BUS&TRUCK-V.170

Page 1

ู่ปีที่ ส ว า ้ ก ั บ ฉบ ก้าวสู่ปีที่ 8

ฉบับที่ 170

www.busandtrucks.com

ดับเครื่องชม

พงศ์ศิริ ปี 2 “Prince of Big Bus” เปรียบเทียบรถเด่น

8

# 1 เ พื่ อ ผู้ ป ร ะ ก อ บ ก า ร ร ถ พ า ณิ ช ย์

ปักษ์หลัง มีนาคม 2554 40 บาท

ทิศทางพลังงานทางเลือก

04

สองสุดยอด รถบรรทุก 20

LOGISTICS

KIAT ลุยขนส่ง ต่างแดน หลังก�ำไรปี 53 พุ่งกว่า 40% 26

SPECIAL SECTION

ปตท.จับมือ เซลเลนเนียม วิจัยรถไฟฟ้า แวนเนเดียม MEMBER

ปัจจุบนั เรือ่ งของพลังงานทางเลือก เข้ามามีบทบาทในภาคขนส่งมากขึ้น แต่ ก็ยังคงมีปัญหาต่างๆ ตามมาอย่างต่อ เนื่อง ทั้งในเรื่องของราคาที่ภาครัฐยังหา ข้อสรุปไม่ลงตัว เรื่องของปริมาณที่มี

จ�ำนวนจ�ำกัด ซึ่งอาจต้องพึ่งพาการน�ำ เข้า ทว่าทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องก็พยายามที่ จะผลักดันพลังงานทางเลือกหลากหลาย รูปแบบออกมา เพือ่ รองรับความต้องการ ของผู้บริโภค

ดังนั้น เพื่อไม่ให้ชาวแวดวงรถใหญ่ อย่าง BUS & TRUCK พลาดข่าวสารที่ ส�ำคัญด้านพลังงานทางเลือกในภาคขนส่ง ลองมาดูข้อมูลทิศทางพลังงานทางเลือก ทัง้ จากภาครัฐและภาคเอกชนทีม่ สี ว่ นร่วม อ่านต่อหน้า 32

ฮีโน่ ตัดหน้า อีซูซุ รถใหญ่จีนเปลี่ยนยี่ห้อได้ เปิดตัวหัวลาก 360 แรงม้า วี.อาร์.วี.ประกอบให้

36

สมัครสมาชิก

รับฟรี! ปากกาและสมุดโน้ต BGI SINOTRUK เตรียมพบกับเรื่องเด่น

ธุรกิจรถบัสท่องเที่ยวไทย ในฉบับที่ 171

ฮีโน่ ชิงความเป็นแชมป์ยอดขายรถใหญ่ตดั หน้าเปิดตัว หัวลาก NGV 360 แรงม้า พร้อมศึกษาและดูความต้องการ ของตลาดเพื่อดันยอด 2-3 ตันให้เพิ่มขึ้น คาดยอดขายปีนี้ เป็นไปตามคาด 1.1 หมื่นคันแน่ แหล่งข่าว บริษัท ฮีโน่ มอเตอร์สเซลส์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด เปิดเผยกับ BUS & TRUCK ว่า ประมาณเดือนเมษายน อ่านต่อหน้า 33

วี.อาร์.วี.ฯ ปลุกกระแสรถใหญ่จากจีน เป็นตัวแทนยี่ห้อ ตงฟงทั้งรถบรรทุกและรถโดยสาร ล่าสุดรับยอดจองน�ำเข้ารถ บัส 6 เมตร ทั้งส�ำเร็จรูปพร้อมเครื่องยนต์และแชสซีส์มา ประกอบ ให้ค�ำมั่นลูกค้าสามารถตั้งยี่ห้อได้ตามใจชอบ ส่วน เครื่องยนต์ NGV ตงฟง ยอดพุ่งประกอบให้ไม่ทัน คุณกุลประวัติ ยิ่งสกุล รองประธาน บริษัท วี.อาร์.วี.

อ่านต่อหน้า 33


04 BUS&TRUCK • ดับเครื่องชม

ปกษหลัง • มีนาคม 2554

ดับเครื่องชม

¾§È ÈÔÃÔ »‚ 2 “Prince of Big Bus” เสร็ จ จากงาน Thailand Tour Theque 2010 ก็กลับบานไปพรอมคํา ชื่นชมที่ทําเอาเจาของรถเก็บเอากลับไป นอนฝนดีอยูหลายคืน กับสแกนเนียทับ กวางจากบาน ”พงศศริ ”ิ จ.สระบุรี กระแส ตอบรับหลังจากงานนี้ถือวาดีมากๆ เรียก ไดวา งานเหมามีเขามาชนิดทีว่ า วิง่ งานกัน จนแทบจะไมมีเวลาใหจอดพักกันเลยที เดียว มาปนี้เลยตัดสินใจอยางไมลังเล วา จะเขามารวมกิจกรรม Thailand Tour Theque 2011 ปลายปนี้เปนที่แนนอน มาครั้งนี้ควงแขนมากับแชสซีสหาง ตัวท็อป จาก บริษทั สแกนเนียสยาม จํากัด รหัส K420 EB 6x2 NI เครื่องยนต 6 สูบ แถวเรียง DC12 06 ใหกําลังสูงสุด 420 แรงมา (309 กิโลวัตต) ที่ 1,900 รอบ/ นาที มาตรฐานไอเสีย EURO 3 มั่นใจใน การควบคุมรถดวยดิสกเบรกพรอม EBS (ระบบไฟฟ า ควบคุ ม การป อ งกั น เบรก ล็อค) ระบบรองรับดานหนาเปนแบบ ปกนกทีใ่ หความนุม นวลมากกวา นอกจาก นี้ยังมีระบบแทรคชั่นคอนโทรลปองกัน การลื่นไถลอีกดวย ใชรถหางแบบนี้ขึ้น เหนือลองใต หายหวง คนขับไมเครียด ลูก ทัวรก็มั่นใจ ไมมีการมาจอดซอมริมทาง ในส ว นตั ว ถั ง นั้ น ยั ง คงรั ก เดี ย วใจ เดียวกับชางนัย จากอูมีแสงหนอย มาใน ทรงใบไม โทนสีเขียวๆ กับคอนเซ็ปต “ Prince of Big Bus ” เพนทลายการตูน เกาหลีใหมลาสุด ผลงานการสะบัดเสนสี จากพี่ตูนคนเดิม คุณภาพที่ออกมาสมกับ

ราคา 6 หมื่น เสริมความหลอเขาไปอีก นิด ดวยแกปหนาที่โอบรับกับใบไมดาน ขางอยางลงตัว เพิม่ ความสะดวกสบายให กับผูโ ดยสารดวยเบาะนวดไฟฟาจาก DRS ผอนคลายในการเดินทางระยะไกล ปทแี่ ลวเรือ่ งความดังก็ไดใจผูช มไป ไมนอย ปนี้ก็เชนกัน เรื่องระบบไฟจาก จอดไดนาโมแอรบสั เพือ่ ความมัน่ ใจวาอัด ไดไมมีถอย เครื่องเสียงจากรานยิ่งเจริญ ซาวด โลโกหนารถสีแดงสัญลักษณแหง คุ ณ ภาพ ภายในแค เ บาๆ ฟ ง กั น พอ ครื้ น เครง กั บ MARATHON ยกชุ ด ภายนอกซอนซับวูฟเฟอรขนาด 12 นิ้ว 8 ดอก เสริมดวย 15 นิ้ว อีก 2 ดอก ขับ ดวยพาวเวอรแอมป Bostwick Class D 3500 จํานวน 3 ตัว เสียงกลางจาก DDragon รอบคันขับดวย Hifonics เพื่อ ความดังสะใจถึงกับลงทุนถอดฝาเกะขาง ออก เพื่อใสลําโพงกันเลยทีเดียว เรียกนํา้ ยอยกันใหเห็นคราวๆ เพียง เทานีก้ อ น กวาจะถึงวันงานปลายปเชือ่ ได วายังมีไมเด็ดจากบานนี้อีกมาก เพราะ ทางทีมงานไดรับปากเปนมั่นเปนเหมาะ แลววามาครั้งนี้ไมไดมาคันเดียว อาจจะ เปน 2 หรือ 3 ก็เปนไปได รับรองวาไมผิด หวั ง ทุ ก คั น เห็ น แบบนี้ บ อกได เ ลยว า สังเวียนการประชันแสง สี เสียง รถ โดยสาร Thailand Tour Theque 2011 ที่จะจัดขึ้นในวันที่ 3 พฤศจิกายน ศกนี้ คงจะเปนการประชันทีด่ เุ ดือดเลือดพลาน สะใจทานผูชมกันอยางแนนอน

ตีทายรถ ยี่หอ : SCANIA DC12 06 ชวงลาง : SCANIA K420 EB 6x2 NI ราคาเครื่องยนตและชวงลาง : 4.6 ลานบาท ตัวถัง : อูมีแสงหนอย ราคา 1.65 ลานบาท เครื่องเสียง : ยิ่งเจริญซาวด ราคา (โดยประมาณ) 6 แสนบาท ติดตอ : 08-7665-5447

04-05 ������������.indd 4

3/17/11 2:23 PM


06 BUS&TRUCK • แวะเวียน

แวะเวียน

ปักษ์หลัง • มีนาคม 2554

สุขศิริ มอเตอร์ โชว์รูมแรกในประเทศไทย

ห้างหุ้นส่วนจ�ำกัด สุขศิริขนส่ง อย่างต่อเนือ่ ง เป็นตัวแปรส�ำคัญทีใ่ ห้เห็น แทนจ�ำหน่าย ไซโน่ ทรัค ของ บริษัท อยูใ่ นวงการขนส่งมากว่า 10 ปีแล้ว ด้วย ถึงทิศทางในการลงทุนครั้งยิ่งใหญ่เพื่อ สุขศิริ มอเตอร์ จ�ำกัด ธุรกิจขนส่งในประเทศที่ก�ำลังเติบโต งานขนส่งภายในประเทศ กับการเป็นผู้ โชว์รูมรถหัวลากไซโน่ ทรัค จากการเปิดตัวอย่างเป็นทางการ ก่อนหน้านี้ ด้วยการลงทุนครั้งแรกมูลค่า กว่า 100 ล้านบาท บนพื้นที่กว่า 3 ไร่ เป็น ศูนย์บริการทีค่ รบครันและส�ำนักงานใหญ่ ส่วนงบประมาณอีก 40 ล้านบาทได้เนรมิต โชว์รมู รถหัวลากไซโนทรัค ในนาม บริษทั สุขศิริ มอเตอร์ จ�ำกัด และเปิดตัวอย่าง เป็นทางการเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ในพื้นที่ เดียวกันนี้ได้แบ่งเป็นส�ำนักงานขายและ โชว์รูม เพื่อสร้างความสะดวกและมั่นใจ ให้ลูกค้ามากขึ้น ได้รับการแต่งตั้งเป็นทางการ บริษัท สุขศิริ มอเตอร์ จ�ำกัด ได้รับ แต่งตั้งให้เป็นผู้จ�ำหน่ายในประเทศไทย โดยได้รับความไว้วางใจจาก คุณหยาง กรรมการบริหารไซโนทรัคประเทศจีน พู ด ได้ ว ่ า ในประเทศไทย 63 จั ง หวั ด (ยกเว้นภาคใต้) มีเพียงสุขศิริ มอเตอร์ เท่านั้น ที่ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นผู้แทน จ� ำ หน่ า ยรถหั ว ลากไซโนทรั ค พร้ อ ม เอกสารยื น ยั น จากบริ ษั ท แม่ เท่ า กั บ เป็ น การประกาศให้ บ ริ ษั ท ดู แ ลรถ ไซโนทรัคอย่างเป็นทางการ การสร้างความเชื่อมั่นให้ลูกค้า ในเรือ่ งการสร้างความเชือ่ มัน่ ไม่นา่ ห่วงมากนักเพราะได้มกี ารเตรียมการและ ส่งบุคลากรไปฝึกอบรมอย่างเข้มข้นถึง ประเทศจีน จ�ำนวน 2 ชุดแล้ว ในราย ละเอียดต่างๆ เกี่ยวกับตัวรถหัวลากไซโน ทรัคโดยตรง ลูกค้าจึงไม่ต้องเป็นห่วงใน เรือ่ งการซ่อมบ�ำรุง ทัง้ ยังมีทมี งานวิศวกร จากประเทศจีนถึง 3 ท่าน จากบริษัทแม่ มาดูแลประจ�ำตลอดเวลา พร้อมฝึกอบรม พนักงานไปด้วยทุกสัปดาห์ จึงมีความ มั่นใจอย่างมากในบริการ

ตรวจสถานี ชื่อบริษัท : บริษัท สุขศิริ มอเตอร์ จ�ำกัด เปิดให้บริการ : พ.ศ.2554 ประเภทของบริการ : ตัวแทนจ�ำหน่ายรถหัวลาก ไซโนทรัค

สินค้าตอบสนองตลาดในประเทศ ส�ำหรับเริม่ แรกในการน�ำสินค้ามา เปิดตลาดจากการแต่งตั้งเป็นผู้แทน จ�ำหน่ายในช่วงกลางปีทผี่ า่ นมา หัวลาก 10 ล้อ เครื่องยนต์ เอ็นจีวี 345 แรงม้า ได้การตอบรับเป็นอย่างดี สามารถตอบ สนองลูกค้าภายในประเทศได้อย่างน่า ประทับใจ การตลาดครอบคลุมทั่วประเทศ การลงทุ น ด้ ว ยงบประมาณ มหาศาลขณะนีส้ งู ถึง 400 ล้านบาท เพือ่ ให้ครอบคลุมทั่วทุกภาคของประเทศ (ยกเว้นภาคใต้) ทุกโชว์รูมก�ำลังอยู่ใน ระหว่างการก่อสร้างอย่างต่อเนื่องใกล้ แล้วเสร็จ รวมทัง้ หมดถึง 17 แห่ง ตัง้ แต่ ภาคเหนือทีเ่ พชรบูรณ์ พิษณุโลก ล�ำปาง ก�ำแพงเพชร นครสวรรค์ ภาคตะวัน ออกเฉียงเหนือที่ สุรนิ ทร์ นคร-ราชสีมา ขอนแก่น อุบลราชธานี ภาคตะวันตกที่ สมุทรสาคร นครปฐม ประจวบคีรีขันธ์ ภาคตะวันออกที่ ชลบุรี สุดท้ายภาค กลางที่ ลพบุรี สระบุรี (สนง.ใหญ่ ชั่ ว คราว และ แม่ แ บบ 4s Shop) พระนครศรี อ ยุ ธ ยา และกรุ ง เทพ มหานคร (ส�ำนักงานใหญ่) เป้าหมายการตลาดชัดเจน เป็นการลงทุนที่ค่อนข้างสูงและ รวดเร็วอย่างมากเริม่ จากปีทผี่ า่ นมา ต่อ จากนี้ ภ ายในปี นี้ ก ารตลาดจะต้ อ งมี ความเข้มข้นขึ้นมาก การตั้งเป้ายอด จ�ำหน่าย 500 คัน สิน้ ปีนจี้ ะต้องท�ำให้ได้ และปีถัดไปจะสูงขึ้นเป็น 800 คัน ซึ่ง เป็นงานที่ท้าทายอย่างมาก เพราะเชื่อ ว่าสินค้าและการบริการไม่เป็นรองใคร อย่างแน่นอน ประเมินได้จากการแชร์ ส่วนแบ่งจากรถยุโรปและเอเชีย จึงเป็น เรื่ อ งที่ น ่ า จั บ ตามองส� ำ หรั บ ตั ว แทน จ� ำ หน่ า ยรถไซโนทรั ค ของสุ ข ศิ ริ มอเตอร์ ด้วยการก�ำหนดอนาคตไว้ อย่ า งชั ด เจนและท� ำ งานได้ อ ย่ า งมี ประสิทธิภาพ


08 BUS&TRUCK • คันเร่งธุรกิจ

คันเร่งธุรกิจ

อีก 5 ปี รถจีนกระหึ่ม

เห็นได้ว่ายอดรถใหญ่เมื่อปีที่แล้ว สามารถท�ำได้มากถึง 22,000 คัน แต่ว่า ไม่มียอดรถใหญ่จากจีนรวมอยู่ในสถิตินี้ แต่หากดูจากตัวเลขยอดขายทีค่ า่ ยรถจีนมี ทั้ ง ยี่ ห ้ อ ไซโนทรั ค ตงฟง ยู ่ ท ง จงธง เฮงธง รวมทั้งยังมีรถตู้อีกมากมายหลาย ยี่ห้อระดมพลเข้ามาอีก ด้วยเหตุนี้เองค่ายรถจีน ได้เริ่มจาก แบ่งเค้กก้อนเล็กๆ และจะเริม่ ขยายใหญ่ขนึ้ ในปีตอ่ ไป เหมือนกับทีค่ า่ ยรถจากญีป่ นุ่ เคย ท�ำมาก่อน จากการส�ำรวจพบว่าอีก 5 ปี ค่าย จีนจะต้องโตเท่ากับค่ายญีป่ นุ่ แน่ โดยได้รบั ข้ อ มู ล มาจากผู ้ บ ริ ห ารของไซโน ทรั ค อิมพอร์ตแอนด์เอกซ์พอร์ต เพราะจากการ เริ่มจ�ำหน่ายในไทยได้เพียงไม่นาน ก็มีการ แย่งเป็นตัวแทนจ�ำหน่ายมากถึง 4 บริษัท แล้ว ส่วนรถโดยสารยีห่ อ้ ต่างๆ ก็ใช้กลยุทธ ด้านราคาเข้าชิงด� ำในช่วงเวลาที่ขสมก. เปลี่ยนรถและบขส.เพิ่มรถ NGV ด้วย คุณภาพที่ถือว่ามีมาตรฐานพอสมควร ด้วยกลยุทธ์ต่างๆ ที่ค่ายรถจีนใช้ไม่ ว่าจะเป็นการหาไฟแนนซ์มารองรับ การ สต๊อกอะไหล่ และบริการหลังการขายอย่าง ทันท่วงที ไม่ให้รถของลูกค้าต้องจอดเสีย นานเกินไปจนสูญเสียรายได้ เห็นได้ว่ามี บางยี่ห้อที่ผู้บริหารต้องลงไปคลุกคลีด้วย ตัวเอง เพื่อสร้างความมั่นใจให้กับลูกค้าว่า ไม่ขายแล้วทิ้ง ต้องรอดูตอ่ ไปว่าค่ายญีป่ นุ่ ทีเ่ ป็นเจ้า ตลาดมาอย่างยาวนาน จะยังรักษาแชมป์ ยอดขายต่อไปด้วยวิธกี ารใดบ้าง หากยังคง ขายในราคาแพงแต่การบริการหลังการขาย ยังอยู่ในระดับเดิม อาจจะถูกแบ่งยอดขาย ไปทีละน้อยเหมือนน�้ำซึมบ่อทราย บรรณาธิการอาวุโส หนังสือพิมพ์ BUS&TRUCK ที่ปรึกษากิติมศักดิ์ : ดร.ปราจิน เอี่ยมลำ�เนา พิชัย ภูพิชญ์พงษ์, ชยาวุธ จิระธันท์ ยู เจียรยืนยงพงศ์, บุ่นเอี้ยน ศรีแสนสุชาติ วชิรศักดิ์ เล้าประเสริฐ, วรพจน์ แสงทวีสิน เถลิง พลวรรณาภา, ชูชาติ สว่างสำ�ลี กรรมการผู้จัดการ : ชาตรี มรรคา รักษาการบรรณาธิการบริหาร : ชนม์จิรา ธรรมปิยะรักษ์ บรรณาธิการอาวุโส : เสกสรรค์ ไชยเผือก หัวหน้ากองบรรณาธิการ : ชนม์จิรา ธรรมปิยะรักษ์ กองบรรณาธิการ : ธัญพร ขันธสิทธิ์ พฤกษ์ ด่านจิตร์ตรง, จักรี โสภา เลขากองบรรณาธิการ : นันทน์ธนา ตัณฑกูล ที่ปรึกษากองบรรณาธิการ : สุมาลี นพเก้า เรณู ฟักสกุล, มยุรี ดุ๊ก ผู้จัดการโฆษณา : เสกสรรค์ ไชยเผือก แผนกโฆษณา : สมชาย อินตะ, วุฒิชัย ศิริจันทร์โท เลขาแผนกโฆษณา : จุฑามณี ภูมิดิษฐ์ พัฒนาธุรกิจ : รัสมี นิลกำ�แหง สมาชิก : ชุมพล บุญประคม เว็บไซต์ : BusAndTrucks.com : ลลิตา พูลมา การเงิน : ศิรินาถ แก้วอุไร ศิลปกรรม : BIP GROUP พิมพ์ : กรังด์ปรีซ์ อินเตอร์เนชั่นแนล จัดจำ�หน่าย : เวิลด์ออฟดิสทริบิวชั่น โทร. 0-2744-6888 ผู้จัดทำ� : บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอร์เนชั่นแนล จำ�กัด 200/12-14 ชั้น 7 อาคารเออีเฮ้าส์ ซ.รามคำ�แหง 4 แขวง/เขต สวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250 โทร. 0-2717-2477 แฟกซ์. 0-2717-2466, 0-2729-8758 www.BusAndTrucks.com อีเมล์ : info@busandtrucks.com sales@busandtrucks.com

ปักษ์หลัง • มีนาคม 2554

สามมิตร ภูมิใจรถก๊าซประกอบเอง ปตท.มั่นใจ ใช้บริการ

สามมิตรรุกตลาดพลังงานเต็มตัว เริม่ แรกเปิดบริษทั ขนส่งก๊าซ NGV ก่อน มัน่ ใจคุณภาพท�ำการประกอบเอง ปตท. วางใจใช้บริการให้ขนส่งก๊าซถึง 68 คัน แผนต่อไปเปิดปั๊มก๊าซทั้งขายส่งและ ขายปลีก เผยอนาคตธุรกิจพลังงาน โตขึ้น ส่วนธุรกิจเดิมประกอบตัวถังรถ บรรทุกมั่นใจยังครองแชมป์ต่อเนื่อง คุณสุริยา โพธิ์ศิริสุข รองกรรมการผู้จัดการ การขายการตลาดและ บริการหลังการขาย บริษัท สามมิตร มอเตอร์สแมนูแฟคเจอริง จ�ำกัด เปิด เผยกับ BUS & TRUCK ว่า ขณะนี้ธุรกิจ ใหม่ทไี่ ด้เริม่ ด�ำเนินการคือธุรกิจพลังงาน ได้เปิดบริษัทใหม่เพื่อท�ำการขนส่งก๊าซ ธรรมชาติ NGV โดยทั้งรถหัวลากและ แท็งก์บรรทุกก๊าซ NGV จะซื้อมาเพื่อ ท� ำ การประกอบเอง มาตรฐานและ อุปกรณ์ทุกอย่างจะผ่านการตรวจสอบ จากหน่วยงานที่ดูแล เริ่มแรกทางปตท. ให้ความไว้วางใจด้วยการรับประมูลเป็น จ�ำนวนถึง 68 คัน เป็นระยะเวลา 10 ปี นอกจากนี้ แ ล้ ว ทางปตท. ยั ง มี แผนที่จะประมูลเพิ่มอีก 200 คันภายใน ปีนี้ ทางสามมิตรเองคาดว่าจะต้องได้รบั การประมูลเพิ่มอีกอย่างแน่นอนจึงได้ เตรียมขยายรถหัวลากและแท็งก์บรรทุก ก๊าซเพิ่มเป็นการรองรับ “ทางด้านการขนส่งนั้น สามมิตร เองก็ได้เปิดธุรกิจทางด้านโลจิสติกส์ดว้ ย การขนส่งชิ้นส่วนประกอบรถยนต์ส่งให้ กับค่ายโตโยต้า ฮอนด้า และนิสสัน เป็นต้น ดังนัน้ การตรงต่อเวลาถือว่าเป็น สิ่งส�ำคัญต่อผู้ว่าจ้างเป็นอย่างมาก จึง เป็นการเสริมความมั่นใจให้ทางปตท. ยอมรับสามมิตรเป็นผูร้ บั ขนส่งก๊าซ NGV ให้” คุณสุรยิ า เปิดเผยต่อว่า อีกสาเหตุ หนึ่ ง ที่ ส� ำ คั ญ คื อ รถบรรทุ ก ก๊ า ซของ สามมิตร สามารถบรรทุกก๊าซ NGV ได้ ถึ ง 50,000 ตั นต่อ คั น ในขณะที่ร ถ บรรทุกก๊าซ NGV ของบริษัทอื่น บรรทุก ได้เพียง 40,000 ตัน ท�ำให้ปริมาณการ ขนส่งก๊าซ NGV ไปยังปั๊ม NGV แต่ละ แห่งที่อยู่ในพื้นที่รับผิดชอบมีก๊าซเพิ่ม มากขึน้ ลดค่าใช้จา่ ยในการขนส่งได้เป็น อย่างมาก ส่วนแผนการต่อไปที่ได้วางไว้คือ การเปิดสถานีบริการ NGV ที่ทางปตท. จะท�ำการประมูลต่อไปทั้งนี้เพื่อที่จะได้ ให้บริการทั้งรถบรรทุกของสามมิตรเอง ซึ่งมีอยู่เป็นจ�ำนวนมากรวมทั้งจะท�ำการ ขายปลีกเพือ่ ให้บริการแก่รถใหญ่และรถ

เล็กที่ใช้ก๊าซ NGV ทั่วไป ในส่วนของธุรกิจการประกอบตัว ถังรถบรรทุกทีถ่ อื เป็นธุรกิจหลักของสาม มิตร ก็ถือว่าอยู่ในระดับการเติบโตที่ต่อ เนื่อง คาดว่าจะต่อตัวถังรถบรรทุกได้ ประมาณเดือนละ 600 คัน ซึ่งถือว่ามาก สุดในธุรกิจนี้ โดยได้ท�ำการยกระดับ มาตรฐานขึ้นให้เป็นระดับสากล อย่าง ISO ทัง้ นีเ้ พือ่ ทีจ่ ะได้เปิดตลาดส่งออกได้ ด้วย พร้อมทัง้ ยังได้ลดต้นทุนด้วยการน�ำ

เครื่องจักรมาใช้ประกอบชิ้นส่วนต่างๆ แทนการใช้ก�ำลังคน ซึ่งเริ่มหายากรวม ทั้งราคาค่าจ้างแพงขึ้นด้วย ส�ำหรับธุรกิจของสามิตรนอกจาก ประกอบตัวถังแล้วยังได้ผลิตชิ้นส่วนทั้ง ช่วงล่าง อะไหล่ และเพลา รวมทั้งยังมี หลังคาสามมิตร เป็นต้น ท�ำให้คาดว่า รายได้ในปีนี้จะเพิ่ม 20% เป็นอย่างน้อย จากปีทแี่ ล้วทีท่ ำ� ได้ประมาณ 5,000 ล้าน บาท

สแกนเนียเปิดกลยุทธใหม่ ให้ลูกค้าเช่ารถ

สแกนเนีย เปิดตลาดแนวใหม่ รักษาลูกค้าเก่าให้เป็นลูกค้าใหม่หาก รถขัดข้องต้องรีบใช้ด่วน สามารถเช่า รถไปใช้งานก่อนได้ คาดปีนี้ยอดทะลุ 400 คันแน่ แหล่ ง ข่ า ว บริ ษั ท สแกนเนี ย สยาม จ�ำกัด เปิดเผยว่า ทางบริษัทได้ ใช้กลยุทธ์ในการท�ำตลาดรูปแบบใหม่ คือ น�ำรถทดลองขับซึ่งเป็นรถหัวลาก 10 ล้อ มาให้กลุ่มลูกค้าเก่าได้ท�ำการ เช่ า ไปใช้ ง านชั่ ว คราวถื อ ว่ า เป็ น การ สร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้าเป็น อย่างมาก ต้ น เหตุ ข องการท� ำ ตลาดนี้ สื บ เนื่องมาจากรถหัวลากของกลุ่มลูกค้า เกิดเหตุขดั ข้องหรือมีงานด่วนต้องใช้รถ เพิม่ แต่ตอ้ งสัง่ จองกับบริษทั เกินก�ำหนด ทีไ่ ด้รบั มาจากผูว้ า่ จ้าง วิธกี ารแก้ปญ ั หา ในเบื้องต้นก็คือ ทางบริษัทจะให้รถ ทดลองขับไปแก้ปัญหาล่วงหน้านี้ก่อน ส่งผลให้ธรุ กิจขนส่งของลูกค้าสามารถ เดินหน้าต่อไปได้ “เริ่มแรกก็จะมีรถหัวลากเพื่อใช้

ในการนี้ 2 คันก่อน เมื่อลูกค้าใช้งาน เสร็จแล้วทางบริษัทก็จะท�ำการซ่อม ดูแลให้เพื่อใช้งานได้ดีเหมือนรถใหม่ ออกมาจากโรงงาน เพราะงานเดิมคือ ให้ลูกค้าใหม่ได้ท�ำการทดลองขับก่อน ส่วนงานรองลงมาก็คือ ช่วยดูแลเมื่อ รถของลูกค้าเกิดปัญหา” ส่วนรถสแกนเนียที่จ�ำหน่ายอยู่ ในปัจจุบนั นี้ มีทงั้ รถบรรทุกทีว่ งิ่ งานบน ถนน และที่ใช้งานในเหมือง รวมทั้ง ธุรกิจก่อสร้างด้วย นอกจากนีก้ ย็ งั มีรถ โดยสารทั้งแบบ 6 ล้อ และ 8 ล้อ ท�ำการจ�ำหน่ายด้วย โดยเป้าหมายหลัก ที่ ไ ด้ ว างไว้ ใ นปี นี้ จะต้ อ งขายได้ มากกว่า 400 คันแน่ รถใหญ่จากยุโรปที่ท�ำตลาดอยู่ ในเมืองไทย ขณะนี้มีอยู่ 4 ยี่ห้อ คือ สแกนเนีย วอลโว่ เอ็ม.เอ.เอ็น. และ เมอร์เซเดส-เบนซ์ คาดว่าในปีนี้จะ สามารถท� ำ ยอดจ� ำ หน่ า ยรวมได้ ถึ ง 1,000 คัน เพราะทุกค่ายได้ระดม กลยุทธ์ต่างๆ ออกมาดึงดูดลูกค้ากัน อย่างมากมาย


คันเร่งธุรกิจ • BUS&TRUCK 09

ปักษ์หลัง • มีนาคม 2554

คันเร่งธุรกิจ

สุขเกษม บุกตลาดรถเก่า วิริยะ โวเบี้ยประกันโตกว่า 16% เน้นคุณภาพประหยัดพลังงาน ตั้งเป้าปี 54 รุกตลาดรถใหญ่

สุขเกษม ทรัค แฟคทอรี่ ประกาศ บุกตลาดรถเก่าเต็มตัว น�ำเครือ่ งยนต์เก่า แดวู NGV จากเกาหลี มาประกอบกับรถ มือสอง จากญี่ปุ่น ราคาขายแค่ 1.5 ล้าน บาท มั่นใจผู้ประกอบการขนส่งรายใหม่ ต้องเชื่อมั่นในคุณภาพและราคาแน่ คุณสุวรรณ งามสะพรั่ง ประธาน กรรมการ บริษัท สุขเกษม ทรัค แฟคทอรี่ จ�ำกัด เปิดเผยกับ BUS & TRUCK ว่า เป้า หมายการตลาดทีว่ างไว้คอื จะบุกตลาดรถ ใหญ่มือสอง ทั้งนี้เพราะผู้ประกอบขนส่ง รายใหม่ทตี่ อ้ งใช้รถใหญ่ทมี่ คี ณุ ภาพดีและ ราคาเหมาะสม เพือ่ ทีจ่ ะได้สามารถดึงดูด กลุ่มผู้ว่าจ้างได้ โดยจะน�ำเข้าเครื่องยนต์ ยี่ห้อแดวู NGV ที่ใช้ในรถเมล์จากประเทศเกาหลี เพราะตามกฎแล้วจะใช้เครื่องยนต์ในรถ ประจ�ำทางได้เพียง 7 ปีเท่านั้น เลือกน�ำ เข้าเฉพาะเครือ่ งยนต์ขนาด 290 และ 340 แรงม้า ตัวรถใหญ่นั้นจะน�ำเข้ามาจาก ประเทศญี่ปุ่น ส่วนถังก๊าซจะใช้ยี่ห้อ NK ติดตัง้ 8 ถัง โดยช่างผูเ้ ชีย่ วชาญทีผ่ า่ นการ

อบรมจากกรมพัฒนาฝีมอื แรงงานท�ำการ ประกอบรถและติดตั้ง “วางราคาจ�ำหน่ายไว้ที่คันละ 1.5 ล้ า นบาท ซึ่ ง ถู ก กว่ า รถใหม่ ที่ มี ร าคา ประมาณคันละ 3 ล้านบาท ซึ่งลูกค้าของ 2 กลุ่มนี้จะแตกต่างกัน โดยทางบริษัท เป็นดีลเลอร์จ�ำหน่ายรถหัวลากไซโนทรัค ของ S.S.K. สุขศิริ มอเตอร์ ด้วย” ส่วนช่องทางการท�ำการตลาดอีก ช่องทางหนึ่งคือรับติดตั้งเครื่องยนต์เก่า NGV ยีห่ อ้ แดวูดว้ ย เมือ่ มีลกู ค้าน�ำรถใหญ่ เครื่องยนต์ดีเซลเข้ามาติดตั้งก็จะรับซื้อ เครื่องยนต์เก่าไว้เพื่อระบายออกในภาย หลัง” เนื่องจากขณะนี้ได้เกิดปัญหาใน ประเทศตะวันออกกลางในหลายประเทศ ท�ำให้การผลิตน�ำ้ มันดิบส่งออกมาน้อยลง ราคาน�้ำมันเชื้อเพลิงจึงขยับสูงขึ้นตามไป ด้วย ดังนั้นก๊าซ NGV จึงเป็นอีกทางเลือก หนึ่งซึ่งกลุ่มขนส่งมีความจ�ำเป็นต้องใช้ ประเมินว่าน่าจะมีลูกค้าหันใช้เครื่องยนต์ NGV เพิ่มมากขึ้นอย่างคาดไม่ถึง

