แบบ 56-1
แบบแสดงรายการขอมูลประจําป 2551/2552 สิ้นสุด ณ วันที่ 31 มีนาคม 2552
บริษัท ธนายง จํากัด (มหาชน) TYONG
สารบัญ สวนที่ 1
บริษัทที่ออกหลักทรัพย 1. ขอมูลทั่วไป 2. ปจจัยความเสี่ยง 3. ลักษณะการประกอบธุรกิจ 4. การประกอบธุรกิจในแตละสายผลิตภัณฑ 5. ทรัพยสินที่ใชในการประกอบธุรกิจ 6. ขอพิพาททางกฎหมาย 7. โครงสรางเงินทุน 8. การจัดการ 9. การควบคุมภายใน 10. รายการระหวางกัน 11. ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน 12. ขอมูลอื่นที่เกี่ยวของ
สวนที่ 2 เอกสารแนบ 1 เอกสารแนบ 2 เอกสารแนบ 3
การรับรองความถูกตองของขอมูล รายละเอียดเกี่ยวกับกรรมการและผูบริหาร ขอมูลการดํารงตําแหนงของกรรมการและผูบ ริหารในบริษทั ยอยและบริษทั รวม อื่น ๆ
หนา 1 4 7 17 38 46 47 49 70 73 81 98
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 ขอมูลสรุป (Executive Summary) ประกาศของคณะกรรมการกํา กับตลาดทุน ที่ ทจ.11/2552 เรื่อง หลักเกณฑ เงื่อนไข และวิธีการ รายงานการเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของบริษัทที่ออกหลักทรัพย ไดยกเลิก หัวขอนี้
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552
สวนที่ 1
1. ขอมูลทั่วไป ขอมูลบริษัท: ชื่อบริษัท ชื่อภาษาอังกฤษ ที่ตั้งสํานักงานใหญ ประเภทธุรกิจ Home Page โทรศัพท โทรสาร เลขทะเบียนบริษัท ทุนจดทะเบียน ทุนจดทะเบียนชําระแลว จํานวนหุน จดทะเบียน (หุนสามัญ) มูลคาหุน นายทะเบียนหลักทรัพย
ผูสอบบัญชี
ที่ปรึกษากฎหมาย
บริษัทที่ออกหลักทรัพย
บริษัท ธนายง จํากัด (มหาชน) Tanayong Public Company Limited ชั้น 14 ทีเอสทีทาวเวอร 21 ซอยเฉยพวง ถนนวิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 1. พัฒนาอสังหาริมทรัพย 2. ธุรกิจโรงแรม การบริหารจัดการอสังหาริมทรัพย และการใหบริการ 3. งานบริหารโครงการ www.tanayong.co.th 0 2273-8511-5 0 2273-8516 0107536000421 8,056,923,076 บาท 5,813,333,333 บาท 5,813,333,333 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท บริษัท ศูนยรับฝากหลักทรัพย (ประเทศไทย) จํากัด 62 อาคารตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ถนนรัชดาภิเษก แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท : 0 2229-2800 โทรสาร : 0 2359-1259 บริษัท สํานักงาน เอินสท แอนด ยัง จํากัด ชั้น 33 อาคารเลครัชดา 193/136-137 ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพฯ 10110 โทรศัพท : 0 2264-0777 โทรสาร : 0 2264-0789-90 นางสาวทิพวัลย นานานุวัฒน ผูสอบบัญชีรับอนุญาตทะเบียนเลขที่ 3459 บริษัท วีระวงค, ชินวัฒน และเพียงพนอ จํากัด ชั้น 22 อาคารเมอรคิวรี่ ทาวเวอร 540 ถนนเพลินจิต แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 โทรศัพท : 0 2264-8000 โทรสาร : 0 2657-2222
สวนที่ 1 หนา 1
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 ขอมูลบริษัทยอยและบริษัทรวม: บริษทั
ประเภทธุรกิจ
สถานที่ตั้ง
ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย บจ. สยาม เพจจิง้ แอนด ถือครองที่ดิน คอมมิวนิเคชั่น
21 ซอยเฉยพวง ถ. วิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท 0 2273-8511-5 โทรสาร 0 2273-8516 บจ. สําเภาเพชร ถือครองที่ดิน 100-100/1 หมู 4 ถ. บางนา-ตราด กม.14 แขวงบางโฉลง เขตบางพลี จ. สมุทรปราการ โทรศัพท 0 2336-1938 โทรสาร 0 2336-1985 บจ. เมืองทองเลคไซด ถือครองที่ดิน 50/492 หมู 6 เรสเตอรรอง * แขวงบานใหม เขตปากเกร็ด จ. นนทบุรี โทรศัพท 0 2503-2062 โทรสาร 0 2503-2061 บจ. สระบุรี พร็อพเพอรตี้ ถือครองที่ดิน 100-100/1 หมู 4 ถ. บางนา-ตราด กม.14 แขวงบางโฉลง เขตบางพลี จ. สมุทรปราการ โทรศัพท 0 2336-1938 โทรสาร 0 2336-1985 ธุรกิจโรงแรม การบริหารจัดการอสังหาริมทรัพย และการใหบริการ บจ. ดีแนล อาคารสํานักงาน 21 ซอยเฉยพวง ใหเชา ถ. วิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท 0 2273-8511-5 โทรสาร 0 2273-8516 บจ. เมืองทอง แอสเซ็ทส โรงแรม 21 ซอยเฉยพวง ถ. วิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท 0 2273-8511-5 โทรสาร 0 2273-8516 บจ. ยงสุ เซอรวิส 21 ซอยเฉยพวง อพารทเมนท ถ. วิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท 0 2273-8511-5 โทรสาร 0 2273-8516 บจ. ธนาซิตี้ กอลฟ แอนด บริหารและ 100-100/1 หมู 4 คันทรี คลับ ดําเนินการ ถ. บางนา-ตราด กม.14 แขวงบางโฉลง เขตบางพลี จ. สมุทรปราการ โทรศัพท 0 2336-1938 โทรสาร 0 2336-1985
สวนที่ 1 หนา 2
ทุน ชําระแลว (บาท)
การถือ หุน (รอยละ)
5,000,000
100.00
1,000,000
100.00
1,000,000
100.00
100,000,000
30.00
50,000,000
100.00
433,500,000
100.00
234,000,000
100.00
10,000,000
100.00
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 บริษทั
บจ. กมลา บีช รีสอรท แอนด โฮเต็ล แมนเนจเมนท
บจ. ธนายง พร็อพเพอรตี้ แมเนจเมนท
บจ. แอบโซลูท โฮเต็ล เซอรวิส
ธุรกิจอื่น ๆ บจ. ธนายง ฟูด แอนด เบเวอเรจ
ประเภทธุรกิจ
สถานที่ตั้ง
โรงแรมและพัฒนา 21 ซอยเฉยพวง อสังหาริมทรัพย ถ. วิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท 0 2273-8511-5 โทรสาร 0 2273-8516 บริหารอาคาร 100-100/1 หมู 4 ถ. บางนา-ตราด กม.14 แขวงบางโฉลง เขตบางพลี จ. สมุทรปราการ โทรศัพท 0 2336-1938 โทรสาร 0 2336-1985 บริหารจัดการ 21 ซอยเฉยพวง โรงแรม ถ. วิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท 0 2273-8507 โทรสาร 0 2273-8509 ภัตตาคาร
บจ. ฮิบเฮง คอนสตรัคชั่น (ประเทศไทย)
รับเหมากอสราง
บจ. ธนายง อินเตอรเนชั่นแนล
ลงทุนใน หลักทรัพย
บจ. ธนายง เทรสซูรี่ย เซอรวิส **
ลงทุนใน หลักทรัพย
บจ. เทรสเชอร พูล อินเวสเมนท **
ลงทุนใน หลักทรัพย
บจ. ริคเตอร แอสเซทส **
ลงทุนใน หลักทรัพย
100-100/1 หมู 4 ถ. บางนา-ตราด กม.14 แขวงบางโฉลง เขตบางพลี จ. สมุทรปราการ โทรศัพท 0 2336-1938 โทรสาร 0 2336-1985 21 ซอยเฉยพวง ถ. วิภาวดี-รังสิต แขวงจอมพล เขตจตุจกั ร กรุงเทพฯ 10900 โทรศัพท 0 2273-8733 โทรสาร 0 2273-8730 Wilmington Trust Corporate Services (Cayman) Limited P.O. Box 32322 SM 4th Floor, Century Yard, Cricket Square, Elgin Avenue George Town, Cayman Islands Caledonian Bank & Trust Limited, Ground Floor, Caledonian House, Mary Street, P.O. Box 1043, George Town, Grand Cayman, Cayman Islands P.O. Box 71, Craigmuir Chambers, Road Town, Tortola British Virgin Islands Offshore Incorporations Limited P.O. Box 957, Offshore Incorporations Centre, Road Town, Tortola, British Virgin Islands
ทุน ชําระแลว (บาท) 859,000,000
การถือ หุน (รอยละ) 68.00
1,000,000
100.00
8,000,000
50.00
1,000,000
100.00
25,000,000
51.00
1,000 USD
100.00
2.00 USD
100.00
1.00 USD
100.00
1.00 USD
100.00
หมายเหตุ * บจ. เมืองทองเลคไซด เรสเตอรรอง ถือหุนรอยละ 100 โดย บจ. เมืองทอง แอสเซ็ทส ** บจ. ริคเตอร แอสเซทส บจ. เทรสเซอร พูล อินเวสเมนท และ บจ. ธนายง เทรสซูรี่ย เซอรวิส ถือหุนรอยละ 100 โดย บจ. ธนายง อินเตอรเนชั่นแนล โดยบริษัทยอยของ บจ. ธนายง อินเตอรเนชั่นแนล ทั้งสามบริษัทนีไ้ ดหยุดประกอบกิจการและชําระบัญชีในเดือน มีนาคม 2552
สวนที่ 1 หนา 3
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552
2. ปจจัยความเสี่ยง
การบริหารความเสี่ยงอยางมีประสิทธิภาพ มีความสําคัญอยางมากกับความสําเร็จในการดําเนินธุรกิจ ของบริษัท บริษัทไดมีการประเมินความเสี่ยงที่เกี่ยวของตลอดเวลา และมีการปรับปรุงมาตรการการบริหาร ความเสี่ยงอยางตอเนื่อง ในป 2551 บริษัทไดมีการลงทุนในระบบซอฟทแวรบัญชี ในการบริหารจัดการขอมูล และงบประมาณ เพื่อปรับปรุงการบริหารทรัพยากรของบริษทั ใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 2.1 ความเสี่ยงเกี่ยวกับความไมตอเนื่องของรายได ในรอบปบัญชีที่ผานมารายไดหลักของบริษัทสวนใหญมาจากโครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพยและงาน บริหารโครงการ ซึ่งมีลักษณะเปนงานโครงการทําใหมีความเสี่ยงเกี่ยวกับความไมตอเนื่องของรายได ทั้งนี้ ผูบริหารไดตระหนักถึงความเสี่ยงดังกลาว จึงกําหนดแผนธุรกิจที่จะพัฒนาอสังหาริมทรัพยโครงการใหมอยาง ตอเนื่อง ควบคูไปกับการขยายธุรกิจโรงแรม เพื่อใหบริษัทมีรายไดจากการดําเนินธุรกิจอยางสม่ําเสมอมากขึ้น 2.2 ความเสี่ยงในการดําเนินธุรกิจโรงแรม ที่ผานมาบริษัทดําเนินธุรกิจเกี่ยวกับการพัฒนาอสังหาริมทรัพยเปนหลัก ในปจจุบันบริษัทมีเปาหมาย ในการทําธุรกิจโรงแรมมากยิง่ ขึน้ ในระดับ 3-6 ดาว ทั้งในกรุงเทพและตางจังหวัด บริษัทจึงอาจมีความเสี่ยงใน การดําเนินธุรกิจโรงแรมซึ่งไมใชธุรกิจหลักของบริษัทในอดีต อยางไรก็ตาม บริษทั ไดรว มทุนกับกลุม นักธุรกิจทีม่ ปี ระสบการณในธุรกิจรับบริหารจัดการโรงแรม จัดตั้ง บริษัท แอบโซลูท โฮเต็ล เซอรวิส จํากัด เพื่อทําการพัฒนาเครือขายโรงแรมของตนเองขึ้นมาภายใต ชื่อ U Hotels & Resorts เพือ่ บริหารโรงแรมระดับ 3-4 ดาว ของบริษทั สวนการดําเนินธุรกิจโรงแรมระดับ 56 ดาวนั้น บริษัทจะรวมกับเครือขายโรงแรมระดับโลกมาบริหารงานในสวนนี้ ซึ่งบริษัทตางชาติเหลานี้ มี ชื่อเสียงเปนที่ยอมรับและ มีฐานลูกคาอยูแลว นอกจากนี้ ในอดีตบริษัทไดเคยเปนผูถือหุนในโรงแรมรีเจนท ถนนราชดําริ และโรงแรมดิเอ็มเพรส เชียงใหม อีกทั้งไดเคยประกอบธุรกิจโรงแรมมาแล ว ไดแก โรงแรม ดิเอ็มเพรส กรุงเทพ ซึ่งปจจุบัน คือ โรงแรมอิสติน มักกะสัน กรุงเทพฯ และในปจจุบันบริษัทยังคงดําเนิน ธุรกิจโรงแรมอิสติน เลคไซด ดังนั้น บริษัทจึงมีศักยภาพในการประกอบธุรกิจโรงแรม 2.3 ความเสี่ยงในการดําเนินธุรกิจรับเหมากอสราง บริษัทไดรวมทุนกับ บริษัทในฮองกง คือ บริษัท ฮิบเฮง โอเวอรซี จํากัด ในการจัดตั้ง บริษัท ฮิบเฮง คอนสตรัคชั่น (ประเทศไทย) จํากัด (ฮิบเฮง) เพือ่ ทําธุรกิจรับเหมากอสราง ซึ่งถือเปนธุรกิจใหม ซึ่งมี ความเกี่ยวของกับธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพยที่บริษัทมีประสบการณมายาวนาน ธุรกิจรับเหมากอสรางเปนธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย ซึ่งจะชวยใหบริษัท บริหารงานตางๆ ไดดียิ่งขึ้น เนื่องจากฮิบเฮงจะ รับเหมากอสรางงานโครงการบางโครงการของบริษทั ตาม ความเหมาะสม บริษัทจึงมิตองทําหนาที่จัดหาผูรับเหมารายยอยหลายราย อีกทั้ง ฮิบเฮง ยังมีผูบริหาร ชาวตางชาติซง่ึ มีความรูค วามชํานาญในงานกอสราง ซึง่ มีประสบการณมายาวนานในการกอสรางโครงการ ขนาดใหญในตางประเทศมากอน จึงมีความรูและเทคโนโลยีในการกอสรางเปนอยางดี ชวยเสริมสรางธุรกิจ หลักของบริษัทไดดียิ่งขึ้น
สวนที่ 1 หนา 4
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 2.4 ความเสี่ยงจากการเพิ่มขึ้นของราคาวัสดุกอสราง วัสดุกอสรางถือเปนตนทุนการกอสรางที่สําคัญในการพัฒนาโครงการ ราคาวัสดุกอสรางจะมีความ ผันแปรไปตามภาวะราคาน้ํามันที่ปรับตัวสูงขึ้น และการเติบโตของภาคอสังหาริมทรัพย ความผันผวนของ ราคาวัสดุกอสรางอาจสงผลใหตนทุนในการกอสรางโครงการของบริษัทเพิ่มขึ้น ซึ่งสงผลตอความสามารถใน การทํากําไรของบริษทั อยางไรก็ตามบริษัทมีการบริหารควบคุมคากอสราง โดยใชนโยบายการวาจางที่รวมคาวัสดุและคาแรง ของทั้งโครงการไวในสัญญาวาจางของบริษัทไวแลว โดยผูรับเหมาจะเปนผูรับภาระราคาวัสดุที่เปลี่ยนไป สําหรับวัสดุกอสรางที่บริษัทเปนผูจัดหานั้น เนื่องจากบริษัทมีฝายพัฒนาโครงการซึ่งมีประสบการณและมี ความสัมพันธที่ดีกับผูขายวัสดุกอสราง และมีอํานาจในการตอรองกับผูคาวัสดุกอสรางคอนขางสูง ทําใหบริษัท สามารถควบคุมตนทุนของวัสดุกอสรางใหอยูในระดับที่เหมาะสมได โดยบริษัทจะวางแผนการกอสรางและทํา การประเมินปริมาณการใชวัสดุแตละประเภทรวมทั้งโครงการกอน และจะสั่งซื้อวัสดุดังกลาวตามปริมาณที่ได ประเมินไว 2.5 ความเสี่ยงจากการจัดทําโครงการบานเอื้ออาทร บริษัทไดรวมจัดทําโครงการบานเอื้ออาทรจํานวน 20,000 หนวย โดยทําสัญญากับการเคหะแหงชาติ เมื่อวันที่ 25 เมษายน 2549 แตเนื่องจากความไมแนนอนทางการเมืองที่อาจสงผล ตอนโยบายของภาครัฐใน การสานตอโครงการนี้ ทําใหยังคงตองรอความชัดเจน ความไมแนนอนดังกลาวมีผลกระทบโดยตรงตอจํานวน หนวยที่บริษัทจะไดรับอนุมัติใหดําเนินการสรางและรายไดในอนาคต ในปจจุบัน จํานวนหนวยที่บริษัท ไดรบั อนุมตั ใิ หดาํ เนินการสรางบานเอือ้ อาทรลดลงจากจํานวน 9,584 หนวย เหลือจํานวน 8,048 หนวย จากทั้งหมด 20,000 หนวย เนื่องจากในป 2551 การเคหะแหงชาติได ยกเลิกโครงการทีบ่ างบอ (1,536 หนวย) ทั้งนี้บริษัทไดสํารองเผื่อการดอยคาของตนทุนโครงการที่สระบุรี และ ชลบุรี แลวจํานวน 19.8 ลานบาท และ 11.2 ลานบาท ในงบการเงินสิ้นสุด ณ วันที่ 31 มีนาคม 255 1 และ 2552 ตามลําดับ แตอยางไรก็ตาม ที่ผานมาบริษัทยังคงมีรายไดรับตามงวดงานที่สงมอบใหแกการเคหะ แหงชาติอยางตอเนื่อง ทั้งนี้บริษัทมีกําหนดสงมอบงานที่สรางเสร็จสมบูรณจํานวน 4,216 หนวย ภายในเดือนกันยายน 2552 ตามทีค่ ณะรัฐมนตรีไดมมี ติขยายระยะเวลาการกอสรางออกไปอีก 180 วัน ซึ่งบริษัทคาดวาจะสามารถสงมอบ งานไดตามกําหนดระยะเวลา 2.6 ความเสี่ยงจากการผันผวนของอัตราดอกเบี้ย ภายหลังจากบริษัทประสบความสําเร็จในการปฏิบัติตามแผนฟนฟูกิจการ บริษัทมีภาระหนี้ คงคางอีก จํานวนหนึ่ง โดยภาระหนี้ดังกลาวไมมีการคิดดอกเบี้ย ดังนั้นจึงไมไดรับผลกระทบจากความเสี่ยงจากการผัน ผวนของอัตราดอกเบี้ยในสวนนี้ สําหรับภาระหนี้ใหมจากการกูยืมเงินจากสถาบันการเงินเพื่อการพัฒนา โครงการตางๆ ของบริษทั ภายหลังจากการยกเลิกการฟน ฟูกจิ การ บริษทั ไดเจรจาตอรองกับสถาบันการเงิน หลายแหง และเขากูยืมเงินกับสถาบันการเงินซึ่งใหขอตกลงและเงื่อนไขที่ดีที่สุด สําหรับโครงการในอนาคต บริษัทมีนโยบายในการจัดหาแหลงเงินทุนที่มีตนทุน เศรษฐกิจและการเงินในขณะนั้น สวนที่ 1 หนา 5
ที่ดีที่สุดขึ้นอยูกับ ภาวะ
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 2.7 ความเสี่ยงจากการ คางชําระหนี้ ตามแผนฟนฟูกิจการ บริษัทมีภาระหนี้ที่ตองชําระคืนอีกจํานวนหนึ่ง บริษัทตองชําระหนี้ของเจาหนีไ้ ม มีประกัน ซึ่งจะตองทําการผอนชําระเปนรายงวดจํานวนรวมประมาณ 233.7 ลานบาท ซึ่งไดถึงกําหนดชําระ ในปลายเดือนตุลาคม 2550 และ 2551 อยางไรก็ตาม บริษัทยังไมไดชําระหนี้ใหกับเจาหนี้ และในปจจุบัน บริษัทอยูระหวางการเจรจากับเจาหนี้ไมมีประกันดังกลาว
สวนที่ 1 หนา 6
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552
3. ลักษณะการประกอบธุรกิจ 3.1 ประวัติความเปนมาและการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่สําคัญ บริษัท ธนายง จํากัด (มหาชน) (บริษัท) จดทะเบียนกอตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2511 ดวยทุนจด ทะเบียนเริ่มแรก 5,000,000 บาท เพื่อดําเนินธุรกิจดานการพัฒนาอสังหาริมทรัพย บริษัทไดเริ่มเปดโครงการ พัฒนาอสังหาริมทรัพยโครงการแรก คือ “โครงการธนาซิต้ี” ซึ่งตั้งอยูริมถนนบางนา-ตราด กม.14 ในป 2531 ซึ่ง เปนโครงการที่ประกอบไปดวย บานเดี่ยว ทาวนเฮาส อาคารชุดพักอาศัย และที่ดินเปลาจัดสรร บริษัทไดนํากิจการเขาจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยและเริ่มทําการซื้อขาย หลักทรัพยครั้งแรกในวันที่ 1 มีนาคม 2534 และตอมาเมื่อวันที่ 2 มิถนุ ายน 2536 บริษัทไดจดทะเบียนแปรสภาพ จากบริษทั จํากัด เปนบริษัทมหาชนจํากัด โดยเปลี่ยนชื่อจาก บริษัท ธนายง จํากัด เปน บริษัท ธนายง จํากัด (มหาชน) ในขณะเดียวกัน บริษทั ไดขยายลักษณะการประกอบธุรกิจออกไปหลายประเภท เชน โครงการ อสังหาริมทรัพย อาคารพักอาศัยใจกลางเมือง เซอรวสิ อพารทเมนท อาคารสํานักงาน โรงแรม และโครงการ สาธารณูปโภคขนาดใหญ ซึ่งใชเงินลงทุนมหาศาล โดย บริษัท เปนผูร เิ ริม่ ดําเนินการโครงการรถไฟฟาแหงแรกใน ประเทศไทย ภายใต บริษัท ระบบขนสงมวลชนกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) ซึ่งเริ่มเปดดําเนินการเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2542 ในป 2540 ประเทศไทยประสบวิกฤตทางเศรษฐกิจครั้งใหญ จนกระทั่งรัฐบาลในขณะนั้นตองประกาศ มาตรการลอยตัวคาเงินบาท ซึ่งสงผลกระทบโดยตรงตอภาคธุรกิจ โดยเฉพาะอยางยิ่งผูประกอบการที่กูยืมเงินจาก ตางประเทศ การลอยตัวคาเงินบาทสงผลใหเงินกู ยืมที่เปนสกุลเงินตราตางประเทศ มีมูลคา เมื่อเทียบเปนสกุลเงิน บาทเพิ่มสูงขึ้นเปนอยางมาก บริษัทก็ไดรับผลกระทบตาง ๆ เหลานี้ดวยเชนกัน ในระหวางป 2545-2549 บริษัทไดทําการปรับปรุงโครงสรางหนี้ และเขาสูกระบวนการฟนฟูกจิ การ ซึ่ง บริษัทไดปฏิบัติตามแผนฟนฟู กิจการจนกระทัง่ ศาลลมละลายกลาง ได มคี าํ สัง่ ยกเลิกการฟน ฟูกจิ การใน ปลายป 2549 ในป 2550 บริษัทไดกลับมาดําเนินธุรกิจโดยปกติดวยวิสัยทัศนของผูบริหารในการเสริมสรางศักยภาพ ในการดําเนินธุรกิจในอนาคต บริษทั ได เริ่ม ปรับโครงสรางองคกรใหม ทั้งในสวนโครงสรางผูถือหุน ทีมงาน ผูบริหาร ตลอดจนไดมกี ารรวมมือกับพันธมิตรที่แข็งแกรงจากดูไบ ฮองกง จีน ซึ่งเปนบริษัทที่มีการลงทุนทั่วโลก มารวมลงทุนในบริษัท ระหวางป 2550-2551 บริษัทและบริษัทในกลุม ไดลงทุนในอสังหาริมทรัพยสําหรับการพัฒนาโครงการ ในอนาคต โดยไดซื้อที่ดินที่หาดกมลา จังหวัดภูเก็ต, ถนนสุขุมวิท กรุงเทพฯ, กาญจนบุรี และเขาใหญ อีกทั้งได เชาที่ดินที่เชียงใหม ในป 2551 บริษัทไดเปดใหบริการโรงแรมบูติคแหงแรกโดยมีบริษัท แอบโซลูท โฮเต็ล เซอรวิส จํากัด ซึ่งเปนบริษัทในกลุมเปนผูบริหาร ภายใตชื่อ “โรงแรม ยู เชียงใหม” นอกจากนี้ บริษัทไดเซ็นสัญญาจางเหมาแบบ เบ็ดเสร็จ (Turnkey) เพือ่ ออกแบบและกอสรางโครงการโรงแรมโฟรพอยท เชอราตัน (Four Points by Sheraton) ทีก่ รุงเทพฯ กับเจาของโครงการ ในป 2551 เพื่อสงเสริมการบริหารธุรกิจใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น บริษัทได นํา ระบบขอมูล สารสนเทศในการบริหารอสังหาริมทรัพย (”PROMIS”) ซึ่งเปน ระบบซอฟตแวรการวางแผนทรัพยากรทางธุรกิจ ขององคกรโดยรวมมาใชในบริษัทตลอดจนบริษัทในกลุม โดยซอฟตแวรนจ้ี ะทําใหบริษทั สามารถบริหารการเงินได โดยละเอียด ตลอดจนสามารถประเมินและวางแผนงานดานตางๆ ในการประกอบธุรกิจ ซึ่งจะสงผลใหบริษัทมี ความสามารถในการแขงขันทีด่ ี สวนที่ 1 หนา 7
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 ในป 2552 พันธมิตรจากดูไบไดขายหุนใหแกบริษัทจากสิงคโปร นับตั้งแตป 254 4 เปนตนมา บริษัทมีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการที่สําคัญในสวนที่เกี่ยวกับการ ประกอบธุรกิจและการบริหารงาน ดังนี้ 2544
2545-2549 2548
2549
2550
2551
ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยขึ้นเครื่องหมาย SP หามการซือ้ หรือขายหลักทรัพย ของบริษัทตั้งแตวันที่ 7 กันยายน 2544 เปนตนไป บริษัทไดทําการปรับปรุงโครงสรางหนี้ โดยเขาสูกระบวนการฟนฟูกิจการ ลดทุนจดทะเบียนชําระแลวจากเดิม 4,684,557,000 บาท เหลือ 3,677,468,400 บาท แปลงมูลคาหุนที่ตราไวจากหุนละ 10 บาท เปนหุนละ 1 บาท และลดทุนจดทะเบียน ชําระแลว จากเดิม 3,677,468,400 บาท เหลือ 533,333,333 บาท ซึ่งเปนการ ดําเนินการตามแผนฟน ฟูกจิ การซึง่ ผานความเห็นชอบของศาลลมละลายกลาง เพิม่ ทุนจดทะเบียนจากเดิม 533,333,333 บาท เปน 5,333,333,333 บาท โดยออกหุน สามัญจํานวน 4,800,000,000 หุน จัดสรรหุนสามัญจํานวน 4,800,000,000 หุน ใหแกเจาหนี้และผูรวมลงทุนใหม และเพิ่ม ทุนจดทะเบียนชําระแลวจากเดิม 533,333,333 บาท เปน 5,333,333,333 บาท ซึ่งเปน การดําเนินการตามแผนฟน ฟูกจิ การซึง่ ผานความเห็นชอบของศาลลมละลายกลาง ศาลลมละลายกลางมีคําสั่งใหยกเลิกการฟนฟูกิจการ เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2549 ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยอนุญาตใหหลักทรัพยของบริษัทซื้อขายไดในหมวด พัฒนาอสังหาริมทรัพย ตั้งแตวันที่ 28 ธันวาคม 2549 เปนตนไป เพิ่มทุนจดทะเบียน ชําระแลวเปน 5,813,333,333 บาท โดยออกหุน สามัญจํานวน 480,000,000 หุน และจัดสรรใหพันธมิตรทางธุรกิจดวยวิธีการเสนอขายใหแกบุคคลใน วงจํากัด เพิม่ ทุนจดทะเบียนจากเดิม 5,813,333,333 บาท เปน 8,056,923,076 บาท โดยการ ออกหุน จํานวน 2,243,589,743 หุน เพื่อรองรับการใชสิทธิของหุนกูแปลงสภาพ จัดตั้งบริษัทรวมทุน คือ บริษัท กมลา บีช รีสอรท แอนด โฮเต็ล แมนเนจเมนท จํากัด เพื่อประกอบกิจการโรงแรมและพัฒนาอสังหาริมทรัพยในจังหวัดภูเก็ต จัดตั้งบริษัทรวมทุน คือ บริษัท ฮิบเฮง คอนสตรัคชั่น (ประเทศไทย) จํากัด เพื่อดําเนิน ธุรกิจรับเหมากอสราง จัดตั้งบริษัทรวมทุน คือ บริษัท แอบโซลูท โฮเต็ล เซอรวิส จํากัด เพื่อดําเนินธุรกิจรับ บริหารจัดการโรงแรม ยกเลิกการออกหุนกูแปลงสภาพ และเปลี่ยนแปลงวิธีการจัดสรรหุนจํานวน 2,243,589,743 หุน โดยใหเสนอขายใหแกผูถือหุนเดิมและบุคคลในวงจํากัด และ/หรือ นักลงทุนสถาบัน เพิ่มทุนจดทะเบียนและชําระแลวในบริษัท กมลา บีช รีสอรท แอนด โฮเต็ล แมนเนจเมนท จํากัด จากเดิม 850,000,000 บาท เปน 859,000,000 บาท
สวนที่ 1 หนา 8
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 2552
เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2552 คณะกรรมการบริษัทไดอนุมัติใหบริษัทซื้อหุนสามัญ จํานวน 22 ,334,000 หุน และหุนบุริมสิทธิจํานวน 5 ,154,000 หุน จาก Winnington Capital Limited คิดเปนรอยละ 32 ของทุนจดทะเบียนของบริษัท กมลา บีช รีสอรท แอนด โฮเต็ล แมนเนจเมนท จํากัด หรือเทากับรอยละ 50 ของสัดสวนผลประโยชนใน บริษัท กมลา บีช รีสอรท แอนด โฮเต็ล แมนเนจเมนท จํากัด ในราคา 648 ,444,000 บาท โดยแบงชําระเปนสองสวน คือ ชําระดวยเงินจํานวน 100 ,000,000 บาท และสวน ที่เหลืออีก 548,444,000 บาท บริษัทจะชําระดวยการออกหุนสามัญเพิ่มทุนของบริษัท จํานวน 1 ,034,800,000 หุน ในราคาหุนละ 0.53 บาท ทั้งนี้ บริษัทจะเสนอใหที่ ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2552 ซึ่งจะจัดใหมีขึ้นในวันที่ 24 กรกฎาคม 2552 พิจารณาอนุมัติใหแกไขขอบังคับขอ 6. ของบริษัท เพื่อใหบริษัทสามารถรับชําระคาหุน ของบริษัทดวยทรัพยสินอื่นนอกจากตัวเงิน และใหเพิ่มทุนและจัดสรรหุนสามัญเพิ่มทุน จํานวน 1,034,000,000 หุน ใหแก Winnington Capital Limited เพื่อซื้อหุนในบริษัท กมลา บีช รีสอรท แอนด โฮเต็ล แมนเนจเมนท จํากัด
สวนที่ 1 หนา 9
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 3.2 ภาพรวมการประกอบธุรกิจของบริษทั บริษัทยอย และบริษัทรวม บริษัท ธนายง จํากัด (มหาชน) ธุรกิจโรงแรม การบริหารจัดการ อสังหาริมทรัพย และการใหบริการ
ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย
งานบริหารโครงการ
ธุรกิจอื่นๆ บจ. ธนายง ฟูด แอนด เบเวอเรจ
100%
บจ. สยาม เพจจิง้ แอนด คอมมิวนิเคชั่น
100%
บจ. ดีแนล
100%
100%
บจ. สําเภาเพชร
100%
บจ. เมืองทอง แอสเซ็ทส
51%
บจ. ฮิบเฮง คอนสตรัคชัน่ (ประเทศไทย)
บจ. เมืองทองเลคไซด เรสเตอรรอง
100%
บจ. ยงสุ
100%
บจ. ธนายง อินเตอรเนชัน่ แนล
บจ. สระบุรี พร็อพเพอรตี้
100%
บจ. ธนาซิตี้ กอลฟ แอนด คันทรี คลับ
100%
บจ. ธนายง พร็อพเพอรตี้ แมเนจเมนท
100%
30%
68% 50%
บจ. กมลา บีช รีสอรท แอนด โฮเต็ล แมนเนจเมนท บจ. แอบโซลูท โฮเต็ล เซอรวิส
สวนที่ 1 หนา 10
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 โครงสรางการถือหุนของบริษัทในบริษัทยอยและบริษัทรวม บริษัท
ประเภทธุรกิจ
ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย บริษัท สยาม เพจจิ้ง แอนด คอมมิวนิเคชั่น จํากัด บริษัท สําเภาเพชร จํากัด บริษัท เมืองทองเลคไซด เรสเตอรรอง จํากัด * บริษัท สระบุรี พร็อพเพอรตี้ จํากัด
ถือครองที่ดิน ถือครองที่ดิน ถือครองที่ดิน ถือครองที่ดิน
ธุรกิจโรงแรม การบริหารจัดการอสังหาริมทรัพย และการใหบริการ บริษัท ดีแนล จํากัด บริษัท เมืองทอง แอสเซ็ทส จํากัด
อาคารสํานักงานใหเชา โรงแรม
ดําเนินการ -
ทีเอสทีทาวเวอร** โรงแรมอิสติน เลคไซด โรงแรม ยู เชียงใหม บริษัท ยงสุ จํากัด เซอรวสิ อพารทเมนท ยงสุ อพารทเมนท** - หยุด ประกอบกิจการ บริษัท ธนาซิตี้ กอลฟ แอนด คันทรี คลับ จํากัด บริหารและดําเนินการ สปอรตคลับ บริษัท ธนายง พร็อพเพอรตี้ แมเนจเมนท จํากัด บริหารอาคาร ทีเอสทีทาวเวอร** บริษัท กมลา บีช รีสอรท แอนด โฮเต็ล แมนเนจเมนท จํากัด โรงแรมและพัฒนาอสังหาริมทรัพย บริษัท แอบโซลูท โฮเต็ล เซอรวิส จํากัด บริหารจัดการโรงแรม โรงแรม ยู เชียงใหม โรงแรมอิสติน มักกะสัน กรุงเทพฯ เมาทเทนท ล็อดจ เขาใหญ ธุรกิจอื่น ๆ บริษัท ธนายง ฟูด แอนด เบเวอเรจ จํากัด บริษัท ฮิบเฮง คอนสตรัคชั่น (ประเทศไทย) จํากัด
ภัตตาคาร รับเหมากอสราง
หยุดประกอบกิจการ โรงแรมโฟรพอยท เชอราตัน (Four Points by Sheraton) สวนที่ 1 หนา 11
ทุนจดทะเบียน ทุนชําระแลว การถือหุน (ลานบาท) (ลานบาท) (รอยละ) 5.00 1.00 1.00 100.00
5.00 1.00 1.00 100.00
100.00 100.00 100.00 30.00
50.00 433.50
50.00 433.50
100.00 100.00
234.00
234.00
100.00
10.00 1.00 859.00 25.00
10.00 1.00 859.00 8.00
100.00 100.00 68.00 50.00
1.00 100.00
1.00 25.00
100.00 51.00
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552
ธุรกิจอื่น ๆ
ประเภทธุรกิจ
บริษัท ธนายง อินเตอรเนชัน่ แนล จํากัด
ลงทุนในหลักทรัพย
บริษัท เทรสเชอร พูล อินเวสเมนท จํากัด *** บริษัท ริคเตอร แอสเซทส จํากัด *** บริษัท ธนายง เทรสซูรี่ย เซอรวิส จํากัด ***
ลงทุนในหลักทรัพย ลงทุนในหลักทรัพย ลงทุนในหลักทรัพย
ดําเนินการ บริษัท เทรสเชอร พูล อินเวสเมนท จํากัด บริษัท ริคเตอร แอสเซทส จํากัด บริษัท ธนายง เทรสซูรี่ย เซอรวิส จํากัด หยุดประกอบกิจการและชําระบัญชี หยุดประกอบกิจการและชําระบัญชี หยุดประกอบกิจการและชําระบัญชี
ทุนจดทะเบียน (USD) 1,000 USD
ทุนชําระแลว (USD) 1,000 USD
การถือหุน (รอยละ) 100.00
1.00 USD 1.00 USD 2.00 USD
1.00 USD 1.00 USD 2.00 USD
100.00 100.00 100.00
หมายเหตุ * บริษัท เมืองทองเลคไซด เรสเตอรรอง จํากัด ถือหุนรอยละ 100 โดย บริษัท เมืองทอง แอสเซ็ทส จํากัด ** ทีเอสทีทาวเวอร และ ยงสุ อพารทเมนท เปนสวนหนึ่งของทรัพยหลักประกันตามแผนฟนฟูกิจการของบริษัท ซึ่ง ศาลลมละลายกลาง ไดมีคําสั่งใหประมูลขายทรัพยดังกลาว โดย รายไดจากการประมูลจะจัดสรรใหเจาหนี้ตามสัดสวนหนี้ ทั้งนี้ บริษัทไดทําการประมูลขายทรัพยและไดผูชนะการประมูลแลว เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2552 *** บริษัท ริคเตอร แอสเซทส จํากัด บริษัท เทรสเชอร พูล อินเวสเมนท จํากัด และบริษัท ธนายง เทรสซูรี่ย เซอรวิส จํากัด ถือหุนรอยละ 100 โดย บริษัท ธนายง อินเตอรเนชัน่ แนล จํากัด โดยบริษัทยอยของ บริษัท ธนายง อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด ทั้งสามบริษัทนี้ไดหยุดประกอบกิจการและชําระบัญชีในเดือนมีนาคม 2552
สวนที่ 1 หนา 12
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 บริษัทไดแบงการดําเนินธุรกิจออกเปน 3 ประเภทหลัก ไดแก (1) ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย (2) ธุรกิจโรงแรม การบริหารจัดการอสังหาริมทรัพย และการใหบริการ และ (3) งานบริหารโครงการ (1) ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย บริษัทมีนโยบายการดําเนินธุรกิจที่มุงเนนความหลากหลายของผลิตภัณฑและครอบคลุม ทําเล ตางๆ ทั้งในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เพื่อใหครอบคลุมกลุมลูกคาตามพื้นที่ตางๆ ซึ่งปจจุบันบริษัท มีโครงการหลากหลายประเภทครบวงจร ดังตอไปนี้ ชือ่ โครงการ 1. โครงการธนาซิต้ี ถนนบางนา-ตราด กม.14
ผูดําเนินการ บริษัท ธนายง จํากัด (มหาชน)
ลักษณะโครงการ ที่ดินเปลาจัดสรร อาคารชุดพัก อาศัย บานเดี่ยว ทาวนเฮาส
(2) ธุรกิจโรงแรม การบริหารจัดการอสังหาริมทรัพย และการใหบริการ บริษัทได ประกอบ ธุรกิจโรงแรม บริการ ให เชาอาคารพักอาศัย อาคารสํานักงาน ใหบริการอื่นๆ ดังตอไปนี้ ชือ่ โครงการ โรงแรม 1. โรงแรมอิสติน เลคไซด 2. โรงแรม ยู เชียงใหม
ผูดําเนินการ
และการ
ลักษณะโครงการ
บริษัท เมืองทอง แอสเซ็ทส จํากัด บริษัท เมืองทอง แอสเซ็ทส จํากัด
โรงแรมระดับ 3 ดาว โรงแรมระดับ 4 ดาว
1. โครงการเดอะรอยัลเพลส 1 2. โครงการเดอะรอยัลเพลส 2
บริษัท ธนายง จํากัด (มหาชน) บริษัท ธนายง จํากัด (มหาชน)
อาคารพักอาศัยใหเชา อาคารพักอาศัยใหเชา
3. โครงการเดอะแกรนด
บริษัท ธนายง จํากัด (มหาชน)
อาคารพักอาศัยใหเชา
บริษัท ดีแนล จํากัด และ บริษัท ธนายง พร็อพเพอรตี้ แมเนจเมนท จํากัด
อาคารสํานักงานใหเชา
บริษัท ธนาซิตี้ กอลฟ แอนด คันทรี คลับ จํากัด
สปอรตคลับ
อาคารพักอาศัย
อาคารสํานักงาน 1. ทีเอสทีทาวเวอร*
การใหบริการ 1. ธนาซิตี้ กอลฟ แอนด คันทรี คลับ *
ทีเอสทีทาวเวอร และ ยงสุ อพารทเมนท เปนสวนหนึ่งของทรัพยหลักประกันตามแผนฟนฟูกิจการของบริษัทซึ่ง ศาลลมละลายกลาง ไดมีคําสั่งใหประมูลขายทรัพยดังกลาว โดยรายไดจากการประมูลจะจัดสรรใหเจาหนี้ตาม สัดสวนหนี้ ทั้งนี้ บริษัทไดทําการประมูลขายทรัพยและไดผูชนะการประมูลแลว เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2552
สวนที่ 1 หนา 13
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 (3) งานบริหารโครงการ (3.1) โครงการบานเอือ้ อาทร บริษัทไดรับคัดเลือกจากการเคหะแหงชาติใหเปนผูรวมดําเนินการจัดทําโครงการบานเอื้ออาทร จํานวน 20,000 หนวย ทั้งนี้โครงการมีลักษณะเปน อาคารชุดพักอาศัย 3 ชั้น และ 4 ชั้น พรอมระบบ สาธารณูปโภค และสาธารณูปการตามมาตรฐานของการเคหะแหงชาติ ในปจจุบัน บริษัทไดรับอนุมัติให ดําเนินการสรางบานเอือ้ อาทรจํานวน 8,084 หนวย จากทั้งหมด 20,000 หนวย ในทําเลตาง ๆ มีรายละเอียด ดังตอไปนี้ ชือ่ โครงการ
ผูดําเนินการ
ลักษณะโครงการ
โครงการบานเอื้ออาทร 1. บานเอือ้ อาทรชลบุรี (นาจอมเทียน) บริษัท ธนายง จํากัด (มหาชน) อาคารชุดพักอาศัย 3 ชั้น 2. บานเอื้ออาทรประจวบคีรีขันธ (หัวหิน 3) บริษัท ธนายง จํากัด (มหาชน) อาคารชุดพักอาศัย 4 ชั้น 3. บานเอื้ออาทรสระบุรี (โคกแย) บริษทั ธนายง จํากัด (มหาชน) อาคารชุดพักอาศัย 3 ชั้น (3.2) โครงการโรงแรมโฟรพอยท เชอราตัน (Four Points by Sheraton) งานบริหารโครงการโรงแรมระดับ 4 ดาว สูง 32 ชั้น จํานวนหองพัก 437 หอง ในลักษณะ Turnkey (สัญญาจางเหมาแบบเบ็ดเสร็จ) โดยขอบเขตการใหบริการครอบคลุมตัง้ แต การออกแบบ การ กอสราง ตลอดจนการจัดหาผูบ ริหารงานโรงแรมภายหลังโรงแรมกอสรางเสร็จ โดยโครงการตัง้ อยูใ น ศูนยกลางธุรกิจบนถนนสาทร ใกลสถานีรถไฟฟาสุรศักดิ์ มูลคาโครงการประมาณ 2,200 ลานบาท ซึ่งคาดวา จะกอสรางแลวเสร็จในป 2554
