# 1 เ พื่ อ ผู ป ร ะ ก อ บ ก า ร ร ถ พ า ณิ ช ย
กาวสูปที่ 11
ฉบับที่ 259
www.BusAndTruckMedia.com
ปกษแรก ธันวาคม 2557 40 บาท
คําถามสังคม
BUS&TRUCK’14 กระตุนตลาดรถใหญ
50.5 ตัน ดีหรือราย? ดับเครื่องชม
สแกนเนีย สงบัส 10 เมตร 04 ชิมลางตลาดใหม เปรียบเทียบรถเดน ปดฉากงาน BUS & TRUCK ’14 ที่มีขึ้นระหวางวันที่ 6-8 พฤศจิกายน 2557 ณ ไบเทค กรุงทพฯ ที่ผานมา ยัง คงตอกยํ้าภาพผูนําการจัดงานมอเตอร โชวรถขนาดใหญเพื1อการพาณิชย แหง
ควันหลง BUS&TRUCK’14 24 LOGISTICS NEWS
เรงเครื่อง Backhaul
แรกในอาเซียน ที่กาวสูปที่ 11 อยาง มั่นคง ภายใตแนวคิด “More Power, No Border… แรง...ขามแดน” ซึง่ งาน นีช้ ว ยสรางยอดขายใหกบั ตลาดรถใหญ ไดเปนอยางมากแมเศรษฐกิจจะอยูใน
ชวงชะลอตัว ภายในงาน BUS & TRUCK ’14 มี สินคาและบริการที่เกี่ยวเนื1องกับรถเพื1อ การพาณิชยหลากหลายแบรนดมาชวย อานตอหนา 38
MCC ตั้งเปาสรางชื่อรถจีน ไดสตาร เทค ตั้งเปาโต 100% ใช “ไบเบน” เปนตัวชูโรง โชวบัสไฮเทค BUS&TRUCK’15
28
AUTO GAS
แนะนํา Pattarongrit Gastech 44
B&T#259_p01_Pro3.indd 1
MCC นําประสบการณทขี่ ายรถใหญมากวา 30 ป สราง รถใหญจากจีนให โตในตลาดขนสง โดยใชยหี่ อ “ไบเบน” เปน ตัวชูโรง สวน “ไซโนทรัค” “CAMC” และรถบัส “ซูชิ” เปน ตัวชวยขับเคลื1อน พรอมนํารถบัส “นีโอแพลน” จากเยอรมนี บุกตลาดรถทัวร
ไดสตาร เทค วางเปาป 58 ยอดตองโตเกิน 100% เพราะลูกคาเริม่ เห็นถึงความปลอดภัยและการสรางความพึง พอใจใหกบั ลูกคา รวมถึงการบริการหลังการขายที่ใสใจในทุก นาที สวนงาน BUS & TRUCK ’15 ปรับโฉมใหมนํารถบัส ไฮเทคที่มีอุปกรณทุกอยางใหลูกคาไดเห็นของจริง
อานตอหนา 39
อานตอหนา 39
11/27/14 10:08 PM
B&T#259_p02-03_Pro3.indd 2
11/27/14 10:01 PM
B&T#259_p02-03_Pro3.indd 3
11/27/14 10:01 PM
04 BUS&TRUCK • BUS & TRUCK SHOW
ปกษแรก • ธันวาคม 2557
ดับเครื่องชม
สแกนเนี ย สงบัสพิเศษ 10 เมตร ชิมลางตลาดใหม สแกนเนี ย ส ง มอบรถบั ส โดยสารความยาวพิเศษ 10 เมตร ลง กลุม ตลาดใหมสลู กู คารายใหญจาํ นวน 6 คัน แกบริษทั สวีทรานส จํากัด เพื1อ ใช ในงานกิจกรรมของนิสติ และหนวย ง า น ภ า ย ใ น ข อ ง จุ ฬ า ล ง ก ร ณ มหาวิ ท ยาลั ย เน น ตอบโจทย ด า น ความสะดวกสบายในการใชงาน และ การเขาถึงสถานที่ซึ่งมีพื้นที่จํากัด คุณภูริวัทน รักอินทร ผูจัดการ ประจํ า ประเทศ ไ ท ย บ ริ ษั ท สแกนเนีย สยาม จํ า กั ด กล า วว า ต ล า ด ร ถ บั ส โดยสารเปน ตลาดที่ มี ค วาม หลากหลาย สวน ใหญจะขึ้นอยูกับ การใชงานของลูกคาเปนสําคัญ ซึ่งรถ บั ส โดยสารของสแกนเนี ย ที่ มี อ ยู ปจจุบัน ทั้งในกลุมรถความยาว 12 เมตร และ Long Bus รถที่มีขนาด ความยาวพิเศษ 15 เมตร เนนเรื1อง ประสิทธิภาพเครื1องยนต ระบบความ นุมนวล ระบบความปลอดภัย และ
B&T#259_p04-05_Pro3.indd 4
ลาสุดจากการรับฟงความคิดเห็นและ ความตองการจากลูกคา จึงไดมีการนํา เข า แชสซี ส ร ถบั ส โดยสารสแกนเนี ย ขนาดความยาวพิเศษ 10 เมตร เพื1อตอบ โจทยใหครอบคลุมมากยิง่ ขึน้ รถโดยสาร สแกนเนียรุน K 250 IB 4x2 มาตรฐาน ไอเสียยูโร 3 ชวงลางถุงลมพรอมโชคอัพ แบบ Heavy Duty เพิ่มความนุมนวล ขณะโดยสาร ความยาวทั้งคันรถ 10.6 เมตร โดยรถ 6 คันแรก ไดถูกสั่งซื้อโดย บริษัท สวีทรานส จํากัด เพื1อนําไปให
บริการรับ-สงนิสติ สําหรับกิจกรรมภายใน จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ดานคุณวรพจน ชะรินทร กรรมการผูจัดการ บริษัท สวีทรานส จํากัด กลาวถึงการนํารถบัสโดยสารขนาดพิเศษ 10 เมตร มาใหบริการแกกลุมลูกคาของ บริ ษั ท ว า รถบั ส โดยสารค า ยยุ โ รป ความยาว 10 เมตรยังไมเคยมีใครนํามา ใหบริการ แตเปนที่ตองการของกลุม ลูกคาทีม่ จี าํ นวนผูโดยสารตอเทีย่ วไมมาก มีทจี่ อดรถนอย และตองการเขาถึงสถาน ทีต่ า ง ๆ ทีม่ พี นื้ ทีจ่ าํ กัด เปนทีท่ ราบกันวา
สแกนเนียคือผูจ าํ หนายรถใหญที่ไดรบั การยอมรับทั่วโลกเรื1องเทคโนโลยีมี ประสิทธิภาพ มีระบบความปลอดภัย เปนเลิศ มีความนุมนวล ความสะดวก สบาย และความคลองตัว จึงทําใหผม ตัดสินใจสั่งซื้อรถสแกนเนีย K250 มา ให บ ริ ก ารกั บ คณาจารย แ ละนิ สิ ต จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และมัน่ ใจวา ตลาดรถบัสโดยสารยุโรป 10 เมตร ยัง มีความตองการอีกมาก โดยสวีทรานส ฯ ถือวาเปนผูให บริ ก ารขรถโดยสารรายใหญ ใ น ประเทศไทยที่ ไดการยอมรับเรือ1 งการ ให บ ริ ก ารและเรื1อ งคุ ณ ภาพของรถ โดยสารทีใ่ ช โดยสวนใหญแลวก็เลือกใช รถบั ส จากสแกนเนี ย เป น หลั ก เพื1อ รองรับกลุม ลูกคาทีใ่ ชบริการโดยบริษทั ที่ เ ลื อ กใช บ ริ ก ารนั้ น จะเป น องค ก ร ขนาดใหญทงั้ สิน้ ซึง่ ลูกคาจะเลือกดาน คุณภาพของรถ และความปลอดภัยมา เปนอันดับตน ๆ และลูกคารูสึกพอใจ อย า งมากเมื1อ ได รั บ การบริ ก ารจาก สวีทรานสฯ โดยลงทุนมหาศาลเพื1อ เลือกซื้อรถสแกนเนียมาดําเนินธุรกิจ นอกเหนือจากนัน้ ยังมีรถโดยสารขนาด พิเศษอีกมากมายเพื1อรองรับลูกคาในป 2558 และเชื1อวาตลาดรถโดยสารจะ ตองกลับมาคึกคักอีกครั้ง
11/27/14 10:18 PM
B&T#259_p04-05_Pro3.indd 5
11/27/14 10:18 PM
06 BUS&TRUCK • SPECIAL PURPOSE VEHICLE
ปกษแรก • ธันวาคม 2557
รถเพื่อกิจการพิเศษ รถเพอกจการพเศษ
“ออโต สลีปเพอร” รุกตลาดไทย เปดตัวรถมอเตอรโฮม 5 รุน “ออโต สลี พ เพอร ” (Auto Sleepers) รถบานมอเตอร โฮมจาก ประเทศอังกฤษ รุกตลาดครั้งแรกใน ไทย ส ง 5 รุ น รวด ได แ ก สตาตั น โบรตั น วิ น ช ค อมบ มั ล เวิ ล น และ เบคฟอรด พรอมแตงตัง้ บริษทั มอเตอร โฮม แอนด คาราวาน (ไทยแลนด) จํากัด เปนผูแทนจําหนายอยางเปน ทางการ ดูแลตลาดในประเทศไทยและ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต บริ ษั ท มอเตอร โ ฮม แอนด คาราวาน (ไทยแลนด) จํากัด ไดรบั การ แต ง ตั้ ง ให เ ป น ผู แ ทนจํ า หน า ยรถ มอเตอรโฮม “ออโต สลีพเพอร” (Auto Sleepers) อย า งเป น ทางการจาก ประเทศอั ง กฤษ สั่ ง นํ า เข า รถบ า น มอเตอร โฮมเพื1อ มาจํ า หน า ยใน ประเทศไทยเชื1อมั่นวายังมีคนจํานวน หนึง่ มีความตองการใชรถประเภทนี้ แต เนื1องจากในประเทศไทยยังไมมีใครเริ่ม ทํ า การตลาดรถบ า นประเภทนี้ อ ย า ง จริงจัง ทําใหคนไทยสวนหนึ่งที่มีความ ชอบและมีความตองการใชงานตองไป หารถมาดัดแปลงเพื1อใหสามารถตอบ โจทยการใช ในปจจุบัน “ออโต สลี พ เพอร ” (Auto Sleepers) ทีเ่ ขามาจําหนายในเมืองไทย ผลิตออกมาดวยความประณีตและใสใจ ในทุกรายละเอียด ทําใหรถแตละคัน เปรียบเสมือนงานศิลปะ และเหตุที่คน ทํางานในประเทศอังกฤษจะใชชีวิตอยู กับรถมอเตอร โฮม พวกเขาจึงเรียนรู จากประสบการณในการใชประโยชนให ไดมากที่สุดกับพื้นที่ภายในรถ ทุก ๆ ลูกบาศกเซนติเมตร และมั่นใจวาลูกคา ชาวไทยเมื1อไดเห็นและสัมผัสจะมีความ รูสึกไมแตกตางกันอยางแนนอน
B&T#259_p06-07_Pro3.indd 6
โดยชวงแรกนี้ทางบริษัทไดสั่งรถ มมอเตอร อเตอรโฮฮมเข มเขามมาจํ าจําหหนนายยรวมทั รวมทั้งสสิิ้น 5
รุน ขนาดความสูงของรถอยูที่ประมาณ 2.96 เมตร ในรุุน โลว โปรไฟล และ 3.1 เมตร ในรุ น ที่ มี ห อ งนอนเหนื อ คนขั บ ความกวางประมาณ 2.35 เมตร (หากพับ กระจกขาง) หรือ 2.78 เมตร (นับรวม กระจกข า ง) ความยาวตั ว รถ เริ่ ม ที่ ประมาณ 5.94 เมตร และ รุุนที่ใหญสุด จะมีความยาวอยูท ี่ 7.29 เมตร ทัง้ นีค้ วาม กวางยาวของตัวรถมีความแตกตางกันใน แตละรุนุ เครื1องยนตและชวงลางของ ออโต สลีพเพอร เปนของเมอรเซเดส-เบนซ จึง ใหความนุมนวลในการขับขี่ ขับงายดวย เกียรอัตโนมัติ 7 สปด (7 G Tronic) ทุกุ รุุ น เป น เครื1อ งยนต ดี เ ซลมี ใ ห เ ลื อ ก 2 ขนาด คือ ขนาดเครื1องยนต 2,200 ซีซี. 163 แรงม แรงมา และเครื และเคร1อื งยนต งยนต V6 V6 3,000 3,0000 163
ซี ซี . 190 แรงม า อั ด แน น ไปด ว ย เทคโนโลยีในดานความปลอดภัยดวย ถุงลมนิรภัยคูหนา ระบบเบรก ABS พรอม EBD/BAS ระบบ ESP ควบคุม การทรงตัวและ ASR ปองกันการลื1น ไถลขณะออกตัว เพื1อทุกการเดินทาง ของครอบครัวปลอดภัยสูงสุด และยัง พรอมไปดวยสิ่งอํานวยความสะดวก มากมาย อาทิ ครัวประกอบดวยเตา แกส เตาอบ ไมโครเวฟ หองนํ้าแยก สวนจากที่อาบนํ้า ระบบนํ้ารอน/เย็น ทุ ก จุ ด รอบคั น ระบบปรั บ อากาศทั้ ง ขณะเดิ น ทางและจอดแยกส ว น ที่ ควบคุ ม อุ ณ หภู มิ ใ นห อ งโดยสารให สบาย พรอมความบันเทิงดวย LED TV ขนาด 24” และ Digital TV DVB-T2 Tuner กั น สาดมู ลี่ แ บบเก็ บ ได แผง โซลารเซลลสําหรับเก็บพลังงานแสง อาทิตยขนาด 30 วัตต และหนาตาง ด า นบนหลั ง คารถสํ า หรั บ รั บ ลมและ ชมวิว เปนตน ความแตกตางในแตละรุนอยูที่ ฟงกชั่นและการจัดวางอุปกรณตางๆ ภายใน ราคาจําหนายเริม่ ตนที่ 5.9 ลาน บาท (รุนสตาตัน) ในเบื้องตนตั้งเปา จําหนายไวทปี่ ระมาณ 10 คัน สวนเรื1อง ของการจดทะเบียนนั้น ตามระเบียบ ของกรมขนส ง ทางบกแล ว การจด ทะเบียนรถมอเตอรโฮมเหมือนกับการ จดทะเบียนรถยนตนงั่ สวนบุคคลไมเกิน 7 คน ทัว่ ไป จึงไมมปี ญ หาเรื1องทะเบียน แนนอน และใบขับขี่ก็สามารถใช ใบ ขับขีป่ ระเภท 1 ทีใ่ ชกบั รถยนตนงั่ ทัว่ ไป ในปจจุบันไดทันที สําหรับการบริการ หลังการขายก็สามารถเขารับบริการ ไดที่ศูนยบริการของเมอรเซเดส-เบนซ ทุกแหง ซึ่งความพรอมในสิ่งตาง ๆ เหลานี้เปนเครื1องยืนยันถึงความตั้งใจ จริงของบริษทั ฯ ในการทําตลาด พรอม สรางความเชื1อมั่นและไววางใจใหกับ ลูกคาไดอยางแนนอน
11/27/14 10:28 PM
B&T#259_p06-07_Pro3.indd 7
11/27/14 10:28 PM
08 BUS&TRUCK • BUSINESS CATALYST
ปกษแรก • ธันวาคม 2557
คันเรงธุรกิจ
มีอัศวินมาชวย ตัง้ แตวนั ที่ 22 พฤษภาคมทีผ่ า นมา ไดมีการปฏิรูปการบริหารประเทศที่คณะ รักษาความสงบแหงชาติ หรือ คสช. ได เขามายุติการทะเลาะเบาะแว งกันของ คนในชาติ พรอมทั้งยังไดวางแผนที่จะ ชวยฟนฟูเศรษฐกิจที่ตกตํ่า ใหมีภาวะที่ดี ขึ้ น เพื1อ ประชาชนทั้ ง ประเทศจะได สามารถอยูรอดได ไมตองอดอยากอีกตอ ไป ซึ่งก็ถือวาเปนอัศวินมาขาวที่เขามา ชวยกอบกูวิกฤติที่จะลุกลามใหหยุดลงได แตภาวะเศรษฐกิจในป 2557 นี้ก็ ยังไมเติบโตอยางเปนรูปธรรมหากเปรียบ เทียบกับประเทศเพื1อบานในอาเซียนแลว ถือวาเปนหลุมดําที่รอบตัวมีแตจะเติบโต ขึน้ หากสังเกตใหดแี ลวจะพบวาประชาชน คนไทยยังตองประคองตัว เพื1อใหอยูรอด ได ในสถานการณที่ยังตกตํ่าอยู อยางตลาดขนสงทางบกก็อยูใน สถานการณที่มีงานจางเขามานอยมาก จะเห็นมีรถใหญจอดเรียงรายอยูริมถนน เปนจํานวนมาก ซึ่งตัวเจาของธุรกิจเองก็ ตองพยายามอยางสุดความสามารถที่จะ ทําใหพนักงานมีรายไดเขามาเพื1อประทัง ชีวิต แมรัฐบาลจะประกาศออกมาวาป 2558 เศรษฐกิจจะดีขนึ้ แตกย็ งั ไดรบั ความ ไวเนื้อเชื1อใจจากประชาชนนอยมาก แตในชวงวิกฤตินี้ก็มีอัศวินมาขาว เขามาชวยอีกครั้งนั้นคือราคานํ้ามันดิบ ของโลกลดเหลือ 75 ดอลลารตอบาเรล สงผลใหราคานํ้ามันเชื้อเพลิงทุกชนิดมี ราคาถูกลงมาดวย หากราคานี้ยืนอยูถึง สิ้นป 2557 ก็เปนผลดีของคนไทยที่มีรถ เพื1อการพาณิชยใชงาน เพราะตนทุนจะ ลดลง สามารถนําไปใชอยางอื1นที่จําเปน ของชีวิตได บรรณาธิการอาวุโส
นิตยสาร BUS&TRUCK ที่ปรึกษากิติมศักดิ์ : ดร.ปราจิน เอี่ยมลําเนา ชยาวุธ จิระธันท, ยู เจียรยืนยงพงศ, บุนเอี้ยน ศรีแสนสุชาติ, วรพจน แสงทวีสิน, เถลิง พลวรรณาภา, ชูชาติ สวางสําลี ดร.วสุเชษฐ โสภณเสถียร, คุณวรวิทย เจริญวัฒนพันธ, คุณสมชาย ทองคําคูณ กรรมการผูจัดการ : ชาตรี มรรคา บรรณาธิการอาวุโส : เสกสรรค ไชยเผือก หัวหนากองบรรณาธิการ : เสกสรรค ไชยเผือก ผูชวยหัวหนากองบรรณาธิการ : ธัญพร ขันธสิทธิ์ กองบรรณาธิการ : พฤกษ ดานจิตรตรง, จักรพรรดิ์ โสภา เลขากองบรรณาธิการ : มณีรัตน วัฒตะนะมงคล ที่ปรึกษากองบรรณาธิการ : อรุณ เหลาวัฒนกุล ผูจัดการโฆษณา : สุจิตรา สงครามรอด แผนกโฆษณา : บุปผา กอมขุนทด เลขาแผนกโฆษณา : นิภาพร ทุมสอน สมาชิก : วิวรมาศ แกวศิริ เว็บไซต : BusAndTruckMedia.com การเงิน : แสงอรุณ มงคล ศิลปกรรม : ธีระ พุมขํา BIP GROUP พิมพ : กรังดปรีซ อินเตอรเนชั่นแนล จัดจําหนาย : เวิลดออฟดิสทริบิวชั่น โทร. 0-2744-6888 ผูจัดทํา : บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด 200/7-14 ชั้น 6 อาคารเออีเฮาส ซ.รามคําแหง 4 แขวง/เขต สวนหลวง กรุงเทพมหานคร 10250 โทร. 0-2717-2477 ตอ 171 แฟกซ. 0-2717-2466, 0-2318-4689 www.BusAndTruckMedia.com อีเมล : info@TTFintl.com
B&T#259_p08-09_Pro3.indd 8
ป 58 โปรโมชั่นเพียบ เหตุรถใหญเกินความตองการ
ด ว ยในป 2555-2556 มี ย อด จําหนายรถใหญรวมกันแลวมากเกือบ 80,000 คัน เพราะอยูในชวงที่ภาวะ เศรษฐกิจเติบโตมีการขนสงสินคาทั้ง อุป โภคและบริโภค วัสดุกอสรางกัน อยางมากมาย แตทุกอยางไมวาจะเปน ภาวะเศรษฐกิจและธุรกิจทุกอยางใน ประเทศต างชะลอตัวลงเนื1องมาจาก วิกฤติทางการเมืองเริม่ ประทุขนึ้ ปลายป 2556 สงผลใหยอดจําหนายรถใหญใน ป 2557 นี้ตองลดลงมาเหลือสูงสุด เพียงเกือบ 30,000 คันเทานั้น แตดวยการขนสงในเมืองไทยโต มากที่สุดในกลุมอาเซียนดังนั้นคายรถ ใหญ ที่ เ ข า มาทํ า ตลาดในเมื อ งไทย มากกวา 20 คาย ทั้งจากประเทศญี่ปุน สวีเดน เยอรมัน เกาหลี อิตาลี เกาหลี จีน ตางไดเขามาทําตลาดพรอมทั้งยังได ตั้งโรงงานประกอบเพื1อที่จะไดจําหนาย ทั้งในประเทศและสงออกไปยังประเทศ ตาง ๆ ทั่วโลกอีกดวย แตเมื1อจํานวนรถใหญที่มีมากกวา 1 ลานคัน ซึ่งเกินความตองการของผู ใช อยูแลวแตทางคายรถใหญมุงทําตลาด และวางแผนที่จะเพิ่มยอดจําหนายให ได มากตามที่ทางบริษัทแมไดวางไปแลวไม วาจะเปนกลยุทธตาง ๆ ที่จะดึงความ ตองการของลูกคา ตองมีใหเห็นอยาง แพรหลายในป 2558 อยางแนนอน
โปรโมชั่นตาง ๆ เพียบ เมื1อตลาดขนสงมีความตองการรถ ใหญนอยแตคายรถใหญไดบุกเขามาทํา ตลาดเปนจํานวนมากเกินความตองการ ซึ่งจะเห็นไดชัดในป 2558 ดังนั้นคายรถ ใหญทุกคายจึงไดเตรียมโปรโมชั่นตาง ๆ ไว ใหลูกคาไดเลือกตามความตองการไม วาจะเปนการฟรีเงินดาวน ระยะเวลาการ
ผอนนาน 72 เดือน การรับประกันหลัง การขาย 2 ป พรอมทั้งยังเปลี่ยนถาย นํ้ า มั น เครื1อ งฟรี ต ลอดเวลารั บ ประกั น และที่สําคัญยังลดราคาจําหนายใหมาก ถึง 3 แสนบาทอีกดวย รวมทั้งคายรถใหญไดเสนอขายให ลูกคาเปนแพ็กเกจ สามารถซื้อรถใหญ สําเร็จรูปไดเลยไมวาจะเปนตัวกระบะรถ บรรทุกรถดัมพ รถมิกเซอร ไมตองเสีย เวลาไปตอที่อูตอตัวถังรถบรรทุกใหเสีย เวลาอีก อีกทั้งสามารถทําไฟแนนซรวม กันไดอีกดวย
จายไฟแนนซ เมื่อรถวิ่งบนถนน แตกอนนั้นเมื1อตัดสินใจซื้อรถใหญ ก็ตอ งผอนคางวดแกไฟแนนซทนั ที แมจะ ตองเสียเวลานําไปตอตัวถังรถบรรทุกอีก แตดวยจํานวนรถใหญมีมากเกินความ ตองการตลาดขนสง รูปแบบการบริหาร ของบริษัทไฟแนนซจึงไดเปลี่ยนไป เมื1อ ลูกคาไดตัดสินใจซื้อรถก็ยังไมตองผอน สามารถนําไปตอตัวถังรถบรรทุกกับอูได ก อ นแม ว า จะต อ งเสี ย เวลาทํ า การ ประกอบถึง 2-3 เดือน ก็สามารถนํามา รวมเปนไฟแนนซกับตัวรถได นอกจากนี้ เมื1อนํารถออกจากอูวิ่งบนถนนหารายได ก็ จ ะเริ่ ม เป น เวลาที่ ทํ า การผ อ นให กั บ ไฟแนนซ ถือเปนประโยชนของผูป ระกอบ การขนสงเปนอยางมาก เพราะไมตอง เสียเงินทุนไปกอนกวารถจะสามารถวิง่ ได โดยดอกเบีย้ ทีท่ างไฟแนนซคดิ จากลูกคา สูงถึง 6 เปอรเซ็นต แตหากเปนลูกคาดี ที่เคยใช ไฟแนนซมากอนจะไดลดอัตรา ดอกเบี้ยเหลือ 4 เปอรเซ็นต ซึ่งตางมอง วาเปนการเสียรายไดที่สูงไปทางรัฐบาล นาจะออกมาควบคุมเรื1องนี้บางเพื1อผล ประโยชนของคนในชาติ
ป 58 คาดขายไดรวม 3.6 หมื่นคัน ถึงแมวา ตลาดขนสงทัง้ ทีว่ งิ่ ประจํา ทางและไมประจําทางจะมีความตองการ ซื้ อ รถใหญ คั น ใหม เ ป น จํ า นวนน อ ย เนื1องจากภาวะเศรษฐกิจยังไมเติบโตเทา ทีค่ วรเปนผลใหผวู า จางผลิตสินคาทีน่ อ ย ตามลงไปดวย แตผูบริหารรถใหญแทบ ทุกคายตางมองวายังมีผูผลิตสินคาราย ใหญที่ยังทํางานไดยังทํางานไดเหมือน เดิมไมลดลงมาตามสภาพเศรษฐกิจ และ ทางบริษัทที่มีมาตรฐานเปนสากลก็ ได กําหนดอายุการใชงานของรถใหญที่วา จางขนสงดวย บางบริษัทกําหนดให 6 ป 8 ป หรือถึง 10 ป โดยกลุม ลูกคาประเภท นีถ้ อื เปนลูกคารองลงมาของคายรถใหญ ซึ่งก็จะสามารถชวยเพิ่มยอดขายไดตาม เวลาที่กําหนด นอกจากนี้แลวความตองการของ ตลาดขนส ง ในเมื อ งไทยจะมี ค วาม ตองการรถใหญรุนใหมอยูเสมอ เพราะ เมื1อใชรถเกามาเปนเวลานานคาใชจายก็ จะเพิ่มขึ้นไมวาจะเปนคาอะไหลที่ตอง ซอม การกินนํา้ มันเชือ้ เพลิงทีส่ งู ขึน้ ทําให คายรถใหญแทบทุกคายตางเตรียมที่จะ เปดตัวรุนใหมซึ่งมีทั้งเปลี่ยนโมเดล หรือ เปลี่ยนชิ้นสวนและอุปกรณเพื1อใหรถดู ใหม โดยเปาหมายหลักคือตองทํายอด ขายใหไดตามทีบ่ ริษทั แมทตี่ งั้ เปาไวตงั้ แต ป 2558 โดยผลประโยชน จ ะตกอยู ที่ ผู ประกอบการขนส ง โดยตรงเพราะ สามารถเลือกซือ้ รถใหญทงั้ ทีม่ รี าคาถูกมี โปรโมชั่นตาง ๆ อีกมากมายหรือตลอด เวลา 3 ป แทบจะไมตองเสียคาใชจายใน การดูแลรถเลย
11/27/14 10:38 PM
BUSINESS CATALYST • BUS&TRUCK 09
ปกษแรก • ธันวาคม 2557
คันเรงธุรกิจ
“ดีลเลอรมือทอง” คุมภาคอีสาน ไทยมารทฯ ปองกันลูกคาเบี้ยว ทํายอดขายรถโฟตอนไดมากสุด เหตุงานนอยตองจายคารถกอน ดีลเลอรมือทอง ประกาศทํายอด ขายรถใหญ โฟตอนไดมากสุดกวาทุก ดีลเลอร แถมเปนตัวตั้งตัวตีใหตั้ง ทีซี แคปป ต อล เพื1อ ปล อ ยสิ น เชื1อ ให แ ก ลูกคา โดยเปนผูเ สนอชื1อลูกคาทีม่ ฐี านะ มั่นคง คุณบรรชา แสงบางมุด กรรมการ ผูจัดการ บริษัท ดีลเลอรมือทอง จํากัด ตัวแทนจําหนายรถใหญ “โฟตอน” ใน จังหวัดขอนแกน เปดเผยวา ดวยการทํา ยอดจํ า หน า ยรถใหญ โ ฟตอน ในภาค อีสานไดเปนจํานวนมาก ซึง่ ถือวามากสุด ในดี ล เลอร ร ถใหญ โ ฟตอนด ว ยกั น เอง สาเหตุ ก็ เ พราะมี ค วามเข า ใจในตลาด ขนสงเปนอยางดี เพราะมีประสบการณ ในการทํารถใหญมานานพอสมควร และด ว ยความเข า ใจในความ ตองการของลูกคา ซึง่ รถใหญโฟตอน มา จากประเทศจีน บริษทั ไฟแนนซจะปลอย สิ น เชื1อ ให ย ากมาก จึ ง ได เ สนอไปยั ง บริษัท ตันจง อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด ทีเ่ ปนบริษทั แม ของ บริษทั โฟตอนทรัค (ประเทศไทย) จํากัด ผูดูแลรถใหญ โฟตอน ใหตั้งบริษัทไฟแนนซขึ้นมา โดย ปลอยสินเชื1อใหกับลูกคารถใหญโฟตอน
และในที่สุดก็ตั้งบริษัท ทีซี แคปปตอล ขึน้ มาดูแลและก็ปลอยสินเชื1อใหแกลกู คา ในภาคอีสาน 4–5 รายแลว “ก อ นหน า ที่ ท างบริ ษั ท แม จ ะ ประกอบรถใหญ โ ฟตอนในเมื อ งไทย สามารถทํายอดจําหนายไดถงึ ปละ 40-50 คัน โดยจะทําหนาที่เปนผูเสนอชื1อลูกคา ใหกับ ทีซี แคปปตอล เอง เพื1อเปนการ รั บ ประกั น ฐานะของลู ก ค า แต เ มื1อ ประกอบในเมืองไทยแทนที่จะขายดีกวา การนํ า เข า แต ผิ ด คาดเพราะฐานะ เศรษฐกิ จ ของประเทศอยู ใ นป ที่ ต กตํ่ า พอดี แมวาจะมีโปรโมชั่นตาง ๆ แตเมื1อ ตลาดไมตองการก็เทากับเปนการเสีย เวลาเปลา” สวนทางดานโชวรูม ศูนยบริการ และโกดังสตอกอะไหลนนั้ ไดใชพนื้ ทีเ่ ดิม ของธุ ร กิ จ เดิ ม คื อ ขายรถมื อ สองที่ ไ ด ลงทุนไปกวา 6 ลานบาท ซึ่งคาดกวาจะ คื น ทุ น คงจะอี ก นานหลายป หาก เศรษฐกิจยังเปนเชนนี้อยู ซึ่งการทําให เพื1อนพันธมิตรทีท่ าํ ขนสงอยูส ามารถมีรถ ใหญมาใชประกอบอาชีพ ก็ถือวามีความ สุขที่พอเพียงแลว
ไทรมารทฯ คาดป 57 ยอดขายลด ลงถึง 30% ต องวางแผนให เ ครดิต ลูกคาอยางรอบคอบ เพราะงานลด ราย ไดนอย ตองนําเงินไปผอนใหรถใหญ กอน สวนพนักงานแมงานนอยก็ตอง ใสใจดูแลเปนอยางดี เพราะไตรมาส 2 ป 58 งานตองกลับมาหนักเหมือนเดิม คุณเมธี กอเจริญเกียรติ กรรมการผูจ ดั การบริษทั ไทรมารท แอดแวน เทจ ทวีสิน จํากัด ตัวแทนจําหนายยาง รถใหญยี่หอ “มิชลิน” เปดเผยวา ตั้งแต ตนปจนถึงปลายป 2557 ตลาดยางรถ ใหญลดลงถึง 30% เมื1อเทียบกับปที่ผาน มา สาเหตุก็เพราะลูกคาที่ทําขนสงอยูมี งานลดนอยลง ตองนํารถใหญจอดอยูร มิ ถนนแทบทุกถนนทั่วประเทศ “เทาที่ ไดพูดคุยกับกลุมลูกคาตาง บอกเปนเสียงเดียวกันวา งานขนสงทีเ่ มื1อ กอนมีเขามามาก แตในปนี้แทบจะไมมี เลยสวนสินคาประเภทอื1นไมวาจะเปน อุปโภค บริโภค ตางก็ลดนอยลง เรียกวา แทบจะไมมรี ายไดจา ยคาผอนรถใหญทซี่ อื้ มาเมื1อปทแี่ ลว ตองพยายามทําทุกวิถที าง
ที่ไมจะไมใหถูกยึดรถคืน” โดยการทําตลาดยางรถใหญ ตอง สามารถประเมินรายไดและรายจายของ ลูกคาใหได ในป 2557 นี้ รายไดของกลุม ลูกคาลดลงไปเปนอยางมาก แตรายจาย อันดับแรกตองผอนคารถใหญเปนราย เดือน เพราะเมื1อป 2556 ยอดจําหนายรถ ใหญทกุ ยีห่ อ มีมากถึงกวา 4.4 หมื1นคัน ซึง่ สวนใหญแลวจะซื้อเปนเงินผอน ดังนั้น การจายคายางรถใหญทจี่ า ยโดยใชเครดิต นั้น จึงตองเขมงวดเปนอยางมากเพราะ หากรายไดของลูกคามีนอ ยก็สามารถทีจ่ ะ เบี้ยวจายได สวนการประเมินสถานการณทาง เศรษฐกิจนั้น คาดวาจะกลับฟนคืนมาดี เหมือนเดิม คงจะเปนไตรมาส 2 ของป 2558 ซึง่ ทางบริษทั ก็จะตองใชชว งเวลาที่ งานนอยลงทําการจัดรูปแบบของบริษัท ใหม เพื1อ ให เ วลาที่ มี ง านเข า มาจะได ทํางานไดคลองตัวมากขึ้น รวมทั้งยังให ความใสใจกับพนักงาน เพราะถือวาเปน แกนหลั ก ที่ จ ะช ว ยหารายได ใ ห เ ข า บริษัท
ใตทองรถ ❖❖❖ ขาวเดนประเด็นรอน รถใหญจากประเทศอินเดียเตรียมตัวที่จะเขา มาบุกตลาดในเมืองไทยแลว เริม่ จากคายญีป่ นุ คายหนึง่ ทีว่ างแผนนําเขารถใหญ ที่บริษัทแมไดตั้งโรงงานอยูในประเทศอินเดีย ซึ่งมั่นใจวาทั้งมาตรฐานและ คุณภาพตองสูงเทากับโรงงานที่ประกอบอยูในประเทศของบริษัทแม เพราะมี วิศวกรไปคุมและดูแลอยางถี่ถวน สวนคายยุโรปอีกคายหนึ่งก็มีโรงงานผลิต เครื1องยนตและแชสซีสข องรถโดยสารในประเทศอินเดียเหมือนกัน โดยมีลกู คา รายใหญไดสั่งเปนจํานวนมากถึง 500 คันตอป ซึ่งรูรายละเอียดเพิ่มเติมมาวา ทําไมถึงเลือกรถที่ประกอบในประเทศอินเดีย ก็เพราะตามกฎ FTA จะเสียภาษี นําเขาเพียง 12% เทานั้น แพงกวาที่จะผลิตในเมืองไทยเล็กนอย ❖❖❖ ขณะนี้กระแสของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC โดงดัง เปนอยางมาก ทุกธุรกิจใหความสนใจ เพราะสามารถกระจายชองทางการทํา ตลาดได แตครั้งนี้เปนเพียงแคการไดยินไดฟงมาเทานั้น ไมไดเจอกับตัวเอง ทั้งนี้ ไดมีเจาของขนสงรายหนึ่งบอกวา AEC นั้นมีเลหเหลี่ยมเยอะมาก กอน การเปด AEC ไดใหรถใหญใน 5 ประเทศทีอ่ ยูร มิ แมนาํ้ โขง สามารถวิง่ ขามแดน กันได จากเมืองไทยตองวิ่งขามสะพานและจายคาผานทางประมาณ 100 บาท เพื1อขามไปยังเมืองเวียงจันทน สปป.ลาว แตมีอยูครั้งหนึ่ง ไดปรับคาผานทาง จาก 100 บาท มาเปน 500 บาท ซึ่งสรางความแตกตื1นใหแกคนขับเปนอยาง มาก จึงไดแจงรายงานมายังเจาของกิจการ หากเปนจริงจากเดิมที่ตองจายให รถใหญผานทางจํานวน 100 วัน วันละ 10,000 บาท ตองเพิ่มมาเปน 50,000 บาท รายจายเพิ่มแตรายได ไมเพิ่ม จึงตรงไปยังเจาหนาทีท่ ี่รับผิดชอบการเก็บ เงินขามแดนวา สาเหตุเปนเพราะอะไรและใครสั่งมา หากเปนจริงจะนํารถ บรรทุกทีม่ อี ยูม ากกวา 100 คัน มาปดสะพานขามแดน สรุปวาเจาหนาทีม่ คี วาม สับสนบางอยาง ทุกอยางยังเปนคงเดิมไมมีเปลี่ยนแปลง เรื1องจึงสงบลง นี่คือ ปญหา AEC ในขณะที่ยังไมเปดใชอยางจริงจัง