ใต้ท้องรถ • มีข่าวแว่วมาว่า ทางผู้บริหาร ของบริษัท DKSH (ประเทศไทย) จ�ำกัด มี แ นวโน้ ม ว่ า จะชลอการเป็ น ผู ้ แ ทน จ�ำหน่ายรถหัวลากไซโนทรัค ออกไป สาเหตุหลักเนื่องมาจากก๊าซ NGV ยังมี ไม่เพียงพอกับความต้องการของตลาด ส่งผลให้ลูกค้ารายใหญ่ที่ได้จองไว้ล่วง หน้าประมาณ 50 คัน อาจจะต้องขอรับ รถช้าออกไป เพราะหากซื้อรถมาก่อน แต่ไม่มีก๊าซเติม ก็ไม่สามารถใช้งานได้ เสียดอกเบี้ยไปฟรีๆ คราวนี้ก็ต้องถาม บอร์ ด บริ ห ารของปตท.ว่ า จะแก้ ไ ข ปัญหานี้อย่างไร จะขึ้นราคาก๊าซ NGV เป็นลิตรละ 12 บาท ก็ไม่ว่าขอเพียงให้ มีก๊าซมากพอที่จะท�ำให้รถวิ่งได้ • ข่าวดีส�ำหรับบริษัทขนส่งที่น�ำ รถใหญ่เข้ามาเองแต่ติดปัญหาต่างๆ ที่ ท�ำให้ไม่สามารถจดทะเบียนกับกรมการ ขนส่งได้ มีผเู้ สนอตัวจัดการปัญหาเหล่า นี้ เพราะมีประสบการณ์ทำ� มาแล้วหลาย คัน ขอเพียงแต่เตรียมเอกสารการน�ำ เข้ามาให้พร้อม พร้อมทั้งเงินค่าจ้างอีก ประมาณ 40,000 บาท ในเวลาเพียงแค่ 30-45 วัน ก็สามารถจดทะเบียนวิ่งบน ถนนได้แล้ว หากใครมีปัญหาในเรื่องนี้ ติดต่อมาได้ที่ BUS & TRUCK จะท�ำ หน้าที่เป็นสื่อกลางติดต่อผู้ที่ท�ำหน้าที่นี้ ให้ ซึ่งได้พิสูจน์มาแล้วว่าได้ผลจริง

• ช่วงนี้ถือว่าเป็นช่วงเงินเฟ้อ ท�ำให้สนิ ค้าต่างๆ มีราคาแพงขึน้ แต่ราย ได้ยังคงน้อยอยู่เท่าเดิมเหมือนอย่าง อะไหล่แท้ที่ทุกศูนย์บริการรถใหญ่มี แม้ว่าจะเพิ่มราคาขึ้นไม่มากแต่ก็ได้ส่ง ผลให้กับลูกค้า หากซื้อมาเปลี่ยนเงิน หมุนเวียนก็จะลดลง ซึง่ ในเรือ่ งนีเ้ ป็นผล ดีกับอะไหล่เทียม อะไหล่ปลอม และ อะไหล่เก่าเป็นอย่างมาก สาเหตุหลัก เนือ่ งมาจากมีราคาถูก แม้วา่ อายุการใช้ งานและคุณภาพจะสูก้ บั อะไหล่แท้ไม่ได้ แต่ก็สามารถท�ำให้ธุรกิจขนส่งสามารถ คล่องตัว ไม่เชื่อก็ต้องลองดูว่าตลาด อะไหล่จะแข่งขันกันอย่างดุเดือดแน่ • ส่ ว นตลาดแอร์ ร ถโดยสาร และรถบรรทุกก็เริ่มที่จะร้อนระอุมาก ขึ้นเหมือนกับสภาพอากาศ ขณะนี้แอร์ รถใหญ่ ยี่ ห ้ อ ต่ า งๆ ไม่ ว ่ า จะมาจาก ไต้หวัน เกาหลี และญี่ปุ่น ก็ต้องหา กลยุทธ์การขายมาแข่งกันเพิ่มมากขึ้น ซึ่งก่อนหน้านี้ก็มีหลายบริษัทที่ได้เป็น บนเรียนพืน้ ฐานให้บริษทั รายใหม่เห็นว่า การบริการหลังการขายเป็นสิ่งส�ำคัญ หากมัวแต่ขายอย่างเดียว โดยที่ราคาก็ สูงพอลูกค้าซื้อแล้วก็ปล่อยทิ้ง ในที่สุด ก็ต้องปิดบริษัทไป เพราะลูกค้าบอก ปากต่อปากจึงไม่มีใครซื้อเลย ซึ่งเรื่อง นี้ทุกธุรกิจต้องน�ำไปใช้จึงจะอยู่รอด

“วิริยะ” โว ปี 53 เบี้ยประกันภัย รับรวมกว่า 2 หมื่นล้านบาท หรือเติบโต กว่า 16% ตั้งเป้าปี 54 รุกตลาดรถใหญ่ อย่างจริงจัง ชี้มีเครือข่ายครอบคลุมทั่ว ประเทศ พร้อมวางแผนรับประกันภัย สินค้าที่มากับรถใหญ่ทุกประเภท เล็ง บริษัทขนส่งสินค้าเป็นกลุ่มลูกค้าหลัก แหล่งข่าวจาก บริษัท วิริยะประกันภัย จ�ำกัด เปิดเผยว่า ส�ำหรับผลการ ด�ำเนินงานในปี 2553 บริษัทฯ มีเบี้ย ประกันภัยรับรวมทัง้ สิน้ 20,205.56 ล้าน บาท หรื อ มี อั ต ราการเติ บ โตเพิ่ ม ขึ้ น 16.23% เมื่อเทียบกับปี 2552 โดยมีเบี้ย ประกันภัยรับจากการประกันภัยรถยนต์ (Motor) 18,597.23 ล้านบาท หรือ เติบโตเพิ่มขึ้น 14.90% อย่างไรก็ดี ในปี 2554 บริษัทฯมี แผนทีจ่ ะขยายงานของตลาดรถยนต์ดว้ ย การรุกตลาดรับประกันรถใหญ่อย่าง จริงจัง เนื่องจากบริษัทฯมีเครือข่ายที่ ครบวงจรและครอบคลุมทัว่ ประเทศ โดย เฉพาะอย่างยิง่ ในพืน้ ทีๆ่ มีผปู้ ระกอบการ

รถใหญ่จ�ำนวนมาก ได้แก่ ภาคกลาง ภาคอีสาน และภาคตะวันออก ซึง่ คาดว่า เงื่อนไขและความคุ้มครองที่บริษัทฯ น�ำ เสนอจะมี ค วามแตกต่ า งจากบริ ษั ท ประกันภัยอื่นๆ และสามารถจูงใจลูกค้า ให้ เ ลื อ กซื้ อ ประกั น ภั ย จากบริ ษั ท ฯได้ มากกว่า “นอกจากบริษทั ฯ ยังมีแผนทีจ่ ะรุก ตลาดการรับประกันภัยสินค้าทีม่ ากับรถ ใหญ่ทุกประเภท โดยมีกลุ่มลูกค้าหลัก คือ บริษัทผู้รับขนส่งสินค้า ทั้งนี้ บริษัทฯ ยังมีการติดต่อประสานงานกับคูค่ า้ ทีเ่ ป็น บริษัทประกันภัยเพื่อนบ้านไม่ว่าจะเป็น ประเทศลาวและเวียดนาม เพื่อเป็นการ อ� ำ นวยความสะดวกให้ กั บ ลู ก ค้ า ที่ ต้องการขับรถข้ามแดนให้ได้รับบริการ อย่างทั่วถึง บริษัทฯ ยังมีแผนที่จะขยาย งานบริ ก ารเข้ า ไปยั ง ประเทศกั ม พู ช า พม่ า และมาเลเซี ย ซึ่ ง การขยายงาน บริการดังกล่าวนี้จะเป็นการสร้างความ มัน่ ใจให้แก่ลกู ค้าในเรื่องความปลอดภัย ในการขับขี่รถข้ามแดนอีกด้วย


10 BUS&TRUCK • สัญญาณ

ปักษ์หลัง • มีนาคม 2554

จอดป้ายหมอชิต

สัญญาณ

โดย กรมการขนส่งทางบก

ทช.สร้างสะพานข้ามแยกดอนตะโก-ดอนแจง ขบ.เปิดเดินรถบางบัวทอง-ลาดบัวหลวง

กรมทางหลวงชนบท กระทรวง คมนาคม ได้ด�ำเนินการก่อสร้างสะพาน ข้ า มแยกหน้ า วั ด ดอนตะโก (ที่ กม. 6+900) ของถนนสาย ค ผังเมืองรวม เมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี ขณะนี้ได้ ด�ำเนินการไปแล้วกว่า 45 % ซึง่ อยูร่ ะหว่าง การวางคานบริเวณพื้นที่ก่อสร้าง โดย คาดว่ า จะก่ อ สร้ า งแล้ ว เสร็ จ ประมาณ ปลายปี 2554 คุณโสภณ ซารัมย์ รัฐมนตรีวา่ การ กระทรวงคมนาคม กล่าวว่าทีผ่ า่ นมากรม ทางหลวงชนบทได้ด�ำเนินการก่อสร้าง ถนนตามผังเมืองรวมสาย ค ผังเมืองรวม เมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี ซึ่งถนนสายนี้ ได้ก่อสร้างตัดผ่านสามแยกดอนตะโก (ถนนแม้นร�ำลึก) และสี่แยกดอนแจง (ถนนสายบ้านดอนแจงและถนนสมบูรณ์ กุล) และหลังจากการก่อสร้างแล้วเสร็จ ปัจจุบันพบว่าถนนสายดังกล่าวมีปริมาณ การจราจรที่หนาแน่นเป็นจ�ำนวนมากขึ้น ท�ำให้เกิดการจราจรติดขัดบริเวณทาง แยกต่าง ๆ กรมจึงได้ดำ� เนินการโครงการ

กรมการขนส่งทางบก เชิญชวนผู้ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340 ผ่าน ประกอบการขนส่งรายใหม่ ยื่นค�ำขอ สะพานข้ามคลองพระยาบันลือ ไปสุดเส้น อนุ ญ าตประกอบการเส้ น ทางเดิ น รถ ทาง ณ สถานทีจ่ อดรถโดยสารประจ�ำทาง โดยสารประจ�ำทาง หมวด 3 สายที่ 364 บริเวณที่ว่าการอ�ำเภอลาดบัวหลวง รวม บางบัวทอง-ลาดบัวหลวง ตั้งแต่วันนี้ ถึง ระยะทาง 38 กิโลเมตร ใช้รถโดยสาร ธรรมดา จ�ำนวนรถ 7-9 คัน เดินรถขั้นต�่ำ 20 เมษายน 2554 จากการที่ ผู ้ ไ ด้ รั บ ใบอนุ ญ าต วันละ 98-120 เที่ยว (ไป-กลับ 94-60 ประกอบการขนส่งประจ�ำทางด้วยรถทีใ่ ช้ เที่ยว) คิดค่าโดยสาร 19 บาท ตลอดสาย ในการขนส่งผู้โดยสารในเส้นทางหมวด 3 ทั้ ง นี้ ส� ำ หรั บ เส้ น ทางบางบั ว ทองสายที่ 364 บางบัวทอง-ลาดบัวหลวง ไม่ ลาดบัวหลวง ก�ำหนดให้เดินรถวันละ 2-4 แจ้งความประสงค์ขอต่ออายุใบอนุญาต เที่ยว และเส้นทางช่วงบางบัวทอง-วัด คณะกรรมการควบคุมการขนส่งทางบก ราษฎร์นิยม ก�ำหนดให้เดินรถวันละ 96กลาง จึงมีมติอนุมัติให้ประกาศรับค�ำขอ 116 เที่ยว (ไป-กลับ 48-58 เที่ยว) ผู ้ ป ระกอบการขนส่ ง ที่ ส นใจ อนุญาตประกอบการขนส่ง เพื่อพิจารณา หาผูส้ มควรได้รบั ใบอนุญาตประกอบการ สามารถยื่นค�ำขอพร้อมเอกสารหลักฐาน ขนส่งในเส้นทางสายดังกล่าวขึ้น โดยเปิด ได้แก่ สภาพของรถ การเป็นเจ้าของรถ ให้ผู้ประกอบการขนส่งที่สนใจยื่นค�ำขอ แผนด้านมลพิษและสิ่งแวดล้อม สถานที่ เก็บซ่อมและบ�ำรุงรักษารถ จุดพักรถ ตั้งแต่บัดนี้ ถึงวันที่ 20 เมษายน 2554 ทั้งนี้ ได้ก�ำหนดรายละเอียดและ ต้นทางและปลายทาง แผนการให้บริการ เงื่อนไขเกี่ยวกับการเดินรถสายที่ 364 แผนการบริหารจัดการและการจัดการ บางบัวทอง-ลาดบัวหลวง ไว้ดังนี้ เริ่ม เดินรถ แผนด้านความปลอดภัยเกี่ยวกับ ต้นจากสถานทีจ่ อดรถโดยสารประจ�ำทาง ตัวรถและผู้โดยสาร รวมทั้งฐานะความ อ�ำเภอบางบัวทองไปตามทางหลวงแผ่น มัน่ คงของผูข้ อ เพือ่ ประกอบการพิจารณา ดินหมายเลข 3215 ถึงทางแยกทางหลวง ได้ที่งานการขนส่งผู้โดยสารประจ�ำทาง 1 แผ่นดินหมายเลข 340 แยกขวาไปตาม ส่ ว นการขนส่ ง ผู ้ โ ดยสารประจ� ำ ทาง ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 340 ผ่านบ้าน ส�ำนักการขนส่งผูโ้ ดยสาร กรมการขนส่ง คลองเจ๊ก สี่แยกนพวงศ์ โรงเรียนชุมชน ทางบก โทร.0-2271-8519 หรือ สอบถาม ครั้งนี้ด้วย วัดหน้าไม้ ถึงทางแยกวัดราษฎร์นยิ ม แยก รายละเอียดเพิม่ เติมได้ที่ ส�ำนักงานขนส่ง ส� ำ หรั บ รถตู ้ ถู ก กฎหมาย จะมี ขวาไปตามทางหลวงชนบท ผ่านหมู่บ้าน จังหวัดนนทบุรี โทร.0-2591-4078 และ สัญลักษณ์สติกเกอร์สสี ม้ ทัง้ หน้าและหลัง ก.พ.วัดราษฎร์นิยม ตลาดลาดบัวหลวง ที่ ส� ำ นั ก งานขนส่ ง จั ง หวั ด พระนคร ข้อความว่า “รถตูร้ ว่ ม บขส.” ซึง่ ประชาชน โรงพยาบาลลาดบัวหลวง แยกขวาไปตาม ศรีอยุธยา โทร.0-3533-5432 จะได้รับความปลอดภัยในการใช้บริการ เพราะรถตู ้ เ หล่ า นี้ ต ้ อ งซื้ อ กรมธรรม์ BUS & TRUCK FAQ ประกันคุม้ ครองผูโ้ ดยสารวงเงินคุม้ ครอง คนละ 100,000 บาท และใช้ความเร็วใน พ.ต.อ.ยอดชาย ผู้สันติ, ผกก.ฝอ.3, บก.อก.บช.น.ฝ่ายประชาสัมพันธ์, บก.02 อั ต ราที่ ก� ำ หนด ขณะที่ ตั ว รถต้ อ งได้ มาตรฐานตามก�ำหนด หากผู้โดยสารใช้ บริการรถตูผ้ ดิ กฎหมาย จะไม่ได้รบั ความ การขับรถยนต์ที่ไม่มีแผ่นป้าย ปฏิบัติตามมาตรา 7 ต้องระวางโทษ ปลอดภัย เพราะบางรายไม่ได้ท�ำประกัน ทะเบียนในกรณีเพิ่งซื้อรถไม่ ปรับไม่เกิน 1,000 บาท คุ ้ ม ครอง และตั ว รถไม่ เ ป็ น ไปตาม ถึงเดือน และไม่ได้ออกจาก 2.มีความผิดตาม พ.ร.บ.รถยนต์ มาตรฐาน หลังจากนี้ บขส.จะหาพืน้ ทีจ่ อด อ�ำเภอที่เราออกรถผิดหรือเปล่าครับ พ.ศ. 2522 ดังนี้ ตามพระราชบัญญัติ รถตู้ร่วม บขส.โดยแยกพื้นที่ภาคเหนือ จากคุณ : เด็กเกาะ รถยนต์ พ.ศ. 2522 มาตรา 11 รถที่จด ตะวันออกเฉียงเหนือ ใต้และตะวันออกให้ ตอบค�ำ ถามผู้ ใช้น ามว่า เด็ ก ทะเบียนแล้ว ต้องมีและแสดงแผ่นป้าย ชัดเจน เพือ่ ไม่ให้กดี ขวางการจราจร คาด เกาะ กรณีการขับรถทีไ่ ม่มแี ผ่น และเครื่องหมายครบถ้วนถูกต้องตาม ว่าจะได้ข้อสรุปภายใน 2-3 เดือนนี้ ป้ายทะเบียนฯ มีความผิดตาม ที่ก�ำหนดในกฎกระทรวงมาตรา 60 ผู้ “จากผลการส�ำรวจช่วงแรกพบว่ามี กฎหมาย 2 ฉบับ ดังนี้ ใดฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรา 11 รถตู้ผิดกฎหมายถึง 6,000 คัน แต่เมื่อจด 1.มีความผิดตาม พ.ร.บ.จราจร ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 2,000 บาท ทะเบี ย นแล้ ว มี ร ถตู ้ เ ข้ า มาในระบบ ทางบก พ.ศ. 2522 มาตรา 7 ห้ามมิให้ การขั บ รถที่ ไ ม่ มี แ ผ่ น ป้ า ย ประมาณ 3,000 คัน กระทรวงฯ จะจัด ผู ้ ใ ดน� ำ รถที่ มิ ไ ด้ ติ ด แผ่ น ป้ า ยเลข ทะเบียนมีความผิดและมีอตั ราโทษปรับ ระเบี ย บเท่ า นี้ ส่ ว นที่ เ หลื อ หากยั ง ให้ ทะเบียน แผ่นป้าย เครื่องหมายเลข ตามหลักกฎหมายดังทีก่ ล่าวมาแล้วข้าง บริ ก ารจะจั ด การขั้ น เด็ ด ขาด โดย ทะเบี ย น หรื อ ป้ า ยประจ� ำ รถ ตาม ต้น ทางแก้ก็ขอให้ท่านรีบไปติดต่อกับ กระทรวงฯ มีนโยบายส่งเสริมให้ท�ำผู้ กฎหมายว่าด้วยรถยนต์ กฎหมายว่า เจ้าของร้านหรือตัวแทนฯ ทีซ่ อื้ รถมาให้ ประกอบการท� ำ ถู ก กฎหมายและมี ด้วยการขนส่ง กฎหมายว่าด้วยล้อเลือ่ น เร่งรัดด�ำเนินการจดทะเบียนฯ ต่อกรม นโยบาย 10 ปี เปลี่ยนรถใหม่ เพื่อความ กฎหมายว่าด้วยรถลาก หรือกฎหมาย การขนส่งทางบก เพือ่ นายทะเบียนกรม ปลอดภัยของผู้โดยสาร รวมทั้งจะไม่เพิ่ม ว่าด้วยรถรับจ้างมาใช้ในทางเดินรถ การขนส่งทางบกจะได้ออกแผ่นป้าย จ�ำนวนรถให้มาแข่งขันกับผู้ประกอบการ โทษมาตรา 152 ผู้ใดฝ่าฝืนหรือไม่ ทะเบียนประจ�ำรถต่อไปครับ เดิม”

ก่อสร้างสะพานข้ามแยกที่ กม.6+900 ของถนนสาย ค ผังเมืองรวมเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี เพื่อแก้ไขปัญหาจราจร ติดขัดบริเวณสามแยกดอนตะโกและสี่ แยกดอนแจง อ�ำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี คุณวิชาญ คุณากูลสวัสดิ์ อธิบดี กรมทางหลวงชนบท ให้รายละเอียดว่า โครงการดังกล่าวจะก่อสร้างเป็นสะพาน คอนกรีตเสริมเหล็กผิวจราจรแอสฟัสท์ คอนกรีต ความยาว 560 เมตร จ�ำนวน 4 ช่องจราจร ไป-กลับ พร้อมทั้งก่อสร้าง ปรับปรุงถนนบริเวณพืน้ ทีก่ อ่ สร้างสะพาน ตั้งแต่ กม.ที่ 0+070 ถึง กม.ที่ 0+890 ก่ อ สร้ า งจุ ด กลั บ รถใต้ ส ะพานบริ เ วณ กม.ที่ 0+400 ตลอดจนปรับปรุงเกาะกลาง ทางเท้า ระบบระบายน�้ำ และระบบไฟฟ้า แสงสว่ า ง โดยใช้ ง บประมาณในการ ก่อสร้าง 180,000,000 บาท อย่างไรก็ตามระหว่างด�ำเนินการ ก่อสร้างประชาชนสามารถหลีกเลีย่ งไปใช้ ถนนเพชรเกษมแทนได้

รถตู้เถื่อนแห่เข้าระบบ บขส.กว่า 3 พันคัน

คมนาคมเปิดโครงการ “รถตู้ร่วม บขส.ถูกกฎหมาย อีกหนึ่งความภูมิใจ คมนาคม” มุ่งแก้ปัญหารถตู้ผิดกฎหมาย กว่า 3,400 คัน ใน 59 เส้นทาง ทั้งเรื่อง ควบคุมค่าโดยสาร ระบบประกันภัย คุณโสภณ ซารัมย์ รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงคมนาคม เปิดเผยว่า การเปิด โครงการ รถตูร้ ว่ ม บขส. ถูกกฏหมาย ถือ เป็ น อี ก หนึ่ ง ความภู มิ ใ จของกระทรวง คมนาคม เพื่ อ จะแก้ ไ ขปั ญ หาและจั ด ระเบียบรถตู้ผิดกฏหมายให้ถูกกฎหมาย โดยกรมการขนส่งทางบก จะร่วมมือกับ บริษัท ขนส่ง (บขส.) เข้ามาควบคุมดูแล มาตรการ และ กฎระเบียบข้อบังคับต่างๆ ของรถตู้ โดยบขส.ได้จัดท�ำสติกเกอร์ ข้อความว่า “รถตู้ร่วม บขส.” ส�ำหรับติด ด้ า นหน้ า และด้ า นหลั ง รถตู ้ เพื่ อ ให้ ผู ้ โดยสารสังเกตเห็นชัดเจนว่าเป็นรถที่ถูก กฎหมาย ก่อนหน้านี้ บขส.ได้รับรถตู้นอก ระบบเข้ามาท�ำให้ถูกกฏหมายกว่า 3,400 คัน ใน 59 เส้นทาง โดยรถตู้ดังกล่าวเป็น รถตูร้ ะหว่างจังหวัด ระยะทางไม่เกิน 300 กิโลเมตร เพือ่ ด�ำเนินการให้สอดคล้องกับ นโยบายกระทรวงคมนาคม ที่จะต้องมี การควบคุมความเร็วไม่เกินกว่าอัตราที่ ก�ำหนด มีระบบประกันภัย และควบคุม ค่าโดยสาร ฯลฯ ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะท�ำให้ ประชาชนเกิดความมัน่ ใจในการใช้บริการ และได้รับประโยชน์จากการด�ำเนินการ

ขับรถไม่มีป้ายทะเบียน


กดแตร • BUS&TRUCK 11

ปักษ์หลัง • มีนาคม 2554

สังคมโชเฟอร์

กดแตร

ตร.ทางหลวงเงินไม่พอใช้

จากเรื่องที่ทางช่อง 7 ได้เสนอข่าว ในเรื่องที่รถบรรทุกน�้ำมันได้ลักลอบถ่าย น�้ำมันที่บรรทุกไปลงถังน�้ำมัน 200 ลิตร เป็นจ�ำนวนมากกว่า 10 ถัง โดยมีต�ำรวจ ทางหลวง จังหวัดนครราชสีมาเป็นผูด้ แู ล นั้ น ได้ ส อบถามรายละเอี ย ดต่ า งๆ มา รายงานเพื่อให้ทราบโดยทั่วกัน รถบรรทุ ก น�้ ำ มั น คั น ดั ง กล่ า ว สามารถบรรทุกได้ถงึ 40,000 ลิตร โดยที่ รถคันดังกล่าวได้ติดระบบ GPS เพื่อบอก เส้นทางที่วิ่งและระยะเวลาการจอดรถ รวมทั้งหากเปิดถังบรรทุกน�้ำมันก็จะมี รายงานผลไปยังบริษทั แม่ของรถทีบ่ รรทุก น�้ำมันคันนั้น แต่ ด ้ ว ยเทคนิ ค ของคนขั บ รถ สามารถทีจ่ ะผ่านขัน้ ตอนเหล่านีไ้ ด้ เมือ่ ขับ รถผ่ า นไปถึ ง โคราชแล้ ว ก็ จ ะมี ส ถานที่ ประจ�ำริมทางส�ำหรับท�ำการถ่ายน�้ำมันที่ บรรทุกมาลงถังที่ได้เตรียมไว้ และเพื่อ เป็นการกลบเกลื่อนความผิดนี้จึงได้น�ำ เอทานอลผสมเข้าไปแทน เพื่อที่เวลาลง น�้ำมันให้กับสถานีบริการน�้ำมันก็จะไม่มี ทางทราบ เพราะปริมาณเท่ากับทีไ่ ด้สงั่ ไว้ โดยในการกระท� ำ ผิ ด ครั้ ง นี้ ไ ด้ มี ต� ำ รวจทางหลวงที่ ป ระจ� ำ อยู ่ ใ นโคราช ให้การดูแลเป็นอย่างดี โดยได้รับสัดส่วน 50:50 เท่ากัน เมื่อค�ำนวณดูราคาน�้ำมัน

แล้ว หากเป็นน�ำ้ มันดีเซลราคาขายต่อก็จะ อยู่ที่ลิตรละ 20 บาท โดยปริมาณจริงนั้น อยู่ที่ถังละ 200 ลิตรจ�ำนวน 10 ถัง ได้ น�้ำมันทั้งหมด 2,000 ลิตร หากคิดเป็น ราคาแล้ ว ก็ ต กที่ 40,000 บาท/เที่ ย ว ต�ำรวจทางหลวงจึงได้อย่างน้อย 20,000 บาททีเดียว ต�ำรวจทางหลวงได้รับการนับถือ จากประชาชนทั่ ว ไปว่ า เป็ น ผู ้ พิ ทั ก ษ์ สันติราษฎร์ โดยประชาชนเป็นผูท้ เี่ สียภาษี เพื่อที่จะได้น�ำไปเป็นเงินเดือนของต�ำรวจ ทางหลวงแต่ใครจะรูบ้ า้ งว่าเงินทีไ่ ด้แต่ละ เดือนไม่ถึง 10,000 บาท ท�ำให้ไม่เพียง พอต่อการดูแลครอบครัวจึงต้องหาเงินที่ ผิดกฎหมายทัง้ ๆ ทีเ่ ป็นคนดูแลเอง ส�ำหรับ ไปเที่ยวพักผ่อนบ้าง แต่ก็ต้องขอชมต�ำรวจทางหลวงที่มี ส่วนดีอยู่บ้างเพราะได้ตามเรื่องนี้จากที่ เริม่ มีพริ ธุ ท�ำให้สามารถจับผูก้ ระท�ำความ ผิดได้ทั้งคนขับรถและต�ำรวจทางหลวง พวกเดียวกันเอง ส่วนผู้ที่รับเคราะห์หนักที่สุดก็คือ บริษัทบรรทุกน�้ำมันเพราะค่ายน�้ำมันผู้ว่า จ้ า งอาจจะยกเลิ ก งานไปเลยก็ ไ ด้ เนื่องจากผู้ใช้รถยนต์อาจจะไม่เข้ามาใช้ บริการในปัม้ ของค่ายน�ำ้ มันนีอ้ กี เพราะได้ น�้ำมันมาน้อยกว่าเงินที่จ่ายไป

เครื่องยนต์เติมไปไม่พัง?

เพื่ อ ให้ เ รื่ อ งกระจ่ า งมากขึ้ น ว่ า น�้ำมันที่ผสมกับเอทานอลของผู้ต้องหา รายนี้เมื่อรถยนต์ได้เติมไปแล้ว จะมี ผลกระทบอะไรหรือไม่ คุณมนูญ ศิริวรรณ นักวิชาการ สายเศรษฐกิจ ผู้ที่เคยเป็นบอร์ดบริหาร บริ ษั ท บางจากปิ โ ตรเลี ย ม จ� ำ กั ด (มหาชน) เปิ ด เผยถึ ง กรณี นี้ ว ่ า รถ บรรทุกน�้ำมันจะมี 2 ช่องส�ำหรับบรรทุก ช่องหนึ่งเป็นช่องบรรทุกน�ำ้ มันจริง ส่วน อี ก ช่ อ งหนึ่ ง เป็ น ช่ อ งบรรทุ ก น�้ ำ มั น แอบแฝง จึงเป็นไปได้สูงที่ผู้ขับรถรายนี้ จะแอบถ่ายน�้ำมันจากช่องบรรทุกแฝง หลังจากนัน้ ก็จะเติมเอทานอลลงไปแทน โดยเมือ่ ถ่ายน�ำ้ มันลงไปในช่องเก็บน�ำ้ มัน ของสถานีบริการน�้ำมัน เชื้อเพลิง 2 ตัว นี้ก็จะผสมกันเท่ากับจ�ำนวนที่ทางปั๊มได้ สั่งไป โดยหลักการทั่วไปแล้วน�้ำมันเชื้อ เพลิงทีผ่ สมเอทานอลหรือเมทานอลไม่มี ความจ�ำเป็นที่จะต้องผสมกันในโรงงาน แต่สามารถน�ำมาผสมกันได้ในสถานที่ ข้างนอก โดยคุณสมบัตกิ จ็ ะเท่าเทียมกัน ส� ำ หรั บ เครื่ อ งยนต์ ทุ ก ชนิ ด ที่ ไ ด้ น�้ำมันที่ผสมนี้ เครื่องยนต์ก็จะไม่ได้รับ

ผลกระทบอะไรสามารถท�ำงานได้ตาม ปกติ เพียงแต่วา่ ระยะทางการวิง่ ต่อลิตร อาจจะสั้นลงกว่าเชื้อเพลิงปกติ ส่วนด้านราคาน�้ำมันเชื้อเพลิงนั้น ข ณ ะ นี้ ป ร ะ เ ท ศ ผู ้ ผ ลิ ต น�้ ำ มั น ใ น ตะวั น ออกกลางมี วิ ก ฤตการทางการ เมืองอยู่ ท�ำให้ก�ำลังการผลิตน�้ำมันออก มาน้อยกว่าปกติ ส่งผลให้ราคาน�้ำมัน ดิบ/บาเรล สูงขึ้นถึง 115 ดอลลาร์เลย ทีเดียว ซึ่งนั่นก็หมายถึงราคาน�้ำมันเชื้อ เพลิงที่จ�ำหน่ายในประเทศก็ต้องสูงตาม ไปด้วย โดยเฉพาะน�้ำมันดีเซลซึ่งใช้ใน การขนส่งเป็นหลักแม้ว่าในปัจจุบันนี้ รัฐบาลจะให้การช่วยเหลือด้วยการน�ำ เงินกองทุนมาอุดหนุนไม่ให้เกินลิตรละ 30 บาท แต่หากเหตุการณ์ยังเป็นเช่นนี้ อยูร่ าคาน�ำ้ มันก็ตอ้ งสูงต่อไปเรือ่ ยๆ เป็น เหตุ ใ ห้ เ งิ น กองทุ น อาจจะหมดลงได้ ภายในต้นเดือนเมษายนนี้ แล้วราคาน�ำ้ มันดีเซลก็จะต้องขยับ เพิ่มขึ้นเกินลิตรละ 30 บาทแน่ แต่คงจะ ค่อยๆ ขยับไปตามล�ำดับไม่พรวดพราด ไปเป็นลิตรละ 40 บาทในครั้งเดียว เพื่อ ให้ผู้ใช้ได้มีเวลาปรับตัว

พี่หมู ID DRIVER การเป็นนักขับรถที่ดีนั้นไม่ใช่ เรื่องง่ายๆ ถึงจะสอบผ่านใบขับขี่มา แล้วก็ตาม ทั้งรถเล็กรถใหญ่ ส�ำหรับ ผูท้ จี่ ะให้คำ� ตอบส�ำหรับเรือ่ งการขับรถ ขนาดใหญ่ให้ปลอดภัยได้นั้นคงต้อง เป็น คุณเฉลิมศักดิ์ หุ่นนาครินทร์ ขอ เรียกว่าพี่หมูก็แล้วกันนะครับ เป็นอีก หนึ่งผู้เชี่ยวชาญและมีความรู้เกี่ยวกับ การขับรถขนาดใหญ่ที่ถูกต้องระดับ แถวหน้าของประเทศไทย พี่หมูเป็นผู้ที่ให้ความส�ำคัญเรื่อง ความปลอดภัยในการขับรถอย่างสูง และเชี่ยวชาญเรื่องเทคนิคการขับขี่ ระดับสูงเลยทีเดียว ความสามารถนั้น ได้มาจากการผ่านอบรมมากมายใน ต่างประเทศจากที่ดูประกาศนียบัตร ถ้าจะเอามาพูดถึงคงพูดไม่จบอย่าง แน่นอน ด้วยความสามารถนี้ ก็ไม่ได้ เก็บไว้ในกรุแต่อย่างใด ใครที่อยาก เรียนหรืออยากได้ความรู้นั้น พี่หมูก็ เป็ น วิ ท ยากรและฝึ ก อบรมอยู ่ ที่ ID DRIVER ซึ่ ง พั ฒ นาบุ ค ลากรออกสู ่ ตลาดแรงงานมาแล้วมากมาย ปัจจุบัน ทางบริษัทขนส่งต่างๆ ให้ความส�ำคัญ