สวนที่ 1 หนา 14
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 3.3
โครงสรางรายได รายได/ชือ่ โครงการ
1. ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย โครงการธนาซิต้ี 2. ธุรกิจโรงแรม การบริหารจัดการอสังหาริมทรัพย และการใหบริการ โรงแรมอิสติน เลคไซด โรงแรมยู เชียงใหม เดอะรอยัลเพลส 1 เดอะรอยัลเพลส 2 เดอะแกรนด ทีเอสทีทาวเวอร ยงสุ อพารทเมนท ธนาซิตี้ กอลฟ แอนด คันทรี คลับ 3. งานบริหารโครงการ โครงการบานเอือ้ อาทร โครงการโรงแรมโฟรพอยท เชอราตัน (Four Points by Sheraton) 4. อื่นๆ กําไรจากการปรับโครงสรางหนีแ้ ละการฟน ฟูกจิ การ โอนกลับคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ กําไรจากการขายเงินลงทุนในบริษทั รวม ดอกเบีย้ รับ รายไดอน่ื รวมรายไดทั้งสิ้น
ดําเนินการโดย บริษัท ธนายง จํากัด (มหาชน) บริษัท เมืองทอง แอสเซ็ทส จํากัด บริษัท เมืองทอง แอสเซ็ทส จํากัด บริษัท ธนายง จํากัด (มหาชน) บริษัท ธนายง จํากัด (มหาชน) บริษัท ธนายง จํากัด (มหาชน) บริษัท ดีแนล จํากัด และบริษัท ธนายง พร็อพเพอรต้ี แมเนจเมนท จํากัด บริษัท ยงสุ จํากัด บริษัท ธนาซิตี้ กอลฟ แอนด คันทรี คลับ จํากัด บริษัท ธนายง จํากัด (มหาชน) บริษัท ธนายง จํากัด (มหาชน) บริษัท ธนายง จํากัด (มหาชน) บริษัท ธนายง จํากัด (มหาชน) บริษัท ธนายง จํากัด (มหาชน) บริษัท ธนายง จํากัด (มหาชน)
สวนที่ 1 หนา 15
2551/2552 2550/2551 2549/2550 รายได รายได รายได รอยละ รอยละ รอยละ (ลานบาท) (ลานบาท) (ลานบาท) 48.7 4.5 10.2 0.4 29.8 0.9 204.7
19.1
175.6
7.0
170.6
5.0
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
547.3 440.1 107.2
51.1 -
976.0 976.0 -
39.4 -
502.1 502.1 -
14.7 -
270.0 195.1 11.8 1.2 61.9 1,070.7
25.2 100
1,329.2 1,149.2 114.4 5.5 60.1 2,491.0
53.4 100
2,717.40 2,647.1 6.5 25.6 5.5 32.7 3,419.9
79.5 100
แบบ 56-1 ประจําป 2551/25521 3.4 เปาหมายในการดําเนินธุรกิจ บริษทั มีเปาหมายในการดําเนินธุรกิจ 3 ประเภทหลัก ไดแก (1) ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย (Property Development) (2) ธุรกิจโรงแรม การ บริหารจัดการ อสังหาริมทรัพย และการใหบริการ (Hotel, Hospitality, Property Management and Services) และ (3) งานบริหารโครงการ (Project Management) โดยในระยะสัน้ บริษทั คาดวาจะมีรายไดหลักมาจากงานบริหารโครงการ แตในระยะยาว รายไดของบริษทั จะ มาจากธุรกิจหลักทั้ง 3 ประเภท ในสัดสวนที่ใกลเคียงกันมากขึ้น
สวนที่ 1 หนา 16
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552
4. การประกอบธุรกิจในแตละสายผลิตภัณฑ 4.1 ลักษณะของผลิตภัณฑ บริษัทแบงการดําเนินธุรกิจออกเปน 3 ประเภทหลัก ไดแก (1) ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย (2) ธุรกิจ โรงแรม การบริหารจัดการอสังหาริมทรัพย และการใหบริการ และ (3) งานบริหารโครงการ
ธุรกิจ 1: ธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย โครงการธนาซิตี้ ถ. บางนา-ตราด กม.14 โครงการธนาซิตี้ ตั้งอยูบนถนนบางนา-ตราด กม.14 ซึ่ง ดําเนินการโดยบริษทั จากที่ตั้ง โครงการ สามารถเดินทางสะดวกดวย เสนทาง ถนนบางนา-ตราดหรือทางดวนยกระดับ ไปเชือ่ มตอยังถนนออนนุช มอเตอรเวย กรุงเทพฯ-ชลบุรี อีกทั้งโครงการยังอยูใกลสิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ อาทิเชน หางสรรพสินคา เซ็นทรัลซิต้ี บางนา มหาวิทยาลัยเกริก มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาคุณทหาร ลาดกระบัง โรงพยาบาล สนามบินสุวรรณภูมิ และจุด Airport Link สําหรับ การเดินทางเขาเมืองโดยรถไฟฟา ไดในอนาคต โครงการมีพื้นที่รวมทั้งสิ้นกวา 1,600 ไร เปนโครงการขนาดใหญพรอมดวยสาธารณูปโภคครบครัน มี ระบบปองกันน้ําทวม ทามกลางสิ่งแวดลอมที่ดีจากธรรมชาติของตนไมรายรอบโครงการ นอกจากนีเ้ พือ่ สุขภาพ ผูอยูอาศัยสามารถสมัครเปนสมาชิก สปอรต คลับซึ่งมีสนามกีฬากลางแจง ไดแก สนามเทนนิส 8 สนาม สระวายน้ําขนาดมาตรฐานโอลิมปค และพื้นที่สนามกีฬาในรม ไดแก สนามแบตมินตัน สนามบาสเก็ต บอล สนามสคว็อช หองสนุกเกอร เซานา พื้นที่เลนสําหรับเด็ก ฟตเนส และหองแอโรบิค พรอมครูฝกมือ อาชีพไวคอยใหคําแนะนํา อีกทั้ง สนามกอลฟมาตรฐาน 18 หลุม 72 พาร ออกแบบโดยนักกอลฟมืออาชีพ ระดับโลก และสนามไดรฟกอลฟภายในพืน้ ทีข่ องโครงการ เนือ่ งจากโครงการธนาซิต้ีเปนโครงการขนาดใหญ สามารถรองรับความตองการของลูกคาทุกประเภท บริษัทจึงไดพัฒนาอสังหาริมทรัพยหลายรูปแบบ เพื่อตอบสนองกับความตองการของลูกคา และโครงการ บางสวนไดพัฒนาเสร็จและปดการขายไปเรียบรอยแลว เชน โครงการบานเดี่ยวเพรสทีจเฮาส I ซึ่งเปนบาน เดีย่ วพรอมทีด่ นิ ขนาด 400 ตารางวาขึน้ ไป ในปจจุบัน โครงการธนาซิตม้ี โี ครงการอสังหาริมทรัพยพรอมขายเหมาะสําหรับลูกคาทุกประเภท ดังตอไปนี้ บานเดี่ยวพรอมที่ดิน 1. เพรสทีจเฮาส II 2. เพรสทีจเฮาส III (ฮาบิแทต) 3. ธนาเพลสกิง่ แกว ทาวนเฮาส 1. ทาวนเฮาส ริมน้ําและริมสวน 2. ทาวนเฮาส (ฮาบิแทต) อาคารชุดพักอาศัย 1. เพรสทีจคอนโดมิเนียม 2. นูเวลคอนโดมิเนียม 3. กิ่งแกวคอนโดมิเนียม สวนที่ 1 หนา 17
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 ที่ดินเปลาจัดสรร 1. เพรสทีจไพรมแลนด ที่ดินเปลารอบสนามกอลฟ 2. แคลิฟอรเนียน บานเดี่ยวพรอมที่ดิน รายละเอียด ที่ตั้งโครงการ เนื้อที่โครงการ มูลคาเงินลงทุนทั้งหมด มูลคาขายของโครงการ รายละเอียดโครงการ จํานวนหนวย ราคาขายตอหนวย มูลคาที่ขายแลว จํานวนที่ทําสัญญาซื้อขาย และโอนกรรมสิทธิแลว จํานวนคงเหลือ
ถนนบางนา-ตราด กม. 14 73-0-0 ไร 144.4 ลานบาท 662.2 ลานบาท บานเดี่ยวบนพื้นที่ 200 ตารางวา ขึ้นไป 85 หนวย 38,000-42,000 บาท/ ตารางวา 315.3 ลานบาท 42 หนวย
เพรสทีจเฮาส III (ฮาบิแทต) ถนนบางนา-ตราด กม. 14 130-0-0 ไร 242.2 ลานบาท 844 ลานบาท บานเดี่ยวบนพื้นที่ 100-250 ตารางวา 288 หนวย 38,000-42,000 บาท/ ตารางวา 601.5 ลานบาท 204 หนวย
ถนนบางนา-ตราด กม. 14 101-2-80 ไร 231.7 ลานบาท 439.9 ลานบาท บานเดี่ยวบนพื้นที่ 100 ตารางวา ขึ้นไป 307 หนวย 29,000-35,000 บาท/ ตารางวา 242.8 ลานบาท 215 หนวย
43 หนวย
84 หนวย
92 หนวย
เพรสทีจเฮาส II
ธนาเพลสกิง่ แกว
โครงการเพรสทีจเฮาส I ซึ่งเปนที่ดินขนาดใหญประมาณ 400 ตาราวาขึน้ ไป ไดขายหมดไปแลวและใน ปจจุบันโครงการเพรสทีจเฮาส II เพรสทีจเฮาส III และธนาเพลสกิ่งแกว ซึ่งเปนโครงการบานเดี่ยวบนที่ดิน แปลง ขนาดยอมลงมาประมาณ 50-400 ตารางวา โครงการมีที่ดินหลายขนาดและบานหลายรูปแบบที่ ตอบสนองความตองการของลูกคา ทาวนเฮาส รายละเอียด ที่ตั้งโครงการ เนื้อที่โครงการ มูลคาเงินลงทุนทั้งหมด มูลคาขายของโครงการ รายละเอียดโครงการ
ทาวนเฮาส ริมน้ําและริมสวน ถนนบางนา-ตราด กม.14 12-0-0 ไร 118.7 ลานบาท 188.1 ลานบาท ทาวนเฮาส หนากวาง 8 เมตร สูง 3 ชั้น / 4 ชั้น พื้นที่ 40-50 ตารางวา 72 หนวย 3.8 - 4.6 ลานบาท 134.4 ลานบาท
จํานวนหนวย ราคาขายตอหนวย มูลคาที่ขายแลว จํานวนที่ทําสัญญาซื้อขายและโอน กรรมสิทธิแ์ ลว 54 หนวย จํานวนคงเหลือ 18 หนวย
สวนที่ 1 หนา 18
ทาวนเฮาส (ฮาบิแทต) ถนนบางนา-ตราด กม.14 2-3-20 ไร 15.2 ลานบาท 24.7 ลานบาท อาคารพาณิชย สูง 3.5 ชั้น พื้นที่ 40-60 ตารางวา 20 หนวย 3.0 – 5.1 ลานบาท 5.5 ลานบาท 4 หนวย 16 หนวย
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 โครงการทาวนเฮาส ริมน้ําและริมสวน เนนการออกแบบใหมีพื้นที่ใชสอยขนาดใหญ 250-300 ตารางเมตร บนพื้นที่ 40-50 ตารางวา บรรยากาศแบบบานพักตากอากาศ มีทั้งแบบ 3 ชั้น และ 4 ชั้น มี หองนอน 3-4 หอง ปจจุบันทั้งโครงการมีจํานวนเหลือเพียง 18 หนวย ทัง้ โครงการมีการวางสายไฟฟาใตดนิ อยางทันสมัยเพื่อความสวยงามของทัศนียภาพโดยรอบ โครงการ ทาวนเฮาส (ฮาบิแทต) เนนพื้นที่ใชสอยอเนกประสงคที่ใชงานไดหลากหลาย เหมาะสําหรับ เปนทาวเฮาสเพื่อการพาณิชย ปจจุบันมีจํานวนเหลือเพียง 16 หนวย อาคารชุดพักอาศัย รายละเอียด ที่ตั้งโครงการ เนื้อที่โครงการ มูลคาเงินลงทุนทั้งหมด มูลคาขายของโครงการ รายละเอียดโครงการ จํานวนหนวย ราคาขายตอหนวย มูลคาที่ขายแลว จํานวนที่ทําสัญญาซือ้ ขาย และโอนกรรมสิทธิ์แลว จํานวนคงเหลือ
เพรสทีจคอนโดมิเนียม ถนนบางนา-ตราด กม. 14 24-0-0 ไร 1,169.8 ลานบาท 993.9 ลานบาท อาคารชุด สูง 16 ชั้น จํานวน 6 อาคาร 340 หนวย 15 ลานบาท 979.3 ลานบาท 338 หนวย
นูเวลคอนโดมิเนียม ถนนบางนา-ตราด กม. 14 25-0-0 ไร 1,026.1 ลานบาท 1,386.4 ลานบาท อาคารชุด สูง 17 ชั้น จํานวน 6 อาคาร 905 หนวย 1.2-7.9 ลานบาท 950.6 ลานบาท 774 หนวย
กิง่ แกวคอนโดมิเนียม ถนนบางนา-ตราด กม. 14 6-2-10 ไร 384.0 ลานบาท 300.3 ลานบาท อาคารชุด สูง 6-7 ชั้น จํานวน 15 อาคาร 456 หนวย 0.8-1.3 ลานบาท 159.3 ลานบาท 320 หนวย
2 หนวย
131 หนวย
136 หนวย
เพรสทีจคอนโดมิเนียม ปจจุบันบริษัทมีเหลือเพียง 2 หนวยเทานั้น แตละหนวยมีพื้นที่ใชสอย 428 ตารางเมตร มีลักษณะเปน เพนทเฮาส 2 ชั้น ขนาด 5 หองนอน ราคาประมาณ 15 ลานบาท ดานหนาโครงการมีบรรยากาศทีส่ วยงาม สามารถมองเห็นทิวทัศนของสนามกอลฟ นูเวลคอนโดมิเนียม โครงการนูเวลคอนโดมิเนียม เปนอาคารสูง 17 ชั้น จํานวน 6 อาคาร ทั้งโครงการมีสระวายน้ําจํานวน 3 สระ ทามกลางทัศนียภาพสวนสวย โดย สระวายน้ํา 1 สระ จะเชื่อมตอระหวาง 2 อาคาร เพื่ออํานวยความ สะดวกใหแกผูอยูอาศัย ภายในหองชุดตกแตงดวยเฟอรนิเจอรรูปลักษณทันสมัย ขนาดหองมีหลายขนาดตัง้ แตพื้นที่ 60 ตาราง เมตร สําหรับหอง ชุด แบบ 1 หองนอน ราคา 1.2 ลานบาท พื้นที่ 97 ตารางเมตร สําหรับหอง ชุด แบบ 2 หองนอน ราคา 1.94 ลานบาท และพื้นที่ 250 ตารางเมตร สําหรับ 3-4 หองนอน มีลกั ษณะเปนเพน ทเฮาส 2 ชั้น
สวนที่ 1 หนา 19
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 กิง่ แกวคอนโดมิเนียม โครงการกิ่งแกวคอนโดมิเนียม เปนอาคารสูง 6-7 ชั้น จํานวน 15 อาคาร มีพื้นที่ใชสอย 41-45 ตาราง เมตร สําหรับหองแบบ 1 หองนอน ราคา 800,000 บาท พื้นที่ 60 ตารางเมตร สําหรับหองแบบ 2 หองนอน ราคา 1.1 ลานบาท และพื้นที่ 98 ตารางเมตร สําหรับหองแบบดูเพล็กซ 2 ชั้น 3 หองนอน ราคา 1.6 ลานบาท ทัง้ นูเวลคอนโดมิเนียมและกิ่งแกวคอนโดมิเนียมเปนหองชุดพักอาศัยที่สรางเสร็จกอนขาย เพื่ออํานวย ความสะดวกใหแกลูกคา โดยสามารถเขาอยูอาศัยไดทัน ที โดยโครงการไดมกี ารตกแตงดวยเฟอรนเิ จอร ทันสมัยพรอมเครื่องปรับอากาศ พรอมเขาอยู ทุกหองชุด มีการออกแบบเปนอยางดี หองนอนโปรงโลง พื้นที่ หองครัวแยกเปนสัดสวน มีระบบการระบายอากาศที่ดี ไมมีกลิ่นรบกวนในสวนอื่นของหองพัก โครงการคอนโดมิเนียมในธนาซิต้ี เปนโครงการคอนโดมิเนียมแหงเดียวในบริเวณรอบสนามบิน สุวรรณภูมิ ซึง่ จากโครงการ สามารถเดินทาง ไปยังนิคมอุตสาหกรรมตางๆ และศูนยการธุรกิจในตัวเมืองได โดยสะดวก ที่ดินเปลาจัดสรร รายละเอียด ที่ตั้งโครงการ เนื้อที่โครงการ มูลคาเงินลงทุนทั้งหมด มูลคาขายของโครงการ รายละเอียดโครงการ จํานวนหนวย ราคาขายตอหนวย มูลคาที่ขายแลว จํานวนที่ทําสัญญาซื้อขาย และโอนกรรมสิทธิ์แลว จํานวนคงเหลือ
เพรสทีจไพรมแลนด ถนนบางนา-ตราด กม.14 106-0-0 ไร 172.9 ลานบาท 1,223.5 ลานบาท ที่ดินเปลาจัดสรร รอบสนามกอลฟ 123 หนวย 3.8-23.2 ลานบาท 970.2 ลานบาท 91 หนวย
แคลิฟอรเนียน ถนนบางนา-ตราด กม.14 14-3-7.5 ไร 41.5 ลานบาท 161.4 ลานบาท ที่ดินเปลาจัดสรร 63 หนวย 1.2- 4.7 ลานบาท 75.5 ลานบาท 32 หนวย
32 หนวย
31 หนวย
ที่ดินจัดสรรเพื่อจําหนาย โดยบริษัทมี บริการรับสรางบานใหแกลกู คา ตามทีต่ อ งการ ทั้งนี้ บริษัท ได จัดสรรแปลงที่ดินหลายขนาดเพื่อใหเหมาะสมกับความตองการของลูกคาแตละกลุม เชน เพรสทีจไพรมแลนด จะมีพื้นที่แปลงละ ประมาณ 250 ตารางวา ราคาขายประมาณ 35,000 บาทตอตารางวา และ โครงการ แคลิฟอรเนียน จะมีพื้นที่แปลงละประมาณ 80 ตารางวา ราคาขายประมาณ 35,000 บาทตอตารางวา การตลาดและภาวะการแขงขัน กลยุทธในการแขงขัน 1. สําหรับผลิตภัณฑที่มีอยูเดิม บริษัทไดทําการปรับตําแหนงผลิตภัณฑ ( Repositioning) ใหสอดคลองกับ ความตองการของตลาดในปจจุบัน โดยเนนการปรับรูปลักษณและใชกลยุทธทางดานราคา 2. สําหรับผลิตภัณฑใหม บริษัทจะเนนสรางความแตกตางในตัวผลิตภัณฑ ในดานการออกแบบและ คุณภาพที่โดดเดนและมีเอกลักษณเฉพาะตัว 3. พัฒนาความเปนชุมชน และ ความมีชีวิตชีวาของสภาพแวดลอม
สวนที่ 1 หนา 20
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 4. ปรับภูมทิ ศั นโดยรอบโครงการของบางโครงการในธนาซิตใ้ี หม 5. เสริมสรางและเพิม่ ชองทางการขาย และ การสือ่ สารทางการตลาดทีค่ รบวงจร โดยเฉพาะอยางยิง่ การขาย ตรงสูลูกคา กลุมลูกคาเปาหมาย หรือนักลงทุนทั่วไป 6. ใหความสําคัญกับความพึงพอใจของลูกคาและการบริการที่ครบวงจร
1. 2. 3. 4.
ลักษณะลูกคาและกลุมลูกคาเปาหมาย โครงการบานพักอาศัย : กลุมบุคคลหรือครอบครัวที่มีรายได ระดับ ปานกลางถึงระดับสูง ซึ่งขึ้นอยูกับ ลักษณะและทําเลของแตละโครงการ ลูกคาสวนใหญเปนกลุมคนที่ชอบบาน รูปลักษณ ทันสมัย มีเนื้อที่ใช สอยมาก มีสภาพแวดลอมที่ดี และสงบรมรื่น โครงการ ทาวนเฮาส : เนนกลุมลูกคาประเภทครอบครัวที่ตองการหอง ซึ่งเหมาะกับความตองการ หลากหลาย โครงการอาคารชุด : เนนกลุมลูกคาทั้ง ชาวไทยและตางประเทศที่มีรายไดปานกลางถึงคอนขางสูง ผูมอง หาโอกาสในการลงทุน ผูที่ตองการบานหลังที่สอง หรือลูกคาที่ทํางานใกลแถบสนามบินสุวรรณภูมิ และ ตองการที่พักที่มีสิ่งอํานวยความสะดวกครบครัน โครงการที่ดินเปลาจัดสรร: กลุมบุคคลที่ตองการกอสรางที่พักอาศัย ในรูปแบบตามความพึงพอใจสวนตัว และสิ่งอํานวยความสะดวกตางๆ ที่โครงการจัดเตรียมไวให
นโยบายการกําหนดราคา บริษทั มีนโยบายการกําหนดราคา โดยคํานึงถึงความเหมาะสมทางก ารตลาดและ สภาวะการแขงขัน ของแตละโครงการ โดยบริษัทจะ เลือกใชนโยบายดานราคาและกลยุทธการสงเสริมการขายควบคูก นั เพือ่ ความสําเร็จตามความเหมาะสมของแตละโครงการ ภาวะอุตสาหกรรม ในป 2551 ธุรกิจอสังหาริมทรัพยตองประสบกับปจจัยลบหลายอยาง ไดแก ความผันผวนของราคาวัสดุ กอสราง ความไมมั่นคงทางการเมือง สภาวะวิกฤตเศรษฐกิจโลก และผลกระทบของสภาวะดังกลาวตอ เศรษฐกิจของประเทศไทย ซึงไดสงผลกระทบตอความเชื่อมั่นของนักลงทุนและผูบริโภค การชะลอตัวทาง เศรษฐกิจเพิ่มแรงกดดันในทางลบตอรายไดและความสามารถในการซื้อของผูที่ตองการจะซื้อที่อยูอาศัย ทําให ผูบริโภคชะลอการตัดสินใจ หรือลดงบประมาณในการซื้อที่อยูอาศัยลง นอกจากนี้ในชวงปลายป สถาบัน การเงินไดเพิ่มความเขมงวดในการพิจารณาอนุมัติสินเชื่อที่อยูอาศัย โดยปจจัยเหลานี้ยังคงมีอิทธิพลในป 2552 ทั้งนี้เพื่อเปนการกระตุนเศรษฐกิจและ ธุรกิจอสังหาริมทรัพย ในเดือนมีนาคม 2551 คณะรัฐมนตรีได อนุมัตินโยบายกระตุนเศรษฐกิจดวยมาตรการซึ่งเปนปจจัยบวกโดยตรงตอธุรกิจอสังหาริมทรัพย ดังนี้
มาตรการภาษีเพื่อเพิ่มรายไดใหแกประชาชน 1. ปรับเพิ่มเงินไดสุทธิที่ไดรับยกเวนภาษีเงินไดบุคคลธรรมดาจาก 100,000 บาท เพิ่มเปน 150,000 บาท 2. ปรับเพิ่มวงเงินการยกเวนและการหักคาลดหยอนเบี้ยประกันชีวิต จาก 50,000 บาท เพิ่มเปน 100,000 บาท 3. ปรับเพิ่มวงเงินการหักคาลดหยอนเงินไดที่ซื้อกองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ กองทุนรวมหุนระยะยาว จาก 300,000 บาท เพิ่มเปน 500,000 บาท 4. เพิ่มการหักคาลดหยอนคาอุปการะผูพิการ โดยใหหักได 30,000 บาทตอคนพิการ
สวนที่ 1 หนา 21
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 มาตรการภาษีเพื่อกระตุนการลงทุนและเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของเอกชนไทย มาตรการภาษีเพือ่ กระตุน การลงทุน และความสามารถในการแขงขันของผูป ระกอบการภาคเอกชนซึง่ ใน เบื้องตนไดรับการอนุมัติใหเปนมาตรการพิเศษ 1 ป ตอมาไดมกี ารตออายุมาตรการดังกลาวเปน 2 ป หรือ จนกระทัง่ เดือนมีนาคม 2553 ไดแก 1. การลดอัตราภาษีธรุ กิจเฉพาะจากรอยละ 3 .3 เปนรอยละ 0.1 1 สําหรับการขายอสังหาริมทรัพยเปนทาง คาหรือหากําไร 2. การลดคาธรรมเนียมการโอนจากรอยละ 2.0 เปนรอยละ 0.01 และคา ธรรมเนียมจดทะเบียนการจํานอง อสังหาริมทรัพยจากรอยละ 1 เปนรอยละ 0.01 ทั้งนี้เพื่อเปนการกระตุนธุรกิจอสังหาริมทรัพยยิ่งขึ้น ในเดือนมกราคม 2552 คณะรัฐมนตรีไดอนุมัติ มาตรการทางภาษีเพิ่มเติม ใหผูซื้อที่อาศัยสามารถนําคาใชจายในการซื้ออสังหาริมทรัพยที่ไมเคยผานการใช งานมากอนจํานวนเงินตนไมเกิน 300,000 บาท และดอกเบี้ยไมเกิน 100,000 บาท โดยจะตองทําการโอน กรรมสิทธิ์ภายในป 2552 อยางไรก็ตาม ผูประกอบการเชื่อวาปจจัยหลักที่มีอิทธิพลตอการตัดสินใจของผูซื้อที่อยูอาศัย คือ ความ เชื่อมั่นของผูบริโภค ความมั่นคงของรายไดในอนาคตซึ่งสงผลกระทบโดยตรงตอกําลังซื้อ และสภาวะ เศรษฐกิจ สวนมาตรการภาษีเปนเพียงปจจัยเสริมเทานั้น การจดทะเบียนที่อยูอาศัยใหมในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล 35,000 30,000
31,535 26,631 23,889
25,000 หนวย
20,000 15,000 10,000
16,700 17,461 14,632
13,360 7,689
5,000
16,390 17,012 14,931
11,460 9,229
761
2,133
1,436
869
586
13,437 11,943
0 2547
2548 บานเดี่ยว
2549 ทาวนเฮาส
2550 อาคารชุด
2551 บานแฝด
ที่มา: ศูนยขอมูลอสังหาริมทรัพย หมายเหตุ: กรุงเทพและปริมณฑล ไดแก สมุทรปราการ นนทบุรี ปทุมธานี นครปฐม สมุทรสาคร
สวนที่ 1 หนา 22
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 จํานวนที่อยูอาศัย สรางโดยผูป ระกอบการ การเปลี่ยนแปลง (%) จํานวนที่อยูอาศัย สรางโดยเจาของ การเปลี่ยนแปลง (%)
2547 48,441
2548 45,164
2549 49,662
2550 49,769
2551 59,048
32.4% 19,859
-46.8% 25,244
10.0% 28,949
0.2% 25,341
18.6% 24,017
N.A.
27.1%
14.7%
-12.5%
-5.2%
ที่มา: ศูนยขอมูลอสังหาริมทรัพย หมายเหตุ: กรุงเทพและปริมณฑล ไดแก สมุทรปราการ นนทบุรี ปทุมธานี นครปฐม สมุทรสาคร จํานวนทีอ่ ยูอ าศัยสรางเองโดยเจาของมีแนวโนมลดลง สวนจํานวนที่อยูอาศัยจากผูประกอบการตางๆ มีการปรับตัวสูงขึ้น ในป 2551 จํานวนบานเดีย่ วจดทะเบียนใหมยงั คงลดลงอยางตอเนือ่ งในสัดสวนรอยละ 18.02 เชนเดียวกับอุปทานทาวนเฮาสและอาคารพาณิชยที่ลดลงรอยละ 20.01 ในขณะทีจ่ าํ นวนบานแฝดมี การขยายตัวเพิ่มขึ้นสูงสุดตั้งแตป 2548 ดวยอัตราการขยายตัวรอยละ 48.54 สวนอาคารชุดคอนโดมิเนียม ยังคงมีอัตราการเติบโตสูงสุดที่รอยละ 85.37 หลังจากไดชะลอตัวในป 2550 เนือ่ งจากมีอาคารชุด คอนโดมิเนียมสรางเสร็จและโอนจํานวนมากในป 2551 โดยรวมในชวง 5 ปที่ผานมา จํานวนที่อยูอาศัยจดทะเบียนใหมสวนมากอยูที่ประมาณ 70,000-80,000 หนวย ซึง่ มองวาเปนระดับมาตรฐานในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล แนวโนมป 2552 คาดวาจํานวนที่ อยูอาศัยจดทะเบียนใหมจะลดลง เนื่องจากผลกระทบจากสภาวะเศรษฐกิจซึ่งมีผลกระทบตอความมั่นคงใน หนาที่การงานและกําลังซื้อ นอกจากนี้ระดับราคาของอสังหาริมทรัพยอาจปรับตัวลดลง โครงการอสังหาริมทรัพยเปดใหมในป 2551 แยกตามระดับราคา ระดับราคา (ลานบาท) < 0.501 0.501 - 1.000 1.001 - 2.000 2.001 - 3.000 3.001 - 5.000 5.001 - 10.000 10.001-20.000 > 20 รวม
บานเดีย่ ว 449 3,860 4,028 2,965 405 11,707
บานแฝด 96 1,027 1,388 843 3,354
ทาวนเฮาส 5,125 9,240 2,684 3,003 138 29 24 20,243
ที่มา: บริษัท เอเจนซี่ ฟอร เรียลเอสเตท แอฟแฟรส จํากัด
อาคาร พาณิชย
333 472 301 1,106
สวนที่ 1 หนา 23
คอนโด มิเนียม 80 4,014 11,562 7,478 5,243 2,374 520 51 31,322
ที่ดิน จัดสรร
6 51 2 59
รวม 80 9,235 22,284 15,743 13,589 5,778 1,005 77 67,791
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 ตารางโครงการที่อยูอาศัยที่เสนอขายทั้งหมด ณ สิ้นป 2551 แยกตามระดับราคา ระดับราคา (ลานบาท) < 0.501 0.501 - 1.000 1.001 - 2.000 2.001 - 3.000 3.001 - 5.000 5.001 - 10.000 10.001-20.000 > 20 รวม
บานเดีย่ ว
บานแฝด
2,161 8,162 31,240 43,940 22,445 4,226 771 112,945
ทาวนเฮาส
1,339 8,612 7,534 3,763 168 21,416
1,005 33,253 37,141 9,476 9,045 1,528 62 24 91,534
อาคาร พาณิชย
90 3,031 1,378 3,212 568 35 8,314
ที่มา: บริษัท เอเจนซี่ ฟอร เรียลเอสเตท แอฟแฟรส จํากัด
คอนโด มิเนียม 48,079 20,960 44,150 20,493 15,987 9,900 3,105 1,044 163,718
ที่ดิน จัดสรร 1,370 663 1,226 941 649 100 155 5 5,109
รวม 49,084 57,803 101,096 70,121 75,947 34,609 7,428 1,839 397,927
จากระดับราคาดังกลาวจะเห็นไดวา โครงการ อสังหาริมทรัพย จํานวนมากที่เปดตัวในป 2551 และที่ เสนอขายในตลาด ณ สิน้ ป 2551 จะอยูที่ระดับ ราคา 1-2 ลานบาท โดยอสังหาริมทรัพยสวนมากจะเปน คอนโดมิเนียมและทาวนเฮาส สวนบานเดีย่ วสวนมากจะอยูในระดับราคา 3-5 ลานบาท บานแฝดจะเปดตัวใน ราคา 1-3 ลานบาทมากทีส่ ดุ สวนที่ดินจัดสรรสวนใหญอยูที่ระดับราคาต่ํากวา 0.5 ลานบาท ทั้งนี้จากจํานวนที่ อยูอาศัยทั้งหมดที่เสนอขายในตลาด ณ สิ้นป 2551 ประกอบไปดวยบานเดี่ยวและคอนโดมิเนียมคิดเปน สัดสวนประมาณรอยละ 70 ของอุปทานคงคางที่ยกมาเสนอขายในป 2552 สวนในดานของระดับราคา ราคา ของที่อยูอาศัยจํานวนมากอยูที่ราคาระดับลางถึงปานกลาง ซึ่งเปนไปตามความคาดการณวาความตองการที่ อยูอาศัยราคาถูกจะปรับตัวสูงขึ้นตามการลดลงของกําลังซื้อ ดัชนีราคาที่อยูอาศัย 190 180 170 160 150 140 130 120 110
บานเดี่ยวพรอมที่ดิน
ที่มา: ศูนยขอมูลอสังหาริมทรัพย
ทาวนเฮาสพรอมที่ดิน
สวนที่ 1 หนา 24
ที่ดินจัดสรร
ไตรมาส 4/2551
ไตรมาส 3/2551
ไตรมาส 2/2551
ไตรมาส 1/2551
ไตรมาส 4/2550
ไตรมาส 3/2550
ไตรมาส 2/2550
ไตรมาส 1/2550
ไตรมาส 4/2549
ไตรมาส 3/2549
ไตรมาส 2/2549
ไตรมาส 1/2549
ไตรมาส 4/2548
ไตรมาส 3/2548
ไตรมาส 2/2548
ไตรมาส 1/2548
100
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 ตั้งแตครึ่งหลังของป 2551 ผูประกอบการหลายรายไดมีการปรับกลยุทธเพื่อรุกตลาดบานที่ระดับ ราคาลดลง เนื่องจากมองวาความตองการในตลาดดังกลาวจะปรับตัวสูงขึ้น ดังนั้นราคาของบานเดี่ยวและ ทาวนเฮาสจึงมีการปรับตัวสูงขึ้นดวยอัตราการเติบโตที่ลดลง ซึ่งการปรับตัวสูงขึ้นของราคาเปนผลมาจากการ ปรับตัวสูงขึ้นอยางตอเนื่องของราคาที่ดิน การออกใบอนุญาตจัดสรรที่ดินในป 2551 แยกตามประเภทที่อยูอาศัย เขต
บานเดีย่ ว
กรุงเทพมหานคร ปริมณฑล รวม
บานแฝด
3,614 8,761 12,375
ทาวนเฮาส
1,776 5,612 7,388
ที่มา: ศูนยขอมูลอสังหาริมทรัพย
9,922 14,578 24,500
อาคาร พาณิชย 200 659 859
ที่ดินจัดสรร
รวม
357 510 867
15,869 30,120 45,989
จากจํานวนที่อยูอาศัยคงคางและจํานวนใบอนุญาตจัดสรรที่ดินในป 2551 คาดวาธุรกิจ อสังหาริมทรัพยจะมีสภาวะการแขงขันสูง โดยเฉพาะอยางยิ่งในพื้นที่ที่มีความตองการต่ําแตอุปทานมีจํานวน มากจะมีการแขงขันสูงมาก ทั้งนี้ถึงแมจํานวนใบอนุญาตจัดสรรออกใหมจะมีจํานวนมาก แตคาดวาจํานวน อุปทานใหมในป 2552 จะไมสูงมากนัก เนื่องจากผูประกอบการมีกลยุทธลดจํานวนสินคาคงคางตามการ คาดการณการถดถอยของเศรษฐกิจ นอกจากนีใ้ นชวงปลายป 2551 สภาพคลองมีการปรับตัวลดลงและคาด วาจะยังไมปรับตัวดีขึ้นตราบที่สถาบันการเงินมีการจํากัดสินเชื่อภาคอสังหาริมทรัพยในการรับมือกับวิกฤต เศรษฐกิจ ในการนี้สภาพคลองทางสินเชื่อของทั้งผูประกอบการและผูซื้อที่อยูอาศัยจะเปนปจจัยหลักซึ่งมี อิทธิพลตอระดับอุปทานและอุปสงคในป 2552 ยอดสินเชื่อที่อยูอาศัยบุคคลทั่วไปคงคางและปลอยใหม 1,800,000 1,600,000
1,471,099 1,346,622
1,400,000 1,200,000
1,584,966
1,215,634 1,032,101
1,000,000 800,000 600,000 400,000
294,403
279,392
262,993
270,466
286,960
200,000 0 2547
ที่มา: ศูนยขอมูลอสังหาริมทรัพย
2548
2549 สินเชื่อคงคาง
สินเชื่อปลอยใหม
สวนที่ 1 หนา 25
2550
2551
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 ยอดสินเชื่อผูประกอบการที่อยูอาศัย แยกตามประเภทที่อยูอาศัย สินเชือ่ คงคาง
สินเชือ่ ปลอยใหม
70,000
65,855
60,000 50,000
250,000 200,000
238,030 193,839
194,528
183,864
46,146
178,994
150,000
40,000 28,587
30,000
31,448
29,404
100,000
20,000
50,000
10,000 0 2547
2548 บานพรอมที่ดิน
2549 อาคารพาณิชย และ ตึกแถว
2550
2551
0
คอนโดมิเนียม และ อพารทเมนท
2547 บานพรอมที่ดิน
2548 อาคารพาณิชย และ ตึกแถว
2549
2550 คอนโดมิเนียม และ อพารทเมนท
2551 ที่ดินจัดสรร
ที่มา: ศูนยขอมูลอสังหาริมทรัพย เงินกูเปนแหลงเงินทุนหลักสําหรับผูซื้อบานสวนใหญ และเปนปจจัยหลักซึ่งสงผลกระทบตอยอดขาย ของผูประกอบการ ในป 2551 ยอดสินเชื่อที่อยูอาศัยบุคคลทั่วไปปลอยใหม เพิ่มขึ้นรอยละ 6.10 สวนยอด สินเชื่อที่อยูอาศัยบุคคลทั่วไปคงคางเพิ่มขึ้นรอยละ 7.74 เนื่องจากอัตราดอกเบี้ยที่มีแนวโนมปรับตัวลดลง และการแขงขันกันในตลาดสินเชื่อที่อยูอาศัยของธนาคารพาณิชย ในป 2552 คาดวาความตองการสินเชื่อที่ อยูอาศัยยังคงอยูในระดับสูง ดวยมาตรการลดหยอนทางภาษีสําหรับผูซื้อที่อยูอาศัย แตขณะเดียวกันคาดวา ธนาคารพาณิชยจะเขมงวดในการพิจารณาอนุมัติสินเชื่อที่อยูอาศัยมากขึ้น อยางไรก็ตามกลุมบุคคลที่มีรายได สูงยังคงใชเงินสดในการซื้ออสังหาริมทรัพย ดานยอดสินเชื่อผูประกอบการปลอยใหมในป 2551 สูงถึง 65,855 ลานบาท เพิ่มขึ้นถึงรอยละ 109.41 จากป 2550 เนื่องจากการปรับตัวสูงขึ้นของยอดสินเชื่อบานและที่ดินปลอยใหมซึ่งเพิ่มขึ้นถึงรอยละ 147.42 บานเดี่ยว และทาวนเฮาส จํานวนบานเดี่ยวยังคงคิดเปนสัดสวนประมาณหนึ่งในสามของจํานวนที่อยูอาศัยคงคาง ณ สิ้นป 2551 ทั้งนี้ในชวงปที่ผานมา ทั้งอุปสงคและอุปทานของทาวนเฮาสมีแนวโนมปรับตัวสูงขึ้น โดยในโครงการ อสังหาริมทรัพยที่เปดตัวในป 2551 จํานวนทาวนเฮาสสงู กวาจํานวนบานเดีย่ วเกือบ 2 เทา ผูประกอบการ หลายรายไดปรับสัดสวนสินคา โดยใหความสําคัญกับทาวนเฮาสมากขึ้น นอกจากนี้ผูประกอบการบางรายได ทําการตลาดทาวนเฮาสภายใตแนวความคิดโฮมออฟฟส (home office) หรือการใชสอยแบบอเนกประสงค ทํา ใหทาวนเฮาสไดรับความสนใจจากผูตองการซื้อที่อยูอาศัยเนื่องจากราคาที่ต่ําเทียบกับบานเดี่ยว แตมีพื้นที่ใช สอยมากกวาเมื่อเทียบกับคอนโดมิเนียมและยังใหสิทธิ์ครอบครองที่ดินอีกดวย ดังนั้นความตองการทาวนเฮาส จึงมีมากขึ้นโดยเฉพาะอยางยิ่งที่ระดับราคา 1-2 ลานบาท สําหรับ โครงการธนาซิต้ี มี ทั้งบานเดี่ยว ทาวนเฮาส และที่ดินจัดสรร หลายขนาดและ ระดับ ราคา ซึ่ง บริษัทคาดวาผลิตภัณฑที่บริษัทมีใหแกลูกคานั้น สามารถ ครอบคลุมความตองการของลูกคา เปาหมายทุก ประเภทไดเปนอยางดี
สวนที่ 1 หนา 26
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 อาคารชุดพักอาศัย ในป 2008 อุปทานของคอนโดมิเนียมยังคงเพิ่มขึ้นจนทําสถิติใหมนับตั้งแตป 2544 เปนตนมา ดวย จํานวนจดทะเบียนใหมสูงถึง 31,535 หนวย ตลาดนี้ยังเปนที่ตองการของกลุมผูซื้อทั้ง ชาวไทยและชาว ตางประเทศที่ตองการอาคารชุดเพื่อเปนที่พักอาศัยหรือเพื่อการลงทุน โดยเฉพาะอยางยิง่ คอนโดมิเนียมซึง่ ตั้งอยูในเสนทางรถไฟฟา BTS หรือรถไฟใตดนิ MRT โดยโครงการคอนโดมิเนียมหลายโครงการทีร่ ะดับ ราคาต่าํ กวา 3 ลานบาท โดยเฉพาะโครงการทีร่ ะดับราคา 1-2 ลานบาท ซึ่งมีการเปดตัวไปแลวตางไดรับการ ตอบรับที่ดีจากลูกคา ทั้งนี้คาดวาในป 2552 ความตองการคอนโดมิเนียมที่ระดับราคานี้จะยังคงไดรับความ นิยม ในขณะที่ความตองการคอนโดมิเนียมระดับ ทีห่ รูหราราคาแพง ยังคงไมแนนอน โดยเฉพาะผูซื้อ ชาวตางชาติเนื่องจากสภาวะเศรษฐกิจและการเมือง ทั้งนี้กลุมลูกคาเปาหมายในป 2552 จะเปนกลุมลูกคาที่มี กําลังซื้อสูงซึ่งมองหาโอกาศการลงทุนในอสังหาริมทรัพยที่มีคุณภาพ ปจจัยที่ทําใหตลาดนี้ยังเปนที่ตองการเนื่องจาก (1) รูปแบบ การใชชีวิตของผูคนเปลี่ยนไป มีการ เดินทางโดยรถไฟฟามากขึน้ (2) อาคารชุดราคาถูกมีการเปดตัว ขายมาก โดยเฉพาะใกลแนวรถไฟฟา BTS และรถไฟฟาใตดิน MRT ซึ่งอํานวยความสะดวกในการเดินทาง โดยประหยัดทั้งคาใชจายและเวลา จึงดึงดูด กลุมลูกคาผูมีรายไดนอย (3) อาคารชุดเปนที่พักอาศัยที่ตอบสนองความตองการของผูพักอาศัยคนเดียว หรือ ครอบครัวที่ยังไมมีบุตร และ (4) การซือ้ ไวเพือ่ การเก็งกําไร โดยการขายตอจะใหผลตอบแทนมากกวา ดอกเบี้ยที่ไดรับจากธนาคาร สําหรับ โครงการธนาซิตป้ี ระกอบไปดวยอาคารชุดพักอาศัย 3 โครงการ ตัง้ แตระดับราคา 0.8-15 ลานบาท ดังนั้น บริษัทจึงมีอาคารชุดนําเสนอสําหรับลูกคาทุกกลุมอยางครบถวน นอกจากนีย้ งั สามารถ เดินทางไดสะดวกโดยเสนทางถนนบางนา-ตราด และทางดวนยกระดับ สามารถไปสนามบินสุวรรณภูมิ และ เดินทางเขาเมืองไดอยางรวดเร็ว
ธุรกิจ 2: ธุรกิจโรงแรม การบริหารจัดการอสังหาริมทรัพย และการใหบริการ การดําเนินธุรกิจโรงแรม การบริหารจัดการอสังหาริมทรัพย และการใหบริการ โรงแรม (2) อาคารสํานักงานใหเชา และ (3) อาคารพักอาศัยใหเชา
ประกอบไปดวย (1)
(1) โรงแรม บริษัทดําเนินธุรกิจโรงแรมระดับ 3-4 ดาว ภายใตแบรนด “U Hotels & Resorts” บริหารโดย บริษัทแอ็บโซลูท โฮเต็ล เซอรวิส จํากัด ( AHS) ซึ่งเปนบริษัทรวมทุนระหวางบริษัทกับพันธมิตรซึ่งมี ประสบการณในธุรกิจโรงแรม สําหรับโครงการโรงแรมระดับ 5-6 ดาว บริษัทจะรวมมือกับเครือโรงแรมระดับ สากลในตางประเทศใหเขามาบริหาร เนื่องจากโรงแรมเหลานี้มีชื่อเสียงเปนที่ยอมรับและมีฐานลูกคาอยูแลว ในอดีตบริษัทไดเคยเปนผูถือหุนในโรงแรมรีเจนท ถนนราชดําริ และโรงแรมดิเอ็มเพรส เชียงใหม อีกทั้งได เคยประกอบธุรกิจโรงแรมมาแลว ไดแก โรงแรมดิเอ็มเพรส กรุงเทพ ซึ่งปจจุบันคือโรงแรมอิสติน มักกะสัน กรุงเทพ ปจจุบัน มีบริษัทมีโรงแรมภายใตการดําเนินงานจํานวน 2 โรงแรม ไดแก โรงแรมอิส ติน เลคไซด และ โรงแรม ยู เชียงใหม ซึ่งเปนโรงแรมแหงแรกในเครือโรงแรม U Hotels & Resorts
สวนที่ 1 หนา 27
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 โรงแรมอิสติน เลคไซด โรงแรมอิส ติน เลคไซด ดําเนินการโดย บริษัท เมืองทอง แอสเซ็ทส จํากัด เปน โรงแรมระดับ 3 ดาว ตั้งอยู ในบริเวณเมืองทองธานี ใกลศูนยแสดงสินคาและการประชุมอิมแพค สามารถเดินทางโดยสะดวกดวย ทางดวนขั้นที่ 3 หรือถนนแจงวัฒนะ ดานหนาของโรงแรมมีทิวทัศนที่สวยงามติดกับทะเลสาบขนาดใหญ โรงแรมมีจํานวนหองพัก 143 หอง แตละหองมีจุดเดนแตกตางจากโรงแรมอืน่ ๆ ทุกหองพักจะประกอบ ไปดวยหองนอน หองนั่งเลน และสวนประกอบอาหาร (ครัว) ทั้งนี้หองพักของโรงแรมมีสิ่งอํานวยความสะดวก ใหแกผูที่มาพักทั้งแบบรายวัน และรายเดือน โดยโรงแรมมีหองหลากหลายประเภทตั้งแต 1-3 หองนอน และ หองเพนทเฮาส 2 ชั้น 3 หองนอน นอกจากนีแ้ ลว โรงแรมยังมีการใหบริการหองอาหาร หองสัมมนา หองจัดเลี้ยง หองคาราโอเกะ และมี รถรับสงใหบริการฟรีแกลูกคาระหวางศูนยแสดงสินคาและโรงแรม การตลาดและภาวะการแขงขัน ลักษณะลูกคาและกลุมลูกคาเปาหมาย
