# 1 เ พ� อ ผู ป ร ะ ก อ บ ก า ร ร ถ พ า ณิ ช ย
กาวสูปที่ 12
ฉบับที่ 277
คําถามสังคม
www.BusAndTruckMedia.com
ปกษแรก กันยายน 2558 40 บาท
AEC ดาบสองคมวงการขนสง
เศรษฐกิจโลกตก นํ้ามันยิ่งลด? ดับเคร�องชม
FUSO เปดตัวรถใหม 5 รุน 04 เปรียบเทียบรถเดน
หัวลากญี่ปุน ทางไกล สมรรถนะ ทรงพลัง
เหลือเวลาอีกไมนาน ประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC ทั้ง 10 ประเทศ จะรวมตัวเปนหนึ่งเดียวในวัน ที่ 31 ธันวาคม 2558 วากันวา การไป
มาหาสูกันจะสะดวกสบายยิ่งขึ้น แต ตองยอมรับวา ระบบขนสงยังไมเชื1อม โยงมากเทาที่ควร และมีแนวโนมจะ กลายเปนดาบสองคมหากไมรว มมือกัน
อยางจริงจัง
จัดตั้งสหพันธฯ ขนสงอาเซียน
คุ ณ ยู เจี ย รยื น พงศ ประธาน สหพันธการขนสงแหงประเทศไทย เปด อานตอหนา 38
LOGISTICS NEWS
24
เบสทริน ขายไซโนทรัคเจาเดียว เดมเลอร หวังสงออกฟูโซเพิ่มยอด เล็งสงซันลองใหมรวม B&T’15 มั่นใจรถทุกคันคุณภาพดีที่สุด
DHL ยกระดับขนสงทางบกเอเชีย เชื่อมตอเสนทาง 5 ประเทศ 28 POWER SAVING
ขสมก. พรอมรับรถเมล NGV 50 คันแรก พ.ย.นี้ 44
R1_B&T#277_p1_iMac2.indd 1
เบสทริน กรุป สรางความแตกตางใหวงการขนสง ได เปนผูแทนจําหนายรถบรรทุกไซโนทรัค เพียงเจาเดียว พรอมเล็งนํารถโดยสาร ซันลอง โมเดลใหม รวมงาน BUS & TRUCK ’15 คุณหลิน เขอ นัว ประธานกรรม บริษทั เบสทรนิ กรุป
เดมเลอร เยอรมัน หวังเพิม่ ยอดสงออกฟูโซ หลังไดเพิม่ มาเปน 15 ประเทศแลว เนนคุณภาพเปนหลัก โดยตองศึกษา สภาพขนสงภูมิอากาศและภูมิประเทศของประเทศที่จะสง ออกกอน เพื1อความเหมาะสม หวังได โบนัสปลายป เพราะรถ ใหญในเครือตองขายไดมากกวาปที่แลวแมเศรษฐกิจจะตก
อานตอหนา 39
อานตอหนา 39
8/31/2558 BE 9:43 PM
B&T#277_p2_iMac2.pdf
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
1
8/28/2558 BE
11:50 PM
B&T#277_p3_iMac2.pdf
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
1
8/28/2558 BE
11:46 PM
04 BUS&TRUCK • BUS & TRUCK SHOW
ปกษแรก • กันยายน 2558
ดับเครื่องชม
ฟูโซ เปดตัวรถใหม 5 รุน ครั้งแรกในประเทศไทย
ฟูโซ จัดหนักเปดตัวรถบรรทุกใหม 5 รุน ดันสินคาเพิ่มความแข็งแกรงของแบรนดและเสริมชองวางของสินคา ในตลาดขนสง วางหมากชิงสวนแบงการตลาดใหเพิ่มมากขึ้น โชวรหัสใหม FI , FJ , FZ รถบรรทุกสุดแกรงจะมาเปน ทางเลือกใหมใหลูกคา
บริษัท ฟูโซ ทรัค (ประเทศไทย) จํากัด จัดงานแถลงขาวเปดตัวรถบรรทุก แบรนดฟูโซ พรอมกัน 5 รุน ครั้งแรกใน ประเทศไทยถือวาเปนประวัติศาสตร ใน การเดินเกมรุกแบบเต็มตัวประกาศความ พรอมทุกดานใหลูกคามั่นใจ โดยการเปด ตัวในครั้งนี้กับรถบรรทุก 3 ซีรี่ส รวม 5 รุ น ในคราวเดี ย วกั น ถื อ เป น การเป า นกหวีดเริม่ การแขงขันในตลาดรถบรรทุก ในประเทศไทยชวงตลาดซบเซาใหกลับมา คึกคักอีกครัง้ ฟูโซกบั การเดินเกมในครัง้ นี้ ถือเปนแผนกระตุนสวนแบงการตลาดให สูงขึ้นโดยคาดวาปนี้ 7% แตที่มาแรงเกิน คาดในสวนเซ็กเมนตรถโมผสมคอนกรีต ปนี้ฟาดไปแลว 20% ซึ่งโตขึ้นอยางมาก แตคาดวาภายในปนี้ชวงสุดทายของครึ่ง หลังจะขยับตัวเปน 25% คงไมยากจนเกิน ไป รถบรรทุก 3 ซีรี่ย 5 รุน รหัส FI, FJ, FZ ถื อ เป น การนํ า เอาสุ ด ยอด นวัตกรรมและเทคโนโลยีใหมลาสุดฝงไว ในรถทุกรุน นําเขาทั้งคัน (CBU) จากโรง งานเดมเลอร ประเทศอินเดีย เพื1อเติม เต็มในเซ็กเมนตที่ฟูโซไมเคยทําตลาดใน ประเทศไทยมากอน รหั ส FI จะประกอบไปด ว ย FI1217C เปนรถบรรทุกดัมพ 6 ลอ เหมาะ กับงานบรรทุกหิน ดิน ทราย สําหรับผู ประกอบการรับเหมากอสราง มาพรอม
B&T#277_p4-5_iMac2.indd 4
เครื1องยนตดีเซล 4 จังหวะ กําลังสูงสุด 170 แรงมา 125 กิโลวัตต ที่ 2,500 รอบตอนาที แรงบิดสูงสุด 520 นิวตัน เมตร ที่ 1,500 รอบตอนาที นํ้าหนักบรรทุกรวม 13,000 กิโลกรัม FI1217R รถบรรทุกขนาดกลาง 6 ลอ เหมาะกับการตอตูวิ่งขนสงสินคาประเภทตู แหงและเย็น เครื1องยนตดีเซล 4 จังหวะ กําลังสูงสุด 170 แรงมา 125 กิโลวัตต ที่ 2,500 รอบตอนาที แรงบิดสูงสุด 520 นิวตัน เมตร ที่ 1,500 รอบตอนาที นํ้าหนัก บรรทุกรวม 13,000 กิโลกรัม รหัส FJ ประกอบไปดวย FJ1523C รถบรรทุกโมปนู 4 คิว ขนาด 6 ลอ มาพรอม เครื1องยนตรุน 6 สูบ 4 จังหวะ กําลังสูงสุด 230 แรงงมา 170 กิโลวัตต ที่ 2,200 รอบ ตอนาที แรงบิดสูงสุด 810 นิวตันเมตร ที่ 1,200-1,600 รอบตอนาที แตสงิ่ ทีห่ นาสนใจ อีกอยางคือโมปนู Schwing Setter ทางฟูโซ เลือกใช โมยี่หอเดียวกันกับรุนขนาด 6 คิว FJ2528R รถบรรทุก 10 ลอ ความยาว 12 เมตร 280 แรงมา เหมาะกับการตอตู สินคาวิ่งระยะทางไกล มาพรอมเครื1องยนต ดีเซล 6 สูบ 4 จังหวะ 280 แรงมา 205 กิโล วัตต ที่ 2,200 รอบตอนาที แรงบิดสูงสุด 1,100 รอบตอนาที ที่ 1,200-1,600 รอบตอ นาที โดยรุนนี้ทางฟูโซวางไว ใหเปนจรวด ทางเรียบดานการขนสง รหัส FZ จะมีรุนเดียวคือ FZ4928T
รุน นีถ้ กู กลาวถึงมากทีส่ ดุ และเปนไฮไลทงาน เปดตัว โดยเปนรถบรรทุกเมอรเซเดส-เบนซ รุน AXOR ทีฟ่ โู ซมาเปลีย่ นกระจังหนาเพียง อยางเดียวเทานั้นแตศักยภาพยังคงเดิม มา พรอมเครื1องยนต ขนาด 6 สูบ 4 จังหวะ กําลังสูงสุด 280 แรงมา 205 กิโลวัตต ที่ 2,200 รอบตอนาที แรงบิดสูงงสุด 1,100 นิว ตันเมตร ที่ 1,200-1,600 รอบนาที ระบบสง กําลัง 9 เกียรเดินหนา เกียรทดพิเศษ และ เกียร 1-8 แบบซินโครเมซ นําหนักบรรทุก รวม 50,500 กิโลกรัม โดยรุนนี้การันตีความ แข็งแกรงจากฟูโซอีกดวย ป จ จุ บั น ฟู โ ซ ท รั ค ประเทศไทยมี ร ถ
ทั้งหมด 15 รุน จึงมีการเตรียมนําเขา ผลิตภัณฑใหมเพิม่ ขึน้ อีก เพื1อเติมเต็มเซ็ก เม น ต ที่ ฟู โ ซ ยั ง ไม เ คยทํ า ตลาดมาก อ น ภายในป 59 จะมีการนําเขาเพิม่ อีก 17 รุน ใหครบ 32 รุน สวนทีเ่ หลือจะทยอยนําเขา ใหครบภายในป 59
8/28/2558 BE 11:55 PM
B&T#277_p4-5_iMac2.indd 5
8/28/2558 BE 11:55 PM
06 BUS&TRUCK • SPECIAL PURPOSE VEHICLE
ปกษแรก • กันยายน 2558
รถเพื่ อกิจการพิ เศษ
รถบัสสะเทินนํ้าสะเทินบก
Amphibious
ชมรถบัสทองเทีย ่ วสุดแหวกแนวสามารถวิง ่ ไดทง ั้ บนบกและในนํา้ มอบความสะดวกสบายพรอมประสบการณ รูปแบบใหมใหกบ ั ผูโ ดยสาร สามารถนัง ่ ชมวิวทิวทัศนบนบกและบนผิวนํา้ ไดในคราวเดียวกัน ตัวรถผลิตขึน ้ จากวัสดุ มีคุณภาพพรอมใสระบบชวยเหลือตาง ๆ ไวอยางครบครัน จึงไมตองกังวลเรื่องความปลอดภัยในขณะเดินทาง
Amphibious Touring bus หรือรถบัสโดยสารทองเทีย่ วสะเทินนํา้ สะเทินบก เปนผลงานจาก CAMI (Cool Amphibious Manufacturers International) ซึ่งเปนบริษัทผูผลิต ยานยนตสะเทินนํ้าสะเทินบกประเภท ตาง ๆ แหงเกาะอังกฤษ อยางเชน รถ ทีใ่ ชงานหนวยกูภ ยั ทางนํา้ ทีส่ ามารถใช งานไดทั้งทางนํ้าและบนบก รถยนต สวนบุคคลก็เชนกันก็สามารถใชงานได เหมือนกัน สําหรับรถประเภทนีใ้ นโลก ตองบอกวามีผทู ผี่ ลิตรถประเภทนีน้ อ ย มาก แตสําหรับที่นี่ตองบอกวาคืองาน ถนัดเลยก็วาได รถบั ส คั น นี้ ส ามารถบรรจุ ผู โดยสารไดมากถึง 50 คน สรางขึน้ ภาย ใต แ นวคิ ด ยานพาหนะเพื1อ การท อ ง เที่ ย วรู ป แบบใหม เพื1อ ให ม อบ ประสบการณ สุ ด แหวกแนวให กั บ ผู โดยสาร สามารถชมวิวทิวทัศนบนบก และในนํา้ ไดอยางครบครัน ตัวรถไดถกู ออกแบบมาเพื1อ สร า งความสะดวก สบายกั บ นั ก ท อ งเที่ ย ว บนความ ปลอดภั ย มี ค วามคล อ งตั ว ในการ เคลื1อนที่ ไมวาในขณะวิ่งบนทองถนน
B&T#277_p6_iMac2.indd 6
หรือแลนบนผิวนํ้า รถบัสสะเทินนํา้ สะเทินบก Amphibiousใชเครื1องยนตเจ็ทเปนกําลังขับ เคลื1อนในขณะอยูบ นผิวนํา้ ซึง่ ใหความเร็ว มากถึง 8 น็อต และใชเครื1องยนตดีเซล ขับเคลื1อน 4 ลอ เปนกําลังขับเคลื1อนขณะ
อยู บ นบก ตั ว รถสร า งจากอลู มิ เ นี ย ม คุณภาพดีมีนํ้าหนักเบาและมีความแข็ง แรงสูงเนื1องจากตองสามารถใชงานในนํา้ ไดถามีน้ําหนักตัวรถที่หนักเกินไปอาจจะ ทําใหระบบขับเคลือ1 นนทํางานได ไมเต็ม ที่ นอกจากนีท้ างวิศวกรผูอ อกแบบเจารถ
บัสคันนีย้ งั มีโหมดขับเคลื1อนดวยกําลัง ไฟฟาเพื1อลดมลภาวะเปนพิษตอสิ่ง แวดลอมแตยังคงไวซึ่งประสิทธิภาพ ในการขับเคลื1อนอยางเต็มรูปแบบ นอกจากนี้ ร ถบั ส สะเทิ น นํ้ า สะเทินบก Amphibious ยังมีความ ปลอดภัยสูง เนื1องจากมีอุปกรณชวย เหลือตาง ๆ ไวอยางครบครัน เชน เสือ้ ชูชพี เข็มขัดนิรภัย กระจกนิรภัย ระบบ ดับเพลิงที่พรอมทํางานทันทีในขณะ เกิ ด เหตุ เ พลิ ง ไหม รวมถึ ง ระบบ เซ็นเซอรท่ีพรอมจะใหขอมูลสถานะ การทํางานของรถผานระบบเสียงและ จอภาพ และตรวจสอบไมใหเกิดปญหา ในขณะดํ า เนิ น งาน เพื1อ ให ค วาม ปลอดภัยกับผู โดยสารในขณะเดินทาง สําหรับบัสคันนี้ ถานําไปใช ใน กิจการนําเที่ยวนาจะเหมาะสมมาก อยางเชนการขับพานักทองเทีย่ วชมใน อุทยานก็สามารถที่จะทําได หรือการ ขับชมทะเลสาบชมนกชมไมก็ดีไมใช น อ ยในการเลื อ กใช ถ า ใช ใ นช ว งที่ ประสบอุ ท กภั ย ก็ เ ป น เรื1อ งที่ ดี อ ย า ง มากเนื1องจากสามารถขนสงผู โดยสาร ไดเปนจํานวนมาก สําหรับประเทศไทย ถามีรถประเภทนี้เอามาใชก็นาจะดี เพราะมีอทุ กภัยเกิดขึน้ บอยครัง้ ซึง่ จะ นําไปใชเปนรถกูภัยแจกของยังชีพใน สถานที่รถธรรมดาเขาไมถึงนับเปน ขอดีอยางในการใช ใหเปนประโยชน อยางมาก
8/29/2558 BE 12:00 AM
R1_B&T#277_p7_iMac2.pdf
1
8/31/2558 BE
9:33 PM
08 BUS&TRUCK • BUSINESS CATALYST
ปกษแรก • กันยายน 2558
คันเร่งธุรกิจ
ขับรถใหญได 4 ชม.
ด ว ยทางกรมการขนส ง ทางบก กระทรวงคมนาคม มองเห็ น ว า ตลาดรถ บรรทุกเปนตัวทําใหเกิดอุบัติเหตุบนทอง ถนนเปนอยางมาก กอความเดือดรอนให เพื1อนรวมทางบนทองถนนและประชาชนที่ มีบานอยูริมถนน จึงไดออกกฎใหผทู ขี่ บั รถใหญทกุ คนจะ สามารถขับรถใหญไดไมเกิน 4 ชัว่ โมง เพื1อจะ ได ไมออนเพลียจนเกินไปเกิดอาการงวงขณะ ขับรถได ซึ่งก็ไดรับผลตอบสนองทั้ง 2 ดาน คือ เพื1อนรวมทางบนทองถนนเห็นดวย รวมทั้ง ชาวบานทีม่ ที พี่ กั อาศัยริมถนน เพราะจะไดไม เกิดความเสียหายหรือเสียทรัพยสินในการ ซอมแซม แตในสวนของผูวาจางขนสงจะสง สิ น ค า ให กั บ จุ ด หมายปลายทางได ช า ลง เนื1องจากการขนสงมีปญ หาไมสามารถทําทุก อยางไดอยางเดิมเพราะมีกฎหมายมาควบคุม ดูแล สวนผูประกอบการขนสงก็ตองมีการ ลงทุนมากขึ้น เพราะตองเพิ่มจํานวนคนขับ อีกคน ใหเพียงพอตองานที่รับขนสงสินคามา ดังนั้น จึงตองลงทุนเพิ่มอีกเดือนละ เกือบ 2 หมื1นบาท เพื1อจางคนขับใหมอีก 1 คน หากตองใชรถประมาณ 10 คัน ก็ตองจาง คนขับใหมอีก 10 คน รวมคาจางที่เพิ่มขึ้นก็ ประมาณเดือนละ 2 แสนบาท โดยที่ไมไดผล ตอบสนองอะไรใหกลับคืนมาเลย ในเมื1อกลุม ขนสงมีแตกฎมีแตกรอบเขามาครอบไว คราว นี้ผูประกอบการขนสงก็ตองหาทางแก ไขกัน อี ก มาก เพื1อ ความอยู ร อด เข า สู โ หมด “ตนเปนที่พึ่งแหงตน” เชนเคย!!! บรรณาธิการ อาวุโส นิตยสาร BUS & TRUCK คณะผูจัดทําฝายบริหาร บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด 200/7-14 ชั้น 7 อาคารเออีเฮาส ซ.รามคําแหง 4 แขวง/เขต สวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250 โทรศัพท (66) 2717-2477 โทรสาร (66) 2318-4689, (66) 2717-2469 คณะที่ปรึกษา ดร.ปราจิน เอี่ยมลําเนา, ชยาวุธ จิรธันท, ยู เจียรยืนยง พงศ, บุนเอี้ยน ศรีแสนสุชาติ, วรพจน แสงทวีสิน, เถลิง พลวรรณาภา, ชูชาติ สวางสําลี, ดร.วสุเชษฐ โสภณเสถียร, คุณวรวิทย เจริญวัฒนพันธ, คุณสมชาย ทองคําคูณ ทีมงานฝายบริหาร กรรมการผูจัดการ คุณชาตรี มรรคา รองกรรมการผูจัดการ คุณศุภแมน มรรคา รองกรรมการผูจัดการ คุณศุภวาร มรรคา Publishing Director คุณปยะนุช มีเมือง ฝายขายโฆษณา Sales Director คุณศุภแมน มรรคา supaman@ttfintl.com แผนกโฆษณา
เลขาแผนกโฆษณา ฝายกองบรรณาธิการ บรรณาธิการอาวุโส หัวหนากองบรรณาธิการ ผูชวยหัวหนากองบรรณาธิการ กองบรรณาธิการ
สุวพิชญ อัจนาศรัณย นิภาพร ทุมสอน ณัฑฎดนัย ฐิติระอานนท สุธารัตน จันทรนคร บุตรตรี สงางาม
เสกสรรค ไชยเผือก พฤกษ ดานจิตรตรง ธัญพร ขันธสิทธิ์ จักรพรรดิ์ โสภา วีรศักดิ์ ประสพบุญ ที่ปรึกษากองบรรณาธิการ อรุณ เหลาวัฒนกุล สมาชิก วิวรมาศ แกวศิริ เว็บไซต BusAndTruckMedia.com การเงิน แสงอรุณ มงคล ศิลปกรรม ธีระ พุมขํา BIP GROUP พิมพ กรังดปรีซ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด มหาชน จัดจําหนาย เวิลดออฟดิสทริบิวชั่น โทร. 0-2744-6888 ติดตอฝายขายโฆษณา โทรศัพท (66) 2717-2477 ติดตอฝายสมาชิก โทรศัพท (66) 2717-2477 ติดตอฝายกองบรรณาธิการ โทรศัพท (66) 2717-2477
R1_B&T#277_p8-9_iMac2.indd 8
ไอวีโก ไดรับการยอมรับจากลีสซิ่ง เพิ่มทางเลือกใหลูกคาตั้งแต 0-10%
คายไอวีโก แสดงถึงคุณภาพและความเชือ ่ ถือบรรดาลีสซิง ่ ตาง ๆ จัดโปรโมชัน ่ พิเศษใหลก ู คาดาวนตง ั้ แต 0-10% มั่นใจปนี้ตองขายไดอยางนอย 400 คัน แมเศรษฐกิจจะตกเพราะลูกคารายใหญซื้อรถใหญถึง 200 คัน
คุณสุขสมเกียรติ เสือกลิ่นศักดิ์ กรรมการผูจัดการ บริษัท เอสเอสเค กรุป เซลสแอนดเซอรวิส จํากัด ผูแทน จําหนายรถใหญ “ไอวีโก” ประเทศอิตาลี เปดเผยวา ถึงแมวาทางบริษัทจะนํารถ ใหญไอวีโกเขามาบุกตลาดในเมืองไทยได เพียง 1 ปเศษ แตดว ยคุณภาพทัง้ ของตัว รถใหญและการบริการหลังการขายทําให บรรดาบริษทั ไฟแนนซตา ง ๆ เริม่ ใหความ เชื1อ มั่ น ในตั ว ยี่ ห อ ไอวี โ ก ซึ่ ง บริ ษั ท ไฟแนนซจะพิจารณาจากตัวรถใหญกอน รองลงมาคอยพิจารณาสวนกลุมลูกคา สํ า หรั บ การทํ า ตลาดเริ่ ม แรกนั้ น ถือวาทําการจําหนายใหลกู คานัน้ ยากมาก แทบทุกบริษัทไฟแนนซตองพิจารณาผู ซือ้ อยางละเอียดกอน หลังจากนัน้ จึงคอย มาพิจารณาที่ตัวยี่หอรถวาจะนํามาขาย ตอไดหรือไมหากลูกคามีปญหาทางการ เงิน แตในปจจุบนั นีท้ กุ อยางไดเปลีย่ นไป มีบริษัทไฟแนนซตาง ๆ ตองการที่จะ ปลอยสินเชือ1 ใหกับรถใหญไอวีโกมากยิ่ง ขึ้น มีโปรโมชั่นตาง ๆ ไมวาจะเปนการ ดาวน 0%, 5% และ 10% แลวแตตาม ที่ลูกคาตองการ ซึ่งชวยทําใหขายไดเพิ่ม มากขึ้น “การตั้งเปาการขายตั้งแตป 2558 ทางบริษทั ไดวางไววา จะจําหนายได 800 คันในปนี้ แตเมื1อเศรษฐกิจแยลงไมเปน ไปตามทีค่ าดไว จึงทําใหตอ งมาพิจารณา เปาหมายกันใหมวาจะสามารถจําหนาย รถใหญไดเทาไร ตองทําการศึกษาและ วิ จั ย ตลาดการขนส ง ใหม ว า มี ค วาม เคลื1อนไหวอยางไร จึงไดขอสรุปออกมา วาจะตองทําการจําหนายให ได 400 คัน ซึ่ ง มั่ น ใจว า ต อ งทํ า ได ถึ ง เป า แน น อน เพราะภายใน 6 เดือนแรกจําหนายได มากกวา 200 คันแลว รวมถึงยังไดลูกคา รายใหญที่ทําการจองไว ในครึ่งปหลังอีก จํานวน 200 คัน” อยางไรก็ตาม ปจจุบันนี้ทางบริษัท ไดจาํ หนายรถใหญอยู 3 รุน ซึง่ เปนรถนํา เขาทั้งหมด เริ่มจากรถตู 3,000 ซีซี. รถ หัวลากสิบลอ 380 แรงมา และรถหัวลาก ทีใ่ ชงานในเหมือง 430 แรงมา ซึง่ จุดเดน อยูที่ราคาจําหนายที่สมเหตุสมผลแถมมี โปรโมชั่ น พิ เ ศษให อี ก มากมาย ทํ า ให ตลอด 3 ป ของการรับประกัน ลูกคาแทบ จะไมตองลงทุนซอมแซมเลย สวนแผนการทีว่ างไววา จะมีการตัง้ โรงงานประกอบที่วังนอย จ.อยุธยา บน เนื้อที่กวา 50 ไร ก็ยังมีการกอสรางตาม แผนเดิ ม แต จ ะเริ่ ม ทํ า การประกอบ
ประมาณตนป 2559 เพราะตองรอให ตลาดรถใหญฟนกลับคืนมากอน ตามที่
รั ฐ บาลได บ อกไว ก อ นหน า นี้ แ ล ว นั่นเอง
ไฮล เทรเลอร แชมปแทงคนํ้ามัน คืนทุนเร็ว ขายตอไดราคาดี
ไฮล เทรลเลอร เอเชี ย ประกาศตั ว เป น เจ า ตลาดแทงค นํ้ า มั น อลูมิเนียม เพราะมีอายุการใชงานนานแถมนํ้ามันเชื้อเพลิงมีคุณภาพ เหมือนตนทาง มั่นใจสามารถขายตอไดเทาราคาตนทุน เชื่อตลาด AEC ขยายตลาดแทงคนํ้ามันเติบโตได
คุณไวพจน แกวขํา ผูจัดการ ทั่วไป บริษัท ไฮล เทรลเลอร เอเชีย จํากัด เปดเผยวา ถึงแมเศรษฐกิจในป นี้จะตกตํ่า แตยอดการผลิตของบริษัท ก็ยงั อยูใ นตลาดแทงคนาํ้ มันอลูมเิ นียม มากถึง 85% สวนตลาดแทงคนํ้ามัน ทัง้ หมดมีสว นแบงการตลาดอยูท ี่ 60% โดยยอดจําหนายของบริษัทนั้น แบ ง ได อ อกเป น 2 ประเภท คื อ จําหนายภายในประเทศและสงออกไป จําหนายตางประเทศ ซึ่งจะประกอบ ตามมาตรฐานที่ ก ฎหมายในแต ล ะ ประเทศนั้นกําหนดไว โดยลูกคาทั้งใน และตางประเทศจะนํารายละเอียดของ แทงคนาํ้ มันทีต่ อ งการประกอบมาใหดู เปนตัวอยางกอนทุกครั้ง “ทางบริ ษั ท ได ม าตั้ ง โรงงาน ประกอบอยูท เี่ มืองไทยปนเี้ ขาสูป ท ี่ 20 แลว เริม่ แรกทางบริษทั ทีส่ หรัฐอเมริกา ไดรวมทุนกับทางซีพีเพื1อเปดโรงงาน แตเมื1อเกิดวิกฤตทางการเงินขึ้นทาง ซีพกี ็ไดถอนตัวไป ทําใหทางบริษทั ตอง ทําการตลาดอยางเต็มที่ เพื1อขยาย ตลาดใหกวางมากขึ้นทั้งในและนอก
ประเทศ และก็ประสบผลสําเร็จเพราะ มีกลุมลูกคาขยายตัวเพิ่มมากขึ้นเปน ประจําทุกป” อยา งไรก็ดี แมว า จํานวนการ ประกอบแทงคนํ้ามันอลูมิเนียมจะลด นอยลงไปเปนอยางมากเมื1อเปรียบ เทียบกับปทผี่ า นมา แตทางบริษทั ก็ยงั คงรักษาพนักงานใหยงั คงทํางานตอไป โดยมีการโยกยายพนักงานในตําแหนง ทีม่ งี านนอยลง เพื1อไปชวยทําในแผนก ที่ยังพอมีงานมากอยู รวมถึงทําการ อบรมพนักงานใหมคี วามรูเ พิม่ มากขึน้ เพราะเมื1อเศรษฐกิจกลับฟน คืนมาก็จะ มีงานประกอบแทงคนาํ้ มันจํานวนมาก ขึ้น ก็สามารถทํางานโดยใชตนทุนที่ นอยลง แตเวลาการประกอบรวดเร็ว มากขึ้น และในป 2559 จะเปดประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC อยางเต็ม ตัว กลุมลูกคาจากประเทศตาง ๆ ก็จะ มาสัง่ แทงคนาํ้ มันอลูมเิ นียมจากบริษทั เพิ่มมากขึ้น เพราะความตองการใน การใชนํ้ามันเชื้อเพลิงจะเพิ่มขึ้นตาม เศรษฐกิจดวย
8/31/2558 BE 9:29 PM
BUSINESS CATALYST • BUS&TRUCK 09
ปกษแรก • กันยายน 2558
คันเร่งธุรกิจ
รถใหมฟูโซ ดันยอดพุง RCK ดันยอดขายคงที่ ‘ธาริณีย’ ขอเปนดีลเลอรถาวร ไดลูกคาเสริมประกอบตัวถังใหม
ธาริณย ี อิมพอรต คาร ประกาศขอเปนดีลเลอร คายฟูโซตลอดไป เพราะ ลูกคาในสุราษฎรธานีเชือ ่ มัน ่ ในคุณภาพและบริการ เผยรถรุน ใหมทม ี่ ค ี ณ ุ ภาพ สูงประหยัดเชื้อเพลิงและราคาตํ่าสงผลดีเพียงวันเปดตัวไดยอดขายมากถึง 17 คัน มั่นใจปนี้ทํายอดถึง 60 คันแน
คุ ณ ธรรมนู ญ คงดี กรรมการ ผูจัดการ บริษัท ธาริณีย อิมพอรต คาร จํ า กั ด ตั ว แทนจํ า หน า ยรถใหญ ฟู โ ซ สุราษฎรธานี เปดเผยวา เมื1อชวงกลาง เดือนสิงหาคมทีผ่ า นมา ทางบริษทั แม คือ บริษัทฟูโซ ทรัค (ประเทศไทย) จํากัด ได นํารถรุนใหม จํานวน 5 รุน มาโรดโชวที่ บริษัท ผลปรากฏวามียอดขายที่เกินคาด ไดมากถึง 17 คัน พรอมทั้งมีกลุมเปา หมาย ได เ ข า มาศึ ก ษาข อ มู ล และราย ละเอียดตาง ๆ มากถึง 300 รายทีเดียว ทั้ ง นี้ เนื1อ งมาจากรถรุ น ใหม ทั้ ง หมดเป น รถที่ ผ ลิ ต มาจากโรงงาน เดมเลอร ประเทศอินเดีย ซึ่งมาตรฐาน เทียบเทากับรถใหญเมอรเซเดส-เบนซทกุ ประการ สามารถประหยัดเชื้อเพลิงได เปนอยางมาก แถมยังมีราคาจําหนายที่ ตํา่ กวารถใหญทอี่ ยูใ นระดับเดียวกัน และ ยังประหยัดนํา้ มันเชือ้ เพลิงไดมากกวา มี ราคาจําหนายราคาขายตอที่สูงอีกดวย “แมวาจะเปนดีลเลอรมาไดเพียง แค 1 ปกวา ๆ แตก็สามารถทํายอดขาย ในปแรกไดถึง 40 คัน สวนในปน้ีเมื1อมี การเปดตัวรถรุนใหมคาดวาจะขายไดถึง
60 คัน ถึงแมวาจะอยูในชวงที่เศรษฐกิจ ตกตํา่ ก็ตาม นอกจากการขายแลวก็ไดให ความสําคัญตอการบริการหลังการขาย อีกดวย มีชองซอมอยู 6 ชอง มีอะไหลที่ เตรียมพรอมใชงาน 24 ชั่วโมง รวมทั้ง ยั ง มี ร ถโมบายเซอร วิ ส ให บ ริ ก ารนอก สถานที่ดวย จึงสรางความมั่นใจใหแก ลูกคาเปนอยางมาก” อย า งไรก็ ต าม ก อ นที่ จ ะมาเป น ดีลเลอรของคายฟูโซ มีรถใหญฟโู ซทงั้ ที่ จําหนายจากบริษัทเดิมหรือตางดีลเลอร ในบริ ษั ท อื1น เมื1อ มี ป ญ หาต อ งเข า รั บ บริ ก ารซ อ มบํ า รุ ง ทางบริ ษั ท ก็ จ ะให บริการเหมือนกับเปนลูกคาของตัวเอง เพื1อที่จะทําใหผู ใชรถใหญฟูโซทุกคันมี ความมั่นใจในคุณภาพของยี่หอฟูโซเพิ่ม มากขึ้น “สวนที่สําคัญก็คือ ทางบริษัทขอ ยื น ยั น ว า จะเป น ดี ล เลอร ข องค า ยฟู โ ซ ตลอดไป เพราะไดรับการสนับสนุนจาก ผูบริหารบริษัทแมเปนอยางดี สงผลให ลูกคาของบริษทั ไดรบั การบริการทีด่ ี รูส กึ ว า ได ล งทุ น ถู ก ต อ งแล ว ในการเป น ดีลเลอรรถใหญฟูโซ”
อู อารซเี ค รุง เจริญ สามารถรักษามาตรฐานของรายไดไวคงทีป ่ ระกอบ ตัวถังรถบรรทุกไดเดือนละประมาณ 120 คัน พรอมมีกลุม ลูกคาทีใ่ หประกอบ ใชแทนของเดิมชวยเสริม เผยการใชวส ั ดุแข็งแรงและนํา้ หนักเบาชวยเพิม ่ ความ ตองการของลูกคาไดมาก สวนตัวถังบรรทุกนํ้ามันแบบอะลูมิเนียมสามารถ ทํายอดขายเจาะกลุมเล็กได เพราะใชของดีราคาคุม
คุณฐานิศรคณ ุ ฐานิศร โทณะพงษ ผูจ ดั การทัว่ ไปฝายการตลาด บริษทั อาร ซีเค รุงเจริญ จํากัด เปดเผยวา ถึงแม ภาวะเศรษฐกิจจะยังไมเติบโตมากนักอีก ทั้งโครงการกอสรางตาง ๆ ของรัฐบาลก็ ยังไมไดรับการอนุมัติอีกหลายโครงการ แตกลุมลูกคาก็ยังมาวาจางใหบริษัทตอ ตัวถังรถบรรทุกโดยเฉลี่ยอยูที่เดือนละ 120 คัน ประมาณครึง่ ปไดแลว เนื1องจาก ทางบริษัทไดทําการเปลี่ยนวัตถุดิบของ ตัวถังใหมใหเปนเหล็กชนิดพิเศษมีความ แข็ ง แรงทนทานแต นํ้ า หนั ก เบาทํ า ให สามารถบรรทุกสินคาไดมากยิ่งขึ้น ชวย ทําใหคุมทุนเร็วกวาเดิม “แมวาเศรษฐกิจโดยรวมในปนี้จะ ไม ดี นั ก เต ท างบริ ษั ท ก็ ยั ง มี ง านเข า มา เรื1อย ๆ ไมขาดชวง แตหากในปหนา
โครงการตาง ๆ จากทางรัฐบาลดําเนิน การไดอยางเปนรูปธรรม ทางบริษัทก็ สามารถตอตัวถังไดอีกกวาเทาตัว” ทางด า นตั ว ถั ง รถบรรทุ ก นํ้ า มั น แบบอะลูมเิ นียม ทีเ่ ปดตัวเมื1อหลายเดือน กอน ปจจุบันสามารถจําหนายไดแลว มากกวา 13 คัน แมวา จะเปนจํานวนทีย่ งั ไมมาก ทั้งนี้เนื1องจากกลุมลูกคาตางได ทํา การเปลี่ยนตัว ถังนํ้ามันไปมากแลว รวมถึงในบางสวนได ใชนานมากขึ้นเพื1อ เปนการประหยัดตนทุน ทําใหทางบริษัท ตองเปลี่ยนการทําตลาดใหมมาเนนที่ เจาของปม นํา้ มันแทนจากเดิมที่ไดวา จาง ก็ หั น มาเปลี่ ย นเป น เจ า ของรถบรรทุ ก นํ้ามันแทน นอกจากจะทําธุรกิจของตัว เองแล ว ยั ง รั บ จ า งขนให กั บ ป ม นํ้ า มั น อื1น ๆ ไดอีกดวย
ใต้ท้องรถ ในชวง 4 เดือนที่เหลือของป 58 นี้ ยอดขายของรถใหญยังไมมีการ เพิ่มมากนัก เนื1องมาจากความตองการของตลาดขนสงยังมีนอย ในสวนของผู ขนสงรายใหมแมจะมีฐานะการเงินดีก็ยังไมไดรับการเชื1อถือจากไฟแนนซมาก นัก ดวยเหตุนี้เองจึงทําใหการขายรถใหญติดขัด หนทางแกก็คือตองใหลีสซิ่ง ของบริษัทแมในตางประเทศเขามาทําสินเชื1อใหกับลูกคาขนสงรายใหมแตมี ฐานะดีแทน เรียกวาคายรถตองทําทุกทางเพื1อใหไดยอดการขายรถที่มากขึ้น บางครั้งการซื้อรถใหญรุนใหมกลุมขนสงก็มีความเชื1อมั่นในยี่หอ เพียงแตรูรายละเอียดของขนาดเครื1องยนต รอบเครื1อง แรงมา ความสามารถ ในการบรรทุกนํ้าหนักสินคา เพียงเทานี้ก็ไดทําการจองไปเรียบรอยแลว ทั้ง ๆ ที่ยังไมทราบราคาจําหนายที่แนนอนเลย แถมยังมีบางรายซื้อไวเพียงแคเปน ตัวสํารองเทานั้น เพื1อที่จะทําใหการขนสงไมติดขัด เมื1อมีปญหาเกิดขึ้นกับรถ คันหลักเรียกวายี่หอก็มีความสําคัญตอการขายเหมือนกัน สวนดานการบริหารการเงินของรถใหญกถ ็ อื วาเปนสวนสําคัญของ การขายรถใหญเหมือนกัน อยางมีลูกคารายหนึ่งที่ซื้อรถใหญยี่หอนี้มากวา 20 คัน ซึ่งก็อยูในชวงรับประกันหลังการขายคือ1 ป หรือ 60,000 กิโลเมตร เมื1อ รถมีปญ หาก็นาํ เขาไปซอมทีศ่ นู ยบริการ แตปญ หาของรถทีเ่ สียไมอยูใ นเงื1อนไข ของการรับประกันตองจายประมาณ 20,000 บาท แลวเรื1องก็เกิดขึ้นเมื1องทาง อูไมรบั เครดิตตองจายสดจึงจะนํารถออกไปใชงานได เรื1องติดใจก็จงึ เกิดขึน้ เมื1อ ซื้อรถราคาสูงถึง 4 ลานบาท แตทําไมเงินเพียงแค 20,000 บาทตองมาเก็บสด ไมใหเครติดสิน้ เดือนเลยหรือ แบบนี้ ไปซือ้ รถใหญยหี่ อ อื1นทีใ่ หความจริงใจและ เอาใจใสลูกคาไมดีกวาหรือ