เ ลื อ ก ที่ จ ะ ส ่ ง พนั ก งานมาฝึ ก อบรมกั น แล้ ว หลายบริษัท เมื่อ ได้ พ บกั บ พี่ ห มู ผมจึงขอทดสอบ ว่ า จริ ง สมค� ำ ร�่ ำ ลือหรือเปล่า จึง ขออาสาขึ้นรถพ่วงนั่งคู่ไปด้วย ในการ ทดสอบการทรงตัวเหมือนอยู่บนถนน เปียกแฉะไม่พอแถมยังฉีดโฟมเพราะ กลัวถนนลืน่ ไม่พออีกด้วย แค่รถเล็กเวลา เบรกบนถนนเปียกก็เสียวแล้ว เริ่มต้น เลี้ยวมากจากจุดจอดด้วยความเร็วเลยที เดียวพอถึงจุดเบรกพี่หมูเบรกอย่างไม่มี การเตือนเลยรถพ่วงไถลยาวซ้ายขวา ต้องขอสารภาพว่าใจหายไปแล้วนึกว่าจะ เสียหลักแล้วในการเบรกครั้งนั้น แต่ ประสบการณ์สูงเช่นนี้ไม่มีการเสียการ ทรงตัวให็เห็นสามารถบังคับได้อย่างดี เก่งอย่างนี้อยากจะให้มาโชว์การดริฟท์ ในงานบัสแอนด์ทรัคจริงๆ เก่งมากเลย ส�ำหรับคนนี้ถ้ามีอะไรสงสัยก็สอบถาม ทาง ID DRIVER ได้เลยครับ


12 BUS&TRUCK • รักษ์รถ

ปักษ์หลัง • มีนาคม 2554

รักษ์รถ

ช่ ว งต้ น ปี ที่ ผ ่ า นมา ข่ า วคราว อุบัติเหตุของวงการขนส่งนั้นปรากฏให้ เห็นเป็นข่าวใหญ่กนั ไม่ขาดระยะ ท�ำเอา ผู้ประกอบการทั้งวงการขนส่งและรถ โดยสารใจคอไม่ดีไปพอสมควร เมื่อ ได้ยินข่าวคราวท�ำนองนี้หลายคนก็มัก จะโทษเวรโทษกรรม แต่เมื่อพิจารณา ถึงสาเหตุของอุบัติเหตุและการขับรถ ตามกฎจราจรโดยถ่องแท้แล้ว สาเหตุ ที่แท้จริงของอุบัติเหตุที่ปรากฏเป็นข่าว นั้น พอจะจ�ำแนกได้ดังนี้ สาเหตุจากบุคคล คนขับรถ เช่น ขับโดยประมาท ขับรถเร็ว ขับรถขณะ มึนเมา ขับรถในขณะทีร่ า่ งกายอ่อนเพลีย ไม่มีประสิทธิภาพในการควบคุมรถได้ ใช้โทรศัพท์ขณะขับรถ คนเดินถนนและ ข้ า มถนน เช่ น ไม่ ข ้ า มถนนตรง ทางม้าลายหรือสะพานลอย ข้ามตัดหน้า รถระยะกระชั้นชิด เป็นต้น สาเหตุจากรถ เช่น การน�ำรถที่ อุปกรณ์บกพร่องมาใช้ในทาง เช่น เบรก ไฟสัญญาณ กระจกส่องหลัง ทีป่ ดั น�ำ้ ฝน สาเหตุจากทางและเครื่องหมาย สัญญาณ เช่น บริเวณทางแยกทีม่ มี มุ อับ ยากต่อการมองเห็นรถทางอื่น ทางโค้ง ทางช�ำรุด เครื่องหมายสัญญาณช�ำรุด สาเหตุจากธรรมชาติ เช่น ฝน ตกหนัก หมอกลงจัด เป็นต้น จะเห็นได้ว่าสาเหตุหลักๆ ล้วนมา จากพฤติกรรมของผูข้ บั ขีท่ งั้ สิน้ มีคนไทย จ�ำนวนไม่นอ้ ยทีเ่ ชือ่ ว่า อุบตั เิ หตุเป็นเรือ่ ง ของเวรกรรม เมื่อเกิดอุบัติเหตุขึ้นครั้ง แล้วครั้งเล่า ณ จุดใดจุดหนึ่ง ก็มักจะพา กันคิดไปว่า บริเวณทางโค้งหรือทางแยก นั้นมีภูตผีปีศาจ มีวิญญาณที่มารอเอา ชีวิตผู้คนที่สัญจรไปมาบนถนนอยู่ ที่เรา เรียกกันติดปากว่า โค้งร้อยศพ แยกผีสงิ เป็นต้น ต่อมาเมื่อมีการขยายถนน ปรับ ผิวการจราจร อุบัติเหตุก็ไม่เกิดขึ้นหรือ เกิดน้อยลง ประชาชนจึงเข้าใจได้ว่า อุบัติเหตุไม่ได้เกิดขึ้นจากภูตผีปีศาจ แต่ เกิ ด จากความประมาทหรื อ ความ บกพร่ อ งของทั้ ง ตั ว ผู ้ ขั บ ขี่ แ ละตั ว รถ

อุบัติเหตุ ไม่ใช่เวรกรรม

นั่นเอง ถึงแม้จะเข้าใจแล้วว่าอุบัติเหตุ เกิดขึ้นเพราะอะไรกันแน่ แต่ผู้ขับขี่ส่วน ใหญ่ก็ยังขาดความรู้ในการขับรถเชิง ป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ ที่ผ่านมานั้น เรามักจะได้รับการเรียนรู้ที่จะขับรถบน ท้องถนนโดยมีคนในครอบครัว เพื่อน หรือคนรูจ้ กั สอนให้ ประกอบกับความไม่ เข้มงวดของผู้ใช้กฎหมาย ส่งผลให้การ จราจรในบ้านเราติดอันดับ 1 ใน 10 ประเทศที่ ก ารจราจรมี ส ถิ ติ ก ารเกิ ด อุบัติเหตุสูงที่สุดในโลก อุบัติเหตุเหล่านี้ จะไม่เกิดขึ้นหรือลดลงได้ ถ้าหากเรา เรียนรู้วิธีขับรถอย่างมีการคาดการณ์ ล่วงหน้า ไม่ใช่สักแต่ว่าขับได้ สตาร์ท เครือ่ ง เหยียบคลัตช์เข้าเกียร์แล้วก็นำ� รถ ออกไปวิ่งบนท้องถนน โดยที่ไม่ได้ค�ำนึง ถึงหลักความปลอดภัยหรือกฏจราจรที่ จ�ำเป็นเลย การคาดการณ์ เป็นกระบวนการ ในการป้องกันอุบัติเหตุที่ถัดมาจากการ สังเกตการณ์ เสมือนเป็นการสร้างภาพ ว่ามีสิ่งใดสิ่งหนึ่งก�ำลังจะเกิดขึ้นหรือจะ เกิดอะไรตามมาบนถนนข้างหน้า โ ด ย อ า ศั ย ข ้ อ มู ล จ า ก ก า ร สังเกตการณ์ การคาดการณ์ที่ถูกต้อง ฉับไวและมีประสิทธิภาพ จะท�ำให้มเี วลา

เพี ย งพอในเตรี ย มการเพื่ อ แก้ ไ ข สถานการณ์ ก่อนที่อุบัติเหตุจะเกิดขึ้น ยิ่ ง มี เ วลามากเท่ า ไรก็ ห มายถึ ง ความ ปลอดภัยที่มากขึ้นเท่านั้น และยังส่งผล ไปถึงการขับขีท่ นี่ มุ่ นวล ผูโ้ ดยสารไม่เกิด ความหวาดเสียว หรือในกรณีที่เป็นรถ ขนส่งสินค้า สินค้าของท่านก็จะลดความ เสี่ยงในการเสียหายได้อีกเยอะทีเดียว การสังเกตการณ์ทดี่ แี ละแม่นย�ำ เป็นพืน้ ฐานส� ำ หรั บ นั ก ขั บ รถที่ ต ้ อ งการความ ปลอดภัย ในชีวิตและทรัพย์สิน แต่ใช่ว่า ทุกคนจะท�ำได้เหมือนกันหรือเก่งเท่ากัน ขึน้ อยูก่ บั การฝึกฝนและทุม่ เทเอาจริงเอา จังกับการพัฒนาทักษะของตนเองเป็นที่ ตั้ง การคาดการณ์ล่วงหน้า คือการที่ คุณคาดว่าบางสิ่งจะหรืออาจจะเกิดขึ้น และสามารถคาดการณ์ได้ล่วงหน้าจาก ข้อมูลต่างๆ ที่มีให้เห็นบนท้องถนนขณะ นั้น คุณควรถามตัวเองว่า มีแนวโน้มจะ ได้พบกับอะไรบ้าง พวกเขาก�ำลังจะท�ำ อะไร ควรจะเร่งความเร็วหรือชะลอ ความเร็ว และจ�ำเป็นต้องหยุดรถหรือไม่ ในสภาพการจราจรที่มีการเปลี่ยนแปลง อยูต่ ลอดเวลา นักขับรถทีด่ คี วรจะต้องมี การตรวจสอบอยูเ่ สมอ ว่ารอบๆ ตัวท่าน

เกิดอะไรขึ้นบ้าง รู้ตัวอยู่ตลอดเวลา สังเกตการณ์เปลีย่ นแปลงของสภาพการ จราจรข้างหน้า มีสติเพือ่ เตรียมจะรับมือ กับเหตุการณ์ที่อาจจะเกิดขึ้น อย่างไร ก็ตาม เมื่อนักขับรถทั้งหลายได้มีการ คาดการณ์ล่วงหน้าแล้ว ยังมีปัจจัยอื่นที่ เข้ า มาท� ำ ให้ ขี ด ความสามารถในการ สังเกตการณ์และการคาดการณ์ของ ท่านลดลง ซึ่งเป็นผลให้การตัดสินใจใน สภาวะฉุกเฉินมีประสิทธิภาพลดลงไป ด้วย ยกตัวอย่างเช่น สภาพการที่ยาก ล�ำบาก หมอกลงจัด มีกลุม่ ควันหนาแน่น ทัศนวิสัยในการมองเห็นต�่ำ สภาพการ จราจรทีห่ นาแน่น ความไม่คนุ้ เคยต่อเส้น ทางที่ท่านต้องเดินทางผ่าน เป็นต้น สิ่ง เหล่านี้ล้วนส่งผลต่อการคาดการณ์และ การตัดสินใจทั้งสิ้น นอกจากนี้ชนิดของ ถนนก็มีส่วนส�ำคัญต่อการคาดการณ์ ด้วย การคาดการณ์จะแตกต่างกันไป ตามชนิดของถนน ถนนสองช่องจราจร ถนนสี่ช่องจราจร ถนนเดินรถทางเดียว ถนนเดินรถสวนทาง ในถนนสายทีม่ กี าร จราจรเบาบาง จะสามารถคาดการณ์ได้ ง่ายว่าผู้ขับขี่ท่านอื่นก�ำลังจะท�ำอะไร อย่างไรก็ตามการมีความรู้ในการ คาดการณ์ ล ่ ว งหน้ า และตระหนั ก ถึ ง ความปลอดภัยนั้นยังไม่เพียงพอ ต้อง ลงมือปฏิบัติด้วยจึงจะครบถ้วนสมบูรณ์ ผูข้ บั ขีร่ ถส่วนใหญ่ในบ้านเราไม่มคี วามรู้ และความตระหนักเลย บางส่วนรู้แต่ไม่ ตระหนัก พร้อมกันนี้ยังมีหลายท่านที่รู้ และตระหนัก แต่ไม่ลงมือปฏิบตั ติ ามกฎ แห่ ง ความปลอดภั ย หรื อ กฎจราจร อุบัติเหตุจึงสามารถเกิดขึ้นได้จากการ ละเลยเพียงเล็กน้อยของท่าน กฎแห่ง ความปลอดภัยหรือกฎจราจรเป็นสิง่ ทีไ่ ม่ อาจละเลยได้แม้เพียงข้อใดข้อหนึง่ หรือ ชั่วขณะใดชั่วขณะหนึ่ง มิฉะนั้นแล้วท่าน อาจจะต้องพบความสูญเสียทีไ่ ม่สามารถ ประเมินค่าได้เลย ไม่ว่าจะเป็นทรัพย์สิน เงินทอง เสียเวลาเยียวยาจิตใจผูป้ ระสบ เหตุ รวมไปถึงชื่อเสียงของท่านและ องค์กรอีกด้วย


รู้กฎก่อนขับ • BUS&TRUCK 13

ปักษ์หลัง • มีนาคม 2554

รู้กฏก่อนขับ

ข้อมูลจาก สมาคมผู้ประกอบการขนส่งสินค้าภาคอีสาน

วณัฐสุข สงวนศิริ Wanatt@ine.co.th

เทคนิ ค และความรู ้ ส� ำ หรั บ การ ประกอบอาชีพยังคงมีความจ�ำเป็นต้องน�ำ เสนอหมุนเวียนไปเรือ่ ยๆ ด้วยเหตุผลว่ามี ผู้ประกอบอาชีพขับรถหน้าใหม่ๆ ตาใสๆ เพิ่มขึ้น ในวงการบรรทุกขนส่งยังมีความ ต้องการพนักงานขับรถ เพื่อมาทดแทน บางส่วนที่เกษียณงานและมาเสริมเพิ่ม การประกอบอาชีพทุกอาชีพจ�ำเป็นอย่าง ยิง่ ทีจ่ ะต้องมีความรู้ ทุกอาชีพต้องเริม่ ด้วย ความรู้เพื่อจะช่วยให้มีความรู้ที่แท้จริงอัน ซึ่งจะน� ำ ไปสู่ความปลอดภัย ให้อาชีพมี ความมั่นคงไม่ต้องเสี่ยงกับการตกงาน เพราะความผิดพลาดที่เกิดจากความไม่รู้ เช่น ขับรถคว�่ำบริเวณทางโค้ง รถตกเขา ตกเหว พอเกิดอุบตั เิ หตุสงิ่ ทีต่ ามมาถ้าโชค ดีคือไม่บาดเจ็บ แต่รถเสียหาย โชคร้าย คือเถ้าแก่คงไม่เก็บไว้ให้รกบ้านรกบริษัท สิ่งที่ตามมาคือเลิกจ้าง พอถูกเลิกจ้างสิ่ง ทีเ่ กิดขึน้ ตามมาคือ “ความต้องการอาหาร เพื่อใส่ท้องให้อิ่มทั้งท้องของนักขับ ท้อง ของเมี ย และท้ อ งของลู ก ” เลิ ก จ้ า ง

เทคนิคการเข้าโค้ง

หมายความว่าต้องหาแหล่งหาเงินใหม่ เทคนิคการเข้าทางโค้งก็มีคนกล่าว ไว้หลากหลายรูปแบบหลากหลายวิธแี ต่จะ อย่างไรก็ตาม ผมขอแนะน�ำว่าวิธีการเข้า โค้งเพือ่ ลดความเสีย่ งทีจ่ ะน�ำไปสูก่ ารเกิด อุบัติเหตุ วิธีที่ง่ายที่สุดคือการปฏิบัติตาม ป้ายเตือนความเร็วที่ติดไว้ข้างๆ ทางนั่น แหละ เช่น ป้ายแสดงตัวเลขไว้ที่ 30 ก็ หมายความว่าใช้ความเร็วอย่าเกิน 30 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง การปฏิบตั ติ ามป้ายมี

โอกาสปลอดภัยมากถึง 90% เพราะตัวเลข 30 ที่ติดไว้ข้างทางบริเวณทางโค้งเป็น ตั ว เลขที่ เ กิ ด จากการค� ำ นวณทาง วิศวกรรมการสร้างถนน มีความหมายว่า “หากใช้ความเร็วไม่เกินป้ายก�ำหนดไว้ก็ จะมีโอกาสปลอดภัยนั่นเอง” ป้ายหรือ ตัวเลข 30 คือตัวช่วยนักขับ ช่วยให้นักขับ มีความปลอดภัยก็คล้ายๆ กับการที่เรา เดิ น เที่ ย วป่ า เราจ� ำ เป็ น ต้ อ งมี พ รานป่ า น�ำทางมิฉะนัน้ จะมีโอกาสหลงทาง การไป

เที่ยวต่างประเทศของบรรดาทัวร์ต่างๆ ก็ มีต้องมีผู้นำ� เที่ยวหรือไกด์นำ� เที่ยว นอกจากการใช้ความเร็วตาม ป้ายก�ำหนดแล้วยังต้องลดรอบเครือ่ งยนต์ เกียร์และความเร็ว การขับรถในขณะรถ ก�ำลังจะเข้าทางโค้งคนขับต้องวางแผนลด ความเร็วโดยการเปลีย่ นจากเกียร์สงู ลงมา ที่เกียร์ต�่ำ และต้องเปลี่ยนก่อนรถจะถึง บริเวณโค้ง เพื่อเตรียมความพร้อม ใน ระหว่างทีร่ ถเข้าโค้งความเร็วและเกียร์จะ ต้องสัมพันธ์กนั แล้ว สิง่ ทีค่ นขับต้องปฏิบตั ิ คื อ เพี ย งแต่ ป ระคองจั บ พวงมาลั ย และ ควบคุมให้รถวิ่งอยู่ในช่องทางเดินรถของ ตนเอง ความปลอดภัยก็บังเกิดแล้วครับ ในกรณี บ ริ เ วณทางโค้ ง ไม่ มี ป ้ า ย ก�ำหนดไว้ความเร็วทีเ่ หมาะสมและมีความ ปลอดภัยก็ไม่ควรเกิน 30 กิโลเมตรต่อ ชั่วโมง ก�ำลังเครื่องยนต์สอดคล้องกับ เกียร์ ระวังเกี่ยวกับการเหวี่ยงตัวของรถ หากเข้าโค้งด้วยความเร็วสูงย่อมมีโอกาส เสี ย หลั ก เพราะแรงเหวี่ ย งของสิ น ค้ า ที่ บรรทุกมาครับ

ประกาศแตงตั้งผูจัดจำหนายชวงและตัวแทนผูใหบร�การ

บริษัท คัมมิ่นส ดีเคเอสเอช ประเทศไทย จำกัด (Cummins DKSH (Thailand) Limited) ซึ่งเปนผูจัดจำหนายแตเพียงผูเดียวในประเทศไทย สำหรับ สินคาภายใตเครื่องหมายการคา คัมมิ่นส (Cummins) ซึ่งประกอบไปดวยเครื่องยนต เครื่องกำเนิดไฟฟาและอะไหล รวมทั้งการใหบริการหลังการขาย มีความยินดี​ี ขอประกาศใหทราบวา บริษัทฯ ไดแตงตั้ง

บร�ษัท เจร�ญยนตไทยพัฒนา จำกัด

ใหเปนผูจัดจำหนายชวงสำหรับอะไหลเครื่องยนตดีเซล คัมมิ่นส (Cummins) สำหรับใชกับเครื่องยนตเรือประมง และเปนตัวแทนผูใหบริการหลังการขาย เครื่องยนตดีเซลคัมมิ่นส (Cummins) ในรถบัสและรถหัวลาก ขนาด 260-420 แรงมา พรอมกันนี้ขอแจงใหบริษัทหรือหางรานตางๆ ที่ใชหรือแสดงเครื่องหมายการคาตราคัมมิ่นส (Cummins) ดังรูป

ซึ่งมิไดรับอนุญาตอยางเปนทางการ ใหระงับการใชหรือการแสดงเครื่องหมายการคาดังกลาวโดยทันที มิฉะนั้นเจาของเครื่องหมายการคาดังกลาวจำเปน ตองดำเนินการตามกฎหมายตอไป จึงประกาศมาใหทราบโดยทั่วกัน


14 BUS&TRUCK • TTC

ติดเบรก เฉลิมศักดิ์ หุ่นนาครินทร์

ปักษ์หลัง • มีนาคม 2554 อุปสรรคที่ส่งผลให้การขนส่งทางบกไม่เป็นหนึ่งในอาเซียน

ปัญหาลูกโซ่จากราคาน�ำ้ มัน ตอน 1

ผมได้นั่งดูราคาน�้ำมันที่บรรดานัก วิชาการทั้งหลายออกมาแสดงความคิด แต่ที่แน่ๆ เงิน เห็นกันทางทีวี บอกตรงๆ เลยก็ได้ว่า กองทุนน�้ำมันที่เก็บๆ เด็กๆ ก็คิดออก ไม่ต้องยกแม่น�้ำทั้งห้ามาสาธยาย ไปช่วงแรกๆ เป็นหมื่นล้าน สืบเนื่องมาจากปัญหาความไม่สงบใน แสนล้าน ใครเป็นคนดู ประเทศผู ้ ส ่ ง ออกน�้ ำ มั น ที่ รู ้ ๆ กั น อยู ่ ใครได้ผลประโยชน์ รัฐบาลน่าจะมีความจริงใจและโปร่งใส ในการแก้ปัญหามากกว่าการตั้งกองทุน มาอุ้มราคาน�้ำมัน ผมว่าแนวทางนี้คิดผิดตั้งแต่แรก แล้ว ลองมองย้อนกลับเมือ่ สมัยผมเด็กๆ ยังจ�ำได้ว่าราคาน�้ำมันดีเชลลิตรละบาท ห้าสิบตังค์ และก็ลิตรละสามบาทช่วงนี้ จ�ำได้แม่นเลยเพราะว่าผมไปซื้อมาใส่ เครือ่ งปัน่ ไฟบ่อยๆ สมัยนัน้ เวลาดูทวี ตี อ้ ง ใช้เครือ่ งปัน่ ไฟและก็เก็บสตางค์ชาวบ้าน ที่มาดูเพื่อเอาไปซื้อน�้ำมันยิ่งละครเรื่อง แก้วหน้าม้ากับเรื่องบัวแก้วบัวทองด้วย แล้วป้าๆ ยายๆ ทั้งหลายมากันแต่หัววัน แฮกเลอร์ หรือโทมัสเฮิร์น รวมถึงแสน เลยส่วนพวกลุง อา น้า ที่เป็นผู้ชายพวก ศักดิ์เมืองสุรินทร์ต่อยเมื่อไรเชียร์กันจน นี้ขามวย สมัยนั้นถ้า ราลี่โฮม มาวิน เครื่องปั่นไฟดับเพราะลืมไปดูน�้ำมันกว่า

จะเติมน�้ำมันไล่ลมเสร็จมวยต่อยเลยไป ถึงสิบเอ็ดบาทจะมีปัญหามากหน่อย แต่ ก็เข้าสภาวปกติโดยเร็วเพราะว่านิสยั ของ สองสามยกโดนบ่นไปตามระเบียบ คนไทยปรับตัวง่ายและก็ลืมง่ายด้วย ไม่ เห็นจ�ำเป็นต้องมาตัง้ กองทุนน�ำ้ มันให้มนั ยุง่ ยากวุน่ วายถ้าปล่อยไปตามธรรมชาติ มันก็ปกติอยู่แล้วพอมาตั้งกองทุนน�้ำมัน ท�ำให้เกิดการบิดเบือนความเป็นจริงทาง ธรรมชาติท�ำให้นิสัยของคนเปลี่ยนไป ด้วย แต่ทแี่ น่ๆ เงินกองทุนน�ำ้ มันทีเ่ ก็บๆ ไปช่วงแรกๆ เป็นหมืน่ ล้าน แสนล้าน ใคร เป็นคนดูใครได้ผลประโยชน์ ใครได้ผล ประโยชน์จากการปั่นราคาน�้ำมันในช่วง ที่มีการตั้งกองทุนน�้ำมัน ราคาน�้ำมันจะ ผันผวนมากถ้ายังจ�ำกันได้ แต่คนไทยเรา คงจะลืมกันหมดแล้วช่วงนัน้ ราคาหุน้ ของ บริษัทน�้ำมันเชื้อเพลิงราคาสูงมากจริงๆ โดยเฉพาะ ปตท.ปัน่ ราคากันจนบางจาก อยู่ไม่ได้รัฐฯต้องเข้าไปอุ้ม เงินภาษีที่รีด ถ้าเรามามองย้อนกลับไปพอน�ำ้ มัน จากชาวบ้านตาด�ำๆ ทั้งนั้นสรุปว่าชาว ขึ้นราคาครั้งหนึ่งประชาชนก็เดือนร้อน บ้านโดนทัง้ ขึน้ ทัง้ ล่องไม่มขี อ้ แม้ใดๆ ทัง้ เหมือนกัน ยิ่งช่วงลิตรละเจ็ดบาทจนมา สิ้นแม้แต่จะคิด


Your

Part

ner

Mete rial

hand

ling

We We are are aa distributor distributor of of CAT CAT Lift Lift Truck Truck in in Thailand!!! Thailand!!!

We offer all reange of CAT Lift Truck include Diesel, LPG, Electric, Reach Truck to suit all kind of operation in your workplace.

For more information please contact

Metro Tech Equipment Co.,Ltd.

Tel: +662-741-5582-5 Fax: +662-331-5301 www.metrotech.co.th info@metrotech.co.th


16 BUS&TRUCK • คบหาสมาคม

ปักษ์หลัง • มีนาคม 2554

คบหาสมาคม สหพันธ์การขนส่งทางบก แห่งประเทศไทย คุณอภิชาติ ไพรรุง่ เรือง ที่ ปรึกษาสหพันธ์การขนส่ง ทางบกแห่งประเทศไทย เปิดเผยว่า ต้องขอกล่าวย�ำ้ ให้ ผู ้ ป ระกอบการขนส่ ง ทางบกแห่ ง ประเทศไทยทั้งหมดพึงส� ำ นึกว่าการ ขนส่งเสรีจะเริ่มในปี 2558 ดังนั้นต้อง พัมนาองค์กรให้มคี วามเข้มแข็งเพือ่ ทีจ่ ะ สามารถแข่งขันกับบริษทั ขนส่งต่างชาติ ได้ เพราะมิเช่นนั้นแล้วอาจจะต้องปิด กิจการไปก็ได้ หรืออย่างน้อย ก็ตอ้ งเป็นผูร้ บั จ้างจากขนส่ง ต่ า งชาติ อี ก ที ห นึ่ ง ง า น ขนส่ ง ก็ ยั ง คง หนั ก เหมื อ น เดิมแต่รายได้ กลับน้อยลง ดั ง นั้ น การที่ ห น่ อ ยงานของ รัฐบาลไม่ว่าจะเป็นกรมการขนส่งทาง บกที่มีการอบรมมาตรฐานตัว Q เพื่อ ท� ำ ให้ รู ป แบบการท� ำ งานของบริ ษั ท ขนส่งในประเทศก้าวหน้าขึ้น จนเป็นที่ ยอมรับของบริษทั ผูว้ า่ จ้าง หรือกรมการ ค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ ที่มีการอบรมการพัฒนาองค์กรให้ขึ้นสู่ ระดับสากลเพื่อท�ำการขนส่งระหว่าง ประเทศได้ หากผูป้ ระกอบการขนส่งยัง มองเห็นว่า การขนส่งที่ท�ำอยู่ดีพอแล้ว เมือ่ มีบริษทั ขนส่งต่างชาติเข้ามาอาจถูก แย่งงานที่ท�ำอยู่เพราะมีมาตรฐานการ ท�ำงานที่สูงกว่า สมาคมขนส่งต่างๆ ทั้ง 9 สมาคม และอีก 4 ชมรมที่เป็นสมาชิกสหพันธ์ ถือเป็นองค์กรใหญ่ที่หน่อยงานของรัฐ ช่วยสนับสนุนอย่างเต็มที่ จึงต้องการให้ ผู้ประกอบการขนส่งที่ไม่ได้เป็นสมาชิก ของสมาคมหรือชมรมใดได้หันมาเป็น สมาชิก เพื่อท�ำให้บริษัทของตัวเองอยู่ รอดได้ สมาคมขนส่งทางบกแห่งประเทศไทย คุ ณ ก� ำ พล เพชรก� ำ แพง เลขาธิการสมาคมทางบก แห่งประเทศไทย กล่าวว่า จากการที่ได้ยื่นเรื่องไปยัง ผู้บังคับการต�ำรวจทางหลวง เพื่อให้ ก�ำจัดส่วยให้หมดไปจากถนนทุกแห่งทัว่ ประเทศ แต่ได้รับค�ำตอบว่า ต้องรอ เวลาอีกไม่นานจะรีบด�ำเนินการให้ แต่ ด้วยขณะนี้เป็นฤดูขนส่งพืชผลเกษตร รถบรรทุกในภาคเหนือจึงต้องท�ำงานกัน อย่างหนัก ไม่สามารถรอเวลาได้อกี แล้ว

เพราะมีเวลาท�ำงานอีกแค่ประมาณ 2 เดือนเท่านั้น ปัจจุบันนี้ พบว่ารถบรรทุกส่วนมาก จะบรรทุ ก พื ช ผลเกิ น พิ กั ด ที่ ก ฎหมาย ก�ำหนด และมีเพียงส่วนน้อยซึ่งท�ำตาม กฎหมายนั่นก็คือบรรดาสมาชิกของทาง สมาคมนั่นเอง ผลกระทบที่ได้รับคือพวก นอกกฎหมายจะได้รับการว่าจ้างมากกว่า พวกที่ท�ำตามกฎหมาย เพราะสามารถ บรรทุกสินค้าได้มากกว่าในราคาค่าจ้างที่ เท่ากัน ด้วยความเห็นทีว่ า่ ต�ำรวจคือผูร้ กั ษา กฎหมายไม่ ใ ช่ กรรมการที่คอย ห้ามระหว่างผู้ที่ ท� ำ ผิ ด กฎหมาย กั บ ผู ้ ที่ ท� ำ ตาม กฎหมายไม่ ใ ห้ ทะเลาะกัน ส่วน ผลที่ ป ระชาชน ทัง้ ประเทศได้รบั ก็คือสภาพถนน ที่พังแล้วต้องจ่ายภาษีมาซ่อมประจ�ำทุกปี รวมทั้งบริษัทที่ท�ำตามกฎระเบียบก็ต้อง ปิดบริษัทลง เนื่องจากรายได้ลดลง สมาคมผู้ประกอบการขนส่งสินค้า ภาคอีสาน คุ ณ สมพล หิ รั ญ ญสุ ท ธิ์ เลขาธิการสมาคมผูป้ ระกอบ การขนส่งสินค้าภาคอีสาน กล่าวว่า ความคืบหน้าในการ ประสานงานขนส่งกับลาวได้เริ่มเป็นรูป ร่างมากขึ้น หลังจากได้เซ็นสัญญา MOU ไปเมื่อปลายปี 2553 และปลายเดือน เมษายนนี้ ท างสมาคมก็ จ ะเดิ น ทางไป สะหวันนะเขตประเทศลาว เพือ่ สานต่อกับ สมาคมขนส่งลาวในการแลกเปลี่ยนการ ขนส่งระหว่างไทย-ลาว กันมากขึ้น โดยงานที่จะท�ำในอนาคตอันใกล้นี้ ก็คอื การขนส่งในเหมืองของประเทศลาว รวมทั้งการขนส่งไม้แปรรูปจากประเทศ ลาวมายังท่าเรือ แหลมฉบั ง ซึ่ ง กฎระเบียบต่างๆ จะต้ อ งด� ำ เนิ น การอย่าง เคร่งครัด เพราะ กฎระเบี ย บใน ลาวจะไม่ได้รับ การผ่อนผันเลย ส่ ว นการ ประชุมใหญ่ประจ�ำปี 2554 นั้นได้วาง โครงการไว้คร่าวๆ แล้วว่าจะเป็นช่วง สัปดาห์ที่ 2 ของเดือนพฤศจิกายนศกนี้ ส่วนสถานทีย่ งั คงใช้ทมี่ หาวิทยาลัยสุรนารี เหมือนปีที่แล้ว เพราะเป็นฮอลล์ใหญ่ติด

