรรมการพัฒนาความรูค้ วามสามารถอย่างต่อเนื่องและเพียงพอ โดยคณะกรรมการสรรหา และกาหนดค่าตอบแทนได้จดั ทาแผนการพัฒนากรรมการ เพื่อพัฒนาความรู้ของกรรมการเกีย่ วกับธุรกิจของบริษัทฯ บทบาทหน้าทีข่ องกรรมการ และพัฒนาการต่าง ๆ ทีส่ าคัญ ตลอดจนสนับสนุ นให้กรรมการเข้ารับการอบรมหลักสูตร หรือ กิจ กรรมสัม มนาต่ าง ๆ กับ สมาคมส่งเสริมกรรมการบริษัทไทย (IOD) สถาบัน วิท ยาการตลาดทุน และ/หรือ หน่วยงานอื่น ๆ เพื่อเพิม่ พูนความรูใ้ นการปฏิบตั หิ น้าทีก่ รรมการบริษทั จดทะเบียน ซึง่ รวมถึงแต่ไม่จากัดเพียง กลยุทธ์ และการบริหารธุรกิจ การเงินการลงทุน การกากับดูแลกิจการ การสรรหาและการกาหนดค่าตอบแทน การบริหาร ส่วนที่ 2 หน้า 65


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

จัดการความเสี่ยงภายในองค์กร การป้ องกันการทุจริตคอร์รปั ชัน และแนวทางการพัฒนาเพื่อความยังยื ่ น เป็ นต้น นอกจากนี้ บริษทั ฯ จัดให้มคี ่มู อื สาหรับกรรมการ ซึง่ รวบรวมข้อมูลทีเ่ ป็ นประโยชน์สาหรับการเป็ นกรรมการบริษทั จด ทะเบียน เช่น คู่มอื บริษัทจดทะเบียน ข้อเตือนใจในการปฏิบตั หิ น้าที่ของกรรมการบริษัทจดทะเบียน คู่มอื กรรมการ บริษทั จดทะเบียน คู่มอื กรรมการอิสระ คู่มอื คณะกรรมการตรวจสอบ แนวปฏิบตั เิ รื่องคณะกรรมการสรรหา แนวปฏิบตั ิ เพิม่ เติมเรื่องคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน แนวทางการปฐมนิเทศกรรมการเข้าใหม่ หลักการกากับดูแลกิจการที่ ดีสาหรับบริษัทจดทะเบียน หลักเกณฑ์การสารวจโครงการสารวจการกากับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียนไทยโดย สมาคมส่ ง เสริม สถาบัน กรรมการบริษัท ไทย (IOD) หลัก เกณฑ์เ กี่ย วกับ การได้ม าและจ าหน่ า ยไปซึ่ง ทรัพ ย์ สิน หลักเกณฑ์การทารายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน และกฎหมายและกฎเกณฑ์ทเ่ี กีย่ วข้อง ฯลฯ ตลอดจนแบบรายงานและเอกสาร อื่น ๆ สาหรับกรรมการ เช่น แบบแจ้งรายงานการมีสว่ นได้เสียของกรรมการและผูบ้ ริหาร แบบแจ้งรายชื่อและขอบเขต การดาเนินงานของคณะกรรมการตรวจสอบ (F 24-1) หนังสือรับรองและประวัตขิ องกรรมการ / กรรมการตรวจสอบ (F 24-2) แบบรายงานการถือครองหลักทรัพย์ (แบบ 59-1) แบบรายงานการเปลีย่ นแปลงการถือครองหลักทรัพย์ (แบบ 59-2) และแบบแจ้งข้อมูล คารับรอง และคายินยอมของกรรมการและผูบ้ ริหารของบริษทั (แบบ 35-E1) เป็ นต้น โดยมี การแก้ไขปรับปรุงข้อมูลให้ทนั สมัยและเป็ นข้อมูลล่าสุดอยู่เสมอ ทัง้ นี้ ในปี 2560 และปี 2561 มีกรรมการเข้ารับการอบรมในหลักสูตรต่าง ๆ ดังนี้ รำยชื่อกรรมกำร นายรังสิน กฤตลักษณ์

ศาสตราจารย์พเิ ศษ พลโท พิศาล เทพสิทธา

ศาสตราจารย์พเิ ศษ เจริญ วรรธนะสิน

ดร.การุญ จันทรางศุ

นางพิจติ รา มหาพล

ตำแหน่ ง กรรมการบริหาร กรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน กรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการอิสระ ประธานกรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการสรรหาและกาหนด ค่าตอบแทน กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ กรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน กรรมการบรรษัทภิบาล กรรมการ

กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ

ส่วนที่ 2 หน้า 66

หลักสูตร - หลักสูตร Good IT Governance : Risk Management and Data Responsibility ของสานักงาน ก.ล.ต. - หลักสูตร Nomination Committee Best Practice Guideline ของสมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษทั ไทย - หลักสูตร Nomination Committee Best Practice Guideline ของสมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษทั ไทย - หลักสูตรประกาศนียบัตร Strategic Board Master Class (SBM) ปี 2560 ของสมาคม ส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย - หลักสูตรประกาศนียบัตร Boardroom Success through Financing and Investment ปี 2560 ของสมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษทั ไทย - หลักสูตร Good IT Governance : Risk Management and Data Responsibility ของสานักงาน ก.ล.ต.


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

 กำรปฐมนิ เทศกรรมกำรเข้ำใหม่ บริษทั ฯ จะจัดให้มกี ารปฐมนิเทศกรรมการทีเ่ ข้ารับตาแหน่งกรรมการใหม่ในคณะกรรมการบริษทั ตามแผนการ พัฒนากรรมการทีก่ าหนดโดยคณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน เพื่อให้กรรมการทีเ่ ข้าใหม่ได้รบั ทราบและ เข้าใจถึงประวัตคิ วามเป็ นมา โครงสร้างกลุ่มธุรกิจและการถือหุน้ ของกลุ่มบริษทั บีที เอส โครงสร้างองค์กร ลักษณะการ ประกอบธุรกิจ นโยบายธุรกิจของกลุ่มบริษทั บีทเี อส ฐานะการเงินและผลการดาเนินงานของบริษทั ฯ ตลอดจนขอบเขต หน้ าที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัท และคณะกรรมการชุดย่อยต่ าง ๆ รวมทัง้ ให้ข้อมูลต่ าง ๆ ที่ เกี่ยวข้อง เช่น รายงานประจาปี แบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี (แบบ 56-1) นโยบายการกากับดูแลกิจการและ จริยธรรมทางธุรกิจ เป็ นต้น  กำรประเมิ นผลกำรปฏิ บตั ิ งำนของคณะกรรมกำรบริษทั คณะกรรมการบริษ ัท จะจัด ให้ม ีก ารประเมิน ผลการปฏิบ ตั ิง านของคณะกรรมการบริษ ัท ประจ าปี ทัง้ ในรูปแบบการประเมินแบบทัง้ คณะและแบบรายบุคคล เพื่อให้คณะกรรมการบริษัทได้พิจารณาทบทวนผลงาน ปั ญหา และอุปสรรคในการดาเนินงานระหว่างปี ท่ผี ่านมา เพื่อนามาแก้ไข และเพิ่มเติมประสิทธิภาพการทางาน กำรประเมิ นผลกำรปฏิ บตั ิ งำนประจำปี ของคณะกรรมกำรบริษทั (แบบทัง้ คณะ) คณะกรรมการบริษทั ใช้ หลักเกณฑ์ในการประเมิน ซึง่ แบ่งออกเป็ น 6 หัวข้อ ได้แก่ 1) โครงสร้างและคุณสมบัตขิ องคณะกรรมการ 2) บทบาท หน้ า ที่ และความรับ ผิด ชอบของคณะกรรมการ 3) การประชุ ม คณะกรรมการ 4) การท าหน้ า ที่ข องกรรมการ 5) ความสัมพันธ์กบั ฝ่ ายจัดการ และ 6) การพัฒนาตนเองของกรรมการและการพัฒนาผูบ้ ริหาร ทัง้ นี้ เมื่อกรรมการแต่ละ ท่านได้ตอบแบบประเมินตนเองแบบทัง้ คณะเรียบร้อยแล้ว สานักเลขานุ การบริษัทจะรวบรวมคะแนน และสรุปผล คะแนนของการประเมินคณะกรรมการบริษทั แบบทัง้ คณะต่อทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั เพื่อร่วมกันพิจารณาและหา วิธแี ก้ไขปรับปรุงในส่วนทีไ่ ด้คะแนนยังไม่เป็ นทีน่ ่าพอใจ เพื่อใช้เป็ นแนวทางในการทางานในปี ถดั ไป ตลอดจนร่วมกัน พิจารณาและทบทวนความเห็นและข้อเสนอที่กรรมการแต่ละท่านได้แนะนาในปี ทผ่ี ่านมา ว่าได้มกี ารปฏิบตั ใิ ห้สาเร็จ ลุ ล่ว งหรือ ไม่ โดยในปี 2560/61 ผลคะแนนเฉลี่ยอยู่ท่ี 99.17% ซึ่ง เพิ่ม ขึ้น จาก 99.02% ในปี 2559/60 (90 – 100% หมายถึง ดีเลิศ, 76 – 89% หมายถึง ดีมาก, 66 – 75% หมายถึง ดี, 50 – 65% หมายถึง พอใช้, ตา่ กว่า 50% หมายถึง ควรปรับปรุง) กำรประเมิ นผลกำรปฏิ บตั ิ งำนประจำปี ของคณะกรรมกำรบริษทั (แบบรำยบุคคล) คณะกรรมการบริษทั ใช้หลักเกณฑ์ในการประเมิน ซึง่ หัวข้อการประเมินจะครอบคลุมถึงการปฏิบตั หิ น้าทีใ่ นการดูแลบริหารกิจการบริษัทฯ ให้เป็ นไปเพื่อประโยชน์สงู สุดของผูถ้ อื หุน้ (Fiduciary Duty) การจัดสรรเวลาและการเตรียมความพร้อมเพื่อการเข้าร่วม การประชุมคณะกรรมการบริษทั และการประชุมผูถ้ อื หุน้ การแสดงความคิดเห็นหรือให้ขอ้ เสนอแนะหรือแนวทางในเรื่อง ต่าง ๆ ทีเ่ ป็ นประโยชน์แก่ฝ่ายบริหาร ความเป็ นอิสระในการแสดงความคิดเห็น การให้ความสาคัญและสนับสนุ นการ ปฏิบตั ติ ามหลักการกากับดูแลกิจการทีด่ ขี องบริษทั จดทะเบียนอย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอ และการฝึกอบรมและพัฒนา ตนเองในหลักสูตรทีจ่ าเป็ นต่อการปฏิบตั หิ น้าทีก่ รรมการของบริษทั จดทะเบียน ทัง้ นี้ เมื่อกรรมการแต่ละท่านได้ตอบ แบบประเมินตนเองแบบรายบุคคลเรียบร้อยแล้ว สานักเลขานุ การบริษัทจะรวบรวมคะแนน และสรุปผลคะแนนของ กรรมการแต่ละท่านให้ทป่ี ระชุมคณะกรรมการบริษทั รับทราบ โดยในปี 2560/61 ผลคะแนนเฉลี่ยอยู่ท่ี 4.94 คะแนน ซึ่งลดลงจาก 4.96 คะแนน ในปี 2559/60 (5 หมายถึง ดีมาก, 4 หมายถึง ดี, 3 หมายถึง ปานกลาง, 2 หมายถึง ต่า กว่ามาตรฐาน และ 1 หมายถึง ต้องปรับปรุง)

ส่วนที่ 2 หน้า 67


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

 กำรประเมิ นผลกำรปฏิ บตั ิ งำนของคณะกรรมกำรชุดย่อย คณะกรรมการบริษ ัท ก าหนดให้ค ณะกรรมการชุด ย่อ ยทุก ชุด ได้แ ก่ คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน คณะกรรมการบรรษัทภิบาล และคณะกรรมการบริหาร ประเมินผล การปฏิบตั ิงานของตนเอง และรายงานผลการประเมินต่ อคณะกรรมการบริษัทเป็ นประจาทุกปี กำรประเมิ น ผลกำรปฏิ บตั ิ ง ำนประจ ำปี ของคณะกรรมกำรตรวจสอบ คณะกรรมการตรวจสอบใช้ หลักเกณฑ์ในการประเมิน ซึง่ แบ่งเป็ น 6 หัวข้อ ได้แก่ 1) องค์ประกอบของคณะกรรมการตรวจสอบ 2) ความเป็ นอิสระ ของสมาชิกในคณะกรรมการตรวจสอบ 3) การฝึ กอบรมและทรัพยากร 4) การประชุม 5) กิจกรรมของคณะกรรมการ ตรวจสอบ และ 6) ความสัมพันธ์กบั หัวหน้าหน่ วยงานตรวจสอบภายใน ผูส้ อบบัญชี และผูบ้ ริหาร ทัง้ นี้ เมื่อตอบแบบ ประเมินตนเองของคณะกรรมการตรวจสอบเรียบร้อยแล้ว สานักตรวจสอบภายในจะรวบรวมคะแนน และสรุปผล คะแนนของการประเมินต่อทีป่ ระชุมคณะกรรมการตรวจสอบ เพื่อร่วมกันพิจารณาและหาวิธแี ก้ไขปรับปรุงในส่วนทีไ่ ด้ คะแนนยังไม่เป็ นทีน่ ่าพอใจ เพื่อใช้เป็ นแนวทางในการทางานในปี ถดั ไป ตลอดจนร่วมกันพิจารณาและทบทวนในส่วนที่ เป็ นความเห็นและข้อเสนอที่แต่ ละท่านได้แนะนาในปี ท่ผี ่านมา ว่าได้มกี ารปฏิบตั ิให้สาเร็จลุล่วงหรือไม่ จากนั น้ จะ นาเสนอผลการประเมินต่ อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาต่อไป โดยคณะกรรมการบริษัท สามารถให้ ความเห็นหรือขอให้คณะกรรมการตรวจสอบไปดาเนินการปรับปรุงในด้านต่าง ๆ เพิม่ เติมได้ตามความเหมาะสม โดย ในปี 2560/61 ผลคะแนนเฉลี่ย อยู่ที่ 4.9 ซึ่ง เท่า กับ คะแนนในปี 2559/60 (5 หมายถึง ดีม าก, 4 หมายถึง ดี, 3 หมายถึง ปานกลาง, 2 หมายถึง ตา่ กว่ามาตรฐาน และ 1 หมายถึง ต้องปรับปรุง) กำรประเมิ น ผลกำรปฏิ บัติ งำนประจ ำปี ของคณะกรรมกำรสรรหำและก ำหนดค่ ำ ตอบแทน คณะกรรมกำรบรรษัท ภิ บ ำล และคณะกรรมกำรบริ ห ำร ใช้ห ลัก เกณฑ์ใ นการประเมิน ซึ่ง แบ่ง ออกเป็ น 5 หัว ข้อ ได้แ ก่ 1) โครงสร้า งและคุณสมบัติ 2) การทาหน้ าที่ข องกรรมการ 3) การฝึ ก อบรม / แหล่ง ข้อ มูลข่าวสาร 4) การประชุม และ 5) หน้ า ที ่ และความรับ ผิด ชอบ ทั ง้ นี ้ เมื่อ ตอบแบบประเมิน ตนเองแบบทัง้ คณะของ คณะกรรมการชุด ย่อ ยเรีย บร้อ ยแล้ว สานัก เลขานุ ก ารบริษ ัท จะรวบรวมคะแนน และสรุป ผลคะแนนของการ ประเมินต่ อที่ประชุมคณะกรรมการชุดย่อยนัน้ ๆ เพื่อร่วมกันพิจารณาและหาวิธแี ก้ไขปรับปรุงในส่วนที่ได้คะแนน ยัง ไม่เ ป็ น ที่น่ า พอใจ เพื่อ ใช้เ ป็ น แนวทางในการปรับ ปรุง การทางานในปี ถ ดั ไป ตลอดจนร่ว มกัน พิจ ารณาและ ทบทวนความเห็น และข้อ เสนอที่แ ต่ ล ะท่า นได้แ นะน าในปี ที่ผ่า นมา ว่า ได้ม ีก ารปฏิบ ตั ิใ ห้สาเร็จ ลุล่ว งหรือ ไม่ จากนัน้ จะนาเสนอผลการประเมินต่ อที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทเพื่อพิจารณาต่ อไป โดยคณะกรรมการบริษัท สามารถให้ค วามเห็น หรือขอให้ค ณะกรรมการชุดย่อ ยไปดาเนิน การปรับปรุงในด้า นต่า ง ๆ เพิ่ม เติมได้ตามความ เหมาะสม โดยในปี 2560/61 ผลคะแนนเฉลีย่ ของคณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทนอยู่ท่ี 99.78% ซึง่ เพิม่ ขึน้ จาก 99.33% ในปี 2559/60 ผลคะแนนเฉลี่ยคณะกรรมการบรรษัทภิบาลอยู่ท่ี 99.33% ซึ่งเพิ่มขึ้น จาก 97.67% ในปี 2559/60 และผลคะแนนเฉลีย่ คณะกรรมการบริหารอยู่ท่ี 98.89% ซึง่ เพิม่ ขึน้ จาก 98.10% ในปี 2559/60 (90 – 100% หมายถึง ดีเลิศ, 76 – 89% หมายถึง ดีมาก, 66 – 75% หมายถึง ดี, 50 – 65% หมายถึง พอใช้, ต่ากว่า 50% หมายถึง ควรปรับปรุง)  กำรประเมิ นผลกำรปฏิ บ ตั ิ ง ำนประจำปี ของประธำนคณะกรรมกำรบริ ห ำร และกรรมกำร ผู้อำนวยกำรใหญ่ คณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทนจะประเมินผลการปฏิบตั งิ านของประธานคณะกรรมการบริหาร และกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ โดยใช้หลักเกณฑ์ในการประเมิน ซึง่ แบ่งออกเป็ น 3 หมวด ได้แก่ หมวดที่ 1 : ผลสาเร็จ ส่วนที่ 2 หน้า 68


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ทางธุรกิจ ซึง่ พิจารณาจากความสาเร็จของกิจกรรมและโครงการต่าง ๆ ในปี บญ ั ชีทผ่ี ่านมาหมวดที่ 2 : การวัดผลการ ปฏิบตั งิ าน และหมวดที่ 3 : การพัฒนาประธานคณะกรรมการบริหาร / กรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ โดยในปี 2560/61 ผลคะแนนเฉลี่ยของประธานคณะกรรมการบริหารอยู่ท่ี 99.48% ซึ่งลดลงจาก 99.63% ในปี 2559/60 และผลคะแนน เฉลีย่ ของกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่อยู่ท่ี 98.81% ซึง่ เพิม่ ขึน้ จาก 98.52% คะแนนในปี 2559/60 (90 - 100% หมายถึง ดีเ ลิศ , 76 - 89% หมายถึง ดีม าก, 66 - 75% หมายถึง ดี, 50 - 65% หมายถึง พอใช้ , ต่ า กว่ า 50% หมายถึง ควร ปรับปรุง)  กำรดำรงตำแหน่ งกรรมกำรของผู้บริ หำรระดับสูงในบริ ษัทอื่นนอกกลุ่มบริ ษัทบีทีเอส ประธานคณะกรรมการบริหารและกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ ไม่ควรดารงตาแหน่งกรรมการในบริษทั อื่นนอก กลุ่มบริษทั บีทเี อส เว้นแต่ในกรณีเข้าข้อยกเว้นตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั กาหนด นอกจากนี้ บริษทั ฯ กาหนดนโยบาย การดารงตาแหน่ งกรรมการของผูบ้ ริหารระดังสูงของบริษทั ฯ ในบริษทั อื่นนอกกลุ่มบริษทั บีทเี อสไม่เกิน 5 บริษทั เว้น แต่ในกรณีได้รบั ความเห็นชอบจากกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่  แผนสืบทอดตำแหน่ ง (Succession Plan) โปรดพิจารณารายละเอียดใน หัวข้อ 9.2 การสรรหาและแต่งตัง้ กรรมการบริษทั และผู้บริหารระดับสูงสุด ใน หัวข้อย่อย แผนสืบทอดตาแหน่ง (Succession Plan)  ค่ำตอบแทนกรรมกำรและผู้บริ หำร โปรดพิจารณารายละเอียดใน หัวข้อ 8.10 ค่าตอบแทนกรรมการและผูบ้ ริหาร  เลขำนุกำรบริ ษัท โปรดพิจารณารายละเอียดใน หัวข้อ 8.9 เลขานุการบริษทั  กำรควบคุมภำยใน (Internal Control) คณะกรรมการบริษทั ตระหนักถึงความสาคัญของการมีระบบการควบคุมภายในทีด่ ี ซึง่ จะทาให้มนใจได้ ั่ ว่าการ บริหารจัดการและการควบคุมการดาเนินงานของบริษัทฯ เป็ นไปอย่างมีระเบียบและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์และ เป้ าหมายระยะยาวของกลุ่มบริษัท โดยกาหนดให้ฝ่ายบริหารมีหน้าที่ในการจัดทาโครงสร้างของระบบการควบคุม ภายในซึ่งครอบคลุมในด้านต่าง ๆ ได้แก่ การควบคุมภายในองค์กร (Control Environment) การประเมินความเสีย่ ง (Risk Management) การควบคุ ม การปฏิ บ ั ติ ง าน (Control Activities) ระบบสารสนเทศและการสื่ อ สารข้ อ มู ล (Information & Communication) และระบบการติด ตาม (Monitoring Activities) และน าไปปฏิบ ัติจ ริง เพื่อ ให้บ รรลุ วัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนดาเนินการเพื่อให้มนใจว่ ั ่ า บริษทั ฯ มีระบบการควบคุมภายในทีเ่ พียงพอและ เหมาะสมกับสภาวการณ์ ณ ช่วงเวลาใด ๆ โดยมีการพัฒนาและปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง คณะกรรมการตรวจสอบทาหน้าทีใ่ นการสอบทานและประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในของ บริษทั ฯ และรายงานต่อคณะกรรมการบริษทั เป็ นประจาทุกปี โดยเฉพาะในเรื่องทีเ่ กีย่ วเนื่องกับ 1) ประสิทธิภาพและ ประสิท ธิผ ลของการดาเนิ น งาน 2) ความน่ า เชื่อ ถือ ในการรายงานทางการเงิน 3) การปฏิบ ัติต ามกฎหมายและ

ส่วนที่ 2 หน้า 69


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

กฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง 4) การบริหารจัดการความเสีย่ ง และ 5) การบริหารจัดการทรัพย์สนิ เป็ นต้น โปรดพิจารณา รายละเอียดเพิม่ เติมใน หัวข้อ 11 การควบคุมภายในและการบริหารจัดการความเสียง ่  กำรดูแลเรื่องกำรใช้ ข้อมูลภำยในและควำมขัดแย้งทำงผลประโยชน์ โปรดพิจารณารายละเอียดใน หัวข้อ 9.4 การดูแลเรือ่ งการใช้ขอ้ มูลภายในและความขัดแย้งทางผลประโยชน์ 9.2

กำรสรรหำและแต่งตัง้ กรรมกำรบริษทั และผูบ้ ริหำรระดับสูงสุด  กำรแต่งตัง้ และถอดถอนกรรมกำรบริ ษัท

การแต่ งตัง้ และถอดถอนกรรมการบริษัท ให้เป็ นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดในกฎหมาย และ ข้อบังคับบริษทั ซึง่ สรุปได้ดงั นี้ 1.

ในการประชุมสามัญประจาปี ทุกครัง้ ให้กรรมการจานวนไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของจานวนกรรมการ ทัง้ หมดในคณะกรรมการบริษทั พ้นจากตาแหน่งตามวาระ ถ้าจานวนกรรมการทีจ่ ะแบ่งออกให้ตรงเป็ น 3 ส่วนไม่ได้ ก็ให้ออกโดยจานวนที่ใกล้ท่สี ุดกับส่วน 1 ใน 3 และกรรมการผู้พ้นจากตาแหน่ งมีสทิ ธิ ได้รบั เลือกตัง้ ใหม่ได้อกี

2.

ให้ทป่ี ระชุมผูถ้ อื หุน้ มีสทิ ธิแต่งตัง้ กรรมการตามหลักเกณฑ์และวิธกี าร ดังต่อไปนี้ -

ผูถ้ อื หุน้ แต่ละคนมีคะแนนเสียงเท่ากับหนึ่งหุน้ ต่อหนึ่งเสียง

-

ผู้ถือ หุ้น แต่ ล ะคนจะใช้ค ะแนนเสีย งที่มีอ ยู่ท ัง้ หมดเลือ กตัง้ บุ ค คลคนเดีย วหรือ หลายคนเป็ น กรรมการก็ได้ แต่จะแบ่งคะแนนเสียงให้แก่บุคคลใดมากน้อยเพียงใดไม่ได้

-

บุคคลซึง่ ได้รบั คะแนนเสียงสูงสุดตามลาดับลงมาเป็ นผูไ้ ด้รบั การเลือกตัง้ เป็ นกรรมการเท่าจานวน กรรมการที่จะพึง เลือ กตัง้ ในครัง้ นัน้ ในกรณี ท่ีบุค คลซึ่งได้ร ับการเลือ กตัง้ ในลาดับถัดลงมามี คะแนนเสียงเท่ากันเกินจานวนกรรมการทีจ่ ะพึงมีหรือจะพึงเลือกตัง้ ในครัง้ นัน้ ให้ผเู้ ป็ นประธาน เป็ นผูอ้ อกเสียงชีข้ าด

3.

นอกจากการพ้นตาแหน่งตามวาระแล้ว กรรมการพ้นจากตาแหน่งเมื่อตาย ลาออก ขาดคุณสมบัติ หรือ มีลกั ษณะต้องห้ามตามพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจากัด พ.ศ. 2535 (ตามทีม่ กี ารแก้ไขเพิม่ เติม) ที่ ประชุมผูถ้ อื หุน้ มีมติให้ออก หรือศาลมีคาสังให้ ่ ออก

4.

ในกรณีท่ตี าแหน่ งกรรมการว่างลงเพราะเหตุ อ่นื นอกจากถึงคราวออกตามวาระ ให้คณะกรรมการ บริษัท มีมติด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของจานวนกรรมการที่เหลืออยู่ เลือกบุคคลซึ่งมี คุณสมบัตแิ ละไม่มลี กั ษณะต้องห้ามตามพระราชบัญญัตบิ ริษทั มหาชนจากัด พ.ศ. 2535 (ตามทีม่ กี าร แก้ไขเพิม่ เติม) เข้าเป็ นกรรมการแทนในการประชุมคณะกรรมการบริษทั คราวต่อไป เว้นแต่วาระของ กรรมการจะเหลือน้อยกว่า 2 เดือน

5.

ที่ประชุมผู้ถือหุ้นอาจลงมติให้กรรมการคนใดออกจากตาแหน่ งก่อนถึงคราวออกตามวาระได้ด้วย คะแนนเสียงไม่น้อยกว่า 3 ใน 4 ของจานวนผู้ถือหุ้นซึ่งมาประชุมและมีสทิ ธิออกเสียง และมีหุ้นนับ รวมกันได้ไม่น้อยกว่ากึง่ หนึ่งของจานวนหุน้ ทีถ่ อื โดยผูถ้ อื หุน้ ทีม่ าประชุมและมีสทิ ธิออกเสียง

ส่วนที่ 2 หน้า 70


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

 กำรสรรหำกรรมกำรใหม่ คณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทนจะทาหน้าทีใ่ นการสรรหากรรมการใหม่ โดยจะสรรหาบุคคลเพื่อ เสนอชื่อให้คณะกรรมการบริษทั พิจารณาแต่งตัง้ หรือเพื่อเสนอให้ทป่ี ระชุมผูถ้ อื หุน้ พิจารณาแต่งตัง้ (แล้วแต่กรณี) โดย หลักเกณฑ์ในการสรรหากรรมการใหม่จะคานึงถึงโครงสร้างของคณะกรรมการบริษทั ซึง่ จะประกอบด้วยกรรมการใน จ านวนที่เ หมาะสมกับ ขนาดและกลยุ ท ธ์ ใ นการด าเนิ น ธุ ร กิจ ของบริษั ท ฯ ความหลากหลายในโครงสร้ า งของ คณะกรรมการบริษทั (Board Diversity) ซึง่ รวมถึงแต่ไม่จากัดเพียง เชือ้ ชาติ ศาสนา ถิน่ กาเนิด และเพศ เป็ นต้น ความ เหมาะสมของคุณสมบัติ และทักษะของกรรมการทีจ่ าเป็ นและยังขาดอยู่ในคณะกรรมการบริษทั โดยการจัดทา Board Skill Matrix เพื่อกาหนดคุณสมบัตขิ องกรรมการทีต่ อ้ งการสรรหา  กระบวนกำรสรรหำ คณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทนจะพิจารณาสรรหาบุคคลที่จะมาดารงตาแหน่ งกรรมการของ บริษทั ฯ จากการแนะนาของกรรมการอื่นในบริษทั ฯ การเสนอชื่อบุคคลเพื่อเข้ารับการเลือกตัง้ เป็ นกรรมการโดยผูถ้ อื หุน้ ของบริษัท ฯ การสรรหาโดยที่ป รึก ษาภายนอก (Professional Search Firm) การสรรหาจากฐานข้อ มูลกรรมการ (Director Pool) ของหน่ วยงานต่าง ๆ หรือ การสรรหาโดยกระบวนการอื่น ๆ ที่ค ณะกรรมการสรรหาและกาหนด ค่าตอบแทนเห็นสมควรและเหมาะสม  คุณสมบัติกรรมกำร 1.

มีคุณสมบัตถิ ูกต้องและไม่มลี กั ษณะต้องห้ามตามกฎหมายบริษทั มหาชนจากัด กฎหมายหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ กฎระเบียบข้อบังคับของบริษทั ฯ และหน่วยงานกากับดูแลทีเ่ กีย่ วข้อง และการกากับ ดูแลกิจการทีด่ ขี องบริษทั ฯ และในกรณีทเ่ี ป็ นการสรรหาบุคคลเพื่อดารงตาแหน่ งกรรมการอิสระของ บริษัทฯ บุคคลดังกล่าวต้องมีคุณสมบัติตามนิยามกรรมการอิสระของบริษัทฯ และกรณีกรรมการ ตรวจสอบ จะต้องมีคุณสมบัตเิ พิม่ เติมเป็ นไปตามทีก่ ฎหมายกาหนด

2.

เป็ นผูท้ รงคุณวุฒทิ ม่ี คี วามรู้ ความสามารถ ทักษะ ประสบการณ์ ความเชีย่ วชาญทีห่ ลากหลายอันเป็ น ประโยชน์ต่อการดาเนินงานของบริษทั ฯ

3.

มีความเป็ นอิสระ ปฏิบตั ิหน้ าที่กรรมการด้วยความระมัดระวัง มีความซื่อสัตย์ มีสุขภาพร่างกายที่ แข็งแรงและจิตใจทีส่ มบูรณ์ สามารถทุ่มเทในการทางานให้กบั บริษทั ฯ ได้อย่างเต็มที่

4.

มีประวัตกิ ารทางานทีด่ ี ไม่ประกอบกิจการหรือเป็ นหุน้ ส่วนในห้างหุ้นส่วนสามัญ หรือเป็ นหุ้ นส่วนไม่ จากัดความรับผิดในห้างหุ้นส่วนจากัด หรือเป็ นกรรมการของบริษัทเอกชนหรือบริษัทมหาชนอื่นที่ ประกอบกิจการอันมีสภาพอย่างเดียวกันและเป็ นการแข่งขันกับกิจการของบริษทั ฯ เว้นแต่จะได้แจ้งให้ ทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ทราบก่อนทีจ่ ะมีมติแต่งตัง้ ตลอดจนได้ปฏิบตั ติ ามกฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องแล้ว

 คุณสมบัติเพิ่ มเติ มกรณี กรรมกำรอิ สระ ในกรณีทเ่ี ป็ นกรรมการอิสระ จะต้องมีคุณสมบัตติ ามนิยามกรรมการอิสระของบริษทั ฯ ซึง่ มีหลักเกณฑ์ท่ี “เข้มกว่า” ข้อกาหนดขัน้ ต่าตามประกาศของคณะกรรมการกากับตลาดทุน โดยมีรายละเอียดดังนี้

ส่วนที่ 2 หน้า 71


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

1.

ถือหุน้ ไม่เกินร้อยละ 0.75 ของจานวนหุน้ ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงทัง้ หมดของบริษัทฯ บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษ ัท ร่ว ม ผู้ถ ือ หุ ้น รายใหญ่ หรือ ผู้ม อี านาจควบคุม ของบริษ ัท ฯ ทัง้ นี้ ให้นับ รวมการถือ หุ ้น ของ ผู้ท่เี กี่ยวข้องของกรรมการอิสระรายนัน้ ๆ ด้วย (หมายเหตุ: บริษัทฯ กาหนดหลักเกณฑ์ในข้อนี้เข้ม กว่าข้อกาหนดขัน้ ตา่ ตามประกาศของคณะกรรมการกากับตลาดทุน ซึง่ กาหนดไว้ว่าให้ถอื หุน้ ไม่เกิน ร้อยละ 1)

2.

ไม่เป็ นหรือเคยเป็ นกรรมการทีม่ สี ่วนร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ทีป่ รึกษาทีไ่ ด้เงินเดือนประจา หรือ ผู้มอี านาจควบคุมของบริษทั ฯ บริษ ัท ใหญ่ บริษ ัท ย่อย บริษ ัท ร่วม บริษ ัท ย่อยลาดับเดียวกัน ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือของผู้มอี านาจควบคุมของบริษัทฯ เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลกั ษณะดังกล่าว มาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี

3.

ไม่เป็ นบุคคลทีม่ คี วามสัมพันธ์ทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมายในลักษณะที่เป็ น บิดามารดา คู่สมรส พีน่ ้อง และบุตร รวมทัง้ คู่สมรสของบุตร ของกรรมการรายอื่น ผูบ้ ริหาร ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ผู้มอี านาจควบคุม หรือบุคคลที่จะได้รบั การเสนอให้เป็ นกรรมการ ผู้บริหารหรือผู้มอี านาจ ควบคุมของบริษทั ฯ หรือบริษทั ย่อย

4.

ไม่มหี รือเคยมีความสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มอี านาจควบคุมของบริษทั ฯ ในลักษณะที่อาจเป็ นการขัดขวางการใช้วจิ ารณญาณอย่างอิสระ ของตน รวมทัง้ ไม่เป็ นหรือเคยเป็ นผูถ้ อื หุน้ ทีม่ นี ัย หรือผู้มอี านาจควบคุ มของผู้ทม่ี คี วามสัมพันธ์ทาง ธุรกิจกับบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้มีอานาจควบคุมของ บริษทั ฯ เว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี ความสัมพันธ์ทางธุรกิจตามวรรคหนึ่ง รวมถึงการทารายการทางการค้าทีก่ ระทาเป็ นปกติเพื่อประกอบ กิจการ การเช่าหรือให้เช่าอสังหาริมทรัพย์ รายการเกีย่ วกับสินทรัพย์หรือบริการ หรือการให้หรือรับ ความช่วยเหลือทางการเงินด้วยการรับหรือให้กยู้ มื ค้าประกัน การให้สนิ ทรัพย์เป็ น หลักประกันหนี้สนิ รวมถึงพฤติการณ์อ่นื ทานองเดียวกัน ซึง่ เป็ นผลให้บริษทั ฯ หรือคู่สญ ั ญามีภาระหนี้ทต่ี ้องชาระต่ออีก ฝ่ ายหนึ่ ง ตัง้ แต่ ร้อยละ 3 ของสิน ทรัพ ย์ท่มี ีตัว ตนสุทธิของบริษัทฯ หรือ ตัง้ แต่ 20 ล้า นบาทขึ้นไป แล้วแต่ จานวนใดจะต่ ากว่า ทัง้ นี้ ในการพิจารณาภาระหนี้ ดงั กล่าว ให้นับรวมภาระหนี้ท่เี กิดขึน้ ใน ระหว่าง 1 ปี ก่อนวันทีม่ คี วามสัมพันธ์ทางธุรกิจกับบุคคลเดียวกัน

5.

ไม่เป็ นหรือเคยเป็ นผูส้ อบบัญชีของบริษทั ฯ บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือ ผูม้ อี านาจควบคุมของบริษัทฯ และไม่เป็ นผูถ้ อื หุน้ ทีม่ นี ัย ผูม้ อี านาจควบคุม หรือหุน้ ส่วนของสานักงาน สอบบัญชีซ่งึ มีผู้สอบบัญชีของบริษัทฯ บริษัทใหญ่ บริษัทย่อย บริษัทร่วม ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือ ผูม้ อี านาจควบคุมของบริษทั ฯ สังกัดอยู่ เว้นแต่จะได้พน้ จากการมีลกั ษณะดังกล่าวมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี

6.

ไม่เป็ นหรือเคยเป็ นผู้ให้บริการทางวิชาชีพใด ๆ ซึ่งรวมถึงการให้บริการเป็ นทีป่ รึกษากฎหมายหรือ ทีป่ รึกษาทางการเงินซึง่ ได้รบั ค่าบริการเกินกว่า 2 ล้านบาทต่อปี จากบริษทั ฯ บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี านาจควบคุมของบริษทั ฯ และไม่เป็ นผู้ ถอื หุน้ ทีม่ นี ัย ผูม้ อี านาจ ควบคุม หรือหุ้นส่วนของผู้ให้บริการทางวิชาชีพนัน้ ด้วย เว้นแต่จะได้พ้นจากการมีลกั ษณะดังกล่าว มาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี

7.

ไม่เป็ นกรรมการทีไ่ ด้รบั การแต่งตัง้ ขึน้ เพื่อเป็ นตัวแทนของกรรมการของบริษทั ฯ ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือ ผูถ้ อื หุน้ ซึง่ เป็ นผูท้ เ่ี กีย่ วข้องกับผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ ส่วนที่ 2 หน้า 72


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

8.

ไม่ประกอบกิจการทีม่ สี ภาพอย่างเดียวกันและเป็ นการแข่งขันทีม่ นี ยั กับกิจการของบริษทั ฯ หรือบริษทั ย่อย หรือไม่เป็ นหุน้ ส่วนทีม่ นี ยั ในห้างหุน้ ส่วน หรือเป็ นกรรมการทีม่ สี ว่ นร่วมบริหารงาน ลูกจ้าง พนักงาน ที่ ปรึกษาที่รบั เงินเดือนประจา หรือถือหุ้นเกินร้อยละ 1 ของจานวนหุ้นที่มสี ทิ ธิออกเสียงทัง้ หมดของ บริษทั อื่นซึง่ ประกอบกิจการทีม่ สี ภาพอย่างเดียวกันและเป็ นการแข่งขันทีม่ นี ัยกับกิจการของบริษัทฯ หรือบริษทั ย่อย

9.

ไม่มลี กั ษณะอื่นใดทีท่ าให้ไม่สามารถให้ความเห็นอย่างเป็ นอิสระเกีย่ วกับการดาเนินงานของบริษทั ฯ

ภายหลังได้รบั การแต่งตัง้ ให้เป็ นกรรมการอิสระแล้ว กรรมการอิสระอาจได้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั ให้ตดั สินใจในการดาเนินกิจการของบริษทั ฯ บริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย บริษทั ร่วม บริษทั ย่อยลาดับเดียวกัน ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูม้ อี านาจควบคุมของบริษทั ฯ โดยมีการตัดสินใจในรูปแบบขององค์คณะ (Collective Decision) ได้  คุณสมบัติเพิ่ มเติ มกรณี กรรมกำรตรวจสอบ ในกรณีทเ่ี ป็ นกรรมการตรวจสอบ นอกจากจะต้องเป็ นกรรมการอิสระแล้ว ต้องมีคุณสมบัตเิ พิม่ เติม ดังนี้ 1.

ได้รบั การแต่งตัง้ จากคณะกรรมการบริษทั ให้เป็ นกรรมการตรวจสอบ

2.

ไม่ เป็ นกรรมการที่ได้ร ับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัทให้ตัดสินใจในการดาเนิ นกิจการของ บริษัท ฯ บริษั ท ใหญ่ บริษั ท ย่ อ ย บริษั ท ร่ ว ม บริษั ท ย่ อ ยล าดับ เดีย วกัน ผู้ ถื อ หุ้ น รายใหญ่ หรือ ผูม้ อี านาจควบคุมของบริษทั ฯ และไม่เป็ นกรรมการของบริษทั ใหญ่ บริษทั ย่อย หรือบริษทั ย่อยลาดับ เดียวกันเฉพาะทีเ่ ป็ นบริษทั จดทะเบียน

3.

มีความรู้และประสบการณ์ เพียงพอที่จะสามารถทาหน้ าที่ในฐานะกรรมการตรวจสอบ ทัง้ นี้ ต้องมี กรรมการตรวจสอบอย่างน้อย 1 คน ทีม่ คี วามรูแ้ ละประสบการณ์เพียงพอทีจ่ ะสามารถทาหน้าทีใ่ นการ สอบทานความน่าเชื่อถือของงบการเงินได้

4.

