# 1 เ พ� อ ผู ป ร ะ ก อ บ ก า ร ร ถ พ า ณิ ช ย
กาวสูปที่ 12
ฉบับที่ 266
www.BusAndTruckMedia.com
ปกษหลัง มีนาคม 2558 40 บาท
เบาะรถโดยสารแขงเดือด เนนคุณภาพ
คําถามสังคม
ทําไมรถเมลรวม ไมยอมจายสัมปทาน ดับเคร�องชม
Dark Diamond เพชรทมิฬ 04 เปรียบเทียบรถเดน
สุดยอดรถโม ลุยงาน กอสราง
LOGISTICS NEWS
สํานักโลจิสติกส สงเสริมการใช RFID AUTO GAS
24
ผลิตชิน้ สวนยานยนตสง โรงงานประกอบ รถยนตทงั้ ในและตางประเทศ เชีย่ วชาญ ในเรื1องการผลิตเบาะรถยนต อุปกรณ ปรับเอนเบาะ เข็มขัดนิรภัย รางเลื1อน อานตอหนา 38
โฟตอน ประกอบเพิ่ม 3 รุน ไบเบน นํารองรถจีนคายแรก ตั้ง R&D พัฒนาคุณภาพ เจาะตลาดนําเขา-สงออก
28
XR-PHEV II ไฮบริด plug-in 44
B&T#266_p1_imac2.indd 2
ตลาดธุรกิจเบาะรถโดยสารยังคง ให ไดสวนแบงทางการตลาดที่มากขึ้น เติ บ โตอย า งต อ เนือ1 ง เนื1อ งจากเป น เบาะศรีไทย ใสใจสุขภาพผูใช อุปกรณสาํ คัญของรถทุกประเภททีต่ อ ง คุณภาพที่ลูกคาเชื่อมั่น ใช บริษัทผูผลิตเบาะรถจึงตองพัฒนา บริษัท ศรีไทย โอโตซีทส อินดัสตรี คุณภาพใหเปนที่พอใจของลูกคา เพื1อ มีประสบการณในการดําเนินธุรกิจเปนผู
คายโฟตอน เตรียมขยายตลาดเพิ่ม เล็งประกอบรถ ใหญเพิ่มอีก 3 รุน ทั้งรถ 10 ลอ 340 แรงมา รถ 6 ลอ 170 แรงมา และ 240 แรงมา เสริมแกรงรถ 10 ลอ 275 แรงมารุนแรกที่ประกอบไปเมื1อป 57 วางเปายอดขายตอง ไดรวม 600 คัน เดินหนาตั้งศูนย R&D ในป 59 เพื1อพัฒนา
คายไบเบนสรางประวัติศาสตรเปนรถใหญจากจีนคาย แรกทีก่ ลุม นําเขา – สงออกเลือก เพราะคุณภาพเทียบเทารถ ญี่ปุน แตราคาถูก ขายไดเกินคาดถึง 45 คัน มั่นใจปนี้เปา 120 คันทําไดแน สงรถบรรทุกเล็กชินเลเจาะกลุม สหกรณฯที่ สงขลาตองไดอยางนอย 800 คัน เสริมดวยตลาด SMEs ขาย
อานตอหนา 39
อานตอหนา 39
3/12/2558 BE 8:20 PM
B&T#266_p2_imac2.pdf
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
1
3/12/2558 BE
8:25 PM
บริษทั เบสท์รนิ กรุป๊ จ�ำกัด 60/111 หมู่ 1 ถนนบำงนำ-ตรำด กม. 12.5 ต�ำบลรำชำเทวะ อ�ำเภอบำงพลี จังหวัดสมุทรปรำกำร 10540
โทร. 02 750 3901 แฟกซ์. 02 750 0225 มือถือ 089 801 7777 Email.
B&T#266_p3_imac2.indd 3
info@bestlingroup.com Website. www.bestlingroup.com Facebook : Sunlong Thailand 3/12/2558 BE 8:22 PM
04 BUS&TRUCK • BUS & TRUCK SHOW
ปกษหลัง • มีนาคม 2558
ดับเครื่องชม
Darkเพชรทมิ Diamond ฬ
สแกนเนีย จากประเทศสวีเดนหนึ่งในรถหัวลากที่ ไดรับความนิยมทั่วโลก ดวยการรวบรวมเอาประสบการณ อันยาวนานหลายทศวรรษจึงทําใหรถบรรทุกขนสงระยะไกลของ สแกนเนีย โลดแลนอยูท กุ ถนนขนสงทัว่ โลกสําหรับ สิง่ ทีจ่ ะนําเสนอในขณะนีค้ อื รถหัวลากทีถ่ กู ผลิตขึน้ ไมกคี่ นั เทาแถมชื1อฟงดูแลวหรูหราแตแอบแฝงไวดว ยความทรง พลัง Dark Diamond Limited edition V8 series สําหรับรุนนี้ไดถูกผลิตขึ้นมาราว ๆ 5 ป เห็นจะไดแตทําไมถึง ตองหยิบยกมาให ไดชมกัน เพราะความชอบสวนตัวลวน ๆ ที่ถูกสะกดไวดวยความงาม จึงขอตั้งชื1อเรียกวา “เพชรทมิฬ”
เพชรทมิฬ คันนีม้ ดี อี ยางไรก็ตอ ง บอกวาเครื1องยนตที่ทรงพลังนั่นเองที่ ถูกบรรจุไว ในความหรูหราของตัวรถสี ดําเงา โดยมาพรอมเครื1องยนตขนาด ยั ก ษ ก ารั น ตี ค วามแรง V8 สํ า หรั บ ขนาด 8 สูบ 16 ลิตร ออกแบบใหมี
B&T#266_p4_imac2.indd 4
มาตรฐานดานตนทุนตํ่าประหยัดนํ้ามัน กําลังสูงสุด 456 กิโลวัตต เรียกพลังแรง ทีส่ งู ถึง 620 แรงมา ที่ 1,900 รอบตอนาที ใหแรงบิดสูงที่ 3,000 นิวตันเมตร ที่ 1,000-1,400 รอบตอนาที มาตรฐาน ไอเสียเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ยูโร 5
ไม ว า จะรู ปลั ก ษณ ห อ งโดยสาร การสงกําลังของเครื1องยนต และแชสซีส ในรูปแบบของ Scania ลวนถูกออกแบบ มาเพื1อสนับสนุนการขับขี่และชวยเหลือ ในการตัดสินใจ เพื1อตอบสนองตอผูขับขี่ การเตรียมเครื1องยนตทพี่ รอมตอบสนอง การขับขี่แบบเปนเลิศ หากเกิดอุบัติเหตุ จริ ง ๆ นั้ น สามารถเชื1อ ได เ พราะห อ ง โดยสารทีถ่ กู สรางขึน้ ดวยเหล็กแกรงและ ระบบทรงตั ว ที่ ดี เ ยี่ ย มจะไม ล ดความ สามารถในการขับขี่แตอยางใด สามารถลดการสึกหรอของระบบ เบรกหามลอชวยใหเขาศูนยบริการนอย ลง ไดรับประโยชนดวยการเพิ่มเวลาการ ใชงานและลดตนทุนการทํางานแบบผสม ผสานดวยระบบ EBS หรือที่เรียกกันวา ระบบควบคุมเบรกดวยอิเลคทรอนิค กับ ระบบดิสกเบรกทุกลอนัน่ เอง หมายความ ว า ความสึ ก หรอนั้ น จะเท า กั น ทุ ก ล อ ปลอดภัยหายหวงประหยัดคาใชจายไดดี
เยี่ยม
ระบบชางลางเพลาหนา เปน แบบพาราโบลิคสปริง พรอมกันโคลง หนา เพลาหลังแบบถุงลม สําหรับการ ใชงานหนัก ควบคุมระดับโดยเครื1องมือ อิเล็คทรอนิค ELC ระบบเบรก 3 วงจร อิสระ สําหรับลอหนา ลอหลังและเบรก จอด จะเปนแบบดิสกเบรกควบคุมดวย ระบบทํางานไฟฟา พรอมระบบชวย เบรก ABS และเบรกไอเสีย เพื1อชวย เพิม่ ความสามรถในการทรงใหดขี นึ้ จึง ไววางใจไดเลย รถบรรทุ ก ขนส ง ระยะทางไกล แบบ R series นั้นสามารถตอบสนอง เรื1องการใชงานและความสะดวกสบาย ไดอยางลงตัว ความสบายดวยหัวเกง นอนให เ ลื อ ก 3 แบบ เช น กั น คื อ หลังคาปกติ หลังคาสูง และหลังคาสูง พิ เ ศษ ซึ่ ง ได อ อกแบบมาเพื1อ ความ พอใจสํ า หรั บ ผู ใ ช แต สํ า หรั บ ชนิ ด หลังคาสูงพิเศษนัน้ เปนคําตอบทีล่ งตัว สําหรับการขนสงระยะทางไกล และ การขนสงระหวางประเทศ จะดูโอโถง สะดวกสบายอยางเห็นไดชัด การดี ไ ซน ภ ายนอกนั้ น มี ค วาม หรูหราเปนพิเศษการวางทอไอเสียดาน ขางใตบันไดก็ถือวาดูดีทีเดียวไมทําให มองวาเปนรถบรรทุกแตมองเห็นถึง กลิน่ อายแบบสปอรต กระทะลอมันเงา มีประกายดุมลอสัญลักษณความเปน ตัวตนของสแกนเนีย กริฟฟน สัตวใน เทพนิยาย ครึ่งนกอินทรีครึ่งสิงโตที่ พร อ มจะโลดแล น สู เ ส น ทางขนส ง ทั้งหมดนี้ตองเอยวาสวยบาดใจอยาง ยิ่งสําหรับ Dark Diamond Limited edition V8 series “เพชรทมิฬ”
3/12/2558 BE 8:34 PM
B&T#266_p5_imac2.pdf
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
1
3/12/2558 BE
8:32 PM
06 BUS&TRUCK • SPECIAL PURPOSE VEHICLE
ปกษหลัง • มีนาคม 2558
รถเพื่ อกิจการพิ เศษ
TRAKKER
สายแข็งเพื่องานหนัก
รถบรรทุกหนักถือวาเปนสวนหนึ่งของความสําเร็จในโครงการกอสรางขนาดใหญมากมายในโลกซึ่งถูกนํามา ใชเพื1อขนสงวัตถุที่มีนํ้าหนักมากหรือขนถายวัสดุเพื1อใช ในงานกอสราง IVECO TRAKKER ก็เชนกันที่ถูกนําไปใช รถบรรทุกรุนนี้เปนใชในเหมืองหินปูน ที่ จ ะต อ งขนส ง หิ น ปู น ไปบนถนนที่ ปฏิบัติงานมากมายขณะนี้ IVECO ถือวาเปนแบรนดชั้นนํา ของอิ ต าลี ที่ มี สิ น ค า มาก มายและ ครอบ คลุ ม ความต อ งการด า นการ ขนสงไมวา จะเปนรถกิจการพิเศษทีถ่ กู สรางขึน้ อยางลํา้ สมัยเพื1อการดับเพลิง หรือรถหัวลากที่ไดรบั รางวัลก็เคยมีมา แลว รถตูแ ละรถบรรทุกขนาดเล็กก็ได รับความนิยมอยางมาก รถโดยสารก็ ครองใจผู ใชงาน IVECO TRAKKER ก็เปนอีกหนึง่ ผลิ ต ภั ณ ฑ เ พื1อ งานหนั ก โดยเฉพาะ โครงสรางตาง ๆ ถูกออกแบบมาเพื1อ งานบรรทุกหนักรวมถึงเครื1องยนตทรง พลังที่พรอมสนับสนุนการขับเคลื1อน
B&T#266_p6_imac2.indd 6
ไปได ทุ ก เส น ทาง สํ า หรั บ ในรุ น นี้ มี เครื1องยนตใหเลือกถึง 2 รุนดวยกัน คือ เครื1องยนต Cursor 8 ขนาด 7.8 ลิตร ที่ จะมี กํ า ลั ง เริ่ ม ตั้ ง แต 270, 310, 352 แรงม า ส ว นอี ก รุ น จะเป น เครื1อ งยนต ขนาดใหญหนอยคือเครื1องยนต Cursor 13 ที่มีขนาดสูงถึง 12.9 ลิตร โดยมีพละ กําลังเริ่มตั้งแต 380, 440, 480 แรงมา โดยเครื1องยนตขนาด 13 ลิตร ถือวาไดรบั ความนิยมอยางมากในรถยุโรปเนื1องจาก มีการใชงานหนัก สําหรับระบบขับเคลื1อนนั้นจะเปน ระบบเกียร Euro Tronic ขนาด 12 สปด ของ ZF เกียรที่ ไดรับความนิยมทั่วโลก
เลยก็วา ไดเนื1องจากมีคณ ุ ภาพการใชงาน ทีท่ นทานตอการใชงานหนัก โดยถูกนํามา ใช ในโมเดล 4x4 และ 6x6 เทานั้น นํ้าหนักบรรทุกที่ ไดรับอนุญาตนั้น จะขึ้นอยูกับโมเดลโดยเริ่มจาก 20 ตัน 4x2, 33 ตัน 6x4 หรือ 6x6, 40 ตันและ 56 ตัน จะเปนขนาด 8x4 สําหรับขนาด บรรทุกนี้จะเปนกฎระเบียบของสถานที่ กอสรางของตางประเทศและตองเปดไฟ ฉุกเฉินอยูต ลอดเวลาเพื1อความปลอดภัย ในการทํางาน IVECO TRAKKER ถือวาเปนอีกรุน ที่ เ หมาะสมกั บ งานก อ สร า งหรื อ งาน เหมืองตาง ๆ เพราะในตางประเทศก็นํา
จํากัดมาก เรื1องความปลอดภัยและ เครือ1 งยนตถือวาตองมีประสิทธิภาพ สูงเลยก็วา ได สําหรับผูท สี่ นใจปจจุบนั ในประเทศไทย IVECO ก็ไดเขามาทํา ตลาดแลวและมีผูแทนนําเขาและจัด จํ า หน า ยในประเทศไทยแต เ พี ย งผู เดียวคือ บริษทั เอสเอสเค กรุป เซลส แอนด เซอรวสิ จํากัด ที่ไดรบั การแตง จากบริษัทแม IVECO อิตาลี และ สามารถจํ า หน า ยผลิ ต ภั ณ ฑ ทุ ก ประเภทไดอยางครบถวนสนใจรุน ไหน สอบถามกันไดเลย เพราะในปนวี้ งการ ขนสงก็จะมีชื1อของรถบรรทุก IVECO บรรจุอยูในยอดจดทะเบียนจากกรม ขนสงอยางแนนอน
3/12/2558 BE 8:38 PM
B&T#266_p7_imac2.pdf
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
1
3/12/2558 BE
8:40 PM
08 BUS&TRUCK • BUSINESS CATALYST
ปกษหลัง • มีนาคม 2558
คันเร่งธุรกิจ
ตองรอถึงกลางป? เรื1องราวที่รัฐบาล และ คสช. ตางเรง ดําเนินการในขณะนี้ ก็คือเรื1องการเรงสะสาง ปญหาเดิมทีร่ ฐั บาลชุดเกาไดสรางไวพรอมทัง้ พยายามรางรัฐธรรมนูญใหมใหเสร็จทันเลือก ตั้งในตนปหนา ซึ่งถือวาไมไดเรงใหเศรษฐกิจโดยรวม เติบโตขึ้นในเร็ววัน ใหทุกอยางเดินหนาไปตาม สภาพตลาด เมื1อไมมตี วั เรง ทุกอยางก็จะเติบโต ขึ้นอยางชา ๆ ซึ่งไมทันกับความตองการของ อุ ต สาหกรรม ที่ ต า งลงทุ น ไปแล ว เป น เงิ น มหาศาล เรียกวาเงินจม แถมยังมีนกั ลงทุนตาง ชาติที่เตรียมมาลงทุนอีกหลายหมื1นลานบาท ก็ คงจะตองอยูใ นสภาพเดียวกันคือ ทุนจมนัน่ เอง หากมองไปในอดีตทีผ่ า นมา คายรถใหญ ทุกคายตางลงทุนกันอยางมหาศาล เพือ1 ขยาย โรงงาน เพิ่มกําลังการประกอบ ทั้งเพื1อขายใน ประเทศ และสงออกไปยังตางประเทศ ซึง่ ถือได วา เปนการคาดการณทผี่ ดิ คาดไปอยางมาก ทัง้ เศรษฐกิจในประเทศยังไมฟน รวมทัง้ เศรษฐกิจ ในประเทศตาง ๆ ทั่วโลกดวย จึงเห็นไดวาทุกคายตางใชเงินลงทุนไป แลว แตไมสามารถใชกาํ ลังการผลิตไดอยางเต็ม ที่ อยางบางคายมีกําลังการผลิตมากถึงปละ 25,000 คัน แตผลิตจริงเพียงแค 10,000 คัน เทานั้น ธุรกิจตาง ๆ ที่ตอเนื1อง รวมถึงโรงงาน ประกอบของตัวเองก็ตองพบกับทุนจม แตการมองโลกในแงดีถือวา เปนสิ่งที่ สมควรทําเปนอยางมาก อยางเมื1อปลายป 2557 ที่ผานมา มองวาตนป 2558 ทุกอยางจะดีขึ้น แตเมื1อยังเหมือนเดิมก็ตองมองตอไปในภาพดี วา กลางป 2558 นี้ ทุกอยางจะเริ่มสดใสขึ้น ทําจิตใจใหสดใสมองโลกในแงดี อยา จับผิด ถาเอาแตพูด มือไมทํา โลกรอบขางก็จะ เหี่ยวเฉา บรรณาธิการอาวุโส นิตยสาร BUS & TRUCK คณะผูจัดทําฝายบริหาร บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด 200/7-14 ชั้น 7 อาคารเออีเฮาส ซ.รามคําแหง 4 แขวง/เขต สวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250 โทรศัพท (66) 2717-2477 โทรสาร (66) 2318-4689, (66) 2717-2469 คณะที่ปรึกษา ดร.ปราจิน เอี่ยมลําเนา, ชยาวุธ จิรธันท, ยู เจียรยืนยง พงศ, บุนเอี้ยน ศรีแสนสุชาติ, วรพจน แสงทวีสิน, เถลิง พลวรรณาภา, ชูชาติ สวางสําลี, ดร.วสุเชษฐ โสภณเสถียร, คุณวรวิทย เจริญวัฒนพันธ, คุณสมชาย ทองคําคูณ ทีมงานฝายบริหาร กรรมการผูจัดการ คุณชาตรี มรรคา รองกรรมการผูจัดการ คุณศุภแมน มรรคา รองกรรมการผูจัดการ คุณศุภวาร มรรคา Publishing Director คุณปยะนุช มีเมือง ฝายขายโฆษณา Sales Director คุณศุภแมน มรรคา supaman@ttfintl.com ผูจัดการโฆษณา สุจิตรา สงครามรอด แผนกโฆษณา นิภาพร ทุมสอน นัฐพล วณิชกูร ชญานิน มาศเมธา เลขาแผนกโฆษณา บุตรตรี สงางาม ฝายกองบรรณาธิการ บรรณาธิการอาวุโส เสกสรรค ไชยเผือก หัวหนากองบรรณาธิการ พฤกษ ดานจิตรตรง ผูชวยหัวหนากองบรรณาธิการ ธัญพร ขันธสิทธิ์ กองบรรณาธิการ จักรพรรดิ์ โสภา เลขากองบรรณาธิการ มณีรัตน วัฒตะนะมงคล ที่ปรึกษากองบรรณาธิการ อรุณ เหลาวัฒนกุล สมาชิก วิวรมาศ แกวศิริ เว็บไซต BusAndTruckMedia.com การเงิน แสงอรุณ มงคล ศิลปกรรม ธีระ พุมขํา BIP GROUP พิมพ กรังดปรีซ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด มหาชน จัดจําหนาย เวิลดออฟดิสทริบิวชั่น โทร. 0-2744-6888 ติดตอฝายขายโฆษณา โทรศัพท (66) 2717-2477 ติดตอฝายสมาชิก โทรศัพท (66) 2717-2477 ติดตอฝายกองบรรณาธิการ โทรศัพท (66) 2717-2477
B&T#266_p8-9_imac2.indd 8
ไตรมาสแรกสอแววยอดตก สองเดือนขาย 3,772 คัน
ยอดรถใหญ 2 เดือน ป 58 ขาย ได 3,772 คัน นอยกวาชวงเดียวกันของ ปที่แลวขายได 3,840 คัน คายอีซูซุเปน ผูนํา 1,748 คัน ตามมาดวยฮีโนขายได 1,674 คัน อันดับสามฟูโซ 189 คัน และ อันดับสี่ ยูดี ทรัคส 31 คัน สวนคาย ยุโรปทางวอลโวขายได 110 คัน อันดับ สองสแกนเนียขายได 19 คัน รายงานจากบริษทั ฮีโน มอเตอรส เซลส (ประเทศไทย) จํากัด ผูรวบรวม ยอดขายรถใหญทกุ ยีห่ อ เปดเผยวา ใน 2 เดือน คือตั้งแตเดือนมกราคมถึงเดือน กุมภาพันธ ป 2558 มียอดขายรถใหญทกุ ยีห่ อ จํานวน 3,772 คัน ซึง่ ในชวงเดียวกัน ของปที่แลวขายได 3,840 คัน และเดือน กุมภาพันธ ป 2558 ขายได 1,890 คัน โดยยีห่ อ อีซซู ขุ ายไดมากทีส่ ดุ 2 เดือนแรก ขายได 1,748 คัน ในชวงเดียวกันของป ที่แลวขายได 1,818 คัน และในเดือน กุมภาพันธ ป 2558 ขายได 897 คัน อันดับสองคือฮีโน 2 เดือนแรกขายได 1,674 คัน ในชวงเดียวกันของปที่แลว ขายได 1,597 คัน และในเดือนกุมภาพันธ ป 2558 ขายได 810 คัน อันดับที่สามคือฟูโซ 2 เดือนแรก ขายได 189 คัน ในชวงเดียวกันของปที่ แล ว ขายได 193 คั น และในเดื อ น กุมภาพันธ ป 2558 ขายได 103 คัน อันดับสี่ ยูดี ทรัคส 2 เดือนแรกขายได 31 คัน ในชวงเดียวกันของปทแี่ ลวขายได 34 คัน และเดือนกุมภาพันธขายได 15 คัน สวนคายยุโรปใน 2 เดือนแรกยี่หอ ทีข่ ายไดมากสุดคือวอลโว 110 คัน ในชวง เดียวกันของปทแี่ ลวขายได 140 คัน และ ในเดือนกุมภาพันธ ป 2558 ขายได 55 คัน อันดับสองสแกนเนีย 2 เดือนแรกขาย ได 19 คัน ในชวงเดียวกันของปทแี่ ลวขาย ได 47 คัน และเดือนกุมภาพันธ ป 2558 ขายได 10 คัน สวนรถโดยสารใน 2 เดือนแรกยีห่ อ ทีข่ ายไดมากทีส่ ดุ คือวอลโวขายได 21 คัน
ในชวงเวลาเดียวกันของปท่ีแลวขายได 28 คัน และเดือนกุมภาพันธป 2558 ขาย ได 10 คัน อันดับทีส่ องสแกนเนีย 2 เดือน แรกขายได 11 คัน ในชวงเวลาเดียวกัน ของปทแ่ี ลวขายได 36 คัน และกุมภาพันธ ป 2558 ขายได 5 คัน รถบรรทุก 2-3 ตัน 2 เดือนแรกยีห่ อ ที่ขายไดมากสุดคืออีซูซุขายได 443 คัน ในชวงเวลาเดียวกันของปท่ีแลวขายได
444 คัน และเดือนกุมภาพันธป 2558 ขายได 215 คัน อันดับทีส่ องฮีโน 2 เดือน แรกขายได 190 คัน ในชวงเวลาเดียวกัน ของปที่แลวขายได 147 คัน และเดือน กุมภาพันธ ป 2558 ขายได 90 คัน อันดับ สามฟูโซ 2 เดือนแรกขายได 14 คัน ใน ชวงเวลาเดียวกันของปที่แลวขายได 28 คัน และเดือนกุมภาพันธป 2558 ขายได 8 คัน
ขสมก. เริ่มปวนหนัก ประมูลรถเมล NGV แหว ขสมก. เริ่มวิกฤตหนัก รัฐบาล ใหม ยั ง ไม ล งมาดู แ ลเต็ ม ตั ว เผย โครงการรถเมล NGV เริ่มสอแวววืด แมจะจัดประมูล 489 คัน มีเพียงหนึง่ บริษัทผานมาตรฐาน เตรียมเรื1องให รัฐบาลปรับเปลี่ยนใหมทั้งหมด แหลงขาวระดับสูงจากองคการ ขนสงมวลชนกรุงเทพ หรือ ขสมก. เปด เผยวา ขณะนี้ทางผูบริหารของ ขสมก. ไดเกิดวิกฤตหนักไมสามารถดําเนินตาม แผนการเดิมที่ ไดวางไว ได เห็นไดจาก เมื1อวันที่ 6 มีนาคม 2558 ที่ผานมา โครงประมูลรถเมล NGV จํานวน 489 คัน ซึง่ มีเพียง 3 บริษทั ที่ไดเขารวมการ ประมูลเทานั้น ซึ่งมีเพียงบริษัทเดียวที่ ไดมาตรฐาน สามารถเขาประมูลได สวนอีก 2 บริษัท หลักฐานไมครบและ ไมถกู ตอง จึงไมสามารถเขารวมประมูล ได “มองไดเปน 2 ทางวา ราคา รถเมลที่ตั้งไว ในการประมูลขั้นตํ่าของ การประมูลมีราคาตํ่าเกินไป หรืออาจ จะเปนเพราะตองนําเขาสําเร็จรูปไมใช การประกอบในประเทศ สรางความยุง
ยากใหมาก จึงไมมีผูที่ผานการเขารวม ในกิจกรรมครั้งนี้” สวนความตองการของพนักงาน ทีท่ าํ งานใน ขสมก. มาเปนเวลานานพบ วา ตองการใหทางรัฐบาลอนุมัติให ข สมก.เปลีย่ นรถเมลใหมเปนเครื1องยนต NGV ที่ใหทั้งความปลอดภัย ประหยัด รักษาสิ่งแวดลอม และยังสามารถให บริการคนพิการไดอีกดวย ทั้งนี้ เปน เพราะจํ า นวนรถเมล เ ก า ประมาณ 2,700 คันเปนรถเมลที่ใชงานมาแลว กวา 20 ป ไมใหความปลอดภัย ใช พลังงานเปนอยางมาก และยังทําลาย สิ่งแวดลอมอีก ไมเหมาะที่จะใหบริการ แกประชาชนเลย
3/12/2558 BE 8:43 PM
BUSINESS CATALYST • BUS&TRUCK 09
ปกษหลัง • มีนาคม 2558
คันเร่งธุรกิจ
ฟูโซ มั่นใจเศรษฐกิจป 58 สปป.ลาว ซื้อรถมือสองทดสอบ เพิ่มรถเดน 6 ลอลุยตลาดขนสง พรอมวางแผนซื้อรถใหมทําตลาด คายฟูโซ มั่นใจเศรษฐกิจป 58 โต ต อ เนื1อ ง เตรี ย มเพิ่ ม รถเด น 6 ล อ FI1217 ที่ประกอบจากโรงงานเบนซ ประเทศอินเดีย มีทั้งแบบรถดัมพพื้น เรียบและบรรทุกตู เพื1อเปนทางเลือก ใหแกวงการขนสง วางเปายอดขายตอง ได 2 พันคันเปนอยางนอย คุ ณ ธนภั ท ร อิ น ทรวิ พั น ธ รอง ประธานบริษทั ฟูโซ ทรัค (ประเทศไทย) จํากัด เปดเผยวา ดวยภาวะเศรษฐกิจป 2558 ไดเริ่มเติบโตขึ้นเพราะรัฐบาลได เริ่มดําเนินการตามแผนการที่ ไดวางไว เมื1อปที่แลว ทําใหความตองการใชรถ ใหญเริ่มมีตามไปดวย ดังนั้น ทางบริษัท จึงไดตั้งเปาขายไวที่ 2 พันคันตอปเปน อยางนอย โดยดูไดจากยอดขาย 2 เดือน แรก คื อ เดื อ นมกราคมและเดื อ น กุมภาพันธ มียอดขายประมาณ 200 คัน แลว ทัง้ นี้ เมื1อตนป 2558 ทีผ่ า นมา ทาง บริษัทไดหวังที่จะทํายอดขาย 2 รุนหลัก คือ รถมิกเซอร FJ2528 และรุน โชกุน 380 แรงมา งานเปดตัวรถมิกเซอร FJ2528 ทางฟูโซไดนํารถรุน FI1217 มายลโฉม ดวย เมื1อลูกคาเห็นก็มีเสียงตอบรับเปน อย า งดี ทางฟู โ ซ จึ ง มี แ ผนนํ า เข า มา จําหนายประมาณกลางปนี้
สําหรับรายละเอียดของรุน FI1217 นี้ ไดประกอบที่โรงงาน เมอรเซเดส-เบนซ ประเทศอินเดีย เปนรถบรรทุก 6 ลอ สามารถบรรทุกได 12.8 ตัน มีขนาด 170 แรงมา มีท้ังแบบรถดัมพ รถพื้นเรียบ และบรรทุ ก ตู หรื อ รถแบบอื1น ที่ ลู ก ค า ตองการ สวนราคาจําหนายนัน้ ตองถือวา สมเหตุ ส มผล รวมทั้ ง ยั ง มี โ ปรโมชั่ น ตาง ๆ ที่ตองทําใหลูกคาเกิดความสนใจ ไดเปนอยางมากแน “โรงงานเมอร เ ซเดส-เบนซ ประเทศอิ น เดี ย ถื อ เป น โรงงานที่ มี มาตรฐานเดียวกับโรงงานประกอบของ บริ ษั ท แม ประเทศเยอรมนี รวมทั้ ง ประเทศไทยและอินเดีย ยังใชเขตการคา เสรี FTA ทําใหเสียภาษีนําเขาเพียงแค ประมาณ 13% เทานั้น จึงสงผลใหราคา จําหนายของรถใหญทนี่ าํ เขาจากประเทศ อินเดียถูกกวาประเทศอื1นเปนอยางมาก” อยาไรก็ดี เพื1อสรางความมั่นใจให กับตัวแทนจําหนาย หรือดีลเลอรของ ฟูโซทั่วประเทศ จึงมีแผนการที่จะนําไป เยี่ ย มชมที่ โ รงงานประกอบที่ ป ระเทศ อินเดีย เพื1อใหเห็นเทคโนโลยีตาง ๆ ใน การประกอบที่มีสมรรถนะดีเยี่ยมในทุก ขั้นตอน เพื1อที่จะไดนํามาถายทอดใหแก กลุมลูกคาไดทราบตอไป
รถใหญ มื อ สองเริ่ ม ทํ า ตลาดใน สปป.ลาว จาวแขวงคํามวนขอทดสอบ กอน 8 คัน หากใชงานไดจริงจัดซื้อรุน ใหมทนั ทีกวา 150 คัน เพื1อนําไปขนขยะ สรางโรงงานไฟฟา หากสําเร็จจะเปน ตัวแทนจําหนายไปทั่วประเทศ แหลงขาวในวงการรถใหญ เปด เผยวา ขณะนี้ตลาดรถใหญใน สปป.ลาว เริ่มที่จะเติบโตขึ้นเปนอยางมาก เห็นได จากจาวแขวงเมืองคํามวน สปป. ลาว ได เริม่ ซือ้ รถใหญมอื สองจากเมืองไทยหลาย ยี่หอจํานวน 8 คัน เพื1อทําการขนขยะไป เทในบอขยะขนาด 650 ไร ซึ่งเปนจุดเริ่ม ตนของโรงงานไฟฟาชีวภาพ โดยนักวิชาการของ สปป.ลาว ได คํ า นวณออกมาแล ว ว า การก อ สร า ง โรงงานไฟฟาดวยชีวภาพนี้จะตองใชเงิน ทุนเริ่มตน 200-300 ลานบาท พรอมทั้ง ยังตองมีขยะซึ่งเปนวัตถุดิบวันละ 120 ตัน ดังนั้นรถใหญที่ใช ในโครงการนี้จะ ตองมีอยางนอย 150 คัน ซึ่งจะตองมี
แบบ 4 ลอ 6 ลอ และ 10 ลอ เพื1อให เหมาะกับสภาพถนนที่ยังแคบอยู “ดวยขยะที่จะใชเปนวัตถุดิบนี้ใน แขวงคํามวนที่รับผิดชอบจะมีขยะสูงสุด เพียงแควันละ 60 ตันเทานั้นจึงตองหา ขยะเพิ่มจากที่อื1นอีก 60 ตัน และไดพูด คุยกับทางจังหวัดนครพนมไวเรียบรอย แลว วาจะหาขยะให ไดวันละ 60 ตันตาม ตองการ ซึ่งเรื1องนี้ก็ไดขอยุติแลว” อยางไรก็ตาม หากโครงการแรกนี้ ผานไปไดดวยดี โดยจะนําเขาเครื1องยนต และแชสซีสมาจากตางประเทศ ซึ่งอยูใน การพิจารณาวา จะนําเขามาจากเมือง ไทย หรือจากประเทศอื1น หลังจากนั้นก็ จะเป น ผู ที่ ต อ ตั ว ถั ง รถขยะเอง และ แผนการนี้ ก็ จ ะขยายต อ ไปทั่ ว ประเทศ โดยจะจําหนายรถใหญ ซึง่ ประกอบตัวถัง เองใหกับแขวงตาง ๆ เพื1อที่จะไดนําขยะ มาเปนวัตถุดิบในการสรางโรงงานไฟฟา ชีวภาพทั่วประเทศ
ใต้ท้องรถ ถือวายังเปนขาวรายของวงการขนสงที่ใชรถใหญเครื1องยนต NGV อยูแมวาขณะนี้ราคา NGV ในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล จะอยูที่ลิตรละ 13 บาท แตในจังหวัดทีห่ า งไกลออกไปราคาก็เพิม่ ขึน้ เกือบถึงลิตรละ 15 บาททีเดียว และในเดือนเมษายน 2558 นี้ ก็ไดมกี ารประกาศออกอยางไมเปนทางการวา จะ ปรับราคา NGV เพิ่มขึ้นอีก ซึ่งคาดวาทางรัฐบาล และคสช. ตองพยายามผลัก ดันใหทาง ปตท.ทําการปรับราคาจําหนายใหไดลิตรละประมาณ 15 บาท เพื1อ ใหคมุ ตนทุน สามารถผลิต NGV ไดปริมาณมากตามความตองการของตลาดตอ ไป ไดมค ี า ยรถใหญจากประเทศจีนยีห่ อ หนึง่ ซึง่ เปนยีห่ อ ทีย่ งั ไมตดิ ตลาด มากนัก ฝายประสานงานผูส ื1อขาวหนังสือพิมพ ไมคอ ยสนใจนักขาวมากนัก อาจ คิดวามียอดจําหนายเปนจํานนวนมาก แตเมื1อดูยอดจดทะเบียนของกรมการ ขนสงทางบกมีอยูเพียงไมกี่สิบคันเทานั้น อยางการจัดสัมมนาของบริษัทที่ จําหนายรถใหญยี่หอนี้ ไดมีเชิญกลุมนักขาวให ไปรวมงาน โดยไดจัดสงแผนที่ การจัดงานมาให แตไมมีเวลารถรับสง อาหารกลางวัน แบบนี้อาจจะมีนักขาว นอยคนทีต่ งั้ ใจทําขาวเผยแพรประชาสัมพันธให ขอบอกวาตองมี GIVE บางเพื1อ ที่จะได GET กลับมา สมาชิกรายหนึ่งเผยวาดีใจมากที่มีขาววาคายรถใหญจากยุโรปคาย หนึ่งไดตั้งแผนกยูสคารขึ้นมา เพราะมีรถเกาที่ไมไดใชงานแลวอยู 9 คัน จึงได นําเสนอขายเพื1อที่จะไดเงินมาลงทุนทําธุรกิจอยางอื1น แตก็ ไดรับการปฏิเสธ เนื1องจากไมตรงกับนโยบายของบริษัท เพราะแผนกยูสคารนั้นตั้งขึ้นมาเพื1อรับ ซือ้ รถเกาทีล่ กู คานํามาเทิรน ซือ้ รถใหมเทานัน้ จึงขอชีแ้ จงเรื1องราวจริงมาใหกลุม ขนสงไดรับทราบ
B&T#266_p8-9_imac2.indd 9
3/12/2558 BE 8:44 PM
10 BUS&TRUCK • ROAD and LAW
สัญญาณ
คมนาคมเรงเจรจา เดินรถระหวางประเทศ
คมนาคมเดิ น หน า เจรจาเดิ น รถ ระหวางประเทศ ลาสุดคุยกับมาเลเซีย ทําขอตกลงเดินรถไทย-มาเลย เชื1อม ประเทศเพื1อนบาน และขอเพิม่ เสนทาง ไทย-เขมร และไทย-ลาว-เวี ย ดนาม พรอมสัง่ สนข.ปรับแผนเสนทางเดินรถ ใหสอดคลองปจจุบัน คุณพงษ ไชย เกษมทวีศักดิ์ รอง ปลั ด กระทรวงคมนาคม เป ด เผยว า พล.อ.อ.ประจิน จัน่ ตอง รมว.คมนาคม ได เรงใหดําเนินการเจรจาเปดเสนทาง การ เดินรถระหวางประเทศไทยกับประเทศ มาเลเซีย ในพืน้ ที่ 5 จังหวัดชายแดนภาค ใต จังหวัดยะลา นราธิวาส สตูล ปตตานี และสงขลา โดยในป จ จุ บั น กระทรวง คมนาคมอยู ร ะหว า งการเจรจากั บ ประเทศมาเลเซีย ในการเปดเสนทาง เดินรถโดยสารระหวางประเทศเพื1อเชื1อม ตอกับประเทศมาเลเซีย “ทีผ่ า นมาประเทศ ไทยไมเคยมีการ เปดเสนทางเดินรถระหวางประเทศขาม ไปยังประเทศมาเลเซีย เนื1องจากติดขัด เรื1องกฎหมายระหวางประเทศ ซึ่งทาง มาเลเซียไมผอนผันใหสามารถเดินรถ ขามประเทศได ขณะที่ประเทศไทยผอน