แอร์รวมทั้งมีพื้นที่ด้านนอกเหมาะแก่การ จัดงานแสดงเป็นอย่างมาก คาดว่ า สมาชิ ก ที่ มี ม ากกว่ า 600 บริษัท จะต้องเข้าร่วมเพื่อท�ำการประชุม และซื้อสินค้าที่ต้องการเป็นจ�ำนวนมาก เหมือนปีที่แล้ว สมาคมขนส่งสินค้าและโลจิสติกส์ ไทย คุณปิยะนุช สัมฤทธิ์ เหรั ญ ญิ ก สมาคม ข น ส ่ ง สิ น ค ้ า แ ล ะ โลจิสติกส์ไทยเปิดเผยว่า ด้วยทางสมาคม ไ ด ้ รั บ ก า ร สนั บ สนุ น จาก กรมการค้า ระหว่างประเทศ กระทรวง พาณิชย์ให้อบรม บ ริ ษั ท ข น ส ่ ง สินค้าในประเทศ เพื่อให้มีความรู้ ในการขนส่ ง ระหว่างประเทศในแถบอาเซีย่ นมากขึน้ ซึง่ ได้รับการตอบรับจากบริษัทขนส่งสินค้า ทั่วประเทศกว่า 30 แห่ง ถือว่าประสบ ความส�ำเร็จเกินเป้าที่ได้วางไว้ ส่วนต่อไปทางกรมการค้าระหว่าง ประเทศก็จะติดตามผลการอบรมว่าผูเ้ ข้า ร่วมได้พัฒนาไปถึงระดับไหนหากไม่ได้ ตามเกณฑ์ทตี่ งั้ ไว้กจ็ ะท�ำการพัฒนาความ รูใ้ หม่อกี ครัง้ เนือ่ งจากเห็นว่าเมือ่ ขนส่งได้ เปิดเสรีแล้ว บริษัทขนส่งต่างชาติก็จะเข้า มารุกบริษทั ขนส่งไทยอย่างเต็มตัว จึงต้อง เร่ ง พั ฒ นาอย่ า งเร่ ง ด่ ว นเพื่ อ ให้ ทั น ต่ อ เหตุการณ์ ส่วนในการเลือกนายกสมาคมและ กรรมการบริหารใหม่เมื่อเร็วๆ นี้ ปรากฏ ว่า ยังคงรักษาต�ำแหน่งเหรัญญิกต่อไปอีก สมัยด้วยเหตุผลที่ว่าคณะกรรมการชุด ใหม่เป็นคนรุ่นใหม่เหมือนกัน สามารถ ท� ำ งานร่ ว มกั น พร้ อ มทั้ ง ถ่ า ยทอด ประสบการณ์ที่ผ่านมาได้ง่ายมากยิ่งขึ้น ส่วนแผนงานต่อไปของสมาคมนั้นยังคง ด�ำเนินการต่อจากนโยบายทีน่ ายกคนเดิม ได้วางไว้ พร้อมทั้งได้คิดแผนงานใหม่ๆ เพื่ อ พั ฒ นาองค์ ก รของสมาชิ ก ให้ เ ป็ น ระดับสากลมายิ่งขึ้นอีกด้วย สมาคมอุตสาหกรรมตัวถัง และรถพ่วงไทย คุณสุรยิ า โพธิศ์ ริ สิ ขุ นกยกสมาคม อุตสาหกรรมตัวถังและรถพ่วงไทยเปิด เผยว่าด้วยปัจจุบนั นีล้ กู ค้าได้ทำ� การจ้างให้ ต่อตัวถังรถบรรทุกและรถพ่วงเป็นจ�ำนวน มาก ส่งผลให้บรรดาสมาชิกของสมาคม ไม่มีเวลาพูดคุยประสานงานกันมากนัก เพราะต้องทุ่มเวลาให้กับการท�ำงาน

แต่เท่าทีไ่ ด้พดู คุยกันก็มคี วามเห็น ตรงกันว่าจะยืน่ เรือ่ งไปยังกรมการขนส่ง ทางบกในเรื่องการต่อรถพ่วงแบบ 3 เพลา ซึง่ ขณะนีไ้ ด้มปี ญั หาเป็นอย่างมาก เพราะในการอนุมัติมาแต่ละคันนั้นต้อง ใช้เวลาเร็วสุดประมาณ 3 เดือน และ ต้องอนุมัติเป็นรายคันไป ส่งผลความ เสี ย หายให้ กั บ ตั ว เจ้ า ของรถที่ ไ ด้ รั บ สัญญาว่าจ้างมาแล้ว แต่ด้วยเวลาที่ช้า นานเกินไป ผู้ว่าจ้างจึงได้ไปหารายใหม่ รวมทั้งอู่ต่อรถก็มีงานลดน้อยลงด้วย เนื่องจากรถพ่วงที่ได้ต่อเสร็จแล้วก็ต้อง จอดทิ้งไว้ที่อู่เพราะยังไม่สามารถวิ่งบน ถนนได้จากสถิติที่ทราบมาพบว่าในปี 2553 นัน้ ได้มรี ถพ่วง 3 เพลาจดทะเบียน มากถึง 5,000 คันเลยทีเดียว ดังนั้นทางสมาคมจึงต้องการให้ กรมการขนส่งทางบกท�ำการอนุมัติรถ พ่วง 3 เพลา เพียงแค่คันเดียว หากคัน ต่อไปทีป่ ระกอบจากอูเ่ ดียวกันก็สามารถ ผ่านไปได้เลยโดยไม่ต้องมีการตรวจ สอบเพือ่ ท�ำการอนุมตั อิ กี หากเป็นไปได้ ก็จะส่งผลดีทำ� ให้ธรุ กิจการขนส่งทางบก รวมทัง้ อูป่ ระกอบตัวถังสามารถขยายตัว ได้อีกมาก และที่ส�ำคัญที่สุดยังไม่ต้อง จ่ า ยเงิ น ที่ ล งบั ญ ชี ไ ม่ ไ ด้ ส่ ง ผลให้ สามารถลดต้นทุนในการประกอบตัวถัง รถบรรทุก และรถพ่วงได้เป็นอย่างมาก อีกด้วย สมาคมขนส่งภาคตะวันออก คุณวิโรจน์ รมเยศ นายก สมาคมขนส่ ง ภาคตะวั น ออก กล่ า วว่ า ในการ ประชุมกันล่าสุดที่ผ่านมา ได้ประกาศลาออกจากนายกสมาคม เพราะได้ท�ำงานมาครบวาระ 1 ปีแล้ว รวมทั้ ง ต้ อ งการให้ ค นรุ ่ น ใหม่ ม าเป็ น นายกแทนเพราะมีความคิดก้าวไกลและ สามารถพัฒนาผู้ประกอบการขนส่งใน ภาคตะวันออกให้สามารถแข่งขันกับ ขนส่งต่างชาติได้ โดยแผนงานที่ได้วางไว้คือการ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการท� ำ งานของ สมาชิกให้อยู่ในระดับสากล อีกอย่าง หนึ่งคือการให้สมาชิกช่วยเหลือสังคม เพราะหมายถึงการท�ำให้เศรษฐกิจใน ภาคตะวันออกดีตามไปด้วยนั่นเอง ส่วนการประชุมใหญ่ครัง้ แรกของ สมาคมนัน้ คาดว่าจะเป็นในช่วงปลายปีนี้ เพราะสามารถสร้างให้สมาคมมีความ แข็งแกร่งขึน้ ด้วยการสนับสนุนจากกลุม่ ผู้ค้ารถใหญ่ และอุปกรณ์ต่างๆ รวมทั้ง สมาคมขนส่งอื่นๆ ยังให้ความร่วมมือ เข้าร่วมประชุมด้วย ส่วนสถานที่นั้นอาจ จะเป็นที่ไบเทคฯ ในงาน BUS & TRUCK ‘11 ก็เป็นได้


54

ชุมทางขนส่ง • BUS&TRUCK 17

ปักษ์หลัง • มีนาคม 2554

ชุมทางขนส่ง เผลอแป๊ ป เดี ย วจะเข้ า สู ่ เ ดื อ น เมษาฮาเฮอีกแล้ว รูส้ กึ ว่ามันช่างรวดเร็ว เสียนีก่ ระไร เหตุการณ์ธรรมชาติรมุ เร้า โลกของเราเข้าทุกวัน ก็ขอให้ใช้ชีวิต อย่างมีสตินะคะ ไทร์พลัส ขยายศูนย์บริการแห่งใหม่ สาขา ซอยลาซาล

ดร.ธาริษา วัฒนเกส อดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย ให้เกียรติเป็นประธานใน พิธี ร่วมด้วย คุณเกตอง บัคเชอเลต์ ผู้อ�ำนวยการกลุ่มธุรกิจยางรถยนต์นั่ง และรถปิคอัพ บริษัท สยามมิชลิน จ�ำกัด (ซ้ายสุด) และ คุณประยงค์ หิรัญญะวณิชย์ ประธานคลัสเตอร์ ยางและไม้ยางพารา สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ที่ 3 จากขวา) ในโอกาสที่ไทร์พลัส ขยายศูนย์บริการรถยนต์ครบวงจร แห่งใหม่ล่าสุด “ไทร์พลัส เอทีม” ซ.ลาซาล 51

•••ข่าวเด่นเรื่องชาวบ้านประจ�ำ ฉบับนีเ้ ห็นทีจะเกินหน้าเกินตา CIMC ไม่ ได้เชียวแหละคะ ก็แหม! เล่นจัดงานช้าง ระดับเทพเลี้ยงโต๊ะจีนขอบคุณ...Thank you…(เซี่ย...เซี่ย) แก่บรรดาคุณลูกค้าที่ ก็อุตส่าห์เดินทางมาจากทั่วสารทิศ เพื่อ มาร่วมแสดงความยินดีกับทาง บริษัท ซีไอเอ็มซี วีฮีเคิล (ประเทศไทย) จ�ำกัด ที่เข้ามาด�ำเนินธุรกิจในเมืองไทยครบ เป็นปีที่ 3 ผู้หลักผู้ใหญ่เดินทางมาคับคั่ง เต็มโรงงาน CIMC เชียวคะ นี่ขนาดว่า ทาง คุณวิภา หยี รองกรรมการผูจ้ ดั การ ออกตัวเบาๆ ว่าไม่คอ่ ยได้เชิญใคร มีแต่ ลูกค้า นี่แค่ 3 ปี สงสัยปีหน้าคงต้องปิด นิคมอุตสาหกรรมเลี้ยงแล้วมั้งคะ แต่ก็ แสดงให้เห็นว่า CIMC ประสบความ ส�ำเร็จอย่างสวยงามจริงๆ ก็ขอแสดง ความยินดีมา ณ ที่นี้ด้วยนะคะ •••ก็อย่างทีบ่ อกคะว่าทาง CIMC ไม่คอ่ ยได้เชิญแขกเหรือ่ มากมาย ทีแรก ก็เกรงว่าจะไม่คอ่ ยมีใครมาร่วมงาน เลย วางแผน 2 ไว้คือ รบกวนยืมความมี มนุ ษ ยสั ม พั น ธ์ อั น ดี ข อง คุ ณ สถาพร หล่อกัณภัย กรรมการผู้จัดการ บริษัท จินดุน (ไทยแลนด์) จ�ำกัด มาช่วยเชิญ แขกเหรื่ออีกทางหนึ่ง จะว่าไปก็แอบ ได้ยนิ เสียงกระซิบ...กระซิบ...กระซิบ...มา จาก...ที่ไหนสักอย่าง ว่าทาง CIMC และ จินดุน จะร่วมหอลงเรือนรักกัน ส่วน โปรเจ็คจะเป็นอย่างไรนั้น อีกไม่นาน ทราบข่าวแน่นอนคะ •••ส่วนท่านนีก้ ข็ ยันเป็นข่าวเหลือ เกิน นี่ขนาดท�ำเป็นไม่โทรไปเม้าท์แล้ว เชียวนะ ก็ยังอุตส่าห์มีตาดีแอบเห็นจน ได้ ครั้นเขามาเล่าจะไม่ให้นินทาก็คัน ยิบๆ ก็ คุณยู เจียรยืนยงพงศ์ กรรมการ ผู้จัดการ บริษัท ที.เอช.ดี. ออโต้พาร์ท จ�ำกัด มีคนแอบเห็นเฮียยูไปเดินอยู่ที่ 16-19 �����������.indd 17

“คริสตัล ดีไซน์ เซ็นเตอร์ หรือ CDC ซึ่ง วันนั้นตรงกับที่เมอเซเดส-เบนซ์ เปิดตัว รถหรูราคากว่า 15 ล้านบาทที่ CDC พอ ดิบพอดี งานนี้สายข่าวเลยรายงานด่วน ว่าแอบเห็นเฮียมาโฉบแถวนี้ สงสัยจะมี ติดไม้ตดิ มือกลับไปสักคัน แต่แน่นอนว่า ด้วยจรรยาบรรณแล้วต้องไม่ฟังความ ข้างเดียวงานนี้เลยต้องถามเฮีย ปรากฎ ว่าไปจริงๆ แต่ไปพบลูกค้า ส่วนไอ้ที่เห็น ไปแถวงานก็ใช่แต่แค่โฉบๆ เดินไปเขาไม่ ได้เชิญ ทุกวันนี้ขับรถคันละ 3 แสนกว่า ก็พอใจแล้วครับ นีด่ นี ะทีถ่ ามก่อน ถ้าขืน เชื่อเจ้าคนที่บอกมามีหวังเลขาเฮียยูโทร มาแว้ด...แว้ด...ใส่อีกแน่นอน

คาร์แลค 68 ผนึกก�ำลังกลุ่มอีซูซุ อึ้งง่วนไต๋ เปิดศูนย์เคลือบสีคาร์แลค 68

บริษัท อีซูซุ อึ้งง่วนไต๋ออโตเซลส์ จ�ำกัด น�ำโดย คุณอุษษา พิทักษ์สิทธิ์ ร่วมผนึก ก�ำลังกับทาง บริษัท คาร์แลค(ไทย-เยอรมัน) จ�ำกัด น�ำโดย คุณศิริจิตต์ กาญจนบัตร ผูจ้ ดั การฝ่ายการตลาด เปิดศูนย์เคลือบสีคาร์แลค 68 สาขา อีซซู พุ ระราม 2 และกัลปพฤกษ์ เพื่อรองรับความต้องการของลูกค้าอีซูซุ ด้านล้างสี-ดูดฝุ่น ขัดเคลือบสี ซักเบาะพรม ล้าง ห้องเครื่อง ฯลฯ พร้อมจ�ำหน่ายผลิตภัณฑ์คาร์แลค 68

MERCEDES-BENZ ส่งมอบรถให้โรงแรมเชอราตัน แกรนด์ สุขุมวิท

•••เดีย๋ วนีใ้ ครใช้บริการเติมน�ำ้ มัน ที่ปั๊มปตท.ก็ต้องขอแวะเติมพลังให้ตัว เองด้วย โดยเฉพาะการได้ดื่มกาแฟรส กลมกล่อมที่ อเมซอน ด้วยความนิยมที่ เพิ่มมากขึ้นล่าสุด ปตท.น�ำโดย คุณ ชวลิต พั นธ์ ทอง ผู ้ ช ่ วยกรรมการผู ้ จัดการใหญ่การตลาดพาณิชย์และต่าง ประเทศ บริษัท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) และ Mrs.Leuang Litdang ประธาน กลุ่มบริษัทดาวเฮือง (Dao-Heuang Group) (ที่ 3 จากขวา) ร่วมลงนามใน ข้อตกลงการซื้อขายผลิตภัณฑ์ระหว่าง Houakhong Trading Co., Ltd. (HKT) ซึ่ ง เป็ น บริ ษั ท ลู ก ของ บริ ษั ท ปตท. (กัมพูชา) จ�ำกัด และ Dao-Heuang Group (DHG) ผู้ผลิตกาแฟรายใหญ่ ที่สุด แบรนด์ “Dao Coffee” และ เจ้าของกิจการร้านค้า Duty Free ทัง้ หมด ในประเทศลาว ณ เมืองปากเซ สาธาณ-

บริษัท เมอร์เซเดส-เบนซ์ (ประเทศไทย) จ�ำกัด โดย คุณสเตฟาน เมอบิอุส รอง ประธานบริหารฝ่ายขายและการตลาด (ที่ 2 จากซ้าย) ได้สง่ มอบรถยนต์เมอร์เซเดส-เบนซ์ รุ่น S 350 CDI L และ E 250 CDI จ�ำนวนรวมทั้งสิ้น 14 คัน ให้แก่ คุณริชาร์ด แชปแมน ผู้จัดการทั่วไป โรงแรมเชอราตัน แกรนด์ สุขุมวิท (ที่ 2 จากขวา) ในโอกาสที่โรงแรมฯ ต้องการจะปรับโฉมใหม่ รวมถึงการยกระดับการให้บริการ

กลุ่มสิทธิผล มอบเสื้อต�ำรวจจราจร

คุณทนง ลี้อิสสระนุกูล กรรมการผู้จัดการกลุ่มสิทธิผล (ที่ 2 จากขวา) มอบเสื้อ สะท้อนแสงสีส้มและสีด�ำ ให้กับ พันต�ำรวจโท พิเชษฐ อินทร์โย สารวัตรป้องกันปราบ ปรามสถานีตำ� รวจภูธรปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา (ที่ 2 จากซ้าย) เพือ่ ให้เจ้าหน้าทีต่ ำ� รวจ ใช้ปฏิบัติหน้าที่ด้านจราจรและออกตรวจตราพื้นที่ป้องกันอาชญากรรม โดยมี คุณวิชัย กิ่งชา ผู้อ�ำนวยโครงการกลุ่มสิทธิผล we care (ขวาสุด) ร่วมส่งมอบ ณ ส�ำนักงานถนน เจริญกรุง ตลาดน้อย เมื่อเร็วๆ นี้

3/17/11 2:05 PM


18 BUS&TRUCK • ชุมทางขนส่ง

ปักษ์หลัง • มีนาคม 2554

รัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว •••ทั้ ง นี้ HKT จะเป็ น ผู ้ จั ด หา ผลิตภัณฑ์น�้ามันเตา ให้กับ DHG เพื่อใช้ เป็นเชือ้ เพลิงในการผลิตกาแฟส�าเร็จรูป นอกจากนีก้ ลุม่ บริษทั ดาวเฮืองยังมีความ สนใจที่จะเปิดสถานีบริการน�้ามัน ปตท. ระดับ Platinum ในประเทศลาวต่อไป ในอนาคตด้วยเจ้าคะ ทราบแบบนี้รู้สึก อุ ่ น ใจ เพราะถ้ า มี ป ตท.อยู ่ ที่ ไ หน ก็ เหมือนอยู่เมืองไทยคะ

•••เรื่ อ งกาแฟนี่ เ ห็ น ที จ ะไม่ จ บ ง่ายๆ เพราะทราบมาว่าธุรกิจเปิดร้าน กาแฟนีเ่ ป็นอะไรทีห่ ลายๆ คนใฝ่ฝนั หนึง่ ในนั้ น ก็ คื อ คุ ณ เกษม สุ ข สั น ต์ แ ก้ ว ผู้จัดการฝ่ายขายส่วนอุปกรณ์ขนส่ง ของเหลว บริษัท ไฮวา (ประเทศไทย) จ�ากัด กะว่าจะเปิดให้คนทีบ่ า้ นไว้มอี ะไร เล่นๆ ท�ายามว่าง ยิง่ ตัวเองพืน้ เพเป็นคน เหนือด้วยแล้ว เรื่องกาแฟนี่เด็กๆ ดอย ไหนๆ รู้จักหมด ไม่รู้อยู่อย่างเดียวคือ กาแฟมีรสชาติเป็นเช่นไร เนื่องจากไม่ ดื่มกาแฟ ทีนี้จะท�าไงดี ว่าแต่กล้วยไม้ที่ ส่งรูปมาให้เราหวังจะเอามาฝาก ท�าไม มันมาไม่ถึง หรือแวะลงที่ล�าปางก่อนไม่ ทราบคะ “พ่อเลี้ยงเกษม” •••ช่วงนี้ท�าตัวเหมือนว่าง เลยไป เดินชิวย่านวรจักร ม็อบเมิ้บอะไรไม่กลัว ไม่เกรงแล้ว แต่ที่ยังเหมือนเดิมคือ หลง วนอยู่แถวนั้น แต่การไปวรจักรครั้งนี้ได้ พบปะพูดคุยกับหญิงเก่งท่านนึง ออกตัว ในนามประธานสมาคมผู้ค้าอะไหล่ย่าน วรจักร งานนี้เลยมียืดยาว ถ้าไม่เกรงว่า รถจะติดช่วงเย็นกะจะคุยยันเช้า ทีส่ า� คัญ ไม่ลืมน�ามาฝากท่านผู้อ่าน แต่ว่าโปรด ติดตามในฉบับหน้า •••พอพูดถึงวรจักรก็นึกขึ้นมาได้

ว่า มีวนั นึงป้าเก คุณชมพูนทุ ภูเ่ บญญาพงศ์ ผู้ประสานงาน สหพันธ์การขนส่ง ทางบกแห่งประเทศไทย โทรศัพท์หา แบบบ้าเลือด เรารึก�าลังทานข้าวกับ ผู้ชายในดวงใจอยู่เลยขออนุญาตไม่รับ สาย พอไม่รบั ก็ BB มาหาเราใหญ่เลยว่า เราย้ายค่ายไปอยูท่ ไี่ หน เพราะได้ขา่ วมา ต๊าย...ตาย... ป้าไม่เอาข่าวมาจากไหน ยัง รั ก และคลั่ ง ไคล้ ร ถบรรทุ ก และรถบั ส อย่างโงหัวไม่ขนึ้ อันทีจ่ ริงคือท�างานแบบ หัวชนฝาเหมือนป้าแหละ ยังไม่ไปไหน ฝากไปบอกคนที่แจ้งป้ามาด้วยนะคะ ว่า แต่จากภาพนีเ้ ป็นเพราะป้าเกหรือเปล่าที่ ไปถ่ายภาพคู่กับป้ายโลโก้เขา ท�าให้เขา ระส�่าระสาย •••ว่าแล้วก็มาต่อกันเลย จากการ ที่ ดี ล เลอร์ ข องนิ ส สั น ยู ดี ที่ จั ง หวั ด นครศรีธรรมราชร้องเรียนมาว่า รถใหญ่ เครื่องยนต์ NGV ที่บริษัทแม่ท�าการ ดัดแปลงให้มานั้น เมื่อลูกค้าได้น�าไปใช้ เพียงแค่ 5 เดือน ก็เกิดเหตุขัดข้องไม่ สามารถใช้งานได้ต่อไป แม้ว่าจะอยู่ใน ช่วงการรับประกันก็ตาม ที่ส�าคัญคือ บริษัทแม่ก็ไม่รับผิดชอบ แม้ว่าจะยื่น เรื่องไปยังบริษัทแม่แล้วก็ได้รับค�าตอบ ว่า อยู่นอกเหนือการรับประกันส่งผลให้ ลูกค้าจะไม่ท�าการผ่อนต่อเพราะบอกว่า รถต้องจอดอยูเ่ ฉยๆ ท�าให้ไม่สามารถวิง่ หารายได้เลย โดยบริษัทที่ซื้อมาจะต้อง ดูแลให้ สุดท้ายก็ไม่สามารถเคลียร์กนั ได้ กรณีนคี้ งต้องให้ทางสขบ. ด�าเนินการต่อ แน่ รึไม่ก็ลองไปปรึกษา พี่ช้าง คุณ ณรงค์ วิวัฒนากันตัง ผู้จัดการฝ่ายการ ตลาด ห้างหุ้นส่วนจ�ากัด โชควิวัฒน์ ทรานสปอร์ตเตชัน่ กรุป ดูคะ เพราะราย

นี้ก็โดนเรื่องซื้อสินค้าแล้วไม่ได้รับการ ดูแล ว่าแต่ตอนนี้ไม่ทราบว่าเรื่องไปถึง ไหนแล้วคะพี่ช้าง •••ซึ่งในกรณีนี้มีผู้เชี่ยวชาญได้ บอกว่า ทางดีลเลอร์ทขี่ ายรถให้กบั ลูกค้า จะต้ อ งรั บ ผิ ด ชอบก่ อ นเป็ น คนแรก แน่นอนอย่างน้อยต้องยอมจ่ายเงินค่า ซ่อมให้เป็นการรักษากลุ่มลูกค้าไว้ก่อน ในเบือ้ งต้นน่าจะดีทสี่ ดุ ต่อจากนัน้ ก็ตอ้ ง ท�าการพูดคุยกับบริษทั แม่วา่ ในเรือ่ งนีจ้ ะ ต้องรับผิดชอบกันอย่างไร ไม่ใช่ตา่ งโยน เรื่องให้กันและกันสุดท้ายผู้ที่ต้องรับผล กรรมก็คือ ตัวลูกค้านั่นเอง •••แหม! เดี๋ยวจะหาว่ากล่าวหา แบบไม่ มี มู ล เรื่ อ งนี้ ถื อ เป็ นเรื่ อ งจริ ง จริงๆ นะคะ เพราะตอนนี้เหลือดีลเลอร์ ของนิสสัน ยูดี เพียงแค่ 2 รายเท่านั้น โดยทาง บริ ษั ท นิ ส สั น ดี เ ซล (ประเทศไทย) จ�ากัด ได้ปรับการบริหาร ใหม่คอื ต้องการลดต้นทุนด้วยการจ้างผู้ จัดการฝ่ายขายคนใหม่ซึ่งข่าวเล่าว่ามี ความสูงเพียงแค่ 150 ซม. มาคอยท�า หน้ า ที่ ล ดเงิ น เดื อ นพนั ก งาน ปลด พนักงาน ที่ท�างานน้อย พร้อมทั้งขายรถ ทีค่ า้ งสต๊อกอยูใ่ นราคาถูกกว่าทีส่ ง่ ให้กบั ดีลเลอร์จ�าหน่าย เมื่อเป็นแบบนี้แล้ว ดีลเลอร์ที่เหลือจะรออีก 2 ปี เพื่อให้

วอลโว่มาดูแลนิสสัน ยูดี ได้อีกหรือ??? •••และด้วยความเป็นห่วงเป็นใย อย่างยิ่งถึง คุณอ�านวย พงษ์วิจารณ์ กรรมการบริหารอาวุโส บริษัท ฮีโน่ มอเตอร์สเซลส์ (ประเทศไทย) จ�ากัด ซึง่ เพิ่งไปท�าการตรวจร่างกาย โดยต้อง ตรวจเป็นประจ�าทุกเดือนเนือ่ งจากมีโรค ประจ�าตัว เรียกว่าต้องตรวจทุกระบบ ของร่างกายเลยก็ว่าได้ และในวันรุ่งขึ้น ก็ต้องท�างานหนักพาลูกค้าไปเยี่ยมชม โรงงานประกอบอีก แบบนี้แล้วยอดขาย ของ ฮีโน่ ก็ตอ้ งได้ครองความเป็นแชมป ยอดขายรถใหญ่อีกแน่ เพราะหัวเรือ ปกษหลัง

มีนาคม 2554

นองแตมป ญาณธิชา กัลยาณกุล มิสมอเตอรโชว 2011

ติดตาม BUS & TRUCK ได ณ สนามบินสุวรรณภูมิ 1. หอง Hold Room (Domestic 33 จุด) 2. หอง Bus Gate (Domestic 7 จุด)

16-19 �����������.indd 18

3/17/11 2:05 PM


54

ชุมทางขนส่ง • BUS&TRUCK 19

ปักษ์หลัง • มีนาคม 2554

ใหญ่ขยับ ท้ายเรือก็ต้องไปตาม แต่ผู้ที่ ได้ประโยชน์สูงสุดก็คือบริษัทฮีโน่ ผู้จ่าย เงินเดือนค่าจ้าง นั่นเอง!!! •••ถือว่าเป็นข่าวดีหรือข่าวร้ายก็ ไม่ทราบได้ เมือ่ คุณธนภัทร อินทวิพนั ธุ์ ได้เลื่อนต�าแหน่งภายในเวลาอันรวดเร็ว จากผู้จัดการทั่วไป บริษัท ฟูโซ่ ทรัค (ประเทศไทย) จ�า กัด มาเป็น รอง ประธานกรรมการ แต่ อ าจจะเป็ น ทุกขลาภก็ได้ เพราะต้องรับผิดชอบยอด ขายทีเ่ พิม่ มากขึน้ อย่างใหญ่หลวง ล่าสุด ทางบริษัทได้เปิดตัวรถมิ๊กเซอร์ พร้อม กันอีก 5 รุ่น ซึ่งได้รับการออกแบบใหม่ ภายใต้นโยบายของบริษัทจะเรียกว่าน่า สงสารหรือดีใจก็ไม่ทราบได้ แต่กค็ าดว่า เงินเดือนจะต้องพุ่งกระฉูด คุ้มค่ากับ ต�าแหน่งที่เพิ่มขึ้นแน่ ทาง BUS & TRUCK ต้องขอ ประทานโทษอย่างสูง ที่ลงชื่อของ คุ ณ วี ร วิ ท ย์ ง้ า ววิ ฑู ร ย์ ว งศ์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท เมโทรเทค อีควิปเม้นต์ จ�ากัด ผิดพลาด เมื่อฉบับที่ 169 ในนามของกอง บรรณาธิการก็ขออภัยมา ณ ที่นี้ ด้วยนะคะ

•••ได้ข่าวมาว่าตอนนี้ทาง บริษัท ต้นน่านทรานเทค จ�ากัด ผู้ติดตั้ง NGV มาตรฐานของกรมการขนส่งทางบก จะ ขยายธุ ร กิ จ การติ ด ตั้ ง ไปยั ง เมื อ ง เชียงใหม่ งานนี้ คุณวีรชาติ โลหะโชติ กรรมการผูจ้ ดั การ บอกมาว่าการไปเปิด อู่ติดตั้งที่เชียงใหม่นั้นจะเน้นที่รถ LPG ในรถบ้ า นเป็ น หลั ก เอาเป็ น ว่ า ชาว เชียงใหม่ เชียงรายและละแวกนัน้ ก็ไปใช้ บริการกันได้นะคะ เพราะการันตีฝีมือ เยี่ยมจริงๆ คะ พบกันใหมฉบับหนา สวัสดีคะ ฤกษยาม-ยานยนต

ปตท. มอบน�้าแข็งแห้งสนับสนุนการปฏิบัติการฝนหลวง ช่วยเหลือผู้ประสบภัยแล้ง

คุณธีระ วงศ์สมุทร รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รับมอบน�า้ แข็งแห้ง จ�านวน 700 ตัน พร้อมด้วยถังบรรจุน�้าแข็งแห้งขนาด 2.5 ตัน จ�านวน 10 ชุด จากคุณ พีระพงษ์ อัจฉริยชีวนิ ผูช้ ว่ ยกรรมการผูจ้ ดั การใหญ่แยกกาซธรรมชาติ บริษทั ปตท. จ�ากัด (มหาชน) เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติการฝนหลวง ตามแนวพระราชด�าริพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวที่ทรงห่วงใยราษฎรจากปัญหาภัยแล้ง

นํามาฝาก ฤกษสําหรับผูที่ตองการออกรถปนี้

ฤกษประจําวันที่ 1-15 เมษายน 2554 วันทีง่ ดออกรถใหมคือ วันอาทิตย 10

วันที่ออกรถใหมคือ วันศุกร 1 ที่มา : ปฎิทินโหรศาสตรไทย ป 2553 โดย : พ.อ. สุชาติ ศุภประเสร�ฐ

อีซูซุ รับรางวัล ความพึงพอใจสูงสุดในการใช้รถ จาก เจ.ดี.พาวเวอร์

บริษัท ตรีเพชรอีซูซุเซลส์ จ�ากัด โดย คุณเอช. นาคางาวะ กรรมการผู้จัดการ และ คุณเค คนโด้ รองกรรมการผูจ้ ดั การ รับมอบรางวัล “ความพอใจสูงสุดจากการใช้รถประเภท รถนั่งอเนกประสงค์ ซึ่งได้รับรางวัล 2 ปีติดต่อกัน จากผลการส�ารวจของ Thailand Apeal Study 2010 สถบัน เจ.ดี.พาวเวอร์ เอเชีย แปซิฟิก

นิปปอนเพนต์ ร่วมงาน ง่วนเชี่ยวประจ�าป 2554

บริษัท นิปปอนเพนต์ (ประเทศไทย) จ�ากัด น�าโดย คุณทวีชัย ตังธนาวิรุตม์ รองผู้ จัดการทั่วไป (ที่ 7 จากซ้าย) และ คุณสมสุข มิ่งขวัญโพธิ์ทอง ผู้จัดการฝ่ายการตลาด (ที่ 4 จากซ้าย) พร้อมด้วยทีมงานหน่วยธุรกิจสีพ่นซ่อมรถยนต์ ร่วมงาน “ง่วนเชี่ยว ประจ�าปี 2554 จัดโดย สมาคมสมิตรการซ่อมรถยนต์แห่งประเทศไทย ซึง่ ทางบริษทั ฯ ได้รว่ มประมูล สิ่งของศาลเจ้ากวนอู เพื่อเป็นศิริมงคลอีกด้วย

CIMC จัดงานขอบคุณลูกค้า เนื่องในโอกาสครบรอบ 3 ปในมืองไทย

คุณยู เจียรยืนยงพงศ์ ประธานสหพันธ์การขนส่งทางบกแห่งประเทศไทย ร่วมเป็น ประธานกล่าวแสดงความยินดี ในโอกาส บริษัท ซีไอเอ็มซี วีฮีเคิล (ประเทศไทย) จ�ากัด จัดงานเลี้ยงขอบคุณลูกค้าด้วยว่าด�าเนินธุรกิจในเมืองไทยมาครบ 3 ปีเต็ม

16-19 �����������.indd 19

3/17/11 2:05 PM


20 BUS&TRUCK • เปรียบเทียบรถเด่น

เปรียบเทียบรถเด่น

ปักษ์หลัง • มีนาคม 2554

สองสุดยอดรถบรรท

DECA FVZ ยอดเทคโนโ

FUSO FN สุดยอดเรื่องบรรทุก บริษัท ฟูโซ่ ทรัค (ประเทศไทย) จ�ำกัด ผูผ้ ลิตและจัดจ�ำหน่ายรถบรรทุก เพื่อการพาณิชย์หลายแบบหลายขนาด ทีพ่ ร้อมตอบสนองทุกความต้องการของ ทุกธุรกิจ ฟูโซ่ ยานยนต์เพือ่ การพาณิชย์ ชัน้ น�ำของเอเชีย ทีพ่ ร้อมด้วยคุณค่าและ คุณภาพ ด้วยเทคโนโลยีระดับสูง ได้รับ การออกแบบ และพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพเหนื อ มาตรฐานความ ปลอดภัย เป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม ซึง่ ได้ รั บ การรั บ รองมาตรฐานการปล่ อ ย ไอเสีย ยูโร 3 จากกระทรวงอุตสาหกรรม ระบบขับเคลื่อนแรงถึงใจ FUSO FN มาด้ ว ยเครื่ อ งยนต์ อัจฉริยะเทคโนโลยีคอมมอนเรลและ ระบบเทอร์โบอินเตอร์คูลเลอร์ พร้อม ปฏิ วั ติ ค วามแรง ประหยั ด ยิ่ ง ขึ้ น ด้ ว ย ระบบหั ว ฉี ด จ่ า ยน�้ ำ มั น เชื้ อ เพลิ ง ประสิทธิภาพสูง มาพร้อมเครื่องยนต์ ดีเซล 4 จังหวะ 6 สูบ 6M60-1AT2 ก�ำลัง สูงสุด 270 แรงม้า 199 กิโลวัตต์ ที่ 2,600 รอบต่อนาที แรงบิดสูงสุด 785 นิวตัน-เมตร ที่ 1,400 รอบต่อนาที ความ จุกระบอกสูบ 7,545 ซีซี ระบบขับเคลือ่ น สปริ ต เตอร์ เ กี ย ร์ 10 เกี ย ร์ เ ดิ น หน้ า ส�ำหรับรุน่ FN2524 เป็นนวัตกรรมทีช่ ว่ ย ให้เปลีย่ นเกียร์ได้สะดวกมากยิง่ ขึน้ และ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการขนส่ ง และ ประสิทธิภาพการบรรทุก ด้วยเครือ่ งยนต์