มีคุณสมบัตอิ ่นื ๆ ครบถ้วนและเหมาะสมตามกฎหมาย และข้อกาหนดของหน่วยงานราชการ

ทัง้ นี้ เพื่อส่งเสริมการกากับดูแลกิจการทีด่ ี บริษทั ฯ ได้เปิ ดโอกาสให้ผถู้ อื หุน้ สามารถเสนอชื่อบุคคลเพื่อเข้ารับ การเลือกตัง้ เป็ นกรรมการในการประชุมสามัญผูถ้ อื หุน้ ประจาปี ตามหลักเกณฑ์ทเ่ี ผยแพร่บนเว็บไซต์ของบริษทั ฯ โดย บริษทั ฯ จะแจ้งข่าวผ่านเว็บไซต์ของตลาดหลักทรัพย์ โปรดพิจารณารายละเอียดใน หัวข้อ 9.1.2 การปฏิบตั ติ ่อผูถ้ อื หุน้ อย่างเท่าเทียมกัน (Equitable Treatment of Shareholders) ในหัวข้อย่อย การเสนอวาระการประชุมและชือ่ บุคคลเพือ่ เข้ารับการเลือกตัง้ เป็ นกรรมการ  แผนสืบทอดตำแหน่ ง (Succession Plan) คณะกรรมการบริษัทตระหนักถึงความสาคัญของการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตลอดจนการดาเนินกิจการอย่างต่อเนื่อง อันจะนามาซึ่งการเติบโตและความก้าวหน้ าขององค์กรอย่างยังยื ่ น โดย ก าหนดให้บ ริษัท ฯ จัด ท าแผนสืบ ทอดต าแหน่ ง ของต าแหน่ ง ประธานคณะกรรมการบริห าร ต าแหน่ ง กรรมการ ผู้อานวยการใหญ่ ตาแหน่ งรองกรรมการผู้อานวยการใหญ่ และตาแหน่ งผู้บริหารระดับสูงอื่น ๆ และมีการพิจารณา ทบทวนตามความเหมาะสม เพื่อให้มนใจว่ ั ่ ามีผบู้ ริหารระดับสูงทีม่ คี วามรูค้ วามสามารถในการสืบทอดตาแหน่ งทีส่ าคัญ ขององค์กรต่อไปในอนาคต ส่วนที่ 2 หน้า 73


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

 กำรสรรหำและกระบวนกำรสรรหำกรรมกำรผูอ้ ำนวยกำรใหญ่ คณะกรรมการสรรหาและก าหนดค่ า ตอบแทนจะพิจ ารณาสรรหาบุ ค คลที่จ ะมาดารงต าแหน่ ง กรรมการ ผูอ้ านวยการใหญ่ตามคุณสมบัตทิ บ่ี ริษทั ฯ กาหนดไว้ โดยจะพิจารณาจากคุณสมบัตขิ องรองกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ และผู้ อ านวยการใหญ่ ภ ายในองค์ ก รก่ อ น หากไม่ มีผู้ ท่ีมีคุ ณ สมบัติ เ หมาะสมภายในองค์ก ร จึง จะสรรหาจาก บุคคลภายนอกองค์กร เพื่อเสนอชื่อให้คณะกรรมการบริษทั พิจารณาแต่งตัง้ 9.3

กำรกำกับดูแลบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วม

บริษทั ฯ ในฐานะบริษทั แม่ ทาหน้าทีก่ ากับดูแลการดาเนินธุรกิจของกลุ่มบริษทั กาหนดนโยบายและมาตรฐาน การกากับดูแลกิจการ กาหนดทิศทางและเป้ าหมายการดาเนินงานภายในกลุ่มบริษทั ตลอดจนติดตามการปฏิบตั ติ ามใน เรื่องดังกล่าวอย่างสม่าเสมอ ทัง้ นี้ คณะกรรมการบริษทั มีอานาจในการกาหนดทิศทางและรูปแบบในการดาเนินธุรกิจ กลยุทธ์ แผนธุรกิจ งบประมาณ และจัดสรรทรัพยากรต่าง ๆ ของกลุ่มบริษทั โดยรวม และมีอานาจในการตัดสินใจเรื่องที่ มีนัยสาคัญต่อการดาเนินธุรกิจของกลุ่มบริษทั เช่น การลงทุนหรือการจาหน่ ายไปซึง่ เงินลงทุน การได้มาหรือจาหน่าย ไปซึง่ ทรัพย์สนิ การเข้าร่วมลงทุนหรือยกเลิกการเข้าร่วมลงทุนกับบริษทั อื่น เป็ นต้น นโยบายการลงทุนในบริษทั ย่อยและบริษทั ร่วม มีรายละเอียดดังนี้  นโยบำยกำรลงทุนในบริษทั ย่อย บริษทั ฯ มีนโยบายลงทุนในกิจการทีส่ อดคล้องหรือสนับสนุนธุรกิจหลักของแต่ละสายธุรกิจ โดยใช้บริษทั ย่อย เป็ นตัวกาหนดตาแหน่ งทางการตลาดและความชัดเจนของแต่ละสายธุรกิจ และเพิม่ ประสิทธิภาพในการประกอบธุรกิจ และความคล่องตัวในการเติบโต บริษัทฯ กาหนดนโยบายการดาเนินธุรกิจ ทิศทางและเป้ าหมายการดาเนินงานของบริษัทย่อย ซึ่งบริษัทฯ พิจารณาแล้วเห็นว่าเป็ นการสนับสนุ นวัตถุประสงค์และเป้ าหมายระยะยาวของกลุ่มบริษทั ผ่าน (1) ที่ประชุมผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ย่อย โดยกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่หรือบุคคลอื่นทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากบริษทั ฯ ในการเข้าร่วมประชุมผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ย่อยจะต้องออกเสียงลงคะแนนตามทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากบริษทั ฯ และ (2) คณะกรรมการของบริษทั ย่อย โดยการส่งตัวแทนในระดับกรรมการบริหารหรือผู้บริหารระดับสูงของบริษัทฯ หรือบุคคลอื่นที่ได้รบั มอบหมายจาก คณะกรรมการบริษทั เข้าดารงตาแหน่ ง กรรมการ (รวมถึงผูบ้ ริหาร) ในบริษทั ย่อย เพื่อร่วมกาหนดกลยุทธ์ แผนธุรกิจ งบประมาณ และติดตามผลการดาเนินงานของบริษทั ย่อย ทัง้ นี้ ตัวแทนของบริษทั ฯ ดังกล่าวจะต้องได้รบั การแต่งตัง้ จากคณะกรรมการบริษทั หรือคณะกรรมการบริหาร (แล้วแต่กรณี) เว้นแต่บริษทั ย่อยทีม่ ขี นาดเล็ก คณะกรรมการบริษทั หรือคณะกรรมการบริหารอาจมอบหมายให้กรรมการผูอ้ านวยการใหญ่เป็ นผูแ้ ต่งตัง้ ตัวแทนเข้าดารงตาแหน่ งกรรมการ (รวมถึงผูบ้ ริหาร) ในบริษทั ดังกล่าวก็ได้ บุคคลซึง่ เป็ นตัวแทนของบริษทั ฯ จะต้องปฏิบตั หิ น้าทีใ่ นฐานะกรรมการ (หรือผูบ้ ริหาร) ของบริษทั ย่อยด้วยความ รับผิดชอบ กากับดูแลและติดตามการดาเนินธุรกิจ ของบริษัทย่อยให้เป็ นไปตามกฎหมายและกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง รวมถึงนโยบายการกากับดูแลกิจการและจริยธรรมทางธุรกิจ และนโยบายการมอบหมายอานาจ (Policy on Delegation of Authority) โดยใช้ดุลยพินิจในการพิจารณาเรื่องต่าง ๆ เพื่อประโยชน์ของบริษทั ย่อยและสอดคล้องกับนโยบายของกลุ่ม บริษทั โดยรวม ทัง้ นี้ บุคคลซึง่ เป็ นตัวแทนของบริษทั ฯ จะต้องรายงานฐานะการเงินและผลการดาเนินงาน หรือเสนอเรื่องที่ มีนัยสาคัญต่ อการดาเนินธุรกิจ ของบริษัทย่อยต่อคณะกรรมการบริษัทหรือคณะกรรมการบริหาร (แล้วแต่ กรณี ) ตาม ส่วนที่ 2 หน้า 74


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

นโยบายการมอบหมายอานาจ (Policy on Delegation of Authority) รวมถึงกากับดูแลให้บริษัทย่อยมีการเปิ ด เผย ข้อมูลดังกล่าวอย่างถูกต้อง ครบถ้วน มีการจัดการเกี่ยวกับรายการที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ ระหว่างบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยอย่างเหมาะสม (at arm’s length basis) ตลอดจนมีระบบการควบคุมภายในทีร่ ดั กุมและ เพียงพอ  นโยบำยกำรลงทุนในบริษทั ร่วม บริษัทฯ มีนโยบายร่วมลงทุนกับพันธมิตรทางธุรกิจ และ/หรือ บริษัทที่มคี วามชานาญเฉพาะด้านเพื่อเสริม ธุรกิจหลักของกลุ่มบริษัท โดยจะลงทุนในสัดส่วนไม่ต่ ากว่าร้อยละ 25 เว้นแต่ในกรณีมเี หตุสมควรหรือเหมาะสมทีจ่ ะ ลงทุนในสัดส่วนต่ากว่าร้อยละ 25 บริษทั ฯ สอบทานและติดตามผลการดาเนินงานของบริษทั ร่วม รวมถึงส่งเสริมการปฏิบตั ติ ามหลักการกากับดูแล กิจการทีด่ แี ละจริยธรรมทางธุรกิจซึง่ จะต้องเทียบเท่ากับมาตรฐานสากลหรือบรรทัดฐานของบริษทั ฯ โดยการส่งตัวแทนใน ระดับกรรมการบริหารหรือผูบ้ ริหารระดับสูงของบริษทั ฯ หรือบุคคลอื่นทีไ่ ด้รบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั เข้าดารง ต าแหน่ งกรรมการในบริษัทร่ วมนั น้ ๆ ทัง้ นี้ ตัว แทนของบริษัท ฯ ดัง กล่ า วจะต้ อ งได้ร ับ การแต่ ง ตัง้ จากกรรมการ ผู้อ านวยการใหญ่ เว้น แต่ บ ริษัท ร่ ว มซึ่ง บริษัท ฯ ถือ ครองหุ้น อย่ า งมีนัย สาคัญ แต่ ไ ม่ มีอ านาจควบคุ ม กิจ การ ให้ คณะกรรมการบริษทั หรือคณะกรรมการบริหาร (แล้วแต่กรณี) เป็ นผูแ้ ต่งตัง้ บุคคลเข้าดารงตาแหน่ งกรรมการในบริษทั ดังกล่าว นอกจากนี้ บริษทั ฯ อาจจัดให้มสี ญ ั ญาระหว่างผูถ้ อื หุน้ (shareholders’ agreement) ของบริษทั ร่วม หรือข้อตกลง อื่นใดเพื่อให้เกิดความชัดเจนในการบริหารจัดการและการมีสว่ นร่วมในการตัดสินใจในเรื่องทีม่ นี ยั สาคัญต่อการดาเนินธุรกิจ ของบริษัทร่วม ตลอดจนเพื่อให้มนใจว่ ั ่ าการร่วมลงทุนในกิจการดังกล่ าวจะสามารถสร้างผลตอบแทนและก่ อให้เกิด ประโยชน์สงู สุดแก่กลุ่มบริษทั บุคคลซึง่ เป็ นตัวแทนของบริษทั ฯ จะต้องปฏิบตั หิ น้าทีใ่ นฐานะกรรมการของบริษทั ร่วมด้วยความรับผิดชอบ เพื่อ ประโยชน์ของบริษทั ร่วมและสอดคล้องกับนโยบายของกลุ่มบริษทั โดยรวม ทัง้ นี้ บุคคลซึง่ เป็ นตัวแทนของบริษทั ฯ จะต้อง รายงานฐานะการเงินและผลการด าเนิ นงาน หรือเสนอเรื่อ งที่มีนั ย ส าคัญ ต่ อการด าเนิ น ธุ ร กิจ ของบริษัท ร่ ว มต่ อ คณะกรรมการบริษทั หรือคณะกรรมการบริหาร (แล้วแต่กรณี) เพื่อพิจารณา กากับดูแลให้มกี ารจัดการเกีย่ วกับรายการที่ อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ระหว่างบริษัทฯ และบริษัทร่วมอย่างเหมาะสม (at arm’s length basis) และตรวจสอบให้มกี ารบันทึกมติท่ปี ระชุมคณะกรรมการอย่างถูกต้อง ครบถ้วน รวมถึงความคิดเห็นหรือคัดค้านของ กรรมการเสียงส่วนน้อย 9.4

กำรดูแลเรือ่ งกำรใช้ข้อมูลภำยในและควำมขัดแย้งทำงผลประโยชน์

9.4.1

กำรป้ องกันกำรใช้ข้อมูลภำยใน

บริษทั ฯ กาหนดนโยบายป้ องกันการใช้ขอ้ มูลภายใน โดยห้ามมิให้กรรมการ ผูบ้ ริหาร และพนักงานของกลุ่ม บริษทั ตลอดจนผูท้ เ่ี กีย่ วข้อง ใช้ขอ้ มูลภายในเพื่อประโยชน์ในการซือ้ ขายหลักทรัพย์ของบริษทั ฯ บริษทั ย่อย และบริษทั ร่วม และห้ามมิให้เปิ ดเผยข้อมูล ภายในต่ อบุ คคลภายนอกหรือ ผู้ท่มี ิไ ด้มีส่ว นเกี่ยวข้อง ก่อนที่จะมีการเปิ ด เผยให้ ประชาชนทราบโดยทัวถึ ่ งกันผ่านตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เพื่อให้เกิดความชัดเจนในการปฏิบตั ิ และเพื่อให้สอดคล้องกับเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (ตามทีม่ กี ารแก้ไขเพิม่ เติม) คณะกรรมการบริษทั กาหนดหลักปฏิบตั ใิ นการป้ องกันการใช้ ส่วนที่ 2 หน้า 75


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ข้อมูลภายในโดยมิชอบของกลุ่มบริษัท เพิม่ เติม โดยให้มผี ลบังคับใช้กบั บริษัทฯ บริษัทย่อย และบริษัทร่วมทัง้ หมด ภายใต้กลุ่มบริษทั ซึง่ มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ บุคคลที่ถกู ห้ำมกำรซื้อขำย - บริษทั ฯ บริษทั ย่อย และ บริษทั ร่วม

หลักทรัพย์ที่ ห้ำมกำรซื้อขำย หลักทรัพย์ของบริษทั ฯ บริษทั ย่อย และบริษทั ร่วม

- กรรมการ ผูบ้ ริหาร พนักงาน และ/หรือ ผูท้ ่ี เกีย่ วข้องของบริษทั ฯ บริษทั ย่อย และบริษทั ร่วม ทีอ่ ยู่ในตาแหน่งหรือสาย งานทีส่ ามารถเข้าถึงข้อมูล ภายในได้

ช่วงเวลำห้ำมกำรซื้อขำย กรณี เปิ ดเผยงบกำรเงิ น 1 เดือนก่อนวันประชุมคณะกรรมการ บริษทั ทีม่ วี าระอนุมตั งิ บการเงิน จนถึง 1 วันทาการหลังการเปิ ดเผย งบการเงินผ่านช่องทางการเผยแพร่ ข้อมูลของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย

กรณี ที่อำจส่งผลกระทบ ต่อรำคำหลักทรัพย์ 14 วันก่อนวันประชุมคณะกรรมการ บริษทั ทีม่ วี าระอนุมตั เิ รือ่ งทีอ่ าจส่ง ผลกระทบต่อราคาหลักทรัพย์ จนถึง 1 วันทาการหลังการเปิ ดเผยเรือ่ ง ดังกล่าวผ่านช่องทางการเผยแพร่ ข้อมูลของตลาดหลักทรัพย์แห่ง ประเทศไทย

กรรมการและผู้บริหารของบริษัทฯ จะต้องรายงานการเปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพย์ (รวมถึงการ เปลี่ยนแปลงการถือครองหลักทรัพย์ของคู่สมรสและบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ) ต่อสานักงาน ก.ล.ต. ตามมาตรา 59 แห่งพระราชบัญญัตหิ ลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (ตามที่มกี ารแก้ไขเพิม่ เติม ) ภายใน 3 วันทาการนับ จากวันทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงการถือครองหลักทรัพย์ ตลอดจนจัดส่งสาเนาให้แก่สานักเลขานุการบริษทั เพื่อรวบรวม และ นาเสนอต่อทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั เป็ นรายไตรมาส 9.4.2

ควำมขัดแย้งทำงผลประโยชน์

คณะกรรมการบริษัท ได้กาหนดนโยบายการทารายการระหว่างกัน และรายการที่อาจมี ความขัดแย้งทาง ผลประโยชน์ไว้เ ป็ น ลายลักษณ์อกั ษร โดยรวบรวมอยู่ในนโยบายการกากับดูแลกิจการและจริยธรรมทางธุรกิจ ทัง้ นี้ บริษัทฯ มีนโยบายทีจ่ ะปฏิบตั ติ ามแนวทางของตลาดหลักทรัพย์และพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ เพื่อผลประโยชน์สงู สุดของบริษทั ฯ โดยถือเป็ น หน้าที่ของบุคลากรทุกระดับที่จะพิจารณาแก้ไขปั ญหาความขัดแย้ง ทางผลประโยชน์อ ย่า งรอบคอบ ยึด หลัก ความซื่อสัตย์ สุจริต มีเหตุ มผี ล และเป็ นอิสระภายในกรอบจริยธรรมที่ดี ตลอดจนมีการเปิ ดเผยข้อมูลอย่างครบถ้วนเพื่อผลประโยชน์ของบริษทั ฯ โดยรวมเป็ นสาคัญ  นโยบำยกำรทำรำยกำรระหว่ำงกันและรำยกำรที่อำจมีควำมขัดแย้งทำงผลประโยชน์ โปรดพิจารณารายละเอียดใน หัวข้อ 12 รายการระหว่างกัน  กำรจัดทำรำยงำนกำรมีส่วนได้เสียของกรรมกำรและผูบ้ ริหำร เพื่อป้ องกันรายการทีอ่ าจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์กบั บริษทั ฯ และเพื่อให้เป็ นไปตามกฎเกณฑ์ และประกาศทีเ่ กีย่ วข้อง บริษทั ฯ กาหนดให้กรรมการและผูบ้ ริหารของบริษทั ฯ จัดส่งแบบแจ้งรายงานการมีส่วนได้เสีย ของตนและบุคคลทีม่ คี วามเกีย่ วข้องให้กบั บริษทั ฯ ในกรณีดงั ต่อไปนี้

ส่วนที่ 2 หน้า 76


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

1.

จัดส่งแบบแจ้งรายงานครัง้ แรก เมื่อเข้าดารงตาแหน่งกรรมการหรือผูบ้ ริหารเข้าใหม่ของบริษทั ฯ

2.

จัดส่งแบบแจ้งรายงาน เพื่อปรับปรุงข้อมูล ณ วันเริม่ ต้นปี บญ ั ชี (1 เมษายน ของทุกปี )

3.

จัดส่งแบบแจ้งรายงานเมื่อมีการเปลีย่ นแปลงข้อมูลสาคัญทีม่ ผี ลทาให้เกิดการมีส่วนได้เสียหรือความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์ระหว่างปี บญ ั ชี

เลขานุ การบริษัทเป็ นผู้เก็บรักษารายงานการมีส่วนได้เสียที่รายงานโดยกรรมการหรือผู้บริหาร และจัดส่ง สาเนารายงานการมีส่วนได้เสียให้ประธานกรรมการและประธานกรรมการตรวจสอบทราบภายใน 7 วันทาการนับแต่ วันทีบ่ ริษทั ฯ ได้รบั รายงานนัน้ ทัง้ นี้ เพื่อใช้ในการตรวจสอบและกากับดูแลด้านความขัดแย้งทางผลประโยชน์ 9.5

ค่ำตอบแทนของผูส้ อบบัญชี  ค่ำตอบแทนกำรสอบบัญชี

บริษทั ฯ และบริษทั ย่อยรวม 51 บริษทั ได้จ่ายค่าตอบแทนการตรวจสอบและสอบทานงบการเงินสาหรับรอบ ระยะเวลาบัญชีสน้ิ สุดวันที่ 31 มีนาคม 2561 (และรอบระยะเวลาบัญชีสน้ิ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 สาหรับ MACO และ บริษทั ย่อยของ MACO) ให้แก่ บริษทั สานักงาน อีวาย จากัด เป็ นจานวนรวมทัง้ สิน้ 24.16 ล้านบาท นอกจากนี้ บริษทั ย่อยอีก 2 บริษทั กล่าวคือ VGI Global Media (Malaysia) Sdn Bhd ซึง่ เป็ นบริษทั ย่อยทีจ่ ดั ตัง้ ในประเทศมาเลเซีย ได้จ่ายค่าตอบแทนการตรวจสอบและสอบทานงบการเงิน สาหรับรอบระยะเวลาบัญชีสน้ิ สุดวันที่ 31 มีนาคม 2561 ให้แก่ Crowe Horwath ซึง่ เป็ น ผูส้ อบบัญชีทอ้ งถิน่ เป็ น จานวนทัง้ สิน้ 0.01 ล้า นบาท และ MACO Outdoor Sdn Bhd ซึง่ เป็ นบริษทั ย่อยทีจ่ ดั ตัง้ ในประเทศมาเลเซีย ได้จ่ายค่าตอบแทนการตรวจสอบและสอบทานงบการเงินสาหรับรอบ ระยะเวลาบัญชีสนิ้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 2560 ให้แก่ Leslie Yap & Co. ซึง่ เป็ นผูส้ อบบัญชีทอ้ งถิน่ เป็ นจานวนทัง้ สิน้ 0.04 ล้านบาท ทัง้ นี้ ผูส้ อบบัญชีทงั ้ สามรายไม่มคี วามสัมพันธ์หรือส่วนได้เสีย (นอกเหนือจากการให้บริการการสอบบัญชี) กับ บริษทั ฯ บริษทั ย่อย ผูบ้ ริหาร ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูท้ เ่ี กีย่ วข้องกับบุคคลดังกล่าว อันอาจมีผลทาให้ไม่สามารถปฏิบตั ิ หน้าทีไ่ ด้อย่างอิสระแต่อย่างใด  ค่ำบริกำรอื่น บริษัท ฯ และบริษัท ย่อ ยได้จ่า ยค่า สอบทานการประเมิน ราคาและการด้อ ยค่ าของเงิน ลงทุน ค่ า ที่ป รึกษา เกี่ยวกับการลงทุนและมาตรฐานการรายงานทางการเงิน ให้แก่ บริษัท อีวาย คอร์ปอเรท เซอร์วิสเซส จากัด เป็ น จานวนทัง้ สิน้ 2.68 ล้านบาท 9.6

กำรปฏิ บตั ิ ตำมหลักกำรกำกับดูแลกิ จกำรที่ดีในเรือ่ งอื่น ๆ

จากการที่สานักงาน ก.ล.ต. และตลาดหลักทรัพย์ได้รณรงค์และส่งเสริมให้บริษัทจดทะเบียนตระหนักถึง ประโยชน์ของการกากับดูแลกิจการทีด่ ี บริษทั ฯ ได้เล็งเห็นและให้ความสาคัญกับการพัฒนาแนวทางการดาเนินงานของ บริษัทฯ เพื่อให้สอดคล้องกับหลักการกากับดูแลกิจการที่ดี มาโดยตลอด ทัง้ นี้ ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัท ครัง้ ที่ 3/2561 เมื่อ วัน ที่ 26 มีน าคม 2561 ได้ร ับ ทราบหลัก การก ากับ ดู แ ลกิจ การที่ดีส าหรับ บริษัท จดทะเบีย นปี 2560 (Corporate Governance Code) ของสานักงาน ก.ล.ต. แล้ว และได้นาหลักการดังกล่าว ตลอดจนหลักการกากับดูแล ส่วนที่ 2 หน้า 77


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

กิจการที่ดสี าหรับบริษัทจดทะเบียน ปี 2555 ของตลาดหลักทรัพย์ มาปรับใช้ตามความเหมาะสมกับธุรกิจของบริษัทฯ เพื่อให้กจิ การมีผลประกอบการทีด่ ใี นระยะยาว มีความน่าเชื่อถือสาหรับผูถ้ อื หุน้ และผูม้ สี ว่ นได้เสียต่าง ๆ ตลอดจนสร้าง คุณค่าให้แก่กจิ การอย่างยังยื ่ น ทัง้ นี้ ในปี 2560/61 บริษทั ฯ ได้ปฏิบตั ติ ามหลักการกากับดูแลกิจการทีด่ สี าหรับบริษทั จดทะเบียนดังกล่าว ยกเว้นบางกรณีทบ่ี ริษทั ฯ ยังไม่สามารถนามาปฏิบตั ไิ ด้ ซึง่ มีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 1.

คณะกรรมการบริษทั ควรประกอบด้วยจานวนกรรมการไม่น้อยกว่า 5 คน และไม่ควรเกิน 12 คน คาชี้แจง ปั จจุบนั บริษัทฯ มีกรรมการจานวน 14 คน ซึ่งเป็ นผู้ทรงคุณวุฒทิ ่มี คี วามรู้ ความสามารถ ทักษะ ประสบการณ์ และความเชีย่ วชาญทีห่ ลากหลายอันเป็ นประโยชน์และจาเป็ นต่อการดาเนินธุรกิจ ทีห่ ลากหลาย และเหมาะสมกับขนาดธุรกิจของบริษทั ฯ

2.

ประธานคณะกรรมการของบริษทั ฯ ควรเป็ นกรรมการอิสระ คาชี้แจง บริษัทฯ ไม่ได้กาหนดให้ประธานคณะกรรมการเป็ นกรรมการอิสระ เนื่องจากเห็นว่าธุรกิจ หลักทัง้ 4 ธุรกิจของบริษทั ฯ เป็ นธุรกิจทีม่ คี วามซับซ้อน หลากหลาย และมีลกั ษณะเฉพาะทีต่ ้องการ ผูน้ าทีม่ คี วามสามารถ ประสบการณ์ ความเชีย่ วชาญ ตลอดจนความรูค้ วามเข้าใจในการบริหารธุรกิจ อย่างแท้จริง อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ว่าประธานคณะกรรมการจะไม่ใช่กรรมการอิสระ บริ ษทั ฯ ก็มรี ะบบ การควบคุมภายในทีเ่ พียงพอและเหมาะสม มีกลไกการดาเนินงานทีม่ กี ารถ่วงดุลอานาจ โปร่งใส และ สามารถตรวจสอบได้ คณะกรรมการบริษทั ยึดมันในหน้ ่ าทีแ่ ละปฏิบตั หิ น้าทีด่ ว้ ยความซื่อสัตย์ สุจริต สามารถใช้ดุลยพินิจได้อย่างเป็ นอิสระ เพื่อรักษาผลประโยชน์ของบริษทั ฯ และผูถ้ อื หุน้ เป็ นสาคัญ

3.

คณะกรรมการบริษทั ควรกาหนดนโยบายจากัดจานวนปี ในการดารงตาแหน่ งของกรรมการอิสระไว้ไม่ เกิน 9 ปี คาชี้แจง คณะกรรมการบริษัทได้ชะลอการกาหนดนโยบายจากัดจานวนปี ในการดารงตาแหน่ งของ กรรมการอิสระไว้ เนื่องจากพิจารณาแล้วเห็นว่า ลักษณะการประกอบธุรกิจของบริษัทฯ ต้องการ กรรมการอิสระที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ เฉพาะทาง อีกทัง้ กรรมการอิสระของ บริษัทฯ ยัง เป็ นผู้มีคุณสมบัติครบถ้วนตามนิยามกรรมการอิสระของบริษัทฯ ซึ่งยังสามารถปฏิบตั ิ หน้าทีใ่ นฐานะกรรมการอิสระได้เป็ นอย่างดี

4.

คณะกรรมการบริษทั ควรกาหนดนโยบายจากัดจานวนบริษทั ทีก่ รรมการแต่ละคนจะไปดารงตาแหน่ง กรรมการไว้ไม่เกิน 5 แห่ง คาชี้แจง คณะกรรมการบริษทั ได้ชะลอการกาหนดนโยบายจากัดจานวนบริษทั ทีก่ รรมการแต่ละคนจะ ไปดารงตาแหน่ งกรรมการไว้ เนื่องจากพิจารณาแล้วเห็นว่าตามหลักเกณฑ์การสรรหากรรมการของ บริษัทฯ คณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทนจะเป็ นผู้พิจารณาถึง ความรู้ ความสามารถ ความเชี่ย วชาญ และประสบการณ์ ท่ีเหมาะสม ประวัติแ ละคุณสมบัติท่ไี ม่มีลักษณะต้อ งห้ามตาม กฎหมาย ความเป็ นอิสระ ตลอดจนความสามารถในการทุ่มเทในการปฏิบตั งิ านให้กบั บริษทั ฯ ได้อย่าง เต็มที่ จึงเห็นว่าการดารงตาแหน่ งกรรมการในบริษัทเกิน 5 แห่ง มิได้ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการ ปฏิบตั งิ านของกรรมการอย่างมีนัยสาคัญ หากบริษทั ฯ มีหลักเกณฑ์ในการสรรหากรรมการทีช่ ดั เจนและ เหมาะสมเพียงพอ

ส่วนที่ 2 หน้า 78


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

5.

แบบ 56-1 ปี 2560/61

คณะกรรมการสรรหาควรเป็ นกรรมการอิสระทัง้ คณะ ค าชี้แ จง ณ วัน ที่ 31 มีน าคม 2561 คณะกรรมการสรรหาและก าหนดค่ า ตอบแทนของบริษัท ฯ ประกอบด้วยสมาชิก 5 คน ซึ่งเป็ นกรรมการอิสระจานวน 3 คน และกรรมการบริหารจานวน 2 คน โดยจ านวนคณะกรรมการอิสระคิด เป็ น ร้อ ยละ 60 ของจ านวนคณะกรรมการสรรหาและก าหนด ค่าตอบแทนทัง้ คณะ ซึง่ จากผลการปฏิบตั งิ านของคณะกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทนทีผ่ ่านมา กรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทนทัง้ 5 คน มีความเป็ นอิสระในการปฏิบตั งิ านตามหน้าที่และ ความรับ ผิด ชอบที่ร ะบุ ไ ว้อ ย่ า งชัด แจ้ง ในกฎบัต รคณะกรรมการสรรหาและก าหนดค่ า ตอบแทน ตลอดจนสามารถให้ความเห็น ชอบหรือออกเสียงคัดค้านได้โดยไม่มกี ารแทรกแซงจากฝ่ ายบริหาร คณะกรรมการบริษัท จึง พิจ ารณาแล้ว เห็น ว่ า องค์ป ระกอบของคณะกรรมการสรรหาและก าหนด ค่าตอบแทนมีความเหมาะสมและเพียงพอ

ส่วนที่ 2 หน้า 79


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

10.

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ควำมรับผิดชอบต่อสังคม ชุมชน และสิ่ งแวดล้อม

กลุ่มบริษัทได้จดั ทารายงานความยังยื ่ น ประจาปี 2560/61 ตามกรอบแนวทางด้านการพัฒนาอย่างยังยื ่ น ของ Global Reporting Initiative (GRI) เพื่อสื่อสารนโยบายและผลการปฏิบตั ิงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคม ชุมชน และ สิง่ แวดล้อม (CSR) ของกลุ่มบริษัท ผ่านตัวชี้วดั ด้านเศรษฐกิจ (Economic) ด้านสิง่ แวดล้อม (Environmental) และด้าน สังคม (Social) ทัง้ นี้ โปรดพิจารณารายละเอียดใน รายงานความยังยื ่ น ประจาปี 2560/61 ซึ่งเป็ นเอกสารแยกต่างหากอีกหนึ่ง ฉบับ บนเว็บไซต์ของบริษทั ฯ ที่ www.btsgroup.co.th

ส่วนที่ 2 หน้า 80


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

11.

กำรควบคุมภำยในและกำรบริ หำรจัดกำรควำมเสี่ยง

11.1

ระบบกำรควบคุมภำยในของบริษทั ฯ

แบบ 56-1 ปี 2560/61

คณะกรรมการบริษทั ตระหนักถึงความสาคัญของการมีระบบการควบคุมภายในทีด่ ี ซึง่ จะทาให้มนใจได้ ั่ ว่าการ บริหารจัดการและการควบคุมการดาเนินงานของบริษัทฯ เป็ นไปอย่างมีระเบียบและสอดคล้องกับวัตถุประสงค์และ เป้ าหมายระยะยาวของกลุ่มบริษัท โดยกาหนดให้ฝ่ายบริหารมีหน้าที่ในการจัดทาโครงสร้างของระบบการควบคุม ภายในซึ่งครอบคลุมในด้านต่าง ๆ ได้แก่ การควบคุมภายในองค์กร (Control Environment) การประเมินความเสีย่ ง (Risk Management) การควบคุ ม การปฏิ บ ั ติ ง าน (Control Activities) ระบบสารสนเทศและการสื่ อ สารข้ อ มู ล (Information & Communication) และระบบการติด ตาม (Monitoring Activities) และน าไปปฏิบ ัติจ ริง เพื่อ ให้บ รรลุ วัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนดาเนินการเพื่อให้มนใจว่ ั ่ า บริษทั ฯ มีระบบการควบคุมภายในทีเ่ พียงพอและ เหมาะสมกับสภาวการณ์ ณ ช่วงเวลาใด ๆ โดยมีการพัฒนาและปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง สาหรับ ปี 2560/61 นี้ ที่ป ระชุ ม คณะกรรมการบริษัท เมื่อ วัน ที่ 28 พฤษภาคม 2561 ได้ร ับ ทราบผลการ ประเมินความเพียงพอของระบบการควบคุมภายในของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยคณะกรรมการบริษทั มีความเห็น สอดคล้องกับคณะกรรมการตรวจสอบว่า บริษัทฯ มีระบบการควบคุมภายในที่เพียงพอและเหมาะสมกับการดาเนิน ธุรกิจของบริษทั ฯ และไม่มขี อ้ บกพร่องกับการควบคุมภายในทีเ่ ป็ นสาระสาคัญ นอกจากนี้ ผูส้ อบบัญชีของบริษทั ฯ ได้ สอบทานระบบการควบคุมภายในทีเ่ กีย่ วข้องกับการจัดทาและนาเสนองบการเงินของบริษทั ฯ เพื่อแสดงความเห็นว่างบ การเงินได้แสดงฐานะการเงิน ผลการดาเนินงาน และกระแสเงินสด โดยถูกต้องตามที่ ควรในสาระสาคัญตามมาตรฐาน รายงานทางการเงิน  กำรควบคุมภำยในองค์กร (Control Environment) บริษัทฯ มีการกาหนดวิสยั ทัศน์ พันธกิจ กลยุทธ์ ทิศทางการดาเนินธุรกิจ และเป้ าหมายระยะยาวไว้อย่าง ชัดเจน และประกาศให้พนักงานทราบโดยทัวกั ่ น เพื่อเป็ นแนวทางในการดาเนินงานให้กบั พนักงานทุกคน ตลอดจนมี การกาหนดโครงสร้างองค์กร สายการบังคับบัญชา อานาจอนุ มตั ิ และระเบียบปฏิบตั งิ านด้านต่าง ๆ ที่เหมาะสมกับ หน้ า ที่แ ละความรับผิด ชอบของแต่ ละฝ่ ายงานอย่า งชัดเจน ตลอดจนนโยบายเกี่ย วกับการเข้าทารายการที่อาจมี ความขัดแย้งกับผลประโยชน์ของบริษทั ฯ เพื่อเป็ นแนวทางสาหรับผูบ้ ริหารและพนักงานในการปฏิบตั ติ นและป้ องกัน ไม่ให้เกิดรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งกับผลประโยชน์ทด่ี ที ส่ี ดุ ของกิจการและผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ นอกจากนี้ บริษทั ฯ มี การจัดทานโยบายการกากับดูแลกิจการและจริยธรรมทางธุรกิจ สาหรับกลุ่มบริษทั ขึน้ เพื่อให้กรรมการ ผูบ้ ริหาร และ พนักงานของกลุ่มบริษทั บีทเี อสใช้เป็ นแนวทางในการปฏิบตั หิ น้าทีข่ องตนอย่างซื่อตรงและรักษาไว้ซง่ึ จรรยาบรรณใน การประกอบธุรกิจ โดยนโยบายการกากับดูแลกิจการและจริยธรรมทางธุรกิจ ประกอบด้วยเนื้อหาเกีย่ วกับนโยบายการ ก ากับ ดูแ ลกิจ การ จรรยาบรรณทางธุ ร กิจ ตลอดจนนโยบายต่ อ ต้า นการทุ จ ริต และติด สิน บน และนโยบายความ รับผิดชอบต่อสังคม ชุมชน และสิง่ แวดล้อม ซึง่ กลุ่มบริษัทบีทเี อสได้ดาเนินกิจกรรม CSR ต่าง ๆ ตามกรอบแนวทาง ด้านการพัฒนาอย่างยังยื ่ นของ The Global Reporting Initiative (GRI) ผ่านตัวชีว้ ดั ด้านเศรษฐกิจ (Economic) ด้าน สิง่ แวดล้อม (Environmental) และด้านสังคม (Social) ทัง้ นี้ กลุ่มบริษทั บีทเี อสมีการกาหนดบทลงโทษทีเ่ หมาะสมหากมี การฝ่ าฝืนข้อกาหนดหรือนโยบายต่าง ๆ ของกลุ่มบริษทั

ส่วนที่ 2 หน้า 81


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

 กำรประเมิ นควำมเสี่ยง (Risk Management) การบริหารจัดการความเสีย่ งถือเป็ นส่วนสาคัญในการดาเนินธุรกิจของบริษัทฯ โดยบริษัทฯ มีนโยบายการ บริหารความเสีย่ งที่อาจมีผลกระทบต่อกลุ่มบริษทั ทัง้ ทีเ่ ป็ นปั จจัยภายในและภายนอก ให้อยู่ในระดับทีเ่ หมาะสมและ ยอมรับได้ และไม่สง่ ผลกระทบต่อหลักการกากับดูแลกิจการทีด่ ี ประเภทของควำมเสี่ยงแบ่งออกเป็ น 5 ประเภท คือ ความเสีย่ งด้านกลยุทธ์ ความเสีย่ งด้านการปฏิบตั ิการ ความเสีย่ งด้านการเงิน ความเสีย่ งด้านการปฏิบตั ิตามกฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับ และความเสีย่ งด้านการทุจริต ทัง้ นี้ การบริหารความเสีย่ งเป็ นส่วนหนึ่ ง ของการจัด ทาแผนธุร กิจ (Business Plan) ประจาปี เพื่อ ให้ก ารกาหนด แนวทางการจัดการความเสี่ยงนัน้ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ กลยุทธ์ ทิศทางและเป้ าหมายการดาเนินธุรกิจของกลุ่ม บริษทั

บริษทั ฯ กาหนดให้ผบู้ ริหารและพนักงานทุกคนในกลุ่มบริษทั เป็ นเจ้าของความเสีย่ ง มีหน้าทีใ่ นการประเมิน ความเสีย่ งของหน่ วยงานของตน รวมถึง ประสิทธิภาพของมาตรการควบคุมความเสีย่ งที่มอี ยู่ และนาเสนอแผนและ วิธกี ารในการลดความเสีย่ งดังกล่าว โดยจัดตัง้ คณะทำงำนกำรบริหำรควำมเสี่ยง ซึง่ ประกอบด้วยตัวแทนจากหน่วย ธุรกิจในกลุ่มบริษัท ทาหน้าที่รวบรวมความเสีย่ งของแต่ละหน่ วยงานและประเมินความเสีย่ งของกลุ่มบริษัท รวมถึง สนับสนุ นการดาเนินการตามกรอบการบริหารความเสี่ย งและรายงานต่ อคณะกรรมการบริหารทุกไตรมาส และต่ อ คณะกรรมการบริษัท เป็ นประจาทุกปี โดย กรอบกำรบริ ห ำรควำมเสี่ ย ง ประกอบด้ว ยกระบวนการ 5 ขัน้ ตอน ได้แ ก่ การกาหนดความเสี่ย ง การประเมิน ความเสี่ย งการรายงานความเสี่ย ง การควบคุม ความเสี่ย ง และการ ติด ตามความเสี่ยง โดย คณะกรรมกำรบริ หำรจะเป็ นศูนย์กลางการบริหารความเสีย่ งของกลุ่มบริษทั ซึง่ มีบทบาท ในการติดตามและควบคุ มความเสี่ย งหลักและปั จจัยต่ าง ๆ ที่อ าจจะส่ งผลกระทบอย่า งมีนัยสาคัญต่ อกลุ่มบริษัท คณะกรรมกำรบริ ษัทจะเป็ นผู้ดูแลและรับผิดชอบความเสี่ยงจากระดับบนลงล่ าง โดยมีบทบาทหน้ าที่ในการ 1) กาหนดนโยบายและกรอบการบริหารความเสีย่ ง 2) ประเมินความเหมาะสมของนโยบายและกรอบการบริหารความ เสีย่ งอย่างสม่าเสมอ และ 3) ดูแลให้มกี ารนานโยบายการบริหารความเสีย่ งองค์กร และการควบคุมภายในไปปฏิบตั จิ ริง และเพื่อให้สามารถบรรลุวตั ถุประสงค์ในการบริหารความเสีย่ ง คณะกรรมกำรตรวจสอบจึงมีบทบาทหน้าที่ในการ ประเมินความพอเพียงของนโยบายการบริหารความเสีย่ งองค์กร และให้คาแนะนาต่อ คณะกรรมการบริษั ทและฝ่ าย บริห าร นอกจากนี้ สำนั ก ตรวจสอบภำยในจะทาหน้ า ที่ใ นการตรวจสอบกระบวนการบริหารความเสี่ยง และ ประเมินความมีประสิทธิภาพของระบบการควบคุมภายในอย่างเป็ นอิสระ ส่วนที่ 2 หน้า 82


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

โปรดพิจ ารณารายละเอีย ดเพิ่ม เติม ใน นโยบายการบริห ารความเสีย่ งองค์ก ร บนเว็บ ไซต์ข องบริษัท ฯ ที่ www.btsgroup.co.th  กำรควบคุมกำรปฏิ บตั ิ งำน (Control Activities) บริษัทฯ มีมาตรการควบคุมความเสีย่ งในการปฏิบตั งิ านที่เป็ นลายลักษณ์อกั ษร ในรูปแบบต่าง ๆ โดยมี การกาหนดขอบเขตอานาจหน้าที่และวงเงินอานาจอนุ มตั ิของฝ่ ายบริหารในแต่ ละระดับ มีการกาหนดนโยบายและ ระเบียบปฏิบตั ิในการอนุ มตั ิธุรกรรมด้านการเงิน การจัดซื้อ จัดจ้าง และการบริหารงาน มีการนาระบบสารสนเทศ เพื่อ การจัดการ (ProMis) มาใช้ในการควบคุมธุรกรรมด้านการเงิน การจัดซื้ อจัด จ้า ง และการบริหาร เช่น Budget, Purchase Requisition (PR), Purchase Order (PO) โดยมีก ารแบ่ง แยกหน้าทีข่ องผู้จดั ทาและผูอ้ นุ มตั ิ โดยผูม้ ี อานาจในการอนุมตั ริ ายการ จะเป็ นไปตามลาดับขัน้ ตามทีร่ ะบุไว้ใน Chart of Delegation of Authority และมีการแบ่งแยก หน้าทีใ่ นแต่ละฝ่ ายงานอย่างชัดเจนเพื่อให้การดูแลตรวจสอบสามารถทาได้อย่างมีประสิทธิภาพ นอกจากนัน้ ยังมีค่มู อื การ ทางาน (Operational Manual) และ Work Instruction ซึง่ แต่ละหน่วยงานจะเป็ นผูจ้ ดั ทาขึน้ ให้เหมาะสมกับลักษณะงาน หน้าที่ และความรับผิดชอบของหน่ วยงานของตน บริษัทฯ ไม่มนี โยบายในการเข้าทาธุรกิจร่วมกับกรรมการ ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือผู้ ท่เี กี่ยวข้องกับ บุคคลดังกล่าว เว้นแต่มเี หตุจาเป็ นหรือเป็ นการสนับสนุ นธุรกิจของบริษทั ฯ และเป็ นไปเพื่อผลประโยชน์ทด่ี ที ส่ี ุดของ บริษทั ฯ และผูถ้ อื หุ้นโดยรวมเป็ นหลัก และในกรณีทม่ี กี ารเข้าทาธุรกรรมดังกล่าว บริษทั ฯ ได้จดั ให้มมี าตรการดูแลการ ทาธุรกรรมกับกรรมการ ผูบ้ ริหาร ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูท้ เ่ี กีย่ วข้องอย่างรัดกุมและชัดเจน โดยมีการกาหนดให้การทา รายการระหว่างกันของบริษัทฯ หรือบริษัทย่อยกับบุคคลที่อาจมีความขัดแย้ง นัน้ จะต้องปฏิบตั ิตามประกาศและ กฎเกณฑ์ท่เี กี่ยวข้อง และต้องเป็ นไปภายใต้เงื่อนไขทีส่ มเหตุสมผล หรือเงื่อนไขการค้าปกติ หรือราคาตลาด และให้ พิจารณาโดยถือเสมือนเป็ น รายการที่ก ระทากับบุคคลภายนอก (Arm’s Length Basis) ตลอดจนรายงานรายการ ระหว่างกันดังกล่าวต่อ คณะกรรมการตรวจสอบเพื่อสอบทานเป็ นรายไตรมาส ทัง้ นี้ สาหรับมาตรการหรือขัน้ ตอนการ อนุ มตั ิการทารายการระหว่างกันของบริษัทฯ ตลอดจนนโยบายหรือแนวโน้มการทารายการระหว่างกัน และนโยบาย เกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแย้งกับผลประโยชน์ ของบริษัทฯ สามารถดูรายละเอียดได้ใน หัวข้อ 12 รายการ ระหว่างกัน  ระบบสำรสนเทศและกำรสื่อสำรข้อมูล (Information & Communication) บริษทั ฯ มีการจัดการระบบข้อมูลสารสนเทศให้ครอบคลุมการปฏิบตั งิ าน ทัง้ ในระดับองค์กร ระดับการรายงาน ทางการเงิน ระดับหน่ วยปฏิบตั ิการ และระดับการปฏิบตั ิตามนโยบาย และระเบียบปฏิบตั ิต่าง ๆ ที่ใช้ในการควบคุม เพื่อให้มนใจว่ ั ่ ามีการติดต่อสื่อสารทีม่ ปี ระสิทธิภาพ เพื่อให้คณะกรรมการบริษทั ผูบ้ ริหาร พนักงาน ผูถ้ อื หุน้ นักลงทุน รวมถึงผูม้ สี ว่ นได้เสียทุกกลุ่ม ได้รบั ทราบข้อมูลทีส่ าคัญอย่างถูกต้อง แม่นยา และครบถ้วน นอกจากนี้ บริษทั ฯ ยังได้จดั ให้มชี ่องทางต่าง ๆ ทีพ่ นักงานหรือบุคคลภายนอกสามารถแจ้งเรื่องร้องเรียนต่าง ๆ แก่คณะกรรมการบริษทั หรือคณะกรรมการ ตรวจสอบ หรือหน่ วยงานที่เกี่ยวข้อง ผ่ านทางสานักเลขานุ การบริษัทอีเมล: CompanySecretary@btsgroup.co.th ส านัก ตรวจสอบภายในอีเมล: InternalAudit@btsgroup.co.th หรือ ฝ่ ายนักลงทุนสัมพันธ์อเี มล: ir@btsgroup.co.th นอกจากนี้ บริษัทฯ ได้ริเริ่มโครงการ “สายด่วน Hotline หนู ด่วนชวนชี้ช่อง” เพื่อรับเรื่องร้องเรียนที่เกี่ยวกับการฝ่ าฝื นหรือการ กระทาทีอ่ าจทาให้สงสัยได้ว่าเป็ นการฝ่ าฝืนนโยบายและแนวปฏิบตั ใิ นจริยธรรมทางธุรกิจของบริษทั ฯ ผ่านทางโทรศัพท์ 1 800 292 777 หรือ +66 (0) 2677 2800 หรืออีเมล: tell@thailand-ethicsline.com ซึง่ เป็ นช่องทางทีผ่ เู้ ชีย่ วชาญอิสระ ภายนอกองค์กรเป็ นผูร้ บั เรื่องร้องเรียน ส่วนที่ 2 หน้า 83