ตลาดหลัก คือ ฐานลูกคาธุรกิจจัดงานประชุม งานแสดงสินคาและนิทรรศการนานาชาติ (Meeting, Incentive Convention and Exhibition : MICE) กลุมลูกคาไดแก สวนราชการ บริษัท ผูที่มาชมงานหรือจัด งานทีศ่ ูนยแสดงสินคาและการประชุมอิมแพค โรงแรม ยู เชียงใหม โรงแรม ยู เชียงใหม เปนโรงแรมแหงแรกในเครือโรงแรม U Hotels & Resorts ของบริษัท โดยเริ่ม เปดดําเนินการเมือ่ วันที่ 1 มิถนุ ายน 2551 เปนโรงแรมระดับมาตรฐาน 4 ดาว ในรูปแบบบูติคโฮเต็ล (Boutique Hotel) กอสรางในรูปแบบสถาปตยกรรมอาคารไทยลานนา ตัง้ อยูบ นถนนราชดําเนิน ใจกลางเมือง จังหวัดเชียงใหม ซึง่ ใกลกบั ถนนคนเดิน ‘ถนนราชดําเนิน ’ ที่มีชื่อเสียง โรงแรมมีหองพักจํานวน 41 หอง ซึ่ง ตกแตงอยางหรูหราและสะทอนประวัติศาสตรทองถิ่นประกอบกับการออกแบบรวมสมัย จวนเจาเมืองเกาของ เชียงใหมไดรับการปรับปรุงอยางมีศิลปะเพื่อใหบริการที่พักผอนในบรรยากาศสถาปตยกรรมดั้งเดิมของ เชียงใหมและกลิน่ อายการตกแตงแบบไทยรวมสมัยเพือ่ ใหเขากับสภาพแวดลอมของมรดกอารยธรรม ในการเปนสวนหนึง่ ของเครือ U Hotels & Resorts โรงแรม ยู เชียงใหมจึงเนนกลยุทธในดานความ แตกตางในการใหบริการ เพิ่มเติมจากระดับมาตรฐานสากลเชนโรงแรมทั่วไป โดยมีบริการเพิ่มเติมโดยไมคิด คาใชจายเพื่ออํานวยความสะดวกใหแกลูกคา เชน ลูกคาสามารถใชหองพักไดเต็มเวลา 24 ชั่วโมง โดยลูกคา มีอสิ ระในการกําหนดเวลาลงทะเบียนเขาและออกทีพ่ กั ตามความตองการ บริการอาหารมือ้ เชาแบบไมจาํ กัด เวลาและสถานที่ อินเตอรเน็ทไรสาย ไว-ไฟลทั่วบริเวณโรงแรม แตละหองพักสามารถเลือกฟงเพลงไดจากไอพอด (i-pod) ทีใ่ หบริการในหองพัก ภาพยนตรดวี ดี ี นอกจากนีโ้ รงแรมไดตกแตงอาคารอายุกวา 100 ป เพื่อ ใหบริการหองสมุดที่บริการเครื่องคอมพิวเตอร หนังสือและนิตยสารมากมายเกี่ยวกับเรื่องทั่วไปตลอดจน ประวัติศาสตรลานนาและวัฒนธรรมของทองถิ่นไวใหกับลูกคาอีกดวย หองอาหาร Eat & Drink ของโรงแรมใหบริการอาหารตามสัง่ แบบไมมเี มนู ในบรรยากาศสบายสบาย ในขณะที่สปา U Spa ที่ใหบริการนวดทั้งแบบไทยและยุโรป สวนการอํานวยความสะดวกดานฟตเนส มี หองยิมและสระวายน้ํา นอกจากนี้ทางโรงแรมยังสงเสริมนโยบายอนุรักษสิ่งแวดลอม ดวยบริการทัวร
สวนที่ 1 หนา 28
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 ประวัตศิ าสตร รายการทัศนาจรโดยการเดินหรือขีจ่ กั รยาน และบริการจักรยานใหลกู คาทุกคนโดยไมคดิ คาใชจาย การตลาดและภาวะการแขงขัน กลยุทธในการแขงขัน สําหรับโรงแรมในเครือ U Hotels & Resorts จะเปนโรงแรมขนาดเล็กที่มุงเนนความแตกตางในตัว ผลิตภัณฑที่อิงประวัติศาสตรความเปนมาของสถานที่ การออกแบบทีโ่ ดดเดนและมีเอกลักษณเฉพาะตัว ควบคูไปกับการใหความสําคัญกับความพึงพอใจของลูกคาและการบริการที่ครบวงจร
สงเสริมการตลาดของโรงแรมผานเว็ปไซดของโรงแรม และเว็ปไซดรบั จองโรงแรมตางๆ อาทิ Asiarooms.com, Zuji.com และ Hotelrooms.com เปนตน การบริการคุณภาพตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อความพึงพอใจสูงสุดของลูกคา เพื่อสงเสริมใหลูกคากลับมาใช บริการอีก ลักษณะลูกคาและกลุมลูกคาเปาหมาย ลูกคา ของโรงแรม ประกอบไปดวยกลุมลูกคาชาวไทยและชาวตางประเทศ โดยมาจากประเทศเยอรมนี สหราชอาณาจักร ประเทศแถบสแกนดิเนเวีย และยุโรป ทั้งประเภทนักทองเที่ยวและนักธุรกิจ
ภาวะอุตสาหกรรม
จํานวนนักทองเทีย่ วตางประเทศ 18 16 13.82
14
ลานคน
12 10 8
7.22
7.76
8.58
9.51
10.06
10.80
11.65
11.52
2547
2548
14.46
14.54
2550
2551
14.00
10.00
6 4 2 0 2540
2541
2542
2543
2544
2545
จํานวนนักทองเที่ยว
2546
2549
2552
เปาหมายจํานวนนักทองเที่ยว
ที่มา: การทองเที่ยวแหงประเทศไทย จํานวนนักทองเที่ยวชาวตางประเทศยังคงมีแนวโนมเพิ่มขึ้นแตดวยอัตราการเติบโตที่ลดลง ในป 2551 มีจํานวนนักทองเที่ยวชาวตางประเทศ 14. 54 ลานคน เพิ่มขึ้นรอยละ 0.55 จากป 25 50 และระหวางเดือน มกราคมถึงกุมภาพันธ 2552 นักทองเที่ยวชาวตางชาติที่เดินทางเขามาผานสนามบินสุวรรณภูมิมีจํานวน 1.62 ลานคน ลดลงรอยละ 22.7 จากชวงเดียวกันของป 2551 โดยจํานวนนักทองเทีย่ วทีเ่ ดินทางเขามา สวนที่ 1 หนา 29
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 ประเทศไทยมากที่สุด คือ เอเชียตะวันออก ( รอยละ 52.73 ) ยุโรป ( รอยละ 27.22 ) อเมริกา ( รอยละ 6.19 ) โอเชียเนีย (รอยละ 5.47) เอเชียใต (รอยละ 4.85) ตะวันออกกลาง (รอยละ 3.09) และแอฟริกา (รอยละ 0.81) โดยทุกตลาดมีแนวโนมขยายตัว โดยเฉพาะเวียดนาม ลาว สหรัฐอาหรับเอมิเรต มาเลเซีย นอรเว และรัสเซีย ซึ่งเติบโตกวารอยละ 10 จากป 2550 ปจจัยที่สงผลกระทบตอธุรกิจการทองเที่ยวในป 255 1 ไดแก วิกฤตเศรษฐกิจโลก ความยืดเยื้อของ เหตุการณความรุนแรง ที่ภาคใต ความไมแนนอนทางการเมือง โดยเฉพาะการประกาศใช พรก.ฉุกเฉิน ใน เดือนกันยายน การปดสนามบินสุวรรณภูมแิ ละสนามบินดอนเมืองระหวางปลายเดือนพฤศจิกายนถึงธันวาคม ซึ่งเปนฤดูการทองเที่ยว เหตุการณเหลานี้ตางสงผลกระทบตอภาพลักษณของประเทศ อยางไรก็ตามจํานวน นักทองเที่ยวชาวตางชาติที่สูงในชวงเดือนมกราคมถึงมีนาคม ป 2551 การจัดกิจกรรมกระตุน ตลาดชวงนอก เทศกาลของการทองเที่ยวแหงประเทศไทย (ททท.) และความรวมมือของกระทรวงตางประเทศ ตลอดจน องคกรและสวนงานที่เกี่ยวของซึ่งชวยประชาสัมพันธเรื่องความปลอดภัยของนักทองเที่ยวในประเทศไทยได รับทราบไดชว ยลดผลกระทบลง ททท. ตั้งเปาจํานวน นักทองเที่ยวชาวตางชาติ ป 2552 ที่จํานวน 14.00 ลานคน และยอดรายได 505 พันลานบาท สวนการทองเที่ยวภายในประเทศ ททท. ตั้งเปาจํานวนนักทองเที่ยวชาวไทยที่จํานวน 87.00 ลานคน และยอดรายไดที่ 407.90 พันลานบาท ทั้งนี้เพื่อเปนการกระตุนการทองเที่ยว คณะรัฐมนตรีไดอนุมัติ งบประมาณในการจัดโรดโชว และกิจกรรมเพื่อประชาสัมพันธภาพลักษณของประเทศไทย โดยมุงเนนสงเสริม (1) ประเทศไทยเปนศูนยกลางการจัดการประชุมและสัมมนา ( MICE) ของภูมิภาคเอเชียแปซิฟก (2) ตลาด การทองเที่ยวกอลฟ ดําน้ํา และเพื่อ สุขภาพ (3) ตลาดหลัก เชน จีน ญี่ปุน รัสเซีย และ สหรัฐอาหรับเอมิเรต (4) ตลาดรอง เชน เกาหลีใต ยุโรป ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด นอกจากนี้ รัฐบาลยังออกมาตรการงด คาธรรมเนียมการขอวีซา สําหรับ 42 ประเทศ ตั้งแตเดือน มีนาคม 2552 เปนตนไปเปนเวลา 3 เดือน อีกทัง้ รวมมือกับบริษัท การบินไทย จํากัด (มหาชน) ในการจัดกิจกรรมเพือ่ สงเสริมอุตสาหกรรมการืชทองเทีย่ วไทย ภายใตแนวคิด “ Amazing Thailand Amazing Value” และกระตุนจํานวนนักทองเที่ยว ซึ่งเปนสวนหนึ่งของ แผนการฟนฟูการทองเที่ยว สวนการทองเที่ยวภายในประเทศ คณะรัฐมนตรีไดอนุมัตินโยบายการลดหยอน ภาษีใหมสาํ หรับบริษทั จากรายไดในการจัดสัมมนาเกีย่ วกับการทองเทีย่ ว โดยมาตรการดังกลาวมี วัตถุประสงคเพื่อกระตุนธุรกิจการโรงแรมและบริษัททองเที่ยว จากผลการสํารวจระดับสากล ประเทศไทยยังคงเปนหนึ่งในแหลงทองเที่ยวที่ไดรับความนิยมสูงสุด โดยในป 2551 Country Brand Index (CBI) จัดใหประไทยเปนอันดับหนึ่งดานความคุมคากับราคาที่จาย (value for money) เปนปที่ 3 ติดตอกัน ดาน New Post Office Holiday Costs Barometer สําหรับ นักทองเที่ยวระยะไกล 15 ประเทศ เปดเผยวาประเทศไทยเปนผูนําในดานแหลงทองเที่ยวราคายอมเยา โดย คาใชจายต่ําสําหรับนักทองเที่ยวชาวอังกฤษ เมื่อเทียบกับแหลงทองเที่ยวชั้นนํา 5 ประเทศในยุโรป นอกจากนี้กรุงเทพมหานครยังไดรับเลือกใหเปน เมืองธุรกิจระหวางประเทศดีเดนประจําป 2551 โดย CondeNest Traveler ของสหรัฐอเมริกา และไดรับเลือกใหเปนเมืองทองเที่ยวที่ดีที่สุดของโลกของป 2552 โดย Norwegian Grand Travel Award และ Swedish Grand Travel Award และลาสุดไดรับรางวัล The 2009 Travelers’s Choice จาก เว็ปไซด TripAdivisor-branded ดานองคการเดินทางและทองเทีย่ วโลก ( World Travel & Tourism Council : WTTC) ไดประเมินผล กระทบทางเศรษฐกิจของอุตสาหกรรมการเดินทางและทองเที่ยวของประเทศไทยวาในป 2552 ประเทศไทย จะมีสว นแบงทางการตลาดรอยละ 24.43 ของตลาดการทองเที่ยวของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใตในดาน
สวนที่ 1 หนา 30
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 จํานวนนักทองเที่ยว ซึ่งคิดเปนอัตราเติบโตลดลงรอยละ 4.4 โดย WTTC ไดประมาณการรายไดจากการ ทองเที่ยวในแขนงตางๆ ดังนี้ รายงานวิจัยการเดินทางและทองเที่ยวของประเทศไทยโดย WTTC การเดินทาง & ทองเที่ยว สวนตัว การเดินทาง & ทองเที่ยวเพื่อ ธุรกิจ บริษัทเอกชน รัฐบาล คาใชจายภาครัฐ -รายบุคคล รายไดการสงออก จากนักทองเที่ยว การบริโภคดานการเดินทาง & ทองเที่ยว คาใชจายภาครัฐ – รวม การลงทุน การสงออกอื่นๆ อุปสงคการเดินทาง & ทองเที่ยว อุตสาหกรรมการเดินทาง & ทองเที่ยว ผลิตภัณฑมวลรวม ภายในประเทศ เศรษฐกิจการเดินทาง & ทองเที่ยว ผลิตภัณฑมวลรวม ภายในประเทศ E – ประมาณการณ; F-คาดการณ
หนวย : ลานลานบาท
2547 404.3
2548 418.3
2549 470.2
2550 486.2
2551E 531.6
2552F 507.5
2562F 1,325.5
144.4
154.5
154.7
163.8
171.6
155.5
356.3
132.2 12.1 5.8 525.1
140.6 13.8 6.9 486.7
141.0 13.7 7.6 629.4
149.0 14.8 8.5 711.9
157.5 14.1 8.7 722.7
142.5 13.0 9.0 692.2
327.8 28.4 18.0 1,707.1
1,079.6
1,066.4
1,261.9
1,370.4
1,434.7
1,364.2
3,406.9
13.4 148.4 122.7 1,364.1
15.8 201.8 145.9 1,430.0
17.4 209.7 165.7 1,654.8
19.6 200.4 175.6 1,766.1
20.0 225.7 193.7 1,874.0
20.6 188.6 190.4 1,763.7
41.3 521.4 554.8 4,524.4
458.9
435.8
527.5
588.4
598.1
575.9
1,332.9
1,020.3
1,034.2
1,219.6
1,328.2
1,375.3
1,309.2
3,153.5
ที่มา: Travel & Tourism Economic Impact 2009-Thailand, World Travel & Tourism Council
การทองเที่ยวกรุงเทพมหานคร 10
2.01
1.97
2.02 1.83
2.0
3.20
7.00
1.5
1.0
3.47
2.96
0
0.0 2548 นักทองเที่ยวตางชาติ
2549 นักทองเที่ยวไทย
2550
80% 70% 60%
40,000
50% 30,000
40% 30%
20,000 0.5
2
2547
90%
50,000
วัน 2.46
2.87
100%
60,000
1.81
6 4
70,000
9.85
8
ลานคน
2.5
10.67
10.52
9.91
จํานวนหองพัก (หอง)
12
20%
10,000
10%
0
ม.ค.-ก.ย. 2551
0% 2547
ระยะเวลาพํานัก
ที่มา: การทองเที่ยวแหงประเทศไทย และ สํานักงานพัฒนาการทองเทีย่ ว
2548
2549 จํานวนหองพัก
2550
ม.ค.-ก.ย. 2551
อัตราการเขาพัก
ในป 2551 จํานวนนักทองเที่ยวที่เขาพักในที่พักตางๆ ในกรุงเทพฯ มีจํานวนลดลงเนื่องจาก เหตุการณความไมสงบทางการเมือง และการชะลอตัวของเศรษฐกิจ ถึงแมจะยังไมมกี ารรายงานตัวเลขของ สวนที่ 1 หนา 31
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 ไตรมาส 4 แตมีการคาดการณวาจํานวนนักทองเที่ยวตางชาติจะลดลงซึ่งเปนผลมาจากการปดสนามบิน อยางไรก็ตามจํานวนหองพัก และระยะเวลาพักยังคงมีแนวโนมสูงขึ้นถึงแมวาอัตราการเขาพักจะลดลง สําหรับ ป 2552 คาดวาการแขงขันจะรุนแรงเนื่องจากมีหองพักจํานวนมากที่จะเปดใหบริการ ศูนยขอมูล อสังหาริมทรัพย ประมาณการณการออกใบอนุญาตกอสรางโรงแรมใหมป 2551 จํานวน 39 อาคาร เพิ่มขึ้น จากจํานวน 12 อาคารในป 2550 ในขณะที่มีการคาดการณวาจํานวนนักทองเที่ยวตางชาติจะลดลงเนื่องจาก สถานการณเศรษฐกิจที่ถดถอยของประเทศเศรษฐกิจหลักซึ่งเปนสัดสวนสําคัญของนักทองเที่ยวเพื่อการ ทองเที่ยวสวนตัวและธุรกิจ ภาคการทองเที่ยวจึงตองมุงเนนการทองเที่ยวภายในประเทศ และการสนับสนุน จากรัฐบาลในการกระตุน ภาคธุรกิจ การทองเที่ยวจังหวัดเชียงใหม 2.0
1.6 1.4
1.62
1.61 1.33
1.36
1.68
1.75
1.66 1.41
1.80
22,493 20,816
1.84
1.92 1.06
1.17
1.0
1.5
0.8
1.0
18,820
20,000
2.0
วัน
ลานคน
1.2
25,000
2.5 1.72 1.69
15,000
10,000
60% 50% 46.83%
47.88%
0.6 0.4
0.5
5,000
0.0
0
90%
70%
14,103 50.50%
100%
80%
16,673
จํานวนหองพัก (หอง)
1.8
42.02%
40% 36.96%
30% 20%
0.2
10%
0.0 2547
2548 นักทองเที่ยวตางชาติ
2549 นักทองเที่ยวไทย
2550
ม.ค.-ก.ย. 2551
0% 2547
ระยะเวลาพํานัก
2548
2549 จํานวนหองพัก
2550 อัตราการเขาพัก
ม.ค.-ก.ย. 2551
ที่มา: การทองเที่ยวแหงประเทศไทย และ สํานักงานพัฒนาการทองเทีย่ ว การแขงขันในธุรกิจการโรงแรมที่เชียงใหมยังคงรุนแรง โดยเฉพาะอยางยิ่งในป 2551 เมื่อที่พักตางๆ ตองประสบกับการลดลงของจํานวนนักทองเที่ยวชาวตางชาติเนื่องจาก เหตุการณความไมสงบทางการเมือง การชะลอตัวของเศรษฐกิจ และการปดสนามบิน ถึงแมเชียงใหมจะมีสนามบินนานาชาติของตัวเองก็ตาม แมวาจํานวนนักทองเที่ยวและระยะเวลาพํานักเฉลี่ยจะลดลง แตจํานวนหองพักยังคงเพิ่มสูงขึ้น สงผลใหอัตรา การเขาพักลดลง อยางไรก็ตาม เมืองหลวงของภาคเหนือยังคงเปนเมืองทองเที่ยวยอดนิยมสําหรับการ ทองเที่ยวไทย โดยเริ่มมีจํานวนนักทองเที่ยวไทยคิดเปนสัดสวนมากกวาชาวตางชาติ ทั้งนี้คาดวาสภาวะการ แขงขันในป 2552 จะรุนแรงขึ้น ดวยจํานวนหองพักยังคงเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง ถึงแมศูนยขอมูล อสังหาริมทรัพย ประมาณการการออกใบอนุญาตกอสรางโรงแรมกอสรางใหมป 2551 จํานวน 42 อาคาร ลดลงจากจํานวน 137 อาคารในป 2550 แตดวยจํานวนนักทองเที่ยวตางชาติที่คาดวาจะลดลง และการชะลอ การกอสรางศูนยแสดงสินคาและการประชุมนานาชาติเชียงใหม เพื่อสงเสริมตลาดการจัดประชุม งานแสดง สินคาและนิทรรศการนานาชาติ (MICE) ดังนั้นการทองเที่ยวภายในประเทศจะมีความสําคัญในการกระตุน ธุรกิจการทองเที่ยวของแหลงทองเที่ยวตางๆในเมืองเชียงใหม (2) อาคารสํานักงาน ทีเอสทีทาวเวอร ดําเนินการโดย บริษัท ดีแนล จํากัด อาคารตั้งอยูบนถนนวิภาวดี -รังสิต ฝงตรงขาม อาคารสํานักงานใหญการบินไทย เปนอาคารสูง 24 ชั้น มีพื้นที่ใหเชาทั้งหมดประมาณ 15,875.5 ตารางเมตร อาคารประกอบไปดวยสวนสํานักงาน 15 ชั้น และพื้นที่จอดรถ 8 ชั้น สําหรับรถยนตจาํ นวน 267 คัน ปจจุบัน มีจาํ นวนผูเชาคิดเปนอัตราการเชารอยละ 99 มีอัตราคาเชาเฉลี่ย 375 บาท/เดือน/ตารางเมตร ผูเชาสวนใหญ เปน องคกรขนาดกลางถึงใหญ และเปน สัญญาเชาระยะยาว โดยมีลูกคาที่สําคัญไดแก สํานักงานสงเสริม วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดยอม (สสว.) ธนาคารยูโอบี จํากัด (มหาชน) สาขาวิภาวดีรังสิต 9 มหาวิทยาลัย รังสิตศูนยศึกษาวิภาวดี เปนตน สวนที่ 1 หนา 32
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 ทีเอสทีทาวเวอร เปนสวนหนึ่งของสินทรัพยหลักประกัน ตามแผนฟนฟูกิจการ ซึ่ง ศาลลมละลายกลาง ไดมีคําสั่งใหประมูลสินทรัพยดังกลาว โดยรายไดจากการประมูลจะจัดสรรใหเจาหนี้ตามสัดสวนหนี้ ทั้งนี้ บริษัทไดทําการประมูลขายทรัพยและไดผูชนะการประมูลแลว เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2552 การตลาดและภาวะการแขงขัน กลยุทธในการแขงขัน เนนการบริการและความพึงพอใจของลูกคาเปนหลัก
ลักษณะลูกคาและกลุมลูกคาเปาหมาย ลูกคาผูเชาอาคารสํานักงานจะเปนบริษัทหรือองคกรที่ตองการสถานที่ตั้งสํานักงานที่เดินทางสะดวก ยานถนนวิภาวดี-รังสิต มีความสะดวกสบายในการคมนาคม ทั้งทางรถยนต รถไฟฟา BTS และรถไฟฟาใตดิน MRT ภาวะอุตสาหกรรม การถดถอยของเศรษฐกิจโลกสงผลใหบริษทั ขามชาติและบริษทั ไทยหลายแหงปรับลดแผนการขยาย งาน และปญหาทางการเมืองที่ยังคงมีตอเนื่องในป 2551 กระทบตอความเชื่อมั่นของนักลงทุนตางชาติในการ เขามาลงทุนในประเทศไทย จึงสงผลกระทบตอธุรกิจใหเชาสํานักงานโดยตรง อุปสงคโดยรวมในป 2551 ลดลง โดยการเขาเชาพื้นที่สุทธิปรับตัวลงลดถึงรอยละ 37.1 จากปกอน ซึ่งเปนผลมาจากการที่ศาลปกครอง ไดยายสํานักงานไปอยูที่ศูนยราชการ สวนพื้นที่ใหเชาเพิ่มขึ้นเปน 7.80 ลานตารางเมตร เพิ่มขึ้นรอยละ 3.31 จากสิ้นป 2550
อัตราคาเชาอาคารสํานักงาน ประเภท ต.ค. - ธ.ค. 2550 เกรดเอ ใน CBD 739 บาท/ตร.ม. เกรดบี ใน CBD 567 บาท/ตร.ม. เกรดเอ นอก CBD 592 บาท/ตร.ม. เกรดบี นอก CBD 440 บาท/ตร.ม. ที่มา: CB Richard Ellis
ต.ค. - ธ.ค. 2551 743 บาท/ตร.ม. 584 บาท/ตร.ม. 600 บาท/ตร.ม. 446 บาท/ตร.ม.
เปลี่ยนแปลง (รอยละ) +0.54 +3.00 +1.35 +1.36
ถึงแมจะมีปจจัยลบหลากหลายปจจัยในป 2551 แตอตั ราคาเชาเฉลีย่ ของอาคารสํานักงานในกรุงเทพฯ มีการปรับตัวสูงขึ้นเล็กนอย ยกเวนอาคารสํานักงานเกรดบี ในเขตศูนยกลางธุรกิจ (Central Business District : CBD) ซึ่งปรับตัวสูงขึ้นกวารอยละ 3.0 เพราะมีอปุ ทานจํากัด เนือ่ งจากอาคารสํานักงานใหมใน CBD เปนอาคารสํานักงานเกรดเอ ซึ่งมีอัตราคาเชาสูงทําใหผูเชามีอํานาจตอรองมากขึ้น ทั้งนี้พื้นที่ในอาคาร สํานักงานเกรดบี ในเขต CBD ไดรับความสนใจเพิ่มขึ้นเนื่องจากมีอัตราคาเชาที่ต่ํากวา แตมีที่ตั้งที่เปนจุดขาย เหมือนกัน อยางไรก็ตาม ตลาดอาคารสํานักงานในกรุงเทพฯ มีอัตราการวางของพื้นที่เพิ่มขึ้นจากรอยละ 1.1 เปน 13.5 โดยเฉพาะพืน้ ทีใ่ นอาคารสํานักงานเกรดเอในเขต CBD ซึ่งมีอัตราการวางของพื้นที่สูงถึงรอยละ 16.7 เพิ่มขึ้นรอยละ 8.2 จาก ณ สิ้นป 2550 แนวโนมป 2552 คาดวาอัตราการวางของพื้นที่จะยังคงเพิ่มสูงขึ้นเนื่องจากจะมีอาคารสํานักงานสราง เสร็จเพิ่มขึ้น แตความตองการลดลง ดังนั้นการแขงขันจึงอยูในระดับสูง
สวนที่ 1 หนา 33
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 เนื่องจากทีเอสทีทาวเวอรเปนอาคารสํานักงานเกรดบี ซึ่งผูเชาสวนใหญเปนบริษัทของคนไทยที่มี ความมั่นคง หรือเปนองคกรที่มีสัญญาเชาระยะยาว และทีเอสทีทาวเวอรมีอัตราการเชาถึงรอยละ 96 จึงไมได รับผลกระทบจากปญหาการเมืองและภาวะถดถอยของเศรษฐกิจมากนัก (3) อาคารพักอาศัย รายละเอียด ที่ตั้งโครงการ กรรมสิทธิ์ในที่ดิน รายละเอียดโครงการ จํานวนหนวยที่ขายแลว จํานวนหนวยคงเหลือเพื่อใหเชา พื้นที่ที่เหลือใหเชา คาเชา/คาหองพัก ตอหนวย
โครงการเดอะรอยัลเพลส 2 ซอยมหาดเล็กหลวง 2 ติดสถานีรถไฟฟาราชดําริ สํานักงานพระคลังขางที่ อาคารชุด สูง 26 ชั้น 315 หนวย 56 หนวย 4,675.85 ตารางเมตร 416 บาท/เดือน/ตารางเมตร
โครงการเดอะแกรนด ซอยมหาดเล็กหลวง 2 ติดสถานีรถไฟฟาราชดําริ สํานักงานพระคลังขางที่ อาคารชุด สูง 25 ชั้น 312 หนวย 26 หนวย 1,616 ตารางเมตร 426 บาท/เดือน/ตารางเมตร
โครงการเดอะรอยัลเพลส 2 และโครงการเดอะแกรนดเปนโครงการที่บริษัทไดสรางหองพักอาศัยเพื่อ ขายสิทธิการเชามีระยะเวลา 30 ป โดยเปดขายโครงการในป 2536 ในปจจุบัน บริษัทไดเสร็จสิ้นการขายแลว คงเหลือแตหองพักอาศัยตกแตงพรอมเฟอรนิเจอรใหเชาระยะสั้น 1 ป หรือนานกวา โดย ทั้ง 2 โครงการ มี หองพักหลายขนาดทัง้ แบบหองสตูดโิ อ หองขนาด 1 หองนอน และ 2 หองนอน แตในปจจุบนั เหลือเพียงแบบ 1 หองนอน สําหรับบริการเสริม แตละโครงการมีสระวายน้ําและหองออกกําลังกายสําหรับผูอยูอาศัย นอกจากนี้ยังมีพื้นที่พาณิชยใหเชาบริเวณดานลาง ระยะเวลาการเชา 3 ป และสามารถตอสัญญาได โดย บริษัทมีการคัดเลือกผูเชาพื้นที่อยางระมัดระวัง เพื่อความสงบสุขและความสะดวกของผูอยูอาศัย และเพื่อ สภาพแวดลอมที่ดีของโครงการ ซึ่งทั้ง 2 โครงการ ตัง้ อยูใ นซอยมหาดเล็กหลวง 2 ทําเลอยูใ จกลางเมือง สะดวกตอการเดินทางเนือ่ งจากใกลสถานีรถไฟฟา BTS ราชดําริ การตลาดและภาวะการแขงขัน กลยุทธในการแขงขัน โครงการตั้งอยูในทําเลที่ดีที่สุดแหงหนึ่งของกรุงเทพ หองพักที่เหมาะสม ทําใหสามารถแขงขันดานราคาได
มหานคร มีการเดินทางทีส่ ะดวกสบาย และมีขนาด
ลักษณะลูกคาและกลุมลูกคาเปาหมาย ลูกคาโครงการอาคาร พักอาศัย เนนกลุมลูกคาประเภทบริษัทที่มีแผนจะเชาที่พักอาศัยสําหรับผูบริหาร ตางชาติ หรือแขกของบริษัท ตลอดจน ลูกคา ชาวไทยและชาวตางประเทศที่มีรายไดปานกลางถึงคอนขางสูง ซึ่งมีวัตถุประสงคในการเชาเพื่อเปนที่อยูอาศัยใจกลางเมือง และตองการที่พักที่มีสิ่งอํานวยความสะดวกครบ ครัน
ภาวะอุตสาหกรรม
ตลาดเชาอาคารทีพ่ กั อาศัยในกรุงเทพฯ มีการแขงขันอยางรุนแรง โดยเฉพาะอยางยิง่ บนถนนราชดําริ เนื่องจากมีอาคารที่พักอาศัยใหเชา เซอรวสิ อพารทเมนท โครงการคอนโดมิเนียม จํานวนมากซึ่งตั้งอยูบน
สวนที่ 1 หนา 34
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 ถนนราชดําริ และบริเวณใกลเคียง หรือตามเสนทางรถไฟฟา BTS ทั้งนี้มีจํานวนหองพักประมาณ 11,000 หนวย ซึ่งอยูในบริเวณใจกลางกรุงเทพฯ ณ สิ้นป 2551 อยางไรก็ตามอัตราการเชายังคงอยูที่ระดับสูงที่ ประมาณรอยละ 90 อัตราคาเชาอาคารพักอาศัย โซน สีลม/สาทร สุขุมวิท ริมแมน้ํา/พระราม3 ยานใจกลางลุมพินี
ต.ค. - ธ.ค. 2550 432 บาท/ตร.ม. 420 บาท/ตร.ม. 321 บาท/ตร.ม. 373 บาท/ตร.ม.
ต.ค. - ธ.ค. 2551 461 บาท/ตร.ม. 421 บาท/ตร.ม. 405 บาท/ตร.ม. 399 บาท/ตร.ม.
เปลี่ยนแปลง (รอยละ) +6.71 +0.24 +26.17 +6.97
โซน สีลม/สาทร
พื้นที่ ถนน สีลม สาทร ราชดําริ สุรวงศ นราธิวาส-ราชนครินทร (ฝง เหนือของถนนจันทร) และซอยตางๆ ระหวางนั้น สุขุมวิท ถนนสุขุมวิท ตั้งแตซอย 1-65 ซอย 2-44 และซอยอื่นๆ ระหวางนั้น ริมแมน้ํา/พระราม 3 ถนนเจริญกรุง เจริญนคร พระราม 3 นราธิวาส-ราชนครินทร (ฝง ใตของถนนจันทร) และซอยเชือ่ มตอตางๆ ยานใจกลางลุมพินี ถนนวิทยุ เพลินจิต ราชดําริ ชิดลม หลังสวน สารสิน รวมฤดี และซอยตางๆ ระหวาง นั้น ที่มา: CB Richard Ellis ถึงแมอัตราคาเชาจะปรับตัวสูงขึ้นจาก ณ สิ้นป 2550 แตอัตราคาเชาไดมีการปรับตัวลดลงในชวงเดือน ตุลาคม-ธันวาคม 2551 และคาดวาอัตราคาเชาจะยังคงปรับตัวลดลงในป 2552 เนือ่ งจากบริษทั ตางๆ มีการ ปรับลดคาใชจาย และงบประมาณคาเชาที่พักสําหรับผูบริหารนับเปนสวนคาใชจายหลักที่มีการพิจารณาปรับ ลด ผูเชาสวนมากเปนพนักงานเงินเดือนประจําซึ่งมีความเปนไปไดที่จะถูกปรับลดเงินเดือนหรือผลประโยชน ตางๆ ดังนั้นราคาจึงเปนปจจัยสําคัญในการตัดสินใจ นอกจากนี้ยังมีโครงการคอนโดมิเนียมหลายแหงที่มี กําหนดสรางเสร็จในป 2552 และจํานวนหองพักสวนใหญจะเพิ่มอุปทานในตลาดเชาอาคารที่พักอาศัย ดวย จํานวนหองพักที่มากขึ้น และความตองการที่ลดลง ทําใหแนวโนมตลาดเชาอาคารที่พักอาศัยยังคงมีการ แขงขันสูงทั้งในดานราคา ที่ตั้ง และสภาพแวดลอมของอาคาร อยางไรก็ตาม โครงการเดอะรอยัลเพลส 2 และ โครงการเดอะแกรนดตางตั้งอยูในทําเลที่ดี มีความไดเปรียบในการแขงขันดานราคาเทียบกับอัตราคาเชาของ ตลาด
สวนที่ 1 หนา 35
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552
ธุรกิจ 3: งานบริหารโครงการ โครงการบานเอื้ออาทร รายละเอียด ที่ตั้งโครงการ
กรรมสิทธิ์ในที่ดิน พื้นที่ทั้งหมด รายละเอียดโครงการ จํานวนหนวย มูลคาโครงการ
บานเอื้ออาทร ชลบุรี (นาจอมเทียน) ถนนสุขุมวิท (ทล.3) กม. 155-156
บานเอื้ออาทร ประจวบคีรีขันธ (หัวหิน 3) ถนนเพชรเกษม (ทล.4) กม. 242-243
การเคหะแหงชาติ 154-0-59.6 ไร อาคารชุดพักอาศัย สูง 3 ชั้น 4,598 หนวย 1,931.2 ลานบาท
การเคหะแหงชาติ 22-0-17.5 ไร อาคารชุดพักอาศัย สูง 4 ชั้น 1,008 หนวย 423.4 ลานบาท
บานเอื้ออาทร สระบุรี (โคกแย) ถนนพหลโยธิน กม. 91-92 (ในนิคม อุตสาหกรรม หนองแค) การเคหะแหงชาติ 72-1-98.2 ไร อาคารชุดพักอาศัย สูง 3 ชั้น 2,442 หนวย 1,025.6 ลานบาท
ในป 2549 บริษัทไดรับคัดเลือกจากการเคหะแหงชาติใหเปนผูรวมดําเนินการจัดทําโครงการบานเอื้อ อาทร จํานวน 20,000 หนวย ในปจจุบัน จํานวนหนวยที่บริษัท ไดรบั อนุมตั ใิ หดาํ เนินการสรางบานเอือ้ อาทร ลดลงจากจํานวน 9,584 หนวย เหลือจํานวน 8,048 หนวย จากทั้งหมด 20,000 หนวย เนื่องจากในป 2551 การเคหะแหงชาติไดยกเลิกโครงการทีบ่ างบอ ทั้งนี้บริษัทมีกําหนดสงมอบงานที่สรางเสร็จสมบูรณจํานวน 4,216 หนวย ภายในเดือนกันยายน 2552 โครงการโรงแรมโฟรพอยท เชอราตัน งานบริหารโครงการโรงแรมระดับ 4 ดาว สูง 32 ชั้น จํานวนหองพัก 437 หอง ในลักษณะ Turn Key (สัญญาจางเหมาแบบเบ็ดเสร็จ) โดยขอบเขตการใหบริการคลอบคลุมตัง้ แต การออกแบบ การกอสราง ตลอดจนการจัดหาผูบ ริหารงานโรงแรมภายหลังโรงแรมกอสรางเสร็จ โครงการตัง้ อยูใ นศูนยกลางธุรกิจบน ถนนสาทร ใกลสถานีรถไฟฟาสุรศักดิ์ มูลคาโครงการประมาณ 2,200 ลานบาท โดยคาดวาจะกอสรางแลว เสร็จในป 2554
การตลาดและภาวะการแขงขัน
กลยุทธในการแขงขัน บริษัทมีประสบการณในการพัฒนาอสังหาริมทรัพยที่ยาวนาน และมีพันธมิตรธุรกิจที่มีประสบการณใน ธุรกิจโรงแรม คุณสมบัติดังกลาวทําใหบริษัทไดเปรียบในการแขงขันประมูลงานเพื่อบริหารโครงการใหแก ลูกคา ลักษณะลูกคาและกลุมลูกคาเปาหมาย กลุมเปาหมาย ประกอบดวยบริษัทเอกชน และหนวยงานรัฐบาลซึ่งมีแผนจะพัฒนาโครงการ อสังหาริมทรัพยหรือโรงแรม
สวนที่ 1 หนา 36
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 ภาวะอุตสาหกรรม ธุรกิจรับจางบริหารโครงการมีการแขงขันคอนขางสูง เนือ่ งจากมีบริษทั จํานวนมากทีใ่ หบริการบริหาร โครงการ ในปจจุบันมีบริษัทพัฒนาอสังหาริมทรัพย และบริษัทรับเหมากอสราง ตลอดจนเครือโรงแรมที่มี ชื่อเสียงทั้งของไทยและตางชาติ ที่ใหบริการบริหารแบบมืออาชีพ หรือบริการที่ปรึกษาในธุรกิจที่มีความ เชี่ยวชาญ ดังนั้นบริษัทจึงตองแขงขันกับทั้งบริษัทพัฒนาอสังหาริมทรัพย บริษัทรับเหมากอสราง เครือ โรงแรม และบริษัทที่ปรึกษาอิสระตางๆ อยางไรก็ตามบริษัทมีขอไดเปรียบเนื่องจากบริษัทมีประสบการณและ มีพนั ธมิตรทีม่ ปี ระสบการณในทุกดานของการบริหารโครงการ ทําใหบริษทั สามารถใหบริการบริหารโครงการ แบบครบวงจรใหกับลูกคาได
การจัดหาผลิตภัณฑหรือบริการ
การจัดหาที่ดิน สําหรับโครงการบานเอือ้ อาทร ปจจัยหลักในการพิจารณาจัดซื้อที่ดิน คือ การเลือกที่ดินที่มี ศกั ยภาพ สอดคลองกับนโยบายทางการตลาดของแตละโครงการ โดย มีฝายพัฒนาธุรกิจ เปนหนวยงานพิจารณาเลือก ทําเลที่ตั้งที่เหมาะสม และเสนอใหผูบริหารระดับสูงของบริษัทพิจารณาในระดับตอไป สําหรับโครงการโรงแรม บริษทั ไมตอ ง พิจารณาจัดซื้อที่ดิน เนื่องจากเจาของโครงการมีที่ดินอยูแลว แต บริษัทยังตองทําการศึกษาความเปนไปไดเพื่อพิจารณาธุรกิจที่เหมาะสมกับที่ดินแปลงดังกลาว การจัดหาผูรับเหมากอสรางและวัสดุกอสราง บริษัทจะเปนผูพิจารณาคัดเลือกผูรับเหมากอสรางที่มีประสบการณและคุณสมบัติเหมาะสมกับแตละ โครงการ นอกจากนี้ บริษัทไดรวมทุนกับ บริษัท ฮิบเฮง โอเวอรซี จํากัด ซึ่งเปนบริษัทที่เชี่ยวชาญดานการ กอสรางจากฮองกง ซึ่ง มีประสบการณในการกอสราง โครงการขนาดใหญในตางประเทศและมีความรูและ เทคโนโลยีการกอสราง เปนอยางดี ในการจัดตั้ง บริษัท ฮิบเฮง คอนสตรัคชั่น (ประเทศไทย) จํากัด เพื่อ สงเสริมการประกอบธุรกิจหลักและเพิม่ ประสิทธิภาพในการบริหารงานในหลายๆดานของบริษทั ในป 2550 บริษัทเซ็นสัญญารับบริหารโครงการโรงแรมโฟรพอยท เชอราตัน ที่สุรศักดิ์ มูลคาโครงการ ประมาณ 2,200 ลานบาท โดยบริษัทไดวาจาง บริษัท ฮิบเฮง คอนสตรัคชั่น (ประเทศไทย) จํากัด ใหเปนผู กอสราง โดยคาดวาจะกอสรางแลวเสร็จในป 2554 การจัดหาที่ปรึกษาการออกแบบกอสราง บริษัทมีฝายพัฒนาโครงการ ซึ่งมีสถาปนิกและวิศวกรทีม่ ปี ระสบการณในการทํางาน ทําหนาที่ คดั เลือก ที่ปรึกษาและผูออกแบบโครงการตามความเหมาะสมของแตละโครงการ การจัดหาผูบริหารงานโรงแรม สําหรับโรงแรมระดับ 5-6 ดาวนั้น บริษัทจะ พิจารณาคัดเลือกเครือขายโรงแรม ระดับโลกที่มีคุณสมบัติ เหมาะสมกับแตละโครงการมาบริหารงาน สําหรับโรงแรมระดับ 3-4 ดาว บริษัทจะใหเครือโรงแรม U Hotels & Resorts มาบริหาร หรืออาจพิจารณาคัดเลือกเครือขายโรงแรมระดับโลกที่มีคุณสมบัติเหมาะสมมาบริหาร ตามความเหมาะสม
สวนที่ 1 หนา 37
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552
การวิจยั และพัฒนา ประกาศของคณะกรรมการกํา กับ ตลาดทุน ที่ ทจ.11/2552 เรื่อง หลักเกณฑ เงื่อนไข และวิธีการ รายงานการเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของบริษัทที่ออกหลักทรัพย ไดยกเลิก หัวขอนี้
แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551
5. ทรัพยสนิ ทีใ่ ชในการประกอบธุรกิจ 5.1 ทรัพยสินสําคัญที่ใชในการประกอบธุรกิจ ทรัพยสนิ สําคัญที่ใชในการประกอบธุรกิจ ไดแก ที่ดินเปลา ที่ดินพรอมสิ่งปลูกสราง และอาคารที่สรางไวเพื่อขายและใหเชาในโครงการตางๆ มีรายละเอียดดังตอไปนี้ (1)
รายละเอียดโครงการที่ดําเนินการอยู ณ วันที่ 31 มีนาคม 2552 สถานที่ตั้งและราคาประเมิน ซึ่งประเมินโดย บริษัท พสุพัฒน แอพเพรซัล จํากัด
(1.1) โครงการเพือ่ ขาย รายละเอียด
ที่ตั้ง
ทรัพยสนิ ภายใตกรรมสิทธิ์ บมจ. ธนายง 1. โครงการธนาซิต้ี ถนนบางนา – ตราด กม.14 1.1 ทาวนเฮาสริมน้ําและริมสวน ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 1.2 ที่ดินเปลา ไพรมแลนด โซน เอ ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 1.3 ที่ดินเปลา ไพรมแลนด โซนบี,ซี และดี ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 1.4 นูเวลคอนโดมิเนียม ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 1.5 เพรสทีจเฮาส II ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 1.6 เพรสทีจเฮาส III ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 1.7 ทาวนเฮาสฮาบิแทต ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 1.8 แคลิฟอรเนียน ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 1.9 เพรสทีจคอนโดมิเนียม ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ
จํานวน
18 หลัง 2 แปลง 32 แปลง 129 หองชุด 43 แปลง 84 แปลง 16 แปลง 31 แปลง 2 หองชุด
จํานวนที่ดิน ไร
2 35 23 30 22 1 7
งาน
ตารางวา
15 2 19 60.50 14,813.43 ตารางเมตร 3 90 1 82.40 3 68.80 2 70.30 856.36 ตารางเมตร
สวนที่ 1 หนา 38
ราคาประเมิน (ลานบาท)
วันที่ทําการ ประเมิน
ราคาตามบัญชี (ลานบาท) ณ 31 มี.ค. 52
52.95 213.28 241.88 299.94 346.92 210.27 31.69 79.83 14.99
14 ก.พ.50 31 ม.ค.50 14 ก.พ.50 14 ก.พ.50 14 ก.พ.50 14 ก.พ.50 14 ก.พ.50 14 ก.พ.50 14 ก.พ.50
19.67 118.57 77.22 283.92 106.16 74.56 14.79 25.60 10.28
ภาระผูกพัน
-
แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551
จํานวนที่ดิน รายละเอียด ทรัพยสนิ ภายใตกรรมสิทธิ์ บมจ. ธนายง 2. โครงการธนาเพลสกิง่ แกว 2.1 ที่ดินพรอมสิ่งปลูกสราง 2.2 คอนโดมิเนียม 3. ที่ดินเปลาในธนาซิตี้ 3.1 ที่ดินแปลงใหญ ฮาบิแทต 3.2 ที่ดินตรงขามเพรสทีจคอนโดมิเนียม (ใกลศาลพระพรหม) 3.3 ที่ดินตรงขาม เพรสทีจเฮาส I 3.4 ขางที่ดิน ไพรมแลนด โซนบี 4. ทีด่ นิ เปลานอกโครงการธนาซิต้ี 4.1 ที่ดินเปลา #35258 ซอยทางเดินเลียบคลองลาดกระบัง 5. โครงการธนาเพลสลาดพราว 5.1 อาคารพาณิชย 1 คูหา
ที่ตั้ง
จํานวน
ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ
104 แปลง 136 หองชุด
19
ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ
1 แปลง 1 แปลง
9 4
3
ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ
1 แปลง 1 แปลง
3 11
ตําบลราชาเทวะ อําเภอบางพลี (บางพลีใหญ) จังหวัดสมุทรปราการ
1 แปลง
ซ.ลาดพราว 71 แขวงลาดพราว เขตลาดพราว กทม.