เทคโนโลยีใหม่คอมมอนเรลและระบบ อินเตอร์คูลเลอร์ แกร่ง ทนทานเป็นหนึ่ง โครงสร้างแข็งแรง แกร่งทนทาน รับน�ำ้ หนักได้ดดี ว้ ยแชสซีสเ์ หล็กกล้าหนา พิเศษ พร้อมยึดคานขวางด้านข้างเสริม เพลาหามแหนบ (ทรูเนี่ยนเบส) เพิ่ม ประสิทธิภาพในการรับน�ำ้ หนักบรรทุกได้ เป็นอย่างดีและในตัวของแชสซีส์ไม่มีหัว หมุดย�้ำ ง่ายสะดวกต่อการติดตั้งตัวถัง ขยายความยาวของล้อให้มากขึ้นท�ำให้ สามารถรองรับน�้ำหนักเพิ่มมากขึ้น อีก ทัง้ เพลากลาง 2 ท่อน พร้อมแท่นยึดศูนย์ ขจัดปัญหาเพลากลางสั่นเหมาะส�ำหรับ ทุกงานบรรทุกที่ต้องการการขับขี่อย่าง นุ่มนวล รองรับการบรรทุกสูงถึง 25 ตัน ขับขี่ปลอดภัย รถบรรทุก มิตซูบิชิ ฟูโซ่ FN สร้าง ความมั่นใจให้แก่ผู้ขับขี่ด้วยระบบเบรก แบบลมดันไฮโดรลิค พร้อมเบรกไอเสีย และอุ ป กรณ์ ดั ก ความชื้ น ที่ ช ่ ว ยเพิ่ ม ประสิทธิภาพในการเบรก และเพิม่ ความ ปลอดภัยในการขับขี่อย่างเหลือเชื่อ สายพันธุ์แท้เพื่องานบรรทุก รูปลักษณ์ทันสมัย โครงสร้างของ หัวเก๋งรูปทรงโค้งมนด้านหน้าและแนว รับลมด้านหลัง กันชนหน้าพร้อมสปอยเลอร์ขนึ้ รูปเป็นชิน้ เดียวกันออกแบบตาม หลักอากาศพลศาสตร์ท�ำให้ประหยัด

น�้ ำ มั น มากขึ้ น แข็ ง แกร่ ง ทนทาน ประสิทธิภาพสูงในการควบคุมทิศทาง สร้ า งความมั่ น ใจในการใช้ ง านทุ ก ลักษณะการบรรทุกและทุกเส้นทางการ ขนส่ง ไฟหน้าแบบฮาโลเจน ออกแบบ ใหม่ฝังในกันชนส่องสว่างกว้างไกลขณะ ขับขี่ยามค�่ำคืน พร้อมไฟตัดหมอก เพิ่ม ความปลอดภัยในสภาพอากาศไม่ปกติ รถบรรทุก FN ได้รบั รางวัลการออกแบบ ดี เ ด่ น Good Design Award จาก Industrial Promotion Organization ประเทศญี่ปุ่น

รายละเอียด ลักษณะ เครื่องยนต์ ขนาดกระบอกสูบ (ซีซี) แรงม้าสูงสุด แรงบิดสูงสุด Nm/rpm (kw) ก�ำลังสูงสุด (kw) เชื้อเพลิง มาตรฐานไอเสีย

บริษัท ตรีเพชรอีซูซุเซลส์ จ�ำกัด กับอีกหนึ่งผลิตภัณฑ์คุณภาพเยี่ยมรถ บรรทุก อีซูซุ DECA FVZ บรรทุกความ คุ้มค่าที่เหนือกว่า เพิ่มแรงม้า เพิ่มพลัง ให้แรงบิดมหาศาล ให้กำ� ลังฉุดกระชาก ลากดีเยี่ยม เร่งแซงทันใจ เพื่องาน บรรทุกที่เหนือกว่า ทนทานเป็นเยี่ยม แต่ประหยัดน�ำ้ มันกว่าเดิมตามแบบฉบับ อีซูซุ พร้อมผ่านมาตรฐานไอเสีย ยูโร3 มาตรฐานเพื่อสิ่งแวดล้อมระดับสูง เครื่องยนต์คุณภาพล�้ำหน้า เครือ่ งยนต์ซเู ปอร์คอมมอนเรล รุน่ 6HK1-TCN VGS Turbo เครื่องยนต์ ขนาด 7,790 ซีซี ให้ก�ำลังสูงสุดถึง 240 แรงม้า 177 กิโลวัตต์ ที่ 2,400 รอบต่อ

FUSO FN ISUZU FVZ รถบรรทุก 10 ล้อ 6HK1-TCN 6M60-1AT2 7,790 7.545 240 270 706/1,450 785/1,400 177/2,400 199/2,600 DIESEL DIESEL ยูโร 3 ยูโร 3

รายละเอียดเพิ่มเติม บริษัท ฟูโซ่ ทรัค (ประเทศไทย) จำ�กัด โทร.0-2567-2897-99 บริษัท ตรีเพชรอีซูซุเซลส์ จำ�กัด โทร. 0-2966-2111


SHOWROOM • BUS&TRUCK 21

ปักษ์หลัง • มีนาคม 2554

SHOWROOM

ทุกแกร่ง

White liner

หัวลากเพื่องานขนส่งมาพร้อม Actros รถหัวลากขนาดยักษ์ ที่ถูกดีไซน์มาเป็นรุ่น Limited Edition “White liner” เปรียบได้เลยว่าเป็น อัญมณีสีขาวทั้งคันเพื่อเส้นทางสีขาว ด้วยพละก�ำลังที่สูงส่ง ประหยัด และอายุการใช้งานที่ยาวนาน ลักษณะเด่นของเครื่องยนต์ จะเป็นระบบ เทลลิเจนท์ ควบคุมด้วยไฟฟ้า ระบบการจัดการจะเป็นกระบวนการหัวฉีดน�ำ้ มัน ด้วยความเร็วเสี้ยววินาทีเครื่องยนต์ของรถ Actros White liner แนวคิดใหม่เพื่อรองรับการ เดินทางระยะไกล ทัง้ เครือ่ งยนต์ชนิดลูกสูบรูปตัววี 8 สูบ 16 ลิตร ทีอ่ อกแบบให้มมี าตรฐาน ด้านต้นทุนต�่ำ ประหยัดน�้ำมันและให้พลังแรงดันฉีดสูงถึง 2200 บาร์ ก�ำลังสูงสุด 440 กิโลวัตต์ เรียกพลังม้าที่สูงถึง 598 แรงม้า ให้แรงบิดสูงที่ 1,650-2,800 นิวตัน-เมตร ที่ 1,080 รอบต่อนาที มาตรฐานไอเสียเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ยูโร 5 รายละเอียดเพิ่มเติม: www2.mercedes-benz.co.uk

โลยีเหนือระดับ นาที ให้แรงบิดสูงถึง 706 นิว-ตันเมตร ทีร่ อบต�ำ่ เพียง 1,450 รอบต่อนาทีเท่านัน้ ล�้ำหน้าด้วยเทคโนโลยีใหม่สุด พัฒนา เครื่องยนต์ให้มีขนาดความจุที่เหมาะสม ให้ก�ำลังที่หลากหลาย เพิ่มแรงม้าและ แรงบิดมหาศาล ก�ำลังฉุดลากดีเยีย่ ม เร่ง แซงทันใจ เพื่องานบรรทุกที่เหนือกว่า ทนทานเหนือชั้น แต่ประหยัดน�้ำมันกว่า เดิมตามแบบฉบับอีซูซุ ผ่านมาตรฐาน ไอเสีย ยูโร 3 ยอดเทคโนโลยีแห่งอนาคต VGS Turbo ยอดเทคโนโลยี เทอร์โบประสิทธิภาพสูง แบบ Centermounted Actuator ออกแบบให้มีชิ้น ส่วยน้อยกว่าไม่ซับซ้อน พร้อมระบบ อิเล็กทรอนิกส์ใหม่ล่าสุด ควบคุมการ ปรับเปลี่ยนทิศทางไอเสียที่ปะทะใบพัด เทอร์ไบน์ได้อย่างละเอียดแม่นย�ำกว่า จึง รับแรงดันไอเสียได้เหมาะสมที่สุดกับ ทุ ก รอบความเร็ ว เครื่ อ งยนต์ ท� ำ ให้ เทอร์โบสามารถสร้างแรงอัดอากาศได้ สูงสุดทุกรอบการท�ำงานของเครื่องยนต์ แม้ที่รอบต�่ำ จึงให้แรงบิดสูงกว่าทุกรอบ ความเร็วเครือ่ งยนต์ และให้พลังต่อเนือ่ ง ตั้ ง แต่ ร อบเครื่ อ งยนต์ ต�่ ำ จนถึ ง รอบ เครือ่ งยนต์สงู ช่วยรักษาแรงขับเคลือ่ นได้ ตลอดเวลา เครื่องยนต์มีประสิทธิภาพดี ความทั้ ง แรงม้ า และแรงบิ ด แรงจั ด ประหยัดน�้ำมันจริง

ระบบเบรกมั่นใจ ระบบเบรกลมล้วน Full Air Brake พร้อมอุปกรณ์ดักจับความชื้น Air Dryer ระบบเบรกสมบูรณ์แบบ เป็นที่ยอรับใน วงการรถบรรทุกขนาดใหญ่ ถึงประสิทธิภาพทีเ่ หนือกว่า การตอบสนองดีกว่า เพิม่ ความมั่นใจ ใหม่ทั้งเบรกมือ Parking Brake เพิม่ ประสิทธิภาพในการเบรก ด้วย การล็อกที่ล้อคู่หน้ามั่นใจปลอดภัยกว่า ป้องกันขณะเกิดอุบัติเหตุ โครงสร้างหัวเก๋งแบบประกบปิด (Close Section) และประตูเสริมคาน เหล็ ก คู ่ ( Dual Side Door Beam) โครงสร้างหัวเก๋งขนาดใหญ่แบบขึ้นรูป ชิน้ เดียว แข็งแกร่งช่วยลดความเสียหาย จากการชนทางด้านหน้าและด้านข้าง พร้อมเข็มขัดนิรภัย แบบ 3 จุด 2 ที่นั่ง พร้อมระบบล็อกอัตโนมัติ แข็งแกร่งทนทานเหนือชั้น แชสซีส์ขนาดใหญ่ ทนทานสูงด้วย การพัฒนาระบบและชิ้นส่วนต่างๆ เพื่อ การใช้งานที่หนักเต็มประสิทธิภาพของ การออกแบบ รั บ น�้ ำ หนั ก ได้ ดี เ ยี่ ย ม เหมาะกับงานบรรทุกโดยแท้จริง เพลา หน้า-หลัง ขนาดใหญ่กว่า รับน�้ำหนักได้ มากกว่า ตอบสนองเรื่องการบรรทุก พร้อมคลัตช์ขนาดใหญ่ ถ่ายทอดก�ำลังที่ ดี เพลาหามแหนบ ซูเปอร์ทรันเนี่ยน ชาฟท์ ทนทานแม้เจองานที่หนักหนา

Black Amber

Scania ภูมิใจน�ำเสนอ “Black Amber” อีกหนึ่งอัญมณีสีน�้ำตาลอ�ำพันสวยดุดัน ก่อนหน้านั้นรุ่นพี่อย่าง Dark Diamond Limited edition V8 series ก็ได้ออกมาเผย โฉมไปแล้ว มาดูกันว่า “Black Amber” จะสวยสู้ได้หรือไม่ เครื่องยนต์ของ Black Amber Limited Edition นัน้ เป็นเครือ่ งยนต์เดียวกันกับเพชรทมิฬ ทีเ่ ลือกใช้เครือ่ งยนต์ ขนาดยักษ์ในนาม V8 เข้ามาผสมผสาน ขนาด 8 สูบ 16 ลิตร ออกแบบให้มีมาตรฐาน ด้านต้นทุนต�่ำ ประหยัดน�้ำมัน ก�ำลังสูงสุด 412 กิโลวัตต์ เรียกพลังแรงที่สูงถึง 560 แรงม้า ที่ 1,900 รอบต่อนาที ให้แรงบิดสูงที่ 2, 700 นิวตัน-เมตร ที่ 1,000-1,400 รอบ ต่อนาที มาตรฐานไอเสียเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ยูโร 5 หรือเทคโนโลยี EEV ไม่ว่างาน ไหนๆ อ�ำพันสีนำ�้ ตาลก็ไม่นอ้ ยหน้าไปกว่าเพชรทมิฬเลยทีเดียวสามารถจะบุกป่าฝ่าดงไป ได้ทุกที่ รายละเอียดเพิ่มเติม:www.scania.co.uk

VOLVO FM

ผลงานชัน้ เยีย่ มของวอลโว่ เกิดจากผลตอบกลับทัง้ ทีม่ าจากลูกค้าและการทดสอบ ภาคสนาม วอลโว่ FM เป็นบทพิสูจน์ที่เด่นชัด ด้วยการพัฒนาเครื่องยนต์และและรูป ลักษณ์ภายนอกที่โดดเด่น FM รุ่นล่าสุดมีเครื่องยนต์ตั้งแต่ 330-500 แรงม้าเลยทีเดียว และที่ต้องน�ำมาพูดถึงคือเครื่องยนต์ D13C500 พละก�ำลังแรงจัด 500 แรงม้า ก�ำลัง สูงสุด 368 กิโลวัตต์ที่ 1,900 รอบต่อนาที แรงบิดสูงสุด 2,500 นิวตัน-เมตร ที่ 1,1001,400 รอบต่อนาที เหมาะส�ำหรับงานบรรทุกหนักจนไปถึงหนักมาก เพราะสามารถ รองรับการบรรทุกได้อย่างมหาศาล รายละเอียดเพิ่มเติม : บริษัท วอลโว่ ทรัค แอนด์ บัส (ประเทศไทย) จ�ำกัด โทร.0-2707-1747


22 BUS&TRUCK • รถเพื่อกิจการพิเศษ

ปักษ์หลัง • มีนาคม 2554

รถเพื่อกิจการพิเศษ

ก้านกล้วย SGP CNG PICK UP กระบะสายพันธ์ุใหม่ จุใจ คุ้มค่ากว่า นับแต่อดีตช้างเป็นสัตว์ที่มีความ ส�ำคัญและผูกพันกับชีวติ ของคนไทยมา โดยตลอด เป็นสัตว์คบู่ ารมีของพระมหา กษัตริย์ ร่วมรบเคียงบ่าเคียงไหล่กับ บรรพบุรุษ สร้างต�ำนานเล่าขานกันมา ทุกสมัย ลักษณะโดดเด่นของช้างนอก เหนือจากความสง่างามแล้ว ยังแข็งแรง ทรงพลัง ช้างก้านกล้วยเชือกนี้เป็นช้าง ส�ำคัญทีอ่ ยูใ่ นหัวใจคนไทยมาโดยตลอด เป็นสัญลักษณ์อันทรงคุณค่าและความ ภาคภูมิใจของคนไทยทุกคน ด้วยเหตุนี้ สามมิ ต รกรี น พาวเวอร์ จึ ง ได้ น� ำ สัญลักษณ์นมี้ าใช้กบั ผลิตภัณฑ์ของทาง บริ ษั ท ที่ ส ามารถตอบสนองความ ต้องการของลูกค้าได้เป็นอย่างดี พร้อม กับสัญลักษณ์อันทรงเกียรติของช้าง ก้านกล้วยเชือกนี้ ก้านกล้วย SGP CNG PICK UP ใช้เครือ่ งยนต์ CNG รหัส 2TR-FE DOHC 16 วาล์ว ขนาด 2,694 ซีซี 160 แรงม้า ที่ 5,200 รอบ/นาที แรงบิดสูงสุด 241 นิวตันเมตรที่ 3,800 รอบ/นาที มาตรฐาน ไอเสีย EURO III ถังบรรจุก๊าซ 3 ถัง ความจุ 165 ลิตร อุปกรณ์ระบบก๊าซ มาตรฐานสามมิตร ผ่านการทดสอบเพือ่ ความปลอดภัย ตัง้ แต่การทดสอบการยึด จับหัวเติมก๊าซ ต้องสามารถรับแรงดึง และแรงกดได้ถึง 670 นิวตัน รับแรงบิด ได้ถึง 200 นิวตัน-เมตร โดยไม่มีความ เสียหายและฉีกขาด ถังบรรจุก๊าซ CNG ผ่านการทดสอบแรงกระแทก โดยเครือ่ ง ทดสอบมาตรฐานระดั บ สากล และ

ทดสอบการรั่วของก๊าซ CNG ควบคุม ด้ ว ยระบบ Automatic ที่ ไ ด้ รั บ การ ออกแบบและเป็ น ลิ ข สิ ท ธ์ เ ฉพาะของ SGP โดยเฉพาะส่วนที่ต้องรับแรงดันสูง จะมีความหนาเป็นพิเศษ ถังก๊าซถูกวาง ต�ำแหน่งอยู่ในแนวแชสซีส์ ท�ำให้มีการ ถ่ายเทน�้ำหนักและทรงตัวที่ดีกว่า สร้าง ความมั่นใจในขณะเข้าโค้ง กระบะท้ายได้รบั การออกแบบ มาเพื่อตอบสนองงานบรรทุกที่ต้องการ พื้ น ที่ ม ากเป็ น พิ เ ศษ พื้ น กระบะเรี ย บ ท� ำ ให้ มี พื้ น ที่ บ รรทุ ก กว้ า งกว่ า กระบะ ทั่วไปถึง 20 เปอร์เซ็นต์ ขนาดของ กระบะมีความกว้าง 1,340 มม. ยาว 1,475 มม.และสูง 1,190 มม. สามารถ บรรทุ ก ได้ เ ต็ ม พื้ น ที่ ไม่ เ สี ย พื้ น ที่ ว าง ตะกร้าสัมภาระอีกต่อไป ใช้ประโยชน์ได้ ทั้งงานขนส่งและพ่อค้าแม่ค้า สามารถ เลือกออฟชัน่ จากโรงงานได้ ไม่วา่ จะเป็น ชุดเสริมกระบะสูงหรือลิฟเตอร์ขนสินค้า ด้านท้ายรถเพื่อเพิ่มความสะดวกสบาย ในการขนย้ายสินค้า ใช้คนเพียง 1 คนก็ สามารถท�ำงานได้ นั บ เป็ น อี ก ทางเลื อ กที่ น ่ า สนใจ ส�ำหรับผูท้ กี่ ำ� ลังมองหารถกระบะไว้ใช้ใน ธุรกิจของท่าน เพื่อผลตอบแทนและ ก�ำไรที่คุ้มค่า สอบถามรายละเอียดเพิ่ม เติมเกี่ยวกับ SGP CNG PICK UP ได้ที่ บริษัท สามมิตร กรีน พาวเวอร์ จ�ำกัด 02-413-1520 หรือที่เวบไซต์ www. sammitrgreen.com


24 BUS&TRUCK • LOGISTICS

ปักษ์หลัง • มีนาคม 2554

LOGISTICS FOCUS

ยูพเี อสขยายเครือข่ายบริการเฟรท ทางทะเลทัว่ เอเชียให้บริการขนส่งแบบไม่ เต็ ม ตู ้ ค อนเทนเนอร์ ที่ ร วดเร็ ว กว่ า ครอบคลุมจีน ฮ่องกง สิงคโปร์ เกาหลีใต้ ไต้หวัน ไทยและเวียดนาม จากความส�ำเร็จหลังการเปิดตัวใน ญี่ปุ่น ยูพีเอสประกาศขยายบริการเฟรท ทางทะเลแบบไม่เต็มตู้คอนเทนเนอร์เพิ่ม เติมใน 10 เมืองหลักทั่วเอเชีย บริการดัง กล่าวจะช่วยให้การขนส่งแบบไม่เต็มตู้ คอนเทนเนอร์สู่สหรัฐอเมริกาเร็วขึ้นกว่า เดิมถึง 40% โดยที่ยังคงให้บริการเฟรท ทางทะเลในราคาที่สามารถแข่งขันได้ ยูพีเอสเริ่มให้บริการขนส่งแบบไม่ เต็มตูค้ อนเทนเนอร์แก่ลกู ค้าทีต่ อ้ งการส่ง พัสดุไปยังสหรัฐอเมริกาจากเมืองท่าทัง้ สี่ เมืองของจีน ซึ่งประกอบด้วย เซี่ยงไฮ้ เซินเจิ้น หนิงปอ และเซี่ยเหมิน และจะ ขยายบริการนี้ไปยังเมืองปูซาน ประเทศ เกาหลีใต้ รวมทัง้ ไทเป ประเทศไต้หวันใน เดื อ นมี น าคม 2554 และในไทย,

ยูพีเอส ขยายเครือข่าย บริการเฟรททางทะเลทั่วเอเชีย

เวียดนาม, สิงคโปร์และฮ่องกง ในเดือน เมษายน 2554 คุณจิมมี่ แครบ รองประธานด้าน บริการเฟรททางทะเล ยูพีเอส กล่าวว่า บริ ก ารเฟรททางทะเลแบบไม่ เ ต็ ม ตู ้ คอนเทนเนอร์ของยูพีเอสจะช่วยลดระยะ เวลาระหว่างการขนส่งทางทะเลซึ่งปกติ ใช้เวลา 3-4 สัปดาห์ลงได้เกือบครึ่งหนึ่ง หลังจากที่พัสดุมาถึงท่าเรือชายฝั่งตะวัน ตกของสหรัฐ ฯ พัสดุจะถูกโอนเข้าสูเ่ ครือ ข่ า ยขนส่ ง ด่ ว นภาคพื้ น ดิ น ของยู พี เ อส อเมริกาเหนือที่ใช้ในการขนส่งเฟรททาง อากาศ ซึ่งช่วยให้การขนส่งรวดเร็วยิ่งขึ้น และสามารถจัดส่งพัสดุแบบก�ำหนดวันส่ง มอบที่ แ น่ น อนส� ำ หรั บ จุ ด หมายปลาย ทางในสหรัฐฯ ซึง่ ครอบคลุมกว่าเมือ่ เทียบ กับบริการของคู่แข่ง และลดระยะเวลา ระหว่างการขนส่งได้ 8-16 วัน เมื่อเทียบ กับบริการขนส่งมาตรฐานในปัจจุบันที่จัด ส่งผ่านท่าเรือชายฝั่งตะวันออก นอกจากความรวดเร็วในการขนส่ง แล้ว บริการเฟรททางทะเลแบบไม่เต็มตู้ คอนเทนเนอร์ยังช่วยให้ลูกค้าสามารถ ติดตามตรวจสอบสถานะการขนส่งตลอด เวลาผ่านโซลูชั่นควอนตัมวิวของยูพีเอส โดยยู พี เ อสใช้ ส แกนเนอร์ แ ละระบบ จัดการข้อมูลที่ล�้ำสมัยเพื่อบันทึกและส่ง ผ่านข้อมูลการขนส่งซึ่งเป็นสิ่งที่บริการ

ขนส่งทางทะเลโดยทั่วไปไม่ใช้กัน บริการขนส่งทางทะเลแบบไม่เต็มตู้ คอนเทนเนอร์ของยูพีเอสเหมาะอย่างยิ่ง ส�ำหรับลูกค้าในกลุ่มธุรกิจ สินค้าไฮเทค/ อิเล็คทรอนิคส์ เฮลธ์แคร์ ค้าปลีก และ ยานยนต์ ซึ่งลูกค้ายังจะได้รับประโยชน์ จากคุณสมบัติเพิ่มเติมอื่นๆ ไม่ว่าจะเป็น การคิดราคาต่อน�้ำหนักกิโลกรัม ระบบ อินวอยซ์ทรี่ วดเร็ว และสามารถก�ำหนดวัน รับพัสดุที่แน่นอนได้ นอกเหนือจากบริการขนส่งแบบเต็ม ตูค้ อนเทนเนอร์ ยูพเี อสยังให้บริการขนส่ง แบบไม่ เ ต็ ม ตู ้ ค อนเทนเนอร์ รู ป แบบ มาตรฐานซึ่ ง ก� ำ หนดวั น ที่ อ อกจากท่ า ต้ น ทางและเข้ า ถึ ง ท่ า ปลายทางพร้ อ ม ระบบติดตามตรวจสอบ ด้วยบริการที่ ครอบคลุมถึง 1,600 เส้นทางใน 116 ประเทศทั่วโลก บริการขนส่งแบบไม่เต็ม ตูค้ อนเทนเนอร์ของยูพเี อสสามารถเข้าถึง ผูป้ ระกอบการต่างๆ ทีม่ ลู ค่าทางธุรกิจคิด เป็นสัดส่วนถึง 97% ของผลิตภัณฑ์มวล รวมประชาชาติของโลก ทัง้ นี้ ยูพเี อสมีบริการเฟรททางทะเล ทีค่ รบวงจร ตัง้ แต่บริการขนส่งพัสดุ จนถึง บริการการจัดการซัพพลายเออร์ซึ่งช่วย ควบคุมดูแลผู้ให้บริการและค�ำสั่งซื้อจาก ต่างประเทศ ส�ำหรับข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยว กับบริการเฟรททางทะเลของยูพเี อสกรุณา เยี่ยมชมที่ ups.com/globalfreight


26 BUS&TRUCK • LOGISTICS

ปักษ์หลัง • มีนาคม 2554

LOGISTICS & MATERAIL HANDLING

KIAT เดินหน้าขยายธุรกิจขนส่ง สินค้าอุตสาหกรรม หวังเพิ่มโอกาสทาง ธุ ร กิ จ และขยั บ ฐานรายได้ เ พิ่ ม จาก ปัจจุบัน พร้อมขยายไลน์ให้บริการงาน LOGISTICS เพิ่ม หลังจากก�ำไรสุทธิปี 53 เพิ่มเป็น 194.38 ลบ. จาก 137.43 ลบ. ในปี 52 ด้านบอร์ดสั่งปันผลงวด ครึ่งปีหลังให้อีก 0.35 บ./หุ้น รวมจ่าย ทั้งปี 0.60 บ./หุ้น คุ ณ เกี ย รติ ชั ย มนต์ เ สรี นุ ส รณ์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท เกียรติธนา ขนส่ง จ�ำกัด (มหาชน) หรือ KIAT ผู้ ประกอบการธุรกิจขนส่งเคมีภัณฑ์ และ เชื้อเพลิงพลังงาน เปิดเผยถึงแนวโน้ม ธุรกิจขนส่งในปีนยี้ งั เติบโตในทิศทางทีด่ ี ต่อเนื่องจากปีที่ผ่านมา โดยบริษัทฯ มี แผนจะขนส่งสินค้าไปยังประเทศแถบ เพื่อนบ้านมากขึ้น โดยเฉพาะประเทศ ลาวที่เป็นตลาดส�ำคัญ ขณะเดียวกัน บริ ษั ท ฯ ยั ง ศึ ก ษาตลาดขนส่ ง สิ น ค้ า อุตสาหกรรมในประเทศเพื่อนบ้าน ซึ่ง ขณะนี้ได้ส่งเจ้าหน้าที่ทางการตลาดไป

KIAT ลุยขนส่งต่างแดนเต็มที่ หลังจากก�ำไรปี 53 พุ่งกว่า 40%

ศึกษาข้อมูล และหากได้รับการตอบรับ ที่ ดี มี ลู ก ค้ า สนใจเข้ า มาใช้ บ ริ ก าร สัดส่วนการรับงานในต่างประเทศของ บริษัทฯ น่าจะเพิ่มขึ้นอย่างชัดเจน จาก

ปัจจุบันที่รายได้จากต่างประเทศคิดเป็น 5% ของรายได้รวม และจะผลักดันราย ได้ของบริษทั ฯ ให้เติบโตในทิศทางทีด่ ขี นึ้ เช่นกัน “ธุรกิจขนส่งสินค้าอุตสาหกรรม ขยายตัวดีต่อเนื่อง โดยเฉพาะธุรกิจ ขนส่ ง สารเคมี ทั้ ง ในและต่ างประเทศ ถือว่ายังดี พร้อมกันนี้บริษัทฯ มีแผน ขยายไลน์ให้บริการขนส่งสินค้าประเภท อื่นๆ ให้ครอบคลุมมากขึ้น เพื่อเพิ่ม โอกาสใหม่ๆ ทางธุรกิจ และสร้างรายได้ ในอนาคต รวมถึงการบริหารคลังสินค้า ครบวงจร และจากการมุ่งขยายธุรกิจ อย่างต่อเนื่อง เชื่อว่าในปี 2554 บริษัทฯ จะสามารถผลักดันรายได้ให้เติบโตได้ใน อัตรา 5-10% จากปีที่ผ่านมา” “จากผลประกอบการงวดประจ�ำปี 2553 สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทฯ มีรายได้รวม 877.34 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากงวดเดียวกันของปี 2552 ที่มี รายได้ 593.27 ล้านบาท คิดเป็นการเพิม่ ขึ้น 284.07 ล้านบาท หรือร้อยละ 47.88

ขณะเดียวกันบริษทั ฯ มีกำ� ไรสุทธิหลังหัก ภาษี 194.38 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วง เดียวกันของปีก่อนที่มีก�ำไรสุทธิหลังหัก ภาษี 137.43 ล้านบาท คิดเป็นการเพิ่ม ขึ้น 56.95 ล้านบาท หรือร้อยละ 41.43 ส่วนก�ำไรต่อหุน้ เพิม่ ขึน้ จาก 0.82 บาทใน ปี 2552 มาเป็น 0.97 บาทในปี 2553 อย่างไรก็ตาม ในการประชุมคณะ กรรมการบริษทั ฯ ครัง้ ที่ 1/2554 เมือ่ วัน ที่ 22 กุมภาพันธ์ที่ผ่านมา ที่ประชุมมีมติ ให้จ่ายเงินปันผลให้ผู้ถือหุ้นงวดครึ่งหลัง ปี 2553 (1 กรกฎาคม-31 ธันวาคม 2553) อัตราหุ้นละ 0.35บาท เมื่อรวม กั บ การจ่ า ยปั น ผลงวดระหว่ า งกาล (1 มกราคม-30 มิถนุ ายน 2553) ทีอ่ ตั รา หุ้นละ 0.25 บาท ท�ำให้ทั้งปี 2553 บริษัทฯ จ่ายเงินปันผลให้ผู้ถือหุ้นใน อัตราหุ้นละ 0.60 บาท โดยการจ่าย เงินปันผลงวดใหม่ ก�ำหนดให้จ่ายในวัน ที่ 29 เมษายน 2554 ซึ่งบริษัทฯ เสนอ ให้ผถู้ อื หุน้ พิจารณาอนุมตั ใิ นการประชุม สามัญผู้ถือหุ้นในวันที่ 20 เมษายนนี้

ส.อ.ท.จับมือ 2 พันธมิตร จัดสัมมนา CEVA เผยผลประกอบการสูงขึ้น 25% บริหารจัดการขนส่งประหยัดพลังงาน ส.อ.ท. จับมือ สนพ. และกองทุน เพื่ อ ส่ ง เสริ ม การอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งาน แนะน� ำ ผู ้ ป ระกอบการบริ ห าร การขนส่ง เพือ่ ประหยัดพลังงานอย่าง เป็ น รู ป ธรรม ด้ ว ยการจั ด สั ม มนา ระหว่างผู้ประกอบการ ผู้เชี่ยวชาญ และคณะท� ำ งานโครงการ ภายใต้ “โครงการส่งเสริมระบบบริหารจัดการ ขนส่ ง เพื่ อ การประหยั ด พลั ง งาน (LTM)” คุณธิบดี หาญประเสริฐ ประธาน คณะท�ำงานโครงการส่งเสริมระบบ บริหารจัดการขนส่งเพื่อการประหยัด พลังงาน เปิดเผยว่า โครงการส่งเสริม ระบบบริ ห ารจั ด การขนส่ ง เพื่ อ การ ประหยั ด พลั ง งาน (Logistic and Transport Management; LTM) เกิด ขึน้ เพือ่ เปิดโอกาสให้กบั ผูป้ ระกอบการ ที่ มี ค วามสนใจที่ จ ะปรั บ ปรุ ง การใช้ พลังงานของตนเองอย่างจริงจังเข้าร่วม โครงการ เพื่อให้ทีมผู้เชี่ยวชาญเข้าให้ ค�ำปรึกษา และศึกษาหาแนวทางการ ปรับปรุงด้วยหลักการต่างๆ เช่น ด้าน วิศวกรรมและเทคโนโลยี ด้านการ บริหารจัดการ วิธกี ารขับรถ หรือแม้แต่

