# 1 เ พ� อ ผู ป ร ะ ก อ บ ก า ร ร ถ พ า ณิ ช ย
กาวสูปที่ 11
ฉบับที่ 255
www.BusAndTruckMedia.com
ปกษแรก ตุลาคม 2557 40 บาท
BUS&TRUCK’14 กระตุกยอดตก
คําถามสังคม
แผนพัฒนาขนสง 10 ป 8 แสนลาน
ชวยกระตุนตลาด รถเพื่อการพาณิชย? ดับเคร�องชม
“โนวัส” หัวลากแดนโสม เปรียบเทียบรถเดน
04
แกรง อึด ทน ประหยัด
ในป 2557 ถื อ ได ว า เป น ป ที่ เศรษฐกิ จ ตกเป น อย า งมาก สื บ เนื1อ ง เศรษฐกิ จ โดยรวมตกตํ่ า บวกกั บ สถานการณทางการเมืองไมนงิ่ สงผลให
ภาคธุรกิจไมสามารถขยายการเติบโตได ตามที่คาดหวังไว ไมตางจากวงการรถ ใหญก็ ไดรบั ผลกระทบไปอยางเต็มทีเ่ ชน กั น เห็ น ได จ ากยอดจํ า หน า ยรถใหญ
ตัง้ แตเดือนมกราคมจนถึงเดือนสิงหาคม 2557 ที่ผานมา มีเพียงแคประมาณ 1.7 หมื1นคันเทานั้น ตํ่ากวาชวงเดียวกันของ ปที่แลว คือ 2.4 หมื1นคัน อานตอหนา 38
LOGISTICS NEWS
24
โฟตอนทารบ BUS&TRUCK’14 ช.ทวี เตรียมรถบรรทุกรถใหญ รถจีนหนึ่งเดียวประกอบในไทย เปดตัวในงาน BUS&TRUCK’14
UPS เปดโลจิสติกสฮับโคราช 28 AUTO GAS
GT “แกสเทค ไทยแลนด” 44
คายโฟตอนนํารุน FOTON AUMAN WARRIOR 6×4 CHASSIS TRUCK 375 แรงมา ทีป่ ระกอบในไทยเพียง ยี่หอเดียวเขารวมโชวศักยภาพในงาน BUS & TRUCK ’14 เตรียมโปรโมชั่นตาง ๆ ไวเพียบ พรอมสรางความมั่นใจให ลูกคาสิ้นป 57 มีสาขา 5 แหง และดีลเลอรอีก 5 แหงทั่ว ประเทศไวรองรับบริการ อานตอหนา 39
R1_B&T#255_p01_iMac5.indd 1
ช.ทวี ดอลลาเชียนฉวยโอกาสรถบรรทุกโตใน 2 เดือน สุดทายป 57 นํารุนรถบรรทุกรถบรรทุกเปดตัวในงาน BUS & TRUCK ‘14 ความยาว 25 เมตรบรรทุกไดถึง 3 คันแสดง นวัตกรรมครั้งแรกในเมืองไทย คุณบํารุง ชินสมบัติ ผูจัดการฝายขาย บริษัท ดอลลาเชียน จํากัด อูตอตัวถังถังรถบรรทุกและกิจการพิเศษ เปดเผย อานตอหนา 39
10/3/2557 BE 9:02 PM
R1_B&T#255_p02_iMac5.pdf
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
1
10/3/2557 BE
8:48 PM
K
CMY
CY
MY
CM
Y
M
C
R1_B&T#255_p03_iMac5.pdf
1
10/3/2557 BE
8:52 PM
04 BUS&TRUCK • BUS & TRUCK SHOW
ปกษแรก • ตุลาคม 2557
ดับเครื่องชม
บริ ษั ท ทาทา มอเตอร ส (ประเทศ ไทย) จํากัด รุกทําการตลาด รถเพื1อ การพาณิ ช ย โ ดยส ง TATA DAEWOO NOVUS “ทาทา แดวู โนวัส” ลงตลาดรถหัวลากขนาดใหญ ประสิทธิภาพสูง 420 แรงมา รถหัว ลากนําเขาจากประเทศเกาหลีใต TATA DAEWOO NOVUS “ทาทา แดวู โนวัส” รถหัวลาก 10 ลอ ขั บ เคลื1อ นสองเพลา (6X4) ใช เครื1องยนตดีเซล ยูโร 3 จากดูซาน (Doosan) ขนาด 10,964 ซีซี. พรอม เทอรโบและอินเตอรคลู เลอร ใหแรงมา สูงสุด 420 แรงมา ที่ 1,800 รอบตอ นาที แรงบิดสูงสุด 1,834 นิวตันเมตร ที่ 1,100 รอบตอนาที ขนาด 6 สูบ ระบบสงกําลังดวยเกียร ZF 16 สป ด จากเยอรมั น พร อ มหั ว เก ง Aerodynamic ทาทา แดวู โนวัส เปน รถหัวลาก 10 ลอ นําเขาจากประเทศ เกาหลีใต ถูกออกแบบโดยใชแนวคิด ห ลั ก ที่ เ น น ใ น เ รื1อ ง ส ม ร ร ถ น ะ ประสิทธิภาพการขนสง และใชอปุ กรณ ตาง ๆ ทีม่ มี าตรฐานระดับสูง ทัง้ ในดาน ความสะดวกสบาย และทัศนวิสยั ทีด่ ใี น การขับขี่ ซึ่งทาทา แดวู โนวัส จะเปน ทางเลื อ กที่ มี คุ ณ ภาพ พร อ มเพิ่ ม ประสิทธิภาพการขนสงที่มอบผลกําไร สูงสุดแกผูประกอบการ สําหรับรถหัวลากรุน นีส้ ามารถใช ความเร็วสูงสุด 93 กิโลเมตรตอชั่วโมง และสามารถไตทางชันไดถงึ 38.2% สง กําลังดวยระบบเกียร 16 สปด เสริม ความปลอดภั ย ด ว ยระบบเสริ ม แรง
B&T#255_p04-05_iMac5.indd 4
“โนวั ส ” หัวลากแดนโสม
เบรกแบบ Jake Brake เพื1อการขับขี่ที่ ปลอดภัย ระบบเบรกนั้นเพื1อความมั่นใจดวย เบรก ABS และเบรกหาง Trailer Brake เพื1อความปลอดภัยเมื1อใชงานขนสงและ
มีอุปกรณพิเศษ PTO เพื1อใชงานไดทุก รูปแบบ หองโดยสารมีการออกแบบใหมี ความกวางขวางเปนอยางมาก โปรง สบาย พรอมอุปกรณเสริมมากมายเพื1อ อํ า นวยความสะดวกครบครั น ขั บ ขี่
นุมนวลดวยระบบถุงลมรองรับหัวเกง TATA DAEWOO NOVUS ได รั บ ความนิ ย มอย า งมากในประเทศ เกาหลีใตซึ่งเปนรถหัวลากที่มีแรงมา สูงสามารถวิ่งได ในระยะทางไกล จึง เหมาะสมอย า งยิ่ ง ที่ จ ะใช ข นส ง ใน ประเภทตาง ๆ เมื1อมีการเปด AEC โดย ยังมีรถที่นําเขามาจําหนายยังมีอีก 2 รุน คือ TATA PRIMA รถหัวลาก 6 ลอ 266 แรงมา เปนรถหัวลากขนาดกลาง ที่สามารถใชขนสงระยะทางไมไกลนัก เพราะมีความคลองตัวสูงและมีแรงมา ไม ม ากนั ก ส ว นอี ก รุ น คื อ รถบรรทุ ก ขนาดเล็ ก เพื1อ การพาณิ ช ย TATA SUPER ACE สําหรับรุนนี้ ไดเขามาทํา ตลาดสั ก ระยะแล ว เหมาะกั บ ขนส ง สินคาภายในเมืองตามซอยเล็ก ๆ และ สามารถนํ า ไปดั บ แปลงเป น รถขาย สิ น ค า เคลื1อ นที่ ห รื อ ขายพวกนํ้ า ชา กาแฟหรื อ ประกอบธุ ร กิ จ ประเภท SMEs เปนหลัก
10/2/2557 BE 9:42 PM
B&T#255_p04-05_iMac5.indd 5
10/2/2557 BE 9:42 PM
06 BUS&TRUCK • SPECIAL PURPOSE VEHICLE
ปกษแรก • ตุลาคม 2557
รถเพื่อกิจการพิเศษ
พนัสฯ รถดัมพคุณภาพ มั่นใจครอบคลุมทุกความตองการ บริษทั พนัส แอสเซมบลีย จํากัด เป น หนึ่ ง ในบริ ษั ท ที่ เ ป น ผู ผ ลิ ต และ จําหนายผลิตภัณฑประเภทรถพวง รถ กึ่ ง พ ว ง แ ล ะ ตั ว ถั ง บ ร ร ทุ ก ที่ ไ ด มาตรฐานมายาวนานกวา 40 ป ดวย ประสบการณทยี่ าวนานจึงทําใหสนิ คา เปนที่แพรหลายในวงการขนสง โดย สิ น ค า อี ก ประเภทที่ มี คุ ณ ภาพและ ประสิทธิภาพสูงคือรถบรรทุกดัมพที่ ออกสูตลาดมาแลวมากมาย คุณทัศนะ กันรัตน รองกรรมการ ผูจัดการฝายพัฒนาธุรกิจโลจิสติกส บริษัท พนัส แอสเซมบลีย จํากัด กลาววา สินคาของทางพนัสฯมีความ หลากหลายอยางมากโดยสินคาทีอ่ อกสู ทองตลาดเปนจํานวนมากและสามารถ พบเห็นไดเสนทางขนสงคือประเภทรถ กึ่ ง พ ว งกางปลาและพื้ น เรี ย บ แต สํ า หรั บ สิ น ค า ที่ เ ป น การบรรทุ ก หนั ก
B&T#255_p06_iMac5.indd 6
อยางรถบรรทุกดัมพทางพนัสก็ถอื วาเปน ลําดับตนของประเทศไทยเชนกัน โดยรถบรรทุกดัมพของทาง พนัสฯ จะมีดวยกัน 2 ประเภท โดยเนนงานที่ หลากหลายงาน การโยธา เช น การ บรรทุ ก หิ น ดิ น ทราย แร ทางด า น การเกษตร เชน บรรทุกออย ขาวโพด มัน สําปะหลัง การใชงานก็จะแบงออกไปไม วาจะเปนการยกเทแบบเปนกองหรือเท ทิ้ ง โดยรถบรรทุ ก ดั ม พ ข องพนั ส ฯ สามารถครอบคลุมทุกความตองการของ ลูกคาไดเปนอยางดี “การเลือกใช ไฮโดรลิคคุณภาพสูง เปนเรือ1 งสําคัญอยางมากเมื1อรถบรรทุก ดัมพของพนัสฯออกไปปฏิบตั งิ านจึงเชื1อ ไดเลยวาจะมีการผิดพลาดนอยมากใน ขั้นตอนสําคัญอยางการยกเทซึ่งเปน กระบวนการและวัตถุประสงคของรถ บรรทุกดัมพที่ดี” สําหรับไฮโดรลิคเปนเรื1องที่สําคัญ มากพนัสฯ เลือกใชพันธมิตรเบอรหนึ่ง ไฮโดรลิคคุณภาพสูงทีท่ วั่ โลกการันตี โดย รถบรรทุกดัมพนั้นมีดวยกันสองแบบคือ รถบรรทุกดัมพแบบยิงใตทอง และรถ บรรทุกดัมพแบบยิงดานหนา โดยตลาด รถบรรทุ ก ในประเทศไทยต า งเลื อ กใช ไฮโดรลิคทั้งสองแบบนี้อยางแพรหลาย แลวแตลักษณะงานของผูประกอบการ แตเรื1องคุณภาพนั้นอาจจะแตกตางกัน ออกไป โดยสินคาของพนัสฯไดคัดสรร และผานการทดสอบมาแลวมากมาย จึง มั่นใจวาสามารถเปนสวนหนึ่งของธุรกิจ ลูกคาไดอยางมัน่ ใจ โดยกระบะยิงใตทอ ง นั้นเลือกใช “SHINMAYWA” ซึ่งถือวา เปนผูผลิตรายใหญและเปนตนตําหรับ เรื1อง ไฮโดรลิคแบบยิงใตทอ งทีก่ ารันตีทวั่ โลกโดยการใชงานจะมีความรวดเร็วใน
การยกเท สวนรถบรรทุกดัมพแบบยิงหนา ที่ ใ ช ไฮโดรลิ ค แบบเสาอากาศก็ มี ประสิทธิภาพสูงเชนกันโดยเลือกของผู เชีย่ วชาญดานไฮโดรลิคแบบเสาอากาศ ที่ไดรบั ความนิยมสูงสุดอยาง “HYVA” เลือกมาเปนพันธมิตรทางธุรกิจ โดย ไฮโดรลิคประเภทนี้ของพนัสฯเปนที่ นิยมอยางมากในเหมืองบานเราเพราะ มีคุณสมบัติในการยกเทครั้งเดียวและ ประหยัด สําหรับการเลือกพันธมิตร ทางธุรกิจทัง้ สองนี้ ไมวา จะเปนขัน้ ตอน การผลิตที่คอนขางปราณีต และการ เลื อ กใช อุ ป กรณ ที่ มี คุ ณ ภาพเพื1อ ให สินคาของ พนัสฯ กาวขึ้นสูสินคาที่ดี ที่สุดและมั่นใจไดวาเปน Best of the Best ” สําหรับตลาดรถบรรทุกดัมพ ใน บานเรานัน้ คอนขางโตโดยเฉพาะสินคา ของ พนัสฯ เปนสินคาที่ถูกพัฒนาเพื1อ ใหเขากับการใชงานในประเทศและตรง ตามความตองการของลูกคามากที่สุด โดยเฉพาะการเลือกใชวัสดุในการผลิต โครงสรางทีน่ าํ มาพัฒนาอยางละเอียด และถี่ ถ ว นใช เ ครื1อ งจั ก รที่ ทั น สมั ย อ อ ก แ บ บ โ ด ย ที ม ง า น วิ ศ ว ก ร ใ ช โปรแกรม Finite element ในการ วิเคราะหความแข็งแรงโครงสรางวาได มาตรฐานใชงานไดจริง โดยมีมาตรฐาน ISO9001 : 2008 มีหนวยงานบริการ หลังการขายไวใหคาํ ปรึกษาและบริการ ลูกคาในกรณีที่เกิดปญหาขัดของเพื1อ ให ใชงานรถไดอยางเต็มประสิทธิภาพ จึงเชื1อไดเลยวารถบรรทุกดัมพของทาง พนัสฯ สามารถใชงานไดดีแ ละเพิ่ม ความคุ ม ค า ให กั บ ผู ป ระกอบการใน ธุรกิจขนสง
10/2/2557 BE 9:45 PM
B&T#255_p07_iMac5.pdf
1
10/2/2557 BE
9:49 PM
08 BUS&TRUCK • BUSINESS CATALYST
แกไมถูกทาง
หลังจากที่รัฐบาลชุดใหม ไดเตรียม ปรับราคาเชื้อเพลิงพลังงานใหม โดยให กาซ NGV ปรับขึน้ ลิตรละ 1 บาทจากเดิม ลิตรละ 10.50 บาท เปนลิตรละ 11.50 บาท พรอมทั้งนํ้ามันดีเซลก็ใหเปนราคา ลอยตัว จากที่มีราคาจําหนายไมเกินลิตร 30 บาทมาเปนเวลานาน แตราคาปรับ ใหมไมเกินลิตรละ 32 บาท ทั้งนี้ มีสาเหตุมาจากทางกระทรวง พลังงานตองหาวิธีการมาอุมพลังงานเชื้อ เพลิงทั้ง 2 ตัวนี้ เพราะไมตองการใหผู บริโภคที่ใชเชื้อเพลิง 2 ชนิดนี้ โดยมีผู ประกอบการขนสงสินคาเปนหลักใหญตอ ง รับผิดชอบ เพราะจะผลักดันคาใชจา ยทีเ่ พิม่ ขึ้นใหกับผูวาจางซึ่งก็คือ ผูผลิตสินคาทั้ง โดยผูที่รับเคราะหสุดทายก็คือ ประชาชน นั่นเอง ดวยสินคาทุกอยางจะตองแพงขึ้น แตมาในรัฐบาลชุดประยุทธหนึ่งนี้ แตกตางจากรัฐบาลชุดที่แลว ๆ มา เพราะ หากประกาศกฎระเบียบใหมออกมาก็จะ ไมมีการประชาวิจารณจากประชาชน ผลดี ผลเสียจะเปนอยางไรประชาชนก็ตอ งรับไป หากสํ า รวจสภาวะเศรษฐกิ จ ในป 2557 นี้ แมจะมีรัฐบาลชุดใหม แตโดยรวม แลวภาวะเศรษฐกิจก็ยังไมเติบโตขึ้นมาก ตางจากสมัยที่ยังไมมีรัฐบาลบริหาร ผูวา จางยังคงใชงานผูป ระกอบการขนสงไมมาก นัก รวมทัง้ ธุรกิจรถโดยสารทีม่ ผี ูโดยสารลด นอยลง เมื1อมีการเพิ่มราคานํ้ามันเชื้อเพลิง ผูว า จางก็จะไมปรับราคาคาขนสงใหกบั ผูร บั จ า งเพราะเห็ น ว า ผู รั บ จ า งมี จํ า นวนมาก สามารถเลือกไดตามชอบใจ สวนรถโดยสาร ทัง้ ประจําทาง และไมประจําทาง ก็เปนการ ยากมากที่จะปรับคาโดยสารขึ้น เพราะมี หนวยงานราชการที่ดูแลอยู ดังนั้นกอนที่จะปรับราคาเชื้อเพลิง พลังงานขึน้ ก็ตอ งดูทตี่ น เหตุและปลายทาง กอน ไมอยางนั้นจะเสียขบวนทั้งหมด บรรณาธิการอาวุโส นิตยสาร BUS&TRUCK ที่ปรึกษากิติมศักดิ์ : ดร.ปราจิน เอี่ยมลําเนา ชยาวุธ จิระธันท, ยู เจียรยืนยงพงศ, บุนเอี้ยน ศรีแสนสุชาติ, วรพจน แสงทวีสิน, เถลิง พลวรรณาภา, ชูชาติ สวางสําลี ดร.วสุเชษฐ โสภณเสถียร, คุณวรวิทย เจริญวัฒนพันธ, คุณสมชาย ทองคําคูณ กรรมการผูจัดการ : ชาตรี มรรคา บรรณาธิการอาวุโส : เสกสรรค ไชยเผือก หัวหนากองบรรณาธิการ : เสกสรรค ไชยเผือก ผูชวยหัวหนากองบรรณาธิการ : ธัญพร ขันธสิทธิ์ กองบรรณาธิการ : พฤกษ ดานจิตรตรง, จักรพรรดิ์ โสภา เลขากองบรรณาธิการ : มณีรัตน วัฒตะนะมงคล ที่ปรึกษากองบรรณาธิการ : อรุณ เหลาวัฒนกุล ผูจัดการโฆษณา : สุจิตรา สงครามรอด แผนกโฆษณา : สุจิตรา สงครามรอด เลขาแผนกโฆษณา : บุตรตรี สงางาม สมาชิก : วิวรมาศ แกวศิริ เว็บไซต : BusAndTruckMedia.com การเงิน : แสงอรุณ มงคล ศิลปกรรม : ธีระ พุมขํา BIP GROUP พิมพ : กรังดปรีซ อินเตอรเนชั่นแนล จัดจําหนาย : เวิลดออฟดิสทริบิวชั่น โทร. 0-2744-6888 ผูจัดทํา : บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด 200/7-14 ชั้น 7 อาคารเออีเฮาส ซ.รามคําแหง 4 แขวง/เขต สวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250 โทร. 0-2717-2477 แฟกซ. 0-2717-2466, 0-2717-2469 www.BusAndTruckMedia.com อีเมล : info@TTFintl.com
R1_B&T#255_p08-09_iMac5.indd 8
ปกษแรก • ตุลาคม 2557
คันเรงธุรกิจ
เบนซลุยตลาดรถหัวลากป 58 เนนกลุมขนสงงานหนักตัวจริง ค า ยเบนซ ป ระกาศลงตลาดรถ หัวลากเครื1องยนต 440 แรงมาตนป 58 กลุมลูกคาเปนกลุมเล็กที่ตองใชขนสง ตลอด 24 ช.ม. ใหเอเชีย ทรัคเปน ตัวแทนจําหนาย พลาดเปาเปดตัวใน งาน BUS & TRUCK ’14 เพราะทาง บริ ษั ท แม ต อ งปรั บ เปลี่ ย นชิ้ น ส ว นให เหมาะกับเมืองไทยโดยเฉพาะ แหลงขาวในวงการรถบรรทุก เปด เผยวา ทางบริษัท เมอรซิเดส–เบนซ (ประเทศไทย) จํากัด ผูแทนจําหนาย รถยนตนั่ง และรถใหญยี่หอ เมอรซิเดส– เบนซ ไดเตรียมโครงการที่จะเปดตัวรถ หัวลากเครื1องยนต 440 แรงมา เพื1อลุย ตลาดขนสง ตนป 2558 เพื1อเนนกลุม ขนสงทีต่ อ งทําการขนสงตลอดเวลา โดย ไมมีวันหยุดพัก ซึ่งตรงกับสมรรถนะของ รถรุนนี้เปนอยางมาก โดยได ทํ า การแต ง ตั้ ง ตั ว แทน จําหนายที่เปนทางการไวแลว คือ บริษัท เอเชีย ทรัค จํากัด และไดปูพื้นฐานไว ดวยการใหซอมรถบรรทุกเบนซ ทั้งของ หนวยงานราชการ และรถสงอาหารตาม สนามบิน ต า ง ๆ ซึ่ ง สามารถผ า นการ ทดสอบเพราะได ม าตรฐานและมี ก าร ยอมรับจากกลุมลูกคาอยางดี “แผนการทีว่ างไวตงั้ แตตน ป 2557 คือจะมีการเปดตัวรถหัวลากรุนใหมนี้ใน งาน BUS & TRUCK ’14 แตดวยการ ปรับเปลี่ยนชิ้นสวนและโครงสรางบาง อยาง เพื1อใหเหมาะสมกับการใชงาน เฉพาะในเมืองไทย จึงทําใหลาชาออกไป และนํามาเปดตัวไมทนั ในงานนี้ ดังนัน้ จึง ตองเปลี่ยนแผนใหม มาเปนเปดตัวตนป 2558 และก็เปนที่นาแปลกใจที่ปจจุบันนี้ ไดเริ่มมีออเดอรรถเขามาแลวคาดวาจะ สามารถสงมอบไดหลังจากงานเปดตัวได ไมนาน” สํ า หรั บ ขนส ง ที่ ค าดว า จะเข า มา เปนกลุมลูกคาของเบนซนั้น จะมีตั้งแต งานเหมือง งานขนสงสินคาชนิดพิเศษไม วาจะเปนเสาทางดวน ตอมอ อาคาร กอสราง และกลุม อื1นอยางเชนงานขนสง ขามประเทศในอาเซียน เปนตน สวนบริษัทที่ปลอยสินเชื1อให คือ บริษทั เมอรซเิ ดส-เบนซ ลีสซิง่ (ประเทศ ไทย) จํากัด ที่ปลอยสินเชื1อใหกับรถยนต ในเครือ เมอรซเิ ดส-เบนซทงั้ หมด รวมถึง รถใหญ ฟูโซดวย เพราะถือหุนมากกวา 90% ดังนั้น กลุมลูกคาที่ซื้อรถในเครือ เบนซจะไดรับสินเชื1อที่ดอกเบี้ยถูกมาก สวนรถหัวลากอีกยีห่ อ หนึง่ ทีจ่ ะเปด ตัวในป 2558 เหมือนกันก็คอื รถจีน ยีห่ อ CAMC ซึ่งไดรับการออกแบบโครงสราง มาใหแข็งแรงแตมีนํ้าหนักเบา เพื1อให
บรรทุกสินคาไดมากกวารถใหญยี่หออื1น แตตรงตามที่กฎหมายกําหนดพิกัดนํ้า หนักไวสูงสุด 50.5 ตัน ซึ่งก็เปนสาเหตุที่ ทําให ไมสามารถมาเปดตัวในงาน BUS & TRUCK ’14 ได สํ า หรั บ ตลาดรถหั ว ลากของรถ ยุโรปนั้นมีอยูหลายยี่หอ ไมวาจะเปน
VOLVO, SCANNIA, MAN, IVECO และ BENZ เขามาเปนรายลาสุด ซึ่งทุกยี่หอ มีคุณภาพอยูในระดับเดียวกัน แตสิ่งที่ ลูกคาเลือกก็คือ การบริการหลังการขาย อะไหล คายไหนบริการดีสุดก็จะสามารถ ขายรถคันใหมไดตอไป
ไอวีโก วาดฝนตองมาแรง ราคาขายสูงสุดแค 3 ลาน
คายไอวีโกประกาศเปนรถใหญ มาจากอิตาลีเทคโนโลยีและคุณภาพ ไดมาตรฐานแมจะประกอบในจีนมัน่ ใจ 4 เดือนสุดทายของป 57 ตองขายได 200 คันแนเพราะราคาขายสูงสุดแค 3 ลานบาท กับหัวลาก 380 แรงมาที่ รับประกันถึง 2 ป ไมมรี ะยะทาง แถม ใหนํ้ามันเครื1องฟรีตลอด เตรียมหา ดีลเลอรทั้ง 4 ภาคภายในปลายปนี้ คุณประเมิน เสมแยม ผูอํานวย การฝายขาย บริษัท เอสเอสเค กรุป เซลล แอนด เซอรวิส จํากัด เปดเผย วา ถึงแมวารถใหญ ไอวีโกซึ่งมาจาก ประเทศอิ ต าลี จ ะทํ า การประกอบที่ โรงงานในประเทศจีน แตมาตรฐานทุก อย า งมี วิ ศ วกรจากบริ ษั ท แม เ ป น ผู ควบคุมดูแลดัวย คุณภาพทั้งหมดจึง เหมื อ นกั บ ที่ ป ระกอบในโรงงาน ประเทศอิตาลี 100% ดวยโปรโมชัน่ การเปดตลาดทีว่ าง ไว คือ รุนที่มีขนาดเครื1องยนตใหญสุด คือ 380 แรงมา จะมีราคาจําหนายอยู ที่ 3 ลานบาทเทานั้น สวนรุน 340 แรงมา จะมี 2.9 ลานบาท และจะอยู ในราคานี้ ถึ ง 3 ป โดยจะมี ก ารรั บ ประกันหลังการขายใหถึง 2 ปไมจํากัด
ระยะทาง พรอมทั้งยังเปลี่ยนนํ้ามัน เครื1องใหฟรีอีกดวย “ดวยประสบการณ และความ จริ ง ใจที่ มี ใ ห กั บ ลู ก ค า ของเจ า ของ บริษัท เมื1อไปติดตอกับลูกคารายใดก็ จะไดรับการตอบรับที่ดีเสมอ จึงมั่นใจ วาภายใน 4 เดือนหลังของป 57 ที่ได เขามาทําตลาดนั้นจะตองทํายอดขาย ใหไดถึง 200 คันแน ยิ่งกอนที่ลูกคาจะ ซื้อไปใช ก็จะใหมาทําการทดสอบใช งานจริงกอน เปนการสรางความมัน่ ใจ ใหว า เมื1อใชงานไปได ไมนานก็จะได ตนทุนคารถคืนมาสามารถนําไปขยาย การลงทุนไดอีก ” จากการทดสอบใชรถใหญ ไอวีโก บรรทุกนํ้าหนักสินคา 50.5 ตันพบวา สามารถใชนาํ้ มัน 1 ลิตรไดระยะทางถึง 3.5 กิ โ ลเมตรซึ่ ง อยู ใ นระดั บ การ ประหยัดนํ้ามันเชนเดียวกับคายยุโรป ทั่วไป สวนการสรางความมั่นใจใหกับ กลุมลูกคานั้นไดวางแผนไววาภายใน สิ้นปนี้ จะตองมีดีลเลอรตามภูมิภาค เมืองใหญใหได 5 แหง รวมทั้งจะตอง มีรถโมบายเซอรวสิ ไวคอยบริการลูกคา บนถนนทุกแหงทั่วประเทศ
10/3/2557 BE 8:35 PM
BUSINESS CATALYST • BUS&TRUCK 09
ปกษแรก • ตุลาคม 2557
คันเรงธุรกิจ
คายโฟตอนยกระดับมาตรฐาน สแกนเนีย ไมหวั่นคายยุโรปใหม รถใหญจีนเตรียมประกอบในไทย ปหนาขยายสาขาครบ 16 แหง คายโฟตอนยกระดับมาตรฐานชิน้ สวนประกอบในไทยเปนยีห่ อ แรก หลาย ค า ยจี น ทั้ ง ไซโนทรั ค FAW และ CAMC เตรี ย มแผนประกอบในไทย เหมือนกันเพือ1 จําหนายทั้งในประเทศ และสงออกลุย AEC เมื1อเดือนกรกฎาคมที่ผานมา คาย โฟตอนประเทศจีนไดเริ่มสายการผลิตที่ โรงงาน ทีซี แมนูแฟคเจอริ่ง แอนด แอสแซมบลี่ ย นิ ค มอุ ต สาหกรรม ลาดกระบัง โดยไดยกมาตรฐานทั้งชิ้น สวนและเทคโนโลยีในการประกอบเทียบ เทาคายรถใหญประเทศญี่ปุน เปนผลให คายรถใหญที่นําเขามาจากประเทศจีน หลายยีห่ อ ไดเตรียมแผนการทีจ่ ะนํายีห่ อ รถใหญที่จําหนายมาประกอบในเมือง ไทยเหมื อ นกั น ทั้ ง นี้ เพื1อ ที่ จ ะได มี มาตรฐานทุกอยางเหมือนกับคายญี่ปุน พร อ มทั้ ง วางแผนที่ จ ะจํ า หน า ยใน ประเทศและเปนฐานการผลิตสงออกไป ยังประเทศเพื1อนบานในอาเซียน จากการสํ า รวจของ BUS & TRUCK ในการยกมาตรฐานการผลิตของ คายรถใหญจากประเทศจีนพบวาเมื1อ ประมาณ 5 ปที่ผานมาคายรถใหญจาก ประเทศจีนคายแรกทีเ่ ขามาเปดตลาดใน เมืองไทย คือ ดีเอฟ ตามมาดวยไซโนทรัค และอี ก หลายยี่ ห อ ได เ ดิ น ตามเข า มา เพราะเห็นวาการขนสงทางบกในไทยมี การเจริญเติบโตขึ้นเปนอยางมาก ทําให ความตองการรถใหญเติบโตตาม ถึงแมวา คายรถใหญจากจีนทุกยีห่ อ จะใชเทคโนโลยีจากรถใหญยี่หอดัง ๆ ใน
ยุโรปมาเปนฐานในการประกอบ แตดวย คุ ณ ภาพของชิ้ น ส ว นที่ ป ระกอบในจี น และคนงานในจีนทีม่ รี าคาคาจางถูกทําให รถใหญที่ประกอบเหมาะกับการใชงาน บนถนนในประเทศจีนเทานั้น แตกตาง จากประเทศไทย ทั้ ง สภาพถนน ภู มิ อากาศ และนํ้าหนักบรรทุก ดังนั้นใน การนําเขามาใชงานในเมืองไทย จึงตอง ทําการปรับเปลี่ยนหลายอยางไมวาจะ เป น การถอดชิ้ น ส ว นบางอย า งที่ ไ ม จําเปนออก และเพิ่มชิ้นสวนบางอยาง เพื1อ ให เ หมาะกั บ เมื อ งไทย จึ ง ทํ า ให มาตรฐานของรถจีนไมเหมาะกับการใช งานของการขนสงในเมืองไทย เมื1อคายโฟตอนถือเปนรถบรรทุก รายแรกทีป่ ระกอบในเมืองไทย ไดรบั การ ยอมรับวามีมาตรฐานทุกอยางเหมาะกับ เมืองไทย เพราะผลิตในเมืองไทย มีการ ใชชิ้นสวนที่มีคุณภาพสูงพรอมทั้งมีไลน การประกอบอยูใ นระดับเดียวกับรถญีป่ นุ และยุโรป จึงเหมาะกับการใชงานในเมือง ไทย และพรอมทีจ่ ะสงออกไปยังประเทศ ตาง ๆ ในกลุมอาเซียนอีกดวย มีคายรถจีนอีกหลายยี่หอไมวาจะ เปน ไซโนทรัค, FAW หรือ CAMC ก็ วางแผนที่จะใหเมืองไทยเปนฮับของรถ ใหญ เพื1อยกระดับมาตรฐานการประกอบ ทั้งหมดและจํ า หน า ยได ทั้ง ในประเทศ และสงออกเมื1อเปดใช AEC อีกดวย อันจะเปนการทําใหมาตรฐานของ รถใหญทกุ ยีห่ อ มีระดับสูงขึน้ พรอมทัง้ ยัง จะทํ า ให ต ลาดรถใหญ เ ป ด เสรี มี ก าร แขงขันกันดานราคาอีกดวย
ค า ยสแกนเนี ย ไม ห วั่ น น อ งใหม คายไอวี โก แมจะบอกวามาจากยุโรป แตที่จริงแลวอยูระดับเดียวกับรถจีน เพราะโรงงานอยูป ระเทศเดียวกัน สวน เหตุทดี่ งึ มือดีไปไมกระทบเพราะเปนแค เฟองตัวหนึ่งหามาแทนได มั่นใจเปด สาขาให ค รบทั้ ง 16 แห ง สามารถ กระตุนยอดขายไดตามที่วางไว แหลงขาวระดับสูง บริษัท สแกนเนียสยาม จํากัด เปดเผยวา หลังจากที่ คายไอวีโก ซึ่งเปนรถใหญสัญชาติอิตาลี ไดเขามาเปดตลาดในเมืองไทย โดยสราง ความเชื1อมั่นใหกับกลุมลูกคาวาเปนรถ ยุ โ รป ทั้ ง ๆ ที่ ป ระกอบในโรงงานที่ ประเทศจีนนั้น ทางสแกนเนียมองวาเปนรถใหญที่ อยูก ลุม เดียวกับยีห่ อ ทีม่ าจากประเทศจีน ดังนั้นทั้งสมรรถนะ คุณภาพ และราคา จําหนายรวมถึงกลุมลูกคาเปาหมายก็ เปนกลุมเดียวกัน การแขงขันทางการ ตลาดของคายรถใหญจากจีนก็จะดุเดือด รุนแรงมากยิง่ ขึน้ โดยผูท ี่ไดรบั ประโยชน
