:: Form 56-1 2007/2008 ::

Page 1

แบบ 56-1

แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2550/2551 สิ้นสุด ณ วันที่ 31 มีนาคม 2551

บริษัท ธนายง จํากัด (มหาชน) TYONG


สารบัญ สวนที่ 1

ขอมูลสรุป (Executive Summary)

สวนที่ 2

บริษัทที่ออกหลักทรัพย 1. ปจจัยความเสี่ยง 2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ 3. การประกอบธุรกิจในแตละสายผลิตภัณฑ 4. การวิจยั และพัฒนา 5. ทรัพยสินที่ใชในการประกอบธุรกิจ 6. โครงการในอนาคต 7. ขอพิพาททางกฎหมาย 8. โครงสรางเงินทุน 9. การจัดการ 10. การควบคุมภายใน 11. รายการระหวางกัน 12. ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน 13. ขอมูลอื่นที่เกี่ยวของ

สวนที่ 3

การรับรองความถูกตองของขอมูล การรับรองความถูกตองของขอมูลสําหรับกรรมการบริหารและผูที่ดํารง ตําแหนงบริหารสูงสุดในสายงานบัญชี การรับรองความถูกตองของขอมูลสําหรับกรรมการที่ไมไดเปน กรรมการบริหาร เอกสารแนบ 1 รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผูบริหาร เอกสารแนบ 2 ขอมูลการดํารงตําแหนงของกรรมการ ผูบริหาร ในบริษัทยอยและบริษัท รวม เอกสารแนบ 3 อื่น ๆ

หนา 1 1 2 4 12 26 27 34 35 36 38 52 55 63 83

1 2 1 1 1


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551

สวนที่ 1

ขอมูลสรุป (Executive Summary) บริษัท ธนายง จํากัด (มหาชน) (บริษัท) กอตั้งขึ้นเมื่อป 2511 และเริ่มเปดโครงการพัฒนา อสังหาริมทรัพยโครงการแรก คือ ธนาซิตี้ บริษัทไดเขาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยและเริ่มทําการซื้อขาย หลักทรัพยครั้งแรกในวันที่ 1 มีนาคม 2534 ตอมาบริษทั ไดขยายลักษณะการประกอบธุรกิจ ดาน อสังหาริมทรัพยหลาก หลายประเภท ไดแก โครงการอสังหาริมทรัพย ประเภท อาคารชุดพักอาศัย เซอรวิส อพาร ทเมนท อาคารสํานักงาน และ โรงแรม นอกจากนี้ บริษัทไดเล็งเห็นถึงความสําคัญของระบบ สาธารณูปโภคพืน้ ฐานดานการคมนาคม จึงไดรเิ ริม่ ดําเนินการโครงการรถไฟฟาแหงแรกในประเทศไทย ทั้งนี้ ในป 2540 ประเทศไทยเผชิญวิกฤตเศรษฐกิจครั้งใหญ จนกระทั่งรัฐบาลตองออกมาตรการลอยตัวคาเงินบาท ซึ่งทําใหคาเงินบาทมีมูลคาลดลง และสงผลให มูลหนี้เงินกู ยืมที่เปนสกุลเงินตรา ตางประเทศมีมูลคา เมือ่ เทียบ เปนสกุลเงินบาท สูงขึ้นอยางมาก ระหวางป 2545-2549 บริษัท จึงไดเขาสูกระบวนการฟนฟู กิจการและปรับ โครงสรางหนี้ และดวยความมุงมั่นในการฟนฟูกิจการของทีมผูบริหาร ทําให บริษัทไดรับอนุมัติให ยกเลิกการ ฟนฟูกิจการและสามารถดําเนินธุรกิจไดตามปกติตั้งแตปลายป 2549 เปนตนมา ระหวางป 2549-2550 บริษทั ไดมกี ารปรับโครงสรางธุรกิจ และโครงสรางผูถือหุน เพื่อ เพิ่มศักยภาพใน การดําเนินธุรกิจ โดยบริษัทได รับการสนับสนุนจาก กลุมผูถือหุนที่แข็งแกรงจาก ทั้ง ดูไบ ฮองกง และจีน มารวมเปนพันธมิตรในการดําเนินธุรกิจของบริษัทเปนอยางดี เพื่อเปนการขยายการประกอบธุรกิจใหสอดคลองกับภาวะเศรษฐกิจในปจจุบัน แ ละกระจายความเสี่ยง ทางธุรกิจ โดยลดการพึง่ พาเพียง ธุรกิจ พัฒนาอสังหาริมทรัพย ที่เปนรายไดหลักของกิจการนั้น บริษัทจึงมี เปาหมายในการ มุง เนนการ ประกอบธุรกิจโรงแรม ใหมากขึ้น ในป 2550 บริษัทไดจัดตั้งบริษัท กมลา บีช รีสอรท แอนด โฮเต็ล แม นเนจเมนท จํากัด ซึง่ ได ซื้อที่ดินในจังหวัดภูเก็ต เพื่อ พัฒนาเปนโรงแรมระดับ 5 -6 ดาว และพัฒนา โครงการบานพักตากอากาศ เพื่อจําหนาย นอกจากนี้ บริษัท ไดรวมกับบริษัท ผูรับเหมากอสรางซึ่งมีประสบการณ ความรูและเทคโนโ ลยี จากฮองกงในการจัดตั้ง บริษัท ฮิบเฮง คอน สตรัคชั่น (ประเทศไทย) จํากัด เพือ่ ดําเนินงาน ธุรกิจรับเหมา กอสราง และสนับสนุนการดําเนินธุรกิจในกลุม ของบริษัท โดยในปจจุบันบริษัทไดแบงการดําเนินธุรกิจออกเปน 3 ประเภทหลัก ไดแก (1) ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย (Property Development) เชน โครงการธนาซิตี้ ซึ่งภายใน โครงการประกอบไปดวยที่ดินเปลาจัดสรร บานเดี่ยว ทาวนเฮาส อาคารชุดพักอาศัย สําหรับลูกคาทุกระดับ (2) ธุรกิจโรงแรม การ บริหารจัดการ อสังหาริมทรัพย และการใหบริการ (Hotel, Hospitality, Property Management and Services) เชน โรงแรม อาคารพักอาศัยใหเชา อาคารสํานักงาน เซอรวิสอพารทเมนท และบริหารจัดการสปอรตคลับ (3) งานบริหารโครงการ (Project Management) เชน การจัดทําโครงการบานเอือ้ อาทร

สวนที่ 1 หนา 1


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 โครงการในปจจุบัน ธุรกิจ 1: ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย ชือ่ โครงการ ที่ตั้ง 1. โครงการธนาซิต้ี ถนนบางนา-ตราด กม.14

ลักษณะโครงการ ที่ดินจัดสรร บานเดี่ยว ทาวนเฮาส อาคารชุดพักอาศัย

ธุรกิจ 2: ธุรกิจโรงแรม การบริหารจัดการอสังหาริมทรัพย และการใหบริการ ชือ่ โครงการ ที่ตั้ง ลักษณะโครงการ โรงแรม เมืองทองธานี โรงแรมระดับ 3 ดาว 1. โรงแรมอิสติน เลคไซด 2. โรงแรม ยู เชียงใหม เชียงใหม โรงแรมระดับ 4 ดาว อาคารพักอาศัย 1. โครงการเดอะรอยัลเพลส 1 ถนนราชดําริ อาคารพักอาศัยใหเชา 2. โครงการเดอะรอยัลเพลส 2 ถนนราชดําริ อาคารพักอาศัยใหเชา 3. โครงการเดอะแกรนด ถนนราชดําริ อาคารพักอาศัยใหเชา อาคารสํานักงาน 1. ทีเอสทีทาวเวอร ถนนวิภาวดี-รังสิต อาคารสํานักงานใหเชา เซอรวิสอพารทเมนท 1. ยงสุ อพารทเมนท สุขุมวิท 39 เซอรวสิ อพารทเมนท การใหบริการ 1. ธนาซิตี้ กอลฟแอนดคันทรีคลับ ถนนบางนา-ตราด กม.14 สปอรตคลับ ธุรกิจ 3: งานบริหารโครงการ ชือ่ โครงการ 1. โครงการบานเอือ้ อาทร

ที่ตั้ง ชลบุรี ประจวบคีรีขันธ สมุทรปราการ สระบุรี

ลักษณะโครงการ อาคารชุดพักอาศัย 3-4 ชั้น

ผลการดําเนินงาน ในปลายป 2549 บริษัทประสบความสําเร็จในการปฏิบัติตามแผนฟนฟูกิจการและกลับเขาสูการดําเนิน ธุรกิจหลักตามปกติ โดย ในปบัญชี 2548 –2550 บริษทั มีรายไดจากการประกอบธุรกิจหลักจํานวน 129 ลาน บาท 642 ลานบาท และ 1,094 ลานบาท ตามลําดับ การเติบโตของรายไดสว นใหญมาจากการพัฒนาและ ความตอเนือ่ งของโครงการบานเอือ้ อาทรเปนหลัก นอกจากนีบ้ ริษทั ยังมีรายไดจากการปรับโครงสรางหนีต้ าม แผนฟนฟูกิจการซึ่งสงผลใหบริษัทมีรายไดรวมในชวงปบัญชี 2548 –2550 จํานวน 4,408 ลานบาท 3,420 ลานบาท และ 2,479 ลานบาท ตามลําดับ และทําให บริษัทสามารถพลิกฟนผลกําไรของบริษัทจากที่เคยมี ผลขาดทุนสุทธิถึง 450 ลานบาท ในปบัญชี 2548 มาเปนผลกําไรสุทธิ ถึงจํานวน 26,215 ลานบาท และ 1,089 ลานบาท ในปบัญชี 2549 และ 2550 ตามลําดับ อยางไรก็ตาม บริษัทยังคงมีผลขาดทุนสะสมตาม งบการรวมจํานวน 5,264 ลานบาท และ 4,175 ลานบาท ในปบัญชี 2549 และ 2550 ตามลําดับ ซึ่งเปนผล ขาดทุนสะสมที่เกิดขึ้นกอนการเขาฟนฟูกิจการและปรับโครงสรางหนี้ และยังคงเหลืออยูภายหลังจากการ ยกเลิกการฟน ฟูกจิ การ สวนที่ 1 หนา 2


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 ความเสี่ยง ความเสี่ยงเกี่ยวกับความไมตอเนื่องของรายได เนื่องจากบริษัทเพิ่งออกจากแผนฟนฟูกิจการเมื่อปลายป 2549 และอยูใ นระหวางการปรับโครงสราง ธุรกิจเพื่อสนับสนุนการเติบโตในอนาคต ดังนั้นในรอบปบัญชีที่ผานมา รายไดหลักของบริษัทยังมาจาก โครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพยและงานบริหารโครงการ ซึ่งมีลักษณะเปนงานโครงการ ทําใหมีความเสี่ยง เกี่ยวกับความไมตอเนื่องของรายได ทั้งนี้ผูบริหารไดตระหนักถึงความเสี่ยงดังกลาว จึงกําหนดแผนธุรกิจที่จะ พัฒนาอสังหาริมทรัพยโครงการใหมอยางตอเนื่อง ควบคูไปกับการขยายธุรกิจโรงแรม เพื่อใหบริษัทมีรายได จากการดําเนินธุรกิจอยางสม่าํ เสมอมากขึน้

ความเสี่ยงในการดําเนินธุรกิจโรงแรม จากเดิมที่บริษัทดําเนินธุรกิจหลักเกี่ยวกับการพัฒนาอสังหาริมทรัพยเปนหลักนั้น ในปจจุบันบริษัทมี เปาหมายในการทําธุรกิจโรงแรมมากยิง่ ขึน้ ในระดับ 3- 6 ดาว ทั้ง ในกรุงเทพและตางจังหวัด บริษัทจึงอาจมี ความเสีย่ งในการดําเนินธุรกิจโรงแรมซึ่งไมใชธุรกิจหลักของบริษัทในอดีต

อยางไรก็ตาม บริษัท ไดรวมทุนกับกลุมนักธุรกิจ ที่มีประสบการณในธุรกิจ รับบริหารจัดการ โรงแรม จัดตั้ง บริษัท แอบโซลูท โฮเต็ล เซอรวิส จํากัด เพื่อ ทําการพัฒนาเครือขายโรงแรมของตนเองขึน้ มาภายใต ชื่อ U Hotels & Resorts เพื่อบริหารโรงแรมระดับ 3-4 ดาว ของบริษัท สวนการดําเนินธุรกิจ โรงแรมระดับ 56 ดาวนั้น บริษัทจะรวมกับเครือขายโรงแรมระดับโลกมาบริหารงานในสวนนี้ ซึ่งบริษัทตางชาติเหลานี้จะมีฐาน ลูกคาอยูแลว ดังนัน้ บริษทั จึงมีศกั ยภาพในการประกอบธุรกิจโรงแรม ความเสี่ยงในการดําเนินธุรกิจรับเหมากอสราง บริษัทได รวมทุนกับบริษัทในฮองกง จัดตั้ง บริษัท ฮิบเฮง คอนสตรัคชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (ฮิบเฮง) เพื่อทําธุรกิจรับเหมากอสราง ซึ่งถือเปนธุรกิจใหม แตอยางไรก็ตาม ธุรกิจรับเหมากอสรางเปนธุรกิจ ที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย ซึ่งจะชวยใหบริษัทบริหารงานตาง ๆ ไดดียิ่งขึ้น เนื่องจาก ฮิบเฮงจะรับเหมากอสรางโครงการบางโครงการของบริษัทตามความเหมาะสม บริษัทจึงมิตองทําหนาที่จัดหา ผูร บั เหมารายยอยหลายราย อีกทั้งฮิบเฮงยังมีผบู ริหารชาวตางชาติซง่ึ มีประสบการณในการกอสรางโครงการ ขนาดใหญในตางประเทศมากอน จึงมีความรูและเทคโนโลยีในการกอสรางเปนอยางดี ชวยเสริมสรางธุรกิจ หลักของบริษัทไดดียิ่งขึ้น

ความเสี่ยงจากการจัดทําโครงการบานเอื้ออาทร เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2549 บริษัทไดทําสัญญากับการเคหะแหงชาติเพื่อรวมจัดทําโครงการบานเอือ้ อาทรจํานวน 20,000 หนวย แตเนื่องจากความไมแนนอนทางการเมืองที่อาจสงผลตอนโยบายของภาครัฐใน การสานตอโครงการนี้ ทําใหยังคงตองรอความชัดเจน ความไมแนนอนดังกลาวมีผลกระทบโดยตรงตอจํานวน หนวยที่บริษัทจะไดสรางและรายไดในอนาคต ในปจจุบันบริษัทไดรับอนุมัติใหดําเนินการสรางบานเอือ้ อาทร จํานวน 9,584 หนวย จากทั้งหมด 20,000 หนวย บริษัทจึงไดสํารองเผื่อการดอยคาของตนทุนโครงการ ดังกลาวแลวจํานวน 92.6 ลานบาท และ 19.8 ลานบาท ในงบการเงินสิ้นสุดวันที่ ณ 31 มีนาคม 2550 และ 2551 ตามลําดับ แตอยางไรก็ตาม ในระยะเวลาที่ผานมาบริษัทยังคงมีรายไดรับตามงวดงานที่สงมอบใหแก การเคหะแหงชาติอยางตอเนือ่ ง

สวนที่ 1 หนา 3


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 ความเสี่ยงจากการเพิ่มขึ้นของราคาวัสดุกอสราง ในป 2550 ราคาน้ํามันและราคาวัสดุกอสรางมีการปรับตัวเพิ่มสูงขึ้นอยางมีนัยสําคัญ สงผลใหตนทุน การผลิตของทุกอุตสาหกรรมเพิ่มสูงขึ้นตามไปดวย ในสวนของธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย บริษัทตางๆ ก็ ประสบกับภาวะตนทุนการกอสรางเพิ่มสูงขึ้นเชนกัน ดังนั้น ภาวการณเชนนี้จึงมีผลนอยมากตอความ ไดเปรียบในการแขงขันระหวางบริษัท อยางไรก็ตาม บริษัทมีฝายพัฒนาโครงการซึ่งมีประสบการณและมี ความสัมพันธที่ดีกับผูขายวัสดุกอสราง สามารถเจรจาตอรองราคาวัสดุกอสรางได ซึ่งสามารถชวยลดความ เสี่ยงไดบางสวน 

ความเสี่ยงจากการผันผวนของอัตราดอกเบีย้ ภายหลังจากบริษัทประสบความสําเร็จในการปฏิบัติตามแผนฟนฟูกิจการ บริษัทมีภาระหนี้ที่ตองชําระ คืนอีกจํานวนหนึ่ง โดยภาระหนี้ดังกลาวไมมีการคิดดอกเบี้ย ดังนั้น จึงไมไดรับผลกระทบจากควา มเสี่ยงจาก การผันผวนของอัตราดอกเบีย้ ในสวนนี้ สําหรับภาระหนีใ้ หมจากการกูย มื เงินจากสถาบันการเงินเพือ่ การ พัฒนาโครงการตางๆ ของบริษทั ภายหลังจากการยกเลิกการฟน ฟูกจิ การ บริษทั ไดเจรจาตอรองกับสถาบัน การเงินหลายแหง และเขากูยืมเงินกับสถาบันการเงินซึ่งใหอัตราดอกเบี้ยดีที่สุด

สวนที่ 1 หนา 4


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551

สวนที่ 2

บริษัทที่ออกหลักทรัพย ชื่อบริษัท ชื่อภาษาอังกฤษ ประเภทธุรกิจ ที่ตั้งสํานักงานใหญ เลขทะเบียนบริษัท Home Page โทรศัพท โทรสาร

บริษัท ธนายง จํากัด (มหาชน) Tanayong Public Company Limited พัฒนาอสังหาริมทรัพย 21 ซอยเฉยพวง ถนนวิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 0107536000421 www.tanayong.co.th 0-2273-8511-15 0-2273-8516

สวนที่ 2 หนา 1


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551

1. ปจจัยความเสี่ยง 1.1

ความเสี่ยงเกี่ยวกับความไมตอเนื่องของรายได เนื่องจากบริษัทเพิ่งไดรับอนุมัติใหยกเลิกการฟนฟูกิจการเมื่อปลายป 2549 และอยูในระหวางการปรับ โครงสรางธุรกิจเพื่อสนับสนุนการเติบโตในอนาคต ดังนั้นในรอบปบัญชีที่ผานมารายไดหลักของบริษัทยังมา จากโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพยและงานบริหารโครงการ ซึง่ มีลกั ษณะเปนงานโครงการ ทําใหมคี วามเสีย่ ง เกี่ยวกับความไมตอเนื่องของรายได ทั้งนี้ผูบริหารไดตระหนักถึงความเสี่ยงดังกลาว จึงกําหนดแผนธุรกิจที่จะ พัฒนาอสังหาริมทรัพยโครงการใหมอยางตอเนื่อง ควบคูไปกับการขยายธุรกิจโรงแรม เพื่อใหบริษัทมีรายได จากการดําเนินธุรกิจอยางสม่าํ เสมอมากขึน้ 1.2 ความเสี่ยงในการดําเนินธุรกิจโรงแรม จากเดิมที่บริษัทดําเนินธุรกิจหลักเกี่ยวกับการพัฒนาอสังหาริมทรัพยเปนหลักนั้น ในปจจุบันบริษัทมี เปาหมายในการทําธุรกิจโรงแรมมากยิง่ ขึน้ ในระดับ 3- 6 ดาว ทั้ง ในกรุงเทพและตางจังหวัด บริษัทจึงอาจมี ความเสีย่ งในการดําเนินธุรกิจโรงแรมซึ่งไมใชธุรกิจหลักของบริษัทในอดีต อยางไรก็ตาม บริษัท ไดรวมทุนกับกลุมนักธุรกิจ ที่มีประสบการณในธุรกิจ รับบริหารจัดการ โรงแรม จัดตั้ง บริษัท แอบโซลูท โฮเต็ล เซอรวิส จํากัด เพือ่ ทําการพัฒนาเครือขายโรงแรมของตนเองขึน้ มาภายใต ชื่อ U Hotels & Resorts เพื่อบริหารโรงแรมระดับ 3-4 ดาว ของบริษัท สวนการดําเนินธุรกิจ โรงแรมระดับ 56 ดาวนั้น บริษัทจะรวมกับเครือขายโรงแรมระดับโลกมาบริหารงานในสวนนี้ ซึ่งบริษัทตางชาติเหลานี้จะมีฐาน ลูกคาอยูแลว นอกจากนี้ ในอดีตบริษทั ไดเคย เปนผูถือหุนในโรงแรมรีเจนท ถนนราชดําริ และโรงแรมดิเอ็ม เพรส เชียงใหม อีกทั้งไดเคยประกอบธุรกิจโรงแรมมาแลว ไดแก โรงแรมดิเอ็มเพรส กรุงเทพ และในปจจุบัน บริษัทยังคงดําเนินธุรกิจโรงแรมอิสติน เลคไซด ดังนั้น บริษัทจึงมีศักยภาพในการประกอบธุรกิจโรงแรม 1.3 ความเสี่ยงในการดําเนินธุรกิจรับเหมากอสราง บริษัทไดรวมทุนกับ บริษัทในฮองกง คือ บริษัท ฮิบเฮง โอเวอรซี จํากัด ในการจัดตั้ง บริษัท ฮิบเฮง คอนสตรัคชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (ฮิบเฮง) เพื่อ ทํา ธุรกิจ รับเหมากอสราง ซึ่งถือเปนธุรกิจใหม แตกตางจากธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพยที่บริษทั มีประสบการณมายาวนาน แตอยางไรก็ตาม ธุรกิจรับเหมากอสรางเปนธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย ซึ่งจะ ชวยใหบริษัทบริหารงานตางๆ ไดดียิ่งขึ้น เนื่องจากฮิบเฮงจะ รับเหมากอสรางงานโครงการ บางโครงการของ บริษัท ตามความเหมาะสม บริษัทจึงมิตองทําหนาที่จัดหาผูรับเหมารายยอยหลายราย อีกทั้ง ฮิบเฮงยังมี ผูบ ริหารชาวตางชาติซง่ึ มีความรูค วามชํานาญในงานกอสราง ซึง่ มีประสบการณมายาวนานในการกอสราง โครงการ ขนาด ใหญในตางประเทศมากอน จึงมีความรูและเทคโนโลยีในการกอสรางเปนอยางดี ชวย เสริมสรางธุรกิจหลักของบริษัทไดดียิ่งขึ้น 1.4 ความเสี่ยงจากการจัดทําโครงการบานเอื้ออาทร บริษัทไดรวมจัดทําโครงการบานเอื้ออาทร จํานวน 20,000 หนวย โดยทําสัญญากับการเคหะแหงชาติ เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2549 แตเนื่องจากความไมแนนอนทางการเมืองที่อาจสงผล ตอนโยบายของภาครัฐใน การสานตอโครงการนี้ ทําใหยังคงตองรอความชัดเจน ความไมแนนอนดังกลาวมีผลกระทบโดยตรงตอจํานวน หนวยที่บริษัทจะไดสรางและรายไดในอนาคต

สวนที่ 2 หนา 2


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 ในปจจุบัน บริษัทไดรับอนุมัติใหดําเนินการ สราง บานเอือ้ อาทรจํานวน 9,584 หนวย จาก ทั้งหมด 20,000 หนวย บริษัทจึงไดสํารองเผื่อการดอยคาของตนทุนโครงการดังกลาวแลวจํานวน 92.6 ลานบาท และ 19.8 ลานบาท ในงบการเงินสิ้นสุด ณ วันที่ 31 มีนาคม 2550 และ 2551 ตามลําดับ แตอยางไรก็ตาม ที่ผาน มาบริษัทยังคงมีรายไดรับตามงวดงานที่สงมอบใหแกการเคหะแหงชาติอยางตอเนือ่ ง ทั้งนี้บริษัทมีกําหนดสงมอบ งานที่สรางเสร็จสมบูรณจํานวน 7,142 หนวย ภายในเดือนกุมภาพันธมีนาคม 2551 บริษทั ไดทาํ จดหมายถึงการเคหะแหงชาติขอขยายระยะเวลาการกอสราง ออกไปอีก 180 วัน การเคหะแหงชาติไดอนุญาตใหบริษัทสงมอบอาคารภายในเดือนสิงหาคม-กันยายน 2551 บริษัทจึงไมมี คาใชจายเกี่ยวกับคาปรับที่จะเกิดขึ้น 1.5 ความเสี่ยงจากการเพิ่มขึ้นของราคาวัสดุกอสราง ในป 2550 ราคาน้ํามันและราคาวัสดุกอสรางมีการปรับตัวเพิ่มสูงขึ้นอยางมีนัยสําคัญ สงผลใหตนทุน การผลิตของทุกอุตสาหกรรมเพิ่มสูงขึ้นตามไปดวย ในสวนของธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย บริษัทตางๆ ก็ ประสบกับภาวะตนทุนการกอสรางเพิ่มสูงขึ้นเชนกัน ดังนั้น ภาวการณเชนนี้จึงมีผลนอยมากตอความ ไดเปรียบในการแขงขันระหวางบริษัท อยางไรก็ตาม บริษัทมีฝายพัฒนาโครงการซึ่งมีประสบการณและมี ความสัมพันธที่ดีกับผูขายวัสดุกอสราง สามารถเจรจาตอรองราคาวัสดุกอสรางไดซึ่งสามารถชวยลดความ เสี่ยงไดบางสวน 1.6 ความเสี่ยงจากการผันผวนของอัตราดอกเบีย้ ภายหลังจากบริษัทประสบความสําเร็จในการปฏิบัติตามแผนฟนฟูกิจการ บริษัทมีภาระหนี้ที่ตองชําระ คืนอีกจํานวนหนึ่ง โดยภาระหนี้ดังกลาวไมมีการคิดดอกเบี้ย ดังนั้น จึงไมไดรับผลกระทบจากควา มเสี่ยงจาก การผันผวนของอัตราดอกเบีย้ ในสวนนี้ สําหรับภาระหนีใ้ หมจากการกูย มื เงินจากสถาบันการเงินเพือ่ การ พัฒนาโครงการตางๆ ของบริษทั ภายหลังจากการยกเลิกการฟน ฟูกจิ การ บริษทั ไดเจรจาตอรองกับสถาบัน การเงินหลายแหง และเขากูยืมเงินกับสถาบันการเงินซึ่งใหอัตราดอกเบี้ยดีที่สุด สําหรับโครงการในอนาคต บริษัทมีนโยบายในการจัดหาแหลงเงินทุนที่มีตนทุนอยูในระดับที่เหมาะสม สอดคลองกับภาวะเศรษฐกิจและการเงินในขณะนั้น

สวนที่ 2 หนา 3


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551

2. ลักษณะการประกอบธุรกิจ 2.1

ประวัติความเปนมาและการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่สําคัญ

บริษัท ธนายง จํากัด (มหาชน) (บริษัท) จดทะเบียนกอตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2511 ดวยทุนจด ทะเบียนเริ่มแรก 5,000,000 บาท เพื่อดําเนินธุรกิจดานการพัฒนาอสังหาริมทรัพย บริษัทไดเริ่มเปดโครงการ พัฒนาอสังหาริมทรัพยโครงการแรก คือ “โครงการธนาซิต้ี” ซึ่งตั้งอยูริมถนนบางนา-ตราด กม.14 ในป 2531 ซึ่งเปนโครงการที่ประกอบไปดวย บานเดี่ยว ทาวนเฮาส อาคารชุดพักอาศัย และที่ดินเปลาจัดสรร บริษัทไดนํากิจการเขาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยและเริ่มทําการซื้อขาย หลักทรัพยครั้งแรกในวันที่ 1 มีนาคม 2534 และตอมาเมื่อวันที่ 2 มิถนุ ายน 2536 บริษัทไดจดทะเบียนแปร สภาพจากบริษทั จํากัด เปนบริษัทมหาชนจํากัด โดยเปลี่ยนชื่อจาก บริษัท ธนายง จํากัด เปน บริษัท ธนายง จํากัด (มหาชน) ในขณะเดียวกัน บริษัทไดขยายลักษณะการประกอบธุรกิจออกไปหลายประเภท เชน โครงการอสังหาริมทรัพย อาคารพักอาศัยใจกลางเมือง เซอรวสิ อพารทเมนท อาคารสํานักงาน โรงแรม และ โครงการสาธารณูปโภคขนาดใหญ ซึ่งใชเงินลงทุนมหาศาล โดยเปนผูริเริ่มดําเนินการโครงการรถไฟฟาแหง แรกในประเทศไทยภายใต บริษัท ระบบขนสงมวลชนกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) ซึ่งเริ่มเปดดําเนินการเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2542 ในป 2540 ประเทศไทยประสบวิกฤตทางเศรษฐกิจครั้งใหญ จนกระทั่งรัฐบาลในขณะนั้นตองประกาศ มาตรการลอยตัวคาเงินบาท ซึ่งสงผลกระทบโดยตรงตอภาคธุรกิจ โดยเฉพาะอยางยิ่งผูประกอบการที่กูยืม เงินจากตางประเทศ การลอยตัวคาเงินบาทสงผลใหเงินกู ยืมที่เปนสกุลเงินตราตางประเทศ มีมูลคา เมือ่ เทียบ เปนสุกลเงินบาท เพิ่มสูงขึ้นเปนอยางมาก บริษัทก็ไดรับผลกระทบตาง ๆ เหลานี้ดวยเชนกัน ในระหวางป 2545-2549 บริษัทไดทําการปรับปรุงโครงสรางหนี้ และเขาสูกระบวนการฟนฟูกจิ การ ซึ่งบริษัทไดปฏิบัติตาม แผนฟนฟูกจิ การจนกระทัง่ ศาลลมละลายกลางไดมคี าํ สัง่ ยกเลิกการฟน ฟูกจิ การในปลายป 2549 ดวยวิสัยทัศนของผูบริหารในการเสริมสรางศักยภาพในการดําเนินธุรกิจในอนาคต บริษัทไดมีการปรับ โครงสรางองคกรใหม ทั้งในสวนโครงสรางผูถือหุน ทีมงานผูบริหาร และยังมีพันธมิตรที่แข็งแกรงจากดูไบ ฮองกง จีน ซึ่งเปนบริษัทที่มีการลงทุนทั่วโลก มารวมลงทุนในบริษัท นับตั้งแตป 254 4 เปนตนมา บริษัทมีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่สําคัญในสวนที่เกี่ยวกับการ ประกอบธุรกิจและการบริหารงาน ดังนี้ 2544

2545-2549 2548

    

ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยขึ้นเครื่องหมาย SP หามการซือ้ หรือขาย หลักทรัพยของบริษัทตั้งแตวันที่ 7 กันยายน 2544 เปนตนไป บริษัทไดทําการปรับปรุงโครงสรางหนี้ โดยเขาสูกระบวนการฟนฟูกิจการ ลดทุนจดทะเบียน จากเดิมทุนจดทะเบียน 4,684,557,000 บาท เหลือทุนจด ทะเบียน 3,677,468,400 บาท แบงออกเปน 367,746,840 หุน แปลงมูลคาหุนที่ตราไวจากหุนละ 10 บาท เปนหุนละ 1 บาท ลดทุนจดทะเบียนจากเดิมทุนจดทะเบียน 3,677,468,400 บาท เหลือทุนจด ทะเบียน 533,333,333 บาท โดยมีทุนชําระแลว 533,333,333 บาท เพิม่ ทุนจดทะเบียน 4,800,000,000 บาท จากเดิมทุนจดทะเบียน 533,333,333 บาท รวมเปนทุนจดทะเบียน 5,333,333,333 บาท โดยมีทุนชําระแลวเทาเดิม จํานวน 533,333,333 บาท สวนที่ 2 หนา 4


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 2549

  

2550

  

 

2551

จดทะเบียนเปลี่ยนแปลงทุนชําระแลวจากเดิม 533,333,333 บาท เปน 5,333,333,333 บาท ศาลลมละลายกลางมีคําสั่งใหยกเลิกการฟนฟูกิจการ เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2549 ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยอนุญาตใหหลักทรัพยของบริษัทซื้อขายไดใน หมวดพัฒนาอสังหาริมทรัพย ตั้งแตวันที่ 28 ธันวาคม 2549 เปนตนไป เพิม่ ทุนจดทะเบียน 480,000,000 บาท จากเดิมทุนจดทะเบียน 5,333,333,333 บาท รวมเปนทุนจดทะเบียน 5,813,333,333 บาท จดทะเบียนเปลี่ยนแปลงทุนชําระแลวเปน 5,733,333,333 บาท และ 5,813,333,333 บาท ตามลําดับ เพิม่ ทุนจดทะเบียน 2,243,589,743 บาท จากเดิมทุนจดทะเบียน 5,813,333,333 บาท รวมเปนทุนจดทะเบียน 8,056,923,076 บาท โดยมีทุนชําระแลวเทาเดิม จํานวน 5,813,333,333 บาท จัดตั้งบริษัทรวมทุน คือ บริษัท กมลา บีช รีสอรท แอนด โฮเต็ล แมนเนจเมนท จํากัด เพื่อประกอบกิจการโรงแรมและพัฒนาอสังหาริมทรัพยในจังหวัดภูเก็ต จัดตั้งบริษัทรวมทุน คือ บริษัท ฮิบเฮง คอนสตรัคชั่น (ประเทศไทย) จํากัด เพื่อ ดําเนินธุรกิจรับเหมากอสราง จัดตั้งบริษัทรวมทุน คือ บริษัท แอบโซลูท โฮเต็ล เซอรวิส จํากัด เพื่อดําเนินธุรกิจ รับบริหารจัดการโรงแรม

สวนที่ 2 หนา 5


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 2.2

ภาพรวมการประกอบธุรกิจของบริษทั บริษัทยอย และบริษัทรวม บริษัท ธนายง จํากัด (มหาชน)

ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย

ธุรกิจโรงแรม การบริหารจัดการ อสังหาริมทรัพย และการใหบริการ

งานบริหารโครงการ

ธุรกิจอื่นๆ บจ. ธนายง ฟูด แอนด เบเวอเรจ

100%

บจ. สยาม เพจจิง้ แอนด คอมมิวนิเคชั่น

100%

บจ. ดีแนล

100%

100%

บจ. สําเภาเพชร

100%

บจ. เมืองทอง แอสเซ็ทส

51%

บจ. ฮิบเฮง คอนสตรัคชัน่ (ประเทศไทย)

100%

บจ. ยงสุ

100%

บจ. ธนายง อินเตอรเนชัน่ แนล

100%

บจ. ธนาซิตี้ กอลฟ แอนด คันทรี คลับ

บจ. เทรสเซอร พูล อินเวสเมนท

บจ. ธนายง พร็อพเพอรตี้ แมเนจเมนท

บจ. ริคเตอร แอสเซทส

30%

บจ. สระบุรี พร็อพเพอรตี้

100%

68% 50%

บจ. ธนายง เทรสซูร่ี เซอรวสิ

บจ. กมลา บีช รีสอรท แอนด โฮเต็ล แมนเนจเมนท บจ. แอบโซลูท โฮเต็ล เซอรวิส

สวนที่ 2 หนา 6

100%

บจ. เมืองทองเลคไซด เรสเตอรรอง

100%


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 โครงสรางการถือหุนของบริษัทในบริษัทยอยและบริษัทรวม บริษัท

ประเภทธุรกิจ

ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย บจ. สยาม เพจจิ้ง แอนด คอมมิวนิเคชั่น บจ. สําเภาเพชร บจ. สระบุรี พร็อพเพอรตี้

ถือครองที่ดิน ถือครองที่ดิน ถือครองที่ดิน

ธุรกิจโรงแรม การบริหารจัดการ อสังหาริมทรัพย และการใหบริการ บจ. ดีแนล บจ. เมืองทอง แอสเซ็ทส