การสร้างทีมงาน เป็นต้น โดยแนวทาง ที่ได้รับค�ำแนะน�ำจะถูกผลักดันให้ผู้ ประกอบการน� ำ ไปปฏิ บั ติ ใ ห้ เ กิ ด ขึ้ น อย่ า งเป็ น รู ป ธรรม พร้ อ มทั้ ง เก็ บ รวบรวมข้อมูลการใช้เชื้อเพลิงเพื่อใช้ ในการเปรียบเทียบ ทั้งนี้ ได้คัดเลือกผู้ประกอบการฯ ที่สนใจเข้าร่วมโครงการฯ จ�ำนวน 105 แห่ง เพือ่ มาร่วมสัมมนาและร่วมลงนาม บันทึกความเข้าใจว่าด้วยความร่วมมือ ในการด�ำเนินโครงการฯ เพื่อแสดงถึง ความมุ ่ง มั่ น ของผู้ บ ริ หารที่ มีต ่ อ การ ด�ำเนินกิจกรรมต่างๆ ร่วมกันภายใต้ โครงการฯ “โครงการ LTM ที่เกิดขึ้นในครั้ง นี้มีเป้าหมายที่จะส่งเสริมให้เกิดการ ศึ ก ษาหาแนวทางการพั ฒ นาระบบ บริหารจัดการขนส่ง เพื่อลดการใช้ น�้ำมันเชื้อเพลิงในกิจการบริการขนส่ง สินค้า จ�ำนวนไม่นอ้ ยกว่า 100 ราย และ ให้เกิดการประหยัดพลังงานเชื้อเพลิง ในกิจการบริการขนส่ง โดยมีเป้าหมาย การใช้พลังงานที่คาดว่าจะลดลงได้ เฉลี่ยรวมหลังจบโครงการฯเท่ากับ 4 ktob ต่อปี”

CEVA แถลงผลประกอบการทีส่ งู เป็นประวัติการณ์ และยอด EBITDA ที่ เติบโตสูงขึ้น ในช่วงปีงบประมาณซึ่ง สิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2553 เป็น ผลมาจากการเติบโตของธุรกิจในช่วง ไตรมาสที่ 3 คุณจอห์น แพททูลโล ประธาน บริหารของ CEVA กล่าวถึงตัวเลขผล ประกอบการในครั้งนี้ว่า “ผมรู้สึกยินดี กับการเติบโตของธุรกิจตลอดช่วงปี 2553 หลังจากที่เราได้ประสบกับความ ท้าทายในช่วงก่อนเริ่มปีงบประมาณ 2010 เราได้มงุ่ มัน่ อย่างเต็มทีใ่ นส่วนพืน้ ฐานของธุรกิจ รวมทั้งผลักดันให้เกิด กระบวนการเปลี่ยนถ่ายของโครงการ ต่างๆ” ภาพรวมของผลประกอบการ

แรงเสริมทางธุรกิจที่แข็งแกร่ง จากไตรมาสที่ 3 ได้ ต ่ อ เนื่ อ งไปถึ ง ไตรมาสที่ 4 ที่ยอดผลประกอบการเพิ่ม ขึ้น 22% และตัวเลข EBITDA เพิ่มสูงขึ้น 35% จากปี ก ่ อ นหน้ า ด้ ว ยเหตุ นี้ ผ ล ประกอบการประจ�ำปีจงึ ปรับตัวสูงขึน้ ถึง 25% หรือ 6.8 พันล้านยูโร พร้อมกับ ตัวเลข EBITDA ที่เพิ่มสูงขึ้น 25% หรือ 292 ล้านยูโร ตัวเลขดังกล่าวสะท้อนถึง การเติบโตก้าวส�ำคัญของ CEVA Group

การเติบโตของเราเริ่มมาจากพื้น ฐานของตลาดในภาพรวมที่ก�ำลังฟื้นตัว ขึน้ ผนวกกับหลากหลายโครงการทีช่ ว่ ย ให้ เ ราสามารถลดค่ า ใช้ จ ่ า ย เพิ่ ม ประสิทธิภาพการปฏิบตั งิ าน และเพิม่ ตัว เลขมาร์ จิ้ น ได้ อ ย่ า งยั่ ง ยื น โดย 4 โครงการหลักในปี 2553 คือ •โปรแกรม UNO-กระบวนการท างธุรกิจที่ใช้ส�ำหรับการสร้างมาตรฐาน ที่ CEVA ใช้กับการปฏิบัติงานของภาค การขนส่งสินค้า •การเงินและการบัญชี-จัดจ้าง การท� ำ บั ญ ชี จ ากภายนอกและปรั บ กระบวนการทางการเงินและการบัญชี •เพิ่มขอบข่ายธุรกิจขนส่งสินค้า -รวมศูนย์การจัดซื้อจัดหา การบริหาร ระวางขนส่ง และการควบคุมการปฏิบตั ิ งานหลัก •การบริ ห ารหนี้ สิ น -พั ฒ นา โครงสร้างหนี้สินและความคล่องตัว “จากปัจจัยที่ตลาดทั่วโลกในภาพ รวมก�ำลังฟืน้ ตัวขึน้ เรารูส้ กึ ยินดีทไี่ ด้เริม่ ปี 2554 ด้วยแนวทางการด�ำเนินธุรกิจที่ แข็งแกร่ง ซึ่งจะเป็นแบบแผนเพื่อการ เติบโตเราเชือ่ มัน่ ว่าเราจะเติบโตไปอย่าง ต่อเนือ่ งทัง้ ในด้านรายได้และผลก�ำไรใน อีกหลายเดือนที่ก�ำลังจะมาถึง”


LOGISTICS • BUS&TRUCK 27

ปักษ์หลัง • มีนาคม 2554

เทียบท่า

สุระชัยบรรทุกสัตว์ปีก ผู้เชี่ยวชาญด้านการขนส่งสัตว์ปีก

ธุรกิจอุตสาหกรรมอาหารส่งออก ถือเป็นธุรกิจที่ท�ำรายได้เข้าสู่ประเทศ อย่างมหาศาล การขนส่งสินค้าประเภท นีม้ ขี อ้ จ�ำกัดมากมาย ทัง้ นีก้ เ็ พือ่ ให้คงไว้ ซึ่งคุณภาพของสินค้า โดยเฉพาะอย่าง ยิง่ สินค้าประเภทสิง่ มีชวี ติ อย่างเช่นการ ขนส่งไก่เข้าโรงงานแปรรูป เป็นต้น ฉบับนีเ้ ราขอพาท่านผูอ้ า่ นมาสัมผัสผูอ้ ยู่ เบือ้ งหลังความส�ำเร็จของธุรกิจอุตสาหกรรมอาหารส่งออกว่าเขามีวธิ กี ารรักษา มาตรฐานและคุณภาพในการบริการได้ อย่างไร จึงสามารถยืนหยัดครองใจผู้ หัวใจส�ำคัญคือเวลา โรงงานที่เราวิ่ง ผลิตไก่ส่งออกมาได้นานกว่า 40 ปี อยู ่ จ ะมี ก�ำหนดเวลาที่แน่นอนว่ารถคันนี้ ผู ้ เ ชี่ ย วชาญด้ า นการขนส่ ง สั ต ว์ ป ี ก าโรงงานเวลานี้ จะช้าไปหรือเร็วไป อาชีพหลักของเราคือรถขนส่งไก่ให้กับ ต้ไม่อไงเข้ ด้ ่วไปจะก�ำหนดให้ถึงโรงงาน ซีพี คาร์กิล และเบทาโกร ซึ่งน่าจะเป็น ก่อนคิวโดยทั 15-30 นาที เพื่อ ผู ้ ผ ลิ ต ไก่ ส ดส่ ง ออกรายใหญ่ ที่ สุ ด ใน ให้ไก่ได้เชืผอ่อดประมาณ นคลาย ตรงนี้เป็นมาตรฐาน ประเทศก็วา่ ได้ ย้อนหลังไปเมือ่ ประมาณ สัตว์ปีกของทางสหภาพยุ (EU) คือ 40 ปีที่แล้ว คุณพ่อได้ท�ำธุรกิจวิ่งรถ อากาศต้องไม่รอ้ น ความชืโน้ รปต้องได้ ไม่ ขนส่งอาหารไก่ให้กบั ทางซีพี ต่อมาจึงได้ ร้อง ท�ำให้ไก่สลบแล้วจึงเข้าเชือด เพืไก่​่อไม่ มีโอกาสเข้ามาวิ่งรถขนส่งไก่เป็นจาก ให้เป็นการทารุณสัตว์ ตรงนี้เราก็ต้อง ฟาร์มเข้าไปสู่โรงงานแปรรูปเป็นไก่สด ท�ำให้ได้ตามเวลาที่เค้าก�ำหนด ถ้าไม่ทัน แล้วแต่วา่ ซีพไี ปปล่อยไก่ทไี่ หน เราก็ตอ้ ง เวลาก็ ถื อ ว่ า ตกคิ ว ต้ อ งชดใช้ ใ ห้ ท าง ตามไปเก็บไก่เข้าโรงงาน ภายหลังซีพไี ด้ โรงงาน ซึ่งตรงนี้จะมีข้อมูลบันทึกไว้ ถ้า ขยายโรงงานมาที่แก่งคอยเราก็ตามมา รถเสียเราก็ต้องหารถแทนเพื่อให้ไก่ใช้ ด้วย เพราะลักษณะงานของรถขนส่งไก่ เวลาอยู่บนถนนน้อยที่สุด อย่างมากไม่ นัน้ ต้นทางคืออยูท่ ฟี่ าร์ม ปลายทางก็คอื เกินครึง่ ชัว่ โมงเราต้องเคลือ่ นย้ายไก่ให้ไป ต้องกลับมาที่โรงงาน เราจึงต้องสร้างอู่ ต่อเข้าโรงงานให้ได้ ไว้ใกล้ๆ โรงงาน ปัจจุบันนี้เราก็มีอู่อยู่ 4 ตรงต่อเวลาเป็นตัวชี้วัดคุณภาพ ข้อ แห่ง คือชลบุรี แก่งคอย โคราชและ ก�ำหนดเรื อ่ งเวลาตรงนีค้ อื คุณภาพการให้ ลพบุรี บริ ก ารของเรา ก็ท�ำให้เราต้องใส่ใจใน เปิดอู่ซัพพอร์ทรถในธุรกิจ โดยปกติ ่องการบ�ำรุงรักษารถของเราไปในตัว รถที่วิ่งไก่จะมีช่วงยาวกว่ารถบรรทุก เรื วย เพราะรถของเราวิ่งหมุนเวียนกัน ปกติ เวลาเราซื้อรถมาเราก็ต้องมาขยับ ด้ตลอด ชั่วโมง ถ้ารถเสียคนขับต้อง ช่ ว งล้ อ ให้ ย าวขึ้ น เพื่ อ ให้ ร ถของเรา ประเมิน24ก่อนว่ ำอะไรได้บ้าง เหมาะสมกับลักษณะการบรรทุก ท�ำให้ ประเภทที่เล็กๆน้าสามารถท� ยๆ เช่น ยางรั่ว ก็เข้า เราต้องมาท�ำอู่เอง ลักษณะจะเป็นการ ร้านปะยางแล้วก็ไอปต่ ้าเสียแล้วไม่ ต่อรถเพือ่ ใช้เองมากกว่า ไม่ได้รบั ท�ำงาน สามารถไปต่อได้ เราก็อจะส่แต่งถรถไปลากเข้ า ข้างนอก โรงงาน เอาไก่เข้าโรงงานให้ทันก่อนแล้ว

เทียบท่า ชื่อบริษัท : หจก.สุระชัยบรรทุกสัตว์ปีก จ�ำกัด ธุรกิจ : ขนส่งสัตว์ปีก (ไก่) พื้นที่บริการ : ภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จ�ำนวนรถที่ให้บริการ : 160 คัน ติดต่อ : โทร. 08-2300-3009

ค่อยซ่อมทีหลัง คือพยายามอย่าให้รถจอด นาน ถ้ารถจอดแล้วอากาศจะไม่ระบาย ไก่ทอี่ ยูด่ า้ นล่างๆ จะร้อน เกิดความเครียด ก็ส่งผลย้อนกลับไปที่คุณภาพของไก่ คนขั บ รถถื อ เป็ น ทรั พ ยากรส� ำ คั ญ

นอกจากความรู้ความสามารถในการขับ รถแล้ว ยังต้องผ่านการอบรมการดูแล การขนย้ายไก่จากโรงงานก่อน รวมไปถึง ความซื่ อ สั ต ย์ ก็ มี ส ่ ว น คนขั บ ทั้ ง หมด ประมาณ 100 คน มีการประชุมทุกเดือน จะมีการถามคอมเมนท์จากโรงงานแล้ว เอาเข้าที่ประชุมเพื่อรับทราบและแก้ไข ปัญหา ระบบของเราก็คล้ายๆกับหลายเจ้า คือระบบเหมาน�ำ้ มัน สมมติคา่ เทีย่ ว 1,400 บาท ค่าน�้ำมัน 40 % ของค่าขนส่ง ค่าน�้ำ มันกี่บาท เหลือเท่าไรคุณเอาไปเลย แต่ก็ ต้องแลกกับการดูและรักษารถ ถ้าคนขับ ปล่อยให้รถเสียรายได้ตรงนี้ก็จะหายไป ไม่อย่างนัน้ ก็จะเป็นแบบเหมาเทีย่ ว คือขับ ให้เสร็จๆรับค่าแรงเป็นเที่ยวๆไป คนขับก็ จะละเลยไม่ใส่ใจบ�ำรุงรักษา ความพร้อมด้านอะไหล่ อะไหล่ก็ถือ

เป็นต้นทุนอย่างหนึ่งที่มีแนวโน้มจะสูงขึ้น เรื่ อ ยๆ ไม่ มี โ รงงานไหนที่ บ อกว่ า ค่ า อะไหล่เพิ่มแล้วเขาจะขึ้นให้ ซึ่งต่างจาก ราคาน�้ำมันเพราะมันเห็นได้ชัดเจนกว่า อะไหล่ทบี่ ริษทั มีเกือบทุกชิน้ เพราะรถของ เราวิ่ ง กั น ทุ ก วั น หยุ ด วั น อาทิ ต ย์ ร้ า น อะไหล่ปดิ เราไม่สามารถไปหาซือ้ อะไหล่ ได้ จึงต้องมีการส�ำรองเก็บไว้ มุมมองธุรกิจขนส่งสัตว์ปีก ธุรกิจไก่ ถือเป็นธุรกิจปิดที่อยู่ในวงแคบๆ โรงงาน พวกนี้จะมีมาตรฐานอยู่แล้วว่าก�ำลังการ ผลิตจ� ำนวนเท่าไรต่อปี ในอนาคตถ้า โรงงานไม่เพิ่มก�ำลังการผลิต โอกาสที่ ผู้รับเหมารายใหม่จะเข้ามาก็ล�ำบาก ถึง ได้บอกว่าเป็นธุรกิจที่ค่อนข้างปิด ไม่ใช่ การผูกขาด แต่วา่ เข้ามาแล้วไม่มสี นิ ค้าให้ ขนเพราะโรงงานต้องการใช้รถเท่านี้ ก็จะ สั่งรถเท่านี้ไม่มีการต่อรถออกมารองาน ไม่ใช่ว่าจะเข้ามาแล้วก็สามารถวิ่งได้เลย รถแต่ละคัน คนขับแต่ละคนล้วนต้องมี ประวัติการท�ำงานทุกๆ อย่างในธุรกิจนี้ ล้วนแต่มีขั้นตอน

คุณบรรยงค อัมพรตระกูล ประธานชมรมสมาคมรถรวมขสมก.

ประธานชมรมสมาคมรถร ว มขสมก. ขอแสดงความยินดี พายุรายไดผานพน โครง การรถเมล NGV 4,000 คันลม และผูวางแผน ทั้ง 4 ทาน ไดหมดหนาที่ แตฟายังไมใส รถเมล รอน 800 คันที่ขึ้นฟรี ถือเปนเสรีนิยมหรือ รัฐสวัสดิการที่ผิดแบบทำลายผูประกอบการเดิม จึงขอความรวมมือผูประกอบการทั้งหมด รวมแกไขปญหานี้ตอไป เพ�อเปนที่พึ่งของผูมีอาชีพบริการไดรวม กันจัดตั้ง “สหกรณขนสงมวลชน” แกปญหา ทั้งระบบ


สมาคมขนส่งทางบกแห่งประเทศไทย

ขอแสดงความยินดีแก่หนังสือพิมพ์ BUS & TRUCK ในโอกาสก้าวสู่ปีที่ 8 คุณวชิรศักดิ์ เล้าประเสริฐ นายกสมาคมขนส่งทางบก แห่งประเทศไทย

ผลงานปีที่ผ่านมาปี 2553

ผลักดันให้เกิด สภาการขนส่งบนถนน ทั้งนี้เพื่อให้ ผู้ประกอบการขนส่งทางบกในเมืองไทยมีความเข้มแข็ง สามารถสร้างความมั่นคงให้กลุ่มผู้ว่าจ้างท�ำงานต่อไป เนื่องจากในปี 2558 บริษัทขนส่งต่างชาติสามารถรุก ตลาดไทยได้เต็มตัว พร้อมทั้งท�ำให้รัฐบาลช่วยสนับสนุน เป็นหลักด้วย จัดงาน Northern Motor Show 2010 ช่วยท�ำให้ เศรษฐกิจและอุตสาหกรรมในภาคเหนือ สามารถขึ้นมา เทียบชั้นกับกรุงเทพมหานครให้ได้ ยืน่ เรือ่ งร้องเรียนต่อผูบ้ งั คับบัญชาต�ำรวจทางหลวง และหน่วยราชการที่เกี่ยวข้องกับจราจร เน้นเรื่องก�ำจัด ส่วยเพราะถือเป็นปัญหาหลักที่บรรดาสมาชิกได้ถูกผู้ กระท�ำผิดนอกกฏหมายแย่งกลุ่มผู้ว่าจ้างไป

สมาคมขนส่งทางบกแห่งประเทศไทย 45/4 หมู่ที่ 7 ถ.นครสวรรค์-พยุหคีรี ต.ยางตาล อ.โกรกพระ จ.นครสวรรค์

โทร. 056-247228, 089-858-4609 โทรสาร : 056-247229 E-mail : siblor_nw@hotmail.com, www.siblor.com


รับขนส่งทั่วราชอาณาจักร

นครสวรรค์ตั้งประเสริฐกรุ๊ป

โทร.056-320354, 081-629-4444,081-447-2222 E-mail : ntpsgroup@hotmail.com, Website : www.ntpsgroup.com


30 BUS&TRUCK • วัดรอบ

ปักษ์หลัง • มีนาคม 2554

วัดรอบ ยอดจดทะเบียนรถบรรทุกและรถโดยสาร รวมทั่วประเทศ กุมภาพันธ์ 2554 รถบรรทุก รถโดยสาร ISUZU

HINO

917

907

MITSUBISHI 50 NISSAN 30 SINOTRUK 20 VOLVO 10

ยังคงครองแชมป์ ต่ อ เนื่ อ งเป็ น เดื อ นที่ 2 ติดต่อ กันส� ำหรับ “ISUZU” แต่ยอดจดอาจจะลดลงเล็กน้อยเหลือ 917 คัน ตามติดมา ด้วย “HINO” ด้านรถจีนที่หลายฝ่ายจับตามอง SINOTRUK อยู่ที่ 20 ซึ่งห่างกับ DF พอสมควร

แหล่งที่มา : ยอดรถจดทะเบียน ฝ่ายสถิติ กลุ่มวิชาการและวางแผน ส�ำนักจัดระบบการขนส่ง ทางบก ข้ออธิบายเพิ่มเติม : ประเภทน�ำ้ หนักรถบรรทุกและรถโดยสารตามข้อมูลของกรมการขนส่งทางบก เทียบเท่าลักษณะ รถบรรทุกและรถโดยสาร ดังนี้

และแชมป์ ย อดจดทะเบี ย นรถโดยสารของเดื อ นนี้ ต กเป็ น ของ “SUNLONG” กวาดเรียบวุธ 33 คัน ตามติดมาด้วย “DAEWOO” และ “HINO” 20 และ 19 ตามล�ำดับ

ประเภทน�้ำหนัก 1. 2,001-4,000 กก. 2. 4,001-5,000 กก. 3. 5,001-6,000 กก. 4. 6,001-7,000 กก. 5. 7,001 กก. ขึ้นไป

ลักษณะรถ รถบรรทุก รถโดยสาร รถตู้, รถสองแถว ไม่เกิน 12 ที่นั่ง 4 ล้อ (ช่วงยาว), 6 ล้อ (4x2) มินิบัส 6 เมตร,รถสองแถว 13-24 ที่นั่ง 6 ล้อ ตัวถังยาว 6-7 เมตร 6 ล้อ (หัวลาก) ตัวถังยาว 8 เมตร/ที่นั่งเกิน 30 ที่ 10 ล้อ (6x2) ตัวถังยาว 10 เมตรและ 12 เมตร บรรทุก 12 ล้อ (8x4) ที่นั่งเกิน 30 ที่นั่ง หัวลาก 10 ล้อ (6x4)


ปักษ์หลัง • มีนาคม 2554

BUS&TRUCK MART

BUS&TRUCK MART • BUS&TRUCK 31


32 BUS&TRUCK • จากปก

จากปก ต่อจากหน้า 1

ในการขับเคลื่อนแวดวงขนส่งกัน ก๊าซธรรมชาติเหลว LNG จากฟากฝั่ง ปตท. ปตท. ได้ มี แ ผนการจั ด หาก๊ า ซ ธรรมชาติ ใ นระยะยาวเพื่ อ รองรั บ ยุทธศาสตร์ด้านพลังงาน โดยเมื่อวันที่ 9 เมษายน 2550 ได้มีมติ กพช. เห็นชอบใน หลักการให้ ปตท. จัดท�ำแผนจัดหาก๊าซ ธรรมชาติเพิม่ เติมจากอ่าวไทย โดยขนส่ง ผ่านระบบท่อก๊าซธรรมชาติในทะเลเส้นที่ 3 และในช่วงปี 2554 เป็นต้นไป เป็นแผน น�ำเข้าก๊าซธรรมชาติเพิ่มเติมในรูปของ LNG เพื่อรองรับการขยายตัวของความ ต้องการใช้กา๊ ซฯ อย่างต่อเนือ่ ง ซึง่ การน�ำ เข้า LNG นี้ นับว่ามีสว่ นส�ำคัญในการเสริม สร้างความมั่นคงด้านพลังงานและการ จั ด หาก๊ า ซธรรมชาติ ใ นระยะยาวและ สอดคล้องกับทิศทางทีห่ ลายประเทศก�ำลัง ด�ำเนินการอยู่ในปัจจุบัน คุณปุณณชัย ฟูตระกูล ผู้จัดการ ฝ่ายการตลาดก๊าซธรรมชาติ ส�ำหรับยาน ยนต์ บริษทั ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) กล่าว ว่า ปตท.จะเริม่ น�ำเข้าก๊าซธรรมชาติเหลว LNG กลางปี 54 จากประเทศการ์ต้า โดย หลังจากที่ขนส่ง LNG มาถึงท่ารับแล้ว LNG จะถูกล�ำเลียงไปเก็บไว้ในถังเก็บที่ ถูกออกแบบเพือ่ ให้รกั ษาสถานะของเหลว ไว้ได้จนกว่าจะต้องการใช้จึงจะน�ำมาผ่าน กระบวนการให้ ค วามร้ อ นเพื่ อ เปลี่ ย น สถานะให้กลับมาอยู่ในรูปก๊าซ NGV แล้ว จึงจะส่งผ่านท่อส่งก๊าซต่อไปยังสถานีแม่ ทั่วประเทศ และให้สถานีแม่ส่งต่อไปยัง พื้นที่ โดยคาดว่า ราคาต้นทุนจะแพงกว่า ที่ได้จากประเทศไทยเพราะต้องเสียค่า ขนส่ง “กลุ่มประเทศตะวันออกจะมีก๊าซ LNG เยอะมาก จึงสามารถน�ำเข้ามาได้ ซึ่งสาเหตุที่ต้องน�ำเข้ามาก็เนื่องมาจาก ปริมาณก๊าซ NGV ในประเทศไทยคาดว่า จะใช้ได้เพียง 20-30 ปีเท่านั้น” “ทั้งนี้ จ�ำนวนความต้องการใช้ก๊าซ NGV แบ่งเป็น 95% ส�ำหรับโรงไฟฟ้า และโรงงานอุตสาหกรรมมากกว่า ซึง่ ทาง ปตท. ต้องเน้นกลุ่มนี้เป็นหลัก เนื่องจาก เป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ และแม้ว่าตลาดรถยนต์จะใช้ก๊าซ NGV เพียงแค่ 5% ทางปตท.ก็ยังให้ความใส่ใจ ด้ ว ยการเร่ ง ผลิ ต ให้ เ พี ย งพอต่ อ ความ ต้องการของตลาด แต่ภาระทีห่ นักอึง้ ของ ก๊าซ NGV ในตอนนี้คือการที่รัฐบาลให้ จ�ำหน่ายได้เพียงราคาลิตรละ 8.50 บาท ซึ่งทาง ปตท.ยังคงขาดทุนอยู่ และครม. จะมีมติให้ปรับราคาใหม่หรือไม่นั้นจะมี การประชุมกันในกลางปีนี้ ปตท.จึงต้อง รับภาระตรงนีอ้ ย่างต่อเนือ่ งไปก่อน ท�ำให้ ไม่สามารถลงทุนได้อย่างเต็มที่ จึงขอให้ ผู้ประกอบการขนส่งเข้าใจตรงจุดนี้ด้วย”

ปักษ์หลัง • มีนาคม 2554

ทิศทางพลังงานทางเลือก

คุณปุณณชัย กล่าวปิดท้าย เอทานอล ED 95 เชื้อเพลิงทางเลือกส�ำหรับรถใหญ่ ถือเป็นพลังงานทางเลือกอีกชนิดที่ น่าจับตามอง ซึ่งตอนนี้หลายฝ่ายก�ำลัง ช่วยกันศึกษาและทดลองเพื่อให้เกิดการ ใช้ประโยชน์ได้อย่างเต็มที่ โดยล่าสุดกรม ส่ ง เสริ ม อุ ต สาหกรรม กระทรวง อุตสาหกรรม พร้อมหน่วยงานภาครัฐและ เอกชน ร่วมพิธีลงนามบันทึกความเข้าใจ ว่าด้วยความร่วมมือ (MOU) ใน “โครงการ สาธิตการใช้รถโดยสารขนาดใหญ่ที่ใช้ เอทานอลเป็นเชื้อเพลิง” โครงการนี้ เ กิ ด ขึ้ น เพื่ อ ศึ ก ษา ประเมิ น ผลการใช้ เ อทานอล ED 95 ทดแทนการใช้ น�้ ำ มั น ดี เ ซลส� ำ หรั บ เครื่องยนต์โดยสารขนาดใหญ่ และเพื่อ เป็นข้อมูลประกอบการวางนโยบายภาค รัฐในการใช้เอทานอลเป็นเชื้อเพลิงทาง เลือกส�ำหรับรถขนาดใหญ่ในอนาคตด้วย โดยเป็นความร่วมมือระหว่างกระทรวง อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโลโนยี พระจอมเกล้าธนบุรี ศูนย์เทคโนโลยีโลหะ และวั ส ดุ แ ห่ ง ชาติ กรมควบคุ ม มลพิ ษ องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ บริษัท เพโทร กรีน จ�ำกัด บริษัท สแกนเนีย สยาม จ�ำกัด บริษทั ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) และกระทรวงพลังงาน ปัจจุบันเทคโนโลยีการใช้เอทานอล ทดแทนน�้ำมันดีเซลได้รับการพัฒนาขึ้น และใช้ ง านในเชิ ง พาณิ ช ย์ โดยบริ ษั ท สแกนเนีย ประเทศสวีเดน ทั้งนี้ได้มีการ ทดลองใช้งานอย่างแพร่หลายในประเทศ แถบยุโรป แอฟริกาใต้ บราซิลและจีน ใน โครงการน�ำร่องการใช้งานกับรถโดยสาร ขนาดใหญ่เพื่อทดแทนการใช้น�้ำมันดีเซล ส�ำหรับเชื้อเพลิงเอทานอลที่ใช้นี้เรียกว่า ED 95 ซึ่งเป็นเชื้อเพลิงที่ไม่มีการผสม น�้ำมันดีเซลใดๆ ลงไป มีเพียงเอทานอลที่ มีความบริสทุ ธิ์ 95% ผสมกับสารเติมแต่ง ในอัตราส่วนโดยปริมาตร 95 ต่อ 5 นพ.วรรณรัตน์ ชาญนุกูล รมว. พลังงาน เปิดเผยว่า “โครงการสาธิตการ ใช้รถโดยสารขนาดใหญ่ที่ใช้เอทานอล เป็นเชื้อเพลิง” เพื่อส่งเสริมให้การใช้ เอทานอลที่เรียกว่า ED 95 แทนน�้ำมัน ดีเซล ได้ตั้งเป้าหมายใช้กับรถโดยสาร ขนาดใหญ่ 1,000 คัน โดยจะเพิ่มการใช้ เอทานอลได้วนั ละ 1 แสนลิตรหรือลดการ ใช้ดีเซลวันละ 6 หมื่นลิตรและยังช่วยลด การอุดหนุนจากรัฐด้วย โดยรัฐได้จัดสรร งบประมาณ 10 ล้านบาท จากกองทุนเพือ่ ส่ ง เสริ ม การอนุ รั ก ษ์ พ ลั ง งานให้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ธนบุรี ไปด�ำเนินการศึกษาข้อดีและข้อ จ�ำกัดในการใช้รถโดยสารขนาดใหญ่ทใี่ ช้ เอทานอลเป็นเชื้อเพลิง

คุ ณ ชั ย วุ ฒิ บรรณวั ฒ น์ รมว. อุตสาหกรรม กล่าวว่า ไทยใช้น�้ำมันเชื้อ เพลิงในภาคขนส่งและอุตสาหกรรมใน สัดส่วนทีใ่ กล้เคียงกันมาโดยตลอด แต่ละ ภาคส่วนมีการใช้น�้ำมันในสัดส่วน 30% ของการใช้พลังงานทั้งหมด โดยพบว่ามี การใช้พลังงานจากดีเซลคิดเป็น 60% ของ การใช้ เ ชื้ อ เพลิ ง ในภาคขนส่ ง หรื อ มี ปริมาณการใช้เท่ากับ 50 ล้านลิตรต่อวัน และเป็นปริมาณ 2.5 เท่าของน�ำ้ มันเบนซิน และแก๊สโซฮอล์ ดังนัน้ หากมีพลังงานทาง เลือกเพือ่ ลดการใช้ดเี ซลได้กเ็ ป็นการช่วย ประหยัด พลังงาน “ขณะเดียวกันความสามารถในการ ผลิตเอทานอลของไทยมีอย่างเพียงพอ จากปั จ จุ บั น มี โ รงงานเอทานอลที่ จ ด ทะเบียนแล้ว 47 แห่ง แต่มีโรงงานที่ผลิต ในขณะนี้ 19 แห่ง มีก�ำลังการผลิตรวม 3 ล้านลิตร ขณะที่มีความต้องการใช้ 1.2 ล้านลิตร ดังนั้นยังมีปริมาณเอทานอลที่ เพียงพอกับความต้องการใช้ที่เพิ่มขึ้น” เสียงสะท้อนผู้ใช้ ก๊าซ NGV ณ ปัจจุบนั นี้ ก๊าซ NGV เป็นพลังงาน ทางเลือกทีผ่ ปู้ ระกอบการส่วนใหญ่หนั มา ใช้กันอย่างแพร่หลาย อันเนื่องมาจาก ราคาน�้ำมันที่แพงขึ้นอย่างต่อเนื่อง อีกทั้ง ได้รบั การสนับสนุนจากภาครัฐให้หนั มาใช้ พลังงานทางเลือกชนิดนี้ ซึง่ แน่นอนเมื่อมี ความต้องการใช้มากขึ้นปัญหาต่างๆ ก็มี ตามมาด้วยเช่นกัน คุณยู เจียรยืนยงพงศ์ ประธาน สหพันธ์การขนส่งทางแห่งประเทศไทย กล่าวว่า การใช้ก๊าซ NGV เป็นพลังงาน ทางเลือกหนึง่ ซึง่ เป็นนโยบายของรัฐบาล ในการทีจ่ ะช่วยลดต้นทุนของโลจิสติกส์ใน ประเทศ ในขณะนั้นปี พ.ศ. 2548 ราคา น�้ำมันได้ปรับตัวสูงมากขึ้นเป็นล�ำดับและ เป็นไปอย่างรวดเร็ว รัฐบาลได้ใช้เงิน กองทุนเพื่อสนับสนุนราคาน�้ำมันไว้เป็น ระยะเวลานานพอสมควร จนกระทั่ ง รัฐบาลแบกรับราคาต่อไปไม่ไหว จึงได้ ปล่อยให้ราคาน�้ำมันลอยตัวและได้น�ำ พลังงานทางเลือกหนึง่ ทีผ่ ปู้ ระกอบการให้ ความสนใจ เนื่องจากมีราคาถูกและมี ความเพี ย งพอต่ อ ความต้ อ งการ เมื่ อ เปรียบเทียบกับน�้ำมันปาล์มที่ไม่สามารถ ที่จะผลิตให้เพียงพอต่อความต้องการ การใช้ก๊าซ NGV เมื่อ 5 ปีที่แล้ว เทคโนโลยีส�ำหรับรถบรรทุกขนาดใหญ่ ในขณะนั้นยังไม่มีอุปกรณ์ NGV ที่ใช้ได้ ดังนั้นจึงจะต้องมีการพัฒนาชุดอุปกรณ์ NGV ให้สามารถใช้กับรถบรรทุกที่มี ขนาด 200 แรงม้าขึน้ ไป และทีส่ ำ� คัญทีส่ ดุ คือ จะต้องปรับเปลี่ยนระบบเครื่องยนต์ จากดีเซลเป็นเบนซิน เพื่อให้หัวเทียนเป็น ตั ว จุ ด ระเบิ ด ซึ่ ง กว่ า ที่ จ ะดั ด แปลง เครื่องยนต์จากดีเซลเป็นเบนซินเป็นเรื่อง

