õ ¤ ï ¡Ó i i ~ { r Ö
iÓ ¡Ò Ê ¬
q ¬
m² pm
รถโดยสารกําหนดอายุ 30 ป
แลวรถสาธารณะ ประเภทอื่นละ ?
www.BusAndTruckMedia.com
Øi Ö¥ i i
เปดประตูขนสงอาเซียน
| ¤l ï or
UD Quester เปดตัวในไทย 04 ¤ ¤ ~¤|Ò
หัวลากดีเซล ระยะทางไกล LOGISTICS NEWS
DHL เปดศูนยซินซินเนติ AUTO GAS
24
ป 2558 ประตูอาเซียนจะเปด อยางเปนทางการ ซึ่งหมายถึงการที่ ประเทศไทยตองเปดเสรีการคา การ บริการ การลงทุน การเงิน และแรงงาน ฝมือกับอีก 9 ประเทศสมาชิกอาเซียน
ตามพันธกรณีที่ ไดทําไวรวมกันในการ รวมกลุ ม ความร ว มมื อ ทางเศรษฐกิ จ โดยมีเปาหมายใหอาเซียนเปนตลาด และฐานการผลิตเดียวกัน เสริมสราง ความแข็งแกรงของเศรษฐกิจในภูมภิ าค
อาเซียน และเพิ่มอํานาจการตอรองใน เวทีการคาโลก ดังนั้น ลองมาดูเรื1องที่ผูประกอบ การขนสงตองทราบรวมถึงนานาทัศนะ อานตอหนา 38
ภาวีกิจ ตัวแทน “เบนซ” วอลโว เตรียมสงออกยูดี พรอมขายอีก 3 ยี่หอ เปดตัวหัวลาก เควสเตอร
28
ปรับราคา LPG คุมหรือไมที่จะใช 44 เตรียมพบกับเร องเดน
ตลาดยางรถใหญ ในฉบับที่ 231
ภาวีกิจ กรุป ประกาศไดรับการแตงตั้งเปนตัวแทน จําหนายรถบรรทุกเมอรเซเดส-เบนซ เครื1องยนต 420 แรงมาขึ้น พรอมขายรถใหญอีก 3 ยี่หอ คือ ยูดีทรัค ฟูโซ และโฟตอน ใชกลยุทธลูกคาตองการใชงานรถประเภทใดก็ จะไดรับรถแบบนั้นทันที คุณธเนศ ยงรัตนา กรรมการบริหาร บริษัท ภาวีกิจ อานตอหนา 39
R1_BT#229_p01_Pro3.indd 1
วอลโว กรุป (ประเทศไทย) ใชประเทศไทยเปนฐานการ ผลิตรถหัวลากยูดี ทรัคส เพื1อจําหนายภายในประเทศไทยและ สงออกไปยังตลาดโลก โดยใชงบประมาณ 2,000 ลานบาท ขยายโรงงานประกอบรถบรรทุกยานบางนา-ตราด พรอมเปด ตัวหัวลากรุนใหม “เควสเตอร” สวนงาน BUS & TRUCK ’13 เตรียมโปรโมชั่นพิเศษ อานตอหนา 39
9/3/13 8:44 PM
<EVK9S _<L9 E;V $EZ= +lT$S6 ³¬®®® MC[ ® 8;;<T*;Tª7ET6 $C« ®¯«² 7lT<GET-T_9IR OlT_BO<T*@GW +S*MIS6LCZ9E=ET$TE ®²± a9E« ¯ ´² °¶® `A$. « ¯ ´² ¯¯² CYO8YO µ¶ µ® ´´´´ Âðäìï« Ôèåöì÷è«
ìñéò½åèö÷ïìñêõòøó«æòð
BT#229_p02-03_Pro3.indd 2
úúú«åèö÷ïìñêõòøó«æòð Ãäæèåòòî · Ðøñïòñê Ñëäìïäñç 9/2/13 9:48 PM
BT#229_p02-03_Pro3.indd 3
9/2/13 9:49 PM
04 BUS&TRUCK • BUS & TRUCK SHOW
ปกษแรก • กันยายน 2556
ดับเครื่องชม
Quester เปดตัวในไทย พรอมผงาดตลาดขนสงเอเชีย
บริษทั วอลโว กรุป (ประเทศ ไทย) ประสิทธิภาพที่เหนือชั้น สําหรับการ จํากัด เปดตัวรถบรรทุกรุน ใหมของ UD ทํ า งานที่ ห ลากหลาย มาพร อ ม TRUCKS รุน Quester อยางอลังการ เครื1องยนตขนาด 8 ลิตร GH8E เหมาะ ในประเทศไทย เพื1อตอบสนองวงการ สํ า หรั บ งานกระจายสิ น ค า และงาน ขนสงในเอเชีย ซึ่งไดถูกออกแบบมา กอสราง เครื1องยนตขนาด 11 ลิตร เพื1อใชงานหนัก ไมวาจะเปนงานขนสง GH11E ไดรบั การพัฒนาดวยเทคโนโลยี ระยะทางไกล งานกระจายสินคา งาน ระดับโลกของ วอลโว กรุป โดย ผสม กอสรางและงานเหมืองแร จะถูกพบ ผสานกับคุณภาพการผลิตของญี่ปุน คุณสมบัติสุดแกรงได ในรถทุกรุนของ สําหรับเครื1องยนต 11 ลิตร GH11E Quester ที่ถูกพัฒนาอยางตอเนื1องซึ่ง มาพรอมกับตัวเลือกเบรกเครื1องยนต ใชเวลาดานวิศวกรรมถึง 1,500,000 พิเศษที่เรียกวา UD EEB (UD Extra ชั่ ว โมง และเวลาในการทดสอบอี ก Engine Brake) ซึ่ ง ระบบนี้ จ ะใช 65,000 ชั่วโมง เครื1องยนตชวยในการเบรก จะชวยให โครงสรางไดรับการออกแบบใหมี มีความปลอดภัยเมื1อเบรกทีม่ คี วามเร็ว ความหลากหลายถึง 7 แบบ ซึ่งเปนขอดี สูงกวาความเร็วเฉลี่ยโดยเฉพาะอยาง ที่ โ ดดเด น ที่ สุ ด ของรถบรรทุ ก รุ น นี้ ยิ่งในภูมิประเทศที่เปนเนินเขา และ Quester ไดพัฒนาตําแหนงเพลาใหมี เพื1อลดการสึกหรอของเบรก ความหลากหลายและเหมาะสมกับงาน นอกจากนี้ เ รื1อ งความประหยั ด ตาง ๆ ที่ครอบคลุมมีใหเลือกถึง 7 โครง เชื้อเพลิงในการขับ Quester ที่พัฒนา แบบดวยกัน 4x2R/T, 6x2R/T, 6x4R/T ระบบ Fuel Coaching แบบเรียลไทม และ 8x4R สํ า หรั บ งานกระจาย ซึง่ จะแนะนําและใหความชวยเหลือคน สิ น ค า และงานขนส ง ระยะไกล และ ขับไดอยางทันทวงที เพื1อชวยในการ 6x4R/T และ 8x4R สําหรับงานกอสราง ประหยัดไดถึงที่สุด โดยยังรักษาเวลา และเหมืองแรพรอมระบบรองรับตูส นิ คา ในการเดินทางโดยเฉลี่ยไดเปนอยางดี บนโครงแบบ 6x4R/T และ 8x4R ไดรับ จอแสดงผลจะแสดงใหทราบเมื1อถึง การออกแบบสําหรับสภาวะการทํางานที่ เวลาเปลี่ยนเกียร เรงความเร็วหรือลด สมบุกสมบัน เหมาะกับงานกอสรางที่ใช ความเร็ว ใหอยูในชวงของเครื1องยนต ความทนทานและความนาเชื1อถือเปนสิง่ ประหยัดนํ้ามันที่สุด ทีส่ าํ คัญทีส่ ดุ 6x2RT จะมีเพลาสําหรับยก อีกสิง่ หนึง่ ทีส่ าํ คัญและตอกยํา้ วา ตูสินคาซึ่งใชสําหรับยกเพลาขณะถาย UD TRUCK พรอมผงาดในตลาดขนสง สินคาลง เอเชียและตลาดโลกนั่นคือ “ฐานการ Quester มาพรอมเครื1องยนตทรง ผลิตหลักอยูที่ประเทศไทย” ที่พรอม พลั ง 2 แบบ ที่ เ ฉลี่ ย ในแต ล ะรุ น ที่ มี ผลิตและสงออกตลาดเอเชียตะวันออก แรงมาที่แตกตางกันโดยรวมอยูที่ 280- เฉียงใตภายในตนปหนา แตสําหรับ 420 แรงมา ที่ถูกพัฒนามาเพื1อประหยัด ประเทศฟลิปปนสนั้นพรอมสงมอบให เชื้อเพลิงที่ผานการพิสูจนแลว และมี ลูกคาภายในสิ้นปนี้ แลว สวนตลาด อื1น ๆ ในอนาคตคาดวาจะขยายฐานการ ผลิ ต ไปที่ จี น และอิ น เดี ย อย า งแน นอน
SPECIFICATION ภายนอก ลักษณะเดน : สําหรับบรรทุกงานหนักโดยเฉพาะ รูปทรง : ตามหลักอากาศพลศาสตร ขุมพลัง เครื่องยนต : ดีเซล 11 ลิตร ระบบฟว โคชชิ่ง แบบเรียบไทม ระบบความปลอดภัย : จอแสดงผลระหวางขับรถ สวีทสปอต ระบบเบรก : UD Extra Engine Brake (UD EEB) อื่น ๆ : แชสซีส, ฐานลอ, ทิศทางปลอยไอเสียแบบตาง ๆ ติดตอ
BT#229_p04-05_Pro3.indd 4
: 0-2707-1738 ฝายการตลาด บริษัท วอลโว กรุป (ประเทศไทย) จํากัด
9/3/13 9:12 PM
BT#229_p04-05_Pro3.indd 5
9/2/13 10:01 PM
06 BUS&TRUCK • SPECIAL PURPOSE VEHICLE
ปกษแรก • กันยายน 2556
รถเพื่อกิจการพิเศษ
ซูโมตา 3 ลอบรรทุกไทย ชวยเหลือเกษตรกร บริษัท กุศมัยมอเตอร จํากัด เปนผูร เิ ริม่ ผลิตและประกอบรถปก อัพ 3 ลอ อเนกประสงคโดยใชเทคโนโลยี จากญี่ปุน เปนจาวแรกของประเทศ ไทย ภายใตแบรนด “ซูโมตา” ใน ปลายป พ.ศ. 2552 บริ ษั ท ฯ ได ทดลองนําเขา รถปก อัพตัวอยาง เพื1อ มาทําการประชาสัมพันธ และเปด โอกาสใหตัวแทนจําหนายไดทดลอง ขับ ที่สนามทดสอบของบริษัท ฯ ซึ่ง อยู ร ะหว า งเขตบางขุ น เที ย น และ สมุทรสาคร แตในปลายป พ.ศ. 2552 ไดนํา เข า มาในรู ป ชิ้ น ส ว น และ อะไหล รถยนต เพื1อมาประกอบในประเทศไทย
BT#229_p06-07_Pro3.indd 6
ประโยชนของการตั้งโรงงานประกอบ รถยนต ในไทย มี อะไหลพรอมใชและ สามารถจําหนายชิ้นสวนตาง ๆ พรอม อะไหลไปดวย ที่โชวรูมของบริษัท และ ของตัวแทนจําหนายทั่วประเทศ SUMOTA TF250 เปนอีกหนึ่งรุน ที่มีเครื1องยนตที่แรงขึ้นกวารุนกอน ๆ และสามารถบรรทุกไดเพิ่มขึ้นเปน 2 ตัน ซึง่ เหมาะมากในภาคการเกษตร มาพรอม เครื1องยนตระบบ CDI ลูกสูบเดี่ยว 4 จั ง หวะ ระบายความร อ นด ว ยนํ้ า เครื1องยนต Sumota Plus ขนาด 250 ซีซี. 16.32 แรงมา กําลังสูงสุด 12 กิโล วัตต ที่ 6,500 รอบตอนาที แรงบิดสูงสุด 18 นิวตันเมตร ที่ 5,000 รอบตอนาที
ระบบสงกําลังเปนแบบเกียรมือ 5 เกียร และถอยหลัง 1 เกียร ความเร็วสูงสุดอยู ที่ 80 กิ โ ลเมตรต อ ชั่ ว โมง และ 60 กิโลเมตรตอชั่วโมงเมื1อมีนํ้าหนักบรรทุก สามารถเติมนํา้ มันเบนซิน 91 แกสโซฮอล 91 อัตราการใชนํ้ามัน 25 กิโลเมตรตอ ลิตร ความจุถังนํ้ามัน 10 ลิตร + 1ลิตร สําหรับในภาคการเกษตรนั้นตอง บอกวาเหมาะมากทีจ่ ะเลือกใชรถประเภท นี้อยางเชน ฤดูที่เก็บเกี่ยวผลผลิตของ เกษตรกรที่ปลูกผลไม ไว ในสวนที่มีพื้นที่ ไม เ อื้ อ อํ า นวยให ร ถขนาดใหญ เ ข า ไป บรรทุกเกษตรกรจึงตองใชรถเข็นแทน แต ก็ไมสามารถจะบรรทุกไดมากนักแต SUMOTA TF250 เปนรถ 3 ลอที่มีพื้นที่
บรรทุกกวางขวางและรองรับไดถึง 2 ตัน และมีกําลังเครื1องยนตที่สูงจึงหมด หวงเรื1องพละกําลังของเครื1องยนต ไป เลย ไมวา จะเปนเนินรองสวนหรือคันนา ก็สามารถไปไดทุกที่ และที่สําคัญที่สุด คือเรื1องของความประหยัดเชื้อเพลิง ที่ ตอบโจทย ไดอยางแนนอน เพราะจุด ประสงคของ บริษัท กุศมัยมอเตอร จํากัด นัน้ สรางรถ 3 ลอ ขึน้ เพื1อใหกลุม ภาคการเกษตรสามารถลดตนทุนคา ขนสงลงนั้นเอง และนอกจากนี้การใช งานก็หลากหลายเปนรถอเนกประสงค ไมวา จะเปนการขนเครื1องมือการเกษตร ขนปุย หรือเครื1องสูบนํ้าก็สบายมาก
9/2/13 10:08 PM
3
BT#229_p06-07_Pro3.indd 7
9/3/13 9:01 PM
08 BUS&TRUCK • BUSINESS CATALYST
ปกษแรก • กันยายน 2556
คันเรงธุรกิจ
รัฐบาลก็มีคนดี ถึงแมวาจะมีเรื1องทะเลาะกันใน การประชุมสภาผูแทนราษฎร ทําให ประชาชนเห็ น ได ว า รั ฐ บาลชุ ด นี้ ไ ม สามารถทําใหผูแทนที่ประชาชนเลือก มาปรองดองกันได มีแตเรื1องทะเลาะ เบาะแวงกันตลอดเวลา แตกม็ คี ณ ุ ชัชชาติ สิทธิพนั ธุ รมว. คมนาคม ไดลงมาลวงลูกดูการทํางาน ของการขนสงเพื1อประชาชนทั้งหมด ไมวาจะเปนรถเมล รถไฟ เรือ (คลองแสนแสบ) และวางแผนวาจะเปน รถตูตอไป ซึง่ โดยสรุปแลวทุกการขนสงตาง มีปญหาทั้งหมด สาเหตุหลักเกิดจาก หนวยงานของราชการที่ดูแลการขนสง นั้นเปนหลัก จึงสงผลใหประชาชนที่ใช บริการตองเปนผูรับเคราะหกรรม และเมื1อ มี คํ า ถามว า ทํ า ไมผู บริ ห ารสู ง สุ ด ของกระทรวงคมนาคม ตองลงมาใชบริการการบริการขนสง เหมือนกับประชาชนทั่วไป ก็ ไดรับคํา ตอบวา หากนั่งอยูบนหอคอยรอพวก ขาราชการรายงานผลใหทราบก็จะคิด วาขาราชการเหลานั้นบริหารงานดีอยู แลว ประชาชนทุกคนพอใจ ดวยความที่ ไมเชื1อวาทุกอยางจะ ดีเลิศจึงตองลงมาดูดวยตาตัวเองและ ได พ บว า ต อ งแก ไ ขป ญ หาทุ ก อย า ง ทั้งหมดเลยทีเดียว ขอฝากไววาเมื1อแก ไขปญหาทุก อยางไดแลวก็ตองแกที่ตัวขาราชการ ดวย เพราะเมื1อหมดเวลาทางการเมือง ทุกอยางก็จะกลับมาเลวรายเหมือนเดิม บรรณาธิการอาวุโส หนังสือพิมพ BUS&TRUCK ที่ปรึกษากิติมศักดิ์ : ดร.ปราจิน เอี่ยมลําเนา ชยาวุธ จิระธันท, ยู เจียรยืนยงพงศ, บุนเอี้ยน ศรีแสนสุชาติ, วรพจน แสงทวีสิน, เถลิง พลวรรณาภา, ชูชาติ สวางสําลี กรรมการผูจัดการ : ชาตรี มรรคา บรรณาธิการบริหาร : ชนมจิรา ธรรมปยะรักษ บรรณาธิการอาวุโส : เสกสรรค ไชยเผือก หัวหนากองบรรณาธิการ : ชนมจิรา ธรรมปยะรักษ กองบรรณาธิการ : ธัญพร ขันธสิทธิ์ พฤกษ ดานจิตรตรง, จักรพรรดิ์ โสภา ภาระวี ไชยศิลป, ถาวร พรมพิทักษ เลขากองบรรณาธิการ : บุตรตรี สงางาม ที่ปรึกษากองบรรณาธิการ : เรณู ฟกสกุล มยุรี ดุก, อรุณ เหลาวัฒนกุล ผูจัดการโฆษณา : อารีย ปตตุรังสี แผนกโฆษณา : รภา โสรินทร, บุปผา กอมขุนทด เลขาแผนกโฆษณา : สุธารัตน จันทรนคร พัฒนาธุรกิจ : วันวิสาข เข็มทอง, วิวรมาศ แกวศิริ สมาชิก : วิวรมาศ แกวศิริ เว็บไซต : BusAndTruckMedia.com วราภรณ กันทะเนตร การเงิน : แสงอรุณ มงคล ศิลปกรรม : ธีระ พุมขํา BIP GROUP พิมพ : กรังดปรีซ อินเตอรเนชั่นแนล จัดจําหนาย : เวิลดออฟดิสทริบิวชั่น โทร. 0-2744-6888 ผูจัดทํา : บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด 200/7-14 ชั้น 7 อาคารเออีเฮาส ซ.รามคําแหง 4 แขวง/เขต สวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250 โทร. 0-2717-2477 แฟกซ. 0-2717-2466, 0-2729-8758 www.BusAndTruckMedia.com อีเมล : info@BusAndTruckMedia.com sales@BusAndTruckMedia.com
BT#229_p08-09_Pro3.indd 8
ดายุน สรางภาพลักษณใหมรถจีน สงอะไหลถึงมือภายใน 24 ชม.
คายดายุน สรางภาพลักษณใหม ใหรถใหญจากจีนสําเร็จ จัดสงอะไหลถงึ มือลูกคาภายใน 24 ชม. มั่นใจคุณภาพ ของรถใช ไดนานคุมทุน พรอมเตรียม ขยายสาขาและดีลเลอรให ได 10 แหง ภายในสิ้นป สวนงาน BUS & TRUCK ’13 นํารถใหม 2 รุนโชวตัว ดันยอดขาย ตามเปา 300 คัน คุณอิฐบูรณ จิรวัฒนวงศ ผูจ ดั การ สาขาบางบัวทอง บริษัท ดายุน ออโต โมบิล (ประเทศไทย) จํากัด เปดเผยวา แมรถใหญดายุน ประเทศจีน จะเริ่มเขา มาทําตลาดเมื1อปลายปที่ผานมา แตก็ ประสบความสําเร็จ โดยครึ่งปแรกของป นีส้ ามารถทํายอดขายได 100 คันแลว ซึง่ จุดเดนอยูที่คุณภาพและการบริการหลัง การขายที่ทําใหกลุมลูกคาตางพึงพอใจ สูงสุด โปรโมชั่นที่เหมาะสมให” คุณอิฐบูรณ “ปจจุบนั ทางบริษทั ฯมีการนํารถ ดา กลาวเพิ่มเติม ยุนเขามาทําตลาดทั้งหมด 6 รุน ซึ่งมีทั้ง ทางบริ ษั ท ดายุ น ออโตโมบิ ล ที่ วิ่ ง อยู บ นถนน และแบบที่ ทํ า งานใน (ประเทศไทย) จํากัด ไดเซ็นสัญญากับ เหมืองแร โดยรถรุน ทีส่ ามารถจําหนายได บริษทั แมประเทศจีน รับสิทธิท์ าํ ตลาดใน มากสุดคือ รถหัวลากเครื1องยนต NGV เมืองไทยเปนระยะเวลา 10 ป ดวยเหตุนี้ 300 และ 380 แรงมา ตามแตประเภท ของการใชงาน สวนภาคทีจ่ าํ หนายไดมาก สุดคือ ภาคอีสาน โดยเฉพาะดีลเลอร บุ รี รั ม ย แ ละดี ล เลอร ข อนแก น ส ว น สํานักงานใหญที่บางบัวทองทํายอดขาย ไดรองลงมา” สวนแผนการตลาดปนี้จะทําการ ขยายสาขาและตั ว แทนจํ า หน า ยทั่ ว ก สิ ก ร ไ ท ย ยํ้ า จุ ด ยื น เ ป น ประเทศให ได 10 แหง เนนที่ภาคตะวัน ศู น ย ก ลางการลงทุ น ของจี น สู ก ลุ ม ออกเฉียงเหนือและภาคเหนือ เพราะมี ประเทศเออี ซี ลาสุดปลอยกู 1,200 พื้ น ที่ ติ ด กั บ ประเทศเพื1อ นบ า นในกลุ ม ลาน ใหซานตงหลิงหลงไทร ผูนําใน อาเซียน ซึ่งสามารถขยายตลาดไดเมื1อ กลุ ม อุ ต สาหกรรมยางรถยนต ใ หญ เปดใชประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ เปนอันดับ 3 ของจีน เพื1อกอสราง AEC โรงงานที ่นิคมฯ เหมราช ทั้งนี้เรื1องสําคัญในการสรางภาพ คุ ณ บั ณ ฑู ร ลํ่ า ซํ า ประธาน ลักษณใหกบั รถของดายุน ทางบริษทั ฯได กรรมการ ธนาคาร กสิกรไทย จํากัด เนนการสต็อกอะไหลไวบริการใหลูกคา (มหาชน) หรือ KBANK เปดเผยวา อยางเต็มที่ โดยจะมีโกดังสต็อกอะไหลอยู ธนาคารกสิกรไทยได ใหการสนับสนุน ทีก่ รุงเทพฯ และจะทําการจัดสงอะไหลให สิ น เชื1อ แก บ ริ ษั ท แอลแอลไอที ถึงมือลูกคาภายใน 24 ชั่วโมง พรอมกัน (ประเทศไทย) จํากัด (LLIT (Thailand) นีก้ จ็ ะมีรถรถโมบายเซอรวสิ ทีซ่ อ มเบาให Co.,Ltd.) ซึ่งเปนบริษัทลูกของบริษัท กั บ รถของลู ก ค า ที่ อ ยู บ นถนนในทุ ก ซานตงหลิงหลงไทร จํากัด (Shandong จังหวัด Linglong Tire Co., Ltd) ผูผ ลิตยางราย “สวนงาน BUS & TRUCK ’13 ซึ่ง ใหญในประเทศจีนในโครงการกอสราง จะมีขึ้นระหวางวันที่ 7-9 พฤศจิกายน โรงงานผลิตยางรถยนตในประเทศไทย ศกนี้ ณ ไบเทค กรุงเทพฯ ทางบริษัทฯ โดยในเฟสแรกธนาคารได อนุมตั วิ งเงิน จะนํารถหัวลากเครื1องยนตดีเซล 375 สินเชื1อเพื1อการกอสราง (P/N) และ แรงมา และเครื1องยนต NGV 380 แรงมา วงเงินเพื1อการซือ้ เครื1องจักร (L/C,T/R) ซึง่ ถือเปนรุน ใหมทจี่ ะนํามาเปดตัวในงาน จํานวน 40 ลานดอลลารสหรัฐหรือ นี้ เ ป น แห ง แรก ส ว นโปรโมชั่ น นั้ น จะ ประมาณ 1,200 ลานบาท ซึ่งบริษัทยัง ทําการสํารวจความตองการของตลาด มี โครงการที่ขยายการผลิตในเฟส 2 ขนสงอีกครั้งกอนวาตองการโปรโมชั่น แบบไหน และทางบริ ษั ท ฯก็ จ ะทํ า
ทางบริ ษั ท ฯจึ ง เริ่ ม ทํ า การตลาดด ว ย การนําเขารถกอน ตอจากนัน้ เมื1อสามารถ ทํ ายอดขายไดตามที่คาดหมายไว ก็มี แผนทีจ่ ะตัง้ โรงงานประกอบในเมืองไทย เพื1อ ขยายตลาดไปยั ง ประเทศในกลุ ม อาเซียนตอไป
KBANK ปลอยกูผลิตยางรถ หนุนลูกคาจีนลงทุนไทย
เพิ่มเติมอีกในอนาคต “ความรวมมือทางธุรกิจระหวาง กั น ในครั้ ง นี้ จ ะเป น จุ ด เริ่ ม ต น ที่ จ ะ สนับสนุนการตอยอดธุรกิจของลูกคาใน ประเทศไทยในสายของอุตสาหกรรม ยางรถยนต และยังจะเปนสวนสําคัญที่ จะชวยสงเสริมอุตสาหกรรมยางรถยนต ในประเทศไทย รวมทั้งสงเสริมความ ร ว มมื อ ด า นเศรษฐกิ จ ของทั้ ง สอง ประเทศอีกดวย” ด า นคุ ณ หวั ง เฟ ง ประธาน กรรมการ บริษทั ซานตงหลิงหลงไทร จํากัด กลาววา ซานตงหลิงหลงไทร มี ประสบการณ ในการผลิดยางรถยนต มากวา 37 ป ปจจุบันเปนบริษัทผลิต ยางรถยนตขนาดใหญที่สุด 1 ใน 3 ใน ประเทศจีน และติดอันดับ 1 ใน 20 ผู ผลิตยางรถยนตของโลก มีผลิตภัณฑ หลากหลายยี่หอ หลากหลายรูปแบบ กวา 3,000 ชนิด ทั้งรถเกง ยางรถบัส รถบรรทุก สงขายใน 160 ประเทศทั่ว โลก ด ว ยยอดขายในป 2555 ราว 10,061.18 ลานหยวน
9/2/13 10:13 PM
BUSINESS CATALYST • BUS&TRUCK 09
ปกษแรก • กันยายน 2556
คันเรงธุรกิจ
สแกนเนีย เปดตัวรถหัวลากใหม คายญี่ปุนหวั่น ยูดี ทรัคส คืนตลาด พรอมโรดโชว 6 สาขาทั่วประเทศ รอดูแคมเปญ เด็ดแคไหน?