ผันใหรถโดยสารของมาเลเซียสามารถ เดินรถขามมายัง 5 จังหวัดชายแดนภาค ใต ได เพือ1 ตองการกระตุนเศรษฐกิจและ การทองเที่ยวในพื้นที่” นอกจากแผนการเป ด เส น ทาง เดินรถไทย-มาเลเซีย กระทรวงคมนาคม ยังมีแผนหารือกับทางการกัมพูชา เพื1อ ขอเพิม่ เสนทางเดินรถโดยสารสาธารณะ เพิ่มเติมเนื1องจากขอตกลงกอนหนานี้ กั ม พู ช าอนุ ญ าตให ไ ทยเดิ น รถทั้ ง รถ โดยสาร รถบรรทุก ขามไปไดเพียง 40 คั น ซึ่ ง ไม พ อต อ ความต อ งการของผู ประกอบการในไทยซึ่ ง ทางกระทรวง คมนาคมตองการขอเพิ่มรถเปน 500 คัน คาดจะสรุปในเดือน มี.ค.58 สวนการเดินรถระหวางไทย–สปป. ลาว–เวี ย ดนาม จะมี ก ารเจรจาทํ า ข อ ตกลงรวมกันทั้ง 3 ประเทศ เพื1อขยาย เสนทางทองเทีย่ วทางรถโดยสารรวมกัน เพื1อกระตุนใหมีการทองเที่ยวในภูมิภาค อาเซียนมีการขยายตัว อีกทั้งยังเปนการ เพิม่ เสนทางเดินรถโดยสารประจําทางให สามารถเชื1อมโยงกันมากขึ้นรองรับการ เปดเออีซีอีกดวย
เช็คยอดอีซี่พาสงาย เพียงคลิกผานเว็บฯ
ปกษหลัง • มีนาคม 2558
จอดป้ายหมอชิต
โดย กรมการขนสงทางบก
ขนสงฯ เดินหนารับฟงความคิดเห็น บริหารจัดการสถานีขนสงภูมิภาค กรมการขนสงทางบก จัดสัมมนารับ ฟงความคิดเห็น “โครงการศึกษาความเปน ไปไดและรูปแบบการบริหารจัดการสถานี ขนสงสินคาภูมิภาค” เพื1อเปนจุดเชื1อมโยง โครงขายกระจายสินคาสวนภูมิภาค และ เตรียมพรอมรองรับการเขาสู AEC การสั ม มนารั บ ฟ ง ความคิ ด เห็ น ข อ เสนอแนะเบือ้ งตนในการศึกษาความเปนไป ไดและรูปแบบการบริหารจัดการสถานีขนสง สินคาภูมิภาค ครั้งที่ 1 มีผูเขารวมสัมมนา กวา 100 คน ประกอบดวย ภาครัฐ ภาค เอกชน สมาคม ชมรม และองค ก ารที่ เกี่ยวของกับการคมนาคมขนสง โลจิสติกส และโครงสรางพื้นฐานดานการขนสงทาง ถนน ซึ่งกรมการขนสงทางบก โดยสถาบัน เทคโนโลยี พ ระจอมเกล า เจ า คุ ณ ทหาร ลาดกระบังเปนผูดําเนินการศึกษา ซึ่งจะมี การทบทวน คาดการณปริมาณการขนสง สิ น ค า และเส น ทางการขนส ง สิ น ค า ใน จังหวัด/กลุม จังหวัดภายในประเทศ ระหวาง ประเทศในอนุภูมิภาคและภูมิภาค รวมถึง การเชื1อมตอโครงขายการขนสงทั้งในรูป แบบเดียวกัน และระหวางรูปแบบเพื1อหาจุด ที่ตั้งที่เหมาะสมในการจัดตั้งสถานีขนสง สินคา ครอบคลุมพื้นที่เปาหมาย 17 จังหวัด โดยเป น เมื อ งชายแดน 9 จั ง หวั ด ได แ ก เชี ย งราย ตาก หนองคาย มุ ก ดาหาร สระแกว ตราด กาญจนบุรี สงขลา นราธิวาส และเมืองภูมิภาคหลัก 8 จังหวัด ไดแก เชียงใหม พิษณุโลก นครสวรรค ขอนแกน นครราชสี ม า อุ บ ลราชธานี ปราจี น บุ รี สุราษฎรธานี BUS&TRUCK FAQ
ทั้ ง นี้ เ พื1อ เป น ศู น ย ก ลางในการ รวบรวมและกระจายสินคาในสวนภูมิภาค และเพื1อเปน จุดเชื1อมโยงโครงขายการขนสง สินคาทางถนนรองรับโครงการพัฒนาสถานี ขนสงสินคาเพื1อเพิม่ ประสิทธิภาพการขนสง ทางถนนดวยรถบรรทุก และเตรียมพรอม รองรั บ การเป ด เสรี ป ระชาคมเศรษฐกิ จ อาเซียน (AEC) ในปลายป 2558 นี้อีกดวย ป จ จุ บั น กรมการขนส ง ทางบก มี สถานีขนสงสินคาจํานวน 3 แหงไดแก สถานี ขนส ง สิ น ค า ร ม เกล า เขตลาดกระบั ง กรุงเทพฯ สถานีขนสงสินคาพุทธมณฑล จั ง หวั ด นครปฐม และสถานี ข นส ง สิ น ค า คลองหลวง จังหวัดปทุมธานี ซึ่งทําหนาที่ เปนศูนยรวบรวม ขนถายและกระจายสินคา ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ดัง นัน้ การดําเนินโครงการศึกษาความเปนไปได และรูปแบบการบริหารจัดการสถานีขนสง สินคาภูมภิ าคทีจ่ ะเกิดขึน้ ในจังหวัดพืน้ ทีเ่ ปา หมายนั้นจะทําหนาที่เปนศูนยเชื1อมตอและ เปลี่ยนถายรูปแบบการขนสง รวมทั้งเปน ศูนยกลางในการรวบรวมและกระจายสินคา ในสวนภูมภิ าคทีส่ าํ คัญ และเปนการเปดมิติ แหงการพัฒนาโครงขายเชื1อมโยงการขนสง สินคาทางถนน และการขนสงตอเนื1องหลาย รูปแบบในประเทศไทย โดยเฉพาะสามารถ กําหนดรูปแบบการพัฒนาสถานีขนสงสินคา ภูมภิ าคในพืน้ ทีเ่ ปาหมายดังกลาวใหมคี วาม สอดคลองตรงความตองการในการขนสง และโลจิสติกสทั้งในระดับพื้นที่และระดับ ประเทศไดในอนาคต
พ.ต.อ.ยอดชาย ผูสันติ ผกก.ฝอ.3, บก.อก.บช.น.ฝายประชาสัมพันธ, บก.02
แตงลอกระบะ แบบไมผิดกฎหมาย การทางพิเศษแหงประเทศไทย (กทพ.) เพิ่มความสะดวกใหผู ใชบริการ บัตร Easy Pass โดยสามารถตรวจสอบ ยอดเงินคงเหลือในบัตรไดที่ www. thaieasypass.com กทพ. เปดใหบริการระบบเก็บคา ผานทางอัตโนมัตดิ ว ยบัตร Easy Pass ใน ทางพิเศษทุกสายทาง ยกเวนทางพิเศษ อุ ด รรั ถ ยา (ทางด ว นสายบางปะอิ น ปากเกร็ด) สามารถใชบัตร Easy Pass เพียงบัตรเดียวรวมกันไดทกุ สายทาง โดย ผู ใชบริการจะตองสมัครใชบริการบัตร Easy Pass กอน สําหรับกรณีบุคคล ธรรมดา ให ใชสําเนาบัตรประชาชนและ ใบคําขอใชบริการกับ กทพ. เปนหลักฐาน ในการซื้อบัตร และเปดบัญชีบัตร Easy Pass เพื1อเติมเงินสํารองคาผานทางลวง หนา ในกรณีเปนนิติบุคคลให ใชหนังสือ รับรองการจดทะเบียนบริษัท อายุไมเกิน 6 เดือน พรอมทั้งสําเนาบัตรประจําตัว
B&T#266_p10-11_imac2.indd 10
ประชาชนของกรรมการบริษัท และใบ คําขอใชบริการกับ กทพ. เปนหลักฐานใน การซื้อบัตร และเปดบัญชีบัตร Easy Pass เพื1อเติมเงินสํารองคาผานทางลวง หนา ทั้งนี้ ผู ใชบัตร Easy Pass สามารถ ตรวจสอบการใชงานของบัตรและยอด เงินคงเหลือในบัตร Easy Pass ไดที่ www.thaieasy pass.com โดยคลิกไปที่ ขอมูลผูใชบริการ แลวลงทะเบียนเพื1อใช งาน Website โดยกรอกขอมูลพรอมตั้ง รหัสผาน เพื1อใชงานในครั้งตอไป เมื1อลง ทะเบียนแลวทานสามารถตรวจสอบการ ใช ง านของบั ต รพร อ มยอดคงเหลื อ ได ทันที กรณีที่สมาชิกบัตร Easy Pass มี ขอสงสัย ขอเสนอแนะ หรือขอรองเรียน สามารถติดตอไดทศี่ นู ยบริการขอมูลผูใช ทางพิเศษ EXAT Call Center โทร.1543 ตลอด 24 ชั่วโมง
รถกระบะที่แ ต ง ใส ล อ ยื1นออก จากตัวรถผิดกฎหมายหรือเปลา ครั บ และถ า ต อ งการให ถู ก กฎหมายตองทําอยางไร จากคุณ : Watchara Kuruwasri ตาม พ.ร.บ.รถยนต พ.ศ.2522 ม.14 รถที่จดทะเบียนแลว หาม มิใหผูใดเปลีย่ นแปลงตัวรถหรือ ส ว นใดส ว นหนึ่ ง ของรถให ผิ ด จาก รายการที่จดทะเบียนไวและใชรถนั้น เว น แต เ จ า ของรถนํ า รถไปให น าย ทะเบียนตรวจสภาพเสียกอน ในกรณีที่ นายทะเบียนเห็นวารถที่เปลี่ยนแปลง ตามวรรคหนึ่ ง นั้ น อาจก อ ให เ กิ ด อันตรายในเวลาใช ใหสั่งเจาของรถ แกไขและนํารถไปใหตรวจสภาพกอนใช นายทะเบียนจะสัง่ ใหเจาของรถนํารถไป ใหตรวจสภาพ ณ สถานตรวจสภาพที่ ไดรับอนุญาตตามกฎหมายวาดวยการ ขนสงทางบกก็ ไดและใหนํามาตรา12
วรรคสอง วรรคสาม วรรคสี่ มาใช บังคับโดยอนุโลม แตถานายทะเบียน เห็นวารถนั้นปลอดภัยในเวลาใช ให แก ไขเพิ่มเติมรายการในทะเบียนรถ นั้นดวย ม.60 ผูใดทําการฝาฝนหรือ ไมปฏิบัติตาม ม.14 ตองระวางโทษ ปรับไมเกิน 2,000 บาท การแตงรถนัน้ ถาไมขัด ตอหลักกฎหมายก็สามารถ ทําได ถามีความปลอดภัยเพียงพอ มิได เปลี่ ย นแปลงตั ว รถให ผิ ด ไปจาก รายการที่จดทะเบียนไว ในกฎหมายไม มี ก ารระบุ ข นาด ของลอและขนาดก็ไมไดมีผลการเสี่ยง ตอการเกิดอุบัติเหตุ ดังนั้น จะใสลอ ใหญขอบ 18 -19-20 หรือจะ 22 ไมผิด ครับ แตถาใสแลวยางเกินออกมานอก บังโคลนลอมาก ๆ ขางละหลาย ๆ นิ้ว เจ า หน า ที่ บ อกว า เสี่ ย งต อ การเกิ ด อุบตั เิ หตุ อาจสรางความเดือดรอนแกผู อื1น(เชนทําใหผอู ื1นกะระยะรถผิดในขณะ สวนหรือเลี้ยว) ก็ถือวาผิดไดครับ
3/12/2558 BE 8:48 PM
58
PROTEST • BUS&TRUCK 11
ปกษหลัง • มีนาคม 2558
กดแตร
พั กรถ
สงออกตองพึ่งสวย
คงจะจํากันไดเปนอยางดีทรี่ ฐั บาล ชุดที่แลวไดฝากรอยเทาเอาไว คือ การ รับจํานําขาวถึงตันละ 15,000 บาท สง ผลใหสูญเสียเงินงบประมาณแผนดิน ไปมากถึง 7 แสนลานบาท ซึ่งขาวที่รับ จํานํานั้น เมื1อเวลาผานไป ก็จะมีปะปน กันทั้งขาวที่มีคุณภาพดีและไมดี ตอง เลือกเอาวาจะนําแบบไหนออกขายเพื1อ หาเงินทุนคืนมาบาง และเมื1อรัฐบาลชุด “ประยุทธ” ได เริ่มสะสาง รื้อฟน และบรรเทาเรื1องเกา ใหดขี นึ้ ก็ไดทาํ การประมูลขาวสารเพื1อสง ออก และในป 2558 นี้ ก็มีผูประมูล ขาวสารเปนจํานวนถึง 1 แสนตัน นั่น หมายถึงการที่จะไดงบประมาณแผนดิน ทีเ่ สียไปคืนกลับมา แมวา จะไดกลับคืนมา นอยก็ตาม แตสิ่งหนึ่งที่ ไมตองแปลกใจ คือ การขนข า วสารจากโรงสี ต า ง ๆ ทั่ ว ประเทศที่ ไดรับจํานําขาวไวนั้น จําเปน ตองใชรถใหญเพือ1 ทําการขนสงขาวสารที่ จะส ง ออกมายั ง ท า เรื อ แหลมฉบั ง ที่ จังหวัดชลบุรี ซึ่งผูที่ทําการประมูลนั้น ก็ จําเปนทีจ่ ะตองใชจา ยใหนอ ยทีส่ ดุ เพราะ ในการประมูลขาวสารนัน้ ก็แทบทีจ่ ะไมมี กําไรเลย สวนรถบรรทุกที่วิ่งอยูบนถนน นั้ น ก็ มี อ ยู ม ากกว า 10 ล า นคั น แต เนื1องจากเศรษฐกิจยังอยูภ าวะทีต่ กตํา่ อยู ผูวาจางขนสงจึงมีนอยมาก เมื1อมีการประมูลขาวสารเพื1อสง ออก การลดราคาคาขนสงก็ตองทําการ แขงขันกันอยางดุเดือด รายไหนราคาตํ่า สุดก็ไดรบั งานไป พรอมทัง้ ยังตองเสียคา ใชจา ยทีล่ งบัญชีไมได คือ การจายสวยให เจาหนาทีท่ างราชการ เพื1อทีจ่ ะไดวงิ่ งาน ขนของไดมากกวากฎหมายกําหนด และ ยังไดรับความสะดวกสบาย ไมตองหยุด ตรวจตามดานตาง ๆ อีก สวนเสนทางที่ไดรบั ความนิยมมาก ที่สุด รถใหญที่จายสวยและบรรทุกเกิน พิ กั ด ได จะสามารถวิ่ ง ผ า นจั ง หวั ด สมุทรปราการอยางภาคภูมใิ จ เปนทีร่ กู นั อยู ว า เส น ทางเกื อ บทุ ก แห ง ในปากนํ้ า สามารถวิ่งผานไดสบายโดยไมมีผูเรียก ตรวจเลย สามารถวิ่งไดตลอด 24 ชั่วโมง
B&T#266_p10-11_imac2.indd 11
หากใครอยากรู ว า มี บ ริ ษั ท ขนส ง รายไหนที่จายสวย ก็สามารถไปดักรอดู ชื1อบริษทั นัน้ ทีต่ ดิ อยูก บั ตัวถังบรรทุก โดย ไมตองแปลกใจเลยวาจะเห็นกระสอบที่ บรรทุกขาวสารมากจนแทบจะลนจากตัว ถังเลยทีเดียว ก็เปนทีเ่ ขาใจเปนอยางดีของวงการ ขนสงวา การตัดราคากันเองพรอมทั้งยัง ตองจายสวยใหเจาหนาทีร่ าชการอีก เพื1อ ที่จะบรรทุกไดมาก ทําใหมีรายไดเขามา หมุนเวียน มีทั้งเงินผอนรถ เงินเดือน พนักงาน คาใชจายอีกจิปาถะ แมวาจะ ขาดทุ น บ า ง แต ก็ ยั ง ดี ที่ ยั ง มี เ งิ น มา หมุนเวียนใหใช อีกเรื1องหนึ่งที่ทราบเปนอยางดีวา อายุการงานของรถจะหมดลงไปเร็วกวา ปกติ เพราะชิน้ สวนตาง ๆ ของตัวรถ เมื1อ นํามาตรวจสอบแลว ทางผูผลิตจะทราบ ดีวา สามารถบรรทุกสินคาไดนํ้าหนัก เทาไร โดยดูไดจากรถบรรทุก 10 ลอ สามารถมีนํ้าหนักบรรทุกรวมได 25 ตัน รถจะมีอายุการใชงานอยางตํ่า 10 ป แต หากบรรทุกมากถึง 30-35 ตัน อายุการ ใชงานก็จะสั้นลง เหลือเพียง 7 ปเทานั้น เรียกวาพอหมดระยะการผอน 4 ป ก็จะ มีกําไรการใชงานเพิ่มอีก 3 ปเทานั้น เรียกวาเปนกําไรที่หดหายไปในตัว จากการที่รัฐบาลชุดใหมนี้ มี คสช. เปนผูดูแลกลุมขนสงที่ทําตามกฎหมาย กําหนดก็มั่นใจวา ทหารจะตองใชวินัยใน การดูแลประเทศ แตเมื1อนายใหญไมให ความใสใจในเรื1องสวยเลย ทหารผูน อยก็ ไมใหความใสใจตามไปดวย แมจะเห็นรถ ใหญทบี่ รรทุกมากเกินทีก่ ฎหมายกําหนด อยางเดนชัด ก็ไมไดทาํ การเรียกตรวจแต อยางใด ปลอยใหวิ่งตอไปได แตกย็ งั ถือวายังมีขอ ดีอยูท ที่ หารใช รถใหญของตัวเองจํานวน 150 คัน ไปขน ยางพาราที่ภาคใตไปสงที่โรงงานจังหวัด ระยอง เพื1อทําการแปรรูปมาใช ในการ กอสรางถนน ถือไดวาเปนการกําจัดสวยไดอีกวิธี การหนึ่งคือใชรถของราชการไมตองพึ่ง เอกชนทีต่ อ งจายสวยใหกบั เจาหนาทีข่ อง ทางราชการ
วิธีการแกเบรกแตก รถเพื1อการพาณิชยทั้งหมดเปน รถที่ตองทํางานอยางหนักไมวา จะเปนทั้งบรรทุกสินคาหรือรถ โดยสาร เพื1อที่จะไดเดินทางไป ยังจุดหมายปลายทาง แมวา จะมี เปนจํานวนนอยกวารถยนตนั่ง และรถปกอัพเปนอยางมาก แต เมื1อเกิดอุบตั เิ หตุมาแตละครัง้ ก็ตอ งเปนขาวใหญประจําเดือนทีเดียว เพราะ ผลของการสูญเสียนั้นมากเกินคาดคิด จากอุบตั เิ หตุรถใหญทผี่ า นมา จะพบวาอุบตั เิ หตุรถใหญแตละครัง้ มักจะ เกิดจากเบรกแตกหรือเบรกคางบอยมาก ดังนัน้ จึงขอแนะนําวิธกี ารแกปญ หาเบรกแตกหรือเบรกคางมาใหทราบ อยางเมื1อเหยียบเบรกไปแลวเกิดเสียงดังเหล็กกระทบเหล็ก ก็แสดงวาผาเบรก หมด ตองรีบเปลี่ยนทันทีเมื1อมีโอกาส หากเกิดเบรกแตกหรือเบรกคางขึน้ ผูข บั ขีต่ อ งมีสติ อยาลนลานทําอะไร ไมถูกวิธี การแกปญหาก็คือ ตองถอนคันเรงออกมาอยางชา ๆ เปลี่ยนเกียร ลดลงมาตามลําดับ จนถึงเกียร 1 อยาขามขั้น พรอมทั้งจับพวงมาลัยใหแนน รวมทัง้ ยังตองใชเบรกมือ ตองจําไววา ตองดึงเบรกมือ แลวปลอยเพราะเบรก มือไมไดชวยในการหยุดรถ แตชวยไมใหรถที่จอดอยูวิ่งเดินหนาหรือถอยหลัง เมื1อรถจอดสนิท แลวก็ตองตามชางมาทําการซอมแซมใหในทันที เพื1อ ที่จะวิ่งงานได แตหากเปนรถโดยสารก็ตองเรียกคันอื1นใหมาเปนยานพาหนะ คันใหม เพื1อที่จะเดินทางไปถึงจุดหมายภายในเวลาที่ตองการ ทีส่ าํ คัญวิธกี ารปองกันไมใหเกิดเหตุการณนขี้ นึ้ คือตองทําการตรวจเช็ค สภาพรถทุกเชาหรือกอนใชงาน
3/12/2558 BE 8:48 PM
12 BUS&TRUCK • BUS & TRUCK CARE
ปกษหลัง • มีนาคม 2558
รักษ์รถ
เลือกซื้อกลองติดรถยนต ตองพิจารณาอะไร?
ปจจุบนั กลองติดรถยนต หรือ Dash Cam (Dashboard Camera) เปนกลอง ที่เอาไวบันทึกเหตุการณตาง ๆ ของหนารถ บันทึกไดทั้ง วิดีโอและภาพนิ่ง สามารถ บันทึกไดทั้งกลางวันและกลางคืน เริ่มมีบทบาทมากขึ้นในแวดวงรถขนสง เพื1อใช ตรวจสอบทั้งความเปนไปของผูขับขี่ รวมถึงดูสถานการณตาง ๆ แวดลอมใน การขนสง หรือแมแตรถบานเองก็มีผูสนใจการติดกลองกันอยางแพรหลาย เพราะ สามารถนําภาพดังกลาวมาใชเมื1อเกิดเหตุการณ ไมคาดฝน
เมื่อตองการจะมีกลองติดรถยนต ไงก็แลวแต จะราคาแคไหน ขอใหงาน ไวใชสักตัว จะเลือกซื้ออยางไรดี? ประกอบสมราคา กลองราคาไมแพงมาก 1. คุณภาพของไฟลวิดีโอ เปนเรื่องสําคัญ
ในยุคนี้คุณภาพไฟลตองชัดเจน เพื1อเก็บรายละเอียดเหตุการณใหครบ ถวน ใหมองเห็นปายทะเบียน หนา คนราย ฯลฯ ใหชัดเจน อยางนอย ๆ แนะนําตอง 720p เปนอยางตํา่ แตสมัย นี้เปน full hd เกือบทุกรุนแลว และอีก ข อ ที่ สํ า คั ญ คุ ณ ภาพไฟล ข องโหมด กลางคืนก็เปนสิ่งสําคัญที่ตองนํามา พิจารณา เพราะกลองบางรุนมีดีแค บันทึกตอนแสงเยอะ ๆ (กลางวัน) แต พอกลางคื น กลั บ ให ภ าพที่ ห ว ยแตก เพราะฉะนั้น เรื1องของ Night Vision Mode ก็เปนอีกเรื1องที่ควรพิจารณา
2. คุณภาพของกลอง
เปนอีกเรื1องที่ตองพิจารณา แต เรื1องของ Build Quality ปจจัยมันขึ้น อยูก บั ราคาของสินคานัน้ ๆ ดวย แตยงั
B&T#266_p12_imac2.indd 12
และคุณภาพคับแกว ก็มใี หเลือกมากมาย ซึ่ ง เรื1อ งคุ ณ ภาพ คุ ณ สามารถเช็ ค Feedback หารีวิวอานไดจาก Pantip และ Youtube
3. คุณสมบัติการ Recording
คุณสมบัติเกี่ยวกับการ Recording ที่ตองพิจารณาเพื1อประสิทธิภาพในการ บันทึกภาพไดอยางเรียบรอยและตอเนื1อง อาทิเชน ระบบ Recording ตาง ๆ เชน การบันทึกภาพแบบ Loop (บันทึกแบบ วนซํา้ อัตโนมัต)ิ หรือ การบันทึกภาพแบบ Seam (บันทึกภาพตอเนื1องไมขาดชวง) ซึง่ คุณสมบัตเิ หลานีม้ ปี ระโยชนอยางมาก กั บ การใช ง าน เพื1อ บั น ทึ ก เหตุ ก ารณ ตาง ๆ ใหตอเนื1อง เพราะอุบัติเหตุตาง ๆ เกิดขึ้นไดทุกวินาที
เมื1อ มี ก ารเคลื1อ นไหวผ า นหน า กล อ ง กลองก็จะอัด 10, 15, 20, วินาทีแลวก็จะ หยุดอัด แตถามีการเคลื1อนไหวติดตอกัน กลองก็จะอัดไปเรื1อย ๆ แนะวาฟงกช่ัน Motion detection ให ใชตอนจอดรถ เทานั้น เพราะถาใช ในขณะขับรถภาพที่ ไดออกมาจะไมสมบูรณ และจะทําให กลองคางครับ ผลที่ ไดคือไดภาพไมครบ ถวน ภาพในชวงเวลาทีส่ าํ คัญอาจจะหาย ไป และเมื1อทานเปด Motion detection จะทําใหระบบการทํางานวงรอบปด สรุป คือจะอัดไดแคเมมโมรี่เต็มไมอัดวน เมื1อ เปด Motion detection แลวให ไปตั้งคา การปดเครือ1 งอัตโนมัติไปที่ OFF ดวย เพราะไมอยางนัน้ กลองก็จะปดตัวเองลง กอนที่จะมีตัวอะไรเคลื1อนไหวผานหนา กลอง และการใชงาน Motion detection ควรมี Power bank ไวจายไฟใหกลอง ดวยนะครับ 4.2 GPS อันนี้ ไมใช GPS นําทาง แตเปน GPS บันทึกตําแหนงวาภาพวิดีโอ นี้ถายที่ ไหน ถากลองรุนไหนมี GPS ก็จะ มี โปรแกรมติดมากับตัวกลอง เอาไวดู ภาพ คนหาภาพ เลนภาพยอนไปมา (สรุปคือการยอนภาพไปขางหนา-หรือวน กลับ แตการยอนภาพจะดีมากไมสะดุด หรือคางเลย และจะมีแผนที่แสดงวา ภาพถายที่ไหน ใชความเร็วเทาไร 4.3 G-sensor คือการล็อคไฟลภาพ ไมใหถูกอัดทับ เมื1อมีการกระแทกแรง ๆ ตามคา G ทีเ่ ราตัง้ ไว โดยปรกติกลองติด รถยนตจะทํางานโดยการอัดเปนวงรอบ
เมื1อวงรอบใกลเต็ม ก็จะทําการลบไฟล ที่เกาที่สุดออกโดยอัตโนมัติ เหมือน กล อ งวงจรป ด ตามบ า น แต เ มื1อ มี G-sensor นี้ก็จะทําการล็อคไฟลภาพ ไมใหถูกอัดทับ
5. การรับประกัน
นี่ก็ถือเปนเรื1องสําคัญที่คุณตอง พิ จ ารณาก อ นการเลื อ กซื้ อ กล อ งติ ด รถยนต หรือแมแตสินคาทุกชนิด คุณ ควรดูการรับประกันของสินคานัน้ ๆ วา มีการรับประกันอยางไร รับประกัน ทั้งหมด หรือรับประกันเฉพาะแคบาง ชิน้ สวน เลนสแยกรับประกันไหม ระยะ เวลาการรับประกันเทาไร ถามีการรับ ประกันสินคาไดจะถือวาเปนประโยชน อยางมาก
6. ราคา
ราคาของกลองติดรถยนตนั้นมี ราคาตั้งแตหลักรอยไปจนถึงหลักพัน ซึ่งแตละเรทราคาก็มีคุณสมบัติที่ตาง กันออกไป ตรงนี้แลวแตผู ใชงานวามี งบประมาณเทาไร สามารถเลือกได ตามความเหมาะสม ทั้งหมดนี้เปนขอแนะนําในการ พิจารณาเลือกซื้อกลองติดรถยนต ซึ่ง ผู ใชเองก็ควรหาขอมูลเพิ่มเติมตาม Feedback หรือรีวิวจาก Pantip และ Youtube เพื1อชวยในการตัดสินใจดวย ก็ดี เพราะปจจุบนั มีกลองติดรถยนตให เลือกหลายยี่หอมาก
4. เลือกที่ฟงกชั่น ของกลองติดรถยนต
4.1 Motion detection คือ การอัด
3/12/2558 BE 8:49 PM
B&T#266_p13_imac2.pdf
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
1
3/12/2558 BE
8:53 PM
14 BUS&TRUCK • INTERVIEW
ปกษหลัง • มีนาคม 2558
จอดคุย ช.ทวี ผูนําในการออกแบบผลิตสินคาเพื1อสนับสนุนการขนสงดานตาง ๆ มากมายหลายประเภท ที่มี ประสบการณมากกวา 40 ป โดย “คุณสุรเดช ทวีแสงสกุลไทย” ประธานเจาหนาที่บริหาร บริษัท ช.ทวี ดอลลา เซียน จํากัด (มหาชน) หลังประสบความสําเร็จในดานธุรกิจสวนตัวแลว ตั้งใจกลับไปพัฒนาบานเกิด “เมืองดอก คูณเสียงแคน” รวบรวมกําลังพลพรรคนักธุรกิจเมือง กอตั้งบริษัท พัฒนาเมืองขอนแกน จํากัด หรือ KKTT ดวย ทุนจดทะเบียน 200 ลานบาทในนามกองทุนโครงสรางพืน้ ฐานจังหวัด หรือ PIF (Provincial Infrastructure Fund) ระดุมทุนจากคนขอนแกนสราง “รถรางไฟฟา” วิ่งรอบเมือง นํารองสายสีแดง สําราญ-ทาพระ ระยะทาง 15 กม. ภายใตคอนเซ็ปต “คนขอนแกนสราง คนขอนแกนใช กําไรเพื1อคนขอนแกน” ใชงบ 4,000 ลานบาท คาดแลวเสร็จ ภายใน 4 ป จากนั้นตั้งเปาจะเพิ่มอีก 4 สายทาง คุ ณ สุ ร เดช ทวี แ สงสกุ ล ไทย ประธานเจาหนาที่บริหาร บริษัท ช.ทวี ดอลลาเซี ย น จํ า กั ด (มหาชน) และ ประธานเจาหนาทีบ่ ริหาร บริษทั พัฒนา เมืองขอนแกน จํากัด หรือ KKTT เปดเผย ถึ ง ที่ ม าที่ ไ ปโครงการก อ สร า งรถราง ไฟฟ า พั ฒ นาเมื อ งขอนแก น ให พี่ น อ ง สมาชิกไดทราบทั่วกัน
นานและแกไขกันมานานตั้งแตรุนพอผม พี่ ชายผม แตติดตรงกับดักที่ ไมมีเงิน เพราะ ตองพึ่งพาเงินหลวงทั้งนั้น เราจึงอยากแก ปญหานี้ โดยเอาเงินของคนขอนแกนพัฒนา เมืองขอนแกนดีกวาแนวคิดนี้จึงเปนการ สลัดออกจากกับดับทั้ง 2 อยางออกมาได
พวกเราไดปรึกษาหารือกันระหวาง พรรคพวกนักธุรกิจหลากหลายสาขา ซึ่ง ล ว นแล ว เกิ ด ที่ ข อนแก น ทั้ ง นั้ น จึ ง ได แนวคิดวาเมื1อปจจุบันมีตลาดทุนอยูแลว ทําไมเราไมรวมตัวกันแลวสรางกองทุน โครงสรางพืน้ ฐานเพื1อพัฒนาจังหวัดของ เราเอง ผมศึกษาเรื1องนี้มานาน 4 ป วัน นี้ทุกภาคสวนเห็นวาใช แตไมมีใครเปน ผู นํ า ช.ทวี เ ป น บริ ษั ท แรกในจั ง หวั ด ขอนแก น ที่ ได เ ข า จดทะเบี ย นใน ตลาดหลักทรัพย เหมือนกับวาเคยเดินไป ดูแลว จากนั้นกลับมาบอกทุกคนวาทาง นี้ดี มีแสงสวาง และสามารถชวยได ทุก คนเห็นดวยกับแนวทางดังกลาว จากนั้น ก็เกิดรวมตัวของบรรดาเอกชนนักธุรกิจ หลากหลายสาขาอาชีพ 14 รายรวมกับที่ ปรึกษาแลวก็ประมาณ 20 คน โดยที่ไมมี กลุมสีการเมืองเขามายุงเกี่ยวรวมกันกอ ตั้ง บริษัท ขอนแกนพัฒนาเมือง จํากัด หรือ KKTT โดยมีทุนจดทะเบียน 200 ลานบาท ในนามกองทุนโครงสรางพื้น ฐานจั ง หวั ด หรื อ PIF (Provincial Infrastructure Fund)
ประเทศเดียวหรือเปลา ก็เปลาเลย ตลาดทุน ตลาดหลักทรัพย ไมใชเงินของประเทศไทย
โปรงใส หวงใย เปนธรรม และแบงปน เราจัดตั้งตลาดทุน ตลาดหลักทรัพย
ตั้งบริษัท KKTT ระดมทุน 200 ลาน ถามวาตลาดทุนเปนเงินของประเทศไทยเรา
พัฒนาขอนแกนโตอยางยั่งยืน
ประเทศไทยเราติ ด กั บ ดั ก อยู 2 อยาง อยางแรก คือไมมีใครประกาศวา จะนําพาประเทศไทยสูก ารเปนประเทศที่ พัฒนาแลว วันนี้รายไดเฉลี่ยประชากร ไทย 6,000 เหรี ย ญ/คน/หั ว /ป แต ประเทศที่ พั ฒ นาแล ว อยู ท่ี ป ระมาณ 12,500 เหรี ย ญ/คน/หั ว /ป ถามว า ประเทศจะกาวไปถึงหรือเปลา ทีดอี าร ไอ บอกวาไดแตตองรอไปอีก 40 ป ณ วันนี้ แนวทางการพัฒนาประเทศเปนไปอยาง ไมมีเปาหมาย ที่เปนอยูทุกวันนี้เปนการ แกปญ หารายวัน สวนกับดักทีส่ องนัน้ คือ กับดักทางความคิดของคนไทย เพราะทุก วันนี้คนไทยลวนแลวแตคิดพึ่งพาคนอื1น ไมคิดพึ่งตัวเอง วันนี้ขอนแกนเราเจอ ทางออกแลว เราปลดล็อคกับดักทั้งสอง อยางทิ้ง เราจะไมรอความหวังจากภาค รั ฐ อี ก ต อ ไป ณ วั น นี้ ข อนแก น รู เ รื1อ ง ศาสตรในการพัฒนาเมืองขอนแกน เรือ1 ง นี้ ไมใชแคคิดแคเมื1อปที่แลว คิดกันมา
B&T#266_p14-15_imac2.indd 14
ระดับนานาชาติก็จะมีมากขึ้น การจัดแสดง งานแสดงสินคาระดับนานาชาติก็มีมากเชน กัน และเรื1องตอไปก็คอื คือรถรางไฟฟา สาย แรก คือสายสีแดง โดยจะวิ่งตามถนนเสน มิตรภาพในระยะทาง 33 กม.จากสําราญ (หน า มหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก น ) ถึ ง อํ า เภอ ทาพระ โดยเราจะใชรถรางไฟฟา (RLT) ประมาณ 15 กม. 15 สถานี จากนั้นเราจะ ใชรถบัส (BRT) สนับสนุน อัตราคาบริการ 5-20 บาทตลอดสาย มี 2 ขบวน โดยมี 2-3 (3 Cars set) ตูตอขบวนรถในหนึ่งเที่ยว
สามารถรองรับผู โดยสารไดเทีย่ วละ 150 คน ส ว นโรงงานเราจะใช เ ทคโนโลยี ทรานสเฟอร โดยนําเขาเทคโนโลยีและ อุปกรณสําคัญจากตางประเทศ สวนที่ เหลือเราจะทําเอง
ปนแผนขยายเพิ่มอีก 4 สายทาง
เสนทางสายถนนมิตรภาพ เปน ถนนทีอ่ ดุ มดวยความเจริญในดานตาง ๆ เริ่มตั้งแตหนามหาวิทยาลัยขอนแกน ไล เรียงไปก็จะมีบริษัทหางราน หางสรรพ สิ น ค า เซ็ น ทรั ล พลาซ า บิ๊ ก ซี โลตั ส แม็คโคร มหาวิทยาลัยเอกชน โรงงาน โรงพยาบาล คอนโดมิเนียม เทอรมินัล 21 โฮมโปร เปนตน การนํารองสายสีแดง ในเสนทางถนนมิตรภาพ จึงเปนการเปด ตัวที่เหมาะสมมากที่สุด บันไดขั้นตอไป หลังจากนั้นเราจะขยายเพิ่มเสนอีก 4 สายทางวิ่งครอบคลุมทั่วเมืองขอนแกน คือสายชมพู สีเหลือง มวง และนํ้าเงิน ตามลําดับ
คุณสุรเดช ทวีแสงสกุลไทย
ตั้งบริษัท KKTT ระดมทุนสรางรถรางไฟฟา เพียงประเทศเดียว เปนเงินที่เชื1อมโยงกัน ทั้งโลก ถาเรามีแรงสนับสนุนดีพอ ถาเรามี เสนหพอ เงินก็ไหลเขาขอนแกน โดยอาศัย ความร ว มมื อ ของทุ ก ภาคส ว นในจั ง หวั ด ขอนแก น ไม ว า จะเป น ภาครั ฐ เอกชน มหาวิทยาลัย รวมถึงองคกรความรวมมืออืน1 เราลงทุนครัง้ นีบ้ นพืน้ ความชัดเจนในทุกมิติ ไมใชทาํ เพื1อประโยชนตวั เอง มีความโปรงใส ตรวจสอบได นอกจากนั้น เราก็เปนหวงตอ คนขอนแกน ที่ทําใหคนขอนแกนมีรายได เพิ่ม และที่สําคัญคือเราแบงปนอยางเปน เปนธรรม เมื1อคุณลงทุนมาเราก็แบงปนผล กํ า ไรคุ ณ กลั บ ไป ถ า ถามว า บริ ษั ท ผมได ประโยชน ไหม ผมไม ป ฏิ เ สธว า ผมได ประโยชน แตพี่นองประชาชนคนขอนแกน ได ป ระโยชน ม ากกว า ผมซะอี ก เราใช ง บ ประมาณครั้ ง นี้ 4,000 ล า นบาท โดยมี กองทุนอีก 3 กองทุนอยากเขารวมทุน ซึ่ง เปนกองทุนละ 1,000 ลานบาท แตตอนนี้ เราอยากใหคนขอนแกนเปนเจาของกอน เปนอันดับแรกในราคาเจาของ ซึง่ ผมคาดวา เราจะระดมทุ น จากคนขอนแก น ด ว ยกั น 2,000-3,000 ลานบาท
นํารองสายสีแดง สําราญ-ทาพระ 33 กม.