B&T#259_p08-09_Pro3.indd 9
11/27/14 10:38 PM
10 BUS&TRUCK • ROAD and LAW
สัญญาณ
กรมทางหลางชนบท ทุม 2 ลานลาน เชื่อมราชพฤกษ-กาญจนาภิเษก
กรมทางหลวงชนบท(ทช.) ทุม 2 ลานลานบาท เตรียมกอสรางถนนสาย เชื1อ มถนนราชพฤกษ - กาญจนาภิเษก (วงแหวนเหนือ-ใต) แนวเหนือ-ใต โดย เ ชื1อ ม ร ะ ห ว า ง ห ม า ย เ ล ข 3 4 5 (บางบัวทอง-บางคูวัด) ถึงทางหลวง หมายเลข 346 (ปทุมธานี-ลาดหลุมแกว) ระบายรถแนวถนนราชพฤกษที่จะเพิ่ม ในอนาคต คุณปฐม เฉลยวาเรศ ผูอํานวย การสํ า นั ก ก อ สร า งสะพานกรมทาง หลวงชนบท (ทช.) เปดเผยวา ในป 2559 ทช.ยั ง มี โ ครงการจะกอสรางถนนสาย เชื1อ มถนนราชพฤกษ - กาญจนาภิ เ ษก (วงแหวนเหนือ-ใต) แนวเหนือ-ใต โดย เชื1อมระหวางหมายเลข 345 (บางบัวทองบางคูวัด) ถึงทางหลวงหมายเลข 346 (ปทุมธานี-ลาดหลุมแกว) ซึง่ โครงการดัง กลาวใชงบประมาณ 2,000,000 ลานบาท เพื1อระบายรถในแนวถนนราชพฤกษซึ่ง คาดว า ในอนาคตจะเพิ่ ม มากยิ่ ง ขึ้ น อยางไรก็ตามขณะนี้มีการกําหนดแนว เวนคืนไปแลวซึ่งจะมีประชาชนไดรับผล กระทบประมาณ 500 ราย ทั้งนี้ ทช.ได ตั้งงบประมาณในการเวนคืนประมาณ 205 ลานบาท โดยหากจายเงินคาเวนคืน ครบรอยละ 80 ก็จะสามารถเริม่ โครงการ
ไดทันที “ขณะนี้ ทช.อยู ร ะหว า งการลง ประกาศรางขอบเขตการทํางานหรือทีโอ อารเพื1อหาผูรับเหมา กอสรางขยายถนน ราชพฤกษระยะที่ 2 โดยเริ่มตั้งแตซอย จรัญสนิทวงศ 13–คลองมหาสวัสดิ์ โดย จะมีการขยายถนนจาก 3 ชองเปนดานละ 5 ชองจราจร งบประมาณในการกอสราง 400 ลานบาท ทั้งนี้คาดวาจะสามารถหา ผูร บั เหมาไดประมาณเดือนธ.ค. 2557 นี”้ สํ า ห รั บ ก า ร ข ย า ย เ ส น ถ น น ราชพฤกษระยะที่ 2 นั้น ถือวาเปนการ ขยายตอเนื1องมาจากระยะที่ 1 โดยเริ่ม ตั้ ง แต ถ นนรั ต นาธิ เ บศร ถึ ง คลองมหา สวัสดิ์ ขณะนี้ ไดดาํ เนินการไปแลวนัน้ โดย โครงการดังกลาวจะสามารถระบายการ จราจรจากถนนถนนรัชดาภิเษกและถนน สมเด็จพระเจาตากสินเนื1องจากปจจุบนั มี ปริมาณประชาชนใชรถประมาณ 50,00060,000 คันตอวัน สงผลใหการจราจรหนา แนนเปนอยางมาก อยางไรก็ตามคาดวาโครงการขยาย ถนนราชพฤกษระยะที่ 2 จะสามารถเริ่ม ดําเนินการกอสรางได ในป 2558 และจะ ใชเวลาในการกอสรางประมาณ 2 ป ซึ่ง จะแลวเสร็จสามารถใชบริการประชาชน ไดประมาณป 2560
กทม.เปดใชถนนตัดใหม พรานนก-สาย 1 กทม.เตรี ย มเป ด ใช บ างส ว น โครงการกอสรางถนนตัดใหมพรานนกพุ ท ธมณฑลสาย 4 โดยเริ่ ม จาก พรานนก-สาย 1 ในเดือน ธ.ค. นี้ จากที่ กทม.ไดดําเนินการกอสราง โครงการก อ สร า งถนนพรานนก-พุ ท ธ มณฑลสาย 4 เพื1อรองรับการคมนาคม ยานฝงธนบุรีและแบงเบาการจราจรบน ถนนเพชรเกษมและถนนบรมราชชนนี โดยไดแบงการกอสรางออกเปน 2 ชวง ไดแก ชวงที่ 1 จากถนนจรัญสนิทวงศ (บริเวณสามแยกไฟฉาย)– ถนนวงแหวน กาญจนาภิเษก ชวงที่ 2 จากถนนวง แหวนกาญจนาภิเษก-ถนนพุทธมณฑล สาย 4 ขณะนี้การกอสรางคืบหนากวา 90 เปอรเซ็นต และมีแผนทีจ่ ะเปดใหประ ชาชนสัญจนได ในเดือน ธ.ค.นี้ ในสวน ของจากถนนจรัญสนิทวงศ (บริเวณสาม
B&T#259_p10-11_Pro3.indd 10
แยกไฟฉาย)–ถนนวงแหวนกาญจนา ภิเษก โดยจะให ใช 2 ชวงกอน คือ 1.จาก แยกไฟฉายมุ ง หน า ไปถนนราชพฤกษ 2.จากถนนราชพฤกษถึงพุทธมณฑลสาย ที่ 1 ทั้งนี้สวนถนนพุทธมณฑลสายที่ 1 ถึงถนนวงแหวนกาญจนาภิเษกนัน้ ยังไม สามารถเปดใหใชการไดเนื1องจากบริเวณ ดังกลาวตองมีการกอสรางสะพานขาม แยก ซึ่งคาดจะแลวเสร็จในเดือนมี.ค.เม.ย. 58 นี้ สําหรับการกอสรางอุโมงค ไฟฉาย นั้น ขณะนี้ ไดดําเนินการกอสรางไปแลว 20% คาดวาจะสมารถเปดใหใชบริการได ในป 59 นี้ เมื1อแลวเสร็จจะสามารถแกไข ปญหาจราจรติดขัดในถนนจรัญสนิทวงศ ถนนบรมราชชนนี และถนนเพชรเกษม ซึ่งในปจจุบันประสบปญหาจราจรติดขัด เปนอยางมาก
ปกษแรก • ธันวาคม 2557 โดย กรมการขนสงทางบก
จอดปายหมอชิต
ขบ.คุมเขมรถตูโดยสารสาธารณะ เตรียมพักใบอนุญาต หากพบความผิด กรมการขนส ง ทางบก สั่ ง ปรั บ อัตราสูงสุดและพักใช ใบอนุญาตคนขับ รถตู โดยสารสาธารณะ ที่พบวาบรรทุก ผู โดยสารเกินทุกคัน เตือนพนักงานขับ รถตู โดยสารสาธารณะ ขับเร็ว ประมาท หวาดเสียว มีอตั ราโทษสูงสุดถึงขัน้ เพิก ถอนใบอนุญาตขับรถ เสพสุราหรือยา เสพติด มีโทษสูงสุดทั้งปรับทั้งจําคุก รถตู โดยสารสารธารณะโปรด ระวัง !!! เนื1องจากกรมการขนสงทางบก มีมาตรการเขมงวดกวดขัน ตรวจจับรถตู โดยสารสาธารณะที่กระทําผิดกฎหมาย อย า งต อ เนื1อ งและจริ ง จั ง โดยส ง เจ า หน า ที่ อ อกตรวจสอบรถตู โดยสาร สาธารณะตามจุดตาง ๆ และเพิ่มบท ลงโทษ พักใชหรือเพิกถอนใบอนุญาตขับ รถแกผูกระทําผิดซํ้าซากดวย ซึ่งไดแบง ฐานความผิดออกเปน 3 กลุม คือ กลุม ความผิดทั่วไป เชน สูบบุหรี่ ใช โทรศัพท เคลื1อนที่ หากพบการกระทําผิดปรับไม เกิน 5,000 บาท แตหากผิดซํ้าเปนครั้งที่ 3 จะถูกปรับพรอมพักใชใบอนุญาตขับรถ 7 วัน ครั้งที่ 4 ปรับและพักใชใบอนุญาต ขับรถ 15 วัน ครั้งที่ 5 ปรับ และพักใชใบ
พ.ต.อ.ยอดชาย ผูสันติ ผกก.ฝอ.3, บก.อก.บช.น.ฝายประชาสัมพันธ, บก.02
อนุญาตขับรถ 30 วัน กลุมความผิดดานความปลอดภัย เชน บรรทุกผู โดยสารเกิน ขับรถเร็ว, ประมาท หวาดเสียว กระทําผิดไมเกิน 2 ครัง้ มีโทษปรับครัง้ ละไมเกิน 5,000 บาท ครั้งที่ 3 ปรับและพักใชใบอนุญาตขับรถ 15 วัน ครัง้ ที่ 4 ปรับและพักใชใบอนุญาต ขับรถ 30 วัน แตหากพบกระทําผิดซํ้าใน ขอหาเดิมเปนครัง้ ที่ 5 จะดําเนินการปรับ และเพิกถอนใบอนุญาตเปนผูขับรถ กลุม ความผิดรายแรง เชน ผูข บั รถ โดยสารสาธารณะเสพหรือเมาสุรา หรือ เสพยาเสพติดให โทษ และเสพวัตถุทอี่ อก ฤทธิ์ตอจิตและประสาท รวมทั้งขับรถใน ขณะหยอนความสามารถ หากพบกระทํา ผิดจะมีโทษตั้งแตพักใช ใบอนุญาตขับรถ จนถึงเพิกถอนใบอนุญาตขับรถ และมี โทษสูงสูดจําคุกไมเกิน 3 เดือน หรือปรับ ไมเกิน 100,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ หากประชาชนพบเห็นรถตู โดยสาร สาธารณะไม ป ลอดภั ย เอาเปรี ย บผู โดยสาร แจงศูนยคุมครองผู โดยสารรถ สาธารณะ 1584 ตลอด 24 ชั่วโมง
BUS & TRUCK FAQ
กําหนดหลักเกณฑรถบรรทุก ผูประกอบการ รถของบริษทั เปนรถบรรทุกสวน บุคคล 6 ลอ ปายขาว ไปสงงาน ที่บริษัทหนึ่ง แตถูกตํารวจให ใบสัง่ ขอหาไมตดิ ปายชื1อผูป ระกอบการ ขางตัวรถเปนภาษาไทยตองเสียคาปรับ 1,000 บาท ทางเราอยากทราบวามี กฎหมายขอนี้หรือเปลา เนื1องจากเรา ไมรูจริง ๆ ถามีจะไดปฏิบัติตาม ตอนที่ โดนใบสั่ ง รถมี ชื1อ บริ ษั ท เป น ภาษา อังกฤษและเบอรโทรศัพทนะคะ จากคุณ : NATTHANICHA ตามประกาศคณะกรรมการ ควบคุมการขนสงทางบกกลาง เรื1อ ง กํ า หนดหลั ก เกณฑ เพื1อ เปนมาตรการควบคุมเกี่ยวกับสีรถและ เครื1องหมายของผูป ระกอบการขนสงที่ ตองใหปรากฏประจํารถทุกคันที่ใช ใน การประกอบการขนสงไมประจําทาง ดวยรถที่ใชในการขนสงผู โดยสาร พ.ศ. 2549 ขอ 4 หลักเกณฑเกี่ยวกับเครื1อง หมายของผูป ระกอบการขนสงทีต่ อ งให ปรากฏประจํารถทุกคัน
4.1 ตองมีชื1อผู ไดรับใบอนุญาต ประกอบการขนสง เปนอักษรภาษาไทย (หากจะมีตัวอักษรภาษาอื1นควบคูดวย ก็ ไ ด ) มี ข นาดสู ง ไม น อ ยกว า 10 เซนติเมตร ไวที่ดานนอกตัวรถทั้งสอง ขาง 4.2 เครื1องหมายของผูประกอบ การขนสง (ถามี) จะตองไมขัดตอความ สงบเรียบรอยและศีลธรรมอันดีของ ประชาชน หากมี ตั ว อั ก ษรภาษาอื1น กํากับเครื1องหมายของผูประกอบการ ขนสงจะตองมีตัวอักษรภาษาไทยที่มี ขนาดไมเล็กกวาตัวอักษรภาษานัน้ ดวย 4.3 ตองมีชื1อผู ไดรับใบอนุญาต ประกอบการขนส ง พร อ มหมายเลข โทรศัพท ไวที่ดานหลังรถ มีขนาดสูงไม นอยกวา 10 เซนติเมตร ขอ 5 รถที่จดทะเบียนใหม นับ ตั้งแตวันที่ 1 มิถุนายน 2549 เปนตน ไป จะตองปฏิบตั ติ ามเงื1อนไขเกีย่ วกับสี รถและเครื1องหมายของผูประกอบการ ขนสงที่ตองใหปรากฏประจํารถ ตาม หลักเกณฑทคี่ ณะกรรมการควบคุมการ ขนสงทางบกกลางไดกําหนดไว
11/27/14 10:43 PM
PROTEST • BUS&TRUCK 11
ปกษแรก • ธันวาคม 2557
กดแตร
พักรถ
50.5 ตัน ชวยสวยโต
กอนขับรถตองตั้งใจวาจะไมมีอุบัติเหตุ
หลังจากที่ 1 กรกฎาคม 2557 ทาง กรมทางหลวงไดปรับพิกดั นํา้ หนักบรรทุก ใหมของรถบรรทุก 7 เพลาที่บรรทุกได 57 ตัน กับรถบรรทุก 6 เพลาที่บรรทุกได 53 ตัน ทั้งคูตองลดลงมาเหลือ 50.5 ตัน เทานั้น โดยจุดประสงคหลักคือ ใหถนน ทั่วประเทศมีอายุการใชงานนานยิ่งขึ้น รวมทั้ ง คอสะพานทุ ก แห ง ที่ ร ถบรรทุ ก ตองวิ่งผานดวย ถึงแมวา ผูป ระกอบการขนสงสินคา ทั่วประเทศจะยื1นขอเสนอใหคณะรักษา ความสงบแหงชาติ หรือ คสช.พิจารณา ใหมวา รถบรรทุกทั้ง 6 และ 7 เพลา สามารถกระจายนํ้าหนักบรรทุกลงพื้น ถนนไดมากจุดกวา ถนนและคอสะพาน ไมพังแน แตผูบริหารของ คสช. มองวา ทางกรมทางหลวงได ทํ า การศึ ก ษามา อยางดีแลวไมจาํ เปนทีจ่ ะตองปรับเปลีย่ น ใหม แตเรื1องนี้กลับกลายเปนผลดีตอ เจาหนาที่ของทางราชการเพราะเมื1อผู ประกอบการขนสงนํารถทั้ง 7 และ 6 เพลา ไปบรรทุกสินคาไดนอยกวาเดิม โดยเฉลี่ ย แล ว จะสู ญ เสี ย รายได ไป ประมาณ 3,000 บาทตอเที่ยว และก็ถือ เปนผลดีตอผูวาจาง เมื1อจายเงินคาจาง ใหนํ้าหนักบรรทุกได 58 ตัน แตบังคับให ตองบรรทุกไดถึง 70 ตัน หากใครไมเอา ก็ไมวากัน เพราะมีผูตองการอีกเยอะ กลุมขนสงสามารถแบงไดเปน 2
กลุม คือ กลุมที่ทําถูกกฎหมาย และกลุม ที่ทํานอกกฎหมาย ซึ่งกลุมถูกกฎหมาย นั้นจะไมทําผิดเพราะหากทําผิดบรรทุก เกิน 100-200 ตัน ก็จะถูกเรียกปรับใน ทันที แตพวกนอกกฎหมายบรรทุกเกิน ถึง 20 ตัน ก็ไมถูกเรียกเจาหนาที่ทําเปน มองไมเห็น เพราะไดจายสวยใหเปนราย เดือนอยูแลว ในเรื1อ งนี้ ได มี ก ลุ ม ขนส ง ที่ ถู ก กฎหมายเลาใหฟงวา มีอยูครั้งหนึ่งเมื1อ เร็ว ๆ นี้ ไดเห็นรถพวง 7 เพลาบรรทุก สินคาทีม่ องดูแลวก็รวู า บรรทุกสินคาเกิน ที่กฎหมายกําหนด ดวยความที่สนิทกับ เจาหนาทีข่ องทางราชการระดับสูง จึงได โทรศัพท ไปบอกเรื1องราวนี้ เพื1อใหแจง กับเจาหนาที่ของทางราชการใหคอยดัก ลวงหนาไว แลวก็ตอ งแปลกใจ เพราะขับ ตามไปไมวาจะเปนถนนหลัก หรือถนน รอง และจอดรถซื้อกาแฟกินก็ ไมเห็นมี การเรียกตรวจแตอยางใดเลย ทั้ง ๆ ที่ ผานดานมากวา 5 ดาน เมื1อโทรศัพทถามเพื1อนวาทําไมจึง ไมถูกเรียกตรวจก็ไดรับคําตอบวา ติดตอ ไปยังเจาหนาที่ที่ดูแลสน. ตางจังวัดอยู แลวสาเหตุที่ดานไมเรียก ก็ ไมรูวาเปน เพราะอะไร หาคําตอบใหไมได แลวเหตุนเี้ อง ทีเ่ ปนแรงบันดาลใจ ใหตองยอมจายสวยแลกกับงานขนสงที่ เพิ่มมากขึ้น เพื1อจะไดมีเงินมาใช ในชีวิต ประจําวัน
เมื1อ คํ า นึ ง ก อ นที่ จ ะขั บ รถใหญ ไ ปทํ า งาน ตั ว เองเป น แหล ง ที่ พึ่ ง ของ ครอบครัวหากวันใดวันหนึ่งขับรถเกิดอุบัติเหตุ ไมวาจะเปนรถใหญ หรือสินคา ที่บรรทุกอยูเกิดความเสียหายก็ตองรับผิดชอบ หรือหากตัวเองบาดเจ็บทํางาน ไมได รายไดตอวันก็จะหายไป หรือตองชดเชยคาเสียหาย ผูเดือดรอนก็คือ ครอบครัวเพราะจะไมมีเงินใช ในแตละวัน การใชความเร็วในการควบคุมรถก็ตองไมเกิน 60 กิโลเมตรตอชั่วโมง ไม วาจะเปนบรรทุกสินคามาหรือเปนรถเปลา เพราะหากเผลอไปกดคันเรงใหแรง ขึน้ การถูกปรับ โดยตองเปนผูจ า ยเองก็ตอ งมีแน หรือหากรถบรรทุกคันหนาขับ ชาไปเรื1อย ๆ ก็สามารถแซงขวาขึ้นหนามาได แตก็ตองเขาเลนซาย เมื1อขับผาน พนแลว เพราะหากขับรถใหญในเลนกลาง หรือเลนขวา เรื1อย ๆ ก็ถูกปรับได อีกเหมือนกัน ดังนั้นการขับรถตองใชสมาธิ เพื1อที่จะไดเปนคนใจเย็น ไมรีบไมรอน เอือ้ เฟอ เผื1อแผ หากขับผานสีแ่ ยกที่ไมมสี ญ ั ญาณไฟ ก็ใหรถทางเลนขวาขับผาน ไปกอน หรือหากขับทางกลับรถและมีรถยนตทรี่ อถนนวางอยูก ็ไมจาํ เปนตองรีบ ใหชะลอความเร็วลง เพื1อรถยนตคนั นัน้ จะไดผา นไปไดกอ น อยางขาวทีเ่ คยออก มาวาไดมีรถปกอัพวิ่งแขงกับรถบรรทุก 10 ลอนั้น ถือไดวาเปนตัวกอใหเกิด อุบัติเหตุบนทองถนนอยางมาก เพราะการขับแซงซายแซงขวา เพื1อที่จะกอให คูแขงเกิดโทสะจึงไดขับรถดวยความเร็วจนเกิดอุบัติเหตุบาดเจ็บ หรือเสียชีวิต ไปเลย ซึง่ ก็ถอื วาเปนการใชอารมณในการขับรถ หากเกิดอุบตั เิ หตุความเสียหาย จะเกิดขึน้ อยางมากมาย แลวผูท รี่ บั ผิดชอบก็คอื ตัวคนขับเอง และผูท เี่ ดือดรอน ตัวจริงก็คือคนในครอบครัว เพราจะไมมีใครหาเงินใหใชในชีวิตประจําวัน การขับรถใหญในชีวิตประจําวันตางมีอุบัติเหตุรออยูขางหนาอีกมากมาย แตสติและสมาธิจะเปนผูด แู ลและควบคุมไมใหคนขับตองประสบกับอุบตั เิ หตุที่ รออยูเบื้องหนาได
รถเมลฟรี! ชวยคนไทยจริงหรือ..!! จากนโยบาย “รถเมลฟรี จากภาษี ประชาชน” ที่ตงั้ เปาเพื1อชวยลดคาครอง ชีพใหประชาชนในยุคเศรษฐกิจตกตํา่ แต แท ที่ จ ริ ง แล ว ในทางปฏิ บั ติ น โยบายนี้ ชวยลดคาครองชีพใหประชาชนคนไทย จริงหรือ..? ในกทม.ถาจํานวนคนไทยแท ๆ ใชรถโดยสารประจําทางเปนจํานวนมาก จริง ทําไมการจราจรในกทม. ถึงติดหนัก ขึน้ ๆ ทุกวันเชนนี้ แสดงวาจํานวนผูใชรถ สวนตัวตองมีจาํ นวนสูงขึน้ (สวนหนึง่ อาจ จะออกรถในชวงนโยบายรถคันแรก บาง สวนอาจจะออกรถจากโปรโมชัน่ จูงใจของ ทางบริษัทขายรถ ทั้งเงินดาวนตํ่า 0% ระยะยาวบ า ง) ดั ง นั้ น จํ า นวนผู ใ ช ร ถ โดยสารประจําทางก็ตองมีจํานวนลดลง ตามหลักธรรมดา และถ า ดู จ ากจํ า นวนแรงงาน ตางดาวถูกกฎหมายในประเทศไทยแลว มีจํานวนมากกวา 2,000,000 ลานคน และลักลอบเขาเมืองอยางผิดกฎหมาย มากมายที่ ไมรูตัวเลขแทจริงอีกตั้งเทา ไหร โดยมักจะอยูอ าศัยทํางานอยูใ นพืน้ ที่ ที่มีความเจริญและทันสมัย และไมมีขอ สงสั ย ว า ต อ งหนาแน น อย า มากใน
B&T#259_p10-11_Pro3.indd 11
กรุงเทพฯ และปริมณฑล ดังนั้น.. “..ใครกันที่ ใชรถเมล ฟรีอยูตอน นี้..” เราเสียภาษีชวยเหลือคนไทยให ใช รถเมลฟรี หรือ เรากําลังเสียภาษีเพื1อชวย ชาติอื1น ๆ ใหเคาใชของเราฟรี ๆ แลวชาติ เราก็เสียดุลทางเศรษฐกิจใหเคาอยางนี้ ถูกตองแลวหรือ..?? ทีม่ า : สมาชิกนิตยสาร BUS & TRUCK
11/27/14 10:43 PM
12 BUS&TRUCK • BUS & TRUCK CARE
ปกษแรก • ธันวาคม 2557
รักษรถ
คอนติเนนทอล เผยโฉม จอแสดงผลขอมูลภาพเสมือนจริง ค อ น ติ เ น น ท อ ล แ น ะ นํ า เทคโนโลยี HUD ใหมลา สุด วิวฒ ั นาการ ของระบบนํ า ทางในรถยนต ที่ ติ ด ตั้ ง จอแสดงผลไวบริเวณกระจกรถ โดย ภาพเสมือนจริงจะปรากฏใหผูขับได เห็นสภาพการจราจรทีเ่ กิดขึน้ ดานหนา ของรถ เทคโนโลยี AR-HUD นี้ ไดรบั การ พัฒนาตอยอดจาก HUD ซึ่งขอมูลที่ ปรากฏขึน้ ใหเห็น คือสถานการณทเี่ กิด ขึน้ จริง ณ เวลาขับขีน่ นั้ ๆ อาทิเชน เมื1อ เปดใชงานระบบนําทาง สัญลักษณ เสมือนจริงที่ปรากฏเพิ่มเขาไปในภาพ ดานนอกของตัวรถจะบอกใหผขู บั ทราบ ถึงสภาพเสนทางบนทางโคงดานหนา ของรถ เมื1อใชระบบครูซคอนโทรลแบบ ปรั บ ความเร็ ว อั ต โนมั ติ (Adaptive Cruise Control หรือ ACC) เครื1องหมาย ใน AR-HUD จะโชวใหเห็นรถยนตทขี่ บั อยู ด า นหน า ที่ จั บ สั ญ ญาณได ด ว ย ระบบการใหความชวยเหลือแกผูขับขี่ โดยคอนติ เ นนทอลมี แ ผนพร อ มให บริการระบบนําทางในรถยนตที่ติดตั้ง จอแสดงภาพเสมื อ นจริ ง บนกระจก (Augmented Reality Head-Up Display – AR-HUD) ในป พ.ศ. 2560 คุณเฮลมุต มัตสชี กรรมการ บริหารและหัวหนากลุม ธุรกิจอุปกรณ ภายในยานยนตของคอนติเนนทอล กลาวถึง เทคโนโลยีทอี่ ยูใ นขัน้ ตอนการ พั ฒ นาและทดลองใช ใ นรถสาธิ ต ว า “AR-HUD เปนกาวสําคัญของการนํา อุ ป กรณ ม าใช ในการปฏิ สั ม พั น ธ ระหวางผูขับกับรถยนต เพื1ออํานวย ความสะดวกในการขั บ ขี่ ใ ห ส ะดวก สบาย ประหยัด และปลอดภัยมากขึ้น ผูข บั จะรับรูถ งึ ขอมูลทีจ่ าํ เปนทัง้ หมดใน รูปแบบที่สามารถเขาใจไดงาย กอนที่
B&T#259_p12-13_Pro3.indd 12
ตาของผูขับจะมองเห็นเสียอีก นี่คือกาว สําคัญของการปองกันการเสียสมาธิ และ การรับรูขอมูลจากประสาทสัมผัสมาก เกินไปของผูข บั ทัง้ ในปจจุบนั และอนาคต ค อ น ติ เ น น ท อ ล เ ริ่ ม พั ฒ น า เทคโนโลยี AR-HUD ขึ้นในป พ.ศ. 2546 โดยเริ่มจากการผลิต HUD แบบสีที่ติด ตั้ ง ในรถยนต ส ว นบุ ค คล จากนั้ น ค อ น ติ เ นน ทอล ไ ด พั ฒ น า ต อ ย อด เทคโนโลยี HUD ทําใหจอแสดงผลในรุน ปจจุบันที่ออกแบบใหเหมาะสมกับการ ควบคุมรถของผูขับขี่เพื1อความสะดวก ปลอดภัยและมีประสิทธิภาพ ดวยการคัด
กรองขอมูล HUD จะแสดงเฉพาะขอมูล ที่ จํ า เป น ที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ การขั บ รถบน กระจกหนารถในรูปแบบกราฟฟกสี ซึ่งผู ขั บ ขี่ ส ามารถอ า นและเข า ใจข อ มู ล ได อยางงายดายโดยไมตองเบนสายตาออก จากทองถนน HUD จึงเปนเทคโนโลยีที่ ถู ก สร า งขึ้ น สํ า หรั บ การปฏิ สั ม พั น ธ ระหว า งผู ขั บ กั บ รถยนต (HMI) เพื1อ ปองกันการเกิดอุบัติเหตุ คุณเอลโค สเปอเดอร หัวหนา หน ว ยธุ ร กิ จ Instrumentation & Driver HMI ของคอนติเนนทอล กลาว วา AR-HUD เปนวิวัฒนาการขั้นตอไป ของ HMI ไปสูก ารแสดงผลแบบองครวม และระบบปฏิ บั ติ ก ารสํ า หรั บ ความ ตองการที่เพิ่มมากขึ้น การทํางานของ AR-HUD คือการสรางการปฏิสัมพันธ ที่แทจริงระหวางผูขับขี่และยานยนต
เทคโนโลยีที่ใชใน AR-HUD ระบบแสดงภาพแบบ AR-HUD จะ แสดงข อมูลที่เกิดขึ้นจริงบนถนน บน
กระจกหนารถใหผูขับขี่ ไดเห็น ดวย ภาพกราฟฟกแบบสีสัน ขนาดความ กวางประมาณ 130 ซม. สูง 60 ซม. ใน วิสัยทัศนของผูขับในระยะ 7.5 เมตร ก ร า ฟ ฟ ก นี้ ถู ก แ ส ด ง ผ ล โ ด ย ใ ช เทคโนโลยี DMD ซึ่งเปนเทคโนโลยี เดียวกันกับที่ใช ในการผลิตภาพยนตร ดิจิตัล คอนติเนนทอลจะนําเทคโนโลยี นี้เขาสูการผลิตไดเร็วที่สุดในป พ.ศ. 2559 ตัวอยางการใชงาน 3 ตัวอยาง ทีเ่ กีย่ วของระบบชวยเหลือผูข บั ขีใ่ นรถ สาธิ ต ของคอนติ เ นนทอล เช น เทคโนโลยี AR-HUD จะชวยผูขับขี่ที่ ตกอยูในอันตรายเมื1อรถหลุดออกจาก ถนนอยางกะทันหัน AR-HUD ยังชวยสนับสนุนการ ใช ร ะบบครู ซ คอนโทรลแบบปรั บ ความเร็วอัตโนมัติ (Adaptive Cruise Control) ดวย เมื1อระบบครูซคอนโทรล ถูกใชงาน เครื1องหมายพระจันทรเสีย้ ว จะปรากฏขึ้นใหเห็นเพื1อแสดงวามีรถ วิ่งอยูขางหนา ซึ่งรถเหลานี้จะถูกจับ ดวยตัวตรวจจับอิเล็กทรอนิกส “นี่คือจุดเริ่มตนของการทํางาน รวมกันระหวางผูขับและรถ โดยรถจะ บอกผู ขับ ถึงสิ่งที่ระบบใหค วามชว ย เหลือเห็น และผูขับจะรูวาระบบให ความชวยเหลือกําลังทําอะไรอยูบาง สิ่งนี้จะสรางความไววางใจระหวางกัน และจะช ว ยให เ กิ ด การยอมรั บ ใน เทคโนโลยี นี้ ทั้ ง ในป จ จุ บั น และใน อนาคต” สเปอเดอร กลาวตอ ตัวอยางสุดทายคือ AR-HUD จะ แสดงขอมูลดานนอกของตัวรถ และ บอกให ผู ขั บ ขี่ รู ว า จุ ด ไหนควรเลี้ ย ว โดยที่ ไมจําเปนตองมองกลับไปกลับ มาระหวางจอนําทางและถนน อาศัย กล อ งและข อ มู ล เรดาร ที่ ไ ด จ ากตั ว เซ็ น เซอร ข องรถ และคํ า นึ ง ถึ ง การ เปลี่ยนแปลงของขอมูลของรถ ขอมูล แผนทีด่ จิ ติ อล และตําแหนงของจีพเี อส หนวยควบคุมจะคํานวณแบบจําลอง ของภาพด า นนอกของตั ว รถจากมุ ม มองของผูขับ และแสดงขอมูลทั้งหมด นี้ บ นกระจกหน า รถ AR-HUD จะ เปลี่ยนแปลงคุณภาพของอุปกรณที่ใช ในการปฏิ สั ม พั น ธ ร ะหว า งผู ขั บ กั บ รถยนต ใ นการควบคุ ม และแสดงผล (HMI) ขอมูลจะปรากฏขึ้นตรงจุดที่ผู ขับมองตามสัญชาตญาณ ตามทิศทาง ของการเดินรถ และการแสดงผลขอมูล ด ว ยวิ ธี ท่ี เ หมาะต อ การใช ง านและ สามารถเขาใจไดในทันที เทคโนโลยี AR นี้ทําใหคอนติเนนทอลกาวขึ้นเปนผูนํา ในการพัฒนา HUD
11/27/14 10:48 PM
B&T#259_p12-13_Pro3.indd 13
11/27/14 10:48 PM
14 BUS&TRUCK • INTERVIEW
ปกษแรก • ธันวาคม 2557
จอดคุย ปจจุบันรถยนตของทาทา มอเตอรส ถูกใชงานอยูบนทองถนนใน ประเทศอินเดีย มากกวา 8 ลานคัน โดยบริษัท ทาทา มอเตอรส ถือเปนผู ผลิตรถบรรทุกรายใหญเปนอันดับที่ 5 ของโลก และเปนผูผลิตรถโดยสาร รายใหญอนั ดับ 4 ของโลก ทัง้ รถยนต รถโดยสาร รถบรรทุก หรือรถเพื1อการ พาณิชย ของ ทาทา มอเตอรส เปน ที่ ย อมรั บ และจํ า หน า ยในหลาย ป ร ะ เ ท ศ ทั้ ง ใ น ใ น ภู มิ ภ า ค ยุ โร ป แอฟริกา ตะวันออกกลาง เอเชียใต เอเชียอาคเนย อเมริกาใต และรัสเซีย ลาสุด ไดเขามาเปดตลาดในเมือง ไทยอยางเต็มตัว และเขารวมงาน BUS & TRUCK ’14 ระหวางวันที่ 6-8 พ.ย. 2557 ที่ผานมา ซึ่งไดรับเสียงตอบรับ จากลูกคาเปนอยางดี เหตุนี้ทีมขาว BUS & TRUCK จึ งขอโอกาสเขา “จอดคุ ย ” คุ ณ ซานเจย มิ ช รา กรรมการผู จั ด การ บริ ษั ท ทาทา มอเตอรส (ประเทศไทย) จํากัด เพื1อ ทราบถึงแผนการดําเนินงานตาง ๆ ให พี่นองสมาชิกไดรับทราบทั่วกัน
ตลาดรถบรรทุกไทยหอม ตลาดอาเซี ย นถื อ เป น ตลาด สําคัญ และทาง ทาทา มอเตอรส ได เห็นการเติบโตในตลาดนีอ้ ยางตอเนื1อง ดังนั้นในป 2557 ทาง ทาทา มอเตอรส ไดตัดสินใจลงทุนในประเทศไทยเปนที่ แรกที่ ล งทุ น นอกประเทศอิ น เดี ย เนื1องจากประเทศไทยเปนฐานการผลิต รถกระบะใหญอันดับ 2 ของโลก รอง จากอเมริกา แตถาเปนกระบะขนาด 1 ตัน ประเทศไทยเปนอันดับ 1 ของโลก สวนตลาดรถบรรทุกในประเทศไทยถือ เปนตลาดใหญที่สุดในอาเซียน สําหรับการทําธุรกิจในประเทศ ไทยครั้งแรกนั้น ไดนําเสนอรถกระบะ ขนาด 1 ตัน หลังจากนั้นก็ไดแนะนํา สินคาตัวใหมทมี่ ขี นาดตํา่ กวา 1 ตัน คือ ทาทา ซุปเปอรเอซ ถามองในแงของ การขนส ง และโลจิ ส ติ ก ส เ ราคิ ด ว า ประเทศไทยมีจุดภูมิศาสตรที่อยูตรง กลางระหวางชาติอาเซียน เราสามารถ เห็ น การขยายเส น ทางลงมาจาก ประเทศจีนผานมาไทยไปยังสิงคโปร และมีเสนทางผานไปยังเวียดนามไป จนถึ ง อิ น เดี ย ฉะนั้ น เมื1อ มี ก ารเป ด ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC ธุรกิจเพื1อการขนสงจะขยายตัวมากขึ้น เปนทวีคูณ
ป 58 ขนรถทุกรุนบุกไทย ในป 2558 ทาทา มอเตอรส จะ มีสนิ คาทัง้ รถกระบะ ทาทา ซีนอน ทีจ่ ะ อัพเกรดเพิม่ เติมความสะดวกสบายขึน้ มาอี ก มากมาย รถกระบะ ทาทา ซุปเปอรเอซ ที่เปนเครื1องยนตดีเซล