คายสแกนเนีย เปดตัวรถหัวลาก P-Series ใหมแบบเพลาเดียว พรอมเดิน สายโรดโชว 6 สาขาทั่วประเทศ แสดง ใหเห็นถึงคุณภาพของศูนยบริการ มัน่ ใจ ใหลูกคานํารถไปทดสอบไดจริงกอนซื้อ คุ ณ ทั ศ นั น ท ป ย ะอั ก ษรศั ก ดิ์ ผู จั ด การฝ า ยสื1อ สารและการตลาด บริษทั สแกนเนีย สยาม จํากัด เปดเผย วา เพื1อเปนการเปดตัวรถหัวลากรุน PSeries ขนาด 360 แรงมาแบบเพลาเดียว จึงไดจัดงานสแกนเนียโรดโชวถึงกลาง กันยายนศกนี้ โดยจะจัดทีส่ าขาทัง้ 6 แหง ทั่วประเทศ รวมทั้งยังนํารถหัวลาก 410 แรงมา ทั้งแบบเพลาเดียวและ 2 เพลา ไปรวมแสดงดวย สาเหตุสําคัญที่จัดโรดโชวที่สาขา ทั้ง 6 แหง สืบเนื1องมาจากตองการให กลุมลูกคาเปาหมายไดเห็นถึงมาตรฐาน ของศูนยบริการที่มีคุณภาพมาตรฐาน สากล มี เ ครื1อ งมื อ อุ ป กรณ ก ารซ อ ม อะไหล และชางบริการที่มีประสบการณ ถือเปนสวนชวยสรางความมั่นใจใหแก ลูกคา “สวนสาขาใหมอีก 2 แหงคือ ที่ ขอนแกนและเชียงใหม ยังไมไดทําการ
โรดโชว เนื1องจากยังไมเปดบริการอยาง เปนทางการ แตเมื1อพรอมเปดบริการ แลวจะนํารถรุน ใหมไปโรดโชวยงั สาขาทัง้ 2 แห ง เพื1อ ให ก ลุ ม ลู ก ค า ทราบถึ ง สมรรถนะของรุนรถรุนใหมวาเหมาะแก การลงทุนแคไหน” นอกจากนี้ ทางบริษัทยังวางแผน ใหกลุม ลูกคาทําการทดสอบการใชจริง ไม วาจะเปน ระยะทางการใชงาน พรอมการ บรรทุ ก สิ น ค า จริ ง เพื1อ ทํ า ให ลู ก ค า สามารถทําการเปรียบเทียบถึงคุณภาพ ของรถสแกนเนียและอัตราการสิน้ เปลือง ของนํ้ามันเชื้อเพลิงวามีความคุมทุนกับ รถรุนเกาที่มีการใชงานอยูมากนอยแค ไหน ส ว นความคื บ หน า ของรถใหญ สแกนเนีย ขณะนี้ ไดซื้อพื้นที่เพื1อทําการ ตั้งโรงงานประกอบเองในประเทศ หลัง จากที่ไดจา งใหอปู ระกอบรถแหงหนึง่ เปน ผูประกอบชิ้นสวนให ทั้งนี้ เพื1องายตอ การบริหารในการประกอบ เพราะหาก ตลาดมี ค วามต อ งการมากก็ จ ะทํ า การ ประกอบไดตามจํานวนที่ตองการ พรอม ทั้ ง ยั ง สามารถขยายตลาดไปยั ง กลุ ม อาเซียนไดสะดวกอีกดวย
คายรถใหญญี่ปุนทั้ง 3 คาย คือ อีซุซุ ฮีโน ฟูโซ กังวลคาย ยูดี จะกลับ ฟนสูตลาดแยงสวนแบงทางการตลาด ตองคอยดูวาจะมีแคมเปญดึงลูกคาได มากนอยแค ไหน แหลงขาวในวงการรถใหญ เปด เผยวา หลังจากทาง วอลโว กรุป ไดกลับ มาทําตลาดรถใหญยี่หอยูดี อีกครั้ง โดย ไดเปดตัวรถหัวลากเควสเตอรที่ประกอบ ในโรงงานวอลโวเปนรุนแรก “จากที่ทราบมาทางวอลโว ได ให ยี่หอ ยูดี ที่ประกอบในเมืองไทย เปนรุน ส ง ออกไปจํ า หน า ยในกลุ ม ประเทศ อาเซี ย นด ว ย จึ ง ถื อ ได ว า เป น ฮั บ ของ อาเซียนที่มาตรฐานทุกอยางจะตองตรง กั บ ความต อ งการของกลุ ม ลู ก ค า ใน ประเทศของกลุมอาเซียน” ด า นความต อ งการของตลาดรถ ใหญในปนี้จะมีมากถึง 50,000 คัน ซึ่ง หากวามีรถใหญยหี่ อ ใหมเขามาบุกตลาด ก็จะสามารถจะแยงสวนแบงของตลาด สวนนี้ ไปได ซึ่งจะมากหรือนอยนั้นขึ้นอยู
กับโปรโมชั่นวาจะตรงกับความตองการ ของลูกคามากนอยแคไหน ดวยพืน้ ฐานการทําตลาดของรถยูดี ในเมืองไทยนั้นมีมาหลาย 10 ป โดยมี บริษทั ผูแ ทนจําหนายหลายบริษทั ในเครือ ตันจง อินเตอรเนชั่นแนล ซึ่งตอมาทาง วอลโวไดดึงลิขสิทธิ์มาจําหนายเอง ทั้งนี้ เมื1อปที่แลวไดจางให โรงงานประกอบรถ ใหญของทางตันจงเปนผูป ระกอบให โดย ประกอบรถหัวลาก รถมิกเซอร และรถ 10 ลอ ซึ่งเปนเครื1องยนต 330 แรงมา ทั้งหมด แตปจจุบันทางวอลโวไดทําการ ประกอบเองเพื1อจําหนายในประเทศและ ส ง ออกไปในประเทศต า งอาเซี ย นอี ก ดวย
ใตทองรถ ❖❖❖ ขาวที่วา บริษัท เอทีทรัค ไดเลิกจําหนายรถใหญไซโนทรัคจาก ประเทศจีนนัน้ เพื1อใหเรื1องทุกอยางไดเคลียรหมดและเกิดความเขาใจทีถ่ กู ตอง ทางผูบ ริหารเอทีทรัคจึงไดแจงถึงสาเหตุทตี่ อ งชะลอการจําหนายไปถึง 8 เดือน นั้น เนื1องมาจากไมสามารถเจรจาใหทุกอยางตรงตอเวลากับบริษัทแมได ทุก อยางตองเลื1อนหมด และก็ไดพยายามทุกวิถีทางที่จะใหทุกอยางลงตัวและ สําเร็จ ชวงปลายปนี้ตองเห็นรถรุนใหมที่เอทีทรัคจําหนายแน จึงแจงมาให ลูกคาไดทราบ ❖❖❖ จากการทีท ่ างบอรดของ ขสมก. จะเดินหนาเปลีย่ นรถเมลเปนแบบ เครื1องยนต NGV เริ่มกลางป 2557 จํานวน 250 คัน โดยไดยื1นเรื1องมาทาง ปตท. ใหปรับราคา NGV ลงเหลือลิตร 8.50 บาท เหมือนกับรถรวม รถแท็กซี่ และรถสามลอ แตทาง ปตท.บอกวาไมสามารถทําตามความตองการได เพราะ ขสมก. เปนหนวยงานรัฐวิสาหกิจที่มีกระทรวงการคลังดูแลอยู สวนสาเหตุที่ ใหรถรวม รถแท็กซี่ และรถสามลอไดรับสวนลด ก็เพราะเปนของเอกชนที่ให บริการประชาชน ทราบแลวเปลี่ยน ❖❖❖ ถึงแมวาทาง ปตท. จะมี NGV ไมเพียงพอตอความตองการของ ตลาด เพราะความตองการมีมากกวาจํานวน NGV เฉลี่ยปละ 20% ซึ่งมอง ดูแลวจะทําใหรถใหญ NGV ขายไดนอยลง แตทวาความจริงไมไดเปนเชนนั้น เลย เพราะผูบ ริหารของปตท.มองวา ราคานํา้ มันดีเซลลิตรละ 30 บาท ในขณะ ที่ NGV มีราคาที่ลิตร 10.50 บาท ราคาแตกตางกันมากชวยลดตนทุนได จึง เปนไปไมไดเลยที่ผูประกอบการขนสงจะไมวางแผนใช NGV วิ่งบนเสนทางที่ มีปมตามทอ เพราะจะชวยเพิ่มรายไดใหบริษัท ดูจากยอดขายรถใหญ NGV ก็ทราบแลววาเปนจริง
R2_BT#229_p08-09_Pro3.indd 9
9/4/13 4:59 PM
10 BUS&TRUCK • ROAD and LAW
สัญญาณ
ก.พลังงาน ยํ้าขนสงเชื้อเพลิง ตองปฏิบัติตามมาตรการความปลอดภัย
กระทรวงพลั ง งานเน น ยํ้ า ผู ประกอบการกิ จ การขนส ง นํ้ า มั น เชื้ อ เพลิ ง ให ป ฏิ บั ติ ต ามมาตรการขนส ง นํ้ามัน 4 มาตรการหลัก คุ ณพงษ ศักดิ์ รั กตพงศ ไพศาล รัฐมนตรีวาการกระทรวงพลังงาน แจง ยํ้าและทําความเขาใจในการปฏิบัติตาม มาตรการกํากับดูแลความปลอดภัยดาน การประกอบกิจการขนสงนํา้ มันเชือ้ เพลิง ประกอบดวย มาตรการปองกันอุบัติภัย มาตรการเตื อ นภั ย มาตรการระงั บ อุ บั ติ ภั ย และมาตรการจั ด การให เ กิ ด ความปลอดภัย มาตรการเตื อ นภั ย ในส ว นของ ระบบการขนส ง ทางท อ เมื1อ เกิ ด เหตุ ฉุกเฉินตองมีระบบเตือนภัยอัตโนมัตผิ า น ระบบสื1อ สารไปยั ง ห อ งควบคุ ม หรื อ Control Room สวนระบบการขนสงทาง รถตองมีการติดตามความเคลื1อนไหวโดย ใชระบบ GPS และใหผูประกอบกิจการ ขนสงแจงกรมธุรกิจพลังงานหรือหนวย งานที่เกี่ยวของเมื1อเกิดเหตุฉุกเฉินทุก ครั้งเชนเดียวกับการขนสงทางรถไฟ ด า นมาตรการระงั บ อุ บั ติ ภั ย ใน
ระบบการขนสงทางรถไฟและการขนสง ทางรถตองมีการติดตั้งถังดับเพลิงแบบ เคมีแหง และมีอุปกรณควบคุมการไหล ไดในระยะปลอดภัย ซึง่ สามารถปดตัวเอง ทันทีหากเกิดเพลิงไหม สําหรับการขนสงทางนํ้านั้นมีขั้น ตอนพิเศษที่กําหนดใหตองดําเนินการ นั่นคือตองมีการประเมินความปลอดภัย ของเรือกอนทําสัญญาวาจางขนสงนํา้ มัน ดิบ ประชุมทําความเขาใจในเรื1องของการ ปฏิบตั งิ าน ตรวจสอบความปลอดภัยรวม กันระหวางเรือและทาเรือ อุปกรณทาง ดานความปลอดภัยและปองกันมลภาวะ ทัง้ นีต้ อ งมีการเตรียมพรอมใหสามารถใช งานไดทันที โดยเฉพาะทอยางจะตองถูก เปลี่ยนทันทีเมื1อพบสภาพความเสียหาย ทั้ ง นี้ ข อให ผู ป ระกอบการขนส ง นํ้ามันเชื้อเพลิงทุกราย ปฏิบัติถูกตอง ตามมาตรการอย า งเคร ง ครั ด และ สมํา่ เสมอ และใหผปู ฏิบตั งิ านดานนํา้ มัน เชื้อเพลิงตองมีบัตรพนักงาน ผานการ อบรมตามกฎหมาย และตองเปนผูที่ ได รับมอบหมายใหปฏิบัติหนาที่อยางถูก ตอง
กทพ.เรงแกปญหา Easy Pass ใน 1 เดือน
การทางพิเศษแหงประเทศไทย (กทพ.) เรงแก ไขปญหาการเติมเงิน บัตร Easy Pass ใหแลวเสร็จภายใน 1 เดือน ตามนโยบายของรัฐมนตรีวาการ กระทรวงคมนาคม พรอมใหสิทธิผาน ทางสวนแถม จํานวน 15 บาท สําหรับ การเติมเงินสํารองคาผานทางพิเศษใน บัตร Easy Pass ทุก 500 บาท เพื1อ เปนการตอบแทนผู ใชบริการบัตร Easy Pass ตัง้ แตวนั นี้ ถึง 31 ธันวาคม 2556 กทพ. แจงวา ในชวงเวลา 1 เดือน จากนี้ ไปจําเปนตองงดการใหบริการเติม เงินบัตร ในบริเวณชองทาง และทีอ่ าคาร ดานเปนการชั่วคราว ในบางชวงเวลา ตั้งแต 22.00- 04.00 น. เริ่มตั้งแตบัดนี้ จนถึงวันที่ 30 กันยายน 2556 สวนการ เติมเงินผานเคานเตอรเซอรวิส ธนาคาร ตาง ๆ ยังคงสามารถเติมไดตามปกติ
BT#229_p10-11_Pro3.indd 10
สําหรับขอกังวลของผูใชบตั ร Easy Pass ที่เกรงวาจะทําใหเกิดการสูญหาย ของเงินในบัตรนั้น ขอยืนยันอีกครั้งหนึ่ง วา เงินสํารองคาผานทางใบบัตรที่เติม ไมมีการสูญหาย และทานสามารถตรวจ สอบขอมูลกับเจาหนาที่ของ กทพ. ที่ อาคารดาน หรือสํานักงาน กทพ. หรือ ทางเว็บไซด thaieasypass.com หรือที่ EXAT call center 1543 ไดตลอด 24 ชั่วโมง
ปกษแรก • กันยายน 2556
จอดปายหมอชิต
โดย กรมการขนสงทางบก
เปดเดินรถ พิษณุโลก-แพร ยื่นขอดวน กอน 2 ตุลาคมนี้
กรมการขนส ง ทางบก ชวนผู ประกอบการขนส ง ยื1น คํ า ขออนุ ญ าต ประกอบการเสน ทางเดิน รถโดยสาร ประจําทาง หมวด 3 สายที่ 135 เสน ทางพิษณุโลก-แพร ตั้งแตวันนี้ ถึง 2 ตุลาคม 2556 การเป ด เส น ทางเดิ น รถโดยสาร ประจําทางดังกลาว กําหนดเงื1อนไขเกีย่ ว กับการเดินรถไวดังนี้ เสนทางสายที่ 135 เสนทางพิษณุโลก-แพร ให ใชรถโดยสาร ปรับอากาศชั้น 2 หรือ ชั้น 2 ไมเกิน 20 ที่นั่ง จํานวน 4-6 คัน เดินรถขั้นตํ่าวันละ 4 เที่ยว (ไป 2 เที่ยว กลับ 2 เที่ยว) คา โดยสารตลอดสายคนละ 162 บาท สําหรับรถโดยสารปรับอากาศชั้น 2 สวน รถโดยสารปรับอากาศชั้น 2 ที่มีลักษณะ เปนรถตู โดยสาร คาโดยสารตลอดสาย 147 บาท โดยเริ่มตนจากสถานีขนสงผู พ.ต.อ.ยอดชาย ผูสันติ ผกก.ฝอ.3, บก.อก.บช.น.ฝายประชาสัมพันธ, บก.02
โดยสารจังหวัดพิษณุโลก ไปตามถนน สิงหวัฒน ผานอําเภอกงไกรลาศ จนถึง จั ง หวั ด สุ โ ขทั ย แล ว แยกขวาไปตาม ทางหลวงหมายเลข 101 ผานอําเภอ ศรี สํ า โรง อํ า เภอสวรรคโลก อํ า เภอ ศรีสชั นาลัย อําเภอเดนชัย อําเภอสูงเมน ไปสุดเสนทางที่สถานีขนสงจังหวัดแพร ระยะทาง 243 กิโลเมตร ผู ป ระกอบการขนส ง ที่ ส นใจ สอบถามรายละเอี ย ดเพิ่ ม เติ ม ได ที่ งานการขนสงผู โดยสารประจําทาง 1 ส ว นการขนส ง ผู โ ดยสารประจํ า ทาง สํานักการขนสงผู โดยสาร กรมการขนสง ทางบก โทร.0-2271-8517 หรือสํานักงาน ขนสงจังหวัดพิษณุโลก โทร.0-5527-8739 หรือสํานักงานขนสงจังหวัดแพร โทร. 0-5465-2575 ในเวลาราชการ
BUS & TRUCK FAQ
หามตั้งดานกอน 5 ทุม สอบถามเกี่ ย วกั บ การตั้ ง ด า น สักนิดคะ โดยปกติแลวเวลาของ การตั้งดานนั้นมีกําหนดไวหรือ ไม เพราะเวลาตัง้ ดานเมื1อไร สงผลกระ ทบต อ การจราจรบริ เ วณนั้ น เป น วง กวางตลอด จากคุณ : นิสา ป ญ หาเรื1อ งนี้ บก.จร. ได ประกาศออกกฎใหม เ กี่ ย วกั บ การตั้งดานตรวจจับการจราจร ไวดังนี้ คือ 1. การตัง้ จุดตรวจวัดแอลกอฮอล หามมิใหตงั้ จุดตรวจกอน 23.00 น. หาก ตรวจพบหรื อ มี ก ารร อ งเรี ย น จะ พิจารณาขอบกพรองหัวหนาชุดทุกราย 2. การตั้งจุดตรวจ จุดสกัด ใหผู บังคับบัญชาระดับ ผกก. หรือหัวหนา ชุ ด ประสานกั บ ผกก. หรื อ สว.จร. สน.ทองที่ เพื1อใหเกิดประสิทธิภาพและ
ไม ใ หมี ก ารตั้ ง จุ ด ตรวจซํ้ า ซ อ นกั น กับ สน.ทองที่ 3. ระหวางตั้งจุดตรวจ จุดสกัด หากมีปญ หาการจราจรติดขัดและมีทา ย แถวยาว ใหหยุดการตั้งจุดตรวจทันที และใหอํานวยความสะดวกการจราจร จนกวาจะคลีค่ ลายแลว จึงใหดาํ เนินการ ตั้งจุดตรวจตอไป 4. ในชวงการเริ่มและเลิกตั้งจุด ตรวจ จุดสกัด ใหหัวหนาชุดแจงศูนย วิทยุตรีเพชร และศูนยวิทยุ บก. 02 ทราบทุกครั้ง 5. เนนยํ้าในการตั้งจุดตรวจ จุด สกัด ใหเพิ่มมาตรการปองกันปราบ ปรามอาชญากรรม โดยเฉพาะคดีเกี่ยว กับอาวุธปน หมายจับคดีคางเกา และ ยาเสพติด 6. ใหรอง ผบก., ผกก., รอง ผกก., สว. ออกควบคุมการปฏิบตั อิ ยางใกลชดิ เพื1อไมใหเกิดขอบกพรอง
9/3/13 8:54 PM
PROTEST • BUS&TRUCK 11
ปกษแรก • กันยายน 2556
กดแตร
จับตาดูรถเมล
รถเมล ในกรุงเทพฯ มีมากกวา 7,000 คั น ซึ่ ง ครึ่ ง หนึ่ ง เป น รถของ ขสมก. หรือ ขนสงมวลชนกรุงเทพฯ สวนอีกครึ่งหนึ่งเปนของรถรวมฯ โดยรถเมลของทั้งสองฝายมีความ แตกตางกันอยางมาก คือ ขสมก. มีหนี้ สะสมเกือบแสนลานบาทและใชรถเกา เครื1องยนตดีเซลมาใหบริการประชาชน สวนรถรวม ขสมก. นั้น สามารถประคอง ตัวไมมหี นีส้ ะสม และใชเครื1องยนต NGV รักษาสภาพแวดลอม โดยเรื1องราวของ ขสมก. ในการทีจ่ ะเปลีย่ นเครื1องยนตใหม เปน NGV นัน้ ไดพดู กันมาอยางยาวนาน และในที่สุดก็สรุปออกมาไดวาจะเปลี่ยน เปนรถเมลรอนและรถแอร เครื1องยนต NGV จํานวน 3,183 คัน ดวยงบประมาณ 1.3 หมื1นลานบาท โดยมีมติวาจะทําการ ประมูลกันในเดือนพฤศจิกายนนี้ และ ล็อตแรกที่จะมาวิ่งบนถนนจํานวน 250 คัน จะเริ่มได ในประมาณกลางป 2557 โดยแหล ง ข อ มู ล ในวงการรถ โดยสารเปดเผยวา ทางบอรดของ ขสมก. วางแผนการไวเรียบรอยแลวคือ เมื1อ ทําการประมูลใชรถเมลยี่หอใดยี่หอหนึ่ง แลว จะไมมีการรับประกันหลังการขาย เมื1อ รถเมล เ กิ ด เสี ย หรื อ วิ่ ง ไม ไ ด ด ว ย สาเหตุใด ๆ ทาง ขสมก. ตองจายคาซอม และคาอะไหลที่เปลี่ยนใหมดวย ซึ่งใน ปจจุบนั คายรถยนตทกุ ยีห่ อ ตางมีการรับ ประกันหลังการขายใหทกุ ยีห่ อ อยูแ ลว แต ทําไมรถใหญที่มาเปนรถเมล ทางบอรด ของ ขสมก. จึงมีโปรโมชั่นไมครบ นอกจากนี้ ราคาการประมูลที่ ได แจงไวรถใหญจากจีนราคา 2 ลานบาท รถใหญคา ยญีป่ นุ 3 ลานบาท และรถคาย ยุโรป 4 ลานบาท โดยมีการวางแผนวา
BT#229_p10-11_Pro3.indd 11
จะดันใหรถใหญจากจีนสามารถปรับราคา ขึ้นเทารถยุโรปได ตองคอยติดตามดูกัน ว า ในการประมู ล ที่ ว างไว ในเดื อ น พฤศจิกายนนี้จะออกมาเปนอยางไร สวนกระแสทีค่ ณ ุ ชัชชาติ สิทธิพนั ธุ รมว.กระทรวงคมนาคม ไดแสดงความ เห็นใน Facebook สวนตัว บอกวารถเมล ที่บริการแยที่สุดคือสาย 8 และสาย 44 ซึ่งตางเปนรถรวมบริการทั้งหมด ซึ่งมี การบริการที่แย การขับรถหวาดเสียว จอดไมตรงปาย แยงผู โดยสาร หรืออื1น ๆ ทัง้ นี้ เนื1องมาจากทางคนขับและพนักงาน เก็บเงินไมมีเงินเดือน แตจะไดสวนแบง จากตั๋วโดยสารเทานั้น ดังนั้น จึงทําให เกิดความคิดในการแบงเสนทางของรถ ขสมก. ใหม เพื1อ ให มี จํ า นวนรถเมล เทากับจํานวนผู โดยสาร นอกจากนี้ ก็ จ ะยกเลิ ก การเก็ บ สัมปทานการวิง่ รถของรถรวม ขสมก. มา เปนการวาจางใหวิ่งแทน เพราะจะทําให ธุรกิจรถรวม ขสมก. ไมตอ งแยงผูโดยสาร กั น ซึ่ ง ความคิ ด ของการว า จ า งให ขั บ รถเมลนจี้ ะมีราคาถูกกวาที่กระทรวงการ คลังวาจางให ขสมก. วิ่งรถเมลฟรีวันละ 9,000 บาท/คัน เมื1อรวมจํานวนรถเมลที่ วิ่งฟรีแลวจํานวน 8,000 คัน เรียกวาไม คุมคากับการใหบริการคนกรุงเทพฯเลย เพราะรถเมล ฟ รี ส ว นมากวิ่ ง นอกเลน จอดไมตรงปาย ขับไว ในการที่คุณชัชชาติ สิทธิพันธุ จะ แก ไขเรื1องรถเมลรวม ขสมก. ควรที่จะ แกไขทีต่ น เหตุคอื ขสมก. กอน หากแกไข ไดก็จะถือวาจะชวยลดปญหาการบริการ ผู โ ดยสารในกรุ ง เทพฯที่ มี ก ารจราจร คับคั่งไดมากทีเดียว
พักรถ
ตันจงฯ ใชไทยเปนฮัป ออฟ อาเซียน บริษัท ตันจง อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด ถือเปนบริษัทฯที่ดําเนินธุรกิจ เกี่ยวดานยานยนตจนติดอันดับตน ๆ ของเอเชีย เปนตัวแทนจําหนายทั้งรถ เล็ก รถกระบะ และรถใหญแทบทุกยี่หอ ในป 2558 จะเปดใชประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนอยางเต็มตัว ทําใหทางตัน จงฯ ที่จําหนายรถใหญในเมืองไทยถึง 3 ยี่หอ คือ ฟูโซ โฟตอน และ MAN และ ยังมีรถบรรทุกเล็กยี่หอฉางอานเสริมอีกยี่หอหนึ่ง ดวยการมองการณ ไกลวาจะ จําหนายรถเพื1อการขนสงทั้ง 4 ยี่หอในเมืองไทยแลว ก็ตองทําตลาดในประเทศ อาเซียนไดอีกดวย ดังนัน้ จึงกลาลงทุนซือ้ โรงงานประกอบของคายฟูโซ ทรัค ทีแ่ ตเดิมนัน้ ทาง มิตซูบิชิ ฟูโซ ประเทศญี่ปุน เปนผูดูแล เมื1อทุกอยางเรียบรอยก็เริ่มประกอบรถ ฟูโซกอน ตอมาก็เปนรถใหญโฟตอนที่จะเริ่มประกอบปลายปนี้ ตอมาก็จะเปน คาย MAN โดยจะเริ่มประกอบรถโดยสารกอน และสุดทายก็เปนรถบรรทุกเล็ก ยี่หอฉางอาน โดยตลาดหลักก็จะเปนในประเทศกอน เพราะสามารถลดหรือเพิ่มจํานวน การผลิตไดตามความตองการของตลาด หากสามารถทําตลาดในกลุมประเทศ อาเซียนได ก็จะใชสเปคและสมรรถนะเหมือนกับทีจ่ าํ หนายในประเทศ และทําการ สงออกใหดวย จึงเปนการงายเพราะไมตองมีการสลับไลนประกอบแตอยางใด ตองลองจับตาดูวา ตันจง อินเตอรเนชั่นแนล จะสามารถรุกตลาดอาเซียน ไดตามเปาหมายที่ ไดวางไวหรือไม
9/2/13 10:18 PM
12 BUS&TRUCK • BUS & TRUCK CARE
ปกษแรก • กันยายน 2556
รักษรถ
กระจกเทมเปอร (2)
ดานในเนื้อกระจกสงผลใหขนาดของชิ้น กระจกที่แตกมีขนาดเล็กอีกดวย
มาต อ กั น กั บ เรื1อ งของกระจก นิ ร ภั ย หรื อ ที่ เ รี ย กกั น ว า กระจก เทมเปอร ซึ่ ง ในป จ จุ บั น ทางกรม ขนสงทางบกไดมีการออกประกาศให ร ถ โ ด ย ส า ร ป รั บ อ า ก า ศ ข อ ง ประเทศไทยใชกระจกเทมเปอรทกุ คัน เพื1อความปลอดภัยในการเดินทางของ ผู โดยสาร
คุณสมบัติของเทมเปอร
โดยทั่ ว ไปแล ว ภายนอกของ กระจกเทมเปอร ทั้งลักษณะและเนื้อ ของกระจกก็ดูคลายกับกระจกธรรมดา โดยทั่วไป แตกระจกเทมเปอรนั้นจะมี ความคงทนมากกวากระจกธรรมดาโดย ทั่ ว ไปกว า 5 เท า ตั ว เลยที เ ดี ย ว โดย
ผลิตเทมเปอร (Tempered Glass)
ในส ว นของกรรมวิ ธี ก ารผลิ ต กระจกเทมเปอรเปนลักษณะของการ แปรรูปมาจากกระจกเรียบ หรือ กระจก โฟลท (Float Glass) เพื1อใหมีความ แข็งแกรง และทนทาน ไมแตกหักงาย ทนตออุณหภูมสิ งู -ตํา่ และแรงกระแทก เหมาะสําหรับใชงานในสภาพทีเ่ สีย่ งตอ การกระทบกระแทก หรือรอนจัด หนาว จัด ซึ่งมีกระบวนการผลิตดวยกัน 2 วิธี ไดแก การใชความรอน (Heat Treatment) และกรรมวิ ธี ก ารใช ส ารเคมี (Chemical Strengthening Process) อยางไรก็ตามทั้ง 2 วิธีมีหลักการผลิตที่ ใกลเคียงกัน คือการสรางสภาวะเคนอัด (Compression) บริเวณผิวกระจกและ สภาวะเคนดึง (Tension) ดานในเนื้อ กระจก เนื1องจากโดยทัว่ ไปแลวแกวหรือ กระจกนั้นจะเกิดการราวหรือแตกหักก็ ตอเมื1อมีแรงเคนดึงมากํากวาแรงเคน อัด นอกจากนีส้ ภาวะความเคนทีต่ า งกัน ระหวางบริเวณผิวกระจกและบริเวณ
BT#229_p12-13_Pro3.indd 12
สามารถรองรับการใชงานทั้งการตัด เจาะ เจียร บาก หรือ เปลี่ยนแปลง ขนาด และรูปแบบตามทีต่ อ งการ หลัง จากสํ า เร็ จ กระบวนการผลิ ต ข า งต น แลว โครงสรางของเนื้อกระจกไดถูก เปลี่ยนแปลงใหมีความแข็งแกรงขึ้น ถาจะนําไปตัด ไปเจาะ ไปบาก หรือ เปลีย่ นแปลงแบบ จะทําใหกระจกแตก การเจียรขอบเพียงเล็กนอย อาจจะ ทําได แตก็เสี่ยงตอการแตกไดเชนกัน แตหากในกรณีที่กระจกเทมเปอรแตก นั้ น จะต อ งเกิ ด จากการกระทบ กระเทื อ นอย า งรุ น แรง แต เ มื1อ เกิ ด เหตุการณดังกลาวเนื้อกระจกจะแตก ออกเปนเม็ด คลายเม็ดขาวโพด จะมี ความแหลมคม ไมมาก โอกาสเกิด อันตรายจะนอยกวา กระจกธรรมดาที่ จะแตกออกเปนเสีย่ ง ๆ ซึง่ อาจจะทําให เกิดอันตรายกับผู โดยสารหรือผูรวม เดินทางไดอีกดวย ดังนั้นกระจกเทมเปอรจึงคอน ข า งมี บ ทบาทต อ การโดยสารเป น อยางมาก ดวยสาเหตุอนั เนื1องมาจาก เปนการเตรียมความพรอมทางดาน ของความปลอดภัยเปนสําคัญ การใช กระจกเทมเปอรเปนวิธีการปองกัน ภั ย ที่ อ าจเกิ ด จากอุ บั ติ เ หตุ ข องรถ โดยสาร อีกทั้งในกรณีที่เกิดอุบัติเหตุ ยังเปนการรักษาความปลอดภัยใหผู โดยสาร และไมกอ ใหเกิดการบาดเจ็บ ที่เพิ่มมากขึ้นจากการที่กระจกบาด หรื อ ทิ่ ม แทงผู บ าดเจ็ บ ซึ่ ง อาจ อันตรายถึงชีวิตได
รูไวใชวา
ภายนอกของ กระจกเทมเปอรทั้ง ลักษณะและเนื้อของ กระจกก็ดูคลายกับ กระจกธรรมดาโดย ทั่ ว ไป แต ก ระจก แทมเปอร นั้ น จะมี ความคงทนมากกวา กระจกธรรมดาโดย ทั่วไปกวา 5 เทาตัว
การตอหัวสายพาน แบบ “ตอรอน” เปนการตอทีม่ ขี นั้ ตอนเฉพาะเจาะจง ทุกขั้นตอน ตองมีความละเอียดออนและประณีตในตัวเอง ซึ่งตองใชบุคลากรที่ ชํานาญหลายคนในการประสานงานเพื1อให ไดผลงานที่ออกมาตรงตามความ ตองการและยืดอายุการใชงานของสายพานใหมากที่สุด ดังนั้นบุคลากรที่ปฏิบัติ งานตองไดรับการอบรมเปนอยางดีเพื1อใหการประสานงานกันไมผิดพลาด นอกจากนี้บุคลากรยังจําเปนตองมีความรูเกี่ยวกับวัสดุประสานแตละชนิด รวม ทั้งตองมีความรู ในขั้นตอนการใชเครื1องตอสายพานที่ถูกตอง ถูกเวลา และถูกที่ จึงจะทําใหการตอหัวสายพานมีประสิทธิภาพสูงสุด
9/3/13 9:38 PM
BT#229_p12-13_Pro3.indd 13
9/2/13 10:25 PM
14 BUS&TRUCK • INTERVIEW
ปกษแรก • กันยายน 2556
จอดคุย รถหัวลากไซโนทรัค ประเทศจีน ถือเปนรถใหญยี่หอแรกที่เขามาทํา ตลาดในเมืองไทยเมื1อ 7 ปที่แลว โดย ผูนําเขาคือ บริษัท เอเชียนไมโคร เอ็นจีวี ออโตเซลส (ประเทศไทย) จํากัด ซึ่งจากประสบการณที่ผานมา ทําใหมองตลาดรถใหญ ไดกวางมาก ขึ้ น ส ง ผลให ป จ จุ บั น ได ตั้ ง บริ ษั ท วิน เชสเตอร ลิน กรุป จํากัด ดูแล ธุรกิจรถใหญ ไซโนทรัคแทน คุณวิน เชสเตอร ลิน กรรมการ ผูจัดการ บริษัท วิน เชสเตอร ลิน กรุป จํากัด บริษัทที่รับหนาที่ดูแลรถใหญ อะไหลและขนสง เพื1อใหบริษทั เอเชียน ไมโคร เอ็นจีวี ออโตเซลส (ประเทศไทย) จํากัด อยูใ นตลาดหลักทรัพยเพียงอยาง เดียว เปดเผยถึงธุรกิจรถใหญที่เขามา ทําอยางเต็มตัวใหกบั สมาชิกทราบอยาง
ละเอียด
ไซโนทรัค คือยี่หอแรกที่เขาบุกเมืองไทย