การออกแบบเมื อ งใหม ต อ งพั ฒ นา เมืองใหมโดยใชระบบขนสงมวลชน คือรถ รางไฟฟา เปนตัวขับเคลื1อนหรือเปนตัวนํา (Transit Oriented Development : TOD ) โดยเราจะลงทุนสรางหอประชุมเปนอันดับ แรก ซึ่งเปนหอประชุมใหญระดับไบเทค บางนา ตอนนี้เรามีที่ดิน เริ่มรางสัญญา ออกแบบแลว เพราะเราเชื1อวาขอนแกนเปน ศูนยกลาง เมื1อเออีซีเปด การจัดประชุม
3/12/2558 BE 9:04 PM
58
LAW KNOWLEDGE • BUS&TRUCK 15
ปกษหลัง • มีนาคม 2558
รู้กฎก่อนขับ
การตื1นเชา การไปทํางานแตเชา หรือไปทํางานกอนเวลาชวยทําใหเราไม ตองรีบเรงหรือวิตกกังวลตาง ๆ เลย เพราะวาการทีเ่ ราไปทํางานแตเชา ๆ ก็ จะชวยใหเรามีเวลาอยางมากมายเพียง พอสําหรับการเตรียมตัวเตรียมความ พรอมในการทํางานทีเ่ รารับผิดชอบหรือ แมแตงานพิเศษตาง ๆ ที่เราไดรับการ มอบหมาย มนุษยเราทุกคนมีเวลาเทา ๆ กัน คือวันละ 24 ชั่วโมง ใครบริหารเวลาไดดี กวากันคนนัน้ ก็จะประสบความสําเร็จกวา องคกรหรือบุคคลที่ประสบความสําเร็จ ทัง้ หลายลวนเปนผูท บี่ ริหารเวลาไดอยาง ดี หลักการทั่วไปที่พวกเขานิยมทํากันก็ คือ การนอนหลับพักผอนใหตรงตามเวลา เป น การแบ ง เวลาสํ า หรั บ การพั ก ผ อ น สําหรับการปฏิบัติงาน ถึงเวลาพักผอนก็ พั ก ผ อ นเต็ ม ที่ ถึ ง เวลาทํ า งานก็ ตั้ ง ใจ ทํางานอยางเต็มที่ การใชเวลาใหเกิด ประโยชนมากทีส่ ดุ นัน้ “ไมใชเกิดจากการ บังคับของนายจางหรือใครคนใดคนหนึ่ง แตเปนความเต็มใจ ความคิดดี ๆ เกิดจาก หัวใจของผูปฏิบัติงาน” พฤติกรรมใด ๆ ลวนถูกกําหนดดวยจิตดวยใจของเราแทบ ทัง้ สิน้ ครับ เรากําหนดใหไดดกี จ็ ะออกมา ดี เรากําหนดใหปลอดภัยก็จะปลอดภัย การไปทํางานแตเชา ๆ ไมเพียงแต จะบงบอกถึงความพรอมในการปฏิบัติ หนาที่ขับรถแตยังบงบอกถึงภาพพจน ของผูป ฏิบตั งิ านวามีความรักในอาชีพ รัก ในหนาทีก่ ารงาน องคกรหรือหัวหนางาน ก็ จ ะมองในภาพบวก และที่ สํ า คั ญ มากกวานั้นอีกก็คือ “ผูขับรถมีเวลาใน การเตรี ย มตั ว ตนเองให พ ร อ ม” ยก ตัวอยางเชน กรอกนํา้ ดื1มใสกระติก กรอก นํ้ า ดื1ม ใส ข วด ชงกาแฟนั่ ง จิ บ อ า น หนังสือพิมพ ตรวจสอบเอกสารใบงาน ตาง ๆ อานประกาศ สอบถามประเด็นที่ สงสัยที่อาจจะมี สิ่งที่จะเกิดประโยชน ตาง ๆ นั้นรวมถึง “การตรวจรถ” เพื1อ ตรวจดูความพรอมกอนทีจ่ ะนํารถออกไป ปฏิบัติงาน แมวารถจะไมเคยเสีย ไมเคย เกเรรวนเสียระหวางทาง เราก็จําเปน ตองตรวจอยูห มัน่ ประจํา อาจจะมีคาํ ถาม วาแลวทําไมตองตรวจรถใหเสียเวลาดวย คํ า ตอบก็ คื อ “เป น หนึ่ ง ในการสร า ง พฤติ ก รรมการทํ า งานในเชิ ง ป อ งกั น นั่นเอง” ตรวจระดับนํ้าตาง ๆ ระดับ นํ้ามันเครื1อง ระบบไฟแสงสวาง เชื้อ เพลิง การทํางานของเครื1องปรับอากาศ เอกสารประจํารถ ยางอะไหลและอื1น ๆ ตามที่ บ ริ ษั ท กํ า หนดไว ใ นระบบความ ปลอดภัยหรือการทํางานในเชิงปองกัน อุบัติเหตุ การตรวจรถหากจะเปรียบกับทหาร กล า ที่ จ ะออกไปทํ า ศึ ก สงครามก็ ค งจะ
B&T#266_p14-15_imac2.indd 15
ไปทํางานเชา ๆ
มนุษยเราทุกคนมีเวลา เทา ๆ กันคือวันละ 24 ชั่ ว โมง ใครบริ ห าร เวลาไดดกี วากันคนนัน้ ก็ จ ะ ป ร ะ ส บ ค ว า ม สํ า เร็ จ กว า องค ก ร หรื อ บุ ค คลที่ ป ระสบ ความสําเร็จทั้งหลาย ล ว นเป น ผู บ ริ ห าร เวลาไดอยางดี
ทานทํางานอยูนั้นตองมีกิจกรรมตาง ๆ เกี่ยวกับความปลอดภัย เชน การรวม ประชุมการพูด 5 นาทีเพื1อความปลอดภัย ก็จะชวยใหเรามีความพรอม สมมติวา เรา ไปตรวจรถแล ว พบสิ่ ง ผิ ด ปกติ เราก็ สามารถนําขอมูลมารวมแถลงกับการ
ประชุมการพูด 5 นาทีใหเพื1อน ๆ ฟงรับ ทราบถึงสิง่ ทีเ่ กิดขึน้ ลองดูพจิ ารณาดูนะ ครับสําหรับบรรดาทานนักขับมืออาชีพ ทัง้ หลาย วาการนอนตื1นเชาไดเวีย๊ กหลาย ตื1นสายไดเวี๊ยกนอยจริงหรือเปลา ทาน เทานั้นจะเปนผูพิสูจนครับ
เปรี ย บเที ย บได ว า เป น การตรวจสอบ ความพรอมอาวุธที่จะนําไปปองกันตัว และตอสูกับศัตรู การจะตื1นแตเชาเพื1อไปทํางานแต เชาเปนพฤติกรรมอยางหนึ่งครับ นั่น หมายความวามีความเกี่ยวของกับการ เปลีย่ นแปลงหรือจําเปนตองปรับเปลีย่ น พฤติกรรมของตนเองสําหรับผูที่เพิ่งเริ่ม ประกอบอาชีพขับรถ หากเราเคยสบาย ๆ นอนดึกสิ่งที่ตามมาก็คือตื1นสาย วิธีการ เตรียมความพรอมสําหรับการประกอบ อาชี พ ขั บ รถอย า งแรกเลยก็ คื อ การ พยายามปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตาง ๆ เพื1อ ให ส ามารถเข า กั บ การปฏิ บั ติ ง าน นอนใหตรงเวลา ตื1นใหตรงเวลา วางแผน การนอน แรก ๆ อาจจะรูสึกฝน ๆ แต ทั้งหมดทั้ ง หลายไม เ กิ น ความสามารถ ของมนุ ษ ย เ ราหรอกครั บ ยานอวกาศ มนุษยเรายังสรางใหขึ้นไปโคจรอยูบน ดวงจันทร ไดเลย ดังนัน้ เพียงแคการนอน ตื1นเชา ไปทํางานใหเร็วยอมไมเกินความ สามารถของเราเชนกัน การนอนตื1นเชา การไปทํางานเร็วกวาปกติยังจะสามารถ ชวยลดความหงุดหงิด และหากองคกรที่
3/12/2558 BE 9:04 PM
16 BUS&TRUCK • ติดเบรก
ติดเบรก
ปกษหลัง • มีนาคม 2558 เฉลิมศักดิ์ หุนนาครินทร อุปสรรคที่สงผลใหการขนสงทางบกไมเปนหนึ่งในอาเซียน
ตองสรางคนขับรถใหญกอน ขอฝากใหทางรัฐบาลและ คสช.ไดหันมาใหความสําคัญกับรถใหญบาง ทําการยกยอง เชิดหนาชูตา ใหเกียรติกับคนขับ รถใหญ ซึ่งเปนผูอยูเบื้องหลังของความสําเร็จในการผลักดันใหเศรษฐกิจของประเทศเจริญกาวหนา ในวันที่ 31 ธันวาคม 2558 จะเปด ใชประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนอยางเต็ม ตัว โดยเมืองไทยจะกลายเปนศูนยกลาง ขนสงรายใหญ เนื1องจากกอนหนานีภ้ าวะเศรษฐกิจ ไทยถือวาเติบโตที่สุดในอาเซียน แตใน ป จ จุ บั น นี้ ป ระเทศเพื1อ นบ า นต า งได พัฒนาระบบตาง ๆ มาอยางกาวกระโดด ในขณะที่ เ มื อ งไทยอยู ใ นช ว งถดถอย เศรษฐกิจตองฟนฟูอยางหนัก เนื1องจาก เกิดวิกฤตทางการเมือง ทางทหารจึงตอง แก ไขโดยดวน ดวยการปฏิรูปประเทศ ใหม ใ ห ค ณะรั ก ษาความสงบแห ง ชาติ หรือ คสช. ขึน้ มาดูแลแตดว ยคณะทํางาน ตางเปนทหาร ไมวาจะเปน ทหารบก ทหารอากาศ หรือ ทหารเรือ ในการทํา ธุรกิจตาง ๆ จึงยังไมคลองตัวมากนัก ตอง ดึงภาคเอกชนเขามารวมทําดวย การ ทํางานจึงเปนแบบคอยเปนคอยไป ในสวนของภาคขนสงนั้น ถือไดวา
B&T#266_p16-17_imac2.indd 16
เปนตัวขับเคลื1อนเศรษฐกิจอยางแทจริง ดวยผูขับขี่รถใหญถูกมองวาเปนผูที่ ไมมี ความรู ไมมีสมาธิและสติในการขับรถจึง ไมมีคนนับหนาถือตา แมวาจะไดเงินสูง เทียบเทากับผูที่จบปริญญาตรีก็ตาม แต ในความเปนจริงแลว ผูข บั ขีร่ ถใหญ คือผู ที่ทําใหเกิดการหมุนเวียนทางเศรษฐกิจ ไม ว า จะเป น ผู ที่ เ ดิ น ทางก็ ต อ งใช ร ถ โดยสาร การขนส ง สิ น ค า ก็ ต อ งใช ร ถ บรรทุก ผูป ระกอบการขนสงทางบก ตาง ยอมรับวาปญหาการขาดคนขับรถใหญมี มาตัง้ แตอดีต ปจจุบนั และในอนาคตดวย โดยรัฐบาลยังไมไดแก ไขในเรื1องนี้อยาง จริงจัง แมวากรมการขนสงทางบกจะมี การตั้งโรงเรียนสอนขับรถใหญ แตก็ได คนขับรถใหญเพียงประมาณ ปละ 50 คน เทานั้น ไมเพียงพอตอตลาดขนสงที่มีผู ประกอบการมากกวา 4 หมื1นราย แมวา จะมีภาคเอกชนเปดโรงเรียนสอนขับรถ
ใหญ แตก็ไมเพียงพออยูดี ไดเพียงแค ประมาณปละ 100 คนเปนอยางมาก เพราะตองใชเงินทุนมหาศาลในการสอน ไมวา จะเปนการซือ้ รถใหญคนั ใหมเพื1อมา สอนในภาคปฏิบัติ และการสรางสนาม ทดสอบ เพื1อใหผูเรียนไดทดลองใชรถ ใหญในสนามจริง เห็ น ได ว า ในโรงเรี ย นสอนขั บ รถ ใหญในภาคเอกชน อยางไอดีไดรฟเวอร ได มี ก ารเป ด สอนการขั บ รถใหญ พ วง มาลัยซาย เพื1อคนขับจะไดสามารถขับรถ ไปส ง ผู โ ดยสารหรื อ สิ น ค า ได ใ นกลุ ม ประเทศอาเซียน อยางปายจราจรและ กฎหมายก็จะคลายคลึงกัน แตกตางกันที่ วงเลี้ยวของพวงมาลัยซายและขวา จึง ตองสอนเบื้องตน เพื1อใหคนเรียนไดนํา ไปใช ในชีวิตจริงได แต สปป.ลาว ไดมองเห็นถึงการขับ รถใหญขา มแดนเมื1อเปดใช AEC ไดมกี าร สงคนขับรถใหญของหนวยงานราชการ
มาเรียนรูก ารขับรถใหญในเมืองไทย โดย เนนที่การขับรถใหญทั้งพวงมาลัยซาย และขวาวาตองควบคุมอยางไรบาง หาก ขับรถใหญพวงมาลัยซาย จาก สปป.ลาว เขามาสงของที่เมืองไทยจะตองควบคุม ดูแลรถพวงมาลัยซายในขณะทีเ่ มืองไทย ขับรถพวงมาลัยขวา ทั้งนี้เพื1อปองกัน อุบัติเหตุไมใหเกิดขึ้นได จึงขอฝากใหทางรัฐบาลและ คสช. ไดหันมาใหความสําคัญกับรถใหญบาง ทําการยกยอง เชิดหนาชูตา ใหเกียรติกบั คนขับรถใหญ ซึ่งเปนผูอยูเบื้องหลังของ ความสําเร็จในการผลักดันใหเศรษฐกิจ ของประเทศเจริญกาวหนา เปนที่หนึ่ง ของกลุม อาเซียนใหได หากจริงจังในการ พัฒนา สรางคนขับใหเปนมืออาชีพ ก็จะ เปนสวนสําคัญในการพัฒนาทั้งประเทศ และเดินหนาไปยังอาเซียนได
3/12/2558 BE 9:13 PM
58
B&T#266_p16-17_imac2.indd 17
3/12/2558 BE 9:14 PM
18 BUS&TRUCK • ASSOCIATION NEWS
ปกษหลัง • มีนาคม 2558
คบหาสมาคม
สมาคมขนสงทางบก แหงประเทศไทย
คุณกําพล เพชรกําแพง เลขาธิการสมาคมขนสง ทางบกแห ง ประเทศ ไทย เปดเผยวา จากผล กระทบที่บรรดาสมาชิกไดรับหลังจาก ทาง ปตท. ไดปรับราคากาซ NGV เปน ลิตรละ 13 บาทนั้น ทางสมาคมฯ จึง ไดยื1น เรื1อ งไปยั ง กระทรวงพลั ง งาน เพือ1 ที่จะไดทําการประชุม และจะได ทราบถึงความจริงวา ขนสงไดรบั ความ เดือดรอนอยางไรบาง และ เ มื1อ ป ล า ย เดื อ นกุ ม ภา พันธ 2558 ที่ ผานมา ก็ได ทํ า ก า ร ป ร ะ ชุ ม กั น ซึ่ ง ประธาน ในที่ ป ระชุ ม คื อ ป ลั ด กระทรวงพลังงาน และไดขอสรุปวา จะตั้งคณะกรรมการมาดูแลเรื1องกาซ NGV โดยเฉพาะ ซึ่งไดแกเจาหนาที่ กระทรวงพลัง เจาหนาที่ของ ปตท. และผูบริหารของสมาคมฯ สวนผลการประชุมประเด็นอื1นที่ ไดมาเบื้องตน คือ ราคานํ้ามันดีเซล และราคากาซ NGV จะตองเปนไปใน แนวทางเดียวกัน คือ ขึ้นก็ตองขึ้นทั้ง คูห รือ ลงก็ตอ งลงทัง้ คู ซึง่ แตกตางจาก ปจจุบันนี้ที่ราคาดีเซลลงแตราคากาซ NGV ขึ้น ทําใหขนสงเกิดความสับสน เปนอยางมาก สวนในแนวคิดของสมาคมฯ นั้น ราคาสูงสุดของกาซ NGV จะตองอยูท ี่
40% ของราคานํ้ามันดีเซล ไมสามารถ เปน 50% เหมือนรัฐบาลชุดทีผ่ า นมา ระบุ ไว ทั้งนี้ เพราะกลุมขนสงจะตองใชเวลา เป น อย า งมากในการเติ ม ก า ซ NGV สู ญ เสี ย รายได เ ป น อย า งมากจากงาน ขนสงที่รออยูขางหนา
สหพันธการขนสงทางบก แหงประเทศไทย
คุ ณ ชุ ม พ ล ส า ย เ ชื้ อ เลขาธิ ก ารการสหพั น ธ ธ การขนส ง ทางบกแห ง ประเทศไทย เปดเผยวา ถึง แม ว า คุ ณ ยู เจียรยืนยงพงศ จะครบวาระการ เปนประธาน สหพันธฯ ในอีก 1 ป 6 เดือนขาง หนา พรอมทั้ง ไดเปรยมาวา ไม อยูเปนประธาน อี ก ต อ ไปแล ว ตองหาใหคนอื1นขึ้นมาเปนแทน จ า ก ป ร ะ ส บ ก า ร ณ ที่ ผ า น ม า ประธานสหพั น ธ ฯ คนแรก คื อ คุ ณ อภิชาต ไพรรุงเรือง เมื1อไดลาออกจาก ตําแหนง คุณยู เจียรยืนยงพงศ ซึง่ ขณะ นั้นดํารงตําแหนงเปนประธานสหพันธฯ ก็ตอ งขึน้ มาเปนนายกแทนเพราะไมมใี คร ในวงการขนสงทีส่ ามารถขึน้ มาเปนได ดัง นัน้ เมื1อคุณยู เจียรยืนยงพงศ หมดสมัย เลขาธิการก็ตองขึ้นมาเปนแทน แตจากที่ ไดทํางานในวงการขนสง ไมวาจะเคยเปนอุปนายก สมาคมขนสง สินคาและโลจิสติกส ไทยมากอน หรือ ทํางานอยูในสหพันธฯ มาเปนเวลานาน แมวาคณะทํางานจะพยายามผลักดันให
เป น ทั้ ง นายกสมาคมฯ และประธาน สหพันธฯ มาหลายสมัยแลวก็ตาม ก็ไม สามารถรับหนาที่เปนหัวเสือได เพราะ ตองทํางานตอสูก บั หนวยงานราชการ แม กระทั่งการแขงขันของสมาชิกเอง ไม สามารถที่ จ ะถอยหลั ง ได แม จ ะ เหน็ ด เหนื1อ ยและไม เ ห็ น ผลประโยชน ใด ๆ เลยก็ตาม แตกตางกับผูที่อยูเบื้องหลัง หาก เขมแข็งมีแรงพอ ก็จะตอสูอยางเต็มที่ แตหากเหนื1อยลา ก็สามารถหยุดพักได ไมมีใครวาอะไร ดังนั้น จึงขอทํางานเปน ผูที่อยูเบื้องหลังใหคนรุนใหมเปนผูนํา หนา และจะใหขอมูลและเปนที่ปรึกษา เพื1อทําใหวงการขนสงเขมแข็งตอไป
สมาคมขนสงภาคตะวันออก
คุณวิโรจน รมเยศ นายก สมาคมขนสงภาคตะวันออก กลาววา ดวยเปนตัวตั้งตัวตี ตัง้ สมาคมฯ มาไดประมาณ 4 ปแลว การทํางานตาง ๆ เพื1อไปถึงจุด ประสงค ที่ ไ ด ตั้ ง ไว ก็ ส ามารถประสบ ความสําเร็จไดเปนอยางดี ดังนั้นในการ ประชุ ม คณะกรรมการ เมื1อ วั น ที่ 10 มีนาคม 2558 ที่ผานมา ไดมีการเลือก ตัง้ นายกสมาคมฯ และคณะกรรมการชุด ใหม เพื1อเสริมสรางใหสมาคมฯ มีความ เจริญเติบโตตอไป เมื1อไดนายกสมาคมฯ ชุดใหมแลว จะทําการเผยแพรประชาสัมพันธ เพื1อให สมาคมขนสงตาง ๆ และวงการขนสงได รับทราบ เพื1อที่จะไดมาทํางานประสาน ความเปนหนึ่ง เพื1อตั้งสภาขนสงทางบก แหงประเทศไทยใหได ในฐานะที่เปนนายกสมาคมฯ คน เดิม ก็ไมมแี ผนงานเดิมทีใ่ หนายกคนใหม ตองดําเนินการตาม แตนายกคนใหม
ซึง่ อยูใ นวงการขนสงมานานมีความคิด สรางสรรค ตองสามารถผลักดันให สมาคมฯ เดินหนาไดตอไป รวมทั้ง คณะกรรมการก็จะเปนคนรุน ใหมมาก ถึง 30% ของกรรมการทัง้ หมด เพราะ ทุกธุรกิจในปจจุบนั นีจ้ ะตองมีความคิด กาวหนา กลาคิด กลาทํา คอยประเมิน และปรับปรุงใหดีขึ้นอยูเสมอ สําหรับการขนสงในภาคตะวัน ออก ถือไดวาดีมาก เพราะการสงออก ทั้ ง เหล็ ก และเม็ ด พลาสติ ก ถื อ ว า เติบโตกวาปที่แลวเปนอยางมาก ซึ่ง คาดคะเนวา วัตถุดบิ ในการผลิตมีราคา ถู ก ทํ า ใ ห สินคามีราคา ถู ก ต า ม ไ ป ดวย รวมถึง ภ า ว ะ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ของประเทศ ตาง ๆ ทัว่ โลก ดี ขึ้ น ความ ตองการจึงมี มากตามไปดวยนั่นเอง สวนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC ซึ่งจะเริ่มใชจริงจัง คือ ตน ป 2559 นั้น สินคาในภาคตะวันออกที่ สามารถสงออกไดก็คือ สินคาพืชผล ทางการเกษตร สินคาอุปโภค บริโภค แต เ นื1อ งจากการขนส ง สามารถวิ่ ง สู ง สุ ด ไปได แ ค ช ายแดนเท า นั้ น ไม สามารถวิ่งผานประเทศตาง ๆ เปน เสนตรง ๆ ได ในขณะที่ขนสงของ ประเทศเพื1อ นบ า นสามารถวิ่ ง ผ า น มายังภูมิภาคตาง ๆ ในเมืองไทยได อยางเสรี จึงมองวาสินคาทุกอยางเปด เสรี แตขนสงยังอยูในเขตจํากัด วิ่งได เฉพาะในเมืองไทยแคนั้น
สภาการขนส่งทางบก
เรงเครื่องเปนสภาการขนสงบนถนน การผลักดันใหเกิดสภาการขนสงทางบกแหงประเทศไทยนั้น ถือไดวา เปนเรื1องที่ยาก แตมีผลประโยชนสูงสุดเปนอยางมากสําหรับวงการขนสง ในเรื1องทีว่ า ยากนัน้ ก็คอื หนวยงานทีร่ บั ผิดชอบการขนสงโดยตรง คือ กรม การขนสงทางบก กระทรวงคมนาคม ซึ่งเปนผูดูแลเปนหลัก แมวาบรรดาผู ประกอบการขนสงทางบกจะทําการเรียกรองใหตั้งสภาฯ มาหลายสิบป แตก็ไม สําเร็จ ไมมีการผลักดันในเรื1องนี้ใหกับคณะรัฐมนตรี (ครม.) พิจารณาเลย โดยมีคนในวงการใหความเห็นวา หากตั้งสภาฯ ขึ้นมาไดเมื1อไหร บรรดา ผูท อี่ ยูใ นวงการรถใหญแทบทัง้ หมดตองแยกตัวไปขึน้ กับสภาฯ แทน ดังนัน้ ราย ไดตาง ๆ ที่จะตองเขามา ทําใหรายไดตาง ๆ ของกรมการขนสงทางบกลดหาย ลงไปเปนอยางมาก แลวหนวยงานราชการไหนที่จัดตั้งใหเกิดสภาฯ ขึ้น เพื1อลด รายไดของตัวเองลง
B&T#266_p18-21_imac2.indd 18
สวนผลประโยชนของการเปนสภาฯ ถือวามีสงู มาก ไมวา จะเปนความชวย เหลือจากรัฐบาลที่จะมีใหเปนประจําทุกป การพัฒนาองคกรของบรรดาผู ประกอบการที่เปนสมาชิกจะตองมีมาตรฐานเดียวกับขนสงตางชาติ อุบัติเหตุที่ เกิดจากรถใหญจะลดนอยลง หรือแทบจะไมมีเพราะคนขับรถใหญทั้งหมดจะ ตองยึดกฎระเบียบในการใชรถใชถนนอยางเครงครัด และอื1น ๆ อีกมากมาย นอกจากนีแ้ ลว ก็ยงั เปนการสรางเกราะปองกันไมใหบริษทั ขนสงตางชาติ สามารถเขามาแยงลูกคาของขนสงชาวไทยได เพราะกระทรวงตาง ๆ ไมวาจะ เปน คมนาคม อุตสาหกรรม และแรงงาน ก็จะถูกคณะทํางานของรัฐบาลกําหนด ให โรงงานอุตสาหกรรมตาง ๆ ที่เปนของคนไทยตองใชขนสงของคนไทยดวย กันเอง และจะไดผลตอบแทนเปนสวนลดตาง ๆ อยางมากมาย
3/12/2558 BE 9:20 PM
58
GOSSIP • BUS&TRUCK 19
ปกษหลัง • มีนาคม 2558
ชุมทางขนส่ง
สวั ส ดี ค รั บ ขอต อ นรั บ สมาชิ ก นิตยสาร BUS & TRUCK ทุกทาน มา พบกันอีกในฉบับที่ 266 ปกษหลังเดือน มีนาคม 2558 หลังจากที่ ไดทํางานหนัก มาไดเกือบ 3 เดือนก็ถือวาพอจะประทัง ชีวิตใหอยูรอดได เพราะภาวะเศรษฐกิจ ยังเติบโตอยางเชื1องชา เรื1องที่มีสาระ และไมมีสาระที่จะสรางความยิ้มแยม เฮฮาใหกบั เพื1อนสมาชิก ไดเตรียมไวแลว
เริ่มจากไดยินเสียงยกยอง ทาน “ประยุทธ จันทร โอชา” นายก รัฐมนตรี และหัวหนา คสช. แมวาจะ ทําการฟน ฟูภาวะเศรษฐกิจไดอยางเชื1อง ชา ธุรกิจตาง ๆ ตองชะลอตัวตอไป โดย คาดวาครึง่ ปหลังของป 2558 ทุกอยางจะ เห็ น เป น รู ป เป น ร า ง หากไม ไ ด ท า น ประยุทธ มาชวยกูวิกฤต เมื1อวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 เศรษฐกิจของประเทศ ก็คงจะตกตํ่าไมมีทางฟนคืนแน ตองขอ ยกใหเปนอัศวินมาขาวกูช พี เศรษฐกิจไทย ตอไป
ขนาดนี้ เฉลีย่ คาสัมปทานวันละ 100 บาท รถรวม ขสมก.มีประมาณ 3 พันคัน รวม เวลาทั้งหมดอีกกวา 10 ปแลวแบบนี้รถ รวมมาขอปรับราคาคาโดยสารเพิ่มอีก 1 บาททําไม ไมหวงประชาชาชนที่เปนผู โดยสารที่ก็จนเหมือนกัน หาเงินนั้นแสน ยากแตใชจายนั้นงายดาย มีขาวแววมาจาก ขสมก.วา ทางรัฐบาลไดวางแผนทีจ่ ะให ขสมก.ปรับ เปลี่ยนมาเปนของเอกชนหลังจากที่ใน ปจจุบันนี้เปนรัฐวิสาหกิจ เพราะมีแตหนี้ สิน ในขณะทีร่ ฐั วิสาหกิจอื1นมีแตกาํ ไร ซึง่ มองดูแลว คงไมมีใครซื้อแนเพราะมีหนี้ สินพวงไปดวย และทีส่ าํ คัญพนักงานของ ขสมก. กวา 3 หมื1นคนก็ตองออกไปดวย แมจะไดรับเงินพิเศษเพิ่มก็ตาม ซึ่งเรื1อง นีท้ าง คุณสมหมาย ภาษี รัฐมนตรีวา การ กระทรวงการคลังก็ตอ งออกมาชีแ้ จงราย ละเอียดดวย เพราะมิเชนนั้นแลว ก็จะ ตองมีการประทวงใหญแน ต อ งขออธิ บ ายการเปลี่ ย น แปลงชื1อรุนของคาย “ฮี โน” ใหกลุม ลูกคาไดทราบกับจะได ไมเกิดการสับสน ดวยแตเดิมนั้นคายฮีโนได ใหชื1อรุนตั้งแต ขนาดเล็กไปถึงขนาดใหญวา เปนรุน 3 รุน 5 และรุน 7 แตเมื1อเปนศูนยกลางการ ผลิตของรถฮีโน รองจากประเทศญี่ปุน ก็ไดทําการเปลี่ยนชื1อรุนใหมเปนรุน 300 รุน 500 และรุน 700 เพื1อใหเหมือนกับ บริษทั แม ดวยถือคติทวี่ า บริษทั ลูกตองทํา ทุกอยางใหเหมือนบริษัทแมเพราะอยูใน ครอบครัวเดียวกัน
Deestone ออกบูธแนะนําสินคา พรอมจัดโปรโมชั่นพิเศษ งานวันยางพารา
กลุมบริษัท ดีสโตน ผูผลิตยางรถยนตคุณภาพในชื1อแบรนด Deestone ตอกยํ้าความ สําเร็จในป 58 ดวยการประเดิมงานแรกของป รวมออกบูธกับบริษทั เอ็มออโต จํากัด นําสินคา ไปโชวและจําหนายในราคาโปรโมชั่นในงานวันยางพาราและงานกาชาดประจําป 2558 ณ ที่ วาการอําเภอเมืองบึงกาฬ กลุมบริษัท ดีสโตน เล็งเห็นถึงขีดความสามารถและศักยภาพของ เกษตรกรชาวสวนยางพาราเปนที่ยอมรับกันอยางกวางขวาง อีกทั้งเพื1อใหแบรนด Deestone เปนที่รูจักกันแพรหลายมากยิ่งขึ้น ติดตามขอมูลเพิ่มเติมที่ www.deestone.com, www. facebook.com/DeestoneTyre, www.twitter.com/DeestoneTyre,
กลุม ปตท. รับโลเกียรติยศความยั่งยืน สะทอนธุรกิจไทยมุงมั่นเพื่อสังคม
ฯพณฯ พลเอกประยุทธ จันทรโอชา นายกรัฐมนตรี มอบโลเกียรติยศดานความยั่งยืน แก กลุม ปตท. ในโอกาสที่ไดรับคัดเลือกเปนสมาชิก DJSI ประจําป 2557 ซึ่ง ปตท. ไดรับการ คัดเลือกใหอยูใน DJSI World Index ตอเนื1องเปนปที่ 3 แลว และ กลุม ปตท. รวม 5 บริษัท หลักไดรับการคัดเลือกเปนสมาชิก ภายในงาน “ธุรกิจไทยขับเคลื1อนไทยสูความมั่งคั่งยั่งยืน ดวยมาตรฐานสากล Thai Corporate Moving toward Sustainable Growth, DJSI” ณ หอประชุมศาสตราจารยสงั เวียน อินทรวิชยั ชัน้ 3 อาคารตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย
สมาชิกบัตรบางจาก รวมมอบเงินเพื่อสาธารณประโยชน
คุณชัยวัฒน โควาวิสารัช กรรมการผูจัดการใหญ บริษัท บางจากฯ (มหาชน) เปน ตัวแทนสมาชิกบัตรบางจากแกสโซฮอลคลับและดีเซลคลับ มอบเงินจากสวนลดสะสมที่ไดรับ จากการเติมนํ้ามันตลอดป 2557 แกองคกรสาธารณประโยชน 11 องคกร อาทิเชน มูลนิธิ แพทยอาสาสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี มูลนิธคิ มุ ครองเด็ก มูลนิธสิ ากลเพื1อคนพิการ มูลนิธิแพทยชนบท มูลนิธิวิจัยนกเงือก รวมเปนเงิน 2,885,000 บาท เมื1อเร็ว ๆ นี้ ณ โรง กลั่นบางจาก
มีขา วฝากผูร บั ผิดชอบรถเมล รวม ขสมก.วาทานอธิบดีกรมการขนสง ทางบก “ธีระพงษ รอดประเสริฐ” ได หวงใย ขสมก.เปนอยางมาก เพราะนอก จะมี ห นี้ ส ะสมเกื อ บแสนล า นบาทแล ว ทางรถรวม ขสมก. แทบทั้งหมดก็ยังไม ยอมจายคาสัมปทานใหกับ ขสมก. เลย รวมแลวเปนเงินมากกวา 1 พันลานบาท เลยทีเดียว ไมตองแปลกใจเลยวามาก
B&T#266_p18-21_imac2.indd 19
ดาน “ทิดดอน” หรือ คุณ สุขสมเกียรติ เสือกลิ่นศักดิ์ บอสใหญ ของคาย “ไอวี โก” ไดครบกําหนดการ บวชที่ ป ระเทศอิ น เดี ย เมื1อ วั น ที่ 12 กุมภาพันธ 2558 ที่ผานมา ก็รีบทํางาน อยางหนัก เสาะหาขอมูลการขายรถใหญ และยอดจดทะเบียนของยี่หอตาง ๆ ที่ ทําไดในป 2557 ทั้งหมด ซึ่งไมยอมบอก สาเหตุ ว า เพราะอะไร คงจะนํ า มา วิเคราะหวา เมื1อตลาดรวมเปนเชนนี้ จะ
ฮอนดา จัดประชุมผูจําหนายรถยนต พรอมมอบรางวัลผูจําหนายยอดเยี่ยม
บริษัท ฮอนดา ออโตโมบิล (ประเทศไทย) จํากัด จัดงานประชุมผูจําหนายรถยนต ฮอนดาประจําป 2558 พรอมรวมวางแผนและกําหนดกลยุทธการดําเนินงานในป 2558 ซึ่ง งานนี้จัดขึ้นภายใตแนวคิด “The Great Vision Ahead” นอกจากนี้ ยังมีพิธีมอบรางวัลผู จําหนายยอดเยี่ยม และผูจําหนายที่บรรลุเปาการขายสูงสุด ประจําป 2557 อีกดวย โดยมีผู บริหารจากผูจ าํ หนายรถยนตฮอนดากวา 230 คนเขารวมงาน ณ ศูนยประชุมพีช โรงแรมรอยัล คลิฟ บีช พัทยา เมื1อเร็ว ๆ นี้
3/12/2558 BE 9:20 PM
20 BUS&TRUCK • GOSSIP
ปกษหลัง • มีนาคม 2558
ชุมทางขนส่ง
รุงราวี ควาแชมปอีซูซุคัพครั้งที่ 25 ควารถอีซูซุดีแมคซและเงินสด 1 ลาน
อีซูซุแสดงความยินดีกับ รุงราวี พี เค แสนชัยมวยไทยยิม แชมปมวยอีซูซุคัพ ครั้งที่ 25 “ศึกอีซูซุคัพ ฉลอง 25 ป มวยไทยเจาตํานาน” หลังชนะคะแนน “เดชฤทธิ์ ภพธีรธรรม” อยาง เปนเอกฉันท ณ เวทีมวยสยาม (ออมนอย) ครองรางวัลชนะเลิศรถปกอัพ “อีซูซุดีแมคซ สปารค 4x4” และเงินสด 1 ลานบาท พรอมรับสิทธิ์เขาชิงยอดมวยไทยในศึก “อีซูซุคัพ ซูเปอร ไฟต” ใน วันเสารที่ 4 เมษายน ศกนี้ ที่โรงเรียนนายรอยพระจุลจอมเกลา เขาชะโงก จังหวัดนครนายก เพื1อกาวไปผงาดบนสังเวียนผาใบระดับโลก “THAI FIGHT 2015” ในฐานะนักชกตัวแทน ประเทศไทยในปลายปนี้อีกดวย