B&T#259_p14-15_Pro3.indd 14
อัพเกรดขึ้นไปอีกเชนกัน สวนรถใหญจะ นํารถหัวลาก รถมิกเซอร รถดัมพ เขามา เพิ่มเติม เพราะถาเปด AEC การขนสง จะเพิ่มขึ้น การกอสรางก็จะเพิ่มขึ้น จึง ตองนํามาเสนอในปหนา ทั้ ง นี้ ก็ ต อ งนํ า เสนอรถหั ว ลาก “ทาทา พริมา” และ “แดวู โนวัส” ดวย หลั ง จากนํ า มาเสนอในงาน BUS & TRUCK ’14 ไดสรางความตื1นตาตื1นใจให แกลูกคาไดเปนอยางดี โดยรถหัวลาก “แดวู โนวัส ” ผลิ ต ที่ ป ระเทศเกาหลี ทั้งหมด ซึ่ง แดวู นั้น เปนบริษัทลูกของ ทาทา มอเตอรส และทางเราจัดใหรถ หั ว ลากรุ น นี้ อ ยู ใ นระดั บ บนที่ มี แ รงม า มากกวา 400 แรงมา สวนกลุมรองลงมา ก็คือ รถหัวลาก “ทาทา พริมา” จะ
เพิ่มอีก 3 ดีลเลอร และทั้งปจะครบ 10 ดีลเลอร ซึ่งถือวาครอบคลุมพื้นที่สวน ใหญ ทั้งภาคกลาง ภาคอีสานตอนบน ภาคใต ภาคตะวันออก และภาคเหนือ
เล็งประกอบรถใหญในไทย ก อ นหน า นี้ ไ ด เ ป ด ตั ว รถกระบะ ทาทา ซีนอน ซึ่งไดรับผลตอบรับที่ดี จึง ไดมีการประกอบที่เมืองไทยไปแลว สวน ทาทา ซุปเปอรเอซ ก็ไดรับการตอบรับที่ ดี จึ ง เตรี ย มแผนที่ จ ะประกอบในไทย กลางป 2558 ในสวนของรถบรรทุกนั้น ปจจุบันยังนําเขามาขายในไทย แตถาได รับการตอบรับที่ดีเชนเดียวกับ ทาทา ซีนอน และ ทาทา ซุปเปอรเอซ ก็ตองมี แผนประกอบในประเทศไทยเชนกัน “ทาทา มอเตอรส เชื1อมั่นประเทศ
ไทย เราจึงตองพยายามแนะนําสินคา ทุกตัวใหลกู คาไดรบั ทราบมากขึน้ และ ไดเตรียมบริการไวอยางเพียบพรอม เพื1อบริการลูกคา สิ่งสําคัญที่อยากได รับโอกาสจากผูประกอบการไทย คือ ลองเปดใจรับสินคาของเราไปทดลอง ดู ซึ่งก็มั่นใจวา สินคาของเราไมเปน สองรองใคร ทั้ ง ในเรื1อ งพละกํ า ลั ง ความทนทาน และยังคงเอกลักษณ ที่ มีความประหยัดเชื้อเพลิง คุมคาคุม ราคา ประหยัดคาใชจาย และในระดับ ตอๆ ไป เรากําลังมองถึงการขยาย ตลาดรถบรรทุกขนาดใหญ พรอมเพิ่ม เครือขายชองทางในการจัดจําหนาย และใหบริการในตลาดประเทศไทยอีก ดวย”
คุณซานเจย มิชรา เปดเกมรุกป 58 ตั้งเปา 300 คัน ประกอบที่บริษัทแมในประเทศอินเดีย โดยจะมีกาํ ลังอยูท ี่ 200-300 แรงมา เพื1อ เปนทางเลือกใหลูกคา
BUS&TRUCK ’14 เปดตัวสวย ภาพรวมงาน BUS & TRUCK ’14 ที่ผานมาถือวาพอใจ เพราะงาน BUS & TRUCK จะตรงกลุม กวางานมอเตอรโชว หรือมอเตอรเอ็กซโป ถึงแมวา จะมีคนเดิน นอยแตก็เปนลูกคาที่สนใจจริง ๆ แตก็ ต อ งยอมรั บ ว า เรายั ง เป น น อ งใหม ใ น วงการ ลูกคาจึงสนใจสอบถามเรื1องการ บริการหลังการขาย เรื1องอะไหล เพื1อ ความมั่ น ใจ ซึ่ ง ตรงนี้ ท าง ทาทา มอเตอรส มีใหพรอมทุกขอ จึงเตรียม แผนจะรวมงาน BUS & TRUCK ’15 อีกครั้ง เพื1อเปดตลาดใหลูกคาไดเห็น ศักยภาพของบริษัทอยางแทจริง
ปหนาตั้งเปาขายรถใหญ 300 คัน ยอดขายของ ทาทา มอเตอร นั้น ในสวนของทาทา ซีนอน และทาทา ซุปเปอรเอซ เริ่มนับในเดือน เม.ย. 2557 ไป ถึงเดือน มี.ค. 2558 ตัวเลขนาจะอยูที่ 2,000 คัน จากปที่แลว 2,500 คัน สวน รถบรรทุก ถาไดเปดดีลเลอรนา จะขายได 300 คันในป 2558 “ป 2556 ทีผ่ า นมา จีดพี อี ยูท ี่ 3.5% ป 2557 อยูที่ 1-1.5% ป 58 นักวิเคราะห หลายสํานักบอกวา นาจะอยูที่ 4.5-5% และถาประกอบกับการเปด AEC การ กอสร าง และการขนส งน าจะเพิ่ มขึ้ น ตลาดรถใหญก็จะขยายตัวตามไปดวย”
วางแผนเพิ่มดีลเลอร 10 แหง ในป 2558 ตั้งเปาจะมีดีลเลอรให ครบ 10 แหง ซึ่งขณะนี้มีแลว 3 ดีลเลอร และในชวงไตรสมาสแรกของป 2558 จะ
11/27/14 10:53 PM
LAW KNOWLEDGE • BUS&TRUCK 15
ปกษแรก • ธันวาคม 2557
รูกฎกอนขับ
ปายจราจรนั้นสําคัญไฉน? การลดอุบตั เิ หตุประกอบดวยหลัก 4Es แตละ E ก็ยอ มาจาก 1.Engineering หมายถึงมาตรการทางดานวิศวกรรม ตาง ๆ ที่จะทําใหเกิดความปลอดภัย เชน ราวกั้นรถตกขางทาง ปายจราจร ตาง ๆ ไหลทาง การขยายชองทาง จราจร ชองทางเดินรถ การออกแบบ รถยนต ระบบหามลอแบบ ABS เปนตน 2.Education การใหความรูที่มีความ เกี่ยวของกับการใชรถใชถนน เชน การ อบรมเกี่ยวกับความรูสําหรับการทําใบ ขับขี่ การอบรมการขับขีป่ ลอดภัยตาง ๆ เปนตน 3.Encouragement การสง เสริมสนับสนุนใหพยายามใสใจกับกฎ ระเบียบตาง ๆ เชน การขับความเร็ว ตามปายกําหนด การคาดเข็มขัดนิรภัย การสวมหมวกกันนิรภัย เปนตน และ 4.Enforcement การบังคับใชกฎหมาย ยกตัวอยาง เชน ผูฝาฝนตาง ๆ ขับ ความเร็วเกินกวากําหนดก็ถกู ปรับ จอด รถในที่ ห า มจอดก็ ถู ก ปรั บ เป น ต น ตั ว อย า งที่ ก ล า วเป น เพี ย งบางส ว น เทานั้น หลัก 4Es ไดถกู นําไปประยุกตใชใน หลาย ๆ องคกร ยกตัวอยางเชน ใน วงการบรรทุ ก ขนส ง นํ้ า มั น ก็ ไ ด มี ก าร กํ า หนดลั ก ษณะเฉพาะของรถบรรทุ ก ขนส ง นํ้ า มั น ว า หากรถนํ้ า มั น พลิ ก ควํ่ า หงายทอง ฝาของชองนํ้ามันจะตองไม ครูดกับผิวพื้นถนน ก็หมายความวาจะ ตองมีอปุ กรณหรือวัสดุทแี่ ข็งแรงปกปอง ไม ใหฝาของชองนํ้ามันกระทบกระแทก ตั้งแตป 1996 เราจึงเห็นถังอะลูมิเนียม ยี่หอมาตรฐานตาง ๆ ที่นําเขาและผลิต ในประเทศไทยของเรามี ก ารใช วั ส ดุ มาตรฐานตามหลักวิศวกรรมสําหรับทํา สวนที่ปองกันฝาบนหลังถัง (Overturn Protection) ขั้นตอนทางดานวิศวกรรม เริ่มเขามามีบทบาทเกี่ยวของกับความ ปลอดภัยมากยิ่งขึ้น หากเรายอนอดีตไป เมื1อประมาณ 40 ปที่แลว เราก็เห็นวารถ บรรทุกขนสงนํ้ามันนั้นมีความแตกตาง จากทุกวันนี้อยางมาก พัฒนาการตาง ๆ ทางด า นวิ ศ วกรรมเพื1อ ให เ กิ ด ความ ปลอดภัยตอชีวิต ทรัพยสิน สิ่งแวดลอม ตาง ๆ ก็มมี ากยิง่ ขึน้ ตามลําดับ รถบรรทุก นํา้ มันทีถ่ กู สรางโดยผูส รางมาตรฐานก็จะ เปนรถทีจ่ ะมีความปลอดภัยในระดับหนึง่ เชน เมื1อพลิกควํ่าโอกาสที่นํ้ามันจะออก จากถังก็มนี อ ยมาก ๆ เพราะมีการปองกัน ฝากระแทกกับผิวถนนกับผิวดินนั่นเอง สํ า หรั บ ป า ยจราจรก็ เ ป น หนึ่ ง ใน กระบวนการทางดานวิศวกรรม การสง เสริมใหเกิดความปลอดภัยนอกจากจะ พูด เรียน อบรมตาง ๆ แลวถนนก็ตอง มีความพรอมที่จะรองรับความปลอดภัย ตาง ๆ ดวย ทุกวันนี้เราเห็นวามีปาย
B&T#259_p14-15_Pro3.indd 15
ปายจราจรคือตัวนํา นักขับ นําพานักขับที่ ปฏิ บั ติ ต ามป า ยไปสู ความปลอดภัย หาก ป ฏิ บั ติ ต า ม ป า ย จราจรจะลดความ เ สี่ ย ง ที่ จ ะ เ กิ ด อุบัติเหตุ
ที่ ป ฏิ บั ติ ต ามป า ยไปสู ค วามปลอดภั ย หากปฏิบัติตามปายจราจรจะลดความ เสี่ยงที่จะเกิดอุบัติเหตุ ถาผูขับขี่ปฏิบัติ ตามตัวนํานักขับก็จะมี โอกาสปลอดภัย มาก โอกาสที่ตนเปนผูผิดพลาดนั้นแทบ
จะไมมเี ลย ความปลอดภัยเริม่ ตนทีผ่ ขู บั ขี่ ประเทศไทยไดพยายามสรางมาตรฐาน ดานวิศวกรรมการจราจรตามหลักสากล ใหแลวครับ ความปลอดภัยอยูที่หัวใจ ของนักขับทุก ๆ ทาน
จราจรตาง ๆ มากขึน้ กวาในอดีต ก็เพราะ วาเปนพัฒนาการของระบบการจราจร นั่นเอง แต ล ะประเทศก็ พยายามที่จ ะ สรางมาตรฐานใหสอดคลองกับมาตรฐาน สากล อาจจะมีการตั้งคําถามวา “มีปาย จราจรไวทําไม” คําตอบที่เรามักจะไดยิน บอย ๆ ในอดีตก็คือ ออ..เปนปายเตือน เปนปายหาม ซึ่งก็ไมผิดนะครับ ในระดับ ตน ๆ ก็เปนปายเตือน แตลึก ๆ แลว บรรดาปายจราจรมีไวเพื1อเปน “ตัวนํานัก ขับ” “Driver Guide” เพื1อนํานักขับไปสู ความปลอดภัย ผมยกตัวอยางเชน ปาย จํากัดความเร็วบนทางยกระดับดอนเมือง บู ร พาวิ ถี ทุ ก เส น ทางยกระดั บ ใน กรุ ง เทพฯ และปริ ม ณฑล กํ า หนด ความเร็วไวที่ 80 กิโลเมตรตอชั่วโมง ความหมายของ 80 ก็คือ ถาขับความเร็ว 80 กิ โ ลเมตรต อ ชั่ ว โมงก็ จ ะมี ค วาม ปลอดภั ย ค อ นข า งสู ง หากรถประสบ อุบัติเหตุ หรืออาจจะไมเกิดอุบัติเหตุเลย เพราะอาจจะสามารถควบคุมรถใหหยุด ไดงาย หรือหากเกิดอุบัติเหตุก็ไมรุนแรง ปายจราจรคือตัวนํานักขับ นําพานักขับ
11/27/14 10:53 PM
16 BUS&TRUCK • SPECIAL REPORT
ปกษแรก • ธันวาคม 2557
SPECIAL REPORT
บัระหวนทึางผูกปความร ว มมื อ MOU ระกอบการภาคเอกชน สปป. ลาว
กับสมาคมขนสงสินคาภาคอีสาน และผูประกอบการภาคเอกชนประเทศไทย
บันทึกความรวมมือ MOU วา ดวยความรวมมือดานบริการโลจิสติกส และการจัดการสินคาผานแดน เพื1อ พัฒนาคุณภาพ และเปนไปตามกฎ ระเบียบภาครัฐ ระหวางผูป ระกอบการ ภาคเอกชน สปป. ลาว กับสมาคม ขนสงสินคาภาคอีสาน และผูป ระกอบ การภาคเอกชนประเทศไทย บันทึกความรวมมือฉบับนี้ทําขึ้น เพื1อ ให ก ารสนั บ สนุ น กิ จ กรรมของ “สมาคมขนสงสินคาภาคอีสาน” และ สงเสริมความรวมมือของเครือขายผู ประกอบการภาคเอกชนของ สปป.ลาว กับ เครือขายผูป ระกอบการภาคเอกชน ของประเทศไทย เพื1อใหบริการดาน โลจิสติกสและการจัดการสินคาผาน แดน และร ว มกั น พั ฒ นาคุ ณ ภาพ บริการใหเปนไปตาม กฎระเบียบ วิธี
ปฏิบัติ ที่ถูกตอง ตามขอตกลงของภาค รัฐ สปป.ลาว และภาครัฐประเทศไทย โดยทุกฝายทําความเขาใจในความ รวมมือ ดังนี้ 1. สงเสริมสนับสนุน กิจกรรรมของ สมาคมขนส ง สิ น ค า ภาคอี ส าน ทาง วิชาการ และกิจกรรมอื1น ๆ เพื1อการ พัฒนาการขนสง และเปนกําลังใจ เสริม สรางความสามัคคีตอกัน 2. ส ง เสริ ม สนั บ สนุ น และเอื้ อ ประโยชนในการใหบริการ และใชบริการ ขนสงสินคา โดยรถยนตบรรทุก รถไฟ สายเรือ ใหแกกันและกัน 3. ส ง เสริ ม สนั บ สนุ น และเอื้ อ ประโยชน ในการให บ ริ ก า ร แ ล ะ ใ ช บริการ คลังสินคา ชายแดน และพิ ธี การด า นเอกสาร สิ น ค า ผ า นแดนให แกกันและกัน 4. ส ง เสริ ม สนับสนุน ใหความ
รวมมือ และปฏิบัติตามกฎระเบียบ ของ บันทึกขอตกลงนี้ จัดทําขึ้นเปน หนวยงานภาครัฐที่เกี่ยวของตอกัน 10 ฉบับ มีขอความถูกตองตรงกัน ทุก 5. ส ง เสริ ม สนั บ สนุ น กิ จ กรรม ฝายไดอา นทําความเขาใจตามขอตกลง เยี่ยมเยียนกันเปนระยะ เพื1อเสริมสราง โดยละเอียดแลว จึงไดลง ความสามัคคี แกกันและกัน ลายมือชื1อไวเปนสําคัญตอ ทั้งนี้ ทุกฝายจะประสานความรวม หนาพยาน และยึดถือไว มื อ ระหว า งกั น และจะสนั บ สนุ น การ ฝายละ 1 ฉบับ ดําเนินงานตลอดจนติดตามประเมินผล การดําเนินงาน ตามบันทึกความเขาใจ ให เกิดประโยชนสูงสุด เปนระยะตอไป
AD ชุบชีวิต
B&T#259_p16-17_iMac5.indd 16
11/27/2557 BE 10:06 PM
B&T#259_p16-17_iMac5.indd 17
11/27/2557 BE 10:07 PM
18 BUS&TRUCK • ASSOCIATION NEWS
ปกษแรก • ธันวาคม 2557
คบหาสมาคม
สมาคมขนสงสินคาภาคอีสาน ครบรอบ 14 ป เติบโตไมมีหยุด สมาคมขนสงสินคาภาคอีสาน กอกําเนิดขึ้นจาก การรวมพลังของผูประกอบการที่ถูกกดดันและประสบ ความเดือนรอนจากการถูกเอารัดเอาเปรียบของภาค สวนทีเ่ กีย่ วของ จากแนวคิดของกลุม เล็ก ๆ ดังกลาว ได กลายเปนจุดเริ่มตนใหเกิดพลังการรวมตัวที่เรียกขาน ตัวเองวา “ชมรมรถบรรทุกภาคอีสาน” อันมี นาย อภิชาต ไพรรุงเรือง เปนประธานชมรมในขณะนั้น ใน ป 2543 ชมรมรถบรรทุกภาคอีสานไดปรับเปลีย่ นองคกร ดวยการยกฐานะขึ้นเปน “สมาคมผูประกอบการรถ บรรทุกสินคาภาคอีสาน” ในวันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2543 โดยมีผูนําในการกอตั้งคือ คุณยรรยง มานะ เสถียร คุณปราโมทย กงทอง คุณสมเดช นิลคลํา้ คุณ พันธุศักดิ์ ศรีสกุล และคุณชาญณรงค เจริญพรหม พงศ ในขณะนั้นสมาคมผูประกอบการรถบรรทุกสินคา ภาคอีสานมีสมาชิกทั้งหมด 60 ทาน โดยมี คุณยรรยง มานะเสถียร ดํารงตําแหนงนายกสมาคมเปนคนแรก ภารกิ จ อั น หลากหลายที่ ค ณะผู บ ริ ห ารและมวลหมู สมาชิกรวมกันสรางสรรคขนึ้ และนําพาสมาคมเขาสูก าร ยอมรับจากสังคมอยางสูงสุด ภายใตบริหารงานของ นายกสมาคมในทุก ๆ สมัย ไมวาจะเปน คุณยรรยง มานะเสถียร คุณปราโมทย กงทอง และนายกคน ปจจุบัน คุณขวัญชัย ติยะวานิช สมาคมผูป ระกอบการรถบรรทุกสินคาภาคอีสาน ไดรับความรวมมือรวมใจจากคณะกรรมการบริหาร สมาคมในทุก ๆ สมัย สมาชิกรวมกันผลักดันและสาน ตอนโยบายอันหลากหลาย สงผลใหสมาคมผูประกอบ การรถบรรทุกสินคาภาคอีสานมีผลงานเปนทีย่ อมรับใน กลุมของสมาคมภาคอื1น ๆ อยางกวางขวาง สงผลให สมาคมผู ป ระกอบการรถบรรทุ ก สิ น ค า ภาคอี ส านมี สมาชิกเพิ่มมากขึ้นเปนลําดับทุกป ภารกิจหลักของ สมาคมผูประกอบการรถบรรทุกสินคาภาคอีสานที่ ได ปฏิบตั ติ อ เนือ1 งยาวนานมาทุกป คือ โครงการหยุดเดินรถ ในชวงเทศกาลวันหยุดยาว เพื1ออํานวยความสะดวกให กับผูใชรถใชถนน และเปนการชวยลดอุบตั เิ หตุไดอที าง หนึ่งดวย สมาคมผูป ระกอบการรถบรรทุกสินคาภาคอีสาน ไดรับรางวัล สมาคมการคาดีเดน ประจําป 2551 จาก
B&T#259_p18-21_iMac5.indd 18
กรมพัฒนาธุรกิจการคา กระทรวงพาณิชย เปนรางวัลแหงความภาคภูมิใจของสมาคม เปนอยางยิ่ง สมาคมผูประกอบการรถบรรทุก สิ น ค า ภาคอี ส าน คื อ ผู นํ า ในการเป ด เส น ทางการขนสงโดยมีการจัดคาราวานสํารวจเสน ทางการคาใหม ๆ และมีโครงการพัฒนาเครือ ขายความรวมมือสูประเทศเพื1อนบาน เพื1อให สมาชิกไดรับประโยชนสูงสุด รวมถึงการจัดตัง้ สหกรณผูใหบริการขนสง สินคานครราชสีมา และการจัดหาสินเชื1อเพื1อผูประ กอบการโลจิสติกสเพื1อเปนการชวยเหลือทางดาน เงิ น ทุ น ให กั บ สมาชิ ก อี ก ด ว ย ในวั น นี้ ส มาคมผู ประกอบการรถบรรทุกสินคาภาคอีสาน ไดเปลี่ยน ชื1อเปน สมาคมขนสงสินคาภาคอีสานภายใตการ บริหารงานของทานนายกคนปจจุบัน คุณขวัญชัย ติยะวานิช มีสมาชิกของสมาคมกวา 800 รายทั่วทั้ง ประเทศ และมีรถบรรทุกอยูภายใตการดูแลกวา 10,000 คั น สมาคมขนส ง สิ น ค า ภาคอี ส าน มี พันธกิจสําคัญ คือ เปนตัวแทนภาคการขนสงของ บรรดาสมาชิกทั้ง 36 จังหวัด จากทุกภูมิภาคของ ประเทศ ในการประสานนโยบายและดํ า เนิ น งาน ระหวางภาครัฐและภาคเอกชน ในหลายมิติรวมกับ บทบาทเป น แกนนํ า ผลั ก ดั น การพั ฒ นาเศรษฐกิ จ คมนาคมขนสง และการลงทุนของตางประเทศเพื1อ เสริ ม สร า งอุ ต สาหกรรมการขนส ง ของชาติ ใ ห มี ประสิทธิภาพ นับจากนี้ ไป สมาคมขนสงสินคาภาคอีสาน จะ เปนองคกรที่ ไดรับยอมรับและเชื1อถือจากสังคมทุก ภาคสวน เปนศูนยรวมของผูประกอบการขนสง รวม พลังผลักดันนโยบาย ปรับปรุงแก ไขกฎหมายระเบียบ ขอบังคับวิธีการปฏิบัติใหเอื้อตอการพัฒนาดานการ คมนาคมและการสงออก เสริมสรางใหสมาชิกมีจรรยา บรรณในการดําเนินธุรกิจกอเกิดประโยชนตอ สังคมและ ประเทศชาติอยางภาคภูมิ สิง่ สําคัญทีส่ มาคมมุง หวังและ จะผลักดันใหเปนรูปธรรมโดยเร็ว คือการจัดหาที่ดินเพื1อ กอตั้งสํานักงานแหงใหม และเปดโรงเรียนสอนขับ รถ พร อ มทั้ ง จั ด สร า งจุ ด พั ก รถบรรทุ ก ที่ ไ ด รั บ มาตรฐานระดับสากลอันจักไดรับความรวมมือจาก มวลสมาชิกทุกคน
11/27/2557 BE 10:16 PM
7
GOSSIP • BUS&TRUCK 19
ปักษ์แรก • ธันวาคม 2557
ชุมทางขนส่ง สวั ส ดี ค รั บ ขอต อ นรั บ นิ ต ยสาร BUS & TRUCK ทุกทานพบกันอีกแลว ในปกษแรกเดือนธันวาคม 2557 ฉบับ 259 มาพบกับเรื1องเบา ๆ ทั้งที่มีสาระ และไรสาระของบุคคลตาง ๆ ในวงการ รถใหญ และธุรกิจที่เกี่ยวเนื1องกับรถ ใหญ เพื1อเปนประโยชนแกทุกคนใน วงการรถใหญ vvv เริ่มกันที่ คุณปุณณชัย ฟูตระกูล บอรดใหญของ ปตท. ที่ดูแล แผนกกาซของเอ็นจีวีไดวิเคราะหสภาพ เศรษฐกิจอีก 1 เดือนใหฟงวา รัฐบาลจะ ปรับราคาใหกาซเอ็นจีวีขึ้นอีก 1 บาท ซึ่ง ก็ไมกระทบกับวงการรถใหญเลย นาจะ ปรับเพิ่มใหอีกนิดนึงเพื1อที่จะให ปตท. มี เงินมากขึน้ สามารถนําไปสรางปม บริการ เอ็นจีวีไดเพิม่ อีกมากเพือ1 ทีจ่ ะไดเพียงพอ กับความตองการของตลาดขนสง พรอม ทั้งบอกอีกวาปจจุบันนี้ ปตท. สามารถ ผลิตเอ็นจีวีไดมากถึงวันละ 9,000 ตัน แต ความตองการของตลาดก็พอดี ไมเติบโต ขึน้ เหมือนเมื1อกอน แสดงใหเห็นวาสภาพ เศรษฐกิ จ ยั ง แย อ ยู ก ารขนส ง ยั ง มี ง าน นอย ตองรอดูปห นาวาจะขยับขึน้ เมื1อไหร นอกจากนี้ยงั มีเรื1องดี ๆ ของ ปตท. มาเสนอใหวงการขนสงทราบ หากทาน ใดต อ งการรู วิ ธีล ดตนทุนการขนสงให สอบถามไปยัง พีทีที ฟว แอนด โกลด ได ที่ เ บอร 1365 หรื อ สอบถามไปที่ ธนาคารกสิกรไทย โทร.0-2888-8822 รับรองไดมีเรื1องมากมายใหรับรู vvv ทางคายอีซูซุที่ถือเปนแชมป ของรถเพื1อ การพาณิ ช ย ห ลั ง จากที่ ไ ด แนะนํากลองอีซียูหรือที่เรียกวาระบบ อีซซู อุ นิ ไซด เมื1อนํารถปก อัพอีซซู ไุ ปตรวจ สภาพทีศ่ นู ยบริการแลวก็จะมีขอ มูลวาใช เบรกเบาเบรกแรงไปกี่ ค รั้ ง ช ว ยทํ า ให สามารถขับรถใหปลอดภัยมากยิง่ ขึน้ รวม ทัง้ ยังลดตนทุนการใชเชือ้ เพลิงไดอกี แบบ เถาแกที่เปนเจาของรถใหญอีซูซุ ตางก็ หวังวาเมื1อไหรคายอีซูซุ จะมีระบบอีซูซุ อิ น ไซด อ อกมากใช ง านในรถใหญ บ า ง เพราะจะชวยลดตนทุนไดเปนอยางมาก vvv สวนคายฮีโนซึ่งหวังวาจะทํา ยอดขายแซงอีซูซุให ไดก็ ไดจัดแคมเปญ ปลายป 57 หรือไมแนตอ ไปป 58 เลยก็ได นั่นก็คือการฟรีดาวน หรือผอนนาน 72 เดือน หรือ 6 ป ซึ่งเหมือนกับแคมเปญ รถเล็ ก เลยที เ ดี ย ว แบบนี้ ก็ ส ามารถ วิเคราะห ไดวา รถใหญของฮีโนยังมีคาง สต็อกอยูเปนจํานวนมากแน จึงตองหา ทางระบายใหหมด vvv ถือวาเปนผูที่มีนํ้าใจงามเมื1อ พี่เอหรือคุณธนภัทร อินทวิพันธุ รอง ประธานคายฟูโซ ไดทาํ การเปดโปรโมชัน่ พิเศษใหกับรถฟูโซทุกรุนภายในวันที่ 31 ธันวาคม 57 แลวก็ยังสอบถามไปยัง นายกสมาคมขนสงทางบกแหง ประเทศไทยอีกวา ในการประชุมใหญป 57 ระหวางวันที่ 12-13 ธันวาคม 57 ได
B&T#259_p18-21_iMac5.indd 19
มั่นใจทีมผู้บริหาร ด�ารงศิลป์ฯ พร้อมทุกงาน
เก็บตก...ทีมผูบริหาร บริษัท ดํารงศิลป พารท ซีท เซ็นเตอร จํากัด เขาเตรียมงาน BUS & TRUCK ’14 เมื1อวันที่ 6-8 พ.ย.ที่ผานมาอยางพรอมเพียง พรอมนําเสนอนวัตกรรม เกี่ยวกับเบาะรถโดยสาร โดยสงเบาะ 2 รุนใหม ไดแก AERO EL 2013 (THE COCOON) THE LUXURIOUS COACH SEAT และ AERO DX (THE COCOON) THE PREMIUM COACH SEAT โดยมีผูสนใจเบาะดํารงศิลปเขาเยี่ยมชมบูธเปนจํานวนมาก
ขาววาจะมีนักรองบนเวทีเพียงสองคน เทานัน้ คาดวาคงจะไมเพียงพอทีจ่ ะสราง ความสนุกสนานใหบรรดาสมาชิกหาก ต อ งการน า หมู พงษ เ ทพ กระโดน ชํานาญ ที่เปนนักรองประจําคายฟูโซ ก็ ยิ น ดี ที่ จ ะเป น นั ก ร อ งรั บ เชิ ญ ในงาน ประชุมใหญหากอยากไดกบ็ อกมาพีจ่ ดั ให
มาสด้าเปิดสายการผลิตอีโคคาร์ เจนเนอเรชั่นที่ 2
มาสดา มอเตอร คอรปอเรชั่น ประเทศญี่ปุน รวมกับโรงงานผลิตรถยนตมาสดา ออโตอัลลายแอนซ จังหวัดระยอง พรอมดวยมาสดา เซลส ประเทศไทย เปดสายการผลิต รถยนตประหยัดพลังงานมาตรฐานสากล ระยะที่ 2 หรือโครงการอีโคคาร เจนเนอเรชั่นที่ 2 จากสายการผลิตประเทศไทย เพื1อจําหนายในประเทศและเพื1อสงออกทั่วโลก ดวยเงินลงทุน จํานวน 12,000 ลาน โดยไดรับเกียรติจากผูแทนนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีวาการกระทรวง อุตสาหกรรม, ฯพณฯ ทานเอกอัครราชทูตญี่ปุนประจําประเทศไทย คณะผูบริหารจากมาสดา มอเตอร ประทศญี่ปุน
เมอร์เซเดส-เบนซ์ ลีสซิ่ง โชว์ผลประกอบการ Q3 โตสวนตลาดสินเชื่อ
เมื1อเอยชื1อคายไอวีโกซึ่งเปน นองใหมมาจากประเทศอีตาลี เฮียดอน หรือ คุณสมเกียรติ เสือกลิ่นศักดิ์ บอส ใหญของคายเอสเอสเค กรุป ที่เปนผู แทนจําหนายอยางเปนทางการไดเตรียม ทุมทุนมากถึง 1,000 ลานบาท เพื1อสราง โรงงานประกอบที่อยุธยา คาดวากลางป 58 จะเปนรูปเปนรางนอกจากจะประกอบ เพื1อจําหนายในประเทศแลวทางสาขา ของบริษทั แมในประเทศไทย ก็ไดเริม่ เดิน สายไปพบนักลงทุนในแถบอาเซียนไมวา จะเปน สปป.ลาว เวียดนาม และพมา เพื1อที่จะไดหาผูแทนจําหนายในประเทศ นั้น ๆ โดยจะสงรถใหญไอวีโกที่เฮียดอน ประกอบไปให จุดประสงคหลักก็คือ จะ ใหเมืองไทยเปน HUB OF IVECO vvv ไดพบเจอคุณตุกตาหรือ คุณ วิลาวัลย วิศปาแพว ผูจัดการฝายการ ตลาด ของคายวอลโว ไดนําบุตรชาย นองวินซ ไปรวมงานประชุมใหญของ สมาคมขนส ง ภาคอี ส าน เพื1อ ให เ ห็ น vvv
บริษัท เมอรเซเดส-เบนซ ลีสซิ่ง (ประเทศไทย) จํากัด แถลงผลประกอบการในชวง 3 ไตรมาสของป 2557 มีอัตราการเติบโตของยอดสินเชื1อรถยนตเพิ่มขึ้นถึง 26% พรอมเผย แผนการดําเนินงานในปนจี้ นถึงป 2558 เตรียมขยายฐานการใหบริการทางการเงินแกผจู าํ หนาย ควบคูไปกับการนําเสนอผลิตภัณฑทางการเงินรูปแบบใหม ๆ และพัฒนาบริการขอมูลลูกคา ออนไลนทสี่ ามารถใชงานผานเครื1องคอมพิวเตอรทางเว็บไซต www.mymblt.com และใชงาน ผานแอพพลิเคชั่น myMBFS บนโทรศัพทมือถือ เพื1อมอบประสบการณใหมและสรางความ ประทับใจสูงสุดใหกับลูกคา
TPARK จับมือTWINTEC ยกมาตรฐานคลังสินค้าส�าเร็จรูป
บริษทั ไทคอน โลจิสติคสพารค จํากัด หรือTPARK รับมอบพืน้ อาคารคลังสินคาขนาด กวา 7,000 ตร.ม. ในโครงการ TPARK Eastern Seaboard 3 จากบริษัททวินเทคอินดัสเทรียล ฟลอริง่ (Twintec Industrial Flooring) โดยนําเทคโนโลยีพนื้ คอนกรีตเสริมใยเหล็กแบบไรรอย ตอหรือ Steel Fibre Reinforced Concrete (SFRC) ชั้นนําของโลกมาใชในการกอสรางพื้นของ คลังสินคาจึงมีความแข็งแรงกวาพื้นคอนกรีตทั่วไปและมีความทนทานสูง เหมาะสําหรับการ ดําเนินงานทางดานโลจิสติกสภายในคลังสินคา นับเปนการกําหนดมาตรฐานใหมในวงการคลัง สินคาสําเร็จรูป
11/27/2557 BE 10:16 PM
20 BUS&TRUCK • GOSSIP
ว า การทํ า ตลาดและการขายของค า ย วอลโวที่แมทํางานอยูเปนอยางไรเพื1อที่ จะไดเปนการปลูกฝงการรักรถใหญตงั้ แต เด็ก ๆ เพื1อวันหนานองวินซจะไดมา ทํางานในคายวอลโวเหมือนแมและอาจ เป น ถึ ง ผู บ ริ ห ารที่ บ ริ ษั ท แม ป ระเทศ สวีเดนก็ได vvv หากเอยชื1อเฮียดํา หรือ คุณ บรรชา แสงบางมุด ชาวขนสงในภาค อี ส านก็ ต อ งรู จั ก กั น เป น อย า งดี เ พราะ นอกจากจะเปนดีลเลอรขายรถโฟตอน แลว ก็ยังมีธุรกิจขายรถมือสองดวย โดย ปรัชญาในการทํางานนั้นไมหวังผลกําไร มีแตให ตองการใหเพื1อขนสงดวยกันมีรถ ใหญมงี านทํา ถึงกับเปนสปอนเซอรหลัก ในการประชุมสัญจรของสมาคมขนสง สินคาภาคอีสานตามจังหวัดตาง ๆ ให มากถึงครัง้ ละ 2-3 แสนบาท แมวา จะขาย รถใหญโฟตอนไมไดเลยก็ตาม แตที่ไหน ไดหากดูยอดขายมีมากกวาดีลเลอรราย อื1นเสียอีก อยางรายอื1นขายไดทงั้ ป 4 คัน แตเฮียดําขายไดถึง 40 คันทีเดียว แบบ นี้ถึงตั้งชื1อบริษัทวา ดีลเลอร มือสอง สม ชื1อจริง ๆ vvv ถามองในวงการรถพวงราย ใหญในประเทศไทยที่ติดอันดับในทอป โฟร มีผบู ริหารหนุม ทานหนึง่ ทีด่ จู ะวัยรุน ที่สุดในวงการเปนที่รูจักกันคือ คุณโก หรือ คุณทัศนะ กันรัตน รองกรรมการ
ปักษ์แรก • ธันวาคม 2557