ดวยมองการณ ไกลวา รถใหญจาก จีนจะตองเขามาทําตลาดเมืองไทยได เทียบเทากับคายญี่ปุน จึงไดนํารถใหญ ไซโนทรัคจากประเทศจีนเขามาเมืองไทย เมื1อ 7 ปที่แลว ซึ่งการทําตลาดตอนนั้น ยากมาก เพราะไมมีขอมูลการทําตลาด ของรถใหญจากจีนเลย ทัง้ เรื1องของราคา จําหนาย คุณภาพของรถ การบริการหลัง การขาย ความรวดเร็วของการสงอะไหล จากจีนเขามาใหลูกคาในเมืองไทย ตอง เริ่มตนนับหนึ่งใหมหมด ปแรกทีท่ ําตลาดมีลูกคาสัง่ รถไปใช รายแรกจํานวน 5 คัน คุณภาพการใชงาน สรางความคุมทุนเปนอยางมาก จึงไดสั่ง เพิม่ อีก 10 คัน ปตอ มาก็มลี กู คารายใหญ
สัง่ เพิม่ พรอมทัง้ สัง่ อะไหลมาสต็อกเอาไว ทําใหรถใหญจากจีนเปนทีน่ ยิ มของตลาด มากขึน้ จากนัน้ จึงมีหลายบริษทั นําเขารถ ใหญจีนมาจําหนาย จากยี่หอเดียวเพิ่ม เปนหลายยี่หอ แตดวยบริษัทฯเปนธุรกิจ เล็ก ๆ จึงทําใหจําหนายไดเพียงแค 200 คันในชวง 7 ปที่ผานมาเทานั้น
ไซโนทรัค ขายดี 2 รุน
ธุรกิจหลักที่ทําคือ ขายรถหัวลาก ไซโนทรัค โดยรุนที่ทําตลาดไดมากสุด ไดแก รถหัวลากเครื1องยนต NGV 345 แรงมา และเครื1องยนตดเี ซล 380 แรงมา เห็ น ได ว า ยอดขายไซโนทรั ค ทั้ ง หมดที่ ทําไดมีมากถึง 4,000 คันทีเดียว และตอ ไปก็ตองเพิ่มขึ้นอีก เพราะตลอด 7 ปที่ ผานมาไดพิสูจนใหเห็นแลววามีอายุการ ใช ง านที่ ย าวนานซึ่ ง คุ ณ ภาพก็ ยั ง ดี อ ยู ราคาการขายต อ ไม ต กมาก รวมทั้ ง มี
คุณวิน เชสเตอร ลิน
ขยายธุรกิจรถใหญครบวงจร ทางบริษัทฯ ไดเปด แผนกสต็ อ กอะไหล เพื่ อ ให เ จ า ของรถ ใหญจากจีนทุกยี่หอ รู สึ ก คุ ม ทุ น ที่ ใ ช ร ถ ใหญจากจีน โดย 3 ยี่ ห อ หลั ก ที่ เ น น อยู ขณะนี้คือ ไซโนทรัค แซคแมน และ ตงฟง
BT#229_p14-15_Pro3.indd 14
อะไหลพรอมใหบริการอยูตลอดเวลา
เปดแผนกขายอะไหล รถใหญจีนทุกยี่หอ
เมื1อเล็งเห็นวาตลาดรถใหญเริ่ม โตขึ้น มียอดขายเพิ่มมากขึ้นเรื1อย ๆ แตสิ่งหนึ่งที่รถใหญจากจีนทุกยี่หอยัง มีปญหาอยูก็คือ การสต็อกอะไหล ดัง นั้นทางบริษัทฯจึงไดเปดแผนกสต็อก อะไหล เพื1อใหเจาของรถใหญจากจีน ทุกยี่หอรูสึกคุมทุนที่ใชรถใหญจากจีน โดย 3 ยี่หอหลักที่เนนอยูขณะนี้คือ ไซโนทรัค แซคแมน และ ตงฟง เพราะ ตลาดเริ่มใชมากขึ้นเรื1อย ๆ ในการทําธุรกิจอะไหลนี้จะแบง เปน 2 ชองทางคือ ชองทางการสง อะไหลใหลูกคาของบริษัทฯเอง เมื1อ ลูกคาตองการอะไหลประเภทใดก็จะ ติดตอไวลวงหนา พรอมทั้งกําหนด เวลาการเดินทางมาสงสินคาในเขต กรุ ง เทพฯ ซึ่ ง ต อ งผ า น อ.วั ง น อ ย อยุธยา ทีเ่ ปนโกดังสต็อกอะไหลอยูแ ลว จึงสามารถสงอะไหลใหลูกคาทันตาม เวลาที่นัดหมาย อี ก ช อ งทางหนึ่ ง คื อ 3 บริ ษั ท ตัวแทนจําหนายรถใหญจากประเทศ จีน ไมวาจะนําอะไหล ไปซอมใหกับ ลูกคาของตัวเองหรือดีลเลอร เพียงแต สั่งอะไหลที่ตองการมาก็พรอมสงได ทันที ถือเปนการชวยสรางภาพพจนให กับรถจีนไมตอ งรออะไหลนานอีกตอไป
ตั้งแผนกขนสง เปนทางชวยลูกคา
ด ว ยกลุ ม ลู ก ค า ที่ ใ ช ร ถใหญ ไซโนทรัคและอะไหลรถใหญทุกยี่หอ ตางก็ประกอบอาชีพขนสงเปนหลักอยู แลว บริษัทฯจึงเปดแผนกขนสงขึ้นมา อีก 1 แผนก เพื1อจะไดเปนการสราง งานให กั บ ลู ก ค า โดยที่ ร าคาค า จ า ง สมเหตุ ส มผลกั บ ราคารถใหญ จ าก ประเทศจีน แตกตางจากการซื้อรถ ใหญทมี่ รี าคาสูง แตผวู า จางตองการให คาจางตํ่าจึงไมสามารถรับงานได ในการทํางานของแผนกขนสงนี้ มีทั้ งเปนซัพพลายเออรขนสงใหกับ ลูกคา และใหลูกคามาเปนซัพพลาย เออร ใหกับแผนก เพราะการทํางาน ขนสงตองพึ่งพาอาศัยกัน ไมสามารถ ทําธุรกิจไดเพียงแคฝายเดียวเทานั้น บริษัท เอเชียนไมโคร เอ็นจีวี ออโตเซลส (ประเทศไทย) จํากัด ถือ เปนบริษัทจากสิงคโปรที่ ไดทําธุรกิจ หลากหลายในเมืองไทย จนในที่สุดก็ เขาตลาดหลักทรัพย ได โดยให บริษทั วิน เชสเตอร ลิน กรุป จํากัด ซึ่งเปน ชื1อเดียวกันกับกรรมการผูจัดการมา รับผิดชอบหนาที่แทน ตองดูตอไปวา จังหวะและโอกาสจะทําใหบริษัทฯนี้ ยิ่งใหญเหมือนรถใหญที่ทาํ หรือไม
9/2/13 10:30 PM
LAW KNOWLEDGE • BUS&TRUCK 15
ปกษแรก • กันยายน 2556
รูกฎกอนขับ
สําหรับทิศทางการขนสงในบาน เราก็คงจะปรับเปลี่ยนไปจากเดิมและ ยังคงมีบางสวนที่ยังไมเปลี่ยนแปลง แต จ ะอย า งไรก็ ต ามส ว นใหญ ก็ จ ะ เปลีย่ นแปลงตามพลวัตรดานธุรกิจโลก ที่ มี ค วามเกี่ ย วต อ เนื1อ งกั น หรื อ อี ก นั ย หนึ่งคือความแคบของโลกยิ่งแคบขึ้น คงตองเรียนกอนครับวาแนวคิด ขนสงใหมที่จั่วหัวก็ ไมไดหมายความวา ความใหมจะพาเอาราคาคาขนสงใหมที่ สูงกวาเดิมมาใหดวย ราคาคาขนสง ณ ตอนนี้แทบจะบอกวากระอักโดยเฉพาะ กับผูประกอบการขนสงที่ไมไดมีสกุลเงิน ญี่ปุนถือครองในมือเยอะ ๆ แตก็ไมแน ความใหมก็อาจจะพาเอาราคาใหมที่ดี กวาเดิมมาใหผูประกอบการขนสงก็ ได ธุรกิจบรรทุกขนสงทีอ่ ยูร อดไดทกุ วันนีค้ อื ที่ ส ามารถหายใจคล อ งก็ ค งเป น กลุ ม “เหาฉลาม” เกาะฉลามและเติบโตขึ้น เรื1อย ๆ และมีความตอเนื1องจะโตตาม ฉลามและจะหมดวงจรเมื1อฉลามเกยตื้น (แตยาก เวนแตเกาะฉลามผิดตัว) เราอยากรูสถานะของปอดก็มีวิธี เดียวคือการ X-ray เพราะชวยใหเราเห็น ด า นในร า งกายของเรา ในยุ ค ที่ คํ า ว า Logistics & Supply chain กําลังมาแรง การมองเห็นตนเองมีความสําคัญมาก ๆ การมองในทุกวันนี้มีความตางจากอดีต คือมองหลายจุด ตองมีการเคลื1อนไหว สายตาบอย ๆ หลีกเลีย่ งการมองเพงมอง เพียงสิ่งหนึ่งสิ่งใดเปนพิเศษ มองใหทั่ว หรือมองจากมุมสูงแลวจะทําใหมองเห็น ในมุมยอย ๆ เชื1อไหมครับวาเกือบจะ 100 % ของกิจกรรมทางธุรกิจทุกวันนี้มี ความเกีย่ วของกับคําวา “Supply Chain” ลองนึ ก ถึ ง โซ ส ายหนึ่ ง ก็ ป ระกอบด ว ย หลาย ๆ หวงเกาะเกีย่ วรอยตอจึงเกิดสาย โซยาวจากตนสายไปยังปลายสาย ครับ แตละคนแตละบทบาทเปรียบเสมือน ขอของสายโซครับ ลองนึกภาพนะครับ สมมติธุรกิจ บรรทุกขนสงนํ้ามันประกอบดวยหวงโซ หลัก 5 หวง หวงที่ 1 ดานซายคือโรงกลัน่ นํ้ามัน หวงที่ 2 คือผูวาจางขนสง หวงที่ 3 คือบริษทั ขนสงนํา้ มัน เชน GTE, พงษ ระวีร, มนตทรานสปอรต, TCH, พร วัฒนา เปนตน หวงที่ 4 คือหวงปลาย ทางหรือสถานีบริการนํ้ามันและหวงที่ 5 คือหวงผูบริโภคที่ตองการนํ้ามันเปนเชื้อ เพลิง เราพอจะเห็นภาพคราว ๆ ครับวา หวงที่ 3 นั้นมีความสําคัญยิ่งเพราะทํา หน า ที่ ข นส ง นํ้ า มั น จากโรงกลั่ น ไปยั ง สถานีบริการนํ้ามันหรือหวงที่ 4 “หวงที่ 3 จึงควรมีทั้งคุณภาพ ประสิทธิภาพ ต น ทุ น ที่ ตํ่ า และป ญ หาน อ ย” จุ ด เปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นคือกับจุดที่ 3 เกิดขึ้นบอยมากหรือมีการเปลี่ยนแปลง
BT#229_p14-15_Pro3.indd 15
แนวคิดขนสงใหม
ในฐานะที่เปนหวงโซหวงหนึ่ง ของสายธุรกิจ พยายามรักษาไวอยาใหขาด และเกิดการแกะออกจากกันโดยไมมีความจําเปน ผูรับเหมาขนสง การแกะหวงโซที่ ไดรอย เรียงเขาดวยกันเปนสายโซยาวแลวไมมี ใครอยากแกะหรอกครับ ถาไมจําเปน จริง ๆ การแกะเกิดจากฝายใดฝายหนึ่ง หรืออาจจะเกิดจากความพรอมใจกันทั้ง สองฝาย เพราะบางครั้งงานเลี้ยงก็ยอม มีการเลิกราเปนธรรมดา ที นี้ เ ราก็ ม าดู ว า อะไรเป น ป จ จั ย ทํ า ให เ กิ ด “การแกะห ว งโซ ” ใน ประสบการณ ที่ เ คยพบมาหลั ก ก็ คื อ คุณภาพในการใหบริการ เชน มีอุบัติเหตุ เกิดบอย ๆ หรือบางครั้งผูประกอบการ ขนสงที่ ไหวตัวทันก็รีบถอนตัวเมื1อพบวา ตนไมถนัดกับธุรกิจ เชน บริษัทตางชาติ รายหนึง่ ที่ไมถนัดการบรรทุกขนสงนํา้ มัน ก็ ย อมถอนตั ว การขนส ง ในไทย สรุ ป วาการแกะหวงโซเกิดไดจากหลายปจจัย มากกวาที่ผมกลาวมาอีก ปญหามีทุกวัน ความคิดและความเปลี่ยนแปลงมนุษยมี ทุกวัน ดังนั้นไมมีกฎตายตัววาปจจัยจะมี เฉพาะที่กลาวมา เมื1อเรากําลังอยูใ นชวงของ Supply Chain หรือธุรกิจรูปแบบใหม ดังนั้น ก็ ควรปรับตัวใหเขากับสภาพของธุรกิจใน ฐานะทีเ่ ปนหวงโซหว งหนึง่ ของสายธุรกิจ พยายามรักษาไวอยาใหขาดและเกิดการ แกะออกจากกั น โดยไม มี ค วามจํ า เป น เพราะเมื1อใดทีม่ กี ารแกะออกเมื1อนัน้ ก็จะ มีหว งใหมหรือผูป ระกอบการรายใหมเขา มาแทนทีน่ นั่ เอง ผูว า จางสมัยใหมมคี วาม ตองการ “หวงโซคณ ุ ภาพคับแกว” เพราะ ยิ่งมีการแขงขันก็ยิ่งมีความตองการที่ มากกวาเดิม สวนการจะสรางคุณภาพขึ้นมานั้น ก็มีหลากหลายวิธี เชน การนําเอาระบบ มาใชอยางพอเพียง ไมตองมีระบบมาก แตขอใหระบบที่มีอยูไดถูกใชงานอยางมี ประสิทธิภาพและใชจริง ๆ มีการฝก อบรมพนักงานขับรถใหมีความรูความ เขาใจในการปฏิบัติงาน ยุคนี้เปนยุคที่
อุตสาหกรรมและธุรกิจตองการคนเกง ตองการคนคลอง ตองการคนกระฉับ กระเฉงเพื1อนําพาธุรกิจใหยิ่งยวด หรือ Leading with Agility อุตสาหกรรม ต อ งการคนทํ า งานเก ง และคนรู ง าน พรอมทั้งวิธีปฏิบัติตาง ๆ มีคําพูดของ บริษัทยารายใหญรายหนึ่งของโลกกลาว
วา “ยืมระบบ (ที่ดี) จากคนอื1น” หมาย ความวาคนเราไมไดรูทุกเรื1อง ดังนั้นเมื1อ X-ray ตัวเองเห็นความบกพรองก็ตอ งหา หมอเฉพาะทาง และทัง้ หมดนีท้ กี่ ลาวมา คือบางสวนความสําคัญของทุกทานใน ธุรกิจปจจุบัน ทานคือหวงโซสําคัญอยาง มาก ๆ ในธุรกิจยุคนี้
9/2/13 10:30 PM
BUS 203!) Æ TTC
Øi Ö¥ i Æ i
TOUR THEQUE CLUB รู สึ ก จะครึ ก ครื้ น เป น พิ เ ศษ สําหรับกิจกรรม Miss Bus Hostess ในปนซี้ งึ่ ทาง BUS & TRUCK ไดรเิ ริม่ ที่จะจัดขึ้นเพื1อเปนอีกหนึ่งกิจกรรม เพื1อสรางสีสนั ใหกบั วงการรถโดยสาร ผิ ด พลาดประการใด หรื อ อยากจะ แนะนํ า ติ ช มอะไรก็ แ จ ง ได เ พื1อ ใช พัฒนาในปตอไปคะ
สําหรับผูท พี่ ลาดโอกาสเหลานี้ ขอ ใหติดตามความคืบหนาจากเวปไซตของ กรมการขนส ง ทางบกในส ว นของ ประกาศตาง ๆ www.dlt.go.th รวมถึง สอบถามไปไดที่ สมาคมผูประกอบการ รถขนสงทั่วไทย (สปข.) เพื1อติดตาม ความคืบหนาคะ
เตรียมพบกับ Thailand Best Bus Body 2013 ครั้งที่ 1
รถโดยสารเมื อ งไทยอี ก ด ว ย สนใจ ดาวน โหลดใบสมัครและดูรายละเอียด ไดที่ www.BusAndTruckMedia.com แตสาํ หรับในปนเี้ ปดโอกาสใหกบั สาว ๆ ที่มากดวยความสามารถและ ประสบการณ ด า นการให บ ริ ก ารผู โดยสารของบริษัทรถทัวรของทานได เขาประกวด Miss Bus Hostess ซึ่ง ของรางวัลที่ ไดรับนอกจากจะมีเงินสด โลหแลว ถือวายังเปนการสรางภาพ ลักษณทดี่ แี กองคกร ตลอดจนถึงวงการ
กวนรถโดยสาร ยกพลขึ้นกรมฯ นับเปนนิมิตรหมายอันดีสําหรับผู ประกอบการรถโดยสารไมประจําทาง ที่ กรมการขนส ง ทางบกได เ รี ย นเชิ ญ ผู ประกอบการและกลุมอูประกอบตัวถังที่ เกีย่ วของเขารับทราบและหารือเรื1องหลัก เกณฑ ก ารขอความเห็ น ชอบตั ว ถั ง รถ
โดยสารของแบบที่นั่ง จุดยึดที่นั่งและจุด ยึดเข็มขัดนิรภัย รวมถึงการกําหนดอายุ การใชงานรถโดยสารสาธารณะ ซึ่งบรรยากาศในวันนั้นนอกจากจะ อัดแนนไปดวยผูประกอบการที่ใหความ สนใจกับหัวขอหลักเกณฑ ในวันนั้นแลว ยังอึดอัดไปดวยคําถามที่อยูในใจอยาง มากมาย ซึ่งแนนอนวาดูจากทาทีแลวผู ประกอบการมีทางเลือกเพียงรางหลัก เกณฑที่ทางกรมการขนสงแจกในวันนั้น และคงตองเตรียมพรอมรับสถานการณ นี้อยางแนนอน
และจากความฮือฮาตลอดเวลา ของรถโดยสารทําใหมีหลาย ๆ หนวย งานเกิดความเปนหวงมากในประเด็น ของความถูกตองและมาตรฐานของรถ โดยสารเมืองไทย และเปนการสงเสริม ใหรถโดยสารไทยมีศกั ยภาพ ทัง้ ในดาน ความปลอดภัยและทันสมัย BUS & TRUCK ‘13 จึ ง จั ด ให มี กิ จ กรรม Thailand Best Bus Body 2013 ขึ้น ในวันที่ 7 พฤศจิกายน 2556 ซึ่งจะ เปนการการันตีมาตรฐานรถโดยสาร ไทยอีกดวย พบกับ Thailand Best Bus Body 2013 ไดที่ BUS & TRUCK ’13 วันที่ 7 พฤศจิกายน 2556 ณ ไบเทค กรุงเทพฯ คะ
SPECIAL REPORT
สแกนเนีย สยาม เปดบานตอนรับผูประกอบการขนสงสิงคโปร เมื1อไมนานที่ผานมาหากทานใด ได มี โ อกาสเดิ น ทางไปย า นบางนา ตราด ที่บานของสแกนเนีย สยาม แลวละก็ จะให ไดวา ชวงนีท้ สี่ แกนเนีย สยามฯ ออกจะครึกครื้นเปนพิเศษ เพราะมีแขกบานแขกเมืองแวะเวียน มาเยี่ ย มชมตลอดเวลา ไหนจะ กิจกรรมตาง ๆ อีกมากมายที่ทาง สแกนเนีย สยามฯ เตรียมตัวจะจัด ลาสุด คุ ณ ภู ริ วั ท น รั ก อิ น ทร ผู จั ด การทั่ ว ไป บริ ษั ท สแกนเนี ย สยาม จํ า กั ด ก็ เปน ตั ว แทนให ก าร
R1_BT#229_p16_Pro3.indd 16
ตอนรับคณะผูประกอบการขนสงและ โลจิสติกสจากประเทศสิงคโปร กวา 10 ท า น ซึ่ ง เดิ น ทางมาแข ง ขั น กอล ฟ ใน รายการ Scania Singapore Golf Tour 2013 ในประเทศไทย พรอมนําคณะผู ประกอบการจากประเทศสิ ง คโปร เ ข า เยีย่ มชมความพรอมในการใหบริการของ สํานักงานใหญและศูนยบริการ สแกนเนีย สยาม เพื1อสรางความรวมมือและ เชื1อมโยงการใหบริการในการเตรียมตัว เขาสู AEC เห็นทีงานนี้คงมีอะไรแลก เปลี่ยนกันเยอะเลยคะ
9/3/13 9:33 PM
.
BT#229_p16-17_Pro3.indd 17
9/2/13 10:50 PM
18 BUS&TRUCK • ASSOCIATION NEWS
ปกษแรก • กันยายน 2556
คบหาสมาคม สมาคมขนสงสินคา และโลจิสติกสไทย
คุ ณ ป ญ ญ า เศรษฐโภคิน ที่ ปรึ ก ษานายก สมาคมขนสงสินคาและโลจิสติกส ไทย เปดเผยวา ดวยบริษัท บลูแอนด ไวท โลจิสติกส ที่ดําเนินการอยู ถือเปน บริษัทขนสงที่ใหญและมีการดําเนิน งานเปนระบบสากล จึงขอถายทอดงาน ขนสงตาง ๆ ที่ดําเนินการอยูวามีอะไร บาง เพื1อใหบริษัทพันธมิตรดวยกัน ได นําไปประยุกตเพื1อใหธุรกิจของตัวเอง เติบโตขึ้น ซึ่งงานแรกนั้นก็คือ การขนสง สิ น ค า อุ ป โภค และบริ โ ภคไป ยั ง ส า ข า ข อ ง บริษัทฯที่อยูทั่ว ทัง้ ประเทศ โดย จ ะ เ ริ่ ม ข น ส ง สิ น ค า จากพุ ท ธ มณฑลสาย 4 ไป ยังสาขาตาง ๆ ต อ จากนั้ น จะมี รถบรรทุกเล็กขนสงสินคาไปยังราน ขายสิ น ค า ต อ ไป ซึ่ ง การดํ า เนิ น งาน สามารถเปนไปตามกําหนดที่วางไว งานตอไปก็คือ การขนสงสินคา ไปใหหา งสรรพสินคาตาง ๆ ทัว่ ประเทศ โดยจะมีหมายเลขของสินคาวาไปสงที่ หางใด จังหวัดใดอยางแมนยํา พอใน ชวงเชาที่ ไปถึงหางสรรพสินคา เจา หน า ที่ ก็ จ ะขนส ง สิ น ค า จากรถไปยั ง ภายในตัวหางสรรพสินคาตอไป สํ า หรั บ งานสุ ด ท า ยก็ คื อ การ ขนส ง สิ น ค า จากโรงงานไปยั ง โกดั ง สต็อกสินคาหรือทาเรือ ซึ่งถือเปนงาน
ใหมที่มีจํานวนนอย เพราะใชรถบรรทุก เพียงแค 10 คันเทานั้น แตดวยศักยภาพ การขนสงที่เปนระบบ จึงมั่นใจไดวางาน นี้จะตองขยายตอไปไดแน
สมาคมผูประกอบการ รถขนสงทั่วไทย
ดร.วสุ เ ชษฐ โสภณเสถียร นายกสมาคมผู ประกอบการรถขนสงทัว่ ไทย (สปข.) กลาววาขอเชิญ บริษทั ทีส่ นใจรวมสงพนักงานเขาอบรมการ ขับรถยนต วันที่ 17 กันยายน 2556 พรอม ทัง้ เสริมวา สภาพการณปจ จุบนั ปญหา อุบัติเหตุทางถนนตลอด 20 ปที่ผานมา หน ว ยงานที่ รั บ ผิ ด ชอบต อ การ สรางความ ปลอดภั ย ทาง ถ น น ใ น ประเทศไทย ได พยายามเน น หนักกับอุปกรณ ป อ งกั น ความ ปลอดภั ย เช น การคาดเข็มขัดนิรภัยและการสวมหมวก นิรภัย อีกทั้งยังไดมีการเพิ่มกฎหมาย บังคับวาดวยการขับขี่ยานพาหนะขณะ มึ น เมา ซึ่ ง ในช ว งวั น หยุ ด เทศกาล กฎหมายเหล า นี้ จ ะถู ก นํ า มาบั ง คั บ ใช อยางเขมงวดมากขึน้ แตพบวาผลลัพธที่ ไดนั้นยังไมเปนที่นาพอใจ และยังมีชีวิต ของอี ก หลายพั น คนถู ก คร า ไปจาก อุบัติเหตุทางถนน ยังไมนับรวมถึงผูบาด เจ็ บ อี ก นั บ ล า น ซึ่ ง ป จ จุ บั น พบว า การ วิเคราะหในแตละปนนั้ อุบตั เิ หตุทางถนน จัดเปนสาเหตุอันดับ 2 ของสาเหตุการ เสียชีวิตทั้งหมด บอยครั้งที่การวิเคราะห
สถิตกิ ารเสียชีวติ จากอุบตั เิ หตุนนั้ ถูกปรับ เ ป ลี่ ย น เ พื1อ ใ ห มี ก า ร ย อ บ รั บ ใ น ประสิทธิภาพของมาตรการนั้น ๆ จากการศึกษาสาเหตุของการเกิด อุ บั ติ เ หตุ ท างถนนส ว นใหญ พบว า มี พนั ก งานขั บ รถยนต โ ดยสารเป น องค ประกอบสําคัญที่ทําใหเกิดอุบัติเหตุ ดัง นั้น ในการพัฒนาความรูและสงเสริม ความชํ า นาญให พ นั ก งานขั บ รถยนต โดยสารมี ค วามรู ใ นการขั บ รถยนต ใ ห ปลอดภัย มีมารยาทในการใชรถใชถนน รวมกัน มีพฤติกรรมการขับรถที่ถูกตอง และสรางจิตสํานึก ดานความปลอดภัยให แกผู โดยสารและผูรวมใชทาง ซึ่งจะเปน แบบอย า งที่ ดี แ ก พ นั ก งานขั บ รถยนต ทั่ว ๆ ไป และจะเปนการปองกันสามารถ ที่จะชวยลดอุบัติเหตุไดเปนอยางมาก ในการอบรมพนักงานขับรถยนต โดยสารไมประจําทาง ก็เพื1อลดจํานวน ตัวเลขของอุบัติเหตุทางถนน โดยจะเนน ที่ความสําคัญดานสมรรถภาพรางกาย และทัศนคติของผูขับรถยนตโดยสารไม ประจําทาง ทั้งนี้สนใจขอเขาอบรมไดที่ สมาคมฯ 0-2985-8595
สมาคมพัฒนา รถรวมบริการเอกชน
คุณวิทยา เปรมจิตร นายกสมาคม พัฒนารถรวมบริการเอกชน เปดเผยวา จากขาวที่รมว.กระทรวงคมนาคมไดทํา สํารวจรถรวมเอกชนที่สรางความเดือด รอนใหกับผู โดยสารในกรุงเพทฯนั้น ถือ ไดวาไมเปนธรรม เพราะกระแสขาวรถ ขสมก. สาย 2 และ 25 ขับแซงกันจน สุดทายก็เกิดการยิงตอสูกัน แตไมเห็น เปนขาวเหมือนอยางรถรวม ขสมก. สาย 8 เลย ด ว ยความเดื อ ดร อ นของรถร ว ม
ขสมก. ที่ประสบอยู ไมวาจะเปน เรื1อง ขาดแคลนคนขั บ และคนเก็ บ เงิ น ค า โดยสารเนื1องจากรายไดนอย และจาก กรมการขนสงทางบกไมอนุมัติใหปรับ ราคาค า โดยสาร จึ ง ทํ า ให ร ายได ไ ม พอใจกั บ รายจ า ย จึ ง ทํ า ให ร ถร ว ม ขสมก. ตองเรงขับรถรับผู โดยสารใหได มากสุดเทาที่จะทําได ถึงแมวา ทุกเดือนจะมีการประชุม กันระหวางสมาคมฯ บอรดของ ขสมก. กรมการขนสงทางบก และผูบริหาร ของกระทรวงคมนาคม เพื1อจะไดทราบ ถึงปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้น แตสิ่งที่ ตองการมากที่สุดคือการหาทางแก ไข ปญหา ซึ่งไมมีการพูดถึงเรื1องนี้กันเลย ในระหวาง ประชุม ส ว น เ รื1อ ง ที่ รมว.ว า การ กระทรวง คมนาคมจะหา ทางแกไข ปญหาของ ขสมก. รวมทั้ง รถเมล เ ครื1อ ง ยนต NGV เพื1อจะได ไมขาดทุนและ ทําใหประชาชนในกรุงเทพฯไดรับการ บริการที่ดีที่สุดนั้น เปนเรื1องที่ ไมเห็น ดวยเลย ควรจะเริม่ ทีร่ ถรวม ขสมก. กอน เพราะเปนผูท จี่ า ยคาสัมปทานให ขสมก. ซึ่งจะไดรับความเดือดรอนหรือไมก็มา จากกฎเกณฑของ ขสมก. เปนหลัก ซึ่ง ผูท ี่ไดรบั เคราะหหนักทีส่ ดุ คือ ประชาชน ผู ใชบริการในกรุงเทพฯ เพราะหากคน ขับมีฐานะดี การขับรถก็จะดีตาม แตหาก เงิ น ขาดมื อ ก็ จ ะเร ง ขั บ รถเพื1อ รั บ ผู โดยสารใหไดมากทีส่ ดุ ผูเ ดือดรอนสุดคือ ผู โดยสารนั่นเอง
สภาการขนสงทางบก ดวยการเปดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ทุกธุรกิจตางมองวาเปนผลดี ตองมีการขยายตลาดไดมากจากเดิมทีม่ เี พียงในประเทศเทานัน้ ตอไปเปนการ ขยายไปยังประเทศเพื1อนบาน จากกลุมลูกคาเดิมที่มี 65 ลานคน เพิ่มเปน 600 ลานคน รายไดที่เขามาตองมหาศาลแน ซึ่งในที่นี้ ไดรวมถึงกลุมขนสงทางบกดวย การขนสงสินคาทั้งอุปโภคและ บริโภค สิ่งกอสรางเริ่มที่จะมีรถขนสงเดินทางขามประเทศไปยังประเทศเปา หมายเพิ่มมากขึ้น แตมีขอ กําหนดวา ตองวิ่งในเสนทางเฉพาะที่ ไดขอไวเทานั้น ไมสามารถวิ่งนอกเสนทางได แตคงลืมไปแลววาบริษัทขนสงตางชาติจะมาเปนผูกําหนดเสนทางการ ขนสงในอาเซียนไดอยางสบาย เพราะสามารถถือหุนไดมากถึง 70% สามารถ ใชเงินทุนมหาศาลมาลงทุนเพื1อดึงผูวา จางใหมาอยูในกํามือ โดยมีจุดมุงหมาย หลักคือ ทําใหผปู ระกอบการขนสงทีเ่ ปนคนพืน้ บานไมมงี านทํา และไมมคี นงาน รวมถึงคนขับรถก็ไมมีดวย และในที่สุดก็ตองปดบริษัทไป ผูว า จางขนสงเองในชวงปแรกถึง 3 ปหลัง ก็จะมีคา จางทีถ่ กู มากจากบริษทั ขนสงตางชาติ มีการขนสงที่เปนระบบ เรียกวาทําโลจิสติกส ใหทุกอยางมี
BT#229_p18-21_Pro3.indd 18
คุ ณ ภาพ ที่ สํ า คั ญ คื อ คาจางถูกมาก แตเมื1อ 3 ปผานไป ไมมีบริษัท ขนส ง ที่ เ ป น คนพื้ น เมืองอีกตอไป บริษัท ขนส ง ก็ เ ป น ของต า ง ชาติทั้งหมด คาวาจาง ในการขนส ง ก็ จ ะสู ง ตามไปด ว ย เรี ย กว า เอาเงินทุนคืนมาใหเร็ว สุด และผูที่ ไดรับความเดือดรอนมากที่สุดก็คงจะเปนประชาชนในประเทศที่ ตองใชสนิ คาราคาแพง ดังนัน้ ทางรัฐบาลตองเปนหัวเรือหลักทีจ่ ะตองชวยชาติ ใหอยูรอด ปลูกฝงใหคนไทยรักคนไทย รูจักชวยเหลือซึ่งกันและกัน วาจางผู ขนสงที่เปนคนไทย อยาหลงงมงายและเลือกใชสินคาตางชาติ รวมถึงคนตาง ชาติที่จะสงผลรายใหกับตัวเอง
9/3/13 8:33 PM
GOSSIP • BUS&TRUCK 19
ปกษแรก • กันยายน 2556
ชุมทางขนสง ไม จ บไม สิ้ น สั ก ที กั บ ข า วคราว อุบัติเหตุของรถโดยสาร เรียกวากลบ กระแสเณรคํา สู ไม ไดแคมาดามเจนนี่ เทานัน้ เอง หลาย ๆ ครัง้ เขาก็ทาํ ใหผรู บั ผิดชอบปวดเศียรเวียนเกลา แมกระทั่ง จนบัดนี้ทางกรมการขนสงทางบกยัง ต อ งเรี ย กผู ป ระกอบการที่ เ กี่ ย วข อ ง เขาหารือไมเวนแตละอาทิตย
และที่เห็นไดชัดคือจากการที่ กรมการขนสงทางบกออกหนังสือเรียน เชิญผูป ระกอบรถโดยสารไมประจําทาง อู ตอตัวถัง เขารับทราบและหารือเรื1องหลัก เกณฑ ก ารขอความเห็ น ชอบตั ว ถั ง รถ โดยสารของแบบที่นั่ง จุดยึดที่นั่งและจุด ยึดเข็มขัดนิรภัย รวมถึงการกําหนดอายุ การใชงานรถโดยสารสาธารณะนัน้ มีผเู ขา ร ว มล น ห อ งประชุ ม ใหญ ข องกรมการ ขนสงทางบกเลยทีเดียว งานนี้มีผูเสนอ ความคิดเห็นมากมายและหนึง่ ในนัน้ ก็คอื คุ ณ ต อ ม คุ ณ ฉั ต รชั ย พิ ศ าลจํ า เริ ญ กรรมการผูจัดการ หางหุนสวนจํากัด เสริมยนต และ ประชาสัมพันธสมาคมผู ประกอบการรถขนสงทัว่ ไทย (สปข.) ได ขอยกมือขึ้นถามในประเด็นที่สงสัย เรื1อง คํ า ถามเราไม ข อพู ด ถึ ง แต เ รื1อ งมาดที่ องอาจ วาจาที่ ฉ ะฉาน ทํ า ให ค ณะ กรรมการสมาคมฯ บางทานแอบเปรยวา หรือนีจ่ ะเปนวาทีน่ ายกสมาคมฯ คนตอไป ❖❖❖