ตองหาวิธีการขายที่จะเจาะกลุมลูกคา อยางไร เพื1อที่จะไดขายไดมาก ๆ ตรงกับ ความตองการของบริษัทแม ประเทศ อิตาลี
ดาน คุณสุรเดช ทวีแสงสกุล ไทย เจานายใหญของอู ช. ทวี ดอลลา เซียน ผูตอรถใหญเพื1อการสงออกเปน หลัก ถือวาเปนไอดอลของวงการรถใหญ จริง ๆ หลังจากที่จบปริญญาตรี ดาน วิศวกรรมยานยนต มหาวิทยาลัยแหง หนึ่งในประเทศญี่ปุน ก็ไดกลับมาพัฒนา วงการยานยนตใหดขี นึ้ จนกระทัง่ มาเปน อูใหญ 1 ใน 4 ของประเทศเลยทีเดียว พ ร อ ม ทั้ ง ยั ง เ ป น ผู ก อ ตั้ ง ส ม า ค ม อุตสาหกรรมตอตัวถังและรถพวงไทยอีก
B&T#266_p18-21_imac2.indd 20
ทําทุกอยางเพื1อใหอตู อ ทีเ่ ปนสมาชิกใหได รับประโยชนสูงสุดจากหนวยงานรัฐบาล ที่ดูแลอยู หลักการในการทําใหอู ช.ทวี ดอล ลาเซียนเปนใหญขึ้นมาไดนั้น จะตอง ทํางานอยางหนักไปหากลุม ลูกคาใหม ไม วาจะเปนทั้งในประเทศและตางประเทศ โดยเสนอสิ น ค า ที่ มี คุ ณ ภาพระดั บ สู ง ราคาจึงแพงซึ่งแตกตางจากอูแหงอื1น ที่ เสนอแต สิ น ค า คุ ณ ภาพเดิ ม แต ด ว ย เหตุ ผ ลที่ ทํ า เช น นี้ ก็ เ พื1อ ลู ก ค า จะได รั บ สินคาที่ดี พนักงานก็ ไดรับเงินเดือนสูง พรอมทีจ่ ะทํางานใหกบั ลูกคาอยางเต็มที่ นั่นเอง และดวยวัยเพียงแค 48 ป มีบุตร 4 คน ทํางานหนักหลายหนาที่ ไมวาจะ เปนในหอการคาจังหวัดขอนแกน สภา อุ ต สาหกรรมจั ง หวั ด ขอนแก น รอง คณบดี วิ ท ยาลั ย ที่ เ ป น สมาชิ ก ของ มหาวิ ท ยาลั ย ขอนแก น และประธาน กรรมการของบริษัท ช.ทวี ดอลลาเซียน แมวา จะมีงานหนักแคไหน ก็ยงั มีกาํ ลังใจ ทําอยู บอกวา ยังมีกาํ ลังใจในการทํางาน อี ก มาก ส ว นงานต อ ไปก็ คื อ การทํ า รถไฟฟารางคูใหรอบเมืองขอนแกน ซึ่ง จะตองทําใหไดอยางใจหวัง ต อ งขอแซวมายั ง ค า ย ฉาง อาน ประเทศจีน ที่ทางตันจงฯ ดูแลอยู แมวาจะผาน มอก.ไปเรียบรอยแลวยอด ขายยังมองไมเห็นเปนรูปเปนรางเลย ซึง่ เมื1อนําเขามาใหม ๆ เมื1อประมาณ 2 ปที่ แลว ผูบ ริหารบอกวา จะเนนทีก่ ลุม SME
ศึกอีซูซุคัพ ครั้งที่ 25 “ศึกอีซูซุคัพ ฉลอง 25 ป มวยไทยเจาตํานาน” รอบชิงชนะเลิศ ไดรับความสนใจจากแฟนมวยและเหลากองเชียรหลั่งไหลเขาชมการแขงขัน ซึ่งคูเปดสนาม เปนการพบกันของคูชิงที่ 3 ระหวาง ยอดพยัคฆ กาวไกลยิม ฝายแดง และ ทีเด็ด ศิษยจากุง ฝายนํา้ เงิน เพียงแคยก 2 ยอดพยัคฆปลอยหมัดขวาเขาคางทีเด็ดรวงคาเวที สงผลใหยอดพยัคฆ ไดรับตําแหนงรองชนะเลิศอันดับ 3 ไดรับรางวัลเงินสด 300,000 บาทพรอมรางวัลเงินสดพิเศษ อีก 30,000 บาทไปครอง สวนทีเด็ดไดรับรางวัลเงินสด 200,000 บาท บรรยากาศยังคงคึกคักดวยการแสดงพิธีการลั่นกลองแบบโบราณประกอบแสงเสียง เพื1อ เรียกกําลังใจใหคูชิงชนะเลิศ ระหวาง “เดชฤทธิ์ ภพธีรธรรม” ฝายแดง และ “รุงราวี พี เค แสน ชัยมวยไทยยิม” ฝายนํ้าเงิน โดยมี คุณฮิโรชิ นาคางาวะ กรรมการผูจัดการ บริษัท ตรีเพชรอีซูซุ เซลส จํากัด กลาวเปดการแขงขันและมอบพวงมาลัยเปนกําลังใจใหทงั้ สองนักชก ทัง้ เดชฤทธิแ์ ละ รุงราวีตางออกอาวุธกันสุดแรงตั้งแตยกแรกทามกลางเสียงเชียรดังสนั่นตลอดการแขงขัน ยก 4 รุงราวี ไลปลํ้าทําคะแนนไดอยางเดนชัด สิ้นระฆังยกที่ 5 รุงราวีชนะเปนเอกฉันทสมศักดิ์ศรี ควา รางวัลชนะเลิศรถปกอัพ “อีซูซุดีแมคซ สปารค 4x4” และรางวัลเงินสด 1 ลานบาท พรอมรับ สิทธิเ์ ขาชิงยอดมวยไทยในศึก “อีซซู คุ พั ซูเปอร ไฟต” เพื1อกาวไปแขงขันมวยไทยระดับโลก “THAI FIGHT 2015” ในฐานะนักชกตัวแทนประเทศไทยในปลายปนี้อีกดวย สวนเดชฤทธิ์ไดรับรางวัล เงินสด 500,000 บาทเปนการปลอบใจ รวมมูลคารางวัลทั้งสิ้นกวา 2 ลานบาท คุณฮิโรชิ นาคางาวะ กลาววา อีซูซุขอแสดงความยินดีกับคุณรุงราวี ซึ่งไดทําการฝกซอม อยางหนักเพื1อศึกอันหนักหนวงในวันนี้ จนไดรับตําแหนงแชมปอีซูซุคัพคนลาสุดไปครอง ผมขอ เชิญชวนคนไทยรวมสงกําลังใจเชียรรุงราวีในศึกอีซูซุคัพ ซูเปอร ไฟต และอีซูซุขอเปนกําลังใจให รุงราวีควาชัยไดกาวเขาสูศึกไทยไฟทปลายปนี้ดวยครับ ปดทายการแขงขันฯ อีซูซุไดมอบโชคสรอยคอทองคําหนัก 3 บาท จํานวน 1 รางวัล และ สรอยคอทองคําหนัก 1 สลึง จํานวน 30 รางวัล รวมมูลคา 210,000 บาท ดวยการจับบัตรทาย ผล “แชมปมวย” ศึกอีซูซุคัพ ครั้งที่ 25 เพื1อเปนของขวัญใหแฟนมวยอีกดวย รวมเปนกําลังใจใหรุงราวี พี เค แสนชัยมวยไทยยิม ใน “ศึกอีซูซุคัพ ซูเปอรไฟต” ในวัน เสารที่ 4 เมษายน ศกนี้ ที่โรงเรียนนายรอยพระจุลจอมเกลา เขาชะโงก จังหวัดนครนายก ถายทอดสดทางไทยทีวีสีชอง 3 ตั้งแตเวลา 17.30 น.เปนตนไป
ปกษหลัง
มีนาคม 2558
สาว SANY
3/12/2558 BE 9:20 PM
58
GOSSIP • BUS&TRUCK
ปกษหลัง • มีนาคม 2558
แตก็มียอดขายนอยอยู ตอมาไดเปลี่ยนผู บริหารใหม แมจะทํางานหนักแตยอด ขายก็ไมเห็นเพิ่มเหมือนกัน สุดทายก็ลา ออกไป ยิ่งปจจุบันนี้ประชาชนตางมีเงิน ใชนอยลง แลวจะมีธุรกิจ SMEs ที่ไหน มาซื้อรถเพื1อบรรทุกสิ่งของไปขายไดเลา ทีมงานฉางอานชวยออกมาบอกหนอยวา จะทําตลาดตอสูกับวิกฤตนี้อยางไรบาง หลั ง จากที่ คอลั ม นิ ส ต ของกอง บก.ไดเปลี่ยนชื1อใหม งานการ และธุ ร กิ จ ที่ ทํ า อยู ดี ขึ้ น เป น อย า งมาก เพราะโรงเรียนสอนขับรถ ไอดี ไดรฟเวอร ที่ลําลูกกา ปทุมธานีแรก ๆ ก็มีแต นักเรียนทีข่ บั รถใหญเปนแลว ทางบริษทั ไดสงมาเพื1อเรียนการขับรถใหญใหดีขึ้น จุดมุง หมายหลักคือ ไมใหเกิดอุบตั เิ หตุนนั้ เอง ซึ่งงานชวงแรกก็มีไมมากนัก แตเมื1อผูป ระกอบการขนสงทางบก เริ่มมีปญหาขาดแคลนคนขับ ทางไอดี ไดรฟเวอรจึงเปดสอนคนขับรถใหญมือ ใหม ซึ่งก็มีเขามาเรียนขับรถเปนจํานวน มาก ดังนั้น ในแตละเดือนจึงตองทํางาน ทุกวัน เพื1อทีจ่ ะไดผลักดันใหวงการขนสง มีคนขับมากเพียงพอกับความตองการ
โดยรับรองวาอุบัติเหตุจะลดนอยลงไป เปนอยางมาก ผูที่ผานการเรียนจะมีทั้ง ฝมือการขับ สมาธิ ซึ่งเปนสิ่งที่สําคัญ ที่สุด ติดตัวอยูตลอดเวลาดวย มี ข า วมาบอก ค า ยนํ้ า มั น บางจากไดจดั โปรโมชัน่ พิเศษใหกบั ผูท ซี่ อื้ นํ้ า มั น เครื1อ งทุ ก ชนิ ด ไม ว า จะเป น รถ มอเตอร ไซค รถกะบะ รถเกง และรถใหญ หรือแมแตผูที่ซื้อนํ้ามันเครื1องบางจาก ชนิ ด ใดก็ ไ ด โดยในทุ ก เดื อ นจะแจก ไอโฟน 6 พลัส จํานวน 10 เครื1อง หมด เขตในวันที่ 30 มิถุนายน 2558 นี้เทานั้น แบบนี้ก็แสดงวาบางจากมีนํ้ามันเครื1อง ลนสต็อกนะซิ มี เ สี ย งบ น มาจากวงการ ขนสงทางบกวา มีงานลดนอยลงไปเปน อยางมากเนื1องจาก มี 2 ยักษใหญที่ทํา โลจิสติกสของเมืองไทยไดมาแยงลูกคา ไป หลั ง จากนั้ น ก็ ม าจ า งให ข นส ง ราย เล็ก ๆ ทําการซับขนสง โดยเก็บคานาย หนาประมาณ 20% ทีเดียว ซึ่งขนสงราย เล็กก็ตอ งทํา เพราะไมสามารถหางานมา ไดดว ยตนเอง ไมรวู า จะแกไขปญหาเรื1อง นี้อยางไรใครชวยที
21
สแกนเนีย สยาม สงมอบรถหัวลาก แก เอ็น แอนด ดีดี อินเตอรเนชั่นแนล
คุณเกษม เกาจารี ผูจัดการฝายขายรถหัวลาก และ คุณพงศปญญา ชาวคํา เจาหนา ฝกอบรมการขับขี่สแกนเนีย บริษัท สแกนเนีย สยาม จํากัด สงมอบรถหัวลาก สแกนเนีย รุน P360 LA6x2 MSZ จํานวน 5 คัน แก คุณขวัญเมือง จันทรโชติ กรรมการผูจัดการ บริษัท เอ็น แอนด ดีดี อินเตอรเนชั่นแนล (ประเทศไทย) จํากัด พรอมใหคําแนะนําฝกอบรม เบื้องตนในการดูแลรักษารถและเรียนรูการใชอุปกรณตาง ๆ รวมถึงใหความรูดานทักษะการ ขับขี่แกพนักงานขับรถสามารถใชงานรถหัวลาก สแกนเนีย ไดอยางเต็มประสิทธิภาพ
มิตซูบิชิ เปดตัว “มิตซู ชูเกียรติยนต กระบี่” ผูจําหนายมาตรฐานแหงใหม
มร. โมะริคาซุ ชกคิ กรรรมการผูจัดการใหญ บริษัท มิตซูบิชิ มอเตอรส (ประเทศไทย) จํากัด (ที่ 4 จากขวา) พรอมผูบริหารของบริษัท รวมแสดงความยินดีกับ ชูเกียรติ์ ปติเจริญกิจ ประธาน กลุมบริษัทในเครือ ชูเกียรติยนต จํากัด (ที่ 3 จากขวา) ในโอกาสเปดดําเนินงานให บริการทัง้ โชวรมู และศูนยบริการมาตรฐานเต็มรูปแหงใหมในจังหวัดกระบีอ่ ยางเปนทางการในชื1อ “บริษัท มิตซู ชูเกียรติยนต กระบี่ จํากัด” โดยมี เกษสุดา ปติเจริญกิจ (ที่ 1 จากขวา) และ ดนู เทวรัตนมณีกุล (ที่ 2 จากขวา) กรรมการผูจัดการ และผูบริหารของบริษัทฯรวมใหการตอนรับ
กูดเยียร ควารางวัล ‘Ford Q1 Preferred Quality Status Award’
กูดเยียร ประเทศไทย ไดรับรางวัล Ford Q1 Preferred Quality Status จากฟอรด ประเทศไทย ซึ่งเปนรางวัลที่แสดงถึงคุณภาพที่ดีของยางกูดเยียรและการสงมอบยางที่มี ประสิทธิภาพ ทัง้ นีร้ างวัลนีย้ งั แสดงใหเห็นถึงการดําเนินงาน คุณภาพของผลิตภัณฑและบริการ ทีด่ เี ยีย่ มของกูด เยียร รางวัลนี้ มอบใหแก ซัพพลายเออรของฟอรด ทีส่ ามารถสงมอบผลิตภัณฑ ทีม่ คี ณ ุ ภาพทีด่ เี ยีย่ มและความนาเชื1อถือทีด่ ีเยีย่ มใหกบั ฟอรด รวมไปถึงการแสดงออกถึงความ มุงมั่นของซัพพลายเออรที่จะนําฟอรดไปสูความสําเร็จและการพัฒนาอยางไมหยุดยั้ง
ยางนิตโตะ ตอสัญญา Nitto 3K Kumho Racing Car Thailand 2015
ยางนิตโตะ เดินหนาลงสูส นามมอเตอรสปอรตตอเนื1อง ตอสัญญาสนับสนุนการแขงขัน “Nitto 3K Kumho Racing Car Thailand 2015” ชิงถวยพระราชทาน พระเจาวรวงศเธอ พระองคเจาโสมสวลีพระวรราชาทินัดดามาตุ พรอมพิธีมอบรางวัลแชมปประเทศไทย ประจํา ป 2014 ณ ลานดานหนาศูนยการคา MBK Center รวมติดตามความมันสแบบทะลุจอ ไดตลอด ทัง้ ป ในทุกการแขงขันรายการ Nitto 3K Kumho Racing Car Thailand 2015 นี้ ไดทาง www. nittotire.in.th หรือ Facebook/NittoTireThailand
B&T#266_p18-21_imac2.indd 21
3/12/2558 BE 9:20 PM
22 BUS&TRUCK • VITSIT
ปกษหลัง • มีนาคม 2558
แวะเวียน
สถาบั สถาบันนยานยนต ยานยนต เป เปดดศูศูนนยยททดสอบยาง ดสอบยาง
ยกระดั ยกระดับบมาตรฐานยางล มาตรฐานยางลออไทย ไทย
เสี ย เวลาและเสี ย ค า ใช จ า ยในการ ดําเนินการ ถึงปละไมตํ่ากวา 50 ลาน บาท และมีแนวโนมจะเพิ่มขึ้น การจัดตั้งศูนยทดสอบกลางฯ เ ป น ส ว น ห นึ่ ง ใ น ก า ร ย ก ร ะ ดั บ มาตรฐานผลิตภัณฑยางลอของไทย ทําใหขีดความสามารถในการแขงขัน ของอุ ต สาหกรรมไทยทั้ ง ตลาดใน ประเทศและตางประเทศเพิ่มขึ้น มี รายไดจากการสงออกยางลอเพิ่มขึ้น โดยการปรับปรุงมาตรฐานผลิตภัณฑ ยางลอ รวมถึงกระบวนการทดสอบ และรั บ รองมาตรฐานดั ง กล า ว เปนการสรางการยอมรับจากลูกคา เพื1อ ลดอุ ป สรรคและขยายโอกาส ทางการคาไปยังตลาดโลก นายวิชัย จิราธิยุต ผูอํานวย การสถาบั นยานยนต กลาวเสริมวา กระทรวงอุตสาหกรรม และ สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม อนุมตั แิ ผนใหสถาบันยานยนตขยาย สถาบันฯ ไดรับการสนับสนุนเครื1อง การดํกระทรวงอุ าเนินการสรตาสาหกรรม งศูนยทดสอบยางล ขึ้น ดวยงบประมาณ นบาท สําอนุ หรัมบตั ตรวจมาตรฐานตาม UN/ECE และ สํานักองานมาตรฐานผลิ ตภัณ85 ฑอลตุ าสาหกรรม แิ ผนใหสถาบันยานยนต ขยาย ได ับการสนับสนุอนตามมาตรฐาน เครื1องมือทดสอบ มือรทดสอบยางล UNและตามข อ ตกลงอาเซี ย น เพื อ 1 ขยายการแข ง ขั น ให ม าตรฐานอุ ต สาหกรรมยานยนต ข องไทยได ร บ ั ความเชื 1 อ ถื อ จาก ยางล อ ตามมาตรฐาน UN-ECE การดําเนินการสรางศูนยทดสอบยางลอขึ้น ดวยงบประมาณ 85 ลานบาท สําหรับตรวจมาตรฐานตาม UN/ECE ECE ที่มีศักยภาพในการใหบริกทีาร่มี ในอาเซียนอตกลงอาเซี และระดับโลก กยภาพในการใหบริการตรวจสอบอ และตามข ยน เพื1อขยายการแขงขันใหมาตรฐานอุตสาหกรรมยานยนตของไทยไดรบั ความเชื1อถือจาก ศัตรวจสอบความทนทานของยางล ความทนทานของยางล หรัแบก ศู นยยนท ดสอบยางล อ สถาบั น ผลิตภัณฑ รวมถึงโครงการจัดตั้งสนาม ยางลอใหม ๆ ของผูประกอบการไทยให สําหรับรถยนตประเภทตางอ ๆสํ าได ในอาเซี และระดับโลก ง ๆรถจั ไดกแรยานยนต ก รถยนต ยานยนต จึงถือเปนจุดเริ่มตน เพื1อ ทดสอบ ณ อําเภอสนามชัยเขต จังหวัด ไดมาตรฐานและเปนที่ยอมรับในตลาด รถยนตนปงั่ ระเภทต สวนบุคาคล รวมถึ ง ยกระดั บ คุ ณ ภาพด า นสิ ง ่ แวดล อ ม ศู น ย ท ดสอบยางล อ สถาบั น นั ่ ง ส ว นบุ ค คล รถจั ก รยานยนต รวม ยางรถยนต 3. มอก.682-2540 ECE ผลักดันพัฒนาอุตสาหกรรมยางยาน ฉะเชิงเทรา เพื1อรองรับมาตรฐานตาง ๆ โลกเพื1อเพิ่มขีดความสามารถทางการ รวมไปถึงรถบรรทุก รถโดยสารขนาด ขี นึ้ นดจุวดยการพั ยานยนต ถือบเปสากล นจุดเริและช ่มตนวยลด เพื1อ ของคนในประเทศให ก รถโดยสารขนาดใหญ no.R75 การทดสอบยางรถ พาหนะไปสูจึรงะดั ใหญงรถบรรทุ ตามมาตรฐาน UN-R30 UNแขงขันในตลาดโลกให แกผูประกอบการ ไปถึ ทีจ่ ะมีขนึ้ ในอนาคตซึง่ดเป เริม่ ตนฒทีนา ส่ ง Regulation สู ศ ู น ย ท ดสอบรถยนต ท ้ ั ง คั น อย า งครบ ผลั ก ดั น พั ฒ นาอุ ต สาหกรรมยางยาน ตามมาตรฐาน UN-R30 UN-R54 และ จั ก รยานยนต และ 4. มอก.367-2552 ระยะเวลาและคาใชจายการทดสอบ เสริมใหเกิดการวิจัยและพัฒนาการผลิต ไทย รวมถึ ง ยกระดั บ คุ ณ ภาพด า นสิ่ ง R54 และ UN-R75 นอกจากนี ้ยัง พาหนะไปสูระดับสากล และชวยลด วงจร นอกจากนี้ยังสามารถตรวจ ECE no.R117 ดRolling สามารถตรวจสอบความต านทานการ แวดลอRegulation มของคนในประเทศให ีขึ้นดวย UN-R75 นายหทั ย อู ไ ทย เลขาธิ ก าร Resistance ระยะเวลาและคาใชจายการทดสอบ านทานการหมุ ของยาง หมุ น ของยางล อ หรื อ นRolling การพัฒนาสูศูนยทดสอบรถยนตทั้งคัน สอบความต ผลิ ต ภั ณ ฑ รวมถึ ง โครงการจั ด ตั้ ง สํ า นั ก ง า น ม า ต ร ฐ า น ผ ลิ ต ภั ณ ฑ อยางครบวงจร อ หรือ Rolling Resistance หนึ่งใน ปญหาหลักที่สําคัญประการหนึ่ง ลResistance หนึง่ ในรายการตรวจสอบ สนามทดสอบ ณ อําเภอสนามชัยเขต อุตสาหกรรม กลาววา มาตรฐานยางลอ เนื1องจากมาตรฐานผลิ รายการตรวจสอบ 1อบงบอกระดับด ต ภั ณ ฑ ข องไทยที ่ บ การประหยั นายหทั ย อู ไ ทย เลขาธิ ก าร เพื1อ บ ง บอกระดั เพื จั ง หวั ด ฉะเชิ ง เทรา เพื1อ รองรั บ ในปจจุบันจะคํานึงถึงความปลอดภัย สิ่ง ใช ดพลังงานตามมาตรฐานอ งกัฑบ การประหยั พลังงานตามมาตรฐานของยางล สํ าอนัยูก ใงนป า นจมจุาบตั นรไม ฐ าสนอดคล ผ ลิ ต ภัอ ณ มาตรฐานตาง ๆ ที่จะมีขึ้นในอนาคต แวดลอม และการประหยัดพลังงานเปน มาตรฐานสากล ของยางล อ ตามมาตรฐาน และไม เ ป น ที ย ่ อมรั บ ของ ซึ่ ง เป น อุตสาหกรรม กลาววา มาตรฐานยางลอ ตามมาตรฐาน UN-R117UN-R117 ซึง่ เปนจุดเริม่ ตนทีส่ ง เสริมใหเกิดการ หลัก ให ไดมาตรฐาน ตามคาที่กําหนด ประเทศคู ่ ง เป น มาตรฐานที ่ ทั่ วาโลกกํ ง ให า ซึา่งนึบังงถึคังความปลอดภั บใชคือ มาตรฐาน ่ ทั่ ว โลกกํ ลั ง ใหาคลัวาม ในปจจุบันคจะคํ ย สิ่ง ซึมาตรฐานที วิจยั และพัฒนาการผลิตยางลอใหม ๆ โดยการทดสอบเพื1อขอ มอก.สินคา ตาม UNECE ความสํ า คั ญ อย า งมากในป จ จุ บ ั น Regulation ซึ ง ่ ไทยยั ง ไม ม ก ี าร แวดลอม และการประหยัดพลั งานเปน สําคัญอยางมากในปจจุบัน จึงนับจึไดง ของผูป ระกอบการไทยใหไดมาตรฐาน ประเภทของยาง ประกอบไปดวย 1. มอก. บัหลังคักบใหใชไมดมาตรฐานดั ยทดสอบยางลอ อสถาบั สถาบัน งกลาาวทีรวมทั นย นัว บา ไดศูวนายศูทนดสอบยางล าตรฐานตามค ก่ าํ หนด้งศูโดย และเป น ที่ ย อมรับในตลาดโลกเพื1อ 367-2532 ECE Regulation no.R54 การ ทดสอบและการให ยานยนต มี ศ ก ั ยภาพ และความพร ก ารรั บ รอง ต อ งส ง ไป ยภาพและความพรอม การทดสอบเพือ1 ขอ มอก.สิ น ค า ตาม เพิม่ ขีดความสามารถทางการแขงขัน ทดสอบยางรถบรรทุก 2. มอก.367-2532 ทดสอบและรั บรองที ่ตางประเทศ าให ในการใหบริการในการเปนโครงสราง ประเภทของยาง ประกอบไปด วย 1.ทํมอก. ในตลาดโลกใหแกผูประกอบการไทย ECE Regulation no.R30 การทดสอบ เสี ย เวลาและเสี ย ค า ใช จ า ยในการดํ า เนิ 367-2532 ECE Regulation no.R54 การน พื้นฐานทางวิศวกรรมดานการตรวจ การ ถึงปละไมตํ่ากวาก 50 ลานบาท และ สอบและรับรอง ยางลอที่ทันสมัย ให ทดสอบยางรถบรรทุ 2. มอก.367-2532 และเอกชนเพืเพื งเสริ มีECE แนวโน ม จะเพิ ม ่ ขึ น ้ 1อส1องสเสริ มใหม Regulation no.R30 การทดสอบ กับภาครัฐและเอกชน ด การผลิต ยางล ต ยางลออทีที่ ม่ มี คี คุ ณ ุ ณภาพ การจัดตั3.้งศูนมอก.682-2540 ยทดสอบกลางฯ ECE เปน ให เกิ ดเ กิการผลิ ยางรถยนต ภายในประเทศเป น ที ย ่ อมรั บ สRegulation ว นหนึ่ ง ในการยกระดั บ มาตรฐาน no.R75 การทดสอบยางรถ นายวิชัย กลาวทิ้งทายวา หาก ผลิ ตภัณฑยางลและ อของไทย ทําใหขดี ความ จักรยานยนต 4. มอก.367-2552 โครงการสร างสนามทดสอบยางลอ สามารถในการแข ง ขั น ของอุ ต สาหกรรม ECE Regulation no.R117 Rolling ไทยทั ง้ ตลาดในประเทศและตางประเทศ สํ า เ ร็ จ จ ะ เ ป น ก า ร ดี สํ า ห รั บ Resistance เพิ่มขึ้นปญมีหาหลั รายไดกจทีากการส งออกยางลอ่ง อุตสาหกรรมยางตัง้ แตตน นํา้ ถึงปลาย ่สําคัญประการหนึ เพิ ขึ้ น โดยการปรั บตปรุ เนื1อ่ มงจากมาตรฐานผลิ ภัณงฑมาตรฐาน ของไทยที่ นํ้ า เพราะประเทศไทยจะเป น ผลิ ต ภั ณ ฑ ย างล อ รวมถึ ง กระบวนการ ใช อ ยู ใ นป จ จุ บั น ไม ส อดคล อ งกั บ ศู น ย ก ลางอุ ต สาหกรรมยางที่ ค รบ ทดสอบและรั รองมาตรฐานดั าว วงจร ทั้งวัตถุดิบยางพารา และการ มาตรฐานสากลบและไม เปนทีย่ อมรังกล บของ เป น การสร า งการยอมรั บ จากลู ก ค า เพื ประเทศคูค ซึ่งบังคับใชคือ มาตรฐาน1อ เปนฐานการผลิตในอนาคต ซึง่ คาดวา ลดอุ ปสรรคและขยายโอกาสทางการค UNECE Regulation ซึ่งไทยยังไมมีการา โครงการต อ ขยายทั้ ง หมดจะใช ง บ ไปยั ง ตลาดโลก บังคับใชมาตรฐานดังกลาว รวมทั้งศูนย ประมาณ 2,850 ลานบาท เพื1อเรง นายวิชัย จิรกาธิารรั ยุตบรองต ผูอํานวยการ ทดสอบและการให องสงไป สรางความไดเปรียบกอนอินโดนีเซีย สถาบั น ยานยนต กล า วเสริ ม ว า สถาบั ทดสอบและรับรองที่ตางประเทศ ทํานใหฯ ที่มีแผนจะพัฒนาดานนี้เชนกัน
22-23 ��������.indd 22 R1_B&T#266_p22-23_imac2.indd 22
3/13/2558 BE 3:52 PM 3/13/2558 BE 5:00 PM
58
ปกษหลัง • มีนาคม 2558
SPECIAL REPORT • BUS&TRUCK 23
Special Report
PUSH START THE HAPPINESS อีซูซุ มอบความสุขในแบบ PUSH START...THE HAPPINESS กั บ งานอี ซู ซุ ข อบคุ ณ สื1อ มวลชน ประจําป 2015 ภายใตบรรยากาศ Motor Sport สุดมันที่นําเอารถ แต ง และรถแข ง อี ซู ซุ ที่ เ ป น เจ า ตํานานจากหลายสนามมาประชัน โฉมกันในงาน สตาร ท ความสุ ข สุ ด มั น ด ว ย รางวัลเก ๆ ติดไมติดมือ ตอดวยโซน เวิรคช็อปตกแตงหมวกสไตลเรซซิ่ง เท จี๊ดไมซํ้าใคร ตามมาดวยเกมที่ใหทุกคนไดรวมสนุกและแขงขันกันโดยตองใช ทั้งความเร็วและแรง ทั้งเกม “ISUZU PIT CENTER…ยาง เจง อะ” หามืออาชีพ ถอดลอเปลี่ยนยางดวยความเร็วขีดสุด ประลองหานักซิ่งตัวจริงในเกม “ISUZU DRAG KING...ซิ่งมิดไมล” และรวมลุย สุดโหดในเกม “ISUZU CROSS COUNTRY...โหดทะลุฝุน” จากนั้นในชวงงานเลี้ยง อีซูซุไดจัดเตรียมคอนเสิรตครบรสใหฟนกันถวน หนา กับ “โกะตี๋ อารามบอย” พรีเซนเตอรอีซูซุดีแมคซ ที่มาเรียกรอยยิ้มและ เสียงฮาพรอมสรางสรรค “ฉอยดีแมคซ” ที่แตงขึ้นเพื1ออีซูซุโดยเฉพาะ แลวยัง ชวยสงตอความมันใหกับศิลปนคนอื1นๆ ทั้งสวยใสสไตลนางเอก “ปุกลุก - ฝน ทิพย วัชรตระกูล” หลอกระชากใจสาวๆ ดวยรอยยิ้มมหาเสนหกับพระเอกหนุม สุดแมน “เกรท-วรินทร ปญหกาญจน” และตบทายดวยความเซ็กซี่แบบไมยั้ง กับ “ใบเตย อารสยาม” นอกจากนี้ภายในงานยังมีการจับรางวัลมอบโชคใหญ มากมาย อาทิ iPhone 6Plus, iPhone 6, iPad Air, Samsung Galaxy Note 4 และอีกมากมาย กอนปดทายงานเลี้ยงขอบคุณสื1อมวลชนครั้งนี้ดวยถอยคําขอบคุณจากใจ จากผู บ ริ ห ารอี ซู ซุ โ ดย มร. ฮิโรชิ นาคางาวะ กรรมการ ผู จั ด การ ต อ สื1อ มวลชนทุ ก ทาน พรอมคํามั่นสัญญาที่จะ สรางสรรคสิ่งดี ๆ แกผู ใชรถ และตอบแทนสังคม
B&T#266_p22-23_imac2.indd 23
3/12/2558 BE 9:23 PM
24 BUS&TRUCK • COMPARISON
ปกษหลัง • มีนาคม 2558
เปรียบเทียบรถเด่น
รถโมคุณภาพ ลุยงานกอสราง
FUSO MIXER FJ 2528
IVECO 682 MIXER IVECO รถหั ว ลากจากประเทศ อิตาลีที่ถูกนําเขาโดย บริษัท เอสเอสเค กรุป เซลส แอนด เซอรวิส จํากัด ผูแทน นําเขาและจัดจําหนาย IVECO แตเพียง ผูเดียวในประเทศไทย เนื1องจากเคยมี ประสบการณเรื1องการนําเขารถหัวลาก และดูแลหลังการขายที่ครอบคลุมลูกคา เปนอยางดีจึงทําใหมั่นใจเลือกแบรนด ระดับสูงเขามาทําตลาดในประเทศไทย และดําเนินตามแผนทีว่ างไวระยะยาวปน รถใหญ ไอวีโก ใหติดตลาดอีกไมเกิน 2 ป ดวยราคารถญี่ปุน
หัวเกงคุณภาพสูง
นอกเหนือรถหัวลากแรงมาสูงแลว ยั ง มี ร ถมิ ก เซอร จํ า หน า ยด ว ยเช น กั น IVECO 682 MIXER 290 แรงมา หัวเกง คุณภาพสูงที่ประกอบไปดวยโครงแชสซีส ผลิ ต จากเหล็ ก กล า ทนแรงดึ ง สู ง High Tensing Steel รูปลักษณภาพนอกสไตลรถ ยุ โ รปดี ไ ซน แ กร ง ดุ ดั น เป น พิ เ ศษ ด ว ย กระจังหนาออกแบบรูปทรงตัว วี เพิ่ม ประสิทธิภาพดานอากาศพลศาสตร กันชน หนาผลิตจากเหล็กกลาขึน้ รูปแบบชิน้ เดียว
เครื่องยนตขนาด 290 แรงมา
โดยเครื1อ งยนต ข อง ไอวี โ ก 682 มิ ก เซอร เป น รุ น Iveco Cursor 9 F2CE0681D*B053 ยูโร 3 6 สูบแถวเรียง
R1_B&T#266_p24-25_imac2.indd 24
ระบบการจายนํา้ มันแบบคอมมอนเรล แรง ดันสูง 1,800 บาร High pressure common rail BOSCH ควบคุมระบบอิเล็กทรอนิกส ECU เทอร โบชารจ HOLSET อินเตอร คู ล เลอร ร ะบายความร อ นด ว ยอากาศ ปริมาตรกระบอกสูบ 8,709 ซีซ.ี อัตราสวน กําลังอัด 15:9:1 กระบอกสูบ x ระยะชัก 117x135 มม. โดยมี กํ า ลั ง สู ง สุ ด 290 แรงมา 213 กิโลวัตต ที่ 1,800-2,100 รอบ ตอนาทีแรงบิดสูงสุด 1,100 นิวตันเมตร ที่ 1,000-1,750 รอบตอนาที ระบบขับเคลื1อนใชระบบเกียร FAST รุน 9JSI35TB พรอมเกียรโอเวอร ไดรฟ 9 เกียรเดินหนา 1 เกียรถอยหลัง ระบบ เปลี่ ย นเกี ย ร แ บบธรรมดาเกี ย ร ฝ าก เครื1องยนตแรงบิดสูง 700 นิวตันเมตร ระบบขับเคลื1อนแบบ 6x4 ขับเคลื1อนดวย เพลาหลัง 2 เพลา สามารถเลือกรูปแบบ การขับขี่ไดแบบ 6x2 หรือ 6x4 ระบบชวง ล า งแข็ ง แกร ง เพลาหน า และหลั ง แบบ พาราโบลิคสปริงพรอมโคลงติดตั้งเครื1อง ผอนคลายความสะเทือน 2 ชุด ทีเ่ พลาหนา
รถโมปูนคุณภาพยุโรป
สามารถรองรับพิกัดนํ้าหนักเพลา หนาแบบรีเวอรสเอลเลียตไอบีม 7,500 กก. เพลาหลังแบบบันโจเพลาคู 18,000 กก. พิกัดนํ้าหนักที่ตัวรถสูงสุดสุด 25,000 กก.