ผูจัดการ หนวยธุรกิจโลจิสติกส คาย พนัส ดูแลวจะดูฟต แอนดเฟรม ขึน้ ทุกวัน เพราะคอนจะดูแลตัวเองหมั่นออกกําลัง กายเป น พิ เ ศษอย า งสมํ่ า เสมอทุ ก วั น นอกจากรับประทานอาหารชีวจิตแลวยัง หมัน่ นัง่ สมาธิเพื1อเสริมสรางทัศนะคติตอ การบริหารองคกรอีกดวย ไมอยากจะเชื1อ คนทีเ่ มื1อครัง้ กอนประมาณ 5 ป ทีแ่ ลวจะ ดูทวมเปนพิเศษแตเมื1อมาพบเจอกันอีก ครั้งกลับดูหลอเหลาเอาการขนาดนี้ ไม ตองบอกก็รูวามีแตสาว ๆ มารุมจีบ มาเขาเรื1องกอนเลยดีกวาสําหรับ การตลาดในปหนาคุณทัศนะแอบเปรยวา จะมีสินคาใหมที่จะเขามาทําตลาดอยาง แน น อนและเชื1อ ว า จะเป น สิ น ค า ที่ ยั ง สามารถทําตลาดไดไกลอีกดวยโดยจะหัน มาผลิ ต สิ น ค า ประเภทตู เ ห็ น บอกเป น นัย ๆ แถมยังเผยถึงตัวเลขในกลุมสินคา ประเภทนี้วามีมูลคาสูงอีกดวย vvv ใครวารถใหญจากจีนยอดจะ ตกแต คุ ณ ชั ย วั ฒ น ตั้ ง สุ ร กิ จ ผู แ ทน จําหนายรถใหญ เอฟเอดับบลิว แมวา ภาวะเศรษฐกิจจะตกตํา่ ยอดขายรวมทุก ยี่หอจะลดนอยลง แตทางบริษัทยังทํา ยอดขายรวมไดประมาณ 150 คัน เทากับ ป ที่ แ ล ว เลยซึ่ ง ก็ แ สดงให เ ห็ น ว า ทั้ ง คุ ณ ภาพทั้ ง มาตรฐานรวมถึ ง การดู แ ล ลูกคาของ เอฟเอดับบลิว นั้น สามารถ มัดใจลูกคาได
เมื1อเอยชือ1 คุณยู เจียรยืนยงพงศ ประธานสหพันธการขนสงทางบก แหงประเทศไทย ทุกคนในวงการขนสง ตางใหการนับถือเปนอยางสูง เพราะ ทําการตอสูใหกบั วงการขนสงไดรบั ความ ยุตธิ รรมไมใหใครมาเอารัดเอาเปรียบ แต ในฐานะที่เปนลูกผูชายภายในใจลึก ๆ ก็ ยอมชอบผูห ญิงสวยอยูเ สมอเมื1อเจอนอง ปลานิล แอมบัซซีอ่ อฟฟูโซกต็ รงเขาไปขอ ถายรูปเพื1อเปนที่ระลึกไวดูตางหนา เมื1อ ดูสีหนาที่ยิ้มแยมแลวก็อดคิดไมไดวาคืน นี้เฮียยูตองเก็บนองปลานิลไปฝนแน vvv ต อ งยอมรั บ ว า คุ ณ อภิ ช าติ vvv
ไพรรุงเรือง นายกสมาคมขนสงทางบก แหงประเทศไทย เปนคนทีน่ า เคารพมาก แมวาจะไมสบายก็ยังใหเกียรติมารวมใน พิธเี ปดงาน BUS & TRUCK ’14 ที่ไบเทค กรุงเทพฯ เมื1อวันที่ 6 พ.ย. ทีผ่ า นมา ดวย สภาพรางกายที่ไมแข็งแรงทําใหเดินเหิน ลําบากไมแจมใส แตกย็ งั อวยพรใหงานมี คนมาชมเยอะ ๆ ตองขอขอบคุณมากดวย ความเคารพอยางสูง vvv สวนเฮียเต็ก คุณชุมพล สายเชือ้ เจาของ บีเอส ขนสง ก็ไดนาํ ทัง้ บุตร สาวและบุตรชายไปเยีย่ มงานประชุมใหญ สามัญประจําปของสมาคมขนสงสินคา
ปักษ์แรก
ธันวาคม 2557
วอลโว่ ทรัคส์ ส่งมอบรถหัวลากรุ่นใหม่ FH จ�านวน 19 คัน แก่อิตาเลียนไทย
คุณลัดดาวรรณ ชาญพิทยานุกูลกิจ ผูจัดการทั่วไป ภาคเหนือและภาคกลาง บริษัท วอลโว กรุป (ประเทศไทย) จํากัด ทําพิธีสงมอบรถหัวลากวอลโว FH รุนใหม จํานวน 19 คัน ใหแก คุณสมเกียรติ วัฒนเหลาวิชย รองประธานบริหารฝายควบคุมเครื1องจักร บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวลอปเมนต จํากัด (มหาชน) ซึง่ เปนผูร บั เหมากอสรางครบวงจรรายใหญ เพื1อ รองรับแผนการกอสรางสวนตอขยายรถไฟฟามหานครในเขตกรุงเทพมหานคร เมื1อเร็ว ๆ นี้
B&T#259_p18-21_iMac5.indd 20
สาว TATA
11/27/2557 BE 10:16 PM
7
GOSSIP • BUS&TRUCK
ปกษแรก • ธันวาคม 2557
21
สมาคมรถโบราณฯ จัดคาราวานเที่ยวนครปฐม
สมาคมรถโบราณแหงประเทศไทย จัดขบวนรถโบราณและรถคลาสสิคกวา 50 คัน ทอง เที่ยวจังหวัดนครปฐมในงาน “ตามรอยบุญ พระมหาธีรราชเจา” ชมพระราชวังสนามจันทร ชมประวัติศาสตรผานหุนขี้ผึ้งไทย รวมทั้งสงเสริมวัฒนธรรมและการทองเที่ยวของจังหวัด นครปฐม ไปกับรถโบราณอันทรงคุณคาตลอดการเดินทาง นอกจากจะไดสัมผัสความสวยงาม ของแหลงทองเที่ยวตาง ๆ แลว ยังจะไดชมการสาธิตการทําขนมไทย โดยวิทยาลัยอาชีวศึกษา นครปฐม รวมทั้งรวมเลี้ยงอาหารกลางวัน มอบทุนการศึกษาและสิ่งของสนับสนุนใหแกนอง ๆ โรงเรียนโสตศึกษาดวย
ภาคอีสาน เมื1อเห็นหนาบุตรสาวแลวตอง บอกได คํ า เดี ย วว า มี เ ชื้ อ สายมาจาก ประเทศจีน 100 เปอรเซ็นต เห็ยปุปก็รู ปป วาเปนอาหมวย สวนทางดานบุตรชาย นัน้ ก็ยงั มีเชือ้ ไทยประสมอยูบ า ง เมื1อเห็น สีหนาแววตาของหนูนอ ยทัง้ สองแลวพบ วาราเริงมีความสุขที่เห็นรถใหญ แบบนี้ ตองเปนคนในวงการขนสงตั้งแตเด็ก ๆ แน นี่แหละเชื้อสายของเฮียเต็ก ที่บอก วาขอรองอยาลงเลยเดีย๋ วใคร ๆ รูห มดวา เฮียเต็กมีลูกแลว ❖❖❖ มาลงท า ยกั น ที่ คุ ณ สุ ร ชั ย กนกะปณฑะ หรือที่มีฉายาวา สุรชัย
ปากชอง ที่เปนขนสงรายใหญในภาค อีสาน สามารถเรียกนักการเมืองมารวม พูดคุยไดแถมยังใหความรูผานผูที่จะซื้อ รถใหญคันใหมใหทราบวา ใหงดซื้อยี่หอ ใหมทที่ าํ การตลาดเพราะอะไหลคอ นขาง แพงมากไมสามารถซื้อไดจากเชียงกง การลงทุนทีถ่ กู ตองนัน้ ตองซือ้ รถใหญคนั ใหม ที่ ทํ า ตลาดมานานเพราะจะมี ทั้ ง อะไหลใหมและเกาในราคาที่ถูกคุณภาพ สูง ก็เปนทีท่ ราบกันดีเรื1องความสามารถ ก็ลองดูชื1อบริษัทแลวกัน บริษัท สุดยอด การขนสง จํากัด ลากอนสวัสดีครับ
เหมราชฯ สรางลานกีฬาใหกับชุมชม
ชมรมความปลอดภัยและสิ่งแวดลอม (ESEC) นิคมอุตสาหกรรมเหมราชตะวันออก (มาบตาพุด) จัดสรางลานกีฬาสําหรับชุมชนชากผักกูด ชากกลาง โดยลานกีฬาแหงนี้จะติดตั้ง อุปกรณการออกกําลังกาย และพรอมเริ่มเปดใหชาวบานในชุมชนมาใชบริการไดเร็ว ๆ นี้ โดย ผูประกอบการและพนักงานในนิคมเหมราชฯ รวมกับชางกอสรางชวยกันเทปูนสรางลานกีฬา เพื1อกระตุนและสงเสริมการออกกําลังกายในชุมชนชากผักกูด ชากกลาง
FORTRON ขยายฐานลูกคาในสถานีบริการนํ้ามัน พีที
FORTRON (โฟรตรอน) ผลิตภัณฑบํารุงรักษารถยนตตามระยะทาง® ชูศักยภาพผูนํา หนึง่ เดียวดานการบํารุงรักษารถยนตทใี่ ชพลังงานทดแทน นําทีมปลุกกระแสอยางตอเนื1องดวย การเดินหนาขยายฐานลูกคาที่เขามาใชบริการในสถานีบริการนํ้ามัน ”พีที” โดยสรางความคุน เคยกับแบรนดใหลูกคาเกิดการจดจําและการรับรู พรอมกับเปนการเพิ่มยอดขายในตลาดใหม ทัง้ ผลิตภัณฑทดี่ แู ลแกสโซฮอลและไบโอดีเซล ในกิจกรรมนี้ ไดสรางความสนุกสนาน และเสริม กิจกรรมพิเศษดวย สติก๊ เกอร FORTRON ลุน โชครับทองคํา ใหกบั ลูกคาไดลนุ พิชติ โชคในสถานี บริการนํ้ามันพีที อีกดวย
ทีเอ็นที ตอนรับนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยกรุงเทพ
บริษัท ทีเอ็นที เอ็กซเพรส เวิลด ไวด (ประเทศไทย) จํากัด นําโดย อลัน มิว กรรมการ ผูจัดการใหญ ตอนรับนักศึกษาจากมหาวิทยาลัยกรุงเทพ คณะวิทยาลัยนานาชาติ สาขา นิเทศศาสตร เขาเยี่ยมชมการดําเนินงาน และรับฟงขอมูลเกี่ยวกับการจัดการแบรนดและ กําหนดภาพลักษณ ณ สํานักงานใหญ ทีเอ็นที ประเทศไทย เมื1อเร็ว ๆ นี้ ซึ่งทีเอ็นทีมุงมั่นมอบ โซลูชั่นที่เปนเลิศใหกบั ลูกคา รวมทั้งเดินหนาใหขอมูลความรูท ี่เปนประโยชนในดานการเตรียม ความพรอมธุรกิจเมื1อมีการเปดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ใหแกทั้งหนวยงานภาครัฐและ เอกชน
B&T#259_p18-21_iMac5.indd 21
11/27/2557 BE 10:16 PM
22 BUS&TRUCK • VITSIT
ปักษ์แรก • ธันวาคม 2557
แวะเวียน
วอลโว ทรัคส โชวนวัตกรรม
ฉลองครบรอบ 25 ป หอการคาไทย-สวีเดน วอลโว ทรัคส รวมแสดงความ ยินดีนาํ รถหัวลากรุน ใหม Volvo FMX ผาครึ่งแสดงในงาน “นวัตกรรมลํ้ายุค –Beyond Innovation” ภายใตชื1อ “Hij! Swedish 2014 @ Central World” ซึ่งเปนนิทรรศการที่จัดขึ้น เพื1อฉลองครบรอบ 25 ปของการกอ ตั้งหอการคาไทย-สวีเดน นิทรรศการนวัตกรรมลํา้ ยุคครัง้ นี้ จะจั ด ขึ้ น ที่ ห า งสรรพสิ น ค า เซ็ น ทรั ล เวิรล โดยเปนความรวมมือระหวาง หอการคาไทย-สวีเดนกับบริษัทสวีเดน ในประเทศไทย โดยจะนํานวัตกรรม ใหม ๆ และเทคโนโลยีลาสุดมารวม กิจกรรมครั้งนี้ วอลโว ทรัคส ถือเปน หนึ่ ง ในบริ ษั ท ชั้ น นํ า ของสวี เ ดนใน ประเทศไทย และถือเปนแนวหนาของ ผู ใ ห บ ริ ก ารเทคโนโลยี ข นส ง ผ า นรถ หั ว ล า ก ที่ ใ ช พ ลั ง ง า น อ ย า ง มี ประสิทธิภาพสูงและยังเปนรถหัวลากที่ มีมาตรฐานคุณภาพสูงสุดในตลาด ซึ่ง สะทอนถึงคุณภาพและนวัตกรรมของ สวีเดนไดเปนอยางดี สําหรับรถหัวลากวอลโว FMX ผา ครึ่ ง คั น นี้ ไ ด สั่ ง ตรงมาจากประเทศ สิงคโปรเพื1อนํามาแสดงในงานนี้ โดย เฉพาะ โดยมีเปาหมายที่จะแสดงใหผู บริ โ ภคชาวไทยได เ ห็ น ถึ ง รถหั ว ลาก วอลโว เปนรถหัวลากที่คุณภาพสูงจาก ประเทศสวีเดน โดยรถรุนดังกลาวเปน
B&T#259_p22_iMac5.indd 22
รถรุ น ใหม ล า สุ ด ที่ เ พิ่ ง เป ด ตั ว ในตลาด ประเทศไทยเมื1อเร็ว ๆ นี้ ซึง่ วอลโว ทรัคส ได ติ ด ตั้ ง อุ ป กรณ ที่ เ ป น นวั ต กรรมใหม ลาสุดของวอลโว ทรัคส ในรถหัวลากรุน นี้ ไมวา จะเปนระบบเกียร อัจฉริยะ I-Shift เบาะที่นั่งที่มีระบบกันสะเทือนแบบ Air Suspension อีกทั้งแปนจอหนาคนขับ และชองเสียบ USB ที่ถูกออกแบบเพื1อ อํานวยความสะดวกสบายแกพนักงานขับ รถที่ตองขับระยะทางไกล และที่สําคัญ คื อ ที่ สุ ด คื อ ระบบ Volvo Dynamic
Steering ทีใ่ หความปลอดภัยและแมนยํา ในการรักษาแนวเสนทางของพวงมาลัย รถวอลโว ทรัคส รุน FMX ถูก ออกแบบมาเพื1อการใชงานขับเคลื1อนที่ โหดสุด ๆ โดยเพลาขับหนาไดรับการ ออกแบบใหมเพื1อการใชงานบนถนนที่ ทุรกันดารโดยเฉพาะ มันจึงทําใหการ ทรงตัวไมมีขอผิดพลาดบนถนนที่ขรุขระ ภายใต ก ารควบคุ ม ของระบบ Volvo Dynamic Steering ซึ่งถือเปนการสราง มาตรฐานใหม ข องระบบพวงมาลั ย ใน
อุตสาหกรรมการผลิตรถบรรทุก มันได รั บ การพิ สู จ น แ ล ว ครั บ ว า แม แ ต ห นู แฮมสเตอรยังสามารถขับรถบรรทุก วอลโวได “ทาง วอลโว ทรัคส ยินดีอยาง มากในวาระครบรอบ 25 ป ข อง หอการคา ไทย-สวีเดน ทัง้ นีเ้ พราะวอล โว ทรั ค ส เองเป น องค ก รที่ มี ประวัติศาสตรในสวีเดน วอลโว ทรัคส กอตัง้ ขึน้ เมื1อป พ.ศ. 2471 และไดสราง นวั ต กรรมที่ เ กี่ ย วข อ งกั บ ผู ค นอย า ง สมํา่ เสมอและตอเนือ1 ง จากระบบความ ปลอดภัยที่พัฒนาโดยวอลโวที่เปนที่ รูจักคือเข็มขัดนิรภัยแบบ 3 จุด ที่เปด ตัวในป พ.ศ. 2502 มาจนถึง พ.ศ. 2544 ระบบเกียรอัจฉริยะ I-Shift หรือลาสุด ระบบ Volvo Dynamic Steering ในป พ.ศ. 2556 สิง่ เหลานี้ ไดสรางความรูส กึ ของการขับรถบรรทุกทีเ่ หมือนหรือใกล เคี ย งกั บ รถเก ง ทั้ ง ในรู ป ของความ สะดวกสบายในการขับขี่และลูกเลน” มร. มิเชล กลาว วอลโว ทรัคส เปนแบรนดรถ บรรทุกใหญอันดับสองของโลก โดย วอลโว ทรัคส เปนรถบรรทุกขนาด 16 ตั น ขึ้ น ไปโดยจํ า หน า ยและบริ ก าร มากกวา 140 ประเทศทั่วโลก และ วอลโว ทรั ค ส มี ค า นิ ย มองค ก ร 3 ประการไดแกคุณภาพ ความปลอดภัย และการคํานึงถึงสิ่งแวดลอม
11/27/2557 BE 10:20 PM
B&T#259_p23_iMac5.pdf
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
1
11/27/2557 BE
10:22 PM
24 BUS&TRUCK • COMPARISON
ปกษแรก • ธันวาคม 2557
เปรียบเทียบรถเดน
ควันหลง BUS & ปดฉากลงอยางสมบูรณแบบเปนที่ เรียบรอยสําหรับงานแสดงรถเพื1อการ พาณิชย BUS & TRUCK ’14 ที่บรรดา รถใหญในวงการตางเขารวมแสดงสินคา กันอยางพรอมเพรียง แตสงิ่ ทีน่ า สนใจใน ปนคี้ า ยรถใหญหนาใหมตา งใหความสนใจ เป ด ตั ว ในงานนี้ เพื1อ แสดงจุ ด ยื น ของ คุณภาพสินคาแตละคายใหนาตืน1 ตากัน พรอมทําการตลาดอัดโปรโมชัน่ แบบใจถึง ราคาแบบถึงใจใหผูประกอบการเลือก จับจองภายในงานเทานั้น เริม่ จากผูน าํ เขารถบรรทุกจากอิตาลี และถูกจับตามองอยางมากเนื1องจากลงทุน มหาศาลสําหรับการเปนผูแ ทนจําหนายแต เพียงผูเดียวในประเทศไทยอยาง บริษัท เอสเอสเค กรุป เซลล แอนด เซอรวิส จํากัด ซึง่ ไดรบั การแตงตัง้ จาก ไอวีโก อิตาลี และยังสามารถจําหนายรถตาง ๆ ในสาย ธุรกิจ อาทิ รถดับเพลิง รถใชในงานเหมือง รถบรรทุกขนาดกลาง เปนตน นํารถรุน IVECO 682 “ไอวีโก 682” รถบรรทุก แบรนดอิตาลีที่อยูในเซคเมนทเดียวกับรถ หัวลากมาจากยุโรปที่เขามาทําตลาดใน ประเทศไทยขณะนีใ้ นราคาเฉลีย่ แลวไลเลีย่ กับคายรถบรรทุกแบรนดญ่ีปุนเลยก็วาได นอกเหนือจากนั้นยังนํารถตูพาสเซ็นเจอร คารอยาง “ไอวีโก แดรี่” เขามาแสดงอีก ดวย IVECO 682 มาพรอมเครื1องยนต เครือ1 งยนตยูโร 3 แบบ 6 สูบแถวเรียง IVECO Cursor 9 F2CEO681*B จายนํา้ มัน แบบคอมมอนเรล แรงดันสูง 1,800 บาร high pressure common rail BOCSH ควบคุ ม ด ว ยระบบอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส ECU เทอรโบชารจ HOLSET อินเตอรคูลเลอร ระบายความร อ นด ว ยอากาศ ปริ ม าตร กระบอกสูบ 8,700 ซีซี. กําลังสูงสุดอยูที่ 380 แรงมา 280 กิโลวัตต ที่ 1,800-2,100 รอบต อ นาที แรงบิ ด สู ง สุ ด อยู ที่ 1,500 นิวตันเมตร ที่ 1,000-1,750 รอบตอนาที ระบบขับเคลื1อนเกียร FAST เกียร รุน 12JS180TA พรอมเกียรโอเวอร ไดรฟ 12 เกียรเดินหนาและ 2 เกียร ถอยหลัง ตอมาเปนใครไปไมไดสาํ หรับเจาเกา อยาง บริษัท ฟูโซ ทรัค (ประเทศไทย) จํากัด ทีม่ ารวมงานทุกปแบบไมเคยขาดลา มาสายนํารถหัวลากทีก่ าํ ลังไดรบั ความนิยม อยางมากในขณะนี้ FV5138 SHOGUN “โชกุน” และ SUPER GREAT “ซุปเปอร เกรท” สําหรับรถบรรทุกหัวลากฟูโซรุน ใหมนี้คือ SUPER GREAT 380 HIGH SPEED ซึง่ ไดรบั การพัฒนาใหมอี ตั ราเฟอง ทายใหมอยูที่ 4.625 เปนรถหัวลาก 10 ล อ 2 เพลา รุ น FV 5138 มาพร อ ม เครื1องยนต 6M70-1AT3 มาตรฐานยูโร 3 ดีเซล 4 จังหวะ 6 สูบ ไดเร็คอินเจ็คชั่น ระบายความรอนดวยนํา้ พรอมอินเตอรคลู เลอร 380 แรงมา กําลังสูงสุด 279 กิโล วัตต ที่ 2,200 รอบตอนาที แรงบิดสูงสุด
B&T#259_p24-25_iMac5.indd 24
1,618 นิวตัน-เมตร ที่ 1,200 รอบตอนาที สามารถทํางานที่รอบเครื1องยนตตํ่ารวมกับ สปลิทเตอรเกียร เพิ่มพลังฉุดไดมากขึ้น แม งานบรรทุกหนักเปนพิเศษ ความจุกระบอก สู บ 12,882 ซี ซี . ความเร็ ว สู ง สุ ด 103 กิโลเมตรตอชั่วโมง อีกคายทีอ่ ยูใ นเครือตันจงเชนเดียวกับ ฟูโซเปนรถบรรทุกจากจีนรุนใหม โฟตอน AUMAN WARRIOR “ออแมน วอรรเิ ออร” เปดตัวไมนานมานี้โดย บริษัท โฟตอน ทรัค (ประเทศไทย) จํากัด มาพรอมสมรรถนะ เครื1องยนตขนาด 375 แรงมา เปนรถบรรทุก 10 ลอ สองเพลาอเนกประสงค โดยทําการ เ ป ด ตั ว ที่ โ ร ง ง า น ป ร ะ ก อ บ ที่ นิ ค ม อุ ต สาหกรรมลาดกระบั ง ซึ่ ง ถู ก ประกอบ ภายในโรงงานนี้อีกดวย ซึ่งถือวาเปนรถ บรรทุ ก ใหญ จ ากประเทศจี น ที่ ทํ า การ ประกอบในประเทศไทยเปนเจาแรก วอรรเิ ออรใชเครื1องยนตรนุ wp10.375 เชื้อเพลิงดีเซลเทอร โบอินเตอรคูลเลอร 6 สูบ 4 จังหวะ เรียงตั้งแนวตรง ระบายความ รอนดวยนํ้า โดยมีระบบการจายเชื้อเพลิง แบบคอมอนเรลที่ควบคุมโดยกลอง ECU ความจุกระบอกสูบอยูที่ 9,726 ซีซี. มีกําลัง สูงสุด 276 กิโลวัตต ที่ 2,200 รอบตอนาที แรงบิดสูงสุด 1,460 นิวตันเมตร ที่ 1,4001,600 รอบตอนาที มาตรฐานไอเสียยูโร 3 ออกแบบเครื1องยนต โดยใช โลหะวิทยาใน การออกแบบลูกสูบวาลวและบาวาลว ใหมี ความทนทานในการใชงานและระบายความ รอนไดดีกวา มีขา วการนําเขา รถหัวลากจากเกาหลี สักพักใหญแลวซึ่งเปนใครไปไมได บริษัท ทาทา มอเตอรส (ประเทศไทย) จํากัด สง รถบรรทุ ก จากแดนกิ ม จิ DAEWOO NOVUS “ แดวู โนวัส” ลงสูศึกรถหัวลาก ประสิทธิภาพสูงที่พรอมจะลุยตลาดรถใหญ ปหนาอยางแนนอน โดยมีกําลังเครื1องยนต ที่สูงมาก 420 แรงมา ใชเครื1องยนตดีเซล 6 สูบ ยูโร 3 จากดูซาน (Doosan) ขนาด 10,964 ซีซี. พรอมเทอร โบและอินเตอร คูลเลอร รีดพลังไดถึง 420 แรงมา ที่ 1,800 รอบตอนาที แรงบิดสูงสุด 1,834 นิวตันเมตร ที่ 1,100 รอบตอนาที ระบบสงกําลังดวย เกียร ZF 16 สปด จากเยอรมัน พรอมหัว เกง Aerodynamic โนวัส ออกแบบโดยใช แนวคิ ด หลั ก ที่ เ น น ในเรื1อ งสมรรถนะ ประสิ ท ธิ ภ าพการขนส ง และใช อุ ป กรณ ตาง ๆ ทีม่ าตรฐานระดับสูงใชความเร็วสูงสุด 93 กิโลเมตรตอชั่วโมง และสามารถไตทาง ชันไดถึง 38.2% นอกจากนี้ยังนํารถเขามา จําหนายอีก 2 รุน คือ TATA PRIMA รถหัว ลาก 6 ลอ 266 แรงมา พวงดวยรถบรรทุก ขนาดเล็กเพื1อการพาณิชย TATA SUPER ACE ทางดานคายรถทีเ่ ขางานในครัง้ นีเ้ ปน ครั้งแรกคือ บริษัท เอ็ม.ซี.ซี. ทรัค แอนด บัส อินเตอรเนชัน่ แนล จํากัด แตเปนบริษทั ทีจ่ าํ หนายและอยูใ นวงการรถใหญภาคใตมา
11/27/2557 BE 10:32 PM
ปักษ์แรก • ธันวาคม 2557
COMPARISON • BUS&TRUCK 25
S & TRUCK ’14 ยาวนานแลวดวยการเปนดีลเลอรจําหนาย รถใหญมากยีห่ อ เลยก็วา ได โดยในปนเี้ จาตัว ไดเปรยไววา เปนการเปดตัวบริษทั ใหคนรูจ กั ไปกอนแตในปหนานั้นไดวางแผนที่จะรุก ตลาดรถใหญอยางเต็มตัวและใหเปนที่รูจัก มากขึน้ ในวงการรถใหญพรอมลุยงานแสดง รถใหญที่ไบเทคปหนาอีกแนนอน โดยในครัง้ นี้ ไดนาํ รถใหญ BEIBEN “ไบเบน” มาแสดง หลากหลายรุนไมวาจะเปน 6 ลอ และ 10 ลอ แตสําหรับรุนใหมอยาง V3 ถือวาเปนรถ ที่ ไดรับความสนใจไมใชนอยดวยดีไซนที่ดู โฉบเฉี่ยวไฟหนาแบบสปอรตสําหรับรถหัว ลากรุน V3 1827 ก็เปนอีกหนึง่ คันทีน่ า สนใจ ไมใชนอ ยจอดอยูห นาบูธดูโดดเดน มาพรอม สมรรถนะเครื1องยนต WP10.270 เครื1องยนต ดีเซล 4 จังหวะ 6 สูบ แถวเรียงระบายความ รอนดวยนํ้า กําลังสูงสุดอยูที่ 270 แรงมา โดยคายรถจากบริษัทนี้มีความตั้งใจสูงบวก กับประสบการณทยี่ าวนานในวงการรถใหญ จึงเชื1อไดเลยวาสามารถจะฝาฟนและสอด แทรกเขาไปเปนตัวเลือกของผูประกอบการ ขนสงทั่วประเทศไดอยางแนนอน มาทางด า นรถโดยสารกั น บ า ง YUTONG รถโคชคุณภาพสูงจากประเทศ จีนที่นําเขาโดย บริษัท ไทยคูชัย มอเตอร เซลส จํากัด เพียงผูเ ดียวในประเทศไทยโดย สินคาหลักนั้นจะเปนรถบัสรถโคชที่มีหลาย ขนาดทั้ง 8 เมตร 12 เมตร ที่ใหบริการใน เสนทางกรุงเทพฯ หรือรถโคชขนาด 12 เมตร ที่ เ ป น รถรั บ ส ง นั ก กี ฬ าฟุ ต บอลไป สนามฝ ก ซ อ ม สํ า หรั บ รถโคชรุ น นี้ คื อ YUTONG COACH ZK6122H9 ขนาด 12 เมตร เปนรถโคชทีเ่ หมาะกับการเดินทางไกล ทองเที่ยวหรือไปสัมมนาเปนอยางมากดวย ดี ไซนและคุณภาพของหองโดยสารไดถูก ออกแบบเพือ1 ความสะดวกสบายอย า ง ชัดเจน มาพรอมเครื1องยนตดีเซล Yuchai YC6L330-30 กําลังเครื1องนตอยูที่ 243 กิโล วัตต 330 แรงมา สวนสําหรับใครที่ตองการ ความประหยัดก็สามารถเลือกใชรนุ เดียวกัน นีแ้ ตเปนเครื1องยนต Yuchai YC6L340N-30 เปนเครื1องยนต CNG 250 กิโลวัตต 340 แรงมา ทางดานคายรถหรูอยาง บริษทั เมอร เซเดส-เบนซ ประเทศไทย จํากัด นํารถแมส เซ็นเจอรคารอยาง THE NEW SPRINTER และนําแชสซีสรถโดยสารมาแสดงในงาน ครัง้ นี้ โดยแชสซีสร ถโดยสารใหม นําเขาจาก ประเทศสเปน OC500RF1836 มีความยาว ขนาด 12 เมตร ออกแบบใหมีขนาดความ กวางสุดไดที่ 2.55 เมตร และความยาวที่ 12 เมตร มาพรอมกับเครื1องยนตอันทรงพลัง OM457LA เทอรโบอินเตอรคูลเลอร ความ จุกระบอกสูบ 11,967 ซีซี ใหกาํ ลังสูงสุด 354 แรงมา 260 กิโลวัตต ที่ 2,000 รอบตอนาที ใหแรงบิดสูงสุดที่ 1,600 นิวตันเมตร ที่ 1,100 รอบตอนาที สําหรับระบบสงกําลัง เปนแบบอัตโนมัติ ZF Ecolife ระบบเกียรดงั กลาว แบงเปนเดินหนา 6 สปด และถอย
B&T#259_p24-25_iMac5.indd 25
หลัง 1 สปด ซึง่ เปนเทคโนโลยีจากประเทศ เยอรมนี โดยไดรบั ความสนใจอยางมากกับ ผู ป ร ะ ก อ บ ก า ร เ ดิ น ร ถ โ ด ย ส า ร ใ น ประเทศไทย สําหรับ THE NEW SPRINTER ได รับการออกแบบใหมคี วามหลากหลายของ รูปลักษณใหเลือกตามความตองการ ซึ่ง เหมาะกับการใชงานในภาคธุรกิจ ไมวาจะ เปนธุรกิจดานโลจิสติกส รองรับกับการ บรรทุกสินคาจํานวนมาก พื้นที่ภายในตัว รถสู ง โปร ง และกว า งขวาง ธุ ร กิ จ โทรคมนาคมในการทําเปนรถถายทอด สัญญาณโทรทัศนผานดาวเทียม หรือรถ ถ า ยทอดสั ญ ญาณภาพและเสี ย งนอก สถานที่ รวมทั้ ง ยั ง สามารถทํ า เป น รถ พยาบาล มาทางดานรถเพื1องานอุตสาหกรรม คอนกรีตที่มาเปดตัวในงานครั้งนี้ บริษัท ไทย ซัน อินเตอร แมชชีน จํากัด เปดตัว รถโมปูน SANY รุนใหมโดยเปนแบรนด จากประเทศจี น และกํ า ลั ง จะมาเป ด โรงงานประกอบที่ไทยในเร็ว ๆ นี้ SANY หัวเกงแบบใหมคันนี้ นอกจากจะดีไซนรูป ลักษณที่สวยงาม แลวยังพัฒนามาตรวัด ตาง ๆ ใหหนาปดเปนแบบดิจิตอล ปรับดู หลายฟงกชั่นตามที่ตองการ เบาะนั่งคน ขับโอบอุมนุมสบายคลายความเมื1อยลา ขณะนั่งขับ เพิ่มความปลอดภัยดวยระบบ เบรกไอเสียอัตโนมัติ ที่ทํางานควบคูไปกับ การเหยียบเบรกปรกติ ยังคงทรงพลังดวย เครื1องยนตฮีโน 325 แรงมา และเกียร EATON 9 เกียรเดินหนา และ 2 เกียรถอย หลัง โดยไทยซันฯ ตั้งเปาสวนแบงการ ตลาดไวประมาณ 50% เพราะรถโมปูน SANY ที่นําเขามา สามารถจัดสงรถให ลูกคาใชงานไดทันที ไมตองรอนํารถไปติด ตั้งโมเหมือนกับรถยี่หออื1น ๆ ในชวงเปด ตัว มีแคมเปญมากมาย ทั้งดาวนตํ่า ผอน ยาว แถมทอง เติมนํา้ มันฟรี ไทยซันตัง้ เปา การขายในปหนาไวที่ 400 คัน สุดทายทางดานเจาเกาอยาง บริษทั ฮีโน มอเตอรสเซลส (ประเทศไทย) จํากัด มาพรอมรถบรรทุกขนาดเล็กโดยในครั้งนี้ นํารุน SERIES 3 EXPERT ทั้ง 6 ลอและ 4 ลอเขามาแสดงโดยมีการใหทดสอบอีกดวย สําหรับรุน 4 ลอ นี้ ไดรับความนิยมอยาง มากดวยรูปลักษณที่เล็กกะทัดรัดมาพรอม เครื1องยนตฮีโน รุน N04C-VA แรงมาสูงสุด ที่ 136 แรงมา 100 กิโลวัตต ที่ 2,500 รอบ ตอนาที แรงบิดสูงสุดที่ 392 นิวตันเมตร ที่ 1,600 รอบตอนาที เปนเครือ1 งยนตดเี ซล 4 จังหวะ 4 สูบ ระบบการจายเชื้อเพลิง แบบคอมมอนเรล ควบคุ ม ด ว ยระบบ คอมพิวเตอร ความจุกระบอกสูบ 4,009 ซีซี. โดยมีน้ําหนักบรรทุกสุทธิรวมบรรทุก 4,500 กิโลกรัม ระบบเกียรกระปุก 5 เกียร เดินหนา โอเวอร ไดรฟ 1-5 ซินโครเมซ 1 เกียรถอยหลัง
11/27/2557 BE 10:32 PM
26 BUS&TRUCK • LOGISTICS FOCUS
ปกษแรก • ธันวาคม 2557 LOGISTICS FOCUS