B&T#277_p8-9_iMac2.indd 9
8/29/2558 BE 12:03 AM
10 BUS&TRUCK • ROAD and LAW
สัญญาณ
จอดป้ายหมอชิต
ทช.ขยายถนนไสวประชาราษฎร 4 เลน
กรมทางหลวงชนบท (ทช.) ดําเนินการกอสรางถนนสาย ง ถนนไสว ประชาราษฎร (ถนนวัดคลองสี)่ ผังเมืองรวมเมืองคูคต จังหวัดปทุมธานี ระยะ ทาง 7.431 กิโลเมตร เพื่อคลี่คลายการจราจรบนถนนสายหลักของผูใชเสน ทางหลวงแผนดินสาย 305 (รังสิต-นครนายก) เปนเสนทางลัดเลี่ยงการ จราจรติดขัดยานรังสิต บริเวณชุมชนคลองสี่ ทําใหประหยัดเวลาในการเดิน ทางและปลอดภัยยิ่งขึ้น
คุ ณ ดรุ ณ แสงฉาย อธิ บ ดี ก รม ทางหลวงชนบท กลาววา ถนนสาย ง ถนน ไสวประชาราษฎร (ถนนวัดคลองสี)่ เปนถนน ทางหลวงชนบทเดิม (ปท.3017) แบบ 2 ชอง จราจร วิ่ ง สวนทางกั น ผิ ว จราจรแบบ แอสฟลตคอนกรีต กวาง 8 เมตร (รวมไหล ทาง) เชื1อ มระหว า งทางหลวงแผ น ดิ น หมายเลข 305 (รั ง สิ ต -นครนายก) กั บ ทางหลวงแผ น ดิ น หมายเลข 3312 (พหลโยธิน-ลําลูกกา) ขนานตามแนวคลอง สีฝ่ ง ตะวันตก เปนเสนทางทีป่ ระชาชนใชลดั เลี่ยงการจราจรติดขัดยานรังสิตของผู ใช ทางหลวงแผนดินหมายเลข 305 จึงทําให เกิดปญหาการจราจรหนาแนนบริเวณชุมชน คลองสีแ่ ละมีอบุ ตั เิ หตุบอ ยครัง้ เนื1องจากผิว จราจรแคบไมสามารถรองรับการจราจรได เพียงพอ ทําใหเกิดความไมสะดวกและเสีย เวลาแกผูใชเสนทาง เพื1อเปนการแกปญหา ดังกลาว กรมทางหลวงชนบทจึงไดดําเนิน โครงการปรับปรุงกอสรางขยายถนนสายนี้ ใหเปนแบบ 4 ชองจราจร และเพิ่มความ สะดวกโดยการแก ไขแนวทางในชวงปลาย ทางใหเปนแนวตรงไปบรรจบทางหลวงแผน
ดินหมายเลข 3312 ซึ่งจะทําใหผูใชเสนทาง มีความสะดวกและปลอดภัยยิ่งขึ้น โครงการดังกลาวมีจดุ เริม่ ตนโครงการ ที่ แ ยกทางหลวงแผ น ดิ น หมายเลข 305 (รั ง สิ ต -นครนายก) บริ เ วณตํ า บลบึ ง ยี่ โ ถ อําเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี และมีจุดสิ้น สุ ด ที่ ท างหลวงแผ น ดิ น หมายเลข 3312 (พหลโยธิน-ลําลูกกา) บริเวณตําบลลาด สวาย อําเภอลําลูกกา จังหวัดปทุมธานี โดย ได ดํ า เนิ น การรื้ อ ถนนแอสฟ ล ท ค อนกรี ต แบบ 2 ชองจราจรเดิมออกแลวปรับยกระดับ พรอมขยายคันทาง และกอสรางใหเปนผิว จราจรขนาด 4 ชองจราจร แบบแอสฟลต คอนกรีต ระยะทาง 7.431 กิโลเมตร กอสราง สะพานคอนกรีตเสริมเหล็ก จํานวน 1 แหง แบบสะพานคู ก อ สร า งท อ ลอดเหลี่ ย ม จํานวน 4 แหง กอสรางทอระบายนํ้า 2 ขาง ทางพรอมทางเทา ตลอดจนงานไฟฟาแสง สวาง ปจจุบันไดดําเนินการกอสรางไปแลว กวารอยละ 35 คาดวาจะแลวเสร็จในเดือน สิงหาคม 2559 ใชงบประมาณในการดําเนิน การกอสรางจํานวน 434.589 ลานบาท
คมนาคม เรงผลักดันลงทุนขนสง 17 โครงการ
รมว.คมนาคม เดินหนาผลักดันลงทุนดานขนสงรวม 17 โครงการ ระบุ ปนี้ เสนอรถไฟฟา 4 สาย-รถไฟทางคู 2 เสนทาง เขา ครม. สวนรถไฟไทย-จีน คาดกอสราง ต.ค.นี้ พรอมเรงแกปญ หาการบิน สงให ICAO เร็วขึน ้ ในไตรมาส 2 ปหนา
คุณอาคม เติมพิทยาไพสิฐ รัฐมนตรี วาการกระทรวงคมนาคม และเลขาธิการ คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ สังคมแหงชาติ (สศช.) กลาววา ในชวงป 58-59 จะผลักดันการลงทุนโครงสรางพื้น ฐานดานการขนสงรวมทั้งสิ้น 17 โครงการ รวมมูลคาการลงทุนราว 1.6 ลานลานบาท โดยภายในป นี้ ค าดว า จะเสนอให ค ณะ รัฐมนตรี (ครม.) พิจารณาโครงการรถไฟฟา อยางนอย 4 เสนทาง ไดแก รถไฟฟาสาย สีสม(ศูนยวัฒธรรม-มีนบุรี) รถไฟฟาสาย สีเหลือง (ลาดพราว-สําโรง) รถไฟฟาสาย สีชมพู (แคราย-มีนบุรี) และรถไฟฟาสาย สีมวงใต (เตาปูน-ราษฎรบูรณะ) รวมทั้ง โครงการรถไฟทางคู อยางนอย 2 เสนทาง จากทั้งหมด 6 เสนทาง ทั้งนี้ จะพิจารณา ตามความพร อ มและกระชั บ ขั้ น ตอนการ ดําเนินการ สวนความรวมมือโครงการรถไฟไทยจี น เส น ทางกรุ ง เทพฯ-หนองคาย และ แกงคอย-มาบตาพุด ระยะทาง 873 กม. จะ มีการหารือครัง้ ตอไปวันที่ 10-11 ก.ย.นี้ หาก ได ข อ สรุ ป ของโครงการจะเสนอต อ คณะ รัฐมนตรีเพื1ออนุมตั โิ ครงการตอไป โดยกรอบ เวลายังคงเดิม คาดวาจะเริ่มกอสรางได
B&T#277_p10-11_iMac2.indd 10
ปกษแรก • กันยายน 2558
ต.ค.นี.้ อยางไรก็ดี จะรอผลการศึกษาของจีน ขณะที่การดําเนินการรถไฟความเร็วสูงเสน ทางกรุงเทพฯ-เชียงใหม ซึ่งเปนความรวม มือระหวางไทยและญี่ปุน ยังดําเนินการตอ เนื1อง นอกจากนี้ กระทรวงไดเรงแกไขจัดทํา แผนแก ไ ขป ญ หาข อ บกพร อ งอย า งมี นั ย สําคัญ (SSC) ซึ่งมี 33 ขอ ที่จะสงใหองคกร การบินพลเรือนระหวางประเทศ (ICAO) โดยคาดวาจะนําสงไดในไตรมาส 2/59 ซึ่ง เลื1อ นเร็ ว ขึ้ น จากเดิ ม ในไตรมาส 3/59 เนื1องจาก พล.อ.ประยุทธ จันทรโอชา นายก รัฐมนตรี ใหความสําคัญ และไดจัดตั้งศูนย แก ไขปญหาการบินของคณะรักษาความ สงบแห ง ชาติ ภายใต ค ณะกรรมการขั บ เคลื1อนเศรษฐกิจของ พล.อ.ประวิตร วงศ สุ ว รรณ รองนายกรั ฐ มนตรี และให ผู บั ญ ชาการทหารอากาศ (ผบ.ทอ.) เป น หัวหนาศูนยเขามาชวยเหลือประสานงาน โดยจะมีการตรวจรับรองและออกใบอนุญาต การบินตามมาตรฐานการบินใหมของ ICAO ทัง้ นี้ จะเปดใหสายการบินสัญชาติไทยยื1นใบ สมัคร และคาดวาจะใชเวลาตรวจสอบอยาง นอย 3 เดือน
โดย กรมการขนสงทางบก
กรมขนสงฯ หนองคาย เตรียมแผน สรางสถานีขนสง-ศูนยกลางกระจายสินคา กรมการขนสงทางบก จ.หนองคาย วางแผนตั้งสถานีขนสงสินคา ภูมิภาค รองรับการเขาสูประชาคมอาเซียน เบื้องตนศึกษาโครงการ 17 จังหวัดทั่วประเทศ พรอมทั้งระบบรางและการเปนศูนยกลางกระจายสินคา ชายแดน
การจัดทําโครงการนี้ เพื1อใหสอดคลอง กับยุทธศาสตรการพัฒนาโครงสรางพืน้ ฐาน ดานคมนาคมขนสงของประเทศ พ.ศ.25582565 ซึ่งการจัดตั้งสถานีขนสงสินคาที่มี ประสิทธิภาพและมาตรฐานสูง เปนการ พัฒนาสิง่ อํานวยความสะดวกดานการขนสง ตอเนื1องหลายรูปแบบ เพื1อเชื1อมโยงฐานการ ผลิ ต และฐานการส ง ออกที่ สํ า คั ญ ของ ประเทศ ทั้งยังเปนโครงขายดานการขนสง สินคาทีช่ ว ยลดตนทุนดานการขนสงควบคูไป กับการเพิ่มประสิทธิภาพ ปจจุบันกรมการขนสงทางบกมีสถานี ขนสงสินคา 3 แหง ทําหนาที่เปนศูนย รวบรวมและกระจายสินคาในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล แตไทยยังไมมีสถานีขนสง สินคา เพื1อทําหนาที่เปนศูนยเชื1อมตอและ เปลี่ยนถายรูปแบบการขนสง รวมทั้งเปน ศูนยกลางในการรวบรวมและกระจายสินคา ในสวนภูมิภาค ดังนั้น จึงตองมีการพัฒนา สถานีขนสงสินคาสวนภูมิภาค เพื1อรองรับ การเขาสูประชาคมอาเซียน จะสงผลให จังหวัดชายแดนกลายเปนศูนยกลางเชื1อม BUS&TRUCK FAQ
ตอการขนสงสินคากับประเทศเพื1อนบาน ทัง้ นี้ กรมการขนสงทางบกไดคดั เลือก จังหวัดทีม่ ศี กั ยภาพในการจัดตัง้ สถานีขนสง สิ น ค า ซึ่ ง พิ จ ารณาจากป จ จั ย ทางด า น เศรษฐกิจและสังคม 3 ดาน คือ ปริมาณการ ผลิ ต และการบริ โ ภคในจั ง หวั ด การเป น ศู น ย ก ลางของการขนส ง สิ น ค า ในกลุ ม จั ง หวั ด และปริ ม าณการค า ชายแดน ประกอบกั บ ผลการศึ ก ษาการจั ด ตั้ ง เขต เศรษฐกิจพิเศษของสํานักงานคณะกรรมการ พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ พบ ว า มี จั ง หวั ด ที่ มี ศั ก ยภาพในการดํ า เนิ น โครงการ 17 จังหวัด ซึ่งจังหวัดหนองคาย เปนหนึ่งใน 17 จังหวัดดวย และมีปริมาณ การขนสงสินคานําเขาสงออกไปยังประเทศ ลาวอยางตอเนื1อง ทั้งมีการใชระบบรางใน การขนสงสินคาของภาคเอกชนจากสถานี รถไฟหนองคายไปยังสถานีแหลมฉบัง ชวย ลดคาขนสงไดถึงรอยละ 20 ตอเที่ยว โดย เป น การระดมความคิ ด เห็ น เพื1อ นํ า เสนอ ข อ มู ล สู ก ารพิ จ ารณาศึ ก ษาโครงการ ตอไป
พ.ต.อ.ยอดชาย ผูสันติ ผกก.ฝอ.3, บก.อก.บช.น.ฝายประชาสัมพันธ, บก.02
ติดจุบโฟมแฟชั่น ผิดหรือไม?
ผมฝากถามเรื1องการติดตั้งจุบ โฟมไขลานตามแฟชั่นทั่วไป ซึ่ง ขณะนี้กําลังฮิต มีความผิดหรือ
ไมครับ จากคุณ : หนุมปราจีน
การติดตั้งอุปกรณตกแตงรถใน ลักษณะตาง ๆ อาทิ โฟมไขลาน ตกแต ง รถ จะมี ค วามผิ ด ตาม พระราชบัญญัตริ ถยนต พ.ศ. 2522 หรือ ไมนั้น กรมการขนสงทางบกไดตรวจ สอบและพิจารณาตามขอกฎหมายแลว พบว า เป น ลั ก ษณะของการติ ด ตั้ ง อุ ป กรณ ต กแต ง รถยนต เ พื1อ ความ สวยงาม หากติดตั้งในตําแหนงที่ ไม บดบังทัศนวิสัย รวมทั้งใชวัสดุที่ไมเปน
อันตราย และไมสง ผลกระทบตอความ ปลอดภัยของผูใชทางรวมกันถือวาไมมี ความผิดตามพระราชบัญญัติรถยนต พ.ศ. 2522 แตอยางใด ทั้งนี้ หากการติดตั้งอุปกรณดัง กลาวสงผลตอความปลอดภัยในการใช รถใช ถ นนและอั น ตรายต อ การขั บ ขี่ เชน ยึดติดไมแนน เสี่ยงตอการรวง หลน ขนาดใหญ บดบังทัศนวิสัยการ มองเห็น เปนตน เจาพนักงานอาจ พิจารณาดําเนินตามมาตรา 12 ของ พระราชบัญญัติรถยนต พ.ศ. 2522 ขอหาเพิม่ เติมสิง่ หนึง่ สิง่ ใดทีอ่ าจกอให เกิดอันตรายแกรางกายของผู ใชรถใช ถนนอื1น โดนเปรียบเที่ยบปรับไมเกิน 2,000 บาท
8/29/2558 BE 12:06 AM
PROTEST • BUS&TRUCK 11
ปกษแรก • กันยายน 2558
กดแตร
พั กรถ
ปรับเพราะไมชอบยี่หอรถ ตลาดรถบรรทุกในเมืองไทยเริ่มมีหลายยี่หอเขามาทําตลาด ไมวาจะเปน คายญี่ปุนที่เขามาอยางยาวนาน คายยุโรปกวา 20 ป และเมื่อไมนานมานี้ก็มี คายจีน คายอินเดีย และคายเกาหลี เพิ่มเขามา
เปนสาเหตุที่ทําใหเจาหนาที่ของ ทางราชการไมวาจะเปนของกระทรวง มหาดไทยหรือกระทรวงคมนาคม เริ่ม สับสนวาโลโกนี้เปนของยี่หออะไร??? ที่มั่นใจวา เปนเชนนี้ก็เพราะวา มี คนขั บ ที่ ถู ก ปรั บ ทั้ ง ที่ ทํ า ตามกฎหมาย กําหนดแลวทุกอยาง เพราะเจาหนาที่ ของทางราชการบอกวารถยี่หอนี้ ไดเขา มาทําตลาดหลายปแลว และไมยอมทํา ตามที่กฎหมายกําหนดจึงตองเรียกมา ปรับเงิน เพื1อเปนการเตือน ทัง้ ๆ ทีค่ วาม จริงแลวรถใหญย่ีหอนี้ ไดเขามาทําตลาด ไดเพียง 2 ป และมียอดขายรวมที่ 400 คันเทานั้น มีผปู ระกอบการเจาของธุรกิจขนสง รายใหญไดเลาใหฟงวา เมื1อเร็ว ๆ นี้ ไดมี คนขับถูกปรับพรอมทั้งจําคุก 2 คน ทั้งที่ ทําถูกตองตามกฎหมายกําหนดไว ไมวา จะเปนการบรรทุกตามทีก่ ฎหมายกําหนด ขับเลนซายดวยความเร็วไมเกิน 60 ก.ม./ ชม. แถมรถใหญทุกคันมีคนขับสองคน เพื1อปองกันการขับรถเกิน 4 ชัว่ โมงแมวา จะตองจายคาจางเพิ่ม เมื1อฟงถึงขอหาที่ยัดเยียดให คือ รถใหญ ยี่ ห อ ที่ ใ ช นี้ ไ ม ป ระพฤติ ต ามที่ กฎหมายกําหนด ฟงดูแลวอาจจะตลก แตก็คงอาจเกิดขึ้นจริงได เพราะคายรถ ใหญยังไม ไดจดทะเบียนที่ถูกตองตาม กฎหมาย จึงเปนชองวางทีท่ าํ ใหเปนการ เพิ่มรายไดใหกับทางเจาหนาที่อีกดวย หรื อ อาจจะเป น อี ก สาเหตุ ห นึ่ ง ก็ เปนได นั่นคือ เจาของบริษัทขนสงรายนี้ ไมยอมออนขอใหกับเจาหนาที่เลย ทุก อยางจะตองมีหลักฐานมายืนยันตามที่ กฎหมายกําหนดทุกอยาง ไมยอมจาย สวยใหทกุ กรณี จึงอาจเปนสาเหตุทที่ าํ ให ถูกเจาหนาที่จากทางราชการกลั่นแกลง ได อยางกรณีของคนขับทั้ง 2 คนนี้ ก็ ตองใชเสนสายภายในทําการจายคาปรับ ให รายหนึ่ง 20,000 บาท สวนอีกราย
B&T#277_p10-11_iMac2.indd 11
หนึ่ง 10,000 บาท จะได ใหกลับออกมา ทํางานใหกับบริษัทไดอยางเดิม หากใหวเิ คราะหตามความเปนจริง แลวโลโกของรถใหญทใ่ี ชนนั้ ไมนา จะเปน สาเหตุของการโดนจับได เพราะก็ทาํ ตาม กฎหมายกําหนดทุกอยาง สวนอีกสาเหตุ หนึง่ ทีน่ า จะเปนไปได ก็คอื ชื1อบริษทั ทีร่ ถ ใหญคันนี้วิ่งงานใหอยู เพราะไมยอมทํา ตามที่เจาหนาที่จากทางราชการใหเขา รวมในกระบวน จึงตองมีการตักเตือนกัน บาง ดวยความที่เปนคนตรง ไมยอม ออนขอให ใครหากไมเปนธรรมทั้งสอง ฝาย เมื1อมาเปนผูป ระกอบการขนสงมีเจา หนาที่จากทางราชการมาชักชวนใหจาย สวยเพื1อที่จะไดทําการขนสงไดอยางราบ รื1น สามารถบรรทุกสินคานําหนักเทาไร ก็ ได โดยไมมีใครมาตามตรวจสอบตาม ทาง ซึง่ ชวยสรางใหเกิดความรํา่ รวยเปน อยางมาก แตเมื1อไมยอมเขารวมในวงการจึง ตองถูกกลั่นแกลงก็จะพยายามตอสูทุก ทาง ไมวาจะเปนทั้งทางสูงหรือทางตํ่า เพื1อที่จะทําใหการขนสงทางบกเปนไป ด ว ยความถู ก ต อ ง ไม มี ผู ม าหาผล ประโยชนบนหลังคนที่ทํางานหาเลี้ยง ครอบครัวเชนนี้ และอีกทางหนึ่งเพื1อทําใหผูวาจาง ไดรับผลประโยชนสูงสุด คนขับรถใหญ ทุกคนจะตองทําตามระเบียบทุกอยาง ไม วาจะเปนการตรงตอเวลาในการรับสินคา การบรรทุกสินคาระหวางการเดินทางให มีคุณภาพสูงสุดจากตนทางไปยังปลาย ทาง รวมถึงระยะเวลาสงมอบสินคาก็ ตองเปนไปตามที่ลูกคาตองการ ซึ่งผล ปรากฏวา ตั้งแตเริ่มทําการขนสงมาไมมี ผูวาจางรายใดยกเลิกกลางคันเลย จึงอยากใหผปู ระกอบการขนสงทุก รายบริหารงานในรูปแบบเดียวกัน เปน การทําใหเปดตลาดเสรี โดยไมตอ งใชการ ชกใตเข็มชัดเปนเครื1องชวยหากิน
ตองคิดวา “อาจจะ” ปองกันอุบัตเหตุได ทุกวันนี้ จํานวนรถยนตทั้งเล็กและใหญตางก็เพิ่มขึ้นเปนจํานวน มากในแตละป ถนนที่สรางขึ้นมาใหมบวกกับถนนเดิมที่มีนั้นจึงไมเพียง พอตอการจราจร เปนสาเหตุที่ทําใหรถติดเปนอยางมาก
และยิ่ ง หากเกิ ด อุ บั ติ เ หตุ ท าง รถยนตขน้ึ ดวยแลวนัน้ การจราจรก็จะ ติ ด ขั ด ขึ้ น ไปเป น ทวี คู ณ เพราะรถ แตละฝายก็ตองรอประกันมาตัดสิน ฝายถูกผิดกันอีก โดยจะตองไมมีการ เคลื1อนยายรถโดยเด็ดขาดเพราะจะ ทําใหการตัดสินคลาดเคลื1อนไปได เพื1อเปนการปองกันไมใหรถของ ตัวเองเกิดอุบัติเหตุระหวางการขับขี่ บนทองถนน ก็มีคําเตือนมาจากกรม การขนสงทางบกวา ในระหวางการ ขับขีใ่ หคดิ ไวเสมอวา “อาจจะ” ตลอด เวลา อยางเมื1อเห็นรถกําลังจะออกมา จากซอยก็ใหคดิ วารถอาจจะขับออกมา จากซอยตอนนี้เลยก็เปนได ใหเรา ระวั ง และชะลอความเร็ ว ลงเพื1อ ปองกันอุบัติเหตุที่จะเกิดขึ้นได หรือเมื1อขับรถตามหลังคันหนา ก็ ใ ห ขั บ ช า ลงเพื1อ ให มี ร ะยะห า งพอ สมควร เพราะตองคิดวารถคันขาง หนาอาจจะเบรกเมื1อไหรก็ได จึงตอง
ระมัดระวังไมขับรถตามไปในระยะ กระชั้ น ชิ ด หรื อ ข า งหน า มี สี่ แ ยก ไฟแดง พอเห็นไฟเขียวก็ใหคดิ วาอาจ จะกําลังไฟแดงก็ ไดจะได ไมตองเรง เครื1องขับไวจนเกินไป เพื1อเปนการ ป อ งกั น อุ บั ติ เ หตุ เ พราะอาจจะมี ไฟแดงขึ้นและหยุดรถไมทันได สําหรับกรณีที่เกิดอุบัติเหตุขึ้น เปนอยางมากก็เพราะคนขับชอบคิด ในใจวา “คงไม” อยางเมื1อเห็นรถ กําลังจะกลับรถ รถทีต่ ามหลังมาก็คดิ วาคงไมกลับรถตอนนีจ้ งึ รีบเรงเครื1อง เร็วขึน้ จึงกอใหเกิดรถชนกันและทําให รถติดมากยิ่งขึ้นดวย หรือจะขับเลี้ยวซายตรงสี่แยก หนาเพราะมีปา ยเลีย้ วซายผานตลอด แต เ มื1อ เห็ น รถที่ จ ะเลี้ ย วมาทาง เดียวกันเปนไฟเขียวก็คิดวารถคงจะ ไมเรงความเร็วเพราะรอใหเราไปกอน แล ว ก็ เ กิ ด อุ บั ติ เ หตุ ขึ้ น กลางสี่ แ ยก ทําใหสี่แยกนั้นติดขัดอยางมาก
8/29/2558 BE 12:06 AM
12 BUS&TRUCK • BUS & TRUCK CARE
ปกษแรก • กันยายน 2558
รักษ์รถ
รถกระบะและรถอเนกประสงค เอสยูวหี รือพีพวี ี มีทงั้ ระบบขับเคลื1อน สี่ลอและขับเคลื1อนสองลอ โดยผูที่ กําลังมองหารถกระบะหรือรถเอสยูวี คันแรก ควรทําความรูจักความแตก ตางของระบบขับเคลื1อนเหลานี้เพื1อ การตัดสินใจเลือกรถที่เหมาะสมกับ การใชงานมากที่สุด
ระบบขับเคลื่อนสี่ลอ
ระบบขับเคลื1อนสีล่ อ ไดรบั ความ นิยมในกลุมผูขับขี่ที่ตองการการยึด เกาะถนนสูงสุดและศักยภาพการขับขี่ บนทางออฟโรด โดยระบบขับเคลื1อน สี่ลอคือ รถที่สามารถถายกําลังสูลอ ทั้ ง สี่ ไ ด โดยใช ชุ ด ทรานส เ ฟอร ถายทอดกําลังขับแบบสองสปดโดยมี การใชอัตราทดความเร็วสูง(4x2 และ
เรียนรูระบบขับเคลื่อน กระบะ/เอสยูวี ตัดสินใจเลือกใชรถ เหมาะสมการใชงาน
รถกระบะและรถอเนกประสงคเอสยูวไี ดรบ ั ความนิยมมากขึน ้ ในประเทศไทย ลูกคาทีเ่ ริม ่ สนใจในรถประเภทนีม ้ ก ั ตัดสินใจซือ ้ ดวยการพิจารณาจากการวางตําแหนงทีน ่ ง ั่ ทีส ่ ง ู ขึน ้ การออกแบบทีบ ่ ก ึ บึน พืน ้ ทีบ ่ รรทุกสัมภาระทีก ่ วาง ขวางกวาและศักยภาพการขับขี่บนเสนทางแบบออฟโรด
4x4 Hi) และอัตราทดความเร็วตํ่า (4x4 Lo) ทั้งนี้ระบบขับเคลื1อนสี่ลอแบบ พาร ท ไทม ที่ ทํ า งานด ว ยระบบขั บ เคลื1อ นล อ หลั ง จนกว า จะมี ค วาม จําเปนตองใชระบบขับเคลื1อนสี่ลอ อาทิ บนเสนทางออฟโรดหรือบนพื้น ถนนที่ เ ป ย กลื1น และสํ า หรั บ รถขั บ เคลื1อ นสี่ ล อ แบบฟู ล ไทม นั้ น จะใช ระบบขับเคลื1อนสี่ลอตลอดการขับขี่ ชุดทรานสเฟอรถา ยทอดกําลังทีต่ ดิ ตัง้ ตรงกลางระบบเกียรจะควบคุมวาแรง บิดควรถูกกระจายระหวางลอหนา และลอหลังเทาใด โดยทั่วไปแรงบิด จะถูกสงไปที่ลอหลังและจะเปลี่ยน เปนหนา/หลังแบบ 50/50 บนทาง ออฟโรดและบนสภาพถนนทีเ่ ปยกลื1น ซึ่งตองการเสถียรภาพสูงสุด ผูขับขี่ที่ ใชรถขับเคลื1อนสี่ลอฟูลไทมจะตอง เปลี่ ย นมาใช อั ต ราทดความเร็ ว ตํ่ า (4x4 Lo) ดวยตนเอง
ระบบขับเคลื่อนสองลอ
รถขั บ เคลื1อ นสองล อ จะถ า ย กําลังลงสูแ คสองลอ โดยทัว่ ไปจะเปน ระบบขับเคลื1อนลอหลัง และถือเปน ทางเลือกยอดนิยม สําหรับผูข บั ขีท่ ี่ไม ตองการศักยภาพสูงสุดเหมือนกับรถ ขับเคลื1อนสี่ลอและไมตองขับบนเสน ทางออฟโรดหรือทางที่สมบุกสมบัน
B&T#277_p12-13_iMac2.indd 12
ระบบขั บเคลื1อ นล อ หลั ง สามารถ รองรับพละกําลังเครื1องยนตที่สูงขึ้นและ นํ้ า ห นั ก ร ถ ที่ ม า ก ขึ้ น ไ ด อ ย า ง มี ประสิทธิภาพกวารถทีใ่ ชระบบขับเคลื1อน ลอหนา อาทิ รถยนตทั่วไป ทําใหระบบ ขับเคลื1อนลอหลังนิยมใช ในในรถกระบะ รถที่มีขนาดใหญและรถที่มีสมรรถนะสูง มาก ตลอดจนรถแขงและรถที่ออกแบบ มาสําหรับเจาหนาทีต่ าํ รวจสําหรับการไล ลาคนราย เมื1อขับขี่ดวยความเร็วสูงขณะเขา โคง รถขับเคลื1อนลอหลังอาจมีอาการลอ
หลังลื1นไถล (โอเวอรสเตียร) หรือตัวรถ เลีย้ วเกินกวาการควบคุมของผูข บั ขี่ หาก สถานการณรายแรง ตัวรถอาจหมุนหรือ ลื1นไถลได โอเวอรสเตียรเปนอาการที่ ควบคุมไดยากกวาอันเดอรสเตียร จึง เปนการเคลื1อนที่ที่อันตรายมากกวา
ขับเคลื่อนสี่ลอตลอดเวลา
ตลอดเวลาใช ร ะบบเกี ย ร ซิ ง เกิ ล สปดสงกําลังไปที่ลอทั้งสี่ตลอดเวลา ซึ่ง ระบบขับเคลื1อนสี่ลอตลอดเวลาเหมาะ สําหรับคนที่มองหารถที่มีสมรรถนะยอด เยี่ยมบนถนนทั่วไปและมีประสิทธิภาพ
การยึดเกาะบนพื้นหญา โคลน ทราย หรือกรวด ตลอดจนเสนทางออฟโรด แบบไมสมบุกสมบันมากนัก ซึง่ รถทีใ่ ช ระบบขับเคลื1อนลอหนาหรือลอหลัง อาจไมสามารถขับผานได ระบบขับ เคลื1อนสี่ลอตลอดเวลามีแนวโนมจะ เกิ ด อาการอั น เดอร ส เตี ย ร เ หมื อ น ระบบขับเคลื1อนลอหนาถาขับขี่ดวย ความเร็วสูงเกินไป รถขับเคลื1อนสี่ลอ ตลอดเวลามีการถายเทแรงบิดไปสูล อ คูหนาขณะขับขี่บนเสนทางปกติ จะ ชวยใหประหยัดนํ้ามันมากขึ้น ขณะ เดียวกัน การยึดเกาะถนนจะเพิ่มมาก ขึ้นเชนกันดวยการถายเทแรงบิดโดย อัตโนมัติบนสภาพถนนที่มีความแตก ตางกัน ระบบนี้ทํางานรวมกับระบบ แอคทีฟ ทอรค ออน ดีมานด ซึ่งมี ศักยภาพในการเพิม่ การถายเทแรงบิด ไปสู ล อ แบบอิ ส ระเพื1อ ยกระดั บ เสถียรภาพการขับขี่สูงสุด ระบบขับเคลื1อนสีล่ อ ตลอดเวลา จะทํางานเหมือนระบบขับเคลือ1 นลอ หนาหรือขับเคลื1อนลอหลัง โดยสวน ใหญจะเปนขับเคลื1อนลอหนาเหมือน ในแคปติ ว า ระบบขั บ เคลื1อ นสี่ ล อ ตลอดเวลาจะส ง พละกํ า ลั ง ไปสู ล อ หน า และล อ หลั ง ขณะออกตั ว เพื1อ ปองกันลอลื1นไถลและจะถายเทกลับสู ลอหนาหากไมมกี ารลื1นไถล พละกําลัง จะถู ก ถ า ยเทโดยอั ต โนมั ติ ผ า นชุ ด ทรานสเฟอรแบบซิงเกิลสปด (ชุด ทรานเฟอรเชื1อมตอกับระบบเกียรเพื1อ แยกกํ า ลั ง ระหว า งล อ หน า และล อ หลัง)
8/29/2558 BE 12:10 AM
B&T#277_p12-13_iMac2.indd 13
8/29/2558 BE 12:10 AM
14 BUS&TRUCK • INTERVIEW
ปกษแรก • กันยายน 2558
จอดคุย 18 กันยายน ที่จังหวัดเพชรบุรี ซึ่งปนี้ วอลโวประเทศไทยประกาศตัวในฐานะ ประเทศเจาภาพ ถือเปนประวัติศาสตร ของวอลโว ทรั ค ส ที่ ไ ด ตั ด สิ น ใจใช ประเทศไทยเป น สนามแข ง ขั น รอบ สุ ด ท า ยในรายการขั บ ขี่ ป ลอดภั ย และ ประหยัดพลังงานในรอบเอเชีย แปซิฟค โดยจะมีประเทศในแถบเอเชียแปซิฟค เขารวมแขงขันทั้งสิ้น 12 ประเทศ เพื1อ คัดเลือกผูชนะในประเภททางราบและ ทางวิ บ าก เข า ร ว มชิ ง แชมป โ ลกใน รายการ Volvo Trucks World Driving Challenge 2016 ที่ประเทศสวีเดนใน ป 2559
ยูดี ทรัคส พรอมลุยตลาด
คุณฌารค มิเชล
สงเสริมตลาด วอลโว-ยูดี เต็มสปด ยุทธจักรรถใหญสายพันธยุโรประดับพรีเมี่ยม “วอลโว ทรัคส” สามารถสยายปกในเมืองไทยไดอยางรุงโรจน และเขาไปนั่งกลางใจ “สิงหรถบรรทุกเมืองไทย” มานานหลายทศวรรษ
ลาสุด บริษทั วอลโว กรุป (ประเทศ ไทย) จํากัด ผูผ ลิตและจัดจําหนายรถเพื1อ การพาณิชยขนาดใหญในประเทศไทย ภายใตแบรนด “วอลโว” เดินหนาจัด กิจกรรมสงเสริมการตลาดภายใตการ จัดการแขงขัน “Volvo Trucks Thailand FuelWatch Competition 2015” เพื1อ หานักขับมืออาชีพทั่วไทย ไปรวมชิงดํา APAC Final FuelWatch Competition ที่วอลโวประเทศไทยประกาศตัวในฐานะ “ประเทศเจาภาพ” โอกาสสําคัญนี้ ทีมขาว BUS & TRUCK จึงขอ “จอดคุย” คุณฌาคส มิเชล ประธานกรรมการ วอลโว กรุป ถึงแผนการตลาดรถใหญวอลโว และยูดี ทรัคส ใหทานสมาชิกไดรับทราบทั่วกัน
จัดแขงขันหานักขับขั้นเทพ
บริษทั เดินหนาจัดกิจกรรมสงเสริม การตลาดภายใต ก ารจั ด การแข ง ขั น “Volvo Trucks Thailand FuelWatch Competition 2015” เพื1อหานักขับมือ อาชี พ ทั่ ว ไทย ภาตใต แ นวคิ ด “ขั บ ขี่ ปลอดภัย-ประหยัดพลังงาน” สําหรับ การแขงขันในปนี้ ไดรบั การตอบรับอยาง ดีจากลูกคาวอลโว ทรัคส ซึ่งมียอดผูเขา รวมชิงชัยทั้งสิ้น 150 คน เพิ่มขึ้นจากปที่ แลวที่มีผูสมัครทั้งสิ้น 120 คนหรือคิด
R1_B&T#277_p14-15_iMac2.indd 14
เปนอัตราเติบโต 25% ซึง่ ถือเปนอัตราเติบโต ที่ สู ง และสะท อ นถึ ง การยอมรั บ สนาม แขงขันจากนักขับรถวอลโว ทรัคส ไดเปน อยางดี
เขมกติกามาตรฐานโลก
FuelWatch Competition 2015 ครัง้ นี้ ไดรับการสนับสนุนอยางดีจากกระทรวง พลังงาน และพันธมิตรทีร่ ว มสนับสนุนตัง้ แต ปแรกของการจัดแขงขันไดแกมิชลินสยาม และไฮ เทรลเลอร เอเชีย ทั้งนี้ เพราะทุก องค ก รที่ เ ข า ร ว มสนั บ สนุ น มี เ ป า หมายที่ ชัดเจนคือการรณรงครักษาสิ่งแวดลอม ซี่ง ถือเปนหนึ่งใน 3 คานิยมองคกรไดแกความ ปลอดภัย คุณภาพและสิ่งแวดลอม สําหรับขัน้ ตอนการคัดเลือกนัน้ บริษทั ใชกติกามาตรฐานเดียวกับการแขงขัน Volvo Trucks Thailand FuelWatch Competition ทั่วโลก โดยแบงสนามคัดเลือกทั้ง 150 คน ออกเปน 5 สนาม เริ่มทําการคัดเลือกตั้งแต วันที่ 15 มิถุนายน - 15 กรกฎาคม 2558 คณะกรรมการจะประกาศผูผ า นการคัดเลือก ในแตละสนามรวมจํานวน 24 คน เพื1อเขาสู รอบสุดทายของการคัดเลือกระดับประเทศ ไทยที่จังหวัดเพชรบุรี และคัดเหลือ 3 คน สุดทาย โดยนักขับทั้ง 3 จะตองขับรถบรรทุก วอลโว FH 440 แรงม า โดยจํ า ลอง