นํ้า หนักรวมบรรทุกสูงสุด 44,000 กก. ระบบเบรกแบบลมลวน 3 วงจรแยกอิสระ สํ า หรั บ ล อ หน า ล อ หลั ง และเบรกมื อ ควบคุมดวยระบบลม WABCO พรอม ระบบกําจัดความชืน้ Air Dryer พรอมเบรก ABS และเบรกไอเสียปมลมปริมาตร 350 ซีซี. ดวยคุณภาพที่เปนรถยุโรปในราคา สมเหตุสมผลจึงทําใหมนั่ ใจเรื1องคุณภาพที่ ดีกวาพรอมศูนยบริการทีเ่ อาใจใสลกู คาคง ไมใชเรื1องยากที่ ไอวีโก จะเขามาแบงสวน แบงการตลาดรถใหญไดในไมชา
บริษทั ฟูโซ ทรัค (ประเทศไทย) นํา เขารถ Fuso Mixer FJ2528 เขามาทํา ตลาดนับเปนอีกสินคาที่ ไดรับความคาด หวังไวสูง โดยมุงเปาไปที่งานกอสราง เปนหลักพรอมทั้งไดเผยถึงขอมูลดาน ประสิ ท ธิ ภ าพของตั ว รถโม ปู น ที่ มี คุณสมบัติพิเศษมากมายไมวาจะเปนตัว รถ FJ2528 คันนี้มีโครงสรางที่ถอดแบบ ออกมาจาก Mercedes Benz Axor โดย มี โครงสรางแชสซีสเดียวกันกับ Axor เรียกวาถอดแบบออกมาเลยก็วาได จาก การสนับสนุนของ “เดมเลอร เยอรมัน”
SPECIFICATION รายละเอียด ลักษณะ รุน ความจุกระบอกสูบ (ซีซี.) เครื่องยนต แรงมาสูงสุด กําลังสูงสุด kW/rpm แรงบิดสูงสุด Nm/rpm มาตรฐานไอเสีย รายละเอียดเพ�่มเติม
IVECO
FUSO Mixer DIESEL
IVECO 682 8,790 Cusor 9 F2CE0681D*B503 290 213/1,800-2,100 1,100/1,000-1,750 ยูโร 3
FJ2528 6,370 6S20.205 280 205/2,200 1,100/1,200-1,600 ยูโร 3
บร�ษัท เอสเอสเค กรุป เซลส แอนด เซอรว�ส จํากัด โทร.09-8848-8199 บร�ษัท ฟ�โซ ทรัค (ประเทศไทย) จํากัด โทร.0-2567-2897
3/13/2558 BE 4:49 PM
58
SHOWROOM • BUS&TRUCK
ปกษหลัง • มีนาคม 2558
25
Showroom
FEONA
Feona รถหุม เกราะทีถ่ กู นํามาแสดงในงาน IDEX 2005 สําหรับรถรุน นีใ้ ช โครงสรางของ ตัวรถ KrAZ-6322 (6x6) ซึ่งมีเครื1องยนตคุณภาพสูงอยาง Cummins turbo diesel ขนาด 380 แรงมา ระบบขับเคลื1อนเกียรอัตโนมัติ 6 สปด โดยการออกแบบนี้สามารถทําใหรถหุมเกราะ Feona ทนตออาวุธหนักและขีปนาวุธมีโครงสรางทีถ่ กู ออกแบบใหทนทานแรงระเบิดและกระสุน ถึงสองชัน้ ผานมาตรฐาน STANAG 4569 สําหรับรถประเภทนีใ้ นบานเรายังมีไมมากนักแตกค็ วร มีไวลงพื้นที่สีแดงของภาคใตเพราะอาจจะเปนประโยชนตอทหารที่ปฏิบัติหนาที่อยูในเขตเสี่ยง ตอการวางระเบิดเปนอยางมาก รายละเอียดเพิ่มเติม : http://defence-blog.com
J 2528
TATA super ace mint
มาพรอมเครื่องยนต ประสิทธิภาพสูง
FJ2528 มาพรอมเครื1องยนตดเี ซล 4 จังหวะ 6 สูบ ไดเร็คอินเจ็คชัน่ ระบายความ ร อ นด ว ยนํ้ า พร อ มเทอร โ บอิ น เตอร คูลเลอร ระบบคอมมอนเรล ความคุมดวย คอมพิวเตอร ECU ขนาดเครื1องยนต 6,370 ซีซี. กําลังเครื1องยนตสูงสุด 280 แรงมา 205 กิโลวัตต ที่ 2,200 รอบตอนาที แรง บิดสูงสุดอยูที่ 1,100 นิวตันเมตร ที่ 1,200 รอบตอนาที
โมปูนยี่หอ Schwing Stetter
คุณสมบัติสําคัญอีกอยางซึ่งเปนตัว การั น ตี เ รื1อ งคุ ณ ภาพคื อ ลู ก โม ยี่ ห อ “Schwing Stetter” มาตรฐานระดับโลก FJ2528 มาพรอมขนาดบรรจุนํ้าหนัก 25 ตัน และดันดวยขุมกําลัง 280 แรงมา ให แรงบิดสูงสุด 1,100 นิวตันเมตร ที่รอบตํ่า เพียง 1,500 รอบตอนาที พรอมดวยลูกโม ขนาด 6 คิว ยี่หอ “Schwing Stetter” (ชวิงก สเต็ดเตอร) ผลิตภัณฑคุณภาพชั้น เยี่ยม ซึ่งเปนผลิตภัณฑมาตรฐานที่ ไดรับ ความนิ ย มทั่ ว โลก เป น ผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ ถู ก ออกแบบภายใตการผสานความรวมมือ ระหวางเยอรมันและสาธารณรัฐเช็ก เปน ที่รูจักและไดรับความไววางใจจากลูกคา ชาวไทยอยางกวางขวาง
B&T#266_p24-25_imac2.indd 25
รถโม ปู น ไม ใ ช ร ถบรรทุ ก ที่ ใ ช ใ น ลั ก ษณะงานระยะทางไกล แตเปนการ บรรทุกระยะสัน้ ดังนัน้ สิง่ ทีม่ คี วามจําเปน และสําคัญอยางยิ่งสําหรับรถโมปูน คือ “แรงบิดหรือแรงทอรก” สูง ๆ มากกวาขุม พลังแรงมาจํานวนมากๆ ซึ่งรุนนี้อัตรา กําลังแรงบิดหรือทอรกทะลุทะลวงมากถึง 1,100 นิวตันเมตร ซึ่งเปนอัตราที่เพียงพอ และเหลือหลายสําหรับการหมุนโม 6 คิว ตามอัตราพิกัดที่กฎหมายกําหนด 25 ตัน
TATA super ace mint รุนใหมสําหรับรถมินิทรัครุนกอนหนานั้นเขามาทําตลาดใน ประเทศไทยอยูสักระยะแลวมีความคลองตัวสูงเหมาะสมกับการขนสงระยะทางสั้น ๆ ในเมือง หรือตามตรอกซอกซอยเปนหลัก เนื1องจากแรงมาการบรรทุกนํ้าหนักเหมาะสมกับการขนสง ประเภทนี้ โดยมีเครื1องยนตดีเซล BS4 ไดเร็คอินเจ็คชั่น คอมมอนเรล ขนาดกระบอกสูบ 1,400 ซีซี. กําลังไดสูงสุดอยูที่ 70 แรงมา ที่ 4,000 รอบตอนาที แรงบิดสูงสุด 140 นิวตันเมตร ที่ 1,800–3,000 รอบตอนาที พรอมดวยชุดเกียรแมนมวลจํานวน 6 สปด ทําความเร็วสูงสุดที่ 125 กิโลเมตรตอชั่วโมง มีอัตราการประหยัดนํ้ามันที่ 17.9 กิโลเมตรตอ 1 ลิตร และบรรทุกสินคาได มากถึง 1 ตัน รายละเอียดเพิ่มเติม : www.tata.com
กระบวนการผลิตมาตรฐาน เดมเลอร
เรื1องการผลิตรถบรรทุกโมปูนรุนนี้ ทํ า การผลิ ต ในโรงงานของเดมเลอร ม า พรอมกับเทคโนโลยีคณ ุ ภาพและมาตรฐาน “เดมเลอร เยอรมัน” การันตีทุกขบวนการ ผลิต อีกทั้งรถ FJ2528 ไดถอดแบบรถ บรรทุกขนาด 10 ลอรุน Mercedes-Benz Axor ทัง้ คัน ไมวา จะเปนหัวเกง เกียร เฟอง ทาย แชสซีส โดยสนนราคาอยูที่ 2.7 ลาน บาทเทานั้น ในงานเปดตัววันแรกมียอด จําหนายไปแลว 120 คัน โดยในปนวี้ างเปา ไวที่ 250 คัน และเชื1อวาจะมียอดเพิ่มเติม อี ก เป น แน โ ดยในป นี้ จ ะมุ ง ไปทางธุ ร กิ จ กอสรางเปนหลักเพื1อเพิ่มความคุมคาให กับผูประกอบการในสายธุรกิจนี้ดวยคอน เซ็ปต “บรรทุกถึงใจ กําไรถึงคุณ”
SANY Mixer
บริษัท ไทยซัน อินเตอร แมชชีน จํากัด จําหนายแลวรถโม SANY ขนาด 6 ลอ 3 คิว มาพรอมเครื1องยนตประสิทธิภาพสูงเชื้อเพลิงดีเซล CUMMINS 4 สูบ คอมมอนเรล 4,460 ซีซี. 140 แรงมา ยูโร 3 มีแรงบิดสูงที่รอบตํ่า 450 นิวตันเมตร ที่ 1,400 รอบตอนาที ขับโมผสม ดวย Engine PTO ซึง่ สามารถถายกําลังขับเคลื1อนและผสมโมไดอยางสมํา่ เสมอ ระบบขับเคลื1อน เกียร FAST เดินหนา 5 เกียร ถอยหลัง 1 เกียร มีรัศมีวงเลี้ยวแคบ 7.5 เมตร โดยมีอุปกรณขับ โมผสมยังคงใช REXROTH ที่มีชื1อเสียงจากเยอรมนี โดยจุดเดนที่สําคัญของตัวรถนั้นมีความ คลองตัวสูงเหมาะกับงานที่ตองขนสงไปตามตรอก ซอก ซอย หรือถนนขนาดเล็ก และมีความ ประหยัดเชื้อเพลิง รายละเอียดเพิ่มเติม : บริษัท ไทยซัน อินเตอร แมชชีน จํากัด โทร.08-6302-1778
3/12/2558 BE 9:29 PM
26 BUS&TRUCK • LOGISTICS FOCUS
ปกษหลัง • มีนาคม 2558
Logistics Focus
เขตเศรษฐกิจพิเศษ สะหวัน-เซโน สปป.ลาว โอกาสการลงทุนของไทย ที่ไมควรมองขาม
การเปดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนเปรียบเสมือนดาบสองคมทีน่ กั ธุรกิจไทยตองคํานึงถึง เพราะเปนทัง้ โอกาส เปนพื้นที่ที่รัฐบาล สปป.ลาว ตองการ ในการลงทุนทําธุรกิจในประเทศกลุมอาเซียนดวยสิทธิประโยชนพิเศษมากมาย แตก็อาจเสียผลประโยชนของการ ฟนฟูและพัฒนาเพื1อใหเปนศูนยกลาง การคา การลงทุน และการบริการแหง ทําธุรกิจในประเทศเราเองเมื1อมีตางชาติเขามาลงทุนดวยการไดสิทธิพิเศษเชนกัน
เขตเศรษฐกิจพิเศษสะหวัน-เซโน (Savan-Seno Special Economic Zone : SASEZ) ในแขวงสะหวันนะเขต ซึ่งถือเปนเขตเศรษฐกิจพิเศษแหงแรก ใน สปป.ลาว กอตั้งเมื1อป 2546 มีพื้นที่ 964 เฮกเตอร (ประมาณ 6,025 ไร) โดย รัฐบาลลาวไดพัฒนาขึ้นดวยวงเงิน 74 ลานเหรียญสหรัฐ ถือเปนเขตเศรษฐกิจ พิเศษที่มีความโดดเดนนาลงทุน โดยจะ เนนพัฒนาใหเปนเขตการคาอุตสาหกรรมและบริการ ส า ธ า ร ณ รั ฐ ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย ประชาชนลาว หรื อ สปป.ลาว ได ประกาศใชกฎหมายสงเสริมการลงทุน ฉบับใหมในป 2552 แทนกฎหมายสง เสริมการลงทุนฉบับเดิมป 2547 เพื1อ แก ไขปญหาดานกฎระเบียบประเภท
B&T#266_p26-27_iMac5.indd 26
ตาง ๆ ทีย่ งั ไมมคี วามเปนสากล รวมทัง้ ขัน้ ตอนการพิจารณาอนุมตั โิ ครงการลงทุนซึง่ ใชระยะเวลานาน อีกทั้งยังเพิ่มรูปแบบ บริการ ณ จุดเดียวแบบเบ็ดเสร็จ (One Stop Service) เพื1อใหการลงทุนเปนไป อยางสะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น กฎหมายสงเสริมการลงทุนฉบับใหม นี้ รัฐบาล สปป.ลาว ใหสิทธิประโยชนแก นักลงทุนมากมาย ทั้งในดานภาษีและมิใช ภาษี อาทิ ยกเวนภาษีกําไรตามจํานวนปที่ ขึน้ อยูก บั โซนหรือเขตทีก่ าํ หนด ยกเวนภาษี นําเขาวัตถุดิบและเครื1องจักร ยกเวนภาษี ขาออก ยกเวนการเก็บภาษีซอน สําหรับ นั ก ลงทุ น ไทยได รั บ ประโยชน จ ากสิ ท ธิ พิเศษทางภาษีศลุ กากร (GSP) จากสหภาพ ยุโรปที่ สปป.ลาว ไดรับในสถานะประเทศ ดอยพัฒนาตลอดจนไดรับอนุญาตใหเชา
ที่ดินในระยะยาว กลาวคือ 30 ปจากภาค เอกชน และ 50 ปจากรัฐบาล รวมไปถึงการไดรับสิทธิประโยชน ตาง ๆ เพิ่มเติม อาทิ ไดเชาที่ดินระยะยาว สู ง สุ ด ไม เ กิ น 99 ป หากลงทุ น ในเขต เศรษฐกิจพิเศษ ซึ่งปจจุบันรัฐบาล สปป. ลาว ไดจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษขึ้นรวม 10 แหง อาทิ เขตเศรษฐกิจพิเศษบอเต็น แดนคําในแขวงหลวงนํ้าทา เขตเศรษฐกิจ พิเศษสามเหลี่ยมทองคําในแขวงบอแกว เขตเศรษฐกิจพิเศษบึงธาตุหลวง ในแขวง นครหลวงเวียงจันทน เปนตน และตั้งเปา จะจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษเพิ่มอีก 25 แหงภายในป 2563 สํ า หรั บ เขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษของ สะหวั น -เซโน (Savan-Seno Special Economic Zone : SASEZ) ในแขวง สะหวันนะเขต ถือเปนปจจัยเอื้อตอการ เขาไปลงทุนของไทย เนื1องจากมีพื้นที่อยู ใกล กั บ สะพานมิ ต รภาพไทย-สปป.ลาว แหงที่ 2 (จ.มุกดาหาร-แขวงสะหวันนะ เขต) ทําใหสามารถเชื1อมตอไปยังเสนทาง หมายเลข 9 (มุกดาหาร-สะหวันนะเขตดานัง) ซึ่งเปนสวนหนึ่งของเสนทางตาม แนวระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก (East-West Economic Corridor : EWEC) ทีเ่ ชื1อมตอระหวางเมียนมาร ไทย ลาว และ เวี ย ดนาม ส ง ผลให นั ก ลงทุ น ไทยได รั บ ความสะดวกในการขนสงสินคาระหวาง ประเทศ เขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษสะหวั น -เซโน
หนึ่งในภูมิภาค โดยอาศัยจุดเดนในดาน ที่ตั้งของเขตเศรษฐกิจในการดึงดูดและ ส ง เสริ ม การลงทุ น รวมทั้ ง สร า งสิ่ ง อํานวยความสะดวกเพื1อเอื้ออํานวยให เปนแหลงอุตสาหกรรมที่ทันสมัยของ ประเทศ ตลอดจนมีนโยบายสงเสริมการ ลงทุ น ในเขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษสะหวั น เซโนเปนการเฉพาะ โดยใหสิทธิพิเศษ ตาง ๆ แกผลู งทุนในเขตเศรษฐกิจพิเศษ แหงนี้ ดานประเภทธุรกิจที่ ไดรับการสง เสริมในเขตเศรษฐกิจพิเศษสะหวัน-เซโน ไดแก ธุรกิจการผลิตและการแปรรูป เชน การผลิตสินคาสําเร็จรูปเพื1อการสง ออก การผลิตชิน้ สวนอิเล็กทรอนิกส การ แปรรู ป สิ น ค า เกษตร การผลิ ต สิ น ค า หัตถกรรม เปนตน ธุรกิจการคา เชน รานคาปลอดภาษี การขายสงสินคาและ ผลิตภัณฑภายใน (เชน สินคาหัตถกรรม ไมเนือ้ หอม) ศูนยแสดงสินคา หางสรรพ สินคา ศูนยประชุม การสงออก-นําเขา และการคาผานแดน ธุรกิจบริการและ การจัดสงกระจายสินคา เชน โกดังเก็บ สินคา ศูนยกระจายสินคา บริษัทรับ เหมาขนส ง โรงแรม อาคารหรื อ สํานักงานใหเชา บานจัดสรร บริษัทนํา เที่ยว การพัฒนาแหลงพักผอน ศูนย กีฬา สํานักงานตัวแทนและสาขาบริษัท ภายในหรือตางประเทศ เชน สํานักงาน ตัวแทนการคาเพื1อสงเสริมการสงออก สาขาบริษัทที่ปรึกษาตางประเทศ สาขา การบินและการขนสงตางประเทศ ทั้งนี้ คาดวาประเทศไทยในฐานะ เพื1อนบานที่ใกลชิดที่สุดของ สปป.ลาว มีจุดแข็งและมีศักยภาพดานการลงทุน จะไดรับประโยชนสูงสุดจากเศรษฐกิจ สปป.ลาว ทีข่ ยายตัวสูง โดยเฉพาะธุรกิจ ไทยทีม่ ศี กั ยภาพการลงทุนใน สปป.ลาว ไดแก ธุรกิจกอสราง การทองเที่ยวและ บริการ ธุรกิจพลังงาน ธุรกิจคาปลีก ธุ ร กิ จ เ ก ษ ต ร แ ล ะ เ ก ษ ต ร แ ป ร รู ป อุตสาหกรรมการผลิตเพื1อการสงออก ธุรกิจความงามและสุขภาพ และธุรกิจ ขนสง อี ก ทั้ ง เมือ1 สปป.ลาว พั ฒ นา ระบบคมนาคมขนสงและมีความรวมมือ กับไทยในการอํานวยความสะดวกดาน การขนสง สินคาจากไทยยอมสงผานไป ยังเวียดนามและจีนตอนใต ไดสะดวก มากขึ้น นักลงทุนไทยนาจะเขาไปลงทุน ในธุรกิจใน สปป.ลาว เพื1อใชประโยชน จากโอกาสทางการคาและการลงทุนที่ เพิ่มมากขึ้น
3/12/2558 BE 8:33 PM
MATERIAL HANDLING • BUS&TRUCK 27
ปกษหลัง • มีนาคม 2558
Material Handling
SWG Non Real Time Tracking
SWG Non Real Time Tracking เปน อุปกรณสําหรับบันทึกการใชงานยานพาหนะโดยใช ระบบดาวเทียมบอกพิกัด GPS มีความสามารถ รายงานเสนทางการเดินรถ เวลาทีม่ กี ารใชงาน หยุด หรือจอดรถ ความเร็วขณะใชงานรถ ตําแหนงของ รถในชวงเวลาตาง ๆ ฯลฯ ไดอยางแมนยํา บริษัท ดี.ที.ซี เอ็นเตอร ไพรส จํากัด โทร.0-2759-4999
Hand lift
Hand lift อุปกรณยกและเคลื1อนยายสินคา เปนอุปกรณยกที่ใชระบบไฮโดรลิคในการควบคุม การยก โดยใชแรงคนโยก และใช ไฟฟาในการโยก สามารถยกนํ้าหนักไดประมาณ 1,000 กิโลกรัม เหมาะกับการยกและลากของเขาพื้นที่แคบ บริษัท เอเซียมิกซ เอ็นจิเนียริ่ง กรุป จํากัด โทร. 0-2328-8087-9
B&T#266_p26-27_iMac5.indd 27
Fork Lift
Fork Lift อุปกรณยกและเคลื1อนยายสินคา เปน รถที่ใชยกของหนัก สวนใหญของนั้นจะวางอยูบน พาเลทหรือบรรจุภัณฑอื1น ๆ การควบคุมจะมีทั้งระบบ ใชกา ซ นํา้ มัน และไฟฟา ยกของทีม่ คี วามสูงไมเกิน 4.5 เมตร สามารถยกของสูงสุดไดตั้งแต 1.5–5 ตัน เรียก อีกอยางวา Counter Balanced Truck บริษทั ทีแอลเอส กรุป เซาธอสี ท เอเชีย จํากัด โทร. 0-3869-4464-5
NOSTRA แผนที่นําทางอัจฉริยะ
NOSTRA เปนขอมูลแผนทีด่ จิ ติ อล (Digital Map Data) และขอมูลพิกดั ตําแหนง (Location Content) ใน ประเทศไทยทีถ่ กู พัฒนาใหเปนขอมูลทีส่ ามารถตอบโจทย การใช ง านทางด า นแผนที่ ข ององค ก ร ผู ป ระกอบ การขนสง และบุคคลทั่วไปไดอยางดี บริษัท โกลบเทค จํากัด โทร.0-2266-9942
3/12/2558 BE 8:33 PM
ปกษหลัง • มีนาคม 2558
28 BUS&TRUCK • LOGISTICS NEWS
Logistics News
สํานักโลจิสติกส จับมือ เอเซนเทค
สงเสริมการใช RFID/Barcode จัดการโลจิสติกส
สํานักโลจิสติกส กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร กระทรวง อุตสาหกรรม รวมกับ บริษัท เอเซนเทค (ประเทศไทย) จํากัด จัดทําโครงการ “สง เสริมการปรับกระบวนการจัดการโลจิสติกสดวยการใชเทคโนโลยี Application ระบบ RFID และ Barcode” สงเสริมใหผูประกอบการนําเทคโนโลยี RFID และ Barcode มาใช ในการจัดการโลจิสติกสภายในองคกรไดอยางมีประสิทธิภาพ
คุณอนงค ไพจิตรประภาภรณ ผู อํ า นวยการสํ า นั ก โลจิ ส ติ ก ส กรม อุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมือง แร กระทรวงอุตสาหกรรม กลาววา สํานักโลจิสติกสเปนหนวยงานหลักใน การพั ฒ นาส ง เสริ ม ระบบโลจิ ส ติ ก ส อุตสาหกรรมตลอดโซอุปทาน โดยการ เสนอแนะนโยบายและแผนงานในการ พั ฒ นาระบบโลจิ ส ติ ก ส อุ ต สาหกรรม ดําเนินการพัฒนาสงเสริมระบบบริหาร จั ด การโลจิ ส ติ ก ส ที่ เ ชื1อ มโยงตลอดโซ อุปทานของอุตสาหกรรมเปาหมาย จัด ทํามาตรฐานและตัวชี้วัดประสิทธิภาพ ดานโลจิสติกสอุตสาหกรรม สรางองค ความรูและพัฒนาบุคลากรดานโลจิสติกสทั้งในภาครัฐและภาคเอกชน และ เปนศูนยกลางขอมูลโลจิสติกสอุตสาหกรรมทีม่ ปี ระสิทธิภาพและทันสมัย โดย ดําเนินงานตามแผนแมบทการพัฒนา ระบบโลจิ ส ติ ก ส อุ ต สาหกรรม (พ.ศ. 2555-2559) ใน 3 ยุทธศาสตรหลัก ไดแก ยุทธศาสตรการสรางความเปน มืออาชีพดานการจัดการโลจิสติกส ใน สถานประกอบการของภาคอุ ต สาหกรรม ยุทธศาสตรการสงเสริมใหเกิด ความรวมมือและการเชื1อมโยงระหวาง หน ว ยธุ ร กิ จ ในโซ อุ ป ทานของภาค อุ ต สาหกรรม และยุ ท ธศาสตร ก าร สนับสนุนการสรางปจจัยเอือ้ เพือ1 เพิม่ ขีด ความสามารถการแขงขันของโซอปุ ทาน ในอุตสาหกรรมเปาหมาย สําหรับโครงการ “สงเสริมการ ปรับกระบวนการจัดการโลจิสติกสดวย การใชเทคโนโลยี Application ระบบ RFID และ Barcode” ถือเปนบทบาท หนึง่ ตามยุทธศาสตรการพัฒนาดังกลาว โดยเนนใหผปู ระกอบการทีร่ ว มโครงการ ได รั บ ประโยชน สู ง สุ ด ทั้ ง นี้ สํ า นั ก โลจิสติกส ไดมอบหมายใหบริษัท เอเซน
B&T#266_p28-29_iMac5.indd 28
การจัดทําโครงการ 240 วัน เริ่มตั้งแต เดือนธันวาคม 2557 ถึงเดือนกรกฏาคม 2558 ปจจุบันโครงการดําเนินงานไปตาม ขัน้ ตอนทีว่ างแผนไว แตสงิ่ ทีส่ าํ คัญคือการ ตอบรับจากผูป ระกอบการซึง่ เกินความคาด หมาย แสดงใหเห็นวาแนวทางที่สํานัก โลจิสติดสวางไวมีความเหมาะสม ตรงกับ ความตองการที่แทจริงของผูประกอบการ และอาจทํ า ให เ กิ ด การวางแผนจั ด ทํ า โครงการตอเนื1องในอนาคต” คุณอนงค กลาว คุณกําพล โชคสุนทสุทธิ์ ประธาน กรรมการ บริษัท เอแซนเทค (ประเทศ ไทย) จํากัด กลาวในฐานะผูรวมดําเนิน โครงการวาระบบ RFID มีความสําคัญตอ การพัฒนาธุรกิจเปนอยางมาก แมวาใน อดีตบทบาทของ RFID จะอยูที่การจัดการ ดานโลจิสติกส แตในปจจุบัน RFID มีการ พั ฒ นาจนสามารถนํ า ไปประยุ ก ต ใ ช กั บ ธุรกิจไดทุกประเภท โดยกรอบของการ ประยุกตใชจะอยูที่การจัดเก็บขอมูล การ บั น ทึ ก ข อ มู ล ปริ ม าณมากต อ เนื1อ ง การ ติดตามผลการทํางานและการนําผลที่เกิด ขึ้นมาประมวลใหเกิดประโยชนสูงสุดใน ทางธุรกิจ สงผลใหธุรกิจสามารถแขงขัน
ได อ ย า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ โดยป จ จุ บั น ระบบถูกพัฒนาใหผู ใชมีความปลอดภัย ในการจัดเก็บขอมูล มีฟงกชั่นในการ ทํางานมากขึน้ แตมตี น ทุนในการพัฒนา ระบบตํา่ ลง การทีส่ าํ นักโลจิสติกสจดั ทํา โครงการนี้ขึ้น จึงสะทอนใหผูประกอบ การเห็นมุมมองสําคัญ 2 ดาน ดานแรก คือระบบ RFID สามารถมาประยุกต ใช ไดกับทุกธุรกิจ ดานที่สองคือความ สามารถในการพัฒนาเทคโนโลยีโดยคน ไทย ทําใหตนทุนของผูประกอบการใน การใชระบบ RFID ตํา่ ลง จนสามารถนํา ตนทุนนีม้ าเพิม่ ประสิทธิภาพการทํางาน สู ก ารแข ง ขั น ในระดั บ ภู มิ ภ าคและใน ระดับนานาชาติได “จุดเดนของโครงการ คือ การ เลือกผูประกอบการที่มีลักษณะธุรกิจ แตกตางกันเขารวมโครงการ การแยก ประเภทธุ ร กิ จ ชั ด เจน ทํ า ให เ ห็ น ถึ ง ศั ก ยภาพที่ แ ท จ ริ ง ของระบบ RFID สําหรับผูประกอบการรายใดที่สนใจการ ใชเทคโนโลยี Application ระบบ RFID สามารถสอบถามรายละเอียดเพิม่ เติมได โทร.0-2743-2533
กทท. จับมือ เอ็นซีแอล อินเตอรเนชั่นแนลฯ เปดเดินเรือ ทาเรือระนอง-ทาเรือยางกุง
เทค (ประเทศไทย) จํากัด จัดทําโครงการ สําหรับกิจกรรมเปดโครงการในวันนี้ถือวา ประสบความสําเร็จ เพราะมีผูสนใจรวม สัมมนาเกินความคาดหมาย และที่สําคัญ มีผูประสงคเขารวมโครงการเกินจํานวนที่ ตั้งไว “ โ ค ร ง ก า ร ส ง เ ส ริ ม ก า ร ป รั บ กระบวนการจัดการโลจิสติกสดวยการใช เทคโนโลยี Application ระบบ RFID และ Barcode จะเริม่ ตัง้ แตการศึกษาขอมูลของ สถานประกอบการที่ เ ข า ร ว มโครงการ จนถึงการนําเทคโนโลยี Application ระบบ RFID และ Barcode ทั้งฮารดแวรและ ซอฟทแวรมาประยุกต ใช ใหเหมาะสมกับ สถานประกอบการแต ล ะแห ง รวมทั้ ง พัฒนาบุคคลากรในสถานประการ เพื1อให บุคลากรนั้น ๆ เกิดการตระหนักรูถึงความ สํ า คั ญ และประโยชน ท่ี จ ะได รั บ จาก เทคโนโลยี ดั ง กล า ว เพื1อ ให เ กิ ด การใช เทคโนโลยีอยางยั่งยืนและมีประสิทธิภาพ สูงสุด โดยสํานักโลจิสติกสเปนผูสนับสนุน งบประมาณตลอดโครงการ ระยะเวลาใน
การทาเรือแหงประเทศไทยรวม กั บ บริ ษั ท เอ็ น ซี แอล อิ น เตอร เนชั่นแนล โลจิสติกส จํากัด (มหาชน) เปดใหบริการเสนทางเดินเรือประจํา ระหวางทาเรือระนองกับทาเรือยางกุง เรือโท กมลศักดิ์ พรหมประยูร รองผู อํ า นวยการการท า เรื อ แห ง ประเทศไทย สายบริหารสินทรัพยและ พัฒนาธุรกิจ (บธ) เปดเผยวา การทาเรือ แหงประเทศไทย (กทท.) กําหนดจัดพิธี ลงนามขอตกลงกับ บริษัท เอ็น ซี แอล อิ น เตอร เ นชั่ น แนล โลจิ ส ติ ก ส จํ า กั ด (มหาชน) เพื1อเปดใหบริการเสนทางเดิน เรื อ ประจํ า ระหว า งท า เรื อ ระนองกั บ ทาเรือยางกุง สําหรับการเชื1อมโยงธุรกิจ การคา การลงทุนระหวางกันในการใช ทาเรือบริการ และสิง่ อํานวยความสะดวก ผานทาเรือระนอง เพื1อขนสงตูสินคาไป ยังทาเรือ AIPT 1 (Ahlone International Port Terminal 1) ประเทศเมียนมารและ กลุมประเทศเพื1อนบาน โดยมีระยะเวลา 1 ป ทั้งนี้ เพื1อเพิ่มความสะดวก รวดเร็ว และลดตนทุน ในการขนสงสินคา อีกทั้ง ยังเปนการเชื1อมโยงเสนทางการคาทาง ฝงทะเลอันดามันอีกดวย สํ า หรั บ การเป ด ให บ ริ ก ารเส น ทางการขนสงทางนํ้านั้น บริษัท เอ็น ซี แอลฯ จะนํ า เรื อ ตู สิ น ค า ที่ เ ช า มาจาก ประเทศสิงคโปร ชื1อ Munich Trader ซึ่ง
บรรทุกตูสินคาไดไมเกิน 12,000 เดทเวท ตัน มีความยาว 147 เมตร กินนํ้าลึก 7.5 เมตร เขาเทียบทาที่ทาเรือระนอง โดย กทท. ใหสิทธิในการนําเรือตูสินคาเขา เที ย บท า ในลั ก ษณะ Priority Berth ประมาณ 4 เที่ยวตอเดือน และคาดวาจะ มีปริมาณตูสินคาผานทาเรือระนองไม นอยกวา 6000 ทีอียูตอป ซึ่งประเภทของ สินคาสงออกสวนใหญเปนวัสดุกอ สรางใช เวลาในการเดินทางเพียง 3 วัน จากสถานี บรรจุและแยกสินคากลอง ลาดกระบังมา ทาเรือระนอง และจากทาเรือระนองไปยัง ทาเรือ AIPT ทั้งนี้ ทาเรือระนองไดจัดเตรียมสิ่ง อํานวยความสะดวกในการใหบริการเพื1อ รองรั บ การขนส ง ระบบตู สิ น ค า อย า ง ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ เพือ1 เพิ่ม ศักยภาพในการขนสงขนถายตูสินคาและ สรางความพึงพอใจใหกับลูกคาตอไป “การบริการในเสนทางดังกลาว จะ สงผลใหผู ใชบริการเกิดความเชื1อมั่นและ เพิ่มการคา การลงทุนมากขึ้น เนื1องจาก สามารถใหบริการแบบ Regular Service เป น ครั้ ง แรกคื อ มี กํ า หนดการเดิ น เรื อ ประจํา สัปดาหละ 1 เที่ยว มีคุณภาพ บริการระดับ Premium ชวยลดเวลาใน การขนส ง และต น ทุ น ในการขนส ง โดย รวม”
3/12/2558 BE 8:45 PM
8
B&T#266_p28-29_iMac5.indd 29
3/12/2558 BE 8:46 PM
30 BUS&TRUCK • STATISTIC UPDATE
ปกษหลัง • มีนาคม 2558
Startistic Update
จํานวนใบอนุญาตผูประกอบการขนสง ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ 2558 รายงานจํานวนใบอนุญาตผูประกอบการขนสงและจํานวนผูประกอบ การขนสง ทั้งรถโดยสารและรถบรรทุกประจําเดือนกุมภาพันธ 2558 เริ่มสง สัญญาณดีขนึ้ แลว เพราะตัวเลขขยับตัวขึน้ อยางตอเนื1อง โดยกลุม สถิตกิ ารขนสง กองแผนงาน กรมการขนสงทางบก ไดรายงานสถิติจํานวนใบอนุญาตประกอบ การขนสงไว โดยเริม่ กันทีป่ ระเภทขนสงรถโดยสาร มีจาํ นวนใบอนุญาตผูป ระกอบการขนสง รวมทั้งสิ้น จํานวน 37,535 ฉบับ จากเดือนมกราคม อยูที่ 36,633 ฉบับ หรือเพิ่ม ขึ้น 902 ฉบับ และมีจํานวนใบอนุญาตผูประกอบการขนสง รวมทั้งสิ้น จํานวน 34,524 ราย จากเดือนมกราคม อยูที่ จํานวน 33,556 ราย หรือเพิ่มขึ้น 968 ราย โดยแบงเปนรถโดยสารประจําทาง จํานวนใบอนุญาตผูประกอบการขนสง รวมทั้งสิ้น จํานวน 5,892 ฉบับ จากเดือนมกราคม อยูที่ จํานวน 5,970 ฉบับ หรือ ลดลง 78 ฉบับ ดานจํานวนผูประกอบการขนสง มีจํานวน 2,912 ราย จากเดือน มกราคม อยูที่ จํานวน 2,924 ราย หรือลดลง 12 ราย ในสวนของรถโดยสารไมประจําทาง จํานวนใบอนุญาตผูประกอบการขนสง รวมทั้งสิ้น จํานวน 25,130 ฉบับ จากเดือนมกราคม อยูที่ จํานวน 24,162 ฉบับ หรือเพิ่มขึ้น 968 ฉบับ ดานจํานวนผูประกอบการขนสง มีจํานวน 25,130 ราย จาก เดือนมกราคม อยูที่ จํานวน 24,162 ราย หรือเพิ่มขึ้น 968 ราย ดานรถโดยสารสวนบุคคล จํานวนใบอนุญาตผูประกอบการขนสง รวมทั้งสิ้น
จํานวน 6,454 ฉบับ จากเดือนมกราคม อยูที่ จํานวน 6,442 ฉบับ หรือเพิ่มขึ้น 12 ฉบับ ดานจํานวนผูประกอบการขนสง มีจํานวน 6,454 ราย จากเดือนมกราคม อยู ที่ จํานวน 6,442 ราย หรือเพิ่มขึ้น 12 ราย ทั้งนี้ ยังมีรถขนาดเล็ก จํานวนใบอนุญาตผูประกอบการขนสง รวมทั้งสิ้น จํานวน 59 ฉบับ เทากับเดือนมกราคม โดยมีจํานวนผูประกอบการขนสง จํานวน 28 ราย เทากับเดือนมกราคมเชนกัน สวนประเภทขนสงรถบรรทุกนัน้ มีจาํ นวนใบอนุญาตผูป ระกอบการขนสง รวม ทั้งสิ้น จํานวน 385,091 ฉบับ จากเดือนมกราคม อยูที่ จํานวน 385,243 ฉบับ หรือ ลดลง 152 ฉบับ ดานจํานวนผูป ระกอบการขนสง มีจาํ นวน 385,091 ราย จากเดือน มกราคม อยูที่ จํานวน 385,243 ราย หรือลดลง 152 ราย รายเชนเดียวกัน แบงเปนรถบรรทุกไมประจําทาง จํานวนใบอนุญาตผูป ระกอบการขนสง รวม ทั้งสิ้น จํานวน 18,294 ฉบับ จากเดือนมกราคม อยูที่ จํานวน 18,206 ฉบับ หรือ เพิ่มขึ้น 88 ฉบับ ดานจํานวนผูประกอบการขนสง รวมทั้งสิ้น มีจํานวน 18,294 ราย จากเดือนมกราคม อยูที่ จํานวน 18,206 ราย หรือเพิ่มขึ้น 88 รายรายเชนเดียวกัน สวนรถบรรทุกสวนบุคคล จํานวนใบอนุญาตผูประกอบการขนสง รวมทั้งสิ้น จํานวน 366,797 ฉบับ จากเดือนมกราคม อยูที่ จํานวน 367,037 ฉบับ หรือลดลง 240 ฉบับ ดานจํานวนผูประกอบการขนสง มีจํานวน 366,797 ราย จากเดือน มกราคม อยูที่ จํานวน 367,037 ราย หรือลดลง 240 รายเชนเดียวกัน
สถิติจํานวนใบอนุญาตประกอบการขนสง (สะสม) ณ วันที่ 28 กุมภาพันธ 2558 ลักษณะรถ รถโดยสาร ประจําทาง • หมวด 1 • หมวด 2 • หมวด 3 • หมวด 4 • ประจําทางระหวางประเทศ รวม ไมประจําทาง • รถโดยสารไมประจําทาง • ไมประจําทางระหวางประเทศ รวม สวนบุคคล • รถโดยสารสวนบุคคล • สวนบุคคลระหวางประเทศ รวม โดยรถขนาดเล็ก รวมรถโดยสารทั้งสิ้น รถบรรทุก ไมประจําทาง • ไมประจําทาง • ไมประจําทางระหวางประเทศ รวม สวนบุคคล • สวนบุคคล • สวนบุคคลระหวางประเทศ รวม รวมรถบรรทุกทั้งสิ้น
B&T#266_p30-31_iMac5.indd 30
จํานวนใบอนุญาต จํานวนใบอนุญาต ผูประกอบการ ผูประกอบการ ขนสง (ราย) ขนสง (ฉบับ) 2,946 606 202 521 1,604 13 5,892
1,456 189 1 314 951 1 2,912
24,805 325 25,130
21,805 325 25,130
6,451 3 6,454 59 34,535
6,451 3 6,454 28 34,524
17,328 966 18,294
17,328 966 18,294
366,638 159 366,797 385,091
366,638 159 366,797 385,091
จํานวนใบอนุญาตผูประกอบการขนสงรถโดยสาร
จํานวนใบอนุญาตผูประกอบการขนสงรถบรรทุก
3/12/2558 BE 8:51 PM
8
Special Report
งานสถาปก ’58 คึกคัก ผูประกอบการตางชาติแหจองบูธ มั่นใจไทยเปนฐานการคาของภูมิภาคอาเซียน
รวมสัมผัสนวัตกรรมสินคาวัสดุกอสราง-ออกแบบตกแตงมากมายระดับโลก ในงานสถาปนิก ’58 “งานแสดงเทคโนโลยีสถาปตยกรรมใหญที่สุดในอาเซียน” ผู แสดงสินคาตางชาติแหจองพื้นที่ ผูจัดงานเผยกระแสตอบรับดีเนื1องจากตางชาติ มองวาไทยคือศูนยกลางทางเศรษฐกิจของภูมิภาค และเปนฐานที่มั่นการคาที่เขม แข็งในยุคของการเปดเสรีประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน คุณชาตรี มรรคา กรรมการผูจ ดั การ บริษทั ทีทเี อฟ อินเตอรเนชัน่ แนล จํากัด เปดเผยวา ในงานสถาปนิก ’58 ปนี้ คณะผูจัดงานฯ เตรียมพื้นที่จัดแสดงโซน International Pavilion สุดยิ่งใหญ โดยไดกระแสตอบรับจากผูประกอบการตางชาติ สูงเปนประวัติการณจากหลากหลายประเทศ อาทิ จีน ญี่ปุน ไตหวัน ตุรกี ตลอดจน สินคาจากยุโรป ออสเตรเลีย และสหรัฐอเมริกา และลาสุดประเทศที่เตรียมนําสินคา วัสดุตกแตงและโปรดักตเดน ๆ มากมายมารวมจัดแสดงใน International Pavilion ของงานสถาปนิก ’58 เปนครัง้ แรกก็คอื ประเทศรัสเซีย ยังไมรวมถึงสินคาวัสดุกอ สราง จากเพื1อนบานใกลเคียงอยางประเทศมาเลเซีย เวียดนาม เปนตน ซึ่งผูชมงานจะได เลือกชมนวัตกรรมผลิตภัณฑวัสดุกอสรางและตกแตงคุณภาพระดับโลกกันอยางจุใจ