อาเซียน มั่นใจเศรษฐกิจโต พรอมเขา AEC ไทย-อินเดีย เรงพัฒนาเศรษฐกิจ-คมนาคม อาเซียนมั่นใจเศรษฐกิจภายในโต แข็งแกรง พรอมเขาสูเออีซี ในปหนา ขณะไทย-อินเดียหารือทวิภาคี เรงเขต การคาเสรี-แกภาษีซอน พรอมเรงสราง ถนนเชื1อม ไทย-เมียนมาร-อินเดีย การประชุ ม สุ ด ยอดผู นํ า อาเซี ย น ครั้ ง ที่ 25 ที่ ก รุ ง เนย ป ด อว ประเทศ สหภาพเมียนมาร เปดประชุมอยางเปน ทางการ ยํ้าการรวมตัวกันเปนประชาคม อาเซียนในปหนา และรวมมือดานความ มั่นคงมากขึ้น นายเต็ ง เส ง ประธานาธิ บ ดี เมี ย นมาร ในฐานะประธานอาเซี ย น กล า วเป ด การประชุ ม สุ ด ยอดอาเซี ย น อยางเปนทางการ โดยอาเซียนจะเดินหนา กําหนดวิสัยทัศนภายหลังป 2558 หลัง จากเขาสูการเปนประชาคมอาเซียนในป หนา ซึ่งประเด็นหลักของการประชุมในป นี้ คือ การกาวไปขางหนาสูความเปนอัน หนึ่งอันเดียวและประชาคมที่สงบสุขและ เจริญรุงเรือง ในโอกาสนี้ ประธานาธิบดี เมียนมาร ไดทบทวนถึงความสําเร็จและ เหตุการณที่เกิดขึ้นในอาเซียน รวมทั้ง ประณามการยิ ง เครื1อ งบิ น สายการบิ น มาเลเซียแอร ไลน เที่ยวบิน เอ็มเอช 317 และความรุนแรงทีเ่ กิดจากการกอการราย ด า นเศรษฐกิ จ ประธานาธิ บ ดี เมียนมาร กลาววา แมเศรษฐกิจโลกจะมี ความไมแนนอน แตการบริโภคภายใน ประเทศอาเซียนยังคงแข็งแกรง และคาด วาปหนา เศรษฐกิจอาเซียนจะเติบโต 5% ซึ่งไดยํ้าถึงความรวมมือใน 4 ดาน คือ 1.ความรวมมือในการสงเสริมวัฒนธรรม รวมกัน สรางความเชื1อมั่นและไววางใจ ระหว า งกั น เพื1อ ให เ กิ ด สั น ติ ภ าพและ เสถี ย รภาพ 2.ส ง เสริ ม ให อ าเซี ย นมี บทบาทและเป น กลไกสํ า คั ญ ในระดั บ ภูมิภาครวมทั้งเวทีโลก 3. ความรวมมือ เพื1อ นํ า ไปสู ก ารพั ฒนาอยางยั่ง ยืน ลด ความยากจน ลดชองวางการพัฒนา และ 4.ส ง เสริ ม ให อ าเซี ย นปรั บ ตั ว เพื1อ เพิ่ ม ความสามารถทางการแข งขัน เพื1อให อาเซี ย นสามารถร ว มมื อ กั บ ประเทศ ภายนอกภูมิภาค โดยเฉพาะการเผชิญ หนาตอความทาทายของโลก เชน ภัย พิบัติ ภัยคุกคาม การกอการราย โรค ระบาด วิกฤติอาหารและพลังงาน เปนตน สํ า หรั บ ประเด็ น ที่ มี ก ารหารื อ กั น ของผูนําอาเซียนนั้นรวมถึงการรวมตัว ทางเศรษฐกิ จ ของอาเซี ย น ข อ พิ พ าท ระหว า งสมาชิ ก อาเซี ย นกั บ จี น ใน ท ะ เ ล จี น ใ ต ก ลุ ม รั ฐ อิ ส ล า ม ใ น ตะวั น ออกกลาง และไวรั ส อี โ บลาใน แอฟริกาตะวันตก แถลงการณระบุวา ผูน าํ อาเซี ย นวิ ต กเกี่ ย วกั บ พั ฒ นาการใน ทะเลจีนใต ซึ่งมีความตึงเครียดมากขึ้น และสั ญ ญาจะหาทางออกอย า งสั น ติ สําหรับขอพิพาทดินแดน อีกทั้งผูนํายัง รับปากจะดําเนินมาตรการที่จําเปนเพื1อ สกัดคนในภูมิภาคเดินทางไปรวมรบกับ
B&T#259_p26-27_Pro6.indd 26
กลุมรัฐอิสลาม นอกจากนี้ ยังมีการประชุมสุดยอด อาเซียน- อินเดีย ครั้งที่ 12 ซึ่งเปนการ ประชุมระดับผูน าํ ประจําปทจี่ ดั ขึน้ ในชวงการ ประชุมสุดยอดอาเซียนในชวงปลายป มี วัตถุประสงคเพื1อติดตามความคืบหนาของ ความรวมมือ กําหนดทิศทางในอนาคต และ สนับสนุนบทบาทของอินเดียในภูมิภาค ซึ่ง การประชุมในครั้งนี้ นายนเรนทรา โมดี นายกรัฐมนตรีแหงสาธารณรัฐอินเดีย ได เขารวมประชุมเปนครัง้ แรกภายหลังการเขา รับตําแหนงใหม ทั้งนี้ พลเอก ประยุทธ ไดกลาวถึง ความสัมพันธอาเซียน-อินเดียที่ยืนหยัดมา เปนเวลานานกวา 2 ทศวรรษและไดพัฒนา เป นหุนสวนทางยุทธศาสตร และยินดีที่ อินเดียคงความสําคัญตอนโยบายมุงตะวัน ออกทีช่ ว ยเกือ้ หนุนพัฒนาการนี้ พรอมกลาว ถึงประเด็นความรวมมือที่เปนหุนสวนทาง ยุทธศาสตร ดังนี้ ประการแรก การเสริมสรางความ เปนหุนสวนดานเศรษฐกิจ การที่อาเซียน และอินเดียลงนามความตกลงเขตการคาเสรี อาเซียน-อินเดีย ดานการคาบริการและการ ลงทุน เมื1อเดือน ก.ย.ทีผ่ า นมา ทําใหทงั้ สอง ฝ า ยมี โ อกาสที่ จ ะเพิ่ ม ความร ว มมื อ ด า น เศรษฐกิจระหวางกัน นอกจากนี้ ความตกลงนี้เปนพื้นฐาน สําคัญของการเจรจาจัดทําความตกลงหุน สวนทางเศรษฐกิจระดับภูมภิ าค หรือ RCEP การประชุมครั้งตอไปที่อินเดียจะเปนเจา ภาพ เรามีความคาดหวังวา อินเดียจะมี บทบาทนําในการเจรจาหาขอยุติในประเด็น ทีค่ า งคาอยู และผลักดันการเจรจาใหมคี วาม คืบหนา เพื1อใหเราเปนเขตการคาเสรีทใี่ หญ ที่สุดในโลก ประการที่สอง ควรขยายความรวม มือเพื1อเสริมสรางความเชื1อมโยงระหวาง อาเซียนกับอินเดียในทุกมิติ เนื1องจากอินเดีย ใกล ชิ ด อาเซี ย นทางทั้ ง ทางภู มิ ศ าสตร ประวัติศาสตรและวัฒนธรรม ความเชื1อม โยงจะชวยเสริมสรางศักยภาพในการรองรับ ตลาดที่ใหญขึ้นทั้งจากการกอตั้งประชาคม
เศรษฐกิจอาเซียน การจัดทําเขตการคาเสรีี อาเซียน-อินเดีย และ RCEP เพื1อประโยชน ของประชาชนทั้งสองฝาย แนวทางสําคัญหนึง่ คือการเสริมสราง เครือขายคมนาคมทีม่ ปี ระสิทธิภาพระหวาง กันอยางรอบดาน ทั้งทางบก ทางนํ้า และ ทางอากาศ รวมทั้งการพัฒนากฎระเบียบที่ เกี่ ย วข อ งเพื1อ อํ า นวยความสะดวกการ เคลื1อนยายสินคา บริการ และประชาชน ไทยสนับสนุนการเรงรัดการสรางถนน สามฝาย ไทย-เมียนมาร-อินเดีย ใหแลวเสร็จ ซึ่งอาจจะขยายเสนทางคมนาคมนี้ ไปสูอนุ ภูมิภาคลุมนํ้าโขง ในขณะเดียวกัน ควร พัฒนากฎระเบียบเกี่ยวกับการขนสงและ การอํานวยความสะดวกตามชายแดนควบคู กันไป เพื1อใหอาเซียนและอินเดียสามารถใช ประโยชน จ ากเส น ทางนี้ โ ดยเร็ ว และมี ประสิทธิภาพมากที่สุด นอกจากนี้ อาเซียนและอินเดียควร สรางกิจกรรมทางเศรษฐกิจ เชน การจัดทํา เขตเศรษฐกิ จ ร ว มกั น หรื อ สร า งนิ ค ม อุตสาหกรรมทีเ่ ปนเครือขายระหวางกัน เพื1อ สรางความแข็งแกรงของพื้นที่หางไกล รวม ทั้งตองสงเสริมโอกาสทางการคาและการ ลงทุนระหวางประชาชนทั้งสอง “อิ น เดี ย สามารถมี บ ทบาทที่ ส ร า ง สรรค ต อ การพั ฒ นาเส น ทางระเบี ย ง เศรษฐกิจดานตะวันออกสูต ะวันตก เพื1อใหมี ความเชื1อมโยงจากเวียดนามถึงอินเดีย โดย พัฒนาเสนทางสําคัญทางยุทธศาสตร อาทิ ระเบี ย งเศรษฐกิ จ ดานั ง สะหวั น นะเขต มุกดาหาร เมาะลําไย กับระเบียงอุตสาหกรรมเดลี มุมไบและเศรษฐกิจเจนไน บังกาลอรของอินเดีย ซึ่งจะชวยสงเสริมการคา ระหวางอาเซียนและอินเดีย รวมทั้งการ เสริ ม สร า งห ว งโซ อุ ป ทานในภู มิ ภ าคใน อนาคต” ประการทีส่ าม การจัดการกับประเด็น ความท า ทายข า มแดน ไทยเห็ น ว า การ บริหารจัดการความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจาก ความเชื1อมโยงเปนประเด็นที่อาเซียนและ อินเดียจะตองเรงหารือกัน เพื1อรักษาพลวัต ของความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและการ
รัักษาความมัั่นคงควบคูกันไป ประการสุดทาย การแลกเปลี่ยน องคความรูแ ละนวัตกรรม ตองเรงผลักดัน ให อ าเซี ย นและอิ น เดี ย สามารถใช ประโยชนจากความเชี่ยวชาญเฉพาะดาน ของทั้งสองฝาย ผานโครงการความรวม มือทางวิชาการ การวิจยั และการถายโอน เทคโนโลยีในสาขาตาง ๆ อาทิ การแพทย วิ ท ยาศาสตร เ ทคโนโลยี ชี ว ภาพ และ เทคโนโลยีสารสนเทศ การเสริมสราง ความรวมมือดังกลาวเปนปจจัยสําคัญ ของการพัฒนาเศรษฐกิจสรางสรรคและ การเพิ่มมูลคาตอกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ของทัง้ สองฝาย ซึง่ จะนําไปสูก ารยกระดับ รายไดและคุณภาพชีวิตของประชาชน สําหรับความรวมมือดานเศรษฐกิจ ระหวางไทยและอินเดียนัน้ นายกรัฐมนตรี กลาว ชื1นชมนโยบายอินเดีย ในการจัดตั้ง “Smart City” และ “ Made in India” เพื1อสงเสริมการลงทุนจากตางประเทศ สอดคลองกับการขับเคลื1อนเศรษฐกิจไทย กระตุนการคาการลงทุน ทั้งสองประเทศ ยังมีนโยบายพัฒนาความเชื1อมโยงภายใน อาเซี ย นและภู มิ ภ าค โดยมี ไ ทยเป น ศูนยกลาง เชน โครงการถนนสามฝาย ไทย-เมียนมาร-อินเดีย รวมทั้งโครงการ พัฒนาทาเรือนํา้ ลึกและนิคมอุตสาหกรรม ทวาย ทีก่ าํ ลังเดินหนาไปดวยดี ซึง่ จะเปน ประโยชน ในการเชื1อมโยงตลาดอาเซียน และเอเชียใต นอกจากนี้ ไทยยังปรับปรุ งสิทธิ ประโยชนการลงทุนของบีโอไอ เพื1อสราง สภาพแวดลอมที่เอื้อตอการลงทุนจาก ตางประเทศ หนวยงานไทยพรอมที่จะ ขอมูลแกเอกชนอินเดียที่สนใจ นายกรั ฐ มนตรี อิ น เดี ย ได แ สดง ความสนใจและเห็นวาโครงการดังกลาว ขางตนจะตองเรงรัดใหแลวเสร็จโดยเร็ว ข อ ตกลงเขตการค า เสรี ร ะหว า งไทยอินเดีย และการเรงรัดการยกเลิกภาษี ซอน เพื1อประโยชนตอการคาการลงทุน ทั้ ง ภาครั ฐ และภาคเอกชนของทั้ ง สอง ประเทศ
11/27/14 9:47 PM
MATERIAL HANDLING
ระบบลําเลียงแบบสายพาน เหมาะสํ า หรั บ ผลิ ต ภั ณ ฑ ห ลากหลายชนิ ด เช น อาหาร หรือ สินคาทีม่ นี าํ้ หนักเบาอื1น ๆ สายพานประเภท นีส้ ามารถใชงานไดหลากหลายรูปแบบ ทัง้ ระบบอัตโนมัติ เหมาะสําหรับ LINE ที่มีความยาว หรือสําหรับการเชื1อม ตอระหวางกระบวนการตาง ๆ เพื1อลดตนทุนการผลิต เพิ่มเติม : บริษัท ไทยอินเตอรแมท จํากัด โทร.0-2738-3580-94 ตอ 12 - 17
B&T#259_p26-27_Pro6.indd 27
ลวดสลิง : STEEL WIRE ROPES เหมาะกั บ การยกของหนั ก อาทิ เ ช น ลวดสลิ ง สําหรับงานประมง งานกอสรางตาง ๆ ลวดสลิงสําหรับ เครน ลิฟทโดยสาร รอกไฟฟา ลวดสลิงทําหวงหัว-ทาย อุปกรณเพิ่มตามการใชงานทุกรูปแบบ เพิ่มเติม : บริษัท เอชเอสที สตีล จํากัด โทร.0-2235-5559
11/27/14 9:47 PM
28 BUS&TRUCK • LOGISTICS NEWS
ปกษแรก • ธันวาคม 2557 LOGISTICS NEWS
สํานักโลจิสติกสเรงเครื่อง Backhaul ดึงสมาคมชิปปงฯ สรางเครือขายการใชงาน
กระทรวงอุ ต สาหกรรม กรม อุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมือง แร (กพร.) โดยสํานักโลจิสติกส เรง โครงการ Backhaul ดันผูประกอบ การรั บ มื อ เออี ซี เ ต็ ม สู บ พร อ มดึ ง สมาคมชิปปงแหงประเทศไทยเขา
B&T#259_p28-29_Pro6.indd 28
รวม ชี้โอกาสสรางผู ใชเพิ่มกวา 1,000 ราย พรอมเตรียมลุยตอป 58 สรางกลุม ผู ใช มี ใบรับรอง กอนขยายสูตลาด ประเทศเพื1อนบาน คุณสุรพงษ เชียงทอง อธิบดีกรม อุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร
กระทรวงอุตสาหกรรม โดย สํานักโลจิสติกส ไดใหความสําคัญกับการสรางระบบ Backhaul โดยโครงการสงเสริมการใช และเชื1อมโยงระบบ Backhauling เพื1อ ลดสัดสวนการวิ่งรถเที่ยวเปลา โดยปนี้มี การขยายงานไปสูระดับภูมิภาคมากขึ้น เพื1อใหเกิดการรวมกลุมของผูประกอบ การโลจิ ส ติ ก ส รวมถึ ง มี ก ารตั้ ง คณะ กรรมการ Steering Committee ซึ่งมี สมาคมและสมาพันธที่เกี่ยวของเขารวม กําหนดทิศทางและนโยบายของโครงการ ตอไป ทั้ ง นี้ จ ะมี ส มาคมชิ ป ป ง แห ง ประเทศไทยเขารวมเปนครั้งแรก โดยใน สมาคมนี้ มีผูประกอบการโลจิสติกสราย ยอยกวา 1,000 ราย และมีการขนสง สินคาเปนจํานวนมากตลอดเวลา จาก เดิมชวงแรกโครงการนี้เนนสรางความ รวมมือในกลุมผูประกอบการขนาดใหญ และขนาดกลางที่มีความพรอมเปนหลัก นีจ่ งึ ถือเปนครัง้ แรกทีม่ กี ารขยายผลลงไป ถึงผูประกอบการรายยอย ซึ่งในสมาคม ชิปปง ฯ ไดมกี ารรวมกลุม กันอยูแ ลว หาก มีการใชงานระบบ Backhaul จะเปนการ สรางการเชื1อมโยงขอมูลเพื1อลดจํานวน รถวิ่งเที่ยวเปลาภายในกลุมไดเปนอยาง ดี ซึ่งนั่นคือกําไรที่เพิ่มขึ้น การประหยัด พลังงานเชื้อเพลิง การลดมลพิษและ อุบัติเหตุทางถนน “ถ า จะแข ง ขั น ในระดั บ เออี ซี ผู ประกอบการรายย อ ยคื อ ส ว นสํ า คั ญ เพราะมีกระจายอยูทั่วประเทศ และการ จะใหรายยอยจํานวนมากเปลี่ยนมาใช ระบบ Backhaul ก็ไมใชเรื1องงาย แตถา มีสมาคมชิปปง ฯ เปนศูนยกลาง จะทําให ผูประกอบการโลจิสติกสรายยอยที่มีการ รวมกลุมกันอยูบางแลว เริ่มตนใชระบบ Backhaul กันภายในกลุม” คุณสุรพงษ กลาว
คุณอนงค ไพจิตรประภาภรณ ผูอํานวยการสํานักโลจิสติกส กพร. เปดเผยวา การดําเนินโครงการป 57 มีสมาชิกใหมเพิ่มขึ้น 43 บริษัท มีการ ใชระบบบริหารจัดการการขนสง หรือ TMS ที่สมบูรณมากขึ้น โดยปจจุบันมี ทั้งหมด 8 โมดูล เชน การจัดการใบ ออเดอร การวางแผนขนสง การ ติดตามการขนสง การบํารุงรักษารถ และการจัดทํารายงานสําหรับผูบ ริหาร เปน ต น ขณะที่ ใ นป 58 จะดํ า เนิ น โครงการตอเนื1อง โดยเพิ่มระบบ TMS เปน 10 โมดูล ใหมีความหลากหลาย และสามารถรองรับรูปแบบการขนสง ที่แตกตางกันไดมากขึ้น นอกจากนี้ สํานักโลจิสติกส จะ เนนสรางกลุมผูใชระบบ TMS ใหมาก ขึ้นกวาเดิม เชน กลุมแท็งเกอร ที่เนน การบรรทุกของเหลว และนํ้ามันเชื้อ เพลิง และสําหรับ Backhaul จะเนน กลุม ผูใหบริการขนตูค อนเทนเนอร ซึง่ เป น กลุ ม ที่ ส ามารถจั ด ทํ า ระบบ Backhaul ไดงา ยกวากลุม อื1น เนื1องจาก สินคาบรรจุในตู ไมตองเสียเวลาขน สินคาขึน้ ลง หรือเปนตูเ ปลา ทําใหการ รั บ ฝากลากตู เ พื1อ ลดการวิ่ ง รถเที่ ย ว เปลามีความเปนไปไดมากขึ้น เหมือน เชนที่มีการปฏิบัติกันในตางประเทศ เชน ญี่ปุน ทั้งนี้ ทางสํานักโลจิสติกส ไดจับ มือกับสมาคมชิปปงแหงประเทศไทย พัฒนาการเรียนการสอนระบบ TMS ใหมกี ารฝกอบรม และการสอบ เพื1อขอ ใบรับรองประกอบกิจการชิปปงจาก กรมศุ ล กากร และได ร ว มมื อ กั บ สมาพันธ โลจิสติกสแหงประเทศไทย ผลักดันใหมีการใชระบบ Backhaul และ TMS เพื1อเพิ่มขีดความสามารถ ของผูประกอบการโลจิสติกส ไทย ถือ เปนการเตรียมพรอมรับเออีซีอีกทาง หนึ่ ง โดยอาจมี ก ารกํ า หนดเป น มาตรฐานรวมกับกรมการขนสงทางบก ในการขอ Q-Mark ซึ่งประเด็นนี้ยัง เปนการสรางมาตรฐานเพื1อชวยในการ รับงานตางประเทศ เชน ลาว กัมพูชา ซึง่ ตองการใชบริการโลจิสติกสจากไทย เช น เมื1อ นํ า สิ น ค า จากไทยไปส ง สามารถรับวัตถุดิบกลับมาไดดวย ในกลุมประเทศเอเชียตะวันออก เฉียงใต ไทยมีตําแหนงภูมิศาสตรที่ได เปรี ย บด า นการขนส ง การพั ฒ นา มาตรฐานระบบขนสงและนําระบบไอที มาใชงาน ชวยให ไทยเปนผูนําในกลุม ประเทศแถบนี้ และมี ผ ลต อ การให บริการและการแขงขันในอนาคต
11/27/14 9:53 PM
B&T#259_p28-29_Pro6.indd 29
11/27/14 9:53 PM
30 BUS&TRUCK • STATISTIC UPDATE
ปกษแรก • ธันวาคม 2557
STATISTIC UPDATE
จํานวนใบอนุญาตผูประกอบการขนสง ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2557 จํานวนใบอนุญาตผูป ระกอบการขนสงและจํานวนผูป ระกอบการขนสง ทัง้ รถโดยสารและรถบรรทุกประจําเดือนตุลาคม 2557 เริ่มกระเตื้องขึ้นมาเรื1อย ๆ ซึ่งถือเปนสัญญาณที่ดีตอวงการรถใหญและระบบโลจิสติกส ไทยมากทีเดียว โดยกลุม สถิตกิ ารขนสง กองแผนงาน กรมการขนสงทางบก ไดรายงานสถิติ จํานวนใบอนุญาตประกอบการขนสงไวแลว เริ่มกันที่ประเภทขนสงรถโดยสาร มีจํานวนใบอนุญาตผูประกอบการขนสง รวมทั้งสิ้น จํานวน 32,385 ฉบับ จากเดือนกันยายน อยูที่ จํานวน 31,774 ฉบับ หรือเพิ่มขึ้น 611 ฉบับ และมีจํานวนใบอนุญาตผูประกอบการขนสง รวมทั้งสิ้น 29,378 ราย จากเดือนกันยายน อยูที่ จํานวน 28,783 ราย หรือเพิ่มขึ้น 595 ราย โดยแบงเปนรถโดยสารประจําทาง จํานวนใบอนุญาตผูป ระกอบการขนสง รวม ทั้งสิ้น 5,892 ฉบับ จากเดือนกันยายน อยูที่ 5,862 ฉบับ หรือเพิ่มขึ้น 30 ฉบับ ดานจํานวนผูป ระกอบการขนสง มีจาํ นวน 2,916 ราย จากเดือนกันยายน อยูท ี่ 2,902 ฉบับ หรือเพิ่มขึ้น 14 ราย ในสวนของรถโดยสารไมประจําทาง จํานวนใบอนุญาตผูประกอบการขนสง รวมทั้งสิ้น จํานวน 20,029 ฉบับ จากเดือนกันยายน อยูที่ จํานวน 19,441 ฉบับ หรือเพิ่มขึ้น 588 ฉบับ ดานจํานวนผูประกอบการขนสง มีจํานวน 20,029 ราย 19,441 ราย จากเดือนกันยายน อยูที่ จํานวน 19,441 ราย หรือเพิ่มขึ้น 588 ราย รถโดยสารสวนบุคคล จํานวนใบอนุญาตผูป ระกอบการขนสง รวมทัง้ สิน้ 6,404
ฉบับ จากเดือนกันยายน อยูที่ จํานวน 6,411 ฉบับ หรือลดลง 7 ฉบับ ดานจํานวน ผูประกอบการขนสง มีจํานวน 6,404 ราย จากเดือนกันยายน อยูที่ จํานวน 6,411 ราย หรือลดลง 7 ราย ทั้งนี้ ยังมีรถขนาดเล็ก จํานวนใบอนุญาตผูประกอบการขนสง รวมทั้งสิ้น จํานวน 60 ฉบับ เทากับเดือนกันยายน 2557 โดยมีจํานวนผูประกอบการขนสง จํานวน 29 ราย ยังคงที่เชนเดียวกับเดือนกันยายน 2557 เชนกัน สวนประเภทขนสงรถบรรทุกนัน้ มีจาํ นวนใบอนุญาตผูป ระกอบการขนสง รวม ทั้งสิ้น จํานวน 384,546 ฉบับ จากเดือนกันยายน อยูที่ จํานวน 383,327 ฉบับ หรือ เพิ่มขึ้น 1,219 ฉบับ ดานจํานวนผูประกอบการขนสง มีจํานวน 384,546 ราย จาก เดือนกันยายน อยูที่ จํานวน 383,327 ราย หรือเพิ่มขึ้น 1,219 ราย แบงเปนรถบรรทุกไมประจําทาง จํานวนใบอนุญาตผูป ระกอบการขนสง รวม ทั้งสิ้น จํานวน 17,805 ฉบับ จากเดือนกันยายน อยูที่ จํานวน 17,673 ฉบับ หรือ เพิ่มขึ้น 132 ฉบับ ดานจํานวนผูประกอบการขนสง รวมทั้งสิ้น จํานวน 17,805 ราย จากเดือนกันยายน อยูที่ จํานวน 17,673 ราย หรือเพิ่มขึ้น 132 ราย สวนรถบรรทุกสวนบุคคล จํานวนใบอนุญาตผูประกอบการขนสง รวมทั้งสิ้น จํานวน 366,741 ฉบับจากเดือนกันยายน อยูที่ จํานวน 365,654 ฉบับ หรือเพิ่มขึ้น 1,087 ฉบับ ดานจํานวนผูประกอบการขนสง มีจํานวน 366,741 ราย จากเดือน กันยายน อยูที่ จํานวน 365,654 ราย หรือเพิ่มขึ้น 1,087 ราย
สถิติจํานวนใบอนุญาตประกอบการขนสง (สะสม) ณ วันที่ 31 ตุลาคม 2557
ลักษณะรถ รถโดยสาร ประจําทาง • หมวด 1 • หมวด 2 • หมวด 3 • หมวด 4 • ประจําทางระหวางประเทศ รวม ไมประจําทาง • รถโดยสารไมประจําทาง • ไมประจําทางระหวางประเทศ รวม สวนบุคคล • รถโดยสารสวนบุคคล • สวนบุคคลระหวางประเทศ รวม โดยรถขนาดเล็ก รวมรถโดยสารทั้งสิ้น
รถบรรทุก ไมประจําทาง • ไมประจําทาง • ไมประจําทางระหวางประเทศ รวม สวนบุคคล • สวนบุคคล • สวนบุคคลระหวางประเทศ รวม รวมรถบรรทุกทั้งสิ้น
B&T#259_p30_Pro6.indd 30
จํานวนใบอนุญาต จํานวนใบอนุญาต ผูประกอบการ ผูประกอบการ ขนสง (ราย) ขนสง (ฉบับ) 2,946 588 203 528 1,613 14 5,892
1,458 191 1 315 950 1 2,916
19,745 284 20,029
19,745 284 20,029
6,401 3 6,404 60 32,385
6,401 3 6,404 29 29,378
16,884 921 17,805
16,884 921 17,805
366,589 152 366,741 384,546
366,589 152 366,741 384,546
จํานวนใบอนุญาตผูประกอบการขนสงรถโดยสาร สวนบุคคล ระหวางประเทศ 4 สวนบุคคล 6,380 ไมประจำทาง ระหวางประเทศ 268
โดยรถขนาดเล็ก 61 ประจำทาง 2,962 ประจำทาง ระหวางประเทศ 14 ไมประจำทาง 15,191
จํานวนใบอนุญาตผูประกอบการขนสงรถบรรทุก
11/27/14 10:06 PM
B&T#259_p31_Pro6.ai
1
11/27/14
10:02 PM
32 BUS&TRUCK • BUS & TRUCK AEC 32
ปกษแรก • ธันวาคม 2557
BUS & TRUCK AEC
ASEAN+3 ประตูเศรษฐกิจโลก ตอประเทศไทยนั้น อยางที่ทราบกันดี อยู แ ล ว ว า ประเทศจี น ญี่ ปุ น และ เกาหลี ใ ต ถื อ เป น ประเทศผู นํ า ด า น เศรษฐกิจในทวีปเอเชีย และมีบทบาท สําคัญในเวทีโลก ดังนั้น การที่อาเซียน สามารถดึงใหทงั้ 3 ประเทศ เขามารวม ในกรอบความรวมมือของอาเซียนได จึง ทําใหเกิดความรวมมือในดานตาง ๆ มากขึ้ น อย า งแน น อน ซึ่ ง จะเป น ประโยชนตอประเทศสมาชิก รวมทั้ง ประเทศไทยที่ มี ก ารประเมิ น ว า ประเทศไทยจะไดรับผลประโยชนจาก ความรวมมือในกรอบของเขตการคา
เราทุ ก คนรู กั น ดี อ ยู แ ล ว ว า สมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวัน ออกเฉียงใต (อาเซียน) ประกอบไป ดวย 10 ประเทศ คือ ประเทศบรูไน เมียนมาร กัมพูชา อินโดนีเซีย สปป. ลาว มาเลเซีย ฟลปิ ปนส สิงคโปร ไทย และเวียดนาม แตคาํ วา “อาเซียน+3” ก็ ไดยินกันมาบาง แตหลายคนอาจจะ ยังไมเขาใจ สํ า ห รั บ “ อ า เ ซี ย น + 3 ” (Asean+3 Summit) หรือ อาเซียน พลัสทรี เปนศัพทที่ใชเรียกการดําเนิน ความสัมพันธระหวางประเทศสมาชิก อาเซียนทั้ง 10 ประเทศ รวมกับอีก 3 ประเทศนอกอาเซียน ไดแก ประเทศจีน ประเทศญี่ปุน และประเทศเกาหลีใต ซึง่ ทัง้ สามประเทศนีอ้ ยูใ นภูมภิ าคเอเชีย ตะวั น ออก และนั บ เป น ประเทศที่ มี บทบาทสําคัญในระดับโลกเลยทีเดียว ทั้ ง นี้ “อาเซี ย น+3” ยกระดั บ ความรวมมือขึ้นในป 2540 หลังจาก หลายประเทศในเอเชียเผชิญกับวิกฤต ทางเศรษฐกิจ หรือทีเ่ รียกวา “ตมยํากุง ดีซีส” สงผลใหผูนําประเทศสมาชิก อาเซียนทั้ง 10 ประเทศ ไดเขารวม พบปะหารื อ กั บ ผู นํ า ของประเทศจี น ญี่ปุน และเกาหลีใต ในการประชุม สุดยอดผูน าํ อาเซียนทีป่ ระเทศมาเลเซีย เพื1อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และหา แนวทางรั บ มื อ กั บ ภาวะตกตํ่ า ทาง เศรษฐกิจที่เกิดขึ้น รวมถึงการกระชับ ความสัมพันธกบั ประเทศในเอเชียตะวัน ออก นั บ แต นั้ น มา ในการประชุ ม สุดยอดอาเซียนที่จัดขึ้นทุกครั้ง ผูนํา ของทั้ง 10 ชาติสมาชิกอาเซียนก็จะเขา ร ว มประชุ ม กั บ ผู นํ า ของประเทศจี น
B&T#259_p32-33_Pro6.indd 32
ญี่ ปุ น และเกาหลี ใ ต ด ว ย โดยใช ชื1อ ว า “การประชุมสุดยอดอาเซียน+3” โดยกรอบความรวมมืออาเซียน+3 เริ่มเปนรูปเปนรางมากขึ้นภายหลังจาก การออกแถลงการณรวมวาดวยความ ร ว มมื อ เอเชี ย ตะวั น ออก (Joint Statement on East Asia Cooperation) และการจัดตัง้ East Asian Vision Group (EAVG) ในป 2542 ซึง่ EVAG นีป้ ระกอบ ไปดวยนักวิชาการและผูทรงคุณวุฒิจาก ประเทศอาเซียน+3 ซึ่งจะรวมกันระดม ความคิดและแสวงหาวิธีการขยายความ รวมมือในดานตาง ๆ ของประเทศใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออก ตอมา EVAG ไดเสนอแนวความคิด ในการจัดตั้งประชาคมเอเชียตะวันออก (East Asian community-EAC) รวมถึง การจัดการประชุมสุดยอดเอเชียตะวัน ออก (East Asia Summit-EAS) ดวย และ ในการประชุมสุดยอดอาเซียน+3 ครัง้ ที่ 9 ณ กรุงกัวลาลัมเปอร เมื1อป 2548 ผูนํา ก็ ไ ด ล งนามในปฏิ ญ ญากั ว ลาลั ม เปอร กํ า หนดให ก ารจั ด ตั้ ง ประชาคมเอเชี ย ตะวันออกเปนเปาหมายระยะยาว และให กรอบอาเซียน+3 เปนกลไกหลักในการนํา ไปสูเปาหมายดังกลาวดวย สํ า หรั บ วั ต ถุ ป ระสงค ข องกรอบ ความรวมมืออาเซียน+3 นัน้ การรวมกลุม อาเซียน+3 เปนการนําไปสูการจัดตั้ง ประชาคมเอเชี ย ตะวั น ออก โดยชาติ สมาชิ ก จะร ว มมื อ และสนั บ สนุ น กั น ใน ดานตาง ๆ รวมทั้งการสรางเขตความ รวมมือทางความมั่นคง และการเมืองที่ ไมใชความรุนแรง ทั้งนี้ ความรวมมือ
ตาง ๆ จะอยูภายใตกรอบความรวมมือ สําคัญ 6 ดานที่เรงผลักดัน คือ 1. การ รวมกันกําหนดกฎระเบียบในภูมภิ าค 2. การตั้งเขตการคาเสรี 3.ขอตกลงความ รวมมือทางการเงินและการคลัง 4.เขต ความรวมมือและมิตรภาพเพื1อหลีกเลีย่ ง การสะสมอาวุธ 5.การคมนาคมและเครือ ขายการสื1อสาร และ 6.ดานสิทธิมนุษยชนและพันธะกรณีตาง ๆ ในเรื1องกรอบความรวมมือตาง ๆ เหลานี้จะเปนกลไกสําคัญในการผลักดัน ใหเกิดประชาคมเอเชียตะวันออกไดอยาง แทจริง แตถึงกระนั้น แตละประเทศก็ ตองเรงแก ไขปญหาที่สงผลกระทบตอ ภู มิ ภ าคอย า งเร ง ด ว นเสี ย ก อ น เช น ปญหาดินแดนทับซอน ทีย่ งั เปนอุปสรรค ในการสรางประชาคมเอเชียตะวันออก สวนความสําคัญของอาเซียน+3
เสรีอาเซียนบวก+3 (FTA Asian +3) คิด เปนมูลคาประมาณ 7,943 ลานดอลลาร เลยทีเดียว ในอนาคต อาเซี ย น+3 จะ เปนการรวมตัวที่มีบทบาทอยางมาก ในการพั ฒ นาเศรษฐกิ จ ระดั บ โลก เพราะสัดสวนของประชากรทั้ง 13 ชาติ คิดเปนหนึง่ ในสามของประชากร โลก และมียอดเงินสํารองตางประเทศ รวมกันมากกวากึง่ หนึง่ ของเงินสํารอง โลก และถาหากรวมผลิตภัณฑมวล รวมในประเทศ (GDP) เขาดวยกัน จะ ทําใหมีมูลคาถึง 9 ลานลานเหรียญ สหรัฐ หรือประมาณรอยละ 16 ของ จีดีพีโลกเลยทีเดียว ไมนาแปลกใจวา ทําไมตอนนี้ โลกกําลังจับตามองการ รวมกลุมของชาติตาง ๆ ในเอเชียมาก เปนพิเศษ
11/27/14 10:11 PM
SET UP • BUS&TRUCK
ปกษแรก • ธันวาคม 2557
33
ติดตั้งลําเลียง
เทคโนโลยี MDVR-T ติดตามและตรวจสอบรถบัสแมนยํา