สถานการณจริงที่ใช ในชีวิตประจําวันคือขับ รถหัวลากที่บรรทุกหางหนัก นํ้าหนักรวม 50.5 ตัน เต็มพิกัดตามกฎหมายกําหนดและ วิ่งรถหางเบา รวมระยะทาง 50 กิโลเมตร ซึง่ ผูช นะเลิศควาแชมปปน ี้ ไปครองไดแก คุณ สุเทพ ปกครึก จากบริษัท เอ็มเอ็ม ลอจิสติกส จํากัด ไดรับรางวัลรวมมูลคา 400,000 บาท รองอันดับ 1 คือ คุณอนุสิทธิ์ กะนะ ฮาด จากบริษัท อินเทล โลจิสติกส จํากัด ได รับรางวัล 80,000 บาท และรองชนะเลิศ อันดับ 2 คือ คุณนิรุจ สุขลอย จากบริษัท เคมีแมน จํากัด ไดรับรางวัล 40,000 บาท
ไทยพรอมชิงดํา APAC Final
ผลการแขงขันครัง้ นี้ ไดสะทอนถึงการ พัฒนาทักษะการขับขี่ของพนักงานขับรถ วอลโว ทรัคส ไดเปนอยางดีเพราะผูช นะเลิศ มีสวนตางของอัตราสิ้นเปลืองนํ้ามันจาก อันดับ 2 เพียง 0.2% เทานั้น ซึ่งหมายความ วาพนักงานขับรถของวอลโว ทรัคส มีทกั ษะ ในการขับที่ดีขึ้นมาก เพราะโดยเฉลี่ยผูชนะ อันดับ 1 กับอันดับสุดทายจะมีอัตราสิ้น เปลืองหางกันถึง 30% อยางไรก็ดี ผูชนะเลิศในสนามนี้ คือ คุณสุเทพ ปกครึก จะเปนตัวแทนหนึ่งเดียว ในฐานะแชมปประเทศไทยเขารวมชิงชัยใน รายการ APAC Final FuelWatch Competition ที่จะจัดขึ้นระหวางวันที่ 15 -
สวนแผนการดําเนินงานของ ยูดี ทรัคสนั้น ภายหลังจากที่ ไดจัดโรดโชว จํานวน 10 ครั้ง เพื1อแนะนํารถยูดี ทรัคส และเปดโอกาสในการทดลองการขับขี่ ตลอดจนสั ม ผั ส สมรรถนะของรถยู ดี ทรัคส ใหกับกลุมเปาหมายตามภูมิภาค ตาง ๆ ของประเทศไทย ซึ่งผลปรากฏวา ไดรับการตอบรับอยางดีจากผูประกอบ การขนสงทั่วประเทศ “จากการจัดโรดโชว ไปทั่วประเทศ ครั้งนี้ ทําใหเรามั่นใจอยางมากวารถ บรรทุก ยูดี โดยเฉพาะเควสเตอร เปนรถ บรรทุ ก ที่ ไ ด รั บ การยอมรั บ จากกลุ ม ผู ประกอบขนสง จากการสอบถามลูกคา ของเรา สวนใหญยอมรับเรื1องความแรง และกําลังของเครื1องยนต รูปลักษณของ รถที่มีความทันสมัย ภายในหองโดยสาร กวางและสะดวกสบายในการขับขี่ที่ให ความนุมนวล ปลอดภัย และที่สําคัญคือ ประหยัดนํ้ามัน”
แผนตลาดลูกคาตอบรับดี
นั บ จากบริ ษั ท ฯ ได แ นะนํ า ยู ดี เควสเตอร เมื1อป 2556 บริษัทฯ ไดจัด กิจกรรมสงเสริมการตลาดยูดี เควสเตอร อยางตอเนื1อง ขณะเดียวกัน บริษัทฯ ได จัดกิจกรรมโรดโชวถึง 10 ครั้งในระยะ เวลาเพียง 2 เดือน “เราเดินหนากิจกรรมสงเสริมการ ตลาดเหลานี้เพราะเรามีความมั่นใจตอ ผลิตภัณฑของเราวายูดี ทรัคส เปนรถที่ ดี มี คุ ณ ภาพ ราคาสามารถแข ง ขั น ใน ตลาดได และที่สําคัญ เรารับฟงปญหา ทุกปญหาของลูกคาที่ ได ใชรถยูดี ทรัคส และเราไดรวมกับลูกคาของเราในการ แก ไขปญหาทุกปญหา จนทําใหรถยูดี ทรัคส เปนที่ยอมรับในตลาด”
เตรียมเปดตัว ยูดี ทรัคส 10 รุน
ขณะนี้ บ ริ ษั ท ฯ ได ส ร า งฐานอั น แข็งแกรงใหกับยูดี ทรัคส แลว และใน เดือนกันยายนนี้ บริษัทฯ จะแนะนํารถ อีก 10 รุน ของยูดี เควสเตอร ในตลาด เพื1อใหสอดรับกับความตองการใชงาน ของผูประกอบการในสาขาตาง ๆ
8/31/2558 BE 9:38 PM
LAW KNOWLEDGE • BUS&TRUCK 15
ปกษแรก • กันยายน 2558
รู้กฎก่อนขับ
ควํ่าที่ทางโคง และการปองกัน
รถพลิกควํ่าบริเวณทางโคงยัง คงมีเกิดขึน ้ แตละครัง ้ ก็สง ผลเสียตอ ต น ทุ น การประกอบธุ ร กิ จ บรรทุ ก ขนสงเปนเงินจํานวนมากหลักแสน หรืออาจจะถึงหลักลาน
ความสูญเสียมีทงั้ ทางตรงและทาง ออม กลาวคือประการแรกเสียเงินคาซอม รถเพื1อใหสามารถนํากลับมาใชบรรทุก ขนส ง ประกอบธุ ร กิ จ หารายได ต อ ไป ความสูญเสียตอมาคือโอกาสในการที่จะ แสวงหาเงินในชวงเวลาหนึ่ง ดวยวาการ ซอมรถแตละครั้งก็มีระยะเวลามากบาง นอยบางตามแตระดับของความสูญเสีย หากรถที่มีความสลับซับซอนมาก ๆ ก็ยิ่ง ตองใชระยะเวลานาน ความสูญเสียอีก อยางหนึง่ ก็คอื คางวดเดินออกและรายได ไมเดินเขานีก่ เ็ ปนอีกประเด็นหนึง่ ทีส่ ราง ความรํ า คาญให อ ย า งมาก ค า งวดรถ บรรทุกก็งวดละหลายหมื1นบาท เมื1อจอด ซอม 2-3 เดือนก็เทากับวาตองควักเงิน หลักแสนบาทชําระคางวด ลอไมหมุนแต คางวดยังคงหมุนตลอดตอเนื1อง หากรับ งานทีม่ สี ญ ั ญาตองมีจาํ นวนรถทีแ่ นนอน ก็จะยิง่ หนักใจเพราะวาตองจัดหารถแทน เพื1อจะวิ่งงานใหครบตามจํานวน หากหา รถมาทดแทนไม ไ ดก็จะเปนปญ หากับ หลาย ๆ คนที่มีความเกี่ยวของกับงาน และเกี่ ย วกั บ สิ น ค า ที่ บ รรทุ ก ขนส ง ตัวอยางเชน การบรรทุกขนสงนํา้ มันก็จะ มีจํานวนรถเพียงพอกับจํานวนงาน ไมมี ใครหรอกที่จะลงทุนซือ้ รถหัวลากราคา 3 ลานกวาบาทและหางอีก 3 ลานบาทมา จอดไวเพื1อเปนรถสํารอง ทางโคงคือบริเวณที่ทําใหทิศทาง ของรถ นํ้าหนักของรถ จุดศูนยถวงของ รถเกิดการแปรเปลีย่ นจากปกติไปสูค วาม ไมปกติ ยกตัวอยางเชน ปกติแลวนํา้ หนัก บรรทุกกดลงตามแนวดิ่งหรือแรงโนม ถวงของโลก แตพอขับถึงทางโคงเมื1อรถ เลี้ยวสวนทิศทางตรงขามลักษณะโคง เชน โคงขวานํ้าหนักเปลี่ยนไปทางซาย โคงซายนํ้าหนักเปลี่ยนไปขวา ทิศทางก็ จะแปรเปลีย่ นจากแนวดิง่ ไปทิศทางดาน ขางของรถ จากทีเ่ คยกดลงแนวดิง่ ตรง ๆ จากบนลงลาง ก็จะเฉียงออกดานนอก ของโค ง การป อ งกั น โดยมี ม าตรฐาน กําหนดความเร็วตามบริเวณทางโคงหรือ มีปายเตือนกําหนดระดับความเร็ว เปน ความเร็ ว ที่ จ ะพอช ว ยให ร ถไม เ สี ย การ ทรงตั ว ถ า ผู ขั บ ปฏิ บั ติ ต ามความเร็ ว ที่ กําหนดไวบนปาย รถที่เสียการทรงตัว บริเวณทางโคงแลวพลิกควํ่าก็เกิดจาก ความเร็ว ดวยเหตุนี้เองมาตรฐานการ สรางทางจึงตองมีการปกปายเตือนระดับ ความเร็วไวดานซายมือ การใชความเร็ว ไม เ กิ น ที่ กํ า หนดไว ร ถก็ จ ะไม เ สี ย การ ทรงตัว คนขับสามารถควบคุมรถไดตลอด
B&T#277_p14-15_iMac2.indd 15
การลดความเร็ ว ที่ อยากแนะนําก็คือจะ ต อ งลดความเร็ ว โดยการผอนคันเรง และการลดเกียรจาก เกี ย ร สู ง มาที่ เ กี ย ร ตํ่าดวย
ขั บ รถบนถนนเพื1อ ลดความสู ญ เสี ย นั่นเอง สําหรับการขับเพื1อเห็นปายแต เนิ่น ๆ ก็คือการพยายามมองไปขางหนา ให ไกล ๆ ครับรวมกับการเคลื1อนไหว สายตาก็จะชวยใหเราเห็นปายเตือนแต เนิ่ น ๆ พอเห็ น ป า ยแล วเราก็ ปรับ ลด ความเร็ ว เพื1อ ให ค วามเร็ ว ลดเท า กั บ ความเร็ ว ที่ กํ า หนดไว บ นป า ย การลด
ความเร็วที่อยากแนะนําก็คือจะตองลด ความเร็วโดยการผอนคันเรงและการลด เกียรจากเกียรสูงมาที่เกียรตํ่าดวย ใน ขณะรถแลนอยูบนโคงก็จับพวงมาลัย สองมือตามองไปขางหนา เหลือบมอง กระจก รักษาใหรถวิง่ อยูก งึ่ กลางชองทาง เดินรถ แนวทางการปฏิบัติเพื1อไมใหรถ ควํ่าขณะวิ่งอยูบนทางโคงครับ
ทั้งวงโคง คําแปลตรง ๆ ยังไมมี ผมจึง แปลวา “ตัวนํานักขับ” พวกปายเตือน ต า ง ๆ นั่ น แหละครั บ คื อ ตั ว นํ า นั ก ขั บ Driver Guide ก็เปรียบเสมือนกับคณะ นักทองเที่ยวตางชาติมาเที่ยวเมืองไทย เปนหมูคณะ เมื1อลงเครื1องที่สนามบินก็ จะมีคนหนึง่ เดินนําหนาและอาจจะถือธง ชูขึ้นหรือใสหมวกสีแปลก ๆ หรือเมื1อเรา ไปเดินปาเราก็กลัวจะหลงทาง ดังนั้นเรา ก็จะขอใหพรานปาหรือผูชํานาญปาชวย “นํ า ”ทางเพื1อ ไม ใ ห ห ลงป า หลงทาง นัน่ เอง ตัวนํานักขับมีบทบาทสําคัญอยาง ยิ่งตอการขับรถ มีใชทั่วโลก ปายกําหนดความเร็วที่มีไวเพื1อให เปนแนวทางการขับปลอดภัยก็จะปกไว กอนจะถึงทางโคงตามมาตรฐานของถนน แตละเสนทาง การปรับลดความเร็วเพื1อ ใหแนใจวาสามารถที่จะควบคุมรถไมให เสียการทรงตัวก็ควรจะเริ่มลดความเร็ว ใหไดเทาที่ปายกําหนด โดยเริ่มลดตั้งแต ทีเ่ ราเริม่ มองเห็นปาย ถนนบางแหงทีร่ ถ พลิกควํา่ บอย ๆ ก็จะมีตวั เลขระบุไวทพี่ นื้ ถนนเพื1อพยายามสื1อสารบอกใหคนขับได เห็น หนวยงานของรัฐและองคกรสากล เกี่ยวกับความปลอดภัยก็พยายามนําสิ่ง ที่ดี ๆ สิ่งที่เปนมาตรฐานมาอํานวยใหผู
8/29/2558 BE 12:14 AM
B&T#277_p16_iMac2.indd 16
8/29/2558 BE 12:28 AM
B&T#277_p17_iMac2.pdf
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
1
8/29/2558 BE
12:26 AM
18 BUS&TRUCK • ASSOCIATION NEWS
ปกษแรก • กันยายน 2558
คบหาสมาคม
สหพันธการขนสงทางบก แหงประเทศไทย
คุ ณ ยู เจี ย รยื น ยงพงศ ประธานสหพั น ธ ก าร ขนสงทางบกแหง ประเทศไทย เปดเผยวา จากเหตุการณวางระเบิดบริเวณแยก ราชประสงค เมื1อวันที่ 17 สิงหาคม 2558 ที่ ผ า นมา ถึ ง แม ว า จะมี ผ ล กระทบโดยตรงตอธุรกิจการทองเทีย่ ว แตในดานการขนสงสินคานั้นไมไดรับ ผลกระทบแตอยางใด เพราะเหตุการณ เกิดขึ้นที่กรุงเทพฯ ไมใชแหลงใหญ ของธุรกิจการขนสง สวนเรื1องการลดราคาคาขนสง ของผูประกอบการขนสงทางบกเนื1อง มาจากราคานํ้ามันดีเซลไดปรับลดลง มาเหลือเพียงลิตรละ 22 บาท ถือวา เปนการปกติเพราะเมื1อราคานํา้ มันขึน้ คาขนสงก็ตองขึ้นตามดวย เมื1อราคา นํ้ามันดีเซลลดลงมาคาขนสงจึงตอง ลดตามลงมาถือวาก็เปนเรื1องที่ปกติ แตราคานํ้ามันดีเซลลิตรละ 22 บาท นี้ ถือไดวาเปนราคาตํ่าที่สุดใน รอบ 6 ป โดย ผู ที่ ไ ด รั บ ผล ประโยชน โ ด ย ต ร ง คื อ ประชาชนที่ ต อ งอุ ป โภค บริ โ ภคเป น ประจําทุกวัน เพราะราคา คาขนสงจะไม สงผลกระทบตอราคาสินคาเลย ส ว นด า นการแข ง ขั น ของการ ขนสงนั้น ก็ถือวาตองมีการแขงขันที่ ดุเดือดเหมือนเดิม เนื1องจากรถบรรทุก มีเปนจํานวนมากในขณะที่สินคาที่ให ขนสงนัน้ ยังมีเปนจํานวนนอยอยูท าํ ให ผูขนสงสินคาตางมีกลยุทธตาง ๆ อีก มากมาย เพื1อเปนการแยงลูกคาใหมา ใชบริการขนสงจากตนเอง ส ว น ร า ก ห ญ า ซึ่ ง ถื อ เ ป น ประชากรสวนใหญของประเทศไทย นั้น ในชวงปลายปที่เหลือนี้ถามีฝนตก มากพอกั บ การปลู ก พื ช ผลทางการ เกษตรทําใหสามารถเก็บเกี่ยวนํามา ขายไดตามปกติ การใชจา ยเงินก็จะเริม่ กลับฟน คืนมาทําใหเศรษฐกิจเดินหนา ตอไปได ธุรกิจการขนสงก็จะเริ่มกลับ มาเติบโตขึ้น
สมาคมขนสงทางบก แหงประเทศไทย
คุณอภิชาติ ไพรรุง เรือง นายกสมาคม
R1_B&T#277_p18-21_iMac2.indd 18
ขนสงทางบกแหง ประเทศไทย กลาววา จากการเปดตัวรถรุน ใหม ของคายรถฟูโซ เมื1อวันที่ 13 สิงหาคมที่ผานมานั้น ไดสรางความ ตื1นตะลึงใหกับผูประกอบการเปนอยาง มาก เพราะรถทีเ่ ปดตัวใหมทงั้ 5 รุน ตาง มี กํ า ลั ง เครื1อ งยนต ที่ ส ามารถบรรทุ ก สิ น ค า ตามพิ กั ด ของกฎหมายได อ ย า ง สบาย แถมยังประหยัดนํ้ามันดีเซลเกิน คาด ทําใหคุมทุนเร็วและยังสามารถขาย ตอไดในราคาสูงถึง 40% ของราคาที่ซื้อ มา ดวยเหตุนี้เองทางสมาคมฯ จึงจัด ประชุมสมาชิกเพื1อระดมความตองการวา มี จํ า นวนเท า ใด โดยเริ่ ม ต น ก็ มี ค วาม ตองการมากถึง 26 คัน ดวยโปรโมชั่นที่ ฟูโซจดั ใหคงตองมีสมาชิกตองการรถเพิม่ ขึ้นเปนแน แมงานขนสงสินคาของสมาชิกจะ มีลดนอยลงแตกม็ สี มาชิกบางรายทีย่ งั คง มีงานขนสงเทาเดิมอยู จึงตองการรถใหม เพิม่ มากขึน้ เพื1อนํามาแทนรถคันเดิมทีม่ ี สภาพตองเปลี่ยนแลว จึงทําใหยังคงมี ความต อ งการ รถใหมเปน ประจําทุกป ส ว นการ ประชุมใหญของ สมาคมฯ ประจํา ป 2558 เมื1อปที่ มี ค า ยรถใหญ จากจีนไดเสนอ ตั ว ที่ จ ะเป น ผู สนับสนุนหลักโดยใหเงินสนับสนุนถึง 2 ลานบาท แตเมื1อมาเจอกับเศรษฐกิจที่ ตกตํ่ า จนทํ า ให มี ย อดขายลดลง ทาง บริ ษั ท แม ป ระเทศจี น จึ ง ต อ งงดเงิ น สนับสนุนสวนนี้ออกไป แตในที่สุดคาย ฮี โ น ก็ เ ข า มาเป น ผู ส นั บ สนุ น หลั ก แทน ดวยทางสมาชิกของสมาคมฯ ตางก็ใชรถ ใหญฮีโนเปนจํานวนมากนั่นเอง
สมาคมผูประกอบการ รถขนสงทั่วไทย
คุ ณ วสุ เ ชษฐ โสภณเสถี ย ร นายกสมาคมผู ประกอบการรถขนสงทัว่ ไทย (สปข.) เปดเผยวา เมื1อวันที่ 17 สิงหาคมทีผ่ า นมา ไดเกิดเหตุรา ยครัง้ ใหญของประเทศมีการวางระเบิดที่ศาล พระพรหม ราชประสงค กรุงเทพฯ ทําให มีผูเสียชีวิตมากถึง 22 ราย บาดเจ็บรวม 100 ราย โดยมีนักทองเที่ยวชาวตางชาติ รวมอยูดวย ซึ่งสงผลใหนักทองเที่ยวลด นอยลงไปมาก อยางนักทองเทีย่ วฮองกง
ก็ไดตีตั๋วกลับประเทศไปเลย เปนจํานวน มากกวา10 คันรถทัวรหลังจากที่เกิดการ วางระเบิด เนื1องจากไมมั่นใจในความ ปลอดภัยที่จะเที่ยวในเมืองไทยนั่นเอง นอกจากนี้ ก็ยังมีประเทศอื1น ๆ อีก เปนจํานวนมากที่เตือนใหประชาชนของ ตนใหดแู ลความปลอดภัยเมื1อเดินทางเขา มาเทีย่ วในประเทศไทย หากไมมนั่ ใจควร เดินทางกลับทันที ในการแกไขปญหานี้ทางรัฐบาลได ออกคาดูแลรักษาพรอมทัง้ มอบเงินใหแก ครอบครัวผูเ สียชีวติ เพื1อเปนการเยียวยา รักษาจิตใจ และเพื1อใหบรรดาประเทศ ตาง ๆ ทั่วโลกไดเห็นถึงความมีนํ้าใจของ คนไทย ทางสมาคมฯ ก็ไดเรงหาเงินทุน อีกประมาณ 1 ลานบาท เพื1อเยียวยานัก ทองเที่ยวที่เสียชีวิต เพื1อเปนการยํ้าถึง นํ้าใจคนไทยมากยิ่งขึ้น และจากภาพเหตุ ก ารณ ร ะเบิด ที่ เกิ ด ขึ้ น นั้ น การแพร ภ าพไปยั ง ต า ง ประเทศนัน้ ตางก็เห็นซึง้ ถึงนํา้ ใจคนไทยที่ เขาไปชวยเหลือหลังจากระเบิดขึ้น ไมวา จะเป น วิ น มอเตอร ไ ซค ที่ ใ ห บ ริ ก ารแก ลูกคาฟรี คนที่อยูใกลที่เกิดเหตุตางก็ เขาไปชวยเหลือ ผูบาดเจ็บแมวา ควันจากระเบิด จะยังไมจางหาย ไปเลย การ บ ริ จ า ค โ ล หิ ต เพื1อ ช ว ยผู บ าด เจ็ บ มี อ ย า งต อ เนื1องจนมีเลือด เ พี ย ง พ อ ต อ ความตองการ คนตางชาติไดเห็นเชนนี้ก็ ซึ้งใจวาไทยเรามีนํ้าใจ และหลังจากนี้ทางสมาคมฯ และ สมาคมการทองเที่ยวอื1น ๆ รวมถึงหนวย งานภาครัฐทีเ่ กีย่ วของก็ตอ งมาหารือรวม กันเกีย่ วกับปญหาและแนวทางการแกไข ปญหาซึ่งตองใชเวลาอยางรวดเร็วมาก ทีส่ ดุ เพราะธุรกิจการทองเทีย่ วถือวาเปน ธุรกิจหลักที่จะประคองเศรษฐกิจไทยให อยูรอดนั่นเอง
ชมรมรถรวม สขมก. ในกรุงเทพฯและปริมณฑล
คุ ณ บรรยงค อํ า พรตระกู ล ประธานชมรมรถร ว ม ขสมก.ใน กรุงเทพฯและปริมณฑล กลาววา จาก ที่ทาง ขสมก. จะทําการปรับเปลี่ยน รถเมลใหมนั้น คงจะเปนไปไดยากและ ตองใชเวลานาน อยางลาสุดการประมูล รถเมลเครื1องยนต NGV จํานวน 249 คัน ก็ตอ งลาชาออกไป เพราะคาใชจา ย ในการซอมบํารุงดูแลวไมโปรงใส ตอง มีการฟองรองเกิดขึ้นแน สวนรถเมล ไฟฟานั้น นาจะเกิด ขึ้นไดตั้งนานแลว เพราะสามารถชวย ใหมกี ารประหยัดพลังงานเชือ้ เพลิงได เปนอยางมาก แตไดมพี นักงาน ขสมก. ไดบอกกับผูบริหารวา รถไฟฟามีราคา สูงถึง 15 ลานบาท ในขณะที่มีอีกราย หนึ่งเสนอไปที่ 12 ลานบาท และเรื1อง นี้ก็ตองลาชาออกไปแน เพราะขนาด รถเมลเครือ1 งยนต NGV ยังไมเดินหนา เลย สวนเรื1องรถเมลฟรี 800 คัน เรื1อง นี้ ไดเริ่มมาหลายรัฐบาลแลว คาดวา คงจะตอเวลาออกไปเรื1อย ๆ แมวา ทาง ขสมก.จะตอง เสียคาใชจาย เป น จํ า นวน มาก แทนที่ จะหาวิ ธี ก าร อื1น ที่ ใ ช เ งิ น ทุนนอยกวานี้ ก็ตาม สําหรับ เรื1องการปรับ ครม.ชุดใหมนี้ มีความเห็นวารัฐมนตรี วาการกระทรวงคมนาคมคนใหมยงั ไม สามารถแก ไขปญหาการคมนาคมได อยางถูกตองในเวลารวดเร็ว เพราะยัง คงมีปญ หาใหแกไขอีกเปนจํานวนมาก ไมวาจะเปนปญหาเกาบวกกับปญหา ที่ เ กิ ด ขึ้ น ใหม รวมไปถึ ง ป ญ หาใน อนาคต ซึง่ รถเมลใหมทเี่ ปนความหวัง ของคนกรุงเทพฯและปริมณฑลก็ตอง อดใจรอกันไปอีกนาน
จอดพั ก
8/31/2558 BE 9:25 PM
GOSSIP • BUS&TRUCK 19
ปกษแรก • กันยายน 2558
ชุมทางขนส่ง
สวั ส ดี ค รั บ เพื1อ นๆ สมาชิ ก นิตยสาร BUS & TRUCK ทุกทาน มา พบกันอีกแลวใน ฉบับที่ 277 ปกษแรก เดือนกันยายน 2558 เปนอยางไรกัน บาง หวังวาทุกทานคงจะสบายดี ไมมี เรื1องหนักใจเทาไรนัก ตอไปนี้จะมีทั้ง เรื1องที่มีสาระและไมมีสาระของวงการ ขนสงมาเลาสูก นั ฟง เพื1อทีจ่ ะไดเปนการ สรางสีสันในชีวิตประจําวัน
เริ่มกันที่ คุณฌาคส มิเชล CEO วอลโว กรุป ถือไดวาเปนผูสราง ประวัติการณ ใหกับวงการรถใหญ ดวย การนําสื1อมวลชนจากหลายสํานักพิมพไป ทําการแขงขันขับรถใหญ วอลโว หากใคร ขับประหยัดนํา้ มันมากทีส่ ดุ ก็จะไดไปรวม ชิงดํากับสื1อมวลชนจากตางประเทศใน รายการ FuelWatch Competition Asia 2015 ในวันที่ 15-18 ก.ย. 2558 ศกนี้ ณ สนามแกงกระจาน เซอรกติ จ.เพชรบุรี พรอมทัง้ ยังถามสื1อมวลชนวา หากวอลโว จะจัดการแขงขันในปหนาอีกจะมาหรือ ไม? สื1อมวลชนก็พรอมกันตอบวา “มา ๆ จั ด อี ก ๆ” คํ า ตอบก็ เ ป น ไปตามความ ตองการ โดยวอลโวจะจัดใหอีก นี่แหละ ถือเปนการทําประชาสัมพันธที่ถูกตอง แลว เพราะจะมีขาว วอลโว ลงใหอยาง ตอเนื1องแน ด า น คุ ณ ตุ ก ตา หรื อ คุ ณ วิลาวัลย วิศปาแพว ที่มีตําแหนงสูงถึง รองประธานฝายการตลาด และสนับสนุน การขายของคายวอลโว ไดมาเปนลาม แปลภาษาให นั ก ข า วตอนสั ม ภาษณ ผู บ ริ ห ารวอลโว เมื1อ ทํ า การแนะนํ า ผู บริหารระดับสูงตาง ๆ เรียบรอยแลว ไม ยอมแนะนําตําแหนงของตัวเอง จนนัก ขาวแซววา “แลวคุณตุกตา ตําแหนง อะไร?” และ คุณฌาคส มิเชล ชวยเสริม วา Who Are You? คุณตุกตา จึงบอก ตําแหนงตัวเองแบบเขิน ๆ แบบนีก้ น็ า รัก ดี และได ใจนักขาวไปอยางเต็ม ๆ ขณะที่ คุณกําลาภ ศิริกิตติวัฒน รองประธาน วอลโว อีกคน ถือเปน ผูท มี่ ปี ระสบการณสงู เพราะไดไปทํางาน ที่ ป ระเทศจี น มากว า 4 ป เรี ย นรู
R1_B&T#277_p18-21_iMac2.indd 19
ปตท. จัดงาน Safety Day ครั้งที่ 24 ตอกยํ้ามาตรฐานความปลอดภัย
คุณธีรวุฒิ ศิริวรรณ รองผูวาราชการจังหวัดชลบุรี เปนประธานเปดงาน “วันความ ปลอดภัย สายปฏิบตั กิ ารคลังปโตรเลียม หนวยธุรกิจนํา้ มัน ครัง้ ที่ 24 ประจําป 2558” พรอม ดวย คุณสรัญ รังคสิริ ประธานเจาหนาที่ปฏิบัติการกลุมธุรกิจปโตรเลียมขั้นปลาย บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ณ คลังกาซบานโรงโปะ จ.ชลบุรี เพื1อรณรงคสงเสริมใหประชาชนและ เยาวชน ไดรับความรู ความเขาใจ เรื1องความปลอดภัยในการปฏิบัติงานทุกขั้นตอน และการ ดําเนินงานของ ปตท. ภายใตนโยบาย “คุณภาพ ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสิง่ แวดลอม”
ประสบการณตา ง ๆ อยางมากมาย มีคา ย รถใหญคูแขงเปนจํานวนมาก เพราะใน แต ล ะป จ ะมี ย อดขายรถใหญ ม ากกว า 800,000 คั น ที เ ดี ย ว ซึ่ ง รู ป แบบการ บริหารงานตาง ๆ ในประเทศจีน ก็เปน รู ป แบบเดี ย วกั บ เมื อ งไทย ทํ า ให ก าร ทํางานก็ยังเปนในแนวทางเดียวกัน แต ประกาศออกมาอย า งมั่ น ใจว า ถึ ง แม เศรษฐกิจโดยรวมของป 58 นี้ จะแยกวา ป 57 แตยอดขายของรถใหญวอลโว จะ ตองทําไดมากกวาปที่แลว หลังจากพูด จบก็มรี อยยิม้ ออกมาแสดงถึงความมัน่ ใจ เอาใจชวย สู ๆ ครับ เพื1อ เป น การตอกยํ้ า ถึ ง รู ป ลั ก ษณ อั น ทั น สมั ย และการใช ง านที่ สะดวกและงายตอการขับขี่ของรถยู ดี ทรัคส ทีอ่ ยูใ นเครือเดียวกันกับวอลโว จึง ไดจัดทําภาพยนตรสะทอนความงายใน การขับขี่ ยูดี เควสเตอร ความยาว 2.20 นาที Upload ฉายใน YouTube โดย ภาพยนตรนี้ ไดใชพนักงานขับรถหญิงชื1อ คุณจริยา คําภักดี พนักงานขับรถบรรทุก บริษทั พันธทพิ ย ทรานซ เซอรวสิ จํากัด ซึ่งเปนผู ใหบริการรถบรรทุกสินคายาน ปทุ ม ธานี โดยให บ ริ ก ารขนส ง ทั่ ว ราช อาณาจั ก รและประเทศเพื1อ นบ า น โฆษณาตัวนี้ใชพนักงานขับรถผูหญิงใน การเดินเรื1องก็เพื1อตอกยํ้าวายูดี เควสเตอร เป น รถที่ ง า ยต อ การขั บ ขี่ มี สิ่ ง อํานวยความสะดวกครบครัน ไมจุกจิก และประหยัดนํา้ มัน แมแตผหู ญิงก็ยงั ขับ ได แหม...ชางเรียกเรตติ้งไดดีจริง ๆ สวน พี่เอ หรือ คุณธนภัทร อินทวิพันธุ รองประธานคาย ฟูโซ ถือได วาเปนคนเกงทีห่ าตัวจับยากจริง ๆ เพราะ ไดวางกุลยุทธวา จะนํารถรุน ไหนทีเ่ ปนรถ ใหมของคายฟูโซ ที่ประกอบในโรงงาน เดมเลอร ประเทศอินเดีย มาบุกตลาดใน เมืองไทย อยางเมื1อวันที่ 13 ส.ค. 58 ที่ ผานมา ไดทําพิธีเปดตัวรถรุนใหมถึง 5 รุนในเวลาเดียวกัน และก็สามารถตอบ โจทยวงการขนสงไดเปนอยางดี มียอด จองมากถึง 40 คันทีเดียว และเมื1อทํา โรดโชว 21 แหงทั่วประเทศ จะชวยผลัก
วอลโว ทรัคส ไดนักขับประหยัดนํ้ามันไทยสูสนาม APAC Final
ผลการแข ง ขั น คั ด เลื อ กนั ก ขั บ ประหยั ด นํ้ า มั น สนามประเทศไทย FuelWatch Competition 2015 ปรากฏวา คุณสุเทพ ปกครึก จากบริษัท เอ็มเอ็ม ลอจิสติกส จํากัด ควาแชมปปนี้ และจะเปนตัวแทนเขารวมแขงขัน APAC Final FuelWatch Competition ทีป่ ระเทศไทยเปนเจาภาพในปนี้ ซึง่ จะจัดขึน้ ระหวางวันที่ 15 – 18 กันยายนนีท้ จี่ งั หวัดเพชรบุรี โดยจะมีประเทศในแถบเอเชียแปซิฟค เขารวมแขงขันทัง้ สิน้ 12 ประเทศ ผูช นะจากการแขงขัน APAC Final FuelWatch Competition จะไดรับสิทธิ์เขารวมแขงขัน Volvo Trucks Driver’s Fuel Challenge ที่ประเทศสวีเดนในป 2559
ฮอนดา รวมรณรงค “TRS เครือขายจราจรอุนใจ ขับขี่ปลอดภัยกับฮอนดา”
บริษัท ฮอนดา ออโตโมบิล (ประเทศไทย) จํากัด รวมกับ สถานีวิทยุจราจรเพื1อสังคม FM 99.5 จัดอบรมขับขี่ปลอดภัยภายใต โครงการ “TRS เครือขายจราจรอุนใจ ขับขี่ปลอด ภัยกับฮอนดา” ใหกับนักศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต จํานวน 100 คน โดยมีการอบรมทั้งภาค ทฤษฎีและการสาธิตในหัวขอตาง ๆ ไดแก มารยาทในการขับรถ กฎและเครื1องหมายจราจร การบํารุงรักษารถยนตเบือ้ งตน การเตรียมพรอมกอนการขับรถ การสาธิตการทํางานของระบบ เบรก เพื1อนําไปประยุกตใช ในชีวิตประจําวัน ผูที่สนใจสามารถสมัครไดตั้งแตวันนี้ ที่ TRS Contact Center 1255 ตลอด 24 ชั่วโมง โดยไม เสียคาใชจาย
สแกนเนีย จับมือ ซี แอนด อาร เทคโนโลยี รุกตลาดเครื่องกําเนิดไฟฟาในไทย
มร.สเตฟาน ดอรสกี กรรมการผูจัดการ คุณสุภวิชย สีมาบรรพ ผูจัดการฝายขาย เครื1องยนต บริษทั สแกนเนีย สยาม จํากัด และ คุณรักษพล โสมนะพันธ กรรมการผูจ ดั การ บริษทั ซี แอนด อาร เทคโนโลยี จํากัด จับมือเดินหนารุกตลาดเครื1องกําเนิดไฟฟาประสิทธิภาพ สูงในประเทศไทย พรอมรวมกันสงมอบเครื1องกําเนินไฟฟา สแกนเนีย รุน SG550 เครื1องแรก แก คุณอภิวัฒน ชูติพัฒนะ ผูจัดการฝายวิศวกรรม กลุมบริษัท แอลซีบีวัน กรุป เพื1อใชเปน เครื1องกําเนิดไฟฟาสําหรับระบบสํารองและจายไฟใหกบั ตูค อนเทนเนอรบรรจุอาหารแชแข็งใน ทาเรือแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี เมื1อเร็ว ๆ นี้
8/31/2558 BE 9:26 PM
20 BUS&TRUCK • GOSSIP
ปกษแรก • กันยายน 2558
ชุมทางขนส่ง
ดันใหคาย ฟูโซ ขายไดมากถึง 1,680 คัน ตามเปาที่วางไวอยางแนนอน ตองยกให เปนฮีโรของคายฟูโซเลยทีเดียว มาที่ พี่เสา หรือ คุณรินรดี วงศ ทิ พ ยพานิ ช กรรมการผู จั ด การ บริ ษั ท เอ็ ม .ซี . ซี . ทรั ค แอนด บั ส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด ไดขาววาขาย ทีด่ นิ ไดมลู คากวา 40 ลานบาท เห็นวาคน ซื้อจะนําไปกอสรางเปนหางแม็กโคร ถา เปนเชนนั้นจริง บริเวณนี้เจริญขึ้นอยาง แนนอน ตรงนี้ ไมไดเปดเผยมาจาก พีเ่ สา
แตที่เปรยปากหวาน ๆ ออกมา คือ จะ เขารวมงาน BUS & TRUCK ’15 ที่จะจัด ขึ้นวันที่ 5 - 7 พ.ย. ศกนี้ ณ ไบเทค กรุงเทพฯ แบบนี้กองบรรณาธิการ BUS & TRUCK รักตายเลย เมื1อ พู ด ถึ ง ค า ย เบสท ริ น ใคร ๆ ก็รูจัก คุณหลิน เขอ นัว ประธาน กรรมการ คายเบสทริน กรุป ที่จําหนาย รถโดยสารยี่หอ ซันลอง ถือไดวาเปนผู บุกเบิกรถโดยสารยี่หอ ซันลอง เปนราย แรกของประเทศไทย ปจจุบันนี้มีวิ่งบน
ทองถนนมากกวา 8,000 คันแลว โดยสิ่ง ทีส่ าํ คัญในการทําตลาดไดมากมายขนาด นี้ ก็คือพนักงานซอมบํารุง ที่ชวยบริการ ใหรถของลูกคาไมตองหยุดวิ่ง เพราะจะ เสียรายได ชางทุกคนจึงมีฝม อื และความ เชี่ยวชาญเปนอยางดี ทําใหลูกคานํารถ เข า มาซ อ มทํ า การซื้ อ ตั ว ช า งซ อ มของ บริษัทไปทํางานที่อูของตัวเอง โดยเฉลี่ย จะเพิ่มเงินใหเพียง 1,000-2,000 บาท เทานั้น ซึ่งถือวาเปนการคิดสั้น เพราะ ทางเบสทรนิ ใหสวัสดิการ ดูแลความเจ็บ ปวยทัง้ ครอบครัว มอบคาเรียนใหกบั บุตร หลาน เรียกไดวาเหมือนสวัสดิการของ รั ฐ วิ ส าหกิ จ เลย ดู แ ลขนาดนี้ ทํ า กั น ได ลงคอ นาสงสารจริง ๆ เมื1อ กล า วถึ ง ค า ย MAN ก็ ถือวาโชคดีมาก ที่ พี่เจ หรือ คุณยุทธนา สมประยู ร เจ า ของบริ ษั ท เค-แมน ออโต เซอรวิส จํากัด เปนผูที่มีใจรักรถ ใหญ MAN อยางแทจริง จึงมาของเปน ดีลเลอร MAN รายแรกในเมืองไทยเลย ที เ ดี ย ว สาเหตุ ก็ เ ป น เพราะได ใ ช ร ถ โดยสาร ยี่หอ MAN มากวา 20 คัน ไม เคยมีปญหาหนักแตอยางใด สามารถ ทํางานไดอยางราบรื1น จึงตองการทีจ่ ะให