B&T#266_p30-31_iMac5.indd 31
อาทิ ผลิตภัณฑกลุมกระเบื้องปูพื้นจากจีน งานออกแบบจากญี่ปุน เครื1องมือและ อุปกรณจากไตหวัน หรือของแตงบานทําดวยทองแดงจากรัสเซีย เปนตน “การทีผ่ ปู ระกอบการตางชาติจบั จองพืน้ ทีก่ นั เขามาอยางตอเนื1องนัน้ เปนเพราะ ตางชาติมองวาประเทศไทยคือศูนยกลางการคาที่มีศักยภาพของประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียนที่กําลังจะเปดอยางเปนทางการในปนี้ สภาพอุตสาหกรรมการกอสรางของ ภูมิภาคที่มีการขยายตัวรวดเร็วเพื1อรองรับการเปดเสรีการคาจึงทําใหกลุมประเทศ AEC เปนตลาดการคาวัสดุกอสรางที่ผูประกอบการตางชาติใหความสนใจอยางมาก ซึ่งผูเขาชมงานสถาปนิก ’58 ในปนี้ จะไดพบสินคาใหมและนวัตกรรมวัสดุกอสรางใน โซน International Pavilion ทีผ่ ปู ระกอบการตางชาติตา งยกขบวนกันมาใหไดเลือกสรร กันอยางจุใจ” นายชาตรีกลาวเสริม พบกันที่งานสถาปนิก ’58 28 เม.ย. – 3 พ.ค. 58 ณ อาคารชาเลนเจอร ฮอลล 1 – 3 อิมแพ็ค เมืองทองธานี ทุกวัน ตั้งแตเวลา 11.00 – 21.00 น. ติดตาม ขอมูลเพิ่มเติมไดที่ www.ArchitectExpo.com
3/12/2558 BE 8:51 PM
32 BUS&TRUCK • TRANSPORTATION SERVICES
เทียบท่า
ปกษหลัง • มีนาคม 2558
รัตนมงคลบางปะอินขนสง
บริการที่ดีในเวลาและคาใชจายที่เหมาะสม
“เรามุงมั่นที่จะดําเนินการจัดสงผลิตภัณฑที่ถูกตองตามความตองการไปยังลูกคา ดวยการบริการที่ดีที่สุด ลูกคาอยางตอเนื1อง การไดรับคําชืน1 ชมจากลูกคาใน ภายในเวลาและคาใชจายที่เหมาะสมเราปรับปรุงพัฒนาการทํางานอยางตอเนื1อง เพื1อความพึงพอใจของลูกคา” การทํางานเปนความภาคภูมใิ จของทุก พันธกิจหลักของ รัตนมงคลบางปะอินขนสง รัตนมงคลบางปะอินขนสง หนึง่ ในบริษัทขนสงชั้นนําของไทยที่ดําเนิน กิจการอยางมั่นคงมากวา 26 ป พันธ กิจหลักในการดําเนินงานอยางมุงมั่นนี้ เองที่ชวยในผลักดันใหตลอดเสนทาง ธุรกิจของ รัตนมงคลบางประอินขนสง ประสบความสําเร็จ แตนอกเหนือจาก การมี พื้ น ฐานในการดํ า เนิ น งานที่ แข็ ง แกร ง การบริ ห ารงานและการ พั ฒ นาธุ ร กิ จ ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และ ความตั้งใจอยางแนวแนแลว สิ่งสําคัญ ที่สุดอีกสิ่งหนึ่งก็ คือ ตองมีเพื1อนที่ดีใน การเดินทางและฝาฟนปญหาบนถนน แหงธุรกิจเสนนี้ ไปดวยกัน
จุดเริ่มตนแหงความสําเร็จ
รัตนมงคลบางปะอินขนสง เริ่ม ดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ตั้ ง แต ป 2530 โดย สองพีน่ อ ง ธานี และ วัชราภรณ เมฆานุพักตร ซึ่งเปนหัวแรงหลักในการกอ ตั้งและเปนหัวจักรสําคัญในการดําเนิน กิจการ เริม่ ตนจากธุรกิจการเกษตรและ ขนสงพืชไรทําใหคนพบบทเรียนแรก แหงความสําเร็จ “ธุ ร กิ จ เกษตรและขนส ง พื ช ไร ทําใหเราไดเรียนรูถึงการวางแผนการ ทํางานอยางมีระบบ ความรวดเร็ว การ ตรงตอเวลา และความรับผิดชอบใน การขนสงซึ่งลวนแตเปนหัวใจสําคัญ เพราะนํา้ หนักของพืชไรทเี่ ราบรรทุกจะ ลดลงทุก ๆ นาที การที่เราทํางานชาไป กวากําหนดหมายถึงเงินของลูกคาที่ หายไปด ว ย สิ่ ง ที่ ได เ รี ย นรู เ ป น ประสบการณอันมีคา เปนรากฐานที่ สํ า คั ญ ให บ ริ ษั ท ฯ เติ บ โตและเจริ ญ กาวหนาอยางรวดเร็ว”
กาวแหงการเปลี่ยนแปลง
เมื1อรากฐานทางธุรกิจมีความ
B&T#266_p32-33_iMac5.indd 32
มั่นคง ในป 2532 รัตนมงคลบางปะอิน ขนสง ก็ขยายธุรกิจเขาสูการขนสงภาค อุตสาหกรรมมากขึ้น เปนจังหวะเดียวกับ ที่ ป ระเทศไทยมี ก ารเติ บ โตทางด า น เศรษฐกิจและอุตสาหกรรมในระดับสูง โดย บริษทั ฯ ไดเริม่ รับจางบรรทุกถานหินนําเขา ปอนสู โรงงานปูนซีเมนตเพื1อใชเปนเชื้อ เพลิงในการผลิตเปนอันดับแรก ในชวง เวลานั้นเองอุตสาหกรรมการกอสรางและ อสังหาริมทรัพยมกี ารเติบโตอยางมากจาก นโยบายภาครัฐ ทําใหความตองการใช ปูนซีเมนตอยูในปริมาณสูงจนตองนําเขา ปูนซีเมนตจากตางประเทศ นับเปนโอกาส ดี อี ก ครั้ ง ที่ ทํ า ให รั ต นมงคลบางปะอิ น ขนสง ที่มีประสบการณดานการขนสง วัตถุดิบอุตสาหกรรมไดรับความไววางใจ จากลูกคาใหทําการขนสงปูนซีเมนตปอน เขาสูโครงการกอสรางตาง ๆ ของภาครัฐ และเอกชนทั้งประเทศ การเติบโตอยาง รวดเร็วทําใหตองเรงยกระดับและพัฒนา ขีดความสามารถในการขนสงของตนเอง ใหเพิ่มขึ้น
“ช ว งเวลานั้ น เราเฟ น หารถที่ มี ประสิทธิภาพสูงอยางมาก เพื1อมาตอบ สนองตอธุรกิจที่กําลังเติบโตอยางรวดเร็ว โดยคุณสมบัตขิ องรถทีเ่ ราตองการตองเปน รถที่แข็งแรง ทนทาน สิ้นเปลืองเชื้อเพลิง นอย ไมมีปญหาจุกจิก และคุมคากับการ ลงทุน เพราะงานของเราเปนงานหนักตอง วิ่งอยา งตอ เนื1อ งในระยะทางไกลตลอด เวลา เมื1อ โจทย ที่ เ ราตั้ ง เป น แบบนี้ ก็ ดู เหมือนวาจะมีแตรถของสแกนเนียเทานั้น ที่เรานึกถึงเปนอันดับแรกยิ่งเมื1อไดเลือก มาใชงานจริง ยิง่ รูส กึ เลยวาเปนการตัดสิน ใจที่ไมผิดหวังจริงๆ”
ไวใจรถใหญสแกนเนีย
เราเริม่ ตนนํารถสแกนเนีย เขามาใช งานครั้งแรกเมื1อ 12 ปกอน ดวยรถ 12 คัน ทุกวันนี้รถทั้ง 12 คันก็ยังคงใชงานอยู ก็ เปนเครื1องพิสูจน ไดถึงความคุมคาและ ประสิทธิภาพอยางแทจริง ตองยอมรับวา สแกนเนี ย ช ว ยผลั ก ดั น ให ธุ ร กิ จ ของเรา พัฒนาและเติบโตอยางรวดเร็วเพราะทําให เราสามารถควบคุมตนทุน วางแผนการ ทํางานไดอยางตอเนื1อง สามารถทํางาน ตอบสนองต อ ลู ก ค า ของเราได ใ นทุ ก สถานการณ เราจึงไดรับโอกาสที่ดีจาก
คนในรัตนมงคลบางปะอินขนสง เสียง สะทอนเหลานีแ้ สดงใหเห็นถึงความมุง มั่ น และการพั ฒ นาศั ก ยภาพในการ ทํางานอยางแทจริงตลอดมา บอยครั้ง ที่คําชื1นชมเหลานั้นยังแสดงถึงการให ความยอมรับในประสิทธิภาพของรถ สแกนเนีย ดวยเชนกัน “บอยครั้งในการทํางาน ลูกคา มักจะถามถึงรถที่เราจะนํามาใชกอน พอเราบอกวารถของเราเปน สแกนเนีย ก็ ไมตองบอกอธิบายอะไรมาก ลูกคา มั่นใจวาเราสามารถทํางานให ไดอยาง แนนอนนีค่ อื สิง่ ทีท่ าํ ใหเราประทับใจใน สแกนเนีย”
ประทับใจความเปนเพื่อนแท
แตสิ่งที่เหนือกวาในเรื1องงานคือ ความประทับใจในการเปนเพื1อน เพื1อน ทีด่ แู ลกันตัง้ แตเริม่ ตนจนมาถึงทุกวันนี้ สแกนเนีย อยูกับเราทุกที่ ทุกเวลา ทุก ครั้งที่เรามีปญหา สแกนเนียไมไดแค รับฟงแลวปลอยใหผานไป แตสแกนเนี ย จะรี บ กลั บ มาจะมาพร อ มกั บ คํ า แนะนําที่ดีทั้งในดานการทําธุรกิจ การ ดู แ ลรั ก ษาและการใช ง านรถ แก ไ ข ป ญ หาที่ เ กิ ด ขึ้ น ได อ ย า งตรงจุ ด นอกจากจะดูแลเราแลวยังดูแลไปถึง พนักงานขับรถของเราดวย สแกนเนีย ใหความสําคัญกับคนขับเปนอยางมาก มีการเปดอบรมการขับรถอยางถูกตอง รับผิดชอบ ประหยัด และปลอดภัย ชวยใหพนักงานขับรถของเรามีทักษะ การขับรถสูงขึ้นลดการสูญเสียไดเปน อยางดี “การใชรถของสแกนเนีย อยาง คุ ม ค า สํ า หรั บ เรามี เ คล็ ด ลั บ ง า ยนิ ด เดียวคือ ตรวจเช็คสภาพตามระยะการ ใชงานอยางสมํา่ เสมอ ใชอะไหลแท แม จะมีราคาอะไหลจะสูงกวานิดหนอย แลกกับอายุการใชงานทีน่ านขึน้ ไมเกิด ปญหาจุกจิกถือวาคุมคามาก”
3/12/2558 BE 8:54 PM
SET UP • BUS&TRUCK
ปกษหลัง • มีนาคม 2558
33
ติดตั้งลําเลียง
รถบรรทุกดัมพ “พนัส” คุณภาพไมเปนสองรองใคร
เมกะโปรเจกตคมนาคมกําลังทยอยตอกเสาเข็มเรื1อย ๆ และมีแนวโนนวาจะแจงเกิดอีกหลายโครงการ ไมวาจะเปน โครงการรถไฟฟาหลากสี รถไฟทางคู มอเตอรเวย สุวรรณภูมิเฟส 2 รวมถึงโครงการอสังหาริมทรัพยบานและคอนโด จึง เปนไปไดวารถใหญจะมีความสําคัญเปนอยางมาก โดยเฉพาะรถบรรทุกดัมพ เพราะจะมีการขนอิฐ หิน ปูน ทราย อยาง มากมาย “ติดตั้งลําเลียง” ฉบับนี้ จึงอยาก แนะนําใหรูจักรถบรรทุกดัมพ “พนัส” ที่ มีคุณภาพไมเปนสองรองจากใคร โดย บริษัท พนัส แอสเซมบลีย จํากัด เปน หนึ่งในบริษัทที่เปนผูผลิตและจําหนาย ผลิตภัณฑประเภทรถพวง รถกึง่ พวงและ ตัวถังบรรทุกที่ ไดมาตรฐานมายาวนาน กวา 40 ป ดวยประสบการณที่ยาวนาน จึงทําใหสินคาเปนที่แพรหลายในวงการ ขนสง โดยสินคารถบรรทุกดัมพ ก็ถอื เปน สิ น ค า อี ก ประเภทที่ มี คุ ณ ภาพและ ประสิทธิภาพสูง คุณทัศนะ กันรัตน รองกรรมการ ผู จั ด การฝ า ยพั ฒ นาธุ ร กิ จ โลจิ ส ติ ก ส บริษัท พนัส แอสเซมบลีย จํากัด เลา ใหฟงวา สินคาของทางพนัสฯ มีความ หลากหลายอยางมากโดยสินคาที่ออกสู ทองตลาดเปนจํานวนมาก และสามารถ พบเห็นไดเสนทางขนสงคือประเภทรถกึง่ พวงกางปลาและพื้นเรียบ แตสําหรับ สิ น ค า ที่ เ ป น การบรรทุ ก หนั ก อย า งรถ บรรทุกดัมพทางพนัสก็ถือวาเปนลําดับ ตน ๆ ของประเทศไทยเชนกัน โดยรถบรรทุกดัมพของทางพนัสฯ จะมีดวยกัน 2 ประเภท ซึ่งจะเนนงานที่ หลากหลายในดานงานโยธา เชน การ บรรทุ ก หิ น ดิ น ทราย แร ทางด า น การเกษตร เชน บรรทุกออย ขาวโพด มัน สําปะหลัง การใชงานก็จะแบงออกไปไม วาจะเปนการยกเทแบบเปนกองหรือเท ทิ้ ง โดยรถบรรทุ ก ดั ม พ ข องพนั ส ฯ สามารถครอบคลุมทุกความตองการของ
B&T#266_p32-33_iMac5.indd 33
ลูกคาไดเปนอยางดี สําหรับไฮโดรลิคเปนเรื1องที่สําคัญ มาก พนัสฯ เลือกใชพันธมิตรเบอรหนึ่ง ไฮโดรลิคคุณภาพสูงทีท่ วั่ โลกการันตี โดย รถบรรทุกดัมพนั้นมีดวยกันสองแบบคือ รถบรรทุกดัมพแบบยิงใตทอง และรถ บรรทุกดัมพแบบยิงดานหนา โดยตลาด รถบรรทุ ก ในประเทศไทยต า งเลื อ กใช ไฮโดรลิคทั้งสองแบบนี้อยางแพรหลาย แลวแตลักษณะงานของผูประกอบการ แตเรื1องคุณภาพนั้นอาจจะแตกตางกัน ออกไป ทั้งนี้ สินคาของพนัสฯ ไดคัดสรร และผานการทดสอบมาแลวมากมาย จึง มั่นใจวาสามารถเปนสวนหนึ่งของธุรกิจ
ลูกคาไดอยางมัน่ ใจ โดยกระบะยิงใตทอ ง นั้นเลือกใช “SHINMAYWA” ซึ่งถือวา เป น ผู ผ ลิ ต รายใหญ แ ละเป น ต น ตํ า รั บ เรื1องไฮโดรลิคแบบยิงใตทอ งทีก่ ารันตีทวั่ โลกโดยการใชงานจะมีความรวดเร็วใน การยกเท สวนรถบรรทุกดัมพแบบยิงหนาที่ ใ ช ไ ฮ โ ด ร ลิ ค แ บ บ เ ส า อ า ก า ศ ก็ มี ประสิทธิภาพสูงเชนกันโดยเลือกของผู เชีย่ วชาญดานไฮโดรลิคแบบเสาอากาศที่ ไดรับความนิยมสูงสุดอยาง “HYVA” เลื อ กมาเป น พั น ธมิ ต รทางธุ ร กิ จ โดย ไฮโดรลิคประเภทนีข้ องพนัสฯ เปนทีน่ ยิ ม อย า งมากในเหมื อ งบ า นเราเพราะมี คุ ณ สมบั ติ ใ นการยกเทครั้ ง เดี ย วและ ประหยัด สําหรับการเลือกพันธมิตรทาง ธุรกิจทั้งสองนี้ ไมวาจะเปนขั้นตอนการ ผลิตที่คอนขางประณีต และการเลือกใช
อุ ป กรณ ที่ มี คุ ณ ภาพเพื1อ ให สิ น ค า ของ พนัสฯ กาวขึ้นสูสินคาที่ดีที่สุดและมั่นใจ ไดวาเปน”Best of the Best ” อยางไรก็ดี ตลาดรถบรรทุกดัมพใน บานเรานั้นคอนขางเติบโต โดยเฉพาะ สินคาของพนัสฯ เปนสินคาที่ถูกพัฒนา เพื1อใหเขากับการใชงานในประเทศและ ตรงตามความต อ งการของลู ก ค า มาก ที่สุด โดยเฉพาะการเลือกใชวัสดุในการ ผลิ ต โครงสร า งที่ นํ า มาพั ฒ นาอย า ง ละเอียดและถีถ่ ว นใชเครื1องจักรทีท่ นั สมัย ออกแบบโดยทีมงานวิศวกรใช โปรแกรม Finite element ในการวิเคราะหความ แข็งแรงโครงสรางวา ไดมาตรฐานใชงาน ไดจริง โดยมีมาตรฐาน ISO9001 : 2008 มีหนวยงานบริการหลังการขายไว ใหคํา ปรึกษาและบริการลูกคาในกรณีที่เกิด ปญหาขัดของเพื1อให ใชงานรถไดอยาง เต็มประสิทธิภาพ จึงเชื1อไดเลยวารถ บรรทุกดัมพของทางพนัสฯ สามารถใช งานได ดี แ ละเพิ่ ม ความคุ ม ค า ให กั บ ผู ประกอบการในธุรกิจขนสง
3/12/2558 BE 8:54 PM
34 BUS&TRUCK • LOGISTICS
Logistics
ปกษหลัง • มีนาคม 2558 ดร.สิทธิชัย ฝรั่งทอง อาจารยประจําคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
ระบบจัดการโลจิสติกส
ขาดประสิทธิภาพ
เมื1อ เร็ ว ๆ นี้ ผู เ ขี ย นได นํ า คูปองไปซือ้ กลองทีวดี จิ ติ อล ณ หาง สรรพสิ น ค า ใกล บ า น ก็ พ บว า มี ประชาชนตื1นตัวตอการนําคูปองมา ซื้ อ กล อ งที วี ดิ จิ ต อลไปใช กั น เพิ่ ม อยางตอเนื1อง และภาวะการแขงขัน ในตลาดดังกลาวมีความคึกคักมาก ยิ่ ง ขึ้ น ด ว ย โดยมี ก ารนํ า เสนอ ผลิ ต ภั ณ ฑ ก ล อ งที วี ดิ จิ ต อลที่ ใ ห ความคมชัดมากขึ้น ผู เ ขี ย นก็ ได เ ดิ น ดู อ ยู น าน พบเห็นหลากหลายยี่หอ แตถูกใจ ยีห่ อ หนึง่ โดยพนักงานขายไดอธิบาย คุณสมบัติของกลองทีวีดิจิตอลยี่หอ ดังกลาววามีความคมชัดมากวายี่หอ อื1น อีกทั้งสามารถระบายความรอน ไดดีหากเปดเปนเวลานาน จนทําให ตกลงใจซื้อ โดยมีเงื1อนไขวาจะตอง เพิ่ ม เงิ น อี ก ประมาณเท า หนึ่ ง ของ คูปอง เพื1อจะไดรับเสาอากาศ และ พนักงานขายก็ไดบอกเพิม่ อีกวาขณะ นี้เสาอากาศหมด จะตองรออยาง
B&T#266_p34_iMac5.indd 34
นอยอีก 7 วัน เนื1องจากไมมขี องในสต็อก และจะตองทําการผลิตเพิม่ แตปรากฏวา ตองรอเสาอากาศจากทางบริษัทที่จัดสง มาใหทางไปรษณียนานถึง 15 วัน ทั้ง ๆ ที่บานของผูเขียนและโรงงานอยูในเขต พื้นที่เดียวกัน ซึ่งก็สามารถวิเคราะห ได เลยวา ระบบการจัดการโลจิสติกสของ บริษัทแหงนี้นาจะมีปญหาหลัก ๆ อยู 3 ประเด็น ดังนี้ ประเด็นแรก คือ ปญหาเรื1องการ พยากรณยอดขายและความตองการของ ลูกคา จะเห็นไดวา ขาดการสงผานขอมูล ตอกันระหวางพนักงานขาย ฝายขาย ฝายการตลาด และฝายผลิต วาสินคารุน นี้ แบบนี้ ขายดี เปนที่นิยมของลูกคา จึง ทําใหลูกคาจะตองเสียความรูสึกในการ รอรับสินคา ซึ่งมีผลตอการเปลี่ยนการ ตัดสินใจซื้อสินคาของลูกคาตอบริษัทดัง กลาวได ซึ่งการพยากรณยอดขายและ ความต อ งการของลู ก ค า นั บ ว า เป น กิจกรรมเริ่มแรกของการจัดการโลจิสติกสกอนเขาสูกระบวนการผลิต เคลื1อน
ยายสินคา และสงมอบใหกบั ลูกคา ธุรกิจ สวนใหญมกั ผลิตกอนเพื1อขาย และไมรอ ใหมคี าํ สัง่ ซือ้ ของลูกคากอน แตจะคอย ๆ เริม่ ผลิต จากเหตุการณดงั กลาวแสดงให เห็นวาการพยากรณยอดขายและความ ต อ งการของลู ก ค า ของบริ ษั ท ยั ง มี ความคลาดเคลื1อนไปมาก จึงทําให ไม สามารถผลิตสินคาใหเพียงพอตอบสนอง ความตองการของลูกคาได ประเด็ น ที่ ส อง คื อ ป ญ หาเรื1อ ง ระบบการสต็อกสินคา และสินคาคงคลัง ที่มักพบเจอภายในบริษัท มักเกิดมาจาก นโยบายการบริ ห ารการจั ด การสิ น ค า คงคลังไมชดั เจน เนื1องจากบริษทั ตองการ ที่จะจําหนายสินคาที่มีความหลากหลาย รองรับตอความตองการของกลุม ลูกคาให ครอบคลุมทุกกลุมมากที่สุด เพื1อสราง ความไดเปรียบทางการแขงขัน ซึ่งก็จะ ทําใหตนทุนในการจัดเก็บสินคาสูงขึ้น และโอกาสเสีย่ งทีส่ นิ คาจะลาสมัยตามไป ด ว ย รวมถึ ง นโยบายการร ว มมื อ กั บ ซั พ พลายเออร ใ นการส ง วั ต ถุ ดิ บ เข า สู กระบวนการการผลิต ทําใหสินคา/วัตถุ ดิ บ ขาดสต็ อ กและผลิ ต สิ น ค า ไม ทั น ส ง ตามกําหนด จากเหตุการณดังกลาว แสดงให เ ห็ น ว า การสต็ อ กสิ น ค า ของ บริษัทที่จะเตรียมไวเพื1อขายหรือสงมอบ ใหแกลูกคายังทําไดไมดีเทาที่ควร ทําให ลูกคาไมไดรับสินคาในวันที่มีการสั่งซื้อ หรือเตรียมไวเพื1อขาย ประเด็นที่ 3 คือ ปญหาเรื1องการ จัดการการขนสงสินคาใหกับลูกคา ซึ่ง ปจจุบันเขามามีบทบาทในการวางแผน และตั ด สิ น ใจทางธุ ร กิ จ เป น อย า งมาก
เพราะการแขงขันที่สูงขึ้น ทําใหมีผู ขายมากกวาผูซ อื้ หรือเรียกวาเปนยุค ทีผ่ ขู ายตองตามใจผูซ อื้ ซึง่ การขนสง สินคาก็เปนปจจัยสําคัญที่ตองมีการ จัดระบบใหดี การสงของที่ตรงเวลา สินคาไมชํารุดเสียหายสงสินคาได ถึ ง ที่ ห มาย และที่ สํ า คั ญ ต อ งตอบ สนองความตองการตอลูกคาอยาง รวดเร็วและมีคุณภาพจะเพิ่มความ นาเชื1อถือและสรางโอกาสทางธุรกิจ ใหประสบความสําเร็จ แตเหตุการณ ดังกลาวแสดงใหเห็นวาการจัดสง สินคา/สงมอบใหแกลกู คายังทําไดไม ดีเทาที่ควร ทําใหลูกคาตองรอคอย นาน อยางไรก็ดี การดําเนินธุรกิจใน ยุคนี้ที่มีการแขงขันกันสูง ผูบริหาร และผูประกอบการจะตองมีขอมูล ประกอบในการวางแผนและตัดสินใจ ทางธุรกิจเพื1อเพิ่มขีดความสามารถ ทางการแขงขันใหสูงขึ้น โดยตองนํา แนวคิดการจัดการ โลจิสติกสและ ซัพพลายเชนนํามาปรับใชกับธุรกิจ หรื อ ในแต ล ะหน ว ยงานที่ มี ส ว น เกีย่ วของกับการเคลื1อนยายสินคาไป ข า ง ห น า แ ล ะ ย อ น ก ลั บ ที่ มี ประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดย เริ่มตั้งแตตนทางคือวัตถุดิบ กลาง ทางคือคนกลาง และสุดทายปลาย ทางที่ จ ะต อ งตอบสนองความ ตองการของลูกคาไดอยางดีเยี่ยม กวาคูแขงขัน
3/12/2558 BE 9:12 PM
B&T#266_p35_iMac5.pdf
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
1
3/12/2558 BE
9:17 PM
36 BUS&TRUCK • TEST & REPORT
ปกษหลัง • มีนาคม 2558
Test & Report
สแกนเนี ย ทุม 10 ลาน จัดแขงขันทักษะการขับขี่รถบรรทุกและรถโดยสาร
สแกนเนีย ทุม งบกวา 10 ลานบาท จัดกิจกรรมเฟนหานักขับรถบรรทุก และรถโดยสารมืออาชีพตัวจริงพรอมยกระดับพนักงานขับรถประเทศไทย สูระดับสากล ในการจัดการแขงขัน สแกนเนีย ไดรเวอร คอมเพททิชั่น ไทยแลนด (Scania Driver Competitions Thailand) ชิงรางวัลเงินสด และของรางวัลรวมมูลคากวา 1,900,000 บาท คุ ณ ทั ศ นั น ท ป ย ะอั ก ษรศั ก ดิ์ ผูจัดการฝายสื1อสารและการตลาด บริษัท สแกนเนีย สยาม จํากัด กลาว ถึงการจัดการจัดการแขงขัน สแกนเนี ย ไดร เ วอร คอมเพททิ ชั่ น ว า เป น การแข ง ขั น ทั ก ษะการขั บ ขี่ ร ถ บรรทุกที่สแกนเนียมีการจัดขึ้นอยาง ตอเนื1องมากวา 10 ป ถือเปนการ แข ง ขั น ทั ก ษะการขั บ ขี่ ร ถบรรทุ ก รายการใหญและเปนที่รอคอยของนัก ขับรถบรรทุกทั่วโลก โดยการแขงขัน สแกนเนีย ไดรเวอร คอมเพททิชั่น จะ จัดขึ้นทุกๆ 2 ป มีประเทศที่เขารวม จัดการแขงขันรายการนีถ้ งึ 50 ประเทศ และมีนักขับรถบรรทุกเขารวมกวา 2 แสนคน ซึง่ การแขงขันจะเนนไปทีก่ าร ทดสอบทักษะของนักขับในการขับขี่ และควบคุมรถ การใชเชื้อเพลิงอยาง มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และการขับ ขี่อยาง ปลอดภัย โดยการทดสอบจะมีทั้งภาค ท ฤ ษ ฎี แ ล ะ ภ า ค ป ฏิ บั ติ ภ า ย ใ ต สถานการณตาง ๆ ที่สามารถเกิดขึ้น จริงบนทองถนนเพื1อเปนโจทย ใหแก นักขับไดแก ไขสถานการณอยางถูก ตองและปลอดภัย
B&T#266_p36_iMac5.indd 36
สําหรั บประเทศไทยการเข า ร วม จัดการแขงขัน สแกนเนีย ไดรเวอร คอมเพททิชั่น ไทยแลนด (Scania Driver Competitions Thailand) ที่จะเกิดขึ้นใน ครั้ ง นี้ นั บ เป น การจั ด ขึ้ น ครั้ ง ที่ 3 โดย สแกนเนีย สยาม ไดทุมงบกวา 10 ลาน บาท เพื1อใชในการจัดการแขงขัน มีความ พิเศษตรงที่จะมีการแขงขันทั้งประเภท รถบรรทุกและประเภทรถโดยสาร สวน กฎและกติกาตาง ๆ ที่ใช ในการแขงขัน นั้ น จะเป น มาตรฐานเดี ย วกั น กั บ การ แขงขัน สแกนเนีย ไดรเวอร คอมเพททิชั่น ทั่วโลก ทั้งนี้เพื1อตองการใหนักขับ ไทยไดมีประสบการณ และสัมผัสกับบท ทดสอบที่ เ ป น สากล เพื1อ ที่ จ ะพั ฒ นา ศักยภาพและความสามารถใหทัดเทียม กับนักขับจากทั่วโลก สวนแนวคิดการจัดการแขงขันครัง้ นี้อยูภายใตการตั้งคําถามกับเหลานักขับ วา “คุณมีความสามารถมากกวาการขับ รถใช ห รื อ ไม ” ซึ่ ง ความเป น นั ก ขั บ มื อ อาชีพสําหรับ สแกนเนีย ไมใชเพียงแคมี อาชีพขับรถเทานั้น แตนักขับมืออาชีพ สําหรับเรานอกจากจะตองมีทกั ษะ ความ
ชํานาญ ในการขับขี่แลว ยังควรมีทั้ง คุณธรรม จริยธรรม และความรับผิด ชอบดานความปลอดภัยตอสังคมดวย ซึ่งที่ผานมาถือวา สแกนเนีย สยาม ประสบความสําเร็จเปนอยางมากใน การสร า งนั ก ขั บ รถมื อ อาชี พ ที่ มี คุ ณ ภาพ มี ค วามตระหนั ก ถึ ง ความ ปลอดภัย และมีความรับผิดชอบสูงสู สังคมไทยกวา 1,500 คน คุณทัศนันท กลาวเพิ่มเติมถึง กําหนดการและขั้นตอนการรับสมัคร ในครั้งนี้วา “ผูสนใจสมัครเขารวมการ แขงขัน สแกนเนีย ไดรเวอร คอมเพททิชั่น ไทยแลนด สามารถขอรับใบ สมัครไดที่บริษัท สแกนเนีย สยาม จํากัด หรือศูนยบริการสแกนเนีย หรือ ดาวน โ หลดใบสมั ค รได ที่ เ ว็ ป ไซต www.scania.co.th ตั้งแตวันนี้ถึง 15 เมษายน 2558 สําหรับผูสมัครที่สงใบ สมั ค รพร อ มข อ สอบก อ นวั น ที่ 15 มีนาคม 2558 มีสทิ ธิรว มลุน รับสมารท โฟนซัมซุงมูลคา 10,000 บาท ผูสมัคร ทีส่ อบผานขอเขียนไดคะแนนสูงสุด 80 คน จะตองทําการทดสอบภาคปฏิบัติ รอบรองชนะเลิ ศ ในวั น ที่ 16-17 พฤษภาคม 2558 และ จะมีเพียง 16 คนเทานัน้ ทีจ่ ะผานเขารอบชิงชนะเลิศ ซึง่ จะจัดขึน้ ในวันที่ 13 มิถนุ ายน 2558 โดยการจัดงานแขงขันในครั้งนี้ ไดรับ การสนั บ สนุ น จาก กรมการขนส ง ทางบก สถาบันยานยนต มูลนิธิงวง อยาขับ ในพระอุปถัมภ สมเด็จพระเจา พี่นางเธอ เจาฟากัลยาณิวัฒนา กรม หลวงนราธิวาสราชนครินทร บริษัท มิชลินสยาม จํากัด และ สถาบัน ไอดี ไดรฟเวอร อีกดวย
3/12/2558 BE 9:19 PM
B&T#266_p37_iMac5.pdf
1
3/12/2558 BE
9:20 PM
38 BUS&TRUCK • COVERS’ STORY
จากปก
ปกษหลัง • มีนาคม 2558 ตอจากหนา 1
เบาะรถโดยสารแขงเดือด เนนคุณภาพ นอกเหนือจากที่ผลิตสงคายรถยนตแลว ยังเคยผลิตเบาะรถแขงสงตลาด อเมริกา ยุโรป และญีป่ นุ อีกทัง้ ยังเปนผูผ ลิตเบาะ รถยนตรายแรกในประเทศไทยที่ ไดรับ การรับรองมาตรฐาน ISO 9002 และยัง คงมุงเนนเรื1องระบบคุณภาพมาตรฐาน มาตลอดทั้ง Thailand Brand สําหรับ สินคาสงออก มาตรฐาน FIA สําหรับเบาะ รถแข ง และเมื1อ ป ที่ ผ า นมาเพิ่ ง Re-certify TS16949 เปนรอบที่ 5 ซึง่ เปน ระบบคุณภาพที่จําเปนสําหรับผูผลิตชิ้น สวนยานยนต OEM คุ ณ ยศรา ลิ ม ป ไ พฑู ร ย ผู ช ว ย กรรมการผูจัดการ บริษัท ศรีไทย โอโต ซีทส อินดัสตรี จํากัด กลาววา สําหรับ ผลิ ต ภั ณ ฑ ใ นกลุ ม เบาะรถบั ส หรื อ ที่ ใ น วงการจะคุนเคยกันในชื1อ “เบาะศรีไทย” เรามุง มัน่ ตัง้ ใจสรางสรรคผลิตภัณฑทดี่ มี ี คุณภาพทัง้ ในแงประโยชนความสบายใน การนั่งและความปลอดภัย ที่มอบใหกับ ผู โดยสารรถบัสในเมืองไทย เนือ1 งจาก เบาะคนขับและเบาะโดยสารเปนปจจัย สําคัญในการเดินทางที่ผูประกอบการจะ ตองใหความสําคัญ โดยตัวเบาะทีเ่ ลือกใช จะตองเนนทั้งความสบายและความแข็ง แรงปลอดภัย ซึ่ง “เบาะศรีไทย” ที่ผลิต ขึ้นนั้นผานมาตรฐานความปลอดภัยใน หัวขอตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับเบาะทั้งหมด ของ ECE R-14, ECE R-17 และECE R-80 จากประสบการณอันยาวนานใน วงการชิ้ น ส ว นยานยนต และไดมีก าร กําหนดมาตรฐานและคัดสรรวัสดุทนี่ าํ มา ใชผลิตเปน “เบาะศรีไทย” นอกจากนี้ ผา มาตรฐานของเบาะศรี ไทยที่แนะนําให ลูกคาใชจะเปนผามาตรฐานเบาะรถยนต และกันไฟลาม ดังนั้น ผูประกอบการที่ เลือกใช “เบาะศรีไทย” จึงมัน่ ใจไดวา คุณ ไดสง มอบความหวงใยและความจริงใจใน การบริการใหลกู คาอยางดีตลอดการเดิน ทาง “สําหรับระบบการผลิตทัง้ หมดของ โรงงานใชระบบ Toyota Production System (TPS) ซึ่งไดรับคัดเลือกใหเปน Best Practice Company ใน Prase13 ของโครงการรวมระหวาง TMAP-EM, JETRO และสถาบันยานยนต นอกจากนี้ ยังได GI Mark (Green Industry หรือ อุ ต สาหกรรมสี เ ขี ย ว) จาก GIZ และ กระทรวงอุตสาหกรรมฯ ซึ่งโรงงานของ เรามีการเนนเรื1องสิ่งแวดลอมและกําลัง ดําเนินการทํามาตรฐาน ISO14000 ดวย” ความซื1อสัตยและความจริงใจใน การคิดคนพัฒนาสรางสรรคสิ่งดี ๆ ที่ จํ า เป น และให ป ระโยชน จ ริ ง ๆ กั บ ผู บริโภคถือเปนจุดเดนในการดําเนินธุรกิจ ของศรีไทยฯ แมจะทําใหมกี ารลงทุนทีส่ งู แตกเ็ ปนนโยบายในการคิดคนสรางสรรค ผลิตภัณฑของบริษัทฯทั้งหมด ที่เนนมา
B&T#266_p38-39_iMac5.indd 38
ตลอด และเปนความแตกตางซึง่ สรางจุด แข็งใหบริษัทศรีไทยฯ ทําใหผูประกอบ การเลือก “เบาะศรีไทย” มาตอบโจทย การบริการที่ใสใจผู โดยสาร เพิ่มความ เชื1อ มั่ น และประทั บ ใจ จนกลั บ มาใช บริการอยางสมํ่าเสมอ “ดานทิศทางในการดําเนินธุรกิจ ของศรีไทยฯ เปนการผสมผสานระหวาง ยานยนตและสุขภาพ ลูกคาจะทราบวา ตลอดระยะเวลาสิบกวาปที่ผานมา นอก เหนื อ ไปจากคุ ณ ภาพความแข็ ง แรง ปลอดภัยของผลิตภัณฑแลว ผลิตภัณฑ ของเราจะมุง เนนในเรื1องความสบายและ สุขภาพหลังในการนั่งเปนสําคัญ ดังนั้น ทุกคนที่ไดใชเบาะบัส “เบาะศรีไทย” และ “AirLumba” ผลิตภัณฑดแู ลสุขภาพหลัง ในรถยนต ซึ่งเราสงใหติดเปนมาตรฐาน ออกจากโรงงานในหลายรุ น ของรถ โตโยตาตั้งแตรุนฉลองครบรอบ 40 ป เรื1อยมาจนมาถึงรุนฉลองครบรอบ 50 ป รถหรู Alphard, Ventury จนไปถึ ง Camry Hybrid ในอินโดนีเซีย จะไดรับรู ถึ ง ความใส ใ จในสุ ข ภาพหลั ง ที่ ท าง AirLumba มอบใหกบั ผูใชทกุ คน ทางเรา มีความภูมใิ จทีม่ ีโอกาสเปนสวนหนึง่ ของ การดูแลสุขภาพหลังในชีวิตประจําวัน ของหลาย ๆ คน และเรายังคงมุงมั่นใน การวิจยั และพัฒนาสิง่ ทีด่ ี ๆ ใหประโยชน ผูบริโภคอยางตอเนื1อง และตองขอบคุณ ลูกคาที่เชื1อมั่นใหศรี ไทยฯ บริการและ ดูแลตลอดมาและตลอดไป”
ดํารงศิลป ลูกคามั่นใจคุณภาพ โตสวนกระแส
“ดํารงศิลป กรุป ” ผูผ ลิต จําหนาย เบาะรถทัวร รถตู VIP ชุดนวดหลังไฟฟา ตกแตงรถตู VIP รางสไลดทนี่ งั่ ยาวตลอด คัน อุปกรณเบาะทุกชนิด ผากํามะหยี่ ออกแบบ ติดตั้ง และตกแตงโดยชางผู ชํานาญงานที่มีประสบการณสูง และ แนนอนวา เบาะที่นั่งรถยนตทุกประเภท ของ “ดํารงศิลป” พัฒนามาโดยตลอด ไม วาจะอยูในชวงเวลาไหน หรือ ยุคใด ก็ สามารถครองใจลูกคาไดเปนอยางดี ที่ สําคัญไดขยายสงออกไปยังตลาดตาง ประเทศ เชน กลุมประเทศแถบตะวัน ออกเฉี ย งใต หรื อ อาเซี ย น และกลุ ม
ประเทศในตะวันออกกลาง การพัฒนาเบาะรถของ “ดํารง ศิลป” พัฒนาตั้งแตระดับ VIP ไปจนถึง ระดับ PREMIUM โดยใชรปู แบบเดียวกับ เบาะที่ นั่ ง รถโดยสารบนเครื1อ งบิ น มา เป น ต น แบบ มี ก ารใช ร ะบบไฟฟ า มา ควบคุ ม การทํ า งานเพื1อ ความสะดวก สบาย และหลังจากที่ “ดํารงศิลป” ได ประสบความสําเร็จกับตลาดรถโดยสาร ความนิยมของรถตูร ะดับหรูหราเขามาใน ประเทศไทย “ดํารงศิลป” ไดเปนสวน หนึ่งในการผลิตเบาะที่นั่งระดับ VIP ให กับรถยนตหรูอยาง Mercedes-Benz ทําใหสรางชื1อใหกับ “ดํารงศิลป” เปน อยางมาก จนทําใหบริษทั OEM ใหความ สนใจและให โอกาส “ดํารงศิลป” ในการ ผลิ ต เบาะที่ นั่ ง โดยสารเข า สู โ รงงาน ประกอบรถยนตของ “Hyundai” คุณเกียรติศักดิ์ ภูอัครนันท ผูจัดการ บริ ษั ท ดํ า รงศิ ล ป พาร ท ซี ท เซ็นเตอร จํากัด เปดเผยวา แมภาวะ เศรษฐกิจโดยรวมจะอยูใ นชวงทีต่ กตํา่ อยู แตเบาะนัง่ ดํารงศิลปถอื วาโตสวนกระแส เปนอยางมาก โรงงานผลิตเบาะนั่ง 2 แห ง ที่ จั ง หวั ด ราชบุ รี และจั ง หวั ด สุพรรณบุรี แมจะเรงผลิตสินคาเต็มกําลัง แตก็ยังไมเพียงพอกับความตองการของ ตลาด ดวยการวิจยั และพัฒนาเบาะนัง่ มา ตลอด ทําใหเจาของรถโดยสารโดยเฉพาะ รถประจํ า ทาง รถเหมา และรถของ ขาราชการ ตางก็สงั่ เบาะใหม เพื1อเปลีย่ น แทนเบาะเกา โดยเฉลีย่ เดือนละประมาณ 80 คัน “ขณะนี้ทางบริษัทอยูในชวงตัดสิน ใจวาจะเพิม่ เครื1องจักรและเพิม่ พนักงาน ใหมเขามารองรับการทํางานที่เพิ่มมาก ขึ้น หรือ หากเศรษฐกิจในป 2558 ยังอยู ในภาวะที่แย ไมเติบโตขึ้นตามที่รัฐบาล บอก ก็จําเปนที่จะตองมีคนงานเทาเดิม ไมลงทุนซื้อเครื1องจักรและเพิ่มคนงาน คงตองรอดูสถานการณอีกระยะหนึ่งวา จะไปในแนวทางใด”
สปข.เลือกใชเบาะตามสภาพรถ
ดร.วสุเชษฐ โสภณเสถียร นายก สมาคมผูประกอบการรถขนสงทั่วไทย (สปข.) กลาววา สําหรับเบาะนั่งของผู