อาคารสํานักงานใหเชา โรงแรม

บจ. ยงสุ บจ. ธนาซิตี้ กอลฟ แอนด คันทรี คลับ บจ. กมลา บีช รีสอรท แอนด โฮเต็ล แมน เนจเมนท บจ. ธนายง พร็อพเพอรต้ี แมเนจเมนท บจ. แอบโซลูท โฮเต็ล เซอรวิส ธุรกิจอื่น ๆ บจ. ธนายง ฟูด แอนด เบเวอเรจ บจ. ฮิบเฮง คอนสตรัคชั่น (ประเทศไทย) บจ. เมืองทองเลคไซด เรสเตอรรอง *

ดําเนินการ

ทุนจดทะเบียน (ลานบาท)

ทุนชําระแลว (ลานบาท)

การถือหุน (รอยละ)

-

5.00 1.00 100.00

5.00 1.00 100.00

100.00 100.00 30.00

ทีเอสทีทาวเวอร โรงแรมอิสติน เลคไซด โรงแรม ยู เชียงใหม เซอรวสิ อพารทเมนท ยงสุ อพารทเมนท บริหารและดําเนินการ สปอรตคลับ โรงแรมและพัฒนาอสังหาริมทรัพย กมลา วิลลา ภูเก็ต โรงแรมกมลา ภูเก็ต บริหารอาคาร ทีเอสทีทาวเวอร บริหารจัดการโรงแรม โรงแรม ยู เชียงใหม

50.00 433.50

50.00 433.50

100.00 100.00

234.00 10.00 859.00

234.00 10.00 859.00

100.00 100.00 68.00

1.00 25.00

1.00 8.00

100.00 50.00

ภัตตาคาร รับเหมากอสราง ภัตตาคาร

1.00 100.00 1.00

1.00 25.00 1.00

100.00 51.00 100.00

หยุดประกอบกิจการ ยังไมไดเริ่มประกอบกิจการ หยุดประกอบกิจการ

สวนที่ 2 หนา 7


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 ธุรกิจอื่น ๆ

ประเภทธุรกิจ

บจ. ธนายง อินเตอรเนชัน่ แนล

ลงทุนในหลักทรัพย

บจ. ธนายง เทรสซูรี่ย เซอรวิส ** บจ. เทรสเชอร พูล อินเวสเมนท **

ลงทุนในหลักทรัพย ลงทุนในหลักทรัพย

บจ. ริคเตอร แอสเซทส **

ลงทุนในหลักทรัพย

ทุนจดทะเบียน (USD) บจ. เทรสเชอร พูล อินเวสเมนท 1,000 USD บจ. ริคเตอร แอสเซทส บจ. ธนายง เทรสซูรี่ย เซอรวิส บมจ. ธนายง 2.00 USD บมจ.ระบบขนสงมวลชน 1.00 USD กรุงเทพ บมจ. ระบบขนสงมวลชน 1.00 USD กรุงเทพ ดําเนินการ

ทุนชําระแลว (USD) 1,000 USD

การถือหุน (รอยละ) 100.00

2.00 USD 1.00 USD

100.00 100.00

1.00 USD

100.00

หมายเหตุ * บจ. เมืองทองเลคไซด เรสเตอรรอง ถือหุนรอยละ 100 โดย บจ. เมืองทอง แอสเซ็ทส ** บจ. ริคเตอรแอสเซทส บจ. เทรสเซอรพลู อินเวสเมนท บจ. ธนายง เทรสซูรี่ย เซอรวิส ถือหุนรอยละ 100 โดย บจ. ธนายง อินเตอรเนชัน่ แนล

สวนที่ 2 หนา 8


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 บริษัทไดแบงการดําเนินธุรกิจออกเปน 3 ประเภทหลัก ไดแก (1) ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย (2) ธุรกิจโรงแรม การบริหารจัดการอสังหาริมทรัพย และการใหบริการ และ (3) งานบริหารโครงการ (1) ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย บริษทั ไดดาํ เนินการพัฒนาอสังหาริมทรัพยและเนนการกระจายโครงการไปในทําเลตางๆ ทัง้ ในเขต กรุงเทพมหานครและปริมณฑล เพื่อใหครอบคลุมกลุมลูกคาตามพื้นที่ตางๆ ซึ่งปจจุบันบริษัทมีโครงการ หลากหลายประเภท ครบวงจร ดังตอไปนี้ ชือ่ โครงการ ผูดําเนินการ ลักษณะโครงการ 1. โครงการธนาซิต้ี ที่ดินเปลาจัดสรร อาคารชุดพักอาศัย บมจ.ธนายง ถ.บางนา-ตราด กม.14 บานเดี่ยว ทาวนเฮาส (2) ธุรกิจโรงแรม การบริหารจัดการอสังหาริมทรัพย และการใหบริการ บริษัทได ประกอบธุรกิจโรงแรม บริการ ใหเชาอาคารพักอาศัย อาคารสํานักงาน เซอรวสิ อพารท เมนท และการใหบริการอื่นๆ ดังตอไปนี้ ชือ่ โครงการ ผูดําเนินการ ลักษณะโครงการ โรงแรม 1. โรงแรมอิสติน เลคไซด บจ. เมืองทอง แอสเซ็ทส โรงแรมระดับ 3 ดาว 2. โรงแรม ยู เชียงใหม บจ. เมืองทอง แอสเซ็ทส โรงแรมระดับ 4 ดาว อาคารพักอาศัย 1. โครงการเดอะรอยัลเพลส 1 บมจ.ธนายง อาคารพักอาศัยใหเชา 2. โครงการเดอะรอยัลเพลส 2 บมจ.ธนายง อาคารพักอาศัยใหเชา 3. โครงการเดอะแกรนด บมจ.ธนายง อาคารพักอาศัยใหเชา อาคารสํานักงาน 1. ทีเอสทีทาวเวอร บจ. ดีแนล และ บจ. ธนายง อาคารสํานักงานใหเชา พร็อพเพอรต้ี แมเนจเมนท เซอรวิสอพารทเมนท 1. ยงสุ อพารทเมนท บจ. ยงสุ เซอรวสิ อพารทเมนท การใหบริการ 1. ธนาซิตี้ กอลฟแอนดคันทรีคลับ บจ. ธนาซิต้ี กอลฟ แอนด สปอรตคลับ คันทรี คลับ (3) งานบริหารโครงการ บริษัทไดรับคัดเลือกจากการเคหะแหงชาติใหเปนผูรวมดําเนินการจัดทําโครงการบานเอื้ออาทร ทั้งนี้ โครงการมีลักษณะเปน อาคารชุดพักอาศัย 3 ชั้น และ 4 ชั้น พรอมระบบสาธารณูปโภค และสาธารณูปการ ตามมาตรฐานของการเคหะแหงชาติ ในปจจุบัน บริษัทไดรับอนุมัติใหดําเนิน การสราง บานเอือ้ อาทรจํานวน 9,584 หนวย จากทั้งหมด 20,000 หนวย ในทําเลตาง ๆ มีรายละเอียดดังตอไปนี้ ชือ่ โครงการ ผูดําเนินการ ลักษณะโครงการ โครงการบานเอื้ออาทร 1. บานเอือ้ อาทรชลบุรี (นาจอมเทียน) บมจ. ธนายง อาคารชุดพักอาศัย 3 ชั้น 2. บานเอื้ออาทรประจวบคีรีขันธ บมจ. ธนายง อาคารชุดพักอาศัย 4 ชั้น (หัวหิน 3) 3. บานเอือ้ อาทรสมุทรปราการ บมจ. ธนายง อาคารชุดพักอาศัย 4 ชั้น (บางบอ 2) 4. บานเอื้ออาทรสระบุรี (โคกแย) บมจ. ธนายง อาคารชุดพักอาศัย 3 ชั้น สวนที่ 2 หนา 9


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 2.3

โครงสรางรายได รายได/ชือ่ โครงการ

1. ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย โครงการธนาซิต้ี 2. ธุรกิจโรงแรม การบริหารจัดการ อสังหาริมทรัพย และการใหบริการ โรงแรมอิสติน เลคไซด เดอะรอยัลเพลส 1 เดอะรอยัลเพลส 2 เดอะแกรนด ทีเอสทีทาวเวอร ยงสุ อพารทเมนท ธนาซิตี้ กอลฟแอนดคันทรีคลับ 3. งานบริหารโครงการ โครงการบานเอือ้ อาทร 4. อื่นๆ กําไรจากการปรับโครงสรางหนีแ้ ละการ ฟน ฟูกจิ การ โอนกลับคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ กําไรจากการขายเงินลงทุนในบริษทั รวม สวนแบงผลกําไรจากบริษทั รวม ดอกเบีย้ รับ กลับรายการเจาหนี้ รายไดอน่ื รวมรายไดทั้งสิ้น

ดําเนินการโดย บมจ. ธนายง บจ. เมืองทอง แอสเซ็ทส บมจ. ธนายง บมจ. ธนายง บมจ. ธนายง บจ. ดีแนล และ บจ. ธนายง พร็อพเพอรต้ี แมเนจเมนท บจ. ยงสุ บจ. ธนาซิต้ี กอลฟ แอนด คันทรี คลับ บมจ. ธนายง บมจ. ธนายง บมจ. ธนายง บมจ. ธนายง บมจ. ธนายง บมจ. ธนายง บมจ. ธนายง

2550/2551 ลานบาท % 10.2 0.41

2549/2550 ลานบาท % 29.8 0.87

2548/2549 ลานบาท % 8.6 0.20

170.1

6.86

170.6

4.99

181.4

4.12

976.0

39.37

502.1

14.68

-

-

1,322.5 1,149.2

53.35

2,717.40 2,647.1

79.46

4,217.7 3,962.1

95.69

114.4 5.5 53.4 2,478.9 สวนที่ 2 หนา 10

100%

6.5 25.6 5.5 32.7 3,419.9

100%

14.6 119.1 83.3 38.6 4,407.7

100%


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 2.4

เปาหมายในการดําเนินธุรกิจ

บริษทั มีเปาหมายในการดําเนินธุรกิจ 3 ประเภทหลัก ไดแก (1) ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย (Property Development) (2) ธุรกิจโรงแรม การ บริหารจัดการ อสังหาริมทรัพย และการใหบริการ (Hotel, Hospitality, Property Management and Services) และ (3) งานบริหารโครงการ (Project Management) โดยในระยะสัน้ บริษทั คาดวาจะมีรายไดหลักมาจากงานบริหารโครงการ แตในระยะยาว รายไดของบริษทั จะ มาจากธุรกิจหลักทั้ง 3 ประเภท ในสัดสวนที่ใกลเคียงกันมากขึ้น

สวนที่ 2 หนา 11


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551

3. การประกอบธุรกิจในแตละสายผลิตภัณฑ 3.1 ลักษณะของผลิตภัณฑ บริษัทแบงการดําเนินธุรกิจออกเปน 3 ประเภทหลัก ไดแก (1) ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย (2) ธุรกิจ โรงแรม การบริหารจัดการอสังหาริมทรัพย และการใหบริการ และ (3) งานบริหารโครงการ

ธุรกิจ 1: ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย โครงการธนาซิตี้ ถ. บางนา-ตราด กม.14 โครงการธนาซิตี้ ตั้งอยูบนถนนบางนา-ตราด กม.14 ดําเนินการโดยบริษทั โครงการ มีพื้นที่ รวมทั้งสิ้น กวา 1,600 ไร เปนโครงการขนาดใหญพรอมดวยสาธารณูปโภคครบครัน มีระบบปองกันน้ําทวม ทามกลาง สิง่ แวดลอมทีด่ จี ากธรรมชาติของตนไมรายรอบโครงการ ภายในโครงการยังประกอบไปดวยสนามกอลฟ มาตรฐาน 18 หลุม 72 พาร ออกแบบโดยนักกอลฟมืออาชีพระดับโลก และสปอรตคอมเพล็กซขนาดใหญ รองรับการใหบริการแกลกู คาไดเปนจํานวนมาก จากโครงการสามารถเดินทางสะดวกดวย เสนทาง ถนนบางนา-ตราดหรือทางดวนยกระดับ จากโครงการสามารถเดินทางไปเชือ่ มตอยังถนนออนนุช มอเตอรเวย กรุงเทพฯ-ชลบุรี อีกทั้งโครงการยังอยู ใกลสิ่งอํานวยความสะดวกตาง ๆ เชน หางสรรพสินคาเซ็นทรัลซิตี้ บางนา มหาวิทยาลัยเกริก มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาคุณทหารลาดกระบัง โรงพยาบาล สนามบินสุวรรณ ภูมิ และจุด Airport Link สําหรับการเดินทางเขาเมืองโดยรถไฟฟาไดในอนาคต เนือ่ งจากโครงการธนาซิต้ีเปนโครงการขนาดใหญ สามารถรองรับความตองการของลูกคาทุกประเภท บริษัทจึงไดพัฒนาอสังหาริมทรัพยหลายรูปแบบ เพื่อตอบสนองกับความตองการของลูกคา และโครงการ บางสวนไดพัฒนาเสร็จและปดการขายไปเรียบรอยแลว เชน โครงการบานเดี่ยวเพรสทีจเฮาส I ซึ่งเปนบาน เดีย่ วพรอมทีด่ นิ ขนาด 400 ตารางวาขึน้ ไป ในปจจุบัน โครงการธนาซิตม้ี โี ครงการอสังหาริมทรัพยพรอมขายเหมาะสําหรับลูกคาทุกประเภท ดังตอไปนี้ บานเดี่ยวพรอมที่ดิน 1. เพรสทีจเฮาส II 2. เพรสทีจเฮาส III (ฮาบิแทต) 3. ธนาเพลสกิง่ แกว ทาวนเฮาส 1. ทาวนเฮาส (ฮาบิแทต) 2. ทาวนเฮาส ริมน้ําและริมสวน อาคารชุดพักอาศัย 1. เพรสทีจคอนโดมิเนียม 2. นูเวลคอนโดมิเนียม 3. กิ่งแกวคอนโดมิเนียม ที่ดินเปลาจัดสรร 1. เพรสทีจไพรมแลนด ที่ดินเปลารอบสนามกอลฟ 2. แคลิฟอรเนียน สวนที่ 2 หนา 12


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 บานเดี่ยวพรอมที่ดิน รายละเอียด ที่ตั้งโครงการ เนื้อที่โครงการ มูลคาเงินลงทุนทั้งหมด มูลคาขายของโครงการ รายละเอียดโครงการ จํานวนหนวย ราคาขายตอหนวย มูลคาที่ขายแลว จํานวนที่ทําสัญญาซื้อ ขายและโอนกรรมสิทธิ์ แลว จํานวนคงเหลือ

ถนนบางนา-ตราด กม. 14 73-0-0 ไร 144.4 ลานบาท 662.2 ลานบาท บานเดี่ยวบนพื้นที่ 200 ตารางวา ขึ้นไป 85 หนวย 38,000-42,000 บาท/ ตารางวา 315.3 ลานบาท 42 หนวย

เพรสทีจเฮาส III (ฮาบิแทต) ถนนบางนา-ตราด กม. 14 130-0-0 ไร 242.2 ลานบาท 844 ลานบาท บานเดี่ยวบนพื้นที่ 100-250 ตารางวา 288 หนวย 38,000-42,000 บาท/ ตารางวา 601.5 ลานบาท 204 หนวย

ถนนบางนา-ตราด กม. 14 101-2-80 ไร 231.7 ลานบาท 439.9 ลานบาท บานเดี่ยวบนพื้นที่ 100 ตารางวา ขึ้นไป 307 หนวย 30,000-35,000 บาท/ ตารางวา 240.6 ลานบาท 214 หนวย

43 หนวย

84 หนวย

93 หนวย

เพรสทีจเฮาส II

ธนาเพลสกิง่ แกว

บริษทั ไดเปดขายโครงการเพรสทีจเฮาส I หมดไปแลว ซึ่งที่ดินแตละแปลงมีขนาดใหญประมาณ 400 ตารางวาขึ้นไป ในปจจุบันโครงการเพรสทีจเฮาส II เพรสทีจเฮาส III และธนาเพลสกิ่งแกว จะมีขนาดยอมลง มาคือแปลงละประมาณ 100-250 ตารางวา ทาวนเฮาส รายละเอียด ที่ตั้งโครงการ เนื้อที่โครงการ มูลคาเงินลงทุนทั้งหมด มูลคาขายของโครงการ รายละเอียดโครงการ

ทาวนเฮาส ริมน้ําและริมสวน ถนนบางนา-ตราด กม.14 12-0-0 ไร 118.7 ลานบาท 188.1 ลานบาท ทาวนเฮาส หนากวาง 8 เมตร สูง 3 ชั้น / 4 ชั้น พื้นที่ 40-50 ตารางวา จํานวนหนวย 72 หนวย ราคาขายตอหนวย 3.8 - 4.6 ลานบาท มูลคาที่ขายแลว 134.4 ลานบาท จํานวนที่ทําสัญญาซื้อขายและโอน 54 หนวย กรรมสิทธิ์แลว จํานวนคงเหลือ 18 หนวย

ทาวนเฮาส (ฮาบิแทต) ถนนบางนา-ตราด กม.14 2-3-20 ไร 15.2 ลานบาท 24.7 ลานบาท อาคารพาณิชย สูง 3.5 ชั้น พื้นที่ 40-60 ตารางวา 20 หนวย 3.0 – 5.1 ลานบาท 5.5 ลานบาท 4 หนวย 16 หนวย

โครงการทาวนเฮาส ริมน้ําและริมสวน เนนการออกแบบใหมีพื้นที่ใชสอยขนาดใหญ 250-300 ตาราง เมตร บนพื้นที่ 40-50 ตารางวา บรรยากาศแบบบานพักตากอากาศ มีทั้งแบบ 3 ชั้น และ 4 ชัน้ มีหอ งนอน 34 หอง ปจจุบันทั้งโครงการมีจํานวนเหลือเพียง 18 หนวย ทัง้ โครงการมีการวางสายไฟฟาใตดนิ อยางทันสมัย สวนที่ 2 หนา 13


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 อาคารชุดพักอาศัย รายละเอียด ที่ตั้งโครงการ เนื้อที่โครงการ มูลคาเงินลงทุนทั้งหมด มูลคาขายของโครงการ รายละเอียดโครงการ จํานวนหนวย ราคาขายตอหนวย มูลคาที่ขายแลว จํานวนที่ทําสัญญาซื้อ ขายและโอนกรรมสิทธิ์ แลว จํานวนคงเหลือ

เพรสทีจคอนโดมิเนียม ถนนบางนา-ตราด กม. 14 24-0-0 ไร 1,169.8 ลานบาท 993.9 ลานบาท อาคารชุด สูง 16 ชั้น จํานวน 6 อาคาร 340 หนวย 15 ลานบาท 979.3 ลานบาท 338 หนวย

นูเวลคอนโดมิเนียม ถนนบางนา-ตราด กม. 14 25-0-0 ไร 1,026.1 ลานบาท 1,386.4 ลานบาท อาคารชุด สูง 17 ชั้น จํานวน 6 อาคาร 905 หนวย 2.5-7.9 ลานบาท 927.1 ลานบาท 757 หนวย

กิง่ แกวคอนโดมิเนียม ถนนบางนา-ตราด กม. 14 6-2-10 ไร 384.0 ลานบาท 300.3 ลานบาท อาคารชุด สูง 6-7 ชั้น จํานวน 15 อาคาร 456 หนวย 0.8-1.3 ลานบาท 136.12 ลานบาท 218 หนวย

2 หนวย

148 หนวย

238 หนวย

เพรสทีจคอนโดมิเนียม ปจจุบันบริษัทมีเหลือเพียง 2 หนวยเทานั้น แตละหนวยที่มี พื้นที่ใชสอย 428 ตารางเมตร มีลกั ษณะ เปนเพน ทเฮาส 2 ชั้น ขนาด 5 หองนอน ราคาประมาณ 15 ลานบาท ดานหนาโครงการมีบรรยากาศที่ สวยงาม สามารถมองเห็นทิวทัศนของสนามกอลฟ นูเวลคอนโดมิเนียม โครงการนูเวลคอนโดมิเนียม เปนอาคารสูง 17 ชั้น จํานวน 6 อาคาร ทั้งโครงการมีสระวายน้ําจํานวน 3 สระ โดยสระวายน้ํา 1 สระจะเชื่อมตอระหวาง 2 อาคาร เพื่ออํานวยความสะดวกใหแกผูอยูอาศัย ภายในหองชุดตกแตงดวยเฟอรนิเจอรรูปลักษณทันสมัย มีพื้นที่ 60 ตารางเมตร สําหรับหองแบบ 1 หองนอน ราคา 2.5 ลานบาท พื้นที่ 97 ตารางเมตร สําหรับหองแบบ 2 หองนอน ราคา 3.8 ลานบาท และ พื้นที่ 250 ตารางเมตร สําหรับ 3-4 หองนอน มีลกั ษณะเปนเพนทเฮาส 2 ชั้น ราคา 7.9 ลานบาท กิง่ แกวคอนโดมิเนียม โครงการกิ่งแกวคอนโดมิเนียม เปนอาคารสูง 6-7 ชั้น จํานวน 15 อาคาร มีพื้นที่ใชสอย 41-45 ตาราง เมตร สําหรับหองแบบ 1 หองนอน ราคา 9 แสนบาท พื้นที่ 60 ตารางเมตร สําหรับหองแบบ 2 หองนอน ราคา 1.3 ลานบาท และพื้นที่ 98 ตารางเมตร สําหรับหองแบบเพนทเฮาส 2 ชั้น 3 หองนอน ราคา 2.4 ลาน บาท ทัง้ นูเวลคอนโดมิเนียมและ กิ่งแกวคอนโดมิเนียมเปนหองชุดพักอาศัยที่สรางเสร็จกอนขาย เพื่ออํานวย ความสะดวกใหแกลูกคา โดยสามารถเขามาอยูอาศัยไดทันดี ดวยโครงการไดมีการตกแตงดวยเฟอรนิเจอร ทันสมัยครบชุดในทุกหองพรอมเครื่องปรับอากาศ ทุกหนวยมีการออกแบบเปนอยางดี หองนอนโปรงโลง พื้นที่หองครัวแยกเปนสัดสวน มีการระบายอากาศที่ดี ไมมีกลิ่นรบกวนในสวนอื่นของหองพัก สวนที่ 2 หนา 14


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 ที่ดินเปลาจัดสรร รายละเอียด ที่ตั้งโครงการ เนื้อที่โครงการ มูลคาเงินลงทุนทั้งหมด มูลคาขายของโครงการ รายละเอียดโครงการ จํานวนหนวย ราคาขายตอหนวย มูลคาที่ขายแลว จํานวนที่ทําสัญญาซื้อขาย และโอนกรรมสิทธิ์แลว จํานวนคงเหลือ

เพรสทีจไพรมแลนด ถนนบางนา-ตราด กม.14 106-0-0 ไร 172.9 ลานบาท 1,223.5 ลานบาท ที่ดินเปลาจัดสรร รอบสนามกอลฟ 123 หนวย 3.8-23.2 ลานบาท 970.2 ลานบาท 91 หนวย

แคลิฟอรเนียน ถนนบางนา-ตราด กม.14 14-3-7.5 ไร 41.5 ลานบาท 161.4 ลานบาท ที่ดินเปลาจัดสรร 63 หนวย 1.2- 4.7 ลานบาท 75.5 ลานบาท 32 หนวย

32 หนวย

31 หนวย

เปน ที่ดินจัดสรรเพื่อจําหนายและบริการรับสรางบานใหแกลูกคา ตามที่ตองการ ซึ่งบริษัท ได จัด สรร แปลงที่ดินหลายขนาดเพื่อใหเหมาะสมกับความตองการของลูกคาแตละกลุม เชน เพรสทีจไพรมแลนด จะมี พื้นที่แปลงละ ประมาณ 250 ตารางวา ราคาขายประมาณ 40,000 บาท ตอตารางวา และ โครงการ แคลิฟอรเนียน จะมีพื้นที่แปลงละประมาณ 80 ตารางวา ราคาขายประมาณ 40,000 บาทตอตารางวา 

1. 2. 3. 4. 1. 2. 3. 4.

การตลาดและภาวะการแขงขัน กลยุทธในการแขงขัน ทําใหเกิดการรับรู (Perception) ถึงการกลับสูธ รุ กิจของบริษทั โดยการสรางเสริมภาพลักษณของบริษทั ในดานความเชื่อมั่น (Confident and Loyalty) ในตัวผลิตภัณฑ สําหรับผลิตภัณฑที่มีอยูเดิม ทําการปรับตําแหนงผลิตภัณฑ ( Repositioning) ใหสอดคลองกับความ ตองการของตลาดในปจจุบัน โดยเนนการปรับรูปลักษณและใชกลยุทธทางดานราคา สําหรับผลิตภัณฑใหม เนนสรางความแตกตางในตัวผลิตภัณฑ ในดานการออกแบบและคุณภาพทีโ่ ดด เดนและมีเอกลักษณเฉพาะตัว ใหความสําคัญกับความพึงพอใจของลูกคาและการบริการที่ครบวงจร ลักษณะลูกคาและกลุมลูกคาเปาหมาย ลูกคาโครงการบานพักอาศัย สวนใหญจะเปนกลุมบุคคลหรือครอบครัวที่มีรายไดปานกลางถึงระดับสูง ซึ่งขึ้นอยูกับลักษณะและทําเลของแตละโครงการ ลูกคาสวนใหญเปนกลุมคนที่ชอบบาน รูปแบบทันสมัย มีเนื้อที่ใชสอยมาก มีสภาพแวดลอมที่ดี และรักการอยูแบบสงบไมพลุกพลาน ลูกคาที่ซื้อที่ดินเปลาจัดสรร จะเปนกลุมบุคคลที่ตองการกอสรางที่พักอาศัยตามรูปแบบและความพอใจ สวนตัว สามารถกําหนดขนาดของบานไดตามตองการ และพิจารณาถึงสิง่ อํานวยความสะดวกตางๆ ที่โครงการจัดเตรียมไวให ลูกคาโครงการทาวนเฮาส เนนกลุมลูกคาประเภทครอบครัวที่ตองการหองหลายประเภท ลูกคาโครงการอาคารชุด เนนกลุมลูกคาที่มีรายไดปานกลางถึงคอนขางสูง ทั้งลูกคา ชาวไทยและชาว ตางประเทศ ลูกคาที่ตองการบานหลังที่สอง ลูกคาที่ทํางานแถบสนามบินสุวรรณภูมิ และตองการที่พักที่ มีสิ่งอํานวยความสะดวกครบครัน

สวนที่ 2 หนา 15


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 นโยบายการกําหนดราคา บริษทั มีนโยบายการกําหนดราคา โดยคํานึงถึงความเหมาะสมทางการตลาดและภาวะการแขงขันของ แตละโครงการ โดยบริษัทจะ เลือก ใชนโยบายดานราคาและกลยุทธการสงเสริมการขายควบคูก นั เพือ่ ความสําเร็จตามความเหมาะสมของแตละโครงการ ภาวะอุตสาหกรรม เนื่องจากรัฐบาลมีนโยบายที่จะกระตุนการขยายตัวของเศรษฐกิจ ดังนั้นเมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2551 คณะรัฐมนตรีจึงอนุมัติมาตรการกระตุนและฟนฟูเศรษฐกิจจากกระทรวงการคลัง ซึ่งมีมาตรการซึ่ง เปนปจจัย บวกโดยตรงตอธุรกิจอสังหาริมทรัพยดังนี้

มาตรการภาษีเพื่อเพิ่มรายไดใหแกประชาชน 1. ปรับเพิ่มเงินไดสุทธิที่ไดรับยกเวนภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาจาก 100,000 บาท เพิ่มเปน 150,000 บาท 2. ปรับเพิ่มวงเงินการยกเวนและการหักคาลดหยอนเบี้ยประกันชีวิต จาก 50,000 บาท เพิ่มเปน 100,000 บาท 3. ปรับเพิ่มวงเงินการหักคาลดหยอนเงินไดที่ซื้อกองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ กองทุนรวมหุนระยะยาว จาก 300,000 บาท เพิ่มเปน 500,000 บาท 4. เพิ่มการหักคาลดหยอนคาอุปการะผูพิการ โดยใหหักได 30,000 บาทตอคนพิการ มาตรการภาษีเพื่อกระตุนการลงทุนและเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของเอกชนไทย 1. ลดอัตราภาษีธรุ กิจเฉพาะจากรอยละ 3 .3 เปนรอยละ 0.1 1 สําหรับการขายอสังหาริมทรัพยเปนทางคา หรือหากําไร ภายใน 1 ปนับจากวันที่กฎหมายมีผลบังคับใช 2. ลดคาธรรมเนียมการโอนจากรอยละ 2.0 เปนรอยละ 0.01 และคา ธรรมเนียม จดทะเบียนการจํานอง อสังหาริมทรัพยจากรอยละ 1 เปนรอยละ 0.01 ภายใน 1 ปนับจากวันที่กฎหมายมีผลบังคับใช

สวนที่ 2 หนา 16


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 กราฟแสดงการจดทะเบียนที่อยูอาศัย 30,000

26,631 23,889

25,000

หนวย

20,000 17,911 15,000 10,000

13,360

11,272 7,399

5,000

8,435

905

11,460 10,893

761 2547

2548

บานเดี่ยว

2546 37,487 92.4%

ทาวนเฮาส

2547 49,187 31.2%

16,374 16,229 14,931

1,436

869

586

0 2546

16,700 16,966 14,632

2549 อาคารชุด

2548 46,828 (4.8)%

2550

บานแฝด

2549 49,167 5.0%

รวมการจดทะเบียนที่อยูอาศัย การเปลี่ยนแปลง (%) ที่มา: ธนาคารอาคารสงเคราะห หมายเหตุ: กรุงเทพและปริมณฑล ไดแก สมุทรปราการ นนทบุรี ปทุมธานี นครปฐม สมุทรสาคร

2550 48,970 (0.4)%

ในป 2550 ที่ผานมาจะเห็นวาการจดทะเบียนบานเดี่ยวมีแนวโนมลดลงในป 2549-2550 โดยในป 2550 มีบา นเดีย่ วจํานวน 16,374 หนวย ลดลงรอยละ 2.0 จากป 2549 สวนทาวนเฮาสมีแนวโนมเพิ่มขึ้น ในชวงระยะเวลาป 2548-2550 โดยมีจาํ นวน 14,931 หนวยในป 2550 เพิ่มขึ้นมาเล็กนอยจากป 2549 สวน อาคารชุดคอนโดมิเนียมมีอัตราการขยายตัวสูงสุดนับตั้งแตป 2546 แตมาชะลอตัวลงรอยละ 4.0 ในป 2550 โดยมีจาํ นวน 16,229 หนวย สวนบานแฝดมีจาํ นวน 1,436 หนวย เพิ่มขึ้นรอยละ 65.0 จากป 2549 ตารางโครงการอสังหาริมทรัพยที่เปดตัวมกราคม-ธันวาคม 2550 แยกตามระดับราคา ระดับราคา (ลานบาท) บานเดี่ยว ทาวนเฮาส อาคารชุดพักอาศัย ต่าํ กวา 0.501 0.501 - 1.000 26 6,388 9,918 1.001 - 2.000 2,536 7,680 17,930 2.001 - 3.000 2,490 2,593 8,014 3.001 - 5.000 5,158 1,153 6,166 5.001 - 10.000 1,146 62 2,118 10.001-20.000 27 26 464 มากกวา 20 140 รวม 11,383 17,902 44,750 ที่มา: บริษัท เอเจนซี่ ฟอร เรียลเอสเตท แอฟแฟรส จํากัด

สวนที่ 2 หนา 17

บานแฝด 476 1,730 2,638 569 21 5,434


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 จากระดับราคาดังกลาวจะเห็นไดวาในป 2550 การเปดตัวอสังหาริมทรัพยในระดับราคา 1-2 ลานบาท มีจํานวนมากที่สุด เปนจํานวน 29,876 หนวย โดยสวนใหญเปนอาคารชุดและทาวนเฮาส สวนบานเดี่ยวจะอยู ในระดับราคา 3-5 ลานบาท บานแฝดจะเปดตัวในราคา 2-3 ลานบาทมากทีส่ ดุ บานเดี่ยว ทาวนเฮาส ความตองการบานเดี่ยวเริ่มลดลงอยางตอเนื่องตั้งแตป 2547-2550 เนื่องจากภาวะเศรษฐกิจชะลอตัว สงผลตอความเชื่อมั่นของผูบริโภค ราคาน้ํามันแพง ปญหาคาครองชีพ การปรับขึ้นของอัตราดอกเบี้ยเงินกู อํานาจการซื้อลดลง ปจจัยตางๆ นี้สงผลกระทบโดยตรงตอการตัดสินใจซื้อที่อยูอาศัย ผูประกอบการบางราย จึงไดพัฒนาอาคารชุดพักอาศัยที่อยูในใจกลางเมือง ตามแนวเสนทางรถไฟฟา เพื่อการเดินทางที่สะดวก ประหยัดคาใชจายและเวลาในการเดินทาง แตความตองการของผูบริโภคในลําดับตอมาคือทาวนเฮาส โดยเฉพาะอยางยิ่งในระดับราคา 1-2 ลาน บาท เนื่องจากมีราคาต่ํากวาบานเดี่ยว และใหพื้นที่ใชสอยมากกวาอาคารชุด โดยที่ความตองการทาวนเฮาสนี้ เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องตั้งแตป 2548-2550 สําหรับ โครงการธนาซิต้ี มี ทั้งบานเดี่ยว ทาวนเฮาส และที่ดินจัดสรร หลายขนาดและ ระดับ ราคา ซึ่ง บริษัทคาดวาผลิตภัณฑที่บริษัทมีใหแกลูกคานั้น สามารถ ครอบคลุมความตองการของลูกคา ทุกประเภทได เปนอยางดี อาคารชุดพักอาศัย ตั้งแตป 2546 เปนตนมา อาคารชุดพักอาศัยไดเพิ่มสูงขึ้นมาตลอดจาก 7,399 หนวยในป 2546 เปน 16,229 หนวยในป 2550 โดยในปที่ผานมา ตลาดนี้ยังเปนที่ตองการของกลุมผูซื้อทั้ง ชาวไทยและชาว ตางประเทศที่ตองการอาคารชุดเพื่อเปนที่พักอาศัยหรือเพื่อการลงทุน โครงการที่ราคาต่ํากวา 3 ลานบาทมี ออกสูต ลาดเปนจํานวนมากและไดรบั การตอบรับทีด่ ี สวนอาคารชุดทีห่ รูหราราคาแพงสําหรับตลาดบนและ ชาวตางประเทศ ยังไดรับความนิยมเชนกัน เนื่องจากกลุมเปาหมายนี้มีกําลังซื้อสูง สําหรับชา วตางประเทศ แลว เล็งเห็นวาการซื้ออาคารชุดที่ประเทศไทยเปนการลงทุนที่ถูกกวา การซื้อในประเทศสิงคโปรและฮองกง ซึง่ มีราคาสูงกวามาก ปจจัยที่ทําใหตลาดนี้ยังเปนที่ตองการเนื่องจาก (1) รูปแบบ การใชชีวิตของผูคนเปลี่ยนไป มีการ เดินทางโดยรถไฟฟามากขึน้ (2) อาคารชุดราคาถูกมีการเปดตัว ขายมาก โดยเฉพาะใกลแนวรถไฟฟา BTS และรถไฟฟาใตดิน ซึ่งอํานวยความสะดวกในการเดินทาง และดึงดูดกลุม ลูกคา ผูมีรายไดนอย (3) อาคารชุด เปนที่พักอาศัยที่ตอบสนองความตองการของผูพักอาศัยคนเดียว หรือครอบครัวที่ยังไมมีบุตร และ (4) การซือ้ ไวเพือ่ การเก็งกําไร โดยการขายตอจะใหผลตอบแทนมากกวาดอกเบีย้ ทีไ่ ดรบั จากธนาคาร สําหรับ โครงการธนาซิตป้ี ระกอบไปดวยอาคารชุดพักอาศัย 3 ประเภท คือ เพรสทีจคอนโดมิเนียม ราคา 15 ลานบาท ตอหนวย นูเวลคอนโดมิเนียม ราคา 2.5-7.9 ลานบาท ตอหนวย และ กิ่งแกว คอนโดมิเนียม ราคา 0. 8-1.3 ลานบาท ตอหนวย บริษัทจึงมีอาคารชุดนําเสนอสําหรับลูกคาทุกกลุม อยางครบถวน ถึงแมวาโครงการจะไมไดตั้งอยูในใจกลางเมือง แตจากโครงการสามารถเดินทางไดสะดวกโดย เสนทางถนนบางนา-ตราด และทางดวนยกระดับ สามารถไปสนามบินสุวรรณภูมิ และเดินทางเขาเมืองได อยางรวดเร็ว