ระบบติ ด ตามและตรวจสอบ สําหรับรถบัส รถโดยสาร รถนักเรียน เริ่ ม มี ค วามสํ า คั ญ มากขึ้ น เรื1อ ย ๆ เนื1องจากสามารถลดพฤติกรรมการ ขับขี่ของคนขับรถได และสามารถ ตรวจสอบไดตลอดเวลา แนนอนวา การเดินทางระยะยาว ของรถบัสโซลูชั่นการตรวจสอบเพียง อยางเดียวคงไมเพียงพอแมจะมีการ เรียกขอมูลแบบเรียลไทมของตําแหนง รถแลวก็ตาม การเพิม่ ความสามารถใน การตรวจสอบพฤติกรรมการขับรถและ ความปลอดภัยของผูโดยสารตลอดเสน ทางจนสิ้นสุดการเดินทาง ผานระบบ การตรวจสอบและติดตามที่เพิ่มระบบ ภาพและวีดี โอและสามารถบันทึกได กรณี เ หตุ ก ารณ ที่ ไม ค าดคิ ด การ โจรกรรม หรือพฤติกรรมการขับรถที่ไม เหมาะสม เชน การใชความเร็วเกิน กําหนด การดื1มสุรา หรือคุยโทรศัพท ระหวางการขับรถ ฯลฯ สิ่ ง ต า ง ๆ เหล า นี้ จ ะลดลงได อยางมีประสิทธิภาพ เมื1อมีการเพิ่ม ระบบการตรวจสอบและติดตามที่เพิ่ม ระบบภาพวีดีโอ อีกทั้งในกรณีที่เกิด อุ บั ติ เ หตุ ที่ ไ ม ค าดคิ ด เกิ ด ขึ้ น วี ดี โ อที่ บั น ทึ ก กลายเป น หลั ก ฐานในการ จําแนกประเภทของความรับผิดชอบได
B&T#259_p32-33_Pro6.indd 33
อยางถูกตอง เปนวิธีการนําเทคโนโลยีที่ ทันสมัยมาใช ในการปองกัน สรางความ ปลอดภัย ลดอุบตั เิ หตุ และยังสรางความ เชื1อมั่นในการเดินทางของผู โดยสาร ยก ระดับคุณภาพในการบริการ ชวยในการ บริหารจัดการและลดคาใชจายในการ ดําเนินงานของบริษัทรถบัสได ในระยะ ยาวอีกดวย ทีก่ ลาวมาขางตน บริษัท ไดสตาร เทค (ประเทศไทย) จํากัด ไดคิดคนไว สําหรับผูประกอบการเรียบรอยแลว โดย ปจจุบนั ไดพฒ ั นาระบบตรวจสอบติดตาม ดวย MDVR-T (Mobile Digital Video Recorder & Tracking System) ที่เปน เทคโนโลยี เ หนือ กว า การติ ดตามในรู ป แบบอื1น ๆ เพื1อ ให ผู ค วบคุ ม หรื อ ผู ประกอบการรถโดยสารสาธารณะ สามารถเฝามองเหตุการณตาง ๆ ผาน กล อ งวงจรป ด ที่ ติ ด ตั้ ง ภายในและ ภายนอกรถบัส ทราบถึงตําแหนงรถบน หนาแผนที่ พฤติกรรมการบขับขี่ การแจง เตือนสถานะตาง ๆ เชน ฉุกเฉิน หรือ สถานะรถผานเซ็นเซอรแบบเรียลไทม ตรวจสอบวีดีโอ ประวัตกิ ารขับขีย่ อ นหลัง ไดทั้งแบบออนไลนและออฟไลน สรุป รายงานการขับขี่ และสถานตาง ๆ เพื1อผู ประกอบการสามารถดูแลและควบคุม กลุมรถไดอยางทั่วถึง
11/27/14 10:11 PM
34 BUS&TRUCK • LOGISTICS ดร.สิทธิชัย ฝรั่งทอง อาจารยประจําคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
ปกษแรก • ธันวาคม 2557 LOGISTICS
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เพื่อการบริหารจัดการการขนสง (จบ) ฉ บั บ ที่ แ ล ว ไ ด ก ล า ว ถึ ง ซอฟตแวรที่ชวยในการบริหารงาน ขนสง (Transportation Manage ment) ซึ่งจะเพิ่มประสิทธิภาพการ ขนสงสินคา ลดตนทุนการขนสง ลด ระยะเวลาการดําเนินงานใหตํ่าที่สุด เสริ ม สร า งศั ก ยภาพในการแข ง ขั น ทางธุ ร กิ จ และเพิ่ ม ผลกํ า ไรให แ ก องคการ อยางไรก็ดี การนําเทคโนโลยีมา ชวยใหการจัดการการขนสงนั้น อาจไม เพียงพอในการจัดการแตการบรรทุก และการยกสินคาขึ้นรถยนต ไดอยาง รวดเร็ว โดยจะตองใชอุปกรณสําหรับ ยกสินคาของยานพาหนะที่ใช ในเชิง พาณิชยทค่ี วามหลากหลายขนาดความ กวางของรถผันแปรตามจํานวนเพลา และความยาวของรถ การออกแบบตัว ถังรถ การออกแบบอุปกรณชวยยกขน สิ น ค า ที่ ดี ส ามารถลดเวลาในการยก สินคาลงได ซึ่งนับวันจะมีการปรับปรุง และพัฒนาอุปกรณเพิม่ มากขึน้ เรื1อย ๆ ดังนัน้ การเลือกอุปกรณทดี่ จี ะสงผลตอ การลดของเวลาในการขึน้ และลงสินคา รวมทั้งใหผลประโยชนทางธุรกิจมาก ขึ้ น นอกจากนั้ น ยั ง ลดภาระด า น แรงงาน ความลํ้าหนาทางเทคโนโลยี ของอุปกรณยกสินคาทีเ่ ปนเครื1องจักกล สามารถเพิ่ ม ขนาดสิ น ค า ที่ ย ก และ กํ า จั ด วิ ธี ก ารยกสิ น ค า ที ล ะชิ้ น ได สามารถยกสินคาในปริมาณที่สูงขึ้นได ดังนี้
B&T#259_p34_iMac5.indd 34
1. อุปกรณยกสินคาที่เปนพาเลท (Pallet Handling Equipments) ที่นิยม มากคื อ การยกเป น พาเลท โดยใช ร ถ ฟอรคลิฟทซึ่งมีหลายประเภทในการยก และมีประเภทที่ใชแรงงานคน (Pallet Hand Jack) หรือเรียกวา ตะเขลากสินคา ใชลากสินคาบริเวณทาขึ้นลงสินคา ซึ่ง ลูกคาทุกรายอาจจะไมใชรถฟอรคลิฟทใน การยกสินคาที่อยูในพาเลท 2. สะพานพาด (Dock Plate/ Ramp/Board) ในปจจุบันระบบสะพาน พาดจะผลิตโดยใชอลูมินียมหรือเหล็ก หรือไฟเบอรกลาส ซึ่งอลูมิเนียมจะมีนํ้า หนัก เบา โดยสามารถควบคุ ม ร วมกั บ ระบบไฮดรอลิคหรือยกดวยคนก็ได 3. อุปกรณทาขึ้นลงสินคา และ ลิฟท (Lift and Dock Leveler Devices) การยกพาเลท กลอง ที่รวดเร็วจําเปน ตองมีอุปกรณชวย โดยชวยยกในระดับที่ สอดคลองกับความตองการ 4. ประตูและมานชองขึ้นลงสินคา (Dock Seals and Shelters) เพื1อปองกัน การแตกหั ก เสี ย หายของสิ น ค า เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ เพิ่ ม พื้ น ที่ จั ด เก็ บ สิ น ค า และความปลอดภั ย ในการทํ า งาน ซึ่ ง ขนาดเป น ไปตามขนาดช อ งประตู ที่ ตองการ มานชองขึ้นลงสินคา (Dock Seals) จะทําดวยไวนิลเสริมดวยไนลอน ทนตอการฉีกขาด สวนประตูชองขึ้นลง สินคาแบบผสม (Dock Combination Shelters) จะสรางเพื1อวัตถุประสงค ใน การเพิม่ ความสามารถในการกันอุณหภูมิ ออกจากหอง ซึง่ ทําดวยผนังหนาบุภายใน
ดวยโฟมความหนาแนนสูง (Wolmanized lumber) ผสมกับ ไวนิลเสริมดวยไนลอน ในบางสวน สวนประตูชองขึ้นลงสินคา แบบผสม (Dock Shelters) จะเปนผนัง ไฟเบอรกลาสหนาบุภายในดวยโฟมความ หนาแนนสูง 100% ในการติดตั้งรวมถึง เหล็กปองกันซึ่งทาสีเหลือง 2 ดาน ซึ่งใน กลองที่ติดเหล็กสีเหลืองจะเติมดวยโฟม กันรถกระแทก เปนตน 5. สายพานลําเลียงแบบยื1นเขาไป ในตู (Powered Extendible Conveyor) ระบบนีเ้ ปนระบบทีใ่ ชสาํ หรับยื1นเขาไปใน ตูคอนเทนเนอร โดยคนหรือรถฟอรค ลิฟท ไมจําเปนตองเดินทางหลายเที่ยว การออกแบบขึ้ น กั บ รถยนต ที่ ใ ช การ ออกแบบเริม่ จาก การพิจารณาระยะหาง จากผนังอาคารถึงทายรถ ถึงทายทาขึ้น สิ น ค า พิ จ ารณาว า จะสอดสายพาน ลําเลียงเขาไปในรถ หรือตูคอนเทนเนอร ยาวเทาไร 6. เครนที่ยึดติดตั้งในที่ (Built in Crane) ในกรณีที่บริเวณทาขึ้นสินคาทีมี นํา้ หนักมากอาจจะใชการติดตัง้ เครนในที่ เพื1อ ให ส ามารถขึ้ น ลงสิ น ค า ได อ ย า ง รวดเร็ว โดยมีหลายรูปแบบที่สามารถ ประยุกตตามความเหมาะสม 7. เครนที่ วิ่ ง บนราง (Gantry Crane) เปนเครนวิ่งบนรางสําหรับยกตู คอนเทนเนอรสินคานํ้าหนักมาก ใช ใน ลานขนถ า ยสิ น ค า ท า เรื อ ลานตู คอนเทนเนอร 8. อุปกรณยกสินคาดานหลังรถ (Tail Lifts) อุปกรณยกสินคาทีต่ ดิ ดานหลัง รถยนตจะใชระบบไฮดรอลิกโดยไม จําเปนตองใชทาขึ้นลงสินคา ซึ่งยึด ติดใตแชชชีสของรถยนต มีหลาย ชนิด เชน แบบอํานวยความสะดวก แบบยึดกับรางกับเสา แบบคานยื1น แบบแผ น เลื1อ น แบบสอดเก็ บ เรี ย บร อ ย หรื อ แบบติ ด กั บ รถตู เปนตน 9. รถยกตู สิ น ค า (Special Forklift) เป น รถฟอร ค ลิ ฟ ท ที่ ใ ช สําหรับยกตูคอนเทนเนอรสินคา ใช ในลานขนถายสินคา ทาเรือ ลานตู คอนเทนเนอร 10. อุปกรณเคลื1อนยายบนพืน้ (Moving Floors) ใชอุปกรณเสริม หลายลักษณะ โดยสวนมากติดบน พืน้ อาคาร ตูค อนเทนเนอร เชน ราง เลื1อนซึ่งใชคูกับอุปกรณเลื1อน ลูก กลิง้ เสนเหล็ก หรืออุปกรณอยางอื1น เพื1อ ให พ าเลทไหลลื1น โดยสะดวก สวนมากจะวางไว 2 ชองเพื1อใหการ
ไหลไมสะดุด สามารถผลักดวยมือได สามารถออกแบบและติ ด ตั้ ง โดยยึ ด ตายตัว แบบเคลื1อนยายได หรือใช มอเตอรขับเคลื1อน 1 1 . ข า ตั้ ง แ บ บ ป ร ะ ห ยั ด (Economy Stabilizing Jack) สามารถ รับนํา้ หนักตัง้ แต 20 -100 ตัน โดยมีลอ ยางสูงประมาณ 25 เซ็นติเมตร นํ้า หนักตั้งแต 55 กิโลกรัมขึ้นไป สามารถ ตั้งไดสูงตั้งแต 1.00-1.50 เมตร 12. อุปกรณกนั ลอเลื1อน (Wheel Chocks) เปนอุปกรณที่ผลิตจากยาง อลู มิ เ นี ย ม เหล็ ก เพื1อ วางในพื้ น ที่ ตาง ๆ โดยรูปรางจะรับกับรูปของยาง รถพอดี สามารถทนกับการฉีกขาด ทน ตอสภาพดินฟาอากาศการกระแทก สามารถออกแบบไดตามขนาดของลอ รถยนต บางครั้งไดเชื1อมตอกับเชือก โพลี ยู รี เ ทนระบบห า มล อ เคลื1อ น มี หลากหลายรุน ราคาสูงตํ่าตามความ สามารถของอุปกรณ และการเชื1อมตอ ระบบสั ญ ญาณไฟเพื1อ ควบคุ ม การ สื1อสารในการจอดเทียบทาขึน้ ลงสินคา ของรถยนต 13. เหล็กกันสินคาเสียหายในตู คอนเทนเนอร (Cargo Bars) ติดตั้งใน ตูห รือรถเทรลเลอร เพื1อไมใหสนิ คาเสีย หาย ลดการสั่ น สะเทื อ นระหว า ง การขนสง สวนมากผลิตจากเหล็กทอ สี่เหลี่ยมขนาดตั้งแต 1.5-4 นิ้ว ตาม สภาพการรับนํ้าหนักที่ออกแบบ โดย ยึดติดกับผนังตูคอนเทนเนอร 14. อุปกรณยกสินคาบริเวณทา ขึ้นสินคา (Dock Hoists) เปนอุปกรณ ทีย่ กสินคาแบบกรรไก (Scissor Hoists) และยกแบบราง (Rail Hoists) ใช สํ า หรั บ ย า ยสิ น ค า ระหว า งท า ขึ้ น ลง สิ น ค า หรื อ รถยนต ไ ปยั ง พื้ น โดย สามารถทําใหไมตอ งยกระดับทาขึน้ ลง สินคาได อยางไรก็ดี การนําเทคโนโลยีมา ใชในการขนสงนัน้ นอกจากจะเลือกวิธี การขนสง ชนิดยานพาหนะของผู ให บริการขนสงจากภายนอกแลว ยังตอง คํานึงถึงการเลือกอุปกรณในการยกขน สินคา ซึ่งการคัดเลือกตองพิจารณา วัตถุดิบหรือสินคาที่ตองยกขน จํานวน สินคาทีต่ อ งยกขน ความสูงของการยก สินคา ความกวางของชองทางเดินรถ และชองทางบริการ อันจะเปนการ พัฒนาขีดความสามารถดานโลจิสติกส และการจัดการซัพพลายเชนที่เหนือคู แขงขันและตอบสนองความตองการ ของลูกคาไดอยางดียิ่ง
11/27/2557 BE 11:01 PM
B&T#259_p35_iMac5.pdf
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
1
11/27/2557 BE
11:06 PM
36 BUS&TRUCK • TEST & REPORT
ปักษ์แรก • ธันวาคม 2557 TEST & REPORT
รถใหญ โ ชว ศ ก ั ยภาพ ทดลองขับงาน BUS & TRUCK ’14
ปดฉากไปแลวสําหรับงานแสดง รถใหญ BUS & TRUCK ’14 ที่ ไบเทค กรุงเทพฯ โดยมีคายรถใหญมากมาย เข า ร ว มแสดงสิ น ค า ในครั้ ง นี้ ร วมถึ ง การนํ า รถรุ น ใหม ม าเป ด ตั ว ในงานนี้ สําหรับในสวนกิจกรรมทีช่ าวรถใหญให ความสนใจเป น อย า งมากคื อ การ ทดลองขับรถจากคายตาง ๆ ภายใน งานไมวาจะเปน ฟูโซ ฮี โน ไบเบน ไอวี โก ถือวาเปนอีกหนึ่งกิจกรรมที่มี ความคึกคัก เนื1องจากผูเ ขาชมงานสวน ใหญ เ ป น ผู ป ระกอบการขนส ง ใน ประเทศจึงอยากจะมาทําความรูจ กั และ สัมผัสกับประสิทธิภาพของรถใหญ อีก ทั้งคายรถแตละคายตางอัดแคมเปญ ดึงดูดเรื1องราคาและการบริการอยาง เราใจโดยเริ่มจาก บริษทั เอ็ม.ซี.ซี . ทรัค แอนด บัส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด เขารวมงาน ครั้ ง นี้ เ ป น ครั้ ง แรกโดยเป น บริ ษั ท ที่ จําหนายรถใหญหลากหลายคายเชนกัน โดยสินคาหลักจะเปนรถบรรทุกจากจีน ยี่หอ BEIBEN “ไบเบน” ซึ่งนํามาแสดง ในครัง้ นี้โดยตัวโชวจะเปนหัวลากแรงมา สูงรุน V3 ซึง่ เปนไฮไลทในงานครัง้ นีด้ ว ย รูปลักษณที่ดูทันสมัยและโฉบเฉี่ยว แต สําหรับรุน ทีถ่ กู นํามาใหผทู สี่ นใจทดสอบ
B&T#259_p36_iMac5.indd 36
นั้น คือรุน BEIBEN NG80 เครื1องยนต CNG สมรรถนะสูง 380 แรงมา หัวเกง และโครงสรางแชสซีสไดถกู พัฒนาเพื1อการ ขนสงอยางมีประสิทธิภาพ โดยหัวเกงได ดีไซนเพื1อลดแรงปะทะของลมโดยใชหลัก อากาศพลศาสตรเขามาศึกษาเพื1อชวยใน เรื1อ งการประหยั ด นํ้ า มั น ให ม ากขึ้ น เครื1องยนต CNG ของ WEICHAI 4 จังหวะ 6 สูบ มีแรงบิดอยูที่ 1,500 นิวตันเมตร ที่ 1,400-1,500 รอบตอ นาที เครื1อ งยนต ยูโร 3 บริ ษั ท เอสเอสเค กรุ ป เซลส แอนด เซอรวสิ จํากัด ตองบอกเลยวาเปน ที่ น า จั บ ตามองอย า งมากที่ ส ง ไอวี โ ก ร ถ บรรทุ ก จากอิ ต าลี ม าโชว แ ละเรี ย กเสี ย ง ตอบรับไดเปนอยางดีเนื1องจากมียอดจอง ในงานครั้งนี้เปนจํานวนมาก และเริ่มรุก ตลาดดันยอดขายวางเปา 200 คัน ภายใน ปนี้ นับวาเปนการเปดตัวไดอยางนาทึ่งที เดียวสําหรับการกลับมาของ เอสเอสเค กรุป ฯ โดยรถที่นํามาใหทดลองขับคือ รถ หัวลาก 10 ลอ IVECO 682 340 แรงมา ซึ่งการทดสอบในครั้งนี้มีผูเชี่ยวชาญจาก เอสเอสเคฯ รวมนั่งไปดวยและอธิบายถึง คุณภาพยนตรกรรมที่มีเทคโนโลยีลํ้าสมัย มากมาย ๆ แอบแฝงอยู โดยรุ น นี้ มี เครื1องยนต ยูโร 3 Cursor 9 ขนาด 6 สูบ
ปริมาตรเครื1องยนต 9 ลิตร กําลัง 340 แรงมา 250 กิโลวัตต ที่ 1,800-2,100 รอบ ตอนาที แรงบิดสูงสุด 1,300 ที่ 1,0001,750 รอบตอนาที ความจุกระบอกสูบ 8,709 ซีซี. ระบบเกียรซิงโครเมซ 12 เกียร เดินหนาพรอมโอเวอร ไดรฟระบบเบรก ไอเสียประสิทธิภาพสูง ระบบควบคุมแรง ดันเทอรโบอัตโนมัติ ขับขีง่ า ยมีความคลอง ตัวสูง นอกเหนือจากรถหัวลากแลวยังมี IVECO MIXER 340 แรงมา บริ ษั ท ฮี โ น มอเตอร ส เซลส (ประเทศไทย) จํากัด สงรถบรรทุกขนาด กลางรวมทดสอบในครั้งนี้ โดยเปนรถ บรรทุก Series 3 รุน Expert ซึ่งเปนรุนที่ ไดรับความนิยมกันมากเนื1องจากเปนรถ บรรทุกที่มีความคลองตัวสูงดวยขนาดไม ใหญ ม ากและมี กํ า ลั ง เครื1อ งยนต ที่ พ อ เหมาะกั บ การขนส ง ภายในเมื อ งและ ปริมณฑลหรือระยะไกลก็สามารถใชงานได Series 3 รุน Expert คันนี้มาพรอมเครื1อง ยนตฮีโน รุน N04C-VB กําลังสูงสุดอยูที่ 150 แรงมา 11 กิโลวัตต ที่ 2,800 รอบตอ นาที แรงบิดสูงสุดอยูที่ 420 นิวตันเมตร ที่ 1,400 รอบตอนาที เปนเครื1องยนตดเี ซล 4 จังหวะ 6 สูบ ระบบการจายเชื้อเพลิง แบบคอมมอนเรล ควบคุ ม ด ว ยระบบ คอมพิวเตอร ความจุกระบอกสูบ 4,009
ซี ซี . โดยมี นํ้ า หนั ก บรรทุ ก สุ ท ธิ ร วม บรรทุก 8,500 กิโลกรัม บริษัท ฟูโซ ทรัค (ประเทศไทย) จํากัด สงรถรุนใหมซึ่งเปนรถบรรทุก ดั ม พ ข นาด 380 แรงม า New Fv Shogun เพื1อใหผูประกอบการไดทราบ ถึงสมรรถนะเพื1อการบรรทุกโดยแทจริง สําหรับรุน New Fv Shogun มาพรอม เครื1อ งยนต 380 แรงม า ซึ่ ง เป น รถ บรรทุก Heavy Duty ทีม่ แี รงมาสูงทีส่ ดุ มาพร อ มกั บ สมรรถนะสู ง กว า และ ประหยัดนํ้ามัน สามารถรองรับนํ้าหนัก บรรทุกไดมากขึ้น และสามารถลากรถ พวง 3 เพลาได ซึ่งเปนการตอบโจทย ลูกคาทีต่ อ งการรถบรรทุก Heavy Duty โดยมีทั้งหมด 4 รุน รุน Hi-Torque แบง ออกเปน 2 เวอรชั่น เหมาะกับลักษณะ งานในบอดินและงานเหมือง ที่ตองการ ขุมกําลังฉุดลากมาก ๆ และตองใชเฟอง ชาเพิ่มแรงบิดที่มากขึ้น เพื1อใหมีพละ กําลังที่ไตทางชันไดมากขึน้ โดยอัตราทด เฟองชาอยูที่ 5.571 และรุน New Fv Shogun นีจ้ ะมีรนุ Hi-Speed ทีแ่ บงออก เปนอีก 2 เวอรชั่น เชนกันโดยจะเนนไป ที่งานโลจิสติกสเปนหลักเนื1องจากให ประสิทธิภาพในการประหยัดนํา้ มันเพิม่ มากขึ้น
11/27/2557 BE 11:12 PM
B&T#259_p37_iMac5.pdf
1
11/27/2557 BE
11:13 PM
38 BUS&TRUCK • COVERS’ STORY ต่อจากหน้า 1
ปักษ์แรก • ธันวาคม 2557
จากปก
BUS&TRUCK ’14 กระตุนตลาดรถใหญ
ตอบโจทยการทําธุรกิจของผูประกอบ การขนสง คายรถใหญ “ไอวีโก” สงรถหัว ลากอิตาลี รุน Iveco 682 ขนาด 380 แรงมา รับประกัน 2 ป ไมจํากัดระยะ ทาง ระบบเครื1อง เกียร เฟองทาย พรอมเคาะราคาพิเศษเฉพาะในงาน รถ บรรทุ ก หั ว สู ง ราคา 3.05 ล า นบาท หัวตํ่า 3 ลานบาท และรถหัวลากขนาด 340 แรงมา ราคา 2.9 ลานบาท ทําให สามารถกวาดยอดจองในงานไดมากถึง 37 คัน สวนคาย “เมเซเดส-เบนซ” นํา แซสซีสรถโดยสาร และรถตูรุนสปรินเตอรมาโชว ก็ ไดรับความสนใจอยาง ลนหลามสรางความคึกคักไดเปนอยาง ดี ค า ยรถใหญ “ทาทา” นํ า รถ หัวลาก Daewoo Novus รุน SE 420 แรงมา รถรุนใหมที่จะเขามาทําตลาด ในประเทศไทย และ ยีห่ อ “พริมา” จาก ประเทศอินเดีย โดยกลุมเปาหมายให ความสนใจซื้อเปนจํานวนมาก เพื1อนํา ไปใชขนสงระหวางประเทศ เพื1อรองรับ การเปดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC
B&T#259_p38-39_iMac5.indd 38
คายรถใหญ “ไบเบน” จัดโปรโมชัน่ พิเศษรถหัวลาก 336 แรงมา จากราคา ขาย 2.55 ลานบาท เหลือเพียง 2.45 ลาน บาท ใหกับลูกคาใหม แมวาจะซื้อจํานวน น อ ย แต ค าดว า ในอนาคตจะซื้ อ เป น จํานวนมากอยางแนนอน ด า นรถใหญ “ฮี โ น ” ก็ ทํ า การ ประชาสัมพันธ เพื1อยํา้ ใหกลุม ลูกคาทราบ วา ในปจจุบนั นีม้ รี ถรุน ใด และใชงานแบบ ไหนใหกลุมลูกคาไดรับทราบ โดยในงาน BUS & TRUCK ’14 ส ง รถบรรทุ ก Hino300 และ Hino500 พรอมโปรโมชัน่ จองในงานราคาพิเศษสุด ๆ ทาง “ช.ทวี ดอลลาเซียล” อูต อ รถ บรรทุกขนาดใหญ เปดตัวรถบรรทุกขน รถบรรทุก ที่สามารถขนรถบรรทุกขนาด ใหญไดถึงครั้งละ 3 คัน และสามารถ ประยุ ก ต ไ ปขนส ง รถประเภทอื1น ได อี ก อยางมากมาย ซึ่งสรางความตืน1 เตนให กับผูชมงานเปนอยางมาก “ตั น จง อิ น เตอร เ นชั่ น แนล” ผู ดู แ ลรถใหญ 3 ยี่ ห อ คื อ “ฟู โ ซ ” “โฟตอน” และ “MAN” ไดปฏิรูปการ ออกงานแบบใหม คือนําทั้ง 3 ยี่หอ เปด แสดงพรอมกัน เพื1อใหกลุม ลูกคาสามารถ เลือกซื้อรถใหญยี่หอใดยี่หอหนึ่งไดตรง
ตามความตองในการใชงานของลูกคา ทางฟากรถโดยสาร “ยูทง” ก็ได รับคําสั่งมาจากบริษัทแม ประเทศจีน ให นํารถโดยสารขนาด 12 เมตร และรถ โดยสารขนาด 8 เมตร มาปูพื้นฐานให ลูกคากลุมเปาหมายไดทราบขอมูลกอน เพราะในป 2558 ธุรกิจการทองเทีย่ วตอง เติบโตเปนอยางมากแน และที่สรางสีสันใหงาน เปนอยาง มากก็คือ รถใหญ “ซานี่” ไดเปดตัวรถ มิกเซอรรุนใหม เครื1องยนต 325 แรงมา และในชวงเปดตัวหัวเกงรุนใหมนี้ ก็มี แคมเปญตาง ๆ มากมาย เชน ดาวนตํ่า ผอนยาว แถมทอง เติมนํ้ามันฟรีจาก คูปองทีแ่ ถม ดังนัน้ ทางไทยซัน จึงตัง้ เปา หมายการขายรถโมในป 58 ที่ 400 คัน เพราะจุดเดน ๆ ของซานี่ รูปหัวเกงใหม ทรงใหม มีหลายอยาง ๆ ที่นาสนใจ สํ า หรั บ ธุ ร กิ จ ที่ เ กี่ ย วเนื1อ งกั บ รถ ใหญ เ พื1อ การพาณิ ช ย ไม ว า จะเป น “ไดสตาร เทค”, “ไทยแสงเจริญ”, “กรุง ศรี ทรัค” “ฟาสท ออโต ไดรฟ”, “ZF”, “ไซแมท เทคโนโลยี”, “โกลบเทค”, “เบาะ รถโดยสารศรีไทย” เบาะรถโดยสารดํารง ศิลป” รวมทัง้ รถสามลอ “ซูโมตา” เปนตน ไดชว ยใหกลุม ผูซ อื้ และผูข ายไดมาพบกัน
ในชวงเวลาที่เหมาะเจาะ และชวยกัน กระตุนใหตลาดรถใหญไดเตรียมกลับ มาขยายตัวในชวงปลายป 2557 นอกจากนี้ ภ ายในงานยั ง มี โ ซน BUS & TRUCK Exhibitor Forum นํา เสนอขอมูลเชิงลึกของผลิตภัณฑ จาก ผูป ระกอบการโดยตรงตามดวย BUS & TRUCK Conference งานเสวนาสัมมนาระดับชาติ จากหนวยงานที่มี บทบาทสํ า คั ญ ต อ อุ ต สาหกรรมยาน ยนตขนาดใหญเพื1อการพาณิชยที่มา รวมแชรประสบการณและไอเดียเชิง ธุรกิจ การอวดโฉมรถโดยสารมาตรฐาน แหงป THAILAND BEST BUS BODY 2014 ในงาน BUS & TRUCK ’15 ที่ จะมีขึ้นระหวางวันที่ 5-7 พฤศจิกายน ศกหนา ที่ ไบเทค กรุงเทพฯ รับรอง ไดวางานตองใหญขึ้นกวาปนี้แน ผู ประกอบการขนส ง ทางบกไม ค วร พลาดอยางเด็ดขาด เพราะจะไดพบ คายรถเกาที่เตรียมรถรุนใหมมารวม แสดง คายรถใหมที่เพิ่งจะเขามาทํา ตลาด รวมทั้งสินคาเกี่ยวเนื1องและ อะไหลตา งๆ อีกมากมายทีจ่ ะมาพรอม กับโปรโมชั่นสุดพิเศษ
11/27/2557 BE 11:16 PM
WORLD NEWS • BUS&TRUCK 39
ปกษแรก • ธันวาคม 2557
วงการตางแดน ตอจากหนา 1
MCC ตั้งเปาสรางชื่อรถจีน ใช “ไบเบน” เปนตัวชูโรง คุ ณ ฤทธิ ก ร เทพทวี ประธาน กรรมการบริหาร บริษัท เอ็ม.ซี.ซี. ทรัค แอนด บัส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด เปด เผยวา ดวยประสบการณที่ทํารถใหญใน ตลาดขนสงมากวา 30 ป และลาสุดไดทํา ตลาดรถใหญจากประเทศจีน ซึ่งมีทั้ง ยี่หอ “ไบเบน” ยีห่ อ “ไซโนทรัค” ยีห่ อ “CAMC” และยี่หอ “ซูชิ” ซึ่งพบวาแตละยี่หอมีทั้ง คุณภาพและเทคโนโลยีระดับสูง แตสามารถ ซอมบํารุงไดงาย และอูของลูกคาสามารถ ซอมไดเอง จึงตองการทีจ่ ะทําใหรถใหญจาก จีนสามารถบุกตลาดขนสงในเมืองไทยใหได มากที่สุดเทาที่จะทําได โดยรถใหญ จ ากจี น แต ล ะยี่ ห อ จะมี กลุมลูกคาที่แตกตางกันอยางชัดเจนโดย ยี่หอ “ไบเบน” จะเหมาะกับกลุมขนสงเปน อยางมาก สวนยี่หออื1นจะอยูในระดับลางที่ มีความตองการใชรถขนสงเปนจํานวนนอย “ทางบริษัทไดวางแผนไววาจะใหรถ ใหญยี่หอ “ไบเบน” เปนตัวนํา ซึ่งเริ่มแรก จะมี 2 สาขาอยูที่หาดใหญ จ.สงขลา และ พระราม 2 กรุงเทพฯ และตอไปก็จะขยาย สาขาไปทุกภูมิภาคใหญ ๆ ทั่วประเทศ สวน ยี่หอ “ไซโนทรัค” ทางบริษัทแมที่ประเทศ จีนยังใหดูแลใน 14 จังหวัดภาคใตตอไป เพราะสามรถทํายอดขายไดมากตามที่ ได วางแผนไว สวนยีห่ อ อื1นนัน้ ก็จะมีการแบงให แตละบริษัทเปนผูดูแลตอไป อยางไรก็ดี เมื1อประมาณ 5 ปที่ผาน
มา ไดเริม่ ทําตลาดยีห่ อ “ไซโนทรัค” ในภาค ใตเปนยี่หอแรกหลังจากนั้นก็ ไดทําตลาด ยี่หออื1นตอมา จนถึงปจจุบันนี้สามารถทํา ยอดขายไดทุกยี่หอมากถึง 300 คัน โดยสิ่ง ที่ภาคภูมิใจมากคือ การใหบริการหลังการ ขายที่ลูกคาทั้งหมดใหความพึงพอใจเปน อยางสูง เพราะไมมกี ารรองเรียนในเรื1องการ ซอมบํารุงแมแตนอย คุ ณ ฤทธิ ก ร เป ด เผยต อ ว า ด ว ย เศรษฐกิจของประเทศจะเริ่มฟนคืนมาในป 2558 และจะมีนกั ทองเทีย่ วจากตางชาติเขา มาประมาณ 28 ลานคน ซึ่งมากกวาป 2557 ทีม่ นี กั ทองเทีย่ วทีม่ ปี ระมาณ 25 ลานคน จะ สงผลใหธรุ กิจรถทัวรตอ งมีการใชรถโดยสาร ใหมเพิ่มขึ้นเปนจํานวนมากแน ดังนั้นทาง บริษัทจึงจะขยายธุรกิจนํารถโดยสารยี่หอ “นีโอแพลน” จากประเทศเยอรมนี เขามา เสริมอีกยี่หอหนึ่ง โดยรถโดยสารยี่หอ “นีโอแพลน” นี้ มีทงั้ คุณภาพและเทคโนโลยีระดับสูง รวมทัง้ มีความปลอดภัยมาก แทบจะไมมีอุบัติเหตุ เกิดขึ้นเลย ซึ่งคนยุโรปนิยมเลือกเปนรถ โดยสารยี่ ห อ หลั ก เพราะมั่ น ใจในความ ปลอดภัย นอกจากนีก้ ย็ งั นํา ปคอัพ “SHINERAY” จากประเทศจีนเขามาบุกตลาดขนสงที่มี ลูกคาหลักอยูใ นตัวเมือง โดยมีทงั้ เครื1องยนต ดีเซลและ LPG ขนาดตั้งแต 1,000-1,300 ซีซี. ใหเลือกตามความตองการ
ตอจากหนา 1
ไดสตาร เทค ตั้งเปาโต 100% โชวบัสไฮเทค BUS & TRUCK ’15 คุณเอกชัย จันทรวภิ าสวงศ ผูจ ดั การ ทั่วไป บริษัท ไดสตาร เทค จํากัด เปดเผย วา หลังจากที่ทางบริษัทไดขยายแผนกมาดู สินคาที่ใหความปลอดภัยในรถโดยสาร เริ่ม ตั้งแตระบบ GPS ที่รายงานการใชความเร็ว การจอดสงผู โดยสาร กลองวงจรปดรอบรถ ที่ชวยสรางความปลอดภัยใหคนขับไดเห็น สถานการณของรถยนตคันอื1นที่ขับอยูบน ถนน และทีวแี อลซีดที หี่ ลังเบาะนัง่ โดยสารก็ สามารถเพิ่ ม ยอดขายได ม ากถึ ง ป ล ะกว า 100% โดยสินคาแตละอยาง ทางบริษทั จะให ความใสใจเปนพิเศษ มีทั้งการอบรมและฝก ความรูเ พื1อใหพนักงานของแตละบริษทั ของ ลูกคาสามารถดูแลและซอมบํารุงไดดวยตัว เอง ซึง่ ผลตอบรับจากกลุม ลูกคานัน้ มีความ พึงพอใจเปนอยางมาก เพราะตลอดเวลาที่ ใช ง านมาแทบจะไม มี สิ่ ง ใดที่ เ สี ย ในเวลา ทํางานเลย “ผลตอบรั บ จากกลุ ม ลู ก ค า นั่ น ผู โดยสารมี ค วามพึ ง พอใจเป น อย า งมาก เพราะมั่นใจวา เมื1อใชรถโดยสารของบริษัท ทัวรแหงนีแ้ ลว แทบจะไมรสู กึ วาสูญเสียเงิน เลย เพราะไดรับความปลอดภัยสูงสุด เริ่ม จากคนขั บ ที่ ป ราศจากแอลกอฮอล ใน ระหวางเดินทางก็มกี ลองวงจรปดรอบรถให ดูการขับของเพือ1 นรวมทาง และยังมีระบบ