สูงสุดก็คือ กลุมลูกคาที่อยากไดรถเร็วมี ราคาถูก และมีระยะเวลาที่จะไดคืนทุน มาจากรถเร็วนั้นเอง “เมื1อมีคายรถใหญเขามาทําตลาด ใหม การถูกดึงตัวมือดีจากรถใหญจาก หลายคายก็ตองเกิดขึ้นสมํ่าเสมอ ทาง คายสแกนเนียก็ถูกดึงตัวไปบางเหมือน กัน แตไมใชปญหาหลัก พนักงานทุกคน เหมือนฟนเฟอง เมื1อตัวหนึ่งชํารุดไปก็ ตองหาตัวใหมเขามาแทน ระบบโดยรวม จะเดินไดตามปกติ และแผนการเดิมที่ วางไว คือจะตองมีสาขาใหไดทว่ั 16 แหง ภายในป 58 ก็จะเปนการสรางความเชื1อ มั่นใหกับกลุมลูกคาวาคายแสกนเนียให ความดูแลตลอดอายุการใชรถ” ทางดานรถรุนใหม คือรถหัวลาก ซีรี่ย จี นั้น ตองปรับแผนการใหม เพราะ เปนรถทีม่ ีไฮเทคโนโลยีและราคาสูงจึงไม ตองเปดตัวสูต ลาดขนสง หันไปเจาะกลุม เปาหมายโดยตรง เพราะเปนกลุมเล็ก เปนการลดตนทุนที่ไมจําเปนออก
ใตทองรถ ❖❖❖ ไมตอ งสงสัยเลยวาปจจุบนั นี้โลกของโซเชียลเน็ตเวิรค แพรหลายมาก แมกระทัง่ ตลาดรถใหญดวยเชนกัน อยางคายฮีโน ไดจัดแคมเปญพิเศษ เริ่มตั้งแตเดือนสิงหาคมถึง เดือนธันวาคม 2557 รถบรรทุกเล็กสี่ลอดาวน 0 เปอรเซ็นต เรียกวาลูกคาไมตองใชเงินเลย เมื1อนํารถออกไปวิง่ งานแลวก็นาํ รายไดมาจายเปนเงินผอนรายเดือน โดยในการคัดเลือกกลุม ลูกคานั่น ทางทิสโก จะเปนผูรับผิดชอบดูแลเองเรียกวางานนี้ผูประกอบการขนสงทางบกมี แตไดกับได ซึ่งคาดวายอดขายรวมรถใหญในปนี้นาจะได 3 หมื1นคันตามที่คาดหวังไว เพราะ ทุกคายตางเตรียมโปรโมชั่นการขายเพื1อทํายอดขายใหไดมากที่สุด ❖❖❖ ไมตองแปลกใจเลยวาคายรถใหญย่ีหอดัง ๆ จากยุโรปไดเขาไปตั้งโรงงานใน ประเทศจีนแทบทุกยี่หอแลว แถมคายรถใหญที่มีเงินทุนมหาศาลในประเทศจีนก็ไดทําการ ซื้อกิจการของคายรถใหญในยุโรปมากยี่หอตามไปดวย ดังนั้นไมตองแปลกใจเลยวาคายรถ ใหญยี่หอดัง ๆ มีทั้งที่ผลิตในประเทศจีนบางยี่หอก็ใชชิ้นสวนจากประเทศจีนเหมือนกัน โดย ไดประกาศออกมาวาเทคโนโลยีทุกอยางเหมือนกับที่ผลิตในโรงงานที่ประเทศแมเหมือนกัน กลุมลูกคารถใหญตองเตรียมทําใจวารถใหญจากยุโรป ญี่ปุน จะผลิตจากโรงงานที่ประเทศ จีนในอีกไมชานี้ ❖❖❖ ดวยการคาดการณจากผูบริหารรถใหญหลายยี่หอมองวาในป 2558 ที่จะถึงนี้ ยอดจําหนายรวมทุกยีห่ อ จะตองไดมากถึง 4 หมื1นคัน สาเหตุกเ็ ปนเพราะตลาดรถใหญอนั้ มา 1 ป เพราะลูกคาที่วาจางตางชะลอธุรกิจไป 1 ป แตจะเริ่มฟนขยายธุรกิจในปหนา รวมกับ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC ก็จะเริ่มเปดเสรีอยางเปนทางการ การขนสงทั้งใน ประเทศและเพื1อนบานในอาเซียน ก็จะเติบโตขึ้นเปนอยางมาก คายรถใหญทั้งรายเดิม และ ที่เขามาใหมหลายยี่หอ ก็จะตองโตตามตลาดคอยดูวาจะเปนจริงอยางที่คาดไวหรือเปลา
R1_B&T#255_p08-09_iMac5.indd 9
10/3/2557 BE 8:35 PM
10 BUS&TRUCK • ROAD and LAW
สัญญาณ
คมนาคมเปดแผนพัฒนาขนสง 10 ป กระทรวงคมนาคม วางแผน พัฒนาโครงสรางพื้นฐานดานคมนาคม ของประเทศระยะ 10 ป ระหวางป 2559-2568 งบรวมกวา 800,000 ลาน บาท พล.อ.ประจิ น จั่ น ตอง รมว. คมนาคม และ ผบ.ทอ. เปดเผยถึงผล การประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการ (เวิรก ช็อป) เกี่ยวกับแนวทางแกไขปญหาดาน การขนสงทางบกวา ทีป่ ระชุมไดพจิ ารณา ถึงแผนการพัฒนาระบบขนสงทางบก ตามกรอบยุ ท ธศาสตร ก ารพั ฒ นา โครงสรางพืน้ ฐานดานการขนสงของไทย ระยะ 10 ป 2559-2568 เบือ้ งตนไดมกี าร จัดสรรเงิน 800,000 ลานบาท เพื1อนํามา พัฒนาระบบขนสงทางบกทั้งระบบราง ถนน และทางหลวงพิเศษระหวางเมือง (มอเตอรเวย) เพื1อเชื1อมโยงการคมนาคม ขนสงในเมืองศูนยกลางหรือเมืองหลักไป ยังพื้นที่เศรษฐกิจ และแก ไขปญหาการ จราจรในเขตเมือง ตลอดจนการเชื1อมตอ ระบบขนสงสาธารณะในเขตเมือง จุด ตัดทางรถไฟในเมืองและระหวางจังหวัด รวมถึ ง โครงข า ยการขนส ง ที่ เ ชื1อ มโยง ประตูการคาชายแดน ทั้งนี้ในสวนการ ดําเนินงานระยะเรงดวนป 58 จะจัดสรร วงเงิน 66,000 ลานบาท เพื1อพัฒนา ระบบขนสงทางบก ใหมีประสิทธิภาพ ปลอดภัย “โครงการกอสรางรถไฟฟาในเมือง 6 เส น ทางตามแผนแม บ ทของการ รถไฟฟาขนสงมวลชนแหงประเทศไทย (รฟม.) นั้นไดเรงรัดให รฟม. หารือรวม กับกรุงเทพมหานคร เพื1อวางแผนการใช พื้นที่รวมกันในการกอสรางรถไฟฟาใน เขตกรุงเทพมหานคร เพื1อให โครงการ
เดินหนาตอเพราะมีการกอสรางหลาย โครงการที่ รฟม. และกทม.มีพื้นที่ทับ ซอนกันทําใหการกอสรางลาชา โดยจะ ต อ งหารื อ ร ว มกั บ กทม.ให แ ล ว เสร็ จ ภายในเดือน พ.ย.นี้เพื1อจัดทําแผนงาน ก อ สร า งร ว มกั น ซึ่ ง จะทํ า ให เ ห็ น ภาพ แผนการกอสรางรถไฟฟาในภาพรวมได ชัดเจนมากขึ้น นอกจากนั้นที่ประชุมยังไดตั้งเปา หมายตัวชี้วัดในการทํางานหลังพัฒนา ระบบขนสงทางบก เพื1อใหลดตนทุนขน สงโลจิสติกสตอจีดีพีลง 2% จาก 15.2% เหลือ 13% ลดสัดสวนผูเดินทางระหวาง จังหวัดโดยรถยนตสวนบุคคลจาก 59% ใหเหลือ 40% เพิ่มความเร็วเฉลี่ยรถไฟ ในการขนสงสินคาจาก 39-40 กม.ตอ ชั่วโมง เปน 60-80 กม. เพิ่มสัดสวนการ ขนสงสินคาทางรางจาก 2.5% เปน 5% เพิ่มปริมาณผู โดยสารทางรถไฟเพิ่มจาก 45 ลานคนตอป เปน 75 ลานคน สํ า หรั บ รถไฟขนส ง สิ น ค า จะเพิ่ ม ความเร็วจากปจจุบันความเร็วเฉลี่ยจาก ไมเกิน 40 กิโลเมตรตอชั่วโมง โดยเพิ่ม ความแข็งแรงของรางรถไฟ จากไมหมอน มาเปนคอนกรีตทัง้ หมด และจุดคับขันจะ เพิ่มใหเปนรางคู การขนสงสินคาใหเพิ่ม สั ด ส ว นการใช ร ถไฟขนส ง สิ น ค า ใน ประเทศ จากรอยละ 2.5 เปนรอยละ 5 โดยจะรนระยะเวลาการขนสงครึ่งหนึ่ง จากป จ จุ บั น ส ว นรถไฟโดยสารจะเพิ่ ม ความเร็ ว เฉลี่ ย จาก 50 กิ โ ลเมตรต อ ชั่วโมงเปน 80 กิโลเมตรตอชั่วโมง สวน การเชื1อมตอรถไฟไทยไปยังชายแดนนั้น จะดําเนินการแลวเสร็จ ใน 6 เสนทาง ไป ยัง 6 ชายแดนในป 2558 และอีก 6 เสน ทางในป 2559
กบง.ปรับโครงสรางเชื้อเพลิงขนสง
คณะกรรมการบริ ห ารนโยบาย พลังงาน(กบง.) มีมติใหปรับขึ้นราคา กาซปโตรเลียมเหลว (LPG) ภาคขนสง ในอัตรา 0.62 บาทตอกิโลกรัม สวน ราคา NGV ปรับขึ้น อีก 1 บาทตอ กิโลกรัม คุณอารีพงศ ภูช อุม ปลัดกระทรวง พลังงาน เปดเผยวา หลังจากประชุม คณะกรรมการบริหารนโยบายพลังงาน (กบง.) ทีม่ คี ณ ุ ณรงคชยั อัครเศรณี รมว. พลังงาน เปนประธานโดยจะพิจารณา ปรับโครงสรางราคาพลังงานใหสมดุล ตามนโยบายรัฐบาล ดวยการขึ้นราคา กาซหุงตม (LPG) ภาคขนสงและกาซ ธรรมชาติสําหรับรถยนต (NGV) รวมถึง เก็บเงินเขากองทุนนํ้ามันจากผู ใชนํ้ามัน ดีเซล เพราะคาการตลาดนํา้ มันเริม่ สูงขึน้ เพื1อลดภาระหนีก้ องทุนนํา้ มัน ทัง้ นี้ ราคา แอลพีจภี าคขนสงจะทยอยปรับขึน้ แตยงั 10-11 ������.indd 10 R1_B&T#255_p10-11_iMac5.indd 10
ไม เ ท า กั บ ภาคครั ว เรื อ น และจะมี มาตรการดูแลผูมีรายไดนอย ปจจุบัน LPG ภาคขนสงกิโลกรัม ละ 22.63 บาท คณะกรรมการบริหาร นโยบายพลังงาน (กบง.) มีมติใหปรับขึ้น ราคากาซปโตรเลียมเหลว (LPG) ภาค ขนสงในอัตรา 0.62 บาทตอกิโลกรัม สวน ราคา NGV อยูที่ 10.50 บาทตอกิโลกรัม มี ม ติ ใ ห ป รั บ ขึ้ น ราคาก า ซธรรมชาติ สําหรับยานยนต (NGV) อีก 1 บาทตอ กิโลกรัม อ ย า ง ไ ร ก็ ต า ม ข ณ ะ นี้ ส ภ า อุตสาหกรรมแหงประเทศไทย (ส.อ.ท.) อยูระหวางการติดตามราคาพลังงานวา รัฐบาลจะปรับขึน้ ราคาเชือ้ เพลิงใดบางใน สิ้นปนี้ อีกทั้งหากขึ้นภาษีสรรพสามิต ดีเซลดวยก็จะกระทบตอคาขนสง ซึ่งจะ ส ง ผลต อ เนื1อ งให ร าคาสิ น ค า ปรั บ ขึ้ น ได
ปกษแรก • ตุลาคม 2557 โดย กรมการขนสงทางบก
จอดปายหมอชิต
ดีเดย 1 พ.ย. รถบรรทุกไมประจําทาง
ตองทําใบกํากับขนสง ฝาฝนปรับ 5 หมื่นบาท
ดีเดย 1 พฤศจิกายน รถบรรทุก ไมประจําทาง 70 ตองจัดทําใบกํากับ การขนสง ระบุชนิด นํ้าหนัก และจุดสง สินคา พรอมใหเจาหนาที่ตรวจสอบ ระหวางขนสง ฝาฝนมีโทษปรับไมเกิน 50,000 บาท กรมการขนสงทางบก กําหนดใหผู ประกอบการขนส ง ด ว ยรถบรรทุ ก ไม ประจําทาง รถ 70 ตองจัดทําใบกํากับ การขนสงไวประจํารถขณะทําการขนสง ทุกคัน เพื1อแสดงตอเจาหนาทีท่ เี่ ขาตรวจ สอบ พรอมทั้งสําเนาเก็บไวที่สํานักงาน ไมนอยกวา 1 ป เพื1อใช ในการกํากับดูแล และตรวจสอบการขนสงสินคาในภาพ รวมของประเทศ ตั้ ง แต วั น ที่ 1 พฤศจิกายน 2557 เปนตนไป ทั้งนี้ หาก ผูป ระกอบการขนสงฝาฝนละเลยไมจดั ทํา ใบกํากับการขนสงใหถูกตองครบถวนจะ มีความผิดตามกฎหมายวาดวยการขนสง ทางบก พ.ศ. 2522 ขอหาความผิดตาม มาตรา 34 ไมปฏิบัติตามเงื1อนไขที่ทาง ราชการกําหนด และมีบทลงโทษตาม มาตรา 131 มีโทษปรับไมเกิน 50,000 บาท ผูประกอบการขนสงหรือผูที่ ไดรับ มอบหมายเปนลายลักษณอักษรจะตอง กรอกขอมูลและลงลายมือชื1อในใบกํากับ การขนสงใหครบถวน ทั้งในสวนของผู ประกอบการขนสง รถบรรทุก พนักงาน ขับรถ เสนทางและสินคา โดยตองใหราย พ.ต.อ.ยอดชาย ผูสันติ ผกก.ฝอ.3, บก.อก.บช.น.ฝายประชาสัมพันธ, บก.02
ละเอียดเกี่ยวกับชื1อผูประกอบการขนสง เลขที่และวันสิ้นอายุใบอนุญาตประกอบ การขนส ง ทะเบี ย นรถ ลั ก ษณะรถ ที่ทําการขนสง ชนิดและวันสิ้นอายุของ ใบอนุญาตขับรถ รวมถึงจุดตนทาง ปลาย ทาง และรายละเอียดของประเภทสินคา ปริมาณและจุดสงสินคาระหวางทางทีถ่ กู ตองและครบถวนสมบูรณ ซึ่งภาครัฐจะ ใชเปนฐานขอมูลในการกํากับดูแลการ ขนสงสินคาดวยรถบรรทุกไมประจําทาง และวางแผนระบบการขนสงสินคาทาง ถนน รวมทั้งการอนุญาตประกอบการ ขนสงดวยรถบรรทุกไมประจําทางใหมี ความเหมาะสม เกิดประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลในการจัดการขนสงสินคา ของประเทศ ในขณะที่ผูประกอบการขนสงจะ สามารถใชขอมูลจากใบกํากับการขนสง สินคาในการวางแผนจัดการเดินรถใน แตละชวงเวลาใหเกิดความคุมคากับการ ใชรถเพื1อทําการขนสง รวมทั้งตรวจสอบ พนักงานขับรถโดยตองมีใบอนุญาตขับ รถที่ถูกตองตามกฎหมาย และควบคุม ดูแลใหการจัดสงสินคาถูกตองตรงตามที่ บันทึกในใบกํากับการขนสงไดอีกดวย ทั้งนี้ ผูประกอบการขนสงสามารถ สอบถามรายละเอียดเพิม่ เติมไดที่ สํานัก การขนสงสินคา กรมการขนสงทางบก โทร. 0-2271-8491 ในวั น และเวลา ราชการ BUS & TRUCK FAQ
กระบะบรรทุกมอเตอรไซค ใชทางดวน? การขับรถบนทางดวนเกีย่ วกับการ บรรทุกสิ่งของ มีขอหามอยางไร บาง เชน ถาใชรถกระบะบรรทุก รถจักรยานยนตหามหรือไม จากคุณ : ธงชัย กรณีเกี่ยวกับการบรรทุกสิ่งของ บนทางดวน ตามระเบียบการทาง พิเศษแหงประเทศไทย ไดหามรถ ดังตอไปนี้เดินรถในทางพิเศษ (1) รถจักรยาน (2) ลอเลื1อน ตาม กฎหมายวาดวยลอเลื1อน (3) รถจักรยาน ยนต (4) รถยนตสามลอ (5) รถแทรกเตอร และรถบดถนน ตามกฎหมายว า ด ว ย รถยนต (6) รถฝกหัดขับหรือรถทดลอง เครื1อง (7) รถที่ใชเฉพาะเพื1อการโฆษณา (8) รถที่มีความสูงของตัวรถหรือความสูง ของสิ่งของที่บรรทุก เมื1อวัดจากพื้นทาง เกิน 4.00 เมตร หรือมีขนาดความกวาง ของตั ว รถรวมทั้ ง สิ่ ง ของที่ บ รรทุ ก เกิ น 2.50 เมตร หรือรัศมีวงเลี้ยวเกิน 12.00 เมตร (9) รถยนตกระบะที่จดทะเบียนเปน
รถนั่งสวนบุคคลไมเกิน 7 คน ( รย.1 ) ซึ่ง บรรทุ ก คนในกระบะท า ย หรื อ รถยนต กระบะที่จดทะเบียนเปนรถยนตนั่งสวน บุคคเกิน 7 คน (รย.2) ซึ่งบรรทุกคนใน กระบะทายโดยไมจัดใหมีหลังคาปกปด มิดชิดและที่นั่ง 2 แถว มั่นคง แข็งแรง อันอาจกอใหเกิดอันตรายแกบุคคลหรือ ทรั พ ย สิ น (10) รถยนต ก ระบะที่ จ ด ทะเบียนเปนรถยนตนงั่ สวนบุคคลไมเกิน 7 คน (รย.1) หรือเกิน 7 คน (รย.2) หรื อ รถยนต ก ระบะที่ จ ดทะเบี ย นเป น รถยนตบรรทุกสวนบุคคล (รย.3) ซึ่ง บรรทุกสิง่ ของในกระบะทายโดยไมจดั ให มี ก ารป อ งกั น ไม ใ ห สิ่ ง ของซึ่ ง บรรทุ ก ตกหลนหรือรั่วไหลหรือปลิว อันอาจกอ ใหเกิดอันตรายแกบุคคลหรือทรัพยสิน ดังนั้น กรณีการบรรทุกของขึ้นบน ทางด ว นต อ งจั ด ให มี ก ารป อ งกั น ไม ใ ห สิ่งของซึ่งบรรทุกตกหลนหรือรั่วไหลหรือ ปลิว อันอาจกอใหเกิดอันตรายแกบุคคล หรือทรัพยสิน
10/3/2557 BE 4:27 PM 10/3/2557 BE 8:39 PM
PROTEST • BUS&TRUCK 11
ปกษแรก • ตุลาคม 2557
กดแตร
ปรับราคา NGV ขนสงกระทบหนัก
ตอไปนีเ้ ปนเรื1องราวทีค่ ณ ุ ศุภศักดิ์ รุง เจิดฟา ประธานกรรมการบริษทั นคร สวรรคตั้งประเสริฐ จํากัด ผูประกอบ การขนสงสินคารายใหญทมี่ รี ถใหญที่ใช เครื1องยนต NGV มากกวา 400 คัน รับ ขนสงสินคาไดเปดเผยถึงการที่คณะ รัฐบาลชุดประยุทธ 1 ไดประกาศขึ้น ราคากาซ NGV ลิตรละ 1 บาท เปน ราคาลิ ต รละ 11.50 บาทในเดื อ น ตุลาคม 57 ซึง่ เปนการเพิม่ ตนทุนในการ ขนสงใหเปนอยางมาก หากถามวาการขึ้นราคาของกาซ NGV เปนปญหากระทบตอภาคขนสง หรื อ ไม นั้ น กระทบแน น อนเพราะว า ต น ทุ น เชื้ อ เพลิ ง เป น ต น ทุ น หลั ก ของ การขนสง ถาถามวาเห็นดวยไหม ผมก็ไม เห็นดวย แตที่ผานมาเวลา 2 ป ที่พวก เราตอสูกันมา เพื1อไมใหขึ้นราคากาซ NGV นั้น เหมือนจะเปนผลดีแตความ จริงแลวเปนผลเสียมากกวา ทําไมผมจึง คิดเชนนี้ จะขอเลาถึงความเปนมาของ เรื1องนี้ ยอนไปกอนหนานี้ ผูใชรถบรรทุก ใชเชื้อเพลิงกาซ NGV ประสบปญหากับ เรื1องปริมาณกาซ NGV ไมเพียงพอกับ ความตองการ ทําใหรถบรรทุกใชเวลารอ เติมกาซ NGV นานมาก เนื1องจากกาซ ในสถานีหมดอยูเ ปนประจําซึง่ กระทบกับ การทํางาน และจํานวนเที่ยวสงลดลง อยางมาก ผมจึงขอใหทางสมาคมขนสง ทางบกแหงประเทศไทยชวยเปนตัวแทน เจรจากับ ปตท. ถึงปญหาที่ผูประกอบ การไดรับขณะนี้ แตไดคําตอบจาก ปตท. วา ขาดทุนไมสามารถที่จะเพิ่มปริมาณ NGV ให ได อีกทั้งทาง ปตท. ไดถามกลับ ทางสมาคมฯ วาหาก ปตท.จะขอขึน้ ราคา NGV กับทางรัฐบาล ทางสมาคมฯจะ คัดคานหรือไม ทางสมาคมฯจึงไดกลับมาปรึกษา กับคณะกรรมการ และสมาชิกผูป ระกอบ การที่ใชรถบรรทุกเชื้อเพลิงกาซ NGV และได ข อ สรุ ป กั น ว า หากพวกเรายั ง ดึงดันทีจ่ ะคัดคานการขึน้ ราคากันอยูเ ชน
B&T#255_p10-11_iMac5.indd 11
นี้ ต อ ไปก็ จ ะเป น การยื ด เยื้ อ ป ญ หาอยู อย า งนี้ ไ ม จ บสิ้ น อี ก ทั้ ง ขณะนั้ น ทาง คสช. มีนโยบายปรับโครงสรางพลังงาน ทั้งหมด พวกเราคิดแลววาดวยนโยบาย ของ คสช. ราคากาซ NGV จะตองขึ้นอยู แลวแนนอน จึงรวมปรึกษากันระหวางผู ประกอบการที่ประสบปญหา และไดขอ สรุปในเรื1องนีว้ า หาก ปตท.จําเปนจะตอง ขึ้นราคากาซ NGV จริง ทางเราก็จําเปน ที่จะตองมีขอเรียกรองกลับไปยัง ปตท. เช น กั น เพื1อ เป น การแก ไ ขป ญ หาที่ ผู ประกอบการสวนใหญ ไดประสบกันใน ขณะนี้ โดยมี 3 ขอดังนี้ 1. ทาง ปตท. จะตองเพิ่มปริมาณ กาซ NGV ใหแตละสถานีเพียงพอตอ ความตองการของผูใช 2. ปตท. จะต อ งอนุ ญ าตให ผู ที่ ตองการที่จะสรางสถานีเติมกาซ NGV สรางสถานีเพิ่มเติม ในจุดที่ขาดแคลน หรือจุดบอดใหทั่วถึงตามความตองการ ของผูใช 3. ราคากาซ NGV ที่จะปรับขึ้นนั้น ไมควรทีจ่ ะสูงเกิน 35 % ของราคานํา้ มัน ดีเซล ซึ่งการเจรจาระหวางเรากับทาง ปตท. เปนไปอยางราบรื1น และ ปตท. ได รับปากวาหลังจากที่ขึ้นราคากาซ NGV แลวนั้น ทาง ปตท. จะดําเนินการแก ปญหาการขาดแคลนกาซ NGV และการ เพิ่ ม สถานี เ ติ ม ก า ซ NGV ในจุ ด ที่ ขาดแคลนใหแกผูใชแนนอน ซึง่ โดยสวนตัวผมคิดวาขอเรียกรอง ทัง้ 3 ขอนี้ จะเปนผลดีทสี่ ดุ กับผูป ระกอบ การที่ใชรถบรรทุกเชื้อเพลิงกาซ NGV ที่ ประสบปญหาการขาดแคลนกาซ NGV ในสภาพการเมืองที่เปนอยูขณะนี้ สุ ด ท า ยนี้ ผ มขอขอบคุ ณ นายก สมาคมขนสงทางบกแหงประเทศไทย ที่ เล็งเห็นถึงปญหาของผูประกอบการที่ ประสบปญหา และไมนิ่งดูดายตอความ เดื อ ดร อ นของพวกเรา ขอขอบคุ ณ ครับ
“นิติกฤตย”
พักรถ
ศาสตรตัวเลขพัฒนาการขนสง (Nitikrit) การลงทุนในการศึกษาเรื1องตาง ๆ เปนตนทุนสําคัญของการดําเนินชีวิต ไมวาจะการ ทํางาน การทําธุรกิจ การเรียน ความรัก ความสัมพันธรูปแบบตาง ๆ ที่กลาวมาเพราะในฐานะ ผูม อบวิชาความรูแ กสงั คมไมตอ งการแคสรางความบันเทิงแตตอ งมีสาระดวย (Endutainment) เพื1อกอเกิดประโยชนสูงสุดตอสังคมไทยตอการพัฒนาศาสตรพลังรหัสตัวเลข มาตอเรื1องสาระบันเทิงพลังตัวเลขกันดีกวา คราวกอนผมกลาวถึง รหัส 00, 01, 10, 02, 20 ไปแลวจะขอตอเนื1องดังตอไปนี้ เมื1อเลข 0 ผสมกับเลข 3 กลายเปน 03 หรือ 30 ยอมสงผลตอผูใช ในแงอารมณรุนแรง เกรี้ยวกราด ปรากฏทั้งเบอรมือถือและทะเบียนรถ จากประสบการณมีอยูรายหนึ่งใชเบอรมือ ถือเลข 303 พฤติกรรมแปลกประหลาดในการขับขี่รถยนต มักพาตัวเองและรถยนตที่ตกแตง อยางดีไปประสบอุบัติเหตุตกขางทางเฉลี่ยปละ 3-4 ครั้ง และเมื1อสังเกตพลังงานเลข 30, 03 ในทะเบียนรถยนต ปรากฏแนวโนมมีอุบัติเหตุเฉี่ยวชนคอนขางมากเชนกัน เมื1อเลข 0 ผสมกับเลข 4 กลายเปน 04 หรือ 40 ในศาสตรพลังรหัสตัวเลขจะหมายถึง การสืบการคน นักสืบ ชางสังเกต แตเมื1อเปนทะเบียนรถจะกลายเปนไปที่ลับ ๆ บอย ไปคน เดียว บินเดีย่ ว เมื1อหลายปกอ นผมไดวเิ คราะหทะเบียนรถ 4004 ใหนกั โปรแกรมเมอรทา นหนึง่ ซึ่งไดซื้อรถมือสองมาใหม (ใชงานแลว 3-4 เดือน) และอยากรูวาพลังตัวเลขเปนเชนไร? ผม ถอดรหัสไดวา มีผลใหเดินทางไปที่อโคจรไดบอยแลวคนจะไมรูแบบสายลับ ทันทีที่เฉลย ผูใช ทะเบียน 4004 หัวเราะทันที ผมจึงถามวาหัวเราะทําไม? ไดคําตอบวา แตกอนใชคันเกามีเลข 11 แอบไปเที่ยวไหนไมวาใกล ไกล จะมีคนมาบอกแฟนเคาเสมอ จนระแวงไมกลาแอบไปไหน เที่ยวไหนตอนกลางคืน แตเมื1อใชคันนี้ ไปไหนมาไหนไมมีใครรูเห็นเลย สะดวกสบายเปนความ ลับดี ...นาสนใจมั้ยครับเลขคูนี้ และการขับขี่ระมัดระวังดี จึงพบอุบัติเหตุไมมากครับ เมื1อเลข 0 ผสมกับเลข 5 กลายเปน 05 หรือ 50 พลังเลขคูนี้เกี่ยวพันกับการเขาวัด ทําบุญ ศาสนา พิธีกรรม บวงสรวงก็ได และเมื1อทักทายไปก็ไดคําตอบสวนใหญวา “ใช ตั้งแต ไดรถคันนีม้ าใชงานสวนใหญไดเดินทางไปทําบอยขึน้ ดานการขับขีก่ ็ไมมอี นั ตรายเทาใดเพราะ บุญรักษา ที่ใชคําวาปลอดภัยไมไดเพราะเลขมฤตยู0ผสม ทานที่อานความรูนี้แลวคงพอดูแลตัวเองไดนะครับ แลวพบกันอีกฉบับหนา และหาก สนใจ ศาสตรดา นนีเ้ พิม่ เติม ติดตามผมไดที่ YouTube โดยคนคําวา kingofnumberchannel” หรือ google ดวยคําวา “นิติกฤตย” ปล.เชนเดียวกัน ถาไมมีผูอานสนใจคอลัมนนี้ผมจะงดการนําเสนอบทความนะครับ
10/2/2557 BE 10:00 PM
12 BUS&TRUCK • BUS & TRUCK CARE
ปกษแรก • ตุลาคม 2557
รักษรถ
ขับขี่ปลอดภัยชวงหนาฝน
การขับรถในชวงฤดูฝน ผูขับขี่ ตองเผชิญกับความทาทายบนทอง ถนนหลากหลายรูปแบบ ทัง้ ทัศนวิสยั ที่ ไมชดั เจน พืน้ ผิวถนนทีเ่ ปยกลื1น สิง่ กีดขวางทีม่ องไมเห็น และนํา้ ทวมขัง พืน้ ถนน ซึง่ อาจทําใหเกิดอุบตั เิ หตุได แมปจ จุบนั นีร้ ถยนตทมี่ คี วามทัน สมัยที่สุดก็ยังไมสามารถรับรองความ ปลอดภัยในการขับขี่ไดเต็มที่ 100% ใน สภาพอากาศที่ยํ่าแย การปฏิบัติตาม คํ า แนะนํ า ต อ ไปนี้ จ ะช ว ยเพิ่ ม ความ ปลอดภัยเมื1อขับขี่บนพื้นถนนที่เปยก ลื1น
ยางรถของคุณเริม่ สูญเสียการควบคุมบน ถนนที่มีนํ้าขัง เมื1อ ตั ว รถเกิ ด การสู ญ เสี ย การ ควบคุมบนถนนที่มีนํ้าขัง ผูขับขี่ควรลด ความเร็วลงดวยการผอนคันเรงโดยไม ตองเหยียบเบรก รอใหความเร็วลดลง และใหยางยึดเกาะถนนอีกครัง้ ถาหากรถ เริ่มลื1นไถล ผูขับขี่ควรควบคุมพวงมาลัย ไปในทิศทางทีต่ อ งการใหรถมุง ไปจนกวา รถจะกลั บ คื น สู ส ภาวะปกติ และควร เหยี ย บคั น เร ง ด ว ยนํ้ า หนั ก ที่ ค งที่ สมํ่ า เสมอ การควบคุ ม รถด ว ยความ นุมนวลจึงนับเปนปจจัยสําคัญ
การขับรถผานถนนที่มีนํ้าทวมขัง
เพิ่มทัศนวิสัยแกตนเอง และผูขับขี่รถคันอื่น
ไฟหนาชวยเพิ่มทัศนวิสัยใหท้ัง ตัวคุณและผูข บั ขีร่ ถคันอื1น ไดมองเห็น ในสภาพแสงนอยและฝนตกหนัก ควร เปดไฟหนาในสภาวะทีฝ่ นตกหนัก และ ไมควรใช ไฟฉุกเฉินยกเวนเมื1อจอดรถ และตองการใหรถคันอื1นหลบเลี่ยง ถา รถของคุณมีไฟตัดหมอก ควรเปดใช งาน นอกจากนีค้ วรตรวจสอบสภาพใบ ปดนํ้าฝนใหอยูในสภาพพรอมใชงาน ใบปดนํ้าฝนที่ฉีกขาดหรือเสียหายจะ ทํางานไมเต็มประสิทธิภาพ ทําใหเกิด คราบนํ้ า บนกระจกหน า ซึ่ ง จะลด ทัศนวิสัยในการขับขี่
เติมลมยางอยางเหมาะสม
ยางรถยนตท่ีมีแรงดันลมมาก เกินไปจะทําใหตัวรถ “ลอยตัว” เมื1อ เคลื1อนที่ การสัมผัสระหวางหนายาง และพืน้ ถนนลดลงทําใหสญ ู เสียการยึด เกาะ สําหรับยางที่มีแรงดันลมนอย เกินไปจะทําใหหนายางสัมผัสพืน้ ถนน มากเกินปกติ ซึ่งทําใหเกิดความเสี่ยง ในการสูญเสียการควบคุมรถบนถนนที่ มีนํ้าขัง และผูขับขี่ควรตรวจสอบดอก ยาง ยางที่ฉีกขาดหรือเสียหายจะไม สามารถรีดนํ้าไดอยางมีประสิทธิภาพ และสงผลเสียตอการยึดเกาะถนน
B&T#255_p12_iMac5.indd 12
เพิ่มระยะการเบรกและหลีกเลี่ยง การสูญเสียการควบคุมรถ บนถนนที่มีนํ้าขัง
ผูขับขี่ควรลดความเร็วลงเมื1อขับ ผานถนนที่เปยกลื1น และเพิ่มระยะหาง ระหวางรถคันหนามากขึ้นอีกเทาตัว เมื1อ เทียบกับการขับบนถนนที่แหงเพื1อการ เบรกอย า งปลอดภั ย โดยการชะลอ ความเร็ว ยั ง ลดโอกาสการสู ญ เสี ย การ ควบคุมรถบนถนนที่มีนํ้าขัง ซึ่งเกิดขึ้น เมื1อ ดอกยางไม ส ามารถรี ด นํ้ า ที่ อ ยู ระหวางยางและพื้นถนนได สิ่งที่เกิดขึ้น คือยางเสนใดเสนหนึง่ หรือหลายเสนเกิด อาการ “ลอยตัว” บนผิวนํ้า ทําใหตัวรถ และยางลื1นไถล หากรถสูญเสียการควบคุม ผูขับขี่ จะรูสึกวาพวงมาลัยมีนํ้าหนักเบาอยาง กะทันหัน และรถไมตอบสนองตอการ ควบคุมของพวงมาลัย หรือผูขับขี่อาจ สังเกตวารอบเครื1องยนตจะเพิ่มขึ้นและ ลดลงอยางรวดเร็วโดยทีค่ วามเร็วไมเพิม่ ขึ้ น โดยอาการนี้ จ ะมาพร อ มกั บ การ กระตุ ก (เนือ1 งจากยางสู ญ เสี ย การยึ ด เกาะชัว่ ขณะ) ถือเปนสัญญาณบงบอกวา