สวนที่ 2 หนา 18


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551

ธุรกิจ 2: ธุรกิจโรงแรม การบริหารจัดการอสังหาริมทรัพย และการใหบริการ การดําเนินธุรกิจโรงแรม การบริหารจัดการอสังหาริมทรัพย และการใหบริการ ประกอบไปดวย (1) โรงแรม (2) อาคารสํานักงานใหเชา (3) อาคารพักอาศัยใหเชา และ (4) เซอรวสิ อพารทเมนท (1) โรงแรม ประกอบไปดวย โรงแรมอิส ติน เลคไซด และโรงแรม ยู เชียงใหม ซึ่งเปนโรงแรมแหงแรกในเครือ โรงแรม U Hotels & Resorts ซึ่งเปดดําเนินการที่จังหวัดเชียงใหม โรงแรมอิสติน เลคไซด โรงแรมอิส ติน เลคไซด ดําเนินการโดย บริษัท เมืองทอง แอสเซ็ทส จํากัด เปน โรงแรมระดับ 3 ดาว ตั้งอยู ที่เมืองทองธานี ใกลศูนยแสดงสินคาและการประชุมอิมแพค สามารถเดินทางโดยสะดวกดวยทางดวน ขั้นที่ 3 หรือถนนแจงวัฒนะ ดานหนาของโรงแรมมีทิวทัศนที่สวยงามติดกับทะเลสาบขนาดใหญ โรงแรมมีจํานวนหองพัก 143 หอง แตละหองมีขอเดนแตกตางจากโรงแรมอื่น ๆ ทุกหองพักจะ ประกอบไปดวยหองนอน หองนั่งเลน และสวนประกอบอาหาร (ครัว) ทั้งนี้หองพักของโรงแรมมีสิ่งอํานวย ความสะดวกใหแกผูที่มาพักทั้งแบบรายวัน และรายเดือน โดยโรงแรมมีหองหลากหลายประเภทตั้งแต 1-3 หองนอนอยูใ นหนวยเดียวกัน และหองเพนทเฮาส 2 ชั้น 3 หองนอน นอกจากนีแ้ ลว โรงแรมยังมีการใหบริการหองอาหาร หองสัมมนา หองจัดเลี้ยง หองคาราโอเกะ และมี รถรับสงใหบริการฟรีแกลูกคาระหวางศูนยแสดงสินคาและโรงแรม โรงแรม ยู เชียงใหม สําหรับโรงแรมในเครือ U Hotels & Resorts จะเนนกลยุทธในดานความแตกตางในการใหบริการ โดย นอกจากจะมีบริการระดับมาตรฐานสากลเชนโรงแรมทั่วไปแลว ยังมีบริการเพิ่มเติมโดยไมคิดคาใชจายเพื่อ อํานวยความสะดวกใหแกลูกคา เชน ลูกคาสามารถใชหองพักไดเต็มเวลา 24 ชั่วโมง โดยลูกคามีอิสระในการ กําหนดเวลาลงทะเบียนเขาทีพ่ กั ตามความตองการ รวมทัง้ มีบริการอาหารมือ้ เชาแบบไมจาํ กัดเวลาและ สถานที่ แตละหองพักสามารถเลือกฟงเพลงไดจากไอ-พอด (i-pod) ที่ใหบริการในหองพัก มีหองสมุดที่ ใหบริการนิตยสารและหนังสือทั่วไป และยังไดรวบรวมหนังสือมากมายเกี่ยวกับประวัติศาสตรและวัฒนธรรม ของทองถิ่นไวใหกับลูกคาอีกดวย ทั้งนี้ โรงแรม ยู เชียงใหม เปนโรงแรมแหงแรกในเครือโรงแรม U Hotel & Resorts ของบริษัท โดยเริ่ม เปดดําเนินการเมือ่ วันที่ 1 มิถนุ ายน 2551 เปนโรงแรมระดับมาตรฐาน 4 ดาว ในรูปแบบบูติคโฮเต็ล (Boutique Hotel) มีหองพักจํานวน 41 หอง กอสรางในรูปแบบสถาปตยกรรมอาคารไทยลานนา ตั้งอยูบน ถนนราชดําเนิน ใจกลางเมืองจังหวัดเชียงใหม

สวนที่ 2 หนา 19


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 การตลาดและภาวะการแขงขัน กลยุทธในการแขงขัน สําหรับโรงแรมในเครือ U Hotels & Resorts จะเปนโรงแรมขนาดเล็กที่มุงเนนความแตกตางในตัว ผลิตภัณฑที่อิงประวัติศาสตรความเปนมาของสถานที่ การออกแบบทีโ่ ดดเดนและมีเอกลักษณเฉพาะตัว ควบคูไปกับการใหความสําคัญกับความพึงพอใจของลูกคาและการบริการที่ครบวงจร 

ลักษณะลูกคาและกลุมลูกคาเปาหมาย ลูกคา ของธุรกิจโรงแรมทั้ง 2 แหง ประกอบไปดวยกลุมลูกคาชาวไทยและชาวตางประเทศ ทั้งประเภท นักทองเที่ยวและนักธุรกิจ ผูมีรายไดในระดับปานกลางถึงสูง ที่ตองการความแตกตางและโดดเดน นอกจากนี้ แลว กลุมลูกคาเปาหมายของโรงแรมอิสติน เลคไซด ยังไดแก สวนงานราชการ บริษัท ผูที่มาชมงานหรือจัด งานทีศ่ ูนยแสดงสินคาและการประชุมอิมแพคอีกดวย 

ภาวะอุตสาหกรรม

กราฟแสดงจํานวนนักทองเทีย่ วตางประเทศและวันพัก (เฉลี่ย) 18 16

8.40

7.96

7.77

7.93

7.98

8.19

14 10 8

7.76

8.58

9.51

10.06

10.80

10.00

8.20

9.19

13.82 14.46

11.65 11.52

10 8 6

วัน

ลานคน

12

8.13

8.62

4

6 4

2

2 0

0 2541

2542

2543

2544

2545

จํานวนนักทองเที่ยว

2546

2547

2548

2549

2550

ระยะเวลา (เฉลี่ย)

ที่มา: การทองเที่ยวแหงประเทศไทย จํานวนนักทองเที่ยวชาวตางประเทศมีแนวโนมเพิ่มขึ้นมาโดยตลอด ในป 2550 มีจํานวนนักทองเที่ยว ชาวตางประเทศ 14.46 ลานคน เพิ่มขึ้นรอยละ 4.65 จากป 2549 และมีวันพักเฉลี่ยเพิ่มขึ้นเปน 9.19 วัน และ คาใชจายเฉลี่ยตอคนตอวัน 4,120.95 บาท กอใหเกิดรายไดทั้งสิ้น 547,781.81 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 13.57 จากป 2549 ซึ่งมีรายได 482,319.17 ลานบาท โดยจํานวนนักทองเที่ยวที่เดินทางเขามาประเทศไทย มากที่สุด คือ เอเชียตะวันออก (อาเซียน) ยุโรป อเมริกา โอเชียเนีย เอเชียใต ตะวันออก และแอฟริกา ตามลําดับ

สวนที่ 2 หนา 20


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 ปจจัยที่สงผลกระทบตอธุรกิจการทองเที่ยวในป 2550 ไดแก การเปลีย่ นแปลงทางการเมือง เหตุระเบิด ในปลายป 2549 และเหตุการณความรุนแรงใน 3 จัง หวัด ภาคใต ซึ่ง เปนปจจัยลบสําคัญที่ทําให จํานวน นักทองเที่ยวในชวงครึ่งปแรกลดลง แตจํานวนนักทองเที่ยวมากระเตื้องขึ้นในครึ่งปหลัง เนื่องจากทิศทางทาง การเมืองของประเทศมีแนวโนมที่ดีขึ้นจากการที่จะจัดให มกี ารเลือกตัง้ การจัดกิจกรรมกระตุน ตลาดชวงนอก เทศกาลของการทองเที่ยวแหงประเทศไทย (ททท.) การขยายตลาดทองเที่ยวใหม และการคมนาคมที่สะดวก สงผลใหประเทศไทยเปนประตูไปสูประเทศเพื่อนบาน เปนตน ธุรกิจการทองเที่ยวของประเทศไทยมีแนวโนมที่ดี เนื่องจากรัฐบาลไดกําหนดใหป 2551-2552 เปน “ป แหง การทองเที่ยวไทย ” เพื่อใชเปนกลไกในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจใหขยายตัว และชดเชยรายไดจากการ สงออกที่มีแนวโนมชะลอตัวลงจากปญหาซับไพรมและเงินบาทที่แข็งคา ในขณะที่ราคาน้ํามันปรับตัวสูงขึ้น อยางตอเนื่อง นโยบายนี้จะสงผลดีตอธุรกิจโรงแรมโดยตรง ซึ่ง ททท. มีเปาหมายในป 2551 ที่จะเพิ่มจํานวน นักทองเที่ยวเปน 15.70 ลานคน และมีรายได 602,000 ลานบาท โดยจะมุงเพิ่มกลุมนักทองเที่ยวคุณภาพ ไดแก (1) นักทองเที่ยวทั่วไปที่มีรายไดสูง (ตลาดระดับบน) (2) กลุมนักทองเที่ยวธุรกิจ ซึ่งรัฐบาลมีนโยบาย สงเสริมสนับสนุนให ประเทศ ไทยเปนศูนยกลางการจัดการประชุมและสัมมนา ( MICE) ของภูมภิ าคเอเชีย แปซิฟก และ (3) นักทองเที่ยว เพื่อ สุขภาพตามนโยบายสงเสริมสนับสนุนใหประเทศไทยเปนศูนยกลางการ รักษาพยาบาลของเอเชีย เนื่องจากธุรกิจการทองเที่ยวมีแนวโนมเพิ่มขึ้นมาโดยตลอด ทั้งจํานวนนักทองเที่ยวและระยะเวลาที่พัก ในประเทศไทย ตลอดจนมีงานสัมมนา การประชุม และงานแสดงสินคาโดยตลอดทั้งป จึงเปนผลดีตอธุรกิจ โรงแรมของบริษทั ที่ตั้งอยูในเมืองทองเที่ยวสําคัญของประเทศไทย คือ เชียงใหม และกรุงเทพ (2) อาคารสํานักงาน ทีเอสทีทาวเวอร ดําเนินการโดย บริษัท ดีแนล จํากัด อาคารตั้งอยูบนถนนวิภาวดี -รังสิต ฝงตรงขาม อาคารสํานักงานใหญการบินไทย เปนอาคารสูง 24 ชั้น มีพื้นที่ใหเชาทั้งหมดประมาณ 15,875.5 ตารางเมตร อาคารประกอบไปดวยสวนสํานักงาน 15 ชั้น และพื้นที่จอดรถ 8 ชั้น สําหรับรถยนตจาํ นวน 267 คัน ปจจุบัน มีจาํ นวนผูเชาคิดเปนอัตราการเชารอยละ 96 มีอัตราคาเชาเฉลี่ย 450 บาท/เดือน/ตารางเมตร ผูเชาสวนใหญ เปน องคกรขนาดกลางถึงใหญ และเปน สัญญาเชาระยะยาว โดยมีลูกคาที่สําคัญไดแก สํานักงานสงเสริม วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (สสว.) ธนาคารยูโอบี จํากัด (มหาชน) สาขาวิภาวดีรังสิต 9 มหาวิทยาลัย รังสิตศูนยศึกษาวิภาวดี เปนตน การตลาดและภาวะการแขงขัน กลยุทธในการแขงขัน เนนการบริการและความพึงพอใจของลูกคาเปนหลัก 

ลักษณะลูกคาและกลุมลูกคาเปาหมาย ลูกคาผูเชาอาคารสํานักงานจะเปนบริษัทหรือองคกรที่ตองการสถานที่ตั้งสํานักงานที่เดินทางสะดวก เชน ถนนวิภาวดี-รังสิต รถไฟฟา BTS และรถไฟฟาใตดิน MRT มีความสะดวกสบายในการคมนาคม ภาวะอุตสาหกรรม เนื่องจากปญหาทางการเมืองที่เกิดขึ้นในประเทศไทยในป 2549-2550 ไดสงผลกระทบโดยตรงตอ ธุรกิจอาคารสํานักงาน ทําใหชา วตางประเทศขาดความมั่นใจในการลงทุนในประเทศไทย ประกอบกับ

สวนที่ 2 หนา 21


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 สัญญาณการถดถอยทางเศรษฐกิจจากปญหาซับไพรมไดสง ผลใหบริษทั ตาง ประเทศตองระมัดระวังเกี่ยวกับ คาใชจายยิ่งขึ้น จึงเปนปจจัยลบสําหรับธุรกิจอาคารสํานักงานในป 2550 ตารางอัตราคาเชาอาคารสํานักงาน ประเภท กรกฎาคม 2550 เกรดเอ 666 บาท/ตารางเมตร เกรดบี 503 บาท/ตารางเมตร ที่มา: Jones Lang LaSalle

มกราคม 2551 656 บาท/ตารางเมตร 511 บาท/ตารางเมตร

เปลี่ยนแปลง (%) -1.5 +1.6

ในชวงครึ่งหลังของป 2550 อัตราคาเชาเฉลีย่ ของอาคารสํานักงานเกรดเอมีการลดลงเล็กนอยเปน 656 บาท/ตารางเมตร เนือ่ งจาก การเพิ่มขึ้นของ จํานวนอาคารสํานักงานเปดใหม ทําให ผเู ชามีอาํ นาจการตอรอง มากยิ่งขึ้น สวนอาคารสํานักงานเกรดบี เปนที่สนใจมากขึ้น เนื่องจากมีอัตราคาเชาที่ต่ํากวาอาคารสํานักงาน เกรดเอเปนอยางมาก ในชวงครึ่งหลังของป 2550 อัตราคาเชาจึงปรับเพิ่มเปน 511 บาท/ตารางเมตร เนื่องจากทีเอสทีทาวเวอรเปนอาคารสํานักงานเกรดบี ซึ่งผูเชาสวนใหญเปนบริษัทหรือองคกรของคน ไทย และมีสัญญาเชาระยะยาว ซึ่งทีเอสทีทาวเวอรมีอัตราการเชาถึงรอยละ 96 จึงไมไดรับผลกระทบจาก ปญหาการเมืองและภาวะถดถอยของเศรษฐกิจ (3) อาคารพักอาศัย รายละเอียด ที่ตั้งโครงการ กรรมสิทธิ์ในที่ดิน รายละเอียดโครงการ จํานวนหนวยที่ขายแลว จํานวนหนวยคงเหลือเพื่อใหเชา พื้นที่ที่เหลือใหเชา

โครงการเดอะรอยัลเพลส 2 ซอยมหาดเล็กหลวง 2 ติดสถานีรถไฟฟาราชดําริ สํานักงานพระคลังขางที่ อาคารชุด สูง 26 ชั้น 315 หนวย 56 หนวย 4,675.85 ตารางเมตร

โครงการเดอะแกรนด ซอยมหาดเล็กหลวง 2 ติดสถานีรถไฟฟาราชดําริ สํานักงานพระคลังขางที่ อาคารชุด สูง 25 ชั้น 312 หนวย 26 หนวย 1,616 ตารางเมตร

คาเชา/คาหองพัก ตอหนวย

450 บาท/เดือน/ตารางเมตร

500 บาท/เดือน/ตารางเมตร

โครงการเดอะรอยัลเพลส 2 และโครงการเดอะแกรนดเปนโครงการที่บริษัทไดสรางหองพักอาศัยเพื่อ ขายแบบใหเชาเปนระยะเวลา 30 ป โดยเปดขายโครงการในป 2536 ในปจจุบัน บริษทั ไดเสร็จสิน้ การขายไป แลว คงเหลือแตหองพักอาศัยตกแตงพรอมเฟอรนิเจอรใหเชาระยะสั้น 6 เดือน หรือ 1 ป ทั้ง 2 โครงการนี้ ตัง้ อยูใ นซอยมหาดเล็กหลวง 2 ทําเลอยูใจกลางเมือง สะดวกตอการเดินทางเนือ่ งจากใกลสถานีรถไฟฟา BTS ราชดําริ การตลาดและภาวะการแขงขัน กลยุทธในการแขงขัน โครงการตั้งอยูในทําเลที่ดีที่สุดแหงหนึ่งของกรุงเทพ ที่เหมาะสม ทําใหสามารถแขงขันดานราคาได 

มีการเดินทางทีส่ ะดวกสบาย และมีขนาดหองพัก

สวนที่ 2 หนา 22


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 ลักษณะลูกคาและกลุมลูกคาเปาหมาย ลูกคาโครงการอาคาร พักอาศัยเนนกลุมลูกคาที่มีรายไดปานกลางถึงคอนขางสูง ทั้งลูกคา ชาวไทยและ ชาวตางประเทศ มีวัตถุประสงคในการเชาเพื่อเปนที่อยูอาศัยใจกลางเมือง และตองการที่พักที่มีสิ่งอํานวย ความสะดวกครบครัน (4) เซอรวิสอพารทเมนท โครงการยงสุ อพารทเมนท ดําเนินการโดย บริษัท ยงสุ จํากัด เปนอาคารสูง 16 ชั้น เปนหองพักแบบ 3 หองนอน ทั้งสิ้น 56 หนวย โดยแตละหนวยมีพื้นที่ใชสอยขนาด 200 ตารางเมตร ตั้งอยู ในซอยสุขมุ วิท 39 ซึ่งเปนทําเลที่สะดวก อยูใกลสถานีรถไฟฟา BTS พรอมพงษ 

ภาวะอุตสาหกรรม

พระราม 3 ริมแมน้ํา 6.9% 1.4% อื่นๆ 15.8%

สุขุมวิท 40.7%

CBD 35.2% โซน พื้นที่ CBD สาทร ราชดําริ หลังสวน ศาลาแดง ตนสน สีลม ถนนวิทยุ เพลินจิต สวนพลู พระราม 4 (ยานใจกลางธุรกิจ) สุขุมวิท สุขุมวิท ซอย 1-65 และ ซอย 2-42 พระราม 3 ยานนาวา ถนนจันทร นางลิ้นจี่ ริมแมน้ํา เจริญกรุง เจริญนคร อืน่ ๆ รัชดาภิเษก พญาไท ถนนเพชรบุรีตัดใหม ราชปรารภ พหลโยธิน ดินแดง ที่มา: Knight Frank Research ป 2550 ธุรกิจเซอรวิสอพารทเมนทมีจํานวน 11,963 หนวย ซึ่งเพิ่มขึ้นจาก 10,774 หนวยในป 2549 โดยสัดสวนที่มากที่สุดอยูที่สุขุมวิท รอยละ 40.7 รองลงไปคือบริเวณใจกลางเมือง CBD รอยละ 35.2 เนือ่ งจากใกลสถานทีท่ าํ งานของชาวตางประเทศ และใกลสถานีรถไฟฟา ปจจัยที่สนับสนุนใหธุรกิจนี้มีการเติบโต ไดแก การสนับสนุนการทองเทีย่ วและสนับสนุนให ประเทศ ไทยเปนศูนยกลางการรักษาพยาบาลของเอเชีย ทําใหชาวตางประเทศเดินทางเขามาประเทศไทยมากขึน้ และ ใชระยะเวลาพักยาวนานขึน้ การเปดเสรีทางการคาและบริการบางสาขาใหชา วตางประเทศ การที่ประเทศ ไทยมีคาครองชีพต่ําเมื่อเทียบกับบางประเทศในภูมิภาคนี้ สวนที่ 2 หนา 23


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551

ธุรกิจ 3: งานบริหารโครงการ โครงการบานเอื้ออาทร รายละเอียด ที่ตั้งโครงการ

กรรมสิทธิ์ในที่ดิน พื้นที่ทั้งหมด รายละเอียด โครงการ จํานวนหนวย มูลคาโครงการ

บานเอื้ออาทร สมุทรปราการ (บางบอ 2) ถนนปานวิถี กม. 3-4 (ทาง หลวง 3117 สาย คลองดาน-บางบอ) การเคหะแหงชาติ การเคหะแหงชาติ การเคหะแหงชาติ 154-0-59.6 ไร 22-0-17.5 ไร 41-2-83 ไร อาคารชุดพักอาศัย อาคารชุดพักอาศัย อาคารชุดพักอาศัย สูง 3 ชั้น สูง 4 ชั้น สูง 4 ชั้น 4,598 หนวย 1,008 หนวย 1,536 หนวย 1,931.2 ลานบาท 423.4 ลานบาท 645.1 ลานบาท บานเอื้ออาทร ชลบุรี (นาจอมเทียน) ถนนสุขุมวิท (ทล.3) กม. 155156

บานเอื้ออาทร ประจวบคีรีขันธ (หัวหิน 3) ถนนเพชรเกษม (ทล.4) กม. 242243

บานเอื้ออาทร สระบุรี (โคกแย) ถนนพหลโยธิน กม. 91-92 (ใน นิคมอุตสาหกรรม หนองแค) เคหะแหงชาติ 72-1-98.2 ไร อาคารชุดพักอาศัย สูง 3 ชั้น 2,442 หนวย 1,025.6 ลานบาท

3.2 การจัดหาผลิตภัณฑหรือบริการ การจัดหาที่ดิน ปจจัยหลักในการพิจารณาจัดซื้อที่ดิน คือ การเลือกที่ดินที่มี ศักยภาพสอดคลองกับนโยบายทางการ ตลาดของแตละกลุมธุรกิจของบริษัท โดยมีฝายพัฒนาธุรกิจเปนหนวยงานพิจารณาเลือกทําเลที่ตั้งที่เหมาะสม และเสนอใหผูบริหารระดับสูงของบริษัทพิจารณาในระดับตอไป การจัดหาผูรับเหมากอสรางและวัสดุกอสราง พิจารณาคัดเลือกผูรับเหมากอสรางที่มีประสบการณและคุณสมบัติเหมาะสมกับแตละโครงการ ทั้งนี้ บริษัทไดรวมทุนกับ บริษัท ฮิบเฮง โอเวอรซี จํากัด ซึ่งเปนบริษัทที่เชี่ยวชาญดานการกอสรางจากฮองกงและ มีประสบการณในการกอสรางเปนอยางดี เพื่อจัดตั้ง บริษัท ฮิบเฮง คอนสตรัคชั่น (ประเทศไทย) จํากัด ในป 2550 ซึง่ จะรับเหมากอสรางงานโครงการบางโครงการของบริษัทตามความเหมาะสม

สวนที่ 2 หนา 24


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 การจัดหาที่ปรึกษาการออกแบบกอสราง บริษัทมีฝายพัฒนาโครงการ ซึ่งมีสถาปนิกและวิศวกรทีม่ ปี ระสบการณในการทํางาน ทําหนาที่ คดั เลือก ที่ปรึกษาและผูออกแบบโครงการ การจัดหาผูบริหารงานโรงแรม สําหรับโรงแรมระดับ 5-6 ดาวนั้น บริษัทจะ พิจารณาคัดเลือกเครือขายโรงแรม ระดับโลกที่มีคุณสมบัติ เหมาะสมกับแตละโครงการมาบริหารงาน สําหรับโรงแรมระดับ 3-4 ดาว บริษัทจะใหเครือโรงแรม U Hotels & Resorts มาบริหาร หรืออาจพิจารณาคัดเลือกเครือขายโรงแรมระดับโลกที่มีคุณสมบัติเหมาะสมมาบริหาร ตามความเหมาะสม 3.3

ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม - ไมมี -

สวนที่ 2 หนา 25


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551

4. การวิจยั และพัฒนา บริษัทไดจัดใหมีการเก็บขอมูลทางการตลาดที่เกี่ยวของกับอสังหาริมทรัพยและธุรกิจโรงแรมและการ ทองเที่ยว เพือ่ กําหนดนโยบายและใชประกอบการพิจารณาพัฒนาโครงการใหม สําหรับโครงการขนาดใหญหรือโครงการทีเ่ ปนการรวมทุนกับบริษทั ตางประเทศ นอกจากขอมูล ภายใน ประเทศ แลว บริษัทจะมีการ วา จางบริษัทที่ปรึกษาระดับมาตรฐานสากล เพื่อทําหนาที่สํารวจแล ะ วิเคราะห ขอมูลโครงการในดานตางๆ ใหกับบริษัทอีกชั้นหนึ่ง

สวนที่ 2 หนา 26


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551

5. ทรัพยสนิ ทีใ่ ชในการประกอบธุรกิจ 5.1 ทรัพยสินสําคัญที่ใชในการประกอบธุรกิจ ทรัพยสนิ สําคัญที่ใชในการประกอบธุรกิจ ไดแก ที่ดินเปลา ที่ดินพรอมสิ่งปลูกสราง และอาคารที่สรางไวเพื่อขายและใหเชาในโครงการตางๆ มีรายละเอียดดังตอไปนี้ (1)

รายละเอียดโครงการที่ดําเนินการอยู ณ วันที่ 31 มีนาคม 2551 สถานที่ตั้งและราคาประเมิน ซึ่งประเมินโดย บริษัท พสุพัฒน แอพเพรซัล จํากัด

(1.1) โครงการเพือ่ ขาย รายละเอียด

ที่ตั้ง

ทรัพยสนิ ภายใตกรรมสิทธิ์ บมจ. ธนายง 1. โครงการธนาซิต้ี ถนนบางนา – ตราด กม.14 1.1 ทาวนเฮาสริมน้ําและริมสวน ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 1.2 ที่ดินเปลา ไพรมแลนด โซน เอ ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 1.3 ที่ดินเปลา ไพรมแลนด โซนบี,ซี และดี ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 1.4 นูเวลคอนโดมิเนียม ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 1.5 เพรสทีจเฮาส II ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 1.6 เพรสทีจเฮาส III ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 1.7 ทาวนเฮาสฮาบิแทต ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 1.8 แคลิฟอรเนียน ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 1.9 เพรสทีจคอนโดมิเนียม ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ

จํานวน

18 หลัง 2 แปลง 32 แปลง 146 หองชุด 43 แปลง 84 แปลง 16 แปลง 31 แปลง 2 หองชุด

จํานวนที่ดิน ไร

2 35 23 30 22 1 7

งาน

ตารางวา

15 2 19 60.50 16,629.69 ตารางเมตร 3 90 1 82.40 3 68.80 2 70.30 856.39 ตารางเมตร

สวนที่ 2 หนา 27

ราคาประเมิน (ลานบาท)

วันที่ทําการ ประเมิน

ราคาตามบัญชี (ลานบาท) ณ 31 มี.ค. 51

52.95 213.28 241.88 337.06 346.92 210.27 31.69 79.83 14.99

14 ก.พ.50 31 ม.ค.50 14 ก.พ.50 14 ก.พ.50 14 ก.พ.50 14 ก.พ.50 14 ก.พ.50 14 ก.พ.50 14 ก.พ.50

18.76 118.57 77.22 330.91 105.48 74.56 14.79 25.60 -

ภาระผูกพัน

-


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551

จํานวนที่ดิน รายละเอียด ทรัพยสนิ ภายใตกรรมสิทธิ์ บมจ. ธนายง 2. โครงการธนาเพลสกิง่ แกว 2.1 ที่ดินพรอมสิ่งปลูกสราง 2.2 คอนโดมิเนียม 3. ที่ดินเปลาในธนาซิตี้ 3.1 ที่ดินแปลงใหญ ฮาบิแทต 3.2 ที่ดินตรงขามเพรสทีจคอนโดมิเนียม (ใกลศาลพระพรหม) 3.3 ที่ดินตรงขาม เพรสทีจเฮาส I 3.4 ขางที่ดิน ไพรมแลนด โซนบี 4. ทีด่ นิ เปลานอกโครงการธนาซิต้ี 4.1 ที่ดินเปลา #35258 ซอยทางเดินเลียบคลองลาดกระบัง 5. โครงการธนาเพลสลาดพราว 5.1 อาคารพาณิชย 1 คูหา

ที่ตั้ง

จํานวน

ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ

105 แปลง 165 หองชุด

19

ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ

1 แปลง 1 แปลง

9 4

3

ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ

1 แปลง 1 แปลง

3 11

ตําบลราชาเทวะ อําเภอบางพลี (บางพลีใหญ) จังหวัดสมุทรปราการ

1 แปลง

ซ.ลาดพราว 71 แขวงลาดพราว เขตลาดพราว กทม.

1 คูหา

ไร

งาน

ราคาประเมิน ตารางวา

ราคาตาม บัญชี (ลานบาท) ณ 31 มี.ค. 51

ภาระผูกพัน

(ลานบาท)

วันที่ทําการประเมิน

152.17 105.98

31 ม.ค.50 31 ม.ค.50

103.13 106.60

-

53 44

51.14 33.05

31 ม.ค.50 31 ม.ค.50

30.46 16.21

-

3

38 34

21.05 85.21

31 ม.ค.50 31 ม.ค.50

10.32 39.47

-

10

2

6

7.99

31 ม.ค.50

7.99

-

-

-

35

3.2

5 ก.พ.50

0.85

-

1 99.20 9,521.31 ตารางเมตร

สวนที่ 2 หนา 28


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 (1.2) โครงการเพื่อใหเชา จํานวนที่ดิน รายละเอียด

ที่ตั้ง

1. โครงการธนาซิต้ี ถนนบางนา – ตราด กม. 14 (เพื่อใหเชา) 1.1 นูเวลคอนโดมิเนียม ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 2. อาคารพักอาศัยโครงการเดอะรอยัลเพลส และเดอะแกรนด (เพือ่ ใหเชา) 2.1 เดอะรอยัลเพลส 2 ซ.มหาดเล็กหลวง2 ถ.ราชดําริ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กทม. 2.2 เดอะแกรนด ซ.มหาดเล็กหลวง2 ถ.ราชดําริ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กทม.

(2)

จํานวน

ราคาประเมิน

ราคาตามบัญชี (ลานบาท) ณ 31 มี.ค. 51

ภาระผูกพัน

-

-

ตาราง เมตร

(ลานบาท)

วันที่ทําการประเมิน

2 หองชุด

-

--

195.64

3.52

14 ก.พ.50

3.99

-

56 หองชุด

-

-

4,675.85

147.73

8 ก.พ.50

148.75

-

26 หองชุด

-

-

1,616

52.57

8 ก.พ.50

53.66

-

ราคาตามบัญชี (ลานบาท) ณ 31 มี.ค. 51

ภาระผูกพัน

รายละเอียดทรัพยสินที่ถือครองเพื่อการพัฒนาในอนาคต ณ วันที่ 31 มีนาคม 2551 สถานที่ตั้งและราคาประเมิน ซึ่งประเมินโดย บริษัท พสุพัฒน แอพเพรซัล จํากัด จํานวนที่ดิน รายละเอียด

ทรัพยสนิ ภายใตกรรมสิทธิ์ บมจ. ธนายง 1. ที่ดินเปลา 2. ที่ดินเปลา

ที่ตั้ง

จํานวน

ถนนราษฎรบูรณะ แขวงราษฎรบูรณะ กทม. ถนนบานน้ําลัด – บานแมยาว ต.ริมกก อ.เมืองเชียงราย จ.เชียงราย

ราคาประเมิน

ไร

งาน

ตารางวา

(ลานบาท)

วันที่ทําการประเมิน

1 แปลง

27

2

10

645.0

15 ก.พ.50

645.00

1 แปลง

7

-

60

2.0

9 ก.พ. 50

2.00

สวนที่ 2 หนา 29

บมจ. ธนาคาร กรุงเทพ -


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551

รายละเอียด

ที่ตั้ง

จํานวน

ทรัพยสินภายใตกรรมสิทธิ์บมจ. ธนายง 3. ที่ดินเปลา

ต.ริมกก อ.เมืองเชียงราย จ. เชียงราย

ซอยบานเกาะลอย ถนนสิงหไคล ต.เวียง (รอบเวียง) อ.เมืองเชียงราย จ.เชียงราย ตําบลจันหวาใต (ทาขาวเปลือก) อ.แมจัน จังหวัดเชียงราย ถนนเทพกษัตรีย ต.เกาะแกว อ.เมืองภูเก็ต จ.ภูเก็ต ถนนสุขุมวิท แขวงบางนา เขตพระโขนง กทม.

4. ที่ดินเปลา

5. ที่ดินเปลา 6. ที่ดินเปลา 7. ที่ดินเปลา (ซอยสุขุมวิท 66/1)

จํานวนที่ดิน

ราคาประเมิน

ราคาตามบัญชี (ลานบาท) ณ 31 มี.ค. 51

ภาระผูกพัน

ไร

งาน

ตารางวา

(ลานบาท)

วันที่ทําการประเมิน

3 แปลง

14

3

0

5.9

14 มิ.ย. 47

0

1 แปลง

-

-

77

0.4

9 ก.พ. 50

0.46

บจ. บริหาร สินทรัพย เอ็น เอฟ เอส -

65 แปลง

565

3

78

28.3

9 ก.พ. 50

28.30

-

2 แปลง

37

-

71.6

29.7

15 ก.พ. 2550

29.75

-

2 แปลง

1

3

89

-

-

48.31

-

สวนที่ 2 หนา 30


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 5.2 ทรัพยสินสําคัญที่ใชในการประกอบธุรกิจในสวนที่รอโอนชําระหนี้ตามแผนฟนฟูกิจการ ทรัพยสนิ สําคัญที่ใชในการประกอบธุรกิจในสวนที่รอโอนชําระหนี้ตามแผนฟนฟูกิจการไดแก ที่ดินเปลา ที่ดินพรอมสิ่งปลูกสราง และอาคาร สถานที่ตั้งและราคาประเมิน ซึ่งประเมินโดย บริษัท พสุพัฒน แอพเพรซัล จํากัด จํานวนที่ดิน -

-

ตาราง เมตร

(ลานบาท)

วันที่ทําการ ประเมิน

ราคาตามบัญชี (ลานบาท) ณ 31 มี.ค. 51

73 หองชุด

-

-

3,774.21

39.92

31 ม.ค.50

39.92

3 หองชุด

-

-

438.05

13.56

2 ก.พ.50

4.50

รายละเอียด

ที่ตั้ง

จํานวน

ทรัพยสนิ ภายใตกรรมสิทธิ์ บมจ. ธนายง 1. กิ่งแกวคอนโดมิเนียม

ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ ถนนสุขุมวิท 39 แขวงคลองตัน เขตพระโขนง กทม.