B&T#259_p38-39_iMac5.indd 39
GPS ที่ทางตัวบริษัทเองจะเปนผูชวยดูแล การเดินทางเองใหปลอดภัย สวนในระหวาง เวลาของการเดินทางนั้นก็ยังมีทีวีแอลซีดีที่ มีหนังใหดอู กี หลายเรื1อง และมีเพลงใหเลือก ฟงอีกมากมาย ดวยเหตุน้ีเองจึงทําใหมีผู โดยสารเพิ่มมากขึ้นเรื1อย ๆ อยางตอเนื1อง” คุณเอกชัย กลาวตอวา หลังจากที่ เขารวมงานมาได 2 ปตดิ ตอกัน โดยการแยก อุปกรณตาง ๆ มานําเสนอใหแกกลุมลูกคา นัน่ พบวาตองเสียคาใชจา ยทีส่ งู มาก รวมถึง ลูกคายังไมเห็นภาพรวม ดังนั้นในงาน BUS & TRUCK ’15 ซึง่ จะมีชว งปลายป 2558 ทาง บริษัทก็จะขอเขารวมเปนปที่ 3 ติดตอกัน โดยจะเปลี่ ย นรู ป แบบการนํ า เสนอมา เปนการนํารถโดยสารไฮเทคที่มีอุปกรณทุก อยาง ไมวาจะเปนกลองวงจรปดรอบตัวรถ ระบบ GPS และทีวีแอลซีดี เพื1อนําลูกคามา พบกับของจริง และสามารถตัดสินใจเลือก ใชสนิ คาทัง้ หมด ไปติดในรถทัวรคนั ใหมทจี่ ะ ออกสูตลาดไดอีก โดยกลุมลุกคาหลักของไดสตาร เทค นั้น ยังมีอีกเปนจํานวนมากในตลาดรถทัวร และบริ ษั ท รถร ว ม บขส. ซึ่ ง หากลู ก ค า ตองการพบสินคาเมื1อใด ทางไดสตาร เทค ก็ ส ามารถส ง มอบได ใ นทั น ที เพราะจะ สามารถสรางความมั่นใจใหกับผู โดยสารใน เรื1องความปลอดภัยได 100%
ยานยนต
สหรัฐอเมริกา : เอ็นเอชทีเอสเอ เรียกรองใหเรียกคืนรถติดถุงลมทากาตะทั่วสหรัฐ
สํานักงานความปลอดภัยการจราจรบนทางหลวงสหรัฐ (เอ็นเอชทีเอสเอ) ออกมาเรียกรองใหทากาตะ คอรป บริษัทจัดหาชิ้นสวนรถยนตญี่ปุน และบริษัท รถยนต 5 ราย รวมถึง ฟอรด มอเตอร มาสดา มอเตอร ฮอนดา มอเตอร ไครส เลอร และบีเอ็มดับเบิลยู ขยายวงการเรียกคืนรถยนต ที่ติดตั้งถุงลมนิรภัยของ ทากาตะ ซึง่ มีความเสีย่ งทีจ่ ะทํางานผิดพลาด และเปนอันตรายถึงชีวติ ใหครอบคลุม ทุกพืน้ ที่ในสหรัฐ จนถึงขณะนี้ ทากาตะ และบรรดาคายรถยนต ตางจํากัดวงการเรียก คืนรถยนตเพราะความผิดพลาดนี้ในตลาดสหรัฐไวเพียงไมกี่พื้นที่เทานั้น รวมถึง ฟลอริดา อลาบามา มิสซิสซิปป จอรเจีย ลุยเซียนา และบางพื้นที่ของรัฐเท็กซัส โดย มียอดรวมการเรียกคืนลาสุดอยูที่ 4.1 ลานคัน สวนใหญเปนรถยนตของฮอนดา ลูกคา รายใหญสุดของทากาตะ
นวัตกรรม
จีน : เผยโฉมรถโดยสารไฟฟาขับเคลื่อนดวยแบตเตอรี่
บีวายดี (BYD) ผูผลิตแบตเตอรี่ รายใหญของโลกในจีน เผยโฉมรถโดยสาร ไฟฟาขับเคลื1อนดวยแบตเตอรี่ขนาดใหญที่สุดในโลก “แลงคาสเตอร อีบัส” (Lancaster eBus) เปนรถโดยสารไรมลพิษที่ชารจแบตเตอรี่เต็มวิ่งไดตลอดวัน บีวายดีเปนผูเ ชีย่ วชาญการผลิตแบตเตอรีแ่ บบชารจซํา้ ทีม่ คี วามปรารถนากาวขึน้ สูผ นู าํ อุตสาหกรรมรถยนตพลังงานสะอาดของโลก โดยกอตั้งบริษัทบีวายดี ออโต (BYD Auto) ที่มุงมั่นพัฒนารถยนตที่ขับเคลื1อนดวยพลังงานไฟฟาที่แลนฉิวไดบนทองถนน เร็วกวาที่ทุกคนคาดคิด สามารถเสียบปลั๊กชารจไฟจากสถานีชารจไฟฟาไดเชนเดียว กับสถานีเติมนํ้ามันในปจจุบัน หลังจากรัฐบาลจีนพยายามหนุนยอดขายรถยนต พลังงานไฟฟาเพื1อรับมือกับปญหามลพิษทางอากาศ นักวิเคราะหมองวายอดขาย รถยนตพลังงานไฟฟาและไฮบริดของบีวายดียังไมมากพอที่จะสะทอนใหเห็นความ ตองการของตลาด และตลาดเกิดใหมนคี้ งยังไมแพรหลายรวดเร็ว ขณะทีบ่ รรดาผูผ ลิต คูแ ขงวิจารณถงึ ประสบการณธรุ กิจรถยนตของบีวายดีทเี่ พิง่ เขามาไดไมนาน แตบริษทั มีประสบการณดานการผลิตแบตเตอรี่ จึงมั่นใจเรื1องความไดเปรียบดานเทคโนโลยี
แคลิฟอรเนีย : ซาลูน fuel cell เตรียมทําตลาดกรีนดวยราคาที่สูงลิบ
โตโยตา ประกาศความรวมมือกับบริษัทพลังงาน ในแคลิฟอรเนีย First Element Fuel, Inc. เพื1อสรางโครงขายสถานีไฮโดรเจน โตโยตา พรอมเปดตัว Toyota Mirai FCEV ในงาน 2014 LA Auto Show และเตรียมการจําหนายใน ชวงฤดูใบไมรวงป 2015 ทั้งในแคลิฟอรเนียเอง รวมถึงญี่ปุนและยุโรปดวย Mirai ของโตโยตาเปนหนึ่งในรถจากโครงการ HyFive project หรือ Hydrogen for Innovative Vehicles ซึ่งเกิดจากความรวมมือของบริษัทผูผลิตรถยนต 15 แบรนด และบริษัทพลังงานอีกหลายแหง เพื1อแนะนําและจําหนายรถยนตพลังงานไฮโดรเจน ในยุโรป จุดมุงหมายหลักในเวลานี้คือการขยายโครงขายสถานีไฮโดรเจน โดยแตละ บริษทั จะทําการพัฒนารถกันตามแตละกรอบเวลาของตัวเอง ไมองิ อยูก บั การเปดโครง ขายสถานีไฮโดรเจน ปจจุบันมี 5 บริษัทที่ลุยโครงการนี้เต็มตัว คือ BMW, Daimler, Honda, Hyundai และ Toyota โดยแตละบริษัทจะคอย ๆ ปลอยรถแบบฟลีทไปยัง 6 เมืองใหญในยุโรปเปนลําดับแรก อาทิ โคเปเฮเกน, ลอนดอน หรือมิวนิค เปนตน Mirai ผลิตพลังงานไฟฟาผาน fuel-cell stack โดยใชไฮโดรเจนเปนสารตั้งตน เขาไปทําปฏิกริยากับออกซิเจนในตัว stack การเก็บประจุไฟฟาเปนหนาทีข่ องแบตเตอรี่ ลิเธียม-ไอออน มอเตอร ไฟฟาสําหรับขับลอคูห นาผลิตกําลังได 113 กิโลวัตต หรือเทียบ เทา 152 แรงมา อัตราเรง 0-96 กม./ชม. ภายใน 9 วินาที การเติมไฮโดรเจนเต็มถัง ขอเวลา 5 นาที โตโยตาติดตั้งถังแรงดัน 700 บารเอาไวใตพื้นหองโดยสาร 2 ถัง ระยะ ทางที่ทําไดตอครั้งประมาณ 483 กม. ขึ้นอยูกับวิธีการขับ
ปฎิทินขาว วัน-เดือน-ป
รายละเอียดงาน
ติดตอ
12-14 ธ.ค.2557
“หัวหิน ว�นเทจคาร พาเหรด ครั้งที่ 12” “ชื่นชะอํา ฉําหัวหิน ความทรงจําไมสิ�นสุด” ตลอดเสนทางกรุงเทพฯ ชะอํา หัวหิน
สมาคมรถโบราณแหงประเทศไทย โทร.0-2641-8399, 0-2641-8444 E-mail: vintagecarclub@autoinfo. co.th, www.facebook.com/ vintagecarclub
9-11 ม.ค.2558
สถาปนิกทักษิณ ’58 ณ เซ็นทรัลเฟสติวัล หาดใหญ
บร�ษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด โทร.0-2717-2477 ตอ 159 E-mail: info@TTFintl.com, supaman@TTFintl.com
28 เม.ย.-3 พ.ค.58 สถาปนิก ’58 อิมแพ็ค เมืองทองธานี
บร�ษัท ทีทีเอฟ อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด โทร.0-2717-2477 ตอ 159 E-mail: info@TTFintl.com, supaman@TTFintl.com
11/27/2557 BE 11:16 PM
40 BUS&TRUCK • DIRECTORY
ปกษแรก • ธันวาคม 2557 DIRECTORY ISUZU บร�ษัท ตร�เพชรอีซูซุเซลส จํากัด โทร. 0-2966-2111
SUNLONG บร�ษัท เบสทร�น กรุป จํากัด โทร.0-2750-3901, 0-2750-0227, 08-5999-9499 SLK6750CNG SLK6852D SLK6102D SLK6102CNG SLK6111CNG SLK6120D SLK6126CNGB SLK6145D ราคาดังกลาวเปนราคานําเขารถสําเร็จรูปทั้งคัน
Bus 7.5 m. Bus 8.5 m. Bus 10 m. Bus 10 m. City Bus 12 m. Coach 12 m. Coach 12 m. Coach 14.5 m.
YUTONG บร�ษัท ไทยคูชัย จํากัด โทร. 0-2393-9831-2
YUTONG มินิบัส 6 เมตร YUTONG รถบัสโดยสาร 8 เมตร YUTONG รถบัสโดยสาร 12 เมตร
มินิบัส รถธรรมดา รถปรับอากาศ
CNG ดีเซล ดีเซล CNG CNG ดีเซล CNG ดีเซล
-
-
-
2,650,000 4,000,000 4,600,000 4,900,000 5,400,000 6,000,000 6,500,000 7,500,000
1,500,000 2,500,000 4,850,000
HINO บร�ษัท ฮีโนมอเตอรสเซลส (ประเทศไทย) จํากัด โทร. 0-2900-5000 Hotline 0-2900-5260 Series 3 XZU600R-4W Series 3 XZU600R-6W Series 3 XZU650R (T&S) Series 3 XZU710R (T&S) Series 3 XZU720R Series 3 XZU600R-4W Cooler less Series 3 XZU600R-6W Cooler less Series 3 XZU650R (T&S) Cooler less
ขนาด 2-3 ตัน ขนาด 2-3 ตัน ขนาด 2-3 ตัน ขนาด 2-3 ตัน ขนาด 2-3 ตัน ขนาด 2-3 ตัน ขนาด 2-3 ตัน ขนาด 2-3 ตัน
4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ
136 150 150 150 150 136 150 150
948,000 978,000 1,035,000 1,190,000 1,206,000 938,000 968,000 1,025,000
Series 5 FC9JEKA (T&S) Series 5 FC9JJKA Series 5 FC9JELA (T&S) Series 5 FC9JJLA (Radial Tube) Series 5 FC9JLLA (Radial Tube) Series 5 FG8JGLD Series 5 FG8JJLA Series 5 FG8JMLA Series 5 FG8JPLA Series 5 FG8JRLA Series 5 FG8JPLG (Air-Sus Series 5 FG8JGLE Series 5 FG8JJLB
6 ลอขนาดกลาง 6 ลอขนาดกลาง 6 ลอขนาดกลาง 6 ลอขนาดกลาง 6 ลอขนาดกลาง 6 ลอขนาดใหญ 6 ลอขนาดใหญ 6 ลอขนาดใหญ 6 ลอขนาดใหญ 6 ลอขนาดใหญ 6 ลอขนาดใหญ 6 ลอขนาดใหญ 6 ลอขนาดใหญ
4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 4 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ
145 145 175 175 175 212 212 212 212 212 212 212 212
1,350,000 1,360,000 1,410,000 1,430,000 1,440,000 1,750,000 1,770,000 1,780,000 1,790,000 1,810,000 1,915,000 1,650,000 1,660,000
10 ลอ 6x2 10 ลอ 6x2 10 ลอ 6x2 10 ลอ 6x4 10 ลอ 6x4 10 ลอ 6x4 10 ลอ 6x4 10 ลอ 6x4 10 ลอ 6x4 10 ลอ 6x4 10 ลอ 6x4 12 ลอ 8x4 12 ลอ 8x4
6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ
212 212 251 212 251 330 330 344 380 380 330 380 380
2,345,000 2,385,000 2,415,000 2,485,000 2,535,000 2,820,000 2,850,000 2,905,000 2,965,000 3,035,000 2,575,000 3,130,000 3,170,000
หัวลาก 6 ลอ หัวลาก 10 ลอ หัวลาก 10 ลอ หัวลาก 10 ลอ หัวลาก 10 ลอ หัวลาก 10 ลอ หัวลาก 10 ลอ หัวลาก 10 ลอ หัวลาก 10 ลอ หัวลาก 10 ลอ
6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ
212 251 330 330 344 344 344 380 380 380
1,865,000 2,650,000 2,945,000 2,985,000 2,975,000 3,015,000 3,085,000 3,055,000 3,095,000 3,165,000
รถบัส รถบัส
6 สูบ 6 สูบ
251 380
2,145,000 3,605,000
Series 5 FC4JLNA NGV Series 5 FG1JPKA NGV Series 5 FG1JPKA NGV - Car Carrier Series 5 FL1JTKA-BGT NGV Series 5 FM1JNKD-BGT NGV Series 5 FM1JKKA NGV Series 5 FM2PNMD NGV Series 5 FM2PNMD- A NGV
6 ลอ NGV ขนาดใหญ 6 ลอ NGV ขนาดใหญ 6 ลอ NGV ขนาดใหญ 10 ลอ 6x2 10 ลอ 6x2 10 ลอ NGV 10 ลอ 6x4 10 ลอ 6x4
6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ
175 220 220 260 260 260 360 360
1,890,000 2,555,000 2,945,000 3,265,000 3,315,000 3,440,000 3,755,000 3,825,000
Series 5 FM2PKMA NGV Series 5 FM2PKMA-PA NGV Series 5 FM2PKMA-P NGV Series 5 FM2PKMA-A NGV
หัวลาก 10 ลอ NGV หัวลาก 10 ลอ NGV หัวลาก 10 ลอ NGV หัวลาก 10 ลอ NGV
6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ
360 360 360 360
3,850,000 3,960,000 3,890,000 3,920,000
Series 5 FL8JNKA Series 5 FL8JTKA Series 5 FL8JNLA Series 5 FM8JNKD Series 5 FM8JNLD Series 5 FM1ANKD (T Bias) E/G Retarder Series 5 FM1ANKD (T&S Radial) E/G Retarder Series 5 FM1ANLD (T&S Radial) E/G Retarder Series 5 FM2PNLD (T&S) Series 5 FM2PNLD (SPA) ABS Series 5 FM1AKKM E/G Retarder (Mixer) Series 5 GY2PSLA (S) Series 5 GY2PSLA (T&S 380 Ps) PTO Series 5 FG8JGLT Series 5 FM8JKKA Series 5 FM1AKKA (S) E/G Retarder Series 5 FM1AKKA (S) PTO E/G Retarder Series 5 FM1AKLA (S) E/G Retarder Series 5 FM1AKLA (S) PTO E/G Retarder Series 5 FM1AKLA (SPA) ABS Series 5 FM2PKLA (T&S) Series 5 FM2PKLA (S) PTO Series 5 FM2PKLA (SPA) ABS Series 5 RK8JSLA Series 5 RM1ESKU
MAN บร�ษัท เอ็ม เอ เอ็น คอมเมอรเชียล ว�ฮีเคิลส (ประเทศไทย) จํากัด โทร. 0-2567-0070-5 MAN-CLA 26.280 6x4 Tractor MAN-CLA 26.280 6x4 Mixer
รถหัวลาก 10 ลอ รถผสมปูน 10 ลอ
-
280 280
2,780,000 2,700,000
รถหัวลาก รถหัวลาก รถหัวลาก รถหัวลาก แซสซีสรถโดยสาร แซสซีสรถโดยสาร แซสซีสรถโดยสาร
6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ
360 แรงมา 410 แรงมา 410 แรงมา 410 แรงมา 410 แรงมา 410 แรงมา 460 แรงมา
3,600,000 3,900,000 4,100,000 4,350,000 4,500,000 4,700,000 5,200,000
SCANIA P 360 LA6x2MSZ P 410 LA6x2MSZ P 410 LA6x2MNA P 410 LA6x2MSZ K 410 IB6x2NB K 410 EB6x2NI K 460 EB6x2NI
B&T#259_p40-41_iMac5.indd 40
GXZ77NXJFQ (Aero-Max) GXZ77NXFQ (Aero-Max) GXZ77NXXTQ (Aero-Max) GXZ77NXJFQ GXZ77NXXFQ GXZ77NXXTQ GVR34JXXXQ (Aero-Max) GVR34JXXXQ FYH77SXDFQ FYH77SXTDQ FXZ77QXDFQ FXZ77QXDTQ FXZ77PXDXQ FXZ77NXFXQ FXZ34PSDFQ FXZ34PSDTQ FXZ34PNDXQ FVM34TSXXQ FVM34QSXXQ FVM34TNAXQ FVM34RNAXQ FVM34QNAXQ FVM34WNXXQ FVM34TNXXQ FVM34RNXXQ FVM34QNXXQ FTR34QXXXQ FTR34PXXXQ FTR34LXXXQ FTR34JXXXQ FRR90NSXXQ FRR90LSXXQ FRR90HSXXQ FRR90NNXXQ FRR90LNXXQ NQR75LXXXQ NQR75HXXXQ NPR75KXXXQ NPR75HXXXQ NMR85HXXFQ NMR85HXXTQ NMR85EXXXQ NLR85EXXXQ GXZ78NXCFQ (AMAX-A) GVR86KXCXQ (10W 6x2) GVR86KXCXQ (6W 4x2) FXZ78QXBFQ FVM86WXCXQ FVM86TXCXQ FTR86QXCFQ NPR82KXCXQ NPR82HXCXQ NMR82HXCXQ
10 ลอ หัวลากสองเพลา (6x4) 10 ลอ หัวลากสองเพลา (6x4) 10 ลอ หัวลากสองเพลา (6x4) 10 ลอ หัวลากสองเพลา (6x4) 10 ลอ หัวลากสองเพลา (6x4) 10 ลอ หัวลากสองเพลา (6x4) รถบรรทุก 6 ลอหัวลาก (4x2) รถบรรทุก 6 ลอหัวลาก (4x2) รถบรรทุก 12 ลอ สองเพลา (8x4) รถบรรทุก 12 ลอ สองเพลา (8x4) รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลา รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลา รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลา รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลา รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลา รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลา รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลา รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 10 ลอ เพลาเดียว (6x2) รถบรรทุก 6 ลอ ขนาด 6 ตัน รถบรรทุก 6 ลอ ขนาด 6 ตัน รถบรรทุก 6 ลอ ขนาด 6 ตัน รถบรรทุก 6 ลอ ขนาด 6 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุก ขนาด 3 ตัน รถบรรทุกขนาด 2 ตัน รถบรรทุกขนาด 2 ตัน รถบรรทุกขนาด 2 ตัน รถบรรทุกขนาด 2 ตัน รถบรรทุกเคร�่องยนต CNG รถบรรทุกเคร�่องยนต CNG รถบรรทุกเคร�่องยนต CNG รถบรรทุกเคร�่องยนต CNG รถบรรทุกเคร�่องยนต CNG รถบรรทุกเคร�่องยนต CNG รถบรรทุกเคร�่องยนต CNG รถบรรทุกเคร�่องยนต CNG รถบรรทุกเคร�่องยนต CNG รถบรรทุกเคร�่องยนต CNG
9,839 9,839 9,839 9,839 9,839 9,839 7,790 7,790 9,839 9,839 9,839 9,839 9,839 9,839 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 7,790 5,193 5,193 5,193 5,193 5,193 5,193 5,193 5,193 5,193 2,999 2,999 2,999 2,999 9,839 7,790 7,790 9,839 7,790 7,790 7,790 4,570 4,570 4,570
360 360 360 360 360 360 300 300 360 360 360 360 360 360 360 360 360 300 300 300 300 300 300 300 300 300 240 240 240 240 210 210 210 190 190 175 175 150 150 130 130 130 130 354 245 245 354 245 245 220 130 130 130
3,347,000 3,177,000 3,177,000 3,317,000 3,147,000 3,147,000 2,582,000 2,559,000 3,294,000 3,294,000 3,044,000 3,044,000 2,694,000 2,727,000 2,680,000 2,680,000 2,580,000 2,565,000 2,544,000 2,662,000 2,642,000 2,621,000 2,504,000 2,432,000 2,412,000 2,391,000 1,875,000 1,854,000 1,844,000 1,818,000 1,536,000 1,526,000 1,484,000 1,486,000 1,476,000 1,350,000 1,334,000 1,225,000 1,209,000 1,029,000 1,024,000 967,000 937,000 3,957,000 3,754,000 3,394,000 3,844,000 3,456,000 3,375,000 2,580,000 1,627,000 1,617,000 1,432,000
2,977 CC 2,977 CC 2,899 CC 2,899 CC 2,899 CC 7,545 CC 7,545 CC 7,545 CC 7,545 CC 7,545 CC 7,545 CC 12,882 CC 12,882 CC
125 125 150 150 150 240 240 240 270 240 270 380 380
934,000 985,000 1,069,000 1,207,000 1,217,000 1,770,000 1,785,000 1,830,000 2,525,000 2,475,000 2,635,000 3,150,000 3,220,000
FUSO บร�ษัท ฟ�โซทรัค (ประเทศไทย) จํากัด โทร. 0-2567-2897
FE71BB8SRDH1 FE73BE6SRDH1 FE84DE6SRDH1 FE85DE7SRDH1 FE85DG7SRDH1 FM65F F1RDH1 FM65F H1RDH1 FM65F M1RDH1 FN61FR2RDH1 FN62FM1RDH1 FN61FM2RDH1 FV51JHR3RDH1 FV51JHR3RDH1
รถบรรทุก 4 ลอ รถบรรทุก 6 ลอ รถบรรทุก 6 ลอชวงมาตรฐาน รถบรรทุก 6 ลอชวงมาตรฐาน รถบรรทุก 6 ลอชางยาว รถบรรทุก 6 ลอ ชวงสั้น รถบรรทุก 6 ลอ ชวงกลาง รถบรรทุก 6 ลอ ชวงยาว รถบรรทุก 10 ลอ ชวงยาวพ�เศษ รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลาชวงยาว รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลาชวงยาว รถบรรทุก 10 ลอ สองเพลาชวงยาว รถหัวลาก 10 ลอ
DONGFENG บร�ษัท ดีเอฟ มอเตอร (ไทยแลนด) จํากัด โทร.0-2637-5041-3
DONGFENG CNG DONGFENG 8x4 CNG
รถหัวลาก NGV 100% TRACTOR Engine Yuchai
YC 340HP YC 340HP
FOTON บร�ษัท โฟตอน ทรัค (ประเทศไทย) จํากัด โทร.0-2567-2882
BJ4257SMFCB-R1 BJ4257MFJB-R1 BJ5257GJB-RA BJ3257DLPJE-R1
รถหัวลาก 10 ลอ CNG รถหัวลาก 10 ลอ Diesel รถมิกเซอร 10 ลอ Diesel รถ 10 ลอ Diesel
6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ 6 สูบ
340 340
3,150,000 3,250,000
380 375 375 375
2,900,000 2,850,000 2,900,000 2,825,000
BEIBEN บร�ษัท เอ็ม.ซี.ซี. ทรัค แอนด บัส อินเตอรเนชั่นแนล จํากัด โทร.08-1698-1934, 0-7423-0258 2538 SY 6x4 NG80 2538 SY 6x4 V3 2538 SY 6x4 NG80 2538 SY 6x4 V3 1827 SY 4x2 V3 2534 BY 6x4 V3 2534 KV 6x4 V3 (chassis )
Tractor (CNG) Tractor (CNG) Tractor (Diesel) Tractor (Diesel) Tractor (Diesel) Mixcer (Diesel) Dumper(Diesel)
11,596 CC 11,596 CC 9,726 CC 9,726 CC 9,726 CC 9,726 CC 9,726 CC
SHACMAN บร�ษัท ไทย ซัน อินเตอร แมชชีน จํากัด โทร. 0-3273-4188
WP12NG350E40 WP12NG380E40 WP12NG380E40 WP10.336 WP12.375N WP10NG366E40 WP10.336 WP12NG330E40 (GAS)
รถหัวลาก 6x4 รถหัวลาก 6x4 รถหัวลาก 8x4 รถหัวลาก 6x4 รถหัวลาก 6x4 รถหัวลาก 6x4 รถหัวลาก 6x4
NGV NGV NGV ดีเซล ดีเซล NGV ดีเซล NGV
380 380 375 375 270 336 336
2,950,000 3,250,000 2,550,000 2,700,000 2,150,000 2,800,000 2,750,000
350 380 350 336 375 336 336 320
2,725,000 2,825,000 3,075,000 2,425,000 2,525,000 2,775,000 2,475,000 3,150,000
11/27/2557 BE 11:23 PM
BUS&TRUCK MART • BUS&TRUCK 41
ปกษแรก • ธันวาคม 2557 BUS & TRUCK MART
B&T#259_p40-41_iMac5.indd 41
11/27/2557 BE 11:24 PM
42 BUS&TRUCK • Q & A
ปกษแรก • ธันวาคม 2557
ถามทาง วิริยะฯ ใหขนสงเต็มรอย
ผมทํ า การขนส ง สิ น ค า ในแถบ ชายแดน คาดวาในอนาคตอันใกล นี้จะไดงานขนสงไปแถบประเทศ เพื1อนบานดวย จึงอยากทราบวาจะเลือก ใชประกันภัยของบริษทั ไหนดีทดี่ แู ลใหทงั้ ในประเทศและตางประเทศพรอมกัน ในวงการขนสงที่ใชรถใหญเปน จํ า นวนมากนั้ น ต า งเลื อ กใช ประกันภัยชั้น 1 ของรถใหม และ ประกันภัยชั้น 3 ของรถใหญคันเกากับ บริษทั วิรยิ ะประกันภัย มากทีส่ ดุ สาเหตุ ก็เปนเพราะมาดูแลในที่เกิดอุบัติเหตุใน เวลาที่รวดเร็ว และจายเงินชดเชยให ใน ระดับสูง อยางกรณีของรถใหญคนั ใหมทเี่ พิง่ ซื้อมา ซึ่งทําประกันภัยชั้น 1 กับวิริยะฯ ไวแลว เมื1อจอดอยูริมถนนเพื1อรอรับงาน รถใหญก็เกิดหายไป ไมสามารถติดตาม ไดเลย ทางวิริยะฯก็จายเงินชดเชยให ประมาณ 80% ของราคารถซึ่งก็ถือวา เปนการสูญเสียที่ไมมากนัก สวนในกรณีของประเทศเพือ1 นบาน
เสียงจากผูอาน คื อ สปป.ลาว ก็ มี ร ถใหญ ไ ด เ พิ่ ม ทุ น ประกันประมาณ 20% ใหกับวิริยะฯ เพื1อ ที่จะไดดูแลเมื1อวิ่งงานใน สปป. ลาว ซึ่ง ก็ มี อุ บั ติ เ หตุ เ กิ ด ขึ้ น เมื1อ มี ร ถที่ ขั บ โดย คนในพื้ น ที่ ไ ด ขั บ รถเบี ย ดจนคนขั บ รถ ใหญตองหักหลบกะทันหันจนตกถนนซึ่ง เกิดความเสียหายมากรถไมสามารถใช งานไดเลย โดยทางวิริยะฯ ก็รับผิดชอบจาย เงินคาชดเชยใหเปนเงินมากกวา 2 ลาน บาท รวมถึงมีคนซื้อซากรถเกาไปอีกกวา 3 แสนบาท ซึง่ ก็ถอื วาคุม ทุน เพราะราคา ของรถนัน้ ซือ้ มาทีป่ ระมาณ 2.5 ลานบาท และรถพวงอีกประมาณ 4 แสนบาท แต ใชงานมาแลวกวา 5 ป ทุกอยางจึงลงตัว สามารถนําเงินที่ ไดมาไปซื้อรถใหญคัน ใหมได สวนบริษัทประกันภัยอื1น ๆ นั้น ก็มี ใหเลือกอีกหลายบริษทั ทีจ่ ะทําประกันภัย ภาคสมัครใจของรถใหญแตก็ตองศึกษา เงื1อนไขตาง ๆ อยางละเอียดวา คุม คากับ เงินที่ซื้อประกันภัยทุกปหรือไม
คุณสุรชัย วศธรเมธี จังหวัด อยุธยา
ผมรับผิดชอบหนาที่เปนพนักงาน ขายของ บริษัท วอลโว กรุป (ประเทศ ไทย) จํากัด ดูแลสาขาวังนอยอยุธยา และที่สระบุรี สาเหตุหลักที่เปนสมาชิก นิตยสาร BUS & TRUCK เนื1องจากจะ ไดรับรูขาวสารของวงการรถใหญ ไมวา จะมาจากหนวยงานราชการ และเพื1อ พันธมิตรรถใหญดวยกันเอง เมื1ออาน เสร็จแลวก็จะนําไปวางในหองรับรองแขก เพื1อที่ลูกคาไมวาจะเปนลูกคาใหมหรือ เกาที่นํารถเขามาซอมก็จะไดรับทราบ ขาวสารดวย ซึ่งขณะนี้มีความเห็นวาสาขาทุก แหงของ วอลโว ทีจ่ ะเปนสมาชิกนิตยสาร BUS & TRUCK เพื1อที่จะไดมีความรูได พูดคุยกับลูกคาไดครอบคลุมมากยิ่งขึ้น โดยจะเสนอกับฝายการตลาดใหเห็นผล ประโยชน ในเรื1องนี้ คาดวาคงจะไดผล เพราะจะเปนการเผยแพรของขาวสาร ของ วอลโว ใหกับกลุมลูกคาไดเพิ่มขึ้น จากที่ ไ ด พู ด คุ ย กั บ พนั ก งานขายเพี ย ง อยางเดียว
กองบรรณาธิการ
ตองขอขอบคุณมากที่เปนสมาชิก ของนิตยสาร BUS & TRUCK ซึ่งทาง บริษทั แมจะไดรบั นิตยสารเปนประจําทุก ฉบับอยูแลว สวนเรื1องการจัดสงใหกับ สาขาตาง ๆ นั้น ทางบริษัทแมจะตอง สมัครเปนสมาชิกให กอนหนานี้ทางคาย ฟูโซ ก็ไดสมัครเปนสมาชิกมา 25 บริษัท เพื1อจัดสงใหกับดีลเลอร และลูกคาราย ใหญ ๆ เพราะเห็นเปนการประชาสัมพันธ ขาวสารของคาย ฟูโซ โดยตรง พรอมทั้ง มีขาวอื1น ๆ ของวงการรถใหญใหทราบ อีกดวย และก็ตองยอมรับวาทางคาย วอลโว มีมาตรฐานเปนระดับสากลอยู แลว
No. ............./..............