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

 ระบบกำรติ ดตำม (Monitoring Activities) บริษทั ฯ มีก ารตรวจสอบและปรับปรุงระบบการควบคุมภายในอย่างสม่าเสมอและต่อเนื่อง เพื่อให้สอดคล้อง กับปั จจัยภายในและภายนอกทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป โดยมีการติดตามประเมินผลระบบการควบคุมภายใน เพื่อพิจารณาผล การดาเนินงานที่เกิดขึ้นว่า เป็ นไปตามแผนธุร กิจ งบประมาณ และเป้ า หมายการดาเนิน ธุร กิจ ของบริษ ทั ฯ ที่ไ ด้ กาหนดไว้หรือไม่ ตลอดจนเสนอแนวทางการปฏิบตั ทิ จ่ี าเป็ น เพื่อดาเนินการแก้ไขภายในระยะเวลาทีเ่ หมาะสม และใน กรณีมกี ารตรวจพบข้อบกพร่องเกีย่ วกับระบบการควบคุมภายในทีส่ าคัญ ผูท้ เ่ี กีย่ วข้องจะต้องรายงานต่อคณะกรรมการ บริษทั และ/หรือ คณะกรรมการตรวจสอบโดยเร่งด่วน เพื่อชีแ้ จงสาเหตุ เสนอแนะแนวทางการแก้ไข ตลอดจนติดตาม ความคืบหน้าในการแก้ไขข้อบกพร่อง และรายงานต่อคณะกรรมการบริษทั และ/หรือ คณะกรรมการตรวจสอบ ภายใน ระยะเวลาที่กาหนด นอกจากนี้ บริษ ัท ฯ ได้กาหนดให้สานัก ตรวจสอบภายในตรวจสอบการปฏิบตั ิตามระบบการ ควบคุม ภายในทีว่ างไว้อ ย่า งสม่ า เสมอ และเพื่อ ให้ผูต้ รวจสอบภายในสามารถปฏิบ ตั ิง านได้อ ย่า งตรงไปตรงมา บริษัทฯ จึงได้กาหนดให้สานัก ตรวจสอบภายในขึน้ ตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ และรายงานผลการตรวจสอบ ภายในโดยตรงต่อคณะกรรมการตรวจสอบ 11.2

สำนักตรวจสอบภำยในและหัวหน้ ำหน่ วยงำนตรวจสอบภำยใน

11.2.1 สำนักตรวจสอบภำยใน สานักตรวจสอบภายในเป็ นหน่ วยงานอิสระภายในบริษทั ฯ และรายงานต่อคณะกรรมการตรวจสอบ ทาหน้าที่ ตรวจสอบและประเมินความเพียงพอของระบบควบคุมภายในของบริษทั ฯ ทัง้ ทีเ่ ป็ นข้อมูลทางการเงินและไม่ใช่ขอ้ มูล ทางการเงิน รวมทัง้ สอบทานการปฏิบ ตั ิต ามกฎเกณฑ์ภ ายในต่า งและให้ขอ้ เสนอแนะเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการ ดาเนินงานของบริษัทฯ เพื่อให้มนใจว่ ั ่ า บริษัทฯ ได้ปฏิบตั ิตามระเบียบและข้อบังคับ ของกฎหมายที่เ กี่ย วข้อ งอย่า ง ครบถ้วน มีการกากับดูแลและการควบคุมภายในที่ดี สามารถบรรลุวตั ถุประสงค์ การดาเนินงานขององค์กร สานักตรวจสอบภายในมีการวางแผนการตรวจสอบประจาปี และแผนการตรวจสอบระยะยาว 3 ปี โดยการ จัดทาแผนการตรวจสอบเป็ นไปตามหลักการประเมินความเสีย่ งที่ส่งผลกระทบต่อการดาเนินงานของบริษัทฯ และ ครอบคลุมกระบวนการดาเนินงานขององค์กร ซึง่ ผ่านการอนุ มตั จิ ากคณะกรรมการตรวจสอบ โดยขอบเขตการทางาน ของสานักตรวจสอบภายในจะครอบคลุมถึงการตรวจสอบ ติดตาม ควบคุม ทดสอบ สอบทาน และประเมินความ เพียงพอ และความมีประสิทธิภาพของระบบการควบคุมภายในของบริษทั ฯ รวมทัง้ คุณภาพของการปฏิบตั งิ านในเรื่อง ดังต่อไปนี้ -

ความน่ า เชื่อ ถือ ของระบบการควบคุ ม ภายใน ตลอดจนการปฏิบ ัติต ามมาตรฐานและนโยบายด้า น การบัญชี และการเงิน เพื่อให้ขอ้ มูลทางบัญชีและการเงินมีความถูกต้องเชื่อถือได้ แผนการจัด โครงสร้าง องค์กร วิธกี าร และมาตรการต่าง ๆ ในการป้ องกันทรัพย์สนิ จากการนาไปใช้โดยมิชอบให้ปลอดภัยจาก การทุจริตผิดพลาดทัง้ ปวง

-

ความน่ า เชื่อ ถือ ของระบบการควบคุ ม ภายในด้า นการบริห ารและการปฏิบ ัติง านว่ า ได้มีก ารปฏิบ ัติ ที่สอดคล้องกับนโยบาย แผนงาน และเป็ นไปตามกฎหมาย กฎระเบียบข้อบังคับของทางราชการและ หน่ วยงานกากับดูแล และระเบียบข้อบังคับของบริษทั ฯ ซึง่ ครอบคลุมกิจกรรมในด้านต่าง ๆ ได้แก่ การ จัดการ การปฏิบตั กิ าร การจัดซือ้ จัดจ้าง การตลาด การบริหาร การเงิน การบัญชี และทรัพยากรบุคคล

ส่วนที่ 2 หน้า 84


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

-

ความน่ าเชื่อถือของระบบการควบคุมภายในด้านสารสนเทศ โดยสอบทานโครงสร้างของฝ่ ายเทคโนโลยี สารสนเทศ การเข้าถึงข้อมูล การเข้าสูโ่ ปรแกรม การประมวลผล การพัฒนาระบบ การจัดทาข้อมูลสารอง การจัดทาแผนการสารองกรณีฉุกเฉิน อานาจการปฏิบตั งิ านในระบบ การจัดทาเอกสารจากระบบ รวมทัง้ การเก็บรักษาเอกสาร คู่มอื ตลอดจนผังระบบงานคอมพิวเตอร์

-

ความน่ าเชื่อถือของระบบการควบคุมภายในด้านการต่อต้านการทุจริต เพื่อให้สอดคล้องและตอบรับกับ มาตรการต่อต้านการทุจริต คอร์รปั ชันของบริษัทฯ ซึ่งจะช่วยส่งเสริมการดาเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรม และพัฒนาอย่างยังยื ่ นมากยิง่ ขึน้ อันประกอบไปด้วยกรอบแนวทางการรับเรื่องร้องเรียน การจัดการเรื่อง ร้องเรียน โดยมีการประสานงานกับหน่ วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อดาเนินการแก้ไขปั ญหาและหาแนวทาง ป้ องกัน เพื่อให้พนักงานรวมทัง้ ผูม้ สี ่วนได้เสียอื่น ๆ มีช่องทางในการแจ้งเรื่องร้องเรียน หรือเบาะแส ซึง่ สานักตรวจสอบภายในเป็ นช่องทางหนึ่งในกระบวนการรับเรื่องร้องเรียน โดยได้จดั ทาคู่มอื การรับเรื่ อง ร้องเรียนสาหรับเรื่องร้องเรียนทัวไป ่ เรื่องร้องเรียนทีม่ ผี ลกระทบอย่างมีนัยสาคัญ และเรื่องร้องเรียนที่ อาจเกิดจากการทุจริต คอร์ร ัปชัน โดยสานักตรวจสอบภายในจะมีการติดตามความคืบหน้ าของการ ดาเนินการเกีย่ วกับเรื่องร้องเรียนและรายงานต่อคณะกรรมการตรวจสอบ

สานักตรวจสอบภายในจะรายงานผลการตรวจสอบต่อคณะกรรมการตรวจสอบเป็ นประจาทุกไตรมาส รวมทัง้ ติดตามความคืบหน้าในการแก้ไขข้อบกพร่องตามข้อเสนอแนะอย่างสม่าเสมอ ทัง้ นี้ สานักตรวจสอบภายในเป็ นอิสระ จากหน่ ว ยงานอื่น ๆ ของบริษ ทั ฯ สามารถเข้า ถึง ข้อ มูล และทรัพ ย์ส นิ ของบริษ ทั ฯ ในส่ว นทีเ่ กีย่ วข้อ งกับ การ ปฏิบ ตั งิ านของผู้ต รวจสอบ รวมถึง สามารถขอข้อ มูลและคาชีแ้ จงจากผูท้ ีเ่ กีย่ วข้องในเรื่อ งทีไ่ ด้รบั มอบหมายจาก คณะกรรมการตรวจสอบให้ทาการตรวจสอบได้ นอกจากนัน้ ยังสนับสนุนให้หน่วยงานต่าง ๆ ในบริษทั ฯ มีการประเมิน ความเสีย่ งด้วยตนเอง ทัง้ นี้ เพื่อ ให้ร ะบบการควบคุม ภายในและการดาเนิน งานของบริษ ัท ฯ มีป ระสิท ธิภ าพและ ประสิทธิผล รายงานทางการเงินมีความน่าเชื่อถือ การปฏิบตั งิ านเป็ นไปตามข้อกาหนดของกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ ของทางราชการ หน่ วยงานกากับดูแล และตามมาตรฐาน นโยบาย แผนงาน ข้อบังคับ ระเบียบคาสัง่ และประกาศต่าง ๆ ของบริษทั ฯ รวมทัง้ ปกป้ องทรัพย์สนิ ของบริษทั ฯ และป้ องกันความเสียหายอันอาจเกิดขึน้ กับบริษทั ฯ ตลอดจนทาให้ เกิดการถ่วงดุล และตรวจสอบระหว่างกันอย่างเหมาะสมเพื่อให้เกิดความเชื่อมันอย่ ่ างสมเหตุสมผลในการปฏิบตั ิงาน ของบริษทั ฯ ทีจ่ ะบรรลุผลสาเร็จตามเป้ าหมายทีก่ าหนดไว้ นอกจากนี้ สานักตรวจสอบภายในได้สนับสนุ นให้บุคลากรมีการพัฒนา และอบรมความรู้อย่างต่อเนื่องทัง้ ภายในและภายนอก เพื่อให้มคี วามรูค้ วามสามารถ และความเชีย่ วชาญทางด้านวิชาชีพตรวจสอบภายใน และทักษะ ด้านอื่น ๆ ทีจ่ าเป็ นในการปฏิบตั งิ าน 11.2.2 หัวหน้ ำหน่ วยงำนตรวจสอบภำยใน บริษัท ฯ ได้จ ัด ตัง้ สานัก ตรวจสอบภายใน โดยมีน ายพิภ พ อิน ทรทัต ดารงต าแหน่ ง ผู้อ านวยการส านั ก ตรวจสอบภายในของบริษัทฯ ตัง้ แต่วนั ที่ 1 มกราคม 2554 เป็ นต้นมา ทัง้ นี้ เนื่องจากนายพิภพ อินทรทัต เป็ น ผู้มี ประสบการณ์ ด้านการตรวจสอบภายในในธุรกิจที่มีลกั ษณะเดียวกันกับบริษัทฯ และได้เข้ารับ การอบรมในหลักสูตร ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบตั ิงานด้านตรวจสอบภายในต่าง ๆ เช่น หลักสูตรที่จดั โดยสมาคมส่งเสริม สถาบัน กรรมการ บริษ ัท ไทย (IOD) หลัก สูต รที่จ ดั โดยสมาคมผู้ต รวจสอบภายในแห่ง ประเทศไทย (IIAT) และหลัก สูต รที่จดั โดย หน่ ว ยงานอื่น ๆ ตลอดจนเป็ น บุค คลที่ม ีค วามรู้แ ละความเข้าใจในกิจกรรมและการดาเนินงานของบริษทั ฯ ดังนัน้ คณะกรรมการตรวจสอบจึงเห็นว่า นายพิภพ อินทรทัต เป็ นผูท้ ม่ี คี ุณสมบัตทิ จ่ี ะปฏิบตั หิ น้าทีด่ งั กล่าวได้อย่างเหมาะสม ส่วนที่ 2 หน้า 85


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

เพียงพอ (สามารถดูรายละเอียดเกีย่ วกับหัวหน้างานผูต้ รวจสอบภายในเพิม่ เติมใน เอกสารแนบ 3 รายละเอียดเกีย่ วกับ หัวหน้างานตรวจสอบภายใน) ทัง้ นี้ คณะกรรมการตรวจสอบจะเป็ นผู้ให้ความเห็นชอบร่วมกับกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ในการพิจารณา แต่งตัง้ โยกย้าย เลิกจ้างผูด้ ารงตาแหน่งหัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายในของบริษทั ฯ

ส่วนที่ 2 หน้า 86


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

ส่วนที่ 2 หน้า 87

แบบ 56-1 ปี 2560/61


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

ส่วนที่ 2 หน้า 88

แบบ 56-1 ปี 2560/61


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

ส่วนที่ 2 หน้า 89

แบบ 56-1 ปี 2560/61


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

12.

แบบ 56-1 ปี 2560/61

รำยกำรระหว่ำงกัน

รายการระหว่างกันระหว่างบริษทั ฯ และบริษทั ย่อยกับบุคคลทีอ่ าจมีความขัดแย้งทางผลประโยชน์เป็ นยอดคงค้างของรายการที่เกิดขึน้ ในอดีต ซึง่ คณะกรรมการตรวจสอบได้ สอบทานรายการดังกล่าวถึงความเหมาะสมของการติดตามผลและดาเนินการ การประเมินสถานะของรายการ การประเมินศักยภาพในการชาระหนี้ของลูกหนี้ ตลอดจนความเหมาะสม ของการตัง้ สารองค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญไว้ให้เพียงพอต่อความเสียหายทีอ่ าจจะเกิดขึน้ แล้ว โดยยอดคงค้างในปี 2560/61 และ ปี 2559/60 เป็ นดังนี้ บุคคลที่อำจ บริษทั ที่เกิ ด ลักษณะควำมสัมพันธ์ ลักษณะรำยกำร มีควำม รำยกำร ขัดแย้ง บจ. วาเคไทย บจ. เมืองทอง - เดิม บจ. วาเคไทย (ไทยแลนด์) เป็ น - เงินให้กู้ยมื โดยเป็ นเงินต้น 10.5 ล้านบาท และส่วน (ไทยแลนด์) แอสเซ็ทส์ และ บริษทั ย่อยของบริษทั ฯ แต่บริษทั ฯ ที่เหลือเป็ นดอกเบี้ย โดย บจ. เมืองทอง แอสเซ็ทส์ บจ. ปราณคีรี และ บจ. ปราณคีรี แอสเซ็ทส์ ยังคงคิดดอกเบี้ยจาก ได้โอนหุน้ ทัง้ หมดของ บจ. วาเคไทย แอสเซ็ทส์ บจ. วาเคไทย (ไทยแลนด์ ) ในอัต ราตามต้ น ทุ น (ไทยแลนด์) ชาระหนี้ให้แก่เจ้าหนี้ ทางการเงินต่อไป อย่างไรก็ดี บจ. เมือ งทอง แอส - นางสาวซูซาน กาญจนพาสน์ ซึง่ เป็ น เซ็ทส์ และ บจ. ปราณคีรี แอสเซ็ทส์ ได้ตงั ้ สารองค่า บุตรสาวของนายคีรี กาญจนพาสน์ เผื่อหนี้สงสัยจะสูญทัง้ จานวนแล้ว ประธานกรรมการ / ประธาน - บจ. เมืองทอง แอสเซ็ทส์ และ บจ. ปราณคีรี แอส คณะกรรมการบริหาร และผูถ้ อื หุน้ เซ็ทส์ ได้ให้เงินกูย้ มื แก่ บจ. วาเคไทย (ไทยแลนด์) ใน รายใหญ่ของบริษทั ฯ เป็ นกรรมการ ปี 2538 โดยคิดอัตราดอกเบี้ยตามต้นทุนทางการเงิน และเป็ นผูม้ ผี ลประโยชน์และมี ซึง่ การกูย้ มื เงินนี้ เกิดขึน้ ในขณะที่ บจ. วาเคไทย (ไทย อานาจควบคุมเกินกว่าร้อยละ 10 แลนด์ ) ยัง เป็ นบริษ ัท ย่ อ ยของบริษ ัท ฯ ซึ่ ง ในการ ใน Oriental Field Ltd. ซึง่ Oriental บริหารเงินทุนหมุนเวียนของกลุ่มบริษทั จะมีการให้ Field Ltd. เป็ น ผูถ้ อื หุน้ ร้อยละ 49 กูย้ มื เงินกันระหว่างบริษทั ในกลุ่ม ใน บจ. วาเคไทย (ไทยแลนด์) - บริ ษ ัท ฯ ได้ น าหุ้ น บจ. วาเคไทย (ไทยแลนด์ ) ทัง้ หมดไปวางเป็ นหนึ่ งในสินทรัพย์ท่ีใช้ค้าประกัน วงเงิน กู้ข องบริษ ัท ฯ และบริษ ัท ฯ ได้โ อนหุ้น บจ. วาเคไทย (ไทยแลนด์) ทัง้ หมดให้เจ้าหนี้ ตามแผน ฟื้ นฟูกจิ การของบริษทั ฯ ในปี 2549

ส่วนที่ 2 หน้า 90

มูลค่ำรำยกำร ปี 2560/61 (ล้ำนบำท) -

มูลค่ำรำยกำร ปี 2559/60 (ล้ำนบำท) 47.5

ควำมจำเป็ น / หมำยเหตุ เป็ นรา ย กา รที่ เ กิ ด ขึ้น มานานแล้ ว และ เป็ นธุรกรรมปกติ โดย บจ. เมือ งทอง แอส เซ็ทส์ และ บจ. ปราณ คีรี แอสเซ็ท ส์ ได้คิด ดอกเบี้ ย ตามต้ น ทุ น การกูย้ มื


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน) บุคคลที่อำจ มีควำม ขัดแย้ง

บจ. อีจวี ี

บริษทั ที่เกิ ด รำยกำร

บริษทั ฯ

ลักษณะควำมสัมพันธ์

- นายคีรี กาญจนพาสน์ ประธาน กรรมการ / ประธานคณะกรรมการ บริหาร และผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ของ บริษทั ฯ เป็ นกรรมการและผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ใน บจ. อีจวี ี ร้อยละ 40

แบบ 56-1 ปี 2560/61 ลักษณะรำยกำร

- บจ. เมืองทอง แอสเซ็ทส์ และ บจ. ปราณคีรี แอส เซ็ทส์ บริษทั ย่อยทัง้ สองได้ดาเนินการติดตามทวงถาม หนี้ บจ. วาเคไทย (ไทยแลนด์) มาอย่างต่อเนื่อง โดย ในปี ท่ผี ่านมา บจ. วาเคไทย (ไทยแลนด์) ได้ชาระ หนี้ ไปบ้างแล้วบางส่วน ทัง้ นี้ ณ วันที่ 15 มีนาคม 2561 มียอดเงินต้นและดอกเบี้ยคงค้างทัง้ สิ้น 43.1 ล้านบาท - ณ วันที่ 16 มีนาคม 2561 บริษทั ฯ ได้โอนกิจการ ทัง้ หมด (Entire Business Transfer) ของบจ. ยู นิ คอร์น เอ็นเตอร์ไพรส์ ซึง่ เป็ นบริษทั ย่อยของบริษทั ฯ ที่ ถื อ หุ้ น ใ น นิ ติ บุ ค ค ล อื่ น ที่ ป ร ะ ก อ บ ธุ ร กิ จ อสังหาริมทรัพย์ รวมถึงหุน้ สามัญของ บจ. เมืองทอง แอสเซ็ทส์ และ บจ. ปราณคีรี แอสเซ็ทส์ ให้แก่บริษทั ยู ซิต้ี จากัด (มหาชน) จากผลสาเร็จของการเข้าทา ธุรกรรมดังกล่าว เป็ นผลให้ บจ. เมืองทอง แอสเซ็ทส์ และ บจ. ปราณคีรี แอสเซ็ทส์ สิน้ สภาพการเป็ นบริษทั ย่อยของบริษทั ฯ - เงินให้กยู้ มื โดยเป็ นเงินต้น 4.0 ล้านบาท และส่วนที่ เหลือ เป็ นดอกเบี้ย โดยบริษทั ฯ ยังคงคิดดอกเบี้ย จาก บจ. อีจวี ี ในอัตราตามต้นทุนทางการเงินของ บริษทั ฯ ต่อ ไป แต่ บริษทั ฯ ได้ตงั ้ สารองค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญทัง้ จานวนแล้ว เนื่องจาก บจ. อีจวี ี ไม่มี การประกอบกิจ การใด ๆ และบริษ ัท ฯ เห็น ว่ า มี โอกาสในการได้รบั ชาระหนี้น้อย

ส่วนที่ 2 หน้า 91

มูลค่ำรำยกำร ปี 2560/61 (ล้ำนบำท)

มูลค่ำรำยกำร ปี 2559/60 (ล้ำนบำท)

ควำมจำเป็ น / หมำยเหตุ

12.0

11.9

เป็ นรา ย กา รที่ เ กิ ด ขึ้น มานานแล้ ว และ เป็ นธุรกรรมปกติ โดย บ ริ ษั ท ฯ ไ ด้ คิ ด ดอกเบี้ ย ตามต้ น ทุ น การกูย้ มื


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน) บุคคลที่อำจ มีควำม ขัดแย้ง

บริษทั ที่เกิ ด รำยกำร

ลักษณะควำมสัมพันธ์

แบบ 56-1 ปี 2560/61 ลักษณะรำยกำร

- บจ. อีจวี ี เป็ นบริษทั ที่จดั ตัง้ ขึน้ เมื่อ ปี 2537 เพื่อร่วม ลงทุ น เป็ น ผู้ก่ อ ตัง้ บจ. สยามอิน โฟเทนเม้น ท์ ซึ่ง ต่อมาเปลีย่ นชื่อเป็ น บมจ. ไอทีวี - บจ. อีจวี ี ได้กู้ยมื เงินจากบริษทั ฯ เมื่อปี 2538 โดย คิดดอกเบี้ย ที่อ ตั ราต้นทุ นทางการเงินของบริษทั ฯ เพื่อ ลงทุ นใน บมจ. ไอทีวี และบจ. อีจีวี ได้นาหุ้น บมจ. ไอทีวี ทัง้ หมดไปจ าน าเพื่อ ประกัน หนี้ ข อง บริษทั ฯ ต่อมา ในปี 2545 บริษทั ฯ เข้าสูก่ ระบวนการ ฟื้ นฟูกจิ การ เจ้าหนี้ซง่ึ เป็ นสถาบันการเงินที่รบั จานา หุ้ น บมจ. ไอที วี จึง ได้ ย่ืน ขอรับ ช าระหนี้ ต่ อ เจ้า พนั ก งานพิท ัก ษ์ ท รัพ ย์ และเจ้ า พนั ก งานพิท ัก ษ์ ทรัพย์ได้มคี าสั ่งให้เจ้าหนี้สถาบันการเงินได้รบั ชาระ หนี้ เ พีย งบางส่ ว นตามที่ ไ ด้ ย่ืน ขอรับ ช าระหนี้ ไ ว้ อย่างไรก็ตาม เจ้าหนี้ดงั กล่าวได้ย่นื คาร้องคัดค้าน ค าสั ่งเจ้า พนัก งานพิท ัก ษ์ท รัพ ย์ต่ อ ศาลล้ม ละลาย กลาง และในเดือ นสิง หาคม 2559 ศาลฎี ก าได้ มี คาสั ่งอันเป็ นที่สุดแล้ว ขณะนี้อยู่ระหว่างรอการโอน สินทรัพย์ และเงินสดที่นาไปวางทรัพย์ เพื่อชาระหนี้ ให้กบั เจ้าหนี้รายดังกล่าว - สถาบันการเงินดังกล่าวได้มกี ารโอนสิทธิเรีย กร้อง ทัง้ หมดให้แก่สถาบันการเงินอีกแห่งหนึ่ง - เนื่องจาก บจ. อีจวี ี มีทรัพย์สนิ เป็ นเพียงหุ้น บมจ. ไอทีวี ซึ่งจานาเป็ นประกันหนี้ให้แก่สถาบันการเงิน ซึ่งเป็ นเจ้าหนี้ของบริษทั ฯ โดยไม่ได้คดิ ค่าตอบแทน ใด ๆ ดังนัน้ บริษทั ฯ จะดาเนินการให้ บจ. อีจวี ี โอน

ส่วนที่ 2 หน้า 92

มูลค่ำรำยกำร ปี 2560/61 (ล้ำนบำท)

มูลค่ำรำยกำร ปี 2559/60 (ล้ำนบำท)

ควำมจำเป็ น / หมำยเหตุ


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน) บุคคลที่อำจ มีควำม ขัดแย้ง

บริษทั ที่เกิ ด รำยกำร

ลักษณะควำมสัมพันธ์

แบบ 56-1 ปี 2560/61 ลักษณะรำยกำร

หุ้นเหล่านี้ เพื่อ ช าระหนี้ ทงั ้ หมดให้แก่ บริษทั ฯ เมื่อ บริษทั ฯ โอนสินทรัพย์ และเงินสดที่นาไปวางทรัพย์ ชาระหนี้ให้กบั สถาบันการเงินดังกล่าวแล้ว

ส่วนที่ 2 หน้า 93

มูลค่ำรำยกำร ปี 2560/61 (ล้ำนบำท)

มูลค่ำรำยกำร ปี 2559/60 (ล้ำนบำท)

ควำมจำเป็ น / หมำยเหตุ


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

มำตรกำรหรือขัน้ ตอนกำรอนุมตั ิ กำรทำรำยกำรระหว่ำงกันของบริษทั ฯ การท ารายการระหว่ า งกัน จะต้อ งผ่ า นการพิจ ารณาอนุ ม ัติเ ห็น ชอบจากคณะกรรมการตรวจสอบ และ คณะกรรมการบริษัทหรือผ่านการอนุ มตั ิเห็นชอบจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น ตามแต่กรณี ทัง้ นี้ จะมีการดาเนินการตาม หลักเกณฑ์ในประกาศคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์ เรื่อง การเปิ ดเผยข้อมูลและการปฏิบตั กิ ารของบริษทั จดทะเบียน ในรายการที่เกี่ยวโยงกัน พ.ศ. 2546 (ตามที่ได้มีการแก้ไขเพิ่มเติม) และประกาศคณะกรรมการกากับตลาดทุนที่ ทจ. 21/2551 เรื่อง หลักเกณฑ์ในการทารายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน (ตามที่ได้มกี ารแก้ไขเพิม่ เติม) ตลอดจนกฎหมายว่า ด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ข้อบังคับ ประกาศ คาสัง่ หรือข้อกาหนดของตลาดหลักทรัพย์ท่เี กี่ยวข้องกับ ข้อกาหนดในเรื่องการทารายการที่เกี่ยวโยงกันหรือรายการที่อาจมีความขัดแย้ งทางผลประโยชน์ หรือกฎเกณฑ์ท่ี เกีย่ วข้องในขณะนัน้ (“ประกาศและกฎเกณฑ์ทเ่ี กีย่ วข้องกับการทารายการระหว่างกัน”) นโยบำยหรือแนวโน้ มกำรทำรำยกำรระหว่ำงกัน บริษัทฯ อาจมีความจาเป็ นในการทารายการระหว่างกันกับบุคคลที่เกี่ยวโยงกันหรือบุคคลที่อาจมีความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์ ในอนาคต หากเกิดกรณีดงั กล่าว บริษัทฯ จะกาหนดเงื่อนไขต่าง ๆ ให้เป็ นไปตามเงื่อนไข การค้าโดยทัวไป ่ และในราคาตลาด ซึง่ สามารถเปรียบเทียบได้กบั ราคาและเงื่อนไขทีใ่ ห้กบั บุคคลภายนอก (at arm’s length basis) และจะปฏิบตั ติ ามประกาศและกฎเกณฑ์ทเ่ี กีย่ วข้องกับการทารายการระหว่างกัน หากมีรายการระหว่างกันของบริษทั ฯ หรือบริษทั ย่อยเกิดขึน้ กับบุคคลทีเ่ กีย่ วโยงกันหรือบุคคลทีอ่ าจมีความ ขัดแย้งทางผลประโยชน์ มีส่วนได้เสีย หรืออาจมีความขัดแย้งในลักษณะอื่น บริษทั ฯ จะดาเนินการให้คณะกรรมการ ตรวจสอบเป็ นผู้ให้ความเห็นเกี่ยวกับความจาเป็ นและความเหมาะสมของรายการนัน้ ๆ ในกรณีท่คี ณะกรรมการ ตรวจสอบไม่มคี วามชานาญในการพิจารณารายการระหว่างกันทีอ่ าจเกิดขึน้ บริษทั ฯ จะให้ผเู้ ชีย่ วชาญอิสระ ทีป่ รึกษา ทางการเงินอิสระ หรือผู้สอบบัญชีของบริษทั ฯ เป็ นผู้ให้ความเห็นเกีย่ วกับรายการระหว่างกันดังกล่าว เพื่อ นาไปใช้ ประกอบการตัดสินใจของคณะกรรมการบริษัทหรือผู้ถือหุ้นตามแต่กรณี และในกรณีท่มี กี ารขอให้ท่ปี ระชุมผู้ถือหุน้ พิจารณาเพื่ออนุ มตั ริ ายการระหว่างกัน จะมีการแต่งตัง้ ทีป่ รึกษาทางการเงินอิสระเพื่อจัดทารายงานและให้ความเห็น เกีย่ วกับการเข้าทารายการต่อผูถ้ อื หุน้ ทัง้ นี้ บริษทั ฯ จะเปิ ดเผยรายการระหว่างกันไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ที่ไ ด้ร บั การตรวจสอบจากผู้ส อบบัญ ชีข องบริษ ทั ฯ แบบแสดงรายการข้อ มูล ประจาปี (แบบ 56-1) และรายงาน ประจาปี ของบริษทั ฯ นโยบำยเกี่ยวกับรำยกำรที่อำจมีควำมขัดแย้งทำงผลประโยชน์ เพื่อมิให้เกิดรายการที่อาจมีความขัดแย้งกับผลประโยชน์ท่ดี ที ่สี ุดของกิจการและผู้ถือหุ้น และเพื่อดารงไว้ ซึง่ การกากับดูแลกิจการทีด่ ี คณะกรรมการบริษทั กาหนดนโยบายเกีย่ วกับรายการทีอ่ าจมีความขัดแย้งกับผลประโยชน์ ของบริษทั ฯ ดังนี้ 

นโยบายการทาธุรกิจใหม่ บริษทั ฯ จะต้องนาเสนอรายละเอียดของแผนการเข้าทาธุรกิจเหล่านัน้ ต่อคณะกรรมการบริษทั หรือบุคคล ทีค่ ณะกรรมการบริษทั มอบหมายให้ดาเนินการ และจัดให้มกี ารพิจารณาแผนการลงทุนเหล่านัน้ โดยต้อง พิจารณาถึงผลตอบแทนและประโยชน์ทจ่ี ะเกิดขึน้ ต่อบริษทั ฯ และผูถ้ อื หุน้ โดยรวมเป็ นหลัก อย่างไรก็ตาม บริษทั ฯ ไม่มนี โยบายในการเข้าทาธุรกิจร่วมกับกรรมการ ผูบ้ ริหาร ผูถ้ อื หุน้ รายใหญ่ หรือผูเ้ กีย่ วข้องกับ ส่วนที่ 2 หน้า 94


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

บุคคลดังกล่าว เว้นแต่มเี หตุจาเป็ นหรือเป็ นการสนับสนุ นธุรกิจของบริษทั ฯ และเป็ นไปเพื่อผลประโยชน์ ที่ดีท่สี ุดของบริษัทฯ และผู้ถือหุ้นโดยรวมเป็ นหลัก และบริษัท ฯ จะต้องดาเนินการตามประกาศและ กฎเกณฑ์ทเ่ี กีย่ วข้องกับการทารายการระหว่างกัน 

นโยบายการถือหุน้ ในบริษทั ทีบ่ ริษทั ฯ ลงทุน ในการลงทุนต่าง ๆ บริษัทฯ มีนโยบายทีจ่ ะถือหุน้ ด้วยตนเอง ยกเว้น ในกรณีมคี วามจาเป็ นและเป็ นไป เพื่อ ประโยชน์ ท่ีดีท่ีสุ ด สาหรับ บริษัท ฯ หรือ ผู้ถือ หุ้น โดยรวม โดยจะต้อ งน าเสนอให้ค ณะกรรมการ ตรวจสอบ และคณะกรรมการบริษทั ได้พจิ ารณาอนุ มตั ิ และบุคคลทีม่ สี ่วนได้เสียจะต้องไม่อยู่ในทีป่ ระชุม คณะกรรมการบริษทั ขณะการพิจารณารายการดังกล่าวและจะไม่มสี ทิ ธิออกเสียงลงคะแนน

นโยบายการให้กยู้ มื แก่บริษทั ทีร่ ่วมทุน การให้กยู้ มื ไม่ใช่ธุรกิจของบริษทั ฯ อย่างไรก็ตาม หากบริษทั ฯ มีความจาเป็ นต้องให้บริษทั ทีร่ ่วมทุนกูย้ มื เงิน เพื่อให้การสนับสนุ นทางการเงินแก่บริษทั ทีร่ ่วมทุนในลักษณะเงินกูย้ มื จากผูถ้ อื หุน้ บริษทั ฯ จะให้กู้ ตามสัดส่วนการลงทุน เว้นแต่ในกรณีมเี หตุจาเป็ นและสมควรตามที่ คณะกรรมการบริษทั จะได้พจิ ารณา อนุ มตั เิ ป็ นแต่ละกรณีไป อย่างไรก็ตาม บริษทั ฯ ไม่มนี โยบายในการให้กยู้ มื แก่กรรมการ ผูบ้ ริหาร หรือผู้ ถือหุน้ รายใหญ่ของบริษทั ฯ และ/หรือ ผูเ้ กีย่ วข้องกับบุคคลดังกล่าว หรือธุรกิจทีบ่ ริษทั ฯ ร่วมทุนกับบุคคล ดังกล่าว เว้นแต่เป็ นการให้กตู้ ามสัดส่วนการลงทุน หรือเป็ นไปเพื่อประโยชน์ทด่ี ที ส่ี ดุ สาหรับบริษทั ฯ หรือ ผูถ้ อื หุน้ โดยรวมเป็ นหลัก และบริษทั ฯ จะต้องดาเนินการตามประกาศและกฎเกณฑ์ทเ่ี กีย่ วข้องกับการทา รายการระหว่างกัน รวมถึงหากรายการมีขนาดต่ากว่าเกณฑ์ทจ่ี ะต้องเปิ ดเผย บริษทั ฯ จะรายงานการเข้า ทารายการให้คณะกรรมการตรวจสอบรับทราบด้วย

นโยบายการจัดทาเอกสารทีเ่ ป็ นลายลักษณ์อกั ษร บริษทั ฯ จะจัดทาตั ๋วสัญญาใช้เงิน สัญญาเงินกู้ และ/หรือ สัญญาทีม่ กี ารให้ความช่วยเหลือทางการเงินให้ รัดกุมและจัดทาเป็ นลายลักษณ์อกั ษร และจัดเก็บหลักฐานให้เรียบร้อย ถึงแม้ว่าจะเป็ นการให้กู้ยมื แก่ บริษทั ในเครือของบริษทั ฯ

นโยบายการทารายการเกี่ยวโยงที่มีข้อตกลงทางการค้าในลักษณะเดียวกับที่วิญญูชนพึงกระท ากับ คู่สญ ั ญาทัวไปในสถานการณ์ ่ เดียวกัน คณะกรรมการบริษทั อนุ มตั นิ โยบายในหลักการสาหรับการเข้าทารายการทีเ่ กีย่ วโยงกันของบริษทั ฯ หรือ บริษัทย่อย กับกรรมการ ผู้บริหาร หรือบุคคลที่เกี่ยวโยงกัน ที่มลี กั ษณะเงื่อนไขการค้าโดยทัวไป ่ และ/ หรือ เป็ นไปตามราคาตลาด ตามข้อตกลงทางการค้าในลักษณะเดียวกับทีว่ ญ ิ ญูชนพึงกระทากับคู่สญ ั ญา ทัวไปในสถานการณ์ ่ เดียวกัน ด้วยอานาจต่อรองทางการค้าที่ปราศจากอิทธิพลในการที่ตนมีสถานะ เป็ นกรรมการ ผู้บริหาร หรือบุคคลที่เกี่ยวโยงกัน ตามมาตรา 89/12 แห่งพระราชบัญญัติหลักทรัพย์ และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 (ตามทีไ่ ด้มกี ารแก้ไขเพิม่ เติม ) สาหรับรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันทีไ่ ม่ได้มี ลักษณะเงื่อนไขการค้าโดยทัวไป ่ และ/หรือ เป็ นไปตามราคาตลาด ให้บริษทั ฯ ปฏิบตั ิตามประกาศและ กฎเกณฑ์ทเ่ี กีย่ วข้องกับการทารายการระหว่างกัน

ส่วนที่ 2 หน้า 95


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

ส่วนที่ 3

แบบ 56-1 ปี 2560/61

: ฐำนะกำรเงินและผลกำรดำเนินงำน

การวิเคราะห์ฐานะทางการเงินและผลการดาเนินงานในส่วนนี้ ควรอ่านคู่กบั งบการเงินสาหรับปี 2560/61 งบการเงินสาหรับปี 2559/60 และงบการเงินสาหรับปี 2558/59 พร้อมทัง้ หมายเหตุประกอบงบการเงินสาหรับงวดนัน้ ๆ

13.