กลุมรถโดยสารไดรูจักรถใหญยี่หอนี้เพิ่ม มากขึน้ โดยรับปากวา จะดูแลดานบริการ หลังการขายใหอยางเต็มตัว พรอมทั้งจะ ผลักดันรถบรรทุก MAN ใหภาคตะวัน ออกได รู จั ก เพิ่ ม มากขึ้ น อี ก เมื1อ เพื1อ น ขนส ง ได รั บ งานในโครงการก อ สร า ง ตาง ๆ ก็จะนําเสนอใหเพื1อนไดลองใชรถ กอน รับรองไดวาตองไดรับการยอมรับที่ ดี จึงเชื1อในฝมอื ตอไปรถใหญ MAN ตอง ดังแน สุ ด ท า ยต อ งขอแนะนํ า ปกษแรก กันยายน 2558
สาว MITSUBISHI
B&T#277_p18-21_iMac2.indd 20
8/29/2558 BE 12:36 AM
GOSSIP • BUS&TRUCK
ปกษแรก • กันยายน 2558
21
นิปปอนเพนตบริจาคเงินและสิ่งของใหวัดพระบาทนํ้าพุ
นิปปอนเพนตบริจาคเงินและสิ่งของใหวัดพระบาทนํ้าพุ โดยคุณหฤษฎี สายสวาง (ที่ 2 จากซาย) ผูจัดการแผนกทรัพยากรบุคคล บริษัท นิปปอนเพนต (ประเทศไทย) จํากัด หนวย ธุรกิจสีพน ซอมรถยนต รวมกับพนักงานและผูม จี ติ ศรัทธา บริจาคเงินและสิง่ ของใหวดั พระบาท นํ้าพุ จ.ลพบุรี มูลคา 40,000 บาท เพื1อชวยเหลือผูติดเชื้อและผูปวยโรคเอดส โดยมี พระอุดม ประชาทร (อลงกต ติกฺขป ฺโญ) เจาอาวาสวัดพระบาทนํ้าพุ เปนผูรับมอบ
อาจารยปอ หรือ คุณนภัทร ปนเหนงเพชร อาจารยเลขลิขิต ผูชํานาญในการ ดูตัวเลข สงเสริมทั้งการงาน ความรัก โชคลาภ และวาสนา จนมีหลายบริษทั ชัน้ นําใหเปนทีป่ รึกษาบริษทั มีผทู ใี่ หอาจารย ปอ เปลี่ยนตัวเลขมือถือมากกวา 1,000 ราย ซึง่ ตางสมหวังดังทีค่ ดิ ทัง้ ในปจจุบนั และส ง ไปถึ ง อนาคตด ว ย หากคนใน วงการขนสงอยากไดตวั เลขทะเบียน เพื1อ ชวยใหรถขนสงมีความปลอดภัยไมเกิด อุบัติเหตุก็สามารถติดตออาจารยปอไดที่
ขอแสดงความยิ น ดี ใ นงานมงคล สมรส คุณมลฤดี หรายมณี และ คุณธีรศักดิ์ เชิงชั้น ผูชวยผูจัดการฝายการตลาด บริษัท พนัส แอสเซมบลีย จํากัด ขอใหครองชีวิต กันอยางมีความสุข รํา่ รวยเงินทอง มีลกู เต็ม บานมีหลานเต็มเมือง
YouTube -ปอ นางฟาเลขลิขิต ไดตลอด 24 ชม. ความเจริญรุงเรืองก็จะเขามาหา พบกันใหมในฉบับหนา สวัสดีครับ
อีซูซุรับมอบประกาศเกียรติคุณในคายศิลปะเพื่อมวลมนุษย Art for All 2558
คุณสรรวรส พุทธเจริญลาภ รองผูจัดการทั่วไป บริษัท ตรีเพชรอีซูซุเซลส จํากัด รับ มอบประกาศเกียรติคุณในนามมูลนิธิกลุมอีซูซุจากศาสตราจารยเกียรติคุณ นายแพทยเกษม วัฒนชัย องคมนตรี ในพิธีเปดคายศิลปะเพื1อมวลมนุษย “Art for All : พลังแหงอาเซียน” ในฐานะผูทําประโยชนแกสังคม โดยมอบเงินสนับสนุนโครงการจํานวน 400,000 บาท มี วัตถุประสงคเพื1อพัฒนาคุณภาพชีวติ ใหกบั เยาวชนผูพ กิ ารและผูด อ ยโอกาส ผานกิจกรรมในคาย ศิลปะไดอยางมีความสุข ณ องคการสหประชาชาติ กรุงเทพมหานคร
เชฟโรเลตตอสัญญากับโครงการวัน เวิลด เพลย บริจาคฟุตบอล เพิ่ม 2 ลานลูก
โครงการวัน เวิลด เพลย และเชฟโรเลต ซึ่งเปนผูสนับสนุนหลัก ขยายความรวมมือ และสานตอความมุงมั่นในการมอบ “พลังแหงการเลน” ใหแกเด็กและเยาวชนทั่วโลก รวมถึง ในประเทศไทยอยางตอเนื1อง ดวยการมอบวัน เวิลด ฟุตบอลที่มีโลโกเชฟโรเลต ซึ่งเปนลูก ฟุตบอลชนิดแรกและชนิดเดียวในโลกทีม่ คี วามทนทานสูง ไมจาํ เปนตองสูบลม และไมมวี นั แบน แมจะถูกเจาะ จํานวน 2 ลานลูกภายในสิ้นป 2561 ปจจุบันเชฟโรเลตและโครงการวัน เวิลด เพลย มอบวัน เวิลด ฟุตบอลไปแลว 1.5 ลานลูกทั่วโลก สรางพลังบวกใหแกผูคนประมาณ 45 ลานคนใน 94 ประเทศ
ดีเอชแอล ปลูกตนกลาเฉลิมพระเกียรติ 83 พรรษา มหาราชินี
ดีเอชแอล รวมกิจกรรม ”ปลูกตนกลาเฉลิมพระเกียรติ เพื1อแมของแผนดิน” เนื1องใน โอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา 83 พรรษา มหาราชินี พรอมดวยกองการบินทหารเรือและ สนามบินนานาชาติอตู ะเภา ดวยความรวมมือจากกรมปาไม โดยปลูกตนมะฮอกกานี ตนพะยูง และตนสัก จํานวน 1,800 ตน บนพื้นที่ 9 ไร (14,400 ตารางเมตร) ในอําเภอสัตหีบ มีพนักงาน ของดีเอชแอลกวา 50 คน เขารวมโครงการปลูก ‘ตนกลา’ ในฐานะทีเ่ ปนสวนหนึง่ ของกิจกรรม วันจิตอาสาโลกประจําปของกลุมบริษัทดอยช โพสต ดีเอชแอล
B&T#277_p18-21_iMac2.indd 21
8/29/2558 BE 12:36 AM
22 BUS&TRUCK • VITSIT
ปกษแรก • กันยายน 2558
แวะเวียน
สแกนเนีย
เสริมศักยภาพภาคใตขยายศูนยหาดใหญ
สแกนเนีย ขยายศูนยบริการหาดใหญ รองรับลูกคาภาคใตสามารถใหบริการไดสูงสุด 240 คันตอเดือน เล็ง แชสซีสโดยสารรุนใหม K410 EB6x2*4 ที่มีความยาว 13.6 เมตร และ รถบรรทุกรุน P360 LA6x2MSZ ที่เนน ความประหยัดนํ้ามันเชื้อเพลิงเปนหลัก และ P410 LA6x4MSZ ที่เนนตอบสนองงานบรรทุกหนัก และทางขึ้นเขา ทางลาดชัน เขามาเสริมตลาดลูกคาภาคใต
คุณภูรวิ ทั น รักอินทร ผูอ าํ นวย การฝายปฏิบัติการประจําภูมิภาค บริษทั สแกนเนีย สยาม จํากัด กลาว ถึ ง การขยายศั ก ยภาพศู น ย บ ริ ก าร หาดใหญ เพื1อรองรับกับการเติบโต ข อ ง กลุ มลู กค าใ น ภ าค ใ ต ข อ ง สแกนเนีย วา หาดใหญ ถือเปนหนึ่ง ในจุดยุทธศาสตรสําคัญของภาคใต เนื1องจากเปนจุดเชื1อมตอไปไดทงั้ ภาค ใตตอนบน ภาคใตตอนลาง รวมไปถึง ประเทศเพื1อนบานอยาง มาเลเซีย และสิงคโปร ซึ่งการเปด AEC เปน ปจจัยสําคัญที่ทําใหภาคธุรกิจขนสง และโลจิ ส ติ ก ส เ กิ ด การตื1น ตั ว ผู ประกอบการขนสงสินคาจําเปนตอง มี ก า ร พั ฒ น า ศั ก ย ภ า พ แ ล ะ ประสิทธิภาพทางธุรกิจใหสามารถ แข ง ขั น ได สแกนเนีย ซึ่งไดรับ การ ยอมรั บ จากทั่ ว โลกว า เป น รถที่ มี เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่นําสมัย มี ประสิทธิภาพ มีความปลอดภัยสูง และเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม จึงเปน ตัวเลือกอันดับตนของผูประกอบการ ที่ตองการพัฒนาศักยภาพและเลือก ผลิ ต ภั ณ ฑ ที่ มี ค วามคุ ม ค า ต อ การ ลงทุน การขยายศักยภาพศูนยบริการ หาดใหญในครั้งนี้ เปนการยายจาก ศูนยบริการเดิม มายังสถานที่ใหมซึ่ง มีพื้นที่ถึง 5 ไร โดยเริ่มเปดใหบริการ ตั้งแตวันที่ 1 กรกฎาคม 2558 ที่ผาน
B&T#277_p22-23_iMac2.indd 22
มา ศู น ย บ ริ ก ารแห ง ใหม น้ี ไ ด รั บ การ ออกแบบตามมาตรฐานศู น ย บ ริ ก าร
สแกนเนียทัว่ โลก และ มีการใหบริการ กับลูกคาอยางครบวงจรทั้งในดาน ของการขาย การใหบริการ และการ ซอมบํารุงรักษา ในลักษณะของ Total Solutions โดยในการใหบริการซอมและ บํารุงรักษานั้น มีการเพิ่มชองบริการ จาก 3 ชอง เปน 6 ชอง ทําใหสามารถ ใหบริการซอมบํารุงทั่วไปไดถึงวันละ 14 คัน หรือ 420 คันตอเดือน ซึ่งจะ อยูในการดูแลของชางสแกนเนีย ที่มี ประสบการณและผานการอบรมใน การตรวจวิเคราะหการซอมบํารุงมา อยางเชีย่ วชาญ ทําใหวเิ คราะหปญ หา ตาง ๆ ไดอยางตรงจุด สงผลให ใช ระยะเวลาในการซอมบํารุงรักษารถ สแกนเนียนอยลง สวนดานอะไหลนนั้ ศู น ย บ ริ ก ารหาดใหญ มี ก ารสต็ อ ก อะไหลไวเพื1อใหบริการตลอดเวลา แต ในกรณี ที่ จํ า เป น จะต อ งมี ก ารสั่ ง อะไหลจากตางประเทศ ก็สามารถได รับอะไหลภายในระยะเวลา 3 วัน ทําการ สําหรับลูกคาที่นํารถเขามาใช ศูนยบริการสแกนเนีย หาดใหญ ใน ชวงนี้ จะไดรบั โปรโมชัน่ พิเศษสําหรับ การตรวจเช็คสภาพรถฟรี ลดคาแรง 20% และลดคาอะไหล 10% ถึงวันที่ 15 กันยายน 2558 สอบถามขอมูล เพิ่ ม เติ ม ศู น ย บ ริ ก าร สแกนเนี ย หาดใหญ ได ที่ โทร.074-457576 แฟกซ 074-457573
8/29/2558 BE 12:40 AM
YUTONG
บริการด้วยมาตรฐาน ที่่รองรับความต้องการ จากลูกค้าทัว่ ประเทศ
พบกับข้อเสนอพิเศษสุดวันนี้ ท่ี
YUTONG THAILAND HOTLINE
China’s No.1 Bus Brand
โทร: 085-385-0531, 061-385-1806 และ 085-978-5510 อีเมล: niext@yutong.com weitaob@yutong.com เว็บไซต์: http://yutong.com ZK6729D SPECIFICATION
ภายในหรูหรา พร้อมอุปกรณ์เซฟตีท้ ีท่ ันสมัย เราจึงมัน่ ใจในความปลอดภัย
ขนาดมิติ ความสูงภายใน เครื่องยนต์รุ่น ตำแหน่งเครื่องยนต์ อัตราการเผาผลาญเชื้อเพลิง เพลาขับหน้า-หลังแบบ ระบบกันสะเทือน จำนวนที่นั่ง ระบบปรับอากาศ
7,150mm.x2,240 mm.x2,940 mm. 1,840 mm. YC4D130-30 (ยูโร 3) วางหน้า 4.2 ต่อลิตร Yutong เพลา ดรัมเบรก Leaf spring 22+1/ 20+1/18+1 เครื่องปรับอากาศ Yutong (ระบายความร้อน 160 16000kcal /h, Bock Compressor)
YUTONG ผู้ผลิตยานยนต์โดยใช้เครื่องมืออันทันสมัยที่่ให้ความแม่นยำ
พร้อมด้วยขัน้ ตอนการตรวจสอบคุณภาพ (QC) รวมถึ งการออกแบบโครงสร้าง ่ พืน้ ฐานที่เ่ ป็นมาตรฐานและปลอดภัยจนได้รับการยอมรับไปทัวทุกมุมโลก
B&T#277_p22-23_iMac2.indd 23
8/29/2558 BE 12:40 AM
24 BUS&TRUCK • COMPARISON
ปกษแรก • กันยายน 2558
เปรียบเทียบรถเด่น
หัวลากญี่ปุนทางไกล สมรรถนะทร
HINO FM2P
FV 5138 SUPER GREAT บริษัท ฟูโซ ทรัค (ประเทศไทย) จํากัด เปนผูจัดจําหนายรถบรรทุกเพื่อการพาณิชยภายใตแบรนด ฟูโซ ซึ่งมี จําหนายมากกวา 50 ประเทศทั่วโลก และปจจุบันฟูโซ อยูในกลุม เดมเลอร กรุป ซึ่งประกอบดวย เมอรซิเดส เบนซ และ เฟรทไลเนอร กลุมที่มียอดผลิตรถบรรทุกเปนอันดับ 1 ของโลก
บริษัท ฮีโนมอเตอรสเซลส (ประเทศไทย) จําก รถบรรทุกหัวลาก รูปลักษณที่สุดแหงความสะดวก
Super Great 380 High Speed ได รับการพัฒนาใหมอี ตั ราเฟองทายใหมอยู ที่ 4.625 เปนรถหัวลาก 10 ลอ 2 เพลา รุน FV 5138 มาพรอมเครื1องยนต 6M701AT3 สัมผัสประสบการณเหนือพลังการ ขับขี่ ดวยสุดยอดสมรรถนะเครื1องยนต อันทรงพลัง ประหยัดนํ้ามัน มลพิษตํ่า ดวยเทคโนโลยีนาํ สมัยระบบคอมมอนเรล ควบคุมดวยระบบคอมพิวเตอร มาตรฐาน ยูโร 3 ดีเซล 4 จังหวะ 6 สูบ ไดเร็ค อิ น เจ็ ค ชั่ น ระบายความร อ นด ว ยนํ้ า พร อ มอิ น เตอร คู ล เลอร ให พ ลั ง 380 แรงมา กําลังสูงสุด 279 กิโลวัตต ที่ 2,200 รอบตอนาที แรงบิดสูงสุด 1,618 นิ ว ตั น -เมตร ที่ 1,200 รอบต อ นาที สามารถทํางานที่รอบเครื1องยนตตํ่ารวม กับสปลิทเตอรเกียร เพิ่มพลังฉุดไดมาก ขึ้น แมงานบรรทุกหนักเปนพิเศษ ความ จุกระบอกสูบ 12,882 ซีซี.ความเร็วสูงสุด 103 กิโลเมตรตอชั่วโมง
กําลังที่ดีกวาและประหยัดนํ้ามัน สราง ความมั่นใจใหแกผูขับขี่ดวยระบบเบรก แบบลมลวน พรอมเบรกไอเสีย ที่ชวย เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการเบรกบนทาง ลาดชันเพื1อยืดอายุการใชงานของระบบ เบรก และเพิม่ ความปลอดภัยในการขับขี่
กลาวไดวา FM2P เปนรถบรรทุก อเนกประสงค เต็มเปย มดวยพลังบรรทุก ประหยัดเหมาะสมคุมคากับในเมืองและ นอกเมืองอยางแทจริง อีกทัง้ ยังคํานึงถึง สิ่งแวดลอม พรอมทั้งความทนทานและ ความประหยัดที่ลํ้าหนาเกินใครไปอีกขั้น ดวยเทคโนโลยี “พรีเมียม คอมมอลเรล”
ระบบเกียรสงกําลังแบบ 10 เกียร เดินหนา HI–LOW เกียร 2-5 ซินโครเมซ รุน M130S2X5 ใหประสิทธิภาพการสง
FV 5138 Super Great 380 High Speed คันนีน้ าํ้ หนักรวมบรรทุกอยูท ี่ 50.5 ตันและไดมีการทดสอบแลววามีความ
นุมนวลปลอดภัย
B&T#277_p24-25_iMac2.indd 24
ขับขี่สบายอยางมีเอกลักษณ
ภายในหองโดยสารลงตัวหรูหรา กวางขวาง เบาะนั่งแบบปรับไดหลาย ระดั บ ตามสรี ร ะของผู ขั บ ขี่ เพิ่ ม พื้ น ที่ เหนื อ ศี ร ษะและช อ งเก็ บ ของส ว นตั ว บันไดขึ้นลงติดตั้งอยูในระดับตํ่าขึ้นลงได ง า ยกว า FV 5138 มี ห อ งโดยสาร อเนกประสงคแบบสองตอน ทั้งหมดนี้ เพื1อผอนคลายความเหน็ดเหนือ1 ยเมื1อยลา ในการขั บ ขี่ ตามแนวคิ ด ของการ สรางสรรคดุลยภาพแหงความสมบูรณ แบบ (The Perfect Balance) ซึ่งมีความ สําคัญอยางยิ่งตอการขับขี่ที่ปลอดภัย และมีประสิทธิภาพ
บรรทุกหนักคุมสุดขีด
ประหยัดในการขนสงไดดกี วา โดยผลการ จากทดสอบปรากฏวา Super Great 380 High Speed มีอัตราการประหยัดนํ้ามัน จากเดิม 2.78 กิโลเมตรตอลิตรเปน 3.46 กิโลเมตรตอลิตร หรือ ประหยัดเพิ่มขึ้น จากเดิมกวา 20% และมีความโดดเดน และความทนทาน ทําใหงานทีย่ ากสําเร็จ ลุลวง และลดคาใชจาย จากขุมพลังของ เครื1องยนตที่มีประสิทธิภาพสูง และการ ออกแบบที่ทันสมัย
ขุมพลังขับเคลื่อน
สําหรับรถบรรทุกฮีโน 10 ลอ รุน
SPECIFICATION รายละเอียด ลักษณะ รุน เครื่องยนต แรงมาสูงสุด แรงบิดสูงสุด Nm/rpm กําลังสูงสุด kW/rpm ความเร็วสูงสุด กม./ชม. มาตรฐานไอเสีย รายละเอียดเพ�่มเติม
FUSO HINO รถหัวลาก 10 ลอ DIESEL FV5138 Super Great FM2PKLA 6M70-1AT3 P11C-UV 380 380 1,618/1,200 1,275/1,500 279/2,200 280/2,100 103 125 ยูโร 3 ยูโร 3
บร�ษัท ฟ�โซ ทรัค (ประเทศไทย) จํากัด โทร.0-2567-2897-99 บร�ษัท ฮีโนมอเตอรสเซลส (ประเทศไทย) จํากัด โทร.0-2900-5000
8/29/2558 BE 12:42 AM
SHOWROOM • BUS&TRUCK
ปกษแรก • กันยายน 2558
25
Showroom
นะทรงพลัง FJ1523 C
FJ 1523C รถโมปูคุณภาพสูงจากฟูโซ เปดตัวไปแลวสําหรับรุนนี้คืออีกหนึ่งรุนที่เขามา เจาะตลาดรถโมปูน ซึ่งถึงวาปนี้แรงมากสําหรับเซ็กเมนตนี้ของฟูโซ ซึ่งรุนนี้จะเขามาเสริมทัพ กระตุน ยอดขายเพิม่ มารเก็ตแชรดา นรถโมปนู ใหสงู ขึน้ มาพรอมเครื1องยนตรนุ 6S20-170 ขนาด 6 สูบ 4 จังหวะ ไดเร็คอินเจ็คชัน่ ระบายความรอนดวยนํา้ พรอมเทอรโบอินเตอรคลู เลอร ระบบ คอมมอนเรล ควบคุมดวย ECU กําลังสูงสุด 230 แรงงมา 170 กิโลวัตต ที่ 2,200 รอบตอนาที แรงบิดสูงสุด 810 นิวตันเมตร ที่ 1,200-1,600 รอบตอนาที ระบบสงกําลัง 6 เกียรเดินหนา 1 เกียรถอยหลัง แตสิ่งที่หนาสนใจอีกอยางคือโมปูนทางฟูโซเลือกใช โมยี่หอ Schwing Stetter เหมือนกับรุนขนาด 6 คิว สําหรับรุน FJ1523C ขนาด 4 คิว ก็ถูกนํามาใชเชนกัน รายละเอียดเพิ่มเติม : บริษัท ฟูโซ ทรัค (ประเทศไทย) จํากัด โทร.0-2567-2897
ระเทศไทย) จํากัด ผูนําแหงยนตรกรรมรถบรรทุกเพื่อการพาณิชย มาพรอมกับรถสุดยอด หงความสะดวกสบาย หรูหรา เสมือนขับขี่รถยนตนั่งสวนบุคคล
FM2PKLA เครื1องยนต P11C-UV พลัง แรง รวดเร็ว ฉับไว ประหยัดคุมคาดวย เทคโนโลยีเหนือชั้นดวยการจายระบบ คอมมอนเรล ควบคุมดวยคอมพิวเตอร เผาไหมแบบไดเร็คอินเจ็คชัน่ เครื1องยนต 4 จังหวะ 6 สูบ รีดพลังสูงสุดไดถึง 380 แรงมา กําลังสูงสุดที่ 280 กิโลวัตต ที่ 2,100 รอบตอนาที แรงบิดสูงสุดที่ 1,275 นิ ว ตั น -เมตร ที่ 1,500 รอบต อ นาที ความจุกระบอกสูบ 10,520 ซีซ.ี มาตรฐาน ไอเสียเปนมิตรสิ่งแวดลอม ยูโร 3
ระบบสงกําลังใหม
สุ ด ยอดเกี ย ร ที่ ถู ก ออกแบบด ว ย เทคโนโลยีทันสมัย แข็งแกรง ทนทาน ผลิตจากวัสดุคณ ุ ภาพสูง เคลือบดวยสาร ปองกันการสึกหรอ และลดความรอนใน หองเกียร ออกตัวรถดีกวาแมจะบรรทุก เต็มพิกดั ก็ตาม ทัง้ ใหพลังแรงบิดทีส่ งู กวา เดิมอีกดวย อัตราทดสัมพันธดวยเฟอง เร็ว กําลังไมมีตกและประหยัดเชื้อเพลิง เพิ่มขึ้น เนื1องจากผานการทดสอบทุก สภาพถนนในประเทศไทย อยางยาวนาน และตอเนื1อง
B&T#277_p24-25_iMac2.indd 25
หองโดยสารหรูหรา เสมือนขับรถยนตสวนบุคคล
เป น ความสะดวกสบายที่ ลํ้ า ค า หรูหรามีสไตล หองคนขับที่มีขนาดใหญ สบายตอการขับขี่ มีระบบคันเรงไฟฟา เพิม่ เติมชองเก็บของอเนกประสงคหลาย จุดงายตอการแยกเก็บสิง่ ของ แผงมาตร วั ด ขนาดใหญ แ ละชั ด เจน เสมื อ นขั บ รถยนตสวนบุคคล
FI1217C
FI1217C รถบรรทุกดัมพ 6 ลอ ที่เปดตัวไปแลวขณะนี้โดยรุนนี้ถือวาเปนรถบรรทุกดัมพ ที่มีขนาดเล็กและสามารถลงตลาดเทียบเคียงคูแขงที่มาจากประเทศเดียวกัน โดยมาพรอม เครื1องยนตดีเซลรุน 4D37 เชื้อเพลิงดีเซล 4 จังหวะ 6 สูบ ไดเร็คอินเจ็คชั่น ระบายความรอน ดวยนํ้า พรอมเทอรโบอินเตอรคูลเลอร ระบบคอมมอนเรล ควบคุมดวยคอมพิวเตอร กําลัง สูงสุด 170 แรงมา 125 กิโลวัตต ที่ 2,500 รอบตอนาที แรงบิดสูงสุด 520 นิวตัน เมตร ที่ 1,500 รอบตอนาที ระบบสงกําลัง 6 เกียรเดินหนา 1 เกียรถอยหลัง นํา้ หนักบรรทุกรวม 13,000 กิโลกรัม ความเร็วสูงสุด 80 กิโลเมตรตอชั่วโมง รายละเอียดเพิ่มเติม : บริษัท ฟูโซ ทรัค (ประเทศไทย) จํากัด โทร.0-2567-2897
รอบคอบทุกการขับขี่
ระบบเบรกลมดั น ล ว น 2 วงจร อิสระประกอบดวยกามเบรกแบบตัวนํา และตัวตามกระทําทุกลอ ใหประสิทธิภาพ ในการเบรกสูง และระบบเบรกที่เสริม ไอเสี ย ทํ า งานด ว ยลมดั น ควบคุ ม ด ว ย ไฟฟา ทํางานโดยใชกลไกในการเปดวาลว ไอเสียเพื1อลดแรงดันในหองเผาไหม ใน จั ง หวะระเบิ ด ทํ า ให ล ดกํ า ลั ง ของ เครื1องยนตตอ ดวยการเปดวาลวไอเสียใน จั ง หวะลู ก สู บ เลื1อ นลงทํ า ให เ กิ ด ภาวะ สุญญากาศในหองเผาไหม สงผลใหเกิด แรงหนวงการทํางานของเครื1องยนตชั่ว ข ณ ะ แ ล ะ นี่ คื อ เ ท ค นิ ค ก า ร เ พิ่ ม ประสิทธิภาพการเบรกขั้นสูง
FZ4928T
FZ4928T อีกหนึ่งรุนที่ถูกเอยถึงมากที่สุดในตอนนี้คือรถหัวลากสมรรถนะสูง ที่ทาง ฟูโซนํารถบรรทุกเมอรเซเดส-เบนซ รุน AXOR มาเปลี่ยนกระจังหนาเพียงอยางเดียวเทานั้น โดยเปนรุนที่นาจับตามองอีกหนึ่งรุนในตลาดขนสงในไทย มาพรอมเครื1องยนต ขนาด 6 สูบ 4 จังหวะ ไดเร็คอินเจ็คชั่น ระบายความรอนดวยนํ้า พรอมเทอรโบอินเตอรคูลเลอร ระบบคอม มอนเรล ควบคุมดวย ECU กําลังสูงสุด 280 แรงมา 205 กิโลวัตต ที่ 2,200 รอบตอนาที แรง บิดสูงสุด 1,100 นิวตันเมตร ที่ 1,200-1,600 รอบนาที ระบบสงกําลัง 9 เกียรเดินหนา เกียร ทดพิเศษ และเกียร 1-8 แบบซินโครเมซ นําหนักบรรทุกรวม 50,500 กิโลกรัม สามารถทําความ เร็วได 90 กิโลเมตรตอชั่วโมง โดยรุนนี้การันตีความแข็งแกรงจากฟูโซอีกดวย รายละเอียดเพิ่มเติม : บริษัท ฟูโซ ทรัค (ประเทศไทย) จํากัด โทร.0-2567-2897
8/29/2558 BE 12:43 AM
26 BUS&TRUCK • LOGISTICS FOCUS
ปกษแรก • กันยายน 2558
Logistics Focus
พัฒนา “ระนอง” ผลักดันสูประตูเชื่อม AEC/BIMSTEC
ระนองถือเปนจังหวัดที่นาสนใจ เพราะสามารถเชื่อมโยงไดทั้งอาเซียนและอาเซียนบวกหก ที่เชื่อมโยงกับ อาเซียนคือ เชือ ่ มกับเมียนมา และทีเ่ ชือ ่ มโยงกับอาเซียนบวกหกคือประเทศอินเดีย และจะทําอยางไรใหเศรษฐกิจระนอง นับจากนี้ไปตองเชื่อมโยงกับกลุมจังหวัดภาคใต เชื่อมอาเซียนและเชื่อมโยงกรอบความรวมมือ “Bay of Bengal Initiative for Multi-Sectoral Technical and Economic Cooperation หรือ BIMSTEC” ทีป ่ ระกอบดวยบังกลาเทศ ศรีลังกา อินเดีย เมียนมา เนปาล ภูฏานและไทย หรือตั้งเปาใหระนองเปน “ประตูเชื่อม AEC และ BIMSTEC”
การจะถึงฝนไดนนั้ ระนองตองมีเขต เศรษฐกิจพิเศษ โดยเนนอุตสาหกรรม ยางพารา ปาลมและอุตสาหกรรมประมง นอกจากตองเปนตลาดชายแดนระหวาง ระนองกั บ ภาคใต ข องเมี ย นมาคื อ เขต ตะนาวศรี (Tanintharyi) และศูนยกระจาย สินคาสูอินเดียและยางกุง หากพิจารณาขอมูลการคาพบวา ดานระนองมีมูลคาการคาเปนอันดับที่ สามของดานชายแดนไทยเมียนมา ระนอง สงออก 18,495 ลานบาท และนําเขา 1,503 ลานบาท มีการคาดวามูลคาการคา ชายแดนจะเพิ่ ม ขึ้ น 30-40% เพราะ เศรษฐกิจของเมียนมาดีวันดีคืน สินคาที่ ไทยสงไปยังเกาะสอง ไดแก นํ้ามันเชื้อ เพลิงสัดสวน 26% ปูนซิเมนตและเครื1อง ดื1มอยางละ 5% สวนสินคานําเขาจาก เมียนมา ไดแก ปลาปน และสัตวนํ้า สํ า หรั บ โครงสร า งพื้ น ฐานของ ระนองเพือ1 การเปนประตูสูอาเซียนและ บิมสเทคนั้น ถือไดวามีความพรอมระดับ หนึ่ง ปจจุบันมีการกอสรางถนน 4 ชอง จราจร ซึง่ อาจจะตองใชเวลาอีกสัก 2 หรือ 3 ป เมื1อเสร็จแลวจะสงผลตอการขนสง สินคาระหวางระนองกับกรุงเทพฯ และ ภูมภิ าคอื1น ๆ ของประเทศ รวมทัง้ การขน ถายสินคาไปสูภาคใต ตอนกลางและลาง อีกดวย (จากเดิมทีถ่ นนระหวางชุมพรเขา สูร ะนองนัน้ จะเปนทางคดเคีย้ วมากทําให ต อ งใช เ วลาในการเดิ น ทางและขนส ง สิ น ค า นาน) และขณะนี้ มี ส ายการบิ น ระหวางดอนเมืองกับระนองทุกวันทําใหมี ความสะดวกในการเดินทางทองเทีย่ วและ ติดตอทําธุรกิจ แตสงิ่ ทีร่ ะนองยังขาดและ จําเปนก็คือเสนทางรถไฟที่เชื1อมสถานี ของจังหวัดชุมพรกับระนองที่มีระยะทาง 110 กิโลเมตร สวนความพรอมดานทาเรือระนอง นั้ น อยู ใ นระดั บ สากลมาก เพราะเป น ทาเรือนํ้าลึกที่มีขนาดใหญที่สุดทางทะเล ฝงอันดามันของไทย สามารถรองรับตู คอนเทนเนอรขนาดใหญได ซึ่งจะกลาย เปนประตูเศรษฐกิจสําคัญของไทย โดย
B&T#277_p26-27_iMac5.indd 26
เปนฐานการขนสงหลักและกระจายตูสินคา ทางทะเลฝงอันดามันผานทาเรือระนองไป ยังประเทศเพื1อนบาน ไปทีน่ ครยางกุง เอเชีย ใต แอฟริกาและยุโรป รวมทั้งเชื1อมโยง ประเทศเพื1อ นบ า นและประเทศในกลุ ม BIMSTEC ปจจุบันเสนทางการขนสงสินคา ไทยไปยั ง อิ น เดี ย สู ท า เรื อ มุ ม ไบเริ่ ม จาก แหลมฉบั ง ไปยั ง ท า เรื อ สิ ง คโปร ท า เรื อ Klang Port ของมาเลเซียเขาอินเดียใชเวลา 12 วัน ในขณะไปทาเรือเชนไนใชเวลา 11 วัน และไปทาเรือยางกุงใชเวลา 9 วัน แตหากปจจัยหลาย ๆ อยางสนับสนุน และเสริ ม ให ท า เรื อ ระนองทํ า งานได เ ต็ ม ประสิทธิภาพจะทําใหระยะเวลาการขนสงไป
ยังตลาดอินเดีย เมียนมา ตะวันออกกลาง รวมทั้งยุโรปลดลงไป 3 ถึง 5 วัน อยางไร ก็ตาม ในระยะ 10 ปที่ผานมาเคยมีเรือของ ประเทศอินเดียชื1อวา “GATI Coast to Coast” ทําการขนสงสินคาระหวางอินเดีย กับระนองแตก็หยุดไป เหตุผลตรงนั้นเปน เพราะไมมีสินคาสงมาระนอง และเมื1อไม นานมานี้ก็มีบริษัทโลจิสติกสที่ทําการขนสง สินคาระหวางทาเรือระนองกับทาเรือยางกุง ก็มีขาววาจะหยุดการใหบริการ ไมทราบ สาเหตุวาเปนอยางไร ดังนั้น ทั้งสองกรณีนาจะเปนขอคิดที่ สํ า คั ญ ให กั บ ทุ ก ภาคส ว นที่ เ กี่ ย วข อ งที่ ตองการผลักดันใหระนองไปถึงฝนเปนประตู สูอาเซียนและบิมสเทค ถาให ไลเรียงปจจัย ใดที่เรงดวนตองทําเปนอันดับแรก ณ ขณะ นี้ คื อ การมี เ ส น ทางรถไฟพร อ มกั บ เขต เศรษฐกิ จ พิ เ ศษ ซึ่ ง แนวคิ ด การมี เ ขต เศรษฐกิจอาจจะเปนไดหลายรูปแบบ อาจจะ
เปนเขตอุตสาหกรรม หรือเขตสงออก (Export Processing Zone) อยางใดอยาง หนึ่ ง ตามความพร อ มของพื้ น ที่ คิ ด ว า ระนอง “Location” ถือวาเหมาะสมเชื1อม โ ล ก ไ ด เ ล ย ทั้ ง อิ น เ ดี ย เ มี ย น ม า ตะวันออกกลาง และยุโรป เพราะมีทา เรือ อยูแลว ในขณะที่แมสอดก็มีศักยภาพแต สามารถเชื1อมกับเมียนมาอยางเดียว และ กาญจนบุรหี ากจะเชื1อมสากลไดสาํ เร็จนัน้ ตองไปขึน้ กับ “ทาเรือทวาย” จึงอยากเห็น ทุกภาคสวนของระนองหาจุดออนและจุด แข็งในมิติตาง ๆ เมื1อพบแลวนําเสนอตอ หนวยงานที่เกี่ยวของใหรับทราบหรือสง เสียงใหสังคมไทยรับทราบดวยนาจะเปน ผลดีตอระนองในอนาคต ทาเรือขนสงคนจากระนองไปยัง เกาะสอง (Kaw Thaung) ระยะทาง 5 กิโลเมตร และเกาะสน 7 กิโลเมตร เรือ เร็วระหวางเกาะสน (Thantay Kyun) กับ เกาะสอง ใชเวลาในการเดินทาง 9 นาที เกาะสองมี ป ระชากร 3 แสนคน (ทั้ ง ตะนาวศรีมที งั้ หมด 10 ลานคน) ระยะทาง จากเกาะสองไปยังมะริด 200 กิโลเมตร และจากมะริดไปทวาย 200 กิโลเมตรเชน กัน เศรษฐกิจของเกาะสองขึ้นกับภาค เกษตรกรรมที่สําคัญคือ ปาลมนํ้ามันที่ มากกวายางพารา นอกนั้นประชาชนชาว เกาะสองก็ทํามาคาขายและทําธุรกิจทอง เทีย่ ว ในอนาคตจะมีการตัง้ บอนกาสิโนอีก ดวย สวนเกาะสนนั้นทั้งเกาะมีรีสอรทตั้ง อยูชื1อวา “Grand Andaman” ซึ่งมีความ สวยงามมาก ในรีสอรทมีทงั้ หองพัก บอน กาสิโน รานสินคาปลอดภาษี รานอาหาร รานสปา และหองฟตเนต โรงแรมแหงนี้ มีความเปนไทยมาก พนักงานพูดภาษา ไทยแมวาจะเปนคนเมียนมาก็ตาม และ ทุกอยางเปนไทยหมดทั้งภาษาพูด ปาย ตาง ๆ ก็สื1อสารดวยภาษาไทยและอาหาร ก็เปนอาหารไทย นักทองเที่ยว 70% ยัง เปนนักทองเทีย่ วไทย นอกนัน้ เปนนักทอง เที่ยวจีนตามดวยนักทองเที่ยวจากยุโรป หากระนองสามารถพั ฒ นาเรื1อ ง โครงสร า งพื้ น ฐานให พ ร อ ม คิ ด ว า เศรษฐกิจระนองจะเกิดจากการทองเทีย่ ว ที่ เ ชื1อ มกั บ เมี ย นมาและฐานการผลิ ต ที่ เชื1อมกับโลกได