โดยสารถือเปนสิ่งที่สําคัญมาก เพราะ ลูกคาตองนั่งอยูในรถเปนเวลานานจึง ตองการที่นั่งที่ใหค วามสบายสามารถ ผอนคลายความเมื1อยลาได ซึ่งมาตรฐาน ตาง ๆ เบาะนั่งทุกยี่หอจะมีการแขงขัน กันอยางสูง ทําใหทงั้ คุณภาพไดมาตรฐาน และมีอายุการใชงานทีย่ าวนานสมเหตุสม ผลกั บ ราคาที่ จํ า หน า ย รวมทั้ ง ยั ง มี อุปกรณพิเศษเพิ่มให ไมวาจะเปน เบาะ นวดหลัง จอทีวี ซึง่ ลวนแตเปนสิง่ อํานวย ความสะดวกที่รถโดยสารตองการใช ไม วาจะเปน รถวี ไอพี รถพิเศษ หรือรถ ธรรมดา “สวนการเลือกยี่หอนั้นถือวาไมมี ความจําเปน เพราะคุณภาพของเบาะนัง่ ทุกยีห่ อ เทาเทียมกัน พรอมทัง้ ความกวาง ความสูง ความหนา ตรงตามขอกําหนด ของกรมการขนสงทางบก โดยทางอู ประกอบตั ว ถั ง รถโดยสารจะเป น ผู คั ด เลือกให โดยจะดูทปี่ ระเภทของรถวาควร จะใช เ บาะแบบไหน และมี สิ่ ง อํ า นวย ความสะดวกอะไรเพิ่มเขามา
สวีทรานส เลือกใชยี่หอ “อรุณ” เปนหลัก
คุณวรพจน ชะรินทร กรรมการ ผูจัดการบริษัท สวีทรานส กรุป จํากัด ผูใหเชารถโดยสารเพื1อการทองเทีย่ วราย ใหญ เปดเผยวา ขณะนีใ้ ชรถโดยสารทีม่ า จากคายยุโรปเทานั้น จํานวนมากกวา 100 คัน ซึ่งเบาะที่นั่งทั้งหมดไดใชยี่หอ อรุณ เพียงยี่หอเดียว เนื1องมาจากกลุมผู โดยสารทั้งหมดเปนชาวตางชาติ จะไม เนนการนั่งพักผอนเปนหลัก แตเนนดูวิว ทิว ทัศ นที่รถวิ่ง ดังนั้นเบาะรถจึงเนน ใหการนั่งพักผอนรูสึกสบายเทานั้นซึ่ง จากการสอบถามผู โดยสารมาพบวาตาง พึงพอใจกับเบาะนั่งที่เตรียมไวเปนอยาง มาก เพราะรูสึกสบายสามารถมองดูสิ่ง ตาง ๆ รอบตัวไดอยางสะดวก และไมตอ ง ปรับปรุงที่นั่งใหมีสิ่งอื1นเพิ่มเลย สวนการติดตั้งเบาะนั่งรถโดยสาร นั้น จะนํารถโดยสารที่ประกอบจากอูตอ ตัวถังรถโดยสารเสร็จจึงจะนํามาทีอ่ อู รุณ การชาง เพื1อทีจ่ ะไดทาํ การประกอบเบาะ นั่งตอไป และสาเหตุที่ ไมประกอบเบาะ นั่งในอูประกอบตัวถังนั้นก็ปองกันการ เป อ นสี แ ละสิ่ ง สกปรกจากช า งอื1น ที่ ทํางานรวมกัน และเปนการใหเกียรติกับ ผู โดยสารที่ไดใชเบาะนั่งใหมแท นอกจากนี้ทางบริษัทและผูบริหาร ของยี่หออรุณก็ไดมีการเสนอแนวคิดใน การพัฒนาเบาะรุน ใหม ๆ ใหตรงกับความ ตองการของลูกคาอยูเสมอ รวมทั้งยังได รับบริการหลังการขายที่ดีจากผูบริหาร อรุณ จึงทําใหตัดสินใจเลือกใชเบาะของ อรุณเปนหลักเสมอมา
3/12/2558 BE 9:24 PM
WORLD NEWS • BUS&TRUCK 39
ปกษหลัง • มีนาคม 2558
วงการต่างแดน ตอจากหนา 1
โฟตอน ประกอบเพิ่ม 3 รุน ตั้ง R&D พัฒนาคุณภาพ คุ ณ ภาพของรถให ต รงตามความ ตองการของลูกคา เผยแผนบริษัทแม ประเทศจี น ตั้ ง ศู น ย อ ะไหล ติ ด กั บ เวียดนาม หวังเพิ่มความรวดเร็วในการ สงมอบอะไหลในกลุมประเทศอาเซียน คุณณัฐภูมิ ปุรณะชัยคีรี ผูจัดการ ทัว่ ไป บริษทั โฟตอน ทรัค (ประเทศไทย) จํ า กั ด เปดเผยวา เพื1อเปนการขยาย ตลาดขนสงใหครอบคลุมมากยิ่งขึ้น ใน เดือนพฤษภาคมนี้ ทางบริษทั ฯ ไดเตรียม ประกอบรถใหญ 3 รุนที่โรงงานประกอบ คือ รถ 10 ลอ เครื1องยนต 340 แรงมา รถ 6 ลอ เครื1องยนต 170 แรงมา และ เครื1องยนต 240 แรงมา หลังจากปทแี่ ลว ไดประกอบรถ 10 ลอเครื1องยนต 275 แรงมาเปนรุนแรก และสามารถทํายอด ขายไดมากเกินความคาดหมาย ส ว นรายละเอี ย ดของกลุ ม ลู ก ค า สามารถแบ ง ได เ ป น รถ 10 ล อ 340 แรงมา เหมาะที่จะทํางานหนักในเหมือง แร ซึ่งไดทําการทดสอบมาแลวที่เหมือง แร แ ม เ มาะ จั ง หวั ด ลํ า ปาง มี ลู ก ค า ประมาณ 3 รายพึงพอใจในการทํางาน ของรถรุนนี้เปนอยางมาก สวนรถ 6 ลอ 170 แรงมานั้น เหมาะที่จะใชบรรทุก สินคาทัง้ อุปโภคและบริโภค วัสดุกอ สราง จํานวนไมมากนัก โดยใชวงิ่ ในเขตตัวเมือง และจังหวัดขางเคียงได และรถ 10 ลอ 240 แรงมา เหมาะที่จะใชบรรทุกสินคา
หนั ก แต วิ่ ง ในพื้ น ที่ ที่ ไ ม ไ กลมากนั ก เหมาะกับการใชงานในเขตตัวเมือง “ในวันเปดตัวนั้นไดวางแผนไววา รถที่ประกอบใหมทั้งหมดจะมีการตอตัว ถั ง สํ า เร็ จ รู ป เข า ไปด ว ยเพือ1 ให เ ห็ น ว า สามารถใช ในการขนสงสินคาประเภทใด ได บ า ง ลู ก ค า สามารถซื้ อ ได ทั้ ง แบบ แชสซี ส แ ละเครื1อ งยนต เพื1อ นํ า ไป ประกอบเองได หรือจะซื้อแบบสําเร็จรูป จากบริษัทก็ได โดยคิดเปนไฟแนนซรวม” สวนดานการพัฒนาคุณภาพของ สินคาใหดีขึ้นตรงกับความตองการของ ลู ก ค า นั้ น ทางบริ ษั ท แม ป ระเทศจี น เตรียมตั้งแผนก R&D ในประเทศไทย ภายในป 2559 เมื1อลูกคาตองการใหรถ ใหญ โฟตอนมีการดัดแปลงหรือตอเติม ชิ้นสวนใดเพือ1 ใหเขากับงานขนสง ทาง R&D ก็จะระดมความคิดเพื1อออกแบบ ใหม หากตรงกับความตองการของตลาด รวมก็สามารถทําการผลิตออกมาไดเลย รวดเร็วกวาที่ตองสงเรื1องไปยังบริษัทแม ประเทศจีน นอกจากนี้ ทางบริษทั แม ไดเตรียม ตั้ ง ศู น ย อ ะไหล แ ห ง ใหญ ที่ อ ยู ติ ด กั บ ประเทศเวียดนาม เพื1อความรวดเร็วใน การสงมอบอะไหลใหกับผูแทนจําหนาย รถใหญ โ ฟตอนที่ อ ยู ใ นกลุ ม ประเทศ อาเซียน ทัง้ นี้ เพื1อกลุม ลูกคาจะไดรบั การ ดูแลในการซอมบํารุงไดรวดเร็วขึ้น
ตอจากหนา 1
ไบเบน นํารองรถจีน เจาะตลาดนําเขา-สงออก สําเร็จรูป มีใหเลือกตามตองการ คุ ณ ริ น ร ดี ว ง ศ ทิ พ ย พ า นิ ช กรรมการผูจ ดั การ บริษทั เอ็ม.ซี.ซี. ทรัค แอนด บัส อินเตอรเนชั่นแนล ผูแทน จําหนายรถใหญไบเบน ประเทศจีน เปด เผยว า ถื อ เป น ปรากฏหกรณ ใ หม ข อง วงการรถใหญทมี่ าจากประเทศจีน เพราะ ทางบริษัทฯสามารถเจาะกลุมลุกคาที่ ไม เคยใชรถใหญจากจีนในการขนสงมากอน นั้นคือ กลุมผูขนสงเพื1อนําเขา-สงออก ที่ทําการสั่งซื้อเปนจํานวนมากถึง 25 คัน นอกจากนี้ยังมีกลุมเปาหมายที่ทําการ ขนส ง สิ น ค า ในท า เรื อ แหลมฉบั ง อี ก จํานวน 20 คันดวย สาเหตุที่ลูกคาทั้งสองรายตัดสินใจ เลือกใชรถใหญไบเบน จากเดิมที่ใชรถ ใหญจากยุโรปและญี่ปุนเทานั้น ทั้งนี้ เนื1อ งมาจากมี ส มรรถนะและคุ ณ ภาพ เที ย บเท า กั บ รถใหญที่ม าจากประเทศ ญี่ปุนเลยทีเดียว และที่สําคัญทั้งดาน ราคาจําหนาย โปรโมชั่นตาง ๆ รวมทั้ง ยังมีบริษัทสินเชื1อในเครือจึงทําใหลูกคา สามารถตัดสินใจซื้อไดในทันที “สวนเปาขายรวมในปนี้ที่วางไว ทั้งหมด 120 คัน ซึ่งเพียงแค 3 เดือน
B&T#266_p38-39_iMac5.indd 39
แรก สามารถขายไดแลวประมาณ 50 คัน ทํ า ให ใ นป นี้ ต อ งทํ า ได อ ย า งแน น อน เพราะในปนี้จะมี 3 สาขาคือ ที่หาดใหญ จังหวัดสงขลา พระราม 2 กรุงเทพฯ และ ที่ จั ง หวั ด เชี ย งใหม นอกจากนี้ ยั ง จะมี ดีลเลอรเพิม่ มาอีกหากผานการพิจารณา การเขาถึงลูกคาจึงเพิม่ ขึน้ เปนอยางมาก” ทางดานรถบรรทุกเล็กยี่หอ ชินเล ซึง่ เนนกลุม ลูกคา SMEs เปนสวนใหญใน ปแรกที่ทําตลาดนี้มั่นใจวาตองทํายอด ขายไดอยางนอย 800 คัน โดยจะเนนที่ กลุ ม สหกรณ ข นส ง หาดใหญ เ ป น หลั ก เนื1องมาจากในปนี้จะครบอายุการใชงาน ของรถ 3 ลอที่เปนสมาชิกจํานวน 2,000 คัน รถบรรทุกชินเลจึงเปนตัวเลือกหลัก ที่จะนํามาใชงานแทน ทีส่ าํ คัญทางบริษทั ฯยังรับทําตัวถัง สําเร็จรูปใหเลือกตามตองการอีกดวย ไม วาจะเปนรถ 2 แถว รถขายกาแฟ รถตู บรรทุก รถขายอาหาร หรือ รถประเภท อื1นที่ลูกคาตองการ โดยทางบริษัทจะนํา มารวมกับตัวรถเพื1อนํามาเปนไฟแนนท เดียวกัน เปนความสะดวกในการบริหาร เงินใหแกลูกคา
นวัตกรรม
สหรัฐอเมริกา : Apple กําลังคิดพัฒนารถไฟฟาขับขี่อัตโนมัติ คาย Apple มีความตองการที่จะผลิตรถยนต ซึ่งในความเปนจริงทุกคนก็ รูวาการสรางรถสักคันนั้นก็ ไมไดงายไปกวาการผลิต iPhone หลายลานเครื1อง ก็ ไมแปลกใจนักที่ Apple จะมาสนใจการผลิตรถยนต ไฟฟาระบบขับขี่อัตโนมัติ แทนที่จะยึดติดกับยุคเครื1องจักรกล เว็บไซต headlightmag ใหขอมูลโดยอางอิง แหลงขาววงในอุตสาหกรรมวาในขณะนี้ Apple ก็กําลังรวบรวมคําแนะนําเกี่ยวกับ ชิ้นสวน และกรรมวิธีการผลิตที่มุงเนนไปยานพาหนะขับเคลื1อนดวยไฟฟาและ เทคโนโลยีระบบการเชื1อมตอแลว ในขณะเดียวกันก็ยังศึกษารถยนตระบบขับขี่ อัตโนมัติอีกดวย แหลงขาวดังกลาวยังแสดงความคิดเห็นอีกวา รถขับขี่อัตโนมัติ สมบูรณแบบคือ วิวัฒนาการอยางแทจริง ปจจุบัน บริษัทรถคอย ๆ ปลอยฟเจอร ที่เกี่ยวของกับระบบขับขี่อัตโนมัติอยางชา ๆ Apple ก็ไดสนใจทุกศักยภาพที่จะ พัฒนารถรวมไปถึงระบบขับขี่อัตโนมัติดวย
ยานยนต
เม็กซิโก : โฟลคสวาเกน เตรียมทุมทุนประมาณ 1,000 ลานดอลลาร ขยายโรงประกอบรถยนต บริษทั โฟลคสวาเกน เตรียมจะลงทุน 1,000 ลานดอลลาร หรือราว 31,450 ลานบาท เพื1อขยายโรงประกอบรถยนตในรัฐปวยบลาของเม็กซิโก สําหรับผลิต รถซียูวีรุนใหมชื1อ “ทีกวน” โดยจะมุงเนนไปที่การผลิตชิ้นสวนไฮเทคแบบใหม และคาดวาจะสรางงานเพิม่ ประมาณ 2,000 ตําแหนง แอนเดรียส ฮินริชส หัวหนา คณะเจาหนาที่บริหาร หรือซีอีโอของโฟลคสวาเกน เม็กซิโก กลาววา แผนดังกลาว ถือเปนอีกครั้งที่โฟลคสวาเกน กรุป มอบหมายโครงการสําคัญใหบริษัทรับผิดชอบ ซึ่งจะสงผลดีตอยุทธศาสตรการเติบโตในภูมิภาคอเมริกาเหนือ นอกจากนี้ บริษัท จะเริม่ ผลิตรถทีกวนในปลายป 2559 ขอมูลของรัฐบาลเม็กซิโก ระบุวา นับถึงเดือน ธันวาคมที่ผานมา การลงทุนในภาคยานยนต ในประเทศมีมูลคา 19,000 ลาน ดอลลาร หรือราว 598,500 ลานบาท ในสมัยของประธานาธิบดีเอ็นริเก เปนญา เนียโต ที่เขาสูตําแหนงเมื1อ 2 ปกอน ขณะที่ขอมูลของสมาคมอุตสาหกรรมรถยนต เม็กซิกัน หรือเอเอ็มไอเอ ระบุวา โฟลคสวาเกน ซึ่งสรางโรงงานในรัฐปวยบลาเมื1อ ป 2507 ผลิตรถได 475,121 คัน เมื1อป 2557 จากจํานวนรถทุกแบรนดที่ผลิตใน ประเทศรวม 3.2 ลานคัน ญี่ปุน : ยอดขายรถนําเขาลดลง สมาคมผูนําเขารถยนตของญี่ปุนเปดเผยวา ยอดขายรถยนตนําเขาของ ญีป่ นุ ในเดือน ก.พ. ซึง่ รวมถึง รถยนตทผี่ ลิตโดยบริษทั ญีป่ นุ ใน ตางประเทศ รวง ลง 22% เมื1อเทียบรายป สูระดับ 27,520 คัน โดยยอดขายรถยนตที่ผลิตโดย บริษัทตางชาติ หดตัวลง 10.8% แตะที่ 23,317 คัน ขณะที่ยอดขายรถยนตที่ผลิต โดยบริษัทญี่ปุน รวงลง 18.1% จากชวงเดียวกันของปกอน แตะที่ 4,203 คัน หาก พิจารณาในแตละแบรนดพบวา เมอรเซเดส-เบนซ ยังคงมียอดขายสูงสุดที่ 5,258 คัน ซึ่งเพิ่มขึ้น 3.7% และครองสวนแบงตลาด 19.1% ขณะที่ โฟลคสวาเกนมียอด ขายรองลงมาเปน อันดับสองที่ 5,394 คัน ซึ่งลดลง 21.1% และคิดเปนสวนแบง ตลาด 19.6% บีเอ็มดับเบิลยูมียอดขายอยูในอันดับสามคือ 3,155 คัน ซึ่งรวงลง 24.1% โดยคิดเปนสวนแบงตลาด 11.5% สวนบริษทั รถยนตของญีป่ นุ นัน้ ยอดขาย ของนิสสันปรับตัวลง 24.2% แตะที่ 2,116 คัน ขณะที่ยอดขายของโตโยตา ลดลง 19.6% แตะที่ 1,201 คัน
ปฎิทินขาว วัน-เดือน-ป
รายละเอียดงาน
25 มี.ค.-5 เม.ย.58 บางกอก อินเตอรเนชั่นแนล มอเตอร โชว ครั้งที่ 36 ณ อาคารชาเลนเจอร 1-3 เมืองทองธานี 27-30 มี.ค. 2558
Material Handing & Equipment 2015 ณ ฮอลล 6 อิมแพค เมืองทองธานี
28 เม.ย.-3 พ.ค.58 สถาปนิก ’58 อิมแพ็ค เมืองทองธานี
24-28 มิ.ย.58
Bangkok International Auto Salon 2015 ณ ฮอลล 2-3 อาคารชาเลนเจอร เมืองทองธานี
ติดตอ บร�ษัท กรังดปร�ซ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด (มหาชน) โทร.0-2522-1731-8 ตอ 204, 467 www.bangkok-motorshow.com PMP Managemant โทร.0-2197-8364, 08-6399-8080 บร�ษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด โทร.0-2717-2477 ตอ 159 E-mail: info@TTFintl.com, supaman@TTFintl.com บจก. อินสไพร เอ็นเตอรเทนเมนท โทร.0-2508-8100 www. bangkokinternationalautosalon.com
3/13/2558 BE 4:55 PM
40 BUS&TRUCK • DIRECTORY
ปกษหลัง • มีนาคม 2558
Directory ISUZU บร�ษัท ตร�เพชรอีซูซุเซลส จํากัด โทร. 0-2966-2111
SUNLONG บร�ษัท เบสทร�น กรุป จํากัด โทร.0-2750-3901, 0-2750-0227, 08-5999-9499 SLK6752CNG SLK6852D SLK6102D SLK6102CNG SLK6120D SLK6126CNGB SLK6145D ราคาดังกลาวเปนราคานําเขารถสําเร็จรูปทั้งคัน
Coach 7.5 m. Coach 8.5 m. Coach 10 m. Coach 10 m. Coach 12 m. Coach 12 m. Coach 14.5 m.
YUTONG บร�ษัท ไทยคูชัย จํากัด โทร. 0-2393-9831-2
YUTONG มินิบัส 6 เมตร YUTONG รถบัสโดยสาร 8 เมตร YUTONG รถบัสโดยสาร 12 เมตร
มินิบัส รถธรรมดา รถปรับอากาศ
CNG ดีเซล ดีเซล CNG ดีเซล CNG ดีเซล
-
-
-
2,950,000 4,000,000 4,600,000 4,900,000 6,000,000 6,500,000 7,500,000
1,500,000 2,500,000 4,850,000
HINO บร�ษัท ฮีโนมอเตอรสเซลส (ประเทศไทย) จํากัด โทร. 0-2900-5000 Hotline 0-2900-5260 Series 3 XZU600R-4W ขนาด 2-3 ตัน Series 3 XZU600R-6W ขนาด 2-3 ตัน Series 3 XZU650R (T&S) ขนาด 2-3 ตัน Series 3 XZU710R (T&S) ขนาด 2-3 ตัน Series 3 XZU720R ขนาด 2-3 ตัน Series 3 XZU600R-4W Cooler less ขนาด 2-3 ตัน Series 3 XZU600R-6W Cooler less ขนาด 2-3 ตัน Series 3 XZU650R (T&S) Cooler less ขนาด 2-3 ตัน Series 5 FC9JEKA (T&S) 6 ลอขนาดกลาง Series 5 FC9JJKA 6 ลอขนาดกลาง Series 5 FC9JELA (T&S) 6 ลอขนาดกลาง Series 5 FC9JJLA (Radial Tube) 6 ลอขนาดกลาง Series 5 FC9JLLA (Radial Tube) 6 ลอขนาดกลาง Series 5 FG8JGLD 6 ลอขนาดใหญ Series 5 FG8JJLA 6 ลอขนาดใหญ Series 5 FG8JMLA 6 ลอขนาดใหญ Series 5 FG8JPLA 6 ลอขนาดใหญ Series 5 FG8JRLA 6 ลอขนาดใหญ Series 5 FG8JPLG (Air-Sus 6 ลอขนาดใหญ Series 5 FG8JGLE 6 ลอขนาดใหญ Series 5 FG8JJLB 6 ลอขนาดใหญ Series 5 FL8JNKA 10 ลอ 6x2 Series 5 FL8JTKA 10 ลอ 6x2 Series 5 FL8JNLA 10 ลอ 6x2 Series 5 FM8JNKD 10 ลอ 6x4 Series 5 FM8JNLD 10 ลอ 6x4 Series 5 FM1ANKD (T Bias) E/G Retarder 10 ลอ 6x4 Series 5 FM1ANKD (T&S Radial) E/G Retarder 10 ลอ 6x4 Series 5 FM1ANLD (T&S Radial) E/G Retarder 10 ลอ 6x4 Series 5 FM2PNLD (T&S) 10 ลอ 6x4 Series 5 FM2PNLD (SPA) ABS 10 ลอ 6x4 Series 5 FM1AKKM E/G Retarder (Mixer) 10 ลอ 6x4 Series 5 GY2PSLA (S) 12 ลอ 8x4 Series 5 GY2PSLA (T&S 380 Ps) PTO 12 ลอ 8x4 Series 5 FG8JGLT หัวลาก 6 ลอ Series 5 FM8JKKA หัวลาก 10 ลอ Series 5 FM1AKKA (S) E/G Retarder หัวลาก 10 ลอ Series 5 FM1AKKA (S) PTO E/G Retarder หัวลาก 10 ลอ Series 5 FM1AKLA (S) E/G Retarder หัวลาก 10 ลอ Series 5 FM1AKLA (S) PTO E/G Retarder หัวลาก 10 ลอ Series 5 FM1AKLA (SPA) ABS หัวลาก 10 ลอ Series 5 FM2PKLA (T&S) หัวลาก 10 ลอ Series 5 FM2PKLA (S) PTO หัวลาก 10 ลอ Series 5 FM2PKLA (SPA) ABS หัวลาก 10 ลอ Series 5 RK8JSLA รถบัส Series 5 RM1ESKU รถบัส Series 5 FC4JLNA NGV 6 ลอ NGV ขนาดใหญ Series 5 FG1JPKA NGV 6 ลอ NGV ขนาดใหญ Series 5 FG1JPKA NGV - Car Carrier 6 ลอ NGV ขนาดใหญ Series 5 FL1JTKA-BGT NGV 10 ลอ 6x2 Series 5 FM1JNKD-BGT NGV 10 ลอ 6x2 Series 5 FM1JKKA NGV 10 ลอ NGV Series 5 FM2PNMD NGV 10 ลอ 6x4 Series 5 FM2PNMD- A NGV 10 ลอ 6x4 Series 5 FM2PKMA NGV หัวลาก 10 ลอ NGV Series 5 FM2PKMA-PA NGV หัวลาก 10 ลอ NGV Series 5 FM2PKMA-P NGV หัวลาก 10 ลอ NGV Series 5 FM2PKMA-A NGV หัวลาก 10 ลอ NGV
4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ
136 150 150 150 150 136 150 150 145 145 175 175 175 212 212 212 212 212 212 212 212 212 212 251 212 251 330 330 344 380 380 330 380 380 212 251 330 330 344 344 344 380 380 380 251 380 175 220 220 260 260 260 360 360 360 360 360 360
948,000 978,000 1,035,000 1,190,000 1,206,000 938,000 968,000 1,025,000 1,350,000 1,360,000 1,410,000 1,430,000 1,440,000 1,750,000 1,770,000 1,780,000 1,790,000 1,810,000 1,915,000 1,650,000 1,660,000 2,345,000 2,385,000 2,415,000 2,485,000 2,535,000 2,820,000 2,850,000 2,905,000 2,965,000 3,035,000 2,575,000 3,130,000 3,170,000 1,865,000 2,650,000 2,945,000 2,985,000 2,975,000 3,015,000 3,085,000 3,055,000 3,095,000 3,165,000 2,145,000 3,605,000 1,890,000 2,555,000 2,945,000 3,265,000 3,315,000 3,440,000 3,755,000 3,825,000 3,850,000 3,960,000 3,890,000 3,920,000
MAN บร�ษัท เอ็ม เอ เอ็น คอมเมอรเชียล ว�ฮีเคิลส (ประเทศไทย) จํากัด โทร. 0-2567-0070-5 MAN-CLA 26.280 6x4 Tractor MAN-CLA 26.280 6x4 Mixer
รถหัวลาก 10 ลอ รถผสมปูน 10 ลอ
-
280 280
2,780,000 2,700,000
รถหัวลาก รถหัวลาก รถหัวลาก รถหัวลาก แซสซีสรถโดยสาร แซสซีสรถโดยสาร แซสซีสรถโดยสาร
6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ
FOTON บร�ษัท โฟตอน ทรัค (ประเทศไทย) จํากัด โทร.0-2567-2882
BJ4257SMFCB-R1 BJ4257MFJB-R1 BJ5257GJB-RA BJ3257DLPJE-R1
B&T#266_p40-41_iMac5.indd 40
10 ลอ หัวลากสองเพลา (6x4) 10 ลอ หัวลากสองเพลา (6x4) 10 ลอ หัวลากสองเพลา (6x4) 10 ลอ หัวลากสองเพลา (6x4) 10 ลอ หัวลากสองเพลา (6x4) 10 ลอ หัวลากสองเพลา (6x4) รถบรรทุก 6 ลอหัวลาก (4x2) รถบรรทุก 6 ลอหัวลาก (4x2) รถบรรทุก 12 ลอ สองเพลา (8x4) รถบรรทุก 12 ลอ สองเพลา (8x4) รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลา รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลา รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลา รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลา รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลา รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลา รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลา รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 6 ลอ ขนาด 6 ตัน รถบรรทุก 6 ลอ ขนาด 6 ตัน รถบรรทุก 6 ลอ ขนาด 6 ตัน รถบรรทุก 6 ลอ ขนาด 6 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุกขนาด 2 ตัน รถบรรทุกขนาด 2 ตัน รถบรรทุกขนาด 2 ตัน รถบรรทุกขนาด 2 ตัน รถบรรทุกเคร�่องยนต CNG รถบรรทุกเคร�่องยนต CNG รถบรรทุกเคร�่องยนต CNG รถบรรทุกเคร�่องยนต CNG รถบรรทุกเคร�่องยนต CNG รถบรรทุกเคร�่องยนต CNG รถบรรทุกเคร�่องยนต CNG รถบรรทุกเคร�่องยนต CNG รถบรรทุกเคร�่องยนต CNG รถบรรทุกเคร�่องยนต CNG
9,839 9,839 9,839 9,839 9,839 9,839 7,790 7,790 9,839 9,839 9,839 9,839 9,839 9,839 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 5,193 5,193 5,193 5,193 5,193 5,193 5,193 5,193 5,193 2,999 2,999 2,999 2,999 9,839 7,790 7,790 9,839 7,790 7,790 7,790 4,570 4,570 4,570
360 360 360 360 360 360 300 300 360 360 360 360 360 360 360 360 360 300 300 300 300 300 300 300 300 300 240 240 240 240 210 210 210 190 190 175 175 150 150 130 130 130 130 354 245 245 354 245 245 220 130 130 130
3,347,000 3,177,000 3,177,000 3,317,000 3,147,000 3,147,000 2,582,000 2,559,000 3,294,000 3,294,000 3,044,000 3,044,000 2,694,000 2,727,000 2,680,000 2,680,000 2,580,000 2,565,000 2,544,000 2,662,000 2,642,000 2,621,000 2,504,000 2,432,000 2,412,000 2,391,000 1,875,000 1,854,000 1,844,000 1,818,000 1,536,000 1,526,000 1,484,000 1,486,000 1,476,000 1,350,000 1,334,000 1,225,000 1,209,000 1,029,000 1,024,000 967,000 937,000 3,957,000 3,754,000 3,394,000 3,844,000 3,456,000 3,375,000 2,580,000 1,627,000 1,617,000 1,432,000
2,977 CC 2,977 CC 2,899 CC 2,899 CC 2,899 CC 7,545 CC 7,545 CC 7,545 CC 7,545 CC 7,545 CC 7,545 CC 12,882 CC 12,882 CC
125 125 150 150 150 240 240 240 270 240 270 380 380
934,000 985,000 1,069,000 1,207,000 1,217,000 1,770,000 1,785,000 1,830,000 2,525,000 2,475,000 2,635,000 3,150,000 3,220,000
FUSO บร�ษัท ฟ�โซทรัค (ประเทศไทย) จํากัด โทร. 0-2567-2897
FE71BB8SRDH1 FE73BE6SRDH1 FE84DE6SRDH1 FE85DE7SRDH1 FE85DG7SRDH1 FM65F F1RDH1 FM65F H1RDH1 FM65F M1RDH1 FN61FR2RDH1 FN62FM1RDH1 FN61FM2RDH1 FV51JHR3RDH1 FV51JHR3RDH1
รถบรรทุก 4 ลอ รถบรรทุก 6 ลอ รถบรรทุก 6 ลอชวงมาตรฐาน รถบรรทุก 6 ลอชวงมาตรฐาน รถบรรทุก 6 ลอชางยาว รถบรรทุก 6 ลอ ชวงสั้น รถบรรทุก 6 ลอ ชวงกลาง รถบรรทุก 6 ลอ ชวงยาว รถบรรทุก 10 ลอ ชวงยาวพ�เศษ รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลาชวงยาว รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลาชวงยาว รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลาชวงยาว รถหัวลาก 10 ลอ
DONGFENG บร�ษัท ดีเอฟ มอเตอร (ไทยแลนด) จํากัด โทร.0-2637-5041-3
DONGFENG CNG DONGFENG 8x4 CNG
รถหัวลาก NGV 100% TRACTOR Engine Yuchai
YC 340HP YC 340HP
340 340
3,150,000 3,250,000
BEIBEN บร�ษัท เอ็ม.ซี.ซี. ทรัค แอนด บัส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด โทร.08-1698-1934, 0-7423-0258 2538 SY 6x4 NG80 2538 SY 6x4 V3 2538 SY 6x4 NG80 2538 SY 6x4 V3 1827 SY 4x2 V3 2534 BY 6x4 V3 2534 KV 6x4 V3 (chassis )
Tractor (CNG) Tractor (CNG) Tractor (Diesel) Tractor (Diesel) Tractor (Diesel) Mixcer (Diesel) Dumper(Diesel)
11,596 CC 11,596 CC 9,726 CC 9,726 CC 9,726 CC 9,726 CC 9,726 CC
380 380 375 375 270 336 336
2,950,000 3,250,000 2,550,000 2,700,000 2,150,000 2,800,000 2,750,000
SHACMAN บร�ษัท ไทย ซัน อินเตอร แมชชีน จํากัด โทร. 0-3273-4188-9 Hotline 08-6302-1778
SCANIA P 360 LA6x2MSZ P 410 LA6x2MSZ P 410 LA6x2MNA P 410 LA6x2MSZ K 410 IB6x2NB K 410 EB6x2NI K 460 EB6x2NI
GXZ77NXJFQ (Aero-Max) GXZ77NXFQ (Aero-Max) GXZ77NXXTQ (Aero-Max) GXZ77NXJFQ GXZ77NXXFQ GXZ77NXXTQ GVR34JXXXQ (Aero-Max) GVR34JXXXQ FYH77SXDFQ FYH77SXTDQ FXZ77QXDFQ FXZ77QXDTQ FXZ77PXDXQ FXZ77NXFXQ FXZ34PSDFQ FXZ34PSDTQ FXZ34PNDXQ FVM34TSXXQ FVM34QSXXQ FVM34TNAXQ FVM34RNAXQ FVM34QNAXQ FVM34WNXXQ FVM34TNXXQ FVM34RNXXQ FVM34QNXXQ FTR34QXXXQ FTR34PXXXQ FTR34LXXXQ FTR34JXXXQ FRR90NSXXQ FRR90LSXXQ FRR90HSXXQ FRR90NNXXQ FRR90LNXXQ NQR75LXXXQ NQR75HXXXQ NPR75KXXXQ NPR75HXXXQ NMR85HXXFQ NMR85HXXTQ NMR85EXXXQ NLR85EXXXQ GXZ78NXCFQ (AMAX-A) GVR86KXCXQ (10W 6x2) GVR86KXCXQ (6W 4x2) FXZ78QXBFQ FVM86WXCXQ FVM86TXCXQ FTR86QXCFQ NPR82KXCXQ NPR82HXCXQ NMR82HXCXQ
รถหัวลาก 10 ลอ CNG รถหัวลาก 10 ลอ Diesel รถมิกเซอร 10 ลอ Diesel รถ 10 ลอ Diesel
6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ
360 แรงมา 410 แรงมา 410 แรงมา 410 แรงมา 410 แรงมา 410 แรงมา 460 แรงมา
3,600,000 3,900,000 4,100,000 4,350,000 4,500,000 4,700,000 5,200,000
380 375 375 375
2,900,000 2,850,000 2,900,000 2,825,000
F2000 WP12NG350 F2000 WP12NG380 F2000 WP12NG380 F2000 WP12NG350 F2000 WP 10.336 F2000 WP 10.375 M3000 WP10NG.330 M3000 WP10.330 M3000 WP10.330
รถหัวลาก 10 ลอ (6x4) NGV รถหัวลาก 10 ลอ (6x4) NGV รถหัวลาก 10 ลอ (6x4) NGV (Retarder) รถหัวลาก 12 ลอ (8x4) NGV รถหัวลาก 10 ลอ (6x4) DIESEL รถหัวลาก 10 ลอ (6x4) DIESEL รถหัวลาก 10 ลอ (6x4) NGV รถหัวลาก 10 ลอ (6x4) DIESEL รถโมคอนกร�ต 10 ลอ (6x4) DIESEL
350 380 380 350 336 375 330 330 330
2,725,000 2,825,000 2,945,000 2,925,000 2,425,000 2,525,000 2,775,000 2,475,000 2,670,000
SANY บร�ษัท ไทย ซัน อินเตอร แมชชีน จํากัด โทร. 0-3273-4188-9 Hotline 08-6302-1778
SANY MIXER 6M3 SANY MIXER 6M3 SANY MIXER 3M3
รถโมคอนกร�ต 10 ลอ (6x4) DIESEL (Hino P11C-UH) รถโมคอนกร�ต 10 ลอ (6x4)รุนใหม DIESEL (Hino P11C-UH) รถโมคอนกร�ต 6 ลอ (4x2) DIESEL (Cummins)
325 325 140
2,850,000 2,900,000 1,850,000
3/12/2558 BE 9:29 PM
8
ปกษืหลัง • มีนาคม 2558
BUS&TRUCK MART • BUS&TRUCK 41
BUS&TRUCK Mart
40-41 ������.indd 41 R1_B&T#266_p40-41_iMac5.indd 41
3/13/2558 BE 3:54 PM 3/13/2558 BE 4:52 PM
42 BUS&TRUCK • Q & A
ปกษหลัง • มีนาคม 2558
เสียงจากผู้อ่าน
ถามทาง เบาะศรีไทยดีตอสุขภาพหลัง
ผมมีธุรกิจรถรวม บขส. ที่วิ่งอยู ตางจังหวัด ดวยจํานวนผู โดยสาร เริ่ ม เพิ่ ม มากขึ้ น จึ ง เป น เวลา สมควรที่จะตองเปลี่ยนเบาะนั่งใหมแลว จึงอยากทราบวาควรจะเลือกใชเบาะนั่ง ยี่หอไหนดี ดวยในป 2558 นี้ เปนปที่ทาง รัฐบาลตั้งใหเปนปทองเที่ยววิถี ไทย เพื1อเปนการหนุนใหภาวะ เศรษฐกิจโดยรวมดีขึ้น คนไทยทองเที่ยว ภายในประทศเพิม่ มากขึน้ พรอมทัง้ มีนกั ทองเที่ยวจากตางชาติเดินทางมาเที่ยว เพิ่มมากขึ้น ดวยจํานวนที่หวังวาจะมีนัก ทองเที่ยวมากถึง 28 ลานคน และดวยจํานวนของรถโดยสารที่มี มากกวา 1 ลานคัน ซึง่ เปนสิง่ จําเปนทีน่ กั ทองเที่ยวตองใชเดินทาง ไมวาจะเดิน ทางไปใกลหรือไกล เบาะนัง่ โดยสารถือวา เปนสิ่งจําเปนมาก หากมีสภาพดี นุม นั่ง สบาย ก็จะเปนที่หมายปองของการทอง เที่ยวครั้งหนาวา จะตองใชรถคันนี้ สวน คันใดมีเบาะนั่ง พัง ชํารุด นั่งไมสบาย ก็
จะจดจําไววาจะไมใชรถคันนี้อีกตอไป ทั้งนี้ ตลาดเบาะนั่งรถโดยสาร ถือ ได ว า เป น ตลาดที่ ใ หญ ต อ งมี ก ารใช หมุนเวียนอยูเ สมอ ไมวา จะเปนการติดตัง้ ในรถคันใหม การเปลี่ยนเบาะ เมื1อของ เกาชํารุด หรืออาจจะมีการเพิ่มที่นั่งใหม เปนตัวเสริมเมื1อมีผู โดยสารเพิ่มมากขึ้น ดังนั้นจึงมีเบาะนั่งมากมายหลาย ยีห่ อ ไวเปนตัวเลือก และทีจ่ ะขอแนะนําก็ คือ เบาะนั่งศรีไทยไมวาจะเริ่มตั้งแตการ ใชงานที่ยืนนาน คุณภาพของเบาะนั่งก็ จะตรงกับความตองการของผู โดยสาร พรอมทั้งถือไดวาในปจจุบันนี้ เบาะนั่ง ศรีไทย ถือเปนอันดับแรก ๆ ของเบาะนัง่ รถโดยสาร เพราะเบาะทุกรุน ตางตรงกับ ความตองการของลูกคาเปนอยางมาก พรอมทั้งยังมีเบาะนวดหลังใหเปนทาง เลือกพิเศษ หากลูกคาตองการเมื1อนั่งรถ นาน ๆ นอกจากนี้แลวก็ยังมีสินคาใหกับ รถยนตโตโยตาทุกรุน อีก ทัง้ ทีจ่ าํ หนายใน ประเทศและสงออกไปยังตางประเทศอีก ดวย
คุณพัชริน ฟูวิโรจน จ.อยุธยา
ดิฉันทํางานอยูที่บริษัท ไฮล เทรล เลอร เอเชีย ซึง่ เปนผูต อ ตัวถังรถบรรทุก นํ้ามันทั้งแบบสเตนเลส และอะลูมิเนียม ใหกับลูกคาทั้งที่อยูในประเทศและสง ออกไปยังตางประเทศ โดยบริษัทแมมา จากประเทศสหรัฐอเมริกา ทําใหการผลิต ใชเทคโนโลยีระดับสูง พรอมทั้งมีวิศวกร มาดูแลการผลิตสินคาทีผ่ ลิตเสร็จแลว จึง มีคณ ุ ภาพระดับสูงสมเหตุสมผลกับราคา ที่จําหนาย สวนการทีเ่ ปนสมาชิกของนิตยสาร BUS & TRUCK นัน้ ก็เพื1อทีจ่ ะไดรคู วาม เคลื1อ นไหวของวงการขนส ง และผู ประกอบการรถบรรทุกนํ้ามันวา จะเปน ในรูปแบบใด ตองเตรียมการรองรับไว อยางไรบาง สวนสิ่งที่อยากรูก็คือ วงการ ขนสงจะเติบโตมากนอยแคไหน เมื1อเปด ใชประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC ในวันที่ 31 ธันวาคม 2558
กองบบรรณาธิการ
ต อ งขอขอบคุ ณ เป น อย า งมากที่ ช ว ยเป น กํ า ลั ง ใจให เพราะการเป น สมาชิกของนิตยสาร BUS &TRUCK จะ ชวยเปนกําลังใจในการทํางานเพิ่มมาก ขึ้น และจะแสวงหาการขนสงรูปแบบ ใหม ๆ มานําเสนอเพื1อที่สมาชิกจะไดนํา ไปประยุกตใชในการทํางานจริง ดานวงการขนสงนํ้ามันนั้น ในชวง ที่ราคานํ้ามันดิบของโลกลดลง สงผลให ราคานํ้ามันเชื้อเพลิงสําเร็จรูปก็ลดตาม ลงไปดวย จํานวนการใชจึงเพิ่มมากขึ้น รถบรรทุกนํ้ามันจึงตองเพิ่มตาม ซึ่งมีผู เชี่ยวชาญในวงการนํ้ามัน คาดวาราคา นํ้ามันจะเปนเชนนี้จนถึงสิ้นปนี้ ซึ่งนับวา เปนขาวดี รวมทั้งประเทศเพื1อนบาน ก็ ตองซื้อนํ้ามันเชื้อเพลิงจากไทยเพิ่มมาก ขึ้นดวย ก็ถือวาเปนขาวดีอีกขาวหนึ่ง เหมือนกัน
No. ............./..............