2. บานมิตราคอนโดมิเนียม

ราคาประเมิน

ภาระผูกพัน

บรรษัทบริหาร สินทรัพยไทย บรรษัทบริหาร สินทรัพยไทย

สถานที่ตั้งและราคาประเมิน ซึ่งประเมินโดย บริษัท พสุพัฒน แอพเพรซัล จํากัด จํานวนที่ดิน รายละเอียด

ที่ตั้ง

จํานวน

ไร

งาน

ตารางวา

ราคาประเมิน วันที่ทําการ (ลานบาท) ประเมิน

ราคาตามบัญชี (ลานบาท) ณ 31 มี.ค. 51

ภาระผูกพัน

ทรัพยสนิ ภายใตกรรมสิทธิ์ บมจ. ธนายง 1. ที่ดินเปลา

ต.ทับไทร อ.โปงน้ํารอน จ.จันทบุรี

1 แปลง

2

-

96.7

2.24

1 ก.พ.50

2.24

2. ที่ดินเปลา

ทล. 108 กม. 77 ต.แมสอย อ.จอมทอง จ. เชียงใหม บริเวณนอกโครงการธนาซิตี้ ถ.บางนา-ตราด ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ

3 แปลง

6

-

60

0.74

12 ก.พ.50

0.74

5 แปลง

12

-

-

36.00

2 เม.ย.47

25.34

3. ที่ดินเปลา

สวนที่ 2 หนา 31

บรรษัทบริหาร สินทรัพยไทย บรรษัทบริหาร สินทรัพยไทย บรรษัทบริหาร สินทรัพยไทย


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551

จํานวนที่ดิน รายละเอียด ทรัพยสนิ ภายใตกรรมสิทธิ์บริษัทยอย 1. ที่ดินเปลา (กรรมสิทธิ์ บจ.สําเภาเพชร)

รายละเอียด ทรัพยสนิ ภายใตกรรมสิทธิ์บริษัทยอย 1. ทีเอสทีทาวเวอร (กรรมสิทธิ์ บจ.ดีแนล)

2. ยงสุ อพารทเมนท (กรรมสิทธิ์ บจ.ยงสุ)

ที่ตั้ง

จํานวน

ต.นาเตย อ.ทายเหมือง จ.พังงา

19 แปลง

ราคาประเมิน

ไร

งาน

ตารางวา

(ลานบาท)

วันที่ทําการ ประเมิน

ราคาตามบัญชี (ลานบาท) ณ 31 มี.ค. 51

117

2

15

4.7

14 ก.พ. 50

4.69

จํานวนพื้นที่ใหเชา ตาราง เมตร

ราคาประเมิน วันที่ทําการ (ลานบาท) ประเมิน

ราคาตามบัญชี (ลานบาท) ณ 31 มี.ค. 51

ที่ตั้ง

จํานวน

ถ.วิภาวดี-รังสิต เขตจตุจักร กทม.

1 แปลง

-

-

15,875.50

478.92

16 มี.ค.47 *

86.97

ซอยสุขุมวิท 39 เขตพระโขนง กทม.

1 แปลง

-

-

11,060.00

378.0

8 เม.ย.47 **

63.50

-

* สถานที่ตั้งและราคาประเมิน ประเมินโดย บริษัท พสุพัฒน แอพเพรซัล จํากัด (ณ วันที่ 16 เดือนมีนาคม 2547) ** สถานที่ตั้งและราคาประเมิน ประเมินโดย บริษัท พสุพัฒน เรียลตี้ จํากัด (ณ วันที่ 8 เดือนเมษายน 2547)

สวนที่ 2 หนา 32

ภาระผูกพัน

บรรษัทบริหาร สินทรัพยไทย

ภาระผูกพัน

ธนาคารกสิกร ไทยในฐานะ ผูแทน ผูถือหุนกู ธนาคารกสิกร ไทยในฐานะ ผูแทน ผูถือหุนกู


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 5.3

นโยบายการลงทุนและการบริหารงานในบริษัทยอยและบริษัทรวม บริษัทมีนโยบายการลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวมในลักษณะดังตอไปนี้ (1) นโยบายการลงทุนในบริษัทยอย บริษัทมีนโยบายลงทุนในกิจการที่สอดคลองหรือสนับสนุนธุรกิจหลัก เพื่อใชบริษัทยอยเปนตัวกําหนด ตําแหนงทางการตลาดและความชัดเจนของแตละสายธุรกิจ และเพิ่มประสิทธิภาพในการประกอบธุรกิจและ ความคลองตัวในการเติบโตในแตละสายธุรกิจ (2) นโยบายการลงทุนในบริษัทรวม บริษัทมีนโยบายรวมลงทุนกับบริษัทที่มีความชํานาญเฉพาะดานเพื่อเสริมธุรกิจหลักของกลุมบริษัท โดยจะรวมลงทุนไมต่ํากวารอยละ 25 นโยบายการบริหารงานในบริษัทยอยและบริษัทรวม (1) นโยบายการบริหารงานในบริษัทยอย บริษัท จะกําหนดแนวนโยบายในการดําเนินธุรกิจทีบ่ ริษทั พิจารณาแลวเห็นวาเปนการเสริม ประสิทธิภาพและการดําเนินธุรกิจของกลุมบริษัทใหแกบริษัทยอยเพื่อใหเปนแนวทางเดียวกันและเพื่อให บริษัทยอยไดพิจารณาดําเนินงานในสวนของการปฏิบัติการดวยตนเอง (2) นโยบายการบริหารงานของบริษัทรวม เมื่อบริษัทไดเขารวมทุนกับบริษัทอื่นแลว บริษัทจะสงตัวแทนเขา ไปเปนกรรมการในบริษทั รวมนัน้ ๆ เพื่อเปนการติดตามการทํางานของบริษัทรวมวาไดดําเนินงานตามแนวทางที่บริษัทไดคาดหวังไว

สวนที่ 2 หนา 33


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551

6. โครงการในอนาคต 6.1 โครงการที่หาดกมลา จังหวัดภูเก็ต โครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพยและธุรกิจโรงแรม บนที่ดินพื้นที่ประมาณ 460 ไร บนหาดกมลา ตําบล กมลา อําเภอกระทู จังหวัดภูเก็ต ขณะนี้อยูระหวางการออกแบบวางผังโดย WIMBERLY ALLISON TONG & GOO (WATG) และ BILKEY LLINAS DESIGN LIMITED (BLD) บริษัทผู มผี ลงานการออกแบบและ ตกแตง ภายในโรงแรมและบานพักตากอากาศหรูชน้ั นําทัว่ โลก และอยูใ นระหวางการเจรจาเขาทําสัญญากับ เครือขายโรงแรมระดับ 5-6 ดาว โดยในขัน้ ตนไดแบงโครงการออกเปน 2 สวน คือ  โครงการโรงแรมระดับ 5 ดาว และ 6 ดาว จํานวน 285 หอง และ 100 หอง ตามลําดับ อีกทั้งมีพื้นที่ และสิ่งอํานวยความสะดวกในการจัดการประชุมถึง 6,500 ตารางเมตร  โครงการบานพักตากอากาศหรูพรอมสระวายน้าํ สวนตัวเพือ่ ขาย จํานวน 40 หลัง 6.2 โครงการบานสวนสาทร ถนนสาทร จังหวัดกรุงเทพ โครงการพัฒนาทีด่ นิ สิทธิการเชาบนพื้นที่ 16.5 ไร ในเขตพื้นที่ยานศูนยกลางธุรกิจ (Central Business District) บนถนนสาทร เปนโครงการวิลลาหรูพื้นที่ใชสอย 150 ตารางเมตร พรอมสระวายน้ําสวนตัวเพื่อขาย แบบใหเชาระยะยาว 30 ป จํานวน 50 หลัง และโรงแรมบูติครีสอรทหรู (Boutique Resort Hotel) จํานวน 60 หอง โดยมีพื้นที่ใชสอย 50 ตารางเมตรตอหอง ซึง่ ขณะนีอ้ ยูใ นขัน้ ตอนการออกแบบ โดย Denniston International Architects and Planners และการเจรจาเขาทําสัญญากับเครือขายโรงแรมระดับ 5-6 ดาว 6.3

โครงการโรงแรมในเครือ U Hotels & Resorts จังหวัดกาญจนบุรี โครงการพัฒนาทีด่ นิ 5 ไร ริมฝงแมน้ําแควใหเปนบูติคโฮเต็ล ( Boutique Hotel) ระดับ 4 ดาว ภายใต ชื่อ โรงแรม ยู กาญจนบุรี ขณะนี้อยูระหวางการออกแบบวางผังใหม เพื่อปรับปรุงซอมแซมอาคารเดิม บางสวนและกอสรางอาคารใหม 6.4

โครงการรับเหมาออกแบบและกอสรางโรงแรม บนถนนสาทร จังหวัดกรุงเทพ งานบริหารโครงการโดยรับออกแบบและกอสรางโรงแรมระดับ 4 ดาว สูง 32 ชั้น ในลักษณะ Turn Key (สัญญาจางเหมาแบบเบ็ดเสร็จ) จํานวนหองพัก 437 หอง ใจกลางเมืองบนถนนสาทรใกลสถานีรถไฟฟา BTS สุรศักดิ์ โดยมีมลู คาโครงการประมาณ 2,500 ลานบาท

สวนที่ 2 หนา 34


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551

7. ขอพิพาททางกฎหมาย รายละเอียดตามหมายเหตุประกอบงบการเงิน ขอ 37.5 เรื่อง คดีฟองรอง

สวนที่ 2 หนา 35


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551

8. โครงสรางเงินทุน 8.1

หลักทรัพยของบริษัท ณ วันที่ 31 มีนาคม 2551 บริษัทมีทุนจดทะเบียน 8 ,056 ,923 ,076 บาท และ ทุนชําระแลว 5,813,333,333 บาท แบงเปนหุนสามัญ 5,813,333,333 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท 8.2 ผูถือหุน รายชื่อผูถือหุนที่ถือหุนสูงสุด 10 รายแรก ขอมูล ณ วันปดสมุดทะเบียนลาสุด วันที่ 19 กรกฎาคม 2550 รายชื่อผูถือหุน 1. กลุม นายคีรี กาญจนพาสน* 2. STATE STREET BANK AND TRUST COMPANY FOR AUSTRALIA 3. UOB KAY HIAN PRIVATE LIMITED 4. MR.CHENG YU TUNG 5. CITIGROUP GLOBAL MARKETS LIMITED-IPB CUSTOMER COLLATERAL AC 6. MR.CHENG WAN YEN 7. บริษัท ธนายง ฟูด แอนด เบเวอเรจ จํากัด** 8. UOB ASIA LIMITED 9. บริษัท ไทยเอ็นวีดีอาร จํากัด 10. KIM ENG SECURITIES PTE. LTD.

จํานวนหุน 2,174,062,524 467,794,000

% 37.40 8.05

445,391,302 400,000,000 380,000,000

7.66 6.88 6.54

300,000,000 275,628,054 267,214,000 220,375,282 60,820,000

5.16 4.74 4.60 3.79 1.05

หมายเหตุ * กลุมนายคีรี กาญจนพาสน ไดนับรวมหุนที่ถือโดยบริษัท เค ทู เจ โฮลดิ้ง จํากัด จํานวน 2,000,000,000 หุน หรือ รอยละ 34.40 แลว ** อยูระหวางการรอโอนหุนใหแกเจาหนี้ตามแผนฟนฟูกิจการของบริษัท

8.3

นโยบายการจายเงินปนผล

(1) นโยบายการจายเงินปนผลของบริษัท บริษัทมีนโยบายจายเงินปนผลใหแกผูถือหุนในอัตราไมนอ ยกวารอยละ 50 ของกําไรสุทธิ หลังหักภาษี เงินไดตามงบการเงินเฉพาะกิจการ โดยบริษัทจะจายเงินปนผลในรอบระยะเวลาบัญชีถัดไป โดยคํานึงถึง กระแสเงินสดจากการประกอบการ และการประกาศจายเงินปนผลประจําป จะตองไดรับ ความเห็นชอบจากที่ ประชุมผูถือหุนสามัญประจําป ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษทั อาจเห็นสมควรใหมกี ารจายเงินปนผลระหวางกาล หากเห็นวาบริษทั มีกาํ ไรและสามารถดํารงเงินลงทุนหมุนเวียนทีใ่ ชในการดําเนินการไดอยางเพียงพอภายหลัง การจายเงินปนผลระหวางกาลนั้น ซึ่งคณะกรรมการบริษัทมีหนาที่แจงใหที่ประชุมผูถือหุนรับทราบในการ ประชุมผูถือหุนครั้งถัดไป สวนที่ 2 หนา 36


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551

ดังนี้

ในการพิจารณาจายเงินปนผลใหแกผูถือหุนนั้น คณะกรรมการบริษัทจะคํานึงถึงปจจัยหลายประการ

ผลการดําเนินงานของบริษัท สภาพคลอง กระแสเงินสดหมุนเวียน และสถานะการเงินของบริษัท  ขอบังคับหรือเงื่อนไขที่เกี่ยวกับการจายเงินปนผลที่กําหนดโดยสัญญาเงินกูยืม หุนกู สัญญาซึ่ง กอใหเกิดภาระหนี้สินของบริษัท หรือขอตกลงหรือสัญญาอื่นๆ ที่บริษัทตองปฏิบัติตาม  แผนการดําเนินงานในอนาคตและความตองการในการใชเงินลงทุน  ปจจัยอื่นๆ ที่คณะกรรมการบริษัทเห็นสมควร นอกจากนี้ บริษัทยังอยูภายใตบังคับของพระราชบัญญัติ บริษทั มหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 ที่กําหนดให บริษัทไมสามารถจายเงินปนผลไดหากบริษัทยังมีผลขาดทุนสะสมอยูแมวาบริษัทจะมีกําไรสุทธิสําหรับปนั้นๆ ก็ตาม และ พระราชบัญญัติ บริษทั มหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 ยังกําหนดใหบริษัทสํารองเงินตามกฎหมายใน จํานวนไมนอยกวารอยละ 5 ของกําไรสุทธิ ประจําป หกั ดวยยอดขาดทุนสะสม ยกมา (ถามี) จนกวาเงินสํารอง ตามกฎหมายมีจํานวนไมนอยกวารอยละ 10 ของทุนจดทะเบียน 

(2) นโยบายการจายเงินปนผลของบริษัทยอย บริษัทยอย มีนโยบายในการจายเงินปนผล โดยพิจารณาจากศักยภาพการเติบโตของผลการ ดําเนินงาน แผนการลงทุน การขยายงาน ขอกําหนดตามสัญญาเงินกูหรือหุนกูของบริษัท และบริษัทยอย รวมถึงความจําเปนและความเหมาะสมในอนาคต โดยมีนโยบายจายเงินปนผลไมนอยกวารอยละ 50 ของ กําไรสุทธิหลังหักภาษี และสํารองเงินตามกฎหมาย หากไมมีเหตุจําเปนอื่นใดและการจายเงินปนผลนั้นไมมี ผลกระทบตอการดําเนินงานปกติของบริษัทยอยดังกลาว

สวนที่ 2 หนา 37


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551

9. การจัดการ คณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหาร ฝายตรวจสอบภายใน กรรมการผูจัดการ ฝายกฎหมาย

รองกรรมการผูจัดการ

รองกรรมการผูจัดการ

รองกรรมการผูจัดการ

ฝายบริหารทรัพยสินและอสังหาริมทรัพย

ฝายพัฒนาธุรกิจ

ฝายพัฒนาโครงการ

ฝายโครงการพิเศษ

ฝายบัญชี

ฝายบริหารโครงการ

ฝายโรงแรมและบริการ

ฝายการเงิน

ฝายการตลาดและขาย

ฝายทรัพยากรมนุษยและธุรการ

ฝายประชาสัมพันธ

ฝายเทคโนโลยีสารสนเทศ

สวนที่ 2 หนา 38


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551

9.1 โครงสรางการจัดการ   

1)

คณะกรรมการของบริษทั ณ วันที่ 31 มีนาคม 2551 ประกอบดวยคณะกรรมการ 3 ชุด ไดแก คณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการบริษทั ประกอบดวยกรรมการ จํานวน 13 ทาน ดังนี้ ลําดับ รายชื่อ ตําแหนง 1. นายคีรี กาญจนพาสน ประธานกรรมการ 2. นายกวิน กาญจนพาสน กรรมการ 3. นายสุธรรม ศิริทิพยสาคร กรรมการ 4. นายรังสิน กฤตลักษณ กรรมการ 5. นายคม พนมเริงศักดิ์ กรรมการ 6. Mr. Kong Chi Keung กรรมการ 7. Mr. Abdulhakeem Kamkar กรรมการ 8. Dato’ Amin Rafie Othman กรรมการ 9. Dr. Paul Tong กรรมการ 10. Mr. Cheung Che Kin กรรมการ กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ 11 พลโทพิศาล เทพสิทธา 12. ดร.อาณัติ อาภาภิรม กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ 13. พลตํารวจตรีวราห เอี่ยมมงคล กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ โดยมีนายรังสิน กฤตลักษณ ทําหนาทีเ่ ปนเลขานุการคณะกรรมการบริษทั และนางสาวธิตกิ รณ ยศยิ่ง ธรรมกุล ทําหนาที่เปนเลขานุการบริษัท กรรมการผูม อี าํ นาจกระทําการแทนบริษทั มี 6 ทาน ดังนี้ กรรมการกลุม ก

1. นายคีรี กาญจนพาสน 2. นายกวิน กาญจนพาสน 3. นายรังสิน กฤตลักษณ

กรรมการกลุม ข

4. นายสุธรรม ศิริทิพยสาคร 5. Mr. Kong Chi Keung 6. นายคม พนมเริงศักดิ์

ชือ่ และจํานวนกรรมการซึง่ มีอาํ นาจลงลายมือชือ่ แทนบริษทั คือ กรรมการคนใดคนหนึง่ จากกรรมการ กลุม ก ลงลายมือชื่อ รวมกันกับกรรมการคนใดคนหนึง่ จากกรรมการ กลุม ข รวมเปนสองคนและ ประทับตรา สําคัญของบริษัท

สวนที่ 2 หนา 39


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551

อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบริษัท 1. ปฏิบัติหนาที่ใหเปนไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค และขอบังคับของบริษัท ตลอดจนมติที่ประชุมผูถือหุน ดวยความซื่อสัตย สุจริต และระมัดระวังรักษาผลประโยชนของบริษัท 2. กําหนดวิสัยทัศน นโยบาย และทิศทางการดําเนินงานของบริษัท และกํากับดูแลใหฝา ยบริหารดําเนินการ ใหเปนไปตามนโยบายที่กําหนดไวอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อเพิ่มมูลคาสูงสุดใหแกบริษัท และผูถือหุน 3. กําหนดนโยบาย ยุทธศาสตรการทําธุรกิจ แผนงาน และงบประมาณประจําปของบริษัท รวมทั้ง ผลงาน และผลประกอบการประจําเดือนและประจําไตรมาสของบริษัทเทียบกับแผนและงบประมาณ และ พิจารณาแนวโนมระยะตอไปของป 4. พิจารณาอนุมตั ิการไดมาหรือจําหนายไปซึ่งทรัพยสิน การลงทุน ในธุรกิจใหม และการดําเนินการใดๆ ที่ กฎหมายกําหนด เวนแตเรื่องที่กฎหมายกําหนดใหตองไดรบั มติที่ประชุมผูถือหุน 5. พิจารณาอนุมตั ิ และ/หรือ ใหความเห็นตอรายการที่เกี่ยวโยงกันของบริษัทและบริษัทยอยใหเปนไปตาม ประกาศ ขอกําหนด และแนวทางปฏิบัติที่เกี่ยวของของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 6. ประเมินผลงานของฝายบริหารอยางสม่าํ เสมอและกําหนดคาตอบแทน 7. ดําเนินการใหฝา ยบริหารจัดใหมรี ะบบบัญชี การรายงานทางการเงิน และการสอบบัญชีที่เชื่อถือได ตลอดจนดูแลใหมีระบบการควบคุมภายในที่เพียงพอเหมาะสม 8. ดูแลไมใหเกิดปญหาความขัดแยงทางผลประโยชนระหวางผูมีสวนไดเสียของบริษัท 9. กรรมการตองแจงใหบริษัททราบโดยไมชักชา หากมีสวนไดสวนเสียในสัญญาที่ทํากับบริษัทหรือถือหุน เพิ่มขึ้นหรือลดลงในบริษัทหรือบริษัท ยอย ทั้งนี้ กําหนดใหรายการที่ ทํากับ กรรมการหรือบุคคลทีอ่ าจมี ความขัดแยง มีสวนไดเสีย หรืออาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนอื่นใดกับบริษัท หรือบริษัทยอย ให กรรมการซึ่งมีสวนไดเสียไมมีสิทธิอนุมัติการทํารายการในเรื่องนั้น 10. กํากับดูแลกิจการใหมกี ารปฏิบตั งิ านอยางมีจริยธรรม และทบทวนนโยบายการกํากับดูแลกิจการของ บริษัทและประเมินผลการปฏิบัติตามนโยบายดังกลาวเปนประจําอยางนอยปละ 1 ครั้ง 11. รายงานความรับผิดชอบของตนในการจัดทํารายงานทางการเงิน โดยแสดงควบคูก บั รายงานของผูส อบ บัญชีไวในรายงานประจําปและครอบคลุมในเรื่องสําคัญๆ ตามนโยบายเรื่องขอพึงปฏิบัติที่ดีสําหรับ กรรมการบริษทั จดทะเบียนของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 12. คณะกรรมการอาจมอบหมายใหกรรมการคนหนึ่งหรือหลายคนหรือบุคคลอื่นใดปฏิบัติการอยางหนึ่งอยาง ใดแทนคณะกรรมการได การมอบอํานาจแกกรรมการดังกลาวจะไมรวมถึงการมอบอํานาจหรือการมอบ อํานาจชวงทีท่ าํ ใหกรรมการหรือผูร บั มอบอํานาจจากกรรมการสามารถอนุมตั ริ ายการทีต่ นหรือบุคคลที่ อาจมีความขัดแยง มีสวนไดเสีย หรือมีผลประโยชนในลักษณะอื่นใดขัดแยงกับผลประโยชนของบริษัท หรือบริษัทยอย รวมทั้งกําหนดใหตองขอความเห็นชอบจากที่ประชุมผูถือหุนในการทํารายการที่เกี่ยวโยง กัน และการไดมาหรือจําหนายไปซึ่งทรัพยสินที่สําคัญของบริษัท ตามขอกําหนดของตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย 2)

คณะกรรมการตรวจสอบ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2551 มีจํานวน 3 ทาน ดังนี้ ลําดับ รายชื่อ ตําแหนง 1. พลโทพิศาล เทพสิทธา ประธานกรรมการตรวจสอบ 2. ดร.อาณัติ อาภาภิรม กรรมการตรวจสอบ 3. พลตํารวจตรีวราห เอี่ยมมงคล กรรมการตรวจสอบ โดยมีนางดวงกมล ชัยชนะขจร ทําหนาทีเ่ ปนเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ สวนที่ 2 หนา 40


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551

อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. สอบทานใหบริษทั มีการรายงานทางการเงินอยางถูกตองและเปดเผยอยางเพียงพอ และเชือ่ ถือได 2. สอบทานใหบริษัทมีระบบการควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายในใหเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ 3. สอบทานใหบริษัทปฏิบัติตามกฎหมาย กฎระเบียบ ขอบังคับ และขอกําหนดที่เกี่ยวของ 4. พิจารณาคัดเลือก เสนอแตงตั้งผูสอบบัญชี และกําหนดคาตอบแทน 5. พิจารณาการเปดเผยขอมูลของบริษทั ในรายการทีเ่ กีย่ วโยงกันหรือรายการทีอ่ าจมีความขัดแยงทาง ผลประโยชน 6. จัดทํารายงานการกํากับดูแลกิจการของคณะกรรมการตรวจสอบ 7. ปฏิบัติหนาที่อื่นใดตามที่ไดรับมอบหมายจากคณะกรรมการบริษัท

หลักเกณฑในการคัดเลือกกรรมการตรวจสอบ บริษทั มีหลักเกณฑในการคัดเลือกกรรมการตรวจสอบตามขอกําหนดของคณะกรรมการกํากับ หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ดังตอไปนี้ 1. ถือหุนไมเกินรอยละ 5 ของจํานวนหุนที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัท รวม หรือนิติบุคคลอื่นที่อาจมีความขัดแยง 2. ไมเปนลูกจาง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ไดรับเงินเดือนประจํา หรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความขัดแยง 3. ไมเปนบุคคลที่มีความสัมพันธทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมาย ในลักษณะที่เปนบิดา มารดา คูสมรส พี่นอง และบุตร รวมทั้งคูสมรสของบุตร ของผูบริหาร ผูถือหุนรายใหญ ผูมีอํานาจควบคุม หรือบุคคลที่จะไดรับการเสนอใหเปนผูบริหาร หรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัท หรือบริษัทยอย 4. ไมมีความสัมพันธทางธุรกิจกับบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม หรือนิติบุคคลที่อาจมีความ ขัดแยง ในลักษณะที่อาจเปนการขัดขวางการใหวิจารณญาณอยางอิสระของตน และไมมีลักษณะอื่นใดที่ ทําใหไมสามารถใหความเห็นอยางเปนอิสระเกี่ยวกับการดําเนินงานของบริษัท 5. มีความรูและประสบการณเพียงพอที่จะสามารถทําหนาที่ในการสอบทานความนาเชื่อถือของงบการเงิน ได รวมทัง้ การทําหนาทีอ่ น่ื ในฐานะกรรมการตรวจสอบ นอกจากนีแ้ ลว คณะกรรมการตรวจสอบยังตองสามารถแสดงความเห็นหรือรายงานไดอยางเสรีตาม ภารกิจทีไ่ ดรบั มอบหมาย โดยไมคํานึงถึงประโยชนใดๆ ที่เกี่ยวกับทรัพยสินหรือตําแหนงหนาที่ และไมตกอยู ภายใตอิทธิพลของบุคคลหรือกลุมบุคคลใด 3)

คณะกรรมการบริหาร ณ วันที่ 31 มีนาคม 2551 มีจาํ นวน 6 ทาน ดังนี้ ลําดับ รายชื่อ ตําแหนง 1. นายคีรี กาญจนพาสน ประธานกรรมการ 2. นายกวิน กาญจนพาสน กรรมการผูจ ดั การ 3. นายสุธรรม ศิริทิพยสาคร รองกรรมการผูจ ดั การ 4. นายรังสิน กฤตลักษณ รองกรรมการผูจ ดั การ 5. นายคม พนมเริงศักดิ์ กรรมการ 6. Mr. Kong Chi Keung รองกรรมการผูจัดการ* โดยมีนายเบอรนาโด โกดิเนช การเชีย ทําหนาทีเ่ ปนเลขานุการคณะกรรมการบริหาร

* ไดรับการแตงตั้งใหเปนรองกรรมการผูจัดการเมื่อวันที่ 27 มิถนุ ายน 2551

สวนที่ 2 หนา 41


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551

อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบริหาร 1. กําหนดนโยบาย ทิศทาง กลยุทธ และโครงสรางการบริหารงานในการดําเนินธุรกิจของบริษทั ให สอดคลองและสนับสนุนตอสภาวะเศรษฐกิจและการแขงขัน เพือ่ เสนอใหคณะกรรมการบริษทั เห็นชอบ 2. กําหนดแผนธุรกิจ งบประมาณ และอํานาจการบริหารตางๆ ของบริษทั เพือ่ เสนอใหคณะกรรมการบริษทั เห็นชอบ 3. ตรวจสอบ ติดตามการดําเนินนโยบาย และแนวทางการบริหารงานดานตางๆ ของบริษทั ใหเปนไปอยางมี ประสิทธิภาพ เอื้อตอสภาพการดําเนินธุรกิจ 4. ตรวจสอบ และติดตามผลการดําเนินงานของบริษทั ตามนโยบายและแผนธุรกิจที่ไดรับอนุมัติไว 5. อนุมัติการไดมาหรือจําหนายไปซึ่งอสังหาริมทรัพยซึ่งมีมูลคาไมเกิน 100 ,000,000 บาท (หนึ่งรอยลาน บาท) ตอหนึง่ ธุรกรรม 6. ไถถอน ปลด หรือปลอดจํานองอสังหาริมทรัพย 7. เปดบัญชีธนาคาร สมัครใชบริการธุรกรรมของธนาคาร หรือแกไขเปลี่ยนแปลงผูมีอํานาจลงลายมือชื่อใน บัญชีธนาคาร 8. พิจารณาอนุมตั กิ ารแกไขผังจัดสรรภายใตกฎหมายการจัดสรรทีด่ นิ 4)

ผูบริหาร ณ วันที่ 31 มีนาคม 2551 จํานวน 8 ทาน ดังนี้ ลําดับ รายชือ่ ตําแหนง 1 นายกวิน กาญจนพาสน กรรมการผูจ ดั การ 2. นายสุธรรม ศิริทิพยสาคร รองกรรมการผูจ ดั การ 3. นายรังสิน กฤตลักษณ รองกรรมการผูจ ดั การ 4. Mr. Kong Chi Keung รองกรรมการผูจ ดั การ * 5. นางดวงกมล ชัยชนะขจร ผูอํานวยการฝายบัญชี 6. นางสาวอัญชนา โรจนวิบูลยชัย ผูอ าํ นวยการฝายการเงิน 7. นายวิศิษฐ ชวลิตานนท ผูอ าํ นวยการฝายพัฒนาโครงการ 8. นางสาวธิตกิ รณ ยศยิง่ ธรรมกุล ผูอ าํ นวยการฝายกฎหมาย * ไดรับการแตงตั้งใหเปนรองกรรมการผูจัดการเมื่อวันที่ 27 มิถนุ ายน 2551

บทบาทและหนาที่ความรับผิดชอบของคณะผูบริหาร 1. ดําเนินการตามนโยบาย ทิศทาง กลยุทธ และโครงสรางการบริหารงานในการดําเนินธุรกิจของบริษทั ที่ กําหนด ใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 2. ดําเนินการจัดทําแผนธุรกิจ งบประมาณ และอํานาจการบริหารตาง ๆ ของบริษัท เพื่อเสนอให คณะกรรมการบริหารเห็นชอบ 3. บริหารงานบริษทั ตามแผนงานหรืองบประมาณทีไ่ ดรบั อนุมตั จิ ากคณะกรรมการบริหาร อยางซือ่ สัตย สุจริต และระมัดระวัง รักษาผลประโยชนของบริษัทและผูถือหุนอยางดีที่สุด 4. ติดตามผลการดําเนินงานของบริษัท ใหเปนไปตามนโยบายแผนงาน และงบประมาณที่ไดรับอนุมตั ิ 5. รายงานผลการดําเนินงานของบริษทั ตอทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริหารเปนประจํา

6. ดําเนินการอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการบริหารมอบหมาย 7. กํากับการบริหารงานทั่วไปตามที่กําหนดไวในระเบียบขอบังคับของบริษัท

สวนที่ 2 หนา 42


9.2

การสรรหาและถอดถอนกรรมการบริษัท

แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551

คณะกรรมการบริษทั จะรับผิดชอบในการสรรหากรรมการใหมทม่ี คี ณ ุ สมบัตแิ ละประสบการณท่ี เหมาะสม โดยกรรมการผูนั้นตองมีเวลาอยางเพียงพอสามารถปฏิบัติหนาที่ใหแกบริษัท ไดอยางมี ประสิทธิภาพ ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทไดมอบหมายใหคณะกรรมการ บริหาร ทําหนาทีใ่ นการสรรหา กรรมการ เพือ่ เสนอใหคณะกรรมการบริษทั อนุมตั ิ และ/หรือ เสนอขออนุมัติแตงตั้งตอที่ประชุมผูถือหุน ตาม หลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดอยูในขอบังคับของบริษัท โดยมีสาระสําคัญดังนี้ 1. ในการประชุมสามัญประจําปทุกครั้ง กรรมการตองพนจากตําแหนงตามวาระเปนจํานวน 1 ใน 3 ของ จํานวนกรรมการทัง้ หมด ถาจํานวนกรรมการทีจ่ ะแบงออกใหตรงเปน 3 สวนไมได ก็ใหออกโดยจํานวน ที่ใกลที่สุดกับสวน 1 ใน 3 โดยกรรมการที่พนจากตําแหนงมีสิทธิไดรับเลือกเขามาดํารงตําแหนงใหมอีก ได 2. ใหที่ประชุมผูถือหุนมีสิทธิแตงตัง้ กรรมการตามหลักเกณฑและวิธกี ารดังตอไปนี้ 2.1 ผูถือหุนแตละคนมีคะแนนเสียงเทากับหนึ่งหุนตอหนึ่งเสียง 2.2 ผูถือหุนแตละคนจะใชคะแนนเสียงที่มีอยูทั้งหมดเลือกตั้งบุคคลคนเดียวหรือหลายคนเปนกรรมการก็ ได แตจะแบงคะแนนเสียงใหแกบุคคลใดมากนอยเพียงใดไมได 2.3 บุคคลซึ่งไดรับคะแนนเสียงสูงสุดตามลําดับลงมาเปนผูไดรับการเลือกตั้งเปนกรรมการเทาจํานวน กรรมการที่จะพึงมีหรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณีที่บุคคลซึ่งไดรับการเลือกตั้งในลําดับถัดลงมา มีคะแนนเสียงเทากัน เกินจํานวนกรรมการที่จะพึงมีหรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ใหผูเปนประธาน เปนผูออกเสียงชี้ขาด 3. นอกจาการพนตําแหนงตามวาระแลว กรรมการพนจากตําแหนงเมื่อ 3.1 ตาย 3.2 ลาออก 3.3 ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามตามพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 3.4 ที่ประชุมผูถือหุนมีมติใหออก 3.5 ศาลมีคําสั่งใหออก 4. ในกรณีทต่ี าํ แหนงกรรมการวางลงเพราะเหตุอน่ื นอกจาก ถึงคราวออกตามวาระ ใหคณะกรรมการมีมติ ดวยคะแนน เสียง ไมนอยกวา 3 ใน 4 ของ จํานวน กรรมการที่เหลืออยู เลือกบุคคลใดบุคคลหนึ่งซึ่งมี คุณสมบัติและไมมีลักษณะตองหามตามพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 เขาเปน กรรมการแทนในการประชุมคณะกรรมการคราวถัดไป เวนแตวาระของกรรมการจะเหลือนอยกวา 2 เดือน บุคคลซึ่งเขาเปนกรรมการแทนดังกลาวจะอยูในตําแหนงกรรมการไดเพียงวาระที่ยังเหลืออยูของ กรรมการทีต่ นแทน 5. ที่ประชุมผูถือหุนอาจลงมติใหกรรมการคนใดออกจากตําแหนงกอนถึงคราวออกตามวาระไดดวยคะแนน เสียงไมนอยกวา 3 ใน 4 ของจํานวนผูถือหุน ซึ่งมาประชุมและมีสิทธิออกเสียง และมีหุนนับรวมกันไดไม นอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวนหุนที่ถือโดยผูถือหุนที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง 9.3

คาตอบแทนกรรมการ กรรมการบริหาร และผูบริหาร

1. คาตอบแทนกรรมการ 1.1 คาตอบแทนที่เปนตัวเงิน บริษัทไดจายคา ตอบแทนคณะกรรมการบริษทั จํานวน 13 ทาน ในชวงเวลาตั้งแต 1 เมษายน 2550 ถึง 31 มีนาคม 2551 รวมทั้งสิ้น 3,180,000 บาท ซึ่งเปนคาตอบแทนที่จายให แกประธานกรรมการ กรรมการ และกรรมการอิสระ สวนที่ 2 หนา 43


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 คาตอบแทน 1. นายคีรี กาญจนพาสน 2. นายกวิน กาญจนพาสน 3. นายสุธรรม ศิริทิพยสาคร 4. นายรังสิน กฤตลักษณ 5. นายคม พนมเริงศักดิ์ 6. Mr. Kong Chi Keung 7. Mr. Abdulhakeem Kamkar 8. Dato’ Amin Rafie Othman 9. Dr. Paul Tong 10. Mr. Cheung Che Kin 11. พลโทพิศาล เทพสิทธา 12. ดร.อาณัติ อาภาภิรม 13. พลตํารวจตรีวราห เอี่ยมมงคล รวม 1.2

ป 2550/51 300,000 240,000 240,000 240,000 240,000 240,000 240,000 240,000 240,000 240,000 240,000 240,000 240,000 3,180,000