ผูข บั ขีค่ วรหลีกเลีย่ งการขับรถผาน ถนนที่ไมสามารถมองเห็นหรือเดินผานได หรือถนนที่มีนํ้าทวมขังสูงกวากึ่งกลาง ของลอรถ และควรตรวจสอบวารถของ คุณสามารถขับขีผ่ า นระดับนํา้ ไดสงู เทาใด อีกทัง้ นํา้ ทวมขังจะบังสิง่ กีดขวางทีอ่ ยูบ น ถนนซึ่งผูขับขี่ไมสามารถมองเห็น ดังนั้น ถาคุณตองขับขีผ่ า นถนนทีม่ นี าํ้ ทวมขังขอ ใหแนใจวาคุณขับอยูบนถนนและถนน ไมมคี วามเสียหายใด ๆ ขณะเดียวกันควร เพิ่มความระมัดระวังเมื1อขับขี่บนถนนที่ ไมคุนเคยเนื1องจากอาจมีหลุมที่ลึกเกิน กวาที่รถจะผานไปได ผูขับขี่สามารถจอด รถและสังเกตรถคันอื1นวาสามารถขับผาน ไปไดอยางปลอดภัยหรือไม หากขับรถผานถนนที่มีนํ้าทวมขัง ควรขับรถบนกึง่ กลางหรือใกลกบั กึง่ กลาง ของถนน เนื1องจากระดับนํา้ จะตํา่ ทีส่ ดุ ใช เกียรตํ่าและรอบเครื1องยนตสูง ใชเกียร หนึง่ หรือเกียร “L” ขึน้ อยูก บั ประเภทของ เกียร ควรรักษาความเร็วใหคงที่ ไมควร ถอนคั น เร ง เนื1อ งจากเครื1อ งยนต ที่ ล ด ความเร็วจะทําใหนํ้าไหลเขาสูทอไอเสีย และสรางความเสียหายตอแคตทาไลติก คอนเวอรเตอร นอกจากนี้ควรขับรถดวย ความเร็วตํา่ มาก เพื1อไมใหทกี่ รองอากาศ ดานหนารถดูดนํา้ เขาไปในเครื1องยนต ถา นํ้าไหลเขาสูทอไอเสียหรือเครื1องยนตจะ
สงผลเสียรุนแรงและมีคาซอมแซมสูง ในถนนที่มีนํ้าทวมขัง ขับรถเขา สูถนนดวยความเร็วไมเกิน 3 กม./ชม. และเพิม่ ความเร็วเปน 6 กม./ชม. เมื1อ ตองขับผาน ซึ่งจะทําใหเกิดคลื1นนํ้า ดานหนาและลดระดับนํ้าโดยรอบหอง เครื1องยนตลง ชวยลดความเสี่ยงที่นํ้า จะไหลเขาสูที่กรองอากาศและสราง ความเสียหายตอระบบไฟฟาและชิ้น ส ว นอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส ต า ง ๆ ถ า ใช ความเร็วมากกวานีจ้ ะทําใหนาํ้ ไหลผาน กระจังหนาเขาสูหองเครื1องยนต ได ควรเวนระยะหางจากรถคันหนา พอสมควรหรือขับรถผานนํ้าทวมขังที ละคัน เพื1อปองกันการหยุดรถกลาง ถนนถารถคันหนาชะลอความเร็ว ควร ระมัดระวังวาไมมีรถที่ขับมาจากเสน ทางอื1นเนื1องจากคลื1นของนํ้าอาจทวม รถได โดยเฉพาะถ า รถคั น อื1น ใช ความเร็วสูงเกินไป เมื1อขับรถผานถนนทีม่ นี าํ้ ทวมขัง ควรยํ้า เบรกอยา งนุมนวลเปนระยะ หากผูขับขี่มีทักษะสามารถใชเทาซาย เหยียบเบรกได เมื1อรูสึกวาเบรกจับตัว แลวใหกลับมาขับขี่ตามปกติ ควรจอด รถเพื1อตรวจสอบใหแนใจวาไมมีขยะ เชน ถุงพลาสติกหรือเศษสิ่งของอื1น ๆ ติดอยูที่กระจังหนาหรือหมอนํ้า ขอใหตระหนักวานํ้าทวมขังที่สูง 15 ซม. จะถึงระดับใตทองรถยนตนั่ง บางคัน ขณะที่รถยนตนั่งสวนใหญจะ เริ่มลอยตัวในระดับนํ้า 30 ซม. สวน ระดับนํ้า 60 ซม. จะทําใหรถสวนใหญ ซึ่งรวมถึงเอสยูวีลอยตามนํ้าไปได โดย ไมเกี่ยวกับความเร็วของกระแสนํ้าแต อยูท กี่ าํ ลังและปริมาตร จึงไมควรเสีย่ ง ขับรถผานระดับนํ้าที่สูงมากดังกลาว ไมวา จะขับขีภ่ ายใตสภาพอากาศ แบบใดก็ ต าม ผู ขั บ ขี่ ค วรมองถนน ตลอดเวลา และระมัดระวังในการขับขี่ ใหดี เพื1อความปลอดภัยในการใชรถใช ถนนสําหรับตัวคุณเองและคนรอบขาง ดวย
10/2/2557 BE 10:03 PM
K
CMY
CY
MY
CM
Y
M
C
B&T#255_p13_iMac5.pdf
1
10/2/2557 BE
10:04 PM
14 BUS&TRUCK • INTERVIEW
ปกษแรก • ตุลาคม 2557
จอดคุย จากเด็กผูหญิงตัวนอย ๆ ที่ ไป ทํ า งานกั บ คุ ณ พ อ เป น ประจํ า จึ ง ได ประสบการณการทํางานรถใหญมา จากคุณสุขสมเกียรติ เสือกลิ่นศักดิ์ เจาของบริษทั ขนสงและบริษทั สุขศิริ มอเตอร จํากัด ตัวแทนจําหนายรถ ใหญ เอสเอสเค ไซโนทรัค เมื1อเติบโต ขึ้ น ก็ ไ ด ไ ปเรี ย นไฮสคู ล ที่ ป ระเทศ แคนนาดา และได ก ลั บ มาเรี ย น ปริ ญ ญาตรี แ ละปริ ญ ญาโทสาขา นานาชาติที่มหาวิทยาลัยมหิดล คุณวาสนา เสือกลิ่นศักดิ์ ผูจัดการทั่วไป บริษัท เอสเอสเค กรุป เซลส แอนด เซอรวิส จํากัด ผูแทน จําหนายรถใหญ ไอวีโก ประเทศอิตาลี ไดเปดเผย ถึงมุมมองของคนรุน ใหมตอ การทําตลาดรถใหญเปนครั้งแรกโดย ตั้ ง มั่ น ให ก ลุ ม ลู ก ค า ได รั บ ประโยชน สูงสุด
ลูกคาเกา หันมาเปนลูกคาใหม
ดวยความจริงใจของคุณพอที่มีให กับลูกคาเกา ของเอสเอสเค ไซโนทรัค กวา 2 พันคัน แมวาจะเปลี่ยนมาขายรถ ใหญไอวีโกแตกย็ งั ใหความผูกพันอยูจ งึ ได ลงทุนกวา 30 ลานบาท เพื1อทีจ่ ะไดสต็อก อะไหลของทุกรุนที่จําหนายใหนานกวา 30 ป หรือตลอดอายุการใชงานดวยความ จริงใจตรงจุดนี้เอง จึงทําใหลูกคาเกาได หันมาซื้อรถใหญไอวีโกเพิ่ม เพราะมั่นใจ วาจะไดรบั การบริการหลังการขายเหมือน เดิม จากการนําเขาเครื1องยนตดเี ซลเขา มากอนโดยเนนที่ 340 แรงมา และ 380 แรงมา ซึ่งหวังยอดขายในสี่เดือนหลัง ของป 57 นี้ ไวที่ 200 คันและในปหนาจะ มีการเพิ่มเครื1องยนต NGV เขามาเสริม วางเปาการขายไวที่ 800 คัน โดยแบง
เป น เครื1อ งยนต ดี เ ซล 400 คั น และ เครื1องยนต NGV 400 คัน
ขายราคาสูงสุดแค 3 ลาน
ประสบการณทเี่ คยทําการจําหนาย รถใหญ ม าก อ นและด ว ยการแข ง ขั น ทางการตลาดที่ดุเดือดมาก จุดมุงหมาย ของรถใหญไอวีโก คือ จะไมหวังผลกําไร เลยในชวงเวลา 3 ป จะทําใหลูกคาพึง พอใจสู ง สุ ด ด ว ยการตั้ ง ราคาจํ า หน า ย สูงสุดไว 3 ลานบาทเทานัน้ เปนเวลาโดย ประมาณ 3 ป พรอมทัง้ ยังรับประกันนาน ถึง 2 ป ไมจํากัดระยะทางและยังแถม เปลี่ ย นถ า ยนํ้ า มั น เครื1อ งให ฟ รี ช ว งรั บ ประกันอีกเรียกไดวาลูกคามีแตไดกับได สวนราคารุน อื1นทีน่ าํ มาจําหนายก็มี ราคาลดตํ่าลงมาคันละประมาณ 1 แสน บาท เพราะทราบดีวาในงานขนสงแตละ ที่จะมีรายไดที่ ไมเทากัน การใชรถขนสง จึงตองเลือกตามความเหมาะสม
คุณวาสนา เสือกลิ่นศักดิ์ คนรุนใหมบริหารรถใหญ ไอวีโก
รถใหมตองเทรนนิ่งกอนใช
ดวยความที่รถใหญไอวีโกถือเปน รถที่มีเทคโนโลยีและคุณภาพเปนสากล พรอมทัง้ ยังถือวาเปนรถใหญทเี่ ริม่ เขามา ทําตลาดในเมืองไทยดังนั้นจึงตองมีการ อบรบและเทรนนิ่งใหความรูแกคนขับ กอนที่จะขับรถใหญ ไอวีโก ใหรูเทคนิค การขั บ เพื1อ จะได ป ระหยั ด นํ้ า มั น เชื้ อ เพลิงมากที่สุด ก อ นที่ จ ะเป ด ตั ว สู ต ลาดก็ ไ ด มี การนําเขามา 4 รุนเพื1อทดสอบวิ่งบน ถนนในเมืองไทยกอน และดวยการนํา ฝ า ยเทรนนิ่ ง การขั บ มาจากบริ ษั ท แม ประเทศอิตาลี ซึ่งจากประสบการณ คือ จะต อ งให ผู แ ทนจํ า หน า ยของแต ล ะ ประเทศประกาศใหทงั้ ตลาดขนสงรูว า รถ ใหญไอวีโกใชนาํ้ มันเพียง 1 ลิตร สามารถ วิ่งงานไดถึง 3.5 กิโลเมตร และจากการ ทดสอบวิ่งบรรทุกนํ้าหนักตามกฎหมาย กํ า หนดคื อ 50.5 ตั น โดยคนขั บ เป น พนักงานของบริษทั สวนคนดูแลคือ ฝาย วิศวกรรมจากอิตาลี ทั้ง 2 ครั้งประหยัด ไมไดตามที่กําหนด จึงตองขับรอบที่ 3 และคนขับก็เริ่มเรียนรูเทคนิคตาง ๆ ใน การประหยัดเชื้อเพลิงและก็ไดอัตราการ สิ้นเปลือง 1 ลิตร ตอ 3.5 กิโลเมตร สง
B&T#255_p14-15_iMac5.indd 14
ผลใหคนขับก็ ไดกลับไปอิตาลี เพราะ มั่นใจวาคนขับรถใหญทุกคนในเมือง ไทย จะตองทําไดอยางแนนอน ด ว ยเหตุ นี้ เ องทางบริ ษั ท จึ ง มี แผนกเทรนนิ่งอบรมใหความรูแกคน ขับของลูกคาทุกรายเพื1อใหรถ ไอวีโก ชวยเพิ่มงานแตประหยัดนํ้ามันคุมทุน เร็วกวาเวลาที่คาด
ลงทุนตั้งสํานักงานใหญ กวา 300 ลานบาท
ด ว ยสํ า นั ก งานใหญ เ ดิ ม ของ เอสเอสเค ไซโนทรัค อยูท จี่ .สระบุรี แต เมื1อ เวลาเปลี่ ย นไปทุ ก อย า งก็ ต อ ง เปลีย่ นไปดวย จึงไดลงทุนมากกวา 300 ลานบาท เพื1อตั้งสํานักงานใหญอยูที่ วังนอย จ.อยุธยาโดยจะมีทั้ง โชวรูม ศูนยบริการ โกดังสต็อกอะไหล และ หองประชุม เพือ1 อบรมและใหความรู ทั้งกับดีลเลอรและคนขับรถของลูกคา ที่ ต อ งการความรู เ พิ่ ม เติ ม เกี่ ย วกั บ เทคนิคการขับรถ โดยจะเปดดําเนิน การไดในป 58 อยางแนนอน สวนดีลเลอรทจี่ ะชวยสรางความ เชื1อมัน่ ใหกบั กลุม ลูกคานัน้ ก็มแี ผนการ ทีจ่ ะตัง้ ใหได 5 แหงภายในป 57 นี้ สวน ในป 58 ก็จะเพิ่มอีก 5 แหง โดยแตละ แหงจะตัง้ ตามภูมภิ าคใหญ ๆ หรือ ตาม จั ง หวั ด ใหญ ที่ เ ป น เส น ทางหลั ก ใน การขนส ง นอกจากนี้ ก็ ยั ง จะมี ร ถ โมบายเซอรวิส เพื1อรองรับกับลูกคาที่ จะมีเพิ่มขึ้นเรื1อย ๆ หากใครตองการ เปนดีลเลอรก็สามารถติดตอไดทุกเมื1อ โดยจะมีรูปแบบของการสรางโชวรูม ซึง่ ทางบริษทั แมเปนผูก าํ หนดไวใหดว ย
ไดขายไอวีโก เพราะมีพื้นฐานดี
กอนทีจ่ ะไดมาขายรถใหญ ไอวีโก นั้นทางบริษัทแม ไอวีโกไดมาตั้งสาขา ในเมืองไทยเมื1อ 3 ปที่แลว เพราะ ตองการหาผูแทนจําหนายอยางเปน ทางการและดวยพืน้ ฐานทีข่ ายรถใหญ จากจีนมากอนและมีลูกคาเปนจํานวน มากกวา 2,000 ราย จึงทําให ไดรับ เลือกเปนผูแ ทนจํา หนายแตเพียงผู เดียวในเมืองไทย โดยมากกวารอย บริษัทที่เสนอตัวเขาไปไมไดรับความ สนใจเลย ดวยมุมมองของผูบ ริหารรุน ใหม ที่ขายรถใหมยี่หอไอวีโกซ่ึงถือเปนรถ ใหมในตลาดขนสงเมืองไทยมีมมุ มอง และรู ป แบบการบริ ห ารที่ ต อ งการ สรางความพึงพอใจสูงสุดใหแกกลุม ลูกคา โดยไดนาํ ประสบการณของคุณ พอมาเปนสวนหนึง่ ในการทํางานดวย ตองคอยดูตอไปวานักบริหารรุนใหม คนนี้ จ ะสามารถทํ า ตลาดได เ ที ย บ เทากับคายยุโรปในเมืองไทยไดหรือ ไม
10/2/2557 BE 10:08 PM
LAW KNOWLEDGE • BUS&TRUCK 15
ปกษแรก • ตุลาคม 2557
รูกฎกอนขับ
ขึ้นลงรถแบบ 3 จุด หนาขึ้น หลังลง เมื1อพิจารณาไตรตรองดูแลวพบวา ทุ ก อย า งบนโลกใบนี้ มี ที่ ม าที่ ไ ปเสมอ บทความวันนี้นําเสนอการขึ้นรถแบบ 3 จุด หนาขึ้น–หลังลง เปนวิธีการขึ้นรถ และลงจากรถบรรทุกของผูท าํ หนาทีเ่ ปน คนขั บ ผมได รู จั ก วิ ธี น้ี เ มือ1 ประมาณป 2540 ขณะไดมีโอกาสรวมงานกับบริษทั บรรทุกขนสงนํ้ามันรายหนึ่ง ครั้งแรกก็ แปลกใจมากว า อะไรคื อ การขึ้ น ลงรถ แบบ 3 จุด ยิง่ กวานัน้ ก็ยงั มีเสริมตอทาย มากอีกวา การขึ้นรถนั้นจะตองเอาหนา ขึ้นและเอาหลังลง ก็ยิ่งงงเขาไปใหญ เปนธรรมดาครับ การทํางานทุก อยางหากมีขอสงสัยนั่นแสดงวาเราไมรู เราไมทราบ วิธีหรือทางออกที่งายและ เปนทางลัดก็คือการถามผูรูหรือถามผูที่ เขามี ป ระสบการณ ม าก อ นเราให ช ว ย อธิบายความเปนมาวาคืออะไร ทําไมตอง ขึน้ ลงรถแบบ 3 จุดและเอาหนาขึน้ - เอา หลังลงดวย เกี่ยวกับความปลอดภัยก็มี เทคนิควา “ไมควรจะเดาสุม ” แตควรหา แหล ง ข อ มู ล ที่ มี ค วามรู อ ย า งแท จ ริ ง เพราะเมื1อเราจะไปถายทอดตอคนอื1นก็ จะไดอธิบายบอกไดวาเรารูขอมูลมาจาก ใครและผูใหขอมูลเขาเปนใคร ตําแหนง งานและหนาทีร่ บั ผิดชอบเขาทําอะไรบาง มีความเกี่ยวของกับสิ่งที่เรากําลังตอง การคนหาที่มาที่ ไปหรือเปลา บนโลกใบ นี้มีหลายอยางที่ ไมใชผิดหรือถูกเสมอไป เพียงแตมันเปนสิ่งที่ “นาจะใช กับ ไม นาจะใช” จะอยางไรก็ตามทุกคําตอบก็ ควรจะมีทมี่ าที่ไปและหากมีทฤษฏีตา ง ๆ มารองรับดวยก็จะยิ่งเปนการดี ผมไดรูจักวิธีการขึ้นรถแบบ 3 จุด หนาขึ้น-เอาหลังลงครั้งเมื1อผมไดรวม งานกับบริษทั บรรทุกขนสงนํา้ มันของตาง ชาติรายหนึ่งบรรทุกขนสงนํ้ามันใหกับ เอสโซ การขึ้นรถและลงรถเปนหัวขอ หนึ่ ง ที่ บ รรจุ ไ ว ในหั ว ข อ การอบรม พนักงานใหมทเี่ พิง่ เขามาปฏิบตั งิ านเพื1อ ให ไดรูวิธีการขึ้นรถและลงรถอยางถูก ตองตามวิธีที่บริษัทกําหนดเอาไว สวน หากจะถามวาแลวบริษัทเอามาตรฐาน การขึ้ น รถแบบ 3 จุ ด มาจากไหนว า เปนการขึ้นรถที่ถูกตองแลว คําตอบก็คอื เปนขอกําหนดของผูว า จางหรือบริษัทนํ้ามันนั่นเอง ผูรับเหมา ขนสงมีความจําเปนตองปฏิบัติตามขอ กํ า หนดของผู ว า จ า งอย า งเคร ง ครั ด เพราะเราถือวาหากสิ่งที่ผูวาจางกําหนด เปนสิ่งที่ ไมดีเขาก็คงไมเอามากําหนดให ผูขนสงใช ใหเสียเวลาหรอก การปฏิบัติ งานที่ ง า ยที่ สุ ด คื อ การปฏิ บั ติ ต ามข อ กําหนดของผูวาจาง โดยเฉพาะผูวาจาง ที่ มี ป ระสบการณ น านนั บ ร อ ยป มี ศักยภาพ มีระบบการวิจัยศึกษาตาง ๆ ก็
B&T#255_p14-15_iMac5.indd 15
ยิ่งชวนใหตองปฏิบัติตาม นอกจากจะไดรับคะแนนนิยมแลว ยั ง ได ป ระสบการณ ใ หม ๆ อี ก ด ว ย ประสบการณชวยใหเกิดความรูสามารถ นําไปประกอบอาชีพ นําไปทํามาหากินได อีกนาน “การขึน้ รถลงรถดวยวิธแี บบ 3 จุด ชวยลดความเสี่ยงผูขึ้นลงตกจากรถหรือ หนาคะมําครูดกับพื้นฟนหลอฟนหัก หรือ หากซวยมากก็อาจถึงขั้นสลบหมดสติ” สําหรับอุบัติเหตุคนขับหรือผูขึ้นลง รถตกจากรถก็ขอเรียนวาเปนเหตุการณที่ เคยเกิดขึ้นแลว ผมเคยมีโอกาสไดพูดคุย กับผูที่เคยตกเขาก็เลาบอกวาสมัยกอน โนนไมเคยรูวิธีการขึ้นลงรถแบบ 3 จุดก็ ขึน้ ลงแบบธรรมดาทัว่ ไปวันทีเ่ กิดเหตุนนั้ เขากระโดดลงแลวหนาก็คะมําทิม่ ครูดกับ พื้นสงผลใหฟนหัก การขึ้นลงแบบ 3 จุด นี้ก็มีหลักการงาย ๆ โดยมือซายจับที่ บริเวณมือจับดานซาย และมือขวาก็จับ มือจับดานขวาหรือดานที่ติดกับเสาขาง ดานขวา (รถพวงมาลัยขวา) กาวขาซาย ขึ้นเหยียบบันไดขั้นที่หนึ่ง กาวขาขวาขึ้น เหยียบบันไดขั้นที่สอง กาวขาซายขึ้นไป บนรถแลวกาวขาขวาขึ้นตามไป ขั้นตอน ก็มีประมาณนี้ การขึ้นก็หันหนาขึ้น เรา เรียกวาเอาหนาขึ้น พอลงจากรถก็หัน หลังลง เริ่มเหยียบบันไดขั้นบนสุดดวย ก า วขวา บั น ไดขั้ น ที่ ส องด ว ยก า วซ า ย ปฏิบัติงาย ๆ ไมสลับซับซอนอะไร เพียง แตใหม ๆ อาจจะไมคอยถนัด แตพอเริ่ม ไปไดประมาณสองสามวันก็จะเริ่มถนัด ขึ้นและเกิดความเคยชินนํามาซึ่งความ ปลอดภัยในที่สุด การจะใหคนขับรถทุกคนในองคกร ไดปฏิบตั กิ ารขึน้ รถและลงรถดวยวิธี 3 จุด นั้นก็สามารถเริ่มไดดวยการสื1อสารบอก ใหทุกคนทราบ อาจจะบรรจุเขาในหัวขอ
การอบรม หรืออาจจะทําประกาศสื1อสาร บอก สื1อสารในที่ประชุมตอนเชา ๆ พอ เริ่มทําการรณรงค ไปสักระยะขอมูลก็จะ แพรกระจายทัว่ ถึงทุกคน ในขณะเดียวกัน หัวหนางานทุก ๆ คนก็สามารถที่จะชวย
สงเสริมสนับสนุนใหทุก ๆ คนไดริเริ่มขึ้น รถและลงรถด ว ยวิ ธี 3 จุ ด โดยการ พยายามบอก พยายามเตือนซึ่งเปนการ บอกเปนการเตือนกันดวยความหวังดีนะ ครับ
10/2/2557 BE 10:08 PM
16 BUS&TRUCK • SPECIAL REPORT
ปกษแรก • ตุลาคม 2557
SPECIAL REPORT
พรอมชวยรุกตลาดรถใหญ บริ ษั ท ที ที เ อฟ อิ น เตอร เนชั่นแนล จํากัด ผูจัดงาน BUS & TRUCK จั ด เสวนาธุ ร กิ จ เรื1อ ง “กระตุกยอดตก...รถเพื1อการพาณิชย” เพื1อมองปญหาตลาดรถใหญที่ชะลอ ตัวรวมทั้งเสนอแนวทางแก ไข ทั้งนี้ งาน BUS & TRUCK ’14 พรอมเปน ส ว นหนึ่ ง ที่ ช ว ยกระตุ น ตลาด ด ว ย การนํ า ผู ข ายและผู ซื้ อ รถเพื1อ การ พาณิ ช ย แ ละกิ จ การพิ เ ศษ รวมทั้ ง อุ ป กรณ ที่ เ กี่ ย วเนื1อ งมาพบปะกั น โดยตรง ระหวางวันที่ 6-8 พฤศจิกายน ศกนี้ คุณชาตรี มรรคา กรรมการผูจั ด การ บริ ษั ท ที ที เ อฟ อิ น เตอร เนชั่นแนล จํากัด ผูจัดงาน BUS & TRUCK ’14 กลาววา เปนที่ทราบกัน ดีวา ตั้งแตชวงปลายป 2556 ที่ผานมา สภาพตลาดของวงการรถขนาดใหญ เพื1อการพาณิชยตองตกอยูในสภาวะ ถดถอยตอเนื1องมาจนถึงปจจุบนั ซึง่ เปน ผลมาจากภาวะเศรษฐกิจที่ผันผวนจาก ปจจัยแวดลอมทั้งภายในประเทศและ จากสภาพเศรษฐกิจโลก รวมถึงการขาด แรงกระตุนการใชจายที่ชัดเจนเปนรูป ธรรมจากภาครั ฐ ในฐานะผู จั ด งาน แสดงรถเพื1อการพาณิชยและกิจการ พิเศษ งาน BUS & TRUCK ’14 ที่ใน ปนี้จะจัดขึ้นในวันที่ 6-8 พฤศจิกายน 2557 ณ ไบเทค กรุงเทพฯ จึงมีบทบาท ไม น อ ยต อ ภารกิ จ สนั บ สนุ น การขั บ เคลื1อนธุรกิจวงการรถขนาดใหญ ดวย งาน BUS & TRUCK ’14 คือพื้นที่ที่ให ผู ผ ลิ ต และผู ข ายได ม าพบปะกั บ ผู ประกอบการที่เปนผูซื้อหลัก ๆ ของ ธุรกิจ “ดังนั้น ในภาวะที่ตลาดการซื้อ ขายรถใหญอยูในชวงขาลงเชนนี้ จึง เกิ ด แนวคิ ด ในการมีสวนรวมกระตุน ตลาดโดยจัดใหมกี ารเสวนาธุรกิจ BUS & TRUCK Forum เรื1อง “กระตุกยอด ตก...รถเพื1อการพาณิชย” นีข้ นึ้ โดยเปน เวที ที่ ใ ห ผู ข ายและผู ซื้ อ ได ร ว มแลก เปลี่ยนความคิดเห็นกัน ถึงมุมมอง ทางการตลาดในภาวะปจจุบนั และแนว โนมการปรับตัวเปลีย่ นแปลงของตลาด ในชวงไตรมาสสุดทายของปนี้ ตอเนื1อง ไปจนถึงป 2558” การเปดเสวนาในงาน BUS & TRUCK Forum รับเกียรติจากคุณวิชัย จิราธิยตุ ผูอ าํ นวยการสถาบันยานยนต แสดงปาฐกถาพิเศษ เรื1อง ‘โอกาสของ ประเทศไทยในการเปนฐานการผลิต รถเพื1อการพาณิชย’ ผลงานวิจัยทาง วิ ช าการชิ้ น สํ า คั ญ ต อ การยกระดั บ อุตสาหกรรมของประเทศ ที่มาสรุป ภาพรวมของอุตสาหกรรมยานยนตรวม
B&T#255_p16_iMac5.indd 16
ถึงแนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมดาน นี้ในอนาคต พรอมทั้งการเตรียมรับการ เปดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนดวย ตามดวยเสวนาในหัวขอ “กระตุก ยอดตก...รถเพื1อการพาณิชย” ซึ่งไดรับ เกี ย รติ จากคุ ณ ยู เจี ย รยื น ยงพงศ ประธานสหพันธการขนสงทางบกแหง ประเทศไทย ดร.วสุเชษฐ โสภณเสถียร นายกสมาคมผูป ระกอบการรถขนสงทัว่ ไทย คุณศุภวุฒิ จิรมนัสนาคร กรรมการ ผูจัดการ บริษัท เมอรเซเดส-เบนซ ลีสซิ่ง (ประเทศไทย) จํากัด และคุณ สุขสมเกียรติ เสือกลิ่นศักดิ์ กรรมการ ผูจัดการ บริษัท เอสเอสเค กรุป เซลส แอนด เซอรวิส จํากัด ซึ่งบุคลเหลานี้ ถือเปนตัวแทนผูประกอบการในวงการ ธุรกิจ ทั้งที่เปนผูผลิต ผูจําหนาย ผู ให บริการขนสงโดยสาร และผูทรงคุณวุฒิ หนวยงานทีเ่ กีย่ วของ มารวมแลกเปลีย่ น ความคิดเห็นถึงตลาดรถใหญทซ่ี บเซาอัน เนื1องมาจากสภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัว รวมถึงโครงการใหญ ๆ ของทางภาค รัฐก็ยังไมเปนรูปธรรมที่ชัดเจนอีก หลายโครงการ จึงสงผลใหธรุ กิจดาน การขนสงสินคา ธุรกิจบริการรถทัวร ธุรกิจจําหนายรถใหญ รวมถึงธุรกิจ สินเชื1อตางชะลอตัวตามไปดวย ทวา ในไตรมาสสุดทายของป 57 ตลาด ธุรกิจรถเพื1อการพาณิชยจะมีแนวโนม
ทีด่ ขี นึ้ หลายฝายหวังวาโครงการกอสราง ตาง ๆ ของภาครัฐจะเริมดําเนินการ ทําใหมกี ารซือ้ ขายรถใหญเพื1อใชใน งานมากขึ้น นอกจากนี้ ภายในงานยั ง มี ก า ร เ ผ ย โ ฉ ม ผ ลิ ต ภั ณ ฑ จ า ก ผู ประกอบการรถเพื1อการพาณิชยที่ เตรียมเขารวมงาน BUS & TRUCK ’14 มารวมโชวเรียกนํ้ายอยกอนที่ งานจะมี ขึ้ น ในวั น ที่ 6-8 พฤศจิ กายน ศกนี้ อาทิ เบาะรถโดยสารของศรีไทย, GPS Tracking ของบริ ษัท แทร็ค กิ้ง อินไทย, เทคโนโลยีใหความบันเทิงบนรถ บัส และ ระบบ GPS ของไดสตาร เทค, ระบบการจัดการโลจิสติกส จาก ไซแมท เทคโนโลยี, รถบรรทุก ไอวีโก, ฟูโซ รุนโชกุน, รถโคชยูธง และรถติดแกส เครืออําไพกรุป สามารถพบกับงาน BUS & TRUCK ’14 ซึ่งจะจัดขึ้นใน วันที่ 6-8 พฤศจิกายน 2557 ณ ไบเทค กรุงเทพฯ
10/2/2557 BE 10:11 PM
R1_B&T#252_p05_iMac5.pdf
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
1
8/16/2557 BE
1:01 AM
18 BUS&TRUCK • ASSOCIATION NEWS
ปกษแรก • ตุลาคม 2557
คบหาสมาคม สหพันธการขนสงทางบก แหงประเทศไทย
คุณยู เจียรยืนยงพงศ ประธานสหพั น ธ ก าร ขนสงทางบกแหง ประเทศไทย เปดเผยวา ดวยรัฐบาลชุดประยุทธ 1 จะทําการ ปรับราคากาซ NGV ลิตรละ 1 บาท และราคา นํา้ มันดีเซล มี ราคาขายไม เกิ น ลิ ต รละ 32 บาท ตั้ ง แต เ ดื อ น ตุ ล า ค ม เปนตนไปนั้น หากปรั บ ให เ ป น ภ า ษี สรรพสามิต ทางสหพันธฯก็เห็นดวย เปนอยางยิ่ง เพราะจะไดนํามาพัฒนา ประเทศตอไป แตหากปรับใหเปนราย ไดของผูผ ลิตก็ตอ งทําการคัดคานอยาง เต็มที่ เพราะถือวาเปนการไมสมเหตุ สมผลเลย จากเมื1อป 55 ทีบ่ รรดารถบรรทุก ทัว่ ประเทศ รถเมลรว ม ขสมก. และรถ แท็กซี่ไดรวมตัวกัน เพื1อคัดคานรัฐบาล ชุด ยิ่ ง ลั ก ษณ ชิ น วั ต ร เปนนายก รัฐมนตรีที่จะใหปรับกาซ NGV จาก 8.50 บาทตอลิตรเปนลิตรละ 14 บาท เนื1องจากทาง ปตท.ที่เปนผูซื้อและ จําหนาย NGV มีตนทุนลิตรละ 14.50 บาทแลว ในทีส่ ดุ ก็ไดขอ สรุปออกมาวา ใหรถบรรทุกใชราคาลิตรละ 10.50 บาท และรถเมลรวมบวกกับรถแท็กซี่ ใชที่ลิตรละ 8.50 บาท โดยใหทาง กระทรวงการคลังเปนผูสนับสนุนใน ส ว นที่ เ หลื อ เพราะเป น รถโดยสาร สาธารณะ พรอมทัง้ มีขอ เสนอใหรฐั บาลชุด
ประยุทธ 1 และ คสช. กอนทีจ่ ะมีนโยบาย ใหกับการขนสงตองปฏิบัติตามนั้นควรที่ จะเรี ย กผู ป ระกอบการขนส ง เข า ไป ปรึกษาหารือกอนเพื1อที่จะไดออกกฎมา ให ต รงกั บ ผู ใ ช ง านและทุ ก ฝ า ยก็ จ ะได ประโยชนสูงสุด ไมใชใหผูที่ ไมไดอยูใน วงการเปนผูห าวิธกี ารควบคุมดูแล เพราะ ประชาชนทั้ ง ประเทศก็ คื อ ผู เ สี ย ผล ประโยชนโดยตรงนั่นเอง สําหรับขอมูลของนํ้ามันดีเซลนั้น ตั้งแตยุคที่คุณอภิสิทธ เวชชาชีวะ เปน นายกรัฐมนตรี ไดออกกฎระเบียบใหมให ราคานํา้ มันดีเซล มีราคาไมเกินลิตรละ 30 บาท โดยลดภาษีสรรพสามิตจากราคา ลิตรละ 5 บาทกวา เหลือเพียงลิตรละ 0.005 บาทเทานั้นทําใหรัฐบาลตองสูญ เสียรายไดมากกวาปละ 3 แสนลานบาท เลยทีเดียว ดานกาซ NGV นั้นในปจจุบันมี ราคาขายอยูที่ลิตร 10.50 บาท ซึ่งทาง ปตท. บอกวาขาดทุน จึงมีปม NGV นอย ซึง่ ไมเพียงพอกับความตองการของตลาด แตในเมื1อทางรัฐบาลมีการปรับราคาเพิม่ ใหก็ตองมีการเพิ่มปมใหมีจํานวนที่เพียง พอกับความตองการของตลาด เพราะใน เมื1อตองใชกาซราคาแพงขึ้นแลว ก็ตอง ทํ า ให ผู ใ ช มี ค วามรู สึ ก ถึ ง ความสมเหตุ สมผลดวย
สมาคมขนสงทางบก แหงประเทศไทย
คุณอภิชาต ไพรรุงเรือง นายกสมาคมขนสงทาง บกแห ง ประเทศไทย เปดเผยวา ในวันที่ 12-13 ธันวาคม 2557 นี้ จะมีการประชุมใหญ สามัญประจําป 2557 โดยในวันที่ 12 ธันวาคม จะเปนการจัดประชุมสมาคม ขนสงทางบกที่มาจากประเทศตาง ๆ ใน GMS คือประเทศตาง ๆ ที่อยูริมแมนํ้า