ข้อมูลทำงกำรเงิ นที่สำคัญ

13.1

งบกำรเงิ น

บริษัทฯ ได้มีการจัดทางบการเงินสาหรับปี ส้นิ สุดวันที่ 31 มีนาคม 2561 ตามมาตรฐานการรายงานทาง การเงินทีก่ าหนดในพระราชบัญญัตวิ ชิ าชีพบัญชี พ.ศ. 2547 โดยแสดงรายการในงบการเงินตามข้อกาหนดในประกาศ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า ลงวันที่ 11 ตุลาคม 2559 ออกตามความในพระราชบัญญัตกิ ารบัญชี พ.ศ. 2543 งบแสดงฐำนะกำรเงิ น หน่วย : ล้านบาท 2561 สิ นทรัพย์ สิ นทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชัวคราว ่ เงินลงทุนในตราสารอนุ พนั ธ์ เงินฝากธนาคารสาหรับเงินรับล่วงหน้าจากผูถ้ อื บัตร ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อ่นื ลูกหนี้ทย่ี งั ไม่ถงึ กาหนดชาระภายใต้สญ ั ญากับหน่วยงานของรัฐ ลูกหนี้ภายใต้สญ ั ญาเช่าการเงินทีถ่ งึ กาหนดรับชาระภายในหนึ่งปี รายได้ทย่ี งั ไม่ได้เรียกชาระ รายได้คา้ งรับ เงินให้กยู้ มื ระยะสัน้ แก่กจิ การทีเ่ กีย่ วข้องกัน เงินให้กยู้ มื ระยะยาวแก่กจิ การทีเ่ กีย่ วข้องกันทีถ่ งึ กาหนดรับชาระภายในหนึ่งปี เงินให้กยู้ มื ระยะยาวแก่สหกรณ์ออมทรัพย์ทถ่ี งึ กาหนดรับชาระภายในหนึ่งปี ต้นทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ สินทรัพย์รอการโอนตามแผนฟื้ นฟูกจิ การ เงินลงทุนในบริษทั ย่อยรอการโอนตามแผนฟื้ นฟูกจิ การ เงินจ่ายล่วงหน้าแก่ผรู้ บั เหมา ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น รวมสิ นทรัพย์หมุนเวียน

9,457.7 5,671.6 2,224.5 442.5 1,824.7 99.7 395.8 14.7 646.0 10.1 164.9 358.4 21,310.6

ส่วนที่ 3 หน้า 1

งบกำรเงิ นรวม ณ วันที่ 31 มีนำคม % ของ 2560 2559

% ของ สิ นทรัพย์รวม

8.9% 5.3% 2.1% 0.4% 1.7% 0.1% 0.0% 0.0% 0.4% 0.0% 0.0% 0.0% 0.6% 0.0% 0.0% 0.0% 0.2% 0.3% 20.1%

สิ นทรัพย์รวม (ปรับปรุงใหม่)

15,094.5 6,238.8 123.6 375.2 2,128.0 97.1 375.4 91.4 12.0 663.8 26.8 156.7 338.7 25,722.0

16.1% 6.7% 0.1% 0.4% 2.3% 0.1% 0.0% 0.0% 0.4% 0.0% 0.1% 0.0% 0.7% 0.0% 0.0% 0.0% 0.2% 0.4% 27.5%

2,362.2 4,667.3 284.8 1,085.5 94.6 29.6 32.7 205.2 14.3 53.7 12.0 508.5 68.3 224.3 28.9 82.8 157.7 9,912.4

% ของ สิ นทรัพย์รวม

3.6% 7.2% 0.0% 0.4% 1.7% 0.1% 0.0% 0.1% 0.3% 0.0% 0.1% 0.0% 0.8% 0.1% 0.3% 0.0% 0.1% 0.2% 15.2%


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

2561 สิ นทรัพย์ไม่หมุนวียน เงินฝากทีม่ ภี าระผูกพัน เงินสดทีน่ าไปวางทรัพย์เพื่อเป็ นหลักประกันในการชาระหนี้ เงินให้กยู้ มื ระยะยาวแก่กจิ การทีเ่ กีย่ วข้องกัน – สุทธิจากส่วนที่ถงึ กาหนดรับ ชาระภายในหนึ่งปี เงินให้กยู้ มื ระยะยาวแก่สหกรณ์ออมทรัพย์ – สุทธิจากส่วนที่ถงึ กาหนดรับชาระ ภายในหนึ่งปี เงินลงทุนในการร่วมค้า เงินลงทุนในบริษทั ร่วม เงินลงทุนระยะยาวอื่น ต้นทุนโครงการ - โฆษณา งานระหว่างก่อสร้างโครงการรถไฟฟ้ า อะไหล่เปลีย่ นแทน ทีด่ นิ และโครงการรอการพัฒนาในอนาคต อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ สิทธิการเช่า สินทรัพย์ไม่มตี วั ตน เงินจ่ายล่วงหน้าแก่ผรู้ บั เหมาและเพื่อซือ้ สินทรัพย์ รายได้คา้ งรับ สิทธิเรียกร้องในมูลหนี้จากการซือ้ หนี้ตามแผนฟื้ นฟูกจิ การ ลูกหนี้ทย่ี งั ไม่ถงึ กาหนดชาระภายใต้สญ ั ญากับหน่วยงานของรัฐ ลูกหนี้ภายใต้สญ ั ญาเช่าการเงินสุทธิจากส่วนทีถ่ งึ กาหนดรับชาระภายในหนึ่งปี ลูกหนี้และดอกเบี้ยค้างรับ และรายได้คา้ งรับภายใต้สญ ั ญาซือ้ ขายพร้อมติดตัง้ ระบบ การเดินรถ ค่าความนิยม ประมาณการผลแตกต่างระหว่างต้นทุนการซื้อเงินลงทุนในบริษทั ย่อยกับสินทรัพย์ สุทธิทร่ี ะบุได้ของผูถ้ กู ซือ้ ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า ภาษีเงินได้หกั ณ ทีจ่ ่าย สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียน รวมสิ นทรัพย์ หนี้ สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้ สินหมุนเวียน เงินกูย้ มื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้ต ั ๋วแลกเงิน เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อ่นื เงินรับล่วงหน้าจากผูถ้ อื บัตร เงินกูย้ มื ระยะสัน้ จากกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกัน ส่วนของเจ้าหนี้ตามแผนฟื้ นฟูกจิ การที่ถงึ กาหนดชาระภายในหนึ่งปี ส่วนของเงินกูย้ มื ระยะยาวที่ถงึ กาหนดชาระภายในหนึ่งปี ส่วนของหุน้ กูร้ ะยะยาวทีถ่ งึ กาหนดชาระภายในหนึ่งปี รายได้รบั ล่วงหน้า รายได้ค่าโดยสารรอนาส่ง ภาษีเงินได้คา้ งจ่าย ประมาณการหนี้สนิ ระยะสัน้ หนี้สนิ หมุนเวียนอื่น รวมหนี้ สินหมุนเวียน

งบกำรเงิ นรวม ณ วันที่ 31 มีนำคม % ของ 2560 2559

% ของ สิ นทรัพย์รวม

สิ นทรัพย์รวม (ปรับปรุงใหม่)

% ของ สิ นทรัพย์รวม

18.4 50.6

0.0% 0.0%

130.6 50.6

0.1% 0.1%

1,270.6 170.9

1.9% 0.3%

9,550.3

9.0%

9,225.5

9.9%

5,948.5

9.1%

71.0 976.4 23,030.6 15,948.4 2,138.7 290.4 149.7 134.4 681.0 5,136.1 5.5 629.3 10,705.5 862.0 7,640.9 -

0.1% 0.9% 21.7% 15.0% 2.0% 0.3% 0.1% 0.1% 0.6% 4.8% 0.0% 0.6% 10.1% 0.8% 0.0% 7.2% 0.0%

59.0 2,398.3 20,006.8 13,520.9 2,262.2 89.8 1,067.1 799.9 6,314.6 10.1 707.5 3,086.9 506.1 255.5 4,207.7 -

0.1% 2.6% 21.4% 14.4% 2.4% 0.0% 0.1% 1.1% 0.9% 6.7% 0.0% 0.8% 3.3% 0.5% 0.3% 4.5% 0.0%

638.1 21,019.7 9,751.4 2,297.4 91.3 2,078.4 733.9 5,673.9 10.9 358.3 128.8 447.7 255.5 3,520.6 2.6

0.0% 1.0% 32.2% 14.9% 3.5% 0.0% 0.1% 3.2% 1.1% 8.7% 0.0% 0.5% 0.2% 0.7% 0.4% 5.4% 0.0%

3,728.0 1,486.8

3.5% 1.4%

759.4 1,486.8

0.8% 1.6%

236.3

0.0% 0.4%

281.6 910.9 70.2 40.2 210.0 84,746.9 106,057.5

0.3% 0.9% 0.1% 0.0% 0.2% 79.9% 100.0%

505.8 292.6 50.2 115.0 67,908.9 93,630.9

0.0% 0.5% 0.3% 0.1% 0.1% 72.5% 100.0%

317.9 278.2 38.2 77.9 55,347.0 65,259.4

0.0% 0.5% 0.4% 0.1% 0.1% 84.8% 100.0%

1,230.0 15,432.1 4,489.6 430.2 3.5 44.0 164.9 77.8 412.2 73.3 565.6 22,923.2

1.2% 14.6% 4.2% 0.4% 0.0% 0.0% 0.0% 0.0% 0.2% 0.1% 0.4% 0.1% 0.5% 21.6%

778.0 13,374.3 2,599.9 374.9 3.5 73.9 245.9 108.3 76.9 327.8 83.9 568.6 18,615.9

0.8% 14.3% 2.8% 0.4% 0.0% 0.1% 0.3% 0.0% 0.1% 0.1% 0.4% 0.1% 0.6% 19.9%

3,750.0 2,917.3 1,622.7 280.7 35.9 610.7 1,095.2 1,347.5 133.3 81.0 294.9 59.0 331.4 12,559.6

5.7% 4.5% 2.5% 0.4% 0.1% 0.9% 1.7% 2.1% 0.2% 0.1% 0.5% 0.1% 0.5% 19.2%

ส่วนที่ 3 หน้า 2


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

2561 หนี้ สินไม่หมุนเวียน รายได้รบั ล่วงหน้า เจ้าหนี้ตามแผนฟื้ นฟูกจิ การ - สุทธิจากส่วนทีถ่ งึ กาหนดชาระภายในหนึ่งปี เงินกูย้ มื ระยะยาว - สุทธิจากส่วนที่ถงึ กาหนดชาระภายในหนึ่งปี หุน้ กูร้ ะยะยาว เจ้าหนี้เงินประกันผลงาน สารองรายการภายใต้วธิ สี ่วนได้เสียของเงินลงทุนในการร่วมค้า สารองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน ประมาณการหนี้สนิ ระยะยาว หนี้สนิ ภาษีเงินได้รอการตัดบัญชี หนี้สนิ ไม่หมุนเวียนอื่น รวมหนี้ สินไม่หมุนเวียน รวมหนี้ สิน ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุน้ ทุนจดทะเบียน หุน้ สามัญ 16,513,814,257 หุน้ มูลค่าหุ้นละ 4 บาท (2560และ2559:หุน้ สามัญ 15,928,911,087 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 4 บาท) ทุนทีอ่ อกจาหน่ายและชาระเต็มมูลค่าแล้ว หุน้ สามัญ 11,940,368,954 หุน้ มูลค่าหุ้นละ 4 บาท (2560: หุน้ สามัญ 11,934,954,312 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 4 บาท) (2559: หุน้ สามัญ 11,929,349,186 หุน้ มูลค่าหุน้ ละ 4 บาท) ส่วนเกินมูลค่าหุน้ สามัญ ส่วนต่ากว่าทุนจากการรวมธุรกิจภายใต้การควบคุมเดียวกัน ส่วนเกิน (ต่ากว่า) ทุนจากการเปลีย่ นแปลงสัดส่วนการถือหุ้นในบริษทั ย่อย ส่วนเกินทุนจากการขายใบสาคัญแสดงสิทธิของบริษทั ย่อย หุน้ ทุนซือ้ คืน กาไรสะสม จัดสรรแล้ว - สารองตามกฎหมาย จัดสรรแล้ว - สารองหุน้ ทุนซือ้ คืน ยังไม่ได้จดั สรร (ขาดทุน) องค์ประกอบอื่นของส่วนของผูถ้ อื หุน้ ส่วนของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ ส่วนของผูม้ สี ่วนได้เสียทีไ่ ม่มอี านาจควบคุมของบริษทั ย่อย รวมส่วนของผู้ถือหุ้น รวมหนี้ สินและส่วนของผู้ถือหุ้น

511.2 1.4 1,489.0 28,973.8 175.9 374.4 1,046.9 1,408.4 2,251.8 546.4 36,779.2 59,702.4

งบกำรเงิ นรวม ณ วันที่ 31 มีนำคม % ของ 2560 2559

% ของ สิ นทรัพย์รวม

0.5% 0.0% 1.4% 27.3% 0.2% 0.4% 1.0% 1.3% 2.1% 0.5% 34.7% 56.3%

66,055.3

สิ นทรัพย์รวม (ปรับปรุงใหม่)

565.7 1.4 1,933.0 21,978.4 141.2 646.7 860.9 1,334.1 2,239.5 132.1 29,833.0 48,448.9

0.6% 0.0% 2.1% 23.5% 0.2% 0.7% 0.9% 1.4% 2.4% 0.1% 31.9% 51.7%

63,715.6

589.5 27.0 173.0 136.8 455.5 782.4 1,324.7 2,218.5 91.5 5,798.9 18,358.5

% ของ สิ นทรัพย์รวม

0.9% 0.0% 0.3% 0.0% 0.2% 0.7% 1.2% 2.0% 3.4% 0.1% 8.9% 28.1%

63,715.6

47,761.5 1,873.0 (3,372.0) (1,633.7) 494.3 (925.5)

45.0% 1.8% (3.2%) (1.5%) 0.5% (0.9%)

47,739.8 1,853.7 (3,372.0) 430.8 494.3 (925.5)

51.0% 2.0% (3.6%) 0.5% 0.5% (1.0%)

47,717.4 1,834.6 (3,372.0) (59.6) 494.3 (925.5)

73.1% 2.8% (5.2%) (0.1%) 0.8% (1.4%)

2,623.0 925.5 (9,416.4) 2,275.6 40,605.3 5,749.8 46,355.1 106,057.5

2.5% 0.9% (8.9%) 2.1% 38.3% 5.4% 43.7% 100.0%

2,384.9 925.5 (9,495.2) 2,110.7 42,147.0 3,035.0 45,182.0 93,630.9

2.5% 1.0% (10.1%) 2.3% 45.0% 3.2% 48.3% 100.0%

2,163.7 925.5 (5,515.7) 2,187.4 45,450.1 1,450.8 46,900.9 65,259.4

3.3% 1.4% (8.5%) 3.4% 69.6% 2.2% 71.9% 100.0%

ส่วนที่ 3 หน้า 3


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

งบกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จ หน่วย : ล้านบาท 2561 กำรดำเนิ นงำนต่ อเนื่ อง กำไรขำดทุน: รำยได้ รายได้จากการบริการ รายได้จากการให้บริการรับเหมาติดตัง้ และก่อสร้างและจัดหารถไฟฟ้ า รายได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์ รายได้อ่นื เงินปั นผลรับ ดอกเบี้ยรับ กาไรจากการขายและปรับมูลค่ายุตธิ รรมของเงินลงทุน กาไรจากการแลกหุน้ กาไรจากการโอนกิจการทัง้ หมดของบริษทั ย่อย กาไรจากการขายและเปลีย่ นสถานะเงินลงทุน กาไรจากการเปลีย่ นแปลงสัดส่วนการถือหุ้นในการร่วมค้า กาไรจากการชาระเจ้าหนี้ตามแผนฟื้ นฟูกจิ การ อื่น ๆ รวมรำยได้ ค่ำใช้จ่ำย ต้นทุนบริการ ต้นทุนการให้บริการรับเหมาติดตัง้ และก่อสร้างและจัดหารถไฟฟ้ า ต้นทุนขายอสังหาริมทรัพย์ ค่าใช้จ่ายในการขาย ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ค่าใช้จ่ายอื่น รวมค่ำใช้จ่ำย กำไรก่อนส่วนแบ่งกำไร (ขำดทุน) จำกเงิ นลงทุนในกำรร่วมค้ำและบริ ษัทร่วม ค่ำใช้จ่ำยทำงกำรเงิ นและภำษี เงิ นได้ ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนในการร่วมค้า ส่วนแบ่งกาไรจากเงินลงทุนในบริษทั ร่วม กำไรก่อนค่ำใช้จ่ำยทำงกำรเงิ นและภำษี เงิ นได้ ค่าใช้จ่ายทางการเงิน กำไรก่อนภำษี เงิ นได้ ภาษีเงินได้ กำไรสำหรับปี จำกกำรดำเนิ นงำนต่อเนื่ อง กำรดำเนิ นงำนที่ยกเลิ ก กาไร (ขาดทุน) สาหรับปี จากการดาเนินงานทีย่ กเลิก กำไรสำหรับปี

งบกำรเงิ นรวม ณ วันที่ 31 มีนำคม % ของรำยได้ 2560 2559

% ของรำยได้ รวม

รวม

(ปรับปรุงใหม่)

% ของรำยได้ รวม

6,119.1 6,028.1 23.5 145.8 1,434.4 667.9 1,880.0 251.1 63.5 373.3 16,986.7

36.0% 35.5% 0.1% 0.0% 0.9% 8.4% 3.9% 0.0% 11.1% 1.5% 0.4% 0.0% 2.2% 100.0%

5,027.3 1,748.3 33.2 271.3 761.2 357.2 207.4 149.4 260.0 8,815.3

57.0% 19.8% 0.4% 0.0% 3.1% 8.6% 4.1% 0.0% 0.0% 2.4% 0.0% 1.7% 2.9% 100.0%

4,959.8 94.4 297.7 280.8 501.4 169.1 3,458.5 95.5 211.7 10,068.9

49.3% 0.9% 3.0% 0.0% 2.8% 5.0% 1.7% 34.3% 0.0% 0.0% 0.0% 0.9% 2.1% 100.0%

2,646.0 5,420.7 17.8 447.9 1,833.3 246.8 10,612.5

15.6% 31.9% 0.1% 2.6% 10.8% 1.5% 62.5%

2,255.4 1,538.8 23.5 316.2 1,500.8 50.5 5,685.2

25.6% 17.5% 0.3% 3.6% 17.0% 0.6% 64.5%

2,191.2 100.5 178.2 173.7 1,453.2 581.9 4,678.7

21.8% 1.0% 1.8% 1.7% 14.4% 5.8% 46.5%

6,374.2 (281.7) 461.4 6,553.9 (1,236.0) 5,317.9 (776.0) 4,541.9

37.5% (1.7%) 2.7% 38.6% (7.3%) 31.3% (4.6%) 26.7%

3,130.1 (147.4) 779.7 3,762.4 (643.6) 3,118.8 (646.4) 2,472.4

35.5% (1.7%) 8.8% 42.7% (7.3%) 35.4% (7.3%) 28.0%

5,390.2 (339.6) 751.0 5,801.6 (289.7) 5,511.9 (1,121.1) 4,390.8

53.5% (3.4%) 7.5% 57.6% (2.9%) 54.7% (11.1%) 43.6%

247.9 4,789.8

1.5% 28.2%

(236.7) 2,235.7

(2.7%) 15.6%

4,390.8

0.0% 43.6%

ส่วนที่ 3 หน้า 4


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

2561 กำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จอื่น: รายการทีจ่ ะถูกบันทึกในส่วนของกาไรขาดทุนในภายหลัง ผลต่างของอัตราแลกเปลีย่ นจากการแปลงค่างบการเงินทีเ่ ป็ นเงินตราต่างประเทศ ผลต่างของอัตราแลกเปลีย่ นจากการแปลงค่างบการเงินทีเ่ ป็ นเงินตราต่างประเทศของ บริษทั ร่วม ผลกระทบจากการป้ องกันความเสีย่ งในกระแสเงินสด - สุทธิจากภาษีเงินได้ ผลกาไรจากการวัดมูลค่าเงินลงทุนในหลักทรัพย์เผือ่ ขาย - สุทธิจากภาษีเงินได้ ส่วนแบ่งผลขาดทุนจากการวัดมูลค่าเงินลงทุนในหลักทรัพย์เผือ่ ขายของบริษทั ร่วม รายการที่จะถูกบันทึกในส่วนของกาไรขาดทุนในภายหลัง - สุทธิจากภาษีเงินได้ รายการทีจ่ ะไม่ถกู บันทึกในส่วนของกาไรขาดทุนในภายหลัง ส่วนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย์ - สุทธิจากภาษีเงินได้ ผลขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัย - สุทธิจากภาษีเงินได้ ส่วนแบ่งผลขาดทุนจากการประมาณการตามหลักคณิตศาสตร์ประกันภัยของบริษทั ร่วม รายการทีจ่ ะไม่ถกู บันทึกในส่วนของกาไรขาดทุนในภายหลัง - สุทธิจากภาษีเงินได้ กำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จอื่นสำหรับปี กำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จรวมสำหรับปี กำรแบ่งปันกำไร (ขำดทุน) ส่วนทีเ่ ป็ นของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ กาไรจากการดาเนินงานต่อเนื่อง กาไร (ขาดทุน) จากการดาเนินงานทีย่ กเลิก ส่วนทีเ่ ป็ นของผูม้ สี ่วนได้เสียทีไ่ ม่มอี านาจควบคุมของบริษทั ย่อย กาไรจากการดาเนินงานต่อเนื่อง ขาดทุนจากการดาเนินงานทีย่ กเลิก

กำรแบ่งปันกำไรขำดทุนเบ็ดเสร็จรวม ส่วนทีเ่ ป็ นของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ กาไรจากการดาเนินงานต่อเนื่อง กาไร (ขาดทุน) จากการดาเนินงานทีย่ กเลิก ส่วนทีเ่ ป็ นของผูม้ สี ่วนได้เสียทีไ่ ม่มอี านาจควบคุมของบริษทั ย่อย กาไรจากการดาเนินงานต่อเนื่อง ขาดทุนจากการดาเนินงานทีย่ กเลิก

กำไรต่อหุ้น กาไรต่อหุน้ ขัน้ พืน้ ฐาน กาไรส่วนทีเ่ ป็ นของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ กาไรต่อหุน้ ปรับลด กาไรส่วนทีเ่ ป็ นของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ กำไรต่อหุ้นจำกกำรดำเนิ นงำนต่ อเนื่ อง กาไรต่อหุน้ ขัน้ พืน้ ฐาน กาไรส่วนทีเ่ ป็ นของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ กาไรต่อหุน้ ปรับลด กาไรส่วนทีเ่ ป็ นของผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ

งบกำรเงิ นรวม ณ วันที่ 31 มีนำคม % ของรำยได้ 2560 2559

% ของรำยได้ รวม

รวม

(ปรับปรุงใหม่)

120.7

0.1

(0.3)

54.7 (303.0) 271.3 (89.2) 54.5

(89.1) (171.6) 227.0 (45.8) (79.4)

(449.5) 10.9 (438.9)

19.6

-

-

(62.0) (2.2) (44.6) 9.9 4,799.7

(79.4) 2,156.3

(438.9) 3,951.9

4,160.7 255.0 4,415.7

2,228.4 (224.9) 2,003.5

4,133.9 4,133.9

381.2 (7.1) 374.1 4,789.8

244.0 (11.8) 232.2 2,235.7

256.9 256.9 4,390.8

4,284.2 255.0 4,539.2

2,154.4 (224.9) 1,929.5

3,725.1 3,725.1

267.6 (7.1) 260.5 4,799.7

238.6 (11.8) 226.8 2,156.3

226.8 226.8 3,951.9

0.3728

0.1692

0.3494

0.3728

0.1692

0.3492

0.3513

0.1882

0.3494

0.3513

0.1882

0.3492

ส่วนที่ 3 หน้า 5

% ของรำยได้ รวม


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

งบกระแสเงิ นสด หน่วย : ล้านบาท งบกำรเงิ นรวมสำหรับปี สิ้ นสุดวันที่ 31 มีนำคม 2561 2560 2559 (ปรับปรุงใหม่) กระแสเงิ นสดจำกกิ จกรรมดำเนิ นงำน กาไรก่อนภาษีจากการดาเนินงานต่อเนื่อง กาไร (ขาดทุน) ก่อนภาษีจากการดาเนินงานทีย่ กเลิก กำไรก่อนภำษี รำยกำรปรับกระทบยอดกำไรก่อนภำษี เป็ นเงิ นสดรับ (จ่ำย)จำกกิ จกรรมดำเนิ นงำน ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจาหน่าย ขาดทุน (กาไร) จากอัตราแลกเปลีย่ นทีย่ งั ไม่เกิดขึน้ จริง ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนในการร่วมค้า ส่วนแบ่งกาไรจากเงินลงทุนในบริษทั ร่วม รับรูร้ ายได้รบั ล่วงหน้า สารองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน ขาดทุนจากประมาณการหนี้สนิ ค่าเผือ่ การด้อยค่าของเงินลงทุน ตัดจาหน่ายภาษีเงินได้ ตัดจาหน่ายส่วนเกินจากสัญญาแลกเปลีย่ นเงินตราต่างประเทศล่วงหน้า โอนกลับค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสูญ กาไรจากการขายและปรับมูลค่ายุตธิ รรมของเงินลงทุน ขาดทุน (กาไร) ทีย่ งั ไม่เกิดขึน้ จากการเปลีย่ นแปลงในมูลค่าเงินลงทุนชัวคราวในหลั ่ กทรัพย์เพื่อค้า กาไรจากการแลกหุน้ กาไรจากการโอนกิจการทัง้ หมดของบริษทั ย่อย กาไรจากการขายและเปลีย่ นสถานะเงินลงทุน กาไรจากการเปลีย่ นแปลงสัดส่วนการถือหุ้นในการร่วมค้า กาไรจากการชาระเจ้าหนี้ตามแผนฟื้ นฟูกจิ การ รายได้จากการลงทุนในกิจการในต่างประเทศ ขาดทุนจากการด้อยค่าของเงินลงทุน ขาดทุน (กาไร) จากการขายสินทรัพย์ ค่าเผือ่ การด้อยค่าของสินทรัพย์ กาไรจากการโอนสิทธิในการซือ้ ทีด่ นิ เงินปั นผลรับ รายการจ่ายโดยใช้หนุ้ เป็ นเกณฑ์ ดอกเบี้ยรับ ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย กำไร (ขำดทุน) จำกกำรดำเนิ นงำนก่อนกำรเปลี่ยนแปลงในสิ นทรัพย์และหนี้ สินดำเนิ นงำน สิ นทรัพย์ดำเนิ นงำนลดลง (เพิ่ มขึ้น) เงินฝากธนาคารสาหรับเงินรับล่วงหน้าจากผูถ้ อื บัตร ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อ่นื ลูกหนี้ภายใต้สญ ั ญากับหน่วยงานของรัฐ ลูกหนี้ภายใต้สญ ั ญาเช่าการเงิน ลูกหนี้ทย่ี งั ไม่ถงึ กาหนดชาระและรายได้คา้ งรับภายใต้สญ ั ญาซือ้ ขายพร้อมติดตัง้ ระบบการเดินรถ งานระหว่างก่อสร้างโครงการรถไฟฟ้ า รายได้คา้ งรับ รายได้ทย่ี งั ไม่ได้เรียกชาระ ต้นทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ เงินจ่ายล่วงหน้าแก่ผรู้ บั เหมา สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น

ส่วนที่ 3 หน้า 6

5,317.9 258.5 5,576.4

3,118.8 (225.5) 2,893.3

5,511.9 5,511.9

758.4 428.4 27.6 (473.1) (36.9) 73.7 51.0 (2.6) (667.9) (1,880.0) (251.1) (63.4) (96.7) 160.0 (0.8) 23.7 (145.8) 9.2 (1,436.1) 1,287.0 3,341.0

577.4 21.0 400.2 (787.4) (36.9) 51.2 40.2 (0.4) (18.0) (395.6) (207.4) (149.4) (85.6) 7.9 3.4 (5.9) (271.3) 10.7 (763.8) 642.0 1,925.6

452.5 (5.1) 339.6 (751.0) (37.0) 45.5 75.4 497.2 16.5 (16.4) 9.3 (183.4) 14.3 (3,458.5) (95.6) (69.0) (280.8) 9.3 (501.4) 283.0 1,856.3

(67.3) 317.9 (3,183.3) (2,849.0) (290.4) (260.0) 17.8 (7,335.9) (202.3) (229.8)

(90.4) (435.7) (631.7) (712.1) (123.1) (178.6) (3,005.3) (153.4) (261.0)

(74.3) 273.2 92.2 28.0 (32.7) 159.5 (8.2) 371.7 (21.9)


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61 งบกำรเงิ นรวมสำหรับปี สิ้ นสุดวันที่ 31 มีนำคม 2561 2560 2559 (ปรับปรุงใหม่)

หนี้ สินดำเนิ นงำนเพิ่ มขึ้น (ลดลง) เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อ่นื เงินรับล่วงหน้าจากผูถ้ อื บัตร เจ้าหนี้เงินประกันผลงาน รายได้รบั ล่วงหน้า รายได้ค่าโดยสารรอนาส่ง สารองผลประโยชน์ระยะยาวของพนักงาน ประมาณการหนี้สนิ หนี้สนิ หมุนเวียนอื่น เงิ นสดใช้ไปในกิ จกรรมดำเนิ นงำน จ่ายดอกเบี้ย รับดอกเบี้ย จ่ายภาษีเงินได้ รับคืนภาษีเงินได้ เงิ นสดสุทธิ ใช้ไปในกิ จกรรมดำเนิ นงำน กระแสเงิ นสดจำกกิ จกรรมลงทุน เงินฝากทีม่ ภี าระผูกพันลดลง (เพิม่ ขึน้ ) เงินให้กยู้ มื ระยะสัน้ แก่กจิ การทีเ่ กีย่ วข้องกันเพิม่ ขึน้ รับชาระเงินให้กยู้ มื ระยะสัน้ แก่กจิ การทีเ่ กีย่ วข้องกัน เงินให้กยู้ มื ระยะยาวแก่กจิ การทีเ่ กีย่ วข้องกันเพิม่ ขึน้ รับชาระเงินให้กยู้ มื ระยะยาวแก่กจิ การทีเ่ กีย่ วข้องกัน เงินให้กยู้ มื ระยะยาวแก่สหกรณ์เพิม่ ขึน้ ดอกเบี้ยรับ เงินปั นผลรับ เงินสดจ่ายซือ้ เงินลงทุนชัวคราวและเงิ ่ นลงทุนระยะยาวอื่น เงินสดรับจากการจาหน่ายเงินลงทุนชัวคราวและเงิ ่ นลงทุนระยะยาวอื่น เงินสดจ่ายซือ้ เงินลงทุนในตราสารอนุพนั ธ์ เงินสดรับจากการจาหน่ายเงินลงทุนในตราสารอนุพนั ธ์ เงินสดจ่ายสุทธิเพื่อซือ้ เงินลงทุนในบริษทั ย่อย เงินสดของบริษทั ย่อยทีท่ าการโอนกิจการทัง้ หมด เงินสดรับสุทธิจากการขายเงินลงทุนในบริษทั ย่อย เงินสดจ่ายเพื่อซือ้ เงินลงทุนในการร่วมค้า เงินสดจ่ายเพื่อซือ้ เงินลงทุนในบริษทั ร่วม เงินสดรับจากการจาหน่ายเงินลงทุนในการร่วมค้า เงินสดรับจากเงินคืนทุนของบริษทั ย่อย การร่วมค้า และบริษทั ร่วม เงินสดจ่ายเพื่อซือ้ เงินลงทุนระยะยาวอื่น เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนระยะยาวอื่น เงินสดรับจากการลงทุนในกิจการต่างประเทศ สิทธิเรียกร้องในมูลหนี้จากการซือ้ หนี้ตามแผนฟื้ นฟูกจิ การเพิม่ ขึน้ เงินสดจ่ายล่วงหน้าเพื่อซือ้ สินทรัพย์ เงินสดรับจากการโอนสิทธิในการซือ้ ทีด่ นิ เงินสดจ่ายซือ้ ทีด่ นิ และโครงการรอพัฒนาในอนาคต เงินสดจ่ายซือ้ ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ เงินสดรับจากการจาหน่ายทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ เงินสดจ่ายซือ้ อสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน เงินสดรับจากการจาหน่ายอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน เงินสดจ่ายซือ้ สินทรัพย์ไม่มตี วั ตน เงินสดรับจากการขายสินทรัพย์ไม่มตี วั ตน เงิ นสดสุทธิ จำก (ใช้ไปใน) กิ จกรรมลงทุน

ส่วนที่ 3 หน้า 7

1,743.2 55.4 58.3 39.0 (11.0) (23.9) (80.9) 363.2 (8,598.0) (832.2) 125.1 (877.4) 253.9 (9,928.6)

221.0 94.3 4.6 (27.4) 30.8 (34.7) (69.1) 75.7 (3,370.5) (91.3) 127.6 (747.5) (4,081.7)

(184.3) 69.6 (18.9) 39.1 (1.9) (11.0) (264.1) (24.0) 2,248.3 (175.0) (1,808.3) 265.0

(0.6) (2,534.5) 7,797.9 1,272.3 1,836.5 (56,976.0) 55,733.7 (1,887.2) 156.9 (314.8) (401.1) 296.0 (369.6) (3,223.4) 92.4 (310.9) (3.0) (1,077.6) 15.0 (20.7) (82.5) (1.2)

1,153.7 14.3 (9,018.4) 5,873.8 (59.0) 518.1 1,727.1 (53,365.3) 48,310.9 (466.3) 627.5 (1,214.2) (492.4) 123.5 98.0 (34.7) 89.7 (493.2) (904.3) 5.3 13.0 (46.2) (7,539.1)

(81.8) (4.2) (6,751.2) 1,514.8 437.9 1,580.6 (22,356.5) 26,108.2 690.2 (500.0) (100.0) 38.7 655.1 (6,014.8) 2,886.9 (51.5) (1,019.3) (559.9) 56.5 (4.3) 31.5 (50.3) 22.1 (3,471.3)


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61 งบกำรเงิ นรวมสำหรับปี สิ้ นสุดวันที่ 31 มีนำคม 2561 2560 2559 (ปรับปรุงใหม่)

กระแสเงิ นสดจำกกิ จกรรมจัดหำเงิ น เงินกูย้ มื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงินเพิม่ ขึน้ เงินสดจ่ายชาระเงินกูย้ มื ระยะสัน้ จากสถาบันการเงิน เจ้าหนี้ต ั ๋วแลกเงินเพิม่ ขึน้ เงินสดจ่ายชาระเจ้าหนี้ต ั ๋วแลกเงิน เงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงินเพิม่ ขึน้ เงินสดจ่ายชาระเงินกูย้ มื ระยะยาวจากสถาบันการเงิน เงินกูย้ มื ระยะสัน้ จากกิจการทีเ่ กีย่ วข้องกันเพิม่ ขึน้ เงินสดจ่ายชาระเงินกูย้ มื ระยะสัน้ จากกิจการที่เกีย่ วข้องกัน เงินสดจ่ายชาระหนี้สนิ ตามสัญญาเช่าการเงิน เงินสดจ่ายเจ้าหนี้ตามแผนฟื้ นฟูกจิ การ หุน้ กูร้ ะยะยาวเพิม่ ขึน้ เงินสดจ่ายค่าใช้จ่ายในการออกหุน้ กู้ เงินสดจ่ายค่าใช้จ่ายในการกูเ้ งิน ชาระคืนหุน้ กูร้ ะยะยาว เงินสดจ่ายซือ้ เงินลงทุนในบริษทั ย่อย เงินสดจ่ายชาระเจ้าหนี้จากการซือ้ เงินลงทุน เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนในบริษทั ย่อย จ่ายเงินปั นผล เงินปั นผลจ่ายของบริษทั ย่อยให้แก่ส่วนได้เสียทีไ่ ม่มอี านาจควบคุมของบริษทั ย่อย เงินสดรับจากการใช้สทิ ธิใบสาคัญแสดงสิทธิซอ้ื หุน้ สามัญ เงินสดจ่ายหนี้สนิ รอคาสังอั ่ นเป็ นทีส่ ุดของศาล เงินสดจ่ายของบริษทั ย่อยให้แก่ส่วนได้เสียที่ไม่มอี านาจควบคุมของบริษทั ย่อยจากการลดทุนชาระแล้ว เงินสดรับจากส่วนได้เสียทีไ่ ม่มอี านาจควบคุมของบริษทั ย่อยในการออกจาหน่ายหุน้ สามัญของบริษทั ย่อย เงินสดจ่ายค่าใช้จ่ายในการออกหุน้ สามัญเพิม่ ทุน เงิ นสดสุทธิ จำก (ใช้ไปใน) กิ จกรรมจัดหำเงิ น ผลต่างจากการแปลงค่างบการเงินเพิม่ ขึน้ (ลดลง) เงิ นสดและรำยกำรเทียบเท่ำเงิ นสดเพิ่ มขึ้น (ลดลง) สุทธิ ผลกระทบจากอัตราแลกเปลีย่ นสาหรับรายการเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้นปี เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดต้นปี ท่ถี กู จัดประเภทเป็ นสินทรัพย์ท่ถี อื ไว้เพื่อขาย เงิ นสดและรำยกำรเทียบเท่ำเงิ นสดปลำยปี ข้อมูลกระแสเงิ นสดเปิ ดเผยเพิ่ มเติ ม รายการทีม่ ใิ ช่เงินสด โอนอุปกรณ์เป็ นสินทรัพย์ไม่มตี วั ตน โอนต้นทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เป็ นทีด่ นิ และโครงการรอการพัฒนาในอนาคต โอนอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนเป็ นที่ดนิ อาคาร และอุปกรณ์ โอนอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุนเป็ นที่ดนิ และโครงการรอการพัฒนาในอนาคต โอนสินทรัพย์ไม่มตี วั ตนเป็ นอุปกรณ์ โอนเงินมัดจาและสิทธิเรียกร้องในมูลหนี้จากการซือ้ หนี้ตามแผนฟื้ นฟูกจิ การเป็ นอสังหาริมทรัพย์ เพื่อการลงทุน ซือ้ อุปกรณ์โดยยังไม่ได้จ่ายชาระ ขายอาคารและอุปกรณ์โดยยังไม่ได้รบั ชาระ ซือ้ สินทรัพย์ไม่มตี วั ตนโดยยังไม่ได้จ่ายชาระ ซือ้ เงินลงทุนโดยยังไม่ได้จ่ายชาระ ขายเงินลงทุนโดยยังไม่ได้รบั ชาระ เงินลงทุนในบริษทั ร่วมเพิม่ ขึน้ จากการแลกเปลีย่ นเงินลงทุนในบริษทั ย่อย โอนอุปกรณ์เพื่อชาระเจ้าหนี้อ่นื โอนสินทรัพย์ไม่มตี วั ตนเพื่อชาระเจ้าหนี้อ่นื

ส่วนที่ 3 หน้า 8

13,575.0 (13,123.0) 67,401.2 (65,645.0) (645.9) (7.2) (74.2) 7,000.0 (9.1) (276.8) (6,397.5) (314.5) 2,638.0 (4,014.3) (272.5) 189.1 (15.5) 4,290.0 (27.8) 4,270.0 (1.5) (5,661.3) 24.7 15,094.5 9,457.9

10,301.7 (12,973.7) 41,553.3 (31,280.0) 2,000.0 (1,399.9) 3.5 (35.9) 22,000.0 (23.2) (1,348.5) (368.2) 1,649.8 (5,951.4) (276.0) 28.1 480.2 24,359.8 0.1 12,739.1 (6.9) 2,362.2 15,094.4

8,134.0 (4,914.0) 3,405.7 (500.0) (26.0) 14.2 (36.5) (1,468.9) (1,543.2) (7,557.4) (173.7) 46.5 (181.9) 190.7 (4,610.5) 0.1 (7,816.7) (1.2) 10,111.9 67.8 2,361.8

28.9

-

18.9 118.6 6.0 676.6 -

300.5 22.9 234.1 369.0 48.2 -

64.2 422.1 201.4 -

51.5 54.0 2.9 28.5 1.2 9,468.8 31.2 26.6


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

โอนเงินลงทุนระยะยาวอื่นเป็ นเงินลงทุนชัวคราว ่ โอนภาระหนี้สนิ ภายใต้สญ ั ญาเงินให้กยู้ มื ของส่วนได้เสียที่ไม่มอี านาจควบคุมของบริษทั ย่อยเป็ นส่วนของ ผูม้ สี ่วนได้เสียที่ไม่มอี านาจควบคุมของบริษทั ย่อยเมื่อมีการให้เงินกูย้ มื แก่บริษทั ย่อย โอนเงินให้กยู้ มื ระยะยาวโดยยังไม่ได้รบั ชาระ ใช้สทิ ธิใบสาคัญแสดงสิทธิใช้สทิ ธิทจ่ี ะซือ้ หุ้นสามัญโดยยังไม่ได้รบั ชาระ เงินลงทุนในบริษทั ร่วมเพิม่ ขึน้ จากการโอนกิจการทัง้ หมดของบริษทั ย่อย โอนเงินกูย้ มื และดอกเบี้ยค้างรับให้แก่บริษทั ย่อยเป็ นเงินกูย้ มื และดอกเบี้ยค้างรับให้แก่บริษทั ร่วม

13.2

แบบ 56-1 ปี 2560/61 งบกำรเงิ นรวมสำหรับปี สิ้ นสุดวันที่ 31 มีนำคม 2561 2560 2559 (ปรับปรุงใหม่) 1,937.9 29.2 80.5 65.3 2,172.0 10,074.4

61.7 -

-

อัตรำส่วนทำงกำรเงิ นที่สำคัญ

ควำมสำมำรถในกำรทำกำไร อัตราส่วนกาไรจากการดาเนินงานขัน้ ต้นต่อยอดขาย (%) อัตรากาไรจากการดาเนินงานก่อนหักดอกเบีย้ ภาษี และค่าเสือ่ ม (%)A อัตรากาไรสุทธิจากรายการทีเ่ กิดขึน้ เป็ นประจา (%)B อัตรากาไรสุทธิ (%)C อัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ (%)D อัตราผลตอบแทนต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ (%)E สภำพคล่อง อัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียน ควำมสำมำรถในกำรชำระหนี้ อัตราส่วนหนี้สนิ ทีม่ ภี าระดอกเบีย้ ต่อส่วนของผูถ้ อื หุน้ อัตราส่วนหนี้สนิ สุทธิ (adjusted)F ต่อทุน อัตราส่วนหนี้สนิ สุทธิ (adjusted)F ต่อกาไรจากการดาเนินงานทีเ่ กิดขึน้ เป็ นประจา ความสามารถในการชาระดอกเบีย้ G อัตรำส่วนต่อหุ้นH กาไรต่อหุน้ ขันพื ้ น้ ฐาน (บาท) มูลค่าตามบัญชีต่อหุน้ (บาท)

ปี 2560/61*

ปี 2559/60

ปี 2558/59

41.0% 29.0% 23.4% 24.6% 4.8% 10.5%

51.9% 34.0% 25.0% 20.1% 2.8% 4.9%

60.4% 42.9% 36.2% 39.4% 6.7% 8.9%

0.93x

1.38x

0.81x

1.02x 0.37x 3.02x 3.31x

0.85x 0.13x 1.72x 4.55x

0.20x (0.13)x (1.93)x 9.30x

0.37 3.91

0.17 3.82

0.35 3.96

หมายเหตุ : * รวมผลการดาเนินงานจากการดาเนินงานทีย่ กเลิก A ไม่รวมรายได้และรายจ่ายทีไ่ ม่เกีย่ วข้องโดยตรงกับการดาเนินงาน (non-operating items) และไม่รวมรายได้ดอกเบีย้ รับ B คานวณจากกาไรจากรายการทีเ่ กิดขึน้ เป็ นประจาก่อนหักภาษี / รายได้ทงั ้ หมดทีเ่ กิดขึน้ เป็ นประจา C คานวณจากกาไรสุทธิทางบัญชี (หลังหักส่วนของผูม้ สี ว่ นได้เสียทีไ่ ม่มอี านาจควบคุมของบริษทั ย่อย) / รายได้ทงั ้ หมดทางบัญชี รวม ส่วนแบ่งกาไรจากเงินลงทุนในบริษทั ร่วมและบริษทั ย่อย และรายได้จากการดาเนินงานทีย่ กเลิก D คานวณจากกาไรสุทธิทางบัญชี / สินทรัพย์รวมเฉลีย่ E คานวณจากกาไรสุทธิทางบัญชี / ส่วนของผูถ้ อื หุน้ รวมเฉลีย่ F คานวณจากหนี้สนิ ทีม่ ภี าระดอกเบีย้ จ่ายหักเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด และเงินลงทุนทีม่ สี ภาพคล่อง G คานวณจากกาไรจากการดาเนินงานก่อนหักดอกเบีย้ ภาษี และค่าเสือ่ ม / ค่าใช้จ่ายทางการเงิน H คานวณจากจานวนหุน้ สามัญถัวเฉลีย่ ณ มูลค่าทีต่ ราไว้ ที่ 4.0 บาท ต่อหุน้

ส่วนที่ 3 หน้า 9


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

14.