คาตอบแทนที่เปนไมเปนตัวเงิน -ไมม-ี

2. คาตอบแทนกรรมการบริหารและผูบ ริหาร 2.1 บริษัทไดจายคาตอบแทนกรรมการบริหารและผูบริหารจํานวน 10 ราย ในชวงเวลาตั้งแต 1 เมษายน 2550 ถึง 31 มีนาคม 2551 รวมทั้งสิ้น 27,117,500 บาท 2.2 คาตอบแทนที่เปนไมเปนตัวเงิน -ไมม-ี 9.4 การกํากับดูแลกิจการ นโยบายการกํากับดูแลกิจการ บริษัทมีความเชื่อมั่นวาระบบการบริหารจัดการที่ดี การมีคณะกรรมการและผูบริหารที่มีวิสัยทัศนและมี ความรับผิดชอบตอหนาที่ มีกลไกการควบคุมและการถวงดุลอํานาจเพื่อใหการบริหารงานเปนไปอยางโปรงใส ตรวจสอบได การเคารพในสิทธิความเทาเทียมกันของผูถือหุน และมีความรับผิดชอบตอผูมีสวนไดเสียจะเปน ปจจัยสําคัญในการเพิ่มมูลคาและผลตอบแทนสูงสุดใหแกผูถือหุนของบริษัทในระยะยาว คณะกรรมการบริษัทไดอนุมัตินโยบายการกํากับดูแลกิจการ โดยมีหลักการและแนวปฏิบัติที่สอดคลอง กับหลักการการกํากับดูแลกิจการทีด่ ขี องตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ในที่ประชุมคณะกรรมการเมื่อวันที่ 27 มิถนุ ายน 2551 ทั้งนี้จะไดมีการสื่อสารใหผูบริหารและพนักงานของบริษัทไดรับทราบและถือปฏิบัติอยาง ตอเนือ่ ง นโยบายดังกลาวแบงออกเปน 5 หมวด ครอบคลุมหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี ดังนี้ 1. สิทธิและความเทาเทียมกันของผูถือหุน และบทบาทตอผูมีสวนไดเสีย 2. โครงสราง บทบาท หนาที่ ความรับผิดชอบและความเปนอิสระของคณะกรรมการ สวนที่ 2 หนา 44


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551

3. การเปดเผยขอมูลและความโปรงใส 4. การควบคุมภายในและการบริหารความเสีย่ ง 5. จริยธรรมและจรรยาบรรณ 1)

สิทธิและความเทาเทียมกันของผูถือหุน และบทบาทตอผูมีสวนไดเสีย บริษัทไดใหความสําคัญตอสิทธิและความเทาเทียมกันของผูถือหุน โดยผูถือหุนทุกรายจะไดรับการ ปฏิบัติที่เทาเทียมกันในเรื่องตางๆ ไดแก การเขารวมประชุมผูถือหุนเพื่อรับทราบผลการดําเนินงานประจําป และสารสนเทศของบริษัท การออกเสียงลงคะแนนในที่ประชุมผูถือหุนในการแตงตั้ง ถอดถอนกรรมการ การ ไดรบั เงินปนผล ตลอดจนการซักถามหรือแสดงความเห็นในเรือ่ งตางๆ ทีค่ ณะกรรมการไดรายงานใหทราบ หรือไดขอความเห็นจากที่ประชุมผูถือหุน เปนตน 1.1 การประชุมผูถือหุน คณะกรรมการบริษัทตองจัดใหมีการประชุมผูถือหุนเปนการประชุมสามัญประจําปภายใน 120 วัน นับ แตวันสิ้นสุดของรอบปบัญชีของบริษัท และการประชุมผูถือหุนคราวอื่นใหเรียกวาการประชุมวิสามัญ โดยจัด ประชุมเพิ่มตามความจําเปน โดยบริษัทไดจัดใหมีหนวยงานกํากับดูแลที่จะปฏิบัติตามนโยบายที่จะดําเนินการ ประชุมผูถือหุนใหเปนไปตามกฎหมาย และแนวทางการประชุมผูถือหุนที่กําหนดโดยตลาดหลักทรัพยแหง ประเทศไทย ทั้งนี้ในการประชุมผูถือหุนบริษัทไดจัดสงหนังสือเชิญประชุมที่ระบุสถานที่ วัน และเวลาประชุม พรอมทั้งขอมูลประกอบการประชุมวาระตางๆ อยางเพียงพอใหผูถือหุนไดมีเวลาศึกษาลวงหนากอนการ ประชุมใหมากกวา 7 วันตามที่กฎหมายกําหนดทุกครั้ง รวมทั้งจะระบุถึงวัตถุประสงค และเหตุผลในแตละ วาระโดยมีความเห็นของคณะกรรมการในทุกวาระโดยไมมีวาระซอนเรน หรือเพิ่มเรื่องประชุมใดไวในวาระอื่น เวนแตกรณีจําเปนเรงดวนที่ทราบภายหลังการออกหนังสือเชิญประชุมแลว และมีการบันทึกการประชุม ถูกตองครบถวนเพื่อใหผูถือหุนตรวจสอบได โดยหากผูถือหุนทานใดไมสะดวกในการเขาประชุม บริษัทก็ไดมี การจัดทําหนังสือมอบฉันทะโดยผูถือหุนสามารถมอบหมายใหตัวแทนของผูถือหุนเขารวมประชุมแทนได ในการประชุมผูถือหุน ผูถือหุนทุกรายมีสิทธิและความเทาเทียมกันในการรับทราบสารสนเทศ การ แสดงความคิดเห็น และการตัง้ คําถามใดๆ ตอที่ประชุมตามระเบียบวาระการประชุมและเรื่องที่เสนอ รวมทั้ง ไดมกี ารแจงใหผูถือหุนรับทราบสิทธิในการลงคะแนนและวิธีการออกเสียงลงคะแนนทุกครั้งกอนเริ่มประชุม โดยประธานที่ประชุมมีหนาที่จัดสรรเวลาใหอยางเหมาะสม และสงเสริมใหมีการแสดงความเห็นและซักถามใน ที่ประชุม ในการประชุมผูถือหุนทุกครั้ง จะมีการแจงในหนังสือนัดประชุมถึง รายชื่อกรรมการอิสระที่จะแตงตั้ง ขึน้ อยางนอย 1 ทานใหเปนผูรับมอบอํานาจออกเสียงแทนผูถือหุนที่ไมสามารถเขารวมประชุม

สวนที่ 2 หนา 45


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 1.2 สิทธิของผูมีสวนไดเสีย บริษัทตระหนักถึงความสําคัญตอสิทธิของผูมีสวนไดเสียทุกกลุม โดยไดมีการดูแลใหผูมีสวนไดเสีย กลุมตางๆ เชน ผูถือหุน พนักงาน ผูบริหาร ลูกคา คูคา เจาหนี้ ตลอดจนสาธารณชนและสังคม ไดรบั การ ปฏิบัติอยางเหมาะสม เสมอภาคและเปนธรรม ผูถือหุน

:

ลูกคา

:

พนักงานทุกระดับ

:

คูคา

:

สังคม ชุมชนและ สิ่งแวดลอม

:

บริษัทมีการดําเนินธุรกิจอยางโปรงใส ถูกตอง และยุติธรรม เพื่อพัฒนา กิจการใหมั่นคงและเจริญเติบโต โดยคํานึงถึงการสรางผลตอบแทนที่ดี ตอผูถือหุนอยางตอเนื่องและเทาเทียมกัน บริษัทมุงมั่นสรางความพึงพอใจและความมั่นใจใหกับลูกคา ซึ่งมีผลตอ ความสําเร็จของธุรกิจ โดยพัฒนาคุณภาพและแนวทางของสินคาและ บริการเพื่อตอบสนองความตองการของลูกคาใหมีประสิทธิภาพและมี ประสิทธิผลอยางสม่ําเสมอ เพื่อรักษาความสัมพันธที่ดีในระยะยาว บริษัทไดใหความเปนธรรมตอพนักงานทุกคนโดยไมเลือกปฏิบัติโดย การเสริมสรางวัฒนธรรมและบรรยากาศการทํางานทีด่ ี รวมทัง้ สงเสริม การทํางานเปนทีม และมีการปฏิบัติตอพนักงานบนพื้นฐานของ คุณภาพ โดยมีการพัฒนาฝกอบรมพนักงานอยางตอเนื่องทั้งภายใน และภายนอกบริษัท และดูแลในเรื่องผลตอบแทนและสวัสดิการของ พนักงาน บริษัทมีการดําเนินธุรกิจที่คํานึงถึงผลประโยชนของผูมีสวนไดเสีย และ การปฏิบัติที่เปนธรรมตอคูคาทุกรายของบริษัท บริษัทใหความความสําคัญตอสาธารณประโยชนและคุณภาพชีวิตที่ดี ตอสังคมไทย ดวยการมีสวนรวมพัฒนาชุมชนและตอบแทนกลับคืนสู สังคม

2) โครงสราง บทบาท หนาที่ ความรับผิดชอบและความเปนอิสระ ของคณะกรรมการ บริษทั ไดกาํ หนดใหมคี ณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริหาร ในการ กลัน่ กรองและศึกษาแนวทางการบริหารงานของบริษทั คณะกรรมการทุกคนมีอสิ ระในการแสดงความเห็นตอ การดําเนินงานของบริษทั เพื่อกํากับดูแลใหการดําเนินงานของฝายบริหารเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ถูกตอง โปรงใส 2.1 ปจจุบันคณะกรรมการบริษัท มีจํานวน 13 ทาน (ณ วันที่ กรรมการที่เปนผูบริหาร 6 ทาน กรรมการที่มิไดเปนผูบริหาร 4 ทาน กรรมการอิสระ 3 ทาน

31 มีนาคม 2551) ประกอบดวย

2.2 ภาวะผูนําและวิสัยทัศน 

คณะกรรมการมีความมุงมั่นที่จะใหบริษัทและบริษัทยอยเปนองคกรชั้นนําที่ไดรับการยอมรับใน ระดับสากลวาเปนบริษัทที่ประสบความสําเร็จมากที่สุดแหงหนึ่ง ในประเทศไทย โดยดําเนินธุรกิจที่มี ความหลากหลาย ดวยการบริหารจัดการทีแ่ ข็งแกรงและดวยบุคลากรทีล่ ว นแตมคี วามสามารถและ มีสวนรวมในวิสัยทัศน ภารกิจ และกลยุทธ สวนที่ 2 หนา 46


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551

คณะกรรมการมีภาวะผูนํา วิสัยทัศน มีความอิสระในการตัดสินใจและรับผิดชอบตามหนาที่ในการ กํากับดูแลกิจการใหเกิดประโยชนสูงสุดตอผูถือหุนโดยรวม

คณะกรรมการมีหนาที่และความรับผิดชอบตอผูถือหุนของบริษัทที่จะกํากับดูแลการบริหารงานของ ฝายบริหารและมีการแบงแยกหนาทีร่ ะหวางคณะกรรมการและฝายบริหารไวอยางชัดเจน

2.3 ความขัดแยงของผลประโยชน คณะกรรมการไดมีการกําหนดแนวทางในเรื่องความขัดแยงของผลประโยชน โดยการปฏิบัติตาม แนวทางของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย โดยจะพิจารณาแกไขปญหาความขัดแยงของผลประโยชน อยางรอบคอบ ยึดหลักความซื่อสัตย สุจริต มีเหตุมีผลและเปนอิสระภายในกรอบจริยธรรมที่ดี ตลอดจนมีการ เปดเผยขอมูลอยางครบถวนเพื่อผลประโยชนของบริษัทโดยรวมเปนสําคัญ 2.4 คาตอบแทนกรรมการและผูบ ริหาร การจายคาตอบแทนแกกรรมการ จะเปนการจายในลักษณะของบําเหน็จกรรมการ สวนผูบริหารจะไดรับเงินเดือนประจําเปนปกติเหมือนพนักงานอื่นๆ ของบริษัท

เปนรายเดือน

2.5 การประชุมคณะกรรมการ คณะกรรมการชุดตางๆ ไดแก คณะกรรมการบริษทั และคณะกรรมการตรวจสอบจะมีการประชุมเปน ประจําทุกไตรมาส เพื่อรับทราบและติดตามผลการดําเนินงานในเรื่องตางๆ ของบริษัท สวนคณะกรรมการ บริหารจะมีการประชุมเปนประจําทุกเดือนและประชุมเพิ่มเติมตามความจําเปนและเหมาะสมเพื่อพิจารณา อนุมัติการดําเนินงานของบริษัทในเรื่องสําคัญตางๆ ที่อยูในอํานาจการตัดสินใจของคณะกรรมการบริหาร และ รายงานผลการดําเนินงานใหคณะกรรมการบริษทั ทราบ จํานวนครัง้ ของการประชุมคณะกรรมการ บริษัท และจํานวนครัง้ ทีก่ รรมการแตละ ทานเขารวมประชุม คณะกรรมการบริษัท ตั้งแตวันที่ 1 เมษายน 2550 ถึง 31 มีนาคม 2551 เปนดังนี้

รายชือ่ กรรมการ 1. นายคีรี กาญจนพาสน 2. นายกวิน กาญจนพาสน 3. นายสุธรรม ศิรทิ พิ ยสาคร 4. นายรังสิน กฤตลักษณ 5. นายคม พนมเริงศักดิ์ 6. Mr. Kong Chi Keung 7. Mr. Abdulhakeem Kamkar 8. Dato’ Amin Rafie Othman 9. Dr. Paul Tong 10. Mr. Cheung Che Kin 11. พลโทพิศาล เทพสิทธา 12. ดร.อาณัติ อาภาภิรม 13. พลตํารวจตรีวราห เอีย่ มมงคล

ตําแหนง ประธานกรรมการบริษทั กรรมการผูจ ดั การ รองกรรมการผูจ ดั การ รองกรรมการผูจ ดั การ กรรมการ รองกรรมการผูจ ดั การ* กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการอิสระ/ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ/กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ/กรรมการตรวจสอบ

* ไดรับการแตงตั้งใหเปนรองกรรมการผูจัดการเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2551

สวนที่ 2 หนา 47

การเขารวมประชุม/ การประชุมทั้งหมด (ครั้ง) 7/7 7/7 7/7 7/7 7/7 7/7 1/7 4/7 2/7 1/7 6/7 7/7 6/7


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551

3) การเปดเผยขอมูลและความโปรงใส บทบาทหนาทีข่ องคณะกรรมการเกีย่ วกับการเปดเผยขอมูลและความโปรงใส 3.1 คณะกรรมการมีหนาทีใ่ นการเปดเผยสารสนเทศทัง้ ทีเ่ ปนสารสนเทศทางการเงิน และที่ไมใชทางการเงิน อยางครบถวน เพียงพอ เชื่อถือได และทันเวลา เพื่อใหผูถือหุนและผูมีสวนไดเสียของบริษัทไดรับ สารสนเทศอยางเทาเทียมกัน 3.2 บริษัท มีหนวยงานนักลงทุนสัมพันธ (Investor Relations) เพื่อเปนตัวแทนบริษัทในการสื่อสาร ประชาสัมพันธขอมูลขาวสารที่เปนประโยชนใหผูถือหุน ผูลงทุน นักวิเคราะหหลักทรัพยและผูที่เกี่ยวของ ไดรับทราบขอมูลของบริษัท อีกทั้งมีหนวยงาน Compliance ของบริษทั ดูแลในดานการเปดเผยขอมูลแก ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยและสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย เพื่อใหมั่นใจวาไดปฏิบัติตามระเบียบ ขอบังคับของกฎหมายที่เกี่ยวของอยางครบถวน 3.3 บริษัทมีนโยบายเปดเผยสารสนเทศที่สําคัญตอสาธารณชน ดังนี้ 

วัตถุประสงคของบริษัท

ฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของบริษทั โครงสรางการถือหุน และสิทธิในการออกเสียง

รายชือ่ คณะกรรมการ กรรมการชุดตางๆ และคณะผูบ ริหาร

ปจจัยและนโยบายเกี่ยวกับการจัดการความเสี่ยงที่สามารถมองเห็นได (Material Foreseeable Risk Factors) ทั้งที่เกี่ยวกับการดําเนินงานและการเงิน

นโยบายและโครงสรางการกํากับดูแลกิจการ (Governance Structures and Policies) รวมทั้งความ รับผิดชอบของคณะกรรมการในการรายงานทางการเงิน และรายงานของประธาน คณะกรรมการ ตรวจสอบ

เปดเผยในรายงานประจําปเกี่ยวกับจํานวนครั้งที่กรรมการแตละทานเขารวมประชุม โดย เปรียบเทียบกับจํานวนครั้งของการประชุมคณะกรรมการในแตละป นอกจากนี้ บริษัทยังเปดเผยขอมูลตามขอบังคับ หรือกฎหมาย ที่เกี่ยวของ เพื่อใหนักลงทุนและผูที่ เกี่ยวของทั้งที่เปนผูถือหุนและผูที่สนใจจะถือหุนในอนาคต ไดใชประกอบการตัดสินใจลงทุน โดยผานชองทาง และสื่อการเผยแพรขอมูลตางๆ ของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ตลอดจนผานเว็บไซตของบริษัทที่ www.tanayong.co.th 

4) การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง 4.1 การควบคุมภายใน (Internal Control) 

คณะกรรมการตองจัดใหมีและรักษาไวซึ่งระบบการควบคุมภายใน เพื่อปกปองเงินลงทุนของผูถือหุน และทรัพยสินของบริษัท

คณะกรรมการมีหนาที่สอบทานความมีประสิทธิภาพของระบบการควบคุมภายในอยางนอยปละครั้ง และรายงานใหผูถือหุนทราบวาไดกระทําการดังกลาวแลว การสอบทานตองครอบคลุมในทุกเรื่อง รวมทัง้ การควบคุมทางการเงิน การดําเนินงาน การกํากับดูแลการปฏิบตั งิ าน (Compliance Controls) และการบริหารความเสีย่ ง (Risk Management)

สวนที่ 2 หนา 48


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551

4.2 การตรวจสอบภายใน บริษัทอยูในขั้นตอนการจัดตั้งหนวยงานตรวจสอบภายใน ซึ่งจะเปนหนวยงานหนึ่งในบริษัท และ รายงานตรงตอคณะกรรมการตรวจสอบและผูบ ริหารระดับสูง มีหนาทีใ่ นการใหคาํ ปรึกษา ตรวจสอบและ ประเมินระบบการควบคุมภายใน ระบบบริหารความเสีย่ งและระบบการกํากับดูแลกิจการ

4.3 การบริหารความเสีย่ ง (Risk Management) บริษัทมีนโยบายที่จะบริหารความเสี่ยงตางๆ ที่มีผลกระทบตอบริษัททั้งปจจัยภายในและภายนอก ใหมี ความเสี่ยงที่เหลืออยูในระดับที่เหมาะสมและยอมรับได การบริหารความเสี่ยงเปนสวนหนึ่งของการจัดทํา แผน ธุรกิจ (Business Plan) ประจําป เพื่อใหการกําหนดแนวทางการจัดการความเสี่ยงนั้นสอดคลองกับ วัตถุประสงค เปาหมาย และแผนกลยุทธตางๆ ของบริษัท ทั้งนี้ ผูบริหารและพนักงานทุกคนในบริษัทเปน เจาของความเสี่ยง และมีหนาที่ในการประเมินความเสี่ยงของแตละหนวยงาน และกระบวน การประเมิน ประสิทธิภาพของมาตรการควบคุมที่มีอยู นําเสนอแผนและวิธกี ารในการลดความเสีย่ ง และรายงาน ตอ ผูบ ริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริษทั 5) จริยธรรมและจรรยาบรรณ บริษัทใชหลักจริยธรรมและจรรยาบรรณเปนแนวทางในการประพฤติปฏิบัติหนาที่ใหเหมาะสม เพื่อเปน การสรางภาพลักษณที่ดี อันจะนํามาซึ่งความมั่นคงใหแกบริษัทและบริษัทยอย อีกทั้ง เพื่อใหเปนไปตาม นโยบายการกํากับดูแลกิจการทีด่ ขี องบริษทั โดยพนักงานใหมจะไดรบั การอบรมเรือ่ งจริยธรรมและ จรรยาบรรณในเบื้องตนเพื่อสรางความเขาใจในการนําไปประพฤติปฏิบัติ 9.5

การดูแลเรื่องการใชขอมูลภายใน บริษทั ไดแจงใหกรรมการและผูบ ริหารป ฏิบัติตามกฎเกณฑ ระเบียบ ของสํานักงาน คณะกรรมการ กํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และประมวลขอกําหนดตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ดังนี้ 1. กําหนดใหผูบริหาร รวมถึง คูสมรส และบุตรที่ ยัง ไมบรรลุนิติภาวะ ตองรายงานการเปลีย่ นแปลงการถือ ครองหลักทรัพยตอ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ตามมาตรา 59 แหง พระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 และจัดสงสําเนารายงานนี้ใหแกบริษัทในวัน เดียวกันกับวันทีส่ ง รายงานตอสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย 2. แจงใหกรรมการและผูบ ริหารรับทราบถึงการไมใชขอ มูลภายในเพือ่ ประโยชนในการซือ้ ขายหุน หากมีการ ซื้อขายหุนแลว ตองรีบแจงใหสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยทราบภายใน 3 วัน และหามมิใหเปดเผยขอมูลที่เปนสาระสําคัญนั้นตอบุคคลภายนอก หรือบุคคลที่ไมมีหนาที่เกี่ยวของ กอนที่จะมีการแจงใหตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทย ทราบขาวนัน้ ทั้งนี้ หากผูที่เกี่ยวของฝาฝน ขอกําหนดในเรื่องเกี่ยวกับการใชขอมูลภายในดังกลาว จะถือวาไดกระทําผิดขอบังคับ การทํางาน ของ บริษัท จะมีโทษทางวินัย โดยบทลงโทษทางวินัยมี 4 ประการโดยขึ้นกับลักษณะแหงความผิด หรือความ หนักเบาของการกระทําผิดหรือตามความรายแรงที่เกิดขึ้น คือ  ตักเตือนดวยวาจา  ตักเตือนเปนลายลักษณอักษร  ตักเตือนเปนลายลักษณอักษร และพักงานโดยไมไดรับคาจางไมเกิน 7 วัน  เลิกจางโดยไมจายคาชดเชย

สวนที่ 2 หนา 49


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 9.6 บุคลากร จํานวนพนักงานของบริษทั รวมผูบ ริหาร และกรรมการบริหาร ณ วันที่ 1 เมษายน 255 1 มีจํานวน 104 คน โดยแยกตามฝายตางๆ ดังนี้ สํานักกรรมการผูจ ดั การ ฝายกฎหมาย ฝายบริหารทรัพยากรมนุษยและธุรการ ฝายบริหารสินทรัพย ฝายโครงการพิเศษ ฝายพัฒนาโครงการ ฝายการตลาดและการขาย ฝายบัญชี ฝายการเงิน รวม

13 5 8 28 9 18 9 12 2 104

คน คน คน คน คน คน คน คน คน คน

โดยมีคา ตอบแทนประกอบดวยเงินเดือนและโบนัส รวมทั้งสิ้น 60,080,114 บาท ขอพิพาททางดานแรงงานในปที่ผานมา - ไมมี 9.7

นโยบายการพัฒนาบุคลากร บริษัทมีจุดมุงหมายหลักในการบริหารทรัพยากรมนุษย คือ คัดเลือก พัฒนา สงเสริม และรักษาไวซึ่ง พนักงานที่มีคุณภาพ ทั้งนี้ เพื่อใหการดําเนินกิจการของบริษัทบรรลุเปาหมายอยางมีประสิทธิผลและ ประสิทธิภาพ เพื่อใหบรรลุถึงจุดมุงหมายในการบริหารทรัพยากรมนุษยไวดังตอไปนี้ 1. พนักงานทุกคนจะไดรับการปฏิบัติอยางเปนธรรมในฐานะที่เปนสวนสําคัญสวนหนึ่งของบริษัท 2. การคัดเลือกบุคคลเพื่อวาจางใหดํารงตําแหนงตางๆ ของบริษัท จะกระทําดวยความเปนธรรมโดยคํานึงถึง คุณสมบัติของแตละตําแหนงงาน วุฒิการศึกษา ประสบการณ สภาพรางกายและขอกําหนดอื่นๆ ที่จําเปน แกงาน ทั้งนี้ บริษัทจะพิจารณาพนักงานภายในเปนอันดับแรก เพื่อใหโอกาสในการพัฒนาความกาวหนา ในการทํางาน หากไมมีผูใดเหมาะสมจึงจะพิจารณาคัดเลือกจากบุคคลภายนอก 3. การกําหนดคาตอบแทนแกพนักงานบริษทั จะพิจารณาจากผลประกอบการของบริษทั ผลการปฏิบตั งิ าน ของพนักงานแตละคน ประกอบกับความสามารถในการจายของบริษทั และสถานการณทางเศรษฐกิจใน แตละป 4. บริษัทจะใหความเอาใจใสดูแลรักษาสภาพการทํางานใหมีความปลอดภัย ถูกสุขลักษณะ และ อาชีวอนามัย เพือ่ สวัสดิภาพของพนักงาน 5. บริษัทมีนโยบายที่จะสนับสนุนการฝกอบรม การพัฒนาพนักงาน ทั้งนี้ เพื่อใหเกิดประโยชนรวมกันทั้ง บริษทั และพนักงาน อีกทัง้ เปนการเปดโอกาสใหพนักงานเจริญกาวหนาในการทํางานตอไป 6. เพื่อใหพนักงานยึดถือปฏิบัติตามและเพื่อประโยชนแหงความมีวินัยอันดีงามของหมูคณะ เมื่อพนักงาน ผูใดหลีกเลี่ยงหรือฝาฝนระเบียบขอบังคับการทํางาน จะถือวาพนักงานผูนั้นกระทําผิด ซึ่งจะตองไดรับ การพิจารณาและดําเนินการตามมาตรการแกไขอยางใดอยางหนึง่ ตามระเบียบขอบังคับการทํางานอยาง เหมาะสมแกกรณี สวนที่ 2 หนา 50


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551

7. บริษัทไดกําหนดระเบียบปฏิบัติวาดวยการยื่นคํารองทุกขใหพนักงานไดใชเปนแนวทางในการปฏิบัติใน การยื่นเรื่องราวรองทุกข เพื่อใหพนักงานไดรับการปฏิบัติอยางเปนธรรมและเพื่อเปนแนวทางในการ แกไขขอคับของใจในการทํางานของพนักงาน 8. บริษัทถือวาผูบังคับบัญชาในสายงานมีหนาที่และสวนสําคัญในการบริหารงานบุคคล รวมทั้งการสงเสริม ความสัมพันธอันดีของพนักงานกับบริษัท ขณะเดียวกันพนักงานทุกคนก็ตองมีสวนรับผิดชอบในการ รักษาไวซึ่งความสัมพันธอันดีดวยเชนกัน 9. บริษัทจะสงเสริมใหพนักงานแสดงขอคิดเห็นอันจะนํามาซึ่งวิธีการทํางานที่ดีขึ้น เพื่อใหพนักงานมีสวน รวมในการปรับปรุงประสิทธิภาพในการทํางาน 10. บริษัทไดตระหนักวาการสื่อสารที่ดีจะนํามาซึ่งประสิทธิภาพ และสัมพันธภาพที่ดีในการทํางานรวมกัน ดังนั้น บริษัทจึงสงเสริมใหพนักงานไดรับแจงขาวสารที่เกี่ยวของอยูเสมอตามโอกาสอันควรและเหมาะสม

สวนที่ 2 หนา 51


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551

10. การควบคุมภายใน

คณะกรรมการตรวจสอบของบริษทั ประกอบดวยกรรมการอิสระ 3 ทาน โดย คณะกรรมการ ตรวจสอบของบริษัทไดรับการแตงตั้งจากคณะกรรมการบริษัทใหปฏิบัติหนาที่ในการสอบทานขอมูลตางๆ ที่ เกีย่ วของกับการรายงานทางการเงิน การตรวจสอบภายในและการตรวจสอบโดยผูส อบบัญชีรบั อนุญาต พรอมกันนี้ คณะกรรมการตรวจสอบไดพยายามสงเสริมและผลักดันใหบริษัทมีการปฏิบัติตามขอพึงปฏิบัติที่ดี ของบริษทั จดทะเบียนเพือ่ ใหบริษทั มีการกํากับดูแลกิจการทีด่ ตี ลอดจนใหการแนะนําในเรือ่ งการบริหารความ เสี่ยงและระบบการควบคุมภายในตอผูบริหาร ในการประชุมแตละครั้ง คณะกรรมการตรวจสอบไดพบปะอยางอิสระกับฝายบริหาร เพือ่ ทบทวนและ ประเมินผลเกี่ยวกับนโยบายและหลักการทางบัญชี แนวทางการปฏิบัติที่เกี่ยวของกับการบัญชีและการเงิน การควบคุมภายใน และแผนงานการตรวจสอบ นอกจากนัน้ คณะกรรมการตรวจสอบยังไดทบทวนและรับรอง ขอมูลและรายงานทางการเงินสําหรับทุกๆ สิน้ ไตรมาสของป และไดใหคําแนะนําแกคณะกรรมการบริษัทใน การจัดทําแผนการเพื่อปองกันหรือลดจุดออนในการควบคุมภายใน และความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นกับบริษัท ทั้งนี้ คณะกรรมการตรวจสอบและคณะกรรมการบริษัทไดจัดทําแบบประเมินความเพียงพอของ ระบบควบคุมภายใน ตามหัวขอดังตอไปนี้     

องคกรและสภาพแวดลอม (Organization Control and Environment Measure) การบริหารความเสีย่ ง (Risk Management Measure) การควบคุมการปฏิบตั งิ านของฝายบริหาร (Management Control Activities) ระบบสารสนเทศและการสือ่ สารขอมูล (Information and Communication Measure) ระบบการติดตาม (Monitoring)

สวนที่ 2 หนา 52


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551

สวนที่ 2 หนา 53


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551

สวนที่ 2 หนา 54


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551

11. รายการระหวางกัน บุคคล / นิติ บริษัทที่เกิด บุคคลที่อาจมี รายการ ความขัดแยง บจ. อีจีวี

บจ. กระดาด ไอสแลนด รีสอรท

บมจ. ธนายง

บมจ. ธนายง

ลักษณะความสัมพันธ –

นายคีรี กาญจนพาสน กรรมการและผูถือหุนใหญ ของบริษัท เปนกรรมการและ ผูถือหุนใน บจ. อีจีวี ใน สัดสวนรอยละ 40

นายคีรี กาญจนพาสน กรรมการและผูถือหุนใหญ ของบริษัท เปนกรรมการและ ผูถือหุนใน บจ. กระดาด ไอส แลนด รีสอรท ในสัดสวนรอย ละ 60

ลักษณะรายการ เงินใหกูยืม รายไดดอกเบีย้ บริษัทไดใหเงินกูยืมแก บจ. อีจีวี เมื่อนาน มาแลว โดย ณ สิ้นสุดปบัญชี 2550 มียอดคงเหลือเงินใหกูยืมจํานวน 4.02 ลาน บาท และดอกเบี้ยคางรับจํานวน 6.38 ลาน บาท โดยไดสาํ รองคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญแลว เต็มจํานวน 10.41 ลานบาท คงเหลือมูลคา ตามบัญชีสุทธิจํานวน 0 บาท จายเงินทดรองจาย

มูลคารายการ มูลคารายการ ในรอบปบัญชี ในรอบปบัญชี ความจําเปน / หมายเหตุ 2549 2550 (ลานบาท) (ลานบาท) - เปนรายการเงินใหกูยืมเมื่อนาน 0.30 0.16 มาแลว ซึ่งปจจุบันบริษัทไดประเมิน แลววาลูกหนี้ไมมีความสามารถใน การชําระหนี้ และไดตั้งสํารองคาเผื่อ หนี้สงสัยจะสูญไวแลวเต็มจํานวน

-

บริษัทไดจายเงินทดรองจายแก บจ. กระดาด ไอสแลนด รีสอรท เมือ่ นานมาแลว โดย ณ สิ้นสุดปบัญชี 2550 มียอดคงเหลือเงินทดรอง จายจํานวน 0.22 ลานบาท โดยไดสาํ รองคา เผื่อหนี้สงสัยจะสูญแลวเต็มจํานวน 0.22 ลาน บาท คงเหลือมูลคาตามบัญชีสทุ ธิจาํ นวน 0 บาท สวนที่ 2 หนา 55

- เปนรายการเงินทดรองจายเมือ่ นาน มาแลว ซึ่งปจจุบัน ลูกหนี้ดังกลาวได ปดกิจการแลวและอยูระหวางการ ชําระบัญชี จึงไมมีความสามารถใน การชําระหนี้ บริษัทจึงไดตั้งสํารองคา เผื่อหนี้สงสัยจะสูญไวแลวเต็มจํานวน


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 บุคคล / นิติ บริษัทที่เกิด บุคคลที่อาจมี รายการ ความขัดแยง บมจ. ระบบ ขนสงมวลชน กรุงเทพ

บมจ. ธนายง

ลักษณะความสัมพันธ –

เดิมเปนบริษัทยอยของบริษัท ซึ่งถือหุนในสัดสวนรอยละ 52.47 อยางไรก็ตาม ตามแผนฟน ฟู กิจการของบริษัท หุน ของ บมจ. ระบบขนสงมวลชน กรุงเทพ จะถูกโอนเพื่อชําระ หนี้ของบริษัท ทําใหบริษัทถือ หุนในสัดสวนลดลงเหลือรอย ละ 1.86 มีกรรมการรวมกัน คือ นายคีรี กาญจนพาสน และ Dr. Paul Tong ผูถือหุนใหญและกรรมการ ของบริษัท คือ นายคีรี กาญ จนพาสน ถือหุน 25 หุน และ นายสุธรรม ศิริทิพยสาคร กรรมการของบริษัท ถือหุน 1,000 หุน จากจํานวนหุน ทัง้ หมดของ บมจ. ระบบขนสง มวลชนกรุงเทพ จํานวน 1,215,868,989 หุน

ลักษณะรายการ เงินใหกูยืม รายไดดอกเบีย้ บริษัทไดใหเงินกูยืมแก บมจ. ระบบขนสง มวลชนกรุงเทพ ซึ่ง ณ ขณะนั้นมีสถานะเปน บริษัทยอยของบริษัท เมื่อนานมาแลว โดย ณ สิ้นสุดปบัญชี 2550 มียอดคงเหลือเงินใหกูยืม จํานวน 541.03 ลานบาท และดอกเบี้ยคางรับ จํานวน 146.68 ลานบาท โดยไดสาํ รองคาเผื่อ หนี้สงสัยจะสูญแลวจํานวน 400.07 ลานบาท คงเหลือมูลคาตามบัญชีสุทธิจํานวน 287.64 ลานบาท

สวนที่ 2 หนา 56

มูลคารายการ มูลคารายการ ในรอบปบัญชี ในรอบปบัญชี ความจําเปน / หมายเหตุ 2549 2550 (ลานบาท) (ลานบาท) - เปนรายการเงินใหกูยืมเพื่อสนับสนุน 12.76 ทางการเงินใหแกบริษัทยอยในการ 13.64 ดําเนินโครงการรถไฟฟา BTS เพื่อ ใชเปนเงินคากอสราง เมือ่ นานมาแลว โดยคิดอัตราดอกเบี้ยที่อัตรา MLR+2% อยางไรก็ตาม บมจ. ระบบขนสง มวลชนกรุงเทพ ไดเขาสูก ระบวนการ ฟนฟูกิจการตั้งแตป 2549 ซึ่งบริษัท ไดยื่นขอรับชําระหนี้ในฐานะเจาหนี้ แลว โดยในขณะนี้ บมจ.ระบบขนสง มวลชนกรุงเทพ อยูใ นระหวางการ ปฏิบัติตามแผนฟนฟูกิจการ ทั้งนี้ บริษัทไดมีการตั้งสํารอง คาเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญ ไวในจํานวนที่คาดวา เพียงพอสําหรับความเสียหายที่ อาจจะเกิดขึ้นแลว