โขง รวมทั้งประเทศจีนดวย ทั้งนี้ เพื1อจะ ไดมาทํางานประสานกันระหวางขนสง ทางบกของแตละประเทศ เพื1อที่จะได ทําใหขนสงในอาเซียนสามารถพัฒนา เศรษฐกิจในอาเซียนใหเติบโตขึ้นได เมื1อ เปดใชประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC คาดว า จะมี ส มาชิ ก ของแต ล ะ ประเทศมา ประชุ ม รวมกั น ไมนอยกวา 100 ค น ซึ่ ง ท า ง ส ม า ค ม จ ะ รั บ ห น า ที่ ดู แ ล ทั้งหมดให สวน ผูที่ตองการเขา ร วมฟ ง สั มมนา ครั้งนี้ ก็สามารถ ติดตอมาไดที่สหพันธการขนสงทางบก แหงประเทศไทย ที่สมาคมฯ และทาง นิตยสาร BUS & TRUCK ซึ่งจะติดตอ ประสานงานให สวนในวันที่ 13 ธันวาคม 2557 ก็ จะเปนการประชุมใหญสามัญประจําป ของสมาคมโดยจะมีรถใหญคา ยตาง ๆ ที่ ใหการสนับสนุนบรรดาสินคาทีเ่ กีย่ วเนื1อง นําโปรโมชัน่ ตาง ๆ ออกมาใหสมาชิกกวา 500 รายไดเลือกชม รวมทั้งยังมีการ ประชุมใหความรูแกบรรดาสมาชิกเพื1อ พัฒนาธุรกิจขนสงใหกาวหนาขึ้น นอกจากนี้ ทางสมาคมฯซึ่งเปน นิติบุคคลไมหวังผลประโยชน ไดสง คุณ กฤษณ สุริยผล ซึ่งเปนเจาหนาที่ของ สมาคมรวมสมัครเปนสมาชิกสภาปฏิรูป แหงชาติ หรือ สปช. โดยใหรับผิดชอบ ดานพลังงานเพราะมีประสบการณดูแล ดานพลังงานใหกับผูแทนราษฎรมากอน ซึ่งถือเปนผลที่ดีมาก เพราะไดนําผู ใช พลังงานเชื้อเพลิงมารับผิดชอบโดยตรง จึงรูผ ลดีและผลเสียวาตองมีการปรับปรุง
แกไขอยางไรบาง
สมาคมพัฒนาธุรกิจ รถรวมเอกชน
คุ ณ วิ ท ยา เปรมจิ ต ร นายก สมาคมพัฒนาธุรกิจรถรว มเอกชน เปดเผยวา ขณะนี้ทางรัฐบาลชุดใหม ไดประกาศที่จะปรับราคากาซ NGV ขึ้ น เป น ลิ ต ร ละ 1 บาท แน น อนแล ว ซึง่ เปนปญหา ห นั ก ต อ ส ม า ชิ ก สมาคมเป น อยางมาก เพราะแตเดิม นั้ น ก็ ถู ก ร ถ เมล ข อง ขสมก.ที่ บ ริ ก ารฟรี แ ก ผู โดยสารมากถึงวันละ 800 คัน ก็ทําให รายไดลดลงมากถึง 50% อยูแลว ยิ่ง มาเจอกาซ NGV ที่เพิ่มราคาอีก ก็จะ มีภาระหนักมายิ่งขึ้น ดั ง นั้ น จึ ง ไ ด ยื1น เ รื1อ ง ใ ห กั บ รัฐมนตรีกระทรวงคมนาคม ปรับราคา ค า โดยสารใหม ใ ห กั บ รถร ว มพั ด ลม ระยะละ 50 สตางค และรถรวมแอร อีกระยะละ 20 สตางค และรถแอรรว ม ระยะละ 2 บาท แมวาจะไมสมเหตุสม ผลยังขาดทุนอยูก ต็ ามแตกถ็ อื วายังดีที่ ได รั บ การอนุ มั ติ ยั ง สามารถช ว ย ประคองธุรกิจไปได ดวยจํานวนรถรวม ขสมก.มีมาก ถึงกวา 3,700 คัน แตยังไมไดใชงาน อยางเต็มที่เนื1องจากรายไดลดนอยลง ดวยผู โดยสารไดแบงไปขึ้นรถเมลฟรี ใชบริการ MRT BTS แอรพอรต ลิงค รวมถึงยังซื้อรถยนตสวนตัวเพิ่มมาก ขึ้น จนประคองธุรกิจรถรวมแทบไม ไหวแลว
สภาการขนสงทางบก เรงเครื่องเปนสภาขนสงทางบก ดวยความฝนสูงสุดของสหพันธการขนสงทางบกแหงประเทศไทย ที่ มีผูประกอบการขนสงสินคาเปนสมาชิกมากกวา 2 หมื1นราย ตองการให เกิดสภาขนสงทางบกแหงประเทศไทยให ได เพราะจะมีผลประโยชนอยาง มากไมวา จะเปนการเพิม่ จรรยาบรรณใหกบั คนขับรถใหญ การไมกอ ใหเกิด อุบตั เิ หตุบนทองถนน การพัฒนามาตรฐานบริษทั ขนสง ใหผวู า จางไววางใจ และใชงานตอไปในอนาคต แมวาในรัฐบาลหลายสมัยจะใหการสนับสนุนและเห็นดวยในเรื1องการ ตั้งสภาการขนสง แตก็มีอุปสรรคมากมายหลายประการไมวาจะเปนจาก การเมือง หรือเศรษฐกิจ ทําใหสภาการขนสงก็ตองเลื1อนออกไปเรื1อย ๆ ซึ่ง ทางสหพันธฯ ก็ไมยอมหยุดนิ่ง ตองพยายามตอสูไปใหถึงความฝนใหได โดยในป 2558 ทางกรมการขนสงทางบก กระทรวงคมนาคม ก็มีแผนที่ จะทําการศึกษาถึงรายละเอียดของสภาการขนสงทางบกแหงประเทศไทย ซึง่ มองดูแลวเปนเรื1องทีย่ ากมาก เพราะหากตัง้ สภาการขนสงขึน้ มา รายละเอียด
R1_B&T#255_p18-21_iMac5.indd 18
ของรถใหญหลายเรื1อง รวมทั้งผลประโยชนอีกมากมาย ทางสภาขนสงก็จะเปน ผูดูแลเองแทบทั้งหมด แลวงานของกรมการขนสงทางบก ก็ลดนอยลงไปเปน อยางมาก ดังนั้นจึงถือวาเปนเรื1องที่ยากมากที่หนวยงานราชการจะเปนผู สนับสนุน เมื1อมีการจัดตัง้ รัฐบาลชุด ประยุทธ 1 ขึน้ ก็มหี ลายเสนทางทีจ่ ะเขาไปติดตอ เพื1อจะไดจัดตั้งสภาการขนสง แตเมื1อไดสนทนาก็พบวาแตละหนวยงานยังไมมี แผนงานทีแ่ นนอน ไมรวู า จะตองเดินไปแนวทางไหน คงตองใชระยะเวลาอีกระยะ หนึ่ง เพื1อใหทุกอยางลงตัว รัฐมนตรีของแตละกระทรวงไดมีเวลาลงลึก และจะ ไดเขาพบผูที่รับผิดชอบโดยตรง ไมตองเสียเวลาสุมเสี่ยงอีกตอไป มิเชนนัน้ แลวสมาคมขนสงทางบกในอาเซียนก็จะทิง้ หางขนสงของไทยออก ไปเปนอยางมาก อยางคาขนสงของไทยอยูที่กิโลเมตรละ 3 บาทตอ 1 ตัน ใน ขณะที่ สปป. ลาวและกัมพูชา มีอตั ราคาจางอยูท กี่ โิ ลเมตรละ 5 บาทตอตัน เพียง แคนี้ก็เห็นถึงจุดเริ่มตนของความพายแพแลว
10/3/2557 BE 8:41 PM
GOSSIP • BUS&TRUCK 19
ปักษ์แรก • ตุลาคม 2557
ชุมทางขนส่ง สวัสดีครับเพื1อน ๆ นิตยสาร BUS & TRCK ทุกทานมาพบกันใหมเปน ประจําคราวนี้เปนปกษแรกของเดือน ตุลาคม ฉบับที่ 255 หลังจากที่ตอง ทํางานขนสงมาอยางหนักก็จะไดรบั การ ผ อ นคลายอ า นเรื1อ งที่ มี ส าระและไร สาระของวงการขนส ง ไม ว า จะเป น หนวยงานราชการ เอกชน และเพื1อน พ อ งขนส ง ด ว ยกั น เอง ใครทํ า อะไร ที่ ไหนอยางไร มาพบกันไดเลย vvv พูดถึงรัฐบาลชุดประยุทธ 1 เรื1องราวที่เนนมากในขณะนี้ คือ การลา ตั ว อาชญากรที่ ฆ า นั ก ท อ งเที่ ย วชาว อั ง กฤษชายหญิ ง ที่ เ กาะเต า จั ง หวั ด สุราษฏรธานี ตองหาขอสรุปใหเร็วที่สุด เพื1อทําใหการทองเที่ยวกลับฟนคืนมา เศรษฐกิจของชาติจะไดเติบโตขึ้น ทําให เรื1องราวของการขนสงแทบจะไมมี แตก็ แววเขามาวา ทางบอรด ขสมก.ไดเรงทํา เอกสารเพื1อยื1นใหรัฐบาลอนุมัติโครงการ รถเม NGV ใหม 3,183 คัน ออกประมูล กันใหเร็วสุดเทาที่จะเปนไปได โดยไมคิด วาสภาพการจราจรจะยิ่งติดเขาไปอีก v v v กรมการขนส ง ทางบก กระทรวงคมนาคม ก็ไดออกมาเตือนให คนขับรถบรรทุกตองใสใจกับกระจกมอง หลังและมองขางเปนอยางมาก รวมทั้ง ทานั่งของคนขับดวย เพื1อปองกันไมให เหมื1อยลาเมื1อขับขี่ไปนาน ๆ รวมถึงเมื1อ มีเวลาวาง ก็ใหยืนแอนหลัง เพื1อทําให ความเหมื1อยลาหมดไป สามารถขับเดิน หนาตอไปได โดยไมมีอุบัติเหตุ สวนคนขับที่มีลูกอายุ 1 - 5 ขวบ ก็ ไมควรทีน่ าํ ไปนัง่ บนตักขณะขับรถอยูต อ ง จําไวเสมอวา สมองของเด็กนั้นสามารถ บันทึกความจําไดเปนอยางดีการใชเกียร การหมุนพวงมาลัย การล็อกกระจก เปน สิ่งที่เด็ก ๆ สามารถทําได ยิ่งเมื1ออยูคน เดียวแลวหากเกิดซนทําตามที่พอเคย ทําใหดอู บุ ตั เิ หตุกส็ ามารถเกิดขึน้ ไดอยาง งายดายเรียกวาไดไมคุมเสีย และในชวงหนาฝนนีย้ างขอบประก็ ถือเปนสิ่งสําคัญ ตองเช็คดูวายางหมด อายุหรือยัง หากออนเกินไปหรือมีรอย แตกก็ ต อ งรี บ เปลี่ ย นใหม ทั น ที เ พราะ อากาศและละอองฝนก็สามารถเขามาใน ตัวรถซึ่งเปนสาเหตุที่ทําใหเกิดอุบัติเหตุ ไดเหมือนกัน ตองปองกันไวดีกวาแก vvv ในวันแถลงขาวของ งาน BUS & TRUCK ’14 คุณยู เจียรยืนยงพงศ ประธานสหพันธการขนสงทางบกแหง ประเทศไทย ไดเปนวิทยากรในสัมมนา “กระตุกยอดตก รถเชิงพาณิชย” ก็ได ใหความเห็นวากอนที่รัฐบาลชุดประยุทธ 1จะประกาศอะไรออกมาที่ เ กี่ ย วกั บ การขนสง ก็นาที่จะเรียกผูที่อยูในวงการ ไปทําการประชุมดวย เพื1อที่จะไดรูผลดี ผลเสียกอนทีจ่ ะประกาศใช สวนตอนทาย ก็ไดอวยพรใหงาน BUS & TRUCK ’14 ประสบความสําเร็จและก็แฝงรอยยิม้ ไวที่
B&T#255_p18-21_iMac5.indd 19
มุมปากรูนะคิดอะไรอยู
ขบ.ร่วมกับ บริดจสโตนเซลส์ อบรมความรู้ ให้ผู้ขอใบอนุญาตขับรถยนต์
คุ ณ เนตรพิ ศ สุ ว รรณพุ ม หั ว หน า ฝ า ยอบรมและทดสอบ สํ า นั ก งานขนส ง กรุงเทพมหานครพืน้ ที่ 5 เปนประธานเปดโครงการอบรมเสริมความรูใหแกผขู อรับใบอนุญาต ขับรถยนต ซึ่งกรมการขนสงทางบกรวมกับ บริษัท บริดจสโตนเซลส (ประเทศไทย) จํากัด เพื1อใหความรูเ กีย่ วกับกฎจราจรมารยาทในการใชรถใชถนนและการขับรถอยางปลอดภัย ภาย ใตเกณฑการทดสอบใบอนุญาตขับรถใหม ในวันหยุดราชการ (เสาร- อาทิตย) ซึ่งปจจุบันมีผู ผานการอบรมทั้งสวนกลางและสวนภูมิภาค จํานวน 50,000 กวาราย
สวน ดร.วสุเชษฐ โสภณเสถียร นายกสมาคมผูประกอบการรถ ขนสงทั่วไทย ก็ไดบอกวาอนาคตของรถ ทัวร 30 นั้นจะโตตามเมกะโปรเจคตาง ๆ ที่ทางรัฐบาลไดวางไวยิ่งมีสถานที่ทอง เที่ยวมากเทาไหร ยิ่งเศรษฐกิจโต โตอีก นักทองเที่ยวชาวตางชาติก็จะยิ่งเขามา เที่ยวและพักผอน กลุมรถทัวรก็จะมีงาน เพิม่ มากขึน้ พรอมทัง้ ยังบอกวางาน BUS & TRUCK ’14 เปนงานแสดงรถเพื1อการ พาณิช ยแ ละและกิ จ การพิ เ ศษของแท เพราะหากไมดจี ริงแลว คงจะจัดมาไดไม ถึง 11 ครั้งแน vvv
สถาบันยานยนต์ รับมาตรฐาน มอก.17020:2012 รายแรกของไทย”
สถาบันยานยนต ไดรับมอบใบรับรองระบบงานหนวยตรวจตามมาตรฐาน มอก. 17020 เวอรชนั่ 2012 (ISO/IEC 17020 Version 2012) จากสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรม (มอก.) ซึ่งในป 2553 สถาบันยานยนต ไดรับอนุมัติการรับรองระบบงานหนวยตรวจการทํา ผลิตภัณฑ จากสํานักงานคณะกรรมการแหงชาติวา ดวยการรับรองระบบงาน สํานักงานมาตรฐาน ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม ตามมาตรฐาน ISO/IEC 17020 เวอรชั่น 1998 มากอนหนานี้
คาเฟ่อเมซอน มอบโชคท่องป่าอเมซอน ฉลองครบ 12 ปี
คุณสรัญ รังคสิริ ประธานเจาหนาที่ปฏิบัติการกลุมธุรกิจปโตรเลียมขั้นปลาย บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) จับรางวัลจากแคมเปญ “Amazing Amazon มหัศจรรยแดนแซมบา.. ทองปาอเมซอน” เนื1องในโอกาสที่ ปตท. ไดเปดดําเนินการรานคาเฟอเมซอนครบ 12 ป และ ขอบคุณผูบ ริโภคทีส่ นับสนุนคาเฟอเมซอน โดยมีรางวัลคือทริปทองปาอเมซอน ประเทศบราซิล 6 รางวัล รางวัลละ 2 ที่นั่ง และรางวัลอื1น ๆ รวมมูลคากวา 4.2 ลานบาท ประกาศรายชื1อผู ไดรบั รางวัลทาง www.cafe-amazon.com และ www.facebook.com/cafeamazonbyptt
vvv เฮี ย ดอน หรื อ คุ ณ สุ ข สมเกี ย รติ เสื อ กลิ่ น ศั ก ดิ์ บอสใหญ ข อง เอสเอสเค กรุป ผูขายรถใหญ ไอวีโก ได บอกโปรโมชั่นในงาน BUS & TRUCK ’14 วาคนซื้อมีแตไดกับได ราคารุนท็อป สุด คือเครื1องยนตดีเซล 380 แรงมา มี ราคาแค 3 ลานบาทและจะไมปรับเพิ่ม ในชวง 3 ป มีการรับประกันให 2 ปเต็ม ไมจํากัดระยะทาง พรอมทั้งยังเปลี่ยน ถายนํ้ามันเครือ1 งใหฟรีอีก ไมเชื1อลองไป
“ขับเป็น..ขับปลอดภัย กับสื่อสากล” เสริมทักษะการขับขี่ลดอุบัติเหตุ
คุณชไมพร ปภัสรพงษ ผูอํานวยการ โครงการ “ขับเปน..ขับปลอดภัย กับสื1อสากล” เดินหนาสานตอความตัง้ ใจทีจ่ ะปลูกฝงทักษะการขับรถทีถ่ กู ตอง ปลอดภัยใหกบั นิสติ นักศึกษา ที่มีอายุตั้งแต 18 ปขึ้นไป เพื1อชวยลดความเสี่ยงของการเกิดอุบัติเหตุใหลดนอยลง และในป นี้โครงการไดรบั ความรวมมือจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ เล็งเห็น ความสําคัญของการเสริมทักษะการขับขี่ที่ปลอดภัย
10/2/2557 BE 10:28 PM
20 BUS&TRUCK • GOSSIP ดูไดที่งาน จะพบของจริง ขาวลาสุดไดมกี ารทดสอบความสิน้ เปลืองนํา้ มันของรถใหญ ไอวีโก ทีใ่ ชเสน ทางสายอีสานเปนหลักเครื1องยนตดีเซล 380 แรงมา บรรทุกสินคานํ้าหนัก 50.5 ตันพบวาเมื1อใชนํ้ามันไป 1 ลิตร สามารถ วิ่งไดสูงสุดถึง 3.80 กิโลเมตร นี้คือคํา ประกาศออกมาอยางไมเปนทางการ คาด วาอีกไมนานจะมีคาํ ทาใหกลุม ลูกคาไดนาํ ไปทดสอบเพื1อพิสูจนความเปนจริง
คนสุดทายของการสัมมนาคือ คุ ณ ศุ ภ วุ ฒิ จิ ร มนั ส นาคร MD ของ เมอรซเิ ดส - เบนซ ลีสซิง่ กลาววา ไดเขา มาเปดบริษทั ในชวงปตม ยํากุง พอดี คือป 2540 ไมมีงานทําตองอยูวาง ๆ ถึง 3 ป จึ ง จะฟ น คื น มาทํ า ธุ ร กิ จ ได อี ก ครั้ ง การ ปลอยสินเชื1อทั้งหมด มีมากกวา 2 หมื1น ล า นบาทเป น กลุ ม รถใหญ เ พี ย ง 5% เทานั้น แตก็เผลอพูดออกมาวา ตนป 2558 จะมีรถหัวลากเบนซเขามาเปด ตลาด จึงถูกนักขาวหลายเลมถามความ จริงในเรื1องนี้ก็ตองดูวาตนปหนาจะเปน จริงอยางที่พูดไวหรือเปลา vvv เฮี ย เอ หรื อ คุ ณ ธนภั ท ร อินทรวิพันธ รองประธานของคายฟูโซ ทั้ง ๆ ที่อยากจะมารวมในงานแถลงขาว เพราะเปนผูรวมแสดงดวยแตก็ติดที่ผู บริหารของ เบนซ เยอรมนี ไดขอเขาพบ เปนการดวนเพราะมีแผนการที่จะขยาย ตลาด เพราะคายเบนซถือหุนในคายฟูโซ กวา 90% จึงสามารถที่จะมีความเห็นใน การทํางานรวมกันได จึงฝากคําขอโทษมา ใหกับสื1อมวลชนฉบับตาง ๆ ดวย vvv มีขาวมาจากฝายบริหารของ บริษัท ตันจง อินเตอรเนชั่นเนล จํากัด นับแตนี้ตอไปรถใหญในคายจะออกงาน โชวตัวพรอมกัน 3 ยี่หอคือยี่หอ ฟูโซ โฟตอน และ MAN เพื1อเปนการประกาศ ใหทราบพรอมกันวา ทังหมดอยูในเครือ ตันจง ทํางานประสานสามัคคีกนั โดยงาน แรกก็คือ งาน BUS & TRUCK ’14 หาก ใครตองการเห็นวาเครือตันจงยิ่งใหญ ขนาดไหนก็สามารถไปชมไดในงาน BUS & TRUCK ’14 ระหวางวันที่ 6 - 8 vvv
B&T#255_p18-21_iMac5.indd 20
ปักษ์แรก • ตุลาคม 2557 พฤศจิกายนนี้ ที่ ไบเทค กรุงเทพฯ
vvv ดานคุณภูกิจ เศรษฐบัณทัต กรรมการผูจัดการ บริษัท กิจเศรษฐี อะไหลยนต จํากัด ดีลเลอร รายใหญของ คายฟูโซไดมารวมในงานแถลงขาวงาน BUS & TRUCK ’14 บอกวา อยากจะ นําตัวถังรถบรรทุกสีแสบ ๆ มาอวดโฉม ในงาน BUS & TRUCK ’14 เพื1อแสดง ใหเห็นวาอูต อ รถของตัวเองมีคณ ุ ภาพแค ไหน แต ติ ด ป ญ หาตรงที่ มี ก ฎหมาย ควบคุมดูแล เลยทําไมไดตอ งขอโทษดวย และถือวาเปนดีลเลอรของคายฟูโซ เพียงบริษทั เดียวทีม่ อี ตู อ ตัวถังรถบรรทุก ดวย ลูกคาจึงสามารถสั่งเปน one stop service สั่งเครื1องยนต แชสซีส และระบุ ขนาดของตัวถังรถบรรทุกมาไดพรอม สรรพ นอกจากนีย้ งั สามารถทําประกันภัย ภาคสมัครใจกับวิรยิ ะประกันภัยไดอกี รวม ทัง้ ยังไดเผยวิธขี ายทีเ่ ด็ดมากใหฟง อีก คือ มีลูกคาไดซื้อเครื1องยนตและแชสซีสของ ยีห่ อ อื1นโทรศัพทมาใหตอ ตัวถังรถบรรทุก ให ก็ปฏิเสธแบบไมมเี ยื1อใยหากไมใชยหี่ อ ฟูโซจะไมทาํ ให แลวในทีส่ ดุ ลูกคารายนัน้ ก็ไมซอื้ เครื1องยนตและแชสซีของยีห่ อ นัน้ เปลี่ ย นมาซื้ อ ยี่ ห อ ฟู โ ซ แ ทนเพี ย งเพื1อ ตองการตัวถังทีม่ คี ณ ุ ภาพ เทานัน้ นีแ่ หละ คือ การขายที่เด็ดมาก ก อ นที่ จ ะเดิ น ทางกลั บ บ า นที่ สุพรรณบุรนี นั้ ก็ไดนาํ ลูกสาวมาแนะนําตัว พรอมบอกวาในอนาคตอันใกลนี้จะให ลูกสาวทั้งสองคนมาชวยบริหารงานตอ เพราะจากประสบการณท่ีฝากฝงไว ให ตั้งแตวัยเด็กไดเพิ่มพูนมาให ไดเรื1อยๆ และจากผลงานที่ผานมาสามารถชวย หลายงานใหประสบความสําเร็จไดดี จึง มั่นใจวาลูกไมจะไมหลนไกลตนแน vvv ตองแปลกใจเปนอยางมาก เมื1อเจอพี่เชิด หรือคุณบุญเชิด ปญญาใส ผูจัดการสวนพัฒนาเครือขายสถานี ฝายกลยุทธและพัฒนาธุรกิจ ของปตท. เพราะในงานแถลงขาว BUS & TRUCK ’14 ทางปตท.ไมไดเขารวมในงาน BUS & TRUCK’ 14 ดวยแตทราบวาคุณ สุขสมเกียรติ เสือกลิ่นศักดิ์ บอสใหญ
ของคายไอวีโก ไดเปนฝายเชิญเขามาดู งานและอีกใจหนึ่งคือตองมาพบทีมขาว BUS & TRUCK เพราะสนิทกันมาก สวน เรื1องการเปนคอลัมนนสิ ตเขียนขาวใหนนั้ ตองรอไปอีกระยะหนึ่ง ใหรัฐบาลชุดใหม ปรั บ โครงสร า งราคาเชื้ อ เพลิ ง ให เรียบรอยกอน จึงจะเขียนรายงานได อยางลงตัว รออีกไมนาน vvv ขาวฝากมาจากคายนํ้ามัน บางจาก เมื1อเติมนํ้ามันเชื้อเพลิงหรือ นํ้ า มั น เครื1อ งบางจากท า นจะเป น ส ว น หนึ่งที่ชวยบริจาคเงิน 30 ลานบาทใหกับ สภากาชาติไทย เพื1อนําไปซื้อรถตูทํางาน นอกสถานทีแ่ ละอุปกรณเครื1องมือตาง ๆ ซึ่ ง จ ะ ห ม ด วั น ทํ า บุ ญ ใ น วั น ที่ 2 8 กุมภาพันธ 2558 นี่เทานั้น vvv สําหรับอาจารยกิจ ที่เขียน ศาสตรตัวเลขพัฒนาการขนสง คอลัมน พักรถไดบน ใหฟง วา ไดเขียนมาเกือบ 10 ฉบับแลวแตยังไมเห็นคนในวงการขนสง ไดตอบกลับมาทัง้ ทางอีเมลและสื1อตาง ๆ ที่ให ไป จึงรูสึกนอยใจ วาคนในวงการรถ ใหญไมสนใจในตัวเลขเลย ดังนั้นจะลอง เขียนใหอกี ประมาณ 3 ฉบับ หากผลตอบ สนองยังเหมือนเดิม ก็ตองขอโบกมือ อําลา เพราะเมื1อคนไมตอ งการแลวไปยื1น อะไรใหก็บอกปฏิเสธ ก็จะกลับมาพบกัน ใหมเมื1อตองการ
มีขอฝากมาจากรานอาหาร ชื1อดังที่สระบุรีใหกับคนขับรถใหญท่ัวไป ไดทราบกันการกินกาแฟและเครื1องดื1มชู กําลังเพื1อใหตาสวางสามารถขับรถไปได อีกยาวไกลนั้นการรีบดื1มเพื1อทําเวลาจะ ไมไดประโยชนอะไรเลยวิธีการดื1มที่ถูก ตองนั้น ตองคอย ๆ ดื1มใหกาแฟ หรือ เครื1องดื1มชูกาํ ลังมาอยูใ ตลน้ิ เพราะใตลนิ้ จะมีเสนประสาทหลักที่จะคอยสารจาก กาแฟหรือเครื1องดื1มชูกําลังสงไปยังเสน ประสาทตาง ๆ ไดอยางรวดเร็ว เมื1อ กาแฟหรือเครื1องดื1มชูกาํ ลังเย็นลงก็ใหดื1ม ลงคอไปตามปกติ ทําเชนนี้ ไปจนหมด แก ว หรื อ หมดขวด ก็ จ ะรู สึ ก สดชื1น กระชุมกระชวย มีสมาธิในการขับรถได ไกลโดยไมเกิดอุบัติเหตุเลย vvv ปดทายกันดวย มิชลิน อาสา พัฒนาชุมชน ป 5 นําพนักงานจิตอาสา รวมกิจกรรมเพื1อสังคมประจําป เพื1อสาน ตอความมุงมั่นในการชวยเหลือชุมชนใน ดานการศึกษาและพัฒนาสิ่งแวดลอม เพื1อสรางชุมชนใหแข็งแกรงและเติบโต อยางยั่งยืน โดยไดปรับปรุงซอมแซม อาคาร หองสมุด และมอบสนามเด็กเลน จากยางไมใชแลว และอุปกรณทางการ ศึ ก ษา คอมพิ ว เตอร และสิ่ ง ของที่ ขาดแคลนใหกบั โรงเรียน และยังไดเสริม สรางความรูเกี่ยวกับการขับขี่ปลอดภัย vvv
ปักษ์แรก
ตุลาคม 2557
สาว NISSAN
10/2/2557 BE 10:28 PM
GOSSIP • BUS&TRUCK
ปกษแรก • ตุลาคม 2557
21
ตงฟง มอเตอรส จัดประชุมผูแทนจําหนายโลวาโต
คุณพิทยา ธนาดํารงศักดิ์ กรรมการผูจัดการ บริษัท ตงฟง มอเตอรส (ประเทศไทย) จํากัด ผูผลิตและจัดจําหนายรถยนตเชิงพาณิชยขนาดเล็กภายใตแบรนดตงฟง และผูแทน จําหนายระบบและชุดอุปกรณติดตั้งแกสยี่หอ “โลวาโต” อยางเปนทางการในประเทศไทย จัด ประชุมแถลงนโยบายธุรกิจแกส “โลวาโต” ขึ้นเปนครั้งแรกแกเครือขายผูแทนจําหนายตงฟง มอเตอรส ที่ไดรบั แตงตัง้ เปนผูแ ทนจําหนายและศูนยตดิ ตัง้ แกสโลวาโตกวา 50 แหงทัว่ ประเทศ พรอมแถลงนโยบาย วิสยั ทัศน โครงสรางของตัวแทนจําหนาย แผนการสงเสริมการตลาด รวม ถึงแผนการฝกอบรมตาง ๆ
ใหกับสมาชิกชุมชน พรอมกับมอบหมวก กันน็อกสําหรับเด็ก เพื1อเปนการรณรงค ใหผูปกครองและนักเรียนตระหนักถึง ความปลอดภัยในการขับขี่ ณ โรงเรียน บ า นมะเกลื อ โกรกกระสั ง จั ง หวั ด นครราชสีมา โครงการ “มิ ช ลิ น อาสาพั ฒ นา ชุมชน” เปนโครงการสงเสริมการพัฒนา สังคมและสิง่ แวดลอมภายในชุมชนอยาง ยั่งยืน โดยมิชลินสนับสนุนใหพนักงาน นํ า เสนอโครงการพั ฒ นาชุ ม ชนที่ เ ป น
ชุมชนบานเกิดของพนักงาน หรือชุมชน ใกลเคียงกับโรงงานของมิชลินทัง้ 5 แหง สําหรับในปนี้ มีโครงการที่ผานการคัด เลือกทั้งหมด 14 โครงการ ซึ่งในระยะ เวลา 5 ปของการเดินหนาโครงการฯ พนั ก งานมิ ช ลิ น ได ล งพื้ น ที่ ช ว ยเหลื อ ชุมชนไปแลวกวา 50 ชุมชน โดยทํางาน รวมกับผูนําชุมชนเพื1อวิเคราะหปญหา และหาแนวทางแก ไข ซึ่งทําใหเกิดการ พัฒนาทีต่ รงกับความตองการของชุมชน อยางแทจริง
นิปปอนเพนตจัดสัมมนาใหความรู
คุณเสกสรรค ตันมธุสรชัย (ที่ 3 จากขวา) ผูจัดการแผนกสื1อสารการตลาด บริษัท เอ็นพี ออโต รีฟนิช จํากัด ในเครือนิปปอนเพนต และ คุณศรีทน เอยรัมย (กลาง) เจาของ รานศรีทนเพนท ตัวแทนจําหนายในจังหวัดอุทัยธานี จัดงานสัมมนา “สีพนรถยนต ไพแลค 4000” ใหความรูเกี่ยวกับผลิตภัณฑสีพนรถยนต ไพแลค 4000 และเทคนิคการพนสีรถยนตใน ทุกขัน้ ตอน พรอมแนะนําวิธกี ารแกไขปญหาหนางานแบบมืออาชีพ แกรา นคาตัวแทนจําหนาย และชางพนสีรถยนต
โครงการลมหายใจไรมลทิน สง 3 เยาวชนไทยไปจีน
โครงการลมหายใจไรมลทินไดรบั เกียรติจากสํานักงานสงเสริมสวัสดิภาพและพิทกั ษเด็ก เยาวชน ผูดอยโอกาส และผูสูงอายุ (สท.) ใหคัดเลือกนอง ๆ ในโครงการ ฯ 3 คนเขารวม โครงการการพัฒนาศักยภาพผูน าํ เยาวชนไทย ณ สาธารณรัฐประชาชนจีน เพื1อสรางแรงบันดาล ใจ กระตุนใหเกิดการพัฒนาศักยภาพดานศิลปวัฒนธรรมระหวางประเทศไทยกับสาธารณรัฐ ประชาชนจีน โครงการ “ลมหายใจไรมลทิน” จะขยายกิจกรรมกระตุนความซื1อสัตยสุจริตไปสู โรงเรียนตางจังหวัดในสังกัด สพฐ. และสังกัดอื1น ๆ
คอนติเนนทอล ออโตโมทีฟ พรอมสําหรับนวัตกรรมยานยนตแหงอนาคต
คอนติเนนทอล ออโตโมทีฟ เตรียมพรอมรับกฎขอบังคับใหมทเ่ี ตรียมประกาศใชในหลาย ประเทศอาเซียนในอนาคตขางหนา จากการวิเคราะหแนวโนมอุตสาหกรรมยานยนตและความ ตองการของลูกคา คอนติเนนทอลไดพัฒนาเทคโนโลยีใหม ๆ ขึ้นมาอยางตอเนื1องเพื1อรองรับ ยนตรกรรมในอนาคต
B&T#255_p18-21_iMac5.indd 21
10/2/2557 BE 10:28 PM
22 BUS&TRUCK • VITSIT
ปกษหลัง • กันยายน 2557
แวะเวียน
เจดับเบิ้ลยูดี รุกตลาด CLMV ขยายคลังสินคาหองเย็น
เจดับเบิ้ลยูดี ยึดผูนําโลจิสติกส ในไทย หวั ง ตลาดกลุ ม ประเทศ “ซีแอลเอ็มวี” โดยไตรมาสที่ 4 ตัง้ เปา เป น ผู นํ า อาเซี ย น มี จุ ด แข็ ง 3 อุตสาหกรรมหลัก อาหารและสินคา หองเย็น เคมีภณ ั ฑยานยนต พรอมจับ มือ อารเอ็มเอกรุป ยักษธุรกิจอาหาร บริ ษั ท เจดั บ เบิ้ ล ยู ดี อิ น โฟ โลจิสติกส จํากัด หรือ JWD ผู ให บริ ก ารด า น In-land Logistics ที่ ครอบคลุมการจัดการคลังสินคาและ ขนสงระดับภาคพืน้ แบบครบวงจร เปด เผยวา บริษทั ฯเห็นโอกาสและศักยภาพ การเติ บ โตของธุ ร กิ จ จากการเป ด ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (เออีซ)ี จึง วางแผนขยายฐานธุ ร กิ จ เข า สู ต ลาด อาเซียน โดยเฟสแรกมีเปาหมายจะรุก เขาไปในกลุมซีแอลเอ็มวี (CLMV : กั ม พู ช า ลาว พม า และเวี ย ดนาม) เนื1องจากมีพรมแดนเชื1อมตอกับไทย ทั้งกลุมซีแอลเอ็มวี มีการเติบโตทาง เศรษฐกิจจากที่ประเทศตาง ๆ เขาไป ลงทุน