ตองขอกลาวอวยพรใหกบั เฮีย หยอย คุณวันชัย กรานแหยม กรรมการ ผูจัดการ หางหุนสวนจํากัด บางบัว ลิตเติ้ลทัวร ที่เพิ่งจะมีวัยยางเขาสูวัย ฉกรรจหมาด ๆ (ลอเลนนะคะ) ซึ่งแอบ ติดตามเฟสบุกก็เดินสายทําบุญเพื1อเปน ศิรมิ งคลกับตัวเองและครอบครัว แถมยัง นําบุญมาฝากเพื1อนพองในสมาคมฯ อีก ดวย จะวาไปก็แอบอิจฉาลูกสาวของเฮีย หยอยเหลือเกิน วางเปนไมไดตอ งลางรถ ใหลูกสาวตลอด พอถามวาแลวรถซอที่ บานใครลาง เฮียตอบวาเขาคารแครโลด อืม...อันนี้หมายความวาไงคะเฮีย ขอให สุขกายสุขใจ คิดหวังสิ่งใดสมปรารถนา มีกําลังใจตอสูกับธุรกิจรถโดยสารตอไป
นะคะ
❖❖❖ มี โ อกาสได เ ข า ร ว มประชุ ม ประจําเดือนของสหพันธการขนสงทาง บกแห ง ประเทศไทย ซึ่ ง ก็ ร วมทั้ ง 11 สมาคมและ 4 ชมรม ทีเ่ กีย่ วของดานการ ขนส ง ทางบกจากทั่ ว ประเทศ ดู จ าก สถานการณ ข าดแคลนของคนขั บ รถ บรรทุกแลวคอนขางจะสาหัสเอาการ ถา อยางรถโดยสารก็อาจจะขาดแคลนแยง กันไปดึงกันมาของแตละบริษัทซึ่งก็เปน เรื1อ งปกติ แต สํ า หรั บ รถบรรทุ ก ก็ ดึ ง เหมือนกัน แตวิธีการดึงคอนขางเรียกให นํ้าลายไหลพอสมควร นั่นคือ ขับรถ 10 ป ใหรถบรรทุก 1 คัน ก็เสมือนโครงการ เถาแกนอยของ คุณสมพงษ ฝกการคา ในอดีต และบริษัทยักษใหญที่จะทําแบบ นี้ ไดก็แนนอนตองเงินทุนหนามากเลยที เดี ย ว คนไทยทํ า ไม ไ ด เห็ น แบบนี้ ร ถ โดยสารก็ยงั รูส กึ วาโชคดีอยูห นอยนึงจริง ไหมคะ
นิปปอนเพนต จัดงานสัมมนาสีพนรถขนาดใหญ “นิปปอนอัลติมา”
บริษัท เอ็นพี ออโต รีฟนิช จํากัด ผูนําดานนวัตกรรมเทคโนโลยีสีสําหรับรถยนตภาย ใตแบรนด “นิปปอนเพนต” นําโดย คุณรุงโรจน เจริญอิทธิวงศ ผูจัดการฝายขาย จัดงาน สัมมนาสีพนรถขนาดใหญ “นิปปอนอัลติมา” รวมกับ บริษัท เอ็มแอนดบี โคตติ้ง จํากัด ให ความรูเ กีย่ วกับผลิตภัณฑสพี น รถบรรทุก รถโดยสารขนาดใหญ รถเพื1อการพาณิชยและเทคนิค การพนสีรถในทุกขั้นตอน แกชางพนสีในเขต จ.ราชบุรีและใกลเคียง โดยไดรับการตอบรับจาก เจาของอูและชางเขารวมงานในครั้งนี้เปนอยางดี
บอช ประเทศไทย รุกตลาดขยายชองทางธุรกิจ ขุมกําลังสําคัญอาเซียน
คุณปเตอร แวนดลิค กรรมการผูจัดการ บริษัท โรเบิรต บอช จํากัด (ประเทศไทย) (กลาง) รวมถายภาพกับผูบริหาร ในงานแถลงขาวนโยบายธุรกิจ สรุปผลป 2555 บอช ประเทศไทยมียอดขายสุทธิ 9,300 ลานบาท (222 ลานยูโร) เติบโตขึ้นรอยละ 5 จากการลงทุน ในตลาดใหม ๆ โดยไทยเปนหนึง่ ในกลุม ประเทศทีท่ าํ รายไดหลักของบอชในภูมภิ าคเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต โดยสัดสวนยอดขายมากกวารอยละ 30 ของยอดขายรวมภูมิภาค
เก็บตกบรรยากาศจากงาน ประชุมใหญสามัญประจําปของสมาคม ผูประกอบการรถขนสงทั่วไทย (สปข.) ระหวางที่มีการประชุมอยูนั้นหองขาง ๆ ก็กําลังจัดเตรียมใชเปนสถานที่ของการ จัดงานวิวาหของหนุม สาวคูห นึง่ ซึง่ ก็ตอ ง ยอมรับวาตกแตงซุมทางเดินไดสวยงาม จริง ๆ คะ สวยถึงขั้นวา เฮียเซ็น คุณ สิทธิชัย ธัญญาพิทักษ ผูบริหารระดับ สูง บริษัท กระจกเพชรมงคล จํากัด ขอ แอ็คชั่นตรงซุมวิวาห งานนี้สงสัยคงแอบ คิดการใหญอยากจัดงานแตงงานของตัว เองใหมเปนแนแท ❖❖❖
ปตท. คุมเขมมาตรฐานความปลอดภัย ผูรับเหมาขนสงทั่วประเทศ
คุณสรัญ รังคสิริ รองกรรมการผูจัดการใหญ หนวยธุรกิจนํ้ามัน บริษัท ปตท.จํากัด (มหาชน) เปนประธาน เปดการอบรม “แนวทางการบริหารจัดการรถขนสงอยางปลอดภัย”ให บริษัทผูประกอบการขนสงทั่วประเทศ เพื1อใหผูประกอบการขนสงใหความสําคัญและมีการ พัฒนาระบบบริหารจัดการความปลอดภัยในการขนสงเพื1อเปนเครื1องมือในการชวยลดอุบตั เิ หตุ ขั้นรายแรงใหเปนศูนย
❖❖❖
BT#229_p18-21_Pro3.indd 19
แวะพั ก สั ก นิ ด ข า มมาที่ ขาวสารของทางองคกรใหญ ๆ บางดีกวา เดี๋ยวจะนอยใจเอา เมื1อไมนานที่ผานมา พลตํารวจโท วิเชียรโชติ สุกโชกรัตน ผูช ว ยรัฐมนตรีประจํากระทรวงพลังงาน มอบโล ร างวั ล พิ เ ศษในพิ ธี ม อบรางวั ล โครงการ “ปมคุณภาพ ปลอดภัย นาใช บริการ” ของกรมธุรกิจพลังงานแก นาย ❖❖❖
BUS & TRUCK มอบของที่ระลึกในโอกาสเยี่ยมชมโรงงานผลิตรถโดยสาร Sunlong
นางสาวชนมจิรา ธรรมปยะรักษ Executive & Publishing BUS & TRUCK เปน ตัวแทนมอบของที่ระลึกใหกับ Mr. David Chan President Shanghai Sunlong Bus Co., Ltd ในโอกาสที่เปดโรงงาน Sunlong ใหคณะกรรมการสมาคมผูประกอบการรถขนสงทั่วไทย (สปข.) และผูสื1อขาวเขาเยี่ยมชมโรงงาน โดยโรงงานแหงนี้ตั้งอยูที่เมืองเซี่ยงไฮ ประเทศ สาธารณารัฐประชาชนจีน
9/3/13 8:33 PM
20 BUS&TRUCK • GOSSIP
ปกษแรก • กันยายน 2556
ฟูโซ จัดประชุมผูแทนจําหนายทั่วประเทศพรอมเปดตัว Super High Speed 380 แรงมา
นับวาปนี้เปนปแหงความสําเร็จของ ฟูโซจริง ๆ เลยทีเดียว เพราะนอกจาก จะมียอดขายอยางตอเนื1องแลวสิ่ ง ที่ทางบริษัทแมจะตองเรงดําเนินการ คือการจัดหาศูนยบริการหรือดีลเลอร เพื1อรองรับรถฟูโซในตลาด และด ว ยเหตุ นี้ เ องทางด า น บริ ษั ท ฟู โ ซ ทรั ค (ประเทศไทย) จัดกัด นําโดยหนุมไฟแรงอยาง คุณธนภัทร อิ น ทวิ พั น ธ รองประธานกรรมการ บริ ษั ท ฟู โ ซ ทรั ค (ประเทศไทย) จํากัด จึงไดจัดใหมีการประชุมผูจําหนายรถ บรรทุกฟูโซ ประจําครึ่งป 2556 และถือโอกาสนี้เปดตัวรถ บรรทุกหัวลากฟูโซเครื1องยนต 380 แรงมา รุน Super Great 380 high speed ซึ่งแนนอนวามีผูแทนจําหนายมิตซูบิชิฟูโซทั่วประเทศ เขารวมประชุมโดยพรอมเพรียงกัน ณ โรงแรม เซ็นทารา แกรนด มิราจ บีช รีสอรท พัทยา จ.ชลบุรี
ชวลิ ต พั น ธ ท อง ผู ช ว ยกรรมการ ผูจัดการใหญการตลาดขายปลีก หนวย ธุ ร กิ จ นํ้ า มั น บริ ษั ท ปตท. จํ า กั ด (มหาชน) ในโอกาสที่สถานีบริการนํ้ามัน ปตท. 59 แหงสามารถรักษาระดับเหรียญ ทองไดตดิ ตอ 3 ปขนึ้ ไป โดยในปนมี้ สี ถานี บริการนํ้ามัน ปตท. จํานวนทั้งสิ้น 603 แหงสามารถควารางวัลจากโครงการนีซ้ งึ่ นับเปนจํานวนมากที่สุดในประเทศ ถือ เปนเครื1องพิสูจนถึงความมุงมั่นพัฒนา คุณภาพผลิตภัณฑให ไดมาตรฐานสูงสุด
และดู แ ลประสิ ท ธิ ภ าพการให บ ริ ก าร อยางตอเนื1องเพื1อตอบสนองความพึง พอใจของผู บ ริ โ ภคอย า งดี ที่ สุ ด มาโดย ตลอด ขอแสดงความยินดีดวยนะคะ ❖❖❖ ตามที่ ก ารท อ งเที่ ย วแห ง ประเทศไทยไดจดั ใหมกี ารประกวดรางวัล อุ ต สาหกรรมท อ งเที่ ย วไทย ครั้ ง ที่ 9 ประจําป 2556 นั้น ในปนี้ตองขอแสดง ความยินดีสุดกับ ดร.วสุเชษฐ โสภณเสถียร กรรมการผูจัดการ บริษัท รัตนบราลี จํากัด ที่ ไดรับรางวัล “ดีเดน”
ประเภทรายการนําเที่ยวสําหรับนักทอง เที่ยวภายในประเทศ ติดตอกันเปนปที่ 2 ซึ่งแสดงใหเห็นวาเปนแบบอยางในการ สงเสริมและพัฒนาการทองเที่ยวในเชิง คุณภาพและสามารถแขงขันกับนานา ชาติในระดับสากลและสรางความนาเชื1อ ถือใหแกนกั ทองเทีย่ วทัง้ ชาวไทยและชาว ตางชาติ ขอแสดงความยินดีมา ณ โอกาส นี้ดวยคะ ❖❖❖ และดวยชวงนีจ ้ ะตองเดินทาง สอดรูสอดเห็นเรื1องรถโดยสารบอยก็มัก
จะไดเจอกับเจวิภา คุณวิภา ภูอัครนันท ผูจัดการ บริษัท ดํารงศิลป พารท ซีท เซ็นเตอร จํากัด เพราะวาในเรื1องของ การทดสอบจุดยึดเบาะของรถโดยสารนัน้ ทางกรมการขนสงทางบกก็ตอ งขอความ เห็นและความรวมมือกับ DRS ดังนั้นไป งานที่ไหนก็เจอเจวภิ าอยูบ อ ย ๆ แตถา พอ ใกลเสร็จงานหรือการประชุมเมื1อไหรชว ง นี้อยาหวังวาจะไดควงเจวิภาทานขาว เพราะแอบทราบวาชวงนี้ซุมเรียนลีลาศ อยูจ า ออกจังหวะชะ...ชะ...ชา...สเตปไมมี เพี้ยน กลัวก็แตวาเราจะไปออกสเตปที่ เดียวกันนะสิคะเจ ❖❖❖ ไดรับเกียรติให ไปรวมเขาฟง หารือเรื1องการออกแบบโครงสรางและ ตัวถังมาตรฐานของรถโดยสาร โดยคณะ อาจารยจากมหาวิทยาลัยพระจอมเกลา พระนครเหนือ ที่ ไดรับมอบหมายจาก กรมการขนสงทางบกใหเขามาดูแลใน ปกษแรก กันยายน 2556
BT#229_p18-21_Pro3.indd 20
9/2/13 11:01 PM
GOSSIP • BUS&TRUCK
ปกษแรก • กันยายน 2556 เรื1องนี้อยางฉับพลันและตอเนื1อง งานนี้ ก็ ไ ด เ ห็ น ความร ว มมื อ ของบรรดาท า น เจาของอูตอบานโปงและใกลเคียง รวม ถึงชางทีป่ ระกอบแชสซีสช ว งลาง ทีก่ เ็ ห็น ไปในทิศทางเดียวกันวาควรจะทําอยางไร ใหรถผานมาตรฐานโดยเฉพาะเรื1องของ การเทสเอียง แตดวยความสงสัยคะเลย อดถามทานอาจารยทมี่ าบรรยายไมไดวา ทางอาจารยรูหรือยังวากรมการขนสง ทางบกเขาจะกําหนดอายุรถโดยสาร ซึ่ง หากกําหนดอายุรถโดยสารรวมถึงรถทีจ่ ะ จดทะเบียนตองเปนรถใหม คําถามคือ มาตรฐานการออกแบบโครงสรางรถจด ประกอบจะไปยังไงตอไปละคะทาน งาน นี้ทางอาจารยก็คงตองใหรถจดประกอบ เปนแมแบบตอไปละคะ ❖❖❖ สุดทายของฉบับนี้ขอแสดง ความนับถือ ยกยอง และเชิดชูบคุ คลทาน นี้ เจเกียว คุณสุจินดา เชิดชัย เดินสาย ทุกเวทียิ่งกวานางงามเดินสายประกวด อีกคะ ที่ ไหนมีประชุมที่เกี่ยวของกับรถ โดยสารเจขอแจมตลอด ที่สําคัญแยงซีน ทุกคนไดอยางเด็ดขาด ซึ่งทุกครั้งที่เจ เกียวไป ทุกคนที่อยูในงานก็จะไดเห็น ฝปากกลาของคุณผูหญิงทานนี้ ที่กลา ตอกรกับผู ใหญในบานในเมือง กลาจะ เปนปากเปนเสียงใหกับผูประกอบ เจ ไม สนคําครหาคะ สนแควา “อยายกเลิกรถ 2 ชั้น ตองเห็นใจผูประกอบรถโดยสาร
21
กสิกรไทย สนับสนุนลูกคาอุตฯ จีน ปลอยกูผลิตยางชั้นนํา เฟสแรก 1,200 ลาน
เมืองไทยนะคะ คาโดยสารก็ถูกแสนถูก” ผูห ญิงคนไหนในเมืองไทยทีแ่ นมาเจอแม เกียวหนอยไมคะ แลวจะรูว า บารมีมนั ผิด กันคะ พบกันใหมฉบับหนาสวัสดีคะ
คุณบัณฑูร ลํ่าซํา ประธานกรรมการ ธนาคารกสิกรไทย และ คุณหวัง เฟง ประธาน กรรมการ บริษัท ซานตงหลิงหลงไทร จํากัด ลงนามในสัญญาใหการสนับสนุนทางการเงิน จํานวน 1,200 ลานบาท เพื1อลงทุนกอสรางโรงงานผลิตยางรถยนตที่นิคมฯ เหมราช ภายใต การดูแลทั้งดานการเงินและองคความรูทางธุรกิจแบบครบวงจร โดยซานตงหลิงหลงไทรถือ เปนผูนําในกลุมอุตสาหกรรมยางรถยนตใหญเปนอันดับ 3 ของจีนที่เขามาลงทุนในไทย ณ โรงแรมคอนราด เมื1อเร็ว ๆ นี้
ฤกษยาม-ยานยนต
นํามาฝาก ฤกษสําหรับผูที่ตองการออกรถปนี้
ฤกษประจําวันที่ 16-31 ตุลาคม 2556 วันทีง่ ดออกรถใหมคือ วันพุธ 16 วันอาทิตย 27 วันทีอ ่ อกรถใหมคือ วันศุกร 25 ที่มา : ปฎิทินโหรศาสตรไทย ป 2553 โดย : พ.อ. สุชาติ ศุภประเสรฐ
ไทย ซันฯ เปดตัว SHACMAN “M3000” ลุยตลาดไทย
คุณอัครเดช วงษพิทักษโรจน กรรมการผูจัดการ บริษัท ไทย ซัน อินเตอร แมชชีน จํากัด ในเครือวงษพิทักษ (ที่ 5 จากซาย) คุณอลงกรณ พลบุตร อดีตรัฐมนตรีชวยวาการ กระทรวงพาณิชย (ที่ 5 จากขวา) คุณหวัง หยาง รองกรรมการผูจัดการ บริษัท ไทย ซัน อินเตอร แมชชีน จํากัด พรอมแขกผูเกียรติอีกมากมาย รวมงานแถลงขาวและงานเลี้ยงเปด ตัวรถหัวลาก Shacman M3000 “Maximizing of the Great Dragon” สุดยอดยานยนต ณ โชวรูม อําเภอปากทอ จ.ราชบุรี
ลินฟอกซ เลือกใชนํ้ามันบางจาก
บริษทั ลินฟอกซ ทรานสปอรต (ประเทศไทย) จํากัด ลงนามในสัญญาระยะยาวเลือก ใชนํ้ามันคุณภาพสูงของบางจากฯ ขนสงสินคาใหกับซูเปอรสโตรรายใหญในเมืองไทยโดย Mr.James Allmand Country Manager ลินฟอกซฯ (ที่ 1 จากซาย) และ คุณอิทธิคุณ สีหโสภณ ผูอํานวยการสายตลาดอุตสาหกรรมและนํา้ มันหลอลื1น บริษทั บางจากฯ (มหาชน) (ที่ 3 จากซาย) และมี คุณยอดพจน วงศรกั มิตร รองกรรมการผูจ ดั การใหญ สายงานดานธุรกิจ การตลาด บางจากฯ (กลาง) เปนประธานในพิธี
กรมขนสงฯ ตอนรับ ผูบริหาร ก.พ.ร.
เมื1อไมนานที่ผานมา กรมการขนสงทางบก คุณวัฒนา พัทรชนม รองอธิบดีกรมการ ขนสงทางบก ใหการตอนรับ และมอบของทีร่ ะลึกแก คุณวิรยิ า เนตรนอย ผูอ าํ นวยกลุม พัฒนา นวัตกรรมองคกร สํานักงาน ก.พ.ร. ในโอกาสนําคณะผูบริหารระดับสูงในหนวยงานภาครัฐ ของประเทศสมาชิกอาเซียนเยี่ยมชมการใชเทคโนโลยีสารสนเทศในกระบวนการงานบริการ
BT#229_p18-21_Pro3.indd 21
9/2/13 11:04 PM
22 BUS&TRUCK • VISIT
ปกษแรก • กันยนยน 2556
แวะเวียน
M3000 นองใหมคาย “ไทยซัน” พรอมศูนยบริการขนาดใหญครบวงจร บริษัท ไทย ซัน อินเตอร แมชชีน จํากัด ในกลุมเครือวงศพิทักษ ผูนําเขา และทําตลาดยานยนตเพื1อการสงออก ภายใตแบรนด SHACMAN ไดมอง ภาพรวมของอุตสาหกรรมไทยในปนี้ยัง มีแนวโนมเติบโตที่ดี เนื1องจากประเทศ ไทยมีความไดเปรียบทางดานภูมศิ าสตร ทีเ่ ปนศูนยกลางโลจิสติกสดา นคมนาคม ขนสงสินคาทางบกไปยังประเทศเพื1อน บานในแถบอินโดจีน สงผลใหผปู ระกอบ การขนสงสินคามีความตองการใชยาน ยนตพาณิชยประเภทรถหัวลาก รองรับ การเติบโตทางดานธุรกิจขนสงสินคา สงผลใหภาพความตองการรถหัวลากใน ปนี้ถึง 10,000 คัน
เปดตัว M3000 เบากวาบรรทุกไดมากกวา
ทั้งนี้จึงเปดตัวนองใหมรถหัวลาก ของคาย SHACMAN รุน M3000 ซึ่ง เปนรถหัวลากคุณภาพทีผ่ ลิตจากประเทศ จีน ทีม่ ปี ระสบการณและความเชีย่ วชาญ ผลิ ต ยานยนต พ าณิ ช ย โดยได มี ก าร ออกแบบโครงสรางของรถหัวลาก ใหมี นํ้าหนักเบา หองโดยสารมีความสะดวก สบาย และมีใหเลือกทัง้ เครื1องยนต NGV มีกําลังตั้งแต 300 แรงมา 350 แรงมา และ 380 แรงม า ส ว นอี ก ทางเลื อ ก สําหรับผูป ระกอบการก็มเี ครื1องยนตดเี ซล ขนาด 336 แรงมา และ 375 แรงมา ดวย
สมรรถนะจุดเดนของ M3000 ไดมีการ ออกแบบและพัฒนารถหัวลากใหมีนํ้า หนักเบาขึ้นเหลือเพียง 9 ตัน ทําให สามารถเพิ่มนํ้าหนักบรรทุกไดเพิ่มขึ้น สามารถช ว ยเรื1อ งความคุ ม ค า ของผู ประกอบการไดเปนอยางดี
400 คัน 25 ดีลเลอร ทั่วไทยสิ้นปนี้
สําหรับการวางแผนในอนาคตอัน ใกลนี้ คาดวาจะมีตั วแทนจําหนายใน ประเทศไทยถึง 25 แหง สําหรับการ วางแผนนี้คาดวาจะมียอดการจําหนาย รถ SHACMAN ภายในประเทศสูงถึง 400 คันในสิ้นปนี้
ศูนยบริการ SHACMAN ขนาดใหญครบวงจร
โชวรมู และศูนยบริการขนาดใหญ ครบวงจรของ บริษัท ไทย ซัน อินเตอร แมชชีน จํากัด ที่ อ.ปากทอ จ.ราชบุรี นัน้ มีมลู คาการลงทุนไปทัง้ สิน้ 400 ลาน บาท บนพื้นขนาด 16 ไร พรอมให บริการงานซอมเบาและหนักทัง้ หมด 16 ชองซอม งานซอมเบาและบํารุงรักษา 8 คันตอวัน งานซอมหนัก 4 คันตอวัน การรับประกันของ SHACMAN อยูที่ 30 เดือน หรือ 200,000 กิโลเมตร การ รับประกันงานซอม 15 วัน หรือ 3,000 กิโลเมตร นอกจากนี้ในบริเวณศูนยบริการ ยังแยกเปนคลังอะไหลพรอมการันตีไม ตองรออะไหล บนพืน้ ที1่ 00 ตารางเมตร และคลั ง เก็ บ อะไหล ห มุ น เวี ย นช า อี ก 300 ตารางเมตร นอกจากนั้นยังเปน ตัวแทนจําหนายรถโมปนู แบรนด SANY และรถเพื1ออุตสาหกรรมการกอสราง ประเภทตาง ๆ อยางแบรนด XGMA ซึ่ง ไดนํ า เข า ไว ห ลากหลายรุ น เพื1อ ให ครอบคลุมความตองการ อีกทั้งลูกคา สามารถเขามาใชศูนยบริการนี้ ได
ตรวจสถานี
ชื่อบริษัท : บริษัท ไทย ซัน อินเตอร แมชชีน จํากัด สถานที่ : อ.ปากทอ จ.ราชบุรี ประเภทบริการ : โชวรูมและศูนยบริการขนาดใหญรถหัวลาก SHACMAN ผูแทนจําหนายรถโมปูน SANY และรถเพื่ออุตสาหกรรมการกอสรางประเภทตาง ๆ เชน XGMA ติดตอ : โทร.0-3273-4188
BT#229_p22-23_Pro3.indd 22
9/2/13 11:10 PM
SPECIAL REPORT
สปข.รวมตัวผูประกอบการรถโดยสารไมประจําทางจัดประชุมใหญ ถกปญหา “มาตรฐานรถเพื่อการทองเที่ยวมาถูกทางหรือยัง”
หากจะจํากันไดเมื1อไมนานทีผ่ า น มา ทางสมาคมผูป ระกอบการรถขนสง ทั่วไทย (สปข.) ไดจัดใหมีการประชุม ใหญสามัญประจําป 2556 ครั้งที่ 2 ขึ้น ที่ โรงแรมรามาการเดนส (ถ. วิภาวดี) กรุงเทพฯ ประเด็นหลักในวัน นั้นมาจากเหตุการณรถพวง 18 ลอ หลับในขามฝงมาชนรถโดยสาร 2 ชั้น ของ บขส. มีผูเสียชีวิต 19 ศพ ทําให หนวยงานตาง ๆ เรงออกมาตรการ เพื1อ ควบคุ ม รถโดยสารไทยอย า ง เฉียบพลัน
BT#229_p22-23_Pro3.indd 23
ประเด็นสําคัญคงหนีไมพนการจะ ยกเลิกรถโดยสาร 2 ชั้น เมืองไทย ทาง ดาน คุณชัชชาติ สิทธิพันธุ รัฐมนตรี
วาการกระทรวงคมนาคม ประธานใน การประชุม ไดแสดงเจตนารมณอยาง ชัดเจนวาไมมกี ารยกเลิกรถโดยสาร 2 ชัน้ อย า งแน น อน เพี ย งแต จ ะต อ งมา พิจารณากันอยางรอบคอบมากยิ่งขึ้นวา จะทําอยางไรใหรถโดยสารเกิดมาตรฐาน และความปลอดภัยสูงสุด ซึ่งก็นับเปน ความโชคดีของผูประกอบการกวา 300 คนที่ เ ข า มาร ว มประชุ ม ในวั น นั้ น เนื1อ งจากได รั บ ทราบมาตรการที่ ท าง หน ว ยงานโดยเฉพาะกรมการขนส ง ทางบกจะเรงออกระเบียบ ไมวาจะเปน เรื1อ งของโครงสร า งรถโดยสาร, การ กําหนดอายุรถโดยสาร รวมถึงจุดยึดเบาะ อีกทัง้ แนวทางตาง ๆ จากความเห็น
ของภาคนักวิชาการอีกดวย แน น อนว า ยั ง ไม จ บเพี ย งเท า นี้ เพราะปญหานี้เปนปญหาใหญที่สั่งสม กันมานาน ก็หวังเพียงแตวาภาครัฐบาล จะมีทางออกอยางจริงใจและเปนกลาง ผูประกอบการตลอดจนผูผลิตชิ้นสวน และอูตอจะใหความรวมมือในการหา ทางออก ทีจ่ ะเกิดประโยชนสงู สุดตอภาพ รวมของธุรกิจการทองเที่ยวของไทย ทั้ ง นี้ ค งต อ งฝากไปยั ง ดร. วสุเชษฐ โสภณเสถียร นายกสมาคม ผูป ระกอบการรถขนสงทัว่ ไทย (สปข.) ที่ จ ะเป น ผู ผ ลั ก ดั น มาตรฐานของรถ โดยสารไทยใหถูกทาง
9/2/13 11:10 PM
24 BUS&TRUCK • COMPARISON
ปกษแรก • กันยายน 2556
เปรียบเทียบรถเดน
หัวลากดีเซล ระยะทางไกล
A7 เรื่องระยะทางไมใชปญ
AUMAN แกรงแรงคุม บริษทั โฟตอน ทรัค (ประเทศไทย) จํากัด ตัวแทนจําหนายในประเทศไทยมา พรอมกับ FOTON หัวลาก 10 ลอ Auman BJ 4257เครื1องยนตดีเซล 375 แรงมา อีกหนึง่ ผลิตผลสุดยอดรถยนตหวั ลากจากประเทศสาธารณรัฐประชาชน จีน ใหมลา สุด ทนทานแกรงทุกสมรรถนะ ประหยัดพลังงานเปนเลิศ พรอมรองรับ การซอมบํารุงอยางชัดเจน ดวยการเปด โชวรูม รองรับลูกคาที่เพิ่มมากขึ้น
พละกําลังเครื่องยนต
Auman นี้เปนรุนใหมที่ ไดมีการ ปรับเปลี่ยนเพิ่มพลังสมรรถนะเรื1องการ ขนสงใหมีประสิทธิภาพทรงพลังมากขึ้น มาพร อ มเครื1อ งยนต ดี เ ซล FOTON BJ4257SMFJB-R2ZA01 ขนาด 10 ลอ สมรรถนะ 375 แรงมา เครื1องยนตรุน WP10.375 เทอรโบอินเตอรคูลเลอร 4 จังหวะ 6 สูบ เรียงตั้งแนวตรงระบาย ความรอนดวยนํ้า ระบบจายเชื้อเพลิง ควบคุมดวยคอมพิวเตอร ความจุกระบอก สูบ 9,726 ซีซี. กําลังสูงสุดอยูที่ 276 กิโล วัตต ที่ 2,200 รอบตอนาที แรงบิดสูงสุด 1,460 ที่ 1,400-1,600 รอบตอนาที ระบบ ไอเสียเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ยูโร 4 สามารถทําความเร็วได 106 กิโลเมตรตอ ชั่วโมง
BT#229_p24-25_Pro3.indd 24
มั่นใจทุกสถานการณ
มั่ น ใ จ ใ น ก า ร ก า ร ขั บ ขี่ อ ย า ง ปลอดภัยดวยระบบเบรกลมลวน Full air dual circuit สําหรับ FOTON Auman นั้นมีระบบเบรก ABS ชวยเสริมความ มั่นใจและปลอดภัยในการขนสงมากขึ้น เบรกมื อ เป น สปริ ง ที่ ห ม อ ลมเบรก กระทําที่เพลาหลังทั้งคูเบรกชวยเปน แบบไอเสีย (Exhaust Brake) Auman เลือกที่ใชคลัทชแบบแหง แผนเดียวที่ ควบคุมดวยไฮโดรลิคมีลมชวย สวนเรื1อง ของระบบเกียรนั้นเรื1องใชเกียรคุณภาพ รุน FAST 12JSD180TA 12 เกียรเดิน หนา แบบซินโครเมช
เพิ่มประสิทธิภาพในการขนสง
FOTON Auman เปนรถหัวลาก ขนาด 10 ลอที่มีประสิทธิภาพในการ ขนส ง เรื1อ งของช ว งล า งไม ต อ งกั ง วล ระบบเพลาหนาแบบไอบีม, รีเวอรสเอล เลียต สมรรถนะสูงสุด 7,500 กิโลกรัม เพลาหลังแบบลอยตัว(Full Floating) อัตราทดคูแ บบไฮปอยด สมรรถนะ (หนา +หลัง) 26,000 กิโลกรัม ระบบบังคับ เลี้ยวแบบลูกปนหมุนวนระบบเพาเวอร ชวยผอนแรงอัตราทด 26.2 เพื1อการ ขนสงใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น ระบบ กันสะเทือนหนาแบบแหนบแผนซอน
พรอมโชคอัพ ระบบกันสะเทือนหลังแบบ แหนบแผนซอน พรอมทรูเนียสเบส (ฐาน แหนบ)
รถเพื่อการพาณิชย
FOTON Auman รุนใหมนี้มีการ ออกแบบหัวเกงแบบเรียบแตลงตัว ตอง บอกวาถาเทียบกับรถจากประเทศจีนดวย กันแลวเรื1องหนาตาถือวาไมเปนรองใคร ทํ า ให เ ป น ตั ว เลื อ กด า นการขนส ง ใน ประเทศไทยไดอยางแนนอนรองรับระยะ ทางการขนสงดวยถังนํ้ามันขนาด 300 ลิตรนํ้า 420 ลิตร
บริ ษั ท สุ ข ศิ ริ มอเตอร จํ า กั ด ตัวแทนจําหนายในประเทศไทย มาพรอม กับ SINOTRUK รุน ใหมลา สุดกับ A7 พลัง เหนือกวาดวยหัวลาก 10 ลอ เครื1องยนต 380 แรงม า อี ก หนึ่ ง ผลิ ต ผลสุ ด ยอด รถยนตหัวลาก จากประเทศสาธรณรัฐ ประชาชนจีนใหมลา สุด ทนทานแกรงทุก สมรรถนะ สร า งสรรค คุ ณ ภาพยนตร
SPECIFICATION รายละเอียด ลักษณะ รุน เครื่องยนต แรงมาสูงสุด กําลังสูงสุด kW/rpm แรงบิดสูงสุด Nm/rpm ความเร็วสูงสุด กม./ชม. ความจุถังนํ้ามัน (ลิตร) มาตรฐานไอเสีย รายละเอียดเพิ่มเติม
FOTON
SINOTRUK รถหัวลาก DIESEL BJ4257SMFJB-R2ZA01 A7 WP10.375 WD615.96C 375 380 276/2,200 279/2,200 1,460/1,400-1,600 1,450/1,100-1,600 106 102 300+420 400 ยูโร 4 ยูโร 3
บริษัท โฟตอน ทรัค (ประเทศไทย) จํากัด โทร.0-2567-2882 บริษัท สุขศิริ มอเตอร จํากัด โทร.0-3633-9298
9/2/13 11:14 PM
SHOWROOM • BUS&TRUCK
ปกษแรก • กันยายน 2556
25
SHOWROOM
DAYUN CGC4253
บริษัท ดายุน ออโตโมบิล (ประเทศไทย) จํากัด มาพรอมรถหัวลากทรงพลังนองใหมของ คาย DAYUN รุน CGC4253 เครื1องยนต WP12NG380E40 ซึ่งเปนเครื1องยนต NGV 380 แรงมา ที่มีสมรรถนะแรงขึ้น เหมาะสําหรับงานหนัก 4 จังหวะ 6 สูบแถวเรียงระบายความรอน ดวยนํา้ พรอมเทอรโบอินเตอรคลู เลอร ควบคุมการจายเชือ้ เพลิงดวยระบบอิเล็กทรอนิกส ระบบ เกียร FAST FULLER 12 เกียร เดินหนาแบบซิงโครเมทนํา้ หนักเบาดวยเสือ้ เกียรแบบอลูมเิ นียม แตมีความแข็งแกรง ทนทาน มาตรฐานไอเสีย EURO4 ขับเคลื1อน 2 เพลาพรอมอินเตอรดิฟล็อค ระบบเบรคลมลวน 2 วงจรอิสระ พรอมระบบ ABS (WABCO) และติดตั้งเกียร PTO รายละเอียดเพิ่มเติม : บริษัท ดายุน ออโตโมบิล (ประเทศไทย) จํากัด โทร.0-2503-4668
Shacman M30 M3000 000