1 คูหา
ไร
งาน
ราคาประเมิน ตารางวา
ราคาตาม บัญชี (ลานบาท) ณ 31 มี.ค. 52
ภาระผูกพัน
(ลานบาท)
วันที่ทําการประเมิน
150.67 86.06
31 ม.ค.50 31 ม.ค.50
101.91 90.41
-
53 44
51.14 33.05
31 ม.ค.50 31 ม.ค.50
30.46 16.21
-
3
38 34
21.05 85.21
31 ม.ค.50 31 ม.ค.50
10.32 39.47
-
10
2
6
7.99
31 ม.ค.50
7.99
-
-
-
35
3.2
5 ก.พ.50
0.85
-
1 24.28 8,108.88 ตารางเมตร
สวนที่ 1 หนา 39
แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551
(1.2) โครงการเพื่อใหเชา จํานวนที่ดิน รายละเอียด
ที่ตั้ง
จํานวน
-
-
ราคาประเมิน ตาราง เมตร
(ลานบาท)
วันที่ทําการประเมิน
ราคาตามบัญชี (ลานบาท) ณ 31 มี.ค. 52
ภาระผูกพัน
1. โครงการธนาซิต้ี ถนนบางนา – ตราด กม. 14 (เพื่อใหเชา) 1.1 นูเวลคอนโดมิเนียม ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ 2 หองชุด -195.64 3.52 14 ก.พ.50 3.60 2. อาคารพักอาศัยโครงการเดอะรอยัลเพลส และเดอะแกรนด (เพือ่ ใหเชา) 2.1 เดอะรอยัลเพลส 1* ซ.มหาดเล็กหลวง2 ถ.ราชดําริ แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กทม. 2.1 เดอะรอยัลเพลส 2* ซ.มหาดเล็กหลวง2 ถ.ราชดําริ 56 หองชุด 4,675.85 147.73 8 ก.พ.50 142.03 แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กทม. 2.2 เดอะแกรนด* ซ.มหาดเล็กหลวง2 ถ.ราชดําริ 26 หองชุด 1,616 52.57 8 ก.พ.50 50.11 แขวงลุมพินี เขตปทุมวัน กทม. *ที่ดินซึ่งเปนที่ตั้งของเดอะรอยัลเพลส 1 & 2 และ เดอะแกรนด เปนที่ดินเชาสัญญาเชาระยะยาวกับสํานักงานพระคลังขางที่ โดยสัญญาเชาที่ เดอะรอยัลเพลส 1 จะหมดสัญญา ณ 30 มิถุนายน 2570 สวน เดอะรอยัล เพลส 2 และเดอะแกรนดจะหมดสัญญา ณ 30 พฤศจิกายน 2570
-
(1.3) ธุรกิจโรงแรม จํานวนที่ดิน รายละเอียด
ที่ตั้ง
จํานวน
ไร
ทรัพยสนิ ภายใตกรรมสิทธิ์ ของบริษทั ยอยและบริษทั รวม 1. โรงแรม ยู เชียงใหม ถ.ราชดําเนิน ต.ศรีภูมิ อ. เมือง 1 (กรรมสิทธของ บจ. เมืองทอง แอสเซ็ทส) ** จ. เชียงใหม 2. โรงแรมอิสติน เลคไซด 50/492 หมู 6 ถ. แจงวัฒนะ 11 (กรรมสิทธของ บจ. เมืองทอง แอสเซ็ทส) *** ต.บานใหม อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี **ที่ดินและสิ่งกอสราง เปนการเชาระยะยาว โดยสัญญาจะหมด ณ 31 มกราคม 2571 ***ที่ดินเชาสัญญาระยะยาวกับบริษัท บริหารสินทรัพยทวี จํากัด โดยบริษัทอยูระหวางการเจรจาตอระยะเวลาเชา
สวนที่ 1 หนา 40
ราคาประเมิน
ราคาตาม บัญชี (ลานบาท) ณ 31 มี.ค. 52
ภาระผูกพัน
งาน
ตารางวา
(ลานบาท)
วันที่ทําการประเมิน
1
38
-
-
-
-
1
66
-
-
-
-
(2)
แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551
รายละเอียดทรัพยสินที่ถือครองเพื่อการพัฒนาในอนาคต ณ วันที่ 31 มีนาคม 2552 สถานที่ตั้งและราคาประเมิน ซึ่งประเมินโดย บริษัท พสุพัฒน แอพเพรซัล จํากัด รายละเอียด
ที่ตั้ง
ทรัพยสนิ ภายใตกรรมสิทธิ์ บมจ. ธนายง 1. ที่ดินเปลา ถนนราษฎรบูรณะ แขวงราษฎรบูรณะ กทม. 2. ที่ดินเปลา ถนนบานน้ําลัด – บานแมยาว ต.ริมกก อ.เมืองเชียงราย จ.เชียงราย 3. ที่ดินเปลา ต.ริมกก อ.เมืองเชียงราย จ. เชียงราย 4. ที่ดินเปลา ซอยบานเกาะลอย ถนนสิงหไคล ต.เวียง (รอบเวียง) อ.เมืองเชียงราย จ.เชียงราย 5. ที่ดินเปลา ต. จันจวาใต (ทาขาวเปลือก) อ.แมจัน จังหวัดเชียงราย 6. ที่ดินเปลา ถนนเทพกษัตรีย ต.เกาะแกว อ.เมืองภูเก็ต จ.ภูเก็ต 7. ที่ดินเปลา (ซอยสุขุมวิท 66/1) ถนนสุขุมวิท แขวงบางนา เขตบางนา กทม. 8. ที่ดิน ต. ทามะขาม อ. เมือง จ. กาญจนบุรี และอาคาร
จํานวน
จํานวนที่ดิน
ราคาประเมิน
ราคาตามบัญชี (ลานบาท) ณ 31 มี.ค. 51
ภาระผูกพัน
ไร
งาน
ตารางวา
(ลานบาท)
วันที่ทําการประเมิน
1 แปลง
27
2
10
645.0
15 ก.พ.50
645.00
1 แปลง
7
-
60
2.0
9 ก.พ. 50
2.00
บมจ. ธนาคาร กรุงเทพ -
3 แปลง 1 แปลง
14 -
3 -
0 77
5.9 0.4
14 มิ.ย. 47 9 ก.พ. 50
5.90 0.46
-
65 แปลง
565
3
78
28.3
9 ก.พ. 50
28.30
-
2 แปลง
37
-
71.6
29.7
15 ก.พ. 50
29.75
-
2 แปลง
1
3
89
-
-
50.00
-
13 แปลง 1 อาคาร
5
1 30 918 ตารางเมตร
-
-
30.00 20.00
-
สวนที่ 1 หนา 41
แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 จํานวนที่ดิน รายละเอียด
ที่ตั้ง
ทรัพยสนิ ภายใตกรรมสิทธิ์ของบริษทั ยอยและบริษทั รวม 1. ที่ดินเปลา ต. กมลา อ. กระทู จ. ภูเก็ต (กรรมสิทธิ์ของ บจ. กมลา บีช รีสอรท แอนด โฮเต็ล แมนเนจเมนท) 2. ที่ดินเปลา ต. โปงตาลอง อ. ปากชอง (กรรมสิทธิ์ของ บจ. เมืองทองเลคไซด จ. นครราชสีมา เรสเตอรรอง) 3. ที่ดินเปลา 21 ถ.วิภาวดีรังสิต แขวงจอมพล (กรรมสิทธของ บจ. สยาม เพจจิง้ แอนด เขตจตุจักร กทม. คอมมิวนิเคชั่น) 4. ที่ดินเปลา ซ. ชะอม-หนองแหน ถ. บานนา-แกง (กรรมสิทธิ์ของ บจ. สระบุรี พร็อพเพอรต)ี้ คอย (ทางหลวง 3222) ถ. มิตรภาพ ต.ชะอม อ.แกงคอย จ. สระบุรี
จํานวน
ราคาประเมิน
ราคาตามบัญชี (ลานบาท) ณ 31 มี.ค. 51
ภาระผูกพัน
ไร
งาน
ตาราง เมตร
(ลานบาท)
วันที่ทําการประเมิน
40 แปลง
455
3
5.90
1,615
23 ธ.ค. 51
1,197.03
-
19 แปลง
645
3
86
255
4 พ.ค. 52
236.65
-
2 แปลง
-
-
71
142
31 มี.ค. 52
12.78
-
4 แปลง
95
-
93
36
20 มี.ค. 52
4.32
-
สวนที่ 1 หนา 42
แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 5.2 ทรัพยสินสําคัญที่ใชในการประกอบธุรกิจในสวนที่รอโอนชําระหนี้ตามแผนฟนฟูกิจการ ทรัพยสนิ สําคัญที่ใชในการประกอบธุรกิจในสวนที่รอโอนชําระหนี้ตามแผนฟนฟูกิจการไดแก ที่ดินเปลา ที่ดินพรอมสิ่งปลูกสราง และอาคาร สถานที่ตั้งและราคาประเมิน ซึ่งประเมินโดย บริษัท พสุพัฒน แอพเพรซัล จํากัด จํานวนที่ดิน -
-
ตาราง เมตร
(ลานบาท)
วันที่ทําการ ประเมิน
ราคาตามบัญชี (ลานบาท) ณ 31 มี.ค. 52
73 หองชุด
-
-
3,774.21
39.92
31 ม.ค.50
39.92
3 หองชุด
-
-
438.05
13.56
2 ก.พ.50
3.33
รายละเอียด
ที่ตั้ง
จํานวน
ทรัพยสนิ ภายใตกรรมสิทธิ์ บมจ. ธนายง 1. กิ่งแกวคอนโดมิเนียม
ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ ถนนสุขุมวิท 39 แขวงคลองตัน เขตพระโขนง กทม.
2. บานมิตราคอนโดมิเนียม
ราคาประเมิน
ภาระผูกพัน
บรรษัทบริหาร สินทรัพยไทย บรรษัทบริหาร สินทรัพยไทย
สถานที่ตั้งและราคาประเมิน ซึ่งประเมินโดย บริษัท พสุพัฒน แอพเพรซัล จํากัด จํานวนที่ดิน รายละเอียด
ที่ตั้ง
จํานวน
ไร
งาน
ตารางวา
ราคาประเมิน วันที่ทําการ (ลานบาท) ประเมิน
ราคาตามบัญชี (ลานบาท) ณ 31 มี.ค. 52
ภาระผูกพัน
ทรัพยสนิ ภายใตกรรมสิทธิ์ บมจ. ธนายง 1. ที่ดินเปลา
ต.ทับไทร อ.โปงน้ํารอน จ.จันทบุรี
1 แปลง
2
-
96.7
2.24
1 ก.พ.50
2.24
2. ที่ดินเปลา
ทล. 108 กม. 77 ต.แมสอย อ.จอมทอง จ. เชียงใหม บริเวณนอกโครงการธนาซิตี้ ถ.บางนา-ตราด ต.บางโฉลง อ.บางพลี จ.สมุทรปราการ
3 แปลง
6
-
60
0.74
12 ก.พ.50
0.74
5 แปลง
12
-
-
36.00
2 เม.ย.47
25.34
3. ที่ดินเปลา
สวนที่ 1 หนา 43
บรรษัทบริหาร สินทรัพยไทย บรรษัทบริหาร สินทรัพยไทย บรรษัทบริหาร สินทรัพยไทย
แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551
จํานวนที่ดิน รายละเอียด
ที่ตั้ง
ทรัพยสนิ ภายใตกรรมสิทธิ์บริษัทยอยและบริษัทรวม 1. ที่ดินเปลา ต.นาเตย อ.ทายเหมือง จ.พังงา (กรรมสิทธิ์ของ บจ.สําเภาเพชร)
รายละเอียด
ที่ตั้ง
ทรัพยสนิ ภายใตกรรมสิทธิ์บริษัทยอยและบริษัทรวม 1. ทีเอสทีทาวเวอร ถ.วิภาวดี-รังสิต เขตจตุจักร กทม. (กรรมสิทธิ์ของ บจ.ดีแนล)
2. ยงสุ อพารทเมนท (กรรมสิทธิ์ของ บจ.ยงสุ)
ซอยสุขุมวิท 39 เขตพระโขนง กทม.
จํานวน
19 แปลง
จํานวน
ราคาประเมิน
ไร
งาน
ตารางวา
(ลานบาท)
วันที่ทําการ ประเมิน
ราคาตามบัญชี (ลานบาท) ณ 31 มี.ค. 51
117
2
15
4.7
14 ก.พ. 50
4.69
-
จํานวนพื้นที่ใหเชา ตาราง เมตร
ราคาประเมิน วันที่ทําการ (ลานบาท) ประเมิน
ราคาตามบัญชี (ลานบาท) ณ 31 มี.ค. 51
1 แปลง
-
-
15,875.50
478.92
16 มี.ค.47 *
86.97
1 แปลง
-
-
11,060.00
378.0
8 เม.ย.47 **
63.50
ภาระผูกพัน
บรรษัทบริหาร สินทรัพยไทย
ภาระผูกพัน
ธนาคารกสิกร ไทยในฐานะ ผูแทน ผูถือหุนกู ธนาคารกสิกร ไทยในฐานะ ผูแทน ผูถือหุนกู
** ทีเอสทีทาวเวอร และ ยงสุ อพารทเมนท เปนสวนหนึ่งของสินทรัพยหลักประกัน ตามแผนฟนฟูกิจการ ซึ่ง ศาลลมละลายกลาง ไดมีคําสั่งใหประมูลสินทรัพยดังกลาว โดยรายไดจาก การประมูลจะจัดสรรใหเจาหนี้ตามสัดสวนหนี้ ทั้งนี้ บริษัทไดทําการประมูลขายทรัพย และไดผูชนะการประมูลแลวเมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม 2552
สวนที่ 1 หนา 44
แบบ 56-1 ประจําป 2550/2551 5.3
นโยบายการลงทุนและการบริหารงานในบริษัทยอยและบริษัทรวม บริษัทมีนโยบายการลงทุนในบริษัทยอยและบริษัทรวมในลักษณะดังตอไปนี้ (1) นโยบายการลงทุนในบริษัทยอย บริษัทมีนโยบายลงทุนในกิจการที่สอดคลองหรือสนับสนุนธุรกิจหลัก เพื่อใชบริษัทยอยเปนตัวกําหนด ตําแหนงทางการตลาดและความชัดเจนของแตละสายธุรกิจ และเพิ่มประสิทธิภาพในการประกอบธุรกิจและ ความคลองตัวในการเติบโตในแตละสายธุรกิจ (2) นโยบายการลงทุนในบริษัทรวม บริษัทมีนโยบายรวมลงทุนกับบริษัทที่มีความชํานาญเฉพาะดานเพื่อเสริมธุรกิจหลักของกลุมบริษัท โดยจะรวมลงทุนไมต่ํากวารอยละ 25 นโยบายการบริหารงานในบริษัทยอยและบริษัทรวม (1) นโยบายการบริหารงานในบริษัทยอย บริษัท จะกําหนดแนวนโยบายในการดําเนินธุรกิจทีบ่ ริษทั พิจารณาแลวเห็นวาเปนการเสริม ประสิทธิภาพและการดําเนินธุรกิจของกลุมบริษัทใหแกบริษัทยอยเพื่อใหเปนแนวทางเดียวกันและเพื่อให บริษัทยอยไดพิจารณาดําเนินงานในสวนของการปฏิบัติการดวยตนเอง (2) นโยบายการบริหารงานของบริษัทรวม เมื่อบริษัทไดเขารวมทุนกับบริษัทอื่นแลว บริษัทจะสงตัวแทนเขา ไปเปนกรรมการในบริษทั รวมนัน้ ๆ เพื่อเปนการติดตามการทํางานของบริษัทรวมวาไดดําเนินงานตามแนวทางที่บริษัทไดคาดหวังไว
สวนที่ 1 หนา 45
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552
โครงการในอนาคต ประกาศของคณะกรรมการกํา กับตลาดทุน ที่ ทจ.11/2552 เรื่อง หลักเกณฑ เงื่อนไข และวิธีการ รายงานการเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของบริษัทที่ออกหลักทรัพย ไดยกเลิก หัวขอนี้
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552
6. ขอพิพาททางกฎหมาย รายละเอียดตามหมายเหตุประกอบงบการเงินรวม สําหรับรอบระยะเวลาบัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 มีนาคม 2552 ของบริษัทและบริษัทยอย ขอ 34.5 เรื่อง คดีฟองรอง
สวนที่ 1 หนา 46
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552
7. โครงสรางเงินทุน 7.1 หลักทรัพยของบริษัท ณ วันที่ 31 มีนาคม 2552 บริษัทมีทุนจดทะเบียน 8 ,056,923,076 บาท และทุน จดทะเบียนชําระแลว 5,813,333,333 บาท แบงเปนหุนสามัญ 5,813,333,333 หุน มูลคาที่ตราไวหุนละ 1 บาท 7.2 ผูถือหุน รายชื่อผูถือหุนที่ถือหุนสูงสุด 10 รายแรก ของบริษัท ณ วันปดสมุดทะเบียน วันที่ 31 มีนาคม 2552 มีดังนี้ รายชื่อผูถือหุน 1. กลุม นายคีรี กาญจนพาสน* 2. Citigroup Global Markets Limited - Prop. Custody Account** 3. VMS Private Investment Partners II Limited 4. Mr. Cheng Wan Yen 5. บริษัท ธนายง ฟูด แอนด เบเวอเรจ จํากัด*** 6. นายวันชัย พันธุวิเชียร 7. นางสาวพรเพ็ญ หวังเพิ่มพูน 8. UOB Asia Limited 9. Mr. Ka Ho Donald Man 10. Oriental Field Limited
จํานวนหุน 2,144,300,619 870,000,000 400,000,000 300,000,000 275,715,160 258,300,000 100,000,000 84,617,767 70,000,000 67,039,981
% 36.89 14.97 6.88 5.16 4.74 4.44 1.72 1.46 1.20 1.15
หมายเหตุ * กลุมนายคีรี กาญจนพาสน ไดนับรวมหุนที่ถือโดยบริษัท เค ทู เจ โฮลดิ้ง จํากัด จํานวน 2,000,000,000 หุน หรือรอยละ 34.40 ของทุนจดทะเบียนชําระแลว ** ผูถือหุนที่แทจริงคือ Pacific Harbor Advisors Pte. Ltd. (ขอมูลจากแบบรายงานการไดมาหรือจําหนายหลักทรัพย (แบบ 2462) ณ วันที่ 30 มกราคม 2552) *** เปนการถือหุนแทนเจาหนี้ตามแผนการฟนฟูกิจการของบริษัท ซึ่งอยูระหวางรอโอนชําระใหเจาหนี้
7.3 นโยบายการจายเงินปนผล (1) นโยบายการจายเงินปนผลของบริษัท บริษัทมีนโยบายจายเงินปนผลใหแกผูถือหุนในอัตราไมนอยกวารอยละ 50 ของกําไรสุทธิหลังหักภาษี เงินไดตามงบการเงินเฉพาะกิจการ โดยบริษัทจะจายเงินปนผลในรอบระยะเวลาบัญชีถัดไป โดยคํานึงถึง กระแสเงินสดจากการประกอบการ และการประกาศจายเงินปนผลประจําปจะตองไดรบั ความเห็นชอบจากที่ ประชุม สามัญ ผูถือหุนประจําป ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทอาจเห็นสมควรใหมีการจายเงินปนผลระหวางกาล หากเห็นวาบริษทั มีกาํ ไรและสามารถดํารงเงินลงทุนหมุนเวียนทีใ่ ชในการดําเนินการไดอยางเพียงพอภายหลัง การจายเงินปนผลระหวางกาลนั้น ซึ่งคณะกรรมการบริษัทมีหนาที่แจงใหที่ประชุมผูถือหุนรับทราบในการ ประชุมผูถือหุนครั้งถัดไป สวนที่ 1 หนา 47
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 ดังนี้
ในการพิจารณาจายเงินปนผลใหแกผูถือหุนนั้น คณะกรรมการบริษัทจะคํานึงถึงปจจัยหลายประการ
ผลการดําเนินงานของบริษัท สภาพคลอง กระแสเงินสดหมุนเวียน และสถานะการเงินของบริษัท ขอบังคับหรือเงื่อนไขที่เกี่ยวกับการจายเงินปนผลที่กําหนดโดยสัญญาเงินกูยืม หุนกู สัญญาซึ่ง กอใหเกิดภาระหนี้สินของบริษัท หรือขอตกลงหรือสัญญาอื่นๆ ที่บริษัทตองปฏิบัติตาม แผนการดําเนินงานในอนาคตและความตองการในการใชเงินลงทุน ปจจัยอื่นๆ ที่คณะกรรมการบริษัทเห็นสมควร นอกจากนี้ บริษัทยังอยูภายใตบังคับของพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 ที่กําหนดให บริษัทไมสามารถจายเงินปนผลไดหากบริษัทยังมีผลขาดทุนสะสมอยูแมวาบริษัทจะมีกําไรสุทธิสําหรับปนั้นๆ ก็ตาม และพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 ยังกําหนดใหบริษทั สํารองเงินตามกฎหมายใน จํานวนไมนอยกวารอยละ 5 ของกําไรสุทธิประจําปหักดวยยอดขาดทุนสะสมยกมา (ถามี) จนกวาเงินสํารอง ตามกฎหมาย จะมีจํานวนไมนอยกวารอยละ 10 ของทุนจดทะเบียน และนอกจากเงินสํารองทีก่ ฎหมาย กําหนดใหบริษทั ตองจัดสรรแลว คณะกรรมการอาจพิจารณาจัดสรรเงินสํารองประเภทอืน่ ไดอกี ตามที่ เห็นสมควร
(2) นโยบายการจายเงินปนผลของบริษัทยอย บริษทั ยอยมีนโยบายในการจายเงินปนผลโดยพิจารณาจากศักยภาพการเติบโตของผลการ ดําเนินงาน แผนการลงทุน การขยายงาน ขอกําหนดตามสัญญาเงินกูหรือหุนกูของบริษัท และบริษัทยอย รวมถึงความจําเปนและความเหมาะสมในอนาคต โดยมีนโยบายจายเงินปนผลไมนอยกวารอยละ 50 ของ กําไรสุทธิหลังหักภาษีและสํารองเงินตามกฎหมาย หากไมมีเหตุจําเปนอื่นใดและการจายเงินปนผลนั้นไมมี ผลกระทบตอการดําเนินงานปกติของบริษัทยอยดังกลาว
สวนที่ 1 หนา 48
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552
8. การจัดการ
คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการพิจารณา คาตอบแทน
คณะกรรมการตรวจสอบ
คณะกรรมการสรรหา
คณะกรรมการบริหาร
ฝายตรวจสอบภายใน
กรรมการผูจัดการ ฝายกฎหมาย
รองกรรมการผูจัดการ
รองกรรมการผูจัดการ
รองกรรมการผูจัดการ
ฝายบริหารทรัพยสินและ อสังหาริมทรัพย
ฝายพัฒนาธุรกิจ
ฝายพัฒนาอสังหาริมทรัพย
ฝายโครงการพิเศษ
ฝายบัญชี
ฝายบริหารโครงการ
ฝายโรงแรม
ฝายการเงิน
ฝายการตลาด การขายและประชาสัมพันธ
ฝายทรัพยากรบุคคล และธุรการ
ฝายเทคโนโลยีสารสนเทศ
สวนที่ 1 หนา 49
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 8.1 โครงสรางการจัดการ ณ วันที่ 28 พฤษภาคม 2552 โครงสรางการจัดการของบริษทั ประกอบดวยคณะกรรมการ บริษัทและ คณะกรรมการชุดยอยรวม 5 ชุด ไดแก คณะกรรมการบริษท ั คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการพิจารณาคาตอบแทน คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการบริหาร 1) คณะกรรมการบริษทั
ประกอบดวยกรรมการจํานวน 11 ทาน ดังนี้
ลําดับ รายชื่อ ตําแหนง 1. นายคีรี กาญจนพาสน ประธานกรรมการ 2. นายกวิน กาญจนพาสน กรรมการ 3. นายสุธรรม ศิริทิพยสาคร กรรมการ 4. นายรังสิน กฤตลักษณ กรรมการ 5. Mr. Kong Chi Keung กรรมการ 6. นายคม พนมเริงศักดิ์ กรรมการ 7. Dr. Paul Tong กรรมการ กรรมการ 8. Mr. Cheung Che Kin 9. ดร. อาณัติ อาภาภิรม กรรมการ 10. พลโทพิศาล เทพสิทธา กรรมการอิสระและประธานกรรมการตรวจสอบ 11. พลตํารวจตรีวราห เอี่ยมมงคล กรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ โดยมีนายรังสิน กฤตลักษณ ทําหนาทีเ่ ปนเลขานุการคณะกรรมการบริษทั กรรมการผูม อี าํ นาจกระทําการแทนบริษทั มี 6 ทาน ดังนี้ กรรมการกลุม ก 1. นายคีรี กาญจนพาสน 2. นายกวิน กาญจนพาสน 3. นายรังสิน กฤตลักษณ กรรมการกลุม ข
4. นายสุธรรม ศิริทิพยสาคร 5. Mr. Kong Chi Keung 6. นายคม พนมเริงศักดิ์
ชือ่ และจํานวนกรรมการซึง่ มีอาํ นาจลงลายมือชือ่ แทนบริษทั คือ กรรมการคนใดคนหนึง่ จากกรรมการ กลุม ก ลงลายมือชื่อรวมกันกับกรรมการคนใดคนหนึ่งจากกรรมการกลุม ข รวมเปนสองคนและประทับตรา สําคัญของบริษัท
สวนที่ 1 หนา 50
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 อํานาจหนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษทั 1. ปฏิบัติหนาที่ใหเปนไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค และขอบังคับของบริษัท ตลอดจนมติที่ประชุมผูถือหุน ดวยความซื่อสัตย สุจริต และระมัดระวังรักษาผลประโยชนของบริษัท 2. กําหนดวิสัยทัศน นโยบาย และทิศทางการดําเนินงานของบริษัท และกํากับดูแลใหฝายบริหารดําเนินการ ใหเปนไปตามนโยบายที่กําหนดไวอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อเพิ่มมูลคาสูงสุดใหแกบริษัท และผูถือหุน 3. กําหนดนโยบาย ยุทธศาสตรการทําธุรกิจ แผนงาน และงบประมาณประจําปของบริษัท รวมทั้งผลงาน และผลประกอบการประจําเดือนและประจําไตรมาสของบริษัทเทียบกับแผนและงบประมาณ และ พิจารณาแนวโนมระยะตอไปของป 4. ประเมินผลงานของฝายบริหารอยางสม่ําเสมอและดูแลระบบกลไกการจายคาตอบแทนผูบริหารระดับสูงที่ เหมาะสม โดยมีคณะกรรมการพิจารณาคาตอบแทนเปนผูดูแลอยางมีประสิทธิภาพ 5. ดําเนินการใหฝายบริหารจัดใหมีระบบบัญชี การรายงานทางการเงิน และการสอบบัญชีที่เชื่อถือได ตลอดจนดูแลใหมีระบบการควบคุมภายในที่เพียงพอเหมาะสม 6. พิจารณาอนุมัติการไดมาหรือจําหนายไปซึ่งทรัพยสิน การลงทุนในธุรกิจใหม และการดําเนินการใดๆ ที่ กฎหมายกําหนด เวนแตเรื่องที่กฎหมายกําหนดใหตองไดรับมติที่ประชุมผูถือหุน 7. พิจารณาอนุมัติ และ/หรือ ใหความเห็นตอรายการที่เกี่ยวโยงกันของบริษัทและบริษัทยอยใหเปนไปตาม กฎหมาย ประกาศ ขอกําหนด และระเบียบขอบังคับที่เกี่ยวของตาง ๆ 8. ดูแลไมใหเกิดปญหาความขัดแยงทางผลประโยชนระหวางผูมีสวนไดเสียของบริษัท 9. พิจารณาเรือ่ งตาง ๆ โดยคํานึงถึงผลประโยชนของผูถือหุนและผูมีสวนไดเสียทุกกลุมของบริษัทอยางเปน ธรรม โดยกรรมการตองแจงใหบริษทั ทราบโดยไมชกั ชา หากมีสว นไดเสีย ไมวา โดยตรงหรือโดยออม ใน สัญญาที่ทํากับบริษัทหรือถือหุนเพิ่มขึ้นหรือลดลงในบริษัทหรือบริษัทยอย ทั้งนี้ กําหนดใหรายการที่ทํา กับกรรมการหรือบุคคลที่อาจมีความขัดแยงหรือมีสวนไดเสีย หรืออาจมีความขัดแยงทางผลประโยชนอื่น ใดกับบริษัทหรือบริษัทยอย ใหกรรมการซึ่งมีสวนไดเสียไมมีสิทธิ ออกเสียงลงคะแนน อนุมัติการทํา รายการในเรือ่ งนัน้ 10. กํากับดูแลกิจการอยางมีจรรยาบรรณและจริยธรรมทางธุรกิจ และทบทวนนโยบายการกํากับดูแลกิจการ ของบริษัทและประเมินผลการปฏิบัติตามนโยบายดังกลาวเปนประจําอยางนอยปละ 1 ครั้ง 11. รายงานความรับผิดชอบของตนในการจัดทํารายงานทางการเงิน โดยแสดงควบคูก บั รายงานของผูส อบ บัญชีไวในรายงานประจําปและครอบคลุมในเรื่องสําคัญ ๆ ตามนโยบายเรื่องขอพึงปฏิบัติที่ดีสําหรับ กรรมการบริษัทจดทะเบียนของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย 12. มอบหมายใหกรรมการคนหนึ่งหรือหลายคนหรือบุคคลอื่นใดปฏิบัติการอยางหนึ่งอยางใดแทน คณะกรรมการได การมอบอํานาจแกกรรมการดังกลาวจะไมรวมถึงการมอบอํานาจหรือการมอบอํานาจ ชวงทีท่ าํ ใหกรรมการหรือผูร บั มอบอํานาจจากกรรมการสามารถอนุมตั ริ ายการทีต่ นหรือบุคคลทีอ่ าจมี ความขัดแยง มีสวนไดเสีย หรือมีผลประโยชนในลักษณะอื่นใดขัดแยงกับผลประโยชนของบริษัทหรือ บริษัทยอย 13. แตงตั้งกรรมการชุดยอยเพื่อชวยดูแลระบบบริหารและระบบควบคุมภายในใหเปนไปตามนโยบายที่ กําหนดไว เชน คณะกรรมการบริหาร คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการพิจารณาคาตอบแทน คณะกรรมการสรรหา 14. จัดใหมีเลขานุการบริษัทเพื่อดูแลใหคณะกรรมการและบริษัทปฏิบัติใหเปนไปตามกฎหมายและระเบียบ ขอบังคับที่เกี่ยวของตาง ๆ สวนที่ 1 หนา 51
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 2) คณะกรรมการตรวจสอบ
ณ วันที่ 28 พฤษภาคม 2552 มีจาํ นวน 2 ทาน* ดังนี้
ลําดับ รายชื่อ ตําแหนง 1. พลโทพิศาล เทพสิทธา ประธานกรรมการตรวจสอบ** 2. พลตํารวจตรีวราห เอี่ยมมงคล กรรมการตรวจสอบ โดยมีนางดวงกมล ชัยชนะขจร ทําหนาทีเ่ ปนเลขานุการคณะกรรมการตรวจสอบ
* ดร. อาณัติ อาภาภิรม ลาออกจากการเปน กรรมการตรวจสอบ เมื่อ วันที่ 28 พฤษภาคม 2552 ทั้งนี้ คณะกรรมการบริษัทจะ เสนอชื่อบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเพื่อใหที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2552 แตงตั้งเปนกรรมการตรวจสอบตอไป ** พลโทพิศาล เทพสิทธา เปนกรรมการตรวจสอบที่มีความรูและประสบการณในการสอบทานงบการเงินของบริษัท
อํานาจหนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการตรวจสอบ 1. สอบทานใหบริษทั มีการรายงานทางการเงินอยางถูกตองและเพียงพอ 2. สอบทานใหบริษัทมีระบบการควบคุมภายใน และระบบการตรวจสอบภายในที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล และพิจารณาความเปนอิสระของหนวยงานตรวจสอบภายใน ตลอดจนใหความเห็นชอบในการพิจารณา แตงตั้ง โยกยาย เลิกจางหัวหนาหนวย งานตรวจสอบภายใน หรือหนวยงานอื่นใดที่รับผิดชอบเกี่ยวกับ การตรวจสอบภายใน 3. สอบทานใหบริษัทปฏิบัติตามกฎหมาย วาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกําหนดของตลาด หลักทรัพย และกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัท 4. พิจารณา คัดเลือก เสนอแตงตั้ง บุคคลซึ่งมีความเปนอิสระเพื่อทําหนาที่เปน ผูสอบบัญชี ของบริษัท และ เสนอคาตอบแทน ของบุคคลดังกลาว รวมทั้งเขารวมประชุมกับผูสอบบัญชีโดยไมมีฝายจัดการเขารวม ประชุมดวยอยางนอยปละ 1 ครั้ง 5. พิจารณารายการทีเ่ กีย่ วโยงกันหรือรายการทีอ่ าจมีความขัดแยงทางผลประโยชน ใหเปนไปตามกฎหมาย และขอกําหนดของตลาดหลักทรัพย ทั้งนี้ เพื่อใหมั่นใจวารายการดังกลาวสมเหตุสมผลและเปนประโยชน สูงสุดตอบริษัท 6. จัดทํารายงานของคณะกรรมการตรวจสอบ โดยเปดเผย ไวในรายงานประจําปของบริษัท ซึ่งรายงาน ดังกลาวตองลงนามโดยประธานคณะกรรมการตรวจสอบและตองประกอบดวยขอมูลอยางนอยดังตอไปนี้ ความเห็นเกี่ยวกับความถูกตอง ครบถวน เปนที่เชื่อถือไดของรายงานทางการเงินของบริษัท ความเห็นเกี่ยวกับความพอเพียงของระบบควบคุมภายในของบริษัท ความเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกําหนดของ ตลาดหลักทรัพย หรือกฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัท ความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของผูสอบบัญชี ความเห็นเกี่ยวกับรายการที่อาจมีความขัดแยงทางผลประโยชน จํานวนการประ ชุมคณะกรรมการตรว จสอบ และการเขารวมประชุมของกรรมการตรวจสอบแตละ ทาน ความเห็นหรือขอสังเกตโดยรวมที่คณะกรรมการตรวจสอบไดรับจากการปฏิบัติหนาที่ตามกฎบัตร รายการอื่นที่เห็นวาผูถือหุนและผูลงทุนทั่วไปควรทราบ ภายใตขอบเขตหนาที่และความรับผิดชอบ ทีไ่ ดรบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั 7. ปฏิบัติ การ อืน่ ใดตาม ที่ คณะกรรมการ ของ บริษัท มอบหมายดวยความเห็นชอบจากคณะกรรมการ ตรวจสอบ
สวนที่ 1 หนา 52
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 ทั้งนี้ ในการปฏิบตั หิ นาทีข่ องคณะกรรมการตรวจสอบหากพบหรือมี ขอสงสัยวามีราย การหรือการกระทํา ดังตอไปนี้ ซึ่งอาจมีผลกระทบอยางมีนัยสําคัญตอฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของบริษัท ให คณะกรรมการตรวจสอบรายงานตอคณะกรรมการของบริษทั เพือ่ ดําเนินการปรับปรุงแกไขภายในเวลาที่ คณะกรรมการตรวจสอบเห็นสมควร รายการที่เกิดความขัดแยงทางผลประโยชน การทุจริตหรือมีสิ่งผิดปกติหรือมีความบกพรองที่สําคัญในระบบควบคุมภายใน การฝาฝนกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอกําหนดของตลาดหลักทรัพย หรือ กฎหมายที่เกี่ยวของกับธุรกิจของบริษัท คุณสมบัติของกรรมการตรวจสอบ กรรมการตรวจสอบของบริษทั ตองเปนกรรมการอิสระและมีคณ ุ สมบัตดิ ังตอไปนี้ 1. ถือหุนไมเกินรอยละ 1 ของจํานวนหุนที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัท รวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัท ทั้งนี้ ใหนับรวมการถือหุนของผูที่เกี่ยวของของ กรรมการตรวจสอบรายนัน้ ๆ ดวย 2. ไมเปน หรือเคยเปน กรรมการทีม่ สี ว นรวมในการบริหารงาน ลูกจาง พนักงาน ที่ปรึกษาที่ไดรับเงินเดือน ประจํา หรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทยอยลําดับเดียวกัน ผู ถือหุนรายใหญ หรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัท เวนแตจะไดพนจากการมีลักษณะดังกลาวมาแลวไม นอยกวา 2 ป 3. ไมเปนบุคคลที่มีความสัมพันธทางสายโลหิต หรือโดยการจดทะเบียนตามกฎหมายในลักษณะที่เปนบิดา มารดา คูสมรส พี่นอง และบุตร รวมทั้งคูสมรสของบุตร ของผูบริหาร ผูถือหุนรายใหญ ผูมีอํานาจควบคุม หรือบุคคลที่จะไดรับการเสนอใหเปนผูบริหารหรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัทหรือบริษัทยอย 4. ไมมหี รือเคยมีความสัมพันธทางธุรกิจกับบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือ ผูมีอํานาจควบคุมของบริษัท ในลักษณะทีอ่ าจเปนการขัดขวางการใชวจิ ารณญาณอยางอิสระของ กรรมการตรวจสอบ รวมทั้งไมเปนหรือเคยเปนผูถือหุนที่มีนัย หรือผูมีอํานาจควบคุมของผูที่มี ความสัมพันธทางธุรกิจกับบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอํานาจ ควบคุมของบริษัท เวนแตจะไดพนจากการมีลักษณะดังกลาวมาแลวไมนอยกวา 2 ป 5. ไมเปนหรือเคยเปนผูสอบบัญชีของบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมี อํานาจควบคุมของบริษัท และไมเปนผูถือหุนที่มีนัย ผูมีอํานาจควบคุม หรือหุนสวนของสํานักงานสอบ บัญชี ซึ่งมีผูสอบบัญชีของบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอํานาจ ควบคุมของบริษัทสังกัดอยู เวนแตจะไดพนจากการมีลักษณะดังกลาวมาแลวไมนอยกวา 2 ป 6. ไมเปนหรือเคยเปนผูใหบริการทางวิชาชีพใด ๆ ซึ่งรวมถึงการใหบริการเปนที่ปรึกษากฎหมายหรือที่ ปรึกษาทางการเงิน ซึง่ ไดรบั คาบริการเกินกวา 2 ลานบาทตอปจากบริษัท บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัท รวม ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัท และไมเปนผูถือหุนที่มีนัย ผูมีอํานาจควบคุม หรือหุน สวนของผูใหบริการทางวิชาชีพนั้นดวย เวนแตจะไดพนจากการมีลักษณะดังกลาวมาแลวไมนอย กวา 2 ป 7. ไมเปนกรรมการที่ไดรับการแตงตั้งขึ้นเพื่อเปนตัวแทนของกรรมการของผูถือหุนรายใหญ หรือผูถือหุนซึ่ง เปนผูที่เกี่ยวของกับผูถือหุนรายใหญ 8. ไมประกอบกิจการที่มีสภาพอยางเดียวกันและเปนการแขงขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัทหรือบริษัทยอย หรือไมเปนหุนสวนที่มีนัยในหางหุนสวน หรือเปนกรรมการที่มีสวนรวมบริหารงาน ลูกจาง พนักงาน สวนที่ 1 หนา 53
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552
9. 10. 11. 12.