ปนี้ขยายคลังสินคา หองเย็นแลว 2 แหง
สํ า ห รั บ แ ผ น ข ย า ย ธุ ร กิ จ ใ น ประเทศ ดวยขอจํากัดทีต่ ลาดโลจิสติกส ไทยเติบโตเต็มที่แลว เจดับเบิ้ลยูดี จึง ปรั บ กลยุ ท ธ ข ยายฐานลู ก ค า ใน อุตสาหกรรมอาหารและสินคาหองเย็น ยานยนต และเคมีภัณฑ จากเดิมที่ให บริการเฉพาะในกลุม โรงงานขนาดใหญ ก็ขยายสูซ พั พลายเชนรานคาปลีก และ ตัวแทนจําหนาย พรอมดวยการขยาย คลังสินคาเขาไปในพื้นที่ธุรกิจสําคัญ อาทิ สุ วิน ทวงศ บางนา ฯลฯ เพื1อ รองรั บ การให บ ริ ก ารและเพิ่ ม ความ สามารถในการแขงขันใหกับลูกคา
B&T#255_p22-23_iMac5.indd 22
ในปนี้ ไดขยายคลังสินคาหอง เย็นไปแลว 2 แหง และลานจอดรถยนต อีก 2 แหง ขณะทีป่ ห นาจะเริม่ ดําเนินการ ในกลุมเคมีภัณฑเพื1อใชเปนศูนยกลาง การกระจายสินคาในประเทศ และมีเขต ปลอดอากรเพื1อ ส ง เสริ ม ให ไ ทยเป น เคมิคอลฮับ ในการขยายตลาดอาเซียน โดยในป 2557 ประมาณการรายไดรวม ของบริษัทฯ ประมาณ 2,900 ลานบาท หรือเติบโต 12% จากปที่ผานมา
วางเปา 1-2 ป โลจิสติกสฮับ
เปาหมายชวง 1-2 ปแรก คือ การ เขาไปเปนโลจิสติกสฮับ ดานคลังจัดเก็บ สินคาในเขตเมืองหลัก อาทิ เวียงจันท ยางกุง และพนมเปญ เพื1อกระจายสินคา ตอภายในประเทศ กอนขยายไปยังเมือง ต า ง ๆ เพือ1 เชื1อ มต อ ถึ ง จี น ตอนใต มาเลเซีย สิงคโปร โดยตั้งเปาสูการเปน ผูนําดานโลจิสติกสของอาเซียนใน 5 ป ลาสุดเจดับเบิ้ลยูดี ไดตกลงความ รวมมือเปนพันธมิตรธุรกิจกับอารเอ็มเอ กรุป (RMA Group) ผูนําธุรกิจอาหาร และยานยนตรายใหญในกลุม ซีแอลเอ็มวี ทัง้ เปนเจาของแฟรนไชสนอาหารอยาง เดอะพิซซาคอมปานี, สเวนเซนส, แดรี่ ควีน ฯลฯ นอกจากนี้บริษัทยังไดรวมทุน กับผูป ระกอบการรายใหญของญีป่ นุ เพื1อ ใหบริการโลจิสติกส ในกลุมซีแอลเอ็มวี เชนกัน โดยจะเริม่ เขาไปใหบริการในพมา ลาว และกัมพูชา ไตรมาส 4 ของปนี้
บริษทั สามารถกาวสูผ นู าํ อาเซียน มาจาก รากฐานธุรกิจแข็งแกรงของเจดับเบิล้ ยูดี จากที่ เ ริ่ ม ต น ธุ ร กิ จ ขนย า ยในไทยและ อินโดจีนมากวา 30 ป ทําใหเขาใจกฎ ระเบียบศุลกากรแตละพื้นที่เปนอยางดี ประกอบกับมีระบบบริหารจัดการ และ สาธารณูปโภคพื้นฐานที่จําเปน รวมทั้ง
คลังและลานพักสินคาตามพืน้ ทีส่ าํ คัญ พรอมดวยเทคโนโลยีที่ทันสมัย ทําให สามารถนําไปตอยอดขยายธุรกิจใน พื้นที่ตาง ๆ ไดอยางรวดเร็ว
ความเขาใจ สรางธุรกิจที่แข็งแกรง
ป จ จั ย ที่ จ ะสนั บ สนุ น ให
10/2/2557 BE 10:42 PM
B&T#255_p22-23_iMac5.indd 23
10/2/2557 BE 10:43 PM
24 BUS&TRUCK • COMPARISON
ปกษแรก • ตุลาคม 2557
เปรียบเทียบรถเดน
แกรง อึด ทน ประหยัด
DECA FVZ ยอดเยี่ยมเรื่องขนสง บริษัท ตรีเพชรอีซูซุเซลส จํากัด กับอีกหนึ่งผลิตภัณฑคุณภาพเยี่ยมรถ บรรทุก อีซซู ุ DECA FVZ บรรทุกความ คุมคาที่เหนือกวา เพิ่มแรงมา เพิ่มพลัง ใหแรงบิดมหาศาล ใหกําลังฉุดกระชาก ลากดี เ ยี่ ย ม เร ง แซงทั น ใจ เพื1อ งาน บรรทุกที่เหนือกวา ทนทานเปนเยี่ยม แตประหยัดนํา้ มันกวาเดิมตามแบบฉบับ อีซูซุ พรอมผานมาตรฐานไอเสีย ยูโร 3 มาตรฐานเพื1อสิ่งแวดลอมระดับสูง
เครื่องยนตคุณภาพลํ้าหนา
เครื1องยนตซเู ปอรคอมมอนเรล รุน 6HK1-TCN VGS Turbo ขนาด 7,790 ซีซี. ใหกําลังสูงสุดถึง 240 แรงมา 177 กิโลวัตต ที่ 2,400 รอบตอนาที ใหแรงบิด สูงถึง 706 นิวตัน-เมตร ที่รอบตํ่าเพียง 1,450 รอบตอนาทีเทานั้น ลํ้าหนาดวย เทคโนโลยีใหมสุด พัฒนาเครื1องยนตให มีขนาดความจุที่เหมาะสม ใหกําลังที่ หลากหลาย เพิ่ ม แรงม า และแรงบิ ด มหาศาล กําลังฉุดลากดีเยี่ยม เรงแซง ทันใจ เพื1องานบรรทุกทีเ่ หนือกวาทนทาน เหนือชั้น แตประหยัดนํ้ามันกวาเดิมตาม แบบฉบับอีซูซุ
ยอดเทคโนโลยีแหงอนาคต
VGS Turbo ยอดเทคโนโลยีเทอรโบ ประสิทธิภาพสูง แบบ Center-mounted Actuator ออกแบบใหมีชิ้นสวยนอยกวา ไมซับซอน พรอมระบบอิเล็กทรอนิกส
R1_B&T#255_p24-25_iMac5.indd 24
ใหม ล า สุ ด ควบคุ ม การปรั บ เปลี่ ย น ทิศทางไอเสียที่ปะทะใบพัดเทอร ไบน ได อยางละเอียดแมนยํากวา จึงรับแรงดัน ไอเสี ย ได เ หมาะสมที่ สุ ด กั บ ทุ ก รอบ ความเร็ ว เครื1อ งยนต ทํ า ให เ ทอร โ บ สามารถสรางแรงอัดอากาศไดสูงสุดทุก รอบการทํางานของเครื1องยนตแมที่รอบ ตํ่า จึงใหแรงบิดสูงกวาทุกรอบความเร็ว เครื1องยนต และใหพลังตอเนือ1 งตั้งแต รอบเครื1องยนตต่ําจนถึงรอบเครื1องยนต สูงชวยรักษาแรงขับเคลื1อนไดตลอดเวลา เครื1องยนตมีประสิทธิภาพดี ทั้งแรงมา และแรงบิด แรงจัด ประหยัดนํ้ามันจริง
ระบบเบรกมั่นใจ
ระบบเบรกลมลวน Full Air Brake พรอมอุปกรณดักจับความชื้น Air Dryer ระบบเบรกสมบูรณแบบ เปนทีย่ อมรับใน วงก าร รถ บรรทุ ก ขน า ดใ หญ ถึ ง ประสิทธิภาพที่เหนือกวา การตอบสนอง ดีกวา เพิ่มความมั่นใจ ใหมทั้งเบรกมือ Parking Brake เพิ่มประสิทธิภาพในการ เบรก ด ว ยการล็ อ กที่ ล อ คู ห น า มั่ น ใจ ปลอดภัยกวา
ปองกันขณะเกิดอุบัติเหตุ
โครงสรางหัวเกงแบบประกบปด (Close Section) และประตูเสริมคาน เหล็ ก คู (Dual Side Door Beam) โครงสรางหัวเกงขนาดใหญแบบขึ้นรูป ชิ้นเดียว แข็งแกรงชวยลดความเสียหาย
FIGHTER FN2524 สุดยอด จากการชนทางดานหนาและดานขาง พรอมเข็มขัดนิรภัย แบบ 3 จุด 2 ที่นั่ง และระบบล็อกอัตโนมัติ
แข็งแกรงทนทานเหนือชั้น
แชสซีสขนาดใหญ ทนทานสูงดวย การพัฒนาระบบและชิ้นสวนตาง ๆ เพื1อ การใชงานทีห่ นักเต็มประสิทธิภาพ รับนํา้ หนักไดดีเยี่ยม เหมาะกับงานบรรทุกโดย แทจริง เพลาหนา-หลัง ขนาดใหญกวา รับนํ้าหนักไดมากกวา ตอบสนองเรือ1 ง การบรรทุ ก พร อ มคลั ต ช ข นาดใหญ ถายทอดกําลังที่ดี เพลาหามแหนบ ซู เปอรทรันเนี่ยน ชาฟท ทนทานแมเจอ งานหนัก
บริษัท ฟูโซ ทรัค (ประเทศไทย) จํากัด ผูผลิตและจัดจําหนายรถบรรทุก เพื1อการพาณิชยหลายแบบหลายขนาด ทีพ่ รอมตอบสนองทุกความตองการของ ทุกธุรกิจ ฟูโซ ยานยนตเพื1อการพาณิชย ชั้นนําของเอเชีย ที่พรอมดวยคุณคา และคุณภาพ ดวยเทคโนโลยีระดับสูง ไ ด รั บ ก า ร อ อ ก แ บ บ แ ล ะ พั ฒ น า ผลิ ต ภั ณ ฑ ใ ห มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพเหนื อ มาตรฐานความปลอดภัย เปนมิตรกับสิง่ แวดลอม ไดรบั การรับรองมาตรฐานการ ปลอยไอเสีย ยูโร 3 จาก กระทรวง อุตสาหกรรม
SPECIFICATION รายละเอียด ลักษณะ เครื่องยนต ขนาดกระบอกสูบ (ซีซี.) แรงมาสูงสุด แรงบิดสูงสุด Nm/rpm กําลังสูงสุด kW/rpm เชื้อเพลิง มาตรฐานไอเสีย รายละเอียดเพ�่มเติม
ISUZU FVZ
FUSO FIGHTER FN รถบรรทุกสิบลอ 6M60-1AT1 6HK1-TCN 7,545 7,790 240 240 686/1,400 706/1,450 177/2,600 177/2,400 DIESEL DIESEL ยูโร 3 ยูโร 3
บร�ษัท ตร�เพชรอีซูซุเซลส จํากัด โทร.0-2966-2111 บร�ษัท ฟ�โซ ทรัค (ประเทศไทย) จํากัด โทร.0-2567-2897-99
10/3/2557 BE 8:54 PM
SHOWROOM • BUS&TRUCK
ปกษแรก • ตุลาคม 2557
25
SHOWROOM
หยัด TATA DAEWOO NOVUS
TATA DAEWOO NOVUS รถหัวลาก 10 ลอ ขับเคลื1อนสองเพลา (6X4) ใชเครื1องยนต ดีเซล ยูโร 3 จากดูซาน (Doosan) ขนาด 10,964 ซีซี. พรอมเทอรโบและอินเตอรคูลเลอร ให แรงมาสูงสุด 420 แรงมา ที่ 1,800 รอบตอนาที แรงบิดสูงสุด 1,834 นิวตันเมตร ที่1,100 รอบ ตอนาที ระบบสงกําลังดวยเกียร ZF 16 สปด จากเยอรมัน พรอมหัวเกง Aerodynamic เปน รถหัวลาก 10 ลอ นําเขาจากประเทศเกาหลีใต ถูกออกแบบโดยใชแนวคิดหลักที่เนนในเรื1อง สมรรถนะ ประสิทธิภาพการขนสงและใชอุปกรณตาง ๆ ที่มาตรฐานระดับสูง ทั้งในดานความ สะดวกสบายและทัศนวิสยั ทีด่ ใี นการขับขี่ ซึง่ เปนทางเลือกทีม่ คี ณ ุ ภาพพรอมเพิม่ ประสิทธิภาพ การขนสงที่มอบผลกําไรสูงสุดแกผูประกอบการ รายละเอียดเพิ่มเติม : บริษัท ทาทา มอเตอรส (ประเทศไทย) จํากัด โทร. 1800-999-900 (โทรศัพทบานโทรฟรี)
4 สุดยอดเรื่องรถบรรทุก ระบบขับคลื่นแรงถึงใจ
FIGHTER FN 2524 มาด ว ย เครื1องยนตอัจฉริยะเทคโนโลยีคอมมอน เรลและระบบเทอร โบอินเตอรคูลเลอร พรอมปฏิวัติความแรง ประหยัดยิ่งขึ้น ด ว ยระบบหั ว ฉี ด จ า ยนํ้ า มั น เชื้ อ เพลิ ง ประสิทธิภาพสูง มาพรอมเครื1องยนต ดีเซล 4 จังหวะ 6 สูบ 6M60 - 1AT1 กําลังสูงสุด 240 แรงมา 177 กิโลวัตต ที่ 2,600 รอบตอนาที แรงบิดสูงสุด 686 นิวตัน-เมตร ที่ 1,400 รอบตอนาที ความ จุกระบอกสูบ 7,545 ซีซ.ี ระบบขับเคลื1อน สปริ ต เตอร เ กี ย ร 10 เกี ย ร เ ดิ น หน า สําหรับรุน FN2524 เปนนวัตกรรมทีช่ ว ย ใหเปลี่ยนเกียร ไดสะดวกมากยิ่งขึ้น และ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการขนส ง และ ประสิทธิภาพการบรรทุก ดวยเครื1องยนต เทคโนโลยีใหมคอมมอนเรลและระบบ อินเตอรคูลเลอร
แกรง ทนทานเปนหนึ่ง
โครงสรางแข็งแรง แกรงทนทาน รับนํา้ หนักไดดดี ว ยแชสซีสเ หล็กกลาหนา พิเศษ พรอมยึดคานขวางดานขางเสริม เพลาหามแหนบ (ทรูเนี่ยนเบส) เพิ่ม ประสิทธิภาพในการรับนํา้ หนักบรรทุกได เปนอยางดีและในตัวของแชสซีส ไมมีหัว หมุดยํ้า งายสะดวกตอการติดตั้งตัวถัง ขยายความยาวของลอใหมากขึ้นทําให สามารถรองรับนํ้าหนักเพิ่มมากขึ้น อีก
R1_B&T#255_p24-25_iMac5.indd 25
YUTONG
ทัง้ เพลากลาง 2 ทอน พรอมแทนยึดศูนย ขจัดปญหาเพลากลางสั่นเหมาะสําหรับ ทุกงานบรรทุกที่ตองการการขับขี่อยาง นุมนวล รองรับการบรรทุกสูงถึง 25 ตัน
ขับขี่ปลอดภัย
รถบรรทุกฟูโซ FN 2524 สราง ความมั่นใจใหแกผูขับขี่ดวยระบบเบรก แบบลมดันไฮโดรลิค พรอมเบรกไอเสีย และอุ ป กรณ ดั ก ความชื้ น ที่ ช ว ยเพิ่ ม ประสิทธิภาพในการเบรก และเพิม่ ความ ปลอดภัยในการขับขี่อยางเหลือเชื1อ
YUTONG COACH ZK6122H9 ขนาด 12 เมตร เปนรถโคชที่เหมาะกับการเดินทางไกล ทองเที่ยวหรือไปสัมมนาเปนอยางมากดวยดีไซนและคุณภาพของหองโดยสารไดถูกออกแบบ เพื1อความสะดวกสบายอยางชัดเจน เครื1องยนตของ YUTONG COACH ZK6122H9 คันนี้มา พรอมเครื1องยนตดีเซล Yuchai YC6L330-30 กําลังเครื1องยนตอยูที่ 243 กิโลวัตต 330 แรงมา ที่ 2,200 รอบตอนาที แรงบิดสูงสุดอยูที่ 1,280 นิวตันเมตร ที่ 1,400 รอบตอนาที เครื1องยนต ดีเซลขนาด 6 สูบ ระบบไดเร็คอินเจ็คชัน่ ระบายความรอนดวยนํา้ เทอรโบอินเตอรคลู เลอร ขนาด กระบอกสูบอยูที่ 8,242 ซีซี มาตรฐานไอเสียยูโร 3 หองโดยสารสามารถรองรับผู โดยสารไดถึง 45+1+1 ที่นั่ง รายละเอียดเพิ่มเติม : บริษัท ไทยคูชัย มอเตอรเซลส จํากัด โทร.0-2376-9123
สายพันธุแทเพื่องานบรรทุก
รูปลักษณทันสมัย โครงสรางของ หัวเกงรูปทรงโคงมนดานหนาและแนว รับลมดานหลัง กันชนหนาพรอมสปอย เลอรขนึ้ รูปเปนชิน้ เดียวกันออกแบบตาม หลักอากาศพลศาสตรเปนทําใหประหยัด นํ้ามันมากขึ้น แข็งแกรงทนทาน มาก ประสิทธิภาพในการควบคุมทิศทางสราง ความมั่นใจในการใชงานทุกลักษณะการ บรรทุกและทุกเสนทางการขนสง ไฟหนา แบบไฮโลเจน ออกแบบใหมฝงในกันชน สองสวางกวางไกลขณะขับขี่ยามคํ่าคืน พรอมไฟตัดหมอก เพิม่ ความปลอดภัยใน สภาพอากาศไมปกติ รถบรรทุก FIGHTER FN ได รั บ รางวั ล การออกแบบดี เ ด น Good Design Award จาก Industrial Promotion Organization จากประเทศ ญี่ปุน
TATA SUPER ACE
TATA SUPER ACE รถการพาณิชยนอย ขนาด 1 ตัน เครื1องยนตดีเซล ขนาด 1,400 ซีซี. แรงบิดสูงสุดที่ 135 นิวตันเมตร ที่รอบตํ่าเพียง 2,500 รอบตอนาที กําลังสูงสุด 70 แรงมา ที่ 4,000 รอบตอนาที พรอมกระบะพื้นเรียบขนาดใหญ 2,630 x 1,460 มม. ตัวกระบะสามารถ เปดไดทั้ง 3 ดาน บรรทุกสินคาไดอยางจุใจและสะดวกสบายในการขนถายสินคาชวยลดเวลา และจํานวนรอบในการขนสง ชวยประหยัดตนทุนในการทําธุรกิจไดมาก เปนคําตอบที่ลงตัวใน การขนสงเพื1อผูประกอบการธุรกิจขนาดกลางและขนาดยอม TATA SUPER ACE สําหรับรุนนี้ ไดเขามาตลาดสักระยะแลวเหมาะกับขนสงสินคาภายในเมืองตามซอยเล็ก ๆ และสามารถนํา ไปดับแปลงเปนรถขายของเคลื1อนทีห่ รือจําหนายนํา้ ชากาแฟหรือประกอบธุรกิจประเภท SMEs เปนหลัก รายละเอียดเพิ่มเติม : บริษัท ทาทา มอเตอรส (ประเทศไทย) จํากัด โทร. 1800-999-900 (โทรศัพทบานโทรฟรี)
10/3/2557 BE 8:55 PM
26 BUS&TRUCK • LOGISTICS FOCUS
ปกษแรก • ตุลาคม 2557 LOGISTICS FOCUS
ขอกําหนดการขนสงทางบก กับประเทศเพื่อนบาน อีกหนึ่งเรื1องที่สําคัญในการเปด ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนทีผ่ ปู ระกอบ การไทยควรจะต อ งมี ค วามรู นั่ น คื อ ความตกลงทางดานการขนสงระหวาง ประเทศ ถือเปนสวนหนึ่งของแผนงาน พัฒนาระบบคมนาคมขนสงภายใตกรอบ ความรวมมือทางดานเศรษฐกิจ เพื1อให ประเทศสมาชิกสามารถเดินทางเชื1อม โยงถึงกันไดอยางสะดวก ซึ่งจะชวยยก ระดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจใหเทา เทียมกัน หากพิจารณากรอบความรวมมือ ทางด า นเศรษฐกิ จ ของภู มิ ภ าคและอนุ ภูมภิ าคของทวีปเอเชียพบวา ประเทศไทย เขาไปรวมเกือบทุกกรอบ อาทิ กรอบ ASEAN, อนุภมู ภิ าคลุม แมนาํ้ โขง (GMS), โครงการพัฒนาเขตเศรษฐกิจสามฝาย อินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทย (IMT-GT), ยุทธศาสตรความรวมมือทางเศรษฐกิจ อิระวดี เจาพระยา แมโขง (ACMECS), ความริเริ่มแหงอาวเบงกอลสําหรับความ รวมมือหลากหลายสาขาทางวิชาการและ เศรษฐกิจ (BIMSTEC) เปนตน เมื1อพิจารณาความคืบหนาของการ ดําเนินงานภายใตกรอบความรวมมือทาง เศรษฐกิจเหลานี้ จะพบวา มีเพียงกรอบ ความตกลงอาเซี ย น และความตกลง GMS ที่มีการเจรจากรอบความรวมมือ ดานการขนสงทางถนนที่คอนขางเปนรูป ธรรม และมีผลกระทบตอผูประกอบการ ขนสงสินคาดวยรถบรรทุกในปจจุบนั และ ในอนาคตอันใกลนี้ โดยความตกลงดานการขนสงทาง ถนนที่อยูในกรอบของอาเซียนจะอยูภาย ใตแผนปฏิบัติการบรูไน (Brunei Action Plan) 2011-2015 ซึง่ ไดครอบคลุมทัง้ การ ขนสงทางถนน ทางรถไฟ ทางอากาศ ทาง นํ้ า และการอํ า นวยความสะดวกด า น การขนสง สวนขอตกลงดานการขนสง ทางถนนที่ สํ า คัญ ที่ อ ยู ใ นกรอบของอนุ ภูมภิ าคลุม แมนาํ้ โขง ไดแก ความตกลงวา
B&T#255_p26-27_Pro2.indd 26
ดวยการขนสงขามพรมแดนในอนุภมู ภิ าคลุม แมนํ้าโขง (Greater Mekong Subregion Cross-Border Transport Agreement- GMS CBTA) โดยต อ ไปในรายงานจะเรี ย กว า “ความตกลง GMS CBTA” ดั ง นั้ น หากพิ จ ารณากรอบความ ตกลงดานการขนสงทีจ่ ะมีผลกระทบตอการ อํ า นวยสะดวกในการขนส ง สิ น ค า ด ว ยรถ บ ร ร ทุ ก ผ า น แ ด น แ ละ ข า ม แ ด น ข อ ง ประเทศไทยกับประเทศเพื1อนบานในอนาคต จะประกอบดวย 4 กรอบหลัก ไดแก กรอบความตกลงอาเซี ย นว า ด ว ย การอํานวยความสะดวกในการขนสงสินคา ผานแดน (ASEAN Framework Agreement on the Facilitation of Goods in Transit: AFAFGIT) เปนความตกลงระดับ ภูมิภาค ซึ่งประกอบดวยประเทศสมาชิกใน อาเซี ย นทั้ ง 10 ประเทศ โดยรั ฐ มนตรี เศรษฐกิจอาเซียนไดรว มลงนามเมื1อวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2541 ณ กรุงฮานอย ประเทศ เวียดนาม และทุกประเทศใหสัตยาบันครบ แล ว โดยมี ผ ลใช บั ง คั บ แล ว เมื1อ วั น ที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2543 เพื1ออํานวยความสะดวก ในการขนสงสินคาผานแดน สนับสนุนการ ดําเนินการของเขตการคาเสรีอาเซียน และ เพิ่ ม ความเป น เอกภาพของเศรษฐกิ จ ใน ภูมิภาคนี้ยิ่งขึ้น โดยการประสานและทําให กฎระเบียบและขอกําหนดเกีย่ วกับการขนสง การคา และศุลกากรเกิดความเรียบงาย ซึ่ง จะกอใหเกิดระบบการขนสงสินคาผานแดน ในอาเซียนที่กอใหเกิดประโยชนแกประเทศ สมาชิก มีประสิทธิภาพ เอกภาพ และความ กลมกลืน กรอบความตกลงอาเซี ย นว า ด ว ย การอํานวยความสะดวกในการขนสงขาม แดน (ASEAN Framework Agreement for the Facilitation of Inter-state Transport: AFAFIST) เปนความตกลง
ระดับภูมภิ าค โดยรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน ไดรวมลงนามเมื1อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2552 ณ กรุงมะนิลา ประเทศฟลิปปนส ปจจุบันมี 4 ประเทศใหสัตยาบันแลว คือ ลาว ไทย เวี ย ดนาม และฟ ลิ ป ป น ส มี วัตถุประสงคเพื1อ • อํานวยความสะดวกใหกับสินคา ข า มแดนระหว า งประเทศและในกลุ ม ประเทศภาคีคูสัญญา เพื1อสนับสนุนใหเกิด เขตการคาเสรีอาเซียน และเพิ่มความเปน เอกภาพของเศรษฐกิจภายในภูมิภาค • ปรั บ ปรุ ง กฎระเบี ย บ เงื1อ นไข การขนสง การคา และศุลกากรใหมีความ สอดคลองกัน เพื1ออํานวยความสะดวกตอ สินคาขามแดน • สนับสนุนการทํางานรวมกันเพื1อให เกิ ด ระบบการขนส ง สิ น ค า ข า มแดนใน อาเซียนที่มีประสิทธิภาพ เอกภาพ และ ความกลมกลืน ซึ่งครอบคลุมทุกประเด็น ของการขนสงขามแดน กรอบความตกลงอาเซี ย นว า ด ว ย การขนสงตอเนื1องหลายรูปแบบ (ASEAN Framework Agreement on Multimodal Transport : AFAMT) วาดวยการ ขนสงตอเนื1องหลายรูปแบบ เริม่ ขึน้ ในป พ.ศ. 2548 โดยมีความคิดวาการขนสงตอเนื1อง หลายรูปแบบระหวางประเทศเปนวิธีการที่ จะขยายการค า ระหว า งประเทศสมาชิ ก อาเซียนดวยกัน และระหวางอาเซียนกับ ประเทศคูค า ภายนอก โดยจําเปนจะตองมีขอ ตกลงรวมกันในการดําเนินการทางสัญญา การรับผิด และใหเกิดความสมดุลระหวางผู ใช บ ริ ก ารและผู ให บ ริ ก ารมี ข อบเขต ครอบคลุมรวมไปถึงผูป ระกอบการขนสงตอ เนื1องหลายรูปแบบและผูที่เกี่ยวของ ความ ตกลงฉบับนี้ รัฐมนตรีดา นการขนสงอาเซียน
ไดลงนามแลวเมื1อวันที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2548 และปจจุบันประเทศสมาชิก อาเซียน 4 ประเทศ ไดใหสัตยาบันความ ตกลงฯ แลว ไดแก ฟลปิ ปนส ไทย กัมพูชา และเวียดนาม ความตกลงวาดวยการขนสงขาม พรมแดนในอนุ ภู มิ ภ าคลุ ม แม นํ้ า โขง (Greater Mekong Subregion CrossBorder Transport Agreement- GMS CBTA) ความรวมมือในอนุภูมิภาคลุม แม นํ้ า โขง (GMS) เป น ความร ว มมื อ ระหวางประเทศในระดับอนุภูมิภาค ซึ่งมี ประเทศสมาชิ ก จํ า นวน 6 ประเทศ ประกอบดวย ประเทศไทย พมา สปป. ลาว กัมพูชา เวียดนาม และจีนตอนใต (มณฑลยูนนานและกวางซี) โดยโครงการ ดังกลาวไดริเริ่มขึ้นตั้งแตป พ.ศ. 2535 และมี ธ นาคารเพื1อ การพั ฒ นาเอเชี ย (Asian Development Bank: ADB) เปน ผูใหการสนับสนุนหลัก มีวัตถุประสงคใน การสงเสริมการขยายตัวทางการคา การ ลงทุนอุตสาหกรรม การเกษตรและการ บริการ เพื1อใหเกิดการจางงานและยก ระดับความเปนอยูของประชาชนในพื้นที่ ใหดีขึ้น สงเสริมและพัฒนาความรวมมือ ทางเทคโนโลยีและการศึกษาระหวางกัน การใช ท รั พ ยากรธรรมชาติ อ ย า งมี ประสิทธิภาพ รวมไปถึงการเพิ่มขีดความ สามารถและโอกาสทางเศรษฐกิจในเวที ทางการคาใหเกิดความพัฒนาในระดับ มหภาค นอกจากนีย้ งั สงเสริมความรวมมือ ระหว า งประเทศในการอํ า นวยความ สะดวกดานการขนสงขามพรมแดนและ สงเสริมการประกอบการขนสงสินคาและ คนโดยสารทางถนน รวมทัง้ การขนสงตอ เนื1องหลายรูปแบบโดยการทําใหกฎหมาย กฎระเบียบ ขั้นตอนและพิธีการทั้งหลาย ทีเ่ กีย่ วกับการขามพรมแดนของประชาชน ยานพาหนะและสินคาทีเ่ กีย่ วกับความรับ ผิดชอบของผูประกอบการขนสงระหวาง ประเทศมีความเรียบงายและเปนไปใน แนวทางเดียวกัน
10/2/14 9:05 PM
MATERIAL HANDLING
รอกโซและรอกสลิงไฟฟา สําหรับการยกนํ้าหนักตั้งแต 0.25 ตัน จนถึง 30 ตัน และใหระยะยกสูงตามความตองการ มีให เลือกแบบความเร็วเดี่ยวและแบบสองความเร็ว รวมทัง้ อุปกรณประเภทรอกวิง่ ชนิดตาง ๆ ผานการ ทดสอบและไดรบั การรับรอง ISO, EEC, EN, FEM, EC, etc. บริษัท เอส. เจ. ยูนิเวอรแซล จํากัด โทร.0-2738-5820-7
B&T#255_p26-27_Pro2.indd 27
ลวดสลิง : STEEL WIRE ROPES เหมาะกับการยกของหนัก อาทิเชน ลวดสลิง สําหรับงานประมง งานกอสรางตาง ๆ ลวดสลิง สําหรับเครน ลิฟทโดยสาร รอกไฟฟา ลวดสลิงทํา หวงหัว-ทาย อุปกรณเพิ่มตามการใชงานทุกรูปแบบ บริษัท เอชเอสที สตีล จํากัด โทร.0-2235-5559
10/2/14 9:05 PM
28 BUS&TRUCK • LOGISTICS NEWS
ปกษแรก • ตุลาคม 2557 LOGISTICS NEWS
ยูพีเอส เปดโลจิสติกสฮับโคราช ใหญสุดในเอเชีย เพิ่มศักยภาพไทย
ยูพีเอส เปดโลจิสติกสฮับแหง ใหม สํ า หรั บ ซี เ กทเทคโนโลยี โ ดย เฉพาะ ที่ อํ า เภอสู ง เนิ น จั ง หวั ด นครราชสีมา เสริมศักยภาพการให บริการโซลูชนั่ ดานโลจิสติกสแบบครบ วงจรใหกับซีเกท ตั้งแตบริการขนสง พั ส ดุ ชิ้ น เล็ ก เฟรท คอนแทรค โลจิ ส ติ ก ส ตลอดจนโซลู ชั่ น ด า น เทคโนโลยีตาง ๆ
คลังสินคาโลจิสติกสแหงนีต้ งั้ อยูต ดิ กับโรงงานของซีเกทในโคราช เปดทําการ ตลอด 24 ชัว่ โมง และเพิ่มศักยภาพใน การจัดเก็บสินคาจากเดิมถึง 100% ฮับ แหงใหมนี้ ไดรบั การออกแบบใหเปนศูนย บริการเบ็ดเสร็จแบบวันสต็อปเซอรวิส สํ า หรั บ ซี เ กท ตลอดจนลู ก ค า และ ซัพพลายเออรของซีเกท โดยติดตัง้ ระบบ จัดการคลังสินคาของยูพเี อสเพื1อใหมนั่ ใจ