ที่จะต้องใช้ความพยายามสูงมากเพราะ แต่ละบริษัทมีเครื่องยนต์แตกต่างกัน “ถ้าจะถามถึงภาพรวมในการขนส่ง เป็นอย่างไร ก็ถอื ว่าเป็นวิบากกรรมของผู้ ประกอบการขนส่ง เนือ่ งจากขณะนี้ NGV ไม่เพียงพอต่อความต้องการของผูบ้ ริโภค โดยเฉพาะพื้นที่ๆ อยู่ห่างไกลจากสถานี แม่ ทั้งภาคเหนือ ภาคอีสาน และภาคใต้ ซึง่ นับเป็นวันจะต้องใช้เวลารอมากขึน้ เป็น ล�ำดับ เวลานี้รอกันถึง 24 ชั่วโมง ท�ำให้ เกิดปัญหาเป็นอย่างมาก ตั้งแต่การส่ง สินค้าไม่ทันเวลา สินค้าเสื่อมคุณภาพ และเสี ย หายในบางประเภทนั บ วั น จะ วิกฤตมากขึ้น” “ดังนั้นในภาพรวมถือว่ารัฐบาลได้ มีนโยบายที่ดี ขณะเดียวกันนั้นผู้ประกอบ การยังจะต้องรับภาระต่อไป เพราะว่าการ ดัดแปลงเครือ่ งยนต์ NGV คันละ 4-5 แสน บาท/ต่อคัน ในอดีตโดยส่วนใหญ่แล้วยัง จ่ายหนี้ไม่หมด เพราะในช่วงปี 25482549 อยู่ในระหว่างการทดลอง ปี 2550 มีความมั่นใจในการดัดแปลงเครื่องยนต์ NGV แล้ว แต่สถานีเติม NGV ไม่เพียง พอจะต้องใช้เวลารอนานข้ามวันข้ามคืน จึงจะต้องเติม NGV ได้ในแต่ละครั้ง พอ ปี 2551 กลางปี ได้เกิดวิกฤตเศรษฐกิจ ของอเมริกา ราคาน�้ำมันลดลงเศรษฐกิจ ตกต�่ำไปทั่วโลก ผู้ประกอบการไม่มีงาน ท�ำตั้งแต่กลางปี 2551-ถึงปลายปี 2552 พอปี 2553 เริ่มจะมีงานท�ำมากขึ้น หวัง ว่าจะมีรายได้เพื่อจะเอาเงินมาผ่อนช�ำระ กับธนาคารที่ได้กู้เงินมาเพื่อติดตั้ง NGV ท�ำงานได้เพียง 9 เดือน ที่มีรายได้พอจะ เหลือผ่อนช�ำระค่างวดเงินกู้ NGV แต่กา๊ ซ ก็ขาดไม่เพียงพอต่อความต้องการและนับ วันจะหนักหนาสาหัสมากขึ้น” 5 ปีของภาพรวมจึงถือว่าเป็นวิบาก กรรมของผู้ประกอบการขนส่ง เพราะมี หนีส้ นิ้ เพิม่ มากขึน้ มีทงั้ ภาระดอกเบีย้ และ หนี้ที่น�ำมาติดตั้ง NGV แต่ราคาค่าขนส่ง ถูกลดลงเพราะผู้ว่าจ้างได้ค�ำนวณต้นทุน การใช้พลังงานให้เรียบร้อยและได้ว่าจ้าง ในราคาที่ถูกลงเมื่อเปรียบเทียบกับใน อดี ต ที่ ผ ่ า นมา ประชาชนจึ ง ได้ รั บ ผล ประโยชน์ “สุดท้ายอยากขอให้รัฐบาลมีการ ติดตามผลงานอย่างต่อเนือ่ ง ก็จะเป็นการ ช่วยผู้ประกอบการ ช่วยเหลือประชาชน ช่วยเหลือประเทศชาติอย่างสมบูรณ์แล้ว เพราะที่ผ่านมามีแต่แผนงานที่สวยหรูดูดี แต่ไม่เคยได้ปฏิบัติตามแผนและตามเป้า หมายเลย” อนาคตทิ ศ ทางของพลั ง งานทาง เลือกของไทยจะก้าวไปไกลอีกขนาดไหน ทุกฝ่ายทีเ่ กีย่ วข้องคงต้องหันมาช่วยกันขับ เคลื่อนพลังงานเหล่านี้ให้สามารถเติบโต ได้ตามความต้องการของทุกๆ ฝ่าย


วงการต่างแดน • BUS&TRUCK 33

ปักษ์หลัง • มีนาคม 2554

ต่อจากหน้า 1

ฮีโน่ ตัดหน้า อีซูซุ เปิดตัวหัวลาก 360 แรงม้า

นี้ ทางบริษัทจะท�ำการเปิดตัวรถหัวลาก NGV ขนาด 360 แรงม้า ซึง่ คาดว่าจะช่วย ลดต้นทุนให้กับลูกค้าให้เป็นอย่างมาก เนื่องจากทางรัฐบาลจะพยุงราคาน�้ำมัน ดีเซลลิตรละ 30 บาท จนถึงสิ้นเดือน เมษายนนี้ ในส่วนของรถใหญ่ NGV นั้น ทาง บริษัทมีตั้งแค่ขนาด 6 ล้อ 10 ล้อ และรถ หัวลาก เรียกว่าครอบคลุมตลาดรถใหญ่ ทัง้ หมด โดยทางบริษทั ได้ตงั้ วัตถุประสงค์ ไว้วา่ รถใหญ่ NGV จะเป็นส่วนเสริมตลาด เนือ่ งจากเหมาะกับการวิง่ ในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล เพราะมีปั๊ม NGV เปิดให้ บริ ก ารอย่ า งเพี ย งพอ ส่ ว นรถใหญ่ เครือ่ งยนต์ดเี ซลยังถือว่าเป็นรถธง เพราะ สามารถบรรทุกได้มากวิง่ ระยะทางไกลได้ พร้อมทั้งยังประหยัดน�้ำมันและช่วยลด ต้นทุนได้อีกทางหนึ่งด้วย “เห็นได้ว่าในช่วงไตรมาสที่ 2 ของ ปีนี้ รถใหญ่หลายๆ ค่ายจะท�ำการเปิดตัว กันหลายรุน่ คาดว่าเมือ่ ฮีโน่เปิดตัวรุน่ ใหม่ จะสามารถท� ำ ยอดขายได้ ม าก ด้ ว ย คุ ณ ภาพสมรรถนะของตั ว รถและ เครือ่ งยนต์รวมทัง้ การบริการหลังการขาย ที่กลุ่มลูกค้ามั่นใจได้” ส�ำหรับรถใหญ่ที่จะเปิดตัวในช่วงนี้ มีทงั้ ค่ายอีซซู ทุ จี่ ะเปิดตัวรถหัวลาก 10 ล้อ

2 เพลา และรถ 10 ล้อ เครื่องยนต์ NGV 340 แรงม้าขึน้ ไป ค่ายไซโน ทรัค ก็เตรียม จะเปิดตัวรถหัวลาก 12 ล้อ เครื่องยนต์ NGV 345 แรงม้า ส่วนค่ายตงฟง ก็จะเปิด ตัวเครื่องยนต์ดีเซลรถ 6 ล้อ และ 10 ล้อ ท�ำให้มองเห็นได้วา่ ตลาดรถใหญ่ในปีนจี้ ะ คึกคักและแข่งขันกันดุเดือดมากยิ่งขึ้น ส่วนรถขนาด 2-3 ตัน นั้น ค่ายอีซูซุ ได้ออกรถรุ่น 3 ตัน เครื่องยนต์ NGV ซึ่ง สามารถเพิม่ ยอดขายได้มากส่งผลให้ทาง ฮีโน่ได้ให้ความส�ำคัญกับรถใหญ่ 2-3 ตัน โดยท�ำการศึกษาความต้องการของตลาด เพื่ อ ที่ จ ะออกรุ ่ น ใหม่ ใ ห้ ต รงกั บ ความ ต้องการของกลุ่มตลาดให้ได้มากที่สุด รวมทั้งหากราคาน�้ำมันดีเซลได้ปรับเพิ่ม ขึ้นเกินลิตรละ 30 บาท ซึ่งจะคาดว่าจะ เป็ น ปลายเดื อ นเมษายนนี้ เ พราะเงิ น กองทุนน�้ำมันหมดลงจึงเป็นไปได้อย่าง มากที่จะท� ำให้ทางฮีโน่ออกรถรุ่นใหม่ ขนาด 2-3 ตันเป็นเครื่องยนต์ NGV เพื่อ ลดต้นทุนให้กลุ่มลูกค้าฮีโน่ ด้วยปัจจัยต่างๆ เหล่านี้เองท�ำให้ เป้ายอดขายที่ได้วางไว้ในปีนี้ เป็นจ�ำนวน 1.1 หมื่นคัน ต้องเป็นไปได้อย่างแน่นอน โดยตลาดรวมทั้งหมดคาดว่าจะอยู่ที่ 2.3 หมื่นคัน ถึง 2.5 หมื่นคัน โดยส่วนแบ่ง การตลาดนั้นฮีโน่ต้องท�ำได้เกิน 40%

ต่อจากหน้า 1

รถใหญ่จีนเปลี่ยนยี่ห้อได้ วี.อาร์.วี. ประกอบให้

อินเตอร์ แก๊ส จ�ำกัด เปิดเผยกับ BUS & TRUCK ว่า ขณะนี้ได้เป็นผู้แทนจ�ำหน่าย ทั้งรถบรรทุกและรถโดยสารยี่ห้อตงฟง จากประเทศจีนแล้ว โดยมีแผนการทีจ่ ะน�ำ เข้ า ทั้ ง รถโดยสารและรถบรรทุ ก เครื่องยนต์ NGV ยี่ห้อตงฟง เข้ามาเสนอ ให้กบั กลุม่ ตลาดคาดว่าอีกไม่ชา้ นีส้ ามารถ เปิดตัวได้เพราะอยูใ่ นขัน้ ตอนการค�ำนวณ ราคาขายที่เหมาะสมกับตลาด ลู ก ค้ า กลุ ่ ม แรกคื อ กลุ ่ ม ขนส่ ง ใน จังหวัดสระบุรี โดยรถใหญ่ที่สั่งมาคือรถ บรรทุก 10 ล้อและรถหัวลากรวมทั้งรถ ใหญ่ที่ใช้ในเหมืองแร่ขนาด 400 แรงม้า หากลูกค้าสามารถใช้งานได้ดีรวมทั้งคืน ทุนเร็วก็จะรุกตลาดใหญ่ทันที “ส่ ว นการตั้ ง ยี่ ห ้ อ ของรถนั้ น กลุ ่ ม ลูกค้าสามารถจะเลือกใช้ยี่ห้ออะไรก็ได้ โดยทางบริษัทจะให้พื้นฐานของยี่ห้อมา จากตงฟงก่อน ส่วนจะมาเติมค�ำใดวาง หน้าหรือต่อท้ายก็ได้ถือว่าเป็นการสร้าง ความพอใจให้กับกลุ่มลูกค้าได้เป็นอย่าง มาก” ส�ำหรับในการเป็นตัวแทนจ�ำหน่าย จาก ตงฟง มอเตอร์ ประเทศจี น นั้ น เป็นการเลือกน�ำเข้าจากโรงงานประกอบ ที่ไม่ซ�้ำกับผู้แทนจ�ำหน่ายตงฟงรายอื่นใน ประเทศไทย ทัง้ นีจ้ ะได้ไม่เกิดปัญหากันใน

ภายหลังต่อไป คุณกุลประวัติ เปิดเผยต่อว่า ธุรกิจ ที่ด�ำเนินการอยู่ในตอนนี้คือการจ�ำหน่าย เครื่องยนต์ NGV ยี่ห้อตงฟง โดยมีทั้ง ขนาด 140 แรงม้า 160 แรงม้า และ 180 แรงม้า ส�ำหรับกลุ่มรถโดยสาร ส่วนรถ บรรทุกนั้นก็มีขนาดตั้งแต่ 230 แรงม้าขึ้น ไป เพื่อให้ลูกค้าได้เลือกตามความเหมาะ สมในการใช้งาน การบริการหลังการขายถือว่าเป็น ปัจจัยหลักที่จะท�ำให้ลูกค้าเก่ากลายมา เป็นลูกค้าใหม่จึงได้มีรถโมบายเซอร์วิส พร้อมช่างซ่อมที่มีฝีมือ เครื่องมือทันสมัย และอะไหล่ที่คอยดูแลเรื่องบริการ ช่วย ท�ำให้รถใหญ่ของลูกค้าสามารถใช้งานได้ ในทันที ทัง้ นีเ้ พือ่ ไม่ให้สญู เสียรายได้ ก่อน เข้าซ่อมศูนย์บริการต่อไป หากสังเกตให้ดจี ะพบว่ารถใหญ่จาก ประเทศจีนเริ่มเข้ามาบุกตลาดหลายยี่ห้อ และยีห่ อ้ เดียวกันก็มหี ลายเจ้ารวมทัง้ ยังมี เครื่องยนต์ NGV ไม่ว่าจะเป็นเครื่องใหม่ ยี่ห้อเซี่ยงไฮ้ ดีเซล ยี่ห้อคัมมิ่นส์ ยี่ห้อ ตงฟง ยีห่ อ้ ฮุนได พร้อมทัง้ ยังมีเครือ่ งยนต์ NGV เก่าเข้ามาร่วมเสริมตลาดอีกด้วย กลุม่ ลูกค้าจึงสามารถเลือกได้หลากหลาย ช่องทางตามความเหมาะสมของการใช้ งาน

วงการต่างแดน ยานยนต์ อินเดีย : เดินหน้าพัฒนารถไฮบริด อิ น เดี ย เดิ น หน้ า พั ฒ นา รถไฮบริด หลังจากแถลงการณ์ เรือ่ งงบประมาณประจ�ำปี โดย มี ร ายละเอี ย ดของแผนงบ ประมาณที่ จ ะมุ ่ ง ผลั ก ดั น โครงการพัฒนารถไฮบริดและ รถไฟฟ้า รวมทั้งลดอัตราภาษี อุ ป กรณ์ โ ซลาร์ เ ซลล์ ทั้ ง นี้ อินเดียซึ่งเป็นตลาดรถยนต์ที่ ก� ำ ลั ง ขยายตั ว รวดเร็ ว เป็ น อั น ดั บ สองจะเผยโฉมแผน ภารกิจแห่งชาติในการส่งเสริมการขนส่งสะอาด และการขนส่งสีเขียว ซึ่งทาง กระทรวงการคลังได้เสนอให้ยกเว้นชิน้ ส่วนและอุปกรณ์นำ� เข้าส�ำหรับรถไฮบริด จากการจัดเก็บภาษีศุลกากร และภาษีสรรพสามิต โดยภาษีสรรพสามิตจะถูก ลดลงครึ่งหนึ่งหรือลงมาที่ร้อยละ 5 ส�ำหรับรถยนต์ รวมทั้งเครื่องมือเครื่องใช้ ที่ปรับเปลี่ยนรถวิ่งด้วยน�ำ้ มันเบนซินและดีเซลมาเป็นไฮบริดด้วย คมนาคม เยอรมนี : เตรียมสร้างถนนวงแหวน รัฐบาลเยอรมนีมีแผนก่อสร้างถนนวงแหวนรอบในสุดให้ครบวงรอบ แม้ จะเป็นส่วนของถนนวงแหวนที่เหลืออยู่เพียง 3.2 กม. แต่ค่าก่อสร้างคาดว่าจะ สูงมากถึง 420 ล้านยูโร หรือ 21,000 ล้านบาท เฉลี่ย 7,000 ล้านบาทต่อ กม. จัดเป็นถนนที่แพงที่สุดในประเทศ เพราะแนวทางต้องก่อสร้างเป็นอุโมงค์ 385 เมตร และต้องจ่ายค่าเวนคืนทีด่ นิ และอาคารตลอดเส้นทาง และยังมีคา่ ก่อสร้าง สิ่งป้องกันผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมต่อชุมชนสองข้างทาง โครงการนี้ถูกต่อ ต้านโดยผู้คัดค้านได้น�ำเรื่องขึ้นฟ้องศาล แต่สุดท้ายศาลได้ตัดสินเมื่อธันวาคม 2553 ให้ด�ำเนินโครงการนี้ต่อไปได้ โครงการนี้จะเป็นถนนขนาด 4 ช่องจราจร มีทางรถรางและช่องจักรยานด้วย คาดว่างานก่อสร้างจะเริม่ ได้ราวกลางปี 2554 นี้ และไม่แน่ว่าจะเสร็จภายในปี 2556 หรือไม่ ถนนวงแหวนรอบในนี้ ผ่านพื้นที่ประวัติศาสตร์กลางเมืองเบอร์ลิน โดย ทางใต้เป็นก�ำแพงเมืองเก่าโบราณนับร้อยปี เมื่อก�ำแพงเมืองเก่าถูกท�ำลายลง ได้น�ำพื้นที่มาก่อสร้างเป็นถนน ทางตะวันตกตัดผ่านเข้าไปสวนสาธารณะ เพื่อ มิให้กระทบกับประตู Brandenberg ที่ห่างไปราว 1.5 กม ทางตอนเหนือเป็น ก�ำแพงเบอร์ลินที่เคยใช้กั้นเยอรมันตะวันออกกับตะวันตก มีอาคารเก่าที่ไม่มี ความหมายด้านประวัตศิ าสตร์ จึงถูกใช้เป็นส่วนบรรจบให้ครบรอบวงแหวนรอบ ใน

ปฏิทินข่าว วัน-เดือน-ปี 21 มี.ค.-22 เม.ย.54

รายละเอียดงาน “โครงการการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อเข้าสู่ภาคอุตสาหกรรม เตรียมความพร้อมบุคลากรภาคอุตสาหกรรม ด้านโลจิสติกส์การผลิตและซัพพลายเชน” โรงแรมดุสิต ปริ๊นเซส โคราช จ.นครราชสีมา

26-27 มีนาคม 2554 World Eco Car Grand Prix 2011 ณ สนามพีระ อินเตอร์เนชั่นแนล เซอร์กิต พัทยา จังหวัดชลบุรี

ติดต่อ ศูนย์ประสานงานโครงการ คุณบุษยา 02 946 9316-17

บริษัท พีระ เซอร์กิต วัน จ�ำกัด โทร. 0-2317-1630, 0-2317-1151 # 453 หรือ info@bira.co.th

25 มี.ค.-5 เม.ย. 54

The 32nd Bangkok International Motor Show ณ ศูนย์แสดงสินค้า และการประชุม อิมแพค เมืองทองธานี

บจก. กรังด์ปรีซ์ อินเตอร์เนชั่นแนล โทร. 0-2522-1731-8 0-2971-6450-60

12-15 เม.ย. 54

TAIPEI AMPA Taipei World Trade Center (TWTC) Nangang Exhibition Hall

http://www.taipeiampa.com.tw/

3-8 พฤษภาคม 54

BuildTech ’11 ณ อาคารชาเลนเจอร์ 1-3 อิมแพ็ค เมืองทองธานี

บจก. ทีทีเอฟ อินเตอร์เนชั่นแนล โทร.0-2717-2477



CLASSIC • BUS&TRUCK 35

ปักษ์หลัง • มีนาคม 2554

CLASSIC BUS & TRUCK คาร์ล เบนซ์ และกอตต์ลีบ เดมเลอร์ คือผูบ้ กุ เบิกแห่งโลกยนตรกรรม ทัง้ คูเ่ ป็นนักประดิษฐ์และพัฒนายานยนต์โดย ต่ า งมี กิ จ การของตนเอง จนถึ ง ช่ ว ง ทศวรรษที่ 1920 จึงได้รวมกิจการเป็น บริษัท เดมเลอร์-เบนซ์ เอจี (DaimlerBenz AG) ผูผ้ ลิตรถคุณภาพในนามเมอร์ เซเดส-เบนซ์ เส้นทางนวัตกรรมของคน ทั้งสองแม้จะเคียงคู่ขนานกันในหลายๆ ด้าน แต่ก็ยังมีข้อแตกต่างที่ชัดเจนอยู่ กอตต์ลีบ เดมเลอร์ คือผู้น�ำระบบ สันดาปภายใน มาสนองวิสัยทัศน์แห่งการ ขั บ ขี่ ข นส่ ง ”ทางบก ทางน�้ ำ และทาง อากาศ” โดยเริ่มทดสอบเครื่องยนต์พลัง สูงเครือ่ งแรกของโลกในปี ค.ศ. 1883 สอง ปี ต ่ อ มาเขาติ ด ตั้ ง เครื่ อ งยนต์ นี้ เ ข้ า กั บ จักรยานซึ่งได้รับการดัดแปลง ผลลัพธ์ก็ คือ จักรยานยนต์คันแรกของโลก และอีก สามปีเขาก็ได้ติดตั้งเครื่องยนต์ดังกล่าว เข้ากับตัวรถม้า นับเป็นรถยนต์สี่ล้อคัน แรกในชีวิตนักประดิษฐ์ของเขา น่าเสีย ดายที่เดมเลอร์มีเวลาเพียงน้อยนิด ก่อน เสียชีวิตด้วยโรคหัวใจเมื่อวันที่ 6 มีนาคม ค.ศ. 1900 คาร์ ล เบนซ์ เลื อ กเส้ น ทาง ยนตกรรมที่แตกต่างจากเดมเลอร์ เขา ถือว่าการสร้างรถยนต์จะต้องอาศัยหลัก การที่แตกต่างจากระบบรถเทียมม้าโดย สิ้นเชิง ด้วยเหตุนี้เขาจึงออกแบบรถยนต์ ให้มีสามล้อ ติดตั้งเครื่องยนต์หนึ่งสูบใน

แนวนอน และได้ จ ดทะเบี ย นสิ ท ธิ บั ต ร หมายเลข 37435 เมือ่ วันที่ 19 มกราคม ค.ศ. 1886 จ�ำนวนรถที่ผลิตจากโรงงานของเขา พุ่งสูงขึ้นอย่างรวดเร็วเมื่อรถรุ่นเวโล (Velo) ที่ปรากฏโฉมระหว่างปีค.ศ.1894 ถึง 1901 ผลิตได้ถึง 1,200 คัน อาจกล่าวได้ว่านั่นคือ จุดเริม่ ต้นของอุตสาหกรรมการผลิตรถยนต์ เบนซ์มชี วี ติ ยืนยาวจนได้เห็นความฝันปรากฏ เป็นจริง ก่อนถึงแก่กรรมเมือ่ วันที่ 4 เมษายน ค.ศ.1929 “เมอร์ เ ซเดส” ชื่ อ ที่ ส ร้ า งต� ำ นาน เกียรติยศมีที่มาจาก เอมิล เยลลิเน็ค (Emil Jellinek) นักธุรกิจชาวออสเตรียผู้จ�ำหน่าย รถของ Daimler Motoren Gesellschaft DMG เขามองว่ารถยนต์คอื สิง่ ประดิษฐ์ทจี่ ะ ต้องมีบทบาทส�ำคัญในโลกอนาคต จึงเร่งเร้า ให้ DMG เพิม่ สมรรถนะและความเร็วของรถ ขึ้นเรื่อยๆ ทั้งยังได้ลงสนามแข่งรถเองโดย ใช้ชื่อทีมว่า “เมอร์เซเดส” ตามชื่อบุตรสาว (เป็นค�ำในภาษาสเปน หมายถึงความสง่า งาม) เดิมทีเขาเป็นเจ้าของรถยนต์เดมเลอร์ สองสูบ ขนาด 6 แรงม้า ความเร็ว 24 กม./ ชม.แต่กระนั้นยังไม่เร็วพอส�ำหรับเขา ทาง โรงงานจึงต้องประกอบรถรุ่น ”ฟีนิกซ์” ให้ อีกสองคันตามค�ำเรียกร้องในปี ค.ศ. 1898 โดยติดตัง้ เครือ่ งยนต์ 8 แรงม้า และสามารถ วิ่งได้เร็วถึง 40 กม./ชม. นับเป็นรถยนต์ ขนาดสี่สูบคันแรกของโลก สองปีจากนั้น DMG ก็สร้างปรากฏการณ์ใหม่ ด้วยรถ 35 แรงม้า พร้อมกันนั้นก็ได้น�ำสมญานามของ

เยลลิเน็คมาใช้เป็นชื่อผลิตภัณฑ์ทางการค้า เยลลิ เ น็ ค ได้ ข ยายการผลิ ต ของโรงงาน เดมเลอร์ออกไปอย่างเต็มก�ำลัง รถยนต์ เมอร์เซเดสรุ่นแรกที่ปรากฏโฉมเมื่อปีค.ศ. 1900 ได้รบั ความสนใจจากสาธารณะชนเป็น อย่างมาก จนเยลิเน็คถึงกับต้องเปลีย่ นชือ่ ตัว เองเป็น เอมิล-เมอร์เซเดส แม้ DMG จะประสบความส�ำเร็จกับชือ่ ทางการค้ า แต่ ก็ ยั ง ไม่ มี เ ครื่ อ งหมาย สัญลักษณ์ส�ำหรับรถเมอร์เซเดส จนกระทั่ง พอล และ อดอล์ฟ เดมเลอร์ระลึกขึ้นได้ว่า พ่อเคยท�ำงานเป็นผู้บริหารโรงงานแห่งหนึ่ง ทีเ่ มืองดอยซ์ ท่านได้สง่ ไปรษณียบัตรถึงทาง

บ้าน โดยกาเครื่องหมายรูปดาวในภาพตัว เมืองเพื่อชี้ต�ำแหน่งของบ้าน ในเนื้อความ ได้แสดงถึงเจตนารมณ์วา่ สักวันดาวดวงนี้ จะต้องทอแสงรุ่งโรจน์เหนือโรงงานของ ท่านเอง และถ้าจะตีความให้ลึกซึ้งขึ้นอีก แฉกดาวทั้งสามก็อาจเป็นสื่อแทนความมุ่ง มั่ น ของเดมเลอร์ ที่ จ ะพั ฒ นาระบบขั บ เคลือ่ นยานพาหนะ ทัง้ ทางบก ทางน�ำ้ และ ทางอากาศ รูปดาวสามแฉกจึงได้รับการ จดทะเบียนเป็นเครื่องหมายการค้า และ เริม่ เปล่งรัศมีทอประกายเหนือกระจังหม้อ น�้ำหน้ารถเมอร์เซเดส ตั้งแต่ปีค.ศ.1910 เป็นต้นมา

Mercedes-Benz


CLASSIC • BUS&TRUCK 35

ปักษ์หลัง • มีนาคม 2554

CLASSIC BUS & TRUCK คาร์ล เบนซ์ และกอตต์ลีบ เดมเลอร์ คือผูบ้ กุ เบิกแห่งโลกยนตรกรรม ทัง้ คูเ่ ป็นนักประดิษฐ์และพัฒนายานยนต์โดย ต่ า งมี กิ จ การของตนเอง จนถึ ง ช่ ว ง ทศวรรษที่ 1920 จึงได้รวมกิจการเป็น บริษัท เดมเลอร์-เบนซ์ เอจี (DaimlerBenz AG) ผูผ้ ลิตรถคุณภาพในนามเมอร์ เซเดส-เบนซ์ เส้นทางนวัตกรรมของคน ทั้งสองแม้จะเคียงคู่ขนานกันในหลายๆ ด้าน แต่ก็ยังมีข้อแตกต่างที่ชัดเจนอยู่ กอตต์ลีบ เดมเลอร์ คือผู้น�ำระบบ สันดาปภายใน มาสนองวิสัยทัศน์แห่งการ ขั บ ขี่ ข นส่ ง ”ทางบก ทางน�้ ำ และทาง อากาศ” โดยเริ่มทดสอบเครื่องยนต์พลัง สูงเครือ่ งแรกของโลกในปี ค.ศ. 1883 สอง ปี ต ่ อ มาเขาติ ด ตั้ ง เครื่ อ งยนต์ นี้ เ ข้ า กั บ จักรยานซึ่งได้รับการดัดแปลง ผลลัพธ์ก็ คือ จักรยานยนต์คันแรกของโลก และอีก สามปีเขาก็ได้ติดตั้งเครื่องยนต์ดังกล่าว เข้ากับตัวรถม้า นับเป็นรถยนต์สี่ล้อคัน แรกในชีวิตนักประดิษฐ์ของเขา น่าเสีย ดายที่เดมเลอร์มีเวลาเพียงน้อยนิด ก่อน เสียชีวิตด้วยโรคหัวใจเมื่อวันที่ 6 มีนาคม ค.ศ. 1900 คาร์ ล เบนซ์ เลื อ กเส้ น ทาง ยนตกรรมที่แตกต่างจากเดมเลอร์ เขา ถือว่าการสร้างรถยนต์จะต้องอาศัยหลัก การที่แตกต่างจากระบบรถเทียมม้าโดย สิ้นเชิง ด้วยเหตุนี้เขาจึงออกแบบรถยนต์ ให้มีสามล้อ ติดตั้งเครื่องยนต์หนึ่งสูบใน

แนวนอน และได้ จ ดทะเบี ย นสิ ท ธิ บั ต ร หมายเลข 37435 เมือ่ วันที่ 19 มกราคม ค.ศ. 1886 จ�ำนวนรถที่ผลิตจากโรงงานของเขา พุ่งสูงขึ้นอย่างรวดเร็วเมื่อรถรุ่นเวโล (Velo) ที่ปรากฏโฉมระหว่างปีค.ศ.1894 ถึง 1901 ผลิตได้ถึง 1,200 คัน อาจกล่าวได้ว่านั่นคือ จุดเริม่ ต้นของอุตสาหกรรมการผลิตรถยนต์ เบนซ์มชี วี ติ ยืนยาวจนได้เห็นความฝันปรากฏ เป็นจริง ก่อนถึงแก่กรรมเมือ่ วันที่ 4 เมษายน ค.ศ.1929 “เมอร์ เ ซเดส” ชื่ อ ที่ ส ร้ า งต� ำ นาน เกียรติยศมีที่มาจาก เอมิล เยลลิเน็ค (Emil Jellinek) นักธุรกิจชาวออสเตรียผู้จ�ำหน่าย รถของ Daimler Motoren Gesellschaft DMG เขามองว่ารถยนต์คอื สิง่ ประดิษฐ์ทจี่ ะ ต้องมีบทบาทส�ำคัญในโลกอนาคต จึงเร่งเร้า ให้ DMG เพิม่ สมรรถนะและความเร็วของรถ ขึ้นเรื่อยๆ ทั้งยังได้ลงสนามแข่งรถเองโดย ใช้ชื่อทีมว่า “เมอร์เซเดส” ตามชื่อบุตรสาว (เป็นค�ำในภาษาสเปน หมายถึงความสง่า งาม) เดิมทีเขาเป็นเจ้าของรถยนต์เดมเลอร์ สองสูบ ขนาด 6 แรงม้า ความเร็ว 24 กม./ ชม.แต่กระนั้นยังไม่เร็วพอส�ำหรับเขา ทาง โรงงานจึงต้องประกอบรถรุ่น ”ฟีนิกซ์” ให้ อีกสองคันตามค�ำเรียกร้องในปี ค.ศ. 1898 โดยติดตัง้ เครือ่ งยนต์ 8 แรงม้า และสามารถ วิ่งได้เร็วถึง 40 กม./ชม. นับเป็นรถยนต์ ขนาดสี่สูบคันแรกของโลก สองปีจากนั้น DMG ก็สร้างปรากฏการณ์ใหม่ ด้วยรถ 35 แรงม้า พร้อมกันนั้นก็ได้น�ำสมญานามของ

เยลลิเน็คมาใช้เป็นชื่อผลิตภัณฑ์ทางการค้า เยลลิ เ น็ ค ได้ ข ยายการผลิ ต ของโรงงาน เดมเลอร์ออกไปอย่างเต็มก�ำลัง รถยนต์ เมอร์เซเดสรุ่นแรกที่ปรากฏโฉมเมื่อปีค.ศ. 1900 ได้รบั ความสนใจจากสาธารณะชนเป็น อย่างมาก จนเยลิเน็คถึงกับต้องเปลีย่ นชือ่ ตัว เองเป็น เอมิล-เมอร์เซเดส แม้ DMG จะประสบความส�ำเร็จกับชือ่ ทางการค้ า แต่ ก็ ยั ง ไม่ มี เ ครื่ อ งหมาย สัญลักษณ์ส�ำหรับรถเมอร์เซเดส จนกระทั่ง พอล และ อดอล์ฟ เดมเลอร์ระลึกขึ้นได้ว่า พ่อเคยท�ำงานเป็นผู้บริหารโรงงานแห่งหนึ่ง ทีเ่ มืองดอยซ์ ท่านได้สง่ ไปรษณียบัตรถึงทาง

บ้าน โดยกาเครื่องหมายรูปดาวในภาพตัว เมืองเพื่อชี้ต�ำแหน่งของบ้าน ในเนื้อความ ได้แสดงถึงเจตนารมณ์วา่ สักวันดาวดวงนี้ จะต้องทอแสงรุ่งโรจน์เหนือโรงงานของ ท่านเอง และถ้าจะตีความให้ลึกซึ้งขึ้นอีก แฉกดาวทั้งสามก็อาจเป็นสื่อแทนความมุ่ง มั่ น ของเดมเลอร์ ที่ จ ะพั ฒ นาระบบขั บ เคลือ่ นยานพาหนะ ทัง้ ทางบก ทางน�ำ้ และ ทางอากาศ รูปดาวสามแฉกจึงได้รับการ จดทะเบียนเป็นเครื่องหมายการค้า และ เริม่ เปล่งรัศมีทอประกายเหนือกระจังหม้อ น�้ำหน้ารถเมอร์เซเดส ตั้งแต่ปีค.ศ.1910 เป็นต้นมา