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 บุคคล / นิติ บริษัทที่เกิด บุคคลที่อาจมี รายการ ความขัดแยง บจ. ไทม สเตชั่น

บมจ. ธนายง

ลักษณะความสัมพันธ –

เดิมเปนบริษัทยอยของบริษัท ซึ่งถือหุนในสัดสวนรอยละ 75 โดยหุนทั้งจํานวนอยูระหวาง รอโอนเพื่อชําระหนี้ตามแผน ฟนฟูกิจการของบริษัท มีกรรมการรวมกันคือ นายคีรี กาญจนพาสน และนายรังสิน กฤตลักษณ

ลักษณะรายการ เงินใหกูยืม รายไดดอกเบีย้ บริษัทไดใหเงินกูยืมแก บจ. ไทมสเตชั่น ซึ่ง ณ ขณะนั้นมีสถานะเปนบริษัทยอยของบริษัท เมื่อนานมาแลว โดย ณ สิ้นสุดปบัญชี 2550 มี ยอดคงเหลือเงินใหกูยืมจํานวน 191.72 ลาน บาท และดอกเบี้ยคางรับจํานวน 99.67 ลาน บาท โดยบริษัทไดสํารองคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ แลวเต็มจํานวน 291.39 ลานบาท คงเหลือ มูลคาตามบัญชีสุทธิจํานวน 0 บาท

สวนที่ 2 หนา 57

มูลคารายการ มูลคารายการ ในรอบปบัญชี ในรอบปบัญชี ความจําเปน / หมายเหตุ 2549 2550 (ลานบาท) (ลานบาท) - เปนรายการเงินใหกูยืมเพื่อสนับสนุน - ทางการเงินใหแกบริษัทยอยเมือ่ นาน มาแลว ซึ่ง ปจจุบัน บจ. ไทมสเตชั่น มีหนี้สินลนพนตัวและไมมีศักยภาพ ในการชําระหนี้คืน บริษัทจึงไดตั้ง สํารองคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญไวแลว เต็มจํานวน


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 บุคคล / นิติ บริษัทที่เกิด บุคคลที่อาจมี รายการ ความขัดแยง บจ. วาเคไทย (ไทยแลนด)

บจ. วาเคไทย (ไทยแลนด)

บจ. เมือง ทอง แอส เซ็ทส (ถือหุน โดย บริษัทรอยละ 100)

บจ. เมือง ทองเลคไซด เรสเตอรรอง (ถือหุน ทางออมโดย บริษัทรอยละ 100)

มูลคารายการ มูลคารายการ ในรอบปบัญชี ในรอบปบัญชี ลักษณะความสัมพันธ ลักษณะรายการ ความจําเปน / หมายเหตุ 2549 2550 (ลานบาท) (ลานบาท) – เดิมเปนบริษัทยอยของบริษัท เงินใหกูยืม - เปนรายการเงินใหกูยืมเพื่อสนับสนุน ซึ่งถือหุนในสัดสวนรอยละ รายไดดอกเบีย้ 0.08 0.03 ทางการเงินใหแกบริษัทยอยเมือ่ นาน 100.0 มาแลว ซึ่งปจจุบันอยูระหวางติดตาม บจ. เมืองทอง แอสเซ็ทส ไดใหเงินกูยืมแก บจ. – ตอมา บริษัทไดโอนหุนทั้ง ทวงถามหนี้ อยางไรก็ตาม ไดตั้ง วาเคไทย (ไทยแลนด) ซึ่ง ณ ขณะนั้นมีสถานะ จํานวน เพื่อชําระหนีใ้ หแก สํารองคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญไวแลว เปนบริษัทยอยของบริษัท เมื่อนานมาแลว โดย เจาหนี้ตามแผนฟนฟูกิจการ เต็มจํานวน ณ สิ้นสุดปบัญชี 2550 มียอดคงเหลือ เงินให ของบริษัท กูยืมจํานวน 2.2 ลานบาท และดอกเบี้ยคางรับ – ญาติสนิทของนายคีรี จํานวน 12.4 ลานบาท ทั้งนี้ไดสํารอง คาเผื่อ กาญจนพาสน เปนกรรมการ หนี้สงสัยจะสูญ แลวเต็มจํานวน 14.6 ลานบาท ใน บจ. วาเคไทย (ไทยแลนด) คงเหลือมูลคาตามบัญชีสุทธิจํานวน 0 บาท เงินใหกูยืม - เปนรายการเงินใหกูยืมเพื่อสนับสนุน –เดิมเปนบริษัทยอยของบริษัท รายไดดอกเบีย้ 0.5 0.5 ทางการเงินใหแกบริษัทยอยเมือ่ นาน ซึ่งถือหุนในสัดสวนรอยละ มาแลว ซึ่งปจจุบันอยูระหวางติดตาม 100.0 บจ. เมืองทองเลคไซด เรสเตอรรอง ไดใหเงิน ทวงถามหนี้ อยางไรก็ตาม ไดตั้ง –ตอมา บริษัทไดโอนหุนทั้ง กูยืมแก บจ. วาเคไทย (ไทยแลนด) ซึ่ง ณ สํารองคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญไวแลว จํานวน เพื่อชําระหนีใ้ หแก ขณะนั้นมีสถานะเปนบริษัทยอยของบริษัท เต็มจํานวน เจาหนี้ตามแผนฟนฟูกิจการ เมื่อนานมาแลว โดย ณ สิ้นสุดปบัญชี 2550 มี ของบริษัท ยอดคงเหลือเงินใหกูยืมจํานวน 25.2 ลานบาท ญาติสนิทของนายคีรี และดอกเบี้ยคางรับจํานวน 10.6 ลานบาท กาญจนพาสน เปนกรรมการ ทั้งนี้ ไดสํารองคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญแลวเต็ม ในบจ.วาเคไทย (ไทยแลนด) จํานวน 35.8 ลานบาท คงเหลือมูลคาตามบัญชี สุทธิจํานวน 0 บาท สวนที่ 2 หนา 58

Formatted: Bullets and Numbering


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 บุคคล / นิติ บริษัทที่เกิด บุคคลที่อาจมี รายการ ความขัดแยง บจ. สระบุรี พร็อพเพอรตี้

บมจ. ธนายง

ลักษณะความสัมพันธ

ลักษณะรายการ

เปน บริษัทรวม ของบริษัทซึ่ง เงินใหกูยืม ถือหุนในสัดสวน รอยละ 30.0 รายไดดอกเบีย้

นายคีรี กาญจนพาสน กรรมการและผูถือหุนใหญ ของบริษัท เปนกรรมการและ ผูถือหุนใน บจ. สระบุรี พร็อพ เพอรตี้ ในสัดสวนรอยละ 66

บริษัทไดใหเงินกูยืมแก บจ. สระบุรี พร็อพ เพอรตี้ ซึ่งมีสถานะเปนบริษัทรวมของบริษัท เมื่อนานมาแลว โดย ณ สิ้นสุดปบัญชี 2550 มี ยอดคงเหลือเงินใหกูยืมจํานวน 157.78 ลาน บาท และดอกเบี้ยคางรับจํานวน 323.37 ลาน บาท โดยบริษัทไดสํารองคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ แลวจํานวน 476.58 ลานบาท คงเหลือมูลคา ตามบัญชีสุทธิจํานวน 4.57 ลานบาท

มูลคารายการ มูลคารายการ ในรอบปบัญชี ในรอบปบัญชี ความจําเปน / หมายเหตุ 2549 2550 (ลานบาท) (ลานบาท) - เปนการให ความ ชวยเหลือทาง 6.34 การเงินแกบริษัท รวมในการดําเนิน โครงการ ซื้อที่ดินที่จังหวัดสระบุรี เพือ่ ใช ในการพัฒนาโครงการ โดย คิดอัตราดอกเบี้ยตามตนทุนที่ บริษัทตองจายไปเพื่อใหไดมาซึ่ง เงินทุนนั้น เพื่อให บจ. สระบุรี พร็อพเพอรตี้ กูตอ ทั้งนี้ บจ. สระบุรี พร็อพเพอรตี้ ไดนาํ ที่ดินดังกลาวมาจํานองประกันหนี้ ของบริษัทและที่ดินสวนใหญไดถูกตี ทรัพยเพื่อชําระหนี้แกเจาหนี้ของ บริษัททั้งกอนการฟนฟูกิจการและ ตามแผนฟน ฟูกจิ การของบริษัท บริษัทไดมีการตั้งสํารองคาเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญไวในจํานวนที่คาดวา เพียงพอสําหรับความเสียหายที่ อาจจะเกิดขึ้นแลว

สวนที่ 2 หนา 59


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 บุคคล / นิติ บริษัทที่เกิด บุคคลที่อาจมี รายการ ความขัดแยง บมจ. บางกอก แลนด

บจ. เมือง ทอง แอส เซ็ทส (ถือหุน โดย บริษัทรอยละ 100)

ลักษณะความสัมพันธ –

ญาติสนิทของนายคีรี กาญจนพาสน กรรมการและ ผูถือหุนใหญของบริษัท เปน กรรมการและกลุมผูถือหุน ใหญใน บมจ. บางกอกแลนด

มูลคารายการ มูลคารายการ ในรอบปบัญชี ในรอบปบัญชี ลักษณะรายการ ความจําเปน / หมายเหตุ 2549 2550 (ลานบาท) (ลานบาท) จายเงินทดรองจาย - เปนการสนับสนุนเงินทดรองจายแก บมจ.บางกอกแลนด เมือ่ นานมาแลว บริษัทไดจายเงินทดรองจายแก บมจ. บางกอก ซึ่งในปจจุบัน หนี้สินคงคางดังกลาว แลนด เมื่อนานมาแลว โดย ณ สิ้นสุดปบัญชี ไดหมดอายุความลงแลว บริษัทจึงได 2550 มียอดคงเหลือเงินทดรองจายจํานวน ตั้งสํารองไวแลวเต็มจํานวน 9.71 ลานบาท โดยบริษัทไดสํารองคาเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญแลวเต็มจํานวน คงเหลือมูลคาตาม บัญชีสทุ ธิจาํ นวน 0 บาท

สวนที่ 2 หนา 60


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 บุคคล / นิติ บริษัทที่เกิด บุคคลที่อาจมี รายการ ความขัดแยง บจ. ชางคลาน เวย

บจ. เมือง ทองเลคไซด เรสเตอรรอง (ถือหุน ทางออมโดย บริษัทรอยละ 100) บจ. เมือง ทอง แอส เซ็ทส (ถือหุน โดย บริษัท รอย ละ100)

ลักษณะความสัมพันธ – –

บริษัทถือหุนในสัดสวนรอยละ 15.15 ญาติสนิทของนายคีรี กาญจนพาสน กรรมการและ ผูถือหุนใหญของบริษัท เปน กรรมการและผูถ ือหุนใน สัดสวนรอยละ 27.24 ของ บจ. ชางคลานเวย

ลักษณะรายการ รับเงินทดรองจาย บจ. เมืองทองเลคไซด เรสเตอรรอง เปนลูกหนีเ้ งินทดรองจาย บจ. ชางคลานเวย ซึ่ง ณ สิ้นสุดปบัญชี 2550 มียอดคงคางจํานวน 0.48 ลานบาท

คาใชจา ยในการบริหารโรงแรม บจ. เมืองทอง แอสเซ็ทส คางเงินคาบริหารโรงแรมกับ บจ. ชางคลาน เวย ซึ่ง ณ สิ้นสุดปบัญชี 2550 มียอดคงคาง จํานวน 2.32 ลานบาท

สวนที่ 2 หนา 61

มูลคารายการ มูลคารายการ ในรอบปบัญชี ในรอบปบัญชี ความจําเปน / หมายเหตุ 2549 2550 (ลานบาท) (ลานบาท) - อยูระหวางรอการชําระหนี้ใหกับ บจ. ชางคลานเวย

-

- อยูระหวางรอการชําระหนี้ใหกับ บจ. ชางคลานเวย


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 ความจําเปนและความสมเหตุสมผลของรายการระหวางกัน รายการระหวางกันของบริษทั เปนยอดคงคางของรายการทีเ่ กิดขึน้ เมือ่ นานมาแลว อยางไรก็ตาม คณะกรรมการตรวจสอบไดสอบทานรายการดังกลาวถึงความเหมาะสมของการติดตามผลและดําเนินการ ทัง้ ในดานการกําหนดคาตอบแทนใหเปนไปตามราคาตลาด การประเมินสถานะของรายการ การประเมิน ศักยภาพในการชําระหนี้ของลูกหนี้ ตลอดจนความเหมาะสมของการตั้งสํารองคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญไวให เพียงพอตอความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้นแลว มาตรการหรือขั้นตอนการอนุมัติการทํารายการระหวางกัน การทํารายการระหวางกันจะตองผานการพิจารณาจากคณะกรรมการบริษทั ทีม่ คี ณะกรรมการ ตรวจสอบเขารวมประชุม หรือ ผานการอนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุนตามแตกรณี ทั้งนี้ตามประกาศของ คณะกรรมการตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เรื่อง การเปดเผยขอมูลและการปฏิบัติการของบริษัทจด ทะเบียนในรายการที่เกี่ยวโยงกัน พ.ศ. 2546 คณะกรรมการบริษทั จะตองไมอนุมตั ริ ายการใดๆ ทีต่ นหรือ บุคคลที่อาจมีความขัดแยงมีสวนไดเสียหรือาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนในลักษณะอื่นใดกับบริษัทหรือ บริษัทยอย และบริษัทจะตองปฏิบัติใหเปนไปตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอบังคับ ประกาศ คําสั่ง หรือขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยที่เกี่ยวของกับขอกําหนดในเรื่องการทํา รายการระหวางกัน นโยบายหรือแนวโนมการทํารายการระหวางกัน บริษัท อาจมีความจําเปนใน การทํารายการระหวางกัน กับบุคคลที่เกี่ยวโยงกัน ในอนาคต แตทั้งนี้ รายการสวนใหญจะเปนรายการที่ทํากับริษัทยอย ซึ่งเขาหลักเกณฑยกเวนไมถือเปนรายการระหวางกันที่ ตองปฏิบตั ติ ามประกาศของคณะกรรมการตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และหากเปนรายการระหวางกัน ในลักษณะอื่นๆ บริษัท จะมีการกําหนดเงื่อนไขตางๆ ใหเปนไปตาม เงื่อนไขการคาทั่วไป ในราคาตลาดซึง่ สามารถเปรียบเทียบไดกับราคาและเงื่อนไขที่ใหกับ บุคคลภายนอก และจะปฏิบัติตามหลักเกณฑและ ขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยทีเ่ กีย่ วของกับขอกําหนดในเรือ่ งการทํารายการระหวางกัน ทั้งนี้ หากมีรายการระหวางกันของบริษัทหรือบริษัทยอยเกิดขึ้นกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยงทาง ผลประโยชน มีสวนไดสวนเสีย หรืออาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน บริษัทจะดําเนินการให คณะกรรมการตรวจสอบเปนผูใหความเห็นเกี่ยวกับความจําเปนและความเหมาะสมของรายการนั้นๆ ในกรณี ทีค่ ณะกรรมการตรวจสอบไมมคี วามชํานาญในการพิจารณารายการระหวางกันทีอ่ าจเกิดขึน้ บริษทั จะไดให ผูเชี่ยวชาญอิสระหรือผูสอบบัญชีของบริษัทเปนผูใหความเห็นเกี่ยวกับรายการระหวางกันดังกลาวเพื่อ นําไปใชประกอบการตัดสินใจของคณะกรรมการ หรือผูถือหุนตามแตกรณี ทั้งนี้ บริษัทจะเปดเผยรายการ ระหวางกันไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินที่ไดรับการตรวจสอบจากผูสอบบัญชีของบริษัท

สวนที่ 2 หนา 62


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551

12. ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน 12.1 งบการเงิน 12.1.1 สรุปรายงานการสอบบัญชี คือ นายศุภชัย ปญญาวัฒโน ผูตรวจสอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน จากรายงานผูต รวจสอบบัญชี 3930 บริษัท สํานักงาน เอินสท แอนด ยัง จํากัด ซึ่งเปนผูตรวจสอบบัญชีที่มีรายชื่ออยูในรายชื่อผูสอบบัญชีที่ ไดรบั ความเห็นชอบจากสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ไดตรวจสอบงบ การเงินสําหรับป 2548 อันประกอบดวย งบดุล งบกําไรขาดทุน งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในสวนของผูถือหุน และงบกระแสเงินสดของบริษัท ผูสอบบัญชีไมแสดงความเห็นตองบการเงินสําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2549 เนือ่ งจากความไมแนนอนของความสําเร็จในการดําเนินการใหไดตามแผนฟน ฟูกจิ การของบริษทั และ ปญหาในการดําเนินงานตอเนื่องของบริษัทและบริษัทยอย ซึ่งอาจมีผลกระทบอยางเปนสาระสําคัญอยางมาก ตองบการเงินรวมของบริษัทและบริษัทยอย และงบการเงินเฉพาะของบริษัทซึ่งในสถานการณ ณ ขณะนั้น ไม สามารถประเมินได นอกจากนี้ นายศุภชัย ปญญาวัฒโน ผูตรวจสอบบัญชีรับอนุญาต ไดตรวจสอบงบการเงินสําหรับป 2549 และป 2550 อันประกอบดวย งบดุล งบกําไรขาดทุน งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในสวนของผูถือหุนและ งบกระแสเงินสดของบริษทั และไดใหความเห็นอยางไมมีเงื่อนไขวา งบการเงินดังกลาวไดจัดทําขึ้นโดยถูกตอง ตามที่ควรในสาระสําคัญตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป และมิไดแสดงความเห็นตองบการเงินอยางมี เงื่อนไข ทั้งนี้สําหรับป 2549 นั้น ผูตรวจสอบบัญชีไดใหขอสังเกตเกี่ยวกับแผนฟนฟูกิจการในหมายเหตุ ประกอบงบการเงินขอ 6 และการเปลี่ยนแปลงนโยบายทางบัญชีเกี่ยวกับการแสดงมูลคาของที่ดิน อาคาร และ อุปกรณบางประเภทจากราคาทุนเปนราคาที่ตีใหมในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 5.7 และขอ 21 และ สําหรับป 2550 นั้น ผูตรวจสอบบัญชีไดใหขอสังเกตเกี่ยวกับหลักประกันและการชําระหนี้ตามแผนฟนฟู กิจการ ในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 14, 16, 19 และ 26 และการเปลี่ยนแปลงนโยบายทางบัญชี เกี่ยวกับการบันทึกเงินลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวมในงบการเงินเฉพาะกิจการจากวิธีสวนไดเสียเปนวิธี ราคาทุน เพื่อใหเปนไปตามมาตรฐานการบัญชีฉบับปรับปรุงใหมที่เกี่ยวของ ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน ขอ 4 ทั้งนี้ การใหขอสังเกต ของผูตรวจสอบบัญชี ดังกลาวเปนเพียงการใหขอมูลเพิ่มเติมถึงความสําเร็จของ การปฏิบัติตามแผนฟนฟูกิจการของบริษัท ซึ่งศาลลมละลายกลางไดมคี าํ สัง่ ยกเลิกการฟน ฟูกจิ การของบริษทั แลวเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2549 สําหรับการเปลี่ยนแปลงนโยบายทางบัญชี ก็เปน การปรับปรุงนโยบาย การบัญชี เพือ่ ให มีความสอดคลองกับมาตรฐานการบัญชีฉบับใหมที่เกี่ยวของ โดยมิไดมีผลกระทบอยางเปน สาระสําคัญตอผลการดําเนินงานและฐานะทางการเงินของบริษัท

สวนที่ 2 หนา 63


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 12.1.2 สรุปงบการเงินรวม งบดุล

(หนวย รอบบัญชีป 2550 ณ 31 มี.ค. 2551 จํานวน รอยละ สินทรัพย เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การคา - สุทธิ รายไดที่ยังไมไดเรียกชําระ เงินใหกูยืมระยะสั้นและเงินทดรองแกกิจการที่ เกี่ยวของกัน - สุทธิ ตนทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย – สุทธิ ตนทุนการจัดหาที่ดินโครงการบานเอื้ออาทร - สุทธิ งานระหวางกอสราง - สุทธิ สินทรัพยรอการโอนตามแผนฟนฟูกิจการ - สุทธิ เงินลงทุนในบริษัทยอยรอการโอนตามแผนฟนฟู กิจการ - สุทธิ สินทรัพยหมุนเวียนอื่น เงินจายลวงหนาเพื่อจัดหาที่ดินโครงการบานเอื้อ อาทร เงินจายลวงหนาคาซื้อที่ดิน เงินจายลวงหนาแกผูรับเหมา ลูกหนี้อื่น - สุทธิ อื่นๆ รวมสินทรัพยหมุนเวียน เงินฝากที่ติดภาระค้ําประกัน เงินสดที่นําไปวางทรัพยเพื่อเปนหลักประกันในการ ชําระหนี้ เงินใหกูยืมแกกิจการที่เกี่ยวของกัน - สุทธิ เงินลงทุนซึ่งบันทึกโดยวิธีสวนไดเสีย - บริษัทยอย เงินลงทุนซึ่งบันทึกโดยวิธีสวนไดเสีย - บริษัทรวม เงินลงทุนระยะยาวอื่น - สุทธิ ที่ดินรอการพัฒนาในอนาคต - สุทธิ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ - สุทธิ สิทธิการเชา - สุทธิ หองพักอาศัยและเครื่องตกแตงใหเชา - สุทธิ สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน รวมสินทรัพย

รอบบัญชีป 2549 ณ 31 มี.ค. 2550 จํานวน รอยละ

: ลานบาท) รอบบัญชีป 2548 ณ 31 มี.ค. 2549 จํานวน รอยละ

154 9 147

2.3% 0.0% 0.1% 2.2%

117 47 14 -

1.7% 0.7% 0.2% 0.0%

99 14 -

1.5% 0.0% 0.2% 0.0%

1,083 39 228

0.0% 16.3% 0.0% 0.6% 3.4%

1,079 1 169 1,310

0.0% 15.6% 0.0% 2.4% 18.9%

1,313 7 1,603

0.0% 19.3% 0.1% 0.0% 23.6%

224

3.4%

224

3.2%

1,427

21.0%

24 14 29 25 1,975 3

0.0% 0.4% 0.2% 0.4% 0.4% 29.7% 0.0%

1 65 25 28 3,079 3

0.0% 0.9% 0.0% 0.4% 0.4% 44.4% 0.0%

121 37 10 4,633 6

1.8% 0.0% 0.0% 0.5% 0.1% 68.2% 0.1%

313 292 636 113 754 2,351 11 206 5 4,684 6,658

4.7% 4.4% 0.0% 9.5% 1.7% 11.3% 35.3% 0.2% 3.1% 0.1% 70.3% 100.0%

361 292 112 601 2,271 12 204 0 3,856 6,935

5.2% 4.2% 0.0% 0.0% 1.6% 8.7% 32.7% 0.2% 2.9% 0.0% 55.6% 100.0%

409 249 5 635 849 6 0 2,159 6,792

0.0% 6.0% 0.0% 3.7% 0.1% 9.4% 12.5% 0.1% 0.0% 0.0% 31.8% 100.0%

สวนที่ 2 หนา 64


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 งบดุล (ตอ) (หนวย

รอบบัญชีป 2550 ณ 31 มี.ค. 2551 จํานวน รอยละ หนี้สินและสวนของผูถือหุน เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจาหนี้การคา เงินกูยืมระยะสั้นและเงินทดรองจากกิจการที่ เกี่ยวของกัน สวนของเจาหนี้ตามแผนฟนฟูกิจการที่ถึงกําหนด ชําระภายในหนึ่งป ตนทุนงานกอสรางโครงการบานเอื้ออาทรคางจาย หนี้สินหมุนเวียนอื่น เงินรับลวงหนาจากการแบงเชาชวงหองพัก อาศัย เงินรับลวงหนาจากผูวาจาง คาใชจายคางจาย เงินประกันผลงาน เจาหนี้อื่น อื่นๆ รวมหนี้สินหมุนเวียน เจาหนี้ตามแผนฟนฟูกิจการ - สุทธิจากสวนที่ถึง กําหนดชําระภายในหนึ่งป เงินกูยืมจากกรรมการ เงินกูยืมจากกิจการที่เกี่ยวของกัน หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไมหมุนเวียน รวมหนี้สิน

รอบบัญชีป 2549 ณ 31 มี.ค. 2550 จํานวน รอยละ

: ลานบาท) รอบบัญชีป 2548 ณ 31 มี.ค. 2549 จํานวน รอยละ

132 19

2.0% 0.3%

8

0.0% 0.1%

13

0.0% 0.2%

11

0.2%

11

0.2%

11

0.2%

1,889 86

28.4% 1.3%

4,021 -

58.0% 0.0%

35,165 -

517.7% 0.0%

20 41 72 56 71 2,397

0.0% 0.3% 0.6% 1.1% 0.8% 1.1% 36.0%

69 36 6 27 45 4,223

0.0% 1.0% 0.5% 0.1% 0.4% 0.6% 60.9%

133 33 41 35 35,432

2.0% 0.0% 0.5% 0.0% 0.6% 0.5% 521.7%

580 1 10 14 605 3,001

8.7% 0.0% 0.1% 0.2% 9.1% 45.1%

747 1 10 10 768 4,991

10.8% 0.0% 0.1% 0.1% 11.1% 72.0%

1 10 14 26 35,458

0.0% 0.0% 0.2% 0.2% 0.4% 522.1%

สวนที่ 2 หนา 65


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 งบดุล (ตอ) (หนวย

รอบบัญชีป 2550 ณ 31 มี.ค. 2551 จํานวน รอยละ สวนของผูถือหุน ทุนที่ออกจําหนายและชําระเต็มมูลคาแลว สวนเกินมูลคาหุนสามัญ สวนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย หุนของบริษัทที่ถือโดยบริษัทยอย สํารองจากการทํางบการเงินรวม กําไร (ขาดทุน) ที่ยังไมเกิดขึ้นจริงจากการ เปลี่ยนแปลงของมูลคาเงินลงทุนในหลักทรัพย เผือ่ ขาย ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน กําไรสะสม จัดสรรแลว - สํารองตามกฎหมาย ขาดทุนสะสม รวมสวนของผูถือหุนของบริษัท (ขาดทุนเกิน ทุน) สวนของผูถือหุนสวนนอยของบริษัทยอย รวมสวนของผูถือหุน รวมหนี้สินและสวนของผูถือหุน

รอบบัญชีป 2549 ณ 31 มี.ค. 2550 จํานวน รอยละ

: ลานบาท) รอบบัญชีป 2548 ณ 31 มี.ค. 2549 จํานวน รอยละ

5,813 134 2,020 (16) 3

87.3% 2.0% 30.3% -0.2% 0.0%

5,333 2,021 (16) 3

76.9% 0.0% 29.1% -0.2% 0.0%

533 7,600 15

7.9% 111.9% 0.0% 0.0% 0.2%

(0) (134)

0.0% -2.0%

1 (134)

0.0% -1.9%

(0) (135)

0.0% -2.0%

(4,175)

0.0% -62.7%

(5,264)

0.0% -75.9%

366 (37,044)

5.4% -545.4%

3,645 12 3,657 6,658

54.7% 0.2% 54.9% 100.0%

1,944 1,944 6,935

28.0% 0.0% 28.0% 100.0%

(28,666) (28,666) 6,792

-422.1% 0.0% -422.1% 100.0%

สวนที่ 2 หนา 66


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 งบกําไร (ขาดทุน) (หนวย

รอบบัญชีป 2550 1 เม.ย. 2550 – 31 มี.ค. 2551 จํานวน รอยละ รายได รายไดจากการขายอสังหาริมทรัพย รายไดจากการจัดหาที่ดินโครงการบาน เอื้ออาทร รายไดจากการรับเหมากอสราง โครงการบานเอื้ออาทร รายไดคาเชาและการบริการ รายไดจากกิจการโรงแรม รายไดอื่น สวนแบงผลกําไรจากเงินลงทุนตาม วิธีสวนไดเสีย - บริษัทยอย สวนแบงผลกําไรจากเงินลงทุนตาม วิธีสวนไดเสีย - บริษัทรวม สวนแบงผลกําไรจากเงินลงทุนตาม วิธีสวนไดเสีย - บริษัทยอยรอการ โอน ตามแผนฟนฟูกิจการ โอนกลับหนี้สินสวนที่เกินกวาจํานวน หนี้สินตามคําสั่งจากเจาพนักงาน พิทักษทรัพย กําไรจากการโอนสินทรัพยเพื่อชําระ หนี้ โอนกลับคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ กําไรจากการขายเงินลงทุนในบริษัท รวม เงินปนผลรับ ดอกเบี้ยรับ อื่น ๆ รวมรายได

รอบบัญชีป 2549 1 เม.ย. 2549 – 31 มี.ค. 2550 จํานวน รอยละ

: ลานบาท) รอบบัญชีป 2548 1 เม.ย. 2548 – 31 มี.ค. 2549 จํานวน รอยละ

10

0.4%

30

0.9%

9

0.2%

144

5.8%

502

14.7%

-

0.0%

832 70 37

33.6% 2.8% 1.5%

75 35

0.0% 2.2% 1.0%

80 40

0.0% 1.8% 0.9%

-

0.0%

-

0.0%

-

0.0%

-

0.0%

-

0.0%

15

0.3%

-

0.0%

-

0.0%

2,706

61.4%

-

0.0%

1,597

46.7%

1,256

28.5%

1,149 114

46.4% 4.6%

1,050 7

30.7% 0.2%

-

0.0% 0.0%

6 116 2,479

0.0% 0.0% 0.2% 4.7% 100.0%

26 5 94 3,420

0.7% 0.0% 0.2% 2.7% 100.0%

119 184 4,408

0.0% 0.0% 2.7% 4.2% 100.0%

สวนที่ 2 หนา 67


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 งบกําไร (ขาดทุน) – (ตอ) (หนวย

รอบบัญชีป 2550 1 เม.ย. 2550 – 31 มี.ค. 2551 จํานวน รอยละ คาใชจาย ตนทุนขายอสังหาริมทรัพย ตนทุนการจัดหาที่ดินโครงการบานเอื้อ อาทร ตนทุนการรับเหมากอสรางโครงการ บานเอื้ออาทร ตนทุนการใหเชาและการบริการ ตนทุนจากกิจการโรงแรม คาใชจายในการขาย บริการและบริหาร คาใชจายอื่น สวนแบงผลขาดทุนจากเงินลงทุน ตามวิธีสวนไดเสีย – บริษทั รวม หนี้สงสัยจะสูญ ขาดทุนจากการสํารองเผื่อการดอย คาของตนทุนโครงการบานเอื้อ อาทร ขาดทุนจากการสํารองเผื่อการดอย คาของเงินจายลวงหนาคาซื้อที่ดิน แกผูถือหุนเดิมกอนซื้อบริษัทยอย ขาดทุนจากการสํารองเผื่อการดอย คาของที่ดิน อาคารและอุปกรณ ขาดทุนจากการสํารองเผื่อการดอย คาของสินทรัพย ขาดทุนจากการปรับมูลคาเงินให กูยืมตามแผนฟนฟูกิจการของ บริษัทที่เกี่ยวของกัน ขาดทุนจากการสํารองเผื่อผลขาดทุน จากการลดลงของมูลคาเงินลงทุน ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน รวมคาใชจา ย

รอบบัญชีป 2549 1 เม.ย. 2549 – 31 มี.ค. 2550 จํานวน รอยละ

: ลานบาท) รอบบัญชีป 2548 1 เม.ย. 2548 – 31 มี.ค. 2549 จํานวน รอยละ

7

0.3%

12

0.3%

4

0.1%

145

5.8%

449

13.1%

-

0.0%

845 30 22 318

34.1% 1.2% 0.9% 12.8%

57 22 343

0.0% 1.7% 0.6% 10.0%

51 22 261

0.0% 1.2% 0.5% 5.9%

4 12

0.2% 0.5%

16

0.0% 0.5%

3,415

0.0% 77.5%

20

0.8%

93

2.7%

-

0.0%

-

0.0%

100

2.9%

-

0.0%

-

0.0%

465

13.6%

-

0.0%

-

0.0%

73

2.1%

-

0.0%

-

0.0%

-

0.0%

-

0.0%

1,401

0.0% 0.0% 56.5%

17 1,646

0.5% 0.0% 48.1%

442 441 4,636

10.0% 10.0% 105.2%

สวนที่ 2 หนา 68


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 งบกําไร (ขาดทุน) – (ตอ) (หนวย

รอบบัญชีป 2550 1 เม.ย. 2550 – 31 มี.ค. 2551 จํานวน รอยละ กําไร (ขาดทุน) กอนดอกเบีย้ จายและ ภาษีเงินไดนิติบุคคล ดอกเบี้ยจาย ภาษีเงินไดนิติบุคคล กําไรกอนสวนของผูถือหุนสวนนอย ขาดทุนสุทธิสวนที่เปนของผูถือหุนสวน นอยของบริษัทยอย กําไร (ขาดทุน) กอนรายการพิเศษ รายการพิเศษ กําไรจากการปรับโครงสรางหนี้ กําไร (ขาดทุน) สุทธิสําหรับป

รอบบัญชีป 2549 1 เม.ย. 2549 – 31 มี.ค. 2550 จํานวน รอยละ

1,077 (1) 1,077

43.5% 0.0% 0.0% 43.4%

1,774 (2) 1,772

51.9% -0.1% 0.0% 51.8%

(228) (220) (1) (450)

-5.2% -5.0% 0.0% -10.2%

0 1,077

0.0% 43.5%

1,772

0.0% 51.8%

(450)

0.0% -10.2%

12 1,089

0.5% 43.9%

24,443 26,215

714.7% 766.5%

(450)

0.0% -10.2%

(หนวย รอบบัญชีป 2550 1 เม.ย. 2550 – 31 มี.ค. 2551 กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน กําไร (ขาดทุน) กอนรายการพิเศษ รายการพิเศษ กําไร (ขาดทุน) สุทธิ จํานวนหุนสามัญถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก (หุน)

: ลานบาท) รอบบัญชีป 2548 1 เม.ย. 2548 – 31 มี.ค. 2549 จํานวน รอยละ

รอบบัญชีป 2549 1 เม.ย. 2549 – 31 มี.ค. 2550

: บาทตอหุน หรือ ตามที่ระบุ) รอบบัญชีป 2548 1 เม.ย. 2548 – 31 มี.ค. 2549

0.1875 0.1875

0.6234 8.5992 9.2226

(0.8434) (0.8434)

5,745,347,771

2,842,471,167

533,333,333

สวนที่ 2 หนา 69


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 งบกระแสเงินสด (หนวย

กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไร (ขาดทุน) สุทธิสําหรับป ปรับกระทบกําไร (ขาดทุน) สุทธิเปนเงินสดรับ (จาย) จากกิจกรรม ดําเนินงาน :ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศที่ยังไมเกิดขึ้นจริง คาเสื่อมราคาและตัดจําหนาย ตนทุนโครงการตัดจําหนาย สวนแบงผลขาดทุน (กําไร) จากเงินลงทุนตามวิธีสวนไดเสีย - บริษัท ยอย สวนแบงผลกําไรจากเงินลงทุนตามวิธีสวนไดเสีย - บริษัทรวม สวนแบงผลกําไรจากเงินลงทุนตามวิธีสวนไดเสีย - บริษัทยอยรอการ โอนตามแผนฟนฟูกิจการ โอนกลับหนี้สินสวนที่เกินกวาจํานวนหนี้สินตามคําสั่งจากเจาพนักงาน พิทักษทรัพย กําไรจากการโอนสินทรัพยเพื่อชําระหนี้ กําไรจากการขายเงินลงทุนในบริษัทรวม กําไรจากการขายเงินลงทุนชั่วคราว เงินปนผลรับจากบริษัทยอย โอนกลับคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ภาษีหัก ณ ที่จายตัดจําหนาย หนี้สงสัยจะสูญ ขาดทุนจากการสํารองเผื่อการดอยคาของเงินจายลวงหนาคาซื้อที่ดิน แกผูถือหุนเดิมกอนซื้อบริษัทยอย ขาดทุนจากการสํารองเผื่อการดอยคาของที่ดิน อาคารและอุปกรณ ขาดทุนจากการสํารองเผื่อการดอยคาของสินทรัพย (โอนกลับ) ขาดทุนจากการปรับมูลคาเงินใหกูยืมตามแผนฟนฟูกิจการของบริษัท ที่เกี่ยวของกัน ขาดทุนจากการสํารองเผื่อผลขาดทุนจากการลดลงของมูลคาเงินลงทุน หนี้สูญและกลับรายการรายไดสุทธิจากการขาย กลับรายการคาใชจายคางจาย กลับรายการดอกเบี้ยคางจาย กําไรจากการจําหนายที่ดิน อาคารและอุปกรณ ขาดทุนสุทธิสวนที่เปนของผูถือหุนสวนนอยของบริษัทยอย กําไร (ขาดทุน) จากการดําเนินงานกอนการเปลีย่ นแปลงใน สินทรัพยและหนี้สินดําเนินงาน