บทวิ เครำะห์ผลประกอบกำรสำหรับปี บัญชีสิ้นสุดวันที่ 31 มีนำคม 2561 และ 2560

14.1

ภำพรวมธุรกิ จ  รายได้จากการดาเนินงานปรับตัวดีขน้ึ 63.9% จากปี ก่อน เป็ น 14,102 ล้านบาท ส่วนใหญ่มาจากการ เพิม่ ขึน้ ของรายได้จากการดาเนินงานของธุรกิจระบบขนส่งมวลชนและธุรกิจสือ่ โฆษณา  รายได้รวมจากการดาเนินงานของธุรกิจระบบขนส่งมวลชน จานวน 9,112 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 115.1% หรีอ 4,875 ล้านบาท จากปี ก่อน  รายได้จ ากการให้บริก ารรับเหมาติดตัง้ และก่อ สร้างและจัด หารถไฟฟ้ าเพิ่ม ขึ้นเป็ น 6,028 ล้า นบาท เพิม่ ขึน้ 244.8% จากปี ก่อน ปั จจัยหลักมาจากการติดตัง้ งานระบบและจัดหารถไฟฟ้ าในโครงการรถไฟฟ้ า ส่วนต่อขยายสายสีเขียวใต้และเหนือ  รายได้จากการให้บริการเดินรถและซ่อมบารุง (ไม่รวมดอกเบีย้ รับจากงานจัดหารถไฟฟ้ าและงานระบบ) เพิ่มขึ้น 12.3% จากปี ก่อน เป็ น 1,865 ล้านบาท มาจากการเพิ่มขึ้นตามสัญญาของรายได้ค่าเดินรถ โครงการรถไฟฟ้ าส่ว นต่ อ ขยายสายสีเ ขีย วปั จจุบ ัน และจากสถานี สาโรง (E15) ซึ่ง เป็ น สถานี แ รกใน โครงการรถไฟฟ้ าส่วนต่อขยายสายสีเขียวใต้  ยอดผู้โดยสารรวมในส่วนของรถไฟฟ้ าสายสีเขียวหลักในปี 2560/61 จานวน 241.2 ล้านคน เพิ่มขึน้ 1.3% จากปี ก่อน และอัตราค่าโดยสารเฉลีย่ เพิม่ ขึน้ 1.4% จากปี ก่อน เป็ น 28.3 บาทต่อเทีย่ ว  รายได้ธุรกิจสื่อโฆษณาในปี 2560/61 จานวน 3,902 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 29.7% หรือ 893 ล้านบาท จากปี ก่อน เป็ นผลจากผลประกอบการทีแ่ ข็งแกร่งของธุรกิจสือ่ โฆษณานอกบ้านเป็ นหลัก  การปรับโครงสร้างการถือหุน้ ในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ผ่านการโอนกิจการทัง้ หมด (EBT) ของยูนิคอร์น ไปยัง ยู ซิต้ี ทาให้บริษทั ฯ รับรูก้ าไรจากการทาธุรกรรม จานวน 1,880 ล้านบาท  กาไรจากการดาเนินงานก่อนค่าเสื่อมราคา ค่าตัดจาหน่ าย ดอกเบี้ย และภาษี (Operating EBITDA) สาหรับปี 2560/61 จานวน 4,089 ล้านบาท เติบโตขึน้ 39.6% หรือ 1,161 ล้านบาท จากปี ก่อน  กาไรสุทธิหลังหักภาษีจากรายการทีเ่ กิดขึน้ เป็ นประจา (หลังหักส่วนของผูถ้ อื หุน้ ส่วนน้อย) จานวน 2,515 ล้า นบาท เพิ่ม ขึ้น 1,098 ล้า นบาท หรือ 77.5% จากปี ก่ อ น ปั จ จัย หลัก มาจากการเติบโตของผลการ ดาเนินงานทีด่ ขี น้ึ มีรายได้จากดอกเบีย้ รับและรายได้จากการลงทุนเพิม่ ขึน้ และรับรูส้ ว่ นแบ่งกาไรสุทธิจาก การร่วมค้าและบริษทั ร่วมทีเ่ พิม่ ขึน้ แม้การเติบโตบางส่วนจะลดลงจากค่าใช้จ่ายทางการเงินทีส่ งู ขึน้ ก็ตาม  กาไรสุทธิ (หลังหักส่วนของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย) จานวน 4,416 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 2,412 ล้านบาท หรือ 120.4% จากปี ก่อน ซึ่งเป็ นผลมาจากการรับรู้กาไรจากรายการที่เกิดขึน้ เป็ นประจาและกาไรพิเศษจาก การปรับโครงสร้างในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์  บริษัท ฯ จ่ า ยเงิน ปั น ผลประจ าปี 2560/61 แก่ ผู้ถือ หุ้น 1 ทัง้ สิ้น 4,876 ล้า นบาท คิด เป็ น อัต ราเงิน ปั น ผลตอบแทนประจาปี อยู่ทป่ี ระมาณ 3.95%

ส่วนที่ 3 หน้า 10


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

14.2

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ผลกระทบจำกปัจจัยต่ำงๆ ต่อผลกำรดำเนิ นงำนของกลุ่มธุรกิ จ

รายงานอัตราการเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) ปี 2560 เติบโตอยู่ท่ี 3.9% (เทียบกับ 3.2% ในปี ก่อน) โดยการขยายตัวมาจากปั จจัยเชิงบวกหลายประการ อาทิ การฟื้ นตัวของภาคการส่งออก ภาคการท่องเทีย่ ว อัตราดอกเบีย้ โดยรวม และความมันคงและเสถี ่ ยรภาพทางการเมือง ในส่วนของธุรกิจระบบขนส่งมวลชน รายได้ค่าโดยสารในส่วนของรถไฟฟ้ าสีเขียวสายหลักทีเ่ ติบโต 2.8% จาก ปี ก่อน เป็ น 6.8 พันล้านบาทในปี 2560/61 แม้จะน้อยกว่าทีค่ าดการณ์ไว้กต็ าม (เป้ าหมายการเติบโตที่ 4-6%) การเติบโต ส่วนใหญ่ได้รบั ปั จจัยสนับสนุนจากการเพิม่ ขึน้ ของจานวนผูโ้ ดยสาร (เพิม่ ขึน้ 1.3% จากปี ก่อนเป็ น 241.2 ล้านเทีย่ วคน) และการเพิม่ ขึน้ ของอัตราค่าโดยสารเฉลี่ย (เพิม่ ขึน้ 1.4% จากปี ก่อนเป็ น 28.3 บาทต่อเทีย่ ว) อย่างไรก็ดี การเติบโต ของรายได้ค่าโดยสารน้อยกว่าเป้ าหมายที่คาดการณ์ ไว้ จากผลกระทบบางประการ อาทิ ผลกระทบจากการขึน้ ค่า โดยสารทัง้ ในส่วนของเส้นทางรถไฟฟ้ าสีเขียวสายหลักและส่วนต่อขยาย การประกาศวันหยุดเพิม่ เติม รวมไปถึงการงด จัดกิจกรรมรื่นเริงและกิจกรรมบันเทิงตามสถานทีต่ ่าง ๆ ในช่วงพระราชพิธถี วายพระเพลิงพระบรมศพฯ พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช ในปี 2560/61 นับเป็ นอีกปี ท่เี ราได้เห็นพัฒนาการที่โดดเด่นสาหรับธุรกิจสื่อโฆษณา โดยวีจไี อสามารถสร้าง รายได้สงู ทีส่ ุดนับตัง้ แต่เริม่ ดาเนินกิจการ โดยมีรายได้รวมจานวน 3,902 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 29.7% จากปี ก่อน ปั จจัย หลักมาจากการรวมงบการเงินเต็มปี ของ MACO และการปรับกลยุทธ์ใหม่ส่กู ารเป็ นผู้ให้บริการสื่อโฆษณาแบบครบ วงจรทีส่ ามารถเชื่อมต่อการให้บริการรูปแบบออฟไลน์และออนไลน์ (O2O Solutions) เข้าไว้ดว้ ยกัน อนึ่ง การเติบโต ยังคงต่ ากว่าที่คาดการณ์ไว้ สาเหตุหลักมาจากการงดฉายโฆษณาบนสื่อดิจทิ ัลเป็ นเวลา 1 เดือน และจากการงดจัด กิจกรรมรื่นเริงและกิจกรรมบันเทิงตามสถานที่ต่าง ๆ ในช่วงพระราชพิธดี งั ที่กล่าวไว้ขา้ งต้น อย่างไรก็ดี จากการ วางรากฐานสู่การเป็ นผูน้ าธุรกิจผ่าน O2O Solutions เราคาดหวังว่าธุรกิจสื่อโฆษณาจะสามารถเติบโตได้อย่างมันคง ่ และต่อเนื่องในอนาคตจากปั จจัยสนับสนุ นต่างๆ รวมถึงการขยายตัวของโครงข่ายระบบขนส่งมวลชน และการเติบโต ของการให้บริการสือ่ รูปแบบ O2O Solutions ของวีจไี อ 14.3

ผลกำรดำเนิ นงำนประจำปี 2560/61

(หน่ วย: ล้ำนบำท) รายได้จากการดาเนินงาน รายได้อ่นื ทีเ่ กิดขึน้ เป็ นประจา รำยได้รวมจำกรำยกำรที่ เกิ ดขึน้ เป็ นประจำ

ปี 2560/61* 14,102 1,580 15,683

ปี 2559/60* 8,606 602 9,209

% YoY 63.9% 162.4%

ต้นทุนการดาเนินงาน ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารจากการดาเนินงาน กำไรจำกกำรดำเนิ นงำนก่อนค่ำเสื่อมรำคำ ค่ำตัดจำหน่ ำย ดอกเบีย้ และภำษี

8,325 2,446 4,089

4,143 2,113 2,928

100.9% 15.8%

ค่าใช้จ่ายทางการเงิน กำไรจำกรำยกำรที่เกิ ดขึน้ เป็ นประจำ - ก่อนภำษี

1,236 3,676

644 2,307

92.0%

อื่นๆ

1,900

586

224.2%

ส่วนที่ 3 หน้า 11

70.3%

39.6% 59.3%


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน) (หน่ วย: ล้ำนบำท) กำไรก่อนภำษี

แบบ 56-1 ปี 2560/61 ปี 2560/61* 5,576

ปี 2559/60* 2,893

% YoY 92.7%

ภาษีเงินได้ ส่วนทีเ่ ป็ นของผูม้ สี ่วนได้เสียทีไ่ ม่มอี านาจควบคุมของบริษทั ย่อย กำไร (ขำดทุน) สุทธิ จำกรำยกำรที่ เกิ ดขึน้ เป็ นประจำที่ เป็ นของผูถ้ ือหุ้นบริ ษทั ฯ

787 374 2,515

658 232 1,417

19.6% 61.2%

กำไร (ขำดทุน) สุทธิ ที่เป็ นของผูถ้ ือหุ้นบริ ษทั ฯ

4,416

2,003

120.4%

77.5%

* รวมผลการดาเนินงานจากการดาเนินงานทีย่ กเลิก

กลุ่มบริษัทบีทเี อส รายงานผลประกอบการประจาปี 2560/61 โดยมีรายได้รวมจากการดาเนินงานต่อเนื่อง จานวน 16,987 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 92.7% หรือ 8,171 ล้านบาท จาก 8,815 ล้านบาท ในปี 2559/60 ปั จจัยหลักมาจาก (1) การเพิม่ ขึน้ ของรายได้จากการให้บริการรับเหมาติดตัง้ และก่อสร้างและจัดหารถไฟฟ้ า จานวน 4,280 ล้านบาท ส่วน ใหญ่มาจากรายได้จากงานติดตัง้ ระบบไฟฟ้ าและเครื่องกลและการจัดหารถไฟฟ้ า สาหรับโครงการรถไฟฟ้ าส่วนต่อ ขยายสายสีเขียวใต้และเหนือ (2) การเพิม่ ขึน้ ของกาไรจากการโอนกิจการทัง้ หมดของยูนิคอร์นให้แก่ ยู ซิต้ี จานวน 1,880 ล้านบาท จากการปรับโครงสร้างในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ (3) การเพิม่ ขึน้ ของรายได้จากการบริการ จานวน 1,092 ล้านบาท ส่วนใหญ่ มาจากการเพิม่ ขึน้ ของรายได้จากธุรกิจระบบขนส่งมวลชนและธุรกิจสื่อโฆษณา (4) การ เพิม่ ขึน้ ของรายได้ดอกเบีย้ รับ จานวน 673 ล้านบาท เป็ นผลมาจาก (ก) เงินสดทีเ่ พิม่ ขึน้ ระหว่างงวด ส่วนใหญ่มาจาก การออกหุน้ กูข้ องบีทเี อสซี เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2559 (ข) ดอกเบีย้ รับจากเงินให้กยู้ มื แก่กจิ การทีเ่ กีย่ วข้องกัน (ค) การรับรู้ดอกเบี้ยภายใต้ขอ้ ตกลงสัมปทานบริการและดอกเบี้ยรับภายใต้สญ ั ญาซื้อขายพร้อมติดตัง้ ระบบการเดินรถ สาหรับโครงการรถไฟฟ้ าส่วนต่อขยายสายสีเขียวใต้และเหนือ และ (5) การเพิม่ ขึน้ ของกาไรจากการขายและปรับมูลค่า ยุตธิ รรมของเงินลงทุน จานวน 311 ล้านบาท ต้นทุนรวมและค่าใช้จ่ายจากการดาเนินงานต่อเนื่องสาหรับปี 2560/61 จานวน 10,612 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 4,927 ล้านบาท หรือ 86.7% จากปี ก่อน สาเหตุหลักมาจาก (1) การเพิม่ ขึน้ ของต้นทุนการให้บริการรับเหมาติดตัง้ และ ก่อสร้างและจัดหารถไฟฟ้ า จานวน 3,882 ล้านบาท ส่วนใหญ่มาจากต้นทุนในการติดตัง้ ระบบไฟฟ้ าและเครื่องกลและ จัดหารถไฟฟ้ าสาหรับโครงการรถไฟฟ้ าส่วนต่อขยายสายสีเขียวใต้และเหนือ (2) การเพิม่ ขึน้ ของค่าใช้จ่ายในการขาย และการบริหาร จานวน 464 ล้านบาท และ (3) การเพิม่ ขึน้ ของต้นทุนบริการ จานวน 391 ล้านบาท สาหรับส่วนแบ่งกาไรสุทธิจากเงินลงทุนในการร่วมค้าและบริษทั ร่วม (รวมส่วนแบ่งกาไรสุทธิ จาก BTSGIF) จานวน 180 ล้านบาท เทียบกับ 632 ล้านบาทในปี 2559/60 โดยการลดลงมาจากส่วนแบ่งขาดทุนทีเ่ พิม่ ขึน้ จาก ยู ซิต้ี นอกจากนี้ จากการโอนกิจการทัง้ หมด (EBT) ของยูนิคอร์นไปยัง ยู ซิต้ี ทาให้มกี ารจัดประเภทบัญชีใหม่โดยการบันทึก “กาไรสุทธิจากเงินลงทุนในการร่วมค้า BTS-SIRI JVs ภายใต้กาไร (ขาดทุน) สาหรับปี ” ที่เคยบันทึกอยู่ภายใต้การ ดาเนินงานต่อเนื่องไปอยู่ภายใต้การดาเนินงานทีย่ กเลิก ดังนัน้ การรับรูส้ ว่ นแบ่งกาไรจาก BTS-SIRI JVs จานวน 254 ล้านบาท (และส่วนแบ่งขาดทุน 253 ล้านบาท ในปี ก่อน) ถูกบันทึกอยู่ภายใต้การดาเนิน งานที่ยกเลิก รายละเอียด เพิม่ เติมสามารถดูได้ใน หมายเหตุประกอบงบการเงินรวม 16.2, 17.2 และ 52 ค่าใช้จ่ายทางการเงินจานวน 1,236 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 592 ล้านบาท หรือคิดเป็ น 92.0% จากปี ก่อน เป็ นผล มาจากดอกเบี้ยจ่ายของหุน้ กูร้ ะยะยาวและตั ๋วแลกเงิน อย่างไรก็ดี กาไรจากรายการทีเ่ กิดขึน้ เป็ นประจาหลังหักภาษี ในปี น้ี เพิม่ ขึน้ 1,098 ล้านบาท หรือ 77.5% จากปี ก่อน เป็ น 2,515 ล้านบาท และบริษทั ฯ บันทึกกาไรส่วนทีเ่ ป็ นของ ผูถ้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ จานวน 4,416 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 120.4% จากปี ก่อน ปั จจัยหลักมาจากผลการดาเนินงานที่ดขี ้ึน ของทัง้ สองหน่ วยธุรกิจทีก่ ล่าวไว้ขา้ งต้น การเพิม่ ขึน้ ของรายได้จากดอกเบีย้ รับและรายได้จากการลงทุน การเพิม่ ขึน้ ส่วนที่ 3 หน้า 12


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ของส่วนแบ่งกาไรจากเงินลงทุนในการร่วมค้าและบริษทั ร่วม ถึงแม้ว่าค่าใช้จ่ายทางการเงินจะสูงขึน้ ก็ตาม ในส่วนของ อัตรากาไรสุทธิทเ่ี ป็ นส่วนของผูถ้ อื หุน้ บริษทั ฯ สาหรับปี 2560/61 อยู่ท่ี 24.6% (เทียบกับ 20.1% ในปี 2559/60) รำยได้จำกกำรดำเนิ นงำนและกำไรขัน้ ต้นจำกกำรดำเนิ นงำน – แยกตำมหน่ วยธุรกิ จ รำยได้จำกกำร ดำเนิ นงำน2 ระบบขนส่งมวลชน3 สือ่ โฆษณา4 อสังหาริมทรัพย์5 บริการ6 รวม2

ปี 2560/61

% ของ ยอดรวม2

ปี 2559/60

% ของ ยอดรวม2

9,112 3,902 639 449 14,102

64.6% 27.7% 4.5% 3.2% 100.0%

4,237 3,010 617 743 8,606

49.2% 35.0% 7.2% 8.6% 100.0%

หน่วย : ล้านบาท % อัตรำกำไร อัตรำกำไร เปลี่ยนแปลง ขัน้ ต้น7 (%) ขัน้ ต้น7 (%) (YoY) ปี 2560/61 ปี 2559/60 115.1% 31.1% 49.7% 29.7% 68.4% 65.3% 3.6% 35.3% 37.7% (39.6)% 10.2% 21.4% 63.9% 41.0% 51.9%

รายได้จากการดาเนินงาน2 ในปี 2560/61 จานวน 14,102 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 63.9% หรือ 5,496 ล้านบาท จาก ปี ก่อน โดยรายได้จากการดาเนินงานของธุรกิจระบบขนส่งมวลชน ธุรกิจสื่อโฆษณา ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ และธุรกิจ บริการ คิดเป็ นสัดส่วน 64.6%, 27.7%, 4.5% และ 3.2% ตามลาดับ การเพิม่ ขึน้ ของรายได้จากการดาเนินงาน เป็ นผล มาจากการเพิ่มขึน้ ของธุรกิจระบบขนส่งมวลชน ธุรกิจสื่อโฆษณา และธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ โดยเพิ่มขึ้น 115.1%, 29.7% และ 3.6% จากปี ก่อน ตามลาดับ โดยมีปัจจัยสนับสนุ นหลักมาจากการรับรูร้ ายได้จากการให้บริการรับเหมา ติดตัง้ และก่อสร้างและจัดหารถไฟฟ้ า สาหรับโครงการรถไฟฟ้ าส่วนต่อขยายสายสีเขียวใต้และเหนือ รวมถึงการเพิม่ ขึน้ ของรายได้จากธุรกิจสื่อโฆษณานอกบ้านจากการรวมงบการเงินเต็มปี ของ MACO การ synergy จากการให้บริการสือ่ รูปแบบ O2O Solutions และการปรับเพิม่ ราคาสื่อโฆษณา แม้ว่ารายได้จากธุรกิจบริการ จะลดลง 39.6% หรือ 294 ล้านบาท จากปี ก่อน เป็ น 449 ล้านบาท ส่วนใหญ่มาจากผลกระทบเต็มปี จากการตัดงบการเงินของบริษัทย่อยของ Chef Man ออกจากงบการเงินรวม ต้นทุนจากการดาเนินงาน เพิม่ ขึน้ 100.9% จากปี ก่อน เป็ น 8,325 ล้านบาท ส่วนใหญ่มาจากการรับรูต้ ้นทุน ในการติดตัง้ ระบบไฟฟ้ าและเครื่องกลและจัดหารถไฟฟ้ าสาหรับโครงการรถไฟฟ้ าส่วนต่อขยายสายสีเขียวใต้และเหนือ และเนื่ อ งจากรายได้จ ากการดาเนิ น งานที่เ พิ่ม ขึ้น มากกว่ า ต้ น ทุ น จากการดาเนิ น งาน ท าให้ก าไรขัน้ ต้น จากการ ด าเนิ น งาน (operating gross profit7) ปรับ ตัว เพิ่ม ขึ้น 29.4% จากปี ก่ อ น เป็ น 5,778 ล้า นบาท และก าไรจากการ ดาเนินงานก่อนค่าเสื่อมราคา ค่าตัดจาหน่ าย ดอกเบี้ย และภาษี (operating EBITDA8) เติบโต 1,161 ล้านบาท หรือ 39.6% จากปี ก่อน เป็ น 4,089 ล้านบาท แต่เนื่องจากรายได้ของธุรกิจระบบขนส่งมวลชนทีร่ วมการให้บริการติดตัง้ ระบบ ไฟฟ้ าและเครื่องกลและจัดหารถไฟฟ้ ามีกาไรน้อยกว่า จึงทาให้อตั ราส่วนกาไรขัน้ ต้นจากการดาเนินงานลดลงเป็ น 41.0% จาก 51.9% ในปี ก่อน และ operating EBITDA margin ในปี 2560/61 ลดลงเป็ น 29.0% เทียบกับ 34.0% ในปี ก่อนหน้า หมายเหตุ : (1) การเสนอจ่ายเงินปั นผลประจาปี ครัง้ สุดท้ายจานวน 0.185 บาทต่อหุน้ หรือคิดเป็ นเงินปั นผลทีจ่ ะจ่ายอีกจานวนไม่เกิน 2,922.1 ล้าน บาทนัน้ คานวณจากกรณีทม่ี กี ารใช้สทิ ธิตามใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-W3 และใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-WB และใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-WC ทีใ่ ช้สทิ ธิได้เต็มจานวน ซึ่งจะทาให้บริษทั ฯ มีหุน้ ทีม่ สี ทิ ธิได้รบั เงินปั นผล จานวน 15,790.0 ล้านหุน้ ขึน้ อยู่กบั การอนุ มตั ิ จากทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้

ส่วนที่ 3 หน้า 13


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน) (2) (3)

(4)

(5) (6) (7) (8)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

รายได้จากการดาเนินงาน คานวณจากรายได้จากการดาเนินงานจาก 4 หน่ วยธุรกิจ แต่ไม่รวม ดอกเบี้ยรับทีไ่ ม่เกีย่ วข้องกับธุรกิจ ขนส่งมวลชน เงินปั นผลรับ และรายการทีไ่ ม่เกิดขึน้ เป็ นประจา (non-recurring items) รายได้จากธุรกิจระบบขนส่งมวลชน ประกอบด้วย: (ก) ส่วนแบ่งกาไร (ขาดทุน) จาก BTSGIF (รวมอยู่ใน ‘ส่วนแบ่งกาไร (ขาดทุน) จากเงินลงทุนในบริษทั ร่วม’ ทีแ่ สดงอยู่ในงบกาไร ขาดทุนเบ็ดเสร็จ) (ข) รายได้ค่าบริการจากการบริหารการเดินรถไฟฟ้ า และ BRT (รวมอยู่ใน ‘รายได้จากการบริการ’ ในรายการ ‘รายได้จากการ ให้บริการเดินรถ’) และดอกเบีย้ รับภายใต้ขอ้ ตกลงสัมปทานและดอกเบีย้ รับภายใต้สญ ั ญาซื้อขายพร้อมติดตัง้ ระบบการเดินรถ (ค) รายได้ค่าบริการจากการให้บริการติดตัง้ งานระบบและจากการจัดหารถไฟฟ้ า รายได้รวมจากธุรกิจสือ่ โฆษณารวมรายได้ส่อื โฆษณาของกลุ่มวีจไี อและ Rabbit Group (จัดอยู่ในกลุ่มธุรกิจบริการด้านดิจทิ ลั ) โดย Rabbit Group รวมรายได้จาก BSS และ BSSH และบริษทั ย่อย ยกเว้นรายได้จาก 2 บริษทั นันคื ่ อ รายได้จากบริษทั บางกอก เพย์ เมนต์ โซลูชนั ส์ จากัด (BPS) ซึง่ เคยอยู่ใต้ BSSH และบริษทั แรบบิท รีวอร์ดส จากัด (RR) รายได้ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ประกอบด้วยยอดขายอสังหาริมทรัพย์ รายได้จากโรงแรม ค่าเช่าและค่าบริการ และรายได้ค่าบริการจาก โครงการสนามกอล์ฟธนาซิต้แี ละสปอร์ตคลับ รายได้จากธุรกิจบริการ หมายถึง รายได้จากการสะสมคะแนนของโปรแกรม Rabbit Rewards, รายได้จาก BPS, รายได้ค่าก่อสร้าง และค่าทีป่ รึกษาจาก HHT Construction, รายได้จากร้านอาหาร Chef Man (ถึงวันที่ 3 สิงหาคม 2560) กาไรขันต้ ้ นจากการดาเนินงาน คานวณจากรายได้จากการดาเนินงานจาก 4 หน่วยธุรกิจ จากการดาเนินงานก่อนค่าเสือ่ มราคา ค่าตัดจาหน่าย ดอกเบีย้ และภาษี (operating EBITDA) คานวณจากรายได้จากการดาเนินงาน จาก 4 หน่วยธุรกิจ แต่ไม่รวม ดอกเบีย้ รับทีไ่ ม่เกีย่ วข้องกับธุรกิจขนส่งมวลชน เงินปั นผลรับ ส่วนแบ่งกาไร (ขาดทุน) จากบริษทั ร่วม อื่น ๆ (ยกเว้นจาก BTSGIF) และการร่วมค้า และรายการทีไ่ ม่เกิดขึน้ ประจาอื่น ๆ

14.4

เหตุกำรณ์สำคัญในปี 2560/61

บีทีเอสจี 25 กรกฎาคม 2560: ที่ประชุมสามัญผู้ถือหุ้นประจาปี 2560 ของบริษัทฯ มีมติอนุ มตั ิแผนการเพิม่ ทุนจดทะเบียนของ บริษทั ฯ แบบมอบอานาจทัวไป ่ (General Mandate) จานวนไม่เกิน 2,384 ล้านบาท (หรือเท่ากับประมาณ 5% ของทุน จดทะเบียนชาระแล้วของบริษทั ฯ) หรือคิดเป็ นการออกหุน้ สามัญเพิม่ ทุน จานวนไม่เกิน 596 ล้านหุน้ เพื่อเสนอขายต่อ บุคคลในวงจากัด (Private Placement) 26 ธันวาคม 2560: บริษทั ฯ ออกและเสนอขายหุน้ กูไ้ ม่ดอ้ ยสิทธิของบริษทั ฯ มูลค่ารวม 7,000 ล้านบาท (อันดับความ น่ าเชื่อถือ A/Stable โดยบริษัท ทริสเรทติ้ง จากัด ) ให้แก่ผู้ลงทุนสถาบันและผู้ลงทุนรายใหญ่ ซึ่งจะครบกาหนดในปี 2563, 2565, 2570 และ 2572 โดยมีอตั ราดอกเบีย้ เฉลี่ย 3.17% เพื่อใช้ชาระคืนหนี้เดิม และ/หรือเพื่อใช้ในการลงทุน และ/หรือเพื่อใช้เป็ นเงินทุนหมุนเวียนในการดาเนินกิจการของบริษทั ฯ 8 มกราคม 2561: ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั อนุมตั ใิ ห้บริษทั ฯ จ่ายเงินปั นผลระหว่างกาล จากผลการดาเนินงานงวด หกเดือน (เมษายน 2560 – กันยายน 2560) และจากกาไรสะสมให้แก่ผถู้ อื หุน้ ของบริษทั ฯ ในอัตราหุน้ ละ 0.165 บาท หรือคิดเป็ นเงินทัง้ สิน้ 1,954 ล้านบาท ทัง้ นี้ อัตราเงินปั นผลตอบแทน (Dividend Yield) ประจาปี คิดเป็ น 4.0% เมื่อ เทียบกับราคาหุน้ ที่ 8.25 บาท ณ วันที่ 5 มกราคม 2561 (1 วัน ก่อนคณะกรรมการบริษทั ฯ มีมติอนุมตั ใิ ห้จ่ายเงินปั นผล) 16 มีนาคม 2561: บริษัทฯ ได้ดาเนินการ (1) โอนกิจการทัง้ หมดของยูนิคอร์นซึ่งเป็ นบริษัทย่อยของบริษัทฯ ให้แก่ ยู ซิต้ี และ (2) ได้รบั จัดสรรหุน้ บุรมิ สิทธิเพิม่ ทุนของยู ซิต้ี จานวน 100,000 ล้านหุน้ ทีร่ าคาเสนอขายหุน้ ละ 0.031 บาท รวมถึงได้รบั ใบสาคัญแสดงสิทธิจะซือ้ หุน้ สามัญของยู ซิต้ี รุ่นที่ 4 (U-W4) โดยไม่คดิ ค่าตอบแทน จานวน 50,000 ล้าน หน่ วย ผ่านการเสนอขายหุน้ บุรมิ สิทธิเพิม่ ทุนให้แก่ผถู้ อื หุน้ เดิมของบริษทั ฯ ตามสัดส่วนการถือหุน้ ในยู ซิต้ี ทัง้ นี้ จ าก ส่วนที่ 3 หน้า 14


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ธุรกรรมการโอนกิจการทัง้ หมดของยูนิคอร์น ทาให้บริษทั ฯ ได้รบั ชาระหนี้คนื จานวน 5,050 ล้านบาท และได้รบั ชาระ ค่าตอบแทนเป็ นหุน้ บุรมิ สิทธิ จานวน 63,882,352,942 หุน้ ทีร่ าคาหุน้ ละ 0.034 บาท พร้อมกับใบสาคัญแสดงสิทธิทจ่ี ะ ซือ้ หุน้ สามัญของยู ซิต้ี รุ่นที่ 3 (U-W3) จานวน 31,941,176,471 หน่วย โดยไม่คดิ ค่าตอบแทน หลังจากการเลิกกิจการ ของยูนิคอร์น ยู ซิต้จี ะจ่ายคืนหนี้ท่ยี งั เหลืออยู่กบั บริษัทฯ อีกจานวน 5,024 ล้านบาท ภายใน 3 ปี โดย ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561 บริษทั ฯ ถือหุน้ ในยู ซิตท้ี งั ้ หมด 364,540,308,154 หุน้ แบ่งออกเป็ นหุน้ สามัญ จานวน 200,657,955,212 หุน้ และหุน้ บุรมิ สิทธิ จานวน 163,882,352,942 หุน้ คิดเป็ นสัดส่วนทัง้ สิน้ 38.97% ของหุน้ ทีอ่ อกและจาหน่ ายได้แล้ว ทัง้ หมดของยู ซิต้ี 4 เมษายน 2561: ที่ประชุมคณะกรรมการบริษัทอนุ มตั ิการลดทุนชาระแล้วของบริษัทฯ โดยการตัดหุ้นซื้อคืนตาม โครงการซือ้ หุน้ คืนเพื่อบริหารทางการเงิน จานวน 95,839,900 หุน้ ทัง้ นี้ ภายหลังจากการจดทะเบียนลดทุนชาระแล้ว บริษทั ฯ จะมีหนุ้ สามัญจดทะเบียน จานวน 16,417,974,357 หุน้ ในจานวนนี้ มีหนุ้ สามัญทีอ่ อกและจาหน่ายแล้วจานวน 11,844,529,054 หุน้ 28 พฤษภาคม 2561: ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริษทั อนุมตั ใิ ห้บริษทั ฯ (1) จ่ายเงินปั นผลประจาปี 2560/61 งวดสุดท้าย จานวนไม่เกิน 2,922.1 ล้านบาท ในจานวนหุน้ ละ 0.185 บาท คิดเป็ นเงินปั นผลทัง้ ปี ประมาณ 4,876.1 ล้านบาท โดย การเสนอจ่ า ยเงินปั น ผลครัง้ นี้ ขึ้น อยู่ก ับ การอนุ มตั ิจากที่ประชุมผู้ถือ หุ้ น ประจาปี ทัง้ นี้ อัต ราเงิน ปั น ผลตอบแทน (Dividend Yield) ประจาปี คดิ เป็ น 3.95% เมื่อเทียบกับราคาหุน้ ทีร่ าคา 9.50 บาท ณ วันที่ 25 พฤษภาคม 2561 (1 วัน ก่อนคณะกรรมการบริษัทฯ มีมติอนุ มตั ิให้จ่ายเงินปั นผล) และ (2) ออกใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-W4 จานวนไม่เกิน 1,755 ล้านหน่ วย ในอัตราจัดสรรที่ 1 หน่ วยใบสาคัญแสดงสิทธิ ต่อ 9 หุน้ สามัญเดิม ทีร่ าคาการใช้สทิ ธิท่ี 10.50 บาท ต่อหุ้น (หมายเหตุ: การเสนอจ่ายเงินปั นผลประจาปี ครัง้ สุดท้ายจานวน 0.185 บาทต่อหุน้ หรือคิดเป็ นเงินปั นผลทีจ่ ะ จ่ายอีกจานวนไม่เกิน 2,922.1 ล้านบาทและการออกใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-W4 จานวนไม่เกิน 1,755 ล้านหน่วยนัน้ คานวณจากกรณีทม่ี กี ารใช้สทิ ธิตามใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-W3 และใบสาคัญแสดงสิทธิ BTS-WB และใบสาคัญแสดง สิทธิ BTS-WC ที่ใช้สทิ ธิได้เต็มจานวน ซึ่งจะทาให้บริษัทฯ มีหุ้นที่มสี ทิ ธิได้รบั เงินปั นผล จานวน 15,790.0 ล้านหุ้น ขึน้ อยู่กบั การอนุมตั จิ ากทีป่ ระชุมผูถ้ อื หุน้ ) ธุรกิ จระบบขนส่งมวลชน 16 มิถุนายน 2560: บริษทั นอร์ทเทิรน์ บางกอกโมโนเรล จากัด และบริษทั อีสเทิรน์ บางกอกโมโนเรล จากัด ซึง่ เป็ น บริษัทย่อยของบริษัทฯ (โดยเป็ นการร่วมทุนระหว่างบริษัทฯ, STEC และ RATCH มีสดั ส่วนการร่วมทุน 75%, 15% และ 10% ตามลาดับ) ได้เข้าลงนามในสัญญาร่วมลงทุนกับการรถไฟฟ้ าขนส่งมวลชนแห่งประเทศไทย (รฟม.) ใน โครงการรถไฟฟ้ าสายสีชมพู (แคราย-มีนบุร:ี 34.5 กิโลเมตร, 30 สถานี) และสายสีเหลือง (ลาดพร้าว-สาโรง: 30.4 กิโลเมตร, 23 สถานี) ระยะทางทัง้ สิน้ 64.9 กิโลเมตร 1 ตุลาคม 2560: ปรับขึน้ อัตราค่าโดยสารบัตรโดยสารรถไฟฟ้ าบีทเี อส ได้แก่ บัตรโดยสารเทีย่ วเดียว (Single Journey Ticket – SJT) บัตรแรบบิทรายเดือน และบัตรแรบบิทสาหรับผู้สูงอายุ โดยอัตราค่าโดยสารใหม่น้ี มีผลตัง้ แต่วนั ที่ 1 ตุลาคม 2560 เป็ นต้นไป 10 ตุลาคม 2560: บริษทั นอร์ทเทิรน์ บางกอกโมโนเรล จากัด และบริษทั อีสเทิรน์ บางกอกโมโนเรล จากัด ลงนามใน สัญ ญาเงิ น กู้ ในรู ป แบบการปล่ อ ยกู้ ร่ ว ม (Syndicate Loan) กับ ธนาคารกรุ ง เทพ ธนาคารไทยพาณิ ช ย์ และ ธนาคารกรุงไทย วงเงินรวมมูลค่า 63,400 ล้านบาท เพื่อเป็ นการสนับสนุ นด้านการเงินสาหรับโครงการรถไฟฟ้ าสายสี ส่วนที่ 3 หน้า 15


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ชมพู และสายสีเหลือง โดยสัญญาเงินกูด้ งั กล่าว มีระยะเวลาสัญญา 17 ปี 3 เดือน ครอบคลุม 15 งวด เริม่ นับตัง้ แต่วนั แรกของการเปิ ดให้บริการ ธุรกิ จสื่อโฆษณำ 30 มิถุนายน 2560: MACO ซึง่ เป็ นบริษทั ย่อยของวีจไี อได้เข้าซือ้ หุน้ 70% ของบริษทั โคแมส จากัด ผ่านบริษทั อาย ออน แอดส์ จากัด โดยบริษทั โคแมส จากัด เป็ นผูป้ ระกอบกิจการป้ ายโฆษณากลางแจ้งทีม่ ปี ระสบการณ์ยาวนานกว่า 19 ปี โดยติดตัง้ ป้ ายโฆษณาในทาเลใจกลางย่านธุรกิจสาคัญทัง้ ในกรุงเทพฯ และต่ างจังหวัด ปั จจุบนั มีเครือข่ายสื่อ โฆษณาแบบป้ ายโฆษณาภาพนิ่งขนาดใหญ่จานวน 113 ป้ าย และป้ ายดิจทิ ลั LED จานวน 7 ป้ าย กระจายอยู่ใน 23 จังหวัดทัวประเทศไทย ่ 26 มกราคม 2561: VGI Global Media (Malaysia) Sdn Bhd (VGM) ซึ่งเป็ นบริษัทย่อยของวีจีไอ ได้ขยายธุรกิจสื่อ โฆษณานอกบ้านในประเทศมาเลเซียด้วยการเข้าซื้อหุ้น 25% ของ Puncak Berlian Sdn Bhd (PBSB) โดย PBSB เป็ นผูป้ ระกอบธุรกิจสือ่ โฆษณานอกบ้านทีห่ ลากหลายรวมถึงสือ่ โฆษณาในสนามบิน ระบบขนส่งมวลชน โรงภาพยนตร์ และป้ ายโฆษณากลางแจ้งบนทางด่วน 5 มีนาคม 2561: บริษทั แรบบิท-ไลน์ เพย์ จากัด ผูป้ ระกอบธุรกิจให้บริการและชาระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ ภายใต้ช่อื “Rabbit Line Pay” ซึ่ง เดิม เป็ น บริษัทร่ วมทุน ในสัดส่วน 50%:50% ระหว่ า ง (1) บริษัท แรบบิทเพย์ ซิสเทม จ ากัด (บริษทั ย่อยของวีจไี อ) กับ (2) บริษทั ไลน์ คอมพานี (ประเทศไทย) จากัด ได้จดทะเบียนเพิม่ ทุนโดยการออกหุน้ สามัญ ให้กบั บริษทั แอดวานซ์ เอ็มเปย์ จากัด (mPay) (บริษทั ย่อยของบริษทั แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วสิ จากัด (มหาชน)) ซึง่ เป็ นผูน้ าระบบสือ่ สารในประเทศไทย การออกหุน้ เพิม่ ทุนดังกล่าวส่งผลให้ผรู้ ่วมทุนทัง้ 3 รายถือหุน้ ใน บริษทั แรบบิทไลน์ เพย์ จากัด ในสัดส่วนรายละ 33.3% เท่ากัน โดยการทาธุรกิจร่วมกันในครัง้ นี้จะช่วยขยายฐานลูกค้าและกระตุ้น การใช้งาน Rabbit Line Pay ในประเทศไทยได้ดยี งิ่ ขึน้ 20 มีนาคม 2561: ที่ประชุมคณะกรรมการบริษทั วีจไี อ มีมติอนุ มตั ิให้บริษัท กรีนแอด จากัด ซึ่งเป็ นบริษั ทย่อยของ MACO เข้าซื้อหุ้นสามัญที่เหลืออยู่ของบริษัท มัลติไซน์ จากัด จานวน 42,000 หุ้น หรือคิดเป็ นสัดส่วน 30% ของ จานวนหุน้ ทัง้ หมด การทาธุรกรรมนี้ ทาให้บริษทั กรีนแอด จากัด ถือหุน้ บริษทั มัลติไซน์ จากัด เพิม่ ขึน้ จากเดิมที่ 70% เป็ น 100% โดยบริษทั มัลติไซน์ จากัด เป็ นเจ้าของเครือข่ายป้ ายโฆษณาจานวนกว่า 862 ป้ ายทัวประเทศ ่ 2 เมษายน 2561: VGM ได้เข้าซือ้ หุน้ สามัญของ Meru Utama Sdn Bhd ในสัดส่วน 25% โดย Meru Utama Sdn Bhd เป็ นผูใ้ ห้บริการสื่อโฆษณาในท่าอากาศยานนานาชาติกวั ลาลัมเปอร์และสนามบินสาหรับสายการบินราคาประหยัดของ ประเทศมาเลเซีย 23 เมษายน 2561: วีจไี อ ได้ลงนามในบันทึกข้อตกลงเบื้องต้น (Term Sheet) ในการเข้าลงทุนในบริษทั เคอรี่ เอ็กซ์ เพรส (ประเทศไทย) จากัด ในสัดส่วน 23% กับบริษทั เคแอลเอ็น โลจิสติคส์ (ประเทศไทย) จากัด, Gather Excellence Limited และบริษทั สยาม เจ้าพระยา เอ็กซ์เพรส จากัด (ซึง่ เป็ นกลุ่มผูถ้ อื หุน้ เดิมทีถ่ อื หุน้ รวมกันในสัดส่วน 100%) ทัง้ นี้ บริษทั เคอรี่ เอ็กซ์เพรส (ประเทศไทย) จากัด เป็ นบริษทั ชัน้ นาทีด่ าเนินธุรกิจโลจิสติกส์ครบวงจร ปั จจุบนั มีการขนส่ง สินค้าและพัสดุกว่า 600,000 ชิน้ ต่อวัน

ส่วนที่ 3 หน้า 16


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ธุรกิ จอสังหำริมทรัพย์ 3 พฤษภาคม 2560: ยู ซิต้ี ลงนามในสัญ ญาเข้า ซื้อ อาคารสานัก งานให้เ ช่า เลขที่ 6-14 บนถนน Underwood กรุ ง ลอนดอน ประเทศอังกฤษ มูลค่าการลงทุนประมาณ 7.3 ล้านปอนด์ หรือประมาณ 328.6 ล้านบาท โดยธุรกรรมดังกล่าว ได้แล้วเสร็จในเดือนมิถุนายน 2560 การลงทุนในครัง้ นี้ เป็ นการขยายพอร์ตอสังหาริมทรัพย์ทจ่ี ะก่อให้เกิดรายได้ประจา ในต่างประเทศ หลังจากทีไ่ ด้เข้าซือ้ อาคารสานักงานให้เช่า 33 Gracechurch ในเดือนกันยายน 2559 29 มิถุนายน 2560: ยู ซิต้ี ทาพิธลี งเสาเข็มมงคลฤกษ์ โครงการพญาไท คอมเพล็กซ์ ซึง่ เป็ นอาคารชุดแบบผสมผสาน (Mixed-use building) บนเนื้อที่ 120,000 ตารางเมตร ประกอบไปด้วยพืน้ ทีค่ ้าปลีก พื้นที่ให้เช่าสานักงาน โรงแรม 4 ดาว และทีพ่ กั อาศัยระดับพรีเมียม อาคารดังกล่าวตัง้ อยู่บนจุดตัดของเส้นทางระบบขนส่งมวลชนคือระบบรถไฟฟ้ าบีที เอส พญาไท และระบบรถไฟฟ้ า แอร์พอร์ต ลิงค์ คาดว่าจะสามารถเปิ ดให้บริการได้ในปี 2564 16 มีนาคม 2561: ยู ซิต้ี ได้รบั โอนกิจการทัง้ หมดของยูนิคอร์น และเพิม่ ทุนจดทะเบียนผ่านการออกและเสนอขายหุน้ บุ ริม สิท ธิเ พิ่ม ทุ น ต่ อ บุ ค คลในวงจ ากัด (Private Placement) และต่ อ ผู้ถือ หุ้น เดิม ตามสัด ส่ ว นการถือ หุ้น (Rights Offering) จากการทาธุรกรรมดังกล่าวทาให้ ยู ซิต้ี มีทุนจดทะเบียนชาระแล้วเพิม่ ขึน้ ประมาณ 11,867 ล้านบาท และ อสังหาริมทรัพย์สว่ นใหญ่ของบริษทั ฯ จะถูกตัดออกจากงบการเงินรวมของบริษทั ฯ และถูกโอนไปยัง ยู ซิต้ี โดยบริษัทฯ จะรับรูร้ ายได้จาก ยู ซิต้ี ในรูปแบบของ Equity Income ทัง้ นี้ ยู ซิต้ี จะเป็ นผูพ้ ฒ ั นาและลงทุนด้านอสังหาริมทรัพย์ของ บริษทั ฯ แต่เพียงผูเ้ ดียว 14.5