Mercedes-Benz


36 BUS&TRUCK • SPECIAL SECTION

ปักษ์หลัง • มีนาคม 2554

SPECTAL SECTION

ปตท.จับมือ เซลเลนเนียม ไทรทัน วิจัยรถไฟฟ้าต้นแบบเชื้อเพลิงแวนเนเดียม คุณภาพจากโ ปตท. จับมือ เซลเลนเนียม เซ็น MOU ต่อยอดความคืบหน้าการศึกษา วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีแบตเตอรี่ แวนเดียม รีด็อก โฟล ใช้เชิงพาณิชย์ คุณไชยเจริญ อติแพทย์ ผู้ช่วย กรรมการผู้จัดการใหญ่ สถาบันวิจัย เทคโนโลยี ป ตท.บริ ษั ท บริ ษั ท ปตท. จ�ำกัด (มหาชน) เปิดเผยว่า ในขณะนี้ ได้ลงนามในบันทึกความเข้าใจความ ร่วมมือ (Memorandum of Understanding : MOU) ร่วมกับคุณกฤษฎา กัมปนาทแสนยากร บริษัท เซลเลนเนียม (ประเทศไทย) จ�ำกัด ในการร่วม กั น ศึ ก ษาวิ จั ย และพั ฒ นาการ ประยุกต์ใช้งาน เ ท ค โ น โ ล ยี แบตเตอรี่ รี ด็อกซ์โฟล์ (Vanadium Redox Flow Battery : VRFB) ซึ่งเป็นนวัตกรรมที่พัฒนาขึ้น โดยเซลเลนเนียม ใช้ในการกักเก็บและ จ่ า ยพลั ง งานไฟฟ้ า โดยการอั ด ประจุไฟฟ้าเข้าแบตเตอรี่หรือการจ่าย กระแสไฟฟ้ า ของแบตเตอรี่ เป็ น กระบวนการปฏิ กิ ริ ย าเคมี ข องสาร ละลายอิเล็คโทรไลท์ (elecctrolytc) ที่ บรรจุภายในแบตเตอรี่ การร่วมมือในครั้งนี้ได้ร่วมวิจัย พัฒนาน�ำไปใช้ในเชิงพาณิชย์ที่เป็นรูป ธรรมชั ด เจน ล่ า สุ ด สถาบั น วิ จั ย เทคโนโลยี ป ตท. ผู ้ เ ชี่ ย วชาญและมี ความพร้ อ มในการประเมิ น ทดสอบ

รถยนต์ ได้เตรียมน�ำมาทดสอบใช้ใน รถยนต์ไฟฟ้า ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการ พั ฒ นาแบตเตอรี่ ที่ ใ ช้ กั ก เก็ บ พลั ง งาน ไฟฟ้าในรถยนต์ในอนาคต การศึกษาดังกล่าว ปตท. จะได้ติด ตั้งแบตเตอรี่แวนเนเดียม รีด็อกซ์ โฟล ขณะก�ำลังการจ่ายและกระแสไฟฟ้า 5 กิโลวัตต์ ปริมาณความจุในการกักเก็บ พลังงาน 60 หน่วย (kwh) เพื่อใช้กักเก็บ และจ่ายพลังงานไฟฟ้า ณ สถาบันวิจัย และเทคโนโลยี ป ตท. อ� ำ เภอวั ง น้ อ ย จั ง หวั ด พระนครศรี อ ยุ ธ ยา โดยมี ก าร ประเมินผลด้านสมรรถนะ ประสิทธิภาพ ต้นทุนการใช้งาน และประโยชน์ ต่างๆ ท�ำให้ทราบ ถึ ง ศั ก ยภาพและ ความเหมาะสมใน การน�ำเทคโนโลยี แบตเตอรี่ดังกล่าว มาประยุกต์ใช้งาน การจัดการพลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ด้ า นคุ ณ กฤษฎา กั ม ปนาทแสนยากร ประธานกรรมการ บริษัท เซลเลนเนียม (ประเทศไทย) จ�ำกัด เปิด เผยว่าการศึกษาวิจัย น�ำแบตเตอรี่แวนเนเดียม รีด็อกซ์ โฟล มาใช้ในรถยนต์นั้น ทางเซลเลนเนียมได้รับผิดชอบในการหา รถยนต์ที่ใช้พลังงานไฟฟ้ามาร่วมทดสอบ สมรรถนะการใช้งาน เพื่อเป็นฐานข้อมูล ในการพั ฒ นาแบตเตอรี่ ดั ง กล่ า ว ให้ สามารถใช้ในการประจุพลังงานไฟฟ้าใน รถยนต์อย่างมีประสิทธิภาพต่อไป ทั้งนี้คาดว่าการร่วมศึกษาการวิจัย

ภาพเป็นข่าว

Panamera S Hybrid เผยโฉมความเป็นสปอร์ต ด้วยก�ำลังเครื่องยนต์ที่มีแรงม้าสูงสุดถึง 380 แรงม้า มีอัตราการบริโภคน�้ำมันเชื้อเพลิงเพียง 6.8 ลิตร/100 กม. สามารถเร่งเครื่องจาก 0-100 กิโลเมตร/ชั่วโมง ได้ในเวลาเพียงแค่ 6.0 วินาที และมีความเร็วสูงสุดที่ 270 กม./ชม. โดยเปิดตัวในงานเจนีวา มอเตอร์โชว์ ช่วงต้นเดือนมีนาคม และเปิดตัวสูต่ ลาด อย่างเป็นทางการในเดือนมิถุนายนปี 2011

ครั้งนี้ จะสามารถน�ำฐานข้อมูลในการ พัฒนาแบตเตอรี่ต้นแบบไปใช้งานกับ รถยนต์ที่ใช้พลังงานไฟฟ้า นอกจาก ความร่วมมือข้างต้นจะสร้างความเชื่อ มั่ น ในการประยุ ก ต์ ใ ช้ เ ทคโนโลยี แบตเตอรีใ่ นการกักเก็บพลังงานไฟฟ้าที่ ผลิตได้จากพลังงานหมุนเวียน เช่น ลม แสงอาทิตย์ และเชือ้ เพลิงชีวภาพ เพือ่ ใช้ในแหล่งชุมชนห่างไกลที่ไม่มีไฟฟ้า เข้าถึง ส� ำ หรั บ บริ ษั ท เซลเลนเนี ย ม (ประเทศไทย) จ�ำกัด ได้มีสิทธิบัตร แบตเตอรี่แวนเนเดียม รีด็อกซ์ โฟล (Vanadium Redox Flow Battery) หลายฉบั บ ครอบคลุ ม ถึ ง การเก็ บ พลังงานและการท�ำเป็นเซลเชื้อเพลิง ด้วยคาร์โบไฮรเดท ข้อดีของแบตเตอรี่ ชนิดนีค้ อื สามารถอัดประจุไฟฟ้าเข้าไป ในแบตเตอรี่ ไ ด้ ใ หม่ ห ลายครั้ ง อย่ า ง รวดเร็ว ในปริมาณความจุที่ไม่จ�ำกัด ของแหล่งกักเก็บ โดยการน�ำสารละลาย อิเล็คโทรไลท์ (electrolyte) ที่ใช้แล้ว ออกมาจากแบตเตอรี่ แล้วน�ำสาร ละ ลายอิเล็คโทรไลท์ที่อัดประจุไฟฟ้าแล้ว เข้ า ไปแทนที่ ในกรณี ที่ ไ ม่ มี แ หล่ ง พลั ง งานส� ำ หรั บ ป้ อ นเข้ า ไปในระบบ ซึ่งเป็นลักษณะเฉพาะของแบตเตอรี่ที่ดี เหมาะกั บ การน� ำ ไปประยุ ก ต์ ใ ช้ ง าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการผลิตไฟฟ้า ขนาดย่อม โดยใช้พลังงานหมุนเวียน เป็นแหล่งพลังงานในการผลิตกระแส ไฟฟ้า ซึ่งจะสามารถเพิ่มประสิทธิภาพ ในการกักเก็บและจ่ายไฟฟ้าได้รวดเร็ว มากยิ่งขึ้น

มิตซูบชิ ิ มอเตอร์ส ประเทศไทย รุก ตลาดกระบะช่วงน�ำ้ มันแพง ส่ง “ไทรทัน ดับเบิ้ลแค็บ พลัส ซีเอ็นจี” เป็นทางเลือก ให้ ลู ก ค้ า อี ก รุ ่ น เน้ น ชู จุ ด เด่ น การรั บ ประกันคุณภาพจากโรงงานนาน 3 ปี และ ความประหยัดและคุม้ ค่าจากการเลือกใช้ งานได้ 2 ระบบ ทั้ง ซีเอ็นจี (CNG) และ น�้ำมันเบนซินแก๊สโซฮอล์อี 20 คุณโคจิ นากาฮาร่า กรรมการรอง ผู้จัดการใหญ่ บริษัท มิตซูบิชิ มอเตอร์ส (ประเทศไทย) เปิดเผยว่า บริษัทฯ ได้ เตรียมแนะน�ำรถกระบะมิตซูบิชิ ไทรทัน ดับเบิ้ลแค็บ พลัส ซีเอ็นจี เพิ่มเติมอีกรุ่น เพื่อเป็นอีกหนึ่งทางเลือกส�ำหรับลูกค้า ภายหลังจาก รุ่นซิงเกิ้ลแค็บ และ เมกะ แค็บ ซีเอ็นจี ซึ่งเปิดตัวไปเมื่อกลางปีที่ ผ่านมาได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีจาก ลูกค้าในเมืองไทย โดยในปี 2553 ที่ผ่าน มา มียอดขายไทรทัน ซีเอ็นจี รวมอยู่ที่ กว่า 3,600 คัน และเชื่อว่าในปีนี้ตลาด รถกระบะซีเอ็นจีจะยังคงเติบโตอย่างต่อ เนื่องต่อไป ส�ำหรับรถกระบะมิตซูบิชิ ไทรทัน ดับเบิ้ลแค็บ พลัส ซีเอ็นจี ใช้พื้นฐานมา จากรถกระบะไทรทัน ดับเบิ้ลแค็บ พลัส เครื่องยนต์เบนซิน ขนาด 2.4 ลิตร น�ำมา ติดตั้งระบบซีเอ็นจี ภายใต้มาตรฐานและ การรั บ ประกั น คุ ณ ภาพของบริ ษั ท ฯ สามารถเลือกใช้เชื้อเพลิงได้ 2 ระบบ ทั้ง ก๊าซธรรมชาติซีเอ็นจีและน�้ำมันเบนซิน รองรับแก๊สโซฮอล์ อี 20 โดดเด่นด้วยรูป ลักษณ์ภายนอกแข็งแกร่งและบึกบึนจาก กระบะท้ายดีไซน์แบบตัดตรง พร้อมการ

หมายเหตุพลังงาน 1 มีนาคม 2554

ปตท.พร้อมจ�ำหน่ายน�้ำมันดีเซลหมุนเร็ว (บี2) เกรดเดียวที่สถานีบริการน�้ำมัน ปตท. ทั้ง 1,303 แห่ ง ทั่ ว ประเทศ บรรเทาปั ญ หาน�้ ำ มั น ปาล์ ม ขาดแคลนตามนโยบายรัฐ‫‏‬

3 มีนาคม 2554

กระทรวงพลังงานมอบรถตรวจสอบคุณภาพน�ำ้ มัน เชื้อเพลิง (Mobile Fuel Lab Unit) ไปประจ�ำ ภูมภิ าค ตามโครงการขยายขีดความสามารถด้าน การตรวจสอบคุณภาพน�ำ้ มันเชื้อเพลิง

4-6 มีนาคม 2554

เชลล์พาสือ่ มวลศึกษาดูงาน ณ สถานีบริการน�ำ้ มัน เชลล์ อนุภาษเอสเอส ซึ่งเป็นสถานีบริการอันดับ 1 ของเชลล์ในประเทศไทยด้านความปลอดภัย สุขอนามัย และสิ่งแวดล้อม


SPECIAL SECTION • BUS&TRUCK 37

ปักษ์หลัง • มีนาคม 2554

ดับเบิ้ลแค็บ พลัส ซีเอ็นจี โรงงาน รับประกัน 3 ปี

ติดตัง้ ถังก๊าซแบบ Type II ขนาด 100 ลิตร น�้ำ บนกระบะท้ายที่เสริมความลงตัวด้วย พื้นปูกระบะดีไซน์พิเศษแบบชิ้นเดียวซึ่ง นอกจากจะเพิ่มความปลอดภัยแล้วยัง สะดวกในการใช้งานและบ�ำรุงรักษาอีก ด้วย มิตซูบิชิ ไทรทัน ดับเบิ้ลแค็บ พลัส ซีเอ็นจี มาพร้อมห้องโดยสารที่ให้ความ รูส้ กึ กว้างสะดวกสบาย พร้อมเบาะนัง่ ทรง สปอร์ตโอบกระชับให้ความสบายในขับขี่ เหมือนรถยนต์นั่งทั่วไป นอกจากนี้ยังมี การติดตั้งอุปกรณ์อ�ำนวยความสะดวก ครบครัน อาทิ ระบบเครือ่ งเสียงวิทยุ DVD พร้อมจอภาพระบบสัมผัสขนาด 7 นิ้ว กระจกมองข้างปรับและพับด้วยไฟฟ้า พร้อมกุญแจรีโมท (Keyless) และระบบ อิมโมบิไลเซอร์ (Immobilizer) ช่วยเพิ่ม ความสะดวกยิ่งขึ้นในการล็อกและปลด ล็อกรถจากได้จากระยะไกล อีกทั้งยัง ปลอดภัยจากการโจรกรรม ด้านความปลอดภัย มิตซูบชิ ิ ไทรทัน ดับเบิ้ลแค็บ พลัส ซีเอ็นจี ปลอดภัยด้วย ถังซีเอ็นจี แบบ Type II ซึ่งมีน�้ำหนักเบา พร้อมการติดตั้ง ลิ้นเปิด-ปิดอัตโนมัติ 2

ตัว โดยตัวแรกติดตั้งบริเวณอุปกรณ์ลด ความดัน และตัวที่สองติดตั้งตรงวาล์ว หัวถังก๊าซ โดยจะตัดการท�ำงานของก๊าซ อัตโนมัตเิ มือ่ มีกา๊ ซรัว่ ไหล ในขณะทีต่ วั รถ ปลอดภัยด้วยตัวถังแบบ RISE BODY พร้อมติดตั้งคานกันกระแทกที่ประตูทุก บาน ระบบพวงมาลั ย แบบแร็ ค แอนด์ พีเนี่ยนพร้อมพาวเวอร์ผ่อนแรงให้การ ควบคุมบังคับทิศทางขณะเลี้ยวหรือเข้า โค้งมีความแม่นย�ำมากยิ่งขึ้น ให้ความ คล่องตัวในการขับขี่ด้วยรัศมีวงเลี้ยวที่ แคบเพียง 5.9 เมตร มิตซูบิชิ ไทรทัน ดับเบิ้ลแค็บ พลัส ซีเอ็นจี มี 4 สีให้เลือก ได้แก่ บรอนซ์เงิน บรอนซ์ทอง เทาด�ำ และด�ำ พร้อมราคา จ�ำหน่ายอยู่ที่ 787,000 บาท ส� ำ หรั บ ลู ก ค้ า ที่ ส นใจสามารถชม และทดลองขับ “มิตซูบิชิ ไทรทัน ดับเบิ้ล แค็บ พลัส ซีเอ็นจี” ได้ที่โชว์ รูมรถยนต์ มิตซูบิชิทั่วประเทศ ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไป หรื อ สอบถามข้ อ มู ล เพิ่ ม เติ ม ได้ ที่ หมายเลขโทรศัพท์ 1800 900 009 หรือ ที่เว็บไซต์ www. mitsubishi-motors. co.th

พักเครื่อง

• ข่าวแรกเริ่มกันที่ สถานีก๊าซ ธรรมชาติหลัก ปตท. (NGV Mother Station) ทั้ง 14 แห่ง ทั่วประเทศ (สถานีหลักลาดหลุมแก้ว สถานีหลัก กัลปพฤกษ์ สถานีหลักล�ำลูกกา สถานี หลักทุ่งครุ สถานีหลักราชบุรี สถานี หลั ก นิ มิ ต ใหม่ 2 สถานี ห ลั ก น�้ ำ พอง สถานี ห ลั ก ลานกระบื อ สถานี ห ลั ก สระบุรี สถานีหลักมาบข่า สถานีหลัก บ้ า นบึ ง และสถานี ห ลั ก สงขลา 2) ได้การรับรองระบบการจัดการอาชีว อนามัยและความปลอดภัย มอก.18001 : 2542 และ BSOHSAS18001 : 2007 จากสถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ แสดงให้เห็นถึงศักยภาพด้านการบริหาร จัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย ของสถานีกา๊ ซธรรมชาติหลัก ของ ปตท. ว่ า มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและเป็ น ไปตาม มาตรฐานสากล สร้างความเชื่อมั่นให้ กับประชาชนและผู้ใช้ NGV เป็นเชื้อ เพลิงต่อไป • ตามมาด้วยค่ายรถ มิตซูบิชิ มอเตอร์ ส ประเทศไทย แนะน� ำ แลนเซอร์ อีเอ็กซ์ ใหม่ ดีไซน์โฉบเฉี่ยว สุดเร้าใจ อุปกรณ์ตกแต่งและสิง่ อ�ำนวย ความสะดวกครบครัน พร้อมดึงดารา หนุ ่ ม เสน่ ห ์ แ รง “อนั น ดา” เป็ น พรี เ ซ็ น เตอร์ ค นแรกของแลนเซอร์ อีเอ็กซ์ ในเมืองไทย ช่วยสะท้อนตัวตน ที่แท้จริงของกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย ตั้ง ราคาโดนใจเริม่ ต้นที่ 794,000 บาท เริม่ ขายแล้ววันนีท้ โี่ ชว์รมู รถยนต์มติ ซูบชิ ิ ทัว่

ประเทศ พร้อมกันนี้ยังได้จัดกิจกรรม แนะน� ำ รถยนต์ มิ ต ซู บิ ชิ แลนเซอร์ อีเอ็กซ์ ใหม่ ทั่วประเทศ โดยผู้ที่สนใจ สามารถชมและทดลองขั บ ที่ โ ชว์ รู ม รถยนต์ มิ ต ซู บิ ชิ ทั่ ว ประเทศ หรื อ สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ ศูนย์ให้คำ� ปรึกษาและช่วยเหลือประสานงานลูกค้า มิตซูบิชิ Customer Consulting Center โทร. 1800 900 009 ฟรี เฉพาะโทรศัพท์ พืน้ ฐาน และโทรศัพท์เคลือ่ นทีเ่ ครือข่าย AIS ในวันและเวลาราชการ หรือ ดูราย ละเอียดเพิม่ เติมได้ที่ www.mitsubishimotors.co.th

• ปิดท้ายกันข่าวความเคลือ่ นไหว ของรถอีโคคาร์ ที่จะมาเผยโฉมกันใน งานมอเตอร์โชว์ ครัง้ ที่ 32 ซึง่ จะมีขนึ้ ใน ระหว่างวันที่ 25 มีนาคม ถึง 5 เมษายน นี้ ทางค่ายมิตซูบิชิ ได้เตรียมน�ำรถ ต้นแบบอีโคคาร์ “มิตซูบิชิ โกลบอล สมอล” ซึง่ จัดแสดงโชว์เป็นครัง้ แรกของ โลกในงานเจนีวา อินเตอร์เนชั่นแนล มอเตอร์โชว์ ครั้งที่ 81 เมื่อต้นเดือน มี น าคมที่ ผ ่ า นมา มาร่ ว มแสดงเป็ น ไฮไลท์ ข องงานครั้ ง นี้ ด ้ ว ย อี ก ทั้ ง วางแผนจะท� ำ การผลิ ต ในโรงงานใน ประเทศไทยและเปิดตัวในเดือนมีนาคม 2555 ส�ำหรับรถต้นแบบคันนี้มีความ โดดเด่นทั้งในด้านความคล่องตัวและ ง่ายต่อการขับขี่ และมีความสมบูรณ์ แบบในการออกแบบจัดวางพืน้ ทีร่ องรับ ผูโ้ ดยสารทีเ่ ป็นผูใ้ หญ่ได้ 5 ทีน่ งั่ ในขณะ เดี ย วกั น ยั ง ให้ ก ารประหยั ด น�้ ำ มั น ใน ระดับสูงสุด

สกพ. แถลงนโยบายประจ�ำปี 2554 คณะกรรมการก�ำกับกิจการพลังงาน (กกพ.) และส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับ กิจการพลังงาน (สกพ.) ร่วมแถลงนโยบายของส�ำนักงานคณะกรรมการก�ำกับกิจกรรม พลังงานประจ�ำปี 2554 โดยได้รบั เกียรติจากคุณกวิน ทังสุพานิช เลขาธิการ ส�ำนักงานคณะ กรรมการก�ำกับกิจการพลังงาน และคุณนฤภัทร อมรโฆษิต รองเลขาธิการ ส�ำนักงานคณะ กรรมการก�ำกับกิจการพลังงาน เข้าร่วมแถลงนโยบายต่างๆ


ปักษ์หลัง • มีนาคม 2554

อุปกรณ์ NGV คุณภาพ

อุปกรณ์แก๊ส LPG/NGV

ถุงลม GOODYEAR

จ�ำหน่ายและผลิตอะไหล่ส�ำหรับรถ NGV ทุกชนิด ทั้งระบบ DDF และ Dedicate รวมถึ ง อะไหล่ เครื่องยนต์เซี่ยงไฮ้ NGV

อุปกรณ์กรองและผสมแก็ส ถูกออก แ บ บ ม า เ ป ็ น พิ เ ศ ษ ช ่ ว ย เ พิ่ ม ประสิทธิภาพ การเผาใหม้ และยืด อายุเครื่องยนต์

ถุงลม GOOD YEAR ขนาดต่างๆ ทุกรุ่น ส�ำหรับรถพ่วง รถเทรลเล่อร์

บจก.รัฐภูมิพานิช โทร.08-1422-4404

บจก.โปรอาร์ กรุ๊ป โทร.0-4320-2006

บจก.วิทยา ยนตการ โทร.08-1845-0705

ยาง GOODTIRE

วิ่งได้เหมือนใหม่ บนมาตรฐานความ ปลอดภัย บริการหล่อดอกยางเน้น คุณภาพ และการบริการหลังการขาย ในราคาที่เหมาะสม

บจก.กู๊ดไทร์ รีเทรดดิ้ง โทร.08-4700-5885

ชุดฮีตเตอร์ แบบคลื่นไมโครเวฟ

คลัทซ์ ไฟฟ้า “SAMJIN”

อุปกรณ์ GPS

จากประเทศเกาหลี คุณภาพสูง มีความทนทานเป็นเยี่ยม เหมาะส�ำหรับคอมเพรสเซอร์รถบัส ปรับอากาศ ใช้ได้ทั้งคอมเพรสเซอร์ Bockและ Bitzer มีหลายขนาด 6.5, 8,10 นิ้ว ใช้ไฟฟ้า 24 VDC.

ติดตาม ค้นหา แสดงต�ำแหน่ง รถได้หลายคัน พร้อมๆ กัน ทุกๆ 5 วินาที โดยระบุชื่อคน ขับหรือทะเบียนรถ สามารถ ทราบถึงพฤติกรรมการใช้รถ ของพนักงานเป็นรายบุคคล

บจก.คูล พาร์ท (ประเทศไทย) โทร.0-2347-6330

บจก.บางกอกไกด์ เทคโนโลยี (1986) โทร.0-2311-1439

เครื่องวัดความตึงสายพาน Optikrik

ช่องเปิดหลังคาส�ำหรับรถโดยสาร A-07-035

ไล่บวมและให้ความร้อนแบบ คลื่นไมโครเวฟ ท�ำงานได้ ตรงจุ ด ไม่ ก ่ อ ให้ เ กิ ด ความ เสี ย หายต่ อ ชิ้ นงานหรื อ ชิ้น ส่วนข้างเคียง

เครื่องมือที่ใช้งานง่าย ให้ค่าวัดที่ได้มาตรฐานแม่นย�ำช่วย ให้การติดตั้งสายพานเป็น เรื่องง่าย เนื่องจากมีชุด เครือ่ งมือทีใ่ ห้ความสะดวก ชั้นยอด

เป็นช่องระบายอากาศ บนหลั ง คาส� ำ หรั บ รถ โดยสาร ดีไซน์สวยงาม ติดตัง้ เข้ารูป ได้งา่ ยงาน ละเอียด

บจก.เวิลด์คลาส สปิริท (ประเทศไทย) โทร.0-2929-5635-7

บจก.ทีอาร์ดับบลิว เอเชียติ๊ก โทร.0-2661-2444-5

บจก.อเมซอน คอร์ปอเรชั่น โทร.0-3483-3428-9

ถังเติมน�ำ้ มันเบรก K3581

เทอร์ โบ HINO P11C

เครื่องเช็คแบตฯ

เป็นอีกหนึ่งทางเลือกที่ช่วยการดูแล น�้ำมันเบรกเป็นเรื่องง่ายท�ำให้น�้ำมัน เบรกไม่ขาดจากระบบซึ่งสามารถ สังเกตเห็นได้จากถังว่าน�้ำมันเริ่มลด

ของแท้ น� ำ เข้ า จากญี่ ปุ ่ น ทนทาน แข็งแกร่ง ผลิตจากวัตถุดิบชั้นดี เพื่อ ให้ได้คุณภาพสูงสุด

หน้ า จอเป็ น ตั ว เลข และ หลอด LCD แสดงผล ไม่ มี ถ ่ า น เพราะน�ำกระแสจาก แบตฯมาใช้ ขนาด 9x18x21.5 น�้ำหนัก 1.5 Kg. ท�ำจากเหล็ก สีด�ำ

บจก.พิบูลย์ ธ�ำรง แมชชีนเนอรี่ โทร.0-2805-2714-8

บจก.เจ-เทค ออโต้พาร์ท โทร.0-2153-3030-1

บจก.เอฟ.เจ.ที.คอมเมอร์เชียล โทร.0-2225-6783-7

ปลอกสูบแบบฮาร์ดโครม ส�ำหรับรถบรรทุกหนัก

ฝาสูบ

ไดสตาร์ท Delco 5MT

ปลอกสูบคุณภาพสูงที่ผลิตจากโลหะชนิดพิเศษท�ำให้ลด ความร้อนและทนต่อการสึกหรอทีค่ วามหนาเพียง 1-1.5mm อีกทั้งเคลือบผิวภายในเพื่อลดการเสียดสีของแหวน ท�ำให้ แหวนมีอายุการใช้งานที่มากขึ้น

ผลิตจากวัสดุเกรด เอ จากโรงงาน ผลิตทีท่ ยั สมัย พร้อมควบคุมการผลิต ทุกขั้นตอน น�ำเข้าจากประเทศญี่ปุ่น

ศูนย์รวม ไดชาร์ท ไดสตาร์ท คุ ณ ภาพที่ ค รบครั น ที่ สุ ด ใน ประเทศไทย สินค้าน�ำเข้า มากมายหลายเเบรนด์ ส� ำ หรั บ รถบรรทุ ก รถบั ส เครื่องจักรกลหนัก ฯลฯ

บจก.แมค พิสตัน โทร 0-2662-7211

บจก.เอ็กเซลอะไหล่ยนต์ (2002) โทร.0-2901-7686-8

บจก.ไทยแสงเจริญไดนาโม โทร.0-2235-6241-2


พ่วงท้าย • BUS&TRUCK 39

ปักษ์หลัง • มีนาคม 2554

Triton 2.5 VG Turbo

อย่ า งที่ เ ห็ น ๆ กั น ส� ำ หรั บ Mitsubishi Triton 2.5 VG ตัวใหม่นี้ ใน เรื่องเครื่องยนต์ที่เพิ่มพลังมากขึ้นถึง 178 แรงม้า 2.5 ลิตร แทนรุ่น 3.2 ลิตร แน่นอนว่าต้องมีการปรับแต่งเพิ่มเติม หลายอย่างในตัวเครื่อง หลักๆ เริ่มที่ การเปลี่ยนระบบอัดอากาศ โดยเลือก ใช้ระบบเทอร์โบชาร์จเจอร์ แบบแปรผัน ที่เรียกสั้น ๆ ว่า VG Turbo (Variable Geometry Turbo) อีกหนึ่งจุดคือการ เพิม่ เติมในส่วนของระบบจ่ายน�ำ้ มันเชือ้ เพลิงเข้าสูห่ อ้ งเผาไหม้ จากเดิมทีเ่ คยใช้ หัวฉีดน�ำ้ มัน 6 จุด ได้ถกู เปลีย่ นเป็นแบบ 7 จุด และออกแบบให้หัวฉีดมีจุดจ่าย น�้ ำ มั น เล็ ก กว่ า เดิ ม ด้ ว ยเหตุ ผ ลที่ ว ่ า ต้ อ งการเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการจ่ า ย น�้ำมันให้เป็นฝอยมากขึ้น เพื่อความ สมบูรณ์ของระบบเผาไหม้ ทั้งยังเป็น ส่วนหนึ่งที่ช่วยให้เครื่องยนต์บล็อกนี้ ประหยัดเชื้อเพลิงมากขึ้น กลั บ มาเรื่ อ งของเทอร์ โ บชาร์ จ เจอร์ แบบ VG ซึ่งเป็นระบบอัดอากาศ แปรผั น แบบมี ค รี บ คุ ม แรงดั น ไอเสี ย เพราะการออกแบบระบบอัดอากาศชนิด นี้ จะช่วยตอบสนองอัตราเร่งในรอบ เครื่ อ งยนต์ ต�่ ำ ให้ ดี ขึ้ น ซึ่ ง นั้ น ก็ คื อ คุ ณ สมบั ติ ที่ ผู ้ ผ ลิ ต ต้ อ งการเพิ่ ม เติ ม เข้ า ไป เพื่ อ ควบคุ ม แรงดั น หอยโข่ ง ไอเสีย ให้สามารถอัดอากาศได้ดใี นรอบ เครื่องต�่ำ คือใน VG เทอร์โบจะมีครีบ

ควบคุม หากมีแรงดันในโข่งไอเสียมาก เกินไป จะถูกระบายออกโดยการเปิดครีบ ให้กว้างขึน้ เพือ่ ระบายปริมาณไอเสียส่วน เกินทิ้งไป เครื่ อ งยนต์ บ ล็ อ กนี้ ถู ก พั ฒ นาให้ สามารถรองรั บ เทคโนโลยี ไ ด้ ถึ ง ยู โ ร สเต็ป 4 ซึ่งในเมื่อไทยยังไม่ได้ประกาศใช้ เพราะฉะนั้ น จึ ง เปรี ย บเสมื อ นว่ า เครื่องยนต์ตัวนี้ยังไม่ได้ถูกใช้งานให้ถึง สมรรถนะขีดสุดที่จะสามารถท�ำได้ เมื่อ มองภาพโดยรวมของอุปกรณ์ที่ได้มีการ อัพเกรดทดแทนของเดิม แน่นอนว่าพละ ก�ำลังนั้นจะต้องเพิ่มขึ้น ไส้ในเครื่องยนต์ ย่อมต้องรับภาระทีเ่ พิม่ มากขึน้ ด้วยเช่นกัน การพัฒนาไส้ในทั้งตัวลูกสูบ ก้าน สูบ เสื้อสูบ จึงถูกเคลือบผิวแบบพิเศษ (กราไฟท์) เพือ่ รองรับภาระอันหนักหน่วง ที่เพิ่มขึ้นเป็นทวีคูณ ทั้งยังเพิ่มขนาดพื้นที่ รองรับแรงจุดระเบิดที่หัวลูกสูบใหญ่ขึ้น จาก 50 มม. เป็น 55 มม. (Deep Ball Type) รองรับแรงจุดระเบิดได้เต็มที่ และ ช่วยให้การเคลือ่ นตัวขึน้ -ลงของลูกสูบนิง่ ขึน้ ลดการสึกหรอจากการสีดา้ นข้างขณะ เคลื่อนตัว พร้อมช่องระบายความร้อน ของร่องแหวนขยายใหญ่ขึ้น และชุบแข็ง เพิ่มความทนทาน มาเริ่มต้นเกี่ยวกับการทดสอบที่จะ เน้นเรื่องบังคับควบคุม การทรงตัว และ อัตราเร่ง กับ 4 สถานีทดสอบทัง้ สลาลอม เลนเชนจ์ (เปลี่ยนช่องทางแบบกะทันหัน)

การเข้าโค้ง ปิดท้ายด้วยการทดสอบอัตรา เร่ง ด้วยระยะทาง 3.3 กิโลเมตร กับ รถยนต์มิตซูบิชิ ไทรทัน รถยนต์ มิตซูบิชิ ไทรทัน พลัส ยก สูง เกียร์อัตโนมัติ การทดสอบควบคุม ผ่านสิ่งกีดขวางผ่านได้คล่องตัว แต่ถ้า เปรียบเทียบกับรถเก๋งที่มีความยาวฐาน ล้อทีส่ นั้ กว่านัน้ สามารถท�ำได้ดกี ว่านี้ ส่วน

ในเรื่องอัตราเร่งเห็นผลในทางที่ดีขึ้นกว่า การทดสอบรอบแรกเพราะด้วยน�ำ้ หนักตัว รถ ขณะเข้าโค้งหักและพวงมาลัยอย่าง รุ น แรงซึ่ ง เป็ น รถที่ ค ่ อ นค้ า งสู ง จะเกิ ด ปัญหาเรื่องการโยนตัวแต่ก็ไม่มากนัก ส�ำหรับความคาดหวังที่เกิดขึ้นเป็นไปได้ ด้วยดี มาถึงเรื่องโดยรวมของสมรรถนะ เครื่องยนต์ 2.5 VG Turbo ในรอบต้นนั้น เรียกพลังแรงบิดได้ค่อนข้างดี ในรอบ ความเร็วต�่ำนั้นสามารถเรียกพลังออกมา ได้เร็วดี การท�ำงานของ VG มีประสิทธิภาพ ตามค�ำบรรยายในเบื้องต้นที่กล่าวมานั้น ในรุน่ นีถ้ อื ว่าเป็นรถกระบะ ทีม่ เี ครือ่ งยนต์ แรงเลยทีเดียว ส่วนในเรื่องของความ ประหยัดนัน้ คงต้องดูจากการใช้งานจริงว่า สามารถประหยัดได้จริงหรือไม่


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.