สวนที่ 2 หนา 70

: ลานบาท) รอบบัญชี ป 2548 1 เม.ย. 2548 – 31 มี.ค. 2549

รอบบัญชี ป 2550 1 เม.ย. 2550 – 31 มี.ค. 2551

รอบบัญชี ป 2549 1 เม.ย. 2549 – 31 มี.ค. 2550

1,089.4

26,214.9

(449.8)

30.0 -

76.9 -

440.7 78.4 3.0

4.3

-

(14.6)

-

-

(2,706.3)

(1,149.2) (1.0) (114.4) 1.1 11.7

(1,597.4) (1,049.6) (25.6) (6.5) 2.3 16.0

(1,255.8) 1.5 3,414.9

-

100.0 464.6 73.2

1.7

(0.5) (0.4)

42.1 17.5 (0.2) -

442.4 64.1 (12.5) (70.8) (0.2) -

(129.2)

24,328.1

(63.3)


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 งบกระแสเงินสด (ตอ) (หนวย

สินทรัพยดําเนินงานลดลง (เพิ่มขึ้น) :ลูกหนี้การคา เงินใหกูยืมระยะสั้นและเงินทดรองแกกิจการที่เกี่ยวของกัน รายไดที่ยังไมไดเรียกชําระ ตนทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย ตนทุนการจัดหาที่ดินโครงการบานเอื้ออาทร งานระหวางกอสราง เงินจายลวงหนาเพื่อจัดหาที่ดินโครงการบานเอื้ออาทร เงินจายลวงหนาคาซื้อที่ดิน เงินจายลวงหนาแกผูรับเหมา ลูกหนี้อื่น สินทรัพยหมุนเวียนอื่น สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น หนี้สินดําเนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) :เจาหนี้การคา ตนทุนงานกอสรางโครงการบานเอื้ออาทรคางจาย เงินรับลวงหนาจากผูวาจาง คาใชจายคางจาย ดอกเบี้ยคางจาย เงินประกันผลงาน เจาหนี้อื่น หนี้สินหมุนเวียนอื่น เงินสดสุทธิกอ นรายการพิเศษ รายการพิเศษ - กําไรจากการปรับโครงสรางหนี้ กระแสเงินสดสุทธิจาก (ใชไปใน) กิจกรรมดําเนินงาน

สวนที่ 2 หนา 71

: ลานบาท) รอบบัญชี ป 2548 1 เม.ย. 2548 – 31 มี.ค. 2549

รอบบัญชี ป 2550 1 เม.ย. 2550 – 31 มี.ค. 2551

รอบบัญชี ป 2549 1 เม.ย. 2549 – 31 มี.ค. 2550

3.0 (146.8) (7.9) 0.5 130.1 (13.8) (7.7) 2.1 (4.4)

0.7 9.5 127.7 (169.2) (1.0) (2.7) (20.0) (1.3)

(10.8) 1.1 9.9 (7.2) (121.0) 2.0 (2.1) 10.8

10.2 85.8 (48.5) 5.1 66.1 29.0 29.6 3.3 (12.2) (8.9)

(4.6) 68.7 2.8 4.5 (4.0) 5.9 24,345.0 (24,442.9) (97.9)

0.5 (36.7) 217.8 (0.4) 2.2 2.8 2.8


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 งบกระแสเงินสด (ตอ) (หนวย

กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินลงทุนชั่วคราวเพิ่มขึ้น เงินฝากที่ติดภาระค้ําประกันลดลง (เพิ่มขึ้น) เงินใหกูยืมแกกิจการที่เกี่ยวของกันเพิ่มขึ้น เงินลงทุนในบริษัทยอยเพิ่มขึ้น เงินลงทุนในบริษัทรวมลดลง (เพิ่มขึ้น) เงินปนผลรับจากบริษัทยอย เงินสดจายซื้อที่ดินรอการพัฒนาในอนาคต เงินสดรับจากการจําหนายที่ดิน อาคารและอุปกรณ เงินสดจายซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ เงินสดจายซื้อสิทธิการเชา เงินสดจายซื้อหองพักอาศัยและเครื่องตกแตงใหเชา เงินจายลวงหนาคาซื้อที่ดินและอาคารเพิ่มขึ้น เงินสดรับจากการโอนสิทธิในการซื้อที่ดิน เงินสดรับจากการจําหนายที่ดิน อาคารและอุปกรณ กระแสเงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดที่นําไปวางทรัพยเพื่อเปนหลักประกันในการชําระหนี้ (เพิ่มขึ้น) เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น เงินกูยืมจากกิจการที่เกี่ยวของกันเพิ่มขึ้น (ลดลง) เงินกูยืมจากกรรมการลดลง จายชําระเจาหนี้ตามแผนฟนฟูกิจการ เงินรับลวงหนาจากการแบงเชาชวงหองพักอาศัยเพิ่มขึ้น (ลดลง) เงินสดรับจากการออกหุนเพิ่มทุน เงินสดรับจากการจําหนายหุนของบริษัทที่ถือโดยบริษัทยอย เงินสดรับจากผูถือหุนสวนนอยของบริษัทยอย กระแสเงินสดสุทธิจากกิจกรรมจัดหาเงิน ผลตางจากการแปลงคางบการเงินเพิ่มขึ้น เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิม่ ขึน้ สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดตนป หัก: เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด ณ วันตนปของบริษัทยอยที่ไม รวมในงบการเงินรวม เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดปลายป

สวนที่ 2 หนา 72

: ลานบาท) รอบบัญชี ป 2548 1 เม.ย. 2548 – 31 มี.ค. 2549

รอบบัญชี ป 2550 1 เม.ย. 2550 – 31 มี.ค. 2551

รอบบัญชี ป 2549 1 เม.ย. 2549 – 31 มี.ค. 2550

47.3 (0.0) 2.6 (640.2) (48.3) (98.3) (10.3) (23.5) 65.0 0.6 (705.1)

(46.2) 2.9 (3.8) 150.0 (8.5) (6.5) (5.5) (65.0) 0.2 17.5

(0.8) (115.9) 0.2 (2.5) (119.1)

48.2 132.2 (0.0) (0.1) (56.6) 614.4 12.3 750.4 0.1 36.5 117.3

(361.0) (0.7) (1,542.4) (133.3) 2,133.3 1.9 97.7 0.7 18.1 99.2

4.3 (0.1) 126.7 130.9 2.6 17.3 1,306.2

153.8

117.3

(1,224.3) 99.2


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 อัตราสวนทางการเงินที่สําคัญ การวิเคราะหอตั ราสวนทางการเงิน

รอบบัญชีป 2550 1 เม.ย. 2550 – 31 มี.ค. 2551

รอบบัญชีป 2549 1 เม.ย. 2549 – 31 มี.ค. 2550

รอบบัญชีป 2548 1 เม.ย. 2548 – 31 มี.ค. 2549

อัตราสวนสภาพคลอง อัตราสวนสภาพคลอง เทา 0.82 0.73 0.13 อัตราสวนสภาพคลองหมุนเร็ว เทา 0.07 0.04 0.00 อัตราสวนสภาพคลองกระแสเงินสด เทา (0.00) (0.00) 0.00 อัตราสวนหมุนเวียนลูกหนี้การคา * เทา 9.64 7.75 6.77 * ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย วัน 37.36 46.46 53.14 อัตราสวนหมุนเวียนสินคาคงเหลือ ** เทา 0.92 0.38 0.00 ระยะเวลาขายสินคาเฉลีย่ ** วัน 390.35 937.55 155,629.83 อัตราสวนหมุนเวียนเจาหนี้ เทา 79.95 50.55 0.04 ระยะเวลาชําระหนี้ วัน 4.62 7.12 9,795.90 Cash Cycle วัน 423.09 976.89 145,887.08 อัตราสวนแสดงความสามารถในการหากําไร อัตราสวนกําไรขั้นตน % 4.18 15.95 39.89 อัตรากําไรจากการดําเนินงาน % 43.46 51.88 (5.18) อัตรากําไรอื่น % 46.36 78.15 90.22 อัตราสวนเงินสดตอการทํากําไร % (0.83) (5.52) (1.24) อัตราสวนกําไรสุทธิ % 43.95 766.54 (10.21) - กอนรายการพิเศษ % 43.46 51.81 (10.21) อัตราสวนผลตอบแทนผูถือหุน*** % 38.99 n.a. n.a. - กอนรายการพิเศษ % 38.55 n.a. n.a. อัตราสวนแสดงประสิทธิภาพในการ ดําเนินงาน อัตราสวนผลตอบแทนจากสินทรัพย % 16.03 381.95 (1.43) - กอนรายการพิเศษ % 15.85 25.82 (1.43) อัตราสวนผลตอบแทนจากสินทรัพยถาวร % 34.93 1,148.83 (1.40) - กอนรายการพิเศษ % 34.55 80.79 (1.40) อัตราการหมุนของสินทรัพย เทา 0.36 0.50 0.14 อัตราสวนวิเคราะหนโยบายทางการเงิน อัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุน เทา 0.82 2.57 (1.24) อัตราสวนความสามารถในการชําระดอกเบีย้ เทา (15.73) (42.84) 1.02 อัตราสวนความสามารถชําระภาระผูกพัน (Cash Basis) เทา (0.08) (0.05) 0.02 อัตราสวนการจายเงินปนผล % หมายเหตุ : * คํานวณจากรายไดหลักในธุรกิจใหเชาและการบริการ และกิจการโรงแรมของบริษัท ** คํานวณจากรายไดหลักในธุรกิจการขายอสังหาริมทรัพย และการจัดหาที่ดินและรับเหมากอสรางโครงการบานเอื้ออาทร *** สวนของผูถือหุนเฉลี่ยติดลบในงวดปบัญชี 2548 และ 2549

สวนที่ 2 หนา 73


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 12.2 คําอธิบายและการวิเคราะหฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน 12.2.1 ภาพรวมผลการดําเนินงานในระยะที่ผานมา ในปลายป 2549 บริษัทประสบความสําเร็จในการปฏิบัติตามแผนฟนฟูกิจการและกลับเขาสูการดําเนิน ธุรกิจหลักตามปกติ โดย ในปบัญชี 2548 –2550 บริษทั มีรายไดจากการประกอบธุรกิจหลักจํานวน 129 ลาน บาท 642 ลานบาท และ 1,094 ลานบาท ตามลําดับ การเติบโตของรายไดสว นใหญมาจากการพัฒนาและ ความตอเนือ่ งของโครงการบานเอือ้ อาทรเปนหลัก นอกจากนีบ้ ริษทั ยังมีรายไดจากการปรับโครงสรางหนีต้ าม แผนฟนฟูกิจการซึ่งสงผลใหบริษัทมีรายไดรวมในชวงปบัญชี 2548 –2550 จํานวน 4,408 ลานบาท 3,420 ลานบาท และ 2,479 ลานบาท ตามลําดับ และทําให บริษัทสามารถพลิกฟนผลกําไรของบริษัทจากที่เคยมี ผลขาดทุนสุทธิถึง 450 ลานบาท ในปบัญชี 2548 มาเปนผลกําไรสุทธิ ถึงจํานวน 26,215 ลานบาท และ 1,089 ลานบาท ในปบัญชี 2549 และ 2550 ตามลําดับ อยางไรก็ตาม บริษัทยังคงมีผลขาดทุนสะสมตาม งบการรวมจํานวน 5,264 ลานบาท และ 4,175 ลานบาท ในปบัญชี 2549 และ 2550 ตามลําดับ ซึ่งเปนผล ขาดทุนสะสมที่เกิดขึ้นกอนการเขาฟนฟูกิจการและปรับโครงสรางหนี้ และยังคงเหลืออยูภายหลังจากการ ยกเลิกการฟน ฟูกจิ การ 12.2.2 ผลการดําเนินงานที่ผานมาของแตละสายผลิตภัณฑหรือกลุมธุรกิจ รายได บริษัทมีรายไดรวมในชวงปบัญชี 2548 – 2550 จํานวน 4,40 8 ลานบาท 3,420 ลานบาท และ 2,47 9 ลานบาทตามลําดับ โดยสาเหตุจากการลดลงสวนใหญมาจากการลดลงของรายไดทเ่ี กิดจากความสําเร็จในการ ปฏิบัติตามแผนฟนฟูกิจการตั้งแตปลายป 2549 ทัง้ นีห้ ากพิจารณาจากรายไดในการประกอบธุรกิจหลักของ บริษัทในชวงปบัญชี 2548 – 2550 บริษัทมีรายไดดังกลาวเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องเทากับ 12 9 ลานบาท 64 2 ลานบาท และ 1,09 4 ลานบาท ตามลําดับ โดยสาเหตุหลักจากการเพิม่ ขึน้ ของรายไดดงั กลาวมาจากความ คืบหนาของการจัดหาที่ดินและรับเหมากอสรางโครงการบานเอื้ออาทรในป 2549 และ ป 2550 ปจจุบนั รายไดจากการประกอบธุรกิจหลักของบริษทั ประกอบดวย (1) รายไดจากการขาย อสังหาริมทรัพย (2) รายไดจากการจัดหาทีด่ นิ โครงการบานเอือ้ อาทร (3) รายไดจากการรับเหมากอสราง โครงการบานเอือ้ อาทร (4) รายไดจากคาเชาและบริการ และ (5) รายไดจากกิจการโรงแรม โดยมีรายละเอียด ดังตอไปนี้

(1) รายไดจากการขายอสังหาริมทรัพย ในชวงป 2548 – 2549 บริษัทยังอยูในระหวางการฟนฟูกิจการ หลังจากนั้น ในป 2550 เปนชวงที่

บริษัทอยูในชวงเตรียมโครงการเพื่อนําออกขายใหม ยอดขายจึงยังไมมาก และรายไดจากธุรกิจ อสังหาริมทรัพยจึงยังไมไดเปนรายไดหลัก โดยใน ชวง 3 ปดังกลาว บริษทั มีรายไดจากการขาย อสังหาริมทรัพยเทากับ 9 ลานบาท 30 ลานบาท และ 10 ลานบาท ตามลําดับ

(2) รายไดจากการจัดหาทีด่ นิ โครงการบานเอือ้ อาทร

โครงการบานเอือ้ อาทรเปนโครงการทีห่ นวยงานทางภาครัฐซึง่ ดําเนินการโดยการเคหะแหงชาติเปด ประมูลวาจางภาคเอกชนในการจัดหาที่ดินและการกอสรางที่อยูอาศัยสําหรับกลุมผูมีรายไดนอย เพื่อสงเสริม การเปนเจาของที่อยูอาศัยและยกระดับคุณภาพชีวิตของกลุมบุคคลดังกลาว โดยบริษัทไดรับการคัดเลือกให

สวนที่ 2 หนา 74


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 เปนผูรวมดําเนินการกับ การเคหะแหงชาติ และเริม่ มีรายไดจากการจัดหาทีด่ นิ โครงการบานเอือ้ อาทรในป 2549 โดยมีมูลคา 502 ลานบาท และ 144 ลานบาท ในป 2550

(3) รายไดจากการรับเหมากอสรางโครงการบานเอือ้ อาทร

บริษทั เริม่ มีรายไดจากการรับเหมากอสรางโครงการบานเอือ้ อาทร จํานวน 832 ลานบาท ในป 2550 จากความคืบหนาในการกอสรางและสงมอบทีอ่ ยูอ าศัยในโครงการบานเอือ้ อาทรชลบุรี (นาจอมเทียน) จํานวน 624 ลานบาท บานเอื้ออาทรประจวบคีรีขันธ (หัวหิน 3) จํานวน 186 ลานบาท และบานเอือ้ อาทร สมุทรปราการ (บางบอ 2) จํานวน 22 ลานบาท

(4) รายไดจากคาเชาและบริการ ในชวงป 2548 – 2550 บริษทั มีรายไดคา เชาและบริการจากการประกอบธุรกิจอาคารสํานักงานใหเชา

ทีเอสทีทาวเวอร และ ยงสุ อพารทเมนท มีจํานวนรวมกัน เทากับ 80 ลานบาท 75 ลานบาท และ 70 ลาน บาท ตามลําดับ ซึง่ การลดลงของรายไดมสี าเหตุมาจากการลดลงของรายไดจาก ยงสุ อพารทเมนท

(5) รายไดจากกิจการโรงแรม ในชวงป 2548 – 2550 บริษทั มีรายไดจากการประกอบกิจการโรงแรมอิสติน เลคไซด จํานวน 40 ลานบาท 35 ลานบาท และ 37 ลานบาท ตามลําดับ ซึ่งเปนโรงแรมระดับ 3 ดาว โดยมีอตั ราการเขาพักเฉลีย่ ประมาณรอยละ 45 และมีการเปลี่ยนแปลงของระดับรายไดไมมากนักตลอดระยะเวลา 3 ป ที่ผานมา

รายไดอื่น – 2550 รายไดอื่นที่มีมูลคาที่มีนัยสําคัญของบริษัทมาจากผลของการปรับโครงสรางหนี้ ในชวงป 2548 และการปฏิบัติตามแผนฟนฟูกิจการ โดยมีรายการที่บันทึกเปนรายได ไดแก สวนแบงผลกําไรจากเงินลงทุน ตามวิธีสวนไดเสียจากบริษัทยอยรอการโอนตามแผนฟนฟูกิจการ การโอนกลับหนี้สินสวนที่เกินกวาจํานวน หนี้สินตามคําสั่ง ของเจาพนักงานพิทกั ษทรัพย และกําไรจากการโอนสินทรัพยเพือ่ ชําระหนี้ โดยรายการ ดังกลาวมีมูลคารวมกันเทากับ 3,962 ลานบาท 2,647 ลานบาท และ 1,149 ลานบาท ในชวงป 2548 – 2550 โดยคิดเปนสัดสวนรอยละ 89.9 77.4 และ 46.4 ของรายไดรวม ตามลําดับ โดยรายการดังกลาวมีแนวโนม ลดลงอยางตอเนือ่ ง สืบเนือ่ งจากความคืบหนาและความสําเร็จของการดําเนิน การตามแผนฟน ฟูกจิ การของ บริษัท ตนทุนขายและบริการ – 2550 บริษทั มีตน ทุนขายและบริการรวม กันเทากับ 77 ลานบาท 540 ลานบาท และ ในชวงป 2548 1,049 ลานบาท ตามลําดับ ซึ่งเปนการเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องจํานวน 46 3 ลานบาท คิดเปนอัตราการ เพิ่มขึ้น รอยละ 601.3 ในป 2549 เทียบกับป 2548 และจํานวน 509 ลานบาท คิดเปนอัตราการ เพิ่มขึ้น รอยละ 94.3 ในป 2550 เทียบกับป 2549 โดยมีสาเหตุหลักของการเพิม่ ขึน้ ของตนทุนขายและบริการในการประกอบธุรกิจ หลัก ดังตอไปนี้

(1) ตนทุนการขายอสังหาริมทรัพย

สวนที่ 2 หนา 75


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 บริษัทมีตนทุน การขายอสังหาริมทรัพยเทากับ 4 ลานบาท 12 ลานบาท และ 7 ลานบาท ในชวงป 2548 – 2550 ตามลําดับ โดยในป 2549 ตนทุนขายดังกลาวเพิ่มขึ้น 8 ลานบาท คิดเปนอัตราการเพิ่มขึ้น รอยละ 185.4 เทียบกับป 2548 ซึ่งสอดคลองกับการปรับตัวเพิ่มขึ้นของยอดขายโครงการธนาซิตี้ที่เพิ่มขึ้น และในป 2550 ตนทุนขายดังกลาวปรับตัวลดลง 5 ลานบาท คิดเปนอัตรา การลดลงรอยละ 41 เทียบกับป 2549 ซึ่งสอดคลองกับยอดขายโครงการธนาซิตท้ี ล่ี ดลง

(2) ตนทุนการจัดหาทีด่ นิ โครงการบานเอือ้ อาทร

ในป 2549 และ ป 2550 บริษัทมีตนทุนการจัดหาที่ดินโครงการบานเอื้ออาทรจํานวน 449 ลานบาท และ 145 ลานบาท ตามลําดับ การลดลงของตนทุนดังกลาวในป 2550 จํานวน 304 ลานบาท คิดเปนอัตรา การลดลงรอยละ 67.7 เทียบกับป 2549 ซึ่งสอดคลองกับรายไดจากธุรกิจนี้ที่ลดลงเชนกัน

(3) ตนทุนการรับเหมากอสรางโครงการบานเอือ้ อาทร

ในป 2550 บริษทั มีตน ทุนจากการรับเหมากอสรางโครงการบานเอือ้ อาทรจํานวน 845 ลานบาท ซึ่ง เปนปแรกที่เริ่มมีรายไดจากธุรกิจ นี้ โดยตนทุนมีสัดสวนรอยละ 102 ของรายไดจากการประกอบธุรกิจ สืบเนือ่ งจากผลกําไรของการดําเนินการโ ครงการบานเอือ้ อาทร ในสวนของการรับเหมากอสรางจะมีนอ ยกวา หรือขาดทุนเล็กนอยในบางโครงการ โดยผลกําไรสวนใหญมาจากรายไดจากการจัดหาที่ดินโครงการบานเอือ้ อาทร ซึ่งไดบันทึกรับรูรายไดไปแลวในปที่ผานมา โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้ (หนวย : ลานบาท)

สรุปผลกําไรโครงการบานเอือ้ อาทร รายได บานเอื้ออาทรชลบุรี (นาจอมเทียน) บานเอื้ออาทรประจวบคีรีขันธ (หัวหิน 3) บานเอื้ออาทรสมุทรปราการ (บางบอ 2) บานเอื้ออาทรสระบุรี (โคกแย) รวม ตนทุน บานเอื้ออาทรชลบุรี (นาจอมเทียน) บานเอื้ออาทรประจวบคีรีขันธ (หัวหิน 3) บานเอื้ออาทรสมุทรปราการ (บางบอ 2) บานเอื้ออาทรสระบุรี (โคกแย) รวม กําไรขั้นตน บานเอื้ออาทรชลบุรี (นาจอมเทียน) บานเอื้ออาทรประจวบคีรีขันธ (หัวหิน 3) บานเอื้ออาทรสมุทรปราการ (บางบอ 2) บานเอื้ออาทรสระบุรี (โคกแย) รวม

รอบปบัญชี 2549 จัดหา รับเหมา ที่ดิน กอสราง รวม

ปบัญชี 2550 จัดหา รับเหมา ที่ดิน กอสราง รวม

รวมทั้ง โครงการ

303.62 65.03 133.46 502.11

- 303.62 - 65.03 - 133.46 - 144.34 - 502.11 144.34

623.48 186.16 22.01 831.66

623.48 186.16 22.01 144.34 976.00

927.10 251.19 155.48 144.34 1,478.11

294.46 64.13 90.39 448.98

- 294.46 - 64.13 - 90.39 - 144.84 - 448.98 144.84

614.58 177.68 52.78 845.05

614.58 177.68 52.78 144.84 989.89

909.04 241.81 143.17 144.84 1,438.87

-

8.90 8.90 8.48 8.48 (30.77) (30.77) - (0.50) (13.39) (13.89)

18.06 9.38 12.30 (0.50) 39.24

9.16 0.90 43.07 53.13

สวนที่ 2 หนา 76

9.16 0.90 43.07 53.13

(0.50) (0.50)


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 (4) ตนทุนการใหเชาและการใหบริการ

บริษัทมีตนทุนการใหเชาและบริการเทากับ 50.8 ลานบาท 56.9 ลานบาท และ 29.7 ลานบาท ในชวง ป 2548 – 2550 ตามลําดับ โดยในป 2549 ตนทุนขายดังกลาวเพิ่มขึ้น 6.1 ลานบาท คิดเปนอัตราการเพิ่มขึ้น รอยละ 12 เทียบกับป 2548 และ ในป 2550 ตนทุนขายดังกลาวปรับตัวลดลง 27.3 ลานบาท คิดเปนอัตรา การลดลงรอยละ 47.9 เทียบกับป 2549 ซึง่ สอดคลองกับการลดลงของรายได

(5) ตนทุนจากกิจการโรงแรม

บริษทั มีตน ทุนจากกิจการโรงแรมเทากับ 22.1 ลานบาท 21.6 ลานบาท และ 21.6 ลานบาท ในชวงป 2548 – 2550 ตามลําดับ โดยในป 2549 ตนทุนขายดังกลาวลดลง 0.5 ลานบาท คิดเปนอัตราการลดลงรอย ละ 2.2 เทียบกับป 2548 สอดคลองกับรายไดจากการประกอบกิจการโรงแรมของบริษทั แตเปนการปรับลดลง ในอัตราทีต่ าํ่ กวาการลดลงของรายไดทั้งนี้เนื่องจากตนทุนสวนใหญเปนตนทุนคงที่

สวนที่ 2 หนา 77


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 คาใชจายในการขายและการบริหาร และกําไรจากการดําเนินงาน ในชวงป 2548 – 2550 บริษทั มีคา ใชจา ยในการขายและการบริหารเทากับ 261 ลานบาท 34 3 ลาน บาท และ 318 ลานบาท ตามลําดับ โดยในป 2549 คาใชจา ยในการขายและการบริหารปรับตัวเพิม่ ขึน้ จํานวน 82ลานบาท คิดเปนอัตราการเพิ่มขึ้นรอยละ 31.2 เทียบกับป 2548 สาเหตุสว นใหญเปนผลมาจากการบันทึก คาใชจายซึ่งเปน คาธรรมเนียมกรมบังคับคดีเพื่อการประมูลขายทอดตลาด ทรัพย จํานวน 36 ลานบาท และ การบันทึกผลขาดทุนจากรายการลูกหนีเ้ งินกูย มื รายการหนึง่ ซึง่ ลูกหนีด้ งั กลาวเขาฟน ฟูกจิ การ จํานวน 42 ลานบาท อยางไรก็ตาม คาใชจายดังกลาวไดปรับลดลงในป 2550 สงผลใหคา ใชจา ยในการขายและการ บริหารปรับลดลงจํานวน 25 ลานบาท คิดเปนอัตราการลดลงรอยละ 7.3 ตนทุนกูยืม บริษัทมีคาใชจายดอกเบี้ยจํานวน 220 ลานบาท 2 ลานบาท และ 1 ลานบาท ในชวงป 2548 – 2550 ตามลําดับ ซึง่ มีแนวโนมลดลงอยางตอเนือ่ ง อัน เปนผลสืบเนื่องมาจากการลดลงของภาระหนี้สินตามแผน ฟนฟูกิจการตั้งแตป 2549 ภาษีเงินได ในป 2548 บริษัทยอยมีคาใชจายภาษีเงินไดเพียง 1ลานบาท และสําหรับป 2549 และ ป 2550 บริษัท และบริษัทยอยไมมีภาระภาษีเงินไดเนื่องจากมีผลขาดทุนจากการปรับโครงสรางหนี้ตามแผนฟนฟูกิจการอยู กําไรสุทธิ ในชวงป 2548 บริษัทมี ผลขาดทุนสุทธิจาํ นวน 450 ลานบาท ในขณะที่ป 2549 – 2550 บริษัทมีกําไร สุทธิจํานวน 26,215 ลานบาท และ 1,089 ลานบาท ตามลําดับ ซึง่ สวนใหญเปนผลมาจากกําไรจากการปรับ โครงสรางหนี้ตามแผนฟนฟูกิจการ อัตราผลตอบแทนผูถือหุน ในชวงป 2548 และ ป 2549 บริษัทยังคงมีสวนของผูถือหุนเฉลี่ยติดลบ อยางไรก็ตาม ในป 2549 บริษัทเริ่มมีสวนของผูถือหุนเปนบวกโดยเปนการเพิ่มขึ้นอยางมีนัยสําคัญของการบันทึกรายการพิเศษ ซึ่งเปน กําไรจากการปรับโครงสรางหนีต้ ามแผนฟน ฟูกจิ การของบริษทั ตลอดจนผลการดําเนินงานจากธุรกิจหลักทีด่ ี ขึ้นเรื่อยมา สงผลใหในป 2550 บริษัทมีอัตราผลตอบแทนผูถือหุนรอยละ 38.55

สวนที่ 2 หนา 78


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 12.2.3 ฐานะการเงิน สินทรัพย  สวนประกอบและการเปลี่ยนแปลงของสินทรัพยที่สําคัญ สินทรัพยรวมของบริษัท สิ้นสุดงวดปบัญชี 2550 ณ วันที่ 31 มีนาคม 2551 มีจาํ นวน 6,658 ลานบาท ซึ่งประกอบดวยสินทรัพยหมุนเวียนจํานวน 1,975 ลานบาท และสินทรัพยไมหมุนเวียนจํานวน 4,68 4 ลาน บาท คิดเปนสัดสวนรอยละ 29.7 และ 70.3 ของสินทรัพยรวม ตามลําดับ โดยสินทรัพยรวมมีมูลคาลดลง 276 ลานบาท คิดเปนอัตราการลดลงรอยละ 4 เทียบกับป 2549 ซึ่งสวนใหญเปนผลมาจากการโอนสินทรัพยเพื่อ ชําระหนี้ตามแผนฟนฟูกิจการของบริษัท โดย ณ สิ้นสุดงวดปบัญชี 2550 บริษทั มีสนิ ทรัพยรอการโอน เพื่อ ชําระหนี้ตามแผนฟนฟูกิจการจํานวนสุทธิ 228 ลานบาท ซึ่งลดลง 1,082 ลานบาท คิดเปนอัตราการลดลงรอย ละ 82.6 จากปรอบปบัญชีกอน สําหรับสินทรัพยไมหมุนเวียนของบริษัท ณ สิ้นสุดงวดปบัญชี 2549 มีจํานวนเพิ่มขึ้น 1,697 ลานบาท เปนผลสืบเนื่องมาจากบริษัทไดมีการประเมินราคาที่ดินสนามกอลฟธนาซิตี้ใหมเพื่อสะทอนราคาในตลาดและ บันทึกสวนเพิ่มที่เกิดจากราคาประเมินใหม และ ณ สิ้นสุดงวดปบัญชี 2550 สินทรัพยไมหมุนเวียนเพิ่มขึ้น จํานวน 828 ลานบาท เปนผลสืบเนื่องมาจากการเพิ่มขึ้นของเงินลงทุนในบริษัทรวม ทุนจํานวนสุทธิ 640.2 ลานบาท เพื่อ กอตั้งบริษัท กมลา บีช รีสอรท แอนด โฮเต็ล แมนเนจเมนท จํากัด เพื่อดําเนินธุรกิจพัฒนา อสังหาริมทรัพยและกิจการโรงแรมในจังหวัดภูเก็ต สภาพคลอง  กระแสเงินสด บริษัทมีกระแสเงินสดเพิ่มขึ้น จํานวนสุทธิ 36.5 ลานบาท ในงวดสิ้นสุดปบัญชี 2550 และมีเงินสดตน งวดทีย่ กมาจากป 2549 จํานวน 117.3 ลานบาท ทําใหเงินสดสุทธิปลายงวดมีจํานวนเทากับ 153.8 ลานบาท ซึ่งการเพิม่ ขึน้ ของกระแสเงินสดสุทธิดงั กลาวมีสาเหตุหลักมาจากการเพิม่ ขึน้ ของกระแสเงินสดจากกิจกรรม การจัดหาแหลงเงินจํานวนสุทธิ 750.4 ลานบาท ซึง่ มาจากเงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน จํานวน 132.2 ลานบาท และเงินสดรับจากการออกหุนเพิ่มทุนจํานวน 614.4 ลานบาท โดยบริษัทไดนํากระแสเงินสดดังกลาว ไปลงทุนเพิ่มเติมเพื่อขยายธุรกิจของบริษัท ซึ่งสงผลใหบริษัทมีกระแสเงินสดใชไปในกิจกรรมลงทุน จํานวน สุทธิ 705.1 ลานบาท ซึ่งแบงเปน การลงทุนในบริษทั กมลา บีช รีสอรท แอนด โฮเต็ล แม นเนจเมนท จํากัด จํานวน 640.2 ลานบาท เพื่อดําเนินธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย และกิจการโรงแรมใน จังหวัดภูเก็ต และการ ขยายการลงทุนตามทีป่ รากฏในรายการกระแสเงินสด กลาวคือ (1) จายคาซือ้ ทีด่ นิ รอการพัฒนาในอนาคต (2) จายคาซื้อที่ดิน อาคาร และอุปกรณ (3) จาย คาใชจายสําหรับ หองพักอาศัยและเครื่องตกแตงใหเชา และ (4) จายลวงหนาคาซื้อที่ดินและอาคารรวมเปนจํานวนทั้งสิ้น 180.4 ลานบาท อยางไรก็ตาม บริษัทมีกระแสเงินสด จากการดําเนินงานสุทธิตดิ ลบเล็กนอยจํานวน 8.9 ลานบาท โดยสาเหตุหลักมาจากการมีรายการทีไ่ มใชเงิน สดซึง่ ถูกรวมอยูใ นกําไรจากการดําเนินงาน คือ กําไรจากการโอนสินทรัพยเพือ่ ชําระหนี้ ตามแผนฟนฟูกิจการ จํานวน 1,149.2 ลานบาท และ การโอนกลับคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญจํานวน 114.4 ลานบาท โดยรายการ ดังกลาวมาจากความสําเร็จในการปรับโครงสรางหนีต้ ามแผนฟน ฟูกจิ การของบริษทั

สวนที่ 2 หนา 79


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 อัตราสวนสภาพคลองที่สําคัญ ณ สิ้นสุด งวดปบัญชี 2550 บริษัทมีอัตราสวนสภาพคลองเทากับ 0.82 เทา ซึ่งปรับเพิ่มขึ้นอยาง ตอเนื่องจาก ณ สิ้นสุดงวดปบัญชี 2549 เทากับ 0.73 เทา และ ณ สิ้นสุดปบัญชี 2548 เทากับ 0.13 เทา โดย มีสาเหตุหลักมาจากการลดลงอยางมีนัยสําคัญของสวนของเจาหนี้ตามแผนฟนฟูกิจการในหนี้สินหมุนเวียนใน ชวงเวลาดังกลาว และการเพิ่มทุนของบริษัทตามแผนฟนฟูกิจการ โดย ณ สิ้นสุดปบัญชี 2549 บริษัทมีสวน ของเจาหนี้ตามแผนฟนฟูกิจการในหนี้สินหมุนเวียนลดลง จาก 31,143.7 ลานบาท มาอยูที่ 4,021 ลานบาท ประกอบกับบริษัทมีกระแสเงินสดรับจากการเพิม่ ทุนจํานวน 2,133.3 ลานบาท และจากการจําหนายเงินลงทุน ในบริษัทรวม 150 ลานบาท และสําหรับ ณ สิ้นสุด งวดปบัญชี 2550 บริษัทมีสวนของเจาหนี้ตามแผนฟนฟู กิจการในหนีส้ นิ หมุนเวียนลดลงอีก 2,132.4 ลานบาท สงผลใหอัตราสวนสภาพคลองของบริษัทดีขึ้น ตามลําดับ และสอดคลองกับการพัฒนาของอัตราสวนสภาพคลองหมุน เร็วในชวงระยะเวลาเดียวกัน ในปบัญชี 2548 – 2550 ซึ่งคาเทากับ 0.00 เทา 0.04 เทา และ 0.07 เทาตามลําดับ ถึงแมวาจะอยูในระดับต่ําสืบเนื่อง จากสินทรัพยหมุนเวียนสวนใหญมาจากตนทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย สินทรัพยรอการโอน ชําระหนี้ ตาม แผนฟนฟูกิจการ และเงินลงทุนในบริษัทยอยรอการโอน ชําระหนี้ ตามแผนฟนฟูกิจการ ซึ่งจะสอดคลองกับ ภาระการชําระหนีส้ นิ หมุนเวียนสวนใหญของบริษทั ทีม่ าจากการรอการชําระหนีต้ ามแผนฟน ฟูกจิ การโดย รายการสินทรัพยดงั กลาว 