ชปญหา กรรมที่ดีเยี่ยม พรอมรองรับการซอม บํ า รุ ง อย า งชั ด เจน ด ว ยศู น ย บ ริ ก าร ครอบคลุมทั่วประเทศ
พละกําลังเครื่องยนต
A7 ใหมจากทาง SINOTRUK เปน เครื1องยนตดีเซล WD615.96C ขนาด 6 สูบ หลอเย็นดวยนํ้า ติดตั้งเทอรโบชารจเจอร และอิ น เตอร คู ล เลอร ไดเร็ ค อินเจ็คชัน่ รีดพลังสูงสุด 380 แรงมา 279 กิโลวัตต ที่ 2,200 รอบตอนาที แรงบิด สูงสุด 1,450 นิว-ตันเมตร ที่ 1,400-1,600 รอบตอนาที ความเร็วสูงสุด 102 กิโลเมตร ตอชัว่ โมง พรอมดวยระบบไอเสียเปนมิตร กับสิ่งแวดลอม ยูโร 3 ระบบเกียรซินโครเมส แบบ รุน ZF16S1950 เดินหนา 16 เกียรเดินหนา 2 เกียรถอยหลัง ระบบเผา ไหมหมดจด ไดเร็กอินเจ็คชั่น จายเชื้อ เพลิงประหยัดดวยระบบควบคุมอิเล็ค ทรอนิคคอนโทรลล
มั่นใจทุกสถานการณ
มั่ น ใ จ ใ น ก า ร ก า ร ขั บ ขี่ อ ย า ง ปลอดภัยดวยระบบเบรกหนาดิสกเบรก แบบลมวงจรอิสระ หนา-หลัง ใชแรงดัน ลมปลดโดยบั ง คั บ ที่ ล อ หลั ง เสริ ม ด ว ย ระบบเบรกไอเสีย มั่นใจดวยระบบเบรก กันลอล็อคตาย เมื1อขับขี่ในสภาพที่ถนน ไม เ อื้ อ อํ า นวยและสามารถป อ งกั น ล อ
BT#229_p24-25_Pro3.indd 25
หมุ น ฟรี ในสภาพทุ ก ผิ ว ถนนในขณะ ออกตัว พรอมคลัตชแบบจานแหงแผน เดียวกับคอยลสปริง ทํางานดวยระบบ ไฮโดรลิคและมีลมดันชวย ระบบพวง มาลัยทํางานดวยลูกปนหมุนวนรอบตัว
รถเพื่อการพาณิชย
A7 เปนสินคาใหมจากทาง บริษัท สุขศิริ มอเตอร จํากัด ตัวแทนจําหนายใน ประเทศไทย ที่พรอมลงสูตลาดรถใหญ อยางเต็มตัว ดวยรูปลักษณทที่ นั สมัยกวา ใคร มาพรอมตกแตงดีไซนที่เปลี่ยนใหม จากรุน เกาโดยสิน้ เชิง การตกแตงภายใน หองคนขับเลือกใชสแี บบทูโทนทีด่ หู รูหรา มากขึน้ เนนความสะดวกสบายและความ กวางขวางในหองโดยสาร ก า ร เ ข า ม า ข อ ง สิ น ค า ข อ ง SINOTRUK ที่เปนตัวตนของรถเพื1อการ พาณิชยนนั้ จากการเริม่ ทําตลาดมาอยาง ยากลําบากจนสามารถมัดใจลูกคาได ใน ที่สุด และเปนรถหัวลากจีนลําดับตน ๆ ในประเทศไทยที่ลูกคาเลือกใชเพื1อการ ขนสงแลวขณะนี้ ดวยความพรอมในเรื1อง การดูแลลูกคาไดอยางดี จึงเปนเรื1องที่ไม ยากอีกแลวสําหรับ บริษทั สุขศิริ มอเตอร จํ า กั ด สํ า หรั บ การวางอนาคตของ SINOTRUK ในประเทศไทยใหอยูคูเมือง ไทยตลอดไป
บริษัท ไทยซัซัน อินเตอร แมชชีน จํากัด ใในกลุ นกลุุมเครือวงศพิทักษ เปดตัวแลวรถหัวลาก สมรรถนะสูง M3000 00 มาพรอมเครืื1องยนต NGV G ทัั้งสามขนาดตัั้งแต 300 แรงมา 350 แรงมา และ 380 แรงมา และอีกทางเลือกสําหรับลูกคาที่ใชเชื้อเพลิงดีเซลมีสองขนาดเชนกัน 336 แรงมา และ 375 แรงมา สําหรับ Shacman M3000 ไดมีการออกแบบโครงสรางของรถหัว ลากใหมีนํ้าหนักเบาขึ้นเพียง 9 ตัน เพื1อที่ผูประกอบการสามารถบรรทุกไดเพิ่มมากขึ้น พรอม หองโดยสารมีความสะดวกสบาย รองรับการพัฒนาดานการขนสงในประเทศ พรอมขยาย ดีลเลอร 25 แหง ทั่วประเทศไทย รายละเอียดเพิ่มเติม : บริษัท ไทยซัน อินเตอร แมชชีน จํากัด โทร.0-3273-4186
The New ew ANTOS
The New ANTOS รถบรรทุกสมรรถนะสูงในแบบ ใ Cargo เพื1อการกระจายสินคาซึ่ง เปนอีกหนึ่งรุนในตระกูล Mercedes Benz Trucks ที่มีเปลี่ยนแปลงโฉมครั้งใหญดวยการดีไซน ในแตละรุนไดตื1นตาอยางมาก สําหรับรุนนี้จะอยูในกลุมที่ใชในงานกระจายสินคาสวนใหญ มา พรอมเครื1องยนตใหม 6 สูบ ที่มีการออกแบบใหมีความแข็งแกรงและยืดอายุการใชงานไดมาก ยิ่งขึ้น และมีกําลังตั้งแต 238 – 510 แรงมา เปนเกียร 12 สปด มีใหเลือกแบบ 16 สปด สําหรับ ความตองการของผูซื้อ สามารถบรรทุกไดตั้งแต 18 – 44 ตัน สมรรถนะที่ถูกพัฒนามาเพื1องาน หนักจึงหมดหวงเรื1องของประสิทธิภาพของชวงลาง ระบบเกียรเปนเพาเวอรชปิ ไดรบั ออกแบบ มาเพื1อให ใชงานงายขึ้น รายละเอียดเพิ่มเติม : www2.mercedes-benz.co.uk
9/2/13 11:14 PM
26 BUS&TRUCK • LOGISTICS FOCUS
ปกษแรก • กันยายน 2556 LOGISTICS FOCUS
การกาวสูความเปนประชาคม อาเซียนในอีก 2 ปขางหนา ถือเปน วาระสําคัญทีผ่ ปู ระกอบการขนสงไทย ควรตองศึกษาอยางละเอียดรอบคอบ เพราะหากขาดซึ่ ง ความรู ใ นเรื1อ งนี้ อยางดีแลว อาจทําใหธรุ กิจขนสงของ ไทยเกิดผลกระทบอยางไมคาดคิดได ป จ จุ บั น กรอบความร ว มมื อ อาเซียนไดเปดใหมีการเดินรถไป-กลับ ระหวางประเทศในกลุมอาเซียน 500 คัน ทีผ่ ปู ระกอบการไทยวิง่ ใหบริการใน เสนทางอีสท เวธส คอริดอร หรือ โครงการเสนทางแนวตะวันออก-ตะวัน ตก R9 จากจั ง หวั ด ตาก-พิ ษ ณุ โ ลก, มุกดาหาร-สหวันเขต, ลาว บาว-ทาเรือ ดานั ง แต เ ส น ทางดั ง กล า วไม ไ ด รั บ ความนิยม จึงมีแนวคิดทีจ่ ะปรับเปลีย่ น เส น ทางเดิ น รถใหม ม าเป น เส น ทาง ฮานอย-แหลมฉบัง แทน อยางไรก็ตาม ในอนาคตจะมีผู ประกอบการขนสงจากตางชาติเขามา ใหบริการเปนจํานวนมาก จึงตองมีการ แก ไข พ.ร.บ.เกี่ยวกับการเดินรถ ไมวา จะเปน ราง พ.ร.บ.การอํานวยความ สะดวกในการขนสงขามแดน พ.ศ. ….. /พ.ร.บ.การรับขนของทางถนนระหวาง ประเทศ พ.ศ. …..ซึ่ง พ.ร.บ.ทั้ง 2 ฉบับ ขณะนี้อยูในขั้นตอนการพิจารณาจาก คณะกรรมาธิการ คาดวาในอีก 6 เดือน จะประกาศใช และราง พ.ร.บ.การรับ ขนคนโดยสารและสั ม ภาระระหว า ง ประเทศ พ.ศ.…… อยูในขั้นตอนการ พิจารณาจากกฤษฎีกา คาดวาในอีก 1
BT#229_p26-27_Pro3.indd 26
ขนสงไทยควรระวัง
ปขา งหนาจะประกาศใช พรอมเพิม่ ความ รับผิดชอบตอความเสียหาย และมีการติด ตั้ง GPS เพื1อใหเกิดความเชื1อมั่นแกผู ใช บริการ ซึง่ ยอมรับวาหากเปดเสรีภาคการ ขนสงผูป ระกอบการขนสงขามแดนจะได รับผลกระทบมากที่สุด แตถือเปนเรื1องดี ตอธุรกิจขนสงสินคาเพราะจะไมเปนการ ผูกตลาดแตเพียงรายเดียว ทั้ ง นี้ ผู ป ระกอบการไทยจํ า เป น ตองเตรียมความพรอมในการเปดเสรี ขนสงใน 2556 นอกจากนี้ จะตองมีการ แกกฎหมายตามขอกําหนดของ AEC ที่ ระบุการเปดเสรีเพื1อใหตางชาติเขามา ดําเนินการในสวน 70% จากเดิม 49% ทั้งนี้ หากผูประกอบการไทยไมมีความ พร อ มอาจจะถู ก เจาะตลาดได ซึ่ ง ใน อนาคตการขนส ง ข า มแดนนั้ น จะมี ปริมาณมากขึ้น ฉะนั้นผู ประกอบการ ขนสงไทยตองเตรียมพรอม มีผวู เิ คราะหบริษทั ขนสงตางชาติที่ สามารถเขามาครอบครองตลาดขนสง และตลาดอาเซียนไดอยางงายดาย โดย ขนสงไทยไมสามารถปองกันได ซึ่งจะมี หลักการเขามาทําธุรกิจ 3 วิธีการ... ประการแรก การทําธุรกิจขนสง ตั้งแตตนทางจนถึงปลายทาง การขนสง สินคาจากตางประเทศเขามาในเมืองไทย โดยขนสงทัง้ ทางเรือ และทางอากาศ ตอ มาเปนการเขาดานศุลกากร การขนสง สินคาเขาโกดังสต็อกสินคา การสงตอให กับโรงงานดวยการขนสงทางบก โดย ขนสงใหถงึ มือของกลุม ลูกคาเปนขัน้ ตอน สุดทาย ผูว า จางตางชาติทตี่ งั้ บริษทั อยูใ น เมืองไทยจะประเมินคาจางจากตนทางถึง
ปลายทาง โดยจะไดรับราคาโปรโมชั่น พิเศษ ดวยเหตุนเี้ องจึงไมสามารถจะแบง ขัน้ ตอนการขนสงทางบกใหกบั ผูป ระกอบ การขนสงไทยไดเพราะผิดจรรยาบรรณ ดังนั้นงานขนสงของคนไทยก็จะลดนอย ลง ประการทีส่ อง การเขาถึงบริษทั แม ตัวอยางที่เห็นชัด ๆ คือ หางสรรพสินคา ชื1อ ดั ง แห ง หนึ่ ง ที่ มี บ ริ ษั ท แม อ ยู ใ น ประเทศอังกฤษ ไดวาจางใหขนสงไทย เป น ผู ข นส ง สิ น ค า ตั้ ง แต ต น ทางจนถึ ง ปลายทาง โดยการทํางานทุกอยางถือ เปนระดับสากล สามารถกําหนดระยะ เวลาที่แนนอน รวมถึงคุณภาพสินคาที่ เหมือนวาผลิตมาจากโรงงาน จึงไมมี บริ ษั ท ขนส ง จากชาติ ใ ดสามารถแย ง ลูกคาไปได แตดวยเปนบริษัทตางชาติ จึงมี บริษัทขนสงที่อยูในประเทศเดียวกันได บุกเขาไปหาผูบริหารของหางดังกลาว ถึงที่ทํางาน สามารถพูดคุยและเจรจาได อยางถูกคอ และไดรับการทําสัญญาวา จางขนสงสินคาใหกบั หางสรรพสินคาดัง กลาวนี้ในทุกประเทศ ดวยเหตุนี้เอง ผู
ประกอบการขนส ง ที่ เ ป น คนไทย ที่ แมวาจะมีศักยภาพดีแคไหนก็ไมไดรับ การตอสัญญาจากหางสรรพสินคาแหง นี้อีกตอไป ประการสุดทาย ลงทุนเพื1อลด ภาษี บริษัทขนสงตางชาติถือไดวามี ศักยภาพอยางมาก สามารถขยายสาขา ไปไดทกุ ประเทศ มีกาํ ไรมหาศาลแตการ เก็บภาษีของตางชาตินั้น หากยิ่งมีราย ไดสูงเทาไรก็จะมีภาษีกาวกระโดดมาก เทานั้น ดังนั้น วิธีการแก ไขปญหาคือ ตองมีการกระจายรายไดออกมา ไมวา จะเป น การบริ จ าค การลงทุ น เพิ่ ม ทั้ง ๆ ที่รูวาไมไดกําไรเลยก็ตาม เพราะ จะทําใหภาษีลดลงมาไดเปนอยางมาก นั่นเอง ดวยเหตุนเี้ อง ในภาคอีสานหลาย จั ง หวั ด ได มี บ ริ ษั ท ขนส ง ต า งชาติ ประกาศรั บ พนั ก งานทั้ ง ที่ ทํ า งานใน บริษัท ดูแลสินคา และพนักงานขับรถ ในอัตราที่สูงมาก สงผลใหพนักงาน ขนสงของคนไทยลาออกไปเปนจํานวน มาก และไมสามารถหาวิธีปองกันหรือ รั้งตัวไว ไดเลย เนื1องจากคาจางของ บริษัทใหมสูงกวารายไดของบริษัทเดิม มาก และนี่คือการลงทุนกอนใหญของ บริษัทตางชาติ เพื1อปดขนสงของคน ไทยที่มีรายไดเพียงแคพอประคองตัว เทานั้น
9/2/13 11:23 PM
MATERIAL HANDLING
สายพานลําเลียง
สายพานลําเลียงจากเอ็กซ โอ ไดผานการออกแบบที่ ทําใหเหมาะสมกับเครื1องอัดกอนกระดาษ เพื1อปรับการทํางาน ของเครื1องกับกระดาษใหเขากันไดเปนอยางดี ทัง้ นีร้ องรับดวย ระบบสแลทและโซ ซึง่ สามารถยืดอายุการใชงานรวมถึงความ นาเชื1อถือที่มากกวาสายพานแบบเดิม ๆ นอกจากนั้นยัง เปนการชวยหลีกเลี่ยงปญหาการติดตั้งและทดสอบ ดวยการ ออกแบบที่รองรับการรีไซเคิลกระดาษ และมีใหเลือกหลาก หลายขนาดตามความเหมาะสมกับการใชงานอีกดวย เพิ่มเติม : บจก.เอ็กซ โอ เชรดเดอร โทร. 038-348-250
BT#229_p26-27_Pro3.indd 27
เครื่องสแกนบารโคดไรสาย
เครื1องอานบารโคดสแกนเนอร ไรสาย WINMAX-W2 ที่มาพรอมกับ Wireless USB เพื1ออานบารโคดระยะไกล สูงสุดกวา 400 เมตร ยังคงประสิทธิภาพการอานไดชัดเจน โดยมีทั้งแบบมือถือและแบบตั้งโตะ ซึ่งจะเปนการทํางาน แบบการอานเลเซอร ใชมุมการสแกนเปน angle 60 องศา ใชงานไดดีในที่โลง เพราะสามารถรองรับการทํางานรวม กันกับโปรแกรมขายหนารานอยาง Point of Sales ไดทุก โปรแกรม จึงเหมาะสมกับงานมินิมารท รานอาหาร ราน ขายยา โรงงาน หองสมุด ฯลฯ เพิ่มเติม : บจก.อินเตอร ไซต (ประเทศไทย) โทร. 0-2192-1820
9/3/13 8:20 PM
28 BUS&TRUCK • LOGISTICS NEWS
ปกษแรก • กันยายน 2556 LOGISTICS NEWS
DHL เปดศูนยกระจายสินคาระดับโลก สนามบินซินซินเนติ นอรธเทิรนเคนทักกี
ดี เ อชแอล เป ด ศู น ย ก ระจาย สินคาประจําภูมภิ าคอเมริกาที่ ไดปรับ ขยายใหม ณ สนามบินซินซินเนติ นอรธเทิรนเคนทักกี (ซีวีจี) ดวยงบ ลงทุนสูงถึง 105 ลานเหรียญสหรัฐ เพื1อตอบโจทยความตองการขนสง สินคาและพัสดุระหวางประเทศของ
บริ ษั ท ข า มชาติ ข นาดใหญ แ ละธุ ร กิ จ ขนาดเล็ก ศู น ยกระจายสนคาแหงนตดตง ย ก ระจายสิ น ค า แห ง นี้ ติ ด ตั้ ง ระบบคัดแยกสินคาและพัสดุุใหม ขนาด 1180,000 80,000 ตตารางฟุ ารางฟุตททีี่ไดดรับกการออกแบบ ารออกแบบ
ใหมีสมรรถนะรองรับการจัดสงสินคา ดวนขนาดใหญขนึ้ ขยายลานจอดดานทิศ ใตเพื1อรองรับเครื1องบินขนาดลําตัวกวาง เพิ่มขึ้น สรางอาคารพนักงาน-นักบิน และยกระดับระบบสารสนเทศใหมทวั่ ทัง้ ศูนยฯ คุณแฟรงค แอพเพล ประธาน คณะกรรมการฝ า ยบริ ห ารและ ประธานเจาหนาที่บริหาร (CEO) ดอยช โพสต ดีเอชแอล กลาววา “การเปดศูนยกระจายสินคาที่ สนามบินซีวีจีดังกลาว นับ เป น อี ก หนึ่ ง ความสํ า เร็ จ ของดีเอชแอลที่มุงขยาย เครือขายการขนสงดวน ระหวางประเทศมาอยาง ตอเนื1อง ดีเอชแอลเติบโต อยางไมหยุดยั้ง เดินหนา สรางอนาคตที่แข็งแกรง และให บ ริ ก ารสนั บ สนุ น ด า นโลจิ ส ติ ก ส เ พื1อ ขั บ เคลื1อนบริษัทตาง ๆ ใน สหรัฐอเมริกาใหประสบ
ความสําเร็จทั่วโลก” สําหรับศูนยกระจายสินคาซีวีจี ใหมระดับโลกดังกลาว ถือเปนหัวใจ สําคัญของเครือขายการขนสงสินคา ของดีเอชแอลในสหรัฐอเมริกา โดยมี เที่ ย วบิ น รั บ ส ง สิ น ค า และพั ส ดุ จ าก ลู ก ค า ในกว า 220 ประเทศ และ อาณาเขตทั่ ว โลกไปยั ง ทุ ก พื้ น ที่ ใ น สหรั ฐ อเมริ ก า นอกเหนื อ จากศู น ย กระจายสินคาระดับโลกในฮองกงและ เยอรมนี ศูนยกระจายสินคาซีวีจีเปน อีกหนึ่งแรงขับเคลื1อนใหระบบเครือ ขายการขนสงขามทวีปของดีเอชแอล ใหมคี วามสมบูรณและแข็งแกรงยิง่ ขึน้ คุณสตีเฟน เฟนวิค ประธานเจา หนาที่บริหาร ดีเอชแอล เอกซเพรส ภูมิภาคอเมริกา กลาววา การลงทุน ขยายศูนยกระจายสินคาซีวีจีดังกลาว ชวยใหดเี อชแอลสามารถสนับสนุนการ ค า ระหว า งประเทศของธุ ร กิ จ ขนาด กลางและเล็ ก ทั่ ว โลกที่ มี ก ารขยาย ตัวอยางตอเนื1องไดอยางรวดเร็ว และ มีประสิทธิภาพมากขึน้ ตอกยํา้ ปณิธาน ข อ ง ดี เ อ ช แ อ ล ที่ มุ ง เ ป น แ ห ล ง ทรัพยากรอันทรงคุณคาเพื1อสนับสนุน ภาคธุรกิจเอสเอ็มอีใหเติบโตและขยาย สูตลาดโลกไดมากขึ้น
ไทคอน ปลื้มผลประกอบการครึ่งปแรก กําไร 421 ล.บาท
บริษัท ไทคอน โลจิสติคส พารค จํากัด หรือ TPARK ประกาศผลประกอบการครึ่งป แรก 2556 เปนไปตามเปา มีกําไรสุทธิรวม 421 ลานบาท เผยป 2556 นี้ ไทคอนไดจัดสรรงบ ประมาณ 12,000 ลานบาท ซื้อที่ดินพรอมกับสรางโรงงานและคลังสินคาเพิ่ม มั่นใจวาจะ สามารถขยายพื้นที่โรงงานและคลังสินคาใหเชาใหมเพิ่มขึ้นรวมเปน 400,000 ตารางเมตร ภายในสิ้นป 2556 หรือเพิ่มขึ้นอีกรอยละ 30 จากพื้นที่ใหเชารวม ณ สิ้นป 2555 ตามเปา หมายที่ตั้งไว
CEVA Holding LLC ประกาศผลประกอบการ Q2
CEVA Holdings LLC หรือ CEVA ประกาศผลประกอบการในชวงไตรมาส 2 ซึ่งสิ้น สุดเมื1อ 30 มิถุนายน 2556 กําไรกอนดอกเบี้ย ภาษี คาเสื1อม และคาจัดจําหนาย (EBITDA) เพิม่ ขึน้ เปน 80 ลานดอลลารสหรัฐเมื1อเทียบกับไตรมาสทีแ่ ลว การเพิม่ ทุนทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลง ทําใหบัญชีงบดุลแข็งแกรงขึ้น สามารถลดหนี้สินไปได 1.6 พันลานดอลลารสหรัฐ ซึ่งสะทอน ใหเห็นถึงพัฒนาการที่ดีในดานการปฏิบัติงาน รวมถึงความสําเร็จจากแผนการลดคาใชจายที่ ไดมีการประกาศใช ไปกอนหนานี้
BT#229_p28_Pro1.indd 28
9/2/13 10:22 PM
BT#229_p29_Pro1.ai
1
9/2/13
10:22 PM
30 BUS&TRUCK • STATISTIC UPDATE
ปกษแรก • กันยายน 2556
STATISTIC UPDATE
จํานวนรถบรรทุกและรถโดยสาร จดทําทะเบียนใหม (ปายแดง) ป 2555 ฉบับนี้ อัพเดทอันสักหนอยกับตัวเลขของจํานวนรถจดทะเบียนใหม (ปาย แดง) ในป 2555 วาในปที่ผานมา ตลาดรถบรรทุกและรถโดยสารของบานเราใน แตละยีห่ อ เปนอยางไรกันบาง เผื1อจะมีแบรนดที่ใครหลายคนกําลังอยากจะจับจอง เปนเจาของกันบาง เริ่มจากทางดานของรถโดยสารกันกอน ใน ป 2555 ผูที่ครองอันดับสูงสุดของ ชารตนั้นคือ TOYOTA ซึ่งมียอดจดทะเบียนใหมมากถึง 3,414 คัน แตยังมียอดลดลง จากป 2554 ที่ทําไวสูงถึง 4,895 คัน โดยถือวาลดลงรอยละ 30.26 อันดับตอมาเปน ของรถสัญชาติจีนที่ดูเหมือนกําลังมาแรงในตลาดรถโดยสารอยาง SUNLONG ที่ใน ป 2555 ทํายอดไวได 542 คันจากเดิมเมื1อปที่แลวทําได 376 คัน ซึ่งมีอัตราเพิ่มขึ้น รอยละ 44.15 มาถึงอันดับ 3 อยาง ISUZU ที่ทํายอดป 2555 ไวที่ 479 คัน จากเมื1อ ปกอนทําไว 441 คัน ก็ยังเปนตัวเลขที่เพิ่มขึ้นรอยละ 8.62 ลําดับที่ 4 ตกเปนของ
HINO กับตัวเลขป 2555 ที่ 147 คัน ลดลงจากเดิมรอยละ 6.37 เพราะปกอนหนา ทําตัวเลขไวที่ 157 คัน สุดทายกับ SCANIA ที่ยอดเพิ่มขึ้นถึงรอยละ 27.68 โดยในป 2555 มีจํานวน 148 คัน เพิ่มจากปกอ นหนาที่มียอด 112 คัน มาดูทรี่ ถบรรทุกกันบาง สําหรับคายทีท่ าํ ตัวเลขจดทะเบียนรถใหมมากทีส่ ดุ ก็คอื HINO กับยอดป 2555 จํานวน 11,645 คัน จากปกอนหนา 9,996 คัน เพิ่มขึ้นรอยละ 16.50 ตอมาคือ ISUZU ที่ป 2555 ทิ้งทวนกับยอด 10,905 คัน ลดลงจากปกอนหนา ไมมากที่ 10,996 คัน คิดเปนรอยละ 0.83 ตามมาดวย MITSUBISHI FUSO กับยอด ป 2555 ที่ 953 คัน จากเดิมที่ 389 คัน เพิม่ ขึน้ ถึงรอยละ 144.99 กันทีเดียว รัง้ สุดทาย กับ SINOTRUK ที่ทํายอดประจําป 2555 ที่ 878 คัน เพิ่มจากปกอนหนาที่มี 639 คัน คิดเปนรอยละ 37.40
รถโดยสาร ลําดับ
ยี่หอรถ
1
TOYOTA
2
จํานวนรถ (คัน)
เพิ่ม, ลด
ป 2555
ป 2554
(รอยละ)
3,414
4,895
(30.26)
SUNLONG
542
376
44.15
3
ISUZU
479
441
8.62
4
HINO
147
157
(6.37)
5
SCANIA
143
112
27.68
อื่น ๆ
642
712
(9.83)
รวม
5,367
6,693
(19.81)
รถบรรทุก ลําดับ
ยี่หอรถ
จํานวนรถ (คัน)
เพิ่ม, ลด
ป 2555
ป 2554
(รอยละ)
1
พวง/กึ่งพวง
12,824
10,753
19.26
2
HINO
11,645
9,996
16.50
3
ISUZU
10,905
10,996
(0.83)
4
FUSO
953
389
144.99
5
SINOTRUK
878
639
37.40
อื่น ๆ
3,699
1,580
134.11
รวม
40,904
34,353
19.07
* ขอมูลจากกรมการขนสงทางบก R1_BT#229_p30-31_Pro1.indd 30
9/3/13 8:56 PM
BT#229_p30-31_Pro1.indd 31
9/2/13 10:29 PM
32 BUS&TRUCK • TRUCK AEC
ปกษแรก • กันยายน 2556
TRUCK AEC
เสนทาง R3A เชื่อมอาเซียนเขาดวยกัน ห า ก มี ก า ร เ ป น ป ร ะ ช า ค ม เศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC ในป 2558 การขนสงสินคา หรือผู โดยสาร จะเปนแบบระบบเปดอยางเสรี แตก็ มี ข อ แม ที่ เ ป น ไปตามกฎการเจรจา ระหวางประเทศ อยางไรก็ดี การขาม ไปยังกลุม ชาติอาเซียนจําเปนตองรวม มีมาตรฐานเดียวกัน ไมวาจะเปนคา ธรรมเนี ย มจุ ด ผ า นแดน กฎจราจร รวมทัง้ กฎระเบียบตาง ๆ ในการขนสง ทางถนน แนนอนวา การรวมตัวเปน AEC คงไมสัมฤทธิ์ผล ถาระบบการขนสง หรือโลจิสติกส ไมเชื1อมโยงกัน คือ ถา ผลิ ต สิ น ค า ชิ้ น หนึ่ ง จะเอาไปขายใน เวียดนาม ตองโดยสารเครื1องบินอยาง เดียวก็คง “ทุนหายกําไรหด” เปรียบ เสมือนวาเอาเงินไปจายคาเครื1องบินจน เกลี้ยง ปฏิเ สธไม ไ ดวา ผูส งออกส วน ใหญนยิ มใชการขนสงทางเรือเปนหลัก เพราะเสียคาขนสงนอย แตขอเสียคือ การขนสงทางเรือใชเวลาเดินทางนาน
BT#229_p32-33_Pro1.indd 32
หลายวัน ไมเหมาะกับสินคาบางชนิด เชน อาหาร ผัก ผลไม ฯลฯ “การขนสงทาง บก” จึงเปนวิธีที่นาสนใจมากที่สุด ตองยอมรับวา คาใชจายในการ ขนสงทางถนนอยูในระดับ “ปานกลาง” ระยะเวลาการสงไปยังลูกคา “พอดิบ พอดี” ไมมากไป ไมนอยไป ปจจุบันมีเสนทางสายหนึ่งซึ่งนา สนใจมาก ชื1อวา เสนทาง “R3A” ซึง่ เสน ทางนี้ เ ชื1อ มจากประเทศไทย (อํ า เภอ เชียงของ จังหวัดเชียงราย) เขาบานหวย ทราย แขวงบอแกว (สปป. ลาว) ทะลุสิบ สองปนนา เชียงรุง คุนหมิง (ประเทศ สาธารณรัฐประชาชนจีน) สภาพถนน หนทางตองบอกวาคอนขางดี เพราะรถ ยังวิ่งกันไมมาก มีเพียงบางชวงที่เปน หลุมเปนบอ เนื1องจากผูร บั เหมา สะเพรา ใชวัสดุกอสรางคุณภาพตํ่า
เหตุเพราะถนนเสนนี้คอนขางยาว จึงมีผรู ับเหมาหลายบริษัทแบงสัมปทาน กันไป สภาพของถนนจึงขึ้นอยูกับจรรยา บรรณของผูรับเหมา แต โดยรวมตอง บอกว า ดี สาเหตุ ที่ ถ นนเส น นี้ ถู ก คาด หมายใหเปนถนนเศรษฐกิจสายสําคัญ เพราะรถบรรทุกสามารถขนสินคาวิง่ ผาน จากประเทศไทยไปถึงประเทศจีน ความโดดเดนของ R3A นอกจาก จะเปนเสนทางการขนสงสินคาแลว ยัง เปนเสนทางทองเที่ยวเชิงอนุรักษที่นา สนใจ เพราะตลอดสองขางทางเต็มไป ดวยวิถีชีวิตของคนทองถิ่น จึงไมแปลกที่ จะมีนักลงทุนจากสิงคโปร เกาหลี ไป กวานซือ้ ทีด่ นิ ใน สปป.ลาว สรางโรงแรม รีสอรต สนาม กอลฟ สําหรับพักแรม รวม ถึ ง จุ ด พั ก ของสิ ง ห ร ถบรรทุ ก ที่ เ หน็ ด เหนื1อยเมื1อยลา ในทางกลับกัน หากเดินทางมาจาก จีนโดยเสนทาง R3A ผาน สปป. ลาว เขา อํ า เภอเชี ย งของ จั ง หวั ด เชี ย งราย ก็ สามารถผานประเทศไทย ลองใตออก มาเลเซีย สิงคโปร อินโดนีเซีย ฯลฯ จากความเปนจริงรัฐบาลไทย-จีน ดํ า เนิ น การเรื1อ งนี้ ร ว มกั น มานานแล ว ออกเงินคนละครึ่งหรือประเทศละ 812 ลานบาท กอสรางสะพานขามแมนํ้าโขง บริเวณอาเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย กับบานหวยทราย แขวงบอแกว สปป. ลาว โดยใชงบประมาณทั้งสิ้น 1.6 พัน
ลานบาท ตามกําหนดนาจะเสร็จในป 2552 แตสถานการณการเมืองไทยไม นิง่ กรอบเวลาเลยขยายมาเรื1อย ๆ คาด วานาจะเสร็จในป 2556 ยังไรก็ตาม มีการคาดการณ ไววา โครงการจะแลวเสร็จทันเปด AEC ใน ป 2558 แนนอน ขณะนีต้ อมอวางเสร็จ เรียบรอยแลว เหลือเพียงวางโครง กระดูก ปูพื้นถนน ดึงโครงสลิง ก็เปด ใชไดเลย ซึง่ จะทําใหถนน R3A สมบูรณ แบบ 100% แต ต อนนี้ ข ณะที่ ส ะพานยั ง ไม แลวเสร็จ วิธีการนํารถขามแมนํ้าโขง คือการขับลงเรือ แลวไปขึ้นที่ฝงลาว ขับตอไปไดเลย หากสะพานขามแมนาํ้ โขงเชียงของหวยทรายแลวเสร็จ จะถือ เปนสะพานขามแมนาํ้ โขงแหงที่ 4 จาก กอนหนานี้ที่มีสะพานขามโขงแลว 3 แหง ไดแก หนองคาย-เวียงจันทน, มุ ก ดาหาร-สุ ว รรณเขต, นครพนมคํามวน อานิสงสของสะพานขามโขง แหงนีท้ าํ ใหทดี่ นิ ในอาเภอเชียงของดีด ขึ้นสูงหลายเทาตัว จากเดิมไรละไมกี่ หมื1นปรับขึ้นเปนแสน บางแหงแตะ หลักลาน ทัง้ ทีใ่ นอดีตแจกฟรียงั ไมคอ ย มีใครอยากได สรุปก็คือเสนทาง R3A คือเสน ทางขนสงสินคา และเสนทางทองเทีย่ ว ระหวางประเทศที่สมบูรณแบบที่สุด เสนหนึ่ง ในการเชื1อมตอชาติอาเซียน เข า ด ว ยกั น และถื อ เป น เส น ทาง เศรษฐกิจสายสําคัญอยางแทจริง
9/2/13 10:38 PM
SET UP • BUS&TRUCK
ปกษแรก • กันยายน 2556
33
ติดตั้งลําเลียง