8/28/2558 BE 11:28 PM
MATERIAL HANDLING • BUS&TRUCK 27
ปกษแรก • กันยายน 2558
Material Handling
Clean Room Stockers
Stocker คือ สถานที่จัดเก็บชั่วคราวหรือหนวยการ ขนสงระหวางอุปกรณตาง ๆ ในสภาพแวดลอมที่สะอาด คุณสมบัติเดน คือความสะอาดระดับ 10 ควบคุม การทํางานเชื1อมตอหลายมอเตอร (Multi-motor synchronous operation control) การวางตําแหนงเลเซอร เครน คูบ นรางเดียวกัน การสัน่ สะเทือน 0.3 กิโลกรัม ขอตอสอม โลหะคู (Double toggle joint fork) แมเหล็กไฟฟาปด ผนึกของเหลว (Magnetic fluid seal) บริษัท เมอเล ออโตเมชั่น อินเตอร จํากัด โทร.0-2721-7011
26-27 Logistics.indd 27 R1_B&T#277_p26-27_iMac5.indd 27
รถยกไฟฟา
รถยกไฟฟา สําหรับอุตสาหกรรมโลจิสติกสและการ ขนถ า ยสิ น ค า ในคลั ง สิ น ค า ใช พ ลั ง งานสะอาดที่ ใ ห ประสิทธิภาพ และตองการการซอมบํารุงนอยมาก มีการ ออกแบบโครงสรางทีน่ าํ สมัย ใชแชสซีสท มี่ คี วามเสถียรมาก มีประสิทธิภาพในการยกควบคุมสินคา หองควบคุมมีพื้นที่ กวางรองรับผูปฏิบัติงานไดดี สามารถควบคุมการทํางานได งายไมยุงยาก บริษัท เอ็ม เอช ดี-ดีเมก (ที) จํากัด โทร.0-2787-8500
8/31/2558 BE 2:40 PM 8/31/2558 BE 9:14 PM
ปกษแรก • กันยายน 2558
28 BUS&TRUCK • LOGISTICS NEWS
Logistics News
DHL ยกระดับขนสงทางบกเอเชียแปซิฟก เชื่อมตอเสนทาง 5 ประเทศในทวีปเอเชีย
ดีเอชแอล โกลเบิล ฟอรเวิรดดิ้ง เปดเครือขายเสนทางการขนสงทางบก เชื่อมตอ 5 เมืองสําคัญในทวีปเอเชีย ไดแก สิงคโปร ปนัง กรุงเทพฯ ฮานอย และเซินเจิ้น นับเปนการผลักดันใหเกิดความกาวหนาการขนสงทางบกใน เอเชียแปซิฟก
บริ ก ารขนส ง ทางบกประเภท บรรทุกไมเต็มคันรถของดีเอชแอล เอเชีย คอนเน็คนี้ เปนการบริการขนสงที่เชื1อม ตอเมืองสําคัญทั้งหา ซึ่งจะกอใหเกิดการ บริการขนสงระหวางประเทศที่เปนไป อยางตอเนื1อง อีกทั้งยังชวยประหยัดทั้ง ตนทุนและเวลา และสรางความเชื1อมัน่ ใน การมอบการบริการทีม่ คี ณ ุ คา ไมวา จะอยู ที่ใด ทั้งนี้ ดีเอชแอล เอเชียคอนเน็คเปด ตั ว เมื1อ ป 2554 โดยเชือ1 มต อ ระหว า ง ประเทศสิ ง คโปร มาเลเซี ย และไทย ป จ จุ บั น ได เ พิ่ ม เครื อ ข า ยของเราที่ มี ระหวางประเทศเวียดนามและจีนไวอีก ดวย ทั้งนี้ การขนสงทางบกจึงกลายเปน อีกทางเลือกหนึง่ ทีช่ ว ยประหยัดคาใชจา ย ไดมากกวาการขนสงทางอากาศ และ ประหยัดเวลาไดดกี วาการขนสงทางทะเล โดยการบริ ก ารขนส ง สิ น ค า จากทั้ ง 5 ประเทศเปดบริการทุกวัน ดังนี้ สิงคโปร ไปยัง ปนงั 1 วัน, กรุงเทพฯ ไปยัง ฮานอย 3 วัน, เซินเจิ้น ไปยัง ฮานอย 2 วัน, เซินเจิ้น ไปยัง กรุงเทพฯ 5 วัน, ปนัง ไป
28-29 Logistics copy.indd 28 R1_B&T#277_p28-29_iMac5.indd 28
ยัง เซินเจิ้น 6 วัน ดร. เคลวิน เหลียง ประธานเจา หนาทีบ่ ริหารประจําภูมภิ าคเอเชียแปซิฟก ดีเอชแอล โกลเบิล ฟอรเวิรดดิ้ง เอเชีย แปซิฟก กลาววา เครือขายการขนสงทาง บกที่เชื1อมตอทั้ง 5 ประเทศ มาพรอมกับ นโยบาย “One Belt, One Road” ของจีน ซึ่งจะชวยเสริมสรางความแข็งแกรงดาน เศรษฐกิจระหวางพรมแดนของตลาดการคา ในทวี ป ยุ โ รปและทวี ป เอเชี ย โดยเฉพาะ อย า งยิ่ ง เครื อ ข า ยเศรษฐกิ จ บนเส น ทาง
สายไหมทางบก มีวัตถุประสงค ในการสง เสริ ม การเชื1อ มโยงทางเศรษฐกิ จ ด ว ย โครงสร า งขั้ น พื้ น ฐานและการประสาน ทางการคาทีก่ วางขวางยิง่ ขึน้ ระหวางตลาด การคาทัง้ หลายในทวีปยุโรปและทวีปเอเชีย ในขณะทีเ่ สนทางสายใหมแหงยุคศตวรรษที่ 21 จะเนนไปที่ภูมิภาคอาเซียน นับเปนการ วางตํ า แหน ง เครื อ ข า ยการขนส ง ทางบก ระหวาง 5 ประเทศ ใหเปนเครื1องมือสําคัญ ในการชวยเสริมสรางนโยบาย “One Belt, One Road” ใหมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น
โทมัส ทีเบอร ประธานเจาหนาที่ บริหารประจําภูมภิ าคอาเซียนและเอเชีย ใต ดีเอชแอล โกลเบิล ฟอรเวิรดดิ้ง กลาววา เครือขายการขนสงทางบกของ ดีเอชแอลนี้ คือขบวนรถบรรทุกที่ติดตั้ง สัญญาณติดตามระบบจีพีเอส เพื1อมั่นใจ วาสินคาทัง้ หลายของลูกคาไดรบั การดูแล และสามารถแจงสถานะไดตลอดเวลา นับ เปนการเสริมทัศนวิสัยดานซัพพลายเชน ใหครบถวนสมบูรณ นอกจากนีร้ ถบรรทุก สินคายังติดตั้งอุปกรณและเครื1องมือใน การรับมือและปองกันโจรกรรม ทีส่ ามารถ ติดตอสื1อสารไดตลอด 24 ชั่วโมง กับทาง ศูนยควบคุมของดีเอชแอล ซึ่งจะมีการ เตือนภัยลวงหนาในกรณีที่จําเปน เครือขายการขนสงแบบตอเนื1อง หลายรูปแบบของดีเอชแอลนี้ ครอบคลุม การขนสงทางอากาศ ทางบกและทะเล ซึ่ ง ได รั บ การออกแบบให ส นั บ สนุ น การ ขยายตัวทางการคาระหวางภูมภิ าคตาง ๆ และสรางความเชื1อมั่นในระบบการขนสง ที่มีความแนนอนและปลอดภัย และดวย เครือขายการขนสงแบบตอเนื1องหลายรูป แบบที่ มี ข อบเขตครอบคลุ ม มากยิ่ ง ขึ้ น ทําใหลูกคามั่นใจไดวาจะสามารถเลือก การขนสงรูปแบบตาง ๆ ที่มีอยูมากมาย ให เ หมาะสม และถึ ง ที่ ห มายอย า ง ปลอดภัย ไมวาปลายทางจะเปนสถานที่ ใดและเวลาใด
8/31/2558 BE 12:09 PM 8/31/2558 BE 9:05 PM
B&T#277_p28-29_iMac5.indd 29
8/28/2558 BE 11:36 PM
ปกษแรก • กันยายน 2558
30 BUS&TRUCK • UPDATE BUS & TRUCK
THAILAND BEST BUS BODY 2015
PREVIEW
ประกวดมาตรฐานสุดยอดรถโดยสารแหงป
BUS & TRUCK ’15 งานแสดงรถเพือ ่ การพาณิชยและกิจการพิเศษ สานตอกิจกรรมคุณภาพทีช ่ ว ยสนับสนุน ใหผป ู ระกอบการรถโดยสารมุง มัน ่ ในการพัฒนารถใหไดตรงตามมาตรฐานกรมการขนสงทางบก จัดการประกวด “THAILAND BEST BUS BODY 2015” ซึ่งเปนรถโดยสารมาตรฐาน 1 และมาตรฐาน 4
“THAILAND BEST BUS BODY 2015” มีเปาหมายเพื1อสงเสริมรถโดยสาร ใหมีมาตรฐานในดานความปลอดภัย อีก ทั้งยังเปนการสรางภาพลักษณที่ดีเพื1อ กาวสูความเปนสากลมากยิ่งขึ้น พรอม รองรับการทองเที่ยวระหวางประเทศใน กลุม AEC และชวยสนับสนุนการทอง เที่ยวภายในประเทศอีกดวย
การประกวดในครั้งนี้จะมีขึ้นในวันที่ 4 พฤศจิกายน 2558 ณ ไบเทค กรุงเทพฯ โดย ในปนถี้ อื เปนปที่ 3 ของการจัดกิจกรรมนีข้ นึ้ มา เพื1อสงเสริมใหผูประกอบการรถโดยสารได ปฏิ บั ติ ต ามกฎมากยิ่ ง ขึ้ น รวมไปถึ ง ผู ที่ เกีย่ วของไดรบั ประโยชนจากโครงการนีส้ งู สุด พรอมเตรียมโชวรถโดยสารที่ ไดรับรางวัลใน งาน BUS & TRUCK ’15 ระหวางวันที่ 5-7
พฤศจิกายน 2558 ณ ไบเทค กรุงเทพฯ สําหรับผูป ระกอบการทีป่ ระสงคจะนํา รถเขารวมประกวด THAILAND BEST BUS BODY 2015 สามารถสอบถาม รายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ บริษัท ทีทีเอฟ อิ น เตอร เ นชั่ น แนล จํ า กั ด หมายเลข โทรศัพท 0-2717-2477
EXHIBITOR UPDATE
ไอ.ซี.พี.เคมิคอลส สง MOTUL TEKMA
นํ้ามันเครื่องดีเซลคุณภาพสูง ลุย BUS & TRUCK ’15 ไอ.ซี.พี.เคมิคอลส ผูนําเขาและจําหนายผลิตภัณฑปโตรเคมีอุตสาหกรรรม พรอมสงนํ้ามันเหลือลื่น MOTUL TEKMA สําหรับเครื่องยนตดีเซลใชงานหนัก เขารวมงาน BUS & TRUCK ’15
ในส ว นของภาคขนส ง และ เครื1องยนตดเี ซลทีใ่ ชงานหนักทัง้ หมด นํ้ามันหลอลื1น MOTUL TEKMA Mega X 15W40 สําหรับเครื1อง ดีเซลสมรรถนะสูง เกรด Technosynthese สูตรพิเศษเฉพาะของโมตุล ที่ เ กื อ บเที ย บเท า นํ้ า มั น เครื1อ ง สังเคราะห 100% ใชไดในรถทีม่ รี ะบบ เทอร โ บและไม มี เ ทอร โ บ รวมถึ ง เครื1อ งยนต EURO III ที่ มี ร ะบบ หมุนเวียนไอเสีย (EGR System) และ เครื1องยนตรุนเกา เชน รถบรรทุก รถ ตักดิน เครื1องยนตสาํ หรับงานกอสราง รถเมล และรถบัส โดยนํ้ามันหลอลื1น MOTUL TEKMA Mega X 15W40 มีสารขจัดคราบและสารชะลาง ซึง่ จะ ปองกันเขมาและการเกิดคราบยาง เหนียวภายในเครื1องยนต ปองกันการ สึกหรอของเครื1องยนตดีเยี่ยม และมี สารเคลื อ บป อ งกั น การเกิ ด รอยที่ ลูกสูบและกระบอกสูบ ชวยใหภายใน เครื1อ งยนต ส ะอาดดี เ ยี่ ย ม รวมถึ ง ลูกสูบและแหวนลูกสูบ ปองกันการ กั ด กร อ น การเกิ ด สนิ ม ภายใน เครื1องยนตและปองกันการเกิดฟอง ภายในเครื1องยนต สามารถปกปอง เครื1องยนตและยืดอายุการใชงานของ เครื1องยนตใหยาวนานยิ่งขึ้น (สําหรับ รถกระบะสามารถใช ไดถึง 10,000 กิโลเมตร)
R1_B&T#277_p30-31_iMac5.indd 30
MOTUL TEKMA Premia+ 5W40 นํ้ามันหลอลื1นเครื1องยนตดีเซล เทอรโบทีม่ รี ะบบ DPF สูตรสังเคราะหแท 100% เหมาะสําหรับรถบรรทุกรุนใหม รถโดยสาร รถกระบะ และเครื1องยนต
ดีเซลอื1น ๆ เชน เครื1องจักรกอสราง เครื1อง ปนไฟฟาและเครื1องยนตเรือตาง ๆ รวม ถึงเครื1องยนต EURO II - EURO V โดย นํา้ มันหลอลื1น MOTUL TEKMA Premia+ 5W40 มีสารขจัดคราบและสารชะลาง ซึง่ จะปองกันเขมาและการเกิดคราบยาง เหนียวภายในเครื1องยนต ปองกันการ สึ ก หรอของเครื1อ งยนต ดี เ ยี่ ย ม มี ส าร เคลือบเปนฟลมปองกันการเกิดรายที่ ลูกสูบและกระบอกสูบ ชวยใหภายใน เครื1องยนตสะอาดดีเยี่ยม รวมถึงลูกสูบ
คิง ดรากอนฯ อวด โฉม เพิ่มประสิทธิภาพ ของ สําหรับในงาน BUS & TRUCK ’15 ปนี้ พบกับนวัตกรรมใหมเพื่อ เพิ่มความปลอดภัยสําหรับผูขบ ั ขี่ทั้ง การพาณิ ช ย แ ละส ว นบุ ค คลด ว ย เซนเซอรวัดลมยางอัจฉริยะ หรือที่ เรี ย กว า TPMS ( Tire Pressure Monitoring System) จาก Steel Mate แบรนดดง ั ระดับโลกทีน ่ าํ เขาและ จัดจําหนายโดย บริษัท คิง ดรากอน เทรดดิ้ง จํากัด
และแหวนลูกสูบ ชวยปองกันการสึกหรอ ของเครื1องยนตดีเยี่ยม และชวยยืดอายุ การใชงานใหยาวนานยิ่งขึ้น พบกั บ นํ้ า มั น หล อ ลื1น MOTUL TEKMA ไดในงาน BUS & TRUCK ’15 มอเตอรโชวเพื1อการพาณิชยและกิจการ พิ เ ศษ ครั้ ง ที่ 12 ระหว า งวั น ที่ 5-7 พฤศจิกายน 2558 ณ ฮอลล 106 ไบเทค กรุงเทพฯ
เพราะรถสวนใหญมักเกิดอุบัติเหตุ โดยมีสาเหตุจากยางรถยนต ซึ่ง Steel mate ไดนําปญหานี้มาพัฒนาเปนสุด ยอดนวั ต กรรมเซนเซอร วั ด ลมยาง อัจฉริยะ รุน TP-70 ซึ่งสามารถชวยลด อุบัติเหตุไดอยางมีประสิทธิภาพ พรอม ทั้ ง ยั ง ช ว ยประหยั ด ค า ใช จ า ยอี ก ด ว ย เซนเซอรมีระบบแจงเตือนอัตโนมัติเมื1อ พบความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับยางทันที ไมวา จะเปน การรัว่ ซึม, ลมยางที่ไมปกติ
8/31/2558 BE 9:19 PM
ปกษแรก • กันยายน 2558
Update BUS&TRUCK ’15 • BUS&TRUCK 31
สําหรับงาน BUS & TRUCK ’14 การประกวด “THAILAND BEST BUS BODY” ซี่งสนับสนุนใหผูประกอบการรถโดยสารมุงมั่นใน การพัฒนารถใหไดตรงตามมาตรฐานกรมการขนสงทางบกมีการมอบ โลหและประกาศณียบัตรแกผูไดรับรางวัลดังนี้ • รางวัล THAILAND BEST BUS BODY 2014 รถโดยสาร มาตรฐาน 1 อั น ดั บ 1 ได แ ก ห า งหุ น ส ว นจํ า กั ด คุ ณ อนั น ต ทรานสปอรต • รางวัล THAILAND BEST BUS BODY 2014 รถโดยสาร มาตรฐาน 1 อันดับ 2 ไดแก หางหุน สวนจํากัด ทรัพยเจริญ แทรเวล (2007) • รางวัล THAILAND BEST BUS BODY 2014 รถโดยสาร มาตรฐาน 4 อันดับ 1 ไดแก บริษัท เพชรประเสริฐ จํากัด • รางวัล THAILAND BEST BUS BODY 2014 รถโดยสาร มาตรฐาน 4 อันดับ 2 ไดแก หางหุนสวนจํากัด โชคประเสริฐบริการ และอันดับ 3 ไดแก หจก.ทรัพยเจริญ แทรเวล (2007)
อวดโฉม เสื้อยืดทัวรเธค
ลายกราฟฟคสุดเจง เอาใจขารถใหญ ทีทีเอฟ เติมสีสันใหกับงานทัวรเธค จัดทําทําเสื้องานทัวรเธค ลายกราฟฟค เท แหวะแนวไมซํ้าใคร ใสไดทั้งผูหญิงและผูชาย ราคาสบายกระเปา เอาใจชาวรถใหญที่ เขารวมกิจกรรม Thailand Tour Theque 2015
อวด โฉมเซนเซอรวัดลมยางอัจฉริยะ ภาพ ของการเดินทางใหปลอดภัย โดยจะสงสัญญาณ Bluetooth มายั ง อุ ป กรณ ที่ ติ ด ตั้ ง ภายในตั ว รถและ แสดงผลหน า จอ LED ของยางดานที่ พบป ญ หา พร อ ม ทั้งสงสัญญาณเสียงแจงเตือนทันที หรือสามารถแจงเตือน ผานสมารทโฟนไดในรุน TPMS 8886 รองรับทั้งระบบ iOS และ Android ทําใหผูขับขี่มั่นใจและสามารถแกปญหายาง ดานที่มีปญหาไดทันทีและดวยดีไซนที่โดดเดนทันสมัยที่มา พรอมกับนวัตกรรมทําให Steel Mate ใน รุน TP 70 ได รับรางวัล THE AUTOMECHANIKA INNOVATION AWARD 2012 จากประเทศเยอรมัน ซึ่งอุปกรณทุกชิ้นถูก ออกแบบมาใหงายตอการติดตั้ง แตมีความคงทนและยาก ตอการโจรกรรมดวยอุปการณพิเศษในชุดของ Steel mate สินคาในงานมีครบทั้งสําหรับจักรยานยนต, รถยนต 4 ลอ 6 ลอ หรือมากกวา สนใจเชิญแวะชมไดที่บูธ H301 ใน งาน BUS & TRUCK ’15 ระหวางวันที่ 5-7 พฤศจิกายน 2558 ณ ไบเทค กรุงเทพฯ
R1_B&T#277_p30-31_iMac5.indd 31
เสื้อดังกลาวจัดทําขึ้นเพื1อตอบรับความยิ่งใหญของกิจกรรมทัวรเธคที่กําลังกลับมาผงาดในงาน BUS & TRUCK ’15 โดยเฉพาะ ทั้งนี้เสื้อทัวรเธคจะวางจําหนายภายในงาน Thailand Tour Theque 2015 นี้ เทานัน้ โดยราคาของเสื้อจะระบุไวทงี่ าน แตรับรองวาราคาไมแพงอยางแนนอน เรียกไดวา งานนีน้ อกจากจะ ไดรับชมแสง สี เสียง จากรถใหญอยางเต็มอิ่มแลว ยังไดเสื้อเท ๆ ใสกลับบานไปอีกดวย สําหรับการแขงขัน Thailand Tour Theque ในครั้งนี้จะแบงออกเปน 8 รุน ไดแก 1. รุน 12” 4 ดอก ชุดนอกรถ SPL 2. รุน 15” 2 ดอก ชุดนอกรถ SPL 3. รุน 15” 4 ดอก ชุดนอกรถ SPL 4. รุน Open ไมจํากัดดอก ชุดนอกรถ SPL 5. รุน 12” 4 ดอก ชุดในรถ SPL 6. รุน 15” 2 ดอก ชุดในรถ SPL 7. รุน 15” 4 ดอก ชุดในรถ SPL 8. รุน Open ไมจํากัดดอก ชุดในรถ SPL ทั้งนี้รถบัสผูเขารวมจะเสียคาใชจายเขารวม 1,500 บาท ตอคันตอรุน สวนรายละเอียดอื1น ๆ คณะ กรรมการจะแจงใหทราบเพิ่มเติมอีกครั้ง เตรียมระเบิดความมันสกับกิจกรรม Thailand Tour Theque 2015 ในวันที่ 5 พฤศจิกายนนี้ พรอม รวมสัมผัสนวัตกรรม เทคโนโลยี ผลิตภัณฑ และการบริการดานการขนสงในแวดวงรถเพื1อการพาณิชยและ กิจการพิเศษ ในงานแสดงรถเพื1อการพาณิชย BUS & TRUCK ’15 ระหวางวันที่ 5-7 พฤศจิกายน 2558 ณ ไบเทค กรุงเทพฯ
8/31/2558 BE 9:16 PM
32 BUS&TRUCK • TRANSPORTATION SERVICES
ปกษแรก • กันยายน 2558
เทียบท่า
ไวส โลจิสติกส
พรอมซื้อรถบรรทุก-หางพวง ขยายธุรกิจ
บริษัท ไวส โลจิสติกส จํากัด (มหาชน) หรือ WICE ถือเปนผูใหบริการโลจิสติกสระหวางประเทศแบบครบวงจร ทั้งการนําเขาและสงออก โดยการขนสงทางทะเล ทางอากาศ พรอมใหบริการดานพิธีการศุลกากร และการขนสง ในประเทศ รวมถึงบริการขนสงสินคาแบบประตูสูประตู (Door to Door) ที่มีชื่อเสียงระดับโลก
ลาสุด บริษัท ไวส โลจิสติกสฯ ได เข า จดทะเบี ย นและเริ่ ม ซื้ อ ขายใน ตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย เมื1อ วันที่ 28 ก.ค. 2558 ที่ผานมา ทีมขาว “BUS & TRUCK” จึงขอ “เทียบทา” คุณอารยา คงสุนทร ประธานเจาหนาที่ บริหาร บริษัท ไวส โลจิสติกสฯ ถึง แผนการขยายธุรกิจ และการเพิม่ จํานวน รถบรรทุกหัวลาก-หางพวง มาใหสมาชิก ไดรับทราบทั่วกัน
ดําเนินงานมากวา 22 ป
บริษัท ไวส โลจิสติกสฯ เปนผูดํา เนินธุรกิจโลจิสติกสครบวงจร ที่มีความ เชี่ ย วชาญมี ม าตรฐานการดํ า เนิ น งาน ยาวนานกวา 22 ป บริการของบริษัทมี ความโดดเดน ตอบโจทยของลูกคาทัง้ ใน ดานการประหยัดเวลาและตนทุน อาทิ บริ ก ารขนส ง สิ น ค า แบบประตู สู ป ระตู (Door to Door) คือ ขนสงตั้งแตหนา ประตูโรงงานลูกคาตนทางสงมอบไปยัง หนาประตูโรงงานลูกคาปลายทาง แบบ Ex-work คือ จัดการขนสงสินคาที่ผูนํา เขารับผิดชอบภาระคาขนสงตั้งแตหนา ประตูโรงงานผูสงออกไปจนถึงมือผูรับ ปลายทาง ซึ่งธุรกิจของบริษัทมีแนวโนม ขยายตัวอยางตอเนื1อง
เข็นบริษัทเขาตลาดหุน
เมื1อวันที่ 28 ก.ค. 2558 ที่ผานมา บริษัทไดเขาจดทะเบียนและเริ่มซื้อขาย ในตลาดหลักทรัพยฯ โดยมีวัตถุประสงค ในการนําเงินที่ ไดจากการเสนอขายหุน สามัญเพิ่มทุนแกประชาชนทั่วไป ซึ่งมี มูลคาหลังจากหักคาธรรมเนียมการจัด จําหนายและรับประกันการจําหนาย และ คาใชจา ยอื1นทีเ่ กีย่ วของกับการเสนอขาย หุนแลว จํานวนประมาณ 300.60 ลาน บาทไปใชดังนี้ 1.เพื1อใชเปนเงินลงทุนใน รถบรรทุกหัวลาก-หางพวง จํานวน 80 ลานบาท ภายในไตรมาส 2 ป 2559 2.เพื1อขยายพื้นที่จอดรถบรรทุก 10 ลาน
B&T#277_p32-33_iMac5.indd 32
บาท ภายในป 2559 3.เพื1อพัฒนาระบบ สารสนเทศ จํานวน 10 ลานบาท ภายใน ไตรมาส 1 ป 2559 4.เพื1อใชเปนเงินลงทุน ในคลังสินคา จํานวน 150 ลานบาท และ 5.เพื1อใชเปนทุนหมุนเวียนในกิจการ จํานวน 50.60 ลานบาท “ที่ผานมาไดเดินทางไปโรดโชวทั้ง 6 จังหวัดทัว่ ประเทศ ไดรบั การตอบรับทีด่ จี าก นักลงทุนในจังหวัดตาง ๆ และเขาใจถึง ปจจัยพืน้ ฐานของธุรกิจ โดยบริษทั มีแผนเขา จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศ ไทย เพื1อนําเงินที่ไดจากการระดมทุนไปเพิม่ ศักยภาพในการดําเนินธุรกิจ โดยนําเงินไป ใชลงทุนกอสรางคลังสินคา ซื้อรถบรรทุก หัวลากและหางพวงเพิม่ อีก 20 คัน จากเดิม มีทั้งรถหัวลาก และหางพวงจํานวน 55 คัน รวมทัง้ ขยายพืน้ ทีล่ านจอดรถบรรทุก พัฒนา ระบบสารสนเทศ รองรั บ ฐานลู ก ค า และ บริการที่มีแนวโนมขยายตัวอยางตอเนื1อง ตลอดจนใชเปนเงินทุนหมุนเวียนในกิจการ”
ธุรกิจเติบโตตอเนื่อง
ปจจุบนั ภาพรวมเศรษฐกิจของโลกยัง คงชะลอตั ว แต ไ ม ส ง ผลกระทบต อ การ
ตาง ๆ ซึ่งตลาดรองอยูในแถบเอเชีย ขณะเดียวกันธุรกิจของบริษัทมี แนวโนม ขยายตัวอยางตอเนื1อง จาก แผนการให บ ริ ก ารโลจิ ส ติ ก ส ร ะหว า ง ประเทศแบบครบวงจร ทั้งการนําเขา และสงออก โดยบริษทั สามารถใหบริการ รั บ จั ด การขนส ง ทางทะเลครอบคลุ ม ท า เรื อ หลั ก ในเขตการค า สํ า คั ญ ใน ประเทศตาง ๆ ซึ่งตลาดหลักยังคงเปน ตลาดสหรัฐอเมริกา และ ตลาดหลักรอง ลงมา คือ ญี่ปุน ออสเตรเลีย และจีน
ใหคําปรึกษาลดตนทุน
ดําเนินงานของบริษัท เนื1องจากในตลาด อเมริกาที่เปนฐานลูกคาหลักของบริษัท ยัง คงมีออเดอรขนสงทางบก ทางทะเล และ ทางอากาศ ตอเนื1อง นอกจากนี้ บริษทั ยังให บริการรับจัดการขนสงสินคาทางอากาศได ครอบคลุ ม เขตการค า สํ า คั ญ ในประเทศ
นอกจากนี้ บริษัทยังใหบริการรับ จั ด การขนส ง สิ น ค า ทางอากาศได ครอบคลุมเขตการคาสําคัญในประเทศ ตาง ๆ ซึ่งตลาดหลักอยูในแถบเอเชีย เชน ประเทศสิงคโปร ฮองกง จีน เปนตน พร อ มบริ ษั ท ยั ง มี บ ริ ก ารเสริ ม สํ า หรั บ ลูกคาที่ตองการใหจัดการขนสงสินคา กรณี ฉุ ก เฉิ น พร อ มทั้ ง บริ ก ารให คํ า ปรึ ก ษาในการจั ด การระบบโลจิ ส ติ ก ส โดยรวมกับลูกคาในการคิดหาวิธีการจัด การระบบโลจิสติกสเพือ1 ประหยัดตนทุน ในการขนสง
คาดรายไดป 58 โต 20%
เนื1องจากบริษทั มีแผนขยายธุรกิจ ที่สงเสริมใหเกิดการเติบโตอยางชัดเจน ภายหลังการระดมทุน อาทิ การขยาย คลั ง สิ น ค า เพื1อ สร า งมู ล ค า เพิ่ ม ด า น บริการทําใหรายไดเติบโตยิง่ ขึน้ การเพิม่ ออเดอรการขนสงสินคาจากกลุมลูกคา เดิม การกระจายความเสี่ยงดวยแผน เพิ่ ม ช อ งทางให บ ริ ก ารไปยั ง เส น ทาง ตาง ๆ คลอบคลุมทั่วโลก โดยเบื้องตน วางแผน คาดวาป 2558 รายไดรวมของ บริษัทจะอยูที่ประมาณ 800 ลานบาท เติบโตไมตาํ่ กวา 20% จากปกอ นซึง่ มีราย ไดรวมจากการบริการอยูที่ 670.20 ลาน บาท
8/28/2558 BE 11:47 PM
SET UP • BUS&TRUCK
ปกษแรก • กันยายน 2558
33
ติดตั้งลําเลียง
“JS100 Road Safety Life Safety” แอพพลิเคเชั่นเพื่อนรวมเดินทางที่ควรมี
ในอดีตการเดินทางไปตามเสน ทางที่ไมคุนเคย จะมีตัวนําทางเปน แผ น พั บ แผนที่ หรื อ หนั ง สื อ แผนที่ ประเทศไทยที่หนวยงานรับผิดชอบ เป น ผู ผ ลิ ต ขึ้ น โดยมี ข อ เสี ย คื อ ไม อัพเดตขอมูลใหม ๆ สงผลใหมีความ ผิดพลาดในการเดินทางบอยครั้ง
เมื1อกาวผานมาสูโลกยุคใหม ระบบ ไอที ไ ด เ ข า มามี บ ทบาทสํ า คั ญ ในชี วิ ต ประจําวัน การดาวนโหลดแผนที่นําทาง สะดวกสบายต อ ผู เ ดิ น ทางมากขึ้ น ที่ สําคัญมีการอัพเดตขอมูลตลอดเวลา สง ผลใหการเดินทางแมนยํามากกวาในอดีต นอสตร า ผู นํ า นวั ต กรรมแผนที่ ดิจิทัลในเมืองไทย ภายใต บริษัท โกลบเทค จํากัด ในกลุม บริษัทซีดีจี ถือเปน ผูนําในเรื1องแผนที่ตัวจริง เพราะลาสุด นอสตรา (NOSTRA Map Thailand) จับมือสถานีวทิ ยุจส.100 วิรยิ ะประกันภัย และ N.D. Rubber เปดตัว แอพพลิเคชัน่ “JS100 Road Safety Life Safety” ภายใตแนวคิด แอพเพื1อการเดินทางและ ชีวติ ทีป่ ลอดภัย เพื1อเพิม่ ชองทางติดตาม ขาวจราจรและเพิ่มประสิทธิภาพในการ ใหความชวยเหลือยามฉุกเฉิน โดยสามารถโทรขอความชวยเหลือ ฉุกเฉินผานแอพพลิเคชั่นได ซึ่งแอพพลิเคชั่ น จะสามารถเข า ถึ ง พิ กั ด ที่ อ ยู แ ละ ขอมูลของผู ใชงานไดอยางแมนยํา ทําให ผูใชงานรูสึกอุนใจเสมือนมี จส.100 เปน เพื1อนรวมทางทุกที่ทุกเวลา ซึ่งเปนอีก ห นึ่ ง แ อ พ พ ลิ เ ค ชั่ น พื้ น ฐ า น ที่ ค ว ร ดาวนโหลดไวบนสมารทโฟน JS100 Road Safety Life Safety มีฟง กชนั่ การใชงานทีถ่ กู ออกแบบมาเพื1อ อํานวยความสะดวกและใหการชวยเหลือ ผู ใชรถใชถนนโดยเฉพาะ ไมวาจะเปน ฟงกชั่น SOS ที่เพียงแคกดปุม SOS ระบบก็จะติดตอและแจงขอมูลที่จําเปน และตําแหนงการใชงานตอเจาหนาทีเ่ พื1อ ประสานความช ว ยเหลื อ โดยอั ต โนมั ติ ครอบคลุมทั่วประเทศตลอด 24 ชั่วโมง ฟงกชั่น Incidents แจงเตือนขอมูลที่ สํ า คั ญ สิ่ ง ที่ ค วรรู ก อ นออกจากบ า น เหตุ ก ารณ ที่ ไ ม ค วรพลาด ตลอดจน ขาวสารที่นาสนใจ ฟงกชั่น Lost & Found ใหผูใชงานสามารถเปนสวนหนึง่ ในการสรางสรรคสังคมใหนาอยูดวยการ ชวยกันตามหาคนและสิ่งของที่สูญหาย รวมทั้งตรวจเช็คขอมูลแจงหายและเก็บ ไดที่ศูนยขอมูลแจงหาย จส.100 ผาน แอพลิเคชั่น นอกจากนี้ยังมีฟงกชั่นอื1น ๆ อีกมากมายที่ชวยอํานวยความสะดวกใน การเดิ น ทางและการรั บ ข า วสารการ
B&T#277_p32-33_iMac5.indd 33
จราจรไดอยางงายดายอีกดวย JS100 Application สามารถใช งานได ทั้ ง ระบบ iOS และ Android สามารถดาวนโหลดผาน App Store และ Play Store และติดตามรายละเอียดเพิ่ม เติมไดที่ www.js100.com หรือ www. facebook.com/js100 หรือโทร 0-22499449
8/28/2558 BE 11:47 PM
34 BUS&TRUCK • LOGISTICS
Logistics
ปกษแรก • กันยายน 2558 ดร.สิทธิชัย ฝรั่งทอง อาจารยประจําคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
การปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต
การผลิตจะเปนการนําวัตถุดิบเคลื่อนยายจากผูจําหนายวัตถุดิบหรือผูสงมอบผานไปยังโรงงานผลิตเพื่อ ผลิตเปนสินคาสําเร็จรูป ซึ่งโดยสรุปจะมี 3 อยางคือ ผูสงมอบวัตถุดิบ กระบวนการผลิต และลูกคา เมื่อมองผิว เผินจะเห็นไดวาแตละอยางจะมีความเปนอิสระตอกัน แตในความเปนจริงทั้งสามอยางนั้นจะตองมีความสัมพันธ เกี่ยวของกับหนาที่อื่น ๆ ดวยผานกระบวนการหลอมรวมเปนหนึ่งเดียวไมสามารถแยกจากกันได