ได ว า สายการผลิ ต ของซี เ กทสามารถ ดําเนินการไดอยางมีประสิทธิภาพ นอกเหนือจากในประเทศไทยแลว ป จ จุ บั น ยู พี เ อสยั ง เป ด ให บ ริ ก ารด า น คอนแทรคโลจิสติกสแกซีเกทในประเทศ ตาง ๆ ทั่วเอเชีย โดยมีศูนยกลางการ ดําเนินงานในสิงคโปรและจีน คุ ณ เอ็ ด มั น ด โล กรรมการผู จัดการ ยูพีเอส ประเทศไทย กลาววา “ฮับแหงใหมซึ่งดําเนินการโดยยูพีเอสนี้ เปนสิ่งยืนยันใหเห็นถึงความมุงมั่นใน ระยะยาวของเราที่จะสงเสริมการเติบโต ทางธุรกิจภายในภูมิภาคเอเชีย ในฐานะ ที่เปนผูสงเสริมธุรกิจเชิงกลยุทธ ใหกับ ลูกคา เราจะนําเอาความเชี่ยวชาญและ เครือขายโลจิสติกสระดับโลกมาใชอยาง ตอเนื1องเพื1อชวยใหบริษัทตาง ๆ อยาง ซีเกท ประสบความสําเร็จจากการดําเนิน ธุรกิจในตลาดโลก” คุ ณ เพี ย งฤทั ย ศิ ว ารั ต น รอง ประธานฝายปฏิบัติการโรงงานโคราช บริษัท ซีเกท เทคโนโลยี (ประเทศไทย)
จํากัด กลาววา “ความยืดหยุนนับเปน ปจจัยสําคัญของธุรกิจฮารดดิสก ไดรฟ ซึ่ ง ความต อ งการของตลาดมี ก าร เปลีย่ นแปลงอยางรวดเร็ว ฮับแหงใหม นี้จะสงเสริมธุรกิจของเราโดยลดขั้น ตอนซับซอนในการเคลื1อนยายสินคาใน ตลาดโลกและเสริมสรางซัพพลายเชน ใหเกิดประสิทธิภาพอยางเต็มที่เพื1อ ตอบสนองความตองการของลูกคาทั่ว โลกของเรา” “ยูพีเอสมีการลงทุนเพื1อพัฒนา ค ว า ม เ ชี่ ย ว ช า ญ อ ย า ง ลึ ก ซึ้ ง ใ น อุตสาหกรรมตาง ๆ เพื1อใหเขาใจถึงจุด ที่ เ ป น อุ ป สรรคและป ญ หาในการ ดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ ของลู ก ค า เพื1อ ที่ จ ะ สามารถหาโซลูชนั่ เฉพาะสําหรับแตละ ธุรกิจไดอยางมีประสิทธิภาพและครบ วงจร จากการดําเนินธุรกิจในเมืองไทย มากวา 25 ป ยูพีเอสยังคงมุงมั่นสง เสริมลูกคาทุกรายของเราดวยโซลูชั่น ที่ ช ว ยสร า งยอดขายได อ ย า งมี ประสิทธิภาพ” คุณโล กลาว
ทีเอ็นที ฉลองผลประกอบการครึ่งปทะลุเปา
คุณอลัน มิว กรรมการผูจัดการใหญ และคณะผูบริหารระดับสูง บริษัท ทีเอ็นที เอ็กซเพรส เวิลด ไวด (ประเทศไทย) จํากัด นําทีมพนักงานทํากิจกรรมฉลองความสําเร็จผล ประกอบการครึ่งแรกของป 2557 เพื1อกระชับความสัมพันธในหมูพนักงานของแผนกตาง ๆ และยังประสบความสําเร็จดานการปฏิบตั งิ านของบุคลากรในการมอบบริการทีด่ ี ทําใหลกู คาไว วางใจกลับมาใชบริการอยางตอเนื1อง
ดีเอชแอล ประเทศไทย เดินหนาพัฒนาชุมชน
ดีเอชแอล ประเทศไทย ในกลุมบริษัทดอยช โพสต ดีเอชแอล นําพนักงานกวา 500 ชีวิตจาก ดีเอชแอล เอกซเพรส ดีเอชแอล ซัพพลายเชน และดีเอชแอล โกลเบิล ฟอรเวิรดดิ้ง รวมตัวกันทํากิจกรรมเพื1อสังคมในวันดีเอชแอลอาสา ป 2557 แสดงถึงความมุงมั่นในการ ตอบแทนกลับสูสังคมและปลูกฝงจิตสํานึกความเปนจิตอาสาในหมูพนักงาน
R1_B&T#255_p28-29_Pro2.indd 28
10/3/14 8:48 PM
B&T#255_p28-29_Pro2.indd 29
10/2/14 9:14 PM
30 BUS&TRUCK • STATISTIC UPDATE
ปกษแรก • ตุลาคม 2557
STATISTIC UPDATE
จํานวนใบอนุญาตผูประกอบการขนสง ณ วันที่ 31 สิงหาคม 2557 จํานวนใบอนุญาตผูป ระกอบการขนสงและจํานวนผูป ระกอบการขนสง ทัง้ รถโดยสารและรถบรรทุก ประจําเดือนสิงหาคม 2557 เริ่มขยับตัวเลขขึ้นมา เรื1อย ๆ แลว ซึ่งถือเปนสัญญาณที่ดีตอวงการรถใหญและระบบโลจิสติกส ไทย มากทีเดียว กลุม สถิตกิ ารขนสง กองแผนงาน กรมการขนสงทางบก ไดรายงานสถิตจิ าํ นวน ใบอนุญาตประกอบการขนสง ณ วันที่ 31 สิงหาคม 2557 ไวแลว โดยเริม่ กันทีป่ ระเภทขนสงรถโดยสาร มีจาํ นวนใบอนุญาตผูป ระกอบการขนสง รวมทั้งสิ้น จํานวน 30,889 ฉบับ จากเดือนกรกฎาคม อยูที่ จํานวน 27,997 ฉบับ หรือเพิ่มขึ้น จํานวน 2,892 ฉบับ และมีจํานวนใบอนุญาตผูประกอบการขนสง รวม ทั้งสิ้น จํานวน 27,885 ราย จากเดือนกรกฎาคม อยูที่ จํานวน 24,979 ราย หรือ เพิ่มขึ้น 2,906 ราย โดยแบงเปนรถโดยสารประจําทาง จํานวนใบอนุญาตผูป ระกอบการขนสง รวม ทั้งสิ้น จํานวน 5,902 ฉบับ จากเดือนกรกฎาคม อยูที่ จํานวน 5,924 ฉบับ หรือลด ลง 22 ฉบับ ดานจํานวนผูประกอบการขนสง มีจํานวน 2,930 ราย จากเดือน กรกฎาคม อยูที่ จํานวน 2,938 ราย หรือลดลง 8 ราย ในสวนของรถโดยสารไมประจําทาง จํานวนใบอนุญาตผูประกอบการขนสง รวมทั้งสิ้น จํานวน 18,532 ฉบับ จากเดือนกรกฎาคม อยูที่ จํานวน 15,619 ฉบับ หรือเพิ่มขึ้น 2,913 ฉบับ ดานจํานวนผูประกอบการขนสง มีจํานวน 18,532 ราย จากเดือนกรกฎาคม อยูที่ จํานวน 15,619 ราย หรือเพิ่มขึ้น 2,913 ราย
ดานรถโดยสารสวนบุคคล จํานวนใบอนุญาตผูประกอบการขนสง รวมทั้งสิ้น จํานวน 6,394 ฉบับ จากเดือนกรกฎาคม อยูที่ จํานวน 6,393 ฉบับ หรือเพิ่มขึ้น 1 ฉบับ ดานจํานวนผูประกอบการขนสง มีจํานวน 6,394 ราย จากเดือนกรกฎาคม อยูที่ จํานวน 6,393 ราย หรือเพิ่มขึ้น 1 ราย ทั้งนี้ ยังมีรถขนาดเล็ก จํานวนใบอนุญาตผูประกอบการขนสง รวมทั้งสิ้น จํานวน 61 ฉบับ ยังคงที่เชนเดียวกับเดือนกรกฎาคม โดยมีจํานวนผูประกอบ การขนสง จํานวน 29 ราย ยังคงที่เชนเดียวกับเดือนกรกฎาคม สวนประเภทขนสงรถบรรทุกนัน้ มีจาํ นวนใบอนุญาตผูป ระกอบการขนสง รวม ทั้งสิ้น จํานวน 383,260 ฉบับ จากเดือนกรกฎาคม อยูที่ จํานวน 383,089 ฉบับ หรือเพิ่มขึ้น 186 ฉบับ ดานจํานวนผูประกอบการขนสง จํานวน 383,260 ราย จาก เดือนกรกฎาคม อยูที่ จํานวน 383,089 ราย หรือเพิ่มขึ้น 186 ราย แบงเปนรถบรรทุกไมประจําทาง จํานวนใบอนุญาตผูป ระกอบการขนสง รวม ทั้งสิ้น จํานวน 17,491 ฉบับ จากเดือนกรกฎาคม อยูที่ จํานวน 17,409 ฉบับ หรือ เพิ่มขึ้น 82 ฉบับ ดานจํานวนผูประกอบการขนสง รวมทั้งสิ้น จํานวน 17,491 ราย จากเดือนกรกฎาคม อยูที่ จํานวน 17,409 ราย หรือเพิ่มขึ้น 82 ราย สวนรถบรรทุกสวนบุคคล จํานวนใบอนุญาตผูประกอบการขนสง รวมทั้งสิ้น จํานวน 365,769 ฉบับ จากเดือนกรกฎาคม อยูที่ จํานวน 365,680 ฉบับ หรือเพิ่ม ขึ้น 89 ฉบับ ดานจํานวนผูประกอบการขนสง รวมทั้งสิ้น จํานวน 365,769 ราย จาก เดือนกรกฎาคม อยูที่ จํานวน 365,680 ราย หรือเพิ่มขึ้น 89 ราย
สถิติจํานวนใบอนุญาตประกอบการขนสง (สะสม) ณ วันที่ 31 สิงหาคม 2557
ลักษณะรถ รถโดยสาร ประจําทาง • หมวด 1 • หมวด 2 • หมวด 3 • หมวด 4 • ประจําทางระหวางประเทศ รวม ไมประจําทาง • รถโดยสารไมประจําทาง • ไมประจําทางระหวางประเทศ รวม สวนบุคคล • รถโดยสารสวนบุคคล • สวนบุคคลระหวางประเทศ รวม โดยรถขนาดเล็ก รวมรถโดยสารทั้งสิ้น
รถบรรทุก ไมประจําทาง • ไมประจําทาง • ไมประจําทางระหวางประเทศ รวม สวนบุคคล • สวนบุคคล • สวนบุคคลระหวางประเทศ รวม รวมรถบรรทุกทั้งสิ้น
B&T#255_p30-31_Pro2.indd 30
จํานวนใบอนุญาต จํานวนใบอนุญาต ผูประกอบการ ผูประกอบการ ขนสง (ราย) ขนสง (ฉบับ) 2,951 595 203 528 1,611 14 5,902
1,465 193 1 316 954 1 2,930
18,266 266 18,532
18,266 266 18,532
6,390 4 6,394 61 30,889
6,390 4 6,394 29 27,885
16,598 893 17,491
16,598 893 17,491
365,618 151 365,769 383,260
364,618 151 365,769 383,260
จํานวนใบอนุญาตผูประกอบการขนสงรถโดยสาร
จํานวนใบอนุญาตผูประกอบการขนสงรถบรรทุก
10/2/14 9:20 PM
B&T#255_p30-31_Pro2.indd 31
10/2/14 9:20 PM
32 BUS&TRUCK • BUS & TRUVK AEC 32 ยุทธศาสตรการพัฒนาจังหวัดดาน เศรษฐกิจการคาชายแดนและยุทธศาสตร กลุ ม จั ง หวั ด ภาคตะวั น ออก 4 จั ง หวั ด ไดแก ชลบุรี ระยอง จันทบุรี และตราด กําหนดให จ.ตราด เปนประตูสูอินโดจีน ตั้ ง แต ป 2547 เป น ต น มา ส ง ผลให เศรษฐกิจเติบโตอยางตอเนื1องทุกป เห็น ไดจากการขยายเวลาการเปด-ปดดาน คลองใหญ จ.ตลาด จาก 7.00-20.00 น. เปน 6.00-22.00 น. ทุกวัน เพื1อสงเสริม การค า และท อ งเที่ ย วชายแดนไทยกัมพูชา และอํานวยความสะดวกในการ สัญจรขามแดน ล า สุ ด สํ า นั ก งานความร ว มมื อ พั ฒ นาเศรษฐกิ จ กั บ ประเทศเพื1อ นบ า น (องคการมหาชน) (สพพ.) หรือ NEDA ได จัดกิจกรรม Press Tour บนเสนทางถนน หมายเลข 48 ชวงเกาะกง-สะแรอัมเปล (R48) ราชอาณาจักรกัมพูชา ระหวางวันที่ 25-27 กันยายน 2557 ที่ผานมา เพื1อเดิน ทางเยี่ยมชมเสนทางถนนสาย R48 และ ทาเรือนํ้าลึกสีหนุวิลล ซึ่งเปนศูนยกลาง การขนสงและกระจายสินคาที่สําคัญของ กัมพูชา “เนวิน สินสิริ” ผูอํานวยการ สพพ. เล า ให ฟ ง ว า ถนนหมายเลข 48 ช ว ง เกาะกง-สะแรอัมเบิล (R48) เปนโครงการ ทีท่ าง สพพ. ดําเนินการใหความชวยเหลือ ทางการเงินแกราชอาณาจักรกัมพูชา โดย เปนการใหความชวยเหลือในรูปแบบเงินกู เงื1อนไขผอนปรน ซึ่งกําหนดให ใชสินคา และบริการจากประเทศไทยอยางนอยรอย ละ 50 ของปริมาณทีใ่ ชทงั้ หมด มีระยะทาง ประมาณ 151.50 กิโลเมตร วงเงิน 867.80 ลบ. โดยก อ สร า งแล ว เสร็ จ เมื1อ เดื อ น มิถุนายน 2550 ที่ผานมา “จากการสํารวจครัง้ นี้ ถนนบางสวน เริ่ ม ทรุ ด เป น หลุ ม ส ง ผลให ผู ขั บ ขี่ ต อ ง ระมั ด ระวั ง ขณะขั บ รถ และไม ส ามารถ ทําความเร็วไดมากนัก รัฐบาลกัมพูชาจึง อยากใหทางการไทยเขาไปชวยเหลือใน การซอมแซม เพื1อการขนสงและการเดิน ทางจะไดสะดวกเหมือนเดิม ” ทั้งนี้ รัฐบาลกัมพูชาใหความสําคัญ กั บ การพั ฒ นาและปรั บ ปรุ ง ระบบโครง สร า งพื้ น ฐานด า นการคมนาคมของ ประเทศ ซึ่งจะชวยใหระบบเศรษฐกิจของ ประเทศเจริญเติบโต ลดภาวะความยากจน
B&T#255_p32-33_Pro2.indd 32
ปกษแรก • ตุลาคม 2557
BUS & TRUCK AEC
ตราด... ประตูอินโดจีน เชื่อมถนน R48 กัมพูชา ของประชากรและเพิ่มประสิทธิภาพในการ แขงขันของประเทศ เมื1อการกอสรางและ ปรับปรุงโครงการ R48 แลวเสร็จ จะทําให การเดิ น ทางจากจั ง หวั ด ตราดไปยั ง กรุ ง พนมเปญ มีความสะดวกและรวดเร็วมากยิง่ ขึน้ เนื1องจากถนนหมายเลข 48 จะเชื1อมโยง กับถนนหมายเลข 4 ซึง่ เปนเสนทางคมนาคม ระหวางพนมเปญกับกัมโปงโสม ดังนัน้ การ ก อ สร า งเส น ทางที่ ก ล า วจะช ว ยเพิ่ ม ประสิทธิภาพในการจราจร ขนสงสินคา ลด ตนทุนคาขนสงสินคา และสงเสริมการลงทุน ระหวางสองประเทศดวย โดยโครงการ R 48 เริ่มตนที่เกาะกง และสิ้นสุดที่สะแรอัมเบิล เสนทางสายนี้ สามารถเชื1อมโยงเสนทางคมนาคมทางบก ของไทยทางจังหวัดตราดไปสูเมืองหลวง ของกัมพูชา และเชื1อมตอเวียดนามเขาดวย กัน เพื1อเปนการสงเสริมและขยายการคา การลงทุน ตามแนวชายแดนไทย-กัมพูชา ทางทิศตะวันออกเฉียงใต (จังหวัดตราด) ใน การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศกัมพูชา และยังเปนการเกือ้ กูลตอการพัฒนา
ความสัมพันธระหวางไทย-กัมพูชา ในภาพ รวม ซึ่งในอดีตที่ผานมา การเดินทางจาก จังหวัดเกาะกงไปยังกรุงพนมเปญ จะใช เวลาในการเดินทางไมนอยกวา 6 ชั่วโมง เนื1องจากถนนสาย R48 อยูในสภาพที่ทรุด โทรมและสัญจรไปมาไดอยางลําบาก โดย เฉพาะในชวงฤดูฝน นอกจากนี้ ถนนสาย R48 มีแนวเสน ทางผานแมนํ้าถึง 4 สาย และในอดีตก็ไมมี สะพานขามแมนํ้าตองอาศัยแพขนานยนต ทําใหการเดินทางจากเกาะกงไปยังสะแรอัมเบิล เพื1อเดินทางตอไปยังกรุงพนมเปญ
มี อุ ป สรรคและเสี ย เวลาในการเดิ น ทาง หลายชัว่ โมง จากสาเหตุทกี่ ลาวไดสง ผลให ต น ทุ น ค า ขนส ง สิ น ค า และบริ ก ารอยู ใ น อัตราสูง แตอยางไรก็ดี หลังจากที่ ไดมีการ ปรับปรุงถนนสาย R 48 พรอมทั้งกอสราง สะพานขามแมนํ้าทั้ง 4 แหงแลว ไดยน ระยะเวลาการเดินทางจากเกาะกงไปยัง สะแรอัมเบิลเหลือเพียงประมาณ 1 ชัว่ โมง 30 นาทีเทานัน้ ซึง่ ทําใหลดตนทุนคาขนสง สินคาและบริการตาง ๆ ไดเปนจํานวนมาก และรัฐบาลกัมพูชายังสามารถลดตนทุน ทางดานการดูแลรักษาถนนอีกดวย สําหรับผลทางดานความสัมพันธ ระหวางประเทศ การดําเนินโครงการ R48 นอกจากจะส ง เสริ ม และอํ า นวยความ สะดวกทางดานการคาลงทุนแลว ยังจะ เปนการสงเสริมความสัมพันธ ในเชิงการ ทูตระหวางประเทศไทยกับกัมพูชาโดยผาน ช อ งทางการให ค วามช ว ยเหลื อ ในการ ปรับปรุงโครงสรางพืน้ ฐานทีจ่ าํ เปนตอการ พัฒนาประเทศ ทั้งนี้ การใหความชวย เหลือทางการเงินแกราชอาณาจักรกัมพูชา ในรูปแบบเงินกูเงื1อนไขผอนปรน สําหรับ โครงการ R48 และโครงการอื1น ๆ ใน อนาคต จะเปนการกระชับความสัมพันธ ระหวางสองประเทศใหมีความแนนแฟน มากยิง่ ขึน้ โดยจะเปนการเสริมสรางความ เขาใจและความรูสึกที่ดีใหแกประชาชน ของราชอาณาจั ก รกั ม พู ช า โดยเฉพาะ ประชาชนชาวกัมพูชาทีอ่ าศัยอยูใ นจังหวัด เกาะกงและตามแนวถนนสาย R48 ใหมี ทัศนคติในทางที่ดีตอประเทศไทยมากขึ้น ทั้ ง นี้ การดํ า เนิ น นโยบายต า ง ประเทศกับประเทศเพื1อนบานของรัฐบาล ไทยจะตองดําเนินการอยางตอเนื1อง ดังนัน้ การให ค วามช ว ยเหลื อ ทางการเงิ น แก ประเทศเพื1อนบานในรูปแบบเงินกูเ งื1อนไข ผอนปรน จึงเปนแนวทางหนึ่งที่จะสราง ความไว ใจระหวางสองประเทศ พรอมทั้ง ยกระดับความสัมพันธใหมคี วามแนนแฟน ตอกันมากกวาในอดีตที่ผานมา
10/2/14 9:26 PM
SET UP • BUS&TRUCK
ปกษแรก • ตุลาคม 2557
33
ติดตั้งลําเลียง
SWG Non Real Time Tracking ดาวเทียมบอกพิกัดเสนทางเดินรถ ยอนหลังได และกล อ ง SWR เป น อุ ป กรณ ติดตามและบันทึกทัง้ ขอมูลการใชงานรถ และพฤติกรรมการขับขี่ของพนักงานขับ รถไดอยางถูกตองและแมนยํา สงขอมูล
บริิษัท ดีี.ทีี.ซีี เอ็็นเตอร ไพรส จํากัด ผูผลิตและออกแบบอุปกรณ อิเล็กทรอนิกสตาง ๆ สําหรับใช ใน การควบคุ ม และตรวจสอบยาน พาหนะ ใหกับหนวยงานภาครัฐและ เอกชนทั่วประเทศ เปดตัวผลิตภัณฑ SWG Non Real Time Tracking อุปกรณติดตามรถสุดไฮเทค SWG Non Real Time Tracking เปนอุปกรณสําหรับบันทึก การใช ง านยานพาหนะโดยใช ร ะบบ ดาวเที ย มบอกพิ กั ด GPS มี ค วาม สามารถรายงานเสนทางการเดินรถ, เวลาที่มีการใชงาน, หยุดหรือจอดรถ, ความเร็วขณะใชงานรถ, ตําแหนงของ รถในชวงเวลาตาง ๆ ฯลฯ ไดอยาง แมนยํา ขอมูลที่ ไดจากการดําเนินงาน ขนส ง จะถู ก บั น ทึ ก ไว ใ น SD Card ทุก ๆ วินาที พรอมกับนําขอมูลเหลา นั้ น ม า ป ร ะ ม ว ล ผ ล ด ว ย ร ะ บ บ คอมพิวเตอร แปลงขอมูลการทํางาน ออกมาเป น ภาษาไทย สร า งความ สะดวกสบายใหกับผูประกอบการใน การตรวจสอบลักษณะและพฤติกรรม การขับรถของพนักงานอยางละเอียด จนสามารถนําผลดังกลาวไปปรับปรุง การขนสงใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น
B&T#255_p32-33_Pro2.indd 33
ที่ ไ ด ส ามารถนํ า มาประมวลผลบน Application(SWR-Monitor) และ Web Application ทําใหสามารถดู สถานะปจจุบนั และดูขอ มูลประวัตกิ าร ใชงานยอนหลังได
บริษัท ดี.ที.ซี. เอ็นเตอร ไพรส ยัง มีสนิ คาสุดไฮเทคอีกเปนจํานวนมาก อาทิ กลอง SWR พรอมชุดอานใบขับขี่ ไดผา น การรับรองจากกรมการขนสงทางบก ให สามารถติดตั้งรถขนสงวัตถุอันตรายได ตามกฎหมาย กลอง SWM เปนอุปกรณติดตาม และบั น ทึ ก ทั้ ง ข อ มู ล ที่ ถู ก ออกแบบมา สํ า หรั บ เครื1อ งจั ก รกล เช น รถตั ก ดิ น เครื1องเจนเนอรเรเตอร โดยมีระบบวัด อุณหภูมิรอนและเย็น พรอมทั้งระบบวัด ชัว่ โมงการทํางานของเครื1องจักรอยูใ นตัว กลอง SWI เปนอุปกรณติดตาม และบันทึกทัง้ ขอมูลการใชงานรถไดอยาง ละเอียดถูกตองและแมนยํา โดยขอมูลที่ ไ ด ส า ม า ร ถ นํ า ม า ป ร ะ ม ว ล ผ ล บ น Application และ Web Application ทํ า ให ส ามารถดู ส ถานะป จ จุ บั น และดู ขอมูลประวัติการใชงานยอนหลังได กลอง SWE เปนอุปกรณติดตาม และบันทึกทั้งขอมูลการใชงานรถและ พฤติกรรมการขับขีข่ องพนักงานขับรถได อยางละเอียดถูกตองและแมนยําทําให ขอมูลที่ ไดสามารถนํามาประมวลผลบน Application(SWR-Monitor) และ Web Application ทํ า ให ส ามารถดู ส ถานะ ปจจุบันและดูขอมูลประวัติการใชงาน
10/2/14 9:26 PM
34 BUS&TRUCK • LOGISTICS ดร.สิทธิชัย ฝรั่งทอง อาจารยประจําคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
ปกษแรก • ตุลาคม 2557 LOGISTICS
ความทาทายโลจิสติกสและซัพพลายเชน ความทาทายของผูป ระกอบการ ธุ ร กิ จ โลจิ ส ติ ก ส แ ละซั พ พลายเชน กําลังเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงและ บริบทหลายสิ่งหลายอยางที่ โถมเขา มาในป 2558 (2015) จนทําใหหลาย คนไมสามารถมองขามประเด็นการ เพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน การ ลดตนทุน การลดคาใชจาย และการ เพิ่ ม ความสามารถทางการแขง ขั น เนื1องจากโจทยของธุรกิจเริ่มเปลี่ยน ไป ดังนัน้ ผูบ ริหารและผูป ระกอบการ ธุรกิจโลจิสติกสและซัพพลายเชนตอง พยายามหาทางตอบโจทยดังกลาว ดวยหลากหลายวิธี ซึง่ ผูเ ขียนคิดวา ผู บริหารจะตองเรงเตรียมตัว ปรับวิธี การรับมือ เปลี่ยนมุมมองและวิธีคิด เชิงกลยุทธรองรับกับความทาทาย 6 ประการ ดังนี้ 1. ดานเทคโนโลยี ผูบริหารและ ผูป ระกอบการจะตองปรับเปลีย่ นวิธคี ดิ ว า เทคโนโลยี ไ ม มี ค วามสํ า คั ญ ทิ้ ง ไป โดยจะตองยอมลงทุนกับการวางระบบ Internal Logistics และการใช เทคโนโลยีในลักษณะ Full Automation ทั้งซอฟทแวรและฮารดแวร ไมวาจะ เ ป น เ ท ค โ น โ ล ยี R F I D W M S (Warehouse Management System) Transportation Management System (TMS) เปนตน ถึงแมนวาจะ เปนการลงทุนที่สูง แตก็จะทําใหระบบ การทํางานของธุรกิจเกิดประสิทธิภาพ และประสิ ท ธิ ผ ลมี ค วามเป น ระบบ ระเบี ย บ สร า งความน า เชื1อ ถื อ และ ความไววางใจใหกบั ลูกคาไดอีกดวย 2. สภาพแวดลอมทีเ่ ปลีย่ นแปลง ไปอยางรวดเร็ว โดยตองวิเคราะหจุด แข็ ง จุ ด อ อ น หาโอกาส และขจั ด อุปสรรค (SWOT Analysis) ซึ่งหลาย คนคิดวาเปนเรื1องที่ ไรสาระ นาเบื1อ หรือคิดวาปกติก็ทําอยูแลว แตจะตอง มองออกไปใหไกลมากกวาเดิมทัง้ ในแง ของคู แ ข ง ขั น โอกาสทางการตลาด ความเป น ไปได ใ นการลงทุ น ทั้ ง ใน ประเทศไทยและกลุม อาเซียนดวย โดย นําหลัก SWOT นํามาจับคูเ ปน TOWS Matrix เชน วางกรอบการแขงขันโดย อาจจะเลือกจุดที่ธุรกิจมีความโดดเดน มีความถนัดผนวกกับโอกาสทีเ่ อือ้ ใหกบั ธุรกิจ เปนตน 3. พันธมิตรหรือคูคาเพื1อรวมทุน ทั้งในประเทศและตางประเทศ หรือใน กลุม อาเซียน ซึง่ ในอนาคตการทําธุรกิจ อยางโดดเดี่ยวจะไมสามารถแขงขันได ในระยะยาว ดังนัน้ การมีพนั ธมิตรหรือ คูคาที่ มีความเข าใจกันในทุกดานจะ ทําใหสินคาหรือบริการสามารถขนสง
B&T#255_p34-35_Pro2.indd 34
สินคาหรือกระจายสินคาจากประเทศไทย ไปยังประเทศตาง ๆ และประเทศเพื1อน บาน ปจจุบันจะเห็นไดวาลูกคาประเทศ เพื1อนบานสวนใหญนิยมและเชื1อมั่นใจ ผลิตภัณฑที่มาจากประเทศไทย แตขอ ควรระวังคือ การขยายจุดกระจายสินคา ไปในประเทศกลุ ม อาเซี ย นจะต อ งดู โครงสรางพืน้ ฐานของประเทศนัน้ ๆ ดวย
เนื1องจากกระแสโลกสีเขียวทีเ่ รียกรองใหห ผูป ระกอบการผลิตสินคาและบริการตอง แสดงความรับผิดชอบตอสังคมและสิ่ง ดู แ ลกิ จ การที่ ดี (Organization แวดลอม รวมทั้งพัฒนาใหอุตสาหกรรม Governance) ซึ่งโปรงใสตรวจสอบได
4. การขาดแคลนบุ ค ลากรด า น โลจิ ส ติ ก ส ทั้ ง ระดั บ ผู บ ริ ห ารที่ มี ค วาม เชี่ยวชาญ ระดับปฏิบัติการที่มีทักษะใน การทํางานและการสื1อสารภาษาอังกฤษ อยูในระดับนอย ซึ่งสถาบันการศึกษาที่ เปนแหลงผลิตกําลังคนเขาสูระบบธุรกิจ ยั ง ไม ส ามารถผลิ ต ได ต รงตามความ ต อ งการของภาคธุ ร กิ จ มากนั ก ไม ว า เปนการกําหนดสาขาในแตละกิจกรรม โลจิสติกส เชน สาขาการจัดการคลัง สินคา สาขาการจัดการการขนสง สาขา พาณิชยนาวี และการเดินเรือ เปนตน ดัง นั้น ธุรกิจจึงตองมีการวางแผนพัฒนา กําลังคนที่เปนระบบมากขึ้น โดยใหมี ความสมดุ ล ทั้ ง ในด า นปริ ม าณและ คุณภาพ รวมถึงตองเรงสรางทักษะและ องคความรูใหมใหแกบคุ ลากรทุกระดับใน แตละสวนงาน อีกทัง้ ควรจะทําความรวม มื อ กั บ สถาบั น การศึ ก ษาในการจั ด ทํ า โครงการ “สหกิ จ ศึ ก ษา” โดยให ท าง สถาบันการศึกษาจัดสงนักศึกษาในสาขา ดังกลาวเขาสูระบบไดตลอดทั้งป 5. การกําหนดวิสัยทัศนและวาง นโยบายทางดาน Green Logistics and Supply Chain ทีช่ ดั เจนและเปนรูปธรรม
ตลอดซัพพลายเชนเปนสีเขียว เชน การ เพิ่มประสิทธิภาพการใชพลังงาน เพิ่ม ปริมาณการใชพลังงานทดแทน ลดการ ใชทรัพยากร การซื้อวัตถุดิบจากแหลงที่ ไมทําลายสิ่งแวดลอม เปนตน นอกจาก นี้ การดํา เนิ น ธุ ร กิ จ โดยปราศจากการ คอรัปชั่นที่ครอบคลุมบทบาทคุณธรรม และจริยธรรมเมื1อธุรกิจกาวเขาสูเ วทีการ แข ง ขั น ในระดั บ โลก ธุ ร กิ จ จะต อ งมี คุณภาพ มาตรฐาน และจริยธรรมในการ ดําเนินธุรกิจระดับดังกลาวดวย 6. การแสดงความรับผิดชอบของ ธุ ร กิ จ ต อ สั ง คม (Corporate Social Responsibility : CSR) กับซัพพลายเออร/ ผู ส ง มอบ ซึ่ ง ในอนาคตจะกลายเป น มาตรฐาน ISO 26000 โดยผูป ระกอบการ และผูบริหารจะตองกําหนดวางนโยบาย กลยุ ท ธ ดั ง กล า วบนพื้ น ฐานการให พนั ก งานมี ส ว นร ว มในการกํ า หนด นโยบายการแสดงความรับผิดชอบตอ สังคม สิ่งแวดลอม และความตองการ ของชุมชนใหเปนทิศทางเดียวกับความ ตองการของธุรกิจ และเอือ้ ประโยชนตอ การสรางตราสินคาของบริษัทดวย ซึ่งมี องคประกอบ 7 อยางคือ 1. มีการกํากับ