บทบาทของ TMS ตอธุรกิจขนสง ปญหาเรื1องของราคานํ้ามัน ยังถือเปนเรื1อง หนักใจของเหลาผูประกอบการ เนื1องจากกราฟของ ราคาดูเหมือนจะมีแตพุงสูงขึ้น แตคาขนสงยังหยุด อยูกับที่ และดวยธุรกิจทั้งหลายยังมี ในสวนของ ตนทุนและการแขงขัน เรียกวาใครทุนหนาก็รอดใคร ทุนออนก็ตองหลีกทาง! ดังนั้นดูเหมือนวาผูประกอบการหลายรายจะผัน กลยุทธทางการตลาดจากการตอสูกันที่ราคา ซึ่งดู เหมือนวายิง่ กดราคาใหตาํ่ ลงเพื1อเรียกลูกคา คําวากําไร ก็ยิ่งถอยหางออกไปทุกที “คุณภาพการขนสง” จึงเริ่ม เขามามีบทบาทเพิ่มมากขึ้น การควบคุมเวลาในการ ขนสงเพื1อควบคุมตนทุน การใชประโยชนจากการ บรรทุกสินคาอยางเต็มที่ ความสามารถในการเขาถึง สินคาและมอบความโปรงใสในการติดตามสถานะของ สินคาใหกบั ลูกคาลวนเปนสิง่ จําเปนสําหรับธุรกิจขนสง ซึ่งจะตองอาศัยระบบ IT ที่ทันสมัย ซึ่งเพียบพรอมไป ดวยเทคโนโลยีการจัดการ เพื1อตอบสนองการทํางาน ทั้งหมดขององคกร ติ ด ตั้ ง ลํ า เลี ย งฉบั บ นี้ จึ ง จะขอแนะนํ า ระบบ End-to-End Transportation Management System (Dynamic TMS) หรือ ระบบการจัดการการขนสง ตั้งแตตนนํ้าถึงปลายนํ้า จากบริษัท ไดนามิค ไอที โซลูชั่นส จํากัด ซึ่งจะชวยในการบริหารจัดการในภาค สวนของธุรกิจทั้งหมด ตั้งแตการจองรถจนถึงงบดุล รวมถึงกิจกรรมตาง ๆ ที่เกิดขึ้นธุรกิจขนสง เชน การ ระบุตําแหนงยานพาหนะ, การจองสินคาฝากขาย, แผนการเดินทาง, การติดตาม ตําแหนงหรือสถานะของสินคา (Tracking), สัญญาระหวางลูกคาและผูขาย, การ จัดการคําสัง่ และใบขน, ระบบบัญชีออนไลน, ระบบใบแจงหนีแ้ ละการชําระเงิน เพื1อ การรักษาความปลอดภัย และถือวาเปนระบบที่สมบูรณแบบในขณะนี้ เพราะยัง สามารถใชงานรวมกับระบบการติดตามและโซลูชั่นอื1นๆ เชน GPS, RFID หรือบาร โคดไดอีกดวย
จุดเดนของ TMS
• ระบบการขอใชรถและระบุตําแหนง • ระบบการจอง • ระบบการถายสินคา • ระบบการสงมอบ • ระบบการจัดการใบขน • สามารถใชงานรวมกับโปรแกรม ERP อื่น ๆ ที่ทานใชงานอยู • ระบบการเรียกเก็บเงิน (Billing) • สัญญาจัดจาง • ระบบติดตามจาก GPS (Track & Trace)
เมื1อทราบถึงลักษณะคราว ๆ และจุดเดนของระบบ TMS กันแลว ก็พอ จะเห็นความเปนระบบระเบียบในการดําเนินธุรกิจกันเพิม่ มากขึน้ แตในครัง้ หนาของติดตัง้ ลําเลียง เราจะพาไปพูดคุยถึงประโยชนของระบบ TMS ที่จะเกิดขึ้นตอธุรกิจ รวม ไปถึงการทํางานรวมกับฟงกชันการขนสงดานอื1น ๆ เพื1อความชัดเจนที่วา TMS จะ ชวยสรางกําไรใหกับธุรกิจภาคการขนสงไดอยางไร
R1_BT#229_p32-33_Pro1.indd 33
9/3/13 9:00 PM
34 BUS&TRUCK • LOGISTICS ดร.สิทธิชัย ฝรั่งทอง อาจารยประจําบัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเซาธอีสทบางกอก
ปกษแรก • กันยายน 2556 LOGISTICS
การพัฒนาบุคลากรเพื่อปรับปรุงคุณภาพ ของบริการดานโลจิสติกส (2) เปนการสรางทีมใหพนักงานกลุม ขนาดเล็กทํางานรวมกันในการ สรางสวนประกอบที่สําคัญของผลิตภัณฑหรือตัวผลิตภัณฑ ทั้งหมด โดยสมาชิกในกลุมจะเรียนรูขั้นตอนในการผลิตทั้งหมด และสามารถหมุนเวียนสลับกันทํางานหนาที่ตาง ๆ บับนีก้ จ็ ะยังคงเปนเรื1อง การพัฒนาบุคลากรเพื1อ ปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภาพของ บริ ก ารด า นโลจิ ส ติ ก ส ซึ่งความเดิมจากฉบับที่ แล ว ได ก ล า วว า สํ า หรั บ การพั ฒ นา บุ ค ลากรโดยเฉพาะเรื1อ งการจั ด การ คุณภาพและคุณภาพการบริการโลจิสติกสนั้น จะตองคํานึงถึงเรื1องหลัก 4 เรื1อง ซึง่ ไดกลาวไปแลว 3 เรื1องแลว คือ 1. การทุมงบประมาณลงทุนกับการ พัฒนาบุคลากร 2. การเปลี่ยนทัศนคติ ของบุคลากร 3.การปรับทัศนคติของผู ขายปจจัยการผลิตภายนอก สําหรับฉบับนีจ้ ะตอกลาวถึงเรื1องที่ 4. การปรับวัฒนธรรมองคกรเพื1อสราง ที ม คุ ณ ภาพ โดยภายหลั ง จากการฝ ก อบรมเรียนรูด า นการจัดการคุณภาพการ จัดการโลจิสติกสจนเปนที่รับทราบและ เขาใจในการปฏิบัติตามขอกําหนดตาม มาตรฐาน การจัดทําเอกสารตาง ๆ การ จัดเตรียมโครงสรางพื้นฐานตาง ๆ ที่ จําเปนตอการดําเนินระบบแลว ตอไปจะ เปนการปรับวัฒนธรรมองคกรเพื1อสราง ทีมคุณภาพ ซึ่งจะพิจารณา 3 ประเด็น หลักคือ 1. วัฒนธรรมการดําเนินงานของ องคกร 2. รูปแบบการบริหารงานของ องคกร และ 3. วีธีคิดของบุคลากรใน องคกร โดยที่ทั้ง 3 ประเด็นจะตองถูก ถายทอดลงในระเบียบปฏิบตั ใิ นแตละกิจ กรรมโลจิสติกสขององคกร โดยเฉพาะที่ สําคัญก็คือระเบียบปฏิบัติตาง ๆ จะตอง จัดทําโดยผูที่รับผิดชอบในแตละแผนก หรื อ แต ล ะฝ า ยขององค ก ร ซึ่ ง การ ปรับปรุงคุณภาพขององคกรควรสราง วัฒนธรรมคุณภาพ และปรับบทบาทของ พนักงานเขาสูว งกลมคุณภาพ (Plan Do Check Action) รวมถึ ง ที ม ปรั บ ปรุ ง กระบวนการ ซึ่งเปนระบบที่ทุกภาคสวน ตองเขามาเกี่ยวของตอการปรับปรุงการ ใหบริการ โดยการดําเนินงานสามารถ ทําไดดังนี้ 4.1 การปรั บ ปรุ ง อย า งต อ เนื1อ ง (Continuous Improvement) หรือเรียก
BT#229_p34-35_Pro3.indd 34
วา ไคเซ็น(Kaizen) ในภาษาญี่ปุน เปน แนวความคิดทีจ่ ะปรับปรุงพัฒนางานอยู ตลอดเวลา ซึง่ เปนหนาทีข่ องทุกคนตัง้ แต ผูบริหารระดับสูงจนไปจนถึงพนักงาน ฝ า ยปฏิ บั ติ ก าร โดยทํ า การบริ ห าร พิจารณาทีก่ ระบวนการเนนทีก่ ารกระทํา อยางเปนระบบสมํ่าเสมอมากกวาการ มองผลลั พ ธ ที่ ป ลายทางอย า งเดี ย ว เ นื1อ ง จ า ก ก า ร บ ริ ห า ร พิ จ า ร ณ า ที่ กระบวนการจะมีความเขมงวดกวดขัน ความเปนระเบียบวินัย การจัดการเวลา ทํ า งานที่ มี อ ยู การพั ฒ นาทั ก ษะของ พนักงาน การมีสวนรวมกันทํางานเปน หมู ค ณะ การบํ า รุ ง ขวั ญ และกํ า ลั ง ใจ ตลอดจนการติดตอสื1อสารทีใ่ ชขอ มูลรวม กันและเปดเผยขอมูลรวมกันทั้งองคกร 4.2 การมีสวนรวมของพนักงาน (Employee Involvement) เปนสวนที่ สําคัญทีส่ ดุ ในการจัดการคุณภาพ เพราะ การทํางานในยุคนี้ หมดสมัยแลวที่จะใช คําวา “Me” แตจะตองเปน “We” คือ งานทุกอยางที่ประสบผลสําเร็จตองใช การรวมมือทํางานกันเปนทีม (Team) ซึง่ ไมเพียงแตเปนการรวมตัวกันเปนกลุม ขึน้ มาเทานั้น แตตองมีแนวทางปฏิบัติคือ ทุกคนในทีมตองมีจดุ มุง หมายเดียวกัน มี ส ว นร ว มกั น ยึ ด มั่ น ในสิ่ ง เดี ย วกั น คื อ คุณภาพ สมาชิกทุกคนมีภาวะผูนําอยูใน ตัว โดยไมตองใชผูนําอยางเปนทางการ มาคอยควบคุม และไมใชการรอรับคําสัง่ มอบหมายใหทําตอ ซึ่งการรวมมือกัน ทํางานเปนทีม มี 3 ระดับ ตามขอบเขต ความรับผิดชอบ ดังนี้ 1. ทีมงานแก ไขปญหา หรือ ทีม งานกลุ ม คุ ณ ภาพ (Problem-solving Team หรือ Quality Control Circles หรือ QCC) ลั ก ษณะของที ม งานแบบนี้ จ ะ เปนการรวบกลุม ตัง้ แต 2 คนขึน้ ไปในสาย งานเดียวกันอยางอิสระ เพื1อมารวมกัน ทํากิจกรรมในดานการปรับปรุงคุณภาพ และประสิทธิภาพของงาน ซึ่งกิจกรรม นั้นสอดคลองกับนโยบายของธุรกิจหรือ หนวยงานและไดรับการสงเสริมจากผู บังคับบัญชาอยางตอเนื1องและจริงจัง
2. ที ม งานเฉพาะเป า หมาย (Special-Purpose Team) เปนการพัฒนา ของทีมตอจากทีมงานแก ไขปญหา ซึ่ง เนนกิจกรรมในดานการปฏิบัติการหรือ การจัดการ หรือทั้งสองดานพรอมกัน โดยทีฝ่ า ยบริหารนําพนักงานระดับปฏิบตั ิ การเขามามีสวนรวมในการตัดสินใจใน ระดั บ สู ง เช น การสร า งที ม งานของ พนักงานเพื1อชวยกับฝายบริหารในการ ออกแบบและกําหนดแนวนโยบายการ ปฏิ บั ติ ง านใหม หรื อ ร ว มกั น นํ า เอา เทคโนโลยีสมัยใหมมาใช ในองคการหรือ ช ว ยกั น หาทางปรั บ ปรุ ง กิ จ การบริ ก าร ลูกคา ซึ่งฝายพนักงานระดับปฏิบัติการ จะเสนอแนะวิธีการในการปรับปรุงงาน ซึง่ จะชวยเพิม่ คุณภาพและลดความลาชา หรือความผิดพลาดในการทํางานใหลด นอยลง 3. ทีมงานบริหารดวยตนเอง (Self -Managing Team) เป น การนํ า เอา พนักงานระดับปฏิบัติการเขามามีสวน รวมในการบริหารงานระดับสูง เปนการ สร า งที ม ให พ นั ก งานกลุ ม ขนาดเล็ ก ทํางานรวมกันในการสรางสวนประกอบ ทีส่ ําคัญของผลิตภัณฑหรือตัวผลิตภัณฑ ทั้งหมด โดยสมาชิกในกลุมจะเรียนรูขั้น ตอนในการผลิตทั้งหมด และสามารถ หมุนเวียนสลับกันทํางานหนาที่ตาง ๆ ตลอดจนทํางานดานการบริหารตาง ๆ เชน กําหนดตารางเวลาทํางาน เวลาพัก สั่งซื้อสินคา การวาจางพนักงาน หรือ สมาชิ ก ของกลุ ม จะช ว ยกั น ออกแบบ กระบวนการผลิตอยางอิสระ ซึ่งทีมงาน บริหารดวยตนเองจะมีบทบาทอยางมาก ในการเปลีย่ นแปลงวิธกี ารทํางานภายใน องคกร เพราะพนักงานแตละคนจะตอง ควบคุมการทํางานของตนเองจากการ รวมมือกัน อยางไรก็ตาม ทํางานเปนทีมทั้ง สามวิ ธี นี้ จ ะนํ า ไปสู ก ารวางโครงสร า ง องคการใหม(Organizational Restructuring) ซึ่งจะทําให โครงสรางชั้นของ องคการลดลง เนื1องจากจะลดผูบริหาร ระดับตน และระดับกลางออกไป โดยให
อํานาจแกพนักงาน (Employee Empowerment) สามารถทํ า หน า ที่ ข องการ บริหารบางอยางได จึงไมจําเปนตองมีผู บริ ห ารระดั บ ต น และระดั บ กลางมา ควบคุม อนึ่ง การรวมมือกันทํางานทีมงาน บริหารดวยตนเองนี้ อาจจะเปนเพียง ภาพฝ น หรื อ ในจิ ต นาการ แต ใ นทาง ปฏิบัตินั้นอาจจะกลาวไดวาสามารถเปน จริงไดในระดับหนึง่ เทานัน้ เนื1องจากมีขอ เสียอยูหลายประการ เชน พนักงานรูสึก วาตนเองตองรับผิดชอบมากขึน้ แตไดรบั คาจางเทาเดิม ผูบริหารระดับตนและ ระดับกลาง รูสึกวาสูญเสียอํานาจและ รูสึกไมมั่นคงในอาชีพการทํางาน ฝาย บริหารอาจจะไมพอใจกับการตัดสินใจ ของพนักงาน พนักงานอาจรูสึกวาสาย ของการบังคับบัญชาที่นอยลง ทําใหการ พิจารณาความดีความชอบหรือกาวหนา ในงานนั้นเปนไปไดยากขึ้น เปนตน นอกจากนี้ การปรั บ ปรุ ง คุณภาพของการบริการดานโลจิสติกสจะ ตองมีงบประมาณ แบงเปน 3 สวน คือ 1.งบประมาณในการพัฒนาบุคลากร ซึ่ง จะตองมองตัวแปร คือ ขนาดของบริษทั จํานวนพนักงาน หลักสูตรที่ตองการใน การพัฒนาบุคลากร สถานทีท่ อี่ บรม รวม ถึ ง การพั ฒ นาเงิ น เดื อ นสวั ส ดิ ก ารของ พนักงาน สวน 2. การพัฒนากระบวนงาน ตองจัดทําการสํารวจความตองการของ ลูกคา การวิจัย และปรับกระบวนการ ทํางาน จัดทําเอกสารคูมือคุณภาพ ขั้น ตอนการปฏิบัติงาน วิธีการทํางาน และ แบบฟอรมตาง ๆ หากองคกรที่ไมมที กั ษะ และความชํานาญดานโลจิสติกส ตองจาง ที่ปรึกษาเพิ่มเติม และ 3.การพัฒนา เทคโนโลยี ตองพัฒนาเทคโนโลยีที่เปน ระบบเทคโนโลยี ส ารสนเทศ เช น เทคโนโลยี ใ นการยกขนสิ น ค า ค า ฮารดแวรคอมพิวเตอร ระบบแมขาย คา ซอฟแวร ERP/MRP คาซอฟแวรการ บริหารคุณภาพ (QMS) คาระบบยกขน และจัดเก็บสินคา คาใชจา ยอื1น ๆ ระหวาง การพัฒนาเทคโนโลยี เปนตน อนึ่ง งบ ประมาณที่ใช ในสวนนี้อาจแปรไปตาม ความตองการของธุรกิจ ซึง่ ตองพิจารณา รายละเอียดอยางรอบคอบกอนตัดสินใจ แต ธุ ร กิ จ ส ว นใหญ มั ก ทุ ม เงิ น ในการ กระบวนงานและเทคโนโลยี ม ากกว า อยางไรก็ตาม หากธุรกิจตองการไดผล เลิศอยางยั่งยืนควรทําให 3 สวนเกิด ความสมดุลกัน
9/2/13 11:53 PM
BT#229_p34-35_Pro3.indd 35
9/2/13 11:53 PM
36 BUS&TRUCK • TEST & REPORT
ปกษแรก • กันยายน 2556 TEST & REPORT
ประเภทของการทดสอบ
1. ความแข็งแรงของยาง (Plunger Energy) วัดโดยใช Plunger Tester เปนเครื1องทดสอบการรับแรงกดและการ หลุดของขอบยาง เครื1อง Plunger Test ที่ใชเปนของบริษัท EKTRON รุน PL2003 2. ความคงทนของยาง (Endurance) วัดโดยใช Drum Tester เปน เครื1องวัดอายุการใชงานยางลอแบบวิ่ง เครื1อ งทดสอบที่ ใ ช เ ป น ของบริ ษั ท KAYTON มีเครื1องทดสอบทั้งหมด 3 รุน ดังนี้ 1. เครื1องสําหรับทดสอบยางรถ จั ก รยานยนต แ ละรถยนต รุ น DTM-
ศูนยวิจัยเทคโนโลยียาง ม.มหิดล
ศูนยวิจัยเทคโนโลยียาง จัดตั้ง ขึ้นเมื1อป พ.ศ. 2550 ดําเนินการโดย ศูนยวจิ ยั และพัฒนาอุตสาหกรรมยาง ไทย โดยเปนโครงการความรวมมือ ระหวางกลุมอุตสาหกรรมผลิตภัณฑ ยางสภาอุตสาหกรรมแหงประเทศ ไทยรวมกับมหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา ไดรับการสนับสนุนงบประมาณ โดยสํานักงานพัฒนาวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดย อ ม (สสว.)และ สํ า นั ก งานพั ฒ นาวิ ท ยาศาสตร แ ละ เทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) โดยมี วั ต ถุ วั ต ถุ ป ระสงค เ พื1อ ให บริการทดสอบยางลอเพื1อการรับรอง มาตรฐานและเพื1อการวิจัยและพัฒนา ของอุ ต สาหกรรมยางล อ ไทย และ ใหการสนับสนุนทางดานการวิจัยและ พัฒนาเพื1อยกระดับคุณภาพยางลอไทย สู ร ะดั บ สากล โดยมี ข อบเขตการให บริการการทดสอบยางลอ ประเภท ตาง ๆ ของยางลอ เชน ยางลอรถ จักรยานยนต รถยนตนั่ง รถบรรทุก ขนาดเล็ก รถบรรทุกขนาดใหญ และรถ โดยสาร
BT#229_p36-37_Pro1.indd 36
350MS 2. เครื1องสําหรับทดสอบยาง รถยนตรถบรรทุกขนาดเล็กรุน DTM350PC 3. เครื1องสําหรับทดสอบยางรถ บรรทุกขนาดเล็กถึงขนาดใหญ รุน DTM200TB เครื1องทดสอบเปนแบบชนิดการ ทํางานในแนวตั้งสามารถทดสอบไดครั้ง ละ 2 ตํ า แหน ง โดยเครื1อ งทดสอบมี ความเร็วในการใชงานที่ 20 ถึง 200 กิโลเมตรตอชั่วโมง และสรางแรงที่ใช ใน การกดยางลอ 10 ถึง 100 กิโลนิวตัน สํ า หรั บ ขอบเขตของขนาดยางล อ ที่ สามารถใชกบั เครื1องทดสอบคือขนาด 16 นิ้ ว ถึ ง 24 นิ้ ว (เส น ผ า นศู น ย ก ลาง ภายนอก 750 ถึง 1,350 มิลลิเมตร และ ความกวาง 190 ถึง 360 มิลลิเมตร) โดยมีความแมนยําของความเร็ว เทากับ + 0 ถึง 2 กิโลเมตรตอชั่วโมง (แสดงผลคาตํ่าสุดได 1 กิโลเมตรตอ ชัว่ โมง) และความแมนยําของแรงทีใ่ ชกด ยางลอเทากับ + 0.5% (แสดงผลคาตํ่า สุดได 0.1 กิโลนิวตัน) พรอมระบบควบคุม อุณหภูมภิ ายในหองทดสอบยางลอโดยมี การติดตั้งพัดลมและฮีตเตอร สําหรับ ควบคุมอุณหภูมิอัตโนมัติบริเวณรอบๆ ยางลอที่ทดสอบ
ประโยชนที่ ไดรับจากการทดสอบ
ทดสอบเพื1อเปรียบเทียบอายุการ ใชงานของยางลอรุนตางๆ ที่มีจําหนาย ในประเทศไทย ผูประกอบการผลิตภัณฑ ยางลอสามารถทดสอบหาอายุการใชงาน ของยางลอที่ผลิตขึ้นได และสามารถ ทดสอบเพื1อใหการรับรองมาตรฐานยาง ลอของผูป ระกอบการผลิตภัณฑยางลอได ผูประกอบการสามารถทดสอบเพื1อนําไป ปรับปรุงคุณภาพยางลอใหดียิ่งขึ้น และ สุดทายเพื1อวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรม ยางลอของผูผลิตที่เปนคนไทย
9/2/13 10:51 PM
SPECIAL REPORT • BUS&TRUCK
ปกษแรก • กันยายน 2556
37
SPECIAL REPORT
“อีซูซุใหนํ้า…เพื่อชีวิต”
สงมอบระบบผลิตนํ้าดื่มสะอาดแหงที่ 3 แก ร.ร.บานแกวเมธี จ.เลย
ทั้ ง จั ด สร า งศู น ย ส าธิ ต การผลิ ต นํ้ า ดื1ม นักเรียน โดยการสนับสนุนการสรางโรง เรือน ติดตั้งชุดอุปกรณปมนํ้า พรอมทั้ง จั ด สร า งศู น ย ส าธิ ต การผลิ ต นํ้ า ดื1ม นั ก เรี ย น โดยติ ด ตั้ ง ระบบกรองนํ้ า ดื1ม สะอาดตามมาตรฐานอย า งครบวงจร พรอมจัดการอบรมเพื1อใหความรู ในการ บํ า รุ ง รั ก ษาดู แ ลระบบการผลิ ต นํ้ า ดื1ม พรอมทัง้ แนะนําวิธกี ารสรางรายไดใหกบั โรงเรียนในการนํานํ้าดื1มสะอาดที่ ไดจาก
กลุมอีซูซุในประเทศไทย โดย คุ ณ ฮิ โรชิ นาคางาวะ กรรมการผู จัดการ บริษัท ตรีเพชรอีซูซุเซลส จํากัด และ คุณมาโคโตะ คาวาฮาระ กรรมการผู จั ด การ บริ ษั ท อี ซู ซุ มอเตอร (ประเทศไทย) จํากัด รวม กั บ ก ร ม ท รั พ ย า ก ร นํ้ า บ า ด า ล กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม ดําเนินโครงการ “อีซูซุให นํ้า...เพื1อชีวิต” ในการจัดสรางระบบ ผลิตนํ้าดื1มสะอาดแหงที่ 3 สําหรับ โรงเรี ย นในพื้ น ที่ ห า งไกลให แ ก
ระบบบรรจุขวดจําหนายใหชุมชนใกล เคียงอีกดวย ทั้ ง นี้ โรงเรี ย นบ า นแก ว เมธี ปจจุบันเปดการเรียน–การสอน ตั้งแต ระดับชั้นอนุบาลปที่ 1–ประถมศึกษาป ที่ 6 มีนักเรียนรวมทั้งสิ้น 123 คน แหล ง นํ้ า ที่ ใ ช ม าจากนํ้ า ประปาจาก แหลงขุดเจาะใหมที่สรางขึ้นเมื1อเดือน กุมภาพันธ พ.ศ. 2556 ที่ผานมา โดย กรมทรัพยากรนํ้าบาดาล กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม แตทั้งนี้ยังคงมีปญหาเรื1องการสูบนํ้า มาใช ยั ง คงไม เ พี ย งพอต อ ความ ตองการ และยังไมมีการติดตั้งระบบ กรองนํ้า
โรงเรียนบานแกวเมธี อําเภอนาดวง จังหวัดเลย อีกทั้งยังไดพระเอกหนุม อยาง บอย ปกรณ มารวมสรางกิจกรรม ในครั้งนี้ดวยคะ สําหรับโครงการ “อีซซู ใุ หนาํ้ ...เพื1อ ชี วิ ต ” นั บ ว า เป น อี ก หนึ่ ง กิ จ กรรมเพื1อ สังคมของกลุมอีซูซุ เพื1อตอกยํ้าปรัชญา การดําเนินธุรกิจ หรือ “วิถีอีซูซุ” นั่นคือ “ผูใชสุขใจ เพิ่มพูนรายได ชวยใหสังคม พัฒนา” อยางแทจริง ซึ่งอีซูซุไดสรุป ปญหาและหาแนวทางรวมกันปฏิบตั เิ พื1อ วางแผนติดตั้งชุดอุปกรณปมนํ้า พรอม
~ }t ® k ¡j ¥m ð pq j j © Ó pm¡| } m ¥
R1_BT#229_p36-37_Pro1.indd 37
9/3/13 9:16 PM
38 BUS&TRUCK • COVERS’ STORY ตอจากหนา 1
ของผูที่เคยขนสงขามแดน เพื1อเตรียม พัฒนาองคกรของทานรับมือกับการเปด ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC อยางมืออาชีพ
ยุทธศาสตร บริหารการขนสงสินคาขามแดน
คุ ณ บุ ณ ยสิ ท ธิ์ กาญจนวงศ ชั ย ประธานคณะทํ า งานเกี่ ย วเนื1อ งการ บริการการขนสงสินคาขามแดนระหวาง ประเทศ กลาววา จากการศึกษาขอดีขอ เสี ย เพื1อ เตรี ย มการรั บ มื อ การค า เสรี อาเซียน ป 2558 เพื1อหาแนวทางแกไข และปรั บ ปรุ ง พบว า รั ฐ ต อ งให ค วาม สํ า คั ญ โดยมี น โยบายที่ ชั ด เจนในการ พัฒนาพื้นที่จังหวัดชายแดนที่เปนประตู เศรษฐกิจการคาและงานบริการของไทย กับประเทศเพื1อนบานทัง้ 4 ประเทศ และ สามารถเชื1อมโยงสูประเทศในประชาคม อาเซียน +6 ตามความตกลงภายใตกรอบ ของ ASEAN รวมถึงขอตกลงระหวาง ประเทศ กฎหมาย กฎระเบียบ ทีเ่ กีย่ วกับ การค า การขนส ง ข า มพรมแดน มี แนวทางวิ ธี ป ฏิ บั ติ ร ว มกั น กั บ ประเทศ เพื1อนบาน เพื1อใหสินคาไหลเคลื1อนผาน แดนไดอยางรวดเร็วประหยัดเวลาและคา ใชจาย ซึ่งมีประเด็น ดังนี้ 1.ดํ า เนิ น ยุ ท ธศาสตร ก ารพั ฒ นา ความรวมมือกับประเทศเพื1อนบานแบบ องครวม ระมัดระวัง และคํานึงถึงผล ประโยชนรว มของไทยและประเทศเพื1อน บาน 2.จัดตั้งหนวยงานพิเศษขึ้นตรงกับ สํานักนายกรัฐมนตรี เพื1อทําหนาทีใ่ นการ วางแผนและบริหารจัดการพื้นที่จังหวัด ชายแดนทีเ่ ปนประตูเศรษฐกิจการคาและ งานบริการ 3.เรงรัดแก ไขจัดทํา และ เจรจาข อ ตกลง เงื1อ นไข กฎหมายที่ เกี่ยวของโดยเฉพาะอยางยิ่งตามกรอบ ความตกลงวาดวยการขนสงสินคาขาม พรมแดนในอนุ ภู มิ ภ าคลุ ม แม นํ้ า โขง เอกสารแนบทาย พิธีสาร 2 4.เรงดําเนินการปรับปรุงพิธีการที่ เกี่ยวของกับการนําเขา-สงออกสินคา ชายแดน 5.ควรพิจารณากําหนดนโยบาย จัดตัง้ เขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน ในเขต พื้นที่จังหวัดชายแดน พรอมกับผลักดัน รางพระราชบัญญัติเขตเศรษฐกิจพิเศษ ใหมีผลบังคับใช โดยเร็ว 6.เรงดําเนินการ พั ฒนาองคความรู และทักษะในดาน ตาง ๆ แกบุคลากรใหมีศักยภาพ 7.จัดตั้ง ศูนยขอ มูลทีเ่ กีย่ วกับแผนการพัฒนาเขต พื้ น ที่ จั ง หวั ด ชายแดน 8.ส ง เสริ ม สนับสนุนใหนักลงทุนไทยมีการยายฐาน การผลิตไปยังประเทศเพื1อนบานเพื1อใช ประโยชนจากสิทธิพิเศษทางการคาใน การสงสินคาไปยังประเทศที่พัฒนาแลว 9.สงเสริมสนับสนุนการจัดตัง้ เมืองคูแ ฝด ทางการคาระหวางจังหวัดชายแดนกับ จังหวัดในประเทศเพื1อนบาน และ10.สงเสริมการลงทุนระหวาง
BT#229_p38-39_Pro1.indd 38
ปกษแรก • กันยายน 2556
จากปก
เปดประตูขนสงอาเซียน
รัฐกับเอกชนที่เกี่ยวกับพื้นที่การพัฒนา และปรับปรุงคุณภาพสินคา ประกอบ ดวย อาคารโกดังสินคา พื้นที่การคาเพื1อ เปนการประหยัดงบประมาณการลงทุน การดําเนินการดานเชิงการบริหารจัดการ เรงดําเนินการกอสรางอาคารและสถาน ที่ตาง ๆ เชน อาคารบริการดานสินคา และบุคคลแบบเบ็ดเสร็จ (One Stop Service) ศูนยเปลี่ยนถายรูปแบบการ ขนส ง สิ น ค า สถานี ต รวจปล อ ยสิ น ค า พื้ น ที่ ข บวนการพั ฒ นาและปรั บ ปรุ ง คุณภาพสินคา ถนนระบบรางและสะพาน ในจังหวัดที่ขาดความพรอม
เตรียมพรอมขนสงสินคา ไทย-มาเลเซีย
ตกลงระหวางไทยกับมาเลเซียวาดวย เรื1องการขนสงสินคาเนาเสียงาย ผาน แดนโดยทางถนนจากประเทศไทยผาน มาเลเซียไปยังสิงคโปร ซึ่งภายใตความ ตกลงดังกลาวนัน้ ไดกาํ หนดปริมาณยอด รวมของสินคาภายใตความตกลงสินคา เนาเสียงายผานแดนมาเลเซียไปสิงคโปร ปละไมเกิน 30,000 เมตริกตัน โดยไมตอ ง เสียภาษีนําเขา หากเกินกวาเพดานที่ กํ า หนดจะต อ งเสี ย ภาษี นํ า เข า ให แ ก มาเลเซีย โดยกําหนดใหนําสินคาผาน แดนเขาไปทางดานบูกติ กายูฮตี มั เทานัน้ ซึง่ จากขอจํากัดดังกลาว สงผลกระทบตอ ผูประกอบการไทยเปนอยางมากเพราะ จํานวนรถขนสงสินคาทีต่ อ งการผานแดน นัน้ มีมากเกินกวา 30,000 เมตริกตันตอป ทําใหเกิดการลาชาและทําใหสินคาเกิด เสียหายมากขึ้น