อี ก ทั้ ง ก า ร ผ ลิ ต เ ป น ก า ร สรางสรรคสนิ คาและบริการเพือ1 ตอบ สนองความตองการของผูบ ริโภค โดย อยูบ นพืน้ ฐานของการใชทรัพยากรที่ มีอยูอยางจํากัด ดังนั้น จึงทําใหมี การนําเทคโนโลยีมาใชนบั ไดวา เขามา มี บ ทบาทในกระบวนการผลิ ต เป น อยางมาก จึงตองมีการบริหารการ ผลิต เพื1อชวยใหผลผลิตที่ออกมามี คุณภาพและตรงตามความตองการ ของผูบ ริโภค อีกทัง้ ยังเปนการชวยให นําเอาทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัด เหลานัน้ มาใชใหเกิดประโยชนสงู สุด อีกดวย ซึ่งธุรกิจหรืออุตสาหกรรมจึง แสวงหาเครือ1 งมือในการจัดการตางๆ มาใชเพื1อสรางความไดเปรียบในเชิง การแขงขันของธุรกิจ อยางไรก็ดี กระบวนการผลิตก็ เป น หนึ่ ง ในกระบวนการจั ด การ โลจิสติกสและหวงโซอุปทาน ของ ธุรกิจหรืออุตสาหกรรม สามารถแบง ออกเปน 2 ระดับ คือ 1. ภายใน องคกร และ 2. การเชื1อมโยงความ ร ว มมื อ ระหว า งองค ก รในห ว งโซ อุปทาน โดยปญหาทั้งสองระดับนั้น มั ก พบว า เกิ ด จากไม มี ร ะบบการ จัดการขอมูลภายในองคกร ทําใหไม เ ห็ น ก า ร ไ ห ล ข อ ง ข อ มู ล อ ย า ง บูรณาการ เมื1อขาดขอมูลในการ ทํ า งาน ทํ า ให เ กิ ด ป ญ หาในด า น ตาง ๆ ตามมา เชน ปญหาในการ รวบรวมวัตถุดบิ เวลาทีส่ ญ ู เสียไปนับ
B&T#277_p34_iMac5.indd 34
จากกระบวนการสั่ ง ซื้ อ การรอเพื1อ รวบรวมวัตถุดบิ ในการผลิตมากกวา 50% ของเวลาในกระบวนการทั้งหมด การ จัดการสินคาคงคลังที่ ไมมีประสิทธิภาพ ทําใหมีสินคาคางสต็อก การเปลี่ยนแบบ วัสดุตา ง ๆ มีการบันทึกขอมูลทีผ่ ดิ พลาด มีกรอกแบบฟอรมจํานวนมาก วัตถุดิบที่ ใช ไ มมีคุณ ภาพ ไม ส ามารถพยากรณ ความตองการของลูกคาไดอยางแทจริง หรือใกลเคียงความจริง พนักงานไมมี ทักษะในการทํางาน โดยเฉพาะเมื1อรับ พนักงานเขามาใหม เครื1องจักรขัดของ กระบวนการผลิตขัดของ สูญเสียขณะ เดินเครื1อง การผลิตผิดปกติ เกิดของเสีย และการนํากลับมาผลิตซํ้า เปนตน ซึ่งเมื1อเร็ว ๆ นี้ ผูเขียนไดมีโอกาส เข า ไปตรวจเยี่ ย มโรงงานที่ เ ป น ธุ ร กิ จ ครอบครัวแหงหนึง่ ก็พบวา จากหลักการ ดั ง กล า ว แสดงให เ ห็ น ว า จะเป น อุตสาหกรรมขนาดไหนก็ตาม ปญหาดัง กลาวยังคงเปนปญหาคลาสสิคที่ยังคง เกิดขึน้ สมํา่ เสมอ ความนาสนใจของเรื1อง นี้อยูตรงที่ธุรกิจแหงนี้ ไมมีเงินทุนเพียง พอที่จะลงทุนในดานตาง ๆ แตผูบริหาร และบุคลากรไดคนหาแนวทางในแก ไข ปญหาเบื้องตนของโรงงานแหงนี้ภายใต ภาวะขอจํากัดและทรัพยากร ซึ่งถือวา เปนกรณีศึกษาที่นาสนใจ ดังนี้ 1. ป ญ หาไม ไ ด มี จั ด การข อ มู ล ภายในองคกรอยางเปนระบบ สงผลให ไมเห็นการไหลของขอมูลอยางบูรณาการ ทําใหขาดขอมูลในการทํางาน ซึ่งก็เกิด
ปญหาในดานตาง ๆ ตามมามากมาย ซึง่ โรงงานก็ ไ ม ไ ด มี เ งิ น ทุ น มากพอที่ จ ะ สามารถจัดทํา Database ไดก็มีการ แก ไขระดับหนึ่งคือ การจัดทํารวบรวม ขอมูลเก็บไวสวนกลางสวนหนึ่ง และ กระจายขอมูลดังกลาวสงใหทกุ หนวยงาน ในตอนเชากอนเริ่มงาน 2. ปญหาการจัดการสินคาคงคลัง ที่ ไ ม มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพทํ า ให มี สิ น ค า ค า ง สต็อก การเปลี่ยนแบบวัสดุตาง ๆ มีการ บั น ทึ ก ข อ มู ล ที่ ผิ ด พลาด มี ก รอกแบบ ฟอร ม จํ า นวนมาก วั ต ถุ ดิ บ ที่ ใ ช ไ ม มี คุณภาพ ก็มีการนําโปรแกรมที่มีอยูเดิม ไมวาจะเปน Excel และ Express นํามา ประยุ ก ต ใ ช ก็ ส ามารถแก ไ ขป ญ หาดั ง กลาวไดในอีกระดับหนึ่ง 3. ป ญ หาไม ส ามารถพยากรณ ความตองการของลูกคาไดอยางแทจริง หรือใกลเคียงความจริง โดยใหทุกฝายที่ มี ค วามเกี่ ย วข อ งกั น ทํ า งานเป น ที ม (Cross Functional) เพราะแตละแผนก จะมีความเชี่ยวชาญที่แตกตางกันไป อัน จะเปนแหลงขอมูลที่ดีในการประกอบ การพยากรณ โดยจะมีการประชุมรวมกัน สัปดาหละ 2 วัน ซึง่ จะมีการนําขอมูลเขา โปรแกรมคอมพิวเตอรคาํ นวณลงมติเพื1อ ให ไดตัวเลขที่สามารถทําการพยากรณ เปนตัวเลขใหสําหรับทุกฝายได 4. ปญหาพนักงานไมมีทักษะใน การทํางาน โดยเฉพาะเมื1อรับพนักงาน เขามาใหม ซึ่งก็ไดมีการแกไขโดยการจัด ทําคูม อื การทํางานและฝกอบรมพนักงาน
ที่ ไ ม มี ทั ก ษะพร อ มทั้ ง ให ค นเก า ประกบสอนคนใหมในลักษณะ on the job นอกจากนี้ ยั ง มี ก ารจุ ด ประกายเริ่มตนของการเรียนรูระบบ การบริหารจัดการเพือ1 เพิ่มขีดความ สามารถ ผลลั พ ธ ข องการพั ฒ นา ศักยภาพอยางตอเนื1อง ทําให โรงงาน สามารถลดต น ทุ น ในกระบวนการ ผลิตและเพิ่มคุณภาพของสินคา คือ การสร า งที ม งานให มี ขี ด ความ สามารถดวยการบริหารจัดการ โดย แตกตางจากการฝกอบรมที่ใหความ รูเพียงอยางเดียว 5. ปญหาเครื1องจักรขัดของ กระบวนการผลิตขัดของ สูญเสีย ขณะเดินเครือ1 ง การผลิตผิดปกติ เกิด ของเสีย และการนํากลับมาผลิตซํ้า ซึ่ ง ก็ ไ ด มี ก ารแก ไ ขโดยจั ด ทํ า สมุ ด บันทึกการบํารุงรักษาและซอมแซม เครื1องจักรเปนรายเครื1อง โดยฝาย ซอมบํารุงจะทํา การตรวจเช็ค และ ทํ า การซ อ มแก ไ ขทุ ก วั น หากเกิ ด ความสามารถจึงจะแจงซอมจากชาง ภายนอก อีกทัง้ ยังมีแนวคิดในการนํา ใช เ ครื1อ งจั ก รเข า มาช ว ยทดแทน แรงงานคนในการแก ไขปญหาเรื1อง กําลังการผลิตและสามารถผลิตได ทันความตองการของผูบริโภค อนึ่ง หากตองการใหการผลิต ซึ่งเปนหนึ่งในกระบวนการจัดการ โลจิ ส ติ ก ส แ ละซั พ พลายเชนเกิ ด ความสามารถในการแขงขันจะตอง บํารุงรักษาดูแลเครื1องจักร ทรัพยากร มนุ ษ ย ปรั บ ปรุ ง สภาพแวดล อ ม ภายในระบบการผลิต รวมถึงขจัด ความสู ญ เปล า ต า ง ๆ อย า ง สมํ่าเสมอ
8/28/2558 BE 11:50 PM
B&T#277_p35_iMac5.pdf
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
1
8/28/2558 BE
11:51 PM
36 BUS&TRUCK • TEST & REPORT
ปกษแรก • กันยายน 2558
Test & Report
ผูชนะขับประหยัดนํ้ามัน วอลโว ทรัคส
ตัวแทนไทยควาตั๋วลุยสนาม APAC Final
สรุปผลการแขงขันประหยัดนํ้ามัน FuelWatch Competition 2015 สนามสุดทายคัดตัวแทนนักขับไทยลุย สนาม APAC Final ไดผูชนะเลิศ ไดแก นายสุเทพ ปกครึก บริษัท เอ็มเอ็ม โลจิสติกส จํากัด ควาแชมปปนี้ ในขณะที่ รองอันดับ 1 คือนายอนุสิทธิ์ กะนะฮาด บริษัท อินเทล โลจิสติกส จํากัด และรองชนะเลิศอันดับ 2 คือนายนิรุจ สุขลอย จากบริษัท เคมีแมน จํากัด
บริษทั วอลโว กรุป (ประเทศไทย) จํากัด จัดการแขงขันเฟนหาสุดยอดนัก ขั บ ประหยั ด นํ้ า มั น รถบรรทุ ก วอลโว FuelWatch Competition 2015 จัดขึ้น ปนเี้ ปนปที่ 6 ติดตอกัน โดยปนมี้ จี าํ นวน ผูแขงขันเขารวมสนามแขงขันทั้งสิ้น 150 คน เพิ่มขึ้นจากปแรกที่มีผูเขารวม แขงขันเพียง 56 คน หรือคิดเปนอัตรา เติบโตสูงถึงเกือบ 3 เทาตัว โดยเมื1อปที่ แลวมีผูเขารวมแขงขันทั้งสิ้น 120 คน ผูชนะในสนามนี้จะเปนตัวแทน เขารวมแขงขัน APAC Final FuelWatch Competition ที่ประเทศไทยเปนเจา ภาพในปนี้ ซึ่งจะจัดขึ้นระหวางวันที่ 15 – 18 กันยายน 2558 สนามแกงกระจาน เซอรกิต จ.เพชรบุรี โดยจะมีประเทศใน แถบเอเชียแปซิฟค เขารวมแขงขันทั้ง สิ้ น 12 ประเทศ และ FuelWatch Competition นี้ถือเปนสนามแขงขัน ของพนักงานขับรถหัวลากวอลโวทวั่ โลก ที่มีผูเขารวมแขงขันในแตละปทั้งสิ้น มากกวา 6,000 คน โดยผูชนะจากการ แข ง ขั น APAC Final FuelWatch Competition จะได รั บ สิ ท ธิ์ เ ข า ร ว ม แขงขัน Volvo Trucks Driver’s Fuel Challenge ที่ประเทศสวีเดนในป 2559 สํ า ห รั บ ก า ร แ ข ง ขั น ใ น ร อ บ ประเทศไทยครั้งนี้ทางดาน มร.ฌาคส มิ เ ชล ประธานกรรมการ บริ ษั ท วอลโว กรุป (ประเทศไทย) จํากัด กลาว วา ผลการแขงขันครั้งนี้ ไดสะทอนถึง ก า ร พั ฒ น า ทั ก ษ ะ ก า ร ขั บ ขี่ ข อ ง
B&T#277_p36_iMac5.indd 36
พนักงานขับรถวอลโว ทรัคส ไดเปนอยางดี ผูชนะเลิศในปนี้ มีสวนตางของอัตราสิ้น เปลืองนํ้ามันจากอันดับ 2 เพียง 0.2% เทานั้น ซึ่งโดยเฉลี่ยผูชนะอันดับ 1 กับ อันดับสุดทายจะมีอัตราสิ้นเปลืองหางกัน ถึง 30%
นอกจากการแขงขันระดับมืออาชีพ แลว ยังไดจัดใหมีการแขงขันในกลุมผูสื1อ ขาวราว 20 คน ทําการแขงขับรถบรรทุก วอลโวรุน FH ประหยัดนํ้ามันที่สนามแกง กระจานเซอรกิตอีกดวย โดยการแขงขันนี้
มีการอบรมผูท่ีเขารวมการแขงขันให ทราบถึงคุณสมบัติของการใชงานรถ บรรทุกวอลโวรุน FH ใหใชงานไดอยาง มีประสิทธิภาพ การแขงขันครั้งนี้ถือวา เป น กิ จ กรรมใหม ที่ ใ ห ค วามสนใจ สื1อมวลชนไดเปนอยางดี และผลการ แขงขันไดคัดเลือกเหลือ 2 คน ไดแก น า ย ส ม ฤ ก ษ รื1น สั ม ฤ ท ธิ์ จ า ก หนังสือพิมพเดลินิวส และนายปรม พวงงาม จากนิตยสาร A Car เปน ตัวแทนสื1อมวลชนไทยเขารวมแขงขัน ในรายการเดียวกันในรอบสื1อมวลชน ใน การแขงขัน APAC Final FuelWatch Competition ที่ประเทศไทยเปนเจา ภาพจั ด ขึ้ น ระหว า งวั น ที่ 15–18 กันยายน 2558 ณ สนามแกงกระจาน เซอรกิต จ.เพชรบุรี โดยจะมีสื1อมวลชน จาก 12 ประเทศในภู มิ ภ าคเอเชี ย แปซิฟคเขารวมการแขงขัน สําหรับการแขงขันนักขับประหยัด นํ้ามัน FuelWatch Competition ที่ถูก จัดขึ้นทุกปของ บริษัท วอลโว กรุป (ประเทศไทย) จํากัด ถือเปนกิจกรรมที่ มีผตู ดิ ตามและใหความสนใจเปนจํานวน มากเนื1องจากเปนเวทีใหญที่ใหประชัน ทั ก ษะด า นการขั บ รถบรรทุ ก วอลโว สํ า หรั บ หรั บ แฟนพั น ธุ แ ท อ ย า งผู ประกอบการขนสงตางใหความสนใจ สงตัวแทนเขารวมการแขงขันครัง้ นีเ้ พื1อ ใหนกั ขับไดสมั ผัสบรรยากาศการแขงขัน และเปนการสงเสริมดานการขับรถของ พนั ก งานขั บ รถบรรทุ ก ให ก ลั บ ไป ถายทอดถึงความสําเร็จและทักษะดาน การขับรถใหประหยัดนํา้ มันสูอ งคกรของ ตนเอง
8/28/2558 BE 11:54 PM
B&T#277_p37_iMac5.pdf
1
8/28/2558 BE
11:56 PM
38 BUS&TRUCK • COVERS’ STORY
จากปก
ปกษแรก • กันยายน 2558 ตอจากหนา 1
AEC ดาบสองคมวงการขนสง เผยวา อยางที่ทราบกันดีจากบรรดา 10
ประเทศสมาชิกอาเซียน ประเทศไทยมีความ ไดเปรียบเชิงภูมิศาสตรมากที่สุด เหมาะ อยางยิ่งกับการเปนศูนยกลางการขนสงใน ภูมิภาคนี้ ดังนั้น สหพันธการขนสงทางบก แหงประเทศไทย ในฐานะผูมีบทบาทสําคัญ อยางยิ่งในการเปนเจาภาพจัดการประชุม “Enhanced Cooperation towards and ASEAN Land Transport Federation” หรื อ “สหพั น ธ ก ารขนส ง ทางถนนแห ง อาเซียน” โดยมีวตั ถุประสงคหลักเพื1อให 10 ประเทศอาเซี ย นมุ ง สูก รอบความรวมมือ เดียวกัน “ในฐานะที่สหพันธขนสงฯ เปนเจา ภาพ ซึ่ ง เราถื อ ได ว า เป น The Land Transport of Thailand อยูแ ลว นับจากนี้ ไป เราจะร ว มกั บ ผู เ ข า ร ว มประชุ ม จาก 10 ประเทศอาเซียน ไดแก ลาว พมา กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย สิงคโปร อินโดนีเซีย ฟลิปปนส บรูไน และผนวกจีนจากมณฑลยู นานเขามาดวย เพื1อมุง สูก รอบความรวมมือ ในทิศทางเดียวกัน รวมถึงการดูแลรับผิด ชอบในดานเดียวกัน ซึง่ การมาพบปะกันแลก เปลีย่ นคิดเห็นในครัง้ นีก้ เ็ พื1อจะมองและเนน ยํ้ากรอบความรวมมือกรุยทางสู towards and ASEAN Land Transport Federation ซึ่งจะตองทําอยางไรบาง ประโยชนและ อุปสรรคมีอะไรมากนอยแคไหนจะตองมา รวมกันคิดรวมกันแกปญ หาบนพืน้ ฐานความ เปนหนึ่งเดียวกัน” สําหรับรูปแบบการประชุมจัดใหมกี าร ประชุมทั้งหมด 3 วัน คือตั้งแตวันที่ 17-19 ก.ย.ที่จะถึงนี้ ณ อิมแพคเมืองธานี โดยจัด แยกกิ จ กรรมอย า งชั ด เจน เช น การให ตัวแทนแตละประเทศนําเสนอรูปแบบการ ขนสงของตัวเอง การเสนอวาระพิเศษของ แตละประเทศ หรือบทบาทสมาคมขนสงที่ มีตอ เศรษฐกิจในประเทศนัน้ ๆ และแนนอน วาหัวใจสําคัญอยูที่การลงนามเซ็น MOU รวมกัน เพื1อเปนกรอบในการกาวสูการเปน “สหพันธการขนสงทางถนนแหงอาเซียน” ที่แทจริงตอไป สวนคณะทํางานไดรับความรวมมือ จากหลายภาคสวน โดยมีการแตงตั้งทีม คณะทํางานขึน้ มา ซึง่ เปนกรรมการสหพันธ การขนสงทางบกแหงประเทศไทยเอง และ ไดรับเกียรติจากผูเชี่ยวชาญที่ทํางานดาน วิ จั ย ในภู มิ ภ าคอาเซี ย นให กั บ Asian Development Bank (ADB) เปนที่ปรึกษา อีกดวย การจัดประชุมในครัง้ นีเ้ ปนการขยาย ผลจากการประชุม GMS Summit 2014 ณ สมาคมขนสงทางบกแหงประเทศไทย ที่ ผ า นมา และในครั้ ง นี้ ค าดจะมี ผู เ ข า ร ว ม ประชุมประมาณ 200 คน โดยเปนกลุมผู แทนจาก 10 ประเทศอาเซียนประมาณ 100 คน และผูเ ขารวมประชุมชาวไทยอีก 100 คน “การเปด AEC หากเราไมรวมมือกัน หรือเดินหนาเพียงผูเ ดียว จะไมประสบความ สําเร็จตามที่หวังไว เพราะจะกลายเปนการ แยงานกัน ตอสูกันเอง ซึ่งเหมือนเปนดาบ สองคมที่เราตองมารวมดวยชวยกันใหการ ขนสงทั้งอาเซียนเดินหนาไปพรอม ๆ กัน”
B&T#277_p38-39_iMac5.indd 38
บลูแอนดไวทฯ มองไทยเปนฮับ
คุณปญญา เศรษฐโภคิน ประธาน กรรมการ บริษทั บลูแอนด ไวท กรุป จํากัด กลาววา การรวมตัวเปนประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียนนัน้ กลุม บลูแอนด ไวท ไมไดใหสนใจ มากนั ก เพราะมองไทยเป น ศู น ย ก ลาง การขนสง (ฮับ) อยูแลว แตหากจะถามวา บลู แอนด ไวท มองการลงทุนในเพื1อนบาน ไวบางหรือไม คําตอบก็คือ มีอยูเชนกันและ ไมใชแคมอง แตมกี ารเตรียมการเขาสูต ลาด ตางประเทศ ทั้งในกลุมประเทศ CLMV (กัมพูชา ลาว เมียนมา และ เวียดนาม) และ AEC โดยประเทศแรกที่ทางบลูแอนด ไวท เขาไปเปดบริษัทคือ ประเทศเมียนมา โดย รูปแบบการทํางานนัน้ จะใหพนักงานคนไทย ไปบริหารจัดการและใหคนในประเทศเปนผู กระจายสิ น ค า รวมทั้ ง การเป ด รั บ สมั ค ร แรงงานทองถิ่น “ในขณะเดียวกันในหวงทีถ่ นนทุกสาย กําลังมุง สูก ารเปดเสรีเออีซี โดยเฉพาะอยาง ยิง่ ในภาคการขนสงนัน้ แบลูแอนด ไวท กลับ มองวา ในภาคการขนสงทางถนนนัน้ ควรจะ พุงเปาและความสนใจไปในกลุมประเทศ GMS (Greater Mekong Subregion) หรือ อนุ ภู มิ ภ าคลุ ม แม นํ้ า โขง 6 ปร ะเทศ ที่ ประกอบไปดวย ไทย เมียนมา สปป.ลาว กั ม พู ช า เวี ย ดนาม และจี น ตอนใต ที่ มี ประชากรรวม 257.5 ลานคนเปนหลัก เพราะ มีเสนทางถนนที่เชื1อมโยงไดอยางทั่วถึง ซึ่ง ถือเปนโอกาสของบริษทั ขนสงและโลจิสติกส มากกวา”
สามมิตรฯ พรอมรุกหากตลาดโต
คุณสุริยา โพธิ์ศิริสุข รองกรรมการ ผูจัดการใหญ บริษัท สามมิตรมอเตอรส แมนูแฟคเจอริง จํากัด (มหาชน) กลาววา ประเทศไทยสามารถเป น ศู น ย ก ลางของ อาเซี ย นได เพราะประเทศไทยสามารถ กระจายสินคาออกตามภูมิภาคตาง ๆ ได เหมือนใยแมงมุม โดยเฉพาะ CLMV ยังตอง อาศัยไทยเปนศูนยกลางการขนสงสู AEC อยางไรก็ดี บริษัทมีการสงทีมงานไปสํารวจ ตลาดในอาเซียนแลว เพื1อรุกไปตลาดใน ภูมิภาคอาเซียน แตยังไมเปดเกมรุกอยาง เต็มรูปแบบ เพียงแคสง สินคาออกสูภ มู ภิ าค อาเซียนไปกอน ถามีการเติบโตบริษทั จะเปด เกมรุกเต็มที่แนนอน “บริษัทมีนโยบายวา จะกาวเปนผูนํา ในตลาดโลจิ ส ติ ก ส ใ นระดั บ อาเซี ย นและ ตลาดโลก และในอนาคตจะมองไปตลาด นอกมากกวา เพราะตลาดในประเทศเริม่ อิม่ ตัวแลว และจะมีการขยายธุรกิจทีบ่ ริษทั ถนัด และมีความพรอมนอกเหนือจากรถดัมพและ รถเทรเลอร เชน รถในอากาศยาน เปนตน
เรงสราง 5 เสนทางขนสินคา
คุ ณ คนิ ต ลิ ขิ ต วิ ท ยาวุ ฒิ รอง เลขาธิการสํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) กลาววา สศก. ไดศกึ ษาศักยภาพการ คาและระบบโลจิสติกส สินคาเกษตรไทย – สปป.ลาว – เวียดนาม - กัมพูชา และ สาธารณรั ฐ ประชาชนจี น พบว า จากที่ อาเซียนมีศักยภาพสูงมากในการผลิตสินคา เกษตรและอาหาร รวมทั้งยางพารา จึงเปน
ทีส่ นใจของนักลงทุนตางประเทศโดยเฉพาะ จีนทีต่ อ งการความมัน่ คงดานอาหาร โดยจีน ถื อ เป น ตลาดส ง ออกสิ น ค า ที่ สํ า คั ญ ของ อาเซียน ทั้ง 2 ฝายจึงไดพัฒนาเสนทางการ ขนสง รวม 5 เสนทางประกอบดวย 1. เส น ทาง Southern Coastal Corridor บริเวณ อ.คลองใหญ จ.ตราด ผาน ทาเรือสีหนุวิลล ประเทศกัมพูชา ถึงทาเรือ วุงเตา ของเวียดนาม เริ่มจาก อ.คลองใหญ จ.ตราด เขาสู จ.เกาะกง ทาเรือสีหนุวิลย กา พอต กาปงชนัง ผานพนมเปญ ประเทศ กั ม พู ช า นครโฮจิ มิ น ห ถึ ง ท า เรื อ วุ ง เตา ประเทศเวียดนาม สามารถเชื1อมตอไปยัง ทาเรือสีหนุวิลลเปนทาเรือสงออกสินคาที่ สํ า คั ญ ของกั ม พู ช า มี ศั ก ยภาพในการค า สินคาประมง ผลไม 2. เสนทาง Southern Corridor จาก อ.อรัญประเทศ จ.สระแกว ผานพนมเปญ ประเทศกั ม พู ช า ถึ ง ท า เรื อ วุ ง เตา ของ เวียดนาม เริ่มจากกรุงเทพฯ-ฉะเชิงเทราสระแกว-ดานอรัญประเทศ-ดานปอยเปตบันเตียเมียนเจย-พระตะบอง-โพธิสัตว-กัม ปงชะนัง-พนมเปญ-กันดาล-ไปรเวง-สวาย เรียง-ดานบาเวต-ดานมอคไบ-เตนินห- โฮจิ มินห-ดงนาย-หวุงเตา การขนสงสินคาจาก ไทยไปเวียดนามตอนใตนิยมใชเสนทางเรือ มากกวา เปนเสนทางที่มศี กั ยภาพในการสง ออกสินคาผลไม ขณะทีเ่ สนทางฝง ชายแดน มอคไบ (กัมพูชา-เวียดนาม) มีศักยภาพใน การนําเขาสินคาเกษตร เชน มันสําปะหลัง 3. เสนทาง R9 จาก จ.มุกดาหาร ผาน สะหวันนะเขต ลาวบาว ประเทศลาว ผาน วินห ฮานอย ของเวียดนาม ถึง ผิงเสียง นคร กวางโจว ประเทศจีน เริ่มจาก จ.มุกดาหาร ผานสะหวันนะเขต ลาวบาว ประเทศลาว ผานวินห ฮานอย ประเทศเวียดนาม ถึง ผิงเสียง นครหนานหนิง ประเทศจีน ซึ่ง บริเวณชายแดนลาว-เวียดนามไดมีการเริ่ม ใชงานแบบ One Stop Service ชวยใหการ ผานแดนสะดวกขึ้น มีศักยภาพการขนสง สินคาไปประเทศจีน (หนานหนิง นครกวาง โจว) เชน ผัก ผลไม ยางพารา และนาตาล 4. เสนทาง AH13 จาก อ.ทาลี่ จ.เลย ผานหลวงพระบาง ประเทศลาว ดานเดียน เบียนฟู หลาวกาย ฮานอย ประเทศเวียดนาม ถึงนครกวางโจว ประเทศจีน เริม่ จาก อ.ทาลี่ จ.เลย ผานหลวงพระบาง ประเทศลาว ดาน เดียนเบียนฟู หลาวกาย ฮานอย ประเทศ เวียดนาม ถึงนครหนานหนิง ประเทศจีน เสนทางนี้ยังไมเหมาะขนสงสินคาเนื1องจาก เสนทางคดเคี้ยวและกอสรางไมเสร็จ 5. เสนทาง R3A จาก อ.เชียงของ จ.เชียงราย ถึงนครคุนหมิง ประเทศจีน เสน ทางนี้ ห ลั ง จากที่ มี ก ารเป ด ใช ส ะพาน มิตรภาพไทยลาวแหงที่ 4 แลว ชวยใหการ ขนสงระหวางกันสะดวกมากขึ้น ไมตองขน ถายสินคาลงเรือทําใหเสียเวลาและสินคา เกษตรเสียหาย แตในการขนสงสินคาไทยไป จีนบางสวนพบวามีพอคานําสินคาไทยขน ถ า ยรถบรรทุ ก เล็ ก สวมเป น สิ น ค า ลาว เนื1องจากเสียภาษีนอยกวา โดยเสนทางนี้มี ศักยภาพในการขนสงผักและผลไม เชน
ลําไย ทุเรียน มังคุด เงาะ มะพราวออน กลวยหอม กลวยไข จากประเทศไทยและ ลาว “เพื1อใหเสนทางเหลานีม้ คี วามสะดวก ในการขนสงสินคาระหวางกัน ทุกประเทศ ควรพั ฒ นาความร ว มมื อ ด า นโลจิ ส ติ ก ส ปรับปรุงกระบวนการทํางานใหความสะดวก รวดเร็ ว เพื1อ ลดต น ทุ น พั ฒ นาสิ น ค า ให สามารถรักษาคุณภาพไดดี เกิดความเสีย หายนอยที่สุด โดยเฉพาะสินคาเกษตรที่เนา เสียงาย ภาครัฐและเอกชนตองรวมมือกัน ผลักดันใหเกิดความรวมมือ หากมีปญหา ควรแก ไขใหเกิดประสิทธิภาพและควรเรง ดําเนินการใหเกิดผลเปนรูปธรรม”
ไมควรมองขามเขตเศรษฐกิจพิเศษ
การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ สง เสริมการคาและการลงทุนเพื1อรองรับ AEC จากข อ มู ล ของธนาคารโลกพบว า เขต เศรษฐกิจพิเศษในพื้นที่กลุมประเทศเอเชีย ตะวันออกเฉียงใตและเอเชียใตดําเนินการ โดยรั ฐ บาลหรื อ อยู ภ ายใต ก ารมี ส ว น เกี่ยวของระหวางรัฐบาลกลางกับรัฐบาล ทองถิ่น และสวนใหญเปนเขตเศรษฐกิจ พิเศษในรูปแบบของการแปรรูปเพื1อการสง ออก โดยดํ า เนิ น กิ จ กรรมการผลิ ต ใน อุตสาหกรรมที่เนนการใชทักษะตํ่า เชน สิ่ง ทอและเครื1องนุงหม สวนกลุมประเทศอาเซียนนั้น แรง ผลักดันสวนหนึ่งในการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจ พิเศษมาจากการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียนและรวมไปถึงขอตกลงความรวมมือ ระดับภูมภิ าคอื1น ๆ เชน ความรวมมือในกลุม ประเทศอนุภูมิภาคลุมแมนํ้าโขง (GMS) ยุทธศาสตรความรวมมือทางเศรษฐกิจอิรวดี - เจาพระยา - แมโขง (ACMECS) และแผน งานการพั ฒ นาเขตเศรษฐกิ จ สามฝ า ย อินโดนีเซีย - มาเลเซีย - ไทย (IMT-GT) ซึ่ง เปนความรวมมือที่ใหความสําคัญดานการ ลงทุน
เขตเศรษฐกิจพิเศษแกปญหาได
เขตเศรษฐกิจพิเศษบริเวณชายแดน นั้ น สํ า นั ก งานคณะกรรมการพั ฒ นา เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติไดริเริ่มแผน งานมาตั้งแตป 2547 แนวคิดการผลักดันให เกิดเขตเศรษฐกิจพิเศษตามแนวชายแดนมี พั ฒ นาการและเปลี่ ย นแปลงมาอย า งต อ เนื1อง ลาสุดในการประชุมคณะกรรมการ นโยบายเขตพัฒนาเศรษฐกิจครั้งที่ 1/2557 ไดใหความเห็นชอบพืน้ ทีท่ มี่ ศี กั ยภาพเหมาะ สมในการจัดตัง้ เขตเศรษฐกิจพิเศษตามแนว ชายแดน เพื1อรองรับการเขาสูประชาคม อาเซียน ระยะแรก 5 พื้นที่ชายแดน โดยมี เป า หมายสํ า คั ญ คื อ เพื1อ การพั ฒ นา เศรษฐกิจและความมั่นคงของประเทศ เพื1อ เพิม่ ขีดความสามารถในการแขงขัน เพิม่ การ จ า งงานและสร า งความเป น อยู ที่ ดี ใ ห ประชาชน แกปญ หาแรงงานตางดาวลักลอบ เขาเมืองมายังพื้นที่ตอนใน แกปญหาการ ลักลอบนําเขาสินคาเกษตรผิดกฎหมายจาก ประเทศเพื1อนบาน รวมทั้งแกปญหาความ แออัดบริเวณดานชายแดน
8/29/2558 BE 12:00 AM
WORLD NEWS • BUS&TRUCK 39
ปกษืแรก • กันยายน 2558
วงการต่างแดน ตอจากหนา 1
เบสทริน ขายไซโนทรัคเจาเดียว เล็งสงซันลองใหมรวมงาน B&T ’15 จํากัด เปดเผยวา ทางบริษทั ตองขอประกาศ ให ว งการขนส ง ได ท ราบว า ตั้ ง แต บั ด นี้ เปนตนไป ทางบริษัทไดเปนผูแทนจําหนาย รถบรรทุก ยีห่ อ ไซโนทรัค อยางเปนทางการ แลว โดยแผนการตลาดทีเ่ ตรียมไวคอื จะนํา รถบรรทุ ก ไซโนทรั ค รุ น SITRAK ซึ่ ง มี มาตรฐานและเทคโนโลยีเพื1อการสงออกสูง กวามาตรฐานทีผ่ ลิตเพื1อจําหนายในประเทศ จีน เพราะรุน SITRAK นี้ ถูกอัพเกรดขึ้นมา ใหเหนือกวาคําวารถจีน และขึ้นมาเทียบ เคียงกับรถญีป่ นุ เพื1อใหลกู คาไดเลือกสินคา ที่ดีขึ้น นอกจากนี้ ไดมีการเตรียมที่จะเปด สาขาตาง ๆ ไมวาจะเปนสํานักงานใหญใน กรุงเทพฯ ภาคเหนือ ภาคอีสาน ภาคตะวัน ออก และภาคใต ภูมิภาคละ 1 สาขา เพื1อที่ จะเปนตนแบบการทําตลาด การบริการหลัง การขาย การสต็อกอะไหล เพราะเมื1อมีลกู คา เพิ่มมากขึ้น ก็จะมีนักธุรกิจในแตละภูมิภาค มาของเปนตัวแทนจําหนายตอไป “บริษทั เตรียมลงลงทุนอยางมหาศาล เพื1อ ที่ จ ะได เ ป ด โรงงานประกอบที่ นิ ค ม อุตสาหกรรมอมตะชิตี้ จ.ระยอง โดยจะ สามารถเริม่ ทําการประกอบเพื1อออกสูต ลาด ในตนป 2559 ไดอยางแนนอน” ส ว นทางด า นรถโดยสาร ซั น ลอง ที่ทําการจําหนายมาไดกวา 10 ปแลว ซึ่งมี วิ่งอยูบนถนนมากกวา 8,000 คัน ทั้งนี้ ได มองงาน BUS & TRUCK ’15 ที่จะนําเขารถ
โมเดลใหม เพื1อเขารวมแสดงในงาน ระวาง วันที่ 5 - 7 พ.ย. ศกนี้ ณ ไบเทค กรุงเทพฯ ทัง้ นี้ เพื1อทีจ่ ะไดเปนการนําแสดงเทคโนโลยี ใหม ๆ ของรถโดยสารซันลอง มาใหกลุม ลูกคาไดทราบอยางตอเนื1อง อยางไรก็ดี เพื1อเปน การทําใหการ บริการหลังการขาย สามารถดูแลลูกคาได ครอบคลุมมากขึ้น ทางบริษัทจึงไดลงทุน ประมาณ 400 ลานบาท เพื1อที่จะสรางศูนย บริการขนาดใหญ ที่สามารถใหบริการซอม บํารุงรถโดยสารของลูกคาไดมากขึน้ และทัน ตอความตองการ มีการทํางานเปนมาตรฐาน สากล ลู ก ค า นํ า รถโดยสารเข า ซ อ มและ สามารถนําไปใชงานได ในเวลาที่ตรงตาม กําหนด รวมทัง้ ยังมีการสรางสํานักงานใหญ โชวรูมแสดงรถใหญรุนตาง ๆ ทั้งสองยี่หอ ทั้ง ไซโนทรัค และ ซันลอง เพื1อใหลูกคาได เขามาเลือกชมไดอีกดวย คาดวาจะสามารถ เปดดําเนินการไดตนป 2559 อยางแนนอน “จากเศรษฐกิจที่ตกสะเก็ดไปทั่วโลก รวมถึงในเมืองไทยดวย สาเหตุที่ทางบริษัท ได ล งทุ น สวนกระแส เพราะมองว า หาก เศรษฐกิจกลับฟนคืนมาเมื1อใด ทางบริษัทก็ จะมี ทั้ ง รถใหญ รุ น ใหม ใ ห เ ลื อ กใช ไ ด ต าม ความตองการ รวมทั้งยังมีโชวรูมและศูนย บริการ สรางความมั่นใจใหกับลูกคา ไมตอง จอดรถยาวใหตองเสียรายได และขอยืนยัน วา จะไมทิ้งกลุมลูกคาแมจะมีกรณีใด ๆ มา เบียดเบียนใหขายรถไมไดก็ตามที”