ผลกำรดำเนิ นงำนตำมส่วนงำน

14.5.1 ธุรกิ จระบบขนส่งมวลชน รายได้รวมจากการดาเนินงานของธุรกิจระบบขนส่งมวลชน ในปี 2560/61 จานวน 9,112 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 115.1% จากปี ก่อน หรือ 4,875 ล้านบาท ปั จจัยหลักของการเติบโตมาจาก (1) การเพิม่ ขึน้ ของรายได้และดอกเบีย้ รับ จากการให้บริการติดตัง้ งานระบบและจากการจัดหารถไฟฟ้ าขบวนใหม่สาหรับโครงการส่วนต่อขยายสายสีเขียวใต้และ สายสีเขียวเหนือ (2) การเพิม่ ขึน้ ของรายได้จากการให้บริการเดินรถและซ่อมบารุง และ (3) การเพิม่ ขึน้ ของส่วนแบ่ง กาไรสุทธิจากเงินลงทุนจาก BTSGIF นอกจากนี้ ในปี 2560/61 บริษทั ฯ บันทึกรายได้จากการให้บริการติดตัง้ งานระบบและจากการจัดหารถไฟฟ้ า ขบวนใหม่สาหรับโครงการส่วนต่อขยายสายสีเขียวเหนือและใต้ดงั ทีก่ ล่าวไปแล้วข้างต้น ตามสัดส่วนของงานทีแ่ ล้วเสร็จ จานวน 5.8 พันล้านบาท (เพิม่ ขึน้ จากจานวน 1.4 พันล้านบาท ในปี ก่อน) สาหรับรายได้จากการให้บริการเดินรถและซ่อมบารุง (ไม่รวมดอกเบีย้ รับภายใต้ขอ้ ตกลงสัมปทานบริการและ ภายใต้สญ ั ญาซือ้ ขายพร้อมติดตัง้ ระบบการเดินรถ) เพิม่ ขึน้ 12.3% หรือ 204 ล้านบาท จากปี ก่อน เป็ น 1,865 ล้านบาท เป็ นผลมาจากการเพิม่ ขึน้ ตามสัญญาของค่าจ้างเดินรถและซ่อมบารุงส่วนต่อขยายสายสีเขียวในปั จจุบนั (สายสุขุมวิท และสายสีลม) และจากการบริการเดินรถและซ่อมบารุงสถานีสาโรง ซึง่ ได้เปิ ดให้บริการตัง้ แต่เดือน เมษายน 2560 โดย สถานีดงั กล่าว เป็ นสถานีแรกของโครงการรถไฟฟ้ าส่วนต่อขยายสายสีเขียวใต้ ดอกเบี้ยรับภายใต้ ขอ้ ตกลงสัมปทาน บริการและภายใต้สญ ั ญาซือ้ ขายพร้อมติดตัง้ ระบบการเดินรถเพิม่ ขึน้ จากปี ก่อนเช่นกัน โดยเพิม่ ขึน้ 169.6% หรือ 316 ล้านบาท เป็ น 503 ล้านบาท จากการให้บริการติดตัง้ งานระบบและจากการจัดหารถไฟฟ้ าดังทีก่ ล่าวข้างต้น

ส่วนที่ 3 หน้า 17


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ส่วนแบ่งกาไรสุทธิจากเงินลงทุนใน BTSGIF ในปี 2560/61 เพิม่ ขึน้ 4 ล้านบาท หรือ 0.4% จากปี ก่อน เป็ น 949 ล้านบาท จากผลประกอบการที่ดีข้นึ ของรถไฟฟ้ าสีเขียวสายหลัก โดยรายได้ค่าโดยสารในส่วนของโครงการ รถไฟฟ้ าสีเขียวสายหลักเติบโตอย่างต่อเนื่อง โดยเติบโต 2.8% จากปี ก่อน เป็ น 6,821 ล้านบาท เป็ นผลมาจากการ เพิม่ ขึน้ ของจานวนเทีย่ วการเดินทาง (เพิม่ ขึน้ 1.3% จากปี ก่อน เป็ น 241.2 ล้านเทีย่ วคน) และอัตราค่าโดยสายเฉลี่ย เพิม่ ขึน้ (1.4% จากปี ก่อน เป็ น 28.3 บาทต่อเทีย่ ว) ต้นทุนของธุรกิจระบบขนส่งมวลชนในปี น้ี เพิม่ ขึน้ เช่นเดียวกับรายได้รวมทีเ่ พิม่ ขึน้ โดยเพิม่ ขึน้ 4,143 ล้าน บาท เป็ น 6,274 ล้านบาท การเพิม่ ขึน้ ส่วนใหญ่มาจากการบันทึกต้นทุนในการให้บริการติดตัง้ งานระบบและจากการ จัดหารถไฟฟ้ าขบวนใหม่สาหรับโครงการส่วนต่อขยายสายสีเขียวใต้และเหนือ ทัง้ นี้ จากการรับรูผ้ ลการดาเนินงานจาก การให้บริการติดตัง้ งานระบบและจากการจัดหาขบวนรถไฟฟ้ าขบวนใหม่ทม่ี อี ตั รากาไรน้อยกว่า เมื่อเทียบกับหน่ วย ธุรกิจอื่นในธุรกิจระบบขนส่งมวลชน ส่งผลให้ operating EBITDA margin ของธุรกิจระบบขนส่งมวลชนในปี น้ี ปรับตัว ลดลงเป็ น 31.5% จาก 50.4% ในปี ก่อน อย่างไรก็ดี หากไม่รวมผลของการรับรู้รายได้และต้นทุนจากการให้บริการ ติดตัง้ งานระบบและจากการจัดหารถไฟฟ้ าขบวนใหม่ operating EBITDA margin ในปี น้ี ปรับตัวเป็ น 67.1% รายละเอียดเพิม่ เติม สามารถดูได้ใน คาอธิบายและวิเคราะห์ฐานะทางการเงินและผลการดาเนินงานประจา ไตรมาส 4 และประจ าปี 2560/61 ของ BTSGIF: http://btsgif.listedcompany.com/misc/MDNA/20180528-btsgifmdna-fy2018-th.pdf สถิตจิ านวนเทีย่ วการเดินทางและอัตราค่าโดยสารในช่วง 5 ปี ทผ่ี ่านมา

ส่วนที่ 3 หน้า 18


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

14.5.2 ธุรกิ จสื่อโฆษณำ รายได้จากธุรกิจสือ่ โฆษณาเพิม่ ขึน้ 29.7% หรือ 893 ล้านบาท จาก 3,010 ล้านบาท ในปี ก่อน เป็ น 3,902 ล้านบาท ธุรกิจสือ่ โฆษณานอกบ้าน (ประกอบด้วยสือ่ โฆษณาในระบบขนส่งมวลชน สือ่ โฆษณากลางแจ้ง สือ่ โฆษณาใน อาคารสานักงานและอื่น ๆ) โดยรายได้จากธุรกิจสื่อโฆษณานอกบ้านคิดเป็ นสัด ส่วน 91% ของรายได้รวมของสื่อ โฆษณา หรือ 3,559 ล้านบาท โดยในปี น้ีรายได้จากหน่ วยธุรกิจนี้เพิม่ ขึน้ 34.8% จากปี ก่อน มีปัจจัยสนับสนุ นหลักมา จากการขึน้ ราคาขายสือ่ โฆษณา การ synergy จากธุรกิจบริการด้านดิจทิ ลั การให้บริการสื่อดิจทิ ลั บิลบอร์ดของกลุ่มสือ่ กลางแจ้ง รวมถึงการควบรวมงบการเงินเต็มปี ของ MACO ธุรกิจบริการด้านดิจทิ ลั มีรายได้ 343 ล้านบาท คิดเป็ น 9% ของรายได้รวมของสื่อโฆษณา ลดลง 7.0% หรือ 26 ล้านบาท จากปี ก่อน และเนื่องจากค่าใช้จ่ายทีเ่ กีย่ วเนื่องกับกิจกรรมทางการตลาดและการส่งเสริมการขายของแรบ บิท-ไลน์ เพย์ ทีเ่ พิม่ ขึน้ ในปี น้ี เราจึงรับรูส้ ว่ นแบ่งขาดทุนสุทธิจากแรบบิท-ไลน์ เพย์ จานวน 122 ล้านบาท เทียบกับ 41 ล้านบาทในปี 2559/60 สาหรับต้นทุนจากธุรกิจสือ่ โฆษณาเพิม่ ขึน้ 18.3% จาก 1,043 ล้านบาท ในปี ก่อน เป็ น 1,234 ล้านบาท สาเหตุ หลักมาจากการขยายตัวของธุรกิจ การรับรู้ต้นทุนที่เพิม่ ขึน้ จากการควบรวมงบการเงินแบบเต็มปี ของ MACO แม้ว่า ต้นทุนการให้บริการจะเพิม่ ขึน้ จากปั จจัยทีก่ ล่าวมาข้างต้น วีจไี อยังคงทารายได้เพิม่ ขึน้ และสามารถคุมต้นทุนอื่นๆ ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะต้นทุนของธุรกิจสื่อโฆษณากลางแจ้ง ส่งผลให้ operating EBITDA margin ในปี น้ี ปรับตัวเพิม่ ขึน้ เป็ น 50.6% จาก 46.7% ในปี ก่อน รายละเอียดเพิม่ เติม สามารถดูได้ใน คาอธิบายและวิเคราะห์ฐานะทางการเงินและผลการดาเนินงานประจา ไตรมาส 4 และประจ าปี 2560/61 ของวี จี ไ อ: http://vgi.listedcompany.com/misc/MDNA/20180517-vgi-mdnafy20172018-th.pdf 14.5.3 ธุรกิ จอสังหำริมทรัพย์ เมื่อวันที่ 16 มีนาคม 2561 ที่ผ่านมา บริษัทฯ ได้โอนกิจการทัง้ หมดของยูนิคอร์น ซึ่งเดิมเป็ นบริษทั ย่อยของ บริษทั ฯ ให้แก่ ยู ซิต้ี เป็ นทีเ่ รียบร้อย ภายหลังจากการทาธุรกรรมเสร็จสิน้ อสังหาริมทรัพย์ส่วนใหญ่ของบริษทั ฯ อาทิ โรงแรม 3 แห่ง ได้แก่ ยู สาทร ยู เชียงใหม่ และยู อินจันทรี กาญจนบุรี อาคารสานักงานทีเอสที ที่ดนิ และหุ้น 50% จากโครงการร่วมทุนกับแสนสิริ ถูกโอนไปยัง ยู ซิต้ี นอกจากนี้ อสังหาริมทรัพย์ดงั กล่าวทัง้ หมดจะถูกตัดออกจากงบ การเงินรวมของบริษัทฯ ตัง้ แต่วนั ที่ 16 มีนาคม 2561 และเปลี่ยนเป็ นการรับรู้รายได้ในรูปแบบของ Equity Method จาก ยู ซิต้ี แทน ทัง้ นี้ บริษทั ฯ ยังรับรูก้ าไรจากการทาธุรกรรม จานวน 1,880 ล้านบาท และได้รบั เงินสดสุทธิประมาณ 1,950 ล้านบาท รายได้จากการดาเนินงานของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ในปี น้ี จานวน 639 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 3.6% จาก 617 ล้าน บาท ในปี ก่อน ในขณะทีต่ น้ ทุนจากการดาเนินงานของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์เพิม่ ขึน้ 7.5% หรือ 29 ล้านบาท เป็ น 413 ล้านบาท ซึง่ เป็ นไปในทางเดียวกันกับค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารในปี น้ีทเ่ี พิม่ ขึน้ 6.7% หรือ 22 ล้านบาท จากปี ก่อน เป็ น 344 ล้านบาท

ส่วนที่ 3 หน้า 19


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ในส่วนของรายได้จากอสังหาริมทรัพย์เชิงพาณิชย์ เพิม่ ขึน้ 5.4% จากปี ก่อน หรือ 32 ล้านบาท เป็ น 616 ล้าน บาท ส่วนใหญ่มาจากการดาเนินงานทีแ่ ข็งแกร่งของธุรกิจโรงแรมและธนาซิต้ี กอล์ฟและสปอร์ตคลับ อย่างไรก็ดี ในปี น้ี บริษทั ฯ รับรูส้ ่วนแบ่งขาดทุนจาก ยู ซิต้ี (บริษทั ร่วมของบริษทั ฯ) เพิม่ ขึน้ เป็ น 505 ล้านบาท เทียบกับส่วนแบ่งขาดทุน 179 ล้านบาท ในปี ก่อน ส่วนใหญ่มาจากการตัง้ ค่าเผื่อการด้อยค่าจากการประเมินมูลค่าใหม่ของโรงแรมอวานี ขอนแก่น แอนด์ คอนเวนชัน เซ็นเตอร์ จานวน 778 ล้านบาท และค่าใช้จ่ายทีไ่ ม่ได้เกิดขึน้ เป็ นประจาจากการเข้าซือ้ เวียนนา เฮ้าส์ รายได้จากอสังหาริมทรัพย์เชิงทีอ่ ยู่อาศัย จานวน 24 ล้านบาท ในปี 2560/61 ลดลง 10 ล้านบาท จากปี ก่อน จากการขายบ้านในโครงการธนาซิต้ไี ด้ลดลง และในปี น้ี ก่อนการโอนกิจการทัง้ หมดของยูนิคอร์น ให้แก่ ยู ซิต้ี มีการ โอนห้องในโครงการ เดอะ ไลน์ จตุจกั ร – หมอชิต จานวน 704 ห้อง หรือคิดเป็ น 84% ของจานวนห้องทัง้ หมด โดย โครงการดังกล่าวเป็ นโครงการคอนโดมิเนียมภายใต้โครงการร่วมทุนระหว่างบีทเี อสและแสนสิริ (BTS-SIRI JVs) มีหอ้ ง ทัง้ หมด 841 ห้อง มูลค่าโครงการรวมประมาณ 5.8 พันล้านบาท ทัง้ นี้ ตัง้ แต่เริม่ โอนจนถึงวันที่ 31 มีนาคม 2561 มีการ โอนห้องไปแล้ว 88% ของทัง้ หมด และในปี น้ี บริษทั ฯ รับรูส้ ว่ นแบ่งกาไรสุทธิจาก BTS-SIRI JVs จานวน 254 ล้านบาท (เทียบกับส่วนแบ่งขาดทุนสุทธิ จานวน 253 ล้านบาทในปี ก่อน) ส่วนใหญ่มาจากการบันทึกรายได้จากการโอนห้อง คอนโดมิเนียมโครงการเดอะ ไลน์ จตุจกั ร – หมอชิต ข้างต้น อย่างไรก็ดี ส่วนแบ่งกาไรสุทธิจาก BTS-SIRI JVs ถูก บันทึกอยู่ภายใต้ผลการดาเนินงานทีย่ กเลิก ซึง่ เป็ นผลมาจากการโอนกิจการทัง้ หมดของยูนิคอร์น ให้กบั ยู ซิต้ี 14.5.4 ธุรกิ จบริกำร บริษัทฯ มีร ายได้จากธุรกิจบริการลดลง 294 ล้า นบาท หรือ 39.6% จากปี ก่อ น เป็ น 449 ล้า นบาท ส่วน ใหญ่ ม าจากการตัด งบการเงิน ของบริษ ัท ย่อ ยของ Chef Man ออกจากงบการเงิน รวม ทั ง้ นี ้ จากการปรับ โครงสร้างกลุ่ม Chef Man ทาให้ไม่มกี ารรวมงบการเงินของบริษัทย่อย 5 บริษัทฯ ของ Chef Man ได้แ ก่ บริษทั แมน คิทเช่น จากัด, บริษทั ไพรมารี่ คิทเช่น จากัด, บริษทั เค เอ็ม เจ 2016 จากัด, บริษัท ลิตเติ้ล คอร์นเนอร์ จากัด และบริษัท แมน ฟู๊ ด โปรดัก ส์ จากัด ในงบการเงินรวมอีกต่ อไป และบริษัทฯ เปลี่ย นเป็ นการรับรู้ส่วนแบ่งกาไร / (ขาดทุน) จากเงินลงทุนในการร่วมค้าแทน ต้นทุนจากการดาเนินงานของธุรกิจบริการ ลดลง 31.1% จากปี ก่อน หรือ 181 ล้านบาท เป็ น 403 ล้านบาท สาหรับค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร จานวน 162 ล้านบาท ลดลง 149 ล้านบาท หรือ 47.8% จากปี ก่อน ซึ่งการ ลดลงของต้นทุนในปี น้ีน้สี อดคล้องกับการลดลงของรายได้ทก่ี ล่าวมาแล้วข้างต้น 14.6

ฐำนะทำงกำรเงิ น

สินทรัพย์รวม ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561 จานวน 106,058 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 12,427 ล้านบาท หรือ 13.3% จาก ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 เป็ นผลมาจาก (1) การเพิม่ ขึน้ ของเงินจ่ายล่วงหน้าแก่ผู้รบั เหมาและเพื่อซือ้ สินทรัพย์ จานวน 7,619 ล้านบาท ส่วนใหญ่มาจากเงินจ่ายล่วงหน้าสาหรับงานโยธาและการจัดหาระบบรถไฟฟ้ าและเครื่องกล และอุปกรณ์ทเ่ี กีย่ วข้องสาหรับโครงการรถไฟฟ้ าสายสีชมพูและสายสีเหลือง จานวน 7,876 ล้านบาท (2) การเพิม่ ขึน้ ของลูกหนี้ทย่ี งั ไม่ถงึ กาหนดชาระภายใต้สญ ั ญากับหน่วยงานของรัฐ จานวน 3,433 ล้านบาท ส่วนใหญ่มาจากการจัดหา รถไฟฟ้ าขบวนใหม่สาหรับโครงการรถไฟฟ้ าส่ว นต่ อขยายสายสีเขียวใต้และเหนือ (3) การเพิ่มขึ้นของลูกหนี้แ ละ ดอกเบีย้ ค้างรับ และรายได้คา้ งรับภายใต้สญ ั ญาซือ้ ขายพร้อมติดตัง้ ระบบ จานวน 2,969 ล้านบาท (4) การเพิม่ ขึน้ ของ เงินลงทุนในบริษทั ร่วม จานวน 3,024 ล้านบาท ส่วนใหญ่มาจากการปรับโครงสร้างในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ส่งผลให้ บริษทั ฯ ถือหุน้ ใน ยู ซิต้ี เพิม่ ขึน้ จาก 35.64% เป็ น 38.97% (5) การเพิม่ ขึน้ ของเงินลงทุนระยะยาวอื่น จานวน 2,427 ส่วนที่ 3 หน้า 20


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ล้านบาท และ (6) การเพิม่ ขึน้ ของเงินลงทุนในตราสารอนุพนั ธ์ จานวน 2,101 ล้านบาท อย่างไรก็ดี การเพิม่ ขึน้ บางส่วน ถู ก ชดเชยด้ว ย (7) การลดลงของเงิน สดและรายการเทีย บเท่ า เงิน สด จ านวน 5,637 ล้า นบาท (สาหรับ รายการ เคลื่อนไหวของเงินสด สามารถดูได้ในหัวข้อ งบกระแสเงินสด) และ (8) การลดลงของเงินลงทุนในการร่วมค้า และทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ จานวน 1,422 และ 1,179 ล้านบาท ตามลาดับ ส่วนใหญ่มาจากการตัดโครงการ BTS-SIRI JVs และสินทรัพย์สว่ นใหญ่ออกจากงบการเงินจากการปรับโครงสร้างในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ หนี้สนิ รวม ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561 จานวน 59,702 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 23.2% หรือ 11,254 ล้านบาท จาก ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 ส่วนใหญ่มาจาก (1) การเพิม่ ขึน้ ของหุน้ กู้ระยะยาว จากการเสนอขายหุ้นกูช้ ุดใหม่ของบริษัทฯ มูลค่า 7,000 ล้านบาท ในเดือน ธันวาคม 2560 ที่ผ่านมา (2) การเพิม่ ขึน้ ของเจ้าหนี้ตั ๋วแลกเงิน จานวน 2,058 ล้าน บาท และ (3) การเพิม่ ขึน้ ของเจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อ่นื จานวน 1,890 ล้านบาท ส่วนของผูถ้ อื หุน้ เพิม่ ขึน้ 1,173 ล้านบาท จาก ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 หรือคิดเป็ นการเพิม่ ขึน้ 2.6% จาก ปี ก่อน เป็ น 46,355 ล้านบาท โดยปั จจัยหลักมาจากการเพิม่ ขึน้ ของส่วนของผู้มีส่วนได้เสียที่ไม่มอี านาจควบคุมใน บริษทั ย่อย จานวน 2,715 ล้านบาท ส่วนใหญ่มาจาก (1) การออกหุน้ สามัญของบริษทั นอร์ทเทิรน์ บางกอกโมโนเรล จากัด และ บริษทั อีสเทิรน์ บางกอกโมโนเรล จากัด (ซึง่ จัดตัง้ ขึน้ สาหรับโครงการรถไฟฟ้ าสายสีชมพูและสายสีเหลือง) จานวน 2.25 พันล้านบาท คิดเป็ นสัดส่วน 25% ให้แก่ STEC และ RATCH โดย 2 บริษทั ดังกล่าวนัน้ เป็ นบริษทั ย่อย ของบริษทั ฯ และ (2) ส่วนได้เสียทีไ่ ม่มอี านาจควบคุมของ วีจไี อ จานวน 705 ล้านบาท เป็ นผลจากการออกและจัดสรร หุน้ สามัญเพิม่ ทุนของวีจไี อเพื่อเสนอขายต่อบุคคลในวงจากัดตามแบบมอบอานาจทัวไปในเดื ่ อนธันวาคม 2560 ทีผ่ ่าน มา อย่างไรก็ดี การเพิม่ ขึน้ บางส่วนได้ถูกลดทอนด้วยการลดลงของส่วนเกินทุนจากการเปลีย่ นแปลงสัดส่วนการถือหุน้ จานวน 2,065 ล้านบาท จากการซือ้ หุน้ วีจไี อ และ MACO เพิม่ เติม ทัง้ นี้ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561 บริษทั ฯ มีหนุ้ สามัญ ทีอ่ อกจาหน่ ายแล้วทัง้ หมดจานวน 11,940.4 ล้านหุน้ และมีอตั ราผลตอบแทนต่อส่วนของผูถ้ ือหุน้ ในปี 2560/61 อยู่ท่ี 10.5% เทียบกับ 4.9% ในปี 2559/60 14.7

กระแสเงิ นสด

สาหรับปี สน้ิ สุดวันที่ 31 มีนาคม 2561 บริษทั ฯ มีเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด จานวน 9,458 ล้านบาท ลดลง 37.3% หรือ 5,637 ล้านบาท บริษทั ฯ มีเงินสดใช้ไปในกิจกรรมดาเนินงาน จานวน 8,598 ล้านบาท (เทียบกับเงิน สดใช้ไปในกิจกรรมดาเนินงาน จานวน 3,371 ล้านบาท ในปี ก่อน) รายการหลักมาจากการบันทึกกาไรก่อนภาษี จานวน 5,576 ล้านบาท หักกลบด้วย (1) รายการทีไ่ ม่ใช่เงินสดปรับกระทบยอดกาไรก่อนภาษี ให้เป็ นเงินสดรับ (จ่าย) จานวน 2,235 ล้านบาท และ (2) การเปลีย่ นแปลงสุทธิของเงินทุนหมุนเวียน จานวน 11,939 ล้านบาท (ซึง่ รวมถึงเงินลงทุนใน การจัดหารถไฟฟ้ าขบวนใหม่และติดตัง้ ระบบรถไฟฟ้ าและเครื่องกล สาหรับส่วนต่ อขยายสายสีเขียวใต้และเหนือ จานวน 6 พันล้านบาท และเงินจ่ ายล่วงหน้าค่าก่อสร้างและงานจัดหาขบวนรถไฟฟ้ าสาหรับโครงการรถไฟฟ้ าสายสี ชมพูและสายสีเหลือง จานวน 8.2 พันล้านบาท) หลังจากที่บริษทั ฯ จ่ายภาษีเงินได้สุทธิ จานวน 624 ล้านบาท (747 ล้านบาท ในปี 2559/60) และจ่ายดอกเบีย้ สุทธิ จานวน 707 ล้านบาท (เทียบกับดอกเบีย้ รับสุทธิในปี 2559/60 จานวน 36 ล้านบาท) ทาให้บริษทั ฯ มีเงินสุทธิใช้ไปในกิจกรรมดาเนินงาน จานวน 9,929 ล้านบาท ส่วนของเงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน จานวน 1 ล้านบาท รายการหลักมาจาก (1) เงินสดจ่ายเพื่อซือ้ เงิน ลงทุนในบริษทั ร่วม จานวน 3,223 ล้านบาท ส่วนใหญ่มาจากการเพิม่ สัดส่วนการถือหุน้ ใน ยู ซิต้ี (2) เงินสดจ่ายสุทธิซอ้ื เงินลงทุนในตราสารอนุ พนั ธ์ จานวน 1,730 ล้านบาท (3) เงินสดจ่ายสุทธิซอ้ื เงินลงทุนชัวคราวและเงิ ่ นลงทุนระยะยาว อื่น จานวน 1,242 ล้านบาท (4) เงินสดจ่ายสุทธิซอ้ื ทีด่ นิ อาคารและอุปกรณ์ จานวน 1,063 ล้านบาท ส่วนใหญ่เกิดขึน้ ส่วนที่ 3 หน้า 21


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

ในธุรกิจสื่อโฆษณาและธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ (5) เงินสดรับสุทธิจากการรับชาระเงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่กิจการที่ เกีย่ วข้องกัน จานวน 5,263 ล้านบาท ส่วนใหญ่มาจากรับชาระหนี้ของยูนิคอร์น จาก ยู ซิต้ี ตามธุรกรรมการโอนกิจการ ทัง้ หมด (6) เงินปั นผลรับ จานวน 1,836 ล้านบาท และ (7) ดอกเบีย้ รับ จานวน 1,272 ล้านบาท ส่วนของเงินสดสุทธิจากกิจกรรมจัดหาเงิน จานวน 4,270 ล้านบาท ส่วนใหญ่มาจาก (1) การเพิม่ ขึน้ ของหุน้ กู้ ระยะยาวทีเ่ สนอขายในเดือนธันวาคม ปี 2560 จานวน 7,000 ล้านบาท (2) เงินสดรับจากผูม้ สี ่วนได้เสียทีไ่ ม่มอี านาจ ควบคุมของบริษทั ย่อย จาก (ก) การออกจาหน่ายหุน้ สามัญของบริษทั ย่อย (บริษทั นอร์ทเทิรน์ บางกอกโมโนเรล จากัด และบริษทั อีสเทิรน์ บางกอกโมโนเรล จากัด ) จานวน 2,250 ล้านบาท และ (ข) การออกและจัดสรรหุน้ สามัญเพิม่ ทุน เพื่อเสนอขายต่อบุคคลในวงจากัดตามแบบมอบอานาจทัวไปของวี ่ จไี อ ในเดือนธันวาคม 2560 จานวน 2,040 ล้านบาท (3) เงินสดรับสุทธิจากตั ๋วแลกเงิน จานวน 1,756 ล้านบาท (4) เงินปั นผลจ่าย จานวน 4,014 ล้านบาท (5) เงินสดจ่าย สุทธิสาหรับการซื้อ เงิน ลงทุ นในบริษัทย่อ ย จานวน 4,074 ล้านบาท ส่วนใหญ่ มาจากการซื้อหุ้นวีจีไอและ MACO เพิม่ เติม หมายเหตุ : * หลังการจ่ายภาษีเงินได้สุทธิ จานวน 624 ล้านบาท ดอกเบีย้ จ่ายสุทธิ จานวน 707 ล้านบาท เงินลงทุนในการจัดหารถไฟฟ้ าขบวนใหม่ และติดตัง้ ระบบรถไฟฟ้ าและเครื่องกล สาหรับส่วนต่อขยายสายสีเขียวใต้และเหนือ จานวน 6 พันล้านบาท และเงินจ่ายล่วงหน้าค่า ก่อสร้างและงานจัดหาขบวนรถไฟฟ้ าสาหรับโครงการรถไฟฟ้ าสายสีชมพูและสายสีเหลือง จานวน 8.2 พันล้านบาท ** ไม่รวมเงินลงทุนทีม่ สี ภาพคล่อง จานวน 20.6 พันล้านบาท

14.8

กำรวิ เครำะห์ทำงกำรเงิ น ควำมสำมำรถในกำรบริหำรสิ นทรัพย์

ลูกหนี้ กำรค้ำและลูกหนี้ อื่น ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561 มีจานวน 1,824.7 ล้านบาท ประกอบด้วย ลูกหนี้ การค้า 1,053.0 ล้านบาท และลูกหนี้อ่นื 771.7 ล้านบาท ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อ่นื ลดลง 303.3 ล้านบาท หรือ 14.3% จาก ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 สาเหตุหลักเนื่องจากการลดลงของลูกหนี้จากการให้บริการเดินรถจากการได้รบั ชาระเงิน

ส่วนที่ 3 หน้า 22


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

( 2561 3 3-6 -

3-6 6 - 12

3 12

: -

-

-

-

2560

2561

:

)

2560

63,411

2,092

-

-

32,146 2,995 98,552

1,959 12,104 16,155

-

-

779,325

733,692

-

-

161,640 15,914 1,579 60,987 1,019,445 (65,441) 954,004 454 954,458 1,053,010

569,030 199,862 2,152 68,061 1,572,797 (64,051) 1,508,746 712 1,509,458 1,525,613

-

-

68,157 87,077 28,813 2,716 275,822 260,978 48,164 771,727 1,824,737

115,150 105,247 32,335 5,207 9,774 133,306 201,406 602,425 2,128,038

70,820 5,534 2,625 255,717 95,437 35,316 465,449 465,449

156,149 2,969 706,172 5,206 26,588 58,383 201,406 1,156,873 1,156,873

ลูกหนี้การค้าแสดงมูลค่าตามจานวนมูลค่าสุทธิท่จี ะได้รบั โดยลูกหนี้การค้า – กิจการที่ไม่เกี่ยวข้องกันโดย ส่วนใหญ่ (มากกว่า 80%) เป็ นลูกหนี้ทย่ี งั ไม่ถงึ กาหนดชาระและค้างชาระไม่เกิน 3 เดือน อย่างไรก็ตาม บริษทั ฯ และ บริษทั ย่อยบันทึกค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญสาหรับผลขาดทุนโดยประมาณทีอ่ าจเกิดขึน้ จากการเก็บเงินจากลูกหนี้ไม่ได้ ซึง่ โดยทัวไปพิ ่ จารณาจากประสบการณ์การเก็บเงินและการวิเคราะห์อายุหนี้ (การวิเคราะห์อายุหนี้แสดงในหมายเหตุ ประกอบงบการเงินรวมข้อ 11 ในงบการเงินรวมสาหรับปี 2560/61 ซึง่ เป็ นไปตามตารางข้างต้น) นอกจากนี้ กลุ่มบริษทั มีนโยบายทบทวนเกณฑ์ในการตัง้ ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญอย่างสม่าเสมอ เพื่อประเมินความเหมาะสมของการตัง้ ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญ ซึ่งปั จจุบนั พบว่าเกณฑ์ท่ใี ช้ยงั มีความเหมาะสมอยู่ โดย ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561 บริษัทฯ ได้มกี ารตัง้ สารองค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญไว้ท่ี 65.4 ล้านบาท

ส่วนที่ 3 หน้า 23


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

เงิ นจ่ำยล่วงหน้ ำแก่ผ้รู บั เหมำและเพื่อซื้อสิ นทรัพย์ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561 มีจานวน 10,705.5 ล้าน บาท เพิม่ ขึน้ 7,618.5 ล้านบาท จาก ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 สาเหตุหลักจากเงินจ่ายล่วงหน้าสาหรับงานโยธาและ การจัดหาระบบรถไฟฟ้ าและเครื่องกล และอุปกรณ์ท่เี กี่ยวข้องสาหรับโครงการรถไฟฟ้ าสายสีชมพูและสายสีเหลือง จานวน 7,876.4 ล้านบาท เงิ นให้ก้ยู ืมแก่กิจกำรที่เกี่ยวข้องกัน ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561 มีจานวน 9,565.0 ล้านบาท แบ่งเป็ นส่วนที่ ครบกาหนดชาระภายในหนึ่งปี 14.7 ล้านบาท และส่วนทีค่ รบกาหนดชาระเกินกว่าหนึ่งปี 9,550.3 ล้านบาท เงินให้กยู้ มื แก่กจิ การที่เกี่ยวข้องกัน เพิม่ ขึน้ 248.1 ล้านบาท จาก ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 สาเหตุหลักเนื่องจากเงินให้กยู้ มื แก่ บริษทั เบย์ วอเตอร์ จากัด เงิ นลงทุนในกำรร่วมค้ำ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561 มีจานวน 976.4 ล้านบาท ลดลง 1,421.9 ล้านบาท จาก ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 สาเหตุหลักเนื่องจากการลดลงของบริษทั ทีค่ วบคุมร่วมกันกับ SIRI จากการปรับโครงสร้าง ในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์โดยโอนกิจการทัง้ หมดของยูนิคอร์น ให้แก่ ยูซติ ้ี เงิ นลงทุนในบริ ษทั ร่วม ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561 มีจานวน 23,030.6 ล้านบาท เพิม่ ขึน้ 3,023.7 ล้านบาท จาก ณ วัน ที่ 31 มีน าคม 2560 ซึ่ง มีจ านวน 20,006.8 ล้ า นบาท ส่ ว นใหญ่ ม าจากการปรับ โครงสร้ า งในธุ ร กิจ อสังหาริมทรัพย์ ส่งผลให้บริษทั ถือหุน้ ในยูซติ เ้ี พิม่ ขึน้ จาก 35.64% เป็ น 38.97% สภำพคล่องและควำมเพียงพอของเงิ นทุน โครงสร้ำงเงิ นทุน ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561 กลุ่มบริษัทมียอดหนี้คงเหลือจานวน 47,168.9 ล้านบาท (ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560: 38,309.6 ล้านบาท) ยอดหนี้คงเหลือดังกล่าวส่วนใหญ่เป็ นหุน้ กูซ้ ง่ึ ออกโดยบีทเี อสซี (จานวน เงินคงเหลือ 21,982.5 ล้านบาท) หุน้ กูซ้ ง่ึ ออกโดยบริษทั (6,991.3 ล้านบาท) เจ้าหนี้ตั ๋วแลกเงิน (15,432.1 ล้านบาท) เงินกูย้ มื ระยะยาว (1,533.0 ล้านบาท) และเงินกูย้ มื ระยะสัน้ (1,230.0 ล้านบาท) อัตราส่วนหนี้สนิ สุทธิ (adjusted) ต่อทุน และอัตราส่วนหนี้สนิ สุทธิ (adjusted) ต่อกาไรจากการดาเนินงานที่ เกิดขึน้ เป็ นประจา ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561 เท่ากับ 0.37 เท่าและ 3.02 เท่า ตามลาดับ (ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 : 0.13 เท่า และ 1.72 เท่า ตามลาดับ) เนื่องจากบริษทั มีการออกหุน้ กูร้ ะยะยาว หลักๆ เพื่อลงทุนในโครงการรถไฟฟ้ าสายสีชมพู และสีเหลือง สาหรับการปฏิบตั ติ ามเงื่อนไขการดารงอัตราส่วนทางการเงิน บีทเี อสซีและบริษทั ฯ มีขอ้ กาหนดในการดารง อัตราส่วนทางการเงินตามข้อกาหนดว่าด้วยสิทธิและหน้าทีท่ เ่ี กีย่ วข้องกับการออกหุน้ กู้ (จานวนเงิน 22,000 ล้านบาท และ 7,000 ล้านบาท ตามลาดับ) (ข้อกาหนดสิทธิฯ) กล่าวคือ บีทเี อสซีและบริษทั ฯ ต้องดารงอัตราส่วนหนี้สนิ ทีม่ ภี าระ ดอกเบี้ย ต่ อ ส่ ว นของผู้ถือ หุ้น (Interest Bearing Debt to Equity Ratio) ในอัต ราไม่ เ กิน 2.5 เท่ า โดย ณ วัน ที่ 31 มีนาคม 2561 บีทเี อสซีและบริษทั ฯ สามารถดารงอัตราส่วนทางการเงินดังกล่าวได้ตามข้อกาหนด สภำพคล่อง ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561 กลุ่มบริษทั มีเงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด เงินลงทุนชัวคราว ่ และเงินลงทุนในตราสารอนุ พนั ธ์ เป็ นจานวนเงินรวม 17,353.8 ล้านบาท ลดลงจาก ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 ซึ่ง เท่ากับ 21,456.9 ล้านบาท สาเหตุหลักเนื่องจากการลงทุนในการจัดหารถไฟฟ้ าขบวนใหม่และติดตัง้ ระบบรถไฟฟ้ าและ เครื่องกล สาหรับส่วนต่อขยายสายสีเขียว อัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียน ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561 เท่ากับ 0.93 เท่า ลดลงจาก ณ วันที่ 31 มีนาคม 2560 ซึง่ เท่ากับ 1.38 เท่า เนื่องจากเหตุผลเดียวกัน ส่วนที่ 3 หน้า 24


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

รำยจ่ำยฝ่ ำยทุน สาหรับ ปี ส้นิ สุด วัน ที่ 31 มีน าคม 2561 มีจ านวน 1,494.7 ล้า นบาท ส่ว นใหญ่ เ ป็ น (1) อุ ป กรณ์ ส่ือ โฆษณาและบริ ก ารด้ า นดิ จิ ท ัล 549.0 ล้ า นบาท (2) การก่ อ สร้ า งและปรับ ปรุ ง โครงการในธุ ร กิ จ อสังหาริมทรัพย์ 467.0 ล้านบาท ซึง่ ส่วนใหญ่เป็ นการปรับปรุงสนามกอล์ฟ , สปอร์ตคลับ และโรงแรมในโครงการธนา ซิต้ี และ (3) รายจ่ายฝ่ ายทุนสาหรับธุรกิจบริการ 41.2 ล้านบาท ซึง่ ส่วนใหญ่ใช้ในธุรกิจร้านอาหารและแรบบิท รีวอร์ดส โดยรายจ่ายฝ่ ายทุนดังกล่าวนี้ ส่วนใหญ่จ่ายโดยใช้กระแสเงินสดภายในของกลุ่มบริษทั ควำมสำมำรถในกำรทำกำไร บริษัทฯ บันทึกกาไรสาหรับปี 2560/61 เท่ากับ 4,789.8 ล้านบาท (เพิ่มขึ้น 114.2% จากปี 2559/60) และ กาไรส่วนทีเ่ ป็ นของผูถ้ อื หุน้ บริษทั ฯ เท่ากับ 4,415.7 ล้านบาท (เพิม่ ขึน้ 120.4% จากปี ก่อน) ทาให้อตั รากาไรสุทธิสว่ น ทีเ่ ป็ นของผูถ้ อื หุน้ บริษทั ฯ สาหรับปี น้ี เท่ากับ 24.6% เมื่อเทียบกับ 20.1% ในปี 2559/60 สาเหตุหลักของการเพิม่ ขึน้ ของกาไรสุทธิและอัตรากาไรสุทธิมาจากการทีใ่ นปี น้ีมกี ารรับรูก้ าไรจากการโอนกิจการทัง้ หมดของบริษทั ย่อยจานวน 1,880.0 ล้า นบาท ในส่ว นของอัต ราผลตอบแทนต่ อ ส่ว นของผู้ถือ หุ้น เพิ่มขึ้น เป็ น 10.5% เมื่อ เทีย บกับ 4.9% ในปี 2559/60 เนื่องจากการเพิม่ ขึน้ ของกาไรสุทธิประจาปี ดงั ทีก่ ล่าวไปแล้ว ภำระผูกพันและหนี้ สินที่อำจจะเกิ ดขึน้ ภำระผูกพันและหนี้ สินที่ อำจจะเกิ ดขึ้น ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561 บริษัทฯ และบริษัทย่อยมีภาระผูกพัน และหนี้สนิ ทีอ่ าจเกิดขึน้ ตามทีเ่ ปิ ดเผยในหมายเหตุประกอบงบการเงินรวมข้อ 59 ในงบการเงินรวม สาหรับปี 2560/61 14.9