2. คํานึงถึงสิทธิมนุษยชน (Human Right) 3. ข อ ปฏิ บั ติ ด า นแรงงาน (Labor Practices) 4. การดู แ ล สิ่งแวดลอม (Environment) 5. การ ดํ า เนิ น ธุ ร กิ จ อย า งเป น ธรรม (Fair Operating Practices) 6. ใสใจตอผู บริโภค (Consumer Issue) และ 7. การ แ บ ง ป น สู สั ง ค ม แ ล ะ ชุ ม ช น (Contribution to the Community and Society) อยางไรก็ดี จากประเด็นความ ท า ทายดั ง กล า ว สิ่ ง ที่ น า เป น ห ว ง สําหรับผูประกอบการขนาดเล็กและ ขนาดกลาง (SME’s) มากทีส่ ดุ ก็คอื เขา ถึงและการลงทุนในระบบเทคโนโลยี ซึ่งจะกลายเปนแนวโนมของการจัด การโลจิ ส ติ ก ส แ ละซั พ พลายเชนใน อนาคตที่ จ ะสร า งความสามารถ ทางการแขงขันใหกับ SME’s สามารถ แขงขันกับธุรกิจขนาดใหญและธุรกิจ ขามชาติได ซึ่งจะเขามาเพิ่มมากขึ้น หลังจากการเปดเสรีทางการคาและ การเปดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดยนําเทคโนโลยีตาง ๆ มาใชเพื1อการ ลดตนทุนและคาใชจาย
10/2/14 9:32 PM
B&T#255_p34-35_Pro2.indd 35
10/2/14 9:32 PM
36 BUS&TRUCK • TEST & REPORT
ปกษแรก • ตุลาคม 2557 TEST & REPORT
มิชลิน สงยาง 2 รุน เอาใจขาออฟโรด
เมื1อไมนานมานี้ มิชลิน เอาใจ สิ ง ห อ อฟโรดเป ด ตั ว นวั ต กรรมยาง ออฟโรดสมรรถนะสูงภายใตแบรนด เปนที่รูจักกันอยาง “บีเอฟ กูดริช” 2 รุนลาสุด ที่ปรับปรุงใหมเพื1อการใช งานในไทยและประเทศแถบเอเชีย แปซิฟก สําหรับยางทั้ง 2 รุน คือ “ออล เทอรเรน ที/เอ เคโอ” (All Terrain T/A KO) และ “มัด เทอรเรน ที/เอ เคเอ็มทู” (Mud Terrain T/A KM2) โดยยางออฟโรด รุน ปรับปรุงใหม นีจ้ ะมาพรอมเทคโนโลยีเสริมสมรรถนะ เพื1อการใชงานสมบุกสมบันทามกลาง สภาพถนน อุณหภูมิ และความชืน้ ของ ประเทศไทยและประเทศในแถบเอเชีย แปซิฟก โดยเฉพาะ เจาะกลุม ลูกคายาง ออฟโรดที่มีสัดสวนถึง 1 ใน 3 ของ
B&T#255_p36-37_Pro2.indd 36
ตลาดยาง SUV สําหรับการเปดตัวในครัง้ นี้ เ พื1อ สร า งทางเลื อ กใหม สํ า หรั บ ยาง ออฟโรดสมรรถนะสูงใหกบั ลูกคาหลัก คือ นักขับออฟโรดมืออาชีพ ผูที่ชื1นชอบการ ทองเทีย่ วแบบสมบุกสมบัน และผูท ชี่ อบ การแต ง รถสไตล อ อฟโรด โดยยาง ออฟโรด ทั้ง 2 รุน มาพรอมเทคโนโลยี เชิ ง โครงสร า งที่ ลํ้ า หน า ซึ่ ง ผ า นการ ทดสอบแลววาปลอดภัยและเหมาะสม กับสภาพการใชงานในประเทศไทย รวม ทั้งมีสมรรถนะและรูปลักษณที่ โดดเดน สามารถตอบโจทยค วามต อ งการของ ลูกคากลุมเปาหมายไดอยางสมบูรณ ออล เทอรเรน ที/เอ เคโอ (All Terrain T/A KO) เหมาะกับการใชงาน ในทุกสภาพถนน ทั้งบนเสนทางสมบุก สมบันแบบออฟโรดและบนถนนทั่วไป โดยมีคุณสมบัติเดนดังนี้
• โครงสรางยางแบบ 3 ชั้น หรือ “ไทรการด®” (TriGuard®) ชวยเพิม่ ความ ทนทานใหกับแกมยาง ทั้งยังเสริมความ แข็งแกรงใหกับหนายางเพื1อการควบคุม รถที่แมนยําทั้งทางตรงและทางโคง • หนาสัมผัสขนาดใหญทอี่ อกแบบ ใหสามารถกระจายแรงกดไดกวางและ สมํ่าเสมอยิ่งขึ้น จึงชวยลดปญหาการสึก ไไมสมํ่าเสมอและเพิ่มประสิทธิภาพการ ควบคุมตัวรถไดดีขึ้น สงผลใหมีอายุการ ใชงานเพิ่มขึ้นถึง 12% • เทคโนโลยี “โชลเดอร ล็อก™” (ShoulderLock™) ซึ่งเพิ่มศักยภาพใน การยึดเกาะทุกสภาพถนน โดยเฉพาะ ถนนเปยก มีความกวางของรองดอกยาง เพิม่ ขึน้ 40% ทัง้ ยังใชสตู รเนือ้ ยางแบบคู ที่ ไมเพียงชวยควบคุมอุณหภูมิบริเวณ ไหลยางใหคงที่จึงเพิ่มความทนทานให กับยาง แตยังใหประสิทธิภาพสูงสุดใน การยึดเกาะและควบคุมรถบนถนนที่มี ความทุรกันดาร เชน ดิน โคลน หรือบน พื้นทราย มั ด เทอร เรน ที / เอ เคเอ็ ม ทู (Mud Terrain T/A KM2) เนนการใช งานหนักแบบขับตะลุยบุกปาฝาดงบน เสนทางหฤโหดและทุรกันดารโดยเฉพาะ มีคุณสมบัติเดนดังนี้ • เทคโนโลยี “ครอวเลอร-เทค” (Krawler-Tek) ผสานโครงสรางยางแบบ TriGuard® ซึ่งชวยเพิ่มความแข็งแกรง
ใหแกมยางอีก 33% จากรุนเดิม โดยมี การเพิ่มขนาดของเสนใยโครงสราง แกมยางและเพิม่ เนือ้ ยางทีบ่ ริเวณไหล ยางส ว นเชื1อ มต อ จากดอกยางเพื1อ ปกปองและลดความเสียหายทีอ่ าจเกิด ขึน้ เมื1อใชงานออฟโรด นอกจากนีย้ งั ใช สูตรเนื้อยางที่ทนตอการหลุดรอนและ บาดตําเพื1อใหพรอมลุยทุกสถานการณ • เทคโนโลยี “ลิเนียร เฟล็กซ โซน” (Linear Flex Zone) ที่ชวยเพิ่ม ศักยภาพในการยึดเกาะทุกสภาพถนน โดยเฉพาะอยางยิ่งเมื1อใชงานดวยลม ออนขณะขับขี่แบบออฟโรด ดวยการ ออกแบบใหมรี อ งแนวขวางขนาดใหญ บนดอกยางชวยเพิ่มความสามารถใน การโอบรัดสิ่งกีดขวางและสลัดโคลน ออกจากดอกยาง • ลายดอกยางรูปลักษณดุดัน แบบ “ครอว เ ลอร ” (Krawler) ที่ ออกแบบมาเพื1อการใชงานหนักและ สมบุกสมบันอยางแทจริง ผสานความ สามารถในการสลัดโคลนออกจากดอก ยางไดงาย ทัง้ นีย้ งั เพิม่ ชิน้ สวนโพลีเอสเตอร (Polyester) เขามาเปนพิเศษเพื1อเพิ่ม สมรรถนะรองรับสภาพถนน อุณหภูมิ ความชืน้ และลักษณะการใชงานออฟโรดในประเทศไทยอีกดวยเชื1อวายาง ทัง้ รุน นีค้ งถูกใจบรรดาสิงหออฟโรดใน ประเทศไทยไมใชนอย
10/2/14 9:42 PM
SAVE..ENERGY
SAVE..YOURSELF
s ¨| Ó ¬ .. B&T#255_p36-37_Pro2.indd 37
¬ ¤ 10/2/14 9:42 PM
38 BUS&TRUCK • COVERS’ STORY ตอจากหนา 1
ปกษแรก • ตุลาคม 2557
จากปก
BUS & TRUCK ’14 กระตุกยอดตก จุ ใ จและสะดวกสบายในการขนถ า ย สินคา ชวยลดเวลา และจํานวนรอบใน การขนสง ชวยประหยัดตนทุนในการ ทําธุรกิจไดมาก เปนคําตอบที่ลงตัวใน การขนส ง เพื1อ ผู ป ระกอบการธุ ร กิ จ ขนาดกลางและขนาดยอม สวนโปรโมชั่นในงาน BUS & TRUCK ’14 นี้ ทางบริษัทไดเตรียม หมากเด็ดไวมากมาย โดยจะเปดเผย เฉพาะวันที่ 6-8 พ.ย.นี้เทานั้น ซึ่งหาก กลุมลูกคาทานใดพลาดแลวจะเสียใจ
เบนซเตรียมกระตุก ยอดรถบัส-รถตู งาน BUS & TRUCK ’14 ที่จะ มีขึ้นระหวาวันที่ 6 - 8 พฤศจิกายน ศก นี้ ที่ ไบเทค กรุงเทพฯ ถือเปนงานที่ กระตุกยอดตก รถเชิงพาณิชยอยาง แทจริง เพราะจะเปนการระดมรถใหญ แทบทุกยี่หอ อุปกรณตอเนื1อง และ กิจกรรมอื1น ๆ อีกมากมาย ที่ตางขน โปรโมชั่นมาอยางมากมาย เพื1อตอบ สนองความตองการของกลุมลูกคาที่ เริ่มมีมากขึ้น เพราะปจจุบันงานขนสง เริ่มทยอยกันเขามารองรับกับการคาด การณที่วาสภาวะเศรษฐกิจจะเติบโต เต็มที่ในป 2558
“ฟูโซ” นํารุนซุปเปอรเกรทเปดตัว บริษัท ฟูโซทรัค (ประเทศไทย) จํากัด ผูแทนจําหนายรถใหญ “ฟูโซ” ได จั ด โปรโมชั่ น เตรี ย มไว สํ า หรั บ รุ น “โชกุน 380 แรงมา” จากเปาที่ ไดวาง ไว จะตองขายใหไดถึง 500 คันในปนี้ แตดว ยยอดจําหนายทีท่ าํ ไดแค 300 คัน เพราะงานขนส ง ยั ง มี น อ ย ความ ตองการรถใหมจงึ แทบจะไมมี จึงไดจดั เตรียมโปรโมชั่น เปลี่ยนถายมันเครื1อง ฟรีถึง 60,000 กิโลเมตร คิดเปนเงิน แลวหลายแสนบาทเลยทีเดียว พ ร อ ม กั น นี้ ยั ง ไ ด นํ า รุ น “ซุปเปอรเกรท” โฉมใหม ที่หลอดไฟ หนาอยูในกันชนเหมือนกับที่จําหนาย อยูใ นประเทศญีป่ นุ แตยงั ไมมจี าํ หนาย ในเมืองไทย จึงตั้งใหเปนรุน “ลิมิเต็ด” ลูกคาสามารถจองได ภายในงาน BUS & TRUCK ’14 เพียงงานเดียวเทานั้น
“ไอวีโก” ปลอยโปรโมชั่นเพียบ! ดาน บริษัท เอสเอสเค กรุป เซลส แอนด เซอรวิส จํากัด ผูแทน จําหนายรถใหญ “ไอวีโก” เพียงราย เดียวในประเทศไทย ถือไดวาในงาน BUS & TRUCK ’14 นี้ ไดเปดตัวยิ่ง
B&T#255_p38-39_Pro2.indd 38
ใหญ เ ป น ครั้ ง แรก โดยนํ า รถหั ว ลาก เครื1องยนตดีเซล 380 แรงมา และ 340 แรงมา มานําแสดงใหกลุมลูกคาไดยล โฉม โดยไดตงั้ ราคาจําหนายไวสงู สุดอยูท ี่ 3 ลานบาทเทานัน้ อีกทัง้ ยังรับประกันสูง ถึง 2 ป ไมจํากัดระยะทาง พรอมทั้งยัง เปลี่ยนถายนํ้ามันเครื1องให ใหม ไมเสีย คาแรงตลอดเวลาที่รับประกันดวย และดวยความที่เปนรถใหญยี่หอ ใหมทมี่ าเปดตลาดในเมืองไทย คนขับรถ ใหญจึงไมรูเทคนิคการขับที่แมนยํา ดัง นัน้ ทางบริษทั จะสงเจาหนาทีอ่ บรมคนขับ ไปใหความรูแกกลุมลูกคาทุกราย เพราะ มาตรฐานของค า ย “ไอวี โ ก ” นั้ น จะ ประหยัดนํา้ มันไดถงึ 3.8 กิโลเมตรตอลิตร ซึ่ ง บรรทุ ก สิ น ค า หนั ก 50.5 ตั น ตาม กฎหมายเมืองไทยบังคับ จึงมัน่ ใจวา กอน ที่จะสิ้นป 2557 นี้ จะตองทํายอดขายได ถึง 200 คันแน สวนในป 2558 นั้น ไดวางยอด จําหนายไวที่ 800 คัน เพราะจะมีรถใหญ เครื1องยนต NGV เขามาเสริมทัพ ทําให หวังวาจะทํายอดขายไดอยางละครึ่งกับ เครื1อ งยนต ดี เ ซล และจะมี ตั ว แทน จําหนายมากถึง 10 แหงทัว่ ประเทศ เพื1อ เปนการสรางความประทับให ใหแกกลุม ลูกคาทั่วประเทศ
TATA ขน 3 รุน บุกงาน BUS & TRUCK ’14 บ ริ ษั ท ท า ท า ม อ เ ต อ ร ส (ประเทศไทย) จํากัด เตรียมจัดรถหัว ลากรุนใหมลาสุด ทาทา พริมา (TATA PRIMA) และ ทาทา แดวู (TATA DAEWOO) รุน โนวัส (NOVUS) พรอม รถบรรทุ ก ขนาดเล็ ก เพื1อ การพาณิ ช ย ทาทา ซูเปอรเอซ (TATA SUPER ACE) เข า ร ว มโชว ใ นงานแสดงรถเพื1อ การ พาณิชยและกิจการพิเศษ BUS & TRUCK ’14 ทาทา พริมา (TATA PRIMA) 4028.S รถหัวลาก 6 ลอ ขับเคลื1อนเพลา
เดียว (4X2) เครื1องยนตดีเซล ยูโร 3 ขนาด 6,700 ซีซี. ใหกําลังสูงสุดถึง 266 แรงมา ดวยการผสมผสานเทคโนโลยีชนั้ นําจากทั่วโลก ทั้งการออกแบบหัวเกง พรอมหองโดยสารจากอิตาลี สุดยอด เทคโนโลยีเครื1องยนต Cummins จาก สหรัฐอเมริกา สามารถตอบสนองความ ตองการใชงานไดทกุ รูปแบบในการขนสง สิ น ค า มี พ ละกํ า ลั ง ในการขั บ ขี่ แ ละ ประหยัดเชือ้ เพลิง โดดเดนในการนําวัสดุ ที่ มี คุ ณ ภาพมาใช ใ นการประกอบรถ หัวลาก ทาทา พริมา เปนรถหัวลาก 6 ลอ นําเขาจากประเทศอินเดีย ทาทา แดวู (TATA DAEWOO) รุน โนวัส (NOVUS) รถหัวลาก 10 ลอ ขับเคลื1อนสองเพลา (6X4) ใชเครื1องยนต ดีเซล ยูโร 3 จากดูซาน (Doosan) ขนาด 10,964 ซีซี. พรอมเทอรโบและอินเตอร คูลเลอร ใหแรงมาสูงสุด 420 แรงมา ที่ 1,800 รอบ/นาที แรงบิดสูงสุด 1,834 นิวตันเมตร ที่1,100 รอบ/นาที ระบบ สงกําลังดวยเกียร ZF 16 สปด จาก เยอรมัน พรอมหัวเกง Aerodynamic ทาทา แดวู โนวัส เปนรถหัว ลาก 10 ลอ นําเขาจากประเทศเกาหลีใต ถูกออกแบบ โดยใช แ นวคิ ด หลั ก ที่ เ น น ในเรื1อ ง สมรรถนะ ประสิทธิภาพการขนสงและใช อุปกรณทมี่ มี าตรฐานระดับสูง ทัง้ ในดาน ความสะดวกสบาย และทัศนวิสัยที่ดีใน การขับขี่ ซึง่ ทาทา แดวู โนวัส จะเปนทาง เลือกที่มีคุณภาพ พรอมเพิ่มประสิทธิภาพการขนสงที่มอบผลกําไรสูงสุดแกผู ประกอบการ ทาทา ซูเปอรเอซ (TATA SUPER ACE) รถบรรทุกเล็กเพื1อการพาณิชย ขนาด 1 ตัน เครื1องยนตดีเซล ขนาด 1,400 ซีซี. แรงบิดสูงสุดที่ 135 นิวตัน เมตร ที่รอบตํ่าเพียง 2,500 รอบ/นาที กําลังสูงสุด 70 แรงมา ที่ 4,000 รอบ/ นาที พรอมกระบะพื้นเรียบขนาดใหญ 2,630 x 1,460 มม. ตัวกระบะสามารถ เปดไดทั้ง 3 ดาน บรรทุกสินคาไดอยาง
บริ ษั ท เมอร เ ซเดส-เบนซ (ประเทศไทย) จํากัด ไดนํารถโดยสาร ขนาด 12 เมตรรุนใหม ไมวาจะการใช ระบบเกียรชว ยเบรก เพลาไฟฟา ซึง่ ถือ เปนระบบความปลอดภัยระดับสูงของ รถโดยสาร ที่ ไดนํา มาแสดงให กลุม ลูกคาไดเห็นถึงเทคโนโลยีนี้โดยเฉพาะ รวมถึงรถตู “สปรินเตอร” ที่เปนรถตู อเนกประสงค สามารถเปนไดทั้งรถ โรงแรม รถโรงพยาบาล รถทองเที่ยว รถถายทอดสดทีวี และรถกิจการพิเศษ อีกมากมาย ตามแตลูกคาตองการ ซึ่ง ถือเปนมิติใหมของวงการรถตู ในเมือง ไทย โดยโปรโมชัน่ พิเศษที่ไดเตรียมไว เพื1อกระตุกยอดตกรถพาณิชยกจ็ ะมีทงั้ ดอกเบี้ ย อั ต ราพิ เ ศษที่ ท างบริ ษั ท เมอเซเดส-เบนซ ลีสซิ่ง ไดจัดเตรียมไว เฉพาะในงานเทานั้น รวมทั้งยังมีของ แถมอื1น ๆ อีกอยางมากมาย
ผูแสดงสินคา เตรียมแคมเปญเพียบ นอกจากนี้ ยังมีรถใหญอีกหลาย ยี่หอ ไมวาจะเปน ช.ทวี ดอลลาเชียน ที่ ไดเตรียมรถหัวลาก 25 เมตร ไว สําหรับบรรทุกรถบรรทุกขนาดเล็กได ถึง 3 คัน รถใหญติดตั้งแกส ในเครือ อําไพกรุป รถใหญฮีโน ที่มาในนาม สปาตัน รวมทั้งยังมีรถโดยสารของ เอกชนที่ รั บ ทั ว ร ท อ งเที่ ย วตกแต ง สวยงามจอดโชวความยิ่งใหญ ทัง้ นี้ ยังมีอปุ กรณตอ เนื1องของรถ ใหญอีกอยางมากมาย ไมวาจะเปน สินคากลองวงจรติดรถ CCTV ของ ไดสตารเทค ระบบเกียร ทั้งของ ZF และของ ฟาสต ประเทศจีน ระบบ GPS ของยี่หอตาง ๆ อีกมากมาย อะไหลรถ ใหญ อุปกรณ ไดชารจ พรอมทั้งสินคา เกี่ยวกับรถใหญจํานวนมากมาย เรียก ไดวาผูขายมาพบผูซื้อโดยตรง ซึ่งถือ เปนงานทีก่ ระตุกยอดตกรถเชิงพาณิชย ของแท
10/2/14 9:48 PM
WORLD NEWS • BUS&TRUCK 39
ปกษแรก • ตุลาคม 2557
วงการตางแดน ตอจากหนา 1
โฟตอนทารบ BUS & TRUCK ’14 รถจีนหนึ่งเดียวประกอบในไทย คุณณัฐภูมิ ปุรณะชัยคีรี ผูจัดการ ทัว่ ไป บริษทั โฟตอน ทรัค (ประเทศไทย) จํากัด เปดเผยวา ในงาน BUS & TRUCK’ 14 ระหวางวันที่ 6 – 8 พฤศจิกายนนี้ ที่ไบเทค กรุงเทพฯ คายโฟตอนจะนํารุน FOTON AUMAN WARRIOR 6×4 CHASSIS TRUCK 375 แรงมาเขารวม แสดง เพื1อเปนการประกาศใหกลุม ลูกคา ทราบวา คายโฟตอนเปนรถใหญจากจีน เพียงคายเดียวทีท่ าํ การประกอบในเมือง ไทย เปนการยกระดับมาตรฐาน ทั้งการ ใชชิ้นสวน และคุณภาพการประกอบให เทียบเทากับคายรถญี่ปุน FOTON รุน AUMAN WARRIOR สามารถเปนไดทั้งรถหัวลาก รถบรรทุก 10 ลอ รถมิกเซอร รถบรรทุกพื้นเรียบ และกางปลา หรือเปนรถกิจการพิเศษได ตามลูกคาตองการ โดยทางคายโฟตอน สามารถผลิตรถตามที่ลูกคาตองการได ทุกรูปแบบพรอมทั้งยังทําการติดตั้งตัว ถังตาง ๆ ไดอีกดวย เรียกวาเปน One Stop Service ลูกคาไมตองเสียเวลาไป จัดการเอง “ส ว นโปรโมชั่ น ที่ ไ ด เ ตรี ย มไว ใ น งาน BUS & TRUCK ’14 เพียงงานเดียว ถือวาจะเปนการดึงดูดสรางความสนใน ใหแกกลุมลูกคาเปาหมายเปนอยางมาก ซึ่งคาดวาจะตองทํายอดจองไดมากแน
เพราะจากวันเปดตัวที่ โรงงานประกอบ ทีซี แมนูแฟคเจอริง่ แอนด แอสเเซมบลีย่ นิคมอุตสาหกรรม ลาดกระบัง เมื1อวันที่ 22 กรกฎาคมที่ผานมา ก็มีกลุมลุกคาที่ ซือ้ เริม่ แรกเปนจํานวนนอยกอน หลังจาก ใช ง านจริ ง ก็ ทํ า การซื้ อ เพิ่ ม เพราะมี คุ ณ ภาพเหมาะสมกั บ การใช ง านจริ ง มั่นใจวากรณีนี้จะเปนเชนเดียวกับงาน BUS & TRUCK ’14 เหมือนกัน” นอกจากนี้ คายโฟตอนไดวางแผน ที่จะสรางความมั่นใจใหแกกลุมอีกดาน หนึง่ คือ กอนสิน้ ป 57 นี้ จะมีสาขา 5 แหง คือ ที่ปทุมธานี นครสวรรค นครราชสีมา ชลบุรี และสุราษฎรธานี รวมทั้งยังมี ดีลเลอรอีก 5 แหง ซึ่งขณะนี้กําลังอยูใน ระหวา งการพิ จ ารณาอยู ดัง นั้ น ไม ว า ลู ก ค า จะวิ่ ง อยู ใ นภู มิ ภ าคใด หากรถมี ปญหาก็จะมีผูดูแลไดทันที สวนเรื1องอะไหลท่ีเปนปญหาหลัก ของค า ยรถจี น นั้ น ค า ยโฟตอนก็ ไ ด วางแผนที่จะไมใหเกิดการขาดอะไหลได ดวยการสั่งซื้ออะไหล โดยตรงกับผูผลิต อะไหลที่ประเทศจีน พรอมทั้งทําการ สต็อกอะไหลให ใชงานไดนานถึง 6 เดือน ถึง 1 ป ดังนั้นรับประกันไดวาลูกคารถ โฟตอนทุกรายจะไมมีปญหาเรื1องอะไหล แนนอน
ตอจากหนา 1
ช.ทวี เตรียมรถบรรทุกรถใหญ เปดตัวในงาน BUS & TRUCK ’14 วา ดวยคนในวงการรถใหญตางคาดเปน เสียงเดียวกันวาตลาดรถบรรทุกจะเริ่ม เติ บ โตอย า งเห็ น ได ชั ด เริ่ ม จากเดื อ น พฤศจิกายน ป 57 เปนตนไป ทางบริษัท จึงไดทาํ การเปดตัวรถรุน ใหมในงาน BUS & TRUCK ’14 ที่จะมีขึ้นระหวางวันที่ 6 - 8 พฤศจิกายนนี้ ที่ไบเทค กรุงเทพฯ โดยรุ น ใหม นี้ คื อ รถบรรทุ ก รถ บรรทุกโดยหัวเกงจะใชยี่หอฮีโน สวนตัว พ ว งจะมี ค วามยาวมากถึ ง 25 เมตร สามารถบรรทุกรถบรรทุกขนาดเล็กไดถงึ 3 คันซึ่งถือเปนรถรุนแรกที่มีวิ่งในเมือง ไทย โดยทางบริษัทได ใชเทคโนโลยีจาก ประเทศเยอรมนี ซึ่งมีคุณภาพสูง และ มีอายุการใชงานที่ยาวนาน “การใชรถบรรทุกรถบรรทุกนีถ้ อื วา เปนการชวยรักษาสภาพของรถใหญที่มี คุณภาพใหมเอีย่ มออกมาจากโรงงาน สง ถึงมือลูกคาในสภาพเดิมไมมีการใชงาน มากอน ดีกวาแบบเดิมที่ตองนํารถออก จากโรงงานประกอบ วิ่งบนถนนเพื1อไป สงใหถงึ มือของลูกคา เหมือนกับวารถถูก
B&T#255_p38-39_Pro2.indd 39
ใชงานมากอน เมื1อถึงลูกคา ก็จะเปน เหมือนผู ใชงานมือสอง ที่ตองใชงานรถ วิ่งรันอินมากอน” สําหรับ ช. ทวี ดอลลาเชียนนี้ถือไดวาเปนอูตอรถขนาดใหญ ตั้งอยูที่จังหวัดขอนแกน ใชเทคโนโลยีใน การประกอบสูงจากประเทศเยอรมนี มี ลูกคาทั้งในประเทศที่สั่งทั้งตอตัวถังรถ บรรทุกและกิจการพิเศษ นอกจากนี้ก็ยัง มีลูกคาตางประเทศทั้งในแถบอาเซียน และยุโรป ไดสั่งเขามาตอปเปนจํานวน มาก สําหรับยอกดขายรถใหญในป 2557 นีท้ กุ คายรถใหญตา งคาดหมายวาจะตอง ทํายอดขายให ไดถึง 3 หมื1นคันทั้ง ๆ ที่ ป 2556 ที่ผานมา สามารถจําหนายไดถึง 4.5 หมื1นคัน สาเหตุกเ็ ปนเพราะเศรษฐกิจ ตก เนื1องจากวิกฤตทางการเมือง สวนใน ป 2558 นั้นตางคาดวาเศรษฐกิจจะเริ่ม กลับมาเติบโตอีกครั้งหนึ่ง และจะมียอด จําหนายรถใหญมากถึง 4 หมื1นคันเปน แน
ยานยนต สเปน : พานาโซนิค ลงทุน 20,000-30,000 ลานเยน รุกธุรกิจรถยนต พานาโซนิค คอรป กําลังเจรจาเกี่ยวกับการถือหุนในบริษัท ฟ โคซา อินเตอรเนชัน่ แนล เอสเอ ซึง่ เปนผูผ ลิตสิน้ สวนรถยนตของสเปน การเคลื1อนไหว นีเ้ ปนสวนหนึง่ ของการผลักดันเขาสูธ รุ กิจรถยนตในขณะทีบ่ ริษทั กําลังมองหากําไร ทีม่ เี สถียรภาพมากขึน้ ผลิตภัณฑของฟโคซา ไดแก ระบบชวยขับทีม่ คี วามทันสมัย โดยมีคณ ุ สมบัตดิ า นความปลอดภัย เชน การตรวจจับจุดบอด การชวยจอดรถ และ การเตือนเมื1อเปลีย่ นเลน แหลงขาวกลาววา พานาโซนิคกําลังหาทางพัฒนาระบบ เหลานี้รวมกัน โดยทั้งสองฝายกําลังสรุปรายละเอียด เชน สัดสวนในการถือหุน ขอตกลงนีจ้ ะเปนการลงทุนในธุรกิจรถยนตดว ยการทําธุรกรรมเอ็มแอนดเอขนาด ใหญเปนครั้งแรกของพานาโซนิค ทั้งสองฝายตั้งเปาวาจะบรรลุขอตกลงกันได ภายในปลายเดือนมีนาคม มีรายงานจากหนังสือพิมพนิกเกอิวา พานาโซนิคจะ ลงทุน 20,000-30,000 ลานเยน เพื1อถือหุนฟโคซาเกือบ 50% สหรัฐอเมริกา : Volkswagen of America เปดตัว ‘เว็บไซตหาคู’ สําหรับผูซื้อรถยนต Volkswagen of America ไดเปดตัวโซลูชั่นใหมลาสุดที่ vw.com ซึ่ง จะปฏิวตั ริ ปู แบบการเลือกซือ้ รถยนตใหมในตลาดสหรัฐ เว็บไซตใหมนถี้ อื กําเนิด จากเทคโนโลยี Mackevision จากตระกูล F_Box ซึ่งถือเปนการเปดโอกาสให ทั้งทางโฟลคและเหลาดีลเลอร สัมผัสถึงการผสมผสานกระบวนการผลิตและ การขายอยางที่ ไมเคยเกิดขึ้นมากอน ขณะที่บรรดาผูซื้อรถยนตในสหรัฐ ก็จะ สามารถเฟนหารถยนตที่ตรงความตองการเปนครั้งแรกผานฟงกชั่นจับคู ปจจุบัน ลูกคาชาวสหรัฐสามารถปรับแตงรถโฟลคสวาเกนไดตามความชื1น ชอบผานระบบออนไลน แตทายที่สุดแลว ตัวเลือกสุดทายของลูกคาเหลานี้จะขึ้น อยูกับจํานวนรุนที่ดีลเลอรมีอยูในสต็อก ซึ่งนับวาเปนหลักการจับคูเพื1อใหตรงกับ ความตองการมากที่สุด อยางไรก็ดี กลไกการปรับแตงแบบใหมนี้ เปดโอกาสให ลูกคาสามารถเลือกรถยนตผานระบบออนไลน ไดจากสต็อกของดีลเลอร หาก รถยนตที่ตองการไมมีสต็อกอยูในพื้นที่ ระบบก็จะขยายพื้นที่คนหาไปยังดีลเลอร รายอื1น ๆ จนสงผลใหเว็บไซตใหมนี้ สามารถนําเสนอชองทางการปรับแตงไดอยาง เต็มรูปแบบ โดยลูกคา VW ในสหรัฐ สามารถรับชมรถยนตที่ตนเองเลือกทาง ระบบออนไลน กอนที่จะเดินทางติดตอดีลเลอรโดยตรง
คมนาคม อังกฤษ : แมนเชสเตอรจัดรถบัสไฮบริด รับ-สง เด็กนักเรียน ลดมลภาวะ องคกร Transport for Greater Manchester (TfGM) ผูการดูแลและ รับผิดชอบ ระบบขนสงมวลชนในเมืองแมนเชสเตอร ประเทศอังกฤษ นํารถบัส โดยสารระบบไฮบริดรุน Versa จากแบรนด Optare จํานวน 13 คัน มาใช ประโยชนเปนรถบัสรับ-สง เด็กนักเรียน เพื1อลดมลภาวะเปนพิษทางอากาศและ ปญหาจราจร การจัดซือ้ รถบัสโรงเรียนครัง้ นี้ ไดรบั งบอุดหนุนโดยตรงจากภาครัฐ การดําเนินงานครั้งนี้ทําให TfGM มีรถบัสโรงเรียนระบบไฮบริดรวม 52 คัน จาก รถบัสทัง้ หมด 93 คัน เพื1อใชประกอบการรับ-สงเด็กนักเรียนภายในเมืองแมนเชส เตอร รถบัสรุน Versa จาก Optare จัดเปนยานยนตระดับพรีเมี่ยมที่ออกแบบ มาเพื1อเนนความสะดวกสบายของผู โดยสาร สามารถบรรจุผู โดยสารไดจาํ นวน 44 ที่นั่ง สวนขุมพลังนั้น ตัวรถใชเครื1องยนตยูโร 5 ของ เมอรเซเดส- เบนซ มีสเปค ใหเลือกอยางหลากหลายตั้งแต เครื1องยนต 4 สูบ แรงบิด 600-650 นิวตันเมตร ไปจนถึง 6 สูบ แรงบิด 750 นิวตันเมตร เหมาะสําหรับนําไปใชเพื1อการขนสง ภายในเมืองรวมไปถึงนอกเมือง และยังเปนรถบัสระบบไฮบริดที่เปนมิตรกับสิ่ง แวดลอมดวย รถรุนดังกลาวมีราคาอยูที่คันละ 11 ลานบาท
ปฎิทินขาว วัน-เดือน-ป
รายละเอียดงาน
ติดตอ
16-23 ต.ค. 2557
Need For Speed Motor Show ณ เซ็นทรัลพลาซา อุบลราชธานี
Smooth Kiss Organizer โทร.08-1999-0474
21-27 ต.ค. 57
Central Ramindra Auto Fest 2014 ณ ชั้น G เซ็นทรัลรามอินทรา
MentaryRealistic Co.,Ltd โทร.0-2510-2954
6-8 พ.ย. 2557
BUS & TRUCK ’14 ณ ศูนยการแสดงสินคาและการประชุมไบเทค กรุงเทพฯ
บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด โทร.0-2717-2477 ตอ 159 E-Mail : info@ttfintl.com, supaman@ttfintl.com
29 พ.ย.-10 ธ.ค. 57 MOTOR EXPO 2014 ณ อาคารชาลเลนเจอร อิมแพคท เมืองทองธานี
บริษัท สื่อสากล จํากัด โทร.0-2641-8444 (อัตโนมัติ 12 สาย)
10/3/14 8:30 PM
40 BUS&TRUCK • DIRECTORY
ปกษแรก • ตุลาคม 2557 DIRECTORY ISUZU บริษัท ตรีเพชรอีซูซุเซลส จํากัด โทร. 0-2966-2111
SUNLONG บริษัท เบสทริน กรุป จํากัด โทร.0-2750-3901, 0-2750-0227, 08-5999-9499 SLK6750CNG SLK6852D SLK6102D SLK6102CNG SLK6111CNG SLK6120D SLK6126CNGB SLK6145D ราคาดังกลาวเปนราคานําเขารถสําเร็จรูปทั้งคัน
Bus 7.5 m. Bus 8.5 m. Bus 10 m. Bus 10 m. City Bus 12 m. Coach 12 m. Coach 12 m. Coach 14.5 m.