กรอบความร ว มมื อ สามเหลี่ ย ม เศรษฐกิ จ อิ น โดนี เ ซี ย -มาเลเซี ย –ไทย (IMT-GT) มุงเนนใหมีการพัฒนาการ เชื1อ มโยงด า นโครงสร า งพื้ น ฐาน โดย เสนทางสูทาเรือทวายที่ควรรู เฉพาะโครงขายคมนาคมขนสงและระบบ ปฏิเสธไมไดวา ประตูเมืองใหญที่ สาธารณู ป โภคระหว า งประเทศ โดย เชื1อ มทวายกั บ อาเซี ย นคื อ จั ง หวั ด โครงการที่เกี่ยวของกับการขนสงทาง กาญจนบุรี ทีม่ จี ดุ ผานแดนบริเวณบานพุ ถนนสําหรับประเทศไทย ไดแก เสนทาง นํ้ารอน ซึ่งเปนจุดเชื1อมตอใหมลาสุด เชื1อมโยงจังหวัด สตูล –รัฐเปอรลิส ของ ระหวางชายแดนไทยกับเมียนมาร และ มาเลเซีย คิดเปนระยะทางประมาณ 35 เป น จุด กึ่ ง กลางจากถนนที่ ตัด ตรงจาก กิโลเมตร นอกจากนี้ กรมทางหลวงได หาดมอมะกั น ของทวาย เข า มายั ง เสนอโครงขายเชื1อมโยงกับมาเลเซียอีก 2 ประเทศไทย เส น ทาง คื อ เส น ทาง นาทวี - บ า น ถึงแมตอนนี้ดานพุนํ้ารอนจะเปน ประกอบ-อลอสตาร และเสนทาง ยะลา- เพี ย งด า นชั่ ว คราวสํ า หรั บ ให บ ริ ษั ท เบตง-ปนัง ซึ่งนอกจากจะเปนความรวม อิตาเลียนไทย เดเวลอปเมนต ซึง่ เปนผูร บั มือดานการขนสงทางถนนแลว การขนสง เหมาเพียงรายเดียวของโครงการทาเรือ ทางรถไฟ ทางนํา้ และทางอากาศก็นบั วา นํา้ ลึกและนิคมอุตสาหกรรมทวายในขณะ เปนรูปแบบการเดินทางที่สําคัญภายใต นี้ ขนสงวัสดุและคนงานจากไทยเขาไปยัง กรอบความรวมมือนี้ดวยเชนกัน พืน้ ทีก่ อ สรางในเมียนมาร แตในตนปหนา สภาพและปริ ม าณการขนส ง เมื1อนิคมอุตสาหกรรมทวายเปดทําการ 4 ปจจุบัน ณ ดานชายแดนไทย-มาเลเซีย เฟสแรก จุดผานแดนพุนํ้ารอนแหงนี้ จะ นั้ น ประเทศไทยมี แ นวพรมแดนกั บ ถู ก พั ฒ นาให เ ป น จุ ด เชื1อ มต อ ระหว า ง มาเลเซียเปนระยะประมาณกวา 500 ทาเรือนํ้าลึกทวายกับประเทศไทย กิโลเมตร ครอบคลุม 4 จังหวัด ไดแก สําหรับการขนสงจากชายแดนดาน สตูล สงขลา ยะลาและนราธิวาสโดยมีจดุ บานพุนาํ้ รอน รถจะสามารถวิง่ ผานไปยัง ผานแดนถาวร 9 แหง บานหนองขาว อําเภอทามวง ตรงไปยัง สําหรับกรณีรถขนสงสินคาทีจ่ ะเขา กรุงเทพฯ และจากกรุงเทพฯ รถขนสง มายั ง ประเทศไทยจะต อ งเป น รถที่ จ ด สินคาก็จะสามารถวิง่ เขาสูว งแหวนตะวัน ทะเบียนในประเทศไทย สวนการขนสง ตกที่บางใหญ หมุนไปออกทางกัมพูชา ผานแดน ทางมาเลเซียยินยอมใหมีการ หรือเวียดนาม หรือทาเรือแหลมฉบังก็ได ขนสงสินคาเนาเสียงายทางถนนจากไทย เชนเดียวกัน ผานมาเลเซียไปยังสิงคโปร ได และยัง โดยในขณะนี้ ถนนเฟสแรก คือ สามารถขนสินคาทั่วไปจากสิงคโปรผาน จากหาดมอมะกั น ของทวาย มาจรด มายังประเทศไทยไดสําหรับเที่ยวกลับ ชายแดนไทยที่พุนํ้ารอน รวมถึงเฟสที่ โดยเปนไปตามความตกลงในการขนสง สอง จากดานพุนํ้ารอนเขาสูวงแหวน สินคาผานแดน โดยมาเลเซียกําหนดจุด ตะวันตก กําลังอยูใ นระหวางการกอสราง เขาที่ บูกิตกายูฮีตัม ขยายทางใหเปนถนนใหญ 4 เลน เพื1อ ทัง้ นี้ การขนสงสินคาทางถนนขาม รองรับการขนถายไหลเวียนสินคาจํานวน แดนระหวางประเทศนั้น โดยปกติแลว ม ห า ศ า ล จ า ก ท า เ รื อ แ ล ะ นิ ค ม การขนสงขามประเทศทางถนนระหวาง อุตสาหกรรมทวายไปยังประเทศตาง ๆ ประเทศไทยกับประเทศเพื1อนบาน เชน ในอาเซียน โดยเฉพาะไทย กัมพูชา และ เสนทาง ไทย-มาเลเซีย-สิงคโปร หรือ เวียดนาม ซึง่ อยูใ นแนว East-West Corไทย-ลาว-จีน โดยรถบรรทุกคันเดียวจะไม ridor สามารถกระทําไดดวยเหตุผลของความ สําหรับเสนทางจากบานพุนํ้ารอน
เขาสูทาเรือทวายมีระยะทางประมาณ 132 กม. มีถนนเขาสูทาเรือทวายแลว โดยจะเปนถนนลาดยางจํานวน 2 ชอง จราจร
สมาคมฯ อีสาน ขนสงสูเพื่อนบานเต็มรูปแบบ
คุ ณ ขวั ญ ชั ย ติ ย ะวานิ ช นายก สมาคมผูประกอบการขนสงสินคาภาค อีสาน เปดเผยวา การขนสงสินคาจาก แขวงจําปาศักดิ์ ประเทศลาว เริม่ ตนเมื1อ เดื อ นกรกฎาคมที่ ผ า นมา หลั ง จากที่ บริษัท สยามคอมเมอรเชียล ผูขนสง สินคาทางเรือ ไดขอใบอนุญาตจากการ ท า เรื อ แหลมฉบั ง เพื1อ ให ร ถบรรทุ ก ทําการขนสงสินคามาสงยังบริษัทได สวนการขนสงสินคาจากประเทศ ลาว จะเริ่มตนที่แขวงจําปาศักดิ์กอน ซึ่ง สินคาจะเปนกาแฟและทางสภาการคา แหงประเทศลาวไดแจงวา ขณะนี้ ไดมผี วู า จางใหขนสงกาแฟมากถึง 30 ราย และจะ สามารถขยายตอไปยังลูกคารายอื1นไดอีก ดานรูปแบบของการขนสงนั้นจะ เปนระบบโลจิสติกสอยางเต็มตัว เริม่ จาก มี Call Center ติดตอลูกคา ซึ่งตั้งอยูใน ประเทศลาว สวนการขนสงนั้นก็จะใชตัว รอกเพื1อดึงสินคาขึ้นรถใหญ จากนั้นก็จะ เดินทางมายังทาเรือแหลมฉบัง ทําการ ขนสงสินคาเขาตูคอนเทนเนอร เมื1อเต็ม และถึ ง เวลาที่ จ ะต อ งส ง ออกไปยั ง ประเทศที่ 3 ก็จะบรรทุกลงเรือไปสงตาม กําหนดเวลาที่ไดวางไว นอกจากนีแ้ ลว ประเทศพมาถือเปน เปาหมายตอไปในการขนสง โดยลาสุดได เดินทางไปดูเสนทางการขนสงแลว พบ วายังมีอีกหลายจุดที่ยังตองพัฒนา ไมวา จะเปน ถนนหนทาง การติดตอกับทาง หนวยงานราชการ การประสานงานกับผู วาจาง ซึ่งคาดวาคงใชเวลาอีกไมนานนัก ทางสมาคมฯจะสามารถขยายเปาหมาย การขนสงเขาไปได
บลู แอนด ไวท ขยายไปพมา
คุณปญญา เศรษฐโภคิน ประธาน กรรมการ บริษัท บลูแอนด ไวท โลจิสติกส จํากัด เปดเปดเผยวา ขณะนี้ทาง บริษัทฯไดเขาไปตั้งบริษัท บลูแอนด ไวท โลจิสติกส ออฟ พมา จํากัด ในประเทศ พมา เพื1อดําเนินการขนสงสินคาอุปโภค บริโภค โดยเริ่มแรกที่เมืองยางกุงกอน และตอไปก็จะขยายไปอีก 12 เมืองทั่ว ประเทศพมา โดยหลักในการดําเนินงาน ทาง บริษัทฯไดเขาไปตั้งบริษัทฯ เพราะมีผูวา จางขนสงสินคาไดเขาไปตั้งดําเนินการ กอน เมื1อเห็นชองทางวาดําเนินธุรกิจดวย กันมานาน จึงเขาไปกระจายสินคาใหกับ ผูบ ริโภคตอไป ซึง่ ถือวาการเปดประชาคม เศรษฐกิจอาเซียนสามารถขยายธุรกิจ ขนสงไดอีกมาก
9/2/13 10:55 PM
WORLD NEWS • BUS&TRUCK 39
ปกษแรก • กันยายน 2556
วงการตางแดน ตอจากหนา 1
ภาวีกิจ ตัวแทนเบนซ พรอมขายอีก 3 ยี่หอ
กรุป จํากัด เปดเผยวา ลาสุดบริษัทใน เครือ ไดแก บริษัท เอเชีย ทรัค จํากัด ได รับการแตงตั้งใหเปนตัวแทนจําหนายรถ บรรทุกยีห่ อเมอรเซเดส-เบนซ อยางเปน ทางการจากบริษัท เมอรเซเดส-เบนซ (ประเทศไทย) จํากัด โดยเนนจําหนายรุน ที่เครื1องยนตมีขนาดตั้งแต 420 แรงมา ขึ้นไป ซึ่งถือวาเปนกลุมตลาดเล็ก สวนคูแขงที่สําคัญคือ วอลโวกับ สแกนเนียที่มาจากคายยุโรปดวยกัน มี ยอดจําหนายสูงกวามาก จึงทําใหรถใหญ เบนซมีราคาสูงกวาประมาณ 20% ซึ่ง ตองรุกตลาดอยางหนักจึงจะสรางความ มั่นใจใหกับกลุมลูกคาได “กอนที่จะไดรับการแตงตั้งใหเปน ดีลเลอรจาก บริษัท เมอรเซเดส-เบนซ (ประเทศไทย) จํากัด ทางบริษทั ฯตองเปด ศูนยบริการซอมดูแลรถใหญเบนซ ไมวา จะเปน รถขนสงอาหารในสนามบิน รถ ของทหาร และรถเบนซเกาของหลาย บริษทั ซึง่ ก็ถอื วาประสบความสําเร็จและ ลูกคาตางพึงพอใจ จึงทําใหไดรบั การแตง ตั้งอยางเปนทางการ”
นอกจากนี้ ทางเอเชีย ทรัค ยัง จําหนายรถใหญอีก 2 ยี่หอคือ ฟูโซและ โฟตอน โดยพนักงานของบริษทั ฯจะรูร าย ละเอียดรถใหญของทั้งสามยี่หอ และ สามารถบอกกั บ ลู ก ค า ได ถึ ง คุ ณ ภาพ ตาง ๆ ที่คุมคากวาเงินทุนตองจายไป ในสวนของศูนยบริการนั้น มีการ แยกส ว นซ อ มและอะไหล อ อกจากกั น อยางชัดเจน เพื1อใหการทํางานเปนไป ตามระบบที่วางไว คุณธเนศ เปดเผยตอวา สวนบริษทั ในเครืออีกแหงหนึ่งคือ บริษัท ภาวีกิจ มอเตอรเซลส จํากัด ก็ ไดเปนตัวแทน จําหนายรถยูดีทรัค (ประเทศไทย) จํากัด ซึ่งเมื1อยูดีทรัคไดเปดตัวรถรุนใหม ลูกคา ก็จะสั่งจองเขามาตามที่คาดไว เมื1อ รวมแล ว ภาวี กิ จ กรุ ป จะ จําหนายรถใหญถึง 4 ยี่หอ ไดแก เบนซ ฟูโซ โฟตอน และยูดีทรัค ซึ่งสามารถ ทําการจําหนายตามความตองการของ ลูกคาทุกรูปแบบ ไมวา ตองการรถรุน ไหน ประเภทใด ขนาดหรือเครื1องยนตเทาไร ก็สามารถเสนอลูกคาได
ตอจากหนา 1
วอลโว เตรียมสงออกยูดี เปดตัวหัวลาก เควสเตอร คุ ณ ฌาร ค มิ เ ชล ประธาน กรรมการ บริ ษั ท วอลโว กรุ ป (ประเทศไทย) จํ า กั ด เป ด เผยว า ประเทศไทยมีความพรอมดานการผลิต ยานยนตสูงเมื1อเปรียบเทียบกับประเทศ อื1นในภูมิภาค ซึ่งบริษัทฯ มีความพรอม ในดานโรงงานประกอบ โดยใชงบลงทุน เพิม่ อีก 2,000 ลานบาทในการขยายกําลัง การผลิตเพื1อรองรับแผนการสงออกไปยัง อเมริ ก า ลาติ น อเมริ ก า และเอเชี ย อาคเนย รถหัวลากยูดี ทรัคส รุนเควสเตอร เปนรุนที่ประกอบในประเทศไทย เพื1อ จําหนายตลาดในประเทศและสงออก ซึง่ ยังคงคุณลักษณพิเศษเฉพาะตัวของยูดี ทรัคส คือประหยัด ทนทานและไววางใจ ได ในผลิตภัณฑ โดยไดเริ่มทําการตลาด ในประเทศไทยแลว คาดวาจะสามารถสง มอบรถเควสเตอรในไตรมาสที่ 4 ของป นี้ สวนการสงออกจะเริ่มในไตรมาสแรก ของปหนา โดยจะสงออกไปยังอินโดนีเซีย มาเลเซีย ลาว เขมร พมา เวียดนาม “ส ว นตลาดประเทศไทยนั้ น รถ บรรทุกยูดี ทรัคส จะเนนกลุมลูกคาที่ เหมาะสมกับความตองการใชงานที่ตาง จากวอลโว ทรัคส ที่มีคุณลักษณะเฉพาะ ตัวกับกลุมลูกคาเฉพาะกลุม ในขณะที่
BT#229_p38-39_Pro1.indd 39
การบริการหลังการขายจะเนนคุณภาพดี เยีย่ มภายใตมาตรฐานวอลโวกรุป ทัง้ สอง แบรนด โดยวอลโว กรุป (ประเทศไทย) ได ใชงบการลงทุน 3,000 ลานบาท ใน การขยายเครื อ ข า ยด า นการขายและ บริการหลังการขายจํานวน 17 สาขาทั่ว ประเทศ ซึง่ จะเปดครบสมบูรณภายในสิน้ ป 2556 “ตลาดรถบรรทุกประเทศไทยใน อนาคตมีศักยภาพในการเติบโตสูงมาก เพราะความตองการจะเติบโตตามการ เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะใน ช ว งที่ ป ระเทศไทยจะเข า สู ป ระชาคม ประชาชาติเศรษฐกิจอาเซียนหรือ AEC ซึ่งประเทศไทยนาจะเปนฐานที่ดีสําหรับ ประเทศรอบ ๆ ประเทศไทย เมื1อถึงเวลา นั้น การขนสงสินคาผานประเทศไทยจะ ตองเพิ่มขึ้น ซึ่งศูนยบริการของเราจะ สามารถรองรับกับความตองการที่เพิ่ม ขึ้นไดเปนอยางดี” คุณมิเชล กลาวเพิ่ม เติม ทั้งนี้ ในงาน BUS & TRUCK ’13 ที่จะจัดขึ้นระหวางวันที่ 7-9 พ.ย. ศกนี้ ณ ไบเทค กรุงเทพฯ เตรียมพบกับรถหัว ลากยูดี ทรัคส รุนเควสเตอร พรอม โปรโมชั่นรับประกัน 1 ป หรือ 120,000 กิโลเมตร
ยานยนต
เอเชียตะวันออกเฉียงใต : เชฟโรเลต สปน ยอดขายพุง เจนเนอรัล มอเตอรส ประกาศตัวเลขยอดขายรวมทั่วทั้งภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต ในเดือนกรกฎาคมที่ผานมาอยูที่ 6,987 คัน โดยไดแรงขับ เคลื1อนอันแข็งแกรงจากเชฟโรเลต สปน ที่ออกทําตลาดในอินโดนีเซียและ ประเทศไทย การเปดตัวสปน อยางคึกคักในอินโดนีเซีย สงใหยอดขายพุง ทะยาน ทุบสถิติใหมดวยตัวเลข 1,494 คันในเดือนกรกฎาคม ทําใหยอดขายรถรวมทุก รุนในเดือนดังกลาวอยูที่ 1,858 คัน เพิ่มขึ้นจากเดือนมิถุนายน 5.5 เปอรเซ็นต และเพิม่ ขึน้ จากเดือนกรกฎาคมปทแี่ ลว 361 เปอรเซ็นต นอกจากนีย้ งั ทําใหเดือน กรกฎาคมที่ผานมาสรางสถิติยอดขายสูงสุดเปนประวัติการณของเชฟโรเลต ใน อินโดนีเซีย ขณะทีใ่ นประเทศฟลปิ ปนส เชฟโรเลต เทรลเบลเซอร ยังคงสรางยอดขาย สูงสุดอยางตอเนื1อง โดยมีตัวเลข 201 คันในเดือนกรกฎาคมที่ผานมา ขณะที่ ยอดขายรวมทุกรุนอยูที่ 452 คัน เพิ่มขึ้นจากเดือนกรกฎาคมปที่แลว 41 เปอรเซ็นต สําหรับในตลาดประเทศมาเลเซียมียอดขาย 177 คัน สิงคโปร 36 คันและตลาดอื1น ๆ ในอาเซียนรวมกันจํานวนทั้งสิ้น 136 คัน สหรัฐอเมริกา : Google เตรียมผลิตรถยนต เนนระบบขับขี่อัตโนมัติ Google ยังตกเปนขาววากําลังซุม ผลิตรถยนตดว ยเทคโนโลยีของตนเอง โดยขับเคลื1อนดวยระบบซอฟตแวรขับขี่อัตโนมัติ เว็บไซต Wall Street Journal รายงานโดยอางแหลงขาววงในวา Google กําลังเจรจากับบริษัทผู ผลิตรถยนตเพื1อทําการผลิตรถทีท่ าง Google ออกแบบขึน้ เองทัง้ คัน รายงาน ขาวระบุดวยวา Google ยังไดหารือกับบริษัทผูผลิตชิ้นสวนยาง Continental และ Magna International ในการผลิตระบบภายในรถยนตดวยเทคโนโลยีที่ บริษัทคิดคน ซึ่งรถที่ผลิตโดย Google อาจออกจําหนายในจํานวนจํากัดดวย พรอมกับมีแผนใหบริการ “แท็กซีห่ นุ ยนต” ทีจ่ ะรับผูโดยสารตามนัดโดยปราศจาก ผูขับขี่ แตไมมีความชัดเจนวา Google จะดําเนินงานเองหรือเปดใหบริษัทอื1น บริหารจัดการแทน
คมนาคม
สหรัฐอเมริกา : จํากัดนํ้าหนักบรรทุกขามสะพานกวา 600 แหง รัฐเพนซิลวาเนีย สหรัฐฯ ขาดแคลนงบประมาณในการดูแลซอมแซม สะพาน ทําใหทางการตองใชมาตรการจํากัดน้ําหนักบรรทุกผานสะพานเพิ่ม มากขึ้น กรมทางรัฐไดรองของบประมาณไปเพื1อการซอมสะพานใน 5 ปขาง หนา จํานวน 5.3 พันลานดอลลาร แตยังไมผานการพิจารณาของสภา ดังนั้น ทางรัฐตองจํากัดน้าํ หนักบรรทุกผานสะพานจํานวนกวา 600 แหง ถางบนี้ ไมผา น คงตองเพิ่มสะพานที่จํากัดน้ําหนักถึง 1,400 แหง ยอมกระทบตอผูประกอบการ ทีอ่ าจตองเดินทางออมไกลมากขึน้ หรือเสียคาใชจา ยสูงขึน้ เมื1อบรรทุกไดนอ ยลง สะพานของรัฐกวา 25,000 แหง มีอายุใชงานกวา 50 ป บางแหงอายุกวา 75 ป ดังนัน้ จากกรณีสะพานทีซ่ แี อตเทิลพังลง ทางรัฐตองตระหนักถึงความปลอดภัย ของสะพานเกามาก ๆ แมจะผานการตรวจสอบมาอยางดี รัฐเพนซิลวาเนียเปน รัฐที่มีสะพานมากเปนอันดับสามของประเทศ มีถึง 25,000 แหง และสะพาน ของทางทองถิ่นอีกกวา 6 พันแหง ราว 4,500 สะพานของรัฐมีสภาพโครงสราง ไมมั่นคงแข็งแรง แมตัวสะพานจะดูปกติ แตบางชิ้นสวนโครงสรางอยูในสภาพ ที่ ไ ม ป ลอดภั ย ทางรั ฐ มี แ ผนที่ จ ะรื้ อ แล ว ก อ สร า งสะพานใหม ม ากถึ ง 600 สะพาน
ปฎิทินขาว วัน-เดือน-ป
รายละเอียดงาน
ติดตอ
9-11 ต.ค. 2556
www.fastenerfair-thailand.com/ Fastener Fair Thailand 2013 นิทรรศการการแสดงสินคาและบริการในสวนของ อุตสาหกรรมเครือ่ งยึดและสวนประกอบระดับภูมภิ าค ณ ศูนยนิทรรศการและการประชุมไบเทค กรุงเทพฯ
25-27 ต.ค. 2556
บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด สถาปนิกอีสาน ’56 โทร.0-2717-2477 งานแสดงเทคโนโลยีสถาปตยกรรม สําหรับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ณ ขอนแกน ฮอลล เซ็นทรัลพลาซา จังหวัดขอนแกน
7-9 พ.ย. 2556
BUS & TRUCK ’13 ณ ศูนยนิทรรศการและการประชุมไบเทค กรุงเทพฯ
บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด โทร.0-2717-2477
9/2/13 10:55 PM
40 BUS&TRUCK • DIRECTORY
ปกษแรก • กันยายน 2556 DIRECTORY ISUZU บริษัท ตรีเพชรอีซูซุเซลส จํากัด โทร. 0-2966-2111
SUNLONG บริษัท เบสทริน กรุป จํากัด โทร.0-2750-0227, 08-9801-7777 SLK6750CNG SLK6852D SLK6852CNG SLK6102D SLK6102CNG SLK6111CNG SLK6120D SLK6126CNGB SLK6145D ราคาดังกลาวเปนราคานําเขารถสําเร็จรูปทั้งคัน
Bus 7.5 m. Bus 8.5 m. Bus 8.5 m. Bus 10 m. Bus 10 m. City Bus 12 m. Coach 12 m. Coach 12 m. Coach 14.5 m.
YUTONG บริษัท ไทยคูชัย จํากัด โทร. 0-2393-9831-2
YUTONG มินิบัส 6 เมตร YUTONG รถบัสโดยสาร 8 เมตร YUTONG รถบัสโดยสาร 12 เมตร
SERIES 3 SERIES 3 SERIES 3 SERIES 3 SERIES 3 SERIES 3 SERIES 3 SERIES 3 SERIES 3 SERIES 5 SERIES 5 SERIES 5 SERIES 5 SERIES 5 SERIES 5 SERIES 5 SERIES 5 SERIES 5 SERIES 5 SERIES 5 SERIES 5 SERIES 5 SERIES 5 SERIES 5 SERIES 5 SERIES 5 SERIES 5 SERIES 5 SERIES 5 SERIES 5 SERIES 5 SERIES 5 SERIES 5 SERIES 5 SERIES 5 SERIES 5 SERIES 5 SERIES 5 SERIES 5 SERIES 5 SERIES 5 SERIES 5 SERIES 5 SERIES 5 SERIES 5 SERIES 5 SERIES 5 SERIES 5 SERIES 5 SERIES 5 SERIES 5 SERIES 5 SERIES 5 SERIES 5 SERIES 5 SERIES 5 SERIES 5 SERIES 5 SERIES 5 SERIES 5 SERIES 5 SERIES 5 SERIES 5 SERIES 5
มินิบัส รถธรรมดา รถปรับอากาศ
CNG ดีเซล CNG ดีเซล CNG CNG ดีเซล CNG ดีเซล
-
2,650,000 4,000,000 4,300,000 4,600,000 4,900,000 5,400,000 6,000,000 6,500,000 7,500,000
-
-
1,500,000 2,500,000 4,850,000
HINO บริษัท ฮีโนมอเตอรสเซลส (ประเทศไทย) จํากัด โทร. 0-2900-5000 Hotline 0-2900-5260
XZU303R-4W XZU303R-6W XZU343R XZU413R (Hi-Torque) XZU413R (Hi-Speed) XZU423R XZU303R-4W Cooler less XZU303R-6W Cooler less XZU343R Cooler less FC9JEKA (T) FC9JEKA (S) FC9JJKA FC9JELA (T) FC9JELA (S) FC9JJLA (Radial) FC9JLLA (Radial) FG8JGLD FG8JGLT FG8JJLA FG8JMLA FG8JPLA FG8JRLA FG8JPLG (Air Sus) FG8JGLE FG8JJLB FL8JNKA FG8JTKA FL8JNLA FM8JNKD FM8JNLD FM1ANKD T (Bias) FM1ANKD T (Radial) FM1ANKD S (Radial) FM1ANLD T FM1ANLD S FM2PNLD T FM2PNLD S FM2PNLD SPA (ABS) FM1AKKM (Mixer) GY2PSLA (S) GY2PSLA (T) PTO GY2PSLA (S) PTO FG8JGLT FM8JKKA FM1JKKA S FM1AKKA (S) PTO FM1AKLA SPA (ABS) FM2PKLA T FM2PKLA S FM1AKLA (S) PTO FM1AKLA SPA (ABS) RK8JSLA RM1ESKU FG1JPKA NGV FG1JPKA NGV-Carrier FL1JTKA-BGT NGV FM1JNKD-BGT NGV FM1JKKA NGV FM2PNMD FM2PNMD ABS FM2PPKMA FM2PKMA PA FM2PKMA PTO FM2PKMA ABS
4 ลอขนาด 2 ตัน 6 ลอขนาด 2-3 ตัน 6 ลอขนาด 2-3 ตัน 6 ลอขนาดกลาง 6 ลอขนาดกลาง 6 ลอขนาดกลาง 4 ลอ ขนาด 2 ตัน 4 ลอ ขนาด 2-3 ตัน 6 ลอ ขนาด 2-3 ตัน 6 ลอขนาดกลาง 6 ลอขนาดกลาง 6 ลอขนาดกลาง 6 ลอขนาดกลาง 6 ลอขนาดกลาง 6 ลอขนาดกลาง 6 ลอขนาดกลาง 6 ลอขนาดใหญ 6 ลอขนาดใหญ 6 ลอขนาดใหญ 6 ลอขนาดใหญ 6 ลอขนาดใหญ 6 ลอขนาดใหญ 6 ลอขนาดใหญ 6 ลอขนาดใหญ 6 ลอขนาดใหญ 10 ลอ 6x2 10 ลอ 6x2 10 ลอ 6x2 10 ลอ 6x4 10 ลอ 6x4 10 ลอ 6x4 10 ลอ 6x4 10 ลอ 6x4 10 ลอ 6x4 10 ลอ 6x4 10 ลอ 6x4 10 ลอ 6x4 10 ลอ 6x4 10 ลอ 6x4 12 ลอ 8x4 12 ลอ 8x4 12 ลอ 8x4 หัวลาก 6 ลอ หัวลาก 10 ลอ หัวลาก 10 ลอ หัวลาก 10 ลอ หัวลาก 10 ลอ หัวลาก 10 ลอ หัวลาก 10 ลอ หัวลาก 10 ลอ หัวลาก 10 ลอ รถบัส EURO 3 รถบัส EURO 3 6 ลอ NGV ขนาดใหญ 6 ลอ NGV ขนาดใหญ 10 ลอ 6x2 10 ลอ 6x2 หัวลาก 10 ลอ NGV 10 ลอ 6x4 10 ลอ 6x4 หัวลาก 10 ลอ NGV หัวลาก 10 ลอ NGV หัวลาก 10 ลอ NGV หัวลาก 10 ลอ NGV
4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ
110 136 136 136 136 136 110 136 136 145 145 145 175 175 175 175 212 212 212 212 212 212 212 212 212 212 212 251 212 251 330 330 330 344 344 380 380 380 380 380 380 380 212 251 330 330 334 380 380 344 344 251 251 220 220 260 260 260 360 360 360 360 360 360
870,000 910,000 970,000 1,100,000 1,100,000 1,110,000 860,000 900,000 960,000 1,270,000 1,300,000 1,310,000 1,360,000 1,360,000 1,380,000 1,390,000 1,690,000 1,760,000 1,710,000 1,720,000 1,730,000 1,750,000 1,850,000 1,590,000 1,600,000 2,255,000 2,295,000 2,325,000 2,395,000 2,445,000 2,715,000 2,745,000 2,745,000 2,795,000 2,795,000 2,845,000 2,845,000 2,915,000 2,475,000 2,995,000 3,035,000 3,035,000 1,800,000 2,555,000 2,815,000 2,855,000 2,955,000 2,925,000 2,925,000 2,965,000 3,035,000 2,050,000 3,450,000 2,465,000 2,845,000 3,140,000 3,180,000 3,290,000 3,600,000 3,670,000 3,680,000 3,790,000 3,720,000 3,750,000
MAN บริษัท เอ็ม เอ เอ็น คอมเมอรเชียล วีฮีเคิลส (ประเทศไทย) จํากัด โทร. 0-2567-0070-5 MAN-CLA 26.280 6x4 Tractor MAN-CLA 26.280 6x4 Mixer
รถหัวลาก 10 ลอ รถผสมปูน 10 ลอ
-
280 280
2,780,000 2,700,000
SCANIA P380LA6x2MHZ P380LA6x2MNA K94IB4x2NB310 K124IB6x2NB380 K124EB6x2LI420
BT#229_p40-41_Pro1.indd 40
รถหัวลาก รถหัวลาก 6 ลอ 8 ลอ 8 ลอ
6 สูบ 6 สูบ 5 สูบ 6 สูบ 6 สูบ
380 380 310 380 420
3,550,000 3,800,000 3,300,000 4,300,000 4,600,000
GXZ77NAF1K(AERO MAX) GXZ77NF1H (AERO MAX) GXZ77N1H (AERO MAX) GXZ77NAF1K GXZ77NF1H GXZ77NT1H GVR34JH (AERO MAX) GVR34JH FYH77SDM FXZ77QDF1H FXZ77PM FVZ77NL FVZ34PSDFH FVZ34PSDH FVZ34PNDH FVM34TSH FVM34QSH FVM34TNAM FVM34RNAM FVM34QNAM FTR34WNXXN FVM34TNM FVM34RNM FVM90QNM FTR34QXXXN FTR34PZL FTR34LZL FTR34JZL FRR90NZL FRR90LSXXN FRR90HZL FRR90NM FRR90LM FRR90HM NQR75L5AH NQR75H5AH NPR75K5NAH NPR75H5NAH NMR85H5FAH NMR85H5TAH NMR85E5AH NLR85E1AH GXZ78NXCFN (AMAX-A) GVR86KCL (10W 6x2 Aero Max) GVR86KCL (6W 4x2 Aero Max) FXZ78QXBFN FVM86WSCXN FVM86TCM FTR86QCFL NPR82K5CAK NPR82H5CAK NMR82H5CAK
10 ลอหัวลาก สองเพลา 10 ลอหัวลาก สองเพลา 10 ลอหัวลาก สองเพลา 10 ลอหัวลาก สองเพลา 10 ลอหัวลาก สองเพลา 10 ลอหัวลาก สองเพลา 6 ลอหัวลาก (4x2) 6 ลอหัวลาก (4x2) 12 ลอหัวลาก สองเพลา รถบรรทุก 10 ลอ (6x4) รถบรรทุก 10 ลอ (6x4) รถบรรทุก 10 ลอ (6x4) รถบรรทุก 10 ลอ (6x4) รถบรรทุก 10 ลอ (6x4) รถบรรทุก 10 ลอ (6x4) รถบรรทุก 10 ลอ (6x4) รถบรรทุก 10 ลอ (6x4) รถบรรทุก 10 ลอ (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ (6x2) รถบรรทุก 6 ลอ 6 ตัน รถบรรทุก 6 ลอ 6 ตัน รถบรรทุก 6 ลอ 6 ตัน รถบรรทุก 6 ลอ 6 ตัน รถบรรทุก 3 ตัน รถบรรทุก 3 ตัน รถบรรทุก 3 ตัน รถบรรทุก 3 ตัน รถบรรทุก 3 ตัน รถบรรทุก 3 ตัน รถบรรทุก 3 ตัน รถบรรทุก 3 ตัน รถบรรทุก 3 ตัน รถบรรทุก 3 ตัน รถบรรทุก 2 ตัน รถบรรทุก 2 ตัน รถบรรทุก 2 ตัน รถบรรทุก 2 ตัน รถบรรทุกเครื่องยนต CNG รถบรรทุกเครื่องยนต CNG รถบรรทุกเครื่องยนต CNG รถบรรทุกเครื่องยนต CNG รถบรรทุกเครื่องยนต CNG รถบรรทุกเครื่องยนต CNG รถบรรทุกเครื่องยนต CNG รถบรรทุกเครื่องยนต CNG รถบรรทุกเครื่องยนต CNG รถบรรทุกเครื่องยนต CNG
9,839 CC. 9,839 CC. 9,839 CC. 9,839 CC. 9,839 CC. 9,839 CC. 7,790 CC. 7,790 CC. 9,839 CC. 9,839 CC. 9,839 CC. 9,839 CC. 7,790 CC. 9,790 CC. 7,790 CC. 7,790 CC. 9,790 CC. 7,790 CC. 7,790 CC. 7,790 CC. 7,790 CC. 7,790 CC. 7,790 CC. 7,790 CC. 7,790 CC. 7,790 CC. 7,790 CC. 7,790 CC. 5,193 CC. 5,193 CC. 5,193 CC. 5,193 CC. 5,193 CC. 5,193 CC. 5,193 CC. 5,193 CC. 5,193 CC. 5,193 CC. 2,999 CC. 2,999 CC. 2,999 CC. 2,999 CC. 9,839 CC. 7,790 CC. 7,790 CC. 9,839 CC. 7,790 CC. 7,790 CC. 7,790 CC. 4,570 CC. 4,570 CC. 4,570 CC.