ตอจากหนา 1
เดมเลอร หวังสงออกฟูโซเพิ่มยอด มั่นใจรถทุกคันคุณภาพดีที่สุด ก็ตาม
คุณเคย วูฟ อัลเดน ผูอํานวยการ ฝายภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต บริษทั เดมเลอร ทรัค กรุป จํากัด ซึ่งถือหุนสวน ใหญมากกวา 90% ในบริษัท มิตซูบิชิ ฟูโซ บัสแอนดทรัค จํากัด ประเทศญี่ปุน เปด เผยวา ในป 2558 นี้ ถือเปนปแรกที่ทาง โรงงานเดมเลอร ประเทศอินเดีย ไดทําการ สงมอบรถใหญฟูโซมาใหบริษัท ฟูโซ ทรัค (ประเทศไทย) จํากัด จําหนายในเมืองไทย โดยมีทั้งหมด 10 รุนในปนี้ ซึ่งคาดวา จะ สามารถทําใหยอดขายรวมของรถฟูโซเพิ่ม มากขึ้น อยางไรก็ดี ในปนี้ ไดมีการสงออกรถ ใหญฟโู ซไปทัง้ หมด 10 ประเทศทัว่ โลก กอน ทีจ่ ะทําการสงออกไปนัน้ ไดมกี ารศึกษาตลาด ขนสง สภาพอากาศ และภูมิประเทศของ ประเทศนั้น ๆ ไวเปนอยางดีกอน เพื1อใหมี ความเหมาะสมตอการใชงาน และรถทุกคัน ตองมีคุณภาพดีที่สุด เปนที่ยอมรับในตลาด ขนสงเปนอยางดี “สาเหตุที่มารวมเปดตัวรถใหญฟูโซที่ นําเขามาจากเดมเลอร ประเทศอินเดียนั้น มองวาตลาดขนสงเมืองไทยเปนตลาดทีใ่ หญ รถใหญฟูโซ ยังสามารถขยายตลาดไดอีก มาก เพราะใชเทคโนโลยีตาง ๆ ของทาง
B&T#277_p38-39_iMac5.indd 39
เดมเลอร เยอรมัน ซึ่งถือวามีคุณภาพสูงสุด ในตลาดรถใหญในโลก มั่นใจวารถใหญฟูโซ ทั้ง 10 รุนที่นําเขาจากประเทศอินเดีย รวม ทั้ ง ที่ ป ระกอบในเมื อ งไทยจะต อ งเป น ที่ ยอมรับของตลาดขนสง และมียอดขายตรง ตามที่ไดหวังไวแน” สําหรับรถใหญในเครือเดมเลอร มี ดวยกัน 4 ยี่หอ คือ ยี่หอ “ฟลีทไลเนอร” ทําตลาดในสหรัฐอเมริกา ยี่หอ “เมอรเซ เดส-เบนซ” ทําตลาดในยุโรป ยี่หอ “ฟูโซ” ทําตลาดในเอเชีย และยีห่ อ “ภาราต-เบนซ” เฉพาะตลาดในประเทศอินเดีย ซึง่ ในป 2557 ที่ ผ า นมานั้ น ทํ า ยอดขายรวมได ป ระมาณ 500,000 คัน โดยหวังวายอดขายรวมในป 2558 นี้ จะตองมียอดขายเพิม่ ขึน้ มากกวาใน ปทแี่ ลว เพื1อทีจ่ ะไดมโี บนัสเปนการตอบแทน ใหพนักงาน โดยหวังวาตลาดเมืองไทยจะ เปนสวนหนึ่งที่ชวยใหความหวังนี้เปนจริง ในสวนบริษทั ฟูโซ ทรัค (ประเทศไทย) จํากัด คาดหวังวารถรุนใหมที่นําเขาจาก โรงงานจากประเทศอินเดียนัน้ จะทําใหยอด ขายรวมทุกรุนในป 2558 นี้มีมากถึง 1,680 คัน โดยจะเพิ่มสวนแบงการตลาดใหได 7% จาดป 2557 อยูท ี่ 5% ในขณะทีย่ อดขายรวม ทุ ก ยี่ ห อ จะทํ า ได เ พี ย งแค 2.6 หมื1น คั น เทานั้น
นวัตกรรรม
เยอรมนี : คิดคนเบาะรถใชทาทางปรับ โดยไมตองใชมือปรับ นักวิจยั จากสถาบันเพื1อการวิจยั ซิลเิ กตฟรอนโฮเฟอร รวมกับ อิสริงเฮา เซน จีเอ็มบีเอช แอนด โค บริษัทพัฒนานวัตกรรมยานยนต ประดิษฐเบาะ รถยนตรนุ ตนแบบที่ใชทา ทางของผูข บั ขีป่ รับระดับ โดยไมตอ งใชมอื ปรับเบาะ แบบเดิมอีกตอไป เบาะรถรุนดังกลาวจะเปดตัวอยางเปนทางการในงาน “แฟรงกเฟรต มอเตอร โชว” (ไอเอเอ) ในเดือน ก.ย.นี้ คุณสมบัตพิ เิ ศษคือมีวสั ดุ หุมเบาะอัจฉริยะและเซนเซอรที่ติดตั้งมา ผู ใชงานจะตองนั่งบนเบาะนี้เพื1อให เซนเซอรเริ่มทํางาน จากนั้นสามารถใชทาทางมือในการสั่งการใหเบาะปรับไป ดานหนา หลัง ขึ้น หรือลง ตามความตองการ โดยผูขับขี่สามารถควบคุมผาน สมารทโฟน ระบบการควบคุมดวยทาทางไดรับการพัฒนาขึ้นมาสําหรับนักขับ มืออาชีพและผูขับขี่ระบบทางไกล เพื1อแกปญหาเบาะรถยนตแบบเดิม ที่การ ปรับระดับเบาะนั่งระหวางขับขี่ไมสามารถทําได จึงมีอาการปวดตามรางกาย
ยานยนต
อินโดนีเซีย : พัฒนาระบบ BRT สั่งซื้อรถบัสสองตอนใหมจากสแกนเนีย 100 คัน สแกนเนียเรงดําเนินการสงมอบรถบัสสองตอนพลังกาซธรรมชาติให กับระบบขนสง BRT ของกรุง จาการตา ประเทศอินโดนีเซีย จํานวนมากถึง 100 คัน โดย รถบัสทีจ่ ดั สงครัง้ นีม้ จี ดุ เดนที่ มี ร ะ ดั บ ก า ร ป ล อ ย ก า ซ คารบอนไดออกไซดตํ่า ตาม มาตรฐานไอเสียยูโร 6 ซึ่งจะ ช ว ยลดมลภาวะจากการวิ่ ง ขนสงในเมืองและเปนมิตร กับสิ่งแวดลอมมากยิ่งขึ้น การนําเขารถบัสชุดใหญครัง้ นีข้ องแสกนเนียจะถูก จัดสงใหกับหนวยงานขนสงมวลชน TransJakarta เปนจํานวนทั้งสิ้น 50 คัน โดยชุดแรกจํานวน 20 คัน ไดเดินทางมาถึงและพรอมใชงานแลว จากนั้นรถบัส อีก 30 คัน จะไดรับการจัดสงตามมาในชวงสิ้นปนี้ สวนรถบัสสแกนเนียที่เหลือ อีก 50 คัน จะถูกจัดสงไปยังบริษทั ผูป ระกอบการเอกชน Mayasari ทีร่ บั ผิดชอบ เสนทางเดินรถบัส BRT หมายเลข 12 อยู ณ ปจจุบัน เมื1อปทผี่ า นมาหนวยงานขนสงมวลชน TransJakarta ไดเคยทดลองใชงาน รถบัสสองตอนขนาดความยาว 18 เมตร จากสแกนเนียมากอนแลว โดยทดลอง วิง่ อยูบ นเสนทาง BRT หมายเลข 1 ซึง่ จากการใชงานมาเปนระยะทางกวา 8,000 กิโลเมตร ก็ไดมั่นใจในศักยภาพยานยนตของสแกนเนีย จึงไดดําเนินการสั่งซื้อ เพิ่มมาใชงานอยางเปนทางการอีกจํานวน 50 คัน โดยรถบัสสองตอนจาก สแกนเนียรุนนี้สามารถบรรจุผู โดยสารไดถึง 140 คน ติดตั้งเบาะนั่งผู โดยสาร 39 ที่นั่ง มีพื้นที่กวางสามารถบรรจุที่นั่งวิลแชรสําหรับผูพิการได จึงเรียกไดวา เปนรถบัสขนสงมวลชนที่เหมาะสมกับเมืองใหญอยางลงตัว
ปฎิทินขาว วัน-เดือน-ป
รายละเอียดงาน
ติดตอ
10-22 ก.ย. 2558
Imaperial Motor Road Show 2015 ณ อิมพ�เร�ยลเว�ลดสําโรง
www.facebook.com/smg.smerfgroup โทร.08-5021-7786 คุณทัศนีย
18-19 ก.ย. 2558
การขนสงสินคาอันตราย Maritime Transport of Dangerous Goods ณ Windsor Suites Hotel (สุข�มว�ท 18-20)
ITBS โรงเร�ยนธุรกิจการขนสง และการคาระหวางประเทศ คุณฟาร�นา มะลิ โทร.08-6411-7265
1-3 ต.ค. 2558
ASEAN TRANSPORT & LOGISTICS SHOW www.femsb.com 2015 at MINES INTERNATIONAL CENTRE, E-mail : enquiries@femsb.com MALAYSIA
27-29 ต.ค. 2558
Oil & Gas Thailand 2015 And Petrochemical Fireworks Media (Thailand) Co., Ltd. Asia 2015 ณ ไบเทค กรุงเทพฯ โทร.0-2513-1418
5-7 พ.ย. 2558
BUS & TRUCK ’15 ณ ไบเทค กรุงเทพฯ
บร�ษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด โทร.0-2717-2477 ตอ 159
2-13 ธ.ค.2558
MOTOR EXPO 2015 ณ อาคารชาเลนเจอร 1-3 เมืองทองธานี
บร�ษัท สื่อสากล จํากัด โทร.0-2641-8444
8/29/2558 BE 12:00 AM
40 BUS&TRUCK • DIRECTORY
ปกษแรก • กันยายน 2558
Directory ISUZU บร�ษัท ตร�เพชรอีซูซุเซลส จํากัด โทร. 0-2966-2111
SUNLONG บร�ษัท เบสทร�น กรุป จํากัด โทร.0-2750-3901, 0-2750-0227, 08-5999-9499 SLK6752CNG SLK6852D SLK6102D SLK6102CNG SLK6120D SLK6126CNGB SLK6145D ราคาดังกลาวเปนราคานําเขารถสําเร็จรูปทั้งคัน
Coach 7.5 m. Coach 8.5 m. Coach 10 m. Coach 10 m. Coach 12 m. Coach 12 m. Coach 14.5 m.
YUTONG บร�ษัท ไทยคูชัย จํากัด โทร. 0-2393-9831-2
YUTONG มินิบัส 6 เมตร YUTONG รถบัสโดยสาร 8 เมตร YUTONG รถบัสโดยสาร 12 เมตร
มินิบัส รถธรรมดา รถปรับอากาศ
CNG ดีเซล ดีเซล CNG ดีเซล CNG ดีเซล
-
-
-
2,950,000 4,000,000 4,600,000 4,900,000 6,000,000 6,500,000 7,500,000
1,500,000 2,500,000 4,850,000
HINO บร�ษัท ฮีโนมอเตอรสเซลส (ประเทศไทย) จํากัด โทร. 0-2900-5000 Hotline 0-2900-5260 Series 3 XZU600R-4W ขนาด 2-3 ตัน Series 3 XZU600R-6W ขนาด 2-3 ตัน Series 3 XZU650R (T&S) ขนาด 2-3 ตัน Series 3 XZU710R (T&S) ขนาด 2-3 ตัน Series 3 XZU720R ขนาด 2-3 ตัน Series 3 XZU600R-4W Cooler less ขนาด 2-3 ตัน Series 3 XZU600R-6W Cooler less ขนาด 2-3 ตัน Series 3 XZU650R (T&S) Cooler less ขนาด 2-3 ตัน Series 5 FC9JEKA (T&S) 6 ลอขนาดกลาง Series 5 FC9JJKA 6 ลอขนาดกลาง Series 5 FC9JELA (T&S) 6 ลอขนาดกลาง Series 5 FC9JJLA (Radial Tube) 6 ลอขนาดกลาง Series 5 FC9JLLA (Radial Tube) 6 ลอขนาดกลาง Series 5 FG8JGLD 6 ลอขนาดใหญ Series 5 FG8JJLA 6 ลอขนาดใหญ Series 5 FG8JMLA 6 ลอขนาดใหญ Series 5 FG8JPLA 6 ลอขนาดใหญ Series 5 FG8JRLA 6 ลอขนาดใหญ Series 5 FG8JPLG (Air-Sus 6 ลอขนาดใหญ Series 5 FG8JGLE 6 ลอขนาดใหญ Series 5 FG8JJLB 6 ลอขนาดใหญ Series 5 FL8JNKA 10 ลอ 6x2 Series 5 FL8JTKA 10 ลอ 6x2 Series 5 FL8JNLA 10 ลอ 6x2 Series 5 FM8JNKD 10 ลอ 6x4 Series 5 FM8JNLD 10 ลอ 6x4 Series 5 FM1ANKD (T Bias) E/G Retarder 10 ลอ 6x4 Series 5 FM1ANKD (T&S Radial) E/G Retarder 10 ลอ 6x4 Series 5 FM1ANLD (T&S Radial) E/G Retarder 10 ลอ 6x4 Series 5 FM2PNLD (T&S) 10 ลอ 6x4 Series 5 FM2PNLD (SPA) ABS 10 ลอ 6x4 Series 5 FM1AKKM E/G Retarder (Mixer) 10 ลอ 6x4 Series 5 GY2PSLA (S) 12 ลอ 8x4 Series 5 GY2PSLA (T&S 380 Ps) PTO 12 ลอ 8x4 Series 5 FG8JGLT หัวลาก 6 ลอ Series 5 FM8JKKA หัวลาก 10 ลอ Series 5 FM1AKKA (S) E/G Retarder หัวลาก 10 ลอ Series 5 FM1AKKA (S) PTO E/G Retarder หัวลาก 10 ลอ Series 5 FM1AKLA (S) E/G Retarder หัวลาก 10 ลอ Series 5 FM1AKLA (S) PTO E/G Retarder หัวลาก 10 ลอ Series 5 FM1AKLA (SPA) ABS หัวลาก 10 ลอ Series 5 FM2PKLA (T&S) หัวลาก 10 ลอ Series 5 FM2PKLA (S) PTO หัวลาก 10 ลอ Series 5 FM2PKLA (SPA) ABS หัวลาก 10 ลอ Series 5 RK8JSLA รถบัส Series 5 RM1ESKU รถบัส Series 5 FC4JLNA NGV 6 ลอ NGV ขนาดใหญ Series 5 FG1JPKA NGV 6 ลอ NGV ขนาดใหญ Series 5 FG1JPKA NGV - Car Carrier 6 ลอ NGV ขนาดใหญ Series 5 FL1JTKA-BGT NGV 10 ลอ 6x2 Series 5 FM1JNKD-BGT NGV 10 ลอ 6x2 Series 5 FM1JKKA NGV 10 ลอ NGV Series 5 FM2PNMD NGV 10 ลอ 6x4 Series 5 FM2PNMD- A NGV 10 ลอ 6x4 Series 5 FM2PKMA NGV หัวลาก 10 ลอ NGV Series 5 FM2PKMA-PA NGV หัวลาก 10 ลอ NGV Series 5 FM2PKMA-P NGV หัวลาก 10 ลอ NGV Series 5 FM2PKMA-A NGV หัวลาก 10 ลอ NGV
4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ
136 150 150 150 150 136 150 150 145 145 175 175 175 212 212 212 212 212 212 212 212 212 212 251 212 251 330 330 344 380 380 330 380 380 212 251 330 330 344 344 344 380 380 380 251 380 175 220 220 260 260 260 360 360 360 360 360 360
948,000 978,000 1,035,000 1,190,000 1,206,000 938,000 968,000 1,025,000 1,350,000 1,360,000 1,410,000 1,430,000 1,440,000 1,750,000 1,770,000 1,780,000 1,790,000 1,810,000 1,915,000 1,650,000 1,660,000 2,345,000 2,385,000 2,415,000 2,485,000 2,535,000 2,820,000 2,850,000 2,905,000 2,965,000 3,035,000 2,575,000 3,130,000 3,170,000 1,865,000 2,650,000 2,945,000 2,985,000 2,975,000 3,015,000 3,085,000 3,055,000 3,095,000 3,165,000 2,145,000 3,605,000 1,890,000 2,555,000 2,945,000 3,265,000 3,315,000 3,440,000 3,755,000 3,825,000 3,850,000 3,960,000 3,890,000 3,920,000
MAN บร�ษัท เอ็ม เอ เอ็น คอมเมอรเชียล ว�ฮีเคิลส (ประเทศไทย) จํากัด โทร. 0-2567-0070-5 MAN-CLA 26.280 6x4 Tractor MAN-CLA 26.280 6x4 Mixer
รถหัวลาก 10 ลอ รถผสมปูน 10 ลอ
-
280 280
2,780,000 2,700,000
รถหัวลาก รถหัวลาก รถหัวลาก รถหัวลาก แซสซีสรถโดยสาร แซสซีสรถโดยสาร แซสซีสรถโดยสาร
6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ
FOTON บร�ษัท โฟตอน ทรัค (ประเทศไทย) จํากัด โทร.0-2567-2882
BJ4257SMFCB-R1 BJ4257MFJB-R1 BJ5257GJB-RA BJ3257DLPJE-R1
B&T#277_p40-41_iMac5.indd 40
10 ลอ หัวลากสองเพลา (6x4) 10 ลอ หัวลากสองเพลา (6x4) 10 ลอ หัวลากสองเพลา (6x4) 10 ลอ หัวลากสองเพลา (6x4) 10 ลอ หัวลากสองเพลา (6x4) 10 ลอ หัวลากสองเพลา (6x4) รถบรรทุก 6 ลอหัวลาก (4x2) รถบรรทุก 6 ลอหัวลาก (4x2) รถบรรทุก 12 ลอ สองเพลา (8x4) รถบรรทุก 12 ลอ สองเพลา (8x4) รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลา รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลา รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลา รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลา รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลา รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลา รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลา รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 6 ลอ ขนาด 6 ตัน รถบรรทุก 6 ลอ ขนาด 6 ตัน รถบรรทุก 6 ลอ ขนาด 6 ตัน รถบรรทุก 6 ลอ ขนาด 6 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุกขนาด 2 ตัน รถบรรทุกขนาด 2 ตัน รถบรรทุกขนาด 2 ตัน รถบรรทุกขนาด 2 ตัน รถบรรทุกเคร�่องยนต CNG รถบรรทุกเคร�่องยนต CNG รถบรรทุกเคร�่องยนต CNG รถบรรทุกเคร�่องยนต CNG รถบรรทุกเคร�่องยนต CNG รถบรรทุกเคร�่องยนต CNG รถบรรทุกเคร�่องยนต CNG รถบรรทุกเคร�่องยนต CNG รถบรรทุกเคร�่องยนต CNG รถบรรทุกเคร�่องยนต CNG
9,839 9,839 9,839 9,839 9,839 9,839 7,790 7,790 9,839 9,839 9,839 9,839 9,839 9,839 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 5,193 5,193 5,193 5,193 5,193 5,193 5,193 5,193 5,193 2,999 2,999 2,999 2,999 9,839 7,790 7,790 9,839 7,790 7,790 7,790 4,570 4,570 4,570
360 360 360 360 360 360 300 300 360 360 360 360 360 360 360 360 360 300 300 300 300 300 300 300 300 300 240 240 240 240 210 210 210 190 190 175 175 150 150 130 130 130 130 354 245 245 354 245 245 220 130 130 130
3,347,000 3,177,000 3,177,000 3,317,000 3,147,000 3,147,000 2,582,000 2,559,000 3,294,000 3,294,000 3,044,000 3,044,000 2,694,000 2,727,000 2,680,000 2,680,000 2,580,000 2,565,000 2,544,000 2,662,000 2,642,000 2,621,000 2,504,000 2,432,000 2,412,000 2,391,000 1,875,000 1,854,000 1,844,000 1,818,000 1,536,000 1,526,000 1,484,000 1,486,000 1,476,000 1,350,000 1,334,000 1,225,000 1,209,000 1,029,000 1,024,000 967,000 937,000 3,957,000 3,754,000 3,394,000 3,844,000 3,456,000 3,375,000 2,580,000 1,627,000 1,617,000 1,432,000
2,977 CC 2,977 CC 2,899 CC 2,899 CC 2,899 CC 7,545 CC 7,545 CC 7,545 CC 7,545 CC 7,545 CC 7,545 CC 12,882 CC 12,882 CC
125 125 150 150 150 240 240 240 270 240 270 380 380
934,000 985,000 1,069,000 1,207,000 1,217,000 1,770,000 1,785,000 1,830,000 2,525,000 2,475,000 2,635,000 3,150,000 3,220,000
FUSO บร�ษัท ฟ�โซทรัค (ประเทศไทย) จํากัด โทร. 0-2567-2897
FE71BB8SRDH1 FE73BE6SRDH1 FE84DE6SRDH1 FE85DE7SRDH1 FE85DG7SRDH1 FM65F F1RDH1 FM65F H1RDH1 FM65F M1RDH1 FN61FR2RDH1 FN62FM1RDH1 FN61FM2RDH1 FV51JHR3RDH1 FV51JHR3RDH1
รถบรรทุก 4 ลอ รถบรรทุก 6 ลอ รถบรรทุก 6 ลอชวงมาตรฐาน รถบรรทุก 6 ลอชวงมาตรฐาน รถบรรทุก 6 ลอชางยาว รถบรรทุก 6 ลอ ชวงสั้น รถบรรทุก 6 ลอ ชวงกลาง รถบรรทุก 6 ลอ ชวงยาว รถบรรทุก 10 ลอ ชวงยาวพ�เศษ รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลาชวงยาว รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลาชวงยาว รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลาชวงยาว รถหัวลาก 10 ลอ
DONGFENG บร�ษัท ดีเอฟ มอเตอร (ไทยแลนด) จํากัด โทร.0-2637-5041-3
DONGFENG CNG DONGFENG 8x4 CNG
รถหัวลาก NGV 100% TRACTOR Engine Yuchai
YC 340HP YC 340HP
340 340
3,150,000 3,250,000
BEIBEN บร�ษัท เอ็ม.ซี.ซี. ทรัค แอนด บัส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด โทร.08-1698-1934, 0-7423-0258 2538 SY 6x4 NG80 2538 SY 6x4 V3 2538 SY 6x4 NG80 2538 SY 6x4 V3 1827 SY 4x2 V3 2534 BY 6x4 V3 2534 KV 6x4 V3 (chassis )
Tractor (CNG) Tractor (CNG) Tractor (Diesel) Tractor (Diesel) Tractor (Diesel) Mixcer (Diesel) Dumper(Diesel)
11,596 CC 11,596 CC 9,726 CC 9,726 CC 9,726 CC 9,726 CC 9,726 CC
380 380 375 375 270 336 336
2,950,000 3,250,000 2,550,000 2,700,000 2,150,000 2,800,000 2,750,000
SHACMAN บร�ษัท ไทย ซัน อินเตอร แมชชีน จํากัด โทร. 0-3273-4188-9 Hotline 08-6302-1778
SCANIA P 360 LA6x2MSZ P 410 LA6x2MSZ P 410 LA6x2MNA P 410 LA6x2MSZ K 410 IB6x2NB K 410 EB6x2NI K 460 EB6x2NI
GXZ77NXJFQ (Aero-Max) GXZ77NXFQ (Aero-Max) GXZ77NXXTQ (Aero-Max) GXZ77NXJFQ GXZ77NXXFQ GXZ77NXXTQ GVR34JXXXQ (Aero-Max) GVR34JXXXQ FYH77SXDFQ FYH77SXTDQ FXZ77QXDFQ FXZ77QXDTQ FXZ77PXDXQ FXZ77NXFXQ FXZ34PSDFQ FXZ34PSDTQ FXZ34PNDXQ FVM34TSXXQ FVM34QSXXQ FVM34TNAXQ FVM34RNAXQ FVM34QNAXQ FVM34WNXXQ FVM34TNXXQ FVM34RNXXQ FVM34QNXXQ FTR34QXXXQ FTR34PXXXQ FTR34LXXXQ FTR34JXXXQ FRR90NSXXQ FRR90LSXXQ FRR90HSXXQ FRR90NNXXQ FRR90LNXXQ NQR75LXXXQ NQR75HXXXQ NPR75KXXXQ NPR75HXXXQ NMR85HXXFQ NMR85HXXTQ NMR85EXXXQ NLR85EXXXQ GXZ78NXCFQ (AMAX-A) GVR86KXCXQ (10W 6x2) GVR86KXCXQ (6W 4x2) FXZ78QXBFQ FVM86WXCXQ FVM86TXCXQ FTR86QXCFQ NPR82KXCXQ NPR82HXCXQ NMR82HXCXQ
รถหัวลาก 10 ลอ CNG รถหัวลาก 10 ลอ Diesel รถมิกเซอร 10 ลอ Diesel รถ 10 ลอ Diesel
6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ
360 แรงมา 410 แรงมา 410 แรงมา 410 แรงมา 410 แรงมา 410 แรงมา 460 แรงมา
3,600,000 3,900,000 4,100,000 4,350,000 4,500,000 4,700,000 5,200,000
380 375 375 375
2,900,000 2,850,000 2,900,000 2,825,000
F2000 WP12NG350 F2000 WP12NG380 F2000 WP12NG380 F2000 WP12NG350 F2000 WP 10.336 F2000 WP 10.375 M3000 WP10NG.330 M3000 WP10.330 M3000 WP10.330
รถหัวลาก 10 ลอ (6x4) NGV รถหัวลาก 10 ลอ (6x4) NGV รถหัวลาก 10 ลอ (6x4) NGV (Retarder) รถหัวลาก 12 ลอ (8x4) NGV รถหัวลาก 10 ลอ (6x4) DIESEL รถหัวลาก 10 ลอ (6x4) DIESEL รถหัวลาก 10 ลอ (6x4) NGV รถหัวลาก 10 ลอ (6x4) DIESEL รถโมคอนกร�ต 10 ลอ (6x4) DIESEL
350 380 380 350 336 375 330 330 330
2,725,000 2,825,000 2,945,000 2,925,000 2,425,000 2,525,000 2,775,000 2,475,000 2,670,000
SANY บร�ษัท ไทย ซัน อินเตอร แมชชีน จํากัด โทร. 0-3273-4188-9 Hotline 08-6302-1778
SANY MIXER 6M3 SANY MIXER 6M3 SANY MIXER 3M3
รถโมคอนกร�ต 10 ลอ (6x4) DIESEL (Hino P11C-UH) รถโมคอนกร�ต 10 ลอ (6x4)รุนใหม DIESEL (Hino P11C-UH) รถโมคอนกร�ต 6 ลอ (4x2) DIESEL (Cummins)
325 325 140
2,850,000 2,900,000 1,850,000
8/29/2558 BE 12:05 AM
BUS&TRUCK MART • BUS&TRUCK 41
ปกษแรก • กันยายน 2558
BUS&TRUCK Mart
NEW ขายฟูโซ ใหม CNG 380 แรงมา ราคาพิเศษสุดสุด โทร.09-1465-1995
B&T#277_p40-41_iMac5.indd 41
8/29/2558 BE 12:06 AM
42 BUS&TRUCK • Q & A
ปกษแรก • กันยายน 2558
เสียงจากผู้อ่าน
ถามทาง ลองเดอร เทรดดิ้ง ผูนําระบไฟรถทัวร
ธุรกิจรถทัวรที่ประกอบกิจการอยู หลังจากที่ ไมมีผู โดยสารมานาน หลายเดือน ขณะนี้เริ่มมีนักทอง เที่ยวตางชาติเขามามากยิ่งขึ้น จึงตอง ทํ า การปรั บ แต ง รถใหม อ ยากทราบว า ควรจะไปตกแตงไฟเพิ่มที่ไหนดี? ในอดีตรถทัวรมอี ยูด ว ยกัน 2 แบบ คือ รถทัวรแบบพัดลม จะมีการ แตงทั้งระบบไฟและระบบเสียง เพื1อใหผู โดยสารภายในรถมีความสนุก ครึ ก ครื้ น เหมื อ นได เ ที่ ย วเธคทํ า ให ผู พบเห็นขางทางมีความตืน1 เตน เพราะ นาน ๆ ทีจะไดเห็นรถทัวรแตงไฟทั้งคัน วิง่ ผานสักที อีกแบบหนึง่ คือ รถทัวรแบบ ติดแอร ผู โดยสารสวนมากจะเปนชาว ตางชาติที่ตองการความปลอดภัยและได เห็นความเปนอยูของแตละจังหวัดที่รถ ทัวร ไดวงิ่ ผาน เจาของรถทัวรตดิ แอรนจี้ งึ ต อ งเน น ที่ ม าตรฐานของอุ ป กรณ ภายนอกและภายในตองมีความมั่งคง ปลอดภัย แตกย็ งั ใหความสําคัญกับระบบ การตกแตงไฟทายทีจ่ ะตองมีแสงสีเจิดจา เรียกความเดนใหกับรถเมื1อวิ่งบนทอง
ถนน
สําหรับรานประดับยนตท่ีสามารถ ทําใหระบบไฟตาง ๆ ของรถโดยสารที่ไม ได ใชงานแลวใหกลับมาดูใหมอีกครั้ง ก็ คือ “ลองเดอร เทรดดิ้ง” บจก.ลองเดอร เทรดดิ้ง จําหนาย และนําเขาอุปกรณตกแตงรถบัสและรถ ทัวร อาทิ ไฟหนา ไฟทาย ที่ปดนํ้าฝน กระจกมองขาง ไฟเพดาน ผายางปูพื้น เกาอี้คนขับ หนาไฟเบอรสําเร็จรูปประตู ลมกลอน เปนตน แนนอนวา ตัวรถที่สวยงามจะเปน ตัวเรียกผู โดยสารมาใชบริการเพิ่มมาก ขึน้ แลว ตัวคนขับก็มคี วามสําคัญมากเชน กัน เพราะเปนผูที่สรางความเชื1อมั่นใน ความปลอดภัยใหกับผู โดยสารมากที่สุด จึงตองนอนหลับพักผอนใหเพียงพอ มี มารยาทในการขับขี่ คอยบริการผูโดยสาร ทุกคนเปนอยางดี เพราะตลอดเวลา 4 ชั่ ว โมงที่ ก ฎหมายอนุ ญ าตให ค นขั บ รถ ใหญทุกคนตองทําตาม ตองสรางความ ประทับใจใหกบั ผูโดยสารมากทีส่ ดุ เพราะ หมายถึงเงินทิปทีจ่ ะไดจากผูโดยสารหลัง การใชบริการนั่นเอง
คุณกมลรัท ไชยขันแกว สมุทรปราการ
เมื1อ ได เ ห็ น นิ ต ยสาร BUS & TRUCK ทีส่ นามบินสุวรรณภูมิ รูไดทนั ที วาตรงตอการเจาะกลุมเปาหมายเปน อยางมาก เพราะทํา บริษัท ซีเอ็มเค อินเตอรเทรด จํากัด ซึ่งขายหมอนํ้าให ทั้งกับรถเล็กและรถใหญเปนการเฉพาะ และเมื1อไดมาอานเพิ่มเติมทั้งเลมก็เห็น วาสามารถนําขอมูลมาประยุกตกับธุรกิจ ไดทั้งหมด แมวาจะเริ่มธุรกิจมาไดแคเพียง 2-3 ป ยังไมสามารถคลุมตลาดรถใหญได ทั้งหมด จึงตองมีกลยุทธตาง ๆ ออกมา อยางมากมาย เพราะทั้งจะมีการเปด ตลาด AEC อีก จึงอยากทราบขอมูลของ รถใหญในแตละประเทศวา มียหี่ อ ไหนรุน ไหนที่วิ่งอยูบาง เพื1อจะไดเปนการขยาย กลุมลูกคาไปในตัวดวย ขอบคุณคะ
การนํ า เสนอข อ มู ล ของบริ ษั ท ที่ อ ยู ใ น วงการขนสงใหทราบดวย เพราะเมื1อมี ความต อ งการสิ่ ง ไหนก็ ส ามารถค น หา ขอมูลเพื1อไดตรงตามจุดหมายไดเลย สําหรับสิ่งที่อยากทราบนั้น เทาที่รู มาทุกประเทศในอาเซียนตางยังใชรถ ใหญที่ลาหลังกวาในเมืองไทยอยูมาก อยางเชน เมืองไทยใชเครื1องยูโร 3 แตวา ในประเทศเพื1อนบานยังคงใชยูโร 1 อยู ทําใหอุปกรณเสริมก็ยังคงลาหลังตามไป ดวย ดังนัน้ วิธกี ารทําการตลาดก็ตอ งแตก ต า งกั น แล ว จะพยายามหาข อ มู ล ว า ประเทศใดมี ก ารใช ร ถใหญ แ บบไหน พรอมทั้งจะหายี่หอและรุนมาใหทราบ ดวย ขอบคุณครับ
กองบรรณาธิการ
ต อ งขอขอบคุ ณ ที่ เ ป น สมาชิ ก อุ ป ถั ม ภ ช ว ยเพิ่ ม กํ า ลั ง ใจให กั บ กอง บรรณาธิการ (บก.) จะไดทาํ งานหนักมาก ขึ้น เพื1อหาสาระประโยชนตาง ๆ ใหกับ ทางสมาชิกไดรับทราบ พรอมทั้งยังมี No. ............./..............