ที่ปรึกษาที่ไดรับเงินเดือนประจํา หรือถือหุนเกินรอยละ 1 ของจํานวนหุนที่มีสิทธิออกเสียงทั้งหมดของ บริษัทอื่น ซึ่งประกอบกิจการที่มีสภาพอยางเดียวกันและเปนการแขงขันที่มีนัยกับกิจการของบริษัทหรือ บริษัทยอย ไมมีลักษณะอื่นใดที่ทําใหไมสามารถใหความเห็นอยางเปนอิสระเกี่ยวกับการดําเนินงานของบริษัท ไดรับการแตงตั้งจากคณะกรรมการหรือที่ประชุมผูถือหุนของบริษัทใหเปนกรรมการตรวจสอบ ไมเปนกรรมการทีไ่ ดรบั มอบหมายจากคณะกรรมการใหตดั สินใจการดําเนินกิจการของบริษทั บริษัทใหญ บริษัทยอย บริษัทรวม บริษัทยอยลําดับเดียวกัน ผูถือหุนรายใหญ หรือผูมีอํานาจควบคุมของบริษัท และ ไมเปนกรรมการของบริษัทใหญ บริษัทยอย หรือบริษัทยอยลําดับเดียวกันเฉพาะที่เปนบริษัทจดทะเบียน มีความรูและประสบการณเพียงพอที่จะสามารถทําหนาที่ในฐานะกรรมการตรวจสอบ ทั้งนี้ ตอง มี กรรมการตรวจสอบอยางนอย 1 คนที่มีความรูและประสบการณเพียงพอที่จะสามารถทําหนาที่ในการ สอบทานความนาเชือ่ ถือของงบการเงินได
3) คณะกรรมการพิจารณาคาตอบแทน * ณ วันที่ 28 พฤษภาคม 2552 มีจาํ นวน 3 ทาน ดังนี้ ลําดับ 1. 2. 3.
รายชื่อ พลโทพิศาล เทพสิทธา พลตํารวจตรีวราห เอี่ยมมงคล นายรังสิน กฤตลักษณ
ตําแหนง ประธานกรรมการพิจารณาคาตอบแทน กรรมการพิจารณาคาตอบแทน กรรมการพิจารณาคาตอบแทน
* คณะกรรมการบริษัทไดแตงตั้งคณะกรรมการพิจารณาคาตอบแทนในการประชุมคณะกรรมการบริษัท เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2552
อํานาจหนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการพิจารณาคาตอบแทน 1. พิจารณารูปแบบและหลักเกณฑการจายคาตอบแทน (ทั้งที่เปนตัวเงินและมิใชตัวเงิน ) ของกรรมการและ กรรมการผูจ ดั การ ตามภาระหนาทีค่ วามรับผิดชอบและผลงาน โดยพิจารณาเปรียบเทียบกับขอมูล การจายคาตอบแทนของบริษัทอื่นที่อยูในอุตสาหกรรมเดียวกันกับบริษัท ตลอดจนกําหนดหลักเกณฑ ให มีความเหมาะสมเพื่อใหเกิดผลงานตามที่คาดหวัง ใหมีความเปนธรรม และเปนการตอบแทนบุคคลที่ชวย ใหงานของบริษัทประสบผลสําเร็จ ทบทวนรูปแบบการจายคาตอบแทนทุกประเภท โดยพิจารณา จํานวนเงินและสัดสวนการจายคาตอบแทนแตละรูปแบบใหมีความเหมาะสม และพิจารณาใหการจาย คาตอบแทนเปนไปตามเกณฑที่หนวยงานทางการกําหนดหรือขอแนะนําที่เกี่ยวของ 2. พิจารณาเกณฑในการประเมินผลกรรมการผูจ ดั การและนําเสนอใหคณะกรรมการบริษทั พิจารณาใหความ เห็นชอบ 3. นําเสนอจํานวนและรูปแบบการจาย คาตอบแทนตอคณะกรรมการบริษัท เพื่อใหอนุมัติคาตอบแทนของ กรรมการผูจัดการ สวนคาตอบแทนของคณะกรรมการบริษัทจะตองนําเสนอใหที่ประชุมผูถือหุนอนุมัติ 4. รายงานผลการปฏิบัติหนาที่ตอคณะกรรมการและผูถือหุน 5. พิจารณาความเหมาะสม และเงื่อนไขตาง ๆ เกีย่ วกับการเสนอขายหลักทรัพยใหม (หรือใบสําคัญแสดง สิทธิที่จะซื้อหุน) ใหแกกรรมการและพนักงาน เพื่อชวยจูงใจใหกรรมการและพนักงานปฏิบัติหนาที่เพื่อให เกิดการสรางมูลคาเพิ่มใหแกผูถือหุนในระยะยาวและสามารถรักษาบุคคลากรที่มีคุณภาพไดอยางแทจริง แตตองไมสูงเกินไปและเปนธรรมตอผูถือหุน โดย หากกรรมการหรือพนักงานรายใดไดรบั การจัดสรร
สวนที่ 1 หนา 54
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 หลักทรัพยมากกวารอยละ 5 ของจํานวนหลักทรัพยทั้งหมดที่ คาตอบแทนตองพิจารณาความเหมาะสมและใหความเห็นชอบ
จะจัดสรร คณะกรรมการพิจารณา
4) คณะกรรมการสรรหา * ณ วันที่ 28 พฤษภาคม 2552 มีจาํ นวน 3 ทาน ดังนี้ ลําดับ 1. 2. 3.
รายชื่อ พลโทพิศาล เทพสิทธา พลตํารวจตรีวราห เอี่ยมมงคล นายรังสิน กฤตลักษณ
ตําแหนง ประธานกรรมการสรรหา กรรมการสรรหา กรรมการสรรหา
* คณะกรรมการบริษัทไดแตงตั้งคณะกรรมการสรรหาในการประชุมคณะกรรมการบริษัทเมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2552
อํานาจหนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการสรรหา 1. กําหนดคุณสมบัติของกรรมการที่ตองการสรรหาใหเปนไปตามโครงสราง ขนาด และองคประกอบของ คณะกรรมการตามทีค่ ณะกรรมการกําหนดไว 2. กําหนดวิธกี ารสรรหาบุคคลเพือ่ ดํารงตําแหนงกรรมการใหเหมาะสมกับลักษณะเฉพาะของบริษทั 3. สรรหากรรมการโดย พิจารณาความเหมาะสมของความรู ประสบการณ ความเชี่ยวชาญ การอุทศิ เวลา ของกรรมการ รวมถึงคุณสมบัตติ ามกฎหมายหรือขอกําหนดของหนวยงานทางการ 4. พิจารณาความเปนอิสระของกรรมการอิสระแตละคน เพือ่ พิจารณาวากรรมการอิสระคนใดมีคณ ุ สมบัติ ครบถวนหรือคนใดขาดคุณสมบัตใิ นการเปนกรรมการอิสระ 5. คัดเลือกกรรมการที่มีคุณสมบัติสอดคลองกับเกณฑคุณสมบัติที่กําหนดไว และเสนอชื่อใหคณะกรรมการ เพื่อพิจารณาแตงตั้ง หรือเสนอชื่อใหคณะกรรมการเพื่อพิจารณาและบรรจุชื่อในหนังสือนัดประชุม ผูถือหุน เพื่อใหที่ประชุมผูถือหุนพิจารณาแตงตั้งตอไป 6. ชี้แจงและตอบคําถามกรณีเกิดขอสงสัยเกี่ยวกับนโยบายการสรรหากรรมการในที่ประชุมผูถือหุน 5) คณะกรรมการบริหาร
ณ วันที่ 28 พฤษภาคม 2552 มีจาํ นวน 6 ทาน ดังนี้
ลําดับ รายชื่อ ตําแหนง 1. นายคีรี กาญจนพาสน ประธานกรรมการ 2. นายกวิน กาญจนพาสน กรรมการผูจ ดั การ 3. นายสุธรรม ศิริทิพยสาคร รองกรรมการผูจ ดั การ 4. นายรังสิน กฤตลักษณ รองกรรมการผูจ ดั การ 5. Mr. Kong Chi Keung รองกรรมการผูจ ดั การ 6. นายคม พนมเริงศักดิ์ กรรมการบริหาร โดยมี Mr. Bernardo Godinez Garcia ทําหนาทีเ่ ปนเลขานุการคณะกรรมการบริหาร อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการบริหาร 1. กําหนดนโยบาย ทิศทาง กลยุทธ และโครงสรางการบริหารงานในการดําเนินธุรกิจของบริษทั ให สอดคลองและเหมาะสมตอสภาวะเศรษฐกิจและการแขงขัน เพื่อเสนอใหคณะกรรมการบริษัทเห็นชอบ 2. กําหนดแผนธุรกิจ งบประมาณ และอํานาจการบริหารตางๆ ของบริษทั เพือ่ เสนอใหคณะกรรมการบริษทั เห็นชอบ
สวนที่ 1 หนา 55
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 3. ตรวจสอบและติดตามผลการดําเนินงานของบริษทั ใหเปนไป ตามนโยบายและแผนธุรกิจที่ไดรับอนุมัติไว และใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 4. พิจารณา อนุมตั ิ การดําเนินการโครงการตาง ๆ ของบริษทั และรายงานตอ คณะกรรมการบริษทั ถึง ความคืบหนาของโครงการ 5. บริหารความเสี่ยงในภาพรวมทั้งองคกร ประเมินความเสี่ยงและวางรูปแบบโครงสรางการบริหาร ความเสี่ยงขององคกร 6. ดําเนินการอืน่ ๆ ตามทีค่ ณะกรรมการบริษทั มอบหมาย 6)
ผูบริหาร ทีไ่ มใชกรรมการบริษทั ณ วันที่ 28 พฤษภาคม 2552 มีจาํ นวน 9 ทาน ดังนี้ ลําดับ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9.
รายชือ่ Mr. Martin Harold Kyle นางดวงกมล ชัยชนะขจร นางสาวอัญชนา โรจนวิบูลยชัย นายวิศิษฐ ชวลิตานนท Mr. Bernardo Godinez Garcia นายเสนอ รัตนวลี นางสาวธิตกิ รณ ยศยิง่ ธรรมกุล นางสาวอาทิตยา เกษมลาวัณย นางสาวธัญญรวี พิพัฒนผลกุล
ตําแหนง ผูอ าํ นวยการใหญสายการเงิน ผูอํานวยการฝายบัญชี ผูอ าํ นวยการฝายการเงิน ผูอ าํ นวยการฝายพัฒนาโครงการ ผูอ าํ นวยการฝายโรงแรม ผูอ าํ นวยการโครงการธนาซิต้ี ผูอ าํ นวยการฝายกฎหมาย ผูอ าํ นวยการฝายขาย ผูอ าํ นวยการฝายการตลาด
บทบาทและหนาที่ความรับผิดชอบของคณะผูบริหาร 1. ดําเนินการตามนโยบาย ทิศทาง กลยุทธ และโครงสรางการบริหารงานในการดําเนินธุรกิจของบริษทั ที่ กําหนดใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 2. ดําเนินการจัดทําแผนธุรกิจ งบประมาณ และอํานาจการบริหารตาง ๆ ของบริษัท เพื่อเสนอให คณะกรรมการบริหารเห็นชอบ 3. บริหารงานบริษทั ตามแผนงานหรืองบประมาณทีไ่ ดรบั อนุมตั จิ ากคณะกรรมการบริหารอยางซือ่ สัตย สุจริต และระมัดระวังรักษาผลประโยชนของบริษัทและผูถือหุนอยางดีที่สุด 4. ติดตามผลการดําเนินงานของบริษัท ใหเปนไปตามนโยบายแผนงาน และงบประมาณที่ไดรับอนุมัติ 5. รายงานผลการดําเนินงานของบริษทั ตอทีป่ ระชุมคณะกรรมการบริหารเปนประจํา 6. ดําเนินการอืน่ ๆ ตามทีค่ ณะกรรมการบริหารมอบหมาย 7. กํากับการบริหารงานทั่วไปตามที่กําหนดไวในระเบียบขอบังคับของบริษัท
สวนที่ 1 หนา 56
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 8.2 การสรรหาและถอดถอนกรรมการบริษทั ในอดีต คณะกรรมการบริหารไดรบั มอบหมายจากคณะกรรมการบริษทั ใหทาํ หนาทีใ่ นการสรรหา กรรมการเพือ่ เสนอใหคณะกรรมการบริษทั และ /หรือที่ประชุมผูถือหุนพิจารณาอนุมัติแตงตั้ง ตอมา เมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2552 คณะกรรมการบริษัทไดแตงตั้ง คณะกรรมการสรรหา เพื่อใหทําหนาที่สรรหา กรรมการ ใหมแทนคณะกรรมการบริหารตอไป ทั้งนี้ การแตงตั้งและถอดถอนกรรมการบริษัทจะเปนไป ตามหลักเกณฑ และวิธีการที่กําหนดอยูในขอบังคับของบริษัท โดยมีสาระสําคัญดังนี้ 1. ในการประชุมสามัญประจําปทุกครั้ง ใหกรรมการจํานวนไมนอยกวา 1 ใน 3 ของจํานวนกรรมการทัง้ หมด ในคณะกรรมการพนจากตําแหนงตามวาระ ถาจํานวนกรรมการที่จะแบงออกใหตรงเปน 3 สวนไมได ก็ ใหออกโดยจํานวนที่ใกลที่สุดกับสวน 1 ใน 3 และกรรมการผูพนจากตําแหนงมีสิทธิไดรับเลือก ตั้งใหมได อีก 2. ใหที่ประชุมผูถือหุนมีสิทธิแตงตั้งกรรมการตามหลักเกณฑและวิธีการดังตอไปนี้ 2.1 ผูถือหุนแตละคนมีคะแนนเสียงเทากับหนึ่งหุนตอหนึ่งเสียง 2.2 ผูถือหุนแตละคนจะใชคะแนนเสียงที่มีอยูทั้งหมดเลือกตั้งบุคคลคนเดียวหรือหลายคนเปนกรรมการ ก็ได แตจะแบงคะแนนเสียงใหแกบุคคลใดมากนอยเพียงใดไมได 2.3 บุคคลซึ่งไดรับคะแนนเสียงสูงสุดตามลําดับลงมาเปนผูไดรับการเลือกตั้งเปนกรรมการเทาจํานวน กรรมการที่จะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ในกรณีที่บุคคลซึ่งไดรับการเลือกตั้งในลําดับถัดลงมามีคะแนน เสียงเทากันเกินจํานวนกรรมการที่จะพึงมีหรือจะพึงเลือกตั้งในครั้งนั้น ใหผูเปนประธานเปนผูออก เสียงชี้ขาด 3. นอกจาก การพนตําแหนงตามวาระแลว กรรมการพนจากตําแหนงเมือ่ 3.1 ตาย 3.2 ลาออก 3.3 ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะตองหามตามพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 3.4 ที่ประชุมผูถือหุนมีมติใหออก 3.5 ศาลมีคําสั่งใหออก 4. ในกรณีทต่ี าํ แหนงกรรมการวางลงเพราะเหตุอน่ื นอกจากถึงคราวออกตามวาระ ใหคณะกรรมการมีมติ ดวยคะแนนเสียงไมนอยกวา 3 ใน 4 ของจํานวนกรรมการที่เหลืออยู เลือกบุคคลซึ่งมีคุณสมบัติและไมมี ลักษณะตองหามตามพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจํากัด พ.ศ. 2535 เขาเปนกรรมการแทนในการ ประชุมคณะกรรมการคราวตอไป เวนแตวาระของกรรมการจะเหลือนอยกวา 2 เดือน บุคคลซึ่งเขาเปน กรรมการแทนดังกลาวจะอยูใ นตําแหนงกรรมการไดเพียงเทาวาระที่ยังเหลืออยูของกรรมการที่ตนแทน 5. ที่ประชุมผูถือหุนอาจลงมติใหกรรมการคนใดออกจากตําแหนงกอนถึงคราวออกตามวาระไดดวยคะแนน เสียงไมนอยกวา 3 ใน 4 ของจํานวนผูถือหุนซึ่งมาประชุมและมีสิทธิออกเสียง และมีหุนนับรวมกันไดไม นอยกวากึ่งหนึ่งของจํานวนหุนที่ถือโดยผูถือหุนที่มาประชุมและมีสิทธิออกเสียง
สวนที่ 1 หนา 57
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 8.3 คาตอบแทนกรรมการและผูบ ริหาร 1. คาตอบแทนกรรมการ 1.1 คาตอบแทนที่เปนตัวเงิน บริษัทไดจายคาตอบแทนคณะกรรมการบริษัทจํานวน 13 ทาน ในชวงเวลาตั้งแต 1 เมษายน 2551 ถึง 31 มีนาคม 2552 รวมทั้งสิ้น 3,160,000 บาท ซึ่งเปนคาตอบแทนที่ไดรับอนุมัติโดยที่ประชุม สามัญผูถือหุนประจําป 2551 โดยกําหนดในอัตราบําเหน็จสําหรับประธานกรรมการ 25,000 บาทตอ เดือน และ บําเหน็จสําหรับกรรมการทานละ 20,000 บาท ตอเดือน ทั้งนี้ สามารถแสดงเปน รายบุคคลไดดงั นี้ คาตอบแทน 1. นายคีรี กาญจนพาสน 2. นายกวิน กาญจนพาสน 3. นายสุธรรม ศิริทิพยสาคร 4. นายรังสิน กฤตลักษณ 5. นายคม พนมเริงศักดิ์ 6. Mr. Kong Chi Keung 7. Mr. Abdulhakeem Kamkar* 8. Dato’ Amin Rafie Othman** 9. Dr. Paul Tong 10. Mr. Cheung Che Kin 11. พลโทพิศาล เทพสิทธา 12. ดร.อาณัติ อาภาภิรม 13. พลตํารวจตรีวราห เอี่ยมมงคล รวม
ป 2551/2552 300,000 240,000 240,000 240,000 240,000 240,000 220,000 240,000 240,000 240,000 240,000 240,000 240,000 3,160,000
* Mr. Abdulhakeem Kamkar ลาออกจากตําแหนงกรรมการบริษัทเมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2552 ** Dato’ Amin Rafie Othman ลาออกจากตําแหนงกรรมการบริษัทเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม 2552
1.2 คาตอบแทนที่ไมเปนตัวเงิน -ไมม-ี 2. คาตอบแทนผูบริหาร 2.1 บริษัทไดจายคาตอบแทน แกกรรมการที่ทําหนาที่เปนผูบริหาร และผูบริหารทีไ่ มใชกรรมการ จํานวน 14 ราย ในชวงเวลาตั้งแต 1 เมษายน 2551 ถึง 31 มีนาคม 2552 รวมทั้งสิ้น 34,020,439 บาท 2.2 คาตอบแทนที่ไมเปนตัวเงิน -ไมม-ี
สวนที่ 1 หนา 58
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 8.4 การกํากับดูแลกิจการ นโยบายการกํากับดูแลกิจการ บริษัทมีความเชื่อมั่นวาระบบการบริหารจัดการที่ดี การมีคณะกรรมการและผูบริหารที่มีวิสัยทัศนและมี ความรับผิดชอบตอหนาที่ มีกลไกการควบคุมและการถวงดุลอํานาจเพื่อใหการบริหารงานเปนไปอยางโปรงใส ตรวจสอบได การเคารพในสิทธิความเทาเทียมกันของผูถือหุน และมีความรับผิดชอบตอผูมีสวนไดเสียจะเปน ปจจัยสําคัญในการเพิ่มมูลคาและผลตอบแทนสูงสุดใหแกผูถือหุนของบริษัทในระยะยาว คณะกรรมการบริษทั ไดกาํ หนดนโยบายการกํากับดูแลกิจการ โดยมีหลักการและแนวปฏิบตั ทิ ่ี สอดคลองกับหลักการการกํากับดูแลกิจการทีด่ ขี องตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และไดมกี ารสือ่ สารให ผูบริหารและพนักงานของบริษัทไดรับทราบและถือปฏิบัติอยางตอเนื่อง นอกจากนี้คณะกรรมการจะมีการ ทบทวนนโยบายการกํากับดูแลกิจการเปนประจําทุกป เพือ่ ใหนโยบายดังกลาวเหมาะสมกับสภาวะการณและ การดําเนินธุรกิจของบริษัทอยูเสมอ ซึ่งในการประชุมคณะกรรมการเมื่อวันที่ 28 พฤษภาคม 2552 คณะกรรมการได ทาํ การพิจารณาทบทวนและปรับปรุง นโยบายการกํากับดูแลกิจการ ของบริษัท โดยสรุปได ดังนี้ นโยบายการกํากับดูแลกิจการของบริษัทแบงออกเปน 5 หมวด ครอบคลุมหลักการกํากับดูแลกิจการที่ ดี ดังนี้ 1. สิทธิและความเทาเทียมกันของผูถือหุน และการคํานึงถึงบทบาทของผูมีสวนไดเสีย 2. โครงสราง บทบาท หนาที่ ความรับผิดชอบ และความเปนอิสระของคณะกรรมการ 3. การเปดเผยขอมูลและความโปรงใส 4. การควบคุมภายในและการบริหารความเสีย่ ง 5. จริยธรรมและจรรยาบรรณ 1) สิทธิและความเทาเทียมกันของผูถือหุน และ
การคํานึงถึงบทบาทของผูมีสวนไดเสีย
1.1 สิทธิและความเทาเทียมกันของผูถือหุน บริษัทไดใหความสําคัญตอสิทธิและความเทาเทียมกันของผูถือหุน โดยผูถือหุนทุกรายจะไดรับการ ปฏิบัติที่เทาเทียมกันในเรื่องตางๆ เชน การรับทราบสารสนเทศของบริษทั ไมวาจะผานทางเว็บไซตของตลาด หลักทรัพยแหงประเทศไทยหรือเว็บไซตของบริษัทเอง การเขารวมประชุมผูถือหุนเพื่อรับทราบผลการ ดําเนินงานประจําป และการออกเสียงลงคะแนนในที่ประชุมผูถือหุน เพื่อพิจารณาอนุมัติเรื่องตาง ๆ ที่สําคัญ ตามที่กฎหมายกําหนด ไมวาจะเปน การแตงตัง้ หรือถอดถอนกรรมการ คาตอบแทนกรรมการ แตงตัง้ และ พิจารณาคาตอบแทนผูสอบบัญชี การจายหรืองดจาย เงินปนผล การเพิ่มทุนและออกหุนใหม ตลอดจนการ ซักถามหรือแสดงความเห็นในเรือ่ งตาง ๆ ทีค่ ณะกรรมการไดรายงานใหทราบหรือไดขอความเห็น ชอบจาก ที่ประชุมผูถือหุน เปนตน ทั้งนี้ คณะกรรมการ จะตองจัดใหมีการประชุม สามัญประจําป ผูถือหุนภายใน 120 วันนับแตวันสิ้นสุด รอบปบัญชีของบริษัท และการประชุมผูถือหุนคราวอื่น ซึ่งเรียกวาการประชุมวิสามัญ บริษัท จะจัดประชุมเพิ่ม ตามความจําเปนและเหมาะสม โดยบริษัทไดจัดใหมีเลขานุการบริษทั และหนวยงานกํากับดูแลการปฏิบัติตาม สวนที่ 1 หนา 59
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 นโยบายที่จะเรียกและจัดการประชุมผูถือหุนใหเปนไปตามกฎหมาย และแนวทางการประชุมผูถือหุนที่กําหนด โดยตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ทั้งนี้ ในการประชุมผูถือหุน บริษัทตองจัดสงหนังสือเชิญประชุม ซึ่งระบุ สถานที่ วัน และเวลาประชุม ตลอดจนวาระการประชุม พรอมทั้งขอมูลประกอบการประชุมวาระตาง ๆ อยาง เพียงพอเพื่อใหผูถือหุนไดมีเวลาศึกษาขอมูลลวงหนากอนการประชุมไมนอยกวา 7 วันตามทีก่ ฎหมายกําหนด ทุกครั้ง และ รวมทั้ง การ ระบุถึงวัตถุประสงคและเหตุผล ของ แตละวาระ ทีเ่ สนอ โดยมีความเห็นของ คณะกรรมการในทุกวาระ และไมมีวาระซอนเรนหรือเพิ่มเรื่องประชุมใดไวในวาระอื่น ๆ ที่ไมไดระบุไวใน หนังสือนัดประชุมใหที่ประชุมผูถือหุนพิจารณาอนุมัติ เวนแตเปนกรณีจาํ เปนเรงดวนทีท่ ราบภายหลังการออก หนังสือเชิญประชุมแลว และไดมีการจัดสงหนังสือนัดประชุมและเอกสารประกอบการประชุมเปนภาษาอังกฤษ ใหกับผูถือหุนตางชาติดวย นอกจากนี้ บริษัทตองจัดใหมีการบันทึกรายงานการประชุมอยางถูกตองครบถวน เพื่อใหผูถือหุนตรวจสอบได โดยมีการบันทึกมติที่ประชุมไวอยางชัดเจน พรอมทั้งคะแนนเสียงที่เห็นดวย ไม เห็นดวย และงดออกเสียงในทุก ๆ วาระที่ตองมีการลงคะแนนเสียง ตลอดจนการบันทึกรายชื่อกรรมการที่เขา รวมประชุม โดยบริษัทไดอํานวยความสะดวกแกผูถือหุนที่ไมสามารถเขารวมประชุมดวยตนเองโดยการสง แบบการมอบฉันทะไปพรอมหนังสือนัดประชุม และไดมีการระบุถึงเอกสารและหลักฐานที่ตองใชในการมอบ ฉันทะอยางชัดเจน ซึ่ง ผูถือหุนสามารถมอบหมายใหตัวแทนของผูถือหุน หรือกรรมการอิสระ เขารวมประชุม และออกเสียงลงคะแนนแทนตน ได โดยบริษัท จะมีการแจงในหนังสือนัดประชุมถึงรายชื่อกรรมการอิสระที่จะ แตงตั้งขึ้นอยางนอย 1 ทานใหเปนผูรับมอบอํานาจออกเสียงแทนผูถือหุนที่ไมสามารถเขารวมประชุมได ในการประชุมผูถือหุน ผูถือหุนทุกรายมีสิทธิและความเทาเทียมกันในการรับทราบสารสนเทศ การแสดงความคิดเห็น และการตั้งคําถามใด ๆ ตอที่ประชุมตามระเบียบวาระการประชุมและเรื่องที่เสนอ รวมทั้งมีการแจงใหผูถือหุนรับทราบสิทธิในการลงคะแนนและวิธีการออกเสียงลงคะแนนทุกครั้งกอนเริ่มการ ประชุม โดยประธานการประชุมมีหนาที่จัดสรรเวลาใหอยางเหมาะสม และสงเสริมใหมีการแสดงความคิดเห็น และซักถามในที่ประชุม 1.2 สิทธิของผูมีสวนไดเสีย บริษัท คํานึงถึงบทบาทของผูมีสวนไดเสียและ ใหความสําคัญ กับสิทธิของผูมีสวนไดเสีย ของบริษัท ทุก กลุม โดยไดมีการดูแลใหผูมีสวนไดเสียกลุมตาง ๆ ของบริษัท เชน ผูถือหุน พนักงาน ลูกคา คูคา ตลอดจน สาธารณชนและสังคม ไดรับการปฏิบัติอยางเหมาะสม เสมอภาค และเปนธรรม ผูถือหุน
:
ลูกคา
:
พนักงาน
:
บริษัทมีการดําเนินธุรกิจอยางโปรงใส ถูกตอง และยุติธรรม เพื่อพัฒนา กิจการใหมั่นคงและเจริญเติบโต โดยคํานึงถึงการสรางผลตอบแทนที่ดี ตอผูถือหุนอยางตอเนื่องและเทาเทียมกัน บริษัทมุงมั่นสรางความพึงพอใจและความมั่นใจใหกับลูกคา ซึ่งมีผลตอ ความสําเร็จของธุรกิจ โดยพัฒนาคุณภาพและรูปแบบของสินคาและ บริการเพื่อตอบสนองความตองการของลูกคาไดอยางมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลอยางสม่ําเสมอ เพื่อรักษาความสัมพันธที่ดีในระยะยาว บริษัทไดใหความเปนธรรมตอพนักงานทุก ระดับ โดยไมเลือกปฏิบัติ และมีการปฏิบัติตอพนักงานบนพื้นฐานของคุณภาพ โดยมีการพัฒนา ฝกอบรมพนักงานอยางตอเนื่องทั้งภายในและภายนอกบริษัทและดูแล ในเรื่องผลตอบแทนและสวัสดิการของพนักงาน ใหมีความเหมาะสม สวนที่ 1 หนา 60
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552
คูคา
:
สังคม ชุมชนและ สิ่งแวดลอม
:
ตลอดจนเสริมสรางวัฒนธรรมและบรรยากาศการทํางานทีด่ ี รวมทัง้ สงเสริมการทํางานเปนทีม บริษัทดําเนินธุรกิจโดยคํานึงถึงผลประโยชนของผูมีสวนไดเสีย และ การปฏิบัติที่เปนธรรมตอคูคาทุกรายของบริษัท บริษัทใหความความสําคัญตอ กิจกรรมเพื่อสังคม และคุณภาพชีวิตที่ดี ตอสังคมไทย ดวยการมีสวนรวมพัฒนาชุมชนและตอบแทนกลับคืนสู สังคม
2) โครงสราง บทบาท หนาที่ ความรับผิดชอบ และความเปนอิสระของคณะกรรมการ บริษทั ไดกาํ หนดใหมคี ณะกรรมการบริษทั คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการสรรหา คณะกรรมการพิจารณาคาตอบแทน และคณะกรรมการบริหาร ในการกลัน่ กรองและศึกษาแนวทางการกํากับ และการบริหารงานของบริษทั คณะกรรมการทุกคนมีอสิ ระในการแสดงความคิดเห็นตอการดําเนินงานของ บริษัทเพื่อกํากับดูแลใหการดําเนินงานของฝายบริหารเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ ถูกตอง และโปรงใส 2.1 คณะกรรมการบริษทั มีจาํ นวน 1 1 ทาน (ณ วันที่ 28 พฤษภาคม 2552) ประกอบดวย กรรมการที่เปนผูบริหาร 6 ทาน กรรมการที่มิไดเปนผูบริหาร 3 ทาน กรรมการอิสระ 2 ทาน*
* บริษัทอยูในระหวางการเสนอชื่อบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเพื่อใหที่ประชุมสามัญผูถือหุนประจําป 2552 แตงตั้งเปน กรรมการอิสระอีก 1 ทาน
2.2 ภาวะผูนําและวิสัยทัศน
คณะกรรมการมีความมุงมั่นที่จะใหบริษัทและบริษัทยอยเปนองคกรชั้นนําที่ไดรับการยอมรับใน ระดับสากลวาเปนบริษัทที่ประสบความสําเร็จมากที่สุดแหงหนึ่งในประเทศไทย โดยดําเนินธุรกิจที่มี ความหลากหลาย ดวยการบริหารจัดการทีแ่ ข็งแกรงและดวยบุคลากรทีล่ ว นแตมคี วามสามารถและ มีสวนรวมในการกําหนดวิสัยทัศน ภารกิจ และกลยุทธ
คณะกรรมการมีภาวะผูนํา วิสัยทัศน มีความอิสระในการตัดสินใจและรับผิดชอบตามหนาที่ในการ กํากับดูแลกิจการใหเกิดประโยชนสูงสุดตอผูถือหุนโดยรวม
คณะกรรมการมีหนาที่และความรับผิดชอบตอผูถือหุนของบริษัทที่จะกํากับดูแลการบริหารงานของ ฝายบริหารและมีการแบงแยกหนาทีร่ ะหวางคณะกรรมการและฝายบริหารไวอยางชัดเจน
2.3 ความขัดแยงทางผลประโยชน คณะกรรมการไดมีการกําหนดแนวทางในเรื่องความขัดแยงทางผลประโยชน โดยปฏิบัติตามแนวทาง ของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย และพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย เพื่อผลประโยชน สูงสุดของบริษัทและถือเปนหนาที่ของบุคลากรทุกระดับที่จะพิจารณาแกไขปญหาความขัดแยงของ ผลประโยชนอยางรอบคอบ ยึดหลักความซื่อสัตย สุจริต มีเหตุมีผลและเปนอิสระภายในกรอบจริยธรรมที่ดี ตลอดจนมีการเปดเผยขอมูลอยางครบถวนเพื่อผลประโยชนของบริษัทโดยรวมเปนสําคัญ
สวนที่ 1 หนา 61
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 2.4 คาตอบแทนกรรมการและผูบ ริหาร คณะกรรมการพิจารณาคาตอบแทนจะเปนผู พิจารณาการจายคาตอบแทนแกคณะกรรมการ เพื่อเสนอ ใหที่ประชุมผูถือหุนพิจารณาอนุมัติ โดยมีหลักเกณฑการกําหนดคาตอบแทนตามกฎบัตรของ คณะกรรมการ พิจารณาคาตอบแทน สําหรับผูบริหารจะไดรับเงินเดือนประจําเปนปกติเหมือนพนักงานอื่นๆ ของบริษัท 2.5 การประชุมคณะกรรมการ คณะกรรมการบริษทั และคณะกรรมการตรวจสอบจะมีการประชุมเปนประจําทุกไตรมาส เพือ่ รับทราบ และติดตามผลการดําเนินงานในเรือ่ งตางๆ ของบริษทั โดยมีกรรมการอิสระมาถวงดุลและสอบทานการ บริหารงานของคณะกรรมการ สวนคณะกรรมการบริหารจะมีการประชุมเปนประจําทุกเดือนและประชุม เพิ่มเติมตามความจําเปนและเหมาะสมเพื่อพิจารณาอนุมัติการดําเนินงานของบริษัทในเรื่องสําคัญตางๆ ที่อยู ในอํานาจการตัดสินใจของคณะกรรมการบริหารและรายงานผลการดําเนินงานใหคณะกรรมการบริษทั ทราบ จํานวนครั้งของการประชุมคณะกรรมการบริษัทและจํานวนครั้งที่กรรมการแตละทานเขารวมประชุม คณะกรรมการบริษัท ตั้งแตวันที่ 1 เมษายน 2551 ถึง 31 มีนาคม 2552 เปนดังนี้ รายชือ่ กรรมการ
ตําแหนง
1. นายคีรี กาญจนพาสน 2. นายกวิน กาญจนพาสน 3. นายสุธรรม ศิริทิพยสาคร 4. นายรังสิน กฤตลักษณ 5. Mr. Kong Chi Keung 6. นายคม พนมเริงศักดิ์ 7. Mr. Abdulhakeem Kamkar* 8. Dato’ Amin Rafie Othman** 9. Dr. Paul Tong 10. Mr. Cheung Che Kin 11. พลโทพิศาล เทพสิทธา 12. ดร. อาณัติ อาภาภิรม*** 13. พลตํารวจตรีวราห เอี่ยมมงคล
ประธานกรรมการบริษทั กรรมการผูจ ดั การ รองกรรมการผูจ ดั การ รองกรรมการผูจ ดั การ รองกรรมการผูจ ดั การ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการอิสระ/ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ/กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ/กรรมการตรวจสอบ
การเขารวมประชุม/ การประชุมทั้งหมด (ครั้ง) 4/5 5/5 5/5 5/5 5/5 5/5 1/5 4/5 3/5 1/5 5/5 5/5 5/5
* Mr. Abdulhakeem Kamkar ลาออกจากการเปนกรรมการบริษัทเมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2552 ** Dato’ Amin Rafie Othman ลาออกจากการเปนกรรมการบริษัทเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม 2552 *** ดร .อาณัติ อาภาภิรม ลาออกจากการเป นกรรมการอิสระและกรรมการตรวจสอบ เมื่อ วันที่ 28 พฤษภาคม 2552 แตยังคง ดํารงตําแหนงกรรมการบริษัทตอไป
สวนที่ 1 หนา 62
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 จํานวนครัง้ ของการประชุมคณะกรรมก ารตรวจสอบและจํานวนครัง้ ทีก่ รรมการ ตรวจสอบแตละทาน เขารวมประชุมคณะกรรมการตรวจสอบ ตั้งแตวันที่ 1 เมษายน 2551 ถึง 31 มีนาคม 2552 เปนดังนี้ การเขารวมประชุม/ การประชุมทั้งหมด รายชื่อกรรมการตรวจสอบ ตําแหนง (ครั้ง) 1. พลโทพิศาล เทพสิทธา ประธานกรรมการตรวจสอบ 5/5 2. ดร. อาณัติ อาภาภิรม กรรมการตรวจสอบ 5/5 3. พลตํารวจตรีวราห เอี่ยมมงคล กรรมการตรวจสอบ 5/5 2.6 คณะกรรมการชุดยอย คณะกรรมการบริษัทไดจัดตั้งคณะกรรมการชุดยอยตาง ๆ เพื่อบริหารและดําเนินกิจการใหเปนไปตาม นโยบายการกํากับดูแลกิจการทีด่ ี ไดแก คณะกรรมการตรวจสอบ คณะกรรมการพิจารณาคาตอบแทน คณะกรรมการสรรหา และ คณะกรรมการบริหาร ทัง้ นี้ คณะกรรมการตรวจสอบประกอบดวยกรรมการอิสระ ทั้งหมด สําหรับคณะกรรมการพิจารณาคาตอบแทนและคณะกรรมการสรรหาจะประกอบดวยกรรมการอิสระ เปนสวนใหญ 2.7 เลขานุการบริษทั คณะกรรมการบริษัทไดจัดใหมีเลขานุการบริษัทเพื่อรับผิดชอบดําเนินการตาง ๆ ตามพระราชบัญญัติ หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ดังนี้
จัดทําและเก็บรักษาทะเบียนกรรมการ หนังสือนัดประชุมกรรมการ รายงานการประชุม คณะกรรมการ และรายงานประจําปของบริษัท หนังสือนัดประชุมผูถือหุน และรายงานการประชุมผู ถือหุน
เก็บรักษารายงานการมีสว นไดเสียทีร่ ายงานโดยกรรมการหรือผูบ ริหาร
ดําเนินการอืน่ ๆ ตามทีค่ ณะกรรมการกํากับตลาดทุนประกาศกําหนด
3) การเปดเผยขอมูลและความโปรงใส บทบาทหนาที่ของคณะกรรมการเกี่ยวกับการเปดเผยขอมูลและความโปรงใส 3.1 คณะกรรมการมีหนาที่ในการเปดเผยสารสนเทศทั้งที่เปนสารสนเทศทางการเงิน และที่ไมใชทางการเงิน อยางครบถวน เพียงพอ เชื่อถือได และทันเวลา เพื่อใหผูถือหุนและผูมีสวนไดเสียของบริษัทไดรับ สารสนเทศอยางเทาเทียมกัน 3.2 บริษัทมีหนวยงานนักลงทุนสัมพันธ (Investor Relations) เพื่อเปนตัวแทนบริษัทในการสื่อสาร ประชาสัมพันธขอมูลขาวสารที่เปนประโยชนใหแกผูถือหุน นักลงทุน นักวิเคราะหหลักทรัพยและผูทสี่ นใจ และเกี่ยวของไดรับทราบขอมูลของบริษัท โดยสามารถติดตอสอบถามผานหนวยงานนักลงทุนสัมพันธที่ หมายเลขโทรศัพท 0 2273-8511-5 ตอ 371 อีกทั้งมีหนวยงาน Compliance ของบริษทั ดูแลในดาน การเปดเผยขอมูลแกตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยและสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและ ตลาดหลักทรัพย เพื่อใหมั่นใจวาไดปฏิบัติตามระเบียบ และขอบังคับของกฎหมายที่เกี่ยวของอยาง ครบถวน 3.3 บริษัทมีนโยบายเปดเผยสารสนเทศที่สําคัญตอสาธารณชน ดังนี้ วัตถุประสงคของบริษัท
สวนที่ 1 หนา 63
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 ฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของบริษทั โครงสรางการถือหุน และสิทธิในการออกเสียง รายชือ ่ คณะกรรมการ กรรมการชุดตางๆ และคณะผูบ ริหาร ปจจัยและนโยบายเกีย ่ วกับการจัดการความเสีย่ งทีส่ ามารถคาดการณได (Material Foreseeable Risk Factors) ทั้งที่เกี่ยวกับการดําเนินงานและการเงิน นโยบายและโครงสรางการกํากับดูแลกิจการ (Governance Structures and Policies) รวมทั้ง ความรับผิดชอบของคณะกรรมการในการรายงานทางการเงิน และรายงานของประธาน คณะกรรมการตรวจสอบ เปดเผยในรายงานประจําปเกี่ยวกับจํานวนครั้งที่กรรมการและกรรมการตรวจสอบแตละทานเขารวม ประชุม โดยเปรียบเทียบกับจํานวนครั้งของการประชุมคณะกรรมการ และคณะกรรมการตรวจสอบ ในแตละป ตลอดจนประวัติของคณะกรรมการและผูบริหาร รายงานขอมูลเกี่ยวกับการดําเนินงานของบริษัท ขอมูลที่มีผลกระทบตอราคาซื้อขายหลักทรัพยของ บริษัท ตอการตัดสินใจลงทุน หรือตอสิทธิประโยชนของผูถือหุนตามประกาศของ ตลาดหลักทรัพย แหงประเทศไทยและกฎหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ นอกจากนี้ บริษัทยังเปดเผยขอมูลตามขอบังคับหรือกฎหมายที่เกี่ยวของ งบการเงิน และรายงาน ประจําป เพื่อใหนักลงทุนและผูที่เกี่ยวของทั้งที่เปนผูถือหุนและผูที่สนใจจะถือหุนในอนาคตไดใชประกอบการ ตัดสินใจลงทุน ผานชองทางและสื่อการเผยแพรขอมูลตางๆ ของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ตลอดจน ผานเว็บไซตของบริษัทที่ www.tanayong.co.th