มุมมองผูบ้ ริหำร

ในส่วนของธุรกิจระบบขนส่งมวลชน บริษัทฯ ตัง้ เป้ าหมายการเติบโตของรายได้จากหลายส่วน อาทิ (1) คาดการณ์การรับรู้รายได้ค่าก่อสร้างโครงการรถไฟฟ้ าสายสีชมพูและสายสีเหลือง จานวน 20–25 พันล้านบาท (2) คาดการณ์รายได้จากงานจัดหาขบวนรถไฟฟ้ าสาหรับส่วนต่อขยายสายสีเขียว และรายได้จากการให้บริการติดตัง้ งาน ระบบสาหรับส่วนต่อขยายสายสีเขียวใต้ (แบริง่ – สมุทรปราการ) และส่วนต่อขยายสายสีเขียวเหนือ (หมอชิต – คูคต) จานวน 7–9 พันล้านบาท (3) คาดการณ์ รายได้ดอกเบี้ยรับจากงานจัดหาขบวนรถไฟฟ้ าและงานก่อสร้างโครงการ รถไฟฟ้ าสายสีชมพูและสายสีเหลืองทีก่ ล่าวมาแล้วข้างต้น ประมาณ 600–700 ล้านบาท (4) คาดการณ์การเติบโตของ จานวนผูโ้ ดยสารสายหลัก ที่ 4-5% และตัง้ เป้ าหมายอัตราการเติบโตเฉลีย่ ของค่าโดยสารที่ 1.5-2% ปั จจัยหลักมาจาก การเปิ ดให้บริการเต็มรูปแบบของส่วนต่ อขยายสายสีเขียวใต้ ระยะทาง 12.6 กิโลเมตร ที่จะเปิ ดให้บริการในเดือน ธันวาคม 2561 และ (5) คาดการณ์รายได้จากการให้บริการเดินรถและซ่อมบารุง เติบโต 30% จากปี ก่อน เป็ นผลมา จากการเปิ ดให้บริการเต็มรูปแบบของส่วนต่อขยายสายสีเขียวใต้ดงั ทีก่ ล่าวมาแล้วข้างต้น นอกจากนี้ เรายัง คาดว่ า จะมีร ถไฟฟ้ า ที่จ ะเปิ ด ประมูลในปี 2561/62 อาทิ รถไฟฟ้ า ขนาดเบา หรือ LRT ระยะทาง 18.3 กิโลเมตร รถไฟฟ้ าสายสีสม้ ระยะทาง 39.6 กิโลเมตร รวมไปถึงโครงการรถไฟความเร็วสูง ระยะทาง 220 กิโลเมตร ทัง้ นี้ ด้วยประสบการณ์ ความเชี่ยวชาญ รวมไปถึงความพร้อมในทุกด้านทัง้ เงินทุน พันธมิตรและ เทคโนโลยี บริษทั ฯ จึงมีความพร้อมอย่างเต็มทีใ่ นการเข้าร่วมประมูลโครงการรถไฟฟ้ าตามแผนของรัฐบาลทุกโครงการ ในส่วนของธุรกิจสือ่ โฆษณา วีจไี อยังคงได้รบั ประโยชน์จากสภาพเศรษฐกิจโดยรวมทีฟ่ ้ื นตัวดีขน้ึ อย่างต่อเนื่อง รวมไปถึงการ synergy กับ Rabbit Group เพื่อเชื่อมต่อการให้บริการสือ่ โฆษณาในรูปแบบออฟไลน์และออนไลน์ (O2O Solutions) ได้อย่างครบวงจรมากยิง่ ขึน้ ปั จจัยดังกล่าวจะเป็ นปั จจัยหนุนในการปรับขึน้ ราคาและการเพิม่ กาลังการผลิต ส่วนที่ 3 หน้า 25


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

สือ่ โฆษณาได้มากยิง่ ขึน้ โดยวีจไี อคาดว่ารายได้รวมของธุรกิจสือ่ โฆษณา จะเพิม่ ขึน้ เป็ น 4.4-4.6 พันล้านบาท ในขณะที่ อัตรากาไรก่อนหักดอกเบีย้ ภาษี ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจาหน่ าย (EBITDA) และอัตรากาไรสุทธิ คาดว่าจะอยู่ในช่วง 40-45% และ 20-25% ตามลาดับ สาหรับธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ภายหลังการโอนกิจการทัง้ หมดของยูนิคอร์น ทาให้ทรัพย์สนิ ส่วนใหญ่ภายใต้ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ของบริษทั ฯ ถูกโอนให้แก่ ยู ซิต้ี ทาให้นับจากนี้ไปบริษทั ฯ รับรูผ้ ลการดาเนินงานจากสินทรัพย์ ดัง กล่ า วในรูป แบบของ Equity Income จากยู ซิต้ีแ ทน ทัง้ นี้ ยู ซิต้ีค าดว่ า ในปี 2561 จะมีร ายได้ป ระมาณ 6-6.7 พันล้านบาท และมีอตั รากาไรก่อนหักดอกเบีย้ ภาษี ค่าเสือ่ มราคาและค่าตัดจาหน่าย (EBITDA) ไม่ต่ากว่า 25% ภายใต้เงื่อนไขการทาธุรกรรมการโอนกิจการทัง้ หมดของยูนิคอร์น ให้แก่ ยู ซิต้ี บริษทั ฯ ตกลงจะไม่ประกอบ ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ ยกเว้น การซือ้ หรือขายทีด่ นิ หรือการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ ตราบเท่าทีก่ ารดาเนินการ ดังกล่าวมิใช่เพื่อการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ และเพื่อป้ องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ระหว่างบริษทั ฯ และ ยู ซิต้ี บริษทั ฯ ตกลงทีจ่ ะให้สทิ ธิในการซือ้ หรือเช่าทีด่ นิ และ/หรือสิง่ ปลูกสร้างทีใ่ ช้ในการประกอบธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ของบริษทั ฯ ก่อนบุคคลภายนอก (Right of First Refusal: ROFR) รวมทัง้ ให้สทิ ธิในการซือ้ หรือเช่าทีด่ นิ และ/หรือสิง่ ปลูก สร้างทีใ่ ช้ในการประกอบธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ในลักษณะ Call Option แก่ ยู ซิต้ี จากการทาธุรกรรมดังกล่าว ยู ซิต้ี จะ เป็ นผู้บริหารอสังหาริมทรัพย์ภายใต้สญ ั ญาจ้างบริหารทรัพย์สนิ และเป็ นตัวแทนขายอสังหาริมทรัพย์ภายใต้สญ ั ญา แต่งตัง้ ตัวแทนขายอสังหาริมทรัพย์ของบริษทั ฯ แต่เพียงผูเ้ ดียว รายละเอียดเพิม่ เติมดูได้ใน รายละเอียดทีเ่ กีย่ วกับการ โอนกิจการทัง้ หมดของยูนิคอร์นแก่ ยู ซิต้ ี http://bts.listedcompany.com/newsroom/061225600728210310T.pdf

ส่วนที่ 3 หน้า 26






บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

เอกสำรแนบ 1 เอกสำรแนบ 1.1 ประวัติคณะกรรมกำรบริ ษทั และคณะผู้บริ หำร (ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561) * % ของหุน้ ทีม่ สี ทิ ธิออกเสียงทัง้ หมด 11,844,529,054 หุน้ รวมจานวนหุน้ ทีถ่ อื โดยคูส่ มรส และบุตรทีย่ งั ไม่บรรลุนิตภิ าวะ 1. นำยคีรี กำญจนพำสน์ ตำแหน่ ง ประธานกรรมการ /

อำยุ (ปี ) 68

ประธานคณะกรรมการบริหาร /

คุณวุฒิทำงกำรศึกษำ - หลักสูตรผูบ้ ริหารระดับสูง (วตท.10) ปี 2553 สถาบันวิทยาการตลาดทุน - หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Accreditation Program (DAP) ปี 2554

ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล /

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย

กรรมการผูม้ อี านาจลงนามผูกพันบริษทั วันที่จดทะเบียนแต่งตัง้ เป็ นกรรมกำร 2 มิถุนายน 2536 (วันจดทะเบียน แปรสภาพเป็ นบริษทั มหาชนจากัด) กำรถือหุ้นในบริ ษทั ฯ (%)*

ควำมสัมพันธ์ทำงครอบครัวระหว่ำงผูบ้ ริ หำร

3,873,886,852 (32.71%)

บิดานายกวิน กาญจนพาสน์

ประสบกำรณ์ทำงำน ช่วงเวลำ

ตำแหน่ ง

ชื่อหน่ วยงำน / บริ ษทั

2549-ปั จจุบนั

ประธานกรรมการ

บมจ. บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์

2553-ปั จจุบนั

ประธานคณะกรรมการบริหาร

บมจ. บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์

2555-ปั จจุบนั

ประธานกรรมการบรรษัทภิบาล

บมจ. บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์

2536-ปั จจุบนั

กรรมการ

บมจ. บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์

2536-2549

กรรมการผูจ้ ดั การ

บมจ. บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์

2560-ปั จจุบนั

ประธานคณะกรรมการ

บมจ. ยู ซิต้ี

2555-ปั จจุบนั

ประธานกรรมการ

บมจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย

2561-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. บีทเี อส อินฟราสตรัคเจอร์ เซอร์วสิ เซส

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. บีทเี อส อินฟราสตรัคเจอร์ ดีเวลลอปเม้นท์

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. อีสเทิรน์ บางกอกโมโนเรล

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. นอร์ทเทิรน์ บางกอกโมโนเรล

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. อาร์บี เซอร์วสิ เซส

2558-ปั จจุบนั

ประธานคณะกรรมการบริหาร

บมจ. ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ

2553-ปั จจุบนั

ประธานกรรมการ

บมจ. ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ

บริ ษทั จดทะเบียนอื่นในประเทศไทย

บริ ษทั อื่น

เอกสารแนบ 1 หน้า 1


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

บริ ษทั อื่น 2539-ปั จจุบนั

กรรมการ

บมจ. ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ

2539-2558

กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่

บมจ. ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ

2558-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. บีเอสเอส โฮลดิง้ ส์

2553-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. แรบบิท รีวอร์ดส

2552-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. บางกอก สมาร์ทการ์ด ซิสเทม

2537-ปั จจุบนั

กรรมการ

ธนายง อินเตอร์เนชันแนล ่ ลิมเิ ต็ด

2552-2561

กรรมการ

บจ. บีทเี อส แลนด์

2536-2561

กรรมการ

บจ. ปราณคีร ี แอสเซ็ทส์

2535-2561

กรรมการ

บจ. ธนายง ฟู๊ ด แอนด์ เบเวอเรจ

2534-2561

กรรมการ

บจ. ธนาซิต้ี กอล์ฟ แอนด์ สปอร์ต คลับ

2533-2561

กรรมการ

บจ. สยาม เพจจิง้ แอนด์ คอมมิวนิเคชัน่

2533-2561

กรรมการ

บจ. ธนายง พร็อพเพอร์ต้ี แมเนจเม้นท์

2531-2561

กรรมการ

บจ. เมืองทอง แอสเซ็ทส์

2552-2558

กรรมการ

บจ. นูโว ไลน์ เอเจนซี่

2553-2558

กรรมการ

บจ. ก้ามกุง้ พร็อพเพอร์ต้ี

2553-2555

กรรมการ

บจ. ก้ามปู พร็อพเพอร์ต้ี

2550-2555

กรรมการ

บจ. กมลา บีช รีสอร์ท แอนด์ โฮเต็ล แมนเนจเม้นท์

2. ดร.พอล ทง (Dr. Paul Tong) ตำแหน่ ง

อำยุ (ปี )

กรรมการ

77

คุณวุฒิทำงกำรศึกษำ - PhD. Engineering, University of Manchester, ประเทศสหราชอาณาจักร

วันที่จดทะเบียนแต่งตัง้ เป็ นกรรมกำร

- Master of Science in Engineering, University of Hong Kong, ฮ่องกง

20 กุมภาพันธ์ 2550

- Bachelor of Science in Engineering, University of Hong Kong, ฮ่องกง

กำรถือหุ้นในบริ ษทั ฯ (%)*

ควำมสัมพันธ์ทำงครอบครัวระหว่ำงผูบ้ ริ หำร

30,776,501 (0.26%)

-

ประสบกำรณ์ทำงำน ช่วงเวลำ

ตำแหน่ ง

ชื่อหน่ วยงำน / บริ ษทั

2550-ปั จจุบนั

กรรมการ

บมจ. บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์

2559-ปั จจุบนั

กรรมการอิสระ

FSE Engineering Holdings Limited

2549-ปั จจุบนั

กรรมการ

Chongbang Holdings (International) Limited

บริ ษทั จดทะเบียนอื่นในประเทศไทย - ไม่ม ี บริ ษทั อื่น

เอกสารแนบ 1 หน้า 2


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

2553-2558

ประธานกรรมการ

บจ. บีทเี อส แอสเสทส์

2550-2556

กรรมการผูจ้ ดั การ

Hip Hing Construction (China) Co., Ltd.

2551-2555

กรรมการ

บจ. กมลา บีช รีสอร์ท แอนด์ โฮเต็ล แมนเนจเม้นท์

2549-2554

กรรมการผูจ้ ดั การ

Hip Hing Construction Co., Ltd.

2549-2554

กรรมการ

NW Project Management Limited

2549-2553

ประธานกรรมการ

บมจ. ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ

2548-2553

กรรมการ

Parsons Brinckerhoff International, Pte Ltd, Singapore

3. ดร.อำณัติ อำภำภิ รม ตำแหน่ ง

คุณวุฒิทำงกำรศึกษำ

อำยุ (ปี )

กรรมการบริหาร /

80

-

วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา Colorado State University,

กรรมการบรรษัทภิบาล /

ประเทศสหรัฐอเมริกา

กรรมการผูม้ อี านาจลงนามผูกพันบริษทั

-

วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ ์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

วันที่จดทะเบียนแต่งตัง้ เป็ นกรรมกำร

-

วิศวกรรมศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ ์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา

7 พฤษภาคม 2541

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย -

วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิศวกรรมแหล่งน้า สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (เอ ไอ ที)

-

วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมโยธา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

-

หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Accreditation Program (DAP) ปี 2554 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย

กำรถือหุ้นในบริ ษทั ฯ (%)*

ควำมสัมพันธ์ทำงครอบครัวระหว่ำงผูบ้ ริ หำร

-

-

ประสบกำรณ์ทำงำน ช่วงเวลำ

ตำแหน่ ง

ชื่อหน่ วยงำน / บริ ษทั

2553-ปั จจุบนั

กรรมการบริหาร

บมจ. บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์

2555-ปั จจุบนั

กรรมการบรรษัทภิบาล

บมจ. บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์

2541-ปั จจุบนั

กรรมการ

บมจ. บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์

2541-2552

กรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ

บมจ. บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์

บริ ษทั จดทะเบียนอื่นในประเทศไทย - ไม่ม ี -

เอกสารแนบ 1 หน้า 3


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

บริ ษทั อื่น 2558-ปั จจุบนั

กรรมการทีป่ รึกษา / สมาชิกคณะกรรมการบริหาร

บมจ. ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ

2551-2556

กรรมการ

บมจ. ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ

2552-2561

กรรมการ

บจ. บีทเี อส แลนด์

2553-2558

กรรมการ

บจ. ก้ามกุง้ พร็อพเพอร์ต้ี

2553-2555

กรรมการ

บจ. ก้ามปู พร็อพเพอร์ต้ี

2552-2553

กรรมการ

บจ. บีทเี อส แอสเสทส์

4. นำยสุรพงษ์ เลำหะอัญญำ ตำแหน่ ง

อำยุ (ปี )

กรรมการบริหาร /

56

คุณวุฒิทำงกำรศึกษำ - วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิศวกรรมโยธา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

กรรมการผูม้ อี านาจลงนามผูกพันบริษทั

- วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

วันที่จดทะเบียนแต่งตัง้ เป็ นกรรมกำร

- หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Accreditation Program (DAP) ปี 2553

30 กรกฎาคม 2553

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย - หลักสูตรผูบ้ ริหารระดับสูงด้านการบริหารงานพัฒนาเมือง (มหานคร รุ่นที่ 2) ปี 2556 สถาบันพัฒนาเมือง กรุงเทพมหานคร

กำรถือหุ้นในบริ ษทั ฯ (%)*

ควำมสัมพันธ์ทำงครอบครัวระหว่ำงผูบ้ ริ หำร

5,552,627 (0.05%)

-

ประสบกำรณ์ทำงำน ช่วงเวลำ

ตำแหน่ ง

ชื่อหน่ วยงำน / บริ ษทั

2553-ปั จจุบนั

กรรมการบริหาร / กรรมการ

บมจ. บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์

กรรมการ

บมจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย

2561-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. บีทเี อส อินฟราสตรัคเจอร์ เซอร์วสิ เซส

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. บีทเี อส อินฟราสตรัคเจอร์ ดีเวลลอปเม้นท์

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. อีสเทิรน์ บางกอกโมโนเรล

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. นอร์ทเทิรน์ บางกอกโมโนเรล

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. อาร์บี เซอร์วสิ เซส

2559-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. แรบบิท อินชัวรันส์ โบรคเกอร์

2558-ปั จจุบนั

กรรมการบริหาร / กรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ /

บมจ. ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ

บริ ษทั จดทะเบียนอื่นในประเทศไทย 2549-ปั จจุบนั บริ ษทั อื่น

ผูอ้ านวยการใหญ่สายปฏิบตั กิ าร (รักษาการ) ผูอ้ านวยการใหญ่สายบริหาร (รักษาการ)

เอกสารแนบ 1 หน้า 4


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

2549-ปั จจุบนั

กรรมการ

บมจ. ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ

2549-2558

ผูอ้ านวยการใหญ่สายปฏิบตั กิ าร

บมจ. ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ

2558-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. แรบบิท อินเตอร์เน็ต

2558-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. เอเอสเค ไดเร็ค กรุ๊ป

2558-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. แรบบิทเพย์ ซิสเทม

2558-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. บีเอสเอส โฮลดิง้ ส์

2557-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. บางกอก เพย์เมนต์ โซลูชนั ส์

2553-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. แรบบิท รีวอร์ดส

2552-ปั จจุบนั

กรรมการบริหาร / กรรมการ

บจ. บางกอก สมาร์ทการ์ด ซิสเทม

2552-2561

กรรมการ

บจ. บีทเี อส แลนด์

2553-2558

กรรมการ

บจ. ก้ามกุง้ พร็อพเพอร์ต้ี

2552-2558

กรรมการ

บจ. นูโว ไลน์ เอเจนซี่

2553-2555

กรรมการ

บจ. ก้ามปู พร็อพเพอร์ต้ี

2552-2553

กรรมการ

บจ. บีทเี อส แอสเสทส์

กรรมการ

โครงการจัดทามาตรฐานอาชีพและคุณวุฒวิ ชิ าชีพ

องค์กรอื่น 2556-ปั จจุบนั

สาขาระบบรางและรถไฟความเร็วสูง 2553-ปั จจุบนั

ทีป่ รึกษาคณะอนุกรรมการ

วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย

วิชาการสาขาวิศวกรรมจราจรและขนส่ง

ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.)

5. นำยกวิ น กำญจนพำสน์ ตำแหน่ ง กรรมการบริหาร /

คุณวุฒิทำงกำรศึกษำ

อำยุ (ปี ) 43

กรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ /

- Stonyhurst College, ประเทศสหราชอาณาจักร - หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Accreditation Program (DAP) ปี 2550

กรรมการผูม้ อี านาจลงนามผูกพันบริษทั

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย

วันที่จดทะเบียนแต่งตัง้ เป็ นกรรมกำร

- หลักสูตรผูบ้ ริหารระดับสูง (วตท.16) ปี 2556 สถาบันวิทยาการตลาดทุน

23 มกราคม 2550 กำรถือหุ้นในบริ ษทั ฯ (%)*

ควำมสัมพันธ์ทำงครอบครัวระหว่ำงผูบ้ ริ หำร

602,459,295 (5.09%)

บุตรของนายคีร ี กาญจนพาสน์

ประสบกำรณ์ทำงำน ช่วงเวลำ

ตำแหน่ ง

ชื่อหน่ วยงำน / บริ ษทั

2558-ปั จจุบนั

กรรมการผูอ้ านวยการใหญ่

บมจ. บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์

2553-ปั จจุบนั

กรรมการบริหาร

บมจ. บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์

เอกสารแนบ 1 หน้า 5


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

2550-ปั จจุบนั

กรรมการ

บมจ. บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์

2550-2553

กรรมการผูจ้ ดั การ

บมจ. บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

บมจ. ยู ซิต้ี

2555-ปั จจุบนั

ประธานคณะกรรมการบริหาร

บมจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย

2546-ปั จจุบนั

กรรมการ

บมจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย

2560-2561

กรรมการอิสระ

บมจ. บีอซี ี เวิลด์

2561-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. บีทเี อส อินฟราสตรัคเจอร์ เซอร์วสิ เซส

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. แอ๊บโซลูท กอล์ฟ เซอร์วสิ

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. เวียนนา เฮ้าส์ (ประเทศไทย)

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. นอร์ทเทิรน์ บางกอกโมโนเรล

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. อีสเทิรน์ บางกอกโมโนเรล

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. บีทเี อส อินฟราสตรัคเจอร์ ดีเวลลอปเม้นท์

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. แมน ฟู๊ ด โฮลดิง้ ส์

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. บีทเี อส แอสเสทส์

2553-2558

ประธานกรรมการบริหาร / กรรมการ

บจ. บีทเี อส แอสเสทส์

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. ก้ามกุง้ พร็อพเพอร์ต้ี

2553-2558

กรรมการ

บจ. ก้ามกุง้ พร็อพเพอร์ต้ี

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. แนเชอรัล พาร์ค วิลล์

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. เเนเชอรัล เรียลเอสเตท

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. พาร์ค โอเปร่า

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. ริชชี่ พร็อพเพอร์ต้ี แมเนจเม้นท์

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. พาร์ค กูรเ์ ม่ต์

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. โปรเจค กรีน

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. ยูนิซนั วัน

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. อาร์บี เซอร์วสิ เซส

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. คียส์ โตน แมเนจเม้นท์

2559-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. เค เอ็ม เจ 2016

2559-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. ไนน์ สแควร์ พร็อพเพอร์ต้ี

2558-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. เทรฟลอดจ์ (ประเทศไทย)

2558-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. เดอะ คอมมูนิต้ี ทู

2558-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. เดอะ คอมมูนิต้ี วัน

บริ ษทั จดทะเบียนอื่นในประเทศไทย

บริ ษทั อื่น

เอกสารแนบ 1 หน้า 6


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

2558-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. กิง่ แก้ว แอสเสทส์

2558-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. ราษฎร์บรู ณะ พร็อพเพอร์ต้ี

2558-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. คียส์ โตน เอสเตท

2558-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. บีเอสเอส โฮลดิง้ ส์

2558-ปั จจุบนั

กรรมการบริหาร

บจ. บางกอก สมาร์ทการ์ด ซิสเทม

2552-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. บางกอก สมาร์ทการ์ด ซิสเทม

2552-2558

กรรมการผูจ้ ดั การ

บจ. บางกอก สมาร์ทการ์ด ซิสเทม

2557-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. ลิตเติ้ล คอร์นเนอร์

2557-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. ไพรมารี่ คิทเช่น

2557-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. มรรค๘

2556-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. แมน คิทเช่น

2553-ปั จจุบนั

กรรมการ

ธนายง ฮ่องกง ลิมเิ ต็ด

2553-ปั จจุบนั

กรรมการ

แอ๊บโซลูท โฮเต็ล เซอร์วสิ ฮ่องกง ลิมเิ ต็ด

2553-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. แรบบิท รีวอร์ดส

2553-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. บีทเี อส แลนด์

2552-ปั จจุบนั

กรรมการ

บมจ. ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ

2552-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. พอยท์ ออฟ วิว (พีโอวี) มีเดีย กรุ๊ป

2552-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. วีจไี อ แอดเวอร์ไทซิง่ มีเดีย

2551-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. ธนาซิต้ี กอล์ฟ แอนด์ สปอร์ต คลับ

2551-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. ธนายง พร็อพเพอร์ต้ี แมเนจเม้นท์

2551-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. เมืองทอง แอสเซ็ทส์

2551-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. ปราณคีร ี แอสเซ็ทส์

2551-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. สยาม เพจจิง้ แอนด์ คอมมิวนิเคชัน่

2551-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. ธนายง ฟู๊ ด แอนด์ เบเวอเรจ

2551-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. แอ๊บโซลูท โฮเต็ล เซอร์วสิ

2558-2561

กรรมการ

บจ. ยูนิคอร์น เอ็นเตอร์ไพรส์

2553-2558

กรรมการ

วี จี ไอ แอดเวอร์ไทซิง่ ไชน่า คอมพานี ลิมเิ ต็ด

2553-2558

กรรมการ

บจ. 888 มีเดีย

2553-2558

กรรมการ

บจ. 999 มีเดีย

2552-2558

กรรมการ

บจ. นูโว ไลน์ เอเจนซี่

2552-2557

กรรมการ

บจ. ไมดาส โกลบอล มีเดีย

2553-2555

กรรมการ

บจ. ก้ามปู พร็อพเพอร์ต้ี

2550-2555

กรรมการ

บจ. กมลา บีช รีสอร์ท แอนด์ โฮเต็ล แมนเนจเม้นท์

เอกสารแนบ 1 หน้า 7


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

6. นำยรังสิ น กฤตลักษณ์ ตำแหน่ ง

อำยุ (ปี )

คุณวุฒิทำงกำรศึกษำ

กรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน /

- ปริญญาโทบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - สถาปั ตยกรรมศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร

กรรมการบรรษัทภิบาล /

- หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Accreditation Program (DAP) ปี 2546

กรรมการบริหาร /

56

ผูอ้ านวยการใหญ่สายปฏิบตั กิ าร /

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย - หลักสูตรประกาศนียบัตร Role of the Compensation Committee (RCC) ปี 2554

กรรมการผูม้ อี านาจลงนามผูกพันบริษทั วันที่จดทะเบียนแต่งตัง้ เป็ นกรรมกำร

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย - หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Certification Program (DCP) ปี 2554

19 ธันวาคม 2540

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย - Anti-Corruption for Executive Program ปี 2555 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย - หลักสูตรประกาศนียบัตร Role of the Nomination and Governance Committee (RNG) ปี 2555 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย กำรถือหุ้นในบริ ษทั ฯ (%)*

ควำมสัมพันธ์ทำงครอบครัวระหว่ำงผูบ้ ริ หำร

-

-

ประสบกำรณ์ทำงำน ช่วงเวลำ

ตำแหน่ ง

ชื่อหน่ วยงำน / บริ ษทั

2553-ปั จจุบนั

กรรมการบริหาร / ผูอ้ านวยการใหญ่สายปฏิบตั กิ าร บมจ. บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์

2552-ปั จจุบนั

กรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน

บมจ. บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์

2555-ปั จจุบนั

กรรมการบรรษัทภิบาล

บมจ. บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์

2540-ปั จจุบนั

กรรมการ

บมจ. บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์

2549-2553

รองกรรมการผูจ้ ดั การ

บมจ. บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. แมน ฟู๊ ด โฮลดิง้ ส์

2559-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. เดอะ คอมมูนิต้ี ทู

2559-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. เดอะ คอมมูนิต้ี วัน

2558-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. กิง่ แก้ว แอสเสทส์

2558-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. เบย์วอเตอร์

2557-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. ไพรมารี่ คิทเช่น

2557-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. ลิตเติ้ล คอร์นเนอร์

2556-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. แมน คิทเช่น

บริ ษทั จดทะเบียนอื่นในประเทศไทย - ไม่ม ี บริ ษทั อื่น

เอกสารแนบ 1 หน้า 8


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

2550-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. เอชเอชที คอนสตรัคชัน่

2544-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. ดีแนล

2544-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. ยงสุ

2560-2561

กรรมการ

บจ. ยูนิซนั วัน

2560-2561

กรรมการ

บจ. บีทเี อส แสนสิร ิ โฮลดิง้ ทเวนที ทู

2559-2561

กรรมการ

บจ. บีทเี อส แสนสิร ิ โฮลดิง้ ทเวนที วัน

2559-2561

กรรมการ

บจ. บีทเี อส แสนสิร ิ โฮลดิง้ ทเวนที

2559-2561

กรรมการ

บจ. บีทเี อส แสนสิร ิ โฮลดิง้ ไนน์ทนี

2559-2561

กรรมการ

บจ. บีทเี อส แสนสิร ิ โฮลดิง้ เอททีน

2559-2561

กรรมการ

บจ. บีทเี อส แสนสิร ิ โฮลดิง้ เซเว่นทีน

2559-2561

กรรมการ

บจ. บีทเี อส แสนสิร ิ โฮลดิง้ ซิกซ์ทนี

2559-2561

กรรมการ

บจ. บีทเี อส แสนสิร ิ โฮลดิง้ ฟิ ฟทีน

2559-2561

กรรมการ

บจ. ไนน์ สแควร์ พร็อพเพอร์ต้ี

2559-2561

กรรมการ

บจ. บีทเี อส แสนสิร ิ โฮลดิง้ โฟร์ทนี

2558-2561

กรรมการ

บจ. ราษฎร์บรู ณะ พร็อพเพอร์ต้ี

2558-2561

กรรมการ

บจ. คียส์ โตน เอสเตท

2558-2561

กรรมการ

บจ. ยูนิคอร์น เอ็นเตอร์ไพรส์

2558-2561

กรรมการ

บจ. บีทเี อส แสนสิร ิ โฮลดิง้ ทเวลฟ์

2558-2561

กรรมการ

บจ. บีทเี อส แสนสิร ิ โฮลดิง้ อีเลฟเว่น

2558-2561

กรรมการ

บจ. บีทเี อส แสนสิร ิ โฮลดิง้ ไนน์

2558-2561

กรรมการ

บจ. บีทเี อส แสนสิร ิ โฮลดิง้ เอท

2558-2561

กรรมการ

บจ. บีทเี อส แสนสิร ิ โฮลดิง้ เซเว่น

2558-2561

กรรมการ

บจ. บีทเี อส แสนสิร ิ โฮลดิง้ ซิกซ์

2558-2561

กรรมการ

บจ. บีทเี อส แสนสิร ิ โฮลดิง้ ไฟฟ์

2558-2561

กรรมการ

บจ. บีทเี อส แสนสิร ิ โฮลดิง้ โฟร์

2558-2561

กรรมการ

บจ. บีทเี อส แสนสิร ิ โฮลดิง้ ทรี

2558-2561

กรรมการ

บจ. บีทเี อส แสนสิร ิ โฮลดิง้ ทู

2557-2561

กรรมการ

บจ. บีทเี อส แสนสิร ิ โฮลดิง้ วัน

2557-2561

กรรมการ

บจ. มรรค๘

2554-2561

กรรมการ

บจ. บีทเี อส แลนด์

2553-2561

กรรมการ

บจ. นูโว ไลน์ เอเจนซี่

2551-2561

กรรมการ

บจ. สยาม เพจจิง้ แอนด์ คอมมิวนิเคชัน่

2551-2561

กรรมการ

บจ. แอ๊บโซลูท โฮเต็ล เซอร์วสิ

2550-2561

กรรมการ

บจ. เมืองทอง แอสเซ็ทส์

เอกสารแนบ 1 หน้า 9


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

2544-2561

กรรมการ

บจ. ธนายง ฟู๊ ด แอนด์ เบเวอเรจ

2544-2561

กรรมการ

บจ. ปราณคีร ี แอสเซ็ทส์

2544-2561

กรรมการ

บจ. ธนายง พร็อพเพอร์ต้ี แมเนจเม้นท์

2541-2561

กรรมการ

บจ. ธนาซิต้ี กอล์ฟ แอนด์ สปอร์ต คลับ

2553-2558

กรรมการ

บจ. บีทเี อส แอสเสทส์

2553-2558

กรรมการ

บจ. ก้ามกุง้ พร็อพเพอร์ต้ี

2553-2555

กรรมการ

บจ. ก้ามปู พร็อพเพอร์ต้ี

2550-2555

กรรมการ

บจ. กมลา บีช รีสอร์ท แอนด์ โฮเต็ล แมนเนจเม้นท์

7. นำยคง ชิ เคือง (Mr. Kong Chi Keung) ตำแหน่ ง

คุณวุฒิทำงกำรศึกษำ

อำยุ (ปี )

กรรมการบริหาร /

43

- ปริญญาโทบริหารธุรกิจ (Executive) สถาบันบัณฑิตบริหารธุรกิจศศินทร์

กรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน /

แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

รองกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ /

- BA (Honorary Degree) Business Administrative, University of Greenwich,

กรรมการผูม้ อี านาจลงนามผูกพันบริษทั

ประเทศสหราชอาณาจักร

วันที่จดทะเบียนแต่งตัง้ เป็ นกรรมกำร

- หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Accreditation Program (DAP) ปี 2550

23 มกราคม 2550

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย

กำรถือหุ้นในบริ ษทั ฯ (%)*

ควำมสัมพันธ์ทำงครอบครัวระหว่ำงผูบ้ ริ หำร

3,200,000 (0.03%)

-

ประสบกำรณ์ทำงำน ช่วงเวลำ

ตำแหน่ ง

ชื่อหน่ วยงำน / บริ ษทั

2558-ปั จจุบนั

รองกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่

บมจ. บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์

2553-ปั จจุบนั

กรรมการบริหาร

บมจ. บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์

2553-ปั จจุบนั

กรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน

บมจ. บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์

2550-ปั จจุบนั

กรรมการ

บมจ. บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์

2551-2553

รองกรรมการผูจ้ ดั การ

บมจ. บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

บมจ. ยูซติ ้ี

2543-ปั จจุบนั

กรรมการ

บมจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย

2561-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. ธนาซิต้ี กอล์ฟ แอนด์ สปอร์ต คลับ

2561-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. ยูนิซนั วัน

2561-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. เมืองทอง แอสเซ็ทส์

2561-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. ปราณคีร ี แอสเซ็ทส์

บริ ษทั จดทะเบียนอื่นในประเทศไทย

บริ ษทั อื่น

เอกสารแนบ 1 หน้า 10


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

2561-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. สยาม เพจจิง้ แอนด์ คอมมิวนิเคชัน่

2561-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. มรรค ๘

2561-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. ธนายง ฟู๊ ด แอนด์ เบเวอเรจ

2561-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. ธนายง พร็อพเพอร์ต้ี แมเนจเม้นท์

2561-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. บีทเี อส แลนด์

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. พาร์ค กูรเ์ ม่ต์

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. โปรเจค กรีน

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. พาร์ค โอเปร่า

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. ริชชี่ พร็อพเพอร์ต้ี แมเนจเม้นท์

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. นอร์ทเทิรน์ บางกอกโมโนเรล

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. อีสเทิรน์ บางกอกโมโนเรล

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. บีทเี อส แอสเสทส์

2553-2558

กรรมการ

บจ. บีทเี อส แอสเสทส์

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. ก้ามกุง้ พร็อพเพอร์ต้ี

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. แนเชอรัล เรียลเอสเตท

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. แนเชอรัล พาร์ค วิลล์

2559-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. แรบบิท อินชัวรันส์ โบรคเกอร์

2559-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. แรบบิท-ไลน์ เพย์

2559-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. ไนน์ สแควร์ พร็อพเพอร์ต้ี

2559-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. เดอะ คอมมูนิต้ี ทู

2559-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. เดอะ คอมมูนิต้ี วัน

2559-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. กิง่ แก้ว แอสเสทส์

2559-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. ราษฎร์บรู ณะ พร็อพเพอร์ต้ี

2558-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. เอเอสเค ไดเร็ค กรุ๊ป

2558-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. แรบบิท อินเตอร์เน็ต

2558-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. เอทีเอส แรบบิท นิตบิ ุคคลเฉพาะกิจ

2558-ปั จจุบนั

สมาชิกคณะกรรมการบริหาร

บมจ. ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ

2555-ปั จจุบนั

ผูอ้ านวยการใหญ่สายการเงิน

บมจ. ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ

2553-2556

กรรมการ

บมจ. ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ

2557-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. บางกอก เพย์เมนต์ โซลูชนั ส์

2553-ปั จจุบนั

กรรมการ

ธนายง ฮ่องกง ลิมเิ ต็ด

2551-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. แอ๊บโซลูท โฮเต็ล เซอร์วสิ

2560-2561

กรรมการ

บจ. ไพร์ม แอเรีย 38

เอกสารแนบ 1 หน้า 11


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

2560-2561

กรรมการ

บจ. บีทเี อส แสนสิร ิ โฮลดิง้ ทเวนที ทู

2560-2561

กรรมการ

บจ. บีทเี อส แสนสิร ิ โฮลดิง้ ทเวนที วัน

2560-2561

กรรมการ

บจ. บีทเี อส แสนสิร ิ โฮลดิง้ ไนน์ทนี

2559-2561

กรรมการ

บจ. บีทเี อส แสนสิร ิ โฮลดิง้ ทเวนที

2559-2561

กรรมการ

บจ. บีทเี อส แสนสิร ิ โฮลดิง้ เอททีน

2559-2561

กรรมการ

บจ. บีทเี อส แสนสิร ิ โฮลดิง้ เซเว่นทีน

2559-2561

กรรมการ

บจ. บีทเี อส แสนสิร ิ โฮลดิง้ ซิกซ์ทนี

2559-2561

กรรมการ

บจ. บีทเี อส แสนสิร ิ โฮลดิง้ ฟิ ฟทีน

2559-2561

กรรมการ

บจ. ยูนิคอร์น เอ็นเตอร์ไพรส์

2559-2561

กรรมการ

บจ. บีทเี อส แสนสิร ิ โฮลดิง้ โฟร์ทนี

2559-2561

กรรมการ

บจ. บีทเี อส แสนสิร ิ โฮลดิง้ ทเวลฟ์

2559-2561

กรรมการ

บจ. บีทเี อส แสนสิร ิ โฮลดิง้ อีเลฟเว่น

2558-2561

กรรมการ

บจ. บีทเี อส แสนสิร ิ โฮลดิง้ ไนน์

2558-2561

กรรมการ

บจ. บีทเี อส แสนสิร ิ โฮลดิง้ เอท

2558-2561

กรรมการ

บจ. บีทเี อส แสนสิร ิ โฮลดิง้ เซเว่น

2558-2561

กรรมการ

บจ. บีทเี อส แสนสิร ิ โฮลดิง้ ซิกซ์

2558-2561

กรรมการ

บจ. บีทเี อส แสนสิร ิ โฮลดิง้ ไฟฟ์

2558-2561

กรรมการ

บจ. บีทเี อส แสนสิร ิ โฮลดิง้ โฟร์

2558-2561

กรรมการ

บจ. บีทเี อส แสนสิร ิ โฮลดิง้ ทรี

2558-2561

กรรมการ

บจ. บีทเี อส แสนสิร ิ โฮลดิง้ ทู

2558-2561

กรรมการ

บจ. บีทเี อส แสนสิร ิ โฮลดิง้ วัน

2558-2561

กรรมการ

บจ. นูโว ไลน์ เอเจนซี่

2559-2560

กรรมการ

บจ. คียส์ โตน เอสเตท

2553-2558

กรรมการ

วี จี ไอ แอดเวอร์ไทซิง่ ไชน่า คอมพานี ลิมเิ ต็ด

8. ศำสตรำจำรย์พิเศษ พลโท พิ ศำล เทพสิ ทธำ ตำแหน่ ง กรรมการอิสระ /

คุณวุฒิทำงกำรศึกษำ

อำยุ (ปี ) 86

-

ประธานกรรมการตรวจสอบ /

ทันตแพทยศาสตรดุษฎีบณ ั ฑิตกิตติมศักดิ ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยมหิดล

ประธานกรรมการสรรหาและ

-

บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

กาหนดค่าตอบแทน

-

ประกาศนียบัตรชัน้ สูงทางการบัญชี เทียบเท่าปริญญาโท มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

วันที่จดทะเบียนแต่งตัง้ เป็ นกรรมกำร

-

ศึกษาศาสตรบัณฑิต เกียรตินยิ มอันดับหนึ่ง สาขาบริหารการศึกษา

4 สิงหาคม 2543

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช -

นิตศิ าสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

เอกสารแนบ 1 หน้า 12


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61 -

ทันตแพทยศาสตรบัณฑิต เกียรตินิยมอันดับสอง มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ (ปั จจุบนั คือ มหาวิทยาลัยมหิดล)

-

บัญชีบณ ั ฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

-

พาณิชยศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

-

หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Certification Program (DCP) ปี 2545 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย

-

หลักสูตรประกาศนียบัตร Audit Committee Program (ACP) ปี 2552 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย

-

หลักสูตรประกาศนียบัตร Role of the Compensation Committee (RCC) ปี 2557 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย

-

หลักสูตรประกาศนียบัตร Anti-Corruption: The practical Guide (ACPG) ปี 2558 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย

กำรถือหุ้นในบริ ษทั ฯ (%)*

ควำมสัมพันธ์ทำงครอบครัวระหว่ำงผูบ้ ริ หำร

80,000 (0.001%)

-

ประสบกำรณ์ทำงำน ช่วงเวลำ

ตำแหน่ ง

ชื่อหน่ วยงำน / บริ ษทั

2543-ปั จจุบนั

ประธานกรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ

บมจ. บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์

2552-ปั จจุบนั

ประธานกรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน บมจ. บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์

บริ ษทั จดทะเบียนอื่นในประเทศไทย 2542-ปั จจุบนั

ประธานกรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ

บมจ. ร้อกเวิธ

2542-2560

ประธานกรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ

บมจ. เพรซิเดนท์ไรซ์โปรดักส์

กรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน 2548-2555

กรรมการอิสระ

บมจ. เพรซิเดนท์เบเกอรี่

กรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ

บมจ. ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ

ประธานคณะกรรมการวิชาการ

สานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม

รายสาขา คณะที่ 22 ทันตภัณฑ์

กระทรวงอุตสาหกรรม

กรรมการ

คณะกรรมการการประกอบโรคศิลปะ

บริ ษทั อื่น 2552-2553 องค์กรอื่น 2557-ปั จจุบนั 2556-ปั จจุบนั

กระทรวงสาธารณสุข 2552-ปั จจุบนั

ทีป่ รึกษากฎหมาย / อนุกรรมการพิจารณา หักค่าใช้จ่ายเกินจริงของหน่วยบริการ

เอกสารแนบ 1 หน้า 13

สานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน) 2550-ปั จจุบนั

แบบ 56-1 ปี 2560/61

กรรมการตัดสินรางวัลและประกาศ

มูลนิธสิ มเด็จพระมหิตลาธิเบศร

เกียรติคุณบัณฑิตทันตแพทย์ดเี ด่น

อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก

2547-ปั จจุบนั

ประธาน

โครงการวิชาชีพทันตแพทย์ในการควบคุมยาสูบ

2547-2553, 2559-ปั จจุบนั

กรรมการ

คณะกรรมการสถานพยาบาล กระทรวงสาธารณสุข

2547-2553, 2559-ปั จจุบนั

กรรมการ

คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

2557-2559

อนุกรรมการตรวจสอบ

คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

2556-2559

กรรมการ

ทันตแพทยสภา

2558

ประธานกรรมการตัดสินรางวัลทันตแพทย์ดเี ด่น

ทันตแพทยสภา

2556-2558

นายกสมาคม

ทันตแพทยสมาคมแห่งประเทศไทยฯ

2547-2558

ประธานกรรมการ

มูลนิธทิ นั ตสาธารณสุข

2547-2553

ประธานอนุกรรมการกลันกรองกรณี ่ อุทธรณ์

คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

9. นำยสุจินต์ หวั ่งหลี ตำแหน่ ง

อำยุ (ปี )

กรรมการอิสระ /

82

คุณวุฒิทำงกำรศึกษำ - ปริญญาตรีวศิ วกรรมไฟฟ้ า Northrop Institute of Technology, ประเทศสหรัฐอเมริกา

กรรมการตรวจสอบ /

- Executive Course, Harvard University, ประเทศสหรัฐอเมริกา

กรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน

- หลักสูตรประกาศนียบัตร Role of the Chairman Program (RCP) ปี 2544

วันที่จดทะเบียนแต่งตัง้ เป็ นกรรมกำร

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย

30 กรกฎาคม 2553

- หลักสูตรผูบ้ ริหารระดับสูง (วตท.9) ปี 2552 สถาบันวิทยาการตลาดทุน - หลักสูตรผูบ้ ริหารระดับสูง ด้านการค้าและการพาณิชย์ สถาบันวิทยาการการค้า ปี 2553 - หลักสูตรผูบ้ ริหารระดับสูงด้านการบริหารงานพัฒนาเมือง “มหานคร” สถาบันพัฒนาเมือง ปี 2554 - หลักสูตรวิทยาการประกันภัยระดับสูง (วปส.2) ปี 2555 สานักงานคณะกรรมการกากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย - หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Accreditation Program (DAP) ปี 2556 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย

กำรถือหุ้นในบริ ษทั ฯ (%)*

ควำมสัมพันธ์ทำงครอบครัวระหว่ำงผูบ้ ริ หำร

7,680,023 (0.06%)

-

ประสบกำรณ์ทำงำน ช่วงเวลำ

ตำแหน่ ง

ชื่อหน่ วยงำน / บริ ษทั

2553-ปั จจุบนั

กรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ

บมจ. บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์

2553-ปั จจุบนั

กรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน

บมจ. บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์

เอกสารแนบ 1 หน้า 14


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

บริ ษทั จดทะเบียนอื่นในประเทศไทย 2556-ปั จจุบนั

กรรมการตรวจสอบ

บมจ. เสริมสุข

2556-ปั จจุบนั

กรรมการอิสระ

บมจ. เสริมสุข

2555-ปั จจุบนั

ประธานคณะกรรมการพิจารณาค่าตอบแทน

บมจ. เสริมสุข

2554-ปั จจุบนั

รองประธานกรรมการ

บมจ. เสริมสุข

2553-ปั จจุบนั

กรรมการ

บมจ. เสริมสุข

2553-ปั จจุบนั

รองประธานกรรมการ

บมจ. อุตสาหกรรมถังโลหะไทย

2553-ปั จจุบนั

ประธานกรรมการกาหนดค่าตอบแทนและสรรหา บมจ. อุตสาหกรรมถังโลหะไทย

2532-ปั จจุบนั

กรรมการ

บมจ. อุตสาหกรรมถังโลหะไทย

2544-ปั จจุบนั

ประธานกรรมการ

บมจ. นวกิจประกันภัย

2536-ปั จจุบนั

กรรมการ

บมจ. นวกิจประกันภัย

2542-ปั จจุบนั

ประธานกรรมการ

บมจ. ไทยรีประกันชีวติ

2537-ปั จจุบนั

กรรมการอิสระ

บมจ. วโรปกรณ์

2521-2559

ประธานกรรมการ / กรรมการ

บมจ. ไทยรับประกันภัยต่อ

2512-2556

กรรมการอิสระ

บมจ. ไทย-เยอรมัน เซรามิค อินดัสทรี่

2560-ปั จจุบนั

ประธานกรรมการ

บจ. ซี อี เอส

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. พูลผล

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. พิพฒ ั นสิน

2557-ปั จจุบนั

ทีป่ รึกษา

บมจ. ฟอลคอนประกันภัย

2550-2557

ประธานกรรมการ

บมจ. ฟอลคอนประกันภัย

2513-2557

กรรมการ

บมจ. ฟอลคอนประกันภัย

2550-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. อาควา อินฟิ นิท

2549-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. หวังหลี ่ พฒ ั นา

2548-ปั จจุบนั

กรรมการ

บมจ. โรงแรมราชดาริ

2534-ปั จจุบนั

ประธานกรรมการ

บจ. รังสิตพลาซ่า

2531-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. เดอะ เพ็ท

2525-ปั จจุบนั

ประธานกรรมการ

บจ. สาธรธานี

2511-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. หวังหลี ่

2533-2561

กรรมการ

บจ. นุชพล

2531-2553

กรรมการ

บจ. ไทยเพชรบูรณ์

บริ ษทั อื่น

เอกสารแนบ 1 หน้า 15


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

องค์กรอื่น 2514-2553

กรรมการ

สมาคมประกันวินาศภัย

2517-2519, 2544-2548, 2550-2552

นายกสมาคม

สมาคมประกันวินาศภัย

10. ศำสตรำจำรย์พิเศษ เจริ ญ วรรธนะสิ น ตำแหน่ ง

อำยุ (ปี )

กรรมการอิสระ /

81

กรรมการตรวจสอบ /

คุณวุฒิทำงกำรศึกษำ - การบริหารธุรกิจ City of Liverpool College of Commerce, ประเทศสหราชอาณาจักร - การจัดการ สถาบันการจัดการแห่งประเทศอังกฤษ (B.I.M.) London,

กรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน /

ประเทศสหราชอาณาจักร

กรรมการบรรษัทภิบาล

- หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Accreditation Program (DAP) ปี 2554

วันที่จดทะเบียนแต่งตัง้ เป็ นกรรมกำร

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย

30 กรกฎาคม 2553

- หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Certification Program (DCP) ปี 2554 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย - หลักสูตรประกาศนียบัตร Audit Committee Program (ACP) ปี 2554 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย - หลักสูตรประกาศนียบัตร Role of the Nomination and Governance Committee (RNG) ปี 2557 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย - หลักสูตรประกาศนียบัตร Anti-Corruption: The Practical Guide (ACPG) ปี 2558 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย

กำรถือหุ้นในบริ ษทั ฯ (%)*

ควำมสัมพันธ์ทำงครอบครัวระหว่ำงผูบ้ ริ หำร

360,000 (0.003%)

-

ประสบกำรณ์ทำงำน ช่วงเวลำ

ตำแหน่ ง

ชื่อหน่ วยงำน / บริ ษทั

2553-ปั จจุบนั

กรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ

บมจ. บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์

2553-ปั จจุบนั

กรรมการสรรหาและกาหนดค่าตอบแทน

บมจ. บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์

2555-ปั จจุบนั

กรรมการบรรษัทภิบาล

บมจ. บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์

2559-ปั จจุบนั

กรรมาธิการจริยธรรม

สภาโอลิมปิ คแห่งเอเชีย

2550-ปั จจุบนั

กรรมาธิการกฎข้อบังคับ

สภาโอลิมปิ คแห่งเอเชีย

2548-ปั จจุบนั

รองประธานกิตติมศักดิตลอดชี พ ์

สหพันธ์แบดมินตันโลก

บริ ษทั จดทะเบียนอื่นในประเทศไทย - ไม่ม ี บริ ษทั อื่น - ไม่ม ี องค์กรอื่น

เอกสารแนบ 1 หน้า 16


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

2547-ปั จจุบนั

มนตรี

สหพันธ์กฬี าซีเกมส์

2546-ปั จจุบนั

รองประธานคณะกรรมการ

คณะกรรมการโอลิมปิ คแห่งประเทศไทยใน พระบรมราชูปถัมภ์

2530-ปั จจุบนั

ศาสตราจารย์พเิ ศษ สาขาวิชาการตลาด

คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2545-2556

นายกสมาคม

สมาคมแบดมินตันแห่งประเทศไทยใน พระบรมราชูปถัมภ์

2548 2543

บุคคลดีเด่นของชาติ

สานักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ

สาขาเผยแพร่เกียรติภมู ขิ องไทย (ด้านการกีฬา)

สานักงานปลัด สานักนายกรัฐมนตรี

ถูกเลือกเข้าสู่ “ทาเนียบของหอเกียรติยศ”

สหพันธ์แบดมินตันโลก (BWF)

(Hall of Fame) 11. นำยชอง ยิ ง ชิ ว เฮนรี่ ตำแหน่ ง

อำยุ (ปี )

(Mr. Cheong Ying Chew, Henry)

70

กรรมการอิสระ

คุณวุฒิทำงกำรศึกษำ - Master of Science in Operational Research and Management, Imperial College, University of London, ประเทศสหราชอาณาจักร

วันที่จดทะเบียนแต่งตัง้ เป็ นกรรมกำร

- Bachelor of Science (Mathematics), Chelsea College, University of London,

30 กรกฎาคม 2553

ประเทศสหราชอาณาจักร

กำรถือหุ้นในบริ ษทั ฯ (%)*

ควำมสัมพันธ์ทำงครอบครัวระหว่ำงผูบ้ ริ หำร

-

-

ประสบกำรณ์ทำงำน ช่วงเวลำ

ตำแหน่ ง

ชื่อหน่ วยงำน / บริ ษทั

2553-ปั จจุบนั

กรรมการอิสระ

บมจ. บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์

2558-ปั จจุบนั

กรรมการอิสระ

CK Property Holdings Limited

2558-ปั จจุบนั

กรรมการอิสระ

Skyworth Digital Holdings Limited

2552-ปั จจุบนั

กรรมการอิสระ

Hutchison Telecommunications

บริ ษทั จดทะเบียนอื่นในประเทศไทย - ไม่ม ี บริ ษทั อื่น

Hong Kong Holdings Limited 2551-ปั จจุบนั

กรรมการอิสระ

CNNC International Limited

2550-ปั จจุบนั

กรรมการอิสระ

New World Department Store China Limited

2549-ปั จจุบนั

กรรมการอิสระ

Greenland Hong Kong Holdings Limited

2543-ปั จจุบนั

กรรมการอิสระ

TOM Group Limited

เอกสารแนบ 1 หน้า 17


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

2540-ปั จจุบนั

รองประธานกรรมการ / กรรมการบริหาร

Worldsec Limited

2539-ปั จจุบนั

กรรมการอิสระ

Cheung Kong Infrastructure Holdings Limited

2558

กรรมการอิสระ

CK Hutchison Holdings Limited

2547-2558

กรรมการอิสระ

Cheung Kong (Holdings) Limited

2553-2558

กรรมการอิสระ

Kirin Group Holdings Limited (เดิมชือ่ Creative Energy Solutions Holdings Limited)

2543-2555

กรรมการอิสระ

Hong Kong Jewellery Holding Limited

Member

Securities and Futures Appeals Tribunal,

องค์กรอื่น 2552-2558

Hong Kong 2552-2558

Member

Advisory Committee of the Securities and Futures Commission, Hong Kong

12. นำยจุลจิ ตต์ บุณยเกตุ ตำแหน่ ง

คุณวุฒิทำงกำรศึกษำ

อำยุ (ปี )

กรรมการบริหาร

75

วันที่จดทะเบียนแต่งตัง้ เป็ นกรรมกำร

-

M.A. Political Science, Kent State University ประเทศสหรัฐอเมริกา

-

Advance Diploma, Public Administration, University of Exeter

27 กรกฎาคม 2558

ประเทศสหราชอาณาจักร -

นิตศิ าสตรบัณฑิต คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

-

วิทยาลัยป้ องกันราชอาณาจักร หลักสูตรภาครัฐร่วมเอกชน รุน่ 355

-

หลักสูตร Director Accreditation Program (DAP) ปี 2548 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย

กำรถือหุ้นในบริ ษทั ฯ (%)*

ควำมสัมพันธ์ทำงครอบครัวระหว่ำงผูบ้ ริ หำร

2,300,000 (0.02%)

-

ประสบกำรณ์ทำงำน ช่วงเวลำ

ตำแหน่ ง

ชื่อหน่ วยงำน / บริ ษทั

2559-ปั จจุบนั

กรรมการบริหาร

บมจ. บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์

2558-ปั จจุบนั

กรรมการ

บมจ. บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์

ประธานกรรมการกาหนดค่าตอบแทน /

บมจ. โทเทิล่ แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชัน่

บริ ษทั จดทะเบียนอื่นในประเทศไทย 2560-ปั จจุบนั

กรรมการตรวจสอบ 2549-ปั จจุบนั

กรรมการสรรหา

บมจ. โทเทิล่ แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชัน่

2543-ปั จจุบนั

กรรมการอิสระ

บมจ. โทเทิล่ แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชัน่

2556-2560

กรรมการกากับดูแลกิจการ

บมจ. โทเทิล่ แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชัน่

เอกสารแนบ 1 หน้า 18


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

2549-2560

ประธานกรรมการตรวจสอบ

บมจ. โทเทิล่ แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชัน่

2557-ปั จจุบนั

ประธานกรรมการ / กรรมการอิสระ

บมจ. ดับบลิวพี เอ็นเนอร์ย่ี

2559-ปั จจุบนั

ทีป่ รึกษา

กลุ่มบริษทั คิง เพาเวอร์

2547-2559

รองประธานกรรมการบริหาร

กลุ่มบริษทั คิง เพาเวอร์

2555-ปั จจุบนั

ประธานกรรมการ

บจ. ดีแทค ไตรเน็ต

2535-2558

ประธานคณะกรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ

บมจ. ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ

2541-2546

กรรมการอานวยการ

บจ. ไทยออยล์

2541-2546

กรรมการอานวยการ / กรรมการ

บจ. ไทยออยล์เพาเวอร์

2539

ประธานกรรมการ

บจ. ไทยพาราไซลีน

2539

กรรมการ

บจ. ผลิตไฟฟ้ าอิสระ (ประเทศไทย)

2547

ทีป่ รึกษาผูอ้ านวยการ กิตติมศักดิ ์

สถานีวทิ ยุโทรทัศน์กองทัพบก (ททบ.)

2547

อุปนายกสมาคม

สมาคมขีม่ า้ โปโลแห่งประเทศไทย

2539

กรรมการ

สมาคมพัฒนาประชากรและชุมชน

2539

กรรมการบริหาร

สถานีวทิ ยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5

2539

กรรมการบริหาร

สถานีโทรทัศน์สกี องทัพบกช่อง 7

2539

กรรมการ

มูลนิธทิ วี บุณยเกตุ

2534

อุปนายกสมาคม

สมาคมกรีฑาสมัครเล่นแห่งประเทศไทย

บริ ษทั อื่น

องค์กรอื่น

ในพระบรมราชูปถัมภ์ 2510

ข้าราชการ

กรมวิเทศสหการ กระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ

13. ดร.กำรุญ จันทรำงศุ ตำแหน่ ง

อำยุ (ปี )

กรรมการ

68

วันที่จดทะเบียนแต่งตัง้ เป็ นกรรมกำร

คุณวุฒิทำงกำรศึกษำ -

Ph.D., Ohio State University, Columbus, Ohio, ประเทศสหรัฐอเมริกา

-

M.S. (Civil Engineering), Ohio State University, Columbus, Ohio,

27 กรกฎาคม 2558

ประเทศสหรัฐอเมริกา - ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม) สาขาวิศวกรรมโยธา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - ใบอนุญาตเป็ นผูป้ ระกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมระดับวุฒวิ ศิ วกร สาขาวิศวกรรมโยธา หมายเลขทะเบียน วย.1023 -

หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Certification Program (DCP) ปี 2548 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย

เอกสารแนบ 1 หน้า 19


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61 -

หลักสูตรประกาศนียบัตร Finance for Non-Finance Director (FN) ปี 2548 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย

-

หลักสูตรประกาศนียบัตร Strategic Board Master Class (SBM) ปี 2560 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย

กำรถือหุ้นในบริ ษทั ฯ (%)*

ควำมสัมพันธ์ทำงครอบครัวระหว่ำงผูบ้ ริ หำร

-

-

ประสบกำรณ์ทำงำน ช่วงเวลำ

ตำแหน่ ง

ชื่อหน่ วยงำน / บริ ษทั

2558-ปั จจุบนั

กรรมการ

บมจ. บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์

2550-ปั จจุบนั

กรรมการ

บมจ. ริชเ่ี พลซ 2002

2546-ปั จจุบนั

กรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ

บมจ. ควอลิต้คี อนสตรัคชัน่ โปรดัคส์

บริ ษทั อื่น 2535-ปั จจุบนั

ประธานกรรมการ

บจ. เค.ซี.เอส.แอนด์.แอสโซซิเอทส์

2525-ปั จจุบนั

กรรมการบริหาร

บจ. วิศวกรทีป่ รึกษา เค.ซี.เอส

2539-2544

กรรมการอานวยการ / กรรมการ

บมจ. ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ

2555-2558

อุปนายกคนที่ 1

สภาวิศวกร พระราชบัญญัตวิ ศิ วกร พ.ศ. 2542

2549-2558

กรรมการ

สภาวิศวกร พระราชบัญญัตวิ ศิ วกร พ.ศ. 2542

2550-2553

ประธานกรรมการ

คณะกรรมการจรรยาบรรณ สภาวิศวกร

บริ ษทั จดทะเบียนอื่นในประเทศไทย

องค์กรอื่น

พระราชบัญญัตวิ ศิ วกร พ.ศ. 2542 2549-2550

วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรม

นายกสมาคม

ราชูปถัมภ์ (ว.ส.ท.) 2535-2539

รองผูว้ ่าราชการจังหวัด (ฝ่ ายการโยธา)

กรุงเทพมหานคร

2520-2535

รองคณบดี / หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมโยธา

คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

14. นำงพิ จิตรำ มหำพล ตำแหน่ ง กรรมการอิสระ /

อำยุ (ปี )

คุณวุฒิทำงกำรศึกษำ

กรรมการตรวจสอบ

- ศิลปศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยออริกอน ประเทศสหรัฐอเมริกา - MAI, the Appraisal Institute, Chicago, ประเทศสหรัฐอเมริกา

วันที่จดทะเบียนแต่งตัง้ เป็ นกรรมกำร

- RICS, The Royal Institute of Chartered Surveyor

1 เมษายน 2559

- หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Accreditation Program (DAP) ปี 2556

67

สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย

เอกสารแนบ 1 หน้า 20


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61 - หลักสูตรประกาศนียบัตร Advanced Audit Committee Program (AACP) ปี 2556 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย - หลักสูตรประกาศนียบัตร Risk Management Program for Corporate Leaders (RCL) ปี 2558 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย - หลักสูตรประกาศนียบัตร Anti-Corruption The Practical Guide (ACPG) 2559 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย - หลักสูตรประกาศนียบัตร Boardroom Success through Financing and Investment (BFI) ปี 2560 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย

กำรถือหุ้นในบริ ษทั ฯ (%)*

ควำมสัมพันธ์ทำงครอบครัวระหว่ำงผูบ้ ริ หำร

400,000 (0.003%)

-

ประสบกำรณ์ทำงำน ช่วงเวลำ

ตำแหน่ ง

ชื่อหน่ วยงำน / บริ ษทั

2559-ปั จจุบนั

กรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ

บมจ. บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์

ประธานกรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ

บมจ. เนชันมั ่ ลติมเี ดีย กรุ๊ป

2557-2558

ประธานกรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ

บมจ. ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ

2552-2557

กรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ

บมจ. ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ

2551-2559

กรรมการผูจ้ ดั การใหญ่ / กรรมการหุน้ ส่วน

บจ. แอดวานซ์ แอดไวซอรี่

2549-2551

กรรมการผูจ้ ดั การ

โรงแรมพลูแมน คิงพาวเวอร์ กรุงเทพ

2543-2546

กรรมการบริหาร

Arthur Andersen / KPMG

2541-2543

ผูอ้ านวยการภูมภิ าค

บจ. คุชแมน แอนด์ เวคฟี ลด์ (ประเทศไทย)

2537-2541

Vice President

Eastwest Bank, USA (listed bank in USA)

2534-2537

Vice President

Bank of America, USA (listed bank in USA)

2529-2534

Associate Director

Laventhol & Horwath, USA (Big Eight

บริ ษทั จดทะเบียนอื่นในประเทศไทย 2559-2561 บริ ษทั อื่น

บริ ษทั อื่น

Accounting firm) 15. นำยสุรยุทธ ทวีกลุ วัฒน์ ตำแหน่ ง ผูอ้ านวยการใหญ่สายการเงิน

อำยุ (ปี ) 46

คุณวุฒิทำงกำรศึกษำ - MBA, Ross School of Business, University of Michigan – Ann Arbor, ประเทศสหรัฐอเมริกา - ปริญญาตรีพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เอกสารแนบ 1 หน้า 21


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61 - หลักสูตร TLCA Executive Development Program (รุ่น 7) ปี 2554 สมาคมบริษทั จดทะเบียนไทย - หลักสูตรภูมพิ ลังแผ่นดิน (รุ่น 1) ปี 2555 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - หลักสูตรประกาศนียบัตร How to Develop a Risk Management Plan (HRP) ปี 2557 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย - หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Certification Program (DCP) ปี 2559 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย

กำรถือหุ้นในบริ ษทั ฯ (%)*

ควำมสัมพันธ์ทำงครอบครัวระหว่ำงผูบ้ ริ หำร

538,158 (0.005%)

-

ประสบกำรณ์ทำงำน ช่วงเวลำ

ตำแหน่ ง

ชื่อหน่ วยงำน / บริ ษทั

2554-ปั จจุบนั

ผูอ้ านวยการใหญ่สายการเงิน

บมจ. บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์

2558-2560

กรรมการ

บมจ. ยู ซิต้ี

2553-2554

รองกรรมการผูจ้ ดั การ

บมจ. ยูนิค ไมนิ่ง เซอร์วสิ เซส

บริ ษทั จดทะเบียนอื่นในประเทศไทย

ดูแลบัญชี การเงินและบริหารทัวไป ่ (CFO) 2541-2553

SVP ผูจ้ ดั การฝ่ ายวางแผนและงบประมาณ

บมจ. ธนาคารกรุงเทพ

2560-2561

กรรมการ

บจ. คียส์ โตน แมเนจเม้นท์

2558-2560

กรรมการ

บจ. บีทเี อส แอสเสทส์

2558-2560

กรรมการ

บจ. ก้ามกุง้ พร็อพเพอร์ต้ี

2558-2560

กรรมการ

บจ. แนเชอรัล พาร์ค วิลล์

2558-2560

กรรมการ

บจ. แนเชอรัล เรียลเอสเตท

2558-2560

กรรมการ

บจ. พาร์ค โอเปร่า

2558-2560

กรรมการ

บจ. ริชชี่ พร็อพเพอร์ต้ี แมเนจเม้นท์

2558-2560

กรรมการ

บจ. พาร์ค กูรเ์ ม่ต์

2537-2539

ผูส้ อบบัญชีอาวุโส

บจ. สานักงาน อีวาย

2557-ปั จจุบนั

ประธานชมรมนักลงทุนสัมพันธ์

สมาคมบริษทั จดทะเบียนไทย

2556-2557

กรรมการชมรมนักลงทุนสัมพันธ์

สมาคมบริษทั จดทะเบียนไทย

2557-2560

กรรมการวิชาชีพบัญชี ด้านการบัญชีบริหาร

สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์

บริ ษทั อื่น

องค์กรอื่น

เอกสารแนบ 1 หน้า 22


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน) 16. นำยดำเนี ยล รอสส์ (Mr. Daniel Ross) ตำแหน่ ง

อำยุ (ปี )

ผูอ้ านวยการใหญ่สายการลงทุน /

42

หัวหน้าฝ่ ายนักลงทุนสัมพันธ์

แบบ 56-1 ปี 2560/61

คุณวุฒิทำงกำรศึกษำ - Bachelor of Science in Mathematics (First Class Honors) King’s College, University of London, ประเทศสหราชอาณาจักร - หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Certification Program (DCP) ปี 2552 สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย - หลักสูตร TLCA Executive Development Program (รุ่น 14) ปี 2557 สมาคมบริษทั จดทะเบียนไทย

กำรถือหุ้นในบริ ษทั ฯ (%)*

ควำมสัมพันธ์ทำงครอบครัวระหว่ำงผูบ้ ริ หำร

843,281 (0.007%)

-

ประสบกำรณ์ทำงำน ช่วงเวลำ

ตำแหน่ ง

ชื่อหน่ วยงำน / บริ ษทั

2558-ปั จจุบนั

ผูอ้ านวยการใหญ่สายการลงทุน

บมจ. บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์

2552-ปั จจุบนั

หัวหน้าฝ่ ายนักลงทุนสัมพันธ์

บมจ. บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์

2552-2558

ผูอ้ านวยการฝ่ ายการเงิน

บมจ. บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์

กรรมการ

บมจ. ยู ซิต้ี

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

Underwood Street Limited

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

VHE Cracow Sp. Z.o.o.

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

Recoop Tour a.s.

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

UBX Plzen s.r.o.

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

UBX Plzen Real Estate s.r.o.

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

Andels Lodz Sp. Z.o.o.

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

Amber Baltic Sp. Z.o.o.

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

UBX Katowice Sp. Z.o.o.

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

Hotel Management Angelo Katowice Sp. Z.o.o.

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

UBX Krakow Sp. Z.o.o.

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

Comtel Focus S.A.

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

Vienna International Hotel Management AG

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

Vienna House Cluster Deutschland GmbH

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

VHE Damstadt Hotelbetriebs GmbH

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

Andel’s Berlin Hotelbetriebs GmbH

บริ ษทั จดทะเบียนอื่นในประเทศไทย 2558-2560 บริ ษทั อื่น

เอกสารแนบ 1 หน้า 23


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

VHE Berlin Hotelbetriebs GmbH

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

VH Dresden Hotelbetriebs GmbH

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

VHE Leipzig Hotelbetriebs GmbH

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

VH Kronberg Hotelbetriebs GmbH

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

Vienna International Asset GmbH

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

VH Warsaw Hotel Sp. Z.o.o.

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

Vienna House Real Estate GmbH

2560-ปั จจุบนั

กรรมการ

Vienna House Capital GmbH

2559-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. เทรฟลอดจ์

2559-ปั จจุบนั

กรรมการ

บจ. แอ๊บโซลูท โฮเต็ล เซอร์วสิ

2559-ปั จจุบนั

กรรมการ

แอ๊บโซลูท โฮเต็ล เซอร์วสิ ฮ่องกง ลิมเิ ต็ด

2559-ปั จจุบนั

กรรมการ

แอ๊บโซลูท โฮเต็ล เซอร์วสิ อินโดไชน่า ลิมเิ ต็ด

2559-ปั จจุบนั

กรรมการ

Thirty Three Gracechurch 2 Limited

2559-ปั จจุบนั

กรรมการ

Thirty Three Gracechurch 1 Limited

2560-2561

กรรมการ

บจ. คียส์ โตน แมเนจเม้นท์

2558-2560

กรรมการ

บจ. แนเชอรัล พาร์ค วิลล์

2558-2560

กรรมการ

บจ. แนเชอรัล เรียลเอสเตท

2558-2560

กรรมการ

บจ. พาร์ค โอเปร่า

2558-2560

กรรมการ

บจ. ริชชี่ พร็อพเพอร์ต้ี แมเนจเม้นท์

2558-2560

กรรมการ

บจ. พาร์ค กูรเ์ ม่ต์

2558-2560

กรรมการ

บจ. โปรเจค กรีน

2558-2560

กรรมการ

บจ. ไพร์ม แอเรีย 38

2558-2560

กรรมการ

บจ. บีทเี อส แอสเสทส์

2558-2560

กรรมการ

บจ. ก้ามกุง้ พร็อพเพอร์ต้ี

2551-2553

กรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ

บมจ. เอส เอฟ จี

2550-2552

กรรมการบริหารโครงการ

บจ. เอพี แปซิฟิค สตาร์ (รัชดา)

2550-2552

กรรมการบริหารโครงการ

บจ. เอพี แปซิฟิค สตาร์ (สาทร)

2549-2552

รองกรรมการผูจ้ ดั การ /

บจ. แปซิฟิค สตาร์ อินเตอร์เนชันแนล ่ (ประเทศไทย)

ผูอ้ านวยการฝ่ ายการลงทุน 2545-2549

รองผูอ้ านวยการ

Mullis Partners

2542-2544

เจ้าหน้าทีว่ เิ คราะห์สนิ เชือ่ Global Markets

JPMorganChase, London

เจ้าหน้าทีธ่ ุรกิจสัมพันธ์

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย

องค์กรอื่น 2545

เอกสารแนบ 1 หน้า 24


บริ ษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

17. นำงดวงกมล ชัยชนะขจร ตำแหน่ ง

อำยุ (ปี )

ผูอ้ านวยการฝ่ ายบัญชี

58

คุณวุฒิทำงกำรศึกษำ - ปริญญาโทบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - ปริญญาตรีพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

กำรถือหุ้นในบริ ษทั ฯ (%)*

ควำมสัมพันธ์ทำงครอบครัวระหว่ำงผูบ้ ริ หำร

824,201 (0.007%)

-

ประสบกำรณ์ทำงำน ช่วงเวลำ

ตำแหน่ ง

ชื่อหน่ วยงำน / บริ ษทั

2544-ปั จจุบนั

ผูอ้ านวยการฝ่ ายบัญชี

บมจ. บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์

บริ ษทั จดทะเบียนอื่นในประเทศไทย - ไม่ม ี บริ ษทั อื่น - ไม่ม ี 18. นำงสำวชวดี รุ่งเรือง ตำแหน่ ง

อำยุ (ปี )

ผูอ้ านวยการฝ่ ายการเงิน

41

คุณวุฒิทำงกำรศึกษำ - ปริญญาโทบริหารธุรกิจ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - ปริญญาตรีพาณิชยศาสตร์และการบัญชี สาขาการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - หลักสูตร TLCA Executive Development Program (รุ่น 12) ปี 2556 สมาคมบริษทั จดทะเบียนไทย

กำรถือหุ้นในบริ ษทั ฯ (%)*

ควำมสัมพันธ์ทำงครอบครัวระหว่ำงผูบ้ ริ หำร

517,772 (0.004%) ประสบกำรณ์ทำงำน ช่วงเวลำ

ตำแหน่ ง

ชื่อหน่ วยงำน / บริ ษทั

2554-ปั จจุบนั

ผูอ้ านวยการฝ่ ายการเงิน

บมจ. บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์

ผูช้ ่วยผูอ้ านวยการฝ่ ายบัญชีและการเงิน

บมจ. โรงแรมเซ็นทรัลพลาซา

ผูส้ อบบัญชีอาวุโส

บจ. สานักงาน อีวาย

บริ ษทั จดทะเบียนอื่นในประเทศไทย 2546-2553 บริ ษทั อื่น 2541-2546

เอกสารแนบ 1 หน้า 25


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

เอกสำรแนบ 1.2 ประวัติและหน้ ำที่ ควำมรับผิ ดชอบของเลขำนุกำรบริ ษทั (ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561) โปรดพิจารณาหน้าทีค่ วามรับผิดชอบของเลขานุการบริษทั ใน หัวข้อ 8.9 เลขานุการบริษทั นำงสำวตำรเกศ ถำวรพำนิ ช

ตำแหน่ ง

คุณวุฒิทำงกำรศึกษำ

อำยุ (ปี )

เลขานุการบริษทั

42

- Master of Laws (LL.M), Northwestern University, School of Law และ Certificate in Business Administration, Kellogg School of Management, ประเทศสหรัฐอเมริกา - Master of Laws (LL.M), Columbia Law School, ประเทศสหรัฐอเมริกา - นิตศิ าสตรบัณฑิต เกียรตินิยมอันดับสอง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ - หลักสูตร Mini MBA, Chulalongkorn Business School - หลักสูตรประกาศนียบัตร Company Secretary Program (CSP), สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย - หลักสูตรประกาศนียบัตร Effective Minutes Taking Program (EMT), สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย - หลักสูตรประกาศนียบัตร Advances for Corporate Secretaries สมาคมบริษทั จดทะเบียนไทย

ประสบกำรณ์ทำงำน ช่วงเวลำ

ตำแหน่ ง

ชื่อหน่ วยงำน / บริษทั

2558-ปั จจุบนั

เลขานุการบริษทั

บมจ. บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์

บริษทั จดทะเบียนอื่นในประเทศไทย 2552-2558

ผูอ้ านวยการฝ่ ายเลขานุการบริษทั

บมจ. โทเทิล่ แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชัน่

Associate

บจ. ลิง้ ค์เลเทอร์ส (ประเทศไทย)

บริษทั อื่น 2546-2552

เอกสารแนบ 1 หน้า 26


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

G G

G B,E,G

G

G

G

F,K

เอกสารแนบ 1 หน้า 27

G

G

MACO Outdoor Sdn Bhd

G G

บจ. โอเพ่น เพลย์

G G

บจ. มาสเตอร์ แอนด์ มอร์

G G

บมจ. มาสเตอร์ แอด

F C,E,G G

บจ. เดโม เพาเวอร์ (ประเทศไทย)

A,G

Puncak Berlian Sdn Bhd

G

VGI Global Media (Malaysia) Sdn Bhd

G

บจ. พอยท์ ออฟ วิว (พีโอวี) มีเดีย กรุป๊

G

บจ. 888 มีเดีย

G

บจ. วีจไี อ แอดเวอร์ไทซิง่ มีเดีย

บจ. อีสเทิรน์ บางกอกโมโนเรล

A,B,E,G

บมจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย

บจ. นอร์ทเทิรน์ บางกอกโมโนเรล

A,B,E,G G E,G E,G C,E,G E,G D,E,G G,H,I,J G,I,J G,I,J G,J E,G G G,I,J K K K K

บจ. บีทเี อส อินฟราสตรัคเจอร์ ดีเวลลอปเม้นท์

1. นายคีร ี กาญจนพาสน์ 2. ดร.พอล ทง บริ ษทั 3. ดร.อาณัติ อาภาภิรม 4. นายสุรพงษ์ เลาหะอัญญา 5. นายกวิน กาญจนพาสน์ 6. นายรังสิน กฤตลักษณ์ 7. นายคง ชิ เคือง 8. ศาสตราจารย์พเิ ศษ พลโท พิศาล เทพสิทธา 9. นายสุจนิ ต์ หวังหลี ่ 10. ศาสตราจารย์พเิ ศษ เจริญ วรรธนะสิน 11. นายชอง ยิง ชิว เฮนรี่ 12. นายจุลจิตต์ บุณยเกตุ 13. ดร. การุญ จันทรางศุ 14. นางพิจติ รา มหาพล 15. นายสุรยุทธ ทวีกุลวัฒน์ 16. นายดาเนียล รอสส์ 17. นางดวงกมล ชัยชนะขจร 18. นางสาวชวดี รุง่ เรือง

บจ. บีทเี อส อินฟราสตรัคเจอร์ เซอร์วสิ เซส

บริ ษทั

บมจ. บีทเี อส กรุป๊ โฮลดิง้ ส์

กรรมกำรและผู้บริ หำร

กองทุนรวมโครงสร้างพืน้ ฐานระบบ ขนส่งมวลชนทางราง บีทเี อสโกรท

ข้อมูลกำรดำรงตำแหน่ งของกรรมกำรและผูบ้ ริหำรในบริษทั ย่อย บริษทั ร่วม และกิ จกำรที่ควบคุมร่วมกัน (ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561) บมจ. ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ

เอกสำรแนบ 1.3

แบบ 56-1 ปี 2560/61


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

1. นายคีร ี กาญจนพาสน์ 2. ดร.พอล ทง 3. ดร.อาณัติ อาภาภิรม 4. นายสุรพงษ์ เลาหะอัญญา 5. นายกวิน กาญจนพาสน์ 6. นายรังสิน กฤตลักษณ์ 7. นายคง ชิ เคือง 8. ศาสตราจารย์พเิ ศษ พลโท พิศาล เทพสิทธา 9. นายสุจนิ ต์ หวังหลี ่ 10. ศาสตราจารย์พเิ ศษ เจริญ วรรธนะสิน 11. นายชอง ยิง ชิว เฮนรี่ 12. นายจุลจิตต์ บุณยเกตุ 13. ดร. การุญ จันทรางศุ 14. นางพิจติ รา มหาพล 15. นายสุรยุทธ ทวีกุลวัฒน์ 16. นายดาเนียล รอสส์ 17. นางดวงกมล ชัยชนะขจร 18. นางสาวชวดี รุง่ เรือง

บมจ. ยู ซิต้ี

บจ. เบย์วอเตอร์

บจ. เดอะ คอมมูนิต้ี ทู

บจ. เดอะ คอมมูนิต้ี วัน

บจ. ยงสุ

บจ. ดีแนล

บจ. กิง่ แก้ว แอสเสทส์

บจ. กรุป๊ เวิรค์

บจ. ซูพรีโม มีเดีย

บจ. ดิ ไอคอน วี จี ไอ

บจ. แอโร มีเดีย กรุ๊ป

บจ. แลนดี้ ดีเวลลอปเม้นท์

บจ. อิงค์เจ็ท อิมเมจเจส (ประเทศไทย)

บจ. มัลติ ไซน์

บจ. กรีนแอด

บจ. โคแมส

บจ. อาย ออน แอดส์

บริ ษทั

Eyeballs Channel Sdn Bhd

กรรมกำรและผู้บริ หำร

A,G

G G G

เอกสารแนบ 1 หน้า 28

G

G

G G G

G G G

G G G


ประธานกรรมการ สมาชิกคณะกรรมการบริหาร ผูบ้ ริหาร

G G

G

B= G=

ประธานคณะกรรมการบริหาร กรรมการ

G

G

G

G

G

G

G G

G

บริษทั ย่อย

บจ. เอทีเอส แรบบิท นิตบิ ุคคล เฉพาะกิจ

E,G E,G

บจ. แรบบิท อินชัวรันส์ โบรคเกอร์

G

บจ. แรบบิท-ไลน์ เพย์

G G

บจ. แรบบิทเพย์ ซิสเทม

G G

G

G

บจ. เอเอสเค ไดเร็ค กรุ๊ป

G G

G

บจ. แรบบิท อินเตอร์เน็ต

G G

บจ. บีเอสเอส โฮลดิง้ ส์

G G

บจ. บางกอก สมาร์ทการ์ด ซิสเทม

G G

บจ. เอชเอชที คอนสตรัคชัน่

G

บจ. บางกอก เพย์เมนต์ โซลูชนั ส์

บจ. แรบบิท รีวอร์ดส

บจ. เค เอ็ม เจ 2016

บจ. ลิตเติล้ คอร์นเนอร์

บจ. แมน คิทเช่น

บจ. ไพรมารี่ คิทเช่น

G

G

บริษทั ฯ A= F= K=

บจ. อาร์บี เซอร์วสิ เซส

1. นายคีร ี กาญจนพาสน์ 2. ดร.พอล ทง 3. ดร.อาณัติ อาภาภิรม 4. นายสุรพงษ์ เลาหะอัญญา 5. นายกวิน กาญจนพาสน์ 6. นายรังสิน กฤตลักษณ์ 7. นายคง ชิ เคือง 8. ศาสตราจารย์พเิ ศษ พลโท พิศาล เทพสิทธา 9. นายสุจนิ ต์ หวังหลี ่ 10. ศาสตราจารย์พเิ ศษ เจริญ วรรธนะสิน 11. นายชอง ยิง ชิว เฮนรี่ 12. นายจุลจิตต์ บุณยเกตุ 13. ดร. การุญ จันทรางศุ 14. นางพิจติ รา มหาพล 15. นายสุรยุทธ ทวีกุลวัฒน์ 16. นายดาเนียล รอสส์ 17. นางดวงกมล ชัยชนะขจร 18. นางสาวชวดี รุง่ เรือง

แบบ 56-1 ปี 2560/61

บจ. แมน ฟู๊ ด โปรดักส์

บริ ษทั

บจ. แมน ฟู้ด โฮลดิง้ ส์

กรรมกำรและผู้บริ หำร

ธนายง อินเตอร์เนชันแนล ลิมเิ ต็ด ่

บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

บริษทั ร่วม C = กรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ H = ประธานกรรมการตรวจสอบ

เอกสารแนบ 1 หน้า 29

G

กิจการทีค่ วบคุมร่วมกัน D= I=

รองกรรมการผูอ้ านวยการใหญ่ กรรมการตรวจสอบ

E= J=

กรรมการบริหาร กรรมการอิสระ


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

เอกสำรแนบ 2 รำยละเอียดเกี่ยวกับกรรมกำรของบริ ษทั ย่อย ณ วันที่ 31 มีนำคม 2561 ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561 บริษทั ฯ มีบริษทั ย่อย 35 บริษทั โดยมี 2 บริษทั ย่อยทีม่ นี ยั สาคัญ กล่าวคือ มีรายได้ เกินกว่าร้อยละ 10 ของรายได้รวมตามงบกาไรขาดทุนรวมของปี 2560/61 ได้แก่ บมจ. ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ และบมจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย ซึง่ มีรายชื่อกรรมการดังนี้ กรรมกำร 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15.

บริษทั นายคีรี กาญจนพาสน์ นายสุรพงษ์ เลาหะอัญญา นายชิตชนก เขมาวุฒานนท์ นางวรวรรณ ธาราภูม ิ นายอนันต์ สันติชวี ะเสถียร นายกวิน กาญจนพาสน์ นายวศิน วัฒนวรกิจกุล นายสุทธิพงศ์ พัวพันธ์ประเสริฐ นายมนู อรดีดลเชษฐ์ นายคง ชิ เคือง นายมารุต อรรถไกวัลวที นายชาน คิน ตัค รองศาสตราจารย์ จารุพร ไวยนันท์ นางมณีภรณ์ สิรวิ ฒ ั นาวงศ์ นายเกียรติ ศรีจอมขวัญ

บมจ. ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ

บมจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย

A A B A B A A A B

A A

A

A A A B B B A = กรรมการ

B = กรรมการอิสระ

เอกสารแนบ 2 หน้า 1


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

แบบ 56-1 ปี 2560/61

เอกสำรแนบ 3 รำยละเอียดเกี่ยวกับหัวหน้ ำหน่ วยงำนตรวจสอบภำยใน (ณ วันที่ 31 มีนาคม 2561) นำยพิ ภพ อิ นทรทัต ตำแหน่ ง

คุณวุฒิทำงกำรศึกษำ

อำยุ (ปี )

ผูอ้ านวยการสานักตรวจสอบภายใน

47

- ปริญญาโท คณะบริหารธุรกิจ สาขาการเงิน มหาวิทยาลัยรามคาแหง - ปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจ สาขาการบัญชี มหาวิทยาลัยรามคาแหง - Director Accreditation Program (DAP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษทั ไทย - Audit Committee Program (ACP) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการ บริษทั ไทย - Monitoring Fraud Risk Management (MFM) สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษทั ไทย - Monitoring the System of Internal Control and Risk Management (MIR) สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย - Monitoring the Internal Audit Function (MIA) สมาคมส่งเสริมสถาบัน กรรมการบริษทั ไทย - Monitoring the Quality of Financial Reporting (MFR) สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษทั ไทย - Company Secretary Program สมาคมส่งเสริมสถาบันกรรมการบริษทั ไทย - Anti-Corruption Synergy to Success สมาคมผูต้ รวจสอบภายในแห่ง ประเทศไทย - How to Develop a Risk Management Plan (HRP) สมาคมส่งเสริม สถาบันกรรมการบริษทั ไทย

ประสบกำรณ์ทำงำน ช่วงเวลำ

ตำแหน่ ง

ชื่อหน่ วยงำน / บริ ษทั

2554-ปั จจุบนั

ผูอ้ านวยการสานักตรวจสอบภายใน

บมจ. บีทเี อส กรุ๊ป โฮลดิง้ ส์

บริ ษทั จดทะเบียนอื่นในประเทศไทย 2555-ปั จจุบนั

ผูอ้ านวยการฝ่ ายตรวจสอบภายใน

บมจ. วี จี ไอ โกลบอล มีเดีย

ผูอ้ านวยการฝ่ ายตรวจสอบภายใน

บมจ. ระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ

กรรมการชมรมบริหารความเสีย่ งและการควบคุมภายใน

สมาคมบริษทั จดทะเบียนไทย

บริ ษทั อื่น 2548-ปั จจุบนั องค์กรอื่น 2557-ปั จจุบนั

เอกสารแนบ 3 หน้า 1


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

เอกสำรแนบ 4

รำยละเอียดเกี่ยวกับรำยกำรประเมิ นรำคำทรัพย์สิน

- ไม่ม ี -

เอกสารแนบ 4 หน้า 1

แบบ 56-1 ปี 2560/61


บริษทั บีทีเอส กรุป๊ โฮลดิ้งส์ จำกัด (มหำชน)

เอกสำรแนบ 5

อื่นๆ (ถ้ำมี)

- ไม่ม ี -

เอกสารแนบ 5 หน้า 1

แบบ 56-1 ปี 2560/61


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.