ในดานความสามารถในการชําระหนีน้ น้ั ในป 2548-2550 บริษทั มีอตั ราสวนความสามารถชําระ ดอกเบีย้ เทากับ 1.02 เทา (-42.84) เทา และ (-15.73) เทา ตามลําดับ และมีอตั ราสวนความสามารถชําระ ภาระผูกพันเทากับ 0.02 เทา (-0.05) เทา และ (-0.08) เทา ตามลําดับ สาเหตุที่อัตราสวนดังกลาวมีคาติดลบ เนือ่ งจากกระแสเงินสดจากการดําเนินงานทีม่ คี า เปนลบจากการบันทึกกําไรจากการโอนขายสินทรัพยและการ หักหนี้สวนที่เกินกวาจํานวนหนี้สินตามแผนฟนฟูกิจการ ซึ่งรายการดังกลาวยังคงเปนสวนหลักในผลการ ดําเนินงานของบริษทั ซึ่งสอดคลองกับความคืบหนาและผลสําเร็จ ในการปฏิบัติตาม แผนฟนฟูกิจการนับตั้งแต ปลายป 2549 ประกอบกับในงวดป 2550 กระแสเงินสดจากการดําเนินงานของบริษทั เริม่ มีแนวโนมดีขน้ึ จาก การเพิม่ ขึน้ ของผลการดําเนินงานในหมวดธุรกิจใหเชา การใหบริการ และกิจการโรงแรมของบริษทั แหลงที่มาของเงินทุน  โครงสรางเงินทุน บริษัทมีอัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุน ณ สิ้นสุด งวดปบัญชี 2548 – 2550 เทากับ (-1.24) เทา 2.57 เทา และ 0.82 เทา ตามลําดับ ซึ่งสะทอนจากความเสี่ยงของฐานเงินทุนที่ลดลงจากความสําเร็จในการ ปรับปรุงโครงสรางหนี้ของบริษัทตามแผนฟนฟูกิจการ ในป 2549 ที่เริ่มมีสวนของผูถือหุนเปนบวก และเริ่มมี การชําระหนี้ตามแผนฟนฟูกิจการ ตลอดจนผลการดําเนินงานที่ดีขึ้นของบริษัทในป 2549 และ ป 2550 ซึ่ง สงผลใหยอดขาดทุนสะสมมีจํานวนลดลงและสวนของผูถือหุนที่เพิ่มขึ้นตามลําดับ หนี้สิน ณ สิ้นสุดงวดปบัญชี 2548 – 2550 หนี้สินรวมของบริษัทเทากับ 35,458 ลานบาท 4,991 ลานบาท และ 3,001 ลานบาท ตามลําดับ ซึ่งมีจํานวนลดลงอยางตอเนื่องอันสืบเนือ่ งมาจากความสําเร็จในการปรับปรุง โครงสรางหนี้ตามแผนฟนฟูกิจการในการโอนสินทรัพยเพื่อชําระหนี้ โดยในงวดปบัญชี 2549 บริษัทมีกําไร จากการปรับปรุงโครงสรางหนี้เทากับ 24,443 ลานบาท ตลอดจนมีการโอนสินทรัพยเพื่อชําระหนี้ ออกหุนเพิ่ม

สวนที่ 2 หนา 80


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 ทุนเพื่อชําระหนี้ และการจายชําระหนี้โดยกระแสเงินสดของบริษัท เทากับ 2,564 ลานบาท 249 ลานบาท และ 1,542 ลานบาท ตามลําดับ สงผลใหภาระหนี้สินของบริษัทลดลงอยางมีนัยสําคัญ และในงวดปบัญชี 2550 บริษัทไดมีการโอนสินทรัพยเพื่อชําระหนี้ตามแผนฟนฟูกิจการเพิ่มเติมเปนจํานวน 1,082 ลานบาท สงผลให บริษัทคงเหลือหนี้สินเพียง 2,469 ลานบาท ประกอบดวยสวนที่จะครบกําหนดชําระภายใน 1 ป จํานวน 1,889 ลานบาท และสวนที่เกินกวา 1 ป อีกจํานวน 580 ลานบาท หรือ อาจแบงโดยแยก เปนเจาหนี้มีประกัน และเจาหนี้ไมมีประกัน จํานวน 1,318 ลานบาท และ 1,15 2 ลานบาท ตามลําดับ ทั้งนี้ สวนของเจาหนี้ไมมี ประกันจะไดรับการผอนชําระเปนรายงวดจํานวนประมาณ 125 ลานบาท โดยรายละเอียดหนีส้ นิ ตามแผน ฟนฟูกิจการและหนี้สินกับสถาบันการเงิน มีดังตอไปนี้ จํานวนหนี้คงคาง ณ 31 มี.ค. 2551 (ลานบาท)

อัตรา ดอกเบี้ย

เงื่อนไขการ ชําระหนี้

859

-

หนี้สินที่รอคําสั่งอันเปนที่สุด

459

-

ขาย ทรัพยสิน เพื่อชําระหนี้ ชําระหนี้เปน เงินสดและ โอนทรัพย ชําระหนี้

รวม เจาหนี้ไมมีประกัน หนี้สินที่รอคําสั่งอันเปนที่สุด หนี้ที่ยังไมถึงกําหนดชําระ หนี้ที่แบงจายชําระเปนรายงวด รวม รวมหนีส้ นิ ตามแผนฟน ฟูกจิ การ

1,318 -

เงินสด เงินสด เงินสด

หนี้สินตามแผนฟนฟูกิจการ เจาหนี้มีประกัน / เจาหนี้ไมมีประกันที่มีทรัพย ของบุคคลหรือนิติบุคคลอื่นค้ําประกัน หนี้สินที่บริษัทเปนตัวแทนในการจัดการขาย ทรัพยสินให

*

เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน

343 307 502 1,152 2,470 132

MLR

ทบทวน วงเงินทุกป

หลักทรัพยค้ําประกัน

ทีเอสทีทาวเวอร และ ยงสุ อพารทเมนท ที่ดินเปลาในธนาซิตี้ พังงา เชียงใหม จันทบุรี และคอนโดมิเนียมบาน มิตรา กิ่งแกว คอนโดมิเนียม

-

ที่ดินถนนราษฎรบูรณะ

หมายเหตุ : * วงเงินจํานวน 400 ลานบาท

สวนของผูถือหุน ณ สิ้นสุด งวดปบัญชี 2548 – 2550 บริษัทมีสวนของผูถือหุนเทากับ (-28,666) ลานบาท 1,944 ลาน บาท และ 3,645 ลานบาท ตามลําดับ ซึ่งเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องจํานวน 30,610 ลานบาท คิดเปนอัตราการ เพิ่มขึ้น รอยละ 206.8 ณ สิ้นสุดป งวดบัญชี 2549 เมื่อเทียบกับป 2548 และเพิ่มขึ้นจํานวน 1,701 ลานบาท คิดเปนอัตราการ เพิ่มขึ้น รอยละ 87.5 ณ สิ้นสุด งวดปบัญชี 2550 เมื่อเทียบกับป 2549 โดยสาเหตุหลัก ของ การปรับเพิม่ ขึน้ ดังกลาวมาจากความสําเร็จในการปฏิบัติตามแผนฟนฟูกิจการของบริษัท ตั้งแตในงวดปบัญชี 2549 โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้

สวนที่ 2 หนา 81


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 ในงวดปบัญชี 2549 บริษัทไดดําเนินการเพิ่มทุนที่ออกและเรียกชําระแลวอีก 4,800 ลานบาท (จํานวน 4,800 ลานหุน โดยมีมูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท) ตามเงื่อนไขในการปฏิบัติตามแผนฟนฟูกิจการ ซึ่งใน จํานวนนี้ 800 ลานหุน ไดจัดสรรใหกับเจาหนี้เพื่อรองรับการแปลงหนี้ สินเปนทุน และสวนที่เหลืออีก 4,000 ลานหุน ไดจัดสรรใหกับผูรวมทุนรายใหม อยางไรก็ตาม การออกหุนเพิ่มทุนดังกลาวที่มูลคา 0.50 บาทตอหุน ทําใหเกิดสวนต่ํามูลคาหุนสามัญรวมเปนจํานวน 2,400 ลานบาท ซึ่งถูกนําไปหักกับสวนล้ํามูลคาหุนสามัญที่มี อยูเ ดิม จํานวน 7,600 ลานบาท โดยกระแสเงินสดจากการเพิ่มทุนดังกลาวไดนําไปชําระหนี้ตามแผนฟนฟู กิจการ ประกอบกับบริษทั มีกาํ ไรจากการปรับโครงสรางหนีต้ ามแผนฟนฟูกิจการเปนจํานวน 24,443 ลานบาท และไดนาํ กําไรสะสมจัดสรรแลวสํารองตามกฎหมายจํานวน 366 ลานบาท ประกอบกับสวนล้ํามูลคาหุนสามัญ ที่เหลือจากการหักกับสวนต่ํามูลคาหุนสามัญจํานวน 5,200 ลานบาท มาหักกลบกับขาดทุนสะสม ซึ่งสงผลให จํานวนขาดทุนสะสมของบริษทั ลดลงจาก (-37,044) ลานบาท ณ สิ้นสุดป งวดบัญชี 2548 มาอยูที่ (-5,264 ) ลานบาท ณ สิ้นสุดงวดปบัญชี 2549 ซึ่งเปนการ ลดลงจํานวน 31,780 ลานบาท และการเพิม่ ขึน้ ของรายการ สวนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพยจาํ นวน 2,021 ลานบาท จากการประเมินราคาใหมของทีด่ นิ ของบริษทั สงผลใหสวนของผูถือหุนปรับตัวดีขึ้น สําหรับการปรับตัวเพิ่มขึ้นของสวนของผูถือหุน ณ สิ้นสุด งวดปบัญชี 2550 บริษัทมีการเพิ่มทุนที่ออก และชําระแลวอีก 480 ลานบาท (จํานวน 480 ลานหุน โดยมีมูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท) ในราคาขายหุน ละ 1.28 บาท สงผลใหบริษัทมีสวน ล้ํา มูลคาหุนเพิ่มขึ้นอีก จํานวน 134.4 ลานบาท ประกอบกับการลดลงของ ขาดทุนสะสมของบริษัทจาก (-5,264) ลานบาท ณ สิ้นสุดป งวดบัญชี 2549 มาอยูที่ (-4,175) ลานบาท ณ สิ้นสุด งวดปบัญชี 2550 คิดเปน การลดลงจํานวน 1,089 ลานบาท ซึง่ มีสาเหตุหลักมาจากกําไรจากการโอน สินทรัพยเพื่อชําระหนี้ตามแผนฟนฟูกิจการจํานวน 1,149 ลานบาท 12.3 คาตอบแทนของผูสอบบัญชี ในรอบ ปบัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 มีนาคม 2551 ผูตรวจสอบบัญชีของบริษัท คือ บริษัท สํานักงาน เอินสท แอนด ยัง จํากัด โดยมีคา ตอบแทนจากการสอบบัญชี (Audit fee) คิดเปน จํานวน รวมทั้งสิ้น 3,437,011 บาท โดยเปนคาสอบทานงบการเงินไตรมาส จํานวน 600,000 บาท (200,000 บาท ตอไตรมาส) และคาตรวจสอบงบการเงินประจําปจํานวน 2,750,000 บาท นอกจากนี้บริษัทยังมีภาระคาบริการอื่น (NonAudit Fee) อีกจํานวน 87,011 บาท ซึ่งเปนคาใชจาย เกี่ยวกับ คาเอกสาร คาดําเนินการ และคายานพาหนะ ของผูตรวจสอบบัญชี

สวนที่ 2 หนา 82


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551

13. ขอมูลอื่นที่เกี่ยวของ - ไมมี -

สวนที่ 2 หนา 83


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551

สวนที่ 3 การรับรองความถูกตองของขอมูล สําหรับกรรมการบริหารและผูที่ดํารงตําแหนงบริหารสูงสุดในสายงานบัญชี “ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว และดวยความระมัดระวังใน ฐานะกรรมการบริหารของบริษทั หรือผูด าํ รงตําแหนงบริหารสูงสุดในสายงานบัญชี ขาพเจาขอรับรองวาขอมูล ดังกลาวถูกตองครบถวน ไมเปนเท็จ ไมทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือไมขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ นอกจากนี้ ขาพเจาขอรับรองวา (1) งบการเงินและขอมูลทางการเงินทีส่ รุปมาในแบบแสดงรายการขอมูลประจําป ไดแสดงขอมูลอยางถูกตองครบถวนในสาระสําคัญเกี่ยวกับฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน และกระแสเงินสดของ บริษัทและบริษัทยอยแลว (2) ขาพเจาเปนผูรับผิดชอบตอการจัดใหบริษัทมีระบบการเปดเผยขอมูลที่ดี เพื่อใหแนใจวาบริษัทไดเปดเผยขอมูลในสวนที่เปนสาระสําคัญทั้งของบริษัทและบริษัทยอยอยาง ถูกตองครบถวนแลว รวมทั้งควบคุมดูแลใหมีการปฏิบัติตามระบบดังกลาว (3) ขาพเจาเปนผูรับผิดชอบตอการจัดใหบริษัทมีระบบการควบคุมภายในที่ดี และควบคุมดูแลใหมีการปฏิบัติตามระบบดังกลาว และขาพเจาไดแจงขอมูลการประเมินระบบการควบคุมภายใน ณ วันที่ 27 มิถนุ ายน 2551 ตอผูสอบบัญชีและกรรมการตรวจสอบของบริษัทแลว ซึ่งครอบคลุมถึงขอบกพรอง และการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญของระบบการควบคุมภายใน รวมทั้งการกระทําที่มิชอบที่อาจมีผลกระทบตอการ จัดทํารายงานทางการเงินของบริษัทและบริษัทยอย ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับที่ขาพเจาไดรับรอง ความถูกตองแลว ขาพเจาไดมอบหมายให นางดวงกมล ชัยชนะขจร เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุก หนาดวย หากเอกสารใดไมมลี ายมือชือ่ ของ นางดวงกมล ชัยชนะขจร กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ ขาพเจาไดรับรองความถูกตองของขอมูลแลวดังกลาวขางตน” ชื่อ

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

นายคีรี กาญจนพาสน นายกวิน กาญจนพาสน นายสุธรรม ศิริทิพยสาคร นายรังสิน กฤตลักษณ นายคม พนมเริงศักดิ์ Mr. Kong Chi Keung นางดวงกมล ชัยชนะขจร

ประธานกรรมการ กรรมการผูจ ดั การ รองกรรมการผูจ ดั การ รองกรรมการผูจ ดั การ กรรมการบริหาร รองกรรมการผูจัดการ ผูอํานวยการฝายบัญชี

-คีรี กาญจนพาสน-. -กวิน กาญจนพาสน-สุธรรม ศิริทิพยสาคร-รังสิน กฤตลักษณ-คม พนมเริงศักดิ์-Kong Chi Keung-ดวงกมล ชัยชนะขจร-

ชื่อผูรับมอบอํานาจ

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

นางดวงกมล ชัยชนะขจร

ผูอํานวยการฝายบัญชี

-ดวงกมล ชัยชนะขจร-

สวนที่ 3 หนา 1


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551

สวนที่ 3 การรับรองความถูกตองของขอมูล สําหรับกรรมการที่ไมไดเปนกรรมการบริหาร “ขาพเจาไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลว และดวยความระมัดระวังใน ฐานะกรรมการบริษัท ขาพเจาไมมีเหตุอันควรสงสัยวาขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่น สําคัญผิด หรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ในการนี้ เพื่อเปนหลักฐานวาเอกสารทั้งหมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับที่ขาพเจาได สอบทานแลว และไมมีเหตุอันควรสงสัยวา ขอมูลดังกลาวไมถูกตองครบถวน เปนเท็จ ทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือขาดขอมูลที่ควรตองแจงในสาระสําคัญ ขาพเจาไดมอบหมายให นางดวงกมล ชัยชนะขจร เปนผูลงลายมือ ชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนาดวย หากเอกสารใดไมมีลายมือชื่อของ นางดวงกมล ชัยชนะขจร กํากับไว ขาพเจาจะถือวาไมใชขอมูลที่ขาพเจาไดสอบทานแลวดังกลาวขางตน” ชื่อ

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

Mr. Abdulhakeem Kamkar Dato’ Amin Rafie Othman Dr. Paul Tong Mr. Cheung Che Kin พลโทพิศาล เทพสิทธา

กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการอิสระและ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระและ กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระและ กรรมการตรวจสอบ

-Abdulhakeem Kamkar-Dato’ Amin Rafie Othman-Dr. Paul Tong-Cheung Che Kin-พิศาล เทพสิทธา-

ชื่อผูรับมอบอํานาจ

ตําแหนง

ลายมือชื่อ

นางดวงกมล ชัยชนะขจร

ผูอํานวยการฝายบัญชี

-ดวงกมล ชัยชนะขจร-

ดร. อาณัติ อาภาภิรม พลตํารวจตรีวราห เอี่ยมมงคล

สวนที่ 3 หนา 2

-อาณัติ อาภาภิรม-วราห เอี่ยมมงคล-


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551

เอกสารแนบ 1 รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการ และผูบริหาร

ชื่อ-สกุล/ตําแหนง 1. นายคีรี กาญจนพาสน ประธานกรรมการบริษัท

อายุ (ป)

คุณวุฒทิ างการศึกษา

การถือหุน ในบริษัท (%)*

58

-

0.86

ความสัมพันธ ทางครอบครัว ระหวาง ผูบริหาร บิดานายกวิน กาญจนพาสน

0

ชวงเวลา

ตําแหนง

2550-ปจจุบนั

ประธานกรรมการ กรรมการ

2544-ปจจุบนั 2536-ปจจุบนั

กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ ประธานกรรมการบริหาร กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการผูจัดการ กรรมการ กรรมการผูจัดการ

2535- ปจจุบนั

2534- ปจจุบนั 2533-ปจจุบนั

2532-ปจจุบนั 2532- 2549 2531- ปจจุบนั 2511- 2549

*ขอมูลการถือหุน ณ วันที่ 31 มีนาคม 2551 ของกรรมการ และผูบริหาร ซึ่งรวมหุนที่ถือโดยคูสมรส และบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ เอกสารแนบ1 หนา 1

ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ชื่อหนวยงาน/บริษัท บมจ. ธนายง บจ. กมลา บีช รีสอรท แอนด โฮเต็ล แมนเนจเมนท จํากัด บจ. ไทม รีเจนซี่ บจ. เมืองทองเลคไซด เรสเตอรรอง บจ. สําเภาเพชร บจ. ธนายง ฟูด แอนด เบเวอเรจ บจ. ดิ เอ็กซเชนจ สแควร บมจ. ระบบขนสงมวลชนกรุงเทพ บจ. ดีแนล บจ. ธนาซิตี้ กอลฟ แอนด คันทรี คลับ บจ. สระบุรี พร็อพเพอรตี้ บจ. สยาม เพจจิง้ แอนด คอมมิวนิเคชั่น บจ. ธนายง พร็อพเพอรตี้ แมเนจเมนท บจ. เทพประทาน พร็อพเพอรตี้ส จํากัด บจ. สหกรุงเทพพัฒนา บจ. วาเคไทย (ไทยแลนด) บจ. เมืองทอง แอสเซ็ทส บมจ. ธนายง


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551

ชื่อ-สกุล/ตําแหนง 2. นายกวิน กาญจนพาสน กรรมการ / กรรมการผูจัดการ

อายุ (ป)

7

คุณวุฒทิ างการศึกษา

การถือหุน ในบริษัท (%)*

ความสัมพันธ ทางครอบครัว ระหวาง ผูบริหาร

33

1

ชวงเวลา

- หลักสูตรประกาศนียบัตร บุตรของนายคีรี 2549-ปจจุบนั Director Accreditation กาญจนพาสน 2550-ปจจุบนั Program (DAP) ป 2550 สมาคมสงเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย 2542-2549 3. นายสุธรรม ศิริทิพยสาคร 52 - ปริญญาตรีสถาปตยกรรม จุฬาลง 2549-ปจจุบนั กรรมการ / ศาสตร เกียรตินิยมอันดับ 1 2550-ปจจุบนั รองกรรมการผูจัดการ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2549-ปจจุบนั - หลักสูตรประกาศนียบัตร 2542-2549 Director Accreditation Program (DAP) ป 2550 สมาคมสงเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย *ขอมูลการถือหุน ณ วันที่ 31 มีนาคม 2551 ของกรรมการ และผูบริหาร ซึ่งรวมหุนที่ถือโดยคูสมรส และบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ

เอกสารแนบ1 หนา 2

ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป

ตําแหนง กรรมการผูจัดการ กรรมการ กรรมการ กรรมการบริหาร รองกรรมการผูจัดการ กรรมการ กรรมการผูจัดการ กรรมการบริหาร

ชื่อหนวยงาน/บริษัท บมจ. ธนายง บจ. วีจีไอ โกลบอลมีเดีย บจ. กมลา บีช รีสอรท แอนด โฮเต็ล แมนเนจเมนท จํากัด บจ. วีจไี อ โกลบอล มีเดีย บมจ. ธนายง บจ. เมืองทอง แอสเซ็ทส บจ. สุธรรม อาคิเทคส แอนด แอสโซซิเอส บจ. วีจไี อ โกลบอล มีเดีย


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551

ชื่อ-สกุล/ตําแหนง 4. นายรังสิน กฤตลักษณ กรรมการ / รองกรรมการผูจัดการ

อายุ (ป) 46

8

คุณวุฒทิ างการศึกษา

- ปริญญาโท บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร - หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Accreditation Program (DAP) ป 2546 สมาคมสงเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย

การถือหุน ในบริษัท (%)*

ความสัมพันธ ทางครอบครัว ระหวาง ผูบริหาร

-

-

2

ชวงเวลา 2549-ปจจุบนั

2547-2549 2544-ปจจุบนั

2541-ปจจุบนั 2540-ปจจุบนั 2540-2549

*ขอมูลการถือหุน ณ วันที่ 31 มีนาคม 2551 ของกรรมการ และผูบริหาร ซึ่งรวมหุนที่ถือโดยคูสมรส และบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ

เอกสารแนบ1 หนา 3

ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป

ตําแหนง รองกรรมการผูจัดการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ

ชื่อหนวยงาน/บริษัท บมจ. ธนายง บจ. เมืองทอง แอสเซ็ทส บจ. กมลา บีช รีสอรท แอนด โฮเต็ล แมนเนจเมนท จํากัด บจ. ฮิบเฮง คอนสตรัคชั่น (ประเทศไทย) บจ. วาเคไทย (ไทยแลนด) บจ. สหกรุงเทพพัฒนา บจ. สระบุรี พร็อพเพอรตี้ บจ. ธนายง ฟูด แอนด เบเวอเรจ บจ. สําเภาเพชร บจ. เมืองทองเลคไซด เรสเตอรรอง บจ. ไทม สเตชั่น บจ. ธนายง พร็อพเพอรตี้ แมเนจเมนท บจ. ยงสุ บจ. ดีแนล บจ. ธนาซิตี้ กอลฟ แอนด คันทรี คลับ บจ. เทพประทาน พร็อพเพอรตี้ส บจ. ดิ เอ็กซเชนจ สแควร บมจ. ธนายง


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551

ชื่อ-สกุล/ตําแหนง 5. นายคม พนมเริงศักดิ์ กรรมการ

6. Mr. Kong Chi Keung กรรมการ/ รองกรรมการผูจัดการ

อายุ (ป) 69

32

9

คุณวุฒทิ างการศึกษา

- ปริญญาโท พัฒนบริหารศาสตร มหาบัณฑิต สาขาการเงิน พัฒนบริหารศาสตร - หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Accreditation Program (DAP) ป 2550 สมาคมสงเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย - BA (Honorary Degree) Business Administrative University of Greenwich, UK - หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Accreditation Program (DAP) ป 2550 สมาคมสงเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย

การถือหุน ในบริษัท (%)*

ความสัมพันธ ทางครอบครัว ระหวาง ผูบริหาร

-

-

0.34

-

3

ชวงเวลา

ตําแหนง

ชื่อหนวยงาน/บริษัท

2544-ปจจุบนั 2550-ปจจุบนั

กรรมการ กรรมการ

2544-2549

กรรมการ

บมจ. ธนายง บจ. ฮิบเฮง คอนสตรัคชั่น (ประเทศไทย) บจ. เมืองทอง แอสเซ็ทส บจ. วาเคไทย (ไทยแลนด)

2551-ปจจุบนั 2549-2551 2542-ปจจุบนั

รองกรรมการผูจัดการ กรรมการ กรรมการ

บมจ. ธนายง บมจ. ธนายง บจ. วีจไี อ โกบอล มีเดีย

*ขอมูลการถือหุน ณ วันที่ 31 มีนาคม 2551 ของกรรมการ และผูบริหาร ซึ่งรวมหุนที่ถือโดยคูสมรส และบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ

เอกสารแนบ1 หนา 4

ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551

ชื่อ-สกุล/ตําแหนง 7. Dr. Paul Tong

อายุ (ป) 67

10

คุณวุฒทิ างการศึกษา

- PhD. Engineer

การถือหุน ในบริษัท (%)*

ความสัมพันธ ทางครอบครัว ระหวาง ผูบริหาร

0.17

-

กรรมการ

4

ชวงเวลา

ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป

ตําแหนง

ชื่อหนวยงาน/บริษัท

2550-ปจจุบนั

กรรมการ

บมจ. ธนายง

2551-ปจจุบนั

กรรมการ

บจ. กมลา บีช รีสอรท แอนด โฮเต็ล แมนเนจเมนท จํากัด

8. Mr. Abdulhakeem Kamkar กรรมการ

47

- Master Degree in Urban & Regional Planning, Graduate School of Public and International Affairs, University of Pittsburgh

-

-

2549-ปจจุบนั

ประธานกรรมการ

บมจ. ระบบขนสงมวลชนกรุงเทพ

ปจจุบนั

กรรมการผูจัดการ

Hip Hing Overseas Limited

ปจจุบนั

กรรมการ

บจ. นิวเวิลด เซอรวิส แมเนจเมนท

ปจจุบนั

ประธานกรรมการ

Parsons Brinkerhoff Asia Pacific

ปจจุบนั

กรรมการ

Chongbang Holdings Limited

2550-ปจจุบนั ปจจุบนั ปจจุบนั ปจจุบนั ปจจุบนั ปจจุบนั

กรรมการ CEO Director Director Director Director

บมจ. ธนายง Dubai Investment Group. Marfin Popular Bank Plc. Thomas Cook India Ltd. H&Q Asia Pacific Fund No. V DIG Asia Sdn, Bhd.

ปจจุบนั

Director

D.I.G (Hong Kong) Ltd.

ปจจุบนั

Director

Esthithmaar IRE GP Ltd.

ปจจุบนั

Director

Baer Capital

ปจจุบนั

Director

Tunise Telecom Co. Ltd.

ปจจุบนั

Director

Sun Hung Kai & Co

*ขอมูลการถือหุน ณ วันที่ 31 มีนาคม 2551 ของกรรมการ และผูบริหาร ซึ่งรวมหุนที่ถือโดยคูสมรส และบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ

เอกสารแนบ1 หนา 5


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551

ชื่อ-สกุล/ตําแหนง

อายุ (ป)

11

คุณวุฒทิ างการศึกษา

การถือหุน ในบริษัท (%)*

ความสัมพันธ ทางครอบครัว ระหวาง ผูบริหาร

9.DATO’ AMIN RAFIE OTHMAN กรรมการ

49

- Master of Business Administration, City University of London, UK

-

-

10. Mr. Cheung Che Kin กรรมการ

40

-

-

-

11 .พลโทพิศาล เทพสิทธา ประธานกรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ 12. ดร.อาณัติ อาภาภิรม กรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ

76

- ปริญญาโทบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

0.01

-

70

- ปริญญาวิศวกรรม ดุษฎีบณ ั ฑิต สาขาภาควิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยโคโลราโด

-

-

13. พล.ต.ต. วราห เอีย่ มมงคล กรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ

73

5

ชวงเวลา

ตําแหนง

2550-ปจจุบนั ปจจุบนั ปจจุบนั ปจจุบนั ปจจุบนั ปจจุบนั จนถึง 2547 2550-ปจจุบนั ปจจุบนั ปจจุบนั 2543-ปจจุบนั

กรรมการ Managing Director Director Director Director Director (Alternate) CEO/Director กรรมการ ประธาน และ CEO ประธานบริหาร ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ

บมจ. ธนายง DIG Asia Sdn, Bhd. Milux Corporation Bhd. TAEL One Partners Ltd. Vietoombank Partners Fund 2 Sun Hung Kai & Co Mayban Investment Sdn, Bhd. บมจ. ธนายง Green Salt Group Limited Oinghai Province Salt Industry Limited. บมจ. ธนายง

2539- ปจจุบนั 2541- ปจจุบนั

ที่ปรึกษาคณะกรรมการ กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ

บมจ. ระบบขนสงมวลชนกรุงเทพ บมจ. ธนายง

กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ

บมจ. ธนายง

- ปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต 2541-ปจจุบนั ร.ร. นายรอยพระจุลจอมเกลา วท.บ. (ทบ) สถาบันขาราชการ ตํารวจชั้นสูง *ขอมูลการถือหุน ณ วันที่ 31 มีนาคม 2551 ของกรรมการ และผูบริหาร ซึ่งรวมหุนที่ถือโดยคูสมรส และบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ

เอกสารแนบ1 หนา 6

ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ชื่อหนวยงาน/บริษัท


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551

ชื่อ-สกุล/ตําแหนง 14. นางดวงกมล ชัยชนะขจร

อายุ (ป) 48

ผูอํานวยการฝายบัญชี 15. นางสาวอัญชนา โรจนวิบูลยชัย

12

คุณวุฒทิ างการศึกษา

- ปริญญาโทบริหารธุรกิจ

การถือหุน ในบริษัท (%)*

ความสัมพันธ ทางครอบครัว ระหวาง ผูบริหาร

-

-

2544-ปจจุบนั

ผูอํานวยการฝายบัญชี

บมจ. ธนายง

-

-

ปจจุบนั

ผูอํานวยการฝายการเงิน

บมจ. ธนายง

2549

ที่ปรึกษาการเงินอิสระ

2548

รองประธานบริหารฝาย การเงินและบัญชี ผูชวยผูอํานวยการฝาย การเงิน ผูอํานวยการฝายพัฒนา โครงการ ผูจัดการฝายบริหาร โครงการ ผูอํานวยการฝายกฎหมาย ทนายความ

6

ชวงเวลา

41

- ปริญญาโทบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยแคลิฟอรเนีย

2540-2547

17.นางสาวธิติกรณ ยศยิ่งธรรมกุล ผูอํานวยการฝายกฎหมาย

ตําแหนง

ชื่อหนวยงาน/บริษัท

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

ผูอํานวยการฝายการเงิน

16.นายวิศิษฐ ชวลิตานนท ผูอํานวยการฝายพัฒนาโครงการ

ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป

50

- ปริญญาโท การจัดการภาครัฐ และเอกชน สถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร

-

-

2550-ปจจุบนั 2546-2550

31

- ปริญญาโทดานกฎหมาย 2550-ปจจุบนั พาณิชย University of Bristol, 2543-2550 UK *ขอมูลการถือหุน ณ วันที่ 31 มีนาคม 2551 ของกรรมการ และผูบริหาร ซึ่งรวมหุนที่ถือโดยคูสมรส และบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ

เอกสารแนบ1 หนา 7

บมจ. แกรนดแอสเซท ดีเวลลอปเมนท บมจ. ระบบขนสงมวลชนกรุงเทพ บมจ. ธนายง บมจ. กรุงเทพดุสิตเวชการ (โรงพยาบาลกรุงเทพ) บมจ. ธนายง Baker & McKenzie Ltd.


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551

หมายเหตุ

A=

บริษัทใหญ ประธานกรรมการ

B=

D

D

D

D

D

D D D

D

D

D

D

D

D

D

D

D

D D

D D

D

D

D

บจ. แอบโซลูท โฮเต็ล เซอรวิส

D

บจ. สระบุรี พร็อพเพอรตี้

บจ. ธนายง ฟูด แอนด เบเวอเรจ

D

บจ. กมลา บีช รีสอรท แอนด โฮเต็ล แมนเนจเมนท

บจ. ธนายง พร็อพเพอรตี้ แมเนจเมนท

D

บจ. ริคเตอร แอสเซทส

บจ. ธนาซิตี้ กอลฟ แอนด คันทรี คลับ

D

บจ. ธนายง เทรสซูรี่ เซอรวิส

บจ. ยงสุ

D

บจ. เทรสเซอร พูล อินเวสเมนท

บจ. เมืองทองเลคไซด เรสเตอรรอง

D

บจ. ธนายง อินเตอรเนชั่นแนล

บจ. เมืองทอง แอสเซ็ทส

A,B C,D D,F D,F D,F D,F D D D D E E E F F F F

บจ. ดีแนล

1. นายคีรี กาญจนพาสน 2. นายกวิน กาญจนพาสน 3. นายสุธรรม ศิริทิพยสาคร 4. นายรังสิน กฤตลักษณ 5. นายคม พนมเริงศักดิ์ 6. Mr. Kong Chi Keung 7. Dr. Paul Tong 8. Mr. Abdulhakeem Kamkar 9. Dato’ Amin Rafie Othman 10. Mr. Cheung Che Kin 11. พลโทพิศาล เทพสิทธา 12. ดร. อาณัติ อาภาภิรม 13. พล.ต.ต. วราห เอีย่ มมงคล 14. นางดวงกมล ชัยชนะขจร 15. นางสาวอัญชนา โรจนวิบูลยชัย 16. นายวิศิษฐ ชวลิตานนท 17. นางสาวธิติกรณ ยิ่งยศธรรมกุล

บจ. สําเภาเพชร

บริษทั

บจ.สยาม เพจจิ้ง แอนด คอมมิวนิเคชั่น

บมจ. ธนายง

คณะกรรมการและ ผูบริหาร

บจ. ฮิบเฮง คอนสตรัคชั่น (ประเทศไทย)

เอกสารแนบ 2 ขอมูลการดํารงตําแหนงของกรรมการและผูบริหารในบริษัทยอยและบริษัทรวม

D D D

D

บริษัทยอย ประธานเจาหนาที่บริหาร

C=

บริษัทรวม กรรมการผูจัดการ

D=

เอกสารแนบ 2 หนา 1

กรรมการ

E=

กรรมการตรวจสอบ

F=

ผูบริหาร


แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551

เอกสารแนบ 3 อื่น ๆ - ไมมี -

เอกสารแนบ 3 หนา 1


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.