4) การควบคุมภายในและการบริหารความเสี่ยง 4.1 การควบคุมภายใน (Internal Control) คณะกรรมการตองจัดใหมีและรักษาไวซึ่งระบบการควบคุมภายใน เพื่อปกปองเงินลงทุนของผูถือหุน และทรัพยสินของบริษัท คณะกรรมการมีหนาที่สอบทานความมีประสิทธิภาพของระบบการควบคุมภายในอยางนอยปละครั้ง และรายงานใหผูถือหุนทราบวาไดกระทําการดังกลาวแลว การสอบทานตองครอบคลุมในทุกเรื่อง รวมทัง้ การควบคุมทางการเงิน การดําเนินงาน การกํากับดูแลการปฏิบตั งิ าน (Compliance Controls) และการบริหารความเสีย่ ง (Risk Management) 4.2 การตรวจสอบภายใน ฝายตรวจสอบภายในจะเปนอิสระจากหนวยงานอื่น ๆ ในบริษัท และรายงานผลการปฏิบัติงานตอ คณะกรรมการตรวจสอบโดยตรง โดยจะทําหนาทีใ่ นการตรวจสอบภายใน ติดตาม ควบคุม ทดสอบ สอบทาน และประเมินผลการปฏิบัติงานของหนวยงานตาง ๆ ในบริษัทตามที่คณะกรรมการตรวจสอบเปนผู กําหนดบทบาทหนาที่ ทั้งนี้ เพื่อใหระบบการควบคุมภายในของบริษัทมีประสิทธิภาพ ปกปองทรัพยสินของ บริษัท ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับที่เกี่ยวของกับบริษัท เกิดการถวงดุล และตรวจสอบระหวางกัน อยางเหมาะสมที่จะใหเกิดความเชื่อมั่นอยางสมเหตุสมผลในการปฏิบัติงานของบริษัทที่จะบรรลุผลสําเร็จตาม เปาหมายที่กําหนดไว 4.3 การบริหารความเสีย่ ง (Risk Management) บริษัทมีนโยบายที่จะบริหารความเสี่ยงตางๆ ที่มีผลกระทบตอบริษัททั้ง ที่เปน ปจจัยภายในและ ภายนอกใหมีความเสี่ยงที่เหลืออยูในระดับที่เหมาะสมและยอมรับได การบริหารความเสี่ยงเปนสวนหนึ่งของ การจัดทํา แผนธุรกิจ (Business Plan) ประจําป เพื่อใหการกําหนดแนวทางการจัดการความเสี่ยงนั้น สวนที่ 1 หนา 64
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 สอดคลองกับวัตถุประสงค เปาหมาย และแผนกลยุทธตางๆ ของบริษัท ทั้งนี้ ผูบริหารและพนักงานทุกคนใน บริษัทเปนเจาของความเสี่ยง และมีหนาที่ในการประเมินความเสี่ยงของแตละหนวยงาน และกระบวน การ ประเมินประสิทธิภาพของมาตรการควบคุมที่มีอยู และนําเสนอแผนและวิธีการในการลดความเสี่ยง และ รายงานตอ คณะกรรมการตรวจสอบ และคณะกรรมการบริษทั ทั้งนี้ คณะกรรมการบริหารมีบทบาทหนาที่ บริหารความเสี่ยงในภาพรวมทั้งองคกร ประเมินความเสี่ยงและวางรูปแบบโครงสรางการบริหารความเสี่ยง ขององคกร เพื่อจัดการความเสี่ยงใหอยูในระดับที่สามารถยอมรับได เชน ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risks) ความเสี่ยงในการปฏิบัติงาน (Operation Risks) ความเสี่ยงในธุรกิจ (Business Risks) ความ เสี่ยงในเหตุการณ (Event Risks) เปนตน รวมทั้งใหมีการจัดทําการวิเคราะหประเมินความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น แนวโนมซึ่งมีผลกระทบตอบริษัททั้งภายในและภายนอก 5) จริยธรรมและจรรยาบรรณ บริษัท ไดดาํ เนินการประกอบธุรกิจ ดวยความซื่อสัตยสุจริตและเที่ยงธรรม ตามหลัก ปรัชญาและ จรรยาบรรณของบริษัท ทั้งการปฏิบัติตอผูถือหุนของบริษัทและผูมีสวนไดเสียทุกกลุม สาธารณชน สังคม และ ผูที่เกี่ยวของ ทั้งนี้ บริษัทไดตดิ ตามการปฏิบตั ติ ามแนวทางดังกลาวอยางสม่ําเสมอ รวมทั้งไดมีการอบรมทํา ความเขาใจใหกับผูบริหาร และพนักงาน ซึ่งผูบริหารและผูบังคับบัญชามีหนาที่ในการสอดสอง ดูแล และ สงเสริมผูใตบังคับบัญชาใหปฏิบัติตามจรรยาบรรณที่กําหนดและประพฤติตนเปนแบบอยางที่ดี 8.5 การดูแลเรื่องการใชขอมูลภายใน บริษัทไดตระหนักถึงความสําคัญในการปองกันการใชขอมูลภายใน ของบริษัท ดังนัน้ จึงไดมกี ารแจงให กรรมการ ผูบ ริหาร และพนักงานทั้งหลายปฏิบัติตามกฎเกณฑและระเบียบของสํานักงานคณะกรรมการกํากับ หลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย และประมวลขอกําหนดตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยอยางเครงครัด โดย มีสาระสําคัญสรุปไดดังนี้ 1. กําหนดให กรรมการ ผูบริหาร รวมถึงคูสมรสและบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะของบุคคลดังกลาว ตอง รายงานการเปลีย่ นแปลงการถือครองหลักทรัพยตอ สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาด หลักทรัพย ตามมาตรา 59 แหงพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย พ.ศ. 2535 และจัดสงสําเนา รายงานนีใ้ หแกบริษทั ในวันเดียวกันกับวันทีส่ ง รายงานตอสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาด หลักทรัพย 2. แจงใหกรรมการ ผูบริหาร พนักงาน และบุคคลภายในอื่น ๆ เชน ทนายความ ผูสอบบัญชี รับทราบถึง การไมใชขอมูลภายในเพื่อประโยชนในการซื้อขายหลักทรัพยของบริษัท และหามมิใหเปดเผยขอมูลภายในตอ บุคคลภายนอกใด ๆ กอนที่จะมีการเปดเผยใหประชาชนทราบโดยทั่วถึงกันผานตลาดหลักทรัพยแหงประเทศ ไทย โดยบริษัทมีนโยบายปองกันการใชขอมูลภายในโดยมิชอบดังนี้ หามบุคคล ภายใน ซื้อขายหลักทรัพยของบริษัทกอนมีการเปดเผยงบการเงิน รายไตรมาสและงบ การเงินประจําปและภายใน 24 ชั่วโมง หลังการเปดเผยงบการเงินดังกลาว ในกรณีที่ขอมูลภายในที่ เปดเผยตอประชาชนมีความซับซอน บุคคลภายในควรตองรออยางนอย 48 ชั่วโมง ในกรณีที่ทราบขอมูลภายในที่ยังไมเปดเผย และมีความสําคัญซึ่งอาจมีผลกระทบตอราคาหลักทรัพย ของบริษัท บุคคลภายในตองละเวนการซื้อขายหลักทรัพยของบริษัทจนกวาจะพนระยะเวลา 24 สวนที่ 1 หนา 65
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 ชั่วโมง แตหากขอมูลมีความซับซอนมากควรรอถึง 48 ชั่วโมง นับแตไดมีการเปดเผยขอมูลนั้น ตอ ประชาชนแลว ทั้งนี้ หากบุคคลภายในเปนพนักงานของบริษัท การฝาฝนขอกําหนดในเรื่องเกี่ยวกับการใชขอมูล ภายในดังกลาว นอกจากจะมีโทษตามพระราชบัญญัติหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยแลว ยังถือวาไดกระทํา ผิดขอบังคับการทํางานของบริษัทและมีโทษทางวินัย โดยบทลงโทษทางวินัยในเรือ่ งนีม้ ี 4 ลําดับ โดยขึ้นกับ ลักษณะแหงความผิดหรือความหนักเบาของการกระทําผิดหรือตามความรายแรงที่เกิดขึ้น คือ ตักเตือนเปนลายลักษณอักษร ตักเตือนเปนลายลักษณอักษร และพักงานโดยไมไดรับคาจางไมเกิน 7 วัน เลิกจางโดยจายคาชดเชย เลิกจางโดยไมจายคาชดเชย 8.6 บุคลากร จํานวนพนักงาน ฝายตางๆ ดังนี้
และผูบริหาร ของบริษัท ณ วันที่ 31 มีนาคม 2552 มีจํานวน 104 คน โดยแยกตาม
สํานักกรรมการผูจ ดั การ/รองกรรมการผูจ ดั การ ฝายกฎหมาย ฝายทรัพยากรมนุษยและธุรการ ฝายบริหารทรัพยสินและอสังหาริมทรัพย ฝายโครงการพิเศษ ฝายโรงแรม ฝายพัฒนาอสังหาริมทรัพย/ฝายบริหารโครงการ/ฝายพัฒนาธุรกิจ ฝายการตลาด การขาย และประชาสัมพันธ ฝายเทคโนโลยีสารสนเทศ ฝายบัญชี ฝายการเงิน รวม โดยมีคาตอบแทนประกอบดวยเงินเดือนและโบนัส รวมทั้งสิ้น 67,549,768 บาท ขอพิพาททางดานแรงงานในปที่ผานมา - ไมมี -
สวนที่ 1 หนา 66
9 คน 6 คน 8 คน 27 คน 9 คน 1 คน 17 คน 10 คน 3 คน 12 คน 2 คน 104 คน
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 8.7 นโยบายการพัฒนาบุคลากร บริษัทตระหนักดีวาพนักงานทุกคนเปนทรัพยากรที่มีคาที่จะทําใหบริษัทสามารถบรรลุเปาหมายและแผน ธุรกิจ ดังนัน้ บริษทั จึงมีการกําหนดแนวทางในการบริหารทรัพยากรมนุษยตง้ั แตกระบวนการสรรหา คัดเลือก พัฒนา สงเสริม และรักษาไวซึ่งพนักงานที่มีคุณภาพ ดังตอไปนี้ การสรรหาและความกาวหนาในอาชีพของพนักงาน บริษทั ไดใหความสําคัญในการพัฒนาบุคลากรตัง้ แตกระบวนการสรรหา โดยบริษทั จะกําหนดลักษณะ ของวุฒกิ ารศึกษา ประสบการณ ความเชีย่ วชาญ และขอกําหนดอืน่ ๆ ของแตละตําแหนงงานอยางชัดเจน เพื่อที่จะไดเลือกสรรอยางถูกตองและเหมาะสม ทั้งนี้ บริษัทจะพิจารณาพนักงานภายในเปนอันดับแรก เพื่อให โอกาสในการพัฒนาความกาวหนาในการทํางาน หากไมมผี ใู ดเหมาะสมจึงจะพิจารณาคัดเลือกจาก บุคคลภายนอก นอกจากนีพ้ นักงานใหมทกุ คนจะไดเขารับการอบรมปฐมนิเทศเพื่อชวยใหพนักงานไดทราบถึง กระบวนการและขัน้ ตอนการทํางานของฝายตางๆ ในองคกร จึงทําใหพนักงานสามารถวางแผนและปฏิบัติงาน ไดตรงตามวัตถุประสงค อีกทั้ง บริษทั ยังใหความสําคัญในการใหโอกาสเติบโตในหนาทีก่ ารงานแกพนักงาน ตามเสนทางความกาวหนาในอาชีพ เพื่อรักษาคนเกงและคนดีใหอยูกับองคกรตลอดไป
โครงการฝกอบรมพนักงาน บริษัทมีนโยบายที่จะสนับสนุนการฝกอบรมและการพัฒนาพนักงาน ทั้งนี้เพื่อพัฒนาทักษะในการทํางาน ของพนักงานอยางสม่ําเสมอ เพิ่มพูน และตอเนื่อง โดยไดจัดใหมีการฝกอบรมทั้งภายในและภายนอกองคกร สําหรับการฝกอบรมภายในองคกร นอกจากจะไดจดั ใหมกี ารฝกอบรมในเรือ่ งทักษะการทํางานตาง ๆ แลว ยัง ไดจัดใหมีการแลกเปลี่ยนความรูเชิงประสบการณระหวางพนักงานฝายตาง ๆ ไมวาจะโดยการประชุมรวมกัน หรือการแลกเปลี่ยนความรูผานสื่อระบบ Intranet สําหรับการฝกอบรมภายนอกองคกร บริษทั จะใหพนักงาน กรอกแบบสอบถามความตองการฝกอบรมและสงใหเขาอบรมตามความเหมาะสม โดยมีการติดตามผลหรือวัด การเรียนรูในแตละหลักสูตร เพื่อใหเกิดประโยชนรวมกันทั้งบริษัทและพนักงาน
จัดใหมีระบบการประเมินผลงานของพนักงาน บริษทั มีการประเมินความรูค วามสามารถของพนักงานในการปฏิบตั งิ าน โดยมีการกําหนดเกณฑในการ ประเมินพนักงานทุกระดับอยางชัดเจนและเปนธรรม โดยจะประเมินจากความสามารถ ศักยภาพ และสมรรถนะ ของพนักงานใน 4 สวน คือ ทักษะ (Skill) ความรู (Knowledge) คุณสมบัติ (Attributes) และผลการปฏิบัติงาน (Performance) และบริษัท ไดมกี ารสือ่ สารเกณฑตา งๆ ในการประเมินใหพนักงานทราบลวงหนาอยางทั่วถึง ทัง้ นี้ ในการพิจารณากําหนดคาตอบแทนแกพนักงาน นอกจากจะคํานึงถึงผลการประกอบการของบริษทั และ สถานการณทางเศรษฐกิจในแตละปแลว ผลการประเมินก็เปนสวนสําคัญในการพิจารณากําหนดคาตอบแทน แกพนักงาน ซึง่ การจัดใหมรี ะบบการประเมินผลงานของพนักงานและการพิจารณากําหนดคาตอบแทนแก พนักงานตามผลการประเมินนี้ จะสงผลใหพนักงานสามารถทํางานและพัฒนาศักยภาพอยางมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล
สวนที่ 1 หนา 67
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 ความเทาเทียมในการปฏิบัติตอพนักงานในองคกร บริษัทตระหนักถึงความสําคัญของการปฏิบัติอยางเทาเทียมกันกับพนักงานทุกคนในองคกร ตั้งแต กระบวนการคัดเลือกบุคคล ตลอดจนการเลือ่ นตําแหนงจากความสามารถ โดยไมมีอคติหรือใชระบบเครือ ญาติในการวัดผลงาน การแสดงความคิดเห็นและแนวทางการปฏิบัติงาน
การสํารวจความพึงพอใจของพนักงาน เพื่อใหทราบถึงความพึงพอใจหรือความสุขในการปฏิบัติหนาที่ของ พนักงานแตละคน บริษัทได กําหนดใหมีการสํารวจขอคิดเห็นและขอเสนอแนะตางๆ ของพนักงานทุกระดับ ซึ่งขอมูลที่ไดรับมานั้นจะ สามารถนํามาปรับปรุงแกไขขอบกพรองในการบริหารจัดการองคกรและทรัพยากรทัง้ ในระยะสัน้ และระยะยาว รวมทั้งบริษัทยังไดกําหนดระเบียบปฏิบัติวาดวยการยื่นคํารองทุกข เพื่อ ใหพนักงานไดใชในการยืน่ เรือ่ งราว รองทุกข เพื่อเปนแนวทางในการแกไขขอคับของใจในการทํางานของพนักงานอยางเสมอภาคและเปนธรรม
สรางคุณภาพชีวิตที่ดีแกพนักงาน บริษัทเห็นความสําคัญของคุณภาพชีวิตที่ดีของพนักงาน ซึ่งจะชวยสงเสริมใหพนักงานทํางานอยาง เต็มที่และมีประสิทธิภาพ ดังนั้น บริษัทจึงเอาใจใสดูแลรักษาสถานที่ทํางานใหมีความปลอดภัยและ ถูกสุขลักษณะ เพื่อสวัสดิภาพที่ดีและสุขพลามัยที่สมบูรณของพนักงาน โดยบริษัทไดจัดใหมีการตรวจสุขภาพ แกพนักงานเปนประจําทุกป นอกจากนี้ หากจํานวนพนักงานในหนวยงานใดไมเพียงพอตอปริมาณงานที่ เพิ่มขึ้น บริษัทก็จะจัดจางพนักงานที่เหมาะสมกับตําแหนงงานเพิ่มเติม เพื่อใหปริมาณงานในหนวยงาน สอดคลองกับจํานวนพนักงานและสรางคุณภาพชีวิตที่ดีในการทํางานแกพนักงาน
สรางระบบบริหารและการทํางานรวมกันทีด่ ี บริษัทไดเล็งเห็นความสําคัญในระบบการทํางานใหมีความตอเนื่องตั้งแตตนทางไปยังปลายทาง และ กอใหเกิดผลงานที่มีคุณภาพ ไดมาตรฐาน ขจัดและลดความขัดแยงในการทํางาน จึงไดใหทุกฝายในองคกร รวมกันจัดทําคูมือระบบการทํางานรวมกัน (Operational Manual) เพื่อเปนระเบียบวิธีปฏิบัติงานในการติดตอ ประสานงานกันระหวางหนวยงานภายในองคกรและไดมกี ารเผยแพรระบบการทํางานรวมกันนีผ้ า นระบบ Intranet โดยบริษัทไดจัดใหมีการทบทวนและแกไขตามความเหมาะสม
สรางสัมพันธที่ดีระหวางผูบริหารและพนักงาน บริษัทไดตระหนักถึงความสําคัญของความสัมพันธที่ดีในการทํางานรวมกันระหวางผูบริหารและ พนักงาน เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพในการทํางานรวมกัน ดังนั้น จึงไดจัดใหมีกิจกรรมรวมกัน ระหวางพนักงาน และผูบริหาร ซึ่งจะเปนปจจัยที่สามารถพัฒนาความสัมพันธที่ดีและเปนการสนับสนุนใหเกิดความสุขใจในการ ทํางาน เชน งานสังสรรควันปใหม งานทําบุญรวมกัน นอกจากนี้ ผูบริหารไดจัดประชุมรวมกันกับพนักงาน อยางสม่ําเสมอ เพื่อเปนการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหวางผูบริหารและพนักงาน ซึ่งจะนําพาองคกรไปสู เปาหมายการทํางานในทิศทางเดียวกันอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
สรางพนักงานใหเปนคนดีขององคกรและสังคม เพื่อใหพนักงานยึดถือปฏิบัติตามและเพื่อประโยชนแหงความมีวินัยอันดีงามของหมูคณะ เมื่อพนักงาน ผูใดหลีกเลี่ยงหรือฝาฝนระเบียบขอบังคับการทํางานจะถือวาพนักงานผูนั้นกระทําผิด ซึ่งจะตองไดรับการ พิจารณาและดําเนินการตามมาตรการแกไขอยางใดอยางหนึง่ ตามระเบียบขอบังคับการทํางานอยางเหมาะสม
สวนที่ 1 หนา 68
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 แกกรณี โดยยึดหลักธรรมาภิบาลที่ดี (Corporate Governance) ที่บริษัทกําหนด ซึ่งเปนกรอบใหผูบริหารและ พนักงานถือปฏิบัติ ทั้งนี้ บริษัทเชื่อมั่นวาการพัฒนาพนักงานใหเปนคนดี และคนเกงนั้น จะชวยใหองคกร เจริญเติบโตอยางมั่นคงและยั่งยืน
สวนที่ 1 หนา 69
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552
9. การควบคุมภายใน บริษัทไดใหความสําคัญตอการควบคุมภายในมาอยางตอเนื่อง โดยคณะกรรมการบริษัทไดมอบหมาย ใหคณะกรรมการตรวจสอบสอบทานและประเมินระบบการควบคุมภายใน เสนอตอคณะกรรมการบริษทั เพือ่ กําหนดแนวทางการกํากับดูแลกิจการ ตลอดจนการควบคุมภายในดานตางๆ ไดแก องคกรและ สภาพแวดลอม การบริหารความเสีย่ ง การควบคุมการปฏิบตั กิ ารของฝายบริหาร ระบบสารสนเทศและการ สื่อสารขอมูล และระบบการติดตาม เพื่อเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลดังนี้ 1. องคกรและสภาพแวดลอม บริษัทคํานึงถึงการมีโครงสรางองคกรและสภาพแวดลอมที่ดีซึ่งเปนรากฐานที่สําคัญของระบบควบคุม ภายในที่มีประสิทธิผล ดังนั้นจึงมีความจําเปนที่ตองสรางภาวะหรือปจจัยตางๆ ซึ่งเอื้อใหระบบการควบคุม ภายในดําเนินไปไดตามที่บริษัทมุงหวัง และสงเสริมใหทุกคนตระหนักถึงความจําเปนของระบบการควบคุม ภายในดังตอไปนี้ คณะกรรมการไดจดั การดูแลใหมกี ารกําหนดเปาหมายการดําเนินธุรกิจอยางชัดเจน โดยบริษัทมี การประชุมรวมกันของฝายบริหาร เพื่อกําหนดเปาหมายของการดําเนินธุรกิจ และจัดเปนแผนธุรกิจ และงบประมาณทั้งในระยะยาวและระยะสั้นเปนประจําทุกป อีกทั้งมีการแจงใหผูบริหารแตละฝาย รับทราบ เพื่อบริหารงานภายในใหสอดคลองกับเปาหมายที่ตั้งไว นอกจากนี้บริษัทไดมีการวัดผล การดําเนินงานทุกไตรมาส เพื่อประเมินผลการปฏิบัติหนาที่และนํามาปรับปรุงแผนการดําเนินการ บริษทั ไดพจิ ารณาทบทวนถึงการตัง้ เปาหมายของการทํางานในแตละหนาทีอ่ ยางรอบคอบ โดย ทบทวนถึงผลการดําเนินงานที่ผานมา สภาวะเศรษฐกิจ และปจจัยตางๆ เพื่อการปฏิบัติหนาที่ซึ่ง ไดรับมอบหมายไดอยางมีประสิทธิภาพ และเกิดแรงจูงใจหรือผลตอบแทนแกพนักงานอยาง เหมาะสม บริษทั มีการกําหนดโครงสรางองคกร โดยคํานึงถึงประสิทธิภาพในการบริหารจัดการองคกร และมี การประกาศใหพนักงานทราบโดยทัว่ กัน บริษทั มีการจัดทําขอกําหนดเกีย่ วกับจริยธรรม (Code of Conduct) ขอกําหนด ระเบียบการ ปฏิบัติและบทลงโทษของฝายบริหารและพนักงาน บริษทั มีการกําหนดนโยบายและระเบียบในการอนุมตั ธิ รุ กรรมดานการเงิน การจัดซือ้ และการ บริหารงานเปนลายลักษณอกั ษรอยางชัดเจน เพื่อปองกันการทุจริต บริษัทมีขอกําหนดเกี่ยวกับหลักการกํากับกิจการที่ดีและแผนการปฏิบัติงาน โดยคํานึงถึงความ เปนธรรมกับทุกฝายที่เกี่ยวของ 2.
การบริหารความเสี่ยง
บริษัทมีการกําหนดวัตถุประสงคที่ชัดเจน ทั้งวัตถุประสงคระดับองคกรและวัตถุประสงคระดับกิจกรรม ใหสอดคลองกันเพื่อที่จะสามารถทํางานใหสําเร็จดวยงบประมาณและทรัพยากรที่กําหนดไวอยางเหมาะสม โดยบริษัทมีการวิเคราะหความเสี่ยงและการบริหารความเสี่ยงที่เหมาะสมกับสถานการณปจจุบัน ฝายบริหาร จึงกําหนดใหมีการดําเนินการอยางสม่ําเสมอดังตอไปนี้
สวนที่ 1 หนา 70
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552
บริษัทไดมีการประชุมเพื่อประเมินถึงความเสี่ยงในการดําเนินธุรกิจอยางสม่ําเสมอและวิเคราะหถึง สาเหตุที่ทําใหเกิดเปนความเสี่ยง ตลอดจนมีการติดตามสถานการณที่เปนสาเหตุของความเสี่ยง เพือ่ กําหนดมาตรการปองกันหรือลดความเสีย่ งดังกลาว บริษัทมีการแจงใหผูบังคับบัญชาของแตละฝายงานทราบถึงแนวทางการปฏิบัติตามมาตรการ บริหารความเสี่ยง เพื่อนําไปถายทอดแกพนักงานทุกคนเพื่อปฏิบัติใหถูกตอง และไดตดิ ตามผลการ ปฏิบัติตามแนวทางการบริหารความเสี่ยงที่กําหนดไว
3.
การควบคุมการปฏิบัติงานของฝายบริหาร บริษัทมีนโยบายและวิธีปฏิบัติงานของฝายบริหารที่ทําใหมั่นใจวาแนวทางการปฏิบัติงานของฝาย บริหารที่กําหนดไวไดรับการตอบสนองและปฏิบัติตามจากทุกคนในบริษัท ซึ่งแนวทางดังกลาว ไดแก บริษัทมีการกําหนดขอบเขตอํานาจหนาที่และวงเงินอํานาจอนุมัติของฝายบริหารในแตละระดับไว อยางชัดเจนเปนลายลักษณอักษร บริษัทมีการแบงแยกหนาที่ความรับผิดชอบในงาน 3 ดานคือ (1) หนาที่อนุมัติ (2) หนาที่บันทึก รายการบัญชีและขอมูลสารสนเทศ และ (3) หนาทีใ่ นการดูแลจัดเก็บทรัพยสนิ โดยแยกออกจากกัน อยางชัดเจน เพื่อใหสามารถดูแลตรวจสอบไดอยางมีประสิทธิภาพ บริษทั มีมาตรการดูแลการทําธุรกรรมกับผูถ อื หุน รายใหญ กรรมการ ผูบ ริหารหรือกับบุคคลที่ เกีย่ วของอยางรัดกุมและชัดเจน โดยมีการกําหนดใหการทํารายการระหวางกันของบริษทั หรือ บริษัทยอยกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยงจะตองเปนไปภายใตเงื่อนไขที่สมเหตุสมผล หรือเงื่อนไข การคาปกติหรือราคาตลาด โดยจะตองนําเสนอการทํารายการดังกลาวตอคณะกรรมการตรวจสอบ เปนรายไตรมาส เพือ่ ใหคณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาใหความเห็นเกีย่ วกับความสมเหตุสมผล ในการทํารายการนัน้ ๆ หากมีการทํารายการระหวางกันทีไ่ มเปนรายการทางการคาปกติ จะ กําหนดใหตอ งนําเสนอตอคณะกรรมการตรวจสอบพิจารณาความเหมาะสมเพือ่ เสนอความเห็นตอ คณะกรรมการบริษทั หรือผูถ อื หุน ตามแตกรณี เพือ่ อนุมตั ริ ายการกอนเขาทํารายการ ซึ่งการอนุมัติ จะกระทําโดยผูที่ไมมีสวนไดเสียในธุรกรรมนั้นเทานั้น โดยคํานึงถึงประโยชนสูงสุดของบริษัทเปน สําคัญ ในกรณีที่มีการทําธุรกรรมกับผูที่เกี่ยวของในลักษณะที่มีผลผูกพันบริษัทในระยะยาว บริษัท กําหนดใหตองมีการติดตามการปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ไดตกลงกันไว และใหรายงานตอคณะกรรมการ ตรวจสอบ เพือ่ ทบทวนความเหมาะสมของรายการตลอดระยะเวลาของสัญญา อีกทัง้ คณะกรรมการ ตรวจสอบจะพิจารณาครอบคลุมถึงการปองกันไมใหผูเกี่ยวของนําโอกาสหรือผลประโยชนของ บริษัทไปใชเพื่อประโยชนสวนตัวดวย บริษทั ไดกาํ หนดใหมกี ารติดตามดูแลการบริหารจัดการในบริษทั ยอยและบริษทั รวมอยูเ สมอ รวมทั้งมีการกําหนดทิศทางใหบุคคลที่บริษัทแตงตั้งใหเปนกรรมการหรือผูบริหารในบริษัทดังกลาว ถือปฏิบัติ เพื่อใหการดําเนินการของบริษัทยอยและบริษัทรวมเปนไปตามเปาหมายของบริษัท ตลอดจนมีการกําหนดนโยบายตรวจสอบติดตามการดําเนินงานของบริษัท บริษัทยอย และ บริษัทรวม ใหสอดคลองเปนไปตามกฎหมายที่เกี่ยวของ และบริษัทมีมาตรการแกไขและปองกันมิให เกิดการฝาฝนกฎหมาย
สวนที่ 1 หนา 71
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 4.
ระบบสารสนเทศและการสื่อสารขอมูล บริษทั มีการจัดการระบบขอมูลสารสนเทศทีเ่ กีย่ วของกับการปฏิบตั งิ าน การรายงานทางการเงิน การ ดําเนินงาน การปฏิบัติตามนโยบาย และระเบียบปฏิบัติตาง ๆ ที่ใชในการควบคุม เพื่อใหมั่นใจวามีการ ติดตอสื่อสารที่มีผลตอการบรรลุวัตถุประสงคและเปาหมายขององคกร ดังนั้นการสื่อสารขอมูลดังกลาวไปยังผู ที่เกี่ยวของจึงเปนสิ่งจําเปนอยางยิ่งและเปนสิ่งที่จะชวยใหเกิดความมีประสิทธิผลของระบบการควบคุมภายใน ดังนี้ บริษัทไดจัดใหมีขอมูลที่สําคัญตาง ๆ อยางเพียงพอเพื่อใหคณะกรรมการใชประกอบการตัดสินใจ โดยเฉพาะขอมูลที่มีนัยสําคัญ โดยจะจัดสงหนังสือเชิญประชุมและเอกสารประกอบการพิจารณา ลวงหนาไมนอยกวา 7 วัน เพื่อใหคณะกรรมการมีเวลาศึกษาขอมูลตางๆอยางเพียงพอ บริษทั กําหนดใหการบันทึกรายงานการประชุมคณะกรรมการมีเนือ้ หารายละเอียดตามควร ซึง่ เปน เนื้อหาสําคัญตอการตัดสินใจในแตละเรื่อง อีกทั้งยังมีการบันทึกขอซักถาม ความเห็น และขอสังเกต ของกรรมการในเรือ่ งทีพ่ จิ ารณา รวมทัง้ ความเห็นของกรรมการในการประชุม บริษัทมีการจัดเก็บเอกสารประกอบการบันทึกบัญชีและบัญชีตางๆ ไวครบถวนเปนหมวดหมู สะดวกตอการตรวจสอบ และมีการกําหนดนโยบายบัญชีของบริษัทและบริษัทยอยใหสอดคลองกับ การดําเนินธุรกิจหลักของบริษัทและบริษัทยอยเปนสําคัญ และไมขัดตอหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป 5.
ระบบการติดตาม บริษัทมีการติดตามอยางสม่ําเสมอเกี่ยวกับการปฏิบัติตามเปาหมายที่วางไว และระบบควบคุมภายใน ยังคงดําเนินอยูอยางตอเนื่อง และมีการปรับปรุงแกไขใหสอดคลองกับสถานการณที่เปลี่ยนแปลงไป รวมทั้ง ขอบกพรองตาง ๆ ไดรับการแกไขอยางทันทวงที โดยมีสาระสําคัญดังตอไปนี้ บริษัทมีการติดตามประเมินผลการควบคุมภายในและประเมินคุณภาพการปฏิบัติงาน บริษัทได จัดการประชุมอยางสม่าํ เสมอ เพือ่ พิจารณาผลการดําเนินงานที่เกิดขึน้ วามีความแตกตางจาก เปาหมายที่กําหนดไวหรือไม ตลอดจนเสนอแนวทางการปฏิบัติการที่จําเปน เพื่อที่บริษัทจะได ดําเนินการแกไขภายในระยะเวลาทีเ่ หมาะสม บริษัทจัดใหมีการตรวจสอบการปฏิบัติตามระบบการควบคุมภายในอยางนอย 1 ครั้งตอป โดย กําหนดแผนการตรวจสอบอยางชัดเจน อีกทัง้ บริษทั ยังมีการกําหนดใหหนวยงานตรวจสอบภายใน ขึน้ ตรงตอคณะกรรมการตรวจสอบและรายงานผลการตรวจสอบภายในโดยตรงตอคณะกรรมการ ตรวจสอบ เพื่อใหผูตรวจสอบภายในสามารถปฏิบัติงานไดอยางตรงไปตรงมา หากมีการตรวจพบขอบกพรองที่เปนสาระสําคัญ ผูที่เกี่ยวของจะตองรายงานตอคณะกรรมการ หรือ คณะกรรมการตรวจสอบเพื่อชี้แจงสาเหตุ และเสนอแนะแนวทางการแกไขขอบกพรอง อีกทั้งบริษัท กําหนดใหมกี ารติดตามความคืบหนาในการแกไขขอบกพรอง และรายงานตอคณะกรรมการบริษัทหรือ คณะกรรมการตรวจสอบภายในระยะเวลาที่กําหนด
สวนที่ 1 หนา 72
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552
10. รายการระหวางกัน บุคคลที่อาจมี บริษัทที่เกิด ความขัดแยง รายการ บจ. นูโว ไลน เอเจนซี่
บริษัท
ลักษณะความสัมพันธ –
–
บจ. นูโว ไลน เอเจนซี่ เปน บริษัทยอยของ บมจ. ระบบ ขนสงมวลชนกรุงเทพ นายคีรี กาญจนพาสน เปน ประธานกรรมการบริหารของ บมจ. ระบบขนสงมวลชน กรุงเทพ
ลักษณะรายการ -
-
รายไดจากการรับเหมาออกแบบ บริษัทเปนผูรับจางตามสัญญารับเหมา ออกแบบกอสรางมูลคารวมตามสัญญา 72 ลานบาท ณ สิ้นสุดปบัญชี 2551 บริษัทมี ยอดเงินรับลวงหนาจากผูวาจาง จํานวน 15.50 ลานบาท
สวนที่ 1 หนา 73
มูลคารายการ ในรอบปบัญชี 2550 (ลานบาท) -
มูลคารายการ ในรอบปบัญชี 2551 (ลานบาท) -
ความจําเปน / หมายเหตุ เปนรายการทีเ่ กิดจากการทํา ธุรกิจรวมกันตามเงือ่ นไข การคาโดยทั่วไปที่เขาทํา ตั้งแตเดือนกุมภาพันธ 2551 กอนที่ บมจ.ระบบขนสง มวลชนกรุงเทพ จะเขาซื้อหุน ใน บจ. นูโว ไลน เอเจนซี่ ใน เดือนธันวาคม 2551 และทํา ให บจ. นูโว ไลน เอเจนซี่ มี สถานะเปนบุคคลที่อาจมี ความขัดแยงกับบริษัท
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 บุคคลที่อาจมี บริษัทที่เกิด ความขัดแยง รายการ บจ. ยูนิโฮลดิ้ง
บริษัท
ลักษณะความสัมพันธ –
–
บจ. ยูนิโฮลดิ้ง เปนบริษัทยอย ของ บมจ. ระบบขนสงมวลชน กรุงเทพ นายคีรี กาญจนพาสน เปน ประธานกรรมการบริหารของ บมจ. ระบบขนสงมวลชน กรุงเทพ
ลักษณะรายการ -
-
รายไดจากการรับเหมาออกแบบและกอสราง บริษัทเปนผูรับจางตามสัญญารับเหมา ออกแบบและกอสรางแบบเบ็ดเสร็จ (Turnkey) มีมูลคารวมตามสัญญา 2,200 ลานบาท ณ สิ้นสุดปบัญชี 2551 มีรายการ ตามบัญชี ดังนี้
ลูกหนีก้ ารคา 44.44 ลานบาท รายไดที่ยังไมไดเรียกชําระ 65.04 ลานบาท เงินรับลวงหนาจากผูวาจาง 57.85 ลานบาท
สวนที่ 1 หนา 74
มูลคารายการ ในรอบปบัญชี 2550 (ลานบาท) -
มูลคารายการ ในรอบปบัญชี 2551 (ลานบาท) 107.2
ความจําเปน / หมายเหตุ เปนรายการทีเ่ กิดจากการทํา ธุรกิจรวมกันตามเงือ่ นไข การคาโดยทั่วไปที่เขาทํา ตั้งแตเดือนสิงหาคม 2551 กอนที่ บมจ. ระบบขนสง มวลชนกรุงเทพ จะเขาซื้อหุน ใน บจ. ยูนโิ ฮลดิง้ ในเดือน พฤษภาคม 2552 และทําให บจ. ยูนิโฮลดิ้ง มีสถานะเปน บุคคลที่อาจมีความขัดแยงกับ บริษัท
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552
รายการระหวางกันในอดีตซึ่งเกิดขึ้นนานแลว โดยยังมียอดหนี้คงคางอยูและบริษทั ไดประเมินแลววาลูกหนีไ้ มมคี วามสามารถในการชําระหนี้ เต็มจํานวน ซึ่งอยูระหวางการติดตามและทวงถามหนี้ ทั้งนี้ บริษัทไดสํารองคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญเพียงพอตอจํานวนที่คาดวาจะเกิดความเสียหายแลว บุคคลที่อาจมี ความขัดแยง บจ. อีจีวี
ลักษณะความสัมพันธ ลักษณะรายการ –
นายคีรี กาญจนพาสน เปน กรรมการและผูถือหุนราย ใหญใน บจ. อีจีวี
–
–
บริษัทใหเงินกูยืม บจ. อีจีวี เมื่อ นานมาแลว โดย บจ. อีจีวี ไดนํา เงินกูยืมนี้ไปซื้อหุนของ บมจ. ไอ ทีวี และไดจํานําหุนเหลานี้เปน หลักประกันหนี้ของบริษัท ตอมา เจาหนี้ของบริษัทไดยื่นขอรับชําระ หนี้ดังกลาวนี้ตามแผนฟนฟูกิจการ ของบริษัทและขณะนี้อยูระหวางรอ คําสั่งอันเปนที่สุดของศาลลมละลาย กลาง มีหนี้คงคางกอนหักคาเผื่อหนี้สงสัย จะสูญ ณ สิ้นสุดปบัญชี 2551 เปน จํานวน 10.69 ลานบาท คงเหลือ มูลคาตามบัญชี 0 บาท
รายละเอียดของแตละรายการ ยอดสุทธิ ณ สิ้นสุด ใหกูเพิ่ม/ ดอกเบี้ยสุทธิจากคา ปบัญชี 2550 รวม (รับชําระคืน) เผื่อหนีส้ งสัยจะสูญ หักคาเผื่อหนี้สงสัย (ลานบาท) (ลานบาท) จะสูญ (ลานบาท) -
สวนที่ 1 หนา 75
ยอดสุทธิ ณ สิ้นสุดป บัญชี 2551 หักคาเผื่อ หนี้สงสัยจะสูญ (ลานบาท) -
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 บุคคลที่อาจมี ความขัดแยง บจ. สระบุรี พร็อพเพอรตี้
ลักษณะความสัมพันธ ลักษณะรายการ – –
บจ. สระบุรี พร็อพเพอรตี้ เปนบริษัทรวมของบริษัท นายคีรี กาญจนพาสน เปน กรรมการและผูถือหุนราย ใหญใน บจ. สระบุรี พร็อพ เพอรต้ี
- บริษัทใหเงินกูยืม บจ.
สระบุรี พร็อพเพอรต้ี เมือ่ นานมาแลว โดย คิดอัตราดอกเบี้ยตามตนทุน บจ. สระบุรี พร็อพเพอรตี้ ไดนําเงินกู ดังกลาวไปซื้อที่ดินและนําที่ดิน ดังกลาวมาจํานองประกันหนี้ของ บริษัท โดยตอมาที่ดินดังกลาวได ถูกโอนใชหนีใ้ หแกเจาหนีข้ องบริษัท ทัง้ กอนการฟน ฟูกจิ การและตาม แผนฟนฟูกิจการของบริษัท โดยมี หนี้คงคางกอนหักคาเผื่อหนี้สงสัยจะ สูญ ณ สิ้นสุดปบัญชี 2551 เปน จํานวน 491.66 ลานบาท คงเหลือ มูลคาตามบัญชี 4.57 ลานบาท
รายละเอียดของแตละรายการ ยอดสุทธิ ณ สิ้นสุด ใหกูเพิ่ม/ ดอกเบี้ยสุทธิจากคา ปบัญชี 2550 รวม (รับชําระคืน) เผื่อหนีส้ งสัยจะสูญ หักคาเผื่อหนี้สงสัย (ลานบาท) (ลานบาท) จะสูญ (ลานบาท) 4.57 (0.46) -
สวนที่ 1 หนา 76
ยอดสุทธิ ณ สิ้นสุดป บัญชี 2551 หักคาเผื่อ หนี้สงสัยจะสูญ (ลานบาท) 4.57
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 บุคคลที่อาจมี ความขัดแยง บจ. วาเคไทย (ไทยแลนด)
ลักษณะความสัมพันธ ลักษณะรายการ –
–
บจ. กระดาด ไอสแลนด รีสอรท
-
เดิม บจ. วาเคไทย (ไทย แลนด) เปนบริษัทยอยของ บริษัท ญาติสนิทของนายคีรี กาญจนพาสน เปนกรรมการ ใน บจ. วาเคไทย (ไทย แลนด)
นายคีรี กาญจนพาสน เปน กรรมการและผูถือหุนราย ใหญใน บจ. กระดาด ไอสแลนด รีสอรท
- บจ.
เมืองทอง แอสเซ็ทส และ บจ. เมืองทองเลคไซด เรสเตอรรอง ซึง่ เปนบริษัทยอยของบริษัทไดใหกูยืม เงินแก บจ. วาเคไทย (ไทยแลนด) เมือ่ นานมาแลว โดยมีหนี้คงคาง กอนหักคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ณ สิ้นสุดปบัญชี 2551 เปนจํานวน 14.58 ลานบาท และ 37.60 ลาน บาท ตามลําดับ คงเหลือมูลคาตาม บัญชี 0 บาท - บริษัทไดใหเงินทดรองจายแก บจ. กระดาด ไอสแลนด รีสอรท เมื่อนาน มาแลว โดยมีหนี้คงคางกอนหักคา เผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ณ สิ้นสุดปบัญชี 2551 เปนจํานวน 0.22 ลานบาท คงเหลือมูลคาตามบัญชี 0 บาท
รายละเอียดของแตละรายการ ยอดสุทธิ ณ สิ้นสุด ใหกูเพิ่ม/ ดอกเบี้ยสุทธิจากคา ปบัญชี 2550 รวม (รับชําระคืน) เผื่อหนีส้ งสัยจะสูญ หักคาเผื่อหนี้สงสัย (ลานบาท) (ลานบาท) จะสูญ (ลานบาท) -
สวนที่ 1 หนา 77
-
-
-
ยอดสุทธิ ณ สิ้นสุดป บัญชี 2551 หักคาเผื่อ หนี้สงสัยจะสูญ (ลานบาท) -
-
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 บุคคลที่อาจมี ความขัดแยง บมจ. บางกอก แลนด
ลักษณะความสัมพันธ ลักษณะรายการ - ญาติสนิทของนายคีรี
กาญจนพาสน เปนกรรมการ และผูถือหุนรายใหญใน บมจ. บางกอกแลนด
- บจ.