360 360 360 360 360 360 300 300 360 360 360 360 300 300 240 300 300 240 240 240 240 240 240 240 240 240 240 240 210 210 210 190 190 190 175 175 150 150 130 130 130 130 354 245 245 354 245 245 220 130 130 130
3,347,000 3,177,000 3,177,000 3,317,000 3,147,000 3,147,000 2,582,000 2,559,000 3,294,000 3,044,000 2,964,000 2,727,000 2,680,000 2,680,000 2,580,000 2,565,000 2,544,000 2,662,000 2,642,000 2,621,000 2,504,000 2,432,000 2,412,000 2,391,000 1,875,000 1,854,000 1,844,000 1,818,000 1,536,000 1,526,000 1,484,000 1,486,000 1,476,000 1,434,000 1,350,000 1,334,000 1,225,000 1,209,000 1,029,000 1,024,000 967,000 937,000 3,957,000 3,754,000 3,394,000 3,844,000 3,456,000 3,375,000 2,580,000 1,627,000 1,617,000 1,432,000
FE71BB8SRDH1 FE73BE6SRDH1 FE84DE6SRDH1 FE85DE7SRDH1 FE85DG7SRDH1 FM65F F1RDH1 FM65F H1RDH1 FM65F M1RDH1 FN61FR2RDH1 FN62FM1RDH1 FN61FM2RDH1 FV51JHR3RDH1 FV51JHR3RDH1
รถบรรทุก 4 ลอ รถบรรทุก 6 ลอ รถบรรทุก 6 ลอชวงมาตรฐาน รถบรรทุก 6 ลอชวงมาตรฐาน รถบรรทุก 6 ลอชางยาว รถบรรทุก 6 ลอ ชวงสั้น รถบรรทุก 6 ลอ ชวงกลาง รถบรรทุก 6 ลอ ชวงยาว รถบรรทุก 10 ลอ ชวงยาวพิเศษ รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลาชวงยาว รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลาชวงยาว รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลาชวงยาว รถหัวลาก 10 ลอ
2,977 CC 2,977 CC 2,899 CC 2,899 CC 2,899 CC 7,545 CC 7,545 CC 7,545 CC 7,545 CC 7,545 CC 7,545 CC 12,882 CC 12,882 CC
125 125 150 150 150 240 240 240 270 240 270 380 380
934,000 985,000 1,069,000 1,207,000 1,217,000 1,770,000 1,785,000 1,830,000 2,525,000 2,475,000 2,635,000 3,150,000 3,220,000
รถหัวลาก NGV 100% TRACTOR Engine Yuchai
YC 340HP YC 340HP
FUSO บริษัท ฟูโซทรัค (ประเทศไทย) จํากัด โทร. 0-2567-2897
DONGFENG บริษัท ดีเอฟ มอเตอร (ไทยแลนด) จํากัด โทร.0-2637-5041-3
DONGFENG CNG DONGFENG 8x4 CNG
SINOTRUK หจก. SSK ทรานสปอรต โทร.08-1641-4299, 08-0020-8899
HOWO Series
รถหัวลาก 10 ลอ รถคารโก รถหัวลาก 12 ลอ
9,700 CC 9,700 CC 9,700 CC
DAYUN บริษัท ดายุน ออโตโมบิล (ประเทศไทย) จํากัด โทร.0-2503-4668-70
CGC4252 6x4 CGC4253 6x4 CGC1250 6x4 CGC1311 8x4 DYX3250 6x4 DYX3251 6x4 DYX3311 8x4 DYX5250 6x4
3,150,000 3,250,000
345 345 345
2,900,000 3,100,000 3,300,000
Tractor (DIESEL) Tractor (CNG) Cargo (DIESEL) Cargo (DIESEL) Truck+เพลาฮับ Truck+ กระบะดัมพ Mining+ กระบะดัมพ Mixer (DIESEL)
9,726 ซีซี 9,726 ซีซี 9,726 ซีซี 9,726 ซีซี 9,726 ซีซี 9,726 ซีซี 9,726 ซีซี 9,726 ซีซี
340 340 340 340 340 340 340 340
2,450,000 2,750,000 2,650,000 2,750,000 2,750,000 3,250,000 3,700,000 2,750,000
รถหัวลาก 6x4 รถหัวลาก 6x4 รถหัวลาก 8x4 รถหัวลาก 6x4 รถหัวลาก 6x4 รถหัวลาก 6x4 รถหัวลาก 6x4
NGV NGV NGV ดีเซล ดีเซล NGV ดีเซล NGV
350 380 350 336 375 336 336 320
2,725,000 2,825,000 3,075,000 2,425,000 2,525,000 2,775,000 2,475,000 3,150,000
SHACMAN บริษัท ไทย ซัน อินเตอร แมชชีน จํากัด โทร. 0-3273-4188
WP12NG350E40 WP12NG380E40 WP12NG380E40 WP10.336 WP12.375N WP10NG366E40 WP10.336 WP12NG330E40 (GAS)
340 340
9/2/13 11:01 PM
BUS&TRUCK MART • BUS&TRUCK 41
ปกษแรก • กันยายน 2556 BUS & TRUCK MART
BT#229_p40-41_Pro1.indd 41
9/2/13 11:01 PM
42 BUS&TRUCK • Q & A
ถามทาง เบาะนั่งรถโดยสาร
มีเบาะรถโดยสารยี่หอไหนบางที่ จะแนะนํ า เพราะผมจะซื้ อ รถ โดยสารใหม จึงตองการเบาะนัง่ ที่ มีคุณภาพ ดวยปจจุบันนี้ ตลาดรถโดยสาร ถือวาเติบโตเปนอยางมาก เริ่ม ตั้ ง แ ต ร ถ พั ด ล ม ที่ ใ ช รั บ ส ง พนั ก งานตามโรงงานต า ง ๆ และใช ทั ศ นาจรสํ า หรั บ นั ก ศึ ก ษา รถโดยสาร ประจําทางและรถทัวร ไมประจําทางที่ใช ทองเที่ยวและเดินทางไปที่ตาง ๆ ธุรกิจเบาะรถโดยสารก็ถือวามีการ แขงขันที่สูงมาก มีเบาะหลากหลายชนิด ใหเลือก เบาะกํามะหยี่ เบาะหนังเทียม และเบาะหนังแท และรถโดยสารบาง ชนิดก็ตองมีเข็มขัดนิรภัยติดตามเบาะที่ นั่งดวย เบาะรถโดยสารที่ ไดคุณภาพมีอยู ดวยกัน 2 ยี่หอ ที่ขอแนะนําเลยคือ เบาะ ของดํารงศิลปและเบาะของศรีไทย ซึง่ ทัง้ สองยีห่ อ นีม้ กี ารพัฒนาเรื1องเบาะคลาย ๆ กัน มีหลายประเภทใหลูกคาเลือกใชตาม ความตองการ โดยสินคาจะมีใหเลือก หากตรงความตองการก็สามารถผลิตตาม จํานวนที่ตองการได และล า สุ ด ก็ ไ ด มี ก ารติ ด ตั้ ง จอ
BT#229_p42-43_Pro1.indd 42
ปกษแรก • กันยายน 2556
เสียงจากผูอาน คุณสารศักดิ์ บัณฑิตยกุล สมุทรปราการ
สวัสดีครับชาว BUS & TRUCK ทุก ทาน ผมเปนสมาชิกของหนังสือพิมพ BUS & TRUCK มาเปนเวลาปกวาแลว ครั บ สํ า หรั บ สิ่ ง ที่ ผ มประทั บ ใจกั บ หนังสือพิมพ BUS & TRUCK ตองบอก วาอยูที่เนื้อหา เพราะแตละเลมขาวสาร เนื้อหาในการนําเสนอเปนที่ถูกอกถูกใจ มากครับ ไมวาจะเปนคอลัมนดับเครื1อง ชม เปรียบเทียบรถเดน รถเพื1อกิจการ พิเศษ หรือเกาะติดพาณิชยนอย ก็ผลัด โทรทัศน ไวดา นหลังเบาะเหมือนกับนัง่ อยู เปลี่ ย นหมุ น เวี ย นกั น มาสร า งความ บนเครื1องบิน และสามารถเลือกดูไดตาม ประทั บ ใจให กั บ ผมได อ ย า งสมํ่ า เสมอ ต อ งการ ทํ า ให ผู โ ดยสารมี ค วามรู สึ ก ส ว นคอลัม น อื1น ๆ ผมก็ ติด ตามอยา ง เหมือนไดผอ นคลายอยูท บี่ า น แมวา เวลา สมํ่าเสมอเชนกัน หนังสือพิมพ BUS & ของการเดิ น ทางจะยาวนาน แต ตั ว ผู TRUCK เปรียบเหมือนสื1อสิ่งพิมพที่ผสม โดยสารเองมีความรูส กึ วาใชเวลาเดินทาง ผสานกั น ระหว า งหนั ง สื อ พิ ม พ แ ละ ที่รวดเร็วขึ้น นิตยสารไดเปนอยางดี ผมคิดวาผมพอใจ ดังนั้น ในการประกอบรถทัวรคัน เปนอยางมาก เพราะ BUS & TRUCK ใหม การเลือกเบาะนั่งของผู โดยสารถือ อั ด แน น ไปด ว ยเนื้ อ หาสาระที่ เ ป น ไดวามีความสําคัญมาก ตองเลือกใหตรง ประโยชน และสามารถนําไปปรับใช ใน กับความตองการของผู โดยสารมากที่สุด ธุรกิจได ในสวนของขอเสนอแนะนัน้ หาก เพราะจะทําใหเกิดความประทับใจและ ตองการหนังสือเพิม่ ผมไมสามารถหาซือ้ กลับมาใชบริการใหมในครั้งตอไป ตามทองตลาดไดเลย เทาที่ทราบมาก็จะ เบาะนั่งทั้งดํารงศิลปและศรีไทยก็ วางขายเฉพาะที่ซีเอ็ดบางสาขาเทานั้น ถื อ เป น ตั ว เลื อ กหลั ก ที่ เ หมาะกั บ รถ ผมคิดวาถา BUS & TRUCK หาซือ้ ไดงา ย โดยสารระดับสูงของทาน กวานี้คงจะดีมากเลยครับ
กองบรรณาธิการ
สวัสดีคะคุณสารศักดิ์ สําหรับคํา ติ - ชมและข อ เสนอแนะ ซึ่ ง ทางกอง บรรณาธิการของ BUS & TRUCK จะนํา ไปพิจารณาเพื1อแก ไขปญหาและพัฒนา ใหดียิ่งขึ้นนะคะ ทางทีมงาน BUS & TRUCK ตองขอกราบขอบพระคุณสําหรับ ทุ ก กํ า ลั ง ใจและคํ า ติ - ชมจริ ง ๆ และ สํ า หรั บ ผู ที่ ติ ด ตามคอลั ม น ป ระทั บ ใจ ตาง ๆ นั้น ทางทีมงานขอสัญญาเลยคะ วาเราจะทําหนาทีข่ องเราอยางดีทสี่ ดุ เพื1อ สรางความประทับใจอยางตอเนื1อง และ คงคุ ณ ภาพมาตรฐานของเราให ก า ว กระโดดขึ้นไปอยางแนนอน เพราะผูอ าน ทุกทานเปรียบเสมือนเพื1อนรวมเสนทาง ที่เราจะเดินเคียงคูไปกับธุรกิจของทาน เพื1อสรางสรรคคุณประโยชนสูงสุดใหกับ ทุกทานนะคะ ในสวนของขอเสนอแนะ เรื1องของการวางขายตามทองตลาด ตอง บอกว า ตอนนี้ กํ า ลั ง อยู ใ นช ว งของการ พิจารณาคะวาเราจะสามารถเพิ่มสนาม ลงขายไดอยางไรบาง เพื1อขาวสารตาง ๆ จะไดถึงมือคุณผูอานไดอยางเต็มที่สุด ทายนี้ทางทีมงานทุกคน ขอใหคุณผูอาน ทุกทานประสบความสุขความสําเร็จใน ชีวิต และติดตามขาวสารจากทางเราได ใหมใน BUS & TRUCK ฉบับหนาคะ
9/2/13 11:04 PM
BT#229_p42-43_Pro1.indd 43
9/2/13 11:04 PM
44 BUS&TRUCK • AUTO GAS
ปกษแรก • กันยายน 2556 AUTO GAS
ปรับราคา LPG คุมหรือไมที่จะใช ข า วการปรั บ ราคาก า ซ LPG ภาคขนสง ที่จะทยอยปรับขึ้นกลางป หนา ตอนนี้เริ่มสงผลกระทบตอกลุม สหกรณแท็กซี่ ไปแลว จนกระทรวง พลังงานตองออกมาประกาศจะอุม ราคากาซ LPG ใหกบั แท็กซีห่ ากยังไม ไดรับการปรับราคาคาโดยสารเมื1อมี การปรับราคากาซ LPG ปจจุบันราคากาซ LPG ที่ใช ใน ภาคขนสง ราคาที่กระทรวงพลังงาน กําหนดอยูที่ลิตรละ 11.56 บาท แต กลางปหนาหลังจากราคากาซหุงตม
ปรับขึ้นไปถึงกิโลกรัมละ 21.38 บาท ทั้ง กาซหุงตมและกาซที่ใช ในรถจะทยอย ปรับขึน้ พรอม ๆ กัน จนราคาขึน้ ไปสูงสุด ที่กิโลกรัมละ 24.82 บาท หรือขึ้นจาก ปจจุบันลิตรละ 11.56 บาท ไปที่ลิตรละ 13.42 บาท ปรับขึ้นลิตรละ 1.86 บาท นีเ่ ปนราคาตามแผนทีก่ ระทรวงพลังงาน จะปรับขึ้นตอนนี้ แตหากจังหวัดไกล ๆ อยางภาคเหนือสุดหรือใตสดุ ราคา LPG จะแพงขึ้นตามคาขนสงที่ตองบวกเพิ่ม เขาไป ดานความประหยัดสําหรับรถที่ใช
LPG ขอมูลจากกรมธุรกิจพลังงาน บอก วารถที่ใช LPG เมื1อเทียบกับคาพลังงาน ความร อ นที่ ไ ด จ ากฐานที่ เ ท า กั น มี ค า ความสิน้ เปลืองตอระยะทางเทากับ 1.33 บาทตอกิโลเมตร ถูกกวาการใชนํ้ามัน เบนซิน 95 ในระยะทางเทากัน แตสิ้น เปลืองมากถึง 4.64 บาทตอกิโลเมตร ใช แกสโซฮอล 95 สิ้นเปลือง 3.67 บาท แกสโซฮอล 91 สิ้นเปลือง 3.93 บาท ตอลิตร ความนิยมเติม LPG ที่เพิ่มขึ้นจึง เปนเหตุผลสวนหนึ่งที่รัฐบาลตองปรับ ราคา LPG ภาคขนสงขึ้น เพื1อลดการนํา เขา LPG จากตางประเทศ และตองการ แกปญ หาลักลอบนํากาซไปใชผดิ ประเภท โดยลักลอบเอากาซหุงตมมาใชในรถหรือ เรือกันมากขึ้น เพราะมีราคาถูกกวาจึง ตองขึ้นราคาใหเทากัน และแกปญหา
ลักลอบนํากาซไปขายประเทศเพื1อน บานดวย ทั้งนี้ ถามาตรการดังกลาวไมมี อะไรเปลีย่ นแปลงประมาณกลางเดือน เมษายน 2557 ราคา LPG ก็นาจะอยู ทีป่ ระมาณ 24-25 บาทตอกิโลกรัม (ถา ตนทุนไมเปลี่ยนแปลง) ซึ่งก็แพงกวา ราคานํ้ามัน E85 ประมาณ 3 บาทตอ หนวย (21-22 บาทตอลิตร) และแพง กวากาซ NGV ประมาณ 14 บาทตอ หนวย (10-11 บาทตอกิโลกรัม) หากเปนเชนนั้นจริง ๆ กาซ LPG ยังคงเปนพลังงานทางเลือกที่นาใชอยู อีกหรือไม ก็ตองลองพิจารณาดู ดวย เหตุผลเรื1องของราคากาซเอง เรื1องการ ดัดแปลงรถ และเรื1องความปลอดภัยใน การใชงาน เมื1อเปรียบเทียบกับพลังงาน เชื้อเพลิงอีกหลาย ๆ ชนิด
พักเครื่อง
❖❖❖ เชลล แ ห ง ประเทศไทย ตอกยํ้ า ความเป น ผู นํ า นวั ต กรรมด า น พลังงาน เปดตัวผลิตภัณฑ ใหม เชลล เฮลิกส HX8 0W-20 เสริมทัพรับการ ขยายตัวของตลาดอีโคคาร ทั้งนี้ เชลล เฮลิ ก ส HX8 0W-20 นํ้ า มั น เครื1อ ง สังเคราะหแท เปดตัวประเทศไทยเปน ประเทศแรกในโลก พรอมนําเสนอความ คุมคาถึง 3 ขอใหกับผูบริโภค 1. ขนาด บรรจุที่ปริมาณ 3 ลิตรตอแกลลอน พอดี ตอการใชนํ้ามันในแตละครั้ง 2. ราคาที่ คุ ม ค า กั บ คุ ณ ภาพนํ้ า มั น เครื1อ ง เกรด สังเคราะห 790 บาทตอแกลลอน 3. ชอง ทางการบริการและจัดจําหนายที่สะดวก และรวดเร็ว พรอมบริการเปลี่ยนถาย นํ้ามันเครื1องแกลูกคาทั่วประเทศ ผาน ศูนย Proserv ในสถานีบริการนํา้ มันเชลล ที่มีอยูกวา 380 แหง ศูนยบริการครบ วงจร A.C.T และรานจําหนายนํ้ามัน
BT#229_p44-45_Pro1.indd 44
เครื1องที่มีมากกวา 16,000 ทั่วประเทศ โดยเชลลยังเสริมไลนนํ้ามันเครื1อง เกรด สังเคราะหแทดวยอีกหนึ่งผลิตภัณฑ คือ เชลล เฮลิกส HX8 5W-40 ใหเปนอีกทาง เลือกหนึง่ กับลูกคาทีม่ องหานํา้ มันเครื1อง คุณภาพสูงอีกดวย ❖❖❖ ปตท. คว า รางวั ล “ป ม คุณภาพ ปลอดภัย นาใชบริการ” มาก ที่สุดในประเทศ ตอเนื1องปที่ 4 ป 2556 นี้ สถานีบริการนํ้ามัน ปตท. จํานวน 603 แหง สามารถควารางวัลจากการประกวด โครงการ “ปมคุณภาพ ปลอดภัย นาใช บริ ก าร” ของกรมธุ ร กิ จ พลั ง งาน กระทรวงพลังงาน ซึง่ นับเปนจํานวนมาก ทีส่ ดุ ของประเทศ จากสถานีบริการนํา้ มัน ที่ไดรับรางวัลทั้งสิ้น 1,021 แหง โดยใน จํานวนนี้สถานีบริการนํ้ามัน ปตท. 59 แหงยังไดรับมอบโลรางวัลพิเศษสําหรับ สถานีบริการนํา้ มันทีส่ ามารถรักษาระดับ
เหรียญทองติดตอกัน 3 ปซอนขึ้นไปอีก ดวย ถือเปนเครื1องพิสูจนถึงความมุงมั่น พัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑใหไดมาตรฐาน สู ง สุ ด และดู แ ลประสิ ท ธิ ภ าพการให บริการอยางตอเนื1องมาตลอด เพื1อตอบ สนองความพึงพอใจของผูบริโภคอยาง ดี WHAT’S NEXT
Toyota Yaris Hybrid-R
Toyota Yaris Hybrid-R ขุมพลัง 4 สูบ 1.6 ลิตร เทอรโบชารจ ผลิตพละกําลัง 300 แรงมา เครื1องยนตทําหนาที่ขับเคลื1อนลอหนา สวนมอเตอร ไฟฟาสองตัวขนาด 60 แรงมา จะถายกําลังสูลอหลัง ดวยระบบขับเคลื1อนแบบลูกผสมดังกลาวทําใหมีพละกําลังสูงสุดรวม กันมากถึง 420 แรงมา
9/2/13 11:07 PM
เกาะติดพาณิชยนอย
Nissan Big Urvan ปลอดภัยกับผูโดยสาร
รถตู โดยสาร ถือเปนตัวเลือก สําคัญอันดับตน ๆ ในการเดินทาง ไม วาจะเปนการทองเที่ยว หรือโดยสาร สาธารณะ เพราะผู โดยสารตองการ ความสะดวกสบาย ความรวดเร็ ว และไปไดตามใจสั่ง ธุ ร กิ จ รถตู โดยสาร จึ ง เป น “ธุรกิจพาณิชยนอย” ที่กําลังเติบโต อยางตอเนื1อง ที่สําคัญมี “มนุษยเงิน เดือน” หลายคนที่สามารถเก็บ “เงิน ออม” ออกรถตูม าเปนธุรกิจของตัวเอง ทีมขาว “เกาะติดพาณิชยนอย” ฉบั บ นี้ ขอแนะนํ า รถตู จ ากค า ย “Nissan” ที่เปดตัวรถตู ใหมในนาม “Big Urvan” ดวยราคา 1,158,000 บาท ซึ่งมีดีไซนขนาดใหญ ใหความ รูสึกถึงความทะมัดทะแมง และโฉบ
BT#229_p44-45_Pro1.indd 45
16 ที่นั่ง พรอมชองแอร 18 จุด มาตรวัด เรื อ งแสงแบบ Multi-information คํานวณอัตราสิน้ เปลืองนํา้ มัน และแสดง การวัดระยะทางขับขีจ่ ากปริมาณนํา้ มันที่ มีอยู ด านเครื1องยนตนั้ น มาพรอมกับ เครื1องยนตดเี ซล 2.5 ลิตร YD25DDTi ขุม พลัง 129 แรงมา 4 สูบ แถวเรียง คอมมอนเรล DOHC 16 วาลว 2,500 ซีซี. เทอร โบแปรผัน VGS Turbo อินเตอร คูลเลอร แรงบิดสูงสุด 356 นิวตันเมตรที่ 1,400-2,000 รอบตอนาที ตอบสนองผาน
ระบบเกียรธรรมดา 5 สปด ข ณ ะ ที่ ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ ช โครงสร า ง Zone Body ให ค วาม ปลอดภัยกับผูโดยสารทีม่ ากขึน้ จากการ ชนจากด า นหน า และกระจายแรง กระแทกจากการชนดานขาง เข็มขัด นิรภัยทุกทีน่ งั่ ถุงลมนิรภัยดานหนาคน ขับ ใหองศาการมองเห็นที่มากขึ้นดวย กระจกมองขางแบบนูน ระบบเบรก ABS ปองกันลอล็อค ดิสกเบรกขนาด ใหญ และ ระบบ BA เสริมแรงเบรก ลดระยะการเบรกใหสั้นลง
เฉี่ยว โดยเฉพาะกระจังหนาโครเมียม แบบ V Shape มือจับประตูทา ยโครเมียม ไฟหนาฮาโลเจน แบบมัลติรเี ฟล็กเตอรที่ ใหความสวางเปนเลิศ ไฟทายประกาย แบบคริสตัล กระจกมองขางระบบไฟฟา ปราดเปรียวดวยการออบแบบที่ลูลมกับ หลักอากาศพลศาสตร (Aerodynamic) ในสวนของหองโดยสารมาพรอม กับพื้นที่ที่กวางขวางรองรับการโดยสาร
9/2/13 11:08 PM
46 BUS&TRUCK • B&T PRODUCTS
ปกษแรก • กันยายน 2556
แนะนําผลิตภัณฑ NOSTRA : GPS Tracking
อุปกรณรับสัญญาณ (A-GPS)
อุ ป กรณ ติ ด ตามตํ า แหน ง รถยนต แ บบ Real-time พร อ มสายอากาศ GSM สามารถระบุตําแหนงบนแผนที่ ไดอยาง แมนยํา ตรวจสอบความเร็วในขณะขับขี่ แจงเตือนระดับนํ้ามันหรืออุณหภูมิที่ผิด ปกติมายังศูนยควบคุม มีระบบแบตเตอรี่ สํารอง และรองรับการ เชื1อมตอระบบเนวิเกเตอร อร
มีชองรับสัญญาณ 32 ชอง ความถี่ 1575 MHz Bandwidth มากกวาหรือเทากับ+/1.023 MHz ขอมูลตําแหนงเอาทพทุ อางอิง กับ WGS-84 ขอมูลที่ ไดจาก GPS เปนไป ตามมาตรฐาน NMEA-0183 สามารถ ทํางานไดที่อุณหภูมิ -40 ถึง +85 องศา เซลเซียส ความไวในการ รับสัญญาณ (High Sensitivity) -161 dBm
บจก.โกลบเทค โทร.0-2266-9940
บจก.ฟอรท แทร็คกิ้ง ซีสเต็ม โทร.0-2615-0808
Delo® 400NG SAE 15W-40
Castrol CRB Turbo
DVR Offline 3G
DVR Offline เปนอุปกรณบันทึกขอมูลภาพ เสียงและพิกัดตําแหนงของ DVR สามารถ ตอบสนองความตองการใหกับระบบขนสง และระบบรักษาความปลอดภัย สามารถเก็บ บั น ทึ ก ข อ มู ล แบบต อ เนื1อ งนาน 7 วั น สามารถเรียกดูภาพและตําแหนงของ DVR ได โดยสามารถโหลดขอมูลยอนหลัง จาก Hard disk ได บจก.ดี.ที.ซี. เอ็นเตอร ไพรส โทร.0-2759-4999 กด 6
ฟลมกรองแสงรถยนต LLumar
เดโล 400 เอ็นจี สูตรเทคโนโลยี ไอโซซิน เป น นํ้ า มั น เครื1อ งพรี เ มี่ ย มสํ า หรั บ เครื1องยนตที่ใชกาซ ชวยในการปกปอง เครื1องยนต สามารถยืดอายุการ เปลี่ยนถายไดยาวนานกวา เหมาะ สํ า หรั บ เครื1อ งยนต ก า ซที่ ใ ช ง าน หนัก ใชไดกับเครื1องยนตเชื้อเพลิง 2 ระบบ
สูตรใหม ถูกออกแบบมาโดยเฉพาะ ซึ่งมีสาร Durashieid Boosters ชวยใหสามารถยืดหยุนการใชงาน เครื1องยนต ไดมากกวา 2 เทา เมื1อ เทียบกับนํ้ามันเครื1องทั่วไป
ลดความรอนและแสงสะทอนเพื1อ ให ก ารตกแต ง ภายในที่ ส ะดวก สบายมากขึ้ น และมี ก ารป อ งกั น แสงอย า งมี คุ ณ ภาพ รู สึ ก ได ถึ ง ความเย็น สามารถกําหนดสีไดเอง เนื้อฟลมมีคุณภาพยอดเยี่ยม
บจก.เชฟรอน (ไทย) จํากัด โทร.0-2696-4123
บจก.บีพี-คาสตรอล (ประเทศไทย) โทร.0-2684-3777
บจก.เทคโนเซล (เฟรย) โทร.0-2885-2500
สเปรยกัดสนิม
เวอเนียรดิจิตอลคาลิปเปอร
กลอง WDR SNC-570P1/3
ประสิ ท ธิ ภ าพสู ง ในการ แทรกซึ ม กั ด สนิ ม เกลี ย ว น็อต เทคโนโลยีใหม เพิ่ม สาร OMC2 สเปรยกัด สนิมคลายเกลียวน็อต ไม กัดยาง โอริงซีล ไมมีสาร resin, กรด acid, ซิลิโคน
เครื1องมือที่มีนํามาใช ในการวัดระยะทาง ภายในและภายนอก มีความแมนยําและ ไฮเทค ทําจากสเตนเลสคุณภาพดี สามารถ วัดเสนผานศูนยกลางไดงา ย ชัดเจน เปลีย่ น ระหวางตัวชี้วัดไดงายและแมนยํา
รุ น ใหม ล า สุ ด ของซั ม ซุ ง Techwin เครื อ ข า ยของกล อ งมี คุณลักษณะหลากหลายพรอมใช ลาสุด SV-IV DSP ชิปเซ็ต และตั ว แปลงสั ญ ญาณที่ ช ว ยให ภ าพที่ มี คุณภาพสูงและความสามารถดานเครือขาย หลายตัวในเวลาเดียวกัน รองรับ JPEG และ ชองเสียบการด SD
บจก.เวือรท (ประเทศไทย) โทร.0-2907-8880
บจก.อินเตอรทูลไทย โทร.0-2313-1199
บจก.กรุงเทพ โอเอ คอมส โทร.0-2576-1466-77
สะพานเชื่อมตูคอนเทนเนอร
GS bettery
ยางเรเดียล SUPERHAWK AWK
อุปกรณชวยยกและเคลื1อนยาย (Mobile loading ramp) ประกอบขึ้นดวย 3 สวน หลักคือ ระบบกลไก, ระบบไฮดรอลิก และ ชิ้ น ส ว นต า ง ๆ ในอุ ป กรณ นี้ จ ะใช ป ม ไฮดรอลิกแบบใชมอื โยก ถูกออกแบบทาง วิศวกรรมเพื1อชวยเคลื1อนยายสินคาหนัก ไดงายขึ้น
GS HYBRID พลังเหนือจินตนาการทางเลือกใหมสําหรับผู ใช รถกระบะพัฒนาเพื1อการใชงานทีส่ มบุกสมบัน และรถยนตทใี่ ช งานหนักทุกรูปแบบพรอมใชทันทีเติมนํ้ากรดและชารจไฟจาก โรงงานเต็มเปยมดวย พลังไฟ อัดแนนดายคุณภาพ พลังแรง ดวยเทคโนโลยีที่เหนือชั้น ถือมั่นใน มาตรฐานระดับสากล
ย า ง เ ร เ ดี ย ล สํ า ห รั บ ร ถ บรรทุ ก และรถบั ส รุ น 11R22.5 – 16PR HK863 โดยมี คุ ณ สมบั ติ เ ด น คื อ สามารถวิ่งไดดีสําหรับรถที่ ใชงานในระยะไกล เลือกยาง คุณภาพ เลือก ยางดี โดนใจ ใชแลวรวย
บจก.ซิ่นหงไท กรุป โทร.0-3446-9669
บจก.สยามยีเอสเซลส โทร.0-2215-0830 ตอ 1471
บจก.ที เอช ดี ริชไทน โทร.0-2153-3153
มัลติมีเดีย Clarion
Clarion กาวไกลไปนอกโลก - ชุดเครื1อง เสียง A/V ติดรถยนตเครื1องแรกของโลก ทีข่ นึ้ สูอ วกาศ เครื1องเลน DVD มัลติมเี ดีย ของ Clarion จะไดรับการติดตั้งในสถานี อวกาศนานาชาติ
บจก.Clarion สํานักงานใหญ โทร 0-24614-8400
BT#229_p46-47_Pro1.indd 46
ล็อคยางอะไหลออโต
AC STAG 200 รองรับเครื่องยนต 4 สูบ
ติดตั้งงาย ใชงานสะดวก ผลิตจากเหล็กคุณภาพสูง สลักล็อค ทําจากเหล็กชนิดพิเศษ ทนตอการกระแทกและการเจาะทําลาย มีฝาเปด-ปดรูกญ ุ แจ ปองกันนํา้ และโคลนเขาในรูกญ ุ แจ ทําให มีอายุการใชงานนานกวา สามารถปรั บ ระดั บ แม กุญแจใหแนบกระทะลอ จึงยากตอการโจรกรรม
กลองประมวลผล (ECU) จายแกสไดทงั้ ระบบ Full group และ Sequental สามารถเลือกรุนที่เหมาะสมกับเครื1องยนต 4 สูบ ใชระบบอิเล็กทรอนิกส พรอมซอฟทแวร สําหรับการตัง้ คาการ ทํางานของแกสอยางละเอียดให ใกลเคียง กับการทํางานของ ระบบนํ้ า มั น มากที่ สุ ด มี สัญญาณเตือนเมื1อแกสหมด และตั ด เป น ระบบนํ้ า มั น อัตโนมัติแบบไมสะดุด
บจก.แมสแอคเซ็สซอรี่ โทร.0-2361-2223
บจก.ทีโอ โทร.0-2941-9508
9/2/13 11:12 PM
SPECIAL REPORT • BUS&TRUCK 47
ปกษแรก • กันยายน 2556
SPECIAL REPORT
กรมขนสงฯ กาวสูปที่ 73 พัฒนาบริการ สะดวก และปลอดภัย
กรมการขนสงทางบกครบรอบ 72 ป อยางเปนทางการแลวเมื1อวันที่ 11 สิงหาคม 2556 ทีผ่ า นมา และกําลังกาว ขึ้นสูปที่ 73 ดวยการยกระดับการให บริการ และเนนความสะดวกปลอดภัย ภายใตการนําของ “คุณสมชัย ศิรวิ ฒ ั นโชค” อธิบดีกรมการขนสงทางบก งานฉลองครบ 6 รอบครั้งนี้ จัดขึ้น ในวันที่ 9 สิงหาคมที่ผานมา ซึ่งมีการ แสดงนิทรรศการผลงานความกาวหนาใน งานด า นบริ ก ารที่ ทํ า ให ส ามารถได รั บ รางวั ล ด า นคุ ณ ภาพการให บ ริ ก าร ประชาชน จากสํานักงานคณะกรรมการ พัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) 10 ปซอน (ระหวางป พ.ศ.2546-2556) ซึง่ ไดแกงาน บริการที่ใชนวัตกรรมใหม ๆ ที่เปนที่รูจัก กั น อย า งแพร ห ลายในป จ จุ บั น เช น โครงการพั ฒ นาการให บ ริ ก ารด า น ทะเบี ย นรถรู ป แบบใหม ก ารให บ ริ ก าร “เลื1อนลอตอภาษี” Drive Thru for Tax ชําระภาษีรถ ณ ชองทางพิเศษโดยไมตอ ง ลงจากรถ โครงการออกหน ว ยเคลื1อ นที่ รั บ ชํชาระภาษีรถประจําปที่หางสรรพสินคา ห อแหลงชุมชน “ชอปใหพอ แลวตอ หรื ภ ” Shop Thru for Tax รับชําระภาษี ภาษี รรถผ า นห า งสรรพสิ น ค า บิ๊ ก ซี ใ นเขต กกรุงเทพฯ และปริมณฑล 13 สาขาที่เปด ใใหบริการในวันหยุดเสาร-อาทิตย ทีข่ ณะ นี้ ไดขยายชองทางไปยังหางสรรพสินคา เ นทรัลรามอินทรา และ ศูนยการคา เซ็ พพาราไดซพารค ศรีนครินทรดวย เพื1อ สสามารถอํานวยความสะดวกประชาชน ชํช า ระภาษี ไ ด ใ นวั น หยุ ด อี ก ทั้ ง ยั ง ได ย ก ร บการทดสอบภาคทฤษฎีดวยระบบ ระดั อิอิเล็คทรอนิกส (E-exam) ที่นําระบบ ค วเตอรมาใชเทียบเทาระบบสากล คอมพิ
BT#229_p46-47_Pro1.indd 47
ซึง่ มีใหเลือก 5 ภาษาไดแก ไทย อังกฤษ จีน ญี่ปุน ยาวี อธิ บ ดี ก รมการขนส ง ทางบก กลาววา โครงการที่จะริเริ่มดําเนินการ ตอไป เพื1อมุง อํานวยความสะดวกในการ ให บ ริ ก ารและความปลอดภั ย แก ประชาชน โดยเตรียมเปดใหบริการรับ ชํ า ระภาษี ร ถยนต ป ระจํ า ป บ นมื อ ถือ รองรับกระแสความนิยมในความ สะดวกของการใชเทคโนโลยีมือถือใน ปจจุบัน ซึ่งนับเปนอีกทางเลือกสําหรับ คนรุน ใหม พรอมเปดใหบริการปลายปนี้ นอกจากนี้ ยังเตรียมใชชองทาง เทคโนโลยีสื1ออินเตอรเน็ต เผยแพร แนวความรูเกี่ยวกับการทดสอบภาค ทฤษฎี ในการขอรับใบอนุญาตขับรถ เพื1อใหประชาชนศึกษากอนเขารับการ ทดสอบจริง เพื1อเปนการเตรียมนักขับขี่ ที่มีความรูออกสูทองถนน เตรียมทํา สมารทการดแทนเลมทะเบียนรถยนต เพื1อความสะดวกการใชงาน และทําโครงการ “เลดี้แท็กซี่” ทางเลือกใหมเพิ่มความปลอดภัยให สตรี และเพื1อ เน น ยํ้ า เรื1อ งความ ปลอดภัย ไดมีการนําเทคโนโลยีเครื1อง ตรวจจั บ รถโดยสารสาธารณะด ว ย เลเซอร และ GPS ความเร็วรถโดยสาร สาธารณะ ซึ่งอนาคตเตรียมจัดตั้งศูนย ขอมูลประวัติผูขับรถสาธารณะเพื1อคัด กรองผูที่มีคุณภาพสูทองถนน ซึ่งในป ที่ 73 กรมการขนสงฯพรอมนําแนวคิด เดินหนาพัฒนาสงเสริมความปลอดภัย อยางไมหยุดยั้ง “จะมุง มัน่ พัฒนางานดานบริการ อยางตอเนื1อง เพื1อลดขั้นตอนในการ ติดตอราชการ และสรางความพึงพอใจ แกผู ใชบริการ โดยขอความรวมมือ ประชาชนติดตอราชการกับกรมฯดวย ตนเอง โดยใหติดตอกับเจาหนาที่ผู ปฏิบัติงานโดยตรง อยาหลงเชื1อผูแอบ อาง หากไม ไดรับความสะดวกใด ๆ กรุณาแจงเจาหนาที่กรมฯ หรือแจงที่ Call Center 1584”
9/2/13 11:13 PM
R1_BT#229_p48_Pro1.ai
1
9/3/13
9:22 PM