B&T#259_p42-43_iMac5.indd 42
11/27/2557 BE 11:34 PM
B&T#259_p43_iMac5.pdf
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
1
11/27/2557 BE
11:33 PM
44 BUS&TRUCK • AUTO GAS
ปกษแรก • ธันวาคม 2557 AUTO GAS
PATTARONGRIT GASTECH แนะนํานวัตกรรมประหยัดเชื้อเพลิง
PATTARONGRIT GASTECH ในเครือ Amphai Group นําเสนอ นวัตกรรมการประหยัดเชื้อเพลิงดวย ชุดติดตัง้ แก็สในงาน BUS & TRUCK ’14 ตอบสนองผู ป ระกอบการที่ ตองการลดตนทุนในการขนสง พรอม จัดสัมมนาใหความรูและนําเสนอขอ เท็จจริงของการใชเชื้อเพลิงรวมที่มี การพิสูจนดวยการทดลองขับจริง บ ริ ษั ท P AT TA R O N G R I T GASTECH ในเครือ Amphai Group ไดเลือกผลิตภัณฑชุดติดตั้งแกส GTAUTOGAS นวัตกรรมระดับแนวหนา ของบริ ษั ท มาให ผู ช มงาน BUS & TRUCK ’14 ไดสมั ผัส โดยผลิตภัณฑดงั
กลาว เปนอุปกรณติดตั้งแกสดีเซลเชื้อ เพลิงรวมกับ CNG ใหแรงมาทีส่ งู ขึน้ โดย ไมตองเปลี่ยนเครื1องยนตเดิม สามารถ ประหยั ด นํ้ า มั น และลดค า ใช จ า ยได ดี เหมาะสํ า หรั บ ผู ใ ช ย านยนต ดี เ ซลเป น อยางยิ่ง พรอมกันนีย้ งั ไดจดั สัมมนาใหความ รูเกี่ยวกับระบบเชื้อเพลิงรวม นวัตกรรม สูค วามประหยัดเชือ้ เพลิง ทีส่ ามารถชวย
ผูป ระกอบการดานขนสงทีใ่ ชทงั้ รถขนาด เล็กและขนาดใหญประหยัดเชื้อเพลิงได อยางแทจริง โดยการสัมมนาในครั้งนี้ เริ่มจาก การบรรยายถึงการใชเชื้อเพลิงตาง ๆ ใน การขนสง พรอมทัง้ มีการเปรียบเทียบการ ใชนํ้ามันวิ่งอยางเดียวกับการใชเชื้อเพลิง รวมดีเซลและกาซ CNG โดยนําเสนอเปน รูปแบบของคลิปวีดีโอ เพื1อใหเห็นถึงการ
ขับจริง อัตราความเร็วในการวิ่ง และ การเผาผลาญเชื้อเพลิง ซึ่งพิสูจนแลว ว า รถที่ ใ ช เ ชื้ อ เพลิ ง ร ว มสามารถช ว ย ประหยัดนํ้ามันไดอยางมาก นอกจากนี้ PATTARONGRIT GASTECH ยังนําเสนอระบบการติด แกสเชื้อเพลิงรวมดีเซล-กาซ CNG และระบบการติดแกสเชื้อเพลิงรวม ดีเซล-กาซ LPG ซึ่งมีอูติดตั้งของลูกคา อยูทั่วประเทศที่พรอมใหบริการ และ ยังมีศูนยบริการสําหรับดูแลงานลูกคา ที่เกิดปญหา โดยรถที่สามารถติดเชื้อ เพลิงรวมดีเซล-กาซ CNG หรือกาซ LPG นั้น ติดไดทั้งรถขนาดเล็ก อาทิ รถยนต รถกระบะ รถตู รวมไปถึงรถ ใหญเพื1อการพาณิชยดวย ชุดอุปกรณตดิ ตัง้ แกสรถยนตของ PATTARONGRIT GASTECH ในเครือ Amphai Group มีใหเลือกหลายรุน ตามความตองการของผู ใช ตั้งแตรถ เกง รถกระบะ ไปจนถึงรถบรรทุกขนาด ใหญ และสามารถเลือกเชื้อเพลิงแกส ไดทั้ง LPG และ NGV ซึ่งไดมีการ พิสูจน โดยการวิ่งจริงแลววาประหยัด คุ ม ค า โดยรถขนาดเล็ ก สามารถ ประหยัดเชื้อเพลิงขึ้นตํ่าไดถึง 30% สวนรถบรรทุกสามารถประหยัดเชื้อ เพลิงขั้นตํ่าได 20%
“ซัสโก” รุกตลาดเต็มสูบ ปรับโฉมสถานีบริการฯ ตอบไลฟสไตล ซั ส โก ปรั บ โฉมสถานี บ ริ ก าร นํ้ า มั น รู ป แบบใหม พร อ มร ว มมื อ พารทเนอรแบรนดชั้นแนวหนา ตอบ โจทย ไลฟสไตลยุคปจจุบัน รุกตลาด แบบเต็มสูบ คุ ณ ชั ย ฤทธิ์ สิมะโรจน กรรม ก า ร ผู จั ด ก า ร บ ริ ษั ท ซั ส โ ก จํ า กั ด (มหาชน) หรือ SUSCO เปด
B&T#259_p44-45_iMac5.indd 44
เผยวา หลังจากเขาซือ้ กิจการของบริษทั ปโตรนาส (ประเทศไทย) จํากัด เมื1อป 2555 ทําใหซัสโกมีสถานีบริการนํ้ามัน เพิ่มขึ้นอีก 96 สาขา เมื1อรวมกับสถานี บริการนํา้ มันเดิมของซัสโกแลวจะมีสถานี
บริ ก ารรวม 235 สาขาครอบคลุ ม ทั่ ว ประเทศ โดยเฉพาะในเขตกรุงเทพฯ และ ปริมณฑล “ซัสโกยังเนนกลยุทธการตลาดที่ เจาะกลุมลูกคาในชุมชนเปนหลัก เพื1อ สราง Brand Loyalty ใหเกิดขึ้นในกลุมผู บริโภค ลาสุดซัสโก ไดปรับปรุงในเรื1อง สถานี บ ริ ก าร ตลอดจนเพิ่ ม จํ า นวน พนั ก งานในการให บ ริ ก ารมากขึ้ น ปรับปรุงความสะอาดในสถานีบริการฯ และเพิ่มธุรกิจนอนออยลเขาไปในสถานี บริการฯ ในปหนาจะเปนปทซี่ สั โกรกุ ดาน การตลาดอยางเต็มที่เพราะไดปรับโฉม จากปโตรนาสเปนซัสโกทั้งหมดแลว ซึ่ง กลยุทธทางการตลาดของซัสโกคงเนน การปรับสถานีบริการฯ ใหเขากับผูบ ริโภค ในแต ล ะพื้ น ที่ ม ากกว า ที่ จ ะเน น การ แข ง ขั น โดยตรงกั บ แบรนด ข นาดใหญ และจะจัดทํากิจกรรมสงเสริมการขาย เจาะสู ทั่ ว ทุ ก ภาคของไทย ให มี ค วาม เหมาะสมตามแตละพื้นที่ตอไป” หลั ง จากปรั บ โฉมสถานี บ ริ ก ารฯ แล ว ซั ส โก ยั ง คงเดิ น หน า มอบนํ้ า มั น คุณภาพจากโรงกลั่นไทยออยล ซึ่งเปน
โรงกลั่นนํ้ามันที่ใหญและทันสมัยที่สุด ของประเทศ นํ้ามัน “ซัสโก” ไดรับรอง ระบบการควบคุมคุณภาพนํ้ามันเชื้อ เพลิง และไดรับรางวัลสถานีบริการ คุณภาพปลอดภัยนาใชบริการ จากกรม ธุรกิจพลังงาน กระทรวงพลังงาน ซึ่ง เป น ข อ ยื น ยั น ได ว า นํ้ า มั น ทุ ก หยดที่ จําหนายผานสถานีบริการ “ซัสโก” มี คุณภาพ และไดมาตรฐานระดับสากล นอกจากนี้ ซัสโกยังไดผนึกพลัง กับกลุมพันธมิตรทางธุรกิจ เพื1อเพิ่ม สี สั น ความครบครั น ด า นบริ ก าร ทั้ ง กิจกรรมในสถานีบริการและกิจกรรม นอกสถานีบริการ เพื1อสรางความพึง พอใจสูงสุดแกลูกคา อาทิ รานสะดวก ซื้อ, บริการทําความสะอาดรถ (Car Care), รานอาหารและเครือ1 งดื1ม, สิ่ง อํ า นวยความสะดวกสบายครบครั น ณ ปจจุบัน ซัสโก มีพันธมิตรทางธุรกิจ กับบริษัท ชั้นแนวหนาของไทย อาทิ แฟมิลี่มารท, บี-ควิก, ค็อกพิท, วิซารด, โมลี่ แคร, 94 คอฟฟ, ชาวดอย, ดิโอโร, ราปริกา, เมซโซ, กาโตว, เอ แอนด ดับ บลิว และรานอาหารหลากสไตล
11/27/2557 BE 10:37 PM
SMEs TRUCKS • BUS&TRUCK 45
ปกษแรก • ธันวาคม 2557
เกาะติดพาณิชยนอย
พาณิ ช ย น อ ยเอนกประสงค เปดตัวสวยในงาน BUS & TRUCK ’14
งาน BUS & TRUCK ’14 ที่จัด ขึ้นระหวางวันที่ 6-8 พ.ย. 2557 ที่ ผานมา สามารถเรียกความสนใจนัก ธุรกิจ ผูประกอบการและผูชมงานได เปนอยางดี เพราะคายรถใหญ กลุม อะไหล ยางรถยนต เบาะรถโดยสาร ระบบ GPS และอื1น ๆ อีกมากมาย ตางโชว ใหเห็นถึงความสุดยอดแหง อนาคต กลุ ม “รถพาณิ ช ย น อ ย อเนกประสงค” ก็เชนกัน ไดสราง ความตื1น ตาตื1น ใจเป น อย า งมาก เพราะหลายคายไดขนสินคาตัวใหม โชวภายในงานดวย เริ่มกันที่ คาย “ไอวีโก” ที่นอก เหนือจากรถบรรทุกแลว ยังนํา “Iveco Daily” หรือ New Daily รุน ทีส่ าม มา เปดตัวดวย ซึง่ New Daily นี้ เพิง่ เปด ตัวทั่วยุโรปไปเมื1อเดือน มิ.ย. 2557 ที่ ผานมา และไดรับการตอบรับอยางดี เพราะเปนรถตูอ เนกประสงคทสี่ ามารถ เปนไดมากกวารถตู ทีส่ ามารถดัดแปลง เปนรถกิจการพิเศษไดอีกมากมาย ไม วาจะเปนรถพยาบาล ธุรกิจโทรคมนาคมในการทําเปนรถถายทอดสัญญาณ
B&T#259_p44-45_iMac5.indd 45
การออกแบบใหมคี วามหลากหลายของ รูปลักษณ ใหเลือกตามความตองการ ซึง่ เหมาะกับการใชงานในภาคธุรกิจ ไม วาจะเปนธุรกิจดานโลจิสติกส รองรับ กับการบรรทุกสินคาจํานวนมาก พื้นที่ ภายในตัวรถสูง โปรง และกวางขวาง สามารถดําเนินธุรกิจโทรคมนาคมใน การทํ า เป น รถถ า ยทอดสั ญ ญาณ โทรทั ศ น ผ า นดาวเที ย ม หรื อ รถ ถายทอดสัญญาณภาพและเสียงนอก สถานที่ได รวมทัง้ ยังสามารถทําเปนรถ พยาบาล เรียกไดวา ใช ไดกับกิจการ พิเศษแทบจะทุกประเภทเลยทีเดียว ดาน บริษัท กุศมัย มอเตอร จํ า กั ด ผู ริ เ ริ่ ม ผลิ ต และประกอบรถ โทรทัศนผานดาวเทียม หรือรถถายทอด ปกอัพ 3 ลอ อเนกประสงค โดยใช สัญญาณภาพและเสียงนอกสถานที่ หรือ เทคโนโลยี จ ากญี่ ปุ น รายแรกของ แม ก ระทั่ ง รถขนส ง ตามแต ที่ เ ราพึ ง ประเทศไทย ภายใตแบรนด “ซูโมตา” ประสงค เนนความคงทน คุมคา ราคาพอเพียง “Iveco Daily” เปนเครื1องยนต ปจจุบันมีรถ 3 ลอใหเลือกจํานวน 10 ดีเซล 2,200-3,200 สามารถประหยัด นํ้ามันเชื้อเพลิงไดกวา 5% ทั้งนี้ ยังผาน จากพื้นถึงหลังคารถ 2,500 ถึง 2,850 รุน ราคาเริ่มตนเพียง 59,000 บาท มาตรฐานการควบคุมมลพิษของสหภาพ มม.นํ้ า หนั ก รถรวมนํ้ า หนั ก บรรทุ ก บรรทุกไดตั้งแต 300-2,000 กิโลกรัม ผอนชําระผา นบัต รกรุง ศรี 10 งวด ยุโรป Euro 5 พละกําลังสูง ดวยรูปทรง (GVW) 3,550, 4,200 และ 5,000 กก. ตามดวยคาย “เบนซ” ที่นํา The ดอกเบี้ยเพียง 1% ไดเรียกความสนใจ การออกแบบทีเ่ นนดานอากาศพลศาสตร ลดแรงเสียดทานใหอากาศไหลผานไดดี new Sprinter มาโชว โดย The new จากลูกคาไดเปนอยางดี เพราะเปนรถ สุดยอดพลังบรรทุก คลองตัวทุกสภาพ Sprinter นี้ เป น ยานยนต เ พื1อ การ ทีส่ ามารถขนสงไดดี กะทัดรัด เขาไดทกุ ถนน ระบบหัวฉีดนํ้ามันเชื้อเพลิงแบบ พาณิ ช ย แ บบผนั ง ทึ บ มาพร อ มกั บ ตรอกซอกซอย ขณะที่ คาย “ทาทา” ก็ไมนอย คอมมอนเรล ระบบเกียรแบบซิงโครเมซ เครื1องยนตดีเซล OM 642 CDI แบบวี 5 เกียรเดินหนา พรอมเกียรโอเวอร ไดรฟ 6 สูบ 24 วาลว เทอรโบ พรอมอินเตอร หนา นอกจากมีรถบรรทุกเทคโนโลยีลาํ้ เฟรมแชสซีข้ึนรูปแบบตัวซี รับแรงบิด คูลเลอร ความจุกระบอกสูบ 2,987 ซีซี แลว ยังมีรถพาณิชยนอยใหเลือกอีก และรับนํ้าหนักไดมากขึ้น ระบบรองรับ กําลังสูงสุด 140 กิโลวัตต (190 แรงมา) หลายรุน ไมวาจะเปน “ทาทา ซูเปอร การสั่ น สะเทื อ นหน า แบบอิ ส ระป ก นก ที่ 3,800 รอบ/นาที แรงบิดสูงสุด 440 เอซ (TATA SUPER ACE)” และ พรอมทอรชั่นบาร นุมนวลทนทานงาน นิวตันเมตรที่ 1,600 - 2,600 รอบ/นาที “ทาทา ซีนอน” ที่มีความคลองแคลว หนัก ระบบรองรับการสั่นสะเทือนหลัง อัตราสิ้นเปลืองเฉลี่ย 9.7 - 10.1 กม./ ดวยรูปรางที่มีขนาดเล็กกะทัดรัดแต แบบแหนบซ อ นเหนื อ เพลาขั บ แบบ ลิตร ผานมาตรฐานการควบคุมมลพิษ สามารถบรรทุกของไดหนัก 1 ตัน ซึ่ง SEMI-ELLIPTIC และแหนบแบบรูปทรง ของสหภาพยุโรป Euro 5 สงกําลังดวย ถือเปนทางเลือกใหมของวงการขนสง พาณิ ช ย น อ ย และ SMEs ได ดี ที โคงควํ่า PARABOLIC ระยะความยาว เกียรอัตโนมัติ 7 จังหวะ 7G-TRONIC ทั้งนี้ The new Sprinter ไดรับ เดียว ชวงลอ 2,800 ถึง 3,950 มม. ความสูง
11/27/2557 BE 10:37 PM
46 BUS&TRUCK • B&T PRODUCTS
ปกษแรก • ธันวาคม 2557
แนะนําผลิตภัณฑ อุปกรณระบบไฮดรอลิค
อุปกรณเกี่ยวกับรถ
รับออกแบบ ผลิต ซอมแซม กระบอกไฮดรอลิค จําหนายอุปกรณ ระบบไฮดรอลิค นิวเมติก
ผลิ ต และจํ า หน า ยอุ ป กรณ ส ายไฮโดรลิ ค สายฉีดนํ้าแรง สายอัดจารบี สายรถดั๊มพ สายแอรรถยนต สายลม สายอุตสาหกรรม สายนํ้ามัน สายเบรก สาย พาวเวอรรถยนต รับขึ้นรูป แม พิ ม พ ผลิ ต ภั ณ ฑ ย างพลาสติก
บจก.M.G.Design & Engineering โทร.0-2428-4171
บจก.วองไววิทย อินดัสเตรียล ซัพพลาย คอรปอเรชั่น โทร.0-2385-5962
ไสกรองแฮงค Hengst
ชุดสายรัดของ (แบบคันโยก)
เครื่องวัดพื้นที่ เบสท เทค
ใชวัดพื้นที่ ไร นา หนวยการวัดเปน ไร งาน ตารางวา สรุปเปนจํานวนเงินได เมนูภาษา ไทย ตัวเครื1องรับสัญญาณ GPS สามารถ เก็บพิกัดพื้นที่ตามจุดตางๆ ที่ทําการวัด ทั้ง พืน้ ทีเ่ วาแหวง พืน้ ทีส่ เี่ หลีย่ มคางหมู เหมาะ สําหรับรถไถ รถแทรกเตอร เพื1อวัดขนาดไร นา งานรับจาง เก็ บ เกี่ ย วผลผลิ ต ทางการ เกษตร บจก.เบสท เทคโนโลยี อินโนเวชั่น โทร. 08-5046-7076
ฟลมปกปองสีรถ Maxxma
ตัวแทนจําหนายไสกรองแฮงค Hengst อยางเปนทางการในประเทศไทย (ขาย ปลีก-สง) Authorized Dealer of Hengst Filter in Thailand
สายรัดของรถบรรทุก มีหลายขนาด ราคา ถูกมาก สายผลิตขึ้นตามมาตราฐาน CE เเละผลิตจากเสนใยโพลีเอสเตอร มีความ ทน เหนียวเเนน มีการยึดตัวนอยปลอดภัย สูง สามารถคืนรูปไดเร็ว ไมผุผังงาย ทน กรดเเละนํ้ามัน ไดเปนอยางดี
สารเคลือบผิวพิเศษลงบนแผนฟลมโพลียูรีเทนใส ที่มีความ หนา 200 ไมครอน เพิ่มคุณสมบัติในการรักษารอยขีดขวนบน ผิวฟลม ดวยตัวเอง (Self Healing) ปกปองสีรถจากรอยขีดขวน รอยกระแทกจากเศษหิน หรือ ก อ นกรวดบนถนน รวมถึ ง ปองกันขี้นกหรือสารเคมีที่อาจ เปนอันตรายตอสีรถ
หจก.ต.เชี่ยวชาญกลการ โทร.0-2236-1186
ราน LWN SHOP โทร.08-2522-0923
บจก.วงศบราเดอร อินเตอรเทรด โทร.0-2543-6601
กลองติดรถยนต PAPAGO P1W
บันทึกเหตุการณแบบ Full HD ตลอด เวลาแบบอัตโนมัติดวยมุมมองที่กวางขึ้น
บจก.เอ็ม3 เทคโนโลยี (ประเทศไทย) โทร.0-2168-6168
สเปรยทาํ ความสะอาดระบบเบรก เบ็นดิกซ
ฟลมกรองแสง Super Hi-Kool
เนื้อวัสดุคุณภาพสูง ผิวหนาจานเบรกเปน ลายตาขายชวยลดระยะเวลาในการปรับผิว หนาผาเบรกจึงสามารถติดตั้งได โดยไมตอง เจียรเพื1อปรับหนาจานเบรกอีกครั้ง ระบุ ความหนาขั้นตํ่าที่ขอบจานเบรกเพื1อชวย เตือนระยะเวลาที่ควรเปลี่ยน เพื1อประสิทธิภาพของ ระบบเบรก
บจก.ลีวณิชย โทร.0-2291-1808
บจก.ออโตพารท เซ็นเตอร 2010 โทร.08-1559-9140
คาสตรอล เวคตอน ลอง เดรน 10W-40
ชวยชําระลางสิ่งสกปรกตาง ๆ ที่เกิดจาก การสะสมทํ า ให ป ระสิ ท ธิ ภ าพในการ ทํางานของระบบเบรกลดลง กําจัดคราบ สกปรกที่ ฝ ง แน น จากการใช ง านโดย เฉพาะ ไมทิ้งคราบ หรือกัดกรอนลูกยาง โลหะ หรืออุปกรณในระบบเบรกตาง ๆ แทรกซึมรวดเร็วและระเหยรวดเร็ว อีกทัง้ ยังเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม
นํา้ มันเครื1องสังเคราะหสตู รใหม สํ า หรั บ รถบรรทุ ก เครื1อ งยนต ดีเซลที่ใชงานหนักถูกออกแบบ มาเพื1อ เพิ่ ม ระยะการเปลี่ ย น ถายในเครื1องยนตดีเซลรุนใหม ทีใ่ ชงานหนักและสามารถใชกบั เครื1องยนตรุนเกาไดดวย
บจก.ฟาใส โปรดักชั่น โทร.08-1491-5559
บจก.บีพี - คาสตรอล (ประเทศไทย) โทร.0-2684-3777
GPS Tracker : รุน ID5 ระบบ 3G
จานเบรก TRW
ฟลมกรองแสงระดับพรีเมี่ยม สําหรับผูที่ชื1นชอบความมีระดับ เพราะ Black Pearl Series เปนฟลมโทนดําประกายไขมุกจึงมี ความเปนสวนตัวสูง ดานในตัวรถไมสะทอนเงาจึงใหทัศนวิสัย ในการขั บ ขี่ ที่ ดี เ ยี่ ย ม และกันความรอนสูง มีสีใหเลือก 6 สี รับ ประกันคุณภาพนาน ถึง 8 ป
NOSTRA Logistics
ผาเบรกเกรดพรีเมี่ยม
ผลิตจากวัสดุคุณภาพสูงจากเยอรมัน ทน ความรอนไดสูงถึง 300 ํC ขณะใชงาน หยุด รถไดนุมนวลเฉียบพลัน ไมกัดจานเบรก
Thepmongkol Sparepart Co.,Ltd โทร.0-2531-1125
SAMSON ระบบตูผาใบนํ้าหนักเบาพิเศษ
เครื1องแรกและทันสมัยที่สุดในไทยที่รองรับระบบ 3G อยาง เต็มรูปแบบ รับสัญญาณดาวเทียมไดรวดเร็ว และแมนยําทีส่ ดุ โดยตัวเครื1องใชตัวรับสัญญาณ GPS, GSM และ CPU ใน ระดับ Industrial Grade และออกแบบมาใหมขี นาด เล็ก Functions การใชงาน ครบถวน จึงเหมาะสําหรับ ง า น ติ ด ตั้ ง กั บ ร ถ ทุ ก ประเภท
OBD II อุปกรณติดตามรถขนสงแบบ Real Time รองรับ สัญญาณ GSM/GPS มีขนาดเล็ก ติดตั้งงาย สะดวกในการ ปรับเปลี่ยนใชงานกับรถหลาย ๆ คัน สามารถตรวจสอบ พฤติกรรมการขับรถ ลดตนทุนคานํา้ มันเชือ้ เพลิง พัฒนาระดับ การใหบริการและความพึง พอใจของลูกคา และปองกัน การถูกโจรกรรมรถขนสง
นํ้าหนักเบากวาหลังคาโลหะหลายเทา ติดตั้งงายและรวดเร็ว ไมมีการรั่วซึม 100 % เพราะเปนผาเมมเบรนชิ้นเดียว ตลอดทั้ ง ชิ้ น ไม มี ก ารเชื1อ มต อ เป น แผน ๆ เหมือนหลังคาโลหะ นํ้าหนักตู บรรทุกเบาขึ้นจึงบรรทุกสินคาไดมาก ขึ้นและประหยัดนํ้ามันกวา สามารถ บรรทุกสินคาเพิ่มขึ้นไดอีกดวยระบบ หลังคายก
หจก.จีพีเอสไอแอม โทร.0-2939-9616
บจก.โกลบเทค โทร.0-2266-9940
บจก.กิติวัฒน อินเตอรเท็กซ โทร.08-1818-4031
B&T#259_p46_iMac5.indd 46
11/27/2557 BE 10:42 PM
B&T#259_p47_iMac5.pdf
C
M
Y
CM
MY
CY
CMY
K
1
11/27/2557 BE
10:47 PM
ÂÒ§¼ŒÒ㺠«Õ·
B&T#259_p48_iMac5.indd 48
11/27/2557 BE 10:52 PM