เมืองทอง แอสเซ็ทส ซึ่งเปน บริษัทยอยของบริษัทไดจายเงิน ทดรองแก บมจ. บางกอกแลนด เมือ่ นานมาแลว โดยมีหนี้คงคางกอน หักคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ณ สิ้นสุด ปบัญชี 2551 เปนจํานวน 1.05 ลาน บาท คงเหลือมูลคาตามบัญชี 0 บาท
รายละเอียดของแตละรายการ ยอดสุทธิ ณ สิ้นสุด ใหกูเพิ่ม/ ดอกเบี้ยสุทธิจากคา ปบัญชี 2550 รวม (รับชําระคืน) เผื่อหนีส้ งสัยจะสูญ หักคาเผื่อหนี้สงสัย (ลานบาท) (ลานบาท) จะสูญ (ลานบาท) -
สวนที่ 1 หนา 78
ยอดสุทธิ ณ สิ้นสุดป บัญชี 2551 หักคาเผื่อ หนี้สงสัยจะสูญ (ลานบาท) -
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552
รายการระหวางกันในอดีตซึ่งเกิดขึ้นนานแลวโดยบริษัทยอยเปนลูกหนี้และยังมียอดหนี้คงคางอยู
บุคคลที่อาจมีความ ขัดแยง
ลักษณะความสัมพันธ
นายคีรี กาญจนพาสน
-
บจ. ชางคลานเวย
– –
ลักษณะรายการ
เปนประธานกรรมการ และผูถือหุนรายใหญ ของบริษัท
- นายคีรี กาญจนพาสน ไดใหบริษัทยอยหลายบริษัทกูยืมเงินโดยไมคิดดอกเบี้ย เพื่อเปนคาใชจายของบริษัทยอยในชวงระหวางการฟนฟูกิจการของบริษัทในป 2544 – 2548 โดยมีหนี้คงคาง ณ สิ้นสุดปบัญชี 2551 เปนจํานวนรวมกัน 1.42 ลานบาท บริษัทถือหุนใน บจ. ชาง - บจ. เมืองทอง แอสเซ็ทส คางจายเงินคาบริหารโรงแรมกับ บจ. ชางคลานเวย คลานเวย รอยละ 15.15 โดยมีหนี้คงคาง ณ สิ้นสุดปบัญชี 2551 เปนจํานวน 2.32 ลานบาท ซึ่งเปน ญาติสนิทของนายคีรี รายการทีเ่ กิดขึน้ นานมาแลว กาญจนพาสน เปน - บจ. เมืองทองเลคไซด เรสเตอรรอง เปนลูกหนีเ้ งินทดรองจาย บจ. ชางคลาน กรรมการและผูถือหุนราย เวย จํานวน 0.48 ลานบาท ซึ่งเปนรายการที่เกิดขึ้นนานมาแลว ใหญของ บจ. ชางคลาน เวย
สวนที่ 1 หนา 79
มูลคารายการ ในรอบปบัญชี 2550 (ลานบาท)
มูลคารายการ ในรอบปบัญชี 2551 (ลานบาท)
-
-
-
-
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 ความจําเปนและความสมเหตุสมผลของรายการระหวางกัน รายการระหวางกันของบริษัทเปนยอดคงคางของรายการที่เกิดขึ้นในอดีตเมื่อนานมาแลว อยางไรก็ ตาม คณะกรรมการตรวจสอบไดสอบทานรายการดังกลาวถึงความเหมาะสมของการติดตามผลและ ดําเนินการ การประเมินสถานะของรายการ การประเมินศักยภาพในการชําระหนีข้ องลูกหนี้ ตลอดจนความ เหมาะสมของการตั้งสํารองคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญไวใหเพียงพอตอความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้น มาตรการหรือขั้นตอนการอนุมัติการทํารายการระหวางกัน การทํารายการระหวางกันจะตองผานการพิจารณาจากคณะกรรมการบริษทั ทีม่ คี ณะกรรมการ ตรวจสอบเขารวมประชุม หรือ ผานการอนุมัติจากที่ประชุมผูถือหุนตามแตกรณี ทั้งนี้ตามประกาศ คณะกรรมการตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เรื่อง การเปดเผยขอมูลและการปฏิบัติการของบริษัทจด ทะเบียนในรายการที่เกี่ยวโยงกัน พ.ศ. 2546 และประกาศคณะกรรมการกํากับตลาดทุน ที่ ทจ. 21 /2551 เรือ่ ง หลักเกณฑในการทํารายการทีเ่ กีย่ วโยงกัน ตลอดจน กฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ขอบังคับ ประกาศ คําสั่ง หรือขอกําหนดของตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย ที่เกี่ยวของกับขอกําหนดใน เรือ่ งการทํารายการระหวางกัน นโยบายหรือแนวโนมการทํารายการระหวางกัน บริษัทอาจมีความจําเปนในการทํารายการระหวางกัน กับบุคคลที่เกี่ยวโยงกัน ในอนาคต อยางไรก็ ตาม บริษัท จะกําหนดเงื่อนไขตางๆ ใหเปนไปตาม เงื่อนไขการคาโดยทั่วไป และใน ราคาตลาด ซึง่ สามารถ เปรียบเทียบไดกับราคาและเงื่อนไขที่ใหกับบุคคลภายนอก และจะปฏิบัติตามหลักเกณฑและขอกําหนดของ ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทยและกฎหมายวาดวยหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพยที่เกี่ยวของ ทั้งนี้ หากมีรายการระหวางกันของบริษัทหรือบริษัทยอยเกิดขึ้นกับบุคคลที่อาจมีความขัดแยงทาง ผลประโยชน มีสวนไดเสีย หรืออาจมีความขัดแยง ในลักษณะอื่น บริษทั จะดําเนินการใหคณะกรรมการ ตรวจสอบเปนผูใหความเห็นเกี่ยวกับความจําเปนและความเหมาะสมของรายการนั้นๆ ในกรณีที่ คณะกรรมการตรวจสอบไมมคี วามชํานาญในการพิจารณารายการระหวางกันทีอ่ าจเกิดขึน้ บริษทั จะให ผูเชี่ยวชาญอิสระหรือผูสอบบัญชีของบริษัทเปนผูใหความเห็นเกี่ยวกับรายการระหวางกันดังกลาว เพื่อ นําไปใชประกอบการตัดสินใจของคณะกรรมการหรือผูถือหุนตามแตกรณี ทั้งนี้ บริษัทจะเปดเผยรายการ ระหวางกันไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินที่ไดรับการตรวจสอบจากผูสอบบัญชีของบริษัท และรายงาน ประจําปของบริษัท
สวนที่ 1 หนา 80
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552
11. ฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน 11.1 งบการเงิน 11.1.1 สรุปรายงานของผูสอบบัญชีรับอนุญาต สรุปรายงานการตรวจสอบงบการเงินประจําป 2551 ณ วันที่ 31 มีนาคม 2552 จากรายงานผูสอบบัญชี คือ นางสาวทิพวัลย นานานุวัฒน ผูสอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 3459 บริษัท สํานักงาน เอินสท แอนด ยัง จํากัด ซึ่งเปนผูสอบบัญชีที่มีรายชื่ออยูในรายชื่อผูสอบบัญชีที่ไดรับความ เห็นชอบจากสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ไดใหความเห็นวางบการเงินที่ แสดงฐานะทางการเงิน ณ วันที่ 31 มีนาคม 2552 อันประกอบดวย งบดุล งบกําไรขาดทุน งบแสดงการ เปลี่ยนแปลงในสวนของผูถือหุนและงบกระแสเงินสดของบริษัท มีความถูกตองตามที่ควรในสาระสําคัญตาม หลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป โดยมิไดเปนการแสดงความเห็นอยางมีเงื่อนไขตองบการเงินขั้นตนนี้ และไดให ขอสังเกตดังตอไปนี้ บริษัทยังไมสามารถโอนหุนสามัญของบริษัทที่จดทะเบียนในนามของบริษัทยอยเปนการชั่วคราวเพื่อเปน หลักประกันในการชําระหนี้ใหกับเจาหนี้ที่ศาลลมละลายกลาง เนื่องจากหนี้สินบางสวนยังไมถึงกําหนด ชําระ และบางสวนอยูระหวางรอคําสั่งอันเปนที่สุดของศาลหรือเจาพนักงานพิทักษทรัพย ตามที่กลาวไว ในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 25 บริษัทมียอดคงเหลือของเงินสดที่นําไปวางทรัพยเพื่อเปนหลักประกันในการชําระหนี้ของเจาหนี้ไมมี ประกันและเจาหนี้มีประกันที่ศาลลมละลายกลาง ตามที่กลาวไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 13 โดยบริษัทไดบันทึกหนี้สินดังกลาวไวในบัญชีเรียบรอยแลว และเจาหนี้มีประกันดังกลาวไดรับการค้ํา ประกันดวยสินทรัพยของบริษัทไวแลวทั้งจํานวน บริษัทยังไมไดโอนสินทรัพยบางสวนใหกับเจาหนี้ เนื่องจากหนี้สินบางสวนยังอยูระหวางรอคําสั่งอันเปน ที่สุดของศาลหรือเจาพนักงานพิทักษทรัพย ตามที่กลาวไวในหมายเหตุประกอบงบการเงินขอ 15 และ 16 สรุปรายงานการตรวจสอบงบการเงินประจําป 2550 ณ วันที่ 31 มีนาคม 2551 ผูสอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 3 930 จากรายงานผูสอบบัญชี คือ นายศุภชัย ปญญาวัฒโน บริษัท สํานักงาน เอินสท แอนด ยัง จํากัด ซึ่งเปนผูสอบบัญชีที่มีรายชื่ออยูในรายชื่อผูสอบบัญชีที่ไดรับความ เห็นชอบจากสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ไดแสดงความเห็นอยางไมมี เงือ่ นไขตองบการเงินของบริษัทและบริษัทยอย ณ วันที่ 31 มีนาคม 2551 แต ได ใหขอสังเกต เกีย่ วกับการ ปฏิบัติตามแผนฟนฟูกิจการบางประการและการเปลี่ยนนโยบายบัญชีเกี่ยวกับการบันทึกเงินลงทุนในบริษัท ยอยและบริษัทรวมในงบการเงินเฉพาะกิจการจากวิธีสวนไดเสียเปนวิธีราคาทุน สรุปรายงานการตรวจสอบงบการเงินประจําป 2549 ณ วันที่ 31 มีนาคม 2550 จากรายงานผูส อบบัญชี คือ นายศุภชัย ปญญาวัฒโน ผูสอบบัญชีรับอนุญาต เลขทะเบียน 3930 บริษัท สํานักงาน เอินสท แอนด ยัง จํากัด ซึ่งเปนผูสอบบัญชีที่มีรายชื่ออยูในรายชื่อผูสอบบัญชีที่ไดรับความ เห็นชอบจากสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย ผูสอบบัญชี ไดแสดงความเห็น อยางไมมีเงื่อนไขตองบการเงินของบริษัทและบริษัทยอย ณ วันที่ 31 มีนาคม 2550 แตไดใหขอสังเกตความ ไมแนนอนของการปฏิบัติตามแผนฟนฟูกิจการ สวนที่ 1 หนา 81
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 11.1.2 สรุปงบการเงินรวม งบดุล (หนวย
รอบบัญชีป 2551 ณ 31 มี.ค. 2552 จํานวน รอยละ สินทรัพย เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสด เงินลงทุนชั่วคราว ลูกหนี้การคา - สุทธิ รายไดที่ยังไมไดเรียกชําระ ลูกหนี้จากการขายสิทธิในการเรียกรองหนี้ เงินใหกูยืมระยะสั้นและเงินทดรองแกกิจการที่ เกี่ยวของกัน - สุทธิ ตนทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย – สุทธิ งานระหวางกอสราง - สุทธิ สินทรัพยรอการโอนตามแผนฟนฟูกิจการ - สุทธิ เงินลงทุนในบริษัทยอยรอการโอนตามแผนฟนฟู กิจการ - สุทธิ สินทรัพยหมุนเวียนอื่น เงินจายลวงหนาแกผูรับเหมา เงินจายลวงหนาเพื่อจัดหาที่ดินโครงการบานเอื้อ อาทร เงินจายลวงหนาคาซื้อที่ดิน ลูกหนี้อื่น - สุทธิ อื่นๆ รวมสินทรัพยหมุนเวียน เงินฝากที่ติดภาระค้ําประกัน เงินสดที่นําไปวางทรัพยเพื่อเปนหลักประกันในการ ชําระหนี้ เงินจายลวงหนาคาซื้อที่ที่ดิน เงินใหกูยืมแกกิจการที่เกี่ยวของกัน - สุทธิ เงินลงทุนในบริษัทรวม - สุทธิ เงินลงทุนระยะยาวอื่น - สุทธิ ที่ดินรอการพัฒนาในอนาคต - สุทธิ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ - สุทธิ สิทธิการเชา - สุทธิ หองพักอาศัยและเครื่องตกแตงใหเชา - สุทธิ สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพยไมหมุนเวียน รวมสินทรัพย
รอบบัญชีป 2550 ณ 31 มี.ค. 2551 จํานวน รอยละ
: ลานบาท) รอบบัญชีป 2549 ณ 31 มี.ค. 2550 จํานวน รอยละ
61 50 80 258
0.9% 0.7% 1.2% 3.8%
154 9 147 -
2.3% 0.1% 2.2% -
117 47 14 -
1.7% 0.7% 0.2% -
8 1,028 13 227
0.1% 15.2% 0.2% 3.4%
1,083 39 228
16.3% 0.6% 3.4%
1,079 169 1,310
15.6% 2.4% 18.9%
224
3.3%
224
3.4%
224
3.2%
37
0.5%
30
0.5%
-
-
57 11 2,055 3
0.8% 0.2% 30.4% 0.0%
1 65 29 25 1,968 3
0.9% 0.4% 0.4% 29.6% 0.0%
25 28 3,079 3
0.4% 0.4% 44.4% 0.0%
313 11 5 633 126 1,075 2,249 99 196 4 4,713 6,768
4.6% 0.2% 0.1% 9.4% 1.9% 15.9% 33.2% 1.5% 2.9% 0.1% 69.6% 100%
313 24 292 636 113 767 2,322 11 206 5 4,691 6,658
4.7% 0.4% 4.4% 9.5% 1.7% 11.5% 34.9% 0.2% 3.1% 0.1% 70.4% 100.0%
361 292 112 601 2,271 12 204 3,856 6,935
5.2% 4.2% 1.6% 8.7% 32.7% 0.2% 2.9% 55.6% 100.0%
สวนที่ 1 หนา 82
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 งบดุล (ตอ) (หนวย
รอบบัญชีป 2551 ณ 31 มี.ค. 2552 จํานวน รอยละ หนี้สินและสวนของผูถือหุน เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน เจาหนี้การคา เงินกูยืมระยะสั้นและเงินทดรองจากกิจการที่ เกี่ยวของกัน สวนของเจาหนี้ตามแผนฟนฟูกิจการที่ถึงกําหนด ชําระภายในหนึ่งป ตนทุนงานกอสรางคางจาย เงินกูยืมจากสถาบันการเงิน หนี้สินหมุนเวียนอื่น เงินรับลวงหนาจากผูวาจาง – สุทธิ สํารองเผื่อผลขาดทุนของโครงการบานเอื้ออาทร คาใชจายคางจาย เงินประกันผลงาน เจาหนี้อื่น อื่นๆ รวมหนี้สินหมุนเวียน เจาหนี้ตามแผนฟนฟูกิจการ - สุทธิจากสวนที่ถึง กําหนดชําระภายในหนึ่งป เงินกูยืมจากกรรมการ เงินกูยืมจากกิจการที่เกี่ยวของกัน หนี้สินไมหมุนเวียนอื่น รวมหนี้สินไมหมุนเวียน รวมหนี้สิน
รอบบัญชีป 2550 ณ 31 มี.ค. 2551 จํานวน รอยละ
: ลานบาท) รอบบัญชีป 2549 ณ 31 มี.ค. 2550 จํานวน รอยละ
400 18
5.9% 0.3%
132 19
2.0% 0.3%
8
0.1%
27
0.4%
11
0.2%
11
0.2%
1,972 36 65
29.1% 0.5% 1.0%
1,889 86 -
28.4% 1.3% -
4,021 -
58.0% -
59 11 46 71 60 50 2,814
0.9% 0.2% 0.7% 1.0% 0.9% 0.7% 41.6%
49 41 72 28 71 2,397
0.7% 0.6% 1.1% 0.4% 1.1% 36.0%
69 36 6 27 45 4,223
1.0% 0.5% 0.1% 0.4% 0.6% 60.9%
257 1 9 12 279 3,092
3.8% 0.0% 0.1% 0.2% 4.1% 45.7%
580 1 10 14 605 3,001
8.7% 0.0% 0.1% 0.2% 9.1% 45.1%
747 1 10 10 768 4,991
10.8% 0.0% 0.1% 0.1% 11.1% 72.0%
สวนที่ 1 หนา 83
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 งบดุล (ตอ) (หนวย
รอบบัญชีป 2551 ณ 31 มี.ค. 2552 จํานวน รอยละ สวนของผูถือหุน ทุนที่ออกจําหนายและชําระเต็มมูลคาแลว สวนเกินมูลคาหุนสามัญ ผลกําไร (ขาดทุน) ที่ยังไมเกิดขึ้นจริง สวนเกินทุนจากการตีราคาสินทรัพย สวนต่ํากวาทุนจากการเปลี่ยนแปลงมูลคาเงิน ลงทุน หุนของบริษัทที่ถือโดยบริษัทยอย สํารองจากการทํางบการเงินรวม ผลตางจากการแปลงคางบการเงิน ขาดทุนสะสม สวนของผูถือหุนของบริษัท สวนของผูถือหุนสวนนอยของบริษัทยอย รวมสวนของผูถือหุน รวมหนี้สินและสวนของผูถือหุน
รอบบัญชีป 2550 ณ 31 มี.ค. 2551 จํานวน รอยละ
: ลานบาท) รอบบัญชีป 2549 ณ 31 มี.ค. 2550 จํานวน รอยละ
5,813 134
85.9% 2.0%
5,813 134
87.3% 2.0%
5,333 -
76.9% 0.0%
2,020 (1)
29.8% 0.0%
2,020 (0)
30.3% 0.0%
2,021 1
29.1% 0.0%
(16) 3 (134) (4,155) 3,665 11 3,676 6,768
-0.2% 0.0% -2.0% (61.4%) 54.1% 0.2% 54.3% 100%
(16) 3 (134) (4,175) 3,645 12 3,657 6,658
-0.2% 0.0% -2.0% -62.7% 54.7% 0.2% 54.9% 100.0%
(16) 3 (134) (5,264) 1,944 1,944 6,935
-0.2% 0.0% -1.9% -75.9% 28.0% 28.0% 100.0%
สวนที่ 1 หนา 84
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 งบกําไร (ขาดทุน) (หนวย
รอบบัญชีป 2551 1 เม.ย. 2551 – 31 มี.ค. 2552 จํานวน รอยละ รายได รายไดจากการขายอสังหาริมทรัพย รายไดจากการจัดหาที่ดินโครงการบาน เอื้ออาทร รายไดจากการรับเหมากอสราง รายไดคาเชาและการบริการ รายไดจากกิจการโรงแรม รายไดอื่น กําไรจากการยกเลิกการค้ําประกัน กําไรจากการปรับโครงสรางหนี้ กําไรจากการโอนสินทรัพยเพื่อชําระ หนี้ รายไดจากการหักกลบลบหนี้จาก การประมูลที่ดิน โอนกลับคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ โอนกลับหนี้สินสวนเกินกวาจํานวน หนี้สินตามคําสั่งจากเจาพนักงาน พิทักษทรัพย กําไรจากการโอนทรัพยสินเพื่อชําระ หนี้ ดอกเบี้ยรับ กําไรจากการขายเงินลงทุนในบริษัท รวม อื่น ๆ รวมรายได
: ลานบาท) รอบบัญชีป 2549 1 เม.ย. 2549 – 31 มี.ค. 2550 จํานวน รอยละ
รอบบัญชีป 2550 1 เม.ย. 2550 – 31 มี.ค. 2551 จํานวน รอยละ
49
4.5%
10
0.4%
30
0.1%
547 168 37
50.8% 15.6% 3.4%
144 832 138 37
5.8% 33.4% 5.5% 1.5%
502 75 35
1.8% 0.3% 0.1%
195 -
18.1% -
12
0.5%
24,443
87.7%
-
-
1,149
46.1%
-
-
16 12
1.5% 1.1%
114
4.6%
6
0.0%
-
-
-
-
1,597
5.7%
1
0.1%
6
0.2%
1,050 5
3.8% 0.0%
46 1,071
4.3% 100%
48 2,491
1.9% 100.0%
26 94 27,863
0.1% 0.3% 100.0%
สวนที่ 1 หนา 85
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 งบกําไร (ขาดทุน) – (ตอ) (หนวย
: ลานบาท) รอบบัญชีป 2551 1 เม.ย. 2551 – 31 มี.ค. 2552 จํานวน รอยละ
รอบบัญชีป 2550 1 เม.ย. 2550 – 31 มี.ค. 2551 จํานวน รอยละ
รอบบัญชีป 2549 1 เม.ย. 2549 – 31 มี.ค. 2550 จํานวน รอยละ
คาใชจาย ตนทุนขายอสังหาริมทรัพย
53
4.9%
7
0.3%
12
0.0%
-
-
145
5.8%
449
1.6%
ตนทุนการรับเหมากอสราง
536
49.8%
845
33.9%
-
-
ตนทุนการใหเชาและการบริการ
105
9.8%
93
3.7%
57
0.2%
23 18
2.2% 1.6%
22 16
0.9% 0.6%
22 343
0.1% 1.2%
คาใชจายในการบริหาร
216
20.2%
226
9.1%
-
-
คาตอบแทนผูบริหาร
38
3.5%
23
0.9%
-
-
ขาดทุนจากการสํารองเผื่อการดอยคา ของสินทรัพย
11
1.0%
20
0.8%
538
1.9%
ขาดทุนจากการสํารองเผื่อผลขาดทุน จากการลดลงของมูลคาโครงการ
13
1.2%
-
-
17
0.1%
หนี้สงสัยจะสูญ
-
-
-
-
16
0.1%
ขาดทุนจากการสํารองเผื่อการดอยคา ของตนทุนโครงการบานเอื้ออาทร
-
-
-
-
93
0.3%
ขาดทุนจากการสํารองเผื่อการดอยคา ของเงินจายลวงหนาคาซื้อที่ดินแกผู ถือหุนเดิมกอนซื้อบริษัทยอย
-
-
-
-
100
0.4%
1,013
94.6%
1,396
56.0%
1,646
5.9%
ตนทุนการจัดหาที่ดินโครงการบานเอื้อ อาทร
ตนทุนจากกิจการโรงแรม คาใชจายในการขายและการบริการ
รวมคาใชจา ย
สวนที่ 1 หนา 86
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 งบกําไร (ขาดทุน) – (ตอ) (หนวย
รอบบัญชีป 2551 1 เม.ย. 2551 – 31 มี.ค. 2552 จํานวน รอยละ กําไรกอนสวนแบงขาดทุนจากเงิน ลงทุนในบริษัทรวม สวนแบงขาดทุนจากเงินลงทุนในบริษัท รวม กําไรกอนคาใชจา ยทางการเงินและ ภาษีเงินไดนิติบุคคล คาใชจายทางการเงิน กําไรกอนภาษีเงินไดนิติบุคคล ภาษีเงินไดนิติบุคคล กําไร (ขาดทุน) สุทธิสําหรับป การแบงปนกําไร (ขาดทุน) สุทธิ สวนที่เปนของผูถือหุนบริษัทใหญ สวนที่เปนของผูถือหุนสวนนอยของ บริษัทยอย
58
5.4%
(6)
-0.6%
51 (23) 28 (9) 20
43.9%
26,217
94.1%
(4)
-0.1%
-
-
4.8% -2.2% 2.6% -0.8% 1.8%
1,090 (1) 1,089 1,089
43.8% -0.1% 43.7% 0.0% 43.7%
26,217 (2) 26,215 26,215
94.1% -0.0% 94.1% 0.0% 94.1%
21
1.9%
1,089
43.7%
26,215
94.1%
(1) 20
-0.1% 1.8%
1,089
43.7%
26,215
94.1%
รอบบัญชีป 2551 1 เม.ย. 2551 – 31 มี.ค. 2552 กําไรตอหุนขั้นพื้นฐาน กําไรสุทธิสวนที่เปนของผูถือหุนบริษัท ใหญ จํานวนหุนสามัญถัวเฉลี่ยถวงน้ําหนัก (หุน)
รอบบัญชีป 2550 1 เม.ย. 2550 – 31 มี.ค. 2551 จํานวน รอยละ 1,094
: ลานบาท) รอบบัญชีป 2549 1 เม.ย. 2549 – 31 มี.ค. 2550 จํานวน รอยละ
(หนวย: บาทตอหุนหรือตามที่ระบุ) รอบบัญชีป 2550 รอบบัญชีป 2549 1 เม.ย. 2550 – 1 เม.ย. 2549 – 31 มี.ค. 2551 31 มี.ค. 2550
0.004
0.190
9.223
5,781,555,421
5,745,347,771
2,842,471,167
สวนที่ 1 หนา 87
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 งบกระแสเงินสด (หนวย
กระแสเงินสดจากกิจกรรมดําเนินงาน กําไรกอนภาษี รายการปรับกระทบยอดกําไรกอนภาษีเปนเงินสดรับ (จาย) คาเสื่อมราคาและตัดจําหนาย สวนแบงผลขาดทุนจากเงินลงทุนในบริษัทรวม โอนกลับหนี้สินสวนที่เกินกวาจํานวนหนี้สินตามคําสั่งจากเจาพนักงาน พิทักษทรัพย กําไรจากการยกเลิกค้ําประกัน กําไรจากการปรับโครงสรางหนี้ กําไรจากการโอนสินทรัพยเพื่อชําระหนี้ กําไรจากการขายเงินลงทุนในบริษัทรวม กําไรจากการขายเงินลงทุนชั่วคราว กําไรจากการรับโอนสินทรัพยเพื่อชําระหนี้ โอนกลับคาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ ภาษีหัก ณ ที่จายตัดจําหนาย หนี้สงสัยจะสูญ ขาดทุนจากการสํารองเผื่อการดอยคาของเงินจายลวงหนาคาซื้อที่ดิน แกผูถือหุนเดิมกอนซื้อบริษัทยอย ขาดทุนจากการสํารองเผื่อการดอยคาของสินทรัพย ขาดทุนจากการสํารองเผื่อผลขาดทุนของโครงการบานเอื้ออาทร ขาดทุนจากการปรับมูลคาเงินใหกูยืมตามแผนฟนฟูกิจการบริษัทที่ เกี่ยวของกัน ขาดทุนจากการสํารองเผื่อผลขาดทุนจากการลดลงของมูลคาโครงการ ขาดทุนจากการสํารองเผื่อผลขาดทุนจากการลดลงของมูลคาเงินลงทุน ขาดทุน (กําไร) จากการจําหนายที่ดิน อาคารและอุปกรณ ดอกเบี้ยรับ คาใชจายดอกเบี้ย ขาดทุนจากการดําเนินงานกอนการเปลีย่ นแปลงในสินทรัพยและ หนี้สินดําเนินงาน
สวนที่ 1 หนา 88
: ลานบาท) รอบบัญชี ป 2549 1 เม.ย. 2549 – 31 มี.ค. 2550
รอบบัญชี ป 2551 1 เม.ย. 2551 – 31 มี.ค. 2552
รอบบัญชี ป 2550 1 เม.ย. 2550 – 31 มี.ค. 2551
28.1
1,089.4
26,214.9
43.9 6.4
30.0 4.3
76.9 -
(3.4) (195.1) (3.9) (11.8) 26.3 -
(12.2) (1,149.2) (1.0) (114.4) 1.1 11.7
(1,597.4) (24,442.9) (1,049.6) (25.6) (6.5) 2.3 16.0
10.6 11.2
19.8 -
100 537.8 -
13.1 0.8 (1.2) 22.8
(0.5) (5.5) 0.5
42.1 17.5 -
(52.3)
(126.6)
(114.8)
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 งบกระแสเงินสด (ตอ) (หนวย
สินทรัพยดําเนินงานลดลง (เพิ่มขึ้น) :ลูกหนี้การคา รายไดที่ยังไมไดเรียกชําระ ตนทุนการพัฒนาอสังหาริมทรัพย ตนทุนการจัดหาที่ดินโครงการบานเอื้ออาทร งานระหวางกอสราง เงินจายลวงหนาเพื่อจัดหาที่ดินโครงการบานเอื้ออาทร เงินจายลวงหนาแกผูรับเหมา ลูกหนี้อื่น สินทรัพยหมุนเวียนอื่น สินทรัพยไมหมุนเวียนอื่น หนี้สินดําเนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) :เจาหนี้การคา ตนทุนงานกอสรางโครงการบานเอื้ออาทรคางจาย เงินรับลวงหนาจากผูวาจาง คาใชจายคางจาย เงินประกันผลงาน เจาหนี้อื่น หนี้สินหมุนเวียนอื่น เงินสดใชไปในกิจกรรมดําเนินงาน จายดอกเบี้ย จายภาษีเงินได ดอกเบี้ยรับ เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมดําเนินงาน
สวนที่ 1 หนา 89
: ลานบาท) รอบบัญชี ป 2549 1 เม.ย. 2549 – 31 มี.ค. 2550
รอบบัญชี ป 2551 1 เม.ย. 2551 – 31 มี.ค. 2552
รอบบัญชี ป 2550 1 เม.ย. 2550 – 31 มี.ค. 2551
(41.8) 66.8 41.3 26.3 (23.2) 3.7 (1.8) 0.5
3.0 (146.8) (7.9) 110.8 (13.8) (7.7) 14.4 (4.4)
0.7 9.5 127.7 (169.2) (1.0) (2.7) (20.0) (1.3)
(1.0) (50.1) 20.2 0.7 (1.5) 0.5 (23.8) (35.5) (21.7) (15.7) 1.20 (71.8)
10.2 85.8 (48.5) 5.1 66.1 29.0 29.6 (1.7) (0.5) (12.2) 5.5 (8.9)
(4.6) 68.7 2.8 4.5 (4.0) 5.9 (97.9) (97.9)
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 งบกระแสเงินสด (ตอ) (หนวย
กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน เงินสดรับจากการขายสิทธิในการเรียกรองหนี้ เงินสดรับจากการขายเงินลงทุนชั่วคราว เงินฝากที่ติดภาระค้ําประกันลดลง (เพิ่มขึ้น) เงินใหกูยืมระยะสั้นและเงินทดรองแกกิจการที่เกี่ยวของกันเพิ่มขึ้น เงินใหกูยืมแกกิจการที่เกี่ยวของกันลดลง (เพิ่มขึ้น) เงินลงทุนในบริษัทรวมลดลง (เพิ่มขึ้น) เงินสดรับจากการโอนสิทธิในการซื้อที่ดิน เงินจายลวงหนาคาซื้อที่ดินและอาคารเพิ่มขึ้น เงินสดจายซื้อที่ดินรอการพัฒนาในอนาคต เงินสดจายซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ เงินสดจายซื้อสิทธิการเชา เงินสดจายซื้อหองพักอาศัยและเครื่องตกแตงใหเชา เงินสดรับจากการจําหนายที่ดิน อาคารและอุปกรณ เงินสดสุทธิใชไปในกิจกรรมลงทุน กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินสดที่นําไปวางทรัพยเพื่อเปนหลักประกันในการชําระหนีล้ ดลง (เพิ่มขึ้น) เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น เงินกูยืมจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น เงินกูยืมระยะสั้นและเงินทดรองจากกิจการที่เกี่ยวของกันเพิ่มขึ้น (ลดลง) เงินกูยืมจากกิจการที่เกี่ยวของกันลดลง เงินกูยืมจากกรรมการลดลง จายชําระเจาหนี้ตามแผนฟนฟูกิจการ เงินรับลวงหนาจากการแบงเชาชวงหองพักอาศัยลดลง เงินสดรับจากการออกหุนเพิ่มทุน เงินสดรับจากการจําหนายหุนของบริษัทที่ถือโดยบริษัทยอย เงินสดรับจากผูถือหุนสวนนอยของบริษัทยอย เงินสดสุทธิจากกิจกรรมจัดหาเงิน ผลตางจากการแปลงคางบการเงินเพิ่มขึ้น (ลดลง) เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดเพิม่ ขึน้ (ลดลง)สุทธิ เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดตนป เงินสดและรายการเทียบเทาเงินสดปลายป
สวนที่ 1 หนา 90
: ลานบาท) รอบบัญชี ป 2549 1 เม.ย. 2549 – 31 มี.ค. 2550
รอบบัญชี ป 2551 1 เม.ย. 2551 – 31 มี.ค. 2552
รอบบัญชี ป 2550 1 เม.ย. 2550 – 31 มี.ค. 2551
20.0 0.1 (8.3) 1.4 (4.0) (10.9) (264.7) (22.3) (25.9) (2.1) (316.7)
47.3 (0.0) 2.6 (640.2) 65.0 (23.5) (48.3) (98.3) (10.3) 0.6 (705.1)
(46.2) 2.9 (3.8) 150.0 (65.0) (8.5) (6.5) (5.5) 0.2 17.5
267.8 65.0 5.5 (0.3) (41.9) 296.1 (0.0) (92.4) 153.8 61.3
48.2 132.2 (0.0) (0.0) (0.1) (56.6) 614.4 12.3 750.4 0.1 36.5 117.3 153.8
(361.0) (0.7) (1,542.4) (133.3) 2,133.3 1.9 97.7 0.7 18.1 99.2 117.3
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 อัตราสวนทางการเงินที่สําคัญ การวิเคราะหอตั ราสวนทางการเงิน
รอบบัญชีป 2551 1 เม.ย. 2551 – 31 มี.ค. 2552
รอบบัญชีป 2550 1 เม.ย. 2550 – 31 มี.ค. 2551
รอบบัญชีป 2549 1 เม.ย. 2549 – 31 มี.ค. 2550
อัตราสวนสภาพคลอง อัตราสวนสภาพคลอง เทา 0.73 0.82 0.73 อัตราสวนสภาพคลองหมุนเร็ว เทา 0.04 0.07 0.03 อัตราสวนสภาพคลองกระแสเงินสด เทา (0.03) (0.00) (0.00) อัตราสวนหมุนเวียนลูกหนี้การคา * เทา 27.23 104.01 45.31 * ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย วัน 13.22 3.46 7.95 อัตราสวนหมุนเวียนสินคาคงเหลือ ** เทา 0.05 0.13 0.36 ระยะเวลาขายสินคาเฉลีย่ ** วัน 7,155.86 2,764.38 1,003.65 อัตราสวนหมุนเวียนเจาหนี้ เทา 39.82 82.65 50.55 ระยะเวลาชําระหนี้ วัน 9.04 4.36 7.12 Cash Cycle วัน 7,160.04 2,763.49 1,004.47 อัตราสวนแสดงความสามารถในการหากําไร อัตรากําไรขั้นตน % 10.34 4.34 15.95 อัตรากําไรจากการดําเนินงาน % (23.53) (18.48) (30.85) อัตรากําไรอื่น % 25.21 53.36 81.77 (24.31) (23.06) (4.94) อัตราสวนเงินสดตอการทํากําไร % อัตรากําไรสุทธิ % 1.83 43.72 744.86 อัตราผลตอบแทนผูถือหุน*** % 0.53 38.89 n.a อัตราสวนแสดงประสิทธิภาพในการดําเนินงาน อัตราสวนผลตอบแทนจากสินทรัพย % 0.29 16.01 381.67 อัตราสวนผลตอบแทนจากสินทรัพยถาวร % 1.35 26.19 874.24 อัตราการหมุนของสินทรัพย เทา 0.16 0.37 0.51 อัตราสวนวิเคราะหนโยบายทางการเงิน อัตราสวนหนี้สินตอสวนของผูถือหุน เทา 0.84 0.82 2.57 อัตราสวนความสามารถในการชําระดอกเบีย้ **** เทา (1.64) (3.10) n.a. อัตราสวนความสามารถชําระภาระผูกพัน เทา (0.31) (0.26) (0.06) (Cash Basis) อัตราสวนการจายเงินปนผล % n.a n.a n.a หมายเหตุ : * คํานวณจากรายไดหลักในธุรกิจการขายอสังหาริมทรัพย ธุรกิจการจัดหาที่ดินและรับเหมากอสราง ธุรกิจ ใหเชาและการบริการ และกิจการโรงแรมของบริษัท ** คํานวณจากรายไดหลักในธุรกิจการขายอสังหาริมทรัพย และการจัดหาที่ดินและรับเหมากอสราง *** สวนของผูถือหุนติดลบในปบัญชี 2548 **** ไมมีคาใชจายดอกเบี้ยเกิดขึ้นในงบกระแสเงินสดในปบัญชี 2549
สวนที่ 1 หนา 91
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 11.2 คําอธิบายและการวิเคราะหฐานะการเงินและผลการดําเนินงาน 11.2.1 ภาพรวมผลการดําเนินงานในระยะที่ผานมา ในปบัญชี 2551 บริษัทมีรายไดรวม จํานวน 1,071 ลานบาท โดยมีรายไดจากการประกอบธุรกิจหลัก จํานวน 801 ลานบาท คิดเปนสัดสวนรอยละ 74.8 ของจํานวนรายไดรวมทั้งหมด และมีรายไดที่ไมไดมาจาก การดําเนินธุรกิจ ซึ่งสวนใหญมาจากการปรับโครงสรางหนี้เปนจํานวน 270 ลานบาท คิดเปนสัดสวนรอยละ 25.2 ของจํานวนรายไดรวมทั้งหมด รายไดรวมในปบัญชี 2551 ลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับปบัญชี 2550 เนื่องจากในปบัญชี 2551 กําไรจาก การปรับโครงสรางหนี้มีจํานวนลดลง สืบเนื่องจากมีความคืบหนาในการปฏิบัติตามแผนฟนฟูกิจการของ บริษัทในปบัญชี 2550 คอนขางมาก โดยในปบัญชี 2550 รายไดรวมมีจาํ นวน 2,491 ลานบาท ประกอบดวย รายไดจากการประกอบธุรกิจหลักจํานวน 1,161 ลานบาท คิดเปนสัดสวนรอยละ 46.6 ของจํานวนรายไดรวม ทัง้ หมด และรายไดทไ่ี มไดมาจากการดําเนินการธุรกิจ ซึง่ สวนใหญมาจากกําไรจากการปรับโครงสรางหนีเ้ ปน จํานวน 1,330 ลานบาท คิดเปนสัดสวนรอยละ 53.4 ของจํานวนรายไดรวมทั้งหมด กําไรสุทธิสําหรับปบัญชี 2551 มีจํานวนลดลงเชนกัน สอดคลองกับรายไดรวมที่ลดลง โดยปบัญชี 2551 มีผลกําไรสุทธิจํานวน 20 ลานบาท ในขณะที่ปบัญชี 2550 มีผลกําไรสุทธิจํานวน 1,089 ลานบาท
11.2.2 ผลการดําเนินงานที่ผานมาของแตละสายผลิตภัณฑหรือกลุมธุรกิจ รายไดจากการประกอบธุรกิจ บริษทั มีรายได จากการประกอบธุรกิจหลักและอืน่ ๆ ในปบัญชี 255 1 จํานวน 801 ลานบาท ซึง่ ลดลง จากในปบัญชี 2550 ที่มีจํานวน 1,161 ลานบาท โดยสาเหตุมาจากการลดลงจากรายไดทเ่ี กิดจากการรับเหมา กอสรางและการจัดหาทีด่ นิ โครงการบานเอือ้ อาทร ในปบัญชี 2551 บริษัทมีรายไดจากการประกอบธุรกิจหลักของบริษทั ประกอบดวย (1) รายไดจากการ ขายอสังหาริมทรัพย (2) รายไดจากการรับเหมากอสราง (3) รายไดจากคาเชาและบริการ และ (4) รายไดจาก กิจการโรงแรม โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้
(1) รายไดจากการขายอสังหาริมทรัพย
ในป บัญชี 2551 บริษทั มีรายไดจากการขายอสังหาริมทรัพยเทากับ 49 ลานบาท เพิ่มขึ้น 39 ลานบาท จากปบัญชี 2550 คิดเปนอัตราการเพิ่มขึ้นจํานวนรอยละ 390 .0 โดยรายไดดงั กลาวมาจากโครงการ ธนาซิต้ี เนื่องจากปบัญชี 2551 เนนการขายอสังหาริมทรัพยมากขึ้น ขณะที่ ในป บัญชี 2550 บริษทั มีรายไดจากการ ขายอสังหาริมทรัพยเทากับ 10 ลานบาท เนือ่ งจากอยูในชวงปรับปรุง โครงการเพือ่ นําออกขายใหม ยอดขาย จึงยังไมมากนัก
(2) รายไดจากการรับเหมากอสราง
สําหรับปบัญชี 2551 บริษัท มีรายไดจากการรับเหมากอสรางจํานวน 547 ลานบาท โดยมาจาก โครงการบานเอือ้ อาทรจํานวน 440 ลานบาท และโครงการ โรงแรมโฟรพอยท เชอราตัน จํานวน 107 ลาน บาท ทั้งนี้บริษัทไมมีรายไดจากการจัดหาที่ดินโครงการบานเอื้ออาทร เนื่องจากรายไดดังกลาวไดถูกรับรูเสร็จ สิ้นไปในปบัญชี 2550 โดยใน ปบัญชี 2550 บริษทั มีรายไดจากการโครงการเอือ้ อาทรจํานวน 976 ลานบาท
สวนที่ 1 หนา 92
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 แบงเปนรายไดจากการรับเหมากอสรางโครงการเอือ้ อาทรจํานวน 832 ลานบาท และรายไดจากการจัดหา ทีด่ นิ โครงการบานเอือ้ อาทรจํานวน 144 ลานบาท ในปบัญชี 2551 บริษทั มีรายไดจากความคืบหนาในการสง มอบ ที่อยูอาศัยในโครงการบานเอื้ออาทรชลบุรี (นาจอมเทียน) จํานวน 261 ลานบาท บานเอือ้ อาทร ประจวบคีรีขันธ (หัวหิน 3) จํานวน 27 ลานบาท และบานเอื้ออาทรสระบุรี (โคกแย) จํานวน 152 ลานบาท
(3) รายไดจากคาเชาและบริการ
ในป บัญชี 2551 มีรายไดคา เชาและบริการจาก การประกอบธุรกิจอาคารสํานักงานใหเชาทีเอสทีทาว เวอร คาเชาสนามกอลฟ และคาเชาอาคารพักอาศัย (โครงการเดอะรอยัลเพลส 1 โครงการเดอะรอยัลเพลส 2 และ โครงการเดอะแกรนด) จํานวนรวมกันเทากับ 168 ลานบาท เพิ่มขึ้น 30 ลานบาท คิดเปนอัตราการ เพิ่มขึ้นรอยละ 21.7 จากปบัญชี 2550 โดยในป บัญชี 2550 บริษทั มีรายไดคา เชาและบริการจํานวน รวมกัน เทากับ 138 ลานบาท
(4) รายไดจากกิจการโรงแรม