B&T#266_p42-43_iMac5.indd 42
3/12/2558 BE 9:43 PM
8
SPECIAL REPORT • BUS&TRUCK 43
ปกษหลัง • มีนาคม 2558
Special Report
เยาวชนไทยสุดเจง! ควา 3 รางวัลชนะเลิศ
เชลล อีโค-มาราธอน เอเชีย 2015
เมื1อเร็ว ๆ นี้ ทีมขาว BUS & TRUCK ไดรวมเดินทางขามนํ้าขามทะเลไปกับ บริษัท เชลลแหง ประเทศไทย จํากัด เพื1อไปชมการแขงขันเชลลอีโค-มาราธอน เอเชีย 2015 โดยปนี้มีทีมนักเรียนนักศึกษา กวา 127 ทีม จาก 17 ประเทศทั่วภูมิภาคเอเชียแปซิฟก รวมทั้งตะวันออกกลางและออสเตรเลียเขารวม การแขงขัน ณ สนามลูเนตา พารค ใจกลางกรุงมะนิลา ประเทศฟลิปปนส
ประเภทยานยนตตนแบบ • นํ้ามันเบนซิน อันดับ
ชื่อทีม
ประเทศ
สถาบัน
1. ATE.1 ไทย ร.ร.กองทัพบกอุปถัมภ ชางกลขส.ทบ 2. CKD-MIN10 เวียดนาม Ho Chi Minh City University 3. Batavia Generation อินโดนีเซีย UniversitasNegeri Jakarta ประเภทยานยนตตนแบบ • นํ้ามันดีเซล อันดับ
ชื่อทีม
ประเทศ
สถาบัน
1. Clean Diesel ญี่ปุน Hyogo Prefectural Tajima 2. ปญจะ ไทย วิทยาลัยเทคโนโลยีชางฝมือปญจวิทยา 3. Without Limits อาหรับเอมิเรตส Ruwals (RUC) ประเภทยานยนตตนแบบ • นํ้ามันเบนซินทางเลือก อันดับ
ชื่อทีม
ประเทศ
1. Virgin ไทย 2. ลูกเจาแมคลองประปา ไทย 3. Deakin Prototype ออสเตรเลีย ประเภทยานยนตตนแบบ • แบตเตอรี่ ไฟฟา อันดับ
ชื่อทีม
ประเทศ
เชื้อเพลิง เบนซิน เบนซิน เบนซิน เชื้อเพลิง ดีเซล ดีเซล ดีเซล
สถาบัน
เชื้อเพลิง
วิทยาลัยเทคนิคสกลนคร มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย Deakin University
เอทานอล เอทานอล เอทานอล
สถาบัน
เชื้อเพลิง
1. NSTRU Eco-Racing ไทย ราชภัฎนครศรีธรรมราช แบตเตอรี่ 2. Ratanakosin ไทย วิทยาลัยเทคโนโลยีรัตนโกสินทร แบตเตอรี่ 3. Eco Traveller สิงคโปร Institute of Tecthnical Education แบตเตอรี่ ประเภทยานยนต ใชงานไดจริง • นํ้ามันเบนซิน อันดับ
ชื่อทีม
ประเทศ
1. DLSU Eco Car -ICE ฟลิปปนส 2. วิทยาลัยเทคนิคดอนเมือง ไทย 3. Innova ปากีสถาน
B&T#266_p42-43_iMac5.indd 43
สถาบัน
เชื้อเพลิง
De La Salle Unversity วิทยาลัยเทคนิคดอนเมือง Pakistan Institute
เบนซิน เบนซิน เบนซิน
สถิติดีที่สุด กม./ลิตร 1,490.2 568.0 485.4 สถิติดีที่สุด กม./ลิตร 1,245.2 530.7 175.4 สถิติดีที่สุด กม./ลิตร 1,572.0 458.8 281.1 สถิติดีที่สุด กม./Kw/ชม. 450.3 368.7 324.5
ความโดดเดนของการ แขงขันในปนี้ นอกจาก จะมี ป ระเทศที่ เ ข า มา แขงขันหนาใหมเปนป แรกนัน่ คือ ออสเตรเลีย บั ง คลาเทศ โอมาน และซาอุ ดิ อ าระเบี ย ทีมทีช่ นะในปนี้ ไดสราง สถิตใิ หมในการแขงขัน ดวยระยะทางที่ไปไดไกลขึน้ ถึง 5 ทีม โดยใน ปนี้มีการเลือกใชเชื้อเพลิงที่แตกตางกันถึง 7 ประเภทดวยกัน โดยแตละทีมสามารถสงรถประหยัด พลังงานเขารวมการแขงขันได 2 ประเภท ไดแก ประเภท Prototype รถตนแบบใน อนาคต สร า งสรรค โ ดยอาศั ย หลั ก การ พลศาสตรและการใชนาํ้ มันเชือ้ เพลิงอยางมี ประสิทธิภาพ และประเภท Urban Concept การออกแบบยานยนตที่ประหยัดนํ้ามันเชื้อ เพลิ ง ซึ่ ง มี รู ป ลั ก ษณ ค ล า ยกั บ รถยนต ใ น ปจจุบนั รถทัง้ สองประเภทสามารถเลือกเชือ้ เพลิงไดตามตองการ ผลการแขงขันจะวัดวา แตละทีมได แสดงความสามารถอย า งเต็ ม ที่ ใ นการ ออกแบบรถทีป่ ระหยัดนํา้ มันสูงสุดในสภาพ แวดลอมจริง โดยตัดสินกันที่รถของทีมที่วิ่ง ไดระยะทางไกลที่สุดดวยนํ้ามันเพียงหนึ่ง ลิตร หรือเทียบเทาการใชพลังงานไฟฟาหนึง่ กิโลวัตต หรือ ไฮโดรเจนหนึ่งลูกบาศกเมตร และทีมที่ชนะในปนี้ ไดสรางสถิติใหมในการ
แขงขันดวยระยะทางที่ไปไดไกลขึน้ ถึง 5 ทีม สําหรับการแขงขันทีมเยาวชนไทย กวาด 3 รางวัลชนะเลิศ พรอมสรางสถิติ ใหม ไดแก ทีม NSTRU Eco-Racing จาก มหาวิทยาลัยราชภัฎ นครศรีธรรมราช ส า ม า ร ถ ส ร า ง ส ถิ ติ ใ ห ม ป ร ะ เ ภ ท รถยนตตนแบบแหงอนาคต ซึ่งใชเชื้อ เพลิงแบตเตอรี่ ดวยระยะทาง 451 กิโลเมตร/กิโลวัตต-ชั่วโมง ทีม ATE 1 จากโรงเรียนกองทัพบกอุปถัมภชางกล ขส.ทบ. ชนะเลิศประเภทรถตนแบบแหง อนาคต ซึง่ ใชเชือ้ เพลิงเบนซิน ดวยระยะ ทาง 1,490 กิโลเมตร/ลิตร ทีม VIRGIN จากวิทยาลัยเทคนิค สกลนครคว า รางวั ล ชนะเลิ ศ ในป นี้ ประเภทรถตนแบบแหงอนาคต ใชเชื้อ เพลิงเอทานอล สามารถทําสถิติวิ่งไดใน ระยะทางไกลที่สุดในการแขงขัน 1,572 กิโลเมตร/ลิตร ถือเปนสถิติสูงสุดในการ แขงขันของปนี้ และเทียบเทากับระยะ ทางจากกรุงมะนิลาไปยังกรุงโฮจิมินท ซิตี้ สวนอีก 3 ทีมของประเทศไทย ยัง คว า รางวั ล รองชนะเลิ ศ ในรถยนต ประเภทตนแบบแหงอนาคตใชเชือ้ เพลิง ดีเซล ไดแกทีม ปญจะ จากวิทยาลัย เทคโนโลยีชา งฝมอื ปญจวิทยาดวยระยะ ทาง 530.7 กิโลเมตร/ลิตร ทีม ลูกเจา แมคลองประปา จากมหาวิทยาลัยธุรกิจ บัณฑิตย เชื้อเพลิงเอทานอล ดวยระยะ ทาง 458.8 กิโลเมตร/ลิตร ทีมวิทยาลัย เทคโนโลยีรัตนโกสินทร ใชเชื้อเพลิง ประเภทแบตเตอรี่ ไฟฟาดวยระยะทาง 368.7 กิโลเมตรตอกิโลวัตต-ชั่วโมง และ ทีม วิทยาลัยเทคนิคดอนเมือง ไดที่สอง ประเภทรถทีค่ ลายกับรถปจจุบนั จากเชือ้ เพลิงประเภทเบนซิน ดวยสถิติ 76.9 กิโลเมตร/ลิตร
สถิติดีที่สุด กม./ลิตร 126.6 76.9 58.1
3/16/2558 BE 4:04 PM
44 BUS&TRUCK • POWER SAVING
ปกษหลัง • มีนาคม 2558
Power Saving
MITSUBISHI XR-PHEV II ไฮบริด plug-in เพื่อสิ่งแวดลอม มิตซูบิชิ มอเตอรส คอรปอเรชั่น เผยโฉม มิตซูบิชิ XR-PHEV II*1 รถ ตนแบบเอสยูวีขนาดเล็กสไตลครอส โอเวอร มาพรอมกับระบบไฮบริดแบบ plug-in EV (PHEV) เปนครั้งแรกใน โลก ในงานเจนีวา อินเตอรเนชั่นแนล มอเตอรโชว ครั้งที่ 85 ณ ประเทศ สวิตเซอรแลนด โดยจะเริ่มวางขายใน แถบประเทศยุโรปในเดือนมิถุนายนนี้ รถยนต ต น แบบ MITSUBISHI XR-PHEV II เปนรถเอสยูวีขนาดเล็กรุน ที่ ส องของมิ ต ซู บิ ชิ ภ ายหลั ง จากการ แนะนํารถรุน Outlander PHEV ในเดือน มกราคมป 2556 ทีผ่ า นมา สําหรับระบบ PHEV ใหมในรถตนแบบ MITSUBISHI XR-PHEV มีขนาดเล็ก นํ้าหนักเบาและ มีประสิทธิภาพสูง มาพรอมเครื1องยนต แบบวางหน า และระบบขั บ เคลื1อ นล อ หนา ซึ่งเหมาะสมอยางยิ่งสําหรับรถ ครอสโอเวอรที่ขับขี่ในเมือง นอกจากนี้ ยังผลิตกาซคารบอนไดออกไซดตํ่ากวา 40 กรัมตอกิโลเมตร ซึง่ ตํา่ มากเมื1อเทียบ กั บ รถในกลุ ม PHEV ด ว ยกั น โดย MITSUBISHI XR-PHEV II มีพละกําลัง และสมรรถนะที่ยอดเยี่ยม รวมถึงการ ตอบสนองอันฉับไวดวยมอเตอร ไฟฟาที่ ใหพละกําลัง 163 แรงมา ซึ่งสะทอนให เห็นถึงความตัง้ ใจของ มิตซูบชิ ิ มอเตอรส คอรปอเรชัน่ ในการผลิตรถยนตพลังงาน ไฟฟ า โดยเฉพาะเทคโนโลยี เ พื1อ สิ่ ง แวดลอม
MITSUBISHI Concept XR-PHEV II
ตอระหวางสมารทโฟนที่ถายโอนขอมูล และเชื1อมตอกันไดงา ย โดยใชปมุ ควบคุม บนพวงมาลัย และคําสัง่ เสียง สวนระบบ Apple Car Play เพิม่ ความปลอดภัยกวา
ผูขับขี่สามารถเลือกการขับขี่แบบ Full-Electric โดยการเลือกโหมด Battery
Save หรือ Battery Charge ซึ่งนอกเหนือ จากพละกําลังที่เหลือเฟอและสมรรถนะ แบบสปอรตแลว ยังมีหอ งโดยสารทีเ่ งียบ สนิท และการสงกําลังของเครื1องยนตทลี่ ื1น ไหลไร ก ารกระตุ ก ของเกี ย ร ช ว ยเพิ่ ม สุนทรียภาพในการขับขี่ พรอมมีระบบเชื1อมตอสมารทโฟน
Smartphone Link Display Audio ของ มิตซูบิชิที่สามารถเชื1อมตอกับ Android Auto และ Apple Car Play โดยระบบ Android Auto ถูกออกแบบมาโดยคํานึง ถึงความปลอดภัยเปนหลัก เชน การเชื1อม
ในการใช iPhone ในรถ โดยผู ขั บ ขี่ สามารถโทรเขาออก ใชงานแผนที่ ฟง เพลง และอานขอความ โดยการกดปุม หรือใชคําสั่งเสียงผาน Siri ดวยการกด ปุมสั่งการดวยเสียงบนพวงมาลัย
สมรรถนะทีด่ รี อบดานของยางมิชลิน พบ กั บ โปรโมชั่ น พิ เ ศษนี้ ไ ด ที่ ศู น ย บ ริ ก าร รถยนตครบวงจรไทรพลัส และรานผู แทนจําหนายมิชลินทีร่ ว มรายการ ตัง้ แต วันนี้ ถึง 30 เมษายน 2558 หรือจนกวา ของสมนาคุณจะหมด รายละเอียดเพิ่ม เติมที่ www.michelin.co.th เชลล จัดโปรโมชั่นเอาใจนัก เดินทาง เพียงซื้อและเปลี่ยนถายนํ้ามัน เครื1องเชลล เฮลิกส อัลตรา ขนาด 4 ลิตร
หรือ เชลล เฮลิกส อัลตรา ดีเซล ขนาด 6 ลิตร รับฟรีทันที กระเปาเดินทางลอ ลากขนาด 15 นิ้ว มูลคา 1,590 บาท หรือรับกระเปาสะพายขาง มูลคา 495 บาท สํ า หรั บ ผู ที่ ซื้ อ และเปลี่ ย นถ า ย นํ้ามันเครื1องในกลุมเชลล เฮลิกส 5 รุน ซึ่งไดแก เชลล เฮลิกส HX8 ขนาด 4 ลิตร เชลล เฮลิกส HX8 ดีเซล ขนาด 6 ลิตร เชลล เฮลิกส HX7 ขนาด 4 ลิตร เชลล เฮลิกส HX7 ดีเซล ขนาด 6 ลิตร และ เชลล เฮลิกส HX7G ขนาด 4 ลิตร ตั้งแตวันนี้ ถึง 31 พฤษภาคม 2558 หรือจนกวาของจะหมด
*1
XR ยอมาจาก X (crossover) R (Runner) ซึ่งหมายถึงรถยนตครอสโอเวอรที่ มีการออกแบบที่สวยงาม และมีความคลองตัวสูงเมื1อขับขี่ในเมือง
พั กเครื่อง
3เค แบตเตอรี่ เปดตัวสุด ยอดนวัตกรรมแบตเตอรีร่ ถยนตรนุ ใหม “3K Active Hybrid Battery” ระดับ พรีเมี่ยม พรอมทาพิสูจนพลังเหนือ พลัง เพื1อการขับเคลื1อนชีวิตที่ไมสะดุด กับที่สุดแหงเทคโนโลยีเพื1อชีวิตแอค ทีฟ ซึ่งสามารถใชงานกับกลุมรถยนต ทั้งประเภทรถยนตนั่งสวนบุคคลและ รถกระบะ โดย Active Hybrid Technology ถือวาเปนเทคโนโลยีแบตเตอรีท่ ดี่ ี และสมบู ร ณ แ บบที่ สุ ด เพราะมี คุณสมบัตทิ ชี่ ว ยลดการสูญเสียนํา้ ถึง 3 เทาเมื1อเทียบกับแบตเตอรี่แบบ Low
B&T#266_p44-45_iMac5.indd 44
Maintenance โดยใหกําลังไฟสูงกวา ให กําลังสตารทสูง เพิม่ อายุการใชงานทีม่ าก กวา ชารจไฟกลับรวดเร็วกวา ชวยให แบตเตอรีพ่ รอมใชงานตลอดเวลา อีกทัง้ ยังเพิ่มประสิทธิภาพของโครงแผนธาตุ ดวย Silver Duo Calcium นอกจากนี้ตัว แบตเตอรี่ ยั ง ผลิ ต จากวั ส ดุ เ กรด A พรีเมีย่ ม โดยเลือกพลาสติกบริสทุ ธิท์ ที่ น ความร อ นได สู ง พร อ มจั ด เต็ ม ด ว ย แคมเปญยิ่งใหญแหงป “3K Unlimited Power” หวังตอบโจทย ไลฟสไตลกลุม ลูกคาคนรุนใหม มิชลิน จัดโปรโมชั่นตอนรับ สงกรานต เมื1อซือ้ ยางรถยนตนงั่ และยาง รถเอสยูวี 4x4 ขนาด 13-16 นิ้ว ครบ 4 เสน รับของสมนาคุณ เครื1องมือมัลติทูล ขนาดพกพา ใชงานไดอเนกประสงค อาทิ ไฟฉาย LED ที่ตัดเข็มขัดนิรภัย ไขควง ฯลฯ หรือเมื1อซื้อยางขนาด 17 นิ้วขึ้นไป รับฟรี เปมิชลินอเนกประสงค ที่ใหคุณ พร อ มสํ า หรั บ ทุ ก การเดิ น ทางไปกั บ
3/12/2558 BE 9:48 PM
ปกษหลัง • มีนาคม 2558
เกาะติดพาณิชย์น้อย
SMEs TRUCKS • BUS&TRUCK 45
เดวา เฮอรคิวลิส
ตอบโจทยผูประกอบการขนสง ปจจุบันตลาดรถยนตพาณิชยในเมืองไทยมีมากมายหลากหลายคายทยอยออกรุนใหม ๆ มาดึงดูดใจลูกคา มม. จึงสามารถบรรทุกไดมากถึง 1.5 จํานวนมากมายกายกอง แตทกุ รุน ก็สามารถปลอยออกสูต ลาดไดอยางสวยงาม เชนเดียวกับรถยนตพาณิชยแบรนด ตัน ในดานของพละกําลัง “เดวา “เดวา” ที่ปลอย “เฮอรคิวลิส” รถบรรทุกเล็ก 4 ลอ ออกสูตลาดและไดรับความนิยมเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว ภายในเวลาทีท่ าํ ตลาดเพียง 3 ป “เดวา เฮอรควิ ลิส” สามารถลุยตลาด ไดอยางตอบโจทยลูกคาทั้งรายใหญ รายเล็ก และ SMEs จนสามารถสราง ยอดขายไดรวมกวา 2,000 คัน “เดวา เฮอรควิ ลิส” เปนแบรนด
B&T#266_p44-45_iMac5.indd 45
ของ บริษทั ดีเอดี ออโต จํากัด ทีเ่ กิดขึน้ จากแรงบันดาลใจของ คุณวิเชียร ลีนุตพงษ ประธาน ดีเอดี ยนตรกิจ ที่ตอง การใหคนไทยได ใชรถที่เหมาะสมถูกกับ ตลาดเมืองไทย ในราคาสมเหตุสมผล และสอดคลองกับลักษณะของการใชงาน อยางแทจริง โดยการเลื อ กอะไหล ชิ้ น ส ว น อุปกรณตาง ๆ ที่มีคุณภาพสูงทั้งจาก ประเทศยุโรปและญี่ปุนมาประกอบผลิต
เปนตัวรถบรรททุก ยี่หอ “เดวา เฮอรคิว ลิส” ขึ้นมา เพื1อตอบโจทยในเรื1องของ การใชรถยนตบรรทุกในเชิงพาณิชย ซึ่ง อยากใหลกู คาไดใชรถบรรทุกทีม่ คี ณ ุ ภาพ ดี และราคาประหยัด ตั ว เครื1อ งยนต 4Y ที่ ใ ช เ ป น เทคโนโลยี จากประเทศญี่ปุน ซึ่งไดรับ การปรับแตงเพื1อรองรับการติดตั้งระบบ แกส ทั้ง LPG และ NGV ติดตั้งระบบ ควบคุมหัวฉีดของ Bosch หัวฉีด Hitachi ลูกปนลอ SKF ระบบกลไกควบคุมเกียร Inveco ชุดสงกําลัง Aisin และเพลาหลัง Mitsubishi เปนตน ทั้งนี้ “เดวา เฮอรคิวลิส” มีความ โดดเด น ในด า นของการบรรทุ ก ด ว ย กระบะทายแบบกวางพิเศษ ขนาดความ กวาง 1.6 เมตร ความยาว 3.2 เมตร และ ความสูง 3.9 เมตร ขณะที่ มิติของตัว ถังรถ โดยรวม ยาว 5.1 เมตร กวาง 1.76 เมตร และสู ง 2.2 เมตร โครงสราง แชสซีสแข็งแกรง ดวยการขึ้นรูปแบบ บันไดหนาตัดรูปตัว C รางคูยํ้าดวยรีเว็ท ที่แข็งแกรงขนาด 180 มม.x 50 มม.x 4
เฮอรคิวลิส” นั้น บรรจุเครื1องยนต เบนซิน ขนาด 2.2 ลิตร ที่ออกแบบให รองรับระบบติดตั้งแกสทั้ง LPG และ NGV ใหพละกําลังสูงสุด 112 แรงมา ที่ 4,200-4,600 รอบตอนาที แรงบิด สูงสุด 193 นิวตันเมตร ที่ 2,000-2,600 รอบต อ นาที ส ง กํ า ลั ง ด ว ยเกี ย ร ธรรมดา 5 สปด ระบบเบรก หนาดีสก หลั ง ดรั ม พร อ มรองรั บ มาตรฐาน ไอเสียยูโร 4 เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม พวงมาลัยเปนแบบลูกปนหมุน วนพรอมระบบพาวเวอรชวยผอนแรง ทําใหการบังคับควบคุมพวงมาลัยเปน ไปดวยความสบายและแมนยํา ระบบ เบรกเปนแบบ 2 วงจรพรอมหมอลม ชวยผอนแรง พบกับ เดวา เฮอรคิวลิส รถ บรรทุก 4 ลอจอมพลัง สายพันธุใหม ที่ บ รรทุ ก สิ น ค า ได ม าก ประหยั ด พลังงานเชื้อเพลิง และวิ่งไดตลอดทั้ง วันโดยไมติดเวลา ในราคาจําหนาย เพียง 584,000 บาทเทานั้น
3/12/2558 BE 9:48 PM
46 BUS&TRUCK • B&T PRODUCTS
ปกษหลัง • มีนาคม 2558
BUS&TRUCK Products U 1 Lite
MODEL : KP-75B
ขาคันเรง ขาเบรค ขาคลัทช
GPS ประสิทธิภาพสูง มีเซ็นเซอรวดั ระดับ นํ้ามัน เซ็นเซอรตรวจจับแรงกระแทก กรณีรถชน รองรับระบบ Barcode และ RFID สําหรับงานติดตามและจัดสง เนน ประสิทธิภาพ
สมรรถนะการส ง ทางทฤษฎี 75(ml/r) อัตราการหมุน 800(r/min) ความเร็วรอบ สู ง สุ ด 1,800 (r/min) อั ต ราความดั น 7(MPa) ความดันสูงสุด 21(Mpa) นํ้าหนัก ของปม 20(kg)
บริษัทฯ เปนผูผลิตรายเดียวในประเทศไทย ที่จาํ หนายชุด ABC ใหกับคายรถยนต Isuzu นอกจากนั้น ยังไดนําเทคนิคการผลิตชุด ABC ที่ ไดจากการทําสัญญารับความชวย เหลื อ จาก SUT มาพั ฒ นาเพิ่ ม เติ ม จน สามารถผลิตชุด ABC จําหนายใหคายรถ Toyota ทุกรุนแตเพียง ผูเดียวในประเทศไทย
บจก. เกรท คอรเนอร อินเวนท เทค โทร.0-2938-1451
บจก.ซิ่นหงไท กรุป โทร.0-3446-9669
บจก.ยานภัณฑ (มหาชน) โทร.0-2311-7398
กันโคลนหุมลอ
BENDIX Heavy Duty
GPS Tracker รุน TS1
เพียงถอดกันโคลนชื้นเดิมที่ติดมากับรถ แลวติดตั้งกันโคลน Seemok ตัวใหม ซึ่ง ชิ้นใหญกวาตัวเดิม แลวใชตัวล็อค (Clip Lock) ยึดตามจุดที่กําหนด โดยไมตอง เจาะตั ว ถั ง รถ กั น โคลน Seemok ติ ด ตั้ ง ทํ า ความ สะอาดไดงา ยและปลอดสนิม
ผาเบรกเบนดิกซ รุนเฮฟวี่ ดิวตี้ สุด ยอดผาเบรกที่ผลิตขึ้นมาโดยเฉพาะ สําหรับรถปคอัพ และรถตูที่ใชงาน หนัก ไมวา จะเปนการวิง่ ระยะทางไกล ระหวางจังหวัด ดวยความเร็วหรือการ บรรทุกหนัก ซึง่ ผูข บั ขีย่ อ มตองการผา เบรกที่ปลอดภัยที่สุด
จีพีเอสติดตามรถประสิทธิภาพสูง ฟงกชั่น ครบครัน ตัวเครื1องใชชิปเซ็ทคุณภาพสูง ทําใหรับสัญญาณดาวเทียมไดรวดเร็วและ แมนยํา จึงเหมาะสําหรับรถทุกประเภท ทั้ง รถขนาดเล็ก และรถขนาดใหญ
บจก.เสถียรพลาสติค แอนด ไฟเบอร โทร.0-2546-1802
บจก.ไทรพลัส โทร.0-2793-6999
บจก.จีพีเอส ไทย สตาร โทร.08-1565-9843
คาสตรอล เอทีเอฟ DEX II
SP Sport Maxx TT
สลักปกนกบน
ใชสําหรับระบบเกียรอัตโนมัติของ GM กอนป 1993 และพวงมาลัยเพาเวอรของ รถในหลาย ๆ แบบที่ตองการมาตรฐาน Dexron III หรือ Mercon
ยางสมรรถนะสูงระดับ Ultra High Performance ที่ อ อกแบบมาเป น พิ เ ศษเพื1อ รองรั บ สมรรถนะในการ ขับขี่ขณะความเร็วสูง มีการรวบรวม วัสดุชนิดพิเศษและเทคโนโลยีแบบ ใหมเขาดวยกัน สามารถตอบสนอง การใช ง านบนท อ งถนนและความ แมนยําในการขับขี่ไดอยางดีเยี่ยม
Suspension Parts ระบบชิ้นสวนชวงลาง ของรถยนต เปน สวนที่เกี่ยวของกับระบบความปลอดภัย ในระบบคันชักคันสง พวงมาลัยของเครื1องยนต เนื1องจากเปนระบบที่เกี่ยวกับ Safety Parts. จึงมีความจําเปนเปน อยางมากที่ทางบริษัทฯ ตองใหความ สําคัญในการผลิตชิน้ สวนนัน้ ๆ ใหไดตรง ตามมาตรฐานความปลอดภัย
บจก.บีพี - คาสตรอล (ประเทศไทย) โทร.0-2684-3777
บจก.ดันลอปไทร (ไทยแลนด) โทร.0-2744-0199
บริษัท แซมโก จํากัด โทร.0-2848-4638
MTL-01 Syntec F-1
ซันซอยล ซันเทค เอฟ – วัน
เครื่องซักพรม Numatic CT380-2
นํ้ามันเครื1องสูตรสังเคราะหแท 100% ผสมสาร PAO (POLE ALPHA OLEFINS) เหมาะสํ า หรั บ เครื1อ งยนต เ บนซิ น ที่ ตองการสมรรถนะสูง ทนความรอนไดดี และชวยปองกันเครื1องยนต ไดดีเยี่ยมแม ในขณะที่ ผ า นการขั บ ขี่ ท างไกลหลาย ชั่วโมงติดตอกัน ชวยประหยัดนํ้ามัน เชื้ อ เพลิ ง และเหมาะสํ า หรั บ ภู มิ อากาศในประเทศไทย
นํ้ามันเครื1องสังเคราะห 100% ผลิตจาก Polyalpha Olefin (PAO) และ Ester โดย เทคโนโลยี ชั้ น แนวหน า ผสมสารเพิ่ ม คุณภาพชนิดพิเศษ จึงใหการหลอลื1น อยางสมบูรณและยอดเยี่ยมในทุก สภาพอุณหภูมิ มีความคงตัวและทน ความรอนสูง ลดการสึกหรอ มีอายุ การใชงานที่ยาวนาน ชวยประหยัด เชื้อเพลิงและลดการบํารุงรักษา
เ ค รื1อ ง ซั ก เ บ า ะ ซั ก พ ร ม Numatic CT380-2 Extraction commercial vacuum cleaner สําหรับการใชงานหนักตอเนื1อง ตัวถัง StructoFoam ทนทาน พรอมชุดอุปกรณ KIT A42
บจก.โมโตลูบ (ประเทศไทย) โทร.0-2450-0441
บจก.ซันสยาม โทร.0-2719-8662
บจก.แวป ซิสเต็ม โทร.0-2681-8370
ADTRACK
ระบบติดตามและคนหายานพาหนะแบบ REAL TIME และครอบคลุทั้วประเทศ
บจก.ฟอรท แทร็คกิ้ง ซีสเต็ม โทร.0-2615-0808
B&T#266_p46_iMac5.indd 46
THE ECONOMIC ELEGANCE
FB Super Gold 3PLUS
เบาะทีน่ งั่ แบบ 2x2 ปรับเอนนอนดวยระบบ กลไก ที่ พั ก น อ งปรั บ ด ว ยระบบกลไก สามารถหุม ไดดว ยวัสดุ หนังแท/กํามะหยี/่ PVC ที่พักเทา สามารถติดตั้งจอทีวีหลัง ขนาด 7” ได กระเปาตาขาย ทาวแขน 1 ขาง ลายไม/ PU สีดํา ปรับเอนนอน ไดสูงสุด 135 องศา
แบตเตอรี่ รุ น เมนเทนแนนซ ฟ รี สุ ด ยอด เทคโนโลยี เพิม่ ความคุม คา 3 ประการ ไดแก TRIPLE LID หรือระบบฝา 3 ชั้นใหผูบริโภค ใชแบตเตอรี่ ไดอยางปลอดภัย CAE PLUS เพิ่มความคงทนตอการสึกกรอน ของแผน ธาตุ และ QUALITY PLUS เพิม่ ระยะการรับประกันตาม เลขไมลเปน 60,000 กม.
บจก.ดํารงศิลป พารท ซีท เซ็นเตอร โทร.0-3229-3106
บจก.สยามฟูรูกาวาเทรดดิ้ง โทร.0-2615-0111
3/12/2558 BE 9:53 PM
B&T#266_p47_iMac5.pdf
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
1
3/12/2558 BE
9:58 PM
B&T#266_p48_iMac5.pdf
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
1
3/12/2558 BE
10:02 PM