B&T#277_p42-43_iMac5.indd 42
8/29/2558 BE 12:13 AM
LAST MONTH CIRCULATION • BUS&TRUCK 43
ปกษแรก • กันยายน 2558
วัดรอบ
ยอดจดทะเบียนรถบรรทุกและรถโดยสารรวมทั่วประเทศ ประจําเดือน กรกฎาคม 2558 รถบรรทุก รถโดยสาร
รายงานสถิติจํานวนรถใหม (ปายแดง) ที่จดทะเบียนโดยแยกยี่หอรถ ประเภทรถบรรทุกและรถโดยสารทั่วประเทศ ประจําเดือนกรกฎาคม 2558 ทีท ่ างกลุม สถิตก ิ ารขนสง กองแผนงาน กรมการขนสงทางบก ไดรวบรวม ไว
ดวย IVECO มียอดจดทะเบียน อยูที่ 13 คัน จากเดือนมิถุนายน อยูที่ จํานวน 0 คัน เพิ่มขึ้น 13 คัน และคาย SCANIA มียอดจดทะเบียนอยูที่ จํานวน 10 คัน จาก เดือนมิถุนายน อยูที่ จํานวน 14 คัน ลดลง จํานวน 4 คัน ทางฟากคายรถจากจีน SANY ขึ้นมานําเปนอันดับที่ 1 มียอดจดทะเบียน เริม่ จากสถิตจิ าํ นวนรถใหม (ปายแดง) ทีจ่ ดทะเบียนโดยแยกยีห่ อ รถ ประเภท อยูที่ จํานวน 21 คัน จากเดือนมิถุนายน อยูที่ จํานวน 15 คัน เพิ่มขึ้น 6 คัน ตาม รถบรรทุกรวมทั่วประเทศ ประจําเดือนกรกฎาคม 2558 โดย 3 อันดับแรกจากคาย มาดวย FOTON มียอดจดทะเบียนอยูที่ จํานวน 10 คัน จากเดือนมิถุนายน อยู รถญี่ปุน ISUZU นําเปนที่ 1 มียอดจดทะเบียนอยูที่ จํานวน 1,166 คัน จากเดือน ที่ จํานวน 1 คัน เพิ่มขึ้น จํานวน 9 คัน และคาย SINOTRUK มียอดจดทะเบียน มิถุนายน อยูที่ จํานวน 983 คัน เพิ่มขึ้น จํานวน 183 คัน ตามมาดวย HINO มี อยูที่ จํานวน 9 คัน จากเดือนมิถุนายน อยูที่ จํานวน 25 คัน ลดลง 16 คัน ยอดจดทะเบียนอยูที่ จํานวน 1,034 คัน จากเดือนมิถุนายน อยูที่ จํานวน 897 คัน ในสวนของสถิติจํานวนรถใหม (ปายแดง) ที่จดทะเบียนโดยแยกยี่หอรถ เพิ่มขึ้น จํานวน 137 คัน และคาย FUSO มียอดจดทะเบียนอยูที่ จํานวน 123 คัน ประเภทรถโดยสารรวมทั่วประเทศ โดยคายที่มียอดจดทะเบียนประจําเดือน จากเดือนมิถุนายน อยูที่ จํานวน 74 คัน เพิ่มขึ้น จํานวน 49 คัน กรกฎาคม 2558 มากที่สุด คือ คาย HINO สรางยอดจดทะเบียนได จํานวน 14 ดานคายรถจากยุโรป VOLVO ยังนําเปนที่ 1 มียอดจดทะเบียน อยูท ี่ จํานวน คัน ตามมาดวย คาย SUNLONG จํานวน 13 คัน และคาย ZHONGTONG 33 คัน จากเดือนมิถุนายน อยูที่ จํานวน 31 คัน เพิ่มขึ้น จํานวน 2 คัน ตามมา จํานวน 12 คัน
หมายเหตุ แหลงที่มา : ยอดรถจดทะเบียน ฝายสถิติ กลุมวิชาการและวางแผน สํานักจัดระบบการขนสง ทางบก ขออธิบายเพิ่มเติม : ประเภทนํา้ หนักรถบรรทุกและรถโดยสารตามขอมูลของกรมการขนสงทางบก เทียบเทาลักษณะ รถบรรทุกและรถโดยสาร ดังนี้
B&T#277_p42-43_iMac5.indd 43
ประเภทนํ้าหนัก 1. 2,001-4,000 กก. 2. 4,001-5,000 กก. 3. 5,001-6,000 กก. 4. 6,001-7,000 กก. 5. 7,001 กก. ขึ้นไป
ลักษณะรถ รถบรรทุก รถโดยสาร รถตู, รถสองแถว ไมเกิน 12 ที่นั่ง 4 ลอ (ชวงยาว), 6 ลอ (4x2) มินิบัส 6 เมตร,รถสองแถว 13-24 ที่นั่ง 6 ลอ ตัวถังยาว 6-7 เมตร 6 ลอ (หัวลาก) ตัวถังยาว 8 เมตร/ที่นั่งเกิน 30 ที่ 10 ลอ (6x2) ตัวถังยาว 10 เมตรและ 12 เมตร บรรทุก 12 ลอ (8x4) ที่นั่งเกิน 30 ที่นั่ง หัวลาก 10 ลอ (6x4)
8/29/2558 BE 12:15 AM
44 BUS&TRUCK • POWER SAVING
ปกษแรก • กันยายน 2558
Power Saving
ขสมก.ซื้อรถเมล NGV จากกลุม CHO
เซ็นสัญญา 16 ก.ย. พรอมรับ 50 คันแรก พ.ย.นี้ คืบหนาแลวสําหรับโครงการจัดซื้อรถโดยสารที่ใชเชื้อเพลิงกาซธรรมชาติ (NGV) ล็อตแรก จํานวน 489 คัน โดยขสมก.จะทําหนังสือถึงกลุมบริษัทรวมคา JVCC ที่มี บมจ. ช.ทวีดอลลาเซียน (CHO) เปนแกนนํา ซึ่งเปนผูชนะ ประมูลใหเขามาลงนามสัญญา ในวันที่ 16 ก.ย.2558 โดยบริษัทฯจะตองเตรียมพรอมในเรื่องหนังสือคํ้าประกัน ทางการเงิน หรือ แบงกการันตี ใหเรียบรอย
หลังจากทีย่ ดื เยือ้ มาสักระยะจาก กรณี บริษทั เบสทรนิ กรุป จํากัด ไดย1นื ฟองตอศาลปกครอง และศาลอาญา วา ไมไดรับความเปนธรรมและกระบวน การประมูลไมโปรงใสนั้น ลาสุดทั้ง 2 ศาลไมรบั ฟอง ดังนัน้ ขณะนีเ้ หลือเพียง รอฟงผลจากคณะกรรมการวาดวยการ พั ส ดุ ด ว ยวิ ธี ท างอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส (กวพ.อ.) คาดวาจะแจงผลอยางเปน ทางมายังขสมก.ภายในตนเดือนก.ย. คุณปราณี ศุกระศร รักษาการ ผูอํานวยการองคการขนสงมวลชน กรุงเทพ (ขสมก.) กลาววา ขสมก. มั่นใจในการประมูลวาไดดําเนินการ อยางโปรงใส ตัง้ แตการกําหนดเงื1อนไข ทีโออาร กําหนดราคากลาง 3.65 ลาน บาทตอคัน และผลประมูลเหลือ 3.5 ลานบาทตอคัน ถือวาเปนประโยชนตอ ขสมก. และบอรด ขสมก. ยังตั้งคณะ กรรมการกํากับการจัดหารถ 489 คัน อีกดวย “ขสมก.มั่นใจวาจะสามารถเซ็น สั ญ ญากั บ บริ ษั ท ที่ ช นะการประมู ล รถเมล NGV ได ในวันที่ 16 ก.ย.นี้ และ
สามารถรับมอบรถ 50 คันแรกไดในเดือน พ.ย.นี้ ซึ่งจะทยอยสงมอบโดยคาดวา ประมาณกลางเดือน ธ.ค. จะรับมอบรถ ครบจํานวน 489 คัน จากนั้น ขสมก.จะ นํารถใหมไปวิ่งทดแทนรถเกาที่ใชนํ้ามัน ดีเซล เบื้องตนจะวิ่งใหบริการใน 20 เสน ทางที่ ใ กล กั บ สถานี บ ริ ก ารก า ซ NGV นอกจากนี้ หากรับมอบรถใหมไดครบใน เบื้องตนแลว ขสมก.มีแผนที่จะทําการ
ซอมบํารุงครั้งใหญประมาณ 600 คัน สําหรับรถเมล ขสมก.ทั้งหมดมีประมาณ 3,000 คัน แตสามารถวิ่งใหบริการได 2,600-2,700 คัน โดยจะปรับปรุงเดือนละ 70 คัน” สําหรับรถทีเ่ หลือจํานวน 2,694 คัน นัน้ ตามมติคณะกรรมการกํากับนโยบาย รั ฐ วิ ส าหกิ จ (คนร.) ให ข สมก.ทํ า การ ทดสอบประสิทธิภาพรถ 489 คันกอน ซึง่
จะเนนทดสอบเรื1องระบบรถชานตํา่ กับ การวิ่งบนถนน และสะพานตาง ๆ คาด วาประมาณ 30 วันจะสรุปผลได สวนการจัดหารถเมล ไฟฟานั้น กระทรวงคมนาคมไดตั้งคณะทํางาน ศึกษาไววาจะนาจะทดลองที่ 500 คัน แตเนื1องจากราคารถเมล ไฟฟาสูงถึง กวา 12 ลานบาทตอคัน ระยะเวลาคุม ทุน 20 ป ซึ่งจะเปนภาระขสมก.มาก จึงตองรอนโยบายที่ชัดเจนวาจะจัดหา อยางไร การลงทุนเปนอยางไร และมี โอกาสผลิตในประเทศหรือไมเพื1อลด ราคาลง
พั กเครื่อง
บริษัท นิสสัน มอเตอร (ประเทศไทย) จํากัด เดินหนารุกตลาด ปคอัพอยางตอเนื1อง ลาสุดอัดแคมเปญ นาวาราเดย เฟส 2 ภายใตกิจกรรม “นิสสัน เอ็นพี 300 นาวาราเดย ทั้ง แรง ทั้ ง รวย กระบะแรงสุ ด 190 แรงมา แจก 190 รางวัล” ถึง 30 กันยายน 2558 ลูกคาที่ออกรถนิสสัน เอ็ น พี 300 นาวารา ในระยะเวลา กิ จ กรรมมี สิ ท ธิ์ ลุ น โชคกั บ แคมเปญ ไฮไลต อ ยู ที่ ร างวั ล ใหญ เ ป น ทองคํ า มูลคาสูงสุดถึง 100,000 บาท และ รางวัลทองคําอื1น ๆ รวมทั้งสิ้น 190
R1_B&T#277_p44-45_iMac5.indd 44
รางวั ล นอกจากนี้ จะได รั บ ฟรี คู ป อง เงินสดของเทสโก โลตัส มูลคา 200 บาท เพี ย งทดลองขั บ นิ ส สั น เอ็ น พี 300 นาวารา ที่ โชวรูมของผูจําหนายนิสสัน และยั ง มี ข อ เสนอพิ เ ศษที่ ห ลากหลาย อาทิ ดาวนตํ่าสุด 29,999 บาทพรอมฟรี ประกันภัยชั้น 1 NPP สําหรับนิสสัน เอ็นพี 300 นาวารา คิงแค็บ และ ดับเบิล้ แค็บทุกรุน หรือโปรแกรม “นิสสัน อีซ่ี เพย” เพื1อลูกคาที่ตองการผอนตอเดือน แบบสบาย ๆ พรอมรับฟรีชุดแตงแท
จากนิสสันที่มาพรอมการรับประกัน 3 ป หรือ 100,000 กิโลเมตร สําหรับดับเบิ้ล แค็บรุนที่กําหนด หรือสวนลดชุดแตง สูงสุดถึง 20% สําหรับผูท่ีเปนเจาของ นิสสัน เอ็นพี 300 นาวารา อยูแลว รวม ลุนโชคจํานวน 1 คัน ตอ 1 สิทธิ์ เพียง เขียนชื1อ-นามสกุล ที่อยู เบอรโทรศัพท ใหชัดเจน และสงคูปองชิงโชคไดที่กลอง ชิงโชคที่โชวรูมนิสสันทั่วประเทศ บริษัท เชลลแหงประเทศ ไทย จํากัด รวมมือกับ บริษัท นํ้ามันพืช
ปทุม จํากัด จัดพิธมี อบประกาศนียบัตร ใหแกเกษตรกรรายยอย 797 ราย และ โรงงานสกัดนํ้ามันปาลม 5 แหง จาก จังหวัดกระบี่ สุราษฏรธานี ตรัง และ นครศรี ธ รรมราช ที่ ผ า นการรั บ รอง มาตรฐาน RSPO ตามโครงการสงเสริม ศักยภาพการผลิต นํ้ามันปาลมอยาง ยั่ ง ยื น นํ า โดยคุ ณ อั ษ ฎา หะริ น สุ ต ประธานกรรมการบริษัท เชลลแหง ประเทศไทย จํากัด (แถวหนาที่ 4 จาก ซาย) คุณธเนศร รัชตะปติ กรรมการ ผูจัดการฝายจัดหาและจัดสงบริษัท เชลลแหงประเทศไทย จํากัด (แถว หน า ที่ 5 จากซ า ย) คุ ณ ศาณิ น ทร ตริยานนท นายกสมาคมผูผลิตไบโอ ดีเซลไทย และกรรมการ บริษทั นํา้ มัน พืชปทุม จํากัด (แถวหนาที่ 3 จากซาย) ร ว มด ว ย มร.ซาลาฮุ ด ดิ น ยาค็ อ บ ผูอํานวยการดานเทคนิค หนวยงาน มาตรฐาน RSPO (แถวหนาที่ 1 จาก ซาย) ใหเกียรติรวมงาน
8/31/2558 BE 8:53 PM
เกาะติดพาณิชยนอย • BUS&TRUCK 45
ปกษแรก • กันยายน 2558
เกาะติดพาณิชย์น้อย
สยามคูโบตา
ตอบสนองเกษตรกรไทย
เมือ ่ เอยถึง “คูโบตา” ใคร ๆ คงทราบดีวา มีรถทีต ่ รงตามโจทยของชาวเกษตรกร ชวยเบาแรงและหลุดพนจาก คําวา “หลังสูฟา หนาสูดิน” เพราะมีเครื่องจักรกลของ “คูโบตา” ที่พรอมชวยเหลือและสนับสนุนตลอดเวลา
“คูโบตา” มุงพัฒนาเครื1องจักร กลการเกษตรใหมีความหลากหลาย ครอบคลุ ม ทุ ก การใช ง านในภาค เกษตรกรรม เพื1อตอบสนองทุกความ ตองการของเกษตรกรไทย จนมีรถ ออกมาหลากหลายรูปแบบ เริ่มตั้งแต แทรกเตอร อุปกรณตอพวง รถเกี่ยว นวดขาว รถดํานา รถขุด รถไถเดินตาม เครื1องยนตดีเซล สินคาอื1น ๆ และ อะไหล ภายใตตราสินคา “คูโบตา” และ “ตราชาง” เมื1อมีการซื้อ-ขาย ก็ตองมีลีสซิ่ง คอยสนับสนุนการปลอยสินเชื1อ ดังนัน้ “สยามคูโบตา ลีสซิง่ ” จึงเกิดขึน้ ดวย ปณิ ธ านที่ มุ ง มั่ น ในการยกระดั บ คุณภาพชีวิต และความเปนอยูของ เกษตรกรไทย รวมทั้งอํานวยความ สะดวกทางดานการเงินใหเกษตรกร และเปดโอกาสใหสามารถเปนเจาของ เครื1อ งจั ก รกลการเกษตรได ง า ยขึ้ น บริษัท สยามคูโบตา ลีสซิ่ง จํากัด จึง เสนอบริ ก ารเช า ซื้ อ เครื1อ งจั ก รกล การเกษตรของสยามคูโบตา ในอัตรา ดอกเบี้ยที่เปนธรรม และมีทางเลือก ในการผอนชําระทีห่ ลากหลาย ปจจุบนั มีสํานักงานสาขามากกวา 50 แหงทั่ว ประเทศ ในด า นของเครื อ ข า ยผู แ ทน จํ า หน า ย จะมี ผู แ ทนจํ า หน า ยใน ประเทศ เพื1อรองรับความตองการของ ตลาด และใหบริการครอบคลุมทุก พื้นที่ทั่วประเทศ สยามคูโบตาจึงมุง พัฒนาเครือขาย การจําหนายสินคาให มี คุ ณ ภาพในการบริ ห ารจั ด การ มี
B&T#277_p44-45_iMac5.indd 45
มาตรฐาน และครอบคลุม โดยในปจจุบนั มี ร า นค า ผู แ ทนจํ า หน า ย และสาขา มากกวา 350 แหง เพื1อใหงานบริการให มีความสะดวกรวดเร็ว สามารถรองรับทุก ความตองการของลูกคาไดอยางสมบูรณ แบบ
สวนผูแ ทนจําหนายตางประเทศ จะ มุง ขยายตลาดสงออกสินคาไปยังประเทศ ในภูมิภาคอาเซียน อาทิ กัมพูชา ลาว พมา อินเดีย และเวียดนาม โดยจัดตั้ง บริษัทและสํานักงานประจําประเทศเพื1อ พัฒนาตลาด บริการหลังการขาย และ
สามารถดูแลลูกคาไดอยางใกลชดิ และ ทัว่ ถึง รวมทัง้ สงออกสินคาไปจําหนาย ประเทศอื1น ๆ ในทวีปเอเชีย แอฟริกา ออสเตรเลีย และอเมริกาเหนือ สําหรับบริการหลังการขาย ศูนย อบรมงานขายและบริการสยามคูโบตา มีการพัฒนาทักษะชางทุกระดับใหมี ความรูความชํานาญ เพื1อพรอมให บริการแกลกู คา สยามคูโบตา จึงจัดตัง้ ศูนยอบรมเทคนิคสยามคูโบตา โดย เนนการเรียนการสอนทัง้ ในภาคทฤษฎี และภาคปฏิบตั ิ ดวยหลักสูตรการสอน ในระดับตนถึงระดับสูงที่ ไดมาตรฐาน จากคูโบตา คอรปอเรชั่น (ประเทศ ญี่ปุน) โดยศูนยบริการเทคนิคสยาม คู โ บต า ให บ ริ ก ารหลั ง การขายที่ มี คุณภาพ และไดมาตรฐาน เพื1อให ลูกคาเกิดความพึงพอใจสูงสุด ดวย ศูนยบริการเทคนิคสยามคูโบตาและ ศู น ย บ ริ ก ารของผู แ ทนจํ า หน า ย ครอบคลุ ม ทั่ ว ประเทศ ได รั บ การ รั บ รองมาตรฐานสากล ISO 9001 พรอมใหบริการสายดวนบริการ 1747 เพื1อใหลูกคาสอบถามขอมูลสินคา รับ แจ ง งานบริ ก าร และให คํ า ปรึ ก ษา ป ญ หาในการใช ง าน รวมถึ ง หน ว ย บริการเคลื1อนที่ซึ่งออกใหบริการถึง สถานที่ใชงานไดอยางรวดเร็วฉับไว ปฏิเสธไมไดวา คูโบตา ไดอยูคู ชาวเกษตรมาอยางยาวนานกวา 37 ป และกิจการเติบโตอยางตอเนื1อง ดวย วิ สั ย ทั ศ น ที่ มุ ง มั่ น เป น ผู นํ า ธุ ร กิ จ เครื1อ งจั ก รกลการเกษตรในเอเชี ย เตรียมพบกับความยิง่ ใหญของคูโบตา ไดที่งาน BUS & TRUCK ’15 จัดขึ้น ระหว า งวั น ที่ 5-7 พ.ย. 2558 ณ ไบเทค กรุงเทพฯ
8/29/2558 BE 12:22 AM
46 BUS&TRUCK • B&T PRODUCTS
ปกษแรก • กันยายน 2558
BUS&TRUCK Products GPS Tracker รุน ID5
MAMAC MAC FOUR
HARDEX ทําความสะอาดคารบูและโชค
ตัวเครื1อง มี chipset ที่รองรับระบบ 3G ใช ชิ้ น ส ว นคุ ณ ภาพสู ง สามารถจั บ สัญญาณดาวเทียม ไดแมนยําและรวดเร็ว กวาทั่วไปเกือบ 3 เทา มีระบบ Anti Jamming ที่ใชปองกันเครื1อง รบกวนสัญญาณ GPS ทําให ตัวเครือ1 งทํางานไดอยางตอ เนื1อ ง เป น ความสามารถ เฉพาะ
สํ า หรั บ รถบรรทุ ก รถโดยสาร เรื อ ประมง เครื1องยนตดเี ซล เทอรโบชารต ไดเร็คอินเจ็คชั่น และเครื1องยนตท่ีใช งานหนั ก มี ส ารป อ งกั น การสึ ก หรอ ชะลางเขมา และรักษาลูกปนใหสะอาด ไมแปรสภาพเปนโคลน
สเปรยทาํ ความสะอาดชวยใหสมรรถภาพ ของคารบูและโชคดียิ่งขึ้น สะอาดขึ้น ทําความสะอาดรวดเร็วและขจัดคราบ นํ้ามัน ยาง คารบอน นํ้ามันมันออกไซด ทาร และอื1น ๆ ทีส่ ะสมกอตัวในคารบแู ละ โชค สลายคราบทีส่ ะสม สะอาด ปลอดภัย
หจก.จีพีเอสไอแอม โทร.0-2939-9616
บจก.มาแมคออยล โทร.0-2463-8509
หจก.จ.พัฒนาอะไหลยนต โทร.0-2222-5070
CHANGAN Star Truck
KARSHINE ITIRE
3M NOMADTM
รถบรรทุกทีม่ าพรอมกับเครื1องยนตขนาด ใหญ มีพลังขับเคลื1อนสูง โครงสรางไดรบั การออกแบบมาเปนอยางดี และ ผลิตจาก เหล็กกลาทีม่ คี วามแข็งแรงทนทานสูง จึง ทําใหมั่นใจได ในคุณภาพ ประสิทธิภาพ และความปลอดภัยในการใชงาน
นํ้ายาทายางสูตรพิเศษ สําหรับปกปอง ผิวยางรถ ทนตอแสง UV และสภาวะไอ รอนบนถนนไดดี และสามารถปองกัน การชะลางจากนํา้ จึงใหความดําเงาและ ดูเหมือนใหมอยูเสมอ
พรมดักฝุนสําหรับรถยนต รุนมาตรฐาน 5 ชิ้น ชนิดไมปมขอบ ชวยสรางความงดงาม ใหกับภายในรถของทาน สามารถจัดเขารูป รถแตละรุนไดอยางลงตัว และ ดวยคุณสมบัติพิเศษที่ชวยเก็บ เเละดักฝุน จึงชวยใหรถสะอาด เรียบรอยอยูเสมอ
บจก.ทีซี ฉางอาน (ประเทศไทย) โทร.0-2567-2882
บจก.คาร คอสเมติก โทร.0-2536-2642
บจก.3เอ็ม (ประเทศไทย) โทร. 0-2369-3500
ASTON HD DVR10
AMICO Clutch Disc
Auto Paint Pen
กลองวงจรปดติดรถ หนาจอแสดงผล ขนาด 2.5 นิ้ว หมุนได 270 องศา เริ่ม บันทึกอัตโนมัติตั้งแตสตารทเครื1องยนต ภาพความละเอี ย ดสู ง สุ ด แบบ HD สามารถมองเห็นไดในเวลากลางคืน ดวย อินฟาเรด 6 ดวง ทั้งนี้ยังแสดงวัน และ เวลาปจจุบัน บนหนาจอแสดงผล
จานคลัตชคณ ุ ภาพระดับสากล กระบวนการ ผลิตโดยโรงงานมาตรฐานประเทศญี่ปุน ตรวจสอบในทุกขั้นตอนการ ผลิต ผาคลัตชคุณภาพสูงสุด แบบใยแกว ไรสารใยหิน ทน ความร อ นสู ง ให ค วามฝ ด ระดับสูงสุด ทนทาน ใหการยึด จับดีเยี่ยม ไมลื1นดาน
ปากกาลบรอย แก ไขรอยขีดขวน รอยที่เปน เสนลึก เพียงแคแตมปากกาไปบริเวณรอย ทิง้ ไวประมาณ 10 นาที ก็สามารถปกปดรอย ดังกลาวได หลังจากนั้นจึงลงเคลือบสีรถปด ทาย ใชแตมได 8 ตารางเซนติเมตร ประมาณ 6 -10 ครั้ง
www.aston1.com โทร.0-2105-4221
บจก.อรรถบูรณ โทร.0-2882-5599
www.pok-carlove.com ID Line. Carlove22
3K T1285
แบตเตอรีส่ าํ หรับรถกอลฟ เปนแบตเตอรี่ ชนิด Deep Cycle สามารถจายกระแส ไฟฟ า คงที่ อ ย า งต อ เนื1อ งได น านขึ้ น เหมาะสําหรับรถกอลฟทุกประเภท
บจก.ผลิตภัณฑ 3เค โทร.0-2393-3333
Hana Model H2000
Shadow OBDII
เกจวัดความรอนหมอนํ้า 5 in 1 ติดตั้งงาย ไมตองตัดสายไฟ
บจก.สยาม มอเตอรสปอรต โทร.08-8247-7018
เพลารถพวง
DURATURN 11R22.5 (DA20)
ลอยางรถบรรทุก ผานมาตราฐาน การรับประกันคุณภาพจากยุโรป และอเมริกา จึงมัน่ ใจไดวา เปนลอ ยางทีม่ ปี ระสิทธิภาพเหมาะแกการ ใชงานในทุกสภาวะถนน
บจก.ไทรเบกา เอ็นเตอร ไพรส โทร.0-2274-0809
ชุดคลัทช แอล.ยู.เค
รางหัวฉีด ฉีดกาซไดอยางสมํา่ เสมอ เสียง เงียบทีส่ ดุ อายุการใชงานทนทานสูง ตาม มาตรฐาน E4 67 R – 01 0213 และ E4 110 R – 00 4686
ตัวเพลาถูกออกแบบใหมีมุมเอียง 1 องศา เพื1อชวยในการลดการสึกหรอในสภาวะทีร่ ถ วิง่ โดยไมมกี ารบรรทุก นอกจากนีย้ งั ชวยให ยางใชงานไดยาวนานขึ้น 20% และชวย ปองกันการหลุดออก ของยางจากกระทะลอ
เปนผลิตภัณฑระบบคลัทซ ในเครือบริษัท Scheaffler ประเทศเยอรมัน ผลิตจากเหล็ก ชั้นดี มีความสปริงสูง ใหแรงกดสูง นิ่มนวล ไม แ ข็ ง ล า หรื อ ปวดขาเวลาขั บ ขี่ ผสม ทองแดงแท ๆ ชวยทําใหจับแรงบิด แรงมาของเครื1องยนต ลงสูลอไดเต็มกําลัง
บจก.ฟาสท พรีเมี่ยม อินเตอรเทรด โทร.0-2986-2601
บจก.ซิ่นหงไท กรุป โทร.0-3486-4375
หจก.ไทยรวมยนต โทร.0-2215-4875
B&T#277_p46_iMac5.indd 46
8/29/2558 BE 12:30 AM
R1_B&T#277_p47_iMac5.pdf
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
1
8/31/2558 BE
8:59 PM
B&T#277_p48_iMac5.pdf
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
1
8/29/2558 BE
12:37 AM