ในป บัญชี 2551 บริษทั มีรายไดจากการประกอบกิจการโรงแรมอิสติน เลคไซด จํานวน 23 ลานบาท และรายไดจากการประกอบกิจการโรงแรม ยู เชียงใหม จํานวน 14 ลานบาท โดย รายไดจากการประกอบ กิจการโรงแรมอิสติน เลคไซด ลดลงจากปบัญชีกอน เนื่องจากการทองเที่ยวในประเทศไทยไดรับผลกระทบ จากภาวะเศรษฐกิจโลก และปญหาทางการเมืองภายในประเทศ แตบริษทั มีรายไดจาก การประกอบกิจการ โรงแรม ยู เชียงใหม มาทดแทนในสวนที่ลดลง ดังนั้นจึงไมมีการเปลี่ยนแปลงในการรับรูรายไดดังกลาว เมื่อ เทียบกับปบัญชี 2550 รายไดอื่น ในป บัญชี 2551 บริษัทมี รายไดอื่น ทีไ่ มไดมาจากการดําเนินการทางธุรกิจจํานวน 270 ลานบาท สวน ใหญมาจากผลของการปรับโครงสรางหนี้และการปฏิบัติตามแผนฟนฟูกิจการ ในปบัญชี 2550 รายไดอื่น ที่ไม ไดมาจากการดําเนินการทางธุรกิจมีจาํ นวน 1,330 ลานบาท โดยรายไดดงั กลาวลดลงจํานวน 1,060 ลานบาท หรือคิดเปนสัดสวนลดลงรอยละ 79.7 เนือ่ งจากความคืบหนาในการดําเนินการตามแผนฟน ฟูกจิ การของ บริษัท ตนทุนขายและบริการ ในป บัญชี 2551 บริษทั มีตน ทุนขายและบริการรวม กันเทากับ 717 ลานบาท ลดลงจํานวน 395 ลาน บาทจากปบัญชีกอน โดยคิดเปนอัตราการ ลดลงรอยละ 35.5 ในปบัญชี 2551 บริษทั เนนการปรับกลยุทธ ทางดานราคาและควบคุมตนทุนใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น เพื่อใหสอดคลองกับความตองการในตลาด ทําใหป บัญชี 2551 บริษัทมีอัตรากําไรขั้นตนรอยละ 10.3 เปรียบเทียบกับรอยละ 4.3 ในปบัญชี 2550 โดย สาเหตุ หลักของการลดลงของตนทุนขายและบริการในการประกอบธุรกิจหลัก มีดังตอไปนี้ (1) ตนทุนการขายอสังหาริมทรัพย ในป บัญชี 2551 บริษัทมีตนทุนการขายอสังหาริมทรัพยเทากับ 53 ลานบาท เพิ่มขึ้นรอยละ 657.1 เมื่อ เปรียบเทียบกับ ปบัญชี 2550 ที่ บริษัทมีตนทุน การขายอสังหาริมทรัพยเทากับ 7 ลานบาท ในขณะที่รายได จากการขายอสังหาริมทรัพย มีอัตราการเพิ่มขึ้นคิดเปนรอยละ 390 .0 สงผลใหธุรกิจอสังหาริมทรัพย มีอัตรา
สวนที่ 1 หนา 93
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 กําไรขั้นตนรอยละ (8.2) และ 30.0 ในปบัญชี 2551 และปบัญชี 2550 ตามลําดับ เนื่องจากในปบัญชี 2551 มี การสงเสริมการขายโดยใชราคาเปนปจจัยกระตุน การขาย ทําใหอตั รากําไรขัน้ ตนลดลง
(2) ตนทุนการรับเหมากอสราง
ในป บัญชี 2551 บริษัทมีตนทุน การรับเหมากอสรางจํานวน 536 ลานบาท ประกอบดวย โครงการ บานเอือ้ อาทรจํานวน 439 ลานบาท และโครงการ โรงแรมโฟรพอยท เชอราตัน จํานวน 97 ลานบาท ตนทุน รับเหมากอสรางโครงการบานเอือ้ อาทรปรับตัวลดลงจํานวน 406 ลานบาท ลดลงรอยละ 48 เมื่อเปรียบเทียบ กับปบัญชี 2550 ซึ่งสอดคลองกับรายไดที่ลดลง โดยในปปญชี 2551 มีอัตรากําไรขั้นตนของทั้งโครงการที่รอย ละ 0.2 เพิ่มขึ้นจากปบัญชี 2550 ที่มีอัตรากําไรขั้นตนที่รอยละ (1.4) เนือ่ งจากผลกําไรสวนใหญมาจากรายได จากการจัดหาที่ดิน ซึ่งไดบันทึกรับรูรายไดไปแลวในปบัญชีที่ผานมา ในขณะที่ผลกําไรจากการกอสรางมีนอย หรือขาดทุนในบางโครงการ
(3) ตนทุนการใหเชาและการใหบริการ
ในปบัญชี 2551 บริษัทมีตนทุนการใหเชาและบริการเทากับ 105 ลานบาท ในป บัญชี 2550 มีตนทุน การใหเชาและบริการเทากับ 93 ลานบาท เพิ่มขึ้นจํานวน 12 ลานบาท จากปบัญชี 2550 คิดเปนอัตราการ เพิ่มขึ้นรอยละ 12.9 ซึ่งสอดคลองกับสัดสวนของการเพิ่มขึ้นของรายไดดงั กลาว โดยบริษัทมีอัตรากําไรขั้นตน รอยละ 37.5 และ 32.6 ในปบัญชี 2551 และ 2550 ตามลําดับ ซึ่งมีการปรับตัวไปในทางที่ดีขึ้น
(4) ตนทุนการโรงแรม
ในป บัญชี 2551 บริษทั มีตน ทุนจากกิจการโรงแรมเทากับ 2 3 ลานบาท โดยมีอัตรากําไรขั้นตนเทากับ รอยละ 37.8 และ ในปบัญชี 2550 มีตน ทุนจากกิจการโรงแรมเทากับ 22 ลานบาท มีอัตรากําไรขั้นตนเทากับ รอยละ 40.5 ซึ่ง ในป บัญชี 2551 บริษัท มีอัตรากําไรขั้นตนที่ลดลง เนื่องจากโรงแรมยู เชียงใหม เพิ่งเริ่ม ดําเนินการเปนปแรก ทําใหมีอัตรากําไรขั้นตนนอย ซึ่งเปนธรรมชาติของธุรกิจโรงแรมที่จะมีอัตรากําไรขั้นตน ในชวงแรกต่ํากวาปปกติ คาใชจายในการขายและการบริการ และการบริหาร และกําไรจากการดําเนินงาน ในป บัญชี 2551 บริษทั มีคา ใชจา ยในการขายและ การบริการ และ การบริหาร เทากับ 272 ลานบาท เพิ่มขึ้นเล็กนอยจาก ปบัญชี 2550 ที่ มคี า ใชจา ยในการขายและ การบริการ และการบริหารเทากับ 265 ลาน บาท คิดเปนอัตราการเพิ่มขึ้นรอยละ 2.6 ตนทุนกูยืม ในป บัญชี 2551 บริษัทมีคาใชจายดอกเบี้ยจํานวน 23 ลานบาท เพิ่มขึ้นจากปบัญชี 2550 ทีม่ ีคาใชจาย ดอกเบีย้ จํานวน 1 ลานบาท อัน เปนผลสืบเนื่องมาจาก จํานวนเงินกูที่เพิ่มขึ้นเพื่อรองรับการพัฒนาโครงการ ตางๆ
สวนที่ 1 หนา 94
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 ภาษีเงินได ในปบัญชี 2551 บริษัทยอย มีรายจายภาษีเงินไดนิติบุคคลจํานวน 9 ลานบาท และ ในป บัญชี 2550 บริษัทและบริษัทยอยไมมรี ายจายภาษีเงินไดนิติบุคคลแตอยางใด กําไรสุทธิ ในปบัญชี 2551 บริษัทมี ผลกําไรสุทธิจํานวน 20 ลานบาท ลดลงจากปบัญชี 2550 ที่ มีผลกําไรสุทธิ จํานวน 1,089 ลานบาท เนื่องจากปบัญชี 2551 มีการลดลงของรายไดทไ่ี มไดมาจากการดําเนินการ เชน กําไรจากการปรับโครงสรางหนีต้ ามแผนฟน ฟูกจิ การ ในปบัญชี 2551 มีอัตราสวนกําไรสุทธิเทากับรอยละ 1.9 และในปบัญชี 2550 มีอัตราสวนกําไรสุทธิเทากับรอยละ 43.7 อัตราผลตอบแทนผูถือหุน ในปบัญชี 2551 บริษัทมี อัตราผลตอบแทน ของผูถือหุน คิดเปนจํานวนรอยละ 0.5 ลดลงจากปบัญชี 2550 ที่ มีอัตราผลตอบแทน ของผูถือหุน คิดเปนจํานวนรอยละ 3 8.9 เนื่องจากในปบัญชี 2551 มีกาํ ไรสุทธิ ลดลง สืบเนือ่ งมาจากกําไรจากการปรับโครงสรางหนีท้ ล่ี ดลง 11.2.3 ฐานะการเงิน สินทรัพย สวนประกอบและการเปลี่ยนแปลงของสินทรัพยที่สําคัญ สินทรัพยรวมของบริษัท สิ้นสุดงวดปบัญชี 255 1 ณ วันที่ 31 มีนาคม 2552 มีจํานวน 6,768 ลานบาท ซึ่งประกอบดวยสินทรัพยหมุนเวียนจํานวน 2,055 ลานบาท และสินทรัพยไมหมุนเวียนจํานวน 4, 713 ลาน บาท คิดเปนสัดสวนรอยละ 30.4 และ 69.6 ของสินทรัพย รวม ตามลําดับ โดยสินทรัพยรวมมีมูลคา เพิ่มขึ้น 110 ลานบาท คิดเปนอัตรา การเพิ่มขึ้น รอยละ 1.7 เทียบกับสิ้นสุดงวดปบัญชี 2550 ซึ่งสวนใหญเปนผลมา จากการเพิม่ ขึน้ ของลูกหนีจ้ ากการขายสิทธิในการเรียกรองหนี้ ทีด่ นิ รอการพัฒนาในอนาคต และสิทธิการเชา เปนตน สําหรับสินทรัพยหมุนเวียนของบริษัท ณ สิ้นสุดงวดปบัญชี 2551 เพิ่มขึ้นจํานวน 8 7 ลานบาท จาก ณ สิ้นสุดงวดปบัญชี 2550 เนื่องจากมีการเพิ่มขึ้นของลูกหนี้จากการขายสิทธิในการเรียกรองหนี้ และลูกหนี้ การคา สําหรับสินทรัพยไมหมุนเวียนของบริษัท ณ สิ้นสุดงวดปบัญชี 25 51 มีจํานวน เพิ่มขึ้น 23 ลานบาท จากปกอ น เปนผลสืบเนื่องมาจากการเพิ่มขึ้นของทีด่ นิ รอการพัฒนาในอนาคตจํานวนสุทธิ 308 ลานบาท สภาพคลอง กระแสเงินสด ในงวดสิ้นสุดปบัญชี 255 1 บริษัทมีกระแสเงินสดสุทธิใชไปจํานวน 92 ลานบาท และมีเงินสดตนงวดที่ ยกมาจากงวดสิ้นสุดปบัญชี 2550 จํานวน 154 ลานบาท ทําใหเงินสดสุทธิปลายงวดปบัญชี 255 1 มีจํานวน เทากับ 61 ลานบาท โดยกระแสเงินสดที่ลดลง ถูกนําไปใชไปในกิจกรรมดําเนินการจํานวน 72 ลานบาท และ กิจกรรมลงทุนจํานวน 317 ลานบาท ซึ่งประกอบดวย คาซื้อที่ดินรอการพัฒนาในอนาคตจํานวน 265 ลาน บาท คาซื้อที่ดิน อาคารและอุปกรณ และสิทธิการเชาเปนจํานวน 48 ลานบาท และอื่นๆอีกจํานวน 4 ลานบาท
สวนที่ 1 หนา 95
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 นอกจากนีบ้ ริษทั มีกระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงินจํานวน 296 ลานบาท โดยมาจากการกูย มื เงินระยะสัน้ จากสถาบันการเงินจํานวน 268 ลานบาท การกูย มื เงินระยะยาวจากสถาบันการเงินจํานวน 65 ลานบาท อัตราสวนสภาพคลอง ณ สิ้นสุด งวดปบัญชี 255 1 บริษัทมีอัตราสวนสภาพคลองเทากับ 0.73 เทา ซึ่ง ลดลงเล็กนอยจาก ณ สิ้นสุด งวดปบัญชี 2550 ที่เทากับ 0.82 เทา โดยมีสาเหตุ หลัก มาจากการ เพิ่มขึ้นของ หนีส้ นิ หมุนเวียนใน ป บัญชี 2551 เนื่องจากมีการกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้นจากปบัญชีกอน สงผลให ณ สิ้นสุดงวดป บัญชี 2551 มีอัตราสวนสภาพคลองหมุนเร็วเทากับ 0.04 เทา ซึ่งลดลงจาก ณ สิ้นสุดงวดปบัญชี 2550 ที่ เทากับ 0.07 เทา อัตราสวนแสดงความสามารถในการชําระดอกเบีย้ ดีขน้ึ จาก (3.1 0) เทา ในปบัญชี 2550 เปน (1.64) เทา ในปบัญชี 2551 โดยสาเหตุที่อัตราสวนมีคาเปนลบ เนื่องจากบริษัทอยูระหวางพัฒนาโครงการ ทําใหมี คาใชจายเกิดขึ้นในขณะที่รายรับจะเกิดขึ้นตามมาในอนาคต แหลงที่มาของเงินทุน โครงสรางเงินทุน โครงสรางเงินทุนของบริษัทไมเปลี่ยนแปลงจากปที่แลว โดยอัตราสวนหนี้สินตอทุนมีคาเทากับ 0.84 เทา ในปบัญชี 2551 ซึ่งใกลเคียงกับปบัญชี 2550 ที่มีคาเทากับ 0.82 เทา หนี้สิน ใน ปบัญชี 2551 หนี้สินรวมเพิ่มขึ้นเล็กนอยจากจํานวน 3,001 ลานบาท ในปบัญชี 2550 เพิ่มขึ้นเปน 3,092 ลานบาทในปบัญชี 2551 สาเหตุหลักมาจากเงินกูย มื จากสถาบันการเงินเพิม่ ขึน้ เพือ่ รองรับการพัฒนา โครงการตางๆของบริษทั โดยรายละเอียดหนี้สินตามแผนฟนฟูกิจการและหนี้สินกับสถาบันการเงิน มี ดังตอไปนี้
รายละเอียดหนี้สินตามแผนฟนฟูกิจการและหนี้สินกับสถาบันการเงิน
หนี้สินตามแผนฟนฟูกิจการ เจาหนี้มีประกัน / เจาหนี้ไมมีประกันที่มีทรัพย บุคคลหรือนิติบุคคลอื่นค้ําประกัน หนี้สินที่บริษัทเปนตัวแทนในการจัดการขาย ทรัพยสินให หนี้สินที่รอคําสั่งอันเปนที่สุด
รวม
จํานวนหนี้คงคาง ณ 31 มี.ค. 2552 (ลานบาท)
อัตรา ดอกเบี้ย
เงื่อนไขการ ชําระหนี้
859
-
457
-
ขาย ทรัพยสิน เพื่อชําระหนี้ ชําระหนี้เปน เงินสดและ โอนทรัพย ชําระหนี้
1,316
สวนที่ 1 หนา 96
หลักทรัพยค้ําประกัน
ทีเอสทีทาวเวอร และ ยงสุ อพารทเมนท ที่ดินเปลาในธนาซิตี้ พังงา เชียงใหม จันทบุรี คอนโดมิเนียมบานมิ ตรา และกิ่งแกว คอนโดมิเนียม
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 จํานวนหนี้คงคาง ณ 31 มี.ค. 2552 (ลานบาท) เจาหนี้ไมมีประกัน หนี้สินที่รอคําสั่งอันเปนที่สุด หนี้ที่ยังไมถึงกําหนดชําระ หนี้ที่แบงจายชําระเปนรายงวด รวม รวมหนีส้ นิ ตามแผนฟน ฟูกจิ การ เงินกูยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน*
366 80 467 913 2,230 400
อัตรา ดอกเบี้ย -
MLR
เงื่อนไขการ ชําระหนี้ เงินสด เงินสด เงินสด
ทบทวน วงเงินทุกป
หลักทรัพยค้ําประกัน
-
ที่ดินถนนราษฎรบูรณะ
หมายเหตุ : * วงเงินจํานวน 400 ลานบาท
สวนของผูถือหุน สวนของผูถือหุนเพิ่มขึ้นจากจํานวน 3,657 ลานบาทในปบัญชี 2550 เปน 3,676 ลานบาท ในปบัญชี 2551 เนือ่ งจากขาดทุนสะสมลดลง
11.3 คาตอบแทนของผูสอบบัญชี ในรอบ ปบัญชีสิ้นสุด ณ วันที่ 31 มีนาคม 255 2 ผูตรวจสอบบัญชีของบริษัท คือ บริษัท สํานักงาน เอินสท แอนด ยัง จํากัด โดยมีคาตอบแทนจากการสอบบัญชี (Audit fee) ของบริษัทและบริษัทยอย คิดเปน จํานวน รวมทั้งสิ้น 3.54 ลานบาท โดยเปนคาสอบทานงบการเงินไตรมาสจํานวน 0.6 ลานบาท และคา ตรวจสอบงบการเงินประจําปจาํ นวน 2.94 ลานบาท
สวนที่ 1 หนา 97
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552
12. ขอมูลอื่นที่เกี่ยวของ โครงการในอนาคต
คอนโดมิเนียมบนถนนสุขุมวิท 66/1 กรุงเทพฯ โครงการคอนโดมิเนียมแนวราบสไตลบูติคจํานวน 2 โครงการ แตละโครงการมีหอ งพัก 55 หอง ใน รูปแบบ 1 หองนอน และ 2 หองนอน พรอมสิ่งอํานวยความสะดวก เชน สระวายน้ําและฟตเนส โดยโครงการ ตั้งอยูบนที่ดินรวมประมาณ 2 ไร ซึ่งอยูหางจากสถานีรถไฟฟาบีทีเอสอุดมสุขสวนตอขยายเพียง 250 เมตร ทั้งนี้บริษัทคาดวาจะเปดขายโครงการครั้งแรกชวงปลายป 2552
โรงแรม ยู กาญจนบุรี โครงการโรงแรมสไตลบตู คิ (Boutique Hotel) ระดับ 4 ดาว บนที่ดินประมาณ 5 ไร ริมฝงแมน้ําแคว ภายใตชื่อ “โรงแรม ยู กาญจนบุรี ” ในเครือ ยู โฮเต็ล แอนด รีสอรท เปนโครงการที่มโี รงแรมเดิมอยูแลว ปจจุบันโครงการอยูในระหวางขั้นตอนการออกแบบ เพื่อปรับปรุงซอมแซมอาคารเดิมและกอสรางอาคารใหม ภายในโครงการมีตนอินจันทนอายุมากกวา 100 ป ซึ่งจะเปนจุดเดนใหกับโรงแรมในการพัฒนาและปรับปรุง ตอไปในอนาคต
ยู เขาใหญ / ปราณคีรี เขาใหญ นครราชสีมา โครงการพัฒนาอสังหาริมทรัพย ตั้งอยูบนทําเลที่มีศักยภาพ บนที่ดินกวา 600 ไร ใกลอุทยานแหงชาติ เขาใหญ แบบผังของโครงการอยูร ะหวาการออกแบบโดยกรุป ทรี (Group Three) ภายในโครงการจะประกอบ ไปดวย โรงแรมสไตลบูติค จํานวนหองพักประมาณ 70 หอง ภายใตชื่อ “โรงแรม ยู เขาใหญ” วิลลาหรูเพื่อขาย ภายใตชื่อ “ยู เขาใหญ” ที่ดินเปลาจัดสรรเพื่อขาย ขนาดแปลงละประมาณ 1-3 ไร ภายใตชื่อ “ปราณคีร”ี
สวนที่ 1 หนา 98
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552
สวนที่ 2 การรับรองความถูกตองของขอมูล บริษัทไดสอบทานขอมูลในแบบแสดงรายการขอมูลประจําปฉบับนี้แลวดวยความระมัดระวัง บริษัทขอ รับรองวา ขอมูลดังกลาวถูกตองครบถวน ไมเปนเท็จ ไมทําใหผูอื่นสําคัญผิด หรือไมขาดขอมูลที่ควรตองแจงใน สาระสําคัญ นอกจากนี้ บริษัทขอรับรองวา (1) งบการเงินและขอมูลทางการเงินทีส่ รุปมาในแบบแสดงรายการขอมูลประจําป ไดแสดงขอมูลอยางถูกตองครบถวนในสาระสําคัญเกี่ยวกับฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน และกระแสเงินสดของ บริษัทและบริษัทยอยแลว (2) บริษัทไดจัดใหมีระบบการเปดเผยขอมูลที่ดี เพื่อใหแนใจวาบริษัทไดเปดเผยขอมูลในสวน ที่เปนสาระสําคัญทั้งของบริษัทและบริษัทยอยอยาง ถูกตองครบถวนแลว รวมทั้งควบคุมดูแลใหมีการปฏิบัติตาม ระบบดังกลาว (3) บริษัทได จัดใหมีระบบการควบคุมภายในที่ดี และควบคุมดูแลใหมีการปฏิบัติตามระบบ ดังกลาว และ บริษัท ไดแจงขอมูลการประเมินระบบการควบคุมภายใน ณ วันที่ 28 พฤษภาคม 2552 ตอผูสอบ บัญชีและกรรมการตรวจสอบของบริษัทแลว ซึ่งครอบคลุมถึงขอบกพรองและการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญของระบบ การควบคุมภายใน รวมทัง้ การกระทําทีม่ ชิ อบทีอ่ าจมีผลกระทบตอการจัดทํารายงานทางการเงินของบริษทั และ บริษัทยอย ในการนี้ เพือ่ เปนหลักฐานวาเอกสารทัง้ หมดเปนเอกสารชุดเดียวกันกับที่ บริษัท ไดรบั รองความ ถูกตองแลว บริษัทไดมอบหมายให นางสาวอัญชนา โรจนวิบูลยชัย เปนผูลงลายมือชื่อกํากับเอกสารนี้ไวทุกหนา ดวย หากเอกสารใดไมมีลายมือชื่อของ นางสาวอัญชนา โรจนวิบูลยชัย กํากับไว บริษัท จะถือวาไมใชขอมูลที่ บริษัทไดรับรองความถูกตองของขอมูลแลวดังกลาวขางตน ชื่อ
ตําแหนง
ลายมือชื่อ
นายคีรี กาญจนพาสน นายกวิน กาญจนพาสน นายสุธรรม ศิริทิพยสาคร นายรังสิน กฤตลักษณ Mr. Kong Chi Keung นายคม พนมเริงศักดิ์
ประธานกรรมการ กรรมการผูจ ดั การ รองกรรมการผูจ ดั การ รองกรรมการผูจ ดั การ รองกรรมการผูจัดการ กรรมการบริหาร
-คีรี กาญจนพาสน-. -กวิน กาญจนพาสน-สุธรรม ศิริทิพยสาคร-รังสิน กฤตลักษณ-Kong Chi Keung-คม พนมเริงศักดิ์-
ชื่อผูรับมอบอํานาจ
ตําแหนง
ลายมือชื่อ
นางสาวอัญชนา โรจนวิบูลยชัย
ผูอ าํ นวยการฝายการเงิน
-นางสาวอัญชนา โรจนวิบูลยชัย-
สวนที่ 2 หนา 1
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552
เอกสารแนบ 1 รายละเอียดเกีย่ วกับกรรมการและผูบ ริหาร ณ วันที่ 28 พฤษภาคม 2552 * ขอมูลการถือหุนของกรรมการ และผูบริหาร ซึ่งรวมหุนที่ถือโดยคูสมรส และบุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2552 ความสัมพันธ การถือหุน อายุ ทางครอบครัว ชื่อ-สกุล/ตําแหนง คุณวุฒทิ างการศึกษา ในบริษัท (ป) ระหวาง ชวงเวลา (%)* ผูบริหาร 1. นายคีรี กาญจนพาสน ประธานกรรมการบริษัท
59
-
1.18
บิดานายกวิน กาญจนพาสน
ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป
ตําแหนง
2549-ปจจุบนั 2536-2549 2550-ปจจุบนั
ประธานกรรมการ กรรมการผูจัดการ กรรมการ
2539-ปจจุบนั 2537-ปจจุบนั
ประธานกรรมการบริหาร กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
2536-ปจจุบนั 2535-ปจจุบนั 2534-ปจจุบนั 2533-ปจจุบนั
2532-ปจจุบนั 2531-ปจจุบนั
เอกสารแนบ 1 หนา 1
0
ชื่อหนวยงาน/บริษัท บมจ. ธนายง บมจ. ธนายง บจ. กมลา บีช รีสอรท แอนด โฮเต็ล แมนเนจเมนท บมจ. ระบบขนสงมวลชนกรุงเทพ บจ. ไทม สเตชั่น บจ. ธนายง อินเตอรเนชั่นแนล บจ. เมืองทองเลคไซด เรสเตอรรอง บจ. สําเภาเพชร บจ. ธนายง ฟูด แอนด เบเวอเรจ บจ. ดิ เอ็กซเชนจ สแควร บจ. ธนาซิตี้ กอลฟ แอนด คันทรี คลับ บจ. สระบุรี พร็อพเพอรตี้ บจ. สยาม เพจจิง้ แอนด คอมมิวนิเคชั่น บจ. ธนายง พร็อพเพอรตี้ แมเนจเมนท บจ. เทพประทาน พร็อพเพอรตี้ส บจ. สหกรุงเทพพัฒนา บจ. เมืองทอง แอสเซ็ทส
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552
ชื่อ-สกุล/ตําแหนง 2. นายกวิน กาญจนพาสน กรรมการผูจัดการ
3. นายสุธรรม ศิริทิพยสาคร รองกรรมการผูจัดการ
อายุ (ป) 34
53
คุณวุฒทิ างการศึกษา - หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Accreditation Program (DAP) ป 2550 สมาคมสงเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย
- ปริญญาตรีสถาปตยกรรม ศาสตร เกียรตินิยมอันดับ 1 จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Accreditation Program (DAP) ป 2550 สมาคมสงเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย
ความสัมพันธ การถือหุน ทางครอบครัว ในบริษัท ระหวาง (%)* ผูบริหาร -
-
บุตรของนายคีรี กาญจนพาสน
-
เอกสารแนบ 1 หนา 2
0
ชวงเวลา 2549-ปจจุบนั 2552-ปจจุบนั 2551-ปจจุบนั
ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป
ตําแหนง
2550-ปจจุบนั
กรรมการผูจัดการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
2549-ปจจุบนั 2549-ปจจุบนั 2550-ปจจุบนั 2549-ปจจุบนั
กรรมการ รองกรรมการผูจัดการ กรรมการ กรรมการ
ชื่อหนวยงาน/บริษัท บมจ. ธนายง บมจ. ระบบขนสงมวลชนกรุงเทพ บจ. สระบุรี พร็อพเพอรตี้ บจ. ธนาซิตี้ กอลฟ แอนด คันทรี คลับ บจ. ธนายง พร็อพเพอรตี้ แมเนจเมนท บจ. เมืองทอง แอสเซ็ทส บจ. เมืองทองเลคไซด เรสเตอรรอง บจ. สําเภาเพชร บจ. สยาม เพจจิง้ แอนด คอมมิวนิเคชัน่ บจ. ธนายง ฟูด แอนด เบเวอเรจ บจ. แอบโซลูท โฮเต็ล เซอรวิส บจ. กมลา บีช รีสอรท แอนด โฮเต็ล แมนเนจเมนท บจ. วีจไี อ โกลบอล มีเดีย บมจ. ธนายง บจ. เมืองทอง แอสเซ็ทส บจ. ทองหลอ อาคิเตค แอนด แอสโซซิเอทส
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552
ชื่อ-สกุล/ตําแหนง 4. นายรังสิน กฤตลักษณ รองกรรมการผูจัดการ
อายุ (ป) 47
คุณวุฒทิ างการศึกษา - ปริญญาโทบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร - หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Accreditation Program (DAP) ป 2546 สมาคมสงเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย
ความสัมพันธ การถือหุน ทางครอบครัว ในบริษัท ระหวาง (%)* ผูบริหาร -
-
0
ชวงเวลา 2549-ปจจุบนั 2540-2549 2551-ปจจุบนั 2550-ปจจุบนั
2544-ปจจุบนั
2541-ปจจุบนั 2540-ปจจุบนั
เอกสารแนบ 1 หนา 3
ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป
ตําแหนง รองกรรมการผูจัดการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
ชื่อหนวยงาน/บริษัท บมจ. ธนายง บมจ. ธนายง บจ. สยาม เพจจิง้ แอนด คอมมิวนิเคชัน่ บจ. แอบโซลูท โฮเต็ล เซอรวิส บจ. เมืองทอง แอสเซ็ทส บจ. กมลา บีช รีสอรท แอนด โฮเต็ล แมนเนจเมนท บจ. ฮิบเฮง คอนสตรัคชั่น (ประเทศไทย) บจ. สหกรุงเทพพัฒนา บจ. สระบุรี พร็อพเพอรตี้ บจ. ธนายง ฟูด แอนด เบเวอเรจ บจ. สําเภาเพชร บจ. เมืองทองเลคไซด เรสเตอรรอง บจ. ไทม สเตชั่น บจ. ธนายง พร็อพเพอรตี้ แมเนจเมนท บจ. ยงสุ บจ. ดีแนล บจ. ธนาซิตี้ กอลฟ แอนด คันทรี คลับ บจ. เทพประทาน พร็อพเพอรตี้ส บจ. ดิ เอ็กซเชนจ สแควร
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552
ชื่อ-สกุล/ตําแหนง
อายุ (ป)
5. Mr. Kong Chi Keung รองกรรมการผูจัดการ
34
6. นายคม พนมเริงศักดิ์ กรรมการบริหาร
70
7. Dr. Paul Tong กรรมการ
68
คุณวุฒทิ างการศึกษา - ปริญญาโทบริหารธุรกิจ (Executive) สถาบันบัณฑิต บริหารธุรกิจศศินทร แหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย - หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Accreditation Program (DAP) ป 2550 สมาคมสงเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย - ปริญญาโทพัฒนบริหารศาสตร มหาบัณฑิต สาขาการเงิน สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร - หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Accreditation Program (DAP) ป 2550 สมาคมสงเสริม สถาบันกรรมการบริษัทไทย - PhD. Engineer
ความสัมพันธ การถือหุน ทางครอบครัว ในบริษัท ระหวาง (%)* ผูบริหาร
0
ชวงเวลา
ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป
ตําแหนง
ชื่อหนวยงาน/บริษัท
0.34
-
2551-ปจจุบนั 2549-2551 2551-ปจจุบนั 2542-ปจจุบนั
รองกรรมการผูจัดการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
บมจ. ธนายง บมจ. ธนายง บจ. แอบโซลูท โฮเต็ล เซอรวิส บจ. วีจีไอ โกลบอล มีเดีย
-
-
2549-ปจจุบนั 2544-2549 2552-ปจจุบนั 2550-ปจจุบนั
กรรมการบริหาร กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ
บมจ. ธนายง บมจ. ธนายง บจ. วาเคไทย (ไทยแลนด) บจ. ฮิบเฮง คอนสตรัคชั่น (ประเทศไทย) บจ. เมืองทอง แอสเซ็ทส
0.17
-
2550-ปจจุบนั 2551-ปจจุบนั
กรรมการ กรรมการ
2549-ปจจุบนั ปจจุบนั
ประธานกรรมการ กรรมการผูจัดการ กรรมการ ประธานกรรมการ กรรมการ
บมจ. ธนายง บจ. กมลา บีช รีสอรท แอนด โฮเต็ล แมนเนจเมนท บมจ. ระบบขนสงมวลชนกรุงเทพ Hip Hing Overseas Limited New World Service Management Co., Ltd. Parsons Brinkerhoff Asia Pacific Chongbang Holdings Limited
เอกสารแนบ 1 หนา 4
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552 อายุ (ป)
คุณวุฒทิ างการศึกษา
8. Mr. Cheung Che Kin กรรมการ
41
-
9. ดร.อาณัติ อาภาภิรม กรรมการ
71
ชื่อ-สกุล/ตําแหนง
10. พลโทพิศาล เทพสิทธา ประธานกรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ
11. พลตํารวจตรีวราห เอีย่ มมงคล กรรมการตรวจสอบ / กรรมการอิสระ
77
74
ความสัมพันธ การถือหุน ทางครอบครัว ในบริษัท ระหวาง (%)* ผูบริหาร
0
ชวงเวลา
ตําแหนง กรรมการ ประธาน และ CEO ประธาน กรรมการ กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ กรรมการ ที่ปรึกษาคณะกรรมการ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ กรรมการอิสระ กรรมการตรวจสอบ ประธานกรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ กรรมการ
-
-
2550-ปจจุบนั ปจจุบนั
- ปริญญาวิศวกรรมดุษฎีบัณฑิต สาขาภาควิศวกรรมโยธา University of Colorado, ประเทศสหรัฐอเมริกา
-
-
2552-ปจจุบนั 2541-2552
- ปริญญาโทบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร - หลักสูตรประกาศนียบัตร Director Certification Program (DCP) ป 2545 และ หลักสูตร ประกาศนียบัตร Audit Committee Program (ACP) รุน 26 ป 2552 สมาคม สงเสริมสถาบันกรรมการบริษัท ไทย - ปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ร.ร. นายรอยพระจุลจอมเกลา วท.บ. (ทบ) สถาบันขาราชการตํารวจชั้นสูง
0.01
-
2552-ปจจุบนั 2539-2551 2543-ปจจุบนั 2552-ปจจุบนั ปจจุบนั
-
-
2541-ปจจุบนั 2538-ปจจุบนั
เอกสารแนบ 1 หนา 5
ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป
กรรมการตรวจสอบ กรรมการอิสระ ที่ปรึกษา
ชื่อหนวยงาน/บริษัท บมจ. ธนายง Green Salt Group Limited Oinghai Province Salt Industry Limited บมจ. ธนายง บมจ. ธนายง บมจ. ระบบขนสงมวลชนกรุงเทพ บมจ. ระบบขนสงมวลชนกรุงเทพ บมจ. ธนายง บมจ. ระบบขนสงมวลชนกรุงเทพ บมจ. ร็อคเวิธ คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแหงชาติ
บมจ. ธนายง บมจ. ระบบขนสงมวลชนกรุงเทพ
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552
ชื่อ-สกุล/ตําแหนง 12. Mr. Martin Harold Kyle ผูอํานวยการใหญสายการเงิน
13. นางดวงกมล ชัยชนะขจร ผูอํานวยการฝายบัญชี 14. นางสาวอัญชนา โรจนวิบูลยชัย ผูอํานวยการฝายการเงิน
อายุ (ป) 56
49 42
คุณวุฒทิ างการศึกษา - Master of Arts in Development Economics, Oxford University (Magdalen College), ประเทศสหราชอาณาจักร - Fellow Chartered Accountant, ประเทศออสเตรเลีย - ปริญญาโทบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร - ปริญญาโทบริหารธุรกิจ University of California, ประเทศสหรัฐอเมริกา
ความสัมพันธ การถือหุน ทางครอบครัว ในบริษัท ระหวาง (%)* ผูบริหาร -
-
0
ชวงเวลา 2551-ปจจุบนั 2548-2551 2545-2548
51
- ปริญญาโทการจัดการภาครัฐ และเอกชน สถาบันบัณฑิต พัฒนบริหารศาสตร
ตําแหนง
ชื่อหนวยงาน/บริษัท
ผูอํานวยการใหญสายการเงิน บมจ. ธนายง กรรมการบริหาร Australian-Thai Chamber of Commerce (AustCham Thailand) ผูอํานวยการ บจ. มี้ด จอหนสัน นิวทริชัน (ประเทศไทย) ฝายปฏิบัติการ - การเงิน และเทคโนโลยีสารสนเทศ
-
-
2544-ปจจุบนั
ผูอํานวยการฝายบัญชี
บมจ. ธนายง
-
-
2550-ปจจุบนั 2549 2548
ผูอํานวยการฝายการเงิน ที่ปรึกษาการเงินอิสระ รองประธานบริหาร ฝายการเงินและบัญชี ผูชวยผูอํานวยการ ฝายการเงิน ผูอํานวยการ ฝายพัฒนาโครงการ ผูจัดการ ฝายบริหารโครงการ
บมจ. ธนายง
2540-2547 15. นายวิศิษฐ ชวลิตานนท ผูอ าํ นวยการ ฝายพัฒนาโครงการ
ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป
-
-
2550-ปจจุบนั 2546-2550
เอกสารแนบ 1 หนา 6
บมจ. แกรนด แอสเสท ดีเวลลอปเมนท บมจ. ระบบขนสงมวลชนกรุงเทพ บมจ. ธนายง บมจ. กรุงเทพดุสิตเวชการ (โรงพยาบาลกรุงเทพ)
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552
ชื่อ-สกุล/ตําแหนง 16. Mr. Bernardo Godinez Garcia ผูอํานวยการฝายโรงแรม
17. นายเสนอ รัตนวลี ผูอํานวยการโครงการธนาซิตี้
อายุ (ป) 52
56
18. นางสาวธิติกรณ ยศยิ่งธรรมกุล ผูอ าํ นวยการฝายกฎหมาย / เลขานุการบริษทั
32
19. นางสาวอาทิตยา เกษมลาวัณย ผูอ าํ นวยการฝายขาย
31
คุณวุฒทิ างการศึกษา - College Degree in Hotel and Restaurant Management, Orange Coast College, ประเทศสหรัฐอเมริกา
- Bachelor of Arts in Hotel & Catering Management, Dartley University (U.K. Campus), ประเทศสหรัฐอเมริกา - ปริญญาโท ดานกฎหมายพาณิชย University of Bristol, ประเทศสหราชอาณาจักร - ปริญญาตรี ดานบริหารการจัดการ การโรงแรมและการทองเที่ยว มหาวิทยาลัยนานาชาติมหิดล
ความสัมพันธ การถือหุน ทางครอบครัว ในบริษัท ระหวาง (%)* ผูบริหาร -
-
-
-
-
-
-
-
เอกสารแนบ 1 หนา 7
0
ชวงเวลา
ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป
ตําแหนง
2551-ปจจุบนั 2552-ปจจุบนั 2551-ปจจุบนั 2550
ผูอํานวยการฝายโรงแรม กรรมการ กรรมการ ผูจัดการทั่วไป
2549-2550
ผูจัดการทั่วไป
2547-2549
ผูจัดการทั่วไป
2552-ปจจุบนั
2545-2551 2551-ปจจุบนั 2550-ปจจุบนั 2543-2550
ผูอํานวยการโครงการ ธนาซิตี้ กรรมการ กรรมการ ผูจัดการทั่วไป เลขานุการบริษัท ผูอํานวยการฝายกฎหมาย ทนายความ
2552-ปจจุบนั 2551-2552
ผูอํานวยการฝายขาย ผูอํานวยการฝายขาย
2547-2551
ผูจัดการฝายขาย
ชื่อหนวยงาน/บริษัท บมจ. ธนายง บจ. วาเคไทย (ไทยแลนด) บจ. แอบโซลูท โฮเต็ล เซอรวิส โรงแรมแกรนด เมอรเคียว สวีท กรุงเทพฯ และ วี วิลลาส หัวหิน โรงแรมแกรนด สุขุมวิท และ โรงแรมแกรนด เมอรเคียว ปารค อะเวนิว, กรุงเทพฯ โซฟเทล พีพี วิลลา แอนด สปา, กระบี่ ประเทศไทย บมจ. ธนายง บจ. ดีแนล บจ. ยงสุ อิสติน โฮเต็ล แอนด สปา, กรุงเทพฯ บมจ. ธนายง บมจ. ธนายง บจ. เบเคอร แอนด แม็คเค็นซี่ บมจ. ธนายง บจ. แปซิฟค สตาร อินเตอรเนชั่นแนล (ประเทศไทย) บจ. พี. อาร. ดี. ออสแพค เรียลตี้ (ไทยแลนด)
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552
ชื่อ-สกุล/ตําแหนง 20. นางสาวธัญญรวี พิพัฒนผลกุล ผูอํานวยการฝายการตลาด
อายุ (ป) 35
คุณวุฒทิ างการศึกษา - บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามคําแหง
ความสัมพันธ การถือหุน ทางครอบครัว ในบริษัท ระหวาง (%)* ผูบริหาร -
-
0
ชวงเวลา
ตําแหนง
2552-ปจจุบนั 2547
ผูอํานวยการฝายการตลาด รองผูอํานวยการอาวุโส ฝายการตลาด ผูจัดการฝายขาย พนักงานขายอาวุโส
2548 2547
เอกสารแนบ 1 หนา 8
ประสบการณทํางานในระยะ 5 ป ชื่อหนวยงาน/บริษัท บมจ. ธนายง บมจ. ไรมอน แลนด บจ. เดสติเนชั่น พร็อพเพอรตี้ บจ. พี. อาร. ดี. ออสแพค เรียลตี้ (ไทยแลนด)
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552
หมายเหตุ A=
บริษัท ประธานกรรมการ
D
D
D
D
D
บจ. แอบโซลูท โฮเต็ล เซอรวิส
D
บจ. ธนายง อินเตอรเนชั่นแนล
D D
บจ. ฮิบเฮง คอนสตรัคชั่น (ประเทศไทย)
D D
บจ. สระบุรี พร็อพเพอรตี้
D
D D
บจ. กมลา บีช รีสอรท แอนด โฮเต็ล แมนเนจเมนท
D
บจ. ธนายง ฟูด แอนด เบเวอเรจ
D
D D
บจ. ธนายง พร็อพเพอรตี้ แมเนจเมนท
D
บจ. ยงสุ
D
D D D D
บจ. เมืองทองเลคไซด เรสเตอรรอง
D D
บจ. เมืองทอง แอสเซ็ทส
D D
A,D B,D C,D C,D C,D D D D D E E F F F F F F F F F
บจ. ดีแนล
บจ. สําเภาเพชร
1. นายคีรี กาญจนพาสน 2. นายกวิน กาญจนพาสน 3. นายสุธรรม ศิริทิพยสาคร 4. นายรังสิน กฤตลักษณ 5. Mr. Kong Chi Keung 6. นายคม พนมเริงศักดิ์ 7. Dr. Paul Tong 8. Mr. Cheung Che Kin 9. ดร. อาณัติ อาภาภิรม 10. พลโทพิศาล เทพสิทธา 11. พลตํารวจตรีวราห เอีย่ มมงคล 12. Mr. Martin Harold Kyle 13. นางดวงกมล ชัยชนะขจร 14. นางสาวอัญชนา โรจนวิบูลยชัย 15. นายวิศิษฐ ชวลิตานนท 16. Mr. Bernardo Godinez Garcia 17. นายเสนอ รัตนวลี 18. นางสาวธิติกรณ ยศยิ่งธรรมกุล 19. นางสาวอาทิตยา เกษมลาวัณย 20. นางสาวธัญญรวี พิพัฒนผลกุล
บจ.สยาม เพจจิ้ง แอนด คอมมิวนิเคชั่น
บริษทั
บมจ. ธนายง
กรรมการและผูบ ริหาร
บจ. ธนาซิตี้ กอลฟ แอนด คันทรี คลับ
เอกสารแนบ 2 ขอมูลการดํารงตําแหนงของกรรมการและผูบ ริหารในบริษัทยอยและบริษัทรวม ณ วันที่ 28 พฤษภาคม 2552
D D
D D
D
D
D
D D
D D
D D
B=
บริษัทยอย กรรมการผูจัดการ
C=
D
บริษัทรวม รองกรรมการผูจัดการ
D=
เอกสารแนบ 2 หนา 1
กรรมการ
E=
กรรมการตรวจสอบ
F=
ผูบริหาร
แบบ 56-1 ประจําป 2551/2552
เอกสารแนบ 3 อื่น ๆ - ไมมี -
เอกสารแนบ 3 หนา 1