YUTONG บริษัท ไทยคูชัย จํากัด โทร. 0-2393-9831-2
YUTONG มินิบัส 6 เมตร YUTONG รถบัสโดยสาร 8 เมตร YUTONG รถบัสโดยสาร 12 เมตร
มินิบัส รถธรรมดา รถปรับอากาศ
CNG ดีเซล ดีเซล CNG CNG ดีเซล CNG ดีเซล
-
-
-
2,650,000 4,000,000 4,600,000 4,900,000 5,400,000 6,000,000 6,500,000 7,500,000
1,500,000 2,500,000 4,850,000
HINO บริษัท ฮีโนมอเตอรสเซลส (ประเทศไทย) จํากัด โทร. 0-2900-5000 Hotline 0-2900-5260 Series 3 XZU600R-4W Series 3 XZU600R-6W Series 3 XZU650R (T&S) Series 3 XZU710R (T&S) Series 3 XZU720R Series 3 XZU600R-4W Cooler less Series 3 XZU600R-6W Cooler less Series 3 XZU650R (T&S) Cooler less
ขนาด 2-3 ตัน ขนาด 2-3 ตัน ขนาด 2-3 ตัน ขนาด 2-3 ตัน ขนาด 2-3 ตัน ขนาด 2-3 ตัน ขนาด 2-3 ตัน ขนาด 2-3 ตัน
4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ
136 150 150 150 150 136 150 150
948,000 978,000 1,035,000 1,190,000 1,206,000 938,000 968,000 1,025,000
Series 5 FC9JEKA (T&S) Series 5 FC9JJKA Series 5 FC9JELA (T&S) Series 5 FC9JJLA (Radial Tube) Series 5 FC9JLLA (Radial Tube) Series 5 FG8JGLD Series 5 FG8JJLA Series 5 FG8JMLA Series 5 FG8JPLA Series 5 FG8JRLA Series 5 FG8JPLG (Air-Sus Series 5 FG8JGLE Series 5 FG8JJLB
6 ลอขนาดกลาง 6 ลอขนาดกลาง 6 ลอขนาดกลาง 6 ลอขนาดกลาง 6 ลอขนาดกลาง 6 ลอขนาดใหญ 6 ลอขนาดใหญ 6 ลอขนาดใหญ 6 ลอขนาดใหญ 6 ลอขนาดใหญ 6 ลอขนาดใหญ 6 ลอขนาดใหญ 6 ลอขนาดใหญ
4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ
145 145 175 175 175 212 212 212 212 212 212 212 212
1,350,000 1,360,000 1,410,000 1,430,000 1,440,000 1,750,000 1,770,000 1,780,000 1,790,000 1,810,000 1,915,000 1,650,000 1,660,000
10 ลอ 6x2 10 ลอ 6x2 10 ลอ 6x2 10 ลอ 6x4 10 ลอ 6x4 10 ลอ 6x4 10 ลอ 6x4 10 ลอ 6x4 10 ลอ 6x4 10 ลอ 6x4 10 ลอ 6x4 12 ลอ 8x4 12 ลอ 8x4
6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ
212 212 251 212 251 330 330 344 380 380 330 380 380
2,345,000 2,385,000 2,415,000 2,485,000 2,535,000 2,820,000 2,850,000 2,905,000 2,965,000 3,035,000 2,575,000 3,130,000 3,170,000
หัวลาก 6 ลอ หัวลาก 10 ลอ หัวลาก 10 ลอ หัวลาก 10 ลอ หัวลาก 10 ลอ หัวลาก 10 ลอ หัวลาก 10 ลอ หัวลาก 10 ลอ หัวลาก 10 ลอ หัวลาก 10 ลอ
6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ
212 251 330 330 344 344 344 380 380 380
1,865,000 2,650,000 2,945,000 2,985,000 2,975,000 3,015,000 3,085,000 3,055,000 3,095,000 3,165,000
รถบัส รถบัส
6 สูบ 6 สูบ
251 380
2,145,000 3,605,000
Series 5 FC4JLNA NGV Series 5 FG1JPKA NGV Series 5 FG1JPKA NGV - Car Carrier Series 5 FL1JTKA-BGT NGV Series 5 FM1JNKD-BGT NGV Series 5 FM1JKKA NGV Series 5 FM2PNMD NGV Series 5 FM2PNMD- A NGV
6 ลอ NGV ขนาดใหญ 6 ลอ NGV ขนาดใหญ 6 ลอ NGV ขนาดใหญ 10 ลอ 6x2 10 ลอ 6x2 10 ลอ NGV 10 ลอ 6x4 10 ลอ 6x4
6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ
175 220 220 260 260 260 360 360
1,890,000 2,555,000 2,945,000 3,265,000 3,315,000 3,440,000 3,755,000 3,825,000
Series 5 FM2PKMA NGV Series 5 FM2PKMA-PA NGV Series 5 FM2PKMA-P NGV Series 5 FM2PKMA-A NGV
หัวลาก 10 ลอ NGV หัวลาก 10 ลอ NGV หัวลาก 10 ลอ NGV หัวลาก 10 ลอ NGV
6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ
360 360 360 360
3,850,000 3,960,000 3,890,000 3,920,000
Series 5 FL8JNKA Series 5 FL8JTKA Series 5 FL8JNLA Series 5 FM8JNKD Series 5 FM8JNLD Series 5 FM1ANKD (T Bias) E/G Retarder Series 5 FM1ANKD (T&S Radial) E/G Retarder Series 5 FM1ANLD (T&S Radial) E/G Retarder Series 5 FM2PNLD (T&S) Series 5 FM2PNLD (SPA) ABS Series 5 FM1AKKM E/G Retarder (Mixer) Series 5 GY2PSLA (S) Series 5 GY2PSLA (T&S 380 Ps) PTO Series 5 FG8JGLT Series 5 FM8JKKA Series 5 FM1AKKA (S) E/G Retarder Series 5 FM1AKKA (S) PTO E/G Retarder Series 5 FM1AKLA (S) E/G Retarder Series 5 FM1AKLA (S) PTO E/G Retarder Series 5 FM1AKLA (SPA) ABS Series 5 FM2PKLA (T&S) Series 5 FM2PKLA (S) PTO Series 5 FM2PKLA (SPA) ABS Series 5 RK8JSLA Series 5 RM1ESKU
B&T#255_p40-41_Pro2.indd 40
360 360 360 360 360 360 300 300 360 360 360 360 360 360 360 360 360 300 300 300 300 300 300 300 300 300 240 240 240 240 210 210 210 190 190 175 175 150 150 130 130 130 130 354 245 245 354 245 245 220 130 130 130
3,347,000 3,177,000 3,177,000 3,317,000 3,147,000 3,147,000 2,582,000 2,559,000 3,294,000 3,294,000 3,044,000 3,044,000 2,694,000 2,727,000 2,680,000 2,680,000 2,580,000 2,565,000 2,544,000 2,662,000 2,642,000 2,621,000 2,504,000 2,432,000 2,412,000 2,391,000 1,875,000 1,854,000 1,844,000 1,818,000 1,536,000 1,526,000 1,484,000 1,486,000 1,476,000 1,350,000 1,334,000 1,225,000 1,209,000 1,029,000 1,024,000 967,000 937,000 3,957,000 3,754,000 3,394,000 3,844,000 3,456,000 3,375,000 2,580,000 1,627,000 1,617,000 1,432,000
10 ลอ หัวลากสองเพลา (6x4) 10 ลอ หัวลากสองเพลา (6x4) 10 ลอ หัวลากสองเพลา (6x4) 10 ลอ หัวลากสองเพลา (6x4) 10 ลอ หัวลากสองเพลา (6x4) 10 ลอ หัวลากสองเพลา (6x4) รถบรรทุก 6 ลอหัวลาก (4x2) รถบรรทุก 6 ลอหัวลาก (4x2) รถบรรทุก 12 ลอ สองเพลา (8x4) รถบรรทุก 12 ลอ สองเพลา (8x4) รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลา รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลา รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลา รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลา รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลา รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลา รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลา รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 6 ลอ ขนาด 6 ตัน รถบรรทุก 6 ลอ ขนาด 6 ตัน รถบรรทุก 6 ลอ ขนาด 6 ตัน รถบรรทุก 6 ลอ ขนาด 6 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุกขนาด 2 ตัน รถบรรทุกขนาด 2 ตัน รถบรรทุกขนาด 2 ตัน รถบรรทุกขนาด 2 ตัน รถบรรทุกเครื่องยนต CNG รถบรรทุกเครื่องยนต CNG รถบรรทุกเครื่องยนต CNG รถบรรทุกเครื่องยนต CNG รถบรรทุกเครื่องยนต CNG รถบรรทุกเครื่องยนต CNG รถบรรทุกเครื่องยนต CNG รถบรรทุกเครื่องยนต CNG รถบรรทุกเครื่องยนต CNG รถบรรทุกเครื่องยนต CNG รถบรรทุก 4 ลอ รถบรรทุก 6 ลอ รถบรรทุก 6 ลอชวงมาตรฐาน รถบรรทุก 6 ลอชวงมาตรฐาน รถบรรทุก 6 ลอชางยาว รถบรรทุก 6 ลอ ชวงสั้น รถบรรทุก 6 ลอ ชวงกลาง รถบรรทุก 6 ลอ ชวงยาว รถบรรทุก 10 ลอ ชวงยาวพิเศษ รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลาชวงยาว รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลาชวงยาว รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลาชวงยาว รถหัวลาก 10 ลอ
2,977 CC 2,977 CC 2,899 CC 2,899 CC 2,899 CC 7,545 CC 7,545 CC 7,545 CC 7,545 CC 7,545 CC 7,545 CC 12,882 CC 12,882 CC
125 125 150 150 150 240 240 240 270 240 270 380 380
934,000 985,000 1,069,000 1,207,000 1,217,000 1,770,000 1,785,000 1,830,000 2,525,000 2,475,000 2,635,000 3,150,000 3,220,000
DONGFENG CNG DONGFENG 8x4 CNG
รถหัวลาก NGV 100% TRACTOR Engine Yuchai
YC 340HP YC 340HP
340 340
3,150,000 3,250,000
BJ4257SMFCB-R1 BJ4257MFJB-R1 BJ5257GJB-RA BJ3257DLPJE-R1
รถหัวลาก 10 ลอ CNG รถหัวลาก 10 ลอ Diesel รถมิกเซอร 10 ลอ Diesel รถ 10 ลอ Diesel
6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ
380 375 375 375
2,500,000 2,450,000 2,500,000 2,425,000
FUSO บริษัท ฟูโซทรัค (ประเทศไทย) จํากัด โทร. 0-2567-2897
FE71BB8SRDH1 FE73BE6SRDH1 FE84DE6SRDH1 FE85DE7SRDH1 FE85DG7SRDH1 FM65F F1RDH1 FM65F H1RDH1 FM65F M1RDH1 FN61FR2RDH1 FN62FM1RDH1 FN61FM2RDH1 FV51JHR3RDH1 FV51JHR3RDH1
DONGFENG บริษัท ดีเอฟ มอเตอร (ไทยแลนด) จํากัด โทร.0-2637-5041-3 FOTON บริษัท โฟตอน ทรัค (ประเทศไทย) จํากัด โทร.0-2567-2882
DAYUN บริษัท ดายุน ออโตโมบิล (ประเทศไทย) จํากัด โทร.0-2503-4668-70
รถหัวลาก 10 ลอ รถผสมปูน 10 ลอ
-
280 280
2,780,000 2,700,000
รถหัวลาก รถหัวลาก รถหัวลาก รถหัวลาก แซสซีสรถโดยสาร แซสซีสรถโดยสาร แซสซีสรถโดยสาร
6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ
360 แรงมา 410 แรงมา 410 แรงมา 410 แรงมา 410 แรงมา 410 แรงมา 460 แรงมา
3,600,000 3,900,000 4,100,000 4,350,000 4,500,000 4,700,000 5,200,000
WP12NG350E40 WP12NG380E40 WP12NG380E40 WP10.336 WP12.375N WP10NG366E40 WP10.336 WP12NG330E40 (GAS)
SCANIA P 360 LA6x2MSZ P 410 LA6x2MSZ P 410 LA6x2MNA P 410 LA6x2MSZ K 410 IB6x2NB K 410 EB6x2NI K 460 EB6x2NI
9,839 9,839 9,839 9,839 9,839 9,839 7,790 7,790 9,839 9,839 9,839 9,839 9,839 9,839 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 5,193 5,193 5,193 5,193 5,193 5,193 5,193 5,193 5,193 2,999 2,999 2,999 2,999 9,839 7,790 7,790 9,839 7,790 7,790 7,790 4,570 4,570 4,570
CGC CGC4252 6x4 CGC4253 6x4 CGC4253 6x4 CGC1250 6x4 CGC1311 8x4 DYX3250 6x4 DYX3251 6x4 DYX3311 8x4 DYX5250 6x4
MAN บริษัท เอ็ม เอ เอ็น คอมเมอรเชียล วีฮีเคิลส (ประเทศไทย) จํากัด โทร. 0-2567-0070-5 MAN-CLA 26.280 6x4 Tractor MAN-CLA 26.280 6x4 Mixer
GXZ77NXJFQ (Aero-Max) GXZ77NXFQ (Aero-Max) GXZ77NXXTQ (Aero-Max) GXZ77NXJFQ GXZ77NXXFQ GXZ77NXXTQ GVR34JXXXQ (Aero-Max) GVR34JXXXQ FYH77SXDFQ FYH77SXTDQ FXZ77QXDFQ FXZ77QXDTQ FXZ77PXDXQ FXZ77NXFXQ FXZ34PSDFQ FXZ34PSDTQ FXZ34PNDXQ FVM34TSXXQ FVM34QSXXQ FVM34TNAXQ FVM34RNAXQ FVM34QNAXQ FVM34WNXXQ FVM34TNXXQ FVM34RNXXQ FVM34QNXXQ FTR34QXXXQ FTR34PXXXQ FTR34LXXXQ FTR34JXXXQ FRR90NSXXQ FRR90LSXXQ FRR90HSXXQ FRR90NNXXQ FRR90LNXXQ NQR75LXXXQ NQR75HXXXQ NPR75KXXXQ NPR75HXXXQ NMR85HXXFQ NMR85HXXTQ NMR85EXXXQ NLR85EXXXQ GXZ78NXCFQ (AMAX-A) GVR86KXCXQ (10W 6x2) GVR86KXCXQ (6W 4x2) FXZ78QXBFQ FVM86WXCXQ FVM86TXCXQ FTR86QXCFQ NPR82KXCXQ NPR82HXCXQ NMR82HXCXQ
Tractor (DIESEL) Tractor (CNG) Tractor (CNG) Cargo (DIESEL) Cargo (DIESEL) Truck+เพลาฮับ Truck+ กระบะดัมพ Mining+ กระบะดัมพ Mixer (DIESEL)
9,726 ซีซี 9,726 ซีซี 11,596 ซีซี 9,726 ซีซี 9,726 ซีซี 9,726 ซีซี 9,726 ซีซี 9,726 ซีซี 9,726 ซีซี
340 340 380 340 340 340 340 375 340
2,500,000 2,800,000 3,000,000 2,700,000 2,800,000 2,800,000 3,300,000 3,750,000 2,800,000
รถหัวลาก 6x4 รถหัวลาก 6x4 รถหัวลาก 8x4 รถหัวลาก 6x4 รถหัวลาก 6x4 รถหัวลาก 6x4 รถหัวลาก 6x4
NGV NGV NGV ดีเซล ดีเซล NGV ดีเซล NGV
350 380 350 336 375 336 336 320
2,725,000 2,825,000 3,075,000 2,425,000 2,525,000 2,775,000 2,475,000 3,150,000
SHACMAN บริษัท ไทย ซัน อินเตอร แมชชีน จํากัด โทร. 0-3273-4188
10/2/14 10:50 PM
BUS&TRUCK MART • BUS&TRUCK 41
ปกษแรก • ตุลาคม 2557 BUS & TRUCK MART
B&T#255_p40-41_Pro2.indd 41
10/2/14 9:53 PM
42 BUS&TRUCK • Q & A
ปกษแรก • ตุลาคม 2557
ถามทาง
เสียงจากผูอาน คุณเจนจิรา กงทอง นครราชสีมา
สนใจ GPS ธุรกิจของผมทํารถทัวรแบบ 30 อยากทราบวา GPS ยีห่ อ ใดบางที่ มีคณ ุ ภาพและราคาสมเหตุสมผล ชวยดูแลตนทุนในการขับรถของคนขับ ดวย รบกวนชวยแนะนํา ในงาน BUS & TRUCK ’14 ที่จะ มีขนึ้ ระหวางวันที่ 6- 8 พฤศจิกายน นี้ ที่ ไบเทค กรุงเทพฯ ก็มี GPS มากมายหลายยี่หอที่เขารวมแสดง และ ยี่หอที่เขาเปนประจําทุกปก็คือ ฟอรท โดยมีคุณสมบัติที่เปนขอมูลดังนี้คือ คุณสมบัติเดน • เทคโนโลยี ลํ้ า สมั ย A-GPS (Assisted Global Positioning System) ทําใหการประมวลผลหาตําแหนงทําได อยางรวดเร็ว และมีความละเอียดถูกตอง ความแมนยําสูง • สามารถตรวจขอมูลการวิ่งและ ตํ า แหน ง พิ กั ด ของยานพาหนะ โดย ทําการสงขอมูลทุก ๆ 1 นาที ไปยังศูนย รับขอมูล เพื1อความละเอียดและความถูก ตองของขอมูล • สามารถรับสัญญาณ GPS ไดดี
(High Sensetivity) แมในที่ที่มีสัญญาณ GPS ออน เชน อาคารจอดรถ, โรงรถที่มี หลังคา เปนตน คุณสมบัติทั่วไป • ติดตามและคนหาตําแหนงของ ยานพาหนะแบบ Real Time และครอบ คลุมทั่วประเทศ • สามารถวัดปริมาณนํ้ามันในถัง เชื้อเพลิงผานลูกลอยของถังนํ้ามันแบบ Real Time โดยแสดงคาเปนเปอรเซ็นต • ส า ม า ร ถ วั ด ส ถ า น ะ ข อ ง เครื1องยนต ไดวา ติดเครื1องยนต หรือ ดับ เครื1องยนต มีระบบสํารองขอมูล ซึ่งสามารถ เก็บ Record 50,000 Record โดยเฉลี่ย เก็บไดประมาณ 30 วัน (กรณีรถวิ่ง 12 ชั่วโมง จอด 12 ชั่วโมง) กรณีขาดการ ติดตอในเครือขาย GPRS
ธุรกิจทีท่ าํ อยูค อื เปนผูป ระกอบการ ขนสงทางบก และมีอูประกอบตัวถังรถ บรรทุก มีการประกอบพืน้ เรียบ กางปลา และรถเพื1อกิจการพิเศษ ตามแตที่ลูกคา ตองการ โดยมีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 50 ไร ในขณะนี้ยังใช ไมเต็ม หากตลาดตอง การเพิม่ ก็สามารถขยายใหเต็มพืน้ ที่ไดอกี เพราะกลุมลูกคาไดขยายจากภาคอีสาน ไปยังทุกภูมิภาคทั่วประเทศแลว สวนที่ตองการทราบในขณะนี้เพื1อ ทีจ่ ะไดวางแผนการตลาดไดอยางถูกตอง ก็คือตองการทราบวาในแตละเดือน มี ยอดจําหนายรถใหญเปนจํานวนเทาไร และแบงเปนประเภทไหนบางเพื1อที่จะ เจาะตลาดไดถูก รวมทั้งยอดจดทะเบียน รถใหญ กั บ กรมการขนส ง ทางบก กระทรวงคมนาคม เพื1อที่จะไดทราบวา ในแตละชวงเดือนรถเชิงพาณิชยประเภท ไหนมีความตองการสูงสุด เพื1อที่จะได วางแผนการผลิตชิ้นสวนของรถประเภท นั้นไดถูกทาง
กองบรรณาธิการ ตองขอขอบคุณมากที่ทาง บริษัท มี โชครุงเรืองกิจ จํากัด ผูขนสงและอู ประกอบตัวถังรถบรรทุกที่เปนรายใหญ ไดมาเปนสมาชิกของนิตยสาร BUS & TRUCK การทีผ่ ทู ที่ าํ การขนสงเองไดมา เปดอูท าํ ตัวถัง และ ตัวพวงของรถหัวลาก ก็ถือวาตรงจุดเปนอยางมาก ก็รูถึงความ ตองการถึงขนาด ความกวาง ความยาว และความสูงที่กลุมขนสงตองการ ส ว นตั ว เลขการขายรถใหญ ใ น แตละเดือนนั้นทางคาย ฮีโน ซึ่งเปนผู รวบรวมจะนําสงให โดยจะมีลงเสนอใน ปกษหลังของทุกเดือน สวนตัวเลขยอด จดทะเบียนนัน้ ทางกรมการขนสงทางบก ก็จะรายงานใหทราบเปนประจําทุกเดือน ซึ่ ง จะลงรายงานให ท ราบเหมื อ นกั น สมาชิกทุกรายสามารถตรวจสอบไดเปน ประจํา เพราะเปนผลประโยชนตอธุรกิจ ขนสงอยางมาก
No. ............./..............
B&T#255_p42-43_Pro2.indd 42
10/2/14 10:02 PM
B&T#255_p42-43_Pro2.indd 43
10/2/14 10:02 PM
44 BUS&TRUCK • AUTO GAS
ปกษแรก • ตุลาคม 2557 AUTO GAS
GT “แกสเทค ไทยแลนด” ชวยประหยัดคาใชจายไดคุมคา
Gas Tech Thailand By Ampai Group ผูน าํ เขาและจัดหนาย
ชุดอุปกรณตดิ ตัง้ แกสที่ไดมาตรฐานจาก ประเทศโปแลนด ประกาศรุกตลาดดวย
อุ ป กรณ แ ก ส รถยนต ที่ มี คุ ณ ภาพ สามารถชวยลดคาใชจายและตนทุน ดานการขนสง พรอมรวมงาน BUS & TRUCK ’14 พิสูจนคุณภาพสินคาให กลุมลูกคาไดรูจัก อุปกรณแกสรถยนต GT “แกสเทค ไทยแลนด” นําเสนอชุดอุปกรณตดิ ตัง้ แกส ระบบเชื้ อ เพลิ ง ร ว มที่ ส ามารถใช ไ ด กั บ เครื1องยนตดีเซลคอมมอนเรลในรถยนต ทุกรุน ผลิตโดยบริษทั ที่ไดมาตรฐานความ ปลอดภั ย สู ง สุ ด การั น ตี ด ว ยมาตรฐาน สากลระดั บ โลก จึ ง มั่ น ใจได ใ นความ ปลอดภัยสูงสุด เพื1อสมรรถนะที่ดีในการ ขับขี่ ตอบสนองทุกพฤติกรรมการใชงาน ที่หลากหลายรูปแบบของผู ใช ทําใหชวย ประหยัดคาใชจา ยและตนทุนในการขนสง พรอมสรางผลกําไรที่คุมคาในธุรกิจได ดานความโดดเดนของอุปกรณติด แกสรถยนต GT ตัวกลอง ECU ทําการ ลดอัตราหัวฉีดของระบบดีเซลและเพิ่ม การจายเชื้อเพลิงแกสเขาไป โดยปรับจูน แก ส อั ต โนมั ติ ใ ห ส อดคล อ งกั บ ความ ตองการของเครื1องยนต เรงไมอืดแรงไม ตก แรงเที ย บเท า ระบบนํ้ า มั น เพิ่ ม ประสิทธิภาพและสมรรถนะที่ดีในการ ขับขี่ ประหยัดคาบํารุงรักษาและคาเชื้อ เพลิง อีกทั้งตัวกลองก็มีขนาดเล็กการติด ติดตัง้ ทําไดงา ยในพืน้ ทีจ่ าํ กัด สวนหมอตม
แกสก็ ไมมีปญหาเรื1องการรั่วซึมติดตั้ง งาย ไมมีปญหาเรื1องแรงดันตก ชุดอุปกรณตดิ ตัง้ แกสรถยนต GT มีใหเลือกหลายรุนตามความตองการ ของผู ใช ตั้งแตรถเกง รถกระบะ ไป จนถึ ง รถบรรทุ ก ขนาดใหญ และ สามารถเลือกเชื้อเพลิงแกสไดทั้ง LPG และ NGV ซึง่ ไดมกี ารพิสจู นโดยการวิง่ จริงแลววาประหยัดคุม คา โดยรถขนาด เล็กสามารถประหยัดเชือ้ เพลิงขึน้ ตํา่ ได ถึ ง 30% ส ว นรถบรรทุ ก สามารถ ประหยัดเชื้อเพลิงขั้นตํ่าได 20% การรับประกันอุปกรณตดิ ตัง้ แกส (กลองควบคุมการจายเชื้อเพลิงของ แกส ECU) รับประกันในความบกพรอง หรื อ เกิ ด ป ญ หาทางการผลิ ต ของ โรงงาน 5 ป อุปกรณตอ งไมมรี อยแกไข (ตองมีสติกเกอร อําไพอยูใ นสภาพเดิม) กรณี เ กิ ด เพลิ ง ไหม หรื อ ระเบิ ด จาก สาเหตุ ที่ สิ น ค า บกพร อ งหรื อ ป ญ หา ทางการผลิตจากโรงงานบริษัทรับผิด ชอบที่แทจริงภายในวงเงิน 1,000,000 บาทตอคัน ในงาน BUS & TRUCK ’14 GT “แกสเทค ไทยแลนด” เตรียมเพิ่มการ ประกันสําหรับลูกคาในงานโดยเฉพาะ โดยสามารถพบกั บ GT “แก ส เทค ไทยแลนด” ไดระวางวันที่ 6-8 พ.ย. 57 ณ ไบเทค กรุงเทพฯ หรือสอบถามราย ละเอียดเพิ่มเติม โทร.0-2943-2211, 08-3021-9690, 08-6360-8452 หรือ เว็บไซต http://www.gt-thailand. com
พักเครื่อง
❖❖❖ กูดเยียร สานตอนโยบาย ดานสิ่งแวดลอม นําขี้เถาที่เหลือจาก การเผาแกลบมาใช ในการผลิตไฟฟา รวมถึงใชเปนวัตถุดิบในการผลิตซิลิกา สําหรับยางรถยนต ซึ่งถือเปนการใช วัสดุที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม โดยใน ชวงสองปที่ผานมา ศูนย Innovation Center ของบริษัทไดทดสอบแลววา ซิ ลิ ก าจากขี้ เ ถ า แกลบให ผ ลดี ต อ ประสิทธิภาพยางเทียบเทากับการใช วัสดุในแบบเดิม กูด เยียรจงึ ตกลงรับซือ้ ซิลิกาจากเถาแกลบกับซัพพลายเออร บางรายที่มีศักยภาพ เพื1อนํามาใช ใน การผลิตยาง ❖❖❖ เอเชีย จับมือซุปเปอรสโตร บิ๊กซี เปดตัว “เอเชีย 3 UP” กรมธรรม รถยนตรูปแบบใหมที่จายเบา ๆ แตรับ สิ ท ธิ์ ค วามคุ ม ครองเที ย บเท า ชั้ น 1
B&T#255_p44-45_Pro2.indd 44
สําหรับผูที่ตองการประกันครบถวนดวย ราคาที่ “เลือกได” โดยเอเชีย 3 UP คือ ประกันภัยรถยนตประเภท 3 แตไดรับ สิ ท ธิ์ เ ช น เดี ย วกั บ ประเภท 1 ทั้ ง การ กําหนดทุนประกัน เบีย้ ประกัน การตรวจ สภาพรถ ได ต ลอดระยะเวลาความ คุมครองของกรมธรรมประเภท 3UP และเมื1อ ต อ งการยื น ยั น รั บ สิ ท ธิ์ เ ป น ประเภท 1 เพียงชําระเบีย้ ประกันภัยสวน เพิ่มอีกครั้งหนึ่ง ตามชองทางการชําระ เงินตาง ๆ โดยระยะเวลาความคุมครอง จะเทากับความคุมครองประเภท 3 เดิม พร อ มรั บ การยื น ยั น ความคุ ม ครอง ประเภท 1 ผาน SMS ผูที่สนใจสามารถ ติดตอสอบถามเพิ่มเติมไดที่เคานเตอร
“บิ๊กซี แคร ยู” Call Center 1756 หรือ เอเชียประกันภัย 0-2869-3321 ❖❖❖ เอสโซ (ประเทศไทย) จัด กิจกรรมพิสูจนประสบกาณขับขี่เหนือ ระดับ จากกรุงเทพฯ สู ขอนแกน ตอกยํา้ ความเปนผูน าํ ผลิตภัณฑคณ ุ ภาพสูงและ บริการที่ ไดมาตรฐานพิสูจนผลิตภัณฑ สําหรับเครื1องยนตดีเซลเกรดพรีเมี่ยม “เอสโซ ซู พ รี ม ดี เ ซล พลั ส ” (Esso Supreme Diesel Plus) และ นํา้ มันเครื1อง “โมบิล ซูเปอร เทอร โบสปด” (Mobil Super Turbospeed) รวมถึงสถานีบริการ ที่ ไดมาตรฐาน นอกจากนี้ยังถือโอกาส ขอบคุณผูบริโภคในประเทศไทย ที่ให ความไววางใจ เอสโซ มาตลอดเปนเวลา
กวา 120 ป ❖❖❖ ยางนิตโตะ รุกตลาด SUV เต็มตัว เปดตัวผลิตภัณฑใหม “NITTO NT850+ Premium CUV” ยางสําหรับ รถ SUV ตัวจริง! ชูจุดเดน นุม..เงียบ.. มั่นใจทุกการควบคุม ดวยนวัตกรรม การผลิตและการใชเทคโนโลยีขนั้ สูง จึง ทําใหยางนิตโตะ NT850+ Premium CUV เพิ่มประสิทธิภาพสูงสุดในการ เกาะถนน ลดเสียงรบกวนขณะขับขี่ได ตํา่ สุด ยืดอายุการใชงานไดยาวนานกวา พร อ มตอบสนองความมั่ น ใจทุ ก ช ว ง ความเร็ว โดยมีใหเลือกตัง้ แต ขอบ 17” – 20”
10/2/14 10:06 PM
ปกษแรก • ตุลาคม 2557
SMEs TRUCKS • BUS&TRUCK 45
เกาะติดพาณิชยนอย
ทาทา ซูเปอรเอซ ประหยัด คุมคา บรรทุกไดจุใจ ปจจุบันกลุมธุรกิจพาณิชยนอย หรือ SMEs มีมากขึ้นเรื1อย ๆ ยิ่งถา ทําธุรกิจเกีย่ วกับการขนสง สิง่ สําคัญ ทีข่ าดไมไดเลยเห็นจะเปนยานพาหนะ คูใจที่ประหยัด คุมทุน และเพิ่มแต กําไร ทาทา ซู เ ปอร เ อซ (TATA SUPER ACE) รถบรรทุกเล็กเพื1อการ พาณิ ช ย ถื อ เป น ยานพาหนะขนส ง สํ า คั ญ ในวงการพาณิ ช ย น อ ย หรื อ SMEs ไปแลว เพราะเริ่มพบเห็นบน ทองถนนมากขึ้นเรื1อย ๆ แนนอนวา ทาทา ซูเปอรเอซ นัน้ มี ค วามคล อ งแคล ว ด ว ยรู ป ร า งที่ มี ขนาดเล็กกะทัดรัดแตสามารถบรรทุก
ของไดหนัก 1 ตัน ซึ่งถือเปนทางเลือก ใหมของวงการขนสงพาณิชยนอย และ SMEs ไดดีทีเดียว และยิ่งการบรรทุกขนสงในเมืองมี อุปสรรคคอยขัดขวางมากมาย ไมวาจะ เปนการจราจรทีต่ ดิ ขัด การเขาตรอกซอก ซอยทีค่ บั แคบ เปนตน แต ทาทา ซูเปอร เอซ สามารถตอบโจทย ไดเปนอยางดี ทั้งนี้ ทาทา ซูเปอรเอซ ยังไดรับ การพัฒนาขึ้นมาเพื1อเพิ่มประสิทธิภาพ การขนสงสินคาโดยเฉพาะ สําหรับการใช งานในตัวเมืองทีม่ สี ภาพการจราจรแออัด ถู ก จํ า กั ด ด ว ยสภาพเส น ทางที่ คั บ แคบ สามารถตอบสนองเจาของกิจการ รายใหม ที่ตองการความคลองตัวทาง
ธุรกิจ ทาทา ซูเปอรเอซ พรอมบรรทุกได 1 ตัน เครื1องยนตดีเซล ขนาด 1,400 ซีซี แรงบิดสูงสุดที่ 135 นิวตันเมตร ที่รอบ ตํ่าเพียง 2,500 รอบ/นาที กําลังสูงสุด 70 แรงมา ที่ 4,000 รอบ/นาที พรอม กระบะพืน้ เรียบขนาดใหญ 2,630 x 1,460 มม. ตัวกระบะสามารถเปดไดทั้ง 3 ดาน บรรทุ ก สิ น ค า ได อ ย า งจุ ใ จและ สะดวกสบายในการขนถายสินคา ชวยลด เวลา และจํานวนรอบในการขนสง ชวย ประหยัดต น ทุน ในการทํ า ธุร กิ จ ได มาก
เปนคําตอบที่ลงตัวในการขนสงเพื1อผู ประกอบการธุ ร กิ จ ขนาดกลางและ ขนาดยอม สามารถติดตอตัวแทนจําหนาย ไดที่ บริษัท เจียงมอเตอรสคาร จํากัด จังหวัดหนองคาย โทร. 042-407-499 บริ ษั ท บ า นดอนป ย ะคาร ส จํ า กั ด จังหวัดสุราษฎรธานี โทร. 077-295-050 ข อ มู ล เพิ่ ม เติ ม โทร. 1800-999-900 (โทรศัพทบา นโทรฟรี) มือถือโทร.1401999-900 (นาทีละ 3 บาท)
ชี้ชองสินคา A ADTRAX FTS 5 GPS Tracking Solution เปนสินคาชิ้นโบว แดงทีม่ คี ณ ุ สมบัตเิ ดน คือ นํ า เทคโนโลยี ลํ้ า สมั ย AA-GPS (Assisted Global Positioning System) ที่ สามารถรับสงสัญญาณไดเร็วดีกวา GPS แบบธรรมดา มากกวา 5-10 เทามาใช ทําใหการ ประมวลผลหาตําแหนงทําไดอยางรวดเร็ว และมีความละเอียด ถูกตองความแมนยําสูง สามารถเก็บขอมูลการวิ่งและตําแหนงพิกัดของยานพาหนะไดทุก ๆ วินาที และทําการสง ขอมูลทุก ๆ 15 วินาที ไปยังศูนยรับขอมูล เพื1อความละเอียดและความถูกตองของขอมูล บริษัท ฟอรท แทร็คกิ้ง ซีสเต็ม จํากัด โทร.0-2615-0808
B&T#255_p44-45_Pro2.indd 45
10/2/14 10:06 PM
46 BUS&TRUCK • B&T PRODUCTS
ปกษแรก • ตุลาคม 2557
แนะนําผลิตภัณฑ SOLO เพาเวอรเเอมป
NOSTRA MAP THAILAND
Track Biz-ประสิทธิภาพสูงสุด
ตัวเครื1องผลิตดวยอะลูมิเนียมขึ้นรูปเปนชิ้นเดียว ใชสีไททา เนียม ดานขางเปนครีบระบายความรอน ดานบนเปนหนังแท สีขาวคาดกลางเครื1อง ขัว้ ตอทัง้ หมดเคลือบโครเมียม ปุม ปรับ แตงเสียงมีขนาดใหญ ภายในออกแบบโดยใชอุปกรณ SMD เปนหลัก เพื1อชวยให สั ญ ญาณผ า นไปได อย า งรวดเร็ ว ลด ความสู ญ เสี ย งและ ความรอนที่เกิดขึ้น
แอพพลิเคชันแผนที่ประเทศไทยที่ดีที่สุดดวยตําแหนงสถานที่ สําคัญมากกวา 1 ลานแหง สามารถคนหาตําแหนงสถานที่ แนะนําเสนทางเดินทางดวยรถยนต มอเตอร ไซต หรือ เดินเทา เก็บตําแหนงสวนตัว พรอมขอมูล พิเศษ เชน ขอมูลจราจร รานอาหาร แนะนํ า และข อ มู ล ตามเทศกาล รองรั บ การใช ง านบน iOS และ Android ดาวนโหลดฟรี!
ใช ใ นการติ ด ตั้ ง เพื1อ บริ ห ารจั ด การระบบ ขนสง Fleet Management GPS Tracking System ควบคุมและบริหารจัดการระบบ ขนส ง อย า งครบวงจร อาทิ เ ช น ควบคุ ม พฤติกรรมการขับขี่ ควบคุมเวลาในการจัดสง วางแผนเสนทางในการจัดสง สินคาใหเปนไปตามกลไก ของบริษัท
4=NCK1 =^G W ^/ &LA. #dL K. Y1=±ù¹°úµ¶¸°¸¸¸¸
4# ±Y ?4W1 Y1=±ù°³³··°ººµù
4# ±X1=^ N`" GN3 [1< Y1=±ù°³¶´º°·ùº¸
SKYFROG เพิ่มประสิทธิภาพธุรกิจขนสง ใช เ ทคโนโลยี แ บบ Cloud Computing ให ลูกคาลดภาระในเรื1อง ของการจัดตั้ง Server ลดค า ใช จ า ยต า ง ๆ การเตรี ย มบุ ค ลากร เพื1อดูแลระบบ
Simat Technologies Y1=±ù°³´³·°ùººº
FUSO FV SHOGUN หากทานกําลังมองหาพันธมิตรทางธุรกิจที่จะชวยใหทาน ดําเนินกิจการทางธุรกิจไดอยางประสบผลสําเร็จ ชวยลด ตนทุน สรางผลกําไรใหกับการขนสงสินคา และเปนมิตรที่ ซื1อสัตยทสี่ ดุ ของทาน นีค่ อื คําตอบทีท่ า นกําลังมองหา FUSO FV SHOGUN
4# ±9SY& 1=K «5=JW1B[1<¬ Y1=±ù°³¶·¸°³¹º¸
แหนบยกสูง SRB
เครื่องดิจิตอล ทาโคกราฟ เทคโนโลยีจากประเทศญีป่ นุ สําหรับพัฒนา เทคนิคในการขับขี่ขั้นสูง เพื1อลดอุบัติเหตุ และลดการใชนาํ้ มันทีส่ นิ้ เปลืองอยางไดผล
4# ±AL<[G&O X5&N9 G= 5GW=%K_3 Y1=±ù°³´³·°ùººº
MDVR-T, FREEDOM ใชตดิ ตามและแจงเตือน ตรวจสอบสถานะแบบเรียลไทม ระบบ ติดตามพรอมถายทอดสดจากกลองทีต่ ดิ ตัง้ บนรถโดยสาร และ แสดงสถานการณทํางานของยานพาหนะ, FREEDOM ระบบ หนาจอสวนตัวบนรถโดยสารทีใ่ หความบันเทิงระบบมัลติมเิ ดีย ออนดีมานต และระบบการใหบริการพรอม ประกาศบนรถโดยสาร 4# ±[.D/L= W1 «5=JW1B[1<¬ Y1=±ù¹°ú¶¶³°³´¸µ
Selective Racking System
แชสซีรถโดยสาร เมอรเซเดส-เบนซ รุน OC500RF1836 “Ecolife Version” มาพรอมกับเครื1องยนต OM457LA เทอรโบอินเตอรคูลเลอร ใหกําลังสูงสุดถึง 260 กิโลวัตต หรือ 354 แรงมา ติดตั้งดวยระบบสงกําลังแบบ อัตโนมัติ ZF “Ecolife” ซึ่ ง เป น เทคโนโลยี ลาสุดจากทาง ZF
4# ±W;G= W&W.D°W43& «5=JW1B[1<¬ Y1=±ù°³·úµ°¹¹¹¹
แทรกเตอร คูโบตา รุนบี 2420 ที่สุดสําหรับงานบํารุงรักษาทางการเกษตร ไมวา จะเปนงานกําจัดวัชพืช พนฮอรโมน ไถพรวนดิน สับคลุกใบ ออย หรือแมแตการปรับดิน ทีม่ าพรอมขุมพลังจากเครื1องยนต ดีเซลคูโบตา ภายใตมาตรฐานการ ใช ง านเที ย บเท า แทรกเตอร รุ น ใหญ ตอบโจทยทุกความตองการ ใชงานสําหรับเกษตรกรไทยโดย เฉพาะ 4# ±D<L; SY4/ L G= 5GW=%K_3 ÞÞÞ±ÚÐÈÔÒÜÉÖÛȱÊÖ±Ûϲ
เทรลเลอร บิ๊กไบค
ผลิตภัณฑคุณภาพจาก บริษัท สามมิตร โอโตพารท จํากัด ผลิตขึ้นเพื1อรองรับ ความตองการของกลุม ลูกคาทีช่ ื1นชอบการ แตงรถยกสูง และเพิ่มสมรรถนะใหกับรถ ขับเคลื1อน 4 ลอ ที่ใชแหนบเปนพื้นฐาน ในระบบรองรับโดยเฉพาะ
ออกแบบใหเหมาะสมกับการรับนํ้าหนักมาก ๆ (เปนตันขึ้นไป) โครงสรางที่มีความคงทน แข็งแรง สะดวกในการใชงาน ประหยัดเวลาและคา ใช จ า ยในการติ ด ตั้ ง โดยหลั ง จากการติ ด ตัง้ เสร็จเรียบรอยแลว สามารถใช ง านได ทันที
รถพวงบรรทุกรถมอเตอร ไซค (Big Bike) อเนกประสงค ตอลากพวงรถกระบะ รถ เอสยูวี ออกแบบและผลิตเฉพาะตามรูป แบบที่ ลู ก ค า ต อ งการ ที ม งานพร อ ม สรางสรรคงานคุณภาพเพื1อคุณ
4# ±DL;;N/=YGY/8L= 1 Y1=±ù°³µ³ù°º·º·
ÙÖÜ× Y1=±ù°³¸³ù°ùµµµ
4# ±1O±W ±.O±[9W4G= Y1=±ù°³´·ù°¸¶µ³
Pierre Cardin GPS-5116
WAY WAY Q5035 GPS Navigator
เครื่องขุด KOMATSU PC60-7
ผลิตภัณฑ GPS navigator แบรนดหรูจากประเทศฝรั่งเศส Pierre Gardin รุน GPS-5116 ขนาดหนาจอ 5 นิ้ว เนนดีไซน ตัวเครื1องที่สวยงาม กะทัดรัด มาพรอมกับแผนที่นําทาง เวอรชั่นลาสุด Power map Z9 แสดงผล แบบ 3D เสมือนจริง
หนาจอ 5 นิ้ว ขนาดและนําหนักกําลังเหมาะมือ การคนหาเสน ทางและเป า หมายเป น ไปด ว ยความรวดเร็ ว และระบบ Multimedia Function ที่ทําใหเพลิดเพลินไปกับความบันเทิง ในการเดินทางของคุณไมวาจะเปนการดูหนัง ฟงเพลง หรือ เลนเกมไดงาย ๆ เพียงแคสัมผัสที่หนาจอ
เครื1องยนต รุน KOMATSU4D95LE มีขนาดเล็กชวยประหยัด คาขนสงไปยังหนวยงาน ทํางานในทีแ่ คบไดดเี พราะ ใชพนื้ ทีใ่ น การสวิงกวางเพียง 3.5 เมตร และยังมีการติดตั้งสวิทชลดรอบ เครื1อ งยนต เพื1อ การ ประหยั ด นํ้ า มั น เชื้ อ เพลิง
4# ±Y =A =N% WG^3W1G= [8=& Y1=±ù°³ºµ¶°µ¶ù¸
ÈÕÊÌÙ° ßÊÓÜɱÊÖÔ Y1=±ù°³ú·¹°·ú·¹
4# ±4L" G [1<°<SW=W&O< Y1=±ù¹°·µ·¹°ú¸³³
R1_B&T#255_p46-47_Pro2.indd 46
10/3/14 8:43 PM
B&T#255_p46-47_Pro2.indd 47
10/2/14 10:18 PM
ÂÒ§¼ŒÒ㺠«Õ·
B&T#255_p48_Pro2.indd 48
10/2/14 11:03 PM